You are on page 1of 75

กฎหมายที่เกี่ยวของกับการผลิตพลังงานควบคุม

นายประพนธ ฟกอินทร
หัวหนากลุมพลังงานควบคุม
กองกํากับและอนุรักษพลังงาน
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน
โครงสรางกฎหมาย พระราชบัญญัติการพัฒนาและสงเสริมพลังงาน พ.ศ. 2535
และกฎหมายที่เกี่ยวของ
1. พระราชบัญญัติการพัฒนาและสงเสริมพลังงาน พ.ศ. 2535

• กฎกระทรวงฉบับที่ 1
- บัตรประจําตัวพนักงานเจ้าหน้าที่

• กฎกระทรวงฉบับที่ 2
พระราชกฤษฎีกากําหนดพลังงานควบคุม พ.ศ. 2536
- คําขอรับใบอนุญาตทําการผลิตพลังงานควบคุม (พค.1)
- การอนุญาตให้ผลิตพลังงานควบคุม (พค.2)

2. พระราชบัญญัติการประกอบกิจการพลังงาน พ.ศ. ๒๕๕๐

shorturl.asia/lf0y7 1
พระราชบัญญัติการพัฒนาและสงเสริมพลังงาน พ.ศ. 2535

2
พลังงานควบคุม

มาตรา 5 “พลังงานควบคุ ม” หมายความวา พลัง งานซึ่ง ได กํา หนดให มีก ารควบคุ ม
ตามพระราชบัญญัตินี้

มาตรา 24 การกําหนดพลังงานประเภทใด ขนาดและวิธีการผลิต หรือการใชอยางใด


ใหเปนพลังงานควบคุม ใหตราเปนพระราชกฤษฎีกา

3
การผลิตพลังงานควบคุม

มาตรา 25 หามมิใหผูใดผลิต หรือขยายการผลิตพลังงานควบคุม เวนแตจะไดรับใบอนุญาต


จากกรมพัฒนาและสงเสริมพลังงาน
การขอรับใบอนุญาตและการออกใบอนุญาตใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดใน
กฎกระทรวง
การผลิตพลังงานควบคุมใดซึ่งจะตองไดรับอนุญาตหรือรับสัมปทานตามกฎหมายอื่น จะตอง
ไดรับอนุญาตหรือรับสัมปทานตามกฎหมายนั้นดวย
มาตรา 34 ผูใดฝาฝนมาตรา 25 ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสองป หรือปรับไมเกินสองหมื่นบาท
หรือทั้งจําทั้งปรับ

4
หลักเกณฑการขอรับใบอนุญาตและการออกใบอนุญาต

มาตรา 26 การกําหนดหลักเกณฑในกฎกระทรวงตามมาตรา 25 ใหคํานึงถึงกรณีดังตอไปนี้ดวย


(๑) ผลกระทบตอสิ่งแวดลอม เศรษฐกิจ และความมั่นคงของประเทศ
(๒) อันตรายที่จะเกิดขึ้นจากการผลิตหรือการขยายการผลิตพลังงาน
(๓) การใชวัตถุดิบหรือวัตถุธรรมชาติตามหลักวิชาและอนุรักษพลังงาน

5
หลักเกณฑการขอรับใบอนุญาตและการออกใบอนุญาต

มาตรา 27 ใหกรมพัฒนาและสงเสริมพลังงานพิจารณาการขอรับใบอนุญาตตามมาตรา 25
ให เ สร็ จ ภายในหนึ่ ง ร อ ยยี่ สิ บ วั น นั บ แต วั น ที่ ก รมพั ฒ นาและส ง เสริ ม พลั ง งานได รั บ คํ า ขอที่ มี
รายละเอียดถูกตองและครบถวนตามที่กําหนดในกฎกระทรวง
ในการ กรมพัฒนาและสงเสริมพลังงานอาจกําหนดเงื่อนไข ดังตอไปนี้ได
(1) อัตราคา ตอบแทนอยา งสูงที่จะพึงเรียกจากผูใชพลังงานควบคุมใหสอดคลองกับ
หลักเกณฑและเงื่อนไขของคณะกรรมการนโยบายพลังงานแหงชาติ
(2) การกําหนดเขตการจายพลังงาน และขนาดของเครื่องจักรที่จะติดตั้งเพื่อทําการผลิต
(3) การดําเนินการใหถูกตองตามหลักวิชา เชน การวางสาย การปองกันอัคคีภัยการปองกัน
ความเสียหายของเครื่องจักร การปองกันอันตราย หรือการกําหนดประเภทหรือวิธีการใชวัตถุดิบหรือวัตถุ
ธรรมชาติที่ใชในการผลิตพลังงานควบคุม

6
พนักงานเจาหนาที่
“พนักงานเจาหนาที่ ” หมายถึ ง เจาหนาที่ของกรมพัฒนาและสงเสริม พลัง งาน และ
หมายความรวมถึงเจาหนาที่ของกระทรวง ทบวง กรม ราชการสวนทองถิ่น และรัฐวิสาหกิจซึ่ง
พระราชบัญญัตินี้กําหนดใหถือวาเปนพนักงานเจาหนาที่ดวย
มาตรา ๑๒ ในการปฏิบัติหนา ที่ พนักงานเจา หนา ที่ตองแสดงบัตรประจํา ตัวแกบุค คล
ที่เกี่ยวของ
บั ต รประจํ า ตั ว พนั ก งานเจ า หน า ที่ ใ ห เ ป น ไปตามแบบที่ รั ฐ มนตรี กํ า หนด
ในกฎกระทรวง
มาตรา ๑๓ ให พ นั ก งานเจ า หน า ที่ ต ามพระราชบั ญ ญั ติ นี้ เป น เจ า พนั ก งานตาม
ประมวลกฎหมายอาญา

7
การเขาตรวจสอบสถานที่ผลิตพลังงานควบคุม
มาตรา 11 ในการปฏิบัติราชการของกรมพัฒนาและสงเสริมพลังงาน ใหพนักงานเจาหนาที่มี
อํานาจเขาไปในสถานที่ใด ๆ ในระหวางเวลาพระอาทิตยขึ้นถึงพระอาทิตยตก หรือเวลาทําการของ
สถานที่นั้น ๆ เพื่อตรวจสอบเอกสาร หรือสิ่งของใด ๆ ที่เกี่ยวกับกิจการพลังงานจากบุคคลที่อยูใน
สถานที่เชนวานั้นไดตามความจําเปน ในการนีผ้ ูครอบครองสถานที่ดังกลาว ตองอํานวยความสะดวก
แกพนักงานเจาหนาที่ตามสมควร
กรณีที่พนักงานเจาหนาทีเ่ ขาไปในสถานทีต่ ามวรรคหนึ่ง ถาไมเปนการเรงดวนให
แจงเปนหนังสือใหผูครอบครองสถานที่นั้นทราบลวงหนาไมนอยกวาสามวัน
มาตรา 33 ผูใดขัดขวางหรือไมอํานวยความสะดวกตามสมควรแกพนักงานเจาหนาที่
ในการปฏิบัติตามมาตรา 11 มาตรา 14 มาตรา 16 มาตรา 17 มาตรา 19 หรือมาตรา 21
ตองระวางโทษจําคุกไมเกิน 1 เดือน หรือปรับไมเกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ

8
กรณีขาดแคลนพลังงาน

มาตรา 28 ในกรณีที่อาจเกิดการขาดแคลนพลังงานควบคุมเปนครั้งคราว หรือกรณีอยางอื่น


เพื่อประโยชนในทางเศรษฐกิจของประเทศ อธิบดีมีอํานาจออกคําสั่งเปนหนังสือใหผูผลิตพลังงานควบคุม
ปฏิบัติดังตอไปนี้
(1) ลดหรือเพิ่มการผลิต การจําหนาย หรือการใชพลังงานควบคุม
(2) เปลี่ยนประเภทของวัตถุดิบหรือวัตถุธรรมชาติที่ใชในการผลิตพลังงานควบคุม
(3) เปลี่ยนแปลงอัตราคาตอบแทนอยางสูงที่จะพึงเรียกจากผูใชพลังงานควบคุม
มาตรา 35 ผู ใ ดไม ป ฏิ บั ติ ต ามคํ า สั่ ง ของอธิ บ ดี ที่ สั่ ง ตามมาตรา 28 หรื อ มาตรา 29
ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ

9
การระงับหรือปองกันอันตราย
มาตรา 29 เพื่ อ ประโยชน แ ก ก ารระงั บ หรื อ ป องกั น อั น ตรายที่ อ าจมี แ กบุ ค คล หรื อ
ทรัพยสนิ หรืออนามัยของประชาชน หรือความมั่นคงของประเทศ อธิบดีมีอํานาจออกคําสั่ง
เปนหนังสือใหผูผลิตพลังงานควบคุมปฏิบัติดังตอไปนี้
(1) เปลี่ยนแปลง ซอมแซม หรือบูรณะอาคาร เครื่องจักร เครื่องอุปกรณ เครื่องมือหรือ
เครื่องใช
(2) จัดหา หรือสรางสิ่งใด ๆ ซึ่งจะขจัดหรือปองกันอันตราย
(3) งดการผลิต การสง การใช หรือการจําหนายพลังงานควบคุมเปนการชั่วคราวจนกวา
จะไดปฏิบัติตามคําสั่งตาม (1) หรือ (2)
กรณีที่พนักงานเจาหนาทีเ่ ขาไปในสถานที่ตามวรรคหนึ่ง ถาไมเปนการเรงดวนใหแจงเปน
หนังสือใหผูครอบครองสถานที่นั้นทราบลวงหนาไมนอยกวาสามวัน
มาตรา 35 ผู ใ ดไม ป ฏิ บั ติ ต ามคํ า สั่ ง ของอธิ บ ดี ที่ สั่ ง ตามมาตรา 28 หรื อ มาตรา 29
ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
10
พระราชกฤษฎีกากําหนดพลังงานควบคุม พ.ศ. 2536

11
การกําหนดพลังงานใหเปนพลังงานควบคุม

มาตรา 3 ใหพลังงานไฟฟาซึ่งขนาดการผลิตรวมของแตละแหลงผลิต
ตั้งแต 200 กิโลโวลตแอมแปรขึ้นไป เปนพลังงานควบคุม

12
กฎกระทรวง ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2539)
ออกตามความในพระราชบัญญัติการพัฒนาและสงเสริมพลังงาน พ.ศ. 2535

13
บัตรประจําตัวพนักงานเจาหนาที่

ขอ 2 ให อธิ บดี กรมพั ฒนาและส งเสริ มพลั งงานเป นผู ออกบั ตรประจํ า ตั ว
พนักงานเจาหนาที่ ซึ่งแตงตั้งจากขาราชการผูดํารงตําแหนงตั้งแตระดับ 9 ลงมา
และพนักงานรัฐวิสาหกิจ

14
กฎกระทรวง ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2539)
ออกตามความในพระราชบัญญัติการพัฒนาและสงเสริมพลังงาน พ.ศ. 2535

15
คําขอรับใบอนุญาตผลิตพลังงานควบคุมและใบอนุญาตใหผลิตพลังงานควบคุม

ขอ 1 ผูใดประสงคจะขอรับใบอนุญาตผลิต หรือขยายการผลิตพลังงานควบคุม


ใหยื่นคําขอตามแบบ พค. 1 ทายกฎกระทรวงนี้
ข อ 2 การอนุ ญ าตให ผ ลิ ต หรื อ ขยายการผลิ ต พลั ง งานควบคุ ม ให ใ ช
แบบ พค. 2 ทายกฎกระทรวงนี้
การอนุญาตตามวรรคหนึ่ง ใหมีกําหนดระยะเวลาครั้งละไมเกินสี่ปนับแต
วันที่ไดรับอนุญาต
ขอ 3 ผู ไดรั บอนุญาตผลิตพลังงานควบคุ มผู ใดประสงค จะขอรับใบอนุญาต
ผลิตพลั งงานควบคุมครั้งตอไปใหยื่ นคํ า ขอตามแบบ พค. 1 โดยอนุโ ลมกอ น
ใบอนุญาตเดิมสิ้นอายุไมนอยกวาหนึ่งรอยยี่สิบวัน

16
พระราชบัญญัติการประกอบกิจการพลังงาน พ.ศ. 2550

17
พระราชบัญญัติการประกอบกิจการพลังงาน พ.ศ. 2550

มาตรา 48 ในกรณี ที่ ก ารปลู ก สร า งอาคาร หรื อ การตั้ ง โรงงาน


เพื่ อ ประกอบกิ จ การพลั ง งานต อ งปฏิ บั ติ ต ามกฎหมายว า ด ว ยโรงงาน
กฎหมายว า ด ว ยการควบคุ ม อาคาร กฎหมายว า ด ว ยการผั ง เมื อ ง หรื อ
กฎหมายว าด ว ยการพั ฒนาและส ง เสริ ม พลั ง งาน ให ก ารอนุ ญ าตตาม
กฎหมายว า ด ว ยการนั้ น เป น อํ า นาจหน า ที่ ข องคณะกรรมการตาม
พระราชบัญญัตินี้ โดยคณะกรรมการตองขอความเห็นจากหนวยงานที่มี
อํานาจหนาที่ตามกฎหมายตาง ๆ ดังกลาวและหนวยงานดังกลาวตองแจง
ความเห็นพรอมทั้งจํานวนคาธรรมเนียมที่เรียกเก็บตามกฎหมายนั้น ๆ ให
คณะกรรมการทราบดวย
ใหสํานักงานจัดสงคาธรรมเนียมที่คณะกรรมการเรียกเก็บตามวรรคหนึ่ง
ใหหนวยงานที่มีอํานาจหนาที่ตามกฎหมายตาง ๆ เพื่อดําเนินการตอไป

18
พระราชบัญญัติการประกอบกิจการพลังงาน พ.ศ. 2550

มาตรา 54 การประกอบกิจการพลังงานใหมีอายุตามที่กํา หนดไวใน


ใบอนุญาตการขอตออายุใบอนุญาต ใหผูรับใบอนุญาตยื่นคําขอกอนวันที่
ใบอนุญาตสิ้นอายุเมื่อไดยื่นคําขอแลว ใหถือวาผูยื่นคําขอยังคงอยูในฐานะ
ผูรับใบอนุญาตจนกวาจะไดรับแจงคําสั่งไมอนุญาตใหตออายุใบอนุญาต

19
พระราชบัญญัติการประกอบกิจการพลังงาน พ.ศ. 2550
มาตรา 47 การประกอบกิจการพลังงานไมวาจะมีคาตอบแทนหรือไมตอง
ไดรับใบอนุญาตจากคณะกรรมการ
ในการออกใบอนุ ญ าต ให ค ณะกรรมการประกาศกํ า หนด
ประเภทและอายุใ บอนุ ญาตให สอดคล องกั บขนาดและลัก ษณะของกิจ การ
พลังงานประเภทตาง ๆ โดยใหคํานึงถึงผลกระทบตอประชาชน ความคุมคาทาง
เศรษฐกิจ สังคม และการลงทุน รวมถึงลักษณะการแขงขันของกิจการแตละ
ประเภท และอาจกําหนดเงื่อนไขเปนการเฉพาะรายดวยก็ได
การกําหนดประเภท ขนาด และลักษณะของกิจการพลังงานที่
ไดรับการยกเวนไมตองขอรับใบอนุญาตใหตราเปนพระราชกฤษฎีกา
เพื่อประโยชนในการรวบรวมขอมูลสถิติ คณะกรรมการ
อาจประกาศกํ า หนดให กิ จ การพลั ง งานที่ ไ ด รั บ การยกเว น ไม ต อ งขอรั บ
ใบอนุญาตตามวรรคสาม เปนกิจการที่ตองมาแจงตอสํานักงานก็ได
20
ประกาศคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน เรื่อง การกําหนดใหกิจการพลังงาน
ที่ไดรับการยกเวนไมตองขอรับใบอนุญาต เปนกิจการที่ตองแจง พ.ศ. 2551

21
กิจการที่ตองแจงตอสํานักงาน

ขอ 3 ใหกิจการพลังงานที่ไ ดรับการยกเวนไมตองขอรับใบอนุญาตตาม


มาตรา 47 วรรคสาม เปนกิจการที่ตองแจงตอสํานักงาน

22
พระราชกฤษฎีกา กําหนดประเภท ขนาด และลักษณะของกิจการพลังงาน
ที่ไดรับการยกเวนไมตองขอรับใบอนุญาตการประกอบกิจการพลังงาน พ.ศ. 2552

23
กิจการที่ตองแจงตอสํานักงาน
มาตรา 3 ประเภท ขนาด และลักษณะของกิจการพลังงานที่ไ ดรับการยกเวน
ไมตอ งขอรับใบอนุญาตการประกอบกิจการพลังงานมีดังตอไปนี้
(1) กิจการผลิ ตไฟฟา ที่ มีกําลั งการผลิต รวมของแตละแหล ง ผลิ ต
ต่ํากวาหนึ่งพันกิโลโวลตแอมแปร
(2) กิจการระบบจําหนายไฟฟาที่ผูประกอบกิจการผลิตไฟฟาตาม (1)
นําไฟฟาที่ไดจากการผลิตไปใชในกิจการของตนเอง
(3) กิจการจําหนายไฟฟาที่มีขนาดการจําหนายไฟฟาต่ํากวาหนึ่งพัน
กิโลโวลตแอมแปร โดยผานระบบจําหนายไฟฟา
(4) กิจ การศูน ยควบคุม ระบบไฟฟา ซึ่ง โดยปกติ ไ มมี ห นา ที่สั่ง การ
ดานการผลิตไฟฟาโดยตรง
(5) กิจการเก็บรักษาและแปรสภาพกาซธรรมชาติจากของเหลวเปน
กาซที่มีปริมาณการเก็บรักษากาซธรรมชาติเหลวรวมของแตละแหลงเก็บรักษาต่ํากวา
หาหมื่นลิตร
ใหกิจการพลัง งานที่ไดรับการยกเวนไมตอ งขอรับ ใบอนุญ าตตาม
มาตรา 47 วรรคสาม เปนกิจการที่ตองแจงตอสํานักงาน 24
กฎหมายทับกันหรือซอนกัน

25
บันทึกสํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เรื่องเสร็จที่ 1308/2556
เรื่อง อํานาจหนาที่ของคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน
ความเห็นคณะกรรมการกฤษฎีกา (คณะที่ 5) ประเด็นที่ 1 อํานาจของคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน (กกพ.)
ในการอนุญาตมีขอบเขตเพียงใด
ตามความในมาตรา 48 ตอนทายไดบัญญัติใหอํานาจ กกพ. ไวอยางชัดเจนวาใหการอนุญาตตามกฎหมายวาดวยการนั้น
เปนอํานาจหนาที่ของ กกพ. ซึ่งยอมรวมถึงบรรดาการอนุญาตทั้งหมดตามกฎหมายที่กลาวมาแลวนั้น และรวมถึง
การรับแจงตามกฎหมายดังกลาวดวย
โดยกอนที่ กกพ. จะอนุญาต หนวยงานตามกฎหมายตาง ๆ ตองตรวจสอบและเสนอความเห็นมาประกอบ
การอนุ ญาตด วย แต ทั้ งนี้ การใช อํานาจหนาที่ของ กกพ. ตามมาตรา 48 ดั งกล า วไม ก ระทบต ออํ า นาจหนา ที่ ที่มี อ ยู
ตามกฎหมายของหนวยงานที่เกี่ยวของที่จะตองบังคับการใหเปนไปตามกฎหมายนั้นตอไป
สําหรับกิจการพลังงานที่ไดรับการยกเวนไมตองขอรับใบอนุญาตประกอบกิจการพลังงานตามพระราชกฤษฎีกา
ที่ออกตามความในมาตรา 47 นั้น มิไดกระทบตออํานาจหนาที่ของ กกพ. ในการอนุญาตตามกฎหมายที่บัญญัติไว
ในมาตรา 48
26
การดําเนินการหลังพระราชบัญญัติ การประกอบกิจการพลังงาน พ.ศ. 2550 มีผลบังคับใช
วิธีการดําเนินการในปจจุบันระหวาง พพ. กับ สํานักงาน กกพ.
การผลิตรวม ๒๐๐ kVA ขึ้นไป
ผูอนุญาต ไมเชื่อมตอโครงขาย (Stand Alone) พึ่งพาไฟฟาจากระบบโครงขายไฟฟา
Emergency Backup (เชื่อมตอโครงขาย)
พพ.  (2)
สํานักงาน กกพ. (1) (3)
1. ลักษณะการผลิตและการใชไฟฟา 200 kVA ขึ้นไป สําหรับเครื่องกําเนิดไฟฟาสํารองฉุกเฉิน กรณีไมเชื่อมตอ
โครงขายใชในกิจการตนเอง ใหยื่นขอรับใบอนุญาต พค. 2 ที่กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงานตรวจสอบ
และจัดทํารายงานพรอมออกใบอนุญาต
2. ลักษณะการผลิตและการใชไฟฟา 200 kVA ขึ้นไป เชื่อมตอโครงขายใชในกิจการตนเองและเพื่อจําหนาย ให
(1) ยื่นขอรับใบอนุญาต พค. 2 ที่สํานักงาน กกพ. และ (2) เจาหนาที่ พพ. ตรวจสอบระบบผลิตฯ พิจารณาพรอมจัดทํา
รายงานและแจงความเห็น ตอ (3) คณะกรรมการกํากับกิจการพลังงานเพื่อออกใบอนุญาต พค. 2
27
การการปรับปรุงกระบวนการใหความเห็น
การออกใบอนุญาตผลิตพลังงานควบคุม (พค. 2)
ตอคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน

28
ประกาศกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน
พพ. ไดมีประกาศกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน จํานวน 3 ฉบับ ไดแก
1. ประกาศ พพ. เรื่อง หลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไข ประกอบการใหความเห็นการออกใบอนุญาตใหผลิตพลังงานควบคุม
ตอคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน
2. ประกาศ พพ. เรื่อง การรับขึ้นทะเบียนผูตรวจสอบระบบผลิตพลังงานควบคุม
3. ประกาศ พพ. เรื่อง กําหนดระยะเวลาการรับขึ้นทะเบียนผูตรวจสอบระบบผลิตพลังงานควบคุม

shorturl.asia/yhX1u
29
หลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไข
ประกอบการใหความเห็นการออกใบอนุญาต
ผลิตพลังงานควบคุม (พค. 2) ตอคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน

30
ประกาศกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน
พพ. ได มีป ระกาศกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรั กษ พลัง งาน เรื่อง หลักเกณฑ
วิธีการและเงื่อนไข ประกอบการใหความเห็นการออกใบอนุญาตใหผลิตพลังงานควบคุม ตอคณะกรรมการ
กํากับกิจการพลังงาน ลงวันที่ 31 สิงหาคม 2535

31
ประกาศ พพ. เรื่อง หลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขฯ : ชื่อประกาศ

ข อ ๑ ประกาศนี้ เ รี ย กว า “ประกาศกรมพั ฒ นาพลั ง งานทดแทนและ


อนุรักษพลั งงาน เรื่อง หลั กเกณฑ วิ ธีการและเงื่ อนไข ประกอบการให ความเห็ น
การออกใบอนุญาตใหผลิตพลังงานควบคุม ตอคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน”

32
ประกาศ พพ. เรื่อง หลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขฯ : วันใชบังคับ

ขอ ๒ ประกาศนีใ้ ชบังคับตั้งแตอธิบดีลงนามในประกาศ เปนตนไป

33
ประกาศ พพ. เรื่อง หลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขฯ : บทยกเลิก

ขอ ๓ ใหยกเลิกประกาศกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน
เรื่อ ง หลั กเกณฑ วิธีก ารและเงื่อ นไขการจั ดทํ า และสง ขอมู ล เพื่ อพิ จ ารณาให
ความเห็นการออกใบอนุญาตใหผ ลิตพลังงานควบคุม ต อคณะกรรมการกํา กั บ
กิจการพลังงาน ลงวันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๔

34
ประกาศ พพ. เรื่อง หลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขฯ : บทนิยาม

“ผูขอรับใบอนุญาต” หมายความวา ผูมีอํานาจหรือผูซึ่งไดรับมอบอํานาจ


ใหเปนผูยื่นคําขอรับใบอนุญาตใหผลิตพลังงานควบคุมตอคณะกรรมการกํากับกิจการพลังงาน

35
ประกาศ พพ. เรื่อง หลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขฯ : บทนิยาม

“วิศวกร” หมายความวา ผูไดรับใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม


สาขาวิศวกรรมไฟฟ า แขนงไฟฟ ากํ าลั ง ตามพระราชบั ญญั ติ วิศวกร พ.ศ. ๒๕๔๒
ระดับภาคีวิศวกรขึ้นไป

36
ประกาศ พพ. เรื่อง หลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขฯ : บทนิยาม

“ตรวจสอบระบบผลิ ต พลั งงานควบคุ ม ” หมายความว า การตรวจสอบ


ระบบผลิ ตพลั งงานควบคุ มให ถู กต องตามหลั กวิ ชา โดยคํ านึ งถึ งผลกระทบต อ
สิ่งแวดลอม เศรษฐกิจ และความมั่นคงของประเทศ อันตรายที่จะเกิดขึ้นจากการผลิตหรือ
ขยายการผลิตพลังงาน และการใชวัตถุดิบหรือวัตถุธรรมชาติตามหลักวิชา

37
ประกาศ พพ. เรื่อง หลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขฯ : บทนิยาม

“ผูตรวจสอบระบบผลิต พลังงานควบคุม ” หมายความวา วิศวกรที่ไดรับ


การขึ้ นทะเบียนกั บ พพ. ใหทํา หนา ที่ ตรวจสอบและรับ รองผลการตรวจสอบ
ระบบผลิตพลังงานควบคุม

38
ประกาศ พพ. เรื่อง หลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขฯ : บทนิยาม

“แบบตรวจสอบระบบผลิตพลังงานควบคุม” หมายความรวมถึง แบบสํารวจ


รวบรวมขอ มูล และตรวจสอบระบบผลิต พลังงานควบคุม ตามรูปแบบและ
วิธีการที่ พพ. กําหนด

39
ประกาศ พพ. เรื่อง หลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขฯ : รูปแบบ

ขอ ๕ ขั้นตอน วิธีการ รูปแบบ การขอรับใบอนุญาตผลิตพลังงานควบคุม


ซึ่ง พพ. ตองแจงความเห็นตอ กกพ. ใหมีรายละเอียดเปนไปตามที่ พพ. กําหนด
ตามเอกสารแนบทายประกาศ

40
ประกาศ พพ. เรื่อง หลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขฯ : วิธีการ

ขอ ๖ ใหผูขอรับใบอนุญาตตองจัดทําแบบตรวจสอบระบบผลิตพลังงานควบคุม
และมีผูตรวจสอบระบบผลิตพลังงานควบคุมรับรองขอมูลรวมกับผูขอรับใบอนุญาต

41
ประกาศ พพ. เรื่อง หลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขฯ : ขั้นตอน

ขอ ๗ การสง แบบตรวจสอบระบบผลิต พลัง งานควบคุม ให จั ด ส ง พร อ ม


คําขอรับใบอนุญาตผลิต พลังงานควบคุม (พค. ๑) ผานสํานักงาน กกพ. หรือ
วิธีการอื่นตามที่ พพ. กําหนด

42
ประกาศ พพ. เรื่อง หลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขฯ : ขั้นตอน

ข อ ๘ หาก พพ. ตรวจสอบและพบข อมู ลที่ ไม ครบถ วนหรื อไม ถู กต อง ผู ขอรั บ
ใบอนุญาตจะตองทําการปรับปรุงแกไขขอมูลใหถูกตองและสงให พพ. ภายในสิบสี่วัน
นับแตวันที่มีหนังสือแจงจาก พพ.

43
ประกาศ พพ. เรื่อง หลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขฯ : บทกําหนดโทษ

ขอ ๙ หากไมปฏิบัติตาม ขอ ๘ พพ. สงวนสิทธิ์ที่จะสงคําขอรับใบอนุญาต


ผลิตพลังงานควบคุม (พค. ๑) คืนสํานักงาน กกพ.

44
ประกาศ พพ. เรื่อง หลักเกณฑ วิธีการและเงื่อนไขฯ : บทกําหนดโทษ

ขอ ๑๐ พพ. ขอสงวนสิท ธิ์ใ หพ นัก งานเจ าหน าที่ เข าไปในสถานที่ผ ลิ ต
พลังงานควบคุม เพื่อสอบถามขอเท็จ จริง หรือเพื่อตรวจสอบเอกสาร หรื อ
สิ่งของใด ๆ ตามมาตรา ๑๑ แหงพระราชบัญญัติการพัฒนาและสงเสริมพลังงาน
พ.ศ. ๒๕๓๕ หากปรากฏภายหลั ง ว า ข อ มู ล ในแบบตรวจสอบระบบผลิ ต
พลั ง งานควบคุ ม ไม ต รงตามความเป น จริ ง พพ. จะพิ จ ารณาเพิ ก ถอน
การขึ้นทะเบี ยนผู ต รวจสอบระบบผลิ ต พลั งงานควบคุม รวมทั้ งจะรายงาน
ขอเท็จจริงดังกลาวให กกพ. และสภาวิศวกร เปนผูพิจารณาดําเนินการตอไป

45
ขั้นตอนการขอรับใบอนุญาตผลิตพลังงานควบคุม (พค. 2)
1. ผูขอรับใบอนุญาตยืน่ คําขอรับใบอนุญาตฯ (พค. 1)
และแบบตรวจสอบระบบผลิตพลังงานควบคุม
ซึ่งผูตรวจสอบระบบผลิตพลังงานควบคุมรับรองขอมูลแลว
ที่ สํานักงาน กกพ.

2. พพ. รับคําขอจากสํานักงาน กกพ.

ผูขอรับ 3. เจาหนาที่ พพ. ระยะเวลาดําเนินการ


ไม่ถูกต้องหรือ ไม่ถูกต้อง
ใบอนุญาต พิจารณาแบบตรวจระบบ
เกิน 14 วัน 90 วัน
แกไขขอมูล ผลิตพลังงานควบคุม ระยะเวลาดําเนินการ
30 วัน
ถูกต้อง
ถูกต้อง
4. เจาหนาที่ พพ. สรุปผลและใหความเห็น
หมายเหตุ 1. ระยะเวลาดําเนินการ
ไมรวมระยะเวลาแกไขขอมูล
5. เสนอความเห็นการอนุญาตตอ กกพ. 2. หาก พพ. ตรวจสอบพบขอสงสัย
หรือขอมูลผิดปกติ พพ.
ขอสงวนสิ ทธิ์ ใ นการตรวจสอบ
สงคืนสํานักงาน กกพ. 6. สํานักงาน กกพ. ออกใบ พค. 2 46
ขอมูลเพิ่มเติม
การรับขึ้นทะเบียนผูตรวจสอบระบบผลิตพลังงานควบคุม

47
ประกาศกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน
พพ. ไดมีประกาศกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน เรื่อง การรับขึ้นทะเบียน
ผูตรวจสอบระบบผลิตพลังงานควบคุม ลงวันที่ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๖๕

48
ประกาศ พพ. เรื่อง การรับขึ้นทะเบียนผูตรวจสอบฯ : ชื่อประกาศ

ข อ ๑ ประกาศนี้ เ รี ย กว า “ประกาศกรมพั ฒ นาพลั ง งานทดแทนและ


อนุรักษพลังงาน เรื่อง การรับขึ้นทะเบียนผูตรวจสอบระบบผลิตพลังงานควบคุม”

49
ประกาศ พพ. เรื่อง การรับขึ้นทะเบียนผูตรวจสอบฯ : วันใชบังคับ

ขอ ๒ ประกาศนีใ้ ชบังคับตั้งแตอธิบดีลงนามในประกาศ เปนตนไป

50
ประกาศ พพ. เรื่อง การรับขึ้นทะเบียนผูตรวจสอบฯ : บทนิยาม

“วิศวกร” หมายความวา ผูไดรับใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม


สาขาวิศวกรรมไฟฟ า แขนงไฟฟ ากําลัง ตามพระราชบัญญั ติวิ ศวกร พ.ศ. ๒๕๔๒
ระดับภาคีวิศวกรขึ้นไป

51
ประกาศ พพ. เรื่อง การรับขึ้นทะเบียนผูตรวจสอบฯ : บทนิยาม

“ตรวจสอบระบบผลิ ตพลังงานควบคุ ม” หมายความวา การตรวจสอบระบบ


ผลิตพลังงานควบคุมใหถูกตองตามหลักวิชา โดยคํานึงถึงผลกระทบตอสิ่งแวดลอม
เศรษฐกิจ และความมั่นคงของประเทศ อันตรายที่จะเกิ ดขึ้ นจากการผลิตหรื อขยาย
การผลิตพลังงาน และการใชวัตถุดิบหรือวัตถุธรรมชาติตามหลักวิชา

52
ประกาศ พพ. เรื่อง การรับขึ้นทะเบียนผูตรวจสอบฯ : บทนิยาม

“ผู ตรวจสอบระบบผลิ ตพลั งงานควบคุ ม” หมายความว า วิ ศวกรที่ ได รั บ


การขึ้นทะเบียนกับ พพ. ใหทําหนาที่ตรวจสอบและรับรองผลการตรวจสอบระบบผลิต
พลังงานควบคุม

53
ประกาศ พพ. เรื่อง การรับขึ้นทะเบียนผูตรวจสอบฯ : คุณสมบัติ

ขอ ๔ ผูตรวจสอบระบบผลิตพลังงานควบคุม ตองมีคุณสมบัติ ดังนี้


(๑) ไดรั บใบประกอบวิ ชาชี พให เปนผู ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุ ม
สาขาวิศวกรรมไฟฟา แขนงไฟฟากําลัง ตามพระราชบัญญัติวิศ วกร พ.ศ. ๒๕๔๒
ระดับภาคีวิศวกรขึ้นไป ตองไมสิ้นอายุการอนุญาตและไมอยูระหวางถูกพักใชหรือ
เพิกถอนใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม
(๒) ไม อยู ระหว างถู กพั กใช หรื อเพิ กถอนหนั งสื อรั บรองจากอธิ บดี ให
ทําหนาที่ผูตรวจสอบระบบผลิตพลังงานควบคุม
ทั้งนี้ อธิ บดีอาจกํ าหนดคุณสมบั ติเพิ่ มเติมภายหลั งออกหนังสือรั บรองได
ตามที่เห็นสมควรก็ได
54
ประกาศ พพ. เรื่อง การรับขึ้นทะเบียนผูตรวจสอบฯ : วิธีการ

ขอ ๕ ผูที่ประสงคจะขอทําหนาที่ผูตรวจสอบระบบผลิตพลังงานควบคุม ตองยื่นคําขอ


เปนผูตรวจสอบระบบผลิตพลังงานควบคุม ตอ พพ. ตามแบบคําขอแนบทายประกาศนี้

55
ประกาศ พพ. เรื่อง การรับขึ้นทะเบียนผูตรวจสอบฯ : ขั้นตอน

ขอ ๖ เมื่ออธิบดีไดรับเอกสารแลว ใหตรวจสอบเอกสารวามีความถูกตองครบถวน


หรือไม ในกรณีที่เอกสารไมถูกตองครบถวน ใหอธิบดีแจงใหผูยื่นขอหนังสือรับรอง
ทําการแกไขเพิ่มเติมหรือจัดสงเอกสาร ใหถูกตองครบถวนภายในระยะเวลาที่อธิบดี
กําหนด
ในกรณีที่ผูยื่นขอหนังสือรับรองไมทําการแกไข เพิ่มเติม หรือไมจัดสงเอกสาร
ให ถู กต องครบถ ว นภายในระยะเวลาที่ อธิ บดี กํ าหนดให ถื อว าผู นั้ นทิ้ งคํ าขอ
และใหแจงผูยื่นขอรับหนังสือรับรองทราบแลวจําหนายคําขอออกจากสารบบ

56
ประกาศ พพ. เรื่อง การรับขึ้นทะเบียนผูตรวจสอบฯ : หนังสือรับรอง

ข อ ๗ เมื่ อตรวจสอบเอกสารแล วมี ความถู กต องครบถ ว น ให อ ธิ บ ดี เ ป น


ผูออกหนั งสื อรั บรองการทํ าหนาที่ ผู ตรวจสอบระบบผลิ ตพลั งงานควบคุ มให แก
ผูยื่นขอหนังสือรับรองที่มีคุณสมบัติถูกตองเปนไปตามขอ ๔ ภายใน ๓๐ (สามสิบ) วัน
นับแตวันที่เอกสารมีความถูกตองครบถวน
หนังสือรับรองใหมีอายุ ๔ (สี่) ป นับแตวันที่ออกหนังสือรับรอง

57
ประกาศ พพ. เรื่อง การรับขึ้นทะเบียนผูตรวจสอบฯ : วิธีการ (ตออายุ)

ขอ ๘ ผูย่ืนขอหนังสือรับรองที่ประสงคจะตออายุหนังสือรับรอง ตองยื่นคําขอ


ตออายุการรับรองตามแบบคําขอตออายุแนบทายประกาศ
อธิบดีอาจกําหนดเงื่อนไขในการตออายุหนังสือรับรองเพิ่มเติมตามที่เห็นสมควรก็ได

58
ประกาศ พพ. เรื่อง การรับขึ้นทะเบียนผูตรวจสอบฯ : ขอกําหนด (ตออายุ)

ขอ ๙ การยื่นคําขอตออายุหนังสือรับรอง ใหทําเปนหนังสือสงถึงอธิบดีลวงหนา


ภายใน ๙๐ (เกาสิบ) วัน แตไมนอยกวา ๓๐ (สามสิบ) วัน กอนวันที่หนังสือรับรองสิ้นอายุ

59
ประกาศ พพ. เรื่อง การรับขึ้นทะเบียนผูตรวจสอบฯ : ขั้นตอน (ตออายุ)

ขอ ๑๐ เมื่ออธิบดีไดรับหนังสือขอตออายุหนังสือรับรองแลว ใหนําความตามขอ ๖


มาบังคับใชโดยอนุโลม

60
ประกาศ พพ. เรื่อง การรับขึ้นทะเบียนผูตรวจสอบฯ : หนังสือรับรอง (ตออายุ)

ขอ ๑๑ ในกรณีที่อธิบดีตรวจสอบเอกสารแลวเห็นวามีความถูกตอง ครบถวน


ใหนําความตามขอ ๗ วรรคแรกมาบังคับใชโดยอนุโลม

61
ประกาศ พพ. เรื่อง การรับขึ้นทะเบียนผูตรวจสอบฯ : กรณีรองเรียน

ขอ ๑๒ ในกรณีที่มีผูรองเรียน หรือปรากฏขอเท็จจริงวาผูตรวจสอบระบบผลิต


พลั งงานควบคุ มขาดคุ ณสมบั ติ หรื อแสดงข อความ หรื อหลั กฐานการรายงาน
ผลตรวจสอบเปนเท็จ หรือมีพฤติการณสอไปในทางที่ไมสุจริตตอจรรยาบรรณวิชาชีพ
พพ. ตองสอบสวนใหแลวเสร็จภายใน ๖๐ (หกสิบ) วัน นับแตวันที่ไดรับการรองเรียน
หรือปรากฏขอเท็จจริง
เมื่อปรากฏขอเท็จจริงตามวรรคแรก ใหผูตรวจสอบระบบผลิตพลังงาน
ควบคุมทําการชี้แจงขอเท็จจริงตอ พพ. เพื่อตรวจสอบภายใน ๓๐ (สามสิบ) วั น
นับแตวันที่ไดรับเหตุดังกลาว หากผูตรวจสอบระบบผลิตพลังงานควบคุมไมทําการ
ชี้แจงภายในกําหนดใหถือวาไมมีความประสงคที่จะทําการชี้แจง อธิบดีจึงมีอํานาจ
ออกคําสั่งพักใชหนังสือรับรอง
62
ประกาศ พพ. เรื่อง การรับขึ้นทะเบียนผูตรวจสอบฯ : บทกําหนดโทษ

ขอ ๑๓ ในกรณีที่ปรากฏขอเท็จจริงวาผูตรวจสอบระบบผลิตพลังงานควบคุม
มีการกระทําตามขอ ๑๒ วรรคแรก ใหอธิบดีมีอํานาจออกคําสั่งตักเตือน พักใช หรือ
เพิกถอนหนังสือรับรอง ตามแตกรณี และนําผลการสอบสวนแจงตอสภาวิศวกร

63
ประกาศ พพ. เรื่อง การรับขึ้นทะเบียนผูตรวจสอบฯ : สงคืนหนังสือรับรอง

ขอ ๑๔ ในกรณีที่อธิบดีมีคําสั่งพักใชหรือเพิกถอนหนังสือรับรอง ใหผูที่ไดรับ


คําสั่งสงหนังสือรับรองคืนใหแก พพ. ภายใน ๑๕ (สิบหา) วัน นับแตวันไดรับแจง
คําสั่งนั้น

64
ประกาศ พพ. เรื่อง การรับขึ้นทะเบียนผูตรวจสอบฯ : พนการพักใช

ขอ ๑๕ เมื่อครบกําหนดเวลาพักใชหนังสือรับรอง หากผูไดรับหนังสือรับรอง


ซึ่งถูกพักใชหนังสือรับรองประสงคจะทําหนาที่ผูตรวจสอบตอไป ใหยื่นคําขอรับคืน
หนังสือรับรองตอ พพ.

65
ประกาศ พพ. เรื่อง การรับขึ้นทะเบียนผูตรวจสอบฯ : พนการถูกเพิกถอน

ขอ ๑๖ ผูถูกเพิกถอนหนังสือรับรองการขึ้นทะเบียนเปนผูตรวจสอบระบบผลิต
พลังงานควบคุม สามารถยื่นคําขอเปนผูตรวจสอบระบบผลิตพลังงานควบคุมใหมได
เมื่อพนสี่ปนับแตวันที่ถูกเพิกถอนหนังสือรับรอง

66
ประกาศ พพ. เรื่อง การรับขึ้นทะเบียนผูตรวจสอบฯ : ระบบอิเล็กทรอนิกส

ขอ ๑๗ เพื่อประโยชนแกการอํานวยความสะดวกตอผูยื่นคําขอทําหนาที่ผูตรวจสอบ
จะดําเนินการผานระบบอิเล็กทรอนิกสก็ได ตามหลักเกณฑและวิธีการที่อธิบดี

67
ขั้นตอน วิธีการ รูปแบบ
1. ผูที่ประสงคจะขอทําหนาที่ผตู รวจสอบระบบผลิตพลังงานควบคุม
ยื่นคําขอเปนผูต รวจสอบระบบผลิตพลังงานควบคุม ตอ พพ.
ผานระบบอิเล็กทรอนิกส

2. พพ. รับคําขอจากผูยื่นคําขอ

3. เจาหนาที่ พพ.
ไม่ถูกต้องหรือ ไม่ถูกต้อง พิจารณาคําขอทําหนาที่
แกไขขอมูล
เกิน 14 วัน ผูตรวจสอบระบบผลิต
พลังงานควบคุม
ถูกต้อง ระยะเวลาดําเนินการ
ถูกต้อง 30 วัน
4.พพ. พิจารณาออกหนังสือรับรองการทําหนาที่
ผูตรวจสอบระบบผลิตพลังงานควบคุม

5. ออกหนังสือรับรองการทําหนาที่
ผูตรวจสอบระบบผลิตพลังงานควบคุม
จําหนายออกจากสารบบ โดยหนังสือรับรองมีอายุ 4 ป
นับแตวันที่ออกหนังสือรับรอง 68
กําหนดระยะเวลาการรับขึ้นทะเบียนผูตรวจสอบระบบผลิตพลังงานควบคุม

69
ประกาศกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษพลังงาน
พพ. ได มีประกาศกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุ รักษ พลังงาน เรื่ อง กําหนดระยะเวลา
การรับขึ้นทะเบียนผูตรวจสอบระบบผลิตพลังงานควบคุม ลงวันที่ 28 ตุลาคม ๒๕๖๕

70
ประกาศ พพ. เรื่อง การรับขึ้นทะเบียนผูตรวจสอบฯ : ชื่อประกาศ

ผูใดประสงคจะขอทําหนาที่ผูตรวจสอบระบบผลิตพลังงานควบคุม
ใหยื่นคํา ขอเปนผูตรวจสอบระบบผลิตพลังงานควบคุม ผ า นชองทาง
อิเล็กทรอนิกส (http://eaudit.dede.go.th) โดยลงทะเบียนเขาใชตาม
ขั้นตอนและวิธีการที่กํา หนดไวในระบบอิเล็กทรอนิกส สําหรับการยื่น
คําขอขึ้นทะเบียนผูตรวจสอบระบบผลิตพลังงานควบคุมดังกลาว
ทั้งนี้ ตั้งแตบัดนี้เปนตนไป จนถึงวันที่ 30 พฤศจิกายน 2565

71
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟาสําหรับประเทศไทย : ระบบการผลิตไฟฟาจาก
พลังงานแสงอาทิตยที่ติดตั้งบนหลังคา

72
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟาสําหรับประเทศไทย :
ระบบการผลิตไฟฟาจากพลังงานแสงอาทิตยที่ติดตั้งบนหลังคา
สมาคมวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ ไดมีการปรับปรุงมาตรฐาน วสท. 022013-59
โดยออกมาตรฐาน วสท. 022013-22 ซึ่งประกาศใช ณ วันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2565

โดย วสท. 022013-22 มีขอกําหนดสําคัญที่แตกตางจาก วสท. 022013-59 ดังนี้


1. PV array ที่ติดตั้งบนอาคารตองมีคา Voc ARRAY สูงสุด ดังนี้
- แรงดันไฟฟากระแสตรงไมเกิน 1,000 โวลต สําหรับอาคารที่พักอาศัย
1 มิ.ย. 65 - แรงดันไฟฟากระแสตรงไมเกิน 1,500 โวลต สําหรับอาคารอื่น ๆ ที่ไมใชที่พักอาศัย
2. บังคับการติดตั้งอุปกรณที่ทําหนาที่หยุดทํางานฉุกเฉิน (rapid shutdown)
3. ตองมี Arc Fault Circuit Interrupter (AFCI กระแสตรง)

มาตรฐาน วสท. 022013-59 มาตรฐาน วสท. 022013-22

ปจจุบัน พพ. หารือกับหนวยงานที่เกี่ยวของรวมถึงสถานประกอบการ โดยมีขอยุติวาจะมีการบังคับใชมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟา


สํ าหรั บประเทศไทย : ระบบการผลิ ตไฟฟ าจากพลั งงานแสงอาทิ ตย ท่ี ติ ดตั้ งบนหลั งคา พ.ศ. 2565 (มาตรฐาน วสท. 022013-22)
ในเบื้องตนจะมีเริ่มใชบังคับตั้งแตวันที่ 1 กรกฎาคม 2566 เปนตนไป 73
End of Slide www.dede.go.th

www.dede.go.th

You might also like