You are on page 1of 140

วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

The Engineering Institute of Thailand under His Majesty the King’s Patronage
คณะกรรมการสาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม
(Standard of Industrial Inspection)

รศ.ดร.ประจวบ กล่อมจิตร
มาตรฐาน วสท 041002- 61 ประธานสาขาวิศวกรรมตุสาหการ วสท.
EIT Standard 041002- 18 (วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์) 1
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม คานา

คานา
สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) เป็นหนึ่งในสถาบันวิชาการด้านวิศวกรรมที่มีส่วนร่วม
รับผิดชอบต่อวงการวิศวกรรมของไทย นโยบายสาคัญของ วสท. ประการหนึ่งคือ ส่งเสริมการจัดทา ตารา คู่มือ และมาตรฐานด้านการ
ประกอบวิชาชีพ เพื่อเป็นแหล่งอ้างอิงที่เชื่อถือได้ และสามารถนาไปใช้ประโยชน์ให้เกิดประสิทธิผลต่อบุคคลและวงการวิศวกรรมของไทย
วสท. เป็นสมาคมวิชาชีพที่รวมความรู้งานวิศวกรรมในสาขาต่างๆ มากกว่า 10 สาขา ซึ่งสาขาวิศวกรรมอุตสาหการเป็นสาขา
หนึ่ง มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรมเป็นมาตรฐานของสาขาที่ออกมาเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้เกี่ยวข้อง ไม่ว่าจะเป็น
เจ้าของสถานประกอบการ วิศวกร ช่าง ผู้รับเหมาก่อสร้าง ที่ปรึกษาในการจัดการโรงงานเรื่องการตรวจสอบโรงงานซึ่งต้องมีองค์ความรู้ใน
งานวิศวกรรมเพื่อใช้ในการตรวจสอบดังกล่าวเพื่อความปลอดภัย เหมาะสมในการใช้งาน ซึ่งคณะทางานจัดทามาตรฐานได้อุทิศเวลาให้กับ
การจัดทามาตรฐานฉบับนี้จนมาตรฐานแล้วเสร็จสามารถจัดพิมพ์เพื่อเผยแพร่ให้ผู้ใช้งานเพื่อการอ้างอิงต่อไป
ในการนี้ วสท. ขอขอบพระคุณกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ และคณะทางานทุกท่านไว้ ณ ที่นี้ และหากผู้ใช้มาตรฐานมีข้อคิดเห็น
ข้อแนะนาประการใด กรุณาแจ้งให้ วสท. ทราบเพื่อจะได้ใช้เป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาปรับปรุงมาตรฐานในโอกาสต่อไป

คณะทางานจัดทามาตรฐาน
การบริหารความปลอดภัยในโรงงานอุตสาหกรรม
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์

2
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม สารบัญ

สารบัญ
• คานา
• คณะกรรมการ
• สารบัญ
• บทนา
• บทที่ 1 การประกอบกิจการโรงงานอุตสาหกรรมและทาเลที่ตั้ง
▪ 1.1 ขอบเขต
▪ 1.2 มาตรฐานการตรวจสอบการประกอบกิจการโรงงานอุตสาหกรรม
▪ 1.3 มาตรฐานการตรวจสอบทาเลที่ตั้ง การประกอบกิจการโรงงานอุตสาหกรรม
• บทที่ 2 อาคารโรงงานอุตสาหกรรม
▪ 2.1 ขอบเขต
▪ 2.2 มาตรฐานการตรวจสอบอาคารโรงงานอุตสาหกรรม
3
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม สารบัญ

สารบัญ (ต่อ)
• บทที่ 3 เครื่องจักร ระบบไฟฟ้า และอุปกรณ์
▪ 3.1 ขอบเขต
▪ 3.2 มาตรฐานการตรวจสอบ เครื่องจักร ระบบไฟฟ้า และอุปกรณ์
• บทที่ 4 สภาพแวดล้อมในการทางานและความปลอดภัย
▪ 4.1 ขอบเขต
▪ 4.2 มาตรฐานการตรวจสอบสภาพแวดล้อมในการทางาน
▪ 4.3 มาตรฐานการตรวจสอบด้านอุปกรณ์ดับเพลิง
▪ 4.4 มาตรฐานการตรวจสอบด้านวัตถุอันตราย
• บทที่ 5 สิ่งแวดล้อมและของเสีย
▪ 5.1 ขอบเขต
▪ 5.2 มาตรฐานการตรวจสอบด้านสิ่งแวดล้อม

4
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม สารบัญ

สารบัญ (ต่อ)
• บทที่ 6 บุคลาการในโรงงาน
▪ 6.1 ขอบเขต
▪ 6.2 มาตรฐานการตรวจสอบคนงานและบุคลาการในโรงงาน
• บทที่ 7 อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ในโรงงาน
▪ 7.1 ขอบเขต
▪ 7.2 มาตรฐานการการตรวจสอบ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ในโรงงาน
• บทที่ 8 การตรวจวัด จัดทารายงานและการส่งรายงาน
▪ 8.1 ขอบเขต
▪ 8.2 มาตรฐานการการตรวจสอบ การตรวจวัด จัดทารายงายและการส่งรายงาน
• ภาคผนวก
▪ ก. ชนิดและประเภทของสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วและวิธีการกาจัด

5
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทนา

บทนา
หลักการและเหตุผล
ตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 กาหนดให้ผู้ประกอบกิจการโรงงานต้องดาเนินการ
ขออนุญาตประกอบกิจการโรงงาน และมีหน้าที่ในการประกอบกิจการโรงงานอุตสาหกรรมให้เป็นไป
ตามกฎหมาย
คณะทำงำนจัดทำมำตรฐำนกำรตรวจสอบโรงงำนอุตสำหกรรม วิศวกรรมสถำนแห่งประเทศ
ไทยในพระบรมรำชูปถัมภ์ จึงได้จัดทำมำตรฐำนกำรตรวจสอโรงงำนอุตสำหกรรมขึ้น เพื่อรองรับ
ภำรกิจในกำรปฏิบัติงำนด้ำนกำรตรวจสอบโรงงำนอุตสำหกรรม โดยรวบรวมจำกกฎหมำยต่ำง ๆ ที่
เกี่ยวข้อง พระรำชบัญญัติพระรำชบัญญัติโรงงำน รวมถึงหลักกำร และมำตรฐำนต่ำง ๆ ทั้งในและ
ต่ำงประเทศ แล้วปรับปรุงให้เหมำะสม

1Occupational Safety and Health Administration: Standards for General Industrial (OSHA 1910)
6
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม วัตถุประสงค์

วัตถุประสงค์
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม จัดทาขึ้นเพื่อรองรับภารกิจในการ
ปฏิบัติงานด้านการตรวจโรงงานอุตสาหกรรม เป็นมาตรฐานอ้างอิงและเผยแพร่แก่ผู้ใช้
ด้านการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม หรืองานด้านอื่นที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งเพื่อเผยแพร่
แก่ผู้สนใจทั่วไป

7
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม ขอบเขต

ขอบเขต
งานตรวจสอบโรงงานจะเป็นงานที่อยู่ในความรับผิดชอบของวิศวกร ผู้ซึ่งเป็น
สมาชิกสภาวิศวกรและถือใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมจากสภา
วิศวกร
ปัจจุบันมีวิศวกรบางส่วน รวมทั้งบุคคลที่เกี่ยวข้องอีกเป็นจานวนมาก มีความ
ประสงค์ที่จะทราบการแนวทางการตรวจสอบโรงงานภาคปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วย
โรงงานและกฎหมายที่เกี่ยวข้องบัญญัติไว้ ซึ่งมาตรฐานนี้จะกล่าวถึงมาตรฐานการ
ตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งจะต้องใช้องค์ความรู้และข้อกาหนดต่าง ๆ ที่
เกี่ยวข้องจึงจะสามารถตรวจสอบโรงงาน เป็นไปอย่างได้มาตรฐานและเป็นไปตาม
ข้อกาหนดในเรื่องความปลอดภัย เพื่อให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของกฎหมายว่าด้วย
วิศวกร กฎหมายว่าด้วยโรงงาน และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง

8
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 1 การประกอบกิจการโรงงานอุตสาหกรรมและทาเลทีต่ ั้ง

บทที่ 1 การประกอบกิจการโรงงานอุตสาหกรรมและทาเลที่ตั้ง
กำรประกอบกิจกำรโรงงำนอุตสำหกรรมและทำเลที่ตั้ง จะพิจำรณำตำมที่กฎหมำยว่ำด้วยโรงงำนและกฎหมำยที่เกี่ยวข้อง
บัญญัติไว้ ทำให้งำนตรวจสอบโรงงำนเป็นไปอย่ำงได้มำตรฐำน เป็นไปตำมข้อกำหนดในเรื่องกำรขออนุญำต เพื่อให้เกิดควำม
ปลอดภัยและมีมำตรฐำน ตำมเจตนำรมณ์ของกฎหมำยว่ำด้วย กฎหมำยโรงงำน และกฎหมำยอื่นที่เกี่ยวข้อง
1.1 ขอบเขต
มำตรฐำนที่กล่ำวถึงในหัวข้อนี้เป็นมำตรฐำนเพื่อกำหนดมำตรฐำนกำรดำเนินกำร ตำมกฎหมำยและมำตรฐำนต่ำง ๆ ที่
ต้องทำกำรตรวจสอบ
1.2 มาตรฐานการตรวจสอบการประกอบกิจการโรงงานอุตสาหกรรม
1.2.1 โรงงำนที่ได้รับกำรยกเว้นจำกกำรปฏิบัติตำมพระรำชบัญญัติโรงงำน ทั้งหมดหรือบำงส่วน ประกอบด้วย 1.1
1.2.1.1 โรงงำนของทำงรำชกำร
1.2.1.2 โรงงำนที่มีวัตถุประสงค์เพื่อที่ศึกษำวิจัย
1.2.1.3 โรงงำนของสถำบันกำรศึกษำ ในส่วนที่มีวัตถุประสงค์เพื่อกำรฝึกอบรม
1.2.1.4 โรงงำนที่ดำเนินงำนลักษณะเป็นอุตสำหกรรมในครอบครัว
1.2.1.5 โรงงำนที่ดำเนินงำนอันมีลักษณะ ที่จำเป็นและเกี่ยวเนื่องกับกิจกำรที่มิใช่โรงงำน และตั้งอยู่ในพื้นที่เดียวกัน
1.2.2 กำรนำเครื่องจักรสำหรับประกอบกิจกำรโรงงำน มำติดตั้งในอำคำร สถำนที่ หรือ ยำนพำหนะ ที่จะประกอบกิจกำร
โรงงำน หรือนำคนงำนมำประกอบกิจกำรโรงงำน ในกรณีที่ไม่มีกำรใช้เครื่องจักร ต้องได้รับใบอนุญำตประกอบกิจกำรโรงงำน
1.1
9
1.1 1. พระรำชบัญญัติโรงงำน พ.ศ.2535, 2. พระรำชบัญญัติโรงงำน ฉบับที่ 2 พ.ศ.2562
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 1 การบริหารความปลอดภัยระดับนโยบาย

1.2.3 โรงงำนตำมพระรำชบัญญัติโรงงำน แบ่งเป็น 3 จำพวก ได้แก่ 1.1


1.2.3.1 โรงงำนจำพวกที่ 1 ได้แก่โรงงำนประเภท ชนิด และขนำด ที่สำมำรถประกอบกิจกำรโรงงำนได้ทันทีตำมควำม
ประสงค์ของผู้ประกอบกิจกำรโรงงำน
1.2.3.2 โรงงำนจำพวกที่ 2 ได้แก่ โรงงำนประเภท ชนิด และขนำดที่เมื่อจะประกอบกิจกำรโรงงำนต้องแจ้งให้พนักงำน
เจ้ำหน้ำที่ทรำบ
1.2.3.3 โรงงำนจำพวกที่ 3 ได้แก่โรงงำนประเภท ชนิด และขนำด ที่กำรตั้งโรงงำนจะต้องได้รับอนุญำตก่อนจึงจะดำเนินกำร
ได้ เมื่อได้รับใบอนุญำตแล้ว ให้ดำเนินกำร ดังนี้
(1) ให้แสดงไว้ในที่เปิดเผยเห็นได้ง่ำยในโรงงำน ถ้ำประสงค์จะประกอบกิจกำรโรงงำนในส่วนหนึ่งส่วนใด ต้องแจ้ง
ให้พนักงำนเจ้ำหน้ำที่ทรำบ ไม่น้อยกว่ำ 15 วัน ก่อนเริ่มประกอบกิจกำร หรือถ้ำจะมีกำรทดลองเดินเครื่องจักร ก่อนเริ่มประกอบกิจกำร
ต้องแจ้งวัน เวลำ และระยะเวลำกำรทดลองเดินเครื่องจักรให้พนักงำนเจ้ำหน้ำที่ทรำบไม่น้อยกว่ำ 15 วัน
(2) ต้องปฏิบัติตำมเงื่อนไขท้ำยใบอนุญำต และหำกต้องกำรยกเลิกหรือเปลี่ยนแปลงเงื่อนไข ให้ยื่นคำขอและชี้แจง
เหตุผลต่อผู้อนุญำต
(3) เมื่อต้องกำรเปลี่ยนชื่อ ให้แจ้งผู้ออกใบอนุญำตทรำบ
1.2.4 เอกชนสำมำรถดำเนินกำรจัดทำรำยงำนผลกำรตรวจสอบแทนกำรปฏิบัติหน้ำที่ของพนักงำนเจ้ำหน้ำที่ได้ และต้องได้รับ
ใบอนุญำตจำกผู้อนุญำต มีอำยุ 3 ปี 1.1
1.2.5 โรงงำนที่ได้รับอนุญำต แล้ว หำกต้องกำรจะขยำยโรงงำน ต้องได้รับอนุญำตก่อนถึงจะดำเนินกำรได้
1.2.6 กำรเพิ่มประเภทหรือชนิดของกำรประกอบกิจกำรโรงงำน ที่เกี่ยวเนื่องกับกำรประกอบกิจกำรเดิม ต้องแจ้งเป็นหนังสือต่อ
พนักงำนเจ้ำหน้ำที่ ก่อนกำรดำเนินกำร ไม่น้อยกว่ำ 15 วัน 1.1
10
1.1 1. พระรำชบัญญัติโรงงำน พ.ศ.2535, 2. พระรำชบัญญัติโรงงำน ฉบับที่ 2 พ.ศ.2562
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 1 การบริหารความปลอดภัยระดับนโยบาย

1.2.7 ผู้รับใบอนุญำตตั้งโรงงำนที่ไม่สำมำรถตั้งโรงงำน หรือตั้งโรงงำนแล้ว แต่ไม่อำจเริ่มประกอบกิจกำรโรงงำนได้


สำมำรถโอนใบอนุญำตได้ โดยให้ผู้ประสงค์จะรับโอนใบอนุญำต ยื่อคำขอต่อผู้อนุญำต ภำยใน 30 วัน นับแต่วันที่มีกำรโอน
ใบอนุญำต ให้เช่ำหรือให้เช่ำซื้อโรงงำน หรือขยำยโรงงำน 1.1
1.2.8 กรณีผู้รับใบอนุญำตตำย ให้ทำยำทหรือผู้จัดกำรมรดก ยื่อคำขอรับโอนใบอนุญำต ต่อผู้อนุญำต ภำยใน 90 วัน นับ
แต่วันที่ ผู้รับใบอนุญำตตำย หรือภำยในระยะเวลำที่ผอู้ นุญำตพิจำรณำกำหนดเพิ่มเติมตำมควำมจำเป็น หำกไม่ยื่นตำมระยะเวลำ
ที่กำหนด และประสงค์จะประกอบกิจกำรโรงงำนต่อไป ให้ดำเนินกำรขอรับใบอนุญำตใหม่ 1.1
1.2.9 ผู้รับใบอนุญำต ประสงค์จะเลิกประกอบกิจกำรโรงงำน ให้แจ้งเป็นหนังสือต่อผู้อนุญำต ไม่น้อยกว่ำ 30 วัน ก่อนวัน
เลิกประกอบกิจกำร และหำกผู้อนุญำตเห็นว่ำ โรงงำนมีสภำพอำจก่อให้เกิดควำมเสียหำยหรือควำมเดือดร้อนแก่บุคคล ทรัพย์สิน
หรือสิ่งแวดล้อมที่อยู่ใกล้เคียงกับโรงงำน สำมำรถสั่งให้ปรับปรุงแก้ไขได้ หำกไม่ปฏิบัติตำมคำสั่ง และทำงรำชกำรต้องเข้ำไป
จัดกำรแก้ไข ผู้ประกอบกำรต้องเป็นผู้เสียค่ำใช้จ่ำยในกำรเข้ำไปจัดกำรนั้น ตำมจำนวนที่จ่ำยจริง รวมกับเบี้ยปรับในอัตรำ ร้อยละ
30 ต่อปีของเงินจำนวนดังกล่ำว 1.1
1.2.10 ผู้รับใบอนุญำต ประสงค์จะเปลี่ยนแปลง โรงงำนจำพวกที่ 3 เป็นโรงงำนจำพวกที่ 1 หรือโรงงำนจำพวกที่ 2 ให้
แจ้งเลิกประกอบกิจกำรโรงงำน 1.1
1.2.11 เมื่อโรงงำนหยุดดำเนินงำนติดต่อกันเกินกว่ำ 1 ปี ต้องแจ้งเป็นหนังสือให้พนักงำนเจ้ำหน้ำที่ทรำบ ภำยใน 7 วัน
นับแต่วันพ้นกำหนด 1 ปี และเมื่อจะประกอบกิจกำรโรงงำนใหม่ หำกเป็นโรงงำนจำพวกที่ 2 ต้องแจ้งเป็นหนังสือให้พนักงำน
เจ้ำหน้ำที่ทรำบ ก่อนเริ่มประกอบกิจกำร หำกเป็นโรงงำนจำพวกที่ 3 ต้องได้รับอนุญำตจำกผู้อนุญำต ก่อนจึงจะประกอบกิจกำร
โรงงำนได้ 1.1
1.1 1. พระรำชบัญญัติโรงงำน พ.ศ.2535, 2. พระรำชบัญญัติโรงงำน ฉบับที่ 2 พ.ศ.2562 11
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 1 การบริหารความปลอดภัยระดับนโยบาย

1.2.12 กำรก่อสร้ำงอำคำร ดัดแปลงอำคำร รื้อถอนอำคำร เคลื่อนย้ำยอำคำร ต้องได้รับอนุญำต จำกเจ้ำพนักงำนท้องถิ่น และเมื่อ


เริ่มก่อสร้ำง ต้องแจ้งชื่อผู้ควบคุมงำน ให้เจ้ำพนักงำนท้องถิ่นทรำบ เมื่อสร้ำงแล้วเสร็จต้องแจ้งให้เจ้ำพนักงำนท้องถิ่นทรำบก่อนเข้ำใช้
อำคำร ต้องใช้อำคำรเพื่อกิจกำรตำมที่ระบุไว้ในใบอนุญำต และแสดงไว้ในที่เปิดเผย 1.2
1.2.13 ใบอนุญำตก่อสร้ำงอำคำร ดัดแปลงอำคำร รื้อถอนอำคำร เคลื่อนย้ำยอำคำร จะโอนแก่กันไม่ได้ เว้นแต่ได้รับอนุญำตจำก
เจ้ำพนักงำนท้องถิ่น 1.2
1.2.14 อำคำรโรงงำนตั้งแต่ 2 ชั้นขึ้นไป ที่มีพื้นที่ใช้สอย ตั้งแต่ 5,000 ตำรำงเมตร หรือ อำคำร 1 ชั้น ที่มีพื้นที่ใช้สอย ตั้งแต่
10,000 ตำรำงเมตรต้องจัดให้มีผู้ตรวจสอบด้ำนวิศวกรรมหรือผู้ตรวจสอบด้ำนสถำบัตยกรรม แล้วรำยงำนต่อเจ้ำพนักงำนท้องถิ่น 1.2
1.2.15 อำคำรที่มีพื้นที่ใช้สอย ตั้งแต่ 10,000 ตรำรำงเมตร ขึ้นไป ต้องจัดให้มีกำรประกันภัย ต่อชีวิต ร่ำงกำย และทรัพย์สินของ
บุคคลภำยนอก 1.3
1.2.16 กำรก่อสร้ำงอำคำรหรือสิ่งปลูกสร้ำง ล่วงล้ำเข้ำไป เหนือน้ำ ในน้ำและใต้น้ำ ของแม่น้ำ ลำคลอง บึง อ่ำงเก็บน้ำ ทะเลสำบ หรือ
ทะเลในน่ำนน้ำไทย ต้องได้รับอนุญำตจำกเจ้ำท่ำ 1.4
1.2.17 กำรเททิ้ง หิน กรวด ทรำย ดิน โคลน อับเฉำ สิ่งของหรือสิ่งปฏิกูล รวมทั้งน้ำมันและเคมีภัณฑ์ ลงในแม่น้ำ ลำคลอง บึง
อ่ำงเก็บน้ำ ทะเลสำบ หรือทะเลในน่ำนน้ำไทย ต้องได้รับอนุญำต จำกเจ้ำท่ำ 1.4
1.2.18 กำรขุดลอก แก้ไข เปลี่ยนแปลง ร่องน้ำ ทำงเดินเรือ แม่น้ำ ลำคลอง หรือทะเลภำยในน่ำนน้ำไทย ต้องได้รับอนุญำตจำกเจ้ำ
ท่ำ1.4
1.1 1. พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.2535, 2. พระราชบัญญัติโรงงาน ฉบับที่ 2 พ.ศ.2562
1.2 1. พระรำชบัญญัติควบคุมอำคำร พ.ศ.2522, 2. พระรำชบัญญัติควบคุมอำคำร ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2535 , ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2543 , ฉบับที่ 4 พ.ศ.2550
1.3 กฎกระทรวง ออกตำมควำมในพระรำชบัญญัตควบคุมอำคำร กำหนดชนิดหรือประเภทของอำคำรหรือผู้ครอบครองอำคำรหรือผู้ดำเนินกำร ต้องทำประกันภัยควำมรับผิดตำมกฎหมำยต่อ

ชีวิตร่ำงกำย และทรัพย์สินของบุคคลภำยนอก พ.ศ.2548 12


1.4 ประกำศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 50 ตำมพระรำชบัญญัตกำรเดินเรือ ในน่ำนน้ำไทย พ.ศ.2456
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 1 การบริหารความปลอดภัยระดับนโยบาย
1.2.19 กำรผลิตอำหำรเพื่อจำหน่ำย ต้องได้รับอนุญำต และแสดงไว้ในที่เปิดเผย ใบอนุญำต มีอำยุ ถึง วันที่ 31 ธันวำคม ของปีที่ 3
ก่อนจำหน่ำยอำหำร ต้องนำอำหำรนั้นมำขึ้นทะเบียน ต่อผู้อนุญำต หำกประสงค์จะโฆษณำ ต้องนำข้อควำมที่จะโฆษณำ ให้ผู้อนุญำตตรวจ
พิจำรณำก่อน เมื่อได้รับอนุญำตจึงจะโฆษณำได้ 1.5
1.2.20 ภำยในเขตควบคุมกำรแปรรูปไม้ ห้ำมมิให้ตั้งโรงงำนแปรรูปไม้ 1.6
1.2.21 ผู้ได้รับใบอนุญำตตั้งโรงงำนแปรรูปไม้ หรือ ผู้รับใบอนุญำตทำกำรแปรรูปเพื่อกำรค้ำ ต้องทำบัญชีไม้ที่ยังไม่แปรรูป และไม้ที่
แปรรูปแล้ว เก็บไว้ในโรงงำน เมื่อจำหน่ำย ต้องออกเป็นหนังสือกำกับไม้แปรรูป และเก็บสำเนำไว้ในโรงงำน 1.6
1.2.22 เมื่อได้รับใบอนุญำตตั้งโรงงำนแปรรูปไม้ จะต้องก่อสร้ำงโรงงำนพร้อมติดตั้งเครื่องจักรกลให้แล้วเสร็จ ภำยใน 2 ปี นับจำก
วันท่ได้รับอนุญำต หำกมีเหตุสุดวิสัย สำมำรถร้องขอต่อพนักงำนเจ้ำหน้ำที่ ก่อนระยะเวลำสิ้นสุดลง และอธิบดีกรมป่ำไม้จะยืดเวลำออกไปไม่
เกิน 2 ปี 1.6
1.2.23 ห้ำมขยำยโรงงำนแปรรูปไม้โดยไม่ได้รับอนุญำต กำรขยำยโรงงำน
1.2.24 ผู้รับใบอนุญำตแปรรูปไม้ต้องทำหลักเขตอำณำเขต บริเวณโรงงำนตำมที่ระบุในใบอนุญำต เว้นแต่มีรั้วหรือฝำผนังกั้น 1.6
1.2.25 ต้องจัดทำแผนผังแสดงรำยละเอียด รำยกำรเครื่องจักรต้นกำลัง โต๊ะเลี่อย เครื่องเลี่อย หรือเครื่องใช้สำหรับแปรรูปไม้ ให้
ถูกต้อง ตำมควำมเป็นจริงและเป็นปัจจุปัน พร้อมทั้งลงนำมเป็นหลักฐำน แผนผังนี้ให้แสดงไว้ ณ ที่เปิดเผย เห็นได้ง่ำยในโรงงำนที่ได้รับ
อนุญำต ห้ำมทำกำรแปลี่ยนแปลง แผนที่หรือเขตที่ตั้งโรงงำน 1.6
1.2.26 ผู้ได้รับอนุญำตแปรรูปไม้ ต้องอยู่ดูแลกิจกำร ด้วยตนเอง หำกไม่อำจดูแลได้ ต้องจัดให้มีตัวแทนเป็นลำยลักณ์อักษร ตำมแบบ
ที่กำหนด และต้องแจ้งให้พนักงำนเจ้ำที่ทรำบภำยใน 7 วัน นับแต่วันแต่งตั้ง และติดไว้ในที่เปิดเผย เห็นได้ง่ำย ในสถำนที่ได้รับอนุญำต 1.6
1.2.27 ต้องทำกำรแปรรูปไม้ ตำมที่ได้รับอนุญำต 1.6
1.5 พระรำชบัญญัติอำหำร พ.ศ.2522
1.6 1. พระรำชบัญญัติป่ำไม้ พ.ศ.2522 2. พระรำชบัญญัตป่ำไม่ ฉบับที่ 2 ถึง ฉบับที่ 8 3. กฎกระทรวง ฉบับที่ 25 ออกตำมพระรำชบัญญัติป่ำไม้ 13
4. ข้อกำหนด ฉบับที 5 (พ.ศ.2516) ออกตำมพระรำชบัญญัติป่ำไม้
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 1 การบริหารความปลอดภัยระดับนโยบาย
1.2.28 กำรประกอบกิจกำรโรงงำน ที่เป็นอันตรำยต่อสุขภำพ ต้องได้รับอนุญำตประกอบกิจกำร จำกพนักงำนท้องถิ่น และแสดงใว้ใน
ที่เปิดเผย ในกรณีที่สูญหำย ถูกทำลำย หรือชำรุด ให้ขอรับใบแทน ภำยใน 15 วัน กำรเลิกกิจกำร หรือโอนกิจกำร ให้แจ้งพนักงำนท้องถิ่น
ทรำบ 1.7
1.2.29 ผู้ที่จะดำเนินกำรรับทำกำร เก็บ ขน หรือกำจัดสิ่งปฏิกูล หรือมูลฝอย โดยทำเป็นธุรกิจหรือโดยได้รับผลประโยชน์ตอบแทน
ด้วยกำรคิดค่ำบริกำร ต้องได้รับใบอนุญำตจำกเจ้ำพนักงำนท้องถิ่น 1.7
1.2.30 กำรผลิตอำหำรสัตว์เพื่อจำหน่ำย ต้องได้รับอนุญำต และแสดงไว้ในที่เปิดเผย กรณีสูญหำย ถูกทำลำย หรือชำรุด ให้ยื่นขอรับ
ใยแทน ภำยใน 15 วัน ให้ผลิตอำหำรสัตว์ เฉพำะที่ได้รับอนุญำตไว้เท่ำนั้น กรณีเลิกกิจกำร ให้แจ้งต่อผู้อนุญำต พร้อมทั้งส่งคืนใบอนุญำตและ
ใบสำหรับกำรขึ้นทะเบียนอำหำรสัตว์ 1.8
1.2.31 ต้องจัดให้มีป้ำยไว้ในที่เปิดเผยเห็นได้ง่ำยจำกภำยนอกอำคำร แสดงว่ำเป็นสถำนที่ผลิตอำหำรสัตว์ 1.8
1.2.32 กรณีต้องกำรย้ำยสถำนที่ผลิตอำหำรสัตว์ ให้ยื่นเป็นหนังสือต่อพนักงำนเจ้ำหน้ำที่ ไม่น้อยกว่ำ 15 วัน 1.8
1.2.33 กำรผลิตอำหำรสัตว์ ต้องนำอำหำรสัตว์นั้น มำขอขึ้นทะเบียนต่อพนักงำนเจ้ำหน้ำที่ หำกต้องกำรแก้ไขรำยกำร จะกระทำได้
เมื่อได้รับใบอนุญำตเท่ำนั้น กรณีใบสำคัญกำรขึ้นทะเบียนอำหำรสัตว์ สูญหำย ถูกทำลำย ให้ยื่นขอรับใบแทน ภำยใน 15 วัน 1.8
1.2.34 กำรผลิตอำหำรเพื่อจำหน่ำย ต้องได้รับอนุญำตจำก พนักงำนเจ้ำหน้ำที่ ต้องแสดงใบอนุญำตไว้ในที่เปิดเผย ถ้ำใบอนุญำตสูญ
หำยหรือถูกทำลำย ให้ยื่นขอรับใบแทนภำยใน 15 วัน กำรย้ำยสถำนที่ผลิตต้องได้รับอนุญำต 1.9
1.2.35 ต้องจัดให้มีป้ำยไว้ในที่เปิดเผยเห็นได้ง่ำยจำกภำยนอกอำคำร แสดงว่ำเป็นสถำนที่ผลิตอำหำร 1.9
1.2.36 กำรผลิตอำหำร ต้องนำอำหำรนั้น มำขอขึ้นทะเบียนตำหรับอำหำร ต่อพนักงำนเจ้ำหน้ำที่ หำกต้องกำรแก้ไขรำยกำร จะ
กระทำได้เมื่อได้รับใบอนุญำตเท่ำนั้น กรณีใบสำคัญกำรขึ้นทะเบียนอำหำรสูญหำย ถูกทำลำย ให้ยื่นขอรับใบแทน ภำยใน 15 วัน 1.9
1.7 1. พระรำชบัญญัติกำรสำธำรณสุข พ.ศ.2535 2. พระรำชบัญญัตกำรสำธำรณสุข ฉบับที่ 2 ถึง ฉบับที่ 3
1.8 พระรำชบัญญัติควบคุมคุณภำพอำหำรสัตว์ พ.ศ.2558 14
1.9 พระรำชบัญญัติอำหำร พ.ศ.2522
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 1 การบริหารความปลอดภัยระดับนโยบาย
1.2.37 กำรประกอบกิจกำรฆ่ำสัตว์ ต้องได้รับอนุญำต ต้องแสดงใบอนุญำตไว้ในที่เปิดเผย เมื่อดำเนินกำรก่อสร้ำงโรงฆ่ำสัตว์และ
โรงพักสัตว์ และติดตั้งเครื่องจักรและอุปกรณ์ในกำรประกอบกิจกำรฆ่ำสัตว์แล้ว ให้แจ้งคณะกรรมกำรจังหวัดตรวจสอบ กำรโอนใบอนุญำต
จะกระทำได้เมื่อได้รับอนุญำต กรณีใบอนุญำตสูญหำย เสียหำย หรือถูกทำลำย ให้ยื่นคำขอรับใบแทน ภำยใน 30 วัน กรณีประสงค์จะเลิก
ประกอบกิจกำรฆ่ำสัตว์ ต้องแจ้งให้นำยทะเบียนทรำบไม่น้อยกว่ำ 60 วัน1.10
1.2.38 กำรประกอบกิจกำรฆ่ำสัตว์เพื่อจำหน่ำย ต้องแจ้งชนิดและจำนวนสัตว์ต่อพนักงำนท้องถิ่น เมื่อได้ฆ่ำสัตว์แล้ว หรือชำแหละตัด
แต่งเนื้อสัตว์ ที่ตำยแล้ว ก่อนนำออกจำหน่ำยต้องให้พนักงำนตรวจโรคสัตว์รับรองก่อน 1.10
1.2.39 กำรประกอบกิจกำรโรงงำนผลิตยำ ต้องได้รับอนุญำต ในกรณี ใบอนุญำตสูญหำย หรือถูกทำลำย ในสำระสำคัญ ให้แจ้งผู้ขอ
อนุญำต เพื่อรับใบแทน ภำยใน 90 วัน กำรย้ำยสถำนที่ผลิต สถำนที่นำเข้ำ หรือสถำนที่เก็บยำ ต้องได้รับอนุญำต ห้ำมผลิตในระหว่ำงที่ไม่มี
เภสัชกรหรือผู้ประกอบกำรบำบัดโรคสัตว์ ไม่อยู่ปฏิบัติหน้ำที่ กำรเลิกกิจกำร ต้องแจ้งเลิก ไม่เกิน 15 วัน ต้องแสดงใบอนุญำตของตนและ
ของเภสัชกร ผู้ประกอบวิชำชีพเวชกรรม ผู้ประกอบโรคศิลปะ ในสำขำ ต่ำงๆ หรือกำรพยำบำล หรือผู้ประกอบกำรบำบัดโรคสัตว์ ติดไว้ ณ ที่
เปิดเผย เห็นได้ง่ำย ที่สถำนที่ผลิตยำ สถำนที่ขำยยำหรือสถำนที่นำหรือสั่งยำเข้ำมำในรำชอำณำจักร ห้ำมผลิตยำนอกสถำนที่ได้รับอนุญำต
ห้ำมผลิตยำที่ไม่ตรงกับที่ได้รับอนุญำต 1.11
1.2.40 ผู้รับใบอนุญำตผลิตยำ หรือผู้รับอนุญำตให้นำหรือสั่งยำเข้ำมำในรำชอำนำจักร ต้องนำตำหรับยำนั้นมำขอขึ้นทะเบียน ต่อ
พนักงำนเจ้ำหน้ำที่ และต้องส่งรำยงำนประจำปี ภำยในวันที่ 31 มีนำคม ในปีถัดไป 1.11
1.2.41 ผู้รับใบอนุญำตผลิตยำ ต้องจัดให้มีป้ำย ณ ที่เปิดเผย หน้ำสถำนที่ผลิตยำ 1.11

1.10 พระรำชบัญญัติควบคุมกำรฆ่ำสัตว์เพื่อกำรจำหน่ำยเนื้อ พ.ศ.2559


1.11 พระรำชบัญญัติยำ พ.ศ.2510 และ ฉบับที่ 2 ฉบับที่ 3 ฉบับที่ 4 ฉบับที่ 5 ฉบับที่ 6 15
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 1 การบริหารความปลอดภัยระดับนโยบาย
1.2.42 กำรประกอบกิจกำรโรงงำนผลิตเครื่องมือแพทย์ ต้องจดทะเบียนสถำนประกอบกำร ต้องขออนุญำต ต้องแจ้งรำยละเอียดต่อผู้
อนุญำตเพื่อขอใบรับรองกำรประเมิน กรณีที่มีกำรเคลื่อนย้ำยเครื่องมือแพทย์ ให้แจ้งผู้อนุญำตก่อนกำรเคลื่อนย้ำย ในกรณีต้องกำรเลิก
กิจกำร ต้องแจ้งภำยใน 30 วันห้ำมผลิต นำเข้ำ ขำยหรือเก็บรักษำเครื่องมือแพทย์นอกสถำนที่ ต้องแสดงเอกสำรไว้ในที่เปิดเผยและเห็นได้
ง่ำย 1.12
1.2.43 กรณีใบจดทะเบียนสถำนประกอบกำร ใบอนุญำต ใบรับแจ้งรำยกำรละเอียด ใบรับรองกำรประเมิน หรือหนังสือรับรองสูญ
หำย ถูกทำลำยหรือชำรุด ให้ยื่นขอรับใบแทน ภำยใน 15 วัน 1.12
1.2.44 การประกอบกิจการโรงงานผลิตวัตถุออกฤทธิ์ ต้องได้รับอนุญำต ห้ำมผลิต ขำย นำเข้ำ เก็บ นอกสถำนที่ได้รับใบอนุญำต
ต้องมีเภสัชกรอยู่ประจำ ในระหว่ำงทำกำรผลิต จัดแสดงใบอนุญำตไว้ในที่เปิดเผย กรณีใบอนุญำตสูญหำยหรือถูกทำลำย ในสำระสำคัญ ให้
ขอใบแทนภำยใน 30 วัน ให้แสดงใบอนุญำตไว้ในที่เปิดเผย เห็นได้ง่ำย ห้ำมย้ำย เปลี่ยบแปลงหรือเพิ่มสถำนที่ผลิต สถำนที่ขำย สถำนที่
นำเข้ำ หรือสถำนที่เก็บ เว้นแต่ได้รับอนุญำต กรณีเลิกกิจกำรต้องแจ้งล่วงหน้ำ หำกไม่แจ้งล่วงหน้ำ ต้องแจ้งภำยใน 15 วัน 1.13
1.2.45 การผลิต มีไว้ครอบครอง นาเข้า ส่งออก หรือนาผ่านวัสดุกัมมันตรังสี ต้องได้รับใบอนุญำต หรือต้องแจ้งกำรครอบครอง
หรือกำรใช้ 1.14
1.2.46 กำรทำ กำรมีไว้ครอบตรอง กำรใช้ กำรนำเข้ำ หรือส่งออกเครื่องกำเนินรังสี ต้องได้รับอนุญำต 1.15
1.2.47 กำรมีไว้ครอบครอง ใช้ นำเข้ำ ส่งออก หรือนำผ่ำน วัสดุนิวเคลียร์ ต้องได้รับอนุญำต 1.14
1.2.48 กำรก่อสร้ำง และติดตั้งเครื่องจักร และอุปกรณ์ และสถำนประกอบกิจกำรนิวเคลียร์ ต้องได้รับอนุญำต ต้องก่อสร้ำงและ
ดำเนินกำรที่ได้รับอนุญำต เมื่อดำเนินกำรแล้วเสร็จก่อนที่จะดำเนินกำร ต้องขอรับใบอนุญำตดำเนินกำรสถำนประกอบกำรทำงนิวเคลียร์ 1.14
1.12 พระรำชบัญญัติเครื่องมือแพทย์ พ.ศ.2551
1.13พระรำชบัญญัติ วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตรและประสำท พ.ศ.2559
1.14 พระรำชบัญญัติพลังงำนนิวเคลียร์เพื่อสันติ พ.ศ.2559 16
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 1 การบริหารความปลอดภัยระดับนโยบาย
1.2.49 กำรประกอบกิจกำรโรงงำนทำ ประกอบ ซ่อมแซม เปลี่ยนลักษณะอำวุธ ต้องได้รับอนุญำต ต้องแสดงใบอนุญำตใว้ในที่เปิดเผย กรณี
สูญำยหรือชำรุด ให้ขอใบแทนภำยใน 30 วัน เมื่อตั้งโรงงำนเสร็จแล้ว ก่อนดำเนินกำรผลิต ต้องแจ้งให้รัฐมนตรีทรำบ ทรำบไม่น้อยกว่ำ 15 วัน เมื่อ
รัฐมนตรีอนุญำตเป็นหนังสือแล้วจึงจะดำเนินกำรผลิตได้ 1.15
1.2.50 กำรประกอบกิจกำรโรงงำนสุรำ ต้องได้รับอนุญำต 1.16
1.2.51 กำรประกอบกิจกำรผลิตหรือขยำย พลังงำนควบคุมในเขตพลังงำน ต้องขออนุญำตต่อกรมพัฒนำและส่งเสริมพลังงำน 1.17
1.2.52 กำรประกอบกิจกำรพลังงำน ต้องได้รับใบอนุญำตจำกคณะกรรมกำรกิจกำรพลังงำน และเมื่อเริ่มจะประกอบกิจกำรส่วนหนึ่งส่วนใด
ต้องแจ้งให้สำนักงำนกำกับกิจกำรไฟฟ้ำ ทรำบก่อนเริ่มประกอบกิจกำร 1.18
1.2.53 กำรประกอบกิจกำร สั่งเข้ำมำ นำเข้ำมำ ผลิต หรือมี ซึ่งยุทธภัณฑ์ ต้องได้รับอนุญำต จำกปลัดกระทรวงกลำโหม ถ้ำใบอนุญำตสูญ
หำย ลบเลือน หรือชำรุด ให้ยขื่ อรับใบแทน ภำยใน 15 วัน 1.19
1.2.54 กำรแบ่งประเภทหรือชนิดของโรงงำน ขนำดของโรงงำน จำพวกที่ 1 จำพวกที่ 2 และ จำพวกที่ 3 ให้เป็นไปตำม กระทรวง
(พ.ศ.2535) กฎกระทรวง ฉบับที่ 15 (พ.ศ. 2544) กฎกระทรวง ฉบับที่ 16 (พ.ศ.2545) กฎกระทรวง ฉบับที่ 17 (พ.ศ.2549) ออกตำมควำมใน
พระรำชบัญญัติโรงงำน พ.ศ.2535 มีทั้งสิ้น 107 ประเภท 1.20
1.2.55 หลักเกณฑ์วิธีกำรและเงื่อนไขกำรทดลองเดินเครื่องจักร ตำมกฎหมำยโรงงำน 1.21
1.2.56 ค่ำธรรมเนียมใบอนุญำตต่ำง ๆ ให้เป็นไปตำมที่กฎหมำยโรงงำนกำหนด 1.22
1.2.57 ผู้ประกอบกิจกำรโรงงำน ไม่ต้องชำระค่ำธรรมเนียมรำยปี ดังนี้ 1.23
1.15 พระรำชบัญญัติผลิตอำวุธเอกชน พ.ศ.2550 1.21 กฎกระทรวง กำหนดหลักเกณฑ์ วิธีกำร และเงื่อนไขกำรทดลองเดินเครื่องจักร พ.ศ.2553 ออกตำม
1.16 พระรำชบัญญัติ สุรำ พ.ศ.2493
พระรำชบัญญัตโรงงำน พ.ศ.2535
1.17 พระรำชบัญญัติกำรพัฒนำและส่งเสริมพลังงำน พ.ศ.2535 1.22 กฎกระทรวง ฉบับที่ 8 (พ.ศ.2535) ฉบับที่ 12 ฉบับที่ 14 (พ.ศ.2540) ฉบับที่ 18 (พ.ศ.2549) ออก
1.18 พระรำชบัญญัติกำรประกอบกิจกำรพลังงำน พ.ศ.2550
ตำมพระรำชบัญญัตโรงงำน พ.ศ.2535
1.19 พระรำชบัญญัติควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ.2530
1.23 ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม กำรชำระค่ำธรรมเนียมรำยปีตำมพระรำชบัญญัติโ รงงำน พ.ศ.
1.20 กระทรวง (พ.ศ.2535) กฎกระทรวง ฉบับที่ 15 (พ.ศ. 2544) กฎกระทรวง ฉบับที่ 16
๒๕๓๕
(พ.ศ.2545) กฎกระทรวง ฉบับที่ 17 (พ.ศ.2549) ออกตำมควำมในพระรำชบัญญัติโรงงำน 17

พ.ศ.2535
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 1 การประกอบกิจการโรงงานอุตสาหกรรมและทาเลทีต่ ั้ง
1.3 มาตรฐานการตรวจสอบทาเลที่ตั้ง การประกอบกิจการโรงงานอุตสาหกรรม
1.3.1 กำรเลือกทำเลที่ตั้งโรงงำน ให้เป็นไปตำมมำตรฐำนกำรออกแบบผังโรงงำน (EIT Standard 041001-18) 1.24
1.3.2 ไม่อนุญำตให้ตั้ง หรือขยำยโรงงำนที่มีน้ำทิ้ง ซึ่งมีลักษณะดังต่อไปนี้ ในบริเวณอนุรักษ์แหล่งน้ำดิบ เพื่อกำรประปำนครหลวง 1.25
1.3.3 ไม่อนุญำตให้ตั้งหรือขยำยโรงงำน โรงงำนฟอกย้อมหรือย้อมเส้นใย แต่งสำเร็จสิ่งทอ เกี่ยวกับกำรพิมพ์สิ่งทอ แต่งสำเร็จผ้ำ
ผ้ำลูกไม้ หรือเครื่องนุ่งห่มที่ถักด้วยด้ำยหรือเส้นใย ลำดับที่ 22(1) , 22(3) , 22(4) , และ 24 ยกเว้นโรงงำนดังต่อไปนี้ 1.26
1.3.4 ห้ำมตั้งโรงงำนเขตท้องที่ อำเภอพระนครศรีอยุธยำ อำเภอบำงประอิน และอำเภอบำงไทร จังหวัดพนครศรีอยุธยำ ยกเว้น 1.27
1.3.5 มำตรกำรควบคุม กำรตั้งหรือขยำยโรงงำน ตำมมำตรกำรควบคุมปริมำณควำมสกปรกของน้ำทิ้งจำกภำคอุตสำหกรรม เพื่อฟื้นฟู
คุณภำพน้ำในมำน้ำเจ้ำพระยำ ครอบคลุมจังหวัด นครสวรรค์ จังหวัดชัยนำท จังหวัดสิงห์บุรี จังหวัดอ่ำงทอง จังหวัดพระนครศรีอยุธยำ
จังหวัดปทุมธำนี จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรปรำกำร และจังหวัดกรุงเทพมหำนคร จะต้องมีระบบบำบัดน้ำเสียที่มีประสิทธิภำพสูง
สำมำรถบำบัดน้ำเสียที่เกิดจำกกำรประกอบกิจกำรจนสำมำรถนำกลับมำใช้ประโยชน์ได้ทั้งหมด หรือมีระบบเก็บกักน้ำทิ้งทั้งหมด โดยไม่
รั่วซึมสู่แหล่งน้ำใต้ดิน 1.28
1.3.6 ห้ำมตั้งโรงงำน ในเขตท้องที่ตำบลบ้ำนรุน ตำบลคลองตะเคียน และตำบลเกำะเรียน อำเภอพระนครศรีอยุธยำ ยกเว้นกำรตั้ง
โรงงำนซึ่งจัดอยู่ในประเภทกิจกำรอุตสำหกรรมบริกำร 1.29
1.24 มำตรฐำนกำรออกแบบผังโรงงำน (EIT Standard 041001-18)
1.25 มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 17 เมษำยน 2522 , 12 มกรำคม 2531 , 11 กุมภำพันธ์ 2535
1.26 ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม เรื่อง กำหนดจำนวน ขนำด และประเภทหรือชนิดของโรงงำน ที่ไม่ให้ตั้งหรือขยำยในทุกท้องทั่วรำชอำณำจักร พ.ศ.2549
1.27 ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม เรื่อง กำหนดประเภทหรือชนิดของโรงงำนที่จะให้ตั้งหรือไม่ให้ตั้งในเขตท้องที่ อำเภอพระนครศรีอยุธยำ อำเภอบำงประอิน และอำเภอบำงไทร พ.ศ. 2550[8]
1.28 ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม เรื่อง มำตรกำรควบคุม กำรตั้งหรือขยำยโรงงำน ตำมมำตรกำรควบคุมปริมำณควำมสกปรกของน้ำทิ้งจำกภำคอุตสำหกรรม เพือ ่ ฟื้นฟูคุณภำพน้ำในมำน้ำ
เจ้ำพระยำ 2551[9]
1.29 ห้ำมตั้งโรงงำนตำมประเภทหรือชนิดของโรงงำนที่กำหนดในบัญชีท้ำยกฎกระทรวง (พ.ศ. 2535) ออกตำมควำมในพระรำชบัญญัติโรงงำน พ.ศ. 2535 ในเขตท้องที่ตำบลบ้ำนรุน ตำบลคลอง

ตะเคียน และตำบลเกำะเรียน อำเภอพระนครศรีอยุธยำ ยกเว้นกำรตั้งโรงงำนซึ่งจัดอยู่ในประเภทกิจกำรอุตสำหกรรมบริกำร [53] 18


มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 1 การประกอบกิจการโรงงานอุตสาหกรรมและทาเลทีต่ ั้ง
1.3.7 ห้ำมตั้งโรงงำนลำดับต่อไปนี้ในเขตท้องทีอ่ ำเภอวังน้ำเขียว จังหวัด นครรำชสีมำ 1.30
1.3.8 กำรห้ำมตั้งหรือขยำยโรงงำนผลิตและกำรห้ำมใช้สีย้อมกลุ่มสีเบนซิดินและกลุ่มสีโครมในอตสำหกรรมฟอกย้อมและตกแต่งสี [52] 1.31
1.3.9 ข้อกำหนดในกำรตั้งโรงงำนที่ใช้อ้อยเป็นวัตถุดิบ 1.32
1.3.10 กำรตั้งโรงงำนผลิตและบรรจุสุรำ 1.33
1.3.11 มำตรกำรคุ้มครองควำมปลอดภัยในกำรประกอบกิจกำรโรงงำนอุตสำหกรรม ขุด ตัก ลอก หรือดูดทรำยหรือดินในที่ดินกรรมสิทธิ์
สำหรับใช้ในกำรก่อสร้ำง 1.34
1.3.12 กำรใช้ไม้กฤษณำเป็นวัตถุดิบในโรงงำนสกัดน้ำมัน กำหนด ให้ใช้ไม้กฤษณำเป็นวัตถุดิบจำกแหล่งกำเนิด ดังต่อไปนี้ 1.35
1.3.13 หลักเกณฑ์กำรปฏิบัติในกำรประกอบกิจกำรโรงงำนผลิตคอนกรีตผสมเสร็จ 1.36
1.3.17 ห้ำมโรงงำนใช้สำรเอชซีเอฟซี - 141b (สำรไดคลอโรฟลูออโรอีเทน) หรือสำรโพลีออลที่มีส่วนผสมของสำรเอชซีเอฟซี - 141b (สำรได
คลอโรฟลูออโรอีเทน) ในกระบวนกำรผลิตโฟมทุกชนิด ยกเว้นกำรใช้ในกำรผลิตโฟมแบบฉีดพ่น (spray foam) ซึ่งใช้ระยะเวลำกำรเกิดปฏิกิริยำ
ตั้งแต่เริ่มผสมสำรจนกระทั่งเริ่มฟูตัวเป็นโฟม (cream time) ไม่เกิน 5 วินำที ที่อุณหภูมิของสำรเคมีก่อนกำรผสมไม่เกิน 10 องศำเซลเซียส 1.37
1.30 ห้ำมตั้งโรงงำนตำมประเภทหรือชนิดของโรงงำนที่กำหนดในบัญชีท้ำยกฎกระทรวง (พ.ศ. 2535) ออกตำมควำมในพระรำชบัญญัติโรงงำน พ.ศ. 2535 ลำดับต่อไปนี้ในเขตท้องที่อำเภอวัง
น้ำเขียว จังหวัด นครรำชสีมำ ออกตำมควำมในพระรำชบัญญัติโรงงำน พ.ศ. 2535[55]
1.31 ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2537) ออกตำมควำมในพระรำชบัญญัติโรงงำน พ.ศ.2535 เรื่อง กำรห้ำมตั้งหรือขยำยโรงงำนผลิตและกำรห้ำมใช้สีย้อมกลุ่มสีเบนซิดน

และกลุ่มสีโครมในอตสำหกรรมฟอกย้อมและตกแต่งสี [52]
1.32 ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม เรื่อง กำรให้ตั้งโรงงำนที่ใช้อ้อยเป็นวัตถุดิบในทุกท้องที่ทั่ว รำชอำณำจักร พ.ศ. 2562[44]
1.33 ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม เรื่อง กำรให้ตั้งโรงงำนผลิตและบรรจุสุรำในทุกท้องที่ทั่วรำชอำณำจักร พ.ศ. 2560[36]
1.34 ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม เรื่อง มำตรกำรคุ้มครองควำมปลอดภัยในกำรประกอบกิจกำรโรงงำนอุตสำหกรรม ขุด ตัก ลอก หรือดูดทรำยหรือดินในที่ดน ิ กรรมสิทธิ์ สำหรับใช้ในกำร
ก่อสร้ำง พ.ศ.2554) (19)
1.35 ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม เรื่อง กำรใช้ไม้กฤษณำเป็นวัตถุดิบในโรงงำนสกัดน้ำมัน พ.ศ.2552[10]
1.36 ประกำศกรมโรงงำนอุตสำหกรรม เรื่อง หลักเกณฑ์กำรปฏิบัติในกำรประกอบกิจกำรโรงงำนผลิตคอนกรีตผสมเสร็จ[4]
1.37ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม เรื่อง ห้ำมโรงงำนใช้สำรเอชซีเอฟซี - 141b (สำรไดคลอโรฟลูออโรอีเทน) ในกระบวนกำรผลิตโฟม พ.ศ. 2560[39]
19
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 2 อาคารโรงงานอุตสาหกรรม

บทที่ 2 อาคารโรงงานอุตสาหกรรม
อำคำรโรงงำนอุตสำหกรรม พิจำรณำตำมที่กฎหมำยว่ำด้วยโรงงำนและกฎหมำยที่เกี่ยวข้องบัญญัติไว้ ทำให้งำน
ตรวจสอบโรงงำนเป็นไปอย่ำงได้มำตรฐำน เป็นไปตำมข้อกำหนดในเรื่องควำมปลอดภัยและมีมำตรฐำน ตำมเจตนำรมณ์ของ
กฎหมำยว่ำด้วยวิศวกร กฎหมำยโรงงำน และกฎหมำยอื่นที่เกี่ยวข้อง
2.1 ขอบเขต
มำตรฐำนที่กล่ำวถึงในหัวข้อนี้เป็นมำตรฐำนเพื่อกำหนด มำตรฐำนที่สำคัญตำมกฎหมำยและมำตรฐำนต่ำง ๆ ที่ต้อง
ทำกำรตรวจสอบ
2.2 มาตรฐานการตรวจสอบอาคารโรงงานอุตสาหกรรม
2.2.1 พื้นที่โดยรอบ ลักษณะอำคำร กำรก่อสร้ำง ต่อเติมดัดแปลงอำคำร เพิ่มพื้นที่อำคำร กำรระบำยอำกำศ ประตู
ทำงเข้ำออก ทำงเดิน ทำงหนีไฟ บันได ควำมสูง ระยะดิ่งระหว่ำงพื้นถึงเพดำน กำรแบ่งพื้นที่อำคำร พื้นที่กำรปฏิบัติงำน วัตถุ
ที่ใช้ในกำรก่อสร้ำง กำรจัดเก็บวัตถุอันตรำย วัตถุที่ติดไฟได้ง่ำย สถำนที่เก็บน้ำดับเพลิง ที่จอดรถ ห้องน้ำห้องส้วม ให้เป็นไป
ตำมมำตรฐำนกำรออกแบบผังโรงงำน (EIT Standard 041001-18) 2.1
2.2.2 อำคำรต้องมีควำมมั่นคงแข็งแรง เหมำะสม และมีบริเวณเพียงพอ โดยมีคำรับรองของผู้ประกอบวิศวกรรม
ควบคุม 2.2
2.2.3 มีบันไดระหว่ำงชั้นอย่ำงน้อย 2 แห่ง ห่ำงกันพอสมควร ขั้นบันไดต้องไม่ลื่น มีช่วงระยะเท่ำกันตลอด บันไดที่สูง
เกิน 1.50 เมตร ต้องมีรำว ที่มั่นคง แข็งแรง และเหมำะสม2.2
2.2.4 พื้นต้องมั่นคง แข็งแรง ไม่มีน้ำขัง หรือลื่น อันอำจก่อให้เกิดอุบัติเหตุได้ง่ำย2.2 20
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 2 อาคารโรงงานอุตสาหกรรม
2.2.5 วัตถุที่ใช้ในกำรก่อสร้ำงอำคำร ต้องเหมำะสมตำมขนำด ประเภท หรือชนิดของโรงงำน รวมทั้งไม่ก่อให้เกิดกำรลุกลำม
ของอัคคีภัย 2.2
2.2.6 จัดให้มีที่เก็บรักษำวัตถุหรือสิ่งของที่อำจก่อให้เกิดอันตรำยหรืออัคคีภัยได้ง่ำยไว้ในที่ปลอดภัย2.2
2.2.7 ต้องจัดให้มีพื้นที่ปฏิบัติงำนไม่น้อยกว่ำ 3 ตำรำงเมตรต่อคนงำน 1 คน กำรคำนวณพื้นที่ให้นับรวมพื้นที่ที่ใช้วำงโต๊ะ
ปฏิบัติงำน เครื่องจักร และผลิตภัณฑ์หรือวัสดุที่เคลื่อนไปตำมกระบวนกำรผลิตด้วย
2.2.8 การป้องกันและระงับอัคคีภัยในโรงงานต้องปฏิบัติ ดังนี้ 2.3
2.2.8.1 ช่องเปิดต่ำง ๆ ที่อยู่ที่ผนัง พื้น หรือคำนและช่องท่อต่ำง ๆ ต้องใช้วัสดุปิดกั้น ฃช่องท่อ และ ช่องเปิดเหล่ำนี้
ด้วยวัตถุทนไฟที่ป้องกันไฟได้อย่ำงน้อย 2 ชั่วโมง เพื่อป้องกันอันตรำยที่อำจเกิดจำกเพลิงไหม้ลุกลำมจำกบริเวณหนึ่งไปอีกบริเวณ
หนึ่ง
2.2.8.2 พื้นที่ของอำคำรโรงงำนที่มีควำมเสีย่ งต่อกำรเกิดอัคคีภัยสูงและปำนกลำง ที่มีสถำนที่จัดเก็บวัตถุดิบหรือ
ผลิตภัณฑ์ซึ่งเป็นวัตถุที่ติดไฟได้หรือสถำนที่จัดเก็บวัตถุไวไฟ ต้องกั้นแยกจำกพื้นที่ส่วนอื่นของอำคำรด้วยวัสดุที่มีอัตรำกำรทนไฟได้
ไม่น้อยกว่ำ 1 ชั่วโมง
2.2.8.3 อำคำรโรงงำนชั้นเดียวที่เป็นโครงเหล็ก ต้องปิดหุ้มโครงสร้ำงด้วยวัสดุทนไฟหรือด้วยวิธีกำรอื่น ที่ทำให้
สำมำรถทนไฟได้อย่ำงน้อย 1 ชั่วโมง ถ้ำเป็นอำคำรหลำยชั้น ต้องทนไฟได้ไม่น้อยกว่ำ 1 ชั่วโมง โครงหลังคำของอำคำรที่อยูส่ ูงจำก
พื้นอำคำรเกิน 8 เมตร และอำคำรนั้นมีระบบดับเพลิงอัตโนมัติ หรือมีกำรป้องกันควำมร้อนหรือระบบระบำยควำมร้อนมิให้เกิด
อันตรำยต่อโครงหลังคำโครงหลังคำของอำคำรนั้นไม่ต้องมีอัตรำกำรทนไฟตำมที่กำหนดก็ได้
2.1 มำตรฐำนกำรออกแบบผังโรงงำน (EIT Standard 041001-18)
2.2 กฎกระทรวง ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2535) ออกตำมพระรำชบัญญัตโรงงำน พ.ศ.2535
2.3 ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม เรื่อง กำรป้องกันและระงับอัคคีภัยในโรงงำน พ.ศ. 2552[12] 21
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 2 อาคารโรงงานอุตสาหกรรม

2.2.9 กำหนดมำตรกำรควำมปลอดภัยเกี่ยวกับระบบทำควำมเย็น ที่ใช้แอมโมเนียเป็นสำรทำควำมเย็นในโรงงำน 2.4


2.2.13 กำหนดมำตรกำรคุ้มครองควำมปลอดภัยในกำรประกอบกิจกำรโรงงำน ที่เกี่ยวกับกำรผลิต กำรเก็บ กำรบรรจุ กำร
ใช้ และกำรขนส่งก๊ำซ 2.5
2.2.13.1 อำคำรที่ใช้บรรจุก๊ำซลงในท่อบรรจุก๊ำซ ต้องเป็นอำคำรชั้นเดียว ทำด้วยวัสดุที่ไม่ติดไฟ พื้นต้องแข็งแรง
เรียบ และพื้นต้องทำด้วยวัสดุชนิดที่ทำให้เกิดประกำยไฟจำกกำรเสียดสีได้ยำก ระดับพื้น ของสถำนที่บรรจุก๊ำซ ต้องยกสูงกว่ำพื้น
ภำยนอก 80 เชนติเมตร ใต้พื้นต้องเปิดโล่งทุกด้ำน เพื่อให้อำกำศถ่ำยเทได้สะดวก และห้ำมเก็บสิ่งใด ๆ ไว้ใต้พื้นนั้น
2.2.13.2 อำคำรที่มีกำรบรรจุหรือจัดเก็บก๊ำซไวไฟ ระบบไฟฟ้ำในอำคำรต้องเป็นชนิดป้องกันกำรเกิดประกำยไฟ
(Explosion Proof) หรือระบบไฟฟ้ำที่เหมำะสมกับชนิดของก๊ำซ
2.2.14 กำรป้องกันและระงับอัคคีภัยในโรงงำน 2.6
2.2.14.1 ต้องจัดเส้นทำงหนีไฟที่อพยพคนงำนทั้งหมดออกจำกบริเวณที่ทำงำนสู่บริเวณที่ปลอดภัย เช่น ถนนหรือ
สนำมนอกอำคำรโรงงำนได้ภำยในห้ำนำที
2.2.14.2 กำรจัดเก็บวัตถุสิ่งของที่ติดไฟได้ หำกเป็นกำรเก็บกองวัตถุมิได้เก็บในชั้นวำงควำมสูงของกองวัตถุนั้นต้องไม่
เกิน 6 เมตร และต้องมีระยะห่ำงจำกโคมไฟไม่น้อยกว่ำ 60 เซนติเมตร
2.2.15 ประตูหนีไฟ ต้องเป็นบำนเปิดชนิดผลักออกสู่ภำยนอก มีอุปกรณ์ปิดได้เอง กว้ำงไม่น้อยกว่ำ 90 เซนติเมตร สูงไม่น้อย
กว่ำ 1.9 เมตร ต้องไม่มีขั้น หรือธรณีประตูหรือขอบกั้น 2.7
2.4 กฎกระทรวง กำหนดมำตรกำรควำมปลอดภัยเกี่ยวกับระบบทำควำมเย็น ที่ใช้แอมโมเนียเป็นสำรทำควำมเย็นในโรงงำน พ.ศ.2554
2.5 ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม เรื่อง กำหนดมำตรกำรคุ้มครองควำมปลอดภัยในกำรประกอบกิจกำรโรงงำน ที่เกี่ยวกับกำรผลิต กำรเก็บ กำรบรรจุ กำรใช้ และกำรขนส่งก๊ำซ
พ.ศ.2548
2.6 ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม เรื่อง กำรป้องกันและระงับอัคคีภัยในโรงงำน พ.ศ. 2552[12] 22
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 2 อาคารโรงงานอุตสาหกรรม
2.2.16 จัดให้มีเส้นทำงหนีไฟอย่ำงน้อย ชั้นละ 2 เส้น สำมำรถอพยพสู่จุดที่ปลอดภัย ในเวลำ ไม่เกิน 5 นำที เส้นทำง
ปรำศจำกสิ่งกรีดขวำง ประตูทำด้วยวัสดุทนไฟ ไม่มีธรณีประตู หรือขอบกั้น เป็นชนิดที่บำนเปิดออกไปตำมทิศทำงกำรหนีไฟ ติด
อุปกรณ์บังตับให้ปิดเอง ห้ำมทำให้เปิดออกไม่ได้ในขณะที่มีลูกจ้ำงทำงำน 2.8
2.2.17 ต้องมีประตูหรือทำงออกให้พอเพียง อย่ำงน้อย 2 แห่ง ห่ำงกันพอสมควร กว้ำงไม่น้อยกว่ำ 110 เซนติเมตร สูงไม่
น้อยกว่ำ 200 เซนติเมตร 2.9 หำกมีผู้ที่จะต้องออกตำมทำงนี้มำกกว่ำ 50 คน ทำงออกต้องกว้ำงเพิ่มขึ้นในอัตรำส่วนไม่น้อยกว่ำ 2
เซนติเมตรต่อ 1 คน 2.10
2.2.17.1 ต้องดูแลรักษำให้ประตูทำงออกฉุกเฉินอยู่ในสภำพที่คนงำนจะเปิดผลักออกได้โดยง่ำยตลอดเวลำที่มีกำรปฏิบัติงำน
2.2.17.2 ทำงออกฉุกเฉินหรือบันไดฉุกเฉินต้องมีแสงสว่ำงเพียงพอและไม่มีสิ่งกีดขวำง
2.2.17.3 ทำงออกฉุกเฉินของโรงงำนที่มีคนปฏิบัติงำนตั้งแต่ 50 คนขึ้นไปต้องจัดให้มีระบบแสงสว่ำงฉุกเฉินให้ เพียงพอใน
กรณีที่ระบบแสงสว่ำงปกติใช้งำนไม่ได้
2.2.17.4 ทำงออกหรือบันไดฉุกเฉินต้องมีป้ำยหรือเครื่องหมำยให้คนงำนทรำบว่ำเป็นทำงออกหรือบันไดฉุกเฉินให้เห็นได้
ชัดเจนอยู่ตลอดเวลำ
2.2.18 พื้นที่เหนือชั้นขึ้นไปมีพื้นทีไ่ ม่เกิน 300 ตำรำงเมตร ต้องมีบันใดกว้ำงอย่ำงน้อย 1.20 เมตร มีพื้นที่เกิน 300 ตำรำง
เมตร ขึ้นไป ต้องมีบันใดกว้ำงไม่น้อยกว่ำ 1.5 เมตร ลูกตั้งของบันใดไม่เกิน 18 เซนติเมตร ลูกนอนของบันใดไม่เกิน 25 เซ็นติเมตร
และมีรำวบันได หำกบันใดกว้ำงเกิน 6 เมตร ต้องมีรำวบันใด 2 ข้ำง บันไดต้องห่ำงกันไม่เกิน 40 เมตร 2.11
2.7 กฎกระทรวง ฉบับที่ 33 (พ.ศ.2535) ออกตำมพระรำชบัญญัตคิ วบคุมอำคำร
2.8 กฎกระทรวงกำหนดมำตรฐำนในกำรบริหำรจัดกำร และดำเนินกำรด้ำนควำมปลอดถัย อำชีวอนำมัยและสภำพแวดล้อมในกำรทำงำน
2.9 กฎกระทรวง ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2535) ออกตำมควำมใน พ.ร.บ. โรงงำน
2.10 ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2513) หมวดที่ 1 ถึง 10 ตำมควำมในพระรำชบัญญัติโรงงำน พ.ศ. 2512 [47]
2.11 กฎกระทรวง ฉบับที่ 55 (พ.ศ.2543) ออกตำมควำมใน พ.ร.บ.ควบคุมอำคำร ข้อ 24 23
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 3 เครื่องจักร ระบบไฟฟ้า และอุปกรณ์

บทที่ 3 เครื่องจักร ระบบไฟฟ้า และอุปกรณ์


3.1 ขอบเขต
มำตรฐำนนี้ เพื่อกำหนดวิธีกำรตรวจสอบเครื่องจักร อุปกรณ์ประกอบในกำรติดตั้งเครื่องจักรที่ปลอดภัย ให้เป็นไปตำม
กฎหมำย
3.2 มาตรฐานการตรวจสอบ เครื่องจักร ระบบไฟฟ้า และอุปกรณ์ต้องมีมาตรฐาน
3.2.1 ลิฟต์ ต้องมีส่วนปลอดภัยไม่น้อยกว่ำ 4 เท่ำของน้ำหนักที่กำหนดให้ใช้ ทั้งนี้ โดยถือว่ำคน ที่บรรทุกมีน้ำหนัก 70
กิโลกรับต่อหนึ่งคน และต้องเป็นแบบที่เคลือ่ นที่ได้ก็ต่อเมื่อ ประตูปิดแล้ว รวมทั้งต้องมีระบบส่งสัญญำณเมือ่ เกิดเหตุฉุกเฉิน มีป้ำย
ระบุจำนวนคนหรือน้ำหนักที่จะบรรทุกได้ ให้เห็นได้ง่ำยและชัดเจน 3.1
3.2.6 เครื่องจักรต้องไม่ก่อให้เกิดควำมสั่นสะเทือน เสียง หรือคลื่นวิทยุ รบกวนผู้อยู่อำศัยใกล้เคียง 3.1
3.2.7 บ่อหรือถังเปิด ต้องมีขอบหรือรำวกั้นแข็งแรงและปลอดภัยทำงด้ำนที่คนเข้ำถึงได้สูงไม่น้อยกว่ำ 1 เมตร 3.1
3.2.8 บริเวณที่มีภำชนะบรรจุวัตถุอันตรำย ต้องจัดให้มีวัตถุหรือเคมีภัณฑ์ที่มีคุณสมบัติเหมำะสมในกำรระงับหรือลด
ควำมรุนแรงของกำรแพร่กระจำยได้อย่ำงเหมะสมและพอเพียง
3.2.9 เครื่องยก (grane and hoist) ส่วนที่รับน้ำหนักและส่วนต่อเนื่อง ต้องมันคงแข็งแรง มีลักษณะ ขนำด และจำนวน
ที่เหมำะสม และต้องมีป้ำยระบุน้ำหนักปลอดภัยสูงสุด ที่ยกได้ มองเห็นได้ชัดเจน กับต้องมีที่ห้ำมล้อ ซึ่งสำมำรถจะหยุดน้ำหนัก ได้
ไม่น้อยกว่ำ 1 เท่ำ ของน้ำหนักปลอดภัยสูงสุด และถ้ำเป็นเครื่องยกที่ใช้ไฟฟ้ำ ต้องมีอุปกรณ์สำหรับหยุด ยกและตัดกระแสไฟฟ้ำ
เมื่อยกน้ำหนักถึงตำแหน่งสูงสุดที่กำหนด 3.1
3.1 กฎกระทรวง ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2535) ออกตำมพระรำชบัญญัตโรงงำน พ.ศ.2535 24
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 3 เครื่องจักร ระบบไฟฟ้า และอุปกรณ์

3.2.10 เครื่องลำเลียงขนส่ง (conveyer) ซึ่งมีสำยลำเลียงผ่ำนเหนือบริเวณ ซึ่งมีคนปฏิบัติงำนหรือทำงเดิน ต้องมีเครื่อง


ป้องกันกำรตก ด้ำนข้ำงและด้ำนล่ำงตลอดใต้สำยพำนลำเลียงนั้น สำหรับสำยพำนลำเลียงต่ำงไปจำกแนวระดับ ต้องมีเครื่องบังคับให้
สำยพำนลำเลียงหยุดได้เองเมือ่ เครื่องหยุด3.1
3.2.11 เครื่องจักร ที่ผู้ผลิตได้ติดตั้งเครื่องป้องกันอันตรำยไว้ เพื่อควำมปลอดภัย ต้องดูแลรักษำเครื่องป้องกันอันตรำย ให้
อยู่ในสภำพเช่นนั้น 3.2
3.2.12 ชิ้นส่วนของเครื่องจักร ที่มีกำรเคลื่อนไหวอันอำจจะเป็นอันตรำย ต้องมีเครื่องป้องกันอันตรำยที่มั่นคงแข็งแรง และ
ห้ำมถอดย้ำย เปลี่ยนแปลงหรือซ่อมเครื่องป้องกันอันตรำย รวมทั้งอุปกรณ์และกลไกของเครื่องป้องกันอันตรำยในขณะที่เครื่องจักรมี
กำรเคลื่อนไหว3.2
3.2.13 ไฟลวีล ต้องมีฝำครอบหรือตำข่ำยเหล็ก ช่องกว้ำงไม่มำกกว่ำ 5 เซนติเมตร ปิดกันคนงำนหหรือสิ่งของกระทบไฟล
วีล 3.2
3.2.14 เครื่องต้นกำลังกลทุกชนิด ยกเว้นเครื่องยนต์ไฟฟ้ำ ต้องมีเครื่องรักษำระดับควำมเร็วอัตโนมัติ (governor) ที่มี
ประสิทธิภำพดี3.2
3.2.15 ต้องจัดให้มีวิธีหยุดเดินเครื่องจักรได้ในกรณีฉุกเฉิน จำกที่ซึ่งอยู่ห่ำงจำกส่วนที่เคลื่อนไหวของเครื่องจักรในระยะที่
ปลอดภัยแก่กำรปฏิบัติ3.2
3.2.16 ถ้ำจำเป็นต้องมีทำงเดินข้ำมเพลำหรือที่ยึดเพลำ ทำงเดินนั้นต้องมีพื้นที่มั่นคงและมีรำวกั้นอย่ำงแข็งแรง3.2

3.2 ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม ฉบับที่ 4 (พ.ศ.2514) ออกตำมควำมในพระรำชบัญญัติโรงงำน พ.ศ.2512


25
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 3 เครื่องจักร ระบบไฟฟ้า และอุปกรณ์

3.2.17 เพลำ สำยพำน ปุลเล่ และอุปกรณ์ส่งถ่ำยกำลังอื่น จะไม่มีเครื่องป้องกันอันตรำยข้ำงต้นก็ได้ หำกได้จัดให้อยู่ใน


บริเวณหรือห้องเฉพำะ และปฏิบัติตำมข้อต่อไปนีค้ รบถ้วนทุกข้อ คือ3.2
3.2.18 เพลำที่สูงจำกพื้นที่ปฏิบัติงำนหรือทำงเดินไม่มำกกว่ำ 250 เซนติเมตร ต้องมีเครื่องป้องกันอันตรำยที่มั่นคงแข็งแรง
อย่ำงใดอย่ำงหนึ่งดังนี้3.2
3.2.18.1 ครอบปิดยำวตลอดตัวเพลำโดยรอบหรืออย่ำงน้อยที่สดุ ด้ำนข้ำงและด้ำนบนหรือด้ำนล่ำงที่คนงำนหรือ
สิ่งของอำจกระทบเพลำได้
3.2.18.2 รั้วกั้นสูงจำกพื้นไม่น้อยกว่ำ 100 เซนติเมตร มีลูกนอนอย่ำงน้อย 1 ลูก สูงจำกพื้นไม่มำกกว่ำ 30
เซนติเมตร และห่ำงจำกเพลำไม่น้อยกว่ำ 50 เซนติเมตร
3.2.19 ข้อต่อเพลำ คลัช ปุลเล่ และสำยพำนหรือโซ่ส่งถ่ำยกำลังที่อยู่สงู จำกพื้นหรือพื้นที่ปฏิบัติงำนไม่มำกกว่ำ 2.5 เมตร
ต้องมีเครื่องป้องกันอันตรำยอย่ำงมั่นคงแข็งแรง3.2
3.2.20 เกียร์ที่อยู่ในบริเวณที่อำจจะก่อให้เกิดอันตรำยได้ ต้องมีเครื่องป้องกันอันตรำยอย่ำงมั่นคงแข็งแรงอย่ำงใดอย่ำงหนึ่ง
ดังต่อไปนี้3.2
3.2.21 ต้องไม่ใช้งำนปุลเล่ที่มีสภำพไม่มั่นคงแข็งแรง หรือมีรอยร้ำว หรือขอบบิ่น แตกร้ำว3.2
3.2.22 ปุลเล่ที่มีควำมเร็วที่ขอบนอกมำกกว่ำ 1,200 เมตร ต่อนำที ต้องเป็นปุลเล่ที่ได้สร้ำงขึ้นถูกต้องตำมหลักวิชำกำรเพื่อ
กิจกำรนั้นเป็นพิเศษเท่ำนั้น3.2

3.2 ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม ฉบับที่ 4 (พ.ศ.2514) ออกตำมควำมในพระรำชบัญญัติโรงงำน พ.ศ.2512


26
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 3 เครื่องจักร ระบบไฟฟ้า และอุปกรณ์

3.2.23 ปุลเล่ที่ใช้กับสำยพำนแบน ที่ไม่มีกำรขยับเลื่อน ต้องมีหน้ำนูนเพื่อป้องกันไม่ให้สำยพำนหลุด3.2


3.2.24 ถ้ำปุลเล่อยู่ห่ำงจำกปุลเล่ตำยหรือคลัชหรืออย่ำงอืน่ ๆ ไม่มำกกว่ำควำมกว้ำงของสำยพำน ต้องจัดให้มีเครื่องป้องกัน
ไม่ให้สำยพำนหลุดทำงด้ำนที่อยู่ใกล้กับปุลเล่ตำย หรือคลัช หรืออื่นๆ นั้น3.2
3.2.25 ปุลเล่ที่ติดอยู่ที่ปลำยเพลำลอย ต้องมีเครื่องป้องกันไม่ให้สำยพำนหลุดออกนอกเพลำได้3.2
3.2.26 ถ้ำสำยพำนหรือโซ่ส่งถ่ำยกำลังอยู่สงู จำกพื้นหรือพื้นที่ปฏิบัติงำนไม่มำกกว่ำ 250 เซนติเมตร ต้องมีเครื่องป้องกัน
ด้ำนข้ำงสูงพ้นจำกส่วนบนของสำยพำนหรือโซ่สง่ ถ่ำยกำลังไม่น้อยกว่ำ 40 เซนติเมตร หรือสูง 250 เซนติเมตรจำกพื้นหรือพื้นที่
ปฏิบัติงำน แล้วแต่ว่ำอย่ำงไหนจะน้อยกว่ำกัน แต่ต้องสูงไม่น้อยกว่ำ 100 เซนติเมตร ทั้งนี้ เว้นแต่ว่ำสำยพำนหรือโซ่ส่งถ่ำยกำลังจะมี
ครอบปิดคลุมหมด3.2
3.2.27 สำยพำนส่งถ่ำยกำลังที่มีควำมกว้ำงมำกกว่ำ 12 เซนติเมตร ควำมเร็วของสำยพำนตั้งแต่ 540 เมตรต่อนำทีขึ้นไป
และศูนย์กลำงปุลเล่ห่ำงกันตั้งแต่ 300 เซนติเมตร ขึ้นไป ถ้ำอยู่สูงจำกพื้นหรือพื้นที่ปฏิบัติงำนมำกกว่ำ 250 เซนติเมตร ต้องมีเครื่อง
ป้องกันด้ำนล่ำงตลอดควำมยำวของสำยพำน3.2
3.2.28 คันขยับสำยพำนต้องมีเครื่องบังคับไม่ให้สำยพำนปีนข้ำมปลุเล่ได้เอง3.2
3.2.29 ในอำคำรโรงงำนเดียวกัน คันขยับสำยพำนหรือคันขยับคลัช ต้องขยับไปทำงเดียวกันเมื่อจะหยุดเครื่อง ยกเว้นคัน
ขยับสำมตำแหน่ง3.2
3.2.30 เครื่องจักรที่ไม่ได้ขับด้วยเครื่องต้นกำลังเฉพำะตัว ต้องจัดให้มี คลัช ปุลเล่ฟรี หรือวิธีกำรอื่นใดที่เหมำะสม เพื่อให้
หยุดหรือเดินเครื่องจักรนั้นเฉพำะตัวได้โดยสะดวกและปลอดภัย3.2
3.2.31 สวิชตัดตอนของเครื่องยนต์ไฟฟ้ำ ต้องเป็นชนิดที่ไม่อำจจะเปิด-ปิดได้เมื่อมีกำรกระทบโดยบังเอิญ3.2
3.2 ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม ฉบับที่ 4 (พ.ศ.2514) ออกตำมควำมในพระรำชบัญญัติโรงงำน พ.ศ.2512 27
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 3 เครื่องจักร ระบบไฟฟ้า และอุปกรณ์

3.2.32 ถ้ำสวิชตัดตอนเป็นแบบปุ่มกด ต้องเป็นแบบที่มีปุ่มกดเดินและปุ่มกดหยุดแยกกัน ปุ่มกดเดินต้องเป็นชนิดสีเขียว


หรือดำ ส่วนปุ่มกดหยุดต้องเป็นชนิดสีแดง3.2
3.2.33 เครื่องจักรที่ใช้คนงำนหลำยคนปฏิบัติงำนร่วมกัน ต้องมีเครื่องบังคับมิให้เครื่องจักรนั้นปฏิบัติงำนได้ในขณะที่
คนงำนอยู่ในตำแหน่งอันอำจจะเป็นอันตรำยได้3.2
3.2.34 ถ้ำเครื่องจักรขับด้วยเครื่องยนต์ไฟฟ้ำหลำยเครื่อง นอกจำกจะมีสวิชตัดตอนเฉพำะเครื่องยนต์ไฟฟ้ำแต่ละเครื่อง
แล้ว ต้องมีสวิชตัดตอนหยุดเครื่องยนต์ไฟฟ้ำทั้งหมดพร้อมกันด้วย3.2
3.2.35 เครื่องจักรขนำดใหญ่ ซึ่งสำมำรถจะเคลื่อนต่อไปได้อีกด้วยแรงเฉื่อย แม้จะได้หยุดส่งถ่ำยกำลังแล้ว ต้องมีห้ำมล้อที่มี
ประสิทธิภำพพอที่จะหยุดเครื่องได้โดยเร็ว ในกรณีที่อำจจะก่อให้เกิดอันตรำยได้ต้องมีห้ำมล้อชนิดอัตโนมัติ3.2
3.2.36 กำรติดตั้งท่อและอุกรณ์สำหรับส่งวัตถุทำงท่อ ต้องเป็นไปตำมหลักวิชำกำร 3.3
3.2.13 มำตรกำรควำมปลอดภัยเกี่ยวกับโรงงำนสร้ำงหม้อน้ำ หรือหม้อต้มของเหลวเป็นสื่อนำควำมร้อน 3.5
3.2.14 โรงงำนที่มีกำรใช้งำนหม้อน้ำ ต้องปรับสภำพน้ำหม้อน้ำ ดังนี้ 3.6
3.2.15 กำหนดมำตรกำรควำมปลอดภัยเกี่ยวกับระบบทำควำมเย็น ที่ใช้แอมโมเนียเป็นสำรทำควำมเย็นในโรงงำน 3.7
3.2.16 มำตรกำรคุ้มครองควำมปลอดภัยในกำรประกอบกิจกำรโรงงำน หลอมตะกั่วจำกแบตเตอรี่เก่ำ 3.8
3.3 กฎกระทรวง ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2535) ออกตำมพระรำชบัญญัตโรงงำน พ.ศ.2535
3.4 กฎกระทรวง กำหนดมำตรกำรควำมปลอดภัยเกี่ยวกับหม้อน้ำ หม้อต้มของเหลวเป็นสื่อนำควำมร้อน และภำชนะรับแรงดันในโรงงำน พ.ศ.2549
3.6 ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม เรื่อง คุณสมบัติของน้ำสำหรับหม้อน้ำ พ.ศ. 2549
3.7 กฎกระทรวง กำหนดมำตรกำรควำมปลอดภัยเกี่ยวกับระบบทำควำมเย็น ที่ใช้แอมโมเนียเป็นสำรทำควำมเย็นในโรงงำน พ.ศ.2554
3.8 ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม เรื่อง มำตรกำรคุ้มครองควำมปลอดภัยในกำรประกอบกิจกำรโรงงำน หลอมตะกั่วจำกแบตเตอรี่เก่ำ พ.ศ.2544 28
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 3 เครื่องจักร ระบบไฟฟ้า และอุปกรณ์

3.2.17 ระบบไฟฟ้ำ กำรเดินสำยไฟ และกำรติดตั้งเครื่องยนต์ไฟฟ้ำ สวิทช์ไฟฟ้ำ และอุปกรณ์เครื่องไฟฟ้ำอื่น ต้องมีคำ


รับรองของผู้ประกอบวิชำชีพควบคุม 3.9
3.2.18 ไฟฟ้ำแสงสว่ำงและไฟฟ้ำกำลังที่ใช้ผลิตหรือช่วยในกำรผลิต ต้องใช้วงจรแยกจำกกัน แต่ละวงจรต้องมีสวิชตัดตอน
ชนิดที่สำมำรถตัดวงจรเมื่อกระแสไฟฟ้ำไหลผ่ำนเกินกำลัง 3.11
3.2.19 ในห้องปฏิบัติงำนหรือห้องเก็บสิ่งของที่อำจมี ก๊ำซ ควัน ฝุ่น ไอ หรือหมอกที่ติดไฟได้ง่ำย ต้องเดินสำยไฟฟ้ำในท่อ
เครื่องยนต์ไฟฟ้ำ สวิชไฟฟ้ำ และอุปกรณ์ไฟฟ้ำอื่นๆ ต้องเป็นแบบปิดชนิดป้องกันกำรระเบิด และห้ำมใช้หลอดไฟฟ้ำฟลูออเรสเซนท์
แบบมีสตำร์ทเตอร์ สวิชตัดตอนแบบใบมีด เต้ำเสียบและอุปกรณ์ที่อำจทำให้เกิดประกำยไฟได้ 3.11
3.2.20 หลอดไฟฟ้ำที่จะใช้เคลื่อนย้ำยไปมำ ต้องมีเครื่องป้องกันกำรกระทบแตก และต้องเป็นแบบทีส่ ร้ำงขึ้นเพื่อใช้ใน
กิจกำรนั้นๆ โดยเฉพำะ 3.11
3.2.22 เครื่องยนต์ไฟฟ้ำ หรือเครื่องไฟฟ้ำชนิดที่เคลื่อนย้ำยไปมำได้ ต้องใช้ปลั๊กและเต้ำเสียบที่แข็งแรงและมีที่ต่อกับสำย
ดินด้วย 3.11
3.2.23 เครื่องยนต์ไฟฟ้ำที่มีขนำดตั้งแต่ ¼ แรงม้ำขึ้นไป ต้องมีเครื่องป้องกันกระแสเกินขนำดและกำรใช้เกินกำลัง 3.11
3.2.24 เครื่องยนต์ไฟฟ้ำและเครื่องไฟฟ้ำต้องต่อสำยดิน กำรต่อสำยดินต้องใช้สำยไฟฟ้ำขนำดพื้นที่หน้ำตัดไม่น้อยกว่ำ 2.5
ตำรำงมิลลิเมตร และไม่เล็กกว่ำครึ่งหนึ่งของสำยไฟฟ้ำเข้ำเครื่อง แต่ไม่จำเป็นต้องใหญ่กว่ำ 70 ตำรำงมิลลิเมตร ต่อเข้ำกับท่อน้ำชนิด
โลหะที่ติดต่อลงถึงพื้นดินได้ หรือต่อลงสู่ท่อหรือแท่งทองแดงซึ่งยำวไม่น้อยกว่ำ 150 เซนติเมตร ขนำดเส้นผ่ำศูนย์กลำงไม่น้อยกว่ำ 1
เซนติเมตร ฝังในพื้นดินที่ชั้นลึกไม่น้อยกว่ำ 150 เซนติเมตร หรือต่อลงสู่ตัวนำอื่นด้วยวิธีที่ถูกต้องตำมหลักวิชำกำร3.11
3.9 กฎกระทรวง ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2535) ออกตำมพระรำชบัญญัตโรงงำน พ.ศ.2535
3.10 กฎกระทรวง กำหนดมำตรกำรควำมปลอดภัยเกี่ยวกับระบบไฟฟ้ำในโรงงำน พ.ศ.2550
3.11 ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม ฉบับที่ 4 (พ.ศ.2514) ออกตำมพระรำชบัญญัตโรงงำน พ.ศ.2512[48] 29
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 3 เครื่องจักร ระบบไฟฟ้า และอุปกรณ์

3.2.25 ต้องดูแลรักษำสำยไฟฟ้ำ สำยดิน เครื่องยนต์ไฟฟ้ำ สวิช เต้ำเสียบ และอุปกรณ์ไฟฟ้ำอื่นๆ ให้อยู่ในสภำพ


เรียบร้อย ไม่หลุดหลวม แตกร้ำว หรือผุกร่อน 3.11
3.2.26 แผงสวิช หม้อแปลงแรงไฟ แคพแปซิเตอร์ แบตเตอรี่ขนำด 150 โวลต์ ชึ้นไป ที่มิได้ติดตั้งไว้ในห้องที่จัดไว้โดยเฉำ
พะ ต้องจัดทำรั้วกั้นโดยรอบมิให้บุคคลที่ไม่มีหน้ำที่เกี่ยวข้องเข้ำไปได้ 3.11
3.2.27 ห้ำมมิให้ซ่อมสำยไฟฟ้ำหรืออุปกรณ์ไฟฟ้ำในขณะที่มีกระแสไฟฟ้ำไหลผ่ำน 3.11
3.2.28 เครื่องหมำยและไฟป้ำยฉุกเฉิน ต้องมีป้ำยบอกชั้น 3.12
3.2.29 กำหนดให้มีป้ำยบอกทำงหนีไฟ ขนำดตัวหนังสือสูงไม่น้อยกว่ำ 15 เซนติเมตร มีแสงสว่ำงในตัวเอง หรือใช้ไฟส่อง
ให้เห็นได้ตลอดเวลำ 3.13 ระยะห่ำงของป้ำยไม่เกิน 24 เมตร 3.14
3.2.30 ระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ ต้องติดตั้งระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ ทั้งชนิด อัตโนมัติและแบบใช้มือ ทุกชั้น ควำมดังของ
เสียงไม่น้อยกว่ำ 100 dB A ที่จุดกำเนิด 1 เมตร เสียงต้องแตกต่ำงจำกเสียงทั่วไป และจัดให้มีกำรทดสอบอย่ำงน้อยเดือนละ ครั้ง
3.13

3.2.21 สถำนประกอบกำรตั้งแต่ 2 ชั้นขึ้นไป หรือมีพื้นที่ตั้งแต่ 200 ตำรำงเมตร ขึ้นไป ให้มีสัญญำณแจ้งเหตุเพลิงไหม้


ทุกชั้น อุปกรณ์แจ้งเหตุด้วยมือ ต้องเห็นได้ชัดเจน เข้ำถึงง่ำย หรืออยู่ในเส้นทำงหนีไฟ ติดตั้งห่ำงจำกจุดที่คนงำนทำงำนไม่เกิน 30
เมตร 3.13

3.9 กฎกระทรวง ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2535) ออกตำมพระรำชบัญญัตโรงงำน พ.ศ.2535


3.10 กฎกระทรวง กำหนดมำตรกำรควำมปลอดภัยเกี่ยวกับระบบไฟฟ้ำในโรงงำน พ.ศ.2550 30
3.11 ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม ฉบับที่ 4 (พ.ศ.2514) ออกตำมพระรำชบัญญัตโรงงำน พ.ศ.2512[48]
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 3 เครื่องจักร ระบบไฟฟ้า และอุปกรณ์

3.3.22 อำคำรโรงงำนต้องจัดให้มีอุปกรณ์ตรวจจับและแจ้งเหตุเพลิงไหม้ ครอบคลุมทั้งอำคำร โดยเฉพำะพื้นที่ที่ไม่มี


คนงำนปฏิบัติงำนประจำและมีกำรติดตั้งหรือใช้งำนอุปกรณ์ไฟฟ้ำ หรือจัดเก็บวัตถุไวไฟหรือวัสดุติดไฟได้ง่ำยจะต้องติดตั้งอุกปรณ์
ตรวจจับและแจ้งเหตุเพลิงไหม้อัตโนมัติ เป็นชนิดที่ให้สัญญำณโดยไม่ต้องใช้ไฟฟ้ำจำกระบบแสงสว่ำงและที่ใช้กับเครื่องจักร หรือมี
ระบบไฟฟ้ำสำรองที่จ่ำยไฟสำหรับระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ได้ไม่น้อยกว่ำ 2 ชั่วโมง กำรติดตั้งให้เป็นไปตำมมำตรฐำน 3.14
3.3.23 โรงงำนที่มีก๊ำซอันตรำยหรือมีวัสดุไวไฟที่มีคนปฏิบัติงำนตั้งแต่ 50 คนขึ้นไป ต้องมีสัญญำณแจ้งเหตุอันตรำย ซึ่ง
จะให้สญญำณเตือนให้คนที่อยู่ในเขตอันตรำยออกพ้นเขตอันตรำยได้ทันท่วงทีและแจ้งให้ผู้ที่มีหน้ำที่รีบเข้ำระงับเหตุอันตรำยได้
โดยเร็ว โรงงำนที่มีวัสดุติดไฟได้ง่ำยที่มีคนปฏิบัติงำนตั้งแต่ 100 คนขึ้นไป ต้องมีสัญญำณแจ้งเหตุอันตรำย ซึ่งจะให้สัญญำณเตือนให้
คนที่อยู่ในเขตอันตรำยออกพ้นเขตอันตรำยได้ทันท่วงทีและแจ้งให้ผู้ท่มีี่ หน้ำที่รีบเขำระงับเหตุอันตรำยได้โดยเร็ว 3.15
3.3.24 สัญญำณแจ้งเหตุอันตรำยต้องมีอย่ำงน้อย 2 แห่ง ณ ที่ต่ำงกัน โดยต้องอยู่ในเขตที่ปลอดภัยจำกอันตรำย และอยู่
ในตำแหน่งที่เข้ำถึงได้สะดวกและรวดเร็ว 3.15
3.2.25 ต้องดูแลรักษำสำยไฟฟ้ำ สำยดิน เครื่องยนต์ไฟฟ้ำ สวิช เต้ำเสียบ และอุปกรณ์ไฟฟ้ำอื่นๆ ให้อยู่ในสภำพ
เรียบร้อย ไม่หลุดหลวม แตกร้ำว หรือผุกร่อน 3.11
3.2.26 แผงสวิช หม้อแปลงแรงไฟ แคพแปซิเตอร์ แบตเตอรี่ขนำด 150 โวลต์ ชึ้นไป ที่มิได้ติดตั้งไว้ในห้องที่จัดไว้โดยเฉำ
พะ ต้องจัดทำรั้วกั้นโดยรอบมิให้บุคคลที่ไม่มีหน้ำที่เกี่ยวข้องเข้ำไปได้ 3.11
3.11 ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม ฉบับที่ 4 (พ.ศ.2514) ออกตำมพระรำชบัญญัตโรงงำน พ.ศ.2512[48]
3.12 กฎกระทรวง ฉบับที่
33 พ.ศ.2535 ออกตำมควำมในพระรำชบัญญัติควบคุมอำคำร พ.ศ.2522
3.13 กฎกระทรวงกำหนดมำตรฐำนในกำรบริหำรจัดกำร และดำเนินกำรด้ำนควำมปลอดภัย อำชีวอนำมัยและสภำพแวดล้อมในกำรทำงำนเกี่ยวกับกำรป้องกันและระงับอัคคีภัย

พ.ศ.2555
3.14 มำตรฐำนวิศวกรรมสถำนแห่งประเทศไทย มำตรฐำนกำรป้องกันและระงับอัคคีภัย (EIT Standard 3002-51)
31
3.15 ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2513) ออกตำมควำมในพระรำชบัญญัติโรงงำน พ.ศ. 2512 [47]
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 3 เครื่องจักร ระบบไฟฟ้า และอุปกรณ์

3.2.27 ห้ำมมิให้ซ่อมสำยไฟฟ้ำหรืออุปกรณ์ไฟฟ้ำในขณะที่มีกระแสไฟฟ้ำไหลผ่ำน 3.11


3.2.28 เครื่องหมำยและไฟป้ำยฉุกเฉิน ต้องมีป้ำยบอกชั้น 3.12
3.2.29 กำหนดให้มีป้ำยบอกทำงหนีไฟ ขนำดตัวหนังสือสูงไม่น้อยกว่ำ 15 เซนติเมตร มีแสงสว่ำงในตัวเอง หรือใช้ไฟส่อง
ให้เห็นได้ตลอดเวลำ 3.13 ระยะห่ำงของป้ำยไม่เกิน 24 เมตร 3.14
3.2.30 ระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ ต้องติดตั้งระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ ทั้งชนิด อัตโนมัติและแบบใช้มือ ทุกชั้น ควำมดังของ
เสียงไม่น้อยกว่ำ 100 dB A ที่จุดกำเนิด 1 เมตร เสียงต้องแตกต่ำงจำกเสียงทั่วไป และจัดให้มีกำรทดสอบอย่ำงน้อยเดือนละ ครั้ง
3.13

3.2.21 สถำนประกอบกำรตั้งแต่ 2 ชั้นขึ้นไป หรือมีพื้นที่ตั้งแต่ 200 ตำรำงเมตร ขึ้นไป ให้มีสัญญำณแจ้งเหตุเพลิงไหม้


ทุกชั้น อุปกรณ์แจ้งเหตุด้วยมือ ต้องเห็นได้ชัดเจน เข้ำถึงง่ำย หรืออยู่ในเส้นทำงหนีไฟ ติดตั้งห่ำงจำกจุดที่คนงำนทำงำนไม่เกิน 30
เมตร 3.13
3.3.22 อำคำรโรงงำนต้องจัดให้มีอุปกรณ์ตรวจจับและแจ้งเหตุเพลิงไหม้ ครอบคลุมทั้งอำคำร โดยเฉพำะพื้นที่ที่ไม่มี
คนงำนปฏิบัติงำนประจำและมีกำรติดตั้งหรือใช้งำนอุปกรณ์ไฟฟ้ำ หรือจัดเก็บวัตถุไวไฟหรือวัสดุติดไฟได้ง่ำยจะต้องติดตั้งอุกปรณ์
ตรวจจับและแจ้งเหตุเพลิงไหม้อัตโนมัติ เป็นชนิดที่ให้สัญญำณโดยไม่ต้องใช้ไฟฟ้ำจำกระบบแสงสว่ำงและที่ใช้กับเครื่องจักร หรือมี
ระบบไฟฟ้ำสำรองที่จ่ำยไฟสำหรับระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ได้ไม่น้อยกว่ำ 2 ชั่วโมง กำรติดตั้งให้เป็นไปตำมมำตรฐำน 3.14
3.12 กฎกระทรวง ฉบับที่ 33 พ.ศ.2535 ออกตำมควำมในพระรำชบัญญัติควบคุมอำคำร พ.ศ.2522
3.13 กฎกระทรวงกำหนดมำตรฐำนในกำรบริหำรจัดกำร และดำเนินกำรด้ำนควำมปลอดภัย อำชีวอนำมัยและสภำพแวดล้อมในกำรทำงำนเกี่ยวกับกำรป้องกันและระงับอัคคีภัย

พ.ศ.2555
3.14 มำตรฐำนวิศวกรรมสถำนแห่งประเทศไทย มำตรฐำนกำรป้องกันและระงับอัคคีภัย (EIT Standard 3002-51)
32
3.15 ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2513) ออกตำมควำมในพระรำชบัญญัติโรงงำน พ.ศ. 2512 [47]
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 3 เครื่องจักร ระบบไฟฟ้า และอุปกรณ์

3.3.23 โรงงำนที่มีก๊ำซอันตรำยหรือมีวัสดุไวไฟที่มีคนปฏิบัติงำนตั้งแต่ 50 คนขึ้นไป ต้องมีสัญญำณแจ้งเหตุอันตรำย ซึ่ง


จะให้สญญำณเตือนให้คนที่อยู่ในเขตอันตรำยออกพ้นเขตอันตรำยได้ทันท่วงทีและแจ้งให้ผู้ที่มีหน้ำที่รีบเข้ำระงับเหตุอันตรำยได้
โดยเร็ว โรงงำนที่มีวัสดุติดไฟได้ง่ำยที่มีคนปฏิบัติงำนตั้งแต่ 100 คนขึ้นไป ต้องมีสัญญำณแจ้งเหตุอันตรำย ซึ่งจะให้สัญญำณเตือนให้
คนที่อยู่ในเขตอันตรำยออกพ้นเขตอันตรำยได้ทันท่วงทีและแจ้งให้ผู้ท่มีี่ หน้ำที่รีบเขำระงับเหตุอันตรำยได้โดยเร็ว 3.15
3.3.24 สัญญำณแจ้งเหตุอันตรำยต้องมีอย่ำงน้อย 2 แห่ง ณ ที่ต่ำงกัน โดยต้องอยู่ในเขตที่ปลอดภัยจำกอันตรำย และอยู่
ในตำแหน่งที่เข้ำถึงได้สะดวกและรวดเร็ว 3.15
3.3.25 สัญญำณแจ้งเหตุอันตรำยต้องไม่อำศัยพลังงำนหลักที่ใช้กับระบบแสงสว่ำงและเครื่องจักร (ต้องใช้ระบบไฟฉุกเฉิน)
3.15

3.2.23 ระบบไฟส่องสว่ำงฉุกเฉิน ต้องติดตั้งระบบไฟส่องสว่ำงสำรอง เพื่อให้มีแสงสว่ำงมองเห็นช่องทำงเดินได้ ขณะเพลิง


ไหม้ 3.16
3.2.24 ต้องจัดให้มีแสงสว่ำง ในเวลำทำงำนให้พอเพียง สำมำรถมองเห็นสิ่งกีดขวำงและส่วนที่อำจเกิดอันตรำย จำกกำร
เคลื่อนไหว ของเครื่องจักร หรือกำลังไฟฟ้ำ ตลอดจนบันไดขึ้นลง และท่งออกในเวลำมีเหตุฉุกเฉิน 3.17

3.16 กฎกระทรวง ฉบับที่ 47 พ.ศ.2540 ออกตำมควำมในพระรำชบัญญัติควบคุมอำคำร พ.ศ.2522


3.17 กฎกระทรวงอุตสำหกรรม ออกตำมพระรำชบัญญัติโรงงงำน พ.ศ.2482 ข้อ 9 พ.ศ.2489
3.18 กฎกระทรวง ฉบับที่ 33 พ.ศ.2535 ออกตำมพระรำชบัญญัติควบคุมอำคำร พ.ศ.2522 33
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 3 เครื่องจักร ระบบไฟฟ้า และอุปกรณ์

3.2.25 ต้องจัดให้มีระบบจ่ำยพลังงำนไฟฟ้ำสำรองสำหรับกรณีฉุกเฉิน เช่น แบตเตอรี่ หรือ เครื่องกำเนิดไฟฟ้ำ แยกเป็น


อิสระจำกระบบที่ใช้อยู่ตำมปกติ และสำมำรถทำงำนได้โดยอัตโนมัติ เมื่อระบบจ่ำยพลังงำนไฟฟ้ำปกติหยุดทำงำน3.17 ระบบจ่ำย
พลังงำนไฟฟ้ำสำรอง สำหรับกรณีฉุกเฉินสำมำรถทำงำนได้โดยอัตโนมัติเมือ่ ระบบไฟฟ้ำปกติหยุดกำรทำงำนและจ่ำยพลังงำนไฟฟ้ำ
ไม่น้อยกว่ำ 2 ชั่วโมง โดยจ่ำยพลังงำนให้กับ เครื่องหมำยแสดงทำงฉุกเฉิน ทำงเดิน ห้องโถง บันได และระบบสัญญำณเตือนเพลิง
ไหม้ 3.18
จ่ำยพลังงำนตลอดเวลำให้กับ ระบบดับเพลิง เครื่องสูบน้ำดับเพลิง ห้องช่วยชีวิต ระบบสื่อสำร เพื่อควำมปลอดภัยสิ่งสำธำรณะและ
กระบวนกำรผลิตทำงอุตสำหกรรมที่อำจก่อให้เกิดอันตรำยต่อชีวิตหรือสุขภำพอนำมัย 3.18
3.2.26 ต้องติดตั้งเต้ำเสียบไฟฟ้ำไว้ให้เพียงพอแก่กำรใช้งำน เพื่อมิให้มีกำรต่อไฟใช้โดยวิธีที่ไม่ปลอดภัย แผงสวิทช์ต้องมี
พื้นที่ทำงำนพอเพียงในกำรซ่อมแซม สวิทช์ทุกตัวต้องมีอักษรกำกับบอกถึงวงจรที่ควบคุมและต้องมีแผนผังทำงไฟฟ้ำให้ตรวจสอบได้
อุปกรณ์ไฟฟ้ำ ส่วนที่เป็นโลหะต้องต่อลงดิน 66 แผงวงจรย่อยทุกแผงของระบบไฟฟ้ำต้องต่อลงดิน 3.18
3.2.27 ระบบป้องกันอันตรำยจำกฟ้ำผ่ำ ต้องติดตั้งระบบป้องกันอันตรำยจำกฟ้ำผ่ำ ซึ่งประกอบด้วย เสำล่อฟ้ำ สำยตัวนำ
สำยนำลงดิน และหลักสำยดินที่เชื่อมโยงกันเป็นระบบ สำยนำลงดินต้องมีพื้นที่หน้ำตัด เทียบได้ไม่น้อยกว่ำ สำยทองแดงตีเกลียว
ขนำด 30 ตำรำงมิลลิเมตร สำยนำลงดินต้องเป็นระบบแยกเป็นอิสระจำกระบบสำยดินอื่น อำคำรแต่ละหลังต้องมีสำยตัวนำโดยรอบ
อำคำร และมีสำยนำลงดินห่ำงกันไม่เกิน 30 เมตร วัดตำมแนวขอบอำคำร ทั้งนี้อำคำรแต่ละหลังต้องมีไม่น้อยกว่ำ สองสำย 3.18
3.2.28 ภำชนะบรรจุวัตถุอันตรำย ตั้งอยู่ในที่โล่งแจ้ง ต้องมีสำยล่อฟ้ำให้เป็นไปตำมหลักวิชำกำร และภำชนะบรรจุที่อำจ
เกิดประจุไฟฟ้ำสถิตได้ในตัวต้องต่อสำยดิน 3.19
3.18 กฎกระทรวง ฉบับที่ 33 พ.ศ.2535 ออกตำมพระรำชบัญญัติควบคุมอำคำร พ.ศ.2522 34
3.19 กฎกระทรวง ฉบับที่ 2 พ.ศ.2535)ออกตำมพระรำชบัญญัตโรงงำน พ.ศ.2535
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 3 เครื่องจักร ระบบไฟฟ้า และอุปกรณ์

3.2.29 ระบบไฟฟ้ำ ต้องจัดให้มีกำรตรวจสอบสภำพของสำยไฟและอุปกรณ์ไฟฟ้ำ และ ให้มีป้ำยคำเตือนอันตรำย ติด


บริเวณที่จะเกิดอันตรำยให้เห็นได้ชัดเจน สำยไฟที่เดินผ่ำนที่โล่งและมีพำหนะผ่ำนต้องสูงไม่นอ้ ยกว่ำ 5.6 เมตร 3.20
3.2.30 กำรรักษำโรงงำนและเครื่องจักร
ต้องจัดให้มีกำรตรวจสภำพอำคำรโรงงำนและเครื่องจักรเป็นประจำ และต้องบำรุงรักษำหรือซ่อมแซมให้อยู่ ในสภำพที่มั่นคง
แข็งแรงและปลอดภัย 3.21
3.2.31 ต้องจัดให้มีกำรติดตั้ง แบบแปลนแผนผังของอำคำร แต่ละชั้น แสดงตำแหน่งห้องต่ำง ๆ ทุกห้อง ที่ติดตั้งอุปกรณ์
ดับเพลิง ประตูหรือทำงหนีไฟของชั้นนั้น ๆ ติดตั้งในตำแหน่งเห็นได้ชัดเจน บริเวณห้องโถง หรือหน้ำลิฟต์ทุกแห่งทุกชั้น ของอำคำร
และบริเวณชั้นล่ำงอำคำรต้องมีแผนผังทุกชั้นเก็บรักษำไว้เพื่อให้สำมำรถตรวจสอบได้สะดวก 3.22

3.20 ประกำศกระทรวงมหำดไทย เรื่อง ควำมปลอดภัยเกี่ยวกับไฟฟ้ำ พ.ศ. 2522


3.21 ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2513)
3.22 กฎกระทรวง ฉบับที่ 33 พ.ศ.2535 ออกตำมพระรำชบัญญัติควบคุมอำคำร พ.ศ.2522
35
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 4 สภาพแวดล้อมในการทางานและความปลอดภัย

บทที่ 4 สภาพแวดล้อมในการทางานและความปลอดภัย
4.1 ขอบเขต
มำตรฐำนนี้ เพื่อกำหนดสภำพแวดล้อมในกำรทำงำน และอุปกรณ์ต่ำง ๆ ที่ต้องมีตำมกฎหมำยเพื่อให้เกิดควำมปลอดภัย
ในขณะคนงำนทำงำนในโรงงำน
4.2 มาตรฐานการตรวจสอบสภาพแวดล้อมในการทางาน
4.2.1 การตรวจสอบสภาพแวดล้อมในการทางานด้านแสงสว่าง 4.1
4.2.1.1 ผู้ประกอบกิจกำรโรงงำนต้องป้องกันมิให้แสงตรงหรือแสงสะท้อนเข้ำตำคนงำนในกำรปฏิบัติงำน
4.2.1.2 ลำนจอดรถและทำงเดินนอกอำคำร ต้องมีควำมเข้มของกำรส่องสว่ำงไม่นอ้ ยกว่ำ 20 ลักซ์ หรือ 2 ฟุต-แคนเดิล
4.2.1.3 ทำงเดินในอำคำรโรงงำน ต้องมีควำมเข้มของกำรส่องสว่ำงไม่น้อยกว่ำ 50 ลักซ์ (ระเบียง บันได ห้องพักผ่อน
ห้องพักฟื้นของพนักงำน ห้องเก็บของที่มิได้มีกำรเคลื่อนย้ำย)
4.2.1.4 กำรปฏิบัติงำนที่ไม่ต้องกำรควำมละเอียด ต้องมีควำมเข้มของกำรส่องสว่ำงไม่น้อยกว่ำ 100 ลักซ์ (บริเวณกำรสี
ข้ำว กำรสำงฝ้ำย หรือกำรปฏิบัติงำนขั้นแรกในกระบวนอุตสำหกรรมต่ำง ๆ บริเวณจะขนถ่ำยสินค้ำ ป้อมยำม ลิฟต์ ห้องเปลี่ยน
เสื้อผ้ำและบริเวณตู้เก็บของ ห้องน้ำและห้องส้วม)
4.2.1.5 กำรปฏิบัติงำนที่ต้องกำรควำมละเอียดน้อยมำก ต้องมีควำมเข้มของกำรส่องสว่ำงไม่นอ้ ยกว่ำ 200 ลักซ์ (งำน
หยำบที่ทำที่โต๊ะหรือเครื่องจักร ชิ้นงำนที่มีขนำดใหญ่กว่ำ 0.75 มิลลิเมตร กำรตรวจงำนหยำบด้วยสำยตำ กำรนับ กำรตรวจเช็ค
สิ่งของที่มีขนำดใหญ่และบริเวณพื้นที่ในโกดัง)
4.1ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม เรื่อง มำตกำรคุ้มครองควำมปลอดภัยในกำรประกอบกิจกำรโรงงำน เกี่ยวกับสภำวะแวดล้อมในกำรทำงำน 36

พ.ศ.2546
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 4 สภาพแวดล้อมในการทางานและความปลอดภัย

4.2.1.6 กำรปฏิบัติงำนที่ต้องกำรควำมละเอียดน้อย ต้องมีควำมเข้มของกำรส่องสว่ำงไม่น้อยกว่ำ 300 ลักซ์ (งำนรับจ่ำยเสื้อผ้ำ งำน


ไม้ที่มีชิ้นงำนขนำดปำนกลำง งำนบรรจุน้ำลงขวดหรือกระป๋อง งำนเจำะรู ทำกำว หรือเย็บหนังสือ)
4.2.1.7 กำรปฏิบัติงำนที่มีชิ้นงำนขนำดตั้งแต่ 0.125 มิลลิเมตร ต้องมีควำมเข้มของกำรส่องสว่ำงไม่น้อยกว่ำ 400 ลักซ์ (งำนพิมพ์ดีด
เขียนและอ่ำน งำนประกอบรถยนต์และตัวถัง งำนไม้อย่ำงละเอียด)
4.2.1.8 กำรปฏิบัติงำนที่ต้องกำรควำมละเอียดปำนกลำง ต้องมีควำมเข้มของกำรส่องสว่ำงไม่น้อยกว่ำ 600 ลักซ์ (งำนเขียนแบบ
งำนระบำยสี พ่นสีและ ตกแต่งอย่ำงละเอียด งำนพิสูจน์ตัวอักษร งำนตรวจสอบขั้นสุดท้ำยใน โรงงำนผลิตรถยนต์)
4.2.1.9 กำรปฏิบัติงำนที่ต้องกำรควำมละเอียดปำนสูง ต้องมีควำมเข้มของกำรส่องสว่ำงไม่น้อยกว่ำ 800 ลักซ์ (กำรตรวจสอบ
ละเอียด เช่น กำรปรับเทียบมำตรฐำนควำมถูกต้องและควำมแม่นยำของอุปกรณ์ กำรระบำยสี พ่นสี และตกแต่งชิ้นงำนที่ต้องกำรควำม
ละเอียดมำกเป็นพิเศษ งำนย้อมสี)
4.2.1.10 กำรตรวจสอบสิ่งทอ ต้องมีมีควำมเข้มของกำรส่องสว่ำงไม่น้อยกว่ำ 1200 ลักซ์ (กำรตรวจสอบกำรตัดเย็บเสื้อผ้ำด้วยมือ
กำรตรวจสอบและตกแต่งสินค้ำสิ่งทอ สิ่งถักหรือเสื้อผ้ำที่มีสีอ่อนขั้นสุดท้ำยด้วยมือ กำรคัดแยกและเทียบสีหนังที่มีสีเข้ม กำรเทียบสีในกำร
ย้อมผ้ำ)
4.2.1.11 กำรปฏิบัติงำนที่ต้องกำรควำมละเอียดสูงมำก ต้องมีควำมเข้มของกำรส่องสว่ำงไม่น้อยกว่ำ 1600 ลักซ์ (งำนละเอียดที่ต้อง
ทำบนโต๊ะหรือเครื่องจักร เช่น ทำเครื่องมือและแม่พิมพ์ขนำดเล็กกว่ำ 0.025 มิลลิเมตร งำนตรวจสอบวัดชิ้นส่วนที่มีขนำดเล็กหรือชิ้นงำนที่
มีส่วนประกอบขนำดเล็ก งำนซ่อมแซมสินค้ำ สิ่งทอ สิ่งถักที่มีสีอ่อน งำนตรวจสอบและตกแต่งชิ้นส่วนสินค้ำสิ่งทอ สิ่งถักที่มีสีเข้มด้วยมือ
4.2.1.12 กำรปฏิบัติงำนที่ต้องกำรควำมละเอียดสูงมำกเป็นพิเศษ ต้องมีควำมเข้มของกำรส่องสว่ำงไม่น้อยกว่ำ 2400 ลักซ์ (งำน
ตรวจสอบชิ้นงำนที่มีขนำดเล็กมำก กำรเจียระไนเพชร กำรทำนำฬิกำข้อมือในกระบวนกำรที่มีขนำดเล็ก กำรถัก ซ่อมแซมเสื้อผ้ำ ถุงเท้ำที่มีสี
เข้ม)
37
4.1ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม เรื่อง มำตกำรคุ้มครองควำมปลอดภัยในกำรประกอบกิจกำรโรงงำน เกี่ยวกับสภำวะแวดล้อมในกำรทำงำน พ.ศ.2546
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 4 สภาพแวดล้อมในการทางานและความปลอดภัย

4.2.2 การตรวจสอบสภาพแวดล้อมในการทางานด้านเสียง
4.2.2.1 ห้ำมมิให้บุคคลเข้ำไปในบริเวณที่มเี สียงดังเกินกว่ำ 140 dB (A)
4.2.2.2 ในสถำนที่ทำงำนจะต้องมีระดับเสียงเฉลี่ยที่ยอมรับได้ในระยะเวลำกำรทำงำน แต่ละวันดังนี้
ระยะเวลำทำงำน 12 ชั่วโมง ระดับเสียงเฉลี่ยไม่เกิน 87 dB(A)
ระยะเวลำทำงำน 8 ชั่วโมง ระดับเสียงเฉลีย่ ไม่เกิน 90 dB(A)
ระยะเวลำทำงำน 6 ชั่วโมง ระดับเสียงเฉลีย่ ไม่เกิน 92 dB(A)
ระยะเวลำทำงำน 4 ชั่วโมง ระดับเสียงเฉลีย่ ไม่เกิน 95 dB(A)
ระยะเวลำทำงำน 3 ชั่วโมง ระดับเสียงเฉลีย่ ไม่เกิน 97 dB(A)
ระยะเวลำทำงำน 2 ชั่วโมง ระดับเสียงเฉลีย่ ไม่เกิน 100 dB(A)
ระยะเวลำทำงำน 1.5 ชั่วโมง ระดับเสียงเฉลีย่ ไม่เกิน 102 dB(A)
ระยะเวลำทำงำน 1 ชั่วโมง ระดับเสียงเฉลีย่ ไม่เกิน 105 dB(A)
ระยะเวลำทำงำน 0.5 ชั่วโมง ระดับเสียงเฉลี่ยไม่เกิน 110 dB(A)
ระยะเวลำทำงำนน้อยกว่ำ 0.25 ชั่วโมง ระดับเสียงเฉลี่ยไม่เกิน 115 dB(A)
กรณีเวลำกำรปฏิบัติงำนไม่มีค่ำมำตรฐำนที่กำหนดข้ำงต้น
8
2 𝐿−90
ให้คำนวณจำกสูตร T =
5
เมื่อ T หมำยถึงเวลำกำรทำงำนที่ยอมให้ได้
L หมำยถึงระดับเสียง dB(A) 38
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 4 สภาพแวดล้อมในการทางานและความปลอดภัย

4.2.2.3 ถ้ำระดับเสียงเกินกว่ำค่ำมำตรฐำนผู้ประกอบกิจกำรโรงงำนต้องปิดประกำศเตือนให้ทรำบ
4.2.2.4 เสียงที่วัดนอกบริเวณโรงงำน หำกสูงกว่ำระดับเสียงพื้นฐำน เกินกว่ำ 10 เดซิเบลเอ ถือว่ำเป็นเสียงรบกวน 4.3
4.2.2.5 ระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชั่วโมง นอกบริเวณโรงงำน ที่เกิดจำกกำรประกอบกิจกำร ต้องไม่เกิน 70 เดซิเบลเอ 4.3
4.2.2.6 ระดับเสียงสูงสุดนอกบริเวณโรงงำน ที่เกิดจำกกำรประกอบกิจกำรโรงงำน ต้องไม่เกิน 115 เดซิเบลเอ 4.3
4.2.3 การตรวจสอบสภาพแวดล้อมในการทางานด้านความร้อน 4.4
“งานเบา” ต้องมีระดับควำมร้อน WBGT ไม่เกิน 34.0 C (งำนเบำเป็นงำนที่ใช้แรงน้อย หรือใช้กำลังงำนที่ทำให้เกิดกำรเผำ
ผลำญอำหำรในร่ำงกำยไม่เกิน 200 กิโลแคลอรี่/ชั่วโมง เช่น งำนเขียนหนังสือ งำนพิมพ์ดีด งำนบันทึกข้อมูล งำนเย็บจักร งำนตรวจสอบ
ผลิตภัณฑ์ งำนประกอบชิ้นงำนขนำดเล็ก งำนบังคับเครื่องจักรด้วยเท้ำ กำรยืนคุมงำน เป็นต้น)
“งานปานกลาง” ต้องมีระดับควำมร้อน WBGT ไม่เกิน 32.0 C (งำนปำนกลำงเป็นงำนที่ใช้แรงปำนกลำงหรือใช้กำลังที่ทำให้
เกิดกำเผำผลำญอำหำรในร่ำงกำยเกินกว่ำ 200 กิโลแคลอรี่/ชั่วโมง ถึง 350 กิโลแคลอรี่/ชั่งโมง เช่น งำนยก ลำก ดัน หรือเคลื่อนย้ำยสิ่งของ
ด้วยแรงปำนกลำง งำนตอกตะปู งำนตะไบ งำนขับรถบรรทุก งำนขับรถแทรกเตอร์ เป็นต้น)
“งานหนัก” ต้องมีระดับควำมร้อน WBGT ไม่เกิน 30 C (งำนหนักเป็นงำนที่ใช้แรงมำกหรือใช้กำลังที่ทำให้เกิดกำรเผำผลำญ
อำหำรในร่ำงกำยเกินกว่ำ 350 กิโลแคลอรี่/ชั่วโมง ถึง 500 กิโลแคลอรี่/ชั่วโมง เช่น งำนที่ใช้พลั่วหรือเสียมขุดตัก งำนเลื่อยไม้ งำนเจำะไม้
เนื้อแข็ง งำนทุบโดยใช้ค้อนขนำดใหญ่ งำนยกหรือเคลื่อนย้ำยของหนักขึ้นที่สูงหรือที่ลำดชัน เป็นต้น)
หำก 3 กรณีแรก มีระดับควำมร้อนเกินมำตรฐำน ผู้ประกอบกิจกำรต้องปิดประกำศเตือนให้ทรำบ
หำก 3 กรณีแรก มีระดับควำมร้อนเกินมำตรฐำน ผู้ประกอบกิจกำรต้องดำเนินกำรแก้ไขปรับปรุง ถ้ำไม่สำมำรถป้องกันได้ต้องจัดหำอุปกรณ์
ป้องกันภัยส่วนบุคคลตลอดจนจัดให้มีกำรจัดอบรมกำรใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรำยส่วนบุคคลด้วย 4.4
4.3 ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม เรื่อง กำหนดค่ำระดับเสียงกำรรบกวนและระดับเสียงที่เกิดจำกกำรประกอบกิจกำรโรงงำน พ.ศ. 2548
4.4 กฎกระทรวงกำหนดมำตรฐำนในกำรบริหำรจัดกำร และดำเนินกำรด้ำนควำมปลอดถัย อำชีวอนำมัยและสภำพแวดล้อมในกำรทำงำนเกี่ยวกับกำรป้องกันและระงับอัคคีภัย
39
พ.ศ.2555 ออกตำมควำมในพระรำชบัญญัติควำมปลอดภัย อำชีวอนำมัย และสภำพแวดล้อมในกำรทำงำน พ.ศ. 2554
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 4 สภาพแวดล้อมในการทางานและความปลอดภัย

4.2.4 ระบบระบายอากาศ เพื่อไม่ร้อนอบอ้าว 4.5


4.2.4.1 กำรระบำยอำกำศโดยวิธีธรรมชำติ พื้นที่ติดกับอำกำศภำยนอกไม่น้อยกว่ำร้อยละ 10 ของพื้นที่ห้อง
4.2.4.2 กำรระบำยอำกำศโดยวิธีกล ต้องเป็นไปตำม ตำรำงที่กำหนด
- ระบบระบำยอำกำศโดยวิธีกล
ลำดับ สถำนที่ (ประเภทกำรใช้) อัตรำกำรระบำยอำกำศ(จำนวนเท่ำของปริมำตรห้อง ใน 1 ชั่วโมง
1 ห้องน้ำ,ห้องส้วม ที่พักหรือสำนักงำน 2
2 โรงงำน 4
3 สำนักงำน 7
4 ห้องครัวของสถำนที่จำหน่ำยอำหำร 24
- อำคำรที่มีระบบปรับอำกำศ ต้องมีกำรนำอำกำศเข้ำหรือออก ดังนี้
ลำดับ สถำนที่ ลบ.ม./ชม./ตร.ม.
1 โรงงำน 2
2 สำนักงำน 2
3 ห้องประชุม 6
4 ห้องน้ำห้องส้วม 10
5 ห้องรับประทำนอำหำร 10
6 ห้องครัว 30
4.2.4.3 ตำแหน่งอำกำศเข้ำโดยวิธีกล ต้องห่ำงจำกช่องระบำยอำกำศทิ้ง ไม่น้อยกว่ำ 5 ม. และสูงจำกพื้นดินไม่น้อยกว่ำ
1.5 เมตร 4.5 40
4.5 กฎกระทรวง ฉบับที่ 39 (พ.ศ.2537) ออกตำมควำมในพระรำชบัญญัติควบคุมอำคำร พ.ศ.2522
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 4 สภาพแวดล้อมในการทางานและความปลอดภัย

4.2.5 มีการระบายอากาศที่เหมาะสม โดยให้มีพื้นที่ประตู หน้ำต่ำง และช่องลม รวมกันไม่น้อยกว่ำ 1 ใน 10 ส่วนของพื้นที่ของห้อง


หรือมีกำรระบำยอำกำศไม่น้อยกว่ำ 0.5 ลูกบำศก์เมตรต่อนำที่ ต่อคนงำน 1 คน4.6
4.2.6 ห้องส้วม ที่ปัสสาวะ และสถานที่ทาความสะอาดร่างกาย4.7 [47]
4.2.6.1 ต้องจัดให้มีห้องส้วมและที่ปัสสำวะที่รักษำควำมสะอำดได้ง่ำย
4.2.6.2 ต้องจัดให้มีห้องส้วมสำหรับคนงำนในอัตรำ ดังนี้ อย่ำงน้อย 1 ห้อง ต่อคนงำนไม่เกิน 15 คน, อย่ำงน้อย 2 ห้อง ต่อ
คนงำนไม่เกิน 40 คน, อย่ำงน้อย 3 ห้อง ต่อคนงำนไม่เกิน 80 คน และเพิ่มขึ้นต่อจำกนี้ในอัตรำส่วน 1 ห้องต่อจำนวนคนงำนไม่เกิน 50
คน สำหรับโรงงำนที่มีคนงำนชำยและหญิงรวมกันมำกกว่ำ 15 คน ให้จัดห้องสวมเป็นสัดส่วนไว้สำหรับคนงำนหญิง โดยเฉพำะตำม
สมควร
4.2.6.3 อำคำรโรงงำนที่มีคนทำงำนอยู่หลำยชั้น ต้องจัดให้มีห้องส้วมและที่ปัสสำวะในชั้นต่ำง ๆ ตำมควำมจำเป็น และเหมำะสม
4.2.6.4 ห้องส้วมต้องมีพื้นที่ไม่น้อยกว่ำ 1.5 ตำรำงเมตรต่อ 1 ห้อง
4.2.6.5 ห้องส้วมและที่ปัสสำวะต้องเป็นแบบใช้น้ำชำระลงบ่อซึม พื้นห้องส้วมต้องเป็นแบบไม่ดูดน้ำ
4.2.6.6 ต้องจัดให้มีกระดำษชำระหรือน้ำสำหรับชำระให้พอเพียงสำหรับห้องส้วมทุกห้อง
4.2.6.7 ต้องจัดให้มีสถำนที่ทำควำมสะอำดร่ำงกำย พร้อมทั้งอุปกรณ์สำหรบคนงำนตำมควำมจำเป็นและเหมำะสม
4.2.6.8 ต้องจัดให้มีกำรระบำยถ่ำยเทอำกำศให้พอเพียงสำหรับห้องส้วม ห้องปัสสำวะ และสถำนที่ทำควำมสะอำดร่ำงกำยทุก
ห้อง

4.6 กฎกระทรวง ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2535) ออกตำมพระรำชบัญญัตโรงงำน พ.ศ.2535


4.7 41
ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2513) ออกตำมควำมในพระรำชบัญญัติโรงงำน พ.ศ.2512 [47]
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 4 สภาพแวดล้อมในการทางานและความปลอดภัย

4.2.6.9 ต้องจัดให้มีกำรทำควำมสะอำดห้องส้วม ที่ปัสสำวะ และสถำนที่ทำควำมสะอำดร่ำงกำย ให้อยู่ในสภำพที่ถูก


สุขลักษณะเป็นประจำทุกวัน
4.2.6.10 ในโรงงำนที่มีกำรผลิตสิ่งที่ใช้บริโภคต้องจัดให้มีที่ล้ำงมือ ยำฆ่ำเชื้อ หรือสบู่ตั้งอยู่ในที่ที่เหมำะสมอย่ำงน้อย ในอัตรำ
ดังนี้ อย่ำงน้อย 1 ที่ต่อคนงำนไม่เกิน 15 คน, อย่ำงน้อย 2 ที่ต่อคนงำน
ไม่เกิน 40 คน, อย่ำงน้อย 3 ที่ต่อคนงำนไม่เกิน 80 คน และเพิ่มขึ้นต่อจำกนี้ในอัตรำส่วน 1 ที่ต่อจำนวนคนงำนไม่เกิน 50 คน
4.2.7 น้ำสะอำดสำหรับดื่ม 4.7
4.2.7.1 ต้องจัดให้มีน้ำสะอำดสำหรับดื่มตำมมำตรฐำนน้ำบริโภคอย่ำงพอเพียง อย่ำงน้อยในอัตรำดังนี้ อย่ำงน้อย 1 ที่ต่อ
คนงำนไม่เกิน 40 คน, อย่ำงน้อย 2 ที่ต่อคนงำนไม่เกิน 80 คน และเพิ่มขึ้นต่อจำกนี้ในอัตรำส่วน 1 ที่ต่อจำนวนคนงำนไม่เกิน 50 คน
4.2.7.2 ต้องจัดหำและรักษำอุปกรณ์กำรดื่มหรือภำชนะที่บรรจุน้ำดื่มให้พอเพียงและอยู่ในสภำพที่สะอำดถูก สุขลักษณะ
4.2.8 กำรจัดโรงงำนให้ถูกต้องตำมสุขลักษณะและอนำมัย 4.7 ให้สะอำดปรำศจำกสิ่งสกปรก รกรุงรัง และให้ถูกสุขลักษณะและ
อนำมัยตำมสภำพของโรงงำนแต่ละประเภทหรือชนิด
4.2.9 ในกำรปฏิบัติงำนในที่อับอำกำศต้องใช้เครื่องช่วยในกำรหำยใจหรือเครื่องระบำยอำกำศที่ดีช่วยในกำร ปฏิบัติงำนของคนงำน
และอย่ำงน้อยต้องมีคนหนึง่ ประจำอยูป่ ำกทำงเข้ำออกที่อับอำกำศเพื่อคอยให้ควำมช่วยเหลืออยูต่ ลอดเวลำ 4.8

4.7 ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2513) ออกตำมควำมในพระรำชบัญญัติโรงงำน พ.ศ.2512 [47]


4.8 42
ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม ฉบับที่ 24 (พ.ศ. 2530) ออกตำมพระรำชบัญญัติโรงงำน พ.ศ. 2512 [50]
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 4 สภาพแวดล้อมในการทางานและความปลอดภัย

4.3.2 ให้มีระบบดับเพลิงและอุปกรณ์ประกอบ กรณีไม่มีท่อน้ำดับเพลิงของทำงรำชกำร หรือ มีไม่เพียงพอ ให้เตรียมน้ำสำรองไว้


ตำมตำรำง ระบบดับเพลิงต้องได้รับกำรตรวจสอบและรับรองจำกวิศวกร4.11 ในปริมำณที่เพียงพอที่จะส่งจ่ำยน้ำให้กับอุปกรณ์ฉีดน้ำ
ดับเพลิงได้อย่ำงต่อเนื่องเป็นเวลำไม่น้อยกว่ำ 30 นำที กำรติดตั้งให้เป็นไปตำมมำตรฐำน 4.12
สถานที่ซึ่งมีสภาพเสี่ยงต่อการเกิดอัคคีภัยอย่างเบา หมำยควำมว่ำ สถำนที่ที่มีวัตถุซึ่งไม่ติดไฟเป็นส่วนใหญ่ หรือมีวัตถุติดไฟ
ได้ในปริมำณน้อยหรือมีวัตถุไวไฟในปริมำณน้อยที่เก็บไว้ในภำชนะปิดสนิทอย่ำงปลอดภัย4.11
สถานที่ซึ่งมีสภาพเสี่ยงต่อการเกิดอัคคีภัยอย่างปานกลาง หมำยควำมว่ำ สถำนที่ที่มีวัตถุไวไฟหรือวัตถุติดไฟได้ และมี
ปริมำณไม่มำก 4.11
สถานที่ซึ่งมีสภาพเสี่ยงต่อการเกิดอัคคีภัยอย่างร้ายแรง หมำยควำมว่ำ สถำนที่ที่มีวัตถุไวไฟหรือวัตถุติดไฟได้ง่ำย และมี
ปริมำณมำก4.11
เพลิงประเภท เอ หมำยควำมว่ำ เพลิงที่เกิดจำกเชื้อเพลิงธรรมดำ เช่น ไม้ ผ้ำ กระดำษ ยำง พลำสติก รวมทั้งสิ่งอื่นที่มี
ลักษณะเดียวกัน4.11
เพลิงประเภท บี หมำยควำมว่ำ เพลิงที่เกิดจำกไขหรือของเหลวที่ติดไฟได้ ก๊ำซ และ น้ำมันประเภทต่ำง ๆ4.11
ตาราง การจัดเตรียมปริมาณน้าสารองต่อพื้นที่ของอาคารเพื่อใช้ในการดับเพลิง
พื้นที่ของอำคำร ปริมำณน้ำที่สำรอง
ไม่เกิน 250 ตำรำงเมตร 9,000 ลิตร
เกิน 250 ตำรำงเมตร แต่ไม่เกิน 500 ตำรำงเมตร 15,000 ลิตร
เกิน 500 ตำรำงเมตร แต่ไม่เกิน 1,000 ตำรำงเมตร 27,000 ลิตร
เกิน 1,000 ตำรำงเมตร 36,000 ลิตร
4.11 กฎกระทรวงกำหนดมำตรฐำนในกำรบริหำรจัดกำร และดำเนินกำรด้ำนควำมปลอดถัย อำชีวอนำมัยและสภำพแวดล้อมในกำรทำงำนเกี่ยวกับกำรป้องกันและระงับอัคคีภัย 43
พ.ศ.2555 ออกตำมควำมในพระรำชบัญญัติควำมปลอดภัย อำชีวอนำมัย และสภำพแวดล้อมในกำรทำงำน พ.ศ. 2554
4.12 ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม เรื่อง กำรป้องกันและระงับอัคคีภัยในโรงงำน พ.ศ. 2552
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 4 สภาพแวดล้อมในการทางานและความปลอดภัย

4.3.3 โรงงานที่มีสถานที่จัดเก็บวัตถุดิบหรือผลิตภัณฑ์ซึ่งเป็นวัตถุที่ติดไฟได้ ที่มีพื้นที่ต่อเนื่องติดต่อกัน ตั้งแต่ 1,000


ตรำรำงเมตร ขึ้นไป ต้องติดตั้งระบบหัวกระจำยน้ำดับเพลิงอัตโนมัติ (Automatic Sprinker System) หรือระบบอื่นที่เทียบเท่ำ
ให้ครอบคลุมพื้นที่นั้น กำรติดตั้งให้เป็นไปตำมมำตรฐำน 4.12
สถานที่จัดเก็บวัตถุไวไฟ ที่มีพื้นที่ตั้งแต่ 14 ตำรำงเมตรขึ้นไป ต้องติดตั้งระบบดับเพลิงอัตโนมัติที่เหมำะสมกับพื้นที่นั้น 4.12
4.3.5 เครื่องดับเพลิงมือถือ ต้องมีขนำดควำมจุไม่น้อยกว่ำ 4.5 กิโลกรัม กำรติดตั้งแต่ละเครื่องต้องมีระยะห่ำงกันไม่เกิน
20 เมตร ส่วนบนสุดของตัวเครื่องสูงจำกระดับพื้นอำคำรไม่เกิน 1.50 เมตร ไม่มีสิ่งกรีดขวำง สำมำรถนำมำใช้งำนได้สะดวก4.12
เป็นไปตำมมำตรฐำนผลิตภัณฑ์อุตสำหกรรม มีเครื่องหมำยหรือสัญลักษณ์ แสดงชนิดกำรดับเพลิง มองเห็นได้ชัดเจนในระยะ ไม่น้อย
กว่ำ 1.5 เมตร จำนวนกำรติดตั้ง ให้เป็นไปตำมตำรำง ให้ทำกำรตรวจสอบไม่น้อยกว่ำ 6 เดือน/ครั้ง พร้อมติดตั้งป้ำยแสดงผลกำร
ตรวจสอบครั้งสุดท้ำยไว้ที่อุปกรณ์ดังกล่ำว4.11
ตำรำงกำรติดตั้งเครื่องดับเพลิงเพื่อใช้ดับเพลิงประเภท เอ โดยคำนวณตำมพื้นที่ของสถำนที่ซึ่งมีสภำพเสี่ยงต่อกำรเกิดอัคคีภัย
ควำมสำมำรถของเครื่อง พื้นที่ของสถำนที่ซึ่งมีสภำพเสี่ยงต่อกำรเกิด พื้นที่ของสถำนที่ซึ่งมีสภำพเสี่ยงต่อ พื้นที่ของสถำนที่ซึ่งมีสภำพเสี่ยงต่อ
ดับเพลิงเทียบทุ อัคคีภัยอย่ำงเบำต่อเครื่องดับเพลิง 1 เครื่อง กำรเกิดอัคคีภัยอย่ำงปำนกลำงต่อ กำรเกิดอัคคีภัยอย่ำงร้ำยแรงต่อ
เครื่องดับเพลิง 1 เครื่อง เครื่องดับเพลิง 1 เครื่อง
1-เอ 200 ตำรำงเมตร ไม่อนุญำตให้ใช้ ไม่อนุญำตให้ใช้
2-เอ 560 ตำรำงเมตร 200 ตำรำงเมตร ไม่อนุญำตให้ใช้
3-เอ 840 ตำรำงเมตร 420 ตำรำงเมตร 200 ตำรำงเมตร
4-เอ 1,050 ตำรำงเมตร 560 ตำรำงเมตร 370 ตำรำงเมตร
4.11 กฎกระทรวงกำหนดมำตรฐำนในกำรบริหำรจัดกำร และดำเนินกำรด้ำนควำมปลอดถัย อำชีวอนำมัยและสภำพแวดล้อมในกำรทำงำนเกี่ยวกับกำรป้องกันและระงับอัคคีภัย
พ.ศ.2555 ออกตำมควำมในพระรำชบัญญัติควำมปลอดภัย อำชีวอนำมัย และสภำพแวดล้อมในกำรทำงำน พ.ศ. 2554 44
4.12 ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม เรื่อง กำรป้องกันและระงับอัคคีภัยในโรงงำน พ.ศ. 2552
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 4 สภาพแวดล้อมในการทางานและความปลอดภัย

ควำมสำมำรถของ พื้นที่ของสถำนที่ซึ่งมีสภำพ พื้นที่ของสถำนที่ซึ่งมีสภำพเสี่ยง พื้นที่ของสถำนที่ซึ่งมีสภำพ


เครื่องดับเพลิงเทียบเท่ำ เสี่ยงต่อกำรเกิดอัคคีภัยอย่ำง ต่อกำรเกิดอัคคีภัยอย่ำงปำน เสี่ยงต่อกำรเกิดอัคคีภัย
เบำต่อเครื่องดับเพลิง 1 กลำงต่อเครื่องดับเพลิง 1 อย่ำงร้ำยแรงต่อเครื่อง
เครื่อง เครื่อง ดับเพลิง 1 เครื่อง
5-เอ 1,050 ตำรำงเมตร 840 ตำรำงเมตร 560 ตำรำงเมตร
10-เอ 1,050 ตำรำงเมตร 1,050 ตำรำงเมตร 840 ตำรำงเมตร
20-เอ 1,050 ตำรำงเมตร 1,050 ตำรำงเมตร 840 ตำรำงเมตร
40-เอ 1,050 ตำรำงเมตร 1,050 ตำรำงเมตร 1,050 ตำรำงเมตร
ตำรำงกำรติดตั้งเครื่องดับเพลิงเพื่อใช้ดับเพลิงประเภท บี ของสถำนที่ซึ่งมีสภำพเสี่ยงต่อกำรเกิด
สถำนที่ซึ่งมีสภำพเสี่ยงต่อกำรเกิด ควำมสำมำรถของเครื่องดับเพลิง ระยะเข้ำถึง
อัคคีภัย เทียบเท่ำ
อย่ำงเบำ 5-ปี 9 เมตร
10-ปี 15 เมตร
อย่ำงปำนกลำง 10-ปี 9 เมตร
20-ปี 15 เมตร
อย่ำงร้ำยแรง 40-ปี 9 เมตร
80-ปี 15 เมตร
45
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 4 สภาพแวดล้อมในการทางานและความปลอดภัย

4.3.6 ให้ปฏิบัติเกี่ยวกับอุปกรณ์ดับเพลิงดังนี้ ติดตั้งป้ำยให้เห็นชัดเจน ไม่มีสิ่งกรีดขวำง สำมำรถนำมำใช้ได้สะดวก มีกำรตรวจสอบ


ไม่น้อยกว่ำเดือนละ 1 ครั้ง 4.11
4.3.7 การประกอบกิจการโรงงานอันอาจก่อให้เกิดอัคคีภัยได้ต้องมีเครื่องดับเพลิงแบบเคลื่อนที่ ที่เหมำะสมตำมสภำพขนำด และ
ลักษณะเชื้อเพลิงของสถำนที่นั้นๆไม่น้อยกว่ำ 1 เครื่องต่อพื้นที่ 100 ตำรำงเมตร เศษของ 100 ตำรำง เมตร ให้นับเป็น 100 ตำรำง
เมตร ดังต่อไปนี้ 4.12
4.3.7.1 เครื่องดับเพลิงชนิดกรด - โซดำ หรือชนิดฉีดน้ำด้วยด้วยก๊ำซ ต้องมีขนำดบรรจุไม่น้อยกว่ำ 10 ลิตร
4.3.7.2 เครื่องดับเพลิงชนิดฟองก๊ำซ ต้องมีขนำดบรรจุไม่น้อยกว่ำ 10 ลิตร
4.3.7.3 เครื่องดับเพลิงก๊ำซคำร์บอนไดออกไซด์ต้องมีขนำดบรรจุไม่น้อยกว่ำ 5 กิโลกรัม
4.3.7.4 เครื่องดับเพลิงชนิดผงเคมีแห้ง ต้องมีขนำดบรรจุไม่น้อยกว่ำ 5 กิโลกรัม
4.3.8 เครื่องดับเพลิงแบบเคลื่อนที่ ต้องเป็นชนิดที่เหมำะสมกับชนิดของไฟที่อำจเกิดขึ้นดังนี้4.12
4.3.8.1 เครื่องดับเพลิงชนิดกรด - โซดำ หรือชนิดฉีด่ำด้
น้ วยด้วยก๊ำซ ใช้ดับไฟธรรมดำ เช่น ไฟที่เกิดจำกไม้กระดำษ ผ้ำ
ห้ำมใช้กับไฟที่เกิดจำกอุปกรณ์ไฟฟ้ำ ่ำมั
น้ นต่ำงๆ แอลกอฮอล์ อะซีโตน หรือแคลเซียมคำร์ไบด์
4.3.8.2 เครื่องดับเพลิงชนิดฟองก๊ำซ ใช้ดับไฟธรรมดำและไฟที่เกิดจำกน้ำ มันต่ำงๆ แอลกอฮอล์หรืออะซีโตน ห้ำมใชก้่บ
ไฟที่เกิดจำกอุปกรณ์ไฟฟ้ำหรือแคลเซียมคำร์ไบด์
4.3.8.3 เครื่องดับเพลิงก๊ำซคำร์บอนไดออกไซด์ ใช้กับไฟทุกชนิดซึ่งไม่ได้ เกิดในที่ที่มลมแรงหรือที่โล่ง
4.3.8.4 เครื่องดับเพลิงชนิดผงเคมีแห้ง ใช้ดับไฟได้ทุกชนิด
4.11
กฎกระทรวงกำหนดมำตรฐำนในกำรบริหำรจัดกำร และดำเนินกำรด้ำนควำมปลอดถัย อำชีวอนำมัยและสภำพแวดล้อมในกำรทำงำนเกี่ยวกับกำรป้องกันและระงับอัคคีภัย
พ.ศ.2555 ออกตำมควำมในพระรำชบัญญัติควำมปลอดภัย อำชีวอนำมัย และสภำพแวดล้อมในกำรทำงำน พ.ศ. 2554 46
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 4 สภาพแวดล้อมในการทางานและความปลอดภัย

4.4 มาตรฐานการตรวจสอบด้านวัตถุอันตราย
4.4.1 ต้องแยกอำคำรที่มีกำรผลิตหรือใช้วัตถุระเบิด หรือวัตถุไวไฟให้เป็นเอกเทศ โดยต้องอยู่ห่ำงจำกที่พักอำศัย หรือเตำ
ไฟ หรือที่เก็บสินค้ำต่ำงๆ และอำคำรอื่น และต้องดูแลรักษำอำคำรดังกล่ำวให้อยู่ในสภำพมั่นคงแข็งแรง เหมำะสมแก่กำรปฏิบัติงำน
4.13

4.4.2 ต้องแยกเก็บวัตถุมีพิษ วัตถุเคมี วัตถุไวไฟ วัตถุระเบิด หรือวัตถุอื่นที่อำจเป็นอันตรำยหรือที่อำจทำให้เกิดฝุ่นละออง


ให้เป็นระเบียบแยกห่ำงจำกกัน และเป็นสัดส่วนต่ำงหำก โดยจะต้องปิดกุญแจห้องเก็บทุกครั้งหลังจำกที่ไม่มีกำรปฏิบัติงำนในห้องนี้
แล้ว 4.13
4.4.3 ต้องจัดให้มีระบบป้องกันและกำจัดอำกำศเสียในห้องเก็บและห้องปฏิบัติงำนอันเกี่ยวกับวัตถุมีพิษ วัตถุเคมี วัตถุไวไฟ วัตถุ
ระเบิด หรือวัตถุอื่นที่อำจเป็นอันตรำย หรือที่อำจทำให้เกิดฝุ่นละอองอย่ำงมีประสิทธิภำพเพียงพอทีจ่ ะป้องกันมิให้อำกำศที่ระบำย
ออกจำกห้องมีค่ำควำมเข้มข้นเกินกว่ำมำตรฐำนควำมปลอดภัยจนเป็นเหตุให้เกิดอันตรำยต่อบุคคล สัตว์ พืช หรือทรัพย์สินของผู้อื่น
หรือเป็นเหตุเดือดร้อนรำคำญ กับต้องดูแลรักษำให้ห้องต่ำงๆ ดังกล่ำวอยู่ในสภำพที่มั่นคงแข็งแรงเหมำะสมแก่งำนนั้นๆ 4.13
4.4.4 ต้องไม่ให้วัตถุมีพิษ วัตถุเคมี วัตถุไวไฟ วัตถุระเบิด วัตถุอื่นที่อำจเป็นอันตรำย หรือวัตถุที่ระเหยเป็นไอได้ง่ำย อยู่ใกล้เตำไฟ
หม้อน้ำ ท่อไอน้ำ สำยไฟฟ้ำแรงสูง บริเวณที่อำจมีกำรเกิดประกำยไฟ หรือในที่ซึ่งมีอุณหภูมิสูง 4.13
4.4.5 ต้องจัดทำป้ำยที่มีสัญลักษณ์และเครื่องหมำยและข้อควำมคำเตือนต่อไปนี้
4.4.5.1 สัญลักษณ์และเครื่องหมำยแสดงสิ่งต้องห้ำมสำหรับอำณำบริเวณเฉพำะส่วนตำมรำยละเอียดแนบท้ำยประกำศ
รำยกำรที่ 1 [50]
4.13 ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม ฉบับที่ 24 (พ.ศ. 2530) ออกตำมพระรำชบัญญัติโรงงำน พ.ศ. 2512 [50]
47
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 4 สภาพแวดล้อมในการทางานและความปลอดภัย

4.4.5.2 สัญลักษณ์และเครื่องหมำยสำหรับอำณำบริเวณที่ต้องใช้เครื่องป้องกันอันตรำยส่วนบุคคล ตำมรำยละเอียดแนบ


ท้ำยประกำศรำยกำรที่ 2 [50]
4.4.5.3 สัญลักษณ์และเครื่องหมำยเตือนภัยของอำณำบริเวณเฉพำะส่วนตำมรำยละเอียดแนบท้ำยประกำศรำยกำรที่
3 [50]
4.4.5.4 สัญลักษณ์และเครื่องหมำยฉุกเฉิน ตำมรำยละเอียดแนบท้ำยประกำศรำยกำรที่ 4 [50]
ทั้งนี้ โดยให้ติดป้ำยสัญลักษณ์และเครื่องหมำยในข้อ 1 ถึง ข้อ 4 ในขนำดที่เหมำะสมไว้ให้เห็นอย่ำงเด่นชัดหน้ำทำงเข้ำออกของ
อำณำบริเวณที่เกี่ยวข้องกับสัญลักษณ์และเครื่องหมำย และต้องควบคุมดูแลคนงำนหรือผู้ที่จะเข้ำไปในอำณำบริเวณดังกล่ำว
ปฏิบัติตำมคำเตือนนั้นอย่ำงเคร่งครัด
4.4.6 ต้องดูแลรักษำมิให้มีกำรรั่วไหลของวัตถุมีพิษ วัตถุเคมี วัตถุไวไฟ วัตถุระเบิด หรือวัตถุอื่นที่อำจเป็นอันตรำย ออกมำจำก
เครื่องจักรหรืออุปกรณ์อื่นใดที่ใช้ในกำรผลิต บรรจุ แปรสภำพ แยก หรือผสมปรุงแต่ง
4.4.7 ต้องทำควำมสะอำดเครื่องจักร อุปกรณ์ต่ำงๆ ที่ใช้เกี่ยวข้องกับวัตถุที่อำจเป็นอันตรำยชนิดใดชนิดหนึ่ง ก่อนใช้งำนกับ
วัตถุอย่ำงอื่นทุกครั้งเพื่อป้องกันมิให้เกิดปฏิกิริยำเคมีของสำรต่ำงชนิดกัน
4.4.8 ต้องดูแลรักษำท่อและส่วนประกอบของท่อส่งวัตถุมีพิษ วัตถุเคมี วัตถุไวไฟ วัตถุระเบิด หรือวัตถุอื่นที่อำจเป็นอันตรำย ให้อยู่ใน
สภำพเรียบร้อย ไม่มีกำรแตก ร้ำว รั่ว ซึม ชำรุด หรือเกิดกำรไหลย้อนกลับ ท่อส่งต่ำงชนิดกัน ต้องทำสี หรือทำเครื่องหมำยแสดง
ควำมแตกต่ำงไว้อย่ำงชัดเจน ในกรณีท่อส่งวัตถุที่อุณหภูมิสูงกว่ำ 80 องศำเซลเซียส ต้องมีฉนวนกันควำมร้อนหุ้ม และต้องติดตั้งใน
ลักษณะที่จะไม่ทำให้เกิดกำรชำรุดเสียหำยโดยจะต้องไม่ตั้งอยู่ใกล้เตำไฟ หม้อน้ำ ท่อไอน้ำ สำยไฟฟ้ำแรงสูง เครื่องยนต์ไฟฟ้ำ สวิช
ไฟฟ้ำ หรือส่วนเครื่องจักร ที่มีประกำยไฟฟ้ำหรือบริเวณที่มีอุณหภูมสิ ูงกว่ำปกติ 48
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 4 สภาพแวดล้อมในการทางานและความปลอดภัย

4.4.9 ต้องดูแลรักษำลิ้นเปิดปิด (VALVE) ต่ำงๆ มิให้มีกำรรั่วซึมและต้องมีเครื่องหมำยแสดงทิศทำงกำรเปิดหรือปิดของลิ้นไว้ด้วย กำรเปิด


และปิดลิ้นต้องปฏิบัติไปตำมลำดับ ต้องมีกลไกควบคุมเพื่อมิให้เกิดอันตรำยขึ้นได้
4.4.10 ภำชนะบรรจุวัตถุระเบิด วัตถุไวไฟ วัตถุติดไฟได้เอง วัตถุมีพิษ วัตถุกัดกร่อน วัตถุระคำยเคือง หรือวัตถุที่เป็นอันตรำยต่อสุขภำพ แต่
ละชนิดต้องแยกเก็บเป็นสัดส่วน และต้องดำเนินกำรดังต่อไปนี้
4.4.10.1 ต้องจัดทำสัญลักษณ์และเครื่องหมำยปิดหรือพิมพ์ไว้ที่ภำชนะบรรจุทุกชิ้น โดยให้ตรงตำมคุณสมบัติที่เป็นจริงของวัตถุ
นั้น ๆ ตำมรำยละเอียดแนบท้ำยประกำศรำยกำรที่ 5 [50]
4.4.10.2 ต้องจัดทำสัญลักษณ์และเครื่องหมำยปิดหรือพิมพ์ไว้ที่ภำชนะบรรจุที่ใช้ในกำรขนถ่ำยวัตถุดังกล่ำวออกนอกบริเวณ
โรงงำนตำมรำยละเอียดแนบท้ำยประกำศรำยกำรที่ 6 [50]
ทั้งนี้โดยติดป้ำยสัญลักษณ์และเครื่องหมำยในข้อ 1 ถึงข้อ 2 ในขนำดที่เหมำะสมให้เห็นอย่ำงชัดเจน
4.4.11 ภำชนะบรรจุหรืออุปกรณ์ที่ใช้เกี่ยวกับวัตถุมีพิษ วัตถุเคมี วัตถุไวไฟ วัตถุระเบิด หรือวัตถุอื่นที่อำจเป็นอันตรำย ต้องเป็นแบบที่
แข็งแรง ทนทำนปลอดภัยในกำรใช้งำน และต้องเป็นแบบที่เหมำะสม หยิบยกหรือขนย้ำยได้ด้วยควำมปลอดภัย หลังจำกใช้งำนแล้วทุกครั้ง
ภำชนะบรรจุที่ไม่ต้องกำรใช้ให้ทำลำยเสีย ห้ำมนำไปบรรจุวัตถุสิ่งของอื่นๆ
4.4.12 ภำชนะที่บรรจุวัตถุมีพิษ วัตถุเคมี วัตถุไวไฟ หรือวัตถุที่ระเหยเป็นไอได้ง่ำยต้องปิดฝำอย่ำงสนิทมิดชิด
4.4.13 ภำชนะบรรจุวัตถุมีพิษ วัตถุไวไฟ วัตถุระเบิด และวัตถุเคมีชนิดที่เป็นของเหลวที่มีขนำดของภำชนะบรรจุตั้งแต่ 25,000 ลิตรขึ้นไป
ต้องสร้ำงเขื่อนหรือกำแพงคอนกรีตโดยรอบให้มีขนำดที่สำมำรถจะกักเก็บปริมำณของวัตถุดังกล่ำวได้ทั้งหมด เพื่อป้องกันกำรแพร่กระจำย
ของวัตถุมีพิษ วัตถุไวไฟ วัตถุระเบิด และวัตถุเคมีนั้นได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ ในกรณีเมื่อเกิดเหตุวิบัติแก่ภำชนะดังกล่ำว และต้องจัดให้มีวัตถุ
หรือเคมีภัณฑ์ที่มีคุณสมบัติเหมำะสมในกำรระงับหรือลดควำมรุนแรงของกำรแพร่กระจำยได้อย่ำงเหมำะสมและเพียงพอในกรณีที่ภำชนะ
บรรจุนั้นตั้งอยู่ในที่โล่งแจ้ง ต้องมีสำยล่อฟ้ำให้เป็นไปตำมหลักวิชำกำรและภำชนะบรรจุที่อำจเกิดประจุไฟฟ้ำสถิตย์ได้ในตัวต้องต่อสำยดิน
49
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 4 สภาพแวดล้อมในการทางานและความปลอดภัย

4.4.14 ภำชนะที่บรรจุวัตถุมีพิษ วัตถุเคมี วัตถุไวไฟ หรือถังปฏิกริยำภำยใต้ควำมดันต้องสร้ำงให้ได้มำตรฐำนและมีอุปกรณ์


อำนวยควำมปลอดภัยต่ำงๆ เช่น ลิ้นนิรภัย (SEFETY VALVE) จำนนิรภัย (BURSTING DISC) ปลั๊กหลอมละลำย (FUSIBLE PLUG)
ฯลฯ ครบถ้วนสำมำรถใช้งำนได้อย่ำงปลอดภัย ภำชนะบรรจุและอุปกรณ์อำนวยควำมปลอดภัยดังกล่ำวที่ผ่ำนกำรใช้งำนตำม
ระยะเวลำที่มำตรฐำนกำหนด ต้องจัดให้มีกำรตรวจทดสอบสภำพควำมปลอดภัยโดยวิศวกรเครื่องกล ผู้ได้รับอนุญำตให้ประกอบ
วิชำชีพวิศวกรรมตำมพระรำชบัญญัติวิชำชีพวิศวกรรม และให้ส่งรำยงำนกำรตรวจทดสอบตำมหลักวิชำกำรให้แก่พนักงำนเจ้ำหน้ำที่
ที่รับผิดชอบของกรมโรงงำนอุตสำหกรรม
4.4.15 กำรทำลำยหรือปฏิบัติกับภำชนะบรรจุรวมทั้งเศษเหลือของวัตถุมีพิษ วัตถุเคมี วัตถุไวไฟ วัตถุระเบิด หรือวัตถุอื่นที่
อำจเป็นอันตรำย ต้องใช้วิธีกำรที่เหมำะสมกับวัตถุชนิดนั้นๆ ห้ำมมิให้มีกำรทำลำยวัตถุอันตรำยเหล่ำนั้นในบริเวณที่อำจก่อให้เกิด
อันตรำยต่อบุคคล สัตว์ พืช หรือทรัพย์สินของผู้อื่น หรืออนำมัยของบุคคล
4.4.16 ต้องจัดให้คนงำนที่ปฏิบัติงำนเกี่ยวกับวัตถุมีพิษ วัตถุเคมี วัตถุไวไฟ วัตถุระเบิด หรือวัตถุอื่นที่อำจเป็นอันตรำยหรือ
ที่อำจทำให้เกิดฝุ่นละอองควำมร้อน แสงหรือเสียง ซึ่งอำจเป็นอันตรำยต่อกำรปฏิบัติงำนในหน้ำที่สวมเครื่องป้องกันอันตรำยส่วน
บุคคล ตำมควำมจำเป็นและเหมำะสมต่อกำรปฏิบัติงำนนั้นๆ และต้องดูแลรักษำเครื่องป้องกันอันตรำยดังกล่ำวให้อยู่ในสภำพ
เรียบร้อยพร้อมที่จะใช้งำนได้อย่ำงมีประสิทธิภำพตลอดเวลำ
4.4.17 ต้องจัดให้มีกำรอบรม แนะนำชี้แจงคนงำนให้เข้ำใจถึงเหตุอันตรำยอันอำจจะเกิดขึ้นได้ของงำนต่ำงๆ ที่ตนปฏิบัติอยู่
ตลอดจนอธิบำยให้รู้ถึงวิธีระมัดระวังป้องกันอันตรำยและกำรใช้มำตรกำรกำรแก้ไขอุบัติเหตุที่อำจเกิดขึ้นจำกกำรปฏิบัติงำนได้ในทันที
ด้วย
4.4.18 ต้องไม่ยอมให้ผู้ที่ไม่มีหน้ำที่โดยตรง หรือผู้ซึ่งไม่เข้ำใจดีถึงเหตุอันตรำยของกำรปฏิบัติงำนทำงำนที่มีอนั ตรำยโดย 50
ลำพัง
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 4 สภาพแวดล้อมในการทางานและความปลอดภัย

4.4.19 ในกรณีที่คนงำนต้องปฏิบัติงำนที่เกี่ยวกับวัตถุมีพิษ วัตถุเคมี หรือวัตถุอื่นที่อำจเป็นอันตรำยต่อผิวหนังหรือร่ำงกำย


ผู้ประกอบกำรต้องจัดให้มีที่อำบน้ำฉุกเฉิน (SAFETY SHOWER) ที่ล้ำงตำฉุกเฉิน (EYE BATH) ตำมควำมจำเป็นและเหมำะสม
สำหรับทำควำมสะอำดร่ำงกำยขั้นต้นเมื่อสัมผัสกับวัตถุดังกล่ำวนั้น
4.4.20 ต้องให้คนงำนที่ปฏิบัติงำนเกี่ยวกับวัตถุมีพิษ วัตถุเคมี วัตถุไวไฟ วัตถุระเบิด หรือวัตถุอื่นที่อำจเป็นอันตรำย ทำควำมสะอำด
ร่ำงกำยหลังจำกเสร็จสิ้นกำรปฏิบัติงำน กับต้องให้มีกำรตรวจสุขภำพของคนงำนที่ปฏิบัติงำนเกี่ยวกับกับวัตถุอันตรำยดังกล่ำว อย่ำง
น้อยปีละ 1 ครั้ง และให้จัดทำบันทึกไว้
4.4.21 ต้องไม่ให้มีกำรรับประทำนอำหำร น้ำ หรือเครื่องดื่มในบริเวณที่ปฏิบัติงำนที่เก็บ ซึ่งมีกำรปฏิบัติเกี่ยวกับวัตถุมีพิษ
วัตถุเคมี วัตถุไวไฟ วัตถุระเบิด หรือวัตถุอื่นที่อำจเป็นอันตรำย ทั้งนี้นอกเสียจำกจะได้กระทำในห้องอำหำรหรือโรงอำหำรอย่ำง
ถูกต้องตำมสุขลักษณะอนำมัยโดยเฉพำะ และก่อนรับประทำนอำหำร ต้องให้ผู้ปฏิบัติงำนล้ำงมือล้ำงหน้ำเสียก่อน และหลังจำกเลิก
งำนแล้วต้องทำควำมสะอำดร่ำงกำยทุกครั้ง
4.4.22 ต้องไม่ให้มีกำรพักอำศัยอยู่ภำยในอำคำรที่มีกำรเก็บ ผลิต หรือใช้วัตถุมีพิษ วัตถุเคมี วัตถุไวไฟ วัตถุระเบิดหรือวัตถุ
ที่อำจเป็นอันตรำยอื่น
4.4.23 ในกำรซ่อมเครื่องจักรต่ำงๆ ที่ผู้ปฏิบัติงำนอำจได้รับอันตรำยจำกวัตถุมีพิษ วัตถุเคมี วัตถุไวไฟ วัตถุระเบิด หรือวัตถุ
อื่นที่อำจเป็นอันตรำย ต้องใช้ผู้ที่มีควำมชำนำญในกำรปฏิบัติงำนนั้นๆ โดยเฉพำะ และต้องสวมเครื่องป้องกันอันตรำยตำมควำม
จำเป็นและเหมำะสมในกำรซ่อมต้องหยุดเครื่องจักรส่วนอื่นที่อำจจะก่อให้เกิดอันตรำยได้ และให้ผู้ที่ไม่มีหน้ำที่เกี่ยวข้องในกำร
ปฏิบัติงำนออกจำกบริเวณนั้น

51
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 4 สภาพแวดล้อมในการทางานและความปลอดภัย

4.4.24 ในกรณีที่มีอุบัติเหตุเกิดขึ้นในขณะปฏิบัติงำนต้องหยุดงำนส่วนนั้นๆ ทันที คนงำนซึ่งไม่มีหน้ำที่ซอ่ มแซมแก้ไขต้อง


ออกจำกบริเวณนั้นโดยด่วนและจัดให้มีกำรแก้ไขหรือระงับอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นโดยเร็ว โดยให้ผู้ที่มีหน้ำที่เกี่ยวข้องกับกำรปฏิบัติงำนสวม
เครื่องป้องกันอันตรำยส่วนบุคคลตำมควำมเหมำะสม
4.4.25 โรงงำนที่มีกำรเก็บหรือใช้วัตถุมีพิษ วัตถุไวไฟ วัตถุระเบิด หรือวัตถุเคมีที่อำจเป็นอันตรำยต้องจัดทำข้อมูลเกี่ยวกับ
คุณสมบัติ วิธีใช้ วิธีป้องกันอุบัติภัย วิธีเก็บรักษำ ข้อควรปฏิบัติและรำยละเอียดอื่น ๆ ของวัตถุดังกล่ำวตำมแบบและวิธีกำรของกรม
โรงงำนอุตสำหกรรมกำหนดให้แก่กรมโรงงำนอุตสำหกรรมทุกงวด 4 เดือน นับแต่วันที่ได้รับใบอนุญำตประกอบกิจกำรโรงงำน
4.4.26 ผู้รับใบอนุญำตประกอบกิจกำรโรงงำนที่มีกำรเก็บหรือใช้วัตถุมีพิษ วัตถุเคมี วัตถุไวไฟ หรือวัตถุอื่นที่อำจเป็น
อันตรำยต้องจัดให้มีมำตรกำรเพื่อควำมปลอดภัยเกี่ยวกับกำรระงับเหตุอันตรำยหรือระงับอัคคีภัย โดยให้จัดทำป้ำยเครื่องหมำยหรือ
สัญลักษณ์ตำมมำตรฐำนสำกลแสดงให้ทรำบถึงระดับควำมไวไฟ ระดับอันตรำยต่อสุขภำพร่ำงกำยของวัตถุเหล่ำนั้นขณะลุกติดไฟหรือ
ระดับควำมรุนแรงต่อปฏิกิริยำหรือรำยละเอียดอื่นๆ เช่น วัตถุดังกล่ำวนั้นสำมำรถใช้น้ำดับไฟได้หรือไม่ ให้แผ่นป้ำยมีขนำดใหญ่
พอสมควรติดหรือแขวนไว้ด้ำนหน้ำบริเวณที่มีกำรเก็บหรือใช้วัตถุอันตรำยดังกล่ำว
4.4.27 ต้องทำกำรกำจัดกลิ่น เสียง ควำมสั่นสะเทือน ฝุ่นละออง เขม่ำ เถ้ำถ่ำน ที่เกิดขึ้นจำกโรงงำนมิให้เป็นที่เดือดร้อน
หรือเป็นเหตุเสื่อมหรืออำจเป็นอันตรำยแก่สุขภำพของผู้อยู่อำศัยใกล้เคียง 4.14
4.4.28 ต้องดูแลรักษำระบบเก็บเสียง ท่อไอเสีย หม้อพักของเครื่องต้นกำลัง ให้อยู่ในสภำพเรียบร้อยตลอดเวลำ 4.14
4.4.29 โรงงำนที่มีกำรใช้เตำหรือเครื่องจักรอื่นใด ซึ่งทำให้มีเขม่ำควันออกสู่บรรยำกำศต้องปล่อยออกทำงปล่องที่มคี วำม
สูงตำมควำมจำเป็นและเหมำะสม ควำมดำของเขม่ำควันที่ปำกปล่องต้องไม่เกินร้อยละสี่สบิ ของควำมดำมำตรฐำนริงเกลมำนน์ เว้น
แต่ในช่วงระยะเวลำสั้นในขณะที่เริ่มติดเตำหรือติดเครื่อง เขี่ยขี้เถ้ำ เป่ำเขม่ำ หรือเกิดข้อขัดข้องขึ้นในระบบขจัดเขม่ำควัน 4.14
52
4.14 ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2514) ออกตำมพระรำชบัญญัติโรงงำน พ.ศ. 2512 [48]
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 4 สภาพแวดล้อมในการทางานและความปลอดภัย

4.4.30 หน้าที่ผู้รับใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานที่มีการใช้สารกัมมันตรังสี [51] 4.15


4.4.30.1 ผู้ประกอบกิจกำรต้องแจ้งข้อมูลต่ำงๆ ดังต่อไปนี้ต่อกรมโรงงำนอุตสำหกรรมภำยในระยะเวลำ 30 วัน นับจำก
วันที่นำสำรกัมมันตรังสีมำใช้
- แหล่งที่ได้มำ สถำนที่เก็บรักษำ ชนิดและลักษณะ ของสำรกัมมันตรังสีที่ใช้โรงงำน
- ปริมำณควำมแรงรังสี
- วัตถุประสงค์ของกำรใช้สำรกัมมันตรังสี
- อุปกรณ์ที่บรรจุสำรกัมมันตรังสี รวมทั้งรำยละเอียดชิ้นส่วนอุปกรณ์
- กำรทำงำนของอุปกรณ์ รวมทั้งคู่มือ
- กำรเปลี่ยนสำรกัมมันตรังสีในกรณีที่มีกำรเปลี่ยนแปลงจำกที่ได้แจ้งไว้
- ชนิดและจำนวนของเครื่องวัดรังสี สำหรับวัดระดับรังสีในบริเวณต่ำงๆ
- ชนิดและจำนวนของเครื่องบันทึกรังสีประจำตัวบุคคล (Film Badge)
- แผนกำรหรือวิธีกำรที่ป้องกันอันตรำยจำกรังสี
- แผนกำรหรือวิธีกำรที่จะกำจัดกำกรังสี
- รำยกำรอื่นๆ ตำมที่กรมโรงงำนอุตสำหกรรมเห็นสมควร
4.4.30.2 ผู้ประกอบกิจกำรต้องจัดกำรเกี่ยวกับสถำนประกอบกิจกำรตำมที่กฎหมำยกำหนด ตัวอย่ำงเช่น
- สำรกัมมันตภำพรังสีที่ให้รังสีเบตำและแกมมำ จะต้องเก็บไว้ในภำชนะที่หนำตำมที่กฎหมำยกำหนด

4.15 ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม ฉบับที่ 53


27 (พ.ศ. 2535) ออกตำมควำมในพระรำชบัญญัติโรงงำน พ.ศ.2512 เรื่อง หน้ำที่ผู้รับใบอนุญำตประกอบกิจกำรโรงงำนที่มีกำรใช้สำร
กัมมันตรังสี
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 4 สภาพแวดล้อมในการทางานและความปลอดภัย

- ในกำรจัดเก็บสำรกัมมันตภำพรังสีในภำชนะบรรจุซึ่งไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของอุปกรณ์ให้เก็บภำชนะดังกล่ำว ต้องทนไฟ
- บริเวณที่จัดเก็บสำรกัมมันตภำพรังสีต้องอยู่ในบริเวณที่ไม่เสี่ยงกับกำรเกิดอัคคีไฟ
- บริเวณที่มีกำรใช้สำรกัมมันตภำพรังสี และบริเวณที่เก็บรักษำสำรกัมมันตภำพรังสีอยู่ในบริเวณทีม่ ีคนผ่ำนน้อย และควบคุม
กำรเข้ำออกได้ง่ำย
- ห้ำมไม่ให้มีกำรรับประทำนอำหำรหรือเครื่องดื่มในบริเวณดังกล่ำว
- จัดสถำนที่และระบบระบำยอำกำศให้เหมำะสม
- ต้องมีกำรกำหนดให้สำรรังสีควำมแรงต่ำอยู่บริเวณทำงเข้ำและค่อยๆ เพิ่มขึ้น ให้สำรรังสีควำมแรงสูงอยู่ ด้ำนในเพื่อช่วยลด
กำรแพร่กระจำยกำรเปรอะเปื้อนทำงรังสี
4.4.30.2 ผู้ประกอบกิจกำรต้องจัดกำรเกี่ยวกับสถำนประกอบกิจกำรตำมที่กฎหมำยกำหนด ตัวอย่ำงเช่น
- สำรกัมมันตภำพรังสีที่ให้รังสีเบตำและแกมมำ จะต้องเก็บไว้ในภำชนะที่หนำตำมที่กฎหมำยกำหนด
- ในกำรจัดเก็บสำรกัมมันตภำพรังสีในภำชนะบรรจุซึ่งไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของอุปกรณ์ให้เก็บภำชนะดังกล่ำว ต้องทนไฟ
- บริเวณที่จัดเก็บสำรกัมมันตภำพรังสีต้องอยู่ในบริเวณที่ไม่เสี่ยงกับกำรเกิดอัคคีไฟ
- บริเวณที่มีกำรใช้สำรกัมมันตภำพรังสี และบริเวณที่เก็บรักษำสำรกัมมันตภำพรังสีอยู่ในบริเวณทีม่ ีคนผ่ำนน้อย และควบคุม
กำรเข้ำออกได้ง่ำย
- ห้ำมไม่ให้มีกำรรับประทำนอำหำรหรือเครื่องดื่มในบริเวณดังกล่ำว
- จัดสถำนที่และระบบระบำยอำกำศให้เหมำะสม
- ต้องมีกำรกำหนดให้สำรรังสีควำมแรงต่ำอยู่บริเวณทำงเข้ำและค่อยๆ เพิ่มขึ้น ให้สำรรังสีควำมแรงสูงอยู่ ด้ำนในเพื่อช่วยลด
กำรแพร่กระจำยกำรเปรอะเปื้อนทำงรังสี 54
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 5 สิ่งแวดล้อมและของเสีย

บทที่ 5 สิ่งแวดล้อมและของเสีย
5.1 ขอบเขต
มำตรฐำนนี้ เพื่อกำหนดกำรจัดกำรสิ่งแวดล้อมและของเสียจำกกำรประกอบกิจกำรโรงงำน ให้เป็นไปตำมกฎหมำยด้ำนกำร
ควบคุมสิ่งแวดล้อมเรื่องน้ำทิ้ง อำกำศเสีย สิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว
5.2 มาตรฐานการตรวจสอบด้านสิ่งแวดล้อม
5.2.1 การระบายน้าทิ้งออกจากโรงงาน
5.2.1.1 ต้องติดตั้งมำตรวัดปริมำณกำรใช้ไฟฟ้ำ สำหรับระบบบำบัดน้ำเสียโดยเฉพำะไว้ในที่ที่ง่ำยต่อกำรตรวจสอบ
และต้องจดบันทึกเลขหน่วยและปริมำณกำรใช้ไฟฟ้ำประจำวัน 5.1
5.2.1.2 กรณีมีกำรใช้สำรเคมี หรือสำรชีวภำพ ในระบบบำบัดน้ำเสีย ต้องมีกำรจดบันทึกประจำวัน และมีหลักฐำนใน
กำรจัดหำสำรเคมีหรือชีวภำพดังกล่ำว 5.1
5.2.1.3 ห้ำมระบำยน้ำทิ้งออกจำกโรงงำน เว้นแต่ได้ทำกำรอย่ำงใดอย่ำงหนึ่ง หรือหลำยอย่ำงจนน้ำทิ้งนั้นมีลักษณะ
เป็นไปตำมที่กำหนด แต่ทั้งนี้ต้องไม่ใช้วิธีทำให้เจือจำง (Dilution) 5.1 โดยต้องมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้ 5.2
(1) ควำมเป็นกรดและด่ำง (PH) มีค่ำระหว่ำง 5.5-9.0
(2) อุณหภูมิ (Temperature) ไม่เกิน 40 องศำเซลเซียส
(3) สี (Color) ไม่เกิน 300 เอดีเอ็มไอ
5.1 กฎกระทรวงฉบับที่ 2 (พ.ศ.2535) ออกตำมพระรำชบัญญัตโรงงำน พ.ศ.2535
55
5.2 ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม เรื่อง กำหนดมำตรฐำนควบคุมกำรระบำยน้ำทิ้งจำกโรงงำน พ.ศ.2560
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 5 สิ่งแวดล้อมและของเสีย

(4) ของแข็งละลำยน้ำทั้งหมด (Total Dissolved Solids หรือ TDS ) มีค่ำดังนี้


(ก) กรณีลงแหล่งน้ำ ต้องไม่เกิน 3,000 มก./ ลิตร
(ข) กรณีระบำยลงแหล่งน้ำที่มีค่ำของแข็งละลำยน้ำทั้งหมด เกินกว่ำ 3,000 มก./ลิตร ค่ำของแข็งละลำยน้ำ
ทั้งหมดในน้ำทิ้ง ที่จะระบำยได้ต้องมีค่ำเกินกว่ำค่ำของแข็งละลำยน้ำทั้งหมดที่มีอยูใ่ นแหล่งน้ำนั้น ไม่เกิน 5,000 มก./ลิตร
(5) ของแข็งแขวนลอยทั้งหมด (Total Suspended Solids) ไม่เกิน 50 มก./ ลิตร
(6) บีโอดี (Biochemical Oxygen Demand) ไม่เกิน 20 มก./ ลิตร
(7) ซีโอดี (Chemical Oxygen Demand) ไม่เกิน 120 มก./ ลิตร
(8) ซัลไฟด์ (Sulfide) ไม่เกิน 1 มิลลิกรัมต่อลิตร
(9) ไซยำไนด์ (Cyanides CN) ไม่เกิน 0.2 มิลลิกรัมต่อลิตร
(10) น้ำมันและไขมัน (Oil and Grease) ไม่เกิน 5 มิลลิกรัมต่อลิตร
(11) ฟอร์มำลดีไฮด์ (Formaldehyde) ไม่เกิน 1 มิลลิกรัมต่อลิตร
(12) สำรประกอบฟีนอล (Phenols) ไม่เกิน 1 มิลลิกรัมต่อลิตร
(13) คลอรีนอิสระ (Free Chlorine) ไม่เกิน 1 มิลลิกรัมต่อลิตร
(14) สำรฆ่ำศัตรูพืชและสัตว์ (Pesticide) ต้องตรวจไม่พบ
(15) ทีเคเอ็น (Total Kjeldahl Nitrogen) ไม่เกิน 100 มิลลิกรัมต่อลิตร

56
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 5 สิ่งแวดล้อมและของเสีย

(16) โลหะหนัก มีค่ำดังนี้


(ก) สังกะสี (Zn) ไม่เกิน 5.0 มิลลิกรัมต่อลิตร
(ข) โครเมียมเฮกซะวำเลนท์ ไม่เกิน 0.25 มิลลิกรัมต่อลิตร
(ค) โครเมียมไตรวำเลนท์ ไม่เกิน 0.75 มิลลิกรัมต่อลิตร
(ง) สำรหนู (As) ไม่เกิน 0.25 มิลลิกรัมต่อลิตร
(จ) ทองแดง (Cu) ไม่เกิน 2.0 มิลลิกรัมต่อลิตร
(ฉ) ปรอท (Hg) ไม่เกิน 0.005 มิลลิกรัมต่อลิตร
(ช) แคดเมียม (Cd) ไม่เกิน 0.03 มิลลิกรัมต่อลิตร
(ซ) แบเรียม (Ba) ไม่เกิน 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร
(ญ) ซีลีเนียม (Se) ไม่เกิน 0.02 มิลลิกรัมต่อลิตร
(ฎ) ตะกั่ว (Pb) ไม่เกิน 0.2 มิลลิกรัมต่อลิตร
(ฏ) นิกเกิล (Ni) ไม่เกิน 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร
(ฐ) แมงกำนีส (Mn) ไม่เกิน 5.0 มิลลิกรัมต่อลิตร
5.2.1.4 กำหนดมำตรฐำนควบคุมกำรระบำยน้ำทิ้งจำกโรงงำนที่ประกอบกิจกำรเกี่ยวกับกำรฟอก ขัด หรือเคลือบสีหนังสัตว์
มำตรฐำนน้ำทิ้งต้องมีคุณภำพ ดังต่อไปนี้ [45] 5.3
(1) ควำมเป็นกรดและด่ำง (pH) ตั้งแต่ 6.0 ถึง 9.0
(2) อุณหภูมิ (Temperature) ไม่เกิน 40 องศำเซลเซียส
57
5.3 ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม เรื่อง กำหนดมำตรฐำนควบคุมกำรระบำยน้ำทิ้งจำกโรงงำนที่ประกอบกิจกำรเกี่ยวกับกำรฟอก ขัด หรือเคลือบสีหนังสัตว์ พ.ศ. 2561[45]
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 5 สิ่งแวดล้อมและของเสีย

(3) สี (Color) ไม่เกิน 300 เอดีเอ็มไอ


(4) ของแข็งละลำยน้ำทั้งหมด (Total Dissolved Solids หรือ TDS) มีค่ำ ดังนี้
(ก) กรณีระบำยลงแหล่งน้ำ ต้องไม่เกิน 3,000 มิลลิกรัมต่อลิตร
(ข) กรณีระบำยลงแหล่งน้ำที่มีค่ำของแข็งละลำยน้ำทั้งหมดเกินกว่ำ 5,000 มิลลิกรัมต่อลิตร ค่ำของแข็งละลำยน้ำทั้งหมดใน
น้ำทิ้งที่จะระบำยได้ต้องมีค่ำเกินกว่ำค่ำของแข็งละลำยน้ำ ทั้งหมดที่มีอยู่ในแหล่งน้ำนั้นไม่เกิน 5,000 มิลลิกรัมต่อลิตร
(5) ของแข็งแขวนลอยทั้งหมด (Total Suspended Solids) ไม่เกิน 50 มิลลิกรัมต่อลิตร
(6) บีโอดี (Biochemical Oxygen Demand) ไม่เกิน 50 มิลลิกรัมต่อลิตร
(7) ซีโอดี (Chemical Oxygen Demand) ไม่เกิน 250 มิลลิกรัมต่อลิตร
(8) ซัลไฟด์ (Sulfide) ไม่เกิน 1 มิลลิกรัมต่อลิตร
(9) น้ำมันและไขมัน (Oil and Grease) ไม่เกิน 5 มิลลิกรัมต่อลิตร
(10) สำรประกอบฟีนอล (Phenols) ไม่เกิน 0.5 มิลลิกรัมต่อลิตร
(11) ทีเคเอ็น (Total Kjeldahl Nitrogen) ไม่เกิน 100 มิลลิกรัมต่อลิตร
(12) ฟอสฟอรัสทั้งหมด (Total Phosphorous) ไม่เกิน 2 มิลลิกรัมต่อลิตร
(13) โครเมียมเฮกซะวำเลนท์ (Hexavalent Chromium) ไม่เกิน 0.1 มิลลิกรัมต่อลิตร
(14) โครเมียมทั้งหมด (Total Chromium) ไม่เกิน 0.8 มิลลิกรัมต่อลิตร

58
5.3 ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม เรื่อง กำหนดมำตรฐำนควบคุมกำรระบำยน้ำทิ้งจำกโรงงำนที่ประกอบกิจกำรเกี่ยวกับกำรฟอก ขัด หรือเคลือบสีหนังสัตว์ พ.ศ. 2561[45]
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 5 สิ่งแวดล้อมและของเสีย
5.2.1.5 กาหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้าทิ้งจากโรงงานที่ประกอบกิจการเกี่ยวกับการผลิตเยื่อและโรงงานผลิตกระดาษ
ดังต่อไปนี้ [45] 5.4
(1) มำตรฐำนน้ำทิ้งจำกโรงงำนผลิตเยื่อ ต้องมีคุณภำพ ดังต่อไปนี้
(ก) สี (Color) ไม่เกิน 600 เอดีเอ็มไอ(ข) ของแข็งแขวนลอยทั้งหมด (Total Dissolved Solids ) ไม่เกิน 40 มิลลิกรัมต่อลิตร
(ค) บีโอดี (Biochemical Oxygen Demand) ไม่เกิน 20 มิลลิกรัมต่อลิตร
(ค) ซีโอดี (Chemical Oxygen Demand) ไม่เกิน 400 มิลลิกรัมต่อลิตร
(ง) ทีเคเอ็น (Total Kjeldahl Nitrogen) ไม่เกิน 10 มิลลิกรัมต่อลิตร
(2) มำตรฐำนน้ำทิ้งจำกโรงงำนผลิตกระดำษ ต้องมีคุณภำพ ดังต่อไปนี้
(ก) สี (Color) ไม่เกิน 350 เอดีเอ็มไอ
(ข) ของแข็งแขวนลอยทั้งหมด (Total Dissolved Solids ) ไม่เกิน 40 มิลลิกรัมต่อลิตร
(ค) บีโอดี (Biochemical Oxygen Demand) ไม่เกิน 30 มิลลิกรัมต่อลิตร
(ง) ซีโอดี (Chemical Oxygen Demand) ไม่เกิน 270 มิลลิกรัมต่อลิตร
(จ) ทีเคเอ็น (Total Kjeldahl Nitrogen) ไม่เกิน 10 มิลลิกรัมต่อลิตร
(3) มำตรฐำนน้ำทิ้งจำกโรงงำนปรับคุณภำพของเสียรวม ต้องมีคุณภำพ ดังต่อไปนี้
(ก) สี (Color) ไม่เกิน 350 เอดีเอ็มไอ (ข) ของแข็งแขวนลอยทั้งหมด (Total Dissolved Solids ) ไม่เกิน 40 มิลลิกรัมต่อลิตร
(ค) บีโอดี (Biochemical Oxygen Demand) ไม่เกิน 20 มิลลิกรัมต่อลิตร
(ง) ซีโอดี (Chemical Oxygen Demand) ไม่เกิน 270 มิลลิกรัมต่อลิตร
(จ) ทีเคเอ็น (Total Kjeldahl Nitrogen) ไม่เกิน 10 มิลลิกรัมต่อลิตร
5.4 ประกำศกรมโรงงำนอุตสำหกรรม 59
เรื่อง กำหนกมำตรฐำนควบคุมกำรระบำยน้ำทิ้งจำกโรงงำนผลิตเยื่อและโรงงำนผลิตกระดำษ พ.ศ.2561[46]
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 5 สิ่งแวดล้อมและของเสีย

5.2.1.6 การระบายน้าทิ้ง ต้องสำมำรถตรวจสอบและทำควำมสะอำดได้สะดวก กรณีเป็นแบบท่อปิด ต้องมีบ่อสำหรับตรวจกำร


ระบำยน้ำทุกระยะ ไม่เกิน 8 เมตร และทุกมุมเลี้ยว 5.5
5.2.1.7 ทางระบายน้าฝน ทำงระบำยน้ำลงแล่งน้ำสำธำรณะ ต้องสำมำรถทำควำมสะอำดได้สะดวก มีควำมลำดเอียงไม่ต่ำกว่ำ 1 ใน
200 หรือไหลเร็วไม่ต่ำกว่ำ 60 ซั่วโมง/วินำที ขนำดท่อไม่น้อยกว่ำ 10 เซนติเมตร มีบ่อพัก สำหรับตรวจกำร ทุกมุมเลี้ยวและทุกระยะ
ไม่เกิน 12 เมตร หรือทุกระยะไม่เกิน 24 เมตร กรณีท่อปิดที่มีขนำด มำกกว่ำ 60 เซนติเมตร ถ้ำเป็นแบบอื่นต้องมีควำมกว้ำงส่วน
บนสุดไม่น้อยกว่ำ 10 เซนติเตร 5.5
5.2.1.8 โรงงานต้องติดตั้งเครื่องมือหรืออุปกรณ์เพื่อรายงานการระบายน้าทิ้งออกนอกโรงงานเข้ากับระบบเครือข่ายคอมพพิว
เตอร์ของกรมโรงงานอุตสาหกรรม ประกอบด้วย เครื่องวัดอัตรำกำรไหล มำตรวัดปริมำณกำรใช้ไฟฟ้ำ 5.6 ประกอบด้วย
(1) โรงงำนที่มีน้ำทิ้งเกินกว่ำ 10,000 ลูกบำศก์เมตรต่อวันขึ้นไป
(2) โรงงำนที่มีน้ำทิ้งตั้งแต่ 3,000 ลูกบำศก์เมตรต่อวันขึ้นไป จนถึง 10,000 ลูกบำศก์เมตรต่อวัน หรือมีปริมำณควำม
สกปรกในรูปของปริมำณ บีโอดี ช่วงไหลเข้ำ (Influent BOD Load ) ตั้งแต่ 4,000 กิโลกรับ ต่อวันขึ้นไปยกเว้นระบำยน้ำทิ้งไปยัง
โรงงำนปรับคุณภำพของเสียรวท (Central Waste Treatment Plant) ไม่ต้องติดตั้ง
(3) ให้โรงงำนดำเนินกำรติดตั้งเครื่องมือหรือเครื่องอุปกรณ์พิเศษเพิ่มเติมตำมหลักเกณฑ์ 5.7
(4) เครื่องตรวจวัดค่ำบีโอดีหรือเครื่องตรวจวัดค่ำซีโอดี
5.5 กฎกระทรวง ฉบับที่ 33 พ.ศ.2535 ออกตำมควำมในพระรำชบัญญัติควบคุมอำคำร พ.ศ..2522
5.6 ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม เรื่อง กำหนดให้โรงงำนที่ต้องมีระบบบำบัดน้ำเสียต้องติดตั้งเครื่องมืออุปกรณ์พิเศษและเครื่องมือหรืออุปกรณ์เพิ่มเติม พ.ศ.2547
5.7 ประกำศกรมโรงงำนอุตสำหกรรม เรื่อง หลักเกณฑ์กำรให้ควำมเห็นชอบ ให้โรงงำนที่ต้องมีระบบบำบัดน้ำเสีย ตั้งติดตั้งเครื่องมือหรือเครื่ องอุปกรณ์พิเศษและ
60
เครื่องมือหรือเครื่องอุปกรณ์เพิ่มเติม พ.ศ. 2550[19]
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 5 สิ่งแวดล้อมและของเสีย

5.2.2 การระบายอากาศเสียออกจากโรงงาน
5.2.2.1 ห้ำมระบำยอำกำศเสียออกจำกโรงงำนเว้นแต่ได้ทำกำรอย่ำงใดอย่ำงหนึ่งหรือหลำยอย่ำง จนอำกำศที่ระบำยออก
นั้นมีปริมำณของสำรเจือปนไม่เกินกว่ำค่ำที่กฎหมำยกำหนด แต่ทั้งนี้ต้องไม่ใช้วิธีทำให้เจือจำง (Dilution) 5.8
5.2.2.2 ในกรณีมีเครื่องฟอกอำกำศ ต้องติดตั้งมำตรวัดไฟฟ้ำสำหรับเครื่องฟอกอำกำศ และต้องจดบันทึกเลขหน่วยและ
ปริมำณกำรใช้ไฟฟ้ำประจำวัน ในกรณีมีกำรใช้สำรเคมี ต้องมีกำรจดบันทึกกำรใช้ประจำวันและมีหลักฐำนในกำรจัดหำสำรเคมี
ดังกล่ำวด้วย 5.9
5.2.2.3 ค่ำควำมเข้มข้นของกลิ่นของโรงงำน จำนวน 23 ประเภท ต้องมีค่ำควำมเข้มกลิ่นโดยวิธีเจีอจำง ดังนี้ 5.10
ที่ตั้งโรงงำน ค่ำควำมเข้มข้นกลิ่นที่บริเวณรั้ว ค่ำควำมเข้มข้นกลิ่นที่ปล่อง
หรืขอบเขตภำยในโรงงำน ระบำยอำกำศของโรงงำน
เขตอุตสำหกรรม 30 1,000
นอกเขตอุตสำหกรรม 15 300

5.8 กฎกระทรวง พ.ศ.2535 ออกตำมควำมในพระรำชบัญญัติโรงงำน พ.ศ.2535


5.9 กฎกระทรวง ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2539) ออกตำมพระรำชบัญญัตโรงงำน พ.ศ.2535
5.10 กฎกระทรวง กำหนดมำตรฐำนและวิธีกำรตรวจสอบกลิ่นในอำกำศจำกโรงงำน พ.ศ.2548 61
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 5 สิ่งแวดล้อมและของเสีย

5.2.2.4 มำตรฐำนอำกำศที่ระบำยออกนอกโรงงำน สำหรับโรงงำนอุตสำหกรรมทั่วไป 5.11

ค่ำปริมำณของสำรเจือปน
แหล่งที่มำของสำร ในอำกำศที่
ชนิดของสำรเจือปน (หน่วยวัด)
เจือปน ไม่มีกำรเผำไหม้ มีกำรเผำไหม้
เชื้อเพลิง เชื้อเพลิง
1. ฝุ่นละออง (Total Suspended Particulate) ก. แหล่งกำเนิดควำมร้อนที่ใช้
(มิลลิกรัมต่อลูกบำศก์เมตร) - น้ำมันหรือน้ำมันเตำ - 240
- ถ่ำนหิน - 320
- เชื้อเพลิงชีวมวล - 320
- เชื้อเพลิงอื่น ๆ - 320
ข. กำรถลุง หล่อหลอม รีดดึง
และ/หรือผลิต อลูมิเนียม 300 240
ค. กำรผลิตทั่วไป 400 320
2. พลวง (Antimony) (มิลลิกรัมต่อลูกบำศก์เมตร) กำรผลิตทั่วไป 20 16
3. สำรหนู (Arsenic) (มิลลิกรัมต่อลูกบำศก์เมตร) กำรผลิตทั่วไป 20 16
4. ทองแดง (Copper) (มิลลิกรัมต่อลูกบำศก์เมตร) กำรผลิตทั่วไป 30 24
5. ตะกั่ว (Lead) (มิลลิกรัมต่อลูกบำศก์เมตร) กำรผลิตทั่วไป 30 24 62
5.11 ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม เรื่อง กำหนดค่ำปริมำณของสำรเจอปนในอำกำศที่ระบำยออกนอกโรงงำน พ.ศ. 2549[3]
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 5 สิ่งแวดล้อมและของเสีย

5.2.2.4 มำตรฐำนอำกำศที่ระบำยออกนอกโรงงำน สำหรับโรงงำนอุตสำหกรรมทั่วไป 5.11

ค่ำปริมำณของสำรเจือปน
แหล่งที่มำของสำร ในอำกำศที่
ชนิดของสำรเจือปน (หน่วยวัด)
เจือปน ไม่มีกำรเผำไหม้ มีกำรเผำไหม้
เชื้อเพลิง เชื้อเพลิง
6. ปรอท (มิลลิกรัมต่อลูกบำศก์เมตร) กำรผลิตทั่วไป 3 2.4
7. คลอรีน (Chlorine) (มิลลิกรัมต่อลูกบำศก์เมตร) กำรผลิตทั่วไป 30 24
8. ไฮโดรเจนคลอไรด์ (Hydrogen chloride) (มิลลิกรัมต่อ กำรผลิตทั่วไป 200 160
ลูกบำศก์เมตร)
9.กรดกำมะถัน (Sulfuric acid) (ส่วนในล้ำนส่วน) กำรผลิตทั่วไป 25 -
10. ไฮโดรเจนซัลไฟด์ (Hydrogen sulfide) (ส่วนในล้ำน กำรผลิตทั่วไป 100 80
ส่วน)
11. คำร์บอนมอนอกไซด์ (Carbon monoxide) (ส่วนใน กำรผลิตทั่วไป 870 690
ล้ำนส่วน)

63
5.11 ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม เรื่อง กำหนดค่ำปริมำณของสำรเจอปนในอำกำศที่ระบำยออกนอกโรงงำน พ.ศ. 2549[3]
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 5 สิ่งแวดล้อมและของเสีย

5.2.2.4 มำตรฐำนอำกำศที่ระบำยออกนอกโรงงำน สำหรับโรงงำนอุตสำหกรรมทั่วไป 5.11

ค่ำปริมำณของสำรเจือปน
แหล่งที่มำของสำร ในอำกำศที่
ชนิดของสำรเจือปน (หน่วยวัด)
เจือปน ไม่มีกำรเผำไหม้ มีกำรเผำไหม้
เชื้อเพลิง เชื้อเพลิง
12. ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (Sulfur dioxide) ก. แหล่งกำเนิดควำมร้อนที่ใช้
(ส่วนในล้ำนส่วน) - น้ำมันหรือน้ำมันเตำ - 950
- ถ่ำนหิน - 700
- เชื้อเพลิงชีวมวล - 60
- เชื้อเพลิงอื่น ๆ - 60
ข. กำรผลิตทั่วไป 500 -
13. ออกไซด์ของไนโตรเจน แหล่งกำเนิดควำมร้อนที่ใช้
(Oxides of nitrogen) - น้ำมันหรือน้ำมันเตำ - 200
(ส่วนในล้ำนส่วน) - ถ่ำนหิน - 400
- เชื้อเพลิงชีวมวล เชื้อเพลิงอื่น ๆ - 200
14. ไซลีน (Xylene)(ส่วนในล้ำนส่วน) กำรผลิตทั่วไป 200 -
15. ครีซอล (Cresol) (ส่วนในล้ำนส่วน) กำรผลิตทั่วไป 5 -
64
5.11 ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม เรื่อง กำหนดค่ำปริมำณของสำรเจอปนในอำกำศที่ระบำยออกนอกโรงงำน พ.ศ. 2549[3]
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 5 สิ่งแวดล้อมและของเสีย

• 5.2.2.5 มาตรฐานอากาศที่ระบายออกนอกโรงงาน สาหรับโรงงานปูนซีเมนต์ (4) 5.12


โรงงำนปูนซีเมนต ค่ำปริมำณของสำรเจือปนในอำกำศ
ซึ่งมีกำรระบำยอำกำศเสีย ฝุ่นละออง ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ออกไซด์ของไนโตรเจนใน
ออกจำกหน่วยกำรผลิต (มิลลิกรัมต่อ (ส่วนในล้ำนส่วน) รูปของ
ดังต่อไปนี้ ลูกบำศก์เมตร) ไนโตรเจนไดออกไซด์
(ส่วนในล้ำนส่วน)
1. หม้อเผำปูนซีเมนต์ทั่วไป(grey cement kiln) 120 50 500
2. หม้อเผำปูนซีเมนต์ขำว (white cement kiln) 120 500 500
3. หม้อเย็น (clinker cooler) 120 - -
4. หม้อบดปูน (clinker grinding mill) 120 - -
5. หม้อบดถ่ำนหิน (coal grinding mill) 120 - -
6. หน่วยกำรผลิตอื่น ๆ
กรณีไม่มีกำรเผำไหม้เชื้อเพลิง 400 - -
กรณีมีกำรเผำไหม้เชื้อเพลิง 320 700 400

5.12 ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม เรื่อง กำหนดค่ำปริมำณของสำรเจอปนในอำกำศที่ระบำยออกนอกโรงงำนปูนซีเมนต์ พ.ศ. 2549 65


มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 5 สิ่งแวดล้อมและของเสีย

5.2.2.5 มาตรฐานอากาศที่ระบายออกนอกโรงงาน สาหรับโรงงานปูนซีเมนต์ (4) 5.12


โรงงำนปูนซีเมนต ค่ำปริมำณของสำรเจือปนในอำกำศ
ซึ่งมีกำรระบำยอำกำศเสีย ฝุ่นละออง ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ออกไซด์ของไนโตรเจนใน
ออกจำกหน่วยกำรผลิต (มิลลิกรัมต่อ (ส่วนในล้ำนส่วน) รูปของ
ดังต่อไปนี้ ลูกบำศก์เมตร) ไนโตรเจนไดออกไซด์
(ส่วนในล้ำนส่วน)
1. หม้อเผำปูนซีเมนต์ทั่วไป(grey cement kiln) 120 50 500
2. หม้อเผำปูนซีเมนต์ขำว (white cement kiln) 120 500 500
3. หม้อเย็น (clinker cooler) 120 - -
4. หม้อบดปูน (clinker grinding mill) 120 - -
5. หม้อบดถ่ำนหิน (coal grinding mill) 120 - -
6. หน่วยกำรผลิตอื่น ๆ
กรณีไม่มีกำรเผำไหม้เชื้อเพลิง 400 - -
กรณีมีกำรเผำไหม้เชื้อเพลิง 320 700 400

5.12 ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม เรื่อง กำหนดค่ำปริมำณของสำรเจอปนในอำกำศที่ระบำยออกนอกโรงงำนปูนซีเมนต์ พ.ศ. 2549 66


มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 5 สิ่งแวดล้อมและของเสีย

5.2.2.6 มาตรฐานอากาศที่ระบายออกนอกโรงงาน สำหรับโรงงำนผลิตแก้วและกระจก [22] 5.13


ชนิดของสำรเจือปน (หน่วยวัด) แหล่งที่มำของสำรเจือปน ค่ำปริมำณสำรเจือปน ในอำกำศ
ฝุ่นละออง (Total Suspended Particulate) (มิลลิกรัมต่อ เตำหลอมที่ใช้เชื้อเพลิง - น้ำมันเตำ 240
ลูกบำศก์เมตร) - เชื้อเพลิงอื่น ๆ 320
ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (Sulfur Dioxide) (ส่วนในล้ำนส่วน) ก. เตำหลอมที่มีกำรใช้สำรประกอบ
ซัลเฟตเป็นวัตถุดิบเสริมและมีกำรใช้
เชื้อเพลิง
- น้ำมันเตำ 950
- เชื้อเพลิงอื่น ๆ 300
ข. เตำหลอมที่ไม่มีกำรใช้สำรประกอบ
ซัลเฟตเป็นวัตถุดิบ
เสริมและมีกำรใช้เชื้อเพลิง 950
- น้ำมันเตำ 60
- เชื้อเพลิงอื่น ๆ
ออกไซด์ของไนโตรเจนในรูปไนโตรเจนไดออกไซด์ (Oxide of เตำหลอม 1,750
Nitrogen as NO2)(ส่วนในล้ำนส่วน)
คำร์บอนมอนอกไซด์ (Carbon Monoxide)(ส่วนในล้ำนส่วน) เตำหลอม 690
ไฮโดรเจนคลอไรด์ (Hydrogen Chloride)(ส่วนในล้ำนส่วน) เตำหลอม 40
ไฮโดรเจนฟลูออไรด์ (Hydrogen Fluoride)(ส่วนในล้ำนส่วน) เตำหลอม 70
ตะกั่ว (Lead) (มิลลิกรัมต่อลูกบำศก์เมตร) เตำหลอม 5
สำรหนู (Arsenic) (มิลลิกรัมต่อลูกบำศก์เมตร) เตำหลอม 1
67
5.13 ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม เรื่อง กำหนดค่ำปริมำณของสำรเจอปนในอำกำศที่ระบำยออกนอกโรงงำนผลิตแก้วและกระจก พ.ศ. 2555
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 5 สิ่งแวดล้อมและของเสีย

5.2.2.7 มาตรฐานอากาศที่ระบายออกนอกโรงงานสาหรับเตาเผาของเสียอันตรายจากอุตสาหกรรม 5.14


ชนิดของสำรเจือปนในอำกำศ ค่ำปริมำณสำรเจือปนในอำกำศ
ฝุ่นละออง (Particulate) 35 มิลลิกรัมต่อลูกบำศก์เมตร
ไฮโดรเจนคลอไรด์ (Hydrogen Chloride) 40 มิลลิกรัมต่อลูกบำศก์เมตร
คำร์บอนมอนอกไซด์ (Carbon Monoxide) 115 มิลลิกรัมต่อลูกบำศก์เมตร
ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (Sulfur Dioxide) 80 มิลลิกรัมต่อลูกบำศก์เมตร
ออกไซด์ของไนโตรเจนในรูปไนโตรเจนไดออกไซด์ (Oxide of Nitrogen as 150 มิลลิกรัมต่อลูกบำศก์เมตร
NO2)
ไดออกซิน/และฟูรำน (Dioxins/Furans-TEQ) 0.5 นำโนกรัมต่อลูกบำศก์เมตร
ปรอท (Mercury) 0.1 มิลลิกรัมต่อลูกบำศก์เมตร
Semi Volatile Metals ได้แก่ แคดเมียม (Cadmium) ตะกั่ว (Lead) 0.2 มิลลิกรัมต่อลูกบำศก์เมตร
Low Volatile Metals ได้แก่ อำร์ซินคิ (Arsenic) เบริลเลียม 1 มิลลิกรัมต่อลูกบำศก์เมตร
(Beryllium) โครเมียม (Chromium)

68
5.12 ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม เรื่อง กำหนดค่ำปริมำณของสำรเจอปนในอำกำศที่ระบำยออกนอกโรงงำนปูนซีเมนต์ พ.ศ. 2549
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 5 สิ่งแวดล้อมและของเสีย

5.2.2.8 มาตรฐานอากาศที่ระบายออกนอกโรงงาน ผลิต ส่ง หรือจาหน่ายพลังงานไฟฟ้า 5.15


ค่ำปริมำณของสำรเจือปนในอำกำศ
ประเภทและขนำดของโรงไฟฟ้ำ ซับเฟอร์ไดออกไซด์ ออกไซด์ของไนโตรเจนในรูปไนโตรเจน ฝุ่นละออง(มิลกิ รัม
(ส่วนในล้ำนส่วน) ไดออกไซด์(ส่วนในล้ำนส่วน) ต่อลูกบำศก์เมตร
1.โรงไฟฟ้ำเก่ำ
1.1 โรงไฟฟ้ำเก่ำทุกขนำดที่ใช้ถ่ำนหินเป็นเชื้อเพลิง 700 400 320
1.2 โรงไฟฟ้ำเก่ำทุกขนำดที่ใช้น้ำมันเป็นเชื้อเพลิง 950 200 240
1.3 โรงไฟฟ้ำเก่ำทุกขนำดที่ใช้ก๊ำซธรรมชำติเป็น 60 200 60
เชื้อเพลิง
1.4 โรงไฟฟ้ำเก่ำทุกขนำดที่ใช้เชื้อเพลิงชีวมวลเป็น 60 200 320
เชื้อเพลิง
2.โรงไฟฟ้ำใหม่
2.1 โรงไฟฟ้ำใหม่ที่ใช้ถ่ำนหินเป็นเชื้อเพลิง
(1) ที่มีกำลังกำรผลิตไม่เกิน 300 เมกะวัตต์ 640 350 120
(2) ที่มีกำลังกำรผลิตเกิน 300 เมกะวัตต์แต่ไม่เกิน 500 เม 450 350 120
กะวัตต์
(3) ที่มีกำลังกำรผลิตเกิน 500 เมกะวัตต์ 320 350 120
5.15 ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม เรื่อง กำหนดค่ำปริมำณของสำรเจือปนในอำกำศที่ระบำยออกจำกโรงงำนผลิต ส่ง หรือจำหน่ำยพลังงำนไฟฟ้ำ พ.ศ.2547 69
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 5 สิ่งแวดล้อมและของเสีย

5.2.2.8 มาตรฐานอากาศที่ระบายออกนอกโรงงาน ผลิต ส่ง หรือจาหน่ายพลังงานไฟฟ้า 5.15


ค่ำปริมำณของสำรเจือปนในอำกำศ
ประเภทและขนำดของโรงไฟฟ้ำ ซับเฟอร์ไดออกไซด์ ออกไซด์ของไนโตรเจนในรูปไนโตรเจนได ฝุ่นละออง(มิลิกรัมต่อ
(ส่วนในล้ำนส่วน) ออกไซด์(ส่วนในล้ำนส่วน) ลูกบำศก์เมตร
2.2 โรงไฟฟ้ำใหม่ที่ใช้น้ำมันเป็นเชื้อเพลิง
(1) ที่มีกำลังกำรผลิตไม่เกิน 300 เมกะวัตต์ 640 180 120
(2) ที่มีกำลังกำรผลิตเกิน 300 เมกะวัตต์แต่ไม่เกิน 450 180 120
500 เมกะวัตต์
(3) ที่มีกำลังกำรผลิตเกิน 500 เมกะวัตต์ 320 180 120
2.3 โรงไฟฟ้ำใหม่ที่ใช้ก๊ำซธรรมชำติเป็นเชื้อเพลิง 20 120 60
2.4 โรงไฟฟ้ำใหม่ที่ใช้เชื้อเพลิงชีวมวลเป็นเชื้อเพลิง 60 200 120
3.โรงไฟฟ้ำเดิม
3.1 โรงไฟฟ้ำบำงปะกง
(1) หน่วยผลิตที่ 1-4 (พลังควำมร้อน) 320 200 120
(2) หน่วยผลิตที่ 1 และ 2(พลังควำมร้อนร่วม) 60 450 60
(3) หน่วยผลิตที่ 3 และ 4(พลังควำมร้อนร่วม) 60 230 60
3.2 โรงไฟฟ้ำพระนครใต้
(1) หน่วยผลิตไฟฟ้ำ (พลังควำมร้อน) 320 180 120
(2) หน่วยผลิตที่ 1(พลังควำมร้อนร่วม) 60 250 60
(3)หน่วยผลิตที่ 2 (พลังควำมร้อนร่วม) 60 175 60
5.15 ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม เรื่อง กำหนดค่ำปริมำณของสำรเจือปนในอำกำศที่ระบำยออกจำกโรงงำนผลิต ส่ง หรือจำหน่ำยพลังงำนไฟฟ้ำ พ.ศ.2547 70
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 5 สิ่งแวดล้อมและของเสีย

5.2.2.8 มาตรฐานอากาศที่ระบายออกนอกโรงงาน ผลิต ส่ง หรือจาหน่ายพลังงานไฟฟ้า 5.15


ค่ำปริมำณของสำรเจือปนในอำกำศ
ประเภทและขนำดของโรงไฟฟ้ำ ซับเฟอร์ไดออกไซด์ ออกไซด์ของไนโตรเจนในรูปไนโตรเจน ฝุ่นละออง(มิลกิ รัมต่อ
(ส่วนในล้ำนส่วน) ไดออกไซด์(ส่วนในล้ำนส่วน) ลูกบำศก์เมตร
3.3 โรงไฟฟ้ำพระนครเหนือ 500 180 150
(1) หน่วยผลิตที่ 1-4 (พลังควำมร้อน) 320 200 120
(2) หน่วยผลิตที่ 1 และ 2(พลังควำมร้อนร่วม) 60 450 60
(3) หน่วยผลิตที่ 3 และ 4(พลังควำมร้อนร่วม) 60 230 60
3.4 โรงไฟฟ้ำสุรำษฎร์ธำนี 500 180 150
(1) หน่วยผลิตไฟฟ้ำ(กังหันก๊ำซ) 60 230 60
(2)หน่วยผลิตไฟฟ้ำ(พลังควำมร้อนร่วม) 20 120 60
3.5 โรงไฟฟ้ำลำนกระบือ 60 250 60
3.6 โรงไฟฟ้ำกังหันก๊ำซหนองจอก 60 230 60
3.7 โรงไฟฟ้ำวังน้อย 60 175 60
3.8 โรงไฟฟ้ำพลังควำมร้อนร่วมน้ำพอง 60 250 60
3.9 โรงไฟฟ้ำแม่เมำะ 60 250 60
(1) หน่วยกำรผลิตที่ 1-3 1,300 500 180
(2) หน่วยกำรผลิตที่ 4-13 320 500 180
5.15 71
ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม เรื่อง กำหนดค่ำปริมำณของสำรเจือปนในอำกำศที่ระบำยออกจำกโรงงำนผลิต ส่ง หรือจำหน่ำยพลังงำนไฟฟ้ำ พ.ศ.2547
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 5 สิ่งแวดล้อมและของเสีย

5.2.2.9 มำตรฐำนอำกำศที่ระบำยออกนอกโรงงำนที่ใช้น้ำมันใช้แล้ว หรือเขื้อเพลิงสังเครำะห์เป็นเชื้อเพลิงในเตำอุตสำหกรรม 5.16

ชนิดของสารเจือปนในอากาศ ค่าปริมาณสารเจือปนในอากาศ
ฝุ่นละออง (Particulate) 240 มิลลิกรัมต่อลูกบำศก์เมตร
ไฮโดรเจนคลอไรด์ (Hydrogen Chloride)และไฮโดรเจนฟลูออไรด์ (Hydrogen Chloride) รวมไม่เกิน 85 ส่วนในล้ำนส่วน
คำร์บอนมอนอกไซด์ (Carbon Monoxide) 110 ส่วนในล้ำนส่วน
ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (Sulfur Dioxide) 800 ส่วนในล้ำนส่วน
ออกไซด์ของไนโตรเจนในรูปไนโตรเจนไดออกไซด์ (Oxide of Nitrogen as NO2) 200 ส่วนในล้ำนส่วน
ไดออกซิน/และฟูรำน (Dioxins/Furans) ในรูปสมมูลย์ควำมเป็นพิษ (TEQ) 0.5 นำโนกรัมต่อลูกบำศก์เมตร
ปรอท (Mercury) 0.15 มิลลิกรัมต่อลูกบำศก์เมตร
โลหะหนักจำพวกพลวง (Antiminy) สำรหนู (Arsenic) แคดเมี่ยม (Cadmium) ซีลีเนี่ยม รวมกันไม่เกิน 0.65 มิลลิกรัมต่อ
(Selenium) และเทลลูเรียม (Tellurium) ลูกบำศก์เมตร
โลหะหนักจำพวกวำเนเดียม (Vanadium) โครเมี่ยม (Chromium) โคบอลต์ (Cobalt) นิเกิล รวมกันไม่เกิน 13.0 มิลลิกรัมต่อ
(Nickle) ทองแดง (Copper) ตะกั่ว (Lead) แมงกำนีส (Manganese) และดีบุก (Tin) ลูกบำศก์เมตร

5.16ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม เรื่อง กำหนดค่ำปริมำณของสำรเจือปนในอำกำศที่ระบำยออกนอกโรงงำน กรณีกำรใช้น้ำมันใช้แล้ว ผ่ำนกระบวนกำรปรับคุณภำพและเชื้อเพลิง


72
สังเครำะห์ เป็นเชื้อเพลิงในเตำอุตสำหกรรม พ.ศ. 2548
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 5 สิ่งแวดล้อมและของเสีย
5.2.2.10 มาตรฐานค่าความทึบแสงของเขม่าควัน ที่ระบายออกจากปล่องหม้อไอน้า กาลังการผลิตตัง้ แต่ 1 ตันต่อชั่วโมงขึ้นไป เมื่อ
ตรวจวัดด้วยแผนภูมิเขม่ำควันของริงเกิลมำนน์ ต้องไม่เกิน ร้อยละ 10 5.17
5.2.2.11 กาหนดให้ในอากาศที่สามารถระบายออกจากโรงงาน ที่ตั้งอยู่ในเขตจังหวัด กรุงเทพมหำนคร สมุทรปรำกำร นนทบุรี
ปทุมธำนี สมุทรสำคร นครปฐม ชลบุรี ระยอง เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ สงขลำ กระบี่ และภูเก็ตต้องมีค่ำปริมำณของสำรเจือปน ไม่เกินค่ำที่กำหนด
ไว้ ดังนี้ [57] 5.18
(1) สำรเจือปนชนิดซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ที่มำจำกกำรเผำไหม้ที่ใช้น้ำมันเตำเป็นเชื้อเพลิง จะต้องมีค่ำปริมำณของสำรเจือปนในอำกำศไม่เกิน 1,250
ส่วนในล้ำนส่วน
(2) กำรวัดค่ำปริมำณของซัลเฟอร์ไดออกไซด์ในอำกำศที่ระบำยออกจำกโรงงำน ให้วัดอำกำศที่ระบำยออกจำกปล่องในขณะประกอบกิจกำรโรงงำน
ในกรณีที่ไม่มีปล่อง ให้วัดที่ช่องระบำยอำกำศ ซึ่งพนักงำนเจ้ำหน้ำที่เห็นว่ำน่ำจะมีปริมำณของสำรเจือปนระบำยออกมำกที่สุด
5.2.2.12 อากาศที่ระบายออกจากแหล่งทีม่ าของอากาศเสียของโรงแยกก๊าซธรรมชาติต้องมีค่ำปริมำณของสำรเจือปนในอำกำศแต่ละ
ชนิดไม่เกินตำมมำตรฐำนที่กำหนดไว้ ดังต่อไปนี้ 5.19
(1) ฝุ่นละออง (Total Suspended Particulate) 60 มิลลิกรัมต่อลูกบำศก์เมตร
(2) ก๊ำซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (Sulfur Dioxide) 50 ส่วนในล้ำนส่วน
(3) ก๊ำซออกไซด์ของไนโตรเจน ซึ่งคำนวณในรูปของก๊ำซไนโตรเจนไดออกไซด์ (Oxides of Nitrogen as Nitrogen Dioxide) 150 ส่วนในล้ำนส่วน
(4) ก๊ำซคำร์บอนมอนอกไซด์ (Carbon Monoxide) 550 ส่วนในล้ำนส่วน
(5) ก๊ำซไฮโดรเจนซัลไฟด์ (Hydrogen Sulfide) 60 ส่วนในล้ำนส่วน
(6) สำรปรอท (Mercury) 0.06 มิลลิกรัมต่อลูกบำศก์เมตร
5.17 ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม เรื่อง กำหนดค่ำปริมำณเขม่ำควัน ที่เจือปนในอำกำศ ที่ระบำยออกจำกปล่องของหม้อน้ำของโรงงำน พ.ศ. 2549,ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม เรื่อง
กำหนดค่ำปริมำณเขม่ำควัน ที่เจือปนในอำกำศ ที่ระบำยออกจำกปล่องของหม้อน้ำโรงสีข้ำว ที่ใช้แกลบเป็นเชื้อเพลิง พ.ศ. 2549
5.18 ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2543) เรื่อง กำหนดค่ำปริมำณของสำรเจือปนในอำกำศ ที่ระบำยออกจำกโรงงำน (เพิ่มเติม)[57]
5.19 ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม เรื่อง กำหนดค่ำปริมำณของสำรเจือปนในอำกำศที่ระบำยออกจำกโรงแยกก๊ำซธรรมชำติ พ.ศ. 2559 73
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 5 สิ่งแวดล้อมและของเสีย
5.2.3 มำตรฐำนกำรตรวจสอบด้ำนกำรกำจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว
5.2.3.1 ต้องรักษำโรงงำนให้สะอำดปรำศจำกสิ่งปฏิกูล และจัดให้มีที่รองรับหรือกำจัดสิ่งปฏิกูล5.20
5.2.3.2 ต้องแยกเก็บสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว ซึ่งมีวัตถุมีพิษปนอยู่ด้วย หรือสำลี ผ้ำ หรือเศษด้ำยที่เปื้อนวุตถุไวไฟ ไว้ในที่รองรับ
ต่ำงหำกที่เหมำะสม และมีฝำปิดมิดชิด และต้องจัดให้มีกำรกำจัดสิ่ดังกล่ำวงโดยเฉพำะด้วยวิธีกำรที่ปลอดภัยและไม่ก่อใหเกิดควำม
เดือดร้อนรำคำญ5.20
5.2.3.3 ผู้ก่อกำเนิดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว ต้องปฏิบัติดังนี้ 5.21
(1) ห้ำมนำสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุไม่ใช้แล้วออกนอกโรงงำนเว้นแต่ได้รับอนุญำต จำกอธิบดีกรมโรงงำนอุตสำหกรรม หรือผู้ซึ่งอธิบดี
กรมโรงงำนอุตสำหกรรมมอบหมำย กำรขออนุญำต ให้ใช้แบบ สก. 2 ในกำรยื่นขออนุญำตนำสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วออกนอกบริเวณ
โรงงำนและกำรอนุญำต อำจกระทำแบบอัตโนมัติผ่ำนระบบอิเล็กทรอนิกส์ ก็ได้ ในกรณีที่ทำกำรบำบัดหรือกำจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้
แล้วภำยในบริเวณโรงงำนต้องขอควำมเห็นชอบ จำกกรมโรงงำนอุตสำหกรรม
(2) ต้องแจ้งรำยละเอียด เกี่ยวกับชนิด ปริมำณ ลักษณะคุณสมบัติและสถำนที่เก็บสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว พร้อมทั้งวิธีเก็บ
ทำลำยฤทธิ์ กำจัด ทิ้ง ฝัง เคลื่อนย้ำย และกำรขนส่ง
(3) ผู้ก่อกำเนิดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว ต้องไม่ครอบครองสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว ไว้ภำยในโรงงำนเกินระยะเวลำ 90
วัน หำกเกินกว่ำระยะเวลำที่กำหนดไว้นี้ ต้องขออนุญำตต่อกรมโรงงำนอุตสำหกรรม ตำมแบบ สก. 1 กระทำแบบอัตโนมัติผ่ำนระบบ
อิเล็กทรอนิกส์ ก็ได้ ในกรณีที่ครอบครองของเสียอันตรำยให้ปฏิบัติตำมประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม เรื่อง ระบบเอกสำรกำกับกำรขนส่ง
ของเสียอันตรำย พ.ศ. 2547

5.20 ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2513) ตำมควำมในพระรำชบัญญัติโรงงำน พ.ศ. 2512


5.21 ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม เรื่อง กำรกำจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว พ.ศ.2548 74
(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2560[53]
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 5 สิ่งแวดล้อมและของเสีย

(4) ผู้ก่อกำเนิดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว ต้องจัดทำแผนกำรป้องกันอุบัติภัย เพื่อรองรับเหตุฉุกเฉิน ในกรณีเหตุรั่วไหล


อัคคีภัย กำรระเบิดของสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว หรือเหตุที่คำดไม่ถึง ตำมที่กำหนด ภำคผนวกที่ 3 ท้ำยประกำศนี้ และต้องมีอุปกรณ์
รักษำควำมปลอดภัยและอปกรณ์รองรับเหตุฉุกเฉิน ภำนในบริเวณโรงงำนและมีเส้นทำงหนีภัยไปยังที่ปลอดภัย
(5) ผู้ก่อกำเนิดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว ที่ส่งของเสียอันตรำยออกนอกโรงงำน ต้องมีใบกำกับกำรขนส่งทุกครั้ง และให้แจ้ง
ข้อมูลต่อกรมโรงงำนอุตสำหกรรมทำงสื่ออิเล็กทรอนิกส์
(6) ผู้ก่อกำเนิดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว ต้องรับผิดชอบตำมภำระควำมรับผิด (liabilitr) ในกรณีสูญหำย เกิดอุบัติเหตุ กำร
ทิ้งผิดที่ หรือกำรลักลอบทิ้ง และกำรรับคืน เนื่องจำกข้อขัดแย้ง ที่ไม่เป็นไปตำมสัญญำ ระหว่ำงผู้ก่อกำเนิดและผู้รับบำบัด จนกว่ำผู้รบั บำบัด
รับไว้ในคลอบคลองแล้ว
(7) ต้องมีผู้ควบคุมดูแลระบบป้องกันสิ่งแวดล้อมที่มีควำมรู้เฉพำะด้ำน และต้องจัดฝึกอบรมพนักงำนที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้สำมำรถ
ปฏิบัติงำนตำมหน้ำที่ได้อย่ำงถูกต้องและปลอดภัย
(8) ต้องส่งสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่เป็นของเสียอันตรำยให้กับผู้รวบรวมและขนส่ง หรือผู้บำบัดและกำจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุ
ที่ไม่ใช้แล้วเท่ำนั้น ในกรณีที่จะใช้บริกำรของผู้อื่นในกำรจัดกำรสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว จะต้องได้รับควำมเห็นชอบจำกกรมโรงงำน
อุตสำหกรรม
(9) ต้องมีใบกำกับกำรขนส่ง เมื่อมีกำรนำของเสียอันตรำยออกนอกบริเวณโรงงำนทุกครั้งและให้แจ้งข้อมูลกำรขนส่งสิ่งปฏิกูล
หรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วต่อกรมโรงงำนอุตสำหกรรม โดยกำรแจ้งทำงสื่ออิเล็กทรอนิกส์
(10) ต้องทำกำรตรวจสอบสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว และต้องรับผิดชอบต่อภำระควำมรับผิด (liability) ในกรณีสูญหำย เกิด
อุบัติเหตุ กำรทิ้งผิดที่ หรือกำรลักลอบทิ้ง และกำรรับคืนเนื่องจำกข้อขัดแย้งที่ไม่เป็นไปตำมสัญญำกำรให้บริกำรระหว่ำงผู้ก่อกำเนิดและผู้
บำบัดและกำจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว จนกว่ำผู้บำบัดและกำจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วจะรับสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วนั้นไว้
ในครอบครอง 75
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 5 สิ่งแวดล้อมและของเสีย

(11) ต้องส่งรำยงำนประจำปีให้แก่กรมโรงงำนอุตสำหกรรมตำมแบบ สก. 3 หรือทำงสื่ออิเล็กทรอนิกส์ นี้ภำยในวันที่ 1 มีนำคม


ของปีถัดไป
(12) กำรนำสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว เข้ำมำหรือออกนอกรำชอำณำจักร ต้องปฏิบัติตำมกฎหมำยอื่นที่เกี่ยวข้อง และ
กฎหมำยระหว่ำงประเทศด้วย
(13) รหัสของชนิดและประเภทของสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วให้เป็นไปตำมที่กำหนด ในภำคผนวกที่ 1 [35]
(14) สิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วดังต่อไปนี้ ไม่ต้องขออนุญำตนำออกนอกโรงงำน
(ก) สิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่ไม่เป็นของเสียอันตรำย จำกสำนักงำน บ้ำนพักอำศัยและโรงอำหำรในบริเวณโรงงำน
(ข) สิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่มีกฎหมำยควบคุมเฉพำะ ได้แก่
(ค) กำกกัมมันตรังสี
(ง) มูลฝอยตำมกฎหมำยว่ำด้วยกำรสำธำรณสุข
(จ) น้ำเสียที่ส่งไปบำบัดนอกบริเวณโรงงำนทำงท่อส่ง
(15) กำรยกเว้นไม่ต้องขออนุญำตนำสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่ไม่เป็นของเสียอันตรำยออกนอกบริเวณโรงงำน [42] 5.22
(ก) สิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่ไม่เป็นของเสียอันตรำยตำมที่ได้รับยกเว้นกำรขออนุญำต ต้องไม่ถูกปนเปื้อนหรือผสม หรือ
ปะปนอยู่ด้วยกับสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่เป็นของเสียอันตรำย หรือสำรอันตรำยจนมีลักษณะและคุณสมบัติของสิ่งปฏิกูลที่ไม่ใช้แล้วที่
เป็นของเสียอันตรำย

5.22 ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม เรื่อง ยกเว้นไม่ต้องขออนุญำตนำสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่ไม่เป็นของเสียอันตรำยออกนอกบริเวณโรงงำน พ.ศ. 2561


76
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 5 สิ่งแวดล้อมและของเสีย
ลำดับ รหัสของชนิด
(ข) รำยกำร ที่ และประเภท
สิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว

รหัสของชนิด 1 02 02 01 ตะกอนจำกกำรล้ำงและทำควำมสะอำด (sludges from washing and cleaning


2 02 02 02 เศษเนื้อเยื่อสัตว์ (animal-tissue wastes)
และประเภท 3 02 02 03 วัสดุที่ไม่เหมำะสมสำหรับกำรบริโภค หรือแปรรูปต่อไป (materials unsuitable for consumption or processing)
ของสิ่งปฏิกูล 4
5
02 03 01
02 03 04
ตะกอนจำกกำรล้ำง กำรทำควำมสะอำด กำรปอกเปลือก กำรเหวี่ยงแยก และกำรแยก (sludges from washing, cleaning, peeling, centrifuging and separation )
วัสดุที่ไม่เหมำะสมสำหรับกำรบริโภค หรือแปรรูปต่อไป (material unsuitable for consumption or processing)
หรือวัสดุที่ไม่ 6 02 04 01 ตะกอนจำกกำรล้ำงและทำควำมสะอำดอ้อย (sugar cane) หรือหัวน้ำตำล (sugar beet) (soil from cleaning and washing)
7 02 04 99 ของเสียอื่นที่ไม่ได้ระบุข้ำงต้น (wastes not otherwise specified) ได้แก่ ชำนอ้อย
ใช้แล้ว 8 02 05 01 วัสดุที่ไม่เหมำะสมแก่กำรบริโภค หรือแปรรูปต่อไป (material unsuitable for consumption or processing)
9 02 06 01 วัสดุที่ไม่เหมำะสมแก่กำรบริโภค หรือแปรรูปต่อไป (material unsuitable for consumption or processing)
10 02 07 01 ของเสียจำกกำรล้ำง กำรทำควำมสะอำด และลดขนำดวัตถุดิบโดยเชิงกล กำรสับ (wastes from washing, cleaning and mechanical reduction of raw materials)
11 02 07 04 วัสดุที่ไม่เหมำะสมสำหรับกำรบริโภค หรือแปรรูปต่อไป (material unsuitable for consumption or processing)
12 03 01 01 ของเสียประเภทเปลือกไม้ และไม้ก๊อก (waste bark and cork)
13 03 01 05 ขี้เลื่อย เศษไม้จำกกำรตัดแต่งขึน้ รูปและตัดชิ้นไม้ ไม้อัดและไม้วเี นียร์ ที่ไม่ใช่ 03 01 04 (sawdust, shavings, cuttings, wood, particle board and veneer other than
those mentioned in 03 01 04)
14 03 03 01 ของเสียประเภทเปลือกไม้ และเนื้อไม้ (waste bark and cork)
15 17 01 01 คอนกรีต (concrete)
16 17 01 02 อิฐ (bricks)
17 17 01 03 กระเบื้อง และเซรำมิกส์ (tiles and ceramics)
18 17 01 07 ส่วนผสมหรือชิ้นส่วนต่ำงๆ คอนกรีต อิฐ กระเบื้อง และเซรำมิกส์ที่ไม่ใช่ 17 01 06 (Mixtures of concrete, bricks. tile and ceramics other than those mentioned in
17 01 06)
19 17 02 01 ไม้ (wood)
20 17 02 02 แก้ว (glass)
21 17 02 03 พลำสติก (plastic)
22 17 04 02 อลูมิเนียม (aluminum)
23 17 04 04 สังกะสี (zin)
24 17 04 05 เหล็ก หรือเหล็กกล้ำ (iron and steel)
25 17 04 06 ดีบุก (tin)
26 17 04 07 โลหะหลำยชนิดปะปนกัน (mixed metals) 77
27 17 05 04 ดิน หรือหินที่ไม่ใช่ 07 05 03 (soil and stones other than those mentioned in 17 05 03)
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 5 สิ่งแวดล้อมและของเสีย

(16) ให้ของเสียอันตรำยตำมบัญชีรำยกำร
ท้ำยประกำศฉบับนี้ ต้องกำจัดโดยวิธีกำรเผำ
ทำลำยในเตำเผำอุตสำหกรรมเฉพำะสำหรับ
ของเสียอันตรำย ห้ำมมิให้นำของเสีย
อันตรำย มำกำจัดโดยวิธีกำรเผำทำลำยใน
เตำปูนซีเมนต์ และเตำเผำปูนขำว 5.23

5.23
ประกำศกรมโรงงำนอุตสำหกรรม เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีกำรปฏิบัติเกี่ยวกับ
กำรจัดกำรสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว พ.ศ. 2551[23] 78
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 5 สิ่งแวดล้อมและของเสีย
5.2.3.2 กำรรวบรวมและขนส่งของเสียอันตรำยต้องดำเนินกำรดังนี้ 5.24
(1) ผู้แต่งตั้งตัวแทนเพื่อเป็นผู้รวบรวมและขนส่งของเสียอันตรำย ต้องเป็นผู้ก่อกำเนิดของเสียอันตรำย หรือผู้บำบัดและกำจัดของเสีย
อันตรำยที่ได้แจ้งเพื่อขอมีเลขประจำตัวและกรมโรงงำนอุตสำหกรรมได้ออกเลขประจำตัว ตำมประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม เรื่อง ระบบเอกสำร
กำกับกำรขนส่งของเสียอันตรำย พ.ศ. 2547 แล้ว
(2) ผู้ได้รับกำรแต่งตั้งเป็นตัวแทนเพื่อเป็นผู้รวบรวมและขนส่งของเสียอันตรำย ต้องเป็นผู้ขนส่งของเสียอันตรำยที่ได้แจ้งเพื่อขอมีเลข
ประจำตัวและกรมโรงงำนอุตสำหกรรมได้ออกเลขประจำตัว ตำมประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม เรื่อง ระบบเอกสำรกำกับกำรขนส่งของเสีย
อันตรำย พ.ศ. 2547 แล้ว
(3) ผู้ได้รับกำรแต่งตั้งเป็นตัวแทนเพื่อเป็นผู้รวบรวมและขนส่งของเสียอันตรำย ต้องมีที่ตั้งสถำนประกอบกำรและบริเวณที่ใช้จอดรถยนต์ที่
สำมำรถเก็บของเสียอันตรำยไว้ได้ชั่วครำว โดยมีควำมปลอดภัยและไม่เกิดควำมเสียหำยต่อชีวิตมนุษย์ สัตว์ พืช ทรัพย์หรือสิ่งแวดล้อม และต้องมี
หลักฐำนแสดงกรรมสิทธิ์ หรือหลักฐำนแสดงสิทธิในกำรใช้สถำนที่ตั้ง สถำนประกอบกำร และที่จอดรถยนต์ที่ใช้ขนส่งของเสียอันตรำย
(4) ผู้ได้รับกำรแต่งตั้งเป็นตัวแทนเพื่อเป็นผู้รวบรวมและขนส่งของเสียอันตรำย ต้องมีหลักฐำนกำรจดทะเบียนผู้ถือกรรมสิทธิ์รถยนต์ที่ใช้ขนส่ง
ของเสียอันตรำย หรือหลักฐำนกำรเป็นผู้มีสิทธิ์รอบครองรถยนต์ที่ใช้ขนส่งของเสียอันตรำย รวมทั้งใบอนุญำตมีไว้ในครอบครองซึ่งวัตถุอันตรำย
(วอ.8) กรณีเข้ำข่ำยต้องได้รับอนุญำตมีไว้ในครอบครองซึ่งวัตถุอันตรำย (เพื่อกำรขนส่ง)
(5) ผู้ได้รับกำรแต่งตั้งเป็นตัวแทนเพื่อเป็นผู้รวบรวมและขนส่งของเสียอันตรำย ต้องมีมำตรกำรป้องกันและควบคุมกำรเกิดอุบัติภัยหรือเหตุ
ฉุกเฉินขณะเก็บรวบรวม และขนส่งของเสียอันตรำย
(6) ผู้แต่งตั้งตัวแทนต้องรับภำระควำมรับผิด (liability) ร่วมกับตัวแทนระหว่ำงกำรดำเนินกำรขนส่ง และต้องดำเนินกำรเพื่อให้ผู้รวบรวม
และขนส่งปฏิบัติดังนี้
(ก) ต้องปฏิบัติตำมประกำศมติคณะกรรมกำรวัตถุอันตรำย เรื่อง กำรขนส่งวัตถุอันตรำยทำงบก พ.ศ. 2545
(ข) ต้องส่งรำยงำนประจำปีให้แก่กรมโรงงำนอุตสำหกรรมตำมแบบ สก. 4 หรือทำงสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ภำยในวันที่ 1 มีนำคม ของปีถัดไป
5.24 ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม เรื่อง กำรกำจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว พ.ศ.2548[14] (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2560[53] ประกำศกรมโรงงำนอุตสำหกรรม เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีกำรปฏิบัติเกี่ยวกับกำรจัดกำร 79
สิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว ของผู้ประกอบกิจกำรบำบัดและกำจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว พ.ศ. 2550 ประกำศกรมโรงงำนอุตสำหกรรม เรื่องหลักเกณฑ์กำรพิจำรณำ กำรแต่งตั้งตัวแทนเพื่อเป็นผู้รวบรวม
และขนส่งของเสียอันตรำย ตำมประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม เรื่อง กำรกำจัดสิ่งปฏิกูล หรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 5 สิ่งแวดล้อมและของเสีย
5.2.3.3 ผู้บำบัดและกำจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว ต้องปฏิบัติดังนี้ 5.25
(1) ต้องรับเฉพำะที่ได้รับอนุญำต และต้องแจ้งเป็นหนังสือ ให้ผู้ใช้บริกำรทรำบพร้อมทั้งแนบสำเนำใบอนุญำตกระกอบกิจกำรโรงงำน
(2) ต้องใช้ใบกำกับกำรขนส่ง และต้องปฏิบัติตำมมติคณะกรรมกำรวัตถุอันตรำย เรื่อง กำรขนส่งวัตถุอันตรำยทำงบก พ.ศ.2545 และเมื่อรับ
สิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว ให้แจ้งกรมโรงงำนอุตสำหกรรมทำงสื่ออิเล็กทรอนิกส์
(3) ต้องรับภำระควำมรับผิด (liability) เมื่อรับสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุไม่ใช้แล้ว เมื่อลงลำยมือชื่อในใบกำกับกำรขนส่งแล้ว
(4) ต้องมีผลวิเครำะห์ ทำงเคมีและกำยภำพ ของสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว และเก็บไว้อย่ำงน้อย 3 ปี
(5) ต้องจัดทำแผนกำรป้องกันอุบัติภัย เพื่อรองรับเหตุฉุกเฉิน ในกรณีเหตุรั่วไหล อัคคีภัย กำรระเบิดของสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว หรือ
เหตุที่คำดไม่ถึง ตำมที่กำหนด และต้องมีอุปกรณ์รักษำควำมปลอดภัยและอปกรณีรองรับเหตุฉุกเฉิน ภำนในบริเวณโรงงำนและมีเส้นทำงหนี
ภัยไปยังที่ปลอดภัย
(6) ต้องมีผู้ควบคุมดูแลระบบป้องกันสิ่งแวดล้อมที่มีควำมรู้เฉพำะด้ำน และต้องจัดฝึกอบรมพนักงำนที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้สำมำรถปฏิบัติงำน
ตำมหน้ำที่ได้อย่ำงถูกต้องและปลอดภัย
(7) ต้องจัดทำแผนกำรป้องกันอุบัติภัยเพื่อรองรับเหตุฉุกเฉิน ในกรณีเกิดเหตุรั่วไหลอัคคีภัย กำรระเบิดของสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว
หรือเหตุที่คำดไม่ถึง ตำมที่กำหนดในภำคผนวกที่ 3 ท้ำยประกำศนี้ และต้องมีอุปกรณ์รักษำควำมปลอดภัยและอุปกรณ์รองรับเหตุฉุกเฉิน
อย่ำงเหมำะสม และเพียงพออยู่ภำยในโรงงำน และมีเส้นทำงหนีภัยออกจำกพื้นที่ไปยังที่ปลอดภัย
(8) ต้องส่งรำยงำนประจำปีให้แก่กรมโรงงำนอุตสำหกรรมตำมแบบ สก. 5 ท้ำยประกำศนี้ ภำยในวันที่ 1 มีนำคม ของปีถัดไป
(9) ต้องรับสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วจำกผู้ก่อกำเนิดตำมรำยชื่อและปริมำณของสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว ที่ระบุไว้ในใบอนุญำต
เท่ำนั้น

5.25 ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม เรื่อง กำรกำจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว พ.ศ.2548[14] (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2560[53] ประกำศกรมโรงงำนอุตสำหกรรม เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีกำรปฏิบัติเกี่ยวกับกำรจัดกำรสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้
80
แล้ว ของผู้ประกอบกิจกำรบำบัดและกำจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว พ.ศ. 2550
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 5 สิ่งแวดล้อมและของเสีย
(10) กรณีรับบำบัดหรือกำจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่เป็นของเสียอันตรำย ต้องตรวจสอบควำมถูกต้องของรำยชื่อ และปริมำณของเสีย
อันตรำยให้ถูกต้องตรงกันกับที่ระบุไว้ในใบกำกับกำรขนส่ง หำกพบว่ำรำยชื่อและปริมำณของเสียอันตรำยไม่ตรงกับรำยกำรในใบกำกับกำร
ขนส่งให้ผู้ประกอบกิจกำรรับบำบัดและกำจัด ฯ ดำเนินกำร ดังต่อไปนี้
(ก) กรณีเป็นสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่ได้รับอนุญำตแล้ว ให้ผู้ประกอบกิจกำรรับบำบัดและกำจัด ฯ รับมอบของเสียอันตรำยนั้นไว้
ก่อน และแจ้งให้ผู้ก่อกำเนิด ฯ ทรำบทันทีโดยผู้ก่อกำเนิด ฯ ต้องรับผิดชอบค่ำเสียหำยและเสียค่ำใช้จ่ำยส่วนที่เพิ่มสำหรับกำรบำบัดหรือกำจัด
หำกไม่สำมำรถหำข้อยุติได้ภำยใน 15 วัน ให้ผู้รับบำบัดและกำจัด ฯ แจ้งต่อกรมโรงงำนอุตสำหกรรมหรือหน่วยงำนที่ได้รับมอบหมำยทรำบ
ทันที ภำยในวันที่ครบกำหนด เพื่อให้กรมโรงงำนอุตสำหกรรมหรือหน่วยงำนที่ได้รับมอบหมำยดำเนินกำรสั่งกำรต่อไป
(ข) กรณีเป็นสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่ไม่ได้รับอนุญำต ให้ผู้รับบำบัดและกำจัด ฯ ส่งคืนของเสียอันตรำยให้ผู้ก่อกำเนิด ฯ โดยทันที
พร้อมเก็บสำเนำใบกำกับกำรขนส่งไว้เป็นหลักฐำน แล้วแจ้งให้กรมโรงงำนอุตสำหกรรม หรือหน่วยงำนที่ได้รับมอบหมำยทรำบ ภำยใน 7 วัน
นับตั้งแต่วันที่ส่งคืนของเสียอันตรำยให้กับผู้ก่อกำเนิด ฯ ที่เป็นเจ้ำของของเสียอันตรำยเพื่อดำเนินกำรตำมกฎหมำยต่อไป
(ค) ห้ำมรับมอบสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่เป็นของเสียอันตรำย โดยไม่มีใบกำกับกำรขนส่งโดยเด็ดขำด
(11) ต้องจัดเก็บสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่รับมอบภำยในอำคำรหรือบริเวณที่จัดไว้โดยเฉพำะ และต้องดำเนินกำร ดังต่อไปนี้
(ก) กรณีที่จัดเก็บไว้ในอำคำร สภำพอำคำรต้องมีควำมมั่นคงแข็งแรง มีกำรระบำยอำกำศที่พอเพียง และมีพื้นที่เพียงพอต่อกำรจัดเก็บ
อย่ำงปลอดภัย
(ข) กรณีที่จัดเก็บไว้นอกอำคำร ต้องมีมำตรกำรป้องกันและควบคุมด้ำนควำมปลอดภัยและด้ำนสิ่งแวดล้อมโดยเฉพำะกำรปนเปื้อนและ
กระจำยสู่ดิน น้ำอำกำศโดยกำรจัดเก็บไว้นอกอำคำรต้องได้รับควำมเห็นชอบจำกกรมโรงงำนอุตสำหกรรมหรือหน่วยงำนที่ได้รับมอบหมำยก่อน
(ค) ต้องแยกเก็บสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่ไม่อันตรำยและที่เป็นของเสียอันตรำยหรือของเสียอันตรำยที่อำจก่อปฏิกริยำต่อกันออก
จำกกันเป็นสัดส่วนโดยต้องแสดงป้ำย เครื่องหมำยและคำเตือนควำมเป็นอันตรำยติดตั้งไว้ในบริเวณที่จัดเก็บของเสียอันตรำยด้วย
5.25 ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม เรื่อง กำรกำจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว พ.ศ.2548[14] (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2560[53] ประกำศกรมโรงงำนอุตสำหกรรม เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีกำรปฏิบัติเกี่ยวกับกำรจัดกำรสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้
81
แล้ว ของผู้ประกอบกิจกำรบำบัดและกำจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว พ.ศ. 2550
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 5 สิ่งแวดล้อมและของเสีย
(12) ภำชนะหรือบรรจุภัณฑ์ที่ใช้บรรจุสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว ที่เป็นของเสียอันตรำยต้องมีสภำพมั่นคงแข็งแรงและเป็นไปตำม
มำตรฐำนที่กำหนด และต้องติดฉลำก ป้ำย หรือเครื่องหมำยแสดงควำมเป็นอันตรำย โดยฉลำกที่ติดภำชนะหรือบรรจุภัณฑ์ที่สำมำรถ
เคลื่อนย้ำยได้ และไม่ได้ติดตรึงกับพื้น ต้องแสดงรำยละเอียด ชื่อ และปริมำณของเสียอันตรำย เลขที่ใบกำกับกำรขนส่งและชื่อผู้ก่อกำเนิด ฯ
ให้ครบถ้วน
(13) ต้องทำกำรบำบัดหรือกำจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วตำมกระบวนกำรหรือวิธีกำรที่ได้รับอนุญำตเท่ำนั้น
(14) กรณีที่ผู้ประกอบกิจกำรรับบำบัดและกำจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วไม่สำมำรถรับบำบัดหรือกำจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้
แล้วภำยในระยะเวลำที่กำหนด และต้องกำรนำสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วส่งไปบำบัดหรือกำจัดโดยผู้รับบำบัดและกำจัด ฯ รำยอื่น ต้อง
ขออนุญำตต่อกรมโรงงำนอุตสำหกรรม หรือหน่วยงำนที่ได้รับมอบหมำยภำยใน 5 วัน ก่อนครบระยะเวลำที่กำหนดและต้องได้รับอนุญำต
ก่อน จึงจะดำเนินกำรได้ โดยให้ใช้หลักเกณฑ์และวิธีกำรขออนุญำตเช่นเดียวกับกำรขออนุญำตนำสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วออกนอก
บริเวณโรงงำน
(15) กำรจัดกำรกำกสุดท้ำยที่เกิดจำกกระบวนกำรบำบัดหรือกำจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว ต้องดำเนินกำรขออนุญำตนำไป
บำบัดหรือกำจัดนอกบริเวณโรงงำน เช่นเดียวกับผู้ก่อกำเนิดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว
(16) กำรฝังกลบสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว ที่เกิดจำกกระบวนกำรผลิตของโรงงำน ภำยในพื้นที่บริเวณโรงงำน ไม่ต้องขอรับ
ใบอนุญำตประกอบกิจกำรโรงงำน ลำดับที่ 105 แต่ถ้ำฝังกลบนอกบริเวณโรงงำนเดิม ต้องขอรับใบอนุญำตประเภทหรือชนิดของโรงงำน
เป็นลำดับที่ 105 5.26

5.26 ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม เรื่อง หลักเกณฑ์กำรพิจำรณำอนุญำตประเภทหรือชนิดของโรงงำน ลำดับที่ 105 และลำดับที่ 106 82


มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 5 สิ่งแวดล้อมและของเสีย

5.2.3.4 หน้ำที่ของผู้ประกอบกิจกำรโรงงำนหลอมตะกั่วเก่ำ เกี่ยวกับกำรดำเนินกำรกำจัดขยะสิ่งปฏิกูลและวัสดที่ไม่ใช้แล้ว5.27


(1) ฝุ่นจำกระบบขจัดฝุ่น ต้องดำเนินกำรอย่ำงใดอย่ำงหนึ่ง ให้มีลักษณธที่ไม่แพร่กระจำยได้ง่ำย ก่อนนำกลับไปหลอม
ใหม่ หรือหำกนำไปกำจัดด้วนวิธีอื่น จะต้องยื่นรำยละเอียด วิธิกำรกำจัดทำงวิชำกำร เพื่อขอรับควำมเห็นชอบจำกกรมโรงงำน
อุตสำหกรรมก่อน
(2) ตะกรัน (Slag) ที่เกิดจำกกำรหลอม ที่มีลักษณะดังนี้
(ก) ต้องเป็นก้อนแข็งที่มีควำมหนำแน่นไม่ต่ำกว่ำ 1.15 ตัน ต่อลูกบำษก์เมตร และสำมำรถรับแรงอัดได้ไม่น้อย
กว่ำ 3.5 กิโลกรัม ต่ตำรำงเซนติเมตร
(ข) ต้องไม่ละลำยน้ำ ไม่เป็นสำรไวไฟ สำรกัดกร่อน หรือสำรเกิดปฏิกิริยำได้ง่ำย
(ค) ต้องมีปริมำณควำมเข้มข้นของตะกั่วในน้ำสกัด (Leachate หรือ Extraction) ไม่เกิน 5.0 มิลลิกรัมต่อลิตร
ในกำรสกัดสำร ให้สำมำรถจัดเก็นตะกรัน (Slag) ที่มีลักษณะที่กำหนดไว้ ภำยในโรงงำนได้ โดยสำมำรถตรวจสอบได้ตลอดเวลำและมี
กำรตรวจติดตำมกำรปนเปื้อนตะกั่ว เป็นประจำ แต่หำกตะกรัน (Slag) ที่เกิดจำกกำรหลอม มีลักษณะไม่เป็นไปตำมที่กำหนด จะต้อง
ดำเนินกำรปรับสภำพใหม่
(3) กำกตะกอน (Sludge) ปนเปื้อนตะกั่ว ที่ได้จำกระบบบำบัดน้ำทิ้ง กำกขืต้ ะกั่ว (Dross) และกำกตะกัว่ อืน ๆ ให
นำไปกำจัดในเตำหลอม หำกนำไปกำจัดด้วยวิธีอื่น ต้องดำเนินกำรปรับเสถียรหรือทำลำยฤทธิ์ ก่อนนำไปกำจัดด้วยวิธิฝงั กลบอย่ำง
ปลอดภัย (Secure Landfill)

5.27 ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม เรื่อง หน้ำที่ของผู้ประกอบกิจกำรโรงงำนหลอมตะกั่วเก่ำ เกี่ยวกับกำรดำเนินกำรกำจัดขยะสิ่งปฏิกูลและวัสดที่ไม่ใช้แล้ว พ.ศ.2544 83


มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 5 สิ่งแวดล้อมและของเสีย

(4) เศษชิ้นส่วนแบตเตอรี่ ประเภทพลำสติก ที่สำมำรถนำกลับไปใช้ใหม่ (Recoverry) จะต้องชะล้ำงตะกั่วปนเปื้อน


ก่อนนำกลับมำใช้ใหม่ หำกจะกำจัดด้วยวิธีอื่น ต้องขอรับควำมเห็ยชอบจำกกรมโรงงำนอุตสำหกรรม
(5) วัสดุเหลือใช้ เปลือกและชิ้นส่วนแบตเตอรี่อื่น ๆ ที่อำจมีตะกั่วปนเปื้อน ให้นำไปกำจัดในเตำหลอม หำกจะกำจัด
ด้วยวิธีอื่น ต้องขอควำมเห็นชอบจำกกรมโรงงำนอุตสำหกรรม

5.2.3.5 อำคำรเก็บมูลฝอย กำรคิดปริมำณมูลฝอย สำหรับอำคำรเพื่อกำรพำณิชยกรรมหรือกำรอื่น ให้คิดปริมำณมูลฝอย 0.4


ลิตร ต่อ พื้นที่ 1 ตำรำงเมตร ต่อวัน มีขนำดควำมจุไม่น้อยกว่ำ 3 เท่ำ ผนังทำด้วยวัสดุถำวรและทนไฟ ผิวภำยในเรียบและกัน
น้ำซึม มีกำรป้องกันกลิ่นและน้ำฝน มีกำรระบำยน้ำเสียเข้ำสูร่ ะบบบำบัดน้ำเสีย ต้องมีกำรระบำยอำกำศและป้องกันน้ำเข้ำ
ห่ำงจำกสถำนที่ประกอบอำหำรและสถำนทีเ่ ก็บอำหำรไม่น้อยกว่ำ 4 เมตร ถ้ำมีควำมจุเกิน 3 ลูกบำศก์เมตร ต้องมีระยะห่ำงไม่น้อย
กว่ำ 10 เมตร สำมำรถขนย้ำยได้สะดวก 5.28

5.28 กฎกระทรวง ฉบับที่ 41 พ.ศ.2537 ออกตำมควำมในพระรำชบัญญัตคิ วบคุมอำคำร


84
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 6 สารเคมีและสารอันตรายที่เป็นพิษ

บทที่ 6 บุคลากรในโรงงาน
6.1 ขอบเขต
มำตรฐำนนี้ เพื่อกำหนดบุคลำกรในโรงงำนให้เป็นไปตำมกฎหมำยด้ำนกำรตรวจสอบคนงำนและบุคลำกำรในโรงงำน
6.2 มำตรฐำนกำรตรวจสอบคนงำนและบุคลำกำรในโรงงำน
6.2.1 โรงงำนดังต่อไปนี้ต้องจัดให้มีบุคลำกรด้ำนสิ่งแวดล้อมประจำโรงงำน 6.1
ลำดับ ชนิดและขนำดของโรงงำน ประเภทของบุคลำกรด้ำนสิ่งแวดล้อมประจำโรงงำน
1 โรงงำนที่มีน้ำเสียปนเปื้อนสำรอินทรีย์ ผู้จัดกำรสิ่งแวดล้อมผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษน้ำ หรือ
โรงงำนที่มีปริมำณน้ำเสียก่อนเข้ำระบบบำบัดตั้งแต่ 500 ลูกบำศก์เมตรต่อวันขึ้นไป(ยกเว้นน้ำหล่อ ที่ปรึกษำผู้ปฏิบัติงำนประจำระบบบำบัดมลพิษน้ำ
เย็น) หรือโรงงำนที่มีปริมำณควำมสกปรกในรูปบีโอดีก่อนเข้ำระบบบำบัด (BOD Load of
Influent) ตั้งแต่ 100 กิโลกรัมต่อวันขึ้นไป
2 โรงงำนที่ใช้สำรหรือองค์ประกอบของสำรดังต่อไปนี้ในกระบวนกำรผลิตที่มีน้ำเสียก่อนเข้ำระบบ ผู้จัดกำรสิ่งแวดล้อม
บำบัด ตั้งแต่ 50 ลูกบำศก์เมตรต่อวันขึ้นไป ผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษน้ำ หรือที่ปรึกษำ
2.1 สังกะสี (Zinc) 2.2 แคดเมียม (Cadmium) ผู้ปฏิบัติงำนประจำระบบบำบัดมลพิษน้ำ
2.3 ไซยำไนด์ (Cyanide) 2.4 ฟอสฟอรัสที่อยู่ในรูปของสำรประกอบอินทรีย์ หมำยเหตุ ในกรณีมีกำรประกอบกิจกำรโรงงำนเกี่ยวกับ
2.5 ตะกั่ว (Lead) 2.6 ทองแดง (Copper) กำรชุบโลหะต้องมีผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษอำกำศ
2.7 บำเรียม (Barium) 2.8 เซเลเนียม (Selenium) หรือที่ปรึกษำผู้ควบคุมระบบกำรจัดกำรมลพิษกำก
2.9 นิเกิล (Nickel) 2.10 แมงกำนีส (Manganese) อุตสำหกรรม หรือที่ปรึกษำผู้ปฏิบัติงำนประจำระบบ
2.11 โครเมียม วำเลนซี 6 2.12 อำร์ซินิคและสำรประกอบอำร์ซินิค บำบัดมลพิษอำกำศผู้ปฏิบัติงำนประจำระบบกำรจัดกำร
2.13 ปรอทและสำรประกอบปรอท มลพิษกำกอุตสำหกรรม เพิ่มเติม
6.1 ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรมเรื่อง กำรกำหนดชนิดและขนำดของโรงงำน กำหนดวิธีกำรควบคุมกำรปล่อยของเสียมลพิษ หรือสิ่งใด ๆ ที่มีผลกระทบต่ อสิ่งแวดล้อม กำหนดคุณสมบัติของผู้ควบคุมดูแล 85
ผู้ปฏิบัติงำนประจำ และหลักเกณฑ์กำรขึ้นทะเบียน ผู้ควบคุมดูแลสำหรับระบบป้องกันสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ (ฉบับที่ 2)พ.ศ. 2554[21]
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 6 สารเคมีและสารอันตรายที่เป็นพิษ

ลำดับ ชนิดและขนำดของโรงงำน ประเภทของบุคลำกรด้ำนสิ่งแวดล้อมประจำโรงงำน


3 โรงงำนประกอบกิจกำร ดังต่อไปนี้ ผู้จัดกำรสิ่งแวดล้อม
3.1 ผลิตน้ำตำลทรำยดิบ หรือน้ำตำลทรำยขำวหรือน้ำตำลทรำยขำวให้บริสุทธิ์ ทุกขนำด ผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษน้ำ หรือที่ปรึกษำ
3.2 ผลิตน้ำตำลกลูโคส เดกซ์โทรส ฟรักโทสหรือผลิตภัณฑ์อื่นที่คล้ำยคลึงกัน ที่มีกำลังกำรผลิต ผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษอำกำศ หรือที่ปรึกษำ
ตั้งแต่ 20 ตันต่อวันขึ้นไป ผู้ปฏิบัติงำนประจำระบบบำบัดมลพิษน้ำ
ผู้ปฏิบัติงำนประจำระบบบำบัดมลพิษอำกำศ
4 โรงงำนประกอบกิจกำร ดังต่อไปนี้ ผู้จัดกำรสิ่งแวดล้อม
4.1 ผลิตสุรำ แอลกอฮอล์ ที่มีกำลังกำรผลิตตั้งแต่ 40,000 ลิตรต่อเดือน ผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษน้ำ หรือที่ปรึกษำ
(คิดเทียบที่ 24 ดีกรี) ผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษอำกำศ หรือที่ปรึกษำ
4.2 ผลิตไวน์ ที่มีกำลังกำรผลิตตั้งแต่ ผู้ปฏิบัติงำนประจำระบบบำบัดมลพิษน้ำ
600,000 ลิตรต่อเดือน ผู้ปฏิบัติงำนประจำระบบบำบัดมลพิษอำกำศ
4.3 ผลิตเบียร์ ที่มีกำลังกำรผลิตตั้งแต่ 600,000 ลิตรต่อเดือน
5 โรงงำนประกอบกิจกำรเกี่ยวกับกำรผลิตเยื่อจำกไม้หรือวัสดุอื่น ที่มีกำลังกำรผลิต ตั้งแต่ 50 ตัน ผู้จัดกำรสิ่งแวดล้อม
ต่อวันขึ้นไป ผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษน้ำ หรือที่ปรึกษำ
ผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษอำกำศ หรือที่ปรึกษำ
ผู้ควบคุมระบบกำรจัดกำรมลพิษ
กำกอุตสำหกรรม
ผู้ปฏิบัติงำนประจำระบบบำบัดมลพิษน้ำ
ผู้ปฏิบัติงำนประจำระบบบำบัดมลพิษอำกำศ
ผู้ปฏิบัติงำนประจำระบบกำรจัดกำรมลพิษ
กำกอุตสำหกรรม
86
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 6 สารเคมีและสารอันตรายที่เป็นพิษ

ลำดับ ชนิดและขนำดของโรงงำน ประเภทของบุคลำกรด้ำนสิ่งแวดล้อมประจำโรงงำน


6 โรงงำนประกอบกิจกำรเกี่ยวกับปิโตรเคมีที่มีกระบวนกำรผลิตทำงเคมี และมีกำลังกำรผลิตตั้งแต่ผู้จัดกำรสิ่งแวดล้อม
100 ตันต่อวันขึ้นไป ผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษน้ำ หรือที่ปรึกษำ
ผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษอำกำศ หรือที่ปรึกษำ
ผู้ควบคุมระบบกำรจัดกำรมลพิษ
กำกอุตสำหกรรมหรือที่ปรึกษำ
ผู้ปฏิบัติงำนประจำระบบบำบัดมลพิษน้ำ
ผู้ปฏิบัติงำนประจำระบบบำบัดมลพิษอำกำศ
ผู้ปฏิบัติงำนประจำระบบกำรจัดกำรมลพิษ
กำกอุตสำหกรรม
7 โรงงำนประกอบกิจกำรเกี่ยวกับกำรผลิต ผู้จัดกำรสิ่งแวดล้อม
คลอ - แอลคำไลน์ที่ใช้โซเดียมคลอไรด์ (NaCl)เป็นวัตถุดิบในกำรผลิตโซเดียมคำร์บอเนต ผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษน้ำ หรือที่ปรึกษำ
(Na2CO3) โซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) กรดไฮโดรคลอริก (HCl) คลอรีน (Cl2) โซเดียมไฮโพคลอ ผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษอำกำศ หรือที่ปรึกษำ
ไรด์ (NaOCl) และปูน ผู้ควบคุมระบบกำรจัดกำรมลพิษ
คลอรีน (Bleaching Powder) ที่มีกำลัง กำกอุตสำหกรรมหรือที่ปรึกษำ
กำรผลิตสำรแต่ละชนิดหรือรวมกัน ผู้ปฏิบัติงำนประจำระบบบำบัดมลพิษน้ำ
ตั้งแต่ 100 ตันต่อวันขึ้นไป ผู้ปฏิบัติงำนประจำระบบบำบัดมลพิษอำกำศ
ผู้ปฏิบัติงำนประจำระบบกำรจัดกำรมลพิษกำก
อุตสำหกรรม

87
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 6 สารเคมีและสารอันตรายที่เป็นพิษ

ลำดับ ชนิดและขนำดของโรงงำน ประเภทของบุคลำกรด้ำนสิ่งแวดล้อมประจำโรงงำน


8 โรงงำนประกอบกิจกำรเกี่ยวกับกำรผลิตสำรออกฤทธิ์หรือสำรที่ใช้ป้องกันหรือกำจัดศัตรูพืชหรือ ผู้จัดกำรสิ่งแวดล้อม
สัตว์โดยใช้กระบวนกำรเคมี ทุกขนำด หรือประกอบกิจกำรเกี่ยวกับกำรผลิตปุ๋ยเคมี ผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษน้ำ หรือที่ปรึกษำ
โดยใช้กระบวนกำรเคมี ทุกขนำด ผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษอำกำศ หรือที่ปรึกษำ
ผู้ควบคุมระบบกำรจัดกำรมลพิษกำกอุตสำหกรรมหรือ
ที่ปรึกษำ
ผู้ปฏิบัติงำนประจำระบบบำบัดมลพิษน้ำ
ผู้ปฏิบัติงำนประจำระบบบำบัดมลพิษอำกำศ
ผู้ปฏิบัติงำนประจำระบบกำรจัดกำรมลพิษกำก
อุตสำหกรรม
9 โรงงำนประกอบกิจกำรเกี่ยวกับกำรผลิตยำงเรซินสังเครำะห์ ยำงอีลำสโตเมอร์ พลำสติกหรือเส้น ผู้จัดกำรสิ่งแวดล้อม
ใยสังเครำะห์ซึ่งมิใช่ใยแก้ว ที่มีกำลังกำรผลิตตั้งแต่ 100 ตันต่อวันขึ้นไป ผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษน้ำ หรือที่ปรึกษำ
ผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษอำกำศ หรือที่ปรึกษำ
ผู้ควบคุมระบบกำรจัดกำรมลพิษกำกอุตสำหกรรมหรือ
ที่ปรึกษำ
ผู้ปฏิบัติงำนประจำระบบบำบัดมลพิษน้ำ
ผู้ปฏิบัติงำนประจำระบบบำบัดมลพิษอำกำศ
ผู้ปฏิบัติงำนประจำระบบกำรจัดกำรมลพิษกำก
อุตสำหกรรม

88
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 6 สารเคมีและสารอันตรายที่เป็นพิษ

ลำดับ ชนิดและขนำดของโรงงำน ประเภทของบุคลำกรด้ำนสิ่งแวดล้อมประจำโรงงำน


10 โรงงำนประกอบกิจกำรเกี่ยวกับกำรกลั่น ผู้จัดกำรสิ่งแวดล้อม
น้ำมันปิโตรเลียม ทุกขนำด ผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษน้ำ หรือที่ปรึกษำ
ผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษอำกำศ หรือที่ปรึกษำ
ผู้ควบคุมระบบกำรจัดกำรมลพิษกำกอุตสำหกรรมหรือที่ปรึกษำ
ผู้ปฏิบัติงำนประจำระบบบำบัดมลพิษน้ำ
ผู้ปฏิบัติงำนประจำระบบบำบัดมลพิษอำกำศ
ผู้ปฏิบัติงำนประจำระบบกำรจัดกำรมลพิษกำกอุตสำหกรรม
11 โรงงำนประกอบกิจกำรผลิตปูนซีเมนต์ ผู้จัดกำรสิ่งแวดล้อม
ทุกขนำด ผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษอำกำศ หรือที่ปรึกษำ
ผู้ปฏิบัติงำนประจำระบบบำบัดมลพิษอำกำศ
12 โรงงำนประกอบกิจกำรเกี่ยวกับเหล็กหรือเหล็กกล้ำ ที่มีกำลังกำรผลิตตั้งแต่ ผู้จัดกำรสิ่งแวดล้อม ผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษน้ำ หรือที่ปรึกษำ
100 ตัน ต่อวันขึ้นไป ผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษอำกำศ หรือที่ปรึกษำ
ผู้ควบคุมระบบกำรจัดกำรมลพิษ กำกอุตสำหกรรมหรือที่ปรึกษำ
ผู้ปฏิบัติงำนประจำระบบบำบัดมลพิษน้ำ
ผู้ปฏิบัติงำนประจำระบบบำบัดมลพิษอำกำศ
ผู้ปฏิบัติงำนประจำระบบกำรจัดกำรมลพิษ กำกอุตสำหกรรม
หมำยเหตุในกรณีที่กำรประกอบกิจกำรไม่ก่อให้เกิดมลพิษน้ำไม่ต้องมีผู้
ควบคุมระบบบำบัดมลพิษน้ำ หรือที่ปรึกษำ และผู้ปฏิบัติงำนประจำระบบ
บำบัดมลพิษน้ำ

89
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 6 สารเคมีและสารอันตรายที่เป็นพิษ

ลำดับ ชนิดและขนำดของโรงงำน ประเภทของบุคลำกรด้ำนสิ่งแวดล้อมประจำโรงงำน


13 โรงงำนประกอบกิจกำรเกี่ยวกับกำรถลุง ผู้จัดกำรสิ่งแวดล้อม
หรือหลอมโลหะ ซึ่งไม่ใช่อุตสำหกรรมเหล็กหรือเหล็กกล้ำ ที่มี ผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษน้ำ หรือที่ปรึกษำ
กำลังกำรผลิตตั้งแต่ 50 ตันต่อวันขึ้นไป ผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษอำกำศ หรือที่ปรึกษำ
ผู้ควบคุมระบบกำรจัดกำรมลพิษ
กำกอุตสำหกรรม หรือที่ปรึกษำ
ผู้ปฏิบัติงำนประจำระบบบำบัดมลพิษน้ำ
ผู้ปฏิบัติงำนประจำระบบบำบัดมลพิษอำกำศ
ผู้ปฏิบัติงำนประจำระบบกำรจัดกำรมลพิษกำกอุตสำหกรรม
หมำยเหตุ ในกรณีที่กำรประกอบกิจกำรไม่ก่อให้เกิดมลพิษน้ำไม่ต้องมีผู้ควบคุมระบบ
บำบัดมลพิษน้ำ หรือที่ปรึกษำและผู้ปฏิบัติงำนประจำระบบบำบัดมลพิษน้ำ
14 โรงไฟฟ้ำพลังควำมร้อนที่มีกำลังกำรผลิตตั้งแต่ ผู้จัดกำรสิ่งแวดล้อม
10 เมกกะวัตต์ขึ้นไป ผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษอำกำศหรือที่ปรึกษำ
ผู้ปฏิบัติงำนประจำระบบบำบัดมลพิษอำกำศ
หมำยเหตุ ในกรณีที่ใช้ถ่ำนหินเป็นเชื้อเพลิง ต้องมีผู้ควบคุมระบบกำรจัดกำรมลพิษ
กำกอุตสำหกรรม หรือที่ปรึกษำ และผู้ปฏิบัติงำนประจำระบบกำรจัดกำรมลพิษ
กำกอุตสำหกรรม เพิ่มเติม
15 โรงงำนประกอบกิจกำรเกี่ยวกับกำรแยกหรือแปรสภำพก๊ำซ ผู้จัดกำรสิ่งแวดล้อม
ธรรมชำติ ทุกขนำด ผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษอำกำศหรือที่ปรึกษำ
ผู้ควบคุมระบบกำรจัดกำรมลพิษกำกอุตสำหกรรม หรือที่ปรึกษำ
ผู้ปฏิบัติงำนประจำระบบบำบัดมลพิษอำกำศ
ผู้ปฏิบัติงำนประจำระบบกำรจัดกำรมลพิษกำกอุตสำหกรรม
90
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 6 สารเคมีและสารอันตรายที่เป็นพิษ

ลำดับ ชนิดและขนำดของโรงงำน ประเภทของบุคลำกรด้ำนสิ่งแวดล้อมประจำโรงงำน


16 โรงงำนปรับคุณภำพของเสียรวม ดังต่อไปนี้
16.1 ระบบบำบัดน้ำเสียรวม ทุกขนำด ผู้จัดกำรสิ่งแวดล้อม
ผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษน้ำ หรือที่ปรึกษำ
ผู้ควบคุมระบบกำรจัดกำรมลพิษ
กำกอุตสำหกรรม หรือที่ปรึกษำ
ผู้ปฏิบัติงำนประจำระบบบำบัดมลพิษน้ำ
ผู้ปฏิบัติงำนประจำระบบกำรจัดกำรมลพิษ
กำกอุตสำหกรรม
16.2 กำรเผำสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วตำม ผู้จัดกำรสิ่งแวดล้อม
กฎหมำยว่ำด้วยโรงงำนทุกขนำด ผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษอำกำศ
หรือที่ปรึกษำ
ผู้ควบคุมระบบกำรจัดกำรมลพิษ
กำกอุตสำหกรรม หรือที่ปรึกษำ
ผู้ปฏิบัติงำนประจำระบบบำบัดมลพิษอำกำศ
ผู้ปฏิบัติงำนประจำระบบกำรจัดกำรมลพิษ
กำกอุตสำหกรรม
16.3 กำรปรับสภำพสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุ ผู้จัดกำรสิ่งแวดล้อม
ที่ไม่ใช้แล้ว ที่เป็นอันตรำย ทุกขนำด ผู้ควบคุมระบบกำรจัดกำรมลพิษ
กำกอุตสำหกรรม หรือที่ปรึกษำ
ผู้ปฏิบัติงำนประจำระบบกำรจัดกำรมลพิษ
กำกอุตสำหกรรม

91
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 6 สารเคมีและสารอันตรายที่เป็นพิษ

ลำดับ ชนิดและขนำดของโรงงำน ประเภทของบุคลำกรด้ำนสิ่งแวดล้อมประจำโรงงำน


17 โรงงำนประกอบกิจกำรเกี่ยวกับกำรคัดแยกหรือฝังกลบสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว
17.1 กำรคัดแยกสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว ที่เป็นอันตรำย ทุกขนำด ผู้จัดกำรสิ่งแวดล้อม
ผู้ควบคุมระบบกำรจัดกำรมลพิษกำกอุตสำหกรรม หรือที่ปรึกษำ
ผู้ปฏิบัติงำนประจำระบบกำรจัดกำรมลพิษกำกอุตสำหกรรม
17.2 กำรฝังกลบสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วทุกขนำด ผู้จัดกำรสิ่งแวดล้อม
ผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษน้ำหรือที่ปรึกษำ
ผู้ควบคุมระบบกำรจัดกำรมลพิษ
กำกอุตสำหกรรม หรือที่ปรึกษำ
ผู้ปฏิบัติงำนประจำระบบบำบัดมลพิษน้ำ
ผู้ปฏิบัติงำนประจำระบบกำรจัดกำรมลพิษกำกอุตสำหกรรม
18 โรงงำนประกอบกิจกำรเกี่ยวกับกำรนำ ผู้จัดกำรสิ่งแวดล้อม
ผลิตภัณฑ์อุตสำหกรรมที่ไม่ใช้แล้วหรือของเสียที่เป็นอันตรำยจำกโรงงำนมำผลิตเป็น ผู้ควบคุมระบบกำรจัดกำรมลพิษกำกอุตสำหกรรม หรือที่ปรึกษำ
วัตถุดิบหรือผลิตภัณฑ์ใหม่โดยผ่ำนกรรมวิธีกำรผลิตทำงอุตสำหกรรม ทุกขนำด ผู้ปฏิบัติงำนประจำระบบกำรจัดกำรมลพิษ
กำกอุตสำหกรรม
หมำยเหตุ ในกรณีมีกำรประกอบกิจกำรโรงงำนเกี่ยวกับกำรรีไซเคิล
ตะกั่วจำกแบตเตอรี่เก่ำต้องมีผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษน้ำ หรือที่
ปรึกษำ ผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษอำกำศ หรือที่ปรึกษำ
ผู้ปฏิบัติงำนประจำระบบบำบัดมลพิษน้ำและผู้ปฏิบัติงำนประจำ
ระบบบำบัดมลพิษอำกำศ เพิ่มเติม

92
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 6 สารเคมีและสารอันตรายที่เป็นพิษ

6.2.1.1บุคลำกรด้ำนสิ่งแวดลอมประจำโรงงำน ประกอบด้วย6.2
(1) ผู้จัดกำรสิ่งแวดล้อม ต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้
(ก) เป็นผู้รับใบอนุญำตประกอบกิจกำรโรงงำน หรือเป็นพนักงำนของโรงงำนที่มีตำแหน่งเป็นผู้จัดกำรซึ่งผู้รับใบอนุญำตประกอบ
กิจกำรโรงงำนแต่งตั้งให้ปฏิบัติหน้ำที่เป็นผู้จัดกำรสิ่งแวดล้อม
(ข) ผ่ำนกำรอบรมหลักสูตรผู้จัดกำรสิ่งแวดล้อม
(2) ผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษน้ำ อำกำศ หรือผู้ควบคุมระบบกำรจัดกำรมลพิษกำก
อุตสำหกรรม ต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้
(ก) เป็นผู้สอบผ่ำนกำรสอบมำตรฐำนที่กรมโรงงำนอุตสำหกรรมกำหนด และได้รับกำรอนุญำตให้ขึ้นทะเบียนเป็นผู้ควบคุมระบบ
บำบัดมลพิษแต่ละประเภท แล้วแต่กรณี โดยกรมโรงงำนอุตสำหกรรมจะออกหนังสืออนุญำตให้ขึ้นทะเบียนไว้เป็นหลักฐำน
(ข) ในกรณีที่จะปฏิบัติงำนเป็นผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษน้ำ อำกำศ หรือผู้ควบคุมระบบกำรจัดกำรมลพิษกำกอุตสำหกรรม ต้อง
ได้รับกำรแต่งตั้งจำกผู้รับใบอนุญำตประกอบกิจกำรโรงงำนให้ปฏิบัติหน้ำที่ดังกล่ำว และยื่นขออนุญำตต่อกรมโรงงำนอุตสำหกรรม
(3) ผู้ปฏิบัติงำนประจำเครื่องระบบป้องกันสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ ต้องเป็นผู้ผ่ำนกำรฝึกอบรม
หลักสูตรผู้ปฏิบัติงำนประจำเครื่องระบบป้องกันสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ (ระบบบำบัดมลพิษน้ำ อำกำศ หรือระบบกำรจัดกำรมลพิษกำก
อุตสำหกรรม แล้วแต่กรณี) และได้รับกำรแต่งตั้งจำกผู้รับใบอนุญำตประกอบกิจกำรโรงงำนให้ปฏิบัติหน้ำที่เป็นผู้ปฏิบัติงำนประจำ
เครื่องระบบป้องกันสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ (ระบบบำบัดมลพิษน้ำ อำกำศ หรือระบบกำรจัดกำรมลพิษกำกอุตสำหกรรม) และรับรองกำร
ปฏิบัติงำนโดยผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษน้ำ อำกำศ หรือผู้ควบคุมระบบกำรจัดกำรมลพิษกำกอุตสำหกรรม แล้วแต่กรณี
6.2 ประกำศกรมโรงงำนอุตสำหกรรม เรื่อง คุณสมบัติของบุคลำกรด้ำรสิ่งแวดล้อมประจำโรงงำน กำรฝึกอบรมและกำรสอบมำตรฐำน [10]
93
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 6 สารเคมีและสารอันตรายที่เป็นพิษ

(ก) สำเร็จกำรศึกษำไม่ต่ำกว่ำวิศวกรรมศำสตรบัณฑิต สำขำสุขำภิบำลหรือสิ่งแวดล้อมหรือวิทยำศำสตรบัณฑิต สำขำสิ่งแวดล้อม


(ข) สำเร็จกำรศึกษำไม่ต่ำกว่ำวิศวกรรมศำสตรบัณฑิตหรือวิทยำศำสตรบัณฑิต และมีวิชำเรียนด้ำนสิ่งแวดล้อมไม่นอ้ ยกว่ำ 18
หน่วยกิต
(ค) สำเร็จกำรศึกษำไม่ต่ำกว่ำวิศวกรรมศำสตรบัณฑิตหรือวิทยำศำสตรบัณฑิต และผ่ำนกำรฝึกอบรมหลักสูตรผู้ควบคุมระบบบำบัด
มลพิษน้ำ อำกำศ หรือผู้ควบคุมระบบกำรจัดกำรมลพิษกำกอุตสำหกรรมที่กรมโรงงำนอุตสำหกรรมรับรอง แล้วแต่กรณี
(6) ผู้เข้ำรับกำรฝึกอบรมหลักสูตรผู้ปฏิบัติงำนประจำเครื่องระบบป้องกันสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ
ต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้
(ก) สำเร็จกำรศึกษำไม่ต่ำกว่ำมัธยมศึกษำตอนต้นหรือเทียบเท่ำ และมีประสบกำรณ์ด้ำนกำรควบคุม กำกับดูแล กำรทำงำนของ
ระบบป้องกันสิ่งแวดล้อมเป็นพิษไม่น้อยกว่ำ 1 ปี โดยได้รับกำรรับรองกำรปฏิบัติงำนจำกผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษนั้น ๆ แล้วแต่กรณี
(ข) ได้รับควำมเห็นชอบจำกผู้รับใบอนุญำตประกอบกิจกำรโรงงำน
(7) กำรฝึกอบรมหลักสูตร บุคลำกรด้ำนสิ่งแวดล้อมประจำโรงงำน ต้องดำเนินกำรโดยกรมโรงงำนอุตสำหกรรมหรือหน่วยงำนที่กรม
โรงงำนอุตสำหกรรมมอบหมำย หรือหน่วยงำนจัดฝึกอบรมที่กรมโรงงำนอุตสำหกรรมรับรอง
(8) กำรแจ้งขึ้นทะเบียน ผู้ควบคุมมลพิษ ให้แจ้งผ่ำนทำง ระบบอิเล็กส์ทรอนิกส์ อำยุใบแจ้ง มีกำหนด 3 ปี และให้ยื่นขอต่ออำยุ ภำยใน
90 วัน ก่อนหมดอำยุ กำรปฏิบัติงำนผู้ควบคุมมลพิษ จะทำได้ ไม่ เกิน 5 โรงงำน6.3
(9) กำรแจ้งขึ้นทะเบียน บุคลำกรด้ำนสิ่งแวดล้อมประจำโรงงำน อำยุใบแจ้ง มีกำหนด 3 ปี และให้ยื่นขอต่ออำยุ ภำยใน 90 วัน ก่อน
หมดอำยุ ต้องจัดหำมำแทนภำยใน 90 วัน 6.4
6.3 ประกำศกรมโรงงำนอุตสำหกรรม เรื่อง กำรขึ้นทะเบียนเป็นผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษน้ำ หรือผู้ควบคุมระบบบำบัดมลพิษอำกำศ หรือผู้ควบคุมระบบกำรจัดกำรมลพิษกำก
อุตสำหกรรม พ.ศ. 2556[35]
6.4 ประกำศกรมโรงงำนอุตสำหกรรม เรื่อง กำรแจ้งและกำรรับแจ้งกำรมีบุคลำกรด้ำนสิ่งแวดล้อมประจำโรงงำนพ.ศ. 2556[36] 94
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 6 สารเคมีและสารอันตรายที่เป็นพิษ

(10) กรณีมีกำรเพิ่มเติมบุคลำกรด้ำนสิ่งแวดล้อมประจำโรงงำน ในระหว่ำงที่ หนังสือรับแจ้ง มีผลบังคับใช้ ให้ยื่น ก่อน ล่วงหน้ำ ไม่เกิน


30 วัน6.4
(11) ยกเลิกหรือเปลี่ยนแปลงบุคลำกรด้ำนสิ่งแวดล้อมประจำโรงงำน ที่หนังสือรับแจ้งยังมีผลบังคับใช้ ให้ยื่นคำขอภำยใน 90 วัน 6.4

6.2.2 โรงงานที่มีการใช้งานหม้อน้า หรือหม้อต้มที่ใช้ของเหลวเป็นสื่อนาความร้อน ต้องจัดให้มีผู้ควบคุมประจำหม้อน้ำ


หรือหม้อต้มที่ใช้ของเหลวเป็นสื่อนำควำมร้อนเป็นผู้ดูแลรับผิดชอบกำรใช้งำนหม้อน้ำ หรือหม้อต้มที่ใช้ของเหลวเป็นสือ่ นำควำมร้อน
ต้องแสดงใบอนุญำตผู้ควบคุมประจำหม้อน้ำ หรือหม้อต้มที่ใช้ของเหลวเป็นสือ่ นำควำมร้อน ไว้ ณ ที่เปิดเผยและเห็นได้ง่ำยในบริเวณที่
ติดตั้งหม้อน้ำ หรือหม้อต้มที่ใช้ของเหลวเป็นสื่อนำควำมร้อน หำกมีกำรใช้งำนหม้อน้ำที่มีกำลังกำรผลิตไอน้ำเครื่องละตั้งแต่ 20 ตันต่อ
ชั่วโมงขึ้นไป ต้องจัดให้มีวิศวกรควบคุมและอำนวยกำรใช้หม้อน้ำเป็นผู้ดูแล รับผิดชอบกำรใช้งำนหม้อน้ำ6.5
6.2.3 โรงงำนทีมีกำรใชสำรกัมมันตรังสี ต้องจัดให้มีเจ้ำหน้ำที่ ผู้มีคุณสมบัติสำเร็จกำรศึกษำไม่ต่ำกว่ำ ปริญญำตรีทำงด้ำน
วิทยำศำสตร์ ที่มีกำรศึกษำเกี่ยวกับกำรป้องกันอันตรำยจำกรังสีอย่ำงน้อย 3 หน่วยกิจ หรือผ่ำนกำรอบรมกำรใช้ กำรดูแลรักษำและกำร
ป้องกันอันตรำย จำกกำรใช้อุปกรณืและสำรกัมมันตรังสี จำกสำนักงำนพลังงำนปรมำณูเพื่อสันติ เป็นผู้ควบคุมดูแลประจำโรงงำนเพื่อดำ
เนิกำรเกี่ยวกับกำรใช้สำรกัมมันตรังสี 6.6

6.4 ประกำศกรมโรงงำนอุตสำหกรรม เรื่อง กำรแจ้งและกำรรับแจ้งกำรมีบุคลำกรด้ำนสิ่งแวดล้อมประจำโรงงำนพ.ศ. 2556[36]


6.5 ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม เรื่อง มำตรกำรควำมปลอดภัยเกี่ยวกับหม้อน้ำและหม้อต้มที่ใช้ของเหลวเป็นสื่อนำควำมร้อน พ.ศ. 2549
6.6 ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม ฉบับที่ 1 (พ.ศ.2542) ออกตำมควำมในพระรำชบัญญัติโรงงำน พ.ศ.2535 เรื่อง คุณสมบัติเจ้ำหน้ำที่ที่ดำเนินกำรเกี่ยวกับ

โรงงำนที่มีกำรใช้สำรกัมมันตรังสี 95
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 6 สารเคมีและสารอันตรายที่เป็นพิษ

6.2.4 ผู้ประกอบกิจกำรโรงงำนต้องจัดให้มีบุคลำกรที่ปฏิบัติงำนด้ำนควำมปลอดภัย ของโรงงำนดำเนินกำรตรวจควำมปลอดภัยด้ำน


อัคคีภัยเป็นประจำอย่ำงน้อยเดือนละครั้ง โดยจัดทำเป็นเอกสำรหลักฐำนที่พนักงำนเจ้ำหน้ำที่สำมำรถตรวจสอบได้ หำกพบสภำพที่เป็น
อันตรำยที่อำจก่อให้เกิดเพลิงไหม้ได้ ต้องดำเนินกำรปรับปรุงแก้ไขโดยทันที6.7
6.2.5 กาหนดให้มีคนงานซึ่งมีความรู้เฉพาะเพื่อปฏิบัติหน้าที่ เกี่ยวกับการใช้ เก็บ ส่ง และบรรจุก๊าซประจาโรงงาน ดังนี้ 6.8
(1) โรงงำนผลิตก๊ำซ แบ่งบรรจุกซ๊ ตำมประเภทหรือชนิดของโรงงำนลำดับที่ 89 และ ลำดับที่ 91(2) เฉพำะก๊ำซคลอรีน
คำร์บอนไดออกไซด์ ไนโตรเจน ออกซิเจน อำร์กอน แอมโมเนีย ฮีเลี่ยม ไฮโดเจน หรือกำซอันตรำยอื่น ที่กำหนด ต้องจัดให้มีคนงำนซึ่ง
ได้รับหนังสือรับรองกำรผ่ำนกำฝึกอบรมและขึ้นทะเบียนเป็นคนงำนควบคุมก๊ำซ คนงำนส่งก๊ำซ หรือคนงำนบรรจุก๊ำซ
(2) โรงงำนที่มีกำรใช้หรือเก็บก๊ำซที่มีกำรติดตั้งถังเก็บและจ่ำยก๊ำซ (storage tank) หรือมีปริมำณกำรใช้หรือเก็บก๊ำซใน
ภำชนะบรรจุก๊ำซ (cylinder) จำนวนตั้งแต่ 20 ภำชนะบรรจุขึ้นไป หรือมีกำรใช้หรือมีกำรใช้หรือเก็บก๊ำซชนิดติดตั้งบนรถ (tube
trailer) ยกเว้นก๊ำซปิโตรเลียมเหลว ต้องจัดให้มีคนงำนซึ่งได้รับกำรฝึกอบรม และขึ้นทะเบียนเป็นคนงำนควบคุมก๊ำซ
6.2.7 ผู้ที่จะดำเนินกำรเป็นผู้ดำเนินกำรจัดฝึกอบรมเกี่ยวกับก๊ำซ ต้องขึ้นทะเบียนกับกรมโรงงำนอุตสำหกรรม โดยมีอำยุครำวละ 5 ปี
และให้ยื่นขอต่ออำยุ ก่อนวันที่ใบอนุญำตขึ้นทะเบียนสิ้นสุด ไม่น้อยกว่ำ 15 วัน 6.9
6.2.8 คนงำน วิศวกร หรือสถำปนิกที่ปฏิบัติหน้ำที่ เกี่ยวกับกำรควบคุม กำรออกแบบ กำรผลิต กำรใช้งำน กำรตรวจสอบหรือทดสอบ
หริอกำรซ่อมแซมหรือดัดแปลง หม้อน้ำ หม้อต้มที่ใช้ของเหลวเป็นสือ่ นำควำมร้อน หรืภำชนะรับแรงดัน ต้องมีคุณสมบัติตำมที่กำหนด
6.10

6.7 ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม เรื่อง กำรป้องกันและระงับอัคคีภัยในโรงงำน พ.ศ. 2552


6.8กฎกระทรวง กำหนดให้มีคนงำนซึ่งมีควำมรู้เฉพำะเพื่อปฏิบัตห
ิ น้ำที่ เกี่ยวกับกำรใช้
เก็บ ส่ง และบรรจุก๊ำซประจำโรงงำน พ.ศ.2549 (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2555
6.9 ประกำศกรมโรงงำนอุตสำหกรรม เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีกำรขึ้นทะเบียนเป็นผู้ดำเนินกำรจัดฝึกอบรมเกี่ยวกับด๊ ำซ พ.ศ.2550[20]
6.10 กฎกระทรวง กำหนดมำตรกำรควำมปลอดภัยเกี่ยวกับหม้อน้ำ หม้อต้มที่ใช้ของเหลวเป็นสื่อนำควำมร้อน และภำชนะรับแรงดันในโรงงำน พ.ศ.2549 96
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 6 สารเคมีและสารอันตรายที่เป็นพิษ

6.2.9 กาหนดมาตรการความปลอดภัยเกี่ยวกับระบบไฟฟ้า โรงงำนต้องจัดให้มีคนงำนและวิศวกรประจำโรงงำน 6.11


6.2.10 กาหนดมาตรการความปลอดภัยเดี่ยวกับระบบทาความเย็น ที่ใช้แอมโมเนียเป็นสารทาความเย็นในโรงงาน ต้องจัดให้
มีผู้ควบคุมดูแลกำรทำงำนประจำระบบทำควำมเย็น มีคุณวุฒิได้รับประกำศนียบัตรวิชำชีพชั้นสูงด้ำนช่ำงอุตสำหกรรม ที่มีหน่วย
กำรศึกษำด้ำนระบบทำควำมเย็นและระบบปรับอำกำศ หรือช่ำงผู้ชำนำณงำนที่ผ่ำนกำรฝึกอบรมหลักสูตรผู้ควบคุมระบบทำ
ควำมเย็น จำกกระทรวงอุตสำหกรรมหรือสถำบันอื่นที่กระทรวงอุตสำหกรรมเห็นชอบ และเป็นคนงำนประจำโรงงำน6.12
6.2.11 กาหนดให้มีคนงานซึ่งมีความรู้เฉพาะเพื่อปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวกับการใช้ เก็บ ส่ง และบรรจุก๊าซประจาโรงงาน ต้องจัด
ให้มีคนงำน ซึ่งได้รับหนังสือรับรองกำรผ่ำนกำรฝึกอบรมจำกหน่วยงำนที่กรมโรงงำนอุตสำหกรรมรับรองกรมโรงงำนอุตสำหกรรม
จึงออกประกำศรับรองหน่วยงำนที่ขึ้นทะเบียนเป็นผูด้ ำเนินกำรจัดฝึกอบรมเกี่ยวกับก๊ำซ 6.13

6.11 กฎกระทรวง กำหนดมำตรกำรควำมปลอดภัยเกี่ยวกับระบบไฟฟ้ำในโรงงำน พ.ศ.2550


6.12 กฎกระทรวง กำหนดมำตรกำรควำมปลอดภัยเดี่ยวกับระบบทำควำมเย็น ที่ใช้แอมโมเนียเป็นสำรทำควำมเย็นในโรงงำน พ.ศ.2554
6.13 ประกำศกรมโรงงำนอุตสำหกรรมเรือ
่ ง หน่วยงำนที่ขึ้นทะเบียนเป็นผู้ดำเนินกำรจัดฝึกอบรมเกี่ยวกับก๊ำซสำหรับบุคลำกรประจำโรงงำนพ.ศ. 2551[24][25]

97
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 7 อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ในโรงงาน

บทที่ 7 อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ในโรงงาน


7.1 ขอบเขต
มาตรฐานนี้ เพื่อกาหนดพื้นที่อาคาร และพื้นที่โดยรอบโรงงานให้เป็นไปตามกฎหมายด้านการตรวจสอบ อุปกรณ์
เครื่องมือ เครื่องใช้ในโรงงาน

7.2 มาตรฐานการการตรวจสอบ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ในโรงงาน


7.2.1 ต้องจัดให้ทุกคนที่อยู่ในบริเวณงานที่อาจจะเป็นอันตรายสวมหมวกป้องกันอันตรายตามความเหมาะสม
7.2.2 ต้องจัดให้ทุกคนที่อยู่ในบริเวณงานที่อาจจะเป็นอันตรายต่อตาหรือใบหน้า สวมแว่นตา (safety glasses หรือ
goggle) หรือกระบังหน้า (face shield) ที่มีประสิทธิภาพและเหมาะสม
7.2.3 ต้องจัดให้ทุกคนที่อยู่ในบริเวณงานที่มีเสียงดังเกินกว่า 80 เดซิเบล หรือเสียงดังอันอาจจะเป็นอันตรายต่อแก้ว
หู อุดหูด้วยที่อุดหู (ear plug) ที่มีประสิทธิภาพ
7.2.4 ต้องจัดให้ทุกคนที่อยู่ในบริเวณงานที่อาจจะเป็นอันตรายต่อใบหูและรูหู สวมเครื่องป้องกันหู (ear guard) ที่มี
ประสิทธิภาพ
7.2.5 ต้องจัดให้คนงานที่ใช้มือในการปฏิบัติงานอันอาจสัมผัสกับส่วนที่แหลมหรือคมของวัตถุ สวมถุงมือที่มีความ
เหนียวทนต่อวัตถุแหลมคม
98
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 7 อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ในโรงงาน

7.2.6 ต้องจัดให้คนงำนที่ปฏิบัติงำนเกี่ยวกับวัตถุที่ร้อน สวมเครื่องป้องกันอันตรำย เช่น ถุงมือ รองเท้ำ ซึ่งทำด้วยวัตถุที่มีคุณสมบัติเป็น


ฉนวนควำมร้อน ตำมควำมจำเป็นและเหมำะสม
7.2.7 ต้องจัดให้คนงำนที่ปฏิบัติงำนเกี่ยวกับวัตถุเคมี กรด ด่ำง อันอำจจะเป็นอันตรำยต่อผิวหนังสวมเครื่องป้องกันอันตรำย เช่น ถุงมือ
รองเท้ำหุ้มน่อง ผ้ำกันเปื้อน ที่ทำด้วยยำงหรือพลำสติก หรือวัตถุที่มีคุณสมบัติทนทำนต่อกำรกัดกร่อนของสำรเคมีนั้นๆ ตำมควำมจำเป็นและ
เหมำะสม
7.2.8 ต้องจัดให้คนงำนที่ปฏิบัติงำนอันอำจจะเป็นอันตรำยต่อขำ หรือเท้ำ สวมเครื่องป้องกันอันตรำยที่ขำหรือท้ำตำมควำมจำเป็นและ
เหมำะสม
7.2.9 ต้องจัดให้คนงำนที่ปฏิบัติงำนเกี่ยวกับงำนไฟฟ้ำ สวมรองเท้ำที่มีคุณสมบัติเป็นฉนวนไฟฟ้ำ
7.2.10 ต้องจัดให้คนงำนที่ต้องไปปฏิบัติงำนอยู่บนที่สูง ซึ่งต้องมีกำรปีนป่ำยใช้สำยรัดหรือเข็มขัดกันตก
7.2.11 ต้องจัดให้คนงำนที่ปฏิบัติงำนอันอำจจะเป็นอันตรำยต่อระบบกำรหำยใจสวมเครื่องป้องกันอันตรำย (respiratory protection)
หรือเครื่องช่วยในกำรหำยใจที่มีประสิทธิภำพและเหมำะสมต่อกำรปฏิบัติงำนนั้นๆ
7.2.12 ต้องทำควำมสะอำดและรักษำเครื่องป้องกันอันตรำยสำหรับคนงำนให้อยู่ในสภำพเรียบร้อยพร้อมที่จะใช้งำนได้ตลอดเวลำ122 123 124
125

7.2.13 ให้โรงงำนที่ต้องมีระบบบำบัดน้ำเสีย ที่มีปริมำณน้ำทิ้งตั้งแต่ 500 ลูกบำศก์เมตรต่อวัน ขึ้นไปต้องติดตั้ง เครื่องมือ หรือเครื่องอุปกรณ์


พิเศษและเครื่องมือหรืออุปกรณ์เพิ่มเติม 7.1
7.2.14 ให้โรงงำนติดตั้งเครื่องวัดอัตรำกำรไหล และมำตรวัดปริมำณกำรใช้ไฟฟ้ำเพื่อรำยงำนกำรระบำยอำกำศเสียออกนอกโรงงำนเข้ำกับ
ระบบเครือข่ำยคอมพิวเตอร์ ของกรมโรงงำนอุตสำหกรรม 7.2
7.1 ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม เรื่อง กำหนดให้โรงงำนต้องมีระบบบำบัดน้ำเสีย ต้องติดตั้ง เครื่องมือ หรือเครื่องอุปกรณ์พิเศษและเครื่องมือหรืออุปกรณ์เพิ่มเติม (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ.2548
7.2 99
กฎกระทรวง ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2539) ออกตำมพระรำชบัญญัตโรงงำน พ.ศ.2535
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 7 อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ในโรงงาน

7.2.15 ให้โรงงำนตั้งอยู่ในเขตนิคมอุตสำหกรรมมำบตำพุด นิคมอุตสำหกรรมผำแดง นิคมอุตสำหกรรมตะวันออก นิคมอุตสำหกรรม


เอเชีย จังหวัระยอง ต้องติดตั้งเครื่องมือ หรืออุปกรณ์พิเศษ เพื่อตรวจสอบคุณภำพอำกำศจำกปล่องแบบอัตโนมัติ อย่ำงต่อเนื่อง
(Continuous Emission Monitoring Systems : CEMS) รำยงำนกำรตรวจวัด ต้องมีข้อมูลเกินกว่ำ ร้อยละ 80 ในวันนั้น ๆ หำกไม่
สำมำรถรำยงำนได้หรือมีข้อมูลน้อยกว่ำ ร้อยละ 80 ให้รำยงำนสำเหตุและกำรแก้ไขปัญหำมำยังศูนย์รับข้อมูลของกำรนิคม
อุตสำหกรรมแห่งประเทศไทย ภำยในวันเดียวกันหรือวันถัดไป โดยมีรำยละเอียด ดังนี้ 7.3
7.2.15.1 คุณลักษณะเครื่องมือหรือเครื่องอุปกรณ์ที่สอดคล้องกับกำรเชื่อมโยงระบบตรวจสอบคุณภำพอำกำศจำกปล่องแบบ
อัตโนมัติอย่ำงต่อเนื่อง (CEMS) เป็นดังนี้
(1) มี Modem ที่ใช้ในกำรเชื่อมโยงข้อมูลอย่ำงน้อย 1 ชุด หรือมีช่องทำงกำรสื่อสำรผ่ำนเครือข่ำย Internet ที่สำมำรถ
เชื่อมโยงได้ตลอดเวลำ
(2) มีระบบสัญญำณเตือนเมื่อค่ำที่วัดได้เกินกว่ำค่ำที่กำหนด และต้องส่งข้อมูลให้กับศูนย์รับข้อมูลที่กรมโรงงำนอุตสำหกรรม
กำหนดได้ทันที
(3)สำมำรถส่งข้อมูลปัจจุบันอย่ำงต่อเนื่องให้กับศูนย์รับข้อมูลที่กรมโรงงำนอุตสำหกรรมกำหนดได้
(4) สำมำรถเก็บข้อมูล (History) ได้อย่ำงน้อย 30 วัน และสำมำรถส่งข้อมูลดังกล่ำวให้กับศูนย์รับข้อมูลที่กรมโรงงำน
อุตสำหกรรมกำหนดได้เมื่อมีกำรร้องขอ

7.3ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม เรื่อง กำหนดให้โรงงำนประเภทต่ำง ๆ ต้องติดตั้งเครื่องมือ หรืออุปกรณืพเิ ศษ เพื่อตรวจสอบคุณภำพอำกำศจำกปล่องแบบอัตโนมัติ


พ.ศ.2544 ประกำศกรมโรงงำนอุตสำหกรรม เรื่อง กำรส่งข้อมูลเข้ำสู่ระบบตรวจสอบคุณภำพอำกำศจำกปล่องแบบอัตโนมัติอย่ำงต่อเนื่อง
100
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 7 อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ในโรงงาน

- ชื่อและทะเบียนโรงงำน - รำยละเอียดปล่องและเครื่องมืออุปกรณ์ที่ติดตั้ง
- ค่ำที่ทำกำรตรวจวัด (Parameters) - รำยละเอียดเครื่องมือและอุปกรณ์ส่งสัญญำณ
- เบอร์โทรศัพท์ของโรงงำนทีใ่ ช้เชื่อมต่อกับระบบเชื่อมโยงของศูนย์ รับข้อมูล - ชื่อผู้ประสำนงำนและเบอร์โทรศัพท์ติดต่อ
(2) เมื่อศูนย์รับข้อมูลพร้อมสำหรับกำรเชื่อมโยงระบบแล้ว โรงงำนจะต้องทำกำรทดสอบระบบและส่งข้อมูลให้ศูนย์รับข้อมูลที่กรม
โรงงำนอุตสำหกรรมกำหนด ทันที
7.2.16 มำตรกำรคุ้มครองควำมปลอดภัยในกำรประกอบกิจกำรโรงงำน หลอมตะกั่วจำกแบตเตอรี่เก่ำ ต้องดำเนินกำร ดังนี้ 7.4 130
(1) ต้องจัดให้มีอุปกรณืป้องกันส่วนบุคคล ประกอบด้วย หมวกครอบกันฝุ่น หน้ำกำกกันฝุ่น และไอสำรเคมี ชุดเสื่อผ้ำถลุมมิด
ชิด ถุงมือยำง และรองเท้ำหุ้มข้อ โดยเฉพำะเมื่อปฏิบัตงำนในสถำนที่จัดเก็บแผ่นธำตุแบตเตอรี่เก่ำและวัสดุที่ก่อให้เกิดฝุ่นตะกั่ว สถำนที่
เก็บแบตเตอรี่เก่ำ และสถำนที่ผ่ำแยกแผ่นธำคุแบตเตอรี่เก่ำ
(2) จัดให้มีห้องน้ำสำหรับอำบ ที่ล้ำงมือ และห้องผลัดเปลี่ยนชุดทำงำนที่เพียงพอเหมำะสม
(3) มีที่ดื่มน้ำหรือที่รับประทำนอำหำร โดยเฉพำะ ห่ำงจำกตัวอำคำรโรงงำนไม่น้อยกว่ำ 20 เมตร หรือตำมที่กรมโรงงำน
อุตสำหกรรมกำหนด และห้ำมดืมน้ำหรือรับทำนอำหำรในอำคำรโรงงำน
7.2.17 หลักเกณฑ์กำรพิจำรณำคุณสมบัติของหน่วยตรวจสอบ ภำชนะบรรจุก๊ำซ (21)7.5
ต้องมีอุปกรณ์ เครื่องมือ และกำรสอบเทียบ
7.2.18 จัดให้มีเครื่องมือในกำรปฐมพยำบำลตลอดจนอุปกรณ์ต้องอยู่ในสภำพที่สะอำด ถูกสุขลักษณะ พร้อมที่จะใช้งำนได้ทันที
7.4 ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม เรื่อง มำตรกำรคุ้งครองควำมปลอดภัยในกำรประกอบกิจกำรโรงงำน หลอมตะกั่วจำกแบตเตอรี่เก่ำ พ.ศ.2544
7.5 ประกำศกรมโรงงำนอุตสำหกรรม เรื่อง หลักเกณฑ์กำรพิจำรณำให้ควำมเห็นชอบให้เป็นหน่วยตรวจสอบภำชนะบรรจุก๊ำซ พ.ศ. 2550
101
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 8 การตรวจวัด จัดทารายงานและการส่งรายงาน

บทที่ 8 การตรวจวัด จัดทารายงานและการส่งรายงาน


8.1 ขอบเขต
มาตรฐานนี้ เพื่อกาหนดพื้นที่อาคาร และพื้นที่โดยรอบโรงงานให้เป็นไปตามกฎหมายด้านการตรวจสอบ การตรวจวัด จัดทา
รายงายและการส่งรายงาน
8.2 มาตรฐานการการตรวจสอบ การตรวจวัด จัดทารายงายและการส่งรายงาน
8.2.1 ประเภทหรือชนิดของโรงงานที่ต้องจัดทารายงานชนิดและปริมาณสารมลพิษที่ระบาย
ออกจากโรงงาน และต้องมีบุคลากรด้านสิ่งแวดล้อมประจาโรงงานดังนี้ (26) 8.1
รายการ ชนิดและขนาดของโรงงาน การจัดทารายงาน
1 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับการทากระดาษกระดาษแข็งหรือกระดาษที่ใช้ในการก่อสร้าง รายงานมลพิษน้า และรายงาน
ชนิดที่ทาจากเส้นใยหรือแผ่นกระดาษไฟเบอร์ที่มีกาลังการผลิตตั้งแต่ ๕๐ ตันต่อวันขึ้นไป มลพิษอากาศ
2 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับเหล็กหรือเหล็กกล้าที่มีกาลังการผลิตแต่ละชนิดหรือรวมกันตั้งแต่100 ตันต่อวันขึ้น รายงานมลพิษน้า และรายงาน
ไป ดังนี้ มลพิษอากาศ
1) เหล็กขั้นต้นหรือเหล็กขั้นกลาง ที่มีการถลุงหลอม หล่อ
2) เหล็กขั้นปลาย ได้แก่ ที่มี
2.1) การรีดเหล็ก (Rolling) ทั้งการรีดร้อนและรีดเย็น ยกเว้นการรีดขึ้นรูปเย็น (Cold roll
forming) และการรีดปรับสภาพผิว (Skin – passหรือ Temper rolling)
2.2) การทุบขึ้นรูปร้อน (Hot forging)
2.3) การเคลือบผิว (ทั้งกรรมวิธีจุ่มด้วยโลหะหลอมเหลว กรรมวิธีทางไฟฟ้า กรรมวิธีทางเคมีกรรมวิธีทางไฟฟ้าเคมี)
2.4) การหล่อเหล็กรูปพรรณ (Ferrous metal foundries)
8.1 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การจัดทารายงานชนิดและปริมาณสารมลพิษที่ระบายออกจากโรงงาน พ.ศ.2558[26] 102
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 8 การตรวจวัด จัดทารายงานและการส่งรายงาน

รายการ ชนิดและขนาดของโรงงาน การจัดทารายงาน


3 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับการผลิตแก้วเส้นใยแก้ว หรือผลิตภัณฑ์แก้ว ที่มีเตาหลอม รายงานมลพิษอากาศ
4 โรงงานที่มีการใช้หม้อน้า เฉพาะ1) โรงงานที่มีหม้อน้าเดี่ยวที่มีกาลังการผลิตไอน้าตั้งแต่ 10 ตันไอน้าต่อชั่วโมงขึ้น รายงานมลพิษอากาศ
ไป กรณีใช้ของเหลวหรือของแข็งเป็นเชื้อเพลิง2) โรงงานที่มีหม้อน้าเดี่ยวที่มีกาลังการผลิตไอน้าตั้งแต่ 20 ตันไอน้า
ต่อชั่วโมงขึ้นไป กรณีใช้ก๊าซเป็นเชื้อเพลิง
5 โรงงานที่มีหรือใช้สารอินทรีย์ระเหย (VOCs)ในกระบวนการผลิตตั้งแต่ 36 ตันต่อปี ขึ้นไป รายงานมลพิษอากาศ

(1) การเก็บตัวอย่างน้าให้เก็บตัวอย่างน้าเสียหรือน้าทิ้ง ดังนี้


(ก) น้าเสียก่อนเข้าระบบบาบัดน้าเสียอย่างน้อย 3 เดือนต่อครั้ง
(ข) น้าเสียหรือน้าทิ้งออกจากระบบบาบัดน้าเสียอย่างน้อย 3 เดือนต่อครั้ง
(ค) น้าทิ้งระบายออกนอกโรงงานอย่างน้อย 1 เดือนต่อครั้ง
(ง) น้าเสียที่ส่งบาบัดภายนอกโรงงานให้เก็บตัวอย่างน้าในบ่อสุดท้ายอย่างน้อย 1 เดือนต่อครั้ง
(จ) กรณีไม่มีการระบายออกนอกโรงงานให้เก็บตัวอย่างน้าในบ่อสุดท้ายอย่างน้อย 3 เดือนต่อครั้ง
(2) การเก็บตัวอย่างอากาศให้เก็บตัวอย่างอากาศที่ระบายออกจากปล่องระบายอากาศของโรงงานอย่างน้อย 6 เดือนต่อครั้ง
(3) การรายงานมลพิษน้าต้องมีพารามิเตอร์ ดังนี้
(ก) บีโอดี (Biochemical Oxygen Demand) ซีโอดี (Chemical Oxygen Demand) ความเป็นกรดและด่าง (pH) และสาร
แขวนลอย (Suspended Solids)
(ข) โลหะหนัก ตามคุณลักษณะน้าเสียจากโรงงานประเภทที่มโี ลหะหนักเจือปน
103
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 8 การตรวจวัด จัดทารายงานและการส่งรายงาน

(4) การรายงานมลพิษอากาศต้องมีพารามิเตอร์ ดังนี้


(ก) กระบวนการเผาไหม้ที่ใช้ของเหลวหรือของแข็งเป็นเชื้อเพลิงให้รายงานอย่างน้อยค่าออกไซด์ของไนโตรเจนในรูป
ไนโตรเจนไดออกไซด์ (Oxide of Nitrogen as NO2) ซัลเฟอร์ไดออกไซด์(Sulfur Dioxide) และฝุ่นละออง (Total
Suspended Particulate)
(ข) กระบวนการเผาไหม้ที่ใช้ก๊าซชีวภาพเป็นเชื้อเพลิงให้รายงานอย่างน้อยค่าออกไซด์ของไนโตรเจนในรูปไนโตรเจนได
ออกไซด์ (Oxide of Nitrogen as NO2) ซัลเฟอร์ไดออกไซด์(Sulfur Dioxide) และคาร์บอนมอนอกไซด์
(Carbonmonoxide)
(ค) กระบวนการเผาไหม้ที่ใช้ก๊าซอื่นที่ไม่ใช่ก๊าซชีวภาพเป็นเชื้อเพลิงให้รายงานอย่างน้อยค่าออกไซด์ของไนโตรเจนในรูป
ไนโตรเจนไดออกไซด์ (Oxide of Nitrogen as NO2) และคาร์บอนมอนอกไซด์ (Carbonmonoxide)
(5) จัดทารายงานชนิดและปริมาณสารมลพิษ ส่งรายงานชนิดและปริมาณสารมลพิษให้กรมโรงงานอุตสาหกรรมผ่านระบบ
อิเล็กทรอนิกส์ โดยให้รายงานข้อมูลรอบที่ 1 ของเดือนมกราคมถึงเดือนมิถุนายนภายในวันที่ 1 กันยายนของปีที่รายงาน และ
ให้รายงานข้อมูลรอบที่ 2 ของเดือนกรกฎาคมถึงเดือนธันวาคมภายในวันที่ 1 มีนาคมของปีถัดไป ให้ผู้ประกอบกิจการโรงงาน
หรือผู้รับมอบอานาจและผู้ควบคุม ดูแลระบบป้องกันสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ เป็นผู้ลงนามรับรองในแบบรายงานชนิดและปริมาณ
สารมลพิษ และเก็บรักษารายงานที่โรงงาน 1 ชุด เป็นระยะเวลา 3 ปี

104
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 8 การตรวจวัด จัดทารายงานและการส่งรายงาน
8.2.2 ต้องแจ้งข้อมูลรายเดือน ตามแบบ ร.ง.8 ภายในวันที่ 10 ของเดือนถัดไป และแจ้งข้อมูลรายปี ตามแบบ รง.9 ภายใน
เดือนเมษายนของปีถัดไป ณ สานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม 8.2
8.2.3 มาตรการความปลอดภัยเกี่ยวกับหม้อน้าและหม้อต้มที่ใช้ของเหลวเป็นสือ่ นาความร้อน 8.3
(1) ต้องจัดให้มีการทดสอบก่อนการใช้งาน หม้อน้าและหม้อต้มที่ใช้ของเหลวเป็นสื่อนาความร้อน ดังนี้
(ก) ต้องจัดให้มีการตรวจสอบภายนอกภายใน และการทางานของระบบการควบคุมก่อนการใช้งาน โดยวิศวกรตรวจ
ทดสอบ หรือหน่วยรับรองวิศวกรรมด้านหม้อน้า หรือหม้อต้มที่ใช้ของเหลวเป็นสื่อนาความร้อน และจัดส่งต้นฉบับ รายงานให้กรม
โรงงานอุตสาหกรรมภายใน 30 วัน หลังจากทาการตรวจสอบความปลอดภัย
(ข) หม้อน้าที่นาชิ้นส่วนมาประกอบ ณ สถานที่ใช้งานต้องทาการตรวจสอบตามแนวเชื่อมส่วนรับแรงดัน ภายใต้การ
ควบคุมดูแลของวิศวกรควบคุมการสร้าง หรือซ่อม หรือหน่วยรับรอง
วิศวกรรมด้านหม้อน้า หรือหม้อต้มที่ใช้ของเหลวเป็นสือ่ นาความร้อน
(2) ต้องจัดให้มีการตรวจทดสอบความปลอดภัยระหว่างการใช้งาน โดยวิศวกรตรวจทดสอบ หรือหน่วยรับรองวิศวกรรมด้าน
หม้อน้า หรือหม้อต้มที่ใช้ของเหลวเป็นสื่อนาความร้อน เป็นประจาอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ในเรื่องต่อไปนี้
(ก) ตรวจสอบภายนอก
(ข) ตรวจสอบภายใน
(ค) ตรวจสอบการทางานของระบบการควบคุม และอุปกรณ์ความปลอดภัย
(3) หากประสงค์จะตรวจสอบภายในหม้อต้มที่ใช้ของเหลวเป็นสื่อนาความร้อน ทุกระยะเวลาเกินกว่า 1 ปีแต่ไม่เกิน 3 ปีต่อ
การตรวจทดสอบหนึ่งครั้ง ก็ให้กระทาได้ แต่ต้องได้รับความเห็นชอบจากกรมโรงงานอุตสาหกรรมก่อน
8.2 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง กาหนดแบบแจ้งข้อมูลรายเดือน (แบบ ร.ง.8) พ.ศ.2545
8.3 105
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง มาตรการความปลอดภัยเกี่ยวกับหม้อน้าและหม้อต้มที่ใช้ของเหลวเป็นสื่อนาความร้อน พ.ศ. 2549
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 8 การตรวจวัด จัดทารายงานและการส่งรายงาน
(4) หม้อน้าที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมจะให้ความเห็นชอบในการตรวจสอบภายในหม้อน้า ทุกระยะเวลาเกินกว่า 1 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี
ต่อการตรวจสอบ 1 ครั้ง ได้แก่หม้อน้าดังต่อไปนี้ 8.4
(ก) หม้อน้าแบบท่อน้าที่มีอตั ราการผลิตไอน้าตั้งแต่ 20 ตันต่อชั่วโมงขึ้นไป
(ข) หม้อน้าที่ใช้ความร้อนจากกระบวนการผลิต (Process Boiler หรือ Process Steam Generator) ทุกอัตราการผลิตไอน้า
โดยหากหม้อน้าดังกล่าวหยุดการใช้งานจะทาให้กระบวนการผลิตไม่สามารถทางานอย่างต่อเนื่องได้
(5) หม้อน้าที่จะให้กรมโรงงานอุตสาหกรรมเห็นชอบ จะต้องเป็นหม้อน้าที่มีหลักฐานเอกสารและมีการดาเนินการ ดังต่อไปนี้ 8.4
(ก) ต้องมีหลักฐานการออกแบบโครงสร้าง การคานวณ การสร้างหรือการประกอบ และการตรวจทดสอบที่ได้รับการรับรอง
ตามมาตรฐาน ได้แก่ ASME, JIS, EN, ISO หรือตามที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมยอมรับ
(ข) มีการติดตั้งอุปกรณ์ตรวจวัด อุปกรณ์ความปลอดภัยและระบบป้องกันอันตรายสาหรับหม้อน้าตามมาตรฐาน ได้แก่
ASME, JIS, EN, ISO หรือตามที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมยอมรับ และมีหลักฐานการสอบเทียบ (Calibration) ตามระบบรับรอง
คุณภาพ
(ค) มีการตรวจวิเคราะห์และปรับปรุงคุณสมบัติของน้าป้อนเข้าหม้อน้าและน้าภายในหม้อน้าให้เป็นไปตามมาตรฐาน ได้แก่
ASME, JIS, EN, ISO หรือตามที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมยอมรับโดยต้องมีการตรวจสอบทุกวันยกเว้นหม้อน้าแบบท่อน้าตาม (1)
ของข้อ 4 น้าป้อนเข้าหม้อน้าและน้าภายในหม้อน้าเฉพาะค่าตัวแปรความเป็นกรด – ด่าง (pH) และค่าการนาไฟฟ้า (electric
conductivity) ให้มีการตรวจวิเคราะห์และบันทึกผลแบบต่อเนื่อง

8.4ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการให้ความเห็นชอบในการตรวจสอบภายในหม้อน้าทุกระยะเวลาเกินกว่า 1 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี


ต่อการตรวจสอบหนึ่งครั้ง พ.ศ. 2559 [37] 106
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 8 การตรวจวัด จัดทารายงานและการส่งรายงาน
(ง) มีเอกสารรับรองความปลอดภัยในการใช้หม้อน้า โดยวิศวกรมีการรับรองความปลอดภัยตามระยะเวลาที่ขอความเห็นชอบ
และการตรวจรับรองความปลอดภัยครั้งสุดท้ายต้องไม่เกิน 1 ปีพร้อมแนบเอกสารความเห็นของวิศวกรผู้ตรวจสอบ กรณีไม่อาจ
ดาเนินการตามข้อนี้ ให้ขอความเห็นชอบจากกรมโรงงานอุตสาหกรรมเพื่อพิจารณาเห็นชอบ
(จ) มีระบบควบคุมและบันทึกเหตุการณ์ที่ผิดปกติระหว่างการเดินเครื่องของหม้อน้าด้วยคอมพิวเตอร์ หรือ Programmable
Logic Controller (PLC) อย่างน้อยต้องแสดงค่าความดันและอุณหภูมิของการใช้งาน โดยสามารถแสดงข้อมูลย้อนหลังได้ไม่นอ้ ย
กว่า 1 ปี นับแต่วันที่ขออนุญาต
(ฉ) มีแผนงานและรายงานการบารุงรักษาหม้อน้าเชิงป้องกัน พร้อมรายงานสรุปข้อบกพร่องสาเหตุและวิธีการปรับปรุงแก้ไข
ซึ่งรับรองโดยวิศวกรควบคุมและอานวยการใช้หม้อน้า
(ช) กรณีที่ยื่นขอขยายระยะเวลาในการตรวจสอบภายในหม้อน้าเกินกว่า 3 ปี ต้องมีการประเมินอายุการใช้งานที่เหลือ
(Remaining Life Assessment) ของหม้อน้าตามวิธีการที่ได้มาตรฐานและโดยหน่วยงานที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมเห็นชอบ ทั้งนี้
อายุการใช้งานที่เหลือต้องไม่น้อยกว่า 2 เท่าของระยะเวลาที่ยนื่ ขอ
(6) ผู้ประกอบกิจการโรงงานที่จะขอความเห็นชอบในการตรวจสอบภายในหม้อน้าทุกระยะเวลาเกินกว่า 1 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี ต่อการ
ตรวจสอบ 1 ครั้ง ต้องมีแผนการฝึกอบรมทบทวนหรือการพัฒนาความรู้ผู้ควบคุมหม้อน้าในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับหม้อน้า ได้แก่
กฎหมาย มาตรฐานเทคโนโลยี ความปลอดภัย สิ่งแวดล้อม หรือพลังงาน ไม่น้อยกว่า 6 ชั่วโมงต่อคนต่อปี โดยผู้ให้การฝึกอบรมต้องมี
คุณวุฒิระดับปริญญาตรีขึ้นไปและมีประสบการณ์ ในเรื่องที่ให้การฝึกอบรมอย่างน้อย 7 ปีหรือได้รับการฝึกอบรมจากหน่วยงานที่
กรมโรงงานอุตสาหกรรมเห็นชอบยื่นมาพร้อมกับคาขอ8.4
8.4ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการให้ความเห็นชอบในการตรวจสอบภายในหม้อน้าทุกระยะเวลาเกินกว่า 1 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี
ต่อการตรวจสอบหนึ่งครั้ง พ.ศ. 2559 [37] 107
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 8 การตรวจวัด จัดทารายงานและการส่งรายงาน
(7) สาหรับการประกอบกิจการโรงงานปิโตรเคมี โรงกลั่นน้ามันปิโตรเลียมและโรงแยกก๊าซธรรมชาติที่มีการใช้หม้อน้าที่รับความร้อน
จากกระบวนการผลิต (Process Boiler หรือ Process Steam Generator) ให้ตรวจสอบตามแผนงานที่โรงงานกาหนด แต่ไม่เกิน 5
ปีต่อการตรวจสอบหนึ่งครั้ง
(8) หม้อน้าที่ให้กรมโรงงานอุตสาหกรรมไม่เห็นชอบ ดังต่อไปนี้ 8.4
(ก) ผู้ประกอบกิจการโรงงานฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามประกาศนี้ หรือไม่ปฏิบัติตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง
กับความปลอดภัยของหม้อน้า
(ข) หม้อน้าที่ได้รับความเห็นชอบในการตรวจสอบภายในหม้อน้า ทุกระยะเวลาเกินกว่า 1 ปีแต่ไม่เกิน 5 ปี ต่อการตรวจสอบ
หนึ่งครั้ง มีการเกิดอุบัติเหตุร้ายแรง หรือตรวจพบการชารุดของโครงสร้างรับความดันซึ่งอาจเป็นเหตุให้เกิดอุบัติเหตุร้ายแรง
(ค) พนักงานเจ้าหน้าที่ตรวจพบว่า มีการเปลี่ยนแปลงลักษณะและรูปแบบการใช้งานหม้อน้าซึ่งมีผลทาให้ความเสี่ยงของหม้อ
น้าสูงขึ้นและไม่เป็นไปตามเกณฑ์ระยะเวลาสูงสุดสาหรับการตรวจสอบภายในหม้อน้าแต่ละครั้งที่กาหนดไว้
(9) โรงงานที่ใช้หม้อต้มของเหลวเป็นสื่อนาความร้อนต้องจัดให้มีการตรวจสอบคุณภาพของของเหลวที่ใช้เป็นสื่อนาความร้อนเป็น
ประจาทุก 6 เดือน และเก็บรักษาไว้ในโรงงาน 8.5
(10) หม้อน้า หรือหม้อต้มที่ใช้ของเหลวเป็นสื่อนาความร้อน ที่หยุดใช้งานติดต่อกันนานกว่า 6 เดือน หากจะนามาใช้อีกครั้ง ผู้
ประกอบกิจการโรงงานต้องจัดให้มีการตรวจสอบ ก่อนทาการใช้งาน
(11) โรงงานต้องจัดให้มีการจัดทารายงานผลการตรวจสอบตามแบบที่กรมโรงงานกาหนดโรงงานอุตสาหกรรมกาหนด และจัดส่งให้
กรมโรงงานอุตสาหกรรมภายใน 30 วัน นับแต่วันที่เสร็จสิ้นการตรวจสอบ8.5
8.4 ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการให้ความเห็นชอบในการตรวจสอบภายในหม้อน้าทุกระยะเวลาเกินกว่า 1 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี ต่อการตรวจสอบ
หนึ่งครั้ง พ.ศ. 2559 [37]
8.5 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง มาตรการความปลอดภัยเกี่ยวกับหม้อน้าและหม้อต้มที่ใช้ของเหลวเป็นสื่อนาความร้อน พ.ศ. 2549 108
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 8 การตรวจวัด จัดทารายงานและการส่งรายงาน
(12) โรงงานที่มีการใช้งานหม้อน้า หรือหม้อต้มที่ใช้ของเหลวเป็นสือ่ นาความร้อน หากประสงค์จะทาการซ่อมแซม หรือดัดแปลง
หม้อน้า หรือหม้อต้มที่ใช้ของเหลวเป็นสื่อนาความร้อนส่วนที่มีผลกระทบต่อโครงสร้างส่วนที่รับความดัน ต้องดาเนินการดังนี้8.5
(ก) จัดให้มีวิศวกรควบคุมการสร้าง หรือซ่อม หรือหน่วยรับรองวิศวกรรมด้านหม้อน้าหรือหม้อต้มที่ใช้ของเหลวเป็นสื่อนา
ความร้อน ควบคุมดูแลการซ่อมแซม หรือ ดัดแปลงหม้อน้า หรือหม้อต้มที่ใช้ของเหลวเป็นสือ่ นาความร้อน
(ข) ภายหลังการซ่อมแซมหรือดัดแปลงหม้อน้า หรือหม้อต้มที่ใช้ของเหลวเป็นสือ่ นาความร้อน ต้องจัดให้มีการตรวจสอบและ
ทดสอบภายใต้การควบคุม ดูแลของหน่วยรับรองวิศวกรรมด้านหม้อน้า หรือหม้อต้มที่ใช้ของเหลวเป็นสื่อนาความร้อน หรือวิศวกร
ตรวจทดสอบหม้อน้า หรือหม้อต้มที่ใช้ของเหลวเป็นสื่อนาความร้อน
(ค) จัดส่งรายงานผลการดาเนินงานซ่อมแซม ดัดแปลงและผลการตรวจสอบหลังการซ่อมแซมและดัดแปลงไปให้กรมโรงงาน
อุตสาหกรรมภายใน 30 วัน หลังจากซ่อมแซมและดัดแปลงแล้วเสร็จ
(13) การยกเลิกการใช้งานหม้อน้า หม้อต้มที่ใช้ของเหลวเป็นสื่อนาความร้อนเพื่อเคลื่อนย้ายหรือทาลาย ผู้ประกอบกิจการโรงงาน
ต้องแจ้งให้กรมโรงงานอุตสาหกรรมทราบก่อนดาเนินการเคลื่อนย้ายหรือทาลายไม่น้อยกว่า 30 วันทาการ 8.5
8.2.4 โรงงานที่มีการผลิต การเก็บ หรือการใช้วัตถุอันตราย ตามกฎหมายว่าด้วยวัตถุอันตราย ต้องจัดทาข้อมูลความปลอดภัย
(material safery data sheet) 8.6

8.5 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง มาตรการความปลอดภัยเกี่ยวกับหม้อน้าและหม้อต้มที่ใช้ของเหลวเป็นสื่อนาความร้อน พ.ศ. 2549


8.6 กฎกระทรวง ฉบับที่ 3 (พ.ศ.2535) ออกตามพระราชบัญญัตโรงงาน พ.ศ.2535 109
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 8 การตรวจวัด จัดทารายงานและการส่งรายงาน
8.2.5 การรายงานข้อมูลต่าง ๆ ของโรงงานหลอมตะกั่ว จากแบตเตอรี่เก่าต้องจัดทารายงาน ดังนี้ 8.7
8.2.5.1 ให้รายงานข้อมูลเกี่ยวกับวัตถุดิบ หม้อแบตเตอรีเก่า ที่นาเข้ามาในโรงงาน ผลผลิตที่ได้ กากตะกรัน กากตะกอน
ของแข็ง และกากของเสียต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น ตามแบบ
8.2.5.2 ต้องรายงานผลการตรวจสอบปริมาณตะกั่งปนเปื้อนในน้าทิ้งและน้าฝนทีร่ ะบายออกนอกโรงงานต่อกรมโรงงาน
อุตสาหกรรม ทุก 3 เดือน
8.2.5.3 ต้องรายงานผลการตรวจสอบการปนเปื้อนตะกั่วในแหล่งน้าผิวดิน ที่อยู่ใกล้อาคารโรงงานมากที่สุด ต่อกรมโรงงาน
อุตสาหกรรมปีละ 1 ครั้ง
8.5.2.4 ต้องรายงานผลการตรวจสอบการปนเปื้อนตะกั่ว ในแหล่งน้าใต้ดินที่ตื้นที่สุด อย่างน้อย 3 จุด โดยมีจุดที่ตรวจสอบ
ประกอบด้วย จุดตรวจสอบต้นน้า (Upstream) อย่างน้อย 1 แห่ง และจุดตรวจสอบท้ายน้า (Downstream) อย่างน้อย 2 แห่ง โดย
จุดที่ตรวจสอบทุกจุดต้องห่างจากตัวอาคารโรงงานไม่เกิน 20 เมตร หรือตามที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมกาหนด โดยจะต้องมีปริมาณ
ตะกั่วปนเปื้อนในน้าใต้ดินเฉลี่ยไม่เกิน 0.05 มิลลิกรัมต่อลิตร
8.5.2.5 ต้องรายงานผลการตรวจสอบการปนเปื้อนของตะกั่วในผิวดิน แนวเขตที่ดินของโรงงาน ในจุดที่ใกล้อาคารมากที่สุด
หรือตามที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมกาหนด และรายผลต่อกรมโรงงานอุตสาหกรรมปีละ 1 ครั้ง
8.5.2.6 ต้องรายงานผลการตรวจสอบการปนเปื้อนของตะกั่วในผิวดิน รอบบริเวณอาคารโรงงาน โดยจุดที่ตรวจสอบต้องห่าง
จากตัวอาคารไม่เกิน 20 เมตร หรือตามที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมกาหนด โดยต้องมีค่าเฉลี่ยของตะกั่วปนเปื้อนทั้งหมดไม่เกิน 100
มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมดิน (Total Lead) และปริมาณตะกั่วที่ละลายน้าได้ (So;uble Lead) ปนเปื้อนไม่เกิน 1 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมดน
ปีละ 1 ครั้ง
8.7 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การรายงานข้อมูลต่าง ๆ ของโรงงานหลอมตะกั่ว จากแบตเตอรี่เก่า พ.ศ.2544 110
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 8 การตรวจวัด จัดทารายงานและการส่งรายงาน
8.5.2.7 ต้องรายงานผลการตรวจสอบคุณภาพอากาศ ต่อกรมโรงงานอุตสาหกรรมทุก ๆ 3 เดือน ตามที่กาหนด ดังนี้
(1) ปริมาณอากาศที่ระบายออกจากระบบขจัดอากาศเสียทุกแห่ง ที่ติดตั้งอยู่ทั้งหมดโดยมีค่าพารามิเตอรืดังนี้
-ปริมาณซันเฟอร์ไดออกไซด์ -ปริมาณคาร์บอนมอนนอกไซด์
-ปริมาณคลอรีน -ปริมาณฝุ่นตะกั่ว
-ปริมาณฝุ่นทั้งหมด
(2) คุณภาพอากาศที่แนวเขตที่ดินของโรงงาน ทางด้านใต้ลม จากตัวอาคารโรงงาน (ให้รายงานทิศทางของลมที่พัด
ผ่านขณะทาการตรวจสอบด้วย )โดยให้รายงานเฉพาะฝุ่นตะกั่ว
(3) คุณภาพอากาศก่อนเข้าระบบขจัดอากาศสียแต่ละชุด โดยให้รายงานเฉพาะปริมาณฝุ่นตะกั่วและฝุ่นทัง้ หมด
(4) คุณภาพอากาศในพื้นที่ทางานทั้งหมด ยกเว้นสถานที่จัดเก็บวัตถุแผ่นธาตุ
8.5.2.8 ต้องจัดให้มีการตรวจสอบสุขภาพ ของพนักงาน อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง โดยมีผลแสดงระดับของตะกั่วในเลือดและปส
สาวะ โดยให้จัดทารายงานผลการตรวจต่อกรมโรงงานอุตสาหกรรมทราบทุก 6 เดือน และเมื่อตรวจพบว่าผู้ใดมีระดับของตะกั่วใน
เลือดหรือปัสสาวะเกินมาตรฐาน ต้องโยกย้ายพนักงานไปทางานในแหล่งที่ไม่มีอันตรายจากสารตะกั่ว
8.5.2.9 ต้องควบคุมปริมาณสารตะกั่ว ที่เกิดขึ้นในบริเวณพื้นที่ทางาน ให้มีปริมาณ ไม่เกิน 0.15 มิลลิกรัมตอลูกบาศก์เมตร
อากาศ
8.5.2.10 ต้องควบคุมมิให้จุดใดจุดหนึ่ง ที่แนวเขตที่ดินของโรงงาน มีปริมาณตะกั่ว เกินกว่า 0.01 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เมตร
อากาศ
8.5.2.11 ต้องตรวจสอบปริมาณตะกั่วปนเปื้อนในน้าทิ้งและน้าฝนที่ระบายออกนอกโรงงาน ทุก 3 เดือน
8.5.2.12 ต้องตรวจสอบการปนเปื้อนตะกั่วในแหล่งน้าผิวดินที่อยู่ใกล้อาคารโรงงานมากที่สุด ปีละ 1 ครั้ง 111

8.7 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การรายงานข้อมูลต่าง ๆ ของโรงงานหลอมตะกั่ว จากแบตเตอรี่เก่า พ.ศ.2544


มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 8 การตรวจวัด จัดทารายงานและการส่งรายงาน
8.5.3 โรงงานที่มีการใช้สารกัมมันตรังสี ต้องจัดทารายงานข้อมูลเกี่ยวกับ ชนิด จานวน แหล่งที่มา วิธีการใช้ และการเก็บรักษาสาร
กัมมันตรังสี ตามแบบ ร.ง.7 ต่อกรมโรงงานอุตสาหกรรม ภายใน 180 วันนับแต่วันเริ่มประกอบกิจการ และให้ส่งรายงานครั้งต่อไป
ทุกปี ภายในวันที่ 30 ธันวาคม และการแจ้งให้สามารถส่งทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอยรับได้ 8.8
8.5.4 โรงงาน ดังต่อไปนี้ ต้องทาการตรวจสอบคุณภาพดินและน้าใต้ดิน การแจ้งข้อมูล รวมทั้งการจัดทารายงานผลการตรวจสอบ
คุณภาพดินและน้าใต้ดิน และรายงานเสนอมาตรการควบคุมและมาตรการลดการปนเปื้อนในดินและน้าใต้ดิน8.9
8.5.4.1 โรงงานต้องจัดทารายงานผลการตรวจสอบคุณภาพดินและน้าใต้ดินเก็บไว้ ก่อนเริ่มประกอบกิจการ เก็บไว้ในโรงงาน
และให้ทาการตรวจวัดครั้งที่ 2 เมื่อครบกาหนด 180 วัน และจัดส่งรายงานทั้ง 2 ครั้ง ให้กรมโรงงานอุตสาหกรรมหรือสานักงาน
อุตสาหกรรมจังหวัดที่โรงงานตั้งอยูภายใน 120 วัน นับจากวันที่ตรวจสอบครั้งที่ 2 หลังจากนั้น ให้ทาการตรวจสอบน้าใต้ดินทุก 1 ปี
และตรวจสอบดินทุก 3 ปี และจัดส่งให้กรมโรงงานให้กรมโรงงานอุตสาหกรรมหรือสานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดที่โรงงานตั้งอยู่
ภายใน 120 วัน และต้องจัดการให้การปนเปื้อนในดินและน้าใต้ดินต้องไม่สูงกว่าเกณฑ์ที่กาหนด
8.5.4.2 การตรวจสอบ ต้องดาเนินการโดยห้องปฏิบัติการวิเคราะห์เอกชนที่ได้ขึ้นทะเบียนไว้กับกรมโรงงานอุตสาหกรรมหรือ
ห้องปฏิบัติการวิเคราะห์อื่นที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมเห็นชอบ
8.5.4.3 ในกรณีที่ปรากฏตามรายงานผลการตรวจ พบว่าการปนเปื้อน ในดินและน้าใต้ดินโรงงานใดสูงกว่าเกณฑ์ที่กาหนด ผู้
ประกอบกิจการโรงงานนั้น ต้องจัดให้มีการทารายงาน เสนอมาตรการควบคุมการปนเปื้อนในดินและน้าใต้ดินและมาตรการลดการ
ปนเปื้อนในดินและน้าใต้ดิน ให้ไม่สูงกว่าเกณฑ์การปนเปื้อนในดินและน้าใต้ดิน และส่งรายงานดังกล่าวให้กรมโรงงานอุตสาหกรรม
หรือสานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดที่โรงงานตั้งอยู่ภายใน 180 วันนับแต่วันที่ตรวจพบว่า ภายในบริเวณโรงงานมีการปนเปื้อนในดิน
และน้าใต้ดินสูงกว่าเกณฑ์การปนเปื้อนในดินและน้าใต้ดิน
112
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 8 การตรวจวัด จัดทารายงานและการส่งรายงาน
8.5.4.4 ต้องจัดทาข้อมูลและแผนผัง ยื่นต่อกรมโรงงานอุตสาหกรรมหรือสานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดที่โรงงานตั้งอยู่ทุกครั้ง
ที่มีการเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมการใช้สารปนเปื้อนภายในบริเวณโรงงาน เพื่อให้พนักงานเจ้าหน้าที่พิจารณาให้ความเห็นชอบ
8.5.4.5 การจัดทารายงานผลการตรวจสอบคุณภาพดินและน้าใต้ดินที่ผู้ประกอบกิจการโรงงานจะต้องยื่นต่อกรมโรงงาน
อุตสาหกรรมหรือสานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดที่โรงงานตั้งอยู่
8.5.4.6 การจัดทารายงานเสนอมาตรการควบคุมการปนเปื้อนในดินและน้าใต้ดินและมาตรการลดการปนเปื้อนในดินและน้า
ใต้ดินให้ไม่สูงกว่าเกณฑ์การปนเปื้อนในดินและน้าใต้ดิน ในกรณีที่ปรากฏตามรายงานผลการตรวจสอบคุณภาพดินและน้าใต้ดิน ให้
เป็นไปตามแบบที่กาหนดในภาคผนวก
8.5.4.7 หลักเกณฑ์การตรวจสอบคุณภาพดินและน้าใต้ดินภายในบริเวณโรงงานให้เป็นไปตามภาคผนวก 8.5.4.8 การ
ตรวจสอบคุณภาพดินและน้าใต้ดินต้องมีการเก็บตัวอย่างดินและน้าใต้ดินตามคู่มือที่อธิบดีกรมโรงงานอุตสาหกรรมกาหนด
8.5.4.9 กรณีที่ผู้ประกอบกิจการโรงงานเห็นว่า โรงงานของตนไม่มีกิจกรรมหรือไม่มีการใช้
หรือเก็บรักษาสารเคมี ของเสีย หรือสิ่งอื่นใดภายในบริเวณโรงงาน ผู้ประกอบกิจการโรงงานอาจแสดงเหตุผลโดยแจ้งเป็นหนังสือต่อ
กรมโรงงานอุตสาหกรรมหรือสานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดที่โรงงานตั้งอยู่ เพื่อขอไม่ดาเนินการเก็บตัวอย่างดินและน้าใต้ดินและให้
ถือว่าการแจ้งดังกล่าวเป็นการตรวจสอบคุณภาพดินและน้าใต้ดิน และจัดทารายงานผลการตรวจสอบคุณภาพดินและน้าใต้ดิน ทั้งนี้
กรมโรงงานอุตสาหกรรมหรือสานักงานอุตสาหกรรมจังหวัด อาจตรวจสอบความถูกต้องของการแจ้งดังกล่าวภายหลังได้
ในกรณีที่การแจ้งถูกต้องตามความเป็นจริง ให้ถือว่าผู้ประกอบกิจการโรงงานนั้น ไม่ได้จัดให้มีการตรวจสอบคุณภาพ
ดินและน้าใต้ดิน และไม่ได้จัดทารายงานผลการตรวจสอบคุณภาพดิน และน้าใต้ดินตามกฎหมาย

113
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 8 การตรวจวัด จัดทารายงานและการส่งรายงาน
8.5.4.10 เพื่อประโยชน์ในการดาเนินการตามกฎหมาย ผู้ประกอบกิจการโรงงาน ต้องแสดงข้อมูลได้ว่าตนเองได้ดาเนินการ
ติดตั้งบ่อสังเกตการณ์ ภายในบริเวณโรงงาน ซึ่งประกอบด้วยบ่อสองประเภท คือ บ่อที่อยู่ในตาแหน่งเหนือน้าเพื่อใช้เป็นบ่ออ้างอิง
(Up-gradient) และบ่อท้ายน้าเพื่อใช้ในการติดตามตรวจสอบการปนเปื้อนจากกระบวนการ (Down-gradient) โดยให้ครอบคลุม
พื้นที่โรงงานที่มีศักยภาพก่อให้เกิดการปนเปื้อนแล้ว
8.5.4.11 หากระดับน้าใต้ดินเฉลี่ยในพื้นที่สถานประกอบกิจการโรงงานอยู่ลึกจากผิวดินเกินกว่า 15 เมตร และพิสูจน์โดย
วิธีการที่ยอมรับได้ว่ามีชั้นหินแข็งอยู่ใต้พื้นที่โรงงานจนไม่สามารถเจาะดินและทาการติดตั้งบ่อสังเกตการณ์เพื่อเก็บตัวอย่างน้าใต้ดิน
ได้ด้วยวิธีการปกติให้ผู้ประกอบกิจการโรงงานเก็บตัวอย่างดินชั้นบนก่อน ถ้าพบว่าดินชั้นบนดังกล่าวมีสารปนเปื้อนเกินกว่าเกณฑ์การ
ปนเปื้อนในดิน ผู้ประกอบกิจการโรงงานต้องดาเนินการตรวจสอบคุณภาพดินและน้าใต้ดินภายในบริเวณโรงงาน โดยละเอียดต่อไป
ทันที
8.5.4.12 การติดตั้งบ่อสังเกตการณ์จะต้องให้มีระดับความลึกของบ่อจากระดับน้าใต้ดินลงไปมากพอเพื่อให้มีปริมาณน้าใต้ดิน
อยู่ในบ่อดังกล่าวเพียงพอเพื่อดาเนินการเก็บตัวอย่างน้าใต้ดินได้
8.5.4.13 ในกรณีที่ผู้ประกอบกิจการโรงงาน มีการติดตั้งบ่อสังเกตการณ์ก่อนประกาศนี้ใช้บังคับถ้าตาแหน่งและความลึกของ
บ่อสังเกตการณ์ดังกล่าวสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของประกาศนี้ ผู้ประกอบกิจการโรงงานอาจใช้บ่อสังเกตการณ์นั้นเก็บตัวอย่างน้า
ใต้ดินก็ได้
ผู้ประกอบกิจการโรงงานอาจใช้บ่อสังเกตการณ์ที่อยู่นอกพื้นที่โรงงานของตนเป็นบ่อสังเกตการณ์ที่ใช้เป็นบ่ออ้างอิง (Up-
gradient) โดยไม่ต้องติดตั้งบ่อสังเกตการณ์เพิ่มเติมก็ได้ หากบ่อดังกล่าวมีตาแหน่งความลึกและมีแนวของทิศทางการไหลของน้าใต้
ดินที่เหมาะสมและผู้ประกอบกิจการโรงงานสามารถเข้าไปเก็บตัวอย่างหรือแสดงผลวิเคราะห์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของ
ประกาศนี้ได้ 114
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 8 การตรวจวัด จัดทารายงานและการส่งรายงาน
8.5.5 โรงงานที่ใช้ระบบทาความเย็น ต้องจัดให้มีวิศวกรที่ได้รับอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรม ที่ขึ้นทะเบียนกับกรมโรงงาน
อุตสาหกรรม ตรวจสอบทดสอบอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง และจัดส่งรายงานผลให้กรมโรงงานอุตสาหกรรมหรือสานักงานอุตสาหกรรมที่
โรงงานตั้งอยู่ ภายใน 30 วันหลังจากทาการตรวจสอบ 8.10
8.5.7 รถฟอร์คลิฟท์ (Forklift) ที่ใช้ก๊าซปิโตรเลี่ยมเหลวเป็นเชื้อเพลิง ถังก๊าซที่ใช้กับรถฟอร์คลิฟท์ ต้องเป็นไปตามมาตรฐาน
ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมถังก๊าซปิโตรเลียมเหลวสาหับรถฟอร์ลิฟท์ ต้องทาการตรวจทดสอบรับรองการติดตั้งถังก๊าซและส่วนควบของ
ระบบก๊าซ โดยวิศวกรผู้ได้รับใบอนุญาตให้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรม 8.11
8.5.8 หลักเกณฑ์การพิจารณาอนุญาตประเภทหรือชนิดของโรงงาน ลาดับที่ 105 และลาดับที่ 106 ต้องดาเนินการดังนี้ 8.12
8.5.8.1 โรงงานดัดแยกหรือโรงงานฝังกลบ หรือโรงงานคัดแยกและฝังกลบ สิ่งปฏิกูลหรือวัสดุไม่ใช้แล้วที่ไม่เป็นอันตราย ใน
การขออนุญาต ต้องแนบรายงานเกี่ยวกับการศึกษาและมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบต่อคุณภาพสิง่ แวดล้อม
8.5.8.2 โรงงานดัดแยกหรือโรงงานฝังกลบ หรือโรงงานคัดแยกและฝังกลบ สิ่งปฏิกูลหรือวัสดุไม่ใช้แล้วที่เป็นอันตราย ในการ
ขออนุญาต ต้องแนบรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม
8.5.8.3 ในรายงานอย่างน้อยต้องประกอบด้วย
(1) รายละเอียดโครงการและการเลือกสถานที่ตั้ง เช่น ขั้นตอนการดาเนินงาน กระบวนการผลิต ปริมาณสิงปฏิกูลหรือ
วัสดที่ไม่ใช้แล้ว (ของเสีย) ที่นามาฝังกลบ ปริมาณละชนิด ของมลสารที่เกิดขึ้น บัญชีเครื่องจักร ที่ใช้ตามขั้นตอนการผลิต ปริมาณ
การใช้พลังงาน เชื้อเพลิง หรือไฟฟ้า (หากมี) ตลอดจนวิธีพิจารณาเลือกสถานที่ตั้งของหลุมฝังกลบ

8.10 กฎกระทรวง กาหนดมาตรการความปลอดภัยเกี่ยวกับระบบทาความเย็น ที่ใช้แอมโมเนียเป็นสารทาความเย็นในโรงงาน พ.ศ.2554


8.11 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง รถฟอร์คลิฟท์ (Forklift) ที่ใช้ก๊าซปิโตรเลี่ยมเหลวเป็นเชื้อเพลิง พ.ศ.2545 115
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 8 การตรวจวัด จัดทารายงานและการส่งรายงาน
(2) รายละเอียดการออกแบบ และก่อสร้างหลุมฝังกลบ สิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว ระบบบาบัดน้าชะหรือน้าเสียจากหลุม
ฝังกลบ ตลอดจนบ่อตรวจวัดคุณภาพน้าใต้ดิน
(3) สภาพแวดล้อมในปัจจุบัน เช่น คุณภาพและปริมาณของแหล่งน้าใต้ดินและผิวดิน ระดับน้าใต้ดิน ชั้นดิน คุณภาพอากาศ
ตลอดจนการประมง สัตว์ป่า ป่าไม้ การขนส่ง เกษตรกรรม น้าใช้ ไฟฟ้า และการใช้ที่ดิน
(4) การวิเคราะห์ผลกระทบ เช่น วิเคราะห์ระดับความรุนแรงของผลกระทบของโครงการที่มีต่อสภาพแวดล้อมในปัจจุปัน
(5) มาตรการควบคุม ป้องกัน และหรือแก้ไขเพื่อลดผลกระทบ
(6) การหมุนเวียนใช้ประโยชน์ของเสีย เช่น วิธีการที่จะนาของเสียมาใช้ประโยชน์ใหม่ เพื่อเป็นการประหัดวัตถุดิบและลด
ปริมาณมลสารที่เกิดขึ้น
(7) การติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม เช่น แสดงแผนงานที่โรงงาน จะดาเนินการเก็บตัวอย่างน้าอากาศ ในบริเวณ
แหล่งที่จะได้รับผลจากโครงการ โดบรอบบริเวณโรงงาน โดยกาหนดจุดเก็บตัวอย่าง เวลาที่เก็บตัวอย่าง จานวนตัวอย่าง ความถี่
ตลอดจนวิธีการวิเคราะห์ตัวอย่างเหล่านั้น
8.5.9 หลักเกณฑ์และวิธีการแจ้งรายละเอียดเกี่ยวกับสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วจากโรงงาน โดยสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (Internet)
พ.ศ.2547 8.13
8.5.9.1 ให้แจ้ง ชนิด ปริมาณ และชื่อผู้รับบาบัดหรือกจัด ทุกครั้งทันทีที่มีการนาสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วออกนอก
โรงงาน ทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (Internet)
8.5.9.2 โรงงานผู้รับบาบัด เมื่อรับมอบสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว จากผู้ประกอบกิจการโรงงาน ให้แจ้งข้อมูลไปยังกรม
โรงงานอุตสาหกรรมทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (Internet) ทันที
8.13 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการแจ้งรายละเอียดเกี่ยวกับสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วจากโรงงาน โดยสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (Internet) พ.ศ.2547
116
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 8 การตรวจวัด จัดทารายงานและการส่งรายงาน
8.5.10 โรงงานผู้ผลิตเชื้อเพลิงทดแทนน้ามันเตา หรือนาเอาน้ามันใช้แล้วไปผสมกับวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว (Used Oil Procssor or Waste
Blender) ชนิดต่าง ๆ เพื่อผลิตเป็นเชื้อเพลิงสังเคราะห์ ต้องได้รับอนุญาตประกอบกิจการโรงงาน ตามประเภทหรือชนิดของโรงงาน
ลาดับที่ 106 ต้องดาเนินการดังนี้ 8.14
8.5.10.1 ต้องนาไปใช้ในเตาอุตสาหกรรม (Industrial Furnace) ดังนี้
(1) เตาที่ใช้ในกระบวนการผลิตของโรงงาน ถลุง หลอม หล่อ รีด ดึง หรือผลิตเหล็กหรือเหล็กกล้าขั้นต้น (ชนิดของ
โรงงานลาดับที่ 59)
(2) เตาที่ใช้ในกระบวนการผลิตของโรงงานถลุง ผสม ทาให้บริสุทธิ์ หลอมหล่อ รีด ดึง หรือผลิตโลหะในขั้นต้น ซึ่งมิใช่
เหล็กหรือเหล็กกล้า (ชนิดของโรงงานลาดับที่ 60)
(3) เตาที่ใช้ในกระบวนการผลิตของโรงงานผลิต ส่ง หรือจาหน่ายพลังงานไฟฟ้า (ชนิดของโรงงาน ลาดับที่ 88)
(4) อุปกรณ์ให้ความร้อน (Heating Device) ที่ใช้ในกระบวนการผลิตของโรงงาน ประกอบกิจการเกี่ยวกับการทา
ผลิตภัณฑ์คอนกรีต ผลิตภัณฑ์คอนกรีตผสม ผลิตภัณฑ์ยิปซัม หรือผลิตภัณฑ์ปูนปลาสเตอร์ (ชนิดของโรงงาน ลาดับที่ 58 (1) )
(5) หม้อไอน้า (Boiler) ในกระบวนการผลิตทั่วไป
8.5.10.2 ต้องตรวจสอบคุณลักษณะและคุณภาพตามองค์ประกอบของเชื้อเพลิง ทุกครั้งอย่างน้อยแต่ละชุด (Batch) ของการ
ผลิต โดยห้องวิเคราะห์ของเอกชนที่ขึ้นทะเบียนกับกรมโรงงานอุตสาหกรรมหรือห้องวิเคราะห์ของทางราชการ และให้รายงานให้กรม
โรงงานอุตสาหกรรมถึงปริมาณและคุณภาพ พร้อมแจ้งรายชื่อโรงงานที่นาไปใช้เป็นรายเดือน
8.14
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง กาหนดลักษณะของน้ามันใช้แล้วที่ผ่านการปรับคุณภาพ และเชื้อเพลิงสังเคราะห์ ที่จะนามาใช้เป็นเชื้อเพลิงในเตา
อุตสาหกรรม เพื่อทดแทนน้ามันเตา พ.ศ.2547,ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง กาหนดชนิดและประเภทของเตาอุตสาหกรรมที่นาน้ามันใช้แล้วที่ปรับ
คุณภาพ หรือเชื้อเพลิงสังเคราะห์ไปใช้งาน พ.ศ.2547 117
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 8 การตรวจวัด จัดทารายงานและการส่งรายงาน
8.5.11 การจัดส่งรายงาน สิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว ของโรงงาน 8.15
8.5.11.1 ผู้ก่อกาเนิดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว
(1) ต้องส่งรายงานประจาปี ตามแบบ สก.3 แก่กรมโรงงานอุตสาหกรรม ทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ภายในวันที่ 1 มีนาคม
ของปีถัดไป
(2) ผู้ก่อกาเนิดของเสียอันตราย หรือ ผู้บาบัดและกาจัดของเสียอันตราย สามารถแต่งตั้งตัวแทนเพื่อรวบรวมและขนส่ง
และต้องรับภาระความรับผิด (liability) ร่วมกับตัวแทน ต้องส่งรายงานประจาปีให้แก่กรมโรงงานอุตสาหกรรม ตามแบบ สก.4
ภายในวันที่ 1 มีนาคม ของปีถัดไป
8.5.11.2 ผู้รับบาบัดและกาจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว ต้องส่งรายงาน ดังนี้
(1) ต้องส่งรายงานประจาปีให้แก่กรมโรงงานอุตสาหกรรม ตามแบบ สก.5 ทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ภายในวันที่ 1 มีนาคม ของ
ปีถัดไป
(2) ต้องส่งรายงานการรับบาบัดและกาจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว ตามแบบ สก.6 ในแต่ละวัน ทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์
และต้องจัดเก็บไว้เป็นหลักฐาน ไม่น้อยกว่า 1 ปี
(3) ต้องส่งรายงานการเข้าสู่ ระบบรับบาบัดหรือกาจัด ตามแบบ สก.7 ในแต่ละวัน ทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ และต้องจัดเก็บไว้
เป็นหลักฐาน ไม่น้อยกว่า 1 ปี
(4) ต้องทาการบาบัดหรือกาจัด สิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว ที่เป็นของเสียไม่อนั ตราย ภายใน 30 วัน และที่เป็นของเสีย
อันตราย ภายใน 15 วัน หากจาเป็นต้องขยายระยะเวลาการบาบัดหรือกาจัด ต้องแจ้งต่อกรมโรงงานอุตสาหกรรม หรือหน่วยงานที่
ได้รับมอบหมายภายใน 5 วัน ก่อนครบระยะเวลาที่กาหนด โดยต้องแสดงเหตุผลและความจาเป็นประกอบการพิจารณาอนุญาตด้วย
8.15 ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดการสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว ของผู้ประกอบกิจการบาบัดและกาจัดสิ่ง
118
ปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว พ.ศ. 2550
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 8 การตรวจวัด จัดทารายงานและการส่งรายงาน
(5) ผู้ประกอบกิจการรับบาบัดหรือกาจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว โดยวิธีการ นามาผสมเพื่อใช้เป็นเชื้อเพลิงผสมหรือวัตถุดิบ
ทดแทนในเตาเผาปูนซีเมนต์ เตาเผาปูนขาว หรือเตาเผาที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมได้ให้ความเห็นชอบ ต้องดาเนินการ ดังต่อไปนี้
(ก) ต้องจัดทารายงานการส่งเชื้อเพลิงผสมหรือวัตถุดิบทดแทน ตามแบบ สก.8 ทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ทุก ๆ 30 วัน และส่ง
ให้กรมโรงงานอุตสาหกรรม หรือหน่วยงานที่ได้รับมอบหมาย ภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป
(ข) ต้องส่งรายงาน ตามแบบ สก.6 สก.7 ทุก 30 วัน โดยให้ส่งภายในวันที่ 1 ของเดือนถัดไป
(6) ผู้ประกอบกิจการรับบาบัดหรือกาจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วโดยวิธีการเผาในเตาเผาปูนซีเมนต์ เตาเผาปูนขาว หรือเตาเผาที่
กรมโรงงานอุตสาหกรรมได้ให้ความเห็นชอบ ต้องดาเนินการ ดังต่อไปนี้
(ก) ต้องจัดทาบัญชีการรับมอบผลิตภัณฑ์จากผู้รับบาบัดหรือกาจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วตามแบบ สก.9 ให้เป็น
ปัจจุบันทุก 30 วันและต้องจัดส่งให้กรมโรงงานอุตสาหกรรม หรือหน่วยงานที่ได้รับมอบหมายภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป และ
แจ้งทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ด้วย
(ข) ต้องออกหลักฐานการรับมอบผลิตภัณฑ์ให้ผู้รับบาบัดหรือกาจัดสิ่งปฏิกูล หรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วตาม แบบ สก.9 ทุกครั้งที่มี
การรับมอบ และต้องจัดเก็บสาเนาหลักฐานการรับมอบไว้ไม่น้อยกว่า 1 ปีนับตั้งแต่วันที่รับมอบ
(7) ผู้ประกอบกิจการรับบาบัดหรือกาจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว โดยวิธีการฝังกลบ(เฉพาะของเสียอันตราย) ต้องจัดจ้างบริษัทที่
ปรึกษาที่ได้รับความเห็นชอบจากกรมโรงงานอุตสาหกรรมทาหน้าที่ควบคุมดูแลระบบป้องกันสิ่งแวดล้อมที่มคี วามรู้เฉพาะด้าน และ
ทาหน้าที่ในการจัดทารายงาน สก.6 และสก.7 ส่งให้กรมโรงงานอุตสาหกรรม หรือหน่วยงานที่ได้รับมอบหมายทุก 15 วัน โดยให้
จัดส่งภายในวันที่ 1 และวันที่ 16 ของเดือนถัดไป
8.15 ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดการสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว ของผู้ประกอบกิจการบาบัดและกาจัดสิ่ง
119
ปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว พ.ศ. 2550
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 8 การตรวจวัด จัดทารายงานและการส่งรายงาน
8.5.12 กาหนดมาตรการคุ้มครองความปลอดภัยในการประกอบกิจการโรงงาน ที่เกี่ยวกับการผลิต การเก็บ การบรรจุ การใช้ และ
การขนส่งก๊าซ ต้องดาเนินการดังนี้ 8.16
(1) ภาชนะบรรจุก๊าซใหม่ ที่นามาใช้เพื่อการเก็บ บรรจุ และขนส่งก๊าซ ในโรงงานผลิตหรือบรรจุก๊าซ ต้องได้รับการออกแบบ
ใช้วัสดุ คานวณ สร้าง ติดตั้งอุปกรณ์อานวยความปลอดภัย และทดสอบให้เป็นไปตามมาตรฐานผลิคภัณฑ์อุตสาหกรรมว่าด้วยภาชนะ
บรรจุก๊าซ และต้องมีเอกสารรับรองจากหน่วยตรวจสอบที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมเห็นชอบ
(2) กรณีเป็นท่อบรรจุก๊าซใหม่ ให้เป็นไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุสาหกรรมภาชนะบรรจุทนแรงดันแบบไม่มีตะเข็บ หรือ
ข้อกาหนด หรือมาตรฐานสากลที่ยอมรับ และต้องมีเอกสารรับรองจากหน่วยตรวจสอบที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมเห็นชอบ
(3) กรณีภาชนะบรรจุใช้แล้ว ก่อนนามาใช้เพื่อการเก็บ บรรจุ และขนส่งก๊าซ ในโรงงานผลิตหรือบรรจุ ต้องผ่านการตรวจ
ทดสอบสภาพตาม แบบ วิธีการ และระยะเวลา ตามที่มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมกาหนด โดยต้องมีเอกสารรับรองจากหน่วย
ตรวจสอบที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมเห็นชอบ
(4) กรณีที่เป็นท่อบรรจุใช้แล้ว ต้องผ่านการตรวจทดสอบสภาพตาม แบบ วิธีการ และระยะเวลา ตามที่มาตรฐาน
ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมกาหนด และการซ่อมบารุง ภาชนะบรรจุก๊าซทนความดัน โดยต้องมีเอกสารรับรองจากหน่วยตรวจสอบที่กรม
โรงงานอุตสาหกรรมเห็นชอบ
(5) การนาภาชนะบรรจุใช้แล้ว จากต่างประเทศ เข้ามาใช้ เก็บ บรรจุ และขนส่งก๊าซ ในโรงงานต้องมีเอกสารแสดงว่า ภาชนะ
บรรจุก๊าซนั้น ได้รับการออกแบบ ใช้วัสดุ คานวณ สร้าง ติดตั้ง อุปกรณือานวยความปลอดภัย และทดสอบตามมาตรฐานสากลที่ยอม
โดยต้องมีเอกสารรับรองจากหน่วยตรวจสอบที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมเห็นชอบ
8.16
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง กาหนดมาตรการคุ้มครองความปลอดภัยในการประกอบกิจการโรงงาน ที่เกี่ยวกับการผลิต การเก็บ การบรรจุ การใช้
120
และการขนส่งก่ซ พ.ศ.2548
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 8 การตรวจวัด จัดทารายงานและการส่งรายงาน
(6) ท่อบรรจุก๊าซที่นามาใช้ในการบรรจุก๊าซ ที่ใช้ในอุตสาหกรรม ต้องทาสีและสัญลักษณ์ให้เป็นไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์
อุตสาหกรรมสีและสัญลักษณ์ สาหรับภาชนะบรรจุก๊าซที่ใช้ในทางอุตสาหกรรม
(7) ท่อบรรจุก๊าซที่นามาใช้ในการบรรจุก๊าซ ที่ใช้ในทางการแพทย์ ต้องทาสีและสัญลักษณ์ให้เป็นไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์
อุตสาหกรรมสีและสัญลักษณ์ สาหรับภาชนะบรรจุก๊าซที่ใช้ในทางการแพทย์
(8) ท่อบรรจุก๊าซ ต้องมีเครื่องหมายดังนี้
(ก) ชื่อก๊าซที่บรรจุ เป็นภาษาไทย และสูตรเคมีของก๊าซ โดยใช้อักษรสีขาวที่ตัวท่อ
(ข) ขนาดสูงไม่ต่ากว่า 1 ใน 8 ของเส้นผ่าศูนย์กลางของท่อบรรจุก๊าซ
(9) ถังเก็บก๊าซ ต้องมีเครื่องหมายติดอยู่ที่ถังเก็บก๊าซดังนี้
(ก) ชื่อก๊าซที่บรรจุเป็นภาษาไทย และสูตรเคมีของกาซที่บรรจุ โดยใช้อักษรสีดา
(ข) ข้อความเตือนเกี่ยวกับคุณสมบัติควาทเป็นอันตรายของก๊าซที่ใช้บรรจุ
(10) สี สัญลักษณ์ และเครื่องหมายของภาชนะบรรจุก๊าซพิเศษ หรือก๊าซผสม ที่นาเข้า หรือส่งออกต่างประเทศ ให้เป็นไปตาม
มาตรฐานสากล
(11) การขนส่งท่อบรรจุก๊าซ บนรถขนส่ง ต้องตั้งอยู่ในแนวตั้ง (Vertical) และต้องมีสายรัดท่อบรรจุหรือวิธีการอื่นเพื่อยึดให้
วางอยู่ในแนวตั้งที่มันคงแข็งแรง กางนาลงสู่พื้นห้ามใช้ในลักษณะตกตะแทรก และในการขนส่ง ต้องจัดให้มีอุปกรณ์ดับเพลิง อย่าง
พอเพียง เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ

8.16
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง กาหนดมาตรการคุ้มครองความปลอดภัยในการประกอบกิจการโรงงาน ที่เกี่ยวกับการผลิต การเก็บ การบรรจุ การใช้
121
และการขนส่งก่ซ พ.ศ.2548
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 8 การตรวจวัด จัดทารายงานและการส่งรายงาน
8.5.13 ต้องตรวจสอบ ทดสอบ และบารุงรักษาระบบและอุปกรณ์สาหรับป้องกันและระงับอัคคีภัย ให้สามารถพร้อมทางานได้
ตลอดเวลา เป็นไปตามมาตรฐาน และเก็บเอกสารไว้ที่โรงงานจัดให้มีการฝึกอบรมเรื่องการป้องกันและระงับอัคคีภัย และเก็บเอกสาร
ไว้ที่โรงงาน 8.17
8.5.14 การปฏิบัติงานในโรงงานซึ่งมีความเกี่ยวข้องหรือทาให้เกิดประกายไฟหรือความร้อน
ที่เป็นอันตราย ต้องจัดทาระบบการอนุญาตทางานที่มีประกายไฟหรือความร้อนที่เป็นอันตราย (Hot Work Permit System) ให้
เป็นไปตามหลักวิชาการด้านความปลอดภัยโดยมีเอกสารหลักฐาน ที่สามารถตรวจสอบได้
8.5.15 การใช้ การจัดเก็บ การขนถ่ายหรือขนย้าย ตลอดจนการจัดการต่าง ๆ เกี่ยวกับสารไวไฟและสารติดไฟ ให้ปฏิบัติตาม
ข้อกาหนดที่ระบุไว้ในเอกสารข้อมูลความปลอดภัย (Safety Data Sheet) ของสารนั้น
8.5.16 ผู้ประกอบกิจการโรงงานต้องจัดให้มีแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในโรงงาน ประกอบด้วยแผนการตรวจสอบความปลอดภัย
ด้านอัคคีภัย แผนการอบรมเรื่องการป้องกันและระงับอัคคีภัย แผนการดับเพลิง และแผนการอพยพหนีไฟ โดยเก็บแผนนี้ไว้ที่โรงงาน
และต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามแผน
8.5.17 โรงงานทีต้องทารายงานเกี่ยวกับการศึกษามาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย
ดังนี้ 8.18
(1) ด้านสิ่งแวดล้อม
(ก) ข้อมูลรายละเอียดของโครงการ ได้แก่ ที่ตั้งแผนที่ ผังโครงการขั้นตอน กระบวนการผลิต ระบบน้าใช้และการ
ระบายน้า ระบบพลังงาน ระบบการติดต่อสื่อสารการใช้เชื้อเพลิง วัตถุดิบและสารเคมี
8.17 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การป้องกันและระงับอัคคีภัยในโรงงาน พ.ศ. 2552[12]
8.18 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การทารายงานเกี่ยวกับการศึกษามาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย
122
พ.ศ.2552 [13] ฉบับที่ 3 (พ.ศ.2559)
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 8 การตรวจวัด จัดทารายงานและการส่งรายงาน
(ข) ข้อมูลในสภาพแวดล้อมปัจจุบันที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ คุณภาพอากาศคุณภาพผิวดิน คุณภาพน้าใต้ดิน คุณภาพน้า
ทะเล การใช้ประโยชน์ที่ดิน และการคมนาคม
(ค) ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และระดับความรุนแรงของการประกอบกิจการโรงงาน
(ง) มาตรการป้องกันและแก้ไขเพื่อลดผลกระทบที่ได้
(2) ด้านความปลอดภัย
(ก) ประเมินและวิเคราะห์อนั ตรายที่อาจเกิดขึ้นจากโรงงานในแต่ละด้านได้แก่ การเก็บ การขนถ่าย การใช้วัตถุดิบ
เชื้อเพลิง สารเคมี ผลิตภัณฑ์ อุปกรณ์ที่ใช้ ตลอดจนกระบวนการผลิต และขั้นตอนการปฏิบัติงาน
(ข) จัดทามาตรการควบคุมความป้องกันหรือแก้ไขเพื่อลดผลกระทบจากการประเมินและวิเคราะห์อนั ตราย ที่อาจทา
ให้เกิดอันตรายถึงชีวิต ทุพพลภาพไฟไหม้ ระเบิด สารเคมีรั่วไหล รวมทั้งจัดให้มีระบบป้องกัน ระงับอัคคีภัย และแผนฉุกเฉิน
(ค) จัดให้มีระบบบริหารจัดการด้านความปลอดภัย เพื่อจัดทาแผนงานและติดตามผลการดาเนินงาน
8.5.18 มาตรการคุ้มครองความปลอดภัยในการดาเนินการ (การประเมินความเสี่ยง) ดังนี้ 8.19
8.5.18.1 โรงงานที่ต้องจัดทา มาตรการคุ้มครองความปลอดภัยในการดาเนินการ
8.5.18.2 การจัดทารายงานการศึกษา วิเคราะห์ และทบทวน การดาเนินงานเพื่อชี้บ่งอันตราย ประเมินความเสี่ยงและจัดทา
แผนการจัดการความเสี่ยง ต้องจักทาโดยบุคลากรในโรงงานอย่างน้อย 3 คน ดังนี้
(1) มีความรู้ ความเข้าใจ และประสบการณ์ ในส่วนที่เกี่ยวข้อง กับการประกอบกิจการโรงงาน เช่น เทคโนโลยีการ
ผลิต กระบวนการผลิต การซ่อมบารุง เครื่องจักรหรืออุปกรณ์ วัตถุดิบ ผลิตภัณฑและวัตถุพลอยได้ เป็นต้น
8.19 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมเรื่อง มาตรการคุ้มครองความปลอดภัยในการดาเนินการ (ฉบับที่ 4 ) พ.ศ.2552[14]
ระเบียบกรมโรงงานอุตสาหกรรม ว่าด้วยหลักเกณฑ์การชี้บงอันตราย การประเมินความเสี่ยงและการจัดทาแผนงานบริหารจัดการความเสี่ยง พ.ศ.2543[3] 123
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 8 การตรวจวัด จัดทารายงานและการส่งรายงาน
(2) มีความรู้ความเข้าใจ และประสบการณ์ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมการทางาน
(3) มีความรู้ และความเข้าใจในการชี้บ่งอันตราย การประเมินความเสี่ยง และการบริหารจัดการความเสี่ยง
8.5.18.3 ขั้นตอนการศึกษา
1) ทาการศึกษาและจัดทาบัญชีรายการสิ่งที่เป็นความเสี่ยงและอันตรายและผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นต่อบุคคล ชุมชน
ทรัพย์สิน หรือสิ่งแวดล้อม
2) เลือกวิธีการชี้บ่งอันตรายที่เหมาะสม โดยระบุถึงเหตุการณ์ อุบัติเหตุ อุบัติภัยร้ายแรง อันตรายที่เกิดขึ้นได้หรือผลที่จะเกิด
ตามมา
8.15.8.4 ทาการประเมินความเสี่ยง โดยพิจารณษโอกาส และความรุนแรงที่อาจเกิดขึ้น จากรายการที่เป็นความเสี่ยง และอันตราย
นั้น ในการพิจารณานั้นต้องคานึงถึงลาดับเหตุการณ์ เงื่อนไขหรือปัจจัยที่เป็นต้นเหตุในการเกิดด้วย
8.15.8.5 จัดระดับความเสี่ยง
8.15.8.6 จัดทาแผนงานบริหารจัดการความเสี่ยง (แผนลดความเสี่ยง และแผนควบคุมความเสี่ยง)
8.15.8.7 รายงานการวิเคราะห์ความเสี่ยง อย่างน้อยประกอบด้วย
(1) ข้อมูลรายละเอียดการประกอบกิจการ (2) บัญชีรายการสิ่งที่เป็นความเสี่ยง และอันตราย
(3) ข้อมูลรายละเอียดการชี้บ่งอันตรายและการประเมินความเสีย่ งและอันตราย
(4) ข้อมูลรายละเอียดแผนงานบริหารจัดการความเสี่ยง
(5) บทสรุปผลการศึกษา วิเคราะห์ และทบทวนการดาเนินงานที่มีความเสี่ยงอยู่ในระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ ความเสี่ยงสูง
ความเส่ยงที่ยอมรับไม่ได้ รวมทั้งแผนงานลดความเสี่ยงและควบคุมความเสีย่ ง
124
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 8 การตรวจวัด จัดทารายงานและการส่งรายงาน
8.15.8.8 วิธีการชี้บ่งอันตรายตามกฏหมายโรงงาน ให้ใช้ได้ดังนี้
(1) Checklist เป็นวิธีการชี้บ่งอันตราย โดยใช้แบบตรวจ เผื่อตรวจสอบว่า ปฏิบัติตามมาตรฐาน การออกแบบ มาตรฐานการ
ปฏิบัติงาน หรือกฎหมาย
(2) What If Analysis เป็นวิธีการชีบ่งอันตราย โดยการใช้คาถาม “จะเกิดอะไรขึ้น....ถ้า.....” (What If) และหาคาตอบในคาถาม
เหล่านั้น วิธีนี้ครอบคลุม ทั้ง กรณีเกิดเพลิงไหม้ ระเบิด สารเคมีหรือวัตถุอันตรายรั่วไหล
(3) Hazard and Operability Study (HAZOP) เป็นวิธีการชีบ่ ่งอันตราย โดยวิเคราะห์หาอันตรายและปัญหาของระบบต่าง ๆ ซึ่ง
อาจจะเกิดจากความไม่สมบูรณื ในการออกแบบ ที่เกิดขึ้นโดยไม่ตั้งใจ ด้วยการตั้งคาถาม ที่สมมติสถานการณ์ ความผิดปกติ ของการ
ผลิตในสภาวะต่าง ๆ เช่น อัตราการไหล อุณหภูมิ ความดันเป็นต้น ตาม HAZOP Guride Words
(4) Fault Tree Analysis เป็นวิธีการชี้บ่งอันตราย ที่เน้นถึงอุบัติเหตุหรืออุบัติภัยร้ายแรง ที่เกิดขึ้นหรือคาดว่าจะเกิดขึ่น เหตุการณ์
แรกก่อนแล้วนามาแจกแจงเหตุการณ์ย่อยว่าเกิดขึ้นได้อย่างไร เช่น เกิดขึ้นจากความบกพร่องของเครื่องจักร อุปกรณ์หรือความ
ผิดพลาดจากการปฏิบัติงาน โดยใช้สัญลักษณ์ ในการวิเคราะห์ การชี้บ่งอันตราย
(5) Faillure Modes and Effecfs Analysis (FMEA) เป็นวิธีชี้บ่งอันตราย ที่ใช้วิเคราะห์ ในรูปแบบความล้มเหลว ที่เกิดขึ้น ซึ่งเป็น
การตรวจสอบชิ้ยส่วนเครื่องจักร อุปกรณ์ ในแต่ละส่วนของระบบ แล้วนามาวิเคราะห์หาผลที่จะเกิดขึ้น เมื่อเกิดความล้มเหลว ของ
เครื่องจักรอุปกรณ์ ผู้วิเคราะห์ต้องมีความรู้พื้นฐานด้านโครงสร้าง และการปฏิบัติงานของชิ้นส่วนนั้น ๆ อย่างเพียงพอ เพื่อที่จะ
สามารถชี้ได้ว่า ความสัมพันธ์ ระหว่างกับแบบไหนที่เป็นอันตราย และแบบไหนทีผ่ ิดไปจากระบบที่ได้ออกแบบไว้
(6) Event Tree Analysis เป็นวิธีการชี้บ่งอันตราย ที่จะเกิดขึ้นเมื่อเกิดเหตุการณ์แรกขึ้น (Initiating Event) ซึ่งเป็นการคิดเพื่อ
คาดการณ์ล่วงหน้า เพื่อวิเคราะห์หาผลสืบเนื่องทีจ่ ะเกิดขึ้น เมื่อเครื่องจักรอุปกรณ์เสียหายหรือคนงานทางานผิดพลาด
125
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 8 การตรวจวัด จัดทารายงานและการส่งรายงาน
ผู้ประกอบกิจการโรงงาน อาจเลือกใช้วิธีชีบ่งอันตราย อื่น ๆ ได้แต่ต้องส่งวิธีการให้กรมโรงงานอุตสาหกรรมเห็นชอบก่อน
การจัดระดับโอกาสในการเกิดเหตุการณ์ ต่างๆ
ระดับ รายละเอียด
1 มีโอกำสในกำรเกิดยำก เช่น ไม่เคยเกิดเลยในช่วงเวลำตั้งแต่ 10 ปีขึ้นไป
2 มีโอกำสในกำรเกิดน้อย เช่น ควำมถี่ในกำรเกิด เกิดขึ้น 1 ครั้ง ในช่วง 5-10 ปี
3 มีโอกำสในกำรเกิดปำนกลำง เช่น ควำมถี่ในกำรเกิด เกิดขึ้น 1 ครั้ง ในช่วง 1-5 ปี
4 มีโอกำสในกำรเกิดสูง เช่น ควำมถี่ในกำรเกิด เกิดขึ้นมำกกว่ำ 1 ครั้ง ใน 1 ปี
กำรจัดระดับควำมรุนแรงของเหตุกำรณ์ต่ำง ๆ ที่ส่งผลกระทบต่อบุคคล
ระดับ ความรุนแรง รายละเอียด
1 เล็กน้อย มีกำรบำดเจ็บเล็กน้อยในระดับปฐมพยำบำล
2 ปำนกลำง มีกำรบำดเจ็บที่ต้องได้รับกำรรักษำทำงกำรแพทย์
3 สูง มีกำรบำดเจ็บหรือเจ็บป่วยสำหัส ต้องพักรักษำตัวในโรงพยำบำล
4 สูงมำก ทุพพลภำพ หรือเสียชีวิต

126
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 8 การตรวจวัด จัดทารายงานและการส่งรายงาน

การจัดระดับความรุนแรงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่ส่งผลกระทบต่อชุมชน
ระดับ ความรุนแรง รายละเอียด
1 เล็กน้อย ไม่มีผลกระทบต่อชุมชนรอบที่ทำกำร หรือมีผลกระทบเล็กน้อย
2 ปำนกลำง มีผลกระทบต่อชุมชนรอบที่ทำกำร และแก้ไขได้ในระยะอันสั้น
3 สูง มีผลกระทบต่อชุมชนรอบที่ทำกำร และต้องใช้เวลำในกำรแก้ไข
4 สูงมำก มีผลกระทบรุนแรงต่อชุมชนเป็นบริเวณกว้ำง หรือหน่วยงำนของรัฐต้องเข้ำดำเนินกำรแก้ไข

กำรจัดระดับควำมรุนแรงของเหตุกำรณ์ต่ำง ๆ ที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
ระดับ ความรุนแรง รายละเอียด
1 เล็กน้อย มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมเล็กน้อย สำมำรถแก้ไขหรือควบคุมได้
2 ปำนกลำง มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมปำนกลำง สำมำรถแก้ไขในระยะเวลำไม่เกิน 1 เดือน
3 สูง มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมรุนแรง ต้องใช้เวลำในกำรแก้ไข ระหว่ำง 1 – 6 เดือน
4 สูงมำก มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมรุนแรงมำก ต้องใช้ทรัพยำกรและเวลำนำนในกำรแก้ไข มำกกว่ำ
6 เดือน

127
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 8 การตรวจวัด จัดทารายงานและการส่งรายงาน

การจัดระดับความรุนแรงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่ส่งผลกระทบต่อทรัพย์สิน
ระดับ ความรุนแรง รายละเอียด
1 เล็กน้อย ทรัพย์สินเสียหำยน้อยมำกหรือไม่เสียหำยเลย
2 ปำนกลำง ทรัพย์สินเสียหำยปำนกลำงและสำมำรถดำเนินกำรผลิตต่อไปได้
3 สูง ทรัพย์สินเสียหำยมำกและต้องหยุดกำรผลิตในบำงส่วน
4 สูงมำก ทรัพย์สินเสียหำยมำกและต้องหยุดกำรทั้งหมด
กำรจัดระดับควำมเสี่ยงอันตรำย
ระดับความเสี่ยง ผลลัพธ์ ความหมาย
1 1-2 ควำมเสี่ยงเล็กน้อย
2 3-6 ควำมเสี่ยงที่ยอมรับได้ ต้องมีกำรทบทวนมำตรกำรควบคุม
3 8-9 ควำมเสี่ยงสูง ต้องมีกำรดำเนินกำรเพื่อลดควำมเสี่ยง
4 12-16 ควำมเสี่ยงที่ยอมรับไม่ได้ ต้องหยุดกำรดำเนินกำรและปรับปรุงแก้ไขเพื่อ
ลดควำมเสี่ยงลงทันที
8.15.8.9 มาตรการระงับและฟื้นฟูเหตุการณ์ ได้แก่
(1) จัดทาและจัดให้มีการซ้อมแผนฉุกเฉิน
(2) จัดให้มีการสอบสวนอุบัติเหตุ และอุบัติการณ์
(3) จัดให้มีแผนฟื้นฟูโรงงาน ชุมชน และสิ่งแวดล้อมซึ่งเป็นผลจากการชี้บ่งอันตรายและการประเมินความเสี่ยง 128
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 8 การตรวจวัด จัดทารายงานและการส่งรายงาน

8.15.9 กาหนดวัตถุดิบที่จะนามาใช้หรือผลิตและคุณภาพของผลิตภัณฑ์ที่ผลิตในโรงงานสาหรับผลิตภัณฑ์เหล็ก ชนิด คุณภาพ และ


อัตราส่วนของวัตถุดิบที่จะนามาใช้หรือผลิตในโรงงานสาหรับ
ผลิตภัณฑ์เหล็กให้เป็นไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่กาหนดขึ้นตามกฎหมายว่าด้วยมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
ดังต่อไปนี้ 8.20
8.15.9.1 เหล็กเส้นเสริมคอนกรีต : เหล็กเส้นกลม ให้เป็นไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเหล็กเส้นเสริมคอนกรีต :
เหล็กเส้นกลม (มาตรฐานเลขที่ มอก. 20)
8.15.9.2 เหล็กเส้นเสริมคอนกรีต : เหล็กข้ออ้อย ให้เป็นไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเหล็กเส้นเสริมคอนกรีต :
เหล็กข้ออ้อย (มาตรฐานเลขที่ มอก. 24)
8.15.9.3 เหล็กโครงสร้างรูปพรรณรีดร้อน ให้เป็นไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเหล็กโครงสร้างรูปพรรณรีดร้อน
(มาตรฐานเลขที่ มอก. 1227)
8.15.9.4 เหล็กโครงสร้างรูปพรรณขึ้นรูปเย็น ให้เป็นไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเหล็กโครงสร้างรูปพรรณขึ้นรูป
เย็น (มาตรฐานเลขที่ มอก. 1228)

8.20 ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม เรื่อง กำหนดวัตถุดิบที่จะนำมำใช้หรือผลิตและคุณภำพของผลิตภัณฑ์ที่ผลิตในโรงงำนสำหรับผลิตภัณฑ์เหล็ก (5 ตค.2522)[20] 129


มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 8 การตรวจวัด จัดทารายงานและการส่งรายงาน

8.15.10 ให้โรงงานผลิตเกลือซึ่งผลิตเกลือบริโภคที่ใช้ปรุงหรือแต่งรสอาหาร ต้องผลิตเกลือบริโภคที่มีไอโอดีน (Iodine) ผสมอยู่ใน


ปริมาณไม่น้อยกว่า 20 มิลลิกรัม และไม่เกิน 40 มิลลิกรัมต่อเกลือบริโภค 1 กิโลกรัม ยกเว้นการผลิตเกลือบริโภคที่มีวัตถุประสงค์
เพื่อการส่งออกไปจาหน่ายนอกราชอาณาจักร 8.21
8.15.11 กาหนดหลักเกณฑ์ และวิธีการในการตรวจสอบและควบคุมการรั่วซึมของสารอินทรีย์ระเหยง่ายจากอุปกรณ์ในโรงงาน
อุตสาหกรรม 8.22
8.15.11.1 สารอินทรีย์ระเหย หมายความว่า สารประกอบที่มีคาร์บอนอินทรีย์ (Organic Carbon) เป็นองค์ประกอบหลัก
และมีความดันไอมากกว่า 0.1 มิลลิเมตรปรอท ที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียสและความดัน 760 มิลลิเมตรปรอท ยกเว้น มีเทน
คาร์บอนมอนอกไซด์ คาร์บอนไดออกไซด์ โลหะคาร์ไบด์หรือคาร์บอเนต แอมโมเนียมคาร์บอเนต
8.15.11.2 อุปกรณ์ที่ต้องตรวจวัดการรั่วซึม หมายความว่า ปั๊ม (Pumps) เครื่องอัดอากาศ (Compressors) อุปกรณ์ที่ใช้กวน
หรือผสมของเหลว (Agitators หรือ Mixers) วาล์ว (Valves) ท่อส่งปลายเปิด (Open-Ended Lines) ข้อต่อหรือหน้าแปลน
(Connectors หรือ Flanges) อุปกรณ์ลดความดัน (Pressure Relief Devices) จุดเก็บตัวอย่างสารเคมี (Sampling Connections)

8.20 ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม เรื่อง กำหนดวัตถุดิบที่จะนำมำใช้หรือผลิตและคุณภำพของผลิตภัณฑ์ที่ผลิตในโรงงำนสำหรับผลิตภัณฑ์เหล็ก (5 ตค.2522)[20] 130


มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 8 การตรวจวัด จัดทารายงานและการส่งรายงาน

8.15.11.3 โรงงานอุตสาหกรรมต้องควบคุมการรั่วซึมของอุปกรณ์ มิให้ความเข้มข้นของสารอินทรียร์ ะเหยทั้งหมดเกินเกณฑ์ควบคุม


หน่วยเป็นส่วนต่อล้านส่วนโดยปริมาตร (ppmv) ดังนี้
ความเข้มข้นของไอสารอินทรีย์ทั้งหมด ส่วนต่อล้านส่วนโดยปริมาตร (ppmv)
- เครื่องอัดอากาศ - อุปกรณ์ลดความดัน ปั๊มสาหรับของเหลว อุปกรณ์ที่ใช้กวนหรือ
- ท่อส่งปลายเปิด สาหรับของเหลว ผสมของเหลว
- จุดเก็บตัวอย่างสารเคมี - วาล์ว (แก๊ส/ของเหลว)
- อุปกรณ์ลดความดันสาหรับแก๊ส - ข้อต่อหรือหน้าแปลน
500 500 5,000 10,000

8.15.11.4 อุปกรณ์ที่ได้รับการยกเว้นไม่ต้องตรวจวัดการรั่วซึม
(1) อุปกรณ์ที่อยู่ในจุดหรือสถานที่ที่มีความเสี่ยงทีอ่ าจก่อให้เกิดอันตราย หมายถึงจุดที่อยู่ในสถานที่ที่อาจทาให้ผู้ที่เข้าทาการ
ตรวจวัดได้รับอันตราย หรือสภาวะที่อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อร่างกายหรือชีวิต เช่น ออกซิเจนน้อยกว่าร้อยละ 19.5 หรือเกิดการติด
ไฟ ระเบิด หรือจุดที่มีความดันสูงหรือความร้อนสูง เป็นต้น
(2) อุปกรณ์ที่อยู่ในจุดที่ไม่สามารถเข้าถึงได้ หมายถึงจุดที่อยู่ในสถานที่จา กัดซึง่ ม่ได้ถูกออกแบบมาเพื่อการทางานอย่าง
ต่อเนื่องและยากต่อการเข้าไปทาการตรวจวัดได้ เช่นอุปกรณ์ที่อยู่ในจุดที่มีความสูงเกิน 2 เมตรขึ้นไปจากระดับพื้นที่ปฏิบัติงานปกติ
ข้อต่อและหน้าแปลนที่ถูกฝังใต้พื้นดินหรือถูกกีดขวางจนเครื่องมือตรวจวัดเข้าไปไม่ถึง

8.20 ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม เรื่อง กำหนดวัตถุดิบที่จะนำมำใช้หรือผลิตและคุณภำพของผลิตภัณฑ์ที่ผลิตในโรงงำนสำหรับผลิตภัณฑ์เหล็ก (5 ตค.2522)[20] 131


มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 8 การตรวจวัด จัดทารายงานและการส่งรายงาน

(3) ข้อต่อหรือหน้าแปลน (Connectors หรือ Flanges) ที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางภายใน(Nominal Internal Diameter)


น้อยกว่า 2 นิ้ว และวาล์วที่อยู่บนข้อต่อหรือหน้าแปลนดังกล่าว
(4) ปั๊ม (Pumps) เครื่องอัดอากาศ (Compressors) และอุปกรณ์ที่ใช้กวนของเหลว(Agitators) ที่มีกันซึม (Seal) สองชั้น
(Dual mechanical seal) โดยมีระบบไหลเวียนของของเหลวกั้น(Barrier fluid) ซึ่งจะถูกนาเข้าสู่กระบวนการผลิต (Process
Stream) โดยไม่มีการระบายสารอินทรีย์ระเหยออกสู่บรรยากาศ และมีอุปกรณ์ตรวจจับ (Sensor) การรั่วของกันซึมและของเหลว
กั้น
(5) ปั๊มชนิดที่ไม่มีกันซึมที่เพลา (Seal-less Pumps) เป็นปั๊มชนิดที่ไม่มีการระบายสารอินทรีย์ระเหยออกสู่บรรยากาศ
(6) อุปกรณ์ที่ภายในไม่ได้สัมผัสกับสารอินทรีย์ระเหยใด ๆ เช่น หน่วยกาจัดกามะถัน
(7) อุปกรณ์ที่อยู่ในสภาวะสุญญากาศ (Vacuum service)
(8) ระบบสาธารณูปการ (Utility unit) ได้แก่ ระบบผลิตน้าใช้ในโรงงาน ระบบผลิตไฟฟ้าระบบผลิตไอน้า ระบบน้าหล่อเย็น
ระบบน้าดับเพลิง ระบบไนโตรเจน ระบบไฮโดรเจน เป็นต้น ที่ไม่มีการสัมผัสสารอินทรียร์ ะเหย
8.15.11.5 ความถี่ในการตรวจวัด ทาการตรวจวัดข้อต่อหรือหน้าแปลน วาล์วแก๊ส วาล์ว ของเหลว ท่อส่งปลายเปิด ปั๊มสาหรับ
ของเหลว เครื่องอัดอากาศ อุปกรณ์ลดความดันสาหรับแก๊ส อุปกรณ์ลดความดันสาหรับของเหลวจุดเก็บตัวอย่างสารเคมี อุปกรณ์ที่
ใช้กวนหรือผสมของเหลว ปีละ 1 ครั้ง

8.20 ประกำศกระทรวงอุตสำหกรรม เรื่อง กำหนดวัตถุดิบที่จะนำมำใช้หรือผลิตและคุณภำพของผลิตภัณฑ์ที่ผลิตในโรงงำนสำหรับผลิตภัณฑ์เหล็ก (5 ตค.2522)[20] 132


มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 8 การตรวจวัด จัดทารายงานและการส่งรายงาน

8.15.11.6 การซ่อมบารุงและซ่อมแซมอุปกรณ์ที่มีการรั่วซึม ให้ดาเนินการดังนี้


(1) หากผลการตรวจวัดสารอินทรีย์ระเหยจากอุปกรณ์เกินจากเกณฑ์ควบคุมการรั่วซึมสารอินทรีย์ระเหยของอุปกรณ์ที่
กาหนด ให้ทาการปรับเปลี่ยนไปใช้อุปกรณ์ตัวที่ไม่มีการรั่วซึมหรือซ่อมแซมอุปกรณ์ให้เสร็จ ภายใน 15 วันนับถัดจากวันที่ตรวจพบ
เมื่อดาเนินการแก้ไขเสร็จแล้วให้ตรวจวัดซ้าและผลการตรวจวัดซ้าต้องไม่เกินจากเกณฑ์ที่กาหนด
(2) อุปกรณ์ลดความดัน (Pressure Relief Devices) ให้ซ่อมแซมให้เสร็จภายใน 24 ชั่วโมงหรือให้ต่อเข้าระบบบาบัดมลพิษ
(3) หากไม่สามารถซ่อมแซมตามที่กาหนด ให้กาหนดมาตรการเพื่อป้องกันหรือลดการรั่วซึม โดยระบุเหตุผลและระยะเวลาที่
สามารถซ่อมแซมได้ให้ชัดเจน แล้วรายงานต่อกรมโรงงานอุตสาหกรรมหรือหน่วยงานที่กากับดูแล ภายใน 30 วัน นับจากการตรวจ
พบจุดรั่วซึมแต่ละจุด
8.15.11.7 โรงงานอุตสาหกรรมที่ต้องทาการตรวจวัดการระบายสารอินทรีย์ระเหย ให้ดาเนินการดังต่อไปนี้
(1) ต้องจัดทาบัญชีรายชื่ออุปกรณ์พร้อมผลการตรวจวัดและการซ่อมแซมให้เป็นปัจจุบันโดยรวบรวมจัดทาสรุปตามแบบ
รายงานที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมกาหนด แล้วจัดส่งให้กรมโรงงานอุตสาหกรรมหรือหน่วยงานที่กากับดูแลทุก 6 เดือน
(2) การจัดทารายงานต้องมีผู้จัดการสิ่งแวดล้อมหรือผู้ได้รับอนุญาตประกอบกิจการโรงงานลงนามรับรองด้วยทุกครั้ง และให้
เก็บต้นฉบับไว้ที่โรงงานพร้อมให้พนักงานเจ้าหน้าที่ตรวจสอบได้ตลอดเวลา
8.15.12 ห้องปฏิบัติการวิเคราะห์เอกชน ต้องขึ้นทะเบียนกับกรมโรงงานอุตสาหกรรม และต้องมีบุคลากร เครื่องมือ และ
ห้องปฏิบัติการ ตามที่กฎหมายกาหนด ทะเบียนมีอายุ 3 ปี 8.23

8.23 ระเบียบกรมโรงงานอุตสาหกรรม ว่าด้วยการขึ้นทะเบียนห้องปฏิบัติการวิเคราะห์เอกกชน พ.ศ.2550) [15] 133


มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 8 การตรวจวัด จัดทารายงานและการส่งรายงาน

8.15.13 ประเภทของโรงงานที่ต้องจัดทารายงานชนิดและปริมาณสารมลพิษที่ระบายออกจากโรงงาน 8.24


8.15.13.1 ลาดับที่ 11 (3) และ 11 (4) การทาน้าตาลทรายดิบ หรือน้าตาล ทรายขาว หรือน้าตาลทรายขาวให้บริสุทธิ์
8.15.13.2 ลาดับที่ 11 (6) การทากลูโคส เดกซ์โทรส ฟรักโทสหรือผลิตภัณฑ์อื่นที่คล้ายคลึงกัน (โรงงานที่มีกาลังการผลิต
ตั้งแต่ 20 ตันต่อวันขึ้นไป)
8.15.13.3 ลาดับที่ 38 (1) และ 38 (2) การทาเยื่อจากไม้หรือวัสดุอื่น การทากระดาษ กระดาษแข็ง หรือ กระดาษที่ใช้ในการ
ก่อสร้างชนิด ที่ทาจากเส้นใยหรือแผ่นกระดาษไฟเบอร์ โรงงานที่มีกาลัง การผลิตตั้งแต่ 50 ตันต่อวันขึ้นไป
8.15.13.4 ลาดับที่ 42 (1) การทาเคมีภัณฑ์ สารเคมี หรือวัสดุเคมี โรงงานที่มีกาลังการผลิตแต่ละชนิดหรือรวมกันตั้งแต่ 100
ตันต่อวันขึ้นไป
8.15.13.5 ลาดับที่ 43 (1) การทาปุ๋ย หรือสารป้องกันหรือกาจัดศัตรูพืชหรือสัตว์ โรงงานทุกขนาดเฉพาะที่ใช้ กระบวนการ
ทางเคมี
8.15.13.6 ลาดับที่ 44 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับการผลิตยางเรซินสังเคราะห์ยางอีลาสโตเมอร์ พลาสติกหรือเส้นใย
สังเคราะห์ซึ่งมิใช่ใยแก้ว
8.15.13.7 ลาดับที่ 49 โรงงานกลั่นน้ามันปิโตรเลียม โรงงานที่มีกาลังการผลิตตั้งแต่ 100 ตันต่อวันขึ้นไป
8.15.13.8 ลาดับที่ 57 (1) การทาซีเมนต์ ปูนขาว หรือปูนปลาสเตอร์
8.15.13.9 ลาดับที่ 59 โรงงานประกอบกิจการเกี่ย วกับการถลุง หลอม หล่อ รีด ดึง หรือผลิตเหล็ก หรือเหล็กกล้าในขั้นต้น
โรงงานที่มีกาลังการผลิตตั้งแต่ 100 ตันต่อวันขึ้นไปที่มีเตาหลอมเหล็กหรือเตาอบ หรือใช้น้ากรด หรือใช้สารที่อาจเป็นอันตรายต่อ
สิ่งแวดล้อม
8.24 ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรมเรื่อง กาหนดประเภทหรือชนิดของโรงงานที่ต้องจัดทารายงานชนิดและปริมาณสารมลพิษที่ระบายออกจากโรงงาน พ.ศ. 2553[27] 134
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 8 การตรวจวัด จัดทารายงานและการส่งรายงาน

8.15.13.10 ลาดับที่ 60 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับการถลุง ผสม ทาให้บริสุทธิ์ หลอม หล่อ รีด ดึง หรือผลิตโลหะใน
ขั้นต้น ซึ่งไม่ใช่เหล็กหรือเหล็กกล้า
8.15.13.11 ลาดับที่ 88 โรงงานผลิตพลังงานไฟฟ้า โรงงานที่มีกาลังการผลิตตั้งแต่ 10 เมกกะวัตต์ขึ้นไป
8.15.13.12 ลาดับที่ 89 โรงงานผลิตก๊าซ ซึ่งมิใช่ ก๊าซธรรมชาติ ส่งหรือจาหน่ายก๊าซ
8.15.13.13 ลาดับที่ 101 โรงงานปรับคุณภาพของเสียรวมเฉพาะ การบาบัดน้าเสียรวม การเผาของเสียรวม การบาบัดด้วย
วิธีเคมีฟิสิกส์
8.15.13.14 ลาดับที่ 105 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับการคัดแยกหรือฝังกลบสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่มีลักษณะ
และคุณสมบัติตามที่กาหนดในกฎหมายโรงงาน โรงงานทุกขนาดเฉพาะการฝังกลบสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่เป็นของเสีย
อันตราย
8.15.13.15 ลาดับที่ 106 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับการนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่ไม่ใช้แล้วหรือของเสียจากโรงงาน
มาผลิตเป็นวัตถุดิบหรือผลิตภัณฑ์ใหม่ โรงงานที่มีกาลัง การผลิตตั้งแต่ ๕๐ ตันต่อวันขึ้นไป
8.15.13.16 ลาดับที่ 1 – 107 โรงงานที่มีน้าเสีย โรงงานที่มีปริมาณ น้าเสียก่อนเข้าระบบบาบัด (Influent) ตั้งแต่ 500
ลูกบาศก์ เมตรต่อวันขึ้นไป (รวมน้าหล่อเย็นที่มกี ารปนเปื้อนในรูปบีโอดีหรือซีโอดี) หรือปริมาณความสกปรกก่อนเข้าระบบบาบัด
(BOD Load of Influent) ตั้งแต่ 100 กิโลกรัมต่อวันขึ้นไป
8.15.13.17 ลาดับที่ 1 – 107 โรงงานที่ใช้สารหรือองค์ประกอบของสารดังต่อไปนี้โดยตรงในกระบวนการผลิต ได้แก่ สังกะสี
แคดเมียม ไซยาไนด์ ฟอสฟอรัสที่อยู่ในรูปของ สารประกอบอินทรีย์ ตะกั่ว ทองแดง บาเรียม เซเลเนียม นิเกิล แมงกานีส เฮกซาวา
เลนซ์โครเมียม อาร์เซนิค และปรอท โรงงานที่มีปริมาณน้าเสียก่อนเข้าระบบบาบัด (Influent) ตั้งแต่ 50 ลูกบาศก์เมตรต่อวัน ขึ้นไป
8.24 ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรมเรื่อง กาหนดประเภทหรือชนิดของโรงงานที่ต้องจัดทารายงานชนิดและปริมาณสารมลพิษที่ระบายออกจากโรงงาน พ.ศ. 2553[27] 135
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 8 การตรวจวัด จัดทารายงานและการส่งรายงาน

8.15.13.18 ลาดับที่ 1 – 107 โรงงานที่มีการใช้เตาอุตสาหกรรม หรือหม้อน้า โรงงานที่มี เตาอุตสาหกรรมขนาดแรงม้า


เปรียบเทียบตั้งแต่ 1,000 แรงม้าขึ้น หรือ โรงงานที่มีหม้อน้าเดี่ยว ที่มีกาลังการผลิตไอน้า ตั้งแต่ 10 ตันไอน้าต่อชั่วโมงขึ้นไป กรณีใช้
ของเหลวหรือของแข็งเป็นเชื้อเพลิง หรือตั้งแต่ 20 ตันไอน้าต่อชั่วโมงขึ้นไป กรณีใช้ก๊าซเป็นเชื้อเพลิง
8.15.13.19 ลาดับที่ 1 – 107 โรงงานที่มีหรือใช้สารอินทรีย์ระเหย (VOCs) ในกระบวนการผลิต โรงงานที่มีหรือใช้
สารอินทรีย์ระเหยตั้งแต่ 36 ตันต่อปีขึ้นไป
8.15.14 การรายงานมลพิษน้าในแบบ รว. 2 ให้ใช้ผลตรวจวัดจริงในการรายงาน โดยต้องมีพารามิเตอร์อย่างน้อย ดังนี้
(1) บีโอดี (Biochemical Oxygen Demand) ที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส เวลา 5 วัน ซีโอดี (Chemical Oxygen
Demand) ความเป็นกรดและด่าง (pH) และสารแขวนลอย(Suspended Solids) หรือพารามิเตอร์ที่กาหนดในรายงานการวิเคราะห์
ผลกระทบสิ่งแวดล้อม
(2) โลหะหนัก ตามคุณลักษณะน้าเสียจากโรงงานประเภททีม่ ีโลหะหนักเจือปนหรือพารามิเตอร์ที่กาหนดในรายงานการ
วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม
8.15.15 การรายงานมลพิษอากาศในแบบ รว. 3 ให้ใช้ผลตรวจวัดจริงในการรายงาน หรือใช้ค่าการคานวณกรณีเป็นการระบายใน
ลักษณะฟุ้งกระจาย (Fugitive Emission) และในกรณีโรงงานที่ได้รับอนุญาตก่อนประกาศนี้มีผลบังคับใช้อาจใช้ค่าที่เทียบเคียงผล
การตรวจวัดในสภาวะเดียวกัน กรณีไม่สามารถตรวจวัดได้เนื่องจากปัญหาด้านเทคนิค หรือใช้ค่าที่ได้จากการคานวณตามวิธีที่สากล
ยอมรับ โดยต้องมีพารามิเตอร์อย่างน้อย ดังนี้

8.24 ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรมเรื่อง กาหนดประเภทหรือชนิดของโรงงานที่ต้องจัดทารายงานชนิดและปริมาณสารมลพิษที่ระบายออกจากโรงงาน พ.ศ. 2553[27] 136


มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม บทที่ 8 การตรวจวัด จัดทารายงานและการส่งรายงาน

(1) โรงงานที่ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงให้รายงานอย่างน้อยค่าออกไซด์ของไนโตรเจนในรูปไนโตรเจนไดออกไซด์ (Oxide


of Nitrogen as NO2) และสาหรับโรงงานที่ใช้เชื้อเพลิงอืน่ ๆ ให้รายงานอย่างน้อยค่าออกไซด์ของไนโตรเจนในรูปไนโตรเจนได
ออกไซด์ (Oxide of Nitrogen as NO2) ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (Sulfur Dioxide) และฝุ่นละออง (Total Suspended Particulate)
หรือ พารามิเตอร์ที่กาหนดในรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม
(2) สารอินทรีย์ระเหย (VOCs) ตามชนิดหรือประเภทโรงงานที่มีหรือใช้ โดยให้รายงานในรูปสารอินทรีย์ระเหยรวม (Total
Volatile Organic Compounds : TVOC) หรือประเภทของสารอินทรีย์ระเหยตามที่กฎหมายที่เกี่ยวข้องระบุไว้ และให้รายงานเมื่อ
การกาหนดค่าควบคุมการระบายและวิธีการตรวจวัดตามกฎหมายนั้น ๆ มีผลบังคับใช้
8.15.16 การตรวจวัดค่าการระบายมลพิษต้องทาการตรวจวัดโดยห้องปฏิบัติการวิเคราะห์ของทางราชการหรือห้องปฏิบัติการ
วิเคราะห์เอกชนที่ขึ้นทะเบียนกับกรมโรงงานอุตสาหกรรม ตามระเบียบกรมโรงงานอุตสาหกรรมว่าด้วยการขึ้นทะเบียน
ห้องปฏิบัติการวิเคราะห์เอกชน
8.15.17 การรายงานตามแบบรายงาน รว. 1 รว. 2 และ รว. 3 ให้จัดส่งผ่านระบบอิเล็คทรอนิกส์ที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมกาหนด
โดยค่าที่ได้จากการตรวจวัดหรือคานวณระหว่างเดือนมกราคมถึงเดือนมิถุนายน ให้รายงานงวดที่ 1 ภายในวันที่ 31 กรกฎาคม ของปี
ที่รายงานงวดที่ 1 และค่าที่ได้จากการตรวจวัดหรือคานวณระหว่างเดือนกรกฎาคมถึงเดือนธันวาคม ให้รายงานงวดที่ 2 ภายในวันที่
31 มกราคม ของปีถัดไป และให้จัดทาสาเนาเอกสารโดยให้ผู้จัดการสิ่งแวดล้อม หรือผู้รับใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานลงนาม
รับรองและเก็บรักษาไว้
กรณีที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมพิจารณาแล้ว เห็นว่ารายงานดังกล่าวไม่สมบูรณ์ผู้รับใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานมีหน้าที่
ต้องจัดทารายงานให้สมบูรณ์ภายใน 55 วัน นับจากวันได้รับแจ้งผ่านระบบการรายงานด้วยอิเลคทรอนิกส์
8.24 ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรมเรื่อง กาหนดประเภทหรือชนิดของโรงงานที่ต้องจัดทารายงานชนิดและปริมาณสารมลพิษที่ระบายออกจากโรงงาน พ.ศ. 2553[27] 137
มาตรฐานการตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรม คณะกรรมการ

• รศ.ดร.ประจวบ กล่อมจิตร ประธาน


• ผศ.รติรัตน์ กิตติปัญญาพัฒน์ รองประธาน
• ผศ.ดร.ไพฑูรย์ ศิริโอฬาร กรรมการ
• นายณรงค์ชัย แจ่มจารัส กรรมการ
• นายอดินนั ต์ พิเชียรโสภณ กรรมการ
• ผศ.ดร.ระพี กาญจนะ กรรมการ
• ผศ.ดร.มรกต ทิวะสิงห์ กรรมการ
• อ.ศศิธร จอมเทียน กรรมการ
• นายอภิวัฒน์ เธียรพิรากุล กรรมการ
• ผศ.ดร.วิบูลย์ ตั้งวโรดมนุกูล กรรมการ
• ผศ.ดร.นันทวรรณ อ่าเอียม กรรมการ
• ผศ.ดร.สุพัฒตรา เกษราพงศ์ กรรมการและเลขานุการ
• อ.ดร. เกษรินทร์ พูลทรัพย์ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

138
การบริหารความปลอดภัยในโรงงานอุตสาหกรรม คณะกรรมการประจามาตรฐาน

คณะกรรมการประจามาตรฐาน
• รศ.ดร.ยุทธชัย บรรเทิงจิตร กรรมการ
• ผศ.สุรัตน์ ตรัยวนพงศ์ กรรมการ
• นายอภิวัฒน์ เธียรพิรากุล กรรมการ
• ผศ. พิศิษฐ์ แสง-ชูโต กรรมการ
• นายรัชตะ พันธุ์เพ็ง กรรมการ
• รศ.ดร.ประจวบ กล่อมจิตร กรรมการและเลขานุการ

139
การบริหารความปลอดภัยในโรงงานอุตสาหกรรม คณะทางาน

• รศ.ดร.ประจวบ กล่อมจิตร ประธาน


• นายอภิวฒ ั น์ เธียรพิรากุล คณะทางาน
• นายณรงค์ชยั แจ่มจารัส คณะทางาน
• ผศ.รติรตั น์ กิตติปัญญาพัฒน์ คณะทางาน
• ผศ.ดร.คณิศร ภูนิคม คณะทางาน
• ผศ.ดร.รณชัย ศิโรเวฐนุกลู คณะทางาน
• นายวิทยา รัตนสุภา คณะทางาน
• ผศ.ดร.เจริญชัย โขมพัตราภรณ์ คณะทางาน
• อ.ดร. เกษรินทร์ พูลทรัพย์ คณะทางาน
• ผศ.ดร.สุพฒ ั ตรา เกษราพงศ์ คณะทางานและเลขานุการ

140

You might also like