You are on page 1of 32

พระราชบัญญัติวิศวกร

พ.ศ. 2542
1
สภาวิศวกร
คือ องค์กรวิชาชีพตามกฎหมาย
ในฐานะนิติบุคคลซึ่งจัดตัง้ ขึน้ ตาม
มาตรา 6 แห่งพระราชบัญญัติ
วิศวกร พ.ศ.2542 โดยสภา
วิศวกรมีหน้าที่ควบคุมการ
ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมใน
ประเทศไทย
พระราชบัญญัติวิศวกร พ.ศ. 2542
การควบคุม
กฎกระทรวง
การประกอบวิชาชีพ
สภาวิศวกร
วิศวกรรมในประเทศไทย
ข้อบังคับสภาวิศวกร

ระเบียบคณะกรรมการสภาวิศวกร

ประกาศสภาวิศวกร
การควบคุมการประกอบ
วิชาชีพวิศวกรรมควบคุม
ตามพระราชบัญญัตวิ ิศวกร คุ้มครอง
ความปลอดภัย
พ.ศ.2542 สาธารณะ

เพื่ อ การคุ้ ม ครองความปลอดภั ย


สาธารณะและส่งเสริมการปฏิบัติงาน ใบประกอบ
ของผู ้ ป ระกอบวิ ช าชี พ วิ ศ วกรรม วิชาชีพ
ควบคุ ม มิ ใ ห้ เ กิ ด ภยั น ตรายต่ อ ชี วิ ต ควบคุม
ภยันตรายต่อ คุ้มครอง
และทรั พ ย์ สิ น ของประชาชน และ ชีวิตและ ผู ้บริโภค
คุ้มครองผู ้บริโภค ทรัพย์สิน
โครงสร้างการประกอบวิชาชีพวิศวกรรม

สถาบันการศึ กษา
ผลิตวิศวกรเพื่อเข้าสู่การประกอบวิชาชีพ
สภาวิศวกร
ควบคุม คุ้มครอง ส่งเสริมการประกอบวิชาชีพ

สมาคมวิชาชีพด้านวิศวกรรม
ผลิตเอกสารทางวิชาการ คู่มือการปฏิบัติวิชาชีพ
แลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ในการประกอบวิชาชีพ
สภาวิศวกร
ตามมาตรา 7 สภาวิศวกรมีวัตถุประสงค์
(1) ส่งเสริมการศึ กษา วิจัย และการประกอบวิชาชีพวิศวกรรม
(2) ส่งเสริมความสามัคคี ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทของสมาชิก
(3) ส่งเสริมสวัสดิการ และผดุงเกียรติของสมาชิก
(4) ควบคุมการประกอบวิชาชีพและจรรยาบรรณ
(5) ให้บริการแก่ประชาชนด้านวิศวกรรม
(6) ให้คําปรึกษาต่อรัฐบาลด้านวิศวกรรม
(7) เป็นตัวแทนของผู ้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมของไทย
(8) ดําเนินการอื่นๆ ตามที่กําหนดในกฎกระทรวง
วิศวกรรมควบคุม (มาตรา 4)
“วิชาชีพวิศวกรรม” หมายความว่า
วิชาชีพวิศวกรรมในสาขา วิศวกรรมโยธา CE /
วิศวกรรมเหมืองแร่ MinE / วิศวกรรมเครื่องกล ME /
วิศวกรรมไฟฟ้ า EE / วิศวกรรมอุ ตสาหการ IE /
วิศวกรรมสิง่ แวดล้อม ENV / วิศวกรรมเคมี CHE
และ สาขาวิศวกรรมอื่นๆ ที่กําหนดในกฎกระทรวง

http://www.coe.or.th/_coe/_product/20080215172108-1.PDF
อํานาจหน้าที่ของสภาวิศวกร (มาตรา 8)
(1) ออกใบอนุญาต
(2) สัง่ พักใบอนุญาต หรือ เพิกถอนใบอนุญาต
(3) รับรองปริญญา / ประกาศนียบัตร
(4) รับรองความรู้ความชํานาญในการประกอบวิชาชีพวิศวกรรม
(5) เสนอแนะรัฐมนตรี การตัง้ /การเลิก สาขาวิศวกรรมควบคุม
(6) ออกข้อบังคับต่างๆ ของสภาวิศวกร
คณะกรรมการสภาวิศวกร
ประกอบด้วย กรรมการสภาวิศวกร ทัง้ หมด 20 คน
ที่มาจาก 3 องค์ประกอบ ดังนี้
1. กรรมการทีไ่ ด้รับเลือกตัง้ จากมาตรา 24(1) จํานวน 10 คน
จากสมาชิกทัว่ ไป สาขาละ 1คน (CE/EE/ME/IE/MINE/ENV/CHE)
ที่ได้คะแนนสูงสุดของแต่ละสาขา และที่ได้คะแนนสูงสุด อีก 3 คน
2. กรรมการที่ได้รับเลือกตัง้ จากมาตรา 24(2) จํานวน 5 คน
จากสมาชิกที่ทาํ งานอยู ใ่ นสถาบันการศึ กษาที่ได้คะแนนสูงสุดแต่ละ
สาขาเรียงตามลําดับ
3. กรรมการที่ได้รับการแต่งตัง้ จากมาตรา 24(3) โดยสภานายกพิเศษ
(รมต. มหาดไทย) จํานวน 5 คน ไม่จํากัดสาขา
สํานักงานสภาวิศวกร
มีหัวหน้าสํานักงานสภาวิศวกร บริหารงานภายใต้การกํากับดูแล ของ
เลขาธิการสภาวิศวกร สํานักงานฯ ประกอบด้วย 8 ฝ่ าย+1 สํานัก คือ
1. ฝ่ ายการคลัง
2. ฝ่ ายมาตรฐานการศึกษาและวิชาชีพ
3. ฝ่ ายสื่อสารองค์กร
4. ฝ่ ายทะเบียนและใบอนุญาต
5. ฝ่ ายเทคโนโลยีสารสนเทศ
6. ฝ่ ายต่างประเทศ
7. ฝ่ ายอาคารสถานที่
8. ฝ่ ายบริหาร
+ 1. สํานักกฎหมายและจรรยาบรรณ
คุณสมบัติของสมาชิกสามัญ (มาตรา 12)

• อายุ ไม่ตาํ่ กว่า 18 ปี


• สัญชาติไทย
• ได้รับปริญญาหรือเทียบเท่าสาขาที่สภาวิศวกรรับรอง
• ไม่เป็นผู ้ประพฤติผิดจรรยาบรรณ
• ไม่เคยต้องโทษจําคุกในคดีผิดจรรยาบรรณ
• ไม่เป็นผู ้ท่มี จี ติ ฟั่นเฟื อน ไม่สมประกอบ
ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพฯ
ผู ้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมแต่ละสาขา มี 4 ระดับ (มาตรา 46) คือ
• ภาคีวิศวกร (Associate Engineer)
• สามัญวิศวกร (Professional Engineer)
• วุ ฒิวิศวกร (Senior Professional Engineer)
• ภาคีวิศวกรพิเศษ (Adjunct Engineer)

ขอบเขตงาน
กําหนดอยู ่ในข้อบังคับ ว่าด้วยหลักเกณฑ์และคุณสมบัติของผู ้ประกอบ
วิชาชีพวิศวกรรมควบคุมแต่ละระดับ พ.ศ. 2551
สิทธิและหน้าที่ของสมาชิกสภาวิศวกร

สิทธิ หน้าที่
• แสดงความคิดเห็นในการ สมาชิกสามัญ • ชําระค่าธรรมเนียมสมาชิก
ประชุ มใหญ่ • ชําระค่าบํารุ งตามที่
• ออกเสียงลงคะแนนในการ สมาชิกวิสามัญ
ข้อบังคับกําหนด
ประชุ มใหญ่ สมาชิกกิตติมศักดิ์ • ผดุงไว้ซ่ึงเกียรติศกั ดิ์แห่ง
• แสดงความเห็น ซักถามเป็น วิชาชีพ
หนังสือเกี่ยวกับการ
ดําเนินงานของสภาวิศวกร
• เลือก รับเลือกตัง้ หรือรับ
แต่งตัง้ เป็นกรรมการ

(เฉพาะสมาชิ กวิสามัญและสมาชิ กกิตติมศักดิ์ไม่สามารถออก


เสี ย งลงคะแนนในการประชุ มใหญ่ รวมถึ ง การเลื อ ก
รับเลือกตัง้ หรือรับการแต่งตัง้ เป็นกรรมการ)
อัตราค่าธรรมเนียมใบอนุญาตประกอบวิชาชีพฯ

10,000 3,000 5,000 1,500


7,500 2,000 3,500 1,000
5,000 1,000 1,000 500
5,000 1,000 1,000 500
100,000 30,000 10,000 3,000
* ต่ออายุ หลังหมดอายุ ให้เพิม่ ค่าธรรมเนียม 2,000 บาท
* ต่ออายุ ล่วงหน้าได้ไม่เกิน 6 เดือน ใบอนุญาตมีอายุ 5 ปี ยกเว้นนิติบุคคลมีอายุ 1 ปี
ลักษณะงาน ประเภท และขนาดงานที่ควบคุม
วิชาชีพวิศวกรรมควบคุมแต่ละสาขามี 6 งาน ดังนี้
กฎกระทรวงและข้อบังคับสภาวิศวกร

ข้อบังคับฯ
2551
บทลงโทษ
• “ยกระดับวิศวกรไทยสู่สากล
วิสัยทัศน์ เพื่อการพัฒนาอย่าง
ยัง่ ยืน”
(Vision) • Enhance Thai Engineers
for global sustainability.

• “พัฒนาคุณภาพการประกอบวิชาชีพ
วิศวกรไทย เพิม่ ขีดความสามารถในการ
แข่งขันของประเทศเพื่อประชาชนและ
พันธะกิจ สังคม”
• Quality professional development
(Mission) of Thai engineers for
enhancement of Thailand
competitive ability and betterment
of the people and the society.
นโยบายของสภาวิศวกร
1. ด้านการศึกษาและวิจยั
1.1 รับรองมาตรฐานคุณภาพการศึกษาวิศวกรรมศาสตร์ (TABEE)
1.2 การปรับปรุ งกระบวนการในการรับรองปริญญา ประกาศนียบัตร หรือวุ ฒิบัตรในการ
ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมเพื่อไม่ก้าวก่ายการจัดการศึกษา
1.3 ทําการวิจัยเพื่อพัฒนาสภาวิศวกร เพื่อประโยชน์ในการดําเนินงานตามภาระกิจหน้าที่
ของสภาวิศวกรตามพระราชบัญญัติวิศวกร พ.ศ. 2542
1.4 การกําหนดแนวทาง วิธีการ และการเตรียมการรับรองมาตรฐานคุณภาพการศึ กษาระดับ
เทคโนโลยีวิศวกรรม (TABET)
1.5 ส่งเสริมงานวิจัยที่เป็นประโยชน์ต่อการประกอบวิชาชีพวิศวกรรม และเพื่อประโยชน์
ในการจัดทํามาตรฐานประกอบวิชาชีพวิศวกรรม
1.6 สนับสนุนและส่งเสริมการวิจัยที่เกี่ยวข้องในงานวิศวกรรมในเรื่องใหม่ๆ เพื่อ
ประโยชน์ต่อสังคมไทย และสังคมโลก
นโยบายของสภาวิศวกร
2. ด้านการประกอบวิชาชีพ
2.1 ปรับปรุ งระบบและข้อสอบ เพื่อขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรม
ควบคุม ระดับภาคีวิศวกร โดยเน้นเรื่องการประเมินผลความสามารถของผู ้สอบ
2.2 สนับสนุนสมาคมวิชาชีพเพื่อให้มีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพการประกอบ
วิชาชีพวิศวกรและเพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขัน
2.3 ส่งเสริมการทํากรอบความสามารถของผู ้ปฏิบัติวิชาชีพในแต่ละสาขาเพื่อใช้
ประเมินผลในการสอบเลื่อนระดับ
2.4 ประสานงานกรรมการจรรยาบรรณในกรณีพิพาทและไกล่เกลี่ย
2.5 ออกใบรับรองความรู้ความชํานาญสําหรับผู ้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรม วิชาชีพ
วิศวกรรมควบคุม และสหสาขาวิชาชีพวิศวกรรม รวมทัง้ รับรองความรู้ความ
ชํานาญเฉพาะทาง
นโยบายของสภาวิศวกร
2.6 ส่งเสริมการรับรองมาตรฐานการปฏิบัติวิชาชีพ (Code of Practices) มาตรฐานความ
ประพฤติ (Code of Conducts) และมาตรฐานการให้บริการวิชาชีพ (Code of Services)
2.7 ส่งเสริมการถ่ายโอนเทคโนโลยีด้านวิศวกรรมอย่างเป็นรูปธรรม
2.8 ส่งเสริมและสนับสนุนการขึน้ ทะเบียนผู ้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรม
2.9 ส่งเสริมการจัดทํามาตรฐานการคิดค่าบริการวิชาชีพวิศวกรรม
2.10 การจัดทําทําเนียบและคลังข้อมู ลผู ้ชํานาญการในสาขาวิชาชีพวิศวกรรมต่างๆ
2.11 ส่งเสริมการพัฒนาวิชาชีพวิศวกรรมต่อเนื่องให้มากขึน้
2.12 ส่งเสริมศักดิ์ศรีของวิศวกรไทยในการประกอบวิชาชีพวิศวกรรม
2.13 ส่งเสริมการยึดมัน่ ในจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพวิศวกรรม
2.14 เสริมสร้างความเชื่อมัน่ ในการประกอบวิชาชีพวิศวกรรม (Professional Reliability)
2.15 ส่งเสริมการประกันภัยความรับผิดทางวิชาชีพ ให้ความคุ้มครองความรับผิดตาม
กฎหมายของผู ้ประกอบวิชาชีพ ซึ่งเป็นผลมาจากการปฏิบัติงานในวิชาชีพ
2.16 ส่งเสริมมาตรการการป้ องกันและต่อต้านคอร์รัปชัน่ ที่เกี่ยวข้องกับการประกอบวิชาชีพ
วิศวกรรม
นโยบายของสภาวิศวกร
3. ด้านองค์กรและการให้บริการ
3.1 เพิม่ สมรรถนะของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในการให้บริการสมาชิกและสังคม
ผ่านเครือข่ายสารสนเทศ ครอบคลุม E-Services, E-Election และอื่นๆ
3.2 จัดระบบให้ความรู้ทางวิศวกรรมและเทคโนโลยีผ่านเครือข่าย และกรอบการพัฒนา CPD
3.3 ประสานงานสภาวิชาชีพและสมาคมวิชาชีพเพื่อเสนอแนะเกี่ยวกับนโยบายและปั ญหาด้าน
วิศวกรรมรวมทัง้ ด้านเทคโนโลยี
3.4 เสริมสร้างศักยภาพและความสามารถของสํานักงานสภาวิศวกรเพื่อขับเคลื่อนการ
ดําเนินงานตามนโยบายและวัตถุประสงค์ของสภาวิศวกรได้อย่างมีประสิทธิภาพและต่อเนื่อง
3.5 เป็นองค์กรธรรมาภิบาล
3.6 เพิม่ ฝ่ ายตรวจสอบภายใน ทําหน้าที่ตรวจสอบความถูกต้องในการดําเนินงานของ
สํานักงานสภาวิศวกร
นโยบายของสภาวิศวกร
3.7 การปรับปรุ งระเบียบเพื่อรองรับการนําหน่วยความรู้จากการพัฒนาวิชาชีพวิศวกรรม
อย่างต่อเนื่อง (CPD) มาใช้ ในการเลื่อนระดับใบอนุญาต
3.8 ส่งเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรบุ คคลของสํานักงานสภาวิศวกร ให้เกิด
ประสิทธิภาพสูงสุด (Flexible Rightsizing)
3.9 ปรับปรุ งอัตราค่าธรรมเนียมเกี่ยวกับการออกใบอนุญาตให้มีความเหมาะสมยิง่ ขึน้
3.10 พิจารณาลดขัน้ ตอนที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการพิจารณาการออกใบอนุญาตประกอบ
วิชาชีพวิศวกรรมควบคุมที่อาจซํ้าซ้ อนหรือไม่จําเป็นแล้วในปั จจุ บัน
3.11 ปรับปรุ งการอบรมความพร้อมในการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ให้มีเฉพาะ
เรื่องที่มีความสําคัญต่อการประกอบวิชาชีพวิศวกรรม
3.12 ปรับปรุ งการให้บริการผ่านระบบเทคโนโลยี เพื่อให้สภาวิศวกรเป็นหน่วยงานผู ้นํา
ด้านดิจิตัลของประเทศไทย
3.13 จัดให้มีการประกันภัยกลุ่มให้กับสมาชิกสภาวิศวกร
นโยบายของสภาวิศวกร
4. ด้านต่างประเทศ
4.1 ดําเนินการและประสานงานสมาคมวิชาชีพและส่วนราชการในกิจกรรมตามพันธะ
และข้อผู กพัน ด้านต่างๆ เช่ น WTO, FTA, APEC Engineer, ASEAN Engineer,
RFPE, CAFEO, Washington Accord, Sydney Accord
4.2 เป็นตัวแทนของผู ้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมในการเจรจาเกี่ยวกับการบริการ
วิชาชีพข้ามชาติ
4.3 สนับสนุนและประสานงานสภาวิชาชีพและสมาคมวิชาชีพ
4.4 การสร้างพันธมิตรร่วมกับภาครัฐและเอกชน ในการส่งเสริมสนับสนุน
งบประมาณแก่สภาวิศวกรในการดําเนินงานด้านต่างประเทศ
4.5 ส่งเสริมการใช้ ภาษาอังกฤษและภาษาสากลในการประกอบวิชาชีพวิศวกรรม
นโยบายของสภาวิศวกร
5. ด้านการปรับปรุ งกฎหมาย
5.1 การปรับปรุ งกฏหมาย ประกาศ ระเบียบข้อบังคับ กฏกระทรวง และพระราชบัญญัติ
ของสภาวิศวกร ให้ทันสมัยและเหมาะสมกับสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงรวมถึงเพื่อ
ประโยชน์ในการดําเนินงานตามพันธะกิจและนโยบายของสภาวิศวกร อาทิ ปรับปรุ ง
พระราชบัญญัตวิ ิศวกร พ.ศ. 2542 เพื่อรองรับภารกิจและการดําเนินงานที่เกี่ยวข้อง
กับ 17 สาขาวิชาชีพวิศวกรรม
นโยบายของสภาวิศวกร
6. ด้านการบริหารการเปลี่ยนแปลง
6.1 การนําเทคโนโลยีด้านต่างๆ มาประยุ กต์ให้สามารถทํางานร่วมกันได้ เพื่อนําไปใช้
ในการประมวลผลข้อมู ล การจัดทําคลังข้อมู ล และแลกเปลี่ยนข้อมู ล เพื่อ
ประโยชน์ในการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมทัง้ ภายในประเทศและต่างประเทศ
6.2 สร้างกลุ่มความร่วมมือภายในประเทศและต่างประเทศ เพื่อประโยชน์ในการ
ส่งเสริมและการสร้างศักยภาพให้แก่วิศวกรไทยในการประกอบวิชาชีพวิศวกรรม
6.3 ให้บริการและอํานวยความสะดวกแก่สมาชิกสภาวิศวกร ประชาชน และหน่วยงาน
อื่นๆ ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์
6.4 ส่งเสริมสหสาขาทางด้านวิศวกรรมและวิศวกรรมควบคุม
ACPE
- สําเร็จระดับปริญญาทางวิศวกรรมที่ได้รับการยอมรับโดยองค์กรด้านการรับรอง
วิศวกรรมวิชาชีพ (ประเทศแหล่งกําเนิดหรือประเทศผู ้รับ)
- มีการขึน้ ทะเบียนหรือมีใบอนุญาตที่ยังมีผลในปั จจุ บัน เพื่อประกอบวิชาชีพในแหล่ง
ประเทศกําเนิด
- มีประสบการณ์ในภาคปฏิบัติและมีความหลากหลายมาไม่ตํ่ากว่าเจ็ด (7) ปี หลัง
จบการศึ กษา ทัง้ นี้ จะต้องได้รับผิดชอบงานด้านวิศวกรรมที่เด่นชัดแล้วอย่าง
น้อยสอง (2) ปี
คุณสมบัตขิ อง - ปฏิ บั ติ ส อดคล้ อ งตามนโยบายการพั ฒ นาวิ ช าชี พ อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง (CPD) ของ
วิศวกร ประเทศแหล่งกําเนิดในระดับที่น่าพอใจ
วิชาชีพ - ได้ รั บ ใบรั บ รองจากผู ้ ก มี อํ า นาจกํ า กั บ ดู แ ลด้ า นวิ ช าชี พ (PRA) ของประเทศ
อาเซียน แหล่งกําเนิด และไม่มีประวัติ การกระทําผิดอย่างร้ายแรงด้านเทคนิค มาตรฐาน
(ACPE) วิชาชีพและจรรยาบรรณ ระดับท้องถิ่นและระหว่างประเทศในการประกอบวิชาชีพ
วิศวกรรม
จํานวน ACPE/RFPE Member States
Engineering
(ACPEs)
ประเทศมาเลเซีย มีวิศวกรวิชาชีพต่างด้าวจดทะเบียน (RFPE)
จากประเทศสิงคโปร์ จํานวน 4 คน Brunei
24
จากประเทศฟิ ลิปปิ นส์ จํานวน 2 คน Darussalam
จากประเทศไทย จํานวน 1 คน
ประเทศเมียนมา มีวิศวกรวิชาชีพต่างด้าวจดทะเบียน (RFPE)
Cambodia 75
จากประเทศสิงคโปร์ จํานวน 2 คน Indonesia 1,097
จากประเทศมาเลเซีย 3 คน Lao PDR 14
จากประเทศไทย จํานวน 2 คน
ประเทศสิงคโปร์ มีวิศวกรวิชาชีพต่างด้าวจดทะเบียน (RFPE) Malaysia 711
จากประเทศมาเลเซีย จํานวน 1 คน Myanmar 600
จากประเทศเมียนมา จํานวน 1 คน
Philippines 498
ASEAN Chartered Professional Engineer: - ACPE Singapore 284
วิศวกรวิชาชีพอาเซียน Thailand 220
Viet Nam 204
Registered Foreign Professional Engineer: -RFPE
วิศวกรวิชาชีพต่างด้าวจดทะเบียน Total 3,727

ข้อมู ล ณ วันที่ 19 มิถุนายน 2562


บทส่งท้าย
การบริหารงานของคณะกรรมการสภาวิศวกร มุ ่งผลสัมฤทธิในการ
พัฒนาคุณภาพการประกอบวิชาชีพวิศวกรไทย เพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขัน
ของประเทศ เพื่อประชาชนและสังคม จึงเน้นนโยบายและแนวทางที่ก่อให้เกิดผลในเชิ ง
รู ป ธรรม และให้ ค วามสํ า คั ญ กั บ การร่ ว มมื อ กั บ พั น ธะมิ ต ร เพื่ อ ให้ ส ภาวิ ศ วกร
ก้าวหน้าไปอย่างเป็นระบบมั่นคง มีธรรมาภิบาล และสนองตอบต่อเจตนารมณ์ของ
พ.ร.บ. วิศวกร พ.ศ. 2542
มีการจัดเตรียมความพร้อมในการจดทะเบียนวิศวกรอาเซียน และ
การออก กฎ ระเบียบ หรือกฎหมายภายใน ที่ไม่เกิดอุ ปสรรคในการออกใบอนุญาต
และการขึน้ ทะเบียน ให้สอดคล้องของแต่ละประเทศ
CPD เป็นกิจกรรมที่ช่วยเพิ่มพู นความรู้ ความสามารถและคุณภาพ
ของบุ คลากร ที่จําเป็นต่อการปฏิบัติงานในวิชาชี พ อันเป็นเครื่องมือที่เอือ้ ประโยชน์
ต่อผู ้ป ระกอบวิชาชี พ ลูกค้า นายจ้า ง และสังคม ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงด้ า น
เทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว
Thank you.

You might also like