You are on page 1of 40

บริษัท เพาเวอร์ โซลูช่ นั เทคโนโลยี จากัด (มหาชน)

2. ลักษณะการประกอบธุรกิจ

โครงสร้ างรายได้ ของการประกอบธุรกิจของแต่ ละสายผลิตภัณฑ์


การประกอบธุรกิจของบริ ษัทและบริ ษัทย่อยสามารถแบ่งออกตามประเภทของการดาเนินธุรกิ จเป็ น 3 ธุรกิจหลัก
ได้ แก่ 1) ธุรกิจออกแบบ จาหน่าย และติดตังระบบจ่
้ ายไฟฟ้าและตรวจวัดจัดการสภาพแวดล้ อม 2) ธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงาน
ทดแทน และ 3) ธุรกิจจาหน่ายและขนส่งผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมเหลว โดยโครงสร้ างรายได้ ตามแต่ละประเภทของการดาเนิน
ธุรกิจในปี 2560 ปี 2561 และงวดเก้ าเดือนสิ ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2562 เป็ นดังนี ้
(หน่วย:ล้ านบาท)
งวดเก้ าเดือนสิน้ สุด
ปี 2560 ปี 2561
รายได้ วันที่ 30 กันยายน 2562
มูลค่ า ร้ อยละ มูลค่ า ร้ อยละ มูลค่ า ร้ อยละ
1. ธุรกิจออกแบบ จาหน่าย และติดตังระบบจ่
้ าย 559.18 41.04 597.13 19.42 457.47 8.00
ไฟฟ้าและตรวจวัดจัดการสภาพแวดล้ อม
2. ธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน 462.91 33.97 387.40 12.97 337.68 5.90
3. ธุรกิจจาหน่ายและขนส่งผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมเหลว 305.631/ 22.43 1,961.69 65.68 1,520.62 26.59
4. รายได้ จากการก่อสร้ าง 16.38 1.20 15.46 0.52 7.56 0.13
5. รายได้ อื่น2/ 18.56 1.36 41.96 1.41 3,395.90 59.38
รายได้ รวม 1.362.66 100 2,986.65 100 5,719.23 100.00
หมายเหตุ : 1/รายได้ ดงั กล่าวเป็ นจานวนเงินรวมตังแต่
้ วนั ที่บริษัทฯเข้ าซื ้อกิจการจนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2560
2/
รายได้ อื่น ประกอบด้ วยดอกเบี ้ยรับ กาไรจากอัตราแลกเปลี่ยน กาไรจากการขายเงินลงทุนในบริษัทย่อย และรายได้ อื่นๆ

โดยลักษณะการดาเนินงานของแต่ละประเภทธุรกิจหลัก มีรายละเอียด ดังนี ้


1. ธุ รกิจออกแบบ จาหน่ าย และติดตัง้ ระบบจ่ ายไฟฟ้ าและตรวจวัดจัดการสภาพแวดล้ อมลักษณะของ
ผลิตภัณฑ์ และการบริการ
ธุรกิ จออกแบบ จาหน่าย และติดตังระบบจ่ ้ ายไฟฟ้าและตรวจวัดจัดการสภาพแวดล้ อม ครอบคลุมการบริ การ
ทังหมด

4 ประเภท ได้ แก่
1) ระบบสารองไฟฟ้า (Power Backup Solution) สาหรับอุปกรณ์ และระบบสื่อสารโทรคมนาคมเป็ นหลัก ที่ต้องการ
ความต่อเนื่องในการทางาน
2) ระบบตรวจวัดและจัดการสภาพแวดล้ อม (Power and Environment Monitoring Solution) ทาหน้ าที่ตรวจวัด
ประมวลผล เก็บข้ อมูล และแสดงผลของสภาวะระบบสิง่ แวดล้ อมต่างๆ
3) ระบบผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน ดาเนินการออกแบบ จาหน่าย ติดตังระบบผลิ ้ ตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน
โดยให้ บริ การในลักษณะวิศวกรรมจัดหา ก่อสร้ าง (EPC) และแบบเบ็ดเสร็ จทังโครงการ
้ (Turn Key Project)
4) ระบบประหยัดพลังงาน (Energy Saving Solution) และระบบอื่นๆ ให้ บริ การการประหยัดพลังงานสาหรับพลังงาน
ไฟฟ้า โดยมุง่ เน้ นไปยังองค์กรที่มีคา่ ใช้ จ่ายไฟฟ้าสูง

ส่วนที่ 3.1.2 – ลักษณะการประกอบธุรกิจ หน้ า 1


บริษัท เพาเวอร์ โซลูช่ นั เทคโนโลยี จากัด (มหาชน)

1.1 ระบบสารองไฟฟ้ า (Power Backup Solution)


ระบบสารองไฟฟ้าที่บริ ษัทจาหน่ายและให้ บริ การ แบ่งออกเป็ นสองประเภทหลักๆ ได้ แก่ ก) ระบบสารองไฟฟ้า
กระแสตรง และ ข) ระบบสารองไฟฟ้ากระแสสลับ
ก) ระบบสารองไฟฟ้ ากระแสตรง (DC Power Supply)
บริ ษัทจาหน่ายและให้ บริ การระบบสารองไฟฟ้ากระแสตรงสาหรับอุปกรณ์และระบบสื่อสารโทรคมนาคมเป็ นหลัก
เนื่องจากระบบสื่อสารโทรคมนาคม เช่น ระบบชุมสายโทรศัพท์ Fixed-Line Application, Wireless Broadband, สถานีฐาน
Mobile Base Station และ/หรื อระบบเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต Internet Backbone เป็ นต้ น โดยระบบดังกล่าวต้ องการความ
ต่อเนื่องในการทางาน อีกทังอุ
้ ปกรณ์ต่างๆในระบบมีราคาสูง ซึ่งหากเกิดความผิดปกติในระบบไฟฟ้า เช่น แรงดันไฟฟ้าตก
หรื อกระชาก หรื อกระแสไฟฟ้าดับ อาจก่อให้ เกิดความเสียหายโดยตรงแก่อปุ กรณ์และความเสียหายโดยอ้ อมจากการที่ร ะบบ
หยุดทางานได้ ระบบสารองไฟฟ้าจึงมีความสาคัญกับระบบโทรคมนาคมอย่างมาก โดยทาหน้ าที่ป้องกันความผิดปกติจาก
ระบบไฟฟ้า และทาให้ กระแสไฟฟ้าที่เข้ าสู่ระบบมีเสถียรภาพและเหมาะสมแก่การทางานของอุปกรณ์ ต่างๆมากขึ ้น โดย
อุปกรณ์ ระบบสารองไฟฟ้ายังได้ รับการออกแบบให้ มีขนาดเล็ก น ้าหนักเบา และมีลกั ษณะเป็ นหน่วยแยกส่วน (Module)
สามารถท าการต่อ ขยายได้ อ ย่างสะดวกสาหรับ รองรับ การใช้ งานเพิ่ ม เติม ในอนาคต สามารถท าการต่อ ขนานเพื่ อเพิ่ ม
เสถียรภาพในการทางาน (Redundant) และสามารถควบคุมทางไกลโดยระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ได้ ทาให้ เหมาะสมกับ
โครงการหรื อระบบโทรคมนาคมโดยเฉพาะ
ทังนี
้ ้ ส่วนประกอบของระบบสาหรับแต่ละโครงการจะต่างกัน โดยบริ ษัทจะทาการศึกษาความต้ อ งการของผู้วา่ จ้ าง
ให้ คาปรึ กษา ออกแบบระบบสารองไฟฟ้าให้ มีประสิทธิภาพ เหมาะสมกับระบบสื่อสารโทรคมนาคมที่ผ้ วู ่าจ้ างกาหนด โดย
เลือกอุปกรณ์ตา่ งๆ ตามความเหมาะสม ซึ่งประกอบด้ วยอุปกรณ์หลัก ดังนี ้

อุปกรณ์แปลงไฟฟ้ากระแสสลับเป็ นไฟฟ้ากระแสตรง (Rectifier)


เป็ นอุป กรณ์ ที่ ท าหน้ าที่ แ ปลงสัญ ญาณไฟฟ้ า กระแสสลับ เป็ นกระแสตรง เพื่ อ ท าหน้ าที่ จ่ า ยไฟเข้ า อุป กรณ์
โทรคมนาคมที่ใช้ ไฟฟ้ากระแสตรง พร้ อมกับจ่ายไฟฟ้าเพื่อใช้ ในการสารองประจุไฟฟ้าในแบตเตอรี่ โดยอุปกรณ์แปลงไฟฟ้า
กระแสสลับเป็ นไฟฟ้ากระแสตรงสาหรับระบบสือ่ สารโทรคมนาคมจะแตกต่างจากระบบทัว่ ไป เนื่องจากอุปกรณ์ดงั กล่าวจะมี
สายดินที่เป็ นประจุบวก (Positive Ground)

ตัวอย่ าง อุปกรณ์ แปลงไฟฟ้ ากระแสสลับเป็ นไฟฟ้ ากระแสตรงที่บริษัทจาหน่ ายและให้ บริการ

ส่วนที่ 3.1.2 – ลักษณะการประกอบธุรกิจ หน้ า 2


บริษัท เพาเวอร์ โซลูช่ นั เทคโนโลยี จากัด (มหาชน)

อุปกรณ์แปลงไฟฟ้ากระแสสลับเป็ นไฟฟ้ากระแสตรงพร้ อมแบตเตอรี่ สารองไฟ (Energy Hub)


เป็ นอุปกรณ์ที่ทาหน้ าที่แปลงสัญญาณไฟฟ้าแบบผสมผสาน (DC Hybrid Power Supply) กล่าวคือทาหน้ าที่เป็ น
อุปกรณ์แปลงไฟฟ้ากระแสสลับเป็ นไฟฟ้ากระแสตรง (Rectifier) สาหรับระบบสื่อสารโทรคมนาคม แต่ได้ เพิ่มความสามารถ
ในการสารองไฟฟ้าภายในตัวอุปกกรณ์ ในลักษณะเป็ น Energy Pack แบบ Lithium Ion ที่สามารถเพิ่มความจุแบตเตอรี่ ได้
ตามความต้ อ งการในอนาคต โดยอุป กรณ์ มีป ระสิท ธิ ภาพสูง ประหยัดพื น้ ที่ ในการติ ดตัง้ แบตเตอรี่ ทัง้ ยังมี น า้ หนัก เบา
สามารถประยุกต์ใช้ งานนอกสถานที่ได้ อย่างง่ายดาย

ตัวอย่ าง อุปกรณ์ แปลงไฟฟ้ ากระแสสลับเป็ นไฟฟ้ ากระแสตรงพร้ อมแบตเตอรี่สารองไฟ ที่บริษัทจาหน่ ายและให้ บริการ

ทังอุ
้ ปกรณ์แปลงไฟฟ้ากระแสสลับเป็ นไฟฟ้ากระแสตรง (Rectifier) และอุปกรณ์ แปลงไฟฟ้ากระแสสลับเป็ นไฟฟ้า
กระแสตรงพร้ อมแบตเตอรี่ สารองไฟ (Energy Hub) โดยบริ ษัทได้ รับการแต่งตังให้
้ เป็ นตัวแทนจาหน่ายของอุปกรณ์ แปลง
ไฟฟ้ากระแสสลับเป็ นไฟฟ้ากระแสตรงตรา Enatel จากบริ ษัท Enatel Ltd. (ประเทศนิวซีแลนด์) ซึง่ เป็ นผู้ผลิตอุปกรณ์ในด้ าน
ระบบพลังงานสาหรับระบบสื่อสารโทรคมนาคม อุตสาหกรรม รวมถึงระบบพลังงานสาหรับโรงไฟฟ้าแสงอาทิตย์ ที่มีการ
จาหน่ายไปยังภูมิภาคต่างๆทัว่ โลก และผ่านการรับรองระบบคุณภาพ ISO 9001:2008 และมาตรฐานการจัดการสิง่ แวดล้ อม
ISO 14001:2004

แบตเตอรี่ (Battery)
แบตเตอรี่ เป็ นอุปกรณ์ สาหรับเก็บประจุไฟฟ้าในระบบสารองไฟฟ้า โดยจะทาหน้ าที่กักเก็บประจุไฟฟ้ากระแสตรง
จากอุปกรณ์แปลงไฟฟ้ากระแสสลับเป็ นไฟฟ้ากระแสตรง (Rectifier) ในขณะที่แหล่งจ่ายไฟฟ้าทางานปกติ และจะทาหน้ าที่
จ่ายไฟฟ้ากระแสตรงไปยังระบบขณะที่แหล่งจ่ายไฟฟ้าหยุดทางาน ซึง่ จะควบคุมโดยวงจรสวิตซ์ในระบบ ซึง่ จะมีขนาดความ
จุไฟฟ้าและคุณสมบัติแตกต่างกันตามความเหมาะสมในการใช้ งาน โดยชนิดของแบตเตอรี่ ที่บริ ษัทให้ บริ การและจัดจาหน่าย
เป็ นประเภทแบตเตอรี่ ตะกัว่ -กรดแบบปิ ดผนึก (Sealed Lead Acid Battery) และประเภท Tubular ทังชนิ ้ ด Sealed Type
และ Vented Type ที่เหมาะสาหรับระบบสื่อสารโทรคมนาคม ซึง่ เป็ นแบตเตอรี่ ที่ต้องการการบารุ งรักษาต่า อายุการใช้ งาน
ยาวนาน และมี ไอกรดที่จะท าให้ เกิ ดความเสียหายแก่อุปกรณ์ ต่ ามาก โดยบริ ษั ทได้ รับ การแต่งตัง้ เป็ นตัวแทนจาหน่าย
แบตเตอรี่ ตรา HAZE จากบริ ษัท Haze Battery Co., Ltd. (สาธารณรัฐประชาชนจีน) ตรา Shoto จากบริ ษัท Shuangdeng
Group Co.,Ltd. (สาธารณรัฐประชาชนจีน) และตรา SEC จากบริ ษัท SEC Industrial Battery International Limited. (เขต
บริ หารพิเศษฮ่องกงแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน/ สหราชอาณาจักร)

ตัวอย่ าง แบตเตอรี่ ทัง้ ชนิด Sealed Type และ Vented Type ที่บริษัทจาหน่ ายและให้ บริการ

ส่วนที่ 3.1.2 – ลักษณะการประกอบธุรกิจ หน้ า 3


บริษัท เพาเวอร์ โซลูช่ นั เทคโนโลยี จากัด (มหาชน)

นอกจากนี ้บริ ษัทยังให้ บริ การและจัดจาหน่าย Battery ชนิด Lithium Ion โดยเป็ นแบบเดียวกับที่ใช้ ในรถยนต์ไฟฟ้า
(Electric Vehicle) ปั จจุบนั แบตเตอรี่ ชนิดนี ้ ได้ รับความนิยมมากขึ ้น ทังแบบที
้ ่ใช้ ร่วมกับระบบสารองไฟฟ้า (UPS), ระบบ
ส ารองไฟฟ้ า พลัง งานแสงอาทิ ต ย์ (Hybrid Solar System) และระบบกั ก เก็ บ พลัง งานไฟฟ้ า (ESS) อั น เนื่ อ งจากมี
ประสิทธิภาพในการอัด/คายประจุสงู (Cycle Life) อายุการใช้ งานยาวนาน (Durable) น ้าหนักเบา (Light Weight ) และมี
ขนาดเล็กกว่าแบตเตอรี่ ทั่วไปมากเมื่อเที่ยบที่ขนาดความจุเท่ากัน สามารถติดตังในสภาพแวดล้้ อมหลากหลาย มีความ
ปลอดภัยสูง อีกทังราคาที
้ ่ถกู ลง

ตัวอย่ าง เปรียบเทียบแบตเตอรี่ ทัง้ ชนิด Sealed Type และ Vented Type กับแบตเตอรี่ชนิด Lithium Ion

โดยแบตเตอรี่ Lithium Ion มาพร้ อมกับระบบควบคุม (Battery Management System) ติดตังภายใน


้ Rack 19”
จึงทาให้ สะดวก รวดเร็ ว และเป็ นระเบียบ พร้ อมความสามารถในการตรวจสอบและแจ้ งเหตุผิดปกติได้ ตลอด 24 ชัว่ โมง ทาให้
ทังในหน่
้ วยงานราชการและเอกชนให้ ความสนใจเป็ นอย่างมาก

ส่วนที่ 3.1.2 – ลักษณะการประกอบธุรกิจ หน้ า 4


บริษัท เพาเวอร์ โซลูช่ นั เทคโนโลยี จากัด (มหาชน)

ตัวอย่ าง แบตเตอรี่ Lithium Ion ที่บริษัทจาหน่ ายและให้ บริการ


ข) ระบบสารองไฟฟ้ ากระแสสลับ
ระบบสารองไฟฟ้ากระแสสลับ มีอปุ กรณ์หลัก คือ อุปกรณ์สารองไฟฟ้าและปรับแรงดันไฟฟ้าอัตโนมัติ
(Uninterruptible Power Supply หรื อ UPS) ซึง่ เป็ นอุปกรณ์ที่ประกอบด้ วย วงจรแปลงไฟฟ้ากระแสสลับเป็ นไฟฟ้า
กระแสตรง (Rectifier) แบตเตอรี่ (Battery) วงจรแปลงไฟฟ้ากระแสตรงเป็ นไฟฟ้ากระแสสลับ (Inverter) ซึง่ ในช่วงเวลาทีม่ ี
กระแสไฟฟ้าปกติ กระแสไฟฟ้าจะถูกจ่ายไปยังอุปกรณ์ ไฟฟ้าที่ต้องการ พร้ อมกับเข้ าสูว่ งจรแปลงไฟฟ้ากระแสสลับเป็ นไฟฟ้า
กระแสตรงเพื่อจ่ายไฟเข้ าไปสารองในแบตเตอรี่ เมื่อแหล่งจ่ายไฟฟ้าหยุดทางาน วงจรสวิตซ์จะปรับวงจรให้ แบตเตอรี่ ทาการ
จ่ายไฟฟ้ากระแสตรงเข้ าสูว่ งจรแปลงไฟฟ้ากระแสตรงเป็ นไฟฟ้ากระแสสลับเพื่อจ่ายไปยังอุปกรณ์ไฟฟ้าจนกว่าแหล่งจ่าย
ไฟฟ้าทางานเป็ นปกติหรื อจนกระทัง่ กระแสไฟฟ้าในแบตเตอรี่ หมดลง
ทังนี
้ ้ เครื่ องสารองไฟฟ้าและปรับแรงดันไฟฟ้าอัตโนมัติ มีความแตกต่างกันไปตามการใช้ งานที่ต้องการ เช่น ความ
จุของแบตเตอรี่ ที่แตกต่างกัน หรื อบางประเภทไม่มีแบตเตอรี่ อยูภ่ ายในเพื่อให้ สามารถเลือกแบตเตอรี่ ที่มีคณ ุ สมบัติตามที่
ต้ องการมาเชื่อมต่อภายนอกได้ หรื อมีวงจรปรับแรงดันไฟฟ้าอัตโนมัติ (Stabilizer) ทาหน้ าทีป่ รับแรงดันไฟฟ้าให้ คงที่และ
สม่าเสมออยูใ่ นระดับที่ปลอดภัยต่ออุปกรณ์ไฟฟ้า หรื อประเภทของแหล่งจ่ายไฟเข้ าที่แตกต่างกัน เช่น กระแสไฟฟ้าเฟสเดีย ว
หรื อสามเฟส เป็ นต้ น
โดยบริ ษัทเป็ นผู้นาเข้ าและเป็ นตัวแทนจาหน่ายในประเทศไทยสาหรับเครื่ องสารองไฟฟ้าและปรับแรงดันไฟฟ้า
อัตโนมัติตรา เดลต้ า (DELTA) จากบริษัท เดลต้ า อีเลคโทรนิคส์ จากัด (ไต้ หวัน) ซึง่ เป็ นหนึง่ ในผู้นาของโลกในด้ านระบบ
จัดการกาลังไฟฟ้า ระบบสารองไฟฟ้าและปรับแรงดันไฟฟ้าอัตโนมัติ อุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์และชิ ้นส่วนของอุปกรณ์
อิเล็กทรอนิกส์สาหรับอุตสาหกรรมต่างๆ เป็ นต้ น โดยมีสานักงาน 106 แห่ง และโรงงานผลิต 31 แห่ง ทัว่ โลก และมีทีมวิจยั
และพัฒนาของเดลต้ าในอินเดียได้ เริ่ มสร้ างศักยภาพด้ านซอฟท์แวร์ ทาให้ สามารถต่อยอดพัฒนาซอฟท์แวร์ ระบบอัตโนมัติ
อุตสาหกรรม (IA) ที่ทนั สมัยได้ โดยซอฟท์แวร์ ที่พฒ ั นาขึ ้นใหม่นี ้จะเป็ นโครงสร้ างและแพลตฟอร์ มมาตรฐานสาหรับใช้ งานกับ
ผลิตภัณฑ์ตา่ งๆ ในกลุม่ นี ้ เช่น OPC-UA รวมถึง PLCOpen และเทคโนโลยี IIoT เพื่อให้ สามารถใช้ งานกับแพลตฟอร์ ม
ลักษณะเดียวกันหรื อคล้ ายคลึงกันที่มีอยูใ่ นตลาดแล้ วหรื ออยูร่ ะหว่างการพัฒนา (ที่มา : เว็บไซต์ของบริ ษัท เดลต้ า อีเลคโทร
นิคส์ จากัด http://www.deltaww.com)

ส่วนที่ 3.1.2 – ลักษณะการประกอบธุรกิจ หน้ า 5


บริษัท เพาเวอร์ โซลูช่ นั เทคโนโลยี จากัด (มหาชน)

ตัวอย่ าง อุปกรณ์ เครื่องสารองไฟฟ้ าและปรับแรงดันไฟฟ้ าอัตโนมัติท่ บี ริษัทจาหน่ ายและให้ บริการ

นอกจากนี ้ บริ ษัทยังจาหน่ายอุปกรณ์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้ องกับระบบสารองไฟฟ้า เช่น ตู้ระบบสารองไฟฟ้า และอุปกรณ์


อื่นๆ ที่ เป็ นส่วนประกอบของระบบสารองไฟฟ้าโดยจะท าการออกแบบระบบให้ เหมาะสมกับอุปกรณ์ และระบบสื่อสาร
โทรคมนาคมที่จะนาระบบดังกล่าวไปใช้ โดยกลุม่ ลูกค้ าเป้าหมายของธุรกิจนี ้ได้ แก่ บริ ษัทหรื อองค์กรสื่อสารโทรคมนาคม
หรื อบริ ษัทที่ต้องการระบบไฟฟ้าที่มีเสถียรภาพ เช่น ธนาคารหรื อสถาบันการเงินต่างๆ เป็ นต้ น

1.2 ระบบตรวจวัดและจัดการสภาพแวดล้ อม (Power and Environment Monitoring Solution)


ระบบตรวจวัดและจัดการสภาพแวดล้ อม (Monitoring Solution) และระบบตรวจสอบและวิเคราะห์ข้อมูลแบบ
Real-time (SCADA)
ก) ระบบตรวจวัดและจัดการสภาพแวดล้ อม (Monitoring Solution)
ระบบตรวจวัดและจัดการสภาพแวดล้ อมทาหน้ าที่ตรวจวัด ประมวลผล เก็บข้ อมูล และแสดงผลของสภาวะของ
ระบบรวมถึงสิ่งแวดล้ อมต่างๆ เช่น สถานะการทางานของอุปกรณ์ และระบบต่างๆ แรงดันไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า ประจุของ
แบตเตอรี่ ความชื น้ อุณ หภูมิ ควันไฟ รวมถึงการตรวจสอบว่ามีการบุกรุ กในพืน้ ที่หรื อไม่ เป็ นต้ น รวมถึงสามารถทาการ
สื่อสารและควบคุมทางไกลผ่านระบบสื่อสารต่างๆ และสามารถทาการแจ้ งเตือนไปยังผู้ที่เกี่ยวข้ องผ่านช่ องทางต่างๆ เช่น
ระบบอินเทอร์ เน็ต หรื อข้ อความผ่านโทรศัพท์ เคลื่อนที่ได้ อีกด้ วย ทาให้ ระบบตรวจวัดและจัดการสภาพแวดล้ อม ช่วยให้
สามารถป้องกันความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ ้นจากความผิดปกติต่างๆได้ ทนั ท่วงที เช่น ไฟฟ้าดับ ไฟไหม้ หรื อความผิดปกติ
ของระบบไฟฟ้า เป็ นต้ น อีกทัง้ ยังสามารถประหยัดค่าใช้ จ่ายในส่วนของบุคลากรที่ต้องใช้ ในการควบคุมดูแลได้ โดยระบบ
ตรวจวัดและจัดการสภาพแวดล้ อมประกอบด้ วยส่วนประกอบหลัก 3 ส่วน ได้ แก่
1) อุปกรณ์เก็บข้ อมูลและแสดงผล (Monitoring and Display Unit)
2) อุปกรณ์ตรวจวัด (Sensor Unit)
3) โปรแกรมตรวจวัดและจัดการสภาพแวดล้ อม (Monitoring Software)
โดยอุปกรณ์ตรวจวัดต่างๆ เช่น เครื่ องวัดแรงดันไฟฟ้า เครื่ องตรวจจับอุณหภูมิ เครื่ องตรวจจับควันไฟ จะทาหน้ าที่
ตรวจวัด ค่ าต่ า งๆ ตามที่ ก าหนด แล้ ว ส่งค่ า ดัง กล่าวไปยัง อุป กรณ์ เก็ บ ข้ อ มูล และแสดงผล ซึ่ง จะน าข้ อ มูลดั งกล่า วมา
ประมวลผลและส่งข้ อมูลผ่านระบบเครื อข่ายต่างๆไปยังศูนย์ ค วบคุมส่วนกลาง และข้ อมูลดังกล่าว จะได้ รับการบันทึก

ส่วนที่ 3.1.2 – ลักษณะการประกอบธุรกิจ หน้ า 6


บริษัท เพาเวอร์ โซลูช่ นั เทคโนโลยี จากัด (มหาชน)

ประมวลผล และท าการแสดงผลหรื อแจ้ งเตื อ นบนโทรศัพ ท์ เคลื่อนที่ ห รื อ ทางอีเมลล์ โดยโปรแกรมตรวจวัดและจัด การ
สภาพแวดล้ อมที่บริ ษั ทได้ ทาการพัฒ นาขึน้ เอง ซึ่งได้ รั บการออกแบบให้ สามารถรองรับ อุปกรณ์ เก็ บข้ อมูลและแสดงผล
มากกว่า1,000เครื่ องต่อระบบ

ตัวอย่ าง อุปกรณ์ และหน้ าจอซอฟท์ แวร์ ระบบตรวจวัดและจัดการที่บริษัทจาหน่ ายและให้ บริการ

ข) ระบบตรวจสอบและวิเคราะห์ ข้อมูลแบบ Real-time (SCADA)


นอกจากระบบตรวจวัดและจัดการสภาพแวดล้ อม (Monitoring Solution) ทางบริ ษัทได้ นาเข้ าระบบตรวจสอบ
และวิเคราะห์ข้อมูลแบบ Real-time (SCADA) ซึ่งเป็ นโปรแกรมวิเคราะห์ประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้าในโรงไฟฟ้าพลังงาน
แสงอาทิตย์ (Enlight Solar – Comprehensive Monitoring & Control / Ensight – Advanced Performance Analytics) ที่
สามารถวิเคราะห์ สาเหตุและการแก้ ไขแบบ Real Time เพื่อให้ การบริ หารจัดการภายในโรงไฟฟ้า และการผลิตไฟฟ้าเกิ ด
ประสิท ธิ ภาพสูงสุด ทัง้ ยังสามารถบริ ห ารจัด การการใช้ ไฟฟ้า ภายในอาคาร (BEMS : Building Energy Management
System) โดยอาศัยฐานข้ อมูล Big Data วิเคราะห์และสัง่ งานผ่านระบบ SCADA เพื่อควบคุมการทางานเครื่ องปรับอากาศ,
อุปกรณ์ไฟฟ้าและระบบแสงสว่างภายในอาคาร ให้ เหมาะสมกับสภาพการทางานของบุคลากรภายในอาคาร สอดคล้ องกับ
สภาพแวดล้ อมที่เหมาะสม และใช้ พลังงานไฟฟ้าได้ อย่างมีประสิทธิ ภาพสูงสุด

ตัวอย่ าง โครงสร้ างระบบตรวจสอบและวิเคราะห์ ข้อมูลแบบ Real-time (SCADA) ที่บริษัทจาหน่ ายและให้ บริการ

ส่วนที่ 3.1.2 – ลักษณะการประกอบธุรกิจ หน้ า 7


บริษัท เพาเวอร์ โซลูช่ นั เทคโนโลยี จากัด (มหาชน)

ทังนี
้ ้ ทางบริ ษัทยังได้ นาอุปกรณ์เสริ มในกลุม่ การรักษาความปลอดภัย เช่นระบบ Smart Locks ที่ได้ นาเทคโนโลยีไร้
สายร่ วมกับกุญแจอัฉริ ยะเพื่อใช้ ในการระบุตวั ตน พร้ อมอนุญาติให้ เข้ าถึงพื ้นที่ปฏิบตั ิงานได้ อย่างแม่นยา รวมถึงอุปกรณ์สงั่
การ Breaker (Auto Reclosure) จากศูนย์ควบคุมส่วนกลาง ทาให้ ลดเวลาเดินทางเข้ าพื ้นที่เพื่อเปิ ดระบบจ่ายไฟฟ้าพร้ อมลด
ปั ญหาระบบสือ่ สารทางานล้ มเหลวจากเหตุการณ์ Surge ในระบบไฟฟ้าและ Breaker สัง่ ตัดไฟฟ้าออกจากระบบ

ตัวอย่ าง ระบบ Smart Locks และอุปกรณ์ Auto Reclosers ที่บริษัทจาหน่ ายและให้ บริการ

1.3 ระบบผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานทดแทน (Renewable Energy)


บริ ษัทดาเนินการออกแบบ จาหน่าย และติดตังระบบผลิ ้ ตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน โดยให้ บริ การในลักษณะ
วิศวกรรม จัดหา และก่อสร้ าง (Engineering Procurement and Construction หรื อ EPC) แบบโครงการเบ็ดเสร็ จ (Turn-key
Project) ทัง้ ในรู ป แบบระบบผลิต ไฟฟ้ าเพื่ อ เชื่ อมต่อกับ ระบบจ าหน่ายไฟ (On-grid System) และระบบผลิต ไฟฟ้ าที่ ไม่
เชื่อมต่อกับระบบจาหน่ายไฟ (Off-Grid System) ซึ่งจะทาการผลิตไฟฟ้าเพื่อจ่ายไปยังอุปกรณ์ในระบบของผู้วา่ จ้ างเอง เช่น
อุปกรณ์ที่ติดตังในเสาส่
้ งสัญญาณโทรคมนาคม เป็ นต้ น
โดยบริ ษัทจะทาการศึกษาถึงความต้ องการไฟฟ้าของระบบอุปกรณ์ไฟฟ้า แล้ วจึงทาการออกแบบระบบ โดยเลือก
ส่วนประกอบที่มีความเหมาะสมกับทังลั ้ กษณะการใช้ งานและสภาวะของแสงอาทิตย์หรื อกระแสลมในพื ้นที่โดยรอบ โดย
อาจจะมีสว่ นของระบบไฟฟ้าสารองร่วมด้ วยตามความเหมาะสมในการใช้ งานและตามความต้ องการของผู้วา่ จ้ าง ในปั จจุบนั
บริ ษัทให้ บริ การระบบผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน ดังต่อไปนี ้
ก) พลังงานแสงอาทิตย์ (Solar Cell) แบบ On grid โดยระบบจะผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ ในปั จจุบัน
เซลล์ แ สงอาทิ ต ย์ ที่ บ ริ ษั ท จั ด จ าหน่ า ยและให้ บริ ก ารเป็ นเซลล์ แ สงอาทิ ต ย์ แ บบโพลี ค ริ ส ตอลลี น (Poly
Crystalline) และเซลล์แสงอาทิตย์ แบบเซลล์ซิลิคอนชนิดผลึกเดี่ยว (Mono Crystalline) ที่มีประสิทธิ ภาพใน
การผลิตไฟฟ้า (Efficiency) มากกว่า 16% โดยระบบดังกล่าว จะขนานไฟฟ้าใช้ งานร่ วมกับสายส่ง เพื่อผลิต
ไฟฟ้าในเวลาที่มีแสงแดด เพื่อจาหน่ายไฟให้ กบั การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค หรื อเพื่อประหยัดค่าไฟฟ้าภายในองค์กร
ที่ติดตังใช้
้ งาน
ข) ระบบผสมผสานพลังงานแสงอาทิตย์ และระบบกักเก็ บพลังงาน (Hybrid System) นอกจากระบบพลังงาน
แสงอาทิตย์ (Solar Cell) แบบ On grid แล้ ว ทางบริ ษัทยังนาระบบกักเก็บพลังงาน (ESS : Energy Storage
System) ต่อร่ วมเพื่อใช้ ในการกักเก็บพลังงานไฟฟ้าจาก Solar Cell ในส่วนที่เหลือจากการใช้ งาน หรื อกักเก็บ
พลังงานไฟฟ้าในช่วงเวลาที่คา่ ไฟฟ้าราคาถูก (Off Peak) เพื่อนามาใช้ งานในช่วงที่ไม่มีแสงแดด หรื อช่วงเวลาที่
ค่าไฟฟ้าราคาแพงพร้ อมกับลดค่าไฟฟ้าในส่วนความต้ องการใช้ ไฟ (On Peak and Demand Charge) ทาให้
สามารถลดค่าใช้ ไฟฟ้าภายในองค์กรได้ อย่างยัง่ ยืน อีกทังยั
้ งเพิ่มเสถียรภาพให้ ระบบไฟฟ้า โดยระบบกักเก็บ

ส่วนที่ 3.1.2 – ลักษณะการประกอบธุรกิจ หน้ า 8


บริษัท เพาเวอร์ โซลูช่ นั เทคโนโลยี จากัด (มหาชน)

ไฟฟ้าจะชดเชยรู ปคลื่นและความถี่ในระบบไฟฟ้าจากสายส่งให้ มีความเสถียรมากยิ่งขึ ้น ซึ่งเป็ นการลดความ


เสียหายและยืดอายุการใช้ งานของอุปกรณ์ ไฟฟ้าในหน่วยงาน รวมถึงการนาพลังงานที่กักเก็บออกมาใช้ เมื่ อ
ระบบไฟฟ้าขัดข้ อง (Power Backup) ได้ อีกด้ วย

ตัวอย่ าง ระบบกักเก็บพลังงาน (ESS : Energy Storage System) ที่บริ ษัทจาหน่ ายและให้ บริการ

1.4 บริการและโซลูช่ นั บริหารจัดการพลังาน (Energy Management Solutions and Services)


การบริ การบริ หารจัดการพลังงานเพื่อให้ เกิดผลประหยัด และการใช้ พลังงานได้ อย่างมีประสิทธิภาพ การบริ การจะ
ครอบคลุมถึง ให้ คาปรึกษา ออกแบบ บริ หารโครงการ วิเคราะห์การใช้ พลังงาน ติดตังอุ ้ ปกรณ์ และดาเนินงานสาหรับ รวมถึง
การจัดหาแหล่งเงินทุน ตลอดจนการตรวจวัดเพื่อพิสูจน์ ผลประหยัด และรับประกันผลการประหยัด โดยระบบที่นามาใช้
สาหรับการจัดการพลังงานคือ Building Energy Management Systems (BEMS) หรื อ ระบบบริ หารจัดการพลังงานสาหรับ
อาคาร
ซึ่งจะทาหน้ าที่ควบคุมระบบปรับอากาศ ระบบทาความร้ อนและระบายอากาศ (Heating, Ventilation, and Air
Conditioning: HVAC) ระบบควบคุมแสงสว่างในอาคาร การรวบรวมข้ อมูลจากสมาร์ ทมิเตอร์ (Smart Metering) นอกจากนี ้
ในอนาคตอาจจาเป็ นต้ องมีการติดตังสถานี
้ ชาร์ จรถยนต์ไฟฟ้าไว้ ในอาคาร (EV Charging System) เพื่อรองรับการใช้ งาน
รถยนต์ไฟฟ้าของผู้ที่อาศัยหรื อทางานอยูภ่ ายในอาคาร
นอกจากนี ย้ ัง รวมถึ งการให้ บ ริ ก ารบริ ห ารจัด การพลังงานสาหรั บ โรงงานอุต สาหกรรม หรื อ Factory Energy
Management System (FEMS) จะประกอบด้ วย ระบบติดตามการใช้ ไฟฟ้า ระบบจัดการการเดินเครื่ องจักรรวมถึงการซ่อม
บารุ งอุปกรณ์ เครื่ องจักรต่างๆ ระบบควบคุมเพื่อเพิ่มประสิทธิ ภาพของพลังงานที่ ผลิตขึน้ ภายในโรงงานและการกักเก็ บ
พลังงาน (Energy Storage System) ระบบควบคุมการตอบสนองด้ านโหลด ระบบควบคุมการทาความร้ อน การปรับอากาศ
และการระบายอากาศภายในโรงงาน (Heating, Ventilation, and Air Conditioning: HVAC) ระบบไฟแสงสว่า ง การ
รวบรวมและประมวลผลข้ อมูลจากมิเตอร์ อจั ฉริ ยะ เป็ นต้ น

ตัวอย่ าง ระบบปั๊ มความร้ อนและหลอดไฟแอลอีดีท่บี ริ ษัทจาหน่ ายและให้ บริการ

ส่วนที่ 3.1.2 – ลักษณะการประกอบธุรกิจ หน้ า 9


บริษัท เพาเวอร์ โซลูช่ นั เทคโนโลยี จากัด (มหาชน)

ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่ งขัน
เนื่องจากผลิตภัณฑ์ระบบสารองไฟฟ้าและระบบตรวจวัด ควบคุม และแจ้ งเตือนระบบไฟฟ้าของบริ ษัทเป็ นกลุ่ม
ผลิตภัณฑ์ที่มีความเกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรมที่ต้องการระบบปฏิบตั ิงานที่มีเสถียรภาพสูง บริ ษัทฯ จึงมุง่ เน้ นการจัดจาหน่าย
ไปยังลูกค้ ากลุ่ม ระบบสื่อ สารโทรคมนาคม ซึ่งตลาดบริ การโทรคมนาคมของประเทศไทยสามารถจาแนกได้ 11 ตลาด
แบ่งเป็ นตลาดค้ าปลีกบริ การ 5 ตลาด และตลาดค้ าส่งบริ การ 6 ตลาด ดังนี ้
1. ตลาดค้ าปลีกบริการโทรศัพท์ ประจาที่ภายในประเทศ
โครงสร้ างตลาดส่วนแบ่งตลาด และระดับการแข่งขันตลาดค้ าปลีกบริ การโทรศัพท์ประจาที่ มีผ้ ใู ห้ บริ การหลัก
คงเหลืออยู่ 1ราย คือ บริ ษัท ทีโอที จากัด (มหาชน) (TOT) ข้ อมูล ณ สิ ้นไตรมาสที่ 3 ปี 2561 มีเลขหมายทีเ่ ปิ ดใช้ บริ การ
ทังหมดประมาณ
้ 3.05 ล้ านเลขหมาย และมีครัวเรื อนที่เข้ าถึงร้ อยละ14.25

2. ตลาดค้ าปลีกบริการโทรศัพท์ เคลื่อนที่ภายในประเทศ


โครงสร้ างตลาดส่ ว นแบ่ งตลาด และระดับ การแข่ งขัน ตลาดค้ าปลี ก บริ ก ารโทรศัพ ท์ เคลื่ อ นที่ มี ผ้ ูให้ บริ ก าร
โทรศัพท์เคลือ่ นที่สามารถจาแนกได้ เป็ น 2 กลุม่ คือ
(1) ผู้ให้ บริ การโทรศัพท์เคลื่อนที่ที่มีโครงข่ายหรื อมีสิทธิ์ในการใช้ โครงข่าย (Mobile Network Operators –MNOs)
และ
(2) ผู้ให้ บริ การโทรศัพท์เคลือ่ นที่บนโครงข่ายเสมือน (Mobile Virtual Network Operators –MVNOs) ดังนี ้

ส่วนที่ 3.1.2 – ลักษณะการประกอบธุรกิจ หน้ า 10


บริษัท เพาเวอร์ โซลูช่ นั เทคโนโลยี จากัด (มหาชน)

หากคานวณส่วนแบ่งตลาดจากจานวนผู้ใช้ บริ การของตลาดโทรศัพท์เคลื่อนที่พบว่า กลุ่มบริ ษัท AIS มีสว่ นแบ่ง


ตลาด คิดเป็ นร้ อยละ 43.8 รองลงมาเป็ น กลุ่มบริ ษัท TRUE มีส่วนแบ่งตลาดร้ อยละ 31.0 กลุ่มบริ ษัท DTAC มีส่วนแบ่ง
ตลาดร้ อยละ 23.0 ตามด้ วยกลุ่ม CAT มีส่วนแบ่งตลาดร้ อยละ 1.92 และกลุ่มบริ ษัท TOT มีส่วนแบ่งตลาดร้ อยละ 0.13
ตามลาดับ-ค่าดัชนี HHI ของตลาดค้ าปลีกบริ การโทรศัพท์เคลือ่ นที่ ณ สิ ้นไตรมาสที่ 3 ปี 2561 อยูท่ ี่ 3,415 ซึง่ เพิ่มขึ ้นจากไตร
มาสก่อนหน้ าร้ อยละ 1.6

3. ตลาดค้ าปลีกบริการโทรศัพท์ ระหว่ างประเทศ


3.1 ประเภทบริ การปั จจุบนั การใช้ บริ การโทรศัพท์ระหว่างประเทศสามารถแบ่งการให้ บริ การออกเป็ น 3 ระบบใหญ่ ได้ แก่
(1) ระบบต่ อ ตรง (International Direct Dialing: IDD) บริ ก ารโทรศัพ ท์ ร ะหว่า งประเทศระบบต่อ ตรง เป็ น การ
ให้ บ ริ ก ารผ่าน Access Code หรื อ IDD Prefix โดยต่อตรงอัต โนมัติผ่านระบบเลขหมาย 3 หลัก (Three Digits
Number) หรื อ ผ่ า นบริ ก ารโทรศั พ ท์ ป ระจ าที่ (Public Switched Telephone Network: PSTN) และบริ ก าร
โทรศัพท์เคลือ่ นที่ด้วยผ่านเทคโนโลยี TDM (Time Division Multiplexing) ซึ่งระบบต่อตรงมี 2 ลักษณะด้ วยกัน คือ
การต่อตรงอัตโนมัติ และการเรี ยกผ่านพนักงานสลับสาย โดยปั จจุบนั ผู้ใช้ บริ การใช้ บริ การโทรศัพท์ระหว่างด้ วย
วิธีการกด IDD Prefix เป็ นส่วนใหญ่วิธีการใช้ บริ การสามารถดาเนินการได้ ดงั นี ้ 1.1) กรณีโทรเข้ าโทรศัพท์ประจาที่
กด IDD Prefix+ รหัสประเทศ + รหัสเมื อง + เลขหมายปลายทาง 1.2) กรณี โทรเข้ าโทรศัพ ท์ เคลื่อ นที่ กด IDD
Prefix+ รหัสประเทศ + เลขหมายปลายทาง
(2) ระบบการสื่ อ สารทางเสีย งผ่า นระบบอิ น เทอร์ เน็ ต (Voice over Internet Protocol: VoIP) บริ ก ารโทรศัพ ท์
ระหว่า งประเทศระบบการสื่ อ สารทางเสีย งผ่า น ระบบอิ น เทอร์ เน็ ต เป็ น ลัก ษณะการเชื่ อ มต่อ ผ่ า นโครงข่า ย
อินเทอร์ เน็ตโปรโตคอล (Internet Protocal: IP) ซึ่งเป็ นการใช้ บริ การผ่านโทรศัพท์ประจาที่ หรื อ โทรศัพท์เคลือ่ นที่ก็
ได้ ด้ วยวิธีการแปลงสัญญาณเสียงเพื่อส่งต่อไปยังปลายทางผ่านทางบริ การอินเทอร์ เน็ต แต่ปัจจุบนั การโทรออก
ด้ วย VoIP นัน้ มีเลขหมายและไม่มีเลขหมายโทรศัพท์ก็ได้ เช่น การโทรผ่านคอมพิวเตอร์ ไปคอมพิวเตอร์ (PC-to-

ส่วนที่ 3.1.2 – ลักษณะการประกอบธุรกิจ หน้ า 11


บริษัท เพาเวอร์ โซลูช่ นั เทคโนโลยี จากัด (มหาชน)

PC) คอมพิวเตอร์ ไปโทรศัพท์ (PC-to-Phone) โทรศัพท์ไปคอมพิวเตอร์ (Phone-to-PC) และโทรศัพท์ไปโทรศัพท์


(Phone-to-Phone) เป็ นต้ น
(3) ระบบบัตรโทรศัพ ท์ (International Calling Card) บริ ก ารโทรศัพท์ ระหว่างประเทศระบบบัตรโทรศัพ ท์ เป็ น
บริ การที่ผ้ ูใช้ บริ การโทรออกต่างประเทศจะต้ องทาการซื ้อบัตรโทรศัพท์ระหว่างประเทศจากผู้จัดจาหน่ายหรื อผู้
ให้ บ ริ ก ารต่างๆ ทัง้ นีก้ ารโทรออกไปต่างประเทศจะมีลกั ษณะการเชื่ อ มต่อส่วนกลาง ซึ่งมี เลขหมา ยกลางของ
ศูน ย์ บ ริ ก าร (Access Number) เป็ น เลขหมายศูน ย์ ก ลางสาหรั บ การเชื่ อ มต่อ ไปยัง เกตเวย์ (Gateway) โดยผู้
ให้ บริ การระบบดังกล่าวจะต้ องเช่าช่วงช่องสัญญาณจากผู้ให้ บริ การเกตเวย์ เพื่อเชื่อมต่อออกไปต่างประเทศ
3.2 โครงสร้ างตลาดส่วนแบ่งตลาด และระดับการแข่งขัน
1.) ระบบต่อตรง (International Direct Dialing: IDD) มีผ้ ใู ห้ บริ การโทรศัพท์ระหว่างประเทศระบบต่อตรงรายใหญ่
ทังหมด
้ 6 ราย ดังนี ้ (1) บริ ษัท ทีโอที จากัด (มหาชน) (TOT) (2) บริ ษัท กสท โทรคมนาคม จากัด (มหาชน) (CAT)
(3) บริ ษัท เอไอเอ็น โกลบอลคอม จากัด (AIN) (4) บริ ษัท ดีแทคไตรเน็ต จากัด (DTAC TriNet) (5) บริ ษัท ทริ ปเปิ ล
ที โกลบอล เน็ท จากัด (TTT GN) (6) บริ ษัท ทรู มูฟ เอช ยูนิเวอร์ แซล คอมมิวนิเคชัน่ จากัด
2.) ระบบการสื่อ สารทางเสีย งผ่า นระบบอิ น เทอร์ เน็ ต (Voice over Internet Protocol: VoIP) มี ผ้ ูรับ ใบอนุญ าต
ประกอบกิจการอินเทอร์ เน็ต จานวนทังหมด ้ 137 ราย แบ่งเป็ นเปิ ดให้ บริ การแล้ ว 72 ราย หรื อคิดเป็ นร้ อยละ 52.55
และยังมิได้ เปิ ดให้ บริ การหรื อยกเลิกบริ การ 65 ราย หรื อคิดเป็ นร้ อยละ 47.45
3.) ระบบบัตรโทรศัพท์ (International Calling Card) มีผ้ รู ับใบอนุญ าตประกอบกิ จการโทรคมนาคม ระบบบัตร
โทรศัพท์ จานวนทังหมด ้ 105 ราย แบ่งเป็ นเปิ ดให้ บริ การแล้ ว 24 ราย หรื อคิดเป็ นร้ อยละ 22.86 และยังมิได้ เปิ ด
ให้ บริ การ 81ราย หรื อคิดเป็ นร้ อยละ 77.14
สาหรับตลาดโทรศัพท์ระหว่างประเทศนันจะพิ ้ จารณาเฉพาะการโทรออกต่างประเทศโดยใช้ บริ การโทรศัพท์
ประจาที่โดยมีรายได้ เท่ากับ 191.13 ล้ านบาทและเมื่อพิจารณาส่วนแบ่งตลาดจากรายได้ ณ สิ ้นไตรมาสที่ 3 ปี
2561 ผู้ให้ บริ การใน CAT มีสว่ นแบ่งตลาดมากที่สดุ อยู่ที่ร้อยละ 66.76 ตามด้ วย TIC ร้ อยละ 30.86 TOT ร้ อยละ
1.29 และ Jasmine ร้ อยละ1.09 ค่าดัชนี HHI ณ สิ ้นไตรมาสที่ 3 ปี 2561 อยู่ที่ 5,413 จุด ลดลงจากไตรมาสก่อน
หน้ าร้ อยละ 0.68

4. ตลาดค้ าปลีกบริการอินเทอร์ เน็ตประจาที่


4.1 จานวนผู้ลงทะเบียนใช้ งาน
ณ สิ ้นไตรมาสที่ 3 ปี 2561 มีผ้ ลู งทะเบียนใช้ บริ การอินเทอร์ เน็ตประจาที่ทงสิ
ั ้ ้น จานวน 9.08 ล้ านราย เพิ่มขึ ้นจาก
ไตรมาสก่อนหน้ าร้ อยละ 1.9 เมื่อพิจารณาอัตราการเข้ าถึงของบริ การอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูงพบว่ามีแนวโน้ ม
เพิ่มขึ ้นอย่างต่อเนื่อง โดย ณ สิ ้นไตรมาสที่ 3 ปี 2561 มีอตั ราการเข้ าถึงอยู่ที่ร้อยละ 42.47 ของครัวเรื อน เพิ่มขึ ้น

ส่วนที่ 3.1.2 – ลักษณะการประกอบธุรกิจ หน้ า 12


บริษัท เพาเวอร์ โซลูช่ นั เทคโนโลยี จากัด (มหาชน)

จากไตรมาสก่อนหน้ า ร้ อยละ 2 โดยพบว่า การเชื่อมต่ออินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูงประเภท Fiber optical มีสดั ส่วนสูง
ที่สดุ อยู่ที่ร้อยละ 31.3 ของการเชื่อมต่อทังหมด
้ ตามด้ วยการเชื่อมต่อผ่าน xDSL ร้ อยละ 40.52 การเชื่อมต่อแบบ
Cable Broadband มีสดั ส่วนร้ อยละ 17.94 และการเชื่อมต่อแบบอื่นๆ ร้ อยละ 1.83

4.2 โครงสร้ างตลาดส่วนแบ่งตลาดและระดับการแข่งขันตลาดค้ าปลีกบริ การอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูงมีผ้ ใู ห้ บริ การ


รายใหญ่ 3 ราย ได้ แก่ บริ ษัท ทรู อินเทอร์ เน็ต คอร์ ปอเรชัน่ จากัด (TICC) บริ ษัท ทีโอที จากัด (มหาชน) (TOT)
บริ ษัท ทริ ปเปิ ลที บรอดแบนด์ จากัด (มหาชน) ซึ่งให้ บริ การในชื่อแบรนด์ 3BB และบริ ษัท แอดวานซ์ไวร์ เลส
เน็ทเวอร์ ค จากัด (AWN)

ส่วนแบ่งตลาดจากจานวนผู้ใช้ บริ การพบว่า ณ สิ ้นไตรมาสที่ 3 ปี 2561 TICC มีสว่ นแบ่งตลาดสูงที่สดุ อยูท่ ี่ร้อยละ
37.8 ตามด้ วย 3BB มีส่วนแบ่งตลาดร้ อยละ 32.4 TOT มีส่วนแบ่งตลาดร้ อยละ 17.5 AWN มีส่วนแบ่งตลาดร้ อยละ 7.4
นอกจากนี ้ ยังมีผ้ ใู ห้ บริ การรายย่อยอื่นๆ มีสว่ นแบ่งตลาดรวมกันประมาณร้ อยละ 5.0 สาหรับค่าดัชนี HHI ของตลาดบริ การ
อินเทอร์ เน็ตความเร็ วลดลงเล็กน้ อยโดย ณ สิ ้นไตรมาสที่ 3 ปี 2561อยูท่ ี่ 2,858 จุด

ส่วนที่ 3.1.2 – ลักษณะการประกอบธุรกิจ หน้ า 13


บริษัท เพาเวอร์ โซลูช่ นั เทคโนโลยี จากัด (มหาชน)

5. ตลาดบริการอินเทอร์ เน็ตเคลื่อนที่
5.1 โครงสร้ างตลาด
ตลาดอินเทอร์ เน็ตเคลื่อนที่มีโครงสร้ างคล้ ายกับตลาดโทรศัพท์เคลื่อนที่ เนื่องจากผู้ให้ บริ การเสียงในตลาด
โทรศัพท์เคลือ่ นที่ ก็มีจะให้ บริ การอินเทอร์ เน็ตเคลือ่ นที่ควบคูไ่ ปด้ วย

5.2 ส่วนแบ่งตลาด
ส่วนแบ่งตลาดรายได้ จากบริ การที่มิใช่เสียง ณ สิ ้นไตรมาสที่ 3 ปี 2561 พบว่าผู้ให้ บริ การในกลุม่ AIS มีสว่ น
แบ่งตลาดมากที่สดุ ที่ร้อยละ 46.4 เพิ่มขึ ้นจากไตรมาสก่อนหน้ าร้ อยละ 1.3 ตามด้ วยผู้ให้ บริ การในกลุม่ DTAC
มีส่วนแบ่งตลาดร้ อยละ 30.2 ลดลงจากไตรมาสก่อนหน้ าเล็กน้ อยและผู้ให้ บริ การในกลุ่ม TUC มีส่วนแบ่ง
ตลาดร้ อยละ 21.1 ลดลงจากไตรมาสก่อนหน้ าร้ อยละ 2.0
สาหรับค่าดัชนี HHI ของตลาดบริ การอินเทอร์ เน็ตเคลื่อนที่ณ สิ ้นไตรมาสที่ 3 ปี 2561 อยู่ที่ 3,513 ซึ่งเพิ่มขึ ้นจาก
ไตรมาสก่อนหน้ าเล็กน้ อย

ส่วนที่ 3.1.2 – ลักษณะการประกอบธุรกิจ หน้ า 14


บริษัท เพาเวอร์ โซลูช่ นั เทคโนโลยี จากัด (มหาชน)

6. ตลาดบริการเกตเวย์ อินเทอร์ เน็ตระหว่ างประเทศ


6.1 โครงสร้ างตลาดผู้ให้ บ ริ ก ารเกตเวย์ อิ น เทอร์ เน็ ต ระหว่า งประเทศจะต้ องได้ รับ ใบอนุญ าตประกอบกิ จการ
โทรคมนาคมแบบที่ 2 สาหรับการให้ บริ การการเชื่อมต่อการแลกเปลี่ยนข้ อมูลอินเทอร์ เน็ตภายใน (NIX) และระหว่างประเทศ
(IIG) จากสานักงาน กสทช. โดยในปั จจุบนั มีผ้ ใู ห้ บริ การที่ได้ รับใบอนุญาตและดาเนินกิจการอยูท่ งสิ
ั ้ ้น 17 ราย ซึง่ ให้ บริ การทัง้
NIX และ IIG

6.2 ปริ มาณแบนด์วิธี และส่วนแบ่งตลาดในการให้ บริ การ


ปริ มาณแบนด์วิธีที่ใช้ เชื่อมต่อในการให้ บริ การเกตเวย์อินเทอร์ เน็ตระหว่างประเทศมี แนวโน้ มเพิ่มขึ ้นอย่างต่อเนื่อง
โดย ณ สิ ้นไตรมาสที่ 3 ปี 2561 มีป ริ มาณแบนด์ วิธีรวมทัง้ หมด 2,191 Gbps เพิ่มขึน้ จากไตรมาสก่อนร้ อยละ 0.54 โดย
จาแนกการเชื่อมต่อผ่าน Landline มีปริ มาณแบนด์วิธีรวม1,738 Gbps ซึ่งเพิ่มขึ ้นจากไตรมาสก่อนหน้ าคิดเป็ นร้ อยละ 0.59
ในขณะทีก่ ารเชื่อมต่อผ่านเคเบิ ้ลใต้ น ้า (submarinecable) มีผ้ ใู ห้ บริ การเพียงรายเดียว คือ กสท มีปริ มาณแบนด์วิธีรวม 453
Gbps เพิ่มขึ ้นจากไตรมาสก่อนหน้ าเล็กน้ อย สาหรับส่วนแบ่งตลาดซึ่งคานวณโดยปริ มาณแบนด์วิธี ณ สิ ้นไตรมาสที่ 3 ปี
2561 พบว่า CAT มีสว่ นแบ่งตลาดสูงที่สดุ ที่ร้อยละ 26.99 ลดลงจากไตรมาสก่อนหน้ าร้ อยละ 0.11ตามด้ วย TIG มีสว่ นแบ่ง
ตลาดร้ อยละ 20.22 ลดลงจากไตรมาสก่อนหน้ าร้ อยละ 1.24 โดยค่า HHI ของตลาดบริ การเกตเวย์ระหว่างประเทศ ณ สิ ้น
ไตรมาสที่ 3 ปี 2561 มีคา่ 1,592 ซึง่ ลดลงจากไตรมาสก่อนหน้ าร้ อยละ 0.52

ส่วนที่ 3.1.2 – ลักษณะการประกอบธุรกิจ หน้ า 15


บริษัท เพาเวอร์ โซลูช่ นั เทคโนโลยี จากัด (มหาชน)

7. ตลาดบริการเกตเวย์ โทรศัพท์ ระหว่ างประเทศ


7.1 โครงสร้ างปั จจุบนั มีผ้ ไู ด้ รับอนุญาตให้ บริ การเกตเวย์โทรศัพท์ระหว่างประเทศรวม 5 ราย โดยทังหมดเป็
้ นผู้
ให้ บริ การค้ าปลีกโทรศัพท์ระหว่างประเทศและเกือบทังหมดเป็ ้ นผู้ให้ บริ การในตลาดค้ าปลีกโทรศัพท์ประจาที่
และโทรศัพทเคลือ่ นที่ภายในประเทศด้ วย

7.2 ปริ มาณการใช้ งาน สาหรับ จานวนนาที บริ การเกตเวย์ โทรศัพ ท์ ระหว่างประเทศในไตรมาสที่ 3 ปี 2561 มี
ปริ มาณการใช้ งานทังสิ
้ ้น 241.8 ล้ านนาที ลดลงจากไตรมาสก่อนหน้ าประมาณ 2.1 ล้ านนาทีหรื อคิดเป็ นร้ อย
ละ 1 โดยเป็ น บริ ษัท กสท โทรคมนาคม จากัด (มหาชน) มีปริ มาณการโทรถึง 145.1 ล้ านนาที ซึง่ คิดเป็ นร้ อย
ละ 60.01 ของจานวนนาทีทงหมด
ั้ ขณะที่ผ้ ใู ห้ บริ การรายอื่นมีประมาณ 96.7 ล้ านนาที

8. ตลาดบริการเชื่อมต่ อโครงข่ ายโทรศัพท์ ประจาที่เพื่อให้ สามารถเรียกถึงจุดปลายทาง


8.1 โครงสร้ าง
ในปั จจุบนั มีผ้ ใู ห้ บริ การโทรศัพท์ประจาที่ที่ให้ บริ การถึงผู้บริ โภคหรื อผู้ใช้ บริ การขันสุ
้ ดท้ าย (end users) จานวน
8 ราย ด้ วยลักษณะประเภทบริ การ Call Termination ผู้ที่จะสามารถให้ บริ การ Fixed Call Termination ได้
จาเป็ นต้ องเป็ นผู้ที่ให้ บริ การค้ าปลีกในบริ การโทรศัพท์ประจาที่ ดังนันจึ ้ งถือว่า ผู้ให้ บริ การ Fixed Call
Termination มีจานวน 8 ราย

ส่วนที่ 3.1.2 – ลักษณะการประกอบธุรกิจ หน้ า 16


บริษัท เพาเวอร์ โซลูช่ นั เทคโนโลยี จากัด (มหาชน)

8.2 ปริ มาณการใช้ งาน สาหรับไตรมาสที่ 3 ปี 2561 จานวนทราฟฟิ กการใช้ งานบริ การ Fixed Call Terminationมี
จานวนทังสิ ้ ้น 162.4 ล้ านครัง้ โดยแบ่งเป็ นการรับสายจากโครงข่ายโทรศัพท์เคลือ่ นที่ (Mobile-to-Fixed) 160
ล้ านครัง้ และรับสายจากโครงข่ายโทรศัพท์พื ้นฐาน (Fixed-to-Fixed) มีจานวนทังสิ ้ ้น 2.4 ล้ านครัง้ หากวัดเป็ น
จานวนนาที จานวนทราฟฟิ กการใช้ งานบริ การ Fixed Call Termination มีจานวนทังสิ ้ ้น 334.6 ล้ านนาที
แบ่งเป็ นการรับสายจากโครงข่ายโทรศัพท์เคลือ่ นที่ (Mobile-to-Fixed) 330 ล้ านนาที และรับสายจากโครงข่าย
โทรศัพท์พื ้นฐาน (Fixed-to-Fixed) มีจานวนทังสิ ้ ้น 4.6 ล้ านนาที

9. ตลาดบริการเชื่อมต่ อโครงข่ ายโทรศัพท์ เคลื่อนที่เพื่อให้ สามารถเรียกถึงจุดปลายทาง


9.1 ผู้ให้ บริ การในปั จจุบนั ผู้ให้ บริ การเชื่อมต่อโครงข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ ที่ให้ บริ การถึงผู้บริ โภคหรื อผู้ใช้ บริ การขัน้
สุดท้ าย (end users) ซึง่ เป็ นผู้ให้ บริ การโทรศัพท์เคลือ่ นที่ ที่สามารถให้ บริ การ Mobile Call Termination ได้ มีทงหมด ั้ 5 กลุม่
ใหญ่ คือ

9.2 ปริ มาณการใช้ งานสาหรับไตรมาสที่ 3 ปี 2561 จานวนทราฟฟิ กการใช้ งานบริ การ Mobile Call Termination มี
จานวนทังสิ ้ ้น 4,718.7 ล้ านครัง้ โดยแบ่งเป็ นการรับสายจากโครงข่ายโทรศัพท์เคลือ่ นที่ (Mobile-to-Mobile) 4,580 ล้ านครัง้
และรับสายจากโครงข่ายโทรศัพท์พื ้นฐาน (Fixed-to-Mobile) มี 138.7 ล้ านครัง้ หากวัดเป็ นจานวนนาที จานวนทราฟฟิ กการ
ใช้ บริ การ Mobile Call Termination มีทงสิั ้ ้น 7,082.9 ล้ านนาที แบ่งเป็ นประเภทการรับสายจากโครงข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่
(Mobile-to-Mobile) จ านวน 6,900ล้ านนาที และรั บสายจากโครงการข่ายโทรศัพ ท์ ป ระจาที่ (Fixed-to-Mobile) จานวน
182.9 ล้ านนาที

ส่วนที่ 3.1.2 – ลักษณะการประกอบธุรกิจ หน้ า 17


บริษัท เพาเวอร์ โซลูช่ นั เทคโนโลยี จากัด (มหาชน)

10. ตลาดการเข้ าถึงบรอดแบนด์


10.1 โครงสร้ าง
ในปั จจุบนั มีผ้ ใู ห้ บริ การเข้ าถึงบรอดแบนด์ด้วยรู ปแบบโครงข่ายที่หลากหลายจากตารางที่ 10-1 พบว่าผู้รับ
ใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคมที่มีโครงข่ายเป็ นของตนเองและได้ รับอนุญาตให้ บริ การเข้ าถึงบรอด
แบนด์ จานวนทัง้ สิ ้น 57 ราย เป็ นผู้รับใบอนุญ าตที่ให้ บ ริ การผ่านโครงข่ายโทรคมนาคมมากกว่าหนึ่งแบบ
เพื่อให้ บริ การ จานวน 31 ราย และเป็ นผู้ให้ บริ การที่ให้ บริ การผ่านโครงข่ายโทรคมนาคมแบบเดียว จานวน 26
ราย

10.2 ปริ มาณการใช้ บริ การและรายได้ เข้ าถึงบรอดแบนด์


ปริ มาณการใช้ งานอินเทอร์ เน็ตผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่มีแนวโน้ มเพิ่มขึ ้นอย่างต่อเนื่อง โดยสิ ้นไตรมาสที่ 3 ปี
2561 ทังนี
้ ้การเข้ าถึงบรอดแบนด์โดยใช้ เทคโนโลยี Fiber optic มีปริ มาณทราฟฟิ กมากกว่าเทคโนโลยีอื่น และ
การเข้ าถึงบรอดแบนด์โดยใช้ เทคโนโลยี xDSL มีปริ มาณทราฟฟิ กเป็ นอันดับ 2

ส่วนที่ 3.1.2 – ลักษณะการประกอบธุรกิจ หน้ า 18


บริษัท เพาเวอร์ โซลูช่ นั เทคโนโลยี จากัด (มหาชน)

สาหรับรายได้ จากบริ การเข้ าถึงบรอดแบนด์ก็มีแนวโน้ มเพิ่มสูงขึ ้นอย่างต่อเนื่องเช่นเดียวกัน โดย ณ สิ ้นไตรมาสที่ 3


ปี 2561 อยูท่ ี่ 25,782.3 ล้ านบาท เพิ่มขึ ้นจากไตรมาสก่อนหน้ าร้ อยละ1.53 แบ่งเป็ นรายได้ จากการใช้ เองและให้ บริ การบริ ษัท
ในกลุม่ 10,113.1 ล้ านบาทและรายได้ ที่ขายให้ แก่บริ ษัทอื่น 15,669.2 ล้ านบาท

11. ตลาดบริการวงจรเช่ า
11.1 โครงสร้ างผู้ให้ บริ การในตลาดค้ าส่งวงจรเช่าสามารถจาแนก ดังนี ้
กลุ่มที่ 1 ผู้ให้ บริ การเฉพาะค้ าส่ง ได้ แก่ ผู้รับใบอนุญาตซึ่งเป็ นผู้ประกอบการรัฐวิสาหกิจและให้ บริ การโครงสร้ าง
พื ้นฐาน (Infrastructure) โดยธุรกิจหลักของผู้ให้ บริ การในกลุม่ นี ้คือการผลิตและจาหน่ายไฟฟ้าการให้ บริ การวงจรเช่าเป็ น
เพียงการนาทรัพยากรส่วนที่เหลือ หรื อเส้ นใยแก้ วนาแสง (Fiber Optic) มาให้ ผ้ ปู ระกอบการรายอื่นเช่า

กลุ่ม ที่ 2 ผู้ให้ บ ริ ก ารที่ มีโครงข่ายขนาดใหญ่ และประกอบการค้ า ปลีกและส่งโดยผู้ให้ บ ริ ก ารกลุ่มมี โครงข่ายที่


ครอบคลุมทังประเทศ
้ หรื อรัฐวิสาหกิจโทรคมนาคม

กลุม่ ที่ 3 ผู้ให้ บริ การที่มีโครงข่ายเล็กและประกอบการค้ าปลีก และส่งโดยเป็ นกลุม่ ผู้ให้ บริ การที่มีโครงข่ายขนาดเล็ก
ที่อาจไม่ครอบคลุมทัว่ ทุกพื ้นที่ของประเทศ

ส่วนที่ 3.1.2 – ลักษณะการประกอบธุรกิจ หน้ า 19


บริษัท เพาเวอร์ โซลูช่ นั เทคโนโลยี จากัด (มหาชน)

11.2รายได้ และปริ มาณการใช้ งานบริ การวงจรเช่า


ปริ มาณการใช้ บริ การวงจรเช่ามีแนวโน้ มเพิ่มสูงขึ ้นอย่างต่อเนื่อง โดย ณ สิ ้นไตรมาสที่ 3 ปี 2561 อยู่ที่ 1,077.4
Gbps เพิ่ ม ขึน้ จากไตรมาสก่ อ นหน้ า ร้ อยละ 3 ทัง้ นี ก้ ารใช้ บริ ก ารวงจรเช่ า โดยใช้ เทคโนโลยี Ethernet Leased Line มี
ปริ มาณทราฟฟิ กมากว่าเทคโนโลยีอื่น โดยบริ การวงจรเช่าโดยใช้ เทคโนโลยี MPLS มีปริ มาณทราฟฟิ กเป็ นอันดับที่ 2 สาหรับ
รายได้ จากบริ การวงจรเช่าก็มีแนวโน้ มเพิ่มสูงขึ ้นอย่างต่อเนื่องเช่นเดียวกัน โดย ณ สิ ้นไตรมาสที่ 3 ปี 2561อยูท่ ี่ 2,731.7 ล้ าน
บาทเพิ่มขึ ้นจากไตรมาสก่อนหน้ าร้ อยละ13

11.3 ส่วนแบ่งตลาดและระดับการแข่งขัน

ในไตรมาสที่ 3 ปี 2561ผู้ให้ บริ การที่มีสว่ นแบ่งตลาดมาก 3 อันดับแรก มีดงั นี ้ (1) TRUE มีสว่ นแบ่งตลาดมากที่สดุ
ที่ร้อยละ 20.0 (2) CAT มีส่วนแบ่งตลาดร้ อยละ 16.1 และ (3)Symphony มีส่วนแบ่งตลาดร้ อยละ 14.8 ส่วนค่า
HHI ของตลาดในไตรมาสที่ 3 ปี 2561 อยูท่ ี่ 1,451 จุด ซึง่ เท่ากับไตรมาสก่อนหน้ า

ส่วนที่ 3.1.2 – ลักษณะการประกอบธุรกิจ หน้ า 20


บริษัท เพาเวอร์ โซลูช่ นั เทคโนโลยี จากัด (มหาชน)

การเจริ ญเติบโตของอุตสาหกรรมโทรคมนาคมซึง่ เป็ นตลาดขนาดใหญ่ที่มมี ลู ค่ามากกว่า 577,329 ล้ านบาทในปี 2559


(อัตราการเติบโต 7.7% จากปี 2558) และคาดว่าจะเติบโตอย่างต่อเนื่อง ซึง่ การเติบโตของอุตสาหกรรมมีแรงหนุนหลักมา
จากการทาการตลาดของกลุม่ ผู้ประกอบการที่ผลักดันให้ มีผ้ ใู ช้ งานแบบรายเดือนเพิ่มขึ ้น หรื อการผลักดันให้ ผ้ ใู ช้ รายเดือนเดิม
เปลีย่ นแพ็กเกจมาอยูใ่ นระดับราคาที่สงู ขึ ้น โดยมีแรงจูงใจจากการให้ ใช้ โมบายอินเทอร์ เน็ตในปริ มาณมากขึน้ รวมถึง
พฤติกรรมของผู้บริ โภคไทยที่ยงั คงนิยมใช้ โมบายบรอดแบนด์อินเทอร์ เน็ต ไม่วา่ จะเป็ นดูหนัง ดูทีวีออนไลน์ หรื อแม้ แต่การ
ให้ บริ การเกมออนไลน์ การเพิม่ บริ การอื่นๆ ทังการให้
้ บริ การทางการเงิน การให้ บริ การเชื่อมต่ออินเทอร์ เน็ต ออฟ ธิงส์ (ไอโอที)
กับลูกค้ าองค์กร การให้ บริ การสนับสนุนข้ อมูลสุขภาพ การให้ บริ การอุปกรณ์โทรคมนาคม ในยุคไอโอทีอปุ กรณ์หลักคือตัว
เซ็นเซอร์ ที่คอยตรวจวัดข้ อมูลทีต่ ้ องการ เช่น คุณภาพน ้า คุณภาพอากาศ หรื อตรวจวัดสิง่ อื่นๆ แล้ วส่งข้ อมูลมาประมวลผล
นอกจากจะแจ้ งผลการประมวลไปที่ปลายทาง ซึง่ ระบบนิเวศนี ้ยังทาให้ มีบิ๊กดาต้ าซึง่ สามารถนาไปวิเคราะห์ตอ่ ยอดได้ อีก
มากมาย ซึง่ คาดว่าจะเป็ นจุดเปลีย่ นที่ทาให้ ตลาดโทรคมนาคมแบบไร้ สายเติบโตขึ ้นอย่างมีนยั สาคัญ ทาให้ มลู ค่าตลาด
บริ การสือ่ สารข้ อมูลยังคงขยายตัวต่อเนื่องและส่งผลกระทบโดยตรงต่อกลุม่ ผลิตภัณฑ์ของบริ ษัท โดยเฉพาะอย่างยิ่ ง ตลาด
บริ การโทรศัพท์เคลือ่ นที่และโมบายอินเทอร์ เน็ต ซึง่ เป็ นสัดส่วนใหญ่ของตลาดที่ทาให้ มลู ค่าอุตสาหกรรมมีอตั ราการเติบโต
เฉลีย่ สะสมต่อปี (CAGR) ประมาณร้ อยละ 20 จากการขยายตัวทางเศรษฐกิจที่ตอ่ เนื่องทาให้ มีการลงทุนเพิม่ ในธุรกิจ
ประกอบกับกระแสการปฏิวตั ิระบบไอทีองค์กร โดยการนาเครื่ องมือต่างๆ ด้ านไอทีเข้ ามาใช้ ในระบบงานให้ มากที่สดุ ดังนัน้
การวางระบบเครื อข่ายสือ่ สารข้ อมูลองค์กรจึงต้ องมีการออกแบบระบบให้ มี Core Network ที่มคี วามจุรองรับการใช้ งานที่
อาจจะเพิ่มสูงขึ ้นเป็ นเท่าตัวจากช่วงปี ที่ผา่ นมา และเป็ นเครือข่ายที่มคี วามปลอดภัยระดับสูงเพื่อปกป้องข้ อมูลทางธุรกิจ
รวมถึงกลยุทธ์การขับเคลือ่ นยุทธศาสตร์ ชาติ 5G ที่มงุ่ เน้ นส่งเสริ มการพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทลั , ทบทวนเงื่อนไขและระยะเวลา
การชาระเงินค่าประมูลคลืน่ ความถี่ของคลืน่ ที่ประมูลไปแล้ ว และจะนามาประมูลใหม่เพื่อสร้ างแรงจูงใจ โดยแบ่งวิธีการ
อนุญาตเป็ น 2 รูปแบบคือ ใบอนุญาตที่ใช้ งานครอบคลุมการให้ บริ การครอบคลุมทัว่ ประเทศ (Nation Wide) และใบอนุญาต
แบบที่ครอบคลุมเฉพาะพื ้นที่ทกี่ าหนด (Specific Area) เช่น ในเขตพื ้นที่ภาคการผลิตและอุตสาหกรรม รวมถึงกาหนด
หลักเกณฑ์การประมูลคลืน่ ความถี่หลายย่านพร้ อมกัน (Multiband) และดาเนินการจัดตังศู ้ นย์ทดลองทดสอบ 5G ในเขต
พื ้นที่กรุงเทพมหานคร

สภาวะการแข่ งขัน
ธุรกิจของบริ ษัทมีลกั ษณะธุรกิจออกแบบ จาหน่าย และติดตังระบบจ่
้ ายไฟฟ้าและตรวจวัดจัดการสภาพแวดล้ อม จึงทา
ให้ บริ ษัทได้ ตระหนักถึงการให้ ความสาคัญกับคุณภาพของการออกแบบ (Design) การดาเนินการติดตังระบบ ้ (Installation)
และการบริ หารโครงการ ด้ วยบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถ และความชานาญสูง เพื่อทาให้ ให้ ลกู ค้ าได้ มนั่ ใจถึงคุณภาพ
งานที่ จ ะได้ รับ และภายใต้ ระยะเวลาที่ ได้ ก าหนดวางแผนไว้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ส าหรั บ กลุ่ม เป้ า หมายกลุ่ม ธุ รกิ จ
โทรคมนาคม เพื่อเป็ นการสร้ างความต้ องการและการจัดสรรผลิตภัณฑ์ หรื อบริ การตามความต้ องการของลูกค้ ารายใดราย
หนึง่ โดยเฉพาะ
สภาวะการแข่งขันที่สงู ขึ ้น บริ ษัทเลีย่ งไม่ได้ ต้องมีการแข่งขันเพื่อเพิ่มศักยภาพในการนาเสนอผลิตภัณฑ์ หรื อบริ การด้ วย
ระบบเทคโนโลยีที่ทนั สมัย และมีการแข่งขันด้ านราคาที่สงู เนื่องจากมีผ้ ใู ห้ บริ การรายใหม่ๆ และผู้ผลิตบางผลิตภัณฑ์ได้ หนั
มาเป็ นผู้ให้ บริ การเอง เข้ ามาร่วมแข่งขันมากขึ ้น ซึง่ มีผลให้ การแข่งขันด้ านราคาสูงขึ ้นไปอีก
ดังนัน้ การสร้ างความสัมพันธ์ที่ดีกบั ลูกค้ า และการคัดเลือกพันธมิตรธุรกิจที่มี ความพร้ อม จึงเป็ นสิง่ จาเป็ นในการแข่งขัน
กับคู่แข่งรายอื่นๆ ทังนี
้ ้บริ ษัทต้ องได้ รับการสนับสนุนที่ดีจากลูกค้ าและพันธมิตร เพื่อบริ ษัทสาารถตอบสนองความต้ องการ

ส่วนที่ 3.1.2 – ลักษณะการประกอบธุรกิจ หน้ า 21


บริษัท เพาเวอร์ โซลูช่ นั เทคโนโลยี จากัด (มหาชน)

ของลูกค้ า และนาเสนอในราคาที่สามารถแข่งขันได้ กล่าวคือต้ องอยู่ในงบประมาณที่ลกู ค้ ากาหนดไว้ พร้ อมกับบริ ษัทยังมี


ความได้ เปรี ยบในการแข่งขันคือ เป็ นบริ ษัทมีความเชี่ยวชาญในการผสมผสานเทคโนโลยีที่หลากหลาย และการบริ หาร
โครงการที่มีประสิทธิภาพ มีผลงานการส่งมอบและการบริ การที่ดีกบั หน่วยงานราชการทังในอดี
้ ตและปั จจุบนั อีกทังยั
้ งเป็ น
ผู้ชานาญการในการบริ การแบบครบวงจร ตังแต่ ้ การออกแบบ สารวจ ติดตัง้ และการบารุ งรักษาและดูแลระบบหรื อให้ บริ การ
หลังการขายสาหรับการให้ บริ การหลังการขาย บริ ษัทเน้ นการบารุงรักษาและดูแลระบบให้ มีความเสถียรสูงสุด ดังนัน้
กลยุทธ์การแข่งขันที่บริ ษัทนามาใช้ จึงเป็ นการกาหนดมาตรฐานบริ การ (SLA : Service Level Agreement) บริ การ
หลังการขายที่เหมาะสมกับสภาพการใช้ งานของลูกค้ า และผลิตภัณฑ์ที่ใช้ เทคโนโลยีระดับสูง ได้ รับมาตรฐาน และมีความ
ปลอดภัย เพื่อประสิทธิภาพในการทางานสูงสุด เพื่อให้ ลกู ค้ าสามารถพึงพอใจและยินดีที่ใช้ บริ การที่มีคณ
ุ ภาพ

ลักษณะลูกค้ าและกลุ่มลูกค้ าเป้ าหมาย


ลักษณะลูกค้ าของบริ ษัทในธุรกิจออกแบบ จาหน่ายและติดตังระบบจ่
้ ายไฟฟ้าและตรวจวัดจัดการสภาพแวดล้ อม
แบ่งเป็ น 2 กลุม่ ใหญ่ คือ ภาคเอกชน และภาครัฐ (หน่วยงานราชการและรัฐวิสาหกิจ) รวมถึงการบริ การให้ กบั บริ ษัทในเครื อ
ไปตามประเภทของระบบที่ให้ บริ การ ดังนี ้
1. ระบบสารองไฟฟ้ า
กลุ่มลูกค้ าเป้าหมายหลักของระบบสารองไฟฟ้าจะแบ่งไปตามประเภทของระบบสารองไฟฟ้า คือ ระบบสารอง
ไฟฟ้ากระแสตรงจะมุ่งเน้ นในกลุม่ ลูกค้ าสื่อสารโทรคมนาคมเป็ นหลัก เนื่องจากมีความต้ องการอุปกรณ์ที่มีประสิทธิภาพสูง
และต้ องการระบบสารองไฟฟ้าที่ได้ รับการออกแบบสาหรับอุปกรณ์สอื่ สารโทรคมนาคมโดยเฉพาะ สาหรับระบบสารองไฟฟ้า
กระแสสลับ จะมุ่งเน้ นในส่วนของหน่วยงานที่เกี่ยวข้ องกับเทคโนโลยีสารสนเทศหรื อองค์กรที่มีระบบสารสนเทศขนาดใหญ่
เช่น ธนาคาร และอุตสาหกรรมที่ต้องการเสถี ยรภาพของกระแสไฟฟ้าในการดาเนิ นงาน เช่น อุตสาหกรรมผลิตชิ น้ ส่วน
อิเล็คทรอนิกส์ เป็ นต้ น
บริ ษัทยังคงไว้ ซึ่งโครงการที่ตอบสนองความต้ องการหน่วยงานที่ต้องการระบบสารองไฟฟ้ากระแสตรงสาหรั บ
อุปกรณ์และระบบสือ่ สารโทรคมนาคมเป็ นหลัก เช่น บริ ษัท ทีโอที จากัด (มหาชน) บริ ษัท กสท โทรคมนาคม จากัด (มหาชน)
และการไฟฟ้าภูมิภาค ซึ่งเป็ นผู้นาด้ านธุรกิจโทรคมนาคมต้ องอาศัยนวัตกรรม และวิธีการลดต้ นทุนอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้
สามารถแข่งขันและเป็ นผู้นาในตลาดพร้ อมไปกับการผลักดันโซลูชนั่ ที่หลากหลายออกสูท่ ้ องตลาดสาหรับรองรับการขยายฐานธุรกิจ
4G อีกด้ วย การได้ ทางานอย่างใกล้ ชิดกับลูกค้ าจะช่วยให้ เราสามารถตอบสนองความต้ องการของลูกค้ าได้ ดีขึ ้น โดยมีการ
แลกเปลี่ยนและรับฟั งมุมมองของลูกค้ าหลัก และเป็ นบริ ษัทชัน้ นาระดับโลกด้ านเทคโนโลยีที่ล ้าสมัย และลูกค้ ารายใหม่ใน
อุตสาหกรรมอื่นๆ อย่างต่อเนื่อง
ในปี 2561 บริ ษัทประสบความสาเสร็ จเป็ นอย่างมากที่ระบบสารองไฟฟ้ากระแสตรง (DC Power Supply) ได้ เป็ น
ส่วนหลัก ของ กสทช.(สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิ จการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ)
โครงการจัดให้ มีบริ การอินเทอร์ เน็ตความเร็ วสูงในพืน้ ที่ห่างไกล ร่ วมกับบริ ษัททีโอที จากัด (มหาชน) สาหรับการพัฒนา
ประเทศไทยยุค 4.0 จานวนมากกว่า 4,883 เครื่ อง และอีกหน่วยงานที่เป็ น ความภูมิใจของบริ ษัท คือ ธนาคารออมสิน ได้
เลือกใช้ ระบบสารองไฟฟ้ากระแสตรง (DC Power Supply) จานวนมากสาหรับสาขาเช่นกัน
2. ระบบตรวจวัด และจัด การสภาพแวดล้ อ ม (Monitoring Solution) และ ระบบตรวจสอบและวิเคราะห์
ข้ อมูลแบบ Real-time (SCADA)
กลุ่มลูกค้ าเป้าหมายหลักของระบบ ได้ แก่ หน่วยงานในธุรกิ จสื่อสารโทรคมนาคม และเทคโนโลยีสารสนเทศ
เนื่องจากเป็ นธุรกิจที่มีความเสี่ยงที่จะเกิดความเสียหายจากความผิดปกติในระบบไฟฟ้าหรื อสภาพแวดล้ อม เช่น ไฟฟ้าดับ

ส่วนที่ 3.1.2 – ลักษณะการประกอบธุรกิจ หน้ า 22


บริษัท เพาเวอร์ โซลูช่ นั เทคโนโลยี จากัด (มหาชน)

แรงดันไฟฟ้าตกหรื อเกิ น แบตเตอรี่ ไม่อยู่ในสภาพพร้ อมใช้ งาน มีการบุกรุ ก เกิดควันไฟ หรื อไฟไหม้ เป็ นต้ น จึงต้ องมีการ
ตรวจสอบสภาวะการทางานของระบบและสภาพแวดล้ อมอย่างใกล้ ชิด เพื่อป้องกันหรื อลดความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ ้นได้
อย่างทันท่วงที นอกจากนี ้ บริ ษัทยังมุ่งเน้ นการทาตลาดในกลุม่ ผู้ดาเนินการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน เช่ น แสงอาทิตย์
หรื อลม เป็ นต้ น เนื่องจากสภาวะแวดล้ อมจะมีผลอย่างมากกับการดาเนินงาน อีกทังยั ้ งสามารถตรวจวัดความผิดปกติต่างๆ
ในระบบได้ อีกด้ วย

3. ระบบผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานทดแทน
กลุ่มลูกค้ าเป้าหมายของระบบผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน แบ่งออกเป็ นผู้ประกอบการผลิตกระแสไฟฟ้ าเพื่อ
จาหน่าย และผู้ประกอบการที่ผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนสาหรับระบบและอุปกรณ์ ของผู้ว่าจ้ างเอง เช่น ระบบหรื อ
อุปกรณ์ในพื ้นที่ที่ไม่มีกระแสไฟฟ้าหรื อมีการจ่ายกระแสไฟฟ้าเป็ นช่วงเวลา เป็ นต้ น ซึง่ ประกอบด้ วยทังหน่
้ วยงานเอกชน เช่น
ผู้ประกอบการสือ่ สารโทรคมนาคม และหน่วยงานราชการ เช่น องค์การบริ หารส่วนท้ องถิ่น เป็ นต้ น ซึง่ นอกจากจะสามารถลด
ค่าใช้ จ่ายในส่วนของค่าไฟฟ้าแล้ ว ยังสามารถเพิ่ มภาพลักษณ์ ในการใส่ใจในสภาพแวดล้ อมให้ แก่องค์ ก ร ทาให้ มีบ าง
หน่ว ยงานได้ รวมโครงการผลิต ไฟฟ้ าจากพลังงานทดแทนเข้ า ไปเป็ น ส่ว นหนึ่งของโครงการความรั บ ผิ ดชอบต่อ สังคม
(Corporate Social Responsibilities หรื อ CSR ) กลุม่ ลูกค้ าของบริ ษัทในธุรกิจนี ้ยังรวมถึงบริ ษัทย่อยซึ่งจะว่าจ้ างบริ ษัทใน
ลักษณะโครงการเบ็ดเสร็ จ (Turn-key Project) สาหรับการสร้ างโรงไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน นอกจากนี ้บริ ษัทยังมีกลุ่ม
ลูกค้ าหน่วยงานภาครัฐที่ได้ รับการจัดสรรเงินงบประมาณจากกองทุนเพื่อส่งเสริ มการอนุรักษ์ พลังงาน อีกด้ วย

4. บริการและโซลูช่ นั บริหารจัดการพลังงาน
กลุม่ ลูกค้ าหลักของบริ การและโซลูชนั่ บริ หารจัดการพลังาน ได้ แก่ หน่วยงานที่มีค่าใช้ จ่ายพลังงานจานวนมาก ทา
ให้ การลดสัดส่วนการใช้ พลังงานสามารถประหยัดค่าใช้ จ่ายได้ เช่น ห้ างสรรพสินค้ า โรงแรม โรงพยาบาล อาคารสานักงาน
หรื อโรงงานต่างๆ เป็ นต้ น รวมถึงเป็ นการส่งเสริ มภาพลักษณ์ที่ดีขององค์กร นอกจากนี ้บริ ษัทยังมีกลุม่ ลูกค้ าหน่วยงานภาครัฐ
ที่ได้ รับการจัดสรรเงินงบประมาณจากกองทุนเพื่อส่งเสริ มการอนุรักษ์ พลังงาน อีกด้ วย

การจาหน่ ายและช่ องทางการจาหน่ ายและให้ บริการ


ลักษณะลูกค้ าของบริ ษัทในธุรกิจออกแบบ จาหน่ายและติดตังระบบจ่ ้ ายไฟฟ้าและตรวจวัดจัดการสภาพแวดล้ อม
แบ่งออกได้ เป็ นกลุม่ ลูกค้ าทางตรง และกลุม่ ลูกค้ าผู้รับเหมาระบบ ซึง่ มีรายละเอียด ดังนี ้
ก) กลุม่ ลูกค้ าทางตรง
บริ ษัทมุ่งเน้ นในการจัดจาหน่ายและให้ บริ การกลุ่มลูกค้ าทางตรงในงานลักษณะโครงการที่มีขนาดกลางถึง
ขนาดใหญ่ ซึง่
ลักษณะของกลุ่มลูกค้ าทางตรงของบริ ษัทจะแตกต่างสาหรับกลุ่มลูกค้ าทางตรงของบริ ษัท แบ่งออกเป็ นหน่วยงานเอกชน
และหน่วยงานราชการหรื อรัฐวิสาหกิจ ซึง่ สาหรับลูกค้ าหน่วยงานราชการหรื อรัฐวิสาหกิจนัน้ บริ ษัทจะทาการติดตามข่าวสาร
เกี่ยวกับการจัดซื ้อจัดจ้ างจากช่องทางต่างๆ เช่น เว็บไซต์ระบบการจัดซื ้อจัดจ้ างภาครัฐ (http://www.gprocurement.go.th)
หรื อจากประกาศของหน่วยงานต่างๆ เป็ นต้ น จากนันจึ ้ งทาการศึกษารายละเอียดของโครงการดังกล่าว เพื่อทาการออกแบบ
ระบบและคัดเลือกอุปกรณ์ และส่วนประกอบต่างๆ แล้ วจึงส่งรายละเอียดของโครงการ เพื่ อผ่านระบบจัดซื ้อจัดจ้ างเพื่ อ
พิจารณาความถูกต้ องและมีคณ ุ สมบัติที่ครบถ้ วน จากนันจึ
้ งทาการประกวดราคาเพื่อพิจารณาคั ดเลือกผู้ที่ได้ รับการว่าจ้ าง
ต่อไป หรื อผ่านกระบวนการจัดซื ้อจัดจ้ างโดยวิธีพิเศษ ซึง่ หน่วยงานดังกล่าวจะติดต่อกับบริ ษัทที่มีความเชี่ยวชาญในโครงการ
ดังกล่าวโดยตรงเพื่อทาการเปรี ยบเทียบคุณสมบัติและราคาเพื่อทาการคัดเลือกโดยมิได้ ผ่านขันตอนการประมู
้ ลราคา โดย

ส่วนที่ 3.1.2 – ลักษณะการประกอบธุรกิจ หน้ า 23


บริษัท เพาเวอร์ โซลูช่ นั เทคโนโลยี จากัด (มหาชน)

บริ ษัทจะมีพนักงานฝ่ ายขายทาการประสานงานกับหน่วยงานที่มีศกั ยภาพในการว่าจ้ างอยูเ่ ป็ นประจา รวมถึงมีการนาเสนอ


ข้ อมูลของผลิตภัณฑ์และบริ การของบริ ษัทให้ แก่หน่วยงานดังกล่าว เพื่อให้ หน่วยงานนันๆ ้ มีความเข้ าใจและเล็งเห็นประโยชน์
ของระบบและผลิตภัณ ฑ์ ที่บริ ษั ทจาหน่ายและให้ บริ การ รวมถึงเป็ นการสร้ างความสัมพันธ์ ที่ดีแก่บุคลากรในหน่วยงาน
ดังกล่าวอีกด้ วย
สาหรับหน่วยงานเอกชนนัน้ พนักงานฝ่ ายขายของและวิศวกรของบริ ษัทจะร่ วมกันเข้ าไปนาเสนอข้ อมูลของระบบ
และผลิ ต ภัณ ฑ์ ที่ บ ริ ษั ท จ าหน่ า ยและให้ บริ ก ารแก่ ห น่ ว ยงานที่ เป็ น กลุ่ม ลูก ค้ า เป้ า หมาย ซึ่ ง หากได้ รั บ ค วามสนใจจะ
ทาการศึกษารายละเอียดความต้ องการของลูกค้ าดังกล่าว แล้ วจึงทาการออกแบบและทาข้ อเสนอเพื่อให้ พิจารณาว่าจ้ าง
ต่อไป
ข) กลุ่มลูกค้ าผู้รับเหมาระบบ (System Integrator)
สาหรั บ กลุ่ม ลูก ค้ า ผู้รั บ เหมาระบบนัน้ บริ ษั ท จะท าการประสานงานกับ ผู้รับ เหมาระบบที่ มี ส่ว นเกี่ ย วข้ อ งกับ
ผลิต ภัณ ฑ์ แ ละระบบที่ บ ริ ษั ท จ าหน่ ายและให้ บ ริ ก ารเป็ น ประจ า ซึ่งหากมี ก ารจัด ซื อ้ จัด จ้ างหรื อ ว่าจ้ า งในโครงการที่ มี
ส่วนประกอบเป็ นส่วนที่บริ ษัทมีความเชี่ยวชาญ บริ ษัทจะทาการนาเสนอโครงการสาหรับส่วนงานดังกล่าวแก่ผ้ รู ับเหมาระบบ
โดยส่งทีมวิศวกรทางานร่ วมกัน เพื่อร่ วมกับ ออกแบบส่วนประกอบต่างๆ ให้ มีประสิทธิภาพและตรงกับความต้ องการของผู้
ว่าจ้ างมากที่สดุ เพื่อให้ ผ้ รู ับเหมาระบบดาเนินการยื่นข้ อเสนอหรื อยื่นประกวดราคาแก่ผ้ วู า่ จ้ างต่อไป

นอกจากนี ้บริ ษัทยังมีการเข้ าร่ วมเป็ นสมาชิกของสมาคมและองค์กรต่างๆ เช่น สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย


สมาคมอุตสาหกรรมเซลล์แสงอาทิตย์ไทย สมาคมช่างเหมาไฟฟ้าและเครื่ องกลไทย และสมาคมไฟฟ้าแสงสว่างแห่งประเทศ
ไทย เป็ นต้ น ทาให้ บริ ษัทสามารถรับรู้ ข่าวสารที่เกี่ยวข้ องกับธุรกิจในอุตสาหกรรมนันๆ
้ และสามารถขยายฐานลูกค้ าในกลุม่
อุตสาหกรรมดังกล่าวได้

การจัดหาผลิตภัณฑ์ และบริการ
บริ ษัทจัดหาอุปกรณ์สาหรับธุรกิจการออกแบบ จาหน่าย ติดตังระบบจ่
้ ายไฟฟ้า และตรวจวัดจัดการสภาพแวดล้ อม
รวมถึงอุปกรณ์สาหรับก่อสร้ างโรงงานไฟฟ้าพลังงานทดแทนของบริ ษัทย่อย จากทังในและต่
้ างประเทศ โดยทังนี
้ ้บริ ษัทเป็ น
ตัวแทนจาหน่ายสินค้ าให้ กบั ตราสินค้ าต่างๆ ดังนี ้

ผู้แต่ งตัง้ ตราสินค้ า ระยะเวลา สินค้ าที่เป็ นตัวแทนจาหน่ าย


Delta Electronics, DELTA เครื่ องสารองไฟฟ้าและปรับแรงดันไฟฟ้าอัตโนมัติ
1 ม.ค. 2562 - 30 ธ.ค. 2562
Inc. (ไต้ หวัน) (Uninterruptible Power Supply หรื อ UPS)

Enatel Ltd. enatel 11 มิ.ย. 2562 - 10 มิ.ย. 2564 ผลิตภัณฑ์ตราสินค้ า Enatel ทุกชนิด
(นิวซีแลนด์)
Haze Battery HAZE 1 มิ.ย. 2561 – 1 มิ.ย. 2563 ผลิตภัณฑ์แบตเตอรี่
Company Limited
(สหรัฐอเมริ กา)

ส่วนที่ 3.1.2 – ลักษณะการประกอบธุรกิจ หน้ า 24


บริษัท เพาเวอร์ โซลูช่ นั เทคโนโลยี จากัด (มหาชน)

นโยบายด้ านสิ่งแวดล้ อม
บริ ษัทได้ ตระหนักถึงผลกระทบที่จะกระทบต่อสิ่งแวดล้ อมจากการดาเนินงานของบริ ษัท จึงมีมาตรการต่างๆในการ
ป้องกันปั ญ หามลภาวะจากการดาเนินงานของบริ ษัท โดยบริ ษัทได้ รับการรับรองการจัดการสิ่งแวดล้ อมของบริ ษัทตาม
มาตรฐานสากล ISO 14001:2015 สาหรับธุรกิจการดาเนินธุรกิจออกแบบ จาหน่าย ติดตังระบบจ่ ้ ายไฟฟ้า และตรวจวัด
จัดการสภาพแวดล้ อม และธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน อีกทังยั ้ งได้ มีการว่าจ้ างบุคคลภายนอกในการบาบัด และกาจัด
วัสดุปนเปื อ้ นสารเคมีที่เกิดจากการดาเนินงานของบริ ษัทอีกด้ วย

2. ธุรกิจโรงไฟฟ้ าพลังงานทดแทน
ณ ปั จจุบนั บริ ษัทฯและบริ ษัทย่อย มีกาลังการผลิตตามสัญญารวมทังสิ ้ ้น 64.95 เมกะวัตต์ สามารถแบ่งออกตาม
ประเภทของพลังงานทดแทน ได้ แก่
1. โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ดาเนินการ โดยบริ ษัทและบริ ษัทย่อย มีกาลังการผลิตไฟฟ้าตามสัญญารวม
15.0 เมกะวัตต์ ซึง่ เป็ นโครงการที่ดาเนินการเชิงพาณิชย์แล้ วทังสิ
้ ้น
2. โรงไฟฟ้าพลังงานชีวภาพดาเนินการโดยบริ ษัทย่อย มีกาลังการผลิตไฟฟ้าตามสัญญารวม 12.59 เมกะวัตต์
แบ่งเป็ นโครงการที่ดาเนินการเชิงพาณิ ชย์แล้ ว ซึ่งมีกาลังการผลิตไฟฟ้าตามสัญ ญา 6.99 เมกะวัตต์ และมี
โครงการที่อยูร่ ะหว่างการพัฒนา มีกาลังการผลิตไฟฟ้าตามสัญญาอีกกว่า 5.60 เมกะวัตต์

3. โรงไฟฟ้าพลังงานชีวมวลดาเนินการโดยบริ ษัทย่อย มีกาลังการผลิตไฟฟ้าตามสัญญารวม 37.36 เมกะวัตต์


แบ่งเป็ นโครงการที่ดาเนินการเชิงพาณิชย์แล้ ว ซึง่ มีกาลังการผลิตไฟฟ้าตามสัญญา 8.00 เมกะวัตต์ และมี
โครงการที่อยูร่ ะหว่างการพัฒนา มีกาลังการผลิตไฟฟ้าตามสัญญาอีกกว่า 5.94 เมกะวัตต์ และโครงการที่
ได้ รับตอบรับซื ้อไฟฟ้าแล้ ว (อยูร่ ะหว่างรอลงนามสัญญาซื ้อขายไฟฟ้า) อีก 23.42 เมกะวัตต์โดยลักษณะการ
ประกอบธุรกิจและรายละเอียดของโรงไฟฟ้าแต่ละประเภทเป็ นดังนี ้
โดยลักษณะการประกอบธุรกิจและรายละเอียดของโรงไฟฟ้าแต่ละประเภทเป็ นดังนี ้
โรงไฟฟ้ าพลังงานแสงอาทิตย์
บจ. กันหา บจ. โซล่ าร์ บจ. เพาเวอร์ บจ. พีเอสที เอน
บมจ. เพาเวอร์ โซลูช่ นั เทคโนโลยี
โซล่ าพาวเวอร์ โกกรีน วี กรีน เนอร์ ยี 2
อาเภอเมือง อาเภออัมพวา
อาเภอเขาย้ อย อาเภอเมือง อาเภอสร้ างคอม อาเภอไทรน้ อย
ที่ตัง้ จังหวัด จังหวัด
จังหวัดเพชรบุรี จังหวัดสระแก้ ว จังหวัดอุดรธานี จังหวัดนนทบุรี
สมุทรสงคราม สมุทรสงคราม
กาลังการผลิต
1.0 5.0 2.0 1.0 1.0 5.0
(เมกะวัตต์ )
คู่สัญญาซือ้ ขายไฟฟ้ า กฟภ. กฟภ. กฟภ. กฟภ. กฟน. กฟภ.
วันเริ่มต้ นซือ้ ขาย
28 ธ.ค. 58 5 ม.ค. 60 15 ส.ค. 54 8 พ.ค. 57 10 ต.ค. 57 12 ม.ค. 60
ไฟฟ้ าเชิงพาณิชย์
ค่ าความเข้ มของแสง
485.16 440.94 422.50 461.59 452.12 495.47
แต่ ละพืน้ ที่ (W/m2)
จานวนชั่วโมงที่รับ
9.30 ชม./วัน 9.30 ชม./วัน 9.30 ชม./วัน 9.30 ชม./วัน 9.30 ชม./วัน 9.30 ชม./วัน
แสงอาทิตย์
ปริมาณกระแสไฟฟ้ า
แต่ ละโครงการที่ผลิต 1,501,632 7,202,320 3,287,738 1,397,080 1,325,317 7,276,740
ได้ ต่อปี (หน่ วย : Kwh)

ส่วนที่ 3.1.2 – ลักษณะการประกอบธุรกิจ หน้ า 25


บริษัท เพาเวอร์ โซลูช่ นั เทคโนโลยี จากัด (มหาชน)

เทคโนโลยีท่ ใี ช้ ในโรงไฟฟ้ า

นอกจากนี ้ บริ ษัทยังได้ ทาการลงทุนในบริ ษัท พีวี กรี น จากัด เพื่อดาเนินธุรกิจโรงไฟฟ้าพลังแสงอาทิตย์ที่ติดตังบนหลั


้ งคา ใน
สัดส่วนร้ อยละ 19.99 ของทุนจดทะเบียนและชาระแล้ วทังหมด ้ 18,000,000 บาท โดยบริ ษัทดังกล่าวมีผ้ ถู ือหุ้นรายใหญ่ คือ
บริ ษัท วีรับเบอร์ คอร์ ปอเรชั่น จากัด ซึ่งเป็ นเจ้ าของอาคารที่โครงการใช้ หลังคาเป็ นที่ติดตังและไม่
้ มีความเกี่ยวข้ องกับบริ ษัท
โดยโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตังบนหลั ้ งคา บริ ษัท วีรับเบอร์ คอร์ ปอเรชัน่ จากัด ณ ตาบลเขาย้ อย อาเภอ
เขาย้ อย โดยได้ รับการอนุมตั ิการจาหน่ายไฟฟ้าและเชื่อมต่ อเข้ าระบบจาหน่ายของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ในลักษณะผู้ผลิต
ไฟฟ้าขนาดเล็กมาก (Very Small Power Producer หรื อ VSPP) สาหรับอาคารขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ /โรงงาน ในเดือน
มกราคม ปี 2557 และได้ ทาการเชื่อมโยงระบบไฟฟ้าและจาหน่ายกระแสไฟฟ้าเชิงพาณิชย์ (Commercial Operation Date :
COD) เมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2557 และได้ รับการสนับสนุนในรู ปแบบ Feed-in Tariff ในราคา 6.16 บาทต่อกิโลวัตต์ -
ชัว่ โมง เป็ นเวลา 25 ปี นับจากวันเริ่ มต้ นซื ้อขายไฟฟ้าเชิงพาณิชย์ โดยได้ ทาการได้ ทาการว่าจ้ างบริ ษัทในการออกแบบ ติดตัง้
และทดสอบระบบของโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ดงั กล่าว

ส่วนที่ 3.1.2 – ลักษณะการประกอบธุรกิจ หน้ า 26


บริษัท เพาเวอร์ โซลูช่ นั เทคโนโลยี จากัด (มหาชน)

โรงไฟฟ้ าพลังงานชีวภาพ

บจ. เศรษฐี
บจ. นวรัตน์ บจ. โรงไฟฟ้ าสระ บจ. โรงไฟฟ้ า
บจ. อรัญ เพาเวอร์ สุพรรณ ไบโอกรีน
บีเวอร์ เรส ยายโสม ขุนพัดเพ็ง
เพาเวอร์
อาเภอบ้ านใหม่ไชย
อาเภอสามชุก อาเภอเมือง อาเภอสระยายโสม อาเภอสระยายโสม
ที่ตงั ้ พจน์
จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี
จังหวัดบุรีรัมย์
กาลังการผลิต
0.95 4.0 2.0 4.6 1.0
(เมกะวัตต์ )
คู่สัญญาซือ้ ขาย
กฟภ. กฟภ. กฟภ. กฟภ. กฟภ.
ไฟฟ้ า
ดาเนินการก่อสร้ างเสร็จ ดาเนินการก่อสร้ างเสร็จ
วันเริ่มต้ นซือ้ ขาย เรียบร้ อยแล้ วคาดว่าจะ เรียบร้ อยแล้ วคาดว่าจะ
11 พ.ค. 55 19 มี.ค. 57 20 ต.ค. 58
ไฟฟ้ าเชิงพาณิชย์ COD ภายใน ไตรมาส ที่ COD ภายใน ไตรมาส ที่
2 ปี 2562 2 ปี 2562
แหล่ งที่มาของ
น ้าวีแนสที่ได้ จากกระบวนการผลิตของโรงงานน ้าตาล
เชือ้ เพลิง
ปริมาณ
กระแสไฟฟ้ าแต่
ละโครงการที่ 2,437,962 4,096,400 3,965,560 - -
ผลิตได้ ต่อปี
(หน่ วย : Kwh)

ส่วนที่ 3.1.2 – ลักษณะการประกอบธุรกิจ หน้ า 27


บริษัท เพาเวอร์ โซลูช่ นั เทคโนโลยี จากัด (มหาชน)

โรงไฟฟ้ าพลังงานชีวมวล
บจ. พี
บจ. เวลล์
เอสที
บจ. ไบโอโกกรีน โคราช เอ็น
เอน
เนอร์ ยี
เนอร์ ยี 1
อาเภอ อาเภอ อาเภอ อาเภอ
อาเภอ อาเภอ อาเภอ อาเภอ
อาเภอทุง่ สง หนองมะ สว่าง ประจักษ์ เมือง
พนัสนิคม ศรี นคร คลองขลุง หนองกี่
ที่ตงั ้ จังหวัด โมง ดินแดน ศิลปาคม จังหวัด
จังหวัด จังหวัด จังหวัด จังหวัด
นครศรี ธรรมราช จังหวัด จังหวัด จังหวัด แพร่
ชลบุรี สุโขทัย กาแพงเพชร บุรีรัมย์
ชัยนาท สกลนคร อุดรธานี
กาลังการ
ผลิต (เมกะ 1.0 1.0 1.0 1.0 1.0 1.0 1.0 23.42 8.0
วัตต์ )
คู่สัญญาซือ้
กฟภ. กฟภ. กฟภ. กฟภ. กฟภ. กฟภ. กฟภ. กฟภ. กฟภ.
ขายไฟฟ้ า
อยูร่ ะหว่าง
การจัดทา
รายงาน
วันเริ่มซือ้
การ
ขายไฟฟ้ า อยูร่ ะหว่างการขยายวัน SCOD 24 ก.ค. 58
วิเคราะห์
เชิงพาณิชย์ ผลกระทบ
สิ่งแวดล้ อม
(EIA)
ประเภท
เชือ้ เพลิงที่ ไม้ สบั เปลือกไม้ สบั ไม้ ไผ่สบั เปลือกมันสาปะหลัง เหง้ ามันสาปะหลัง แกลบขี ้ไก่ แกลบทัว่ ไป ซังข้ าวโพด เปลือกข้ าวโพด และ
ใช้ ในการ ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรที่นามาใช้ ได้
ผลิต

ส่วนที่ 3.1.2 – ลักษณะการประกอบธุรกิจ หน้ า 28


บริษัท เพาเวอร์ โซลูช่ นั เทคโนโลยี จากัด (มหาชน)

อุตสาหกรรมพลังงานหมุนเวียนและการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานหมุนเวียน
อุตสาหกรรมพลังงานทดแทนของประเทศไทยแม้ ว่าจะชะลอตัวลงจากการประกาศชะลอรับซื ้อไฟฟ้าจากพลังงาน
ทดแทนในช่วง 5 ปี จากนี ้ เนื่องจากกาลังการผลิตไฟฟ้าในระบบมีเพียงพอ แต่ก็ยงั มีโอกาสเติบโตจากการเปิ ดรับซื ้อไฟฟ้าจาก
ขยะมูลฝอยใน 12 โครงการ ปริ มาณ 77.9 เมกะวัตต์ ที่จะจ่ายไฟฟ้าเข้ าระบบในปี 2564 และแผนการปฏิรูปประเทศด้ าน
พลังงาน โดยมุ่งเน้ นการสนับสนุนพลังงานทดแทนเพื่อการส่งเสริ มการแข่งขันและสร้ างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิ จ โดยมี
ประเด็นและแนวทางการปฏิรูปดังนี ้
ประเด็นการปฏิรูปที่ 1 : ปฏิรูปการบริ หารจัดการเชื ้อเพลิงไม้ โตเร็ วสาหรับโรงไฟฟ้าชีวมวล
แนวทางการปฏิรูป1 : กระทรวงพลังงานและกระทรวงเกษตรและสหกรณ์จะบูรณาการข้ อมูลไม้ โตเร็ ว กาหนดพื ้นที่
ปลูกและขยายผลการดาเนินงานตังแต่ ้ ปี 2562 ในการสนับสนุนการตังวิ ้ สาหกิจชุมชนผลิตเชื ้อเพลิง กาหนดมาตรฐานและ
ราคากลางของเชื ้อเพลิง เพื่อสร้ างความมัน่ คงระบบไฟฟ้า สร้ างพืชเศรษฐกิจใหม่และสนับสนุนการเพิ่มรายได้ กบั ชุมชน
ประเด็นการปฏิรูปที่ 2 : ปฏิรูปการส่งเสริ มการนาขยะไปเป็ นเชื ้อเพลิงผลิตไฟฟ้า เพื่อแก้ ปัญหาด้ านขยะ สร้ างความ
มัน่ คงระบบไฟฟ้าและสนับสนุนการเพิ่มรายได้ กบั ชุมชน
แนวทางการปฏิรูป 2 : ประสานหน่วยงานออกมาตรการสนับสนุนรวบรวมขยะ และกาหนดให้ มีกฎหมายบังคับใช้
วิธีการแยกขยะ การขนส่ง การจัดเก็บภายใน 2 ปี
ประเด็นการปฏิรูปที่ 3 : การส่งเสริ มการติดตังโซลาร์
้ รูฟเสรี โดยการนาไฟฟ้าส่วนที่เหลือจากการผลิตไม่ต้องขายให้
การไฟฟ้า แต่สามารถขายให้ เอกชนและหน่วยงานได้ แบบไม่จากัดปริ มาณ และไม่จากัดเวลาในการสมัคร
แนวทางการปฏิรูป 3 : ปรับปรุงกฎหมายและมาตรการสนับสนุนการติดตังโซลาร์ ้ รูฟเสรี ภายใน 1 ปี เพื่อให้ ครัวเรื อน
ทัว่ ไปและผู้ประกอบการติดตังแผงโซลาร์
้ บนหลังคาผลิตไฟฟ้าใช้ เองได้ อย่างแพร่หลายโดยไม่ติดขัดกฎระเบียบ

จากแผนปฏิรูปด้ านพลังงานดังกล่าว คาดว่าจะสร้ างรายได้ ให้ กบั ชุมชนและส่งเสริ มให้ ประชาชนมีสว่ นร่วมในการ
ผลิตพลังงานเพิ่มการยอมรับของชุมชนในพื ้นที่ที่มีการก่อสร้ างโรงไฟฟ้าชีวมวล การนาขยะไปเป็ นเชือ้ เพลิงเพื่อผลิตไฟฟ้า
ช่วยลดผลกระทบที่มีต่อสุขภาพประชาชนอันเกิดจากมลพิษขยะ การส่งเสริ มการติดตังโซลาร์ ้ รูฟเสรี เพิ่มการพึ่งพาตนเอง
สร้ างอุตสาหกรรมต่อเนื่องและการปรับโครงสร้ างการใช้ พลังงานภาคขนส่ ง ส่งเสริ มการใช้ เชือ้ เพลิงชีวภาพ จะนาไปสู่การ
สร้ างรายได้ ให้ กบั เกษตรกร ในปี 2562 นี ้คาดว่าการลงทุนพลังงานแสงอาทิตย์ติดตังบนหลั
้ งคาที่อยู่อาศัย (โซลาร์ รูฟเสรี ) ใน
ภาคธุรกิจและครัวเรื อนจะยังคงขยายตัวแบบต่อเนื่องโดยคาดว่าจะมีการติดตังประมาณ ้ 700 -1,000 เมกะวัตต์ คิดเป็ นเงิน
ลงทุนประมาณ 21,000 - 30,000 ล้ านบาท ทังนี ้ ้ เนื่องจากต้ นทุนการผลิตไฟฟ้าจากโซลาร์ รูฟท็อปมีอตั ราต่ากว่าราคาขาย
ปลีกที่การไฟฟ้าฝ่ ายจาหน่ายขาย ให้ แก่ประชาชนทัว่ ไปแล้ ว ทาให้ ภาคธุรกิจมีการพิจารณาติดตังเพื้ ่อลดต้ นทุนอย่างต่อเนื่อง

นอกจากนี ้ การที่ รั ฐ บาลมี น โยบายส่ง เสริ ม ให้ มี ก ารใช้ พลัง งานทดแทนในประเทศเพิ่ ม มากขึ น้ รวมทัง้ เพิ่ ม
ประสิทธิภาพการใช้ พลังงานโดยลดสัดส่วนการใช้ พลังงานต่อผลิตภัณฑ์มวลรวม (Energy Intensity) พบว่าในช่วง 10 เดือน
ของปี 2561 ประเทศไทยมีการใช้ พลังงานทดแทน 10,667 พันตันเทียบเท่าน ้ามันดิบเพิ่มขึ ้นร้ อยละ 11.7 จากช่วงเดียวกัน
ของปี ก่อนส่วนสัดส่วนการใช้ พลังงานต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมมีแนวโน้ มลดลงอย่างต่อเนื่องเมื่อเปรี ยบเทียบกับปี 2553 ซึง่ เป็ น
ปี ฐานที่เริ่ มดาเนินการตามแผนอนุรักษ์ พลังงาน 20 ปี (พ.ศ. 2554 – 2573) และแผนอนุรักษ์ พลังงานพ.ศ. 2558 – 2579

ส่วนที่ 3.1.2 – ลักษณะการประกอบธุรกิจ หน้ า 29


บริษัท เพาเวอร์ โซลูช่ นั เทคโนโลยี จากัด (มหาชน)

ในภาพรวมธุรกิจพลังงานทดแทนยังมีแนวโน้ มเติบโตได้ ดีและยังคงเป็ นธุรกิจที่น่าสนใจในระยะยาว ตามความต้ องการใช้


พลังงานที่ ยังคงมี แ นวโน้ ม เพิ่ ม ขึน้ ต่อ เนื่ องประกอบกับ นโยบายส่งเสริ ม การใช้ พ ลังงานทดแทนของภาครั ฐ โดยเฉพาะ
แผนพัฒนาพลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก พ.ศ. 2558 - 2579 (Alternative Energy Development plan : AEDP) ที่
มีเป้าหมายสัดส่วนการใช้ พลังงานทดแทนร้ อยละ 30 ของการใช้ พลังงานขันสุ ้ ดท้ ายของประเทศภายในปี 2579 ซึ่งข้ อมูล
ล่าสุด ณ เดือนตุลาคม 2561 ที่ผ่านมา ประเทศไทยมีสดั ส่วนการใช้ พลังงานทดแทนร้ อยละ 15.28 ของพลังงานขันสุ ้ ดท้ าย
ทังนี
้ ้ เมื่อพิจารณาถึงเป้าหมายที่ทางการได้ วางไว้ ตามแผนพัฒนากาลังผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย ปี 2558 - 2579 (PDP
2015) จะพบว่า เป้าหมาย ณ ปี 2579 จะมีการผลักดันการใช้ พลังงานทดแทนเพื่อการผลิตไฟฟ้าสูงราว 19,684.40 เมกะ
วัตต์ ในขณะที่ปัจจุบนั มีการดาเนินการผลิตตามเป้าหมายไปแล้ ว 10,797.50 เมกะวัตต์ หรื อร้ อยละ 54.85 ของเป้าหมาย
ตามที่ได้ คาดการณ์ ไว้ ล่าสุด คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่ งชาติ (กพช.) ได้ มีมติอนุ มัติแผนพัฒนากาลังผลิต
ไฟฟ้ าของประเทศ พ.ศ. 2561 - 2580 หรื อ PDP 2018 ตามที่กระทรวงพลังงานเป็ นผู้เสนอ ทาให้ กาลังผลิตไฟฟ้ า
ถึงสิ น้ ปี 2580 จะมี ทั ง้ หมด 77,211 เมกะวั ต ต์ (MW) ซึ่ งใกล้ เคี ย งกั บ แผน PDP 2015 ที่ ใช้ อ ยู่ในปั จจุ บั น ทัง้ นี ้
กระทรวงพลังงานมองว่า การสร้ างโรงไฟฟ้ า ของประเทศจะเปลี่ ย นไป ซึ่ ง จะเป็ นเทคโนโลยี พ ลัง งานทดแทนมากขึ น้
ขณะเดียวกันจะมีการบริ หารจัดการระบบผลิตและระบบส่งไฟฟ้าเพราะยังถูกใช้ ไม่เต็มศักยภาพ ดังนันจะท ้ าตลาดกลางรับ
ซื ้อไฟฟ้า เพื่อเป็ นศูนย์กลางด้ านไฟฟ้าในอาเซียน (ASEAN Hub) และต้ นทุนค่าไฟฟ้าแข่งขันได้ เมื่อเทียบกับอาเซียน
นอกจากนี ้การขับเคลื่อนพลังงานไทย 4.0 (Energy 4.0) ปั จจุบนั ประเทศไทยนาเข้ าพลังงาน 60% คิดเป็ นมูลค่า 2
ล้ านล้ านบาท โดยเป็ นการนาเข้ าน ้ามันดิบมากถึง 85% ซึ่งกระทรวงพลังงานมีโครงการส่งเสริ มการปรับเปลี่ยนอุปกรณ์
ประหยัดพลังงานให้ กบั หน่วยงานรัฐและภาคเอกชน ส่งผลให้ ประหยัดค่าไฟลงได้ ขณะที่การขนส่งน ้ามัน จากเดิ มที่ต้องใช้
รถบรรทุ ก ขนส่ ง ก็ เ ปลี่ ย นเป็ นการขนส่ ง ทางท่ อ น า้ มั น แทน ล่ า สุ ด โครงการท่ อ ขนส่ ง น า้ มั น ภาคเหนื อ และภาค
ตะวันออกเฉียงเหนืออยูใ่ นระหว่างการก่อสร้ าง

ส่วนที่ 3.1.2 – ลักษณะการประกอบธุรกิจ หน้ า 30


บริษัท เพาเวอร์ โซลูช่ นั เทคโนโลยี จากัด (มหาชน)

เป้ าหมายการพัฒนาพลังงานทดแทน
เป้าหมายการพัฒนาพลังงานทดแทน การพัฒนาพลังงานทดแทนเป็ นส่วนหนึง่ ของการกาหนดนโยบายพลังงานใน
ภาพรวมที่จาเป็ นต้ องบูรณาการร่วมกับแผนพลังงานอื่นๆ เพื่อให้ การขับเคลือ่ นสอดคล้ องกัน ในการจัดทาแผน AEDP 2015
ได้ นาค่าพยากรณ์ความต้ องการใช้ พลังงานขันสุ
้ ดท้ ายตามแผนอนุรักษ์ พลังงาน (Energy Efficiency Plan : EEP 2015) กรณี
ที่สามารถบรรลุเป้าหมายลดความเข้ มการใช้ พลังงาน (Energy Intensity) ลงร้ อยละ 30 ในปี 2579 เมื่อเทียบกับปี 2553
แล้ ว คาดการณ์ความต้ องการใช้ พลังงานขันสุ
้ ดท้ าย ณ ปี 2579 จะอยูท่ ี่ระดับ 131,000 พันตัน เทียบเท่าน ้ามันดิบ (ktoe) ค่า
พยากรณ์ ค วามต้ อ งการพลัง งานไฟฟ้ า สุท ธิ ข องประเทศ จากแผนพัฒ นา ก าลัง ผลิ ต ไฟฟ้ า ของประเทศไทย ( Power
Development Plan : PDP 2015) ในปี 2579 มี ค่ า 326,119 ล้ า นหน่ ว ยหรื อ เที ย บเท่ า 27,789 ktoe ค่ า พยากรณ์ ค วาม
ต้ องการใช้ พลังงานความร้ อน ในปี 2579 เท่ากับ 68,413 ktoe และค่าพยากรณ์ความต้ องการใช้ เชื ้อเพลิงในภาคขนส่งจาก
แผนบริ หารจัดการน ้ามันเชือ้ เพลิง ในปี 2579 มีค่า 34,798 ktoe มาเป็ นกรอบในการกาหนดเป้าหมายเพิ่มสัดส่วนการใช้
พลังงานทดแทน รวมทังพิ ้ จารณาถึงศักยภาพแหล่งพลังงานทดแทนที่สามารถนามาพัฒนาได้ ทังในรู ้ ปของพลั งงานไฟฟ้า
ความร้ อน และเชื ้อเพลิง ชีวภาพภายใต้ แผน AEDP2015 เป็ นร้ อยละ 30 ของการใช้ พลังงานขันสุ ้ ดท้ ายในปี 2579
เป้ าหมายการพัฒนาพลังงานทดแทนภายใต้ แผน AEDP ในปี 2579
จากการที่รัฐบาลมีนโยบายส่งเสริ มให้ มีการใช้ พลังงานทดแทนในประเทศเพิ่มมากขึ ้น รวมทังเพิ
้ ่มประสิทธิภาพการ
ใช้ พลังงาน โดยลดสัดส่วนการใช้ พลังงานต่อผลิตภัณฑ์ มวลรวม (Energy Intensity) พบว่า ในช่วง 11 เดือนของปี 2561
ประเทศไทยมีการใช้ พลังงานทดแทน 11,664 พันตันเทียบเท่าน ้ามันดิบ เพิ่มขึ ้น ร้ อยละ 11.3 จากช่วงเดียวกันของปี ก่อน
ส่วนสัดส่วนการใช้ พลังงานต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมมีแนวโน้ มลดลงอย่างต่อเนื่องเมื่อเปรี ยบเทียบกับปี 2553 ซึ่งเป็ นปี ฐานที่
เริ่ มด้ าเนินการตามแผนอนุรักษ์ พลังงาน 20 ปี (พ.ศ. 2554 – 2573) และแผนอนุรักษ์ พลังงาน พ.ศ. 2558 - 2579

ที่มา :รายงานการใช้ ไฟฟ้าและการผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย โดยสานักนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน

ส่วนที่ 3.1.2 – ลักษณะการประกอบธุรกิจ หน้ า 31


บริษัท เพาเวอร์ โซลูช่ นั เทคโนโลยี จากัด (มหาชน)

พลังงานหมุนเวียน
เป้าหมายการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนแต่ละประเภทเชือ้ เพลิงตามแผน AEDP2015 มีสดั ส่วนการผลิต
ไฟฟ้าจากเชื อ้ เพลิงพลังงานทดแทนในภาพรวมของทัง้ ประเทศ ที่ ร้อยละ 20 ของปริ ม าณความต้ องการพลังงานไฟฟ้า
(Energy) รวมสุทธิ ซึง่ สอดคล้ องตามกรอบการกาหนดสัดส่วนเชื ้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้าของแผนพัฒนากาลังผลิตไฟฟ้าของ
ประเทศไทย พ.ศ. 2558 - 2579 (PDP2015) ที่ระบุวา่ จะให้ มีสดั ส่วนการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนอยูใ่ นช่วงร้ อยละ 15
- 20 ภายในปี 2579
สถานภาพและเป้ าหมายการผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานทดแทนแต่ ละประเภทเชือ้ เพลิง
ประเภทเชือ้ เพลิง สถานภาพ ณ เดือนกันยายน เป้ าหมายปี 2579
2561 (เมกะวั ตต์ )
1. แสงอาทิตย์ 2,715.21 6,000.00
(เมกะวัตต์ )
2. พลังงานลม 927.82 3,002.00

3. พลังน ้าขนาดเล็ก 187.72 376.00

4. ชีวมวล 3,266.98 5,570.00

5. ก๊ าซชีวภาพ 500.15 1,280.00

6. ขยะ 273.40 550.00

7. พลังน ้าขนาดใหญ่ 2,906.40 2,906.40

8. พลังงานทดแทนอื่น ๆ (พลังความร้ อนใต้ พิภพ) 0.30 -

รวมเมกะวัตต์ติดตัง้ 10,777.99 19,684.40

สัดส่วนการใช้ พลังงานทดแทน (%) 15.33 30.00

ยุทธศาสตร์ ส่งเสริมการพัฒนาพลังงานทดแทน
กระทรวงพลังงานกาหนดยุทธศาสตร์ เพื่อส่งเสริ มการพัฒนาพลังงานทดแทนในปี 2558-2579 ดังนี ้
ยุทธศาสตร์ ท่ ี 1 การเตรียมความพร้ อมด้ านวัตถุดิบและเทคโนโลยีพลังงานทดแทน
เป้าประสงค์ การพัฒนาความสามารถในการผลิต บริ หารจัดการวัตถุดิบ ด้ วยเทคโนโลยีที่เหมาะสม
กลยุทธ์ 1.1 พัฒนาวัตถุดิบทางเลือกอื่น และพื ้นที่ที่มีศกั ยภาพเพื่อผลิตพลังงานทดแทน
กลยุทธ์ 1.2 พัฒนาการรูปแบบการบริ หารจัดการและการใช้ วตั ถุดิบพลังงานทดแทนให้ มีประสิทธิภาพ
กลยุทธ์ 1.3 ส่งเสริ มการพัฒนาเทคโนโลยีให้ ที่เหมาะสมกับความสามารถการผลิตและการใช้ พลังงานทดแทน
กลยุทธ์ 1.4 ปรับปรุงระบบโครงสร้ างพื ้นฐานเพื่อรองรับการผลิตการใช้ พลังงานทดแทนอย่างเหมาะสม

ส่วนที่ 3.1.2 – ลักษณะการประกอบธุรกิจ หน้ า 32


บริษัท เพาเวอร์ โซลูช่ นั เทคโนโลยี จากัด (มหาชน)

ยุทธศาสตร์ ท่ ี 2 การเพิ่มศักยภาพการผลิต การใช้ และตลาดพลังงานทดแทน


เป้าประสงค์ การผลักดันความสามารถในการผลิตและความต้ องการพลังงานทดแทน
กลยุทธ์ 2.1 สนับสนุนครัวเรื อนและชุมชนให้ มีสว่ นร่วมในการผลิตการใช้ พลังงานทดแทน
กลยุทธ์ 2.2 ส่งเสริ มให้ เกิดการลงทุนด้ านพลังงานทดแทนอย่างเหมาะสมแก่ผ้ ผู ลิตและผู้ใช้ ทงในและต่
ั้ างประเทศ
กลยุทธ์ 2.3 ส่งเสริ มการลดต้ นทุนการผลิต และเพิ่มประสิทธิภาพธุรกิจพลังงานทดแทน
กลยุทธ์ 2.4 พัฒ นากฎหมายด้ านพลังงานทดแทน พร้ อมทังเร่
้ งรัดการปรับปรุ งแก้ ไขกฎหมายและ กฎระเบียบเพื่อ
ส่งเสริ มการพัฒนาพลังงานทดแทนอย่างเหมาะสม
ยุทธศาสตร์ ท่ ี 3 การสร้ างจิตสานึกและเข้ าถึงองค์ ความรู้ข้อเท็จจริงด้ านพลังงานทดแทน
เป้าประสงค์ การสร้ างความตระหนักและความรู้ความเข้ าใจต่อการผลิตการใช้ พลังงานทดแทนอย่างมีประสิทธิภาพ
และยัง่ ยืน
กลยุทธ์ 3.1 พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อบริ หารจัดการฐานข้ อมูลด้ านพลังงานทดแทน
กลยุทธ์ 3.2 เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสาร องค์ความรู้ และข้ อมูลสถิติพลังงานทดแทน
กลยุทธ์ 3.3 พัฒนาบุคลากรให้ มีความรู้ความเข้ าใจด้ านพลังงานทดแทน เพื่อสร้ างความสามารถในการใช้ ประโยชน์
จากพลังงานทดแทนทังภาคทฤษฎี
้ และภาคปฏิบตั ิ
กลยุทธ์ 3.4 พัฒนาเครื อข่ายด้ านพลังงานทดแทนที่เกี่ยวข้ อง และสนับสนุนการมีสว่ นร่วมของเครื อข่ายทัง้
ในระดับประเทศและในระดับนานาชาติ

3. ธุรกิจจาหน่ ายและขนส่ งผลิตภัณฑ์ ปิโตรเลียมเหลว


3.1 ธุรกิจจาหน่ ายก๊ าซปิ โตรเลียมเหลว (LPG) และธุรกิจจาหน่ ายก๊ าซธรรมชาติเหลว (LNG)
3.1.1 ธุรกิจจาหน่ ายก๊ าซปิ โตรเลียมเหลว (Liquefied Petroleum Gas หรือ LPG)
บริ ษัท บิ๊กแก๊ ส เทคโนโลยี จากัด ซึง่ ได้ รับอนุญาตเป็ นผู้ค้าน ้ามันตามมาตรา 7 แห่งพระราชบัญญัติการค้ า
น ้ามันเขื ้อเพลิง พ.ศ.2543 ประเภทก๊ าซปิ โตรเลียมเหลว เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2558 โดยบริ ษัทมีสว่ นแบ่งการตลาดตาม
ปริ มาณการจาหน่ายอยูใ่ นลาดับที่ 7 จากจานวนผู้ค้าฯ ก๊ าซหุงต้ มทังหมด ้ 14 ราย การจัดจาหน่ายดาเนินการภายใต้
เครื่ องหมายการค้ า “บิ๊กแก๊ ส” ให้ แก่กลุม่ ลูกค้ าครอบคลุมทัง้ 3 ภาคส่วน คือ ภาคอุตสาหกรรม, ภาคยานยนต์, ภาค
ครัวเรื อนและการพาณิชย์

ส่วนที่ 3.1.2 – ลักษณะการประกอบธุรกิจ หน้ า 33


บริษัท เพาเวอร์ โซลูช่ นั เทคโนโลยี จากัด (มหาชน)

แผนภาพแสดงภาพรวมธุรกิจจาหน่ายก๊ าซปิ โตรเลียมเหลว LPG

บริ ษัทมีการบริ หารจัดการที่มีประสิทธิภาพตังแต่


้ การจัดหาก๊ าซหุงต้ มจากโรงกลัน่ โดยจะขนส่งทางเรื อมายังคลัง
เก็บก๊ าซฯ ที่ อ.บางปะกง จ.ฉะเชิงเทรา หลังจากนันจึ ้ งจัดส่งโดยรถขนส่งก๊ าซฯ ไปยังลูกค้ ากลุม่ ต่างๆ เช่น โรงงาน
อุตสาหกรรม, สถานีบริ การก๊ าซ LPG และโรงบรรจุก๊าซของบริษัท โดยบริ ษัทมีช่องทางการจัดจาหน่าย 2 ลักษณะ คือ

การขายส่ ง (Wholesale)
การจัดจาหน่ายก๊ าซหุงต้ มคราวละปริ มาณมากๆ หรื อ Bulk โดยใช้ รถขนส่ง ลูกค้ าจะมีถังเก็ บก๊ าซฯ ขนาดใหญ่ เพื่อ
รองรับ ซึง่ จะเป็ นการจัดส่งให้ แก่ลกู ค้ าประเภทโรงงานอุตสาหกรรม, สถานีบริ การก๊ าซ LPG และโรงบรรจุก๊าซ

การขายปลีกแบบถังหุงต้ ม (Retail by cylinder)


การจัดจาหน่ายโดยการบรรจุลงในถังหุงต้ มขนาดเล็กเพื่อจาหน่ายในภาคครัวเรื อน และกลุ่มลูกค้ าการพาณิ ชย์ เช่น
ห้ างสรรพสินค้ า โรงแรม โรงพยาบาล ร้ านอาหาร เป็ นต้ น โดยปั จจุบนั จะดาเนินการจาหน่ายผ่านโรงบรรจุ ก๊าซซึง่ บริ ษัท
เป็ นผู้ดาเนินงานเอง และเครื อข่ายตัวแทนร้ านจาหน่ายก๊ าซหุงต้ ม สาหรับถังหุงต้ มของบริ ษัทได้ ตามมาตรฐาน มอก.
โดยแบ่งเป็ น 3 ขนาด คือ ขนาดบรรจุ 4 กิโลกรัม, 15 กิโลกรัม และ 48 กิโลกรัม ซึ่งสามารถตอบสนองความต้ องการใช้
งานของกลุม่ ลูกค้ าได้ อย่างเหมาะสม

3.1.2 ธุรกิจจาหน่ ายก๊ าซธรรมชาติเหลว (Liquefied Natural Gas หรือ LNG)


ก๊ าซธรรมชาติเหลว คือก๊ าซธรรมชาติที่ถูกแปรสภาพเพื่อประโยชน์ในการขนส่งได้ ปริ มาณมากๆ และเป็ นระยะ
ทางไกลอย่างมีประสิทธิภาพโดยไม่ต้องลงทุนวางท่อส่งก๊ าซ ก๊ าซธรรมชาติซึ่งมีองค์ประกอบหลัก คือ ก๊ าซมีเทน จะถูก
นามาแยกสิ่งปลอมปนและองค์ประกอบอื่นๆ ออก เช่น ก๊ าซคาร์ บอนไดออกไซด์ ปรอท และกามะถัน จากนัน้ จะลด

ส่วนที่ 3.1.2 – ลักษณะการประกอบธุรกิจ หน้ า 34


บริษัท เพาเวอร์ โซลูช่ นั เทคโนโลยี จากัด (มหาชน)

อุณ หภูมิลงจนถึง -162 องศาเซลเซียส ก๊ าซธรรมชาติจะเปลี่ยนสถานะเป็ น ของเหลวที่ค วามดัน บรรยากาศ และมี


ปริ มาตรลดลงประมาณ 600 เท่าจากสถานะก๊ าซ

แผนภาพแสดงภาพรวมธุรกิจจาหน่ายก๊ าซธรรมชาติเหลว LNG

บริ ษัทได้ ลงนามสัญญาซื ้อขายก๊ าซธรรมชาติเหลว หรื อ LNG กับ ปตท. เมือเดือนมีนาคม 2561 เพื่อเป็ นตัวแทน
ในการทาตลาด LNG โดยจะนาไปจาหน่ายให้ แก่กลุม่ ลูกค้ าโรงงานอุตสาหกรรมทัว่ ประเทศโดยเฉพาะโรงงานที่อยู่นอก
แนวท่อก๊ าซธรรมชาติ โดยบริ ษัทจะรับ LNG จากคลังเก็บของ ปตท.ที่มาบตาพุด จ.ระยอง โดยจะจัดส่งทางรถขนส่งไป
ยังโรงงานของลูกค้ า ที่ บ ริ ษั ท จะมี ก ารลงทุน ติ ด ตัง้ สถานี เก็ บ LNG และอุป กรณ์ เพื่ อ แปรสภาพ ณ โรงงานลูก ค้ า ที่
ปลายทาง ซึง่ LNG จะเป็ นเชื ้อเพลิงทางเลือกสามารถใช้ ทดแทนการใช้ ก๊าซหุงต้ ม LPG และน ้ามันเตา ช่วยลดต้ นทุนการ
ผลิต และยังเป็ นเชื ้อเพลิงสะอาดเผาไหม้ ได้ อย่างสมบูรณ์ ลดปริ มาณฝุ่ น PM2.5 และช่วยลดมลภาวะที่เกิดจากเชื ้อเพลิง
เดิม รวมถึงมีความปลอดภัยสูง

3.2 ธุรกิจให้ บริการทางด้ านวิศวกรรมพลังงาน ประกอบด้ วย


3.2.1 งานปฏิบตั ิการดูแลและบารุ งรักษาสถานีบริ การก๊ าซธรรมชาติ ในพื ้นที กรุงเทพมหานคร ปริ มณฑล รวมถึง
ภูมิภาค 1 กล่าวคือในเขตพื ้นทีภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ รวมกว่า 160 สถานี
3.2.2 งานออกแบบ รับเหมา ก่อสร้ าง ซ่อมแซมอาคารสถานี และอุปกรณ์ ระบบเติมก๊ าซธรรมชาติ ให้ กับสถานี
บริ การก๊ าซธรรมชาติทงระบบ
ั้
3.2.3 งานจัดหาและติดตังเครื
้ ่ องสูบอัดก๊ าซธรรมชาติ (Compressor) พร้ อมอุปกรณ์สว่ นควบ

ส่วนที่ 3.1.2 – ลักษณะการประกอบธุรกิจ หน้ า 35


บริษัท เพาเวอร์ โซลูช่ นั เทคโนโลยี จากัด (มหาชน)

3.2.4 งานซ่อมบารุ งและดูแลรักษาเครื่ องสูบอัดก๊ าซธรรมชาติ ซ่ อมแซมตู้จ่ายก๊ าซธรรมชาติและอุปกรณ์ รวมถึง


ซ่อมแซมท่อก๊ าซใต้ ดิน ในสถานีบริ การก๊ าซธรรมชาติ
3.2.5 งานออกแบบ รับเหมา ก่อสร้ าง สถานที่เก็บและจ่ายก๊ าซธรรมชาติเหลว LNG ให้ กบั ลูกค้ าภาคอุตาสหกรรม
ทังระบบ

3.2.6 งานออกแบบ รับเหมาก่อสร้ างคลังน ้ามัน ระบบท่อส่งน ้ามัน ระบบควบคุม ทังระบบ

3.3 ธุรกิจสถานีขายปลีกก๊ าซธรรมชาติสาหรับยานยนต์ (NGV)


สถานีบริ การก๊ าซธรรมชาติสาหรับยายนยนต์ (NGV) ตังอยู ้ ่ในเส้ นทางคมนาคมหลัก ดาเนินการโดย บริ ษัท เจเอ็น
เอ็นเนอร์ จี คอร์ ปอเรชัน่ จากัด ซึง่ เป็ นบริ ษัทย่อยของกลุม่ บริ ษัทปั จจุบนั มีสถานีบริ การก๊ าซธรรมชาติแนวท่อ (Conventional
Station) จานวน 2 แห่ง ที่แก่งคอย ตังอยู ้ บ่ นถนนมิตรภาพขาออก ตาบลบ้ านป่ า อาเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี และที่น ้าพอง
ตัง้ อยู่บ นถนนมิ ต รภาพขาเข้ า ต าบลกุด น า้ ใส จังหวัด ขอนแก่ น ซึ่ งทัง้ 2 สถานี บ ริ ก ารเป็ น สถานี แนวท่อ ก๊ า ซของ ปตท
(Conventional Station)

เป้ าหมายในการดาเนินงาน

บริ ษัทฯ มุง่ มัน่ ที่จะพัฒนาการบริ การให้ มีคณ


ุ ภาพ เหนือตามความต้ องการของลูกค้ าและมาตรฐานที่กาหนด และมี
การพัฒนาอย่างต่อเนื่องในการดาเนินงานทุกขันตอน ้ ตังแต่
้ การให้ คาปรึ กษา ให้ บริ การด้ านวิศวกรรมพลังงาน การขายและ
พัฒนาผลิตภัณฑ์ ที่สามารถตอบสนองความต้ องการของตลาด รวมถึงการดูแลหลังการขาย โดยมุ่งเน้ นการดาเนินธุรกิ จ
ควบคู่กบั ความรับผิดชอบต่อสังคม และปฏิบตั ิต่อผู้มีสว่ นได้ ส่วนเสียอย่างเป็ นธรรมและเท่าเทียมกัน เพื่อเป้าหมายในการ
สร้ างความมัง่ คัง่ อย่างยัง่ ยืนบนความไว้ วางใจของทุกภาคส่วน

กลุ่มลูกค้ าและลูกค้ าเป้ าหมาย

1. ธุรกิจจาหน่ ายก๊ าซปิ โตรเลียมเหลว (LPG) และธุรกิจจาหน่ ายก๊ าซธรรมชาติเหลว (LNG)


1.1) กลุ่มลูกค้ า LPG
กลุม่ ลูกค้ า LPG แบ่งออกเป็ น 3 กลุม่ หลัก ดังนี ้ 1) กลุม่ อุตสาหกรรม ได้ แก่ โรงงานอุตสาหกรรมที่ต้องใช้ เชื ้อเพลิง
เพื่อผลิตไอนา้ หรื อพลังงานความร้ อนที่ใช้ ในการผลิตสินค้ า 2) กลุ่มสถานีบริ การ ได้ แก่สถานีบริ การที่เปิ ดจาหน่าย LPG
ให้ แก่ผ้ ใู ช้ รถยนต์ประเภทที่ใช้ ก๊าซ LPG เป็ นเชื ้อเพลิง 3) กลุม่ ร้ านค้ าก๊ าซและการพาณิชย์ ได้ แก่ การจาหน่ายเป็ นถังก๊ าซหุง
ต้ มผ่านโรงบรรจุซึ่งปั จจุบนั บริ ษัทเป็ นผู้ดาเนินงานเอง และเครื อข่ายร้ านค้ าก๊ าซ โดยมีขนาดบรรจุ 4 กิโลกรัม, 15 กิโลกรัม
และ 48 กิโลกรัม
บริ ษั ท มี แ ผนที่ จ ะขยายตลาดโดยมี ก ลุ่ม ลูก ค้ า เป้ า หมาย กล่า วคื อ การเพิ่ ม ปริ ม าณขายส่งไปยัง กลุ่ม โรงง าน
อุตสาหกรรม การเพิ่มปริ มาณขายปลีกแบบถังก๊ าซหุงต้ มในกลุม่ ลูกค้ าการพาณิชย์โดยผ่านโรงบรรจุ และขยายเครื อข่าย เพิ่ม
สาขาร้ านค้ าก๊ าซ สาหรับลูกค้ าครัวเรื อนทัว่ ไป ร้ านอาหาร ตลาดนัด
1.2) กลุ่มลูกค้ า LNG
กลุม่ ลูกค้ า LNG ของบริ ษัทส่วนใหญ่เกือบทังหมดจะเป็
้ นโรงงานอุตสาหกรรม ที่ต้องการใช้ เชื ้อเพลิงและพลังงาน
ความร้ อน โดยครอบคลุมหลายประเภทอุตสาหกรรม เช่น อุตสาหกรรมการผลิตยา การผลิตอาหารและเครื่ องดื่ม การ
หลอมโลหะ ผ้ าและสิง่ ทอ

ส่วนที่ 3.1.2 – ลักษณะการประกอบธุรกิจ หน้ า 36


บริษัท เพาเวอร์ โซลูช่ นั เทคโนโลยี จากัด (มหาชน)

โดยกลุ่มลูกค้ าโรงงานเป้าหมายจะครอบคลุมในเขตพืน้ ที่ที่เป็ นย่านนิคมอุตสาหกรรมที่ยังไม่มีการวางท่อก๊ าซ


ธรรมชาติหรื อย่านที่ตงโรงงานที
ั้ ่อยูน่ อกแนวท่อก๊ าซธรรมชาติ ในโซนภาคตะวันออก ภาคกลาง ภาคอีสานตอนล่าง และ
ภาคตะวันตก
2. ลูกค้ าในธุรกิจให้ บริการทางด้ านวิศวกรรมพลังงาน
บริ ษัทฯให้ บริ การทางด้ านวิศวกรรมตังแต่
้ การออกแบบ จัดหา ติดตังระบบ
้ และก่อสร้ าง รวมทัง้ บริการหลังการขาย
และซ่อมบารุงรักษา (EPCms) ดังนัน้ กลุม่ ลูกค้ าของบริษัทฯ มีจานวนหลากหลาย ได้ แก่ สถานีบริการก๊ าซ (NGV) สถานี
บริ การก๊ าซ (LPG) โรงงานอุตสาหกรรมที่ใช้ พลังงงานจากก๊ าซปิ โตรเลียมเหลว (LPG) และก๊ าซธรรมชาติเหลว (LNG) เป็ น
เชื ้อเพลิง ผู้ให้ บริ การคลังน ้ามัน
3. ลูกค้ าธุรกิจสถานีขายปลีกก๊ าซธรรมชาติสาหรับยานยนต์ (NGV)

บริ ษัทฯมีสถานีบริ การก๊ าซธรรมชาติ สแนวท่อก๊ าซของ ปตท (Conventional Stationสาหรับยานยนต์ จานวน 2
สถานีที่ แก่งคอย และน ้าพอง มีจานวนหัวจ่ายก๊ าซแต่ละสถานีจานวน 16 หัวจ่าย ที่สามารถรองรับการให้ บริ การรถยนต์ทกุ
ประเภทที่ต้องการเติมก๊ าซ NGV อาทิเช่น รถขนส่งสาธารณะ รถบรรทุกสินค้ า และรถยนต์สว่ นบุคคล เป็ นต้ น เปิ ดให้ บริ การ
ตลอด 24 ชัว่ โมง

คู่แข่ งและสภาวะการแข่ งขัน


1.ธุรกิจจาหน่ ายก๊ าซปิ โตรเลียมเหลว (LPG) และธุรกิจจาหน่ ายก๊ าซธรรมชาติเหลว (LNG)
1.1) ธุรกิจจาหน่ าย LPG
ปั จจุบนั บริ ษัทได้ รับใบอนุญาตให้ เป็ นผู้ค้านา้ มันตามมาตรา 7 แห่งพระราชบัญญัติการค้ านา้ มันเขื ้อเพลิง พ.ศ.
2543 ประเภทก๊ าซปิ โตรเลียมเหลว มีจานวนทังสิ ้ ้น 15 ราย ทังนี
้ ้คู่แข่งหลักของบริ ษัทมี 5 ราย คือ บริ ษัท ปตท. น ้ามันและ
การค้ าปลีก จากัด (มหาชน) บริ ษัท สยามแก๊ ส แอนด์ ปิ โตรเคมีคลั ส์ จากัด (มหาชน) บริ ษัท ยูนิคแก๊ ส แอนด์ ปิ โตรเคมีคลั ส์
จากัด (มหาชน) บริ ษัท ดับบลิวพี เอ็นเนอร์ ยี่ จากัด (มหาชน) และ บริ ษัท พีเอพี แก็ส วัน จากัด อย่างไรก็ตามบริ ษัทมีส่ วน
แบ่งการตลาดตามปริ มาณการขายของปี 2561 อยูท่ ี่ 86,900 เมติกตัน คิดเป็ น 2.2% เพิ่มขึ ้นจากปี 2560 ซึง่ อยูท่ ี่ 1.5%

สาหรับภาวะตลาดในปี 2561 เนื่องด้ วยราคา LPG ในประเทศมีการอุดหนุนโดยภาครัฐ จึงทาให้ ปตท และสยาม


แก๊ สฯ ซึ่งเคยนาเข้ า LPG ต้ องหยุดการนาเข้ า โดยผู้ประกอบธุรกิจค้ าก๊ าซ LPG ทุกรายใช้ LPG ที่ผลิตได้ ภายในประเทศ จึง
ไม่มีความแตกต่างเรื่ องคุณภาพก๊ าซภายในประเทศและก๊ าซนาเข้ าเหมือนปี ที่ผา่ นมา ทาให้ การแข่งขันของธุรกิจ LPG มุง่ เน้ น
ในเรื่ องการแข่งขันทางด้ านราคา ด้ านกลยุทธ์ทางการตลาดและการให้ บริ การเป็ นสาคัญ

1.2) ธุรกิจจาหน่ าย LNG


หลังจากที่บริ ษัทได้ ลงนามสัญญาการเป็ นตัวแทนจัดจาหน่ายก๊ าซธรรมชาติเหลว เมือเดือนมีนาคม 2561 บริ ษัท
เริ่ มขาย LNG ครัง้ แรกในเดือนธันวาคม 2561 เพื่อนาไปจาหน่ายให้ แก่กลุ่มลูกค้ าโรงงานอุตสาหกรรม อย่างไรก็ตาม ในปี
2562 ปตท. ได้ มีการลงนามแต่งตังตั ้ วแทนการจาหน่าย LNG เพิ่มเติมอีก 3 รายประกอบด้ วย บริ ษัท ไอบีซี อินดัสเตรี ยล
จากัด บริ ษัท ไตรเจน โซลูชนั่ จากัด และบริ ษัท บางกอก อินดัสเตรี ยลแก๊ ส จากัด ณ ปั จจุบนั มีตวั แทนการจาหน่าย LNG ที่
ได้ รับการแต่งตังจาก
้ ปตท.

ส่วนที่ 3.1.2 – ลักษณะการประกอบธุรกิจ หน้ า 37


บริษัท เพาเวอร์ โซลูช่ นั เทคโนโลยี จากัด (มหาชน)

เนื่องจากปั จจุบนั ตัวแทนทุกรายต้ องรับ LNG มาจากคลัง LNG ของ ปตท. ที่มาบตาพุด จ.ระยอง จึงไม่มีความ
แตกต่างทังเรื
้ ่ องคุณภาพและราคา ทาให้ การแข่งขันของธุรกิจ LNG มุ่งเน้ นในเรื่ องการลงทุนสถานี LNG และการให้ บริ การ
เป็ นสาคัญ

2.ธุรกิจให้ บริการทางด้ านวิศวกรรมพลังงาน


บริ ษัท มีทีมงานที่มีความเชี่ยวชาญและประสบการณ์ในการออกแบบ ก่อสร้ าง ติดตังระบบ ้ และการให้ บริ การ ซ่อม
บารุ ง รวมทัง้ การดูแลหลังการขาย ทาให้ บริ ษัทได้ รับสัญ ญาบารุ งรักษาสถานีบริ การก๊ าซ (NGV) ของบริ ษัท ปตท จากัด
(มหาชน) จานวนมากกว่า 160 สถานี จากทังหมด ้ 350 สถานี ซึ่งคิดเป็ นสัดส่วนร้ อยละ 46 ของสถานีบริ การก๊ าซธรรมชาติ
สาหรับยานยนต์ (NGV) ที่ ปตท. ลงทุนทังประเทศ
้ สัญญาบารุงรักษาสถานีดงั กล่าวมีอายุ 3 ปี เริ่ มตังแต่
้ ปี.2561 ถึงปี 2563

ในเดือน กรกฎาคม ปี 2562 บริ ษัทได้ ลงนามบันทึกข้ อตกลงกับ บริ ษัท เอ็นเอฟซีที จากัด (บริ ษั ทย่อย ของบริ ษัท
เอ็นเอฟซี จากัด (มหาชน))ในการดาเนินการโครงการก่อสร้ างคลังน ้ามันเชื ้อเพลิง มูลค่าโครงการมากกว่า 1,000 ล้ านบาท
ระยะเวลาดาเนินการ 22 เดือนคาดว่าจะแล้ วเสร็ จประมาณเดือน เมษายน ปี 2564

ในส่วนของงาน ออกแบบ ก่อสร้ างและติดตัง้ สถานีจ่ายก๊ าซธรรมชาติเหลว (LNG) บริ ษัทได้ รับความไว้ วางใจจาก
ลูกค้ า เป็ นจานวนมาก ในการให้ ดาเนินการ ออกแบบ ก่อสร้ าง และติดตังสถานี
้ จ่ายก๊ าซธรรมชาติเหลว (LNG)เพื่อใช้ เป็ น
เชื อ้ เพลิงในภาคอุต สาหกรรม ในปี 2562 บริ ษั ท ให้ บ ริ การ LNG มากกว่า 10 สถานี โดยบริ ษั ท ให้ ค วามสาคัญ ในเรื่ อ ง
คุณภาพ ระยะเวลาการส่งมอบ ความปลอดภัยของสินค้ าที่นาไปติดตังให้ ้ แก่ลกู ค้ า ทาให้ ลกู ค้ ามีความพึงพอใจและมีการ
แนะนาต่อเนื่อง โดยคาดว่าในปี 2563 บริ ษัทจะมีลูกค้ า LNG จานวนไม่น้อยกว่า 20 ราย ที่จะมาใช้ บริ การ ทัง้ นีใ้ นการ
ดาเนินการออกแบบ ก่อสร้ าง และติดตังสถานี ้ จ่ายก๊ าซธรรมชาติเหลว (LNG) ให้ กบั ภาคอุตสาหกรรม บริ ษัทได้ ดาเนินการ
ควบคูก่ บั การใช้ เทคโนโลยี IOT เพื่อใช้ ในการควบคุม ติดตาม รายงาน ระบบต่างๆ ของสถานีจ่ายก๊ าซธรรมชาติเหลว (LNG)

3.ธุรกิจสถานีขายปลีกก๊ าซธรรมชาติสาหรับยานยนต์ (NGV)


สถานีบริ การก๊ าซธรรมชาติสาหรับยานยนต์ NGV แนวท่อก๊ าซของ ปตท (Conventional Stationสาหรับยานยนต์
จานวน 2 สถานีที่ แก่งคอย และน ้าพอง มีจานวนหัวจ่ายก๊ าซแต่ละสถานีจานวน 16 หัวจ่าย ที่สามารถรองรับการให้ บริ การ
รถยนต์ทกุ ประเภทที่ต้องการเติมก๊ าซ NGV อาทิเช่น รถขนส่งสาธารณะ รถบรรทุกสินค้ า และรถยนต์สว่ นบุคคล เป็ นต้ น เปิ ด
ให้ บริ การตลอด 24 ชัว่ โมง จึงมีความได้ เปรี ยบทางการแข่งขันที่ไม่ต้องกังวลเรื่ องปริ มาณการจ่ายก๊ าซ เหมือนสถานีบริ การ
ประเภทนอกแนวท่อ (Daughter Station) ที่ต้องรอรถก๊ าซมาส่ง

แนวโน้ มอุตสาหกรรม

1.ธุรกิจจาหน่ ายก๊ าซปิ โตรเลียมเหลว (LPG) และธุรกิจจาหน่ ายก๊ าซธรรมชาติเหลว (LNG)


1.1 ธุรกิจจาหน่ายก๊ าซปิ โตรเลียมเหลว (LPG) ภาพรวมการใช้ LPG ในปี 2563 คาดว่าจะมีการใช้ เพิ่มขึ ้นร้ อยละ 5
โดยการใช้ ในภาคอุตสาหกรรมจะเพิ่มขึ ้นร้ อยละ 5.7 ภาคครัวเรื อนเพิ่มขึ ้นร้ อยละ 2.5 เป็ นไปตามแนวโน้ มการขยายตัวของ
เศรษฐกิ จ แต่การใช้ ในรถยนต์คาดว่าจะลดลงร้ อยละ 10.9 ซึ่งลดลงอย่างต่อเนื่องตัง้ แต่ปี 2561 จากการที่ผ้ ูใช้ บางส่วน
เปลี่ย นไปใช้ นา้ มัน ซึ่งมี ราคาถูกลง ส่วนการใช้ ในอุต สาหกรรมปิ โตรเคมี จะเพิ่ ม ขึน้ ร้ อยละ 17.8 ตามการขยายตัว ของ
อุตสาหกรรมต่อเนื่องจากเศรษฐกิจโลกที่ขยายตัวดีขึ ้น

ส่วนที่ 3.1.2 – ลักษณะการประกอบธุรกิจ หน้ า 38


บริษัท เพาเวอร์ โซลูช่ นั เทคโนโลยี จากัด (มหาชน)

1.2 ธุรกิจจาหน่ายก๊ าซธรรมชาติเหลว (LNG) ภาพรวมการใช้ เชื ้อเพลิง LNG ในภาคอุตสาหกรรมในปี 2563 คาด
ว่ามีแนวโน้ มเพิ่มขึ ้นร้ อยละ 100 โดยลูกค้ าตระหนักถึงคุณภาพของเชื ้อเพลิงที่ให้ ค่าพลังงานที่สงู กว่าเชื ้อเพลิงชนิดอื่น `เป็ น
เชื ้อเพลิงที่สะอาดและไม่ปล่อยมลพิษ PM 2.5 ทาให้ ธุรกิจจาหน่ายก๊ าซธรรมชาติเหลว (LNG) เติบโตอย่างต่อเนื่อง

2.ธุรกิจให้ บริการทางด้ านวิศวกรรมพลังงาน


บริ ษัทฯได้ ขยายตลาดทางด้ านวิศวกรรม งานรับเหมาก่อสร้ างคลังเก็บน ้ามันเชื ้อเพลิง งานวางระบบท่อส่งก๊ าซ ท่อ
ส่งน ้ามัน รวมทังการก่
้ อสร้ างสถานีจ่ายก๊ าซธรรมชาติเหลว (LNG) สาหรับภาคอุตสาหกรรม ซึง่ บริ ษัทมีทีมงาน และบุคลากร
ที่มีความรู้ความสามารถและประสบการณ์เฉพาะด้ าน มีความพร้ อมและศักยภาพในการบริ หารจัดการโครงการที่เกี่ยวเนื่อง
กับก๊ าซธรรมชาติเหลว (LNG)สาหรับโรงงานอุตสาหกรรมได้ อย่างครบวงจร ทาให้ บริ ษัทฯ มีความได้ เปรี ยบทางด้ านวิศกรรม
และมีแนวโน้ มที่สามารถเพิ่มจานวนลูกค้ าได้ อย่างต่อเนื่อง ทังนี้ ้แนวโน้ มการใช้ เชือ้ เพลิงก๊ าซธรรมชาติเหลว (LNG) กาลัง
ได้ รับความสนใจมากขึ ้น และมีแนวโน้ มจะเป็ นเชื ้อเพลิงที่สาคัญของประเทศอีกประเภทหนึง่

3.ธุรกิจสถานีขายปลีกก๊ าซธรรมชาติสาหรับยานยนต์ (NGV)


แนวโน้ มการใช้ ก๊าซ (NGV) ในภาพรวมของภาคขนส่งทางบก พบว่าในปี 2562 ยังคงปรับตัวลดลงประมาณร้ อยละ
10 เนื่องจากผู้ประกอบการขนส่ง ผู้ใช้ รถยนต์ บางส่วนเปลี่ยนกลับไปใช้ น ้ามันเป็ นเชื ้อเพลิงในช่วงที่ราคาขายปลีกน ้ามันใน
ประเทศอยู่ในระดับที่ไม่สงู มาก ประกอบกับผลจากการทยอยปรับราคาขายปลีก NGV ขึ ้น ตามนโยบายปรับโครงสร้ างราคา
เชื ้อเพลิงให้ สะท้ อนต้ นทุนของรัฐบาล ซึ่งปั จจัยเหล่านี ้ส่งผลให้ ปริ มาณรถที่ ใช้ เชื ้อเพลิง NGV มีจานวนลดลง อย่างไรก็ตาม
ลูกค้ าที่ใช้ บริ การสถานีบริ การก๊ าซธรรมชาติสาหรับยายนต์ (NGV) ของบริ ษัทฯ กลับมีจานวนลดลงไม่มาก เนื่องสถานีบริ การ
ทัง้ 2 แห่งเป็ นสถานีบริ การประเภทแนวท่อ (Conventional Station) ที่สามารถให้ บริ การลูกค้ าได้ ตลอด 24 ชัว่ โมง

ที่มา: สถานการณ์การใช้ น ้ามันและไฟฟ้าของไทย ช่วง 7 เดือนแรกของปี 2562 กระทรวงพลังงาน www.eppo.go.th

ส่วนที่ 3.1.2 – ลักษณะการประกอบธุรกิจ หน้ า 39


บริษัท เพาเวอร์ โซลูช่ นั เทคโนโลยี จากัด (มหาชน)

แผนการดาเนินธุรกิจ
จากภาพรวมของอุตสาหกรรมธุรกิจจาหน่ายก๊ าซธรรมชาติและก๊ าซปิ โตรเลียมเหลว ธุรกิจให้ บริ การด้ านวิศวกรรม
พลังงาน ที่กล่าวมาข้ างต้ น ถือเป็ นโอกาสทางธุรกิจของบริ ษัทฯ ที่จะเพิ่มการเติบโตอย่างมัน่ คงในอนาคต สร้ างโอกาสในการ
เพิ่มรายได้ และการกระจายความเสีย่ งของรายได้ จากการดาเนินธุรกิจหลักปั จจุบนั เพิ่มสภาพคล่องให้ บริ ษัทจากกระแสเงิน
สดที่สม่าเสมอของธุรกิจ

แผนการดาเนินธุรกิจในช่วง 3 ปี ข้างหน้ าบริ ษัทฯ ตังเป้


้ ารายได้ ที่เติบโตอย่างยัง่ ยืนในธุรกิจ 3 ด้ านคือ

1. ธุรกิจจาหน่ายก๊ าซปิ โตรเลียมเหลว(LPG) และธุรกิจจาหน่ายก๊ าซธรรมชาติเหลว(LNG) ในปี 2563 ตังเป้ ้ าการ


เติบโตของรายได้ 2,000 ล้ านบาท หรื อเติบโตร้ อยละ 50 โดยรายได้ ดงั กล่าวมาจากการเพิ่มส่วนแบ่งทางการตลาดของการ
จาหน่ายก๊ าซฯทุกประเภท ทังนี ้ ้ ในปี ที่ผา่ นมาบริ ษัทฯ ธุรกิจการจาหน่ายก๊ าซธรรมชาติเหลว( LNG) ซึ่งเป็ นก๊ าซธรรมชาติใน
รูปแบบของเหลว ซึ่งเป็ นผลิตภัณฑ์ที่นามาใช้ ทดแทน LPG ดีเซล และน ้ามันเตา ในกลุม่ ลูกค้ าโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งจะให้
ค่าความร้ อนสูงกว่าและเป็ นเชื ้อเพลิงที่สะอาดกว่า ลดมลพิษทางอากาศ PM2.5 ทาให้ ลกู ค้ าจานวนมากให้ ความสนใจใน
การเป็ นเชื ้อเพลิงจากเดิม มาเป็ นใช้ เชื ้อเพลิง ก๊ าซธรรมชาติเหลว (LNG)
2.ธุรกิจให้ บริ การทางด้ านธุรกิจให้ บริ การทางด้ านวิศวกรรมพลังงาน บริ ษัทฯได้ ขยายตลาดทางด้ านวิศวกรรม งาน
รับเหมาก่อสร้ างคลังเก็บน ้ามันเชื ้อเพลิง งานวางระบบท่อส่งก๊ าซ ท่อส่งน ้ามัน รวมทังก่ ้ อสร้ างสถานีจ่ายก๊ าซธรรมชาติเหลว
(LNG) สาหรับภาคอุตสาหกรรมซึง่ ปี 2563 ตังเป้ ้ ารายได้ 1,000 ล้ านบาท หรื อเติบโตร้ อยละ 100 โดยรายได้ ดงั กล่าวมาจาก
โครงการก่อสร้ างคลังน ้ามันเชื ้อเพลิง ที่ บริ ษัทฯ ได้ รับสัญญา จากบริ ษัท เอ็นเอฟซีที จากัด (บริ ษัทย่อย ของบริ ษัท เอ็นเอฟซี
จากัด (มหาชน)) มูลค่าโครงการมากกว่า 1,000 ล้ านบาท จะก่อสร้ างแล้ วเสร็ จประมาณเดือนเมษายน ปี 2564 และโครงการ
ก่อสร้ างสถานีจ่ายก๊ าซธรรมชาติเหลว (LNG) เพื่อใช้ เป็ นเชื ้อเพลิงในภาคอุตสาหกรรม ซึ่งลูกค้ าได้ ให้ ความสนใจเป็ นจานวน
มาก
3. ธุรกิจสถานีบริ การก๊ าซธรรมชาติสาหรับยานยนต์ (NGV) แนวท่อก๊ าซของ ปตท (Conventional Station) จานวน
2 สถานีที่ แก่งคอย และน ้าพอง ภายใต้ เครื่ องหมายการค้ าของปตท. ระยะเวลาสัญญา 20 ปี มีจุดเด่นในเรื่ องของปริ มาณ
ก๊ าซที่ขายได้ อย่างต่อเนื่อง เป็ นสถานีบริ การขนาดใหญ่ รองรับการใช้ บริ การของลูกค้ าในกลุม่ รถยนต์ทกุ ประเภท

ส่วนที่ 3.1.2 – ลักษณะการประกอบธุรกิจ หน้ า 40

You might also like