You are on page 1of 224

แบบ 56 -1 One Report

ประจำป 2564
บริ ษ ั ท แลนด แอนด เฮ า ส จำกั ด (มหาชน)
FOR
A BETTER
LIVING
สารบัญ
ส่วนที่ 1 การประกอบธุรกิจและผลการด�ำเนินงาน

01 โครงสร้างและการด�ำเนินงานของกลุ่มบริษัท...................................................................................... 8
02 การบริหารจัดการความเสีย่ ง...................................................................................................................37
03 การขับเคลื่อนธุรกิจเพื่อความยั่งยืน......................................................................................................40
04 การวิเคราะห์และค�ำอธิบายของฝ่ายจัดการ.......................................................................................62
05 ข้อมูลทั่วไปและข้อมูลส�ำคัญอื่น............................................................................................................77

ส่วนที่ 2 การก�ำกับดูแลกิจการ

06 โครงสร้างการก�ำกับดูแลกิจการ..............................................................................................................78
07 รายงานผลการด�ำเนินงานส�ำคัญด้านการก�ำกับดูแลกิจการ...........................................................85
08 การควบคุมภายในและรายการระหว่างกัน.........................................................................................92

ส่วนที่ 3 งบการเงิน

09 งบการเงิน....................................................................................................................................................98

ส่วนที่ 4 เอกสารแนบ
เอกสารแนบ 1 รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการ ผู้บริหารผู้มีอ�ำนาจควบคุม เลขานุการบริษัท
และผู้ควบคุมดูแลการท�ำบัญชีของบริษัท
เอกสารแนบ 2 รายละเอียดเกี่ยวกับหัวหน้างานผู้ตรวจสอบภายใน และหัวหน้างานก�ำกับดูแลการ
ปฏิบัติงานของบริษัท (Compliance)
เอกสารแนบ 3 ทรัพย์สินที่ใช้ในการประกอบธุรกิจเกี่ยวกับที่ดินของโครงการที่มีไว้เพื่อขาย
เอกสารแนบ 4 นโยบายและแนวปฎิบัติการก�ำกับดูแลกิจการฉบับเต็มและจรรยาบรรณธุรกิจฉบัับ
เต็มที่บริษัทได้จัดท�ำ
เอกสารแนบ 5 รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ
เอกสารแนบ 6 รายงานจากคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน

0.43 กิโลคารบอน/เลม

รายงานฉบับนี้พิมพดวยกระดาษ PS Greenและใชกระบวนการผลิตกระดาษที่คำนึงถึงสิ่งแวดลอม
ตลอดจนใชหมึกพิมพที่ทำจากถั่วเหลือง ชวยลดการปลอยกาซ CO2 130 กิโลคารบอน
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

จุดเด่นในรอบปี 2564
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
%
2564 2563 เพิ่มขึ้น (ลดลง)

ผลการด�ำเนินงาน
จ�ำนวนโครงการที่ดำ� เนินงาน 85 94 (9.6)

ความสามารถในการท�ำก�ำไร
อัตราก�ำไรสุทธิต่อรายได้รวม 20.70% 23.00% (2.3)

จุดเด่นจากงบการเงิน (ล้านบาท)
รายได้รวม 33,510 31,067 7.9
ก�ำไรสุทธิ 6,936 7,145 (2.9)
สินค้าคงเหลือ 47,256 52,893 (10.7)
สินทรัพย์รวม 125,198 122,571 2.1
ส่วนของผู้ถือหุ้นและส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย 50,646 50,601 0.1

ข้อมูลต่อหุ้น (บาท)
ก�ำไรสุทธิต่อหุ้น 0.58 0.60 (3.3)
มูลค่าตามบัญชี 4.18 4.18 0.1
ราคาตลาด (ณ วันสิ้นปี) 8.80 7.95 10.7

จ�ำนวนหุ้นที่เรียกช�ำระแล้ว (ล้านหุ้น) 11,950 11,950 -

05
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

รายงานจากประธานกรรมการ
สวัสดีครับท่านผู้ถือหุ้นทุกท่าน
วิกฤตโควิด-19 ได้สร้างความเสียหายในวงกว้าง และส่งผลกระทบ • จ่ายเงินปันผลระหว่างกาลส�ำหรับผลการด�ำเนินงานงวด
ต่อเศรษฐกิจโลกท�ำให้เกิดภาวะเศรษฐกิจหดตัวรุนแรงที่สุดในรอบ 6 เดือนแรกของปี ในอัตราหุ้นละ 0.25 บาทต่อหุ้น และ
หลายสิบปี ส�ำหรับประเทศไทย ยังคงมีการแพร่ระบาดของโควิด-19 อนุมัติจากที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ เมื่อวันที่ 24
ระลอกที่สี่ ในเดือน มิถุนายน ถึง กรกฎาคม 2564 เนื่องจากเชื้อไวรัส กุมภาพันธ์ 2565 ให้จ่ายเงินปันผลงวด 6 เดือนหลังของ
กลายพันธุ์เพิ่มขึ้น ทั้งไทยและทั่วโลก จะพบสายพันธุ์เดลตาเป็นส่วน ปี 2564 ในอัตราหุ้นละ 0.25 บาทต่อหุ้น
ใหญ่ หรือเกือบทั้งหมด เพราะแพร่กระจายเร็วมาก ท�ำให้สถานการณ์ • เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2564 Land and Houses U.S.A., Inc.
เปลี่ยน เริ่มมีผู้ป่วยอาการรุนแรง และเสียชีวิต ส่งผลให้ภาครัฐออก ซึ่งเป็นบริษัทย่อยที่บริษัทฯ ถือหุ้น 100% ได้เข้าซื้อโรงแรม
มาตรการควบคุมใหม่ทเี่ ข้มงวด พร้อมกับการเร่งฉีดวัคซีนให้เกิน 70% แห่งหนึ่ง (The SpringHill Suites by Marriott) ในเมือง
ของประชากร มาตรการคุมเข้มดังกล่าวได้ส่งผลกระทบต่อภาคธุรกิจ อนาไฮม์ รัฐแคลิฟอร์เนีย ราคา 31 ล้านเหรียญสหรัฐ หรือ
อสังหาริมทรัพย์ และการก่อสร้าง เนือ่ งจากมีประกาศกรุงเทพมหานคร เป็นเงินไทยประมาณ 1,056 ล้านบาท
เรื่องสั่งปิดแคมป์คนงานสกัดโควิด-19 เป็นเวลา 1 เดือน ตั้งแต่วันที่
28 มิถุนายน ถึง 27 กรกฎาคม 2564 เพื่อควบคุมโรคและป้องกันการ • ในปี 2564 บริษัทฯ ได้รับ
แพร่ระบาดของโควิด-19 บริษทั ฯ ได้ดำ� เนินการบรรเทาความเดือดร้อน รางวัล BCI Asia Top 10 Developers Award 2021
ช่วยเหลือผู้รับเหมาที่ได้รับผลกระทบช่วงปิดแคมป์ โดยได้ส�ำรอง เพื่อประกาศเกียรติคุณให้แก่บริษัทสถาปนิกผู้ออกแบบ
จ่ายเงินล่วงหน้าให้กับผู้รับเหมา ถือได้ว่าบทเรียนจากวิกฤตโควิด-19 และบริษทั ผูพ้ ฒั นาอสังหาริมทรัพย์ดเี ด่น ซึง่ มีความส�ำคัญ
ซึ่งเป็นทั้งอุปสรรคและโอกาส ท�ำให้ต้องก้าวข้ามวิกฤตครั้งนี้ และ ต่ อ การขั บ เคลื่ อ นเศรษฐกิ จ อุ ต สาหกรรมก่ อ สร้ า งของ
เป็นการสร้างจุดเปลี่ยนไปในทางที่ดีขึ้น ประเทศไทย บริษัทฯ ได้รับรางวัลนี้จาก 3 โครงการ ได้แก่
โครงการคอนโดมิเนียม The Key พระราม 3 โครงการ
ปี 2564 บริษทั ฯ มียอดจองจากธุรกิจทีอ่ ยูอ่ าศัย 28,636 ล้านบาท สีวลี รัษฎา ภูเก็ต และโครงการมัณฑนา เพชรเกษม-สาย 4
เพิ่มขึ้น 8% จากปี 2563 โดยมีสัดส่วนเป็นบ้านเดี่ยว 83% ทาวน์เฮ้าส์ รางวั ล เกี ย รติ ย ศ บริ ษั ท ยอดเยี่ ย มแห่ ง ปี 2564 กลุ ่ ม
14% และอาคารชุด 3% และมียอดรับรู้รายได้จากการโอนที่อยู่อาศัย อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง รางวัลนี้จัดขึ้นโดยวารสาร
30,461 ล้ า นบาท เพิ่ ม ขึ้ น 11% จากปี 2563 คิ ด เป็ น สั ด ส่ ว น การเงินธนาคาร เพือ่ ยกย่องผูบ้ ริหาร ธนาคาร สถาบันการเงิน
บ้านเดี่ยว 80% ทาวน์เฮ้าส์ 11% และอาคารชุด 9% บริษัทฯ มีรายได้ และบริษัทจดทะเบียนที่มีผลงานยอดเยี่ยมในรอบปี
ค่าเช่าและค่าบริการจากธุรกิจโรงแรม ศูนย์การค้า และอะพาร์ตเมนต์ รางวัลเกียรติยศ Thailand’s Top Corporate Brands
ให้เช่าอีก 1,809 ล้านบาท ลดลงกว่าปีก่อน 25% นอกจากนี้ยังได้รับรู้ 2021 จั ด ขึ้ น โดยคณะพาณิ ช ยศาสตร์ แ ละการบั ญ ชี
ส่วนแบ่งก�ำไรจากการลงทุนในบริษทั ร่วมอีก 2,333 ล้านบาท ลดลง 10% จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หลักสูตรวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต
สาขาวิชาการจัดการแบรนด์และการตลาด (Master in
ในรอบปีทผี่ า่ นมาบริษทั ฯ ได้เปิดโครงการใหม่จำ� นวน 10 โครงการ Branding and Marketing Program) มอบให้แก่บริษทั ทีม่ ี
(บางโครงการมีสินค้ามากกว่า 1 ประเภท) โดยมีมูลค่าโครงการรวม มูลค่าแบรนด์องค์กรสูงสุดในหมวดพัฒนาอสังหาริมทรัพย์
19,680 ล้านบาท เมื่อแยกตามประเภทสินค้า ประกอบด้วยโครงการ ประจ�ำปี พ.ศ. 2564 โดยมีมลู ค่าแบรนด์ 45,040 ล้านบาท
ที่เป็นประเภทบ้านเดี่ยวและบ้านแฝด จ�ำนวน 7 โครงการ ทาวน์เฮ้าส์ และบริษัทฯ ได้รับรางวัลนี้ต่อเนื่องสามปีซ้อน
5 โครงการ ทั้งนี้บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีเหตุการณ์สำ� คัญอื่น ๆ ดังนี้
• ออกและเสนอขายหุ้นกู้ 2 ครั้ง คิดเป็นมูลค่ารวม 16,000 • ในปี 2564 บริษัทฯ ร่วมเป็นส่วนหนึ่งที่จะช่วยแบ่งปัน
ล้านบาท วิกฤต COVID-19
ครัง้ ที่ 1/2564 ชุดที่ 1 มูลค่า 3,000 ล้านบาท อายุ 2 ปี 16 วัน บริจาคเงิน 900,000 บาท ให้กับโรงพยาบาล 10 แห่ง
อัตราดอกเบี้ยคงที่ร้อยละ 1.09 ต่อปี เพื่ อ สมทบทุ น จั ด ซื้ อ เครื่ อ งมื อ และอุ ป กรณ์ ท าง
ครัง้ ที่ 1/2564 ชุดที่ 2 มูลค่า 5,000 ล้านบาท อายุ 3 ปี อัตรา การแพทย์ที่จ�ำเป็น เพื่อรักษาผู้ป่วยติดเชื้อโควิด-19
ดอกเบี้ยคงที่ร้อยละ 1.50 ต่อปี บริจาคเงิน 100,000 บาท ให้กลุ่มประชาชนอาสาสู้ภัย
ครั้งที่ 2/2564 มูลค่า 8,000 ล้านบาท อายุ 3 ปี 2 วัน อัตรา โควิด-19 ในนามกลุ่มเส้นด้าย
ดอกเบี้ยคงที่ร้อยละ 1.46 ต่อปี

06
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

มอบชุด PPE รวม 500 ชุด และกล่อง Fighting Set บริษทั ฯ ยังคงมุง่ มัน่ ในการพัฒนาสินค้าและบริการอย่างต่อเนือ่ ง
รวม 200 กล่อง ให้กบั กลุม่ เส้นด้ายและกลุม่ เราต้องรอด เพื่อให้ได้มาซึ่งสินค้าและบริการที่ดีมีคุณภาพ เป็นที่ยอมรับและ
รวมมูลค่ากว่า 300,000 บาท ไว้ว างใจจากผู้บริโภคในการสนับสนุนสินค้าของบริษัท ฯ รวมถึง
ร่วมบริจาคกล่องและลังกระดาษที่ไม่ใช้แล้วเพื่อส่งต่อ ให้มีการด�ำเนินธุรกิจตามหลักบรรษัทภิบาลอย่างเคร่งครัดควบคู่ไป
ให้กับโครงการ “เปลี่ยน BOXES เป็น BEDS” ของ กับการขับเคลื่อนธุรกิจเพื่อความยั่งยืน ที่ไม่ได้เน้นตัวเลขการเติบโต
Lotus’s SCGP น�ำไปรีไซเคิลเพื่อผลิตเป็นเตียงสนาม เพียงอย่างเดียว แต่ยังค�ำนึงถึงผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมในระยะยาว
ให้กับโรงพยาบาลสนาม อีกด้วย
มาตรการช่ ว ยเหลื อ ผู ้ รั บ เหมาและคนงานในช่ ว ง
ประกาศปิดแคมป์ ระหว่างการแพร่ระบาดของโควิด-19 ท้ายทีส่ ดุ นี้ ผมขอขอบคุณลูกค้าทุก ๆ ท่าน ผูถ้ อื หุน้ พนักงาน
บริษัทฯ ได้ช่วยเหลือค่าอาหาร ยา ค่าแรงงาน แก่ บริษัทฯ สถาบันการเงิน Suppliers ผู้รับเหมา ที่ได้ให้การสนับสนุน
ผู้รับเหมาเพื่ อ คนงานในภาวะดั ง กล่ า ว และจัดการ กิจการของบริษัทฯ ร่วมสร้างครอบครัวที่อบอุ่นและสังคมสิ่งแวดล้อม
ด้านสาธารณสุขในแคมป์คนงาน เช่น จัดท�ำ Camp ที่มีคุณภาพ ภายในโครงการแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ ทุกโครงการ
Quarantine พร้อมเตียงแยกโซน จัดชุดตรวจ ATK
จ�ำนวน 5,100 ชุด สุ่มตรวจคนงานทุก ๆ 15 วัน รวมถึง
ด�ำเนินการตามมาตรการ Bubble and Seal เพือ่ ป้องกัน
การแพร่ระบาด ช่วยเหลือผู้รับเหมาโดยส�ำรองจ่ายเงิน
ล่วงหน้าให้ผรู้ บั เหมาทุกราย เพือ่ เสริมสภาพคล่องจากการ
ขาดรายได้ในช่วงประกาศปิดแคมป์
โรงพยาบาลศิริราช
โครงการ #THINK แบ่งปันโดยบริษัทฯจัดท�ำถุงผ้าที่
ระลึกเพื่อจ�ำหน่ายในราคา 250 บาท รายได้ทั้งหมด
บริจาคตรงสูศ่ ริ ริ าชมูลนิธิ เพือ่ ผูป้ ว่ ยยากไร้โรงพยาบาล
ศิรริ าช โดยไม่หกั ค่าใช้จา่ ยใด ๆ ยอดบริจาคสะสม ณ สิน้
ปี 2564 ประมาณ 421,000 บาท ซึง่ โครงการยังด�ำเนิน
ต่อในปี 2565 นี้

ขอแสดงความนับถือ

(นายนพร สุนทรจิตต์เจริญ)
ประธานกรรมการบริหาร

07
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

ส่วนที่ 1

การประกอบธุรกิจ
และผลการด�ำเนินงาน
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

โครงสร้างและการด�ำเนินงานของกลุ่มบริษัท
1. นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ
นโยบายการแบ่งการด�ำเนินงานของบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วม
เป้าหมาย วิสัยทัศน์ และกลยุทธ์การด�ำเนินงานของ บริษทั มีนโยบายแบ่งการท�ำงานของบริษทั ในกลุม่ อย่างชัดเจน ดังนี้
กลุ่มบริษัท (1) บริษทั ย่อยจ�ำนวน 10 บริษทั และบริษทั ร่วมจ�ำนวน 2 บริษทั
บริ ษั ท มี เ ป้ า หมายที่ จ ะคงความเป็ น ผู ้ น� ำ ในธุ ร กิ จ พั ฒ นา ประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์, ธุรกิจช้อปปิ้งมอลล์ และธุรกิจ
อสังหาริมทรัพย์ของประเทศไทย โดยมุ่งเน้นการพัฒนาโครงการ โรงแรม
ที่พักอาศัยประเภท บ้านเดี่ยว ทาวน์เฮ้าส์ และอาคารชุดพักอาศัย (2) บริษัทร่วมจ�ำนวน 2 บริษัท ประกอบธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับ
ที่มีคุณภาพ เพื่อจ�ำหน่ายให้แก่กลุ่มลูกค้าเป้าหมายตามระดับความ ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ เช่น ธุรกิจผลิตวัสดุกอ่ สร้าง และธุรกิจค้า
ต้องการของลูกค้าในแต่ละระดับราคาที่แตกต่างกันไป โดยเน้นการ ปลีกวัสดุก่อสร้าง
พัฒนาโครงการในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และโครงการ (3) บริษทั ย่อย จ�ำนวน 1 บริษทั และบริษทั ร่วมจ�ำนวน 1 บริษทั
ตามจังหวัดใหญ่ ๆ ได้แก่ เชียงใหม่ เชียงราย นครราชสีมา ขอนแก่น ประกอบธุรกิจ ที่ปรึกษาการลงทุน และบริษัทโฮลดิ้งที่มีบริษัทย่อย
มหาสารคาม อุดรธานี ประจวบคีรีขันธ์ พระนครศรีอยุธยา และภูเก็ต ท�ำธุรกิจธนาคารพาณิชย์, บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน, บริษัท
บริษัทได้น�ำกลยุทธ์โครงการสร้างบ้านเสร็จก่อนขายมาใช้ในปี 2543 หลักทรัพย์และที่ปรึกษา
ซึ่งได้รับการตอบรับจากกลุ่มลูกค้าเป็นอย่างดี
นโยบายการลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม
บริษทั มีนโยบายลงทุนในบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วมทีด่ ำ� เนินธุรกิจ บริษทั มีนโยบายลงทุนในบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วมทีด่ ำ� เนินธุรกิจ
พัฒนาอสังหาริมทรัพย์และธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจหลักของบริษัท พั ฒ นาอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ แ ละธุ ร กิ จ ที่ เ กี่ ย วเนื่ อ งกั บ ธุ ร กิ จ หลั ก ของ
เช่น ธุรกิจค้าปลีก ธุรกิจผลิตวัสดุกอ่ สร้าง ธนาคารพาณิชย์ทมี่ นี โยบาย บริษัท เช่น ธุรกิจค้าปลีก ธุรกิจผลิตวัสดุก่อสร้าง ธนาคารพาณิชย์ที่มี
ให้สินเชื่อแก่ผู้ซื้อที่อยู่อาศัยรายย่อยทั่วไป เป็นต้น รวมทั้งหากมี นโยบายให้สินเชื่อแก่ผู้ซื้อที่อยู่อาศัยรายย่อยทั่วไป เป็นต้น รวมทั้ง
ธุรกิจใดที่น่าสนใจและมีผลตอบแทนดี บริษัทก็อาจพิจารณาเข้าไป หากมีธุรกิจใดที่น่าสนใจและมีผลตอบแทนดี บริษัทก็อาจพิจารณา
ลงทุ น โดยการเข้ า ไปลงทุ น ดั ง กล่ า วต้ อ งผ่ า นการพิ จ ารณาจาก เข้าไปลงทุน โดยการเข้าไปลงทุนดังกล่าวต้องผ่านการพิจารณาจาก
คณะกรรมการบริ ษั ท นโยบายการบริ ห ารงานในบริ ษั ท ย่ อ ยและ คณะกรรมการบริษัท
บริษทั ร่วม บริษทั จะส่งกรรมการทีเ่ ป็นตัวแทนของบริษทั เข้าร่วมบริหาร นโยบายการบริหารงานในบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วม บริษทั จะส่ง
งานในบริษัทย่อยและบริษัทร่วมตามสัดส่วนที่บริษัทถือหุ้นอยู่ เพื่อ กรรมการทีเ่ ป็นตัวแทนของบริษทั เข้าร่วมบริหารงานในบริษทั ย่อยและ
ก�ำหนดนโยบายที่ส�ำคัญและควบคุมการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทย่อย บริษัทร่วมตามสัดส่วนที่บริษัทถือหุ้นอยู่ เพื่อก�ำหนดนโยบายที่ส�ำคัญ
และบริษัทร่วมให้เป็นไปในทิศทางที่ถูกต้องเหมาะสม และสร้าง และควบคุมการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทย่อยและบริษัทร่วมให้เป็นไป
ผลก�ำไรให้กับบริษัท ในทิศทางที่ถูกต้องเหมาะสม และสร้างผลก�ำไรให้กับบริษัท

บริษัทมีบริษัทร่วมจ�ำนวน 5 บริษัท ประกอบด้วย การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการที่ส�ำคัญ


(1) บริ ษั ท ร่ ว มจ� ำ นวน 2 บริ ษั ท ประกอบธุ ร กิ จ พั ฒ นา บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน) ก่อตั้งเมื่อวันที่ 30
อสังหาริมทรัพย์ ได้แก่ กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์แลนด์แอนด์เฮ้าส์ สิงหาคม 2526 เพื่อประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ด้วยทุน
2 และบริษัท ควอลิตี้ เฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน) จดทะเบียนเริม่ แรก 5 ล้านบาท ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่เมือ่ เริม่ ก่อตัง้ ประกอบ
(2) บริษัทร่วมจ�ำนวน 2 บริษัท ประกอบธุรกิจที่เกี่ยวเนื่อง ด้วยนายอนันต์ อัศวโภคิน และนางสาวเพียงใจ หาญพาณิชย์ บริษัท
กับธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ได้แก่ บริษัท ควอลิตี้คอนสตรัคชั่นโปรดัคส์ ได้เข้าเป็นบริษทั รับอนุญาตในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเมือ่ วันที่
จ�ำกัด (มหาชน) ประกอบธุรกิจผลิตและจ�ำหน่ายคอนกรีตมวลเบา 17 กุมภาพันธ์ 2532 และเปลี่ยนฐานะเป็นบริษัทจดทะเบียนเมื่อวันที่
ทีใ่ ช้ในการก่อสร้าง และบริษทั โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) 1 เมษายน 2534
ประกอบธุรกิจค้าปลีก บริษทั ประสบปัญหาทางการเงินในช่วงปี 2541 – 2542 อันเป็นผล
(3) บริษัทร่วมจ�ำนวน 1 บริษัท ประกอบธุรกิจอื่น ๆ ได้แก่ จากวิกฤตเศรษฐกิจ และการเปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยนเป็นแบบ
บมจ. แอลเอชไฟแนนซ์เชียลกรุ๊ป ซึ่งเป็นโฮลดิ้งคอมปานีที่มีบริษัท ลอยตัว บริษัทได้ท�ำการปรับโครงสร้างหนี้แล้วเสร็จในปี 2542 โดย
ย่อยประกอบธุรกิจธนาคารพาณิชย์, บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน, มีการเพิ่มทุนจากผู้ถือหุ้นเดิมและผู้ถือหุ้นรายใหม่ คือ Government
บริษัทหลักทรัพย์ และที่ปรึกษา of Singapore Investment Corporation (GIC) หลังจากการเพิม่ ทุน
ดังกล่าว ณ วันที่ 25 สิงหาคม 2564 ซึ่งเป็นวันปิดสมุดทะเบียนล่าสุด
กลุ ่ ม ตระกู ล อั ศ วโภคิ น ยั ง คงเป็ น ผู ้ ถื อ หุ ้ น ใหญ่ ที่ สุ ด ในสั ด ส่ ว น
ร้อยละ 30.73
09
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

ในระหว่างปี 2559 จนถึงวันที่ 25 สิงหาคม 2564 ซึง่ เป็นวันก�ำหนดรายชือ่ ครัง้ ล่าสุด บริษทั มีการเปลีย่ นแปลงและพัฒนาการทีส่ ำ� คัญในส่วน
เกี่ยวกับโครงสร้างการถือหุ้น และการเพิ่มทุน ดังนี้

สัดส่วนการถือหุ้น (ร้อยละ)
ผู้ถือหุ้น
ส.ค. ส.ค. ส.ค. ส.ค. ส.ค. ส.ค.
2559 2560 2561 2562 2563 2564
1. กลุ่มนายอนันต์ อัศวโภคิน
1.1 นายอนันต์ อัศวโภคิน 24.27 23.93 23.93 23.93 23.93 23.93
1.2 บริษัท เมย์แลนด์ จ�ำกัด* 5.74 5.66 5.67 5.67 5.67 5.67
1.3 นางสาวเพียงใจ หาญพาณิชย์** 1.15 1.13 1.13 1.13 1.13 1.13
รวมกลุ่มนายอนันต์ อัศวโภคิน 31.16 30.72 30.73 30.73 30.73 30.73
2. GIC Private Limited 17.01 16.17 8.01 8.01 1.27 -
3. อื่น ๆ 51.83 53.11 61.26 61.26 68.00 69.27
รวม 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00
ทุนช�ำระแล้ว (ล้านบาท) 11,779.1 11,949.7 11,949.7 11,949.7 11,949.7 11,949.7

ที่มา : * บริษัทที่ถือหุ้น โดยนายอาชนัน อัศวโภคิน บุตรนายอนันต์ อัศวโภคิน และบริษัทที่เกี่ยวข้อง ในสัดส่วนร้อยละ 100


** มารดาของนายอนันต์ อัศวโภคิน

การใช้เงินที่ได้จากการออกหุ้นกู้
เป็นไปตามวัตถุประสงค์ คือ เป็นการคืนหุ้นกู้ที่ครบก�ำหนดและใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนในการด�ำเนินงาน

ข้อผูกพันที่บริษัทได้ให้ไว้ในแบบแสดงรายการข้อมูล
- ไม่มี -

ชื่อ และที่ตั้งส�ำนักงาน
1. ชื่อและที่ตั้งส�ำนักงาน : บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน)
: Land & Houses Public Company Limited
2. ลักษณะการประกอบธุรกิจ : พัฒนาอสังหาริมทรัพย์เพื่อขาย
3. ที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่ : เลขที่ 1 ชั้น 37 - 38 อาคารคิวเฮ้าส์ ลุมพินี ถนนสาทร แขวงทุ่งมหาเมฆ
เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120
4. เลขทะเบียนบริษัท : 0107535000249
5. โทรศัพท์ : 0 2343 8900
6. โทรสาร : 0 2230 8133
7. Home Page : www.lh.co.th
8. จ�ำนวนหุ้นที่จ�ำหน่ายได้แล้ว : ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 หุ้นสามัญ 11,949,713,176 หุ้นทั้งหมดของกิจการ
มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท

10
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

2. ลักษณะการประกอบธุรกิจ
2.1 โครงสร้างรายได้
% การถือ ปี 2564 ปี 2563 ปี 2562
ผลิตภัณฑ์ ดำ�เนินการโดย หุ้น
ของบริษัท ล้านบาท % ล้านบาท % ล้านบาท %
1. ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์
บ้านเดี่ยว บริษัท 21,310 63.6 19,946 64.2 18,634 56.0
บริษัทย่อย: บจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ นอร์ธอีส 100 519 1.6 205 0.7 - 0.0
บริษัทย่อย: บจ. แอล. เอช. เมืองใหม่ 55 264 0.8 140 0.4 208 0.6
บริษัทย่อย: บจ. แอลเอช แอสเซท 100 1,873 5.6 864 2.8 229 0.7
บริษัทย่อย: บจ. สยามธานีพร๊อบเพอร์ตี้ 100 173 0.5 31 0.1
บริษัทย่อย: บจ. แอลเอช เรียลเอสเตท 100 2 0.0
รวมรายได้บ้านเดี่ยว 24,141 72.1 21,186 68.2 19,071 57.3
ทาวน์เฮ้าส์ บริษัท 2,336 7.0 1,580 5.1 2,241 6.7
บริษัทย่อย: บจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ นอร์ธอีส 100 207 0.6 195 0.6 207 0.6
บริษัทย่อย: บจ. แอลเอช แอสเซท 100 916 2.7 1,727 5.6 273 0.8
รวมรายได้ทาวน์เฮ้าส์ 3,459 10.3 3,502 11.3 2,721 8.1
คอนโดมิเนียม บริษัท 2,661 7.9 2,794 9.0 3,358 10.1
รวมรายได้คอนโดมิเนียม 2,661 7.9 2,794 9.0 3,358 10.1
ที่ดินเปล่า บริษัท 200 0.6 43 0.1 - 0.0
บริษัทย่อย: บจ. แอตแลนติก เรียลเอสเตท 100 - 0.0 - 0.0 1 0.0
รวมรายได้ที่ดินเปล่า 200 0.6 43 0.1 1 0.0
รวมรายได้ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ 30,461 90.9 27,525 88.6 25,151 75.5
2. รายได้ค่าเช่า บริษทั ย่อย: บจ. แอล แอนด์ เอช พร็อพเพอร์ตี้ 60 72 0.2 36 0.1 1,392 4.2
บริษัทย่อย: Land and Houses U.S.A., Inc. 100 598 1.8 688 2.2 645 1.9
บริษัทย่อย: บจ. แอลเอช มอล แอนด์ โฮเทล 100 1,139 3.4 1,693 5.5 2,870 8.6
รวมรายได้ธุรกิจให้เช่าและบริการ 1,809 5.4 2,417 7.8 4,907 14.7
3. ก�ำไรจากการจ�ำหน่ายอสังหาริมทรัพย์ บริษัทย่อย: Land and Houses U.S.A., Inc. 100 - 0.0 405 1.3
เพื่อการลงทุน
บริษัทย่อย: บจ. แอลเอช มอลล์ แอนด์ โฮเทล 100 - 0.0 - 0.0 2,418 7.3
4. รายได้อื่น 1,240 3.7 720 2.3 831 2.5
5. รวมรายได้ 1 - 4 33,510 100.0 31,067 100.0 33,307 100.0
6. ส่วนแบ่งก�ำไรจากเงินลงทุนในบริษัท 2,333 7.0 2,588 8.3 3,383 10.2
ร่วม
รายได้ทั้งสิ้น 5 + 6 35,843 107.0 33,655 108.3 36,690 110.2

11
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

2.2 ข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์

ลักษณะผลิตภัณฑ์หรือบริการ บริษัทเป็นผู้น�ำในการผลักดันโครงการบ้านสร้างเสร็จก่อนขาย
บริ ษั ท และบริ ษั ท ย่ อ ยพั ฒ นาโครงการที่ พั ก อาศั ย ประเภท ในปี 2543 ซึ่งได้รับการตอบรับจากกลุ่มลูกค้าเป็นอย่างดี และใน
บ้านเดี่ยว ทาวน์เฮ้าส์ และอาคารชุดพักอาศัยเพื่อขาย โดยบริษัท ปัจจุบันยังคงด�ำเนินนโยบายสร้างเสร็จก่อนขาย กลยุทธ์นี้ได้ช่วย
เน้นการพัฒนาโครงการในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และ ให้การด�ำเนินงานของบริษทั ในด้านต่าง ๆ มีความถูกต้องยิง่ ขึน้ ทีส่ ำ� คัญ
บริษทั ย่อยจะพัฒนาโครงการในจังหวัดใหญ่ ๆ ได้แก่ เชียงใหม่ เชียงราย คือ การลดต้นทุนการผลิต การสร้างบ้านสร้างเสร็จก่อนขาย ท�ำให้ทราบ
ขอนแก่น นครราชสีมา ภูเก็ต ประจวบคีรีขันธ์ (หัวหิน) อุดรธานี ถึงต้นทุนที่เกิดอย่างชัดเจน และสามารถที่จะควบคุมคุณภาพงาน
มหาสารคาม และพระนครศรีอยุธยา ได้อย่างดียิ่ง และก่อให้เกิดความมั่นใจแก่ลูกค้าว่าจะได้รับมอบบ้าน
โครงการที่บริษัทและบริษัทย่อยพัฒนาเพื่อขายแก่ลูกค้าจะเป็น ที่สร้างเสร็จ ตลอดจนสภาพโครงการที่สมบูรณ์ ลูกค้าได้เลือก ได้เห็น
ลักษณะการสร้างก่อนขาย ซึง่ ประกอบด้วยโครงการประเภทบ้านเดีย่ ว ความสมบูรณ์ของความพร้อมในการเข้าอยู่อาศัย ความปลอดภัย
ทาวน์ เ ฮ้ า ส์ โดยบริ ษั ทจะท�ำ การสร้ า งบ้ า นให้ เ สร็ จ ก่ อ นจ�ำหน่าย และสภาพสังคม และส�ำหรับการด�ำเนินงานก่อสร้างอาคารชุดพัก
ให้กับลูกค้า เมื่อลูกค้าสนใจจะซื้อบ้านก็จะช�ำระเงินจองและเงิน อาศัย ได้ด�ำเนินการก่อสร้างทันที เมื่อเปิดจองเพื่อให้เป็นไปตามแผน
ท�ำสัญญาจ�ำนวนหนึง่ หลังจากนัน้ ลูกค้าจะช�ำระเงินค่าบ้านส่วนทีเ่ หลือ ด�ำเนินงานก่อสร้างและให้ได้คุณภาพที่ดี
ให้กับบริษัท บริษัทจึงท�ำการโอนบ้านพร้อมที่ดินให้แก่ลูกค้า ส�ำหรับ การด�ำเนินการสร้างบ้านเสร็จก่อนขาย ท�ำให้ลูกค้าที่ซื้อบ้าน
ที่ อ ยู ่ อ าศั ย ประเภทอาคารชุ ด ซึ่ ง ต้ อ งใช้ ร ะยะเวลาการก่ อ สร้ า ง ในโครงการของบริษัทสามารถที่จะโอนกรรมสิทธิ์ ได้ทันทีภายหลัง
ที่ยาวนาน ทางบริษัทได้ด�ำเนินการให้ลูกค้าได้จองก่อนและช�ำระเงิน จากจอง และสามารถโอนกรรมสิทธิ์ได้ภายใน 7 วัน ส่วนการขาย
ดาวน์เป็นงวด ๆ ประมาณร้อยละ 10 - 25 ส่วนที่เหลือก็จะไปช�ำระ คอนโดมิเนียม บริษัทก็จะท�ำการโอนกรรมสิทธิ์ให้ลูกค้าเมื่อลูกค้า
ในวันโอนกรรมสิทธิ์เมื่ออาคารชุดสร้างเสร็จ ช�ำระเงินครบถ้วนแล้ว จึงท�ำให้บริษัทไม่มีเงินค้างช�ำระจากลูกค้า

12
โครงการที่ด�ำเนินการอยู่ในปัจจุบันและโครงการระหว่างเตรียมการ (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564)

ความคืบหน้า
ขนาด ค่า ในการก่อสร้าง จำ�นวน จำ�นวน
ลำ�ดับ ปีที่เริ่ม จำ�นวน มูลค่าขาย
ลักษณะ ที่ดิน พื้นที่ขาย เงิมูนลลงทุ
ชื่อโครงการ ที่ตั้งโครงการ หน่วย น ทั้งโครงการ (หน่วย) (หน่วย)
ที่ โครงการ โครงการ โครงการ /ให้เช่า ในโครงการ
เงินที่ลงทุน ร้อยละ ที่ขาย ที่โอน
(หลัง/ยูนิต) (ล้านบาท)
(ไร่) (ไร่/ตรม.) (ล้านบาท)
ไปแล้ว ของงาน แล้ว แล้ว
(ล้านบาท) ที่เสร็จ
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน

บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์


1 2547 074 - ชัยพฤกษ์ เชียงใหม่ ถ.เชียงใหม่ - แม่โจ้ กม. 4.5 หนองจ๊อม จ.เชียงใหม่ DH 321 65 64 330 326 98.8% 522 301 301
2 2544 075 - นันทวัน เชียงใหม่ ถ.เชียงใหม่ - แม่โจ้ กม. 4.5 หนองจ๊อม จ.เชียงใหม่ DH 87 41 30 382 317 83.0% 755 79 79
3 2547 107 - ชลลดา เชียงใหม่ ม.4 ถ.เชียงใหม่ - แม่โจ้ ต.หนองหาร อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ DH 327 109 70 741 713 96.3% 1,110 316 315
4 2562 120 - นันทวัน รามอินทรา - พหลโยธิน 50 ถ.เทพรักษ์ แขวงท่าแร้ง เขตบางเขน กทม. DH 205 98 59 3,077 2,798 90.9% 4,563 187 184
5 2548 140 - สีวลี คลองชลฯ เชียงใหม่ ถ.คันคลองชลประทาน ม.2 ต.แม่เหียะ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ DH 294 82 55 710 697 98.1% 1,163 291 291
6 2556 188 - Villaggio บางนา ถ.บางนา - ตราด ABAC ต.บางบ่อ อ.บางบ่อ จ.สมุทรปราการ DH, TH 1016 153 82 2,156 1,989 92.2% 3,126 914 914
7 2559 203 - นันทวัน ซีรีนเลค - เชียงใหม่ ถ.วงแหวนสมโภชน์ 700 ปี ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ DH 98 69 32 1,113 773 69.5% 2,008 32 32
การกำ�กับดูแลกิจการ

8 2555 205 - ลดาวัลย์ ราชพฤกษ์ ปิ่นเกล้า ถ.ราชพฤกษ์ แขวงบางระนาด เขตตลิ่งชัน กทม. DH 234 215 130 5,337 4,844 90.8% 14,035 234 230

13
9 2562 206 - VIVE รัตนาธิเบศร์ - ราชพฤกษ์ ถ.รัตนาธิเบศร์ ต.บางรักน้อย อ.เมืองนนทบุรี จ.นนทบุรี DH 34 20 12 685 566 82.6% 1,026 31 31
10 2562 223 - มัณฑนา Westgate ถ.กาญจนาภิเษก - วงแหวน ต.บางรักใหญ่ อ.บางบัวทอง จ.นนทบุรี DH 293 94 58 3,118 1,905 61.1% 4,466 213 209
11 2556 224 - The Bangkok สาทร ถ.สาทรใต้ แขวงยานนาวา เขตสาทร กทม. CD 476 5 40,747 5,005 5,005 100.0% 7,708 427 424
12 2554 229 - สีวลี สันก�ำแพง เชียงใหม่ ถ.เชียงใหม่ - สันก�ำแพง ม.3 ต.สันกลาง อ.สันก�ำแพง จ.เชียงใหม่ DH 309 86 55 944 828 87.8% 1,418 232 231
งบการเงิน

13 2562 230 - Villaggio ประชาอุทิศ 90 ถ.ประชาอุทิศ - บ้านคลองสวน ต.บ้านคลองสวน อ.พระสมุทรเจดีย์ DH, 351 58 38 837 586 70.1% 1,409 277 274
จ.สมุทรปราการ SEMI - DH
14 2559 240 - Villaggio ปิ่นเกล้า - ศาลายา ถ.ส�ำเร็จพัฒนา ต.ศาลากลาง อ.บางกรวย จ.นนทบุรี DH, TH 944 163 104 2,353 1,839 78.2% 3,647 787 773
15 2555 243 - สีวลี ถ.มิตรภาพ นครราชสีมา ถ.มิตรภาพ ต.โคกกรวด อ.เมือง จ.นครราชสีมา DH 379 97 63 1,152 1,135 98.5% 2,180 361 354
16 2555 245 - INIZIO มะลิวัลย์ ขอนแก่น ถ.มะลิวัลย์ ต.บ้านทุ่ม อ.เมือง จ.ขอนแก่น DH 340 74 49 793 757 95.5% 1,352 339 339
17 2557 246 - สีวลี ถนนมะลิวัลย์ ถ.มะลิวัลย์ ต.บ้านทุ่ม อ.เมือง จ.ขอนแก่น DH 305 97 63 1,236 801 64.8% 1,380 215 193
18 2561 249 - Villaggio รังสิต คลอง 2 ถ.เลียบคลองสอง ต.คลองสอง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120 DH, SEMI 483 87 55 1,534 1,058 69.0% 2,143 350 349
19 2559 253 - นันทวัน อุดรธานี ถ.ทางหลวงสายเอเชีย 12 ต.หมากแข้ง อ.เมือง จ.อุดรธานี DH 82 38 23 707 543 76.9% 1,015 34 34
เอกสารแนบ

20 2556 254 - สีวลี อุดรธานี ถ.มิตรภาพ ต.กุดสระ อ.เมือง จ.อุดรธานี DH 316 82 50 1,030 1,023 99.3% 1,478 237 226
21 2556 257 - นอร์ท 2 51 ถ.วงแหวนสมโภชเชียงใหม่ 700 ปี ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ CD 69 2 2,664 108 102 94.6% 165 68 68
22 2556 258 - นอร์ท 3 51 ถ.วงแหวนสมโภชเชียงใหม่ 700 ปี ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ CD 69 2 2,664 110 104 94.7% 169 59 59
23 2556 259 - นอร์ท 4 52 ถ.วงแหวนสมโภชเชียงใหม่ 700 ปี ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ CD 69 2 2,664 120 106 88.3% 183 66 66
ความคืบหน้า
ขนาด ค่า ในการก่อสร้าง จำ�นวน จำ�นวน
จำ�นวน มูลค่าขาย
ลำ�ดับ ปีที่เริ่ม ลักษณะ ที่ดิน พื้นที่ขาย เงิมูนลลงทุ น (หน่วย) (หน่วย)
ชื่อโครงการ ที่ตั้งโครงการ หน่วย ทั้งโครงการ
ที่ โครงการ โครงการ โครงการ /ให้เช่า ในโครงการ
เงินที่ลงทุน ร้อยละ ที่ขาย ที่โอน
(หลัง/ยูนิต) (ล้านบาท)
(ไร่) (ไร่/ตรม.) (ล้านบาท)
ไปแล้ว ของงาน แล้ว แล้ว
(ล้านบาท) ที่เสร็จ
รายงานประจำ�ปี 2564

24 2556 260 - นอร์ท 5 53 ถ.วงแหวนสมโภชเชียงใหม่ 700 ปี ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ CD 69 2 2,664 120 107 89.1% 173 58 57
25 2560 261 - นอร์ท 6 54 ถ.วงแหวนสมโภชเชียงใหม่ 700 ปี ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ CD 69 2 2,664 121 115 95.2% 186 41 40
26 2557 266 - สีวลี ศรีเวียง เชียงราย 209/11 ม.3 ต.รอบเวียง อ.เมืองเชียงราย จ.เชียงราย DH 216 57 37 720 717 99.5% 952 138 134
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)

27 2558 286 - สีวลี มหาสารคาม ถ.มหาสารคาม - โกสุมพิสัย 208 ต.ท่าสองคอน อ.เมืองมหาสารคาม DH 323 85 54 1,081 973 90.0% 1,610 216 216
จ.มหาสารคาม
28 2558 288 - ลดาวัลย์ พระราม 2 ถ.พระราม 2 แขวงแสมด�ำ เขตบางขุนเทียน กทม. DH 105 69 42 3,712 3,701 99.7% 5,353 91 89
29 2561 292 - Villaggio เพชรเกษม สาย 4 ถ.พุทธสาคร 2 ต.สวนหลวง อ.กระทุ่มแบน จ.สมุทรสาคร DH, 405 48 28 875 778 88.9% 1,251 331 328
SEMI, TH
30 2557 293 - The room เจริญกรุง 30 ถ.เจริญกรุง แขวงบางรัก เขตบางรัก กทม. CD 214 2 13,316 1,481 1,481 100.0% 2,348 172 172
31 2562 304 - มัณฑนา ซีรินเลค - เชียงใหม่ ถ.วงแหวนสมโภชเชียงใหม่ 700 ปี ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ DH 78 47 22 673 511 75.9% 1,323 48 45
32 2562 316 - Villaggio บางนา - เทพารักษ์ ถ.บางพลี - ต�ำหรุ ต.บางพลีใหญ่ อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ DH, 342 63 39 1,158 991 85.5% 1,668 313 312
SEMI - DH

14
33 2559 318 - The Bangkok ทองหล่อ ถ.สุขุมวิท 55 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กทม. CD 148 2 11,893 2,415 2,413 99.9% 3,560 65 63
34 2561 321 - Ease 2 พระราม 2 ถ.พระราม 2 ซอย 54 แขวงแสมด�ำ เขตบางขุนเทียน กทม. CD 329 4 11,563 610 610 100.0% 762 234 233
35 2562 323 - Indy WESTGATE ถ.เลียบคลองบางไผ่ ต.บางรักพัฒนา อ.บางบัวทอง จ.นนทบุรี TH 353 36 22 830 726 87.5% 1,169 159 158
36 2562 324 - ชัยพฤกษ์ ทางด่วน รามอินทรา - ถ.คู่ขนานกาญจนาภิเษก แขวงสามวาตะวันตก เขตคลองสามวา กทม. DH 398 99 63 2,032 1,196 58.9% 2,908 266 253
จตุโชติ
37 2561 328 - Villaggio เกาะเรียน ต.เกาะเรียน อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา DH, TH 296 50 31 716 656 91.6% 1,034 277 276
38 2563 329 - สีวลี ศรีนครินทร์ ร่มเกล้า 6 แยก 2 แขวงมีนบุรี เขตมีนบุรี กทม. DH 260 70 41 1,287 955 74.2% 1,800 122 121
39 2560 333 - Indy บางใหญ่ (2) ถ.เทิดพระเกียรติ ต.บางแม่นาง อ.บางใหญ่ จ.นนทบุรี TH 207 18 11 413 372 90.0% 598 199 199
40 2563 336 - นันทวัน พระราม 9 ศรีนครินทร์ ถ.กรุงเทพกรีฑา แขวงทับช้าง เขตสะพานสูง กทม. DH 88 45 27 2,693 2,104 78.1% 4,021 56 52
41 2563 337 - Anya Westgate ต.บางรักพัฒนา อ.บางบัวทอง จ.นนทบุรี SEMI 164 32 18 683 519 76.0% 979 39 39
42 2561 338 - Villaggio สันทราย - เชียงใหม่ 289 ม.3 ต.สันนาเม็ง อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ DH, TH 246 32 20 567 473 83.5% 810 110 106
43 2563 339 - ชัยพฤกษ์ westgate 98 ม.4 ถ.สายบึงบัว - คลองประปา ต.บางแม่นาง อ.บางใหญ่ จ.นนทบุรี SH 129 31 19 519 430 82.9% 752 100 97
44 2564 342 - INIZIO 4 ปิ่นเกล้า - วงแหวน ถ.อัจฉริยะพัฒนา (ซอยวัดส้มเกลี้ยง) ต.ศาลากลาง อ.บางกรวย SEMI 158 26 16 525 294 55.9% 756 39 29
จ.นนทบุรี
45 2562 343 - VIVE เอกมัย รามอินทรา ถ.โยธินพัฒนา แขวงนวมินทร์ เขตบึงกุ่ม กทม. DH 48 17 10 1,584 1,472 92.9% 2,151 40 40
46 2563 344 - มัณฑนา สันทราย - เชียงใหม่ 242 ม.5 ถ.เชียงใหม่ - ดอยสะเก็ด ต.สันนาเม็ง อ.สันทราย เชียงใหม่ DH 122 41 26 839 480 57.2% 1,255 12 11
47 2561 345 - เดอะรูม สุขุมวิท 38 ซ.สุขุมวิท 38 ถ.สุขุมวิท แขวงพระโขนง เขตคลองเตย กทม. CD 229 2 14,436 2,170 2,108 97.2% 3,157 19 15
ความคืบหน้า
ขนาด ค่า ในการก่อสร้าง จำ�นวน จำ�นวน
จำ�นวน มูลค่าขาย
ลำ�ดับ ปีที่เริ่ม ลักษณะ ที่ดิน พื้นที่ขาย เงิมูนลลงทุ น (หน่วย) (หน่วย)
ชื่อโครงการ ที่ตั้งโครงการ หน่วย ทั้งโครงการ
ที่ โครงการ โครงการ โครงการ /ให้เช่า ในโครงการ
เงินที่ลงทุน ร้อยละ ที่ขาย ที่โอน
(หลัง/ยูนิต) (ล้านบาท)
(ไร่) (ไร่/ตรม.) (ล้านบาท)
ไปแล้ว ของงาน แล้ว แล้ว
(ล้านบาท) ที่เสร็จ
48 2561 346 - Indy 2 ศรีนครินทร์ ถ.ศรีนครินทร์ ต.บางเมือง อ.เมืองสมุทรปราการ จ.สมุทรปราการ TH 445 46 27 1,043 918 88.0% 1,471 435 435
การประกอบธุรกิจ

49 2561 347 - เดอะรูม พญาไท 567 ถ.ศรีอยุธยา แขวงพญาไท เขตราชเทวี กทม. CD 437 3 20,078 2,603 2,332 89.6% 3,534 160 148
และผลการดำ�เนินงาน

50 2564 349 - Villaggio2 ศรีนครินทร์ - บางนา ถ.บัวนครินทร์ ต.บางแก้ว อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ DH, TH 399 69 39 1,355 600 44.3% 1,926 54 30
51 2561 353 - มัณฑนา พุทธมณฑล สาย 2 ถ.บางแวก แขวงบางไผ่ เขตบางแค กทม. DH 146 73 47 1,615 1,408 87.2% 2,359 133 130
52 2561 357 - The key MRT เพชรเกษม 48 234 ถ.เพชรเกษม แขวงบางหว้า เขตภาษีเจริญ กทม. CD 639 4 20,115 1,491 1,476 99.0% 2,226 234 229
53 2563 358 - มัณฑนา มอเตอร์เวย์ตัดใหม่ ถ.พัฒนาชนบท4 แขวงคลองสองต้นนุ่น เขตลาดกระบัง กทม. DH 177 48 30 1,228 1,043 84.9% 1,753 160 159
กรุงเทพกรีฑา
54 2562 369 - The key พระราม 3 ถ.พระราม 3 แขวงบางโคล่ เขตบางคอแหลม กทม. CD 484 3 18,179 1,402 1,051 75.0% 1,887 451 -
55 2563 370 - Indy ศรีนครินทร์ - แพรกษา ต.ท้ายบ้านใหม่ อ.เมืองสมุทรปราการ จ.สมุทรปราการ TH 286 28 17 675 583 86.4% 942 231 230
56 2564 372 - มัณฑนา ราชพฤกษ์ - นครอินทร์ ถ.ตลิ่งชัน - สุพรรณบุรี ต.บางเลน อ.บางใหญ่ จ.นนทบุรี DH 346 99 61 2,749 1,627 59.2% 4,071 41 39
การกำ�กับดูแลกิจการ

57 2564 373 - Indy5 บางนา กม. 7 ต.บางแก้ว อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ TH 81 10 5 257 234 90.9% 358 79 79

15
58 2564 375 - Villaggio สุขสวัสดิ์ - ประชาอุทิศ 929 หมู่ 10 ต.ในคลองบางปลากด อ.พระสมุทรเจดีย์ จ.สมุทรปราการ DH, TH 482 73 44 1,326 493 37.2% 1,877 52 50
59 2564 376 - CHAIYAPRUEK Bangna กม. 15 ถ.บางนา - ตราด กม.15 ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ DH 329 87 54 2,313 1,150 49.7% 3,329 33 20
60 2563 378 - มัณฑนา บางนา - วงแหวน ซ.รามค�ำแหง 2 แขวงดอกไม้ เขตประเวศ กทม. DH 261 96 57 2,455 1,729 70.4% 3,750 156 150
61 2564 383 - พฤกษ์ลดา ราชพฤกษ์ - 345 ถ. 345 ต.ละหาร อ.บางบัวทอง จ.นนทบุรี DH 376 86 55 1,610 666 41.4% 2,170 28 21
งบการเงิน

(ไร่) 13,684 3,309 2,057 65,769 51,296 78% 103,196 9,388 9,207
(ตรม.) 3,301 35 163,647 17,756 17,010 96% 26,058 2,054 1,574

บจ. แอล. เอช. เมืองใหม่


62 2554 300 - 88 แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ 88 ถ.เจ้าฟ้า ต.ฉลอง อ.เมือง จ.ภูเก็ต DH 63 15 9 245 237 96.6% 420 62 62
63 2555 301 - 88 L&H Hillside ม.5 ถ.เจ้าฟ้า ต.ฉลอง อ.เมืองภูเก็ต จ.ภูเก็ต DH 100 52 30 524 485 92.5% 1,279 84 83
64 2555 302 - Inizio เกาะแก้ว ม.4 ต.เกาะแก้ว อ.เมืองภูเก็ต จ.ภูเก็ต DH 128 27 18 345 341 98.7% 600 121 119
เอกสารแนบ

65 2556 303 - 88 L&H เกาะแก้ว 88/11 ม.5 ถ.เทพกระษัตรี ต.เกาะแก้ว อ.เมืองภูเก็ต จ.ภูเก็ต DH 182 54 32 850 681 80.1% 1,450 125 122
66 2563 401 - สีวลี รัษฏา ถ.ประชาอุทิศ1 ต.รัษฏา อ.เมือง จ.ภูเก็ต DH 192 84 45 1,900 287 15.1% 2,730 19 17
(ไร่) 665 232 134 3,864 2,030 53% 6,479 411 403
ความคืบหน้า
ขนาด ค่า ในการก่อสร้าง จำ�นวน จำ�นวน
จำ�นวน มูลค่าขาย
ลำ�ดับ ปีที่เริ่ม ลักษณะ ที่ดิน พื้นที่ขาย เงิมูนลลงทุ น (หน่วย) (หน่วย)
ชื่อโครงการ ที่ตั้งโครงการ หน่วย ทั้งโครงการ
ที่ โครงการ โครงการ โครงการ /ให้เช่า ในโครงการ
เงินที่ลงทุน ร้อยละ ที่ขาย ที่โอน
(หลัง/ยูนิต) (ล้านบาท)
(ไร่) (ไร่/ตรม.) (ล้านบาท)
ไปแล้ว ของงาน แล้ว แล้ว
(ล้านบาท) ที่เสร็จ
รายงานประจำ�ปี 2564

บจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ นอร์ธอีส


67 2562 405 - Indy รังสิต คลอง 2 ถ.เลียบคลองสอง ต.คลองสอง อ.หลองหลวง จ.ปทุมธานี TH 198 20 10 376 358 95.3% 550 198 198
68 2563 407 - สีวลี 3 อยุธยา ถ.อโยธยา ต.คลองสวนพลู อ.พระนครศรีอยุธยา จ.พระนครศรีอยุธยา DH 70 18 10 300 296 98.7% 426 48 48
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)

69 2563 408 - Villaggio ศรีนครินทร์ ถ.ทรัพย์พัฒนา ต.บางเมือง อ.เมืองสมุทรปราการ จ.สมุทรปราการ SH, TH 346 48 30 1,102 784 71.2% 1,587 94 94
(ไร่) 614 86 50 1,778 1,439 81% 2,563 340 340

บจ. แอล เอช แอสเซท


70 2557 016 - INIZIO เชียงใหม่ 111/339 ม.12 ต. สันก�ำแพง อ.สันก�ำแพง จ.เชียงใหม่ DH 336 78 52 894 587 65.6% 1,316 176 175
71 2562 022 - Villaggio ศรีนครินทร์ - บางนา ถ.บัวนครินทร์ ต.บางแก้ว อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ DH, TH 304 51 29 958 846 88.4% 1,390 288 287
72 2563 023 - มัณฑนา เพชรเกษม - สาย 4 ถ.พุทธสาคร ต.สวนหลวง อ.กระทุ่มแบน จ.สมุทรสาคร SH 228 57 35 1,146 735 64.2% 1,642 223 87
73 2562 024 - Indy อยุธยา ต.บ้านกรด อ.บางปะอิน จ.พระนครศรีอยุธยา TH 230 23 14 452 419 92.7% 626 175 175

16
74 2564 027 - Indy 2 บางนา - รามค�ำแหง 2 ซ.รามค�ำแหง 2 แขวงดอกไม้ เขตประเวศ กทม. TH 489 49 29 1,341 717 53.5% 1,928 130 130
75 2563 028 - สีวลี เพชรเกษม 69 ถ.เลียบคอลภาษีเจริญฝั่งใต้ แขวงหนองแขม เขตหนองแขม กทม. DH 82 36 21 638 602 94.3% 924 52 51
76 2564 029 - Anya ราชพฤกษ์ - นครอินทร์ ถ.บางกรวย - ไทรน้อย ต.บางเลน อ.บางใหญ่ จ.นนทบุรี SEMI 250 51 28 1,273 1,098 86.3% 1,825 127 126
(ไร่) 1,919 345 208 6,702 5,005 75% 9,652 1,171 1,031

บจ. สยามธานีพร๊อบเพอร์ตี้
77 2563 007 - anya เพชรเกษม - สาย 4 ถ.พุทธสาคร ต.สวนหลวง อ.กระทุ่มแบน จ.สมุทรสาคร SEMI 260 45 27 862 550 63.8% 1,242 43 41
(ไร่) 260 45 27 862 550 64% 1,242 43 41
รวมทั้งสิ้น TH, DH, L, D (ไร่) 17,142 4,018 2,477 78,975 60,318 76% 123,132 11,353 11,022
รวมทั้งสิ้น CD (ตรม.) 3,301 35 163,647 17,756 17,010 96% 26,058 2,054 1,574

DH = บ้านเดี่ยว TH = ทาวน์เฮ้าส์ CD = คอนโดมีเนียม SEMI = บ้านแฝด L = ที่ดินเปล่า


โครงการที่ปิดด�ำเนินการในปี 2564 มีดังต่อไปนี้

ความคืบหน้า
ขนาด ค่า ในการก่อสร้าง จำ�นวน จำ�นวน
จำ�นวน มูลค่าขาย
ลำ�ดับ ปีที่เริ่ม ลักษณะ ที่ดิน พื้นที่ขาย เงิมูนลลงทุ น (หน่วย) (หน่วย)
ที่ โครงการ ชื่อโครงการ ที่ตั้งโครงการ โครงการ หน่วย โครงการ /ให้เช่า ในโครงการ ทั้งโครงการ ที่ขาย
(หลัง/ยูนิต) เงินที่ลงทุน ร้อยละ (ล้านบาท) ที่โอน
(ไร่) (ไร่/ตรม.) (ล้านบาท)
ไปแล้ว ของงาน แล้ว แล้ว
(ล้านบาท) ที่เสร็จ
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน

บมจ.แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์


1 2553 195 - มัณฑนา Lake Watcharapol ถ.สุขาภิบาล 5 แขวงออเงิน เขตสายไหม กทม. DH 886 267 172 4,303 4,303 100.0% 7,622 886 886
2 2554 232 - สีวลี มีโชค เชียงใหม่ 141 ม.6 ถ.วงแหวนรอบกลาง ต.สันผีเสื้อ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ DH 254 67 43 771 771 100.0% 1,310 254 254
3 2557 275 - The room สาทร เซ็นต์หลุยส์ ถ.จันทร์ แขวงทุ่งวัดดอน เขตสาทร กทม. CD 376 3 15,867 1,340 1,340 100.0% 1,914 376 376
4 2558 298 - ชัยพฤกษ์ รามอินทรา ถ.พระยาสุเรนทร์ 30 แขวง บางชัน เขต คลองสามวา กทม. DH 225 53 34 851 851 100.0% 1,315 225 225
พระยาสุเรนทร์
5 2560 307 - มัณฑนา วงแหวน บางบอน ถ.บางบอน 4 แขวงบางบอน เขตบางบอน กทม. DH 198 97 60 1,324 1,324 100.0% 2,196 198 198
6 2562 314 - VIVE บางนา ถ.บางนา-ตราด ต.บางแก้ว อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ DH 49 25 15 793 793 100.0% 1,528 49 49
การกำ�กับดูแลกิจการ

7 2560 335 - มัณฑนา นครปฐม ถ.ยิงเป้าใต้ ต.สนามจันทร์ อ.เมืองนครปฐม จ.นครปฐม DH 135 25 16 452 452 100.0% 756 135 135

17
8 2561 269 - มัณฑนา อ่อนนุช - วงแหวน 5 ถ.กาญจนาภิเษก แขวงดอกไม้ เขตประเวศ กทม. DH 311 85 55 1,786 1,786 100.0% 3,054 311 311
9 2560 322 - มัณฑนา ศรีนครินทร์ - ร่มเกล้า ถ.เคหะร่มเกล้า แขวงมีนบุรี เขตมีนบุรี กทม. DH 304 76 49 1,419 1,419 100.0% 2,328 304 304
10 2560 325 - Inizio 3 ปิ่นเกล้า - วงแหวน ถ.ส�ำเร็จพัฒนา ต.ศาลากลาง อ.บางกรวย จ.นนทบุรี DH 243 39 25 696 696 100.0% 1,118 243 243
11 2560 332 - Villaggio 2 พระราม 2 ถ.พระราม 2 ต.บางน�้ำจืด อ.เมือง จ.สมุทรสาคร DH 372 61 39 974 974 100.1% 1,625 372 372
12 2563 340 - Anya บางนา-รามค�ำแหง 2 ถ.รามค�ำแหง 2 แขวงดอกไม้ เขตประเวศ กทม. SEMI 388 70 42 1,503 1,503 100.0% 2,512 388 388
งบการเงิน

13 2564 360 - Indy 4 บางนา กม. 7 ต.บางแก้ว อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ TH 136 15 8 325 325 100.0% 578 136 136
3,501 879 558 15,197 15,199 100.0% 25,942 3,501 3,501
376 3 15,867 1,340 1,340 100.0% 1,914 376 376

บจ. แอล เอช แอสเซท


14 2563 026 - Indy บางนา รามค�ำแหง 2 ถ.รามค�ำแหง 2 แขวงดอกไม้ เขตประเวศ กทม. TH 355 37 22 810 810 100.0% 1,343 355 355
355 37 22 810 810 100.0% 1,343 355 355
เอกสารแนบ

DH = บ้านเดี่ยว TH = ทาวน์เฮ้าส์ CD = คอนโดมีเนียม SEMI = บ้านแฝด L = ที่ดินเปล่า


บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

การตลาดและการแข่งขัน
นโยบายและลักษณะการตลาด บริษทั ได้ให้ความส�ำคัญกับการวิจยั เพือ่ ให้ทราบถึงความต้องการ
กลยุทธ์การแข่งขัน ของลูกค้าอย่างต่อเนือ่ ง ทัง้ ในเรือ่ งการออกแบบฟังก์ชนั บ้าน รูปแบบบ้าน
กลยุทธ์การด�ำเนินงานของบริษัท โครงการที่อยู่อาศัยแนวราบ และโครงการ ที่ตอบสนองการใช้ชีวิตของลูกค้าและสมาชิกทุกคนใน
ยังคงด�ำเนินนโยบายสร้างบ้านเสร็จก่อนขายในทุกโครงการ แต่ในส่วน ครอบครัว โดยเฉพาะการตอบสนองวิถีชีวิตแนวใหม่ (New Normal)
โครงการคอนโดมิเนียมในปี 2564 ที่ผ่านมา ไม่ได้มีการเปิดด�ำเนิน ประการส�ำคัญทีเ่ ป็นปรัชญาของการด�ำเนินงานของบริษทั คือ คุณภาพ
โครงการใหม่ เป็นการขายในโครงการที่มีอยู่แล้วและพร้อมโอน สินค้า บริการ และคุณภาพของบุคลากรที่ดี นอกจากนี้ บริษัทได้
กรรมสิทธิ์ กลยุทธ์ในการด�ำเนินงานโครงการคอนโดมิเนียมที่เปิดใหม่ ตระหนักถึงการด�ำเนินงานภายใต้การด�ำเนินงานความเสี่ยงต่าง ๆ
จะแตกต่างไปจากโครงการทีอ่ ยูอ่ าศัยแนวราบ คือเป็นลักษณะ ให้จอง และการด�ำเนินงานเพือ่ น�ำไปสูก่ ารพัฒนาความยัง่ ยืน (Sustainability
ก่อนด�ำเนินงานก่อสร้าง ทัง้ นี้ เพือ่ ลดความเสีย่ งในการด�ำเนินโครงการ Development) ในการด�ำเนินงานด้านการตลาดและการขายนั้น
เนือ่ งจากโครงการคอนโดมิเนียมจะต้องก่อสร้างให้แล้วเสร็จทัง้ อาคาร บริษทั ได้มกี ารขยายตลาดทีก่ ว้างมากขึน้ ทัง้ ในลักษณะการขยายฐานลูกค้า
จึงโอนกรรมสิทธิ์ได้ อีกทั้งยังเป็นการช่วยให้ผู้บริโภคได้มีระยะเวลา การขยายตลาดในท�ำเลใหม่ ๆ บริษัทได้ให้ความส�ำคัญกับการพัฒนา
ในการวางแผนทางการเงิน และช่วยให้ผ่อนเงินดาวน์ได้ อันจะช่วยให้ รูปแบบของการอยู่อาศัย และนวัตกรรมเพื่อการอยู่อาศัย เพื่อมา
ลูกค้ามีความสามารถในการขอสินเชื่อกับธนาคารพาณิชย์ได้ง่ายขึ้น ตอบโจทย์ ข องการอยู ่ อ าศั ย ที่ มี คุ ณ ภาพในการอยู ่ อ าศั ย ที่ ดี ยิ่ ง ขึ้ น
อนึ่งในช่วงปี 2564 ที่ผ่านมา การด�ำเนินงานของบริษัทใน ที่ส�ำคัญ คือ
โครงการทีเ่ ปิดใหม่ มีบางโครงการทีท่ ำ� ยอดขายได้ดี ความต้องการเกิน นวัตกรรมบ้านหายใจได้ ระบบ Air Plus Square คือ การน�ำ
กว่าจ�ำนวนบ้านที่สร้างแล้วเสร็จในช่วงเวลาที่เปิดตัว บริษัทได้ดำ� เนิน ระบบบ้านหายใจได้ (ระบบการไหลเวียนของอากาศภายในบ้าน เพื่อ
งานในลักษณะการขายล่วงหน้า (Pre booking) โดยก�ำหนดระยะ ปรับคุณภาพอากาศภายในบ้านให้มีการไหลเวียน เพื่อให้ได้อากาศ
เวลาของบ้านทีจ่ ะน�ำมาขายล่วงหน้า ต้องเป็นบ้านทีจ่ ะแล้วเสร็จภายใน ที่มีการถ่ายเทอย่างสม�่ำเสมอ) มารวมกันกับระบบการป้องกันฝุ่น
3 เดือน อย่างไรก็ตาม บ้านทีข่ ายล่วงหน้าทุกหลัง ก่อนทีจ่ ะโอนกรรมสิทธิ์ PM 2.5 ทีจ่ ะเข้ามาในบ้าน นวัตกรรมใหม่น้ี ได้กำ� หนดเป็นมาตรฐานใหม่
ให้กับลูกค้าจะต้องผ่านการตรวจสอบคุณภาพ (Quality Control) ส�ำหรับโครงการทีอ่ ยูอ่ าศัยทีเ่ ป็นบ้านเดีย่ วและบ้านแฝด อย่างไรก็ตาม
ตามมาตรฐานของบริษัท ในอนาคตได้ก�ำหนดแผนงานที่จะต่อยอดในโครงการที่อยู่อาศัย ทั้งที่
กลยุทธ์บ้านสร้างเสร็จก่อนขาย ยังเป็นกลยุทธ์หลักของบริษัท เป็นโครงการคอนโดมิเนียม และโครงการทาวน์โฮม
ที่ ไ ด้ ด� ำ เนิ น งานมาอย่ า งต่ อ เนื่ อ งและยั ง เป็ น กลยุ ท ธ์ ที่ เ สริ ม สร้ า ง การพัฒนาระบบ Smart Home หรือ ระบบ Home Automation
ความสามารถในการแข่งขันและความเชื่อมั่นของลูกค้าได้อย่างดี ให้รวมอยู่ในแอพพลิเคชั่นเดียว เพื่อความสะดวกสบายในการใช้งาน
กลยุทธ์นี้ยังคงเป็นผลดีต่อการด�ำเนินงานด้านต่าง ๆ ที่นอกเหนือ และการอยู่อาศัยที่ดีขึ้น
จากตอบสนองความต้ อ งการของลู ก ค้ า ได้ ดี แ ล้ ว ยั ง เป็ น ผลดี ต ่ อ การให้ความส�ำคัญกับผูส้ งู อายุ บริษทั ได้ออกแบบใหม่ ทีต่ อบสนอง
การด�ำเนินงาน ทั้งด้านการควบคุมต้นทุน การควบคุมคุณภาพ และ ความต้องการของผูส้ งู อายุ ตลอดจนพืน้ ทีส่ ว่ นกลางทีเ่ ตรียมความพร้อม
การจัดการด้านการตลาดและการขาย และตอบโจทย์ด้านกายภาพของผู้สูงอายุ

18
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

การพัฒนาระบบงานต่าง ๆ เพือ่ เพิม่ ความสะดวกให้แก่ลกู ค้า เช่น นอกจากนี้ บริษัทยังได้มีการศึกษาเพื่อวางแผนรองรับในอนาคต


• การน�ำระบบแนะน�ำบ้านเพื่อการอยู่อาศัยด้วย QR Code ได้มีการศึกษาท�ำเลต่าง ๆ ที่มีศักยภาพ โดยการซื้อที่ดินเก็บไว้เป็น
ที่จะช่วยให้ลูกค้าเข้าใจในรายละเอียดของการใช้งานต่าง ๆ Land Bank เพื่อรอการพัฒนาโครงการในอนาคต อันจะสร้างความ
การดูแลรักษาอุปกรณ์ภายในต่าง ๆ ส่วนประกอบที่ส�ำคัญ ได้เปรียบในด้านต้นทุนที่ดิน และน�ำไปสู่ความสามารถในการแข่งขัน
ภายในบ้าน ตลอดจนข้อมูลโครงการและข้อมูลที่ส�ำคัญ และผลตอบแทนทีส่ งู ซึง่ ปัจจุบนั บริษทั มีทดี่ นิ หลายแปลงทีม่ ศี กั ยภาพ
การพัฒนาระบบงานด้านการเงิน เช่น ติดกับสถานีรถไฟฟ้า
• ระบบ QR Code Credit แบบบ้านหรือสินค้า เนื่องจากความต้องการของกลุ่มผู้บริโภค
• ระบบ QR Payment, Payment Gateway, QR Cross Bank ในแต่ละระดับราคาหรือแต่ละแบรนด์สินค้า จะมีความต้องการที่
การพัฒนาระบบงานตรวจบ้าน ผ่านแอพพลิเคชั่น แตกต่างกันออกไป บริษทั จึงได้ให้ความส�ำคัญในการศึกษาวิจยั เกีย่ วกับ
การพัฒนาระบบงาน I-Design เพื่อช่วยให้ลูกค้าได้เข้าถึงการ พฤติกรรมผูบ้ ริโภคในแต่ละกลุม่ อย่างต่อเนือ่ ง ในลักษณะเชิงรุกทีม่ อง
ออกแบบ ตกแต่งภายในบ้านที่พักอาศัย ในรูปแบบต่าง ๆ ตามความ ก้าวไปข้างหน้า ทั้งในส่วนของลูกค้าที่ได้เข้าอยู่ในโครงการของบริษัท
ต้องการของลูกค้า โดยผ่านแอพพลิเคชั่น และลูกค้าทีแ่ วะชมโครงการ ลูกค้าทีก่ ำ� ลังตัดสินใจซือ้ ทีอ่ ยูอ่ าศัย ตลอดจน
การเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากร บริษัทได้มี ลูกค้าทีต่ ดั สินใจซือ้ ในโครงการทีอ่ ยูอ่ าศัยอืน่ ๆ เพือ่ น�ำผลการศึกษาวิจยั
การพัฒนาระบบงานระบบ IT ให้มีความคล่องตัวและรวดเร็วในการ ที่ได้มาพัฒนาสินค้า หรือความต้องการต่าง ๆ ของลูกค้า เพื่อสร้าง
ด�ำเนินงานอย่างต่อเนือ่ ง เพือ่ ตอบโจทย์ดา้ นการขาย การก่อสร้าง และ ความพึงพอใจให้เกิดแก่ผบู้ ริโภคในด้านต่าง ๆ ในปัจจุบนั การด�ำเนินงาน
บริการ และส่วนงานต่าง ๆ ที่ช่วยให้การด�ำเนินงานมีประสิทธิภาพ ในเรื่องของแบบบ้านได้มีการพัฒนารูปแบบใหม่ ๆ ออกสู่ตลาด
และรวดเร็วยิ่งขึ้น เป็นระยะ ๆ ประกอบด้วยนวัตกรรมบ้านหายใจได้ Air Plus Square
บริษัทได้นำ� แนวคิด Service Design มาพัฒนา ในด้านงาน ที่สร้างความแตกต่างของสินค้าที่มีอยู่ในตลาด
ขาย ซึ่งสามารถช่วยในการวิเคราะห์และเข้าใจถึงความต้องการของ ด้านการก�ำหนดราคาขาย จากกลยุทธ์ของบริษทั เป็นในลักษณะ
ลูกค้าในเชิงลึกได้อย่างดี ของการสร้างบ้านเสร็จก่อนขาย ซึง่ มีขอ้ ทีไ่ ด้เปรียบในเชิงการแข่งขัน คือ
ในด้านการอ�ำนวยความสะดวกให้แก่ลกู ค้าของโครงการ ในการ ท�ำให้ทราบต้นทุนที่แท้จริงได้อย่างถูกต้อง อันจะมีผลต่อการก�ำหนด
เข้าอยู่อาศัย บริษัทมีบริการการขนย้ายของจากบ้านเดิม โดยบริษัท ราคาขายของสินค้าทีช่ ดั เจนสอดคล้องกับภาวะการแข่งขัน การก�ำหนด
ผู้ช�ำนาญการขนย้าย เข้าสู่บ้านหลังใหม่ในโครงการ ภายใต้แนวคิด ราคาขายบริษัทจะพิจารณาตามภาวะตลาดที่เกิดขึ้น ในแต่ละท�ำเล
“ความสุขในบ้านใหม่ ที่ไม่เหนื่อยใจกับการขนย้าย แล้วเรื่องย้ายบ้าน แต่ละช่วงเวลา การก�ำหนดราคาขาย บริษทั ไม่มนี โยบายในการก�ำหนด
ก็เป็นเรื่องง่าย ๆ ที่ไม่ต้องกังวลอีกต่อไป” ราคาเพื่อให้ลูกค้าต่อรอง อันจะส่งผลเสียและไม่เป็นธรรมกับลูกค้า
ปั จ จุ บั น การด� ำ เนิ น งานของบริ ษั ท ได้ แ บ่ ง ระดั บ สิ น ค้ า ตาม คุณภาพของสินค้า บริษัทได้ตระหนักและให้ความส�ำคัญกับ
แบรนด์ (Brand) โดยพิจารณาจากระดับราคาสินค้าและกลุม่ ผูบ้ ริโภค มาตรฐานงานในส่วนต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สินค้าที่ส่งมอบให้กับ
เป็นส�ำคัญ โดยส่วนประกอบทางการตลาด (Marketing Mix) และ ลูกค้า
การแบ่งส่วนตลาด (Segmentation) อย่างมีหลักเกณฑ์เพื่อให้ ส่วนงานก่อสร้าง ได้กำ� หนดมาตรฐานการด�ำเนินงาน ในทุกขัน้ ตอน
การด�ำเนินธุรกิจของบริษทั สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้า ของการด�ำเนินงาน เช่น
ในแต่ละกลุ่มได้เป็นอย่างดี ทั้งนี้ได้คำ� นึงถึงปัจจัยส�ำคัญ ๆ ดังนี้ • มาตรฐานการถมดิน และการก�ำหนดวัสดุการถมดินในการ
ท�ำเลที่ตั้งโครงการ บริษัทให้ความส�ำคัญกับการเลือกท�ำเลที่ตั้ง ท�ำโครงการ
โครงการ ทีจ่ ะต้องตอบโจทย์ความต้องการของลูกค้าได้ในแต่ละระดับ • มาตรฐานระบบงานสาธารณู ป โภค โดยมี ก ารก� ำ หนด
กลุม่ ลูกค้า ทัง้ ในด้านการคมนาคม การเข้าถึงระบบสาธารณูปโภคต่าง ๆ มาตรฐานการก่อสร้าง ขั้นตอนการตรวจสอบ โดยเน้นหลัก
สิ่งอ�ำนวยความสะดวกต่าง ๆ โดยรอบโครงการ การเลือกท�ำเลที่ตั้ง เกณฑ์ วิธีการปฏิบัติ การตรวจสอบ ที่เป็นระเบียบแบบแผน
โครงการของบริษทั จะกระจายออกไปในท�ำเลต่าง ๆ ในกรุงเทพมหานคร อย่างชัดเจน
และปริมณฑล เพื่อรองรับความต้องการที่อยู่อาศัยในแต่ละท�ำเล เพื่อ • มาตรฐานการออกแบบสินค้า และการเลือกใช้วัสดุต่าง ๆ
ตอบสนองลั ก ษณะโครงสร้ า งและความต้ อ งการที่ อ ยู ่ อ าศั ย ของ บริษัทจะตระหนักถึง คุณภาพของสินค้าที่ดี
ผู้บริโภคที่อ้างอิงกับลักษณะทางด้านภูมิศาสตร์และประชากรศาสตร์ • บริษัทมีนโยบายที่ก�ำหนดไว้อย่างชัดเจน ว่ามีมาตรฐาน
(Geographic and Demographic) คือ อิงกับที่อยู่อาศัยเดิมหรือ วิธกี ารปฏิบตั งิ านด้านการก่อสร้างทีก่ ำ� หนดไว้วา่ “บ้านทุกหลัง
แหล่ ง ท� ำ งานและสถานภาพของประชากรในท� ำ เลนั้ น เป็ น ส� ำ คั ญ ก่อนที่จะส่งมอบให้แก่ลูกค้า จะต้องได้รับการตรวจสอบ
การด� ำ เนิ น งานด้ า นโครงการที่ อ ยู ่ อ าศั ย ยั ง ให้ ค วามส� ำ คั ญ และ คุณภาพ QC (Quality Control) อยูใ่ นระดับทีด่ ”ี จึงจะส่งมอบ
กระจายไปในระดับกลุ่มต่าง ๆ (Segmentation) เพื่อเป็นการเพิ่ม บ้านให้ลูกค้าได้
โอกาส และการตอบสนองความต้องการของกลุ่มลูกค้ากลุ่มต่าง ๆ

19
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

• มาตรฐานการให้ได้สนิ ค้าทีด่ ี มีคณุ ภาพทีด่ ี บริษทั ได้ตระหนัก ของกลุม่ ลูกค้า ทีต่ อ้ งการท�ำเลทีไ่ ม่ไกล และไม่ตดิ ยึดกับเป็นทีอ่ ยูอ่ าศัย
ในทุกส่วนของการด�ำเนินการ เช่น การตรวจแบบก่อสร้าง ที่เป็นบ้านเดี่ยว ได้รับการตอบรับที่ดีอย่างต่อเนื่อง
การวิเคราะห์โครงสร้างของชั้นดิน การตรวจสอบในแต่ละ ในด้านการบริหารงานขาย บริษัทได้มีการพัฒนาระบบ CRM
ขั้นตอนของการก่อสร้างต้องผ่านเกณฑ์ที่ก�ำหนดไว้ เป็นต้น (Customer Relationship Management) และระบบ CEM
• ในการพัฒนาโครงการ นอกจากตัวบ้านแล้ว บริษัทได้ให้ (Customer Emotional Management) อย่างต่อเนื่อง เพื่อมาช่วย
ความส�ำคัญกับสภาพแวดล้อมของโครงการ ตั้งแต่การวาง ในการด�ำเนินงานด้านการขาย การตลาด ความพึงพอใจของลูกค้า
ผังโครงการ ที่มิได้เน้นแต่พื้นที่ขายอย่างเดียว แต่ตอบโจทย์ ท�ำให้บริษัทเข้าถึงความต้องการที่แท้จริงของกลุ่มลูกค้าได้เป็นอย่างดี
ความต้องการของการอยูอ่ าศัย การเลือกใช้วสั ดุทคี่ งทนถาวร และมีการสร้างกิจกรรมที่ต่อเนื่องกับกลุ่มลูกค้า ท�ำให้กลุ่มลูกค้าที่
ของงานสาธารณูปโภคต่าง ๆ ภายโครงการ สิ่งอ�ำนวยความ ซือ้ บ้านในโครงการของบริษทั กว่า 30% เป็นลูกค้าในโครงการเก่าหรือ
สะดวกต่าง ๆ ที่สอดคล้องกับการอยู่อาศัย เป็นกลุ่มญาติ พี่น้อง ของลูกค้าที่อยู่ในโครงการของบริษัท ซึ่งมีผลดี
• ความปลอดภัยของการอยู่อาศัย บริษัทยังได้ให้ความส�ำคัญ ต่อการด�ำเนินงาน และต้นทุนการด�ำเนินงานที่ลดลง
ในการดูแลและรักษาสภาพโครงการ ให้เป็นชุมชนที่น่าอยู่
บริษทั ได้มกี ารวางรากฐานในการบริหารโครงการ การดูแลรักษา การจัดจ�ำหน่ายและช่องทางการจัดจ�ำหน่าย
และบ�ำรุงระบบสาธารณูปโภคต่าง ๆ ให้อยูใ่ นสภาพทีด่ ี ก่อนส่ง บริษัทใช้ช่องทางการจัดจ�ำหน่ายผ่านส�ำนักงานขายที่โครงการ
ให้นติ บิ คุ คลบ้านจัดสรร ในโครงการ เพือ่ ให้เป็นโครงการและ ของบริษัท โดยบริษัทมีโครงการที่อยู่อาศัยที่กระจายไปในแต่ละท�ำเล
ชุมชนที่ดี น่าอยู่ตลอดไป ในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล บริษัทอาศัยการเข้าถึงกลุ่มลูกค้า
เป้าหมายด้วยการโฆษณาประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อต่าง ๆ โดยเฉพาะ
ลักษณะลูกค้าและกลุ่มเป้าหมาย การพัฒนาระบบอินเทอร์เน็ต
การด�ำเนินโครงการที่อยู่อาศัยของบริษัท ได้มีกระจายโครงการ การส่งเสริมการขาย ในด้านการสื่อสารข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ
ไปในท�ำเลต่าง ๆ ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และในภูมภิ าค บริษัทได้ให้ความส�ำคัญกับการเข้าถึงข้อมูลโครงการของผู้บริโภค
ได้แก่ เชียงใหม่ ขอนแก่น นครราชสีมา มหาสารคาม อุดรธานี ภูเก็ต โดยเฉพาะสื่อสารทางด้าน Online ซึ่งเป็นสื่อที่ผู้บริโภคใช้ในการหา
ภายใต้กลยุทธ์หลัก คือ “บ้านสบายสร้างเสร็จก่อนขาย” ทีม่ คี วามพร้อม ข้อมูลที่อยู่อาศัยมากที่สุด ในปี 2564 สัดส่วนลูกค้าแวะชมโครงการ
ในการเข้าอยูอ่ าศัย โดยยึดมัน่ ในมาตรฐานคุณภาพบ้าน สภาพโครงการ และจองจากสื่อหลักที่ส�ำคัญ 3 อันดับ แสดงตามตารางดังนี้
ระบบการตรวจสอบทีด่ แี ละเป็นมาตรฐาน ท�ำให้บริษทั เข้าถึงกลุม่ ลูกค้า
ลูกค้าแวะ
เป้าหมายต่าง ๆ ได้อย่างกว้างขวางตามระดับความต้องการของลูกค้า
58.1% ลูกค้าจอง
ในแต่ละแบรนด์ซึ่งสะท้อนระดับราคาที่แตกต่างกันไป 56.9%
การขยายตั ว ทางตลาดโดยการกระจายในทุ ก ระดั บ ราคา
(Segmentation) ท�ำให้สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้า
ได้ อ ย่ า งกว้ า งขวางขึ้ น และเป็ น การเพิ่ ม โอกาสทางการตลาดใน 20.8% 19.3%
12.7%
กลุ่มเป้าหมายใหม่ ท�ำให้รายได้จากการขายเพิ่มสูงขึ้น กระนั้นก็ดี 11.8% 12.0%
บริษัทได้มีการขยายตลาดที่อยู่อาศัย โดยการแสวงหาลูกค้ากลุ่มใหม่ 8.4%
(New User) และการขยายโครงการทั้งในเขตกรุงเทพปริมณฑลและ
ต่างจังหวัด แต่ยังคงตระหนักถึงคุณภาพของสินค้าที่ดีเป็นส�ำคัญ อินเทอร์เน็ต ป้ายโฆษณา เพื่อน / ญาติ อื่น ๆ
นอกจากนี้บริษัทได้ให้ความส�ำคัญกับการบริการหลังการขาย (After
Sales Service) ซึ่งเป็นจุดเด่นของบริษัท บริษัทตระหนักถึงการดูแล ส�ำหรับสือ่ ประเภท Online จากการด�ำเนินงานของบริษทั ในปี
ลูกบ้านในเรื่องต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเรื่องของความปลอดภัยและ 2564 แยกเป็นแต่ละประเภทที่สำ� คัญ ๆ ดังนี้
สภาพการอยู่อาศัย การอ�ำนวยความสะดวกในการแจ้งปัญหาต่าง ๆ
ทีเ่ กิดขึน้ โดยผ่านระบบ call center และระบบ internet มีการก�ำหนด Followers
SEO & SEM
แผนงานด�ำเนินงานด้านระบบสาธารณูปโภคให้ดีมีคุณภาพ ก่อนการ Search Engine Optimization 13,000 ราย
and Search Engine Marketing
ส่งมอบ และดูแลการจัดตั้งนิติบุคคลบ้านจัดสรรอย่างชัดเจน
ในปี 2564 บริษัทได้ขยายฐานกลุ่มลูกค้าจากเดิมให้กว้างขึ้น Page Followers Friends
อย่ า งต่ อ เนื่ อ งจากปี ที่ ผ ่ า นมา โดยพั ฒ นารู ป แบบสิ น ค้ า ใหม่ เ พื่ อ 730,000 ราย 22,500 ราย
ตอบสนองในทุกระดับราคา (Segmentation) Brand โครงการบ้านแฝด
Anya ที่ ด� ำ เนิ น การตั้ ง แต่ ป ี 2653 ที่ ต อบสนองรู ป แบบวิ ถี ชี วิ ต

20
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

ภาวะอุตสาหกรรมและการแข่งขัน
ภาวะตลาดที่อยู่อาศัยปี 2564
ตลาดที่อยู่อาศัยโดยรวมในปี 2564 จากตัวเลขโดยรวมของบ้านจดทะเบียนเพิ่มเฉพาะประเภทจัดสรร ยอดบ้านจดทะเบียนเพิ่มประเภท
จัดสรร มีจ�ำนวนรวมทั้งหมด 58,657 หน่วย ลดลง 35.3% เทียบกับปี 2563 ที่มีจำ� นวนรวม 90,612 หน่วย

ข้อมูลเปรียบเทียบที่อยู่อาศัยจดทะเบียนเพิ่ม
จ�ำแนกตามประเภทด�ำเนินการ ระหว่างปี 2562 – 2564
หน่วย : หลัง
จำ�แนกประเภท 2562 2563 2564 2538*
สร้างเอง 20,127 21,427 19,166 32,118
% เปลี่ยนแปลง 0.6% 6.5% -10.6%
จัดสรร 98,557 90,613 58,657 146,735
% เปลี่ยนแปลง -11.1% -8.1% -35.3%
รวมทั้งหมด 118,684 112,040 77,823 178,853
% เปลี่ยนแปลง -9.3% -5.6% -30.5% 4.4%

ที่มา : ธนาคารอาคารสงเคราะห์
* ปี 2538 เป็นปีที่บ้านจดทะเบียนสูงสุด นับตั้งแต่ปี 2530 เป็นต้นมา
** % การเปลี่ยนแปลงของปี 2538 เทียบกับช่วงเวลาเดียวกันกับปีก่อนหน้า

บ้านจดทะเบียนเพิม่ เฉพาะประเภทจัดสรร ในปี 2564 เมือ่ เทียบ • ประเภททาวน์ เ ฮ้ า ส์ แ ละอาคารพาณิ ช ย์ ในปี 2564 มี
กับปี 2563 จ�ำแนกตามประเภทที่อยู่อาศัยเฉพาะที่จัดสรร มีการ จ�ำนวนรวม 12,392 หน่วย ลดลง 24.5% เมื่อเทียบกับ
เปลี่ยนแปลงที่สำ� คัญดังนี้ ปี 2563 ที่มีจำ� นวน 16,424 หน่วย
• ประเภทบ้านเดีย่ ว ในปี 2564 มีจำ� นวนรวม 9,827 หน่วย ลดลง • ประเภทคอนโดมิเนียม ในปี 2564 มีจ�ำนวนรวม 33,593
8.5% เมื่อเทียบกับปี 2563 ที่มีจำ� นวนรวม 10,736 หน่วย หน่วย ลดลง 44.9% เมือ่ เทียบกับปี 2563 ทีม่ จี ำ� นวน 60,917
• ประเภทบ้านแฝด ในปี 2564 มีจำ� นวนรวม 2,845 หน่วย เพิม่ ขึน้ หน่วย
12.2% เมื่อเทียบกับปี 2563 ที่มีจ�ำนวนรวม 2,536 หน่วย

ข้อมูลเปรียบเทียบที่อยู่อาศัยจดทะเบียนเพิ่ม
จ�ำแนกตามประเภทจัดสรร ระหว่างปี 2562 - 2564
หน่วย : หลัง
บ้านจดทะเบียนเพิม่
2562 2563 2564 2538**
จำ�แนกตามประเภทจัดสรร
บ้านเดี่ยว 13,552 10,736 9,827 20,793
% การเปลี่ยนแปลง -12.9% -20.8% -8.5% 16.4%
บ้านแฝด 3,024 2,536 2,845 938
% การเปลี่ยนแปลง 43.9% -16.1% 12.2% 336.3%
ทาวน์เฮ้าส์และอาคารพาณิชย์ 21,274 16,424 12,392 58,093
% การเปลี่ยนแปลง 6.1% -22.8% -24.5% 16.0%
คอนโดมิเนียม 60,707 60,917 33,593 66,911
% การเปลี่ยนแปลง -17.0% 1.5% -44.9% -1.5%
รวมทั้งหมดประเภทจัดสรร 98,557 90,613 58,657 146,735
% การเปลี่ยนแปลง -11.1% -8.1% -35.3% 7.8%

ที่มา : ธนาคารอาคารสงเคราะห์, ** ปี 2538 เป็นปีที่บ้านจดทะเบียนสูงสุด นับตั้งแต่ปี 2530 เป็นต้นมา


* % การเปลี่ยนแปลง เปรียบเทียบช่วงเวลาเดียวกันกับปีก่อนหน้า

21
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

ภาวะตลาดที่อยู่อาศัยอาคารชุดในปี 2564 ภาวะ Supply คงเหลือ ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล


ภาวะตลาดทีอ่ ยูอ่ าศัยประเภทอาคารชุด ในเขตกรุงเทพมหานคร ณ สิ้นปี 2564 มีจำ� นวนโดยรวมทั้งหมด 85,313 หน่วย โดยจ�ำแนก
และปริมณฑล ในปี 2564 จากข้อมูลของศูนย์ข้อมูลอสังหาริมทรัพย์ จ�ำนวนหน่วยที่เหลือตามระดับราคาได้ ดังนี้
ธนาคารอาคารสงเคราะห์ และบริษัทเอเจนซี่ ฟอร์ เรียลเอสเตท แอฟ • ระดับราคา ต�่ำกว่า 2.0 ล้านบาท มีจำ� นวนหน่วยเหลือขาย
แฟร์ส (AREA) สรุปสาระส�ำคัญ ได้ดังนี้ รวมทั้งหมด 31,681 หน่วย คิดเป็นร้อยละ 37.1 ของจ�ำนวน
จ�ำนวนหน่วยที่โอนกรรมสิทธิ์ ที่มาจากนิติบุคคล รวมทั้งหมด ที่เหลือทั้งหมด
47,608 หน่วย มูลค่า 168,455 ล้านบาท ลดลงจากปี 2563 ร้อยละ • ระดับราคาที่ 2.01 – 5.0 ล้านบาท มีจ�ำนวนหน่วยเหลือขาย
23.8 เมื่อเทียบมูลค่ากับปี 2563 รายละเอียดตามตารางที่ 1 รวมทั้งหมด 39,390 หน่วย คิดเป็นร้อยละ 46.2 ของจ�ำนวน
จ�ำนวนโครงการที่เปิดใหม่ ในปี 2654 มีจ�ำนวนรวมทั้งหมด ที่เหลือทั้งหมด
65 โครงการ ลดลงจากปี 2563 ทีม่ จี ำ� นวน 70 โครงการ หรือลดลงร้อยละ • ระดับราคาที่ 5.01 – 10.00 ล้านบาท มีจ�ำนวนหน่วย
7.1 มีจำ� นวนหน่วยทีใ่ นโครงการทีเ่ ปิดขายใหม่ รวมทัง้ สิน้ 23,445 หน่วย เหลือขาย รวมทั้งหมด 10,098 หน่วย คิดเป็นร้อยละ 11.8
ลดลงร้อยละ 9.5 จากปี 2563 ที่มีจ�ำนวนหน่วยจากโครงการเปิดใหม่ ของจ�ำนวนที่เหลือทั้งหมด
รวม 25,906 หน่วย และมูลค่ารวมทั้งหมด 93,402 ล้านบาท เพิ่มขึ้น • ระดับราคาที่ 10.01 – 20.00 ล้านบาท มีจ�ำนวนหน่วย
ร้อยละ 30.3 เทียบกับปี 2563 ที่มีมูลค่ารวมของโครงการเปิดใหม่ เหลือขาย รวมทั้งหมด 2,489 หน่วย คิดเป็นร้อยละ 2.9 ของ
เท่ากับ 71,679 ล้านบาท จ�ำนวนที่เหลือทั้งหมด
ส�ำหรับยอดขายทีเ่ กิดจากโครงการเปิดใหม่ ในปี 2564 คิดเป็น • ระดับราคาที่ 20.01 ล้านบาทขึน้ ไป มีจำ� นวนหน่วยเหลือขาย
ร้อยละ 33.4 ของจ�ำนวนหน่วยทัง้ หมดของโครงการทีเ่ ปิดใหม่ ใกล้เคียง รวมทั้งหมด 1,655 หน่วย คิดเป็นร้อยละ 1.9 ของจ�ำนวน
กับปี 2563 ที่คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 36.6 แต่ถ้าเทียบกับช่วงก่อนเกิด ที่เหลือทั้งหมด
การแพร่ระบาดของ COVID-19 คือในปี 2561 และ 2562 อัตราการ
ขายจากโครงการใหม่ คิดเป็นสัดส่วนที่ร้อยละ 53.8 และร้อยละ 48.6
ตามล�ำดับ รายละเอียดตามตารางที่ 2

ตารางที่ 1 ข้อมูลการโอนกรรมสิทธิ์ ที่อยู่อาศัยประเภทอาคารชุด ที่ด�ำเนินการโดยนิติบุคคล


ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ระหว่างปี 2562 – 2564
2562 2563 2564
จ�ำนวนหลัง 73,675 74,710 47,608
% Change -2.0% 1.4% -36.3%
มูลค่า : ล้านบาท 223,393 221,030 168,455
% Change -5.1% -1.1% -23.8%

ที่มา : ศูนย์ข้อมูลอสังหาริมทรัพย์ ธนาคารอาคารสงเคราะห์

ตารางที่ 2 แสดงภาวะตลาดที่อยู่อาศัยประเภทอาคารชุด ที่เปิดขายใหม่


ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ระหว่างปี 2562 – 2564
2562 2563 2564
โครงการใหม่ (New Projects)
จ�ำนวนโครงการ 144 70 65
-14.8% -51.4% -7.1%
หน่วย : ห้อง 66,367 25,906 23,445
-10.8% -61.0% -9.5%
มูลค่า : ล้านบาท 245,551 71,679 93,402
-27.4% -70.8% 30.3%
จ�ำนวนหน่วยที่ขายได้ จากโครงการเปิดใหม่
หน่วย : ห้อง 32,253 9,484 7,825
คิดเป็นสัดส่วนจากจ�ำนวนทั้งหมด 48.6% 36.6% 33.4%

ที่มา : จากการส�ำรวจของบริษัท Agency for Real Estate Affairs


22
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

ตารางที่ 3 ภาวะ Supply ของตลาดที่อยู่อาศัยประเภทอาคารชุด ที่เหลืออยู่


ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ณ สิ้นปี จ�ำแนกตามระดับราคา

ระดับราคา 2562 2563 2564 % สัดส่วนปี 64


< 1 ล้านบาท 7,491 8,333 7,247 8.5%
1.01 – 2.0 ล้านบาท 24,645 28,607 24,434 28.7%
2.01 – 3.0 ล้านบาท 29,526 26,722 25,073 29.4%
3.01 – 5.0 ล้านบาท 15,938 12,760 14,317 16.8%
5.01 – 10.0 ล้านบาท 11,642 9,998 10,098 11.8%
10.01 – 20 ล้านบาท 3,012 2,861 2,489 2.9%
> 20.01 ล้านบาท 1,628 1,560 1,655 1.9%
รวมทั้งหมด 93,882 90,841 85,313 100%

ที่มา : จากการส�ำรวจของบริษัท Agency for Real Estate Affairs

การเปลีย่ นแปลงของตลาดทีอ่ ยูอ่ าศัย ในปี 2564 ทีเ่ กิดขึน้ เนือ่ ง ราคาน�ำ้ มันดิบโดยเฉลีย่ ในปี 2563 อยูท่ ี่ 42.0 ดอลลาร์สหรัฐ
มาจากผลของปัจจัยส�ำคัญ ๆ ที่มีผลต่อตลาดที่อยู่อาศัย ดังนี้ ต่อบาร์เรล ปรับตัวสูงขึ้นในปี 2564 โดยเฉลี่ย 10 เดือนแรก
• ถึงแม้ว่า ผลการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ในปี 2564 เมื่อเทียบ ของปี ที่ 67.9 ดอลลาร์สหรัฐต่อบาร์เรล หรือเพิ่มขึ้น ร้อยละ
กับปี 2563 ทีม่ กี ารขยายตัวทีด่ กี ว่า อย่างไรก็ตาม การขยายตัว 61.7 โดยในปี 2564 ระดับราคาน�ำ้ มันดิบมีราคาเฉลีย่ ในแต่ละ
ทางเศรษฐกิจปี 2564 ขยายตัวทีส่ งู ขึน้ ร้อยละ 1.6 (การขยาย ไตรมาสดังนี้ Q1 = 59.6, Q2 = 67.1, Q3 = 71.9 ดอลลาร์สหรัฐ
ตัวทางเศรษฐกิจ ส�ำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและ ต่อบาร์เรล อันส่งผลกระทบต่อราคาน�้ำมันค่าปลีกภายใน
สังคมแห่งชาติ ดังนี้ Q1 = -2.4%, Q2 = 7.7%, Q3 = -0.2%, ประเทศที่สูงขึ้น และเป็นปัจจัยที่ผลักดันในภาวะเงินเฟ้อ
Q4 = 1.9%) เทียบกับปี 2563 ทีม่ กี ารขยายตัวทีต่ ดิ ลบร้อยละ ที่สูงขึ้น
6.2 ทั้งนี้เป็นผลกระทบจากการแพร่ระบาดของ COVID-19 • ราคาวัสดุก่อสร้างในปี 2564 โดยรวม มีการเปลี่ยนแปลง
ยังคงส่งผลกระทบต่อภาพรวมทางเศรษฐกิจของประเทศ ที่เพิ่มขึ้น จากปี 2563 ทั้งนี้ดัชนีรวมวัสดุก่อสร้าง ปี 2564
• ภาวะเงินเฟ้อทัว่ ไป ในปี 2564 เฉลีย่ ทัง้ ปีอยูท่ ี่ 1.2% เทียบกับ เฉลี่ยอยู่ที่ระดับ 113.1 เพิ่มสูงขึ้นร้อยละ 8 เมื่อเทียบกับปี
ปี 2563 ที่มีอัตราเงินเฟ้อโดยเฉลี่ยที่ติดลบ 0.8% 2562 ทีเ่ ฉลีย่ อยูท่ ี่ 104.7 ทัง้ นี้ ดัชนีวสั ดุกอ่ สร้างประเภทเหล็ก
• อัตราดอกเบี้ยในปี 2564 ซึ่งเป็นปีที่ภาวะเศรษฐกิจยังได้รับ และผลิตภัณฑ์เหล็ก มีการปรับตัวที่สูงขึ้นอย่างมาก จากค่า
ผลกระทบจากการระบาคของ COVID-19 ดังนั้นอัตรา ดัชนี เฉลี่ยปี 2563 ที่ 85.5 ปรับเพิ่มขึ้นในปี 2564 ที่มี
ดอกเบีย้ นโยบาย ตลอดปี 2564 ไม่ได้มปี รับเปลีย่ น โดยอยูใ่ น ค่าดัชนีที่ 114.5 เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 34 ส�ำหรับดัชนีวสั ดุกอ่ สร้าง
ระดับที่คงที่ คือ ร้อยละ 0.5 ต่อปี ตลอดทั้งปี ท�ำให้ธนาคาร ในหมวดอื่น ๆ ไม่ค่อยแตกต่างจากปี 2563 มากนัก
พาณิชย์ต่าง ๆ ไม่มีการปรับอัตราดอกเบี้ยตลอดทั้งปี เช่น • ถึงแม้ว่าภาวะเศรษฐกิจในปี 2564 จะขยายตัวที่สูงขึ้นจากปี
อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ลูกค้าชั้นดี (MLR) ของธนาคารพาณิชย์ 2563 แต่ผลกระทบจากการแพร่ระบาดของ COVID-19 ใน
ขนาดใหญ่อยู่ที่ร้อยละ 5.25 ต่อปี และอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ ระลอกที่ 3-4 มีการแพร่ระบาคจากคลัสเตอร์ใหม่ในช่วง Q2
ลูกค้ารายย่อยชัน้ ดี (MRR) อยูท่ รี่ อ้ ยละ 5.95 ต่อปี (อ้างอิงจาก และการปิดแคมป์คนงานก่อสร้างและการขอให้ WFH ในช่วง
อัตราดอกเบี้ย ธนาคารกรุงเทพ และธนาคารไทยพาณิชย์) Q3 ของปี ได้ส่งผลกระทบต่อความเชื่อมั่นในการใช้จ่ายและ
• การปลดล็อด LTV จากนโยบายการก�ำกับดูแลสินเชื่อเพื่อ รายได้ของผู้บริโภคอย่างมาก
ที่อยู่อาศัยของธนาคารแห่งประเทศไทย เป็นปัจจัยที่ช่วย • โครงการทีอ่ ยูอ่ าศัยทีไ่ ด้รบั ผลกระทบอย่างมาก และชะลอตัว
ส่งเสริมให้การขอสินเชือ่ เพื่อที่อยู่อาศัยได้งา่ ยขึน้ แต่กระนั้น มากกว่าทุกประเภท ได้แก่ โครงการทีอ่ ยูอ่ าศัยในแนวสูง ทัง้ นี้
ก็ได้รับผลกระทบที่เกิดจากการแพร่ระบาดของ COVID-19 เนื่องจากจ�ำนวนอุปทานที่เหลือมีจ�ำนวนที่มาก การเปิด
ที่ส่งผลต่อการจ้างงานและรายได้ที่ลดลงของกลุ่มลูกค้า โครงการใหม่กช็ ะลอตัวลงอย่างมาก อย่างไรก็ตามผูป้ ระกอบการ
บางกลุ่มท�ำให้กลุ่มลูกค้าบางส่วน ท�ำให้ไม่สามารถได้รับ ได้ หั น มาด� ำ เนิ น งานในการพั ฒ นาโครงการที่ อ ยู ่ อ าศั ย
การอนุมัติสินเชื่อ ในแนวราบมากขึ้น ท�ำให้ความต้องการที่ดินมีมากขึ้น ส่งผล
• ระดับราคาน�ำ้ มันดิบในตลาดโลก (Crude Oil Price Brent) ให้ราคาที่ดิน ที่พัฒนาในส่วนนี้ไม่ลดลง แต่ก็ไม่ได้ปรับสูงขึ้น
ในปี 2564 มีการปรับตัวที่สูงขึ้นจากปี 2563 อย่างมาก จากปีที่ผ่านมามากนัก
23
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

ผลการด�ำเนินงานของบริษัทในปี 2564 อัตราส่วนหนี้สินสุทธิต่อทุน 101%


สาระส�ำคัญของการด�ำเนินงานของบริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ ต้นทุนทางการเงินเฉลี่ย 2.15%
จ�ำกัด (มหาชน) ในปี 2564 มีดังนี้
• เปิดโครงการใหม่ 10 โครงการ มูลค่าโครงการรวม 19,680 ผลการด�ำเนินงานของบริษทั ในส่วนตลาดทีอ่ ยูอ่ าศัย
ล้านบาท • ในปี 2564 สินค้าประเภทบ้านแนวราบ ซึ่งได้แก่ บ้านเดี่ยว
• ใช้จา่ ยด้านการลงทุนประมาณ 9,000 ล้านบาท โดยแบ่งเป็น บ้านแฝดและทาวน์เฮ้าส์ ยังคงเป็นสินค้าหลักทีส่ ร้างยอดขาย
ซือ้ ทีด่ นิ เพือ่ การพัฒนาโครงการทีอ่ ยูอ่ าศัยเพือ่ ขาย 5,100 ให้กับบริษัทฯ โดยสัดส่วนการขายของบ้านแนวราบและ
ล้านบาท คอนโดมิเนียม คือ 97% และ 3% ตามล�ำดับ
ลงทุนในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์เพื่อการให้เช่าโดยผ่าน • เมื่อจ�ำแนกตามพื้นที่ กรุงเทพฯ และปริมณฑลยังคงเป็น
บริษัท แอล เอช มอลล์ แอนด์ โฮเทล จ�ำกัด (LHMH) พื้นที่หลักในการก่อให้เกิดยอดขาย โดยสัดส่วนยอดขายของ
และ บริษัท Land and Houses U.S.A., Inc. (LH USA) โครงการในกรุงเทพฯ และปริมณฑลเปรียบเทียบกับยอดขาย
จ�ำนวน 3,900 ล้านบาท ประกอบด้วย ของโครงการในต่างจังหวัด คือ 92% และ 8% ตามล�ำดับ
พัฒนาศูนย์การค้า Terminal 21 Rama 3 จ�ำนวน • สัดส่วนระดับราคาของบ้านทีต่ ำ�่ กว่า 10 ล้านบาทและสูงกว่า
1,285 ล้านบาท 10 ล้านบาทขึ้นไป มีสัดส่วนในการก่อให้เกิดยอดขายใกล้
พัฒนาธุรกิจโรงแรมและอะพาร์ตเมนต์ 2,615 ล้านบาท เคียงกัน คือ 53% และ 47%
• ปี 2564 บริษัท บริษัท แอล เอช มอลล์ แอนด์ โฮเทล • ณ ต้นปี 2564 บริษทั ฯ มีจำ� นวนโครงการทีเ่ ปิดด�ำเนินการทัง้ สิน้
จ�ำกัด (LHMH) มีโครงการที่ด�ำเนินการแล้วและอยู่ระหว่าง 75 โครงการ เป็นโครงการในกรุงเทพฯ และปริมณฑล 45
พัฒนาทั้งหมด 6 โครงการ และยังมีอีก 1 โครงการที่รอ โครงการต่างจังหวัด 30 โครงการ
การส่งมอบที่ดิน คือ แปลงที่ดิน Peninsula Plaza ซึ่งจะ • โครงการที่เปิดใหม่ 10 โครงการ มูลค่าโครงการรวม 19,680
พัฒนาเป็นโครงการ Grande Centre Point Ratchadamri 2 ล้านบาท โดยไม่มีการเปิดโครงการคอนโดมิเนียมเลย
• เดือนธันวาคม 2564 บริษทั Land and Houses U.S.A., Inc. • โครงการเปิดใหม่ แยกตามประเภทสินค้า ได้ดังนี้
(LH USA) ได้เข้าซื้อโรงแรม The SpringHill Suites by (โครงการที่มีสินค้ามากกว่า 1 ประเภท นับแยกออกตาม
Marriott ในเมืองอนาไฮม์ รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา ประเภทสินค้า นับซ�ำ้ โครงการ)
เป็นการซื้อขาดและได้เป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ในที่ดิน พื้นที่ โครงการบ้านเดี่ยว 5 โครงการ
2.07 เอเคอร์ จ�ำนวนห้องพัก 120 ห้อง ราคา 31 ล้านเหรียญ โครงการบ้านแฝด 2 โครงการ
สหรัฐ หรือ 1,056 ล้านบาท โครงการทาวน์เฮ้าส์ 5 โครงการ
• ออกหุ้นกู้ มูลค่ารวม 16,000 ล้านบาท ระยะเวลา 2 - 3 ปี • รวมโครงการทีด่ ำ� เนินการในระหว่างปี 2564 มีจำ� นวนทัง้ หมด
อัตราดอกเบี้ยเฉลี่ย 1.40% ต่อปี 85 โครงการ มีโครงการปิดระหว่างปี 11 โครงการ ดังนั้น
ณ สิน้ ปี 2564 หนีส้ นิ ทีม่ ภี าระดอกเบีย้ สุทธิ มีจำ� นวน 50,800 ณ สิ้นปี 2564 มีโครงการที่ยกไปด�ำเนินการต่อในปี 2565
ล้านบาท โดยมี เป็นจ�ำนวน 74 โครงการ รวมมูลค่ากว่า 53,300 ล้านบาท

ตารางแสดงยอดขายของบริษัทในปี 2564 มีสัดส่วน แบ่งตามประเภทสินค้า และระดับราคา ได้ดังนี้


แบ่งตามประเภทที่อยู่อาศัย แบ่งตามสัดส่วนระดับราคา
ประเภทที่อยู่อาศัย สัดส่วน ระดับราคา สัดส่วน
บ้านเดี่ยว 83% ต�ำ่ กว่า 3.0 ล้านบาท 5%
ทาวน์เฮ้าส์ 14% 3.01 - 7.0 ล้านบาท 38%
คอนโดมิเนียม 3% 7.01 - 10.0 ล้านบาท 11%
10.01 - 20.0 ล้านบาท 19%
20.01- 50.0 ล้านบาท 20%
มากกว่า 50.01 ล้านบาท 7%
รวม 100% 100%
สัดส่วนในกรุงเทพฯ และปริมณฑล 92%
สัดส่วนต่างจังหวัด 8%

24
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

ตารางแสดงจ�ำนวนโครงการที่ด�ำเนินการระหว่างปี 2564 – 2565


ณ ต้น ม.ค. ปี 2565 2564 2565*e
จ�ำนวนโครงการ ณ ต้นปี 75 74
กรุงเทพฯ และปริมณฑล 45 44
ต่างจังหวัด 30 30
โครงการเปิดใหม่ระหว่าปี 10 15
กรุงเทพฯ และปริมณฑล 10 12
ต่างจังหวัด - 3
มูลค่าโครงการ (ล้านบาท) 19,680 29,520
รวมโครงการที่ดำ� เนินการทั้งหมดในปี 85 89

แนวโน้มที่อยู่อาศัยปี 2565 • อัตราเงินเฟ้อ มีแนวโน้มทีส่ งู ขึน้ จากปี 2564 แต่ยงั ไม่สงู มากนัก
ตลาดทีอ่ ยูอ่ าศัยในปี 2565 หากพิจารณาเฉพาะตลาดทีอ่ ยูอ่ าศัย ประมาณการอยู่ที่ระดับ 0.9% - 1.9%
ประเภทจัดสรร ในส่วนของโครงการแนวราบ คือ บ้านเดี่ยว บ้านแฝด • ต้นทุนก่อสร้างและต้นทุนวัสดุก่อสร้าง มีแนวโน้มที่สูงขึ้น
และทาวน์เฮ้าส์ มีแนวโน้มที่ขยายตัวที่ดีขึ้นจากปี 2564 ประมาณ จากปี 2564 ประมาณการน่าจะสูงขึ้นประมาณร้อยละ 3-5
ร้อยละ 10 - 15 ขณะที่ตลาดคอนโดมิเนียม มีแนวโน้มชะลอตัวลง ทัง้ นีก้ ารปรับตัวทีส่ งู ขึน้ ของวัสดุกอ่ สร้าง มีแนวโน้มทีป่ รับขึน้
เล็กน้อย ต่อเนื่องจากปี 2564 ประมาณการบ้านจดทะเบียนเพิ่ม ทุกหมวด
ประเภทจัดสรรโดยรวมทั้งหมด เพิ่มสูงขึ้นประมาณร้อยละ 10 - 12 • สถานการณ์ที่ยังคงมีผลต่อภาวะตลาดที่อยู่อาศัย คือ การ
ทั้งนี้ในปี 2565 มีปัจจัยที่ส�ำคัญ ๆ ที่ส่งผลต่อตลาดที่อยู่อาศัย ดังนี้ แพร่ระบาดของโอมิครอน ยังเป็นปัจจัยเสี่ยงที่ต้องค�ำนึงถึง
• ภาวะเศรษฐกิจไทย มีแนวโน้มทีจ่ ะขยายตัวจากปี 2564 จาก หากการแพร่ระบาดมีความรุนแรงของเชือ้ มากขึน้ จนมีผลต่อ
การคาดการณ์ของสภาพัฒน์ฯ ประมาณการการขยายตัว กิจกรรมทางเศรษฐกิจ เช่น การ lockdown ประเทศ กรณีน้ี
ทางเศรษฐกิจในปี 2565 อยู่ที่ร้อยละ 3.5 - 4.5 สอดคล้อง จะกระทบความเชื่อมั่น กระทบการตัดสินใจ หรือก�ำลังซื้อ
กับสถาบันต่าง ๆ ที่ประมาณการ ความเติบโตทางเศรษฐกิจ ของลูกค้า หรือ การ lockdown ก็จะกระทบต่องานก่อสร้าง
ในปีนี้ ไม่ตำ�่ กว่าร้อยละ 3.5 ทัง้ นีเ้ ป็นผลมาจากแรงขับเคลือ่ น และงานโอน
หลักมาจากการจับจ่ายใช้สอยของประชาชนในประเทศ • ราคาที่ดินที่ส�ำหรับพัฒนาโครงการในแนวราบ จะมีการ
ทั้งการบริโภค การลงทุน และการท่องเที่ยว แข่งขันในกลุ่มผู้ประกอบการมากยิ่งขึ้น ส่งผลกระทบต่อ
• มาตรการกระตุน้ จากภาครัฐ จากการผ่อนคลายนโยบาย LTV ระดับราคาที่ปรับตัว สูง ขึ้น แต่ส�ำ หรับที่ดินที่พัฒนาของ
และการต่ออายุมาตรการลดค่าธรรมเนียมโอนและจดจ�ำนอง โครงการแนวสูง มีแนวโน้มของระดับราคาที่คงที่ หรือลดลง
ที่อยู่อาศัยราคาไม่เกิน 3 ล้านบาท เพียงเล็กน้อยเท่านั้น
• อัตราดอกเบีย้ เพือ่ ทีอ่ ยูอ่ าศัย มีแนวโน้มทีป่ รับตัวสูงขึน้ จากปี • ราคาทีอ่ ยูอ่ าศัย ในแนวราบมีแนวโน้มทีจ่ ะคงที่ แต่ทอี่ ยูอ่ าศัย
2564 ตามทิศทางของการปรับตัวอัตราดอกเบี้ยนโยบาย ประเภทคอนโดมิเนียม มีแนวโน้มที่ราคาจะปรับตัวลดลง
ประมาณการแนวโน้มอัตราดอกเบี้ย ตลอดทั้งปี 2565 นี้ เนื่องจากเป็นช่วงของการดูดซับ Supply ที่คงเหลืออยู่
น่าจะปรับตัวขึ้น 0.25 - 0.5% ต่อปี แต่การปรับตัวจะเป็น
ใปในลักษณะค่อยเป็นค่อยไป โดยเฉพาะในช่วงครึง่ หลักของปี
อย่างไรก็ตามความเข้มงวดของธนาคารพาณิชย์ ในการ
พิจารณาสินเชื่อแก่ผู้ประกอบการ (Pre Finance) และการ
พิจารณาสินเชื่อที่อยู่อาศัยส�ำหรับรายย่อย (Post Finance)
ยังไม่ผ่อนคลายมากนัก

25
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

การด�ำเนินงานธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ให้เช่า
บริษัทฯ ด�ำเนินธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ให้เช่าในประเทศไทยและประเทศสหรัฐอเมริกา โดยธุรกิจในประเทศไทย ด�ำเนินงานภายใต้ชื่อบริษัท
แอล เอช มอลล์ แอนด์ โฮเทล จ�ำกัด (LHMH) และธุรกิจในประเทศสหรัฐอเมริกา ด�ำเนินงานภายใต้ชื่อบริษัท Land and Houses U.S.A., Inc.
(LHUSA) โดยประกอบด้วยโครงการห้างสรรพสินค้า โรงแรม อะพาร์ตเมนต์และพื้นที่สำ� นักงานให้เช่า

รายละเอียดของโครงการทั้งหมดที่แสดงเป็นรายได้ค่าเช่าในงบก�ำไรขาดทุน ปรากฎดังตารางต่อไปนี้
(หน่วย : ล้านบาท)
มูลค่า ปีที่คาดว่าจะเปิด
ลำ�ดับ โครงการ เจ้าของ ประเภท ทำ�เลที่ตั้ง
การพัฒนา ดำ�เนินงาน

1 Grande Centre Point Ploenchit 1,525 LHPFII โรงแรม กรุงเทพ ด�ำเนินงานแล้ว


2 Grande Centre Point Ratchadamri 2,800 LHHOTEL โรงแรม กรุงเทพ ด�ำเนินงานแล้ว
3 Grande Centre Point Terminal 21 2,000 LHHOTEL โรงแรม กรุงเทพ ด�ำเนินงานแล้ว
4 Grande Centre Point Sukhumvit 55 1,940 LHHOTEL โรงแรม กรุงเทพ ด�ำเนินงานแล้ว
5 Terminal 21 Pattaya 3,330 LHMH ศูนย์การค้า พัทยา ด�ำเนินงานแล้ว
6 Grande Centre Point Pattaya 1,600 LHMH โรงแรม พัทยา ด�ำเนินงานแล้ว
7 Terminal 21 Rama 3 4,500 LHMH ศูนย์การค้า กรุงเทพ Q3'65
8 Grande Centre Point Space Pattaya 3,400 LHMH โรงแรม พัทยา Q3'65
9 Grande Centre Point Surawongse 2,260 LHMH โรงแรม กรุงเทพ Q4'66
10 Grande Centre Point Lumpini 4,830 LHMH Mixed-use กรุงเทพ Q4'67
11 Grande Centre Point Ratchadamri 2 4,580 LHMH โรงแรม กรุงเทพ Q1'70
รวมมูลค่าเงินพัฒนาโครงการ 32,765

หมายเหตุ : โครงการในประเทศไทย มูลค่า : ล้านบาท


โครงการในสหรัฐอเมริกา มูลค่า : ล้านเหรียฐดอลลาร์สหรัฐ

(หน่วย : ล้านดอลลาร์สหรัฐ)
มูลค่า ปีที่คาดว่าจะเปิด
ลำ�ดับ โครงการ ประเภท ทำ�เลที่ตั้ง
เงินลงทุน ดำ�เนินงาน

1 Parc 135 อะพาร์ตเมนต์ Campbell, California ด�ำเนินงานแล้ว


2 Yard 127 อะพาร์ตเมนต์ Portland, Oregon ด�ำเนินงานแล้ว
3 Revere 119 อะพาร์ตเมนต์ Campbell, California ด�ำเนินงานแล้ว
4 SpringHill 31 โรงแรม Anaheim, California ด�ำเนินงานแล้ว
รวมมูลค่าเงินลงทุนในโครงการ 412

หมายเหตุ : โครงการในประเทศไทย มูลค่า : ล้านบาท


โครงการในสหรัฐอเมริกา มูลค่า : ล้านเหรียฐดอลลาร์สหรัฐ

26
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

ตารางผลประกอบการของบริษัทอสังหาริมทรัพย์ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย มีดังนี้

เปรียบเทียบฐานะการเงินและผลการด�ำเนินงานของปี 2563 กับบริษัทอื่น


ที่ประกอบธุรกิจใกล้เคียงกันที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

ปี 2563

บริษัท ส่วนของ อัตราส่วนหนี้สิน


สินทรัพย์รวม หนี้สินรวม รายได้รวม กำ�ไร (ขาดทุน) สุทธิ
ผู้ถือหุ้น ต่อส่วนของผู้ถือหุ้น
(ล้านบาท) (ล้านบาท) (ล้านบาท) (ล้านบาท)
(ล้านบาท) (เท่า)
บมจ.แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ 122,571 71,970 49,904 1.44 33,645 7,145
บมจ.ควอลิตี้ เฮ้าส์ 47,667 21,099 26,568 0.79 10,907 2,123
บมจ.แสนสิริ 110,502 73,143 35,432 2.06 26,881 1,085
บมจ.เอพี (ไทยแลนด์) 58,724 29,461 29,281 1.01 31,906 4,227
บมจ.พฤกษา โฮลดิ้ง 78,273 34,487 43,047 0.80 29,513 2,771
บมจ.ศุภาลัย 68,207 30,811 36,579 0.84 20,969 4,251
บมจ.พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค 54,966 40,187 12,664 3.17 9,642 (440)
บมจ.เฟร์เซอร์ พร็อพเพอร์ตี้ 93,169 61,049 32,249 1.89 20,490 2,791
(ประเทศไทย)
บมจ.เอสซี แอสเสท คอร์ปอเรชั่น 44,319 25,767 18,662 1.38 19,051 1,898
บมจ.โนเบิล ดีเวลลอปเมนท์ 19,198 13,334 5,864 2.27 10,723 1,878
บมจ.ปริญสิริ 9,243 4,609 4,634 0.99 2,440 302
บมจ.อารียา พรอพเพอร์ตี้ 13,144 9,570 3,574 2.68 5,741 195
บมจ.มั่นคงเคหะการ 17,985 11,344 6,641 1.71 3,446 (3)

เปรียบเทียบฐานะการเงินและผลการด�ำเนินงานของปี 2564 กับบริษัทอื่น


ที่ประกอบธุรกิจใกล้เคียงกันที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

ปี 2564

บริษัท ส่วนของ อัตราส่วนหนี้สิน


สินทรัพย์รวม หนี้สินรวม รายได้รวม กำ�ไร (ขาดทุน) สุทธิ
ผู้ถือหุ้น ต่อส่วนของผู้ถือหุ้น
(ล้านบาท) (ล้านบาท) (ล้านบาท) (ล้านบาท)
(ล้านบาท) (เท่า)
บมจ.แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ 125,198 74,552 49,947 1.49 33,032 6,936
บมจ.ควอลิตี้ เฮ้าส์ 46,236 19,251 26,985 0.71 8,356 1,670
บมจ.แสนสิริ 116,632 75,665 39,225 1.93 29,748 2,017
บมจ.เอพี (ไทยแลนด์) 60,409 27,986 32,442 0.86 31,980 4,543
บมจ.พฤกษา โฮลดิ้ง 72,052 27,979 43,324 0.65 28,430 2,353
บมจ.ศุภาลัย 71,432 28,506 42,070 0.68 28,647 7,070
บมจ.พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค 52,023 38,448 12,313 3.12 11,601 527
บมจ.เฟรเซอร์ พร็อพเพอร์ตี้ 95,022 60,050 35,154 1.71 4,043 750
(ประเทศไทย)
บมจ.เอสซี แอสเสท คอร์ปอเรชั่น 49,754 29,701 20,084 1.48 19,516 2,062
บมจ.โนเบิล ดีเวลลอปเมนท์ 20,280 14,652 5,627 2.60 7,430 932
บมจ.ปริญสิริ 11,304 6,452 4,852 1.33 2,322 288
บมจ.อารียา พรอพเพอร์ตี้ 14,202 10,857 3,345 3.25 2,406 (186)
บมจ.มั่นคงเคหะการ 19,040 12,572 6,468 1.94 3,413 (185)

27
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

การจัดหาผลิตภัณฑ์หรือบริการ
ลักษณะการจัดให้ได้มาซึ่งผลิตภัณฑ์ 1) บริษัทมีการก�ำหนดมาตรฐานการก่อสร้าง โดยก�ำหนด
1. การออกแบบสินค้า ขั้นตอนของการด�ำเนินการก่อสร้างและเลือกใช้วัสดุ
ในการออกแบบสินค้า บริษัทให้ความส�ำคัญกับการศึกษา ก่อสร้าง ซึ่งในแต่ละขั้นตอนจะมีการตรวจสอบคุณภาพ
วิจยั พฤติกรรมผูบ้ ริโภค ความต้องการของผูบ้ ริโภค ประกอบกับการใช้ ให้ได้ตามมาตรฐานที่ก�ำหนด โดยไม่มีการยืดหยุ่น
วิถีชีวิตประจ�ำวันของผู้บริโภคและสมาชิกในครอบครัวทุกเจนเนเรชั่น 2) บริษัทมีการจัดฝึกอบรมวิธีการก่อสร้างตามมาตรฐาน
เพื่อน�ำมาก�ำหนดเป็นโจทย์ของการออกแบบที่อยู่อาศัยให้สอดคล้อง ของบริษัทให้กับผู้รับเหมาอย่างสม�ำ่ เสมอ
วิถีชีวิตรูปแบบใหม่ที่เป็น New Normal โดยมีการก�ำหนดเป็น 3) บริษัทมีหัวหน้างานประจ�ำแต่ละโครงการเพื่อควบคุม
แนวคิดส�ำหรับการออกแบบบ้านที่เป็น New Design Trend and และตรวจรับงานจากผู้รับเหมา
Generational Differences, New Experience of Living, Well
Being Living, Universal Design เป็นต้น เพื่อให้ตอบความต้องการ การจัดหาวัตถุดิบ
ของลูกค้าและครอบครัว ทัง้ นี้ ลักษณะการด�ำเนินการเป็นไปในลักษณะ ในอุตสาหกรรมทีอ่ ยูอ่ าศัย วัตถุดบิ ทีส่ ำ� คัญในการด�ำเนินการ
เชิงบูรณาการ โดยเป็นการร่วมมือกันในทุกภาคส่วน ทั้งด้านการขาย ได้แก่ ทีด่ นิ และวัสดุกอ่ สร้าง ดังนัน้ การด�ำเนินการในการจัดหาวัตถุดบิ
การตลาด สถาปนิก อินทีเรีย ภูมิถาปัตย์ และวิศวกร และจาก ของบริษัท จะเน้นให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล ดังนี้
ส่วนงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้สินค้าตอบสนองความต้องการ • การจัดซื้อที่ดิน บริษัทมีนโยบายจัดหาที่ดินที่มีศักยภาพ
ของลูกค้าให้ดีที่สุด และสามารถน�ำมาพัฒนาได้ทันที วิธีการซื้อที่ดินของ
นอกจากนี้ ในการด�ำเนินงาน ยังได้มีการน�ำ VR (Visual บริษัทแบ่งออกเป็น 3 แนวทาง คือ
Reality) มาช่วยในการตรวจสอบ การออกแบบบ และมีการตรวจ ลงประกาศโฆษณา เพือ่ รับซือ้ ทีด่ นิ ในท�ำเลต่าง ๆ โดย
การด�ำเนินงานที่โรงงานผลิต Precast ก่อนการก่อสร้าง เพื่อไม่ให้ ผ่าน Website
เกิดความผิดพลาดและให้มปี ระสิทธิภาพสูงสุด เมือ่ สินค้าได้สง่ มอบให้ ติดต่อซื้อที่ดินผ่านนายหน้าที่ดิน
ลูกค้าแล้ว บริษทั ยังได้มกี ระบวนการท�ำวิจยั เพือ่ สอบถามความคิดเห็น ติดต่อซื้อที่ดินจากเจ้าของที่ดินโดยตรง
ของลูกค้า ทัง้ เรือ่ งความพึงพอใจในสินค้าและบริการ เพือ่ น�ำมาใช้ในการ การจั ด ซื้ อ ที่ ดิ น ของบริ ษั ท นอกเหนื อ จากศึ ก ษา
ออกแบบในลักษณะที่เป็นเชิงรุกไปข้างหน้า ในการรองรับและเตรียม ความเป็นไปได้ในการพัฒนาโครงการ ทั้งในประเด็น
ความพร้ อ มที่ จ ะน� ำ มาออกแบบบ้ า นใหม่ ใ นอนาคต นอกจากนี้ กลุ่มเป้าหมาย ความสามารถในการแข่งขัน และ
แบบบ้านทีใ่ ช้อยูใ่ นการพัฒนาโครงการ เมือ่ ใช้ไปในระยะเวลาหนึง่ หรือ ผลตอบแทนทีจ่ ะได้รบั จากการด�ำเนินงานแล้ว บริษทั
มีระดับจ�ำนวนการก่อสร้างตามทีก่ ำ� หนด บริษทั มีหลักเกณฑ์ทกี่ ำ� หนดไว้ มี น โยบายที่ ชั ด เจนในหลั ก ธรรมภิ บ าลและความ
ให้มกี ารเปลีย่ นแปลงแบบบ้าน เพือ่ ให้เกิดความทันสมัยและเหมาะกับ โปร่งใส ตลอดจนการพิจารณาว่าไม่ก่อให้เกิดข้อ
ช่วงเวลาอยู่เสมอ พิพาทในแปลงที่ดินข้างเคียงได้ และในการด�ำเนิน
การออกแบบสินค้านั้น บริษัทมิได้ให้ความส�ำคัญเฉพาะกับ งานมีคณะกรรมการจัดหาที่ดินร่วมในการพิจารณา
แบบบ้ า น แต่ ยั ง ให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ การออกแบบสภาพโครงการ อนุมัติการจัดซื้อ
สิง่ อ�ำนวยความสะดวกต่าง ๆ ภายในโครงการ สโมสร สวนส่วนกลาง และ • ในส่วนของวัสดุกอ่ สร้าง การจัดหาวัตถุดบิ ในการก่อสร้าง
สภาพแวดล้อมด้านหน้าโครงการ ซึง่ นับได้วา่ เป็นจุดเด่นอีกประการหนึง่ บริษัทได้ด�ำเนินการโดยแบ่งเป็น 2 ส่วน
ที่ลูกค้าได้เล็งเห็นถึงความแตกต่างอย่างชัดเจนเมื่อเปรียบเทียบกับ บริ ษั ท ด� ำ เนิ น การจั ด ซื้ อ วั ส ดุ ก ่ อ สร้ า งบางส่ ว นเอง
โครงการอื่น ๆ ที่อยู่ในตลาด โดยการจัดซื้อในส่วนนี้ โดยรวมประมาณ 40% ของ
มูลค่าการก่อสร้าง
2. ลักษณะการผลิตและการจัดซื้อ บริษัทให้ผู้รับเหมาที่ทางบริษัทว่าจ้างจะเป็นผู้จัดหา
การผลิตและนโยบายการผลิต ซื้อเองบางส่วน โดยทางบริษัทมีการคิดค่าด�ำเนินการ
บริษัทมีนโยบายการผลิตและเพิ่มก�ำลังการผลิตที่อยู่อาศัย ให้แก่บริษัทผู้รับเหมาอย่างยุติธรรม
เพื่อขายให้สอดคล้องกับความต้องการของที่อยู่อาศัยของลูกค้า กล่าว
คือ ในขณะทีค่ วามต้องการบ้านของลูกค้ามีเพิม่ ขึน้ บริษทั สามารถเพิม่ นอกจากนี้ บริษัทยังมีความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้จัดจ�ำหน่าย
ก�ำลังการผลิตโดยการจ้างผู้รับเหมาเพิ่มขึ้น เพื่อให้สัมพันธ์กับปริมาณ วัตถุดิบ เนื่องจากบริษัทมีการสั่งซื้ออย่างต่อเนื่อง จึงสามารถสั่งซื้อ
ความต้องการบ้าน อย่างไรก็ตาม บริษัทมีนโยบายในการควบคุม วัตถุดบิ ได้ตามปริมาณทีต่ อ้ งการและไม่มปี ญ
ั หาการขาดแคลนวัตถุดบิ
คุณภาพของผู้รับเหมาให้มีการก่อสร้างที่อยู่อาศัยให้มีคุณภาพที่ดีใน วัตถุดิบโดยส่วนใหญ่บริษัทจัดซื้อจากในประเทศ และที่ผ่านมาบริษัท
ระดับมาตรฐานเดียวกัน ดังนี้ ได้มีการกระจายการสั่งซื้อวัตถุดิบจากผู้จัดจ�ำหน่าย เพื่อมิให้เกิดการ
ผูกขาด
28
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

ทรัพย์สินที่ใช้ในการประกอบธุรกิจ
ลักษณะส�ำคัญของทรัพย์สิน

ลักษณะส�ำคัญของทรัพย์สินที่ใช้ในการประกอบธุรกิจของบริษัทและบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 ประกอบด้วย
(1) สินค้าคงเหลือ จ�ำนวน 47,256 ล้านบาท ประกอบด้วย

จำ�นวน (ล้านบาท) ภาระผูกพัน


ที่ดิน 27,443 ค�้ำประกันเงินกู้จากธนาคารจ�ำนวน 10,960 ล้านบาท
ค่าถมดิน 2,310
งานระหว่างก่อสร้าง 12,238
ดอกเบี้ยจ่ายรอการตัดบัญชี 1,964
ค่าสาธารณูปโภค 3,306
บ้านรอการขาย 283
รวม 47,544
หัก ค่าเผื่อการลดมูลค่าของสินค้า (288)
คงเหลือ 47,256

(2) ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ จ�ำนวน 1,565 ล้านบาท ประกอบด้วย

ราคาทุนสุทธิ
รายการ สถานที่ตั้ง ลักษณะกรรมสิทธิ์ ภาระผูกพัน
(ล้านบาท)
โรงแรมและที่ดินในสหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกา 998 เป็นเจ้าของ เงินกู้
ส�ำนักงานขายและที่ดิน โครงการต่าง ๆ 131 เป็นเจ้าของ -ไม่มี-
เครื่องใช้ส�ำนักงาน ส�ำนักงานใหญ่ 32 เป็นเจ้าของ -ไม่มี-
และโครงการต่าง ๆ
เครื่องตกแต่งส�ำนักงานและสโมสร โครงการต่าง ๆ 209 เป็นเจ้าของ -ไม่มี-
ยานพาหนะ ส�ำนักงานใหญ่ และ 17 เป็นเจ้าของ -ไม่มี-
โครงการต่าง ๆ
สินทรัพย์อื่น ๆ ส�ำนักงานใหญ่ 68 เป็นเจ้าของ -ไม่มี-
และโครงการต่าง ๆ
ทรัพย์สินระหว่างก่อสร้าง โครงการต่าง ๆ 110 เป็นเจ้าของ -ไม่มี-
รวม 1,565

29
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

(3) สิทธิการเช่า มูลค่าสุทธิ 16,732 ล้านบาท ประกอบด้วย

ราคาทุนสุทธิ
บริษัท ชื่อโครงการ สถานที่ตั้ง ภาระผูกพัน
(ล้านบาท)
LHMH ร.ร. แกรนด์ เซนเตอร์พอยต์ และ พัทยา สัญญาเช่า 27 ปี 4,878 ค�้ำประกันเงินกู้จากธนาคาร
ศูนย์การค้าเทอร์มินอล 21 พัทยา
LHMH ศูนย์การค้าเทอร์มินอล 21 พระราม 3 พระราม 3 สัญญาเช่า 32 ปี 3,442 ค�้ำประกันเงินกู้จากธนาคาร
LHMH สิทธิการเช่าที่อยู่ระหว่างการก่อสร้าง กรุงเทพฯ และพัทยา 4,382 บางส่วนน�ำไปค�้ำประกัน
เงินกู้จากธนาคาร
LHMH สิทธิการใช้โรงแรม 3 แห่ง ในเขตกรุงเทพฯ อายุ 4 - 7 ปี 3,611 -ไม่มี-
LHP สิทธิการใช้โรงแรม 1 แห่ง ในเขตกรุงเทพฯ อายุ 3 ปี 210 -ไม่มี-
LH และ LHMH สิทธิการใช้อาคารส�ำนักงานและอื่น ๆ ในเขตกรุงเทพฯ อายุ 4 - 8 ปี 209 -ไม่มี-

LH = บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ LHMH = บจ. แอลเอช มอลล์ แอนด์ โฮเทล LHP = บจ. แอล แอนด์ เอช พร็อพเพอร์ตี้

(4) อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 มีมูลค่าสุทธิ 11,884 ล้านบาท มีรายละเอียดดังนี้ เป็นอะพาร์ตเมนต์ให้เช่า 2 แห่ง ในรัฐแคลิฟอร์เนีย และ
1 แห่ง ในรัฐโอเรกอน สหรัฐอเมริกา และที่ดินเปล่า

ราคาทุนสุทธิ
บริษัท สถานที่ตั้ง กรรมสิทธิ์ ภาระผูกพัน
(ล้านบาท)
LH USA รัฐแคลิฟอร์เนีย และรัฐโอเรกอน สหรัฐอเมริกา 11,672 ซื้อขาด ค�้ำประกันเงินกู้จากธนาคารบางส่วน
LH กรุงเทพมหานคร 212 ซื้อขาด -

LH USA = Land and Houses U.S.A., Inc. LH = บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์

อะพาร์ตเมนต์ในรัฐแคลิฟอร์เนีย ประกอบด้วย โครงการ Parc Residence และ The Revere อะพาร์ตเมนต์ในรัฐโอเรกอน คือ The Yard
Residence โดยมีวัตถุประสงค์ให้เช่า และเมื่อได้ราคาดีก็จะขายในอนาคต

ที่ดินของโครงการที่มีไว้เพื่อขาย
(เอกสารแนบ 3)

งานที่ยังไม่ได้ส่งมอบ
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 บริษัทและบริษัทย่อยมีบ้านและอาคารชุดพักอาศัยที่ได้รับการจองแล้วจ�ำนวน 54 โครงการมีรายละเอียด
ดังต่อไปนี้

ประเภท จำ�นวนโครงการ มูลค่า (ล้านบาท)


คอนโดมีเนียม 9 2,172
บ้านเดี่ยวและทาวน์เฮ้าส์ 45 3,256
รวม 54 5,428

30
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

3. โครงสร้างการถือหุ้นของกลุ่มบริษัท
โครงสร้างผู้ถือหุ้นของกลุ่มบริษัท
บริษทั มีบริษทั ย่อยทีบ่ ริษทั ถือหุน้ โดยตรงจ�ำนวน 11 บริษทั และบริษทั ย่อยทีถ่ อื หุน้ ผ่านบริษทั ย่อยจ�ำนวน 4 บริษทั (รายละเอียดตามแผนภูมิ
โครงสร้างการถือหุ้นในบริษัทย่อยและบริษัทร่วม หน้าที่ 3) ประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ในด้านการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ของบริษัท
และบริษัทย่อย ได้พัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยเพื่อขายประเภทบ้านเดี่ยว ทาวน์เฮ้าส์ และอาคารชุดพักอาศัยเพื่อขาย โดยเน้นการพัฒนาโครงการ
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และโครงการตามจังหวัดใหญ่ ๆ ได้แก่ เชียงใหม่ เชียงราย นครราชสีมา ขอนแก่น มหาสารคาม อุดรธานี
ประจวบคีรีขันธ์ พระนครศรีอยุธยา และภูเก็ต บริษัทได้น�ำกลยุทธ์โครงการสร้างบ้านเสร็จก่อนขายมาใช้ในปี 2543 ซึ่งได้รับการตอบรับจากกลุ่ม
ลูกค้าเป็นอย่างดี

โครงสร้างการถือหุ้นในบริษัทย่อย และบริษัทร่วม
(ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564)

บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์

ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ธุรกิจวัสดุก่อสร้าง ธุรกิจที่ปรึกษาลงทุน / ธนาคาร

บจ. แอตแลนติก เรียลเอสเตท 99.99% บมจ. โฮมโปรดักส์ เซ็นเตอร์ 30.23% บจ. เอเชีย แอสเซท แอดไวเซอรี่ 99.94 %

บจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ นอร์ธ 99.99% บมจ. ควอลิตี้คอนสตรัคชั่นโปรดัคส์ 21.16% บมจ. แอลเอชไฟแนนซ์เชียลกรุ๊ป 21.88%

บจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ นอร์ธอีส 99.99% บมจ. ธนาคาร แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ 99.99%

บจ. แอลเอช มอลล์ แอนด์ โฮเทล 99.99% บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน


แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จ�ำกัด 99.99%
บจ. แอล แอนด์ เอช โฮเทล แมเนจเมนท์ 99.99%
บมจ. หลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ 99.80%
บจ. แอล แอนด์ เอช รีเทล แมเนจเมนท์ 99.97%
บจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ แอดไวเซอรี่ 99.99%
บจ. แอล แอนด์ เอช แมเนจเมนท์ 99.98%

บจ. สยามธานี พร๊อบเพอร์ตี้ 99.99%

บจ. สยามธานี เรียลเอสเตท 99.99%

บจ. แอล เอช เรียลเอสเตท 99.99%

บจ. แอล เอช แอสเซท 99.99%

บจ. แอล แอนด์ เอช พร็อพเพอร์ตี้ 60.00%

บจ. แอล. เอช. เมืองใหม่ 55.00%

กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์และสิทธิเรียกร้อง
แลนด์แอนด์เฮ้าส์ 2 49.99% หมายเหตุ : บจ. แอล แอนด์ เอช พร็อพเพอร์ตี้ เป็นบริษัทที่ลงทุนร่วมกับ Government of Singapore
Investment (GIC) โดย GIC ถือหุ้น 40.0%
Land and Houses U.S.A., Inc. 100.00% บจ. แอล. เอช. เมืองใหม่ เป็นบริษัทที่ลงทุนร่วมกับ กลุ่มนายพิทยา ตันติพิริยะกิจ โดย
กลุ่มนายพิทยา ตันติพิริยะกิจ ถือหุ้น 45.00%
บมจ. ควอลิตี้เฮ้าส์ 24.98%

31
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

บริษัทที่ถือหุ้นตั้งแต่ร้อยละ 10 ขึ้นไปมีดังนี้

% การถือของ
ทุนที่เรียก
จำ�นวนหุ้นที่ มูลค่าของหุ้น บริษัททั้ง
ชือ่ บริษทั ชำ�ระแล้ว
ถือครองอยู่ ที่ตราไว้ ทางตรงและ
(ล้านบาท)
ทางอ้อม
เงินลงทุนในกิจการที่เกี่ยวข้องกัน
บริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์
1. บริษัท ควอลิตี้ คอนสตรัคชั่น โปรดัคส์ จ�ำกัด (มหาชน) 400 84,627,680 1 21.16
2. บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน) 21,184 4,634,761,967 1 21.88
3. บริษัท ควอลิตี้เฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน) 10,714 2,675,945,601 1 24.98
4. กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์และสิทธิการเช่า แลนด์แอนด์เฮ้าส์ 3,300 88,958,300 10 26.96
5. บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ จ�ำกัด (มหาชน) 13,151 3,975,878,432 1 30.23
บริษัทที่ไม่ได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์
1. กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์และสิทธิเรียกร้องแลนด์แอนด์เฮ้าส์-II 1,486 74,278,549 10 49.99
2. บริษัท แอล. เอช. เมืองใหม่ จ�ำกัด 900 49,499,995 10 55.00
3. บริษัท แอล แอนด์ เอช พร็อพเพอร์ตี้ จ�ำกัด 130 15,599,994 5 60.00
4. บริษัท เอเชีย แอสเซท แอดไวเซอรี่ จ�ำกัด 0.10 9,994 10 99.94
5. บริษัท แอตแลนติก เรียลเอสเตท จ�ำกัด 15 149,979 100 99.99
6. บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ นอร์ธ จ�ำกัด 14 134,998 100 99.99
7. บริษัท แอล เอช มอลล์ แอนด์ โฮเทล จ�ำกัด 2,000 19,999,995 100 99.99
8. บริษัท สยามธานี พร๊อบเพอร์ตี้ จ�ำกัด 100 999,994 100 99.99
9. บริษัท แอล เอช แอสเซท จ�ำกัด 100 999,994 100 99.99
10. บริษัท แอล เอช เรียลเอสเตท จ�ำกัด 58 579,994 100 99.99
11. บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ นอร์ธอีส จ�ำกัด 150 1,499,994 100 99.99
12. LAND AND HOUSES U.S.A., Inc. (ดอลลาร์สหรัฐ) 40 40,000,000 1 100.00
ถือหุ้นโดย บริษัท สยามธานี พร๊อบเพอร์ตี้ จ�ำกัด
1. บริษัท สยามธานี เรียลเอสเตท จ�ำกัด 88 1,749,994 50 99.99
ถือหุ้นโดย บริษัท แอล เอช มอลล์ แอนด์ โฮเทล จ�ำกัด
1. บริษัท แอล แอนด์ เอช โฮเทล แมเนจเมนท์ จ�ำกัด 10 999,997 10 99.99
2. บริษัท แอล แอนด์ เอช รีเทล แมเนจเมนท์ จ�ำกัด 0.10 9,995 10 99.99
3. บริษัท แอล แอนด์ เอช แมเนจเมนท์ จ�ำกัด 0.10 9,993 10 99.99
4. ทรัสต์เพือ่ การลงทุนในสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ แอลเอชโฮเทล 5,379 71,275,310 10 13.25
ถือหุ้นโดย บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน)
1. ธนาคาร แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน) 20,000 1,999,999,900 10 22.16
2. บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน) 1,274 1,274,140,676 1 22.16
3. บริษัทหลักทรัพย์ จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จ�ำกัด 300 2,999,995 100 22.16
ถือหุน้ โดย บริษทั ย่อยของบริษทั แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุป๊ จ�ำกัด (มหาชน)
1. บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ แอดไวเซอรี่ จ�ำกัด 20 1,999,998 10 22.16

32
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

% การถือ
ชนิดและ
ของบริษัท
ชือ่ บริษทั ที่อยู่ โทรศัพท์ โทรสาร ประเภทธุรกิจ จำ�นวนของหุ้น
ทั้งทางตรง
ที่จำ�หน่าย
และทางอ้อม
1. บริษัท ควอลิตี้ คอนสตรัคชั่น เลขที่ 144 หมู ่ 16 นิ ค มอุ ต สาหกรรม 0 3525 8999 0 3525 8948 วัสดุก่อสร้าง หุ้นสามัญ 400 21.16
โปรดัคส์ จ�ำกัด (มหาชน) บางปะอิน ถ.อุดมสรยุทธ์ ต.บางกระสั้น 0 3525 8721 ล้านหุ้น มูลค่า
อ.บางปะอิน จ.พระนครศรีอยุธยา 13160 หุ้นละ 1 บาท
เว็บไซต์: www.qcon.co.th
2. บริษทั แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล เลขที่ 1 อาคารคิวเฮ้าส์ ลุมพินี ชัน้ 5 ถ.สาทรใต้ 0 2359 0000 0 2677 7223 บริษัทโฮลดิ้ง หุ้นสามัญ 21.88
กรุ๊ป จ�ำกัด (มหาชน) แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กทม. 10120 21,183.7 ล้านหุน้
เว็บไซต์: www.lhfg.co.th มูลค่าหุน้ ละ 1 บาท
3. บริษัท ควอลิตี้เฮ้าส์ จ�ำกัด เลขที่ 1 อาคารคิวเฮ้าส์ ลุมพินี ชั้น 6-7 0 2677 7000 0 2677 7009 พัฒนา หุ้นสามัญ 24.98
(มหาชน) ถ.สาทรใต้ แขวงทุ ่ ง มหาเมฆ เขตสาทร อสังหาริมทรัพย์ 10,714.4 ล้านหุน้
กทม. 10120 มูลค่าหุน้ ละ 1 บาท
เว็บไซต์: www.qh.co.th
4. กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ เลขที่ 11 อาคารคิวเฮ้าส์ สาทร ชั้น 14 0 2286 3484 0 2286 3585 กองทุน หน่วยลงทุน 330 26.96
และสิทธิการเช่า แลนด์ ถ.สาทรใต้ แขวงทุ ่ ง มหาเมฆ เขตสาทร 0 2679 2155 0 2679 2150 อสังหาริมทรัพย์ ล้านหน่วย มูลค่า
แอนด์เฮ้าส์ กทม. 10120 หน่วยละ 10 บาท
เว็บไซต์: www.lhpf-pf.com
5 บริษัท โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ เลขที่ 31 ถ.ประชาชื่น ต.บางเขน อ.เมือง 0 2832 1000 0 2832 1234 ค้าปลีกวัสดุ หุ้นสามัญ 30.23
จ�ำกัด (มหาชน) จ.นนทบุรี 11000 ก่อสร้าง 13,151.2 ล้านหุน้
เว็บไซต์: www.homepro.co.th มูลค่าหุน้ ละ 1 บาท
6 กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ เลขที่ 130-132 ถ.วิ ท ยุ อาคารสิ น ธร 0 2688 7777 0 2688 7700 กองทุนรวม หน่วยลงทุน 49.99
และสิทธิเรียกร้องแลนด์แอนด์ ทาวเวอร์ 3 ชั้น 15,17 แขวงลุมพินี อสังหาริมทรัพย์ 148.6 ล้าน
เฮ้าส์-II เขตปทุมวัน กทม. 10330 หน่วย มูลค่า
หน่วยละ 10 บาท
7 บริษัท แอล. เอช. เลขที่ 9/9 หมู่ 6 ถ.เทพกระษัตรี ต.รัษฎา 0 7638 1150-3 0 7638 1112 พัฒนา หุ้นสามัญ 90 55.00
เมืองใหม่ จ�ำกัด อ.เมือง จ.ภูเก็ต 83001 อสังหาริมทรัพย์ ล้านหุ้น มูลค่า
หุ้นละ 10 บาท
8 บริษัท แอล แอนด์ เอช เลขที่ 1 อาคารคิวเฮ้าส์ ลุมพินี ชั้น 15 0 2343 8899 0 2343 8890 พัฒนา หุ้นสามัญ 26 60.00
พร็อพเพอร์ตี้ จ�ำกัด ถ.สาทรใต้ แขวงทุ ่ ง มหาเมฆ เขตสาทร อสังหาริมทรัพย์ ล้านหุ้น มูลค่า
กทม. 10120 หุ้นละ 5 บาท
9 บริษัท เอเชีย แอสเซท เลขที่ 1 อาคารคิวเฮ้าส์ ลุมพินี ชั้น 15 0 2343 8899 0 2343 8890 ที่ปรึกษาการ หุ้นสามัญ 0.01 99.94
แอดไวเซอรี่ จ�ำกัด ถ.สาทรใต้ แขวงทุ ่ ง มหาเมฆ เขตสาทร ลงทุน ล้านหุ้น มูลค่า
กทม. 10120 หุ้นละ 10 บาท
10 บริษัท แอตแลนติก เลขที่ 1 อาคารคิวเฮ้าส์ ลุมพินี ชั้น 37 0 2343 8900 0 2230 8131 พัฒนา หุ้นสามัญ 0.15 99.99
เรียลเอสเตท จ�ำกัด ถ.สาทรใต้ แขวงทุ ่ ง มหาเมฆ เขตสาทร อสังหาริมทรัพย์ ล้านหุ้น มูลค่า
กทม. 10120 หุ้นละ 100 บาท
11 บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เลขที่ 319 หมู่ที่ 4 ต.หนองจ๊อม อ.สันทราย 0 5349 8911-3 0 5311 1111 พัฒนา หุ้นสามัญ 0.5 99.99
นอร์ธ จ�ำกัด จ.เชียงใหม่ 50210 อสังหาริมทรัพย์ ล้านหุ้น มูลค่า
หุ้นละ 100 บาท
12 บริษัท แอล เอช มอลล์ แอนด์ เลขที่ 1 อาคารคิวเฮ้าส์ ลุมพินี ชั้น 15 0 2343 8899 0 2343 8890 พัฒนา หุ้นสามัญ 20 99.99
โฮเทล จ�ำกัด ถ.สาทรใต้ แขวงทุ ่ ง มหาเมฆ เขตสาทร อสังหาริมทรัพย์ ล้านหุ้น มูลค่า
กทม. 10120 หุ้นละ 100 บาท
เว็บไซต์: www.lhmh.co.th
13 บริษัท สยามธานี เลขที่ 1 อาคารคิวเฮ้าส์ ลุมพินี ชั้น 37 0 2343 8900 0 2230 8131 พัฒนา หุ้นสามัญ 1 99.99
พร๊อบเพอร์ตี้ จ�ำกัด ถ.สาทรใต้ แขวงทุ ่ ง มหาเมฆ เขตสาทร อสังหาริมทรัพย์ ล้านหุ้น มูลค่า
กทม. 10120 หุ้นละ 100 บาท

33
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

% การถือ
ชนิดและ
ของบริษัท
ชือ่ บริษทั ที่อยู่ โทรศัพท์ โทรสาร ประเภทธุรกิจ จำ�นวนของหุ้น
ทั้งทางตรง
ที่จำ�หน่าย
และทางอ้อม
14 บริษทั แอล เอช แอสเซท จ�ำกัด เลขที่ 1 อาคารคิวเฮ้าส์ ลุมพินี ชั้น 37 0 2343 8900 0 2230 8131 พัฒนา หุน้ สามัญ 99.99
ถ.สาทรใต้ แขวงทุ ่ ง มหาเมฆ เขตสาทร อสังหาริมทรัพย์ 1 ล้านหุน้ มูลค่า
กทม. 10120 หุน้ ละ 100 บาท
15 บริษัท แอล เอช เรียลเอสเตท เลขที่ 1 อาคารคิวเฮ้าส์ ลุมพินี ชั้น 37 0 2343 8900 0 2230 8131 พัฒนา หุ้นสามัญ 0.58 99.99
จ�ำกัด ถ.สาทรใต้ แขวงทุ ่ ง มหาเมฆ เขตสาทร อสังหาริมทรัพย์ ล้านหุ้น มูลค่า
กทม. 10120 หุ้นละ 100 บาท
16 บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เลขที่ 1 อาคารคิวเฮ้าส์ ลุมพินี ชั้น 37 0 2343 8900 0 2230 8131 พัฒนา หุ้นสามัญ 1.5 99.99
นอร์ธอีส จ�ำกัด ถ.สาทรใต้ แขวงทุ ่ ง มหาเมฆ เขตสาทร อสังหาริมทรัพย์ ล้านหุ้น มูลค่า
กทม. 10120 หุ้นละ 100 บาท
17 Land and Houses 17485 Monterey Road Suite 308 408 796 7337 ลงทุนใน หุ้นสามัญ 40 100.00
U.S.A., Inc. Morgan Hill, CA 95037 USA อสังหาริมทรัพย์ ล้านหุน้ มูลค่าหุน้ ละ
1 ดอลลาร์สหรัฐ
18 บริษัท สยามธานี เรียลเอสเตท เลขที่ 1 อาคารคิวเฮ้าส์ ลุมพินี ชั้น 37 0 2343 8900 0 2230 8131 พัฒนา หุ้นสามัญ 1.75 99.99
จ�ำกัด ถ.สาทรใต้ แขวงทุ ่ ง มหาเมฆ เขตสาทร อสังหาริมทรัพย์ ล้านหุ้น มูลค่า
กทม. 10120 หุ้นละ 50 บาท
19 บริษัท แอล แอนด์ เอช โฮเทล เลขที่ 1 อาคารคิวเฮ้าส์ ลุมพินี ชั้น 15 0 2343 8899 0 2343 8890 โรงแรม หุ้นสามัญ 99.99
แมเนจเมนท์ จ�ำกัด ถ.สาทรใต้ แขวงทุ ่ ง มหาเมฆ เขตสาทร 1 ล้านหุ้น มูลค่า
กทม. 10120 หุ้นละ 10 บาท
20 บริษัท แอล แอนด์ เอช เลขที่ 1 อาคารคิวเฮ้าส์ ลุมพินี ชั้น 15 0 2343 8899 0 2343 8890 ค้าปลีก หุ้นสามัญ 0.01 99.99
รีเทล แมเนจเมนท์ จ�ำกัด ถ.สาทรใต้ แขวงทุ ่ ง มหาเมฆ เขตสาทร ล้านหุ้น มูลค่า
กทม. 10120 หุ้นละ 10 บาท
21 บริษัท แอล แอนด์ เอช เลขที่ 1 อาคารคิวเฮ้าส์ ลุมพินี ชั้น 15 0 2343 8899 0 2343 8890 รับจ้างบริหาร หุ้นสามัญ 0.01 99.97
แมเนจเมนท์ จ�ำกัด ถ.สาทรใต้ แขวงทุ ่ ง มหาเมฆ เขตสาทร ล้านหุ้น มูลค่า
กทม. 10120 หุ้นละ 10 บาท
22 ธนาคาร แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เลขที่ 1 อาคารคิวเฮ้าส์ ลุมพินี ชั้น G, 1, 5, 0 2359 0000 0 2677 7223 ธนาคาร หุ้นสามัญ 2,000 22.16
จ�ำกัด (มหาชน) 6, 32 ถ.สาทรใต้ แขวงทุง่ มหาเมฆ เขตสาทร ล้านหุ้น มูลค่า
กทม. 10120 หุ้นละ 10 บาท
เว็บไซต์: www.lhbank.co.th
23 บริษทั หลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เลขที่ 11 อาคารคิวเฮ้าส์ สาทร ชั้น M, 0 2352 5100 0 2286 2681 จัดการกองทุน หุ้นสามัญ 22.16
เฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน) 10 ถ.สาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร 0 2286 2682 1,274.4 ล้านหุ้น
กทม. 10120 มูลค่าหุน้ ละ 1 บาท
เว็บไซต์: www.lhsec.co.th
24 บริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย์ จั ด การ เลขที่ 11 อาคารคิวเฮ้าส์ สาทร ชั้น 14 0 2286 3484 0 2286 3585 จัดการกองทุน หุ้นสามัญ 3 22.16
กองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ ถ.สาทรใต้ แขวงทุ ่ ง มหาเมฆ เขตสาทร 0 2679 2155 0 2679 2150 ล้านหุ้น มูลค่า
จ�ำกัด กทม. 10120 หุ้นละ 100 บาท
เว็บไซต์: www.lhfund.co.th
25 บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เลขที่ 11 อาคารคิวเฮ้าส์ สาทร ชั้น 10 0 2352 5100 0 2286 2681 ที่ปรึกษาการ หุ้นสามัญ 2 22.16
แอดไวเซอรี่ จ�ำกัด ถ.สาทรใต้ แขวงทุ ่ ง มหาเมฆ เขตสาทร 0 2286 2682 ลงทุน ล้านหุ้น มูลค่า
กทม. 10120 หุ้นละ 10 บาท
26 ทรัสต์เพือ่ การลงทุนในสิทธิการ เลขที่ 11 อาคารคิวเฮ้าส์ สาทร ชั้น 14 0 2286 3484 0 2286 3585 อสังหาริมทรัพย์ หุ้นสามัญ 537.9 13.25
เช่าอสังหาริมทรัพย์ ถ.สาทรใต้ แขวงทุ ่ ง มหาเมฆ เขตสาทร ล้านหุ้น มูลค่า
แอลเอชโฮเทล กทม. 10120 หุ้นละ 10 บาท
เว็บไซต์: www.lhfund.co.th

34
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

บุคคลที่อาจมีความขัดแย้งถือหุ้นในบริษัทย่อยหรือบริษัทร่วมรวมกันเกินกว่าร้อยละ 10 ของจ�ำนวนหุ้นที่มีสิทธิ
ออกเสียงของบริษัทดังกล่าว
-ไม่มี-

ความสัมพันธ์กับกลุ่มธุรกิจของผู้ถือหุ้นรายใหญ่
-ไม่มี-

ผู้ถือหุ้น
ผู้ถือหุ้นที่ถือหุ้นสูงสุด 10 รายแรก ณ วันรวบรวมรายชื่อล่าสุด วันที่ 25 สิงหาคม 2564 มีดังนี้

จำ�นวนหุ้น ร้อยละของจำ�นวนหุ้น
ลำ�ดับ ชื่อบุคคล / นิติบุคคล
(หุ้น) ที่จำ�หน่ายแล้วทั้งหมด
1. นายอนันต์ อัศวโภคิน 2,860,000,071 23.93
2. บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จ�ำกัด 993,745,386 8.32
3. SOUTH EAST ASIA UK (TYPE C) NOMINEES LIMITED 763,090,993 6.39
4. บริษัท เมย์แลนด์ จ�ำกัด 677,000,075 5.67
5. ส�ำนักงานประกันสังคม 537,537,045 4.50
6. THE BANK OF NEW YORK MELLON 361,823,131 3.03
7. STATE STREET EUROPE LIMITED 349,719,058 2.93
8. STATE STREET BANK AND TRUST COMPANY 175,231,937 1.47
9. น.ส. เพียงใจ หาญพาณิชย์ 134,960,001 1.13
10. กองทุนเปิดบัวหลวงหุ้นระยะยาว 111,754,001 0.94
รวม 6,964,861,698 58.28

หมายเหตุ : * ผู้ถือหุ้นกลุ่มนายอนันต์ อัศวโภคิน ถือหุ้นรวมกันในสัดส่วนร้อยละ 30.73

4. จ�ำนวนทุนจดทะเบียนและทุนเรียกช�ำระแล้ว
(1) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 บริษัทมีทุนจดทะเบียนจ�ำนวน ร้อยละ 21.71 และท�ำให้ผู้ถือหุ้นที่ถือหุ้นเพียงร้อยละ 20.54 ของ
12,031,105,828 บาท เรียกช�ำระแล้วจ�ำนวน 11,949,713,176 บาท จ�ำนวนหุน้ ทีช่ ำ� ระแล้ว จะมีสทิ ธิออกเสียงถึงร้อยละ 25 ของหุน้ ทีม่ สี ทิ ธิ
แบ่งเป็นหุ้นสามัญ 11,949,713,176 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท ออกเสียงทั้งหมด ทั้งนี้ ผู้ลงทุนสามารถตรวจสอบจ�ำนวนหุ้นที่ถือหุ้น
จากข้ อ มู ล ผู ้ ถื อ หุ ้ น สามั ญ ของบริ ษั ท ที่ ถื อ หุ ้ น ผ่ า นบริ ษั ท ผ่านบริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จ�ำกัด ล่าสุดของบริษัทได้จากเว็บไซต์ของ
ไทยเอ็นวีดีอาร์ จ�ำกัด ณ วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2565 มีจ�ำนวน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย คือ www.set.or.th
2,131,316,211 หุ้น คิดเป็นร้อยละ 17.84 ของหุ้นสามัญที่ช�ำระแล้ว
และเนือ่ งด้วยหุน้ สามัญของบริษทั ทีถ่ อื โดยบริษทั ไทยเอ็นวีดอี าร์ จ�ำกัด (2) หุ้นประเภทอื่น
ไม่สามารถใช้สิทธิออกเสียงในการประชุมผู้ถือหุ้น (ยกเว้นกรณีการ -ไม่มี-
ใช้สิทธิออกเสียงเพื่อลงมติเกี่ยวกับการเพิกถอนหุ้นออกจากการเป็น
หลักทรัพย์จดทะเบียน) เป็นผลท�ำให้ผู้ถือหุ้นในส่วนที่ไม่ใช่หุ้นที่ถือ
โดยบริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จ�ำกัด มีสิทธิในการออกเสียงเพิ่มขึ้น

35
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

5. การออกหลักทรัพย์อื่น
หุ้นกู้
หุ้นกู้ของบริษัทที่ยังไม่ได้ไถ่ถอน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 จ�ำนวน 38,600 ล้านบาท เป็นหุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิและไม่มีหลักประกัน
มีรายละเอียดดังนี้

จำ�นวน
หุ้นกู้ อัตราดอกเบี้ยต่อปี อายุ/ครบกำ�หนดไถ่ถอน
(ล้านบาท)
ครั้งที่ 1/2561 1,200 2.96%, จ่ายดอกเบี้ยทุก ๆ 6 เดือน 7 ปี/7 มี.ค. 2568
ครั้งที่ 1/2562 6,000 2.62%, จ่ายดอกเบี้ยทุก ๆ 6 เดือน 3 ปี/26 เม.ย. 2565
ครั้งที่ 2/2562 7,000 2.12%, จ่ายดอกเบี้ยทุก ๆ 6 เดือน 3 ปี/15 ต.ค. 2565
ครั้งที่ 1/2563 ชุดที่ 1 3,000 2.30%, จ่ายดอกเบี้ยทุก ๆ 6 เดือน 2 ปี/12 พ.ค. 2565
ครั้งที่ 1/2563 ชุดที่ 2 2,400 2.60%, จ่ายดอกเบี้ยทุก ๆ 6 เดือน 3 ปี/12 พ.ค. 2566
ครั้งที่ 2/2563 3,000 2.03%, จ่ายดอกเบี้ยทุก ๆ 6 เดือน 3 ปี/20 ต.ค. 2566
ครั้งที่ 1/2564 ชุดที่ 1 3,000 1.09%, จ่ายดอกเบี้ยทุก ๆ 6 เดือน 2 ปี 16 วัน/12 พ.ค. 2566
ครั้งที่ 1/2564 ชุดที่ 2 5,000 1.50%, จ่ายดอกเบี้ยทุก ๆ 6 เดือน 3 ปี/16 เม.ย. 2567
ครั้งที่ 2/2564 8,000 1.46%, จ่ายดอกเบี้ยทุก ๆ 6 เดือน 3 ปี/19 ต.ค. 2567

หุ้นกู้ทั้งหมดมีอันดับความน่าเชื่อถือล่าสุด คือ A+ Stable โดยบริษัท ทริสเรทติ้ง จ�ำกัด เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2564


หุ้นกู้ของบริษัท ต้องด�ำรงสัดส่วนหนี้สินสุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้นไม่เกิน 1.50 ต่อ 1 ตามงบการเงินรวม และหุ้นกู้ของบริษัทที่ออกตั้งแต่ครั้งที่
1/2563 ต้องด�ำรงสัดส่วนหนี้สินสุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้นไม่เกิน 2.00 ต่อ 1 ตามงบการเงินรวม

6. นโยบายการจ่ายเงินปันผล
ปั จ จุ บั น บริ ษั ท มี น โยบายที่ จ ะจ่ า ยเงิ น ปั น ผลให้ แ ก่ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ส�ำหรับนโยบายการจ่ายเงินปันผลของบริษทั ย่อยนัน้ บริษทั ย่อย
จากก�ำไรสุทธิในแต่ละปี ทั้งนี้ การจ่ายเงินปันผลให้น�ำปัจจัยต่าง ๆ จะจ่ า ยเงิ น ปั น ผลให้ บ ริ ษั ท จากก� ำ ไรสุ ท ธิ ข องบริ ษั ท ย่ อ ย ทั้ ง นี้
มาพิจารณาประกอบดังนี้ ได้แก่ ผลการด�ำเนินงานและฐานะการเงิน การจ่ายปันผลให้น�ำปัจจัยต่าง ๆ มาพิจารณาประกอบดังนี้ ได้แก่
ของบริษัท สภาพคล่องของบริษัท การขยายธุรกิจ และปัจจัยอื่น ๆ ผลการด�ำเนินงานและฐานะการเงินของบริษัท สภาพคล่องของบริษัท
ที่เกี่ยวข้องในการบริหารงานของบริษัท ซึ่งการจ่ายเงินปันผลดังกล่าว การขยายธุรกิจ และปัจจัยอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องในการบริหารงานของ
ข้างต้นจะต้องได้รบั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริษทั และ/หรือ บริษัท
จากที่ประชุมผู้ถือหุ้น ตามมติที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้นครั้งที่ 1/2547
เมื่อวันที่ 26 มกราคม 2547 ได้มีมติให้แก้ไขข้อบังคับบริษัทข้อที่ 42
เรื่องการจ่ายปันผลเป็นดังนี้
ข้อบังคับ ข้อ 42 เรื่อง การจ่ายเงินปันผล “ให้จ่ายเงินปันผลจาก
ผลก�ำไรของบริษัท ในกรณีที่บริษัทยังมียอดขาดทุนสะสมอยู่ห้ามมิให้
บริษทั จ่ายเงินปันผล ในกรณีทบี่ ริษทั มีกำ� ไรให้คณะกรรมการของบริษทั
เสนอแนะให้แบ่งผลก�ำไรของบริษทั เพือ่ จ่ายเป็นเงินปันผลตราบเท่าที่
ไม่เสียหายต่อทุนของบริษัท”

36
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

รายงานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง
และการพัฒนาอย่างยั่งยืน 2564
เรียน ท่านผู้ถือหุ้น
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน) ให้ความส�ำคัญ 3. ติ ด ตามและก� ำ กั บ ดู แ ลการจั ด ท� ำ การคุ ้ ม ครองข้ อ มู ล
เป็นอย่างยิ่งกับการบริหารความเสี่ยงทั้งองค์กร (Enterprise Risk ส่วนบุคคลขององค์กร (Personal Data Protection) โดยก�ำหนด
Management) ควบคู่กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainability นโยบายและระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลใน
Development) ภายใต้การก�ำกับดูแลของคณะกรรมการบริหาร ประเด็นต่าง ๆ เช่น การเก็บรวบรวม การใช้หรือเปิดเผยข้อมูล
ความเสี่ยงและการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยในปี 2564 คณะกรรมการ ส่วนบุคคล สิทธิของเจ้าของข้อมูล การลบหรือการท�ำลายข้อมูล
บริ ห ารความเสี่ ย งและการพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น มี ก ารประชุ ม ทั้ ง สิ้ น และการจัดการเหตุการณ์ละเมิดข้อ มูลส่ว นบุค คล เป็น ต้น และ
2 ครั้ง โดยกรรมการบริหารความเสี่ยงและการพัฒนาอย่างยั่งยืน คณะกรรมการได้ พิ จ ารณาและอนุ มั ติ แ ต่ ง ตั้ ง เจ้ า หน้ า ที่ คุ ้ ม ครอง
ทุกท่านได้ร่วมประชุมทุกครั้ง นอกจากนี้ คณะกรรมการบริหาร ข้อมูลส่วนบุคคล (DPO-Data Protection Officer) พร้อมทั้ง
ความเสีย่ งและการพัฒนาอย่างยัง่ ยืนได้เชิญฝ่ายบริหารเข้าร่วมประชุม คณะท�ำงานด้านการคุม้ ครองส่วนบุคคล เพือ่ ให้มาตรฐานและมาตรการ
ด้วยตามความเหมาะสม ทัง้ นีส้ ามารถสรุปสาระส�ำคัญของการด�ำเนินงาน การด� ำ เนิ น งานคุ ้ ม ครองข้ อ มู ล ส่ ว นบุ ค คลของบริ ษั ท นั้ น ถู ก ต้ อ ง
ที่ผ่านมาได้ดังนี้ สอดคล้องกับพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ 2562
1. ติดตามก�ำกับปัจจัยความเสีย่ งทีส่ ำ� คัญ (Key Risk Factors) ที่จะมีผลบังคับใช้ต่อไป
อย่างสม�ำ่ เสมอครอบคลุมทัง้ 4 ด้าน คือ 1. ด้านกลยุทธ์ (Strategic Risk)
2. ด้านการปฏิบตั กิ าร (Operational Risk) 3. ด้านการเงิน (Financial จากการดํ า เนิ น งานดั ง กล่ า วข้ า งต้ น คณะกรรมการบริ ห าร
Risk) และ 4. ด้านข้อบังคับและกฎหมาย (Compliance Risk) โดย ความเสี่ยงและการพัฒนาอย่างยั่งยืนมีความมั่นใจว่า การบริหาร
จัดให้มีการประชุมร่วมกับคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่งก�ำหนดไว้ใน ความเสีย่ งและการพัฒนาอย่างยัง่ ยืนของบริษทั ฯ มีความต่อเนือ่ งและ
แผนบริหารความเสีย่ งของบริษทั เพือ่ แลกเปลีย่ นความคิดเห็น ตลอดจน ดําเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับหลักและแนวทางปฏิบัติ
ข้อแนะน�ำที่ส�ำคัญ เพื่อน�ำไปสู่การพัฒนาด้านการบริหารความเสี่ยง ในการกํากับดูแลกิจการที่ดี เพื่อให้บริษัทฯ สามารถบรรลุเป้าหมาย
ของบริษัท ให้มีประสิทธิภาพยั่งยืน ที่ก�ำหนดไว้และก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้ถือหุ้นและผู้มีส่วน
2. ติดตามก�ำกับการด�ำเนินงานด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืน ได้ส่วนเสียทุกกลุ่มอย่างเหมาะสม
ขององค์กร (Sustainable Development) โดยมุง่ เน้นประเด็นส�ำคัญ
ด้านความยัง่ ยืน โดยได้มกี ารก�ำหนดนโยบายและเป้าหมายการจัดการ
ด้านความยั่งยืนครอบคลุมมิติทั้งด้านสิ่งแวดล้อม ด้านสังคม และด้าน
การก�ำกับดูแลกิจการ (ESG: Environment, Social & Governance)
ซึ่งสอดคล้องกับประเด็นที่มีสาระส�ำคัญขององค์กร (Materiality
Matters) มุ่งเน้นการลดการใช้ทรัพยากร เพิ่มการใช้พลังงานทดแทน
ส่งเสริมการพัฒนานวัตกรรมสินค้าและบริการ

ขอแสดงความนับถือ

(บัณฑิต พิทักษ์สิทธิ์)
ประธานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง
และการพัฒนาอย่างยั่งยืน

37
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

การบริหารจัดการความเสี่ยง
1. นโยบายและการบริหารความเสี่ยง 3) บริ ษั ท เป็ น ผู ้ ป ระกอบการพั ฒ นาอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ร าย
บริษัทฯ จะมีคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงและการพัฒนา ใหญ่ และอยู่ในตลาดมานานเป็นระยะเวลามากกว่า 30 ปี จึงมีความ
อย่างยัง่ ยืน ดูแลเรือ่ งความเสีย่ งในด้านต่าง ๆ ของบริษทั ฯ โดยก�ำหนด ได้เปรียบทั้งในด้านข้อมูลทางการตลาดและความเข้าใจในความ
ให้แต่ละฝ่ายดูแลความเสี่ยงของฝ่ายเพื่อให้บริษัทฯ มีความเสี่ยงจาก ต้องการของลูกค้ากลุ่มเป้าหมาย จึงสามารถพัฒนาที่พักอาศัยได้
การด�ำเนินงานน้อยที่สุด ตรงความต้องการของลูกค้า ส่งผลให้โครงการที่พักอาศัยของบริษัท
ภายใต้ตราสัญลักษณ์ “แลนด์แอนด์เฮ้าส์” ได้รบั การยอมรับจากลูกค้า
2. ความเสี่ยงในการประกอบธรุกิจ กลุ่มเป้าหมายทั้งในด้านคุณภาพและท�ำเลที่ตั้ง
2.1 ความเสี่ยงจากการสร้างบ้านก่อนขาย (4) แม้วา่ ปัจจุบนั จะมีปจั จัยเสีย่ งต่อการตัดสินใจซือ้ ทีอ่ ยูอ่ าศัย
บริษัทและบริษัทย่อยประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ของผู้บริโภค แต่กลุ่มลูกค้าเป้าหมายของบริษัทยังคงมีความต้องการ
โดยธุรกิจหลักเป็นการสร้างบ้านเพื่อขาย ในปี 2543 บริษัทได้เริ่ม ซื้อที่อยู่อาศัยที่มีคุณภาพอย่างต่อเนื่อง เพราะผู้บริโภคคาดหวังว่า
น�ำนโยบายสร้างบ้านก่อนขายมาใช้แทนการสร้างบ้านเมือ่ ลูกค้ามาจองซือ้ จะได้รับบริการหลังการขายที่ดี
(หรือทีเ่ รียกว่าบ้านสัง่ สร้าง) การสร้างบ้านก่อนขายของบริษทั มีสดั ส่วน
เพิ่มขึ้นในปี 2544 – 2545 อย่างต่อเนื่อง และในช่วงปี 2546 จนถึง 2.2 ความเสี่ยงเกี่ยวกับการผลิต
ปัจจุบันบริษัทประกอบธุรกิจสร้างบ้านก่อนขายทั้งหมดยกเว้นอาคาร ความเสี่ ย งเกี่ ย วกั บ การขาดแคลนวั ส ดุ แ รงงานในการ
ชุดพักอาศัยและทาวน์เฮ้าส์ แบรนด์ INDY ที่บริษัทได้เปลี่ยนนโยบาย ก่อสร้าง และต้นทุนวัสดุในการก่อสร้างทีป่ รับตัวเพิม่ ขึน้ จากภาวะธุรกิจ
จากการสร้างก่อนการขายมาเป็นการขายก่อนการสร้างตั้งแต่เดือน อสังหาริมทรัพย์ทผี่ ปู้ ระกอบการหลายรายพัฒนาโครงการใหม่เพิม่ ขึน้
กันยายน 2553 เป็นต้นมา จากการที่บริษัทได้เปลี่ยนนโยบายจากเดิม อย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ความต้องการวัสดุและแรงงานในการก่อสร้าง
ทีส่ ว่ นใหญ่เป็นบ้านสัง่ สร้างมาเป็นการสร้างบ้านก่อนการขาย ส่งผลให้ เพิ่มขึ้น ความต้องการที่เพิ่มขึ้นอาจน�ำไปสู่ปัญหาการขาดแคลนวัสดุ
บริษัทต้องใช้เงินทุนล่วงหน้าในการก่อสร้างที่อยู่อาศัยสูงมากขึ้น และแรงงานในการก่อสร้างและส่งผลให้ราคาของวัสดุกอ่ สร้างปรับตัว
กว่าเดิม เนือ่ งจากไม่ได้รบั เงินจากลูกค้ามาเป็นเงินทุนหมุนเวียนในระหว่าง เพิ่มขึ้น ในปี 2564 ดัชนีรวมราคาวัสดุก่อสร้างโดยรวมเพิ่มขึ้นร้อยละ
การก่อสร้าง รวมทั้งปัจจัยที่อาจมีผลต่อการตัดสินใจซื้อที่อยู่อาศัยใน 8 อย่างไรก็ตามปัญหาการขาดแคลนวัสดุและแรงงานในการก่อสร้าง
ระยะข้างหน้า ได้แก่ (1) ราคาทีอ่ ยูอ่ าศัยทีเ่ พิม่ ขึน้ ตามภาระต้นทุนวัสดุ ก็อาจปรับปตัวสูงขึ้นจากงานก่อสร้างที่เพิ่มสูงขึ้นในอนาคต ทั้งนี้
ก่อสร้างและราคาทีด่ นิ ทีป่ รับตัวสูงขึน้ (2) แนวโน้มการเจริญเติบโตของ อาจส่งผลให้ระยะเวลาการพัฒนาโครงการของบริษทั เพิม่ ขึน้ และต้นทุน
ภาวะเศรษฐกิจทีช่ ะลอตัวลง ปัจจัยดังกล่าวอาจส่งผลกระทบต่อก�ำลังซือ้ การก่ อ สร้ า งโครงการของบริ ษั ท เพิ่ ม ขึ้ น ซึ่ ง อาจส่ ง ผลกระทบต่ อ
และการตัดสินใจซื้อที่อยู่อาศัยของกลุ่มลูกค้าเป้าหมายของบริษัท สภาพคล่องและความสามารถในการหาก�ำไรของบริษัท
(รายละเอียดตาม ข้อ 2 ลักษณะการประกอบธุรกิจ ข้อ 2.2 ตลาด อย่างไรก็ตาม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 บริษัทและบริษัทย่อย
และภาวะการแข่งขัน) บริษัทจึงมีความเสี่ยงจากการที่สร้างบ้านก่อน มีโครงการทีด่ ำ� เนินการอยูจ่ ำ� นวน 77 โครงการ จึงท�ำให้มอี ำ� นาจต่อรอง
ขายเสร็จแล้วไม่สามารถขายบ้านที่สร้างเสร็จได้ อันจะส่งผลให้บริษัท กับผูร้ บั เหมาและผูค้ า้ วัสดุกอ่ สร้างค่อนข้างสูง และเนือ่ งจากบริษทั ได้ใช้
มีภาระต้นทุนสินค้าคงเหลือในปริมาณสูง ซึง่ จะส่งผลกระทบต่อสภาพ นโยบายสร้างบ้านก่อนขายแทนการสร้างเมื่อลูกค้ามาจองซื้อ (ยกเว้น
คล่องและความสามารถในการหาก�ำไรของบริษทั อย่างไรก็ตาม บริษทั โครงการคอนโดมิเนียมทีใ่ ห้จองก่อนสร้าง และทาวน์เฮ้าส์ทบี่ ริษทั เปิด
คาดว่าจะสามารถขายบ้านที่สร้างเสร็จได้และไม่มีภาระต้นทุนที่อยู่ ให้ลูกค้าจองก่อนการสร้างเสร็จ) ซึ่งนโยบายสร้างบ้านก่อนขายท�ำให้
อาศัยที่สร้างเสร็จคงเหลือในปริมาณสูงเนื่องจาก บริษัทและผู้รับเหมาสามารถวางแผนการก่อสร้างและสั่งซื้อวัสดุได้
(1) บริษัทได้มีการศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภคโดยส�ำรวจความ ล่วงหน้า ซึ่งเป็นการป้องกันปัญหาการขาดแคลนวัสดุ และยังสามารถ
คิดเห็นของลูกค้าทีเ่ ข้าชมโครงการในด้านงบประมาณราคาทีพ่ กั อาศัย ควบคุมต้นทุนและระยะเวลาก่อสร้างได้ค่อนข้างแน่นอน
แบบที่พักอาศัย ขนาดที่ดิน เป็นต้น รวมทั้งใช้ข้อมูลการขายโครงการ
ในอดีตในการวิเคราะห์ความต้องการของลูกค้า ส่งผลให้บริษทั สามารถ 2.3 ความเสี่ยงด้านการเงิน
สร้างบ้านและสามารถขายบ้านก่อนขายได้ (1) ความเสี่ ย งจากการลดลงของมู ล ค่ า สิ น ทรั พ ย์
(2) ปัจจุบันลูกค้าส่วนใหญ่พึงพอใจที่จะซื้อบ้านที่สร้างเสร็จ ทางการเงินไม่หมุนเวียนอื่น
ก่อนขาย เนื่องจากมั่นใจได้ว่าจะได้รับส่งมอบได้ตามสัญญา เนื่องจาก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 บริษัทและบริษัทย่อยมี
ในช่วงทีเ่ กิดภาวะวิกฤตเศรษฐกิจในช่วงปี 2540 - 2541 ผูป้ ระกอบการ สินทรัพย์ทางการเงินไม่หมุนเวียนอื่น จ�ำนวน 3,874 ล้านบาท คิดเป็น
หลายรายไม่สามารถสร้างบ้านและส่งมอบให้แก่ลูกค้าได้ตามสัญญา

38
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

สัดส่วนร้อยละ 3.1 ของสินทรัพย์รวม (รายละเอียดตามส่วนที่ 3 ฐานะ ทัง้ นีน้ โยบายการลงทุนในตราสารทุนของบริษทั นัน้ ให้ความส�ำคัญ
การเงินและผลการด�ำเนินงาน ข้อ 14 การวิเคราะห์และอธิบายของฝ่าย กับการลงทุนในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ และธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจ
จัดการ) โดยสินทรัพย์ทางการเงินไม่หมุนเวียนอืน่ ทีส่ ำ� คัญประกอบด้วย หลักของบริษัท รวมทั้งธุรกิจที่น่าสนใจและพิจารณาแล้วว่าน่าจะมี
(1) Vistamalls Inc. เงินลงทุนในฟิลิปปินส์ จ�ำนวน 1,851 ล้านบาท ผลตอบแทนที่ เ หมาะสม โดยการตั ด สิ น ใจลงทุ น จะต้ อ งผ่ า นการ
(2) กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์แลนด์แอนด์เฮ้าส์จำ� นวน 480 ล้านบาท พิจารณาจากคณะกรรมการบริษัท
(3) กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ควอลิตี้เฮ้าส์ จ�ำนวน 319 ล้านบาท (2) ความเสีย่ งจากการให้กยู้ มื เงินแก่บริษทั ย่อย
(4) บมจ. ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จ�ำนวน 115 ล้านบาท (5) กองทรัสต์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 บริษทั มีเงินให้กยู้ มื ระยะยาว
เพื่อการลงทุนในสิทธิการเช่าแอลเอชช้อปปิ้งเซ็นเตอร์ จ�ำนวน 444 แก่บริษัทย่อยจ�ำนวน 6 บริษัท จ�ำนวนเงินรวม เงินต้นและดอกเบี้ย
ล้านบาท (6) กองทรัสต์เพื่อการลงทุนในสิทธิการเช่า แอลเอช โฮเทล ค้างจ่าย 10,122 ล้านบาท ซึง่ เป็นการให้กยู้ มื ในรูปของตัว๋ สัญญาใช้เงิน
จ�ำนวน 646 ล้านบาท บริษัทจึงมีความเสี่ยงจากการด้อยค่าของเงิน ปลอดหลักทรัพย์คำ�้ ประกัน ประกอบด้วย
ลงทุนซึ่งจะส่งผลให้มูลค่าเงินลงทุนลดลง

สัดส่วนการถือหุ้น เงินให้กู้ยืมแก่บริษัทย่อย อัตราดอกเบี้ย


บริษัทย่อย
โดยบริษัท (ร้อยละ) (ล้านบาท) (ร้อยละ)
Land and Houses U.S.A. Inc. 100.00 8,737.3 3.1 - 3.58
บริษัท แอลเอช แอสเซท จ�ำกัด 99.99 1,250.0 2.5
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ นอร์ธอีส จ�ำกัด 99.99 1,850.0 2.5
บริษัท แอลเอช มอลล์ แอนด์ โฮเทล จ�ำกัด 99.99 3,235.0 2.5
บริษัท สยามธานีพร๊อบเพอร์ตี้ จ�ำกัด 99.99 340.0 2.5
บริษัท แอตแลนติก เรียลเอสเตท จ�ำกัด 99.99 355.0 2.5
รวม 15,767.3

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 บริษัทได้ให้เงินกู้ยืมระยะยาว นอกจากนี้ บริษัทมีนโยบายที่ให้ความส�ำคัญต่อการด�ำเนินงาน


แก่บริษทั Land and Houses U.S.A. Inc. (LH USA) ซึง่ เป็นบริษทั ย่อย ของบริษัทย่อย ได้แก่ การส่งตัวแทนเข้าเป็นกรรมการ การก�ำหนด
ที่บริษัทถือหุ้น 100% โดยให้กู้ยืมเงินจ�ำนวน 262.8 ล้านเหรียญสหรัฐ นโยบายและควบคุมดูแลการด�ำเนินธุรกิจของบริษัทย่อยอย่างใกล้ชิด
คิดเป็นเงินไทยจ�ำนวน 8,737.3 ล้านบาท อัตราดอกเบี้ยร้อยละ รวมทั้งดูแลและติดตามการช�ำระคืนหนี้และดอกเบี้ยให้แก่บริษัทตาม
3.1-3.58 ต่อปี และจะช�ำระคืนให้บริษัทเมื่อได้ขายอสังหาริมทรัพย์ที่ ก�ำหนด บริษทั จึงคาดว่าไม่นา่ จะมีปญ
ั หาการช�ำระคืนหนีข้ องบริษทั ย่อย
ซื้อมาได้แล้ว หรือเมื่อกู้ยืมจากสถาบันการเงินได้ และไม่ได้ตั้งค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญจากการให้กู้ยืมเงินแก่บริษัทย่อย
บริษัทย่อยอื่น ๆ กู้ยืมเงินบริษัทเพื่อจัดท�ำโครงการบ้าน
จัดสรร บริษทั จะได้รบั เงินคืนเมือ่ ทางบริษทั ได้ดำ� เนินการโครงการและ 2.4 ความเสี่ยงจากการฟ้องร้อง
โอนบ้านให้แก่ลูกค้าแล้ว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 บริษัทไม่มีคดีที่ถูกฟ้องร้องที่
บริษทั จึงมีความเสีย่ งทีอ่ าจสูญเสียเงินให้กยู้ มื แก่บริษทั ย่อย ส�ำคัญ โดยมีคดีทถี่ กู ฟ้องร้องรวมทุนทรัพย์เท่ากับ 114 ล้านบาท ซึง่ ความ
แต่บริษัทย่อยได้น�ำเงินไปลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ที่สามารถขายได้ เสียหายสูง สุดที่จ ะเกิดกับบริษัทฯ มีมูลค่าทั้ง สิ้น 114 ล้า นบาท
ส่วนบริษัทย่อย LH USA กู้เงินจากบริษัทเพื่อลงทุนซื้ออะพาร์ตเมนต์ ซึ่งบริษัทฯ ได้ตั้งส�ำรองไว้แล้วจ�ำนวน 15 ล้านบาท
ให้เช่า 3 แห่ง ในรัฐแคลิฟอร์เนีย 2 แห่ง และรัฐโอเรกอน 1 แห่ง ซึ่ง
จะให้ผลตอบแทนระยะยาวแก่บริษทั ในอนาคต โดย LH USA มีการจัด
ท�ำแผนการขายอะพาร์ตเมนต์แต่ละแห่งเมือ่ ได้ผลตอบแทนทีเ่ หมาะสม

39
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

การขับเคลื่อนธุรกิจเพื่อความยั่งยืน

บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน) ด�ำเนินธุรกิจบน • ด�ำเนินธุรกิจภายใต้หลักธรรมาภิบาลและการก�ำกับดูแล


พื้นฐานและแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืนของตลาดหลักทรัพย์ของ กิจการที่ดี
ประเทศไทย เพื่อสร้างคุณค่าและความรับผิดชอบร่วมกับผู้มีส่วน บริษทั มีนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการและยึดมัน่ ในการปฏิบตั ิ
ได้เสียทุกฝ่าย ทั้งมิติด้านบรรษัทภิบาล มิติสังคมและมิติสิ่งแวดล้อม ตามคุณลักษณะหลักของกระบวนการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี
มุ่งมั่นเป็นองค์กรชั้นน�ำของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ในประเทศไทย อันประกอบด้วยความซื่อสัตย์ ความโปร่งใส ความเป็นอิสระ
โดยมีเป้าหมายที่ชัดเจนคือพัฒนาสินค้าและบริการอย่างต่อเนื่อง ความรับผิดชอบต่อสังคม ความเป็นธรรมและความรับผิดชอบ
เพือ่ ให้ได้มาซึง่ คุณภาพและบริการทีด่ ที ตี่ รงกับความต้องการของลูกค้า ต่อภาระหน้าที่
มุง่ สร้างความเป็นอยูท่ ดี่ ขี นึ้ (Create a Better Living) ให้เป็นทีย่ อมรับ • ด�ำเนินธุรกิจอย่างยั่งยืนโดยยึดมั่นถึงความรับผิดชอบต่อ
และไว้วางใจจากผู้บริโภคและด�ำเนินธุรกิจภายใต้หลักธรรมาภิบาล สังคมชุมชนและสิ่งแวดล้อม
ที่ดีอย่างเคร่งครัด (Good Corporate Governance) ควบคู่ไปกับ บริษทั มีนโยบายในการด�ำเนินธุรกิจทีค่ ำ� นึงถึงผลกระทบเชิงลบ
ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิง่ แวดล้อม และการเคารพสิทธิมนุษยชน จากการด�ำเนินการที่มีต่อสังคม/ชุมชน ต่อธรรมชาติและ
โดยค�ำนึงถึงผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย สิ่งแวดล้อมและมุ่งเน้นการใช้ทรัพยากรและพลังงานอย่าง
รู้คุณค่าและมีประสิทธิภาพสูงสุด
1. นโยบายและเป้าหมายการจัดการด้านความยัง่ ยืน • ด�ำเนินธุรกิจโดยค�ำนึงถึงผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย
บริษัทก�ำหนดนโยบายการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยพิจารณาจาก บริษัทมีนโยบายในการด�ำเนินธุรกิจที่มุ่งเน้นให้คุณค่าความ
วิสัยทัศน์ พันธกิจและกลยุทธ์ทางธุรกิจ โดยมีเป้าหมายการเติบโต ส�ำคัญและรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกส่วน
ที่สมดุลทั้งด้านเศรษฐกิจ การก�ำกับดูแลกิจการ สังคมชุมชนและ
สิ่งแวดล้อม เพื่อมุ่งสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืนที่แท้จริงและสอดคล้องกับ เป้าหมาย
วิสยั ทัศน์ทมี่ งุ่ มัน่ เป็นบริษทั พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ชนั้ น�ำในประเทศไทย บริ ษั ท ได้ ก� ำ หนดเป้ า หมายการด� ำ เนิ น การให้ ส อดคล้ อ งกั บ
โดยมีวตั ถุประสงค์ทมี่ ง่ ุ สร้าง “ความเป็นอยูท่ ดี่ ขี นึ้ (Create A Better Living)” การพัฒนาอย่างยั่งยืน ครอบคลุมทั้งมิติเศรษฐกิจ มิติสังคมและมิติ
ให้แก่ผู้บริโภคและผู้มีส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ทั้งนี้ ได้ก�ำหนด สิ่งแวดล้อมถึงปี 2565 เพื่อเป็นแนวทางในการด�ำเนินงาน ดังนี้
นโยบายและแนวปฏิบัติด้านความยั่งยืน โดยมีสาระส�ำคัญดังนี้

เป้าหมายความยั่งยืน 2564 การดำ�เนินงาน


• จัดการนวัตกรรมสินค้าและพัฒนาคุณภาพสินค้า • สินค้าตอบสนองความต้องการและพฤติกรรมของผู้บริโภคและเป็น
มิตรต่อสิ่งแวดล้อม
• พัฒนาศักยภาพของบุคลากร • พนักงานได้รับการพัฒนาศักยภาพ เพิ่มพูนความรู้และทักษะในการ
ปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่องและสอดคล้องไปกับกลยุทธ์ทางธุรกิจ
• ใช้พลังงานและทรัพยากรอย่างมีคุณค่า • เลือกใช้วสั ดุแทนธรรมชาติและติดตัง้ อุปกรณ์ประหยัดพลังงานต่าง ๆ
และลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ในบ้าน
• มีการใช้พลังงานทดแทนในกระบวนการ
• ด�ำเนินโครงการที่เกิดความร่วมมือกับสังคม / ชุมชน • ด�ำเนินโครงการและกิจกรรมเพื่อชุมชนสังคมอย่างต่อเนื่อง

40
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

นอกจากนี้ บริษัทมีเป้าหมายจะสนับสนุนการพัฒนาอย่างยั่งยืน
ขององค์การสหประชาชาติ (UN Sustainable Development Goals:
SDGs) และน�ำมาประยุกต์กับการก�ำหนดกลยุทธ์การด�ำเนินธุรกิจ
ตลอดจนการพัฒนาองค์กรให้เป็นไปในทิศทางและเป้าหมายในการ
พัฒนาอย่างยัง่ ยืนระดับสากล เพือ่ สร้างความมัน่ ใจและสร้างประโยชน์
ให้แก่ผมู้ สี ว่ นได้เสียทุกฝ่ายและครอบคลุมทัง้ 3 มิติ ได้แก่ มิตเิ ศรษฐกิจ
มิติสังคมและมิติสิ่งแวดล้อม

ที่มา www.un.or.th

เป้าหมาย SDGs ประเด็นความยั่งยืนของบริษัท กิจกรรมที่สนับสนุน ประโยชน์ต่อบริษัท / สังคม


และสิ่งแวดล้อม
เป้าหมายที่ 3. • การบริหารทรัพยากรมนุษย์และ • การดูแลอาชีวอนามัยและ • พนักงานมีสุขภาพที่แข็งแรง
มีสขุ ภาพและความเป็นอยูท่ ดี่ ี สิทธิมนุษยชน ความปลอดภัยในการท�ำงาน ลด / ป้องกันการเจ็บป่วย
• อาชีวอนามัยและความปลอดภัย ของพนักงาน • ป้องกันการแพร่ระบาดของ
• การจัดการนวัตกรรมและพัฒนา • การออกแบบสินค้าโดยค�ำนึง COVID-19
สินค้า ถึงความปลอดภัยและคุณภาพ • ลดการเกิดอุบัติเหตุ
ส่งเสริมด้านสุขภาพและ ชีวิตความเป็นอยู่ของลูกค้า • มีสภาวะแวดล้อมและ
ยกระดับการรักษาพยาบาล • การดูแลพนักงานใน บรรยากาศการท�ำงานที่ดี
สถานการณ์การแพร่ระบาด • สินค้าที่มุ่งเน้นคุณภาพชีวิต
ของผู้คนในสังคม COVID-19

เป้าหมายที่ 4. • การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ • การอบรมให้ความรู้พนักงาน • พนักงานมีความรู้ ทักษะเพิม่ ขึน้


การศึกษาที่เท่าเทียม • การฝึกอบรมพัฒนาศักยภาพ • โครงการนักศึกษาฝึกงาน อย่างมีคุณภาพ
พนักงาน • โครงการทวิภาคี • ส่งเสริมการเรียนรูอ้ ย่างต่อเนือ่ ง
• การมีส่วนร่วมพัฒนาสังคม / • โครงการให้ทุนการศึกษาแก่ แก่พนักงาน นักศึกษาและบุตร
ชุมชน บุตรของพนักงาน ของพนักงาน
สนับสนุนด้านโอกาส • เพิ่มโอกาสการจ้างงานแก่
ทางการศึกษาที่มีคุณภาพ นักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ
และเพื่อให้เกิดสังคม
แห่งการเรียนรู้อย่างยั่งยืน
ส�ำหรับทุกคน

เป้าหมายที่ 5. • การบริหารทรัพยากรมนุษย์และ • การปฏิบัติต่อพนักงานและ • ส่งเสริมความเท่าเทียมทางเพศ


ความเท่าเทียมทางเพศ สิทธิมนุษยชน แรงงานอย่างเท่าเทียม
• การจ้างงานทุกเพศสภาพ

เพื่อให้เกิดความเท่าเทียม
ของสิทธิสตรีในองค์กร

เป้าหมายที่ 6. • การมีส่วนร่วมและพัฒนาสังคม / • จัดระบบการจัดการน�ำ้ เสีย • น�ำ้ ที่ระบายออกสู่ท่อสาธารณะ


การจัดการน�ำ้ และสุขาภิบาล ชุมชน ตามกฎหมายก�ำหนด ผ่านการตรวจวัดคุณภาพ
• การจัดการทรัพยากร • น�ำน�ำ้ เสียผ่านการบ�ำบัด ตามมาตรฐานการบ�ำบัดตาม
และสิ่งแวดล้อม ไปใช้ใหม่ กฎหมาย
• น�ำ้ ผ่านการบ�ำบัดน�ำไปรดต้นไม้
สนับสนุนให้สังคมสามารถ สวน สนามและฉีดล้างพื้นถนน
เข้าถึงน�้ำสะอาดและ และทางเท้า
ส่งเสริมด้านสุขอนามัยที่ดีขึ้น

41
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

เป้าหมาย SDGs ประเด็นความยั่งยืนของบริษัท กิจกรรมที่สนับสนุน ประโยชน์ต่อบริษัท / สังคม


และสิ่งแวดล้อม
เป้าหมายที่ 7. • การจัดการพลังงานและ • ใช้ Solar roof ที่สำ� นักงาน • ลดการใช้พลังงานหลัก
พลังงานสะอาดที่ทุกคน สิ่งแวดล้อม โครงการ • ลดค่าใช้จ่ายได้ในระยะยาว
เข้าถึงได้ • การจัดการนวัตกรรม • ใช้วัสดุประหยัดพลังงาน • เกิดความตระหนักในการใช้
และพัฒนาสินค้า และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม พลังงานทางเลือกมากขึ้น
• การใช้รถยนต์ HYBRID ส�ำหรับ • ลดการปล่อยมลพิษและ
ผู้บริหาร / รถกอล์ฟไฟฟ้า มลภาวะทางเสียง
สนับสนุนการใช้พลังงาน บริการลูกค้าในโครงการ
ที่สะอาดและช่วยลดต้นทุน • จัดเตรียมระบบไฟรองรับการ
ในการผลิตพลังงานสะอาด ชาร์จรถยนต์ไฟฟ้าในบ้านลูกค้า

เป้าหมายที่ 8. • การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ • การอบรมให้ความรู้พนักงาน • ส่งเสริมให้พนักงานมีความ


การจ้างงานทีม่ คี ณ
ุ ค่า และสิทธิมนุษยชน • การจ้างงานที่ไม่ผิดกฎหมาย ก้าวหน้าในอาชีพ
และการเติบโตทางเศรษฐกิจ • การฝึกอบรมพัฒนาศักยภาพ ไม่ละเมิดสิทธิมนุษยชน • ส่งเสริมการจ้างงานที่มี
พนักงาน ประสิทธิภาพ เป็นธรรมและ
เท่าเทียม และเคารพสิทธิมนุษยชน
ส่งเสริมให้เกิดการจ้างงาน
ที่ เ ป็ น ธรรม เพื่ อ ส่ ง เสริ ม
การเติบโตทางเศรษฐกิจ
ที่ยั่งยืน

เป้าหมายที่ 9. • การจัดการนวัตกรรมและพัฒนา • นวัตกรรมบ้านหายใจได้ ด้วย • มีการพัฒนาสินค้าและบริการที่


อุ ต สาหกรรม นวั ต กรรม คุณภาพสินค้าและบริการ ระบบการเติมอากาศที่ผ่าน มีคุณภาพสามารถตอบสนองได้
โครงสร้างพื้นฐาน เพือ่ ตอบสนองความต้องการของ การกรองฝุ่น ควบคุมคุณภาพ ตรงกับความต้องการของลูกค้า
ลูกค้า อากาศที่ดีภายในบ้านและ อย่างต่อเนื่อง
สุขภาวะที่ดีของผู้อยู่อาศัย
(AirPlus Square)
ส่งเสริมด้านโครงสร้าง • Smart Home หรือระบบ
พื้นฐานของอุตสาหกรรม Home Automation
เพื่อเกิดนวัตกรรมและ • Application I-Design
ความก้าวหน้าสู่อุตสาหกรรม • QR Code คู่มือข้อมูลแนะน�ำ
ที่ยั่งยืน บ้านและอุปกรณ์ต่าง ๆ

เป้าหมายที่ 11. • การมีส่วนร่วมและพัฒนาสังคม / • พัฒนาโครงการเพื่อคุณภาพ • มีส่วนร่วมในการสร้างชุมชน


เมืองและถิ่นฐานมนุษย์ ชุมชน ชีวติ ทีด่ แี ละสร้างสภาพ และสังคมคุณภาพ
อย่างยั่งยืน • การจัดการทรัพยากรและ แวดล้อมที่มีคุณภาพแก่ชุมชน • พัฒนาสินค้าที่ตอบสนอง
สิ่งแวดล้อม และสังคม คุณภาพชีวติ ของผู้อยู่อาศัย
• ออกแบบสินค้าที่ตอบสนอง ทุกช่วงวัยชีวิต
ความต้องการของผู้สูงอายุ
ส่งเสริมให้เกิดเมืองและสังคม • สร้างความสัมพันธ์ที่ดีแก่ชุมชน
ทีเ่ ติบโตได้อย่างปลอดภัยและ
ยั่งยืน

เป้าหมายที่ 12. • การใช้ทรัพยากรอย่างมีคุณค่า • ลดการใช้พลาสติก • ปฏิบัติตามกฎระเบียบ


การบริโภคและการผลิตอย่าง • การจัดการนวัตกรรมและ • ใช้วัสดุเป็นมิตรและอนุรักษ์ ด้านสิ่งแวดล้อม
รับผิดชอบ พัฒนาสินค้า สิ่งแวดล้อม • ลดขยะและของเสีย
• ใช้วัสดุและผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตร • การใช้ซำ�้ เช่น น�ำ้ เสีย • ลดการปล่อยมลพิษและ
ต่อสิ่งแวดล้อม ที่บำ� บัดแล้ว, กระดาษ มลภาวะทางเสียง
• สร้างจิตส�ำนึกและการใช้ชีวิต • การคัดแยกขยะ
กิจการที่มีความรับผิดชอบ อย่างยั่งยืน • การลดฝุ่น / ลดเสียง
เพื่อให้เกิดการบริโภคและ ในกระบวนการก่อสร้าง
การผลิตอย่างยั่งยืน

42
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

ประเด็นที่มีสาระส�ำคัญต่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
บริษัทได้ก�ำหนดประเด็นที่มีสาระส�ำคัญต่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนในด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมที่มีนัยส�ำคัญ โดยพิจารณาสาระ
ส�ำคัญทีม่ ผี ลกระทบต่อองค์กรและกลุม่ ผูม้ สี ว่ นได้เสียแต่ละกลุม่ ทัง้ นีก้ ารก�ำหนดประเด็นทีม่ สี าระส�ำคัญดังกล่าว ได้ดำ� เนินการโดยการส�ำรวจจาก
ผู้บริหารทุกฝ่ายงานในองค์กรและน�ำผลการประเมินมาจัดล�ำดับความส�ำคัญของประเด็น

ขั้นตอนการวิเคราะห์ประเด็นสาระส�ำคัญด้านความยั่งยืน

พิจารณาจากประเด็นความยั่งยืนตามกรอบมาตรฐานขององค์การแห่งความริเริ่มว่าด้วยการรายงาน
การระบุประเด็นส�ำคัญ สากล (Global Reporting Initiative หรือ GRI) ทีม่ คี วามส�ำคัญและมีผลกระทบต่อผูม้ สี ว่ นได้เสียและต่อ
ธุรกิจในมิตเิ ศรษฐกิจ มิตสิ งั คม มิตสิ งิ่ แวดล้อม ร่วมกับปัจจัยความเสีย่ งและผลการด�ำเนินงานขององค์กร
ระบุประเด็นที่มีสาระส�ำคัญและจัดล�ำดับโดยวัดความส�ำคัญของประเด็นที่มีโอกาสและผลกระทบต่อ
การจัดล�ำดับความส�ำคัญ ด้านเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม พิจารณาถึงความส�ำคัญของประเด็นนั้น ๆ ที่มีต่อทั้งองค์กรและ
ผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย
น�ำเสนอประเด็นทีไ่ ด้จากการจัดล�ำดับความส�ำคัญแก่คณะกรรมการด้านการพัฒนาอย่างยัง่ ยืนพิจารณา
การทวนสอบประเด็น สอบทานและน�ำเสนอคณะกรรมการบริษทั เพือ่ อนุมตั แิ ละน�ำมาด�ำเนินการ ทัง้ นีจ้ ะมีการทบทวนประเด็น
ส�ำคัญนี้เป็นประจ�ำทุกปี

ประเด็นส�ำคัญต่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนขององค์กร (Materiality Matters)

4.00
การพัฒนานวัตกรรมสินค้าและบริการ การเติบโตทางเศรษฐกิจ เศรษฐกิจ
สังคม
การปฏิบัติตามกฎหมาย สิ่งแวดล้อม

3.50 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
ความสําคัญต่อผู้มีส่วนได้เสีย

ผลิตภัณฑ์และบริการ
การจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม การบริหารทรัพยากรบุคคล
และสิทธิมนุษยชน
3.00 การใช้พลังงาน
การบริหารจัดการวัสดุก่อสร้าง
การพัฒนาชุมชนและสังคม

ความเป็นส่วนตัวของลูกค้า การจัดซื้อจัดจ้างและห่วงโซ่อุปทาน
2.50
การต่อต้านทุจริตคอร์รัปชัน

2.00
2.00 2.50 3.00 3.50 4.00
ความสําคัญต่อองค์กร

43
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

จากผลการจัดท�ำประเด็นส�ำคัญ บริษัทได้น�ำมาจัดกลุ่มและวางแผนการด�ำเนินงานด้านความยั่งยืนให้มีความสอดคล้องกับกลยุทธ์และ
เป้าหมายในการด�ำเนินธุรกิจปี 2564 ซึ่งครอบคลุมมิติด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย ดังนี้

การจัดการด้านความยั่งยืน
มิติเศรษฐกิจ มิติสังคม มิติสิ่งแวดล้อม
• การเติบโตทางเศรษฐกิจ • การบริหารทรัพยากรบุคคลและสิทธิ • การจัดการพลังงานและทรัพยากรอย่างคุม้
• การจัดการนวัตกรรมและการพัฒนา มนุษยชน ค่า
คุณภาพสินค้าและบริการ • การพัฒนาศักยภาพของพนักงาน • การออกแบบและใช้ทรัพยากรทีอ่ นุรกั ษ์
• การออกแบบสินค้าที่มุ่งเน้นคุณภาพชีวิต และเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม
• อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
• การมีส่วนร่วมและพัฒนาสังคม / ชุมชน

ตารางขอบเขตความเกี่ยวข้องของผู้มีส่วนได้เสียในแต่ละประเด็น
ขอบเขตกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียหลักที่เกี่ยวข้อง
ประเด็นที่มีสาระสำ�คัญต่อ ภาครัฐ / หัวข้อที่นำ�เสนอในรายงาน
การพัฒนาอย่างยั่งยืน พนักงาน หน่วยงาน ชุสัมงชน
คม
/ ลูกค้า คู่ค้า / ผู้ถือหุ้น /
คู่สัญญา นักลงทุน
กำ�กับ
การด�ำเนินงานด้านเศรษฐกิจ
1. การเติบโตทางเศรษฐกิจ • ผลการด�ำเนินงานด้านเศรษฐกิจ
      • การบริหารความเสี่ยง
• การก�ำกับดูแลกิจการ
2. การจัดการนวัตกรรม • การพัฒนาผลิตภัณฑ์
และการพัฒนาคุณภาพสินค้า     
และบริการ
การด�ำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อม
3. การจัดการทรัพยากร • การปฏิบัติตามกฎระเบียบ
และสิ่งแวดล้อม ด้านสิ่งแวดล้อม
      • การประหยัดพลังงานและ
รักษาสิ่งแวดล้อม
• การออกแบบและใช้ทรัพยากร
ที่อนุรักษ์เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
การด�ำเนินงานด้านสังคม
4. การบริหารทรัพยากรบุคคล • การจ้างงานอย่างเท่าเทียม
และสิทธิมนุษยชน และเป็นธรรม
     • การบริหารผลตอบแทน
และสวัสดิการ
• การพัฒนาบุคลากรและส่งเสริม
ความก้าวหน้าทางอาชีพ

44
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

ขอบเขตกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียหลักที่เกี่ยวข้อง
ประเด็นที่มีสาระสำ�คัญต่อ ภาครัฐ / หัวข้อที่นำ�เสนอในรายงาน
การพัฒนาอย่างยั่งยืน พนักงาน หน่วยงาน ชุสัมงชน
คม
/ ลูกค้า คู่ค้า / ผู้ถือหุ้น /
คู่สัญญา นักลงทุน
กำ�กับ
5. ความปลอดภัยและ • ความปลอดภัย อาชีวอนามัย
อาชีวอนามัย      และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน
(และการจัดการภาวะวิกฤติ
COVID-19)
6. การออกแบบสินค้าที่มุ่งเน้น • นวัตกรรม
คุณภาพชีวิต • ความปลอดภัยของสินค้า
      • ความพึงพอใจในบริการหลังการขาย
• ความรับผิดชอบต่อผลิตภัณฑ์
และบริการ
7. การมีส่วนร่วมและพัฒนา • ความรับผิดชอบต่อลูกค้า
      • กิจกรรมเพื่อชุมชนและสังคม
สังคม / ชุมชน

2. การจัดการผลกระทบต่อผูม้ สี ว่ นได้เสียในห่วงโซ่คณ
ุ ค่าทางธุรกิจ
ห่วงโซ่คุณค่าของธุรกิจ
บริษทั ประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ โดยพัฒนาโครงการทีพ่ กั อาศัยประเภทบ้านเดีย่ ว ทาวน์เฮ้าส์และอาคารชุดพักอาศัยและเพือ่ มอบ
คุณค่าที่ยั่งยืนให้กับผู้มีส่วนได้เสียทุกราย บริษัทจึงได้กำ� หนดกิจกรรมหลักซึ่งเชื่อมโยงกันอย่างต่อเนื่องตามห่วงโซ่คุณค่าของธุรกิจดังนี้

1. การจัดหาทีด่ นิ และแหล่งเงินทุน 2. การออกแบบโครงการ 3. การจัดซื้อจัดจ้าง 4. การขายและการตลาด


• ศึกษาความเป็นไปได้ในการ • ออกแบบอาคารและพื้นที่ • กระบวนการและเกณฑ์การ • ส�ำรวจความพึงพอใจของลูกค้า
พัฒนาโครงการ โครงการยึดแนวคิด Human จัดซื้อจัดจ้างอย่างเสมอภาค • ดูแลรักษาข้อมูลและความเป็น
• ทีด่ นิ ท�ำเลศักยภาพ ไม่มคี ดีความ Centric ให้ตรงกับความ โปร่งใสและเป็นธรรม ส่วนตัวของลูกค้า
• ซื้อขายโปร่งใส ยุติธรรม ต้องการของผูบ้ ริโภค • สื่อสารและให้ข้อมูลของสินค้า
• จัดหาแหล่งเงินทุน • ออกแบบสินค้าที่มุ่งเน้นการ และบริการครบถ้วนถูกต้อง
• ก�ำหนดกลุ่มเป้าหมาย รักษาสิ่งแวดล้อม • กิจกรรมส่งเสริมการขายและ
• วิเคราะห์คู่แข่ง • คัดสรรวัสดุที่มีคุณภาพ การตลาด
• ปฏิบัติตามกฎระเบียบราชการ • เครื่องมือ / ช่องทางสื่อสาร
การตลาด
• หน่วยงานรับความเห็นและ
ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับสินค้า
และบริการ

5. การก่อสร้าง 6. การส่งมอบและการโอนกรรมสิทธิ์ 7. บริการหลังการขาย


• จัดซื้อจัดจ้างที่เป็นธรรม • อ�ำนวยความสะดวกลูกค้าในการขอสินเชื่อ • ดูแลรักษาข้อมูลและความเป็นส่วนตัว
• กระบวนการและเกณฑ์การคัดเลือก กับสถาบันการเงิน ของลูกค้า
ผู้รับเหมาและ Supplier • ตรวจรับมอบสินค้าและแก้ไขงาน • รับประกันสินค้าและระบบตรวจเช็คบ้าน
• คัดสรรวัสดุก่อสร้างที่มีคุณภาพ • การโอนกรรมสิทธิ์ ในระยะประกัน
และรักษาสิ่งแวดล้อม • ระบบลูกค้าสัมพันธ์ / สื่อสารกับลูกค้า
• ควบคุมการก่อสร้างและควบคุมคุณภาพ • Call Center, Any Complaint สื่อสาร
สินค้าตามมาตรฐานก�ำหนด และรับเรื่องร้องเรียน
• ใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า ลดผลกระทบ • กระบวนการจัดตั้งนิติบุคคล
ต่อสิ่งแวดล้อม
• ปฏิบัติตามกฎระเบียบราชการ
• ดูแลสภาวะแวดล้อม ไม่กระทบต่อชุมชน
รอบข้างและสังคม
45
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

การวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้เสียในห่วงโซ่คุณค่าของธุรกิจ
บริษัทได้ก�ำหนดแนวปฏิบัติในการตอบสนองความคาดหวังและการมีส่วนร่วมของแต่ละกลุ่มของผู้มีส่วนได้เสีย ดังนี้

ผู้มีส่วนได้เสีย ความคาดหวังผู้มีส่วนได้เสีย การสื่อสาร การตอบสนองต่อความคาดหวัง

พนักงาน • การปฏิบัติอย่างเป็นธรรมและ • ความก้าวหน้าในอาชีพ • การปฏิบตั อิ ย่างเป็นธรรมและเท่า


เท่าเทียม ไม่แบ่งแยก • การได้รับการพัฒนาศักยภาพ เทียมและการเคารพสิทธิมนุษยชน
• ค่าตอบแทนและสวัสดิการที่ • สวัสดิการที่เป็นตัวเงินและไม่เป็น • สือ่ สารเป้าหมายและนโยบายในการ
เหมาะสม ตัวเงิน ด�ำเนินธุรกิจผ่านการประชุมพบปะ
• ความมั่นคงและความก้าวหน้าใน • ความเท่าเทียมไม่เลือกปฏิบัติ CEO Message 1 ครัง้ / ปี
อาชีพ • ส่งเสริมและดูแลความปลอดภัย • การประเมินผลการปฏิบตั งิ านประจ�ำปี
• การพัฒนาศักยภาพและการเรียนรู้ และอาชีวอนามัยในการท�ำงาน • การพัฒนาพนักงานเพือ่ เลือ่ น
ต�ำแหน่ง
• พนักงานได้รบั การอบรมเฉลีย่ รวมไม่
ต�ำ่ กว่าเกณฑ์ทกี่ ำ� หนด 16 ชม. / คน / ปี
• โครงการและสวัสดิการส�ำหรับ
พนักงานทีเ่ ป็นตัวเงินและไม่เป็น
ตัวเงิน

ผู้ถือหุ้น • ผลประกอบการที่เติบโตอย่าง • รายงานประจ�ำปี • เปิดเผยข้อมูลในรายงานประจ�ำปี


ต่อเนื่อง • การประชุมผู้ถือหุ้นปีละ 1 ครั้ง • ชี้แจงผลการด�ำเนินผ่านเวบไซต์
• การก�ำกับดูแลกิจการที่ดีและยึด • การประชุมนักลงทุนและนัก ของบริษัทและของตลาดหลักทรัพย์
หลักธรรมาภิบาล บริหารอย่าง วิเคราะห์ ไตรมาสละ 1 ครั้ง • จ่ายเงินปันผลที่เหมาะสม
เปิดเผย โปร่งใสและตรวจสอบได้ • สื่อสารข้อมูลข่าวสารของบริษัท • สร้างช่องทางการติดต่อสื่อสารและ
• มีระบบบริหารความเสี่ยง อย่างสม�่ำเสมอผ่านช่องทางออนไลน์ การสอบถามข้อมูลผ่านเว็บไซต์และ
• ผลตอบแทนจากการลงทุน Website, Facebook, Line, IG อีเมล Investor@lh.co.th
ที่เหมาะสม

ลูกค้า • ได้รับสินค้าและบริการที่ค�ำนึงถึง • สื่อสารข้อมูลข่าวสารของบริษัทให้ • การจัดการกับข้อร้องเรียนอย่าง


ความรับผิดชอบและสิทธิของ ลูกค้าทราบอย่างสม�ำ่ เสมอผ่าน รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
ผู้บริโภค ช่องทางออนไลน์ Website, • สื่อสารข้อมูลสินค้า กิจกรรมและ
• วิจัยและพัฒนาสินค้าที่ตอบสนอง Facebook, Line และ IG สิทธิประโยชน์แก่ลกู ค้าอย่างต่อเนือ่ ง
ตรงตามความต้องการของผู้บริโภค • บริหารความสัมพันธ์ลูกค้า CRM
• พึงพอใจต่อสินค้าและบริการที่มี • รักษาข้อมูลและความลับของลูกค้า
คุณภาพ มีมาตรฐาน
• รักษาข้อมูลความเป็นส่วนตัวของ
ลูกค้า

คู่ค้า • การจัดซื้อจัดจ้างอย่างเป็นธรรม • การแข่งขันที่เป็นธรรม • มีนโยบายและวิธีปฏิบัติ เกี่ยวกับ


ไม่เลือกปฏิบัติ ไม่เลือกปฏิบัติ การจัดซื้อจัดจ้าง
• ระบบการจัดซื้อจัดจ้างที่มี • ระบบการจัดซือ้ จัดจ้างทีม่ ี • พัฒนาคู่ค้าให้มีแนวปฏิบัติที่ดี ได้แก่
ประสิทธิภาพ โปร่งใส ประสิทธิภาพ โปร่งใส จริยธรรมทางธุรกิจของคู่ค้าและ
และตรวจสอบได้ และตรวจสอบได้ นโยบายการต่อต้านการทุจริต
• ประชุมร่วมกับคู่ค้าอย่างสม�่ำเสมอ

46
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

ผู้มีส่วนได้เสีย ความคาดหวังผู้มีส่วนได้เสีย การสื่อสาร การตอบสนองต่อความคาดหวัง


สังคม ชุมชน • มีความรับผิดชอบต่อสังคม / • ด�ำเนินธุรกิจที่ไม่ก่อให้เกิด • พัฒนานวัตกรรมสินค้าและบริการ
สิ่งแวดล้อม ชุมชนและสิ่งแวดล้อม ผลกระทบกับชุมชน ที่พัฒนาคุณภาพชีวิต อนุรักษ์และ
• การดูแลสิ่งแวดล้อมรอบชุมชน รักษาสิ่งแวดล้อม
• ส�ำรวจและท�ำความเข้าใจกับชุมชน • ปรับปรุงกระบวนการท�ำงานที่
• การเปิดให้หน่วยงาน / ภาคการ ลดผลกระทบและเป็นมิตรต่อ
ศึกษาเข้าเยี่ยมชมโครงการและ สิ่งแวดล้อม โดยควบคุมการเกิด
ให้ความรู้ด้านพัฒนาธุรกิจพัฒนา มลพิษ ขยะ ของเสีย และใช้น�้ำ
อสังหาริมทรัพย์ตลอดทั้งปี และพลังงานอย่างคุ้มค่า
• กิจกรรมร่วมกับชุมชน • ปรับปรุงสภาพแวดล้อมทั้งภายใน
• ร่วมมือกับหน่วยงานภาคการศึกษา / และภายนอกโครงการก่อสร้างให้
สถาบันการศึกษา / คู่ค้าในการ สะอาดและเพิม่ พืน้ ทีส่ เี ขียวให้มากขึน้
จัดการศึกษาแบบทวิภาคี • แบ่งปันและให้ความรู้กับสถาบัน
และการฝึกงาน หน่วยงาน และองค์กรต่าง ๆ
• ใช้วัสดุแทนธรรมชาติเพื่ออนุรักษ์
และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
• ให้ความร่วมมือกับภาคการศึกษา /
สถาบันการศึกษาในโครงการ
นักศึกษาฝึกงาน / ทวิภาคี
อย่างต่อเนื่อง

ภาครัฐ • ปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบ • การปฏิบัติตามระเบียบ ข้อบังคับ • รายงานผลการด�ำเนินธุรกิจและ


ต่าง ๆ อย่างเคร่งครัด กฎหมายและนโยบายของ ให้ข้อมูลที่เป็นจริง ถูกต้องครบถ้วน
หน่วยงานที่ก�ำกับดูแล ตามที่ก�ำหนด
• มีส่วนร่วมในกิจกรรมและโครงการ • ให้ความร่วมมือสนับสนุนโครงการ
หน่วยงานภาครัฐอย่างต่อเนื่อง ต่าง ๆ ของหน่วยงานภาครัฐ
• ปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ
การจัดการด้านภาษี

สถาบันการเงิน • การช�ำระหนี้ตามเงื่อนไขและระยะ • การด�ำเนินธุรกิจได้ตามเป้าหมาย • บริหารผลประกอบการของบริษัท


เจ้าหนี้ เวลาที่ก�ำหนด หรือตามแผนการลงทุน ภายใต้การบริหารความเสีย่ งทีเ่ หมาะสม
• การช�ำระเงินกู้คืนตามเงื่อนไขและ • ด�ำเนินการตามแผนการลงทุน
ระยะเวลาที่ก�ำหนด

คู่แข่ง • การแข่งขันที่เป็นธรรม • ข้อมูลการด�ำเนินธุรกิจของบริษัท • เปิดเผยการด�ำเนินงานบนเว็บไซต์


• ส่วนแบ่งทางการตลาด ของบริษัทและของตลาดหลักทรัพย์
• ด�ำเนินธุรกิจอย่างโปร่งใสและ • สร้างเงือ่ นไขการแข่งขันทางธุรกิจที่
เป็นธรรม เป็นธรรม
• การประชุมร่วมกันผ่านสมาคม • ส่งเสริมการแข่งขันการค้าอย่างเสรี
องค์กรที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจตามวาระ ไม่ผูกขาด
และโอกาสที่เหมาะสม
• ช่องทางรับข้อเสนอแนะ ความคิดเห็น
ข้อร้องเรียนผ่านระบบรับเรื่องร้อง
เรียนของบริษัทอย่างสม�่ำเสมอ
ตลอดทั้งปี

47
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

3. การจัดการความยั่งยืนในมิติสิ่งแวดล้อม

นโยบายและแนวปฏิบัติด้านสิ่งแวดล้อม การประหยัดพลังงานและรักษาสิ่งแวดล้อม
• บริษัทจะด�ำเนินการตามกฎหมายส่งเสริมและรักษาคุณภาพ 1.) การปฏิบัติตามกฎระเบียบด้านสิ่งแวดล้อม
สิง่ แวดล้อมแห่งชาติและข้อก�ำหนด กฎระเบียบทีเ่ กีย่ วข้องกับ การประเมินผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม (EIA)
สิง่ แวดล้อมอืน่ ๆ อย่างเคร่งครัด ครอบคลุมถึงการใช้ทรัพยากร บริษัทด�ำเนินการจัดท�ำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบ
และการประหยั ด พลั ง งาน การใช้ น�้ ำ การจั ด การมลพิ ษ สิ่งแวดล้อม EIA Report (Environmental Impact Assessment
การจัดการของเสียที่เกิดจากกระบวนการก่อสร้าง Report) รายงานต่อส�ำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ
• บริษัทก�ำหนดให้การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและพลังงานเป็น และสิ่งแวดล้อม (สผ.) เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายภายใต้พระราช
เป้าหมายในการด�ำเนินธุรกิจและเป็นหน้าที่ความรับผิดชอบ บัญญัติ (พ.ร.บ.) ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ
ของผู้บริหารและพนักงานของบริษัททุกระดับที่จะมีส่วนร่วม ซึ่ ง ก� ำ หนดให้ บ ริ ษั ท ที่ มี ก ารจั ด สรรที่ ดิ น เพื่ อ อยู ่ อ าศั ย หรื อ เพื่ อ
ในการปฏิบัติเพื่อสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน ประกอบการพาณิชย์ ที่มีจ�ำนวนที่ดินแปลงย่อยตั้งแต่ 500 แปลง
• บริษทั มุง่ มัน่ ทีจ่ ะพัฒนานวัตกรรมสินค้าและบริการบนพืน้ ฐาน หรือเนื้อที่เกินกว่า 100 ไร่ หรืออาคารอยู่อาศัยรวมตามกฎหมายว่า
ของการอนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อมและพลังงาน ใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ด้วยการควบคุมอาคารที่มีจ�ำนวนห้องพักตั้งแต่ 80 ห้องขึ้นไป หรือมี
อย่างรู้คุณค่า พืน้ ทีใ่ ช้สอยตัง้ แต่ 4,000 ตารางเมตรขึน้ ไป จะต้องมีการจัดท�ำรายงาน
• บริษัทจะปลูกฝังและให้ความรู้แก่พนักงาน รวมถึงสนับสนุน การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม เพื่อเสนอขั้นตอนการขออนุญาต
กิจกรรมเพื่อสร้างจิตส�ำนึกและเกิดความตระหนักถึงคุณค่า จัดสรรที่ดินตามกฎหมาย ก่อนเริ่มการก่อสร้างโครงการ ระหว่างการ
และร่วมกันปกป้องรักษาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ ก่อสร้างโครงการ และช่วงด�ำเนินโครงการ โดยมีการวิเคราะห์ประเมิน
ให้ยั่งยืนถึงคนรุ่นต่อไป ผลกระทบสิ่งแวดล้อม 4 ด้าน ได้แก่
• ด้านทรัพยากรสิง่ แวดล้อมทางกายภาพ
ผลการด�ำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อม • ด้านทรัพยากรสิง่ แวดล้อมทางชีวภาพ
บริษัทมุ่งมั่นในการสร้างระบบการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมและ • ด้านคุณค่าการใช้ประโยชน์ของมนุษย์
การจัดการด้านพลังงานและมีการแต่งตั้งคณะท�ำงานด้านสิ่งแวดล้อม • ด้านคุณค่าต่อคุณภาพชีวติ
และด้านการจัดการพลังงาน เพื่อท�ำหน้าที่บริหารจัดการให้มีแนวทาง ปี 2564 บริ ษั ท จั ด ท� ำ รายงานการวิ เ คราะห์ ผ ลกระทบ
ในการจัดการและการด�ำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมและด้านการจัดการ สิ่งแวดล้อม (Environmental Impact Assessment Report) และ
พลังงานขององค์กรให้มีประสิทธิภาพและยั่งยืน ได้รับมติเห็นชอบจากส�ำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ
นอกจากนี้ บริษัทตระหนักถึงการด�ำเนินธุรกิจที่ส่งผลต่อการ และสิ่งแวดล้อม จ�ำนวน 1 โครงการ
ปล่อยก๊าซเรือนกระจก ซึ่งเป็นสาเหตุท�ำให้เกิดภาวะโลกร้อน ในปี • โครงการ วันเวลา ณ เจ้าพระยา : ได้รบั อนุมตั แิ ล้ว
2564 บริษัทได้จัดเตรียมเพื่อการด�ำเนินการจัดการก๊าซเรือนกระจก อยูร่ ะหว่างการด�ำเนินการก่อสร้าง
ในปี 2565 เป็นต้นไป ทั้งนี้ ในการด�ำเนินงาน ปี 2564 บริษัทไม่มีประเด็นละเมิด
กฎหมายหรือข้อบังคับด้านสิ่งแวดล้อม

48
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

การจัดการผลกระทบในงานก่อสร้าง บริษัทได้ออกแบบและผลิตสินค้าที่ค�ำนึงถึงสิ่งแวดล้อมและ
บริ ษั ท ตระหนั ก ถึ ง ผลกระทบของงานก่ อ สร้ า งที่ มี ต ่ อ สิ่ ง การใช้ทรัพยากรอย่างรู้ค่า ภายใต้แนวคิด LH SMART แนวคิดเพื่อ
แวดล้อม จึงก�ำหนดมาตรการปฏิบัติเพื่อจัดการผลกระทบต่อชุมชน ชีวิตที่ดีกว่า เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของลูกบ้านและเป็นการรักษา
แบ่งเป็น 3 ระยะได้แก่ ระยะก่อนเปิดโครงการ ระหว่างการด�ำเนินการ สิ่งแวดล้อม โดยการด�ำเนินการดังนี้
ก่อสร้างและระยะหลังจบโครงการปิดการขาย • การออกแบบสินค้าและการเลือกใช้วัสดุที่มีคุณภาพและ
ระยะ 1 ก่อนเปิดโครงการ เอื้อต่อการประหยัดพลังงาน ผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับ
1. ท�ำการส�ำรวจพืน้ ทีบ่ ริเวณรอบโครงการ เพือ่ วางแนวทาง สิง่ แวดล้อม ตัวอย่างเช่น
ป้องกันปัญหาและผลกระทบที่อาจเกิดการท�ำงานก่อสร้างโครงการ - มีฝ้าระแนงใต้หลังคา ที่ช่วยระบายอากาศบริเวณรอบ
ที่มีต่อชุมชนข้างเคียง ชายคา เพือ่ ให้อากาศร้อนทีส่ ะสมอยูใ่ ต้กระเบือ้ งหลังคา
2. ท�ำการส�ำรวจอาคาร บ้านเรือน บริเวณรอบโครงการ สามารถระบายออกไปได้สะดวก
ก่อนขั้นตอนการตอกเข็มและเลือกใช้วิธีการตอกเข็มที่เกิดผลกระทบ - ฝ้าเพดานทีใ่ ช้แผ่นยิปซัมคุณภาพสูง น�ำ้ หนักเบา ทนไฟ
ต่ออาคารบริเวณโดยรอบให้น้อยที่สุด เช่น ระบบเข็มเจาะ ช่วยกรองความร้อนจากหลังคา ป้องกันเสียงจากชัน้ บน
3. การวางระบบหน่วงน�้ำ ระบบบ�ำบัดน�้ำเสียก่อนออกนอก และช่วยตกแต่งบรรยากาศภายในห้องให้สวยงามน่าอยู่
โครงการ ให้มีค่าน�้ำตามมาตรฐานที่ทางราชการก�ำหนด - กระจกเขียวตัดแสง ทีม่ คี ณ ุ สมบัตเิ ด่น คือ ป้องกันรังสี
4. การเข้าพบหัวหน้าชุมชนเพื่อส�ำรวจและท�ำความเข้าใจ UV และดูดกลืนพลังงานความร้อนจากดวงอาทิตย์ทสี่ อ่ ง
กับชุมชนข้างเคียง มากระทบผิวกระจกได้รอ้ ยละ 35-50 จึงช่วยลดภาระ
ระยะ 2 ระหว่างการก่อสร้าง การใช้เครือ่ งปรับอากาศลงและช่วยประหยัดค่าไฟฟ้า
1. การขนส่งวัสดุก่อสร้าง ไม่ให้ส่งผลกระทบต่อผู้อยู่อาศัย • นวัตกรรมใหม่ ระบบ AirPlus Square (PM 2.5 Control)
บริเวณรอบโครงการ ในเรื่องของเสียงดัง เวลาท�ำงาน ฝุ่นควัน ฯลฯ บริษัทยังคงให้ความส�ำคัญกับคุณภาพอากาศภายในบ้าน
โดยโครงการจะมีการท�ำ Protection บริเวณพืน้ ทีท่ ใี่ กล้กบั ชุมชน หรือ (Indoor Air Quality-IAQ) อย่างต่อเนื่อง โดยคิดค้น
บ้านพักอาศัยบริเวณใกล้โครงการ พัฒนานวัตกรรมใหม่ล่าสุดคือระบบ AirPlus Square
2. มีการแบ่งโซนก่อสร้างอย่างชัดเจน ไม่ปะปนกับส่วนทีพ่ กั “บ้านทีห่ ายใจได้ กรองฝุน่ PM 2.5 – Enjoy Every
อาศัยของลูกค้า ในกรณีทโี่ ครงการเปิดขายและมีการเข้าอยูอ่ าศัยแล้ว Moment / Enjoy Every Breath” ระบบเติมอากาศกรองฝุน่
กรณีมีการก่อสร้างเฟสใหม่ในโซนก่อสร้าง จะมีการวางระบบป้องกัน ซึ่งพัฒนาจากระบบ AirPlus เดิม โดยที่จะช่วยควบคุม
เพื่อควบคุมอย่างใกล้ชิด ไม่ให้เกิดผลกระทบกับลูกค้า คุณภาพอากาศภายในบ้านให้อยู่ในเกณฑ์ที่ดี ด้วยการ
3. มี ก ารก� ำ หนดผู ้ รั บ ผิ ด ชอบ คอยดู แ ลและประเมิ น น�ำเข้าอากาศใหม่และถ่ายเทอากาศเสียออกจากบ้าน เพือ่
ปัญหาหากเกิดผลกระทบ มีการติดตามป้องกันและแก้ไขผลกระทบ ให้บา้ นได้รบั อากาศใหม่ (Fresh Air) อยูเ่ สมอ แม้ในยาม
อย่างต่อเนื่อง ที่อากาศภายนอกบ้านมีค่าฝุ่นละอองสูง โดย AirPlus
ระยะ 3 ระยะหลังการก่อสร้าง Square มาพร้อมเครือ่ งเติมอากาศกรองทีใ่ ช้ HEPA FILTER
1. ตรวจสอบความสมบูรณ์เรียบร้อยของระบบสาธารณูปโภค (High Efficiency Particulate Air) ซึง่ มีประสิทธิภาพใน
และวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ การกรองฝุน่ ทีม่ คี วามละเอียดสูงถึง 0.3 ไมครอน ซึง่ รวม
2. การให้ ค� ำ แนะน� ำ การใช้ ง าน การดู แ ลรั ก ษาระบบ ถึงฝุน่ PM 2.5 ด้วย โดยระบบจะท�ำงานอัตโนมัติ สร้าง
สาธารณูปโภคและวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้ได้มาตรฐาน ก่อนส่งมอบให้ การถ่ายเทอากาศ เพือ่ ปรับคุณภาพอากาศภายในบ้านให้
นิติบุคคลบ้านจัดสรร สดใหม่อย่างสม�ำ่ เสมอ สะดวกสบายในการใช้งาน ระบบ
3. การก� ำ หนดแนวทางการปฏิ บั ติ แ ละประชาสั ม พั น ธ์ สามารถลดอุณหภูมแิ ละความชืน้ สะสม ซึง่ เป็นเหตุให้เกิด
การก� ำ จั ด ของเสี ย และการจั ด การมลพิ ษ เช่ น การจั ด การขยะ กลิ่นอับและบ่อเกิดของเชื้อราภายในบ้าน ส่งผลโดยตรง
การคัดแยกขยะ การป้องกันฝุ่นละออง ต่อสุขลักษณะการอยู่อาศัยที่ดีของคนในสังคมสอดคล้อง
กับสภาวะอากาศในแต่ละช่วงเวลา อีกทั้งยังช่วยระบาย
2.) การจัดการพลังงานและรักษาสิ่งแวดล้อม สารระเหยจากสารเคมี (TVOC) ทีใ่ ช้ภายในบ้าน อย่างเช่น
ปัญหาสิ่งแวดล้อมได้กลายเป็นเรื่องที่มีความส�ำคัญและ น�ำ้ ยาท�ำความ สะอาด และยาฆ่าแมลง AirPlus Square
ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของสิ่งมีชีวิตมากขึ้น บริษัทมีความตั้งใจ นี้ ถือได้วา่ เป็นระบบทีป่ ระหยัดพลังงาน เพราะกินไฟน้อย
ที่จะเป็นส่วนหนึ่งในการร่วมอนุรักษ์และปรับปรุงแก้ไขปัญหาด้าน ประมาณ 20 สตางค์ / ชัว่ โมง (กรณีคำ� นวณจากหน่วยค่า
สิ่งแวดล้อม ผ่านการพัฒนานวัตกรรมที่ค�ำนึงถึงสิ่งแวดล้อมและ ไฟที่ 4 บาท / หน่วย) AirPlus Square เป็นอีกหนึง่ อนุ
การใช้ทรัพยากรอย่างรู้ค่า เพื่อสร้างและรักษาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน สิทธิบตั รทีแ่ ลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ ได้ยนื่ จด ซึง่ เป็นทรัพย์สนิ
ให้แก่สังคม ชุมชน พนักงาน ตลอดจนลูกบ้านในโครงการ ทางปัญญาจากการประดิษฐ์นวัตกรรมขึน้ มาใหม่

49
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

การประหยัดพลังงานจากระบบ AirPlus
ผลการประหยัดพลังงาน 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 รวม
จากการใช้ระบบ AirPlus
ประมาณจ�ำนวนบ้าน 100 240 310 693 1,652 1,415 1,500 1,590 1,500 9,000
ที่ติดตั้งระบบ AirPlus
(หลัง)
พลังงานที่ประหยัดได้ : 32 76 98 218 520 446 472 501 472 2,835
คิดที่ 1 ห้องนอน ต่อวัน
(กิโลวัตต์)
พลังงานที่ประหยัดได้ : 11,498 27,594 35,642 79,678 189,939 162,690 172,463 182,810 172,463 1,034,775
คิดที่ 1 ห้องนอน ต่อปี
(กิโลวัตต์)
พลังงานที่ประหยัดได้ : 11 28 36 80 190 163 172 183 172 1,035
คิดที่ 1 ห้องนอน ต่อปี
(เมกะวัตต์)
ค่าไฟฟ้าเฉลี่ยหน่วยละ 3.7 3.9 3.8 3.5 3.5 3.7 3.7 3.7 3.7
(บาท)
ค่าไฟฟ้าทีป่ ระหยัดได้ 117 295 371 764 1,821 1,640 1,739 1,843 1,739 10,329
ต่อวัน (บาท)
ค่าไฟฟ้าที่ประหยัดได้ 42,541 107,617 135,441 278,872 664,785 598,698 634,662 672,742 634,662 3,770,019
ต่อปี (บาท)
ติดตั้งมาแล้ว (ปี) 8.5 7.5 6.5 5.5 4.5 3.5 2.5 1.5 0.5
ประมาณค่าไฟฟ้าที่ 361,000 807,000 880,000 1,533,000 2,991,000 2,095,000 1,586,000 1,009,000 317,000 11,579,000
ประหยัดได้ ตั้งแต่
ติดตั้งมา (บาท)

• การติดตั้งแผงโซลาเซลล์ (Solar Roof) บริษัทสนับสนุนการใช้พลังงานทางเลือก โดยตั้งแต่เดือนมิถุนายน 2560 บริษัทได้เริ่มติดตั้ง


Solar Roof ทีส่ ำ� นักงานขายและส�ำนักงานโครงการ Serene Lake เชียงใหม่ ซึง่ ช่วยให้ประหยัดพลังงานการใช้ไฟฟ้าในช่วงเวลากลางวัน

การใช้พลังงานทางเลือกจากแสงอาทิตย์ โครงการ Serene Lake เชียงใหม่


ก.ย. 2560 -
การใช้พลังงานทางเลือก 2562 2563 2564 รวม
ธ.ค. 2561
ติดตั้งระบบพลังงานแสงอาทิตย์ ขนาด 50 กิโลวัตต์
ที่สำ� นักงานโครงการ Serene Lake เชียงใหม่
พลังงานที่ประหยัดได้ต่อปี (เมกะวัตต์) 78 58 58 48 242
เฉลี่ยค่าไฟฟ้าหน่วยละ (บาท) 4.9 4.7 4.7 4.6
ประมาณค่าไฟฟ้าที่ประหยัดต่อปี (บาท) 377,000 270,000 276,000 222,000 1,145,000

• การใช้ All-in-one Solar Street Light เป็นหลอดไฟส่องสว่างพร้อมแผงโซล่าร์เซลล์และแบตเตอรี่ในตัว เพื่อใช้ส�ำหรับส่องสว่างให้


แก่ถนนภายในโครงการหมู่บ้าน โดยเริ่มติดตั้งใช้งานที่โครงการ VIVE บางนา

50
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

• การใช้วสั ดุทมี่ คี ณ
ุ ภาพและเอือ้ ต่อการประหยัดพลังงานทัง้ ส�ำหรับโครงการและส�ำนักงาน เช่น การใช้หลอดไฟ LED, เครือ่ งปรับอากาศ
ประหยัดไฟเบอร์ 5 เป็นต้น

การใช้หลอดไฟ LED
ตั้งแต่ปี 2559 เป็นต้นมา โครงการของบริษัทได้ท�ำการเปลี่ยนการใช้หลอดไฟภายในบ้านพักอาศัยมาเป็นการใช้หลอดไฟ LED ขนาด
6.5 วัตต์ ทดแทนของเดิมที่เป็นหลอดตะเกียบขนาด 18 วัตต์

หัวข้อ หน่วย 2559 2560 2561 2562 2563 2564 รวม


จ�ำนวนบ้าน หลัง 1,000 3,500 3,900 3,500 3,500 3,700 19,100
จ�ำนวนหลอดไฟ เฉลี่ย ต่อ หลัง หลอด 15 15 15 15 15 15
ประมาณจ�ำนวนหลอดไฟทั้งหมด หลอด 15,000 52,500 58,500 52,500 52,500 55,500 286,500
พลังงานที่ประหยัดได้ต่อวัน
- เดิมใช้ หลอดตะเกียบ 18 W กิโลวัตต์ 270 945 1,053 945 945 999 5,157
- เปลีย่ นหลอดไฟฟ้าเป็น LED กิโลวัตต์ 98 341 380 341 341 361 1,862
6.5 W
- ประหยัดไฟฟ้าได้ ต่อ วัน กิโลวัตต์ 1,035 3,623 4,037 3,623 3,623 3,830 19,769
(ประมาณการใช้งานที่ 6 ชม. / วัน)

ประหยัดไฟฟ้าได้ ต่อ ปี (ประมาณ) เมกะวัตต์ 377 1,322 1,473 1,322 1,322 1,397 7,213
ประมาณค่าไฟฟ้าที่ประหยัดได้ บาท
- คิดค่าไฟฟ้าหน่วยละ บาท 3.5 3.5 3.7 3.7 3.7 3.7
- ปริมาณการใช้ไฟฟ้า ชั่วโมง / วัน 6.0 6.0 6.0 6.0 6.0 6.0
ค่าไฟฟ้าที่ประหยัดได้ต่อวัน บาท 3,623 12,679 14,854 13,331 13,331 14,093 71,910
ประมาณค่าไฟฟ้าทีป่ ระหยัดได้ตอ่ ปี บาท 1,322,000 4,627,000 5,421,000 4,865,000 4,865,000 5,143,000 26,243,000

• การใช้รถยนต์ประเภทไฮบริดส�ำหรับผู้บริหารของบริษัท • การรณรงค์ให้ปดิ ไฟฟ้าและเครือ่ งใช้ไฟฟ้าเมือ่ ไม่ได้ใช้และ


และใช้ ร ถกอล์ ฟ พลั ง งานไฟฟ้ า ส� ำ หรั บ ใช้ ใ นโครงการ เมือ่ มีวนั หยุดต่อเนือ่ งของส�ำนักงาน
ซึ่งเป็นรถที่ประหยัดพลังงานและลดมลภาวะทางอากาศ การสนับสนุนด้านนวัตกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อม
และมลภาวะทางเสียง บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ ได้เป็นผู้สนับสนุนงานประชุม
• การใช้เครือ่ งปรับอากาศระบบ Invertor ประหยัดไฟฟ้า วิชาการ International Conference on Sustainable Energy
ส�ำหรับบ้านลูกค้า and Green Architecture ( SEGA ) ซึ่งจัดขึ้นโดยความร่วมมือ
• การใช้ เ ครื่ อ งปรั บ อากาศที่ ใ ช้ น�้ ำ ยาที่ ไ ม่ ป ล่ อ ยสารท� ำ ของ 5 มหาวิทยาลัย ได้แก่ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ความเย็นที่ท�ำลายโอโซนในชั้นบรรยากาศและก่อให้เกิด เกษตรศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ สถา
ก๊าซเรือนกระจก ส�ำหรับบ้านลูกค้า บันเทคโยโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี
• การปลูกต้นไม้และจัดพื้นที่สีเขียวในพื้นที่โครงการเพื่อ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา และ
ดูดซับก๊าซเรือนกระจก คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ Wacana Duta Christian University
• สนับสนุนให้มกี ารใช้รถยนต์พลังงานทางเลือก โดยจัดเตรียม (Indonesia) ประเทศอินโดนีเซีย มาโดยตลอดตั้งแต่ปี 2558 จนถึง
ระบบไฟรองรับการชาร์จรถยนต์ไฟฟ้าส�ำหรับลูกบ้าน และ ปัจจุบัน
ติดตัง้ อุปกรณ์ EV Charger ส�ำหรับเติมพลังงานไฟฟ้าให้แก่
รถยนต์ไฟฟ้าทีโ่ ครงการคอนโดมิเนียม The Bangkok ทองหล่อ 3) การจัดการน�ำ้
• การใช้ระบบให้แสงสว่างอัตโนมัติ (Automation Censor) • เลือกใช้สุขภัณฑ์ประหยัดน�้ำ เช่น ก๊อกน�้ำ ฝักบัวแบบ
ในบริเวณส่วนกลางของอาคาร เพือ่ ประหยัดการใช้ไฟฟ้า ประหยัดน�ำ้ ท�ำให้ใช้นำ�้ ปริมาณทีน่ อ้ ยลงและลดค่าใช้จา่ ย
• การรณรงค์ให้ปดิ ไฟ อุปกรณ์ไฟฟ้าต่าง ๆ และเครือ่ งปรับ ในครัวเรือนให้แก่ลกู ค้า
อากาศในห้องประชุม เมือ่ ใช้หอ้ งประชุมแล้วเสร็จทุกครัง้ • จัดระบบจัดการน�้ำเสียตามมาตรฐานที่กฎหมายก�ำหนด
51
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

โดยได้ว่าจ้างผู้เชี่ยวชาญเข้ามาดูแลระบบบ�ำบัดน�้ำเสีย 5. การเข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่งของโครงการหลังคาสีเขียว โดย


ตรวจวัดคุณภาพน�้ำตามมาตรฐานและจัดการบ�ำบัดก่อน มูลนิธเิ พือ่ นพึง่ (ภาฯ) ยามยาก ด้วยการน�ำกล่องน�ำ้ ดืม่ กระดาษทีใ่ ช้แล้ว
ปล่อยสู่แหล่งน�้ำสาธารณะ โดยตรวจวัดค่าความเป็น ไปรีไซเคิลเพื่อผลิตเป็นหลังคาบ้านหรืออาคาร (Green Roof) ส�ำหรับ
กรด-ด่างของน�ำ้ (pH), สารอินทรียท์ ลี่ ะลายอยูใ่ นน�ำ้ BOD ผู้ขาดแคลนและชุมชนที่ประสบความเดือดร้อนทั่วประเทศ
(Biochemical Oxygen Demand), สารแขวนลอย SS 6. การรณรงค์ให้มีการรวบรวมกล่องเครื่องดื่มกระดาษที่
(Suspended Solids), สารละลาย TDS (Total Dissolved ใช้แล้ว ทัง้ ทีส่ ำ� นักงานใหญ่และส�ำนักงานโครงการและน�ำไปร่วมบริจาค
Solids), ตะกอนหนัก Set.S (Settleable Solids), น�ำ้ มัน ทีต่ รู้ บั บริจาค ณ ห้างสรรพสินค้าบิก๊ ซีทกุ สาขา และเป็นส่วนหนึง่ ในการ
และไขมัน G&O (Grease & Oil) และ ซัลไฟด์ S2 (Sulfide) ร่วมประชาสัมพันธ์ให้ลูกบ้านที่สนใจ เข้าร่วมโครงการหลังคาสีเขียว
และมีการก�ำหนดระยะเวลาการตรวจและรายงานต่อหน่วย
ราชการทีเ่ กีย่ วข้อง ดังนี้ การลดฝุ่นในโครงการก่อสร้าง
• การตรวจรายเดือนโดยบุคลากรภายในองค์กร • ติดตัง้ หัวพ่นน�ำ้ ทีถ่ นนในโครงการก่อสร้าง
• การตรวจรายไตรมาสโดยเจ้าหน้าทีภ่ ายนอก • ใช้เครือ่ งดูดฝุน่ ในกระบวนการตัด เจียรและขัดฝ้า ขัดผนัง
• การตรวจรายปีโดยเจ้าหน้าทีด่ า้ นสิง่ แวดล้อม • ก�ำหนดให้รถทุกคันวิง่ ผ่านบ่อล้างล้อก่อนออกจากโครงการ
คุณภาพน�้ำที่บ�ำบัดจากโครงการของบริษัทเป็นไปตาม ก่อสร้าง
มาตรฐานทีก่ ฎหมายก�ำหนดทุกพารามิเตอร์ • ติดตัง้ แผงกัน้ ฝุน่ ตาข่าย ผ้าใบกัน้ ระหว่างแปลงก่อสร้างและ
น�ำน�ำ้ หลังการบ�ำบัดกลับมาใช้ใหม่; รดน�ำ้ ต้นไม้ พืน้ ทีส่ วน กัน้ โซนก่อสร้าง ป้องกันฝุน่ ฟุง้ กระจายและเศษวัสดุรว่ งหล่น
ถนนและทางเท้าในพืน้ ทีส่ ว่ นกลางของโครงการ • จัดให้มคี นงานเก็บกวาดเศษดินและหินออกจากถนนก่อน
เลิกงานทุกวัน
4) การเพิ่มพื้นที่สีเขียว
• ด� ำ เนิ น การเพิ่ ม พื้ น ที่ สี เ ขี ย วส่ ว นกลางเพื่ อ สร้ า งสภาพ การจัดการขยะของเสีย
แวดล้อมทีร่ ม่ รืน่ สวยงามและทัง้ ยังช่วยกรองมลภาวะทาง 1. ในกระบวนการก่อสร้าง
อากาศ ทัง้ ในโครงการและพืน้ ทีโ่ ดยรอบ โดยปี 2564 มี
พืน้ ทีส่ เี ขียวส่วนกลางทัง้ สิน้ คิดเป็น 50.27 ไร่หรือ 9.23%
ขยะที่เกิดจาก จัดให้มีถังขยะแบบคัดแยกขยะ
ของพื้นที่โครงการที่เปิดขายและโครงการที่อยู่ในระหว่าง การก่อสร้าง ในทุกแปลงบ้านระหว่างการ
การพัฒนาของบริษทั ก่อสร้าง

ขยะมูลฝอย จะต้องทิ้งในถังขยะแบบคัดแยก
5) การจัดการขยะ ของเสียและมลพิษ ที่เกิดขึ้นจากคนงาน ที่จัดเตรียมให้เท่านั้น
การลดการใช้พลาสติก
บริษทั เล็งเห็นถึงความส�ำคัญในการลดเลิกการใช้พลาสติกใน
องค์กร เพือ่ ช่วยลดปริมาณขยะพลาสติกทีใ่ ช้เวลานานในการย่อยสลาย 2. การท�ำ 3 R (Reduce, Reuse, Recycle)
จึงได้ริเริ่มโครงการ THINK GREEN และด�ำเนินการตั้งแต่เดือน • สนับสนุนให้ลดการใช้กระดาษ
กรกฎาคม 2562 เป็นต้นมา ภายใต้แนวคิด #THINK GREEN FOR A • สนับสนุนการจัดเก็บเอกสารในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์
BETTER LIVING ดังนี้ • สนับสนุนให้น�ำกระดาษ / ซองเอกสาร / แฟ้มที่ใช้แล้ว
1. การเลิกใช้บรรจุภัณฑ์พลาสติก โดยปรับเปลี่ยนบรรจุ มาหมุนเวียนใช้ซำ�้
ภัณฑ์ของน�้ำดื่มที่แจกลูกค้าเป็นกล่องน�้ำดื่มกระดาษ และน�ำกล่อง • โครงการบริ จ าคคอมพิ ว เตอร์ เครื่ อ งพิ ม พ์ เ อกสาร
น�ำ้ ดืม่ กระดาษทีใ่ ช้แล้วไปรีไซเคิล ให้หน่วยงาน / ชุมชนเพือ่ ไปใช้ซำ�้
2. การเลิกใช้แก้วพลาสติกภายในองค์กร โดยการให้พนักงาน • โครงการรั บ บริ จ าคปฏิ ทิ น เก่ า เพื่ อ ไปใช้ ซ�้ ำ เพื่ อ บั น ทึ ก
น�ำภาชนะมาเติมเครื่องดื่มที่บริษัทได้จัดไว้บริการ ตัวอักษรเบรลล์แก่ผพู้ กิ ารทางสายตา
3. โครงการ “LH Recycle Plastic Uniform” เป็นโครงการ • ลดการใช้พลาสติกใสที่ใช้แล้วทิ้ง ในการปกคลุมพื้นบ้าน,
ผลิตเสื้อยูนิฟอร์มจากขวดน�้ำพลาสติก ซึ่งเสื้อ 1 ตัวใช้ขวดพลาสติก เฟอร์นิเจอร์และวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ ในบ้านของลูกค้า
รีไซเคิลจ�ำนวน 12 ขวด เป็นการลดขยะพลาสติกในสังคมและส่งเสริม ในงานซ่อมและใช้พลาสติก Blue Sheet ซึ่งสามารถ
ให้น�ำกลับมาใช้ใหม่ ท�ำความสะอาดและน�ำกลับมาใช้ใหม่ได้
4. การจัดท�ำและแจกถุงผ้า Shopping Bag ให้แก่พนักงาน • โครงการ “LH Recycle Plastic Uniform” เป็นโครงการ
และลูกค้าที่ซื้อบ้านของบริษัททุกหลัง เพื่อน�ำไปใช้แทนถุงพลาสติก ผลิตเสือ้ ยูนฟิ อร์มจากขวดน�ำ้ พลาสติก เพือ่ ลดขยะพลาสติก
ในการจับจ่ายสินค้าอุปโภคบริโภค ในสังคมและส่งเสริมให้นำ� กลับมาใช้ใหม่

52
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

4. การจัดการในมิติสังคม

นโยบายและแนวปฏิบัติด้านสังคม หน่วยงานที่ไม่เกี่ยวข้อง โดยการเปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณะหรือการ


บริษัทมีนโยบายด�ำเนินธุรกิจด้วยความรับผิดชอบต่อสังคมเพื่อ ถ่ายโอนข้อมูลส่วนบุคคลจะต้องได้รับการยินยอมจากผู้เป็นเจ้าของ
น�ำไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืนและให้ความส�ำคัญเป็นหนึ่งในนโยบาย ข้อมูลนั้น ๆ
หลักของบริษัท ทั้งในระดับองค์กรด้วยการบริหารจัดการตามหลัก 4) การก�ำหนดเงื่อนไขในสัญญาจ้างพนักงานที่เหมาะสมและ
ธรรมาภิบาล รับผิดชอบต่อผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกฝ่าย ตระหนักและให้ความ เป็นธรรม
ส�ำคัญและสนับสนุนกิจกรรมการพัฒนาสร้างคุณค่าสู่ชุมชนและสังคม 5) เปิดโอกาสด้านการจ้างงานบุคคลรวมไปถึงจ้างงานคนพิการ
โดยก�ำหนดแนวทางปฏิบัติ ดังนี้ อย่างเท่าเทียมกัน
6) ปฏิบตั ติ อ่ พนักงาน ผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกคนด้วยความเสมอภาค
การเคารพสิทธิมนุษยชน ไม่เลือกปฏิบัติ ให้เกียรติและเคารพความคิดเห็นซึ่งกันและกัน
บริ ษั ท ได้ ป ฏิ บั ติ ต ามนโยบายหลั ก สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน กรรมการ 7) การก�ำหนดข้อปฏิบัติส�ำหรับพนักงานของบริษัท ในการ
ผู้บริหาร และพนักงานทุกคน ได้ปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด ยึดถือ ประพฤติตนให้เหมาะสมกับหน้าทีก่ ารงาน ไม่กล่าวร้ายผูอ้ นื่ หรือองค์กร
หลักสิทธิมนุษยชนเป็นหลักปฏิบตั ริ ว่ มกัน โดยค�ำนึงถึงความเสมอภาค โดยปราศจากมูลความจริง
เสรีภาพของบุคคลที่เท่าเทียมกันทั้งศักดิ์ศรีและสิทธิ ไม่เลือกปฏิบัติ
ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของเชื้อชาติ สัญชาติ ภาษา ศาสนา เพศ อายุ การปฏิบัติต่อแรงงานอย่างเป็นธรรม
การศึกษา และบริษทั ไม่สนับสนุนกิจการทีก่ ระท�ำการใด ๆ อันเป็นการ ความส�ำเร็จขององค์กรมาจากการขับเคลื่อนของทรัพยากร
ละเมิดสิทธิมนุษยชนสากล มนุษย์ บริษัทจึงให้ความส�ำคัญเป็นอย่างยิ่ง ที่จะมุ่งเน้นการตอบแทน
การพัฒนาและการส่งเสริมพนักงานในทุกรูปแบบ เพื่อดูแล ปกป้อง
แนวปฏิบัติ และรักษาไว้ ด้วยการปฏิบัติและหรือสร้างขึ้นในรูปของวัฒนธรรม
1) ก�ำกับดูแลมิให้ธรุ กิจของบริษทั เข้าไปมีสว่ นเกีย่ วข้องกับการ องค์กรให้มีความแข็งแกร่ง เพื่อถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่น โดยค�ำนึงถึง
ล่วงละเมิดสิทธิมนุษยชน อาทิ การใช้แรงงานเด็ก การคุกคามทางเพศ สถานการณ์และสภาวะทางสังคมทีเ่ ปลีย่ นแปลงอยูต่ ลอดเวลา รวมถึง
2) การดูแลพนักงานและความเป็นอยูข่ องพนักงาน โดยก�ำหนด ให้ความส�ำคัญกับการเคารพสิทธิมนุษยชน โดยปฏิบัติตามหลักการ
ผลตอบแทนทีเ่ หมาะสมให้แก่พนักงาน การจัดให้มสี วัสดิการพนักงาน ด้านสิทธิมนุษยชนตามมาตรฐานแรงงานไทยของกระทรวงแรงงาน
การส่งเสริมด้านการศึกษาอบรมอย่างต่อเนือ่ งทัง้ ในระยะสัน้ และระยะยาว โดยให้ความส�ำคัญต่อการเคารพสิทธิมนุษยชนอย่างเป็นธรรม เท่าเทียม
การดูแลเอาใจใส่ด้านสุขภาพร่างกาย สุขอนามัย ความปลอดภัยของ และไม่เลือกปฏิบตั ิ ทัง้ ในด้านการจ้างงาน การจ่ายค่าตอบแทน การเลือ่ น
ทรัพย์สินและจากการท�ำงาน การจัดสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน ต�ำแหน่ง การฝึกอบรมและพัฒนาพนักงาน การจ้างงาน โดยไม่แบ่งแยก
ให้เหมาะสมและปลอดภัย รวมถึงสอดส่องดูแลกรณีมีการกระท�ำ ความแตกต่างทางเพศ อายุ สถาบันการศึกษา เชื้อชาติ และ ศาสนา
ที่ไม่เป็นธรรมที่เกิดขึ้นในบริษัท
3) การรักษาข้อมูลส่วนตัวของลูกค้า คูค่ า้ และพนักงาน โดยถือ ปี 2564 บริษัทไม่มีข้อพิพาทด้านแรงงานและการละเมิดสิทธิ
เป็นความลับ ไม่ส่งต่อหรือกระจายข้อมูลส่วนบุคคลไปยังบุคคลหรือ มนุษยชน

53
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

แนวปฏิบัติและผลการด�ำเนินงาน การบริหารผลตอบแทนและสวัสดิการ
1. พนักงานและแรงงาน หลักการก�ำหนดอัตราค่าจ้างและผลตอบแทนให้กบั พนักงาน
การบริหารบุคคล บริษทั ตระหนักอยูเ่ สมอว่าพนักงานเป็นองค์ประกอบทีส่ ำ� คัญ
การจ้างงาน ของความส�ำเร็จของบริษัท จึงได้ปฏิบัติกับพนักงานอย่างเสมอภาค
บริ ษั ท มี น โยบายการจ้ า งงานที่ เ ป็ น ธรรมกั บ พนั ก งาน และเท่าเทียมกัน โดยการให้ผลตอบแทนและสวัสดิการที่เหมาะสม
ทุกภาคส่วน ทั้งพนักงานเก่าและหรือพนักงานใหม่ ทุกคนจะได้รับ และเป็นธรรม บริษัทมีการก�ำหนดบัญชีอัตราจ้างพนักงานเข้าใหม่
การปฏิ บั ติ โ ดยเสมอภาคหรื อ เท่ า เที ย มกั น ทั้ ง นี้ ขึ้ น อยู ่ กั บ ความรู ้ ทุกต�ำแหน่งงาน ซึง่ พิจารณาจากระดับวุฒกิ ารศึกษา ความรู้ ความสามารถ
และความสามารถที่มี ความขยัน ความตั้งใจ ทัศนคติที่ดีต่อองค์กร และประสบการณ์ให้สอดคล้องกับระดับหน้าที่ความรับผิดชอบใน
โดยไม่จำ� กัดเพศ มีโอกาสเท่าเทียมกันในการได้รบั การพิจารณาผลงาน ต�ำแหน่งงานทีต่ อ้ งการรับ โดยท�ำการส�ำรวจอัตราการจ้างงานในตลาด
และต�ำแหน่งงานที่สูงขึ้น แรงงานมาเป็นส่วนประกอบในการจัดท�ำบัญชีอัตราจ้างผนวกกับ
นอกจากนี้ ผูส้ มัครงานทีม่ คี ณ
ุ สมบัตคิ รบถ้วนและผ่านเกณฑ์ สวัสดิการและโบนัสที่จัดสรรให้กับพนักงาน เพื่อให้แน่ใจว่าโครงสร้าง
คัดเลือกทีก่ ำ� หนดไว้ จะได้รบั โอกาสอย่างเท่าเทียมในการรับเข้าท�ำงาน เงินเดือนของบริษทั นัน้ เหมาะสมและสามารถแข่งขันได้ในอุตสาหกรรม
โดยไม่ค�ำนึงถึงสถาบันการศึกษา เชื้อชาติ และศาสนา และได้รับ เดียวกัน
ผลตอบแทนต่าง ๆ อย่างเหมาะสมกับสาขาอาชีพและต�ำแหน่งงาน บัญชีอัตราจ้างและสวัสดิการของบริษัทจะก�ำหนดไว้สูง
ที่รับผิดชอบ อีกทั้งยังได้รับการปฏิบัติอย่างเสมอภาคตามกฎหมาย กว่าเกณฑ์อัตราจ้างขั้นต�่ำและหรือค่าแรงขั้นต�่ำที่กฎหมายก�ำหนดไว้
แรงงาน ซึ่งบริษัทยึดถือเป็นส�ำคัญในการปฏิบัติอย่างเคร่งครัด ทั้งนี้เพื่อเป็นหลักประกันและแรงจูงใจให้เกิดการตัดสินใจเลือกเข้า
ในปี 2564 บริษัทมีการจ้างพนักงานประจ�ำและพนักงาน ท�ำงานกับองค์กร ส่วนการปรับขึ้นเงินเดือนแต่ละปีนั้น มีการประเมิน
สัญญาจ้างทั้งหมด 785 คน แบ่งตามประเภทต่าง ๆ ดังนี้ ผลการปฏิ บั ติ ง านโดยหั ว หน้ า งาน พิ จ ารณาจากค่ า ครองชี พ และ
ผลประกอบการของบริษัท โดยก�ำหนดให้มีการพิจารณาปรับเพิ่ม
2564 อัตราเงินเดือนประจ�ำปีและโบนัสให้แก่พนักงานปีละ 1 ครั้ง
ประเภทการจ้าง
ชาย หญิง
พนักงานประจ�ำ 389 371 ผลตอบแทนพนักงาน
บริษัทได้จัดสวัสดิการและสิทธิประโยชน์ต่าง ๆ ให้กับ
พนักงานสัญญา 22 3
พนักงานและครอบครัว โดยค�ำนึงถึงปัจจัยพื้นฐานในการด�ำเนินชีวิต
รวม 785 คน
และสภาพการปฏิบัติงาน มาเป็นเกณฑ์ในการก�ำหนดสิทธิประโยชน์
ปี 2564 บริษทั มีอตั ราการลาออกของพนักงาน คิดเป็นร้อยละ 7 ต่าง ๆ ซึ่งบริษัท มีการจัดสรรผลตอบแทนให้กับพนักงานในรูปแบบ
ที่ชัดเจน เช่น
การจ้างงานในท้องถิ่น • เงินเดือน
จากการที่ บ ริ ษั ท มี ก ารขยายงานไปสู ่ ภู มิ ภ าคต่ า ง ๆ • โบนัสประจ�ำปี
ซึ่ ง จ� ำ เป็ น ต้ อ งมี บุ ค ลากรในการปฏิ บั ติ ง าน จึ ง เลื อ กที่ จ ะหาและ • กองทุนส�ำรองเลีย้ งชีพ
รับแรงงานท้องถิน่ เข้ามาร่วมงานกับบริษทั เพราะถือเป็นการสร้างงาน • ประกันค่ารักษาพยาบาลกรณีผู้ป่วยใน (IPD) และผู้ป่วย
ให้กับชุมชนและเปิดโอกาสให้กับผู้ที่ต้องการดูแลครอบครัวได้อย่าง นอก (OPD)
ใกล้ชิด อีกทั้งเป็นการสร้างความรักความผูกพันในบ้านเกิดตนเอง • คู่สมรสและบุตรพนักงานที่รับรองถูกต้องตามกฎหมาย
โดยมีจ�ำนวนพนักงานและผู้บริหารที่เป็นคนท้องถิ่น ดังนี้ ได้รบั ความคุม้ ครองคนไข้ใน (IPD) เช่นเดียวกับพนักงาน
• การตรวจสุขภาพประจ�ำปี ใช้อายุพนักงานเป็นเกณฑ์
จ�ำนวนการจ้างงานในท้องถิ่นในปี 2564 ก�ำหนดโปรแกรมการตรวจสุขภาพ
• ประกั น ชี วิ ต กลุ ่ ม ให้ กั บ พนั ก งานในวงเงิ น ทุ น ประกั น
จำ�นวน สถานที่ปฏิบัติ บุคลากรจากส่วนกลาง บุคลากรในท้องถิ่น 500,000–1,500,000 บาท
ผู้ปฏิบัติ งาน • ประกันอุบตั เิ หตุ
งาน ผู้บริหาร พนักงาน ผู้บริหาร พนักงาน
• ค่าทันตกรรมประจ�ำปี
50 ภาคเหนือ - - 5 45
• เครือ่ งแบบพนักงานหญิงและชาย
46 ภาคตะวันออก 1 0 5 40 • เงินช่วยเหลือในโอกาสหรือวาระต่าง ๆ เช่นพิธมี งคลสมรส
เฉียงเหนือ
และเป็นเจ้าภาพงานศพของพนักงานและครอบครัว
• ความช่ ว ยเหลื อ พนั ก งานตามความเหมาะสมและ
สถานการณ์

54
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

• ของขวัญเยีย่ มพนักงานคลอดบุตร กองทุนส�ำรองเลีย้ งชีพ


• ทุนการศึกษาระดับปริญญาโทให้กบั ผูบ้ ริหาร เพือ่ ส่งเสริม บริ ษั ท ได้ จั ด ตั้ ง กองทุ น ส� ำ รองเลี้ ย งชี พ พนั ก งาน โดยมี
และสนับสนุนการเรียนรูแ้ ละพัฒนาให้มศี กั ยภาพสูงสุด วัตถุประสงค์เพือ่ การเก็บออม เป็นการสร้างหลักประกันให้กบั พนักงาน
• ทุนการศึกษาให้กบั บุตร / ธิดา ของพนักงานในระดับปฏิบตั ิ และครอบครัวเมือ่ ยามเกษียณ การสมัครเข้าเป็นสมาชิกกองทุนส�ำรอง
การเป็นประจ�ำทุกปี เลี้ยงชีพฯ นี้ เป็นไปตามความสมัครใจของพนักงาน โดยพนักงาน
• สิทธิการลาต่าง ๆ ; ลาป่วย, ลากิจ, ลาพักผ่อน, ลาบวช, จะส่งเงินสะสมในอัตราร้อยละ 2-7 ของเงินเดือน และบริษทั จ่ายสมทบ
ลาคลอด ฯลฯ ในอัตราร้อยละ 5-7 ของเงินเดือนเช่นกัน ส�ำหรับเงินกองทุนที่จด
• ส่วนลดพิเศษจากการซือ้ สินค้าของบริษทั ทะเบียนนี้ บริหารโดยผู้จัดการกองทุนรับอนุญาตแห่งหนึ่ง โดยปฏิบัติ
• เงินสนับสนุนกิจกรรมภายในแต่ละฝ่าย เช่น การท่องเทีย่ ว ตามข้อก�ำหนดของพระราชบัญญัติกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2542
ประจ�ำปี, งานเลีย้ งสังสรรค์ในวาระขึน้ ปีใหม่ ในปี 2564 บริ ษั ท น� ำ ส่ ง เงิ น เข้ า สมทบกองทุ น ฯ ให้ กั บ
• วันหยุดพักผ่อนเพิม่ เติมจากทีก่ ฎหมายก�ำหนด พนักงาน จ�ำนวน 36 ล้านบาท จากจ�ำนวนพนักงานที่เป็นสมาชิก
• ห้องสันทนาการ “The Skape” ณ ส�ำนักงานใหญ่ บริการ กองทุน 744 คน
เครือ่ งดืม่ อาหารว่าง และเกมส์ ส�ำหรับพนักงาน
• ห้องออกก�ำลังกาย; โยคะ, แอโรบิค อัตราการจ่ายเงินสมทบกองทุนส�ำรองเลีย้ งชีพส่วนของบริษทั
• ห้องอาบน�ำ้ หลังการออกก�ำลังกาย
• จัดหาหน้ากากอนามัยและเจลล้างมือให้แก่พนักงานทุกคน รายการ หน่วย ปี 2564
• การมอบใบประกาศเกียรติคุณและมอบทองเป็นรางวัล ยอดเงินน�ำส่งเข้ากองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ ล้านบาท 36
ให้พนักงานที่มีอายุงานครบ 10 ปี, 20 ปี และ 30 ปี จ�ำนวนพนักงานที่เป็นสมาชิก คน 744
เป็นประจ�ำทุกปี เพือ่ ขอบคุณและยกย่องพนักงานทีไ่ ด้อทุ ศิ
อัตราร้อยละที่บริษัทจ่ายสมทบ % 5-7
แรงกายและแรงใจให้แก่บริษทั มาโดยตลอด
อัตราร้อยละที่พนักงานเลือกสะสม % 2-7
บริษทั ได้จดั ตัง้ คณะกรรมการสวัสดิการ เพือ่ เป็นตัวแทนของ การจ่ายเงินจากกองทุนฯ เมือ่ พนักงานพ้นสภาพจากการเป็น
พนักงานร่วมปรึกษาหารือกับบริษัทเพื่อจัดสวัสดิการให้แก่พนักงาน สมาชิกของกองทุนฯ โดยแบ่งออกได้ 3 กรณี
เป็ น เสมื อ นสื่ อ กลางที่ จ ะถ่ า ยทอดความต้ อ งการด้ า นสวั ส ดิ ก าร 1. กรณีเมือ่ ลาออกจากบริษทั
ของพนักงานให้บริษทั ทราบและร่วมปรึกษาหารือให้ขอ้ เสนอแนะ ดูแล 2. กรณีเมือ่ ลาออกจากการเป็นสมาชิกกองทุน แต่มไิ ด้ลาออก
การจัดสวัสดิการที่บริษัทให้แก่พนักงาน จากบริษัท พนักงานสามารถสมัครกลับเข้าเป็นสมาชิก
นอกจากนี้ บริษัทมีการให้สิทธิลาคลอดบุตร ไม่ว่าพนักงาน กองทุนได้อกี เมือ่ เว้นวรรค 1 ปี ซึง่ เป็นไปตามข้อบังคับ
จะอยู่ในสถานการณ์ไหนก็ตาม บริษัท ก็ยังดูแลและเอาใจใส่เสมอต้น กองทุนส�ำรองเลีย้ งชีพ
เสมอปลาย โดยปฏิบัติได้มากกว่าที่กฎหมายก�ำหนด เพื่อเป็นการ 3. กรณีเสียชีวติ
ส่งเสริมให้เกิดความรักความผูกพันในสถาบันครอบครัว เมื่อพนักงาน
ได้รับการปฏิบัติที่ดีก็จะมีก�ำลังใจกลับมาทุ่มเทให้กับการท�ำงาน โดยอัตราการจ่ายเงินสมทบที่เป็นส่วนของบริษัท จะขึ้นอยู่
กับอายุการท�ำงานของสมาชิก
การใช้สิทธิ์ลาคลอดบุตร ปี 2564
(หน่วย : คน) อัตราได้รับคืน (%)
อายุงาน (ปี)
ปี 2564 ส่วนของพนักงาน จากส่วนบริษัท
แยกตามภูมภิ าค กลับมาทำ�งาน ต�่ำกว่า 1 ปี 100 0
ใช้สทิ ธิ์ สัดส่วนการ
หลังการใช้สทิ ธิ์
ลาคลอด กลับมาทำ�งาน 1 ปี แต่ไม่เกิน 3 ปี 100 50
ลาคลอด
กทม.และปริมณฑล 12 12 100% 3 ปีขึ้นไป 100 100
ภาคเหนือ 2 2 100%
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2 2 100%
รวม 16 16 100%

55
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

การพัฒนาศักยภาพบุคลากร 6. บริษทั จะสนับสนุนด้านการให้ความร่วมมือกับสถาบันการ


บริษัทได้ตระหนัก และเล็งเห็นถึงความส�ำคัญของบุคลากร ศึกษา และองค์การภายนอก ในเรื่องที่เกี่ยวเนื่องกับงานด้านการฝึก
ว่ า มี ผ ลต่ อ ความส� ำ เร็ จ ของธุ ร กิ จ บริ ษั ท อย่ า งแท้ จ ริ ง ทั้ ง ได้ ร ะลึ ก อบรมและพัฒนา เช่นการให้ความร่วมมือด้านการขอเข้าศึกษาดูงาน
อยูเ่ สมอว่า หนทางทีจ่ ะบรรลุให้ถงึ ซึง่ เป้าหมายดังกล่าวนัน้ ต้องเกิดขึน้ การรับนักศึกษาฝึกงาน การให้ความร่วมมือด้านวิทยากร ทัง้ นีเ้ พือ่ เป็น
จากการฝึกอบรมพัฒนาพนักงานอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง ภายใต้ การแสดงออกถึงความรับผิดชอบต่อสังคม (Social Responsibility)
ความรับผิดชอบของบริษัทและพนักงานทุกคน กล่าวคือบริษัทได้ และการสร้างภาพลักษณ์ที่ดีของบริษัท (Corporate Image)
เปิดโอกาสในการเรียนรู้และการพัฒนาเพื่อความเติบโตของพนักงาน
ขณะเดียวกันก็เป็นหน้าที่ของพนักงานที่จะต้องมีความรับผิดชอบ แผนการพัฒนาทักษะและความรู้ของบุคลากร
ต่อความส�ำเร็จ อันจะเกิดขึ้นจากโอกาสในการฝึกอบรมและพัฒนา บริษัทได้ส�ำรวจความจ�ำเป็นในการฝึกอบรมและพัฒนา
ดังกล่าวด้วยความมุ่งมั่นอย่างจริงใจ เพื่ อ ออกแบบและพั ฒ นาหลั ก สู ต รเพื่ อ ให้ ต อบสนองต่ อ เป้ า หมาย
ทั้งนี้เพื่อให้การปฏิบัติงานฝึกอบรมและพัฒนาบุคคลได้ การด�ำเนินธุรกิจของบริษัทและเพื่อพัฒนาสมรรถนะการปฏิบัติงาน
ด�ำเนินการไปในทิศทางอันสอดคล้องกับการบริหารงานของบริษทั และ ให้แก่พนักงานกลุ่มเป้าหมายทุกระดับ ตั้งแต่ระดับปฏิบัติการ ระดับ
ให้บรรลุผลตามนโยบายทีก่ ำ� หนดไว้ บริษทั จึงให้มกี ารจัดตัง้ หน่วยงาน บังคับบัญชา และระดับจัดการ ทั้งสายงานปฏิบัติการและสายงาน
“ศูนย์พฒ ั นาบุคคล” ขึน้ มาท�ำหน้าทีร่ บั ผิดชอบกิจกรรมต่าง ๆ ทีจ่ ำ� เป็น สนับสนุน ให้สามารถปฏิบตั งิ านทีร่ บั ผิดชอบได้อย่างมีประสิทธิผลและ
ต่อการฝึกอบรมและพัฒนาบุคคล มีประสิทธิภาพ ดังนี้

นโยบายการพัฒนาบุคลากร การฝึกอบรมพนักงานใหม่
1. บริ ษั ท ถื อ ว่ า ทรั พ ยากรบุ ค คลเป็ น สิ่ ง ที่ มี คุ ณ ค่ า เหนื อ ส� ำ หรั บ พนั ก งานใหม่ บริ ษั ท ได้ จั ด ปฐมนิ เ ทศในวั น แรก
ทรัพยากรทางการบริหารทั้งปวง ดังนั้นพนักงานทุกคนจะได้รับการ ที่เริ่มท�ำงาน เพื่อให้พนักงานใหม่ได้รับทราบนโยบาย ข้อบังคับ
ฝึกอบรมและพัฒนา เพื่อให้มีความรู้ทัศนคติและความสามารถในการ กฎระเบียบ โครงสร้างธุรกิจของบริษทั วัฒนธรรมขององค์กรในเบือ้ งต้น
ปฏิบัติงานตามความจ�ำเป็นในงาน อย่างเป็นระบบและต่อเนื่องเพื่อ สวัสดิการและผลประโยชน์ตา่ ง ๆ ของบริษทั และพนักงานใหม่ทเี่ ข้ามา
ความก้าวหน้าในอาชีพการงานทั้งนี้โดยการพิจารณาจากความพร้อม ในปีหนึง่ ๆ จะมีการจัดโครงการ “สัมมนาเพือ่ นใหม่ LH” เพือ่ ให้พนักงาน
ของพนักงานแต่ละคนเป็นส�ำคัญ ใหม่ได้รู้จักกับเพื่อนร่วมงาน รุ่นพี่พนักงานและผู้บริหาร อันเป็น
2. บริษัทถือว่าค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ในการฝึกอบรมและพัฒนา การเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างคนในบริษัท สร้างความผูกพัน
ทรัพยากรบุคคลเป็นการลงทุนในตัวบุคคล ซึ่งเป็นสิ่งส�ำคัญยิ่งต่อการ กับองค์กร รวมถึงการเรียนรู้การท�ำงานร่วมกันเป็นทีม
ปฏิบตั งิ านให้บรรลุตามภารกิจหลักและวัตถุประสงค์ในการด�ำเนินงาน
อย่างมีประสิทธิภาพและทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางด้านเทคโนโลยี การฝึกอบรมส�ำหรับพนักงานทุกคน
สมัยใหม่ที่ใช้ในการปฏิบัติงาน บริษทั ได้สนับสนุนการพัฒนาทักษะและความสามารถในการ
3. บริษัทจะให้ความส�ำคัญต่อโครงการฝึกอบรมต่าง ๆ ท�ำงานอย่างต่อเนื่อง โดยมีการฝึกอบรมในทุกระดับชั้น ทั้งหลักสูตร
ทางด้าน งานหลักและงานสนับสนุน (Line & Function Program) การอบรมภายในบริษัท การเชิญวิทยากรที่มีความรู้ความสามารถ
ทั้งในระดับปฏิบัติการ ระดับบังคับบัญชา และระดับบริหาร รวมทั้ง มาอบรมในบริษัท การส่งพนักงานอบรมโดยสถาบันอบรมต่าง ๆ
โครงการเสริมความรูพ้ เิ ศษต่าง ๆ (Special & Supporting Program) ภายนอกบริษทั รวมถึงการฝึกอบรมและดูงานในต่างประเทศ เพือ่ เพิม่
เพื่อให้พนักงานสามารถปฏิบัติงานได้ตามหน้าที่และความรับผิดชอบ ศักยภาพ ความรู้ความสามารถของพนักงานในการพัฒนาองค์กรให้ดี
ของต�ำแหน่งงานปัจจุบันและที่สูงยิ่งขึ้นในอนาคต ขึ้น ไปสู่ความส�ำเร็จอย่างยั่งยืน
4. บริษัทตระหนักถึงความจ�ำเป็นของการฝึกอบรมและ
พัฒนาทรัพยากรบุคคล ในฐานะที่เป็นเครื่องมืออันส�ำคัญต่อการ บริษัทจัดท�ำหลักสูตรฝึกอบรม ซึ่งเป็นทั้งหลักสูตรที่ด�ำเนิน
ปรับปรุงงาน (Tools For Improvements) ดังนั้นจึงส่งเสริมและ การภายในองค์กรและเข้าร่วมการอบรมภายนอกองค์กร
สนับสนุน ให้มกี ารจัดฝึกอบรมและสัมมนาต่าง ๆ เพือ่ การแก้ไขปัญหา
ในการปฏิบัติงานของฝ่ายและกลุ่มโครงการต่าง ๆ อย่างแท้จริง 1. หลักสูตรอบรม Basic & People Managing Skills
5. บริษัทถือว่าผู้บังคับบัญชาทุกระดับชั้น ต้องมีบทบาทที่ 1.1 หลักสูตรอบรมทักษะพื้นฐานส�ำหรับพนักงานใหม่
ส�ำคัญยิ่งต่อการฝึกอบรมและพัฒนาผู้ใต้บังคับบัญชา ในลักษณะของ (Basic Skills : BS)
การฝึกอบรมในงาน ( On the job training) และ / หรือการสอน 1.2 หลักสูตรอบรมทักษะการบริหารคน (Managing
แนะในงาน (Coaching) อีกด้วย การพิจารณาประเมินผลการปฏิบัติ People Skills : MPS)
งานของผู้บังคับบัญชา จะพิจารณาจากความสามารถในการพัฒนา 1.3 หลั ก สู ต รอบรมทั ก ษะการบริ ห ารระดั บ จั ด การ
ผู้ใต้บังคับบัญชาเป็นปัจจัยอีกตัวหนึ่งด้วย (Advanced Management Skills : AMS)

56
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

2. หลักสูตรการพัฒนาตามสายงาน (Functional Skills) ส� ำ หรั บ พนั ก งานและคนงานในพื้ น ที่ ก ่ อ สร้ า ง บริ ษั ท ให้
2.1 หลักสูตรอบรมความรูท้ กั ษะเฉพาะทางในการปฏิบตั ิ ความส�ำคัญในการดูแลความปลอดภัยต่อชีวิต สุขภาพ ทรัพย์สิน
งานส�ำหรับพนักงานฝ่ายโครงการ (งานขาย / งาน ของคนงานในพื้นที่ก่อสร้างโครงการทุกแห่งของบริษัท เพื่อให้คน
ก่อสร้าง / งานบริการ) งานมีความปลอดภัยและมีอาชีวอนามัยที่ดีในการปฏิบัติงาน ซึ่งจะมี
2.2 หลักสูตรอบรมทักษะความรูใ้ นการปฏิบตั งิ านส�ำหรับ ผลกระทบต่อขวัญก�ำลังใจ ตลอดจนคุณภาพงาน และโดยค�ำนึงถึง
พนักงานฝ่ายส�ำนักงาน ผลกระทบต่อพนักงาน คนงาน รวมทั้งชุมชน สังคม และสิ่งแวดล้อม
3. กิจกรรมเพื่อการเรียนรู้และพัฒนาองค์กร (Learning ในพื้นที่ใกล้เคียง
and Organization Development Activities) นอกจากนี้ บริษัทจัดอบรมมาตรฐานการปฏิบัติงานในการ
3.1 กิจกรรมกลุ่มเพื่อพัฒนาค่านิยมการท�ำงานเป็นทีม ควบคุมงานก่อสร้างให้แก่วิศวกรควบคุมงานและผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้
(Power of We) เกิดความรู้ความเข้าใจ และความตระหนักถึงความปลอดภัยต่อชีวิต
3.2 กิจกรรมการเรียนรูข้ า้ มสายงาน สุขภาพ ทรัพย์สิน
4. โครงการอบรมพัฒนาจิต เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและ บริษทั ได้ดำ� เนินการเพือ่ ส่งเสริมและป้องกัน เพือ่ ให้พนักงาน
ความสุขในการท�ำงานด้วยสมาธิ เป็นการอบรมพื้น มีความปลอดภัยในการท�ำงานและมีสุขภาพที่ดี ดังนี้
ฐานของการสร้างสติและฝึกจิต ควบคู่กับการปฏิบัติตน • จั ด หาสถานที่ ท� ำ งานให้ กั บ พนั ก งาน โดยค� ำ นึ ง ความ
ในชีวิตประจ�ำวัน ทั้งที่ท�ำงานและที่บ้าน ซึ่งจัดให้กับ ปลอดภัยและสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน ทีม่ สี ขุ อนามัย
พนักงานทุกคน ทุกระดับ และถือเป็นหลักสูตรพื้นฐาน และมีบรรยากาศน่าท�ำงาน
เพื่อน�ำมาใช้ในการปฏิบัติงาน • จัดการฝึกอบรมด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและ
นอกจากนี้ บริษัทยังมุ่งเน้นพัฒนาให้พนักงานเรียนรู้และ สภาพแวดล้อมในการท�ำงานให้แก่พนักงานและมีการ
เกิดทักษะทีจ่ ำ� เป็นในการปฏิบตั งิ านในรูปแบบ none-classroom เช่น ทดสอบก่อนและหลังการอบรม
การเรียนรู้จากการปฏิบัติงานจริง OJT - On the Job Training และ • มีการซ้อมหนีไฟ / การปฐมพยาบาลเบือ้ งต้นเป็นประจ�ำ
การสอนงาน (Coaching) รวมถึงการสร้างวิทยากรภายในที่มีคุณภาพ ทุกปี
เพือ่ เป็นผูถ้ า่ ยทอดความรู้ ให้คำ� ปรึกษาและกระตุน้ ให้พนักงานได้เรียน • มีระบบป้องกันการเข้าออกส�ำนักงานจากบุคคลทีไ่ ม่มสี ทิ ธิ
รู้ตลอดเวลา ซึ่งเป็นการหล่อหลอมและสร้างวัฒนธรรมการแบ่งปัน โดยน�ำเครื่องสแกนนิ้วเข้ามาติดทั้งทุกจุดของส�ำนักงาน
และแลกเปลี่ยนการเรียนรู้ระหว่างกันในองค์กรได้อย่างเป็นรูปธรรม ใหญ่และส�ำนักงานสาขาทุกแห่ง
ปี 2564 พนักงานได้รบั การอบรมเฉลีย่ 14 ชัว่ โมงต่อคนต่อปี • การตรวจสุขภาพพนักงานประจ�ำปีสำ� หรับพนักงานประจ�ำ
ลดลงจากปีทแี่ ล้วเนือ่ งจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID-19 และพนักงานสัญญาจ้างรายปี
และมีงบประมาณการฝึกอบรมพัฒนาบุคคล 16 ล้านบาท ในปี 2564 บริษัทไม่มีพนักงานประสบอุบัติเหตุจากการ
ท�ำงานจนถึงขั้นหยุดงาน
ความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อม
ในการท�ำงาน มาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส
บริ ษั ท ตระหนั ก ว่ า พนั ก งานเป็ น ปั จ จั ย ส� ำ คั ญ ที่ จ ะน� ำ พา COVID-19
องค์กรสู่ความส�ำเร็จ จึงมุ่งมั่นพัฒนาระบบการจัดการด้านความ จากวิ ก ฤตการณ์ ก ารแพร่ ร ะบาดของโรคติ ด เชื้ อ ไวรั ส
ปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน ให้สอดคล้อง COVID-19 ที่เกิดขึ้นในปี 2563 ต่อเนื่องมานั้น ในปี 2564 บริษัทได้
กับกฎหมายและข้อก�ำหนดที่เกี่ยวข้องเพื่อป้องกันและลดความเสี่ยง จัดหาวัคซีนจ�ำนวน 2400 โดส และด�ำเนินการให้พนักงานแต่ละคน
และอันตรายจากการท�ำงานและป้องกันการสูญเสียหรือผลกระทบต่อ ได้รับการฉีดวัคซีนจ�ำนวนคนละ 2 โดส และยังได้จัดจองวัคซีนเพื่อให้
พนักงานและผู้มีส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้อง พนักงานฉีดกระตุ้น นอกจากนี้บริษัทได้กำ� หนดมาตรการในการตรวจ
สอบและเฝ้าระวังอย่างเข้มงวด เพื่อดูแลป้องกันและควบคุมการแพร่
แนวทางปฏิบัติและผลการด�ำเนินงาน ระบาดที่อาจเกิดขึ้นจากทั้งภายนอกและภายในบริษัท โดยได้กำ� หนด
การดูแลพนักงานและแรงงาน เป็นมาตรการและแนวปฏิบัติให้แก่พนักงาน ดังนี้
บริษัท ให้ความส�ำคัญในการดูแลรักษา ปรับปรุง พัฒนา • จัดตั้งคณะท�ำงานเฉพาะกิจ LH COVID-19 CENTER
ระบบรักษาความปลอดภัย ระบบสุขอนามัยและสภาพแวดล้อมในที่ ประกอบด้วยผู้บริหารและตัวแทนพนักงาน เพื่อตรวจ
ท�ำงาน ให้มีความปลอดภัยต่อชีวิต สุขภาพ ทรัพย์สิน และสุขอนามัย สอบและติดตามสถานะสุขภาพ ประวัติการเดินทางของ
ทีด่ ขี องพนักงาน รวมถึงสนับสนุน เสริมสร้างวัฒนธรรมและบรรยากาศ พนักงาน โดยการส�ำรวจข้อมูลพนักงานเป็นรายวัน ตลอด
ที่ดีในการท�ำงาน มุ่งมั่นในการพัฒนาทรัพยากรบุคคลให้มีความรู้และ จนเป็นศูนย์กลางการสื่อสารทั้งภายในภายนอกองค์กร
สร้างจิตส�ำนึกในด้านความปลอดภัยและสุขอนามัยของพนักงาน

57
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

• จั ด ท� ำ คู ่ มื อเพื่ อ ช่ ว ยเหลื อ ดู แ ลพนั ก งานและครอบครัว 6) ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คม โดยแลนด์ แอนด์ เฮ้ า ส์


ที่ติดเชื้อ COVID-19 ในการด�ำเนินการและการประสาน ถือเป็นแบรนด์หนึง่ เดียวทีไ่ ด้ Platinum Award ในสาขา
ทุกขัน้ ตอนให้ได้เข้าสูร่ ะบบการรักษาทีถ่ กู ต้อง ครอบคลุม อสังหาริมทรัพย์
ถึงข้อมูลข่าวสารอื่นที่เป็นประโยชน์แก่พนักงาน ภายใต้
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัส COVID-19 ปี 2564 ทางบริษัท ได้รับ 2 รางวัลส�ำคัญ
อยู่เสมอ 1) รางวัล BCI Asia Top 10 Developers Award 2021
• จัดให้มกี ารคัดกรองพนักงานและผูม้ าติดต่อจากภายนอก จาก 3 โครงการ ได้แก่ โครงการคอนโดมิเนียม The Key พระราม 3
ทุกคนเป็นประจ�ำทุกวัน ติดตั้งเครื่องวัดอุณหภูมิร่างกาย โครงการสีวลี รัษฎา ภูเก็ต และโครงการมัณฑนา เพชรเกษม-สาย 4
บริเวณทางเข้าประตูส�ำนักงาน จัดให้มีที่พ่นยาฆ่าเชื้อ, รางวัล BCI Asia Award จัดขึ้นทุกปี โดยปีนี้เป็นครั้งที่ 16 และจัดขึ้น
เจลแอลกอฮอล์ส�ำหรับล้างมือให้กับทุกอาคาร ส�ำนักงาน ที่ 7 ประเทศ ได้แก่ ฮ่องกง, อินโดนีเซีย, มาเลเซีย, ฟิลปิ ปินส์, สิงค์โปร์,
และบ้านตัวอย่าง นอกเหนือจากนี้ยังก�ำหนดให้ท�ำความ เวียดนาม และประเทศไทย โดยทางบริษทั บีซไี อ เอเชีย คอนสตรัคชัน่
สะอาดพืน้ ทีส่ ว่ นกลาง โดยพ่นยาฆ่าเชือ้ ส�ำหรับพืน้ ผิววัสดุ อินฟอร์เมชัน่ จ�ำกัด จะคัดเลือกโครงการทีม่ คี วามโดดเด่นในด้านต่าง ๆ
จุดสัมผัสอย่างสม�่ำเสมอ ที่เข้าเกณฑ์การตัดสินที่ได้ตั้งมาตรฐานไว้เพียง 10 รางวัลต่อปี โดย
• จั ด เตรี ย มอุ ป กรณ์ เ กี่ ย วกั บ ความสะอาดส่ ว นบุ ค คล; พิจารณาจากมูลค่ารวมสูงสุดของโครงการที่ก�ำลังก่อสร้างในช่วง
หน้ากากอนามัย เจลแอลกอฮอล์ล้างมือให้แก่พนักงาน ปีปฏิทินที่ผ่านมา และหลักเกณฑ์ของความพยายามในการพัฒนา
และลูกค้าและลูกบ้าน โครงการที่ดีอ ย่างต่อ เนื่อ งเพื่อ ความยั่ง ยืนที่มีศักยภาพและความ
• จั ด เตรี ย มความพร้ อ มและการสนั บ สนุ น ด้ า นระบบ น่าเชื่อถือต่อการดึงดูดนักลงทุนให้มาลงทุนในประเทศ และเกณฑ์
เทคโนโลยีสารสนเทศ อุปกรณ์ แอปพลิเคชันในการท�ำงาน คะแนนตามหมวดของ Green Certificate ต่าง ๆ และเกณฑ์คะแนน
ออนไลน์ให้แก่พนักงาน Project Category ตามเกณฑ์ทที่ างบีซไี อ เอเชียก�ำหนด การมอบรางวัล
• จัดให้พนักงานท�ำงานจากที่พักอาศัยบางส่วนโดยไม่ต้อง BCI Asia Top 10 Developers Award 2021 นี้ เพือ่ ประกาศเกียรติคณ ุ
เดินทางมาที่ส�ำนักงานของบริษัท เพื่อเป็นการลดความ ให้แก่บริษัทสถาปนิก ผู้ออกแบบ และบริษัทผู้พัฒนาอสังหาริมทรัพย์
แออัดในสถานที่ท�ำงาน ลดความเสี่ยงจากโอกาสที่จะมี ดีเด่น ซึง่ มีความส�ำคัญต่อการขับเคลือ่ นเศรษฐกิจอุตสาหกรรมก่อสร้าง
การแพร่ระบาดของโรค ของประเทศไทย
• ปรับลดวันในการเข้าปฏิบัติงาน ณ ส�ำนักงานใหญ่ของ
บริษัท เพื่อชะลออัตราการระบาดที่รุนแรงและจ�ำกัดการ 2) รางวัลเกียรติยศ บริษัทยอดเยี่ยมแห่งปี 2564 กลุ่ม
เคลื่อนย้ายเดินทางของบุุคคลและเพื่อสวัสดิภาพ ชีวิต อสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง รางวัลนี้จัดขึ้นโดยวารสารการเงิน
และอนามัยของพนักงานและบุคคลภายนอกผู้มาติดต่อ ธนาคาร เมือ่ วันที่ 24 ธันวาคม 2564 ทีผ่ า่ นมา รางวัลเกียรติยศ Money
• จัดการประชุมออนไลน์และจัดการอบรมออนไลน์ผ่าน & Banking Awards 2021 เป็นปีที่ 14 เพื่อยกย่องผู้บริหาร ธนาคาร
โปรแกรม Microsoft TEAMS, Zoom เพื่อลดความเสี่ยง สถาบันการเงิน และบริษัทจดทะเบียนที่มีผลงานยอดเยี่ยมในรอบปี
ในการเดินทางและการรวมตัวกันเป็นจ�ำนวนมากในการ
ปฏิบัติงานของพนักงาน 3) รางวัลเกียรติยศ Thailand’s Top Corporate
Brands 2021 จั ด ขึ้ น โดยคณะพาณิ ช ยศาสตร์ แ ละการบั ญ ชี
รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย หลั ก สู ต รวิ ท ยาศาสตร์ ม หาบั ณ ฑิ ต
ผลจากการที่บริษัทได้ให้ความส�ำคัญต่อผู้บริโภคและมุ่งมั่น สาขาวิชาการจัดการแบรนด์และการตลาด (Master in Branding
ในการพัฒนาคุณภาพของสินค้า ท�ำให้บริษัท ได้รับรางวัลแบรนด์ and Marketing Program) มอบให้แก่บริษัทที่มีมูลค่าแบรนด์องค์กร
ที่น่าเชื่อถือมากที่สุด (Trusted Brand) ถึง 8 ปี ติดต่อกัน (ตั้งแต่ สูงสุดในหมวดพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ประจ�ำปี พ.ศ. 2564 โดยมี
ปี 2549-2556 รางวัลนี้มีถึงปี 2556) จากผลส�ำรวจผู้บริโภคโดย มูลค่าแบรนด์ 45,040 ล้านบาท และบริษัทฯ ได้รับรางวัลนี้ต่อเนื่อง
นิตยสาร Reader’s Digest เป็นรางวัลทีว่ ดั ความพึงพอใจของผูบ้ ริโภค สามปีซ้อน
ทั้งในเอเชียและประเทศไทยใน 6 ด้าน ได้แก่
1) ความน่าเชื่อถือและความไว้วางใจ
2) คุณภาพ
3) คุณค่า
4) การเข้าใจความต้องการของผู้บริโภค
5) ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์

58
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

2. ลูกค้า ชัดเจนว่า “บ้านทุกหลังจะต้องผ่านการตรวจสอบคุณภาพ (Quality


ความรับผิดชอบต่อลูกค้า Control-QC) ตามมาตรฐานของบริษัทก่อนส่งมอบให้ลูกค้า”
นโยบายความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค
บริ ษั ท มี ค วามมุ ่ ง มั่ น ในการพั ฒ นาและควบคุ ม คุ ณ ภาพ นโยบายการส่งมอบบ้านสร้างเสร็จก่อนขาย
ของสินค้าและบริการให้ได้มาตรฐาน รวมทั้งการจัดตั้งหน่วยงานเพื่อ บริษทั ส่งมอบบ้านทีส่ ร้างเสร็จก่อนขายพร้อมตกแต่งจัดสวน
ติดต่อรับฟังข้อเสนอแนะหรือข้อคิดเห็นจากลูกค้า เพือ่ รับทราบปัญหา ในสภาพโครงการที่สมบูรณ์พร้อมเข้าอยู่ เพื่อให้ผู้บริโภคได้เห็นบ้าน
ความต้องการของลูกค้าและน�ำมาปรับปรุงแก้ไข เพือ่ ให้ลกู ค้าเกิดความ หลังจริงบนแปลงทีด่ นิ จริงก่อนซือ้ ได้เลือกบ้านหลังทีช่ อบก่อนตัดสินใจ
เชื่อมั่น และความพึงพอใจสูงสุด ไม่มีความเสี่ยงในการซื้อบ้านแล้วไม่ได้บ้านอย่างที่หวังไว้

1) คุณภาพและความปลอดภัยของสินค้า ประโยชน์ของผู้บริโภคในการซื้อบ้านสร้างเสร็จก่อนขาย
บริษัทให้ความส�ำคัญด้านคุณภาพและความปลอดภัยของ 1. ลูกค้าได้เห็นบ้านหลังจริงบนแปลงจริงก่อนซื้อเปรียบ
สินค้าและบริการ เพื่อสร้างความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นและความพึงพอใจ เทียบกับราคาทีข่ าย
สูงสุดให้กับผู้ซื้อบ้านและผู้อยู่อาศัยในทุกโครงการ โดยให้ความส�ำคัญ 2. จัดให้มีสภาพแวดล้อมของโครงการที่ร่มรื่น มีสวนส่วน
ทั้งกระบวนการตั้งแต่เริ่มต้น จนถึงส่งมอบโครงการและบ้านคุณภาพ กลาง มีสโมสร พร้อมใช้บริการได้เมือ่ เข้าอยู่
แก่ผู้บริโภค เพื่อให้เกิดความเชื่อมั่นด้านคุณภาพในสินค้าและบริการ 3. การรับประกันสินค้าและการจัดให้มีระบบบริการหลัง
ภายใต้แบรนด์ของแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ การขาย เพื่ออ�ำนวยความสะดวกแก่ลูกบ้านและการ
ในการออกแบบสินค้า บริษัทให้ความส�ำคัญกับการศึกษา ตรวจเช็คบ้านในประกัน
วิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค การรับรู้และเข้าใจในความต้องการของ 4. บ้ า นสบายสร้ า งเสร็ จ ก่ อ นขายช่ ว ยให้ ลู ก ค้ า ก� ำ หนด
ผู้บริโภค ตลอดจนการใช้ชีวิตประจ�ำวันของผู้บริโภคและสมาชิกใน การย้ายบ้านได้อย่างชัดเจน
ครอบครัว เพื่อมาก�ำหนดการออกแบบที่อยู่อาศัยให้สอดคล้องกับ 5. บริษัท ได้จัดให้มีระบบลูกค้าสัมพันธ์เพื่อสื่อสารกับ
ความต้องการของลูกค้าและสมาชิกของครอบครัว ในการออกแบบ ลู ก บ้ า นโดยตรงผ่ า นทางเว็ บ ไซต์ ข องบริ ษั ท หรื อ
สินค้าก่อนการผลิตทีเ่ ป็นลักษณะ Mass Production บริษทั ได้กำ� หนดให้ Call Center 1198 เพื่ อ การร้ อ งเรี ย นเรื่ อ งบ้ า น
มีขนั้ ตอนการตรวจการด�ำเนินงาน เพือ่ ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด และให้ และคอนโด, Home Tips, การแจ้งซ่อม Online,
สินค้าทีส่ ง่ มอบให้ลกู ค้ามีคณ
ุ ภาพดีทส่ี ดุ ตัง้ แต่การตรวจแบบให้สมบูรณ์ การตรวจเช็คบ้านในประกัน
ก่อนการก่อสร้างจากหน่วยงานต่าง ๆ ที่ท�ำงานร่วมกันทั้งส่วนงาน
ก่อสร้าง ส่วนงานสถาปัตย์ ส่วนงานตกแต่งภายใน ส่วนงานตรวจสอบ 2) ความพึงพอใจในสินค้าและการบริการหลังการขาย
คุณภาพ และบริการหลังการขาย เพื่อให้สินค้าไม่เกิดข้อบกพร่อง บริษัทได้ให้ความส�ำคัญกับการบริการหลังการขาย (After
ทัง้ จากการออกแบบ การก่อสร้าง การเลือกใช้วสั ดุ นอกจากนี้ ก่อนการ Sales Service) ซึ่งเป็นหนึ่งในนโยบายด้านคุณภาพที่เป็นจุดเด่น
ผลิตที่เป็น Mass จะมีการก่อสร้างเป็นบ้านต้นแบบก่อนทุกครั้ง เพื่อ ของบริษัท บริษัทตระหนักถึงการดูแลลูกบ้านในเรื่องต่าง ๆ โดย
ให้สินค้าที่จะออกสู่ผู้บริโภคสมบูรณ์และไม่เกิดข้อบกพร่องของสินค้า เฉพาะอย่างยิ่งเรื่องของความปลอดภัยและคุณภาพของการอยู่อาศัย
นอกจากนี้ บริษัทยังได้มีการท�ำวิจัยเพื่อสอบถามความ การอ�ำนวยความสะดวกในการแจ้งปัญหาต่าง ๆ รวมทั้งมีการก�ำหนด
คิดเห็นของลูกค้า ทั้งเรื่องความพึงพอใจในสินค้าและบริการ บริษัทได้ แผนการด�ำเนินงานด้านระบบสาธารณูปโภคให้ดีมีคุณภาพก่อนการ
ให้ความส�ำคัญกับการออกแบบในลักษณะที่เป็นเชิงรุกไปข้างหน้า ส่งมอบ และดูแลการจัดตัง้ นิตบิ คุ คลบ้านจัดสรรอย่างชัดเจน เพือ่ ความ
โดยมีการออกแบบบ้านไว้แล้ว เพื่อรองรับและเตรียมความพร้อม สะดวกสบายและความพึงพอใจของลูกบ้าน
ที่จะน�ำแบบบ้านมาใช้ได้ทันที และมีการปรับเปลี่ยนแบบบ้านเมื่อ การมีที่พักอาศัยที่มีคุณภาพ การได้รับบริการหลังการขาย
ใช้ ไ ปในระยะเวลาหนึ่ ง เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความใหม่ แ ละให้ เ หมาะกั บ และการแก้ปัญหาที่อาจเกิดขึ้นได้อย่างทั่วถึงและรวดเร็ว เป็นอีกเรื่อง
ช่วงเวลาอยู่เสมอ ในการออกแบบสินค้านั้น บริษัทมิได้ให้ความส�ำคัญ หนึ่งที่บริษัทฯ ให้ความส�ำคัญ เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีในการพักอาศัยใน
เฉพาะกั บ แบบบ้ า น แต่ ยั ง ให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ การออกแบบสภาพ โครงการของแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ บริษัทได้กำ� หนดแนวทางในการสร้าง
โครงการ สิ่งอ�ำนวยความสะดวกต่าง ๆ ภายในโครงการ สโมสร สวน ความพึงพอใจให้แก่ลูกค้าเพิ่มเติมในเรื่องต่าง ๆ เช่น
ส่วนกลาง และสภาพแวดล้อมด้านหน้าโครงการ ซึง่ นับได้วา่ เป็นจุดเด่น • การสร้างความพร้อมของพื้นที่ส่วนกลางให้ลูกค้าใช้ตั้งแต่
อีกประการหนึ่ง ที่ลูกค้าได้เล็งเห็นถึงความแตกต่างอย่างชัดเจน เปิดโครงการ
เมื่อเปรียบเทียบกับโครงการอื่น ๆ ที่อยู่ในตลาด • การพัฒนาตามแนวคิด Convenience, Security and Safety
บริษัทเน้นถึงความส�ำคัญของคุณภาพสินค้าอย่างยิ่ง โดย • ระบบการสือ่ สารกับลูกบ้าน 24 ชม ผ่าน Website และ
เฉพาะสินค้าที่จะส่งมอบแก่ลูกค้า และมีนโยบายที่ก�ำหนดไว้อย่าง Call Center

59
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

• การจัดกิจกรรมเพือ่ ส่งเสริมความสัมพันธ์ของลูกบ้าน ของกลุ่มลูกค้าได้เป็นอย่างดี และมีการสร้างกิจกรรมที่ต่อเนื่องกับ


• การฝึกอบรมเจ้าหน้าที่งานรักษาความปลอดภัย (Area กลุ่มลูกค้า ท�ำให้กลุ่มลูกค้าที่ซื้อบ้านในโครงการของบริษัท กว่า 30%
Supervisor) ให้สามารถแก้ปญ ั หาเรือ่ งน�ำ้ ไฟฉุกเฉินเฉพาะ เป็นลูกค้าในโครงการเก่าหรือเป็นกลุ่มญาติ พี่น้อง ของลูกค้าที่อยู่ใน
หน้าได้เบือ้ งต้น โครงการของบริษัท
• การบริการขนย้ายเข้าบ้านหลังใหม่ ด้วยบริการจากบริษทั บริษัท ก�ำหนดระบบติดตามคุณภาพบริการพร้อมทั้งน�ำ
ขนย้ายมืออาชีพให้ลูกบ้านทุกหลัง รวมทั้งมีการประเมิน ผลมาพัฒนาปรับปรุงคุณภาพสินค้าและการให้บริการทุกเดือน โดย
คุณภาพการบริการเมือ่ ขนย้ายเรียบร้อย จัดเก็บข้อมูลข้อร้องเรียนของลูกค้า แบ่งเป็น 5 หมวด ดังนี้
• การก�ำหนดมาตรฐานการให้บริการและการอบรมพนักงาน 1. งานซ่อมบ้านทัว่ ไป
ทุกไตรมาส 2. ความเป็นอยูใ่ นโครงการ
3. งานบริการ
ระบบ CRM (Customer Relationship Management) 4. งานด้านความปลอดภัย
และระบบ CEM (Customer Emotional Management) 5. อื่น ๆ เช่น จดหมายขอบคุณ ขอค�ำแนะน�ำ
บริษัทได้พัฒนาระบบ CRM (Customer Relationship ขอความช่วยเหลือ ฯลฯ
Management) และระบบ CEM (Customer Emotional Management) โดยก�ำหนดเป้าหมายในการลดเรือ่ งร้องเรียนใน 4 หมวดหลัก
อย่างต่อเนื่อง เพื่อบันทึกและติดตามผลการด�ำเนินงานด้านการขาย ซึ่งจ�ำนวนและสัดส่วนโดยรวมของข้อร้องเรียนใน 4 หมวดหลักมี
การตลาด ความพึงพอใจของลูกค้า รวมทั้งรวบรวมจ�ำนวนข้อร้อง แนวโน้มลดลง (จ�ำนวนข้อร้องเรียนมีความสัมพันธ์กบั จ�ำนวนโครงการ
เรียนด้านสินค้าและบริการ ท�ำให้บริษัทเข้าถึงความต้องการที่แท้จริง ในแต่ละปี)

จ�ำนวนข้อร้องเรียนที่ได้รับการจัดการ
2563 2564
ประเภทข้อร้องเรียนและขอคำ�ปรึกษา
เกิดขึ้น ติดตามและจัดการ เกิดขึ้น ติดตามและจัดการ
งานซ่อมบ้านทั่วไป 224 224 309 309
ความเป็นอยู่ในโครงการ และเพื่อนบ้าน 398 395 441 441
งานบริการ 93 93 18 18
งานด้านความปลอดภัย 56 55 76 76
อื่น ๆ 120 120 23 20
รวม 891 887 867 864
ด�ำเนินการจัดการได้ 99.11% 99.65%

การติดต่อสื่อสารกับลูกบ้าน นอกจากนี้ บริษัทยังรับผิดชอบต่อความช�ำรุดของสินค้า


บริษัทมีการจัดตั้งหน่วยงานเพื่อติดต่อรับฟังข้อเสนอแนะ โดยเมื่อมีการโอนกรรมสิทธิ์ที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้างให้ลูกค้าแล้ว
หรือข้อคิดเห็นจากลูกค้า เพือ่ รับทราบปัญหา ความต้องการของลูกค้า บริษัทฯ ยังรับผิดชอบในความเสียหายหรือความช�ำรุดของอาคาร
และน�ำมาปรับปรุงแก้ไข เพื่อให้ลูกค้าเกิดความเชื่อมั่น และความพึง ตามกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
พอใจสูงสุด • โครงสร้างอาคาร ได้แก่ เสาเข็ม รากฐาน เสาคาน พื้น
ส�ำหรับช่องทางการร้องเรียนในเรื่องต่าง ๆ ดังนี้ โครงหลังคา และผนังที่รับน�้ำหนัก: รับประกันเป็นเวลา
1. Service Center โทร 1198 กด 2 เวลา 9.00-17.30 น. 5 ปีนบั แต่วนั โอนกรรมสิทธิ์
2. แจ้งซ่อมออนไลน์ E-service ตลอด 24 ชม. • อุปกรณ์และส่วนควบที่ส�ำคัญ: รับประกันเป็นเวลา 1 ปี
ทาง www.lh.co.th/service นับแต่วนั โอนกรรมสิทธิ์
3. ช่องทาง ร้องเรียนเรือ่ งบ้าน ใน www.lh.co.th • รั้วและก�ำแพง: รับประกันเป็นเวลา 1 ปีนับแต่วันโอน
ตลอด 24 ชม. กรรมสิทธิ์ (เฉพาะความช�ำรุดเสียหายทีเ่ กิดกับโครงสร้าง
4. ส�ำนักงานบริการ ณ โครงการ ไม่รวมถึง ประตู อุปกรณ์ รางเลื่อน บานพับ สี และ
ส่วนอืน่ ทีเ่ กิดสนิม)

60
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

3 ชุมชนกับสังคม การบริจาค
“การร่วมสร้างชุมชนและสังคมที่น่าอยู่” บริษทั ขอร่วมเป็นส่วนหนึง่ ทีจ่ ะช่วยให้ประเทศไทยผ่านภาวะ
บริษัทฯ เห็นความส�ำคัญต่อคุณภาพชีวิตในการพักอาศัยอยู่ วิกฤต COVID-19
ในโครงการที่อยู่อาศัยที่มีคุณภาพ รวมทั้งการแวดล้อมด้วยชุมชนและ • วันที่ 12 พฤษภาคม 2564 บริจาคเงิน 900,000 บาท
สังคมทีม่ คี ณ
ุ ภาพเช่นกัน บริษทั ฯ มีนโยบายทีจ่ ะปฏิบตั อิ ย่างรับผิดชอบ ให้กับโรงพยาบาล 10 แห่งเพื่อสมทบทุนจัดซื้อเครื่องมือ
ต่อสังคม โดยไม่กระท�ำการใด ๆ ที่มีผลกระทบทางลบและเสียหายต่อ และอุปกรณ์ทางการแพทย์ทจี่ ำ� เป็น และใช้ในกระบวนการ
สังคมชุมชนและสาธารณประโยชน์ รักษาพยาบาลทีเ่ กีย่ วข้องเพือ่ รักษาผูป้ ว่ ยติดเชือ้ โควิด-19
ในปี 2564 บริษัทฯ ได้มีการด�ำเนินงานพัฒนาคุณภาพชีวิต ได้แก่ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า
และร่วมส่งเสริมการมีส่วนร่วมกับชุมชนและสังคม ผ่านกิจกรรมและ โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ โรงพยาบาล
โครงการต่าง ๆ ดังนี้ ศิ ริ ร าช โรงพยาบาลรามาธิ บ ดี โรงพยาบาลราชวิ ถี
โรงพยาบาลสวนดอก จ.เชียงใหม่ โรงพยาบาลหลวงพ่อ
การบรรเทาผลกระทบ COVID-19 แก่คนงานก่อสร้าง ทวีศักดิ์ ชุตินุธโรอุทิศ ส�ำนักการแพทย์ โรงพยาบาล
1. สร้างแคมป์คนงานแยกผู้ติดเชื้อและผู้ไม่ติดเชื้อจ�ำนวน ผู้สูงอายุบางขุนเทียน และโรงพยาบาลชลประทาน
29 แคมป์ • บริจาคเงิน 100,000 บาท ให้กลุ่มประชาชนอาสาสู้ภัย
2. สนับสนุนค่าอาหารระหว่างการปิดแคมป์งานก่อสร้าง COVID-19 ในนามกลุ่มเส้นด้ายและกลุ่มเราต้องรอด
3. สนับสนุนเงินล่วงหน้า เพือ่ สภาพคล่องของผูร้ บั เหมา • มอบชุด PPE รวม 500 ชุด และกล่อง Fighting Set
4. แจกชุดตรวจ ATK, ยาฟ้าทะลายโจรแก่คนงาน รวม 200 กล่อง ให้กับกลุ่มเส้นด้ายและกลุ่มเราต้องรอด
5. จัดโครงการปลูกผักสมุนไพรในแคมป์คนงาน รวมมูลค่ากว่า 300,000 บาท เป็นชุดยาและเวชภัณฑ์
ทางการแพทย์ เ พื่ อ ดู แ ลรั ก ษาตั ว เองที่ บ ้ า นส� ำ หรั บ
ทุนการศึกษาบุตรพนักงาน ผู ้ ที่ มี อ าการน้ อ ย พร้ อ มใช้ ไ ด้ ทั น ที ประกอบด้ ว ย
บริษัทสนับสนุนให้ทุนการศึกษาแก่บุตร-ธิดาของพนักงาน ปรอทวั ด ไข้ เครื่ อ งวั ด ออกซิ เ จน ยาลดไข้ ยาพ่ น คอ
ระดับปฏิบัติการเป็นประจ�ำทุกปี ในปี 2564 มีผู้ได้รับมอบทุนทั้งสิ้น ฟ้าทะลายโจร ยาละลายเสมหะ ยาลดน�้ำมูก ยาแก้แพ้
83 คน รวม 830,000 บาท ยาแก้อาเจียน ถุงขยะสีแดง เป็นต้น และชุด PPE ส�ำหรับ
ใช้ในการปฏิบัติงานดูแลผู้ป่วยกลุ่มคนไข้เสี่ยงและติดเชื้อ
กิจกรรมเพื่อสังคม • บริจาคกล่องกระดาษ วันที่ 31 พฤษภาคม 2564 พนักงาน
โครงการ Living Solution Expert บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน) ร่วมบริจาค
บริ ษั ท ร่ ว มลงนามบั น ทึ ก ข้ อ ตกลงความร่ ว มมื อ ระหว่ า ง กล่องและลังกระดาษทีไ่ ม่ใช้แล้วเพือ่ ส่งต่อให้กบั โครงการ
องค์กรพันธมิตรทั้งภาครัฐและเอกชน กับเลขาธิการคณะกรรมการ “เปลี่ยน BOXES เป็น BEDS” ของ Lotus’s SCGP
การอาชีวศึกษา ส�ำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาเมื่อ 21 น�ำไปรีไซเคิลเพื่อผลิตเป็นเตียงสนามให้กับโรงพยาบาล
พฤศจิกายน 2563 เพื่อด�ำเนินโครงการ “ศูนย์ความเป็นเลิศทาง สนามสู้โควิด-19 นับเป็นการร่วมช่วยเหลือโรงพยาบาล
อาชีวศึกษา (Excellent Center) สาขางานก่อสร้าง โครงการ Living สนามในการรองรับผู้ป่วยจากสถานการณ์ความรุนแรง
Solution Expert” เพือ่ ยกระดับและพัฒนาฝีมอื ของนักศึกษาอาชีวะ ในการระบาดของโรคโควิด-19
เป็นหลักสูตรระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชัน้ สูง (ปวส.) ระยะเวลาการ
ศึกษา 2 ปี จัดการเรียนการสอนที่วิทยาลัยเทคนิคดุสิต ในปีการศึกษา โครงการจัดท�ำถุงผ้าอเนกประสงค์
2564 ประกอบด้วย วิชาบังคับตามหลักสูตรปวส. วิชาความรู้พื้นฐาน เพื่ อ จ� ำ หน่ า ยแก่ ลู ก ค้ า แวะของโครงการและพนั ก งาน
ด้านการก่อสร้างและวิชาด้านอาชีพ รวมถึงวิชาด้านการจัดการเป็น ที่จะร่วมท�ำการกุศล ในราคาใบละ 250 บาท โดยรายได้ท้ังหมด
ผู้ประกอบการ พร้อมฝึกงานจริงที่สถานประกอบการเป็นระยะเวลา จากการจ�ำหน่าย (โดยไม่หักค่าใช้จ่ายใด ๆ ทั้งสิ้น) จะบริจาคให้แก่
1 ปี เป็นหลักสูตรที่ตอบโจทย์ความต้องการในปัจจุบันและอนาคต ผู้ป่วยยากไร้โรงพยาบาลศิริราช โครงการเริ่ม 1 กรกฎาคม 2564
ทั้ ง ภาคทฤษฎี แ ละปฏิ บั ติ โครงการนี้ ส อดคล้ อ งกั บ แนวทางของ และสามารถช�ำระด้วยการสแกน QR Code ร่วมท�ำบุญโดยตรงไปยัง
กระทรวงศึกษาธิการในการพัฒนาทักษะเฉพาะด้านให้กับนักเรียน ศิรริ าชมูลนิธิ ยอดบริจาคสะสม ณ สิน้ ปี 2564 ประมาณ 421,000 บาท
อย่างตรงจุด และสามารถท�ำงานได้ทันทีหลังจบการศึกษา เนื่องจาก ซึ่งโครงการยังด�ำเนินการต่อในปี 2565
ก�ำลังอาชีวะถือเป็นฟันเฟืองหลักในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ และ
อุตสาหกรรมของประเทศ

61
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

การวิเคราะห์และค�ำอธิบายของฝ่ายจัดการ
งบการเงิน ผลการด�ำเนินงานและกระแสเงินสดส�ำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกันของ
สรุปรายงานของผู้สอบบัญชี ปี 2562 – ปี 2564 บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน) โดยถูกต้องตามที่ควรใน
รายงานของผู้สอบบัญชีส�ำหรับงบการเงินของ ปี 2562 สิ้นสุด สาระส�ำคัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน
31 ธันวาคม 2562 ซึ่งตรวจสอบโดย คุณรุ้งนภา เลิศสุวรรณกุล ผู้สอบ รายงานของผู ้ ส อบบั ญ ชี ส� ำ หรั บ งบการเงิ น ของ ปี 2564
บัญชีรับอนุญาตเลขทะเบียน 3516 แห่งบริษัท ส�ำนักงานสอบบัญชี สิ้นสุด 31 ธันวาคม 2564 ซึ่งตรวจสอบโดย คุณรสพร เดชอาคม
อีวายจ�ำกัด เป็นงบการเงินที่ไม่มีเงื่อนไข ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขทะเบียน 5659 แห่งบริษัท ส�ำนักงาน
รายงานของผู้สอบบัญชีส�ำหรับงบการเงินของ ปี 2563 สิ้นสุด สอบบัญชี อีวายจ�ำกัด ได้แสดงความเห็นต่องบการเงินข้างต้น ได้แสดง
31 ธันวาคม 2563 ซึ่งตรวจสอบโดย คุณรุ้งนภา เลิศสุวรรณกุล ผลการด�ำเนินงานและกระแสเงินสดส�ำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกันของ
ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขทะเบียน 3516 แห่งบริษัท ส�ำนักงาน บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน) โดยถูกต้องตามที่ควรใน
สอบบัญชีอีวายจ�ำกัด ได้แสดงความเห็นต่องบการเงินข้างต้น ได้แสดง สาระส�ำคัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน

บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย


งบแสดงฐานะการเงิน
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2562, 2563 และ 2564
(หน่วย : ล้านบาท)
ณ 31 ธันวาคม 2562 ณ 31 ธันวาคม 2563 ณ 31 ธันวาคม 2564
สินทรัพย์
จำ�นวน % จำ�นวน % จำ�นวน %
สินทรัพย์
สินทรัพย์หมุนเวียน
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 4,554.04 4.03% 7,112.93 5.80% 10,330.97 8.25%
เงินลงทุนระยะสั้น 70.00 0.06% - - - -
ลูกหนี้การค้าและตั๋วเงินรับ - สุทธิ 239.80 0.21% 187.01 0.15% 189.90 0.14%
เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่กิจการที่เกี่ยวข้อง 0.00 0.00% 0.00 0.00% 594.64 0.47%
สินค้าคงเหลือ 53,373.60 47.18% 52,893.10 43.15% 47,255.98 37.74%
สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น
เงินจ่ายล่วงหน้า - ค่าก่อสร้าง 849.38 0.75% 529.54 0.43% 772.58 0.62%
สินทรัพย์ทางการเงินหมุนเวียนอื่น - - 1,459.31 1.19% 74.61 0.06%
อื่น ๆ 1,423.02 1.26% 1,173.11 0.96% 1,265.49 1.01%
รวมสินทรัพย์หมุนเวียน 60,509.84 53.48% 63,355.00 51.69% 60,464.18 48.29%
สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน
เงินลงทุนระยะยาว (สินทรัพย์ทางการเงินไม่หมุนเวียนอื่น) 6,036.84 5.34% 4,418.78 3.61% 3,873.88 3.09%
เงินลงทุนในบริษัทร่วม 24,405.37 21.57% 23,963.61 19.55% 24,226.61 19.35%
เงินให้กยู้ มื ระยะยาวและดอกเบีย้ ค้างรับ - กิจการทีเ่ กีย่ วข้อง 536.15 0.47% 534.20 0.44% 31.18 0.02%
และกิจการอื่น ๆ
ที่ดินรอการพัฒนา 1,337.20 1.18% 2,939.85 2.40% 5,450.28 4.35%
อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน 13,264.21 11.72% 10,960.67 8.94% 11,834.38 9.49%
ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ - สุทธิ 687.75 0.61% 601.48 0.49% 1,565.74 1.25%
สิทธิการเช่า 5,729.78 5.06% 14,910.54 12.16% 16,732.39 13.36.%
สิทธิการภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี 558.95 0.49% 721.18 0.59% 804.62 0.64%
สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น 72.96 0.06% 165.76 0.13% 164.60 0.13%
รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน 52,629.21 46.52% 59,216.07 48.31% 64,733.68 51.71%
รวมสินทรัพย์ 113,139.05 100.00% 122,571.07 100.00% 125,198.06 100.00%

62
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย


งบแสดงฐานะการเงิน
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2562, 2563 และ 2564
(หน่วย : ล้านบาท)
ณ 31 ธันวาคม 2562 ณ 31 ธันวาคม 2563 ณ 31 ธันวาคม 2564

จำ�นวน % จำ�นวน % จำ�นวน %


หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น
หนี้สินหมุนเวียน
เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้น 470.00 0.42% 6,845.00 5.59% 2,409.20 1.97%
เจ้าหนี้การค้าและตั๋วเงินจ่าย 3,805.94 3.36% 3,140.28 2.57% 3,183.77 2.54%
หนี้สินระยะยาวที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี 1,203.19 1.06% 226.27 0.18% 2,571.56 2.05%
หุ้นกู้ระยะยาวที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี 14,000.00 12.37% 11,000.00 8.97% 16,000.00 12.78%
หนี้สินตามสัญญาเช่าที่ถึงก�ำหนดช�ำระภายในหนึ่งปี 4.10 - 764.94 0.62% 789.83 0.63%
หนี้สินหมุนเวียนอื่น
รายได้รับล่วงหน้า 1,106.31 0.98% 1,091.80 0.89% 1,007.08 0.80%
ภาษีเงินได้ค้างจ่าย 494.93 0.44% 497.59 0.41% 576.16 0.46%
อื่น ๆ 1,754.00 1.55% 1,525.17 1.24% 1,524.75 1.22%
รวมสินทรัพย์หมุนเวียน 22,838.47 20.19% 25,091.05 20.47% 28,122.35 22.46%
หนี้สินไม่หมุนเวียน
เงินกู้ยืมระยะยาว 9,018.40 7.97% 14,784.12 12.06% 15,450.16 12.34%
หุ้นกู้ในประเทศ 25,200.00 22.27% 22,600.00 18.44% 22,600.00 18.05%
หนี้สินตามสัญญาเช่า 7.38 0.01% 6,858.47 5.60% 5,924.96 4.73%
หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น ๆ 2,891.93 2.56% 2,636.74 2.15% 2,454.29 1.96%
รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน 37,117.71 32.81% 46,879.33 38.25% 46,429.41 37.08%
รวมหนี้สิน 59,956.18 52.99% 71,970.38 58.72% 74,551.76 59.55%
ส่วนของผู้ถือหุ้น
ทุนที่ออกและเรียกช�ำระแล้ว 11,949.71 10.56% 11,949.71 9.75% 11,949.71 9.54%
ส่วนเกินทุน
ส่วนเกินมูลค่าหุ้น 15,452.86 13.66% 15,452.86 12.61% 15,452.86 12.34%
ส่วนเกินทุนอื่น 1,227.79 1.09% 1,227.79 1.00% 1,227.79 0.98%
องค์ประกอบอื่นของส่วนผู้ถือหุ้น 982.96 0.87% (1,416.95) (1.16%) (1,691.69) (1.35%)
ก�ำไรสะสม
จัดสรรแล้ว – ส�ำรองตามกฎหมาย 1,203.11 1.06% 1,203.11 0.98% 1,203.11 0.96%
ยังไม่ได้จัดสรร 21,646.88 19.13% 21,487.11 17.53% 21,805.04 17.42%
รวมส่วนของผู้ถือหุ้น 52,463.31 46.37% 49,903.63 40.71% 49,946.81 39.89%
ส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย 719.56 0.64% 697.06 0.57% 699.48 0.56%
รวมส่วนของผู้ถือหุ้นและส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย 53,182.87 47.01% 50,600.69 41.28% 50,646.30 40.45%
รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น 113,139.05 100.00% 122,571.07 100.00% 125,198.06 100.00%

63
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย


งบก�ำไรขาดทุน
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2562, 2563 และ 2564
(หน่วย : ล้านบาท)
ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564

จำ�นวน % จำ�นวน % จำ�นวน %


รายได้
รายได้จากการขายและรับจ้าง 25,151.36 75.51% 27,524.72 90.90% 30,461.25 90.90%
รายได้ค่าเช่าและค่าบริการ 4,906.52 14.73% 2,417.22 7.78% 1,808.63 5.40%
รายได้อื่น
ก�ำไรจากการขายอสังหาริมทรัพย์ 2,418.31 7.26% 405.28 1.42% 0.00 0.00%
ดอกเบี้ยรับ 75.83 0.23% 39.86 0.13% 43.97 0.13%
ค่าบริการสาธารณู 349.50 1.05% 398.07 1.28% 439.74 1.31%
อื่น ๆ 405.83 1.22% 281.77 0.91% 755.93 2.26%
รวมรายได้ 33,307.35 100.00% 31,057.68 100.00% 33,509.52 100.00%
ค่าใช้จ่าย
ต้นทุนขาย 16,994.76 51.02% 18,775.53 61.60% 20,641.99 61.60%
ต้นทุนค่าเช่าและค่าบริการ 3,361.25 10.09% 1,977.27 6.37% 1,471.28 4.39%
ค่าใช้จ่ายในการขาย 728.32 2.19% 636.82 2.05% 539.35 1.61%
ค่าใช้จ่ายในการบริหาร 2,367.72 7.11% 2,224.99 7.16% 2,289.89 6.83%
ภาษีธุรกิจเฉพาะและค่าธรรมเนียมการโอน 974.71 2.93% 1,041.99 3.36% 1,144.81 3.42%
ประมาณการหนี้สินจากคดีความ (352.70) (1.06%) (349.09) (1.12%) (104.73) (0.31%)
ขาดทุนจากการอัตราแลกเปลี่ยน (ตราสารอนุพันธ์) 12.53 0.04% 121.45 0.38% 480.32 1.43%
อื่น ๆ 1.35 0.00% 0.67 - 49.7 0.15%
รวมค่าใช้จ่าย 24,087.94 72.32% 24,429.63 78.64% 26,512.61 79.12%
ก�ำไร (ขาดทุน) ก่อนค่าใช้จ่ายการเงินและภาษีเงินได้นิติบุคคล 9,219.41 27.68% 6,637.27 21.37% 6,996.91 20.88%
ค่าใช้จ่ายทางการเงิน (835.44) (2.51%) (888.13) (2.86%) (1,112.40) (3.32%)
ส่วนได้(เสีย) จากเงินลงทุนในบริษัทร่วม 3,382.51 10.16% 2,588.37 8.33% 2,333.33 6.96%
ก�ำไร (ขาดทุน) ก่อนภาษีเงินได้นิติบุคคล 11,766.48 35.33% 8,337.51 26.84% 8,217.83 24.52%
ภาษีเงินได้นิติบุคคล (1,718.79) (5.16%) (1,215.74) (3.91%) (1,279.27) (3.82%)
ก�ำไรสุทธิหลังภาษี 10,047.69 30.17% 7,121.77 22.93% 6,938.56 20.71%
ก�ำไร (ขาดทุน) สุทธิ ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย 22.79 0.07% (23.14) (0.07%) 2.43 0.01%
ก�ำไร (ขาดทุน) สุทธิ 10,024.90 30.10% 7,144.91 23.00% 6,936.13 20.70%

บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย


งบกระแสเงินสด
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2562, 2563 และ 2564
(หน่วย : ล้านบาท)
ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564
เงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมด�ำเนินงาน 1,199.59 3,370.50 10,320.17
เงินสดสุทธิได้มา (ใช้ไป) จากกิจกรรมลงทุน 5,869.83 2,973.63 (1,861.21)
เงินสดสุทธิใช้ไปจากกิจกรรมจัดหาเงิน (9,752.09) (3,836.95) (4,838.95)
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ (2,581.89) 2,558.89 3,218.04

64
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย


อัตราส่วนทางการเงิน
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2562, 2563 และ 2564

31 ธันวาคม 2562 31 ธันวาคม 2563 31 ธันวาคม 2564


อัตราส่วนสภาพคล่อง (Liquidity Ratio)
อัตราส่วนสภาพคล่อง เท่า 2.65 2.53 2.15
อัตราส่วนสภาพคล่องหมุนเร็ว เท่า 0.21 0.29 0.39
อัตราส่วนสภาพคล่องกระแสเงินสด เท่า 0.12 0.20 0.44
อัตราส่วนหมุนเวียนลูกหนี้การค้า เท่า 107 129 171
ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย วัน 3.3 2.8 2.1
อัตราส่วนหมุนเวียนสินค้าคงเหลือ เท่า 0.33 0.35 0.41
ระยะเวลาขายสินค้าเฉลี่ย วัน 1,076 1,019 873
อัตราส่วนหมุนเวียนเจ้าหนี้ เท่า 4.53 5.40 6.53
ระยะเวลาช�ำระหนี้ วัน 80 67 55
Cash Cycle วัน 1,000 955 820
อัตราส่วนแสดงความสามารถในการหาก�ำไร (Profitability Ratio)
อัตราก�ำไรขั้นต้น % 32.28% 30.69% 31.47%
อัตราก�ำไรจากการด�ำเนินงาน % 19.86% 18.41% 17.84%
อัตราก�ำไรอื่น % 19.91% 11.95% 10.66%
อัตราส่วนเงินสดต่อการท�ำก�ำไร % 44.62% 84.81% 201.85%
อัตราก�ำไรสุทธิ % 30.10% 23.00% 20.70%
อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น % 19.57% 13.96% 13.89%
ก�ำไรต่อหุ้นพื้นฐาน บาท/หุ้น 0.84 0.60 0.58
ก�ำไรต่อหุ้นปรับลด บาท/หุ้น - - -
อัตราส่วนแสดงประสิทธิภาพในการด�ำเนินงาน (Efficiency Ratio)
อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ % 8.93% 6.06% 5.60%
อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ถาวร % 51.74% 50.72% 66.18%
อัตราหมุนของสินทรัพย์ เท่า 0.30 0.26 0.27
อัตราส่วนวิเคราะห์นโยบายทางการเงิน (Financial Policy Ratio)
อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น เท่า 1.13 1.42 1.47
อัตราส่วนความสามารถช�ำระดอกเบี้ย เท่า 15.97 11.26 9.59
อัตราส่วนความสามารถช�ำระภาระผูกพัน เท่า 0.85 0.55 0.51
อัตราการจ่ายเงินปันผล % 83.44% 83.63% 86.13%

การวิเคราะห์และค�ำอธิบายของฝ่ายจัดการ ในปี 2562 จากภาวะเศรษฐกิจที่ชะลอลงและสงครามการค้า


(ก) ภาพรวมของการด�ำเนินงานที่ผ่านมา ระหว่างจีนกับสหรัฐส่งผลให้ยอดขายชะลอตัวลงคงเหลือ 25,151.36
ผลการด�ำเนินงาน ล้านบาท และปรับเพิ่มขึ้นเล็กน้อยในปี 2563 เริ่มมีการระบาดของ
ปี 2562 2563 และ 2564 บริษัทมีรายได้จากการขายเท่ากับ COVID - 19 ซึ่งในช่วงแรกมีผู้ติดเชื้อไม่มากนัก ก่อนมีการแพร่ระบาด
25,151.36, 27,524.72 และ 30,461.25 ล้านบาท ตามล�ำดับ ระลอกใหม่ในช่วงปลายปี ที่มีผู้ติดเชื้อมากกว่าในช่วงแรก อย่างไร
เนื่องจากเศรษฐกิจที่ชะลอตัวลงจากสถานการณ์การเมืองในประเทศ ก็ตามรายได้จากการขายปรับตัวสูงขึ้นเป็น 27,524.72 ล้านบาท เพิ่ม
สงครามการค้าระหว่างจีนกับสหรัฐอเมริกา และการระบาดของ ขึ้น 2,373.36 ล้านบาท คิดเป็นเพิ่มขึ้นร้อยละ 9.44 จากปี 2562 ที่
COVID - 19 เริ่มชะลอตัว ท�ำให้ยอดขายในปี 2563 เพิ่มขึ้นจาก มีการชะลอการตัดสินใจซื้อ และในปี 2564 เริ่มมีการผ่อนคลาย
ปี 2562 จ�ำนวน 2,373.36 และปรับเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องในปี 2564 การมาตรการควบคุมการแพร่ระบายของ COVID - 19 ส่งผลให้มี
จ�ำนวน 2,936.83 ล้านบาท การด�ำเนินชีวิตเริ่มมีการเดินทางและจับจ่ายใช้สอยมากขึ้นส่งผลให้
65
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

ยอดขายเพิ่มขึ้นเล็กน้อยต่อเนื่องจากปี 2563 โดยบริษัทสามารถท�ำ บริษทั ย่อยก็ยงั ได้ขยายฐานลูกค้าไปในการก่อสร้างทีอ่ ยูอ่ าศัยเพือ่ ขาย


ยอดขายได้ 30,461.25 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 2,936.53 ล้านบาทคิดเป็น ประเภททาวน์เฮ้าส์และคอนโดมิเนียม เพื่อตอบสนองความต้องการ
เพิ่มขึ้นร้อยละ10.67 จากปี 2563 ของผู้บริโภคด้วยเช่นกัน อย่างไรก็ตามเนื่องจากคอนโดมิเนียมมีความ
ต้องการทีผ่ นั ผวนไปตามภาวะเศรษฐกิจและการแข่งขัน บริษทั จึงต้อง
ก�ำไรขั้นต้นของบริษัทและบริษัทย่อยในช่วง 3 ปี ที่ผ่านมา พิจารณาการเปิดขายโครงการให้เหมาะสมกับสภาวการณ์ในขณะนั้น
(หน่วย : ล้านบาท)
2562 2563 2564 รายได้จากการขายของบริษัทฯ ในปี 2562, 2563 และ ปี 2564
ก�ำไรขั้นต้น 9,701.87 9,189.14 10,156.60 เป็นดังนี

อัตราก�ำไรขั้นต้น 32.28% 30.69% 31.47%
ปี 2562 มีรายได้จากการขายเท่ากับ 25,151.36 ล้านบาท ลดลง
จากช่วงเดียวกันของปีก่อนจ�ำนวน 5,362.28 ล้านบาท ลดลงร้อยละ
17.57 จากเศรษฐกิจที่ชะลอตัวลงอันเนื่องมาจากสงครามการค้า
ก�ำไรขัน้ ต้นของปี 2564 เพิม่ ขึน้ จ�ำนวน 967.46 ล้านบาท มาจาก ระหว่างจีนและสหรัฐอเมริกา
อัตราก�ำไรขั้นต้นที่เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 30.69 เป็นร้อยละ 31.47 จาก ปี 2563 มีรายได้จากการขายเท่ากับ 27,524.72 ล้านบาท เพิม่ ขึน้
การผ่อนคลายมาตรการการควบคุม COVID - 19 และความต้องการ จากช่วงเดียวกันของปีกอ่ นจ�ำนวน 2,373.36 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ ร้อยละ
ที่อยู่อาศัยที่ชะลอตัวในปีก่อน ส่งผลให้ความต้องการบ้านและที่อยู่ 9.44 จากก�ำลังซื้อที่กลับมาจากการชะลอการตัดสินใจซื้อในปี 2562
อาศัยเพิ่มขึ้นในปี 2564 ในส่วนการให้บริการโรงแรมและศูนย์การค้า แม้ว่าจะมีการระบาดของ COVID - 19 ก็ตาม
ยังคงหยุดให้บริการต่อเนื่องจากปี 2563 เศรษฐกิจที่ชะลอตัวลงจาก ปี 2564 มีรายได้จากการขายเท่ากับ 30,461.25 ล้านบาท เพิม่ ขึน้
การที่นักท่องเที่ยวจากทั่วโลกไม่สามารถเดินทางได้ จากช่วงเดียวกันของปีกอ่ นจ�ำนวน 2,936.53 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ ร้อยละ
10.67 จากการผ่อนคลายมาตรการควบคุม COVID - 19 และก�ำลังซื้อ
ผลการด�ำเนินงานที่ผ่านมาของแต่ละกลุ่มธุรกิจ ที่กลับมาจากการชะลอการตัดสินใจซื้อในปี 2562 และปี 2563
รายได้ส่วนใหญ่ของบริษัทและบริษัทย่อยมากกว่าร้อยละ 80
ของรายได้รวมมาจากธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ โดยปี 2562, 2563 และ รายได้ค่าเช่าและค่าบริการ :
ปี 2564 บริษัทและบริษัทย่อยมีรายได้จากธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ รายได้ค่าเช่าและค่าบริการของบริษัท ฯ เพิ่มขึ้นในปี 2562 และ
คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 75.51, 88.60 และ 90.90 ของรายได้รวมตาม ลดลงในปี 2563 และปี 2564 ดังนี้
ล�ำดับ รองลงมาเป็นรายได้จากค่าเช่าและค่าบริการ ซึง่ ปี 2562, 2563 (หน่วย : ล้านบาท)
และปี 2564 คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 14.73, 7.78 และ 5.40 ของ 2562 2563 2564
รายได้รวมตามล�ำดับ รายได้ค่าเช่า 4,906.52 2,417.22 1,808.63
ปี 2562 บริษัทบันทึกก�ำไรจากการขายโรงแรมแกรนด์เซ็น คิดเป็นร้อยละของรายได้รวม 14.73 7.78 5.40
เตอร์พอยต์ สุขุมวิท 55 ในราคา 4,155 ล้านบาท และมีกำ� ไรจ�ำนวน เพิ่มขึ้น (ลดลง) จากปีก่อน 1,173.20 (2,489.30) (608.59)
2,418.31 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 7.26 ของรายได้รวม
เพิ่มขึ้น (ลดลง) คิดเป็นร้อยละ 31.43 (50.73) (25.18)
ปี 2563 บริษทั บันทึกก�ำไรจากการอะพาร์ตเม้นท์ให้เช่าแห่งหนึง่
อัตราก�ำไรขั้นต้น 31.49 18.20 18.65
ในประเทศสหรัฐอเมริกาในราคาขาย 80 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา
มีกำ� ไรประมาณ 13 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา คิดเป็น 405.28 ล้านบาท
เป็นสัดส่วนร้อยละ 1.30 ของรายได้รวม รายได้ค่าเช่าและค่าบริการลดลงอย่างต่อเนื่อง ในปี 2563 ถึง
ปี 2564 บริษัทไม่มีการบันทึกก�ำไรจากการอะพาร์ตเม้นท์ให้เช่า ปี 2564 อันเนื่องมาจากการระบาดของ COVID - 19
ในประเทศสหรัฐอเมริกา ปี 2562 บริษทั มีรายได้จากค่าเช่าและค่าบริการ 4,906.52 ล้านบาท
คิดเป็นร้อยละ 14.73 ของรายได้รวม เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของ
รายได้จากการขาย : ปีก่อนจ�ำนวน 1,173.20 ล้านบาท คิดเป็นเพิ่มขึ้นร้อยละ 31.43
ประกอบด้วยรายได้จากการขายบ้านเดี่ยว ทาวน์เฮ้าส์ และ ปี 2563 บริษทั มีรายได้จากค่าเช่าและค่าบริการ 2,417.22 ล้านบาท
คอนโดมิ เ นี ย ม รั บ รู ้ เ ป็ น รายได้ เ มื่ อ ท� ำ การโอนกรรมสิ ท ธิ์ แ ก่ ผู ้ ซื้ อ คิดเป็นร้อยละ 7.78 ของรายได้รวม ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อน
เรียบร้อยแล้ว รายได้จากการขายส่วนใหญ่ในปี 2562, 2563 และปี จ�ำนวน 2,489.30 ล้านบาท คิดเป็นลดลงร้อยละ 50.73 เนื่องมาจาก
2564 มาจากการขายบ้านเดี่ยวร้อยละ 75.8 ร้อยละ 77.0 และร้อยละ การประกาศ ใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉิน เพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของ
79.90 ตามล�ำดับ บริษัทและบริษัทย่อยมีนโยบายให้ความส�ำคัญ COVID - 19
ในการก่อสร้างบ้านเดี่ยวเพื่อจ�ำหน่าย ในขณะเดียวกันบริษัทและ

66
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

ปี 2564 บริษทั มีรายได้จากค่าเช่าและค่าบริการ 1,808.63 ล้านบาท ปี 2563 รายได้อื่น จ�ำนวน 1,124.98 ล้านบาท ลดลงจากช่วง
คิดเป็นร้อยละ 5.40 ของรายได้รวม ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อน เดียวกันของปีก่อน 2,124.49 ล้านบาท คิดเป็นลดลงร้อยละ 65.38
จ�ำนวน 608.59 ล้านบาท คิดเป็นลดลงร้อยละ 25.18 เนือ่ งมาจากการ ประกอบด้วยก�ำไรจากการขายอสังหาริมทรัพย์จำ� นวน 405.28 ล้านบาท
ประกาศ ใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉิน เพือ่ ควบคุมการแพร่ระบาดของ COVID - 19 มาจากก�ำไรจากการขายอะพาร์ตเม้นท์ให้เช่าแห่งหนึ่งในประเทศ
ปลายปี 2562 ต่อเนื่องถึงปี 2564 สหรัฐอเมริกา รายได้คา่ บริการสาธารณูปโภค จ�ำนวน 398.07 ล้านบาท
เงินปันผลรับจ�ำนวน 115.67 ล้านบาท ดอกเบี้ยรับและรายได้อื่น ๆ
ส่วนแบ่งก�ำไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม : จ�ำนวน 205.96 ล้านบาท
ปี 2562 บริษทั มีสว่ นแบ่งก�ำไรจากเงินลงทุนในบริษทั ร่วม เท่ากับ ปี 2564 รายได้อื่น จ�ำนวน 1,239.64 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก
3,382.51 ล้านบาท ลดลงเล็กน้อยจ�ำนวน 21.98 ล้านบาท ช่วงเดียวกันของปีก่อน 114.66 ล้านบาท คิดเป็นเพิ่มขึ้นร้อยละ
ปี 2563 บริษทั มีสว่ นแบ่งก�ำไรจากเงินลงทุนในบริษทั ร่วม เท่ากับ 10.19 ประกอบด้วยรายได้อื่นจ�ำนวน 673.39 ล้านบาท (มาจากก�ำไร
2,588.37 ล้านบาท ลดลงจ�ำนวน 794.14 ล้านบาท คิดเป็นลดลง จากอัตราแลกเปลี่ยนจ�ำนวน 477.74 ล้านบาท) รายได้ค่าบริการ
ร้อยละ 23.48 สาธารณูปโภค จ�ำนวน 439.74 ล้านบาท เงินปันผลรับจ�ำนวน 82.54
ปี 2564 บริษทั มีสว่ นแบ่งก�ำไรจากเงินลงทุนในบริษทั ร่วม เท่ากับ ล้านบาท และดอกเบี้ยรับ จ�ำนวน 43.97 ล้านบาท
2,333.33 ล้านบาท ลดลงจ�ำนวน 255.04 ล้านบาท คิดเป็นลดลง
ร้อยละ 9.85 ก�ำไรขั้นต้น :
ปี 2562 อัตราก�ำไรขั้นต้นอยู่ที่ร้อยละ 32.28 โดยก�ำไรขั้นต้น
ตารางส่วนแบ่งก�ำไรจากบริษทั ร่วม ของปี 2562, 2563 และ 2564 ของรายได้จากการขายของบริษัทอยู่ที่ร้อยละ 32.43 และอัตรา
(หน่วย : ล้านบาท) ก�ำไรขั้นต้นของรายได้ค่าเช่าและค่าบริการอยู่ที่ร้อยละ 31.49
บริษัท ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2563 อัตราก�ำไรขั้นต้นอยู่ที่ร้อยละ 30.69 โดยก�ำไรขั้นต้น
บมจ. แอลเอช 703.32 496.00 272.19 ของรายได้จากการขายของบริษัทอยู่ที่ร้อยละ 31.78 และอัตรา
ไฟแนนซ์เชียลกรุ๊ป ก�ำไรขั้นต้นของรายได้ค่าเช่าและค่าบริการอยู่ที่ร้อยละ 18.20
บมจ. ควอลิตี้คอนสตรัคชั่น 38.02 24.12 30.39 ปี 2564 อัตราก�ำไรขั้นต้นอยู่ที่ร้อยละ 31.47 โดยก�ำไรขั้นต้น
โปรดัคส์ ของรายได้จากการขายของบริษัทอยู่ที่ร้อยละ 32.24 และอัตรา
บมจ. โฮมโปรดักส์ เซ็นเตอร์ 1,867.48 1,558.67 1,644.89 ก�ำไรขั้นต้นของรายได้ค่าเช่าและค่าบริการอยู่ที่ร้อยละ 18.65
กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์และ 56.81 (20.77) (31.15)
สิทธิเรียกร้องแลนด์แอนด์เฮ้าส์ 2 ค่าใช้จ่ายในการบริหาร :
บมจ. ควอลิตี้เฮ้าส์ 716.88 530.35 417.01 ปี 2562 มีค่าใช้จ่ายในการบริหาร จ�ำนวน 2,367.72 ล้านบาท
รวม 3,382.51 2,588.37 2,333.33 หักด้วยการโอนกลับประมาณการหนีส้ นิ จ�ำนวน 352.70 ล้านบาท คงเหลือ
เพิ่มขึ้น (ลดลง) (21.98) (794.14) (255.04) ค่าใช้จ่ายในการบริหารสุทธิจ�ำนวน 2,015.02 ล้านบาท คิดเป็น
คิดเป็นเพิ่มขึ้น (ลดลง) ร้อยละ (0.65) (23.48) (9.85) สัดส่วนต่อรายได้ ร้อยละ 6.05 ค่าใช้จา่ ยในการบริหารลดลงเมือ่ เทียบ
กับช่วงเดียวกันของปีก่อนจ�ำนวน 392.84 ล้านบาท คิดเป็นลดลง
รายได้อื่น : ร้อยละ16.31 เกิดขึ้นจากประมาณการหนี้สินจากคดีความที่ลดลง
ประกอบด้วยก�ำไรจากการขายเงินลงทุน ก�ำไรจากการกลับ จ�ำนวน 352.70 ล้านบาท
รายการด้อยค่าเงินลงทุน ก�ำไรจากการโอนกลับผลขาดทุนจากการด้อย ปี 2563 มีค่าใช้จ่ายในการบริหาร จ�ำนวน 2,224.99 ล้านบาท
ค่าของโครงการ ดอกเบีย้ รับ ค่าบริการสาธารณูปโภค เงินปันผลรับ และ หักด้วยการโอนกลับประมาณการหนี้สิ้นจ�ำนวน 349.09 ล้านบาท
รายได้อนื่ ๆ โดยรายได้อนื่ ของบริษทั มีรายละเอียดดังนี้ คงเหลือค่าใช้จ่ายในการบริหารสุทธิจ�ำนวน 1,875.90 ล้านบาท
ปี 2562 รายได้อื่น จ�ำนวน 3,249.47 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก คิดเป็นสัดส่วนต่อรายได้ ร้อยละ 6.04 ค่าใช้จ่ายในการบริหารลดลง
ช่วงเดียวกันของปีก่อน 1,049.29 ล้านบาท คิดเป็นเพิ่มขึ้นร้อยละ เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อนจ�ำนวน 139.12 ล้านบาท คิดเป็น
47.69 ประกอบด้วยก�ำไรจากการขายอสังหาริมทรัพย์จำ� นวน 2,418.31 ลดลงร้อยละ 6.90
ล้านบาท (ซึง่ มาจากการขายโรงแรมแกรนด์เซ็นเตอร์พอยต์ สุขมุ วิท 55 ปี 2564 มีค่าใช้จ่ายในการบริหาร จ�ำนวน 2,289.89 ล้านบาท
ให้แก่กองทรัสต์เพื่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ในราคา 4,155 หักด้วยการโอนกลับประมาณการหนี้สินจ�ำนวน 104.73 ล้านบาท
ล้านบาท) รายได้ค่าบริการสาธารณูปโภค จ�ำนวน 349.50 ล้านบาท คงเหลือค่าใช้จ่ายในการบริหารสุทธิจ�ำนวน 2,185.16 ล้านบาท
เงินปันผลรับจ�ำนวน 230.50 ล้านบาท ดอกเบี้ยรับและรายได้อื่น ๆ คิดเป็นสัดส่วนต่อรายได้ ร้อยละ 6.52 ค่าใช้จ่ายในการบริหารเพิ่มขึ้น
จ�ำนวน 251.16 ล้านบาท เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อนจ�ำนวน 309.26 ล้านบาท คิดเป็น
เพิ่มขึ้นร้อยละ 16.48 เกิดขึ้นจากการโอนกลับประมาณการหนี้สิน
จากคดีความที่ลดลงจ�ำนวน 244.36 ล้านบาท
67
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

ค่าใช้จ่ายในการขาย : ปี 2564 บริษัทมีก�ำไรก่อนค่าใช้จ่ายทางการเงินและภาษีเงินได้


ค่าใช้จา่ ยในการขายทีไ่ ม่รวมภาษีธรุ กิจเฉพาะและค่าธรรมเนียมโอน นิตบิ คุ คล 6,996.91 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 359.62 ล้านบาท คิดเป็นเพิม่ ขึน้
ปี 2562 มีค่าใช้จ่ายในการขาย จ�ำนวน 728.32 ล้านบาท ร้อยละ 5.42 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน
คิดเป็นสัดส่วนต่อรายได้ ร้อยละ 2.19 มีค่าใช้จ่ายในการขายลดลง
จากช่วงเดียวกันของปีกอ่ นจ�ำนวน 367.23 ล้านบาท คิดเป็นลดลงร้อยละ ก�ำไรก่อนภาษีเงินได้นิติบุคคล :
33.52 ซึง่ เป็นผลมาจากการน�ำมาตรฐานการรายงานทางบัญชีฉบับที่ 15 ปี 2562 บริษัทมีก�ำไรก่อนภาษีเงินได้นิติบุคคล 11,766.48
มาใช้จึงได้น�ำค่าส่งเสริมการขายที่เดิมแสดงไว้ในค่าใช้จ่ายในการขาย ล้านบาท ลดลง 445.41 ล้านบาท คิดเป็นลดลงร้อยละ 3.65 เมือ่ เทียบ
จ�ำนวน 378 ล้านบาทไปแสดงหักจากรายได้จากการขายแทน กับช่วงเดียวกันของปีก่อน
ปี 2563 มีคา่ ใช้จา่ ยในการขาย จ�ำนวน 636.82 ล้านบาท คิดเป็น ปี 2563 บริษัทมีก�ำไรก่อนภาษีเงินได้นิติบุคคล 8,337.51
สัดส่วนต่อรายได้ ร้อยละ 2.05 มีค่าใช้จ่ายในการขายลดลงจากช่วง ล้านบาท ลดลง 3,428.97 ล้านบาท คิดเป็นลดลงร้อยละ 29.14 เมื่อ
เดียวกันของปีก่อนจ�ำนวน 91.5 ล้านบาท คิดเป็นลดลงร้อยละ 12.56 เทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน
ปี 2564 มีคา่ ใช้จา่ ยในการขาย จ�ำนวน 539.35 ล้านบาท คิดเป็น ปี 2564 บริษัทมีก�ำไรก่อนภาษีเงินได้นิติบุคคล 8,217.83
สัดส่วนต่อรายได้ ร้อยละ 1.61 มีค่าใช้จ่ายในการขายลดลงจากช่วง ล้านบาท ลดลง 119.68 ล้านบาท คิดเป็นลดลงร้อยละ 1.43 เมือ่ เทียบ
เดียวกันของปีกอ่ นจ�ำนวน 97.47 ล้านบาท คิดเป็นลดลงร้อยละ 15.30 กับช่วงเดียวกันของปีก่อน

ภาษีธุรกิจเฉพาะและค่าธรรมเนียมการโอน : ก�ำไรสุทธิ :
ส�ำหรับปี 2562 ภาษีธุรกิจเฉพาะและค่าธรรมเนียมการโอนมี ปี 2562 บริษัทมีกำ� ไรสุทธิจำ� นวน 10,024.90 ล้านบาท ลดลง
จ�ำนวน 974.71 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนต่อรายได้ ร้อยละ 2.93 เมื่อ 450.53 ล้านบาท คิดเป็นลดลงร้อยละ 4.30
เทียบกับช่วงเดียวกันของปีกอ่ น ลดลงจ�ำนวน 191.89 ล้านบาท ลดลง ปี 2563 บริษัทมีก�ำไรสุทธิจ�ำนวน 7,144.91 ล้านบาท ลดลง
ร้อยละ 16.45 ตามยอดรายได้ที่ลดลงในปี 2562 2,879.99 ล้านบาท คิดเป็นลดลงร้อยละ 28.73
ส�ำหรับปี 2563 ภาษีธุรกิจเฉพาะและค่าธรรมเนียมการโอนมี ปี 2564 บริษัทมีก�ำไรสุทธิจ�ำนวน 6,936.13 ล้านบาท ลดลง
จ�ำนวน 1,041.99 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนต่อรายได้ ร้อยละ 3.35 เมือ่ 208.80 ล้านบาท คิดเป็นลดลงร้อยละ 2.92
เทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้นจ�ำนวน 67.28 ล้านบาท ลดลง จากผลการด�ำเนินงานทีก่ ล่าวมาข้างต้น เมือ่ พิจารณาถึงอัตราส่วน
ร้อยละ 6.90 จากยอดรายได้ที่เพิ่มขึ้นในปี 2563 แสดงความสามารถในการท� ำ ก� ำ ไรขั้ น ต้ น ของบริ ษั ท ในปี 2562,
ส�ำหรับปี 2564 ภาษีธุรกิจเฉพาะและค่าธรรมเนียมการโอนมี 2563 และปี 2564 บริษัทมีอัตราก�ำไรขั้นต้นร้อยละ 32.28, 30.62
จ�ำนวน 1,144.81 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนต่อรายได้ ร้อยละ 3.42 และ 31.47 ตามล�ำดับ และมีอัตราก�ำไรสุทธิในปี 2562, 2563, และ
เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อนเพิ่มขึ้นจ�ำนวน 102.82 ล้านบาท ปี 2564 เท่ากับร้อยละ 30.17, 22.93 และ 20.71 ตามล�ำดับ
เพิ่มขึ้นร้อยละ 9.87 จากยอดรายได้ที่เพิ่มขึ้นในปี 2564
ก�ำไรต่อหุ้น :
ก�ำไรก่อนค่าใช้จ่ายทางการเงินและภาษีเงินได้นิติบุคคล : จ�ำนวนหุ้นในปี 2562, 2563 และ ปี 2564 มีจำ� นวนหุ้นเท่ากับ
ปี 2562 บริษัทมีก�ำไรก่อนค่าใช้จ่ายทางการเงินและภาษีเงินได้ 11,950 ล้านหุ้น ในการค�ำนวณก�ำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน บริษัทมีก�ำไร
นิติบุคคล 9,219.41 ล้านบาท ลดลง 318.57 ล้านบาท คิดเป็นลดลง ต่อหุ้น ในปี 2562, 2563 และ ปี 2564 จ�ำนวน 0.84, 0.60 และ 0.58
ร้อยละ 3.34 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน บาทต่อหุ้น ตามล�ำดับ
ปี 2563 บริษัทมีก�ำไรก่อนค่าใช้จ่ายทางการเงินและภาษีเงินได้
นิตบิ คุ คล 6,637.29 ล้านบาท ลดลง 2,582.12 ล้านบาท คิดเป็นลดลง เงินปันผลจ่าย :
ร้อยละ 28.01 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน จากผลการด�ำเนินงาน บริษทั ได้พจิ ารณาจ่ายเงินปันผลส�ำหรับผล
การด�ำเนินงานส�ำหรับ ปี 2562 2563 และปี 2564 ดังนี้
อัตราการจ่ายเงิน ปันผล (%) จำ�นวนเงินปันผล (ล้านบาท) วันที่จ่ายเงินปันผล
เงินปันผลจ่ายส�ำหรับผลการด�ำเนินงานปี 2561 85.53 4,780 11 กันยายน 2561
4,182 21 พฤษภาคม 2562
เงินปันผลจ่ายส�ำหรับผลการด�ำเนินงานปี 2562 83.44 3,585 11 กันยายน 2562
4,780 22 พฤษภาคม 2563
เงินปันผลจ่ายส�ำหรับผลการด�ำเนินงานปี 2563 83.63 2,390 11 กันยายน 2563
3,585 21 พฤษภาคม 2564
เงินปันผลจ่ายส�ำหรับผลการด�ำเนินงานปี 2564 86.13 2,987 9 กันยายน 2564
2,987 20 พฤษภาคม 2565
68
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

การจ่ายเงินปันผลส�ำหรับผลการด�ำเนินงานปี 2562 ที่ประชุม (ข) ฐานะการเงิน


คณะกรรมการบริษทั เมือ่ วันที่ 14 สิงหาคม 2562 มีมติให้จา่ ยเงินปันผล สินทรัพย์
ระหว่างกาลส�ำหรับผลการด�ำเนินงาน 6 เดือนแรกของปี 2562 ในอัตรา บริษัทและบริษัทย่อยมีสินทรัพย์รวม ณ สิ้นปี 2562, ปี 2563
หุ้นละ 0.30 บาท (มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท) เป็นจ�ำนวนเงิน 3,585 และ ปี 2564 จ�ำนวน 113,139.05 ล้านบาท, 122,571.07 ล้านบาท
ล้านบาท โดยมีก�ำหนดจ่ายเงินปันผลในวันที่ 11 กันยายน 2562 และ และ 125,198.06 ล้านบาทตามล�ำดับ เนื่องจากบริษัทประกอบธุรกิจ
เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2563 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ มีมติ พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ โดยการสร้างบ้านก่อนขายและมีการทยอย
อนุมัติเพื่อน�ำเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาอนุมัติเรื่องการ เปิดโครงการใหม่อย่างต่อเนื่อง สินทรัพย์ที่ส�ำคัญจึงอยู่ในรูปสินค้า
จ่ายเงินปันผลส�ำหรับผลการด�ำเนินงานประจ�ำปี 2562 ในอัตรา 0.70 คงเหลือซึ่งประกอบด้วย ที่ดินและงานระหว่างก่อสร้าง นอกจากนั้น
บาทต่อหุ้น คงเหลือเงินปันผลที่จะจ่ายเพิ่มอีกจ�ำนวน 0.40 บาท สินทรัพย์ที่ส�ำคัญของบริษัทในล�ำดับต่อไปได้แก่ เงินลงทุนในบริษัท
ต่อหุ้น คิดเป็นจ�ำนวนเงินประมาณ 4,780 ล้านบาท โดยมีก�ำหนด ย่อยและบริษัทร่วม และอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน รายละเอียด
จ่ายเงินปันผลในวันที่ 22 พฤษภาคม 2563 คิดเป็นอัตราการจ่ายเงิน ของสินทรัพย์ของบริษัท ดังนี้
ปันผลปี 2562 ในสัดส่วนร้อยละ 83.44 ของก�ำไรสุทธิ สินค้าคงเหลือ ณ สิ้นปี 2562, 2563 และปี 2564 จ�ำนวน
การจ่ายเงินปันผลส�ำหรับผลการด�ำเนินงานปี 2563 ที่ประชุม 53,373.60 ล้านบาท, 52,893.10 ล้านบาท และ 47,255.98 ล้านบาท
คณะกรรมการบริษทั เมือ่ วันที่ 13 สิงหาคม 2563 มีมติให้จา่ ยเงินปันผล คิดเป็นสัดส่วนต่อสินทรัพย์รวม ร้อยละ 47.18, 43.15 และร้อยละ
ระหว่างกาลส�ำหรับผลการด�ำเนินงาน 6 เดือนแรกของปี 2563 ในอัตรา 37.74 ตามล�ำดับ บริษัทได้แยกแสดงรายการที่ดินที่ยังไม่ได้มีการ
หุ้นละ 0.20 บาท (มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท) เป็นจ�ำนวนเงิน 2,390 พัฒนาของบริษัทและบริษัทย่อยรวมทั้งค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้อง ณ สิ้นปี
ล้านบาท โดยมีก�ำหนดจ่ายเงินปันผลในวันที่ 11 กันยายน 2563 และ 2562, 2563 และปี 2564 เท่ากับ 1,337.20, 2,939.85 และ 5,450.28
เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2564 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ มีมติ ล้านบาท ตามล�ำดับ เป็นที่ดินรอการพัฒนา โดยแสดงไว้ในส่วนของ
อนุมตั เิ พือ่ น�ำเสนอต่อทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ เพือ่ พิจารณาอนุมตั เิ รือ่ งการจ่าย สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน และจะแสดงรายการดังกล่าวเป็นสินค้าคงเหลือ
เงินปันผลส�ำหรับผลการด�ำเนินงานประจ�ำปี 2563 ในอัตรา 0.50 บาท เมื่อเริ่มท�ำการพัฒนา
ต่อหุ้น คงเหลือเงินปันผลที่จะจ่ายเพิ่มอีกจ�ำนวน 0.30 บาทต่อหุ้น คิด
เป็นจ�ำนวนเงินประมาณ 3,585 ล้านบาท โดยมีก�ำหนดจ่ายเงินปันผล 2562 2563 2564
ในวันที่ 21 พฤษภาคม 2564 คิดเป็นอัตราการจ่ายเงินปันผลปี 2563
สินค้าคงเหลือสุทธิ 53,373.60 52,893.10 47,255.98
ในสัดส่วนร้อยละ 83.63 ของก�ำไรสุทธิ
เพิ่มขึ้น (ลดลง) 5,130.33 (480.50) (5,637.12)
การจ่ายเงินปันผลส�ำหรับผลการด�ำเนินงานปี 2564 ที่ประชุม
คณะกรรมการบริษทั เมือ่ วันที่ 10 สิงหาคม 2564 มีมติให้จา่ ยเงินปันผล คิดเป็นร้อยละของ 47.18 43.15 37.74
สินทรัพย์รวม
ระหว่างกาลส�ำหรับผลการด�ำเนินงาน 6 เดือนแรกของปี 2564 ในอัตรา
หุ้นละ 0.25 บาท (มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 1 บาท) เป็นจ�ำนวนเงิน 2,987
ล้านบาท โดยมีก�ำหนดจ่ายเงินปันผลในวันที่ 9 กันยายน 2563 และ ปี 2564 บริษัทและบริษัทย่อย ได้โอนที่ดินที่ยังไม่ได้พัฒนาไป
เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2565 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ มีมติ เป็นที่ดินรอการพัฒนาจ�ำนวน 3,114.72 ล้านบาท
อนุมัติเพื่อน�ำเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาอนุมัติเรื่องการ ลูกหนี้การค้าสุทธิ ณ สิ้นปี 2562, 2563 และ ปี 2564 บริษัท ฯ
จ่ายเงินปันผลส�ำหรับผลการด�ำเนินงานประจ�ำปี 2564 ในอัตรา 0.50 มีลูกหนี้การค้าสุทธิ 239.80 ล้านบาท, 187.01 ล้านบาท และ 169.90
บาทต่อหุน้ คงเหลือเงินปันผลทีจ่ ะจ่ายเพิม่ อีกจ�ำนวน 0.25 บาทต่อหุน้ ล้านบาท ตามล�ำดับ มาจากธุรกิจให้เช่าและบริการ
คิดเป็นจ�ำนวนเงินประมาณ 2,987 ล้านบาท โดยมีก�ำหนดจ่ายเงิน
ปันผลในวันที่ 20 พฤษภาคม 2565 คิดเป็นอัตราการจ่ายเงินปันผลปี
2564 ในสัดส่วนร้อยละ 86.13 ของก�ำไรสุทธิ

69
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

เงินลงทุนในบริษัทร่วม มีรายละเอียดดังต่อไปนี้
ตารางมูลค่าเงินลงทุนตามวิธีส่วนได้เสียของบริษัทร่วม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2562, 2563 และ 2564
(หน่วย: ล้านบาท)
บริษัท 2562 2563 2564
บมจ. แอลเอช ไฟแนนซ์เชียลกรุ๊ป 9,015.46 8,568.29 8,366.91
บมจ. คอวลิตี้คอนสตรัคชั่นโปรดัคส์ 423.71 431.56 422.38
บมจ. โฮมโปรดักส์ เซ็นเตอร์ 7,009.22 7,138.36 7,538.99
กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์และสิทธิเรียกร้อง แลนด์แอนด์เฮ้าส์ 2 383.29 325.39 294.24
บมจ. ควอลิตี้เฮ้าส์ 7,573.69 7,500.01 7,604.09
รวม 24,405.37 23,963.61 24,226.61
คิดเป็นร้อยละของทรัพย์สินรวม 21.57 19.55 19.35

(หน่วย : ล้านบาท)
เงินลงทุนระยะยาว/สินทรัพย์ทางการเงินไม่หมุนเวียนอืน่ ณ สิน้
ปี 2562, 2563 และ ปี 2564 มีจำ� นวน 6,036.84, 4,418.78 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2562 2563 2564
และ 3,873.88 คิดเป็นสัดส่วนต่อสินทรัพย์รวมร้อยละ 5.34, 3.61 มูลค่าสุทธิตามบัญชีของ 689 2,053 3,819
และ 3.09 ตามล�ำดับ ที่ดินรอการพัฒนาที่ติด
ปี 2562 บริษัทมีเงินลงทุนระยะยาวจ�ำนวน 6,036.84 ล้านบาท ภาระค�้ำประกัน
เพิม่ ขึน้ จากปีกอ่ นจ�ำนวน 329.32 ล้านบาท จากมูลค่าเงินลงทุนเพิม่ ขึน้
จากปี 2561 อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน
ปี 2563 บริษัทมีสินทรัพย์ทางการเงินไม่หมุนเวียนอื่น จ�ำนวน ปี 2562, 2563 และปี 2564 บริษัทมีอสังหาริมทรัพย์เพื่อการ
4,418.78 ล้านบาท ลดลงจากปีก่อนจ�ำนวน 1,618.06 ล้านบาท จาก ลงทุนจ�ำนวน 13,264.21, 10,960.67 และ 11,884.38 ล้านบาท
มูลค่าเงินลงทุนที่ลดลงจากปี 2562 จากสถานการณ์การแพร่ระบาด ตามล�ำดับ
ของ COVID - 19 ปี 2562 ไม่มีรายการซื้อหรือขายอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน
ปี 2564 บริษัทมีสินทรัพย์ทางการเงินไม่หมุนเวียนอื่น จ�ำนวน ในสหรัฐอเมริกา
3,873.88 ล้านบาท ลดลงจากปีก่อนจ�ำนวน 544.90 ล้านบาท จาก ปี 2563 LH USA ได้ขายอะพาร์ตเมนท์ให้เช่าในสหรัฐอเมริกา
มูลค่าเงินลงทุนที่ลดลงจากปี 2563 จากสถานการณ์การแพร่ระบาด ในราคา 80 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา มีก�ำไรจากการขายจ�ำนวน
ของ COVID - 19 ประมาณ 13 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา และได้รบั รูร้ ายได้ดงั กล่าวเป็น
ก�ำไรจ�ำนวน 405.28 ล้านบาท
ที่ดินรอการพัฒนา ณ สิ้น ปี 2561, 2562 และ ปี 2563 มีจ�ำนวน ปี 2564 ไม่มีรายการซื้อหรือขายอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน
1,337.20 ล้านบาท, 1,337.20 และ 2,939.85 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วน ในสหรัฐอเมริกา
ต่อสินทรัพย์รวมร้อยละ 1.20, 1.18 และ 2.40 ตามล�ำดับ โดยมูลค่ายุติธรรมของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนดังกล่าวมี
ปี 2562 ที่ดินรอการพัฒนามีจ�ำนวนรวม 1,337.20 ล้านบาท มูลค่าดังนี้
หลังหักส�ำรองเผื่อด้อยค่าจ�ำนวน 724.30 ล้านบาท เท่ากับปี 2561 (หน่วย : ล้านบาท)
ปี 2563 ทีด่ นิ รอการพัฒนามีจำ� นวนรวม 2,939.85 ล้านบาท หลัง 2562 2563 2564
หักส�ำรองเผื่อด้อยค่าจ�ำนวน 724.30 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2562 มูลค่ายุติธรรม 13,482 10,991 13,384
จ�ำนวน 1,602.65 ล้านบาท
ปี 2564 ทีด่ นิ รอการพัฒนามีจำ� นวนรวม 5,450.28 ล้านบาท หลัง ในปี 2563 LH USA ได้ขายอะพาร์ตเม้นท์แห่งหนึ่งไปในราคา
หักส�ำรองเผื่อด้อยค่าจ�ำนวน 724.30 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2563 80 ล้านเหรียญสหรัฐ
จ�ำนวน 2,510.43 ล้านบาท
ในระหว่างปี 2564 บริษทั ฯ ได้จดั ให้ผปู้ ระเมินราคาอิสระท�ำการ ในปี 2562, 2563 และ 2564 รายได้ค่าเช่าและค่าใช้จ่ายในการ
ประเมินมูลค่ายุตธิ รรมของทีด่ นิ รอการพัฒนาบางส่วนของบริษทั ฯ และ ด�ำเนินงานทางตรงที่เกิดจากโครงการอะพาร์ตเมนท์ให้เช่าของ LH
บริษัทย่อย โดยใช้วิธีเปรียบเทียบมูลค่าตลาด (Market Comparison USA ที่รับรู้ในส่วนของก�ำไรขาดทุน มีดังนี้
Apptoach) เป็นเกณฑ์ในการพิจารณาก�ำหนดมูลค่าทรัพย์สิน โดย (หน่วย : ล้านบาท)
ผู้ประเมินราคาอิสระได้ประเมินมูลค่ายุติธรรมของที่ดินรอการพัฒนา ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564
ดังกล่าวสูงกว่ามูลค่าสุทธิตามบัญชีของโครงการ แต่มี 1 โครงการจาก รายได้ค่าเช่า 645 1,211 844
บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ ซึ่งเป็นสินค้าคงเหลือที่มีมูลค่าราคาประเมิน ค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินงานทางตรง 575 940 817
ต�่ำกว่ามูลค่าตามบัญชีจ�ำนวน 42.47 ล้านบาท ซึ่งบริษัทได้บันทึก
เป็นค่าใช้จ่ายในงบก�ำไรขาดทุนแล้ว 70
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ – สุทธิ ในช่วง 3 ปี ที่ผ่านมาตาม โดยในปี 2563 มีการปรับปรุงสินทรัพย์สิทธิการใช้และจัดประเภท


ตารางข้างล่าง รายการตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับที่ 16 มาถือปฏิบัติ
(หน่วย : ล้านบาท) เป็นปีแรก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2563 มีมูลค่าสินทรัพย์สิทธิการใช้
ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 คงเหลือจ�ำนวน 16,732.39 ล้านบาท และมีหนีส้ นิ ตามสัญญาเช่าคงเหลือ
ราคาทุนสุทธิ 687.75 601.48 1,565.74 จ�ำนวน 6,714.79 ล้านบาท สิทธิการเช่าประกอบด้วยดังนี้
(หน่วย : ล้านบาท)
เพิ่มขึ้น (ลดลง) (175.34) (86.27) 946.26
ปี 2562
โรงแรม แกรนด์เซ็นเตอร์ พอยต์ ราชด�ำริ -
ปี 2564 LH USA ได้ซื้อโรงแรมแห่งหนึ่งในสหรัฐอเมริกา ราคา โรงแรม แกรนด์เซ็นเตอร์ พอยต์ สุขุมวิท 55 -
ทุนประมาณ 31 ล้านเหรียญ คิดเป็นเงินไทยประมาณ 1,056 ล้านบาท โรงแรม แกรนด์เซ็นเตอร์ พอยต์ และศูนย์การค้าเทอร์มนิ อล 21 พัทยา 4,246.38
ศูนย์การค้าเทอร์มินอล 21 พระราม 3 869.53
สิทธิการเช่า/สินทรัพย์สิทธิการใช้
ที่ดินเปล่า 613.87
ปี 2562, 2563 และ 2564 บริษัทและบริษัทย่อยมีสิทธิการเช่า
รวม 5,729.78
จ�ำนวน 5,729.78, 14,910.54 และ 16,732.39 ล้านบาท ตามล�ำดับ

สินทรัพย์สิทธิการใช้ในปี 2563 ประกอบด้วย


บริษัท ชื่อโครงการ สถานที่ตั้ง ราคาทุนสุทธิ (ล้านบาท) 2564
LHMH ร.ร. แกรนด์ เซนเตอร์พอยต์ และ พัทยา สัญญาเช่า 28 ปี 4,671 ค�ำ้ ประกันเงินกู้
ศูนย์การค้าเทอร์มินอล 21 พัทยา จากธนาคาร
LHMH ศูนย์การค้า เทอร์มินอล 21 พระราม 3 พระราม 3 สัญญาเช่า 33 ปี 2,221 ค�ำ้ ประกันเงินกู้
จากธนาคาร
LHMH สิทธิการเช่าที่อยู่ระหว่างการก่อสร้าง กรุงเทพฯ และพัทยา 3,086 -ไม่มี-
LHMH สิทธิการใช้โรงแรม 3 แห่ง ในเขตกรุงเทพฯ อายุ 5 - 8 ปี 4,328 -ไม่มี-
LHP สิทธิการใช้โรงแรม 1 แห่ง ในเขตกรุงเทพฯ อายุ 4 ปี 280 -ไม่มี-
LH และ LHMH สิทธิการใช้อาคารส�ำนักงานและอื่น ๆ ในเขตกรุงเทพฯ อายุ 4 - 8 ปี 325 -ไม่มี-

LH = บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ LHMH = บจ. แอลเอช มอลล์ แอนด์ โฮเทล LHP = แอล แอนด์ เอช พร็อพเพอร์ตี้

ปี 2564 สินทรัพย์สิทธิการใช้ประกอบด้วย

บริษัท ชื่อโครงการ สถานที่ตั้ง ราคาทุนสุทธิ (ล้านบาท) 2564


LHMH ร.ร. แกรนด์ เซนเตอร์พอยต์ และ พัทยา สัญญาเช่า 27 ปี 4,878 ค�ำ้ ประกันเงินกู้
ศูนย์การค้าเทอร์มินอล 21 พัทยา จากธนาคาร
LHMH ศูนย์การค้า เทอร์มินอล 21 พระราม 3 พระราม 3 สัญญาเช่า 32 ปี 3,442 ค�ำ้ ประกันเงินกู้
จากธนาคาร
LHMH สิทธิการเช่าที่อยู่ระหว่างการก่อสร้าง กรุงเทพฯ และพัทยา 4,382 -ไม่มี-
LHMH สิทธิการใช้โรงแรม 3 แห่ง ในเขตกรุงเทพฯ อายุ 4 - 7 ปี 3,611 -ไม่มี-
LHP สิทธิการใช้โรงแรม 1 แห่ง ในเขตกรุงเทพฯ อายุ 3 ปี 210 -ไม่มี-
LH และ LHMH สิทธิการใช้อาคารส�ำนักงานและอื่น ๆ ในเขตกรุงเทพฯ อายุ 4 - 8 ปี 209 -ไม่มี-

LH = บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ LHMH = บจ. แอลเอช มอลล์ แอนด์ โฮเทล LHP = บจ. แอล แอนด์ เอช พร็อพเพอร์ตี้

ปี 2562 บริษัทได้ขายโรงแรมแกรนด์เซ็นเตอร์พอยต์ สุขุมวิท 55 ให้แก่กองทรัสต์เพื่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ในราคา 4,155 ล้านบาท


มีกำ� ไรจ�ำนวน 2,418.31 ล้านบาท
ปี 2563 ไม่มีรายการขายสินทรัพย์สิทธิการใช้

71
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

ปี 2564 บริษัทย่อยมีการลงทุนในสินทรัพย์สิทธิการใช้สุทธิ เช่น จัดซื้อที่ดิน และก่อสร้างโครงการเพิ่มเติมให้เหมาะสมกับสภาพ


เพิ่มขึ้นจ�ำนวน 1,821.85 ล้านบาท แวดล้อมการด�ำเนินธุรกิจรวมทั้งได้น�ำไปช�ำระคืนหนี้สิน บริษัทมี
สภาพคล่อง นโยบายบริหารเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดให้เหมาะสมตาม
เงินสดที่ได้จากการด�ำเนินงาน บริษัทได้ใช้อย่างระมัดระวังเพื่อ สภาวะการด�ำเนินธุรกิจ
รักษาสภาพคล่องของบริษทั โดยพิจารณาลงทุนในโครงการทีอ่ ยูอ่ าศัย

(หน่วย : ล้านบาท) ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564


กระแสเงินสดได้มาจากกิจกรรมด�ำเนินงาน 1,199.59 3,370.50 10,320.17
กระแสเงินสดได้มา (ใช้ไป) จากกิจกรรมลงทุน 5,869.83 2,973.63 (1,861.21)
กระแสเงินสดใช้ไปจากกิจกรรมจัดหาเงิน (9,752.09) (3,836.95) (4,838.95)

ปี 2562 บริษัทมีเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดลดลง ปี 2564 กระแสเงินสดจากกิจกรรมการด�ำเนินงาน เพิม่ ขึน้ จ�ำนวน


2,577.77 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากกิจกรรมการด�ำเนินงาน 1,199.59 10,320.17 ล้านบาท ที่สำ� คัญเนื่องจาก ก�ำไรก่อนค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้
ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากกิจกรรมการลงทุน 5,869.83 ล้านบาท ลดลง จ�ำนวน 8,217.83 ล้านบาท หักส่วนแบ่งก�ำไรจากการลงทุนบริษทั ร่วม
จากกิจกรรมจัดหาเงิน 9,752.09 ล้านบาท 2,333.33 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากค่าเสื่อมราคาและตัดจ�ำหน่ายจ�ำนวน
ปี 2563 บริษัทมีเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้น 1,516.91 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากการลดลงของสินค้าคงเหลือที่โอนไป
2,558.89 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากกิจกรรมการด�ำเนินงาน 3,370.50 เป็นต้นทุนจ�ำนวน 3,600 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากสินทรัพย์ทางการเงิน
ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากกิจกรรมการลงทุน 2,973.62 ล้านบาท ลดลง ลดลงจ�ำนวน 1,000 บ้านบาท และลดลงจากการจ่ายภาษีเงินได้จำ� นวน
จากกิจกรรมจัดหาเงิน 3,836.95 ล้านบาท 1,300.98 ล้านบาท
ปี 2564 บริษัทมีเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้น
3,218.04 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากกิจกรรมการด�ำเนินงาน 10,320.17 กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน
ล้านบาท ลดลงจากกิจกรรมการลงทุน 1,861.21 ล้านบาท และลดลง ปี 2562 เพิ่มขึ้นจ�ำนวน 5,869.83 ล้านบาท ที่ส�ำคัญเพิ่มขึ้น
จากกิจกรรมจัดหาเงิน 4,838.95 ล้านบาท จากการขายอสังหาริมทรัพย์ โรงแรมแกรนด์เซ็นเตอร์พอยต์ สุขมุ วิท 55
จ�ำนวน 4,155 ล้านบาท เงินปันผลจากบริษัทร่วมจ�ำนวน 2,501.73
กระแสเงินสดจากการด�ำเนินงาน ล้านบาท และเงินปันผลจากบริษัทย่อยจ�ำนวน 230.50 ล้านบาท
ปี 2562 กระแสเงินสดจากกิจกรรมการด�ำเนินงาน เพิม่ ขึน้ จ�ำนวน และลดลงจากการลงทุนในสิทธิการเช่าเพิม่ เติมจ�ำนวน 951.58 ล้านบาท
1,199.59 ล้านบาท ที่ส�ำคัญเนื่องจากก�ำไรก่อนค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ ปี 2563 เพิ่มขึ้นจ�ำนวน 2,973.62 ล้านบาท ที่ส�ำคัญเพิ่มขึ้น
จ�ำนวน 11,766.49 ล้านบาท หักส่วนแบ่งก�ำไรจากการลงทุนบริษทั ร่วม จากการขายอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน จ�ำนวน 2,373 ล้านบาท
3,382.51 ล้านบาท และก�ำไรจากการจ�ำหน่ายอสังหาริมทรัพย์จำ� นวน เงินปันผลจากบริษัทร่วมจ�ำนวน 1,948.37 ล้านบาท และเงินปันผล
2,418.31 ล้านบาท ซึ่งไม่ใช่ก�ำไรจากการด�ำเนินงาน ลดลงจากสินค้า จากบริษทั ย่อยจ�ำนวน 107.81 ล้านบาท และลดลงจากการลงทุนเพิม่
คงเหลือเพิ่มขึ้นจ�ำนวน 4,572.46 ล้านบาท และ เพิ่มขึ้นจากค่าเสื่อม ในสิทธิการเช่า, ที่ดินอาคาร และอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
ราคา 739.11 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากดอกเบี้ยจ่ายที่ไม่ใช่ค่าใช้จ่ายใน เพิ่มเติมจ�ำนวน 1,332.62 ล้านบาท
การด�ำเนินงานจ�ำนวน 819.69 ล้านบาท และลดลงจากการจ่ายช�ำระ ปี 2564 ลดลงจ�ำนวน 1,861.21 ล้านบาท ทีส่ ำ� คัญลดลงจากการ
ภาษีเงินได้จ�ำนวน 1,464.00 ล้านบาท ลงทุนเพิม่ ในสิทธิการเช่า, ทีด่ นิ อาคาร และอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มี
ปี 2563 กระแสเงินสดจากกิจกรรมการด�ำเนินงาน เพิม่ ขึน้ จ�ำนวน ตัวตนเพิ่มเติมจ�ำนวน 3,867.68 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากเงินปันผลรับ
3,370.50 ล้านบาท ที่ส�ำคัญเนื่องจากก�ำไรก่อนค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ ในบริษัทร่วม 1,929.99 ล้านบาท เงินปันผลรับจากบริษัทอื่นจ�ำนวน
จ�ำนวน 8,337.51 ล้านบาท หักส่วนแบ่งก�ำไรจากการลงทุนบริษทั ร่วม 90.39 ล้านบาท
2,588.37 ล้านบาท และก�ำไรจากการจ�ำหน่ายอสังหาริมทรัพย์จำ� นวน
405.28 ล้านบาท ซึ่งไม่ใช่ก�ำไรจากการด�ำเนินงาน ลดลงจากสินค้าคง กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน
เหลือเพิม่ ขึน้ จ�ำนวน 530.31 ล้านบาท ลดลงจากสินทรัพย์ทางการเงิน ปี 2562 ลดลงจ�ำนวน 9,752.09 ล้านบาท ทีส่ ำ� คัญเนือ่ งจากการ
หมุนเวียนอืน่ เพิม่ ขึน้ จ�ำนวน 960.46 ล้านบาท ลดลงจากเจ้าหนีก้ ารค้า จ่ายเงินปันผลจ�ำนวน 7,766.42 ล้านบาท คืนหุ้นกู้จ�ำนวน 14,250
ลดลงจ�ำนวน 713.08 ล้านบาท และเพิ่มขึ้นจากค่าเสื่อมราคา 951.45 ล้านบาทและเงินกู้จ�ำนวน 139 ล้านบาท มีการจ่ายดอกเบี้ยจ�ำนวน
ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากดอกเบี้ยจ่ายที่ไม่ใช่ค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินงาน 1,350.14 ล้านบาท ได้รับเงินจากการออกหุ้นกู้ในประเทศจ�ำนวน
จ�ำนวน 874.01 ล้านบาท และลดลงจากการจ่ายช�ำระภาษีเงินได้ 13,000 ล้านบาท และเงินกูย้ มื จากสถาบันการเงิน จ�ำนวน 855 ล้านบาท
จ�ำนวน 1,304.44 ล้านบาท

72
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

ปี 2563 ลดลงจ�ำนวน 3,836.95 ล้านบาท ที่ส�ำคัญเนื่องจาก ราคาทีเ่ หมาะสมเพือ่ น�ำมาพัฒนาโครงการทีอ่ ยูอ่ าศัยซึง่ เป็นธุรกิจหลัก
การจ่ายเงินปันผลจ�ำนวน 7,169.60 ล้านบาท คืนหุน้ กูจ้ ำ� นวน 14,000 ของบริษัท และลงทุนในธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจหลักของบริษัท
ล้านบาท เงินกู้ยืมระยะยาวจ�ำนวน 1,016.18 ล้านบาท ช�ำระหนี้ ปี 2562 บริษัทฯ มีเงินสดรับสุทธิจากกิจกรรมลงทุนจ�ำนวน
ตามสัญญาเช่า 839.18 ล้านบาท และจ่ายดอกเบี้ยจ�ำนวน 1,399.00 5,869.83 ล้านบาท ทีส่ ำ� คัญคือ เงินรับจากการขายโรงแรมแกรนด์เซ็น
ล้านบาท ได้รบั เงินจากการออกหุน้ กูใ้ นประเทศจ�ำนวน 8,400 ล้านบาท เตอร์พอยต์ สุขุมวิท 55 ในราคา 4,155 ล้านบาท และรับเงินปันผล
เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย้ มื ระยะสัน้ จากธนาคาร 6,375.00 ล้านบาท จ�ำนวน 2,732.23 ล้านบาท
และเงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน จ�ำนวน 5,812.00 ล้านบาท ปี 2563 บริษัทฯ มีเงินสดรับสุทธิจากกิจกรรมลงทุนจ�ำนวน
ปี 2564 ลดลงจ�ำนวน 4,838.95 ล้านบาท ทีส่ ำ� คัญเนือ่ งจากการ 2,973.63 ล้านบาท ที่สำ� คัญคือ เงินรับจากการขายอะพาร์ตเม้นท์ให้
จ่ายเงินปันผลจ�ำนวน 6,572.22 ล้านบาท คืนหุน้ กูจ้ ำ� นวน 11,000 ล้าน เช่าแห่งหนึ่งในสหรัฐอเมริกา ราคาขาย 80 ล้านเหรียญสหรัฐอเมริกา
บาท คืนเงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย้ มื ระยะสัน้ จากธนาคาร 4,375.00 (ประมาณ 2,373.00 ล้านบาท) รับเงินปันผลจากบริษัทร่วมจ�ำนวน
ล้านบาท คืนเงินกูย้ มื ระยะยาวจ�ำนวน 2,837.06 ล้านบาท จ่ายดอกเบีย้ 1,948.37 ล้านบาท และจ่ายซื้อสินทรัพย์สิทธิการเช่า, ที่ดินอาคาร
จ�ำนวน 1,373.13 ล้านบาท และช�ำระหนีต้ ามสัญญาเช่า 240.19 ล้านบาท และอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตนเพิ่มเติม 1,332.62 ล้านบาท
ได้รับเงินจากการออกหุ้นกู้ในประเทศจ�ำนวน 16,000 ล้านบาท และ ปี 2564 บริษัทฯ มีเงินสดจ่ายสุทธิจากกิจกรรมลงทุนจ�ำนวน
ได้รบั เงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน จ�ำนวน 5,558.65 ล้านบาท 1,861.21 ล้านบาท ที่ส�ำคัญคือรับเงินปันผลจากบริษัทร่วมจ�ำนวน
1,930.00 ล้านบาท และจ่ายซื้อสินทรัพย์สิทธิการเช่า, ที่ดินอาคาร
อัตราส่วนสภาพคล่องที่สำ� คัญ และอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตนเพิ่มเติม 3,867.68 ล้านบาท
อัตราส่วนสภาพคล่องส�ำหรับ ปี 2562, ปี 2563 และปี 2564
เท่ากับ 2.65, 2.53 และ 2.15 เท่า ตามล�ำดับ อัตราส่วนสภาพคล่อง แหล่งที่มาของเงินทุน
หมุนเร็วในระยะเวลาดังกล่าว เท่ากับ 0.21 เท่า 0.29 เท่า และ 0.39 เท่า อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น ณ สิ้นปี 2562, ปี 2563
ตามล�ำดับ และปี 2564 เท่ากับ 1.13 เท่า, 1.42 เท่า และ 1.47 เท่า ตามล�ำดับ
ปี 2562 อัตราส่วนสภาพคล่อง เท่ากับ 2.65 เท่า อัตราส่วนสภาพ ปี 2562 ส่วนของผูถ้ อื หุน้ รวมส่วนของผูถ้ อื หุน้ ส่วนน้อยของบริษทั
คล่องหมุนเร็วในระยะเวลาดังกล่าวเท่ากับ 0.21 เท่า อัตราส่วนสภาพ จ�ำนวน 53,182.87 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจ�ำนวน 2,431.15 ล้านบาท มา
คล่องหมุนเร็วลดลงจาก 0.36 เป็น 0.21 เท่า เนื่องจากเงินสดและ จากก�ำไรสุทธิจากการด�ำเนินงาน 10,024.90 ล้านบาท ลดลงจากการ
รายการเทียบเท่าเงินสดลดลงจากปีก่อนจ�ำนวน 2,577.76 ล้านบาท จ่ายเงินปันผลจ�ำนวน 7,766.42 ล้านบาท
และเงินลงทุนระยะสั้นเพิ่มขึ้นจ�ำนวน 630.63 ล้านบาท ปี 2563 ส่วนของผูถ้ อื หุน้ รวมส่วนของผูถ้ อื หุน้ ส่วนน้อยของบริษทั
ปี 2563 อัตราส่วนสภาพคล่อง เท่ากับ 2.53 เท่า อัตราส่วน จ�ำนวน 50,600.69 ล้านบาท ลดลงจ�ำนวน 2,582.18 ล้านบาท มา
สภาพคล่องหมุนเร็วในระยะเวลาดังกล่าวเท่ากับ 0.29 เท่า อัตราส่วน จากก�ำไรสุทธิจากการด�ำเนินงาน 7,144.91 ล้านบาท ลดลงจากการ
สภาพคล่องหมุนเร็วเพิ่มขึ้นจาก 0.21 เป็น 0.29 เท่า เนื่องจากเงินสด จ่ายเงินปันผลจ�ำนวน 7,169.60 ล้านบาท และองค์ประกอบอืน่ ของส่วน
และรายการเทียบเท่าเงินสดเพิ่มขึ้นจากปีก่อนจ�ำนวน 2,558.89 ของผูถ้ อื หุน้ ลดลง 2,399.91 ล้านบาท จากมูลค่าเงินลงทุนในหลักทรัพย์
ล้านบาท และเงินลงทุนระยะสั้นลดลงจ�ำนวน 70.00 ล้านบาท ลดลงจากสถานการณ์เชื้อไวรัสโควิด-19
ปี 2564 อัตราส่วนสภาพคล่อง เท่ากับ 2.15 เท่า อัตราส่วน ปี 2564 ส่วนของผูถ้ อื หุน้ รวมส่วนของผูถ้ อื หุน้ ส่วนน้อยของบริษทั
สภาพคล่องหมุนเร็วในระยะเวลาดังกล่าวเท่ากับ 0.39 เท่า อัตราส่วน จ�ำนวน 50,646.30 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจ�ำนวน 45.61 ล้านบาท มาจาก
สภาพคล่องหมุนเร็วเพิ่มขึ้นจาก 0.29 เป็น 0.39 เท่า เนื่องจากเงินสด ก�ำไรสุทธิจากการด�ำเนินงาน 6,936.13 ล้านบาท ลดลงจากการจ่าย
และรายการเทียบเท่าเงินสดเพิม่ ขึน้ จากปีกอ่ นจ�ำนวน 3,218.04 ล้านบาท เงินปันผลจ�ำนวน 6,572.22 ล้านบาท และองค์ประกอบอื่นของส่วน
ของผูถ้ อื หุน้ ลดลง 274.74 ล้านบาท จากมูลค่าเงินลงทุนในหลักทรัพย์
อัตราส่วนหมุนเวียนเจ้าหนี้ ลดลงจากสถานการณ์เชื้อไวรัสโควิด-19
ปี 2562 อัตราส่วนการหมุนเวียนเจ้าหนี้เท่ากับ 4.5 เท่า โดย
มีระยะเวลาช�ำระหนี้ 80 วัน หนี้สิน
ปี 2563 อัตราส่วนการหมุนเวียนเจ้าหนี้เท่ากับ 5.4 เท่า โดย หนี้สินรวมของบริษัท สิ้นปี 2562, 2563 และปี 2564 มีจ�ำนวน
มีระยะเวลาช�ำระหนี้ 67 วัน รวม 59,956.18 ล้านบาท, 71,970.38 ล้านบาท และ 74,551.76
ปี 2564 อัตราส่วนการหมุนเวียนเจ้าหนี้เท่ากับ 6.5 เท่า โดย ล้านบาท ตามล�ำดับ ณ สิ้นปี 2564 หนี้สินที่สำ� คัญประกอบด้วย เงิน
มีระยะเวลาช�ำระหนี้ 55 วัน กู้ยืมระยะสั้นและระยะยาวจ�ำนวน 17,919.36 ล้านบาท หุ้นกู้จำ� นวน
38,600 ล้านบาท เจ้าหนีก้ ารค้าจ�ำนวน 3,183.77 ล้านบาท หนีส้ นิ ตาม
รายจ่ายลงทุน สัญญาเช่าจ�ำนวน 6,714.49 ล้านบาท และหนีส้ นิ อืน่ จ�ำนวน 8,134.14
ในระยะที่ผ่านมาบริษัทลงทุนเพิ่มในที่ดินที่มีศักยภาพในระดับ ล้านบาท ทีผ่ า่ นมาบริษทั และบริษทั ย่อยได้ชำ� ระหนีค้ นื ได้ตามก�ำหนด

73
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

ตารางรายละเอียดเงินกู้ยืมระยะยาวของบริษัทและบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564

จำ�นวนเงิน
บริษัท ประเภทหนี้สิน สกุลเงิน อัตราดอกเบี้ย หลักประกัน ระยะเวลาครบกำ�หนด
(ล้านบาท)
LH เงินกู้ยืมระยะยาว บาท 2,465.0 คงที่ 2.2 % ที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ภายในเดือนเมษายน 2565
ของโครงการ
เงินกู้ยืมระยะยาว บาท 1,600.0 คงที่ 2.2 % ที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ภายในเดือนเมษายน 2567
ของโครงการ
เงินกู้ยืมระยะยาว บาท 1,710.0 คงที่ 2.4 % ที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ภายในเดือนเมษายน 2568
ของโครงการ
เงินกู้ยืมระยะยาว บาท 1,069.0 คงที่ 2.2 % ที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ภายในเดือนมิถุนายน 2568
ของโครงการ
เงินกู้ยืมระยะยาว บาท 449.0 คงที่ 2.2 % ที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ภายในเดือนธันวาคม 2568
ของโครงการ
เงินกู้ยืมระยะยาว บาท 838.0 คงที่ 1.95 % ที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ภายในเดือนมิถุนายน 2568
ของโครงการ
เงินกู้ยืมระยะยาว บาท 677.0 คงที่ 1.95 % ที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ภายในเดือนมิถุนายน 2568
ของโครงการ
เงินกู้ยืมระยะยาว บาท 539.0 คงที่ 1.95 % ที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ภายในเดือนธันวาคม 2568
ของโครงการ
หุ้นกู้ในประเทศ 1/2561 บาท 1,200.0 คงที่ 2.96 % ไม่มี เมื่อครบก�ำหนด วันที่ 7 มีนาคม 2568
หุ้นกู้ในประเทศ 1/2562 บาท 6,000.0 คงที่ 2.62 % ไม่มี เมื่อครบก�ำหนด วันที่ 26 เมษายน 2565
หุ้นกู้ในประเทศ 2/2562 บาท 7,000.0 คงที่ 2.12 % ไม่มี เมื่อครบก�ำหนด วันที่ 15 ตุลาคม 2565
หุ้นกู้ในประเทศ 1/2563 ชุดที่ 1 บาท 3,000.0 คงที่ 2.30 % ไม่มี เมือ่ ครบก�ำหนด วันที่ 12 พฤษภาคม 2565
หุ้นกู้ในประเทศ 1/2563 ชุดที่ 2 บาท 2,400.0 คงที่ 2.60 % ไม่มี เมือ่ ครบก�ำหนด วันที่ 12 พฤษภาคม 2566
หุ้นกู้ในประเทศ 2/2563 บาท 3,000.0 คงที่ 2.03 % ไม่มี เมือ่ ครบก�ำหนด วันที่ 20 ตุลาคม 2566
หุ้นกู้ในประเทศ 1/2564 ชุดที่ 1 บาท 3,000.0 คงที่ 1.09 % ไม่มี เมือ่ ครบก�ำหนด วันที่ 12 พฤษภาคม 2566
หุ้นกู้ในประเทศ 1/2564 ชุดที่ 2 บาท 5,000.0 คงที่ 1.50 % ไม่มี เมื่อครบก�ำหนด วันที่ 26 เมษายน 2567
หุ้นกู้ในประเทศ 2/2564 บาท 8,000.0 คงที่ 1.46 % ไม่มี เมื่อครบก�ำหนด วันที่ 19 ตุลาคม 2567
LA เงินกู้ยืมระยะยาว บาท 680.0 2.4 % ที่ดินและสิ่งปลูก ภายใน ตุลาคม 2568
สร้างของโครงการ
LHM เงินกู้ยืมระยะยาว บาท 377.0 MLR-2.25 ที่ดินและสิ่งปลูก ช�ำระเมื่อมีการโอนกรรมสิทธิ์
สร้างของโครงการ ในโครงการหรือภายใน 5 ปี
นับแต่วันเบิกเงินกู้งวดแรก
LHMH เงินกู้ยืมระยะยาว บาท 3,360.0 MLR-2.50 ที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง งวดแรก มีนาคม 2566 - ธันวาคม 2575
ของโครงการ
เงินกู้ยืมระยะยาว บาท 717.0 MLR-2.75 ที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง งวดแรก มีนาคม 2566 - ธันวาคม 2575
ของโครงการ
เงินกู้ยืมระยะยาว บาท 160.0 MLR-2.75 ที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง งวดแรก ธันวาคม 2566 - มิถุนายน 2575
ของโครงการ
LH-USA เงินกู้ยืมระยะยาว บาท 2,005.0 3.83% อะพาร์ตเมนท์ให้เช่า ช�ำระคืนทั้งจ�ำนวนภายใน 5 ปี
ของโครงการ นับจากวันที่เบิกเงินกู้งวดแรก
เงินกู้ยืมระยะยาว บาท 1,376.0 Prime –rate อะพาร์ตเมนท์ให้เช่า ภายในเดือนมกราคม 2567
0.30% ของโครงการ
รวมหนี้สิน บาท 56,622

LH = บมจ. แลนด์แอนด์เฮ้าส์ LA = บจ.แอลเอช แอสเซท LHMH=บจ.แอล เอช มอลล์แอนด์โฮเทล LH-USA = Land and Houses
U.S.A.,Inc. LHM = บจ. แอลเอชเมืองใหม่

74
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 บริษัทฯและบริษัทย่อย คงเหลือ - หนี้สินตามสัญญาเช่า


วงเงินทีย่ งั ไม่ได้เบิกใช้ของวงเงินกูย้ มื จากสถาบันการเงิน จ�ำนวน 6,698 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 บริษัทย่อยมีภาระผูกพันที่ต้องจ่าย
ล้านบาท (ปี 2563 = 9,925 ล้านบาท) ตลอดอายุสัญญา จ�ำนวน 9,515 ล้านบาท หักดอกเบี้ยรอการตัด
จ�ำหน่ายจ�ำนวน 2,801 ล้านบาท คงเหลือหนี้สินตามสัญญาเช่าสุทธิ
(ค) ปัจจัยและอิทธิพลหลักที่อาจมีผลต่อการด�ำเนินงานหรือ จ�ำนวน 6,714 ล้านบาท
ฐานะการเงินในอนาคต
ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นภายหน้า 3.2 กลุ่มบริษัทในฐานะผู้ให้เช่า
1. ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2564 บริ ษั ท และบริ ษั ท ย่ อ ยมี กลุ่มบริษัทเข้าท�ำสัญญาเช่าด�ำเนินงานส�ำหรับอสังหาริมทรัพย์
ภาระผู ก พั น เกี่ ย วกั บ การซื้ อ ที่ ดิ น และสั ญ ญาก่ อ สร้ า งอาคารและ เพื่อการลงทุนซึ่งประกอบด้วยอะพาร์ตเม้นท์ให้เช่า โดยมีอายุสัญญา
สาธารณูปโภค ดังนี้ ระหว่าง 1 - 8 ปี และมีจำ� นวนเงินขัน้ ต�ำ่ ทีค่ าดว่าจะได้รบั ในอนาคตจาก
การให้เช่าภายใตสัญญาเช่าด�ำเนินงานที่ยกเลิกไม่ได้ ดังนี้
(หน่วย : ล้านบาท)
(หน่วย : ล้านบาท) ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 (หน่วย : ล้านบาท)

ภาระผูกพันเกี่ยวกับการซื้อที่ดิน 2,522 1,992 2,874 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564


ภาระผูกพันตามสัญญาก่อสร้าง 5,385 4,254 4,674 ภายใน 1 ปี 699.7 556.4 668.1
ภาระผูกพันต้องพัฒนาสาธารณูปโภค 1,389 1,498 1,295 มากกว่า 1 ปี แต่ไม่เกิน 5 ปี 101.3 105.2 130.9
ส่วนกลางของโครงการที่ดำ� เนินงานอยู่ มากกว่า 5 ปี 47.2 22.1 7.0
รวม 848.2 683.7 806.0
2. ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยได้ประมาณ
การหนี้สินที่จะเกิดขึ้นจ�ำนวน 684.08 ล้านบาท รายละเอียดดังนี้
4. ณ วันที่ 31 ธันวาคม ส�ำรองผลประโยชน์ระยะยาวของ
(หน่วย : ล้านบาท) พนักงาน (เงินชดเชยพนักงานเมื่อออกจากงาน) ซึ่งบริษัทคาดว่าจะ
ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 จ่ายในอนาคต มีดังนี้
(หน่วย : ล้านบาท)
ค่าซ่อมบ้านหลังการขาย 95.6 83.5 113.9
ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564
คดีความฟ้องร้อง 461.5 121.3 15.3
เงินสมทบกองทุนนิติบุคคลหมู่บ้าน 293.6 320.2 372.4 ผลประโยชน์คาดว่าจะจ่ายภายใน 1 ปี 15.1 33.6 68.0
ค่าซ่อมแซมสาธารณูปโภค 159.9 151.6 156.6 ส�ำรองผลประโยชน์ ของพนักงาน 527.7 594.9 586.5
ผลเสียหายจากโครงการ 17.6 - -
อื่น ๆ 25.0 25.5 25.9
5. หนังสือค�ำ้ ประกันธนาคาร วันที่ 31 ธันวาคม บริษทั และบริษทั
รวม 1,053.2 702.1 684.1
ย่อยมีหนังสือค�ำ้ ประกันซึง่ ออกโดยธนาคารในนามบริษทั ฯ และบริษทั
ย่อย ซึง่ เกีย่ วเนือ่ งกับภาระผูกพันทางปฏิบตั บิ างประการตามปกติธรุ กิจ
3. ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีสิทธิ ของบริษัทฯ และบริษัทย่อยคงเหลือ ดังนี้
การเช่า/ สินทรพัย์สิทธิการใช้ในการด�ำเนินงานของกลุ่มบริษัทมีอายุ
สัญญาระหว่าง 3 - 40 ปี ดังนี้ (หน่วย : ล้านบาท)
3.1 กลุ่มบริษัทในฐานะผู้เช่า ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564
- สินทรัพย์สิทธิการใช้/ สิทธิการเช่า หนังสือค�้ำประกันการจัดหาและบ�ำรุง 4,183 4,738 4,444
(หน่วย : ล้านบาท) สาธารณูปโภค
ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 หนังสือค�้ำประกันอื่น 68 79 76
ที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง 5,729.8 9,979.4 12,646.9 รวม 4,251 4,817 4,520
อาคารโรงแรม - 4,608.0 3,821.5
พื้นที่ในอาคาร - 320.9 262.8
ยานพาหนะ - 2.2 1.2
รวม 5,729.8 14,910.5 16,732.4

75
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

6. บริษัทมีหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นซึ่งเกี่ยวเนื่องกับการสนับสนุน สรุปปัจจัยและอิทธิพลหลักที่อาจมีผลต่อการด�ำเนินงานหรือ
การเงิน (Letter of Comfort) ให้กับบริษัทย่อยส�ำหรับเงินกู้ยืมจาก ฐานะการเงินในอนาคต
ธนาคารและการออกหนังสือค�ำ้ ประกันโดยธนาคารเพือ่ ใช้ในโครงการ 1. ผลตอบแทนจากการลงทุนในบริษัทร่วม เนื่องจากบริษัทฯ มี
ของบริษทั ย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 มียอดหนีค้ งค้างตามสัดส่วน เงินลงทุนในบริษทั ร่วม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 เป็นเงิน 24,226.61
การค�้ำประกันของบริษัทฯ ที่ก�ำหนดในค�ำรับรองที่ให้กับธนาคาร ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 19.35 ของสินทรัพย์รวม และมีส่วนแบ่ง
จ�ำนวน 5,887 ล้านบาท ก�ำไรคิดเป็นร้อยละ 33.64 ของก�ำไรสุทธิของบริษัทฯ หากบริษัทร่วม
มีปัญหาในการด�ำเนินงานก็จะส่งผลต่อการด�ำเนินงานของบริษัทฯ ได้
การด�ำรงอัตราส่วนหนี้สินต่อทุน อย่างไรก็ตาม บริษทั ฯ ได้เข้าลงทุนในบริษทั ร่วมทีม่ กี ารท�ำธุรกิจทีแ่ ตก
หุ้นกู้ของบริษัทที่ออกก่อนครั้งที่ 2/2561 จะค�ำนวณจากหนี้สิน ต่างกันออกไป ซึง่ เป็นการกระจายความเสีย่ งในการลงทุนของบริษทั ฯ
ที่มีภาระดอกเบี้ยเท่านั้น ซึ่งค�ำนวณได้ดังนี้ 2. คดีความที่บริษัทฯ ถูกฟ้องร้องและบริษัทฯ ได้ตั้งส�ำรองไว้
แล้วมีรายละเอียดดังนี้
(หน่วย : ล้านบาท) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 บริษัทฯ มีคดีความที่บริษัทฯ เป็น
รายการ 31/12/62 31/12/63 31/12/64 จ�ำเลยเกีย่ วกับการเรียกร้องค่าเสียหายเนือ่ งจากการท�ำผิดสัญญา ซึง่ มี
หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย 49,902.77 55,455.39 59,090.92 ทุนทรัพย์รวมเท่ากับ 114 ล้านบาท บริษัทฯ ได้ตั้งส�ำรองเผื่อหนี้สินที่
ส่วนของผู้ถือหุ้น 53,182.87 50,600.69 50,646.30
อาจจะเกิดขึ้นจากคดีความทั้งหมดรวม 15 ล้านบาท
อัตราส่วนหนีส้ นิ ต่อส่วนของผูถ้ อื หุน้ 0.94 1.10 1.17

หุน้ กูข้ องบริษทั ทีอ่ อกตัง้ แต่ครัง้ ที่ 2/2561 จะค�ำนวณจากหนีส้ นิ


ทีม่ ภี าระดอกเบีย้ สุทธิเท่านัน้ (หนีส้ นิ ทีม่ ภี าระดอกเบีย้ หักด้วยรายการ
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด) ซึ่งค�ำนวณได้ดังนี้

(หน่วย : ล้านบาท)
รายการ 31/12/62 31/12/63 31/12/64
หนีส้ นิ ทีม่ ภี าระดอกเบีย้ สุทธิ (หักด้วย 45,278.73 48,342.46 48,759.95
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด)
ส่วนของผู้ถือหุ้น 53,152.87 50,600.69 50,646.30
อัตราส่วนหนีส้ นิ ต่อส่วนของผูถ้ อื หุน้ 0.85 0.96 0.96

ตามงบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2562, 2563 และ


2564 บริษัทฯ ยังคงด�ำรงหนี้สินต่อทุนไว้ไม่เกินข้อก�ำหนดสิทธิของ
หุ้นกู้ดังกล่าว

76
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

ข้อมูลทั่วไปและข้อมูลส�ำคัญอื่น
ข้อมูลทั่วไป
ผู้สอบบัญชี นายทะเบียนหุ้นกู้
นางสาวรสพร เดชอาคม ธนาคารไทยพาณิชย์ จ�ำกัด (มหาชน)
เลขทะเบียนผู้สอบบัญชีรับอนุญาต 5659 บริการนายทะเบียนหลักทรัพย์ 1 ปฏิบัติการธุรกิจบริการหลักทรัพย์
บริษัท ส�ำนักงาน อี วาย จ�ำกัด ชั้น 15 อาคารจีทาวเวอร์ แกรนด์พระราม 9 เลขที่ 9
193/136-137 ชั้น 33 อาคารเลครัชดาออฟฟิชคอมเพล็กซ์ ถนนพระราม 9 เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310
ถนนรัชดาภิเษกตัดใหม่ กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์ 0 2128 2324-9, โทรสาร 0 2128 4625
โทรศัพท์ 0 2264 9090, โทรสาร 0 2264 0789

นายทะเบียนหลักทรัพย์ บริษัทประเมินราคา
บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด บริษัท แกรนด์ แอสเซท แอดไวเซอรี่ จ�ำกัด
เลขที่ 93 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 1350/279-283 ชั้น 16 อาคารไทยรงค์ ทาวเวอร์
ถนนรัชดาภิเษก เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400 ถนนพัฒนาการ แขวงสวนหลวง เขตสวนหลวง กรุงเทพฯ 10250
โทรศัพท์ 0 2009 9000, โทรสาร 0 2009 9991 โทรศัพท์ 0 2719 4500, โทรสาร 0 2719 5070-71

บริษัท ทีเอพี แวลูเอชั่น จ�ำกัด


121/101 ชั้น 37 อาคารอาร์เอสทาวเวอร์
ถนนรัชดาภิเษก ดินแดง กรุงเทพฯ 10320
โทรศัพท์ 0 2642 2712-14, โทรสาร 0 2642 2711

ข้อมูลส�ำคัญอื่น
-ไม่มี-

ข้อพิพาททางกฎหมาย
-ไม่มี-

ตลาดรอง
-ไม่มี-

สถาบันการเงินที่ติดต่อประจ�ำ
(เฉพาะบริษัทที่ออกตราสารหนี้)
ธนาคารไทยพาณิชย์ จ�ำกัด (มหาชน) ธนาคารกสิกรไทย
ส�ำนักงานใหญ่ ส�ำนักงานใหญ่
ที่อยู่ : เลขที่ 9 ถนนรัชดาภิเษก แขวงจตุจักร ที่อยู่ : 1 ซอยราษฎร์บูรณะ 27/1 ถนนราษฎร์บูรณะ
เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 แขวงราษฎร์บูรณะ เขตราษฎร์บูรณะ กรุงเทพฯ 10140
โทรศัพท์ 0 2777 7777 โทรศัพท์ 0 2888 8888

ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน)


ส�ำนักงานใหญ่
ที่อยู่ : เลขที่ 1 อาคารคิวเฮ้าส์ ลุมพินี
ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120
โทรศัพท์ 0 2359 0000

77
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

ส่วนที่ 2

การก�ำกับดูแลกิจการ
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

โครงสร้างการก�ำกับดูแลกิจการ และข้อมูลส�ำคัญเกี่ยวกับ
คณะกรรมการและอื่น ๆ
1. โครงสร้างการก�ำกับดูแลกิจการ
แผนผังองค์กร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564

คณะกรรมการบริษัทฯ

คณะกรรมการสรรหา ประธานกรรมการบริษัท
และประธานกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริหาร
และพิจารณาค่าตอบแทน

คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการตรวจสอบ
และการพัฒนาอย่างยั่งยืน

กรรมการผู้จัดการ (สายปฏิบัติการ) กรรมการผู้จัดการ (สายสนับสนุน)

รองกรรมการผู้จัดการ รองกรรมการผู้จัดการ

ฝ่ายตรวจสอบภายใน
พัฒนาโครงการแนวสูง พัฒนาโครงการแนวราบ สายปฏิบัติการ สายสนับสนุน
และพัฒนาระบบ

ฝ่ายโครงการ 10 ฝ่ายโครงการ 1 ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ ฝ่ายบัญชี

ฝ่ายโครงการ 2 ฝ่ายออกแบบ ฝ่ายการเงิน

ฝ่ายโครงการ 3 ฝ่ายก่อสร้าง
ฝ่ายเทคโนโลยี
และสารสนเทศ
ฝ่ายโครงการ 4 ฝ่ายอ�ำนวยการ

ฝ่ายโครงการ 5 ฝ่ายนิติบุคคลฯ ฝ่ายกฎหมาย

ฝ่ายโครงการ 6 ฝ่ายบริการฯ ฝ่ายงบประมาณ


และนักลงทุนสัมพันธ์
ฝ่ายโครงการ 7 ฝ่ายที่ดิน

ฝ่ายโครงการ 8 ฝ่ายบุคคลและธุรการ
ฝ่ายสื่อสารองค์กร
ฝ่ายโครงการ 9
ศูนย์พัฒนาบุคคล
ฝ่ายโครงการ 11

ฝ่ายโครงการ 12

79
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

2. ข้อมูลเกี่ยวกับคณะกรรมการ ผลประโยชน์ของบริษทั ทัง้ นี้ โครงสร้างคณะกรรมการและการจัดการ


โครงสร้างกรรมการบริษัท ประกอบด้วยกรรมการ 5 ชุด ได้แก่ มีการตรวจสอบและถ่วงดุลกันอย่างเพียงพอ ดังนี้
คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ 1. องค์ ป ระกอบของคณะกรรมการบริ ษั ท ประกอบด้ ว ย
คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน และคณะกรรมการ กรรมการที่เป็นอิสระจ�ำนวน 3 คน คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 33 ของ
บริหารความเสีย่ งและการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม จ�ำนวนกรรมการทั้งหมด ร่วมกับกรรมการที่เป็นผู้บริหาร 5 คน และ
2564 คณะกรรมการบริษัท มีจ�ำนวนทั้งสิ้น 9 คน รายละเอียดประวัติ กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร 1 คน
ของคณะกรรมการบริษัททั้งหมด แสดงในเอกสารแนบ 1 2. คณะกรรมการตรวจสอบซึ่งประกอบด้วย กรรมการตรวจ
ตามข้อบังคับของบริษัท ระบุว่า คณะกรรมการของบริษัท สอบ 3 คนที่มีความเป็นอิสระ โดยมีหน้าที่เช่นเดียวกับที่ก�ำหนดในข้อ
ประกอบด้วยกรรมการอย่างน้อย 5 คน ซึ่งกรรมการไม่น้อยกว่า บังคับตลาดหลักทรัพย์ฯ และกฎบัตรของคณะกรรมการตรวจสอบ
กึ่งหนึ่งของจ�ำนวนกรรมการทั้งหมดจะต้องมีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย 3. มีการมอบอ�ำนาจระหว่างคณะกรรมการ และฝ่ายจัดการ
ทั้งนี้ ในการด�ำเนินกิจการนั้น กรรมการต้องปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไป อย่างชัดเจน ตามรายละเอียดที่ได้เปิดเผยไว้ในหัวข้อ “6.2.2 ความ
ตามกฎหมาย วัตถุประสงค์และข้อบังคับของบริษัท ตลอดจนมติ เป็นอิสระของคณะกรรมการจากฝ่ายจัดการ”
ของที่ประชุมผู้ถือหุ้น ด้วยความซื่อสัตย์สุจริตและระมัดระวังรักษา

รายชื่อและต�ำแหน่งคณะกรรมการบริษัท ณ 31 ธันวาคม 2564

รายชื่อ ตำ�แหน่ง
1. นายนพร สุนทรจิตต์เจริญ ประธานกรรมการบริษัท และประธานกรรมการบริหาร
2. นายภควัต โกวิทวัฒนพงศ์ กรรมการบริษัท ประธานกรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ
3. นายอดิศร ธนนันท์นราพูล กรรมการบริษัท กรรมการบริหาร และกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
4. นายนันทวัฒน์ พิพัฒวงศ์เกษม กรรมการบริษัท เลขานุการบริษัท กรรมการบริหารความเสี่ยงและการพัฒนาอย่างยั่งยืน
5. นายพิภพ วีระพงษ์ กรรมการบริษัท กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ และประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
6. นายบัณฑิต พิทักษ์สิทธิ์ กรรมการบริษทั กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ ประธานกรรมการบริหารความเสีย่ งและการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน
และกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
7. นายอาชวิณ อัศวโภคิน กรรมการบริษัท
8. นายวัชริน กสิณฤกษ์ กรรมการบริษัท กรรมการบริหาร และกรรมการบริหารความเสี่ยงและการพัฒนาอย่างยั่งยืน
9. นายอดุล ชูวณิชชานนท์ กรรมการบริษัท กรรมการบริหาร และกรรมการบริหารความเสี่ยงและการพัฒนาอย่างยั่งยืน

หมายเหตุ : เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2565 กรรมการบริษัท 2 ท่าน ได้เกษียณอายุและลาออกจากต�ำแหน่งกรรมการ ได้แก่ นายอดิศร ธนนันท์นราพูล ได้เกษียณอายุ
จากต�ำแหน่ง กรรมการผู้จัดการ และได้ลาออกจากกรรมการบริษัท, กรรมการบริหาร และกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน และนายอดุล ชูวณิชชานนท์
ได้เกษียณอายุจากต�ำแหน่งกรรมการผู้จัดการ และได้ลาออกจากกรรมการบริษัท, กรรมการบริหาร และกรรมการบริหารความเสี่ยงและการพัฒนาอย่างยั่งยืน ทั้งนี้
ในวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2565 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทได้มีมติแต่งตั้ง นายวิทย์ ตันติวรวงศ์ และนายโชคชัย วลิตวรางค์กูร ด�ำรงต�ำแหน่งแทนกรรมการที่ลาออก โดยมี
วาระการด�ำรงต�ำแหน่งตามวาระคงเหลืออยู่ของกรรมการที่ลาออกนั้น

กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนามแทนบริษัท ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัท
นายนพร สุนทรจิตต์เจริญ หรือ นายอดิศร ธนนันท์นราพูล หรือ เพือ่ ให้คณะกรรมการสามารถปฏิบตั หิ น้าทีไ่ ด้อย่างมีประสิทธิภาพ
นายนันทวัฒน์ พิพฒ
ั วงศ์เกษม หรือ นายวัชริน กสิณฤกษ์ หรือ นายอดุล ได้ก�ำหนดแนวปฏิบัติไว้ดังนี้
ชูวณิชชานนท์ หรือ นายอาชวิณ อัศวโภคิน คนใดคนหนึง่ เป็นผูล้ งนาม 1. ด�ำเนินการจัดการบริษทั ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ ข้อบังคับ
ผูกพันบริษัทได้ และมติของที่ประชุมผู้ถือหุ้นที่ชอบด้วยกฎหมายว่าด้วยความซื่อสัตย์
สุจริตและระมัดระวังรักษาผลประโยชน์ของบริษัท
จ�ำนวนกรรมการที่มาจากผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 2. ให้ความเห็นชอบนโยบายที่สำ� คัญ เป้าหมาย แนวทาง และ
ไม่มีกรรมการที่มาจากผู้ถือหุ้นรายใหญ่ แผนงานของบริษัท รวมทั้งติดตามดูแลให้มีการปฏิบัติตามแผนงาน
ที่ก�ำหนด
3. ควบคุ ม ก� ำ กั บ ดู แ ลการบริ ห ารและการจั ด การของ
คณะกรรมการบริหารให้เป็นไปตามนโยบายที่ได้รับมอบหมาย โดยมี
อ�ำนาจอนุมัติ

80
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

3.1 พิจารณาอนุมัติการกู้หรือการขอสินเชื่อใด ๆ จาก บริษทั ตามระเบียบวาระทีก่ ำ� หนดไว้ และดูแลให้ใช้เวลาในการประชุม


สถาบันการเงิน อย่างเหมาะสม
3.2 พิจารณาอนุมตั งิ บประมาณประจ�ำปีและแผนงานของ 4. ส่งเสริมการแสดงความคิดเห็นในที่ประชุมอย่างเป็นอิสระ
บริษัท เปิดเผย
3.3 พิจารณาอนุมัติการจ่ายเงินปันผลระหว่างกาลให้แก่ 5. ดูแลให้การติดต่อสือ่ สารระหว่างกรรมการและผูถ้ อื หุน้ เป็นไป
ผู้ถือหุ้น เมื่อเห็นว่าบริษัทมีก�ำไรพอ สมควรที่จะ อย่างมีประสิทธิภาพ
กระท�ำเช่นนั้น 6. เป็นผูล้ งคะแนนเสียงชีข้ าดในกรณีทที่ ปี่ ระชุมคณะกรรมการ
3.4 พิ จ ารณาอนุ มั ติ ร ายการที่ ส� ำ คั ญ เช่ น การลงทุ น บริษัทมีการลงคะแนนเสียง และคะแนนเสียง 2 ฝ่ายเท่ากัน
ทีส่ ำ� คัญ การซือ้ ขายทรัพย์สนิ และการด�ำเนินการใด ๆ
ที่กฎหมายก�ำหนด 3. ข้อมูลเกี่ยวกับคณะกรรมการชุดย่อย
3.5 พิจารณาอนุมตั กิ ารท�ำรายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน และการได้มา คณะกรรมการบริษัทได้จัดตั้งคณะกรรมการชุดย่อย 4 คณะ
หรือจ�ำหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ เว้นแต่รายการที่จะต้อง เพื่อช่วยติดตามและก�ำกับดูแลการด�ำเนินงานให้ใกล้ชิดมากขึ้น และ
ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น โดยการพิจารณา รายงานต่อคณะกรรมการบริษัทอย่างสม�่ำเสมอ ซึ่งประกอบด้วย
อนุ มั ติ ดั ง กล่ า วจะเป็ น ไปตามประกาศ ข้ อ บั ง คั บ คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหา
ระเบี ย บที่ เ กี่ ย วข้ อ งของส� ำ นั ก งานคณะกรรมการ และพิจารณาค่าตอบแทน และคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงและ
ก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ทั้งนี้ เว้นแต่ การพัฒนาอย่างยัง่ ยืน โดยคณะกรรมการได้กำ� หนดอ�ำนาจหน้าทีค่ วาม
เรื่องที่กฎหมายก�ำหนดให้ต้องได้รับมติจากที่ประชุม รับผิดชอบของคณะกรรมการชุดย่อยแต่ละชุดไว้อย่างชัดเจน ดังนี้
ผู้ถือหุ้น คณะกรรมการต้องได้รับอนุมัติจากผู้ถือหุ้น
ก่อนการด�ำเนินการ คณะกรรมการบริหาร
4. คณะกรรมการจะด�ำเนินการจัดให้มีการประชุมอย่างน้อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 คณะกรรมการบริหาร ประกอบด้วย
3 เดือนต่อครั้ง ผู้บริหารจ�ำนวน 5 คน มีรายชื่อ ดังนี้
5. ต้องก�ำหนดวาระหลักของการประชุมไว้ล่วงหน้าอย่าง
ชัดเจนตลอดปี รายชื่อ ตำ�แหน่ง
6. ส่งรายละเอียดวาระการประชุมให้คณะกรรมการได้มีเวลา
1. นายนพร สุนทรจิตต์เจริญ ประธานกรรมการบริหาร
ศึกษาและพิจารณาล่วงหน้าอย่างน้อย 7 วันท�ำการก่อนวันประชุม
2. นายอดิศร ธนนันท์นราพูล กรรมการบริหาร
7. การพิจารณาวาระต่าง ๆ จะต้องค�ำนึงถึงผลประโยชน์ของ
ผู้ถือหุ้นและผู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเป็นธรรม 3. นายวิทย์ ตันติวรวงศ์ กรรมการบริหาร
8. บริษทั ได้กำ� หนดนโยบายเกีย่ วกับจ�ำนวนองค์ประชุมกรรมการ 4. นายวัชริน กสิณฤกษ์ กรรมการบริหาร
ขั้นต�่ำ ณ ขณะที่คณะกรรมการจะลงมติในที่ประชุมว่าต้องมีกรรมการ 5. นายอดุล ชูวณิชชานนท์ กรรมการบริหาร
อยู่ไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 ของจ�ำนวนกรรมการทั้งหมด
9. เปิดโอกาสให้มีการแสดงความเห็นอย่างอิสระ ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริหาร
10. ก�ำหนดเวลาในการพิจารณาแต่ละวาระไว้อย่างเพียงพอ คณะกรรมการบริหารซึ่งรวมถึงกรรมการผู้จัดการ มีอ�ำนาจ
เพื่อการอภิปรายและแสดงความคิดเห็นอย่างรอบคอบ หน้าที่ในการบริหารงานในเรื่องที่เกี่ยวกับการด�ำเนินตามปกติธุรกิจ
11. ก�ำกับดูแลให้มกี ารบริหารจัดการตามนโยบายการก�ำกับดูแล ของบริษัท ทั้งนี้ การอนุมัติรายการอื่นใดที่มีความขัดแย้งหรือมีส่วน
กิจการที่ดี และดูแลไม่ให้เกิดปัญหาความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ได้เสีย หรืออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในลักษณะอื่นใดกับ
บริษัทหรือบริษัทย่อย จะต้องเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการตรวจ
บทบาทหน้าที่ของประธานกรรมการ สอบและที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท เพื่อพิจารณาอนุมัติรายการ
1. รับผิดชอบในฐานะผูน้ ำ� ของคณะกรรมการในการก�ำกับ ติดตาม ที่เกิดขึ้นดังกล่าวทุกครั้ง
ดูแลการบริหารงานของคณะกรรมการบริหาร และคณะอนุกรรมการ
อื่น ๆ ให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามแผนงานที่กำ� หนดไว้ และเป็นไปตาม การมอบอ�ำนาจหน้าที่จากคณะกรรมการบริษัท
หลักธรรมาภิบาล คณะกรรมการบริษัทเป็นผู้พิจารณาก�ำหนดเป้าหมาย แนวทาง
2. ดูแลให้มนั่ ใจว่า กรรมการทุกคนมีสว่ นร่วมในการส่งเสริมให้ นโยบาย แผนงาน และงบประมาณของบริษทั รวมทัง้ ควบคุมก�ำกับดูแล
เกิดวัฒนธรรมองค์กรที่มีจริยธรรม และการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี การบริ ห ารและการจั ด การของคณะกรรมการบริ ห ารให้ เ ป็ น ไป
3. เป็นประธานในทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั และทีป่ ระชุม ตามนโยบายที่ได้รับมอบหมาย โดยคณะกรรมการบริหารจะปฏิบัติ
ผู้ถือหุ้นของบริษัท โดยควบคุมการประชุมให้เป็นไปตามข้อบังคับของ ตามนโยบาย แผนงาน และงบประมาณที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายจาก
คณะกรรมการบริษัท
81
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

ในการตัดสินใจในเรือ่ งทีส่ ำ� คัญ ได้แก่ การจัดซือ้ ทีด่ นิ การพัฒนา 6. พิจารณาการเปิดเผยข้อมูลของบริษทั ในกรณีทเี่ กิดรายการ
โครงการ และการลงทุน เป็นต้น คณะกรรมการบริหารจะน�ำเสนอเพือ่ เกี่ยวโยงหรือรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ให้มีความ
ขออนุมัติต่อคณะกรรมการบริษัทเป็นกรณี ๆ ไป ถูกต้องครบถ้วน ตามกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง
ส�ำหรับการมอบอ�ำนาจทางการเงินเกี่ยวกับการด�ำเนินงานตาม 7. พิจารณาและสอบทานรายงานผลการปฏิบัติงานของฝ่าย
ปกติธุรกิจของบริษัท กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนามแทนบริษัท ได้แก่ ตรวจสอบภายใน และอนุมัติแผนการตรวจสอบภายในประจ�ำปี
นายนพร สุนทรจิตต์เจริญ หรือ นายอดิศร ธนนันท์นราพูล หรือ 8. ก�ำกับดูแลให้ผู้สอบบัญชีและหน่วยงานตรวจสอบภายใน
นายนันทวัฒน์ พิพฒั วงศ์เกษม หรือ นายวัชริน กสิณฤกษ์ หรือ นายอดุล มีความเป็นอิสระในการท�ำงาน
ชูวณิชชานนท์ หรือ นายอาชวิณ อัศวโภคิน คนใดคนหนึง่ เป็นผูล้ งนาม 9. จัดให้มีการประชุมร่วมกับผู้สอบบัญชีโดยไม่มีฝ่ายจัดการ
ผูกพันบริษัทได้ โดยการอนุมัติรายการดังกล่าวจะต้องไม่รวมถึงการ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
อนุมัติรายการที่ตนหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งมีส่วนได้เสีย หรือ 10. พิจารณาความเสี่ยงที่ส�ำคัญของบริษัท พร้อมเสนอแนะวิธี
อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์อื่นใดกับบริษัทหรือบริษัทย่อย ป้องกันหรือแจ้งให้คณะกรรมการหามาตรการป้องกันเพื่อลดความ
เสี่ยงนั้น
คณะกรรมการตรวจสอบ 11. จัดท�ำรายงานกิจกรรมของคณะกรรมการตรวจสอบ โดย
คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้วย กรรมการอิสระจ�ำนวน เปิดเผยไว้ในรายงานประจ�ำปีของบริษัท ซึ่งรายงานดังกล่าวลงนาม
3 คน ซึ่งทุกคนมีความเป็นอิสระและมีคุณสมบัติครบถ้วน ตามที่ โดยประธานกรรมการตรวจสอบ
ส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) 12. ปฏิบตั กิ ารอืน่ ใดตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั มอบหมายและ
และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) ก�ำหนด โดยกรรมการ คณะกรรมการตรวจสอบเห็นชอบด้วย
ตรวจสอบทุกท่านมีความรู้ ความเข้าใจ ประสบการณ์ในการท�ำงานเป็น
ที่ยอมรับ และนายภควัต โกวิทวัฒนพงศ์ เป็นผู้มีความรู้ความสามารถ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
ในการสอบทานความน่าเชือ่ ถือของงบการเงิน มีคณ ุ วุฒกิ ารศึกษาและ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ประกอบด้วย
ประสบการณ์ท�ำงานด้านการเงิน รายชื่อคณะกรรมการตรวจสอบ กรรมการจ�ำนวน 3 คน ซึ่งมี 2 คน ที่เป็นกรรมการอิสระ รายชื่อ
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 มีดังนี้ คณะกรรมการสรรหาฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 มีดังนี้

รายชื่อ ตำ�แหน่ง รายชื่อ ตำ�แหน่ง


1. นายภควัต โกวิทวัฒนพงศ์ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ 1. นายพิภพ วีระพงษ์ ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณา
2. นายพิภพ วีระพงษ์ กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ ค่าตอบแทน และกรรมการอิสระ
3. นายบัณฑิต พิทักษ์สิทธิ์ กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ 2. นายบัณฑิต พิทักษ์สิทธิ์ กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
และกรรมการอิสระ
หมายเหตุ : นายพรชัย เกียรติขจรวิรัช ผู้จัดการฝ่ายอาวุโสฝ่ายตรวจสอบและ 3. นายอดิศร ธนนันท์นราพูล กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
พัฒนาระบบ ท�ำหน้าที่เป็นเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ
หมายเหตุ : นายอดิศร ธนนันท์นราพูล ซึง่ เป็นกรรมการบริษทั และกรรมการบริหาร
ท�ำหน้าที่เป็นเลขานุการคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
ขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ
คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั มีขอบเขต หน้าที่ และความ ขอบเขตอ�ำนาจหน้าทีข่ องคณะกรรมการสรรหาและ
รับผิดชอบ ดังนี้ พิจารณาค่าตอบแทน
1. สอบทานให้บริษัทมีรายงานทางการเงินอย่างถูกต้องและ 1. ก� ำ หนดนโยบายการสรรหากรรมการและค่ า ตอบแทน
เปิดเผยอย่างเพียงพอ กรรมการบริษัท กรรมการชุดย่อย และผู้บริหารระดับสูง เพื่อเสนอให้
2. สอบทานให้บริษทั มีระบบการควบคุมภายในและการตรวจ คณะกรรมการบริษัทพิจารณาเห็นชอบอนุมัติ
สอบภายในที่มีความเหมาะสมและมีประสิทธิผล 2. สรรหาบุ ค คลที่ เ หมาะสมและเป็ น คุ ณ ต่ อ ธุ ร กิ จ มาด� ำ รง
3. สอบทานการปฏิบตั ขิ องบริษทั ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วย ต�ำแหน่งกรรมการที่หมดวาระและหรือมีต�ำแหน่งว่างลง มาเสนอให้
หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หรือกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจของ คณะกรรมการบริษัทพิจารณาเห็นชอบและขออนุมัติจากผู้ถือหุ้น
บริษัท 3. ก�ำหนดค่าตอบแทนที่จำ� เป็นและเหมาะสม ทั้งที่เป็นตัวเงิน
4. ให้ความเห็นชอบในการพิจารณา แต่งตั้ง โยกย้าย เลิกจ้าง และมิใช่ตัวเงินให้กับคณะกรรมการและผู้บริหารระดับสูง ตามภาระ
ผู้จัดการฝ่ายตรวจสอบภายใน หน้าที่ ความรับผิดชอบ และผลงาน
5. พิจารณาคัดเลือก เสนอแต่งตัง้ เลือกกลับเข้าใหม่ และเลิกจ้าง 4. รายงานผลการประชุมที่มีนัยส�ำคัญและเป็นประโยชน์กับ
ผูส้ อบบัญชีภายนอก รวมถึงพิจารณาเสนอค่าตอบแทนของผูส้ อบบัญชี บริษัทต่อคณะกรรมการบริษัท

82
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

5. ให้ค�ำชี้แจงและหรือตอบค�ำถาม กรณีเกิดข้อสงสัยเกี่ยวกับ
รายชื่อ ตำ�แหน่ง
นโยบายการสรรหากรรมการและค่าตอบแทนของกรรมการบริษัท
กรรมการชุดย่อยและผู้บริหารระดับสูงในที่ประชุมผู้ถือหุ้น 1. นายนพร สุนทรจิตต์เจริญ ประธานกรรมการบริหาร
6. ปฏิ บั ติ ก ารอื่ น ใดตามที่ ค ณะกรรมการบริ ษั ท มอบหมาย 2. นายอดิศร ธนนันท์นราพูล กรรมการผู้จัดการ (สายสนับสนุน)
อันเกี่ยวกับการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนที่มีความส�ำคัญ 3. นายวัชริน กสิณฤกษ์ กรรมการผู้จัดการ
(สายปฏิบัติการโครงการบ้านจัดสรร)
คณะกรรมการบริ ห ารความเสี่ ย งและการพั ฒ นา 4. นายอดุล ชูวณิชชานนท์ กรรมการผู้จัดการ
(สายปฏิบัติการโครงการอาคารชุด)
อย่างยั่งยืน 5. นายวิทย์ ตันติวรวงศ์ รองกรรมการผูจ้ ดั การ และผูบ้ ริหารสูงสุด
คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงและการพัฒนาอย่างยั่งยืน ด้านการเงิน
ประกอบด้วยกรรมการจ�ำนวน 4 คน โดยมีกรรมการอิสระ 1 คน เป็น 6. นายโชคชัย วลิตวรางค์กูร รองกรรมการผู้จัดการ
ประธานกรรมการ รายชื่อคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงฯ ณ 31 7. นายนันทวัฒน์ พิพัฒวงศ์เกษม รองกรรมการผู้จัดการ
ธันวาคม 2564 มีดังนี้
หมายเหตุ : เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2565 กรรมการผู้จัดการ จ�ำนวน 2 ท่าน ได้
เกษียณอายุออกจากต�ำแหน่งกรรมการผู้จัดการ ได้แก่ นายอดิศร ธนนันท์นราพูล
รายชื่อ ตำ�แหน่ง และ นายอดุล ชูวณิชชานนท์ ทั้งนี้ ในวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2565 ที่ประชุม
1. นายบัณฑิต พิทักษ์สิทธิ์ ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะกรรมการบริษทั ได้มมี ติแต่งตัง้ นายวิทย์ ตันติวรวงศ์ และนายโชคชัย วลิตวรางค์กรู
และการพัฒนาอย่างยั่งยืน เป็นกรรมการผู้จัดการ แทนกรรมการผู้จัดการที่ลาออก
และกรรมการอิสระ
2. นายนันทวัฒน์ พิพัฒวงศ์เกษม กรรมการบริหารความเสี่ยง ค่าตอบแทนของผู้บริหาร
และการพัฒนาอย่างยั่งยืน 1. ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน
3. นายวัชริน กสิณฤกษ์ กรรมการบริหารความเสี่ยง ค่าตอบแทนผูบ้ ริหาร บริษทั มีเกณฑ์ในการจ่ายค่าตอบแทน
และการพัฒนาอย่างยั่งยืน ผูบ้ ริหารโดยเชือ่ มโยงกับผลการด�ำเนินการของบริษทั ความรู้ ความสามารถ
4. นายอดุล ชูวณิชชานนท์ กรรมการบริหารความเสี่ยง และผลประเมินการปฏิบัติงานของแต่ละบุคคล ค่าตอบแทนของ
และการพัฒนาอย่างยั่งยืน
คณะผูบ้ ริหารประจ�ำปี 2563 และ ปี 2564 ได้แก่ เงินเดือน โบนัส และ
ค่าตอบแทนอื่น ๆ ดังนี้
ขอบเขตหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบของคณะกรรมการ
บริหารความเสี่ยงและการพัฒนาอย่างยั่งยืน ปี 2563 ปี 2564
1. พิจารณานโยบาย แนวทาง และกรอบการบริหารความเสีย่ ง ค่าตอบแทน
จำ�นวนราย จำ�นวนเงินรวม จำ�นวนราย จำ�นวนเงินรวม
เพื่อน�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาอนุมัติ (ล้านบาท) (ล้านบาท)
2. ศึกษา ประเมินความเสีย่ งทีอ่ าจเกิดขึน้ เสนอแนะวิธปี อ้ งกัน เงินเดือน 6 75.75 7 84.85
และวิธีลดความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ ติดตาม ประเมินผล โบนัส* 6 53.65 7 55.23
และปรับปรุงแผนการด�ำเนินงาน เพื่อให้ม่ันใจว่าความเสี่ยงได้รับการ รวม 6 129.40 7 140.08
บริหารจัดการอย่างเพียงพอและเหมาะสม
3. ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการปรับปรุง และพัฒนาระบบ หมายเหตุ : * บริษัทจ่ายโบนัสในเดือนมกราคมของทุกปี
การบริหารความเสี่ยงภายในบริษัทอย่างต่อเนื่องและสม�่ำเสมอ
4. สือ่ สารแลกเปลีย่ นข้อมูล และประสานงานเกีย่ วกับความเสีย่ ง 2. ค่าตอบแทนอื่น ๆ ที่ไม่ใช่เงิน
และการควบคุมภายในกับคณะกรรมการตรวจสอบอย่างน้อยปีละ 1 ครัง้ 2.1 บริษัทได้จัดตั้งกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพพนักงาน โดยที่
5. รายงานผลการประชุมที่มีนัยส�ำคัญและเป็นประโยชน์กับ พนักงานส่งเงินเข้าเป็นเงินสะสมของกองทุนโดยสมัครใจ โดยพนักงาน
บริษัทต่อคณะกรรมการบริษัท จะส่งเงินสะสมในอัตราร้อยละ 2-7 ของเงินเดือน และบริษทั จ่ายสมทบ
6. ปฏิ บั ติ ก ารอื่ น ใดตามที่ ค ณะกรรมการบริ ษั ท มอบหมาย ในอั ต ราร้ อ ยละ 5-7 ของเงิ น เดื อ นเช่ น กั น ส� ำ หรั บ เงิ น กองทุ น ที่
อันเกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยงที่มีความส�ำคัญ จดทะเบียนนี้ บริหารโดยผูจ้ ดั การกองทุนรับอนุญาตแห่งหนึง่ โดยปฏิบตั ิ
ตามข้อก�ำหนดของพระราชบัญญัติกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530
4. ข้อมูลเกี่ยวกับผู้บริหาร และในปี 2564 บริษัทได้จ่ายเงินสมทบกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพส�ำหรับ
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 บริษัทมีผู้บริหาร จ�ำนวน 7 คน ดังนี้ ผู้บริหาร 7 ราย จ�ำนวนเงินรวม 1.3 ล้านบาท
2.2 ผูบ้ ริหารได้สวัสดิการเช่นเดียวกับพนักงานในด้านต่าง ๆ
อาทิ สวัสดิการค่ารักษาพยาบาล ประกันสุขภาพ ตรวจสุขภาพประจ�ำปี
ตามแผนการตรวจที่แบ่งตามช่วงอายุของพนักงาน การประกันชีวิต
83
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

แก่พนักงานทุกคน เงินช่วยพิธีมงคลสมรส เงินช่วยในงานฌาปนกิจ ระบบงานต่าง ๆ ของบริษทั เป็นอย่างดี และสามารถปฏิบตั งิ านได้อย่าง


ของครอบครัวพนักงาน เครื่องแบบพนักงาน การเที่ยวและการเลี้ยง มีประสิทธิภาพ รายละเอียดประวัติหัวหน้างานตรวจสอบภายใน
สังสรรค์ประจ�ำปี รวมถึง การให้สทิ ธิพเิ ศษกับพนักงานในการซือ้ สินค้า ของบริษัท แสดงในเอกสารแนบ 2
ที่มีส่วนลดตามหลักเกณฑ์เงื่อนไขที่บริษัทก�ำหนด
หัวหน้างานนักลงทุนสัมพันธ์
5. ข้อมูลเกี่ยวกับพนักงาน บริษทั ให้ความส�ำคัญในด้านความสัมพันธ์กบั ผูถ้ อื หุน้ ผูล้ งทุนทัว่ ไป
รายละเอียดจ�ำนวนพนักงาน และค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับพนักงาน และนักวิเคราะห์ โดยมอบหมายให้นายอดิศร ธนนันท์นราพูล กรรมการ
ระหว่างปี 2562 - 2564 มีดังนี้ ผู้จัดการ และนางสาว สิริพร เหล่าแพทย์กิจ ผู้จัดการฝ่ายงบประมาณ
และนักลงทุนสัมพันธ์ เป็นผูเ้ ผยแพร่ขอ้ มูลของบริษทั แก่นกั ลงทุน ทัง้ ที่
รายละเอียดของพนักงาน ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 เป็นผูถ้ อื หุน้ และผูท้ สี่ นใจจะถือหุน้ ในอนาคต พร้อมทัง้ จัดให้มสี ว่ นงาน
นักลงทุนสัมพันธ์ เพื่อเป็นตัวแทนในการสื่อสารกับผู้ถือหุ้น นักลงทุน
1. จ�ำนวนพนักงานของบริษัท แลนด์
แอนด์ เฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน) และนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ โดยสามารถติดต่อฝ่ายงบประมาณและ
- สายบริหาร 6 6 7
นักลงทุนสัมพันธ์ได้ที่หมายเลขโทรศัพท์ 0-2230-8306 หรือ อีเมล
- สายปฏิบัติการ 687 683 670
investor@lh.co.th
ทั้งนี้ ในรอบปี 2562 - 2564 ฝ่ายนักลงทุนสัมพันธ์ได้ให้ข้อมูล
- สายสนับสนุน 111 115 108
และแจ้งสารสนเทศของบริษัทต่อผู้ถือหุ้น นักลงทุน และนักวิเคราะห์
2. จ�ำนวนพนักงานในกลุ่มบริษัทย่อย 819 785 734
หลักทรัพย์ สรุปเป็นจ�ำนวนครั้ง/ปี ได้ดังนี้
รวมจ�ำนวนพนักงานของบริษัทและ
บริษัทย่อย (คน) 1,623 1,589 1,519
* ค่าใช้จา่ ยเกีย่ วกับพนักงาน (ล้านบาท) 1,937 1,701 1,735 ประเภท ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564
จ�ำนวนพนักงานที่เข้ากองทุนส�ำรอง 1. Road show ในประเทศ 13 1 -
เลี้ยงชีพ (คน) 1,506 1,425 1,385 และต่างประเทศ
2. Analyst Meeting 5 5 5
หมายเหตุ : * ค่าใช้จา่ ยเกีย่ วกับพนักงาน (รวมผูบ้ ริหาร) ของบริษทั และบริษทั ย่อย
(รวมส่วนที่เป็นต้นทุนด้วย) 3. Company Visit 38 1 -
4. Conference Call 15 29 30

6. ข้อมูลส�ำคัญอื่น ๆ
ค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี
เลขานุการบริษัท ตามมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2564 ได้อนุมัติแต่งตั้งผู้สอบ
บริษทั มอบหมายให้ นายนันทวัฒน์ พิพฒ ั วงศ์เกษม รองกรรมการ บัญชีจากบริษัท ส�ำนักงาน อีวาย จ�ำกัด เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัท
ผู้จัดการ ด�ำรงต�ำแหน่งเป็นเลขานุการบริษัท ซึ่งเป็นผู้ท่ีมีคุณวุฒิ และบริษทั ย่อย โดยผูส้ อบบัญชีมคี วามเป็นอิสระ ไม่มคี วามสัมพันธ์หรือ
คุณสมบัติ และประสบการณ์ทเี่ หมาะสม จบการศึกษาจากเนติบนั ฑิตไทย ส่วนได้เสียกับบริษัทและบริษัทย่อย ผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ และ
นิตศิ าสตร์บณ ั ฑิต และ MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยเลขานุการ บริษัทได้หมุนเวียนไม่ให้เป็นผู้สอบบัญชีติดต่อกันเกิน 7 รอบปีบัญชี
บริษัทมีบทบาทและหน้าที่ในการให้ค�ำแนะน�ำด้านกฎหมายและ โดยผู้สอบบัญชีเมื่อปฏิบัติหน้าที่มาแล้ว 7 รอบปีบัญชี จะต้องมีการ
กฎเกณฑ์ตา่ ง ๆ ทีค่ ณะกรรมการต้องทราบและปฏิบตั ิ การจัดการประชุม เว้นวรรค 5 รอบปีบัญชี ตามข้อก�ำหนดของส�ำนักงาน ก.ล.ต.
ผูถ้ อื หุน้ และการประชุมคณะกรรมการบริษทั ให้เป็นไปตามข้อกฎหมาย ค่าตอบแทนของผู้สอบบัญชี (Audit Fee) ในปี 2563 และ
ข้อบังคับของบริษทั และข้อพึงปฏิบตั ติ า่ ง ๆ บันทึกรายงานการประชุม ปี 2564 มีดังนี้
และติดตามให้มีการปฏิบัติตามมติที่ประชุม ติดต่อและสื่อสารกับ
ผู้ถือหุ้นทั่วไปให้ได้รับทราบถึงสิทธิต่าง ๆ ของผู้ถือหุ้นและข่าวสาร รายการ ปี 2563 ปี 2564
ของบริษัท การดูแลประสานงานกิจกรรมต่าง ๆ ของคณะกรรมการ
ค่าตรวจสอบบัญชีของบริษัท 1,660,000 1,850,000
ตลอดจนจัดเก็บเอกสารตามที่กฎหมายก�ำหนด รายละเอียดประวัติ
ค่าตรวจสอบบัญชีของบริษัทย่อย 2,784,000 2,901,000
เลขานุการบริษัท แสดงในเอกสารแนบ 1
รวม 4,444,000 4,751,000
หัวหน้างานตรวจสอบภายในของบริษัท
บริษทั มอบหมายให้ นายพรชัย เกียรติขจรวิรชั เป็นผูจ้ ดั การฝ่าย ค่าบริการอื่น (Non-audit Fee)
อาวุโสฝ่ายตรวจสอบและพัฒนาระบบ ผู้ซึ่งมีคุณสมบัติเหมาะสม มี - ไม่มี -
ความรู้ความสามารถ มีประสบการณ์และความเข้าใจในธุรกิจ รวมถึง
84
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

รายงานผลการด�ำเนินงานส�ำคัญด้านการก�ำกับดูแลกิจการ
1. สรุปผลการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการ ล่วงหน้าก่อนการประชุมใหญ่สามัญผู้ถือหุ้นที่จะได้จัดให้มีข้ึนเป็น
ในรอบปีที่ผ่านมา ประจ�ำในแต่ละปี ซึ่งในปีนี้ไม่มีผู้ถือหุ้นท่านใดเสนอชื่อบุคคลเพื่อ
ในปี 2564 คณะกรรมการได้พิจารณาและทบทวนกลยุทธ์ รับเลือกตั้งเป็นกรรมการแต่อย่างใด
เป้าหมาย และทิศทางการด�ำเนินงานของบริษัท ให้มีความเหมาะสม (2) การสรรหาผู้บริหาร
และสอดคล้องต่อการด�ำเนินธุรกิจ รวมทั้งมีการติดตามดูแลให้มี ส�ำหรับกรณีที่ผู้บริห ารสูง สุด หรือ ผู้บริห ารระดับสูงไม่
การน�ำกลยุทธ์ของบริษัทไปปฏิบัติ การปฏิบัติที่สอดคล้องกับนโยบาย สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ บริษัทมีแผนสืบทอดงาน โดยการให้ผู้บริหาร
กฎระเบียบ กฎหมายและข้อบังคับต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจน ในระดับรองเป็นผู้รักษาการ จนกว่าจะสรรหาและคัดเลือกบุคคลที่มี
บริหารความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม ภายใต้กรอบกฎหมาย คุณสมบัตคิ รบถ้วนตามกฎหมาย มีความรูค้ วามสามารถ และวิสยั ทัศน์
วั ต ถุ ป ระสงค์ และมติ ที่ ป ระชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น ด้ ว ยความซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต เหมาะสมกับบริษัท โดยผ่านการกลั่นกรองจากคณะกรรมการบริหาร
ระมัดระวัง ค�ำนึงถึงผลประโยชน์สงู สุดของบริษทั และมีความรับผิดชอบ ซึง่ จะน�ำเสนอต่อคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนพิจารณา
ต่อผู้ถือหุ้น และต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย รวมถึงมีการส่งเสริมการ อนุมัติ และเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติต่อไปและ
ก�ำกับดูแลกิจการที่ดี เพื่อสร้างความสามารถในการแข่งขันและสร้าง ในกรณีทผี่ บู้ ริหารสูงสุด หรือผูบ้ ริหารระดับสูงเกษียณอายุ บริษทั มีแผน
คุณค่าให้กิจการเติบโตอย่างยั่งยืน โดยมีการด�ำเนินการที่ส�ำคัญ ดังนี้ สืบทอดงานโดยการต่ออายุงานตามความสมัครใจ โดยมีวาระการด�ำรง
ต�ำแหน่งคราวละ 3-5 ปี หรือการโปรโมทผูบ้ ริหารระดับรองทีเ่ หมาะสม
การสรรหา พัฒนา และการประเมินผลการปฏิบัติ ขึ้นมาด�ำรงต�ำแหน่งแทน
หน้าที่ของคณะกรรมการ (3) การพัฒนากรรมการและผู้บริหาร
(1) การสรรหากรรมการ บริษัทมีนโยบายพัฒนาศักยภาพบุคลากรอย่างต่อเนื่อง
บริ ษั ท ได้ แ ต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการสรรหาและพิ จ ารณาค่ า เพื่อเสริมสร้างความรู้ความสามารถให้ทันต่อธุรกิจที่มีการแข่งขัน
ตอบแทน ซึ่งประกอบด้วยกรรมการอิสระมากกว่ากึ่งหนึ่ง ท�ำหน้าที่ ตลอดเวลา โดยในปี 2564 บริษัทได้ส่งผู้บริหารเข้าศึกษาโครงการที่
พิจารณา คัดเลือก และกลัน่ กรองบุคคลทีไ่ ด้รบั การเสนอชือ่ เพือ่ คัดเลือก เป็นหลักสูตรระยะยาว ได้แก่ หลักสูตรบริหารธุรกิจ ระดับปริญญาโท
และเสนอให้แต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัท โดยค�ำนึงถึงจ�ำนวนและ Executive MBA และหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์มหาบัณฑิต รวม
องค์ประกอบของคณะกรรมการบริษัทที่เหมาะสม คุณสมบัติ และ จ�ำนวน 3 คน และ กรรมการได้เป็นวิทยากรในการให้ความรู้ และเข้า
ต้องไม่มีลักษณะต้องห้ามตามข้อก�ำหนดของบริษัท โดยจะน�ำเสนอ รับการอบรมหลักสูตรต่าง ๆ ดังนี้
ต่อคณะกรรมการบริษัท เพื่อเสนอต่อที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นให้ • นายนพร สุนทรจิตต์เจริญ เป็นวิทยากรให้สภาวิศวกร
พิจารณาอนุมัติ บรรยายหัวข้อ โอกาสและความท้าทายของผูร้ บั เหมา
ส�ำหรับในปี 2564 บริษัทมีกรรมการที่ต้องออกตามวาระ ขนาดกลางกับงานภาคเอกชน ในวันที่ 8 ธันวาคม
จ�ำนวน 1 ใน 3 ของกรรมการทัง้ หมด จ�ำนวน 3 ท่าน ได้แก่ นายนันทวัฒน์ 2564 ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์
พิพัฒน์วงศ์เกษม นายอาชวิณ อัศวโภคิน และนายวัชริน กสิณฤกษ์ • นายวัชริน กสิณฤกษ์ เข้าอบรมหลักสูตร Successful
ทั้งนี้คณะกรรมการบริษัทได้มีมติให้น�ำเสนอในที่ประชุมผู้ถือหุ้น เพื่อ Formulation & Execution of Strategy (SFE)
ให้แต่งตั้งกรรมการทั้ง 3 ท่าน กลับเข้ารับต�ำแหน่งกรรมการตามเดิม รุ่น 35-2021 จัดโดย IOD ในวันที่ 24 - 25 มิถุนายน
ตามทีค่ ณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนได้เสนอมา ทัง้ นี้ 2564 ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ และเป็นวิทยากรพิเศษ
บุคคลที่ได้รับการเสนอชื่อในครั้งนี้ได้ผ่านกระบวนการกลั่นกรอง รวม บรรยายวิชา กลยุทธ์ตราผลิตภัณฑ์ ให้หลักสูตรมหา
ถึงได้รับการพิจารณาอย่างรอบคอบระมัดระวัง คณะกรรมการสรรหา บัณฑิต สาขาวิชาการตลาด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
และพิจารณาค่าตอบแทนได้พจิ ารณาแล้วเห็นว่า บุคคลทัง้ หมดดังกล่าว ในวันที่ 23 มกราคม 2564 ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์
มีคุณสมบัติครบถ้วนตามพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจ�ำกัด เป็น (4) การประเมินผลการปฏิบตั หิ น้าทีข่ องคณะกรรมการบริษทั
ผู้ทรงคุณวุฒิ มีความรู้ความสามารถและมีประสบการณ์ในธุรกิจที่ บริษทั มีนโยบายจัดให้คณะกรรมการบริษทั มีการประเมินผล
เกี่ยวข้องกับการด�ำเนินงานของบริษัท มีประวัติการท�ำงานที่โปร่งใส การปฏิบัติงานอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง เป็นประจ�ำทุกปี เพื่อช่วยให้
ไม่ด่างพร้อย สามารถที่จะช่วยพัฒนาบริษัทได้เป็นอย่างดี คณะกรรมการได้มีการพิจารณาทบทวนผลงาน ประเด็นและอุปสรรค
และเพื่อเป็นการส่งเสริมการก�ำกับดูแลกิจการตามหลัก ต่าง ๆ ในระหว่างปีที่ผ่านมา และเพิ่มประสิทธิผลการท�ำงานของ
การก�ำกับดูแลกิจการที่ดี และแสดงถึงการปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นทุกราย คณะกรรมการตามหลักการการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี
อย่างเป็นธรรมและเท่าเทียมกัน บริษัทจึงได้ให้สิทธิแก่ผู้ถือหุ้นใน ทัง้ นี้ ในปี 2564 บริษทั มีการปรับปรุงหลักเกณฑ์การประเมิน
การเสนอชื่อบุคคลที่ได้พิจารณาแล้วเห็นว่ามีคุณสมบัติและความรู้ ผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการเพิ่มเติม เพื่อให้สอดคล้องกับ
ความสามารถ เหมาะสม เพื่อรับเลือกตั้งเป็นกรรมการบริษัท เป็นการ หลักปฏิบัติ CG code ที่ทาง ก.ล.ต.ก�ำหนด ยกตัวอย่าง หลักเกณฑ์
85
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

ที่มีการเพิ่มเติมเข้าไปในการประเมินผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการ วัตถุประสงค์ที่กล่าวข้างต้น ในปี 2564 ได้มีการประเมินผลงานใน


ประจ�ำปี 2564 เช่น การประชุมคณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 5/2564 เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม
• คณะกรรมการได้ให้ความส�ำคัญและใช้เวลาอย่าง 2564 ทั้งนี้ เกณฑ์การประเมินผลจะคิดเป็นร้อยละจากคะแนนเต็ม
เพียงพอในการพิจารณาเรือ่ งส�ำคัญทีเ่ กีย่ วกับกลยุทธ์ ในแต่ละข้อ โดยหากคะแนนมากกว่าร้อยละ 85 = ดีมาก ช่วงร้อยละ
ด้านความยั่งยืนของบริษัท 75 - 85 = ดี ช่วงร้อยละ 65 - 75 = ค่อนข้างดี ช่วงร้อยละ 50 - 65
• คณะกรรมการบริษัทได้ให้ความส�ำคัญและใช้เวลา = พอใช้ และต�่ำกว่าร้อยละ 50 = ควรปรับปรุง
อย่างเพียงพอในการพิจารณาหรือทบทวนนโยบาย การประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัท จัดท�ำ
ด้านความเสี่ยงหลักในการด�ำเนินธุรกิจของบริษัท เป็น 2 ลักษณะ ดังนี้
(Key Risk) และความเสีย่ งด้านความยัง่ ยืน (ESG Risk) • การประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการทั้งคณะ
• กรรมการทุ ก คนเข้ า อบรมหลั ก สู ต รหรื อ เข้ า ร่ ว ม โดยประเมินในด้านต่าง ๆ คือ (1) โครงสร้างและคุณสมบัติของ
กิ จ กรรมสั ม มนาที่ เ ป็ น การเพิ่ ม พู น ความรู ้ ใ นการ คณะกรรมการ (2) บทบาท หน้ า ที่ และความรั บ ผิ ด ชอบของ
ปฏิบตั งิ านในรอบปีทผี่ า่ นมา ได้แก่ การอบรมหลักสูตร คณะกรรมการ (3) การประชุมคณะกรรมการ (4) การท�ำหน้าที่ของ
ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ หลักสูตรด้านการด�ำเนิน กรรมการ (5) ความสัมพันธ์กับฝ่ายจัดการ (6) การพัฒนาตนเองของ
ธุรกิจอย่างยั่งยืน หลักสูตรเกี่ยวกับการป้องกันการใช้ กรรมการและการพัฒนาผูบ้ ริหาร โดยค่าเฉลีย่ ของการประเมินผลการ
ข้อมูลภายใน และหลักสูตรเกี่ยวกับการป้องกันความ ปฏิบัติงานของคณะกรรมการทั้งคณะส�ำหรับปี 2564 เท่ากับ 98%
ขัดแย้งทางผลประโยชน์ เป็นต้น • การประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านของคณะกรรมการราย
เลขานุการบริษัท จะน�ำส่งแบบประเมินผลการปฏิบัติงาน บุคคล โดยประเมินในด้านต่าง ๆ คือ (1) ความพร้อมของกรรมการ
ของคณะกรรมการ ส่งให้คณะกรรมการทุกคนประเมินผลการปฏิบตั งิ าน (2) การก�ำหนดกลยุทธ์ และวางแผนธุรกิจ (3) การจัดการความ
ประจ�ำปีทั้งแบบคณะและรายบุคคล ซึ่งภายหลังที่กรรมการแต่ละคน เสี่ยงและการควบคุมภายใน (4) การดูแลไม่ให้เกิดความขัดแย้งทาง
ประเมินเสร็จเรียบร้อยแล้ว จะน�ำส่งแบบประเมินกลับมายังเลขานุการ ผลประโยชน์ (5) การติดตามรายงานทางการเงินและการด�ำเนินงาน
บริษทั เพือ่ รวบรวมผลคะแนนการประเมินของกรรมการแต่ละคน และ (6) การประชุ ม คณะกรรมการ (7) อื่ น ๆ โดยค่ า เฉลี่ ย ของการ
สรุปผลวิเคราะห์การประเมินการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัท ประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านของคณะกรรมการรายบุ ค คลส� ำ หรั บ
ในรอบปี และรายงานให้คณะกรรมการบริษัทพิจารณาเพื่อให้บรรลุ ปี 2564 เท่ากับ 99%

การเข้าร่วมการประชุมและการจ่ายค่าตอบแทนคณะกรรมการรายบุคคล
(1) การประชุมคณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการชุดย่อย ส�ำหรับปี 2564 สรุปดังต่อไปนี้
การประชุมคณะกรรมการชุดต่าง ๆ ในปี 2564
รายชื่อ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ
บริษัท บริหาร ตรวจสอบ สรรหาฯ บริหารควาเสีย่ งฯ
1. นายนพร สุนทรจิตต์เจริญ 5/5 12 / 12 - - -
2. นายภควัต โกวิทวัฒนพงศ์ 5/5 - 6/6 - -
3. นายอดิศร ธนนันท์นราพูล 5/5 12 / 12 - 2/2 -
4. นายนันทวัฒน์ พิพัฒวงศ์เกษม 5/5 - - - 2/2
5. นายพิภพ วีระพงษ์ 5/5 - 6/6 2/2 -
6. นายบัณฑิต พิทักษ์สิทธิ์ 5/5 - 6/6 2/2 2/2
7. นายอาชวิณ อัศวโภคิน 5/5 - - - -
8. นายวัชริน กสิณฤกษ์ 5/5 12 / 12 - - 2/2
9. นายอดุล ชูวณิชชานนท์ 5/5 12 / 12 - - 2/2
10. นายวิทย์ ตันติวรวงศ์ - 12 / 12 - - -
จ�ำนวนครั้งของการประชุมทั้งปี 5 12 6 2 2
ร้อยละของการประชุม 100% 100% 100% 100% 100%

86
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

(2) ค่าตอบแทนคณะกรรมการรายบุคคล จากที่ประชุมผู้ถือหุ้นเป็นที่เรียบร้อยแล้วทุกปี โดยจ่ายค่าตอบแทน


ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน ในรูปเงินรายเดือน โบนัส และค่าเบี้ยประชุม ส�ำหรับปี 2564 มีดังนี้
บริษัทได้ก�ำหนดนโยบายค่าตอบแทนกรรมการผู้จัดการ 1. ค่าตอบแทนรายเดือน
และกรรมการไว้อย่างชัดเจน โดยได้ก�ำหนดค่าตอบแทนกรรมการไว้ • ประธานกรรมการ 120,000 บาท / คน / เดือน
อย่างเหมาะสมกับหน้าที่ความรับผิดชอบบริษัท และมีคณะกรรมการ • กรรมการ 70,000 บาท / คน / เดือน
สรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนเป็นผูพ้ จิ ารณากลัน่ กรอง และเสนอให้ 2. ค่าเบี้ยประชุมจ่ายตามการประชุม
คณะกรรมการบริษัทพิจารณา โดยได้พิจารณาถึงความเหมาะสม • ประธานกรรมการ 40,000 บาท / คน / ครั้ง
ประการต่าง ๆ รวมถึงพิจารณาจากขนาด การขยายตัวทางธุรกิจ การ • กรรมการ 30,000 บาท / คน / ครั้ง
เติบโตทางผลก�ำไรของบริษทั และค่าตอบแทนของบริษทั จะอยูใ่ นระดับ ทั้งนี้ กรรมการที่เป็นผู้บริหารจะไม่ได้รับค่าเบี้ยประชุม
เดียวกับอุตสาหกรรมเดียวกัน ซึ่งค่าตอบแทนกรรมการได้ขออนุมัติ
รายละเอียดการจ่ายค่าตอบแทนให้แก่กรรมการแยกตามรายบุคคล ดังนี้
ค่าตอบแทนกรรมการปี 2564 (บาท)

ค่าเบี้ยประชุม ค่ากรรมการ
รายชื่อ เบี้ยประชุม ค่าเบี้ยประชุม ค่าเบี้ยประชุม
ค่าตอบแทน โบนัส กรรมการ กรรมการ รวม
รายปี กรรมการบริษัท ตรวจสอบ สรรหาฯ บริหารความเสี่ยง
1. นายนพร สุนทรจิตต์เจริญ 1,440,000 1,620,000 - - - - 3,060,000
2. นายภควัต โกวิทวัฒนพงศ์ 840,000 945,000 150,000 200,000 - - 2,135,000
3. นายอดิศร ธนนันท์นราพูล 840,000 945,000 - - - - 1,785,000
4. นายนันทวัฒน์ พิพัฒวงศ์เกษม 840,000 945,000 - - - - 1,785,000
5. นายพิภพ วีระพงษ์ 840,000 945,000 150,000 150,000 80,000 - 2,165,000
6. นายบัณฑิต พิทักษ์สิทธิ์ 840,000 945,000 150,000 150,000 60,000 80,000 2,225,000
7. นายอาชวิณ อัศวโภคิน 840,000 945,000 150,000 - - - 1,935,000
8. นายวัชริน กสิณฤกษ์ 840,000 945,000 - - - - 1,785,000
9. นายอดุล ชูวณิชชานนท์ 840,000 945,000 - - - - 1,785,000
รวม 8,160,000 9,180,000 600,000 500,000 140,000 80,000 18,660,000

ค่าตอบแทนอื่น ๆ ที่ไม่ใช่เงิน ที่เหมาะสม เข้าไปด�ำรงต�ำแหน่งเป็นกรรมการในบริษัทย่อยและ


สิทธิประโยชน์อื่น ๆ ที่ให้คณะกรรมการบริษัท ได้แก่ บริษทั ร่วม โดยในกรณีทบี่ ริษทั ย่อยและบริษทั ร่วมมีเรือ่ งส�ำคัญ เช่น การ
ประกันภัยคุม้ ครองความรับผิดชอบของกรรมการและเจ้าหน้าทีบ่ ริหาร อนุมัติการเพิ่มทุนหรือลดทุน การเลิกบริษัทย่อย เป็นต้น จะต้องได้รับ
ของบริษัท และค่าใช้จ่ายในการเข้าสัมมนาอบรมหลักสูตรของ IOD ความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริษทั ทุกครัง้ และมีการก�ำกับดูแลให้
และสถาบันอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง การด�ำเนินการเป็นไปด้วยความโปร่งใส ก�ำกับดูแลให้บริษัทย่อย
และบริษัทร่วมปฏิบัติตามข้อบังคับในเรื่องการท�ำรายการเกี่ยวโยง
การก�ำกับดูแลการด�ำเนินงานของบริษัทย่อยและ การได้ ม าหรื อ การจ� ำ หน่ า ยไปซึ่ ง สิ น ทรั พ ย์ รวมทั้ ง การการจั ด ท� ำ
บริษัทร่วม งบการเงินด้วยความถูกต้องโปร่งใส
บริ ษั ท มี ก ารก� ำ กั บ ดู แ ลการด� ำ เนิ น งานของบริ ษั ท ย่ อ ยและ
บริษทั ร่วม โดยได้แต่งตัง้ ผูบ้ ริหารทีม่ คี วามรู้ ความสามารถ ประสบการณ์

87
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

การติดตามให้มีการปฏิบัติตามนโยบายและแนว 3. การปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ที่ตลาดหลักทรัพย์แห่ง
ปฏิบัติในการก�ำกับดูแลกิจการ ประเทศไทยก�ำหนด ในการท�ำรายการที่เกี่ยวโยง
บริษัทให้ความส�ำคัญและส่งเสริมหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี กั น ให้ มี ก ารน� ำ เสนอรายการที่ เ กี่ ย วโยงกั น ต่ อ
โดยมีการด�ำเนินการให้สอดคล้องกับหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการตรวจสอบเพื่อพิจารณาให้ความเห็น
ส�ำหรับบริษัทจดทะเบียนปี 2555 และหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ก่ อ นเสนอขออนุ มั ติ ต ่ อ คณะกรรมการบริ ษั ท ตาม
ส�ำหรับบริษัทจดทะเบียนปี 2560 หรือ CG Code โดยคณะกรรมการ หลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี
บริ ษั ท ได้ จั ด ให้ มี น โยบายการก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การของบริ ษั ท เป็ น 4. การเปิ ด เผยข้ อ มู ล การท� ำ รายการที่ อ าจมี ค วาม
ลายลักษณ์อักษร และให้ความเห็นชอบนโยบายดังกล่าวและมีการ ขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ ห รื อ รายการที่ เ กี่ ย วโยง
ทบทวนอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง รวมทั้งคณะกรรมการได้พิจารณา กั น หรื อ รายการระหว่ า งกั น ตามหลั ก เกณฑ์ ที่
ทบทวนการน�ำหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี (CG Code) ไปปรับใช้ ส�ำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต./ตลาดหลักทรัพย์
ให้เหมาะสมกับบริบททางธุรกิจ โดยในปี 2564 คณะกรรมการบริษัท แห่งประเทศไทยก�ำหนด โดยเปิดเผยไว้ในแบบแสดง
ได้ร่วมกันพิจารณาและทบทวนหลักการในการประชุมคณะกรรมการ รายการข้อมูลประจ�ำปี (แบบ 56-1) และรายงาน
บริษัทครั้งที่ 5/2564 เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2564 และได้บันทึกเป็น ประจ�ำปี รวมทั้งการเปิดเผยข้อมูลรายการระหว่าง
ส่วนหนึ่งของมติคณะกรรมการส�ำหรับแนวทางการปรับปรุง หรือ กันดังกล่าวไว้ในงบการเงินตามที่มาตรฐานบัญชีได้
มาตรการทดแทนเพิ่มเติมส�ำหรับสิ่งที่บริษัทยังปฏิบัติไม่สอดคล้องกับ ก�ำหนดไว้ด้วย
หลักปฏิบัติ CG code ตามที่ได้เปิดเผยรายละเอียดในเรื่องนี้ไว้ภาย ทั้งนี้ ในปี 2564 บริษัทไม่พบรายการความขัดแย้งทาง
ใต้หัวข้อ “6.4 การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการที่ส�ำคัญของนโยบาย ผลประโยชน์ที่มีสาระส�ำคัญ และได้เปิดเผยรายการที่อาจมีความ
แนวปฏิบตั ิ และระบบการก�ำกับดูแลกิจการในรอบปีทผี่ า่ นมา” รวมทัง้ ขัดแย้งทางผลประโยชน์หรือรายการเกีย่ วโยงกันอย่างครบถ้วนภายใต้
บริษัทได้มีการก�ำหนดนโยบายก�ำกับดูแลที่ส�ำคัญต่าง ๆ ดังนี้ หัวข้อ “9.2 รายการระหว่างกัน”
(1) การป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์ (2) การป้องกันการใช้ข้อมูลภายใน
คณะกรรมการเป็นผู้ก�ำหนดเครื่องมือในการบริหารจัดการ บริษัทมีนโยบายที่ชัดเจนเกี่ยวกับเรื่องการใช้อ�ำนาจหน้าที่
เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความมั่ น ใจว่ า บริ ษั ท มี ก ารบริ ห ารจั ด การธุ ร กิ จ อย่ า งมี ให้ถูกให้ควร ผ่านหลายช่องทาง ได้แก่ การก�ำกับดูแลกิจการที่ดี
ประสิทธิภาพและโปร่งใส เพื่อผลประโยชน์สูงสุดของผู้ถือหุ้น โดย จรรยาบรรณของบริ ษั ท ประกาศต่ า ง ๆ ที่ ม าจากส� ำ นั ก งาน
บริษัทได้ก�ำหนดมาตรการในการขจัดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ คณะกรรมการ ก.ล.ต. หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การสื่อสารภายใน
ดังนี้ องค์กร วัฒนธรรมองค์กร เป็นต้น เพื่อให้พนักงานทุกระดับตระหนัก
คณะกรรมการบริ ษั ท ได้ พิ จ ารณารายการที่ อ าจมี ค วาม ถึงการปฏิบตั ติ อ่ ผูถ้ อื หุน้ อย่างเท่าเทียมกัน โดยไม่แสวงหาผลประโยชน์
ขัดแย้งทางผลประโยชน์ หรือรายการที่เกี่ยวโยงกัน หรือรายการ จากข้อมูลภายใน
ระหว่างกันอย่างเหมาะสม ภายใต้กรอบจริยธรรมที่ดี โดยผ่านการ บริ ษั ท ได้ ก� ำ หนดมาตรการป้ อ งกั น การใช้ ข ้ อ มู ล ภายใน
กลั่นกรองจากคณะกรรมการตรวจสอบ และมีการดูแลให้มีการปฏิบตั ิ เพื่อหาประโยชน์ของกรรมการและผู้บริหาร โดยการแจ้งให้ทุกท่าน
ตามเกณฑ์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และส�ำนักงานคณะ รับทราบบทบาทภาระหน้าทีท่ ต่ี อ้ งรายงานการถือครองหลักทรัพย์ของตน
กรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ตลอดจนการเปิดเผย คู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะซึ่งถือหลักทรัพย์ของบริษัท
ข้อมูลการท�ำรายการที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ดังกล่าว และรับทราบการจัดท�ำรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย์
ต่อสาธารณชน ทั้งนี้ บริษัทได้ก�ำหนดนโยบาย ระเบียบปฏิบัติ และ ทุกครัง้ ทีม่ กี ารซือ้ ขาย โอน หรือ รับโอนหลักทรัพย์ ภายใน 3 วันท�ำการ
กระบวนการในการอนุมตั ริ ายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ หลังจากวันที่ซื้อ ขาย โอน หรือรับโอนหลักทรัพย์ ตามที่ส�ำนักงาน
ให้ผู้บริหาร พนักงาน และผู้เกี่ยวข้องได้ยึดถือปฏิบัติ โดยมีหลักการ คณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ก�ำหนด และ
ส�ำคัญ ได้แก่ ต้องส�ำเนารายงานข้างต้นต่อเลขานุการบริษัท เพื่อรวบรวมเสนอต่อที่
1. รายการใดที่ ก รรมการ พนั ก งาน หรื อ บุ ค คลที่ ประชุมคณะกรรมการบริษทั ทุกครัง้ ซึง่ ก�ำหนดไว้เป็นวาระการประชุม
เกีย่ วโยงกัน มีผลประโยชน์เกีย่ วข้องในการท�ำรายการ เพื่อรับทราบรายงานการถือครองหลักทรัพย์
กับบริษัท ห้ามกรรมการหรือพนักงานมีส่วนร่วมใน ทั้ง นี้ ในปี 2564 ที่ผ่านมา คณะกรรมการบริษัท และ
การอนุมัติการท�ำรายการ และให้มีการก�ำหนดราคา ผูบ้ ริหาร ได้มกี ารปฏิบตั อิ ย่างเคร่งครัด ไม่มกี รณีฝา่ ฝืนหรือไม่ปฏิบตั ติ าม
เป็ น ไปอย่ า งเหมาะสม เสมื อ นการท�ำ รายการกับ หลักเกณฑ์การซื้อขายหลักทรัพย์โดยใช้ข้อมูลภายใน
บุคคลภายนอก (3) การต่อต้านทุจริตและคอร์รัปชัน
2. ในการก�ำหนดราคา เพื่อการป้องกันความขัดแย้งทาง บริษัทมีนโยบายการต่อต้านการทุจริตและห้ามจ่ายสินบน
ผลประโยชน์ ให้ใช้ราคายุติธรรม เหมาะสม และเป็น โดยก�ำหนดหลักการในจรรยาบรรณทางธุรกิจห้ามมิให้พนักงานเรียก
ไปตามเงื่อนไขการค้าโดยทั่วไป การรับประโยชน์หรือหลีกเลี่ยงการรับทรัพย์สินใด ๆ ที่จูงใจให้ปฏิบัติ

88
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

หรือละเว้นการปฏิบตั ใิ นทางทีม่ ชิ อบ หรืออาจท�ำให้บริษทั เสียประโยชน์ หมายให้หัวหน้างานในแต่ละระดับ ควบคุม ตรวจ


อันชอบธรรม ไม่ดำ� เนินการใด ๆ อันเป็นลักษณะทีอ่ าจก่อให้เกิดความ สอบการกระท�ำทุจริตและข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นจาก
ขัดแย้งทางผลประโยชน์ต่อองค์กร ไม่น�ำทรัพย์สินขององค์กรไปหา การปฏิบัติงาน
ประโยชน์ทางการค้าให้ตนเองหรือพวกพ้อง หรือละเว้นการกระท�ำใด ๆ 5. หน่วยงานตรวจสอบภายในด�ำเนินการตรวจสอบการ
ที่ผิดกฎหมายหรือโดยมิชอบต่อต�ำแหน่งหน้าที่ของตน ซึ่งบริษัทได้ ปฏิบตั ติ ามระเบียบขัน้ ตอนของระบบงาน การปฏิบตั ิ
เผยแพร่จรรยาบรรณทางธุรกิจให้พนักงานได้ทราบอย่างทั่วถึงและ ตามจรรยาบรรณที่ก�ำหนด ประเมินความเสี่ยงจาก
ตระหนักการปฏิบัติตามหน้าที่อย่างสม�่ำเสมอ การทุจริตคอร์รัปชัน รวมถึงสัญญาณเตือนภัยต่าง ๆ
แนวปฏิบตั ใิ นการก�ำกับดูแลและควบคุมความเสีย่ งจากการ ประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน
ทุจริตคอร์รปั ชัน และการติดตามประเมินผลการปฏิบตั ิ มีดงั นี้ ในการป้ อ งกั น ติ ด ตาม และตรวจพบความเสี่ ย ง
1. มาตรการป้องกัน ผ่านการจัดผังองค์กรให้เหมาะ จากการทุจริตคอร์รปั ชัน โดยรายงานผลการตรวจสอบ
สมกั บ การบริ ห ารและควบคุ ม โครงสร้ า งบริ ษั ท อย่างน้อยไตรมาสละ 1 ครั้ง
เสริมสร้างให้องค์กรมีความโปร่งใส มีประสิทธิภาพ 6. ผ่านกลไกการท�ำงานของคณะกรรมการบริหารความ
สอดคล้ อ งกั บ เป้ า หมาย ลั ก ษณะการด� ำ เนิ น เสี่ยงและการพัฒนาอย่างยั่งยืน ในการทดสอบและ
ธุ ร กิ จ ใช้ ห ลั ก การแบ่ ง แยกหน้ า ที่ มี ก ารถ่ ว งดุ ล ประเมิ น ความเสี่ ย งจากการทุ จ ริ ต และคอร์ รั ป ชั น
การใช้อ�ำนาจและการแบ่งแยกหน้าที่ที่เหมาะสม อย่างต่อเนือ่ ง และน�ำเสนอผลการประเมินรายงานต่อ
จัดให้มีกระบวนการท�ำงานและสายการบังคับบัญชา คณะกรรมการบริษัท
ที่ชัดเจนในแต่ละหน่วยงาน การจัดโครงสร้างองค์กร 7. จัดให้มีช่องทางในการรายงาน หากมีการพบเห็นการ
ที่วัฒนธรรมองค์กรที่เน้นด้านคุณธรรมจริยธรรม โดย ฝ่าฝืนหรือพบเห็นการกระท�ำทุจริตและคอร์รัปชัน
มีกลไกการตรวจสอบติดตามประเมินผลการปฏิบัติ และจัดให้มีมาตรการคุ้มครองและบรรเทาความเสีย
อย่างสม�่ำเสมอ รวมถึงมีการสื่อสารและฝึกอบรม หายให้กับผู้รายงาน ผู้ร้องเรียน หรือผู้ที่ให้ความ
พนักงานอย่างเพียงพอเหมาะสม โดยจัดให้มีการ ร่ ว มมื อ ในการรายงานดั ง กล่ า ว รายละเอี ย ดได้
สื่อสารแนวทางปฏิบัติเผยแพร่ผ่านช่องทางต่าง ๆ แสดงอยู่ภายใต้หัวข้อ “8.1.4 (4) การแจ้งเบาะแส
เช่น อินทราเน็ตของบริษทั และบนเว็บไซต์ของบริษทั (Whistleblowing)”
2. จั ด ท� ำ จรรยาบรรณผู ้ บ ริ ห ารและพนั ก งานที่ เ ป็ น 8. กรณีพบเหตุการณ์กระท�ำผิด ข้อมูลจากการตรวจสอบ
ลายลักษณ์อกั ษร ส่งเสริมการปฏิบัติตามจรรยาบรรณ เรื่ อ งร้ อ งเรี ย น และมี ห ลั ก ฐานอั น ควรให้ เ ชื่ อ ว่ า มี
จัดให้มีการสื่อสารอย่างทั่วถึงผ่านช่องทางต่าง ๆ ทั้ง รายการหรือการกระท�ำผิดจริง การสอบสวนการ
อินทราเน็ต และ เว็บไซต์ของบริษัท รวมถึงวางแผน กระท�ำทุจริตและคอร์รัปชัน จะจัดตั้งคณะบุคคล
การติดตามและประเมินการปฏิบัติตามจรรยาบรรณ สอบสวนพิเศษชั่วคราวขึ้น เพื่อให้ความเป็นธรรมแก่
อย่างเหมาะสม ผู้ถูกกล่าวหา และให้ความคุ้มครองอย่างเหมาะสม
3. กระบวนการในการประเมินความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับ แก่ผู้ให้เบาะแส
การทุจริตภายในบริษัท และประเมินผลการปฏิบัติ 9. น� ำ กรณี ที่ พ บเหตุ ก ารณ์ ก ระท� ำ ผิ ด มาใช้ เ ป็ น กรณี
ตามนโยบาย ผ่านทางการประเมินการควบคุมภายใน ศึกษา เพื่อหาแนวทางเชิงป้องกัน และวิธีตรวจสอบ
ตามแบบ COSO ในระดับคณะกรรมการ การประเมิน ให้พบเหตุแห่งการกระท�ำดังกล่าว รวมถึงให้ความรู้
การควบคุมภายในระดับหน่วยงาน และกลไกการ พนักงานระดับหัวหน้างานเพือ่ ป้องกันการทุจริตทีเ่ กิด
ท�ำงานของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงและการ ขึ้นในองค์กร
พัฒนาอย่างยั่งยืนและหน่วยงานควบคุมภายในของ พนั ก งานใหม่ จ ะได้ รั บ การแจ้ ง แนวทางปฏิ บั ติ ส� ำ หรั บ
บริษัท มาตรฐานความประพฤติที่ดีและจรรยาบรรณของพนักงานในวันแรก
4. การก�ำกับดูแลระดับหน่วยงาน หัวหน้าฝ่ายก�ำกับดูแล ที่เริ่มท�ำงานและโดยผ่านการ Orientation พนักงานใหม่ และ
ฝ่ายของตน โดยการประเมินการควบคุมภายใน ความ บริษัทได้จัดการฝึกอบรมภายในบริษัทให้แก่ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ
เสี่ยงจากการทุจริตคอร์รัปชัน ระดับหน่วยงาน และ ผูบ้ ริหารสายปฏิบตั กิ าร ผูบ้ ริหารสายสนับสนุน ผูจ้ ดั การฝ่ายอาวุโส และ
จัดให้มรี ะบบการควบคุมภายในทีม่ ปี ระสิทธิภาพและ ผู้จัดการฝ่าย เกี่ยวกับเครื่องมือและวิธีการใช้เครื่องมือในการติดตาม
ประสิทธิผลเพื่ออุดช่องโหว่ที่อาจเป็นเหตุให้เกิดการ ความเสี่ยง เพื่อให้ผู้บริหารรวมทั้งฝ่ายจัดการสามารถน�ำไปใช้ในการ
กระท�ำทุจริตขึน้ ทบทวนความเหมาะสมของระบบและ ติดตามและประเมินความเสี่ยงได้อย่างมีประสิทธิภาพ
พัฒนาระบบให้ดขี นึ้ อย่างต่อเนือ่ ง ควบคุมตรวจสอบ ทั้งนี้ในปี 2564 บริษัทไม่มีข้อพิพาททางกฎหมายที่เกี่ยว
ติดตามการปฏิบตั งิ านของหน่วยงานของตน และมอบ กับคดีทุจริตคอร์รัปชัน ทั้งที่อยู่ระหว่างถูกตรวจสอบ ด�ำเนินคดี หรือ
พิพากษาของศาล
89
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

(4) การแจ้งเบาะแส (Whistleblowing) 2. พิจารณาความเสี่ยงที่ส�ำคัญของบริษัท ประเมินความเพียง


บริษัทมีนโยบายคุ้มครองผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม ด้วยการ พอของระบบการควบคุม ระบบสารสนเทศและการสือ่ สารข้อมูล และ
ก�ำหนดมาตรการในการแจ้งเบาะแส และกลไกคุม้ ครองผูแ้ จ้ง เพือ่ เปิดรับ ระบบการติดตามประเมินผล เป็นไปตามทีก่ ำ� หนดโดยมาตรฐานสากล
เรื่องร้องเรียนกรณีถูกละเมิดสิทธิ จากการกระท�ำผิดกฎหมาย หรือ ของ COSO
จรรยาบรรณ ข้อคิดเห็น หรือข้อเสนอแนะ รวมถึงพฤติกรรมที่อาจ 3. สอบทานการปฏิบัติของบริษัท ให้เป็นไปตามกฎหมายและ
ส่อถึงการทุจริตหรือประพฤติมิชอบของบุคคลในองค์กร ทั้งพนักงาน ข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง
บริษัทและผู้มีส่วนได้เสียอื่น ๆ บริษัทได้เปิดเผยกระบวนการ และ 4. พิจารณาการเปิดเผยข้อมูลของบริษัทในกรณีที่บริษัทมี
ช่องทางการแจ้งเบาะแส ในเว็ปไซต์ของบริษัท และ รายงานประจ�ำปี รายการเกีย่ วโยง หรือรายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ให้
ของบริษัท ทั้งนี้สามารถยื่นเรื่องถึงประธานคณะกรรมการตรวจสอบ มีความถูกต้องครบถ้วน และเป็นไปตามกฎระเบียบข้อบังคับทีเ่ กีย่ วข้อง
โดยตรง ผ่านช่องทางดังนี้ 5. พิจารณาและสอบทานรายงานผลการปฏิบัติงานของฝ่าย
• E-mail : Auditcommittee@lh.co.th ตรวจสอบภายในรายไตรมาส รวมทัง้ พิจารณาและอนุมตั แิ ผนงานตรวจ
• ยืน่ ทางไปรษณีย์ ถึง ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ สอบภายในประจ�ำปี
เลขที่ 1 อาคารคิวเฮ้าส์ลุมพินี ชั้น 37-38 ถนนสาทร 6. จัดการประชุมร่วมกับผู้สอบบัญชี โดยไม่มีฝ่ายการจัดการ
ใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 เข้าร่วมจ�ำนวน 1 ครัง้ ในการประชุมครัง้ ที่ 5/2564 โดยได้รบั ฟังสภาพ
ส�ำหรับพนักงาน บริษทั จัดช่องทางติดต่อโดยตรงต่อหัวหน้า การท�ำงานของผู้สอบบัญชี การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น รับทราบ
หน่วยงานฝ่ายตรวจสอบภายใน หรือ ฝ่ายจัดการ เพือ่ แจ้งข้อร้องเรียน ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะที่ส�ำคัญ เพื่อน�ำเสนอต่อคณะกรรมการ
หรือกรณีที่พบเห็นเรื่องที่อาจเป็นการกระท�ำผิด หรือ ฝ่าฝืนต่อการ บริษัทให้รับทราบและทบทวนตามประเด็นที่ผู้สอบบัญชีเสนอแนะมา
ปฏิบัติตามจริยธรรม ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อพนักงาน ผู้มีส่วนได้เสีย 7. พิจารณาคัดเลือกและเสนอแต่งตั้งผู้สอบบัญชีของบริษัท
อื่น ๆ และบริษัท ทั้งนี้ บริษัทมีกระบวนการในการจัดการกับเรื่อง รวมถึงพิจารณาความเหมาะสมของค่าสอบบัญชี
ที่พนักงานร้องเรียน มาตรการคุ้มครองพนักงานที่เป็นผู้ร้องเรียน 8. คณะกรรมการตรวจสอบประเมินตนเองเป็นประจ�ำทุกปี
การสืบสวนหาข้อเท็จจริงเพือ่ ความเป็นธรรมแก่ทกุ ฝ่าย โดยพิจารณาว่า ทั้งนี้ ภายหลังจากการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบทุกครั้ง
เรื่องที่พนักงานร้องเรียนเข้าข่ายการกระท�ำผิดหรือไม่ อยู่ในระดับ ประธานกรรมการตรวจสอบจะสรุปความเห็นของที่ประชุม เพื่อน�ำ
ความผิดระดับใด เพื่อก�ำหนดบทลงโทษส�ำหรับการกระท�ำผิดนั้น ๆ เสนอต่อคณะกรรมการบริษัท โดยเป็นการแจ้งเพื่อทราบหรือเพื่อ
โดยมีหน่วยงานหรือทีมงานตรวจสอบข้อเท็จจริง และสรุปรายละเอียด พิจารณาต่อไป นอกจากนี้ คณะกรรมการตรวจสอบยังเล็งเห็นและให้
ของเรื่องดังกล่าว เพื่อรายงานต่อคณะกรรมการตรวจสอบพิจารณา ความส�ำคัญในการปฏิบัติตามหลักการก�ำกับดูแลที่ดี โดยได้ก�ำหนด
ต่อไป เป็นวาระหนึ่งที่ให้ฝ่ายตรวจสอบฯ น�ำเสนอข่าวสาร หลักเกณฑ์ หรือ
บริษัทได้ก�ำหนดแนวทางในการคุม้ ครองผู้แจ้งเบาะแส โดย ข้อปฏิบตั ทิ เี่ กีย่ วข้องกับการก�ำกับดูแลกิจการทีอ่ าจมีการเปลีย่ นแปลง
ให้ความส�ำคัญของการเก็บข้อมูลและตัวตนของผู้แจ้งเบาะแส หรือ เพิ่มเติมในแต่ละไตรมาส รวมถึงก�ำหนดวาระหนึ่งในการประเมิน
ผู้ร้องเรียน และผู้ถูกร้องเรียน เป็นความลับ และจะเปิดเผยข้อมูล แนวทางที่บริษัทปฏิบัติกับหลักปฏิบัติ CG Code เป็นประจ�ำทุกปี
เฉพาะส่วนทีจ่ ำ� เป็นให้แก่ผทู้ ไี่ ด้รบั มอบหมายเท่านัน้ โดยค�ำนึงถึงความ ก่อนจะน�ำเสนอให้คณะกรรมการบริษัทพิจารณาและทบทวนอีกครั้ง
ปลอดภัย และความเสียหายของผูใ้ ห้ขอ้ มูล หรือบุคคลทีเ่ กีย่ วข้อง เพือ่
เป็นการสร้างความมั่นใจให้แก่ผู้ร้องเรียน โดยคณะกรรมการตรวจ 3. สรุปผลการปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการชุดย่อย
สอบหรือกรรมการอิสระเป็นผู้รับเรื่องร้องเรียน และรายงานต่อคณะ อื่น ๆ
กรรมการ การปฏิ บั ติ ง านของคณะกรรมการสรรหาและ
พิจารณาค่าตอบแทน
2. รายงานผลการปฏิบตั หิ น้าทีข่ องคณะกรรมการ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ประกอบด้วย
ตรวจสอบในรอบปีที่ผ่านมา กรรมการจ�ำนวน 3 คน ซึง่ มี 2 คน ทีเ่ ป็นกรรมการอิสระ โดยในปี 2564
คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้วย กรรมการอิสระทั้งคณะ ได้มกี ารจัดประชุม รวมจ�ำนวน 2 ครัง้ กรรมการได้เข้าร่วมประชุมครบ
จ�ำนวน 3 คน โดยในปี 2564 ได้มีการจัดประชุม รวมจ�ำนวน 6 ครั้ง 100% สรุปสาระส�ำคัญของงานทีค่ ณะกรรมการสรรหาฯ ได้ดำ� เนินการ
กรรมการได้เข้าร่วมประชุมครบ 100% ทั้งนี้ คณะกรรมการได้ปฏิบัติ ในปีที่ผ่านมา ดังนี้
หน้าที่อย่างดีและครบถ้วนตามที่ระบุในกฎบัตรคณะกรรมการตรวจ 1. พิจารณาจัดสรรโบนัสให้แก่กรรมการส�ำหรับผลการด�ำเนินงาน
สอบ สรุปสาระส�ำคัญของงานที่คณะกรรมการตรวจสอบได้ด�ำเนิน ประจ�ำปี 2563
การในปีที่ผ่านมา ดังนี้ 2. พิจารณาสรรหากรรมการใหม่แทนกรรมการทีต่ อ้ งออกตาม
1. สอบทานให้บริษัทมีรายงานทางการเงินอย่างครบถ้วนถูก วาระ และเสนอให้ทปี่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั พิจารณา ก่อนน�ำเสนอ
ต้อง และเปิดเผยอย่างทันเวลา ต่อที่ประชุมใหญ่สามัญผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 1/2564

90
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

3. พิจารณาก�ำหนดวงเงินค่าตอบแทนให้แก่กรรมการ ส�ำหรับ 5. สร้างวัฒนธรรมองค์กรให้เกิดความเข้าใจร่วมกันและมี


ปี 2564 และเสนอให้ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทพิจารณา ก่อน จิตสํานึกในเรือ่ งความเสีย่ ง ด้วยการสร้างฐานองค์ความรู้ (Knowledge
น�ำเสนอต่อที่ประชุมใหญ่สามัญผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 1/2564 Base) เพราะบริษทั เชือ่ ว่าความเสีย่ งสามารถบรรเทาลงหรือยอมรับได้
4. พิจารณาจัดสรรค่าตอบแทนรายเดือน และค่าเบี้ยประชุม เมื่อผู้บริหารหรือเจ้าหน้าที่ทุกส่วนงานรู้เท่าทันความเสียหายที่จะ
ของคณะกรรมการชุดต่าง ๆ ประจ�ำปี 2564 และเสนอให้ที่ประชุม ตามมา ดังนั้นบริษัทจึงมุ่งพัฒนาฐานข้อมูลทั้งภายในและภายนอก
คณะกรรมการบริษัทพิจารณา องค์กร ด้วยการลงทุนด้านไอทีและน�ำเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้งาน
เพือ่ ให้พนักงานทุกระดับสามารถเข้าถึงข้อมูล แลกเปลีย่ นประสบการณ์
การปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง อันจะน�ำไปสูก่ ารพัฒนาและปรับปรุงกระบวนการบริหารความเสีย่ งให้
และการพัฒนาอย่างยั่งยืน เกิดประสิทธิภาพ
คณะกรรมการบริษทั ได้ให้ความส�ำคัญเกีย่ วกับการบริหารความเสีย่ ง คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงและการพัฒนาอย่างยั่งยืน
เป็นอย่างมาก บริษัทได้มีการก�ำหนดและประเมินความเสี่ยงของ ประกอบด้วย กรรมการจ�ำนวน 4 คน โดยมีกรรมการอิสระ 1 คน เป็น
กิจการ มีการก�ำหนดมาตรการป้องกันและจัดการความเสีย่ ง ซึง่ รวมถึง ประธานกรรมการ และในปี 2564 ได้มีการจัดประชุม รวมจ�ำนวน 2
ความเสี่ยงที่มีผลต่อการด�ำเนินงานของบริษัทตามที่ระบุไว้ในหัวข้อ ครั้ง กรรมการได้เข้าร่วมประชุมครบ 100% สรุปสาระส�ำคัญของงาน
ปัจจัยความเสี่ยง นอกจากนี้ บริษัทได้จัดตั้งคณะกรรมการบริหาร ที่คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงฯ ได้ด�ำเนินการในปีที่ผ่านมา ดังนี้
ความเสี่ยงและการพัฒนาอย่างยั่งยืน และก�ำหนดขอบเขตอ�ำนาจ 1. ติดตามก�ำกับปัจจัยความเสี่ยงที่ส�ำคัญครอบคลุมทั้ง 4
หน้าทีค่ วามรับผิดชอบไว้อย่างชัดเจนในกฎบัตรคณะกรรมการบริหาร ด้าน ได้แก่ ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน
ความเสีย่ ง ทีผ่ า่ นความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริษทั โดยบริษทั ได้ ความเสี่ยงด้านการเงิน และความเสี่ยงด้านการปฏิบัติตามข้อบังคับ
ก�ำหนดนโยบายการบริหารและจัดการความเสี่ยง ดังนี้ และกฎหมาย โดยได้มีการจัดประชุมร่วมกับคณะกรรมการตรวจสอบ
1. คณะกรรมการบริ ษั ท ผู ้ บ ริ ห าร พนั ก งานทุ ก คน และ และได้มกี ารรายงานผลการบริหารความเสีย่ งต่อคณะกรรมการบริษทั
ทุกหน่วยงานเป็นเจ้าของความเสี่ยง มีหน้าที่รับผิดชอบ ด�ำเนินการ 2. ติดตามก�ำกับการด�ำเนินงานด้านการพัฒนาอย่างยัง่ ยืนของ
ประเมิน ติดตาม และสนับสนุนให้มีกระบวนการบริหารความเสี่ยง องค์กร โดยได้มีการก�ำหนดนโยบายและเป้าหมายการจัดการด้าน
อย่างมีประสิทธิภาพ ความยั่งยืน ครอบคลุมมิติด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม
2. หน่วยธุรกิจ (Business Unit) ของบริษทั ต้องมีกระบวนการ วางแผนในการลดการใช้ ท รั พ ยากร เพิ่ ม การใช้ พ ลั ง งานทดแทน
บริหารและการจัดการความเสีย่ ง อีกทัง้ การประเมินผลและการติดตาม ส่งเสริมการพัฒนานวัตกรรมสินค้าและบริการ โดยได้จัดประชุมร่วม
อย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง โดยต้องมีการปรับปรุงกระบวนการให้ กับคณะท�ำงานด้านสิ่งแวดล้อมและด้านการจัดการพลังงาน และได้
เหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจอย่างสม�่ำเสมออย่างน้อยปี มีการรายงานแผนงานต่อคณะกรรมการบริษัท เพื่อให้คณะกรรมการ
ละครั้ง บริษัทพิจารณาแผนงานและอนุมัติ ก่อนน�ำไปปฏิบัติจริงทั่วทั้งองค์กร
3. ก�ำหนดให้การประเมินความเสีย่ งเป็นส่วนหนึง่ ของแผนงาน 3. ด�ำเนินงานต่อเนื่องจากปีก่อน ในเรื่องการคุ้มครองข้อมูล
ประจ� ำ ปี ข องทุ ก ฝ่ า ย โดยพิ จ ารณาความเสี่ ย งทั้ ง หมดครอบคลุ ม ส่วนบุคคล (Personal Data Protection Act) โดยได้ประชุมร่วมกับ
ทั่วทั้งองค์กร โดยค�ำนึงถึงปัจจัยเสี่ยงทั้งภายในและภายนอกองค์กร คณะท�ำงาน และบริษัทที่ปรึกษา บริษัท ดีลอยท์ ทู้ช โธมัทสุ ไชยยศ
รวมทั้งก�ำหนดให้มีการจัดการความเสี่ยงและสร้างสัญญาณเตือนภัย เพื่อติดตามความคืบหน้าของระบบงานที่ได้มีการน�ำไปปฏิบัติ รวมทั้ง
ที่เหมาะสม มีการวางแผนงานอย่างต่อเนื่องตลอดทั้งปี เช่น การวางแผนการ
4. คณะกรรมการบริหารความเสีย่ งและการพัฒนาอย่างยัง่ ยืน ตรวจสอบการปฏิบัติงานของพนักงานที่โครงการ การจัดท�ำสัญญาให้
มี ห น้ า ที่ ติ ด ตามการบริ ห ารความเสี่ ย งและเสนอความเห็ น ต่ อ ส่วนงานที่เกี่ยวข้องลงนาม เป็นต้น
คณะกรรมการบริษัท

91
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

การควบคุมภายในและรายการระหว่างกัน

1. การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง และพิจารณาค่าตอบแทนรับผิดชอบต่อภารกิจที่ได้รับมอบหมายจาก
คณะกรรมการบริษัทและผู้บริหารมีหน้าที่รับผิดชอบต่อความ คณะกรรมการบริษัทฝ่ายต่าง ๆ ที่มีการแบ่งงานออกเป็นสายปฏิบัติ
มีประสิทธิภาพของระบบการควบคุมภายใน รวมถึงมีการทบทวน การและสายสนับสนุน ซึ่งได้จัดตั้งขึ้นอย่างเหมาะสมและเพียงพอต่อ
และติดตามอยู่เป็นประจ�ำ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและลดความสูญเสีย การด�ำเนินงาน ทัง้ นีเ้ พือ่ ให้เกิดการจัดการทีด่ เี กีย่ วกับควบคุมดูแลและ
จากการด�ำเนินธุรกิจในสภาวะที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ทั้งจาก การถ่วงดุลอ�ำนาจกันเองระหว่างผูป้ ฏิบตั งิ านของแต่ละคณะ และหรือ
ปัจจัยภายใน ปัจจัยภายนอก กฎเกณฑ์ข้อบังคับที่มาจากภาครัฐหรือ แต่ละฝ่ายก็ตาม รวมถึงการสอดส่องดูแลกระบวนการบริหารความเสีย่ ง
แม้แต่ตัวบุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับองค์กร ล้วนเป็นปัจจัยเสี่ยงต่อ โดยรวมให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้
ธุรกิจทั้งสิ้น ดังนั้นการจัดการกับการควบคุมภายในและการบริหาร
ความเสี่ยงจึงมีความส�ำคัญเป็นอย่างยิ่งที่คณะกรรมการบริษัทจะให้ 2. ผ่านคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริษทั ได้มอบ
ความสนใจและตระหนักอยูเ่ สมอ โดยก�ำหนดให้ทกุ หน่วยงานของบริษทั หมายให้คณะกรรมการตรวจสอบทัง้ 3 ท่าน ท�ำหน้าทีด่ แู ล ติดตาม และ
ต้องค�ำนึงถึงการควบคุมภายในและการบริหารความเสีย่ ง ให้ครอบคลุม พิจารณาความเหมาะสมอย่างเพียงพอหรือไม่ ของระบบการควบคุม
ทุกด้าน อาทิ ด้านการบริหารและการจัดการทรัพยากรของบริษัท ภายใน เนื่องจากสภาวการณ์ที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ท�ำให้
ด้านบัญชี-การเงิน ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล ด้านการจัดซือ้ จัดจ้าง ต้องมีการประเมินอยู่เป็นประจ�ำทุกปี และให้รายงานตรงต่อคณะ
ด้านระบบสารสนเทศและการสือ่ สารข้อมูล และด้านกฎหมาย เพือ่ มิให้ กรรมการบริษัท
เกิดความเสียหายที่รุนแรง และหรือข้อพิพาทจากการละเมิด และ ในแต่ละปีคณะกรรมการตรวจสอบจะร่วมประชุมกับผูส้ อบ
กระท�ำผิดต่อบริษัทหรือต่อบุคคลที่สามอันน�ำไปสู่การฟ้องร้องทั้งทาง บัญชีภายนอกของบริษทั คือ บริษทั ส�ำนักงาน อีวาย จ�ำกัด และผูต้ รวจ
แพ่งและทางอาญา บริษัทได้ดำ� เนินการผ่านช่องทางต่าง ๆ ดังนี้ สอบภายใน อยู่เป็นประจ�ำอย่างน้อยไตรมาสละครั้ง เพื่อติดตามและ
สอบถามถึงระบบการควบคุมภายในของบริษัท ซึ่งได้รับค�ำชี้แจงว่า
1. ผ่านการจัดผังองค์กร การออกแบบผังองค์กรให้สอดคล้อง ยังไม่พบข้อบกพร่องที่มีสาระส�ำคัญเกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน
กับลักษณะงาน พร้อมทั้งก�ำหนดขอบเขตอ�ำนาจหน้าที่ไว้อย่างชัดเจน ของบริษัท
เพือ่ ให้เกิดความคล่องตัวและรวดเร็วต่อการปฏิบตั งิ านภายใต้ขอ้ จ�ำกัด ในการประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 5/2564 เมื่อวันที่ 23
ที่เป็นสากล เช่น การจัดตั้งให้มีคณะกรรมการบริษัท เป็นผู้ก�ำกับ ธันวาคม 2564 คณะกรรมการบริษัทได้รับรายงานเบื้องต้นจาก
ดูแลด้านนโยบายและรับผิดชอบต่อบุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบ เรื่องการประเมินความเพียงพอของระบบ
คณะผู้บริหารรับผิดชอบต่อผลการด�ำเนินธุรกิจตามเป้าหมายที่วางไว้ การควบคุมภายในประจ�ำปี 2564 มีความเห็นว่าบริษัทมีระบบการ
คณะกรรมการชุดย่อย ได้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการ ควบคุมภายในที่เพียงพอและเหมาะสมกับสภาวการณ์ปัจจุบัน ซึ่งได้
บริหารความเสี่ยงและการพัฒนาอย่างยั่งยืน คณะกรรมการสรรหา น�ำกรอบแนวทางของการประเมินการควบคุมภายในตามแบบประเมิน

92
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

ของคณะกรรมการก�ำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ที่มีขอบเขต 4. ผ่านการสร้างวัฒนธรรมองค์กร เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้กับ


ครอบคลุมทั้ง 5 องค์ประกอบ คือ สภาพแวดล้อมภายในองค์กร การ องค์กรและเป็นการวางรากฐานที่ดีในระยะยาว ผ่านกลไกที่เรียกว่า
ประเมินความเสี่ยง กิจกรรมการควบคุม ระบบสารสนเทศและการ วัฒนธรรมองค์กร ด้วยการใช้บุคลากรเป็นแม่แบบในการเชื่อมโยง
สื่อสารข้อมูล และระบบการติดตามประเมินผล ตามที่ก�ำหนดโดย ได้แก่ การฝึกอบรม การปลูกฝังจริยธรรมและจรรยาบรรณของบริษัท
มาตรฐานสากลของ COSO (The Committee of Sponsoring การถ่ายทอดจิตส�ำนึกที่ดีจากบนลงสู่ล่าง การจัดให้มีการปฏิบัติธรรม
Organizations of the Treadway Commission) ซึ่งคณะกรรมการ อย่างต่อเนื่องทั้งพนักงานและครอบครัวของพนักงาน ความเอื้ออาทร
บริษทั ได้พจิ ารณาและมีความเห็นสอดคล้องกับคณะกรรมการตรวจสอบ ที่มีต่อกันจากรุ่นสู่รุ่น โดยบริษัทมีความเชื่อว่าไม่มีระบบใดดีที่สุด
ที่น�ำเสนอมา ตลอดเวลา เท่ากับการมีบุคลากรที่คิดดี ท�ำดี และมีจิตส�ำนึกสูงต่อ
ในระดับหน่วยงานหรือฝ่าย บริษัทได้นำ� ระบบการประเมิน อ�ำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมาย ซึ่งสิ่งเหล่านี้
การควบคุมด้วยตนเองมาใช้ในการปฏิบัติงานของหน่วยงานต่าง ๆ ซึ่ง จะด�ำรงอยู่ได้เมื่อวัฒนธรรมองค์กรแข็งแรง อย่างไรก็ตาม ในปี 2564
กระท�ำเป็นประจ�ำทุกปี เพือ่ ให้มกี ารสอบทานการปฏิบตั งิ านและพัฒนา บริษทั งดจัดกิจกรรมปฏิบตั ธิ รรม เนือ่ งจากสถานการณ์การแพร่ระบาด
ระบบงานต่าง ๆ เพือ่ ให้การควบคุมภายในมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ที่ดียิ่งขึ้น และส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง คณะกรรมการตรวจสอบได้กำ� กับดูแลให้ฝา่ ยตรวจสอบและ
พัฒนาระบบปฏิบตั งิ านได้อย่างมีอสิ ระ เทีย่ งธรรม และมีจรรยาบรรณ
3. ผ่านคณะกรรมการบริหารความเสีย่ งและการพัฒนาอย่าง ที่ ดี ซึ่ ง ผู ้ ด� ำรงต� ำแหน่ ง หั ว หน้ า งานผู ้ ต รวจสอบภายในของบริ ษั ท
ยัง่ ยืน ซึง่ ประกอบด้วยกรรมการอิสระ กรรมการผูจ้ ดั การ และผูบ้ ริหาร (Chief Audit Executive: CAE) คือ นายพรชัย เกียรติขจรวิรชั ผูจ้ ดั การ
ระดับสูงในหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยให้ความส�ำคัญในเรื่อง ฝ่ายอาวุโสฝ่ายตรวจสอบและพัฒนาระบบ โดยคณะกรรมการตรวจสอบ
การพัฒนาอย่างยั่งยืน ซึ่งครอบคลุมใน 3 มิติ คือ มิติด้านสิ่งแวดล้อม มีความเห็นว่า นายพรชัย เกียรติขจรวิรัช มีคุณสมบัติเหมาะสม
มิติด้านความรับผิดชอบต่อสังคม และมิติการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี มีความรู้ความสามารถ มีประสบการณ์และความเข้าใจในธุรกิจ รวม
คณะท�ำงานได้มกี ารประเมินความเสีย่ งในทุกระดับขององค์กร ถึงระบบงานต่าง ๆ ของบริษัทเป็นอย่างดี และสามารถปฏิบัติงาน
ครอบคลุมความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติการ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ การพิจารณาแต่งตั้ง โยกย้าย เลิกจ้าง
ความเสี่ยงด้านการเงิน ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง ความเสี่ยงด้าน หัวหน้างานผู้ตรวจสอบภายในของบริษัท จะต้องได้รับความเห็นชอบ
การลงทุน และความเสี่ยงด้านข้อบังคับและกฎหมาย โดยได้ประเมิน จากคณะกรรมการตรวจสอบ
วิ เ คราะห์ และจั ด ล�ำ ดั บ ความเสี่ ย ง ก�ำ หนดแนวทางและกลยุทธ์
การบริหารความเสีย่ งในแต่ละเรือ่ ง ทัง้ นี้ บริษทั ได้ดำ� เนินการจัดการกับ
ความเสีย่ งในระดับสูง กลาง ต�ำ่ ตามล�ำดับ โดยได้ดำ� เนินการอย่างต่อเนือ่ ง
มาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เพื่อจัดการความเสี่ยงในระดับองค์กรของ
บริษัทให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ภายใต้ต้นทุนที่เหมาะสม
บริษทั มีการวางระบบการติดตามและรายงานผลการบริหาร
ความเสี่ยงอย่างสม�ำ่ เสมอ รวดเร็ว และทันต่อเหตุการณ์ โดยผู้บริหาร
มีกระบวนการติดตามความเสี่ยงผ่านเครื่องมือติดตามความเสี่ยง
(Risk Monitor Tools) ในรูปแบบ Computer Based บนระบบ EIS
ของบริษัท โดยระบบจะถูกปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบันทุกเดือน
และรายงานให้แก่เจ้าของความเสี่ยง เพื่อใช้ในการติดตาม วิเคราะห์
ประเมิน และจัดการความเสี่ยง ทั้งนี้ บริษัทมีการประชุมเพื่อติดตาม
ผลการบริหารความเสี่ยงอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง
นอกจากนี้ เนื่องจากคณะกรรมการได้เล็งเห็นและให้ความ
ส�ำคัญในเรื่องการพัฒนาอย่างยั่งยืน จึงได้ให้คณะกรรมการบริหาร
ความเสี่ ย งและการพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น วางแนวทางและกรอบใน
การด�ำเนินงานอย่างยั่งยืน เพื่อเป็นแนวทางในการด�ำเนินงานตาม
กระบวนการการพัฒนาอย่างยั่งยืนของบริษัท ซึ่งถือเป็นกลไกส�ำคัญ
ในการบรรลุสู่ความส�ำเร็จในการด�ำเนินธุรกิจ

93
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

2. รายการระหว่างกัน
บริษทั และบริษทั ย่อยมีรายการระหว่างกันกับบุคคลหรือนิตบิ คุ คลทีอ่ าจมีความขัดแย้งดังนี้ (โปรดพิจารณาในหมายเหตุประกอบงบการเงินเพิม่ เติม)

มูลค่า(ล้านบาท) ความเห็นคณะกรรมการ
บุคคล/นิติบุคคล ความสัมพันธ์ ลักษณะรายการ
(ณ 31 ธ.ค. 2564) 2562 2563 2564 ตรวจสอบ
บมจ. ควอลิตี้ คอนสตรัคชั่น - บริษัทเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ - บริษัทซื้อวัสดุก่อสร้างจาก - เงือ่ นไขและราคาซือ้ สินค้าเป็น
โปรดัคส์ (Q-CON) ของ Q-CON ในสัดส่วนร้อยละ Q-CON ตามปกติของธุรกิจทีไ่ ม่มคี วาม
21.16 ของจ� ำ นวนหุ ้ น ที่ - ซื้อสินค้า 37 28 28 แตกต่างจากบุคคลภายนอก
จ�ำหน่ายได้แล้วทั้งหมด - เจ้าหนี้การค้า 7 5 5
- มีกรรมการร่วมกัน 1 ท่าน ได้แก่ - เงินปันผลรับ 5 15 39 - เป็นเงินปันผลที่ได้รับตาม
นายนพร สุนทรจิตต์เจริญ สัดส่วนการถือหุ้นในอัตรา
เดียวกันกับผู้ถือหุ้นรายอื่น
บมจ. โฮม โปรดักส์ - บริษทั เป็นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ของ - บริษทั และบริษทั ย่อยซือ้ วัสดุ - เงื่อนไขและราคาซื้อสินค้า
เซ็นเตอร์ (HMPRO) HMPRO ในสัดส่วนร้อยละ ตกแต่งบ้านจากHMPRO เป็นตามปกติของธุรกิจที่ไม่มี
30.23 ของจ�ำนวนหุน้ ทีจ่ ำ� หน่าย - ซื้อสินค้า 65 32 38 ความแตกต่างจากบุคคล
ได้แล้วทั้งหมด - เจ้าหนี้การค้า 1 1 2 ภายนอก
- มีกรรมการร่วมกัน 2 ท่าน ได้แก่ - เจ้าหนี้อื่น ๆ 8 6 7
นายนพร สุ น ทรจิ ต ต์ เ จริ ญ - เงินปันผลรับ 1,471 1,233 1,272 - เป็นเงินปันผลที่ได้รับตาม
และนายอาชวิณ อัศวโภคิน สัดส่วนการถือหุ้นในอัตรา
เดียวกันกับผู้ถือหุ้นรายอื่น
กองทุนรวมสิทธิการเช่า - บริษัทเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ - บริษัทและบริษัทย่อยได้เช่า - ค่าเช่าดังกล่าวเป็นการเช่าตาม
อสังหาริมทรัพย์ ควอลิตี้เฮ้าส์ ของ QH ในสัดส่วนร้อยละ อาคารจาก QHPF เพื่อใช้ ปกติของธุรกิจโดยเป็นราคา
(QHPF) 24.98 เป็นที่ตั้งส�ำนักงานใหญ่ ใกล้เคียงกับราคาเช่าที่ QHPF
- QH เป็ น ผู ้ ถื อ หุ ้ น รายใหญ่ - ค่าเช่าและบริการจ่าย 74 73 75 ให้เช่ากับลูกค้ารายอื่น
ของ QHPF ในสัดส่วนร้อยละ - เงินมัดจ�ำ 16 16 16
25.66 - หนี้สินตามสัญญาเช่า - 326 270
- บริษัทและ QH มีกรรมการ - เงินปันผลรับ 27 27 24 - เป็ น เงิ น ปั น ผลที่ ไ ด้ รั บ ตาม
ร่วมกัน 3 ท่าน ได้แก่ สัดส่วนการถือหุ้นในอัตรา
นายนพร สุ น ทรจิ ต ต์ เ จริ ญ เดียวกันกับผู้ถือหุ้นรายอื่น
นายอดิ ศ ร ธนนั น ท์ น ราพู ล
และนายอาชวิณ อัศวโภคิน
ธนาคารแลนด์แอนด์เฮ้าส์ - บริษัทเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ - บริษัทและบริษัทย่อยได้เปิด 3,366 4,874 8,197 - รายการเงินฝากดังกล่าวเป็น
(LH Bank) % การถื อ หุ ้ น ของ บมจ. แอล เอช ไฟแนนซ์ บัญชีเงินฝากประเภทออม รายการฝากเงินตามปกติของ
ค�ำนวณจากทุนช�ำระแล้ว เชียลกรุ๊ป (LHFG) ร้อยละ ทรัพย์,กระแสรายวัน,ฝาก บริษทั โดยได้รบั อัตราดอกเบีย้
หลังหักหุ้นซื้อคืน 21.88 ซึ่งถือหุ้นร้อยละ ประจ�ำ และใบรับเงินฝาก ในอัตราเดียวกันกับทีบ่ ริษทั อืน่
99.99 ใน LH Bank และ ประจ�ำกับ LH Bank ที่ ไ ม่ เ กี่ ย วข้ อ งได้ รั บจาก LH
LH Fund - ดอกเบี้ยรับ 53 17 29 Bank และไม่มขี อ้ ผูกมัดในการ
- บมจ. ควอลิตี้เฮ้าส์ ซึ่งเป็น - ดอกเบี้ยค้างรับ 2 3 5 ฝากเงินแต่อย่างใด
บริษัทร่วมของบริษัท ถือหุ้น - เงินปันผลรับ 371 209 324 - เป็ น เงิ น ปั น ผลที่ ไ ด้ รั บ ตาม
ใน LHFG ในสัดส่วนร้อยละ สัดส่วนการถือหุ้นในอัตรา
13.74 เดียวกันกับผู้ถือหุ้นรายอื่น
- มีกรรมการร่วมกัน 1 ท่าน ได้แก่ - ผลตอบแทนเหมื อ นผู ้ ล งทุ น
นายนพร สุนทรจิตต์เจริญ ทั่วไป
บลจ. แลนด์แอนด์เฮ้าส์ - เงินลงทุนในกองทุน - 1,001
(LH Fund)
บมจ. ควอลิตี้เฮ้าส์ (QH) - บริษทั เป็นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ของ - เงินปันผลรับ 562 455 294 - เป็นเงินปันผลที่ได้รับตาม
QH ในสัดส่วนร้อยละ 24.98 สัดส่วนการถือหุ้นในอัตรา
- บริษัทและ QH มีกรรมการ เดียวกันกับผู้ถือหุ้นรายอื่น
ร่วมกัน 3 ท่าน ได้แก่
นายนพร สุนทรจิตต์เจริญ
นายอดิศร ธนนันท์นราพูล
และนายอาชวิณ อัศวโภคิน

94
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

มูลค่า(ล้านบาท) ความเห็นคณะกรรมการ
บุคคล/นิติบุคคล ความสัมพันธ์ ลักษณะรายการ
(ณ 31 ธ.ค. 2564) 2562 2563 2564 ตรวจสอบ
บจ. สยามรีเทล ดีเวลลอปเม้นท์ - นายอนันต์ อัศวโภคิน ถือหุ้น - LHMH รับจ้างเป็นที่ปรึกษา - จากการประชุมคณะกรรมการ
(SRD) กับ บจ. แอลเอช มอลล์ ใน LH ร้อยละ 23.93 ใน และบริหารจัดการด้านการ บริษทั เมือ่ วันที่ 28 กุมภาพันธ์
แอนด์ โฮเทล (LHMH) ขณะเดียวกันก็เป็นผู้ถือหุ้น ตลาดและการขายให้กับ 2560 เห็นว่าเป็นการเข้าท�ำ
รายใหญ่ใน SRD ถือหุ้นทาง SRD เป็นระยะเวลา 3 ปี รายการตามเงื่อนไขการค้า
ตรงร้อยละ 27 และถือหุ้น ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2560 ถึง ทัว่ ไป และคณะกรรมการตรวจ
ทางอ้อมร้อยละ 13 29 กุมภาพันธ์ 2563 เป็น สอบมีความเห็นไม่ต่างจาก
- LHMH เป็นบริษัทย่อยที่ LH มูลค่าทั้งสิ้นไม่เกิน 200 คณะกรรมการบริษัท
ถือหุ้นร้อยละ 99.99 ล้านบาท มีการท�ำบันทึก - จากการประชุมคณะกรรมการ
ข้อตกลงแนบท้ายสัญญา บริษัท เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม
เพิ่มเติม ซึ่งมีผลตั้งแต่ 2562 เห็นว่าเป็นการเข้าท�ำ
วันที่ 1 มิถุนายน 2562 รายการตามเงื่อนไขการค้า
ถึง 29 กุมภาพันธ์ 2563 ทัว่ ไป และคณะกรรมการตรวจ
โดยมีมูลค่าเพิ่มเติมจาก สอบมีความเห็นไม่ต่างจาก
สัญญาเดิม รวมเป็นมูลค่า คณะกรรมการบริษัท
ทั้งสิ้นไม่เกิน 60 ล้านบาท - จากการประชุมคณะกรรมการ
ปี 2563 มีการต่อสัญญา บริษัท เมื่อวันที่ 14 สิงหาคม
ใหม่ เป็นระยะเวลา 3 ปี 2561 เห็นว่าเป็นการเข้าท�ำ
ตั้งแต่ วันที่ 1 มีนาคม รายการตามเงื่อนไขการค้า
2563 ถึง วันที่ 28 ทั่ ว ไป และคณะกรรมการ
กุมภาพันธ์ 2566 เป็นมูลค่า ตรวจสอบมีความเห็นไม่ต่าง
รวมทั้งสิ้นไม่เกิน 450 จากคณะกรรมการบริษัท
ล้านบาท (ไม่รวมภาษี - จากการประชุมคณะกรรมการ
มูลค่าเพิ่ม) เพื่อบริหาร บริษทั เมือ่ วันที่ 27 กุมภาพันธ์
ศูนย์การค้า 4 แห่ง คือ 2563 เห็นว่าเป็นการเข้าท�ำ
แฟชั่นไอส์แลนด์, รายการตามเงื่อนไขการค้า
เดอะพรอมานาด, ทัว่ ไป และคณะกรรมการตรวจ
เทอร์มินอล 21 โคราช สอบมีความเห็นไม่ต่างจาก
และเชอร์รี่มอลล์ คณะกรรมการบริษัท
- LHMH รับจ้างเป็นที่ปรึกษา
เพื่อปรับปรุงพื้นที่และ
บริหารจัดการด้านการขาย
ในส่วนของพื้นที่ร้านค้าที่
มีการปรับปรุงให้กับ SRD
เป็นระยะเวลา 1 ปี 8 เดือน
ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2561
ถึง 29 กุมภาพันธ์ 2563
เป็นมูลค่าทั้งสิ้นไม่เกิน 50
ล้านบาท
- รายได้ค่าบริหาร 98 83 76
อสังหาริมทรัพย์
- รายได้ค่าบริหาร 1 1 1
ทรัพยากรบุคคล
- ลูกหนี้อื่น 21 16 18

95
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

มูลค่า(ล้านบาท) ความเห็นคณะกรรมการ
บุคคล/นิติบุคคล ความสัมพันธ์ ลักษณะรายการ
(ณ 31 ธ.ค. 2564) 2562 2563 2564 ตรวจสอบ
กองทุนรวม - LHMH เป็นบริษัทย่อยที่ LH - LHMH รับจ้างบริหารพื้นที่ - เงือ่ นไขและราคาเป็นตามปกติ
สิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ ถือหุ้นร้อยละ 99.99 ค้าปลีก Life Center ให้กับ ของธุรกิจที่ไม่มีความแตกต่าง
ควอลิตี้เฮ้าส์ (QHPF) กับ - บริษัทเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ QHPF เป็นระยะเวลา 3 ปี จากบุคคลภายนอก
บจ. แอลเอช มอลล์แอนด์ ของ QH ในสัดส่วนร้อยละ ตัง้ แต่วนั ที่ 1 มกราคม 2563
โฮเทล (LHMH) 24.98 ถึง 31 ธันวาคม 2565
- QH เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ - รายได้ค่าบริหาร 4 3 2
ของ QHPF ในสัดส่วนร้อยละ อสังหาริมทรัพย์
25.66 - รายได้ค่าบริหาร 3 3 3
- LH และ QH มีกรรมการร่วม ทรัพยากรบุคคล
กัน 3 ท่าน ได้แก่ - ลูกหนี้อื่น 2 1 1
นายนพร สุนทรจิตต์เจริญ
นายอดิศร ธนนันท์นราพูล
และนายอาชวิณ อัศวโภคิน

96
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

ความจ�ำเป็ นและความสมเหตุสมผลของรายการ กับราคาทีเ่ กิดขึน้ กับบุคคลภายนอก ทัง้ นี้ บริษทั จะได้ให้คณะกรรมการ


ระหว่างกัน ตรวจสอบหรือผู้สอบบัญชีของบริษัท หรือผู้เชี่ยวชาญอิสระ พิจารณา
การท�ำรายการระหว่างกันเป็นความจ�ำเป็นและมีความสมเหตุ ตรวจสอบและให้ความเห็นถึงความเหมาะสมของราคา และความ
สมผลของการท�ำรายการเพือ่ ก่อให้เกิดประโยชน์สงู สุดของบริษทั โดย สมเหตุสมผลของการท�ำรายการด้วย
คณะกรรมการตรวจสอบได้ให้ความเห็นว่าเป็นไปตามลักษณะธุรกิจ ทั้งนี้ หากมีรายการระหว่างกันของบริษัทหรือบริษัทย่อยเกิดขึ้น
ทั่วไปที่ท�ำกับลูกค้ารายอื่น และบริษัทได้รับและจ่ายค่าตอบแทนใน กับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ มีส่วนได้ส่วนเสีย
ราคาตลาดที่เหมาะสม หรืออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในอนาคต บริษัทจะได้ให้
คณะกรรมการตรวจสอบเป็นผู้ให้ความเห็นเกี่ยวกับความจ�ำเป็นและ
มาตรการหรื อ ขั้ น ตอนการอนุ มั ติ ก ารท� ำ รายการ ความเหมาะสมของรายการนั้น ๆ ในกรณีที่คณะกรรมการตรวจสอบ
ระหว่างกัน ไม่มีความช�ำนาญในการพิจารณารายการระหว่างกันที่อาจเกิดขึ้น
การท�ำรายการระหว่างกันจะต้องผ่านการพิจารณาอนุมัติจาก บริษัทจะได้ให้ผู้เชี่ยวชาญอิสระหรือผู้สอบบัญชีของบริษัทเป็นผู้ให้
คณะกรรมการบริษัทที่มีคณะกรรมการตรวจสอบเข้าร่วมประชุม ความเห็นเกีย่ วกับรายการระหว่างกันดังกล่าวเพือ่ น�ำไปใช้ประกอบการ
และผ่านการอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น ตามแต่กรณี คณะกรรมการ ตัดสินใจของคณะกรรมการ หรือผู้ถือหุ้นตามแต่กรณี ทั้งนี้ บริษัท
บริษทั หรือผูไ้ ด้รบั มอบอ�ำนาจจากคณะกรรมการบริษทั จะต้องไม่อนุมตั ิ จะเปิดเผยรายการระหว่างกันไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินที่ได้
รายการใด ๆ ที่ตนหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง มีส่วนได้เสียหรือ รับการตรวจสอบจากผู้สอบบัญชีของบริษัท ยกเว้นธุรกรรมดังต่อไปนี้
อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในลักษณะอื่นใดกับบริษัทหรือ ที่ฝ่ายจัดการสามารถอนุมัติการท�ำธุรกรรมได้ คือ
บริษัทย่อย และบริษัทจะต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วย 1. เป็นการท�ำรายการทางธุรกิจปกติหรือรายการสนับสนุน
หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อบังคับ ประกาศ ค�ำสั่ง หรือ ธุรกิจปกติที่มีเงื่อนไขทางการค้าทั่วไปในลักษณะเดียวกับที่วิญญูชน
ข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวมตลอดถึงการ พึงกระท�ำกับคู่สัญญาทั่วไปในสถานการณ์เดียวกัน ด้วยอ�ำนาจต่อ
ปฏิบัติตามข้อก�ำหนดเกี่ยวกับการเปิดเผยข้อมูลการท�ำรายการที่ รองทางการค้าที่ปราศจากอิทธิพลในการที่ตนมีสถานะเป็นกรรมการ
เกี่ยวโยงกัน และการได้มาหรือจ�ำหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ ผู้บริหาร หรือบุคคลที่เกี่ยวข้องกัน
2. เป็นการท�ำรายการภายใต้โครงการสิทธิของพนักงาน ซึ่ง
นโยบายหรือแนวโน้มการท�ำรายการระหว่างกัน สิทธิดังกล่าวเป็นการให้สิทธิแก่พนักงานทุกคนที่ปฏิบัติงานกับบริษัท
บริษทั มีนโยบายในการท�ำรายการระหว่างกันทีเ่ กิดขึน้ ในปัจจุบนั เป็นการทั่วไป มิได้เป็นการให้สิทธิแก่บุคคลใดบุคคลหนึ่งโดยเฉพาะ
ต่อไปในอนาคต โดยจะมีการก�ำหนดเงื่อนไขต่าง ๆ ให้เป็นไปตาม
ลักษณะการด�ำเนินการค้าปกติ ในราคาตลาดซึง่ สามารถเปรียบเทียบได้

97
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

ส่วนที่ 3

งบการเงิน
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต
เสนอต่อผู้ถือหุ้นของบริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน)
ความเห็น
ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบงบการเงินรวมของบริษัท แลนด์แอนด์เฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (“กลุ่มบริษัท”) ซึ่งประกอบด้วยงบแสดง
ฐานะการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 งบก�ำไรขาดทุนรวม งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถือหุ้นรวม
และงบกระแสเงินสดรวม ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกัน และหมายเหตุประกอบงบการเงินรวม รวมถึงหมายเหตุสรุปนโยบายการบัญชีที่ส�ำคัญ และ
ได้ตรวจสอบงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัท แลนด์แอนด์เฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน) ด้วยเช่นกัน

ข้าพเจ้าเห็นว่างบการเงินข้างต้นนี้แสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 ผลการด�ำเนินงานและกระแสเงินสด ส�ำหรับปีสิ้นสุดวัน


เดียวกันของบริษัท แลนด์แอนด์เฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย และเฉพาะของบริษัท แลนด์แอนด์เฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน) โดยถูกต้องตามที่
ควรในสาระส�ำคัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน

เกณฑ์ในการแสดงความเห็น
ข้าพเจ้าได้ปฏิบตั งิ านตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบัญชี ความรับผิดชอบของข้าพเจ้าได้กล่าวไว้ในวรรค ความรับผิดชอบของผูส้ อบบัญชี
ต่อการตรวจสอบงบการเงินในรายงานของข้าพเจ้า ข้าพเจ้ามีความเป็นอิสระจากกลุม่ บริษทั ตามข้อก�ำหนดจรรยาบรรณของผูป้ ระกอบวิชาชีพบัญชี
ทีก่ ำ� หนดโดยสภาวิชาชีพบัญชีในส่วนทีเ่ กีย่ วข้องกับการตรวจสอบงบการเงิน และข้าพเจ้าได้ปฏิบตั ติ ามข้อก�ำหนดด้านจรรยาบรรณอืน่ ๆ ตามทีร่ ะบุ
ในข้อก�ำหนดนัน้ ด้วย ข้าพเจ้าเชือ่ ว่าหลักฐานการสอบบัญชีทขี่ า้ พเจ้าได้รบั เพียงพอและเหมาะสมเพือ่ ใช้เป็นเกณฑ์ในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า

เรื่องส�ำคัญในการตรวจสอบ
เรื่องส�ำคัญในการตรวจสอบคือเรื่องต่าง ๆ ที่มีนัยส�ำคัญที่สุดตามดุลยพินิจเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพของข้าพเจ้า ในการตรวจสอบงบการเงิน
ส�ำหรับงวดปัจจุบัน ข้าพเจ้าได้น�ำเรื่องเหล่านี้มาพิจารณาในบริบทของการตรวจสอบงบการเงินโดยรวมและในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า
ทั้งนี้ ข้าพเจ้าไม่ได้แสดงความเห็นแยกต่างหากส�ำหรับเรื่องเหล่านี้

ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานตามความรับผิดชอบที่ได้กล่าวไว้ในวรรคความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชีต่อการตรวจสอบงบการเงินในรายงานของ
ข้าพเจ้า ซึ่งได้รวมความรับผิดชอบที่เกี่ยวกับเรื่องเหล่านี้ด้วย การปฏิบัติงานของข้าพเจ้าได้รวมวิธีการตรวจสอบที่ออกแบบมาเพื่อตอบสนองต่อ
การประเมินความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญในงบการเงิน ผลของวิธีการตรวจสอบของข้าพเจ้าซึ่งได้รวมวิธี
การตรวจสอบส�ำหรับเรื่องเหล่านี้ด้วยได้ใช้เป็นเกณฑ์ในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้าต่องบการเงินโดยรวม

เรื่องส�ำคัญในการตรวจสอบ พร้อมวิธีการตรวจสอบส�ำหรับแต่ละเรื่องมีดังต่อไปนี้

การรับรู้รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์
เนื่องจากรายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์เป็นตัวเลขที่มีสาระส�ำคัญในงบก�ำไรขาดทุน และเป็นตัวชี้วัดหลักในแง่ผลการด�ำเนินงานของ
ธุรกิจซึ่งผู้ใช้งบการเงินให้ความสนใจ รวมถึงกลุ่มบริษัทมีโครงการอสังหาริมทรัพย์เพื่อขายและสัญญาซื้อขายอสังหาริมทรัพย์เป็นจ�ำนวนมาก
ดังนั้น ข้าพเจ้าจึงให้ความส�ำคัญในการตรวจสอบว่ารายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ได้เกิดขึ้นจริงและรับรู้ในช่วงเวลาที่ถูกต้อง
ข้าพเจ้าได้ตรวจสอบการรับรู้รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ของกลุ่มบริษัทโดยการ
• ประเมินและทดสอบความมีประสิทธิภาพของการควบคุมทั่วไปของระบบสารสนเทศและระบบการควบคุมภายในของกลุ่มบริษัทที่
เกี่ยวข้องกับวงจรรายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ โดยการสอบถามผู้รับผิดชอบท�ำความเข้าใจและเลือกตัวอย่างมาสุ่มทดสอบการ
ปฏิบัติตามการควบคุมที่กลุ่มบริษัทออกแบบไว้
• สุ่มตัวอย่างหนังสือสัญญาขายที่ดินและหนังสือสัญญาขายห้องชุดเพื่อตรวจสอบการรับรู้รายได้ว่าเป็นไปตามเงื่อนไขที่ระบุไว้ในสัญญา
และสอดคล้องกับนโยบายการรับรู้รายได้ของกลุ่มบริษัท
• สุ่มตรวจสอบเอกสารประกอบรายการขายที่เกิดขึ้นในระหว่างปีและช่วงใกล้สิ้นรอบระยะเวลาบัญชี
• วิเคราะห์เปรียบเทียบข้อมูลบัญชีรายได้จากการขายแบบแยกย่อยเพื่อตรวจสอบความผิดปกติที่อาจเกิดขึ้นของรายการขายตลอดรอบ
ระยะเวลาบัญชี

99
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

ค่าเผื่อการลดลงของมูลค่าโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เพื่อขาย
การประมาณมูลค่าสุทธิทจี่ ะได้รบั ของโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เพือ่ ขายตามทีเ่ ปิดเผยไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อ 4.4 ข้อ 5
และข้อ 9 ต้องอาศัยดุลยพินจิ ของฝ่ายบริหารค่อนข้างมาก โดยเฉพาะอย่างยิง่ การประมาณการค่าเผือ่ การปรับลดของมูลค่าโครงการอสังหาริมทรัพย์
เพื่อขาย ซึ่งขึ้นอยู่กับการวิเคราะห์ในรายละเอียดเกี่ยวกับลักษณะ สภาพ และวงจรอายุของอสังหาริมทรัพย์ในแต่ละโครงการ ตลอดจนการ
แข่งขันทางการตลาดและสภาพเศรษฐกิจ ซึง่ อาจท�ำให้เกิดความเสีย่ งในการรับรูค้ า่ เผือ่ การปรับลดให้เป็นมูลค่าสุทธิทจี่ ะได้รบั ของโครงการพัฒนา
อสังหาริมทรัพย์เพื่อขายไม่เพียงพอ

ข้าพเจ้าได้ท�ำความเข้าใจและประเมินวิธีการและข้อสมมติที่ฝ่ายบริหารใช้ในการพิจารณาค่าเผื่อการปรับลดของมูลค่าโครงการพัฒนา
อสังหาริมทรัพย์เพื่อขายดังนี้
• ท�ำความเข้าใจเกณฑ์ในการพิจารณาค่าเผื่อการปรับลดของมูลค่าโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เพื่อขาย และสอบทานความสม�ำ่ เสมอ
ของการใช้เกณฑ์ดังกล่าว รวมถึงเหตุผลส�ำหรับการรับรู้ค่าเผื่อการปรับลดของมูลค่าโครงการอสังหาริมทรัพย์แบบเฉพาะเจาะจงในบาง
กรณี
• วิเคราะห์เปรียบเทียบข้อมูลระยะเวลาการถือครองและการเคลื่อนไหวของโครงการอสังหาริมทรัพย์ เพื่อระบุถึงโครงการที่มีข้อบ่งชี้ว่า
มีการขายที่ช้ากว่าปกติ
• สอบทานก�ำไรขั้นต้นของโครงการอสังหาริมทรัพย์ที่มียอดขายในรอบระยะเวลาบัญชีปัจจุบันและภายหลังวันที่ในงบการเงิน
• เปรียบเทียบมูลค่าต้นทุนอสังหาริมทรัพย์ของโครงการอสังหาริมทรัพย์ทไี่ ม่มยี อดขายในรอบระยะเวลาบัญชีปจั จุบนั กับรายการขายล่าสุด
หรือรายการขายหลังวันที่ในงบการเงิน เพื่อพิจารณาการปรับลดมูลค่าต้นทุนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์โดยฝ่ายบริหารเพื่อให้ใกล้เคียง
กับมูลค่าสุทธิที่จะได้รับ

ข้อมูลอื่น
ผู้บริหารเป็นผู้รับผิดชอบต่อข้อมูลอื่น ซึ่งรวมถึงข้อมูลที่รวมอยู่ในรายงานประจ�ำปีของกลุ่มบริษัท (แต่ไม่รวมถึงงบการเงินและรายงานของ
ผู้สอบบัญชีที่แสดงอยู่ในรายงานนั้น) ซึ่งคาดว่าจะถูกจัดเตรียมให้กับข้าพเจ้าภายหลังวันที่ในรายงานของผู้สอบบัญชีนี้

ความเห็นของข้าพเจ้าต่องบการเงินไม่ครอบคลุมถึงข้อมูลอื่นและข้าพเจ้าไม่ได้ให้ข้อสรุปในลักษณะการให้ความเชื่อมั่นในรูปแบบใด ๆ ต่อ
ข้อมูลอื่นนั้น

ความรับผิดชอบของข้าพเจ้าทีเ่ กีย่ วเนือ่ งกับการตรวจสอบงบการเงิน คือ การอ่านและพิจารณาว่าข้อมูลอืน่ นัน้ มีความขัดแย้งทีม่ สี าระส�ำคัญ


กับงบการเงินหรือกับความรูท้ ไี่ ด้รบั จากการตรวจสอบของข้าพเจ้าหรือไม่ หรือปรากฏว่าข้อมูลอืน่ แสดงขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญหรือไม่

เมื่อข้าพเจ้าได้อ่านรายงานประจ�ำปีของกลุ่มบริษัทตามที่กล่าวข้างต้นแล้ว และหากสรุปได้ว่ามีการแสดงข้อมูล ที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็น


สาระส�ำคัญ ข้าพเจ้าจะสื่อสารเรื่องดังกล่าวให้ผู้มีหน้าที่ในการก�ำกับดูแลทราบเพื่อให้มีการด�ำเนินการแก้ไขที่เหมาะสมต่อไป

ความรับผิดชอบของผู้บริหารและผู้มีหน้าที่ในการก�ำกับดูแลต่องบการเงิน
ผู้บริหารมีหน้าที่รับผิดชอบในการจัดท�ำและน�ำเสนองบการเงินเหล่านี้โดยถูกต้องตามที่ควรตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินและ
รับผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุมภายในที่ผู้บริหารพิจารณาว่าจ�ำเป็นเพื่อให้สามารถจัดท�ำงบการเงินที่ปราศจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริง
อันเป็นสาระส�ำคัญไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาด

ในการจัดท�ำงบการเงิน ผูบ้ ริหารรับผิดชอบในการประเมินความสามารถของกลุม่ บริษทั ในการด�ำเนินงานต่อเนือ่ ง การเปิดเผยเรือ่ งทีเ่ กีย่ วกับ


การด�ำเนินงานต่อเนือ่ งในกรณีทมี่ เี รือ่ งดังกล่าว และการใช้เกณฑ์การบัญชีสำ� หรับกิจการทีด่ ำ� เนินงานต่อเนือ่ งเว้นแต่ผบู้ ริหารมีความตัง้ ใจทีจ่ ะเลิก
กลุ่มบริษัทหรือหยุดด�ำเนินงานหรือไม่สามารถด�ำเนินงานต่อเนื่องอีกต่อไปได้

ผู้มีหน้าที่ในการก�ำกับดูแลมีหน้าที่ในการสอดส่องดูแลกระบวนการในการจัดท�ำรายงานทางการเงินของ กลุ่มบริษัท

100
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

ความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชีต่อการตรวจสอบงบการเงิน
การตรวจสอบของข้าพเจ้ามีวัตถุประสงค์เพื่อให้ได้ความเชื่อมั่นอย่างสมเหตุสมผลว่างบการเงินโดยรวมปราศจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อ
ข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญหรือไม่ ไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือข้อผิดพลาดและเสนอรายงานของผู้สอบบัญชีซึ่งรวมความเห็นของข้าพเจ้า
อยู่ด้วย ความเชื่อมั่นอย่างสมเหตุสมผลคือความเชื่อมั่นในระดับสูงแต่ไม่ได้เป็นการรับประกันว่าการปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐานการ
สอบบัญชีจะสามารถตรวจพบข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญที่มีอยู่ได้เสมอไป ข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอาจเกิดจากการทุจริตหรือ
ข้อผิดพลาดและถือว่ามีสาระส�ำคัญเมื่อคาดการณ์อย่างสมเหตุสมผลได้ว่ารายการที่ขัดต่อข้อเท็จจริงแต่ละรายการหรือทุกรายการรวมกันจะมีผล
ต่อการตัดสินใจทางเศรษฐกิจของผู้ใช้งบการเงินจากการใช้งบการเงินเหล่านี้

ในการตรวจสอบของข้าพเจ้าตามมาตรฐานการสอบบัญชี ข้าพเจ้าใช้ดุลยพินิจและการสังเกตและสงสัยเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพตลอด
การตรวจสอบ และข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานดังต่อไปนี้ด้วย
• ระบุและประเมินความเสี่ยงที่อาจมีการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญในงบการเงิน ไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริต
หรือข้อผิดพลาด ออกแบบและปฏิบัติงานตามวิธีการตรวจสอบเพื่อตอบสนองต่อความเสี่ยงเหล่านั้นและได้หลักฐานการสอบบัญชีที่
เพียงพอและเหมาะสมเพื่อเป็นเกณฑ์ในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า ความเสี่ยงที่ไม่พบข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระส�ำคัญ
ซึ่งเป็นผลมาจากการทุจริตจะสูงกว่าความเสี่ยงที่เกิดจากข้อผิดพลาด เนื่องจากการทุจริตอาจเกี่ยวกับการสมรู้ร่วมคิด การปลอมแปลง
เอกสารหลักฐาน การตั้งใจละเว้นการแสดงข้อมูล การแสดงข้อมูลที่ไม่ตรงตามข้อเท็จจริงหรือการแทรกแซงการควบคุมภายใน
• ท�ำความเข้าใจเกีย่ วกับระบบการควบคุมภายในทีเ่ กีย่ วข้องกับการตรวจสอบ เพือ่ ออกแบบวิธกี ารตรวจสอบ ให้เหมาะสมกับสถานการณ์
แต่ไม่ใช่เพื่อวัตถุประสงค์ในการแสดงความเห็นต่อความมีประสิทธิผลของการควบคุมภายในของกลุ่มบริษัท
• ประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชีที่ผู้บริหารใช้และความสมเหตุสมผลของประมาณการทางบัญชีและการเปิดเผยข้อมูล
ที่เกี่ยวข้องที่ผู้บริหารจัดท�ำ
• สรุปเกี่ยวกับความเหมาะสมของการใช้เกณฑ์การบัญชีส�ำหรับกิจการที่ด�ำเนินงานต่อเนื่องของผู้บริหาร และสรุปจากหลักฐานการสอบ
บัญชีที่ได้รับว่ามีความไม่แน่นอนที่มีสาระส�ำคัญที่เกี่ยวกับเหตุการณ์หรือสถานการณ์ที่อาจเป็นเหตุให้เกิดข้อสงสัยอย่างมีนัยส�ำคัญ
ต่อความสามารถของกลุ่มบริษัทในการด�ำเนินงานต่อเนื่องหรือไม่ หากข้าพเจ้าได้ข้อสรุปว่ามีความไม่แน่นอนที่มีสาระส�ำคัญ ข้าพเจ้า
จะต้องให้ข้อสังเกตไว้ในรายงานของผู้สอบบัญชีของข้าพเจ้าถึงการเปิดเผยข้อมูลที่เกี่ยวข้องในงบการเงิน หรือหากเห็นว่าการเปิดเผย
ดังกล่าวไม่เพียงพอ ข้าพเจ้าจะแสดงความเห็นที่เปลี่ยนแปลงไป ข้อสรุปของข้าพเจ้าขึ้นอยู่กับหลักฐานการสอบบัญชีที่ได้รับจนถึงวัน
ที่ในรายงานของผู้สอบบัญชีของข้าพเจ้า อย่างไรก็ตามเหตุการณ์หรือสถานการณ์ในอนาคตอาจเป็นเหตุให้กลุ่มบริษัทต้องหยุดการ
ด�ำเนินงานต่อเนื่องได้
• ประเมินการน�ำเสนอโครงสร้างและเนื้อหาของงบการเงินโดยรวม รวมถึงการเปิดเผยข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนประเมินว่างบการเงิน
แสดงรายการและเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นโดยถูกต้องตามที่ควรหรือไม่
• รวบรวมเอกสารหลักฐานการสอบบัญชีทเี่ หมาะสมอย่างเพียงพอเกีย่ วกับข้อมูลทางการเงินของกิจการหรือของกิจกรรมทางธุรกิจภายใน
กลุ่มบริษัทเพื่อแสดงความเห็นต่องบการเงินรวม ข้าพเจ้ารับผิดชอบต่อการก�ำหนดแนวทาง การควบคุมดูแล และการปฏิบัติงาน
ตรวจสอบกลุ่มบริษัท ข้าพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบแต่เพียงผู้เดียวต่อความเห็นของข้าพเจ้า
ข้าพเจ้าได้สอื่ สารกับผูม้ หี น้าทีใ่ นการก�ำกับดูแลในเรือ่ งต่าง ๆ ซึง่ รวมถึงขอบเขตและช่วงเวลาของการตรวจสอบตามทีไ่ ด้วางแผนไว้ ประเด็น
ที่มีนัยส�ำคัญที่พบจากการตรวจสอบรวมถึงข้อบกพร่องที่มีนัยส�ำคัญในระบบ การควบคุมภายในหากข้าพเจ้าได้พบในระหว่างการตรวจสอบ
ของข้าพเจ้า

101
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

ข้าพเจ้าได้ให้ค�ำรับรองแก่ผู้มีหน้าที่ในการก�ำกับดูแลว่าข้าพเจ้าได้ปฏิบัติตามข้อก�ำหนดจรรยาบรรณที่เกี่ยวข้องกับความเป็นอิสระและ
ได้สอื่ สารกับผูม้ หี น้าทีใ่ นการก�ำกับดูแลเกีย่ วกับความสัมพันธ์ทงั้ หมดตลอดจนเรือ่ งอืน่ ซึง่ ข้าพเจ้าเชือ่ ว่ามีเหตุผลทีบ่ คุ คลภายนอกอาจพิจารณาว่า
กระทบต่อความเป็นอิสระของข้าพเจ้าและมาตรการที่ข้าพเจ้าใช้เพื่อป้องกันไม่ให้ข้าพเจ้าขาดความเป็นอิสระ

จากเรื่องทั้งหลายที่สื่อสารกับผู้มีหน้าที่ในการก�ำกับดูแล ข้าพเจ้าได้พิจารณาเรื่องต่าง ๆ ที่มีนัยส�ำคัญที่สุดในการตรวจสอบงบการเงิน


ในงวดปัจจุบันและก�ำหนดเป็นเรื่องส�ำคัญในการตรวจสอบ ข้าพเจ้าได้อธิบายเรื่องเหล่านี้ไว้ในรายงานของผู้สอบบัญชี เว้นแต่กฎหมายหรือ
ข้อบังคับห้ามไม่ให้เปิดเผยเรื่องดังกล่าวต่อสาธารณะหรือในสถานการณ์ที่ยากที่จะเกิดขึ้น ข้าพเจ้าพิจารณาว่าไม่ควรสื่อสารเรื่องดังกล่าว
ในรายงานของข้าพเจ้าเพราะการกระท�ำดังกล่าวสามารถคาดการณ์ได้อย่างสมเหตุสมผลว่าจะมีผลกระทบในทางลบมากกว่าผลประโยชน์
ที่ผู้มีส่วนได้เสียสาธารณะจะได้จากการสื่อสารดังกล่าว

ข้าพเจ้าเป็นผู้รับผิดชอบงานสอบบัญชีและการน�ำเสนอรายงานฉบับนี้

รสพร เดชอาคม
ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 5659
บริษัท ส�ำนักงาน อีวาย จ�ำกัด
กรุงเทพฯ: 24 กุมภาพันธ์ 2565

102
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

งบแสดงฐานะทางการเงิน
ïøĉþĆìǰĒúîéŤĒĂîéŤđăšćÿŤǰÝĞćÖĆéǰ öĀćßî
ǰĒúąïøĉþĆì÷ŠĂ÷
บริษัท แลนด์ îแอนด์
ÜïĒÿéÜåćîąÖćøđÜĉ เฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ณ îวัìĊนęǰǰíĆ
èǰüĆ ที่ 31 ธันวาคม 2564
îüćÙöǰ
ĀîŠü÷ǰïćì

ÜïÖćøđÜĉîøüö ÜïÖćøđÜĉîđÞóćąÖĉÝÖćø
Āöć÷đĀêč    
ÿĉîìøĆó÷Ť
ÿĉîìøĆó÷ŤĀöčîđüĊ÷î
đÜĉîÿéĒúąøć÷ÖćøđìĊ÷ïđìŠćđÜĉîÿé 6, 7 ǰǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰ   

úĎÖĀîĊĚÖćøÙšćĒúąúĎÖĀîĊĚĂČęî (8) ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  


ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ   

đÜĉîĔĀšÖĎš÷Čöøą÷ą÷ćüĒÖŠÖĉÝÖćøìĊęđÖĊę÷üךĂÜÖĆî
ǰǰǰìĊęëċÜÖĞćĀîéßĞćøąõć÷ĔîĀîċęÜðŘ (6) ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰ   

ÿĉîÙšćÙÜđĀúČĂ (9) ǰǰǰǰǰǰǰ   


ǰǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰ   

đÜĉîÝŠć÷úŠüÜĀîšćÙŠćÜćîÖŠĂÿøšćÜ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  


ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  

đÜĉîöĆéÝĞćìĊęéĉîĒúąĂČęîǰė ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  


ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  

êšîìčîĔîÖćøĕéšöćàċęÜÿĆââćìĊęìĞćÖĆïúĎÖÙšć (10) ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ   


ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  

ÿĉîìøĆó÷ŤìćÜÖćøđÜĉîĀöčîđüĊ÷îĂČęî 6, 11 ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ   


ǰǰǰǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰ   

ÿĉîìøĆó÷ŤĀöčîđüĊ÷îĂČęî ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  


ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ   

øüöÿĉîìøĆó÷ŤĀöčîđüĊ÷î ǰǰǰǰǰǰǰ   


ǰǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰ   

ÿĉîìøĆó÷ŤĕöŠĀöčîđüĊ÷î
đÜĉîòćÖíîćÙćøìĊęöĊõćøąÙĞĚćðøąÖĆî (12) ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 

ÿĉîìøĆó÷ŤìćÜÖćøđÜĉîĕöŠĀöčîđüĊ÷îĂČęî (13) ǰǰǰǰǰǰǰǰǰ   


ǰǰǰǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰ   

đÜĉîúÜìčîĔîïøĉþĆì÷ŠĂ÷ǰ (14) ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 


ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰ   

đÜĉîúÜìčîĔîïøĉþĆìøŠüö (15) ǰǰǰǰǰǰǰ   


ǰǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰ   

đÜĉîĔĀšÖĎš÷Čöøą÷ą÷ćüĒÖŠÖĉÝÖćøìĊęđÖĊę÷üךĂÜÖĆî (6) ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 


ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰ   

đÜĉîĔĀšÖĎš÷Čöøą÷ą÷ćüĒÖŠÖĉÝÖćøĂČęî (16) ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ   


ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 

ìĊęéĉîøĂÖćøóĆçîć (17) ǰǰǰǰǰǰǰǰǰ   


ǰǰǰǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰ   

ĂÿĆÜĀćøĉöìøĆó÷ŤđóČęĂÖćøúÜìčî (18) ǰǰǰǰǰǰǰ   


ǰǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  

ìĊęéĉîǰĂćÙćøĒúąĂčðÖøèŤǰ (19) ǰǰǰǰǰǰǰǰǰ   


ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  

ÿĉîìøĆó÷ŤÿĉìíĉÖćøĔßš 20.1) ǰǰǰǰǰǰǰ   


ǰǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  

ÿĉîìøĆó÷ŤĕöŠöĊêĆüêîĂČęî (21) ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ   


ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ   

ÿĉîìøĆó÷ŤõćþĊđÜĉîĕéšøĂÖćøêĆéïĆâßĊ (33) ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  


ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  

ÿĉîìøĆó÷ŤĕöŠĀöčîđüĊ÷îĂČęî (6) ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  


ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ   

øüöÿĉîìøĆó÷ŤĕöŠĀöčîđüĊ÷î ǰǰǰǰǰǰǰ   


ǰǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰ   

øüöÿĉîìøĆó÷Ť ǰǰǰǰǰ    


ǰǰǰǰǰ    
ǰǰǰǰǰ    
ǰǰǰǰǰ    

Āöć÷đĀêčðøąÖĂïÜïÖćøđÜĉîđðŨîÿŠüîĀîċęÜ×ĂÜÜïÖćøđÜĉîîĊĚ

ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ

103
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

งบแสดงฐานะทางการเงิน (ต่อ)
ïøĉþĆìǰĒúîéŤĒĂîéŤđăšćÿŤǰÝĞćÖĆéǰ öĀćßî
ǰĒúąïøĉþĆì÷ŠĂ÷
บริษÜïĒÿéÜåćîąÖćøđÜĉ
ัท แลนด์ แอนด์ îǰ êŠเฮ้
Ă
าส์ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ณ วัèǰüĆ
นทีî่ ìĊ31
ęǰǰíĆธัîนüćÙöǰ
วาคม 2564
ĀîŠü÷ǰïćì

ÜïÖćøđÜĉîøüö ÜïÖćøđÜĉîđÞóćąÖĉÝÖćø
Āöć÷đĀêč    
ĀîĊĚÿĉîĒúąÿŠüî×ĂÜñĎšëČĂĀčšî
ĀîĊĚÿĉîĀöčîđüĊ÷î
đÜĉîÖĎš÷Čöøą÷ąÿĆĚîÝćÖÿëćïĆîÖćøđÜĉî (22) ǰǰǰǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰ   

đÝšćĀîĊĚÖćøÙšćĒúąđÝšćĀîĊĚĂČęî 6, 23 ǰǰǰǰǰǰǰǰǰ   


ǰǰǰǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰ   

đÜĉîðøąÖĆîÜćîÖŠĂÿøšćÜ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  


ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  

ÿŠüî×ĂÜđÜĉîÖĎš÷Čöøą÷ą÷ćüÝćÖÖĉÝÖćøìĊęđÖĊę÷üךĂÜÖĆî
ǰǰǰìĊęëċÜÖĞćĀîéßĞćøąõć÷ĔîĀîċęÜðŘ (6) ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 

ÿŠüî×ĂÜđÜĉîÖĎš÷Čöøą÷ą÷ćüìĊęëċÜÖĞćĀîéßĞćøąõć÷ĔîĀîċęÜðŘ (24) ǰǰǰǰǰǰǰǰǰ   


ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 

ÿŠüî×ĂÜĀčšîÖĎšìĊęëċÜÖĞćĀîéßĞćøąõć÷ĔîĀîċęÜðŘ (25) ǰǰǰǰǰǰǰ   


ǰǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰ   

ÿŠüî×ĂÜĀîĊĚÿĉîêćöÿĆââćđߊćìĊęëċÜÖĞćĀîéßĞćøąõć÷ĔîĀîċęÜðŘ 20.1) ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  


ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ   

õćþĊđÜĉîĕéšÙšćÜÝŠć÷ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  


ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  

ðøąöćèÖćøĀîĊĚÿĉîøą÷ąÿĆĚî (26) ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  


ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  

đÜĉîøĆïúŠüÜĀîšćÝćÖúĎÖÙšć ǰǰǰǰǰǰǰǰǰ   


ǰǰǰǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰǰǰǰ   

ĀîĊĚÿĉîìćÜÖćøđÜĉîĀöčîđüĊ÷îĂČęî (27) ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ   


ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 

ĀîĊĚÿĉîĀöčîđüĊ÷îĂČęî ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  


ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  

øüöĀîĊĚÿĉîĀöčîđüĊ÷î ǰǰǰǰǰǰǰ   


ǰǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰ   

ĀîĊĚÿĉîĕöŠĀöčîđüĊ÷î
đÜĉîÖĎš÷Čöøą÷ą÷ćüÝćÖÖĉÝÖćøìĊęđÖĊę÷üךĂÜÖĆî (6) ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  

đÜĉîÖĎš÷Čöøą÷ą÷ćüǰǰÿčìíĉÝćÖÿŠüîìĊęëċÜÖĞćĀîéßĞćøą
ǰǰǰõć÷ĔîĀîċęÜðŘ (24) ǰǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰ   

ĀčšîÖĎšǰǰÿčìíĉÝćÖÿŠüîìĊęëċÜÖĞćĀîéßĞćøąõć÷ĔîĀîċęÜðŘ (25) ǰǰǰǰǰǰǰ   


ǰǰǰǰǰǰǰ   
   
   

ĀîĊĚÿĉîêćöÿĆââćđߊćǰǰÿčìíĉÝćÖÿŠüîìĊęëċÜÖĞćĀîéßĞćøą
ǰǰǰõć÷ĔîĀîċęÜðŘ 20.1) ǰǰǰǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  

ÿĞćøĂÜñúðøąē÷ßîŤøą÷ą÷ćü×ĂÜóîĆÖÜćî (28) ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  


ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  

ĀîĊĚÿĉîõćþĊđÜĉîĕéšøĂÖćøêĆéïĆâßĊ (33) ǰǰǰǰǰǰǰǰǰ   


ǰǰǰǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 

ĀîĊĚÿĉîìćÜÖćøđÜĉîĕöŠĀöčîđüĊ÷îĂČęî (27) ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  


ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 

ĀîĊĚÿĉîĕöŠĀöčîđüĊ÷îĂČęî ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  


ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 

øüöĀîĊĚÿĉîĕöŠĀöčîđüĊ÷î ǰǰǰǰǰǰǰ   


ǰǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰ   

øüöĀîĊĚÿĉî ǰǰǰǰǰǰǰ   


ǰǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰ   

Āöć÷đĀêčðøąÖĂïÜïÖćøđÜĉîđðŨîÿŠüîĀîċęÜ×ĂÜÜïÖćøđÜĉîîĊĚ

104
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

งบแสดงฐานะทางการเงิน
ïøĉþĆìǰĒúîéŤĒĂîéŤđăšćÿŤǰÝĞćÖĆéǰ öĀćßî
ǰĒúąïøĉþĆì÷ŠĂ÷
บริษัท แลนด์ îแอนด์
ÜïĒÿéÜåćîąÖćøđÜĉ ǰ êŠĂ
เฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ณ îวัìĊนęǰǰíĆ
èǰüĆ ที่ 31 ธันวาคม 2564
îüćÙöǰ
ĀîŠü÷ǰïćì

ÜïÖćøđÜĉîøüö ÜïÖćøđÜĉîđÞóćąÖĉÝÖćø
Āöć÷đĀêč    
ÿŠüî×ĂÜñĎšëČĂĀčšî
ìčîđøČĂîĀčšî
ǰǰǰìčîÝéìąđïĊ÷î
ǰǰǰǰǰǰĀčšîÿćöĆâǰ   ǰĀčšîǰöĎúÙŠćĀčšîúąǰǰïćì ǰǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰ   

ǰǰǰìčîìĊęĂĂÖĒúąßĞćøąĒúšü
ǰǰǰǰǰǰĀčšîÿćöĆâǰ   ǰĀčšîǰöĎúÙŠćĀčšîúąǰǰïćì ǰǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰ   

ÿŠüîđÖĉîöĎúÙŠćĀčšîÿćöĆâ ǰǰǰǰǰǰǰ   


ǰǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰ   

ÿŠüîđÖĉîìčîĂČęî ǰǰǰǰǰǰǰǰǰ   


ǰǰǰǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰ   

ÖĞćĕøÿąÿö
ǰǰǰÝĆéÿøøĒúšüǰǰÿĞćøĂÜêćöÖãĀöć÷ (29) ǰǰǰǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰ   

ǰǰǰ÷ĆÜĕöŠĕéšÝĆéÿøøǰ ǰǰǰǰǰǰǰ   


ǰǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰ   

ĂÜÙŤðøąÖĂïĂČęî×ĂÜÿŠüî×ĂÜñĎšëČĂĀčšî ǰǰǰǰǰǰǰǰ    


ǰǰǰǰǰǰǰǰ    
ǰǰǰǰǰǰǰ    
ǰǰǰǰǰǰǰ    

ÿŠüî×ĂÜñĎšëČĂĀčšî×ĂÜïøĉþĆìĄ ǰǰǰǰǰǰǰ   


ǰǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰ   

ÿŠüî×ĂÜñĎšöĊÿŠüîĕéšđÿĊ÷ìĊęĕöŠöĊĂĞćîćÝÙüïÙčö×ĂÜïøĉþĆì÷ŠĂ÷ 14.3) ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  


ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 

øüöÿŠüî×ĂÜñĎšëČĂĀčšî ǰǰǰǰǰǰǰ   


ǰǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰ   

øüöĀîĊĚÿĉîĒúąÿŠüî×ĂÜñĎšëČĂĀčšî ǰǰǰǰǰ    


ǰǰǰǰǰ    
ǰǰǰǰǰ    
ǰǰǰǰǰ    

Āöć÷đĀêčðøąÖĂïÜïÖćøđÜĉîđðŨîÿŠüîĀîċęÜ×ĂÜÜïÖćøđÜĉîîĊĚ

105
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

งบก�ำไรขาดทุน
ïøĉþĆìǰĒúîéŤĒĂîéŤđăšćÿŤǰÝĞćÖĆéǰ öĀćßî
ǰĒúąïøĉþĆì÷ŠĂ÷
บริษÜïÖĞ
ัท แลนด์
ćĕø×ćéìčîแอนด์ เฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรัÿĞćบĀøĆปีïสðŘิ้นÿĉĚîสุÿčดéüĆวัîนìĊทีęǰǰíĆ
่ 31îüćÙöǰ
ธันวาคม 2564
ĀîŠü÷ǰïćì

ÜïÖćøđÜĉîøüö ÜïÖćøđÜĉîđÞóćąÖĉÝÖćø
Āöć÷đĀêč ǰǰ   
øć÷ĕéš
øć÷ĕéšÝćÖÖćø×ć÷ĂÿĆÜĀćøĉöìøĆó÷Ť ǰ   
ǰ   
ǰ   
ǰ   

øć÷ĕéšÝćÖÖĉÝÖćøēøÜĒøö ǰǰǰǰǰ  


ǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 

øć÷ĕéšÙŠćđߊć ǰǰǰǰǰ  


ǰǰǰ    
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 

øć÷ĕéšéĂÖđïĊĚ÷ ǰǰǰǰǰǰǰ   


ǰǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰ  

øć÷ĕéšđÜĉîðŦîñú ǰǰǰǰǰǰǰ   


ǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰ   

øć÷ĕéšĂČęî
ǰǰǰÙŠćïøĉÖćøÿćíćøèĎðēõÙ ǰ ǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰ  

ǰǰǰÙŠćïøĉĀćøÝĆéÖćøēÙøÜÖćø ǰǰǰǰǰ  


ǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 

ǰǰǰÖĞćĕøÝćÖÖćø×ć÷ĂÿĆÜĀćøĉöìøĆó÷Ť 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 

ǰǰǰÖĞćĕøÝćÖĂĆêøćĒúÖđðúĊę÷î ǰǰǰǰǰ  


ǰǰǰǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰǰǰǰ  

ǰǰǰĂČęîǰė ǰǰǰǰǰ  


ǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰ  

øüöøć÷ĕéš ǰ   


ǰ   
ǰ   
ǰ   

ÙŠćĔߚ݊ć÷
êšîìčî×ć÷ĂÿĆÜĀćøĉöìøĆó÷Ť ǰ   
ǰ   
ǰ   
ǰ   

êšîìčî×ĂÜÖĉÝÖćøēøÜĒøö ǰǰǰǰǰ  


ǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 

êšîìčîÖćøĔĀšđߊć ǰǰǰǰǰ  


ǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 

êšîìčîÙŠćïøĉĀćøÝĆéÖćøēÙøÜÖćø ǰǰǰǰǰ  


ǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 

ÙŠćĔߚ݊ć÷ĔîÖćø×ć÷ ǰǰǰǰǰ  


ǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰ  

õćþĊíčøÖĉÝđÞóćąĒúąÙŠćíøøöđîĊ÷öÖćøēĂî ǰǰǰ    


ǰǰǰ    
ǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰ  

ÙŠćĔߚ݊ć÷ĔîÖćøïøĉĀćø ǰǰǰ    


ǰǰǰ    
ǰǰǰ    
ǰǰǰ    

×ćéìčîÝćÖÖćøúéúÜ×ĂÜöĎúÙŠćēÙøÜÖćø 
ǰǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 

ēĂîÖúĆïðøąöćèÖćøĀîĊĚÿĉîÝćÖÙéĊÙüćö 
ǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰ   

×ćéìčîÝćÖêøćÿćøĂîčóĆîíŤ ǰǰǰǰǰ   


ǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰ   

øüöÙŠćĔߚ݊ć÷ ǰ   


ǰ   
ǰ   
ǰ   

ÖĞćĕøÝćÖÖćøéĞćđîĉîÜćî ǰǰǰ    


ǰǰǰ    
ǰǰǰ    
ǰǰǰ    

ÿŠüîĒïŠÜÖĞćĕøǰ ×ćéìčî
ǰÝćÖđÜĉîúÜìčîĔîïøĉþĆì÷ŠĂ÷ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰ  

ÿŠüîĒïŠÜÖĞćĕøÝćÖđÜĉîúÜìčîĔîïøĉþĆìøŠüö 
ǰǰǰ    
ǰǰǰ    
ǰǰǰ    
ǰǰǰ    

êšîìčîìćÜÖćøđÜĉî 
ǰǰ    
ǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰ   

ÖĞćĕøÖŠĂîÙŠćĔߚ݊ć÷õćþĊđÜĉîĕéš ǰǰǰ    


ǰǰǰ    
ǰǰǰ    
ǰǰǰ    

ÙŠćĔߚ݊ć÷õćþĊđÜĉîĕéš 
ǰǰ    
ǰǰ    
ǰǰ    
ǰǰ    

ÖĞćĕøÿĞćĀøĆïðŘ ǰǰǰ    


ǰǰǰ    
ǰǰǰ    
ǰǰǰ    

ÖćøĒïŠÜðŦîÖĞćĕø
ÿŠüîìĊęđðŨî×ĂÜñĎšëČĂĀčšî×ĂÜïøĉþĆìĄ ǰǰǰ    
ǰǰǰ    
ǰǰǰ    
   

ÿŠüîìĊęđðŨî×ĂÜñĎšöĊÿŠüîĕéšđÿĊ÷ìĊęĕöŠöĊĂĞćîćÝÙüïÙčö×ĂÜïøĉþĆì÷ŠĂ÷ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰǰ   

ǰǰǰ    


ǰǰǰ    

ÖĞćĕøêŠĂĀčšî 

ÖĞćĕøêŠĂĀčšî×ĆĚîóČĚîåćîǰ
ÖĞćĕøÿŠüîìĊęđðŨî×ĂÜñĎšëČĂĀčšî×ĂÜïøĉþĆìĄ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 



Āöć÷đĀêčðøąÖĂïÜïÖćøđÜĉîđðŨîÿŠüîĀîċęÜ×ĂÜÜïÖćøđÜĉîîĊĚ
106


การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

งบก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ
ïøĉþĆìǰĒúîéŤĒĂîéŤđăšćÿŤǰÝĞćÖĆéǰ öĀćßî
ǰĒúąïøĉþĆì÷ŠĂ÷
บริษćĕø×ćéìč
ÜïÖĞ ัท แลนด์ แอนด์
îđïĘéđÿøĘ Ý เฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ÿĞส�ćำĀøĆหรั
ïðŘบÿปี
ĉĚîÿčสéิ้น
üĆîสุìĊดęǰǰíĆ
วันîทีüćÙöǰ
่ 31 ธันวาคม 2564
ĀîŠü÷ǰïćì

ÜïÖćøđÜĉîøüö ÜïÖćøđÜĉîđÞóćąÖĉÝÖćø
Āöć÷đĀêč    

ÖĞćĕøÿĞćĀøĆïðŘ ǰǰǰ    


ǰǰǰ    
ǰǰǰ    
ǰǰǰ    

ÖĞćĕø×ćéìčîđïĘéđÿøĘÝĂČęî
øć÷ÖćøìĊęÝąëĎÖïĆîìċÖĔîÿŠüî×ĂÜÖĞćĕøĀøČĂ×ćéìčîĔîõć÷ĀúĆÜ
ñúêŠćÜ×ĂÜĂĆêøćĒúÖđðúĊę÷îÝćÖÖćøĒðúÜÙŠćÜïÖćøđÜĉî
ǰǰǰìĊęđðŨîđÜĉîêøćêŠćÜðøąđìý ǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 

ÿŠüîĒïŠÜÖĞćĕø×ćéìčîđïĘéđÿøĘÝĂČęîÝćÖđÜĉîúÜìčîĔîïøĉþĆì÷ŠĂ÷ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰǰ   

ÿŠüîĒïŠÜÖĞćĕø×ćéìčîđïĘéđÿøĘÝĂČęîÝćÖđÜĉîúÜìčîĔîïøĉþĆìøŠüöǰ 
ǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰ  

øć÷ÖćøìĊęÝąëĎÖïĆîìċÖĔîÿŠüî×ĂÜÖĞćĕøĀøČĂ×ćéìčî
ǰǰǰĔîõć÷ĀúĆÜǰǰÿčìíĉÝćÖõćþĊđÜĉîĕéš ǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰ  

øć÷ÖćøìĊęÝąĕöŠëĎÖïĆîìċÖĔîÿŠüî×ĂÜÖĞćĕøĀøČĂ×ćéìčîĔîõć÷ĀúĆÜ
ñúÖĞćĕøǰ ×ćéìčî
ǰÝćÖÖćøðøąöćèÖćøêćöĀúĆÖÙèĉêýćÿêøŤðøąÖĆîõĆ÷
ǰǰǰǰÿčìíĉÝćÖõćþĊđÜĉîĕéš  ǰ ǰǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰ   

×ćéìčîÝćÖÖćøđðúĊę÷îĒðúÜöĎúÙŠć×ĂÜđÜĉîúÜìčîĔîêøćÿćøìčî
ǰǰǰìĊęÖĞćĀîéĔĀšüĆéöĎúÙŠćéšü÷öĎúÙŠć÷čêĉíøøöñŠćîÖĞćĕø×ćéìčî
ǰǰǰđïĘéđÿøĘÝĂČęîǰǰÿčìíĉÝćÖõćþĊđÜĉîĕéš  ǰ ǰǰǰǰ   
ǰǰ    
ǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰ   

ÿŠüîĒïŠÜÖĞćĕø×ćéìčîđïĘéđÿøĘÝĂČęîÝćÖđÜĉîúÜìčîĔîïøĉþĆì÷ŠĂ÷ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰ   

ÿŠüîĒïŠÜÖĞćĕø×ćéìčîđïĘéđÿøĘÝĂČęîÝćÖđÜĉîúÜìčîĔîïøĉþĆìøŠüöǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰ    
ǰǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰ    

øć÷ÖćøìĊęÝąĕöŠëĎÖïĆîìċÖĔîÿŠüî×ĂÜÖĞćĕøĀøČĂ×ćéìčî
ǰǰǰĔîõć÷ĀúĆÜǰǰÿčìíĉÝćÖõćþĊđÜĉîĕéš ǰǰǰǰ   
ǰǰ    
ǰǰǰǰ   
ǰǰ    

ÖĞćĕø×ćéìčîđïĘéđÿøĘÝĂČęîÿĞćĀøĆïðŘ ǰǰǰǰ   


ǰǰ    
ǰǰǰǰ   
ǰǰ    

ÖĞćĕø×ćéìčîđïĘéđÿøĘÝøüöÿĞćĀøĆïðŘ ǰǰǰ    


ǰǰǰ    
ǰǰǰ    
ǰǰǰ    

ÖćøĒïŠÜðŦîÖĞćĕø×ćéìčîđïĘéđÿøĘÝøüö
ÿŠüîìĊęđðŨî×ĂÜñĎšëČĂĀčšî×ĂÜïøĉþĆìĄ ǰǰǰ    
ǰǰǰ    
ǰǰǰ    
ǰǰǰ    

ÿŠüîìĊęđðŨî×ĂÜñĎšöĊÿŠüîĕéšđÿĊ÷ìĊęĕöŠöĊĂĞćîćÝÙüïÙčö×ĂÜïøĉþĆì÷ŠĂ÷ ǰǰǰǰǰǰǰǰ  


ǰǰǰǰǰǰ   

ǰǰǰ    


ǰǰǰ    

Āöć÷đĀêčðøąÖĂïÜïÖćøđÜĉîđðŨîÿŠüîĀîċęÜ×ĂÜÜïÖćøđÜĉîîĊĚ

107 

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงของผู้ถือหุ้น
บริ
ïøĉþษ ĆìǰĒúîéŤ
ัท แลนด์ ÝĞćÖĆéǰ öĀćßî
ǰĒúąïøĉ
ĒĂîéŤđăšćÿŤǰแอนด์ เฮ้าส์ จ�þำĆìกั÷ŠĂด÷ (มหาชน) และบริษัทย่อย
ÜïĒÿéÜÖćøđðúĊę÷îĒðúÜÿŠüî×ĂÜñĎšëČĂĀčšî
บปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2564
รายงานประจำ�ปี 2564

ส�ÿĞćำĀøĆหรั
ïðŘÿĉĚîÿčéüĆîìĊęǰǰíĆîüćÙöǰ
ĀîŠü÷ǰïćì

ÜïÖćøđÜĉîøüö
ÿŠüî×ĂÜñĎšëČĂĀčšî×ĂÜïøĉþĆìĄ
ĂÜÙŤðøąÖĂïĂČęî×ĂÜÿŠüî×ĂÜñĎšëČĂĀčšî
ÖĞćĕø×ćéìčîđïĘéđÿøĘÝĂČęî
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)

ñúêŠćÜ ÿŠüîĒïŠÜ ÿŠüî×ĂÜñĎšöĊ


ÖĞćĕøÿąÿö ÝćÖÖćøĒðúÜÙŠć ÖĞćĕøǰ ×ćéìčî
ÖĞćĕø×ćéìčî ÿŠüîđÖĉîìčîÝćÖ øüöĂÜÙŤðøąÖĂïĂČęî øüöÿŠüî×ĂÜ ÿŠüîĕéšđÿĊ÷ìĊęĕöŠöĊ
ìčîđøČĂîĀčšîìĊęĂĂÖ ÿŠüîđÖĉî ÝĆéÿøøĒúšüǰ ÜïÖćøđÜĉîìĊęđðŨî ÝćÖÖćøüĆéöĎúÙŠć đïĘéđÿøĘÝĂČęî ÿŠüîđÖĉîöĎúÙŠćĀčšî ×ĂÜÿŠüî×ĂÜ ñĎšëČĂĀčšî ĂĞćîćÝÙüïÙčö øüöÿŠüî×ĂÜ
ĒúąßĞćøąĒúšü öĎúÙŠćĀčšîÿćöĆâ ÿŠüîđÖĉîìčîĂČęî ÿĞćøĂÜêćöÖãĀöć÷ ÷ĆÜĕöŠĕéšÝĆéÿøø đÜĉîêøćêŠćÜðøąđìý đÜĉîúÜìčî ÝćÖïøĉþĆìøŠüö ×ĂÜïøĉþĆìøŠüö ñĎšëČĂĀčšî ×ĂÜïøĉþĆìĄ ×ĂÜïøĉþĆì÷ŠĂ÷ ñĎšëČĂĀčšî
÷ĂéÙÜđĀúČĂǰèǰüĆîìĊęǰǰöÖøćÙöǰ    
   
ǰǰ    
   
   
  
ǰǰ    
ǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰ  
ǰǰ    
   
  
   

ÖĞćĕøÿĞćĀøĆïðŘ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰ    
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
   
ǰ   
   

ÖĞćĕø×ćéìčîđïĘéđÿøĘÝĂČęîÿĞćĀøĆïðŘǰ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰ   
ǰ   
ǰ    
ǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰ    
   
ǰǰǰǰǰ  
   

ÖĞćĕø×ćéìčîđïĘéđÿøĘÝøüöÿĞćĀøĆïðŘǰ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰ    
ǰ   
ǰ    
ǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰ    
   
ǰ   
   

đÜĉîúÜìčîĔîêøćÿćøìčîìĊęëĎÖêĆéøć÷Öćø
ǰǰĂĂÖÝćÖïĆâßĊĔîøąĀüŠćÜðŘ×ĂÜïøĉþĆìøŠüö ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ

đÜĉîðŦîñúÝŠć÷ǰ Āöć÷đĀêčǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
   
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
   
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
   

108
õćþĊđÜĉîĕéšÝćÖđÜĉîðŦîñúìĊęĕöŠĕéšÝŠć÷ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  

÷ĂéÙÜđĀúČĂǰèǰüĆîìĊęǰǰíĆîüćÙöǰ    


   
ǰǰ    
   
   
ǰǰ  
ǰǰǰǰ   
ǰ    
ǰǰǰǰǰǰ  
ǰ    
   
  
   

÷ĂéÙÜđĀúČĂǰèǰüĆîìĊęǰǰöÖøćÙöǰ    


   
ǰǰ    
   
   
ǰǰ  
ǰǰǰǰ   
ǰ    
ǰǰǰǰǰǰ  
ǰ    
   
  
   

ÖĞćĕøÿĞćĀøĆïðŘ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰ    
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
   
ǰǰǰ  
   

ÖĞćĕø×ćéìčîđïĘéđÿøĘÝĂČęîÿĞćĀøĆïðŘǰ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰ  
  
ǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰ   
ǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰ   

ÖĞćĕø×ćéìčîđïĘéđÿøĘÝøüöÿĞćĀøĆïðŘǰ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰ    
  
ǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰ   
   
ǰǰǰ  
   

đÜĉîúÜìčîĔîêøćÿćøìčîìĊęëĎÖêĆéøć÷Öćø
ǰǰĂĂÖÝćÖïĆâßĊĔîøąĀüŠćÜðŘ×ĂÜïøĉþĆìøŠüö ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ

đÜĉîðŦîñúÝŠć÷ǰ Āöć÷đĀêčǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
   
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
   
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
   

ïøĉþĆì÷ŠĂ÷ÝŠć÷đÜĉîðŦîñúĔĀšñĎšöĊÿŠüîĕéšđÿĊ÷
ǰǰǰìĊęĕöŠöĊĂĞćîćÝÙüïÙčö ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  

õćþĊđÜĉîĕéšÝćÖđÜĉîðŦîñúìĊęĕöŠĕéšÝŠć÷ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  

÷ĂéÙÜđĀúČĂǰèǰüĆîìĊęǰǰíĆîüćÙöǰ    


   
ǰǰ    
   
   
  
ǰǰǰǰ   
ǰ    
ǰǰǰǰǰǰ  
ǰ    
   
  
   

Āöć÷đĀêčðøąÖĂïÜïÖćøđÜĉîđðŨîÿŠüîĀîċęÜ×ĂÜÜïÖćøđÜĉîîĊĚ

ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ

งบแสดงการเปลี่ยนแปลงของผู้ถือหุ้น (ต่อ)
บริ
ïøĉþษĆìัทǰĒúîéŤ แลนด์ ĒĂîéŤđแอนด์ ǰ öĀćßî
ǰĒúąïøĉ
ăšćÿŤǰÝĞćÖĆéเฮ้ Ćì÷ŠĂ÷
าส์ จ�ำกัด þ(มหาชน) และบริษัทย่อย
ÜïĒÿéÜÖćøđðúĊę÷îĒðúÜÿŠüî×ĂÜñĎšëČĂĀčšîǰ êŠĂ

ส�ÿĞำćĀøĆหรัïบðŘÿปีĉĚîÿčสéิ้นüĆîสุìĊดęǰǰíĆ ่ 31 ธันวาคม 2564


วันîทีüćÙöǰ
ĀîŠü÷ǰïćì

ÜïÖćøđÜĉîđÞóćąÖĉÝÖćø
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน

ĂÜÙŤðøąÖĂïĂČęî×ĂÜÿŠüî×ĂÜñĎšëČĂĀčšî
ÖĞćĕø×ćéìčîđïĘéđÿøĘÝĂČęî
ÿŠüîĒïŠÜ ÿŠüîĒïŠÜ
ÖĞćĕøÿąÿö ÖĞćĕøǰ ×ćéìčî
ÖĞćĕø×ćéìčî ÖĞćĕø×ćéìčî ÿŠüîđÖĉîìčîÝćÖ øüöĂÜÙŤðøąÖĂïĂČęî
ìčîđøČĂîĀčšîìĊęĂĂÖ ÿŠüîđÖĉî ÝĆéÿøøĒúšüǰ ÝćÖÖćøüĆéöĎúÙŠć đïĘéđÿøĘÝĂČęî đïĘéđÿøĘÝĂČęî ÿŠüîđÖĉîöĎúÙŠćĀčšî ×ĂÜÿŠüî×ĂÜ øüöÿŠüî×ĂÜ
ĒúąßĞćøąĒúšü öĎúÙŠćĀčšîÿćöĆâ ÿŠüîđÖĉîìčîĂČęî ÿĞćøĂÜêćöÖãĀöć÷ ÷ĆÜĕöŠĕéšÝĆéÿøø đÜĉîúÜìčî ÝćÖïøĉþĆì÷ŠĂ÷ ÝćÖïøĉþĆìøŠüö ×ĂÜïøĉþĆìøŠüö ñĎšëČĂĀčšî ñĎšëČĂĀčšî
÷ĂéÙÜđĀúČĂǰèǰüĆîìĊęǰǰǰöÖøćÙöǰ ǰ   
ǰ   
ǰ    
ǰǰ    
ǰ   
ǰǰǰ  
ǰǰ  
ǰǰǰ   
ǰǰǰ   
ǰǰǰ    
ǰ   

ÖĞćĕøÿĞćĀøĆïðŘ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰ    
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰ    

ÖĞćĕø×ćéìčîđïĘéđÿøĘÝĂČęîÿĞćĀøĆïðŘ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰ   
ǰ   
ǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰ    
ǰǰ    

การกำ�กับดูแลกิจการ

ÖĞćĕø×ćéìčîđïĘéđÿøĘÝøüöÿĞćĀøĆïðŘ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰ    
ǰǰ   
ǰ   
ǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰ    
ǰǰ    

đÜĉîúÜìčîĔîêøćÿćøìčîìĊęëĎÖêĆéøć÷Öćø
ǰǰĂĂÖÝćÖïĆâßĊĔîøąĀüŠćÜðŘ×ĂÜïøĉþĆìøŠüö ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 

đÜĉîðŦîñúÝŠć÷ǰ Āöć÷đĀêčǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰ    
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰ    

109
õćþĊđÜĉîĕéšÝćÖđÜĉîðŦîñúìĊęĕöŠĕéšÝŠć÷ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  

÷ĂéÙÜđĀúČĂǰèǰüĆîìĊęǰǰíĆîüćÙöǰ ǰ   


ǰ   
ǰ    
ǰǰ    
ǰ   
ǰǰ   
ǰǰǰ   
   
ǰǰǰ   
ǰǰ    
ǰ   

÷ĂéÙÜđĀúČĂǰèǰüĆîìĊęǰǰǰöÖøćÙöǰ ǰ   


ǰ   
ǰ    
ǰǰ    
ǰ   
ǰǰ   
ǰǰǰ   
   
ǰǰǰ   
ǰǰ    
ǰ   

ÖĞćĕøÿĞćĀøĆïðŘ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰ    
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰ    

งบการเงิน

ÖĞćĕø×ćéìčîđïĘéđÿøĘÝĂČęîÿĞćĀøĆïðŘ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰ   
ǰǰǰ   
ǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰ   

ÖĞćĕø×ćéìčîđïĘéđÿøĘÝøüöÿĞćĀøĆïðŘ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰ    
ǰǰ   
ǰǰǰ   
ǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰ   
ǰǰ    

đÜĉîúÜìčîĔîêøćÿćøìčîìĊęëĎÖêĆéøć÷Öćø
ǰǰĂĂÖÝćÖïĆâßĊĔîøąĀüŠćÜðŘ×ĂÜïøĉþĆìøŠüö ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 

đÜĉîðŦîñúÝŠć÷ǰ Āöć÷đĀêčǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰ    
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰ    

õćþĊđÜĉîĕéšÝćÖđÜĉîðŦîñúìĊęĕöŠĕéšÝŠć÷ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  

÷ĂéÙÜđĀúČĂǰèǰüĆîìĊęǰǰíĆîüćÙöǰ ǰ   


ǰ   
ǰ    
ǰǰ    
ǰ   
ǰǰ   
ǰǰǰ   
   
ǰǰǰ   
ǰǰ    
ǰ   

Āöć÷đĀêčðøąÖĂïÜïÖćøđÜĉîđðŨîÿŠüîĀîċęÜ×ĂÜÜïÖćøđÜĉîîĊĚ
เอกสารแนบ

บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)


รายงานประจำ�ปี 2564

งบกระแสเงินสด
ïøĉþĆìǰĒúîéŤĒĂîéŤđăšćÿŤǰÝĞćÖĆéǰ öĀćßî
ǰĒúąïøĉþĆì÷ŠĂ÷
บริษÜïÖøąĒÿđÜĉ
ัท แลนด์îแอนด์ ÿé เฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรัÿĞćบĀøĆปีïสðŘิ้นÿสุĉĚîÿčดéวัüĆนîìĊทีęǰǰíĆ
่ 31îธัüćÙöǰ
นวาคม 2564
ĀîŠü÷ǰïćì

ÜïÖćøđÜĉîøüö ÜïÖćøđÜĉîđÞóćąÖĉÝÖćø
   
ÖøąĒÿđÜĉîÿéÝćÖÖĉÝÖøøöéĞćđîĉîÜćî
ÖĞćĕøÖŠĂîÙŠćĔߚ݊ć÷õćþĊđÜĉîĕéš ǰǰǰǰ    
ǰǰ    
ǰǰ    
ǰ    

øć÷ÖćøðøĆïÖøąìï÷ĂéÖĞćĕøÖŠĂîÙŠćĔߚ݊ć÷õćþĊđÜĉîĕéš
ǰǰǰđðŨîđÜĉîÿéøĆïǰ ÝŠć÷
ǰÝćÖÖĉÝÖøøöéĞćđîĉîÜćî
ǰǰǰÿĉîÙšćÙÜđĀúČĂĒúąìĊęéĉîøĂÖćøóĆçîćúéúÜÝćÖÖćøēĂîđðŨîêšîìčî×ć÷ ǰǰ   
   
   
   

ǰǰǰÙŠćđÿČęĂöøćÙćĒúąÙŠćêĆéÝĞćĀîŠć÷ ǰǰǰǰ    


ǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰ  

ǰǰǰñúêŠćÜÝćÖÿŠüîúéÙŠćđߊćÝŠć÷ ǰǰǰǰǰ   


ǰǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ

ǰǰǰÿŠüîĒïŠÜ×ćéìčîǰ ÖĞćĕø
ǰÝćÖđÜĉîúÜìčîĔîïøĉþĆì÷ŠĂ÷ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰ  
ǰǰǰ   

ǰǰǰÿŠüîĒïŠÜÖĞćĕøÝćÖđÜĉîúÜìčîĔîïøĉþĆìøŠüö ǰǰǰ    


ǰ    
ǰ    
   

ǰǰǰÖĞćĕøÝćÖÖćø×ć÷ìĊęéĉîǰĂćÙćøĒúąĂčðÖøèŤ ǰǰǰǰǰǰǰǰ   


ǰǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰ   

ǰǰǰ×ćéìčîÝćÖÖćøúéúÜ×ĂÜöĎúÙŠćēÙøÜÖćø ǰǰǰǰǰǰǰǰ  


ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ

ǰǰǰÖĞćĕøÝćÖÖćø×ć÷ĂÿĆÜĀćøĉöìøĆó÷Ť ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ

ǰǰǰÖĞćĕøÝćÖĂĆêøćĒúÖđðúĊę÷îìĊę÷ĆÜĕöŠđÖĉé×ċĚî ǰǰǰǰǰ   


ǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰ   

ǰǰǰ×ćéìčîÝćÖÖćøðøĆïöĎúÙŠć÷čêĉíøøö×ĂÜêøćÿćøĂîčóĆîíŤ ǰǰǰǰǰǰ  


ǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰ  

ǰǰǰðøąöćèÖćøĀîĊĚÿĉîÝćÖÙéĊÙüćö ǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  


ǰǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰ  

ǰǰǰēĂîÖúĆïðøąöćèÖćøĀîĊĚÿĉîÝćÖÙéĊÙüćö ǰǰǰǰǰ   


ǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰ   
ǰǰǰ   

ǰǰǰðøąöćèÖćøÙŠćàŠĂöĒàöïšćîĀúĆÜÖćø×ć÷ǰ ǰǰǰǰǰǰ  


ǰǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰ  

ǰǰǰðøąöćèÖćøđÜĉîÿöìïÖĂÜìčîîĉêĉïčÙÙúĀöĎŠïšćî ǰǰǰǰǰǰǰǰ  


ǰǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰ  

ǰǰǰðøąöćèÖćøÙŠćàŠĂöĒàöÿćíćøèĎðēõÙ ǰǰǰǰǰǰǰǰ  


ǰǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰ  

ǰǰǰēĂîÖúĆïðøąöćèÖćøÙŠćÙüćöđÿĊ÷Āć÷ÝćÖēÙøÜÖćø ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰ   

ǰǰǰÙŠćĔߚ݊ć÷ñúðøąē÷ßîŤøą÷ą÷ćü×ĂÜóîĆÖÜćî ǰǰǰǰǰǰǰǰ  


ǰǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰ  

ǰǰǰêĆéÝĞćĀîŠć÷õćþĊĀĆÖǰèǰìĊęÝŠć÷ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 


ǰǰǰǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ

ǰǰǰøć÷ĕéšéĂÖđïĊĚ÷ ǰǰǰǰǰǰǰ   


ǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰ   
ǰǰǰ   

ǰǰǰøć÷ĕéšđÜĉîðŦîñú ǰǰǰǰǰǰǰ   


ǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰ   

ǰǰǰÙŠćĔߚ݊ć÷éĂÖđïĊĚ÷ ǰǰǰǰ    


ǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰ  

ÖĞćĕøÝćÖÖćøéĞćđîĉîÜćîÖŠĂîÖćøđðúĊę÷îĒðúÜĔîÿĉîìøĆó÷ŤĒúąĀîĊĚÿĉîéĞćđîĉîÜćî ǰǰ   


   
   
   

ÿĉîìøĆó÷ŤéĞćđîĉîÜćîúéúÜǰ đóĉęö×ċĚî

ǰǰǰúĎÖĀîĊĚÖćøÙšćĒúąúĎÖĀîĊĚĂČęî ǰǰǰǰǰǰǰǰ  


ǰǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰ  

ǰǰǰÿĉîÙšćÙÜđĀúČĂ ǰ    


   
   
   

ǰǰǰÿĉîìøĆó÷ŤìćÜÖćøđÜĉîĀöčîđüĊ÷îĂČęî ǰǰǰǰ    


ǰǰǰǰ   
ǰǰ    
   

ǰǰǰÿĉîìøĆó÷ŤĀöčîđüĊ÷îĂČęî ǰǰǰǰǰ   


ǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰ  

ǰǰǰÿĉîìøĆó÷ŤĕöŠĀöčîđüĊ÷îĂČęî ǰǰǰǰǰǰǰ   


ǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 

ĀîĊĚÿĉîéĞćđîĉîÜćîđóĉęö×ċĚîǰ úéúÜ

ǰǰǰđÝšćĀîĊĚÖćøÙšćĒúąđÝšćĀîĊĚĂČęî ǰǰǰǰǰ   


ǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰ   
ǰǰǰ   

ǰǰǰđÜĉîðøąÖĆîÜćîÖŠĂÿøšćÜ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  


ǰǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰ  

ǰǰǰðøąöćèÖćøĀîĊĚÿĉîøą÷ąÿĆĚî ǰǰǰǰǰǰǰǰ   


ǰǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰ   

ǰǰǰĀîĊĚÿĉîĀöčîđüĊ÷îĂČęî ǰǰǰǰǰ   


ǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰ   
ǰǰǰ   

ǰǰǰÿĞćøĂÜñúðøąē÷ßîŤøą÷ą÷ćü×ĂÜóîĆÖÜćî ǰǰǰǰǰǰǰ   


ǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰ   

ǰǰǰĀîĊĚÿĉîĕöŠĀöčîđüĊ÷îĂČęî ǰǰǰǰǰǰǰǰ  


ǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ

đÜĉîÿéÝćÖÖĉÝÖøøöéĞćđîĉîÜćî ǰǰ   


ǰǰ    
   
ǰ    

ÝŠć÷õćþĊđÜĉîĕéš ǰǰǰ    


ǰ    
ǰ    
   

đÜĉîÿéÿčìíĉÝćÖÖĉÝÖøøöéĞćđîĉîÜćî ǰǰ   


ǰǰ    
ǰǰ    
ǰ    

Āöć÷đĀêčðøąÖĂïÜïÖćøđÜĉîđðŨîÿŠüîĀîċęÜ×ĂÜÜïÖćøđÜĉîîĊĚ


110
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

งบกระแสเงินสด (ต่อ)
ïøĉþĆìǰĒúîéŤĒĂîéŤđăšćÿŤǰÝĞćÖĆéǰ öĀćßî
ǰĒúąïøĉþĆì÷ŠĂ÷
บริ ษัท แลนด์
ÜïÖøąĒÿđÜĉ îÿéǰ êŠแอนด์ Ă
เฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ÿĞćำĀøĆหรัïบðŘÿปีĉĚîสÿčิ้นéüĆสุîดìĊวัęǰǰíĆ
นทีî่ 31 ธันวาคม 2564
üćÙöǰ
ĀîŠü÷ǰïćì

ÜïÖćøđÜĉîøüö ÜïÖćøđÜĉîđÞóćąÖĉÝÖćø
   
ÖøąĒÿđÜĉîÿéÝćÖÖĉÝÖøøöúÜìčî
đÜĉîòćÖíîćÙćøìĊęöĊõćøąÙĞĚćðøąÖĆîđóĉęö×ċĚî ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ

đÜĉîĔĀšÖĎš÷ČöĒÖŠÖĉÝÖćøìĊęđÖĊę÷üךĂÜÖĆîđóĉęö×ċĚî ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰ    
ǰǰǰ   

đÜĉîĔĀšÖĎš÷ČöĒÖŠÖĉÝÖćøĂČęîđóĉęö×ċĚî ǰǰǰǰǰǰǰ   


ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ

àČĚĂđÜĉîúÜìčîĔîìøĆÿêŤđóČęĂÖćøúÜìčîĔîĂÿĆÜĀćøĉöìøĆó÷Ť ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ

đÜĉîðŦîñúøĆïÝćÖïøĉþĆìøŠüö ǰǰǰǰ    


ǰǰ    
ǰǰ    
ǰ    

đÜĉîðŦîñúøĆïÝćÖïøĉþĆìĂČęî ǰǰǰǰǰǰǰǰ  


ǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰ   

đÜĉîÿéøĆïÝćÖÖćø×ć÷ĂÿĆÜĀćøĉöìøĆó÷Ť ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰ    
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ

đÜĉîÿéøĆïÝćÖÖćø×ć÷ìĊęéĉîǰĒúąĂćÙćøĒúąĂčðÖøèŤ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  


ǰǰǰǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰǰǰ  

àČĚĂĂÿĆÜĀćøĉöìøĆó÷ŤđóČęĂÖćøúÜìčî ǰǰǰǰǰǰǰ   


ǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰ  

àČĚĂìĊęéĉîǰĂćÙćøĒúąĂčðÖøèŤǰĒúąÿĉîìøĆó÷ŤĕöŠöĊêĆüêî ǰǰǰ    


ǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰ   

àČĚĂÿĉîìøĆó÷ŤÿĉìíĉÖćøĔßš ǰǰǰ    


ǰ    
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ

đÜĉîÿéøĆïÝćÖéĂÖđïĊĚ÷ ǰǰǰǰǰǰǰǰ  


ǰǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰ  

đÜĉîÿéÿčìíĉÝćÖǰ ĔßšĕðĔî
ǰÖĉÝÖøøöúÜìčî ǰǰǰ    
ǰǰ    
ǰǰǰǰ   
ǰ    

ÖøąĒÿđÜĉîÿéÝćÖÖĉÝÖøøöÝĆéĀćđÜĉî
đÜĉîÖĎš÷Čöøą÷ąÿĆĚîÝćÖÿëćïĆîÖćøđÜĉîđóĉęö×ċĚîǰ úéúÜ
ǰǰǰ    
ǰǰ    
ǰ    
ǰ    

đÜĉîÿéøĆïÝćÖÖćøĂĂÖĀčšîÖĎš ǰǰ   


ǰǰ    
   
ǰ    

ßĞćøąÙČîĀčšîÖĎš ǰ    


   
   
   

đÜĉîÿéøĆïÝćÖđÜĉîÖĎš÷Čöøą÷ą÷ćüÝćÖÿëćïĆîÖćøđÜĉî ǰǰǰǰ    


ǰǰ    
ǰǰ    
ǰ    

ßĞćøąÙČîđÜĉîÖĎš÷Čöøą÷ą÷ćüÝćÖÿëćïĆîÖćøđÜĉî ǰǰǰ    


ǰ    
ǰ    
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ

ßĞćøąÙČîđÜĉîêšî×ĂÜĀîĊĚÿĉîêćöÿĆââćđߊć ǰǰǰǰǰ   


ǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰ   

ÝŠć÷éĂÖđïĊĚ÷ ǰǰǰ    


ǰ    
ǰ    
   

ïøĉþĆì÷ŠĂ÷ÝŠć÷đÜĉîðŦîñúĔĀšñĎšöĊÿŠüîĕéšđÿĊ÷ìĊęĕöŠöĊĂĞćîćÝÙüïÙčö ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  


ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ

ÝŠć÷đÜĉîðŦîñú ǰǰǰ    


ǰ    
ǰ    
   

đÜĉîÿéÿčìíĉĔßšĕðĔîÖĉÝÖøøöÝĆéĀćđÜĉî ǰǰǰ    


ǰ    
ǰ    
   

ñúêŠćÜ×ĂÜĂĆêøćĒúÖđðúĊę÷îÝćÖÖćøĒðúÜÙŠćÜïÖćøđÜĉî
ǰǰǰìĊęđðŨîđÜĉîêøćêŠćÜðøąđìý ǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰ  
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ

đÜĉîÿéĒúąøć÷ÖćøđìĊ÷ïđìŠćđÜĉîÿéđóĉęö×ċĚîÿčìíĉ ǰǰǰǰ    


ǰǰ    
ǰǰ    
ǰ    

đÜĉîÿéĒúąøć÷ÖćøđìĊ÷ïđìŠćđÜĉîÿéǰèǰüĆîêšîðŘ ǰǰǰǰ    


ǰǰ    
ǰǰ    
ǰ    

đÜĉîÿéĒúąøć÷ÖćøđìĊ÷ïđìŠćđÜĉîÿéǰèǰüĆîðúć÷ðŘǰ Āöć÷đĀêčǰ
ǰǰ   
ǰǰ    
ǰǰ    
ǰ    

Āöć÷đĀêčðøąÖĂïÜïÖćøđÜĉîđðŨîÿŠüîĀîċęÜ×ĂÜÜïÖćøđÜĉîîĊĚ

111
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

งบกระแสเงินสด (ต่อ)
ïøĉþĆìǰĒúîéŤĒĂîéŤđăšćÿŤǰÝĞćÖĆéǰ öĀćßî
ǰĒúąïøĉþĆì÷ŠĂ÷
บริษÜïÖøąĒÿđÜĉ
ัท แลนด์îแอนด์ ÿéǰ êŠĂ
เฮ้าส์ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรัÿĞćบĀøĆปีïสðŘิ้นÿสุĉĚîÿčดéวัüĆนîìĊทีęǰǰíĆ
่ 31îธัüćÙöǰ
นวาคม 2564
ĀîŠü÷ǰïćì

ÜïÖćøđÜĉîøüö ÜïÖćøđÜĉîđÞóćąÖĉÝÖćø
   
ךĂöĎúÖøąĒÿđÜĉîÿéđðŗéđñ÷đóĉęöđêĉö
øć÷ÖćøìĊęĕöŠĔߊđÜĉîÿé
ǰǰǰđÝšćĀîĊĚÙŠćàČĚĂĂćÙćøĒúąĂčðÖøèŤǰĒúąÿĉîìøĆó÷ŤÿĉìíĉÖćøĔßšđóĉęö×ċĚîǰ úéúÜ
  
  
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰ  
  

ǰǰǰÖćøēĂîÿĉîÙšćÙÜđĀúČĂđðŨîìĊęéĉîøĂÖćøóĆçîćǰ öĎúÙŠćêćöïĆâßĊ
   
   
ǰǰ    
ǰ    

ǰǰǰÖćøēĂîìĊęéĉîøĂÖćøóĆçîćđðŨîÿĉîÙšćÙÜđĀúČĂǰ öĎúÙŠćêćöïĆâßĊ
  
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 

ǰǰǰéĂÖđïĊĚ÷ÝŠć÷ÿŠüîìĊęïĆîìċÖđðŨîêšîìčîēÙøÜÖćø   


  
ǰǰǰǰ   
  

ǰǰǰéĂÖđïĊĚ÷ÝŠć÷ÿŠüîìĊęïĆîìċÖđðŨîêšîìčî×ĂÜÿĉîìøĆó÷ŤÿĉìíĉÖćøĔßš   


  
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 

ǰǰǰÖćøúéúÜ×ĂÜđÜĉîúÜìčîĔîêøćÿćøìčîìĊęÖĞćĀîéĔĀšüĆéöĎúÙŠć
ǰǰǰǰǰǰéšü÷öĎúÙŠć÷čêĉíøøöñŠćîÖĞćĕø×ćéìčîđïĘéđÿøĘÝĂČęîǰǰÿčìíĉÝćÖõćþĊđÜĉîĕéš   
   
ǰǰǰǰ   
ǰǰǰ   

ǰǰǰÿĉîìøĆó÷ŤÿĉìíĉÖćøĔßšĕéšöćõć÷ĔêšÿĆââćđߊćÞïĆïĔĀöŠ ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰ    
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ

ǰǰǰÿĉîìøĆó÷ŤÿĉìíĉÖćøĔßšđóĉęö×ċĚîǰ úéúÜ
ǰÝćÖÖćøđðúĊę÷îĒðúÜÿĆââćđߊć   
ǰǰǰǰǰǰǰ   
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
ǰǰǰǰǰ  

ǰǰǰđÜĉîðŦîñúÝćÖïøĉþĆìĂČęîÙšćÜøĆï ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
  
ǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰǰ 
  

Āöć÷đĀêčðøąÖĂïÜïÖćøđÜĉîđðŨîÿŠüîĀîċęÜ×ĂÜÜïÖćøđÜĉîîĊĚ



112
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

หมายเหตุประกอบงบการเงิน
บริษัท แลนด,แอนด,เฮ0าส, จำกัด (มหาชน) และบริษัทย=อย
หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม
บริษัท บแลนด์
สำหรั ปCสิ้นแอนด์
สุดวันเฮ้ทีา่ 31
ส์ จ�ำธักันดวาคม
(มหาชน) และบริษัทย่อย
2564
ส�ำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2564

1. ข0อมูลทั่วไป
1.1 ข0อมูลทั่วไปของบริษัทฯ
บริ ษ ั ท แลนด, แ อนด, เ ฮ0 า ส, จำกั ด (มหาชน) (“บริ ษ ั ทฯ”) เป? นบริ ษ ั ทมหาชนซึ ่ ง จั ดตั ้ ง และมี ภ ู ม ิ ล ำเนาใน
ประเทศไทย ธุรกิจหลักของบริษัทฯ คือ การพัฒนาอสังหาริมทรัพย, ที่อยูUตามที่จดทะเบียนของบริษัทฯ อยูUที่
เลขที่ 1 อาคารคิวเฮ0าส, ลุมพินี ชั้น 37 ถนนสาทรใต0 แขวงทุUงมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร
1.2 การแพร=ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
สถานการณ,การแพรUระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ที่ปaจจุบันได0กลับมาแพรUระบาดอีกระลอก
และมีผลกระทบตUอธุรกิจและอุตสาหกรรมสUวนใหญU สถานการณ,ดังกลUาวอาจนำมาซึ่งความไมUแนUนอนและ
สU ง ผลกระทบตU อ สภาพแวดล0 อ มของการดำเนิ น ธุ ร กิ จ โรงแรมและธุ ร กิ จ ให0 เ ชU า พื ้ น ที ่ ข องกลุ U ม บริ ษั ท
ฝeายบริหารของกลุUมบริษัทติดตามความคืบหน0าของสถานการณ,ดังกลUาวและประเมินผลกระทบทางการเงิน
เกี่ยวกับมูลคUาของสินทรัพย, ประมาณการหนี้สินและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นอยUางตUอเนื่อง ทั้งนี้ ฝeายบริหาร
ได0ใช0ประมาณการและดุลยพินิจในประเด็นตUาง ๆ เมื่อสถานการณ,มีการเปลี่ยนแปลง
2. เกณฑ,ในการจัดทำงบการเงิน
2.1 งบการเงินนี้จัดทำขึ้นตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่กำหนดในพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ.
2547 โดยแสดงรายการในงบการเงิ น ตามข0 อกำหนดในประกาศกรมพั ฒนาธุ ร กิ จ การค0 า ออกตามความ
ในพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543
งบการเงิ น ฉบั บ ภาษาไทยเป? น งบการเงิ น ฉบั บ ที ่ บ ริ ษ ั ท ฯ ใช0 เ ป? น ทางการตามกฎหมาย งบการเงิ น ฉบั บ
ภาษาอังกฤษแปลจากงบการเงินฉบับภาษาไทยนี้
งบการเงินนี้ได0จัดทำขึ้นโดยใช0เกณฑ,ราคาทุนเดิมเว0นแตUจะได0เปpดเผยเป?นอยUางอื่นในนโยบายการบัญชี

1
113
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

2.2 เกณฑ,ในการจัดทำงบการเงินรวม
ก) งบการเงิ น รวมนี ้ ไ ด0 จ ั ด ทำขึ ้ น โดยรวมงบการเงิ น ของบริ ษ ั ท แลนด, แ อนด, เ ฮ0 า ส, จำกั ด (มหาชน)
(ซึ่งตUอไปนี้เรียกวUา “บริษัทฯ”) และบริษัทยUอย (ซึ่งตUอไปนี้เรียกวUา “บริษัทยUอย”) (รวมเรียกวUา
“กลุUมบริษัท”) ดังตUอไปนี้
จัดตั้งขึ้นใน อัตราร0อยละ
ชื่อบริษัท ลักษณะธุรกิจ ประเทศ ของการถือหุ0น
2564 2563
(ร0อยละ) (ร0อยละ)
ถือหุ0นโดยบริษัทฯ
บริษัท แอตแลนติก เรียลเอสเตท จำกัด ธุรกิจอสังหาริมทรัพย, ไทย 99.99 99.99
บริษัท แลนด,แอนด,เฮ0าส,นอร,ธ จำกัด ธุรกิจอสังหาริมทรัพย, ไทย 99.99 99.99
บริษัท แลนด, แอนด, เฮ0าส, นอร,ธอีส จำกัด ธุรกิจอสังหาริมทรัพย, ไทย 99.99 99.99
บริษัท สยามธานี พรrอบเพอร,ตี้ จำกัด และบริษัทยUอย ธุรกิจอสังหาริมทรัพย, ไทย 99.99 99.99
บริษัท แอล เอช เรียลเอสเตท จำกัด ธุรกิจอสังหาริมทรัพย, ไทย 99.99 99.99
บริษัท แอลเอช แอสเซท จำกัด ธุรกิจอสังหาริมทรัพย, ไทย 99.99 99.99
บริษัท แอล. เอช. เมืองใหมU จำกัด ธุรกิจอสังหาริมทรัพย, ไทย 55.00 55.00
บริษัท แอล เอช มอลล, แอนด, โฮเทล จำกัด และบริษัทยUอย ธุรกิจให0เชUาอสังหาริมทรัพย, ไทย 99.99 99.99
บริษัท แอล แอนด, เอช พร็อพเพอร,ตี้ จำกัด ธุรกิจโรงแรม ไทย 60.00 60.00
Land and Houses U.S.A., Inc. ธุรกิจให0เชUาอสังหาริมทรัพย, สหรัฐอเมริกา 100.00 100.00
บริษัท เอเชีย แอสเซท แอดไวเซอรี่ จำกัด ที่ปรึกษาการลงทุน ไทย 99.94 99.94
ถือหุ0นโดยบริษัทยUอยของบริษัทฯ
บริษัท สยามธานี เรียลเอสเตท จำกัด ธุรกิจอสังหาริมทรัพย, ไทย 99.99 99.99
(ถือหุ0นโดยบริษัท สยามธานี พรrอบเพอร,ตี้ จำกัด
ร0อยละ 99.99)
บริษัท แอล แอนด, เอช รีเทล แมเนจเมนท, จำกัด ธุรกิจรับจ0างบริหารจัดการ ไทย 99.99 99.99
(ถือหุ0นโดยบริษัท แอล เอช มอลล, แอนด, โฮเทล จำกัด โครงการ
ร0อยละ 99.97)
บริษัท แอล แอนด, เอช แมเนจเมนท, จำกัด ธุรกิจรับจ0างบริหารจัดการ ไทย 99.99 99.99
(ถือหุ0นโดยบริษัท แอล เอช มอลล, แอนด, โฮเทล จำกัด โครงการ
ร0อยละ 99.98)
บริษัท แอล แอนด, เอช โฮเทล แมเนจเมนท, จำกัด ธุรกิจโรงแรม ไทย 99.99 99.99
(ถือหุ0นโดยบริษัท แอล เอช มอลล, แอนด, โฮเทล จำกัด
ร0อยละ 99.99)

ข) บริษัทฯ จะถือวUามีการควบคุมกิจการที่เข0าไปลงทุนหรือบริษัทยUอยได0 หากบริษัทฯ มีสิทธิได0รับหรือ


มีสUวนได0เสียในผลตอบแทนของกิจการที่เข0าไปลงทุน และสามารถใช0อำนาจในการสั่งการกิจกรรม
ที่สUงผลกระทบอยUางมีนัยสำคัญตUอจำนวนเงินผลตอบแทนนั้นได0
ค) บริษัทฯ นำงบการเงินของบริษัทยUอยมารวมในการจัดทำงบการเงินรวมตั้งแตUวันที่บริษัทฯ มีอำนาจ
ในการควบคุมบริษัทยUอยจนถึงวันที่บริษัทฯ สิ้นสุดการควบคุมบริษัทยUอยนั้น
ง) งบการเงินของบริษัทยUอยได0จัดทำขึ้นโดยใช0นโยบายการบัญชีที่สำคัญเชUนเดียวกันกับของบริษัทฯ

114 2
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

จ) สินทรัพย,และหนี้สินตามงบการเงินของบริษัทยUอยซึ่งจัดตั้งในตUางประเทศแปลงคUาเป?นเงินบาท
โดยใช0อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน สUวนรายได0และคUาใช0จUายแปลงคUาเป?น
เงินบาทโดยใช0อัตราแลกเปลี่ยนถัวเฉลี่ยรายเดือน ผลตUางซึ่งเกิดขึ้นจากการแปลงคUาดังกลUาวได0แสดงไว0
เป? น รายการ “ผลตU า งจากการแปลงคU า งบการเงิ น ที ่ เ ป? น เงิ น ตราตU า งประเทศ” ในงบแสดงการ
เปลี่ยนแปลงสUวนของผู0ถือหุ0น
ฉ) ยอดคงค0างระหวUางกลุUมบริษัท รายการค0าระหวUางกันที่มีสาระสำคัญได0ถูกตัดออกจากงบการเงินรวม
นี้แล0ว
ช) สUวนของผู0มีสUวนได0เสียที่ไมUมีอำนาจควบคุม คือ จำนวนกำไรหรือขาดทุนและสินทรัพย,สุทธิของบริษัท
ยUอยสUวนที่ไมUได0เป?นของบริษัทฯ และแสดงเป?นรายการแยกตUางหากในสUวนของกำไรหรือขาดทุนรวม
และสUวนของผู0ถือหุ0นในงบแสดงฐานะการเงินรวม
2.3 บริษัทฯ จัดทำงบการเงินเฉพาะกิจการโดยแสดงเงินลงทุนในบริษัทยUอยและบริษัทรUวมตามวิธีสUวนได0เสีย
3. มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม=
3.1 มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เริ่มมีผลบังคับใช0ในปCป^จจุบัน
ในระหวUางปÉ กลุUมบริษัทได0นำมาตรฐานการรายงานทางการเงินและการตีความมาตรฐานการรายงานทาง
การเงินฉบับปรับปรุงจำนวนหลายฉบับ ซึ่งมีผลบังคับใช0สำหรับงบการเงินที่มีรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือ
หลังวันที่ 1 มกราคม 2564 มาถือปฏิบัติ มาตรฐานการรายงานทางการเงินดังกลUาวได0รับการปรับปรุงหรือจัด
ให0มีขึ้นเพื่อให0มีเนื้อหาเทUาเทียมกับมาตรฐานการรายงานทางการเงินระหวUางประเทศ โดยสUวนใหญUเป?นการ
อธิบายให0ชัดเจนเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติทางการบัญชีและการให0แนวปฏิบัติทางการบัญชีกับผู0ใช0มาตรฐาน
การนำมาตรฐานการรายงานทางการเงินดังกลUาวมาถือปฏิบัตินี้ไมUมีผลกระทบอยUางเป?นสาระสำคัญตUอ
งบการเงินของกลุUมบริษัท
3.2 มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่จะมีผลบังคับใช0สำหรับงบการเงินที่มีรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มใน
หรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2565
สภาวิชาชีพบัญชีได0ประกาศใช0มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับปรับปรุงหลายฉบับ ซึ่งจะมีผลบังคับใช0
สำหรับงบการเงินที่มีรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2565 มาตรฐานการรายงานทาง
การเงินดังกลUาวได0รับการปรับปรุงหรือจัดให0มีขึ้นเพื่อให0มีเนื้อหาเทUาเทียมกับมาตรฐานการรายงานทางการเงิน
ระหวUางประเทศ โดยสUวนใหญUเป?นการอธิบายให0ชัดเจนเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติทางการบัญชีและมาตรฐานการ
รายงานทางการเงินบางฉบับมีการให0ข0อผUอนปรนในทางปฏิบัติหรือข0อยกเว0นชั่วคราวกับผู0ใช0มาตรฐาน

115 3
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

ฝe า ยบริ ห ารของกลุ U ม บริ ษ ั ท เชื ่ อ วU า การปรั บ ปรุ ง มาตรฐานนี ้ จ ะไมU ม ี ผ ลกระทบอยU า งเป? น สาระสำคั ญ ตU อ
งบการเงินของกลุUมบริษัท
4. นโยบายการบัญชีที่สำคัญ
4.1 การรับรู0รายได0และค=าใช0จ=าย
รายได0จากการขายอสังหาริมทรัพย,
รายได0จากการขายบ0านพร0อมที่ดินและรายได0จากการขายหนUวยในอาคารชุดพักอาศัยรับรู0เมื่อกลุUมบริษัท
ได0มีการโอนอำนาจควบคุมในบ0านพร0อมที่ดินหรือหนUวยในอาคารชุดพักอาศัยให0แกUลูกค0าแล0ว ณ เวลาใดเวลา
หนึ่ง กลUาวคือ เมื่อมีการจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์บ0านพร0อมที่ดินหรือหนUวยในอาคารชุดพักอาศัย รายได0จาก
การขายอสังหาริมทรัพย,แสดงตามมูลคUาที่ได0รับหักด0วยสUวนลดและคUาใช0จUายที่กลุUมบริษัทจUายแทนให0แกUลูกค0า
เงื่อนไขในการจUายชำระเป?นไปตามงวดการจUายชำระที่ระบุในสัญญาที่ทำกับลูกค0า จำนวนเงินที่กลุUมบริษัท
ได0รับจากลูกค0ากUอนการโอนอำนาจควบคุมในสินค0าให0กับลูกค0าแสดงไว0เป?น “เงินรับลUวงหน0าจากลูกค0า” ในงบ
แสดงฐานะการเงิน
รายได0จากกิจการโรงแรม
รายได0จากกิจการโรงแรมสUวนใหญUประกอบด0วยรายได0คUาห0องพัก คUาขายอาหารและเครื่องดื่ม และบริการ
ที่เกี่ยวข0องอื่น และจะบันทึกเป?นรายได0 ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง เมื่อกิจการให0บริการเสร็จสิ้นตามราคาใน
ใบแจ0งหนี้โดยไมUรวมภาษีมูลคUาเพิ่มสำหรับคUาสินค0าที่ได0สUงมอบและคUาบริการที่ได0ให0บริการเสร็จสิ้นแล0ว
หลังจากหักสUวนลด
รายได0ค=าเช=า
รายได0คUาเชUาพื้นที่ในอาคารจะรับรู0เป?นรายได0ตามวิธีเส0นตรงตลอดอายุสัญญาเชUาตามเกณฑ,คงค0าง
รายได0ค=าบริหารจัดการ
รายได0คUาบริหารจัดการรับรู0เมื่อกิจการให0บริการเสร็จสิ้นแล0ว รายได0แสดงมูลคUาตามราคาในใบแจ0งหนี้
โดยไมUรวมภาษีมูลคUาเพิ่มของบริการที่ให0
รายได0ดอกเบี้ย
รายได0ดอกเบี้ยรับรู0ตามเกณฑ,คงค0างด0วยวิธีดอกเบี้ยที่แท0จริง โดยจะนำมูลคUาตามบัญชีขั้นต0นของสินทรัพย,
ทางการเงินมาคูณกับอัตราดอกเบี้ยที่แท0จริง ยกเว0นสินทรัพย,ทางการเงินที่เกิดการด0อยคUาด0านเครดิต
ในภายหลัง ที่จะนำมูลคUาตามบัญชีสุทธิของสินทรัพย,ทางการเงิน (สุทธิจากคUาเผื่อผลขาดทุนด0านเครดิต
ที่คาดวUาจะเกิดขึ้น) มาคูณกับอัตราดอกเบี้ยที่แท0จริง

116 4
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

ต0นทุนทางการเงิน
คUาใช0จUายดอกเบี้ยจากหนี้สินทางการเงินที่วัดมูลคUาด0วยราคาทุนตัดจำหนUาย คำนวณโดยใช0วิธีดอกเบี้ย
ที่แท0จริงและรับรู0ตามเกณฑ,คงค0าง
เงินป^นผลรับ
เงินปaนผลรับถือเป?นรายได0เมื่อกลุUมบริษัทมีสิทธิในการรับเงินปaนผล
4.2 ต0นทุนการขายอสังหาริมทรัพย,
ในการคำนวณหาต0นทุนขายบ0านพร0อมที่ดินและหนUวยในอาคารชุดพักอาศัย กลุUมบริษัทได0ทำการแบUงสรร
ต0นทุนการพัฒนาทั้งหมดที่คาดวUาจะเกิดขึ้น (โดยคำนึงถึงต0นทุนที่เกิดขึ้นจริงด0วย) ตามเกณฑ,พื้นที่ที่ขาย
คUาใช0จUายที่เกี่ยวข0องกับการขาย เชUน คUาภาษีธุรกิจเฉพาะ คUาธรรมเนียมการโอนกรรมสิทธิ์ บันทึกเป?นคUาใช0จUาย
เมื่อมีการขาย
4.3 เงินสดและรายการเทียบเท=าเงินสด
เงินสดและรายการเทียบเทUาเงินสด หมายถึง เงินสดและเงินฝากธนาคาร เช็คที่ถึงกำหนดชำระแตUยังมิได0
นำฝาก และเงินลงทุนระยะสั้นที่มีสภาพคลUองสูง ซึ่งถึงกำหนดจUายคืนภายในระยะเวลาไมUเกิน 3 เดือนนับจาก
วันที่ได0มาและไมUมีข0อจำกัดในการเบิกใช0
4.4 สินค0าคงเหลือ
โครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย,เพื่อขายซึ่งแสดงเป?นสินค0าคงเหลือแสดงมูลคUาตามราคาทุนหรือมูลคUาสุทธิ
ที ่ จ ะได0 ร ั บ แล0 ว แตU ร าคาใดจะต่ ำ กวU า ราคาทุ น ประกอบด0 ว ยต0 น ทุ น ที ่ ด ิ น คU า พั ฒ นาที ่ ด ิ น คU า ออกแบบ
คUาสาธารณูปโภค คUากUอสร0าง ต0นทุนการกู0ยืมที่ถือเป?นต0นทุนของโครงการ และคUาใช0จUายอื่นที่เกี่ยวข0อง
ตามที่เกิดขึ้นจริง รวมถึงประมาณการต0นทุนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย,
กลุUมบริษัทจะบันทึกขาดทุนจากการลดลงของมูลคUาโครงการ (ถ0ามี) ไว0ในสUวนของกำไรหรือขาดทุน
4.5 ต0นทุนในการได0มาซึ่งสัญญาที่ทำกับลูกค0า
กลุUมบริษัทบันทึกคUานายหน0าที่จUายเพื่อให0ได0มาซึ่งสัญญาที่ทำกับลูกค0าเป?นสินทรัพย,และตัดเป?นคUาใช0จUายอยUาง
สอดคล0องกับรูปแบบการรับรู0รายได0ตามสัญญา และจะบันทึกคUาเผื่อผลขาดทุนจากการด0อยคUาของสินทรัพย,
เมื่อมูลคUาตามบัญชีของสินทรัพย,สูงกวUาสิ่งตอบแทนที่จะได0รับหักด0วยต0นทุนที่เกี่ยวข0อง
4.6 เงินลงทุนในบริษัทย=อยและบริษัทร=วม
เงินลงทุนในบริษัทรUวมที่แสดงอยูUในงบการเงินรวมแสดงมูลคUาตามวิธีสUวนได0เสีย
เงินลงทุนในบริษัทยUอยและบริษัทรUวมที่แสดงอยูUในงบการเงินเฉพาะกิจการแสดงมูลคUาตามวิธีสUวนได0เสีย

117 5
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

4.7 ที่ดินรอการพัฒนา
ที่ดินรอการพัฒนาแสดงมูลคUาตามราคาทุนสุทธิจากสำรองเผื่อผลขาดทุนจากการลดลงของมูลคUา ราคาทุน
ประกอบด0วยต0นทุนที่ดิน คUาถมดิน คUาสาธารณูปโภค คUาใช0จUายในการพัฒนาโครงการ และต0นทุนการกู0ยืม
ที่เกิดขึ้นในระหวUางการพัฒนาในอดีต
4.8 อสังหาริมทรัพย,เพื่อการลงทุน
กลุUมบริษัทบันทึกมูลคUาเริ่มแรกของอสังหาริมทรัพย,เพื่อการลงทุนในราคาทุนซึ่งรวมต0นทุนการทำรายการ
หลังจากนั้น กลุUมบริษัทจะบันทึกอสังหาริมทรัพย,เพื่อการลงทุนด0วยราคาทุนหักคUาเสื่อมราคาสะสมและ
คUาเผื่อการด0อยคUา (ถ0ามี)
คU า เสื ่ อ มราคาของอสั ง หาริ ม ทรั พ ย, เ พื่ อ การลงทุ น คำนวณจากราคาทุ น โดยวิ ธ ี เ ส0 น ตรงตามอายุ ก ารให0
ประโยชน,โดยประมาณ 5 - 40 ปÉ คUาเสื่อมราคาของอสังหาริมทรัพย,เพื่อการลงทุนรวมอยูUในการคำนวณ
ผลการดำเนินงาน โดยไมUมีการคิดคUาเสื่อมราคาสำหรับที่ดิน
กลุUมบริษัทรับรู0ผลตUางระหวUางจำนวนเงินที่ได0รับสุทธิจากการจำหนUายกับมูลคUาตามบัญชีของสินทรัพย,
ในสUวนของกำไรหรือขาดทุนในปÉที่ตัดรายการอสังหาริมทรัพย,เพื่อการลงทุนออกจากบัญชี
4.9 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ, และค=าเสื่อมราคา
ที่ดินแสดงมูลคUาตามราคาทุน อาคารและอุปกรณ,แสดงมูลคUาตามราคาทุนหักคUาเสื่อมราคาสะสมและคUาเผื่อ
การด0อยคUาของสินทรัพย, (ถ0ามี)
คU า เสื ่ อ มราคาของอาคารและอุ ป กรณ, ค ำนวณจากราคาทุ น โดยวิ ธ ี เ ส0 น ตรงตามอายุ ก ารให0 ป ระโยชน,
โดยประมาณดังนี้
อาคารและสUวนปรับปรุงอาคาร 20 และ 40 ปÉ
เครื่องใช0สำนักงาน 3 - 10 ปÉ
เครื่องตกแตUง ติดตั้งและอุปกรณ, 5 ปÉ
ยานพาหนะ 5 ปÉ
อื่น ๆ 2 - 20 ปÉ
คUาเสื่อมราคารวมอยูUในการคำนวณผลการดำเนินงาน
ไมUมีการคิดคUาเสื่อมราคาสำหรับที่ดินและสินทรัพย,ระหวUางกUอสร0าง
กลุUมบริษัทตัดรายการที่ดิน อาคาร และอุปกรณ, ออกจากบัญชี เมื่อจำหนUายสินทรัพย,หรือคาดวUาจะไมUได0รับ
ประโยชน,เชิงเศรษฐกิจในอนาคตจากการใช0หรือการจำหนUายสินทรัพย, รายการผลกำไรหรือขาดทุนจากการ
จำหนUายสินทรัพย,จะรับรู0ในสUวนของกำไรหรือขาดทุนเมื่อกลุUมบริษัทตัดรายการสินทรัพย,นั้นออกจากบัญชี

118 6
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

4.10 สินทรัพย,ไม=มีตัวตน
กลุUมบริษัทบันทึกต0นทุนเริ่มแรกของสินทรัพย,ไมUมีตัวตนตามราคาทุน ภายหลังการรับรู0รายการเริ่มแรก
สินทรัพย,ไมUมีตัวตนแสดงมูลคUาตามราคาทุนหักคUาตัดจำหนUายสะสมและคUาเผื่อการด0อยคUาสะสม (ถ0ามี) ของ
สินทรัพย,นั้น
กลุUมบริษัทตัดจำหนUายสินทรัพย,ไมUมีตัวตนที่มีอายุการให0ประโยชน,จำกัดโดยวิธีเส0นตรงตามอายุการให0
ประโยชน,เชิงเศรษฐกิจของสินทรัพย,นั้น และจะประเมินการด0อยคUาของสินทรัพย,ดังกลUาวเมื่อมีข0อบUงชี้วUา
สินทรัพย,นั้นเกิดการด0อยคUา กลุUมบริษัทจะทบทวนระยะเวลาการตัดจำหนUายและวิธีการตัดจำหนUายของ
สินทรัพย,ไมUมีตัวตนดังกลUาวทุกสิ้นปÉเป?นอยUางน0อย คUาตัดจำหนUายรับรู0เป?นคUาใช0จUายในสUวนของกำไรหรือ
ขาดทุน
คU า ตั ด จำหนU า ยสิ น ทรั พ ย, ไ มU ม ี ต ั ว ตนคำนวณจากราคาทุ น ของสิ น ทรั พ ย, โ ดยวิ ธ ี เ ส0 น ตรงตามอายุ ก ารให0
ประโยชน,โดยประมาณดังนี้
คอมพิวเตอร,ซอฟท,แวร, 5 และ 10 ปÉ
4.11 ต0นทุนการกู0ยืม
ต0 น ทุ น การกู 0 ย ื ม ของเงิ น กู 0 ท ี ่ ใ ช0 ใ นการได0 ม า การกU อ สร0 า ง การผลิ ต สิ น ทรั พ ย, หรื อ การพั ฒ นาโครงการ
อสั ง หาริ ม ทรั พ ย, ท ี ่ ต 0 อ งใช0 ร ะยะเวลานานในการแปลงสภาพให0 พ ร0 อ มใช0 ห รื อ ขาย ได0 ถ ู ก นำไปรวมเป? น
ราคาทุนของสินทรัพย,จนกวUาสินทรัพย,นั้นจะอยูUในสภาพพร0อมที่จะใช0ได0ตามที่มุUงประสงค, สUวนต0นทุน
การกู0ยืมอื่นถือเป?นคUาใช0จUายในงวดที่เกิดรายการ ต0นทุนการกู0ยืมประกอบด0วยดอกเบี้ยและต0นทุนอื่น
ที่เกิดขึ้นจากการกู0ยืมนั้น
ต0นทุนดอกเบี้ยที่ใช0ในการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย,จะคำนวณโดยการคูณรายจUายของโครงการนั้นด0วย
อั ต ราการตั ้ ง ขึ ้ น เป? น ทุ น อั ต ราการตั ้ ง ขึ ้ น เป? น ทุ น คื อ อั ต ราถั ว เฉลี ่ ย ถU ว งน้ ำ หนั ก ของต0 น ทุ น การกู 0 ยื ม
ในระหวUางปÉ
4.12 ค=าความนิยม
บริษัทฯ บันทึกมูลคUาเริ่มแรกของคUาความนิยมในราคาทุน ซึ่งเทUากับต0นทุนการรวมธุรกิจสUวนที่สูงกวUามูลคUา
ยุติธรรมของสินทรัพย,สุทธิที่ได0มา หากมูลคUายุติธรรมของสินทรัพย,สุทธิที่ได0มาสูงกวUาต0นทุนการรวมธุรกิจ
บริษัทฯ จะรับรู0สUวนที่สูงกวUานี้เป?นกำไรในสUวนของกำไรหรือขาดทุนทันที
บริ ษ ั ท ฯ แสดงคU า ความนิ ย มตามราคาทุ น หั ก คU า เผื ่ อ การด0 อ ยคU า สะสม และจะทดสอบการด0 อ ยคU า ของ
คUาความนิยมทุกปÉหรือเมื่อใดก็ตามที่มีข0อบUงชี้ของการด0อยคUาเกิดขึ้น

119 7
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

เพื่อวัตถุประสงค,ในการทดสอบการด0อยคUา บริษัทฯ จะปaนสUวนคUาความนิยมที่เกิดขึ้นจากการรวมกิจการ


ให0กับหนUวยสินทรัพย,ที่กUอให0เกิดเงินสด (หรือกลุUมของหนUวยสินทรัพย,ที่กUอให0เกิดเงินสด) ที่คาดวUาจะได0รับ
ประโยชน,เพิ่มขึ้นจากการรวมกิจการ และบริษัทฯ จะทำการประเมินมูลคUาที่คาดวUาจะได0รับคืนของหนUวย
ของสิ น ทรั พ ย, ท ี ่ ก U อ ให0 เ กิ ด เงิ น สดแตU ล ะรายการ (หรื อ กลุ U ม ของหนU ว ยของสิ น ทรั พ ย, ท ี ่ ก U อ ให0 เ กิ ด เงิ น สด)
หากมูลคUาที่คาดวUาจะได0รับคืนของหนUวยของสินทรัพย,ที่กUอให0เกิดเงินสดต่ำกวUามูลคUาตามบัญชี บริษัทฯ
จะรับรู0ขาดทุนจากการด0อยคUาในสUวนของกำไรหรือขาดทุน และบริษัทฯ ไมUสามารถกลับบัญชีขาดทุน
จากการด0อยคUาของคUาความนิยมได0ในอนาคต
4.13 สัญญาเช=า
ณ วันเริ่มต0นของสัญญาเชUา กลุUมบริษัทจะประเมินวUาสัญญาเป?นสัญญาเชUาหรือประกอบด0วยสัญญาเชUาหรือไมU
โดยสัญญาจะเป?นสัญญาเชUาหรือประกอบด0วยสัญญาเชUา ถ0าสัญญานั้นมีการให0สิทธิในการควบคุมการใช0สินทรัพย,
ที่ระบุได0สำหรับชUวงเวลาหนึ่งเพื่อเป?นการแลกเปลี่ยนกับสิ่งตอบแทน
กลุ=มบริษัทในฐานะผู0เช=า
กลุ U ม บริ ษ ั ทใช0 ว ิ ธ ี ก ารบั ญชี เ ดี ย วสำหรั บ การรั บรู 0 รายการและการวั ดมู ล คU าสั ญญาเชU าทุ กสั ญญา เว0 นแตU
สัญญาเชUาระยะสั้นและสัญญาเชUาที่สินทรัพย,อ0างอิงมีมูลคUาต่ำ ณ วันที่สัญญาเชUาเริ่มมีผล (วันที่สินทรัพย,
อ0 า งอิ ง พร0 อ มใช0 ง าน) กลุ U ม บริ ษ ั ท บั น ทึ ก สิ น ทรั พ ย, ส ิ ท ธิ ก ารใช0 ซ ึ ่ ง แสดงสิ ท ธิ ใ นการใช0 ส ิ น ทรั พ ย, อ 0 า งอิ ง
และหนี้สินตามสัญญาเชUาตามการจUายชำระตามสัญญาเชUา
สินทรัพย*สิทธิการใช0
สินทรัพย,สิทธิการใช0วัดมูลคUาด0วยราคาทุนหักคUาเสื่อมราคาสะสม ผลขาดทุนจากการด0อยคUาสะสม และ
ปรับปรุงด0วยการวัดมูลคUาของหนี้สินตามสัญญาเชUาใหมU ราคาทุนของสินทรัพย,สิทธิการใช0ประกอบด0วยจำนวน
เงินของหนี้สินตามสัญญาเชUาจากการรับรู0เริ่มแรก ต0นทุนทางตรงเริ่มแรกที่เกิดขึ้น จำนวนเงินที่จUายชำระตาม
สัญญาเชUา ณ วันที่สัญญาเชUาเริ่มมีผลหรือกUอนวันที่สัญญาเชUาเริ่มมีผล และหักด0วยสิ่งจูงใจตามสัญญาเชUาที่
ได0รับ
คUาเสื่อมราคาของสินทรัพย,สิทธิการใช0คำนวณจากราคาทุนโดยวิธีเส0นตรงตามอายุสัญญาเชUาหรืออายุการให0
ประโยชน,โดยประมาณของสินทรัพย,สิทธิการใช0แล0วแตUระยะเวลาใดจะสั้นกวUา ดังนี้
ที่ดินและสิ่งปลูกสร0าง 29 - 34 ปÉ
อาคารโรงแรม 5-9 ปÉ
พื้นที่ในอาคาร 4-7 ปÉ
ยานพาหนะ 5 ปÉ

120 8
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

หากความเป?นเจ0าของในสินทรัพย,อ0างอิงได0โอนให0กับกลุUมบริษัทเมื่อสิ้นสุดอายุสัญญาเชUาหรือราคาทุนของ
สินทรัพย,ดังกลUาวได0รวมถึงการใช0สิทธิเลือกซื้อ คUาเสื่อมราคาจะคำนวณจากอายุการให0ประโยชน,โดยประมาณของ
สินทรัพย,
หนี้สินตามสัญญาเช8า
หนี้สินตามสัญญาเชUาวัดมูลคUาด0วยมูลคUาปaจจุบันของจำนวนเงินที่ต0องจUายตามสัญญาเชUาตลอดอายุสัญญาเชUา
จำนวนเงินที่ต0องจUายตามสัญญาเชUาประกอบด0วยคUาเชUาคงที่หักด0วยสิ่งจูงใจตามสัญญาเชUา คUาเชUาผันแปร
ที่ขึ้นอยูUกับดัชนีหรืออัตรา จำนวนเงินที่คาดวUาจะจUายชำระภายใต0การรับประกันมูลคUาคงเหลือ รวมถึงราคา
ใช0 ส ิ ท ธิ ข องสิ ท ธิ เ ลื อ กซื ้ อ ซึ ่ ง มี ค วามแนU น อนอยU า งสมเหตุ ส มผลที ่ ก ลุ U ม บริ ษ ั ท จะใช0 ส ิ ท ธิ น ั ้ น และการจU า ย
คUาปรับเพื่อการยกเลิกสัญญาเชUา หากข0อกำหนดของสัญญาเชUาแสดงให0เห็นวUากลุUมบริษัทจะใช0สิทธิในการ
ยกเลิ ก สั ญ ญาเชU า กลุ U ม บริ ษ ั ท บั น ทึ ก คU า เชU า ผั น แปรที ่ ไ มU ข ึ ้ น อยู U ก ั บ ดั ช นี ห รื อ อั ต ราเป? น คU า ใช0 จ U า ยในงวด
ที่เหตุการณ,หรือเงื่อนไขซึ่งเกี่ยวข0องกับการจUายชำระนั้นได0เกิดขึ้น
กลุUมบริษัทคิดลดมูลคUาปaจจุบันของจำนวนเงินที่ต0องจUายตามสัญญาเชUาด0วยอัตราดอกเบี้ยตามนัยของสั ญญา
เชUาหรืออัตราดอกเบี้ยเงินกู0ยืมสUวนเพิ่มของกลุUมบริษัท หลังจากวันที่สัญญาเชUาเริ่มมีผล มูลคUาตามบัญชีของ
หนี้สินตามสัญญาเชUาจะเพิ่มขึ้นจากดอกเบี้ยของหนี้สินตามสัญญาเชUาและลดลงจากการจUายชำระหนี้สิน
ตามสัญญาเชUา นอกจากนี้ มูลคUาตามบัญชีของหนี้สินตามสัญญาเชUาจะถูกวัดมูลคUาใหมUเมื่อมีการเปลี่ยนแปลง
อายุสัญญาเชUา การเปลี่ยนแปลงการจUายชำระตามสัญญาเชUา หรือการเปลี่ยนแปลงในการประเมินสิทธิเลือก
ซื้อสินทรัพย,อ0างอิง
สัญญาเช8าระยะสั้นและสัญญาเช8าซึ่งสินทรัพย*อ0างอิงมีมูลค8าต่ำ
สัญญาเชUาที่มีอายุสัญญาเชUา 12 เดือนหรือน0อยกวUานับตั้งแตUวันที่สัญญาเชUาเริ่มมีผล หรือสัญญาเชUาซึ่ง
สินทรัพย,อ0างอิงมีมูลคUาต่ำ จะบันทึกเป?นคUาใช0จUายตามวิธีเส0นตรงตลอดอายุสัญญาเชUา
กลุ=มบริษัทในฐานะผู0ให0เช=า
สัญญาเชUาที่ความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเป?นเจ0าของสUวนใหญUไมUได0โอนไปให0กับผู0เชUาถือเป?นสัญญาเชUา
ดำเนินงาน กลุUมบันทึกจำนวนเงินที่ได0รับตามสัญญาเชUาดำเนินงานเป?นรายได0ในสUวนของกำไรหรือขาดทุนตาม
วิธีเส0นตรงตลอดอายุของสัญญาเชUา ต0นทุนทางตรงเริ่มแรกที่เกิดขึ้นจากการได0มาซึ่งสัญญาเชUาดำเนินงานรวม
ในมูลคUาตามบัญชีของสินทรัพย,อ0างอิงและรับรู0เป?นคUาใช0จUายตลอดอายุสัญญาเชUาโดยใช0เกณฑ,เดียวกันกับ
รายได0จากสัญญาเชUา

121 9
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

4.14 รายการธุรกิจกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข0องกัน
บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข0องกันกับบริษัทฯ หมายถึง บุคคลหรือกิจการที่มีอำนาจควบคุมบริษัทฯ หรือถูก
บริษัทฯ ควบคุมไมUวUาจะเป?นโดยทางตรงหรือทางอ0อม หรืออยูUภายใต0การควบคุมเดียวกันกับบริษัทฯ
นอกจากนี้บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข0องกันยังหมายรวมถึงบริษัทรUวม และบุคคลหรือกิจการที่มีสิทธิออกเสียง
โดยทางตรงหรือทางอ0อม ซึ่งทำให0มีอิทธิพลอยUางเป?นสาระสำคัญตUอบริษัทฯ ผู0บริหารสำคัญ กรรมการหรือ
พนักงานของบริษัทฯ ที่มีอำนาจในการวางแผนและควบคุมการดำเนินงานของบริษัทฯ
4.15 เงินตราต=างประเทศ
บริษัทฯ แสดงงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเป?นสกุลเงินบาท ซึ่งเป?นสกุลเงินที่ใช0ในการ
ดำเนินงานของบริษัทฯ รายการตUาง ๆ ของแตUละกิจการที่รวมอยูUในงบการเงินรวมวัดมูลคUาด0วยสกุลเงินที่ใช0ใน
การดำเนินงานของแตUละกิจการนั้น
รายการที่เป?นเงินตราตUางประเทศแปลงคUาเป?นเงินบาทโดยใช0อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ สินทรัพย,
และหนี้สินที่เป?นตัวเงินซึ่งอยูUในสกุลเงินตราตUางประเทศได0แปลงคUาเป?นเงินบาทโดยใช0อัตราแลกเปลี่ยน
ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน
กำไรและขาดทุนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราแลกเปลี่ยนได0รวมอยูUในการคำนวณผลการดำเนินงาน
4.16 การด0อยค=าของสินทรัพย,ที่ไม=ใช=สินทรัพย,ทางการเงิน
ทุกวันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน กลุUมบริษัทจะทำการประเมินการด0อยคUาของที่ดิน อาคารและอุปกรณ,
สินทรัพย,สิทธิการใช0 อสังหาริมทรัพย,เพื่อการลงทุน หรือสินทรัพย,ไมUมีตัวตนอื่นของกลุUมบริษัท หากมี
ข0อบUงชี้วUาสินทรัพย,ดังกลUาวอาจด0อยคUา และจะทำการประเมินการด0อยคUาของคUาความนิยมเป?นรายปÉ
กลุUมบริษัทรับรู0ขาดทุนจากการด0อยคUาเมื่อมูลคUาที่คาดวUาจะได0รับคืนของสินทรัพย,มีมูลคUาต่ำกวUามูลคUาตาม
บัญชีของสินทรัพย,นั้น ทั้งนี้มูลคUาที่คาดวUาจะได0รับคื น หมายถึง มูลคUายุติธรรมหักต0นทุนในการขายของ
สินทรัพย,หรือมูลคUาจากการใช0สินทรัพย,แล0วแตUราคาใดจะสูงกวUา ในการประเมินมูลคUาจากการใช0สินทรัพย,
กลุUมบริษัทประมาณการกระแสเงินสดในอนาคตที่กิจการคาดวUาจะได0รับจากสินทรัพย,และคำนวณคิดลดเป?น
มูลคUาปaจจุบันโดยใช0อัตราคิดลดกUอนภาษีที่สะท0อนถึงการประเมินความเสี่ยงในสภาพตลาดปaจจุบันของเงินสด
ตามระยะเวลาและความเสี่ยงซึ่งเป?นลักษณะเฉพาะของสินทรัพย,ที่กำลังพิจารณาอยูU ในการประเมินมูลคUา
ยุติธรรมหักต0นทุนในการขาย กลุUมบริษัทใช0แบบจำลองการประเมินมูลคUาที่ดีที่สุดซึ่งเหมาะสมกับสินทรัพย, ซึ่ง
สะท0อนถึงจำนวนเงินที่กิจการสามารถจะได0มาจากการจำหนUายสินทรัพย,หักด0วยต0นทุนในการจำหนUาย โดย
การจำหนUายนั้นผู0ซื้อกับผู0ขายมีความรอบรู0และเต็มใจในการแลกเปลี่ยนและสามารถตUอรองราคากันได0อยUาง
เป?นอิสระในลักษณะของผู0ที่ไมUมีความเกี่ยวข0องกัน
กลุUมบริษัทจะรับรู0รายการขาดทุนจากการด0อยคUาในสUวนของกำไรหรือขาดทุน

122 10
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

หากในการประเมินการด0อยคUาของสินทรัพย, (ยกเว0นคUาความนิยม) มีข0อบUงชี้ที่แสดงให0เห็นวUาผลขาดทุนจาก


การด0อยคUาของสินทรัพย,ที่รับรู0ในงวดกUอนได0หมดไปหรือลดลง กลุUมบริษัทจะประมาณมูลคUาที่คาดวUา
จะได0รับคืนของสินทรัพย,นั้น และจะกลับรายการผลขาดทุนจากการด0อยคUาที่รับรู0ในงวดกUอนก็ตUอเมื่อ
มีการเปลี่ยนแปลงประมาณการที่ใช0กำหนดมูลคUาที่คาดวUาจะได0รับคืนภายหลังจากการรับรู0ผลขาดทุนจาก
การด0อยคUาครั้งลUาสุด โดยมูลคUาตามบัญชีของสินทรัพย,ที่เพิ่มขึ้นจากการกลับรายการผลขาดทุนจากการ
ด0อยคUาต0องไมUสูงกวUามูลคUาตามบัญชีที่ควรจะเป?นหากกิจการไมUเคยรับรู0ผลขาดทุนจากการด0อยคUาของ
สินทรัพย,ในงวดกUอนๆ กลุUมบริษัทจะบันทึกกลับรายการผลขาดทุนจากการด0อยคUาของสินทรัพย,โดยรับรู0
ไปยังสUวนของกำไรหรือขาดทุนทันที
4.17 ผลประโยชน,ของพนักงาน
ผลประโยชน,ระยะสั้นของพนักงาน
กลุUมบริษัทรับรู0เงินเดือน คUาจ0าง โบนัส และเงินสมทบกองทุนประกันสังคมเป?นคUาใช0จUายเมื่อเกิดรายการ
ผลประโยชน,หลังออกจากงานของพนักงาน
โครงการสมทบเงิน
กลุUมบริษัทและพนักงานได0รUวมกันจัดตั้งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ซึ่งประกอบด0วยเงินที่พนักงานจUายสะสมและ
เงินที่กลุUมบริษัทจUายสมทบให0เป?นรายเดือน สินทรัพย,ของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพได0แยกออกจากสินทรัพย,ของ
กลุUมบริษัท เงินที่กลุUมบริษัทจUายสมทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพบันทึกเป?นคUาใช0จUายในปÉที่เกิดรายการ
โครงการผลประโยชน5หลังออกจากงาน
กลุUมบริษัทมีภาระสำหรับเงินชดเชยที่ต0องจUายให0แกUพนักงานเมื่อออกจากงานตามกฎหมายแรงงานซึ่ง
กลุUมบริษัทถือวUาเงินชดเชยดังกลUาวเป?นโครงการผลประโยชน,หลังออกจากงานสำหรับพนักงาน
กลุUมบริษัทคำนวณหนี้สินตามโครงการผลประโยชน,หลังออกจากงานของพนักงานโดยใช0วิธีคิดลดแตUละ
หนUวยที่ประมาณการไว0 (Projected Unit Credit Method) โดยผู0เชี่ยวชาญอิสระได0ทำการประเมินภาระ
ผูกพันดังกลUาวตามหลักคณิตศาสตร,ประกันภัย
ผลกำไรหรือขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร,ประกันภัยสำหรับโครงการผลประโยชน,
หลังออกจากงานของพนักงานจะรับรู0ทันทีในกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น
ต0นทุนบริการในอดีตจะถูกรับรู0ทั้งจำนวนในสUวนของกำไรหรือขาดทุนทันทีที่มีการแก0ไขโครงการหรือลดขนาด
โครงการ หรือเมื่อกิจการรับรู0ต0นทุนการปรับโครงสร0างที่เกี่ยวข0องแล0วแตUเหตุการณ,ใดจะเกิดขึ้นกUอน

123 11
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

4.18 ประมาณการหนี้สิน
กลุUมบริษัทจะบันทึกประมาณการหนี้สินไว0ในบัญชีเมื่อภาระผูกพันซึ่งเป?นผลมาจากเหตุการณ,ในอดีต
ได0เกิดขึ้นแล0ว และมีความเป?นไปได0คUอนข0างแนUนอนวUากลุUมบริษัทจะเสียทรัพยากรเชิงเศรษฐกิจไปเพื่อ
ปลดเปลื้องภาระผูกพันนั้น และกลุUมบริษัทสามารถประมาณมูลคUาภาระผูกพันนั้นได0อยUางนUาเชื่อถือ
4.19 ภาษีเงินได0
ภาษีเงินได0ประกอบด0วยภาษีเงินได0ปaจจุบันและภาษีเงินได0รอการตัดบัญชี
ภาษีเงินได0ป^จจุบัน
กลุ U ม บริ ษ ั ท บั น ทึ ก ภาษี เ งิ น ได0 ป a จ จุ บ ั น ตามจำนวนที ่ ค าดวU า จะจU า ยให0 ก ั บ หนU ว ยงานจั ด เก็ บ ภาษี ข องรั ฐ
โดยคำนวณจากกำไรทางภาษีตามหลักเกณฑ,ที่กำหนดในกฎหมายภาษีอากร
ภาษีเงินได0รอการตัดบัญชี
กลุUมบริษัทบันทึกภาษีเงินได0รอการตัดบัญชีของผลแตกตUางชั่วคราวระหวUางราคาตามบัญชีของสินทรัพย,และ
หนี้สิน ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงานกับฐานภาษีของสินทรัพย,และหนี้สินที่เกี่ยวข0องนั้น โดยใช0อัตราภาษีที่
มีผลบังคับใช0 ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน
กลุUมบริษัทรับรู0หนี้สินภาษีเงินได0รอการตัดบัญชีของผลแตกตUางชั่วคราวที่ต0องเสียภาษีทุกรายการ แตUรับรู0
สินทรัพย,ภาษีเงินได0รอการตัดบัญชีสำหรับผลแตกตUางชั่วคราวที่ใช0หักภาษี รวมทั้งผลขาดทุนทางภาษีที่ยัง
ไมUได0ใช0ในจำนวนเทUาที่มีความเป?นไปได0คUอนข0างแนUที่กลุUมบริษัทจะมีกำไรทางภาษีในอนาคตเพียงพอที่จะใช0
ประโยชน,จากผลแตกตUางชั่วคราวที่ใช0หักภาษีและผลขาดทุนทางภาษีที่ยังไมUได0ใช0นั้น
กลุUมบริษัทจะทบทวนมูลคUาตามบัญชีของสินทรัพย,ภาษีเงินได0รอการตัดบัญชีทุกวันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน
และจะทำการปรับลดมูลคUาตามบัญชีดังกลUาว หากมีความเป?นไปได0คUอนข0างแนUวUากลุUมบริษัทจะไมUมีกำไรทาง
ภาษีเพียงพอตUอการนำสินทรัพย,ภาษีเงินได0รอการตัดบัญชีทั้งหมดหรือบางสUวนมาใช0ประโยชน,
กลุUมบริษัทจะบันทึกภาษีเงินได0รอการตัดบัญชีโดยตรงไปยังสUวนของผู0ถือหุ0นหากภาษีที่เกิดขึ้นเกี่ยวข0องกับ
รายการที่ได0บันทึกโดยตรงไปยังสUวนของผู0ถือหุ0น
4.20 เครื่องมือทางการเงิน
กลุUมบริษัทรับรู0รายการเมื่อเริ่มแรกของสินทรัพย,ทางการเงินด0วยมูลคUายุติธรรม และบวกด0วยต0นทุนการทำ
รายการเฉพาะในกรณีที่เป?นสินทรัพย,ทางการเงินที่ไมUได0วัดมูลคUาด0วยมูลคUายุติธรรมผUานกำไรหรือขาดทุน
อยUางไรก็ตาม สำหรับลูกหนี้การค0าที่ไมUมีองค,ประกอบเกี่ยวกับการจัดหาเงินที่มีนัยสำคัญ กลุUมบริษัทจะรับรู0
สินทรัพย,ทางการเงินดังกลUาวด0วยราคาของรายการตามที่กลUาวไว0ในนโยบายการบัญชีเรื่องการรับรู0รายได0

124 12
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

การจัดประเภทรายการและการวัดมูลค=าของสินทรัพย,ทางการเงิน
กลุU ม บริ ษั ท จั ด ประเภทสิ น ทรั พ ย, ท างการเงิ น ณ วั น ที่ รั บ รู0 ร ายการเริ่ ม แรก เป? น สิ น ทรั พ ย, ท างการเงิ น ที่
วั ด มู ล คU า ในภายหลั ง ด0 ว ยราคาทุ น ตัดจำหนUาย สิ น ทรั พ ย, ท างการเงิ น ที่ วั ด มู ล คU า ในภายหลั ง ด0วยมูลคUา
ยุติธรรมผUานกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น และสิ น ทรั พ ย, ท างการเงิ น ที่ วั ด มู ล คU าในภายหลั ง ด0วยมูลคUายุติธรรม
ผU านกำไรหรื อขาดทุ น โดยพิ จารณาจากแผนธุ รกิ จของกิ จการในการจั ดการสิ นทรั พย, ทางการเงิ น และ
ลักษณะของกระแสเงินสดตามสัญญาของสินทรัพย,ทางการเงิน
สินทรัพย,ทางการเงินที่วัดมูลค=าด0วยราคาทุนตัดจำหน=าย
กลุ U ม บริ ษ ั ท วั ด มู ล คU า สิ น ทรั พย, ท างการเงิ นด0 วยราคาทุ นตั ดจำหนU าย เมื ่ อกลุ U ม บริ ษ ั ทถื อครองสิ นทรั พย,
ทางการเงินนั้นเพื่อรับกระแสเงินสดตามสัญญา และเงื่อนไขตามสัญญาของสินทรัพย,ทางการเงินกUอให0เกิด
กระแสเงินสดที่เป?นการรับชำระเพียงเงินต0นและดอกเบี้ยจากยอดคงเหลือของเงินต0นในวันที่ระบุไว0เทUานั้น
สินทรัพย,ทางการเงินดังกลUาววัดมูลคUาในภายหลังโดยใช0วิธีดอกเบี้ยที่แท0จริงและต0องมีการประเมินการ
ด0อยคUา ทั้งนี้ ผลกำไรและขาดทุนที่เกิดขึ้นจากการตัดรายการ การเปลี่ยนแปลง หรือการด0อยคUาของสินทรัพย,
ดังกลUาวจะรับรู0ในสUวนของกำไรหรือขาดทุน
สินทรัพย,ทางการเงินที่มีการกำหนดให0วัดมูลค=าด0วยมูลค=ายุติธรรมผ=านกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น (ตราสารทุน)
ณ วันที่รับรู0รายการวันแรก กลุUมบริษัทสามารถเลือกจัดประเภทเงินลงทุนในตราสารทุนซึ่งไมUได0ถือไว0
เพื ่ อ ค0 า เป? น ตราสารทุ น ที ่ ก ำหนดให0 วั ดมู ล คU าด0 วยมู ลคU ายุ ติ ธรรมผU านกำไรขาดทุ นเบ็ ดเสร็ จ อื ่ น โดยไมU
สามารถเปลี่ยนการจัดประเภทในภายหลังได0 ทั้งนี้ การจัดประเภทรายการจะพิจารณาเป?นรายตราสาร
ผลกำไรและขาดทุนที่รับรู0ในกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นของสินทรัพย,ทางการเงินนี้จะไมUสามารถโอนไปรับรู0
ในสUวนของกำไรหรือขาดทุนได0ในภายหลัง
เงินปaนผลรับจากเงินลงทุนดังกลUาวถือเป?นรายได0อื่นในสUวนของกำไรหรือขาดทุน เว0นแตUในกรณีที่เป?นการ
ได0รับคืนของต0นทุนการลงทุนในสินทรัพย,ทางการเงินอยUางชัดเจน กลุUมบริษัทจะรับรู0รายการนั้นในกำไร
ขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น
นอกจากนี้ เงินลงทุนในตราสารทุนที่กำหนดให0วัดมูลคUาด0วยมูลคUายุติธรรมผUานกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น
ไมUมีข0อกำหนดให0ประเมินการด0อยคUา

125 13
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

สินทรัพย,ทางการเงินที่วัดมูลค=าด0วยมูลค=ายุติธรรมผ=านกำไรหรือขาดทุน
สินทรัพย,ทางการเงินที่วัดมูลคUาด0วยมูลคUายุติธรรมผUานกำไรหรือขาดทุน จะแสดงในงบแสดงฐานะการเงิน
ด0วยมูลคUายุติธรรม โดยรับรู0การเปลี่ยนแปลงสุทธิของมูลคUายุติธรรมในสUวนของกำไรหรือขาดทุน
ทั้งนี้ สินทรัพย,ทางการเงินดังกลUาว หมายความรวมถึง ตราสารอนุพันธ, เงินลงทุนในหลักทรัพย,ที่ถือไว0
เพื่อค0า เงินลงทุนในตราสารทุนซึ่งกลุUมบริษัทไมUได0เลือกจัดประเภทให0วัดมูลคUาด0วยมูลคUายุติธรรมผUานกำไร
ขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น และสินทรัพย,ทางการเงินที่มีกระแสเงินสดที่ไมUได0รับชำระเพียงเงินต0นและดอกเบี้ย
เงินปaนผลรับจากเงินลงทุนในตราสารทุนของบริษทั จดทะเบียนถือเป?นรายได0อื่นในสUวนของกำไรหรือขาดทุน
การจัดประเภทรายการและการวัดมูลค=าของหนี้สินทางการเงิน
ยกเว0นหนี้สินตราสารอนุพันธ, กลุUมบริษัทรับรู0รายการเมื่อเริ่มแรกสำหรับหนี้สินทางการเงินด0วยมูลคUา
ยุติธรรมหักต0นทุนการทำรายการ และจัดประเภทหนี้สินทางการเงินเป?นหนี้สินทางการเงินที่วัดมูลคUา
ในภายหลังด0วยราคาทุนตัดจำหนUาย โดยใช0วิธีดอกเบี้ยที่แท0จริง ทั้งนี้ ผลกำไรและขาดทุนที่เกิดขึ้นจากการ
ตัดรายการหนี้สินทางการเงินและการตัดจำหนUายตามวิธีดอกเบี้ยที่แท0จริงจะรับรู0ในสUวนของกำไรหรือ
ขาดทุน โดยการคำนวณมูลคUาราคาทุนตัดจำหนUายคำนึงถึงสUวนลดหรือสUวนเกินมูลคUา รวมถึงคUาธรรมเนียม
หรือต0นทุนที่ถือเป?นสUวนหนึ่งของอัตราดอกเบี้ยที่แท0จริงนั้นด0วย ทั้งนี้ คUาตัดจำหนUายตามวิธีดอกเบี้ย
ที่แท0จริงแสดงเป?นสUวนหนึ่งของต0นทุนทางการเงินในสUวนของกำไรหรือขาดทุน
การซื้อหรือการขายสินทรัพย,ทางการเงินตามวิธีปกติ
การซื้อหรือการขายสินทรัพย,ทางการเงินตามวิธีปกติที่มีเงื่อนไขการสUงมอบสินทรัพย,ภายในระยะเวลา
ที่กำหนดขึ้นจากหลักเกณฑ,หรือวิธีปฏิบัติโดยทั่วไปของตลาด จะรับรู0 ณ วันซื้อขาย ซึ่งเป?นวันที่กิจการ
มีข0อผูกมัดที่จะซื้อหรือขายสินทรัพย,นั้น
การตัดรายการของเครื่องมือทางการเงิน
สินทรัพย,ทางการเงินจะถูกตัดรายการออกจากบัญชี เมื่อสิทธิที่จะได0รับกระแสเงินสดของสินทรัพย,นั้นได0สิ้นสุด
ลง หรือได0มีการโอนสิทธิที่จะได0รับกระแสเงินสดของสินทรัพย,นั้น รวมถึงได0มีการโอนความเสี่ยงและ
ผลตอบแทนเกือบทั้งหมดของสินทรัพย,นั้น หรือมีการโอนการควบคุมในสินทรัพย,นั้น
กลุUมบริษัทตัดรายการหนี้สินทางการเงินก็ตUอเมื่อได0มีการปฏิบัติตามภาระผูกพันของหนี้สินนั้นแล0ว มีการ
ยกเลิกภาระผูกพันนั้น หรือมีการสิ้นสุดลงของภาระผูกพันนั้น ในกรณีที่มีการเปลี่ยนหนี้สินทางการเงินที่มี
อยู U ใ ห0 เ ป? น หนี ้ ส ิ น ใหมU จ ากผู 0 ใ ห0 ก ู 0 ร ายเดี ย วกั น ซึ ่ ง มี ข 0 อ กำหนดที ่ แ ตกตU า งกั น อยU า งมาก หรื อ มี ก ารแก0 ไ ข
ข0อกำหนดของหนี้สินที่มีอยูUอยUางเป?นสาระสำคัญ จะถือวUาเป?นการตัดรายการหนี้สินเดิมและรับรู0หนี้สิน
ใหมU โดยรับรู0ผลแตกตUางของมูลคUาตามบัญชีดังกลUาวในสUวนของกำไรหรือขาดทุน

126 14
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

การด0อยค=าของสินทรัพย,ทางการเงิน
กลุUมบริษัทรับรู0คUาเผื่อผลขาดทุนด0านเครดิตที่คาดวUาจะเกิดขึ้นของตราสารหนี้ทั้งหมดที่ไมUได0วัดมูลคUาด0วย
มู ล คU า ยุ ต ิ ธ รรมผU า นกำไรหรื อ ขาดทุ น ผลขาดทุ นด0 า นเครดิ ตที ่ คาดวU า จะเกิ ดขึ ้ นคำนวณจากผลตU างของ
กระแสเงินสดที่จะครบกำหนดชำระตามสัญญากับกระแสเงินสดทั้งหมดทีก่ ลุUมบริษัทคาดวUาจะได0รับชำระ และ
คิดลดด0วยอัตราดอกเบี้ยที่แท0จริงโดยประมาณของสินทรัพย,ทางการเงิน ณ วันทีไ่ ด0มา
ในกรณีที่ความเสี่ยงด0านเครดิตของสินทรัพย,ไมUได0เพิ่มขึ้นอยUางมีนัยสำคัญนับตั้งแตUการรับรู0รายการเริ่มแรก
กลุUมบริษัทวัดมูลคUาผลขาดทุนด0านเครดิตที่คาดวUาจะเกิดขึ้นโดยพิจารณาจากการผิดสัญญาที่อาจจะเกิดขึ้น
ใน 12 เดือนข0างหน0า ในขณะที่หากความเสี่ยงด0านเครดิตของสินทรัพย,เพิ่มขึ้นอยUางมีนัยสำคัญนับตั้งแตU
การรับรู0รายการเริ่มแรก กลุUมบริษัทวัดมูลคUาผลขาดทุนด0วยจำนวนเงินที่เทUากับผลขาดทุนด0านเครดิต
ที่คาดวUาจะเกิดขึ้นตลอดอายุที่เหลืออยูUของเครื่องมือทางการเงิน
กลุUมบริษัทพิจารณาวUาความเสี่ยงด0านเครดิตจะเพิ่มขึ้นอยUางมีนัยสำคัญ เมื่อมีการค0างชำระการจUายเงินตาม
สัญญาเกินกวUา 30 วัน และพิจารณาวUาสินทรัพย,ทางการเงินนั้นมีการด0อยคUาด0านเครดิตหรือมีการผิดสัญญา
เมื่อมีการค0างชำระการจUายเงินตามสัญญาเกินกวUา 90 วัน อยUางไรก็ตาม ในบางกรณี กลุUมบริษัทอาจพิจารณา
วUาสินทรัพย,ทางการเงินนั้นมีการเพิ่มขึ้นของความเสี่ยงด0านเครดิตอยUางมีนัยสำคัญและมีการผิดสัญญา
โดยพิจารณาจากข0อมูลภายในหรือข0อมูลภายนอกอื่น เชUน อันดับความนUาเชื่อถือด0านเครดิตของผู0ออก
ตราสาร
กลุUมบริษัทใช0วิธีการอยUางงUายในการคำนวณผลขาดทุนด0านเครดิตที่คาดวUาจะเกิดขึ้นสำหรับลูกหนี้การค0า
ดังนั้น ทุกวันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน กลุUมบริษัทจึงไมUมีการติดตามการเปลี่ยนแปลงของความเสี่ยง
ทางด0านเครดิต แตUจะรับรู0คUาเผื่อผลขาดทุนด0านเครดิตที่คาดวUาจะเกิดขึ้นตลอดอายุของลูกหนี้การค0า
การคำนวณผลขาดทุนด0านเครดิตที่คาดวUาจะเกิดขึ้นข0างต0น อ0างอิงจากข0อมูลผลขาดทุนด0านเครดิตจาก
ประสบการณ,ในอดีต ปรับปรุงด0วยข0อมูลการคาดการณ,ไปในอนาคตเกี่ยวกับลูกหนี้นั้นและสภาพแวดล0อม
ทางด0านเศรษฐกิจ
สินทรัพย,ทางการเงินจะถูกตัดจำหนUายออกจากบัญชี เมื่อกิจการคาดวUาจะไมUได0รับคืนกระแสเงินสดตาม
สัญญาอีกตUอไป
การหักกลบของเครื่องมือทางการเงิน
สินทรัพย,ทางการเงินและหนี้สินทางการเงินจะนำมาหักกลบกัน และแสดงด0วยยอดสุทธิในงบแสดงฐานะ
การเงิน ก็ตUอเมื่อกิจการมีสิทธิบังคับใช0ได0ตามกฎหมายอยูUแล0วในการหักกลบจำนวนเงินที่รับรู0 และกิจการมี
ความตั้งใจที่จะชำระด0วยยอดสุทธิ หรือตั้งใจที่จะรับสินทรัพย,และชำระหนี้สินพร0อมกัน

127 15
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

4.21 ตราสารอนุพันธ,
กลุUมบริษัทใช0ตราสารอนุพันธ, เชUน สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราตUางประเทศและอัตราดอกเบี้ยเพื่อปêองกัน
ความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนและอัตราดอกเบี้ย
กลุUมบริษัทรับรู0มูลคUาเริ่มแรกของตราสารอนุพันธ,ด0วยมูลคUายุติธรรม ณ วันที่ทำสัญญา และวัดมูลคUา
ในภายหลังด0วยมูลคUายุติธรรม โดยรับรู0การเปลี่ยนแปลงของมูลคUายุติธรรมในภายหลังในสUวนของกำไร
หรื อขาดทุ น ทั ้ ง นี ้ กลุ U มบริ ษั ทแสดงตราสารอนุ พ ั นธ, เ ป? นสิ นทรั พ ย, ท างการเงิ นเมื ่ อ มี มู ล คU ายุ ต ิ ธรรม
มากกวUาศูนย, และแสดงเป?นหนี้สินทางการเงินเมื่อมีมูลคUายุติธรรมน0อยกวUาศูนย,
กลุUมบริษัทแสดงตราสารอนุพันธ,ที่มีอายุสัญญาคงเหลือมากกวUา 12 เดือนและยังไมUถึงกำหนดชำระภายใน
12 เดือน เป?นสินทรัพย,ไมUหมุนเวียนอื่น หรือหนี้สินไมUหมุนเวียนอื่น และแสดงตราสารอนุพันธ,อื่นเป?น
สินทรัพย,หมุนเวียน หรือหนี้สินหมุนเวียน
4.22 การวัดมูลค=ายุติธรรม
มูลคUายุติธรรม หมายถึง ราคาที่คาดวUาจะได0รับจากจากการขายสินทรัพย,หรือเป?นราคาที่จะต0องจUายเพื่อ
โอนหนี้สินให0ผู0อื่นโดยรายการดังกลUาวเป?นรายการที่เกิดขึ้นในสภาพปกติระหวUางผู0ซื้อและผู0ขาย (ผู0รUวม
ในตลาด) ณ วันที่วัดมูลคUา กลุUมบริษัทใช0ราคาเสนอซื้อขายในตลาดที่มีสภาพคลUองในการวัดมูลคUายุติธรรม
ของสินทรัพย,และหนี้สินซึ่งมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่เกี่ยวข0องกำหนดให0ต0องวัดมูลคUาด0วยมูลคUา
ยุติธรรม ยกเว0นในกรณีที่ไมUมีตลาดที่มีสภาพคลUองสำหรับสินทรัพย,หรือหนี้สินที่มีลักษณะเดียวกันหรือ
ไมUสามารถหาราคาเสนอซื้อขายในตลาดที่มีสภาพคลUองได0 กลุUมบริษัทจะประมาณมูลคUายุติธรรมโดยใช0
เทคนิคการประเมินมูลคUาที่เหมาะสมกับแตUละสถานการณ, และพยายามใช0ข0อมูลที่สามารถสังเกตได0
ที่เกี่ยวข0องกับสินทรัพย,หรือหนี้สินที่จะวัดมูลคUายุติธรรมนั้นให0มากที่สุด
ลำดับชั้นของมูลคUายุติธรรมที่ใช0วัดมูลคUาและเปpดเผยมูลคUายุติธรรมของสินทรัพย,และหนี้สินในงบการเงิน
แบUงออกเป?นสามระดับตามประเภทของข0อมูลที่นำมาใช0ในการวัดมูลคUายุติธรรม ดังนี้
ระดับ 1 ใช0ข0อมูลราคาเสนอซื้อขายของสินทรัพย,หรือหนี้สินอยUางเดียวกันในตลาดที่มีสภาพคลUอง
ระดับ 2 ใช0ข0อมูลอื่นที่สามารถสังเกตได0ของสินทรัพย,หรือหนี้สิน ไมUวUาจะเป?นข0อมูลทางตรงหรือทางอ0อม
ระดับ 3 ใช0ข0อมูลที่ไมUสามารถสังเกตได0 เชUน ข0อมูลเกี่ยวกับกระแสเงินสดในอนาคตทีก่ ิจการประมาณขึ้น
ทุกวันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน กลุUมบริษัทจะประเมินความจำเป?นในการโอนรายการระหวUางลำดับชั้น
ของมูลคUายุติธรรมสำหรับสินทรัพย,และหนี้สินที่ถืออยูU ณ วันสิ้นรอบระยะเวลารายงานที่มีการวัดมูลคUา
ยุติธรรมแบบเกิดขึ้นประจำ

128 16
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

5. การใช0ดุลยพินิจและประมาณการทางบัญชีที่สำคัญ
ในการจัดทำงบการเงินตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฝeายบริหารจำเป?นต0องใช0ดุลยพินิจและ
การประมาณการในเรื่องที่มีความไมUแนUนอนเสมอ การใช0ดุลยพินิจและการประมาณการดังกลUาวนี้
สUงผลกระทบตUอจำนวนเงินที่แสดงในงบการเงินและตUอข0อมูลที่แสดงในหมายเหตุประกอบงบการเงิน
ผลที่เกิดขึ้นจริงอาจแตกตUางไปจากจำนวนที่ประมาณการไว0 การใช0ดุลยพินิจและการประมาณการที่สำคัญ
มีดังนี้
ค=าเผื่อผลขาดทุนจากการลดมูลค=าของโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย,เพื่อขาย และที่ดินรอการพัฒนา
กลุUมบริษัทพิจารณาการปรับลดมูลคUาของโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย,เพื่อขาย และที่ดินรอการพัฒนา
เมื่อพบวUามูลคUายุติธรรมของอสังหาริมทรัพย,ดังกลUาวลดลงอยUางเป?นสาระสำคัญฝeายบริหารพิจารณาปรับ
ลดมูลคUาของโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย,เพื่อขายและที่ดินรอการพัฒนา เทUากับมูลคUา สุทธิที่จะได0รับ
อยUางไรก็ตาม ความมีสาระสำคัญและการปรับลดมูลคUาดังกลUาวขึ้นกับดุลยพินิจของฝeายบริหาร
การประมาณการค=าซ=อมแซมบ0านและอาคารชุด และสาธารณูปโภค
ในการประมาณการคUาซUอมแซมบ0านและอาคารชุด และสาธารณูปโภค ฝeายบริหารจำเป?นต0องใช0ดุลยพินิจ
ในการประมาณการคUาใช0จUายในการซUอมแซมบ0านและอาคารชุด และสาธารณูปโภคที่คาดวUาจะเกิดขึ้น
โดยคำนึ ง ถึ ง ประสบการณ, ใ นการซU อ มแซมบ0 า นและอาคารชุ ด ให0 แ กU ล ู ก ค0 า ในอดี ต และข0 อ มู ล ที ่ ม ี อ ยูU
ในปaจจุบันเกี่ยวกับคUาใช0จUายสำหรับงานซUอมแซมประเภทตUาง ๆ
การประมาณต0นทุนการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย,
ในการคำนวณต0นทุนขายบ0านพร0อมที่ดินและหนUวยในอาคารชุดพักอาศัย กลุUมบริษัทต0องประมาณต0นทุน
ทั้งหมดที่จะใช0ในการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย, ซึ่งต0นทุนดังกลUาวประกอบด0วย ต0นทุนที่ดินและ
การปรับปรุงที่ดิน ต0นทุนคUาออกแบบและกUอสร0าง ต0นทุนงานสาธารณูปโภค ต0นทุนการกู0ยืมเพื่อใช0
ในการกUอสร0างโครงการ และคUาใช0จUายอื่นที่เกี่ยวข0อง ทั้งนี้ ฝeายบริหารได0ประมาณการต0นทุนดังกลUาวขึ้น
จากประสบการณ,ในการประกอบธุรกิจโดยจะมีการทบทวนการประมาณการดังกลUาวเป?นระยะ ๆ หรือเมื่อ
ต0นทุนที่เกิดขึ้นจริงแตกตUางจากประมาณการต0นทุนอยUางมีสาระสำคัญ
เงินสมทบกองทุนนิติบุคคลหมู=บ0าน
กลุUมบริษัทประมาณการเงินสมทบกองทุนนิติบุคคลหมูUบ0านโดยใช0อัตราตามที่กำหนดไว0ในกฎหมายและ
ระเบียบข0อบังคับที่เกี่ยวข0องและใช0มูลคUาประมาณการของงานสาธารณูปโภคเป?นฐานในการคำนวณ

129 17
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

ที่ดิน อาคารและอุปกรณ,/อสังหาริมทรัพย,เพื่อการลงทุน/สินทรัพย,สิทธิการใช0และค=าเสื่อมราคา
ในการคำนวณคUาเสื่อมราคาของอาคารและอุปกรณ, อสังหาริมทรัพย,เพื่อการลงทุน และสินทรัพย,สิทธิการ
ใช0 ฝeายบริหารจำเป?นต0องทำการประมาณอายุการให0ประโยชน,และมูลคUาคงเหลือเมื่อเลิกใช0งานของอาคาร
และอุปกรณ, อสังหาริมทรัพย,เพื่อการลงทุน และสินทรัพย,สิทธิการใช0 และต0องทบทวนอายุการให0
ประโยชน,และมูลคUาคงเหลือใหมUหากมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น
นอกจากนี้ ฝeายบริหารจำเป?นต0องสอบทานการด0อยคUาของที่ดิน อาคารและอุปกรณ, อสังหาริมทรัพย,เพื่อ
การลงทุน และสินทรัพย,สิทธิการใช0ในแตUละชUวงเวลาและบันทึกขาดทุนจากการด0อยคUาหากคาดวUามูลคUา
ที่คาดวUาจะได0รับคืนต่ำกวUามูลคUาตามบัญชีของสินทรัพย,นั้น ในการนี้ฝeายบริหารจำเป?นต0องใช0ดุลยพินิจ
ที่เกี่ยวข0องกับการคาดการณ,รายได0และคUาใช0จUายในอนาคตซึ่งเกี่ยวเนื่องกับสินทรัพย,นั้น
สินทรัพย,ภาษีเงินได0รอการตัดบัญชี
กลุUมบริษัทจะรับรู0สินทรัพย,ภาษีเงินได0รอการตัดบัญชีสำหรับผลแตกตUางชั่วคราวที่ใช0หักภาษีและขาดทุน
ทางภาษีที่ไมUได0ใช0เมื่อมีความเป?นไปได0คUอนข0างแนUวUากลุUมบริษัทจะมีกำไรทางภาษีในอนาคตเพียงพอ
ที่จะใช0ประโยชน,จากผลแตกตUางชั่วคราวและขาดทุนนั้น ในการนี้ฝeายบริหารจำเป?นต0องประมาณการวUา
กลุUมบริษัทควรรับรู0จำนวนสินทรัพย,ภาษีเงินได0รอการตัดบัญชีเป?นจำนวนเทUาใด โดยพิจารณาถึงจำนวน
กำไรทางภาษีที่คาดวUาจะเกิดในอนาคตในแตUละชUวงเวลา
ผลประโยชน,หลังออกจากงานของพนักงานตามโครงการผลประโยชน,
หนี ้ ส ิ น ตามโครงการผลประโยชน, ห ลั ง ออกจากงานของพนั ก งานประมาณขึ ้ น ตามหลั ก คณิ ต ศาสตร,
ประกันภัย ซึ่งต0องอาศัยข0อสมมติฐานตUาง ๆ ในการประมาณการนั้น เชUน อัตราคิดลด อัตราการขึ้น
เงินเดือนในอนาคต อัตรามรณะ และอัตราการหมุนเวียนของพนักงาน เป?นต0น
สัญญาเช=า
การกำหนดอายุสัญญาเช>าที่มีสิทธิการเลือกในการขยายอายุสัญญาเช>าหรือยกเลิกสัญญาเช>า - กลุ>มบริษัท
ในฐานะผูIเช>า
ในการกำหนดอายุสัญญาเชUา ฝeายบริหารจำเป?นต0องใช0ดุลยพินิจในการประเมินวUากลุUมบริษัทมีความแนUนอน
อยUางสมเหตุสมผลหรือไมUที่จะใช0สิทธิเลือกในการขยายอายุสัญญาเชUาหรือยกเลิกสัญญาเชUาโดยคำนึงถึง
ข0อเท็จจริงและสภาพแวดล0อมที่เกี่ยวข0องทั้งหมดที่ทำให0เกิดสิ่งจูงใจในทางเศรษฐกิจสำหรับกลุUมบริษัท
ในการใช0หรือไมUใช0สิทธิเลือกนั้น

130 18
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

การกำหนดอัตราดอกเบี้ยการกูIยืมส>วนเพิ่ม - กลุ>มบริษัทในฐานะผูIเช>า
กลุUมบริษัทไมUสามารถกำหนดอัตราดอกเบี้ยตามนัยของสัญญาเชUา ดังนั้นฝeายบริหารจำเป?นต0องใช0ดุลยพินิจ
ในการกำหนดอัตราดอกเบี้ยการกู0ยืมสUวนเพิ่มของกลุUมบริษัทในการคิดลดหนี้สินตามสัญญาเชUา โดยอัตรา
ดอกเบี้ยการกู0ยืมสUวนเพิ่มเป?นอัตราดอกเบี้ยที่กลุUมบริษัทจะต0องจUายในการกู0ยืมเงินที่จำเป?นเพื่อให0ได0มาซึ่ง
สินทรัพย,ที่มีมูลคUาใกล0เคียงกับสินทรัพย,สิทธิการใช0ในสภาพแวดล0อมทางเศรษฐกิจที่คล0ายคลึง โดยมี
ระยะเวลาการกู0ยืมและหลักประกันที่คล0ายคลึง
การจัดประเภทของสัญญาเช>า - กลุ>มบริษัทในฐานะผูIใหIเช>า
ในการพิจารณาประเภทของสัญญาเชUาวUาเป?นสัญญาเชUาดำเนินงานหรือสัญญาเชUาเงินทุน ฝeายบริหารได0ใช0
ดุลยพินิจในการประเมินเงื่อนไขและรายละเอียดของสัญญาเพื่อพิจารณาวUากลุUมบริษัทได0โอนความเสี่ยง
และผลตอบแทนของความเป?นเจ0าของในสินทรัพย,ที่เชUาดังกลUาวแล0วหรือไมU
ค=าเผื่อผลขาดทุนด0านเครดิตที่คาดว=าจะเกิดขึ้นของลูกหนี้การค0า
ในการประมาณคUาเผื่อผลขาดทุนด0านเครดิตที่คาดวUาจะเกิดขึ้นของลูกหนี้การค0า ฝeายบริหารจำเป?นต0องใช0
ดุลยพินิจในการประมาณการผลขาดทุนด0านเครดิตที่คาดวUาจะเกิดขึ้นจากลูกหนี้แตUละราย โดยคำนึงถึง
ประสบการณ,การเก็บเงินในอดีต อายุของหนี้ที่คงค0างและสภาวะเศรษฐกิจที่คาดการณ,ไว0ของกลุUมลูกค0าที่มี
ความเสี่ยงด0านเครดิตที่คล0ายคลึงกัน เป?นต0น ทั้งนี้ ข0อมูลผลขาดทุนด0านเครดิตจากประสบการณ,ในอดีต
และการคาดการณ,สภาวะเศรษฐกิจของกลุUมบริษัทอาจไมUได0บUงบอกถึงการผิดสัญญาของลูกค0าที่เกิดขึ้นจริง
ในอนาคต
ค=าเผื่อการด0อยค=าของสินทรัพย,ที่ไม=ใช=สินทรัพย,ทางการเงิน
ในการประเมินคUาเผื่อการด0อยคUาของสินทรัพย,ที่ไมUใชUสินทรัพย,ทางการเงิน ฝeายบริหารต0องใช0ดุลยพินิจใน
การประเมินมูลคUาที่คาดวUาจะได0รับคืนของสินทรัพย,ดังกลUาว มูลคUาที่คาดวUาจะได0รับคืนหมายถึงมูลคUา
ยุติธรรมหักต0นทุนในการขายของสินทรัพย,หรือมูลคUาจากการใช0สินทรัพย,แล0วแตUราคาใดจะสูงกวUา ในการ
ประเมินมูลคUายุติธรรมหักต0นทุนในการขาย กลุUมบริษัทอ0างอิงจากข0อมูลที่มีอยูUเกี่ยวกับธุรกรรมการขายที่มี
ผลผูกพันซึ่งได0เข0าทำในลักษณะของผู0ที่ไมUมีความเกี่ยวข0องกันสำหรับสินทรัพย,ที่คล0ายคลึงกันหรืออ0างอิง
จากราคาตลาดที่สามารถสังเกตได0หักด0วยต0นทุนสUวนเพิ่มในการจำหนUายสินทรัพย,นั้น ในการประเมินมูล คUา
จากการใช0สินทรัพย, กลุUมบริษัทใช0แบบจำลองการคิดลดกระแสเงินสด ซึ่งใช0ข0อมูลงบประมาณในชUวง 5 ปÉ
ข0างหน0าและไมUรวมถึงการปรับโครงสร0างใด ๆ ที่กิจการยังไมUได0มีผลผูกพันหรือการลงทุนในอนาคต
ที่สำคัญซึ่งจะทำให0สินทรัพย,นั้นดีขึ้น ทั้งนี้ ปaจจัยที่มีผลกระทบตUอมูลคUาที่คาดวUาจะได0รับคืน คือ อัตราคิด
ลดที่ใช0ในแบบจำลองดังกลUาว ตลอดจนกระแสเงินสดรับในอนาคตที่คาดการณ,และอัตราการเติบโตที่ใช0
เพื่อการคาดการณ, การประมาณการดังกลUาวสUวนใหญUเกี่ยวข0องกับอสังหาริมทรัพย,เพื่อการลงทุนและ
สินทรัพย,สิทธิการใช0

131 19
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

มูลค=ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน
ในการประเมินมูลคUายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงินที่รับรู0ในงบแสดงฐานะการเงินที่ไมUมีการซื้อขายใน
ตลาดและไมUสามารถหาราคาได0ในตลาดซื้อขายคลUอง ฝeายบริหารต0องใช0ดุลยพินิจในการประเมินมูลคUา
ยุติธรรมของเครื่องมือทางการเงินดังกลUาว โดยใช0เทคนิคและแบบจำลองการประเมินมูลคUา ซึ่งตัวแปรที่ใช0
ในแบบจำลองได0มาจากการเทียบเคียงกับตัวแปรที่มีอยูUในตลาด โดยคำนึงถึงความเสี่ยงทางด0านเครดิต
สภาพคลUอง ข0อมูลความสัมพันธ, และการเปลี่ยนแปลงของมูลคUาของเครื่องมือทางการเงินในระยะยาว ทั้งนี้
การเปลี่ยนแปลงของสมมติฐานที่เกี่ยวข0องกับตัวแปรที่ใช0ในการคำนวณ อาจมีผลกระทบตUอมูลคUายุติธรรม
ที่แสดงอยูUในงบแสดงฐานะการเงิน และการเปpดเผยลำดับชั้นของมูลคUายุติธรรม
คดีฟjองร0อง
กลุUมบริษัทมีหนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้นจากการถูกฟêองร0องเรียกคUาเสียหาย ซึ่งฝeายบริหารได0ใช0ดุลยพินิจ
ในการประเมินผลของคดีที่ถูกฟêองร0องและบันทึกประมาณการหนี้สินดังกลUาว ณ วันสิ้นรอบระยะเวลา
รายงาน เป?นเงินจำนวนหนึ่งซึ่งฝeายบริหารพิจารณาแล0ววUาเหมาะสม อยUางไรก็ตาม ผลที่เกิดขึ้นจริงอาจ
แตกตUางไปจากที่ได0มีการประมาณไว0
6. รายการธุรกิจกับกิจการที่เกี่ยวข0องกัน
ลักษณะความสัมพันธ,ของบริษัทฯ และกิจการที่เกี่ยวข0องกันมีดังนี้
ชื่อกิจการที่เกี่ยวข0องกัน ความสัมพันธ,
บริษัท แอตแลนติก เรียลเอสเตท จำกัด บริษัทยUอย
บริษัท แอล เอช มอลล, แอนด, โฮเทล จำกัด บริษัทยUอย
บริษัท แอล แอนด, เอช รีเทล แมเนจเมนท, จำกัด บริษัทยUอย (ถือหุ0นโดยบริษัท แอล เอช มอลล, แอนด, โฮเทล
จำกัด ร0อยละ 99.97)
บริษัท แอล แอนด, เอช แมเนจเมนท, จำกัด บริษัทยUอย (ถือหุ0นโดยบริษัท แอล เอช มอลล, แอนด, โฮเทล
จำกัด ร0อยละ 99.98)
บริษัท แอล แอนด, เอช โฮเทล แมเนจเมนท, จำกัด บริษัทยUอย (ถือหุ0นโดยบริษัท แอล เอช มอลล, แอนด, โฮเทล
จำกัด ร0อยละ 99.99)
บริษัท แลนด,แอนด,เฮ0าส,นอร,ธ จำกัด บริษัทยUอย
บริษัท แลนด, แอนด, เฮ0าส, นอร,ธอีส จำกัด บริษัทยUอย
บริษัท สยามธานี พรrอบเพอร,ตี้ จำกัด บริษัทยUอย
บริษัท สยามธานี เรียลเอสเตท จำกัด บริษัทยUอย (ถือหุ0นโดยบริษัท สยามธานี พรrอบเพอร,ตี้ จำกัด
ร0อยละ 99.99)
บริษัท แอล เอช เรียลเอสเตท จำกัด บริษัทยUอย
บริษัท แอลเอช แอสเซท จำกัด บริษัทยUอย
บริษัท แอล. เอช. เมืองใหมU จำกัด บริษัทยUอย

132 20
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

ชื่อกิจการที่เกี่ยวข0องกัน ความสัมพันธ,
บริษัท แอล แอนด, เอช พร็อพเพอร,ตี้ จำกัด บริษัทยUอย
Land and Houses U.S.A., Inc. บริษัทยUอย
บริษัท เอเชีย แอสเซท แอดไวเซอรี่ จำกัด บริษัทยUอย
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ,เชียล กรุปr จำกัด (มหาชน) บริษัทรUวม
ธนาคารแลนด, แอนด, เฮ0าส, จำกัด (มหาชน) บริษัทรUวม (ถือหุ0นโดยบริษัท แอล เอช ไฟแนนซ,เชียล
กรุrป จำกัด (มหาชน) ร0อยละ 99.99)
บริษัทหลักทรัพย,จัดการกองทุน แลนด, บริษัทรUวม (ถือหุ0นโดยบริษัท แอล เอช ไฟแนนซ,เชียล
แอนด, เฮ0าส, จำกัด กรุrป จำกัด (มหาชน) ร0อยละ 99.99)
บริษัท ควอลิตี้คอนสตรัคชั่นโปรดัคส, จำกัด (มหาชน) บริษัทรUวม
บริษัท โฮม โปรดักส, เซ็นเตอร, จำกัด (มหาชน) บริษัทรUวม
กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย,และสิทธิเรียกร0อง บริษัทรUวม
แลนด,แอนด,เฮ0าส,-II
บริษัท ควอลิตี้เฮ0าส, จำกัด (มหาชน) บริษัทรUวม
บริษัท คิว.เอช.อินเตอร,เนชั่นแนล จำกัด บริษัทรUวม (ถือหุ0นโดยบริษัท ควอลิตี้เฮ0าส, จำกัด (มหาชน)
ร0อยละ 99.99)
กองทุนรวมสิทธิการเชUาอสังหาริมทรัพย,ควอลิตี้ เฮ0าส, บริษัทรUวมของบริษัท ควอลิตี้เฮ0าส, จำกัด (มหาชน)
บริษัท เมืองใหมU พรrอพเพอร,ตี้ จำกัด ผู0ถือหุ0นของบริษัทยUอย
Reco Resorts Pte Ltd. ผู0ถือหุ0นของบริษัทยUอย
บริษัท สยาม รีเทล ดีเวลล็อปเม0นท, จำกัด มีผู0ถือหุ0นรUวมกัน
กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย,และสิทธิการเชUา กิจการที่เกี่ยวข0องกัน
แลนด, แอนด, เฮ0าส,
ทรัสต,เพื่อการลงทุนในสิทธิการเชUาอสังหาริมทรัพย, แอล กิจการที่เกี่ยวข0องกัน
เอช ช0อปปpíง เซ็นเตอร,
ทรัสต,เพื่อการลงทุนในสิทธิการเชUาอสังหาริมทรัพย, แอล กิจการที่เกี่ยวข0องกัน
เอช โฮเทล
บริษัทหลักทรัพย, ทรีนีตี้ จำกัด มีกรรมการรUวมกัน

ในระหวUางปÉ กลุUมบริษัทมีรายการธุรกิจที่สำคัญกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข0องกัน รายการธุรกิจดังกลUาว


เป?นไปตามเงื่อนไขทางการค0าและเกณฑ,ตามที่ตกลงกันระหวUางกลุUมบริษัท และบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข0อง
กันเหลUานั้นซึ่งเป?นไปตามปกติธุรกิจ โดยสามารถสรุปได0ดังนี้

133 21
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

(หนUวย: ล0านบาท)
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ นโยบายการกำหนดราคา
2564 2563 2564 2563
รายการธุรกิจกับบริษัทยUอย
(ตัดออกจากงบการเงินรวมแล0ว)
รายได0ดอกเบี้ย - - 360 468 ร0อยละ 2.50 - 4.00 ตUอปÉ (2563: ร0อย
ละ 2.50 - 4.50 ตUอปÉ)
คUาธรรมเนียมการจัดการรับ - - 37 24 ใกล0เคียงราคาทุน
ซื้อที่ดิน - - - 19 ใกล0เคียงราคาทุน
ขายที่ดิน - - 111 109 ใกล0เคียงราคาทุน
คUาตอบแทนจUายสำหรับการใช0ที่ดิน - - 4 138 ใกล0เคียงราคาทุน
คUาใช0จUายดอกเบี้ย - - 18 18 ร0อยละ 2.13 ตUอปÉ
รายการธุรกิจกับบริษัทรUวม
รายได0ดอกเบี้ย 29 17 26 11 ตามอัตราดอกเบี้ยเงินฝากที่ธนาคาร
ประกาศ
รายได0เงินปaนผล 1,930 1,948 1,930 1,948 ตามอัตราที่ประกาศจUาย
ซื้อสินค0า 66 60 47 55 ราคาตลาด
คUาเชUาอสังหาริมทรัพย, - 19 - - ตามอัตราที่ระบุในสัญญา
รายการธุรกิจกับกิจการที่เกี่ยวข0องกัน
รายได0คUาบริหารอสังหาริมทรัพย, 169 199 - - ตามอัตราที่ระบุในสัญญา
รายได0คUาบริหารจัดการด0านบุคคล 28 28 - - ตามอัตราที่ระบุในสัญญา
รายได0จากการให0บริการทางคอมพิวเตอร, 4 4 - - ตามอัตราที่ระบุในสัญญา
รายได0ดอกเบี้ย 14 16 - - ร0อยละ 3.05 ตUอปÉ
รายได0เงินปaนผล 48 99 42 51 ตามอัตราที่ประกาศจUาย
คUาเชUาและคUาบริการจUาย 65 77 60 58 250 - 960 บาทตUอตารางเมตรตUอเดือน
คUาเชUาอสังหาริมทรัพย, 19 185 - - ตามอัตราที่ระบุในสัญญา

ยอดคงค0างระหวUางกลุUมบริษัทและกิจการที่เกี่ยวข0องกัน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 และ 2563 มีรายละเอียด


ดังนี้
(หนUวย: ล0านบาท)
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ
2564 2563 2564 2563
เงินฝากสถาบันการเงิน
(แสดงภายใต0เงินสดและรายการเทียบเท=าเงินสด)
บริษัทรUวม
ธนาคารแลนด, แอนด, เฮ0าส, จำกัด (มหาชน) 8,166.5 4,843.5 7,089.2 4,105.6

134 22
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

(หนUวย: ล0านบาท)
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ
2564 2563 2564 2563
เงินทดรองจ=ายและลูกหนี้กิจการที่เกี่ยวข0องกัน (หมายเหตุ 8)
บริษัทยUอย
(ตัดออกจากงบการเงินรวมแล0ว)
บริษัท แอลเอช แอสเซท จำกัด - - 60.7 9.4
- - 60.7 9.4
บริษัทที่เกี่ยวข0องกัน
กองทุนรวมสิทธิการเชUาอสังหาริมทรัพย,ควอลิตี้ เฮ0าส, 0.5 1.0 - -
กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย,และสิทธิการเชUา
แลนด, แอนด, เฮ0าส, 2.4 - - -
บริษัท สยาม รีเทล ดีเวลล็อปเม0นท, จำกัด 18.0 16.3 - -
ทรัสต,เพื่อการลงทุนในสิทธิการเชUาอสังหาริมทรัพย,
แอล เอช ช0อปปpíง เซ็นเตอร, 4.4 4.6 - -
25.3 21.9 - -
รวม 25.3 21.9 60.7 9.4
ดอกเบี้ยค0างรับจากกิจการที่เกี่ยวข0องกัน (หมายเหตุ 8)
บริษัทยUอย
(ตัดออกจากงบการเงินรวมแล0ว)
บริษัท แอตแลนติก เรียลเอสเตท จำกัด - - 6.3 0.2
บริษัท แอล เอช มอลล, แอนด, โฮเทล จำกัด - - 49.7 8.4
บริษัท แอลเอช แอสเซท จำกัด - - 0.9 0.5
บริษัท แลนด, แอนด, เฮ0าส, นอร,ธอีส จำกัด - - 57.4 17.2
บริษัท สยามธานี พรrอบเพอร,ตี้ จำกัด - - 5.7 3.5
Land and Houses U.S.A., Inc. - - 24.6 -
- - 144.6 29.8
บริษัทรUวม
ธนาคารแลนด, แอนด, เฮ0าส, จำกัด (มหาชน) 4.7 2.5 4.5 2.3
4.7 2.5 4.5 2.3
บริษัทที่เกี่ยวข0องกัน
Reco Resorts Pte Ltd. 15.6 13.7 - -
15.6 13.7 - -
รวม 20.3 16.2 149.1 32.1
สินทรัพย,ทางการเงินหมุนเวียนอืน่ (หมายเหตุ 11)
บริษัทรUวม
ธนาคารแลนด, แอนด, เฮ0าส, จำกัด (มหาชน) 30.0 30.0 - -
บริษัทหลักทรัพย,จัดการกองทุน แลนด, แอนด, เฮ0าส, จำกัด - 1,000.5 - 1,000.5
รวม 30.0 1,030.5 - 1,000.5

135 23
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

(หนUวย: ล0านบาท)
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ
2564 2563 2564 2563
เงินให0กู0ยืมระยะยาวแก=กิจการที่เกี่ยวข0องกันที่ถึงกำหนดชำระ
ภายในหนึ่งปC
บริษัทยUอย
(ตัดออกจากงบการเงินรวมแล0ว)
Land and Houses U.S.A., Inc. - - 5,645.3 6,266.2
- - 5,645.3 6,266.2
บริษัทที่เกี่ยวข0องกัน
Reco Resorts Pte Ltd. 594.6 - - -
594.6 - - -
รวม 594.6 - 5,645.3 6,266.2
เงินให0กู0ยืมระยะยาวแก=กิจการที่เกี่ยวข0องกัน
บริษัทยUอย
(ตัดออกจากงบการเงินรวมแล0ว)
บริษัท แอตแลนติก เรียลเอสเตท จำกัด - - 355.0 30.0
บริษัท แอล เอช มอลล, แอนด, โฮเทล จำกัด - - 3,235.0 920.0
บริษัท แอลเอช แอสเซท จำกัด - - 1,250.0 2,000.0
บริษัท แลนด, แอนด, เฮ0าส, นอร,ธอีส จำกัด - - 1,850.0 1,620.0
บริษัท สยามธานี พรrอบเพอร,ตี้ จำกัด - - 340.0 322.0
Land and Houses U.S.A., Inc. - - 3,092.0 1,821.9
- - 10,122.0 6,713.9
บริษัทที่เกี่ยวข0องกัน
Reco Resorts Pte Ltd. - 534.2 - -
- 534.2 - -
รวม - 534.2 10,122.0 6,713.9
เงินมัดจำแก=กิจการที่เกี่ยวข0องกัน
(แสดงภายใต0สินทรัพย,ไม=หมุนเวียนอื่น)
บริษัทที่เกี่ยวข0องกัน
กองทุนรวมสิทธิการเชUาอสังหาริมทรัพย,ควอลิตี้ เฮ0าส, 16.4 15.7 12.9 12.3

136 24
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

(หนUวย: ล0านบาท)
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ
2564 2563 2564 2563
เจ0าหนี้การค0ากิจการที่เกี่ยวข0องกัน (หมายเหตุ 23)
บริษัทรUวม
บริษัท ควอลิตี้คอนสตรัคชั่นโปรดัคส, จำกัด (มหาชน) 5.1 4.5 2.2 4.5
บริษัท โฮม โปรดักส, เซ็นเตอร, จำกัด (มหาชน) 1.5 0.8 0.9 0.2
6.6 5.3 3.1 4.7
บริษัทที่เกี่ยวข0องกัน
ทรัสต,เพื่อการลงทุนในสิทธิการเชUาอสังหาริมทรัพย,
แอล เอช ช0อปปpíง เซ็นเตอร, 0.5 0.4 - -
กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย,และสิทธิการเชUา แลนด, แอนด, เฮ0าส, 3.4 0.6 - -
3.9 1.0 - -
รวม 10.5 6.3 3.1 4.7
เจ0าหนี้อื่นกิจการทีเ่ กี่ยวข0องกัน (หมายเหตุ 23)
บริษัทยUอย
(ตัดออกจากงบการเงินรวมแล0ว)
บริษัท แลนด, แอนด, เฮ0าส, นอร,ธอีส จำกัด - - 4.5 -
บริษัท แอตแลนติก เรียลเอสเตท จำกัด - - 2.1 -
- - 6.6 -
บริษัทรUวม
บริษัท โฮม โปรดักส, เซ็นเตอร, จำกัด (มหาชน) 6.6 6.2 5.3 5.7
6.6 6.2 5.3 5.7
บริษัทที่เกี่ยวข0องกัน
กองทุนรวมสิทธิการเชUาอสังหาริมทรัพย,ควอลิตี้ เฮ0าส, 0.3 0.3 0.3 0.3
ทรัสต,เพื่อการลงทุนในสิทธิการเชUาอสังหาริมทรัพย,
แอล เอช ช0อปปpíง เซ็นเตอร, 0.6 - - -
0.9 0.3 0.3 0.3
รวม 7.5 6.5 12.2 6.0
ดอกเบี้ยค0างจ=ายแก=กิจการที่เกี่ยวข0องกัน (หมายเหตุ 23)
บริษัทยUอย
(ตัดออกจากงบการเงินรวมแล0ว)
บริษัท แอล แอนด, เอช พร็อพเพอร,ตี้ จำกัด - - 15.0 15.1
เงินกูย0 ืมระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวข0องกัน
บริษัทยUอย
(ตัดออกจากงบการเงินรวมแล0ว)
บริษัท แอล แอนด, เอช พร็อพเพอร,ตี้ จำกัด - - 840.0 840.0

137 25
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

(หนUวย: ล0านบาท)
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ
2564 2563 2564 2563
หนี้สินตามสัญญาเช=า
บริษัทรUวม
กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย,และสิทธิเรียกร0อง
แลนด,แอนด,เฮ0าส,-II 217.7 285.3 - -
217.7 285.3 - -
บริษัทที่เกี่ยวข0องกัน
กองทุนรวมสิทธิการเชUาอสังหาริมทรัพย,ควอลิตี้ เฮ0าส, 270.1 326.1 238.7 283.3
ทรัสต,เพื่อการลงทุนในสิทธิการเชUาอสังหาริมทรัพย,
แอล เอช โฮเทล 3,742.2 4,404.8 - -
4,012.3 4,730.9 238.7 283.3
รวม 4,230.0 5,016.2 238.7 283.3

เงินให0กู0ยืมระยะยาวแกUกิจการที่เกี่ยวข0องกันที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปÉเป?นเงินให0กู0ยืมแกUบริษัทยUอย
ในรูปของตั๋วสัญญาใช0เงิน โดยไมUมีหลักทรัพย,ค้ำประกัน คิดดอกเบี้ยในอัตราร0อยละ 3.10 ถึง 3.55 ตUอปÉ
ครบกำหนดชำระคืนในเดือนมีนาคม 2565 และพฤศจิกายน 2565
เงิ นให0 กู 0 ยื มระยะยาวแกU กิ จการที ่ เ กี ่ ยวข0 องกั นเป? นเงิ นให0 กู 0 ยื มแกU บริ ษั ทยU อยในรู ปของตั ๋ วสั ญญาใช0 เงิ น
โดยไมUมีหลักทรัพย,ค้ำประกัน คิดดอกเบี้ยในอัตราระหวUางร0อยละ 2.50 ถึง 3.58 ตUอปÉ โดยเงินให0กู0ยืมจำนวน
7,030 ล0านบาท (2563: 4,892 ล0านบาท) ครบกำหนดชำระคืนเมื่อทวงถาม และเงินให0กู0ยืมจำนวน 3,092
ล0านบาท (2563: 1,822 ล0านบาท) ครบกำหนดชำระคืนในเดือนธันวาคม 2566 และธันวาคม 2569 อยUางไร
ก็ตาม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 บริษัทฯ แสดงเงินให0กู0ยืมที่ครบกำหนดชำระคืนเมื่อทวงถามจำนวน 7,030
ล0านบาท (2563: 4,892 ล0านบาท) เป?นเงินให0กู0ยืมระยะยาว เนื่องจากบริษัทฯ ไมUมีความตั้งใจที่จะเรียกคืน
เงินให0กู0ยืมดังกลUาวจากบริษัทยUอยภายใน 12 เดือนข0างหน0า
เงินกู0ยืมระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวข0องกันเป?นเงินกู0ยืมปลอดหลักทรัพย,ค้ำประกันจากบริษัท แอล แอนด, เอช
พร็อพเพอร,ตี้ จำกัด คิดดอกเบี้ยในอัตราร0อยละ 2.13 ตUอปÉ และครบกำหนดชำระในวันที่ 28 กุมภาพันธ, 2565
ดังนั้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 บริษัทฯ จึงแสดงเงินกู0ยืมดังกลUาวเป?นเงินกู0ยืมระยะยาวจากกิจการ
ที่เกี่ยวข0องกันที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปÉในงบแสดงฐานะการเงิน

138 26
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

ในระหวUางปÉ 2564 เงินกู0ยืม/เงินให0กู0ยืมระหวUางกลุUมบริษัทและกิจการที่เกี่ยวข0องกันมีรายการเคลื่อนไหว


ดังตUอไปนี้
(หนUวย: ล0านบาท)
งบการเงินรวม
1 มกราคม 31 ธันวาคม
2564 เพิ่มขึ้น ลดลง 2564
เงินให0กู0ยืมระยะยาวแก=กิจการที่เกี่ยวข0องกันที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปC
บริษัทที่เกี่ยวข0องกัน
Reco Resorts Pte Ltd.
- 594.6 - 594.6
เงินให0กู0ยืมระยะยาวแก=กิจการที่เกี่ยวข0องกัน
บริษัทที่เกี่ยวข0องกัน
Reco Resorts Pte Ltd. 534.2 60.4 (594.6) -
(หนUวย: ล0านบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
1 มกราคม 31 ธันวาคม
2564 เพิ่มขึ้น ลดลง 2564
เงินให0กู0ยืมระยะยาวแก=กิจการที่เกี่ยวข0องกันที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปC
บริษัทยUอย
Land and Houses U.S.A., Inc. 6,266.2 838.7 (1,459.6) 5,645.3
เงินให0กู0ยืมระยะยาวแก=กิจการที่เกี่ยวข0องกัน
บริษัทยUอย
บริษัท แอตแลนติก เรียลเอสเตท จำกัด 30.0 325.0 - 355.0
บริษัท แอล เอช มอลล, แอนด, โฮเทล จำกัด 920.0 2,315.0 - 3,235.0
บริษัท แอลเอช แอสเซท จำกัด 2,000.0 120.0 (870.0) 1,250.0
บริษัท แลนด, แอนด, เฮ0าส, นอร,ธอีส จำกัด 1,620.0 290.0 (60.0) 1,850.0
บริษัท สยามธานี พรrอบเพอร,ตี้ จำกัด 322.0 210.0 (192.0) 340.0
Land and Houses U.S.A., Inc. 1,821.9 1,270.1 - 3,092.0
รวม 6,713.9 4,530.1 (1,122.0) 10,122.0
เงินกูย0 ืมระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวข0องกันที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปC
บริษัทยUอย
บริษัท แอล แอนด, เอช พร็อพเพอร,ตี้ จำกัด - 840.0 - 840.0
เงินกูย0 ืมระยะยาวจากกิจการที่เกี่ยวข0องกัน
บริษัทยUอย
บริษัท แอล แอนด, เอช พร็อพเพอร,ตี้ จำกัด 840.0 - (840.0) -

139 27
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

คUาตอบแทนกรรมการและผู0บริหาร

ในระหวUางปÉสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2564 และ 2563 กลุUมบริษัทมีคUาใช0จUายผลประโยชน,พนักงานที่ให0แกU


กรรมการและผู0บริหาร ดังตUอไปนี้
(หนUวย: ล0านบาท)
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ
2564 2563 2564 2563
ผลประโยชน,ระยะสั้น 210 225 156 158
ผลประโยชน,หลังออกจากงาน 8 8 2 2
รวม 218 233 158 160

ภาระผูกพันและหนี้สินทีอ่ าจเกิดขึ้นกับกิจการที่เกี่ยวข0องกัน
บริษัทฯมีภาระจากการค้ำประกันให0กับกิจการที่เกี่ยวข0องกันตามที่กลUาวไว0ในหมายเหตุ 38.3
7. เงินสดและรายการเทียบเท=าเงินสด
(หนUวย: พันบาท)
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ
2564 2563 2564 2563
เงินสด 5,388 5,273 2,600 2,580
เงินฝากธนาคาร 1,965,905 1,884,822 968,208 833,309
เช็คที่ถึงกำหนดชำระแตUยังมิได0นำฝาก 370,134 348,581 327,491 318,940
ใบรับเงินฝากประจำ 7,989,540 4,874,254 7,500,000 4,500,000
รวม 10,330,967 7,112,930 8,798,299 5,654,829

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 เงินฝากธนาคารและใบรับเงินฝากประจำมีอัตราดอกเบี้ยระหวUางร0อยละ 0.05 ถึง


0.50 ตUอปÉ (2563: ร0อยละ 0.05 ถึง 0.55 ตUอปÉ)

140 28
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

8. ลูกหนี้การค0าและลูกหนี้อื่น
(หนUวย: พันบาท)
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ
2564 2563 2564 2563
ลูกหนี้การค0า - กิจการที่ไมUเกี่ยวข0องกัน
ยังไมUถึงกำหนดชำระ 27,023 64,835 - -
ค0างชำระ
ไมUเกิน 3 เดือน 50,004 29,016 - -
3 - 6 เดือน 4,875 7,280 - -
6 - 9 เดือน 2,903 3,108 - -
9 - 12 เดือน 4,005 3,452 - -
มากกวUา 12 เดือน 2,650 12 - -
รวมลูกหนี้การค0า - กิจการที่ไมUเกี่ยวข0องกัน 91,460 107,703 - -
ลูกหนี้อื่น
เงินทดรองจUายและลูกหนี้กิจการที่เกี่ยวข0องกัน 25,297 21,948 60,680 9,421
ดอกเบี้ยค0างรับจากกิจการที่เกี่ยวข0องกัน 20,275 16,168 149,126 32,121
อื่น ๆ 32,871 41,191 21,208 33,987
รวมลูกหนี้อื่น 78,443 79,307 231,014 75,529
รวมลูกหนี้การค0าและลูกหนี้อื่น 169,903 187,010 231,014 75,529

9. สินค0าคงเหลือ
(หนUวย: พันบาท)
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ
2564 2563 2564 2563
ที่ดิน 27,443,343 30,107,248 22,574,308 25,463,909
คUาถมดิน 2,309,946 2,264,408 1,802,903 1,849,985
งานระหวUางกUอสร0าง 12,238,018 14,581,166 10,780,850 13,124,192
ต0นทุนดอกเบี้ย 1,964,458 2,260,455 1,738,282 2,067,893
คUาสาธารณูปโภค 3,306,346 3,685,998 2,509,450 2,882,936
บ0านรอการขาย 282,850 286,242 91,354 91,354
รวม 47,544,961 53,185,517 39,497,147 45,480,269
หัก: สำรองเผื่อผลขาดทุนจาก
การลดลงของมูลคUาโครงการ (288,978) (292,415) (200,328) (197,505)
สินค0าคงเหลือ - สุทธิ 47,255,983 52,893,102 39,296,819 45,282,764

141 29
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

ในระหวUางปÉ 2564 กลุUมบริษัทรับโอนที่ดินรอการพัฒนาซึ่งมีมูลคUาสุทธิตามบัญชีจำนวน 548 ล0านบาท


(2563: ไมUมี) (เฉพาะบริษัทฯ: 255 ล0านบาท 2563: ไมUมี) มาเป?นสินค0าคงเหลือ
ในระหวU า งปÉ 2564 กลุ U ม บริ ษ ั ท โอนสิ น ค0 า คงเหลื อ ซึ ่ ง มี ม ู ล คU า สุ ท ธิ ต ามบั ญ ชี จ ำนวน 3,115 ล0 า นบาท
(2563: 1,610 ล0านบาท) (เฉพาะบริษัทฯ: 3,115 ล0านบาท 2563: 1,424 ล0านบาท) ไปเป?นที่ดินรอการพัฒนา
ในระหวUางปÉ กลุUมบริษัทได0รวมต0นทุนการกู0ยืมเข0าเป?นต0นทุนของที่ดินและงานระหวUางกUอสร0าง โดยคำนวณ
จากอัตราการตั้งขึ้นเป?นทุนซึ่งเป?นอัตราถัวเฉลี่ยถUวงน้ำหนักของเงินกู0 ดังนี้
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ
2564 2563 2564 2563
ต0นทุนการกู0ยืมสUวนที่รวมเป?นต0นทุน
ของทีด่ ินและงานระหวUางกUอสร0าง
(ล0านบาท) 523 599 425 490
อัตราการตั้งขึ้นเป?นทุน (ร0อยละ) 2.2 2.4 2.1 2.3

รายการเปลี่ยนแปลงของบัญชี สำรองเผื่อผลขาดทุนจากการลดลงของมูลคUาโครงการสำหรับปÉสิ้นสุด วันที่


31 ธันวาคม 2564 และ 2563 สรุปได0ดังนี้
(หนUวย: พันบาท)
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ
2564 2563 2564 2563
ยอดคงเหลือต0นปÉ 292,415 314,082 197,505 219,844
บวก: ตั้งเพิ่มระหวUางปÉ 49,700 672 42,470 -
หัก: โอนกลับเนื่องจากการขาย (53,137) (22,339) (39,647) (22,339)
ยอดคงเหลือปลายปÉ 288,978 292,415 200,328 197,505

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 และ 2563 กลุUมบริษัทได0นำที่ดินบางสUวนพร0อมสิ่งปลูกสร0างที่มีอยูUบนที่ดินไป


จดจำนองเพื่อค้ำประกันวงเงินกู0ยืมของกลุUมบริษัทและวงเงินเบิกเกินบัญชีของบริษัทยUอย ซึ่งมีมูลคUาสุทธิตาม
บัญชีดังนี้
(หนUวย: ล0านบาท)
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ
2564 2563 2564 2563
มูลคUาสุทธิตามบัญชีของที่ดินพร0อม
สิ่งปลูกสร0างที่ติดภาระค้ำประกัน 10,960 17,438 9,263 15,916

142 30
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

10. ต0นทุนในการได0มาซึ่งสัญญาที่ทำกับลูกค0า
(หนUวย: พันบาท)
งบการเงินรวมและ
งบการเงินเฉพาะกิจการ
2564 2563
มูลคUาตามบัญชีต0นปÉ 141,446 147,617
เพิ่มขึ้นในระหวUางปÉ 689 1,932
รับรู0เป?นคUาใช0จUายในการขายในระหวUางปÉ (58,469) (8,103)
มูลคUาตามบัญชีปลายปÉ 83,666 141,446

11. สินทรัพย,ทางการเงินหมุนเวียนอื่น
(หนUวย: พันบาท)
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ
2564 2563 2564 2563
ตราสารหนี้ที่วัดมูลคUาด0วยราคาทุนตัดจำหนUาย
ใบรับเงินฝากประจำที่มีอายุมากกวUา 3 เดือน
แตUไมUเกิน 1 ปÉ 30,000 30,000 - -
สินทรัพย,ทางการเงินที่วัดมูลคUาด0วยมูลคUายุติธรรมผUานกำไรหรือขาดทุน
เงินลงทุนในกองทุนเปpด แอล เอช ตลาดเงิน - 1,000,460 - 1,000,460
สินทรัพย,ตราสารอนุพันธ,
สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราตUางประเทศและ
อัตราดอกเบี้ย (หมายเหตุ 40.1) 44,607 428,846 44,607 428,846
รวม 74,607 1,459,306 44,607 1,429,306

12. เงินฝากธนาคารที่มีภาระค้ำประกัน
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 และ 2563 คือ เงินฝากออมทรัพย,ของบริษัทยUอยแหUงหนึ่งซึ่ง
นำไปวางเป?นหลักประกันไว0กับบริษัทหลักทรัพย,จัดการกองทุน ไทยพาณิชย, ในฐานะที่เป?นทรัสตีของ
ทรัสต,เพื่อการลงทุนในสิทธิการเชUาอสังหาริมทรัพย, แอล เอช โฮเทล (“LHHOTEL”) เพื่อค้ำประกันคUาเชUา
ที่ดินและอาคารของโรงแรมแกรนด, เซนเตอร, พอยต, ราชดำริ ซึ่งบริษัทยUอยได0ขายทรัพย,สินของโครงการ
ดังกลUาวให0แกU LHHOTEL ในเดือนมิถุนายน 2560

143 31
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

13. สินทรัพย,ทางการเงินไม=หมุนเวียนอื่น
(หนUวย: พันบาท)
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ
2564 2563 2564 2563
ตราสารทุนที่กำหนดให0วัดมูลคUาด0วยมูลคUายุติธรรม
ผUานกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น
ตราสารทุนของบริษัทจดทะเบียน
กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย,และสิทธิการเชUา
แลนด, แอนด, เฮ0าส, 480,375 475,927 480,375 475,927
กองทุนรวมสิทธิการเชUาอสังหาริมทรัพย,
ควอลิตี้ เฮ0าส, 318,814 285,178 318,814 285,178
ทรัสต,เพื่อการลงทุนในสิทธิการเชUา
อสังหาริมทรัพย, แอล เอช ช0อปปpíง เซ็นเตอร, 443,652 496,364 - -
ทรัสต,เพื่อการลงทุนในสิทธิการเชUา
อสังหาริมทรัพย, แอล เอช โฮเทล 645,710 788,321 - -
Vistamalls Inc. 1,851,308 2,085,753 1,851,308 2,085,753
ตราสารทุนของบริษัทที่ไมUใชUบริษัทจดทะเบียน 115,111 100,459 - -
รวมตราสารทุนที่กำหนดให0วัดมูลคUา
ด0วยมูลคUายุติธรรมผUานกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น 3,854,970 4,232,002 2,650,497 2,846,858
สินทรัพย,ทางการเงินที่วัดมูลคUาด0วยมูลคUายุติธรรม
ผUานกำไรหรือขาดทุน
สินทรัพย,ตราสารอนุพันธ, - สัญญาแลกเปลี่ยน
เงินตราตUางประเทศและอัตราดอกเบี้ย
(หมายเหตุ 40.1) 18,911 186,782 18,911 173,582
รวมสินทรัพย,ทางการเงินที่วัดมูลคUาด0วย
มูลคUายุติธรรมผUานกำไรหรือขาดทุน 18,911 186,782 18,911 173,582
รวมสินทรัพย,ทางการเงินไมUหมุนเวียนอื่น 3,873,881 4,418,784 2,669,408 3,020,440

ตราสารทุ น ที ่ ก ำหนดให0 ว ั ด มู ล คU า ด0 ว ยมู ล คU า ยุ ต ิ ธ รรมผU า นกำไรขาดทุ น เบ็ ด เสร็ จ อื ่ น ได0 แ กU เงิ น ลงทุ น
ในตราสารทุ น ของบริ ษ ั ท จดทะเบี ย นและเงิ น ลงทุ น ในตราสารทุ น ของบริ ษ ั ท ที ่ ไ มU ใ ชU บ ริ ษ ั ท จดทะเบี ย น
ซึ่งกลุUมบริษัทพิจารณาวUาเป?นการลงทุนในเชิงกลยุทธ,

144 32
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

ในระหวUางปÉ 2564 และ 2563 กลุUมบริษัทได0รับเงินปaนผลจากบริษัทดังนี้


(หนUวย: พันบาท)
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ
2564 2563 2564 2563
กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย,และสิทธิการเชUา
แลนด, แอนด, เฮ0าส, 17,792 23,574 17,792 23,574
กองทุนรวมสิทธิการเชUาอสังหาริมทรัพย,
ควอลิตี้ เฮ0าส, 24,072 27,172 24,072 27,172
ทรัพสต,เพื่อการลงทุนในสิทธิการเชUา
อสังหาริมทรัพย, แอล เอช ช0อปปpíง
เซ็นเตอร, 6,589 19,986 - -
ทรัสต,เพื่อการลงทุนในสิทธิการเชUา
อสังหาริมทรัพย, แอล เอช โฮเทล - 28,549 - -
Vistamalls Inc. 8,522 7,854 8,522 7,854
บริษัทที่ไมUใชUบริษัทจดทะเบียน 25,565 8,530 - -
รวม 82,540 115,665 50,386 58,600

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 บริษัทยUอยแหUงหนึ่งได0นำหนUวยทรัสต,ของทรัสต,เพื่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย,


มูลคUาตามบัญชีประมาณ 1,025 ล0านบาท (2563: 1,206 ล0านบาท) ไปจำนำกับธนาคารแหUงหนึ่งเพื่อเป?น
หลักประกันวงเงินกู0ยืมระยะสั้นที่ได0รับจากธนาคาร
14. เงินลงทุนในบริษัทย=อย
14.1 รายละเอียดของเงินลงทุนในบริษัทย=อยตามที่แสดงในงบการเงินเฉพาะกิจการ
(หนUวย: พันบาท)
สัดสUวน มูลคUาตามบัญชี
บริษัท ทุนเรียกชำระแล0ว เงินลงทุน ราคาทุน ตามวิธีสUวนได0เสีย
2564 2563 2564 2563 2564 2563 2564 2563
(ร0อยละ) (ร0อยละ)
บริษัท แอตแลนติก เรียลเอสเตท จำกัด 15,000 15,000 99.99 99.99 14,998 14,998 (39,564) (34,153)
บริษัท แอล เอช มอลล, แอนด, โฮเทล จำกัด
และบริษัทยUอย 2,000,000 2,000,000 99.99 99.99 2,000,000 2,000,000 2,646,342 3,182,937
บริษัท แลนด,แอนด,เฮ0าส,นอร,ธ จำกัด 13,500 13,500 99.99 99.99 13,500 13,500 15,929 15,893
บริษัท แลนด, แอนด, เฮ0าส, นอร,ธอีส จำกัด 150,000 150,000 99.99 99.99 149,999 149,999 462,712 384,350
บริษัท สยามธานี พรrอบเพอร,ตี้ จำกัด
และบริษัทยUอย 100,000 100,000 99.99 99.99 64,859 64,859 234,991 173,998
บริษัท แอล เอช เรียลเอสเตท จำกัด 58,000 58,000 99.99 99.99 25,000 25,000 18,367 17,791
บริษัท แอลเอช แอสเซท จำกัด 100,000 100,000 99.99 99.99 52,734 52,734 1,573,668 1,132,521
บริษัท แอล. เอช. เมืองใหมU จำกัด 900,000 900,000 55.00 55.00 495,000 495,000 641,668 648,398
บริษัท แอล แอนด, เอช พร็อพเพอร,ตี้ จำกัด 130,000 130,000 60.00 60.00 174,000 174,000 216,740 204,836
Land and Houses U.S.A., Inc. (ก) (ก) 100.00 100.00 1,343,127 1,343,127 805,225 1,075,604
บริษัท เอเชีย แอสเซท แอดไวเซอรี่ จำกัด 100 100 99.94 99.94 100 100 682 770
4,333,317 4,333,317 6,576,760 6,802,945

(ก) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 และ 2563 Land and Houses U.S.A., Inc. มีทุนชำระแล0วจำนวน 40 ล0านเหรียญสหรัฐอเมริกา

145 33
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

14.2 ส=วนแบ=งกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ
ในระหวUางปÉ บริษัทฯรับรู0สUวนแบUงกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จจากเงินลงทุนในบริษัทยUอยในงบการเงินเฉพาะกิจการ
ดังนี้
(หนUวย: พันบาท)
บริษัท สUวนแบUงกำไรขาดทุน สUวนแบUงกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น
2564 2563 2564 2563
บริษัท แอตแลนติก เรียลเอสเตท จำกัด (5,411) (2,181) - -
บริษัท แอล เอช มอลล, แอนด, โฮเทล จำกัด
และบริษัทยUอย (401,064) (137,426) (135,531) (802,373)
บริษัท แลนด,แอนด,เฮ0าส,นอร,ธ จำกัด 36 95 - -
บริษัท แลนด, แอนด, เฮ0าส, นอร,ธอีส จำกัด 78,362 37,569 - -
บริษัท สยามธานี พรrอบเพอร,ตี้ จำกัด และบริษัทยUอย 49,272 3,210 11,721 (41,504)
บริษัท แอล เอช เรียลเอสเตท จำกัด 576 (890) - -
บริษัท แอลเอช แอสเซท จำกัด 441,147 561,662 - -
บริษัท แอล. เอช. เมืองใหมU จำกัด (6,730) (23,198) - (650)
บริษัท แอล แอนด, เอช พร็อพเพอร,ตี้ จำกัด 11,904 (6,249) - -
Land and Houses U.S.A., Inc. (370,913) (12,655) 100,534 (12,367)
บริษัท เอเชีย แอสเซท แอดไวเซอรี่ จำกัด (88) (106) - -
รวม (202,909) 419,831 (23,276) (856,894)

14.3 รายละเอียดของบริษัทย=อยซึ่งมีสว= นได0เสียที่ไม=มีอำนาจควบคุมที่มีสาระสำคัญ


(หนUวย: ล0านบาท)
กำไรหรือขาดทุนที่แบUงให0กับ
สัดสUวนที่ถือโดย สUวนได0เสียที่ไมUมี สUวนได0เสียที่
สUวนได0เสีย อำนาจควบคุม ไมUมีอำนาจควบคุมใน
บริษัท ที่ไมUมีอำนาจควบคุม ในบริษัทยUอยสะสม บริษัทยUอยในระหวUางปÉ
2564 2563 2564 2563 2564 2563
(ร0อยละ) (ร0อยละ)
บริษัท แอล. เอช. เมืองใหมU จำกัด 45 45 525 531 (6) (19)
บริษัท แอล แอนด, เอช พร็อพเพอร,ตี้ 40 40 174 166 8 (4)
จำกัด

146 34
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

14.4 ข0อมูลทางการเงินโดยสรุปของบริษัทย=อยที่มีส=วนได0เสียที่ไม=มีอำนาจควบคุมที่มีสาระสำคัญ ซึ่งเปnนข0อมูล


ก=อนการตัดรายการระหว=างกัน
สรุปรายการฐานะทางการเงิน
(หนUวย: ล0านบาท)
บริษัท แอล. เอช. บริษัท แอล แอนด, เอช
เมืองใหมU จำกัด พร็อพเพอร,ตี้ จำกัด
2564 2563 2564 2563
สินทรัพย,หมุนเวียน 1,479 1,559 1,713 327
สินทรัพย,ไมUหมุนเวียน 129 131 241 1,701
หนี้สินหมุนเวียน (119) (132) (172) (130)
หนี้สินไมUหมุนเวียน (323) (380) (1,346) (1,482)

สรุปรายการกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ
(หนUวย: ล0านบาท)
สำหรับปÉสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม
บริษัท แอล. เอช. บริษัท แอล แอนด, เอช
เมืองใหมU จำกัด พร็อพเพอร,ตี้ จำกัด
2564 2563 2564 2563
รายได0 289 166 108 138
กำไร (ขาดทุน) (12) (42) 20 (10)
กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น - (1) - -
กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม (12) (43) 20 (10)

147 35
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

สรุปรายการกระแสเงินสด
(หนUวย: ล0านบาท)
สำหรับปÉสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม
บริษัท แอล. เอช. บริษัท แอล แอนด, เอช
เมืองใหมU จำกัด พร็อพเพอร,ตี้ จำกัด
2564 2563 2564 2563
กระแสเงินสดจาก (ใช0ไปใน) กิจกรรม
ดำเนินงาน 28 (130) (51) (57)
กระแสเงินสดจาก (ใช0ไปใน) กิจกรรมลงทุน (1) - 5 37
กระแสเงินสดใช0ไปในกิจกรรมจัดหาเงิน (58) (9) - (27)
เงินสดและรายการเทียบเทUาเงินสดลดลงสุทธิ (31) (139) (46) (47)

15. เงินลงทุนในบริษัทร=วม
15.1 รายละเอียดของบริษัทร=วม
(หนUวย: พันบาท)
งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
จัดตั้งขึ้น มูลคUาตามบัญชี
บริษัท ลักษณะธุรกิจ ในประเทศ สัดสUวนเงินลงทุน ราคาทุน ตามวิธีสUวนได0เสีย
2564 2563 2564 2563 2564 2563
(ร0อยละ) (ร0อยละ)
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ,เชียล กรุrป ลงทุนในบริษัทตUาง ๆ ไทย 21.88 22.16 4,538,712 4,538,712 8,366,909 8,568,288
จำกัด (มหาชน)
บริษัท ควอลิตี้คอนสตรัคชั่น ผลิตวัสดุกUอสร0าง ไทย 21.16 21.16 179,178 179,178 422,384 431,558
โปรดัคส, จำกัด (มหาชน)
บริษัท โฮม โปรดักส, เซ็นเตอร, ค0าปลีกวัสดุกUอสร0าง ไทย 30.23 30.23 1,489,020 1,489,020 7,538,990 7,138,358
จำกัด (มหาชน)
กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย,และ ธุรกิจอสังหาริมทรัพย, ไทย 49.99 49.99 743,925 743,925 294,237 325,392
สิทธิเรียกร0องแลนด,แอนด,เฮ0าส,-II
บริษัท ควอลิตี้เฮ0าส, จำกัด (มหาชน) ธุรกิจอสังหาริมทรัพย, ไทย 24.98 24.98 3,282,682 3,282,682 7,604,093 7,500,014
10,233,517 10,233,517 24,226,613 23,963,610

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2563 บริษัทฯได0นำหุ0นสามัญบางสUวนของบริษัท โฮม โปรดักส, เซ็นเตอร, จำกัด (มหาชน)


มูลคUาตามบัญชีประมาณ 1,580 ล0านบาท ไปจำนำเพื่อเป?นหลักประกันวงเงินกู0ยืมระยะสั้นที่ได0รับจากธนาคาร
(2564: ไถUถอนแล0ว)

148 36
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

15.2 ส=วนแบ=งกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จและเงินป^นผลรับ
ในระหวU า งปÉ บริ ษ ั ท ฯรั บ รู 0 ส U ว นแบU ง กำไรขาดทุ น จากการลงทุ น ในบริ ษ ั ท รU ว มในงบการเงิ น รวมและ
งบการเงินเฉพาะกิจการ ดังนี้
(หนUวย: พันบาท)
งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
ชื่อบริษัท สUวนแบUงกำไรขาดทุน สUวนแบUงกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น เงินปaนผลรับ
2564 2563 2564 2563 2564 2563
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ,เชียล กรุrป จำกัด (มหาชน) 272,192 496,001 (149,138) (769,268) 324,433 208,564
บริษัท ควอลิตี้คอนสตรัคชั่นโปรดัคส, จำกัด (มหาชน) 30,392 24,121 (637) (1,038) 38,929 15,234
บริษัท โฮม โปรดักส, เซ็นเตอร, จำกัด (มหาชน) 1,644,888 1,558,666 28,025 1,486 1,272,281 1,232,523
กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย,และสิทธิเรียกร0อง
แลนด,แอนด,เฮ0าส,-II (31,155) (20,766) - - - 37,139
บริษัท ควอลิตี้เฮ0าส, จำกัด (มหาชน) 417,014 530,350 (18,581) (121,966) 294,354 454,911
รวม 2,333,331 2,588,372 (140,331) (890,786) 1,929,997 1,948,371

15.3 มูลค=ายุติธรรมของเงินลงทุนในบริษัทร=วมทีเ่ ปnนบริษัทจดทะเบียน


สำหรับเงินลงทุนในบริษัทรUวมที่เป?นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย,แหUงประเทศไทย มูลคUายุติธรรมของ
เงินลงทุนดังกลUาว มีดังตUอไปนี้
(หนUวย: ล0านบาท)
บริษัท มูลคUายุติธรรม ณ วันที่ 31 ธันวาคม
2564 2563
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ,เชียล กรุrป จำกัด (มหาชน) 6,211 4,867
บริษัท ควอลิตี้คอนสตรัคชั่นโปรดัคส, จำกัด (มหาชน) 465 386
บริษัท โฮม โปรดักส, เซ็นเตอร, จำกัด (มหาชน) 57,650 54,072
บริษัท ควอลิตี้เฮ0าส, จำกัด (มหาชน) 5,994 6,208
รวม 70,320 65,533

149 37
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

15.4 ข0อมูลทางการเงินของบริษัทร=วมที่มีสาระสำคัญ
สรุปรายการฐานะทางการเงิน
(หนUวย : ล0านบาท)
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ,เชียล บริษัท โฮม โปรดักส, เซ็นเตอร,
กรุrป จำกัด (มหาชน) จำกัด (มหาชน) บริษัท ควอลิตี้เฮ0าส, จำกัด (มหาชน)
2564 2563 2564 2563 2564 2563
สินทรัพย,หมุนเวียน 264,688 249,307 18,920 15,828 23,364 25,224
สินทรัพย,ไมUหมุนเวียน - - 39,666 40,262 22,871 22,440
หนี้สินหมุนเวียน (226,490) (210,681) (20,560) (20,610) (11,322) (8,663)
หนี้สินไมUหมุนเวียน - - (15,136) (13,916) (7,929) (12,436)
สินทรัพย, - สุทธิ 38,198 38,626 22,890 21,564 26,984 26,565
สัดสUวนเงินลงทุน (ร0อยละ) 21.88 22.16 30.23 30.23 24.98 24.98
สัดส=วนตามส=วนได0เสียของ
กิจการในสินทรัพย, - สุทธิ 8,358 8,559 6,920 6,519 6,740 6,636
คUาความนิยม 9 9 619 619 864 864
มูลค=าตามบัญชีของส=วนได0
เสียของกิจการใน
บริษัทร=วม 8,367 8,568 7,539 7,138 7,604 7,500

สรุปรายการกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ
(หนUวย: ล0านบาท)
สำหรับปÉสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ,เชียล บริษัท โฮม โปรดักส, เซ็นเตอร, บริษัท ควอลิตี้เฮ0าส, จำกัด
กรุrป จำกัด (มหาชน) จำกัด (มหาชน) (มหาชน)
2564 2563 2564 2563 2564 2563
รายได0 8,075 7,747 63,933 61,765 8,356 9,377
กำไรสำหรับปÉ 1,384 2,057 5,440 5,155 1,670 2,123
กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ (676) (3,468) 93 5 (74) (488)
กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม 708 (1,411) 5,533 5,160 1,596 1,635

150 38
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

15.5 ข0อมูลส=วนแบ=งกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จในบริษัทร=วมอื่นๆ (ไมUรวมบริษัทรUวมตามหมายเหตุ 15.4)


(หนUวย: ล0านบาท)
สำหรับปÉสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม
2564 2563
สUวนแบUงกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ:
กำไรจากการดำเนินงานตUอเนื่อง (1) 3
กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น (1) (1)
กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม (2) 2
มูลคUาตามบัญชีโดยรวมของสUวนได0เสียของกิจการในบริษัทรUวม
แตUละรายที่ไมUมีสาระสำคัญซึ่งบันทึกตามวิธีสUวนได0เสีย 717 757

15.6 รายการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญของบริษัทร=วม
บริษัท แอล เอช ไฟแนนเชียล กรุrป จำกัด (มหาชน)
ในระหวUางปÉปaจจุบัน บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ,เชียล กรุrป จำกัด (มหาชน) มีการขายหุ0นสามัญซื้อคืนของ
บริษัทบางสUวนทำให0สัดสUวนการถือหุ0นของบริษัทฯลดลงจากร0อยละ 22.16 เป?นร0อยละ 21.88 ทั้งนี้ บริษัทฯ
บันทึกขาดทุนจากรายการดังกลUาวในบัญชีสUวนแบUงกำไรจากเงินลงทุนในบริษัทรUวมในงบกำไรขาดทุนจำนวน
106.5 ล0านบาท
16. เงินให0กู0ยืมระยะยาวแก=กิจการอื่น
ในเดือนกันยายน 2564 บริษัทยUอยแหUงหนึ่งได0ทำสัญญาให0กู0ยืมเงินแกUผู0เชUาพื้นที่รายหนึ่งซึ่งเป?นกิจการ
ที่ไมUเกี่ยวข0องกันในวงเงิน 120 ล0านบาท เพื่อนำไปใช0สนับสนุนคUากUอสร0างและตกแตUงสถานประกอบกิจการ
ของผู 0 เ ชU า รายดั ง กลU า ว โดยมี เ งื ่ อ นไขในการเบิ ก เงิ น กู 0 ต ามที่ ร ะบุ ไ ว0 ใ นสั ญ ญา เงิ น ให0 ก ู 0 ย ื ม ดั ง กลU า ว
คิ ด ดอกเบี ้ ย ในอั ต ราร0 อ ยละ MLR - 1.50 ตU อ ปÉ มี ก ำหนดชำระคื น เงิ น ต0 น เป? น รายเดื อ นรวม 55 เดื อ น
โดยเริ่มชำระงวดแรกในเดือนมกราคม 2566 และผู0เชUาได0นำที่ดินแปลงหนึ่งซึ่งมีราคาประเมิน 110 ล0านบาท
มาจดจำนองเพื่อเป?นหลักทรัพย,ค้ำประกันเงินกู0ยืมกับบริษัทยUอย ทั้งนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 ผู0เชUา
รายดังกลUาวได0เบิกเงินกู0ยืมจากบริษัทยUอยแล0วจำนวน 20 ล0านบาท

151 39
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

17. ที่ดินรอการพัฒนา
(หนUวย: พันบาท)
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ
2564 2563 2564 2563
ที่ดินรอการพัฒนา 6,174,576 3,664,148 5,972,042 3,276,459
หัก: คUาเผื่อการลดลงของมูลคUา (724,301) (724,301) (652,509) (652,509)
ที่ดินรอการพัฒนา - สุทธิ 5,450,275 2,939,847 5,319,533 2,623,950

การกระทบยอดมูลคUาสุทธิตามบัญชีของที่ดินรอการพัฒนาสำหรับปÉ 2564 และ 2563 แสดงได0ดังนี้


(หนUวย: พันบาท)
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ
2564 2563 2564 2563
มูลคUาสุทธิตามบัญชีต0นปÉ 2,939,847 1,337,204 2,623,950 1,207,660
รับโอนจากสินค0าคงเหลือ 3,114,715 1,610,287 3,114,715 1,423,934
โอนไปเป?นสินค0าคงเหลือ (547,816) - (255,246) -
จำหนUาย - มูลคUาสุทธิตามบัญชี (56,471) (7,644) (163,886) (7,644)
มูลคUาสุทธิตามบัญชีปลายปÉ 5,450,275 2,939,847 5,319,533 2,623,950

ในระหวUางปÉ 2564 บริษัทฯ ได0จัดให0ผู0ประเมินราคาอิสระทำการประเมินมูลคUายุติธรรมของที่ดินรอการพัฒนา


บางสUวนของกลุUมบริษัท โดยใช0วิธีเปรียบเทียบมูลคUาตลาด (Market Comparison Approach) เป?นเกณฑ,ใน
การพิจารณากำหนดมูลคUาทรัพย,สิน โดยผู0ประเมินราคาอิสระได0ประเมินมูลคUายุติธรรมของที่ดินรอการพัฒนา
ดังกลUาวสูงกวUามูลคUาสุทธิตามบัญชีของโครงการ
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 และ 2563 บริษัทฯ ได0นำที่ดินรอการพัฒนาบางสUวนไปจดจำนองเพื่อค้ำประกัน
วงเงินกู0ยืมระยะยาวซึ่งมีมูลคUาสุทธิตามบัญชี ดังนี้
(หนUวย: ล0านบาท)
งบการเงินรวมและ
งบการเงินเฉพาะกิจการ
2564 2563
มูลคUาสุทธิตามบัญชีของที่ดินรอการพัฒนาที่ติดภาระค้ำประกัน 3,819 2,053

152 40
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

18. อสังหาริมทรัพย,เพื่อการลงทุน
มูลคUาสุทธิตามบัญชีของอสังหาริมทรัพย,เพื่อการลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 และ 2563 แสดงได0ดังนี้
(หนUวย: พันบาท)
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ
อพาร,ทเม0นท, อพาร,ทเม0นท,
ที่ดินเปลUา ให0เชUา รวม ที่ดินเปลUา ให0เชUา รวม
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564:
ราคาทุน 212,074 13,102,224 13,314,298 212,074 - 212,074
หัก: คUาเสื่อมราคาสะสม - (1,429,915) (1,429,915) - - -
มูลคUาสุทธิตามบัญชี 212,074 11,672,309 11,884,383 212,074 - 212,074
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2563:
ราคาทุน 212,074 11,742,792 11,954,866 212,074 - 212,074
หัก: คUาเสื่อมราคาสะสม - (994,195) (994,195) - - -
มูลคUาสุทธิตามบัญชี 212,074 10,748,597 10,960,671 212,074 - 212,074

การกระทบยอดมูลคUาสุทธิตามบัญชีของอสังหาริมทรัพย,เพื่อการลงทุนสำหรับปÉ 2564 และ 2563 แสดงได0


ดังนี้
(หนUวย: พันบาท)
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ
2564 2563 2564 2563
มูลคUาสุทธิตามบัญชีต0นปÉ 10,960,671 13,264,213 212,074 211,753
ซื้อสินทรัพย, 36,761 65,978 - 321
จำหนUายสินทรัพย, - มูลคUาสุทธิตามบัญชี - (1,984,550) - -
คUาเสื่อมราคา (311,579) (346,055) - -
ผลตUางจากการแปลงคUางบการเงิน 1,198,530 (38,915) - -
มูลคUาสุทธิตามบัญชีปลายปÉ 11,884,383 10,960,671 212,074 212,074

ในเดือนพฤศจิกายน 2563 Land and Houses U.S.A., Inc. ซึ่งเป?นบริษัทยUอยที่บริษัทฯ ถือหุ0นในอัตรา


ร0อยละ 100 ขายอพาร,ทเม0นท,ให0เชUาแหUงหนึ่งในประเทศสหรัฐอเมริกาให0กับบุคคลที่ไมUมีความสัมพันธ,กับ
กลุUมบริษัทในราคา 80 ล0านเหรียญสหรัฐอเมริกา และมีกำไรจากจากการขายอพาร,ทเม0นท,ให0เชUาดังกลUาว
รวมจำนวนประมาณ 13 ล0านเหรียญสหรัฐอเมริกา โดยรับรู0รายการดังกลUาวในสUวนของกำไรหรือขาดทุน
สำหรับปÉ 2563

153 41
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

ข0อมูลเพิ่มเติมของอสังหาริมทรัพย,เพื่อการลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 และ 2563 แสดงได0ดังนี้


(หนUวย: ล0านบาท)
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ
2564 2563 2564 2563
มูลคUายุติธรรมของที่ดินเปลUา 293 220 293 220
มูลคUายุติธรรมของอพาร,ทเม0นท,ให0เชUา 13,384(1) 10,991(1) - -
(1) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 มูลคUายุติธรรมเทUากับ 400 ล0านเหรียญสหรัฐอเมริกา (2563: 366 ล0านเหรียญสหรัฐอเมริกา)

มูลคUายุติธรรมประเมินโดยผู0ประเมินราคาอิสระโดยใช0วิธีเปรียบเทียบมูลคUาตลาด (Market Comparison


Approach) สำหรับที่ดินเปลUา และใช0วิธีพิจารณาจากรายได0 (Income Approach) สำหรับอพาร,ทเม0นท,ให0
เชUา ข0อสมมติฐานหลักที่ใช0ในการประเมินมูลคUายุติธรรมของสินทรัพย,ดังกลUาวประกอบด0วย อัตราผลตอบแทน
อัตราเงินเฟêอ อัตราพื้นที่วUางระยะยาว และอัตราการเติบโตระยะยาวของคUาเชUา
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 บริษัทยUอยแหUงหนึ่งได0นำอพาร,ทเม0นท,ให0เชUาซึ่งมีมูลคUาสุทธิตามบัญชีจำนวน
ประมาณ 7,875 ล0านบาท (2563: 3,389 ล0านบาท) ไปค้ำประกันเงินกู0ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน
ในตUางประเทศ
จำนวนที่รับรู0ในสUวนของกำไรหรือขาดทุนที่เกี่ยวข0องกับอสังหาริมทรัพย,เพื่อการลงทุน มีดังนี้
(หนUวย: ล0านบาท)
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ
2564 2563 2564 2563
รายได0คUาเชUา 844 1,211 - -
คUาใช0จUายในการดำเนินงานทางตรง
(รวมคUาซUอมแซมและบำรุงรักษา)
ที่กUอให0เกิดรายได0คUาเชUา 817 940 - -

154 42
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

19. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ,


รายการเปลี่ยนแปลงของบัญชีที่ดิน อาคารและอุปกรณ,สำหรับปÉสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2564 และ 2563
สรุปได0ดังนี้
(หนUวย: พันบาท)
งบการเงินรวม
อาคารและ เครื่องตกแตUง สินทรัพย,
สUวนปรับปรุง เครื่องใช0 ติดตั้งและ ระหวUาง
ที่ดิน อาคาร สำนักงาน อุปกรณ, ยานพาหนะ อื่น ๆ กUอสร0าง รวม
ราคาทุน
ณ วันที่ 1 มกราคม 2563 28,857 63,038 200,059 548,167 122,610 203,905 161,508 1,328,144
ซื้อเพิ่ม - - 7,800 422 3,318 3,340 66,859 81,739
จำหนUาย/ตัดจำหนUาย - (12,237) (277) (5,705) (5,711) - - (23,930)
โอนเข0า (ออก) - 62,001 - 47,465 - - (109,466) -
ผลตUางจากการแปลงคUางบการเงิน - - (2) (123) - - - (125)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2563 28,857 112,802 207,580 590,226 120,217 207,245 118,901 1,385,828
ซื้อเพิ่ม 430,130 594,491 9,590 2,056 8,371 27,902 48,060 1,120,600
จำหนUาย/ตัดจำหนUาย - - (22,847) (3,048) (4,513) (3,805) - (34,213)
โอนเข0า (ออก) - 4,866 330 51,421 - - (56,617) -
ผลตUางจากการแปลงคUางบการเงิน - - 56 3,591 - - - 3,647
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 458,987 712,159 194,709 644,246 124,075 231,342 110,344 2,475,862
คUาเสื่อมราคาสะสม
ณ วันที่ 1 มกราคม 2563 - 40,156 142,784 273,278 82,875 106,693 - 645,786
คUาเสื่อมราคาสำหรับปÉ - 5,853 22,112 82,745 16,713 34,560 - 161,983
คUาเสื่อมราคาสำหรับสUวนที่จำหนUาย/
ตัดจำหนUาย - (12,236) (270) (5,705) (5,371) - - (23,582)
ผลตUางจากการแปลงคUางบการเงิน - - (5) (167) - - - (172)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2563 - 33,773 164,621 350,151 94,217 141,253 - 784,015
คUาเสื่อมราคาสำหรับปÉ - 7,758 20,703 87,264 17,138 25,964 - 158,827
คUาเสื่อมราคาสำหรับสUวนที่จำหนUาย/
ตัดจำหนUาย - - (22,804) (3,048) (4,508) (3,801) - (34,161)
ผลตUางจากการแปลงคUางบการเงิน - 47 56 968 31 2 - 1,104
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 - 41,578 162,576 435,335 106,878 163,418 - 909,785
คUาเผื่อการด0อยคUา
ณ วันที่ 1 มกราคม 2563 334 - - - - - - 334
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2563 334 - - - - - - 334
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 334 - - - - - - 334
มูลคUาสุทธิตามบัญชี
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2563 28,523 79,029 42,959 240,075 26,000 65,992 118,901 601,479
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 458,653 670,581 32,133 208,911 17,197 67,924 110,344 1,565,743
คUาเสื่อมราคาสำหรับปÉ
2563 (68 ล0านบาท รวมอยูUในต0นทุนของกิจการโรงแรม สUวนที่เหลือรวมอยูUในคUาใช0จUายในการบริหาร) 161,983
2564 (59 ล0านบาท รวมอยูUในต0นทุนของกิจการโรงแรม สUวนที่เหลือรวมอยูUในคUาใช0จUายในการบริหาร) 158,827

155 43
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

(หนUวย: พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
อาคารและ เครื่องตกแตUง สินทรัพย,
สUวนปรับปรุง เครื่องใช0 ติดตั้งและ ระหวUาง
ที่ดิน อาคาร สำนักงาน อุปกรณ, ยานพาหนะ อื่น ๆ กUอสร0าง รวม
ราคาทุน
ณ วันที่ 1 มกราคม 2563 1,860 47,752 125,499 316,889 114,217 59,157 154,060 819,434
ซื้อเพิ่ม - - 2,978 32 3,050 1,712 45,939 53,711
จำหนUาย/ตัดจำหนUาย - (12,237) - (4,478) (4,824) - - (21,539)
โอนเข0า (ออก) - 62,001 - 41,755 - - (103,756) -
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2563 1,860 97,516 128,477 354,198 112,443 60,869 96,243 851,606
ซื้อเพิ่ม - - 6,903 70 3,842 368 37,600 48,783
จำหนUาย/ตัดจำหนUาย - - (22,092) (2,400) (4,053) (3,787) - (32,332)
โอนเข0า (ออก) - 4,867 330 44,707 - - (49,904) -
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 1,860 102,383 113,618 396,575 112,232 57,450 83,939 868,057
คUาเสื่อมราคาสะสม
ณ วันที่ 1 มกราคม 2563 - 32,333 110,692 204,544 76,613 52,724 - 476,906
คUาเสื่อมราคาสำหรับปÉ - 3,898 8,857 41,452 15,974 2,653 - 72,834
คUาเสื่อมราคาสำหรับสUวนที่จำหนUาย/
ตัดจำหนUาย - (12,236) - (4,478) (4,802) - - (21,516)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2563 - 23,995 119,549 241,518 87,785 55,377 - 528,224
คUาเสื่อมราคาสำหรับปÉ - 4,664 8,017 45,263 15,484 2,356 - 75,784
คUาเสื่อมราคาสำหรับสUวนที่จำหนUาย/
ตัดจำหนUาย - - (22,092) (2,400) (4,047) (3,787) - (32,326)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 - 28,659 105,474 284,381 99,222 53,946 - 571,682
คUาเผื่อการด0อยคUา
ณ วันที่ 1 มกราคม 2563 334 - - - - - - 334
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2563 334 - - - - - - 334
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 334 - - - - - - 334
มูลคUาสุทธิตามบัญชี
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2563 1,526 73,521 8,928 112,680 24,658 5,492 96,243 323,048
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 1,526 73,724 8,144 112,194 13,010 3,504 83,939 296,041
คUาเสื่อมราคาสำหรับปÉ
2563 (รวมอยูUในคUาใช0จUายในการบริหาร) 72,834
2564 (รวมอยูUในคUาใช0จUายในการบริหาร) 75,784

ในเดือนธันวาคม 2564 Land and Houses U.S.A., Inc. ซึ่งเป?นบริษัทยUอยที่บริษัทฯถือหุ0นในอัตราร0อยละ


100 ซื้อที่ดินพร0อมอาคารโรงแรมแหUงหนึ่งในประเทศสหรัฐอเมริกา ราคาทุนประมาณ 31 ล0านเหรียญ
สหรัฐอเมริกา หรือประมาณ 1,056 ล0านบาท

156 44
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 และ 2563 กลุUมบริษัทมีอาคารและอุปกรณ,จำนวนหนึ่งซึ่งตัดคUาเสื่อมราคา


หมดแล0วแตUยังใช0งานอยูU มูลคUาตามบัญชีกUอนหักคUาเสื่อมราคาสะสม และคUาเผื่อการด0อยคUาของสินทรัพย,
ดังกลUาวมีรายละเอียดดังนี้
(หนUวย: ล0านบาท)
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ
2564 2563 2564 2563
อาคารและอุปกรณ,ที่ตัดคUาเสือ่ มราคาหมดแล0ว
แตUยังใช0งานอยูU 466 430 368 355

20. สัญญาเช=า
20.1 กลุ=มบริษัทในฐานะผู0เช=า
กลุUมบริษัททำสัญญาเชUาสินทรัพย,เพื่อใช0ในการดำเนินงานของกลุUมบริษัทโดยมีอายุสัญญาเชUาอยูUระหวUาง
3 - 40 ปÉ
ก) สินทรัพย,สิทธิการใช0
รายการเปลี่ยนแปลงของบัญชีสินทรัพย,สิทธิการใช0สำหรับปÉสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2564 และ 2563
สรุปได0ดังนี้
(หนUวย: พันบาท)
งบการเงินรวม
ที่ดินและ
สิ่งปลูกสร0าง อาคารโรงแรม พื้นที่ในอาคาร ยานพาหนะ รวม
ณ วันที่ 1 มกราคม 2563 6,884,416 5,363,382 364,300 7,492 12,619,590
เพิ่มขึ้น 3,263,596 - - - 3,263,596
เพิ่มขึ้น (ลดลง) จากการเปลี่ยนแปลงสัญญาเชUา 65,217 (41,474) 14,457 - 38,200
คUาเสื่อมราคาสำหรับปÉ (233,802) (135,431) (57,846) (5,251) (432,330)
ผลตUางจากการลดคUาเชUา - (578,516) - - (578,516)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2563 9,979,427 4,607,961 320,911 2,241 14,910,540
เพิ่มขึ้น 3,002,091 - - - 3,002,091
เพิ่มขึ้น (ลดลง) จากการเปลี่ยนแปลงสัญญาเชUา (66,546) (77,551) 884 - (143,213)
คUาเสื่อมราคาสำหรับปÉ (268,123) (708,889) (58,941) (1,078) (1,037,031)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 12,646,849 3,821,521 262,854 1,163 16,732,387

157 45
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

(หนUวย: พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
พื้นที่ในอาคาร
ณ วันที่ 1 มกราคม 2563 311,125
เพิ่มขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงสัญญาเชUา 13,464
คUาเสื่อมราคาสำหรับปÉ (44,985)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2563 279,604
คUาเสื่อมราคาสำหรับปÉ (46,601)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 233,003

ในระหวUางปÉสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2564 กลุUมบริษัทได0รวมต0นทุนการกู0ยืมเข0าเป?นราคาทุนของ


โครงการระหวUางกUอสร0างจำนวน 18.64 ล0านบาท (2563: 3.60 ล0านบาท) โดยคำนวณจากอัตราการตั้งขึ้น
เป?นทุนในอัตราร0อยละ 2.5 - 2.75 (2563: ร0อยละ 2.5 - 3.3)
ในเดือนมิถุนายน 2563 บริษัท แอล แอนด, เอช โฮเทล แมเนจเมนท, จำกัด (“LHH”) ซึ่งเป?นบริษัทยUอย
ของบริ ษ ั ท ฯ ได0 ท ำสั ญ ญาเชU า ทรั พ ย, ส ิ น โครงการแกรนด, เซนเตอร, พอยต, ราชดำริ ฉบั บ ใหมU แ ทน
สัญญาเชUาฉบับเดิมที่ระยะเวลาการเชUาสิ้นสุดลงในเดือนมิถุนายน 2563 โดยสัญญาเชUาฉบับใหมUมี
ระยะเวลาการเชUา 3 ปÉ และตUออายุได0ตามเงื่อนไขที่ระบุไว0ในสัญญา โดยอัตราคUาเชUาคงที่ และคUาเชUา
ผันแปรตามเงื่อนไขที่ระบุในสัญญา ทั้งนี้ ผลตUางระหวUางคUาเชUาคงที่ตามสัญญาเชUาฉบับเกUาและฉบับใหมU
ถื อ เป? น การเปลี ่ ย นแปลงสั ญ ญาเชU า ซึ ่ ง LHH บั น ทึ ก ปรั บ ปรุ ง สิ น ทรั พ ย, ส ิ ท ธิ ก ารใช0 แ ละหนี ้ ส ิ น ตาม
สัญญาเชUาที่ลดลงจากการเปลี่ยนแปลงสัญญาเชUาดังกลUาวจำนวน 41 ล0านบาทในงบแสดงฐานะการเงิน
ในเดือนกันยายน 2563 บริษัท แอล เอช มอลล, แอนด, โฮเทล จำกัด (“LHMH”) ซึ่งเป?นบริษัทยUอยของ
บริษัทฯได0แก0ไขอัตราคUาเชUาของสัญญาเชUาที่ดินฉบับหนึ่ง ซึ่ง LHMH บันทึกปรับปรุงสินทรัพย,สิทธิการใช0
และหนี้สินตามสัญญาเชUาที่เพิ่มขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงสัญญาเชUาดังกลUาวจำนวน 65 ล0านบาท ในงบ
แสดงฐานะการเงิน
ในเดื อนตุ ลาคม 2563 บริ ษั ทฯ และ LHMH ได0 ทำสั ญญาเชU าพื ้ นที ่ ในอาคารฉบั บใหมU แทนฉบั บเดิ ม
ที่สิ้นสุดในปÉ 2563 ซึ่งกลุUมบริษัทได0บันทึกปรับปรุงสินทรัพย,สิทธิการใช0และหนี้สินตามสัญญาเชUา
ที่เพิ่มขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงสัญญาเชUาดังกลUาวจำนวน 14 ล0านบาทในงบแสดงฐานะการเงิน

158 46
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

ในเดื อ นพฤษภาคม 2564 LHMH เข0 า ทำบั น ทึ ก ข0 อ ตกลงแก0 ไ ขสั ญ ญาเชU า ที ่ ด ิ น ฉบั บ หนึ ่ ง โดยขยาย
ระยะเวลาการเชUาที่ดินในชUวงการกUอสร0างออกไปอีก 1 ปÉ สUงผลให0ระยะเวลาการเชUาที่ดินเปลี่ยนแปลง
จากสิ้นสุดในเดือนกรกฎาคม 2596 เป?นสิ้นสุดในเดือนกรกฎาคม 2597 โดย LHMH บันทึกปรับปรุง
สินทรัพย,สิทธิการใช0และหนี้สินตามสัญญาเชUาที่ลดลงจากการเปลี่ยนแปลงในสัญญาเชUาที่ดินดังกลUาว
จำนวน 67 ล0านบาทในงบแสดงฐานะการเงิน
ในเดือนธันวาคม 2564 ระยะเวลาการเชUาทรัพย,สินโครงการแกรนด, เซนเตอร, พอยต, เทอร,มินอล 21
ได0สิ้นสุดลง โดยในเดือนกุมภาพันธ, 2565 LHH ได0ทำสัญญาเชUาฉบับใหมUแทนสัญญาเชUาฉบับเดิมและ
ให0มีผลใช0บังคับย0อนหลังตั้งแตUเดือนธันวาคม 2564 ตUอเนื่องจากวันที่สัญญาเชUาฉบับเดิมสิ้นสุดลง
โดยสัญญาเชUาฉบับใหมUมีระยะเวลาการเชUา 3 ปÉ และตUออายุได0ตามเงื่อนไขที่ระบุไว0ในสัญญา โดยมี
อั ต ราคU า เชU า คงที ่ แ ละคU า เชU า ผั น แปรตามเงื ่ อ นไขที ่ ร ะบุ ใ นสั ญ ญา ทั ้ ง นี ้ ผลตU า งระหวU า งคU า เชU า คงที่
ตามสัญญาเชUาฉบับเกUาและฉบับใหมUถือเป?นการเปลี่ยนแปลงสัญญาเชUา ซึ่ง LHH บันทึกปรับปรุงสินทรัพย,
สิทธิการใช0และหนี้สินตามสัญญาเชUาที่ลดลงจากการเปลี่ยนแปลงสัญญาเชUาดังกลUาวจำนวน 78 ล0านบาท
ในงบแสดงฐานะการเงิน
ในเดือนมกราคม 2565 บริษัท แอล แอนด, เอช พร็อพเพอร,ตี้ จำกัด (“LHP”) ซึ่งเป?นบริษัทยUอยของ
บริษัทฯได0ทำสัญญาเชUาทรัพย,สินโครงการแกรนด, เซนเตอร, พอยต, เพลินจิต ฉบับใหมUแทนสัญญาเชUา
ฉบับเดิมที่ระยะเวลาการเชUาสิ้นสุดลงในเดือนธันวาคม 2564 โดยสัญญาเชUาฉบับใหมUมีระยะเวลาการเชUา
3 ปÉ และตUออายุได0ตามเงื่อนไขที่ระบุไว0ในสัญญา โดยมีอัตราคUาเชUาคงที่และคUาเชUาผันแปรตามเงื่อนไขที่
ระบุ ใ นสั ญ ญา ทั ้ ง นี ้ ผลตU า งระหวU า งคU า เชU า คงที ่ ต ามสั ญ ญาเชU า ฉบั บ เกU า และฉบั บ ใหมU ถ ื อ เป? น การ
เปลี่ยนแปลงสัญญาเชUา ซึ่ง LHP จะบันทึกปรับปรุงสินทรัพย,สิทธิการใช0 และหนี้สินตามสัญญาเชUา
ที่เปลี่ยนแปลงในไตรมาส 1 ปÉ 2565
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 บริษัทยUอยแหUงหนึ่งได0นำสิทธิการเชUาที่ดินพร0อมสิ่งปลูกสร0างซึ่งมีมูลคUาสุทธิ
ตามบัญชีจำนวน 11,545 ล0านบาท (2563: 7,590 ล0านบาท) ไปคํ้าประกันวงเงินเบิกเกินบัญชีและเงิน
กู0ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน
ข) หนี้สินตามสัญญาเช=า
(หนUวย: พันบาท)
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ
2564 2563 2564 2563
จำนวนเงินที่ต0องจUายตามสัญญาเชUา 9,515,982 10,685,329 252,418 302,902
หัก: ดอกเบี้ยรอการตัดจำหนUาย (2,801,191) (3,061,921) (13,691) (19,624)
รวม 6,714,791 7,623,408 238,727 283,278
หัก: สUวนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปÉ (789,832) (764,937) (45,583) (44,551)
หนี้สินตามสัญญาเชUา - สุทธิจากสUวนที่ถึง
กำหนดชำระภายในหนึ่งปÉ 5,924,959 6,858,471 193,144 238,727

159 47
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

การเปลี่ยนแปลงของบัญชีหนี้สินตามสัญญาเชUาสำหรับปÉสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2564 และ 2563


มีรายละเอียดดังนี้
(หนUวย: พันบาท)
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ
2564 2563 2564 2563
ยอดคงเหลือต0นปÉ 7,623,408 6,993,947 283,278 311,125
เพิ่มขึ้น - 1,823,761 - -
ดอกเบี้ยที่รับรู0 267,378 268,100 5,933 6,922
จUายคUาเชUา (240,193) (839,175) (50,484) (48,232)
เพิ่มขึ้น (ลดลง) จากการเปลี่ยนแปลง
สัญญาเชUา (143,213) 38,200 - 13,463
สUวนลดคUาเชUา (792,589) (661,425) - -
ยอดคงเหลือปลายปÉ 6,714,791 7,623,408 238,727 283,278
ในระหวUางปÉสิ้นสุดวันที่ 31 ธั นวาคม 2564 บริษัทยUอยได0รับสUวนลดคUาเชUาอาคารโรงแรมบางสUวน
สำหรับเดือนมกราคม 2564 ถึงเดือนธันวาคม 2564 จากผู0ให0เชUา รวมเป?นเงินจำนวน 793 ล0านบาท
(2563: ได0 ร ั บ สU ว นลดสำหรั บ เดื อ นมี น าคม 2563 ถึ ง เดื อ นธั น วาคม 2563 รวมเป? น เงิ น จำนวน 661
ล0านบาท) ซึ่งเป?นไปตามเงื่อนไขที่ระบุไว0ในสัญญาเชUาอาคารโรงแรม ทั้งนี้บริษัทยUอยบันทึกสUวนลด
คUาเชUาดังกลUาวในงบกำไรขาดทุนสำหรับปÉปaจจุบัน
การวิเคราะห,การครบกำหนดของจำนวนเงินที่ต0องจUายตามสัญญาเชUาเปpดเผยข0อมูลอยูUในหมายเหตุ 40.2
ภายใต0หัวข0อความเสี่ยงด0านสภาพคลUอง
ค) ค=าใช0จ=ายเกี่ยวกับสัญญาเช=าที่รับรู0ในส=วนของกำไรหรือขาดทุน
(หนUวย: พันบาท)
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ
2564 2563 2564 2563
คUาเสื่อมราคาของสินทรัพย,สิทธิการใช0 1,037,031 432,330 46,601 44,985
ดอกเบี้ยจUายของหนี้สินตามสัญญาเชUา 267,378 120,717 5,933 6,922
คUาใช0จUายที่เกี่ยวกับสัญญาเชUาระยะสั้น 4,163 5,214 1,732 2,925
คUาใช0จUายที่เกี่ยวกับสัญญาเชUาซึ่งสินทรัพย,
อ0างอิงมีมูลคUาต่ำ 17,367 17,722 13,802 14,934
คUาใช0จUายที่เกี่ยวกับการจUายชำระคUาเชUาผันแปร
ที่ไมUอิงดัชนีหรืออัตรา - 48,785 - -

160 48
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

กลุUมบริษัทมีสัญญาเชUาอาคารโรงแรมซึ่งมีการจUายชำระคUาเชUาที่ผันแปรตามรายได0สุทธิจากการประกอบ
ธุรกิจโรงแรมหลังหักคUาเชUาคงที่ โดยอายุสัญญาเชUามีระยะเวลา 3 ปÉ และตUออายุได0ภายใต0เงื่อนไขของ
สัญญา
ง) อื่น ๆ
กลุUมบริษัทมีกระแสเงินสดจUายทั้งหมดของสัญญาเชUาสำหรับปÉสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2564 จำนวน
262 ล0านบาท (2563: 911 ล0านบาท) (เฉพาะบริษัทฯ: 66 ล0านบาท 2563: 66 ล0านบาท) ซึ่งรวมถึง
กระแสเงินสดจUายของสัญญาเชUาระยะสั้น สัญญาเชUาซึ่งสินทรัพย,อ0างอิงมีมูลคUาต่ำ และคUาเชUาผันแปรที่ไมU
ขึ้นอยูUกับดัชนีหรืออัตรา ทั้งนี้ กระแสเงินสดจUายในอนาคตเกี่ยวกับสัญญาเชUาซึ่งยังไมUเริ่มมีผลได0เปpดเผยไว0
ในหมายเหตุ 38.1.3
20.2 กลุ=มบริษัทในฐานะผู0ให0เช=า
กลุUมบริษัทเข0าทำสัญญาเชUาดำเนินงานสำหรับอสังหาริมทรัพย,เพื่อการลงทุนซึ่งประกอบด0วยอพาร,ทเม0นท,
ให0เชUา (ดูหมายเหตุ 18) โดยมีอายุสัญญาระหวUาง 1 - 8 ปÉ
กลุUมบริษัทมีจำนวนเงินขั้นต่ำที่คาดวUาจะได0รับในอนาคตจากการให0เชUาภายใต0สัญญาเชUาดำเนินงานที่ยกเลิก
ไมUได0 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 และ 2563 ดังนี้
(หนUวย: พันบาท)
งบการเงินรวม
2564 2563
ภายใน 1 ปÉ 668,141 556,432
มากกวUา 1 ปÉ แตUไมUเกิน 5 ปÉ 130,859 105,236
มากกวUา 5 ปÉ 7,000 22,056
รวม 806,000 683,724
21. สินทรัพย,ไม=มีตัวตน
มูลคUาสุทธิตามบัญชีของสินทรัพย,ไมUมีตัวตน (คอมพิวเตอร,ซอฟท,แวร,) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 และ 2563
แสดงได0ดังนี้
(หนUวย: พันบาท)
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ
2564 2563 2564 2563
ราคาทุน 96,827 92,704 58,801 57,267
หัก: คUาตัดจำหนUายสะสม (68,418) (59,454) (47,332) (44,804)
มูลคUาสุทธิตามบัญชี 28,409 33,250 11,469 12,463

การกระทบยอดมูลคUาสุทธิตามบัญชีของสินทรัพย,ไมUมตี ัวตน สำหรับปÉ 2564 และ 2563 แสดงได0ดังนี้

161 49
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

(หนUวย: พันบาท)
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ
2564 2563 2564 2563
มูลคUาสุทธิตามบัญชีต0นปÉ 33,250 41,273 12,463 15,203
ซื้อคอมพิวเตอร,ซอฟท,แวร, 3,795 3,087 3,004 1,155
จำหนUายและตัดจำหนUายระหวUางปÉ
- มูลคUาสุทธิตามบัญชี ณ วันที่จำหนUาย (4) (203) - -
คUาตัดจำหนUาย (รวมอยูUในคUาใช0จUาย
ในการบริหาร) (9,475) (11,080) (3,998) (3,895)
ผลตUางจากการแปลงคUางบการเงิน 843 173 - -
มูลคUาสุทธิตามบัญชีปลายปÉ 28,409 33,250 11,469 12,463

22. เงินกู0ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน
(หนUวย: พันบาท)
อัตราดอกเบี้ย
(ร0อยละตUอปÉ) งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ
2564 2563 2564 2563 2564 2563
ตั๋วสัญญาใช0เงิน 0.65 - 1.85 1.50 - 1.90 2,469,200 6,845,000 1,499,200 5,875,000
รวม 2,469,200 6,845,000 1,499,200 5,875,000

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2563 วงเงินกู0ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินของบริษัทฯ ค้ำประกันโดยการจำนำ


หุ0นสามัญบางสUวนของบริษัท โฮม โปรดักส, เซ็นเตอร, จำกัด (มหาชน) ซึ่งบริษัทฯ ได0จUายชำระคืนเงินกู0ยืม
ระยะสั้นของวงเงินดังกลUาวทั้งจำนวนแล0วในเดือนกันยายน 2564 และระยะเวลาเบิกใช0วงเงินกู0ยืมดังกลUาว
หมดอายุแล0วในเดือนกันยายน 2564 โดยปaจจุบันบริษัทฯ ได0ไถUถอนหุ0นสามัญของบริษัท โฮม โปรดักส,
เซ็นเตอร, จำกัด (มหาชน) ที่นำไปจำนำไว0กับสถาบันการเงินเรียบร0อยแล0ว
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 และ 2563 วงเงินกู0ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินของบริษัทยUอยค้ำประกันโดย
การจำนำหนUวยทรัสต,ของทรัสต,เพื่อการลงทุนในสิทธิการเชUาอสังหาริมทรัพย, แอล เอช ช0อปปpíง เซ็นเตอร,
และทรัสต,เพื่อการลงทุนในสิทธิการเชUาอสังหาริมทรัพย, แอล เอช โฮเทล และค้ำประกันโดยบริษัทฯ

162 50
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

23. เจ0าหนี้การค0าและเจ0าหนี้อ่นื
(หนUวย: พันบาท)
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ
2564 2563 2564 2563
เจ0าหนี้การค0า - กิจการที่ไมUเกี่ยวข0องกัน 2,130,636 2,106,080 1,206,468 1,414,578
เจ0าหนี้การค0า - กิจการที่เกี่ยวข0องกัน 10,473 6,283 3,116 4,724
เจ0าหนี้อื่น - กิจการที่เกี่ยวข0องกัน 7,482 6,462 12,159 5,999
ดอกเบี้ยค0างจUาย - กิจการที่เกี่ยวข0องกัน - - 15,000 15,098
คUาใช0จUายค0างจUาย 997,211 980,000 836,652 818,594
อื่น ๆ 37,965 41,457 30,210 35,305
รวมเจ0าหนี้การค0าและเจ0าหนี้อื่น 3,183,767 3,140,282 2,103,605 2,294,298

24. เงินกู0ยืมระยะยาว
(หนUวย: พันบาท)
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ
2564 2563 2564 2563
เงินกู0ยืมระยะยาว 18,021,725 15,010,388 9,347,400 8,520,000
หัก: สUวนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปÉ (2,571,561) (226,267) (2,465,000) -
เงินกู0ยืมระยะยาว - สุทธิจากสUวนที่ถึงกำหนด
ชำระภายในหนึ่งปÉ 15,450,164 14,784,121 6,882,400 8,520,000

163 51
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

ณ วั น ที ่ 31 ธั น วาคม 2564 และ 2563 เงิ น กู 0 ย ื ม ระยะยาวของกลุ U ม บริ ษ ั ท ที ่ ไ ด0 ร ั บ จากสถาบั น การเงิ น


มีรายละเอียดดังนี้
(หนUวย: ล0านบาท)
อัตราดอกเบี้ยตUอปÉ
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ (ร0อยละ) การชำระคืนเงินต0น หลักประกัน
2564 2563 2564 2563
บริษัทฯ 2,465 4,000 2,465 4,000 ร0อยละ 2.20 ภายในเดือนเมษายน 2565 ที่ดินและสิ่งปลูกสร0างของ
โครงการ
1,600 1,600 1,600 1,600 ร0อยละ 2.20 ภายในเดือนเมษายน 2567 ที่ดินและสิ่งปลูกสร0างของ
โครงการ
- 660 - 660 ร0อยละ 2.20 ภายในเดือนกันยายน 2568 ที่ดินและสิ่งปลูกสร0างของ
โครงการ
- 550 - 550 ร0อยละ 2.20 ภายในเดือนตุลาคม 2567 ที่ดินและสิ่งปลูกสร0างของ
โครงการ
1,710 1,710 1,710 1,710 ร0อยละ 2.40 ภายในเดือนตุลาคม 2568 ที่ดินและสิ่งปลูกสร0างของ
โครงการ
1,069 - 1,069 - ร0อยละ 2.20 ภายในเดือนมิถุนายน 2568 ที่ดินและสิ่งปลูกสร0างของ
โครงการ
449 - 449 - ร0อยละ 2.20 ภายในเดือนธันวาคม 2568 ที่ดินและสิ่งปลูกสร0างของ
โครงการ
838 - 838 - ร0อยละ 1.95 ภายในเดือนมิถุนายน 2567 ที่ดินและสิ่งปลูกสร0างของ
โครงการ
677 - 677 - ร0อยละ 1.95 ภายในเดือนมิถุนายน 2568 ที่ดินและสิ่งปลูกสร0างของ
โครงการ
539 - 539 - ร0อยละ 1.95 ภายในเดือนธันวาคม 2568 ที่ดินและสิ่งปลูกสร0างของ
โครงการ
บริษัทยUอย
บริษัท แอล เอช มอลล, 3,360 3,360 - - MLR - 2.50 เริ่มจUายชำระงวดแรก สิทธิการเชUาและสิ่งปลูกสร0าง
แอนด, โฮเทล จำกัด* ในเดือนมีนาคม 2566 ของโครงการ
จนถึงเดือนธันวาคม 2575
717 207 - - MLR - 2.75 เริ่มจUายชำระงวดแรก สิทธิการเชUาและสิ่งปลูกสร0าง
ในเดือนมีนาคม 2566 ของโครงการ
จนถึงเดือนธันวาคม 2575
160 - - - MLR - 2.75 เริ่มจUายชำระงวดแรก สิทธิการเชUาสิ่งปลูกสร0าง
ในเดือนธันวาคม 2566 ของโครงการ
จนถึงเดือนมิถุนายน 2575
Land and Houses U.S.A., Inc. 2,005 1,802 - - ร0อยละ 3.83 ชำระคืนเงินต0นทั้งจำนวน อพาร,ทเม0นท,ให0เชUา
ภายใน 5 ปÉ นับจากวันที่เบิก ของโครงการ
เงินกู0งวดแรก
1,376 - - - Prime rate - 0.30 ภายในเดือนมกราคม 2567 อพาร,ทเม0นท,ให0เชUาของโครงการ
บริษัท แอล.เอช. เมืองใหมU 377 441 - - MLR - 2.25 ชำระคืนเงินต0นเมื่อมีการโอน ที่ดินและสิ่งปลูกสร0างของ
จำกัด กรรมสิทธิ์บ0านในโครงการ โครงการ
หรือภายใน 5 ปÉนับจากการ
เบิกเงินกู0 งวดแรก
บริษัท แอลเอช แอสเซท 680 680 - - ร0อยละ 2.40 ภายในเดือนตุลาคม 2568 ที่ดินและสิ่งปลูกสร0างของ
จำกัด* โครงการ
รวม 18,022 15,010 9,347 8,520
หัก: สUวนที่ถึงกำหนดชำระ
ภายในหนึ่งปÉ (2,572) (226) (2,465) -
สุทธิ 15,450 14,784 6,882 8,520

* บริษัทฯ ในฐานะผู0ถือหุ0นของบริษัท แอล เอช มอลล, แอนด, โฮเทล จำกัด (“LHMH”) และบริษัท แอลเอช แอสเซท จำกัด (“LA”) ในอัตราร0อยละ 99.99 ได0ให0คำรับรองกับธนาคารผู0ให0สินเชื่อ
แกU LHMH และ LA โดยมีข0อปฏิบัติที่สำคัญบางประการ เชUน การดำรงสัดสUวนการถือหุ0น การให0การสนับสนุนทางการเงิน และบริษัทฯต0องได0รับการยินยอมจากผู0ให0สนิ เชื่ออยUางเป?นลายลักษณ,
อักษรหากมีการขาย โอนหรือจำนำหุ0นของ LHMH และ LA

164 52
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

การเปลี่ยนแปลงของบัญชีเงินกู0ยืมระยะยาวสำหรับปÉสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2564 และ 2563 มีรายละเอียด


ดังนี้
(หนUวย: พันบาท)
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ
2564 2563 2564 2563
ยอดคงเหลือต0นปÉ 15,010,388 10,221,585 8,520,000 4,000,000
กู0เพิ่ม 5,558,655 5,812,000 3,572,400 4,520,000
จUายคืนเงินกู0 (2,837,060) (1,016,183) (2,745,000) -
ผลตUางจากการแปลงคUางบการเงิน 289,742 (7,014) - -
ยอดคงเหลือปลายปÉ 18,021,725 15,010,388 9,347,400 8,520,000

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 และ 2563 กลุUมบริษัทได0นำที่ดินและสิ่งปลูกสร0างของโครงการ อสังหาริมทรัพย,


เพื่อการลงทุน ที่ดินรอการพัฒนา และสิทธิการเชUาที่ดินไปจดจำนองเป?นหลักประกันเงินกู0ยืมระยะยาว
ในเดือนมีนาคม 2563 บริษัทยUอยแหUงหนึ่งได0ทำสัญญาแก0ไขเพิ่มเติมสัญญากู0ยืมเงินกับธนาคารเพื่อขยาย
ระยะเวลาการจUายชำระคืนเงินต0นและพักการชำระหนี้เงินกู0ตั้งแตUเดือนมีนาคม 2563 จนถึงเดือนกุมภาพันธ,
2564 และเมื่อครบระยะเวลาพักการชำระหนี้เงินกู0 (Grace Period) บริษัทยUอยจะเริ่มชำระเงินกู0ตั้งแตUเดือน
มีนาคม 2564 เป?นต0นไป ตUอมาในเดือนมีนาคม 2564 และเดือนกันยายน 2564 บริษัทยUอยดังกลUาวได0ลงนาม
ในสัญญาแก0ไขเพิ่มเติมสัญญากู0ยืมเงินอีกสองฉบับกับธนาคารเพื่อพักการชำระหนี้เงินกู0ตั้งแตUเดือนมีนาคม
2564 ถึงเดือนกุมภาพันธ, 2566 และเมื่อครบระยะเวลาพักการชำระหนี้เงินกู0 (Grace period) บริษัทยUอย
จะเริ่มชำระเงินกู0ตั้งแตUเดือนมีนาคม 2566 เป?นต0นไป
สัญญากู0ยืมเงินสUวนใหญUได0ระบุข0อปฏิบัติและข0อจำกัดบางประการ เชUน อัตราสUวนการถือหุ0นของผู0ถือหุ0น
รายใหญU การเปลี่ยนแปลงกรรมการบริษัท การค้ำประกันหนี้สินหรือเข0ารับอาวัลตั๋วสัญญาใช0เงินแกUบุคคล
หรื อ นิ ต ิ บ ุ ค คลใด ๆ การจU า ยเงิ น ปa น ผล การรวมหรื อ ควบบริ ษ ั ท เข0 า กั บ บริ ษ ั ท อื ่ น การดำรงอั ต ราสU ว น
ทางการเงินบางประการ และการแจ0งให0ผู0ให0กู0ทราบอยUางเป?นลายลักษณ,อักษรเมื่อมีคดีความที่มีผลกระทบ
ตUอความสามารถในการชำระคืนเงินกู0 เป?นต0น
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 และ 2563 กลุUมบริษัทมีวงเงินกู0ยืมระยะยาวตามสัญญาเงินกู0ที่ยังไมUได0เบิกใช0
คงเหลือดังนี้
(หนUวย: ล0านบาท)
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ
2564 2563 2564 2563
วงเงินกู0ยืมที่ยังไมUได0เบิกใช0 6,698 9,925 - 4,125

165 53
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

25. หุ0นกู0
รายละเอียดการอนุมัติการออกจำหนUายหุ0นกู0ของบริษัทฯ มีดังนี้
อนุมัติโดย ที่ประชุมสามัญผู0ถือหุ0นเมื่อวันที่ 27 เมษายน 2560
จำนวน วงเงินหมุนเวียนไมUเกิน 60,000 ล0านบาทหรือเทียบเทUาในเงินสกุลอื่น
อายุ ไมUเกิน 10 ปÉ
ประเภท ด0อยสิทธิ และ/หรือ ไมUด0อยสิทธิ มีหลักประกัน และ/หรือ ไมUมีหลักประกัน
มีผู0แทนผู0ถือหุ0นกู0 และ/หรือ ไมUมีผู0แทนผู0ถือหุ0นกู0
วิธีเสนอขาย เสนอขายตUอผู0ลงทุนในประเทศ และ/หรือ ตUางประเทศ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 บริษัทฯ มีจำนวนหุ0นกู0ที่ยังไมUได0ออกตามการอนุมัติดังกลUาวข0างต0นจำนวนรวม


21,400 ล0านบาท (2563: 26,400 ล0านบาท)
ยอดคงเหลือของหุ0นกู0 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 และ 2563 มีดังนี้
งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
จำนวนหนUวย (หนUวย) จำนวนเงิน (พันบาท)
ครั้งที่ อัตราดอกเบี้ยตUอปÉ อายุ คืนเงินต0น ครบกำหนด 2564 2563 2564 2563
หุ0นกู0ประเภทไมUมีหลักประกันและไมUด0อยสิทธิ
ครั้งที่ 1/2561 คงที่ร0อยละ 2.96 7 ปÉ เมื่อครบกำหนด 7 มีนาคม 2568 1,200,000 1,200,000 1,200,000 1,200,000
ครั้งที่ 2/2561 คงที่ร0อยละ 1.98 3 ปÉ เมื่อครบกำหนด 7 พฤษภาคม 2564 - 6,000,000 - 6,000,000
ครั้งที่ 3/2561 คงที่ร0อยละ 3.02 3 ปÉ เมื่อครบกำหนด 5 ตุลาคม 2564 - 5,000,000 - 5,000,000
ครั้งที่ 1/2562 คงที่ร0อยละ 2.62 3 ปÉ เมื่อครบกำหนด 26 เมษายน 2565 6,000,000 6,000,000 6,000,000 6,000,000
ครั้งที่ 2/2562 คงที่ร0อยละ 2.12 3 ปÉ เมื่อครบกำหนด 15 ตุลาคม 2565 7,000,000 7,000,000 7,000,000 7,000,000
ครั้งที่ 1/2563 ชุดที่ 1 คงที่ร0อยละ 2.30 2 ปÉ เมื่อครบกำหนด 12 พฤษภาคม 2565 3,000,000 3,000,000 3,000,000 3,000,000
ครั้งที่ 1/2563 ชุดที่ 2 คงที่ร0อยละ 2.60 3 ปÉ เมื่อครบกำหนด 12 พฤษภาคม 2566 2,400,000 2,400,000 2,400,000 2,400,000
ครั้งที่ 2/2563 คงที่ร0อยละ 2.03 3 ปÉ เมื่อครบกำหนด 20 ตุลาคม 2566 3,000,000 3,000,000 3,000,000 3,000,000
ครั้งที่ 1/2564 ชุดที่ 1 คงที่ร0อยละ 1.09 2 ปÉ 16 วัน เมื่อครบกำหนด 12 พฤษภาคม 2566 3,000,000 - 3,000,000 -
ครั้งที่ 1/2564 ชุดที่ 2 คงที่ร0อยละ 1.50 3 ปÉ เมือ่ ครบกำหนด 26 เมษายน 2567 5,000,000 - 5,000,000 -
ครั้งที่ 2/2564 คงที่ร0อยละ 1.46 3 ปÉ 2 วัน เมื่อครบกำหนด 19 ตุลาคม 2567 8,000,000 - 8,000,000 -
รวม 38,600,000 33,600,000 38,600,000 33,600,000
หัก: หุ0นกู0ที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปÉ (16,000,000) (11,000,000)
หุ0นกู0 - สุทธิจากสUวนที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปÉ 22,600,000 22,600,000

166 54
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

การเปลี่ยนแปลงของบัญชีหุ0นกู0สำหรับปÉสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2564 และ 2563 มีรายละเอียดดังนี้


(หนUวย: พันบาท)
งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
2564 2563
ยอดคงเหลือต0นปÉ 33,600,000 39,200,000
บวก: ออกหุ0นกู0 16,000,000 8,400,000
หัก: ชำระคืน (11,000,000) (14,000,000)
ยอดคงเหลือปลายปÉ 38,600,000 33,600,000

หนั ง สื อ ชี ้ ช วนการออกหุ 0 น กู 0 ไ ด0 ร ะบุ ถ ึ ง ข0 อ ปฏิ บ ั ต ิ แ ละข0 อ จำกั ด บางประการ เชU น การดำรงอั ต ราสU ว น
ทางการเงิน การจUายเงินปaนผล และการจัดสUงรายงานเมื่อมีเหตุการณ,สำคัญ เชUน การถูกฟêองร0อง เป?นต0น
26. ประมาณการหนี้สิน
(หนUวย: พันบาท)
งบการเงินรวม
เงินสมทบ
คUาซUอมแซม กองทุน
บ0านหลัง นิติบุคคล คUาซUอมแซม ผลเสียหาย
การขาย คดีฟêองร0อง หมูUบ0าน สาธารณูปโภค จากโครงการ อื่น ๆ รวม
ณ วันที่ 1 มกราคม 2563 95,634 461,464 293,593 159,883 17,556 25,000 1,053,130
เพิ่มขึ้นในระหวUางปÉ 71,268 12,800 41,190 88,813 - 457 214,528
โอนกลับประมาณการหนี้สิน - (349,090) - - (17,556) - (366,646)
ลดลงจากรายจUายที่เกิดขึ้นจริง (83,353) (3,905) (14,567) (97,085) - - (198,910)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2563 83,549 121,269 320,216 151,611 - 25,457 702,102
เพิ่มขึ้นในระหวUางปÉ 131,251 2,742 55,254 89,408 - 465 279,120
โอนกลับประมาณการหนี้สิน - (104,728) - - - - (104,728)
ลดลงจากรายจUายที่เกิดขึ้นจริง (100,945) (4,000) (3,022) (84,448) - - (192,415)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 113,855 15,283 372,448 156,571 - 25,922 684,079

167 55
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

(หนUวย: พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
คUาซUอมแซม เงินสมทบ
บ0านหลัง กองทุนนิติ คUาซUอมแซม ผลเสียหาย
การขาย คดีฟêองร0อง บุคคลหมูUบ0าน สาธารณูปโภค จากโครงการ อื่น ๆ รวม
ณ วันที่ 1 มกราคม 2563 93,319 461,464 285,225 158,355 17,556 - 1,015,919
เพิ่มขึ้นในระหวUางปÉ 61,944 12,800 33,750 78,058 - - 186,552
โอนกลับประมาณการหนี้สิน - (349,090) - - (17,556) - (366,646)
ลดลงจากรายจUายที่เกิดขึ้นจริง (81,735) (3,905) (14,410) (93,009) - - (193,059)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2563 73,528 121,269 304,565 143,404 - - 642,766
เพิ่มขึ้นในระหวUางปÉ 101,244 2,742 46,211 77,611 - - 227,808
โอนกลับประมาณการหนี้สิน - (104,728) - - - - (104,728)
ลดลงจากรายจUายที่เกิดขึ้นจริง (90,130) (4,000) (2,093) (78,591) - - (174,814)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 84,642 15,283 348,683 142,424 - - 591,032

27. หนี้สินทางการเงินหมุนเวียนอื่น / หนี้สินทางการเงินไม=หมุนเวียนอืน่


ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 และ 2563 กลุUมบริษัทมีหนี้สินทางการเงินอื่น ดังนี้
(หนUวย: พันบาท)
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ
2564 2563 2564 2563
หนี้สินตราสารอนุพันธ,
สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราตUางประเทศ
และอัตราดอกเบี้ย (หมายเหตุ 40.1) 74,515 - 30,024 -
รวมหนี้สินทางการเงินหมุนเวียนอื่น 74,515 - 30,024 -
หนี้สินตราสารอนุพันธ,
สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราตUางประเทศ
และอัตราดอกเบี้ย (หมายเหตุ 40.1) 3,896 - 3,896 -
รวมหนี้สินทางการเงินไมUหมุนเวียนอื่น 3,896 - 3,896 -

168 56
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

28. สำรองผลประโยชน,ระยะยาวของพนักงาน
จำนวนเงินสำรองผลประโยชน,ระยะยาวของพนักงานซึ่งเป?นเงินชดเชยพนักงานเมื่อออกจากงาน แสดงได0ดังนี้
(หนUวย: พันบาท)
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ
2564 2563 2564 2563
สำรองผลประโยชน,ระยะยาวของพนักงานต0นปC 594,850 527,693 433,486 380,376
สUวนที่รับรู0ในกำไรหรือขาดทุน:
ต0นทุนบริการในปaจจุบัน 26,058 30,413 12,284 17,439
ต0นทุนดอกเบี้ย 8,704 15,667 4,624 8,984
สUวนที่รับรู0ในกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น:
ขาดทุน (กำไร) จากการประมาณการตาม
หลักคณิตศาสตร,ประกันภัย:
สUวนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงข0อสมมติ
ด0านประชากรศาสตร, (502) - - -
สUวนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลง
ข0อสมมติทางการเงิน (3,190) 23,836 - 22,496
สUวนที่เกิดจากการปรับปรุงจากประสบการณ, (13,580) 34,866 - 34,101
ผลประโยชน,ที่จUายในระหวUางปÉ (25,827) (37,625) (24,539) (29,910)
สำรองผลประโยชน,ระยะยาวของพนักงานปลายปC 586,513 594,850 425,855 433,486

กลุUมบริษัทคาดวUาจะจUายชำระผลประโยชน,ระยะยาวของพนักงานภายใน 1 ปÉข0างหน0า เป?นจำนวนประมาณ


68 ล0านบาท (2563: จำนวน 34 ล0านบาท) (เฉพาะบริษัทฯ: 63 ล0านบาท 2563: 33 ล0านบาท)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 ระยะเวลาเฉลี่ยถUวงน้ำหนักในการจUายชำระผลประโยชน,ระยะยาวของพนักงาน
ของกลุUมบริษัทประมาณ 21 ปÉ (2563: 22 ปÉ) (เฉพาะบริษัทฯ: 21 ปÉ 2563: 21 ปÉ)
สมมติฐานที่สำคัญในการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร,ประกันภัย สรุปได0ดังนี้
(หนUวย: ร0อยละตUอปÉ)
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ
2564 2563 2564 2563
อัตราคิดลด 1.1 - 2.4 1.1 - 2.7 1.1 1.1
อัตราการขึ้นเงินเดือน 5-6 5 - 6.5 5.5 5.5
อัตราการหมุนเวียนของพนักงาน 0 - 35 0 - 30 0 - 17.5 0 - 17.5

ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสมมติฐานที่สำคัญตUอมูลคUาปaจจุบันของภาระผูกพันผลประโยชน,ระยะยาวของ
พนักงาน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 และ 2563 สรุปได0ดังนี้

169 57
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

(หนUวย: ล0านบาท)
2564
อัตราการหมุนเวียนของ
อัตราคิดลด อัตราการขึ้นเงินเดือน พนักงาน
เพิ่มขึ้น ลดลง เพิ่มขึ้น ลดลง เพิ่มขึ้น ลดลง
0.5% 0.5% 0.5% 0.5% 10% 10%
งบการเงินรวม (27) 28 40 (32) (15) 5
งบการเงินเฉพาะกิจการ (17) 18 20 (18) (7) 7

(หนUวย: ล0านบาท)
2563
อัตราการหมุนเวียนของ
อัตราคิดลด อัตราการขึ้นเงินเดือน พนักงาน
เพิ่มขึ้น ลดลง เพิ่มขึ้น ลดลง เพิ่มขึ้น ลดลง
0.5% 0.5% 0.5% 0.5% 10% 10%
งบการเงินรวม (28) 30 30 (28) (11) 12
งบการเงินเฉพาะกิจการ (18) 19 18 (17) (6) 6
29. สำรองตามกฎหมาย
ภายใต0บทบัญญัติของมาตรา 116 แหUงพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ. 2535 บริษัทฯ ต0องจัดสรร
กำไรสุ ทธิ ประจำปÉ ส U ว นหนึ ่ งไว0 เ ป? น ทุ นสำรองไมU น0 อยกวU าร0 อยละ 5 ของกำไรสุ ทธิ ประจำปÉ ห ั กด0 วยยอด
ขาดทุนสะสมยกมา (ถ0ามี) จนกวUาทุนสำรองนี้จะมีจำนวนไมUน0อยกวUาร0อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน สำรอง
ตามกฎหมายดังกลUาวไมUสามารถนำไปจUายเงินปaนผลได0 ในปaจจุบันบริษัทฯ ได0จัดสรรสำรองตามกฏหมาย
ครบถ0วนแล0ว

170 58
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

30. รายได0จากสัญญาที่ทำกับลูกค0า
30.1 การจำแนกรายได0
(หนUวย: พันบาท)
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ
2564 2563 2564 2563
ประเภทของสินค0าหรือบริการ
รายได0จากการขายอสังหาริมทรัพย, 30,461,246 27,524,717 26,506,711 24,362,859
รายได0จากกิจการโรงแรม 764,154 976,268 - -
รายได0คUาบริการสาธารณูปโภค 439,744 398,073 387,161 356,759
รายได0คUาบริหารจัดการโครงการ 200,857 230,054 - -
รวมรายได0จากสัญญาที่ทำกับลูกค0า 31,866,001 29,129,112 26,893,872 24,719,618
รายได0คUาเชUา 843,618 1,210,900 - -
รายได0ดอกเบี้ย 43,972 39,858 387,959 484,281
รายได0เงินปaนผล 82,540 115,665 50,386 58,600
กำไรจากการขายอสังหาริมทรัพย, - 405,275 - -
กำไรจากอัตราแลกเปลี่ยน 477,742 2,138 416,910 8,623
รายได0อื่น ๆ 195,647 163,966 186,899 120,829
รวมรายได0 33,509,520 31,066,914 27,936,026 25,391,951
จังหวะเวลาในการรับรู0รายได0
รับรู0รายได0 ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง 31,225,400 28,500,985 26,506,711 24,362,859
รับรู0รายได0ตลอดชUวงเวลาหนึ่ง 640,601 628,127 387,161 356,759
รวมรายได0จากสัญญาที่ทำกับลูกค0า 31,866,001 29,129,112 26,893,872 24,719,618

การกระทบยอดระหวUางรายได0จากสัญญาที่ทำกับลูกค0ากับข0อมูลทางการเงินจำแนกตามสUวนงานที่เปpดเผยไว0
ในหมายเหตุประกอบงบการเงินข0อ 35 แสดงได0ดังนี้
(หนUวย: พันบาท)
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ
2564 2563 2564 2563
รายได0จากลูกค0าภายนอก 32,069,018 29,711,885 26,506,711 24,362,859
รายได0ระหวUางสUวนงาน 45,499 124,127 - -
รายได0คUาบริการสาธารณูปโภค 439,744 398,073 387,161 356,759
รายได0คUาบริหารจัดการโครงการ 200,857 230,054 - -
รวม 32,755,118 30,464,139 26,893,872 24,719,618
รายได0คUาเชUา (843,618) (1,210,900) - -
รายการปรับปรุงและตัดรายการระหวUางกัน (45,499) (124,127) - -
รวมรายได0จากสัญญาที่ทำกับลูกค0า 31,866,001 29,129,112 26,893,872 24,719,618

171 59
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

30.2 รายได0ที่รับรู0ที่เกี่ยวข0องกับยอดคงเหลือตามสัญญา
ในระหวUางปÉ กลุUมบริษัทรับรู0รายได0จากสัญญาที่ทำกับลูกค0าซึ่งเคยรวมอยูUในยอดยกมาของหนี้สินที่เกิดจาก
สัญญาดังนี้
(หนUวย: พันบาท)
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ
2564 2563 2564 2563
รายได0จากการขายอสังหาริมทรัพย,ที่รับรู0ใน
ระหวUางปÉที่เคยรวมอยูUในยอดยกมาของ
เงินรับลUวงหน0าจากลูกค0า 369,180 319,959 360,711 312,552
รายได0จากกิจการโรงแรมที่รับรู0
ในระหวUางปÉที่เคยรวมอยูUในยอดยกมา
ของเงินรับลUวงหน0าจากลูกค0า 15,698 4,501 - -

30.3 รายได0ที่คาดว=าจะรับรูส0 ำหรับภาระที่ยังปฏิบัติไม=เสร็จสิ้น


ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 กลุUมบริษัทคาดวUาจะมีรายได0จากการขายอสังหาริมทรัพย,ที่จะรับรู0ในอนาคต
สำหรับภาระที่ยังปฏิบัติไมUเสร็จสิ้นของสัญญาที่ทำกับลูกค0าจำนวน 3,848 ล0านบาท (2563: 3,356 ล0านบาท)
(เฉพาะบริษัทฯ: 3,316 ล0านบาท 2563: 3,132 ล0านบาท) ซึ่งกลุUมบริษัทคาดวUาจะปฏิบัติตามภาระที่ต0อง
ปฏิบัติของสัญญาดังกลUาวเสร็จสิ้นภายใน 1 ปÉ (2563: 2 ปÉ)
31. ต0นทุนทางการเงิน
(หนUวย: พันบาท)
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ
2564 2563 2564 2563
คUาใช0จUายดอกเบี้ยของเงินกู0ยืม 837,018 760,991 663,284 667,623
คUาใช0จUายดอกเบี้ยของหนี้สินตามสัญญาเชUา 267,378 120,717 5,933 6,922
ต0นทุนทางการเงินของประมาณการต0นทุน
ในการรื้อถอนและหนี้สินระยะยาว 8,009 6,422 - -
รวม 1,112,405 888,130 669,217 674,545

172 60
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

32. ค=าใช0จ=ายตามลักษณะ
รายการคUาใช0จUายแบUงตามลักษณะประกอบด0วยรายการคUาใช0จUายที่สำคัญ ดังตUอไปนี้
(หนUวย: ล0านบาท)
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ
2564 2563 2564 2563
ซื้อที่ดินและที่ดินรอการพัฒนา
และจUายคUางานกUอสร0างระหวUางปÉ 15,597 18,068 12,871 14,145
การเปลี่ยนแปลงในที่ดิน งานระหวUาง
กUอสร0างและที่ดินรอการพัฒนา 3,186 (1,122) 3,290 842
เงินเดือนและคUาแรงและผลประโยชน,อื่น
ของพนักงาน 1,328 1,283 1,162 1,114
คUาเสื่อมราคาและคUาตัดจำหนUาย 1,517 951 126 122

33. ภาษีเงินได0
คUาใช0จUายภาษีเงินได0สำหรับปÉสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2564 และ 2563 สรุปได0ดังนี้
(หนUวย: พันบาท)
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ
2564 2563 2564 2563
ภาษีเงินได0ป^จจุบัน:
ภาษีเงินได0นิติบุคคลสำหรับปÉ 1,482,487 1,295,370 1,242,851 1,006,163
ภาษีเงินได0รอการตัดบัญชี:
ภาษีเงินได0รอการตัดบัญชีจากการเกิด
ผลแตกตUางชั่วคราวและการกลับรายการ
ผลแตกตUางชั่วคราว (203,214) (79,634) (29,679) 40,874
ค=าใช0จ=ายภาษีเงินได0ที่แสดงอยู=ใน
งบกำไรขาดทุน 1,279,273 1,215,736 1,213,172 1,047,037

173 61
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

จำนวนภาษีเงินได0ที่เกี่ยวข0องกับสUวนประกอบแตUละสUวนของกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นสำหรับปÉสิ้นสุดวันที่ 31
ธันวาคม 2564 และ 2563 สรุปได0ดังนี้
(หนUวย: พันบาท)
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ
2564 2563 2564 2563
ภาษีเงินได0รอการตัดบัญชีที่เกี่ยวข0องกับ
ขาดทุนจากการวัดมูลคUาสินทรัพย,
ทางการเงินด0วยมูลคUายุติธรรมผUาน
กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น (75,406) (391,316) (39,272) (180,472)
ภาษีเงินได0รอการตัดบัญชีที่เกี่ยวข0องกับ
ผลกำไร (ขาดทุน) จากการประมาณการ
ตามหลักคณิตศาสตร,ประกันภัย 5,182 (11,740) - (11,319)
(70,224) (403,056) (39,272) (191,791)

รายการกระทบยอดระหวUางกำไรทางบัญชีกับคUาใช0จUายภาษีเงินได0มีดังนี้
(หนUวย: พันบาท)
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ
2564 2563 2564 2563
กำไรทางบัญชีกUอนภาษีเงินได0นิติบุคคล 8,217,835 8,337,510 8,149,301 8,191,954

อัตราภาษีเงินได0นิติบุคคล 20% และ 28% 17% และ 20% 20% 20%


กำไรทางบัญชีกUอนภาษีเงินได0นิติบุคคล
คูณอัตราภาษี 1,617,601 1,667,941 1,629,860 1,638,391
รายการปรับปรุงคUาใช0จUายภาษีเงินได0นิติบุคคล
ของปÉกUอน - 4,814 - -
ขาดทุนทางภาษีที่ยังไมUได0รับรู0ในงวดกUอน
ซึ่งนำมาลดคUาใช0จUายภาษีเงินได0ปaจจุบัน (898) (8) - -
ผลกระทบทางภาษีสำหรับ:
การเปลี่ยนแปลงมูลคUาเงินลงทุนตามวิธี
สUวนได0เสีย (466,666) (517,674) (426,085) (601,640)
คUาใช0จUายต0องห0าม 10,547 21,976 9,952 11,255
คUาใช0จUายที่มีสิทธิหักได0เพิ่มขึ้น (3,216) (2,736) (318) (1,368)
ขาดทุนทางภาษีที่ไมUได0บันทึกสินทรัพย,
ภาษีเงินได0รอการตัดบัญชี 112,219 10,111 - -
รายการที่ถือเป?นรายได0ทางภาษี 11,762 30,390 - -
อื่น ๆ (2,076) 922 (237) 399
รวม (337,430) (457,011) (416,688) (591,354)
คUาใช0จUายภาษีเงินได0ที่แสดงอยูUในงบกำไรขาดทุน 1,279,273 1,215,736 1,213,172 1,047,037

174 62
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

สUวนประกอบของสินทรัพย,ภาษีเงินได0รอการตัดบัญชีและหนี้สินภาษีเงินได0รอการตัดบัญชีประกอบด0วย
รายการดังตUอไปนี้
(หนUวย: พันบาท)
งบแสดงฐานะการเงิน
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ
2564 2563 2564 2563
สินทรัพย,ภาษีเงินได0รอการตัดบัญชี
คUาเผื่อการลดลงของมูลคUาสินค0าคงเหลือและ
ที่ดินรอการพัฒนา 180,174 180,574 170,567 170,003
คUาเผื่อการด0อยคUาของเงินลงทุนทั่วไป 5,200 5,200 5,200 5,200
คUาเผื่อการด0อยคUาของสินทรัพย, 67 67 67 67
คUาเสื่อมราคาสะสม - สโมสร และสระวUายน้ำ 196,645 165,458 177,597 150,700
คUาตัดจำหนUายสะสม - สิทธิการเชUา 1,136,403 1,186,722 - -
คUาตัดจำหนUายสะสม - สินทรัพย,ไมUมีตัวตนอื่น 388 2,079 - -
ประมาณการหนี้สิน 79,886 93,975 66,030 85,200
สำรองผลประโยชน,ระยะยาวของพนักงาน 115,651 116,976 85,171 86,697
ขาดทุนทางภาษีที่ยังไมUได0ใช0 349,872 360,074 - -
คUาเชUาที่ดินค0างจUาย 70,348 70,637 - -
ดอกเบี้ยค0างจUาย 126,309 4,028 - -
ต0นทุนดอกเบี้ยของโครงการ 37,952 27,105 37,952 27,106
สัญญาเชUา 38,614 22,196 1,145 735
ขาดทุนที่ยังไมUเกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงมูลคUา
ยุติธรรมของเงินลงทุนในตราสารทุน 224,200 145,762 161,910 122,536
รวม 2,561,709 2,380,853 705,639 648,244
หนี้สินภาษีเงินได0รอการตัดบัญชี
รายได0คUาเชUารับลUวงหน0า (1,559) (8,977) - -
กำไรที่ยังไมUเกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงมูลคUา
ยุติธรรมของเงินลงทุนในตราสารทุน (4,241) (1,311) - -
คUาเสื่อมราคาสะสม - อสังหาริมทรัพย,
เพื่อการลงทุน (345,204) (295,633) - -
คUาใช0จUายจUายลUวงหน0า (757) (1,433) - -
รายได0รับลUวงหน0าจากการขายทรัพย,สินให0แกU
ทรัสต,เพื่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย, (2,694,963) (2,833,087) - -
ต0นทุนในการได0มาซึ่งสัญญาที่ทำกับลูกค0า (16,733) (28,289) (16,733) (28,289)
รวม (3,063,457) (3,168,730) (16,733) (28,289)
สินทรัพย, (หนี้สิน) ภาษีเงินได0รอการตัดบัญชี - สุทธิ (501,748) (787,877) 688,905 619,955

175 63
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

(หนUวย: พันบาท)
งบแสดงฐานะการเงิน
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ
2564 2563 2564 2563
รายการในงบแสดงฐานะการเงินเปnนดังนี้
สินทรัพย,ภาษีเงินได0รอตัดบัญชี 804,816 721,179 688,905 619,955
หนี้สินภาษีเงินได0รอตัดบัญชี (1,306,564) (1,509,056) - -
สินทรัพย, (หนี้สิน) ภาษีเงินได0รอตัดบัญชี - สุทธิ (501,748) (787,877) 688,905 619,955

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 กลุUมบริษัทมีรายการผลแตกตUางชั่วคราวที่ใช0หักภาษีและขาดทุนทางภาษีที่ยัง


ไมUได0ใช0จำนวน 1,325 ล0านบาท (2563: 1,028 ล0านบาท) (เฉพาะของบริษัทฯ 2564 และ 2563: ไมUมี) ที่ไมUได0
บันทึกสินทรัพย,ภาษีเงินได0รอการตัดบัญชี เนื่องจากพิจารณาแล0วเห็นวUากลุUมบริษัทอาจไมUได0ใช0ประโยชน,
จากผลแตกตUางชั่วคราวและขาดทุนทางภาษีข0างต0น
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 ผลขาดทุนทางภาษีที่ยังไมUได0ใช0ของบริษัทยUอยมีจำนวนเงิน 372 ล0านบาท (2563:
78 ล0านบาท) ซึ่งจะทยอยสิ้นสุดระยะเวลาการให0ประโยชน,ภายในปÉ 2566
34. กำไรต=อหุ0น
กำไรตUอหุ0นขั้นพื้นฐานคำนวณโดยหารกำไรสำหรับ ปÉที่เป?นของผู0ถือหุ0นของบริษัทฯ (ไมUรวมกำไรขาดทุน
เบ็ดเสร็จอื่น) ด0วยจำนวนถัวเฉลี่ยถUวงน้ำหนักของหุ0นสามัญที่ออกอยูUในระหวUางปÉ
กำไรตUอหุ0นขั้นพื้นฐานแสดงการคำนวณได0 ดังนี้
งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการ
กำไรสำหรับปÉ จำนวนหุ0นสามัญถัวเฉลี่ยถUวงน้ำหนัก กำไรตUอหุ0น
2564 2563 2564 2563 2564 2563
(พันบาท) (พันบาท) (พันหุ0น) (พันหุ0น) (บาท) (บาท)
กำไรต=อหุ0นขั้นพื้นฐาน
กำไรสUวนที่เป?นของผู0ถือหุ0นของบริษัทใหญU 6,936,129 7,144,917 11,949,713 11,949,713 0.58 0.60

35. ข0อมูลทางการเงินจำแนกตามส=วนงาน
ข0อมูลสUวนงานดำเนินงานที่นำเสนอนี้สอดคล0องกับรายงานภายในของบริษัทฯ ที่ผู0มีอำนาจตัดสินใจสูงสุด
ด0านการดำเนินงานได0รับและสอบทานอยUางสม่ำเสมอเพื่อใช0ในการตัดสินใจในการจัดสรรทรัพยากรให0กับ
สUวนงานและประเมินผลการดำเนินงานของสUวนงาน ทั้งนี้ผู0มีอำนาจตัดสินใจสูงสุดด0านการดำเนินงานของ
บริษัทฯ คือ คณะกรรมการบริษัทฯ

176 64
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

เพื่อวัตถุประสงค,ในการบริหารงาน กลุUมบริษัทจัดโครงสร0างองค,กรเป?นหนUวยธุรกิจตามประเภทของผลิตภัณฑ,
และบริการ กลุUมบริษัทมีสUวนงานที่รายงานทั้งสิ้น 2 สUวนงาน ดังนี้
• สUวนงานธุรกิจอสังหาริมทรัพย, เป?นสUวนงานที่ดำเนินธุรกิจขายบ0าน ทาวน,เฮ0าส, และคอนโดมิเนียม
• สUวนงานธุรกิจให0เชUาพื้นที่และบริการเป?นสUวนงานที่ดำเนินธุรกิจเกี่ยวกับการให0เชUาพื้นที่ในศูนย,การค0า
และอพาร,ทเม0นท, ธุรกิจโรงแรม และรับจ0างบริหารโครงการ
ผู0มีอำนาจตัดสินใจสูงสุดสอบทานผลการดำเนินงานของแตUละหนUวยธุรกิจแยกจากกันเพื่อวัตถุประสงค,
ในการตัดสินใจเกี่ยวกับการจัดสรรทรัพยากรและการประเมินผลการปฏิบัติงาน กลุUมบริษัทประเมินผล
การปฏิบัติงานของสUวนงานโดยพิจารณาจากกำไรหรือขาดทุนจากการดำเนินงานและสินทรัพย,รวมซึ่ง
วั ดมู ลคU าโดยใช0 เ กณฑ, เ ดี ยวกั บที ่ ใ ช0 ใ นการวั ดกำไรหรื อขาดทุ นจากการดำเนิ นงานและสิ นทรั พย, รวมใน
งบการเงิน
การบันทึกบัญชีสำหรับรายการระหวUางสUวนงานที่รายงานเป?นไปในลักษณะเดียวกับการบันทึกบัญชีสำหรับ
รายการธุรกิจกับบุคคลภายนอก
ข0 อมู ลรายได0 และกำไรของสU วนงานของกลุ U มบริ ษั ทสำหรั บปÉ สิ ้ นสุ ดวั นที ่ 31 ธั นวาคม 2564 และ 2563
มีดังตUอไปนี้
(หนUวย: ล0านบาท)
สำหรับปÉสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2564
สUวนงานธุรกิจ รายการปรับปรุง
สUวนงานธุรกิจ ให0เชUาพื้นที่ รวมสUวนงาน และตัดรายการ
อสังหาริมทรัพย, และบริการ อื่น ๆ ที่รายงาน ระหวUางกัน งบการเงินรวม
รายได0จากลูกค0าภายนอก 30,461 1,608 - 32,069 - 32,069
รายได0ระหวUางสUวนงาน - 45 - 45 (45) -
รายได0ดอกเบี้ย 389 33 - 422 (378) 44
รายได0คUาบริการสาธารณูปโภค 440 - - 440 - 440
รายได0คUาบริหารจัดการโครงการ - 201 - 201 - 201
ต0นทุนทางการเงิน (700) (763) - (1,463) 351 (1,112)
คUาเสื่อมราคาและคUาตัดจำหนUาย (129) (1,388) - (1,517) - (1,517)
ขาดทุนจากการลดลงของมูลคUาโครงการ (79) - - (79) 29 (50)
โอนกลับประมาณการหนี้สิน
จากคดีความ 105 - - 105 - 105
กำไรจากการขายทรัพย,สิน 1 2 - 3 - 3
สUวนแบUงผลกำไรหรือขาดทุนจาก
บริษัทรUวมที่บันทึกตามวิธีสUวนได0เสีย 447 (31) 1,917 2,333 - 2,333
กำไร (ขาดทุน) ของส=วนงาน 6,870 (884) 1,917 7,903 42 7,945
รายได0และค=าใช0จ=ายที่ไม=ได0ป^นส=วน:
รายได0อื่น 275
กำไรจากอัตราแลกเปลี่ยน 478
ขาดทุนจากตราสารอนุพันธ, (480)
คUาใช0จUายภาษีเงินได0 (1,279)
กำไรสำหรับปC 6,939

177 65
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

สินทรัพย,ของสUวนงานของกลุUมบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 มีดังตUอไปนี้


(หนUวย: ล0านบาท)
สUวนงานธุรกิจ
สUวนงานธุรกิจ ให0เชUาพื้นที่ รวมสUวนงาน สินทรัพย,
อสังหาริมทรัพย, และบริการ อื่น ๆ ที่รายงาน ที่ไมUได0ปaนสUวน งบการเงินรวม
สินทรัพย,รวมของส=วนงาน 53,714 29,834 - 83,548 41,650 125,198
เงินลงทุนในบริษัทรUวมที่บันทึกตามวิธี
สUวนได0เสีย 8,026 294 15,907 24,227 - 24,227
การเพิ่มขึ้นของสินทรัพย,ไมUหมุนเวียน
ที่ไมUรวมเครื่องมือทางการเงินและ
สินทรัพย,ภาษีเงินได0รอตัดบัญชี 2,708 3,144 - 5,852 - 5,852

(หนUวย: ล0านบาท)
สำหรับปÉสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2563
สUวนงานธุรกิจ รายการปรับปรุง
สUวนงานธุรกิจ ให0เชUาพื้นที่ รวมสUวนงาน และตัดรายการ
อสังหาริมทรัพย, และบริการ อื่น ๆ ที่รายงาน ระหวUางกัน งบการเงินรวม
รายได0จากลูกค0าภายนอก 27,525 2,187 - 29,712 - 29,712
รายได0ระหวUางสUวนงาน 62 62 - 124 (124) -
รายได0ดอกเบี้ย 486 40 - 526 (486) 40
รายได0คUาบริการสาธารณูปโภค 398 - - 398 - 398
รายได0คUาบริหารจัดการโครงการ - 230 - 230 - 230
ต0นทุนทางการเงิน (705) (666) - (1,371) 483 (888)
คUาเสื่อมราคาและคUาตัดจำหนUาย (123) (828) - (951) - (951)
โอนกลับประมาณการหนี้สิน
จากคดีความ 349 - - 349 - 349
กำไรจากการขายอสังหาริมทรัพย, - 405 - 405 - 405
สUวนแบUงผลกำไรหรือขาดทุนจาก
บริษัทรUวมที่บันทึกตามวิธีสUวนได0เสีย 554 (21) 2,055 2,588 - 2,588
กำไร (ขาดทุน) ของส=วนงาน 6,228 (280) 2,055 8,003 174 8,177
รายได0และค=าใช0จ=ายที่ไม=ได0ป^นส=วน:
รายได0อื่น 280
กำไรจากอัตราแลกเปลี่ยน 2
ขาดทุนจากตราสารอนุพันธ, (121)
คUาใช0จUายภาษีเงินได0 (1,216)
กำไรสำหรับปC 7,122

178 66
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

สินทรัพย,ของสUวนงานของกลุUมบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2563 มีดังตUอไปนี้


(หนUวย: ล0านบาท)
สUวนงานธุรกิจ
สUวนงานธุรกิจ ให0เชUาพื้นที่ รวมสUวนงาน สินทรัพย,
อสังหาริมทรัพย, และบริการ อื่น ๆ ที่รายงาน ที่ไมUได0ปaนสUวน งบการเงินรวม
สินทรัพย,รวมของส=วนงาน 56,939 25,889 - 82,828 39,736 122,564
เงินลงทุนในบริษัทรUวมที่บันทึกตามวิธี
สUวนได0เสีย 7,932 325 15,707 23,964 - 23,964
การเพิ่มขึ้น (ลดลง) ของสินทรัพย,
ไมUหมุนเวียนที่ไมUรวมเครื่องมือทางการ
เงินและสินทรัพย,ภาษี
เงินได0รอตัดบัญชี (2,405) 4,411 - 2,006 - 2,006

ข0อมูลเกี่ยวกับเขตภูมิศาสตร,
รายได0จากลูกค0าภายนอกกำหนดขึ้นตามสถานที่ตั้งของลูกค0า
(หนUวย: ล0านบาท)
2564 2563
รายได0จากลูกค0าภายนอก
ประเทศไทย 31,471 29,024
ประเทศสหรัฐอเมริกา 598 688
รวม 32,069 29,712
สินทรัพย,ไม=หมุนเวียน (ไม=รวมเครื่องมือทางการเงินและ
สินทรัพย,ภาษีเงินได0รอตัดบัญชี)
ประเทศไทย 47,269 43,293
ประเทศสหรัฐอเมริกา 12,786 10,783
รวม 60,055 54,076

ข0อมูลเกี่ยวกับลูกค0ารายใหญ=
ในปÉ 2564 และ 2563 กลุUมบริษัทไมUมีรายได0จากลูกค0ารายใดที่มีมูลคUาเทUากับหรือมากกวUาร0อยละ 10 ของ
รายได0ของกิจการ

179 67
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

36. กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
บริษัทฯและพนักงานของบริษัทฯ และบริษัทยUอยและพนักงานของบริษัทยUอยได0รUวมกันจัดตั้งกองทุนสำรอง
เลี้ยงชีพขึ้นตามพระราชบัญญัติกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 โดยบริษัทฯ บริษัทยUอยและพนักงานจะ
จUายสมทบเข0ากองทุนเป?นรายเดือนในอัตราร0อยละ 5 - 7 ของเงินเดือน กองทุนสำรองเลี้ยงชีพนี้บริหารโดย
บริษัทหลักทรัพย,จัดการกองทุน แลนด, แอนด, เฮ0าส, จำกัด และจะจUายให0แกUพนักงานเมื่อพนักงานนั้นออก
จากงานตามระเบียบวUาด0วยกองทุน ในระหวUางปÉ กลุUมบริษัทรับรู0เงินสมทบดังกลUาวเป?นคUาใช0จUาย ดังนี้
(หนUวย: ล0านบาท)
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ
2564 2563 2564 2563
เงินสมทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ 56 58 36 36

37. เงินป^นผล

เงินปaนผล
เงินปaนผลที่ ระหวUางกาลที่ เงินปaนผล จำนวน จำนวน
อนุมัติจUาย จUายไปแล0ว ที่จาU ยเพิ่ม เงินปaนผล เงินปaนผล
เงินปaนผล อนุมัติโดย ตUอหุ0น ตUอหุ0น ตUอหุ0น ที่จาU ยเพิ่ม ที่จUายไปจริง
(บาท) (บาท) (บาท) (ล0านบาท) (ล0านบาท)
เงินปaนผลระหวUางกาล ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ 0.70 (0.30) 0.40 4,780 4,780
สำหรับปÉ 2562 เมื่อวันที่ 23 เมษายน 2563
เงินปaนผลระหวUางกาล ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ 0.20 - 0.20 2,390 2,390
สำหรับงวดดำเนินงาน เมื่อวันที่ 13 สิงหาคม 2563
วันที่ 1 มกราคม 2563 ถึง
วันที่ 30 มิถุนายน 2563
7,170
เงินปaนผลประจำปÉ 2563 ที่ประชุมสามัญผู0ถือหุ0น 0.50 (0.20) 0.30 3,585 3,585
เมื่อวันที่ 27 เมษายน 2564
เงินปaนผลระหวUางกาล ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ 0.25 - 0.25 2,987 2,987
สำหรับงวดดำเนินงาน เมื่อวันที่ 10 สิงหาคม 2564
วันที่ 1 มกราคม 2564 ถึง
วันที่ 30 มิถุนายน 2564
และกำไรสะสม
6,572

180 68
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

38. ภาระผูกพันและหนี้สินที่อาจเกิดขึ้น
38.1 ภาระผูกพัน
38.1.1 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 และ 2563 กลุUมบริษัทมีภาระผูกพันเกี่ยวกับการซื้อที่ดินและสัญญา
กUอสร0าง ดังนี้
(หนUวย: ล0านบาท)
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ
2564 2563 2564 2563
ภาระผูกพันเกี่ยวกับการซื้อที่ดิน 2,874 1,992 2,874 1,992
ภาระผูกพันตามสัญญากUอสร0าง 4,674 4,254 1,155 1,767
ภาระผูกพันที่จะต0องทำการพัฒนา
สาธารณูปโภคสUวนกลางของ
โครงการที่ดำเนินงานอยูU 1,295 1,498 951 1,062

38.1.2 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 กลุUมบริษัทมีที่ดินในโครงการที่ติดภาระจำยอมรวมจำนวนประมาณ


184 ไรU (2563: 177 ไรU) ซึ่งมูลคUาของที่ดินที่ติดภาระจำยอมดังกลUาวได0รวมเป?นต0นทุนโครงการแล0ว
38.1.3 ภาระผูกพันเกี่ยวกับสัญญาเชUา
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 และ 2563 บริษัทยUอยมีคUาเชUาจUายในอนาคตทั้งสิ้นภายใต0สัญญาเชUาที่
บอกเลิกไมUได0ซึ่งยังไมUเริ่มมีผล ดังนี้
(หนUวย: ล0านบาท)
งบการเงินรวม
2564 2563
ภายใน 1 ปÉ - -
มากกวUา 1 ปÉ แตUไมUเกิน 5 ปÉ 1,072 1,054
มากกวUา 5 ปÉ 1,839 1,857
รวม 2,911 2,911

181 69
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

38.2 หนังสือค้ำประกันธนาคาร
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 และ 2563 กลุUมบริษัทมีหนังสือค้ำประกันซึ่งออกโดยธนาคารในนามกลุUมบริษัท
ซึ่งเกี่ยวเนื่องกับภาระผูกพันทางปฏิบัติบางประการตามปกติธุรกิจของกลุUมบริษัทคงเหลือ ดังนี้
(หนUวย: ล0านบาท)
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ
2564 2563 2564 2563
หนังสือค้ำประกันการจัดหาและบำรุงสาธารณูปโภค 4,444 4,738 3,444 3,986
หนังสือค้ำประกันการใช0ไฟฟêา 42 46 19 25
หนังสือค้ำประกันการกUอสร0างอาคาร 34 33 - -
4,520 4,817 3,463 4,011

38.3 การค้ำประกัน
38.3.1 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 และ 2563 บริษัทฯมีหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นจากภาระการค้ำประกันเงินกู0ยืม
ของลูกค0าเป?นจำนวนเงิน 7 ล0านบาท

38.3.2 บริษัทฯ มีหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นซึ่งเกี่ยวเนื่องกับการสนับสนุนการเงิน (Letter of Comfort) ให0กับ


บริ ษ ั ท ยU อ ยสำหรั บ เงิ น กู 0 ย ื ม จากธนาคารและการออกหนั ง สื อ ค้ ำ ประกั น โดยธนาคารเพื ่ อ ใช0 ใ น
โครงการของบริษัทยUอย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 บริษัทยUอยดังกลUาวมียอดหนี้คงค0างตามสัดสUวน
การค้ ำ ประกั น ของบริ ษ ั ท ฯที ่ ก ำหนดในคำรั บ รองที ่ ใ ห0 ก ั บ ธนาคารจำนวน 5,887 ล0 า นบาท
(2563: 5,217 ล0านบาท)
นอกจากนี้ บริษัทฯ ได0ตกลงให0คำรับรองกับธนาคารผู0ให0สินเชื่อแกUทรัสต,เพื่อการลงทุนในสิทธิ
การเชUาอสังหาริมทรัพย, แอล เอช โฮเทล (“LHHOTEL”) เกี่ยวกับการให0บริษัท แอล เอช มอลล,
แอนด, โฮเทล จำกัด ซึ่งเป?นบริษัทยUอยของบริษัทฯ ดำรงสัดสUวนการถือหุ0นใน LHHOTEL และให0
บริษัท แอล แอนด, เอช โฮเทล แมเนจเมนท, จำกัด ซึ่งเป?นบริษัทยUอยของบริษัทฯ ดำรงระยะเวลาเชUา
ชU วงอสั งหาริ มทรั พย, ของโรงแรมแกรนด, เซนเตอร, พอยต, เทอร, มิ นอล 21 และโรงแรมแกรนด,
เซนเตอร, พอยต, ราชดำริ

182 70
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

38.4 คดีฟjองร0อง
1) ในระหวUางปÉ 2553 - 2559 นิติบุคคลหมูUบ0านจัดสรรแหUงหนึ่งและลูกบ0านฟêองร0องบริษัทฯ เกี่ยวกับ
การสร0 างโรงเรี ยนอนุ บาลในโครงการ รวมทั ้ ง สิ ้ น 10 คดี ซึ ่ ง มี ทุ นทรั พย, รวมจำนวน 493 ล0 านบาท
โดยมีรายละเอียดดังนี้
ก) สำหรับคดีที่ 1 ซึ่งมีทุนทรัพย,จำนวน 338 ล0านบาท ศาลชั้นต0นได0มีคำพิพากษาให0บริษัทฯ ชดใช0
คUาเสียหายจำนวน 27 ล0านบาท พร0อมดอกเบี้ยในอัตราร0อยละ 7.5 ตUอปÉ นับแตUวันที่ 18 มกราคม
2551 เป? น ต0 น ไปจนกวU า จะชำระเสร็ จ และในเดื อ นกั น ยายน 2556 ศาลอุ ท ธรณ, พ ิ พ ากษาแก0
คำพิพากษาของศาลชั้นต0นโดยให0บริษัทฯชดใช0คUาเสียหายจำนวน 13.8 ล0านบาทพร0อมดอกเบี้ย
ในอัตราร0อยละ 7.5 ตUอปÉนับแตUวันที่ 18 มกราคม 2551 เป?นต0นไปจนกวUาจะชำระเสร็จ ตUอมา
ในเดือนสิงหาคม 2563 ศาลฎีกาแก0คำพิพากษาของศาลอุทธรณ,โดยพิพากษายกฟêอง ดังนั้นคดีนี้
จึงเป?นอันยุติ
ข) ในระหวUางเดือนตุลาคมถึงเดือนพฤศจิกายน 2563 ศาลได0มีคำพิพากษายกฟêองคดีที่ 2 และมีคำสั่ง
จำหนUายคดีที่ 3 ถึงคดีที่ 7 ออกจากสารบบ ซึ่งมีทุนทรัพย,รวมทั้งสิ้น 41 ล0านบาท ดังนั้น คดีนี้จึง
เป?นอันยุติ
ค) ในระหวUางเดือนธันวาคม 2563 ถึงเดือนมีนาคม 2564 โจทก,ได0ถอนฟêองคดีที่ 8 ถึงคดีที่ 10 ซึ่งมี
ทุนทรัพย,รวมทั้งสิ้น 114 ล0านบาทเป?นทีเ่ รียบร0อยแล0ว ดังนั้น คดีน้จี ึงเป?นอันยุติ
ทั้งนี้ บริษัทฯได0โอนกลับประมาณการหนี้สินที่เคยบันทึกไว0สำหรับคดีความข0างต0นที่สิ้นสุดในระหวUาง
ปÉปaจจุบันรวมจำนวน 104 ล0านบาท (2563: 349 ล0านบาท)
นอกจากนี้ ในปÉ 2561 นิติบุคคลหมูUบ0านจัดสรรและลูกบ0านฟêองร0องบริษัทฯเพิ่มอีก 2 คดี เกี่ยวกับ
การสร0างโรงเรียนอนุบาลในโครงการ โดยมีทุนทรัพย,รวมจำนวน 23 ล0านบาท ในเดือนสิงหาคม 2563
นิติบุคคลหมูUบ0านจัดสรรและลูกบ0านได0ถอนฟêองบริษัทฯเป?นที่เรียบร0อยแล0ว
2) ในเดือนพฤศจิกายน 2563 และในเดือนมีนาคม 2564 ลูกบ0านและนิติบุคคลหมูUบ0านจัดสรรแหUงหนึ่ง
ฟêองร0องบริษัทฯ รวม 3 คดี เกี่ยวกับการปฏิบัติตามมาตรการปêองกันและแก0ไขผลกระทบสิ่งแวดล0อม
(EIA) ด0านทางเข0าออกพื้นที่ของบุคคลอื่นที่ได0รับผลกระทบจากการพัฒนาโครงการจัดสรรที่ดินของ
บริษัทฯ โดยโจทก,เรียกร0องให0บริษัทฯ ซื้อที่ดินแปลงที่เป?นข0อพิพาทหรือชำระเงินคUาซื้อขายที่ดินแปลง
ดังกลUาวแกUโจทก,และเรียกร0องให0บริษัทฯ ซื้อบ0านพร0อมที่ดินของโจทก, โดยมีทุนทรัพย,รวมทั้งสิ้น 257
ล0านบาท ซึ่งในเดือนธันวาคม 2564 โจทก,ได0ถอนฟêองทั้งสามคดีเรียบร0อยแล0ว
3) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 กลุUมบริษัทได0ถูกฟêองร0องในคดีอื่นๆ เกี่ยวกับการเรียกร0องคUาเสียหายเนื่องจาก
การทำผิดสัญญา ซึ่งมีทนุ ทรัพย,รวมจำนวน 114 ล0านบาท (2563: 96 ล0านบาท)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 บริษัทฯได0บันทึกสำรองคUาเผื่อหนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้นจากคดีความทั้งหมดรวม
จำนวน 15 ล0านบาท (2563: 121 ล0านบาท)

183 71
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

39. ลำดับชั้นของมูลค=ายุติธรรม
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 และ 2563 กลุUมบริษัทมีสินทรัพย,และหนี้สินที่วัดมูลคUาด0วยมูลคUายุติธรรมหรือ
เปpดเผยมูลคUายุติธรรมแยกแสดงตามลำดับชั้นของมูลคUายุตธิ รรม ดังนี้
(หนUวย: ล0านบาท)
งบการเงินรวม
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564
ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 รวม
สินทรัพย,ที่วัดมูลค=าด0วยมูลค=ายุติธรรม
เงินลงทุนในตราสารทุนที่วัดมูลคUาด0วยมูลคUายุติธรรมผUาน
กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น 3,740 - 115 3,855
ตราสารอนุพันธ, - สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราตUางประเทศ
และอัตราดอกเบี้ย - 64 - 64
สินทรัพย,ที่เปuดเผยมูลค=ายุติธรรม
เงินลงทุนในบริษัทรUวมที่เป?นบริษัทจดทะเบียน
ในตลาดหลักทรัพย, 70,320 - - 70,320
อสังหาริมทรัพย,เพื่อการลงทุน - - 13,677 13,677
หนี้สินที่วัดมูลค=าด0วยมูลค=ายุติธรรม
ตราสารอนุพันธ, - สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราตUางประเทศ
และอัตราดอกเบี้ย - 78 - 78
หนี้สินที่เปuดเผยมูลค=ายุติธรรม
เงินกู0ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน - - 17,267 17,267
หุ0นกู0 - 35,922 - 35,922

(หนUวย: ล0านบาท)
งบการเงินรวม
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2563
ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 รวม
สินทรัพย,ที่วัดมูลค=าด0วยมูลค=ายุติธรรม
เงินลงทุนในตราสารหนี้ที่วัดมูลคUาด0วยมูลคUายุติธรรมผUาน
กำไรหรือขาดทุน - 1,000 - 1,000
เงินลงทุนในตราสารทุนที่วัดมูลคUาด0วยมูลคUายุติธรรมผUาน
กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น 4,132 - 100 4,232
ตราสารอนุพันธ, - สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราตUางประเทศ
และอัตราดอกเบี้ย - 616 - 616

184 72
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

(หนUวย: ล0านบาท)
งบการเงินรวม
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2563
ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 รวม
สินทรัพย,ที่เปuดเผยมูลค=ายุติธรรม
เงินลงทุนในบริษัทรUวมที่เป?นบริษัทจดทะเบียน
ในตลาดหลักทรัพย, 65,533 - - 65,533
อสังหาริมทรัพย,เพื่อการลงทุน - - 11,211 11,211
หนี้สินที่เปuดเผยมูลค=ายุติธรรม
เงินกู0ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน - - 14,550 14,550
หุ0นกู0 - 31,729 - 31,729

(หนUวย: ล0านบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564
ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 รวม
สินทรัพย,ที่วัดมูลค=าด0วยมูลค=ายุติธรรม
เงินลงทุนในตราสารทุนที่วัดมูลคUาด0วยมูลคUายุติธรรมผUาน
กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น 2,650 - - 2,650
ตราสารอนุพันธ, - สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราตUางประเทศ
และอัตราดอกเบี้ย - 64 - 64
สินทรัพย,ที่เปuดเผยมูลค=ายุติธรรม
เงินลงทุนในบริษัทรUวมที่เป?นบริษัทจดทะเบียน
ในตลาดหลักทรัพย, 70,320 - - 70,320
อสังหาริมทรัพย,เพื่อการลงทุน - - 293 293
หนี้สินที่วัดมูลค=าด0วยมูลค=ายุติธรรม
ตราสารอนุพันธ, - สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราตUางประเทศ
และอัตราดอกเบี้ย - 34 - 34
หนี้สินที่เปuดเผยมูลค=ายุติธรรม
เงินกู0ยืมจากกิจการที่เกี่ยวข0องกัน - - 803 803
เงินกู0ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน - - 8,651 8,651
หุ0นกู0 - 35,922 - 35,922

185 73
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

(หนUวย: ล0านบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2563
ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 รวม
สินทรัพย,ที่วัดมูลค=าด0วยมูลค=ายุติธรรม
เงินลงทุนในตราสารหนี้ที่วัดมูลคUาด0วยมูลคUายุติธรรมผUาน
กำไรหรือขาดทุน - 1,000 - 1,000
เงินลงทุนในตราสารทุนที่วัดมูลคUาด0วยมูลคUายุติธรรมผUาน
กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น 2,847 - - 2,847
ตราสารอนุพันธ, - สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราตUางประเทศ
และอัตราดอกเบี้ย - 602 - 602
สินทรัพย,ที่เปuดเผยมูลค=ายุติธรรม
เงินลงทุนในบริษัทรUวมที่เป?นบริษัทจดทะเบียน
ในตลาดหลักทรัพย, 65,533 - - 65,533
อสังหาริมทรัพย,เพื่อการลงทุน - - 220 220
หนี้สินที่เปuดเผยมูลค=ายุติธรรม
เงินกู0ยืมจากกิจการที่เกี่ยวข0องกัน - - 803 803
เงินกู0ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน - - 8,116 8,116
หุ0นกู0 - 31,729 - 31,729

40. เครื่องมือทางการเงิน
40.1 ตราสารอนุพันธ,
(หนUวย: พันบาท)
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ
2564 2563 2564 2563
สินทรัพย,ตราสารอนุพันธ,
สินทรัพย,ตราสารอนุพันธ,ที่ไมUได0กำหนดให0เป?น
เครื่องมือที่ใช0ปêองกันความเสี่ยง
สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราตUางประเทศและ
อัตราดอกเบี้ย 63,518 615,628 63,518 602,428
รวมสินทรัพย,ตราสารอนุพันธ, 63,518 615,628 63,518 602,428

186 74
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

(หนUวย: พันบาท)
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ
2564 2563 2564 2563
หนี้สินตราสารอนุพันธ,
หนี ้ ส ิ น ตราสารอนุ พ ั น ธ, ท ี ่ ไ มU ไ ด0 ก ำหนดให0 เ ป? น
เครื่องมือที่ใช0ปêองกันความเสี่ยง
สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราตUางประเทศและ
อัตราดอกเบี้ย 78,411 - 33,920 -
รวมหนี้สินตราสารอนุพันธ, 78,411 - 33,920 -

ตราสารอนุพันธ,ที่ไม=ได0กำหนดให0เปnนเครื่องมือที่ใช0ปjองกันความเสี่ยง
กลุ U ม บริ ษ ั ท ใช0 ส ั ญญาแลกเปลี ่ ย นเงิ น ตราตU างประเทศและอั ตราดอกเบี ้ ย เพื ่ อบริ ห ารความเสี ่ ย งในการ
ทำธุรกรรมบางสUวน โดยเข0าทำสัญญาดังกลUาวในชUวงเวลาที่สอดคล0องกับความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน
เงินตราตUางประเทศและอัตราดอกเบี้ยของรายการอ0างอิงซึ่งมีอายุสัญญาโดยทั่วไปตั้งแตU 20 เดือนถึง
60 เดือน
40.2 วัตถุประสงค,และนโยบายการบริหารความเสี่ยงทางการเงิน
เครื่องมือทางการเงินที่สำคัญของกลุUมบริษัทประกอบด0วย เงินสดและรายการเทียบเทUาเงินสด ลูกหนี้การค0า
และลูกหนี้อื่น เงินให0กู0ยืมแกUกิจการที่เกี่ยวข0องกัน เงินให0กู0ยืมแกUกิจการอื่น เงินลงทุน เจ0าหนี้การค0าและ
เจ0าหนี้อื่น เงินกู0ยืมระยะสั้น เงินกู0ยืมจากกิจการที่เกี่ยวข0องกัน หุ0นกู0 และเงินกู0ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน
กลุUมบริษัทมีความเสี่ยงทางการเงินที่เกี่ยวข0องกับเครื่องมือทางการเงินดังกลUาว และมีนโยบายการบริหาร
ความเสี่ยง ดังนี้
ความเสี่ยงด0านเครดิต
กลุUมบริษัทมีความเสี่ยงด0านเครดิตที่เกี่ยวเนื่องกับลูกหนี้การค0าและลูกหนี้อื่น เงินให0กู0ยืม เงินฝากกับธนาคาร
และสถาบันการเงิน และเครื่องมือทางการเงินอื่น ๆ โดยจำนวนเงินสูงสุดที่กลุUมบริษัทอาจต0องสูญเสีย
จากการให0 สิ นเชื ่ อคื อมู ลคU าตามบั ญชี ที ่ แสดงอยู U ในงบแสดงฐานะการเงิ น ยกเว0 นตราสารอนุ พั นธ, ซึ ่ งได0
เปpดเผยจำนวนเงินสูงสุดที่กลุUมบริษัทอาจต0องสูญเสียไว0ในหัวข0อความเสีย่ งด0านสภาพคลUอง
ลูกหนี้การค0า
กลุUมบริษัทบริหารความเสี่ยงโดยใช0นโยบายและขั้นตอนในการควบคุมการให0สินเชื่ออยUางเหมาะสม จึงไมU
คาดวUาจะเกิดผลขาดทุนทางการเงินที่มีสาระสำคัญ นอกจากนี้ กลุUมบริษัทมีการติดตามยอดคงค0างของ
ลูกหนี้การค0าอยUางสม่ำเสมอ การให0สินเชื่อของกลุUมบริษัทเป?นการให0สินเชื่อแบบไมUกระจุกตัวสูง เนื่องจาก
กลุUมบริษัทมีฐานลูกค0าจำนวนมากและอยูUหลากหลายกลุUมอุตสาหกรรม

187 75
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

กลุ U ม บริ ษ ั ท พิ จ ารณาการด0 อ ยคU า ทุ ก วั น สิ ้ น รอบระยะเวลารายงาน อั ต ราการตั ้ ง สำรองของผลขาดทุ น


ด0านเครดิตที่คาดวUาจะเกิดขึ้นคำนวณโดยพิจารณาจากอายุหนี้คงค0างนับจากวันที่ถึงกำหนดชำระสำหรับ
กลุUมลูกค0าที่มีรูปแบบของความเสี่ยงด0านเครดิตที่คล0ายคลึงกัน โดยจัดกลุUมลูกค0าตามประเภทของลูกค0าและ
อันดับความนUาเชื่อถือของลูกค0า รวมถึงมีการเก็บเงินประกันและ/หรือเงินมัดจำบางสUวน การคำนวณ
ผลขาดทุนจากการด0อยคUาด0านเครดิตที่คาดวUาจะเกิดขึ้นคำนึงถึงผลของความนUาจะเป?นถUวงน้ำหนัก มูลคUา
ของเงินตามเวลาและข0อมูลที่มีความสมเหตุสมผลและสามารถสนับสนุนได0ที่มีอยูU ณ วันที่รายงานเกี่ยวกับ
เหตุการณ,ในอดีต สภาพการณ,ปaจจุบันและการคาดการณ,สภาวะเศรษฐกิจในอนาคต โดยทั่วไปกลุUมบริษัท
จะตัดจำหนUายลูกหนี้การค0าออกจากบัญชีหากลูกหนี้นั้นค0างชำระเกินกวUา 1 ปÉ และกลุUมบริษัทไมUได0มีการ
ดำเนินการตามกฎหมายกับลูกหนี้รายดังกลUาว
เครื่องมือทางการเงินและเงินฝากธนาคาร
กลุUมบริษัทบริหารความเสี่ยงด0านเครดิตที่เกี่ยวข0องกับยอดคงเหลือกับธนาคารและสถาบันการเงินโดยจะ
ลงทุ น กั บ คู U ส ั ญ ญาที ่ ไ ด0 ร ั บ การอนุ ม ั ต ิ แ ล0 ว และอยู U ใ นวงเงิ น สิ น เชื ่ อ ที ่ ก ำหนดให0 ก ั บ คู U ส ั ญ ญาแตU ล ะราย
โดยวงเงินสินเชื่ออาจมีการปรับปรุงในระหวUางปÉ การกำหนดวงเงินดังกลUาวเป?นการชUวยลดความเสี่ยงของ
การกระจุกตัวและบรรเทาผลขาดทุนทางการเงินที่อาจเกิดขึ้นจากการผิดนัดชำระของคูUสัญญา
กลุUมบริษัทมีความเสี่ยงด0านเครดิตของตราสารหนี้และตราสารอนุพันธ,ไมUสูงมากนักเนื่องจากคูUสัญญาเป?น
ธนาคารที่มีอันดับความนUาเชื่อถือด0านเครดิตที่อยูUในระดับสูงซึ่งประเมินโดยสถาบันจัดอันดับความนUาเชื่อถือ
ด0านเครดิตระหวUางประเทศ
ความเสี่ยงด0านตลาด
กลุUมบริษัทมีความเสี่ยงด0านตลาด 2 ประเภท ได0แกU ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน และความเสี่ยงจากอัตรา
ดอกเบี้ย โดยกลุUมบริษัทได0เข0าทำตราสารอนุพันธ,ประเภทสัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราตUางประเทศและอัตรา
ดอกเบี้ย เพื่อชUวยลดความเสี่ยงที่เกิดจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนและอัตราดอกเบี้ย
ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน
กลุUมบริษัทมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนที่สำคัญอันเกี่ยวเนื่องจากการให0กู0ยืมเงินเป?นเงินตราตUางประเทศ
โดยกลุUมบริษัทบริหารความเสี่ยงโดยการเข0าทำสัญญาแลกเปลี่ยนเงินตราตUางประเทศและอัตราดอกเบี้ย
ซึ่งสัญญาโดยสUวนใหญUมีอายุไมUเกิน 5 ปÉ

188 76
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 และ 2563 กลุUมบริษัทมียอดคงเหลือของสินทรัพย,และหนี้สินทางการเงินที่เป?น


สกุลเงินตราตUางประเทศ ดังนี้
งบการเงินรวม
สกุลเงิน สินทรัพย,ทางการเงิน หนี้สินทางการเงิน อัตราแลกเปลี่ยนเฉลี่ย
2564 2563 2564 2563 2564 2563
(ล0าน) (ล0าน) (ล0าน) (ล0าน) (บาทตUอหนUวยเงินตราตUางประเทศ)
เปโซฟpลิปปpนส, 2,878 3,395 - - 0.6550 0.6261
เหรียญสหรัฐอเมริกา 23 24 100 60 33.5929 30.0371

งบการเงินเฉพาะกิจการ
สกุลเงิน สินทรัพย,ทางการเงิน หนี้สินทางการเงิน อัตราแลกเปลี่ยนเฉลี่ย
2564 2563 2564 2563 2564 2563
(ล0าน) (ล0าน) (ล0าน) (ล0าน) (บาทตUอหนUวยเงินตราตUางประเทศ)
เปโซฟpลิปปpนส, 2,878 3,395 - - 0.6550 0.6261
เหรียญสหรัฐอเมริกา 263 272 - - 33.5929 30.0371

การวิเคราะห5ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยน
ตารางตUอไปนี้แสดงให0เห็นถึงผลกระทบตUอกำไรกUอนภาษีและกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นของกลุUมบริษัท
จากการเปลี่ยนแปลงที่อาจเกิดขึ้นอยUางสมเหตุสมผลของอัตราแลกเปลี่ยนสกุลเงินเหรียญสหรัฐอเมริกา
โดยกำหนดให0ตัวแปรอื่นทั้งหมดคงที่ ทั้งนี้ ผลกระทบตUอกำไรกUอนภาษีและกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นนี้
เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของมูลคUายุติธรรมของสินทรัพย,และหนี้สินที่เป?นตัวเงิน รวมถึงตราสารอนุพันธ,
ที่เป?นเงินตราตUางประเทศที่ไมUได0กำหนดให0เป?นเครื่องมือที่ใช0ปêองกันความเสี่ยง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564
และ 2563 ทั้งนี้ กลุUมบริษัทไมUมีความเสี่ยงอยUางเป?นสาระสำคัญจากการเปลี่ยนแปลงของสกุลเงินตรา
ตUางประเทศสกุลเงินอื่น
เพิ่มขึ้น / 2564 2563
สกุลเงิน ลดลง ผลกระทบตUอกำไรกUอนภาษี ผลกระทบตUอกำไรกUอนภาษี
(ร0อยละ) งบการเงิน งบการเงิน
งบการเงินรวม เฉพาะกิจการ งบการเงินรวม เฉพาะกิจการ
(พันบาท) (พันบาท) (พันบาท) (พันบาท)
เหรียญสหรัฐอเมริกา +3 (45,725) (27,371) (50,768) (66,794)
-3 45,725 27,371 50,768 66,794
ทั้งนี้ ข0อมูลนี้ไมUใชUการคาดการณ,หรือพยากรณ,สภาวะตลาดในอนาคต และควรใช0ด0วยความระมัดระวัง

189 77
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย
กลุUมบริษัทมีความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ยที่สำคัญอันเกี่ยวเนื่องกับเงินให0กู0ยืมแกUกิจการที่เกี่ยวข0องกัน เงินให0
กู0ยืมระยะยาวแกUกิจการอื่น เงินกู0ยืมระยะสั้น เงินกู0ยืมจากกิจการที่เกี่ยวข0องกัน หุ0นกู0 และเงินกู0ยืมระยะยาว
จากสถาบันการเงิน สินทรัพย,และหนี้สินทางการเงินสUวนใหญUมีอัตราดอกเบี้ยที่ปรับขึ้นลงตามอัตราตลาด
หรือมีอัตราดอกเบี้ยคงที่ซึ่งใกล0เคียงกับอัตราตลาดในปaจจุบัน
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 และ 2563 สินทรัพย,และหนี้สินทางการเงินที่สำคัญสามารถจัดตามประเภทอัตรา
ดอกเบี ้ ย และสำหรั บ สิ น ทรั พ ย, แ ละหนี ้ ส ิ น ทางการเงิ น ที ่ ม ี อ ั ต ราดอกเบี ้ ย คงที ่ ส ามารถแยกตามวั น ที่
ครบกำหนด หรือวันที่มีการกำหนดอัตราดอกเบี้ยใหมU (หากวันที่มีการกำหนดอัตราดอกเบี้ยใหมUถึงกUอน)
ได0ดังนี้
(หนUวย: ล0านบาท)
งบการเงินรวม
2564
อัตราดอกเบี้ยคงที่ อัตราดอกเบี้ย
ภายใน ปรับขึ้นลงตาม ไมUมีอัตรา อัตราดอกเบี้ย
เมื่อทวงถาม 1 ปÉ 1 ถึง 5 ปÉ มากกวUา 5 ปÉ ราคาตลาด ดอกเบี้ย รวม ที่แท0จริง
(ร0อยละตUอปÉ)
สินทรัพย,ทางการเงิน
เงินสดและรายการเทียบเทUาเงินสด 264 7,799 - - 1,563 705 10,331 หมายเหตุ 7
ลูกหนี้การค0าและลูกหนี้อื่น - - - - - 170 170 -
เงินฝากธนาคารที่มีภาระค้ำประกัน - - - - 11 - 11 0.1
เงินให0กู0ยืมแกUกิจการที่เกี่ยวข0องกัน - 595 - - - - 595 3.05
ตราสารหนี้ที่วัดมูลคUาด0วยราคาทุนตัดจำหนUาย - 30 - - - - 30 0.50
ตราสารทุนที่กำหนดให0วัดมูลคUาด0วยมูลคUายุติธรรม
ผUานกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น - - - - - 3,855 3,855 -
ตราสารอนุพันธ, - สัญญาแลกเปลี่ยน
เงินตราตUางประเทศและอัตราดอกเบี้ย - 45 19 - - - 64 2.60 - 2.92
เงินให0กู0ยืมระยะยาวแกUกิจการอื่น - - - - 20 - 20 หมายเหตุ 16
หนี้สินทางการเงิน
เงินกู0ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน 970 1,499 - - - - 2,469 หมายเหตุ 22
เจ0าหนี้การค0าและเจ0าหนี้อื่น - - - - - 3,184 3,184 -
เงินประกันงานกUอสร0าง - - - - - 538 538 -
เงินกู0ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน - 2,495 8,907 - 6,620 - 18,022 หมายเหตุ 24
หุ0นกู0 - 16,000 22,600 - - - 38,600 หมายเหตุ 25
หนี้สินตามสัญญาเชUา - 790 2,768 3,157 - - 6,715 2.25 - 4.48
ตราสารอนุพันธ, - สัญญาแลกเปลี่ยนเงินตรา
ตUางประเทศและอัตราดอกเบี้ย - 74 4 - - - 78 3.01 - 3.45

190 78
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

(หนUวย: ล0านบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
2564
อัตราดอกเบี้ยคงที่ อัตราดอกเบี้ย
ภายใน มากกวUา ปรับขึ้นลงตาม ไมUมีอัตรา อัตราดอกเบี้ย
เมื่อทวงถาม 1 ปÉ 1 ถึง 5 ปÉ 5 ปÉ ราคาตลาด ดอกเบี้ย รวม ที่แท0จริง
(ร0อยละตUอปÉ)
สินทรัพย,ทางการเงิน
เงินสดและรายการเทียบเทUาเงินสด - 7,500 - - 949 349 8,798 หมายเหตุ 7
ลูกหนี้การค0าและลูกหนี้อื่น - - - - - 231 231 -
เงินให0กู0ยืมแกUกิจการที่เกี่ยวข0องกัน 7,030 5,645 3,092 - - - 15,767 2.50 - 3.70
ตราสารทุนที่กำหนดให0วัดมูลคUาด0วยมูลคUายุติธรรม
ผUานกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น - - - - - 2,650 2,650 -
ตราสารอนุพันธ, - สัญญาแลกเปลี่ยน -
เงินตราตUางประเทศและอัตราดอกเบี้ย - 45 19 - - 64 2.60 - 2.92
หนี้สินทางการเงิน
เงินกู0ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน - 1,499 - - - - 1,499 หมายเหตุ 22
เจ0าหนี้การค0าและเจ0าหนี้อื่น - - - - - 2,104 2,104 -
เงินประกันงานกUอสร0าง - - - - - 338 338 -
เงินกู0ยืมจากกิจการที่เกี่ยวข0องกัน - 840 - - - - 840 2.13
เงินกู0ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน - 2,465 6,882 - - - 9,347 หมายเหตุ 24
หุ0นกู0 - 16,000 22,600 - - - 38,600 หมายเหตุ 25
หนี้สินตามสัญญาเชUา - 46 193 - - - 239 2.25 - 2.40
ตราสารอนุพันธ, - สัญญาแลกเปลี่ยน
เงินตราตUางประเทศและอัตราดอกเบี้ย - 30 4 - - - 34 3.01 - 3.45
(หนUวย: ล0านบาท)
งบการเงินรวม
2563
อัตราดอกเบี้ยคงที่ อัตราดอกเบี้ย
ภายใน ปรับขึ้นลงตาม ไมUมีอัตรา อัตราดอกเบี้ย
เมื่อทวงถาม 1 ปÉ 1 ถึง 5 ปÉ มากกวUา 5 ปÉ ราคาตลาด ดอกเบี้ย รวม ที่แท0จริง
(ร0อยละตUอปÉ)
สินทรัพย,ทางการเงิน
เงินสดและรายการเทียบเทUาเงินสด 137 4,830 - - 1,537 609 7,113 หมายเหตุ 7
ลูกหนี้การค0าและลูกหนี้อื่น - - - - - 187 187 -
เงินฝากธนาคารที่มีภาระค้ำประกัน - - - - 11 - 11 0.05
เงินให0กู0ยืมแกUกิจการที่เกี่ยวข0องกัน - - 534 - - - 534 3.05
ตราสารหนี้ที่วัดมูลคUาด0วยราคาทุนตัดจำหนUาย - 30 - - - - 30 0.70
สินทรัพย,ทางการเงินที่วัดมูลคUาด0วยมูลคUายุติธรรม
ผUานกำไรหรือขาดทุน - - - - - 1,000 1,000 -
ตราสารทุนที่กำหนดให0วัดมูลคUาด0วยมูลคUายุติธรรม
ผUานกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น - - - - - 4,232 4,232 -
ตราสารอนุพันธ, - สัญญาแลกเปลี่ยน
เงินตราตUางประเทศและอัตราดอกเบี้ย - 429 187 - - - 616 2.42 - 3.64
หนี้สินทางการเงิน
เงินกู0ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน - 6,845 - - - - 6,845 หมายเหตุ 22
เจ0าหนี้การค0าและเจ0าหนี้อื่น - - - - - 3,140 3,140 -
เงินประกันงานกUอสร0าง - - - - - 530 530 -
เงินกู0ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน - - 11,002 - 4,008 - 15,010 หมายเหตุ 24
หุ0นกู0 - 11,000 22,600 - - - 33,600 หมายเหตุ 25
หนี้สินตามสัญญาเชUา - 765 3,084 3,774 - - 7,623 2.25 - 4.48

191 79
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

(หนUวย: ล0านบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
2563
อัตราดอกเบี้ยคงที่ อัตราดอกเบี้ย
ภายใน มากกวUา ปรับขึ้นลงตาม ไมUมีอัตรา อัตราดอกเบี้ย
เมื่อทวงถาม 1 ปÉ 1 ถึง 5 ปÉ 5 ปÉ ราคาตลาด ดอกเบี้ย รวม ที่แท0จริง
(ร0อยละตUอปÉ)
สินทรัพย,ทางการเงิน
เงินสดและรายการเทียบเทUาเงินสด - 4,500 - - 818 337 5,655 หมายเหตุ 7
ลูกหนี้การค0าและลูกหนี้อื่น - - - - - 76 76 -
เงินให0กู0ยืมแกUกิจการที่เกี่ยวข0องกัน 4,892 6,266 1,822 - - - 12,980 2.5 - 4.0
สินทรัพย,ทางการเงินที่วัดมูลคUาด0วยมูลคUายุติธรรม
ผUานกำไรหรือขาดทุน - - - - - 1,000 1,000 -
ตราสารทุนที่กำหนดให0วัดมูลคUาด0วยมูลคUายุติธรรม
ผUานกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น - - - - - 2,847 2,847 -
ตราสารอนุพันธ, - สัญญาแลกเปลี่ยน
เงินตราตUางประเทศและอัตราดอกเบี้ย - 429 173 - - - 602 2.42 - 3.64
หนี้สินทางการเงิน
เงินกู0ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน - 5,875 - - - - 5,875 หมายเหตุ 22
เจ0าหนี้การค0าและเจ0าหนี้อื่น - - - - - 2,294 2,294 -
เงินประกันงานกUอสร0าง - - - - - 374 374 -
เงินกู0ยืมจากกิจการที่เกี่ยวข0องกัน - - 840 - - - 840 2.13
เงินกู0ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน - - 8,520 - - - 8,520 หมายเหตุ 24
หุ0นกู0 - 11,000 22,600 - - - 33,600 หมายเหตุ 25
หนี้สินตามสัญญาเชUา - 44 239 - - - 283 2.25 - 2.40

การวิเคราะห5ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ย
ผลกระทบตUอกำไรกUอนภาษีของกลุUมบริษัทจากการเปลี่ยนแปลงที่อาจเกิดขึ้นอยUางสมเหตุสมผลของอัตรา
ดอกเบี้ยของเงินกู0ยืมจากสถาบันการเงินที่มีอัตราดอกเบี้ยที่ปรับขึ้นลงตามอัตราตลาด ณ วันที่ 31 ธันวาคม
2564 และ 2563 แสดงได0ดังนี้
เพิ่มขึ้น / 2564 2563
เงินกู0ยืม ลดลง ผลกระทบตUอกำไรกUอนภาษี ผลกระทบตUอกำไรกUอนภาษี
(ร0อยละ) งบการเงิน งบการเงินเฉพาะ
งบการเงินรวม เฉพาะกิจการ งบการเงินรวม กิจการ
(พันบาท) (พันบาท) (พันบาท) (พันบาท)
เงินให0กู0ยืมสกุลเงินบาท +1 200 - - -
-1 (200) - - -
เงินกู0ยืมสกุลเงินบาท +1 (46,142) - (40,082) -
-1 46,142 - 40,082 -
เงินกู0ยืมสกุลเงินเหรียญ +1 (20,052) - - -
สหรัฐอเมริกา -1 20,052 - - -

192 80
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

การวิเคราะห,ผลกระทบข0างต0นจัดทำขึ้นโดยใช0สมมติฐานวUาจำนวนเงินให0กู0ยืมระยะยาวแกUกิจการอื่นและ
เงินกู0ยืมจากสถาบันการเงินที่มีอัตราดอกเบี้ยที่ปรับขึ้นลงตามอัตราตลาดและตัวแปรอื่นทั้งหมดคงที่ตลอด
1 ปÉ และยั งถื อเสมื อนวU าอั ตราดอกเบี ้ ยที ่ ปรั บขึ ้ นลงตามอั ตราตลาดของเงิ นกู 0 ยื มไมU ได0 มี อั ตราดอกเบี้ ย
ที่กำหนดไว0แล0ว ดังนั้น การเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ยที่เกิดขึ้นจึงมีผลกระทบตUอดอกเบี้ยที่ต0องชำระ
ตลอด 12 เดือนเต็ม ทั้งนี้ ข0อมูลนี้ไมUใชUการคาดการณ,หรือพยากรณ,สภาวะตลาดในอนาคต และควรใช0ด0วย
ความระมัดระวัง
ความเสี่ยงด0านสภาพคล=อง
กลุUมบริษัทมีการติดตามความเสี่ยงจากการขาดสภาพคลUองโดยการใช0เจ0าหนี้การค0า เงินกู0ยืมจากธนาคาร
หุ0นกู0 และสัญญาเชUา ทั้งนี้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 กลุUมบริษัทมีหนี้สินประมาณร0อยละ 34 ที่จะครบ
กำหนดชำระภายในหนึ่งปÉเมื่อเทียบกับมูลคUาตามบัญชีทั้งหมดของหนี้สินดังกลUาวที่แสดงอยูUในงบการเงิน
(2563: ร0อยละ 32) (เฉพาะบริษัทฯ: ร0อยละ 40 2563: ร0อยละ 37) กลุUมบริษัทได0ประเมินการกระจุกตัวของ
ความเสี่ยงที่เกี่ยวข0องกับการกู0ยืมเงินเพื่อนำไปชำระหนี้สินเดิมและได0ข0อสรุปวUาความเสี่ยงดังกลUาวอยูUใน
ระดับต่ำ กลุUมบริษัทมีความสามารถในการเข0าถึงแหลUงของเงินทุนที่หลากหลายอยUางเพียงพอ อีกทั้งยัง
สามารถตกลงกับผู0ให0กู0รายเดิมเพื่อขยายระยะเวลาของหนี้สินที่จะครบกำหนดภายใน 12 เดือนออกไปได0อีก
รายละเอียดการครบกำหนดชำระของหนี้สินทางการเงินที่ไมUใชUตราสารอนุพันธ,และเครื่องมือทางการเงินที่
เป?นตราสารอนุพันธ,ของกลุUมบริษัท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 และ 2563 ซึ่งพิจารณาจากกระแสเงินสดตาม
สัญญาซึ่งประกอบด0วยเงินต0นและดอกเบี้ยตามสัญญาที่ยังไมUคิดลดเป?นมูลคUาปaจจุบัน สามารถแสดงได0ดังนี้
(หนUวย: พันบาท)
งบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564
ไมUเกิน 1 ปÉ 1 - 5 ปÉ มากกวUา 5 ปÉ รวม
รายการที่ไม=ใช=ตราสารอนุพันธ,
เงินกู0ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน 2,489,717 - - 2,489,717
เจ0าหนี้การค0าและเจ0าหนี้อื่น 3,183,767 - - 3,183,767
เงินประกันงานกUอสร0าง 538,400 - - 538,400
เงินกู0ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน 2,900,047 14,134,252 2,592,200 19,626,499
หุ0นกู0 17,081,465 28,863,184 - 45,944,649
หนี้สินตามสัญญาเชUา 1,013,217 3,434,290 5,068,475 9,515,982
รวมรายการที่ไม=ใช=ตราสารอนุพันธ, 27,206,613 46,431,726 7,660,675 81,299,014
ตราสารอนุพันธ,
หนี้สินตราสารอนุพันธ,: จUายชำระสุทธิ 74,515 3,896 - 78,411
รวมตราสารอนุพันธ, 74,515 3,896 - 78,411

193 81
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

(หนUวย: พันบาท)
งบการเงินรวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2563
ไมUเกิน 1 ปÉ 1 - 5 ปÉ มากกวUา 5 ปÉ รวม
รายการที่ไม=ใช=ตราสารอนุพันธ,
เงินกู0ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน 6,930,438 - - 6,930,438
เจ0าหนี้การค0าและเจ0าหนี้อื่น 3,140,282 - - 3,140,282
เงินประกันงานกUอสร0าง 530,382 - - 530,382
เงินกู0ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน 603,376 13,695,082 2,167,891 16,466,349
หุ0นกู0 11,210,325 23,760,099 - 34,970,424
หนี้สินตามสัญญาเชUา 983,165 3,690,406 6,011,758 10,685,329
รวมรายการที่ไม=ใช=ตราสารอนุพันธ, 23,397,968 41,145,587 8,179,649 72,723,204
(หนUวย: พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564
ไมUเกิน 1 ปÉ 1 - 5 ปÉ มากกวUา 5 ปÉ รวม
รายการที่ไม=ใช=ตราสารอนุพันธ,
เงินกู0ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน 1,501,654 - - 1,501,654
เจ0าหนี้การค0าและเจ0าหนี้อื่น 2,103,605 - - 2,103,605
เงินประกันงานกUอสร0าง 337,867 - - 337,867
เงินกู0ยืมจากกิจการที่เกี่ยวข0องกัน 875,892 - - 875,892
เงินกู0ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน 2,629,484 7,224,578 - 9,854,062
หุ0นกู0 17,081,465 28,863,184 - 45,944,649
หนี้สินตามสัญญาเชUา 50,483 201,935 - 252,418
รวมรายการที่ไม=ใช=ตราสารอนุพันธ, 24,580,450 36,289,697 - 60,870,147
ตราสารอนุพันธ,
หนี้สินตราสารอนุพันธ,: จUายชำระสุทธิ 30,024 3,896 - 33,920
รวมตราสารอนุพันธ, 30,024 3,896 - 33,920

194 82
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

(หนUวย: พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2563
ไมUเกิน 1 ปÉ 1 - 5 ปÉ มากกวUา 5 ปÉ รวม
รายการที่ไม=ใช=ตราสารอนุพันธ,
เงินกู0ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน 5,941,878 - - 5,941,878
เจ0าหนี้การค0าและเจ0าหนี้อื่น 2,294,298 - - 2,294,298
เงินประกันงานกUอสร0าง 373,812 - - 373,812
เงินกู0ยืมจากกิจการที่เกี่ยวข0องกัน 17,892 842,982 - 860,874
เงินกู0ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน 191,906 8,850,941 - 9,042,847
หุ0นกู0 11,210,325 23,760,099 - 34,970,424
หนี้สินตามสัญญาเชUา 50,484 252,418 - 302,902
รวมรายการที่ไม=ใช=ตราสารอนุพันธ, 20,080,595 33,706,440 - 53,787,035

40.3 มูลค=ายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน
เนื่องจากเครื่องมือทางการเงินสUวนใหญUของกลุUมบริษัทจัดอยูUในประเภทระยะสั้นหรือมีอัตราดอกเบี้ย
ใกล0เคียงกับอัตราดอกเบี้ยในตลาด กลุUมบริษัทจึงประมาณมูลคUายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงินใกล0เคียง
กับมูลคUาตามบัญชีท่แี สดงในงบแสดงฐานะการเงิน ยกเว0นหนี้สินทางการเงิน ดังตUอไปนี้
(หนUวย: ล0านบาท)
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ
มูลคUาตามบัญชี มูลคUายุติธรรม มูลคUาตามบัญชี มูลคUายุติธรรม
2564 2563 2564 2563 2564 2563 2564 2563
หนี้สินทางการเงิน
เงินกู0ยืมจากกิจการที่เกี่ยวข0องกัน - - - - 840 840 803 803
เงินกู0ยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน 18,022 15,010 17,267 14,550 9,347 8,520 8,651 8,116
หุ0นกู0 38,600 33,600 35,922 31,729 38,600 33,600 35,922 31,729

กลุUมบริษัทมีวิธีการและสมมติฐานที่ใช0ในการประมาณการมูลคUายุติธรรมของเครื่องมือทางการเงิน ดังนี้
ก) สิ นทรั พย, และหนี ้ สิ นทางการเงิ นที ่ จะครบกำหนดในระยะเวลาอั นสั ้ น ได0 แกU เงิ นสดและรายการ
เทียบเทUาเงินสด ลูกหนี้และเงินให0กู0ยืมระยะสั้นแกUกิจการที่เกี่ยวข0องกัน เจ0าหนี้และเงินกู0ยืมระยะสั้น
จากสถาบันการเงิน แสดงมูลคUายุติธรรมโดยประมาณตามมูลคUาตามบัญชีที่แสดงในงบแสดงฐานะ
การเงิน
ข) เงินลงทุนในตราสารหนี้ แสดงมูลคUายุติธรรมตามราคาตลาดหรือคำนวณโดยใช0อัตราผลตอบแทน
ที่ประกาศโดยสมาคมตลาดตราสารหนี้ไทยหรือตลาดอื่น

195 83
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

ค) เงินลงทุนในตราสารทุน แสดงมูลคUายุติธรรมตามราคาตลาดหรืออ0างอิงจากแบบจำลองราคาที่ได0รับการ
ยอมรับโดยทั่วไปในกรณีที่ไมUมรี าคาตลาด
ง) หุ0นกู0และเงินกู0ยืมระยะยาวที่จUายดอกเบี้ยในอัตราคงที่แสดงมูลคUายุติธรรม โดยการคำนวณมูลคUา
ปaจจุบันของกระแสเงินสดจUายในอนาคต คิดลดด0วยอัตราดอกเบี้ยโดยประมาณในตลาดปaจจุบัน สำหรับ
เงินกู0ยืมที่มีเงื่อนไขใกล0เคียงกัน
จ) เงินให0กู0ยืมและเงินกู0ยืมระยะยาวที่มีดอกเบี้ยในอัตราใกล0เคียงกับอัตราดอกเบี้ยในตลาดแสดงมูลคUา
ยุติธรรมโดยประมาณตามมูลคUาตามบัญชีที่แสดงในงบแสดงฐานะการเงิน
ฉ) ตราสารอนุพันธ, แสดงมูลคUายุติธรรมซึ่งคำนวณโดยใช0เทคนิคการคิดลดกระแสเงินสดในอนาคตและ
แบบจำลองตามทฤษฎีในการประเมินมูลคUา ซึ่งข0อมูลที่นำมาใช0ในการประเมินมูลคUาสUวนใหญUเป?น
ข0อมูลที่สามารถสังเกตได0ในตลาดที่เกี่ยวข0อง เชUน อัตราแลกเปลี่ยนทันที อัตราแลกเปลี่ยนลUวงหน0า
ของเงินตราตUางประเทศ เส0นอัตราผลตอบแทนของอัตราดอกเบี้ย เป?นต0น กลุUมบริษัทได0คำนึงถึง
ผลกระทบของความเสี่ยงด0านเครดิตของคูUสัญญาในการประมาณมูลคUายุติธรรมของตราสารอนุพันธ,
ในระหวUางปÉปaจจุบัน ไมUมีการโอนรายการระหวUางลำดับชั้นของมูลคUายุติธรรม
40.4 การกระทบยอดรายการสินทรัพย,ทางการเงินที่วัดมูลคUายุติธรรมเป?นประจำและมีลำดับชั้นของมูลคUายุติธรรม
เป?นระดับ 3 แสดงได0ดังนี้
(หนUวย: พันบาท)
งบการเงินเฉพาะ
งบการเงินรวม กิจการ
เงินลงทุนในตราสารทุน เงินลงทุนในตราสารทุน
ของบริษัทที่ไมUใชU ของบริษัทที่ไมUใชU
บริษัทจดทะเบียน บริษัทจดทะเบียน
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2563 152,174 -
ขาดทุนสุทธิที่รับรู0ในกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น (51,880) -
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2563 100,294 -
กำไรสุทธิที่รับรู0ในกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น 14,652 -
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 114,946 -

196 84
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

ข0อสมมติฐานหลักที่ใช0ในการวัดมูลคUายุติธรรมสรุปได0ดังนี้
ข0อมูลที่ไมUสามารถ ความอUอนไหวที่มีตUอ
เครื่องมือทางการเงิน เทคนิคการวัดมูลคUา สังเกตได0ที่มีนัยสำคัญ อัตราที่ใช0 การเปลี่ยนแปลงในข0อมูล
เงินลงทุนในตราสารทุน ประเมินมูลคUาหุ0นโดยการ อัตราปรับลดปaจจัย 10.6% อัตราปรับลดปaจจัยความ
ของบริษัทที่ไมUใชU คิดลดเงินปaนผล ความเสี่ยง (2563: 8.5%) เสี่ยงที่เพิ่มขึ้น(ลดลง)
บริษัทจดทะเบียน (Dividend 2% จะทำให0มูลคUา
Discounted Model) ยุติธรรมลดลง
(เพิ่มขึ้น) เป?นจำนวน
21 ล0านบาท
(2563: 22 ล0านบาท)

41. การบริหารจัดการทุน
วัตถุประสงค,ในการบริหารจัดการทุนที่สำคัญของบริษัทฯ คือ การจัดให0มีซึ่งโครงสร0างทุนที่เหมาะสม
เพื่อสนับสนุนการดำเนินธุรกิจของกลุUมบริษัทและเสริมสร0างมูลคUาการถือหุ0นให0กับผู0ถือหุ0น รวมถึงการ
ปฏิบัติตามเงื่อนไขทางการเงินตามที่กำหนดไว0ในสัญญาเงินกู0 โดยกลุUมบริษัทได0ปฏิบัติตามเงื่อนไขทางการ
เงินดังกลUาวตลอดระยะเวลาที่รายงาน โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 กลุUมบริษัทมีอัตราสUวนหนี้สินตUอทุน
เทUากับ 1.47:1 (2563: 1.42:1) และเฉพาะบริษทั ฯ มีอัตราสUวนหนี้สินตUอทุนเทUากับ 1.11:1 (2563: 1.09:1)
42. เหตุการณ,ภายหลังรอบระยะเวลารายงาน
เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ, 2565 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ มีมติให0เสนอจUายเงินปaนผลสำหรับผลการ
ดำเนินงานประจำปÉ 2564 จากกำไรของบริษัทฯ เพิ่มเติมจากเงินปaนผลระหวUางกาลของบริษัทฯ ในอัตรา
หุ 0 น ละ 0.25 บาทให0 แ กU ผ ู 0 ถ ื อ หุ 0 น ของบริ ษ ั ท ฯ คิ ด เป? น จำนวนรวมทั ้ ง สิ ้ น 2,987 ล0 า นบาท โดยบริ ษ ั ท ฯ
จะนำเสนอตUอที่ประชุมสามัญผู0ถือหุ0นของบริษัทฯประจำปÉ 2565 เพื่อพิจารณาอนุมัติตUอไป
43. การอนุมัติงบการเงิน
งบการเงินนี้ได0รับอนุมัติให0ออกโดยคณะกรรมการบริษัทฯเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ, 2565

197 85
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

ส่วนที่ 4

เอกสารแนบ
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

คณะกรรมการและผู้บริหาร
นายนพร สุนทรจิตต์เจริญ อายุ 63 ปี พ.ค. 2554 - ก.ค. 2561 กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน
บมจ. แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป (บริษัทโฮลดิ้ง)
ต�ำแหน่ง พ.ค. 2554 - มิ.ย. 2560 กรรมการบริหาร
• ประธานกรรมการบริษัท บมจ. แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป (บริษัทโฮลดิ้ง)
• ประธานกรรมการบริหาร การด�ำรงต�ำแหน่งในบริษทั ทีไ่ ม่ได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
• กรรมการผู้มีอำ� นาจลงนามผูกพัน ธ.ค. 2556 - ปัจจุบัน กรรมการ
บมจ. หลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ (จัดการกองทุน)
วันที่ได้รับการแต่งตั้ง 12 พฤศจิกายน 2535
2555 - ปัจจุบัน กรรมการ
คุณวุฒิทางการศึกษา Land and Houses U.S.A., Inc.
• วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต(โยธา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (ลงทุนในอสังหาริมทรัพย์)
• MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2555 - ปัจจุบัน กรรมการ
• หลักสูตร วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ. รุ่น 2549) กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์และสิทธิเรียกร้อง
แลนด์แอนด์ เฮ้าส์ II (กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์)
• หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) 25/2547 : IOD
2548 - ปัจจุบัน กรรมการ, กรรมการบริหาร
• หลักสูตร Director Certification Program (DCP) 53/2548 : IOD บมจ. ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ (ธนาคาร)
• หลักสูตร Financial Institutions Governance Program (FGP) 2/2554 : IOD 2548 - ก.ค. 2561 กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน
• Stanford Executive Programe (SEP), Graduate School of Business, บมจ. ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ (ธนาคาร)
Stanford University, USA 2547 - ปัจจุบัน กรรมการ
สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) ณ 31 ธันวาคม 2564 บจก. แอล เอช แอสเซท (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์)
0.23 2546 - ปัจจุบัน กรรมการ
บจก. แอล เอช เรียลเอสเตท (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์)
ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร
2538 - ปัจจุบัน กรรมการ
- บจก. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ นอร์ธอีส
ประสบการณ์ท�ำงาน 5 ปี ย้อนหลัง (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์)
การด�ำรงต�ำแหน่งในบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2538 - ปัจจุบัน กรรมการ
ส.ค. 2560 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการบริษัท, ประธานกรรมการบริหาร บจก. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ นอร์ธ (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์)
บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์) 2538 - ปัจจุบัน กรรมการ
2535 - ปัจจุบัน กรรมการ บจก. แอล. เอช. เมืองใหม่ (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์)
บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์) 2536 - ปัจจุบัน กรรมการ
พ.ค. 2556 - ส.ค. 2560 กรรมการบริหาร, กรรมการผูจ้ ดั การ (สายปฏิบตั กิ าร) บจก. สยามธานี เรียลเอสเตท (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์)
บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์) 2533 - ปัจจุบัน กรรมการ
2545 - เม.ย. 2556 กรรมการบริหาร, รองกรรมการผูจ้ ดั การ (สายปฏิบตั กิ าร) บจก. สยามธานี พร๊อบเพอร์ตี้ (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์)
บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์) 2530 - ปัจจุบัน กรรมการ
2534 - 2544 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ บจก. แอตแลนติก เรียลเอสเตท
บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์) (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์)
มิ.ย. 2560 - ปัจจุบัน กรรมการ 2529 - ปัจจุบัน กรรมการ
บมจ. ควอลิตี้เฮ้าส์ (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์) บจก. แอล เอช มอลล์ แอนด์ โฮเทล
(พัฒนาอสังหาริมทรัพย์)
2558 - ปัจจุบัน กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน
บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ (ค้าปลีกวัสดุก่อสร้าง)
2544 - ปัจจุบัน กรรมการ, กรรมการบริหาร
บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ (ค้าปลีกวัสดุก่อสร้าง)
2537 - ปัจจุบัน กรรมการ
บมจ. ควอลิตี้ คอนสตรัคชัน่ โปรดัคส์ (ผลิตวัสดุกอ่ สร้าง)
พ.ค. 2554 - ปัจจุบัน กรรมการ
บมจ. แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป (บริษัทโฮลดิ้ง)
ก.ย. 2561 - มี.ค. 2562 กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน
บมจ. แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป (บริษัทโฮลดิ้ง)

199
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

นายอดิศร ธนนันท์นราพูล อายุ 67 ปี การด�ำรงต�ำแหน่งในบริษทั ทีไ่ ม่ได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย


2555 - ธ.ค. 2564 กรรมการ
ต�ำแหน่ง Land and Houses U.S.A., Inc.
• กรรมการผู้จัดการ (ลงทุนในอสังหาริมทรัพย์)
• กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนามผูกพัน 2548 - ธ.ค. 2564 กรรมการ
• กรรมการบริหาร บจ. แอล แอนด์ เอช พร็อพเพอร์ตี้
(พัฒนาอสังหาริมทรัพย์)
• กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
2547 - ธ.ค. 2564 กรรมการ
วันที่ได้รับการแต่งตั้ง 12 พฤศจิกายน 2535 บจก. แอล เอช แอสเซท (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์)
คุณวุฒิทางการศึกษา 2546 - ธ.ค. 2564 กรรมการ
• บัญชีบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ บจก. แอล เอช เรียลเอสเตท (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์)
• MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2545 - ธ.ค. 2564 กรรมการ
กองทุนอสังหาริมทรัพย์และสิทธิเรียกร้อง
• หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) 7/2547 : IOD แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ II (กองทุนอสังหาริมทรัพย์)
• หลักสูตร Director Certification Program (DCP) 41/2547 : IOD 2544 - ธ.ค. 2564 กรรมการ
• หลักสูตร ผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน หลักสูตร วตท. รุ่นที่ 2 บจก. แอล.เอช. เมืองใหม่ (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์)
• Stanford Executive Programe (SEP), Graduate School of Business, 2543 - ธ.ค. 2564 กรรมการ
Stanford University, USA บจก. เอเชีย แอสเซท แอดไวเซอรี่ (ที่ปรึกษาลงทุน)
สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) ณ 31 ธันวาคม 2564 2538 - ธ.ค. 2564 กรรมการ
บจก. แลนด์ แอน เฮ้าส์ นอร์ธ (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์)
0.70
2538 - ธ.ค. 2564 กรรมการ
ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร
บจก. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ นอร์ธอีส
- (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์)
ประสบการณ์ทำ� งาน 5 ปี ย้อนหลัง 2536 - ธ.ค. 2564 กรรมการ
การด�ำรงต�ำแหน่งในบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย บจก. สยามธานี เรียลเอสเตท (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์)
พ.ค. 2556 - ธ.ค. 2564 กรรมการ, กรรมการบริหาร, กรรมการผู้จัดการ (สาย 2534 - ธ.ค. 2564 กรรมการ
สนับสนุน), กรรมการและเลขานุการคณะกรรมการ บจก. แอล เอช มอลล์ แอนด์ โฮเทล
สรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์)
บมจ. แลนด์ แอนด์ เอ้าส์ (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์) 2533 - ธ.ค. 2564 กรรมการ
2545 - เม.ย. 2556 กรรมการ, กรรมการบริหาร, รองกรรมการผู้จัดการ บจก. สยามธานี พร๊อบเพอร์ตี้ (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์)
(สายสนับสนุน) 2530 - ธ.ค. 2564 กรรมการ
บมจ. แลนด์ แอนด์ เอ้าส์ (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์) บจก. แอตแลนติก เรียลเอสเตท
2535 - 2544 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์)
บมจ. แลนด์ แอนด์ เอ้าส์ (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์)
มี.ค. 2561 - ธ.ค. 2564 กรรมการสรรหาและก�ำหนดค่าตอบแทน
บมจ. ควอลิตี้เฮ้าส์ (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์)
พ.ค. 2546 - ธ.ค. 2564 กรรมการ
บมจ. ควอลิตี้เฮ้าส์ (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์)

200
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

นายวัชริน กสิณฤกษ์ อายุ 60 ปี นายอดุล ชูวณิชชานนท์ อายุ 66 ปี


ต�ำแหน่ง ต�ำแหน่ง
• กรรมการผู้จัดการ • กรรมการผู้จัดการ
• กรรมการผู้มีอำ� นาจลงนามผูกพัน • กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนามผูกพัน
• กรรมการบริหาร • กรรมการบริหาร
• กรรมการบริหารความเสี่ยงและการพัฒนาอย่างยั่งยืน • กรรมการบริหารความเสี่ยงและการพัฒนาอย่างยั่งยืน
วันที่ได้รับการแต่งตั้ง 22 กุมภาพันธ์ 2562 วันที่ได้รับการแต่งตั้ง 30 เมษายน 2562
คุณวุฒิทางการศึกษา คุณวุฒิทางการศึกษา
• วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต (โยธา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ • วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต (โยธา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
• MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ • MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
• Stanford Executive Programe (SEP), Graduate School of Business, • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) 280/2562 : IOD
Stanford University, USA
สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) ณ 31 ธันวาคม 2564
• หลักสูตร Director Certification Program (DCP) 275/2562 : IOD
0.01
สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) ณ 31 ธันวาคม 2564
ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร
0.00
-
ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร
ประสบการณ์ทำ� งาน 5 ปี ย้อนหลัง
-
การด�ำรงต�ำแหน่งในบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
ประสบการณ์ท�ำงาน 5 ปี ย้อนหลัง
ธ.ค. 2562 - ปัจจุบัน กรรมการบริหารความเสี่ยงและการพัฒนาอย่างยั่งยืน
การด�ำรงต�ำแหน่งในบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์)
ก.พ. 2562 - ปัจจุบัน กรรมการ, กรรมการบริหาร, กรรมการผู้จัดการ (สาย พ.ค. 2562 - ปัจจุบัน กรรมการ, กรรมการบริหาร, กรรมการผู้จัดการ
ปฏิบัติการ) กรรมการบริหารความเสี่ยงและการ (สายปฏิบัติการ)
พัฒนาอย่างยั่งยืน บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์)
บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์)
ก.ย. 2560 - ก.พ. 2562 รองกรรมการผู้จัดการ ก.พ. 2562 - พ.ค. 2562 รักษาการกรรมการผู้จัดการ (สายปฏิบัติการ)
บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์) บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์)
2558 - ส.ค. 2560 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ ก.ย. 2560 - ก.พ. 2562 รองกรรมการผู้จัดการ
บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์) บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์)
2556 - 2557 ผู้จัดการฝ่ายอาวุโส ฝ่ายโครงการ 2 ม.ค. 2557 - ส.ค. 2560 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ
บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์) บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์)
การด�ำรงต�ำแหน่งในบริษทั ทีไ่ ม่ได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2552 - 2557 ผูจ้ ดั การฝ่ายอาวุโส ฝ่ายโครงการ 10
บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์)
2562 - ปัจจุบัน กรรมการ
บจก. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ นอร์ธอีส 2546 - 2552 ผู้จัดการฝ่ายโครงการ 10
(พัฒนาอสังหาริมทรัพย์) บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์)
2562 - ปัจจุบัน กรรมการ
บจก. สยามธานี พร๊อบเพอร์ตี้ (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์)
2562 - ปัจจุบัน กรรมการ
บจก. แอล เอช แอสเซท (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์)
2562 - ปัจจุบัน กรรมการ
บจก. สยามธานี เรียลเอสเตท (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์)
2562 - ปัจจุบัน กรรมการ
บจก. แอล เอช เรียลเอสเตท (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์)
2562 - ปัจจุบัน กรรมการ
บจก. แลนด์ แอน เฮ้าส์ นอร์ธ (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์)
2562 - ปัจจุบัน กรรมการ
บจก. แอตแลนติก เรียลเอสเตท
(พัฒนาอสังหาริมทรัพย์)
การด�ำรงต�ำแหน่งในองค์กร หรือ หน่วยงานอื่น
ต.ค. 2563 - ปัจจุบัน กรรมการผูท้ รงคุณวุฒใิ นคณะกรรมการจัดสรรทีด่ นิ กลาง
กระทรวงมหาดไทย

201
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

นายนันทวัฒน์ พิพัฒวงศ์เกษม อายุ 62 ปี 2533 - มิ.ย. 2556 ผู้จัดการฝ่ายกฎหมาย


บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์)
ต�ำแหน่ง การด�ำรงต�ำแหน่งในบริษทั ทีไ่ ม่ได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
• รองกรรมการผู้จัดการ 2555 - ปัจจุบัน กรรมการ
• กรรมการผู้มีอ�ำนาจลงนามผูกพัน Land and Houses U.S.A., Inc.
• เลขานุการบริษัท (ลงทุนในอสังหาริมทรัพย์)
• กรรมการบริหารความเสี่ยงและการพัฒนาอย่างยั่งยืน 2547 - ปัจจุบัน กรรมการ
บจก. แอล เอช แอสเซท (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์)
วันที่ได้รับการแต่งตั้ง 12 พฤศจิกายน 2535
2546 - ปัจจุบัน กรรมการ
คุณวุฒิทางการศึกษา บจก. แอล เอช เรียลเอสเตท (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์)
• นิติศาสตร์บัณทิต เนติบัณฑิตไทย 2538 - ปัจจุบัน กรรมการ
• MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ บจก. แลนด์ แอน เฮ้าส์ นอร์ธ (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์)
• หลักสูตร Director Certification Program (DCP) 62/2548 : IOD 2538 - ปัจจุบัน กรรมการ
บจก. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ นอร์ธอีส
• หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) 18/2547 : IOD (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์)
• หลักสูตร Finance for Non-Finance Director (FN) 13/2547 : IOD 2538 - ปัจจุบัน กรรมการ
สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) ณ 31 ธันวาคม 2564 บจก. แอล.เอช. เมืองใหม่ (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์)
0.00 2536 - ปัจจุบัน กรรมการ
ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร บจก. สยามธานี เรียลเอสเตท (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์)
- 2533 - ปัจจุบัน กรรมการ
บจก. สยามธานี พร๊อบเพอร์ตี้ (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์)
ประสบการณ์ทำ� งาน 5 ปี ย้อนหลัง
2530 - ปัจจุบัน กรรมการ
การด�ำรงต�ำแหน่งในบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย บจก. แอตแลนติก เรียลเอสเตท
ก.พ. 2564 - ปัจจุบัน รองกรรมการผู้จัดการ (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์)
บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์) 2548 - ก.ย. 2561 กรรมการ
ก.ย. 2560 - ม.ค 2564 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ บจก. ภูเก็ต ฟิวเจอร์ แพลน (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์)
บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์) 2548 - ส.ค. 2560 กรรมการ
2557 - ปัจจุบัน กรรมการบริหารความเสี่ยงและการพัฒนาอย่างยั่งยืน บจก. ดับเบิ้ลทรี (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์)
บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์) การด�ำรงต�ำแหน่งในองค์กร หรือ หน่วยงานอื่น
2535 - ปัจจุบัน กรรมการ 2560 - ต.ค. 2563 กรรมการผูท้ รงคุณวุฒใิ นคณะกรรมการจัดสรรทีด่ นิ กลาง
บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์) กระทรวงมหาดไทย
ก.ค. 2556 - ปัจจุบัน ผู้จัดการฝ่ายอาวุโสฝ่ายกฎหมาย
บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์)

202
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

นายภควัต โกวิทวัฒนพงศ์ อายุ 72 ปี การด�ำรงต�ำแหน่งในบริษทั ทีไ่ ม่ได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย


มิ.ย. 2561 - ปัจจุบัน กรรมการ
ต�ำแหน่ง บจก. ทรีนีตี้ วัน (บริษัทโฮลดิ้ง)
• ประธานกรรมการตรวจสอบ 2563-ปัจจุบัน กรรมการบริษัท / คณะกรรมการสรรหาและก�ำหนด
• กรรมการ ค่าตอบแทน
• กรรมการอิสระ บริษัท ทริสเรทติ้ง จ�ำกัด (จัดอันดับเครดิต)
วันที่ได้รับการแต่งตั้ง 3 ธันวาคม 2542 2560 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ
บจก. สมาร์ท ไอดี กรุ๊ป (ผลิตอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์)
คุณวุฒิทางการศึกษา
2557 - ปัจจุบัน กรรมการ
• ปริญญาโท สาขาการตลาดและการเงิน Wharton School, University of บจก. การแพทย์ สุขุมวิท 62 (การแพทย์)
Pennsylvania, USA
2554 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ
• ปริญญาตรี เศรษฐศาสตร์บณ ั ฑิต (เกียรตินยิ มดีมาก) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ บจก. ทรีนีตี้ แอ๊ดไวซอรี่ 2001 (ที่ปรึกษาการเงิน)
• ปริญญาบัตรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปรอ. รุ่นที่ 344) 2544 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ
• ประกาศนียบัตรหลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน รุ่นที่ 5 บจก. หลักทรัพย์ ทรีนีตี้ (หลักทรัพย์)
• หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) 4/2546 : IOD 2553 - 2560 กรรมการ, ประธานกรรมการกลยุทธ์องค์กร
บจก. หลักทรัพย์ เพื่อธุรกิจหลักทรัพย์
• หลักสูตร Director Certification Program (DCP) 58/2548 : IOD (หลักทรัพย์)
• หลักสูตร Corporate Governance for Capital Market Intermediaries (CGI)
• หลักสูตร การก�ำกับดูแลกิจการส�ำหรับกรรมการและผู้บริหารระดับสูงของ
รัฐวิสาหกิจและองค์กรมหาชน รุ่นที่ 15 จากสถาบันพัฒนากรรมการและ
ผู้บริหารระดับสูงภาครัฐ (PDI)
• ประกาศนียบัตร วพน.12 หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านวิทยาการพลังงาน
โดยสถาบันวิทยาการพลังงาน ปี 2561
สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) ณ 31 ธันวาคม 2564
0.00
ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร
-
ประสบการณ์ท�ำงาน 5 ปี ย้อนหลัง
การด�ำรงต�ำแหน่งในบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
พ.ค. 2558 - ปัจจุบัน ประธานกรรมกรรมการตรวจสอบ
บมจ. แลนด์ แอนด์ เอ้าส์ (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์)
2542 - ปัจจุบัน กรรมการ, กรรมการอิสระ
บมจ. แลนด์ แอนด์ เอ้าส์ (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์)
2559 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ
บมจ. ทรีนีตี้ วัฒนา (บริษัทโฮลดิ้ง)
2544 - 2559 ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร, กรรมการ
บมจ. ทรีนีตี้ วัฒนา (บริษัทโฮลดิ้ง)
พ.ย. 2561 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระ, กรรมการตรวจสอบ
บมจ. พี.ซี.เอส.แมชีน กรุ๊ปโฮลดิ้ง (ยานยนต์)
2560 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระ
บมจ. ดุสิตธานี (โรงแรม)
2559 - 2561 กรรมการตรวจสอบ
บมจ. ไทยรับเบอร์ลาเท็คซ์คอร์ปอร์เรชั่น
(ประเทศไทย) (ธุรกิจยางพารา)
2554 - 2561 กรรมการอิสระ
บมจ. ไทยรับเบอร์ลาเท็คซ์คอร์ปอร์เรชั่น
(ประเทศไทย) (ธุรกิจยางพารา)

203
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

ศ. พิเศษ พิภพ วีระพงษ์ อายุ 59 ปี นายบัณฑิต พิทักษ์สิทธิ์ อายุ 56 ปี


ต�ำแหน่ง ต�ำแหน่ง
• ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน • ประธานกรรมการบริหารความเสี่ยงและการพัฒนาอย่างยั่งยืน
• กรรมการ • กรรมการ
• กรรมการอิสระ • กรรมการอิสระ
• กรรมการตรวจสอบ • กรรมการตรวจสอบ
วันที่ได้รับการแต่งตั้ง 29 เมษายน 2558 • กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
คุณวุฒิทางการศึกษา วันที่ได้รับการแต่งตั้ง 29 เมษายน 2558
• ปริญญามหาบัณฑิต LL.M. in Taxation, Boston University คุณวุฒิทางการศึกษา
• ปริญญามหาบัณฑิต LL.M., Harvard University • วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต (โยธา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
• Certificate of International Taxation, Havard University • หลักสูตร ผูบ้ ริหารระดับสูงสถาบันวิทยาการตลาดทุน หลักสูตร วตท. รุน่ ที่ 12
• นิติศาสตร์บัณฑิต (เกียรตินิยม) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • หลักสูตร ผู้บริหารกระบวนการยุติธรรมชั้นสูง (บยส.17)
• เนติบัณฑิต สถาบันเนติบัณฑิตยสภา • หลักสูตร การเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยส�ำหรับนักบริหาร
• หลักสูตร Director Certification Program (DCP) 238/2560 : IOD ระดับสูง รุ่นที่ 14 (ปปร.14) สถาบันพระปกเกล้า
สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) ณ 31 ธันวาคม 2564 • หลักสูตร วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปอ. รุ่น 2557)
- • หลักสูตร Director Certification Program (DCP) 237/2560 : IOD
ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านการค้าและพาณิชย์
- สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) ณ 31 ธันวาคม 2564
ประสบการณ์ทำ� งาน 5 ปี ย้อนหลัง -
การด�ำรงต�ำแหน่งในบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร
2558 - ปัจจุบัน กรรมการ, กรรมการอิสระ, กรรมการตรวจสอบ, -
ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ประสบการณ์ทำ� งาน 5 ปี ย้อนหลัง
บมจ. แลนด์ แอนด์ เอ้าส์ (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์)
การด�ำรงต�ำแหน่งในบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
2547 - ปัจจุบัน กรรมการอิสระ, กรรมการตรวจสอบ
บมจ. บางกอก เชน ฮอสปิทอล (การแพทย์) มี.ค. 2560 - ปัจจุบัน กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์)
2546 - 2553 กรรมการอิสระ, กรรมการตรวจสอบ
บมจ. ควอลิตี้ คอนสตรัคชั่น โปรดัคส์ 2559 - ปัจจุบัน กรรมการตรวจสอบ, ประธานกรรมการบริหารความ
(ผลิตวัสดุก่อสร้าง) เสี่ยงและการพัฒนาอย่างยั่งยืน
บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์)
การด�ำรงต�ำแหน่งในบริษทั ทีไ่ ม่ได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
2558 - ปัจจุบัน กรรมการ, กรรมการอิสระ
2545 - ปัจจุบัน Partner บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์)
บจก. ลอว์อัลลายแอนซ์ (ที่ปรึกษากฎหมาย)
การด�ำรงต�ำแหน่งในบริษทั ทีไ่ ม่ได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
2548 - 2551 กรรมการอิสระ, กรรมการตรวจสอบ
บมจ.ธนาคารแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เพื่อรายย่อย ปัจจุบัน ประธานที่ปรึกษา
(ธนาคาร) กลุ่มบริษัทอีซูซุ สงวนไทย (ยานยนต์)
ปัจจุบัน ประธานทีป่ รึกษา
บจก. สยามคาร์เรนท์ (รถเช่า)

204
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

นายอาชวิณ อัศวโภคิน อายุ 46 ปี นายวิทย์ ตันติวรวงศ์ อายุ 63 ปี


ต�ำแหน่ง ต�ำแหน่ง
• กรรมการผู้มีอำ� นาจลงนามผูกพัน • รองกรรมการผู้จัดการ
วันที่ได้รับการแต่งตั้ง 9 มีนาคม 2561 • กรรมการบริหาร
คุณวุฒิทางการศึกษา • ผู้บริหารสูงสุดด้านการเงิน
• ปริ ญ ญาตรี สาขาวิ ศ วกรรมอุ ต สาหกรรม, มหาวิ ท ยาลั ย เพนซิ ล วาเนี ย วันที่ได้รับการแต่งตั้ง 01 กันยายน 2560
สหรัฐอเมริกา คุณวุฒิทางการศึกษา
• ปริญญาตรี สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์การเงิน, มหาวิทยาลัยเพนซิลวาเนีย • ปริญญาตรี บริหารธุรกิจบัณฑิต มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
สหรัฐอเมริกา
• MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
• หลักสูตร Director Certification Program (DCP) 2557
การพัฒนาความรู้ต่อเนื่องทางวิชาชีพบัญชี (CPD) : 2563
สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) ณ 31 ธันวาคม 2564 • หลักสูตร ผลกระทบ TFRS 16 เรื่องสัญญาเช่า (6 ชั่วโมง)
0.01 • หลักสูตร TFRS 9 Sharing ในทางปฏิบัติ ส�ำหรับการด้อยค่าของสินทรัพย์
ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร ทางการเงิน (6 ชั่วโมง) : สภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์
- สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) ณ 31 ธันวาคม 2564
ประสบการณ์ท�ำงาน 5 ปี ย้อนหลัง 0.01
การด�ำรงต�ำแหน่งในบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร
ก.พ. 2561 - ปัจจุบัน กรรมการ -
บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์) ประสบการณ์ทำ� งาน 5 ปี ย้อนหลัง
2560 - ปัจจุบัน กรรมการ การด�ำรงต�ำแหน่งในบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
บมจ. ควอลิตี้เฮ้าส์ (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์) ก.ย. 2560 - ปัจจุบัน รองกรรมการผู้จัดการ
2557 - ปัจจุบัน กรรมการ บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์)
บมจ. โฮม โปรดักส์ เซ็นเตอร์ (ค้าปลีกวัสดุก่อสร้าง) พ.ค. 2556 - ปัจจุบัน ผู้บริหารสูงสุดด้านการเงิน
การด�ำรงต�ำแหน่งในบริษทั ทีไ่ ม่ได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์)
ต.ค. 2561 - ปัจจุบัน รองกรรมการผู้จัดการและประธานเจ้าหน้าที่บริหาร 2545 - ปัจจุบัน กรรมการบริหาร
การตลาดสายการตลาดและช่องทางการขาย บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์)
บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ไทยพาณิชย์ จ�ำกัด พ.ค. 2556 - ส.ค. 2560 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ
(หลักทรัพย์จัดการกองทุน) บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์)
ก.ค. 2559 - ก.ย. 2561 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ ผู้บริหารกลุ่มผลิตภัณฑ์และ 2552 - เม.ย. 2556 ผู้จัดการฝ่ายอาวุโสฝ่ายการเงิน
ตราสารหนี้ต่างประเทศ บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์)
บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ไทยพาณิชย์ จ�ำกัด
(หลักทรัพย์จัดการกองทุน) 2534 - 2551 ผู้จัดการฝ่ายการเงิน
บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์)
ก.พ. 2559 - มิ.ย. 2559 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ ผู้บริหารฝ่ายจัดการลงทุน
ต่างประเทศโดยตรง การด�ำรงต�ำแหน่งในบริษทั ทีไ่ ม่ได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ไทยพาณิชย์ จ�ำกัด 2555 - ปัจจุบัน กรรมการ
(หลักทรัพย์จัดการกองทุน) บจก. แอล แอนด์ เอช โฮเทล แมเนจเมนท์ (โรงแรม)
ม.ค. 2558 - มิ.ย. 2559 ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การ ฝ่ายการลงทุนต่างประเทศและ 2555 - ปัจจุบัน กรรมการ
กลยุทธ์ผลิตภัณฑ์การลงทุน Land and Houses U.S.A., Inc.
บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ไทยพาณิชย์ จ�ำกัด (ลงทุนในอสังหาริมทรัพย์)
(หลักทรัพย์จัดการกองทุน)
2550 - ปัจจุบัน กรรมการ
บจก. แอล แอนด์ เอช พร็อพเพอร์ตี้
(พัฒนาอสังหาริมทรัพย์)
2550 - ปัจจุบัน กรรมการ
บจก. แอล แอนด์ เอช แมเนจเมนท์ (รับจ้างบริหาร)
2543 - ปัจจุบัน กรรมการ
บจก. เอเซีย แอสเซท แอดไวเซอรี่ (ที่ปรึกษาลงทุน)
2529 - ปัจจุบัน กรรมการ
บจก. แอล เอช มอลล์ แอนด์ โฮเทล
(พัฒนาอสังหาริมทรัพย์)
หมายเหตุ : นายวิทย์ ตันติวรวงศ์ ผู้รับผิดชอบสูงสุดในสายงานบัญชีและการเงิน
ได้เข้าอบรมพัฒนาความรูต้ อ่ เนือ่ งด้านบัญชีในปี 2563 จ�ำนวน 12 ชัว่ โมง (เป็น 2 เท่า
ของที่ส�ำนักงาน ก.ล.ต. ก�ำหนด)
205
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

นายโชคชัย วลิตวรางค์กูร อายุ 59 ปี นายธีระ เบญจศิลารักษ์ อายุ 62 ปี


ต�ำแหน่ง ต�ำแหน่ง
• รองกรรมการผู้จัดการ • ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ (สายงานบัญชี)
วันที่ได้รับการแต่งตั้ง 01 กันยายน 2560 วันที่ได้รับการแต่งตั้ง 01 กันยายน 2560
คุณวุฒิทางการศึกษา คุณวุฒิทางการศึกษา
• บริหารธุรกิจบัณฑิต (การตลาด) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • วิทยาศาสตร์บัณฑิต (การบัญชี) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) ณ 31 ธันวาคม 2564 • MBA มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
0.00 การพัฒนาความรู้ต่อเนื่องทางวิชาชีพบัญชี (CPD) : 2563
ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร • หลักสูตร การจัดท�ำงบการเงินรวมเชิงปฏิบัติการ (Workshop) (12 ชั่วโมง) :
สภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์
-
การพัฒนาความรู้ต่อเนื่องทางวิชาชีพบัญชี (CPD) : 2564
ประสบการณ์ทำ� งาน 5 ปี ย้อนหลัง • หลักสูตร การตรวจสอบความถูกต้องในการปิดบัญชีและการจัดท�ำรายงาน
การด�ำรงต�ำแหน่งในบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ทางการเงิน
เป็นผู้ทำ� บัญชีที่มีคุณสมบัติครบถ้วนตามเงื่อนไขของกรมพัฒนาธุรกิจการค้า
ก.ย. 2560 - ปัจจุบัน รองกรรมการผู้จัดการ
บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์) สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) ณ 31 ธันวาคม 2564
2558 - ส.ค. 2560 ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ 0.01
บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์) ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร
2556 - 2557 ผู้จัดการฝ่ายอาวุโสฝ่ายสื่อสารองค์กร -
บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์)
ประสบการณ์ทำ� งาน 5 ปี ย้อนหลัง
การด�ำรงต�ำแหน่งในบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
ก.ย. 2560 - ปัจจุบัน ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ
บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์)
2556 - ส.ค. 2560 ผูจ้ ดั การฝ่ายอาวุโส ฝ่ายบัญชี
บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์)
2534 - 2555 ผู้จัดการฝ่ายบัญชี
บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์)

206
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

นายวิศิษฐ์ ตันติชัยปกรณ์ อายุ 62 ปี


ต�ำแหน่ง
• ผู้จัดการฝ่ายการเงิน
วันที่ได้รับการแต่งตั้ง 16 มกราคม 2557
คุณวุฒิทางการศึกษา
• นิเทศศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
สัดส่วนการถือหุ้นในบริษัท (%) ณ 31 ธันวาคม 2564
-
ความสัมพันธ์ทางครอบครัวระหว่างผู้บริหาร
-
ประสบการณ์ท�ำงาน 5 ปี ย้อนหลัง
การด�ำรงต�ำแหน่งในบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
2557 - ปัจจุบัน ผู้จัดการฝ่ายการเงิน
บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์)
2545 - 2556 ผู้ช่วยผู้จัดการฝ่ายการเงิน
บมจ. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ (พัฒนาอสังหาริมทรัพย์)

207
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

การตรวจสอบภายในและก�ำกับดูแลการปฎิบัติงาน
รายละเอียดเกี่ยวกับหัวหน้างานผู้ตรวจสอบภายใน
นายพรชัย เกียรติขจรวิรัช
ผู้จัดการอาวุโสฝ่ายตรวจสอบภายในและพัฒนาระบบ
วุฒิการศึกษา :
• ปริญญาตรี หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาบัญชี
• ปริญญาโท หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิทยาการจัดการ (MBA)
ประสบการณ์ทำ� งาน :
• ปี 2529 - 2532 สมุห์บัญชี
• ปี 2533 - 2534 ผู้ช่วยผู้จัดการฝ่ายบัญชี
• ปี 2535 - 2557 ผู้จัดการฝ่ายตรวจสอบภายในและพัฒนาระบบ
• ปี 2558 - ปัจจุบัน ผู้จัดการอาวุโสฝ่ายตรวจสอบภายในและพัฒนาระบบ
การฝึกอบรมที่เกี่ยวข้อง :
• กระบวนการตรวจสอบภายในที่ส�ำคัญ
• Full Seale Internal Auditing
• Internal Control Seminar
• Codes of Conduct
• Corporate Governance, Risk Management and Internal Audit in tomorrow’s Leading Organization
• Audit Committee (กลไกการส่งเสริมกระบวนการก�ำกับดูแลกิจการ)
• การบริหารความเสี่ยง
• AGM Assessment Project
• ผู้ตรวจสอบภายในจะช่วยงานของ AC ได้อย่างไร
• การปฏิบัติงานตรวจสอบภายในระบบสารสนเทศ
• การบริหารความเสี่ยงทางธุรกิจ
• CG Forum 3/2556 : Conflict of interest : Fighting abusive RPT
• แนวทางการเปิดเผยข้อมูล เรื่อง “ความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) ตามแบบ 56-1”

รายละเอียดเกี่ยวกับหัวหน้างานก�ำกับดูแลการปฏิบัติงาน
• เลขานุการบริษัท เป็นหัวหน้างานก�ำกับดูแลการปฏิบัติงานของบริษัท

208
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

ที่ดินของโครงการที่มีไว้เพื่อขาย
ที่ดินที่บริษัทด�ำเนินการท�ำโครงการจัดสรรที่เปิดขายแล้ว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 ประกอบด้วยที่ดิน ถมดิน งานสารธารณูปโภค และ
งานก่อสร้าง มีรายละเอียดดังต่อไปนี้

ลำ�ดับ ชื่อโครงการ ไร่ ราคาทุนสุทธิ กรรมสิทธิ์ หลักประกัน


1 074 ชัยพฤกษ์ เชียงใหม่ 3.65 11.2 LH
2 075 นันทวัน เชียงใหม่ 3.67 48.3 LH
3 107 ชลลดา เชียงใหม่ 8.28 52.2 LH
4 120 นันทวัน - รามอินทรา พหลโยธิน 50 6.14 287.9 LH
5 188 Villaggio บางนา 5.89 154.3 LH
6 201 ลดาวัลย์ เชียงใหม่ 45.71 121.3 LH
7 203 นันทวัน ซีรินเลค - เชียงใหม่ 20.49 348.9 LH
8 205 ลดาวัลย์ ราชพฤกษ์ ปิ่นเกล้า 5.89 310.3 LH
9 206 VIVE รัตนาธิเบศร์ - ราชพฤกษ์ 1.19 62.55 LH
10 223 มัณฑนา Westgate 15.66 440.50 LH
11 224 The Bangkok สาทร 9.24 403.73 LH
12 229 สีวลี - สันก�ำแพง เชียงใหม่ 12.45 178.3 LH
13 230 Villaggio ประชาอุทิศ 90 8.52 93.6 LH
14 240 Villaggio - ปิ่นเกล้า ศาลายา 18.54 179.4 LH
15 243 สีวลี - มิตรภาพ นครราชสีมา 4.07 113.2 LH
16 246 สีวลี - มะลิวัลย์ ขอนแก่น 20.06 207.3 LH
17 249 Villaggio รังสิต คลอง 2 16.19 205.9 LH
18 252 สีวลี - เชียงราย เวียงชัย 85.86 208.1 LH
19 253 นันทวัน - อุดรธานี 13.57 240.0 LH
20 254 สีวลี - อุดรธานี 13.83 236.5 LH
21 261 นอร์ท 6 2.67 46.2 LH
22 266 สีวลี ศรีเวียง - เชียงราย 14.11 251.6 LH
23 272 มัณฑนา - บายพาส 62.76 446.2 LH
24 281 ชลลดา - สันก�ำแพง 114.36 156.1 LH
25 286 สีวลี มหาสารคาม 17.93 266.4 LH
26 288 ลดาวัลย์ พระราม 2 6.49 412.7 LH
27 292 Villagio เพชรเกษม - สาย 4 5.01 140.9 LH
28 293 The Room เจริญกรุง 30 5.88 255.0 LH
29 294 สีวลี - นครปฐม 20.68 65.3 LH
30 303 Villaggio ขอนแก่น 63.90 143.1 LH
31 304 มัณฑนา ซีรินเลค 9.60 189.2 LH
32 316 Villagio บางนา - เทพารักษ์ 4.05 8.6 LH
33 318 เดอะแบงค็อค ทองหล่อ 17.03 141.3 LH
34 321 EASE 2 - พระราม 2 9.73 206.7 LH
35 323 Indy Westgate 11.67 392.3 LH

209
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

ลำ�ดับ ชื่อโครงการ ไร่ ราคาทุนสุทธิ กรรมสิทธิ์ หลักประกัน


36 324 ชัยพฤกษ์ ทางด่วน รามอินทรา - จตุโชติ 21.79 224.5 LH
37 327 มัณฑนา อุดรธานี 57.67 34.3 LH
38 328 Villagio เกาะเรียน 2.67 55.7 LH
39 329 สีวลี ศรีนครินทร์ ร่มเกล้า 22.14 444.1 LH
40 336 นันทวัน พระราม 9 ศรีนครินทร์ 10.66 685.1 LH
41 337 Anya Westgate 13.45 373.5 LH
42 338 Villaggio สันทราย - เชียงใหม่ 12.00 259.9 LH
43 339 ชัยพฤกษ์ Westgate 5.10 104.7 LH
44 343 VIVE เอกมัย - รามอินทรา 1.46 221.7 LH
45 344 มัณฑนา สันทราย - เชียงใหม่ 23.75 413.1 LH
46 345 The Room สุขุมวิท 38 (ท้ายซอย) 33.63 1,976.5 LH
47 347 The Room พญาไท 35.26 1,631.3 LH
48 349 Villaggio บางนา - ศรีนครินทร์ 35.88 511.6 LH
49 353 มัณฑนา พุทธมลฑล สาย 2 5.23 157.1 LH
50 357 The Key เพชรเกษม 3.79 922.2 LH
51 358 มัณฑนา มอเตอร์เวย์-ร่มเกล้า 3.97 147.7 LH
52 369 The Key พระราม 3 3.11 1,051.1 LH
53 370 Indy ศรีนครินทร์ - แพรกษา 3.75 114.2 LH
54 372 มัณฑนา ราชพฤกษ์ - นครอินทร์ 54.10 1,372.3 LH
55 375 Villaggio สุขสวัสดิ์ ประชาอุทิศ 41.08 389.1 LH
56 376 ชัยพฤกษ์ บางนา กม.15 50.52 1,028.5 LH
57 378 มัณฑนา บางนา วงแหวน 68.21 587.7 LH
58 383 พฤกษ์ลดา ราชพฤกษ์ - 345 51.80 589.3 LH
บริษัทย่อย
59 NE407 สีวลี 3 อยุธยา 3.32 102.2 NE
60 NE408 Villaggio ศรีนครินทร์ 19.13 471.8 NE
61 LHM ภูเก็ต 4 โครงการ 120.30 1,456.3 LHM เงินกู้
62 SA007 Anya เพชรเกษม สาย 4 26.82 409.5 SA
63 LA016 Inizio เชียงใหม่ 26.91 225.8 LA
64 LA020 มัณฑนา ถ.มะลิวัลย์ - ขอนแก่น 66.71 133.3 LA
65 LA022 Villaggio ศรีนครินทร์ บางนา 6.90 29.1 LA
66 LA023 มัณฑนา เพชรเกษม - สาย 4 32.38 338.7 LA
67 LA024 Indy อยุธยา 6.35 103.6 LA
68 LA027 Indy 2 บางนา รามค�ำแหง 2 49.27 416.9 LA
69 LA028 สีวลี เพชรเกษม 69 17.30 266.1 LA
70 LA029 Anya ราชพฤกษ์ นครอินทร์ 13.42 475.1 LA
รวม 1,634.57 24,748.8

NE = บจก. แลนด์แอนด์เฮ้าส์ นอร์ธอีส LHM = บจก. แอล. เอช. เมืองใหม่ LA = บจก. แอล เอช แอสเซท SA = บจก. สยามธานีพร๊อบเพอร์ตี้

โครงการที่ด�ำเนินการอยู่, โครงการที่อยู่ระหว่างเตรียมการ, ที่ดินรอการพัฒนา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 มีราคาทุนของที่ดิน, ดอกเบี้ย


ที่ดิน, ค่าถมดิน ค่าพัฒนาสาธารณูปโภคและงานก่อสร้างอาคารรวมเท่ากับ 52,706 ล้านบาท บริษัทและบริษัทย่อยน�ำที่ดินมูลค่าจ�ำนวน 14,779
ล้านบาท ไปค�้ำประกันเงินกู้ยืมระยะยาวจากธนาคาร
210
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน การรับรองความถูกต้อง

นโยบายการก�ำกับดูแลกิจการ
1. ภาพรวมของนโยบายและแนวปฏิบตั กิ ารก�ำกับ 1. เป็นบุคคลที่ถือหุ้นไม่เกินร้อยละ 1 ของจ�ำนวนหุ้นที่มี
ดูแลกิจการ สิทธิออกเสียงทั้งหมดในบริษัท บริษัทในเครือ หรือบริษัทร่วม
คณะกรรมการบริษทั มีความมุง่ มัน่ ทีจ่ ะบริหารงานขององค์กรให้ 2. ไม่มสี ว่ นร่วมในการบริหารงาน ไม่เป็นลูกจ้าง พนักงาน
เกิดประสิทธิภาพและบรรลุตามวัตถุประสงค์ โดยเชื่อมั่นเป็นอย่างยิ่ง ทีป่ รึกษาทีไ่ ด้รบั เงินเดือนประจ�ำ หรือไม่ได้เป็นผูใ้ ห้บริการด้านวิชาชีพ
ว่ากระบวนการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี จะยกระดับผลการด�ำเนินงาน ผู้สอบบัญชี ทนายความ หรือวิชาชีพที่ท�ำให้มีข้อจ�ำกัดในการแสดง
ของบริษัทให้เติบโตได้อย่างยั่งยืน และเป็นหัวใจส�ำคัญที่จะน�ำไป ความเห็นทีเ่ ป็นอิสระแก่บริษทั (บริษทั ในเครือ) หรือบริษทั ร่วม หรือไม่
สู่ความส�ำเร็จ อันได้แก่การเพิ่มมูลค่าสูงสุดให้แก่ผู้ถือหุ้น และผู้มีส่วน เป็นผูม้ อี ำ� นาจควบคุมของบริษทั บริษทั ในเครือ หรือบริษทั ร่วม หรือไม่
ได้เสียทุกกลุ่ม ดังนั้น คณะกรรมการบริษัทจึงยึดมั่นในการปฏิบัติ เป็นบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์และต้องพ้นจากสถานะ
ตามคุณลักษณะหลักของกระบวนการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี ตลอดจน หรือต�ำแหน่งที่อาจเกิดความขัดแย้งดังกล่าวแล้วเป็นเวลา 2 ปีขึ้นไป
พิจารณาทบทวนแนวปฏิบัติให้มีความเหมาะสมกับการด�ำเนินธุรกิจ 3. ไม่มคี วามสัมพันธ์ทางธุรกิจ ในลักษณะทีเ่ ป็นการจ�ำกัด
สอดคล้องกับหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีส�ำหรับบริษัทจดทะเบียน ความเป็นอิสระในการปฏิบัติหน้าที่ต�ำแหน่งกรรมการ ซึ่งมีจ�ำนวน
ปี 2555 และหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ สี ำ� หรับบริษทั จดทะเบียนปี เงินหรือมีมูลค่าที่มีนัยส�ำคัญเป็นสัดส่วนกับรายได้บริษัท ตามเกณฑ์ที่
2560 หรือ Corporate Governance Code (CG Code) รวมถึงได้ ก�ำหนด และไม่มีผลประโยชน์ หรือส่วนได้เสีย ไม่ว่าทางตรงหรือทาง
ปรับปรุง หรือหามาตรการทดแทนเพิม่ เติมส�ำหรับสิง่ ทีบ่ ริษทั ยังปฏิบตั ิ อ้อม ทั้งในด้านการเงิน และการบริหารงานของบริษัท บริษัทในเครือ
ไม่สอดคล้องกับแนวปฏิบัติที่ดีอยู่เสมอ หรือบริษัทร่วม หรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ใน
ลักษณะที่ทำ� ให้ขาดความเป็นอิสระ
2. นโยบายและแนวปฏิบัติการก�ำกับดูแลกิจการ 4. ไม่เป็นญาติสนิทกับผูบ้ ริหารระดับสูง ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่
ที่ส�ำคัญของบริษัท ของบริษัท บริษัทในเครือ บริษัทร่วม หรือบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง
การสรรหาและแต่งตัง้ กรรมการและผูบ้ ริหารระดับสูง ทางผลประโยชน์ และไม่ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นตัวแทนเพื่อรักษาผล
คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนเป็นผู้พิจารณา ประโยชน์ของกรรมการ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่
กลั่นกรองผู้ทรงคุณวุฒิท่ีจะได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการและผู้บริหาร 5. ไม่ได้รับการแต่งตั้งเป็นตัวแทนเพื่อรักษาผลประโยชน์
ระดับสูงสุด โดยพิจารณาจากความเหมาะสมจากทักษะ ความรู้ความ ของกรรมการของบริ ษั ท ผู ้ ถื อ หุ ้ น รายใหญ่ หรื อ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ซึ่ ง เป็ น
สามารถ ประสบการณ์เป็นที่ยอมรับ มีประวัติการท�ำงานโปร่งใส ผู้เกี่ยวข้องกับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท
มี วุ ฒิ ภ าวะและความมั่ น คง มี คุ ณ สมบั ติ เ หมาะสมตามข้ อ บั ง คั บ 6. สามารถปฏิบัติหน้าที่และแสดงความเห็นหรือรายงาน
บริษัท และมีคุณสมบัติสอดคล้องกับกลยุทธ์ในการด�ำเนินธุรกิจของ ผลการปฏิบัติงานตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการ
บริษัท รวมถึงความรู้ความช�ำนาญเฉพาะด้านหรือทักษะที่จ�ำเป็น ของบริษัทได้โดยอิสระ โดยไม่อยู่ภายใต้การควบคุมของผู้บริหารหรือ
เพื่อเสริมสร้างความแข็งแกร่งและประสิทธิผลของคณะกรรมการ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัท รวมทั้งผู้ที่เกี่ยวข้องหรือญาติสนิทของ
ให้ได้กรรมการมืออาชีพและมีความหลากหลาย โดยได้พิจารณาจาก บุคคลดังกล่าว
โครงสร้าง ขนาด และองค์ประกอบของคณะกรรมการควบคู่ และได้
เปิดโอกาสให้กรรมการและผูถ้ อื หุน้ มีสว่ นร่วมในการเสนอชือ่ กรรมการ (2) การสรรหากรรมการบริษัท
ที่มีคุณสมบัติเหมาะสม ตามหลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกที่กำ� หนด บริษทั มีหลักเกณฑ์และวิธกี ารคัดเลือกบุคคลทีจ่ ะแต่งตัง้ เป็น
(1) การสรรหากรรมการอิสระ กรรมการ ดังนี้
บริษทั ได้กำ� หนดนิยามของ “กรรมการอิสระ” ให้สอดคล้อง 1. บริษัทเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นที่ถือหุ้นรายเดียวหรือ
ตามหลั ก การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี แ ละแนวปฏิ บั ติ ข องส� ำ นั ก งาน หลายรายทีถ่ อื หุน้ รวมกันไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 0.1 ของหุน้ บริษทั ทัง้ หมด
คณะกรรมการก� ำ กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ เพื่ อ สร้ า ง และถือหุ้นจ�ำนวนดังกล่าวต่อเนื่องไม่น้อยกว่า 12 เดือนจนถึงวัน
ความเชือ่ มั่นแก่นักลงทุน และรักษาสมดุลของการบริหารจัดการที่ดี ที่ใช้สิทธิ์ โดยสามารถเสนอชื่อบุคคลที่สมควรได้รับการแต่งตั้งเป็น
บริษัทจึงก�ำหนดให้ค�ำว่า “กรรมการอิสระ” หมายความ กรรมการผ่านทางเว็บไซต์ของบริษทั หรือส่งเป็นจดหมายถึงเลขานุการ
ถึง กรรมการที่ไม่ท�ำหน้าที่จัดการของบริษัท บริษัทในเครือ บริษัท คณะกรรมการบริษัท เลขานุการคณะกรรมการบริษัทจะส่งต่อให้
ร่วม เป็นกรรมการที่เป็นอิสระจากฝ่ายจัดการและผู้ถือหุ้นที่มีอ�ำนาจ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน โดยบริษัทจะแจ้ง
ควบคุม และเป็นผูซ้ งึ่ ไม่มคี วามสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษทั ในลักษณะที่ ก�ำหนดเวลาในการเสนอชื่อผ่านตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
จะท�ำให้มขี อ้ จ�ำกัดในการแสดงความเห็นทีเ่ ป็นอิสระ และเป็นกรรมการ 2. ผู้ถือหุ้นรายใหญ่เสนอชื่อบุคคลที่สมควรได้รับแต่งตั้ง
ที่มีคุณสมบัติ ดังนี้ เป็นกรรมการต่อคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน

211
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

3. คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนจะเป็น ต่อคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนให้พิจารณา และ


ผู้พิจารณาเสนอชื่อบุคคลที่สมควรได้รับการแต่งตั้งเป็นกรรมการต่อ เสนอต่อคณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติต่อไป
คณะกรรมการบริษัท เพื่อน�ำเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นต่อไป
4. ที่ประชุมผู้ถือหุ้นเป็นผู้เลือกตั้งกรรมการโดยใช้เสียง ความเป็นอิสระของคณะกรรมการจากฝ่ายจัดการ
ข้างมากตามหลักเกณฑ์และวิธีการดังต่อไปนี้ บริ ษั ท ได้ แ บ่ ง แยกบทบาทหน้ า ที่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบระหว่ า ง
4.1 หนึ่งหุ้นมีหนึ่งเสียง คณะกรรมการบริษทั กับฝ่ายจัดการ โดยคณะกรรมการบริษทั ท�ำหน้าที่
4.2 ให้ผถู้ อื หุน้ ลงคะแนนเสียงเลือกบุคคลทีไ่ ด้รบั การ ในการก�ำหนดนโยบายและก�ำกับดูแลการด�ำเนินงานของฝ่ายจัดการ
เสนอชื่อเป็นกรรมการทีละคน ขณะที่ฝ่ายจัดการท�ำหน้าที่บริหารงานในด้านต่าง ๆ ให้เป็นไปตาม
4.3 บุคคลซึง่ ได้รบั คะแนนเสียงสูงสุดตามล�ำดับลงมา นโยบายที่ก�ำหนด และการท�ำรายงานต่าง ๆ ที่ไม่ใช่การด�ำเนินงาน
เป็นผูไ้ ด้รบั การเลือกตัง้ เป็นกรรมการเท่าจ�ำนวน ตามปกติของบริษทั จะผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการบริษทั ซึง่ มี
กรรมการที่จะพึงมี ในกรณีที่บุคคลซึ่งได้รับการ กรรมการทีเ่ ป็นอิสระร่วมอยูด่ ว้ ยอย่างน้อย 1 ใน 3 ของคณะกรรมการ
เลือกตั้งในล�ำดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเท่ากัน ทัง้ หมด โดยกรรมการอิสระมีความเป็นอิสระจากฝ่ายบริหารและผูถ้ อื หุน้
เกินจ�ำนวนกรรมการที่จะพึงมี ให้ประธานในที่ รายใหญ่ของบริษัท เป็นผู้ซึ่งไม่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัท
ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเป็นเสียง ในลักษณะทีจ่ ะท�ำให้มขี อ้ จ�ำกัดในการแสดงความเห็นทีเ่ ป็นอิสระและ
ชี้ขาด มีคุณสมบัติตามค�ำนิยามของกรรมการอิสระ ดังที่ได้กล่าวในหัวข้อ
5. ในการประชุ ม ผู ้ ถื อ หุ ้ น สามั ญ ประจ� ำ ปี ทุ ก ครั้ ง ให้ “6.2.1 (1) การสรรหากรรมการอิสระ”
กรรมการออกจากต�ำแหน่ง 1 ใน 3 ถ้าจ�ำนวนกรรมการที่จะแบ่งออก
ให้ตรงเป็นสามส่วนไม่ได้ ก็ให้ออกโดยจ�ำนวนใกล้ที่สุดกับส่วน 1 ใน 3 การพัฒนากรรมการและผู้บริหาร
ขั้นตอนการสรรหาจะเป็นไปตามข้อ 1. - 4. การปฐมนิเทศกรรมการใหม่
6. กรรมการที่จะต้องออกจากต�ำแหน่งในปีแรกและปีที่ บริษทั ตระหนักถึงความส�ำคัญต่อการปฏิบตั หิ น้าทีข่ องกรรมการใหม่
สองภายหลังจดทะเบียนบริษัทนั้น ให้จับสลากกันว่าผู้ใดจะออก ส่วน จึงจัดให้มีการแนะน�ำแนวทางการด�ำเนินงานในภาพรวมของบริษัท
ปีหลัง ๆ ต่อไปให้กรรมการคนที่อยู่ในต�ำแหน่งนานที่สุดนั้นเป็นผู้ออก โครงสร้างบริษัทย่อย บริษัทร่วม และบริษัทที่เกี่ยวข้องทางธุรกิจ
จากต�ำแหน่ง กรรมการที่ออกตามวาระนั้นอาจถูกเลือกเข้ามาด�ำรง เพื่อให้มีความเข้าใจทั้งวิธีท�ำงานและโครงสร้างการถือหุ้นระหว่างกัน
ต�ำแหน่งใหม่ก็ได้ นอกจากนี้ยังให้ข้อมูลสารสนเทศที่ส�ำคัญและจ�ำเป็นต่อการปฏิบัติ
หน้าที่ของกรรมการ เช่น กฎบัตรคณะกรรมการบริษัท โครงสร้างการ
บริษัทได้ก�ำหนดคุณสมบัติของกรรมการที่ต้องการสรรหาให้มี ท�ำงานภายในบริษทั ข้อบังคับบริษทั วัตถุประสงค์บริษทั จรรยาบรรณ
ความหลากหลาย (Board Diversity) โดยพิจารณาจากทักษะจ�ำเป็น ทางธุรกิจของคณะกรรมการบริษัท นโยบายการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี
และความเชีย่ วชาญเฉพาะด้านทีย่ งั ขาดอยู่ ดังจะเห็นได้จากโครงสร้าง กฎหมายที่ เ กี่ ย วข้ อ ง งบการเงิ น หมายเหตุ ป ระกอบงบการเงิ น
และองค์ประกอบของคณะกรรมการในปัจจุบนั ประกอบด้วยกรรมการ รวมถึงการจัดให้มกี ารพบปะกับประธานกรรมการบริษทั คณะกรรมการ
ที่ มี คุ ณ สมบั ติ ห ลากหลายด้ า นความรู ้ แ ละความเชี่ ย วชาญ ได้ แ ก่ บริษัท คณะกรรมการชุดย่อยของบริษัท เพื่อรับทราบข้อมูลเกี่ยวกับ
วิศวกรรมศาสตร์ การบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์ นิติศาสตร์ โดยมี การด�ำเนินธุรกิจของบริษัท
ความหลากหลายของวิชาชีพและประสบการณ์อันเป็นประโยชน์ใน
ประกอบกิจการของบริษัทและการถ่วงดุลของกรรมการที่เหมาะสม การพัฒนาและฝึกอบรมกรรมการและผู้บริหาร
บริ ษั ท ได้ ก� ำ หนดนโยบายจ� ำ กั ด จ� ำ นวนบริ ษั ท จดทะเบี ย นที่ คณะกรรมการบริษัทให้ความส�ำคัญต่อการพัฒนากรรมการ
กรรมการบริษัทสามารถเข้าด�ำรงต�ำแหน่งเป็นกรรมการได้ไม่เกิน 5 โดยได้ส่งกรรมการเข้าอบรมหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาความ
บริษทั เพือ่ ให้บริษทั ได้ประโยชน์สงู สุดในการทีก่ รรมการบริษทั สามารถ รู้ความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่กรรมการ เช่น สมาคมส่งเสริม
อุทิศเวลาส�ำหรับการปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
สมาคมบริษทั จดทะเบียนไทย และสถาบันอืน่ ๆ อย่างต่อเนือ่ ง รวมทัง้
(3) การสรรหาผู้บริหารระดับสูงสุด ส่งผู้บริหารเข้าศึกษาโครงการที่เป็นหลักสูตรระยะยาวต่าง ๆ เพื่อเป็น
ในการสรรหาผู ้ ม าด� ำ รงต� ำ แหน่ ง ผู ้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง สุ ด การพัฒนากรรมการและเพิ่มมุมมองความคิดที่เป็นประโยชน์ น�ำมา
คณะกรรมการบริหารจะเป็นผู้พิจารณาในเบื้องต้น ในการกลั่นกรอง ประยุกต์ใช้กับธุรกิจของบริษัท เสริมสร้างความรู้ความสามารถให้ทัน
สรรหาบุคคลที่มีคุณสมบัติครบถ้วน เหมาะสม มีความรู้ความสามารถ ต่อธุรกิจที่มีการแข่งขันตลอดเวลา รวมถึงการจัดฝึกอบรมทั้งภายใน
ประสบการณ์ คุณลักษณะความเป็นผู้น�ำ ความสามารถด้านการ และสถาบันอบรมภายนอกบริษัทอย่างสม�ำ่ เสมอ
บริหาร และมีความเข้าใจในธุรกิจของบริษทั เป็นอย่างดี โดยจะน�ำเสนอ

212
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน การรับรองความถูกต้อง

สิทธิของผู้ถือหุ้น และการปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นโดยเท่า 2563 ในรูปแบบรหัสคิวอาร์ (QR Code) รายละเอียดวาระการประชุม


เทียมกัน เอกสารประกอบในแต่ละวาระพร้อมความเห็นของคณะกรรมการ
สิทธิของผู้ถือหุ้น วิธีการออกเสียงลงคะแนน และรายละเอียดของเอกสารที่ผู้ถือหุ้นจะ
บริษัทตระหนักและให้ความส�ำคัญต่อสิทธิของผู้ถือหุ้น จึงได้ ต้องน�ำมาแสดงในวันประชุม ในกรณีทผ่ี ถู้ อื หุน้ ไม่สามารถเข้าประชุมได้
พยายามส่งเสริมและคุ้มครองผู้ถือหุ้นให้ใช้สิทธิขั้นพื้นฐาน รวมถึง บริษทั ได้จดั ส่งหนังสือมอบฉันทะตามแบบทีก่ ระทรวงพาณิชย์กำ� หนด
การอ�ำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ถือหุ้นในการใช้สิทธิในเรื่องต่าง ๆ ที่ พร้อมประวัตกิ รรมการอิสระทุกท่านเป็นผูร้ บั มอบฉันทะ เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้
ผู้ถือหุ้นควรได้รับอย่างเท่าเทียมกัน อันได้แก่ การเผยแพร่สารสนเทศ ที่ไม่สามารถเข้าประชุมด้วยตนเองได้ สามารถเลือกมอบฉันทะให้
ที่เกี่ยวข้องกับบริษัท รายละเอียดการใช้สิทธิในเรื่องต่าง ๆ ผ่านระบบ บุคคลหนึ่งคนใด หรือกรรมการอิสระที่บริษัทได้ก�ำหนดไว้เป็นผู้รับ
ข่าวของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและเว็บไซต์ของบริษัท มอบอ�ำนาจแทนในการประชุมผู้ถือหุ้น นอกจากนี้ ผู้ถือหุ้นยังสามารถ
เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นเสนอวาระการประชุมและเสนอชื่อบุคคลเพื่อ เรียกดูหนังสือเชิญประชุม เอกสารประกอบการเข้าร่วมประชุม รวมทัง้
เข้ารับการคัดเลือกเป็นกรรมการบริษัท และได้เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้น รายงานประจ�ำปี ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ผ่าน QR Code ซึ่งปรากฏ
ได้ตั้งค�ำถามตามวาระต่าง ๆ ผ่านทางเว็บไซต์ การใช้สิทธิออกเสียงใน อยู่ในแบบลงทะเบียนที่จัดส่งให้ หรือที่เปิดเผยบนเว็บไซต์
เรือ่ งทีส่ ำ� คัญต่าง ๆ รวมถึงการอนุมตั จิ า่ ยเงินปันผล เป็นต้น โดยบริษทั
จะไม่กระท�ำการใด ๆ อันเป็นการละเมิดหรือลิดรอนสิทธิ์ของผู้ถือหุ้น วันประชุมผู้ถือหุ้น
นอกจากนี้ บริษัทได้ส่งเสริมให้ผู้ถือหุ้น โดยเฉพาะนักลงทุนสถาบัน บริษัทให้ความส�ำคัญต่อการประชุมผู้ถือหุ้นเป็นอย่างมาก โดย
เข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้นผ่านการประสานงานของหน่วยงานนักลงทุน เน้นเรือ่ งการจัดสถานทีแ่ ละเวลาทีใ่ ช้ในการประชุมทีส่ ะดวกต่อการเดิน
สัมพันธ์ของบริษัท ทางของผูถ้ อื หุน้ อีกทัง้ เป็นเวลาทีเ่ หมาะสมและเพียงพอ บริษทั จึงได้ใช้
ในปี ที่ ผ ่ า นมา เนื่ อ งจากสถานการณ์ ก ารแพร่ ร ะบาดของ ที่ทำ� การของบริษัท เป็นสถานที่ประชุม ชั้น 37 อาคารคิวเฮ้าส์ ลุมพินี
เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในประเทศไทยโดยเฉพาะเขต เลขที่ 1 ถนนสาทรใต้ แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร
พื้นที่กรุงเทพมหานคร ได้ทวีความรุนแรง และมีจ�ำนวนผู้ติดเชื้อเพิ่ม ตัง้ อยูบ่ ริเวณสถานีลมุ พินขี องสถานีรถไฟฟ้าใต้ดนิ ซึง่ สามารถเดินทางได้
ขึ้นเป็นจ�ำนวนมาก ซึ่งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครได้ออกประกาศ ทั้งรถเมล์ รถไฟลอยฟ้า (BTS) รถไฟใต้ดิน (MRT) เวลาในการประชุม
กรุงเทพมหานคร เรื่อง สั่งปิดสถานที่เป็นการชั่วคราว ฉบับที่ 25 โดย ได้จัดให้มีการประชุมในวันท�ำงานปกติ
ให้ปิดสถานที่ให้บริการห้องประชุม และก�ำหนดให้จ�ำกัดจ�ำนวนผู้เข้า ในวันประชุม บริษัทเปิดให้ผู้ถือหุ้นลงทะเบียนล่วงหน้าก่อนการ
ร่วมประชุมต้องไม่เกิน 20 คน ดังนั้นเพื่อเป็นการปฏิบัติตามประกาศ ประชุมอย่างน้อยหนึ่งชั่วโมงเสมอ และได้จัดเจ้าหน้าที่อ�ำนวยความ
ดังกล่าว บริษัทจึงมีความจ�ำเป็นที่จะต้องเปลี่ยนสถานที่ประชุมจาก สะดวกในการลงทะเบียนให้แก่ผู้ถือหุ้นและผู้รับมอบฉันทะที่เข้า
เดิม เป็นห้องประชุมของบริษัท ชั้น 37 อาคารคิวเฮ้าส์ ลุมพินี เลขที่ 1 ร่วมประชุมโดยใช้ระบบการรับลงทะเบียนด้วยโปรแกรมการรับลง
ถนนสาทรใต้ แขวงทุง่ มหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร และปรับลด ทะเบียนที่สามารถค้นหาชื่อผู้ถือหุ้นจากชื่อ นามสกุล หรือเลขประจ�ำ
จ�ำนวนผู้ที่จะเข้าร่วมประชุม ซึ่งประกอบด้วย กรรมการ ผู้ถือหุ้น และ ตัวประชาชน ซึ่งท�ำให้การรับลงทะเบียนเป็นไปอย่างรวดเร็ว ทั้งนี้
เจ้าหน้าทีบ่ ริษทั ไม่เกิน 20 ท่าน ซึง่ ได้มผี ถู้ อื หุน้ แจ้งความประสงค์จะเข้า ผู้ถือหุ้นที่ลงทะเบียนแล้วจะได้รับใบลงคะแนน เพื่อออกเสียงในแต่ละ
ร่วมประชุมครบจ�ำนวนทีน่ งั่ ทีบ่ ริษทั ได้จดั เตรียมไว้แล้ว ส�ำหรับผูถ้ อื หุน้ วาระ โดยในการนับคะแนน บริษทั ได้ใช้ระบบคอมพิวเตอร์อา่ นคะแนน
ทีไ่ ม่ได้เข้าร่วมประชุมสามารถรับชมการประชุมครัง้ นีท้ างเว็บไซต์ของ จากบาร์โค้ดของใบลงคะแนนที่บริษัทแจกให้แก่ผู้ถือหุ้นซึ่งท�ำให้การ
บริษัท www.lh.co.th ภายใต้หัวข้อ “ข้อมูลนักลงทุน” รายละเอียด นับคะแนนเป็นไปอย่างถูกต้องและรวดเร็ว และผู้ถือหุ้นสามารถเห็น
ในการปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดการประชุมผู้ถือหุ้น มีดังนี้ คะแนนในแต่ละวาระได้ทันทีเมื่อการลงคะแนนเสร็จสิ้น
ในการประชุมผูถ้ อื หุน้ ประธานกรรมการได้ทำ� หน้าทีป่ ระธานในที่
ก่อนวันประชุม ประชุม และมีประธานคณะกรรมการชุดย่อย และกรรมการบริษทั เข้า
บริษทั ได้เผยแพร่หนังสือเชิญประชุมพร้อมเอกสารประกอบการ ร่วมประชุม ก่อนเริ่มด�ำเนินการประชุม เลขานุการที่ประชุมได้อธิบาย
ประชุมในแต่ละวาระการประชุมบนเว็บไซต์ของบริษทั www.lh.co.th วิธกี ารลงคะแนน การนับคะแนน การใช้บตั รลงคะแนน และการเปิดเผย
ภายใต้หัวข้อ “ข้อมูลนักลงทุน | ข้อมูลส�ำหรับผู้ถือหุ้น | หนังสือเชิญ ผลการนับคะแนนในแต่ละวาระเพื่อให้เกิดความโปร่งใส รวมถึงเปิด
ประชุมผู้ถือหุ้น” เป็นการล่วงหน้าก่อนวันประชุมอย่างน้อย 30 วัน โอกาสให้ผถู้ อื หุน้ ได้แสดงความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ และซักถามอย่าง
เพื่อให้ผู้ถือหุ้นมีเวลาศึกษาข้อมูลประกอบการประชุมแต่ละวาระ เท่าเทียมกัน โดยประธานได้ตอบค�ำถามและให้ขอ้ มูลต่าง ๆ แก่ผถู้ อื หุน้
อย่างเพียงพอก่อนได้รับข้อมูลในรูปเอกสารจากบริษัท และบริษัท อย่างครบถ้วน รวมทัง้ ได้จดั สรรเวลาอภิปรายในแต่ละวาระอย่างเพียงพอ
ได้จัดส่งหนังสือเชิญประชุมพร้อมเอกสารประกอบวาระการประชุม การประชุ ม ใหญ่ ส ามั ญ ผู ้ ถื อ หุ ้ น ครั้ ง ที่ 1/2564 มี ผู ้ ถื อ หุ ้ น
ผู้ถือหุ้น และเอกสารประกอบการเข้าร่วมประชุมให้ผู้ถือหุ้นล่วงหน้า และผู้รับมอบฉันทะเข้าประชุมรวม 1,403 ราย นับจ�ำนวนหุ้นได้
โดยเอกสารที่จัดส่งให้ผู้ถือหุ้นประกอบด้วย แบบลงทะเบียน ส�ำเนา 6,712,441,941 หุ้น (คิดเป็นร้อยละ 56.17) เกินกว่าหนึ่งในสามของ
รายงานการประชุมใหญ่สามัญผูถ้ อื หุน้ ครัง้ ที่ 1/2563 รายงานประจ�ำปี จ�ำนวนหุน้ ทัง้ หมดจ�ำนวน 11,949,713,176 หุน้ โดยมีนายนพร สุนทร

213
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

จิตต์เจริญ เป็นประธานในทีป่ ระชุม และนายนันทวัฒน์ พิพฒ ั วงศ์เกษม ได้น�ำระบบการลงทะเบียนและการตรวจนับคะแนนเสียงของบริษัท


กรรมการและเลขานุการคณะกรรมการบริษทั เป็นเลขานุการทีป่ ระชุม อินเวนเทค ซิสเท็ม (ประเทศไทย) จ�ำกัด มาใช้ในการประชุมครัง้ นีด้ ว้ ย
โดยมีกรรมการเข้าร่วมประชุมทั้งสิ้น จ�ำนวน 9 คน ครบ 100% ดังนี้
1. นายนพร สุนทรจิตต์เจริญ ประธานกรรมการ และ หลังการประชุมผู้ถือหุ้น
ประธานที่ประชุม ส�ำหรับรายงานการประชุมผู้ถือหุ้น บริษัทได้บันทึกข้อมูลการ
2. นายภควัต โกวิทวัฒนพงศ์ กรรมการอิสระ และ ประชุมไว้อย่างชัดเจน ทั้งในเรื่องรายชื่อกรรมการที่เข้าร่วมประชุม
ประธานกรรมการตรวจสอบ ข้อซักถามและค�ำชี้แจงที่เป็นสาระส�ำคัญ มติที่ประชุมในแต่ละวาระ
3. นายพิภพ วีระพงษ์ กรรมการอิสระ, ประธาน อย่างละเอียด ซึ่งบริษัทได้เปิดเผยมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น พร้อมผลการ
กรรมการสรรหาและพิจารณา ลงคะแนนเสียง ภายในวันถัดจากวันประชุมผู้ถือหุ้น ให้ผู้ถือหุ้นทราบ
ค่าตอบแทน และกรรมการ ผ่านระบบข่าวของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และได้จดั ส่งให้แก่
ตรวจสอบ หน่วยงานต่าง ๆ ภายในระยะเวลา 14 วัน นับแต่วันประชุมผู้ถือหุ้น
4. นายบัณฑิต พิทักษ์สิทธิ์ กรรมการอิสระ, ประธาน รวมถึงเผยแพร่รายงานการประชุมผู้ถือหุ้นเป็นภาษาไทยและภาษา
กรรมการบริหารความเสีย่ ง อังกฤษผ่านเว็บไซต์ของบริษัท www.lh.co.th เพื่อให้ผู้ถือหุ้นได้รับ
และการพัฒนาอย่างยั่งยืน, ข่าวสารข้อมูลรวดเร็วโดยไม่ต้องรอถึงการประชุมครั้งต่อไป หลังจาก
กรรมการสรรหาและพิจารณา นัน้ ก็จะน�ำเสนอต่อผูถ้ อื หุน้ เพือ่ รับรองในการประชุมผูถ้ อื หุน้ คราวถัดไป
ค่าตอบแทน และกรรมการ
ตรวจสอบ การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นโดยเท่าเทียมกัน
5. นายอดิศร ธนนันท์นราพูล กรรมการ, กรรมการผูจ้ ดั การ บริษัทมีนโยบายสนับสนุนและให้ความส�ำคัญในการปฏิบัติต่อ
(สายสนับสนุน) และกรรมการ ผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่าเทียมกันและเป็นธรรม เพื่อเป็นการปกป้อง
สรรหาและพิจารณาค่า สิทธิขนั้ พืน้ ฐานของผูถ้ อื หุน้ โดยเฉพาะผูถ้ อื หุน้ ส่วนน้อยทีถ่ กู ละเมิดสิทธิ
ตอบแทน ควรมีโอกาสได้รับการชดเชย ดังนั้น บริษัทจึงมีมติด�ำเนินการต่าง ๆ
6. นายวัชริน กสิณฤกษ์ กรรมการ, กรรมการผูจ้ ดั การ ดังนี้
(สายปฏิบัติการโครงการ 1. การจัดประชุมผูถ้ อื หุน้ จะด�ำเนินการตามล�ำดับระเบียบวาระ
บ้านจัดสรร) และกรรมการ ทีไ่ ด้แจ้งไว้ในหนังสือเชิญประชุม และไม่เพิม่ ระเบียบวาระในทีป่ ระชุม
บริหารความเสี่ยงและ โดยไม่ได้แจ้งให้ผู้ถือหุ้นทราบล่วงหน้า ทั้งนี้ เพื่อให้ผู้ถือหุ้นได้มีเวลา
การพัฒนาอย่างยั่งยืน ศึกษาข้อมูลประกอบการประชุมแต่ละวาระอย่างเพียงพอก่อนการ
7. นายอาชวิณ อัศวโภคิน กรรมการ ตัดสินใจ
8. นายอดุล ชูวณิชชานนท์ กรรมการ, กรรมการผูจ้ ดั การ 2. คณะกรรมการบริษทั ได้มมี ติให้บริษทั เปิดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ มี
(สายปฏิบัติการโครงการ สิทธิสามารถเสนอเพิม่ วาระการประชุมล่วงหน้า ซึง่ บริษทั ได้แจ้งให้ผถู้ อื
อาคารชุด) และกรรมการ หุน้ รับทราบโดยทัว่ กันผ่านทางเว็บไซต์ของบริษทั www.lh.co.th และ
บริหารความเสี่ยงและ เว็บไซต์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย พร้อมทัง้ ได้แจ้งให้ทราบ
การพัฒนาอย่างยั่งยืน ถึงวิธกี ารเสนอวาระและหลักเกณฑ์ในการพิจารณาบรรจุวาระเข้าเป็น
9. นายนันทวัฒน์ พิพัฒวงศ์เกษม กรรมการ, รองกรรมการ วาระการประชุมอย่างชัดเจนเป็นการล่วงหน้า โดยคณะกรรมการ
ผู้จัดการ, เลขานุการ อิสระของบริษัทจะเป็นผู้พิจารณากลั่นกรองวาระที่ผู้ถือหุ้นเสนอก่อน
คณะกรรมการบริษัท น�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริษัท โดยเรื่องที่ผ่านความเห็นชอบจาก
และกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริษทั จะบรรจุเป็นวาระการประชุมในการประชุมต่อไป
ความเสี่ยงและการพัฒนา ส�ำหรับวาระที่ไม่ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริษัท บริษัท
อย่างยั่งยืน จะแจ้งให้ผู้ถือหุ้นรับทราบพร้อมชี้แจงเหตุผลทางเว็บไซต์ของบริษัท
และในวันนี้บริษัทได้เชิญผู้สอบบัญชีจากส�ำนักงานอีวาย คือ 3. คณะกรรมการบริษัทได้มีมติให้บริษัทเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้น
นางสาวรุ้งนภา เลิศสุวรรณกุล ซึ่งเป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทเข้าร่วม มีสทิ ธิในการเสนอชือ่ บุคคลเพือ่ รับเลือกเป็นกรรมการ ซึง่ ผูท้ ไี่ ด้รบั การ
ประชุมในวันนี้ เพือ่ ตอบข้อซักถามในประเด็นทีเ่ กีย่ วข้อง รวมทัง้ ได้เชิญ เสนอชื่อจะต้องมีคุณสมบัติครบถ้วนตามที่บริษัทก�ำหนด และต้องให้
ทีป่ รึกษากฎหมาย ซึง่ เป็นบุคคลทีเ่ ป็นอิสระ เข้าร่วมสังเกตการณ์ในการ ความยินยอมในการเสนอชื่อด้วย เพื่อให้คณะกรรมการสรรหาและ
ประชุม เพื่อท�ำหน้าที่ดูแลให้การประชุมเป็นไปอย่างโปร่งใส ถูกต้อง พิจารณาค่าตอบแทนของบริษัทด�ำเนินการตามกระบวนการสรรหา
ตามกฎหมายและข้อบังคับบริษัท และเป็นคนกลางในการตรวจนับ กลั่นกรอง และคัดเลือกรายชื่อบุคคลที่ผู้ถือหุ้นเสนอ ก่อนน�ำเสนอให้
คะแนนเสียงในแต่ละวาระ ทั้งนี้ ในการลงทะเบียนเข้าประชุม บริษัท คณะกรรมการบริษัทพิจารณาต่อไป บุคคลใดที่ได้รับความเห็นชอบ

214
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน การรับรองความถูกต้อง

จากคณะกรรมการบริษัท จะได้รับการบรรจุชื่อในวาระการเลือกตั้ง 4. บริษทั ได้มกี ารปฏิบตั ติ ามหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี และ


กรรมการบริษทั ในการประชุมต่อไป ส�ำหรับบุคคลทีไ่ ม่ได้รบั ความเห็น ได้รายงานนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการทีไ่ ด้ให้ความเห็นชอบโดยสรุป
ชอบจากคณะกรรมการบริษทั บริษทั จะแจ้งให้ผถู้ อื หุน้ รับทราบพร้อม ผลการปฏิบัติตามนโยบายดังกล่าวไว้ในรายงานประจ�ำปี และเว็บไซต์
ชีแ้ จงเหตุผลทางเว็บไซต์ของบริษทั หรือช่องทางการเผยแพร่ขอ้ มูลอืน่ ที่ ของบริษัท
เหมาะสมต่อไป ซึ่งในปีนี้ไม่มีผู้ถือหุ้นท่านใดเสนอวาระการประชุม 5. บริ ษั ท ได้ เ ปิ ด เผยเกี่ ย วกั บ บทบาทและหน้ า ที่ ข อง
เพิ่มเติม หรือเสนอชื่อบุคคลเพื่อรับเลือกตั้งเป็นกรรมการแต่อย่างใด คณะกรรมการและคณะกรรมการชุดย่อยต่าง ๆ ภายใต้หัวข้อ “7.2
4. เสนอรายชื่อของกรรมการอิสระทั้งหมด เพื่อเป็นทางเลือก ข้อมูลเกี่ยวกับคณะกรรมการ และ 7.3 ข้อมูลเกี่ยวกับคณะกรรมการ
ในการมอบฉันทะ และสามารถเลือกมอบฉันทะแก่กรรมการอิสระ ชุ ด ย่ อ ย” และจ� ำ นวนครั้ ง ที่ ก รรมการแต่ ล ะท่ า นเข้ า ร่ ว มประชุ ม
ท่านใดท่านหนึง่ ได้ และหนังสือมอบฉันทะเป็นไปตามแบบทีก่ ระทรวง ไว้ภายใต้หัวข้อ “8.1.2 (1) การประชุมคณะกรรมการบริษัทและ
พาณิชย์ก�ำหนด โดยมีรูปแบบที่ผู้ถือหุ้นสามารถก�ำหนดทิศทางการ คณะกรรมการชุดย่อย”
ลงคะแนนเสียงเองได้ เพือ่ เป็นการสนับสนุนให้ผถู้ อื หุน้ ได้ใช้สทิ ธิในการ
เข้าร่วมประชุม และออกเสียงลงคะแนนในแต่วาระ ความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้เสีย
5. ส่งเสริมให้ผถู้ อื หุน้ ใช้บตั รลงคะแนนเสียงส�ำหรับทุกระเบียบ บริษัทได้ให้ความส�ำคัญต่อสิทธิของผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม ได้แก่
วาระ โดยจัดท�ำบัตรลงคะแนนแยกตามเรือ่ งทีส่ ำ� คัญ ๆ เพือ่ ให้ผถู้ อื หุน้ ผู้ถือหุ้น พนักงานและผู้บริหารของบริษัทและบริษัทย่อย ลูกค้า คู่ค้า
สามารถลงคะแนนได้ตามที่เห็นสมควร ซึ่งจะมีการเก็บบัตรลงคะแนน คู่แข่ง เจ้าหนี้ ภาครัฐ ผู้ร่วมทุน สังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม เพื่อให้
ดังกล่าวในห้องประชุม เพื่อน�ำผลคะแนนมารวมค�ำนวณกับคะแนน มั่นใจว่า สิทธิขั้นพื้นฐานของผู้มีส่วนได้เสียเหล่านี้ได้รับการคุ้มครอง
เสียงทีไ่ ด้ลงไว้ลว่ งหน้าในหนังสือมอบฉันทะ ก่อนทีจ่ ะประกาศแจ้งมติ และดูแลเป็นอย่างดีตามข้อก�ำหนดของกฎหมาย และกฎระเบียบต่าง ๆ
ของคะแนนเสียงในห้องประชุม ทีเ่ กีย่ วข้อง รวมทัง้ บริษทั ได้กำ� หนดกรอบความประพฤติดา้ นจริยธรรม
6. การแต่งตั้งกรรมการทดแทนกรรมการที่หมดวาระ บริษัท และจรรยาบรรณในการด�ำเนินธุรกิจ ซึ่งได้เผยแพร่ข้อมูลผ่านเว็บไซต์
เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นได้ใช้สิทธิในการแต่งตั้งเป็นรายบุคคล ของบริษทั และจะไม่ทำ� การใด ๆ ทีเ่ ป็นการละเมิดสิทธิของผูม้ สี ว่ นได้เสีย
7. บริษัทได้ก�ำหนดมาตรการป้องกันการใช้ข้อมูลภายในเพื่อ ซึง่ ถือว่าเป็นส่วนส�ำคัญในการสร้างความส�ำเร็จในระยะยาวของบริษทั
หาประโยชน์ของกรรมการและผู้บริหาร โดยกรรมการและผู้บริหาร โดยมีรายละเอียด ดังนี้
มีบทบาทภาระหน้าที่ที่ต้องน�ำส่งรายงานการมีส่วนได้เสียของตนหรือ ผู้ถือหุ้น : บริษัทให้ความส�ำคัญกับผู้ถือหุ้นเป็นอย่างยิ่ง โดยได้
ของบุคคลทีม่ คี วามเกีย่ วข้องกัน รายงานการถือครองหลักทรัพย์ของตน ปฏิบตั ติ ามหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี การยึดมัน่ ในการปฏิบตั หิ น้าที่
คู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ และรายงานการเปลี่ยนแปลง ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต การด�ำเนินการและการตัดสินใจด้วยความ
การถือครองหลักทรัพย์ ทุกครั้งที่มีการซื้อ ขาย โอน หรือ รับโอน รอบคอบและเป็นไปตามข้อก�ำหนดกฎหมายที่เกี่ยวข้อง การให้ความ
หลักทรัพย์ ส�ำคัญต่อสิทธิของผูถ้ อื หุน้ เช่น สิทธิในการได้รบั ข้อมูลของบริษทั อย่าง
ครบถ้วนถูกต้องและทันเหตุการณ์ สิทธิในการได้รับเงินปันผล สิทธิใน
การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส การออกเสียง สิทธิในการมอบฉันทะ สิทธิในการประชุมผู้ถือหุ้น สิทธิ
1. บริษัทได้ตระหนักถึงความส�ำคัญของการเปิดเผยข้อมูล ในการตัดสินใจลงคะแนนเสียงในเรื่องที่สำ� คัญของบริษัท เป็นต้น
อย่างเพียงพอ ถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว และโปร่งใส บริษัทจึงได้เผย พนักงาน : บริษัทเคารพในหลักสิทธิมนุษยชนอย่างเคร่งครัด
แพร่ข้อมูลที่ส�ำคัญของบริษัททั้งข้อมูลทางการเงินและข้อมูลที่ไม่ใช่ ค�ำนึงถึงความเสมอภาค เสรีภาพส่วนบุคคล ไม่เลือกปฏิบัติไม่ว่าจะ
ทางการเงิน ผ่านทางเว็บไซต์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เป็นในเรื่องของเชื้อชาติ สัญชาติ ภาษา ศาสนา เพศ อายุ การศึกษา
www.set.or.th และเว็บไซต์ของส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับ และความคิดเห็นทางการเมือง รวมถึงไม่สนับสนุนการกระท�ำใด ๆ
หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ www.sec.or.th ตามเกณฑ์ ที่ อันเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนสากล ทั้งนี้ บริษัทมีการดูแลและการ
ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ละส� ำ นั ก งานคณะกรรมการก� ำ กั บ หลั ก ทรั พ ย์ ปฏิบัติที่เป็นธรรมในด้านต่าง ๆ ให้แก่พนักงาน เช่น การก�ำหนดผล
ก�ำหนดไว้ นอกจากนี้ข้อมูลสารสนเทศต่าง ๆ ที่บริษัทได้เผยแพร่ต่อ ตอบแทนให้สอดคล้องกับระดับหน้าที่ความรับผิดชอบและตามกลไก
สาธารณชนและผู้มีส่วนได้เสียแล้ว จะน�ำมาเผยแพร่รวมไว้ในเว็บไซต์ ราคาตลาดแรงงาน การจัดให้มสี วัสดิการในด้านต่าง ๆ การจัดให้มนี โยบาย
ของบริษทั www.lh.co.th ด้วย โดยมีการปรับปรุงข้อมูลอย่างสม�ำ่ เสมอ ความปลอดภัยและสุขอนามัยที่ดีของพนักงาน การส่งเสริมพัฒนา
เพื่อให้ผู้ใช้สามารถรับข้อมูลข่าวสารได้ทันต่อเหตุการณ์ เข้าถึงได้ ศักยภาพของพนักงานอย่างต่อเนื่อง รวมถึงการจัดตั้งคณะกรรมการ
สะดวก และได้รับประโยชน์สูงสุด สวัสดิการ เพื่อเป็นตัวแทนของพนักงานร่วมปรึกษาหารือกับบริษัท
2. งบการเงินที่น�ำมาเปิดเผยต่อผู้มีส่วนได้เสียต้องผ่านความ ในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับสวัสดิการของพนักงาน
เห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการบริษัทก่อน ลูกค้า : บริษทั ส่งมอบสินค้าและให้บริการทีม่ คี ณ
ุ ภาพ ด้วยราคาที่
3. คณะกรรมการบริษัทได้จัดให้มีรายงานความรับผิดชอบ เป็นธรรม มีการโฆษณาหรือให้ขอ้ มูลข่าวสารทีถ่ กู ต้องครบถ้วน ตรงไป
ของคณะกรรมการต่อรายงานทางการเงินแสดงควบคู่กับรายงานของ ตรงมา ปฏิบัติตามเงื่อนไขข้อสัญญาต่าง ๆ ที่มีต่อลูกค้าอย่างเคร่งครัด
ผู้สอบบัญชีในรายงานประจ�ำปี นอกจากนี้ ยังมีการจัดตัง้ หน่วยงานเพือ่ ติดต่อ รับฟังข้อเสนอแนะ หรือ
215
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

ข้อคิดเห็นจากลูกค้า เพื่อให้ทราบถึงปัญหา ความต้องการของลูกค้า บริษัทย่อยกับบุคคลที่เกี่ยวโยง การได้มาหรือจ�ำหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์


และน�ำมาพัฒนาปรับปรุงแก้ไข สร้างความเชื่อมั่นและความพึงพอใจ หรือการท�ำรายการส�ำคัญอืน่ ใดของบริษทั ย่อยดังกล่าวให้ครบถ้วน โดย
สูงสุด รวมถึงการมุ่งมั่นในการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ ๆ มีข้อบังคับในเรื่องการท�ำรายการเกี่ยวโยงกันและการเปิดเผยข้อมูลที่
อย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างความสะดวก สบาย และความปลอดภัยให้ สอดคล้องกับหลักเกณฑ์ของบริษัท รวมถึงก�ำกับดูแลให้มีการจัดเก็บ
แก่ผู้บริโภค ข้อมูล การบันทึกบัญชีให้ถูกต้องครบถ้วนสามารถตรวจสอบได้ และ
คู่ค้า : บริษัทปฏิบัติต่อคู่ค้าอย่างเหมาะสม โดยการคัดเลือกคู่ค้า รวบรวมข้อมูลมาจัดท�ำงบการเงินรวมให้ทันภายในก�ำหนด
ตัง้ อยูบ่ นพืน้ ฐานของการแข่งขันระหว่างคูค่ า้ แต่ละรายอย่างเสมอภาค
และเป็นธรรม บริษทั ได้เปิดโอกาสให้คคู่ า้ ผูข้ าย ผูร้ บั จ้าง เข้าประมูลงาน การป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์
เสนอราคาจ้างเหมา ราคาสินค้า ด้วยความโปร่งใส ยุติธรรม เปิดเผย คณะกรรมการได้ตระหนักถึงความส�ำคัญในเรื่องการป้องกัน
และเป็นธรรมกับคู่ค้าทุกราย มีการก�ำหนดหลักเกณฑ์ในการคัดเลือก ความขัดแย้งของผู้ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ คณะกรรมการบริษัท ฝ่ายจัดการ
คู่ค้าและคู่สัญญา โดยพิจารณาจากคุณสมบัติ คุณภาพงาน ผลงาน และพนักงานบริษัท โดยก�ำหนดมาตรการในการบริหารจัดการ เพื่อ
ที่ผ่านมา ประสบการณ์ ความเชี่ยวชาญในธุรกิจ สถานะทางการเงิน ให้เกิดความมั่นใจว่าบริษัทมีการจัดการธุรกิจอย่างโปร่งใส เพื่อผล
มั่นคง ไม่มีประวัติการละทิ้งงาน มีความสามารถส่งมอบงานตาม ประโยชน์สงู สุดของผูถ้ อื หุน้ โดยบริษทั ได้เปิดเผยรายละเอียดในเรือ่ งนี้
ก�ำหนด เพื่อประโยชน์สูงสุดของบริษัท ซึ่งบริษัทมีการจัดท�ำข้อตกลง ไว้ภายใต้หวั ข้อ “8.1.4 (1) การป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์”
หรือสัญญากับคู่ค้าไว้อย่างชัดเจน ไม่มีการก�ำหนดเงื่อนไขที่ไม่เป็น
ธรรมกับคู่ค้า การป้องกันการใช้ข้อมูลภายใน
เจ้าหนี้ : บริษัทไม่กระท�ำการใดที่เป็นการฝ่าฝืนเงื่อนไขข้อ บริษทั มีนโยบายทีช่ ดั เจนเกีย่ วกับเรือ่ งการใช้อำ� นาจหน้าทีใ่ ห้ถกู
ตกลง ไม่ปกปิดข้อมูล หรือข้อเท็จจริงอันจะก่อให้เกิดความเสียหายแก่ ให้ควร ผ่านหลายช่องทาง ได้แก่ การก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี จรรยาบรรณ
เจ้าหนี้ บริษัทบริหารเงินกู้ยืมให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการกู้ยืม ของบริษัท ประกาศต่าง ๆ ที่มาจากส�ำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต.
ไม่น�ำเงินไปใช้ในทางที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่บริษัท ควบคุมให้มี หรือหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง การสือ่ สารภายในองค์กร วัฒนธรรมองค์กร
การช�ำระคืนเงินกู้ยืมและดอกเบี้ยตรงตามเวลาที่ก�ำหนด และปฏิบัติ เป็นต้น เพื่อให้พนักงานทุกระดับตระหนักถึงการปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้น
ตามเงื่อนไขการกู้ยืมเงินตามข้อตกลงอย่างครบถ้วน อย่างเท่าเทียมกัน โดยไม่แสวงหาผลประโยชน์จากข้อมูลภายใน
คู่แข่ง : บริษัทเน้นประพฤติตามกรอบกติกาการแข่งขันอย่างมี โดยบริษัทได้เปิดเผยรายละเอียดในเรื่องนี้ไว้ภายใต้หัวข้อ “8.1.4
จริยธรรมที่ดี ด้วยความเป็นมืออาชีพและโปร่งใส ภายใต้กรอบแห่ง (2) การป้องกันการใช้ข้อมูลภายใน”
กฎหมาย ไม่ละเมิดความลับหรือล่วงรู้ความลับทางการค้าของคู่แข่ง
ด้วยวิธีฉ้อฉล และยึดถือนโยบายและการปฏิบัติต่อคู่แข่งทางการค้าที่ ทรัพย์สินทางปัญญาหรือลิขสิทธิ์
ระบุไว้ในคู่มือจริยธรรมธุรกิจ บริษัทมีนโยบายที่จะปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการไม่
สังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม : บริษัทตระหนักถึงความ ละเมิดทรัพย์สนิ ทางปัญญาหรือลิขสิทธิ์ รวมถึงไม่สนับสนุนให้พนักงาน
รับผิดชอบต่อสังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อมมาโดยตลอด โดยฝังอยู่ใน กระท�ำการอันเป็นการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญาหรือลิขสิทธิ์ของ
กระบวนการท�ำงานหลักของกิจการ ตัง้ แต่การออกแบบสินค้า การเลือก ผู้อื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต ซึ่งก�ำหนดไว้ในสัญญาไม่เปิดเผยความลับ
ใช้วัสดุและทรัพยากรอย่างเหมาะสม การควบคุมคุณภาพของสินค้า โดยบริษัทก�ำหนดให้พนักงานและผู้บริหารทุกคนลงนามในสัญญา
บริการ เวลาการส่งมอบ พัฒนาสินค้าให้ผู้อยู่อาศัยมีคุณภาพชีวิต
ที่ดีขึ้น รวมถึงมีการปฏิบัติตามแนวทางลดผลกระทบในรายงานผล นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
กระทบสิ่งแวดล้อมอย่างเคร่งครัด ด�ำเนินการและควบคุมให้มีการ บริษทั ได้เล็งเห็นถึงความส�ำคัญต่อการคุม้ ครองข้อมูลส่วนบุคคล
ปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องอย่างเคร่งครัด ตลอดจนมีการส่งเสริม และปฏิบัติตามกฎหมายและกฎเกณฑ์คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลตาม
การใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ และมีการจัดโครงการและการ พระราชบัญญัตคิ มุ้ ครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (“พ.ร.บ. คุม้ ครอง
จัดกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อชุมชนสังคมอย่างต่อเนื่องโดยตลอดมา ข้อมูลส่วนบุคคล”) บริษัทจึงได้มีการด�ำเนินการ ดังนี้
1. จัดท�ำนโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และระเบียบ
การก�ำกับดูแลบริษัทย่อยและบริษัทร่วม ปฏิบัติเกี่ยวกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ซึ่งก�ำหนดวิธีการปฏิบัติ
การเสนอชือ่ และการใช้สทิ ธิออกเสียงแต่งตัง้ บุคคลเป็นกรรมการ เกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคลในเรื่องต่าง ๆ เช่น การเก็บรวบรวมใช้ หรือ
ในบริษัทย่อยและบริษัทร่วมด�ำเนินการโดยฝ่ายจัดการ และต้อง เปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล สิทธิของเจ้าของข้อมูล การลบหรือการท�ำลาย
ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท ซึ่งบุคคลที่ได้รับแต่งตั้งให้ ข้อมูล และการจัดการเหตุการณ์ละเมิดข้อมูลส่วนบุคคล เป็นต้น
เป็นกรรมการในบริษัทย่อยหรือบริษัทร่วม มีหน้าที่ด�ำเนินการเพื่อ 2. แต่ ง ตั้ ง ผู ้ จั ด การอาวุ โ สฝ่ า ยเทคโนโลยี ส ารสนเทศ เป็ น
ประโยชน์สูงสุดของบริษัทย่อยและบริษัทร่วมนั้น ๆ เจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (DPO) ของบริษัท พร้อมด้วย
บริษัทได้ก�ำกับดูแลบริษัทย่อยและบริษัทร่วม ในเรื่องการเปิด คณะท�ำงานด้านการคุ้มครองส่วนบุคคลที่มาจากส่วนงานต่าง ๆ
เผยข้อมูลฐานะการเงินและผลการด�ำเนินงาน การท�ำรายการระหว่าง ทั่วทั้งองค์กร จ�ำนวน 12 คน
216
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน การรับรองความถูกต้อง

3. ก�ำหนดบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของเจ้าหน้าที่ บริษทั ได้มกี ารติดตามผลการปฏิบตั ติ ามจรรยาบรรณเป็นประจ�ำ


คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ซึ่งมีหน้าที่หลักในการบริหารจัดการก�ำกับ ทุกปี และบริษัทได้มอบหมายให้ฝ่ายตรวจสอบและพัฒนาระบบใน
ดูแลพนักงานเกี่ยวกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของบริษัท เพื่อให้ การติดตามตรวจสอบการปฏิบัติภายใต้งานตรวจสอบ โดยรายงาน
เป็นไปตามนโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลและระเบียบปฏิบัติ คณะกรรมการตรวจสอบรับทราบผลการตรวจสอบพร้อมข้อเสนอ
และเป็นผูใ้ ห้แนวทางการตัดสินใจในเรือ่ งการคุม้ ครองข้อมูลส่วนบุคคล แนะแนวทางแก้ไข นอกจากนี้ ในปี 2564 ผู้สอบบัญชีของบริษัท
เช่น การปฏิบตั ติ ามสิทธิของเจ้าของข้อมูล การจัดการกับเหตุการณ์การ ซึ่งเป็นหน่วยงานอิสระจากภายนอกองค์กรได้ท�ำการประเมินการ
ละเมิดข้อมูลส่วนบุคคล เป็นต้น รวมถึงการเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กร ปฏิบัติตามจรรยาบรรณ ซึ่งผลการประเมินไม่มีประเด็นชี้แจงเพิ่มเติม
ในการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล เป็นตัวแทนของบริษัทในการติดต่อ บริษัทให้ความส�ำคัญในการด�ำเนินธุรกิจโดยส่งเสริมการแข่งขัน
ประสานงานกับส�ำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ทางการค้าอย่างเสรี สุจริตและเป็นธรรม ภายใต้กรอบของกฎหมาย
4. ก�ำหนดให้มกี ารทบทวนและปรับปรุงระเบียบปฏิบตั ิ ปีละ 1 และจริยธรรมทางธุรกิจของบริษัท หลีกเลี่ยงการด�ำเนินการที่อาจก่อ
ครั้ง หรือเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงที่มีนัยส�ำคัญ เพื่อให้สอดคล้องกับ ให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ มีมาตรการก�ำกับดูแลเรื่องการ
กฎหมายที่เกี่ยวข้องและมีความเป็นปัจจุบัน ใช้ข้อมูลภายในหาประโยชน์ให้ตนเองและพวกพ้อง เคารพสิทธิและ
5. ก�ำหนดบทลงโทษ หากมีการละเมิดฝ่าฝืน ไม่ปฏิบัติตาม ความเสมอภาคของผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม ได้แก่ ผู้ถือหุ้น พนักงาน
ระเบียบปฏิบัติที่บริษัทก�ำหนด ให้ลงโทษทางวินัยตั้งแต่ตักเตือน คาด ลูกค้า คู่ค้า คู่แข่ง เจ้าหนี้ ตลอดจนชุมชนสังคมและสิ่งแวดล้อม
โทษ พักงาน เลิกจ้าง และอาจมีการด�ำเนินคดีทางกฎหมายได้ โดยได้ก�ำหนดแนวปฏิบัติที่ครอบคลุมถึงสิทธิ และผลประโยชน์ที่
นอกจากนี้ บริษัทได้ให้ความรู้และความเข้าใจในเรื่องการรักษา ผู้มีส่วนได้เสียพึงได้รับอย่างทั่วถึงไว้ในจริยธรรมและจรรยาบรรณทาง
ความปลอดภัยของข้อมูลแก่หัวหน้าพนักงานในแต่ละฝ่าย รวมถึง ธุรกิจของบริษัท ส�ำหรับคณะกรรมการบริษัท ผู้บริหาร และพนักงาน
บริษัทได้จัดท�ำสัญญาไม่เปิดเผยความลับเพื่อให้พนักงานทุกคนรับ ได้ยึดถือปฏิบัติ รายละเอียด มีดังนี้
ทราบและลงนามในสัญญา ให้พนักงานเกิดการตระหนักและปฏิบตั ติ าม 1. แนวทางปฏิบัติของคณะกรรมการบริษัท
สัญญาไม่เปิดเผยข้อมูลอย่างเคร่งครัด เพือ่ ป้องกันการรัว่ ไหลข้อมูลต่าง ๆ • จัดหาผู้บริหารที่มีความรู้ความสามารถ มีคุณธรรม
ของบริษัท ไปยังบุคคลภายนอกที่ไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง และเป็นที่ยอมรับจากสังคม
• ให้อ�ำนาจการบริหารอย่างเพียงพอแก่ผู้บริหาร เพื่อ
3. จรรยาบรรณธุรกิจ ความคล่องตัวต่อการจัดการ
บริษัทยึดมั่นในแนวทางการด�ำเนินธุรกิจที่โปร่งใส สุจริต และ • สนับสนุนและส่งเสริมให้ผบู้ ริหารและพนักงานปฏิบตั ิ
เป็นธรรม ได้ออกข้อพึงปฏิบตั เิ กีย่ วกับจรรยาบรรณของคณะกรรมการ งานภายใต้กรอบจรรยาบรรณที่ได้กำ� หนดขึ้น
ผูบ้ ริหารและพนักงาน และก�ำหนดให้กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงาน • ไม่หาประโยชน์ให้ตนเองและพวกพ้องจากข้อมูล
ปฏิบัติตามจรรยาบรรณอย่างเคร่งครัด ปฏิบัติหน้าที่ตามภารกิจของ ขององค์กร ซึ่งยังมิได้เปิดเผยต่อสาธารณะ
บริษัทภายใต้กรอบกฎหมายและกฎระเบียบของบริษัทบนพื้นฐาน 2. แนวทางปฏิบัติของผู้บริหาร
ของการมีจรรยาบรรณเยี่ยงมืออาชีพ โดยบริษัทได้จัดท�ำจรรยาบรรณ ผู้บริหารมีส่วนเกี่ยวข้องกับบุคคลหลายกลุ่ม เช่น ผู้ถือหุ้น
พนักงาน (Code of Conduct) เผยแพร่ในระบบฐานข้อมูลกลางของ พนักงาน ลูกค้า คูค่ า้ คูแ่ ข่ง และสังคม จึงก�ำหนดกรอบให้เป็นแนวทาง
บริษัท มีการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมให้ปฏิบัติตามจรรยาบรรณ และ ส�ำหรับผู้บริหารไว้ดังนี้
วัฒนธรรมในการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี และจัดให้มีการสื่อสารแนว ผู้บริหารปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้น
ปฏิบตั แิ ละติดตามการปฏิบตั ติ ามจรรยาบรรณแก่พนักงานทุกคนอย่าง • ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต ระมัดระวัง และ
มีประสิทธิภาพ อาทิ ปฏิบัติอย่างมืออาชีพ
• การปฐมนิเทศพนักงานใหม่ ให้มีหัวข้อเกี่ยวกับหลักการ • ไม่หาประโยชน์ให้ตนเองและพวกพ้องจากข้อมูล
ก�ำกับดูแลกิจการที่ดี และจรรยาบรรณของพนักงาน เพื่อความเข้าใจ ขององค์กร ซึ่งยังมิได้เปิดเผยต่อสาธารณะ
และเป็นแนวปฏิบัติ • ไม่เปิดเผยข้อมูลความลับขององค์กรต่อบุคคลภายนอก
• การสือ่ สารให้พนักงานรับทราบแนวปฏิบตั ติ ามจรรยาบรรณ • ไม่ดำ� เนินการใด ๆ อันเป็นลักษณะทีอ่ าจก่อให้เกิดความ
พนักงานทางระบบจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ขัดแย้งทางผลประโยชน์ต่อองค์กร
• การจัดท�ำกิจกรรมผ่านสื่อในระบบเครือข่ายอิเล็กทรอนิกส์ ผู้บริหารปฏิบัติต่อพนักงาน
ภายในองค์กร โดยเฉพาะการประชาสัมพันธ์เกีย่ วกับจรรยาบรรณและ • ปฏิบตั ติ อ่ พนักงานอย่างเป็นธรรมในเรือ่ งผลตอบแทน
หลักการก�ำกับดูแลกิจการในหน้าแรก (Welcome Page) • ปฏิบัติต่อพนักงานในเรื่องความปลอดภัยในชีวิตและ
• การติดตามการปฏิบัติผ่านการควบคุมการปฏิบัติงานของ ทรัพย์สนิ
หัวหน้าหน่วยงานแต่ละหน่วยงาน และ ผ่านกลไกการท�ำงานของหน่วย • ปฏิบตั ติ อ่ พนักงานด้วยความสุจริตใจ ในเรือ่ งทีเ่ ป็นคุณ
งานตรวจสอบภายใน ในการติดตามและประเมินผล และเป็นโทษ

217
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

• ปฏิบัติต่อพนักงานด้วยความสุภาพ • ดูแลรักษาอุปกรณ์หรือทรัพย์สนิ หรือผลประโยชน์ของ


• รับฟังข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะอย่างมีเหตุมีผล องค์กรอย่างชอบธรรม
• ย�ำ้ ให้พนักงานเข้าใจในเรือ่ งจรรยาบรรณ ซึง่ พนักงาน • รักษาและร่วมสร้างสรรค์ให้เกิดความสามัคคีและ
ปฏิบัติได้ ความเป็นน�ำ้ หนึ่งใจเดียวกันในหมู่พนักงาน
• ส่งเสริมให้พนักงานได้รับการอบรมเพิ่มเติมในสาขา • เอาใจใส่ อ ย่ า งจริ ง จั ง ต่ อ กิ จ กรรมที่ จ ะเสริ ม สร้ า ง
วิชาที่เกี่ยวข้องกับสายงาน คุณภาพ ประสิทธิภาพ และการพัฒนาองค์กร
ผู้บริหารปฏิบัติต่อลูกค้า • ไม่กล่าวร้ายต่อองค์กรหรือผู้บริหาร หรือพนักงานอื่น
• ปฏิ บั ติ ต ่ อ ลู ก ค้ า อย่ า งเป็ น ธรรมในเรื่ อ งสิ น ค้ า และ โดยปราศจากซึ่งมูลความจริง
บริการ • ไม่ดำ� เนินการใด ๆ อันเป็นลักษณะทีอ่ าจก่อให้เกิดความ
• เปิดเผยข่าวสารข้อมูลของสินค้าและบริการอย่างถูก ขัดแย้งทางผลประโยชน์ต่อองค์กร
ต้องครบถ้วน • ไม่ส่งเสริม หรือสนับสนุน ให้บุคคลใด ๆ กระท�ำการ
• เปิดให้ลูกค้าสามารถร้องเรียนได้เกี่ยวกับความไม่ อันมิชอบต่อองค์กรให้หาประโยชน์ทางการค้าให้
สมบูรณ์ของสินค้าและบริการ ตนเองหรือพวกพ้อง
• รักษาความลับของลูกค้าอย่างจริงจัง เพื่อมิให้เกิดผล • ไม่นำ� อาวุธ หรือวัตถุอนั ตราย หรือสิง่ ผิดกฎหมายใด ๆ
เสียหายหรือเป็นที่ร�ำคาญแก่ลูกค้า เข้ามาภายในบริเวณที่ทำ� งานเป็นอันขาด
• ปฏิบัติตามข้อตกลงและเงื่อนไขต่าง ๆ กับลูกค้าอย่าง • หลีกเลี่ยงการรับของขวัญใด ๆ ทั้งสิ้น ที่ทำ� ให้ตนเอง
เป็นธรรม รู้สึกอึดอัดต่อการปฏิบัติหน้าที่ในภายหน้า แต่หาก
• หากปฏิบตั ติ ามข้อตกลงหรือเงือ่ นไขไม่ได้ ควรรีบแจ้ง หลีกเลีย่ งไม่ได้และรูส้ กึ ไม่สบายใจก็ให้รายงานผูบ้ งั คับ
ให้ลูกค้าทราบ เพื่อหาทางออกร่วมกัน บัญชาตามล�ำดับชั้นในสังกัดให้รับทราบทันที และ
ผู้บริหารปฏิบัติต่อคู่ค้า ขอให้เป็นการรับเฉพาะช่วงเทศกาลส�ำคัญเท่านั้น
• ไม่เรียกร้องหรือรับผลประโยชน์ใด ๆ ที่ไม่ชอบธรรม เช่น ปีใหม่
จากคู่ค้า
• ปฏิบัติตามเงื่อนไขต่าง ๆ ที่มีต่อคู่ค้าอย่างเป็นธรรม ทั้งนี้ บริษัทได้ก�ำหนดบทลงโทษ หากพนักงานมีการปฏิบัติ
• หากปฏิบตั ติ ามเงือ่ นไขข้อใดไม่ได้ ให้รบี แจ้งคูค่ า้ ทราบ ตนในลักษณะที่ก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์กับกิจการ
ล่วงหน้า เพื่อร่วมกันหาแนวทางแก้ไข ให้พิจารณาไปตามโครงสร้างการจัดองค์กรของบริษัท โดยให้หัวหน้า
ผู้บริหารปฏิบัติต่อคู่แข่ง ฝ่ายงานเป็นผู้พิจารณาเองเบื้องต้น หลังจากนั้นสรุปเรื่องส่งต่อให้
• ประพฤติปฏิบตั ภิ ายใต้กรอบกติกาของการแข่งขันทีด่ ี ผู้บังคับบัญชาในระดับสูง และสายงานที่เกี่ยวข้องต่อไป เพื่อตัดสิน
• ไม่แสวงหาข้อมูลทีเ่ ป็นความลับของคูแ่ ข่งขันทางการ ความผิดพร้อมระบุโทษตามความเหมาะสมต่อไป แต่หากความขัดแย้ง
ค้าด้วยวิธีที่ไม่สุจริต ทางผลประโยชน์ที่เกิดรุนแรงและก่อความเสียหายเป็นอย่างมาก
ผู้บริหารปฏิบัติต่อสังคม ไม่อาจอยู่ในวินิจฉัยของต้นสังกัดได้ ก็ให้น�ำเรื่องเข้าสู่ฝ่ายบริหารของ
• ไม่กระท�ำการใด ๆ ที่จะส่งผลเสียต่อสภาพแวดล้อม บริษัท เพื่อพิจารณาหาข้อสรุปและก�ำหนดโทษต่อไป
เกินกว่าที่กฎหมายก�ำหนด
• ปฏิบตั หิ รือควบคุมให้มกี ารปฏิบตั ติ ามเจตนารมณ์ของ 4. การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการที่ส�ำคัญของ
กฎหมายและกฎระเบียบ นโยบาย แนวปฏิบัติ และระบบการก�ำกับดูแล
3. แนวทางปฏิบัติของพนักงาน กิจการในรอบปีที่ผ่านมา
• พึงปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต และมานะ บริ ษั ท ยึ ด มั่ น และปฏิ บั ติ ต ามหลั ก การก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี
อดทน ทั้งหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีส�ำหรับบริษัทจดทะเบียนปี 2555
• รักษาความลับของลูกค้า คู่ค้า อย่างสุจริตใจ และหลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดีส�ำหรับบริษัทจดทะเบียนปี 2560
• ให้ความเอาใจใส่ต่อองค์กรในเรื่องรักษาสิ่งแวดล้อม หรือ Corporate Governance Code (CG Code) โดยในปี 2564
ให้สะอาดและปลอดภัย คณะกรรมการบริษัท โดยการเสนอแนะของคณะกรรมการตรวจสอบ
• ปฏิ บั ติ ต ามกฎระเบี ย บ ข้ อ บั ง คั บ และประกาศ ได้พิจารณาทบทวนการน�ำหลักปฏิบัติ 8 ประการ ตามหลักปฏิบัติ
ขององค์กรอย่างเคร่งครัด CG Code ไปถือปฏิบตั ิ โดยจากการพิจารณาทบทวนแล้ว พบว่าบริษทั ได้
• แจ้งหน่วยทีเ่ กีย่ วข้องในบริษทั หากพบว่ามีกระท�ำการใด ๆ ปฏิบตั ติ ามหลักการก�ำกับทีด่ โี ดยส่วนใหญ่ ซึง่ มีเพียงบางเรือ่ งเท่านัน้ ที่
เกิดขึ้นโดยมิชอบ ยังไม่ได้ถอื ปฏิบตั ิ ทัง้ นี้ คณะกรรมการบริษทั จึงมีมติให้ทำ� การปรับปรุง

218
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน การรับรองความถูกต้อง

หรือเพิ่มมาตรการทดแทนส�ำหรับแนวปฏิบัติที่ยังไม่สอดคล้องกับ ที่ด�ำรงต�ำแหน่งต่อเนื่องเกิน 9 ปี จ�ำนวน 1 คน คือ นายภควัต


CG code เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการก�ำกับดูแล และยกระดับมาตรฐาน โกวิทวัฒนพงศ์ ซึง่ ได้รบั การแต่งตัง้ เป็นกรรมการอิสระ ตัง้ แต่ปี 2542
การก�ำกับดูแลกิจการของบริษัท ดังนี้ มติคณะกรรมการบริษทั : คณะกรรมการบริษทั พิจารณาแล้ว
1. แนวปฏิบัติย่อยที่ 1.4.1 คณะกรรมการควรจัดท�ำกฎบัตร และเห็นว่า นายนพร สุนทรจิตต์เจริญ ประธานกรรมการ เป็นบุคคล
หรือนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการของคณะกรรมการ (board charter) ที่มีความเหมาะสมทั้งคุณสมบัติและความสามารถ มีประสบการณ์
ที่ระบุหน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ เพื่อใช้อ้างอิงใน และความเชี่ยวชาญในการท�ำงานเป็นอย่างดี ส�ำหรับกรรมการอิสระ
การปฏิบตั หิ น้าทีข่ องกรรมการทุกคน และควรมีการทบทวนกฎบัตรเป็น ที่ด�ำรงต�ำแหน่งเกิน 9 ปี คือ นายภควัต โกวิทวัฒนพงศ์ สามารถให้
ประจ�ำทุกปี รวมทั้งควรทบทวนการแบ่งบทบาทหน้าที่คณะกรรมการ ความเห็นอย่างเป็นอิสระ และมีคุณสมบัติครบถ้วนตามข้อก�ำหนด
กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่และฝ่ายจัดการอย่างสม�ำ่ เสมอเพือ่ ให้สอดคล้อง ของกรรมการอิสระของบริษัท สามารถน�ำความรู้และประสบการณ์
กับทิศทางขององค์กร การท�ำงานมาให้ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ต่อบริษัท อย่างไรก็ตาม
สิง่ ทีบ่ ริษทั ปฏิบตั ิ : บริษทั มีการจัดท�ำกฎบัตรคณะกรรมการ เพื่อให้สอดคล้องกับแนวปฏิบัติ และมั่นใจมากยิ่งขึ้นว่าการด�ำเนิน
บริษัท ซึ่งได้มีการระบุหน้าที่กรรมการบริษัทไว้อย่างชัดเจน รวมทั้ง งานของคณะกรรมการเอื้อต่อการใช้ดุลยพินิจในการตัดสินใจอย่าง
ผ่านการพิจารณาและอนุมัติในที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท อย่างไร อิสระ คณะกรรมการบริษัทจึงมีมติให้แต่งตั้งกรรมการอิสระคนหนึ่ง
ก็ตาม ยังไม่ได้มีการทบทวนกฎบัตรเป็นประจ�ำทุกปี ทั้งนี้ บริษัทจะมี คือ นายบัณฑิต พิทักษ์สิทธิ์ ให้ร่วมพิจารณาก�ำหนดวาระการประชุม
การทบทวน เมื่อจ�ำเป็นต้องเปลี่ยนแปลงแก้ไขหรือปรับปรุงกฎบัตร คณะกรรมการบริษัททุกครั้ง โดยเริ่มตั้งแต่การประชุมคณะกรรมการ
และต้องได้รับความเห็นชอบจากที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทก่อน บริษัทครั้งที่ 1/2565 เป็นต้นไป
น�ำไปเปิดเผยหรือประกาศใช้ 3. แนวปฏิบตั ยิ อ่ ยที่ 5.2.1 (7) การต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน
มติคณะกรรมการบริษัท : คณะกรรมการบริษัทมีมติให้ โดยปฏิบตั ใิ ห้เป็นไปตามกฎหมายและมาตรฐานทีเ่ กีย่ วข้อง และก�ำหนด
ทบทวนกฎบัตรเป็นประจ�ำทุกปี โดยเริ่มตั้งแต่ปี 2565 เป็นต้นไป ให้บริษัทมีและประกาศนโยบายการต่อต้านทุจริตและคอร์รัปชันต่อ
2. แนวปฏิบตั ทิ ี่ 3.2 คณะกรรมการควรเลือกบุคคลทีเ่ หมาะสม สาธารณะ โดยอาจเข้าร่วมเป็นภาคีเครือข่ายในการต่อต้านทุจริตและ
เป็นกรรมการ และดูแลให้มั่นใจว่าองค์ประกอบและการด�ำเนินของ คอร์รัปชัน รวมถึงสนับสนุนให้บริษัทอื่น ๆ และคู่ค้ามีและประกาศ
คณะกรรมการเอื้อต่อการใช้ดุลยพินิจในการตัดสินใจอย่างอิสระ ทั้งนี้ นโยบายการต่อต้านทุจริตและคอร์รปั ชัน รวมทัง้ เข้าร่วมเป็นภาคีเครือ
ข้อปฏิบัติย่อยที่บริษัทยังปฏิบัติไม่สอดคล้อง มีดังนี้ ข่ายด้วย
• แนวปฏิบัติย่อยที่ 3.2.1 ประธานกรรมการควรเป็น สิ่งที่บริษัทปฏิบัติ : บริษัทยึดมั่นและปฏิบัติตามกฎหมาย
กรรมการอิสระ และมาตรฐานที่เกี่ยวข้องทุกประการ ประกอบธุรกิจอย่างมีจริยธรรม
• แนวปฏิ บั ติ ย ่ อ ยที่ 3.2.2 ควรแยกบุ ค คลที่ ด� ำ รง มีความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้เสีย ไม่ละเมิดสิทธิของผู้มีส่วนได้เสีย
ต� ำ แหน่ ง ประธานกรรมการออกจากบุคคลที่ด�ำรง ซึ่งถือว่าเป็นส่วนส�ำคัญที่สร้างความน่าเชื่อถือให้กับบริษัทและความ
ต�ำแหน่งกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ ส�ำเร็จของบริษัทในระยะยาว อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันบริษัทยังไม่ได้
• แนวปฏิบัติย่อยที่ 3.2.4 ในกรณีที่ประธานกรรมการ เข้าร่วมเป็นภาคีเครือข่ายต่อต้านทุจริตและคอร์รัปชัน
และกรรมการผู้จัดการใหญ่ไม่ได้แยกจากกันอย่าง มติคณะกรรมการบริษัท : คณะกรรมการบริษัทเห็นควรให้
ชัดเจน ควรส่งเสริมให้เกิดการถ่วงดุลอ�ำนาจระหว่าง บริษทั เข้าร่วมเป็นภาคีเครือข่ายต่อต้านทุจริตคอร์รปั ชัน โดยมอบหมาย
คณะกรรมการและฝ่ายจัดการ โดยพิจารณาให้องค์ ให้ฝ่ายบริหารเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าเป็นภาคีเครือข่ายต่อต้าน
ประกอบของคณะกรรมการประกอบด้วยกรรมการ ทุจริตคอร์รัปชัน
อิสระมากกว่ากึ่งหนึ่ง หรือ แต่งตั้งกรรมการอิสระ
คนหนึ่งร่วมพิจารณาก�ำหนดวาระการประชุมคณะ
กรรมการ
• แนวปฏิบัติย่อยที่ 3.2.5 คณะกรรมการควรก�ำหนด
นโยบายให้กรรมการอิสระมีการด�ำรงต�ำแหน่งต่อ
เนือ่ งไม่เกิน 9 ปี นับจากวันทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ ให้ดำ� รง
ต�ำแหน่งกรรมการอิสระครั้งแรก
สิ่งที่บริษัทปฏิบัติ : ประธานกรรมการของบริษัทไม่ใช่
กรรมการอิสระ และเป็นบุคคลเดียวกับกรรมการผู้จัดการใหญ่ คือ
นายนพร สุนทรจิตต์เจริญ และบริษัทไม่มีนโยบายจ�ำกัดระยะเวลา
การด�ำรงต�ำแหน่งของกรรมการอิสระ โดยในปัจจุบนั มีกรรมการอิสระ

219
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

รายงานจากคณะกรรมการตรวจสอบ
เรียน ท่านผู้ถือหุ้น
คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้วยกรรมการอิสระ ที่เป็นผู้ทรงคุณวุฒิและมีประสบการณ์ ด้านกฎหมาย บัญชี การเงินและการจัดการ
โดยทุกท่านไม่ได้เป็นเจ้าหน้าที่บริหารหรือพนักงานของบริษัทฯ

ในปี 2564 ได้จัดการประชุมรวม 6 ครั้ง ผู้เข้าร่วมประชุมมีดังนี้

รายชื่อกรรมการตรวจสอบ ตำ�แหน่ง การเข้าร่วมประชุม/การประชุมทั้งหมด


1. นายภควัต โกวิทวัฒนพงศ์ ประธานกรรมการตรวจสอบ 6/6
2. นายพิภพ วีระพงษ์ กรรมการตรวจสอบ 6/6
3. นายบัณฑิต พิทักษ์สิทธิ์ กรรมการตรวจสอบ 6/6

คณะกรรมการตรวจสอบ ได้ปฏิบัติหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมาย คณะกรรมการตรวจสอบไม่พบความบกพร่องด้านการควบคุม


จากคณะกรรมการบริ ษั ท และตามระเบี ย บของบริ ษั ท ฯ ว่ า ด้ ว ย ภายในอย่างเป็นสาระส�ำคัญ ซึ่งสอดคล้องกับความเห็น
หลั ก เกณฑ์ แ ละแนวทางปฏิ บั ติ ข องคณะกรรมการตรวจสอบ ซึ่ ง ผูส้ อบบัญชีของบริษทั ฯ และฝ่ายตรวจสอบภายใน พร้อมกับ
สอดคล้องกับข้อก�ำหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยเน้น พิจารณาอนุมัติแผนงานตรวจสอบประจ�ำปี 2565 ของฝ่าย
การปฏิบตั ติ ามหลักการก�ำกับดูแลกิจการทีด่ ี การมีระบบการตรวจสอบ ตรวจสอบภายใน
ภายในทีด่ ี และเพือ่ ให้การปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการตรวจสอบเป็นไป
อย่างมีประสิทธิภาพ จึงได้เชิญผู้ตรวจสอบบัญชี ผู้จัดการฝ่ายบัญชี 3. สอบทานและติ ด ตามคดี ค วามส� ำ คั ญ ๆ ของบริ ษั ท ฯ
และฝ่ายจัดการอืน่ ๆ เข้าร่วมหารือในประเด็นทีม่ สี ว่ นเกีย่ วข้องทุกครัง้ อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง พร้ อ มกั บ เสนอแนะให้ บ ริ ษั ท ฯ ยึ ด แนว
ส�ำหรับการประชุมในครัง้ ที่ 5 เป็นการประชุมเฉพาะกับผูส้ อบบัญชีโดย ปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และข้อก�ำหนดของ
ไม่มฝี า่ ยจัดการหรือฝ่ายใด ๆ ของบริษทั ฯ เข้าร่วมประชุมด้วย เป็นการ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และหรือกฎหมายอื่น
รับฟังสภาพการท�ำงานของผู้สอบบัญชี การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัท
รับทราบข้อสังเกต ข้อเสนอแนะที่ส�ำคัญ และรับทราบมาตรฐาน
การบัญชีที่มีการปรับปรุงใหม่ เพื่อน�ำเสนอต่อคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบไม่พบเหตุการณ์ใด ที่น�ำไปสู่การ
ให้รับทราบและได้ทบทวนในประเด็นที่ผู้สอบบัญชีเสนอแนะมา ขั ด ต่ อ กฎระเบี ย บของทางราชการ และหรื อ กฎหมาย
ที่เกี่ยวข้องอย่างมีนัยส�ำคัญ
สรุปสาระส�ำคัญของงานที่ปฏิบัติได้ดังนี้
4. สอบทานรายการเกีย่ วโยง มีการติดตามอย่างต่อเนือ่ ง ส�ำหรับ
1. สอบทานความน่าเชือ่ ถืองบการเงินของบริษทั ฯ ทัง้ รายไตรมาส ธุ ร กรรมที่ เ ป็ น รายการเกี่ ย วโยงกั น หรื อ รายการที่ อ าจมี
และประจ� ำ ปี เพื่ อ เป็ น ประโยชน์ กั บ นั ก ลงทุ น และผู ้ ใ ช้ ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ เพื่อดูแลให้มีการปฏิบัติตาม
งบการเงิน ข้ อ ก� ำ หนดของทางการและเปิ ด เผยข้ อ มู ล อย่ า งถู ก ต้ อ ง
ครบถ้วน โดยค�ำนึงถึงประโยชน์ของผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม
คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่ารายงานข้อมูลทางการเงิน
ของบริษทั ฯ มีความถูกต้อง เชือ่ ถือได้ สอดคล้องตามมาตรฐาน คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่าบริษัทฯ ปฏิบัติได้
การบัญชีที่รับรองทั่วไป เช่นเดียวกับปีก่อน ๆ ที่ผ่านมา ถูกต้องตามเกณฑ์ที่ทางการก�ำหนดไว้ กล่าวคือ ธุรกรรมที่
เป็นรายการเกี่ยวโยงได้ปฏิบัติเป็นปกติ เสมือนท�ำรายการ
2. สอบทานและติดตามอย่างต่อเนือ่ งเกีย่ วกับระบบการควบคุม กับบุคคลภายนอก
ภายในและระบบการตรวจสอบภายใน โดยให้ผู้ตรวจสอบ
บัญชี และฝ่ายตรวจสอบภายในของบริษทั ฯ รายงานให้ทราบ
อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้มีการจัดการอย่างเพียงพอและทันต่อ
สถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา

220
การประกอบธุรกิจ
และผลการดำ�เนินงาน การกำ�กับดูแลกิจการ งบการเงิน เอกสารแนบ

5. คั ด เลื อ กผู ้ ส อบบั ญ ชี โดยพิ จ ารณาจากความเป็ น อิ ส ระ 8. คณะกรรมการตรวจสอบด� ำ เนิ น การได้ อ ย่ า งเป็ น อิ ส ระ


ชื่อเสียง และผลงาน รวมถึงค่าตอบแทนที่เหมาะสม ในปี ตลอดระยะเวลาที่ปฏิบัติงาน และได้ท�ำการประเมินตนเอง
นี้ได้น�ำเสนอผู้สอบบัญชีจากบริษัท ส�ำนักงาน อีวาย จ�ำกัด ณ ตอนสิ้นปี เพื่อสอบทานความสมบูรณ์ ครบถ้วนตาม
ต่อคณะกรรมการบริษทั ฯ และได้รบั การอนุมตั แิ ต่งตัง้ ให้เป็น ขอบเขตที่กำ� หนดไว้ในกฎบัตรของคณะกรรมการตรวจสอบ
ผู้สอบบัญชี จากที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจ�ำปี 2564
คณะกรรมการตรวจสอบได้ ใ ช้ ค วามรู ้ ค วามสามารถ
6. เน้ น ให้ บ ริ ษั ท มี ก ารก� ำ กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี ต ามแนวปฏิ บั ติ ความระมัดระวังอย่างเพียงพอ เพื่อให้เป็นประโยชน์ต่อผู้มีส่วนได้
CG Code อย่างต่อเนื่อง ตามหลักการของตลาดหลักทรัพย์ ส่วนเสียอย่างเท่าเทียมกัน โดยมีความเห็นร่วมกันว่าบริษัทฯ มีการ
แห่ ง ประเทศไทย และส� ำ นั ก งานคณะกรรมการก� ำ กั บ ตระหนักถึงผลประโยชน์ของผู้ถือหุ้นและทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง
หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ เพื่อสร้างมาตรฐานการ เป็นส�ำคัญ และสามารถปฏิบตั งิ านได้ตามนโยบายการก�ำกับดูแลกิจการ
ปฏิบัติงานให้อยู่เหนือเกณฑ์ปกติทั่วไป และได้น�ำเสนอ ที่ดีที่วางไว้ และขอเรียนว่าคณะกรรมการไม่พบข้อบกพร่องอย่างเป็น
ให้บริษัทฯ มีการทบทวนความเหมาะสมในการน�ำไปใช้ สาระส�ำคัญ
อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง โดยผ่านคณะกรรมการบริษัท แล้วน�ำ
ไปเปิดเผยในรายงานประจ�ำปี และแบบแสดงรายการข้อมูล
ประจ�ำปี (แบบ 56-1)

7. คณะกรรมการตรวจสอบได้ตดิ ตามและเข้าร่วมรับฟังแนวทาง
การบริ ห ารความเสี่ ย งและความคื บ หน้ า การจั ด ท� ำ แผน
พัฒนาการความยัง่ ยืนของบริษทั ฯ จากคณะกรรมการบริหาร
ความเสี่ยงและการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยทราบว่าบริษัทฯ
มีกระบวนการติดตามอย่างเหมาะสมที่จะใช้เป็นเครื่องมือ
บริหารความเสีย่ ง รวมถึงมีแนวทางการจัดการกับความเสีย่ ง
นั้น ๆ ได้อย่างสม�่ำเสมอ ทั้งระยะสั้นและระยะยาว

ขอแสดงความนับถือ

(นายภควัต โกวิทวัฒนพงศ์)
ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ
วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2565

221
บริษัท แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำ�กัด (มหาชน)
รายงานประจำ�ปี 2564

FOR
รายงานจากคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
A BETTER
เรียน ท่านผู้ถือหุ้น
ในปี 2564 คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน มีสมาชิกจ�ำนวน 3 ท่าน ประกอบด้วย กรรมการอิสระ 2 ท่าน และกรรมการที่
เป็นผู้บริหาร 1 ท่าน ได้แก่

LIVING 1. นายพิภพ
2. นายบัณฑิต
3. นายอดิศร
วีระพงษ์
พิทักษ์สิทธิ์
ธนนันท์นราพูล
ประธานคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
กรรมการคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
กรรมการคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน

คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนได้ปฏิบตั หิ น้าทีต่ ามทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั ฯ ซึง่ ก�ำหนดไว้ในกฎบัตรของ


คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน โดยในปี 2564 คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน มีการประชุมรวมทัง้ สิน้ 2 ครัง้ เพือ่
พิจารณาวาระส�ำคัญต่าง ๆ และรายงานผลการประชุม พร้อมความเห็นและข้อเสนอแนะต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ เพื่อพิจารณา ดังนี้
1. พิจารณาสรรหากรรมการใหม่แทนกรรมการที่ครบวาระ
2. พิจารณาจัดสรรโบนัสส�ำหรับผลการด�ำเนินงานปี 2563 ให้แก่กรรมการ
3. พิจารณาก�ำหนดวงเงินค่าตอบแทน ประจ�ำปี 2564 ให้แก่กรรมการ
4. พิจารณาจัดสรรค่าตอบแทนรายเดือน และค่าเบี้ยประชุมของคณะกรรมการชุดต่าง ๆ ประจ�ำปี 2564
5. พิจารณารายงานจากคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน เพื่อแสดงในรายงานประจ�ำปีของบริษัท
6. พิจารณาก�ำหนดค่าตอบแทนและจ่ายโบนัส ให้แก่ประธานกรรมการบริหาร
7. พิจารณาเรื่องการประเมินตนเองของคณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน ประจ�ำปี 2564

คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนมุ่งมั่นปฏิบัติหน้าที่ เพื่อให้การด�ำเนินการเป็นไปอย่างถูกต้องตามหลักเกณฑ์ที่ก�ำหนดตาม
หลักการก�ำกับดูแลกิจการที่ดี เพื่อประโยชน์สูงสุดของบริษัทฯ และผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย

ขอแสดงความนับถือ

(นายพิภพ วีระพงษ์)
ประธานคณะกรรมการสรรหา
และพิจารณาค่าตอบแทน

222
0.43 กิโลคารบอน/เลม

รายงานฉบับนี้พิมพดวยกระดาษ PS Greenและใชกระบวนการผลิตกระดาษที่คำนึงถึงสิ่งแวดลอม
ตลอดจนใชหมึกพิมพที่ทำจากถั่วเหลือง ชวยลดการปลอยกาซ CO2 130 กิโลคารบอน
อาคารคิวเฮาส ลุมพินี
ชั้น 36 - 38 เลขที่ 1 ถนนสาทรใต
แขวงทุงมหาเมฆ เขตสาทร
กรุงเทพฯ 10120

www.lh.co.th

You might also like