You are on page 1of 16

คำชี้แจงประกอบการขึ้นทะเบียนและการอนุญาตใหบริการ

ดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทำงาน


--------------------------------------------------
๑. กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดลอมในการทำงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย พ.ศ. ๒๕๕๖ มีรายละเอียดเพิ่มเติม ดังนี้
๑.๑ เอกสารหรือหลักฐานแสดงคุณวุฒิการศึกษา มีดังนี้
๑.๑.๑ กรณีเปนบุคคลผูขอขึ้นทะเบียนตามมาตรา ๙ เพื่อเปนผูดำเนินการตรวจวัดระดับความเขมขนของ
สารเคมีอันตรายตองมีวุฒิการศึกษาไมต่ำกวาระดับปริญญาตรีทางวิทยาศาสตร สาขาเคมี สาขาเคมีเทคนิค
สาขาเคมีวิเคราะห สาขาเคมีอินทรีย สาขาเคมีอนินทรีย สาขาวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม สาขาอนามัยสิ่งแวดลอม
หรือปริญญาตรีสาขาอาชีวอนามัยหรือเทียบเทา หรือปริญญาตรีทางวิศวกรรมศาสตร สาขาวิศวกรรมสิ่งแวดลอม
๑.๑.๒ กรณีเปนนิติบุคคลที่ขออนุญาตตามมาตรา ๑๑ มีรายละเอียด ดังนี้
(๑) บุคลากรผูดำเนินการตรวจวัดระดับความเขมขนของสารเคมีอันตราย ตองมีวุฒิการศึกษา
ไมต่ำกวาระดับปริญญาตรีทางวิทยาศาสตร สาขาเคมี สาขาเคมีเทคนิค สาขาเคมีวิเคราะห สาขาเคมีอินทรีย
สาขาเคมีอนินทรีย สาขาวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม สาขาอนามัยสิ่งแวดลอม หรือปริญญาตรีสาขาอาชีวอนามัยหรือ
เทียบเทา หรือปริญญาตรีทางวิศวกรรมศาสตร สาขาวิศวกรรมสิ่งแวดลอม
(๒) บุคลากรผูดำเนินการตรวจวิเคราะหสารเคมีอันตรายทางหองปฏิบัติการ ตองมีคุณสมบัติและ
เงื่อนไขเฉพาะอยางหนึ่งอยางใด ดังตอไปนี้
ก. มีวุฒิการศึกษาไมต่ำกวาระดับปริญญาตรีทางวิทยาศาสตร สาขาเคมี สาขาเคมีเทคนิค
สาขาเคมีวิเคราะห สาขาเคมีอินทรีย สาขาเคมีอนินทรีย สาขาวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม สาขาอนามัยสิ่งแวดลอม
หรือปริญญาตรีสาขาอาชีวอนามัยหรือเทียบเทา
ข. มีวุฒิการศึกษาไมต่ ำกวาระดับปริญญาตรีทางวิ ทยาศาสตรส าขาอื่ นที่มีวิชาเรี ย นทาง
ดานเคมี ไมนอยกวา ๑๒ หนวยกิต และมีประสบการณวิเคราะหสารเคมีอันตรายทางหองปฏิบัติการเปนระยะเวลา
ไมนอยกวา ๒ ป
ค. เปนผูที่ผานการฝกอบรมหลักสูตรนักวิเคราะหมืออาชีพสาขาเคมีของกรมวิทยาศาสตร
บริการ หรือเปนผูควบคุมดูแลหองปฏิบัติการวิเคราะหซึ่งไดขึ้นทะเบียนกับกรมโรงงานอุตสาหกรรม หรือเปน
ผูไดรับใบประกอบวิชาชีพวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีควบคุมตามกฎหมายวาดวยการสงเสริมวิชาชีพวิทยาศาสตร
และเทคโนโลยี

๑.๒ เอกสารหรือหลักฐานแสดงความพรอมของอุปกรณหรือสถานที่ มีดังนี้


๑.๒.๑ เครื่องมือและอุป กรณ ในการตรวจวัดระดับความเขมขนของสารเคมี อันตราย ประกอบดว ย
เครื่องมือและอุปกรณ อยางนอยดังตอไปนี้
(๑) เครื่องมือและอุปกรณสำหรับเก็บตัวอยางอนุภาคในอากาศ อยางนอยประกอบดวย
ก. เครื่องมือเก็บตัวอยางอากาศ (Personal Air Sampling Pump)
ข. ตลับกระดาษกรอง (Filter cassette)
ค. แผนรองกระดาษกรอง (Support pad)
ง. กระดาษกรอง (Filter)
จ. เครื่องมือและอุปกรณสำหรับตรวจปรับความถูกตอง (Pump calibrator)
(๒) เครื่องมือและอุปกรณสำหรับเก็บตัวอยาง กาซหรือไอระเหย อยางนอยประกอบดวย
ก. เครื่องมือเก็บตัวอยางอากาศ (Personal Air Sampling Pump)
ข. สายปรับอัตราการไหล (Adjustable Low flow)
ค. หลอดเก็บตัวอยาง (Tube)
ง. หลอดบรรจุของเหลว (Impingers)
จ. หลอดบรรจุสารดูดซับ (Adbsorption tube) : Activated charcoal tube หรือ Silicagel tube
ฉ. ถุงเก็บตัวอยางอากาศ (Sampling bag)
ช. เครื่องมือและอุปกรณสำหรับตรวจปรับความถูกตอง (Pump calibrator)
๑.๒.๒ เครื่องมือและอุปกรณ ในการวิเคราะหสารเคมีอันตรายทางหองปฏิบัติการ และหองปฏิบัติการ
ประกอบดวยเครื่องมือและอุปกรณ อยางนอยดังตอไปนี้
(๑) เครื่องมือและอุปกรณการวิเคราะหสารเคมีอันตรายทางหองปฏิบัติการ ตัวอยางเชน
ก. Atomic Absorption Spectrophotometer – AAS
ข. GAS CHROMATOGRAPH – GC
(๒) หองปฏิบัติการในการวิเคราะหสารเคมีอันตราย ตองเปนหองปฏิบัติการที่ไดรับการขึ้นทะเบียน
หรื อ ได ร ั บ การรั บ รองจากหน ว ยงานที ่ เ กี ่ ย วข อ ง เช น กรมโรงงานอุ ต สาหกรรม สำนั ก งานมาตรฐาน
ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม (สมอ.) เปนตน
๑.๒.๓ การตรวจวัด และการวิเคราะหสารเคมีอันตรายทางหองปฏิบัติการ ตองใชวิธีการ เครื่องมือ และ
อุปกรณที่เปนมาตรฐานสากลหรือเปนที่ยอมรับ โดยอางอิงวิธีการจากหนวยงานใดหนวยงานหนึ่ง ดังนี้
(๑) สถาบั น ความปลอดภั ยและอาชีว อนามัย แหงชาติ ประเทศสหรัฐ อเมริกา (The National
Institute for Occupational Safety and Health : NIOSH)
(๒) สำนักงานบริหารความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ประเทศสหรัฐอเมริกา (Occupational
Safety and Health Administration : OSHA)

(๓) สมาคมนักสุขศาสตรอุตสาหกรรมภาครัฐ ประเทศสหรัฐอเมริกา (American Conference of


Governmental Industrial Hygienists : ACGIH)
(๔) สมาคมความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยในอุตสาหกรรม ประเทศญี่ปุน (Japan Industrial
Safety and Health Association : JISHA)
(๕) องค ก ารระหว า งประเทศว า ด ว ยการมาตรฐาน (International Organization for
Standardization : ISO)
(๖) สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม (สมอ.)
(๗) สมาคมการทดสอบและวัสดุอเมริกัน (American Society for Testing and Materials : ASTM)
ทั้งนี้ตองจัดใหมีการสอบเทียบความถูกตอง (Calibration) การตรวจสอบ การบำรุงรักษาเครื่องมือ
และอุปกรณที่ใชในการตรวจวัด และเครื่องมือที่ใชวิเคราะหสารเคมีอันตรายทางหองปฏิบัติการ ตามวิธีการของ
หนวยงานมาตรฐานอางอิงตามที่กำหนดไวขางตน หรือตามมาตรฐานที่ผูผลิตกำหนด ทั้งนี้ ใหใชวิธีการภายใต
มาตรฐานเดียวกัน

๑.๓ ขอมูล เอกสาร หรือหลักฐานเพิ่มเติม กรณีเปนนิติบุคคลที่ขออนุญาตตามมาตรา ๑๑ มีดังนี้


๑.๓.๑ เอกสารหรือหลักฐานการมีบุคลากรซึ่งเปนลูกจางของนิติบุคคลที่ขอใบอนุญาต โดยบุคลากรตองมี
คุณสมบัติและเงื่อนไขเฉพาะอยางหนึ่งอยางใด ตามขอ ๑.๑.๒
๑.๓.๒ เอกสารหนังสือรับรองการขึ้นทะเบียนหองปฏิบัติการในการวิเคราะหสารเคมีอันตราย ใหผูยื่น
คำขอแสดงสำเนาเอกสารหนังสือรับรองการขึ้น ทะเบียนหรือไดรับ การรับรองจากหนวยงานที่เกี่ยวของ เชน
กรมโรงงานอุตสาหกรรม สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม (สมอ.) เปนตน

๒. กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย


และสภาพแวดลอมในการทำงานเกี่ยวกับไฟฟา พ.ศ. ๒๕๕๘ มีรายละเอียดเพิ่มเติม ดังนี้
๒.๑ เอกสารหรือหลักฐานแสดงคุณวุฒิการศึกษา ประสบการณในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟา ประสบการณ
เปนวิทยากรบรรยายในหัวขอวิชาที่เกี่ยวของ และใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมแลวแตกรณี
มีดังนี้
๒.๑.๑ กรณีเปนบุคคลผูขอขึ้นทะเบียนตามมาตรา ๙ เพื่อเปนวิทยากรดำเนินการฝกอบรมความปลอดภัย
ในการทำงานเกี่ยวกับไฟฟา ตองมีคุณสมบัติ และเงื่อนไขเฉพาะอยางหนึ่งอยางใด ดังตอไปนี้
(๑) มีคุณวุฒิการศึกษาไมต่ำกวาระดับปริญญาตรีสาขาวิศวกรรมไฟฟา หรือเทียบเทา และไดรับ
ใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมสาขาไฟฟาตามกฎหมายวาดวยวิศวกรรวมทั้งมีประสบการณใน
การปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟาไมนอยกวา ๑ ป และมีประสบการณเปนวิทยากรบรรยายในหัวขอวิชาที่เกี่ยวของ
อยางตอเนื่องไมนอยกวา ๑ ป
(๒) มีคุณวุฒิการศึกษาไมต่ำกวาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพประเภทวิชาอุตสาหกรรมสาขาไฟฟา
หรือเทียบเทา รวมทั้งมีประสบการณในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟาไมนอยกวา ๓ ป และมีประสบการณเปน
วิทยากรบรรยายในหัวขอวิชาที่เกี่ยวของอยางตอเนื่องไมนอยกวา ๓ ป
(๓) เป น เจ า หน า ที ่ ความปลอดภัย ในการทำงานระดับ วิช าชี พ รวมทั้งมีป ระสบการณ ใ นการ
ปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟาไมนอยกวา ๓ ป และมีประสบการณเปนวิทยากรบรรยายในหัวขอวิชาที่เกี่ยวของอยาง
ตอเนื่องไมนอยกวา ๓ ป
(๔) เปนลูกจางซึ่งปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟาในสถานประกอบกิจการ รวมทั้งมีประสบการณในการ
ปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟาไมนอยกวา ๕ ป และมีประสบการณเปนวิทยากรบรรยายในหัวขอวิชาที่เกี่ยวของอยาง
ตอเนื่องไมนอยกวา ๕ ป
(๕) เปนเจาหนาที่ที่ไดรับมอบหมายจากหนวยงานของรัฐ ซึ่งมีคุณสมบัติในดานคุณวุฒิการศึกษา
รวมทั้งมีประสบการณในการปฏิบัติงานตาม (๑) (๒) หรือ (๓) และมีประสบการณเปนวิทยากรบรรยายในหัวขอ
วิชาที่เกี่ยวของอยางตอเนื่องไมนอยกวา ๑ ป
๒.๑.๒ กรณีเปนนิติบุคคลที่ขออนุญาตตามมาตรา ๑๑ เพื่อดำเนินการฝกอบรมความปลอดภัยในการทำงาน
เกี่ยวกับไฟฟา ตองมีวิทยากรซึ่งเปนลูกจางของนิติบุคคลที่ขอใบอนุญาต อยางนอย ๑ คน ที่มีคุณสมบัติ และ
เงื่อนไขเฉพาะอยางหนึ่งอยางใด ดังตอไปนี้
(๑) มีคุณวุฒิการศึกษาไมต่ำกวาระดับปริญญาตรีสาขาวิศวกรรมไฟฟา หรือเทียบเทา และไดรับ
ใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมสาขาไฟฟาตามกฎหมายวาดวยวิศวกรรวมทั้งมีประสบการณใน
การปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟาไมนอยกวา ๑ ป และมีประสบการณเปนวิทยากรบรรยายในหัวขอวิชาที่เกี่ยวของ
อยางตอเนื่องไมนอยกวา ๑ ป

(๒) มีคุณวุฒิการศึกษาไมต่ำกวาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพประเภทวิชาอุตสาหกรรมสาขาไฟฟา
หรือเทียบเทา รวมทั้งมีประสบการณในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟาไมนอยกวา ๓ ป และมีประสบการณเปน
วิทยากรบรรยายในหัวขอวิชาที่เกี่ยวของอยางตอเนื่องไมนอยกวา ๓ ป
(๓) เป น เจ า หน า ที ่ ความปลอดภัย ในการทำงานระดับ วิช าชี พ รวมทั้งมีป ระสบการณ ใ นการ
ปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟาไมนอยกวา ๓ ป และมีประสบการณเปนวิทยากรบรรยายในหัวขอวิชาที่เกี่ยวของอยาง
ตอเนื่องไมนอยกวา ๓ ป
(๔) เปนลูกจางซึ่งปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟาในสถานประกอบกิจการ รวมทั้งมีประสบการณในการ
ปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟาไมนอยกวา ๕ ป และมีประสบการณเปนวิทยากรบรรยายในหัวขอวิชาที่เกี่ยวของอยาง
ตอเนื่องไมนอยกวา ๕ ป
(๕) เปนเจาหนาที่ที่ไดรับมอบหมายจากหนวยงานของรัฐ ซึ่งมีคุณสมบัติในดานคุณวุฒิการศึกษา
รวมทั้งมีประสบการณในการปฏิบัติงานตาม (๑) (๒) หรือ (๓) และมีประสบการณเปนวิทยากรบรรยายในหัวขอ
วิชาที่เกี่ยวของอยางตอเนื่องไมนอยกวา ๑ ป
๒.๑.๓ กรณีเปนบุคคลผูขอขึ้นทะเบียนตามมาตรา ๙ เพื่อดำเนินการตรวจสอบและรับรองระบบไฟฟา
และบริ ภ ั ณ ฑ ไ ฟฟ า ต อ งเป น วิ ศ วกรผู  ซ ึ ่ ง ได ร ั บ ใบอนุ ญ าตเป น ผู  ป ระกอบวิ ช าชี พ วิ ศ วกรรมควบคุ ม สาขา
วิศวกรรมไฟฟาตามกฎหมายวาดวยวิศวกร
๒.๑.๔ กรณีเปนนิติบุคคลที่ขออนุญาตตามมาตรา ๑๑ เพื่อดำเนินการตรวจสอบและรับรองระบบไฟฟา
และบริภัณฑไฟฟา ตองมีใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ประเภทนิติบุคคล และตองมีบุคลากร
ซึ่งเปนลูกจางของนิติบุคคลที่ขอใบอนุญาต อยางนอย ๑ คน เปนวิศวกรผูซึ่งไดรับใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพ
วิศวกรรมควบคุมสาขาวิศวกรรมไฟฟาตามกฎหมายวาดวยวิศวกร

๒.๒ ขอมูล เอกสาร หรือหลักฐานเพิ่มเติม กรณีการฝกอบรมความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับไฟฟา มีดังนี้


๒.๒.๑ กรณีเปนนิติบุคคลที่ขออนุญาตตามมาตรา ๑๑ ตองแสดงเอกสารหรือหลักฐานการมีบุคลากร
ซึ่งเปนลูกจางของนิติบุคคลที่ขอใบอนุญาต โดยสำเร็จการศึกษาไมต่ำกวาปริญญาตรีหรือเทียบเทาทุกสาขา
เพื่อทำหนาที่เปนเจาหนาที่บริหารจัดการฝกอบรม อยางนอย ๑ คน
๒.๒.๒ กรณีเปนนิติบุคคลที่ขออนุญาตตามมาตรา ๑๑ ตองแสดงเอกสารหรือหลักฐานการมีวิทยากร
ซึ่งเปนลูกจางของนิติบุคคลที่ขอใบอนุญาต โดยวิทยากรตองมีคุณสมบัติและเงื่อนไขเฉพาะอยางหนึ่งอย างใด
ตามขอ ๒.๑.๒ อยางนอย ๑ คน
๒.๒.๓ เอกสารประกอบการฝกอบรม อยางนอยตองมีหัวขอวิชา ดังตอไปนี้
(๑) กฎหมายความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับไฟฟา และความรูพื้นฐานเกี่ยวกับระบบไฟฟา
(๒) สาเหตุและการปองกันอันตรายจากไฟฟา และอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคล
(๓) การใหความชวยเหลือผูประสบอันตรายจากไฟฟา และการปฐมพยาบาลเบื้องตน

สำหรับการฝกอบรมตองจัดใหหองฝกอบรม ๑ หอง มีผูเขารับการฝกอบรมไมเกิน ๖๐ คน และ


มีวิทยากร อยางนอย ๑ คน
๒.๒.๔ ตารางการฝกอบรมและระยะเวลาการฝกอบรมไมนอยกวา ๓ ชั่วโมง
๒.๒.๕ แบบทดสอบการวัดผลและประเมินผลผูเขารับการฝกอบรม
๒.๒.๖ ตัวอยางหลักฐานหรือวุฒิบัตรที่มอบใหกับผูผานการฝกอบรม
๒.๒.๗ สื่อและอุปกรณประกอบการเรียนการสอน (PowerPoint)

๓. กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย


และสภาพแวดลอมในการทำงานเกี่ยวกับความรอน แสงสวาง และเสียง พ.ศ. ๒๕๕๙ มีรายละเอียดเพิ่มเติม ดังนี้
๓.๑ เอกสารหรือหลักฐานแสดงคุณวุฒิการศึกษา มีดังนี้
๓.๑.๑ กรณีเปนบุคคลผูขอขึ้นทะเบียนตามมาตรา ๙ แหงพระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดลอมในการทำงาน พ.ศ. ๒๕๕๔ เพื่อตรวจวัดและวิเคราะหสภาวะการทำงานเกี่ ยวกับความร อน
แสงสวาง หรือเสียง ตองมีเครื่องมือตรวจวัดระดับความรอน แสงสวาง หรือเสียง และอุปกรณการปรับเทียบ
โดยสามารถแสดงหมายเลขเครื่ อง (Serial number) ได และมีคุณสมบัติและเงื่อนไขเฉพาะอยางหนึ่งอย างใด
ดังตอไปนี้
(๑) สำเร็จการศึกษาไมต่ำกวาปริญญาตรี สาขาอาชีวอนามัยและความปลอดภัยหรือเทียบเทา
(๒) เปนหรือเคยเปนเจาหนาที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับวิชาชีพของสถานประกอบกิจการ
ที่ขึ้นทะเบียนกับกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน และมีประสบการณเปนผูตรวจวัดและวิเคราะหสภาวะการ
ทำงานเกี่ยวกับระดับความรอน แสงสวาง หรือเสียง ภายในสถานประกอบกิจการของตนเอง ยอนหลังไมนอยกวา
๑ ป นับแตวันที่ขอขึ้นทะเบียน
(๓) สำเร็ จ การศึ ก ษาไม ต ่ ำ กว า ปริ ญ ญาตรี ท างวิ ท ยาศาสตร ทางสาธารณสุ ข ศาสตร
หรือทางวิศวกรรมศาสตร ที่มีการเรียนในหัวขอปฏิบัติการทางสุขศาสตรอุตสาหกรรม ไมนอยกวา ๓ หนวยกิต
และมีประสบการณเ ปน ผูตรวจวัดหรื อเป นผู ชว ยบุ คคลตามข อ ๓.๑.๑ (๑) หรือ ๓.๑.๑ (๒) ในการตรวจวั ด
และวิเคราะหสภาวะการทำงานเกี่ยวกับระดับความรอน แสงสวาง หรือเสียง ยอนหลังไมนอยกวา ๕ ป นับแตวันที่
ขอขึ้นทะเบียน
๓.๑.๒ กรณีเปนนิติบุคคลที่ขออนุญาตตามมาตรา ๑๑ แหงพระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดลอมในการทำงาน พ.ศ. ๒๕๕๔ เพื่อตรวจวัดและวิเคราะหสภาวะการทำงานเกี่ยวกับความรอน แสงสวาง
หรือเสียง ตองมีเครื่องมือตรวจวัดระดับความรอน แสงสวาง หรือเสียงและอุปกรณการปรับเทียบ โดยสามารถ
แสดงหมายเลขเครื ่ อ ง (Serial number) ได และมี บ ุ ค ลากรที ่ ม ี ค ุ ณ สมบั ต ิ แ ละเงื ่ อ นไขเฉพาะอย า งหนึ่ ง
อยางใด ดังตอไปนี้
(๑) สำเร็จการศึกษาไมต่ำกวาปริญญาตรี สาขาอาชีวอนามัยและความปลอดภัยหรือเทียบเทา
(๒) เปนหรือเคยเปนเจาหนาที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับวิชาชีพของสถานประกอบกิจการ
ที่ขึ้นทะเบียนกับกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน และมีประสบการณเปนผูตรวจวัดและวิเคราะหสภาวะการ
ทำงานเกี่ยวกับระดับความรอน แสงสวาง หรือเสียง ภายในสถานประกอบกิจการของตนเอง ยอนหลังไมนอยกวา
๑ ป นับแตวันที่นิติบุคคลขออนุญาต

(๓) สำเร็ จ การศึ ก ษาไม ต ่ ำ กว า ปริ ญ ญาตรี ท างวิ ท ยาศาสตร ทางสาธารณสุ ข ศาสตร หรื อ
ทางวิศวกรรมศาสตร ที่มีการเรียนในหัวขอปฏิบัติการทางสุขศาสตรอุตสาหกรรม ไมนอยกวา ๓ หนวยกิต และ
มีประสบการณเปนผูตรวจวัดหรือผูชวยบุคคลตามขอ ๓.๑.๒ (๑) หรือ ๓.๑.๒ (๒) ในการตรวจวัดและวิเคราะห
สภาวะการทำงานเกี่ยวกับระดับความรอน แสงสวาง หรือเสียง ยอนหลังไมนอยกวา ๕ ป นับแตวันที่นิติบุคคล
ขออนุญาต

๓.๒ เอกสารหรือหลักฐานแสดงความพรอมของอุปกรณหรือสถานที่ มีดังนี้


๓.๒.๑ อุปกรณและเครื่องมือตรวจวัด และการวิเคราะหสภาวะการทำงานเกี่ยวกับระดับความรอน มีดังนี้
(๑) อุปกรณการตรวจวัดระดับความรอน ประกอบดวย
ก. เทอรโมมิเตอรกระเปาะแหง เปนชนิดปรอทหรือแอลกอฮอลที่มีความละเอียดของสเกล
๐.๕ องศาเซลเซียส และมีความแมนยำบวกหรือลบ ๐.๕ องศาเซลเซียส มีการกำบังปองกันเทอรโมมิเตอรจาก
แสงอาทิตย หรือแหลงที่แผรังสีความรอน โดยไมรบกวนการไหลเวียนอากาศ
ข .เทอรโมมิเตอรกระเปาะเปยกตามธรรมชาติ มีความละเอียดของสเกล ๐.๕ องศาเซลเซียส
ที่มีความแมนยำบวกหรือลบ ๐.๕ องศาเซลเซียส มีผาฝายชั้นเดียวที่สะอาดหอหุมกระเปาะ หยดน้ำกลั่นลงบนผา
ฝายที่หุมกระเปาะใหเปยกชุมและใหปลายอี กดานหนึ่งของผาจุมอยู ในน้ำกลั่นเพื่ อใหผาสวนที่หุมกระเปาะ
เทอรโมมิเตอรเปยกอยูตลอดเวลา
ค. โกลบเทอรโมมิเตอร มีชวงการวัดตั้งแตลบ ๕ องศาเซลเซียส ถึง ๑๐๐ องศาเซลเซียส
ที ่ ป ลายกระเปาะเทอร โ มมิ เ ตอร เ สี ย บอยู  ก ึ่ง กลางทรงกลมกลวงที่ ทำดว ยทองแดงขนาดเสน ผา นศู น ย ก ลาง
๑๕ เซนติเมตร ภายนอกทาดวยสีดำดานที่สามารถดูดกลืนรังสีความรอนไดดี
(๒) อุปกรณตรวจวัดระดับความรอนชนิดอิเล็กทรอนิกสที่สามารถอานและคำนวณคาอุณหภูมิ
เวตบั ล บ โ กลบ (WBGT) ต อ งเป น อุ ป กรณ ไ ด ม าตรฐาน ISO 7243 ขององค ก ารมาตรฐานระหว า งประเทศ
(International Organization for Standardization) หรือเทียบเทา
(๓) การปรับเทียบความถูกตองของอุปกรณและเครื่องมือตรวจวัดกับหนวยปรับเทียบมาตรฐาน
ปละ ๑ ครั้ง
๓.๒.๒ อุปกรณและเครื่องมือตรวจวัด และการวิเคราะหสภาวะการทำงานเกี่ยวกับแสงสวาง มีดังนี้
(๑) เครื่องวัดแสงที่ไดมาตรฐาน CIE 1931 ของคณะกรรมาธิการระหวางประเทศวาดวยความสองสวาง
(International Commission on Illumination) หรือ ISO/CIE 10527 หรือเทียบเทา
(๒) การปรับเทียบความถูกตองของเครื่องมือกับหนวยปรับเทียบมาตรฐานปละ ๑ ครั้ง

๓.๒.๓ อุปกรณและเครื่องมือตรวจวัด และการวิเคราะหสภาวะการทำงานเกี่ยวกับเสียง มีดังนี้


(๑) อุ ป กรณ ท ี ่ ไ ด ม าตรฐานของคณะกรรมาธิ ก ารระหว า งประเทศว า ด ว ยเทคนิ ค ไฟฟ า
(International Electrotechnical Commission) หรือเทียบเทา ดังนี้
ก. เครื่องวัดเสียง ตองไดมาตรฐาน IEC 61672 หรือ IEC 651 Type 2
ข. เครื่องวัดปริมาณเสียงสะสม (Noise Dosimeter) ตองไดมาตรฐาน IEC 61252
ค. เครื่องวัดเสียงกระทบหรือเสียงกระแทก ตองไดมาตรฐาน IEC 61672 หรือ IEC 60804
(๒) อุปกรณตรวจสอบความถูกตอง (Noise Calibrator) ที่ไดมาตรฐาน IEC 60942 หรือเทียบเทา
(๓) การปรับเทียบความถูกตองของเครื่องมือกับหนวยปรับเทียบมาตรฐานปละ ๑ ครั้ง

๓.๓ ขอมูล เอกสาร หรือหลักฐานเพิ่มเติม กรณีเปนนิติบุคคลที่ขออนุญาตตามมาตรา ๑๑ ตองแสดงเอกสาร


หรือหลักฐานการมีบุคลากรซึ่งเปนลูกจางของนิติบุคคลที่ขอใบอนุญาต โดยบุคลากรตองมีคุณสมบัติและเงื่อนไข
เฉพาะอยางหนึ่งอยางใด ตามขอ ๓.๑.๒
๑๐

๔. กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย


และสภาพแวดลอมในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักร ปนจั่น และหมอน้ำ พ.ศ. ๒๕๖๔ มีรายละเอียดเพิ่มเติม ดังนี้
๔.๑ เอกสารหรือหลักฐานแสดงคุณวุฒิการศึกษา มีดังนี้
๔.๑.๑ กรณีเปนบุคคลผูขอขึ้นทะเบียนตามมาตรา ๙ เพื่อดำเนินการทดสอบ ตองเปนวิศวกรผูซึ่งไดรับ
ใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมสาขาวิศวกรรมเครื่องกลตามกฎหมายวาดวยวิศวกร
๔.๑.๒ กรณีเปนนิติบุคคลที่ขออนุญาตตามมาตรา ๑๑ เพื่อดำเนินการทดสอบ ตองมีใบอนุญาตเปนผูประกอบ
วิชาชีพวิศวกรรมควบคุ ม ประเภทนิติบุ คคล และตองมีบุคลากรซึ่งเปน ลูกจางของนิติบ ุคคลที่ขอใบอนุญ าต
อยางนอย ๑ คน เปนวิศวกรผูซึ่งไดรับใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมสาขาวิศวกรรมเครื่องกล
ตามกฎหมายวาดวยวิศวกร
๑๑

๕. กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย


และสภาพแวดลอมในการทำงานเกี่ยวกับการปองกันและระงับอัคคีภัย พ.ศ. ๒๕๕๕ มีรายละเอียดเพิ่มเติม ดังนี้
๕.๑ เอกสารหรือหลักฐานแสดงคุณวุฒิการศึกษา มีดังนี้
๕.๑.๑ กรณีเปนวิทยากรผูทําการฝกอบรมการดับเพลิงขั้นตน ตองมีคุณสมบัติอยางหนึ่งอยางใด ดังตอไปนี้
(๑) สำเร็ จ การศึ ก ษาไม ต ่ ำ กว า ระดั บ ปริ ญ ญาตรี ท ี ่ ม ี ก ารเรี ย นวิ ช าเกี ่ ย วกั บ อั ค คี ภ ั ย และมี
ประสบการณการเปนวิทยากรเกี่ยวกับอัคคีภัยภายหลังจากที่สำเร็จการศึกษาไมนอยกวา ๓ ป
(๒) ผานการอบรมในหลักสูตรการฝกอบรมการดับเพลิงขั้นกาวหนา ขั้นสูง หรือทีมดับเพลิง
และมีประสบการณการเปนวิทยากรเกี่ยวกับอัคคีภัยไมนอยกวา ๓ ป
(๓) ผานการอบรมหลักสูตรครูฝกดับเพลิงหรือครูฝกปองกันบรรเทาสาธารณภัยจากหนวยงาน
ราชการและมีประสบการณการเปนวิทยากรเกี่ยวกับอัคคีภัยไมนอยวา ๒ ป
(๔) ปฏิบัติงานหรือเคยปฏิบัติงานเปนพนักงานดับเพลิงในทีมดับเพลิงของสถานประกอบกิจการ
ไมนอยกวา ๓ ป และผานการอบรมตั้งแตหลักสูตรการฝกอบรมการดับเพลิงขั้นตนขึ้นไป หรือผานการฝกอบรม
หลักสูตรวิทยากรการปองกันและระงับอัคคีภัยจากหนวยงานราชการ และมีประสบการณการเปนวิทยากรเกี่ยวกับ
อัคคีภัยไมนอยกวา ๒ ป
(๕) ปฏิบัติงานหรือเคยปฏิบัติงานในหนาที่พนักงานดับเพลิงของหนวยงานราชการไมนอยกวา
๓ ป และผานการอบรมตั้งแตหลักสูตรการฝกอบรมการดับเพลิงขั้นตนขึ้นไป หรือผานการฝกอบรมหลักสูตร
วิทยากรการปองกันและระงับอัคคีภัยจากหนวยงานราชการ และมีประสบการณการเปนวิทยากรเกี่ยวกับอัคคีภัย
ไมนอยกวา ๑ ป
๕.๑.๒ กรณีเปนวิทยากรผูดำเนินการฝกซอมดับเพลิงและฝกซอมอพยพหนีไฟ ตองมีคุณสมบัติอยางหนึ่ง
อยางใด ดังตอไปนี้
(๑) สำเร็ จ การศึ กษาไม ต่ ำ กวาระดับ ปริญ ญาตรีที่ มีการเรีย นวิช าเกี่ย วกั บ อั คคีภ ัย และมี
ประสบการณในการปองกันและระงับอัคคีภัยภายหลังจากที่สำเร็จการศึกษาไมนอยกวา ๓ ป
(๒) ผานการอบรมดานอัคคีภัยในหลักสูตรผูอํานวยการการดับเพลิงหรือผานการอบรมหลักสูตร
ครูฝกดับเพลิงหรือครูฝกปองกันบรรเทาสาธารณภัยจากหนวยงานราชการ โดยมีประสบการณในการปองกัน
และระงับอัคคีภัยไมนอยกวา ๓ ป
(๓) ผานการอบรมในหลักสูตรการฝกอบรมการดับเพลิงขั้นกาวหนา ขั้นสูง หลักสูตรวิทยากร
การปองกันและระงับอัคคีภัยจากหนวยงานราชการ หรือหลักสูตรทีมดับเพลิง โดยมีประสบการณในการปองกัน
และระงับอัคคีภัยไมนอยกวา ๓ ป
(๔) ปฏิบัติงานหรือเคยปฏิบัติงานในหนาที่พนักงานดับเพลิงของหนวยงานราชการ โดยมี
ประสบการณในการปองกันและระงับอัคคีภัยไมนอยกวา ๓ ป
๑๒

๕.๒ เอกสารหรือหลักฐานแสดงความพรอมของอุปกรณหรือสถานที่ กรณีการฝกอบรมการดับเพลิงขั้นตน


ตองมีอุปกรณและสถานที่ฝกภาคปฏิบัติ ดังตอไปนี้
๕.๒.๑ อุปกรณที่ใชในการฝกภาคปฏิบัติอยางนอยตองมีรายการ ดังตอไปนี้
(๑) เครื่องดับเพลิงแบบเคลื่อนยายไดที่สามารถดับเพลิงประเภท A ประเภท B และประเภท C
(๒) สายสงน้ำดับเพลิง สายฉีดน้ำดับเพลิง กระบอกฉีดน้ำดับเพลิงหรือหัวฉีดน้ำดับเพลิง
(๓) อุปกรณคุ มครองความปลอดภั ยสวนบุ คคลที่ ใชสำหรั บการดับ เพลิ ง ซึ่งอยางน อยต อง
ประกอบดวยเสื้อคลุมดับเพลิง ถุงมือ รองเทา หมวกดับเพลิงที่มีกระบังหนา และหนากากปองกันความรอน
อุปกรณทั้งหมดตองสามารถใชงานไดดี มีความปลอดภัยตอการฝกและตองมีจำนวนที่เพียงพอ
ตอผูเขารับการฝกอบรม
๕.๒.๒ สถานที่ฝกภาคปฏิบัติอยางนอยตองมีลักษณะ ดังตอไปนี้
(๑) มีสถานที่เปนสัดสวนเหมาะสมแกการฝกภาคปฏิบัติ
(๒) มีความปลอดภัยตอผูเขารับการฝกอบรมและชุมชนใกลเคียง
(๓) ไมอยูในบริเวณที่อาจเปนเหตุใหเกิดการระเบิด หรือติดไฟไดงายตอสถานที่ใกลเคียง
(๔) ไมกอใหเกิดมลพิษตอสิ่งแวดลอม หรือมีระบบกําจัดมลพิษที่เหมาะสม

๕.๓ ขอมูล เอกสาร หรือหลักฐานเพิ่มเติม มีดังนี้


๕.๓.๑ กรณีการฝกอบรมการดับเพลิงขั้นตน มีดังนี้
(๑) เอกสารหรือหลักฐานการมีบุคลากรซึ่งเปนลูกจางของนิติบุคคลที่ขอใบอนุญาต โดยสำเร็จ
การศึ กษาไมต่ ำ กว า ปริ ญ ญาตรี ห รื อเที ย บเทาทุกสาขา เพื่อทำหนาที่เปน เจาหนาที่บ ริห ารจัดการฝกอบรม
อยางนอย ๑ คน
(๒) เอกสารหรือหลักฐานการมีวิทยากรซึ่งเปนลูกจางของนิติบุคคลที่ขอใบอนุญาต โดยวิทยากร
ตองมีคุณสมบัติอยางหนึ่งอยางใด ตามขอ ๕.๑.๑ อยางนอย ๑ คน
(๓) แผนที่แสดงที่ตั้งของสถานที่ฝกภาคปฏิบัติโดยสังเขป
(๔) เอกสารประกอบการฝกอบรมภาคทฤษฎีตองมีกำหนดระยะเวลาการฝกอบรมไมนอยกวา
๓ ชั่วโมง และอยางนอยตองมีหัวขอวิชา ดังตอไปนี้
ก. ทฤษฎีการเกิดเพลิงไหม
ข. การแบงประเภทของเพลิง และวิธีดับเพลิงประเภทตาง ๆ
ค. จิตวิทยาเมื่อเกิดอัคคีภัย
ง. การปองกันแหลงกำเนิดของการติดไฟ
จ. เครื่องดับเพลิงชนิดตาง ๆ
ฉ วิธีการใชอุปกรณคุมครองความปลอดภัยสวนบุคคลที่ใชในการดับเพลิง
๑๓

ช แผนปองกันและระงับอัคคีภัย
ซ การจัดระบบปองกันและระงับอัคคีภัย การประยุกตใชระบบและอุปกรณที่มีอยูใน
สถานประกอบกิจการ
สำหรับการฝกอบรมภาคทฤษฎี ตองจัดใหหองฝกอบรม ๑ หอง มีผูเขารับการฝกอบรม
ไมเกิน ๖๐ คน และมีวิทยากร อยางนอย ๑ คน
การฝ ก อบรมภาคปฏิ บ ั ต ิต  อ งมี ก ำหนดระยะเวลาการฝ ก อบรมไม น  อ ยกว า ๓ ชั ่ ว โมง
โดยผูเขารับการฝกอบรมทุกคนตองไดรับการฝกปฏิบัติเกี่ยวกับการใชอุปกรณดับเพลิง และอยางนอยตองมี
การฝกอบรมภาคปฏิบัติ ดังตอไปนี้
ก. ฝกดับเพลิงประเภท A ดวยการใชเครื่องดับเพลิงแบบเคลื่อนยายไดที่ใชน้ำสะสมแรงดัน
หรือสารดับเพลิงที่สามารถดับเพลิงประเภท A
ข. ฝกดับเพลิงประเภท B ดวยการใชเครื่องดับเพลิงแบบเคลื่อนยายไดที่ใชสารดับเพลิง
ชนิดคารบอนไดออกไซด โฟม ผงเคมีแหง หรือสารดับเพลิงที่สามารถดับเพลิงประเภท B
ค. ฝกดับเพลิงประเภท C ดวยการใชเครื่องดับเพลิงแบบเคลื่อนยายไดที่ใชสารดับเพลิง
ชนิดคารบอนไดออกไซด ผลเคมีแหง หรือสารดับเพลิงที่สามารถใชดับเพลิงประเภท C
ง. ฝกดับเพลิงโดยใชสายดับเพลิง
สำหรั บ การฝ กอบรมภาคปฏิบ ัติ ตองจัดใหมีว ิทยากร อยางนอย ๑ คน ตอผูเขารั บ
การฝกอบรมไมเกิน ๒๐ คน
(๕) ตารางการฝกอบรมและระยะเวลาการฝกอบรมไมนอยกวา ๖ ชั่วโมง
(๖) แบบทดสอบการวัดผลและประเมินผลผูเขารับการฝกอบรม
(๗) ตัวอยางหลักฐานหรือวุฒิบัตรที่มอบใหกับผูผานการฝกอบรม
(๘) สือ่ ประกอบการเรียนการสอน (PowerPoint)
๕.๓.๒ กรณีการฝกซอมดับเพลิงและฝกซอมอพยพหนีไฟ มีดังนี้
(๑) เอกสารหรือหลักฐานการมีบุคลากรซึ่งเปนลูกจางของนิติบุคคลที่ขอใบอนุญาต โดยสำเร็จ
การศึกษาไมต่ำกวาปริญญาตรีหรือเทียบเทาทุกสาขา เพื่อทำหนาที่เปนเจาหนาที่บริหารจัดการฝกซอม อยางนอย ๑ คน
(๒) เอกสารหรือหลักฐานการมีวิทยากรซึ่งเปนลูกจางของนิติบุคคลที่ขอใบอนุญาต โดยวิทยากร
ตองมีคุณสมบัติอยางหนึ่งอยางใด ตามขอ ๕.๑.๒ อยางนอย ๑ คน
(๓) เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงและซักซอมผูที่เกี่ยวของ ดังตอไปนี้
ก. แผนการดับเพลิงและวิธีการดับเพลิงของสถานประกอบกิจการ
ข. แผนการอพยพหนีไฟและวิธีการอพยพหนีไฟของสถานประกอบกิจการ
ค. การคนหา ชวยเหลือ และเคลื่อนยายผูประสบภัย
ง. เหตุการณจำลองและฝึกซอมเสมือนเหตุการณจริง
๑๔

(๔) เอกสารแสดงรายการอุปกรณในการฝกซอมตามเหตุการณจำลอง
(๕) ตารางการฝกซอมดับเพลิงและฝกซอมอพยพหนีไฟ
(๖) ตัวอยางหลักฐานหรือวุฒิบัตรที่มอบใหกับสถานประกอบกิจการที่ผานการฝกซอม
(๗) สื่อประกอบการเรียนการสอน (PowerPoint)
๑๕

๖. กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย


และสภาพแวดลอมในการทำงานเกี่ยวกับที่อับอากาศ พ.ศ. ๒๕๖๒ มีรายละเอียดเพิ่มเติม ดังนี้
๖.๑ เอกสารหรือหลักฐานแสดงคุณวุฒิการศึกษา วิทยากรผูทำการฝกอบรมภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติตองมี
คุณสมบัติอยางหนึ่งอยางใด ดังนี้
(๑) มีคุณวุฒิการศึกษาไมต่ำกวาปริญญาตรีสาขาอาชีวอนามัยหรือเทียบเทา รวมทั้งมีประสบการณการทำงาน
เกี่ยวกับที่อับอากาศไมนอยกวา ๑ ป และมีประสบการณเปนวิทยากรบรรยายในหัวขอวิชาที่เกี่ยวของไมนอยกวา
๒๔ ชั่วโมงตอป
(๒) เปนหรือเคยเปนเจาหนาที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับวิชาชีพ โดยผานการฝกอบรมหลักสูตร
เกี่ยวกับความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศไมนอยกวา ๑๘ ชั่วโมง รวมทั้งมีประสบการณการทำงาน
เกี่ยวกับที่อับอากาศไมนอยกวา ๒ ป และมีประสบการณเปนวิทยากรบรรยายในหัวขอวิชาที่เกี่ยวของไมนอยกวา
๒๔ ชั่วโมงตอป
(๓) เปนหรือเคยเปนเจาหนาที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับหัวหนางาน ระดับเทคนิค และระดับ
เทคนิคขั้นสูงมาไมนอยกวา ๓ ป โดยผานการฝกอบรมหลักสูตรเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ
ไมนอยกวา ๑๘ ชั่วโมง รวมทั้งมีประสบการณการทำงานเกี่ยวกับที่อับอากาศไมนอยกวา ๓ ป และมีประสบการณ
เปนวิทยากรบรรยายในหัวขอวิชาที่เกี่ยวของไมนอยกวา ๒๔ ชั่วโมงตอป
(๔) สำเร็จการศึกษาเฉพาะทางหรือผานการอบรมเฉพาะทางเกี่ยวกับหัวขอที่บรรยาย และมีประสบการณ
เปนวิทยากรบรรยายในหัวขอวิชาที่เกี่ยวของไมนอยกวา ๒๔ ชั่วโมงตอป
(๕) ผูผานการฝกอบรมในหลักสูตรการเปนวิทยากรเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศที่กรม
สวัสดิการและคุมครองแรงงานยอมรับ กอนวันที่ประกาศกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ
วิธีการ และหลักสูตรการฝกอบรมความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศมีผลใชบังคับ (ตามบทเฉพาะกาล)

๖.๒ เอกสารหรือหลักฐานแสดงความพรอมของอุปกรณหรือสถานที่ มีดังนี้


๖.๒.๑ เอกสารแสดงรายการอุปกรณการฝกอบรมภาคปฏิบัติอยางนอย ตองประกอบดวย
(๑) เครื่องตรวจวัดปริมาณออกซิเจนในบรรยากาศ
(๒) เครื่องตรวจวัดคาความเขมขนขั้นต่ำของสารเคมีแตละชนิดในอากาศที่อาจติดไฟหรือระเบิดได
(๓) เครื่องตรวจวัดคาความเขมขนของสารเคมีในบรรยากาศ
(๔) อุ ป กรณ ค ุ  ม ครองความปลอดภั ย ส ว นบุ ค คลตามเนื ้ อ หาหลั ก สู ต ร ซึ ่ ง อย า งน อ ยต อ ง
ประกอบดวย อุปกรณปองกันระบบหายใจชนิดสงอากาศชวยหายใจ อุปกรณชวยเหลือชวยชีวิตที่เหมาะสมกับ
ลักษณะงาน
๑๖

๖.๒.๒ เอกสารแสดงสถานที่ฝกภาคปฏิบัติโดยมีลักษณะอยางนอย ดังนี้


(๑) มีสถานที่เปนสัดสวนที่สามารถแสดงขนาดของสถานที่ฝกภาคปฏิบัติ โดยตองมีการรับรอง
โครงสรางที่ถูกตอง
(๒) มีความปลอดภัยตอผูเขารับการฝกอบรมและชุมชนใกลเคียง
(๓) ไมอยูในบริเวณที่อาจกอใหเกิดการระเบิดหรือติดไฟไดงาย
(๔) ไมกอใหเกิดมลพิษตอสิ่งแวดลอม หรือมีระบบกำจัดที่เหมาะสม

๖.๓ ขอมูล เอกสาร หรือหลักฐานเพิ่มเติม มีดังนี้


๖.๓.๑ เอกสารหรื อหลั กฐานการมีบ ุคลากรซึ่งเปน ลูกจางของนิติบ ุคคลที่ขอใบอนุญ าต โดยสำเร็จ
การศึ กษาไมต่ ำ กว า ปริ ญ ญาตรี ห รื อเที ย บเทาทุกสาขา เพื่อทำหนาที่เปน เจาหนาที่บ ริห ารจัดการฝกอบรม
อยางนอย ๑ คน
๖.๓.๒ เอกสารหรือหลักฐานการมีวิทยากรซึ่งเปนลูกจางของนิติบุคคลที่ขอใบอนุญาต โดยวิทยากรตองมี
คุณสมบัติอยางหนึ่งอยางใด ตามขอ ๖.๑
๖.๓.๓ แผนที่แสดงที่ตั้งของสถานที่ฝกภาคปฏิบัติโดยสังเขป
๖.๓.๔ เอกสารประกอบการฝกอบรมตามหลักสูตรของนิติบุคคลที่ขอใบอนุญาต
สำหรับการฝกอบรมภาคทฤษฎี ตองจัดใหหองฝกอบรม ๑ หอง มีผูเขารับการฝกอบรมไมเกิน
๓๐ คน และมีวิทยากร อยางนอย ๑ คน และการฝกอบรมภาคปฏิบัติ ตองจัดใหมีวิทยากร อยางนอย ๑ คน
ตอผูเขารับการฝกอบรมไมเกิน ๑๕ คน
๖.๓.๕ ตารางการฝกอบรมตามหลักสูตรของนิติบุคคลที่ขอใบอนุญาต
๖.๓.๖ แบบทดสอบการวัดผลและประเมินผลผูเ ขารับ การฝกอบรมตามหลั กสูตรของนิติ บุ คคลที่ ข อ
ใบอนุญาต
๖.๓.๗ ตัวอยางหลักฐานหรือวุฒิบัตรที่มอบใหกับผูผานการฝกอบรมตามหลักสูตรของนิติบุคคลที่ ขอ
ใบอนุญาต
๖.๓.๘ สื่อประกอบการเรียนการสอน (PowerPoint) ตามหลักสูตรของนิติบุคคลที่ขอใบอนุญาต

You might also like