You are on page 1of 46

บทที่1

บทนำ

1.1 ประวัติองค-กร

บริษัท ทีเอ็มเอ็ม จำกัด ดำเนินงานเกี่ยวกับรับเหมาก8อสร:างโครงสร:างเหล็ก งานเชื่อมประกอบ


ติดตั้งเปDนหลัก ก8อตั้งเมื่อปE 2547 ก8อตั้งโดย คุณปLยะภัทรN ประชาบาล โดยมีผู:ที่มคี วามรู: ความสามารถ
ความชำนาญทางด:านวิศวกรรมการก8อสร:าง และการบริหารโครงการ งานรับเหมางานก8อสร:าง มากกว8า
25 ปE
อุดมการณNมุ8งมั่นคือ “สร:างงานประกอบเชื่อม โครงสร:างเหล็ก โดยมีทีมงานอาชีพรับเหมางาน
ก8อสร:าง” เพื่อตอบสนองธุรกิจงานก8อสร:างอาคารแบบครบวงจรด:วยเงินทุนจดทะเบียนเริ่มต:นที่
5,000,000บาท (ห:าล:านบาทถ:วน)
บริษัทตั้งอยู8ที่ 79 หมู8 1 ตำบลบางเลน อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุทธยา
เบอรNโทรศัพทN 080-5526262 FAX 080-5526263
ปfจจุบัน บริษัท ทีเอ็มเอ็ม จำกัด กำลังก:าวสู8ธุรกิจงานก8อสร:าง อย8างเต็มรูปแบบเพื่อสร:างงาน
ก8อสร:าง งานประกอบเชื่อมโครงสร:างเหล็ก งานติดตั้งโครงสร:างเหล็ก ที่ตอบสนองความต:องการของ
ลูกค:า บนพื้นฐานงานด:านวิศวกรรม โดยได:รับความไว:วางใจจากลูกค:า กลุ8มห:างสรรพสินค:า
โรงงาน โดยมุ8งเน:นที่จะสร:างงานให:เปDนที่ยอมรับของธุรกิจ ในด:านนี้ต8อไปในอนาคต

วิสัยทัศน- ( Vision)
1. มุ8งงสู8การเปDนบริษัทรับเหมาก8อสร:าง ชั้นนำในประเทศไทย เปDนผู:รับเหมางานงานโครงสร:างเหล็ก
อันดับหนึ่งและเปDนผู:นำด:านนวัตกรรมเทคโนโลยี พร:อมทักษะวิศวกรรม อันทันสมัยและครบวงจร
ที่สุดของประเทศไทย โดยได:รับมาตรฐานระดับสากล

พันธกิจ (Mission)
1. สร:างทีมงานและพัฒนาทักษะการทำงานของบุคลากรอย8างต8อเนื่องเพื่อยกระดับการทำงานและสร:าง
ความเปDนมืออาชีพแก8บุคลากรในทุกระดับและทุกสายงาน
2

2. พัฒนาระบบการทำงาน และนำเทคโนโลยีใหม8ๆ มาใช:ในการดำเนินงานอย8างต8อเนื่อง เพื่อให:บริการ


ก8อสร:างอาคารแบบครบวงจร
3. ก8อสร:างงานที่มีคุณภาพได:มาตรฐาน เสร็จตรงเวลา และอยู8ภายใต:งบประมาณที่กำหนด เพื่อ
ตอบสนองความต:องการ และสร:างความพึงพอใจแก8ลูกค:า

1.2 รูปแบบการดำเนินธุรกิจ
บริษัท ทีเอ็มเอ็ม จำกัด มีหลักการการดำเนินงานในรูปแบบ Partnership
เปDนรูปแบบการรับเหมาก8อสร:างที่รวมเอาการออกแบบและการก8อสร:างไว:ที่บริษัท รายเดียวในลักษณะ
ของการจ:างครั้งเดียวเสร็จทุกขั้นตอน หรือเปDนรูปแบบความสัมพันธNระหว8างผู:ออกแบบและบริษัทรับเหมา
ก8อสร:าง รวมพันธมิตรกันเพื่อส8งเสริมการทำงานร8วมกันและทำงานเปDนทีม โดยสามารถทำได:หลาย
รูปแบบขึ้นอยู8กับระดับความเชี่ยวชาญของบริษัทรับเหมาก8อสร:าง
โดยบริษัท มีความรับผิดชอบครอบคลุมงานทั้งหมด เช8น ออกแบบ ก8อสร:าง จัดหาเงินทุน ดำเนินการ
บริหารงานก8อสร:าง บำรุงรักษา หรือเฉพาะการดำเนินงานบางส8วน ตามความเหมาะสมของแต8ละ
โครงการ
ลักษณะของการรับจMางงานในรูปแบบ Partnership เชWน
- วิธีจ:างออกแบบรวมก8อสร:าง (Design-build Approach) จะวิธีการที่เจ:าของโครงการรวมเอาการ
ออกแบบและการก8อสร:างไว:ที่บริษัท ในลักษณะจ:างครั้งเดียวเบ็ดเสร็จทุกขั้นตอน เจ:าของโครงการกำหนด
เพียงว8าต:องการก8อสร:างอาคารแบบไหนจากนั้นทำการตกลงราคา โดยบริษัทรับเหมาก8อสร:างที่ได:งานก็จะ
มีหน:าที่ตั้งแต8ออกแบบ ทำแบบก8อสร:าง จัดหาวัสดุ เครื่องมือ แรงงาน ทุกขั้นตอนจนเสร็จสมบูรณN
- วิธีจ:างเหมาจ:างแบบเบ็ดเสร็จ (Turnkey Approach) รูปแบบนี้จะคล:ายกับวิธีจ:างออกแบบรวม
ก8อสร:าง (Design-build Approach) บริษัทเปDนผู:จัดหาแหล8งเงินทุน เทคโนโลยี ออกแบบ และ
ดำเนินการก8อสร:างจนเสร็จ โดยเจ:าของโครงการสามารถผ8อนชำระค8าก8อสร:างหลังบริษัทรับเหมาก8อสร:าง
ส8งมอบโครงการเรียบร:อยแล:วโดยไม8ต:องลงทุนก8อน รูปแบบการดำเนินการแบบนี้เหมาะกับโครงการใหญ8
ที่ต:องใช:เทคโนโลยีหรือเงินทุนสูง
3

การดำเนินงานในรูปแบบจMางแบบวิธีดั้งเดิม (Design-Bid-Build Approach)


เปDนรูปแบบการรับเหมาก8อสร:างที่เจ:าของโครงการจะจ:างผู:ออกแบบเพื่อออกแบบโครงการให:แล:วเสร็จ
ก8อน (Design) แล:วจึงดำเนินการประกวดราคาเพื่อจัดซื้อจัดจ:างผู:รับเหมาก8อสร:าง (Bid) จากนั้นบริษัท
รับเหมาก8อสร:างที่ชนะการประกวดราคาก็จะต:องก8อสร:างโครงการตามแบบที่ผอู: อกแบบได:จัดทาไว:
(Build)

1.2 โครงสรMางองค-กร
บริษัท ทีเอ็มเอ็ม จำกัด ประกอบไปดMวย 1 สาขา

Managing Director

Deputy Managing Director

Generral Maneger

Marketing and Quality Assurance Production Maneger Project Maneger Admin


engineering manager Manager

Daftman/Shopdrawing Quality control Asst.production Project engineer Human resorce


manager

Estimate Production 1 Project condinator Procurement

Cutting Plan/cnc Production 2 Acountant/


cost
control
Production 3
Maintennce

Store
4

1.3 สภาพแวดลMอมทางธุรกิจ

1.3.1 สถานการณ-ปjจจุบันของอุตสาหกรรม
ธุรกิจรับเหมาก8อสร:างมีทิศทางฟˆ‰นตัว โดยมูลค8าการลงทุนก8อสร:างโดยรวมมีแนวโน:มขยายตัว
4.5-5.0% ในปE 2564 และ 5.0-5.5% ในปE 2565-2566 ปfจจัยขับเคลื่อนมาจากการลงทุนโครงสร:าง
พื้นฐานขนาดใหญ8ของภาครัฐ โดยเฉพาะที่เกี่ยวเนื่องกับเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก ซึง่ จะ
เหนี่ยวนำการลงทุนก8อสร:างภาคเอกชนให:ขยายตัวตาม อาทิ นิคมอุตสาหกรรม รวมถึงภาวะเศรษฐกิจที่
ทยอยฟˆ‰นตัวจะหนุนการก8อสร:างที่อยู8อาศัยและอาคารเพื่อการพาณิชยN นอกจากนี้ โอกาสทางธุรกิจยัง
เพิ่มขึ้นจากโครงการก8อสร:างในประเทศเพื่อนบ:าน ซึ่งมีการลงทุนโครงสร:างพื้นฐานอย8างต8อเนื่องรองรับ
การเติบโตทางเศรษฐกิจและการขยายตัวของความเปDนเมือง

1.3.2 การวิเคราะห-การแขWงขัน – คูWแขWงทางตรง


คูWแขWงขันทางตรง (Direct Competitor) คือ กลุ8มคู8แข8งขันที่อยูในอุตสาหกรรมการ
ก8อสร:าง เปDนบริษัทที่ดำเนินงานงานผลิต และ งานติดตั้ง งานโครงสร:างเหล็ก ทั้งในและนอก ประเทศ
ได:ดังนี้
- บริษัท มโนสตีล จำกัด
- บริษัท เอพาวสเวอรN
- บริษัท พีเอเคเค จำกัด

1.3.4 การวิเคราะห-การแขWงขัน – คูWแขWงทางอMอม


- บริษัทที่รับดำเนินงานสถาปfตยกรรม และรับงานโครงสร:างเหล็กเข:ามาทำร8วมด:วย
- บริษัทผู:รับเหมาที่ทำงานระบบ และรับงานโครงสร:างเหล็กมาทำร8วมด:วย
ดังนั้นจึง ทำให:แย8งส8วนแบ8งการตลาดของบริษัท
5

1.4 ความเปpนมาและความสำคัญของปjญหาขององค-กร

บริษัท ทีเอ็มเอ็ม จำกัด ดำเนินการเกี่ยวกับงานรับเหมาก8อสร:างโครงสร:างเหล็กโดยเข:าไป


รับเหมาโครงการต8าง ๆ ไม8ว8าจะเปDนการก8อสร:างอาคาร โกดัง บ:าน สะพาน สะพานทางเชื่อม หรืองาน
ก8อสร:างอื่น แต8เนื่องจากสถานการณNปfจจุบันภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ ปfญหาการชะลอตัวของเศรษฐกิจ ซึ่ง
เปDนผลกระทบจากสถานการณNโควิด 19 ทำให:เกิดการเปลี่ยนแปลงของราคาวัสดุก8อสร:างและค8าจ:าง
แรงงานที่สูงขึ้น การตัดสินใจหยุดหรือชะลอการก8อสร:างจนกว8าสถานการณNจะคลี่คลาย อีกทั้งในธุรกิจ
รับเหมาก8อสร:างมีการหักเงินประกันผลงานก8อนจ8ายงวดงาน คือเงินที่ผู:ว8าจ:างหักเอาไว:บางส8วนจากค8า
รับเหมาก8อสร:างตามที่ตกลงในสัญญาแต8ละงวด เพื่อเปDนหลักประกัน กรณีที่ก8อสร:างใช:งานไปสักพักแล:วมี
ความเสียหายเกิดขึ้น หรืองานรับเหมาเกิดข:อผิดพลาด หรือไม8มีคุณภาพตามที่ระบุไว:ในสัญญา ซึ่งหากผู:
ว8าจ:างพบปfญหาระหว8างระยะเวลาที่รับประกัน เงินส8วนนี้ก็จะถูกริบไป แต8ถ:าหมดระยะเวลาประกัน
ผลงานแล:ว ไม8มีปfญหาเกิดขึ้น เจ:าของธุรกิจรับเหมาก8อสร:างก็จะได:รับเงินส8วนนั้นคืนในเวลาประมาณ 1-2
ปEหลังจากส8งมอบงาน บางโครงการบริษัทไม8ได:รับเงินประกันผลงานคืนตามกำหนด และธุรกิจรับเหมา
ก8อสร:างยังมีระบบการจ8ายเงินเปDนระบบเครดิตบางบริษัทมีเครดิตการจ8ายเงินถึง 90-120 วัน จากปfญหา
ที่กล8าวมาข:างต:นทำให:บริษัทเกิดการขาดสภาพคล8องทางการเงินและมีรายได:ที่ลดลง
ดังนั้นผู:วิจัยจึงมีความสนใจที่จะศึกษามุ8งเน:นถึงการขาดสภาพคล8องทางการเงินของบริษัท ทีเอ็ม
เอ็ม จำกัด เพื่อหาสาเหตุและแนวทางแก:ไขปfญญาการขาดสภาพคล8องทางการเงินของบริษัท ซึ่งจะเปDน
ประโยชนNในการนำผลการศึกษาไปใช:เปDนแนวทางในการเสริมสภาพคล8องของธุรกิจรับเหมาก8อสร:างเพื่อ
ประกอบการตัดสินใจกำหนดนโยบายทางการเงินของธุรกิจในการสร:างความมั่นคงให:กับธุรกิจ โดยแสดง
งบการเงินของบริษัท 3 ปEย:อนหลัง เพื่อแสดงถึงอัตราส8วนสภาพคล8องของบริษัทที่ลดลง
6

งบแสดงฐานะการเงิน บริษัท ทีเอ็มเอ็ม จำกัด


ข;อมูลป?งบการเงิน 2561 – 2563

รูปภาพที่ 1 รูปภาพและกราฟแสดง งบแสดงฐานะทางการเงิน


หน#วย : บาท 2561 2562 2563
จำนวนเงิน % จำนวนเงิน % จำนวนเงิน %
เปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง
ลูกหนี้การค,า 0.00
47,716,193.77 49,819,324.99 52,976,986.87
สุทธิ 4.41% 6.34%
สินค,าคงเหลือ 8,326,185.46 0.00 6,365,340.25 -24% 8,866,282.43 39%
สินทรัพยG 0.00
57,577,422.07 47,155,908.68 35,987,900.57
หมุนเวียน -18% -23.68%
ที่ดิน อาคาร 0.00
13,895,003.00 15,295,619.30 15,612,238.62
และอุปกรณG 10% 2%
สินทรัพยGไมQ 0.00
23,366,944.77 31,996,357.47 40,992,651.75
หมุนเวียน 37% 28.17%
สินทรัพยGรวม 80,944,366.84 0.00 79,155,496.33 -2% 76,980,552.32 -2.75%
หนี้สินหมุนเวียน 57,162,133.24 0.00 49,999,717.95 -13% 63,234,643.29 26%
หนี้สินไมQ 0.00
8,131,742.28 8,626,152.21 17,844,921.08
หมุนเวียน 6% 107%
หนี้สินรวม 65,293,875.52 0.00 59,913,660.18 -8% 88,600,320.67 48%
สQวนของผู,ถือหุ,น 45,650,491.32 0.00 46,764,363.31 2% 47,554,681.05 2%
หนี้สินรวมและ 0.00
110,944,366.84 108,492,496.33 130,831,101.33
สQวนของผู,ถือหุ,น -2% 21%

งบแสดงฐานะทางการเงิน
120,000,000.00
100,000,000.00
80,000,000.00
60,000,000.00
40,000,000.00
20,000,000.00
0.00
์ไมห่ ละ…


นิ อ น

ว่ น

หน น
ไมห่ ียน
ือ


ค้า ธิ
ทร เหล

ที<ด นุ เวีย

เวีย
หน ย์รว

รวม ห้ นุ
เวีย

สว่ ีส' นิ รว

ะส

ทุ
าส


ทร าคาร

หน หมนุ เ


คง

แล
รค้

หน งผ้ ถู
มนุ
์หม

มนุ
ทร

ีก' า


ัพย

นข
หน

สนิ

ีส' นิ
สนิ

ัพย

ีส' นิ

ีส' นิ
ลกู

สนิ

สนิ

2561 2562 2563


7

งบกำไรขาดทุน บริษัท ทีเอ็มเอ็ม จำกัด


ขMอมูลปuงบการเงิน 2561 – 2563

รูปภาพที่ 2. รูปภาพและกราฟแสดง งบกำไรขาดทุน


หน#วย : บาท 2561 2562 2563
จำนวนเงิน % จำนวนเงิน % จำนวนเงิน %
เปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง
รายได>หลัก 172,445,884.40 0.00 78,549,100.34 -54% 54,890,111.32 -30%
รายได>รวม 172,768,661.69 0.00 78,540,633.60 -55% 54,978,443.52 -30%
ต>นทุนขาย 131,884,640.84 0.00 56,974,164.84 -57% 37,335,170.22 -34%
กำไร(ขาดทุน) 0.00 0.00 0.00
- - -
ขั้นต>น
ค#าใช>จ#ายในการ 0.00
32,868,985.75 18,682,731.50 15,405,780.40
ขายและบริการ -43% -18%
รายจ#ายรวม 164,753,626.59 0.00 75,671,340.69 -54% 52,750,491.60 -30%
ดอกเบี้ยจ#าย 1,121,285.55 0.00 950,289.50 -15% 1,176,648.46 24%
กำไร(ขาดทุน) 0.00
6,893,749.55 1,935,075.50 1,067,000.63
ก#อนภาษี -72% -45%
ภาษีเงินได> 3,481,692.11 0.00 819,938.49 -76% 272,465.56 -67%
กำไร(ขาดทุน) 0.00
3,412,057.44 1,115,060.37 794,480.51
สุทธิ -67% -29%

งบกําไรขาดทุน

180,000,000.00
160,000,000.00
140,000,000.00
120,000,000.00
100,000,000.00
80,000,000.00
60,000,000.00
40,000,000.00
20,000,000.00
0.00
วม

ินได
าษ

ต้น

า่ ย

ธิ


ริกา
ลกั

ขา

ยรว

ีย' จ
ได้ร

สทุ
ได้ห

นภ

ษีเง
ขนั '

ะบ

นุ )
กเบ
ทนุ

ก่อ
ราย

จา่
นุ )
ราย

ต้น

ดท
ภา
แล

ราย

ดอ

นุ )

ขา
าด

าย

ดท

ไร(
ร(ข

ารข

ขา

กํา

ในก
กํา

ไร(
กํา
า่ ย
ใช้จ
คา่

2561 2562 2563


8

อัตราสWวนทางการเงินที่สำคัญ บริษัท ทีเอ็มเอ็ม จำกัด


ขMอมูลปuงบการเงิน 2561 – 2563

รูปภาพที่ 3 รูปภาพและกราฟแสดง อัตราสWวนทางการเงิน


ลำดับ อัตราส#วน 2561 2562 2563
อัตราส(วนแสดงความสามารถในการทำกำไร
1 อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย[รวม(ROA) (%) 4.22 1.39 0.91
2 อัตราผลตอบแทนจากส#วนของผู>ถือหุ>น(ROE) (%) 7.47 2.41 1.68
3 ผลตอบแทนจากกำไรขั้นต>นต#อรายได>รวม (%) 0.00 0.00 0.00
4 ผลตอบแทนจากกำไรการดำเนินงานต#อรายได>รวม (%) 3.99 2.46 1.94
5 ผลตอบแทนจากกำไรสุทธิต#อรายได>รวม (%) 1.97 1.42 1.44
ตัวชี้วัดสภาพคล(อง
6 อัตราส#วนทุนหมุนเวียน(เท#า) 1.00 0.94 0.57
7 อัตราการหมุนเวียนของลูกหนี้ (เท#า) 3.62 3.58 1.71
8 อัตราการหมุนเวียนของสินค>าคงเหลือ (เท#า) 15.84 8.95 4.21
9 อัตราการหมุนเวียนของเจ>าหนี้ (เท#า) 20.15 6.48 3.43
อัตราส(วนแสดงประสิทธิภาพในการดำเนินงาน
10 อัตราการหมุนเวียนของสินทรัพย[รวม (เท#า) 2.13 0.98 0.63
11 อัตราค#าใช>จ#ายการดำเนินงานต#อรายได>รวม (%) 95.36 96.33 95.92
อัตราส(วนโครงสรBางงบแสดงฐานะการเงิน
12 อัตราส#วนสินทรัพย[รวมต#อส#วนของผู>ถือหุ>น (เท#า) 1.77 1.69 2.01
13 อัตราส#วนหนี้สินรวมต#อสินทรัพย[รวม (เท#า) 0.44 0.41 0.50
14 อัตราส#วนหนี้สินรวมต#อส#วนของผู>ถือหุ>น (เท#า) 0.77 0.69 1.01
15 อัตราส#วนหนี้สินรวมต#อทุนดำเนินงาน (เท#า) 0.44 0.41 0.50
9

กราฟแสดงอัตราสWวนสภาพคลWอง

อัตราส่ วนทุนหมุนเวียน(เท่ า)
1.20

1.00 1.00
0.94
0.80

0.60 0.57

0.40

0.20

0.00
2561 2562 2563

อัตราส่วนทุนหมุนเวียน(เท่า)

อัตราการหมุนเวียนของลูกหนี6 (เท่ า)
4.00

3.50 3.62 3.58

3.00

2.50

2.00
1.71
1.50

1.00

0.50

0.00
2561 2562 2563

อัตราการหมุนเวียนของลูกหนี ' (เท่า)


10

อัตราการหมุนเวียนของสิ นค้ าคงเหลือ (เท่ า)


18.00
16.00 15.84
14.00
12.00
10.00
8.95
8.00
6.00
4.00 4.21
2.00
0.00
2561 2562 2563

อัตราการหมุนเวียนของสินค้ าคงเหลือ (เท่า)

อัตราการหมุนเวียนของเจ้ าหนี6 (เท่ า)


25.00

20.00 20.15

15.00

10.00

6.48
5.00
3.43
0.00
2561 2562 2563

อัตราการหมุนเวียนของเจ้ าหนี ' (เท่า)

จากตารางอัตราส8วนทางการเงินที่สำคัญของ บริษัท ทีเอ็มเอ็ม จำกัด แสดงให:เห็นถึงอัตราส8วนที่


แสดงถึงสภาพคล8องทางการเงิน หรือความสามารถในการชำระหนี้สินของกิจการ มีค8าที่ต่ำและต่ำลงทุกปE
แสดงให:เห็นถึงปfญหาขาดสภาพคล8องทางการเงินของบริษัท
11

1.5 ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากปjญหาขององค-กร

ปfญหาจากการขาดสภาพคล8องทางการเงินนี้อาจส8งผลกระทบต8อบริษัท ในแต8ละด:านดังนี้
1.5.1 ผลกระทบตWอแหลWงเงินทุนและสภาพคลWองที่ใชMในการดำเนินงาน
บริษัทมีสภาพคล8องลดลง โดยมีอัตราส8วนสภาพคล8องของงวด ปE 2561 เท8ากับ 1.00 ปE 2562
ลดลงเท8ากับ 0.94 ปE 2563 ลดลง เท8ากับ 0.57 เนื่องจากลูกหนี้การค:าเอกชนบางส8วนชำระเงินช:าลง และ
ไม8สามารถเบิกเงินงวดงานของโครงการก8อสร:างที่ส8งมอบได:จากการตรวจรับงวดงานก8อสร:างของมีความ
ล8าช:ากว8าปกติ อีกทั้ง มีระยะเวลาขายเฉลี่ยสูงขึ้น เนื่องจากลูกค:าบางส8วนซึ่งเปDนผู:รับเหมาเอกชนยังไม8
สามารถดำเนินงานได:ตามปกติ จึงไม8สามารถส8งสินค:าได:
1.5.2 ผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจ
เนื ่ อ งจากทั ้ ง ธุ ร กิ จ รั บ เหมาก8 อ สร: า ง ส8 ว นใหญ8 เ ปD น การรั บ งานจากหน8 ว ยงานภาครั ฐ จึ ง มี
ความสัมพันธNกับภาวะเศรษฐกิจและอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศ ดังนั้น การเติบโตหรือ
การชะลอตัวทางเศรษฐกิจเปDนปfจจัยที่มีผลกระทบต8อรายได:ของบริษัท อีกทั้งยังมีความเสี่ยงจากการ
แข8งขันภายในกลุ8มธุรกิจเพิ่มขึ้น ทั้งหมดนี้จึงเปDนสาเหตุที่บริษัทต:องคำนึงถึงผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจ
อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศ และภาวะการแข8งขันขอบบริษัท จึงทำให: บริษัทมีรายได:จาก
การขายลดลงจากปEก8อนเท8ากับ 23.02 ล:านบาท หรือคิดเปDน 30% จากปEก8อน ปริมาณการขายที่ลดลง
เท8ากับ 34% ในปE 2563 เนื่องจากสภาวะการแข8งขันที่สูงขึ้น ตามสภาวะเศรษฐกิจของประเทศ
1.5.2 ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงนโยบายของภาครัฐ
การเปลี่ยนแปลงนโยบายของภาครัฐที่อาจส8งผลกระทบต8อบริษัทโดยตรง ได:แก8 นโยบายการ
ปรับค8าจ:างแรงงานขั้นต่ำ เนื่องจากแรงงานเปDนปfจจัยสำคัญในการประกอบธุรกิจของทั้งการผลิต
ผลิตภัณฑNคอนกรีตอัดแรง และรับเหมาก8อสร:าง ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงนโยบายต8างๆ ที่มีผลต8อแรงงาน
ย8อมส8งผลกระทบต8อต:นทุน และผลประกอบการของบริษัท
1.5.4 ผลกระทบเจMาของโครงการดำเนินการลWาชMาหรือโครงการหยุดชะงัก
โดยทั่วไปแล:ว โครงการรับเหมาก8อสร:างจะสามารถเรียกเก็บค8าจ:างรับเหมาก8อสร:างได:เมื่องาน
ก8อสร:างได:ดำเนินการสำเร็จตามงวดงานที่กำหนดไว:ตามสัญญาจ:าง ทำให:บริษัทจะต:องดำเนินการก8อสร:าง
และรับผิดชอบค8าใช:จ8ายที่เกิดขึ้นก8อนจึงจะสามารถเรียกเก็บเงินจากหน8วยงานผู:ว8าจ:างได: ทั้งนี้หากเกิด
12

เหตุการณNที่ทำให:โครงการก8อสร:างหยุดชะงักหรือล8าช:า เช8น หน8วยงานผู:ว8าจ:างไม8สามารถส8งมอบพื้นที่


ก8อสร:างให:ได: ส8งผลให:โครงการไม8สามารถดำเนินงานได: แต8ในขณะเดียวกันบริษัทต:องรับภาระค8าใช:จ8าย
ประจำที่เกิดขึ้น เช8น ค8าจ:างวิศวกรประจำโครงการ และค8าใช:จ8ายคงที่อื่นๆ ทำให:อาจกระทบต8อการ
ประมาณต:นทุนโครงการก8อสร:างของบริษัทและอาจทำให:โครงการก8อสร:างนั้นเกิดผลขาดทุนได:

1.6 วัตถุประสงค-ของการศึกษา
1. เพื่อศึกษาปfญหาด:านสภาพคล8องทางการเงิน การจัดการเงินของบริษัท ทีเอ็มเอ็ม จำกัด
2. เพื่อหาแนวทางแก:ไขปfญหาด:านสภาพคล8องทางการเงิน การจัดการเงินของ
บริษัท ทีเอ็มเอ็ม จำกัด

1.7 ขอบเขตการศึกษา
1. ขอบเขตด:านเนื้อหา
ตัวแปรที่ศึกษา
ตัวแปรอิสระ (Independent variable)
ประชากรศาสตรNของตัวอย8าง สามารถวัดได:จากตัวแปรย8อย ได:แก8 เพศ อายุ ระดับการศึกษา
อายุของกิจการ จำนวนพนักงานในกิจการ และลักษณะการดำเนินงาน
ข:อมูลปfญหาด:านการจัดการเงิน ได:แก8 ปfญหาด:านการวางแผนการเงิน ปfญหาด:านการจัดหา
เงินทุน ปfญหาด:านจัดสรรเงินทุน และปfญหาด:านการควบคุมทางการเงิน
ตัวแปรตาม (Dependent variable) คือ ข:อมูลด:านการจัดการเงินของกิจการ ได:แก8 การ
วางแผนทางการเงิน การตัดสินใจในการจัดหาเงินของกิจการ และการตัดสินใจด:านการจัดสรรเงินทุน
2. ขอบเขตประชากร
การวิจัยเชิงคุณภาพ ประชากร คือ พนักงานของบริษัท ทีเอ็มเอ็ม จำกัด ซึ่งเปDนบุคคลอัน
เกี่ยวเนื่องกับการบริหารสภาพคล8องและการเพิ่มกำไรทางการเงินของบริษัท การเลือกกลุ8มตัวอย8าง ผู:วิจัย
ได:เลือกสัมภาษณNผู:บริหารของของบริษัท ทีเอ็มเอ็ม จำกัด ผู:เปDนบุคคลสำคัญต8อการดำเนินงาน จำนวน 3
ท8าน และสัมภาษณNผู:บริหารฝ•ายบัญชีและการเงินบริษัท ทีเอ็มเอ็ม จำกัด จำนวน 5 ท8าน โดยพิจารณา
จากการตัดสินใจของผู:วิจัยเอง เปDนวิธีการเลือกกลุ8มตัวอย8างแบบเฉพาะเจาะจง สัมภาษณNรายบุคคล
(Purposive sampling) เปD นการสั มภาษณN เ ชิ งลึ ก (In-Depth Interview) และนำข: อมู ลที ่ ไ ด: จากการ
สัมภาษณNมาวิเคราะหNสภาพแวดล:อมขององคNกร
13

การวิจัยเชิงปริมาณ กลุ8มตัวอย8าง คือ พนักงานบริษัท ทีเอ็มเอ็ม จำกัด จำนวนทั้งสิ้น 100 คน


ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ ผู:วิจัยได:ใช:ขนาดกลุ8มตัวอย8างจำนวน 100 คน เปDนพนักงานของบริษัท ทีเอ็มเอ็ม
จำกัด เก็บข:อมูลโดยใช:แบบสอบถามออนไลนN เนื่องจากสามารถเข:าถึงกลุ8มตัวอย8างได:ง8าย ลดระยะเวลา
การเก็ บ ข: อ มู ล ซึ ่ ง ผู : ต อบแบบสอบถามเปD น ผู : ก รอกแบบสอบถามด: ว ยตนเอง (Self- Administered
Questionnaire) ใช:วิธีเลือกกลุ8มตัวอย8างประเภทไม8ใช:ความน8าจะเปDน (Non Probability Sampling)
ด:วยวิธีตอบแบบสอบถามแบบสะดวก (Convenience Sampling)

1.9 ประโยชน-ที่คาดวWาจะไดMรับ
1. เพื่อทราบถึงปfญหาด:านการการขาดสภาพคล8องทางการเงิน ของบริษัท ทีเอ็มเอ็ม จำกัด
2. เพื่อหาวิธีแนวทางแก:ไขการขาดสภาพคล8องทางการเงิน และการเพิ่มกำไรของบริษัท
14

บทที่ 2
แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข;อง

ในการวิจัยยเรื่อง แนวทางการแก:ปfญหาการขาดสภาพคล8องและการเพิ่มกำไรทางการเงินของ
บริษัท ทีเอ็มเอ็ม จำกัด ผู:วิจัยได:รวบรวมข:อมูล ที่เกี่ยวข:องเพื่อประโยชนNในการศึกษา ซึ่งประกอบด:วย
แนวคิดทฤษฎี บทความและผลงานวิจัย ดังนี้
2.1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดทำบัญชีและการปฏิบัติทางบัญชี
2.2 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับเปšาหมายและหน:าที่ของผู:บริหารการเงิน
2.3 แนวคิดทฤษฎีอัตราส8วนสภาพคล8อง
2.4 ทฤษฎีโครงสร:างเงินทุนของ MM
2.5 เครื่องมือในการวิเคราะหNที่เกี่ยวข:อง : SWOT TOWS Fishbone
2.6 งานวิจัยที่เกี่ยวข:อง
2.7 กรอบแนวคิดในการวิจัย

2.1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดทำบัญชีและการปฏิบัติทางบัญชี
การจัดทำบัญชีต:องอาศัยเอกสารหลักฐานที่เชื่อถือได:เพื่อบันทึกรายการที่เกิดขึ้นจนกระทั่ง
ประมวลผลเพื่อนำเสนองบการเงิน ซึ่งสามารถสรุปกระบวนการทางการบัญชี(Accounting cycle) ได:
ดังนี้
1. การวิเคราะห-รายการคMา (Transaction Analysis)
รายการค:า คือ รายการทางเศรษฐกิจที่กิจการนำมาบันทึกบัญชี รายการค:าอาจเปDนได:ทั้งรายการ
ค:าภายในและรายการค:าภายนอก ซึ่งรายการค:าภายนอก (external transaction) จะเกี่ยวข:องกับ
รายการทางบัญชีระหว8างบริษัทหรือกับหน8วยงานอื่นๆ ทีเกี่ยวข:องเช8น กิจการซื้ออุปกรณNสำนักงานจาก
ผู:ขาย หรือกิจการจ8ายค8าเช8าอาคารให:แก8ผู:ให:เช8า เปDนต:นในทางตรงกันข:าม รายการค:าภายใน (internal
transaction) จะเปDนรายการทางธุรกิจที่เกิดขึ้นภายในกิจการ เช8น การเบิกวัตถุดิบเข:ากระบวนการผลิต
เปDนต:นซึ่งเปDนการวิเคราะหNว8า รายการใดของธุรกิจจะถือเปDนรายการค:าที่จะนำมาบันทึกบัญชี โดยมี
เงื่อนไขที่เกี่ยวข:อง คือ สามารถวัดเปDนหน8วยเงินตราได:อย8างชัดเจน และรายการดังกล8าวก8อให:เกิดการ
15

เปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจของกิจการ เช8น เกิดการเปลี่ยนแปลงในส8วนของสินทรัพยN หนี้สิน และส8วนของ


เจ:าของ (ธารี หิรัญรัศมี และคณะ, 2559)
ตัวอย8างการวิเคราะหNรายการค:า
1) กิจการกู:เงินมาจากธนาคาร 100,000 บาท : สินทรัพยN คือ เงินสดเพิ่มขึ้น100,000
บาท และหนี้สิน คือ เจ:าหนี-้ เงินกู:ยืมธนาคาร เพิ่มขึ้น 100,000 บาท
2) กิจการซื้อวัสดุสำนักงานเปDนเงินสด 9,000 บาท : สินทรัพยN คือ วัสดุสำนักงานเพิ่มขึ้น
9,000 บาท และสินทรัพยN คือ เงินสด ลดลง 9,000 บาท
3) กิจการรับรายได:จากการให:บริการเปDนเงินสด 40,000 บาท : รายได:เพิ่มส8งผลให:ส8วน
ของเจ:าของเพิ่มขึ้น 40,000 บาท และสินทรัพยN คือ เงินสด เพิ่มขึ้น 40,000 บาท(ธารี หิรัญรัศมี และคณะ
, 2559)
2. การบันทึกรายการลงในสมุดบัญชีขั้นตMน (Journalizing Original Entries)
การบันทึกรายการลงในสมุดบัญชีขั้นต:นหรือสมุดรายวัน ใช:บันทึกรายการบัญชีที่เกิดขึ้นทุก
รายการ โดยเรียงตามลำดับวันของการเกิดรายการบัญชี โดยยึดหลักบันทึกบัญชีตามระบบบัญชีคู8 เมื่อเกิด
รายการค: า (Business Transaction) กิ จ การจะวิ เ คราะหN ร ายการค: า นั ้ น แล: ว บั น ทึ ก รายการบั ญ ชี
(Accounting Transaction) ในสมุดรายวัน (Journal) ซึ่งแบ8งออกเปDน 2 ประเภท คือ สมุดรายวันทั่วไป
และสมุดรายวันเฉพาะ (จันทนา สาขากร และศิลปะพร ศรีจั่นเพชร, 2552)
3. การผWานรายการจากสมุดบัญชีขั้นตMน (Posting Entries)
เปDนการนำรายการค:าที่บันทึกในสมุดรายวันขั้นต:น ผ8านไปยังบัญชีแยกประเภทของแต8ละบัญชี
เพื่อสรุปหายอดคงเหลือของบัญชีต8างๆ ตอนปลายงวด (กรวีรN ชัยอมรไพศาลและเสาวณี ใจรักษN, 2557)
เปDนแบบฟอรNมที่ใช:ในการบันทึกการเปลี่ยนแปลงในสินทรัพยNหนี้สิน และส8วนของเจ:าของไว:อย8างเปDน
หมวดหมู8ตามประเภทของรายการค:าที่เกิดขึ้น โดยปกติแล:วบัญชีประกอบด:วย 3 ส8วนย8อย ได:แก8 ชื่อบัญชี
ด:านซ:ายมือหรือเดบิต และด:านขวามือหรือเครดิต บัญชีทุกประเภทที่ใช:ในกิจการจะรวมเรียกว8า บัญชี
แยกประเภททั่วไป (general ledger)และเนื่องจากลักษณะการแบ8งสัดส8วนของบัญชีจะคล:ายตัว T ดังนั้น
ในบางครั้งเราจึงเรียกว8าบัญชีรูปตัวที (T-account) ซึ่งถือเปDนรูปแบบบัญชีมาตรฐานที่ใช:โดยทั่วไป
ซึ่งเปDนการบันทึกการเปลี่ยนแปลงในสินทรัพยN หนี้สิน และส8วนของเจ:าของไว:อย8างเปDนหมวดหมู8
ตามประเภทของรายการค:าที่เกิดขึ้น ซึ่ง หมวดหมู8บัญชี ประกอบด:วย 5 ประเภท ได:แก8 1) สินทรัพยN 2)
หนี้สิน 3) ส8วนของเจ:าของหรือทุน 4) รายรับ 5) รายจ8าย ดังนั้นในการกำหนดบัญชีเพื่อใช:สำหรับบันทึก
รายการเบื้องต:น ซึ่งก8อให:เกิดการเปลี่ยนแปลงในสินทรัพยNหนี้สิน และส8วนของเจ:าของ จึงต:องกำหนดขึ้น
ตามรายการค:าที่เกิดขึ้นจริง โดยมีตัวอย8างบัญชีประเภทต8างๆ ของกิจการ ดังนี้
16

สินทรัพยNเพิ่ม เช8น บัญชีเงินสด บัญชีลูกหนี้การค:า บัญชีสินค:าคงเหลือ เปDนต:น


หนี้สินเพิ่ม เช8น บัญชีเจ:าหนี้การค:า บัญชีค8าสาธารณูปโภคค:างจ8าย เปDนต:น
ส8วนของผู:ถือหุ:นเพิ่ม เช8น บัญชีทุน-หุ:นสามัญ บัญชีกำไรสะสม เปDนต:น
รายได:เพิ่ม เช8น บัญชีรายได:จากการให:บริการ บัญชีดอกเบี้ยรับ เปDนต:น
ค8าใช:จ8ายเพิ่ม เช8น บัญชีเงินเดือนพนักงาน บัญชีค8าเช8า บัญชีค8าโฆษณา เปDนต:น
เนื่องจากบัญชีมี 2 ด:าน คือ ด:านเดบิตและเครดิต เมื่อใช:ด:านหนึ่งสำหรับการบันทึกการ
เพิ่มขึ้นของจำนวนเงินในบัญชี อีกด:านหนึ่งจึงใช:สำหรับการบันทึกการลดลงของจำนวนเงินในบัญชีนั้นๆ
ถ:านำด:านเดบิตและด:านเครดิตมาหักลบกัน ก็จะทราบว8าบัญชีนั้นๆ มียอดคงเหลือเท8ากับเท8าไร การจด
บันทึกการเพิ่มขึ้นหรือลดลงของจำนวนเงินในแต8ละบัญชีเพื่อให:สอดคล:องกับสมการบัญชีสามารถทำได:
โดยมีหลัก ดังต8อไปนี้
1) สินทรัพยN แสดงอยู8ทางด:านซ:ายมือของสมการบัญชี ดังนั้น จึงมียอดดุลปกติทางด:าน
เดบิต เมื่อมีการเพิ่มขึ้นของสินทรัพยNจะบันทึกทางด:านเดบิต และเมื่อมีการลดลงของสินทรัพยNจึงบันทึก
ทางด:านเครดิต
2) หนี้สิน แสดงอยู8ทางด:านขวามือของสมการบัญชี ดังนั้น จึงมียอดดุลปกติทางด:าน
เครดิต เมื่อมีการเพิ่มขึ้นของหนี้สินจะบันทึกทางด:านเครดิตและเมื่อมีการลดลงของหนี้สินจึงบันทึก
ทางด:านเดบิต
3) ส8วนของผู:ถือหุ:น แสดงอยู8ทางด:านขวามือของสมการบัญชีเช8นเดียวกันหนี้สิน ดังนั้น
จึงมีหลักเช8นเดียวกับหนี้สิน คือ มียอดดุลปกติทางด:านเครดิต เมื่อมีการเพิ่มขึ้นของส8วนของผู:ถือหุ:นจะ
บันทึกทางด:านเครดิต และเมื่อมีการลดลงของส8วนของผู:ถือหุ:นจึงบันทึกทางด:านเดบิต
4) รายได: ส8งผลให:ส8วนของผู:ถือหุ:นเพิ่มขึ้น ดังนั้น เมื่อมีรายได:เกิดขึ้นจึงบันทึกทางด:าน
เครดิต เนื่องจากส8วนของผู:ถือหุ:นเพิ่มทางด:านเครดิต และในกรณีที่รายได:ที่บันทึกไว:มีจำนวนมากเกินไป
และต:องการลดจำนวนรายได:ดังกล8าวลง จะบันทึกทางด:านเดบิต
5) ค8าใช:จ8าย ส8งผลให:ส8วนของผู:ถือหุ:นลดลง
ดังนั้น เมื่อมีค8าใช:จ8ายเกิดขึ้นจึงบันทึกทางด:านเดบิต และในกรณีที่ค8าใช:จ8ายที่บันทึกไว:มี
จำนวนมากเกินไปและต:องการลดจำนวนค8าใช:จ8ายดังกล8าวลงจะบันทึกทางด:านเครดิต (ธารี หิรัญรัศมี
และคณะ, 2559)
4. การปรับปรุงบัญชีในวันสิ้นงวด (Adjusting Entries)
รายการปรับปรุง หมายถึง รายการที่บันทึกเมื่อสิ้นรอบระยะเวลาบัญชีในสมุดรายวันทั่วไป โดยมี
วัตถุประสงคNเพื่อแก:ไขเปลี่ยนแปลงรายได: และค8าใช:จ8ายของกิจการ เพื่อให:รายการดังกล8าวเปDนรายรับที
17

รับและจ8ายจริงตามรอบระยะเวลาบัญชีนั้น ซึ่งเปDนไปตามหลักเกณฑNคงค:าง (Accrual Basis) นอกจากนี้


รายการปรับปรุงยังส8งผลให:สินทรัพยNและหนี้สินถูกต:องตามความเปDนจริงตอนสิ้นงวดของรอบระยะเวลา
บัญชีนั้น และเปDนไปตามหลักการบัญชีที่รับรองโดยทั่วไป ซึ่งรายการปรับปรุงที่กิจการต:องกระทำก8อน
คำนวณหากำไรหรือขาดทุนเมื่อตอนสิ้นงวด ได:แก8 (จันทนา สาขากร และศิลปะพร ศรีจั่นเพชร, 2552)
1) รายได:รับล8วงหน:า (Deferred Income)
รายได:รับล8วงหน:า หมายถึง รายได:ที่กิจการรับจากลูกค:า โดยที่ลูกค:ายังไม8ได:รับบริการ
รายได:รับล8วงหน:า ถือเปDนหนี้สินหมุนเวียน เนื่องจากกิจการมีภาระที่จะต:องให:บริการในอนาคต ต8อเมื่อ
กิจการได:ให:บริการแก8ลูกค:าแล:ว จึงจะถือว8ามีรายได:เกิดขึ้น
2) รายได:ค:างรับ (Accrued Income)
รายได:ค:างรับ คือ กิจกรรมที่กิจการให:บริการเสร็จสิ้นแล:ว ภายในงวดบัญชีปfจจุบัน แต8
กิจการยังมิได:รับเงินจากผู:รับบริการนั้น หรืออาจกล8าวสั้นๆ ว8าเปDนรายได: ซึ่งเกิดขึ้นแล:ว แต8ยังไม8ได:รับ
ชำระเงิน เช8น ค8าเช8าค:างรับ และดอกเบี้ยค:างรับ เปDนต:น
3) ค8าใช:จ8ายล8วงหน:า (Prepaid Expenses)
ค8าใช:จ8ายล8วงหน:า หมายถึง ค8าสิ่งของหรือบริการที่กิจการจ8ายเงินแล:ว แต8กิจการยังมิได:
รับบริการหรือสิ่งของนั้นในรอบระยะเวลาบัญชีปfจจุบัน แต8จะได:รับในอนาคต เช8น ค8าเช8าจ8ายล8วงหน:า ค8า
เบี้ยประกันจ8ายล8วงหน:า เปDนต:น
4) ค8าใช:จ8ายค:างจ8าย (Accrued Expenses)
ค8าใช:จ8ายค:างจ8าย หมายถึง ค8าสิ่งของหรือบริการที่กิจการได:รับประโยชนNแล:วในงวด
ปfจจุบันแต8ยังมิได:จ8ายเงิน กิจการจึงยังมิได:บันทึกบัญชี บัญชีค8าใช:จ8ายค:างจ8ายเปDนหนี้สินหมุนเวียน เช8น
เงินเดือนค:างจ8าย ค8าโฆษณาค:างจ8าย เปDนต:น
5) หนี้สงสัยจะสูญ (Doubtful Debts)
เมื่อกิจการจำหน8ายสินค:าหรือให:บริการเปDนเงินเชื่อ อาจมีความไม8แน8นอนเกี่ยวกับการ
เก็บหนี้จากลูกหนี้บางราย ดังนั้น เพื่อให:เปDนไปตามหลักความระมัดระวัง กิจการจึงประมาณบัญชีค8าเผื่อ
หนี้สงสัยจะสูญขึ้น เพื่อปรับให:บัญชีลูกหนี้ที่มีอยู8ใกล:เคียงมากที่สุดกับจำนวนเงินที่คาดว8าจะได:รับชำระ
6) วัสดุสิ้นเปลืองใช:ไป (Supplies used Expenses)
วัสดุสิ้นเปลืองเปDนสินทรัพยNที่กิจการซื้อมาใช: และหมดสภาพไปทันทีเมื่อมีการเบิกมาใช:
งาน เช8น วัสดุสำนักงาน (เครื่องเขียนแบบพิมพNต8างๆ) ณ วันที่ซื้อวัสดุสำนักงานกิจการจะบันทึกวัสดุนี้เปDน
สินทรัพยN และในวันสิ้นงวดบัญชี กิจการจะตรวจนับวัสดุสำนักงานว8ามียอดคงเหลืออยู8เท8าใด เพื่อหายอด
ที่ใช:ไป ซึ่งเรียกว8า “วัสดุสำนักงานใช:ไป” (Supplies Used)
18

7) ค8าเสื่อมราคา (Depreciation)
การดำเนินงานของกิจการจำเปDนต:องมีสินทรัพยNไว:ดำเนินงานเพื่อหารายได:เช8น อาคาร
เครื่องจักร อุปกรณNสำนักงาน และยานพาหนะ เปDนต:น สินทรัพยNเหล8านี้มีอายุการใช:งานเกินกว8า 1 ปE ซึ่ง
ตามหลักการบัญชีราคาทุนของสินทรัพยNจะถูกตัดเปDนค8าใช:จ8ายในแต8ละปEที่ใช:สินทรัพยNนั้น ค8าใช:จ8ายนี้
เรียกว8า “ค8าเสื่อมราคา”
5. การจัดทำงบการเงิน (Preparing Financial Statement)
งบการเงิน เปDนการนำเสนอฐานะการเงินและผลการดำเนินงานของกิจการอย8างมีแบบแผน โดย
มีวัตถุประสงคNเพื่อให:ข:อมูลเกี่ยวกับฐานะการเงิน ผลการดำเนินงาน และกระแสเงินสดของกิจการ ซึ่ง
ประโยชนNต8อการตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจของผู:ใช:งบการเงินกลุ8มต8างๆซึ่งกิจการต:องนำเสนองบการเงินอย8าง
น:อยปEละ 1 ครั้ง หรือมากกว8านั้นก็ได: เช8น ทุกไตรมาส ทุกครึ่งปE เปDนต:น ซึ่งภายใต:มาตรฐานการบัญชี
ฉบับที่ 1 เรื่อง การนำเสนองบการเงิน ได:กำหนดว8า งบการเงินฉบับสมบูรณNต:องประกอบด:วย (ธารี หิรัญ
รัศมี และคณะ, 2559)
1) งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันสิ้นงวด
2) กำไรขาดทุนและกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ สำหรับงวด
3) งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส8วนของเจ:าของสำหรับงวด
4) งบกระแสเงินสดสำหรับงวด
5) หมายเหตุประกอบงบการเงิน
6. การปLดบัญชี(Closing Entries)
รายการปLดบัญชี หมายถึง การปLดบัญชีแยกประเภททั่วไปเกี่ยวกับบัญชีรายได:และค8าใช:จ8ายต8างๆ
ภายหลังจากปรับปรุงเมื่อสิ้นงวดบัญชีไปยังบัญชีกำไรขาดทุน ซึ่งเปDนบัญชีที่เปLดขึ้นชั่วคราว ณ วันปLดงบ
บัญชีสิ้นปE เพื่อสรุปหาผลการดำเนินงานว8ามีผลกำไรหรือขาดทุนแล:วปLดโอนยอดสุทธิในบัญชีกำไรขาดทุน
นี้ไปยังบัญชีกำไรสะสม และถ:ามีบัญชีเงินปนผลก็จะปLดโอนไปยังบัญชีกำไรสะสม (กรณีบริษัทจำกัด) เพื่อ
คำนวณยอดกำไรสะสมปลายงวด และกรณีกิจการเจ:าของคนเดียว นอกจากการโอนปLดบัญชีประเภท
รายได:และบัญชีประเภทค8าใช:จ8ายไปยังบัญชีกำไรขาดทุนแล:ว ยังต:องโอนปLดบัญชีกำไรขาดทุนไปยังบัญชี
ทุน และโอนปLดบัญชีเบิกใช:ส8วนตัวไปยังบัญชีทุน โดยให:บันทึกรายการปLดบัญชีนี้ในสมุดรายวันทั่วไป แล:ว
ผ8านรายการไปยังบัญชีแยกประเภทที่เกี่ยวข:อง เมื่อจัดทำรายการปLดบัญชีแล:ว บัญชีประเภทรายได:และ
ค8าใช:จ8ายบัญชีกำไรขาดทุนและบัญชีเงินปfนผลจะถูกปLดไป คือ ไม8มียอดคงเหลืออยู8ในบัญชี แม:ว8ากิจการ
จะจัดทำงบการเงินสำหรับงวดเวลาสั้นกว8า 1 ปEก็ได: แต8กิจการจะบันทึกรายการปLดบัญชีนี้เมื่อสิ้นรอบ
ระยะเวลาบัญชีครั้งเดียวเท8านั้น
19

2.2 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับเป‰าหมายและหนMาที่ของผูMบริหารการเงิน
ผู:บริหารทางการเงินพยายามทีจะทำให:มีความมั่งคั่งให:แก8ผู:ถือหุ:นสูงสุดหรือเจ:าของกิจการโดยมี
วิธีการดำเนินงาน เช8น การขอสินเชื่อ การบริหารสินค:าคงเหลือ และ การตัดสินใจในการลงทุนระยะยาว
ซึงจะต:องสอดคล:องกบการจัดหาเงินทุนบทบาทของการบริหารการเงิน (เบญจวรรณ รักษNสุธี, 2539 )
ความรับผิดชอบของผูจ: ัดการทางการเงิน
1. การกำหนดขนาดเงินทุนที่เหมาะสมสำหรับใช:ในการดำเนินงานของธุรกิจ (Proper amount
of funds) กล8าวอีกนัยหนึง่ ว8า ธุรกิจทีดำเนินงานควรจะมีขนาดใด และมีอัตราการเติบโตเท8าใด
2. การจัดหาเงินทุนมาใช:ในธุรกิจ (Raisingfunds) กล8าวอีกนัยหนึง่ ว8า เงินทุนทีจะลงใน สินทรัพยN
ต8าง ๆ นั้นควรมาจากแหล8งใดบ:างจึงจะเปDนประโยชนNต8อธุรกิจ
3. การจัดสรรเงินทุนของธุรกิจให:มีประสิทธิภาพ (Allocation of funds) นั่นคือ ธุรกิจควรจะ
ลงทุนในสินทรัพยNประเภทใดบ:าง และในจำนวนเท8าใด จึงจะทำให:ธุรกิจได:ประโยชนNทีสุดหน:าทีของ
ผู:บริหารการเงิน (ชนะใจ เดชวิทยาพร, 2540) ผู:บริการการเงินมีหน:าที่ 5 ประการ คือ
1. การวางแผนทางการเงิน (Financial Planning)
2. การตัดสินใจเกีย่ วกับการจัดหาเงินทุน (Financial Decision)
3. การตัดสินใจเกีย่ วกับการจัดสรรเงินทุน (Investment Decision)
4. การตัดสินใจเกีย่ วกับนโยบายเงินปfนผล (Dividend Decision)
5. การควบคุมทางการเงิน (Financial Controlling)
2.2.1 การวางแผนทางการเงิน
การวางแผนถือเปDนหน:าที่บริหารที่สำคัญหน:าที่หนึ่ง การมีแผนที่ดีช8วยให:การดำเนินกิจกรรมของ
ธุรกิจบรรลุวัตถุประสงคNที่กำหนดไว: แต8จะต:องมีแผนระยะสันและระยะยาว มีการวางแผนกำไร ซึ่ง
เกี่ยวกับความสัมพันธNระหว8างรายได:และรายจ8าย โดยอาศัยข:อมูลที่หามาได:อย8างมีระบบและมีหลักเกณฑN
การวางแผนทางการเงิน จะเกี่ยวข:องกับแผนทางด:านการตลาด การผลิต ซึ่งจัดเตรียมออกมาในรูปของ
งบประมาณ ต8อจากนั้นก็มาจัดทำเปDนงบประมาณเงินสดเพื่อทราบถึงแผนการจัดหาเงินทุนและแผนการ
จัดสรรเงินลงทุน ในท:ายทีสุดก็สามารถจัดทำงบดุลล8วงหน:าและงบกำไรขาดทุนล8วงหน:า ทำให:ธุรกิจ
วางแผนและควบคุมทางการเงินได:อย8างถูกต:อง เพราะเปDนการประมาณการสถานะทางการเงินของธุรกิจ
ณ ขณะใดขณะหนึ่งในอนาคตและการจัดทำงบกำไรขาดทุนล8วงหน:า ทำให:ธุรกิจทราบถึงความสามารถ
การทำกำไรในอนาคตและได:ใช:เปDนข:อมูล การวางแหนทางการเงินได:อย8างมีประสิทธิภาพ การตัดสินใจ
เกีย่ วกับการจัดหาเงินทุนแหล8งทีม่ าของเงินทุนของธุรกิจ แบ8งได:เปDน แหล8งใหญ8 ๆ คือ
20

1. จากการกู:ยืมมีทั้งระยะสั้น ระยะปานกลาง และระยะยาว โดยจะเสียต:นทุนของเงินทุนในรูป


ของดอกเบี้ย เปDนการจัดหาเงินทุนจากส8วนของหนีสิน เช8น การกู:ยืมสถาบันการเงิน การออกหุ:นกูหรือ
พันธบัตร
2. จากการออกหุ:น มีทังหุ:นสามัญและหุ:นบุริมสิทธN โดยจะเสียต:นทุนของเงินทุนในรูปของเงินปfน
ผล เปDนการจัดหาเงินทุนจากส8วนของเจ:าของการตัดสินใจเกี่ยวกับการจัดหาเงินทุน จึงเปDนการจัดสินใจว8า
ควรจะจัดหาเงินทุนจากแหล8งใด เปDนจำนวนเท8าใดจึงทำให:ต:นทุนของเงินทุนต่ำสุด และมีความเสียง
ทางการเงินไม8มากจนเกินไป นอกจากนั้นเงินทุนที่ต:องการนั้น ต:องจัดหามาในเวลาที่เหมาะสม โดยปกติ
ควรจัดหามาก8อนทีจะให:จริง
2.2.2 การตัดสินใจเกีย่ วกับการจัดสรรเงินทุน
เงิ นทุ นที จั ดหามาของธุ รกิ จจากส8 วนของหนี้ สิ นและส8 วนของผู : ถื อหุ : นจะทำมาจั ดสรรไปใน
สินทรัพยNของธุรกิจ การจัดสรรเงินทุนของธุรกิจนี้จะต:องก8อให:เกิดความสมดุลระหว8างสภาพคล8อง
(Liquidity) และความสามารถในการทำกำไร (Profitability) ถ:าธุรกิจจัดสรรเงินทุนไปลงในสินทรัพยN
หมุนเวียนมากจะทำให:ธุรกิจมีสภาพคล8องมากความเสี่ยงทางการเงินน:อย เพราะมีสินทรัพยNสามารถ
เปลี่ยนเปDนเงินสดได:เร็ว แต8ถ:าธุรกิจสรรเงินทุนไปลงในสินทรัพยNถาวรมาก จะทำธุรกิจมีความสามารถใน
การทำกำไรสูงเพราะการลงทุนในสินทรัพยNถาวรก8อให:เกิดรายได:จากการลงทุนมากกว8าดังนั้นผู:บริหาร
ทางการเงินจะต:องทำให:เกิดดุลยภาพระหว8างสภาพคล8องกับความสามารถในการทำกำไร โดยไม8ให:เกิด
ความเสี่ยงทางการเงินจากการทีจะไม8มีเงินเพื่อการชำระหนี้ทีถึงกำหนด จนทำให:ธุรกิจต:องเสื่อมเสีย
ชื่อเสียงทางด:านเครดิต และธุรกิจต:องมีความสามารถในการทำกำไรในระดับสูงด:วยการตัดสินใจเกี่ยวกับ
นโยบายเงินบันผลเมื่อครบรอบบัญชี ธุรกิจก็จะทราบถึงผลการดำเนินงานที่ผ8านมาว8ามีกำไรสุทธิหรือ
ขาดทุน สุทธิเปDนจำนวนเท8าไร ถ:ามีกาไรสุทธิ ผู:บริหารการเงินต:องตัดสินใจว8าจะนำไปจ8ายเงินปfนผลให:แก8
ผู:ถือหุ:นหรือไม8 ถ:าจ8ายเงินปfนผลจะจ8ายอัตราเท8าใด ถ:าไม8จ8ายเงินปfนผลหรือจ8ายออกไปบางส8วนที่เหลือจะ
นำไปเปDนแหล8งเงินทุนที่จะนำไปลงทุนต8อ คือขยายธุรกิจเพื่อให:ได:ผลตอบแทนทีสูงขึ้นในอนาคตดังนั้นการ
ตัดสินใจว8าจะจ8ายเงินปfนผลหรือไม8 หรือจ8ายเปDนจำนวนเท8าใดจะเกี่ยวข:องกับการจัดหาเงินทุนและจัดสรร
เงินทุน เพราะถ:าธุรกิจตัดสินใจจ8ายเงินปfนผล แสดงธุรกิจตัดสินใจไม8จัดหาเงินทุนจากแหล8งภายใน คือ
กำไรสะสม แต8จะจัดหาเงินทุนจากแหล8งภายนอกคือจากการกู:ยืมหรือการออกหุ:นสามัญเพิ่มการควบคุม
ทางการเงินจากหน:าที่ของผู:บริหารทางการเงินในการวางแผนการเงิน โดยจัดทำงบประมาณจะต:อง
ควบคุมให:การรับและจ8ายเงินเปDนไปตามงบประมาณที่กำหนดไว: แต8ด:วยการจัดทำงบประมาณเปDนการ
ประมาณการล8วงหน:า ดังนั้นอาจจะมีเหตุการณNผันแปรไปจากทีคาดการณNไว: งบประมาณจึงต:องมีการ
หรับปรุงเพื่อให:เหมาะสมกับภาวการณNที่เปลี่ยนแปรไป ผู:บริหารทางการเงินต:องตรวจสอบตลอดเวลา
21

จากงบประมาณที่ปรับปรุงให:เมาะสม ถ:ามีผลการปฏิบัติงานคลาดเคลื่อนจากแผนท8าวางไว:จะต:องหา
ข:อผิดพลาดเพื่อหาทางแก:ไข
2.3 แนวคิดทฤษฎีอัตราสWวนที่แสดงถึงสภาพคลWองทางการเงิน หรือความสามารถในการชำระหนี้สิน
ของกิจการ
ประกอบด:วย
2.3.1 อัตราสWวนเงินทุนหมุนเวียน = เปDนการวัดอัตราส8วนระหว8างสินทรัพยNหมุนเวียนกับหนี้สิน
หมุนเวียนอัตราส8วนเงินทุนหมุนเวียนเร็วเปDนการวัดอัตราส8วนของสินทรัพยNหมุนเวียนที่มีสภาพคล8องสูง
เปลี่ยนเปDนเงินสดได:เร็ว จึงตัดรายการสินค:าคงเหลือออกไป (เพราะสินค:าคงเหลือเปลี่ยนเปDนเงินสดได:ช:า)
กับหนี้สินหมุนเวียน

◾ถ:ามีค8ามาก แสดงว8า บริษัทมีสภาพคล8องดี เพราะมีสินทรัพยNหมุนเวียนมากกว8าหนี้สินหมุนเวียนที่


#
"
บริษัทต:องชำระ

◾ถ:ามีค8าน:อย แสดงว8า บริษัทขาดสภาพคล8อง เพราะมีสินทรัพยNหมุนเวียนไม8เพียงพอที่จะจ8ายหนี้สิน


#
"
หมุนเวียนที่บริษัทต:องชำระ

2.3.2 อัตราสWวนหมุนเวียนลูกหนี้การคMา = ขายสุทธิ / ขายเชื่อสุทธิ ÷ ลูกหนี้การค:าเฉลี่ย (เท8า)

อัตราส8วนหมุนเวียนลูกหนี้การค:า เปDนอัตราส8วนที่ใช:วัดความสามารถในการเรียกเก็บหนี้ของบริษัทแสดง
ถึงประสิทธิภาพในการใช:หรือบริหารสินเชื่อที่ขยายให:กับลูกค:าและการรวบรวมหรือจัดการหนี้ระยะสั้น
ของบริษัท

◾ถ:ามีค8ามาก แสดงว8า บริษัทมีความสามารถในการเรียกเก็บหนี้สูงมีการดูแลกระบวนการของการชำระ


#
"
หนี้ได:อย8างรวดเร็ว ซึ่งอาจสามารถบอกได:ว8าการลงทุนในบริษัทนี้จะมีความเสี่ยงที่ต่ำกว8าบริษัทอื่น

◾ถ:ามีค8าน:อย แสดงว8า บริษัทมีความสามารถในการเรียกเก็บหนี้ต่ำโดยอาจบอกได:ว8าบริษัทไม8มี


#
"
ประสิทธิภาพในการจัดการกับกระบวนการชำระหนี้ที่ดีมากเพียงพอหรืออาจเกิดจากลูกค:าที่มีปfญหา
ทางด:านสถานะทางการเงิน ซึ่งอาจส8งผลเสียต8อภาพรวมของบริษัท
22

2.3.3 อัตราสWวนหมุนเวียนสินคMาคงเหลือ = ต:นทุนขาย ÷ สินค:าคงเหลือถัวเฉลี่ย (เท8า)

อัตราส8วนหมุนเวียนสินค:าคงเหลือ เปDนอัตราส8วนที่จะวัดความสามารถในการขายสินค:าคงเหลือโดยวัด
จากการเปลี่ยนแปลงสินค:าคงเหลือในช8วงเวลาที่กำหนดเพื่อที่บริษัทจะได:คำนวณว8าต:องใช:เวลากี่วันใน
การขายสินค:าอีกทั้งยังช8วยให:บริษัทสามารถตัดสินใจในเรื่องราคา การผลิต การตลาดและการซื้อสินค:าคง
คลังในรอบต8อไปได:ดีขึ้น

◾ถ:ามีค8ามาก แสดงว8า บริษัทมีความสามารถในการขายสินค:าคงเหลือสูงหรืออาจบ8งบอกได:ว8ามีสินค:า


#
"
คงเหลือน:อย จะเปDนการช8วยลดจำนวนเงินทุนที่ผูกไว:กับสินค:าคงเหลือ ซึ่งจะช8วยรักษาสภาพคล8องให:กับ
บริษัทอีกทั้งยังเปDนการปšองกันความเสี่ยงจากการเน8าเสีย ความเสียหาย การโจรกรรม หรือความล:าสมัย
ทางเทคโนโลยีของสินค:าอีกด:วย

◾ถ:ามีค8าน:อย แสดงว8า บริษัทมีความสามารถในการขายสินค:าคงเหลือต่ำหรืออาจบ8งบอกได:ว8ามีสินค:า


#
"
คงเหลือจำนวนมาก ซึ่งอาจส8งผลเสียต8อสภาพคล8องของบริษัทรวมไปถึงมีความเสี่ยงจากการเสื่อมถอย
ของสินค:าอีกด:วย

2.3.4 อัตราสWวนหมุนเวียนเจMาหนี้การคMา = ต:นทุนขาย หรือซื้อเชื่อ ÷ เจ:าหนี้การค:าถัวเฉลี่ย


(เท8า) อัตราส8วนหมุนเวียนเจ:าหนี้การค:า เปDนการวัดอัตราส8วนเปรียบเทียบต:นทุนขายกับเจ:าหนี้การค:า
แสดงถึงจำนวนครั้งของการชำระหนี้ในรอบระยะเวลาบัญชีอัตราหมุนเวียนเจ:าหนี้การค:า มีหน8วยเปDนเท8า
ซึ่งสามารถบอกใน 1 รอบบัญชี กิจการต:องชำระหนี้ถี่ขนาดไหน โดยทั่วไปแล:วอัตราหมุนเวียนเจ:าหนี้
การค:า ยิ่งมีค8าต่ำยิ่งดีเนื่องจากกิจการมีความสามารถในการยื่นระยะเวลาการชำระกับทางเจ:าหนี้ เปDน
การช8วยรักษาสภาพคล8องในกิจการ เมื่อกิจการมีสภาพคล8องสูง ทำให:กิจการมีโอกาสนำสภาพคล8องนั่นไป
ลงทุนหาประโยชนNอื่น ๆ เพิ่มเติมได:

2.4 ทฤษฎีโครงสรMางเงินทุนของ MM
Modigliani & Miller (1958) (อภิ ชาติ พงศN สุ พ ั ฒนN , 2551) ได: ศึ กษาและนำเสนอทฤษฎี และ
ข:อสรุปเกีย่ วกับโครงสร:างเงินทุนไว: 2 แนวทางคือ รูปแบบทีไ่ ม8มีภาษีเงินได:รูปแบบทีม่ ีภาษีเงินได:
1. รูปแบบทีไม8มีภาษีเงินได:คือ มูลค8าของบริษัทและต:นทุนของเงินทุนจะเปDนอิสระจากโครงสร:าง
เงินทุน โดย MM ได:ตั้งสมมุติฐานว8าไม8มีการเสียภาษีในโลก ตลาดมีการแข8งขันอย8างไม8สมบูรณNและสมมุติ
ต:นทุนของรายการค:าขึ้น MM ยืนยันวาบริษัททีไม8ต:องเสียภาษีเงินได:นิติบุคคลการเพิ่มหนี้สินเข:าไปใน
23

โครงสร:างเงินทุนจะไม8สามารถเพิ่มมูลค8าของกิจการได:ผลประโยชนNของการก8อหนีที่มีต:นทุนตำจะถูก
ชดเชยด:วยต:นทุนของส8วนของเจ:าของที่เพิม่ ขึ้น
2. รูปแบบที่มีภาษีเงินได:คือเมือหนีสินถูกเพิ่มเข:าไปในโครงสร:างเงินทุน มูลค8าของบริษัทจะ
เพิ่มขึ้นและต:นทุนของเงินทุนจะลดลงการเปลี่ยนแปลงรูปแบบนี้มีสาเหตุมาจากดอกเบี้ยจ8ายที่สามารถ
นำไปหักเปDนค8าใช:จ8ายเมือคำนวณภาษี
ทฤษฎีแรกทีอธิบายโครงสร:างเงินทุน คือ ทฤษฎีของ Modigliani & Miller (1958) ทฤษฎีของ
MM กล8าวว8า บริษัท 2 บริษัททีมีโครงสร:างเงินทุนที่แตกต8างกัน โดยบริษัทแรกคือบริษัททีไม8มีการก8อหนี้
เลยใช:ส8วนของผู:ถือหุ:นทั้งหมด บริษัทที่สองคือบริษัททีก8อหนี้ในระดับหนึ่ง ยกเว:นเรื่องภาษีไม8ว8าจะมีการ
ก8อหนี้หรือไม8ก8อหนีมูลค8าของบริษัทก็เท8ากันในทุกๆ ปEเพราะการก8อหนี้ที่เพิ่มขึ้นจะทำให:ผู:ถือหุ:นมีความ
เสียงมากขึ้น ทำให:ผู:ถือหุ:นต:องการผลตอบ แทนมากขึ้น โดยทฤษฎีนี้จะพิสูจนNว8าการจัดหาเงินทุนไม8มีผล
ต8อมูลค8ากิจการในตลาดทุนทีส่ มบูรณN (Perfect Capital Market) ต8อมาในปE10 ได:นำปfจจัยภาษีเงินได:นิติ
บุคคลมาพิจารณาด:วย พบว8าการก8อหนี้จะทำให:ช8วยประหยัดภาษีได:เมือนำภาษีเข:าคิดมูลค8าของกิจการ
ยอมทำให:ยิ่งก8อหนี้มากก็ยิ่งจะทำให:บริษัทมีมูลค8ามากขึ้นตามทฤษฎีนี้ไม8มีความเปDนไปได:ในโลกแห8งความ
เปDนจริงการกู:ยืมในแต8ละครั้งควรนำต:นทุนของการกู:ยืมมาคิดด:วย เปDนที่มาของทฤษฎีTrade-off Theory
(วรกันตN ทองสว8าง, 2554)
Business Risk Model Framework (กิตติพันธ- คงสวัสดิเกียรติ,2551)
กรอบความเสี่ยงของธุรกิจ(Business Risk Model Framework) นั้นจะช8วยให:หน8วยงานทุก
ระดับภายในบริษัทสามารถระบุถึงความเสี่ยงได:ง8ายขึ้น โดยความเสี่ยงทีอาจจะเกิดขึ้นกับบริษัทนั้นอาจ
แบ8งได:เปDน 4 ประเภท คือ
1. ความเสี่ยงด:านกลยุทธN (Strategic Risk)
2. ความเสี่ยงด:านปฏิบัติการ (Operational Risk)
3. ความเสี่ยงด:านการเงิน (Financial Risk)
4. ความเสี่ยงด:านสารสนเทศ (Information Risk)
ความเสี่ยงด:านกลยุทธN (Strategic Risk) เปDนความเสียงที่เกิดจากการกำหนดแผนกลยุทธN แผน
ดำเนินงานและการนำไปปฏิบัติไม8เหมาะสม หรือไม8สอดคล:องกับปfจจัยต8าง ๆ ซึ่งสามารถแบ8งออกได:เปDน
2 ประเภท คือความเสียงจากปfจจัยภายนอก (External Factor Risks) และความเสี่ยงจากปfจจัยภายใน
(Internal Factor Risks)
ความเสี่ยงด:านปฏิบัติการ (Operational Risk) เปDนความเสี่ยงที่ทุกธุรกิจจะต:องเผชิญอย8าง
หลีกเลี่ยงไม8ได:เพราะเปDนความเสียงที่เกิดขึ้นในการดำเนินงานของธุรกิจตามปกติแต8ธุรกิจจะต:องหาวิธีการ
24

ในการจัดการปšองกันไม8ให:ความเสี่ยงเหล8านี้เกิดขึ้น ถ:าหากธุรกิจปล8อยให:มีความเสียงในด:านปฏิบัติการ
เกิดขึ้นมากผลการดำเนินงานของธุรกิจอาจไม8เปDนไปตามทีคาดการณNไว:ซึงจะส8งผลให:ผลตอบแทนของผู:
ถือหุ:นของบริษัทลดลงด:วย
ความเสี่ยงด:านการเงิน (Financial Risk) เปDนอีกประเภทของความเสี่ยงทีมีความสำคัญต8อบริษัท
และองคNกรทั่วไป ความเสี่ยงด:านการเงินนี้ประกอบด:วยความเสี่ยงในการบริหารเงิน (Treasury Risks)
ความเสียงด:านเครดิต (Credit Risks) และความเสียงในการซื้อขายตราสารการเงิน (Trading Risks)
ความเสี่ยงด:านสารสนเทศ (Information Risk) เปDนความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นในด:านสารสนเทศหรือข:อมูล
ทางบัญชีงบการเงิน การรายงานต8าง ๆ ทางการเงิน ความเสี่ยงด:านภาษีรวมไปถึงความเสียงในด:าน
เทคโนโลยีอื่น ๆภาพรวมความเสี่ยงสามารถแบ8งออกได:เปDน 2 ส8วน คือความเสี่ยงที่เปDนระบบ และความ
เสีย่ งที่ไม8เปDนระบบ มีดังนี้
ความเสี่ยงที่เปDนระบบ (Systematic Risk) เปDนความเสี่ยงที่มีผลกระทบต8อตลาดทั้งระบบมักจะ
เรียกอีกชื่อว8า Market Risk หรือ Undiversificable Risk เปDนความเสี่ยงที่ไม8สามารถทำให:ลดลงได:จาก
การกระจายการลงทุนความเสี่ยงที่ไม8เปDนระบบ (Unsystematic Risk) เปDนความเสี่ยงที่เกิดเฉพาะตัวกับ
ธุรกิจหรือ หลักทรัพยNนั้น ๆ นักลงทุนสามารถลดความเสี่ยงนี้ลงได:ด:วยการจัดพอรNตลงทุนของตนเองให:มี
การกระจายการลงทุนทีเ่ หมาะสม

2.5 เครื่องมือในการวิเคราะห-ที่เกี่ยวขMอง : SWOT TOWS Fishbone


2.5.1 แนวคิ ดและทฤษฎี เกี ่ ยวกั บการวิ เคราะห- สภาพแวดลM อมและศั กยภาพ (SWOT
Analysis)
เนื่องจากการวิจัยนี้ ที่เปDนการศึกษาแนวทางการส8งเสริมและวางแผนการตลาดเพื่อเพิ่มรายได:
การบริการจัดงานแต8งงานของโรงแรม 5 ดาว ผู:วิจัยได:ทำการศึกษาและได:พบแนวคิดที่ว8า ผู:บริหารธุรกิจ
ต: อ งทำการศึ ก ษาสภาพแวดล: อ มที ่ ส ำคั ญ ในองคN ก รไม8 ว 8 า จะเปD น สภาพแวดล: อ มภายนอก และ
สภาพแวดล:อมภายใน เนื่องจากปfจจัยเหล8านี้เปDนปfจจัยที่ทำให:ผู:บริหารธุรกิจสามารถวิเคราะหNปfญหาต8าง
ๆ ที่เกิดขึ้นในองคNกรและสามารถนำมาปรับปรุง หรือเปลี่ยนแปลงในทิศทางการตลาดที่เหมาะสมและมี
ประสิทธิผล ซึ่งสอดคล:องกับคำกล8าวของ บุญฑวรรณ วิงวอน (2556 : 263) กล8าวว8าผู:บริหารธุรกิจต:อง
ทำการศึกษาสภาพแวดล:อมที่สำคัญ 2 ประเภท คือ การวิเคราะหNสภาพแวดล:อมภายนอก ที่ประกอบด:วย
โอกาส (Opportunity) และอุ ป สรรค (Threat) ซึ ่ ง เปD น ปf จ จั ย ที ่ ค วบคุ ม ไม8 ไ ด: และการวิ เ คราะหN
สภาพแวดล:อมภายใน ที่ประกอบด:วยจุดแข็ง (Strengths) และจุดอ8อน (Weaknesses) ซึ่งเปDนปfจจัยที่
25

สามารถควบคุมได: โดยในการดำเนินการธุรกิจสภาพแวดล:อม ทั้ง 2 แบบที่ทางธุรกิจต:องเผชิญและอย8าง


หลีกเลี่ยงไม8ได: ดังนั้น จึงต:องนำมาวิเคราะหNร8วมกัน โดยมีรายละเอียดดังนี้
1. สภาพแวดล:อมภายใน (Internal Environment) เปDนปfจจัยที่มีอิทธิพลต8อการ ดำเนินงานของ
องคNการธุรกิจและเปDนปfจจัยที่สามารถควบคุมได: แม:ว8าผู:บริหารจะสามารถควบคุมได:ก็ตามแต8ก็ยังอาจทำให:
ล: มเหลวก็ ได: แต8 การวิ เคราะหN สภาพแวดล: อมภายใน เปD นการหาจุ ดแข็ ง (Strengths) และจุ ดอ8 อน
(Weaknesses) ก็เพื่อให:ธุรกิจสามารถแข8งขันได: สภาพแวดล:อมภายใน ได:แก8 เจ:าของและผู:ถือหุ:น ความรู:
ความสามารถหลักขององคNการ หรือแม:แต8คณะกรรมการบริหาร พนักงานภายในองคNการในทุกตำแหน8งหรือ
ทุกหน8วยงาน วัฒนธรรมภายในองคNการต8าง ๆ เปDนต:น
2. สภาพแวดล:อมภายนอก (External Environment) เปDนปfจจัยที่มีอิทธิพลต8อการ ดำเนินงาน
ขององคNการธุรกิจ และเปDนปfจจัยที่ผู:บริหารไม8สามารถควบคุมได: ทั้งนี้การวิเคราะหNสภาพแวดล:อมภายนอก
เปDนการหาโอกาส (Opportunity) และอุปสรรค (Threat) เพื่อให:ธุรกิจมองว8าควรเลือกดำเนินการทางธุรกิจ
อย8างไร และช8วยในการตัดสินใจและปรับเปลี่ยนกลยุทธNในการดำเนินธุรกิจที่สอดคล:องกับสภาพแวดล:อม
ภายนอกที่เปลี่ยนแปลงไปอย8างรวดเร็วได:อย8างไรบ:าง ดังภาพ 2.1 ต8อไปนี้

ภาพที่ 2.1 SWOT Analysis (Discoveryreserchgroup, 2557)

นอกจากนั้น บุญฑวรรณ วิงวอน (2556 : 273) ยังได:กล8าวถึงการกำหนดวิสัยทัศนN ภารกิจ


กลยุทธNต8างๆ ที่สามารถเปDนข:อมูลในการช8วยผู:ประกอบการได:นำมาใช:ในการตัดสินใจและเพื่อประเมิน
ธุรกิจว8า องคNการจะต:องดำเนินการไปในทิศทางใดภายใต:สภาพแวดล:อมที่มีการเปลี่ยนแปลงอย8างรวดเร็ว
ซึ่งเทคนิคการวิเคราะหN SWOT ได:แก8 1) จุดแข็ง (S : Strengths) เปDนปfจจัยภายในที่ผู:บริหารสามารถ
ควบคุมได: ซึ่งจุดแข็งนี้จะก8อให:เกิดข:อได:เปรียบ ผลดี หรือผลเชิงบวกต8อธุรกิจ เช8น ความรู:ความสามารถ
26

หลักขององคNการเปDนเลิศ คณะกรรมการบริหารมากด:วยประสบการณN พนักงานภายในองคNการทำงาน


เปDนทีม วัฒนธรรมภายในองคNการมีความเข:มแข็ง เปDนต:น 2) จุดอ8อน (W : Weaknesses) เปDนปfจจัย
ภายในที่ผู:บริหารสามารถควบคุมได:เช8นกัน แต8ทั้งนี้ปfจจัยนี้เปDนปfจจัยที่เกิดจากข:อด:อย ผลเสีย หรือผลเชิง
ลบในการดำเนินธุรกิจ เช8น ขาดการเชื่อมโยงภายในเครือของธุรกิจ การบริหารงานที่ผิดพลาดและธุรกิจ
ขาดสภาพคล8องทางการเงิน สินค:าที่ผลิตออกมาไม8ได:คุณภาพและมาตรฐาน ขาดการประสานงานที่ดี
ภายในองคNการ การเลือกทำเลที่ตั้งที่ไม8เหมาะสมอันก8อให:เกิดผลเสียต8อธุรกิจ เปDนต:น 3) โอกาส (O :
Opportunity) เปDนปfจจัยภายนอกที่ผู:บริหารไม8สามารถควบคุมได: แต8เปDนสภาพแวดล:อมที่ส8งผลดีต8อ
ธุรกิจ เช8น นโยบายของภาครัฐให:การสนับสนุน กลุ8มลูกค:าเปšาหมายมีรายได:เพิ่มขึ้น และสินค:าของคู8
แข8งขันมีคุณภาพต่ำ เปDนต:น และ 4) อุปสรรค (T : Threat) เปDนปfจจัยภายนอกที่ผู:บริหารไม8สามารถ
ควบคุมได:เช8นกัน แต8เปDนปfจจัยที่แสดงถึงสภาพแวดล:อมที่ส8งผลกระทบให:เกิดความเสียหายแก8ธุรกิจ เช8น
สภาพเศรษฐกิจตกต่ำ เกิดโรคระบาดโควิด-19 ราคาน้ำมันปรับตัวสูงขึ้น วัตถุดิบมีราคาสูงขึ้น ภัย
ธรรมชาติ เปDนต:น

ชุดา แอล, ฟLลกู:ด เทคโนโลยี (2563) ได:กล8าวถึง SWOT Analysis โดย Albert Humphreyผู:
คิดค:นทฤษฎีการวิเคราะหN SWOT เปDนเครื่องมือวิเคราะหNความสามารถและศักยภาพขององคNกร เพื่อการ
ทำความรู : จั กตนเอง โดย SWOT ย8 อ มาจาก Strengths Weaknesses Opportunities และ Threats
แบ8 ง เปD น การประเมิ น จากปf จ จั ย ภายใน ซึ ่ ง ก็ ค ื อ จุ ด แข็ ง ของธุ ร กิ จ (Strengths) จุ ด อ8 อ นของธุ ร กิ จ
(Weaknesses) และการประเมินจากปfจจัยภายนอก็คือ โอกาสของธุรกิจ (Opportunities) ความเสี่ยง
และอุปสรรคของธุรกิจ (Threats) เพื่อการวางแผนเพิ่มประสิทธิภาพธุรกิจและพัฒนาองคNกรได: ครบวงจร
อย8างแท:จริง สำหรับ การจัดการกลยุทธN TOWS Matrix ถูกคิดค:นโดยศาสตราจารยNชาวอเมริกัน Heinz
Weirich คือ กระบวนการวิเคราะหNสภาพแวดล:อม ภายนอกและภายในขององคNกร (SWOT Analysis) มา
ทำการจับคู8เข:าด:วยกัน โดยที่สามารถแบ8ง รูปแบบการจับคู8กลยุทธNของ TOWS ออกเปDนกลยุทธNเชิงรุก (SO)
กลยุทธNเชิงแก:ไข (WO) กลยุทธNเชิงรับ (ST) และกลยุทธNเชิงปšองกัน (WT) (อาทิตยN หงสNชินธากุล, 2562) ดังที่
ผู:วิจัยจะกล8าวถึงในส8วนถัดไป
จากแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการวิเคราะหNสภาพแวดล:อมและศักยภาพ (SWOT Analysis)
ข:างต:นผู:วิจัยสรุปได:ว8าคือ SWOT Analysis เปDนการวิเคราะหNสภาพแวดล:อมภายนอกที่ประกอบด:วยโอกาส
(Opportunity) และอุปสรรค (Threat) ซึ่งเปDนปfจจัยที่ควบคุมไม8ได: และการวิเคราะหNสภาพแวดล:อมภายใน ที่
ประกอบด:วยจุดแข็ง (Strengths) และ จุดอ8อน (Weaknesses) ซึ่งเปDนปfจจัยที่สามารถควบคุมได: โดยผู:
บริหารธุรกิจต:องทำการศึกษาสภาพแวดล:อมที่สำคัญในองคNกร
27

2.5.2 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับ TOWS Matrix


จากที่มีการวิเคราะหNสภาพแวดล:อมภายในและภายนอกในเรื่องจุดแข็ง (Strengths) จุดอ8อน
(Weaknesses) โอกาส (Opportunity) และอุปสรรค (Threat) แล:ว ก็จะนำข:อมูลทั้งหมด มาวิเคราะหN
ความสัมพันธNแบบเมตริกซN หรือจับคู8 โดยใช:ตารางที่เรียกว8า TOWS Matrix ซึ่งแต8ละคู8 ดังกล8าว ธุรกิจ
สามารถดำเนินการวางกลยุทธNแบ8งออกเปDน 4 ประเภท (อาทิตยN หงสNชินธากุล, 2562) และตัวอย8าง
สามารถพิจารณาได:ดังภาพ 2.2 ต8อไปนี้

ภาพที่ 2.2 TOWS Strategic Alternatives Matrix (New Management Forum, 2557)

จากตารางทาวเมทริก (TOWS Matrix) ข:างต:น สามารถสรุปได:ว8า ในการจับคู8ของแต8ละคู8ที่มี


ทั้ง SO, ST, WO และ WT ดังกล8าว ธุรกิจสามารถดำเนินการวางกลยุทธNแบ8งออกเปDน 4 ประเภท (อาทิตยN
หงสN ช ิ นธากุ ล, 2562) ซึ ่ งได: แก8 1) SO เปD นการนำข: อมู ลจากการประเมิ นสภาพแวดล: อมที ่ เปD นจุ ดแข็ ง
(Strengths) และ โอกาส (Opportunity) มาประเมินร8วมกัน โดยใช:จุดแข็งสร:างข:อได:เปรียบ และใช:โอกาส ซึ่ง
สามารถกำหนดเปDนกลยุทธNเชิงรุก (SO Strategy) เช8น ธุรกิจที่มีฐานะทางการเงินมั่นคง สินค:ามีคุณภาพ
เปDนผลิตภัณฑNที่ได:รับการยอมรับโดยทั่วไป และมีโอกาสทางการตลาดจึงขยายสาขาให:เพิ่มมากขึ้น เปDนต:น
28

2) STเปDนการนำข:อมูลจากการประเมินสภาพแวดล:อมที่เปDนจุดแข็ง (Strengths) และอุปสรรค (Threat)


มาประเมินร8วมกัน โดยใช:จุดแข็งนี้เพื่อขจัด และเอาชนะอุปสรรค ทางการแข8งขัน สามารถกำหนดเปDนกล
ยุทธNเชิงปšองกัน (ST Strategy) เช8น ธุรกิจที่มีฐานะทางการเงินมั่นคง สินค:ามีคุณภาพและเปDนผลิตภัณฑNที่
ได:รับการยอมรับโดยทั่วไป แต8ความต:องการของตลาดมีน:อย กำหนดกลยุทธN โดยใช:กลยุทธNการตลาดมุ8ง
เฉพาะส8วน (Niche Market) สำหรับผู:บริหาร เปDนต:น
นอกจากนั้น การผสมผสานของ 3) WO เปDนการนำข:อมูลจากการประเมินสภาพแวดล:อมที่เปDน
จุดอ8อน (Weaknesses) และโอกาส (Opportunity) มาประเมินร8วมกัน โดยกำจัดจุดอ8อนและแสวงหาโอกาส
ซึ่งสามารถกำหนดเปDนกลยุทธNเชิงแก:ไข (WO Strategy) เช8น แม:ธุรกิจที่มีฐานะทางการเงินมั่นคง สินค:ามี
คุณภาพและเปDนผลิตภัณฑNที่ได:รับการยอมรับโดยทั่วไป แต8ธุรกิจมีบุคลากรไม8เพียงพอและสถานที่จอดรถคับ
แคบในการให:บริการ หรือไม8ได:มีการกำหนดกลยุทธNในการจัดส8งสินค:าหรือผลิตภัณฑNผ8านช8องทางจากแอป
พลิเคชันอื่นๆ ที่คู8แข8งอาจมีไว:ใช:บริการเพื่อความสะดวกแก8ผู:บริโภค และไม8จำเปDนต:องใช:บุคลากรมากมาย
เนื่องจากสถานการณNโควิด-19 ผู:บริโภคจึงหันมาสั่งซื้อผลิตภัณฑNหรือการบริการผ8านช8องทางจากแอปพลิเคชัน
แทน ทั้งนี้ผู:บริหารธุรกิจจึงต:องกำหนดกลยุทธN โดยเพิ่มการให:บริการจากช8องทางจากแอปพลิเคชันหรือ
ออนไลนNเหล8านี้ เพื่อเปDนการช8วยเหลือและให:ความสะดวกแก8ผู:บริโภคได:มากยิ่งขึ้น เปDนต:น และ 4) WT เปDน
การนำข:อมูลจากการประเมินสภาพแวดล:อมที่เปDนจุดอ8อน (Weaknesses) และอุปสรรค (Threat) มาประเมิน
ร8วมกัน โดยกำจัดจุดอ8อนและอุปสรรค โดยสามารถกำหนดเปDนกลยุทธNเชิงรับ (WT Strategy) เช8น ธุรกิจมี
บุคลากรไม8เพียงพอและสถานที่จอดรถคับแคบในการให:บริการ และอุปสรรคภายนอก อันเกิดจากการแพร8
ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 และผู:บริโภคจึงหันมาสั่งซื้อผลิตภัณฑNหรือการบริการผ8านช8องทางจาก
แอปพลิเคชัน หรือช8องทางออนไลนNแทน ทั้งนี้ผู:บริหารธุรกิจจึงสมัครเข:าร8วมโครงการต8าง ๆ หรือเข:าร8วม
บริษัทอื่น ๆ ที่ให:การบริการในการจัดส8งสินค:า หรือผลิตภัณฑNเช8น GRAB หรือ Line Man เปDนต:น
ทั้งนี้ Lee Digital Marketer (2015) ยังได:กล8าวว8า เครื่องมือ TOWS Matrix ยังเปDนการนำ
ข:อมูลจากการทำ SWOT Analysis มาวิเคราะหNต8อในรูปแบบต8างๆ อย8างละเอียด แต8หากผู:บริหารธุรกิจ
ไม8สามารถวิเคราะหNกลยุทธNเหล8านี้อย8างละเอียดแล:ว อาจทำให:การกำหนดกลยุทธNบน TOWS Matrix
ไม8ได:ผลลัพธNที่ดี หรือเกิดเปDนกลยุทธNที่นำไปใช:แล:วไม8เกิดประโยชนNในการสร:างความได:เปรียบทางการ
แข8งขันนั่นเอง เนื่องจาก กลยุทธNบน TOWS Matrix มี 4 ประเภท ได:แก8 1) กลยุทธNเชิงรุก (SO Strategy) เปDน
การสร:างกลยุทธNที่เกิดจากการประยุกตNใช:จุดแข็งที่มีขององคNกรเก็บเกี่ยวประโยชนNจากโอกาสที่เกิดขึ้น
เช8น องคNกรมีเทคโนโลยีในการผลิตอาหารสำเร็จรูปที่ทันสมัย ในราคาต:นทุนที่ต่ำ ผู:บริหารสามารถใช:จุด
แข็งดังกล8าวในการให:บริการรับผลิตอาหารสำเร็จรูปแบรนดNอื่นๆ 2) กลยุทธNเชิงปšองก:น (ST Strategy)
สร:างกลยุทธNที่ใช:จุดแข็งที่มีขององคNกรเปDนการปšองกันการคุกคามที่มีผลกระทบต8อองคNกร เช8น ธุรกิจมีจุด
29

แข็งในด:านสินค:าที่มีคุณภาพและได:มาตรฐานที่ดีอย8างกว:างขวางและเปDนที่ยอมรับของลูกค:า ผู:บริหาร
สามารถนำจุดแข็งนี้มาใช:เปDนกลยุทธN เพื่อบรรเทาภัยคุกคามจากการตีตลาดของสินค:าคู8แข8งที่เกิดจากการ
เปLดการค:าเสรีนั่นเอง สำหรับ 3) กลยุทธNเชิงแก:ไข (WO Strategy) เปDนการสร:างกลยุทธNที่นำเอาโอกาสที่
เกิดขึ้น มาลบจุดอ8อนขององคNกร เช8น องคNกรธุรกิจที่มีเครือข8ายอยู8หลายพื้นที่ และมีระบบการทำงานที่
ต:องผ8านการอนุมัติหลายขั้นตอน ผู:บริหารก็สามารถนำโอกาสที่มาจากเติบโตของเทคโนโลยีอินเตอรNเน็ต
มาช8วยลดขั้นตอนการทำงานให:สั้นลงเพื่อให:เกิดความรวดเร็วในการดำเนินการต8อไปในอนาคตขององคNกรธุรกิจ
ได: และ 4) กลยุทธNเชิงรับ (WT Strategy) เปDนการสร:างกลยุทธNที่จะหลีกเลี่ยงภัยคุกคามที่มีผลกระทบต8อ
องคNกร โดยทั่วไปมักจะเลือกวิธีการหลีกเลี่ยง โดยการหาพันธมิตรที่มีจุดแข็งในส8วนที่เราไม8มี เพื่อเปDนการ
ลดการลงทุน หรือลดต:นทุน และลดการใช:จ8ายต8างๆ และเลิกการผลิตหรือเลิกการให:บริการ หากผู:บริหาร
พิจารณาหรือประเมินได:ว8า ธุรกิจขององคNกรไม8สามารถดำเนินการต8อไปหรือไปไม8รอด ในการวิเคราะหNหา
กลยุทธNต8างๆ ด:วยเครื่องมือ TOWS Matrix อาจต:องใช:การระดมความคิดเห็น และประสบการณNต8าง ๆ
เพื่อให:ได:กลยุทธNที่หลากหลายก8อน แล:วทำการคัดกรองกลยุทธNที่เปDนประโยชนNต8อการสร:างความได:เปรียบ
ทางการแข8งขันนั่นเอง
จากการอธิบายและการจับคู8กลยุทธNข:างต:น สรุปได:ว8า ก8อนการดำเนินธุรกิจประเภทใดก็ตาม
ผู:บริหารควรวิเคราะหNอันดับแรกคือ สภาพแวดล:อมทางธุรกิจ ที่เปDนไปอย8างมีขั้นตอน โดยจะต:อง
วิเคราะหNสภาพแวดล:อมภายในองคNกรธุรกิจที่สามารถควบคุมได:ก8อน เช8น โครงสร:างองคNกร เจ:าของและผู:
ถือหุ:น ความรู:และความสามารถหลักขององคNกร เปDนต:น หลังจากนั้นจึงวิเคราะหNสภาพแวดล:อมภายนอก
ที่ผู:บริหารไม8สามารถควบคุมได: เช8น สภาพเศรษฐกิจ การเมือง สังคม เทคโนโลยี และโรคระบาดโควิด-19
เปDนต:น แล:วจึงนำข:อมูลทั้งหมดมาวิเคราะหNความสัมพันธNแบบเมตริกซN หรือจับคู8 โดยใช:ตารางที่เรียกว8า TOWS
Matrix ประกอบด:วยกลยุทธNเชิงรุก กลยุทธNเชิงปšองกัน กลยุทธNเชิงแก:ไข และกลยุทธNเชิงรับ เพื่อนำมาใช:เปDน
แผนธุรกิจที่เหมาะสมต8อไป กลยุทธNเหล8านี้ ยังมีความสอดคล:องกับการวิจัยเรื่องนี้ เพราะจะเปDนการ
สะท:อนสภาพปfญหาและสภาพแวดล:อมทางธุรกิจของสายการบินไทยแอรNเอเชียโดยเฉพาะการเพิ่ม
ยอดขายสินค:าของที่ระลึกในช8องทางจำหน8ายบนเที่ยวบินได:เปDนอย8างดี

2.4.3 แนวคิดและทฤษฎีกMางปลา (Cause and Effect Diagram)


ทฤษฎีก:างปลาหรือเรียกเปDนทางการว8า แผนผังสาเหตุและผล (Cause and Effect Diagram)
แผนผังสาเหตุและผลเปDนแผนผังที่แสดงถึงความสัมพันธNระหว8างปfญหา (Problem) กับสาเหตุทั้งหมดที่
เปDนไปได:ที่อาจก8อให:เกิดปfญหานั้น (Possible Cause) เราอาจคุ:นเคยกับแผนผังสาเหตุและผล ในชื่อของ
ผังก:างปลา (Fish Bone Diagram) เนื่องจากหน:าตาแผนภูมิมีลักษณะคล:ายปลาที่เหลือแต8ก:าง หรือ
30

หลายๆ คนอาจรู:จักในชื่อของแผนผัง Ishikawa Diagram ซึ่งได:รับการพัฒนาครั้งแรกเมื่อปE ค.ศ. 1943


โดย ศาสตราจารยNคาโอรุ อิชิกาว8า แห8งมหาวิทยาลัยโตเกียว โดยมีการใช:แผนผังก:างปลาเมื่อต:องการ
ค:นหาสาเหตุแห8งปfญหาหรือเมื่อต:องการทำการศึกษา ทำความเข:าใจ หรือทำความรู:จักกับกระบวนการอื่น ๆ
เนื่องด:วยโดยส8วนใหญ8พนักงานจะรู:ปfญหาเฉพาะในพื้นที่ของตนเท8านั้น แต8เมื่อมีการทำผังก:างปลาแล:ว จะ
ทำให:เราสามารถรู:กระบวนการของแผนกอื่นได:ง8ายขึ้น และใช:เมื่อต:องการให:เปDนแนวทางในการระดม
สมอง ซึ่งจะช8วยให:ทุกๆ คนให:ความสนใจในปfญหาของกลุ8มซึ่งแสดงไว:ที่หัวปลา
อย8างไรก็ดี วิธีการสร:างแผนผังสาเหตุและผล หรือผังก:างปลาต:องทำเปDนทีม เปDนกลุ8ม โดยมี
ขั้นตอนคือ การกำหนดประโยคปfญหาที่หัวปลา กำหนดกลุ8มปfจจัยที่จะทำให:เกิดปfญหานั้น ๆ ระดมสมอง
เพื่อหาสาเหตุในแต8ละปfจจัย หาสาเหตุหลักของปfญหา จัดลำดับความสำคัญของสาเหตุ และใช:แนว
ทางการปรับปรุงที่จำเปDน โดยเฉพาะในการกำหนดหัวข:อปfญหาควรกำหนดให:ชัดเจนและมีความเปDนไปได:
ตั้งแต8การเริ่มต:น จะลดปfญหาในการค:นหา สาเหตุ และจะใช:เวลาไม8มากในการทำผังก:างปลาในการ
กำหนดปfญหาที่หัวปลา แต8หากผิดพลาดตั้งแต8เริ่มต:น อาจเกิดผลเสีย เช8น อัตราชั่วโมงการทำงานของคน
ที่ไม8มีประสิทธิภาพ หรืออัตราต:นทุนต8อสินค:าหนึ่งชิ้น เปDนต:น ฉะนั้นทำให:ทราบว8า ผู:บริหารควรกำหนด
หัวข:อปfญหาในเชิงลบ และเทคนิคการระดมความคิดเพื่อจะได:ก:างปลาที่ละเอียดสวยงาม ซึ่งก็คือ การตั้ง
คำถามว8า ทำไม ทำไม ทำไม ในการเขียนแต8ละก:างย8อยๆ
ทั้งนี้ ผู:บริหารธุรกิจสามารถกำหนดกลุ8มปfจจัยต8างๆที่หลากหลาย แต8ต:องมั่นใจว8ากลุ8มที่กำหนด
ไว:เปDนปfจจัยสามารถช8วยให:แยกแยะและกำหนดสาเหตุต8างๆ ได:อย8างเปDนระบบ โดยใช:หลักการ 4M 1E
เปDนกลุ8มปfจจัย (Factors) เพื่อจะนำไปสู8การแยกแยะสาเหตุต8างๆ ซึ่ง 4M และ 1E นี้มาจาก M - Man
คนงาน หรือพนักงาน หรือ บุคลากร M - Machine เครื่องจักรหรืออุปกรณNอำนวยความสะดวก M -
Material วัตถุดิบหรือ อะไหล8อุปกรณNอื่นๆ ที่ใช:ในกระบวนการ M - Method กระบวนการทำงาน E -
Environment สถานที ่ อากาศ ความสว8 า ง และบรรยากาศการทำงาน แต8 ก ารกำหนดก: า งปลาไม8
จำเปDนต:องใช: 4M และ 1E เสมอไป เพราะหากธุรกิจไม8ได:อยู8ในกระบวนการผลิต ปfจจัยนำเข:า (Input) ใน
กระบวนการก็ จะเปลี ่ ยนไป เช8 น ปf จจั ยการนำเข: าเปD น 4P ได: แก8 Place, Procedure, People และ
Policy หรื อ เปD น 4S Surrounding, Supplier, System และ Skill ก็ ไ ด: หรื อ อาจจะเปD น MILK :
Management, Information, Leadership, Knowledge เปD น ต: น แต8 ห ากกลุ 8 ม ที ่ ใ ช: ก : า งปลามี
ประสบการณNในปfญหาที่เกิดขึ้นมาก8อนแล:ว ยังสามารถกำหนดกลุ8มปfจจัยใหม8ให:เหมาะสมกับปfญหาตั้งแต8
แรกได: ดังภาพที่ 2.3 ต8อไปนี้
31

ภาพที่ 2.4 ตัวอย8างแผนผังก:างปลา (วรวุฒิ บุญมาพบ, 2557)

จากภาพที่ 2.3 ข:างต:น สรุปได:ว8า เริ่มจากส8วนปfญหาหรือผลลัพธN (Problem or Effect) จะแสดง


อยู8ที่หัวปลา ส8วนสาเหตุ (Causes) จะสามารถแยกย8อยออกได:อีกเปDนปfจจัย (Factors) ที่ส8งผลกระทบต8อ
ปfญหา (หัวปลา) ที่มีทั้งสาเหตุหลัก และสาเหตุย8อย แต8สำหรับสาเหตุของปfญหา จะเขียนไว:ในก:างปลาแต8ละ
ก:าง ก:างย8อยเปDนสาเหตุของก:างรองและก:างรองเปDนสาเหตุของก:างหลัก เปDนต:น หลักการเบื้องต:นของแผนภูมิ
ก:างปลา (Fishbone Diagram) คือการใส8ชื่อของปfญหาที่ต:องการวิเคราะหN ลงทางด:านขวาสุดหรือซ:ายสุดของ
แผนภูมิ โดยมีเส:นหลักตามแนวยาวของกระดูกสันหลัง จากนั้นใส8ชื่อของปfญหาย8อย ซึ่งเปDนสาเหตุของปfญหา
หลัก 3 - 6 หัวข:อ โดยลากเปDนเส:นก:างปลา (Sub-Bone) ทำมุมเฉียงจากเส:นหลัก เส:นก:างปลาแต8ละเส:นให:ใส8
ชื่อของสิ่งที่ทำให:เกิดปfญหานั้นขึ้นมา ระดับของปfญหาสามารถแบ8งย8อยลงไปได:อีก ถ:าปfญหานั้นยังมีสาเหตุที่
เปDนองคNประกอบย8อยลงไปอีก โดยทั่วไปมักจะมีการแบ8งระดับของสาเหตุย8อยลงไปมากที่สุด 4 – 5 ระดับ เมื่อ
มีข:อมูลในแผนภูมิที่สมบูรณNแล:ว จะทำให:มองเห็นภาพขององคNประกอบทั้งหมด ที่จะเปDนสาเหตุของปfญหาที่
เกิดขึ้น
32

จากความคิดเห็นเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิธีการหาสาเหตุที่แท:จริง (Root Cause) โดยวรวุฒิ บุญมาพบ


(2557) ได:กล8าวว8า วิธีการหาสาเหตุที่แท:จริง (Root Cause) ของปfญหาในระดับรายละเอียด ก8อนที่เราจะใช:
ไดอะแกรมนี้ก็ต:องทราบปfญหาที่เกิดขึ้นก8อน ซึ่งจะได:มาจากการรวบรวมข:อมูลจัดเรียงข:อมูลโดยเลือกปfญหาที่
เกิดขึ้นมากที่สุดมาแก:ไขก8อน แล:วมาระดมความคิด จากผู:ที่เกี่ยวข:องกับปfญหานี้ค8อยๆ ระบุสาเหตุที่อาจทำให:
เกิดปfญหา เมื่อทำเสร็จออกมาแล:วแผนผังจะมีลักษณะคล:ายกับก:างปลา ทั้งนี้ ประโยชนNของการใช:ผังก:างปลา
ยังสามารถใช:เปDนเครื่องมือระดมความคิดจากสมองทุกคน ที่แสดงให:เห็นถึงสาเหตุของปfญหา ของผลที่เกิด
ขึ้นมาที่มาอย8างต8อเนื่อง จนถึงปมสำคัญที่จะนำไปปรับปรุงแก:ไข และแผนผังก:างปลานี้สามารถนำไปใช:ในการ
วิเคราะหNปfญหาต8างๆ ได:มากมาย ทั้งในหน:าที่การงานสังคม แม:กระทั่งชีวิตประจำวัน แต8ยังมีข:อเสียของการใช:
ผังก:างปลาซึ่งก็คือ ความคิดไม8เปDนอิสระเนื่องจากมีแผนภูมิก:างปลาเปDนตัวกำหนดซึ่งมี ความคิดของผู:ระดม
ความคิดจะมารวมอยู8ที่แผนภูมิก:างปลา ที่ต:องอาศัยผู:ที่มีความสามารถสูง จึงจะสามารถใช:แผนภูมิก:างปลาใน
การระดมความคิดได: ผังก:างปลาหรือผังแสดงเหตุและผล ประกอบด:วย 2 ส8วน คือ ส8วนโครงกระดูกที่เปDนตัว
ปลาซึ่งรวบรวมปfจจัย อันเปDนสาเหตุของปfญหา และส8วนหัวปลา ที่เปDนที่สรุปของสาเหตุที่กลายเปDนตัวปfญหา
จากแนวคิดและทฤษฎีก:างปลา (Cause and Effect Diagram) ข:างต:น ผู:วิจัยสรุปได:ว8า ทฤษฎี
ก:างปลาหรือ แผนผังสาเหตุและผล เปDนแผนผังที่แสดงถึงความสัมพันธNระหว8างปfญหากับสาเหตุทั้งหมดที่
เปDนไปได:ที่อาจก8อให:เกิดปfญหานั้น แต8ต:องทำเปDนทีมหรือกลุ8ม จึงจะสามารถประสบผลสำเร็จได:อย8างมี
ประสิทธิผล เนื่องจากธุรกิจสามารถค:นหาสาเหตุแห8งปfญหา เนื่องจากส8วนใหญ8พนักงานจะรู:ปfญหาเฉพาะ
ในพื้นที่เพียงเท8านั้น แต8เมื่อมีการทำผังก:างปลาแล:ว จะทำให:ผู:บริหารธุรกิจสามารถรู:กระบวนการของ
แผนกอื่นได:ง8ายขึ้น และเมื่อต:องการให:เปDนแนวทางในการระดมสมอง ซึ่งจะช8วยให:ทุกๆ คนให:ความ
สนใจในปfญหาของกลุ8มซึ่งแสดงไว:ที่หัวปลานั่นเอง แต8หากผู:บริหารธุรกิจ ทราบเทคนิคการระดมความคิด
เพื่อจะได:ก:างปลาที่ละเอียดสวยงามแล:วนั้น ผู:บริหารธุรกิจควรตั้งคำถามว8า ทำไม ในการเขียนแต8ละก:าง
ย8อยๆ ไปตามลำดับ
33

2.6 งานวิจัยที่เกี่ยวขMอง
วารุณี ชายวิริยางกูร (2563) ได:ศึกษาเรื่อง ความสัมพันธNระหว8างสภาพคล8องและความสามารถ
การทำกำไร ของธนาคารพาณิชยNในประเทศไทย ใช:ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณจากการศึกษาข:อมูลทุติย
ภูมิ ซึ่งประชากร คือ ธนาคารพาณิชยNในประเทศไทย ได:แก8 ธนาคารพาณิชยNที่จดทะเบียนในประเทศ
จำนวน 14 ธนาคาร ธนาคารเพื่อรายย8อย จำนวน 1 ธนาคาร ธนาคารพาณิชยNที่เปDนบริษัทลูกของธนาคาร
ต8างประเทศ จำนวน 4 ธนาคาร และธนาคารที่เปDนสาขาของธนาคารต8างประเทศ จำนวน 11 ธนาคาร
รวมทั้งหมด 30 ธนาคาร การเลือกกลุ8มตัวอย8างเลือกเฉพาะธนาคารพาณิชยNที่จดทะเบียนในประเทศไทย
เนื่องจากมีบทบาทและความสำคัญต8อระบบเศรษฐกิจของประเทศและเปDนที่สนใจของนักลงทุน จำนวน
14 ธนาคาร ใช:ข:อมูลจากรายงานประจำปE ตั้งแต8ปE 2554–2562 จำนวน 9 ปE เปDนข:อมูลแบบ Panel
data จำนวน 126 ตัวอย8าง ทำการศึกษาโดยใช:สมการเชิงถดถอย (Multiple linear regressions) วิธี
Ordinary least squares: OLS ผลการศึกษา พบว8า ธนาคารพาณิชยNส8วนใหญ8มีสภาพคล8องที่ดี (ค8าเฉลี่ย
LAD เท8ากับ 25.43%) แสดงถึงความสามารถการจ8ายคืนหนี้ระยะสั้นและเงินฝากได: ส8วนความสามารถ
การทำกำไรของธนาคารพาณิชยNส8วนใหญ8ถือได:ว8าอยู8ในระดับต่ำ (ค8า R2 เท8ากับ 6.47%) และนอกจากนั้น
ยังพบว8า สภาพคล8องของธนาคารพาณิชยNไม8มีความสัมพันธNกับความสามารถการทำกำไร ที่ระดับ
นัยสำคัญทางสถิติ .05 จากผลการวิจัยสามารถนำไปใช:ประโยชนN ได:แก8 ผู:มีส8วนได:ส8วนเสีย หรือเกี่ยวข:อง
กับธุรกิจการเงินการธนาคารเพื่อวางแผนปรับปรุงการดำเนินงานของธนาคารพาณิชยN และปรับใช:
อัตราส8วนทางการเงินที่เหมาะสมกับการคาดการณNสภาพคล8องและความสามารถการทำกำไรของธนาคาร
พาณิชยN
สรทัต ศรีวิชุพงศN (2563) ได:ศึกษาเรื่อง การบริหารสภาพคล8องส8งผลต8อการเติบโตอย8างมั่นคง
ของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย8อม (SMEs) ในประเทศไทย กลุ8มตัวอย8าง ได:แก8 นักบัญชีของธุรกิจ
ขนาดกลางและขนาดย8 อ มในประเทศไทย สุ 8 ม ตั ว อย8 า งด: ว ยวิ ธ ี ก ารสุ 8 ม อย8 า งง8 า ย เก็ บ ข: อ มู ล ได: 400
แบบสอบถาม วิเคราะหNข:อมูลจากแบบสอบถาม ผู:วิจัยนำข:อมูลมาวิเคราะหNโดยหาค8าร:อยละ ค8าเฉลี่ย
และส8วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยใช:โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติและใช:วิธีทางสถิติเชิงพรรณนา สถิติเชิง
อนุมานสำหรับการทดสอบสมมติฐานในการตีความและนำเสนอ ผลการวิจัย พบว8า นักบัญชีของธุรกิจ
SME ในประเทศไทย ส8วนใหญ8เปDนเพศหญิง อายุระหว8าง 30-35 ปE จบการศึกษาระดับปริญญาตรีและมี
ประสบการณNการทำงาน 6-10 ปE การบริหารสภาพคล8องและการบริหารเงินทุนหมุนเวียนที่ส8งผลต8อการ
เติบโตของธุรกิจในระดับสูง ซึ่งการบริหารสภาพคล8อง การบริหารเงินสด และการบริหารเงินทุนหมุนเวียน
ส8งผลต8อการเติบโตของธุรกิจ อย8างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 พบว8าเปDนไปตามสมมติฐานและ
วัตถุประสงคNของการวิจัย และใช:เปDนแนวทางในการวางแผนและดำเนินธุรกิจเพื่อให:ธุรกิจมีสภาพคล8องใน
34

การบริหารเงินสด การบริหารเงินทุนหมุนเวียน อันจะส8งผลต8อการเติบโตของธุรกิจในด:านกำไรสุทธิและมี


สภาพคล8องเพียงพอทำให:การดำเนินธุรกิจเปDนไปอย8าง ได:อย8างมีประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถใช:ในการ
วางแผนการดำเนินธุรกิจเพื่อให:ธุรกิจพร:อมรับมือกับสภาวะเศรษฐกิจที่ผันผวนได:ในปfจจุบัน
ศุภเจตนN จันทรNสาสNน (2565) ได:ศึกษาเรื่อง ความสัมพันธNระหว8างสภาพคล8องและความสามารถ
ในการทำกำไรของธุรกิจโรงแรมที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยNแห8งประเทศไทย งานวิจัยเรื่องนี้มี
วัตถุประสงคNเพื่อทำการวิเคราะหNความสัมพันธNระหว8างสภาพคล8องและความสามารถในการทำกำไรของ
ธุรกิจโรงแรมที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยNแห8งประเทศไทยจำนวน 9 แห8ง ระหว8างปEพ.ศ. 2543-2562
โดยอาศัยการวิเคราะหN Fixed Effects Regression และ Random Effects Regression สภาพคล8องใน
งานวิจัยเรื่องนี้วัดโดยอัตราส8วนทางการเงิน 2 ตัว ได:แก8 อัตราส8วนเงินทุนหมุนเวียนและอัตราส8วนเงินทุน
หมุนเวียนเร็ว ในขณะที่ความสามารถในการทำกำไรวัดโดยอัตราส8วนทางการเงิน 2 ตัว ได:แก8 อัตรา
ผลตอบแทนต8อสินทรัพยNรวมและอัตรากำไรสุทธิ จากการศึกษาพบว8า ทั้งอัตราส8วนเงินทุนหมุนเวียนและ
อัตราส8วนเงินทุนหมุนเวียนเร็วมีความสัมพันธNในเชิงบวกกับอัตราผลตอบแทนต8อสินทรัพยNรวม โดยหาก
อัตราส8วนเงินทุนหมุนเวียนและอัตราส8วนเงินทุนหมุนเวียนเร็วสูงขึ้น 1 เท8า จะทำให:อัตราผลตอบแทนต8อ
สินทรัพยNรวมของธุรกิจโรงแรมที่ทำการศึกษาสูงขึ้นร:อยละ 1.305 และ 1.301 ตามลำดับ ในขณะที่ทั้ง
อัตราส8วนเงินทุนหมุนเวียนและอัตราส8วนเงินทุนหมุนเวียนเร็วไม8มีความสัมพันธNกับอัตรากำไรสุทธิแต8
อย8างใด อย8างไรก็ตาม สามารถสรุปได:ว8า สภาพคล8องและความสามารถในการทำกำไรมีความสัมพันธNกัน
ในเชิงบวก ดังนั้นการบริหารสภาพคล8องที่เหมาะสมจะช8วยให:กิจการมีความสามารถในการทำกำไรสูงขึ้น
ได:
มาติมา ครองเต็น (2565) ได:ศึกษาเรื่อง การบริหารความเสี่ยง การควบคุมภายใน และการ
ตรวจสอบภายใน เรื่อง การลดความเสี่ยงด:านสภาพคล8อง ผลการดำเนินงานของบริษัท และมูลค8าของ
บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยNแห8งประเทศไทย กลุ8มตัวอย8างเปDนบริษัทจดทะเบียนในตลาด
หลักทรัพยNแห8งประเทศไทย จำนวน 425 บริษัท วิเคราะหNข:อมูลโดยใช:สถิติเชิงพรรณนา ผลการวิจัย
ระดับความคิดเห็นของการบริหารความเสี่ยงโดยรวม และการบริหารความเสี่ยงด:านการเงิน กลยุทธN การ
ปฏิบัติการ และตลาด การควบคุมภายในโดยรวม และการควบคุมภายในในสภาพแวดล:อมการควบคุม
กิจกรรมการควบคุมและการตรวจสอบภายในโดยรวม และ การตรวจสอบภายใน การตรวจสอบทาง
การเงิน การบัญชี และการตรวจสอบการปฏิบัติตามกฎระเบียบ ส8งผลต8อความเสี่ยงด:านสภาพคล8องที่
ลดลง ในส8วนของเงินทุนหมุนเวียน ผลประกอบการของบริษัทในแง8ของผลตอบแทนต8อส8วนของผู:ถือหุ:น
Tobin's Q และมูลค8าเพิ่มทางเศรษฐกิจล:วนอยู8ในระดับสูง ดังนั้นผู:บริหารจึงสามารถนำผลการวิจัยไป
ปรับแผนการบริหารความเสี่ยงได: การควบคุมภายในและการตรวจสอบภายในให:เหมาะสม เพียงพอและ
35

สอดคล:องกับนโยบาย เปšาหมาย และพันธกิจของบริษัท รวมทั้ง ให:ความสำคัญกับการกำกับดูแล ติดตาม


และประเมินผลอย8างต8อเนื่องเพื่อลดความเสี่ยงด:านสภาพคล8อง ส8งผลต8อผลประกอบการและสามารถ
สร:างมูลค8าเพิ่มของธุรกิจได:อย8างต8อเนื่องและยั่งยืน ผู:บริหารสามารถนำผลการวิจัยไปปรับแผนการบริหาร
ความเสี่ยงได: การควบคุมภายในและการตรวจสอบภายในให:เหมาะสม เพียงพอและสอดคล:องกับ
นโยบาย เปšาหมาย และพันธกิจของบริษัท รวมทั้ง ให:ความสำคัญกับการกำกับดูแล ติดตาม และ
ประเมินผลอย8างต8อเนื่องเพื่อลดความเสี่ยงด:านสภาพคล8อง ส8งผลต8อผลประกอบการและสามารถสร:าง
มูลค8าเพิ่มของธุรกิจได:อย8างต8อเนื่องและยั่งยืน ผู:บริหารสามารถนำผลการวิจัยไปปรับแผนการบริหาร
ความเสี่ยงได: การควบคุมภายในและการตรวจสอบภายในให:เหมาะสม เพียงพอและสอดคล:องกับ
นโยบาย เปšาหมาย และพันธกิจของบริษัท รวมทั้ง ให:ความสำคัญกับการกำกับดูแล ติดตาม และ
ประเมินผลอย8างต8อเนื่องเพื่อลดความเสี่ยงด:านสภาพคล8อง ส8งผลต8อผลประกอบการและสามารถสร:าง
มูลค8าเพิ่มของธุรกิจได:อย8างต8อเนื่องและยั่งยืน
ณัฐวุฒิ รัตนะ (2565) ได:ศึกษาเรื่อง ปfจจัยที่มีผลต8อความสามารถในการทำกำไรของบริษัทจด
ทะเบี ยนในตลาดหลั กทรั พยN แห8 งประเทศไทย อุ ตสาหกรรมบริ การ ธุ รกิ จโรงแรม การวิ จั ยครั ้ งนี ้ มี
วัตถุประสงคNเพื่อศึกษาปfจจัยที่มีอิทธิพลและส8งผลต8อความสามารถในการทำกำไรของบริษัทจดทะเบียน
ในตลาดหลั ก ทรั พ ยN แ ห8 ง ประเทศไทยในอุ ต สาหกรรมบริ ก ารและธุ ร กิ จ โรงแรม ปf จ จั ย ที ่ ส 8 ง ผลต8 อ
ความสามารถในการทำกำไร ได:แก8 อัตราการเติบโตของยอดขาย ประสิทธิภาพการดำเนินงาน สภาพ
คล8องทางการเงิน ระดับความเสี่ยงทางการเงิน และการจัดการสินค:าคงคลังการวิจัยนี้เปDนวิธีการรวบรวม
ข:อมูลทุติยภูมิ จากเว็บไซตNตลาดหลักทรัพยNแห8งประเทศไทย, กลุ8มอุตสาหกรรมบริการในหมวดการ
ท8 อ งเที ่ ย วและสั น ทนาการ, ธุ ร กิ จ โรงแรม. ระยะเวลาดำเนิ น งานตั ้ ง แต8 ป E 2561 – 2563 รวม 3 ปE
ประกอบด:วยรายงานทางการเงินประจำปE งบแสดงฐานะการเงิน งบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ และหมายเหตุ
ประกอบงบการเงิน รวม 10 กิจการ ได:ข:อมูลที่ใช:วิเคราะหNรวม 30 ปE เปDนประจำทุกปE บริษัทใช:สูตรตรา
สารทางการเงิน สถิติเชิงพรรณนาและเชิงอนุมานในการวิเคราะหNข:อมูล ผลการวิจัยพบว8าอัตราการเติบโต
ของยอดขาย ประสิทธิภาพการดำเนินงาน และสภาพคล8องทางการเงินมีอิทธิพลและส8งผลต8ออัตรา
ผลตอบแทนต8อสินทรัพยN แต8ไม8มีผลต8ออัตราผลตอบแทนต8อส8วนของผู:ถือหุ:น ระดับความเสี่ยงทางการเงิน
การจัดการสินค:าคงคลัง และอัตราการเติบโตของยอดขายไม8มีผลกระทบต8อความสามารถในการทำกำไร
36

2.7 กรอบแนวคิดในการวิจัย

ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม

ขMอมูลทั่วไปปjจจัยทางประชากรศาสตร-
- เพศ
- อายุ
- ระดับการศึกษา
- อายุของกิจการ การจัดการเงินที่มีประสิทธิภาพ
- จำนวนพนักงานในกิจการ - การวางแผนทางการเงิน
- ลักษณะการดำเนินงาน - การตัดสินใจในการจัดหาเงินของ
กิจการ
- การตัดสินใจด:านการจัดสรร
เงินทุน
ขMอมูลปjญหาดMานการจัดการเงิน
- ปfญหาด:านการวางแผนการเงิน
- ปfญหาด:านการจัดหาเงินทุน
- ปfญหาด:านจัดสรรเงินทุน
- ปfญหาด:านการควบคุมทางการเงิน
37

บทที่ 3
ระเบียบวิธีการศึกษา

งานวิจัยเรื่อง แนวทางการแก:ปfญหาการขาดสภาพคล8องและการเพิ่มกำไรทางการเงินของบริษัท
ที เ อ็ ม เอ็ ม จำกั ด วิ ธ ี ใ นการดำเนิ น งานวิ จ ั ย เปD น การวิ จ ั ย แบบผสมผสาน (Mixed Method) อั น
ประกอบด: ว ยการวิ จ ั ย แบบเชิ ง คุ ณ ภาพ (Qualitative Research) และเชิ ง ปริ ม าณ (Quantitative
Research) โดยอ:างอิงจากแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข:องมาประกอบการศึกษาผ8านเครื่องมือที่ใช:
ในการศึกษา คือการสัมภาษณNเชิงลึก (In - Depth Interview) และแบบสอบถาม (Questionnaire)
เพื่อให:การทำวิจัยครั้งนี้ได:คำตอบตามวัตถุประสงคNของการทำวิจัย และได:ดำเนินการศึกษาตามระเบียบ
วิจัย โดยมีรายละเอียดดังนี้

3.1 วิธีการเก็บขMอมูลในการศึกษา
3.1.1 การเก็บขMอมูลเชิงคุณภาพแบบปฐมภูมิ
ผู:วิจัยได:ทำการเก็บรวบรวมข:อมูลปฐมภูมิ (Primary Source) ด:วยการใช:เครื่องมือสัมภาษณNเชิงลึก (In -
Depth Interview) ของผู:บริหารบริษัท ทีเอ็มเอ็ม จำกัด จำนวน 3 ท8าน และผู:บริหารฝ•ายบัญชีและการเงินบริษัท ที
เอ็มเอ็ม จำกัด จำนวน 5 ท8าน ซึ่งเปDนบุคคลอันเกี่ยวเนื่องกับการบริหารสภาพคล8องและการเพิ่มกำไรทาง
การเงินของบริษัท
3.1.2 การเก็บขMอมูลเชิงปริมาณแบบปฐมภูมิ
ผู:วิจัยได:ออกแบบแบบสอบถามไปยังพนักงานบริษัท ทีเอ็มเอ็ม จำกัด จำนวนได: จำนวน 100 คน
3.1.3 การเก็บขMอมูลแบบทุติยภูมิ
ผู:วิจัยได:ทำการค:นคว:าข:อมูลจากแหล8งทุติยภูมิ (Secondary Source) เปDนข:อมูลภายในของ
บริษัท ทีเอ็มเอ็ม จำกัด ได:แก8 ประเภทของสินค:า และรายได:ประจำปEจากการขายสินค:า และข:อมูล
ภายนอกองคNกร โดยศึกษาและค:นคว:าจากผลงานวิจัยที่เกี่ยวข:อง ซึ่งมีผู:ศึกษาได:รวบรวมไว:แล:วในลักษณะ
เอกสารงานวิจัย ตำราทางวิชาการ บทความ วารสาร สิ่งพิมพN เวปไซตNต8าง ๆ เปDนต:น ข:อมูลเหล8านี้เปDน
ประโยชนNต8อการนำไปออกแบบเครื่องมือที่ใช:ในการศึกษางานวิจัย การวิเคราะหNและการสรุปผลให:มี
ความลึกซึ้งยิ่งขึ้น
38

3.2 ประชากรและกลุWมตัวอยWาง
3.2.1 จำนวนประชากรและกลุWมตัวอยWางสำหรับขMอมูลเชิงคุณภาพ
การวิจัยเชิงคุณภาพ ประชากร คือ พนักงานของบริษัท ทีเอ็มเอ็ม จำกัด ซึ่งเปDนบุคคลอัน
เกี่ยวเนื่องกับการบริหารสภาพคล8องและการเพิ่มกำไรทางการเงินของบริษัท การเลือกกลุ8มตัวอย8าง ผู:วิจัย
ได:เลือกสัมภาษณNผู:บริหารของของบริษัท ทีเอ็มเอ็ม จำกัด ผู:เปDนบุคคลสำคัญต8อการดำเนินงาน จำนวน 3
ท8าน และสัมภาษณNผู:บริหารฝ•ายบัญชีและการเงินบริษัท ทีเอ็มเอ็ม จำกัด จำนวน 5 ท8าน โดยพิจารณา
จากการตัดสินใจของผู:วิจัยเอง เปDนวิธีการเลือกกลุ8มตัวอย8างแบบเฉพาะเจาะจง สัมภาษณNรายบุคคล
(Purposive sampling) เปDนการสัมภาษณNเชิงลึก (In-Depth Interview) และนำข:อมูลที่ได:จากการ
สัมภาษณNมาวิเคราะหNสภาพแวดล:อมขององคNกร
3.2.2 จำนวนประชากรและกลุWมตัวอยWางสำหรับขMอมูลเชิงปริมาณ
กลุ8มตัวอย8าง คือ พนักงานบริษัท ทีเอ็มเอ็ม จำกัด จำนวนทั้งสิ้น 100 คน
ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ ผู:วิจัยได:ใช:ขนาดกลุ8มตัวอย8างจำนวน 100 คน เปDนพนักงานของบริษัท
ทีเอ็มเอ็ม จำกัด เก็บข:อมูลโดยใช:แบบสอบถามออนไลนN เนื่องจากสามารถเข:าถึงกลุ8มตัวอย8างได:ง8าย ลด
ระยะเวลาการเก็ บ ข: อ มู ล ซึ ่ ง ผู : ต อบแบบสอบถามเปD น ผู : ก รอกแบบสอบถามด: ว ยตนเอง (Self-
Administered Questionnaire) ใช:วิธีเลือกกลุ8มตัวอย8างประเภทไม8ใช:ความน8าจะเปDน (Non Probability
Sampling) ด:วยวิธีตอบแบบสอบถามแบบสะดวก (Convenience Sampling)

3.3 เครื่องมือที่ใชMในการศึกษาสำหรับขMอมูลเชิงคุณภาพ
เครื ่ อ งมื อ ที ่ ใ ช: ใ นการสั ม ภาษณN เ ชิ ง ลึ ก (In-Depth Interview) คื อ แบบสั ม ภาษณN แ บบมี
โครงสร:างที่สร:างขึ้นมาจากการศึกษาแนวความคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข:องของนักวิจัย และ
นักวิชาการหลายท8าน แบบสัมภาษณNประกอบไปด:วยประเด็นและข:อคำถามที่ยึดตามวัตถุประสงคNของ
การวิจัย เปDนคำถามเกี่ยวกับจุดแข็ง-จุดอ8อน สภาพแวดล:อมโดยรวมภายในและภายนอกอุตสาหกรรมใน
ธุรกิจที่เกี่ยวข:อง เพื่อนำแนวคิดที่ได:ไปวิเคราะหNและสร:างกลยุทธNในการเพิ่มกำไร
3.3.1 ขั้นตอนการสรMางเครื่องมือในการสัมภาษณ-เชิงลึก
หลังจากที่ผู:วิจัยได:การศึกษาแนวความคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข:องมาแล:ว ผู:วิจัยได:
กำหนดขอบเขต เนื้อหาและประเด็นคำถาม เพื่อกำหนดโครงสร:างของแบบสัมภาษณNที่จะนำไปใช:ให:
ชัดเจนและสอดคล:องกับวัตถุประสงคNของการวิจัยในครั้งนี้ จากนั้นนำแบบสอบถามเพื่อการสัมภาษณNเชิง
ลึกไปทดลองใช:กับกลุ8มบุคคลที่มีลักษณะคล:ายกับกลุ8มผู:บริหารและกลุ8มพนักงาน เพื่อตรวจสอบความ
เข:าใจของแต8ละข:อคำถาม เพื่อให:ได:คำถามแบบสัมภาษณNที่สมบูรณNแบบ
39

3.3.2 วิธีการเก็บรวบรวมขMอมูลการสัมภาษณ-เชิงลึก
วิธีการเก็บรวบรวมข:อมูลการสัมภาษณNเชิงลึก เปDนการสัมภาษณNในสภาวะแวดล:อมแบบเปDน
กันเอง เปLดกว:าง มีความยืดหยุ8นสูง ผู:วิจัยมีความประสงคNให:ผู:ถูกสัมภาษณNมีอิสระในการแสดงความ
คิดเห็น และสามารถอธิบายในทุกประเด็นที่ต:องการโดยไม8จำกัดขอบเขตในการสัมภาษณN
3.3.3 กระบวนการสัมภาษณ-
ผู:วิจัยติดต8อผู:ถูกสัมภาษณN และชี้แจงถึงหัวข:องานวิจัย วัตถุประสงคN ประโยชนNที่จะได:รับ และ
ขออนุญาตบันทึกเสียงขณะทำการสัมภาษณN โดยการกำหนด วัน เวลา และสถานที่ในการสัมภาษณNอย8าง
ชั ด เจน ดำเนิ น การสั ม ภาษณN โ ดยใช: ว ิ ธ ี จ ดบั น ทึ ก (Fields Noted) ประกอบการอั ด เสี ย งจากเครื ่ อ ง
บันทึกเสียง ผู:สัมภาษณNให:ข:อมูลสำคัญ (Key Informants) โดยมีการตรวจสอบความถูกต:องของข:อมูลที่
จดบันทึก และทบทวนหัวข:อในการสัมภาษณN หากมีประเด็นที่ยังไม8สมบูรณN ผู:วิจัยจะทำการสัมภาษณN
เพิ่มเติมเพื่อให:ได:ข:อมูลที่ครอบคลุมกับวัตถุประสงคNและระเบียบวิธีวิจัย และทำการถอดเทปผลการ
สัมภาษณNเชิงลึก เพื่อเสริมข:อมูลของผู:วิจัยที่ได:จากการจดบันทึกการสัมภาษณN

3.4 เครื่องมือที่ใชMในการศึกษาสำหรับขMอมูลเชิงปริมาณ
สำหรับเครื่องมือที่ใช:ในการวิจัยในครั้งนี้จะใช:แบบสอบถาม (Questionnaire) เรื่อง แนวทางการ
แก:ปfญหาการขาดสภาพคล8องและการเพิ่มกำไรทางการเงินของบริษัท ทีเอ็มเอ็ม จำกัด โดยมีรายละเอียด
ในการสร:างแบบสอบถาม ดังนี้
3.3.1 ทบทวนวัตถุประสงคNของการวิจัยครั้งนี้
3.3.2 ศึ กษาทฤษฎี แนวคิ ดเอกสาร และงานวิ จั ยที ่ เ กี ่ ยวข: อง เพื ่ อเปD นแนวทางในการสร: าง
แบบสอบถามให:สอดคล:องกับวัตถุประสงคN
3.3.3 สร:างแบบสอบถาม ซึ่งประกอบไปด:วย ปfจจัยทางประชากรศาสตรNของผู:ตอบแบบสอบถาม
ข:อมูลปfญหาด:านการจัดการเงิน ข:อมูลด:านการจัดการเงินของกิจการเมื่อสร:างแบบสอบถามเรียบร:อยแล:ว
จากนั้นนำแบบสอบถามมาเสนอต8ออาจารยNที่ปรึกษา เพื่อตรวจสอบ ปรับปรุงแก:ไขต8อไป
3.3.4 ปรับปรุงแก:ไขตามคำแนะนำของอาจารยNที่ปรึกษา
3.3.5 นำแบบสอบถามที ่ ป รั บ ปรุ ง แก: ไ ขแล: ว นำไปเสนอให: อ าจารยN ท ี ่ ป รึ ก ษาก8 อ นการใช:
แบบสอบถามจริง
3.3.6 นำแบบสอบถามไปใช:กับกลุ8มตัวอย8าง
ซึ่งแบบสอบถามที่ใช:เปDนเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข:อมูล สร:างขึ้นจากการศึกษา
ทฤษฎีแนวคิดเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข:อง โดยแบ8งออกเปDน 3 ส8วน ดังนี้
40

ส8วนที่ 1 ข:อมูลทั่วไปปfจจัยทางประชากรศาสตรNเกี่ยวกับผู:ตอบแบบสอบถาม มีข:อคำถาม ดังนี้


- เพศ
- อายุ
- ระดับการศึกษา
- อายุของกิจการ
- จำนวนพนักงานในกิจการ
- ลักษณะการดำเนินงาน
ส8วนที่ 2 ข:อมูลปfญหาด:านการจัดการเงิน ข:อคำถาม ดังนี้
- ปfญหาด:านการวางแผนการเงิน
- ปfญหาด:านการจัดหาเงินทุน
- ปfญหาด:านจัดสรรเงินทุน
- ปfญหาด:านการควบคุมทางการเงิน
ส8วนที่ 3 ข:อมูลด:านการจัดการเงินของกิจการ
- การวางแผนทางการเงิน
- การตัดสินใจในการจัดหาเงินของกิจการ
- การตัดสินใจด:านการจัดสรรเงินทุน
ลักษณะเปDนมาตราส8วนประมาณค8า (Rating Scale) ของลิเคิรNต (Likert scale) โดยมีเกณฑNการ
ให:คะแนน ดังนี้
5 หมายถึง มีระดับความคิดเห็น เห็นด:วยอย8างยิ่ง
4 หมายถึง มีระดับความคิดเห็น เห็นด:วย
3 หมายถึง มีระดับความคิดเห็น ไม8แน8ใจ
2 หมายถึง มีระดับความคิดเห็น ไม8เห็นด:วย
1 หมายถึง มีระดับความคิดเห็น ไม8เห็นด:วยอย8างยิ่ง
41

ประมาณค8า ( Likert Seale) 5 ระดับโดยใช:พิสัยของช8วงคะแนนวัดและใช:เกณฑNในการวัด


ดังนี้

ค8าพิสัย = ค8าคะแนนสูงสุด – คะแนนต่ำสุด


จำนวนอันดับ
แทนค8า = 5 - 1
5
= 0.8
ได:ค8าพิสัยเท8ากับ 0.8 สามารถจำแนกเกณฑNการแปลผลเปDนดังนี้ คือ
4.21 - 5.00 คะแนน หมายถึง มีระดับความคิดเห็น เห็นด:วยอย8างยิ่ง
3.41 - 4.20 คะแนน หมายถึง มีระดับความคิดเห็น เห็นด:วย
2.61 - 3.40 คะแนน หมายถึง มีระดับความคิดเห็น ไม8แน8ใจ
1.81 - 2.60 คะแนน หมายถึง มีระดับความคิดเห็น ไม8เห็นด:วย
1.00 - 1.80 คะแนน หมายถึง มีระดับความคิดเห็น ไม8เห็นด:วยอย8างยิ่ง

3.5 วิธีการวิเคราะห-ขMอมูล
3.5.1 ขMอมูลจากการสัมภาษณ-เชิงลึก (In-Depth Interview)
การวิเคราะหNข:อมูลเชิงคุณภาพ ด:วยเครื่องมือสัมภาษณNเชิงลึก (In-Depth Interview) ผู:วิจัย
รวบรวมข:อมูล นำข:อมูลที่ได:จากการสัมภาษณNมาจัดกลุ8ม และนำความคิดเห็นที่ได:มาวิเคราะหN (Content
Analysis) หาความแตกต8าง ความสัมพันธNกัน จากนั้นนำข:อมูลมาเรียบเรียงใหม8เพื่อให:สอดคล:องกับ
วัตถุประสงคNของการวิจัย ด:วยวิธีการลดทอนข:อมูล (Data Reduction) ผู:วิจัยดำเนินการจัดระเบียบของ
ข:อมูล เช8น การปรับลด เพิ่ม หาข:อมูลใหม8จนได:ผลหรือข:อสรุป โดยจัดข:อมูลให:มีความสอดคล:องและ
เชื่อมโยงกับข:อมูลตามกรอบแนวคิดที่ใช:ทำการวิจัยในครั้งนี้เพื่อให:สามารถนำเสนอข:อมูลได:อย8างเปDน
ระบบ และสามารถนำข:อมูลนี้ไปใช:งานได:ง8ายขึ้น โดยนำข:อมูลที่ได:จากการสัมภาษณN โดยใช:แนวคิดทฤษฎี
การตลาด มาวิเคราะหNโดยใช:แนวคิด ทฤษฎีจุดแข็ง จุดอ8อน โอกาส และอุปสรรค (SWOT Analysis) เปDน
การวิเคราะหNสภาพแวดล:อมภายใน และภายนอก
42

3.5.2 ขMอมูลจากแบบสอบถาม (Questionnaire)


การวิจัยเชิงปริมาณ ผู:วิจัยจะรวบรวมและตรวจสอบข:อมูลของแบบสอบถามทั้งหมดแล:วจะนํา
แบบสอบถามมาลงรหัสตัวเลข (Code) นําไปวิเคราะหNข:อมูลและประมวลผล โดยใช:การประมวลผลด:วยโปรแกรม
สำเร็จรูป
อย8างไรก็ตาม จากข:อมูลที่เก็บรวบรวมและตรวจสอบความสมบูรณNของเนื้อหาทั้งหมดข:างต:น
ผู:วิจัยนำมาวิเคราะหN เนื้อหาและการแสดงข:อมูลความคิดเห็นเหมือนกันและต8างกัน สรุปออกเปDนประเด็น
ต8างๆ อธิบายส8วนที่มีความสอดคล:องเชื่อมโยงเกี่ยวเนื่องกัน และแสดงความถี่เรียงลำดับ หลังจากนั้นหา
สาเหตุของปfญหาหลัก ปfญหาย8อย หรือปfญหารอง โดยการทำแผนผังก:างปลา และวิเคราะหN SWOT
Analysis นำมาจัดทำ TOWS Matrix เพื่อหาแนวทางการแก:ปfญหาการขาดสภาพคล8องและการเพิ่มกำไร
ทางการเงินของบริษัทต8อไป
3.5.2.1 สถิติที่ใชMในการวิเคราะห-ขMอมูล
1. สถิติที่ใชMในการตรวจสอบคุณภาพแบบสอบถาม
1.1 สถิติที่ใช:ในการตรวจสอบคุณภาพของแบบสอบถามโดยการหาค8าความเชื่อมั่น โดยวิธีของ
Cronbach ที่เรียกว8าสัมประสิทธิ์แอลฟ•า α โดยใช:สูตรดังนี้ (พิชิต ฤทธิ์จรูญ, 2556)

k ìï å Si üï
2

a= í1 - 2 ý
k - 1 ïî St ïþ

เมื่อ a แทน ค8าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามทั้งฉบับ


K แทน จำนวนข:อของคำถามในแบบสอบถาม
åSi2 แทน ผลรวมของความแปรปรวนของคะแนนแต8ละข:อ
St2 แทน ค8าความแปรปรวนของคะแนนรวม

2. สถิติพื้นฐาน (เชิงบรรยาย) มีดังนี้ (พิชิต ฤทธิ์จรูญ, 2556)


2.1 ค8าร:อยละ ใช:สูตรดังนี้

ค8าร:อยละ = ความถี่ที่ต:องการเปรียบเทียบ X 100


จำนวนรวมทั้งหมด
43

2.2 ค8าเฉลี่ย ใช:สูตร


𝐗
"
𝐗 = å
"

เมื่อ "
𝐗 แทน ตัวกลางเลขคณิตหรือค8าเฉลี่ย
"
å𝐗 แทน ผลรวมทั้งหมดของข:อมูล
𝑛 แทน ขนาดของกลุ8มตัวอย8าง

3.5.3 วิธีการวิเคราะห-สาเหตุของปjญหา
ผู:วิจัยได:วิเคราะหNสาเหตุของปfญหาจากข:อมูลเชิงคุณภาพแบบปฐมภูมิ ข:อมูลเชิงปริมาณแบบ
ปฐมภูมิ นำมาใช:วิเคราะหNสภาวะแวดล:อมภายในและภายนอก การวิเคราะหNจุดแข็ง (S-Strengths) จุดอ8อน
(W-Weaknesses) โอกาส (O-Opportunities) และ (T-Threats) ขององคNกร การวิเคราะหNสภาวะการแข8งขัน
ของธุรกิจ และวิเคราะหNสาเหตุของปfญหาจากข:อมูลแบบทุติยภูมิ เปDนการวิเคราะหNสิ่งแวดล:อมทั่วไป
ประกอบด:วย การวิเคราะหNผลกระทบต8อการดำเนินธุรกิจในด:านนโยบาย การเมือง เศรษฐกิจ สังคม
วัฒนธรรม เทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม8ๆ สิ่งแวดล:อมทางกายภาพ ประกอบด:วยการวิเคราะหNในหัวข:อ
การคุกคามของคู8แข8งในอุตสาหกรรมการบินเดียวกัน คู8แข8งขันรายใหม8 การคุกคามของผลิตภัณฑNทดแทน
อำนาจต8อรองของผู:บริโภคหรือผู:โดยสาร และอำนาจการต8อรองของผู:ขาย โดยทำการรวบรวมข:อมูลจาก
การเอกสาร หนังสือ เว็บไซตNที่เกี่ยวข:องกับการแข8งขันอุตสาหกรรม
ผู:วิจัยยังเลือกใช:เครื่องมือการวิเคราะหNสาเหตุของปfญหาด:วยวิธีการสร:างแผนผังสาเหตุและผล
หรือผังก:างปลา เปDนการระดมความคิดจากกลุ8มพนักงาน โดยมีขั้นตอนคือ วาดแผนผังด:วยภาพหัวปลา
และก:างปลา กำหนดประโยคปfญหาที่ภาพหัวปลา กำหนดกลุ8มปfจจัยที่จะทำให:เกิดปfญหานั้นๆที่ก:างปลา
เพื่อหาสาเหตุย8อยในแต8ละปfจจัย และหาสาเหตุหลักของปfญหาที่ส8งผลให:เกิดปfญหาการขาดสภาพคล8อง
และการเพิ่มกำไรทางการเงินของบริษัท
44

3.5.4 วิธีการคMนหาแนวทางแกMไขปjญหา
ผลจากการวิเคราะหNจุดแข็ง จุดอ8อน โอกาส และภาวะคุกคาม (SWOT) ผู:วิจัยจะนำมาจับคู8
ความสัมพันธNเพื่อกำหนดปfจจัยเชิงกลยุทธN (TOWS Matrix) ทั้ง 4 ประเภท ได:แก8 1) กลยุทธNเชิงรุก (SO
Strategy) 2) กลยุ ทธN เชิ งปš องกั น (ST Strategy) 3) กลยุ ทธN เชิ งแก: ไข (WO Strategy) และ4) กลยุ ทธN เชิ ง
รับ (WT Strategy) และนำกลยุทธNที่ได:จากการวิเคราะหNมาสร:างเปDนทางเลือกในการแก:ไขปfญหา เพื่อให:
สอดคล:องกับวัตถุประสงคNที่ต:องการทราบแนวทางการแก:ปfญหาการขาดสภาพคล8องและการเพิ่มกำไรทาง
การเงินของบริษัท
3.5.5 วิธีการประเมินทางเลือก
จากทางเลือกทั้งหมดของกลยุทธNที่ถูกวิเคราะหNขึ้นมาอย8างมีลำดับขั้นตอนนั้น ผู:วิจัยจะคัด
กรองกลยุทธNที่สอดคล:องกับสภาพแวดล:อมทางธุรกิจในปfจจุบันและทรัพยากรที่มีในองคNกร นำกลยุทธN
เหล8านั้นมาดำเนินงานและเปรียบเทียบผลการดำเนินงานแต8ละกลยุทธNกับการเพิ่มกำไรทางการเงินของ
บริษัท
45

บรรณานุกรม

1. (ธารี หิรัญรัศมี และคณะ, 2559) แนวคิดเกี่ยวกับการจัดทำบัญชีและการปฏิบัติทางบัญชี


การวิ เ คราะห- ร ายการคM า (Transaction Analysis) , การจั ด ทำงบการเงิ น (Preparing
Financial Statement)
2. (จั น ทนา สาขากร และศิ ล ปะพร ศรี จ ั ่ น เพชร, 2552) การปรั บ ปรุ ง บั ญ ชี ใ นวั น สิ ้ น งวด
(Adjusting Entries) , การบันทึกรายการลงในสมุดบัญชีขั้นตMน
(Journalizing Original Entries)
3. (เบญจวรรณ รักษNสุธี, 2539 ) แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับเป‰าหมายและหนMาที่ของผูMบริหาร
การเงิน
4. (ชนะใจ เดชวิทยาพร, 2540) การจัดสรรเงินทุนของธุรกิจใหMมีประสิทธิภาพ (Allocation of
funds)
5. แนวคิดทฤษฎีอัตราสWวนที่แสดงถึงสภาพคลWองทางการเงิน หรือความสามารถในการชำระ
หนี้สินของกิจการ , สืบคMนจากเว็บไซต-
https://www.cvc.ac.th/cvc2011/files/10112711111051_16051916161741.pdf
6. (อภิชาติพงศN สุพัฒนN, 2551) ทฤษฎีโครงสรMางเงินทุนของ MM , ไดMศึกษาและนำเสนอทฤษฎี
และขMอสรุปเกี่ยวกับโครงสรMางเงินทุนไวM 2 แนวทางคือ รูปแบบที่ไมWมีภาษีเงินไดMรูปแบบที่มี
ภาษีเงินไดM
7. (วรกันตN ทองสว8าง, 2554) ทฤษฎีโครงสรMางเงินทุนของ MM
8. (กิ ต ติ พ ั น ธN คงสวั ส ดิ เ กี ย รติ ,2551) กรอบความเสี่ ย งของธุ ร กิ จ (Business Risk Model
Framework)
9. บุญฑวรรณ วิงวอน (2556 : 263) ,การศึกษาแนวทางการสWงเสริมและวางแผนการตลาดเพื่อ
เพิ่มรายไดMการบริการจัดงานแตWงงานของโรงแรม 5 ดาว
10. บุญฑวรรณ วิงวอน (2556 : 273) ,การกำหนดวิสัยทัศน- ภารกิจ กลยุทธ-ตWางๆ ที่สามารถเปpน
ขMอมูลในการชWวยผูMประกอบการไดMนำมาใชMในการตัดสินใจและเพื่อประเมินธุรกิจ
11. ชุดา แอล, ฟLลกู:ด เทคโนโลยี (2563) ,กลWาวถึง SWOT Analysis โดย Albert Humphrey
คิดคMนทฤษฎีการวิเคราะห- SWOT เปpนเครื่องมือวิเคราะห-ความสามารถและศักยภาพของ
องค-กร
46

12. (อาทิตยN หงสNชินธากุล, 2562) ,แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับ TOWS Matrix , การจัดการกล


ยุทธ- TOWS Matrix
13. Lee Digital Marketer (2015) , ศึกษาเรื่องเครื่องมือ TOWS Matrix
14. (วรวุฒิ บุญมาพบ, 2557) ,ตัวอยWางแผนผังกMางปลา , ไดMกลWาววWา วิธีการหาสาเหตุที่แทMจริง
(Root Cause) ของปjญหาในระดับรายละเอียด
15. วารุณี ชายวิริยางกูร (2563) , ศึกษาเรื่อง ความสัมพันธ-ระหวWางสภาพคลWองและความสามารถ
การทำกำไร ของธนาคารพาณิชย-ในประเทศไทย
16. สรทัต ศรีวิชุพงศN (2563) , ไดMศึกษาเรื่อง การบริหารสภาพคลWองสWงผลตWอการเติบโตอยWาง
มั่นคงของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยWอม (SMEs) ในประเทศไทย
17. ศุ ภ เจตนN จั น ทรN ส าสN น (2565) ,ไดM ศ ึ ก ษาเรื ่ อ ง ความสั ม พั น ธ- ร ะหวW า งสภาพคลW อ งและ
ความสามารถในการทำกำไรของธุรกิจโรงแรมที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย-แหWงประเทศ
ไทย
18. มาติมา ครองเต็น (2565) ,ศึกษาเรื่อง การบริหารความเสี่ยง การควบคุมภายใน และการ
ตรวจสอบภายใน เรื่อง การลดความเสี่ยงดMานสภาพคลWอง ผลการดำเนินงานของบริษัท และ
มูลคWาของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย-แหWงประเทศไทย
19. ณัฐวุฒิ รัตนะ (2565) , ไดMศึกษาเรื่อง ปjจจัยที่มีผลตWอความสามารถในการทำกำไรของบริษัท
จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย-แหWงประเทศไทย อุตสาหกรรมบริการ ธุรกิจโรงแรม

You might also like