You are on page 1of 35

เครืองมือในการจัดการพลังงาน :

ISO 50001
การพัฒนาระบบพลังงานของไทย

ใน

▪ เนนแนวทางการสรางโครงการพลังงานขนาดใหญ (เมกกะโปรเจ

ก )ี

▪ ผลักภาระตนทุนทางสังคมความเดือดรอนใหชาวบาน
▪ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมถูกทําลาย
▪ ระบบพลังงานเนนใหสามารถตอบสนองความตองการใชไฟฟา
ไดโดยให
แนวทางการพัฒนาก่อให้เกิดผลกระทบต่อ
ความสําคัญกับความมั่นคงดานพลังงานเปนหลัก
สุขภาพของประชาชน
การจัดการพลังงานในอดีตเน้นการพึงพา Fossil Fuel ทําให้เกิด
ความเสียง/ปญหา 3 ประเด็น

1. ความไมยั่งยืนทางเศรษฐกิจ
▪ 80% ของพลังงานที่ใชอยูเปน fossil fuel (ตองนําเขาพลังงาน
จากตางประเทศ)
▪ เกิดภาวะขาดดุลจากการนําเขาพลังงานราคาสูง (กระทบตอ
การเติบโตเศรษฐกิจและเสถียรภาพ)
- การจัดการในระบบรวมศูนย
2. ความไมยั่งยืนทางสิ่งแวดลอม (องคกรขนาดใหญมีอํานาจควบคุม)
▪ กาซเรือนกระจก
▪ ฝนกรด กฟผ ปตท
▪ ผลกระทบตอจํานวนชนิดปลา-(สร างเขื
เนน ่อน)เทคโนโลยีขนาดใหญ
การใช
3. ความไมยั่งยืนทางสังคม นําเขาจากตางประเทศ
▪ อพยพยายถิ่น (สรางเขื่อน) เกิดการจัดการพลังงานทีไม่
▪ ความขัดแยงตางๆ ยังยืน
ผลกระทบด้านสิงแวดล้อมทีเกิดจากภาคพลังงาน

โครงการพัฒนาทางด้าน ผลกระทบ
พลังงาน ตอทรัพยากรธรรมชาติ: ความ
- การสรางโรงไฟฟาประเภท หลากหลายฯ ลดลง ทําลายที่อยู
ตางๆ (+เขื่อน) อาศัยสัตวปา สงผลตอสมดุล
- การขุดเจาะและทอขนสง ยของระบบนิเวศ ทรัพยากรดิน
นํ้ามัน+กาซ นํ้า เสื่อมคุณภาพ
- การทําเหมือง (ถานหิน) ตอสิ่งแวดลอม : มลพิษดานตางๆ
ดิน นํ้า เสียง อากาศ (ฝุน)
เมือนําพลังงานมาใช้ ผลกระทบ
- โดยตรง เชน นํ้ามัน กาซ มลพิษดานตางๆ อากาศ นํ้า
ธรรมชาติ (รวมการขนสง) ดิน
- แปรรูป เชน ผลิตไฟฟา หรือ Global warming
ใชความรอน Climate change
การจัดดการพลั
การจั การพลังงงาน
งานอย่ างยังยืManagement)
(Energy น (Sustainable
Energy Management)
ระดับองคกร/ หนวยงาน “ระบบการจัดการดานพลังงาน (Energy
Management System)”
ระดับประเทศ “การจัดการพลังงานอยางยั่งยืน (Sustainable

Energy management)”

- เปนการจัดหาพลังงานโดยสามารถตอบสนองความตองการที่เกิด

ขึ้นไดอยางเหมาะสมและเพียงพอ

- เนนการลดการพึ่งพาพลังงานที่ใชแลวหมดไปควบคูไปกับการ

จัดการความตองการพลังงานใหเปนไปอยางเหมาะสม

ทํา-ไมต้ องมีการจั
ลดการสร างปดญการ
หาและความเดือดรอนใหกับผูอื่น (เศรษฐกิจ
พลังงาน คําตอบ เพือให้มพี ลังงานอย่างใช้อย่างพอ
สังคม และสิ่งแวดลอม) เพียง มันคง ยังยืน
การจัดการพลังงานอย่างยังยืน

1. ยกเลิกการผูกขาด (Centralized) ทางด้านพลังงาน

▪ สนับสนุนใหเกิดการ Decentralized : ยกเลิกการผูกขาดการดําเนิน


กิจการดานพลังงาน แยกดําเนินการ การกําหนดนโยบาย วางแผน
พยากรณความตองการ บริหารจัดการ จัดหาจัดซื้อ กําหนดราคา (ปตท.
คุมนํ้ามัน กาซธรรมชาติ และผลิตภัณฑปโตรเลียม และ กฟผ. ระบบผลิต
และสายสงไฟฟาทั้งหมด)

▪ สนับสนุน และสงเสริมการผลิตไฟฟาจากกลุมอื่น โดยกําหนดใหใช


พลังงานสะอาดในการผลิตไฟฟา

- IPP (Independent Power Producer) ผูผลิตไฟฟาเอกชนรายใหญ


2. ส่งเสริมการใช้พลังงานทางเลือก

พลังงานหมุนเวียน

▪ มาตรการนโยบายและมาตรการสนับสนุนพลังงานทางเลือก

▪ นโยบายผูผลิตไฟฟาขนาดเล็กมาก (VSPP)

▪ นโยบายกําหนดสัดสวนพลังงานหมุนเวียน เชน ใชพลังงาน


ทดแทน 25% ภายใน 2565

เทคโนโลยีตองไดรับการพัฒนาเพื่อใหสามารถนําพลังงานธรรมชาติ
มาใชใหไดอยางเต็มประสิทธิภาพ

พลังงานนิวเคลียร์
โรงไฟฟ้ าพลังงานแสงอาทิตย์ จ.เพชรบุรี โรงไฟฟ้ าพลังงานแสงอาทิตย์ จ.อุดรธานี
กําลังการผลิต . MW กําลังการผลิต . MW

โรงไฟฟ้ าเซลล์แสงอาทิตย์ บริ ษทั โซล่า เพาเวอร์ จํากัด


อ. โนนสูง จ. นครราชสี มา
กําลังการผลิตติดตัง . MW

แผนทีแสดงทีตังโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนในประเทศไทย

http://www.dede.go.th/dede/images/stories/file/filemap_re/year
_2013/renewableenergypowerplant2013.png
3. สนับสนุนการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพโดยมีการจัดการ
และเลือกใช้เครืองมือทีเหมาะสม

▪ พรบ.อนุรักษพลังงานฯ 2535 ควบคุมการใชพลังงานของอาคาร


และโรงงานตางๆ

▪ การกําหนดฉลากผลิตภัณฑเพื่อการประหยัดพลังงาน

▪ ISO 50001 มาตรฐานการจัดการพลังงาน

▪ การจัดการความตองการการใชไฟฟาอยางเหมาะสม (Demand
side Management)
4. ส่งเสริมการจัดการพลังงานโดยชุมชน

▪ ชุมชนมีบทบาท กําหนดนโยบาย วางแผน และวิธป


ี ฏิบัติต่างๆเพือ
การจัดหาและใช้พลังงานในชุมชน

▪ ชุมชนศึกษาศักยภาพของท้องถินตัวเองเพือหาพลังงานทางเลือกที
เหมาะสมทีสุด เชน ขยะ, มูลสัตว, ผลิตผลทางเกษตร

▪ รัฐบาลให้การสนุบสนุน ช่วยเหลือ งบประมาณ วิชาการ เทคโนโลยี


(ใหการใชประโยชนจากแหลงพลังงานทางเลือกเปนไปอยางมี
ประสิทธิภาพสูงสุด)

▪ ปลูกจิตสํานึกเรืองการอนุรก
ั ษ์ พลังงานก็คูไปกับการพัฒนาพลังงาน
ทางเลือก
ภารกิจดานการจัดการพลังงานที่ยั่งยืนของไทย เนนพัฒนาบนพื้นฐาน
ความพอเพียงของ 3 หลักการ 2 เงื่อนไข ดังนี้

1. หลักของการพอประมาณ 3. หลักแห่งการเสริมสร้าง
- ใชพลังงานอยางคุมคา ประหยัด พอดี ภูมิค้ม
ุ กัน
และพอเพียงตอความตองการ - พึ่งพาตนเองดวยการคิด
- จัดการความตองการพลังงาน หรือ พัฒนาพลังงานทดแทนใน
Demand-Side Management (DSM) ของ ทองถิ่น
ตนเองและชุมชนรวมกัน - สรางพลังงานจาก
2. หลักของการมีเหตุผล เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับ
- สงเสริมการจัดหาพลังงานจากแหลง สภาพแวดลอมของประเทศ
ผลิตภายในประเทศหรือภายในชุมชน
2 เงือนไข

❖ เงือนไขการแสวงหาความรู ้
- แสวงหาความรูใหม ศึกษาความเปนไปไดเพื่อคิดคนแหลง
พลังงานใหม ใหสามารถนํามาปรับใชใหเหมาะสมกับวิถีชีวิต
คนไทย เพื่อการพัฒนาพลังงานอยางตอเนื่อง
❖ เงือนไขของการยึดมันในคุณธรรม
- ดําเนินการดานพลังงานทุกขั้นตอนอยางสุจริต โดยคํานึงถึง
ประโยชนสูงสุดของคนไทยเปนสําคัญ
เครืองมือในการจัดการจัดการพลังงานอย่างยังยืน
(ใช้ในการจัดการสิงแวดล้อมระดับองค์กร แต่ส่งผลต่อทัง
ประเทศ)

1. เครื่องมือที่มีลักษณะเปนกฎหมาย ขอบังคับ ขอกําหนด ขอตกลง


รวมระหวางประเทศ หรือสนธิสัญญาตางๆ เพื่อกําหนด (บังคับ) ใหมี
การดําเนินการตามอยางเครงครัด

2. เครื่องมือที่มีลักษณะไมบังคับ (เปนแรงจูงใจหรือสงเสริม)
1. เครืองมือทีมีลักษณะบังคับ

เครื่องมือที่มีลักษณะเปนกฎหมาย ขอบังคับ ขอกําหนด ขอตกลง


รวมระหวางประเทศ หรือสนธิสัญญาตางๆ เพื่อกําหนด (บังคับ) ใหมี
การดําเนินการตามอยางเครงครัด ที่สําคัญไดแก

1.1) พระราชบัญญัติการส่งเสริมและอนุรก ั ษ์ พลังงาน พ.ศ. 2535


- บังคับใชกับกลุมผูใชพลังงานในปริมาณที่มาก
- มีบทลงโทษหากไมทําตาม
- แตมีลักษณะของการสงเสริม และสนับสนุน (ดวยกลไกตางๆ เชน
เงิน หรือการลดภาษีให) เพื่อใหการดําเนินการประสบความสําเร็จ
ผลต่
ที่สอุดการจัดการพลังานอย่างยังยืน ?
ทําใหเกิดการใชพลังงานอยางประหยัดและมีประสิทธิภาพ เปนการจัดการ
ความตองการพลังงานใหเปนไปอยางเหมาะสม
พระราชบัญญัติการส่งเสริมและอนุรก
ั ษ์ พลังงาน พ.ศ. 2535
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที 2 เมษายน 2535มีผลบังคับ
ใช้เมือวันที 3 เมษายน 2535
พรบ. การสงเสริมการอนุรักษพลังงาน พ.ศ.๒๕๓๕ ซึ่งแกไขเพิ่มเติม
โดยพรบ. การสงเสริมการ
อนุรักษพลังงาน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๕๐ มีวัตถุประสงคหลักอยู ๓
ประการดังนี้
1. เพื่อกํากับดูแล สงเสริม และสนับสนุนใหผูที่ตองดําเนินการ
อนุรักษพลังงานตามกฎหมายมีการอนุรักษพลังงานดวยการ
ผลิตและใชพลังงานอยางมีประสิทธิภาพและประหยัด
2. เพื่อสงเสริมและสนับสนุนใหเกิดการผลิตเครื่องจักรและอุปกรณ
ที่มีประสิทธิภาพสูง รวมทั้งวัสดุที่ใชในการอนุรักษพลังงานขึ้น
ใชในประเทศ และใหมีการใชอยางแพรหลาย
3. เพื่อสงเสริมและสนับสนุนใหมีการอนุรักษพลังงานอยางเปน
รูปธรรม โดยการจัดตั้ง “กองทุนเพื่อสงเสริมการอนุรักษ
ขอบเขตการบังคับใช้พระราชบัญญัติฯ

กลุมเปาหมายหลักของกฎหมายที่รัฐ ▪ เนนไปที่โรงงาน และอาคารที่ใช


จะเขาไปกํากับดูแล พลังงานในปริมาณมาก และมี
ศักยภาพพรอมที่จะดําเนินการ
และใหการสงเสริมชวยเหลือคือ อนุรักษพลังงานไดทันที
1. โรงงานควบคุม
2. อาคารควบคุม ▪ ออก “พรก.กําหนดโรงงานควบคุม"
3. ผูผลิตหรือผูจําหนายเครื่องจักร และ “พรก.กําหนดอาคารควบคุม"
อุปกรณ เพื่อกําหนดโรงงาน และอาคาร
ประเภทที่ใชพลังงานชนิดและ
ที่มีประสิทธิภาพและวัสดุที่ใชใน ปริมาณตางๆ เพื่อกําหนดโรงงาน
การ ควบคุม และอาคารควบคุมที่จะตอง
อนุรักษพลังงาน ดําเนินการอนุรักษพลังงานตามพรบ.
นี้

▪ กลุมผูผลิต หรือผูจําหนายเครื่องจักร
อุปกรณที่มีประสิทธิภาพสูง และวัสดุที่
ใชในการอนุรักษพลังงานจะ
สาระสําคัญของพรบ. ฯ

การอนุรก
ั ษ์ พลังงานในโรงงาน การอนุรก
ั ษ์ พลังงานในอาคาร
1. การปรับปรุงประสิทธิภาพการเผาไหม
1. การลดความรอนจากแสงอาทิตยที่
เชื้อเพลิง
เขามาในอาคาร
2. การปองกันการสูญเสียพลังงาน
2. การปรับอากาศอยางมีประสิทธิภาพ
3. การนําพลังงานที่เหลือจากการใชแลว รวมทั้งการรักษา
กลับมาใชใหม
อุณหภูมิภายในอาคารที่อยูระดับที่
4. การเปลี่ยนไปใชพลังงานอีกประเภท เหมาะสม
หนึ่ง
3. การใชวัสดุกอสรางอาคารที่จะชวย
5. การปรับปรุงการใชไฟฟาดวยวิธี อนุรักษพลังงาน
ปรับปรุงตัวประกอบ
ตลอดจนการแสดงคุณภาพของวัสดุ
กําลังไฟฟา การลดความตองการพลัง กอสรางนั้นๆ
ไฟฟาสูงสุดในชวง
4. การใชแสงสวางในอาคารอยางมี
ความตองการใชไฟฟาสูงสุดของระบบ ประสิทธิภาพ
การใชอุปกรณ
1.2) การประเมินผลกระทบสิงแวดล้อมและสุขภาพ (EHIA)

กอนการจัดทําโครงการใดๆ “ตอง” ศึกษาผลกระทบสิ่งแวดลอม EHIA


หรือ IEE (Initial Environmental
ผลต่อการจัดการพลังานอย่าง
Examination การวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดล
ยังยือนมเบื
? ้องตน)
ตัวอยางโครงการพัฒนาดานพลังงานที่ตอปองกั นหรือลดผลกระทบต่างๆ
งทํา EIA
(สังคม & สวล. ทีจะเกิดจาก
โรงไฟฟาพลังความรอน ตั้งแต 10 เมกกะวัตตขึ้นไป
โครงการพั
การประเมิ ฒนาด้านพลังงาน
นผลกระทบ
โรงกลั่นนามันปโตรเลียม ทุกขนาด
สิ่งแวดลอมจะทําใหทราบ
การทําเหมืองแร ทุกขนาด
ขบวนการที่กอใหเกิดผลกระ
โรงแยกแกส ทุกขนาด ทบ
การสรางเขื่อน ลักษณะของผลกระทบที่จะ
1.3 International Agreement สนธิสญ
ั ญาระหว่างประเทศด้าน
สิงแวดล้อม
(ไมถือวาบังคับ 100%)

- Kyoto Protocol

▪ ตอทายอนุสัญญาสหประชาชาติวาดวยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิ
อากาศ (UNFCCC) –เปาหมายเพื่อบรรลุเสถียรภาพความเขมขน
ของแกสเรือนกระจกในบรรยากาศที่ระดับซึ่งจะปองกันการรบกวน
อันตรายจากนํ้ามือมนุษยกับระบบภูมิอากาศ
เปาหมายของพิธส ี ารเกียวโต กลุมประเทศอุตสาหกรรม (ตามภาค
ผนวก 1) ลดปริมาณการปลอยกาซ
เรือนกระจก ในป พ.ศ. 2553 ลง 5.2% เทียบกับป พ.ศ. 2533 ซึ่ง
ประกอบดวย CO2 CH4 N2O SF6 กาซ
ในกลุม HFCs และ PFCs
- Paris Agreement (ความตกลงปารีส)

▪ ความตกลงระหวางประเทศฉบับใหมเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิ
อากาศ
▪ ไดรับมติเห็นชอบจากการประชุมรัฐภาคีอนุสัญญาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิ
อากาศ ครั้งที่ 21 (COP 21)
เมื่อวันที่ 12 ธันวาคม 2015 ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส
▪ การลงนามเปนการแสดงเจตนาจํานงทางการเมืองในทางนโยบายในการ
เขารวมเปนภาคีความตกลงฯ เทานั้น แตยังไมมีผลผูกพันทางกฏหมาย
▪ วัตถุประสงคของความตกลงปารีส มี 3 ขอ คือ
1. ควบคุมการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิเฉลี่ยของโลกใหตํ่ากวา 2 0C และมุง
พยายามควบคุมใหไมเกิน 1.5 0C
2. เพิ่มขีดความสามารถในการปรับตัวตอผลกระทบทางลบจากการ
เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และสงเสริมความ
ตานทานตอสภาพภูมิอากาศและการพัฒนาที่ปลอยกาซเรือนกระจกใน
เปรียบเทียบความแตกตางระหวางพิธีสารเกียวโตกับความ
ตกลงปารีส

NDC = การ
มีสว
่ นร่วมที
ประเทศ
กําหนดขึน
ผลต่อการจัดการพลังานอย่างยังยืน ?
-สวนหนึ่งของมาตรการลดการปลอยกาซเรือนกระจกเนนการลดจากภาค
พลังงาน

ที่มา :
2. เครืองมือทีมีลักษณะไม่บังคับ (เปนแรงจูงใจหรือ
ส่งเสริม)

2.1 มาตรฐานการจัดการดานพลังงาน SO 50001

▪ ระบบการจัดการพลังงานตามมาตรฐานสากล (Energy
Management System) ประกาศใชเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2011
(ISO 50001:2011)โดยองคการระหวางประเทศ วาดวยการ
มาตรฐาน (International Organization for Standardization หรือ
เรียกโดยยอวา ISO)

▪ วัตถุประสงค สงเสริมใหองคกรดําเนินการปรับปรุงสมรรถนะ
พลังงานอยางตอเนื่อง เพื่อลดการปลอยกาซเรือนกระจกและ
อื่นๆที่มีผลกระทบตอสิ่งแวดลอม รวมถึงการลดตนทุนดาน
พลังงาน
Implementation in Thailand
▪ ตอยอดจาก 8 ขั้นตอนใน พรบ. อนุรักษพลังงาน 2535
▪ อาศัยหลักการ “การดําเนินงานอยางเปนระบบ” ตามหลัก PDCA
(Plan Do Check Act)
▪ ปรับปรุงสมรรถนะพลังงานอยางตอเนื่อง
▪ พิจารณาตนทุนตลอดวงจรชีวิตอุปกรณดานพลังงาน (ออกแบบ + จัด
ซื้อ + การควบคุมปฏิบัติงาน + การบํารุงรักษา)

❖ ลดคาใชจายดานตนทุนพลังงาน, ลดขอกีดกันทางการคาจาก
ตารางเปรียบเทียบข้อกําหนดของระบบการจัดการ
พลังงานตามกฎหมายกับ ISO 50001
Compatibility between the management systems
ระบบมาตรฐาน ISO 50001 ตองดําเนินการตาม PDCA Model
เพื่อใหผูปฏิบัติงานทราบและ

สามารถปฏิบัติเปนลําดับใหเปนระบบได โดยระบบการดําเนินการ
แบงสวนการจัดการไดเปนสองสวน

คือ

- ดานการจัดการ (Management)

- ดานเทคนิค (Technical)
ข้อกําหนดมาตรฐานระบบการจัดการพลังงาน ISO 50001

Act – Management Plan – วัดวิเคราะหขอมูลการ


Review ใชพ.
- กําหนดขอมูลฐานพ.
Do –- Implementation
กําหนดดัชนีวัดสมรรถนะ
and
พ.
Operation
ได - Competency,
โอกาสในการปรั บปรุง&
training
สมรรถนะพ.
awareness องคกร
ตัวแปรที่มีผลตอสมรรถนะ
- Communication
พ. - Documentation
- Operational Control
Check – Monitoring, measurement and analysis
- Design
- Evaluation of compliance with legal
requirements & other requirements
- Internal audit of the EnMs
- Correction and Preventive correction
- Control of records
การวางแผนพลังงาน (PLAN)

▪ วัดและวิเคราะหขอมูลการใชพลังงานและปริมาณการใช
พลังงาน เพื่อ

▪ บงชี้การใชพลังงานที่มีนัยสําคัญ (Significant Energy


Use:SEU)

▪ กําหนดขอมูลฐานพลังงานอางอิง (Energy Baseline) ดัชนีวัด


สมรรถนะพลังงาน (EnPIs) และสมรรถนะพลังงานในปจจุบัน
ของกระบวนการหรือเครื่องจักรหลักในพื้นที่การใชพลังงาน
ที่มีนัยสําคัญนั้น

▪ เพื่อชี้บงโอกาสในการปรับปรุงสมรรถนะพลังงานขององคกร
แนวทางการวางแผนพลังงาน (PLAN)
การปฏิบัติ (DO)
ดําเนินการตามแผนปฏิบัติดานพลังงาน (+ ครอบคุลมการดําเนินการ
ดานอื่นๆ = ระบบการจัดการพลังงานที่มีความยั่งยืน)

▪ ดานความสามารถ การฝกอบรม และความตระหนัก ดานพลังงาน


ของคนในองคกร (Competence Training and awareness)
▪ ดานการสื่อสารทั้งภายในและภายนอกองคกร (Communication)
▪ ดานระบบเอกสาร (Documentation) ดําเนินการจัดทําเอกสารให
สอดคลองกับขอกําหนดและการควบคุมเอกสาร
▪ ดานการควบคุมการปฏิบัติงานและการบํารุงรักษา (Operational
Control) เฉพาะกระบวนการหรือเครื่องจักรที่มีนัยสําคัญและมี
ผลกระทบตอสมรรถนะพลังงาน (SEU)
▪ ดานการออกแบบและการจัดซื้อ สําหรับกระบวนการ เครื่องจักรที่
มีนัยสําคัญและมีผลกระทบตอสมรรถนะพลังงาน (SEU) รวมถึง
การตรวจสอบ (CHECK)

กระบวนการในการตรวจติดตามและเฝาระวังใหเชื่อมั่นไดวาระบบ
การจัดการพลังงานขององคกรยังคง
อยู และมีสมรรถนะพลังงานที่ดี โดย
▪ กําหนดแผนในการเฝาระวังและการตรวจติดตามตัวแปรสําคัญ

ที่มีผลตอสมรรถนะพลังงาน
▪ ตรวจติดตามความสัมฤทธิ์ผลของวัตถุประสงคและเปาหมายดาน

พลังงาน โดยการวัดและเครื่องมือวัดที่ใชตองมีความเที่ยงตรง
▪ รวมถึงการตรวจประเมินภายในของระบบการจัดการพลังงาน

(Internal audit) ที่ตองทําทุกป หากพบขอบกพรองหรือแนวโนม


ที่จะเกิดขอบกพรองตองดําเนินการปฏิบัติการแกไขและ
ปฏิบัติการปองกัน
การทบทวน (ACT)

▪ ตองดําเนินการทบทวนโดยฝายบริหารทุกปเพื่อใหมั่นใจไดวา
ระบบการจัดการพลังงานยังคงอยู และมีการปรับปรุงและ
พัฒนาไดอยางตอเนื่อง
2.2 Life Cycle Assessment: LCA

▪ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอมเชิงปริมาณ โดยพิจารณาถึงการ
ใชทรัพยากร พลังงาน และการปลดปลอยของเสียรูปแบบตางๆ
ครอบคลุมทุกขั้นตอนตลอดวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑหรือบริการ
ตั้งแตเกิดจนตาย
▪ “Cradle-to-grave” approach…..จากจุดกําเนิดถึงจุดจบ
▪ กรอบการดําเนินงานของ LCA
1) กําหนดเปาหมาย ขอบเขต
2) วิเคราะหบัญชีรายการสิ่งแวดลอม
3) แสดงปริมาณสารขาเขา เชน วัตถุดิบ ทรัพยากร พลังงาน
ปริมาณสารขาออก เชน ผลิตภัณฑ มลสารตางๆ
4) การประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม จําแนกประเภท กําหนด
บทบาท และใหนํ้าหนักและความสําคัญ (Global warming is now the
most important issue)
ข้อดีของการมีการจัดการพลังงานอย่างยังยืน

ระดับองค์กร
▪ ลดตนทุนดานพลังงาน

▪ ลดปริมาณของเสีย ระดับโลก
▪ เพิ่มความสามารถในการแขงขัน ▪ ยืดเวลายืดเวลาการหมด
ทางธุรกิจ
▪ สรางจิตสํานึกในการอนุรักษ
หรือการขาดแคลน
พลังงานใหแกพนักงาน เชื้อเพลิง
ลดการปลอยกาซเรือน

ระดับประเทศ
▪ ลดการนําเขาพลังงาน กระจก
▪ ลดการขาดดุลทางการคา ▪ ลดการเกิดปญหา Climate
▪ เพิ่มความมั่นคงทางดานพลังงาน
change
▪ ลดการใชทรัพยากรธรรมชาติ

You might also like