You are on page 1of 56

จรรยาบรรณของผู ้ประกอบ

วิชาชีพวิศวกรรม
สภาวิศวกร
• จัดตัง� ขึน� ตามพระราชบัญญัติวิศวกร พ.ศ. 2542

มีสถานะเป�นนิติบุคคล ควบคุมการประกอบ
วิชาชีพวิศวกรรม

พิจารณาออกใบอนุญาต
บุ คคลธรรมดา
นิติบุคคล
ความหมายของ “วิชาชีพ”
ใช้ความรู้ความสามารถเฉพาะ
ทางในการปฏิบัติงาน
วิชาชีพ
Profession

ได้รับการอบรมความรู้ มีจรรยาบรรณ พร้อมองค์กร


เป�นพิเศษ และใช้ ระยะเวลา และกระบวนการเพื�อสอดส่องดูแล
อบรมเป�นเวลานาน
วิชาชีพวิศวกรรมควบคุม

ความช�านาญ

ความรู้ ความระมัดระวัง

งานวิศวกรรมควบคุม
มีผลกระทบต่อความปลอดภัยในชีวิต
เป�นงานที�มีความเสี�ยงสูง ร่างกาย และทรัพย์สินของประชาชน
ผู ้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม
ได้รับใบอนุญาตฯ
จากสภาวิศวกร
บุ คคลธรรมดา

นิติบุคคล
ใบอนุญาตที�ออกโดยสภาวิศวกร เพื�อให้สิทธิในการ
ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม
สิทธิ + หน้าที� + ความคุ้มครอง
ขนาดของความระมัดระวัง

• ผู ้ ป ระกอบวิ ช าชี พ วิ ศ วกรรม อาชีพ


ค ว บ คุ ม จ ะ ต้ อ ง ป ฏิ บั ติ ง า น
ด้ ว ยความระมั ด ระวั ง มากกว่ า
บุ คคลทัว� ไป

ผู ้มีวิชาชีพ
งานวิศวกรรมควบคุม

งาน ประเภท ขนาด

กฎกระทรวงกํา หนดสาขาวิชาชี พวิ ศวกรรม


และวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม พ.ศ. 2550
จรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ
วิศวกรรม
จรรยาบรรณแห่งวิชาชีพวิศวกรรม

ผู ้ได้รับใบอนุญาตต้องประพฤติ
มาตรา 50 ต น ต า ม จ ร ร ย า บ ร ร ณ แ ห่ ง
วิชาชีพวิศวกรรม

ข้อบังคับสภาวิศวกรว่าด้วยจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ
วิศวกรรม และการประพฤติผดิ จรรยาบรรณอันจะนํามา
ซ�ึงความเสื�อมเสียเกียรติศกั ดิ�แห่งวิชาชีพ พ.ศ. 2559
1. ความหมายของจรรยาบรรณ
แห่งวิชาชีพ
หมายถึ ง ข้ อ บั ง คั บ ที� ส ภาวิ ศ วกรกํ า หนดขึ� น
เพื� อ ให้ ผู้ ป ระกอบวิ ช าชี พ วิ ศ วกรรมควบคุ ม
ต้องปฏิบัติตาม โดยยึดหลักคุณธรรมเป�นหลัก
สําคัญ
ความสําคัญของจรรยาบรรณ

เป�นแนวทางให้ผู้ประกอบวิชาชี พยึดถือปฏิบัติ
อย่างถูกต้องเหมาะสม
เพื� อ ให้ วิ ช าชี พ ได้ รั บ การยอมรั บ และความ
เชื�อมัน� จากสังคม
เพื�อผดุงเกียรติศกั ดิ�และศักดิ�ศรีแห่งวิชาชีพ
กฎหมาย จารีตประเพณี
ที�มาของจรรยาบรรณ
B C
ศีลธรรม
A จรรยาบรรณ

D
E ศาสนา
บรรทัดฐานทางสังคม
หลักปฏิบัติงานด้านวิศวกรรม

CODES

Code of Practice (ประมวลการปฏิบัติวิชาชีพ)


Code of Conduct (ประมวลการประพฤติปฏิบัติ)
Code of Ethics (จรรยาบรรณ)
Code of Practice
ประมวลการปฏิบัตวิ ิชาชีพ

มาตรฐานในการประกอบวิ ช าชี พที� กํ า หนดขึ� น


เพื� อ ให้ วิ ศ วกรยึ ด ถื อ ปฏิ บั ติ ง านด้ า นวิ ศ วกรรม
เป�นแนวทางเดียวกัน และให้การประกอบวิชาชีพเป�นไป
ในทิ ศ ทางเดี ย วกั น ถู ก ต้ อ งตามหลั ก ปฏิ บั ติ แ ละ
วิชาการ ซ�ึ งเป�นหลักทางวิชาการขัน� ต้นที�ผู้ประกอบ
วิชาชีพจะละเลยต่อหลักดังกล่าวไม่ได้
Code of Conduct
ประมวลการประพฤติปฏิบัติ

ประมวลหลักการประพฤติปฏิบัติ ประมวลข้อบังคับหรือ
ร ะ เ บี ย บ ก า ร ป ร ะ พ ฤ ติ ป ฏิ บั ติ ที� อ ง ค์ ก ร
ทางวิ ศ วกรรมได้ กํ า หนดขึ�น เพื� อ ให้ วิ ศ วกรพึ ง ยึ ด ถื อ
เป�นแนวคุณธรรมและประพฤติปฏิบัติ เพื�อให้เกิดความ
ป ล อ ด ภั ย ต่ อ ชี วิ ต แ ล ะ ท รั พ ย์ สิ น ข อ ง
สาธารณะ ตลอดจนรักษาชื� อเสียงและส่งเสริมเกียรติ
ศกั ดิ�แห่งวิชาชีพ
Code of Ethics
จรรยาบรรณ

จรรยาบรรณ ประมวลจริยธรรม ประมวลความประพฤติ


ที�ผู้ประกอบวิชาชีพการงานแต่ละอย่างกําหนดขึน� เพื�อรักษา
และส่งเสริมเกียรติคุณ ชื�อเสียงและฐานะของสมาชิก
คําวินิจฉัยของคณะกรรมการจรรยาบรรณ

ยกข้อกล่าวหา
พระราชบัญญัติวิศวกร
พ.ศ. 2542 มาตรา 61 ตักเตือน
การพิจารณา
และวินิจฉัยชี�ขาด ภาคทัณฑ์ (ไม่มีอายุ )

พักใช้ ใบอนุญาตฯ ไม่เกิน 5 ปี

เพิกถอนใบอนุญาตฯ
2. ข้อบังคับสภาวิศวกรว่าด้วย
จรรยาบรรณฯ

ข้อบังคับสภาวิศวกรว่าด้วยจรรยาบรรณแห่ง
วิชาชีพวิศวกรรม และการประพฤติผิด
จรรยาบรรณอันจะนํามาซ�ึงความเสื�อมเสีย
เกียรติศกั ดิ�แห่งวิชาชีพ พ.ศ. 2559
ข้อบังคับว่าด้วยจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพวิศวกรรม
ข้อ 1 ข้อบังคับนี�เรียกว่า “ข้อบั งคั บ สภาวิศวกรว่า ด้วยจรรยาบรรณแห่ง
วิชาชีพวิศวกรรมและการประพฤติผิดจรรยาบรรณอันจะนํามาซึ� งความเสื�อม
เสียเกียรติศกั ดิ�แห่งวิชาชีพ พ.ศ. 2559”
ข้อ 2 ข้อบังคับนีใ� ห้ใช้ บังคับตัง� แต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เป�นต้นไป
ข้ อ 3 ให้ ย กเลิ ก ข้ อ บั ง คั บ สภาวิ ศ วกร ว่ า ด้ ว ยจรรยาบรรณแห่ ง วิ ช าชี พ
วิศวกรรมและการประพฤติผิดจรรยาบรรณอั นจะนํ ามาซึ� งความเสื� อมเสีย
เกียรติศกั ดิ�แห่งวิชาชีพ พ.ศ. 2543
ข้อ 4 ผู ้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมผู ้ใดฝ่ าฝื นหรือไม่ปฏิบัติตามข้อใด
ข้อหนึ�งในข้อบังคับนี� ให้ถือว่าผู ้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมนัน� ประพฤติ
ผิดจรรยาบรรณแห่งวิชาชี พวิศวกรรมหรือประพฤติผิดจรรยาบรรณอันจะ
นํามาซึ� งความเสื�อมเสียเกียรติศกั ดิ�แห่งวิชาชีพ แล้วแต่กรณี
หมวด 1 จรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ
วิศวกรรม
ส่วนที� 1
จรรยาบรรณต่อสาธารณะ
ข้อ 5 ผู ้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมต้องประกอบ
วิชาชีพโดยให้ความสําคัญต่อความปลอดภัย สุขอนามัย และ
สวัสดิภาพของสาธารณชน ตลอดจนทรัพย์สิน และ
สิง� แวดล้อมอันเป�นสาธารณะด้วย
กรณีศึกษา
วิศวกรควบคุมแม่แรงในการก่อสร้างทางรถไฟฟ้ าเหนือผิวจราจรบริเวณถนนรามคําแหง มีหน้าที�
ควบคุมบังคับแม่แรงยกคานเหล็กที�ใช้ รองรางปู นสําหรับประกอบทํารางรถไฟฟ้ าเหนือผิวการจราจรให้
เป�นไปโดยปลอดภัย จึงต้องใช้ ความระมัดระวังและทําการปิ ดการจราจรในบริเวณดังกล่าว การใช้ งาน
แม่แรงจะมีแหวนล็อคอยู ่ท�กี ้านของลูกสูบในแม่แรงแต่ละตัว ซึ�งสามารถปรับขึน� ลงได้โดยผู ้ควบคุมแม่
แรงเพื�อป้ องกันไม่ให้ก้านลูกสูบลดระดับลงกว่าที�ต้องการ จึงทําให้คานเหล็กที�ถูกยกโดยแม่แรงอยู ่ใน
ระดับระนาบไม่ลาดเอียงไปด้านใดด้านหนึ�ง จนอาจเกิดอันตรายได้ในระหว่างร่วมกันบังคับแม่แรง
ในวันเกิดเหตุ วิศวกรไม่ได้อยู ่ควบคุมแม่แรง ในขณะที�คนงานทําการเลื�อนคานเหล็กโดยไม่ได้ปิดถนน
บริเวณดังกล่าว เมื�อคนงานไม่ตรวจสอบและหมุ นแหวนล็อคให้อยู ่ในระดับที�เหมาะสมทําให้คานเหล็ก
เอียงตกจากแม่แรงลงสู่ถนนรามคําแหง ทับรถยนต์เสียหายและประชาชนได้รับบาดเจ็บ
คณะกรรมการจรรยาบรรณจึงเห็นสมควรให้พักใช้ ใบอนุญาตวิศวกรควบคุมแม่แรงเป�นเวลา 1 ปี

[3(9)/10]
ข้อ 6 ผู ้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมต้องละเว้นจาก
การให้การสนับสนุน ส่งเสริม หรือเป�นตัวการ เกี�ยวกับ
การทุจริตในโครงการของภาครัฐหรือเอกชน

บทบัญญัติในข้อนีม� ีวัตถุประสงค์เพื�อให้ผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมไม่กระทําการอันอาจเป�น
การเอือ� ประโยชน์ท�จี ะนําไปสู่การทุจริตคอร์รัปชัน� ซึ�งสอดคล้องกับกฎหมายที�เกี�ยวข้องกับการป้ องกัน
และปราบปรามการทุจริต
หมวด 1 จรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ
วิศวกรรม
ส่วนที� 2
จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ
ข้อ 7 ผู ้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมต้องประกอบ
วิชาชีพวิศวกรรมด้วยความซื�อสัตย์สุจริต มีความรับผิดชอบ
และระมัดระวัง
กรณีศึกษา
วิศวกรอวดอ้างว่าสามารถทําการออกแบบและยื�นขอรับใบอนุญาตก่อสร้างอาคารได้ภายใน 30 วัน
ทําให้มีผู้หลงเชื�อและจ่ายเงินให้วิศวกรไป แต่ปรากฏว่าวิศวกรไม่ได้ปฏิบัติตามสัญญา ผู ้ว่าจ้างจึงได้
ติดตามทวงถามแต่ก็ไม่สามารถติดต่อกับวิศวกรได้ เป�นเหตุให้ผู้ว่าจ้างได้รับความเสียหาย
การที�วิศวกรได้เบิกเงินล่วงหน้าเพื�อเป�นค่าออกแบบคํานวณและยื�นขออนุญาตก่อสร้าง และยังมิได้คืน
เงินแก่ผู้ว่าจ้าง แม้วิศวกรจะกล่าวอ้างว่าเงินที�ได้รับมานัน� ได้นําไปเป�นค่าใช้ จ่ายในการเขียนแบบก็ตาม
แต่โดยปกติแล้ว เมื�อวิศวกรไม่สามารถยื�นขออนุญาตก่อสร้างได้ ก็ต้องแจ้งและอธิบายปั ญหาที�เกิดขึน�
ให้ผู้ว่าจ้างทราบ เพื�อหาแนวทางแก้ไขและเจรจาคืนเงิน ประกอบกับการที�วิศวกรได้ยอมรับงานดังกล่าว
โดยใช้ แบบแปลนที�ผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมอื�นได้ออกแบบแปลนไว้แล้วนัน� แม้ว่าจะทําตาม
คําสัง� ของผู ้ว่าจ้างก็ตาม แต่วิศวกรย่อมรู้ว่าหากรับทํางานดังกล่าวอาจมีความผิดทางจรรยาบรรณ
แห่งวิชาชีพวิศวกรรมได้ แต่ปรากฏว่าวิศวกรไม่ได้โต้แย้งผู ้ว่าจ้างแต่อย่างใด และการที�วิศวกรไม่
สามารถจัดหาวุ ฒิวิศวกรมาลงลายมือชื�อในแบบแปลนเพื�อยื�นขออนุญาตก่อสร้างตามมาตรา 39 ทวิ
แห่ง พ.ร.บ. ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 โดยมิได้แจ้งให้ผู้ว่าจ้างทราบ และจงใจหลีกเลี�ยงที�จะติดต่อกับ
ผู ้ว่าจ้าง
คณะกรรมการจรรยาบรรณจึงเห็นควรให้ลงโทษพักใช้ ใบอนุญาตฯ ของวิศวกรโดยมีกําหนดระยะเวลา
2 ปี
[3(3) และ 3(8)/7 และ 14]
ข้อ 8 ผู ้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมต้องปฏิบัติงาน
ตามหลักปฏิบัติและวิชาการ
กรณีศึกษา
สามัญวิศวกร สาขาเครื�องกล ได้รับการว่าจ้างให้ทดสอบและรับรองความปลอดภัยในการใช้ หม้อไอนํา�
ของโรงงานแห่งหนึ�ง โดยได้ลงลายมือชื�อรับรองความปลอดภัยในการใช้ หม้อไอนํา� แต่เมื�อเจ้าหน้าที�กรม
โรงงานอุ ตสาหกรรมได้ทําการตรวจสอบไม่ได้ทําการอัดนํา� (Hydrostatic Test) และวิศวกรได้รับสารภาพ
กับคณะกรรมการจรรยาบรรณว่าไม่ได้อัดนํา� จริง เพราะโรงงานไม่ได้หยุ ดใช้ หม้อไอนํา� และถ่ายเทความร้อน
ก่อน 24 ชม. ในขณะไปตรวจหม้อนํา� ยังคงร้อนอยู ่ ไม่สามารถเข้าไปตรวจสอบภายในได้
คณะกรรมการจรรยาบรรณจึงเห็นสมควรให้ลงโทษพักใช้ ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพของวิศวกร โดยมี
ระยะเวลากําหนด 1 ปี นับแต่วันที�รับทราบคําวินิจฉัยของกรรมการจรรยาบรรณ

[3(2)/8]
ข้อ 9 ผู ้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมต้องไม่ประกอบ
วิชาชีพวิศวกรรมเกินความสามารถและความเชี�ยวชาญที�
ตนเองจะกระทําได้
กรณีศึกษา
ภาคีวิศวกร สาขาวิศวกรรมโยธา ได้รับเป�นผู ้ออกแบบและคํานวณโครงสร้างตลาดสดของเทศบาลแห่งหนึ�ง
ต่อมาปรากฏว่าโครงสร้างของหลังคาเกิดการวิบัติ ข้อเท็จจริงได้ความว่าเกิดการแอ่นตัวของโครงสร้าง
หลังคา เกิดจากการที�วิศวกรใช้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการตรวจสอบ คํานวณ และออกแบบ ในลักษณะ
การวิเคราะห์แบบ 2 มิติ ซึ�งอาจทําให้เกิดความผิดพลาดได้ เนื�องจากโปรแกรมไม่สามารถคํานวณได้ทุกมิติ
และไม่มีความแม่นยําเพียงพอ การปฏิบัติงานในลักษณะดังกล่าวถือว่ายังมีความบกพร่อง และขาดความ
รอบคอบ รวมทัง� ยังมิได้ใช้ ความรู้ความสามารถของตนในฐานะวิศวกรผู ้ออกแบบคํานวณอย่างเต็มที�
อันถือได้ว่าเป�นการปฏิบัติงานที�ไม่ถูกต้องตามหลักปฏิบัติและวิชาการ และการที�วิศวกรผู ้นีไ� ด้ลงลายมือชื�อ
เป�นผู ้ออกแบบและคํานวณอาคารตลาด ซึ�งเป�นอาคารสาธารณะ ตามนิยามในกฎกระทรวงฉบับที� 55
(พ.ศ. 2543)ออกตามความตาม พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 จึงเข้าข่ายเป�นการประกอบวิชาชีพ
วิศวกรรมควบคุมเกินความสามารถที�ตนเองจะกระทําได้
คณะกรรมการจรรยาบรรณจึงเห็นสมควรให้พักใช้ ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมของ
วิศวกร โดยมีกําหนดระยะเวลา 2 ปี แต่เนื�องจากวิศวกรได้ยอมรับสารภาพและให้ความร่วมมือในการให้
ข้อเท็จจริงฯ จึงลดโทษลงกึ�งหนึ�ง คงเหลือพักใช้ ใบอนุญาตเป�นเวลา 1 ปี
[3(2) และ 3(7)/9]
ข้อ 10 ผู ้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมต้องไม่ลงลายมือชื�อ
เป�นผู ้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมในงานที�ตนไม่ได้ทํา
กรณีศึกษา
วิศวกรได้ลงลายมือชื� อในหนังสือรับรองการตรวจและทดสอบการติดตัง� เครื�องอุ ปกรณ์และส่วนควบของ
รถที�ใช้ ก๊าซปิ โตรเลียมเหลวเป�นเชื�อเพลิง โดยหนังสือรับรองดังกล่าวยังมิได้มีการกรอกข้อความจํานวน
หลายฉบับ โดยอ้างว่าเป�นความประสงค์ของเจ้าของสถานประกอบการนัน� ซึ� งเป�นการกระทําที�ขาดความ
ระมัดระวัง โดยอาจมีบุคคลอื�นไปทําการกรอกข้อความในหนังสือรับรองโดยที�ตนเองไม่รู้เห็นด้วยได้และเป�น
การกระทําที�ฝ่าฝื นบทบัญญัติแห่งกฎหมายตามประกาศนายทะเบียนทัว� ราชอาณาจักร เรื�อง การกําหนด
คุณสมบัติของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ นิติบุคคล หรือวิศวกรผู ้ตรวจและทดสอบส่วนควบและเครื�อง
อุ ปกรณ์รวมทัง� การติดตัง� กําหนดแบบหนังสือรับรองการตรวจและทดสอบแบบเครื�องหมายการรับรอง
และการปิ ดเครื�องหมายสําหรับรถที�ใช้ ก๊าซเป�นเชือ� เพลิง ฉบับประกาศลงวันที� 24 กุมภาพันธ์ 2526
คณะกรรมการจรรยาบรรณจึงเห็นสมควรให้ลงโทษพักใช้ ใบอนุญาตฯ ของวิศวกร โดยมีกําหนดระยะเวลา
3 ปี นับแต่วันที�รับทราบคําวินิจฉัยของคณะกรรมการจรรยาบรรณ
[3(9)/10]
ข้อ 11 ผู ้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมต้องไม่โฆษณา
หรือยอมให้ผูอ้ ื�นโฆษณาซ�ึงการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมเกิน
ความเป�นจริง

บทบัญญัติในข้อนีม� วี ัตถุประสงค์เพื�อป้ องกันมิให้ผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรม


ควบคุม แข่งขันกันรับงานโดยการโฆษณา ซ�ึงอาจก่อให้เกิดการแตกแยก เนื�องจากการแย่งงาน
กันทํา และส่งผลให้เกิดการแตกความสามัคคีในกลุ่มผู ้ประกอบวิชาชีพเดียวกัน
ข้อ 12 ผู ้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมต้องไม่เรียกรับ
ยอมจะรับ หรือให้ทรัพย์สิน หรือผลประโยชน์อย่างใดสําหรับ
ตนเองหรือผู ้อื�นโดยมิชอบในการประกอบวิชาชีพวิศวกรรม

บทบัญญัติในข้อนีม� วี ัตถุประสงค์เพื�อให้ผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม เมื�อได้รับงานจาก


ผู ้ว่าจ้างแล้ว ต้องรักษาผลประโยชน์ของผู ้วา่ จ้างเสมือนกับที�วิญ�ู ชนทัว� ไปพึงรักษาผลประโยชน์
ของตนเอง จรรยาบรรณแห่งวิชาชีพในข้อนี� มีเจตนารมณ์เพื�อควบคุมให้ผู้ประกอบวิชาชีพ
วิศวกรรมควบคุมประกอบวิชาชีพของตนเองด้วยความซื�อสัตย์สุจริต ไม่รับผลประ โยชน์อื�น
ที�มิควรได้ นอกจากค่าจ้างที�ได้รับทํางานให้กบั ผู ้ว่าจ้าง เพราะหาก ปล่อยให้ผู้ประกอบวิชาชีพ
วิศวกรรมควบคุมเอารัดเอาเปรียบผู ้ว่าจ้างแล้ว ความเสื�อมศรัทธาต่อบุ คคลและสถาบันแห่ง
วิชาชีพจะเกิดขึน� บทบัญญัติในข้อนีจ� ึงมีวตั ถุประสงค์เพื�อคุ้มครองผลประโยชน์ของบุ คคลทัว� ไปด้วย
ข้อ 13 ผู ้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมต้องไม่ใช้
อํานาจหน้าที�โดยไม่ชอบธรรม หรือใช้ อิทธิพล หรือให้ผลประโยชน์
แก่บุคคลใดเพื�อให้ตนเองหรือผู ้อนื� ได้รับ หรือไม่ได้รับงาน

บทบัญญัติข้อนีม� วี ตั ถุประสงค์เพื�อควบคุมผู ้ได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรม ที�มีอํานาจ


หน้าที�ในตําแหน่งที�สามารถให้คุณให้โทษแก่ผู้อื�นในด้านต่าง ๆ ใช้ อํานาจหน้าที�อนั เป�นการบีบบังคับ
เพื�อให้ตนเองหรือผู ้อื�นได้รับงานหรือบังคับผู ้อื�นไม่ให้งานนัน� แก่ฝ่ายตรงกันข้าม ทัง� นี� งานนัน�
ไม่จําเป�นจะต้องเป�นงานเกี�ยวกับการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม และบุ คคลทัว� ไป หากต้อง
เสียประโยชน์จากการกระทําของผู ้ได้รบั ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพดังกล่าว ก็ถือว่าเป�นผู ้เสียหาย
สามารถร้องเรียนกล่าวหาผู ้ได้รบั ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมนัน� เพื�อให้
คณะกรรมการจรรยาบรรณพิจารณาความผิดทางจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพได้
หมวด 1 จรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ
วิศวกรรม
ส่วนที� 3
จรรยาบรรณต่อผู ้ว่าจ้าง
ข้อ 14 ผู ้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมต้องไม่ละทิง� งาน
โดยไม่มีเหตุอันควร
กรณีศึกษา
ภาคีวิศวกร สาขาวิศวกรรมโยธา ได้รับควบคุมการก่อสร้างอาคารสูง 6 ชัน� ในขณะก่อสร้างถึง
โครงสร้างชัน� ที� 6 ได้ทํานัง� ร้านและแบบชัน� หลังคาแล้วเสร็จ โดยขณะเริม� เทคอนกรีตชัน� หลังคาซึ�งเป�นคาน
ยื�น 6 ม. และพืน� อัดแรง (Post Tension) วิศวกรไม่ได้อยู ่ควบคุมงาน โดมอบหมายให้หัวหน้าคนงานเป�น
ผู ้ดูแลแทน ปรากฏว่านัง� ร้านรับนํา� หนักไม่ไหวจึงยุ บตัว ทําให้แบบแตกพังลงมา และคนงานพลัดตกลงมา
เสียชีวิตหนึ�งราย ได้รับบาดเจ็บอีก 2 ราย กรรมการจรรยาบรรณพิจารณาแล้วเห็นว่า ในวันเกิดเหตุ
วิศวกรได้เข้าไปตรวจความเรียบร้อยก่อนเทคอนกรีต และอยู ่ดูแลจนถึงเที�ยงวันและรู้สึกไม่สบาย จึงได้
กลับไปพักผ่อนที�บ้าน โดยมอบหมายให้หัวหน้าคนงานเป�นผู ้ดูแลแทนนัน� ยังไม่มีนํา� หนักเพียงพอที�จะรับ
ฟังได้เนื�องจากหากวิศวกรไม่สามารถทําการควบคุมงาน หรือจัดให้บุคคลที�มีความรู้ความสามารถใน
ระดับเดียวกันเข้าควบคุมการก่อสร้างแทนตนเองได้ จะต้องสัง� ให้มีการหยุ ดการก่อสร้างในส่วนของ
โครงสร้างที�สําคัญไว้ก่อน ในกรณีนีถ� ือว่าวิศวกรผู ้ควบคุมงานได้ละทิง� งานโครงสร้างที�สําคัญในความ
รับผิดชอบของตนโดยไม่มีเหตุอันควร ประกอบกับมาตรการป้ องกันวัสดุตกหล่นและฝุ ่ นละอองที�ได้จัดทําไว้
นัน� ไม่สมบู รณ์ การกระทําของวิศวกรเป�นการละทิง� งานที�ได้รับทําโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร

คณะกรรมการจรรยาบรรณจึงเห็นควรให้ลงโทษพักใช้ ใบอนุญาตฯ ของวิศวกรโดยมีกําหนดระยะเวลา


1 ปี 6 เดือน

[3(8)/14]
ข้อ 15 ผู ้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมต้องไม่เปิ ดเผยความลับ
ของงานที�ตนทํา เว้นแต่ได้รับความยินยอมเป�นลายลักษณ์อักษร
จากผู ้ว่าจ้าง หรือเป�นการเปิ ดเผยข้อมู ลตามกฎหมาย
กรณีศึกษา
นายทองม้วน (ภาคีวิศวกร สาขาวิศวกรรมโยธา) ได้รับการว่าจ้างจากนายทองแดง ซึ� งเป�นผู ้รับเหมา
ให้ออกแบบโครงสร้างและควบคุมการก่อสร้างอาคาร ค.ส.ล. 3 ชัน� วิศวกรจึงได้จัดทําเอกสารประมาณ
ราคาแสดงปริมาณงานและค่าแรง (BOQ)ให้นายทองแดง แต่ปรากฏว่าในระหว่างการทํางานวิศวกรได้
แอบเก็บสําเนาข้อมู ลการก่อสร้างทุกรายการโดยมีเจตนาไม่สุจริต และได้นําไปแสดงให้เจ้าของอาคารดู
จนเป�นเหตุให้ผู้รับเหมากับเจ้าของอาคารเกิดการทะเลาะกันในเรื�องราคาวัสดุก่อสร้าง
เนื�องมาจากวิศวกรได้นําเอกสารเกี�ยวกับงานก่อสร้างไปมอบให้เจ้าของอาคารโดยมิได้รับอนุญาตจาก
ผู ้ว่าจ้าง จึงถือได้ว่าวิศวกรได้เปิ ดเผยความลับของงานที�ตนได้รับทําโดยมิได้รับอนุญาตจากผู ้ว่าจ้าง
คณะกรรมการจรรยาบรรณจึงเห็นควรให้ลงโทษภาคทัณฑ์วิศวกร
[3(8)/14]
ข้อ 16 ผู ้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมต้องไม่รับดําเนินงาน
ชิน� เดียวกันให้แก่ผู้ว่าจ้างรายอื�นเพื�อการแข่งขันด้านเทคนิค
หรือราคา เว้นแต่ได้แจ้งให้แก่ผู้ว่าจ้างรายแรกทราบล่วงหน้า
เป�นลายลักษณ์อักษร หรือได้รับความยินยอมเป�นลายลักษณ์
อักษรจากผู ้ว่าจ้างรายแรก และได้แจ้งให้ผู้ว่าจ้างรายอื�นนัน� ทราบ
ล่วงหน้าแล้ว

บทบัญญัติในข้อนีม� วี ัตถุประสงค์เพื�อป้ องกันไม่ให้วิศวกรรับทํางานเสนอราคาให้บริษัทใดแล้ว ไม่


ควรจะรับทํางานเสนอราคาให้กับบริษัทอื�นอีกเพื�อป้ องกันมิให้เกิดความแตกแยกความสามัคคีใน
กลุ่มของผู ้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมด้วยกัน
หมวด 1 จรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ
วิศวกรรม
ส่วนที� 4
จรรยาบรรณต่อผู ้ร่วมวิชาชีพ
ข้อ 17 ผู ้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมต้องไม่แย่งงาน
จากผู ้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมอื�น เพื�อประโยชน์
ของตนเองหรือผู ้อื�นโดยมิชอบ

บทบัญญัติในข้อนีม� วี ัตถุประสงค์เพื�อป้ องกันมิให้เกิดความแตกแยก ไม่มีความสามัคคีระหว่างผู ้


ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมด้วยกันเช่ น การไม่เสนอผลประโยชน์เพื�อให้ตนเองได้งาน
โดยมิชอบด้วยกฎหมาย เช่ น การฮัว� ประมู ล
ข้อ 18 ผู ้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมต้องไม่รับทํางาน
หรือตรวจสอบงานชิ�นเดียวกันกับที�ผู้ประกอบวิชาชีพ
วิศวกรรมควบคุมอื�นทําอยู ่ เว้นแต่เป�นการปฏิบัติตามหน้าที�
หรือเป�นความประสงค์ของเจ้าของงานและได้แจ้งเป�น
ลายลักษณ์อักษรให้ผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมอืน� นัน�
ทราบล่วงหน้าแล้ว
กรณีศึกษา
สามัญวิศวกร สาขาวิศวกรรมโยธา ได้รับงานออกแบบโรงงานแปรรูปเนือ� ไก่ให้กับบริษัทแห่งหนึ�ง โดยก่อน
รับงานได้เดินทางไปดูสถานที�ก่อสร้าง และพบว่าได้มีการตอกเสาเข็มไปบางส่วนแล้วประมาณร้อยละ 40
ซึ� งส่วนใหญ่เป�นเข็มกลุ่ม จึงคาดว่าได้มีผู้ออกแบบก่อนแล้วและได้แจ้งให้ผู้ว่าจ้างได้แจ้งให้ผู้ออกแบบเดิม
ทราบก่อน ต่อมาได้รับใบสัง� งานจากผู ้ว่าจ้าง จึงได้จึงเข้าใจว่าผู ้ว่าจ้างได้แจ้งให้ผู้ออกแบบเดิมทราบแล้ว
จึงได้ทําการออกแบบตามที�ได้รับการว่าจ้าง โดยมิได้มีการติดตามทวงถามว่าได้แจ้งให้ผู้ออกแบบเดิม
ทราบก่อนแล้วหรือไม่ จึงเป�นพฤติกรรมที�ไม่เหมาะสม เพราะวิศวกรยังคงมีหน้าที�ต้องติดต่อประสานงาน
ไปยังผู ้ออกแบบเดิมก่อน เพื�อให้รับทราบล่วงหน้าถึงการเข้ามาประกอบวิชาชีพของตน
การกระทําของวิศวกรดังกล่าวจึงเป�นการรับทํางานหรือตรวจสอบงานชิน� เดียวกันกับที�ผู้ประกอบวิชาชีพ
วิศวกรรมควบคุมอื�นทําอยู ่
คณะกรรมการจรรยาบรรณจึงเห็นควรให้ลงโทษตักเตือน
[3(12)/16]
ข้อ 19 ผู ้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมต้องไม่ใช้ หรือ
กระทําการในลักษณะคัดลอกแบบ รูป แผนผัง หรือเอกสาร
ที�เกี�ยวกับงานของผู ้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมอื�น เว้นแต่
จะได้รับอนุญาตเป�นลายลักษณ์อักษรจากผู ้ประกอบวิชาชีพ
วิศวกรรมควบคุมนัน�
บทบัญญัติในข้อนีม� วี ัตถุประสงค์เพื�อควบคุมความประพฤติของผู ้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรม
ควบคุม ให้มีความซื�อสัตย์ตอ่ เพื�อนร่วมวิชาชีพเดียวกัน มิให้เอารัดเอาเปรียบซ�ึงกันและกัน
เกี�ยวกับแบบ และรายการคํานวณอันเป�นเอกสารที�เกี�ยวข้องกับงานของผู ้ประกอบวิชาชีพ
วิศวกรรมควบคุม
ข้อ 20 ผู ้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมต้องไม่อา้ งผลงาน
ของผู ้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมอื�น มาเป�นของตน
ในการประกอบวิชาชีพวิศวกรรม

บทบัญญัติในข้อนีม� วี ัตถุประสงค์เพื�อไม่ให้ผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมอ้างผลงานของ
ผู ้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมอื�นมาใช้ เป�นประโยชน์ตอ่ การประกอบวิชาชีพวิศวกรรม
ของตน
ข้อ 21 ผู ้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมต้องไม่กระทําการใด ๆ
โดยจงใจให้เป�นที�เสื�อมเสียแก่ชื�อเสียง หรืองานของผู ้ประกอบ
วิชาชีพวิศวกรรมควบคุมอื�น

วิศวกรจะต้องไม่กระทําการใดๆ ที�จะเป�นการ Discredit วิศวกรอื�น คือ ต้องมีความซื�อสัตย์


ต่อเพื�อนร่วมวิชาชีพ โดยไม่กระทําการใด ๆ ให้เป�นที�เสื�อมเสียแก่ชื�อเสียง หรือผลงานของ
ผู ้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมอื�น
หมวด 1 จรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ
วิศวกรรม
ส่วนที� 5
เรื�องอื�น ๆ
ข้อ 22 ผู ้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมต้องไม่กระทําความผิด
ในการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมตาประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 227 หรือมาตรา 269 จนศาลมีคําพิพากษาถึงที�สุด
ว่ามีความผิด

ตามมาตรา 227 กําหนดไว้วา่ ผู ้ใดเป�นผู ้มีวิชาชีพไม่ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์หรือวิธีการอันพึง


กระทําการนัน� โดยประการที�นา่ จะเป�นเหตุให้เกิดอันตรายแก่บุคคลอื�น ต้องระวางโทษ และมาตรา
269 กําหนดไว้วา่ ผู ้ใดในการประกอบการงานในวิชาชีพ ทําคํารับรองเป�นเอกสารอันเป�นเท็จ
โดยประการที�นา่ จะเกิดความเสียหายแก่ผู้อื�นหรือประชาชน ต้องระวางโทษ
หมวด 2 การประพฤติผิดจรรยาบรรณ
อันจะนํามาซ�ึงความเสื�อมเสียเกียรติศกั ดิ�
แห่งวิชาชีพ
ข้อ 23 กรณีท�ีจะถือเป�นการประพฤติผิดจรรยาบรรณ
อันจะนํามาซ�ึงความเสื�อมเสียเกียรติศกั ดิ�แห่งวิชาชีพ มีดังต่อไปนี�

(1) ฝ่ าฝื นหรือไม่ปฏิบัติตามจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพวิศวกรรมตามข้อบังคับนี� และเป�นการ


กระทําโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง จนเป�นเหตุให้บุคคลอื�นต้องได้รบั ความเสียหาย
อย่างร้ายแรงต่อชีวติ ร่างกาย หรือทรัพย์สิน
(2) เคยถูกลงโทษโดยคําสัง� ถึงที�สุด เนื�องจากประพฤติผิดจรรยาบรรณ ตามมาตรา 61 แห่ง
พระราชบัญญัตวิ ศิ วกร พ.ศ. 2542 แต่ยังประพฤติผิดซ��า หรือไม่หลาบจํา หรือไม่มีความ
เกรงกลัวต่อการประพฤติผิดจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพวิศวกรรม
(3) กระทําความผิดในการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 227
หรือมาตรา 269 โดยคําพิพากษาถึงที�สุดให้จาํ คุก
(4) กรณีอื�นที�คณะกรรมการจรรยาบรรณเห็นว่าเป�นการประพฤติผิดจรรยาบรรณอันจะนํามาซ�ึง
ความเสื�อมเสียเกียรติศกั ดิ�แห่งวิชาชีพ
บทบัญญัติในข้อนีเ� ป�นกฎเกณฑ์ท�มี ีลกั ษณะกว้าง เพื�อให้ครอบคลุมพฤติกรรม หรือลักษณะการ
ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมของวิศวกรผู ้ได้รบั ใบอนุญาต ให้ตงั � อยู ่บนพืน� ฐานของความ
ซื�อสัตย์สุจริต ยึดมัน� อยู ใ่ นหลักศีลธรรมอันดี มีความภาคภูมิใจในเกียรติศกั ดิ�ศรีแห่งวิชาชีพของ
ตนเอง
อายุ ความในการกล่าวหาหรือกล่าวโทษ
พระราชบัญญัติวิศวกร พ.ศ. 2542 มาตรา 51 อายุ ความ 1 ปี นับแต่

นับแต่รู้เรื�อง
การประพฤติผิด และ นับแต่รู้ตัว
จรรยาบรรณ ผู ้ประพฤติผิด
แห่งวิชาชีพ
กรณีโรงแรมพังถล่ม

13 สิงหาคม 2536 โรงแรมที�จังหวัดนครราชสีมา ถล่มลงมาอย่างรุ นแรงและฉับพลัน โดยเฉพาะส่วนที�


ต่อเติมจากเดิม 3 ชัน� เป�น 6 ชัน� คงเหลือไว้เฉพาะอาคารสร้างใหม่ด้านหน้าส่วนที�เป�นโถงลิฟท์ ส่วนด้าน
ในซึ� งเป�นอาคารที�ต่อเติมจาก 3 ชัน� เป�น 4 ชัน� ได้ถูกฉุดให้พังทลายเข้าส่วนกลาง การพังทลายจะมี
ลักษณะที�เสาถูกทําลายจนหมดทุกชัน� ทําให้พืน� และคานของอาคารทัง� 6 ชัน� ร่วงลงมากองซ้ อนๆ กัน
เหลือความสูงเพียงประมาณ 5 เมตร เท่านัน� ในขณะเกิดเหตุได้มีผู้อยู ่ในอาคาร 379 คน
กรณีโรงแรมพังถล่ม
รายงานจากกองอํานวยการเฉพาะกิจเพื�อช่ วยเหลือและค้นหาผู ้ประสบภัย ซึ� งยุ ติการค้นหา
ณ วันที� 3 กันยายน 2536 สรุ ปว่าพบผู ้เสียชีวิต 137 ศพ บาดเจ็บ 227 คน ซึ� งส่วนใหญ่เป�น
ข้าราชการครูกรมสามัญศึ กษาที�จัดสัมมนาอยู ่ในโรงแรม สาเหตุการวิบัติของอาคารเกิดจาก
การต่อเติมอาคารโดยผิดหลักปฏิบัติและวิชาการ
ในส่วนคดีอาญาและคดีแพ่งเพื�อชดใช้ ค่าเสียหายให้กับผู ้ที�ได้รับบาดเจ็บและเสียชี วิตนัน� เรื�อง
ของคดีได้สิน� สุดที�ศาลฎีกาตัง� แต่ ปี 2546 แล้ว โดยคดีอาญา ศาลได้พิพากษาลงโทษจําคุก
วิศวกรผู ้ออกแบบและควบคุมอาคาร เป�นเวลา 37 ปี
เมื�อวันที� 3 มีนาคม 2552 ศาลอุ ทธรณ์จังหวัดนครราชสีมาได้พิพากษาให้จําเลยที� 3 คือ
เทศบาลเมื อ งนครราชสี ม า ในขณะนั �น จํ า เลยที� 6 บริ ษั ท ผู ้ รั บ เหมาก่ อ สร้ า ง จํ า เลยที� 7
เจ้า ของบริ ษั ทรั บเหมาก่ อ สร้ า ง และจํ า เลยที� 8 วิ ศวกร บ.ร่ ว มกั บจํ า เลยที� 1 คื อ วิ ศ วกร
ผู ้ออกแบบและควบคุมอาคาร ร่วมกันช�าระค่าเสียหายให้กับบริษัทโจทย์ผู้ยื�นฟ้ อง เป�นจํานวน
เงิน 152,232,034.70 บาท (หนึ�งร้อยห้าสิบสองล้านสองแสนสามหมื�นสองพันสามสิบสี�บาท
เจ็ดสิบสตางค์) พร้อมดอกเบีย� อัตราร้อยละ 7.5 ต่อปี นับตัง� แต่วันที� 13 สิงหาคม 2536 เป�น
ต้นไป (ดอกเบีย� อีกประมาณ 200 ล้านบาท)
เมื�อพบเรื�องที�ไม่ชอบธรรม
ถ้าแก้ไขไม่ได้
ให้เลี�ยง และอย่าทําเสียเอง

“ประกอบวิชาชีพด้วยความระมัดระวัง”
Thank you.

You might also like