You are on page 1of 137

ISO 50001 : 2018

Energy Management Systems


By

Q&A Quality and Calibration Co., Ltd.


1
50/46,52 Moo 2 T.Bangkaew A.Bangplee Samutprakarn 10540
ISO 50001 : 2018
Energy Management Systems
2
เกณฑ์ในการประเมินผลผู้เข้าฝึ กอบรม

1. Introduction
1. เข้าร่วมฝึ กอบรม ครบเวลา ตลอดหลักสูตร

2. ทำกิจกรรม Workshop ในระหว่างการฝึ กอบรม


3. Challengers Forward

3. ทดสอบความรู้ ภาคทฤษฎี
4. Conclusion “ผ่าน”

9
เนื้อหารายละเอียดในการฝึ กอบรม

1. ขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงมาตรฐาน ISO 50001:2018


1. Introduction
2. เนื้อหาสาระสำคัญ และรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงของมาตรฐาน ISO
50001:2018
3. แนวทางการปฏิบัติ ต่อประเด็นในสาระที่สำคัญที่มีการเปลี่ยนแปลงของ
มาตรฐาน ISO 50001:2018 Forward
3. Challengers
4. แผนงานและแนวทางในการ Transition ขององค์กรจาก ISO 50001:2011
4. Conclusion
ไปสู่ ISO 50001:2018

10
1. Introduction

3. Challengers Forward

4. Conclusion

11
12
สาระสำคัญในการเปลี่ยนแปลง ISO 50001:2018
การเปลี่ยนแปลงหลักๆเทียบกับฉบับก่อนหน้ามีดังนี้
1. ประยุกต์ใช้ข้อกำหนดของ ISO มาตรฐานระบบการจัดการ,รวมถึงใช้โครงสร้าง
high level, ข้อความหลักที่เหมือนกัน, คำศัพท์ทั่วไป และคำจำกัดความ เพื่อให้
มั่นใจว่าสอดคล้องกับ high level กับมาตรฐานการจัดการอื่น ๆ
2. มีการบูรณาการกระบวนการจัดการเชิงกลยุทธ์ที่ดีขึ้น
3. มีความชัดเจนด้านภาษาและโครงสร้างเอกสาร
4. ให้ความสำคัญกับบทบาทของผู้บริหารสูงสุด
5. การนำลำดับบริบทมาใช้สำหรับข้อกำหนดและคำจำกัดความใน Clause 3 และให้
คำจำกัดความทันสมัยขึ้น
6. เพิ่มคำจำกัดความใหม่ๆรวมถึง การปรับปรุงสมรรถนะด้านพลังงาน (energy
performance improvement)
7. มีความชัดเจนเกี่ยวกับการยกเว้นของประเภทพลังงาน
8. มีความชัดเจนเกี่ยวกับการทบทวนด้านพลังงาน
13
สาระสำคัญในการเปลี่ยนแปลง ISO 50001:2018
9. มีการแนะนำแนวคิดของการทำให้เป็นมาตรฐานของตัววัด
ประสิทธิผลด้านพลังงาน (energy performance indicators, EnPl
(s)) และที่เกี่ยวข้องกับค่าฐานของพลังงาน (energy baselines, EnB
(s))
10. เพิ่มเติมรายละเอียดของ "แผนการเก็บข้อมูลด้านพลังงาน" (energy
data collection plan) และข้อกำหนดที่เกี่ยวข้อง (ก่อนหน้านี้ "แผนก
ารวัดด้านพลังงาน" (energy measurement plan))
11. ความชัดเจนของคำที่เกี่ยวข้องกับตัววัดสมรรถนะด้านพลังงาน
(energy performance indicators, EnPl (s) และค่าฐานของพลังงาน
(energy baselines, EnB (s)) เพื่อที่จะให้ทำความเข้าใจ คำจำกัด
ความได้ดีขึ้น
14
1. Introduction

3. Challengers Forward

4. Conclusion

15
โครงสร้างของข้อกำหนด
1. Scope
2. Normative references
3. Terms and definitions
4. Context of the organization
5. Leadership, worker participation
6. Planning
3. Challengers Forward
7. Support
8. Operation
9. Performance evaluation
10. Improvement
16
Internal and
Needs and
External issues context of the organization
expectations
interested parties

3. Challengers Forward

Intended outcomes of
the energy
management system

17
1.Scope : ขอบเขต
เอกสารนี้เป็นข้อกำหนดเฉพาะสำหรับจัดทำ นำไปปฏิบัติ, รักษาไว้และปรับปรุงระบบ
การจัดการพลังงาน (EnMS)
ผลลัพธ์ที่ต้องการ (The intended outcome) ให้องค์กรเป็นไปตามระบบการจัดการใน
เชิงกระบวนการเพื่อบรรลุการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องของ สมรรถนะด้านพลังงาน และ EnMS
เอกสารนี้
a. ประยุกต์ใช้ได้ทุกๆ องค์กร ทุกขนาด ทุกชนิด ทุกๆ ผลิตภัณฑ์และบริการ
b. ประยุกต์ใช้กับกิจกรรมที่กระทบต่อ สมรรถนะด้านพลังงาน และการควบคุมโดยองค์กร
c. ประยุกต์ใช้ไม่คำนึงถึงจำนวน, การใช้ หรือชนิดของการปริมาณการใช้พลังงานทั้งหมด
d. ต้องการแสดงการปรับปรุง สมรรถนะด้านพลังงาน แต่ไม่กำหนดระดับสมรรถนะด้าน
พลังงาน ที่ปรับปรุงให้บรรลุผลสำเร็จ
e. สามารถใช้ในการชี้บ่ง หรือความสอดคล้องหรือบูรณาการกับมาตรฐานอื่นๆ

18
ISO 50001:2018 Energy Management Systems
energy use per unit of output energy used in air
- kWh/ton specific energy conditioning system
consumption (SEC) 5,000 kWh/month
- kWh/#
- kWh/$

output per unit of energy


- ton/kWh
Energy cost
- #/kWh
CO2 emission

19
2.Normative references เอกสารอ้างอิง

“ ไม่มีเอกสารอ้างอิงในมาตรฐานฉบับนี้”

20
3. Terms and Definition : คำศัพท์และคำนิยาม
3.1 Terms related to organization
3.1.1 ถึง 3.1.5
3.2 Terms related to management system
3.2.1 ถึง 3.2.5
3.3 Terms related to requirement
3.3.1 ถึง 3.3.9
3.4 Terms related to performance
3.4.1 ถึง 3.4.16
3.5 Terms related to energy
3.5.1-3.5.6 21
ความเข้าใจคำศัพท์ด้านระบบการจัดการพลังงาน
1. Energy: พลังงาน

2. Energy:/Use การใช้พลังงาน

3. Energy Consumption: ปริมาณการใช้พลังงาน

4. Energy Efficiency: ประสิทธิภาพด้านพลังงาน

5. Energy Performance: สมรรถนะด้านพลังงาน

6. EnMS :Energy Management System: ระบบการจัดการพลังงาน

22
ความเข้าใจคำศัพท์ด้านระบบการจัดการพลังงาน
7. EnPI: Energy Performance Indicator: ดัชนีชี้วัดด้านพลังงาน

8. Energy Review: การทบทวนพลังงาน

9. SEU: Significant Energy Use: การใช้พลังงานอย่างมีนัยสำคัญ

10. EnB (s)Energy Baseline: ฐานพลังงาน

11. Energy Target: เป้ าหมายด้านพลังงาน

12. EnPIs Value: ค่าดัชนีชี้วัดพลังงาน

23
ISO 50001:2018 Energy Management Systems
energy use per unit of output energy used in air
- kWh/ton specific energy conditioning system
consumption (SEC) 5,000 kWh/month
- kWh/#
- kWh/$

output per unit of energy


- ton/kWh
Energy cost
- #/kWh
CO2 emission

24
25
4. Context of the Organization

4.1 Understanding the Organization and it


context
4.2 Understanding the needs and
expectations of interested parties
4.3 Determining the scope of the energy
management system
4.4 Energy management system

26
4. Context of the Organization :บริบทขององค์กร

4.1 Understanding the Organization and its context


ความเข้าใจขององค์กร และบริบทขององค์กร
• องค์กรต้อง กำหนด ประเด็นภายนอก และ ประเด็น
ภายใน (External and internal issue) ที่เกี่ยวข้องกัน
เป้ าประสงค์ (Purpose) ขององค์กร และส่งผลกระทบต่อ
ความสามารถในการบรรลุผลลัพธ์ (Intended outcome)
ของ EnMS และการปรับปรุง สมรรถนะด้านพลังงาน
(Energy performance)
27
บริบทขององค์กร
External Issue Internal Issue
1. ประเด็นจากผู้มีส่วนได้
1. กระบวนการหลักของ
ส่วนเสีย เช่น
ธุรกิจ วัตถุประสงค์และ
วัตถุประสงค์ของกลุ่มข้อ
กลยุทธ์
กำหนดหรือมาตรฐาน
2. แผนการจัดการสินทรัพย์
2. ข้อจำกัดในการ Supply
3. ทรัพยากรการเงิน
พลังงาน
4. วุฒิภาวะ และวัฒนะ
3. ต้นทุนด้านพลังงานเสีย
ชนิดของพลังงาน Organizationอง ธรรมการจัดการพลังงาน
5. การพิจารณาความยั่งยืน
4. ผลกระทบจากสภาพ ค์การ 6. แผนฉุกเฉินสำหรับการ
อากาศ
หยุดชะงักของการจ่าย
5. ผลกระทบจากภูมิอากาศ
พลังงาน
เปลี่ยนแปลง
7. เทคโนโลยี
6. ผลกระทบจากการปล่อย
8. การปฏิบัติด้านความเสี่ยง
ก๊าชเรื่อนกระจก
และการพิจารณาความรับ
ผิดชอบ

28
ตัวอย่างบริบทขององค์กร
1. ชื่อ : บริษัท ...............................................
2. ที่อยู่ : ………………………………………………………………………………
3. ผลิตภัณฑ์ : 1. ………………………………………………………………………
2. ……………………………………………………………………..
4. กระบวนการหลักทางธุรกิจ
1. ………………………………………………………………………
2. ………………………………………………………………………
5. เป้ าประสงค์ด้านการจัดการพลังงาน (EnMS)
1. ………………………………………………………………………
2. ………………………………………………………………………
6. กลยุทธ์ในการดำเนินการด้านการจัดการพลังงาน (EnMS)
1. ………………………………………………………………………
2. ………………………………………………………………………
31
บริบท ประเด็นภายใน ขององค์กร
เป้ าประสงค์ บริบทภายในที่พิจารณา ประเด็นภายในองค์กร Status
Purpose Negation Position

1. ลดการใช้พลังงานไฟฟ้ า 1. กระบวนการหลักของ 1. ยังไม่มีแผนการเปลี่ยนเครื่องใช้ไฟฟ้ า/เครื่องจักร


ลงต่อหน่วยการผลิต 5% ธุรกิจ วัตถุประสงค์และ เก่าๆ 
2. ลดการใช้พลังงานความ กลยุทธ์
2. แผนการจัดการสินทรัพย์ 2. มีงบประมาณด้านพลังงาน 0.5% ของกำไร 
ร้อนลงต่อหน่วยการผลิต 3. มีกิจกรรมรณรงค์การอนุรักษ์พลังงานทำอย่างต่อ 
3. ทรัพยากรการเงิน
3. ต้นทุนด้านพลังงานน้อย 4. วุฒิภาวะ และวัฒนะ เนื่อง
กว่า 15% ของต้นทุนรวม ธรรมการจัดการพลังงาน 4. ไม่มีแผนฉุกเฉินกรณีการจ่ายพลังงานหยุดชะงัก 
5. การพิจารณาความยั่งยืน
Intended Out Come 6. แผนฉุกเฉินสำหรับการ
1. ปรับปรุงสมรรถนะด้าน หยุดชะงักของการจ่าย
พลังงาน
การจัดการพลังงาน
7. เทคโนโลยี
(Energy performance) 8. การปฏิบัติด้านความเสี่ยง
2. ปรับปรุงระบบการจัดการ และการพิจารณาความรับ
ผิดชอบ

32
บริบท ประเด็นภายนอก ขององค์กร
เป้ าประสงค์ บริบทภายในที่พิจารณา ประเด็นภายในองค์กร Status
Purpose Negation Position

1. ลดการใช้พลังงานไฟฟ้ า 1. ประเด็นจากผู้มีส่วนได้ 1. พพ. ให้ลดพลังงานลงต่อหน่วยผลิต SEC 5% 


ลงต่อหน่วยการผลิต 5% ส่วนเสีย เช่น 2. ซื้อไฟฟ้ าจาก PEA รายเดียว 
2. ลดการใช้พลังงานความ วัตถุประสงค์ของกลุ่ม 3. ช่วงฤดูร้อน มีนาคม-มิถุนายน ใช้พลังงานสูง 
ร้อนลงต่อหน่วยการผลิต ข้อกำหนดหรือ 4. คำนวณ CO2 ก๊าชเรือนกระจกน้อยกว่ามาตรฐาน 
3. ต้นทุนด้านพลังงานน้อย มาตรฐาน
กว่า 15% ของต้นทุนรวม 2. ข้อจำกัดในการ Supply
พลังงาน
Intended Out Come 3. ต้นทุนด้านพลังงานเสีย
1. ปรับปรุงสมรรถนะด้าน ชนิดของพลังงาน
การจัดการพลังงาน 4. ผลกระทบจากสภาพ
(Energy performance) อากาศ
2. ปรับปรุงระบบการจัดการ 5. ผลกระทบจากภูมิ
อากาศเปลี่ยนแปลง
6. ผลกระทบจากการ
ปล่อยก๊าชเรื่อนกระจก

33
4. Context of the Organization :บริบทขององค์กร
4.2 Understanding the needs and expectations of interested parties
การทำความเข้าใจความต้องการ ความคาดหวัง ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
• องค์กรต้องกำหนด
a) ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้องกับสมรรถนะด้านพลังงานและ EnMS
b) ส่วนที่เกี่ยวข้องกับข้อกำหนดของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
c) ชี้บ่ง ความต้องการ และความคาดหวัง ขององค์กรที่เกี่ยวข้องกับ EnMS
• องค์กรต้อง
- มั่นใจว่าเข้าถึงและประยุกต์ใช้ข้อกำหนดของกฎหมาย และข้อกำหนดอื่นๆที่
เกี่ยวข้องกับประสิทธิภาพพลังงาน, การใช้พลังงานและปริมาณการใช้พลังงาน
- กำหนดการประยุกต์ใช้ข้อกำหนดอย่างไร ถึงประสิทธิภาพพลังงานการใช้พลังงานและ
ปริมาณการใช้พลังงาน
- มั่นใจว่าข้อกำหนดต่างๆ ได้ถูกคำนึงถึง
- กำหนดช่วงเวลาในการทบทวนกฎหมาย และข้อกำหนดอื่นๆ
Note: ต้องการข้อมูลเพิ่มเติมในความสอดคล้องกับการจัดการ ดู ISO 19600
34
INTERESTED PARTIES

Employees

(Organization)
35
ข้อกำหนดต่างๆ (ความต้องการ,ความคาดหวัง) ด้าน EnMS ที่เกี่ยวข้องกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ข้อกำหนดต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง (กฎหมายและข้อกำหนดอื่นๆ)
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ความต้องการ (Need) ความคาดหวัง (Expectation) N N P P
1. Organization 1. 1.
2. 2.
3. 3.
2. Supplier 1. 1.
2. 2.
3. 3.
3. Government 1. 1.
2. 2.
3. 3.
4. Customers 1. 1.
2. 2.
3. 3.
5. Society 1. 1.
2. 2.

36
ข้อกำหนดต่างๆ (ความต้องการ,ความคาดหวัง) ด้าน EnMS ที่เกี่ยวข้องกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ข้อกำหนดต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง(กฎหมายและข้อกำหนดอื่นๆ)
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ความต้องการ (Need) ความคาดหวัง (Expectation) N N P
6. Manager 1. 1.
2. 2.
3. 3.
7. Creditors 1. 1.
2. 2.
3. 3.
8. Shareholders 1. 1.
2. 2.
3. 3.
9. Owner 1. 1.
2. 2.
3. 3.

37
38
39
40
41
4. Context of the Organization :บริบทขององค์กร
4.3 Determining the scope of the Energy management system
การกำหนดขอบเขตของระบบการจัดการพลังงาน
• องค์กรต้องกำหนดขอบเขตทางกายภาพ (boundaries) และประยุกต์ใช้ระบบ
EnMS ในการกำหนดขอบเขต เมื่อกำหนดขอบเขต EnMS องค์กรต้องพิจารณา
a. ประเด็นภายนอก/ประเด็นภายใน อ้างอิง ข้อ 4.1
b. ข้อกำหนดอ้างอิงใน ข้อ 4.2
•องค์กรต้องมั่นใจว่ามีอำนาจในการควบคุมประสิทธิภาพพลังงาน การใช้
พลังงาน และปริมาณการใช้พลังงาน ภายในขอบเขตและขอบเขตทางกายภาพ
(boundaries)
องค์กรต้องไม่ยกเว้นชนิดของพลังงานภายในขอบเขตและขอบเขตทางกายภาพ
(boundaries)
• ขอบเขตและขอบเขตทางกายภาพ (Boundaries) ของ EnMS ต้องจัดทำเป็น
เอกสาร
42
ตัวอย่าง : การกำหนดขอบข่ายของระบบ EnMS
1. Boundaries : ขอบเขตทางกายภาพ
: โรงงานอ้างอิง Lay out Factory
: สำนักงานอ้างอิง Lay out office

2. ผลิตภัณฑ์และกระบวนการ
1. Manufacturing of ………………………………..
2. Process
2.1………………………………………………………
2.2 ………………………………………………………

3. ข้อพิจารณาขอบข่าย (Scope) ในระบบ EnMS

3.1 ประเด็นภายใน : อ้างอิงบริบทขององค์กร


3.2 ประเด็นภายนอก : อ้างอิงบริบทขององค์กร
3.3 ข้อกำหนด ความต้องการ ความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย อ้างอิง การพิจารณาความต้องการ ความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

4. ประสิทธิภาพในการควบคุม
4.1 ประสิทธิภาพในการใช้พลังงาน (Energy Efficiency
4.2 การใช้พลังงาน (Energy Use)
4.3 ปริมาณการใช้พลังงาน (Energy Consumption)

43
4. Context of the Organization :บริบทขององค์กร
4.4 Energy management system
ระบบการจัดการพลังงาน
• องค์กรต้องจัดทำ นำไปปฏิบัติ รักษาไว้ และปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
ของระบบ EnMS รวมถึงกระบวนการความต้องการ (Process need)
และปฏิสัมพันธ์ อื่นๆ และการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง สมรรถนะด้าน
พลังงานในข้อกำหนดของเอกสารฉบับนี้
Note: Process need สามารถแตกต่างกันในแต่ละองค์กรขึ้นอยู่กับ
- ขนาดขององค์กร และชนิด, กิจกรรม, กระบวนการ, ผลิตภัณฑ์,
และบริการ
- ความซับซ้อนของกระบวนการและปฏิสัมพันธ์
- ความสามารถของบุคลากร
44
คู่มือการจัดการพลังงาน
Energy management system
คู่มือการจัดการพลังงาน (EnMS Manual)

EnMS-M-01

45
5. Leadership:ความเป็นผู้นำ

5.1 Leadership and commitment


5.2 Energy policy
5.3 Organization roles responsibilities
and authorities
4. Conclusion

46
5.1 Leadership and commitment :ความเป็นผู้นำและความมุ่งมั่น
• ผู้บริหารระดับสูงต้อง แสดงความเป็นผู้นำ และความมุ่งมั่นที่เกี่ยวกับการปรับปรุง
อย่างต่อเนื่องของสมรรถนะด้านพลังงาน และประสิทธิภาพของ EnMS โดย
a. มั่นใจว่าระบบ EnMS ได้ถูกกำหนดขอบเขต (Scope) และขอบเขตทาง
กายภาพ (boundaries)
b. มั่นใจว่า นโยบาย วัตถุประสงค์ เป้ าหมายได้ถูกกำหนดและสัมพันธ์เกี่ยวข้อง
ทิศทางกลยุทธ์ขององค์กร
c. มั่นใจว่าได้บูรณาการข้อกำหนด EnMS เข้ากับกระบวนการทางธุรกิจของ
องค์กร
4. Conclusion
d. มั่นใจว่าแผนการปฏิบัติได้รับการอนุมัติ และนำไปสู่การปฏิบัติ
e. มั่นใจว่าทรัพยากรที่จำเป็นสำหรับ EnMS มีอย่างเพียงพอ
f. สื่อสารความสำคัญ ประสิทธิภาพการจัดการพลังงาน และความสอดคล้องกับ
EnMS
47
5.1 Leadership and commitment :ความเป็นผู้นำและความมุ่งมั่น (ต่อ)

g. มั่นใจว่าระบบ EnMS บรรลุผลลัพธ์ที่ต้องการ (Intended outcome)


h. ส่งเสริมการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องของสมรรถนะด้านพลังงาน และ EnMS
i. มั่นใจว่ามีการจัดตั้งทีมงานการจัดการพลังงาน
j. กำกับและสนับสนุนให้บุคคลให้มีส่วนร่วมในการสร้างประสิทธิผลของระบบ
EnMs และปรับปรุงสมรรถนะด้านพลังงาน
k. สนับสนุนบทบาทการจัดการอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
l. มั่นใจว่าได้กำหนด EnPI(s) ตามความเหมาะสม เป็นตัวแทนของสมรรถนะ
ด้านพลังงาน
4. Conclusion
m. มั่นใจว่ามีกระบวนการจัดทำและการนำไปปฏิบัติ เพื่อการชี้บ่งและปฏิบัติ
การการเปลี่ยนแปลงที่กระทบต่อ EnMS และสมรรถนะด้านพลังงานภายใน
ขอบเขต, ขอบเขตทางกายภาพของ EnMS
48
5.2 Energy policy: นโยบายพลังงาน
• ผู้บริหารระดับสูงต้องจัดทำนโยบายพลังงานซึ่ง
a. เหมาะสมกับเป้ าประสงค์ขององค์กร
b. จัดเตรียมกรอบในการกำหนดและทบทวนวัตถุประสงค์และเป้ าหมายด้านพลังงาน (See
6.2)
c. รวมถึงมุ่งมั่นที่จะทำให้มั่นใจว่ามีข้อมูล และทรัพยากรที่จำเป็นเพื่อให้บรรลุ
วัตถุประสงค์และเป้ าหมายด้านพลังงาน
d. รวมถึงมุ่งมั่นการประยุกต์ใช้ข้อกำหนดของกฎหมายและข้อกำหนดอื่นๆ (See 4.2) ที่
เกี่ยวข้องกับประสิทธิภาพพลังงาน, การใช้พลังงาน, ปริมาณการใช้พลังงาน
e. รวมถึงความมุ่งมั่นในการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง (See 10.2) ของสมรรถนะด้านพลังงาน
4. Conclusion
และระบบ EnMS
f. สนับสนุนการจัดซื้อ/จัดหา (See 8.3 ) ผลิตภัณฑ์ และบริการที่ใช้พลังงานมีประสิทธิภาพ
ซึ่งกระทบต่อสมรรถนะด้านพลังงาน
g. สนับสนุน กิจกรรมการออกแบบ โดยพิจารณาการปรับปรุงสมรรถนะด้านพลังงาน
49
5.2 Energy policy: นโยบายพลังงาน (ต่อ)

นโยบายพลังงานต้อง
- จัดทำเป็นเอกสารสารสนเทศ (See 7.5)
- สื่อสารภายในองค์กร
- สื่อสารผู้มีส่วนได้ส่วนเสียตามความเหมาะสม
- กำหนดช่วงเวลาทบทวน และ Up date ตามความจำเป็น
4. Conclusion

50
4. Conclusion

51
5.2 Energy policy: นโยบายพลังงาน (ต่อ)

4. Conclusion

52
5.3 Organization roles responsibilities and authorities
บทบาทหน้าที่, ความรับผิดชอบ และอำนาจหน้าที่

• ผู้บริหารระดับสูงต้องมั่นใจว่า หน้าที่ความรับผิดชอบ และอำนาจหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับ


บทบาทหน้าที่ได้มอบหมายและสื่อสารภายในองค์กร
• ผู้บริหารระดับสูงต้องมอบหมายหน้าที่ความรับผิดชอบและอำนาจของทีมการจัดการ
พลังงานสำหรับ
a. มั่นใจว่าระบบ EnMS ได้ถูกจัดทำ นำไปปฏิบัติ รักษาไว้ และปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
b. มั่นใจว่าระบบ EnMS สอดคล้องกับข้อกำหนดของมาตรฐานฉบับนี้
c. การปฏิบัติตามแผนการปฏิบัติ (Action plan) (See 6.2) เพื่อการปรับปรุงสมรรถนะ
ด้านพลังงานอย่างต่อเนื่อง
d. รายงานสมรรถนะของ EnMS และการปรับปรุงสมรรถนะด้านพลังงานให้กับผู้
บริหารระดับสูงตามช่วงเวลาที่กำหนด
e. สร้างเกณฑ์และวิธีการที่จำเป็นเพื่อให้มั่นใจว่าการปฏิบัติการและควบคุมในระบบ
EnMS มีประสิทธิภาพ
53
5.3 Organization roles responsibilities and authorities
บทบาทหน้าที่, ความรับผิดชอบ และอำนาจหน้าที่ (ต่อ)

54
5.3 Organization roles responsibilities and authorities
บทบาทหน้าที่, ความรับผิดชอบ และอำนาจหน้าที่ (ต่อ)

55
6. Planning: การวางแผน

6.1 Action to address risk and


opportunities
6.2 Objective, energy targets and planning
to achieve them
6.3 Energy review
6.4 Energy performance indicators
6.5 Energy baseline
6.6 Planning for collection of energy data

56
6.1 Action to address risk and opportunities
ปฏิบัติการเพื่อดำเนินการกับความเสี่ยงและโอกาส
6.1.1
• เมื่อวางแผนสำหรับ EnMS องค์กรต้องพิจารณาประเด็นที่ต้องอ้างอิงในข้อ 4.1
และข้อกำหนดที่อ้างอิงในข้อ 4.2 และทบทวนกิจกรรม และกระบวนการของ
องค์กรที่สามารถมีผลกระทบต่อสมรรถนะด้านพลังงาน
• การวางแผนต้องตรงกับนโยบายพลังงาน และต้องทำให้เกิดกิจกรรมที่มีผลให้
สมรรถนะด้านพลังงานมีการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
• องค์กรต้องกำหนดความเสี่ยงและโอกาสที่จำเป็นเพื่อ
- ให้การประกันว่าระบบ EnMS สามารถบรรลุผลลัพธ์ที่ต้องการ (Intended
outcome) รวมถึงการปรับปรุงสมรรถนะด้านพลังงาน
- ป้ องกันและลดผลกระทบที่ไม่ต้องการ
- บรรลุการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องในระบบ EnMS และสมรรถนะด้านพลังงาน
57
6.1 Action to address risk and opportunities
ปฏิบัติการเพื่อดำเนินการกับความเสี่ยงและโอกาส

6.1.2 องค์กรต้องวางแผน
a. ปฏิบัติการเพื่อดำเนินกับความเสี่ยงและโอกาส
b. วิธีปฏิบัติ
1. บูรณาการและปฏิบัติ, ปฏิบัติการเข้ากับระบบ EnMS
และกระบวนการสมรรถนะด้านพลังงาน
2. ประเมินประสิทธิผลหลังการดำเนินการ

58
บริษัทxxxxxxxxxxxxxxxจำกัด

59
60
61
62
6.2 Objective, energy targets and planning to achieve them
วัตถุประสงค์ เป้ าหมายด้านพลังงานและการวางแผนให้บรรลุวัตถุประสงค์และเป้ าหมาย
6.2.1 องค์กรต้อง จัดทำวัตถุประสงค์ในหน้าที่ และระดับที่เกี่ยวข้อง
องค์กรต้อง จัดทำเป้ าหมายด้านพลังงาน (Energy target)
6.2.2 วัตถุประสงค์และเป้ าหมายด้านพลังงานต้อง
a.สอดคล้องกับนโยบายด้านพลังงาน (See 5.2)
b.สามารถวัดได้
c.คำนึงถึงการประยุกต์ใช้ข้อกำหนด
d.พิจารณา SEUs (See 6.3) การใช้พลังงานที่มีนัยสำคัญ
e.คำนึงถึงโอกาส (See 6.3) สำหรับการปรับปรุงสมรรถนะด้านพลังงาน
f.ต้องเฝ้ าติดตาม
g.ต้องสื่อสาร
h.ต้อง (Up date) ทำให้ทันสมัยตามความเหมาะสม
•องค์กรต้องจัดเก็บเอกสารสารสนเทศ (See 7.5) ของวัตถุประสงค์และเป้ า
หมายด้านพลังงาน
63
6.2 Objective, energy targets and planning to achieve them
วัตถุประสงค์ เป้ าหมายด้านพลังงานและการวางแผนให้บรรลุวัตถุประสงค์และเป้ าหมาย

6.2.3 เมื่อมีการวางแผนเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์และเป้ าหมายด้านพลังงาน


องค์กรต้องจัดทำและรักษาแผนปฏิบัติรวมถึง
- อะไรที่ต้องทำ
- ใช้ทรัพยากรอะไรบ้าง
- ใครเป็นผู้รับผิดชอบ
- เมื่อไหร่จะบรรลุ
- การประเมินผลลัพธ์เป็นอย่างไร รวมถึงวิธีการใช้ทวนสอบในการปรับปรุง
สมรรถนะด้านพลังงาน
•องค์กรต้องพิจารณาวิธีการปฏิบัติให้บรรลุวัตถุประสงค์และเป้ าหมายด้าน
พลังงาน สามารถบูรณาการเข้ากับกระบวนการทางธุรกิจขององค์กร
•องค์กรต้องจัดเก็บเอกสารสารสนเทศของแผนปฏิบัติ (Action Plan) (See 7.5)
64
บริษัท xxxxxxx จำกัด
วัตถุประสงค์และเป้ าหมายด้านพลังงานประจำปี 2020
Update: 04-01-2020 9
ข้อ วัตถุประสงค์ เป้ าหมาย หน่วยงานที่รับผิดชอบ
1 ลดพลังงานไฟฟ้ าจากการใช้ระบบแสงสว่าง 5% ENG

2 อัตราการใช้พลังงานไฟฟ้ าต่อ ตัน ของผลิตภัณฑ์ A < 12 Kwh/ตัน Production

3 อัตราการใช้ LPG ต่อ ตัน การผลิตของผลิตภัณฑ์ B < 10 Kg/ตัน Production

4 ควบคุมการใช้น้ำมันดีเชลของรถขนส่งต่อ ตัน ที่ส่งมอบ < 5 ลิตร/ตัน จัดส่ง

ประกาศใช้ ณ วันที่ 4 มกราคม 2563

( )
กรรมการผู้จัดการ

65
66
6.3 Energy Review: การทบทวนพลังงาน
• องค์กรต้องพัฒนาและดำเนินการทบทวนพลังงาน การพัฒนาการทบทวนพลังงานองค์กรต้อง
a. วิเคราะห์การใช้พลังงาน และปริมาณการใช้พลังงานอยู่บนพื้นฐานของการวัดและข้อมูลอื่นๆ เช่น
1. ชี้บ่ง ชนิดของพลังงานที่ใช้ในปัจจุบัน (See 3.5.1)
2. ประเมินการใช้พลังงานในอดีตและปัจจุบัน และปริมาณการใช้
b. จากการวิเคราะห์ ชี้บ่ง SEUs (See 3.5.6) (การใช้พลังงานที่มีนัยสำคัญ)
c. สำหรับแต่ละ SEU: (การใช้พลังงานที่มีนัยสำคัญ)
1. กำหนดความผันแปรที่เกี่ยวข้อง
2. กำหนดสมรรถนะด้านพลังงานในปัจจุบัน
3 ชี้บ่ง บุคคลในการปฏิบัติงานภายใต้การควบคุมที่มีผลกระทบต่อ SEUs
d) กำหนด และจัดลำดับโอกาสสำหรับการปรับปรุงสมรรถนะด้านพลังงาน
e) ประเมินการใช้พลังงานในอนาคต และปริมาณการใช้พลังงาน
•การทบทวนพลังงานต้อง Up date ตามช่วงเวลาที่กำหนด รวมถึงกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงสำคัญในสิ่ง
อำนวยความสะดวก เครื่องจักร ระบบ หรือกระบวนการใช้พลังงาน
•องค์กรต้องเก็บรักษาเอกสารสารสนเทศของวิธีการ และเกณฑ์การใช้สำหรับการพัฒนาทบทวนพลังงาน และ
ต้องจัดเก็บเอกสารสารสนเทศ ผลการทบทวนพลังงาน

67
EnMR

68
6.4 Energy performance indicators: ดัชนีชี้วัดสมรรถนะด้านพลังงาน

• องค์กรต้องกำหนด EnPIs ว่า


a.มีความเหมาะสมสำหรับการวัดและเฝ้ าติดตามสมรรถนะด้านพลังงาน
b.ทำให้องค์กรสามารถแสดงการปรับปรุงสมรรถนะด้านพลังงาน
• วิธีการกำหนดและ Up date EnPIs ต้อง จัดทำเป็นเอกสารสารสนเทศ
• กรณีองค์กรมีข้อมูลแสดงให้เห็นว่าความผันแปรอย่างมีนัยสำคัญที่
กระทบต่อสมรรถนะด้านพลังงาน องค์กรต้องพิจาณาข้อมูลดังกล่าวใน
การจัดทำ EnPIs ที่เหมาะสม
• ค่า EnPI(s) ต้องได้รับการทบทวน และเปรียบเทียบกับ EnB(s) (ฐาน
พลังงาน) อย่างเหมาะสม
• องค์กรต้องเก็บรักษาเอกสารสารสนเทศของค่า EnPI(s)
69
บริษัท xxxxxxจำกัด
ประกาศ
กำหนดค่า EnPIs ประจำปี 2020
Up date 4-01-2019

EnPIs
ข้อ ชนิดพลังงาน
2018 2019 2020
120 Kwh/TON 118 Kwh/TON
1 ไฟฟ้ า
100 ลิตร/TON 98 ลิตร/TON
2 LPG
200 ลิตร/TON 180 ลิตร/TON
3 น้ำมันดีเชล
100 TON/TON 90 TON/TON
4 ถ่านหิน

ประกาศใช้ วันที่ 4 มกราคม 2563

( )
กรรมการผู้จัดการ
70
6.5 Energy baseline: ฐานพลังงาน

• องค์กรต้องกำหนด EnB(s) ฐานพลังงาน โดยใช้ข้อมูลจากการทบทวนด้านพลังงาน


(See 6.3) โดยคำนึงถึงช่วงเวลาที่เหมาะสม
• เมื่อองค์กรมีข้อมูลชี้วัดความผันแปรที่เกี่ยวกับผลกระทบต่อสมรรถนะด้านพลังงาน
ที่มีนัยสำคัญ
องค์กรต้อง แก้ไขค่า EnPI(s) และ EnB(s) ที่เกี่ยวข้อง
Note: ขึ้นอยู่กับธรรมชาติของกิจกรรม โดยปกติสามารถปรับขั้นตอนการทำงานให้
ง่ายขึ้นหรือซับซ้อนยิ่งขึ้น
• EnB(s) ต้องทบทวนในกรณีหนึ่ง หรือมากกว่าดังนี้
a. EnPI(s) ไม่สะท้อนสมรรถนะด้านพลังงานขององค์กรอีกต่อไป
b. มีการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญต่อปัจจัยคงที่
c. ตามที่กำหนดวิธีการไว้
• องค์กรต้องจัดเก็บเอกสารข้อมูลของ EnB(s), ข้อมูลตัวแปรที่เกี่ยวข้องและการ
ปรับเปลี่ยนของ EnB(s) ตามเอกสารสารสนเทศ
71
6.6 Planning for collection of energy data: การวางแผนสำหรับการรวบรวมข้อมูลด้านพลังงาน

• องค์กรต้องมั่นใจว่าคุณสมบัติหลักในการปฏิบัติการที่กระทบต่อสมรรถนะด้านพลังงานต้องชี้บ่ง, วัด, เฝ้ า


ติดตาม และวิเคราะห์ตามช่วงเวลาที่วางแผนไว้ (see 9.1 )
• องค์กรต้องกำหนดและปฏิบัติการวางแผนการรวบรวมข้อมูลการใช้พลังงานตามความเหมาะสมกับขนาด
ความซับซ้อน ทรัพยากร และอุปกรณ์การวัดและเฝ้ าติดตาม
• การวางแผนต้องระบุข้อมูลที่จำเป็นในการเฝ้ าติดตามคุณลักษณะหลัก และแสดงข้อมูลอย่างไร และมี
ความถี่ในการรวบรวม และคงไว้ซึ่งข้อมูลอย่างไร
• ข้อมูลที่จะต้องรวบรวมและการจัดเก็บเอกสารสารสนเทศ ต้องรวมถึง
a. ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง SEUs
b. ปริมาณการใช้พลังงานอ้างถึง SEUs และขององค์กร
C. เกณฑ์ปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับ SEUs
d. ปัจจัยคงที่, ถ้ามี
e. ข้อมูลที่ระบุในแผนปฏิบัติ (Action Plan)
• การวางแผนรวบรวมข้อมูลด้านพลังงานต้องได้รับการทบทวนตามช่วงเวลาที่กำหนดและ Up date ตาม
ความเหมาะสม
• องค์กรต้องมั่นใจว่าอุปกรณ์ที่ใช้วัดคุณลักษณะสำคัญให้ข้อมูลที่มีความถูกต้อง และแม่นยำ
• องค์กรต้องจัดเก็บเอกสารสารสนเทศการวัด การเฝ้ าติดตาม และวิธีอื่นๆในการสร้างความแม่นยำ และการ
ทำซ้ำ
72
7.Support: สนับสนุน

7.1 Resources: ทรัพยากร


7.2 Competence: ความสามารถ
7.3 Awareness: ความตระหนัก
7.4 Communication: สื่อสาร
7.5 Documented information: เอกสารสารสนเทศ

73
7.1 Resources: ทรัพยากร

•องค์กรต้องกำหนดและจัดเตรียมทรัพยากรที่
จำเป็นสำหรับการจัดทำนำไปปฏิบัติ รักษาไว้ และ
ปรับปรุงอย่างต่อเนื่องเพื่อสมรรถนะด้านพลังงาน
และระบบ EnMS

74
7.2 Competence: ความสามารถ
• องค์กรต้อง
a. กำหนดความสามารถที่จำเป็นสำหรับบุคคลากรผู้ปฏิบัติงานภายใต้การควบคุม
ที่กระทบต่อสมรรถนะด้านพลังงาน และ EnMS
b. มั่นใจว่าบุคลากรมีความสามารถบนพื้นฐานของการศึกษาที่เหมาะสม การ
ฝึ กอบรม ทักษะ หรือประสบการณ์
c. ดำเนินการเพื่อให้ได้มาซึ่งความสามารถที่จำเป็นและประเมินประสิทธิผลของ
กิจกรรมที่ได้กระทำ
d. เก็บรักษาเอกสารสารสนเทศที่เหมาะสม (See 7.5) เพื่อเป็นหลักฐานความ
สามารถ
Note: การดำเนินการประยุกต์ใช้รวมถึง ตัวอย่างเช่น จัดให้มีการฝึ กอบรม การให้คำ
แนะนำหรือ การมอบหมายให้กับบุคคลที่ได้รับการว่าจ้างในปัจจุบัน หรือสรรหา
หรือทำสัญญากับผู้มีความสามารถ
75
Skill Matrix

76
7.3 Awareness: ความตระหนัก
บุคคลากรผู้ปฏิบัติงานภายใต้การควบคุมขององค์กรต้องมีความ
ตระหนักต่อ
a. นโยบายพลังงาน
b. การมีส่วนร่วมในประสิทธิผลของระบบ EnMS รวมถึงการ
บรรลุวัตถุประสงค์ และเป้ าหมายด้านพลังงาน (See 6.2) และ
ประโยชน์ของการปรับปรุงสมรรถนะด้านพลังงาน
c. ผลกระทบของกิจกรรม หรือพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับ
สมรรถนะด้านพลังงาน
d. การปฏิบัติที่ไม่สอดคล้องกับข้อกำหนด EnMS
77
Awareness Training
New Repeat Every year

78
78
7.4 Communication: สื่อสาร
• องค์กรต้องกำหนดการสื่อสารภายในและภายนอกที่เกี่ยวข้องกับ EnMS รวมถึง
a. อะไรที่จะสื่อสาร
b. สื่อสารเมื่อไหร่
c. สื่อสารไปยังใคร
d. วิธีการสื่อสารอย่างไร
e. ใครเป็นผู้สื่อสาร
• ในการจัดทำกระบวนการสื่อสารองค์กรต้องมั่นใจว่าสร้างข้อมูลที่สื่อสารให้
สอดคล้องกับข้อมูลของระบบ EnMS และน่าเชื่อถือ
• องค์กรต้องจัดทำ และนำกระบวนการไปปฏิบัติโดยบุคคลากรที่ปฏิบัติงานภาย
ใต้การควบคุมขององค์กร ซึ่งสามารถ แสดงความเห็น หรือเสนอแนะ การ
ปรับปรุงระบบ EnMS และสมรรถนะด้านพลังงาน
• องค์กรต้องพิจารณาจัดเก็บเอกสารสารสนเทศ (See7.5) ข้อเสนอแนะในการ
ปรับปรุง
79
80
81
82
7.5 Documented information: เอกสารสารสนเทศ

7.5.1 General: ทั่วไป


ระบบ EnMS ขององค์กรต้องรวมถึง
a. เอกสารสารสนเทศที่กำหนดโดยมาตรฐานฉบับนี้
b. เอกสารสารสนเทศที่กำหนดโดยองค์กรที่จำเป็นสำหรับประสิทธิผลของ
ระบบ EnMS และแสดงถึงการปรับปรุงสมรรถนะด้านพลังงาน
Note: ขอบเขตและเอกสารสารสนเทศของระบบ EnMS สามารถมีความแตก
ต่างระหว่างองค์กรเนื่องจาก
-ขนาดขององค์กร และชนิดของกิจกรรม กระบวนการ ผลิตภัณฑ์และ
บริการ
-ความซับซ้อนของกระบวนการ และปฏิสัมพันธ์
-ความสามารถของบุคคลากร
83
7.5 Documented information : เอกสารสารสนเทศ

7.5.2 Creating and up date : การจัดทำและทำให้ทันสมัย


เมื่อมีการจัดทำและมีการ Up date เอกสารสารสนเทศ องค์กรต้อง
มั่นใจถึง
a. การกำหนดชี้บ่งและคำอธิบาย (เช่น ชื่อเอกสาร วันที่ ผู้กำหนด
หมายเลขอ้างอิง)
b. รูปแบบ (เช่น ภาษา, รุ่นซอฟท์แวร์, กราฟิ ก) และสื่อ (เช่น
กระดาษ, อิเล็กทรอนิกส์)
c. ทบทวนและอนุมัติตามความเหมาะสมและเพียงพอ
84
7.5 Documented information : เอกสารสารสนเทศ
7.5.3 Control of documented information : การควบคุมเอกสารสารสนเทศ
• เอกสารสารสนเทศที่จำเป็นโดยระบบการจัดการ EnMS โดยมาตรฐานฉบับนี้ ต้องได้รับการควบคุมเพื่อให้มั่นใจ
ว่า
a. จะมีผลพร้อมใช้และเหมาะสำหรับการใช้งานที่ไหนและเมื่อไหร่ที่จำเป็น
b. ได้รับการป้ องกันอย่างเพียงพอ เช่น การสูญเสียความลับ การนำไปใช้อย่างไม่เหมาะสมหรือการทำให้
ไม่สมบูรณ์
• สำหรับการควบคุมเอกสารสารสนเทศ องค์กรต้องจัดการกับกิจกรรมต่อไปนี้
- การแจกจ่าย, การเข้าถึง, การเรียกหาและการใช้
- การจัดเก็บและการรักษา รวมถึงการเก็บรักษาให้อ่านออกได้ชัดเจน
- การควบคุมการเปลี่ยนแปลง (เช่น ควบคุมเวอร์ชัน)
- ระยะเวลาการจัดเก็บและการกำจัด
• เอกสารสารสนเทศต้นฉบับจากภายนอกที่กำหนดโดยองค์กรว่าจำเป็นสำหรับการวางแผนและการดำเนินการ
ของระบบ EnMS ต้องได้รับการชี้บ่งตามความเหมาะสมและควบคุม
Note: การเข้าถึง หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับสิทธิ์ในการทบทวนข้อมูลหรืออนุญาตและให้อำนาจในการอ่าน
และการปรับเปลี่ยนเอกสารสารสนเทศ เป็นต้น 85
เรื่อง: การควบคุมเอกสาร และข้อมูล

EnP-EnMR-001

86
DCO/MR

MR

87
MR

88
8. Operation: การดำเนินการ, การปฏิบัติ

8.1 Operational planning and control


การวางแผน การปฏิบัติ และการควบคุม
8.2 Design
การออกแบบ
8.3 Procurement
การจัดหา/จัดซื้อ

89
8.1 Operational planning and control: การวางแผน การปฏิบัติ และการควบคุม

• องค์กรต้องวางแผนการปฏิบัติและควบคุมกระบวนการที่สัมพันธ์กับ SEUs
(See6.3) จำเป็นต้องสอดคล้องกับข้อกำหนด และการกำหนดการปฏิบัติโดย
a. จัดทำเกณฑ์สำหรับกระบวนการรวมถึงประสิทธิภาพการปฏิบัติ และการบำรุง
รักษา สิ่งอำนวยความสะดวก เครื่องจักร/อุปกรณ์, ระบบและกระบวนการการ
ใช้พลังงาน ซึ่งมีผลสามารถทำให้เบี่ยงเบนอย่างมีนัยสำคัญต่อสมรรถนะด้าน
พลังงาน
b. สื่อสาร (See 7.4) เกณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับบุคลากรผู้ปฏิบัติภายใต้การควบคุม
โดยองค์กร
c. ควบคุมการปฏิบัติในกระบวนการให้สอดคล้องกับเกณฑ์ รวมถึงการปฏิบัติ
การและรวมทั้งการบำรุงรักษาสิ่งอำนวยความสะดวก เครื่องจักร/อุปกรณ์
ระบบและกระบวนการใช้พลังงาน ให้สอดคล้องกับเกณฑ์ที่จัดทำไว้

90
8.1 Operational planning and control: การวางแผนการปฏิบัติ และการควบคุม

d. จัดเก็บเอกสารสารสนเทศ (See 7.5) ตามความจำเป็น เพื่อให้


มั่นใจว่ากระบวนการได้ดำเนินไปตามที่วางแผนไว้
• องค์กรต้องควบคุมแผนการเปลี่ยนแปลง และคำนึงถึงผลกระ
ทบที่ตามมาจากการเปลี่ยนแปลงที่ไม่ได้ตั้งใจ ปฏิบัติการเพื่อ
บรรเทาผลกระทบในทางตรงข้าม ถ้าจำเป็น
• องค์กรต้องมั่นใจว่ากระบวนการจากภายนอก SEUs หรือ
กระบวนการที่สัมพันธ์กับ SEUs (See 6.3) ได้ถูกควบคุม

91
8.2 Design: การออกแบบ
• องค์กรต้องพิจารณาโอกาสการปรับปรุงสมรรถนะด้านพลังงาน และการ
ควบคุมในการปฏิบัติการออกแบบ ของระบบใหม่ การดัดแปลง การ
ปรับปรุงใหม่ของสิ่งอำนวยความสะดวก (facilities) เครื่องจักร/อุปกรณ์
ระบบและกระบวนการใช้พลังงานที่สามารถมีผลกระทบต่อสมรรถนะด้าน
พลังงานอย่างมีนัยสำคัญ มากกว่า แผนหรืออายุการใช้งานที่คาดหวังไว้
• เมื่อมีการประยุกต์ใช้ การพิจารณาผลลัพธ์ของสมรรถนะด้านพลังงานต้อง
รวมเข้ากันกับข้อกำหนดเฉพาะ กิจกรรมการออกแบบและการจัดซื้อ/จัดหา
• องค์กรต้องจัดเก็บเอกสารสารสนเทศของกิจกรรมการออกแบบที่เกี่ยวข้อง
กับสมรรถนะด้านพลังงาน (See 7.5)

92
8.3 Procurement: การจัดหา/จัดซื้อ
• องค์กรต้องจัดทำ นำไปปฏิบัติ เกณฑ์สำหรับประเมินสมรรถนะพลังงาน นอกเหนือจาก
แผนหรืออายุการใช้งานที่คาดหวังไว้ เมื่อจัดซื้อจัดหา พลังงานที่ใช้ในผลิตภัณฑ์
เครื่องจักร/อุปกรณ์ และบริการ ที่คาดว่าจะมีผลกระทบอย่างมีนัยยะสำคัญต่อสมรรถนะ
ด้านพลังงานขององค์กร
• เมื่อมีการ จัดซื้อ/จัดหา พลังงานที่ใช้ในผลิตภัณฑ์, เครื่องจักร/อุปกรณ์ และบริการที่มี
หรือสามารถมีผลกระทบต่อ SEU(s) องค์กรต้องแจ้งข้อมูลให้ผู้ขาย/ผู้ส่งมอบ ทราบว่า
สมรรถนะด้านพลังงานเป็ นหนึ่งในเกณฑ์ในการประเมินสำหรับการจัดซื้อ/จัดหา
• เมื่อมีการประยุกต์ใช้ องค์กรต้องกำหนด และสื่อสารข้อกำหนดเฉพาะเพื่อ
a. มั่นใจถึงสมรรถนะด้านพลังงานในการจัดซื้อ/จัดหา อุปกรณ์/เครื่องจักรและบริการ
b. การจัดซื้อพลังงาน
93
9. Performance evaluation: การประเมินสมรรถนะ

9.1 Monitoring measurement, analysis and evaluation of energy


performance and the EnMS
9.2 Internal audit
9.3 Management review

94
9.1 Monitoring, measurement, analysis and evaluation of energy performance and the EnMs: การเฝ้ า
ติดตาม, การวัด, การวิเคราะห์, และการประเมินสมรรถนะด้านพลังงาน และระบบการจัดการพลังงาน (EnMS)

9.1.1 General: ทั่วไป


• องค์กรต้องกำหนดสมรรถนะด้านพลังงาน และระบบ EnMS
a. อะไรที่จำเป็นต้องเฝ้ าติดตาม และวัดผล รวมถึงอย่างน้อยต้องติดตามคุณลักษณะที่
สำคัญ ดังนี้
1. ประสิทธิผลของแผนปฏิบัติเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์และเป้ าหมายด้านพลังงาน
2. EnPI(s)
3. การดำเนินการกับ SEUs
4. ผลที่เกิดขึ้นจริงเทียบกับปริมาณการใช้พลังงาน
b. วิธีการสำหรับ เฝ้ าติดตาม การวัด การวิเคราะห์ และการประเมินที่เหมาะสมเพื่อมั่นใจ
ว่าผลลัพธ์ถูกต้อง
c. เมื่อไรที่การเฝ้ าติดตามและวัดผลต้องปฎิบัติ
d. เมื่อไรที่ผลลัพธ์จากการเฝ้ าติดตามและการวัดต้องวิเคราะห์ และประเมินผล

95
9.1 Monitoring, measurement, analysis and evaluation of energy performance and the EnMs: การเฝ้ า
ติดตาม, การวัด, การวิเคราะห์, และการประเมินสมรรถนะด้านพลังงาน และระบบการจัดการพลังงาน (EnMS)

• องค์กรต้องประเมินสมรรถนะด้านพลังงาน และประสิทธิผลของระบบ
EnMS (See 6.6 )
• การปรับปรุงสมรรถนะด้านพลังงานต้องประเมินโดยเปรียบเทียบกับ
ค่า EnPI กับที่สอดคล้องกับ EnB (s) (See 6.5)
• องค์กรต้องสอบสวนและตอบสนองต่อความผันแปรอย่างมีนัยสำคัญ
ของสมรรถนะด้านพลังงาน องค์กรต้องจัดเก็บเอกสารสารสนเทศ
ของผลลัพธ์ในการสอบสวนและการตอบสนอง (See 7.5)
• องค์กรต้องจัดเก็บเอกสารสารสนเทศที่เหมาะสมของผลลัพธ์จากการ
เฝ้ าติดตาม และการวัดผล (See 7.5)

96
97
98
9.1 Monitoring, measurement, analysis and evaluation of energy performance and the EnMs: การเฝ้ า
ติดตาม, การวัด, การวิเคราะห์, และการประเมินสมรรถนะด้านพลังงาน และระบบการจัดการพลังงาน (EnMS)

9.1.2 Evaluation of compliance with legal requirement and


other requirement
การประเมินความสอดคล้องกับกฎหมาย และข้อกำหนดอื่นๆ
• เมื่อวางแผนตามช่วงเวลา องค์กรต้องประเมินความ
สอดคล้องกับกฎหมายและข้อกำหนดอื่นๆ (See 4.2) ที่
เกี่ยวข้องกับประสิทธิภาพพลังงาน, การใช้พลังงาน, ปริมาณ
การใช้พลังงานและระบบ EnMS
• องค์กรต้องจัดเก็บเอกสารสารสนเทศผลการประเมินความ
สอดคล้อง และการดำเนินการปฏิบัติการต่างๆ
99
100
101
102
แบบประเมินความสอดคล้อง กฎหมาย ข้อกำหนด อื่นๆ
กฎหมายเรื่อง: มาตรฐาน หลักเกณฑ์ และข้อกำหนดในการจัดการพลังงานในโรงงาน อาคารควบคุม ปี 2552
ความเกี่ยวข้อง การประเมินความสอดคล้อง ความถี่
ข้อ ข้อกำหนดที่ต้องปฏิบัติ ผู้รับผิดชอบ ผู้ประเมิน
เกี่ยวข้อง ไม่เกี่ยวข้อง สอดคล้อง ไม่สอดคล้อง 1 2 3 4


1 จัดทำรายงานการจัดการพลังงาน ผชร.   สมศักดิ์

ประธาน คณะ 
2 แต่งตั้งคณะทำงานด้านพลังงาน   สมศักดิ์
ทำงาน

   
3 ประชุมคณะทำงานทุกๆ 3 เดือน คณะทำงาน  สมศักดิ์

   
4 จัดการพลังงาน 8 ขั้นตอน คณะทำงาน   สมศักดิ์


5 ตรวจสอบจากผู้ตรวจภายนอก ผชร.   สมศักดิ์


6 ส่งรายงานให้ พพ. ภายใน มีนาคมของทุกปี ผชร.   สมศักดิ์

103
9.2 Internal Audit : การตรวจติดตามภายใน
9.2.1
• องค์กรต้องดำเนินการตรวจติดตามภายใน EnMSตามช่วงเวลาที่วางแผนไว้ เพื่อหา
สารสนเทศของระบบการจัดการ EnMS
a. ปรับปรุงสมรรถนะด้านพลังงาน
b. สอดคล้องต่อ
- ข้อกำหนดขององค์กรสำหรับระบบการจัดการ EnMS
- นโยบายด้านพลังงาน วัตถุประสงค์และเป้ าหมายด้านพลังงานที่จัดทำโดยองค์กร
- ข้อกำหนดของมาตรฐานนานาชาติฉบับนี้
C. มีการนำไปปฏิบัติและธำรงรักษาอย่างมีประสิทธิภาพ

104
9.2 Internal Audit : การตรวจติดตามภายใน
9.2.2
องค์กรต้อง
a. วางแผน จัดทำ นำไปปฏิบัติ รักษาไว้ซึ่งโปรแกรมการตรวจ รวมถึง ความถี่ วิธีการ ความรับผิดชอบ ข้อ
กำหนดการวางแผนและการรายงานผลต้อง พิจารณาความสำคัญของกระบวนการที่เกี่ยวข้องและผล
การตรวจครั้งที่ผ่านมา
b. กำหนดเกณฑ์การตรวจและขอบข่ายการตรวจแต่ละครั้ง
c. เลือกผู้ตรวจติดตามและดำเนินการตรวจ เพื่อให้มั่นใจว่าวัตถุประสงค์และความเป็นกลางของ
กระบวนการตรวจ
d. มั่นใจว่าผลการตรวจติดตามถูกรายงานถึงฝ่ ายบริหารที่เกี่ยวข้อง
e. ปฏิบัติการ ดำเนินการอย่างเหมาะสมตามข้อกำหนด (ดูข้อ 10.1 และ 10.2)
f. จัดเก็บเอกสารสารสนเทศเป็นหลักฐานในการปฏิบัติของโปรแกรมการตรวจและผลการตรวจ

105
กิจกรรม
Internal
Audit
ใบ
Certificat
e Internal
Audit
106
EnMR

107
EnMR

108
109
110
9.3 Management Review: การทบทวนโดยฝ่ ายบริหาร

9.3.1 ผู้บริหารระดับสูงต้องทบทวนระบบ EnMS ขององค์กรตาม


ช่วงเวลาที่วางแผนไว้ เพื่อให้มั่นใจว่ามีความเหมาะสมเพียงพอ
ต่อเนื่อง มีประสิทธิผลและแนวทางกับทิศทางกลยุทธ์ของ
องค์กร

111
9.3 Management Review: การทบทวนโดยฝ่ ายบริหาร
9.3.2 การทบทวนฝ่ ายบริหารต้องรวมถึงการพิจารณา
a. สถานะของปฏิบัติการจากการประชุมครั้งที่ผ่านมา
b. การเปลี่ยนแปลง ประเด็นภายนอก/ภายใน และความเสี่ยง, โอกาสที่
สัมพันธ์กับ EnMS
c. จัดทำข้อมูลสมรรถนะของ EnMS รวมถึงแนวโน้มของ
1.สิ่งที่ไม่เป็นไปตามข้อกำหนด และการปฏิบัติแก้ไข
2.ผลการเฝ้ าติดตามและการตรวจวัด
3.ผลการตรวจติดตาม
4.ผลการประเมินความสอดคล้องกับกฎหมาย และข้อกำหนดอื่นๆ
d. โอกาสรวมถึงความสามารถสำหรับการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
e. นโยบายด้านพลังงาน

112
9.3 Management Review: การทบทวนโดยฝ่ ายบริหาร

9.3.3 ข้อมูลสมรรถนะด้านพลังงานนำเข้าที่ประชุมฝ่ายบริหารต้องรวมถึง
- ขอบเขตของวัตถุประสงค์ และเป้ าหมายด้านพลังงานที่บรรลุ
- สมรรถนะด้านพลังงาน และสมรรถนะด้านพลังงานที่ปรับปรุงบนพื้น
ฐานผลการเฝ้ าติดตามและตรวจวัด รวมถึง EnPI(s)
- สถานะของแผนปฏิบัติ (Action plan)

113
9.3 Management Review: การทบทวนโดยฝ่ ายบริหาร
9.3.4 ผลลัพธ์การทบทวนฝ่ ายบริหารต้องรวมถึงการตัดสินใจที่เกี่ยวข้องกับโอกาสการปรับปรุง
อย่างต่อเนื่อง และความจำเป็นใดๆในการเปลี่ยนแปลงเพื่อระบบ EnMS รวมถึง
a. โอกาสสำหรับการปรับปรุงสมรรถนะด้านพลังงาน
b. นโยบายด้านพลังงาน
c. EnPI(s) หรือ EnB(s)
d. วัตถุประสงค์ เป้ าหมายด้านพลังงาน แผนปฏิบัติ หรือหัวข้ออื่นๆ ของ EnMS และการ
ปฏิบัติการเมื่อผลไม่บรรลุเป้ าหมาย
e. โอกาสสำหรับการปรับปรุงในการบูรณาการเข้ากับกระบวนการทางธุรกิจ
f. การจัดสรรทรัพยากร
g. การปรับปรุงความสามารถ, ความตระหนัก และการสื่อสาร
•องค์กรต้องจัดเก็บเอกสารสารสนเทศเพื่อเป็นหลักฐานผลการทบทวนฝ่ ายบริหาร

114
115
รูปภาพ การประชุม
ฝ่ ายบริหาร

116
117
10. Improvement: การ
ปรับปรุง
10.1 Nonconformity and corrective action
สิ่งที่ไม่เป็นไปตามข้อกำหนดและการปฏิบัติการแก้ไข
• เมื่อเกิดสิ่งที่ไม่เป็นไปตามข้อกำหนดองค์กรต้อง
a. ตอบสนองต่อสิ่งที่ไม่เป็นไปตามข้อกำหนด อย่างเหมาะสม
1. ปฏิบัติการเพื่อการควบคุมและแก้ไข
2. ดำเนินการกับผลที่ตามมา
b. ประเมินความจำเป็นในการปฏิบัติเพื่อกำจัดสาเหตุของสิ่งที่ไม่เป็นไปตาม
ข้อกำหนด เพื่อป้ องกันการเกิดซ้ำหรือเกิดขึ้นที่อื่น โดย
3. ทบทวนสิ่งที่ไม่เป็นไปตามข้อกำหนด
4. พิจารณาหาสาเหตุของสิ่งที่ไม่เป็นไปตามข้อกำหนด
5. พิจารณาหาสิ่งที่ไม่เป็นไปตามข้อกำหนดที่คล้ายคลึงกันหรือสามารถ
มีแนวโน้มที่จะเกิดขึ้นได้
118
10.1 Nonconformity and corrective action: สิ่งที่ไม่เป็นไปตามข้อกำหนดและการ
ปฏิบัติการแก้ไข

c. ปฏิบัติการเพื่อดำเนินการใดๆที่จำเป็น
d. ทบทวนประสิทธิผลของการปฏิบัติการแก้ไขใดๆที่ได้ดำเนินการไปแล้ว
e. เปลี่ยนแปลงระบบ EnMS ถ้าจำเป็น
•การปฏิบัติการแก้ไขต้องเหมาะสมกับผลกระทบของสิ่งที่ไม่เป็นไปตามข้อ
กำหนด
•องค์กรต้องจัดเก็บเอกสารสารสนเทศ
- ธรรมชาติของสิ่งที่ไม่เป็นไปตามข้อกำหนดและการดำเนินการที่ตามมา
- ผลของการปฏิบัติการแก้ไขใดๆ

119
10.2 Continual improvement: การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง

• องค์กรต้องมีการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องเหมาะสมและ
เพียงพอ และมีประสิทธิผลของระบบ EnMS
• องค์กรต้องการปรับปรุงสมรรถนะด้านพลังงานอย่างต่อ
เนื่อง

120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
สามารถติดต่อ
Q&Aได้ที่
aj8303101
มือถือ 081-8303101
โทรศัพท์ 02-7102138, 02-
7102896
โทรสาร 02-7537452
ถาม-ตอบ E-mail :
qaquality@hotmail.com
Facebook
132
: qa quality
Code
สำหรับ ทำแบบทดสอบ
AJXX
ความเสี่ยงและโอกาส IATF 16949/ISO 9001

133
14001:2004

ขั้นตอนการอบรมออนไลน์
14001:2004

ทำข้อสอบเสร็จแล้ว
ก่อนกด ส่ง ให้ท่านกลับมาทบทวนความถูกต้องของข้อมูลอีกครั้ง

กดส่งเพียง 1 ครั้ง
เท่านั้น !!!

กรอกชื่อ นามสกุล เป็ นภาษาอังกฤษ


กรอก Code ให้ถูกต้อง
กรอก e mail ให้ถูกต้อง
สามารถติดต่อ aj081098
มือถือ 081-
Q&Aได้ที่ 8303101/0982835098
โทรศัพท์ 02-7102138, 02-
7102896
โทรสาร 02-7537452
E-mail :
qaquality@hotmail.com
ถาม-ตอบ Facebook : qa quality
13 www.qaquality.c
o.th
6
ISO 14001

COMPANY PROFILE
INTERNATIONAL MARKET
ISO 45001 IATF 16949 ISO 22000 LEADER SHIP
GMP
ISO 14001 HACCP TEAM WORK
GOOD COMMUNICATION
SA 8000 ISO 9001 BRC IFS PROFIT
Q&A
Q&A QUALITY AND CALIBRATION CO., LTD.
50/46,52 MOO 2 T.BANGKAEW
A.BANGPLEE SAMUTPRAKARN 10540
TEL.02-7102138, 02-7102896 Fax. 02-7537452
www.qaquality.co.th e-mail : qaquality@hotmail.com

06-01-2012 137
25-08-2011 ISO 9001/GMP 137

You might also like