You are on page 1of 274

การจัดการโลจิสติกส์

และโซ่อปุ ทาน
หัวข้อการอบรม
 ความสาคัญและวัตถุประสงค์ของโลจิสติกส์
 ต้นทุนโลจิสติกส์
 กิจกรรมโลจิสติกส์
 ความสาคัญของโลจิสติกส์ในโซ่อุปทาน
 การจัดการโซ่อุปทาน เพือ ่ เพิม่ ประสิทธิภาพและลดต้นทุน
 ห่วงโซ่คุณค่า
 SCOR Model
 การชีว้ ด
ั ศักยภาพ (Performance) ของโซ่อุปทาน
โลจิสติกส์ กับ AEC
 การรวมกลุ่มเป็ นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic
Community : AEC) จะนาอาเซียนไปสูก่ ารเป็ นตลาดและฐานการผลิต
ร่วมกัน (Single Market and Production Base) ซึงหมายถึงการทาให้
เกิดการเคลื่อนย้ายอย่างเสรีใน 5 สาขา ประกอบด้วยสินค้าบริการ
การลงทุน แรงงานฝีมอื และเงินทุน ซึง่ แน่นอนว่าการเปิดเสรีดงั กล่าว
ย่อมมีทงั ้ ผูท้ ไ่ี ด้ประโยชน์และเสียประโยชน์มาก น้อยแตกต่างกันตาม
ศักยภาพของผูป้ ระกอบการในแต่ละประเทศ
 ธุรกิจโลจิสติกส์ จะเป็ นหนึ่งในธุรกิจทีจ่ ะมีการเปิ ดเสรี ภายใต้ขอ้ ตกลง
ของ AEC ด้วย
การปรับตัวของธุรกิจภายใต้ AEC
 พัฒนาศักยภาพทางธุรกิจ ผ่านการโดยการจัดสรรแหล่งวัตถุดบิ และเติมเต็มห่วงโซ่การผลิต
ด้วยทรัพยากรและวัตถุดบิ จากประเทศทีม่ ศี กั ยภาพในการผลิตสินค้าแต่ละกลุ่ม ซึง่ จะช่วยให้
ธุรกิจสามารถบริหารจัดการต้นทุนการผลิตได้มปี ระสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้
 ปรับปรุงขัน้ ตอนการทางานให้เป็ นระบบ โดยการลดขัน้ ตอนการทางานทีไ่ ม่จาเป็ นลง
โดยเฉพาะขันตอนเอกสาร
้ ซึง่ ถือเป็ นต้นทุนสาคัญประการหนึ่งของธุรกิจ เพือ่ เพิม่
ประสิทธิภาพในการดาเนินงานของธุรกิจ
 นาเทคโนโลยีมาใช้…เพิ่มประสิทธิภาพของธุรกิจ การนาเทคโนโลยีมาใช้ในธุรกิจจะช่วย
ปรับปรุงประสิทธิภาพการดาเนินงาน
 หาช่องทางทางการตลาด สร้างพันธมิตรทางธุรกิจและเพิ่มพืน้ ที่ในตลาดผ่านเครือข่าย
พันธมิตร โดยเฉพาะการขยายการลงทุนไปในอาเซียน โดยอาจพิจารณาการร่วมทุนกับ
ธุรกิจท้องถิน่ ในประเทศอาเซียน ซึง่ จะช่วยสร้างตลาดและขยายลู่ทางธุรกิจได้มากขึน้
โลจิสติกส์ กับ AEC
 การรวมกลุ่มเป็ นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic
Community : AEC) จะนาอาเซียนไปสูก่ ารเป็ นตลาดและฐานการผลิต
ร่วมกัน (Single Market and Production Base) ซึงหมายถึงการทาให้
เกิดการเคลื่อนย้ายอย่างเสรีใน 5 สาขา ประกอบด้วยสินค้าบริการ
การลงทุน แรงงานฝีมอื และเงินทุน ซึง่ แน่นอนว่าการเปิดเสรีดงั กล่าว
ย่อมมีทงั ้ ผูท้ ไ่ี ด้ประโยชน์และเสียประโยชน์มาก น้อยแตกต่างกันตาม
ศักยภาพของผูป้ ระกอบการในแต่ละประเทศ
 ธุรกิจโลจิสติกส์ จะเป็ นหนึ่งในธุรกิจทีจ่ ะมีการเปิ ดเสรี ภายใต้ขอ้ ตกลง
ของ AEC ด้วย
ผลกระทบของ AEC ต่อธุรกิจ
โอกาส
 ส่งออกไปตลาดอาเซียนเพิม่ ขึน ้ : ภาษีนาเข้าในกรอบอาเซียนทีล่ ดลง ช่วยสร้างความได้เปรียบ
ด้านราคาของสินค้าไทยเทียบกับสินค้านอกกลุ่มอาเซียน
 ต้นทุนด้านภาษีนาเข้าตา่ ลง: ผูป ้ ระกอบการมีตน้ ทุนการนาเข้าสินค้าจากประเทศอาเซียน
ด้วยกันต่าลง ซึง่ ช่วยเพิม่ ส่วนต่างกาไร
 ช่วยเพิม่ ศักยภาพในการจัดหาวัตถุดบ ิ : ผูป้ ระกอบการ มีโอกาสนาเข้าวัตถุดบิ จากแหล่งวัตถุดบิ
ทีม่ คี ุณภาพเหมาะกับความต้องการ และเติมเต็มห่วงโซ่การผลิตได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึน้
ผลกระทบ
 สินค้าส่งออกของไทยอาจเผชิญการแข่งขันรุนแรงขึน ้ ในตลาดประเทศที ่ 3 จากคูแ่ ข่งในอาเซียน
ทีส่ ามารถผลิตสินค้าได้คล้ายคลึงกับสินค้าไทย
 สินค้าชาติอาเซียนอืน่ มีแนวโน้มเข้ามาตีตลาดภายในประเทศมากขึน ้ โดยเฉพาะสินค้าจาก
ประเทศเพือ่ นบ้าน
ผลกระทบของ AEC ต่อธุรกิจ
โอกาส
 ธุรกิจ SMEs ไทยมีโอกาสจ้างแรงงานต่างชาติทม ี ่ คี ุณสมบัตติ ามต้องการได้สะดวกขึน้
 แรงงานวิชาชีพไทยอาจได้รบ ั แรงกระตุน้ ให้มกี ารพัฒนาคุณภาพแรงงานและมาตรฐานมากยิง่ ขึน้
 เอื้อโอกาสการลงทุนโดยตรงระหว่างประเทศอาเซียนด้วยกันเองเพิม่ ขึน ้
ผลกระทบ
 การเปิ ดเสรีแรงงานฝีมอื อาจทาให้มก ี ารเคลือ่ นย้ายแรงงานจากประเทศทีใ่ ห้คา่ ตอบแทนตา่ ไปยัง
ประเทศทีใ่ ห้คา่ ตอบแทนสูงกว่า
 การแข่งขันของตลาดแรงงานในประเทศจะมีทวีความเข้มข้นมากขึน ้ เนือ่ งจากการไหลเข้าของ
แรงงานต่างชาติทเ่ี พิม่ ขึน้
 ภาวะการแข่งขันจากธุรกิจต่างชาติรน ุ แรงขึน้ : เนื่องจากการเปิดเสรีการลงทุนภายใต้กรอบ
อาเซียนน่าจะมีสว่ นดึงดูดให้นกั ลงทุนจากชาติอาเซียนขยายการลงทุนภายในอาเซียนมากขึน้
การจัดการโซ่อปุ ทาน
โซ่อปุ ทาน (Supply Chain)
 กระบวนการต่างๆทีท่ างานประสานกันโดยมีเป้าหมายเพือ่ สร้างความพอใจให้กบั
ลูกค้า โดยเริม่ ต้นตัง้ แต่กระบวนการจัดซือ้ จัดหา การผลิต การเคลื่อนย้าย การ
ขนส่ง การจัดเก็บ การจัดจาหน่าย การขาย รวมถึงการนาเทคโนโลยีสารสนเทศ
มาใช้ในการสนับสนุนกระบวนการต่างๆ ให้สามารถดาเนินการประสานกันได้
อย่างคล่องตัว
Components of Supply Chains
 Upstream Supply Chain (ห่วงโซ่อปุ ทานที่เข้าสู่ผผู้ ลิต)
 ประกอบด้วยกระบวนการทีเ่ กีย่ วกับการจัดหาโดยมีผเู้ กีย่ วข้องหลักคือ
Supplier
 Internal Supply Chain (ห่วงโซ่อปุ ทานภายในกระบวนการผลิต)
 ประกอบด้วยกระบวนการทีเ่ กีย่ วกับการเปลีย่ น Input ให้เป็ น Output โดยมี
ผูเ้ กีย่ วข้องหลักคือ ผูผ้ ลิต (Manufacturer).
 Downstream Supply Chain (ห่วงโซ่อปุ ทานที่เข้าสู่ลกู ค้า)
 ประกอบด้วยกระบวนการทีเ่ กีย่ วกับการจัดส่งสินค้าให้สมู่ อื ผูบ้ ริโภค
การจัดการโซ่อปุ ทาน
 การจัดการโซ่อุปทาน (Supply Chain Management) คือการรวบรวมการ
วางแผน และการจัดการของกิจกรรมทัง้ หมดทีม่ คี วามเกีย่ วข้องกับการจัดหา
การจัดซือ้ การแปรสภาพ และกิจกรรมการจัดการทัง้ หมด ทีส่ าคัญการจัดการ
โซ่อุปทานยังรวมถึงการประสานงาน (Coordination) และการทางานร่วมกัน
(Collaboration) กับหุน้ ส่วนต่างๆในโซ่อุปทานซึง่ จะเป็ นผูจ้ ดั ส่งวัตุดบิ ตัวกลาง
ผูใ้ ห้บริการ ผูใ้ ห้บริการลอจิสติกส์และลูกค้า แก่นสาคัญก็คอื การจัดการโซ่
อุปทานจะบูรณาการ (Integrate) ทัง้ การจัดการอุปสงค์และอุปทาน ซึง่ รวมถึง
ทัง้ ภายในและภายนอกบริษทั
Three Primary Flow
Information Flow

Primary Product Flow

Supplier Manufacturer DC/Wholesaler Retailer Consumer


Demand Variance

Primary Cash Flow

Reverse Product Flow


Supply Chain Management

Raw
Materials Distributor Customer
Parts
Supplier
Raw
Manufacturer Distributor Retailer Customer
Materials
Parts
Supplier
Raw Distributor Customer
Materials

Materials Physical Distribution


Management Management

Supply Chain Management


Supply Chain Management
>>>>> Materials Management >>>>>> | >>>>>>>>>>> Physical Distribution >>>>>>>>>>>
Regional Retail
Distribution Outlets customers
Center

Raw Material RDC customers

Manufacturer
CDC
consumers
Farms Produce Wholesaler

Parts Distribution Distributors consumers


Center

Concessionaire
customers
Components
Suppliers
customers
14 Manisra Baramichai School of Engineering UTCC Manisra
School Baramichai UTCC
of Engineering
Components of Supply Chains
Upstream

Internal

Downstream

15 Manisra Baramichai School of Engineering UTCC Manisra


School Baramichai UTCC
of Engineering
Three Primary Flow
 วัตถุดบิ (Material) จาก Suppliers ผ่านกระบวนการต่างๆ (จนอาจ
กลายเป็ นวัตถุดบิ ใหม่) จนถึงมือลูกค้า (Product Flow)
นอกจากนี้ยงั มีระบบการไหลของชิน้ ส่วนต่าง ๆ กลับไปยัง supplier (เช่น
การนาส่วนประกอบบางอย่างกลับมาใช้ใหม่) (Reverse Product Flow)
 เงิน (Cash) จากลูกค้าผ่านการะบวนการต่างๆ(โดยเงินบางส่วนจะถูกหัก
ไว้เป็ นค่าดาเนินการของบริษทั ) จนถึง Supplier (Cash Flow)
 สารสนเทศ(Information) กระจายอยูใ่ นทุกๆกระบวนการทัง้ นี้สารสนเทศ
จะมีสว่ นสาคัญทีท่ าให้เราสามารถ มองเห็น (Visibility) ภาพรวมของ
ระบบได้ทงั ้ หมด (Information Flow)
โซ่อปุ ทานของลาใยอบแห้ง
Horizontal Integration
Information Flow

Raw Material Component Plant Distribution Show room Customer

Primary Product Flow Primary Cash Flow

การทีอ่ งค์กรต้องการจะขยาย กิจการโดยการแสวงหาพันธมิตร ( Alliances) เช่น การร่วมมือกัน


กับผูจ้ สั ง่ วัตถุดบิ และ ส่วนประกอบ ผูก้ ระจายสินค้า หรือผูใ้ ห้บริการโลจิสติกส์ดา้ นต่าง ๆ
Vertical Integration
Ownership Management
Marketing/ Sale
Finance

Show room Ford customer

Distribution การทีอ่ งค์กรต้องการจะขยาย


กิจการโดยการดึงเอาธุรกิจที่
Plant เกีย่ วข้องมาเป็ นของตัวเอง เช่น
การขยายให้มกี ารผลิตวัตถุดบิ
Component Production ส่วนประกอบ หรือมี Show room
เป็ นของตัวเอง
Raw material
Vertical Integration & Horizontal Integration
 Vertical Integration
 สามารถทีจ่ ะควบคุมการทางานได้งา่ ยเนื่องจากอยูใ่ นองค์กรของตัวเอง แต่
ต้องมีการลงทุนสูงในการขยายกิจการ

 Horizontal Integration
 มีความสะดวก และสามารถอาศัยความรู้ ความสามารถขององค์กรอื่นๆ มา
สร้างความแข่งแกร่งให้กบั องค์กรตนเองได้
 องค์กรสามารถ Focus ในสิง่ ทีต่ นเองถนัด และมีความสามารถมากสุด
 ไม่ตอ้ งมีการลงทุนมากในการขยายกิจการ
Logistics
 กิจกรรมหรือการกระทาใดๆ เพือ่ ให้ได้มาซึง่ สินค้าและบริการ รวมถึงการเคลือ่ นย้าย ,
จัดเก็บ และกระจายสินค้า จากแหล่งทีผ่ ลิต จนสินค้าได้มกี ารส่งมอบไปถึงแหล่งทีม่ ี
ความต้องการ โดยกิจกรรมดังกล่าว จะต้องมีลกั ษณะเป็ นกระบวนการแบบบูรณาการ
โดยเน้นประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยมีเป้าหมายในการส่งมอบแบบทันเวลา (Just
in Time) และเพือ่ ลดต้นทุน โดยมุง่ ให้เกิดความพอใจแก่ลกู ค้า (Customers Satisfaction)
และส่งเสริมเพือ่ ให้เกิดมูลค่าเพิม่ แก่สนิ ค้าและบริการ

 กระบวนการวางแผน การดาเนินงาน และการควบคุมการเคลือ่ นย้ายทัง้ ไปและกลับ


การเก็บรักษาสินค้า บริการ และข้อมูลทีเ่ กีย่ วข้องอย่างมีประสิทธิภาพและมี
ประสิทธิผล ตัง้ แต่จุดเริม่ ต้นของการผลิตไปสูจ่ ุดสุดท้ายของการบริโภคเพือ่ ตอบสนอง
ความ ต้องการของลูกค้า
กิจกรรมหลักด้านโลจิสติกส์
 กิจกรรมการขนส่ง (Transportation)
 กิจกรรมการรับสินค้าคืน หรือส่งสินค้ากลับ (Reverse Logistics)
 การจัดซือ
้ (Purchasing)
 การเลือกทีต่ งั ้ โรงงานและคลังสินค้า (Plant and Warehouse Site
Selection)
 การจัดเตรียมอะไหล่และชิน ้ ส่วนต่างๆ (Part and Service Support )
 การจัดการด้านข้อมูล (Information Management)
 การบรรจุหบ ี ห่อ (Packaging)
กิจกรรมหลักด้านโลจิสติกส์
 การบริการลูกค้า ( Customer Service)
 การดาเนินการตามคาสังซื่ อ้ ของลูกค้า ( Order Processing )
 การคาดการณ์ความต้องการของลูกค้า ( Demand Forecasting )
 การบริหารสินค้าคงคลัง ( Inventory Management )
 การบริหารคลังสินค้า ( Warehousing and Storage )
 กิจกรรมการขนการขนถ่ายวัสดุในการผลิต (Material Handling)
ตัวอย่างกิจกรรมโลจิสติกส์
 บริษทั ผูผ้ ลิตเครือ่ งดื่ม ผลิตเครือ่ งดื่มหลากหลายประเภท และนามาบรรจุใส่กล่อง
หรือลัง เพือ่ ประโยชน์ทางการขายและการเคลื่อนย้ายสินค้า (การจัดการบรรจุภณ ั ฑ์)
 บริษทั ผูผ้ ลิตเครือ่ งดื่มส่งเครือ่ งดื่ม เช่น โค้ก น้าส้ม น้าเขียว ทัง้ ในรูปแบบของขวด
และกระป๋อง เข้าสูค่ ลังสินค้า เพือ่ เตรียมกระจาย สินค้าให้ลกู ค้า นับว่าเป็ นการขนส่ง
ขาเข้า (กิจกรรมขนส่ง)
ตัวอย่างกิจกรรมโลจิสติกส์
 คลังสินค้า นาสินค้าทัง้ หมดที่ส่งมาจากโรงงาน เข้าจัดเก็บในคลังสินค้า (กิจกรรม
คลังสินค้า) โดยมีการแยกสินค้าแต่ละประเภท ออกจากกัน

 บริษทั ได้รบั คาสังซื


่ อ้ จาก ร้านค้าปลีกขนาดใหญ่ เช่น Big C , Lotus และร้านค้าส่ง
ในจังหวัดต่างๆ บริษทั จึงทาการ นาเครื่องดื่มประเภทต่างๆ ขึน้ รถบรรทุกไปส่งให้
(กิจกรรมการขนส่ง และ การรับคาสังซื ่ อ้ )

โลจิสติกส์ 25
ตัวอย่างกิจกรรมโลจิสติกส์
 เมือ่ รถขนส่งถึงร้านค้าเหล่านี้ พนักงานจะทาการขนสินค้าลง และจัดเข้าร้าน
ต่างๆ(กิจกรรมการกระจายสินค้า ช่องทางการกระจาย)
 เมือ่ เครือ่ งดื่มเหล่านี้ถกู จาหน่ายออกไป ก็มกี ารคิดเงินโดยใช้ Barcode ข้อมูล
ของเครือ่ งดื่มทีข่ ายไปจะวิง่ กลับมายังบริษทั ผลิตเครือ่ งดื่ม ทาให้บริษทั ทราบว่า
เครือ่ งดื่มแต่ละประเภทได้จาหน่ายออกไปแล้วเท่าไร ต้องนาไปส่งเพิม่ หรือไม่
(กิจกกรมด้านการจัดการข้อมูลสารสนเทศ)
ความสาคัญของโลจิสติกส์
 โลจิสติกส์เป็ นรายจ่ายทีส่ าคัญสาหรับธุรกิจต่างๆ และจะส่งผลกระทบและได้รบั
ผลกระทบจากกิจกรรมอื่น ในระบบเศรษฐกิจ การปรับปรุงประสิทธิผลของ
กระบวนการด้านโลจิสติกส์ จะส่งผลโดยตรงต่อการปรับปรุงสภาพเศรษฐกิจ
โดยรวมให้ดขี น้ึ ได้
 การจัดการโลจิสติกส์ทด่ี จี ะส่งเสริมการพัฒนาประสิทธิภาพและผลิตภาพการผลิต
ของภาคอุตสาหกรรมและอุตสาหกรรมต่อเนื่อง ตลอดห่วงโซ่คุณค่าเพือ่ เพิม่
มูลค่าเพิม่ ให้สนิ ค้าอุตสาหกรรม
 โลจิสติกส์เป็ นการเพิม่ อรรถโยชน์ทางด้านเวลาและสถานที่ โดยให้มกี ารนาสินค้า
ทีล่ กู ค้าต้องการเพือ่ บริโภคหรือเพือ่ การผลิตไปยังสถานทีท่ ต่ี อ้ งการ ในเวลาที่
ต้องการ ในสภาพทีต่ อ้ งการ และในต้นทุนทีต่ อ้ งการ
วัตถุประสงค์ของการบริหารจัดการโลจิสติกส์
 ทาให้กจิ กรรมโลจิสติกส์มตี น้ ทุนทีต่ ่าลง (Low Cost)
 ทาให้กจิ กรรมโลจิสติกส์สามารถจัดหาวัตถุดบิ ส่งสินค้าตรงตามเวลาที่
ต้องการ (Time Deliveries)
 ทาให้ระยะเวลาในการตอบสนองคาสังซื
่ อ้ และส่งมอบสินค้าให้กบั ลูกค้า
ลดลง (Shorten Lead Time)
 ทาให้กจิ กรรมโลจิสติกส์สามารถตอบสนองความต้องการต่างๆ ของลูกค้า
ได้เป็ นอย่างดี (Meeting Customer Requirement/ Expectation)
วัตถุประสงค์ของการบริหารจัดการโลจิสติกส์
 ทาให้กจิ กรรมโลจิสติกส์มศี กั ยภาพและขีดความสามารถสูงสุด ยืดหยุน่ และ
ปรับเปลีย่ นได้ตามสถานการณ์ตลาด (Being Flexibility and
Responsiveness)
 ทาให้กจิ กรรมโลจิสติกส์สามารถรองรับความต้องการของฝา่ ยต่างๆ ใน
บริษทั ได้โดยเฉพาะอย่างยิง่ ฝา่ ยผลิตและฝา่ ยการตลาด (Good Supportive
Roles)
 ทาให้กจิ กรรมโลจิสติกส์เป็ นกิจกรรมทีเ่ พิม่ มูลค่าให้กบั ผลิตภัณฑ์หรือ
บริการ (Adding Product / Service Value)
Logistics and Supply Chain
 ข้อแตกต่างประการสาคัญระหว่างความหมายของการจัดการโซ่อุปทานและโลจิ
สติกส์ตรงที่การจัดการโซ่อุปทาน เป็ นการจัดการกระบวนการทางธุรกิจหลักทุก
ประเภทที่เชื่อมโยงระหว่างสมาชิกทุกหน่วยที่อยูภ่ ายใต้โซ่อุปทานและเป็ น
แนวทาง การจัดการธุรกิจหลักทุกประเภทที่เชื่อมระหว่างสมาชิกทุกหน่วยที่อยู่
ภายใต้โซ่อุปทานและเป็ นแนวทางการจัดการธุรกิจที่ค่อนข้าง ใหม่กว่า อีกทั้งมี
ขอบเขตที่กว้างกว่าโลจิสติกส์

 การจัดการโซ่อุปทานเป็ นการจัดการเชิงระบบที่ตอ้ งมีการติดต่อประสานงานกัน


ระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ มีความซับซ้อน และต้องอาศัยการพิจารณาเปรี ยบเทียบ
ข้อดีในการปรับกิจกรรมหลายประการภายใน โซ่อุปทาน
ต้นทุนโลจิสติกส์
 ในปี 2552 ต้นทุนโลจิสติกส์ของประเทศไทยมีมลู ค่ารวมประมาณ 1.5
ล้านล้านบาท หรือคิดเป็ นสัดส่วนเท่ากับ ร้อยละ 16.8 ของผลิตภัณฑ์
มวลรวมในประเทศ ณ ราคาประจา ปี (GDP) ลดลงอย่างมากจากร้อยละ
18.6 ของ GDP ในปี 2551 โดยประกอบด้วย
 ต้นทุนค่าขนส่งสินค้า 746.5 พันล้านบาท (ร้อยละ 8.3 ของ GDP)
 ต้นทุนการเก็บรักษาสินค้าคงคลัง 633.3 พันล้านบาท (ร้อยละ 7.0
ของ GDP)
 ต้นทุนการบริหารจัดการด้านโลจิสติกส์ 138.0 พันล้านบาท (ร้อยละ
1.5 ของ GDP)
ต้นทุนโลจิสติกส์
8.9 %
 ต้นทุนการขนส่งสินค้าซึง่ เป็ น
ต้นทุนโลจิสติกส์ทม่ี สี ดั ส่วน
ต้นทุนขนส่งสินค้า ต่อ GDP
49.4 %
สูงสุดของไทย มีการขยายตัว
41.7 % ต้นทุนการเก็บรักษาสินค้าคงคลัง ต่อ GDP เพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนื่อง (ร้อยละ
ต้นทุนการบริหารจัดการ ต่อ GDP
47.3 ในปี 2550 เป็ น ร้อยละ
49.4 ในปี 2552) สะท้อนให้เห็น
ถึงโครงสร้าง การขนส่งปจั จุบนั
 สัดส่วนต้นทุนการเก็บรักษาสินค้าคงคลังเริม่ มีแนวโน้ม ทีย่ งั ไม่สามารถสนับสนุนให้
ลดลงตามลาดับ (ร้อยละ 43.6 ในปี 2550 เป็ น ร้อยละ ผูป้ ระกอบการปรับพฤติกรรมมา
41.7 ในปี 2552) ซึง่ ถือว่าผูป้ ระกอบการในภาพรวมมี ใช้รปู แบบการขนส่งทีม่ ี
ความตระหนักถึงความสาคัญและสามารถปรับรูปแบบ ประสิทธิภาพด้านพลังงานได้
ธุรกิจในลักษณะทีล่ ดปริมาณสินค้าคงคลัง อย่างเต็มที่
กรอบแนวคิดการคานวณต้นทุนโลจิสติกส์
 แนวคิดการคานวณต้นทุนโลจิสติกส์ทอ่ี งิ ตามทฤษฎีของสหรัฐอเมริกา
 ค่าใช้จา่ ยทีเ่ กิดจากการขนส่ง
 ต้นทุนการบริหารคลังสินค้า
 ต้นทุนการถือครองสินค้า
 ต้นทุนการบริหารจัดการ

 แนวคิดการคานวณต้นทุนโลจิสติกส์ทอ่ี งิ ตามทฤษฎีของประเทศญีป่ นุ่


 ค่าใช้จา่ ยด้านบุคลากร
 ค่าใช้จา่ ยด้านการจัดส่ง
 ค่าใช้จา่ ยในการเก็บรักษา
 ค่าใช้จา่ ยด้านการจัดการข้อมูลข่าวสาร
 ค่าใช้จา่ ยอื่นๆ
ต้นทุนโลจิสติกส์
 ต้นทุนการถือครอง
 ต้นทุนทางการเงิน (Cost of Capital) ซึง่ เป็ นต้นทุนเสียโอกาสทีเ่ กิดจากทีแ่ ปรผัน
ตาม
 มูลค่าวัตถุดบิ คงคลัง ชิน้ งานระหว่างผลิต และสินค้า
 ดอกเบีย้ ของเงินทุน
 ระยะเวลาทีถ่ อื ครอง
 ค่าใช้จา่ ยอืน่ ทีเ่ กิดขึน้ จากการถือครองสินค้า เช่น ค่าประกันภัยสินค้า ค่าสูญเสียจาก
การตัดจาหน่าย (Write-Off) และลดมูลค่าสินค้าเสือ่ มสภาพ (Devalue)
 ค่าใช้จา่ ยจากการตรวจนับ ตรวจสภาพ และทาความสะอาดสินค้า
ต้นทุนโลจิสติกส์
 ต้นทุนการบริหารคลังสินค้า
 ค่าใช้จา่ ยลงทุนในสินทรัพย์คลังสินค้า ได้แก่ ค่าเสือ่ มราคาของอาคารคลังสินค้าและสานักงาน
และดอกเบีย้ จากการกูย้ มื เพือ่ ลงทุน
 ค่าใช้จา่ ยเกีย่ วกับอาคารและสานักงาน เช่น ค่าประกันภัยอาคาร ค่าภาษีอากร เป็ นต้น
 ค่าใช้จา่ ยเกีย่ วกับพนักงาน เช่น เงินเดือน ค่าล่วงเวลา ค่าจ้างพนักงานชัวคราว เป็ นต้น
 ค่าใช้จา่ ยเกีย่ วกับการปฏิบตั กิ ารคลังสินค้า เช่น ค่าเช้า หรืคา่ เสือ่ มของอุปกรณ์ขนถ่าย พา
เลท บรรจุภณ ั ฑ์ อุปกรณ์ ค่าน้ามัน ครุภณ
ั ฑ์ เอกสารแบบฟอร์ม เป็ นต้น
 ค่าใช้จา่ ยเกีย่ วกับระบบสารสนเทศการจัดการคลังสินค้า
 กรณีเช่าหรือว่าจ้างผูใ้ ห้บริการเก็บรักษาสินค้า ให้พจิ ารณาค่าใช้จา่ ยตามสัญญา
 กรณีจดั เก็บสินค้าโดยใช้สถานทีข่ องสถานประกอบการ ให้พจิ ารณาเสมือพืน้ ทีเ่ ช่าโดยใช้
อัตราเช่าของคลังสินค้าในบริเวณนัน้ เป็ นเกณฑ์ คิดพีน้ ทีต่ ามทีเ่ ก็บจริง
ต้นทุนโลจิสติกส์
 ต้นทุนการขนส่ง
 ค่าใช้จา่ ยลงทุนรถขนส่งและอุปกรณ์สว่ นควบ ได้แก่ ค่าเสือ่ มราคาและดอกเบีย้ จากการ
กูย้ มื เพือ่ ลงทุน (ถ้ามี)
 ค่าใช้จา่ ยบารุงรักษาสภาพรถ เช่น ค่าซ่อมบารุงรถและอุปกรณ์ ยางรถ เป็ นต้น
 ค่าใช้จา่ ยน้ ามันเชือ้ เพลิง
 ค่าใช้จา่ ยพนักงานขับรถ และพนักงานสานักงานแผนกจัดส่ง
 ค่าใช้จา่ ยอื่นทีเ่ กีย
่ วกับการขนส่ง เช่น ค่าผ่านทาง ค่าทีจ่ อดรถ
 กรณีวา่ จ้างผูใ้ ห้บริการขนส่ง ให้พจิ ารณาต้นทุนตามสัญญาว่าจ้างขนส่ง
 กรณีขนส่งหลายรูปแบบ (Multimodal Transport) ให้พจิ ารณาค่าใช้จา่ ยระหว่างการเปลีย่ น
หมวดการขนส่ง เช่น ค่าขนถ่าย ค่าเก็บรักษาสินค้า ณ สถานีขนส่งระหว่างทาง เป็ นต้น
ต้นทุนโลจิสติกส์
 ต้นทุนการบริหารจัดการ
 ค่าใช้จา่ ยด้านการจัดการข้อมูลข่าวสาร เช่น ค่าอุปกรณ์ขอ้ มูลข่าวสาร ค่าวัสดุสน้ิ เปลือง
ค่าใช้จา่ ยด้านการสือ่ สาร
 ค่าใช้จา่ ยด้านบุคลากรสนับสนุนเช่น ผูจ้ ดั การ หัวหน้างานและพนักงานในหน่วยงานที่
เกีย่ วข้อง
 ค่าใช้จา่ ยเพือ่ สนับสนุนการบริการลูกค้า เช่น ค่าใช้จา่ ยทีเ่ กีย่ วข้องกับการทาให้คาสังซื
่ อ้
สมบูรณ์
 การกาหนดวิธกี ารคานวณต้นทุนการบริหาร ได้ใช้การประมาณค่าตามวิธกี ารคานวณ
ของ CASS โดยใช้การประมาณค่าที่ 4% ของผลรวมต้นทุนโลจิสติกส์
ต้นทุนโลจิสติกส์
 แนวคิดการคานวณต้นทุนโลจิสติกส์ทอ่ี งิ ตามทฤษฎีของประเทศญีป่ นุ่
 ค่าใช้จา่ ยด้านการจัดส่ง
 ค่าใช้จา่ ยในการเก็บรักษา
 ค่าใช้จา่ ยด้านการจัดการข้อมูลข่าวสาร
 ค่าใช้จา่ ยด้านบุคลากร
 ค่าใช้จา่ ยอืน่ ๆ
ต้นทุนโลจิสติกส์
 ค่าใช้จ่ายด้านบุคลากร
 ประมาณการค่าใช้จา่ ยด้านบุคลากรต่อเดือนของพนักงานทีเ่ กีย่ วข้องกับ
งานโลจิสติกส์ โดยจาแนกตามประเภทงาน (เช่น พนักงานระดับจัดการ
พนักงานทัวไป
่ ฯลฯ)
 ค่าแรง (รวมค่าล่วงเวลา) รวมเบีย้ เลีย้ ง โบนัส เงินบานาญ เงินสวัสดิการต่างๆ
ต้นทุนโลจิสติกส์
 ค่าใช้จ่ายด้านการจัดส่ง
 ค่าใช้จา่ ยลงทุนรถขนส่งและอุปกรณ์สว่ นควบ ได้แก่ ค่าเสือ่ มราคาและดอกเบีย้ จากการ
กูย้ มื เพือ่ ลงทุน (ถ้ามี)
 ค่าใช้จา่ ยบารุงรักษาสภาพรถ เช่น ค่าซ่อมบารุงรถและอุปกรณ์ ยางรถ เป็ นต้น
 ค่าใช้จา่ ยน้ามันเชือ้ เพลิง
 ค่าใช้จา่ ยอื่นทีเ่ กีย่ วกับการขนส่ง เช่น ค่าผ่านทาง ค่าทีจ่ อดรถ
 ค่าสถานที่ ทีต่ อ้ งเสียค่าใช้จา่ ยในขณะจัดส่งสินค้า เช่น Center Free
 กรณีวา่ จ้างผูใ้ ห้บริการขนส่ง ให้พจิ ารณาต้นทุนตามสัญญาว่าจ้างขนส่ง
 กรณีขนส่งหลายรูปแบบ (Multimodal Transport) ให้พจิ ารณาค่าใช้จา่ ยระหว่างการ
เปลีย่ นหมวดการขนส่ง เช่น ค่าขนถ่าย ค่าเก็บรักษาสินค้า ณ สถานีขนส่งระหว่างทาง
เป็ นต้น
ต้นทุนโลจิสติกส์
 ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษา
 ต้นทุนทางการเงิน (Cost of Capital) ซึง่ เป็ นต้นทุนเสียโอกาสทีแ่ ปรผันตามดอกเบีย้ และมูลค่า
สินค้าคงคลัง
 ค่าประกันภัยสินค้า ค่าสูญเสียจากการตัดจาหน่าย (Write-Off) และลดมูลค่าสินค้าเสือ่ มสภาพ
(Devalue) ค่าใช้จา่ ยจากการตรวจนับ ตรวจสภาพ และทาความสะอาดสินค้า
 ค่าวัสดุทใ่ี ช้ในการบรรจุหบี ห่อ เช่น วัสดุทใ่ี ช้ในการบรรจุหบี ห่อ ฉลาก สติกเกอร์
 ค่าเสือ่ มราคาของอาคารคลังสินค้าและสานักงานและดอกเบีย้ จากการกูย้ มื เพือ่ ลงทุน
 ค่าใช้จา่ ยเกีย่ วกับอาคารและสานักงาน เช่น ค่าประกันภัยอาคาร ค่าภาษีอากร เป็ นต้น
ต้นทุนโลจิสติกส์
 ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษา
 ค่าใช้จา่ ยเกีย่ วกับการปฏิบตั กิ ารคลังสินค้า เช่น ค่าเช่า หรือค่าเสือ่ มของอุปกรณ์ขนถ่าย พาเลท
บรรจุภณ ั ฑ์ อุปกรณ์ ค่าน้ามัน ครุภณั ฑ์ เอกสารแบบฟอร์ม เป็ นต้น
 ค่าใช้จา่ ยเกีย่ วกับระบบสารสนเทศการจัดการคลังสินค้า
 ค่าเช่าพืน้ ที่ (กรณีจดั เก็บสินค้าโดยใช้สถานทีข่ องสถานประกอบการ ให้พจิ ารณาเสมือนพืน้ ทีเ่ ช่า
โดยใช้อตั ราเช่าของคลังสินค้าในบริเวณนัน้ เป็ นเกณฑ์ คิดพีน้ ทีต่ ามทีเ่ ก็บจริง
 กรณีเช่าหรือว่าจ้างผูใ้ ห้บริการเก็บรักษาสินค้า ให้พจิ ารณารายละเอียดค่าใช้จา่ ยตามสัญญา
ต้นทุนโลจิสติกส์
 ค่าใช้จ่ายด้านการจัดการข้อมูลข่าวสาร
 ค่าใช้จา่ ยด้านการจัดการข้อมูลข่าวสาร คานวณได้จากการนาค่าใช้จา่ ยจริง คูณกับ
อัตราการใช้ทเ่ี กีย่ วข้องกับงานโลจิสติกส์โดยประมาณการ
 ค่าใช้จา่ ยด้านอุปกรณ์ขอ้ มูลข่าวสาร เช่น ค่าเช่าต่อเดือน (กรณีเช่า) หรือประมาณ
การจากค่าเช่าต่อเดือน (ในกรณีซอ้ื เป็ นทรัพย์สนิ ของบริษทั )
 ค่าวัสดุสน้ิ เปลือง รวมถึงกระดาษสาหรับเครือ่ งพิมพ์ แบบฟอร์ม หมึกพิมพ์
แผ่นดิสก์ ฯลฯ โดยคานวณค่าใช้จา่ ยรวมของวัสดุเหล่านี้ (ต่อเดือน)
 ค่าใช้จา่ ยด้านการสือ่ สาร เช่น ค่าโทรศัพท์
ต้นทุนโลจิสติกส์
 ค่าใช้จ่ายด้านบุคลากร
 ประมาณการค่าใช้จา่ ยด้านบุคลากรต่อเดือนของพนักงานทีเ่ กีย่ วข้องกับงานโลจิ
สติกส์ โดยจาแนกตามประเภทงาน (เช่น พนักงานระดับจัดการ พนักงานทัวไป ่
ฯลฯ)
 ค่าแรง (รวมค่าล่วงเวลา) รวมเบีย้ เลีย้ ง โบนัส เงินบานาญ เงินสวัสดิการต่างๆ
 ค่าใช้จ่ายอื่นๆ
 ค่าใช้จา่ ยอืน่ ๆ ได้แก่ ค่าใช้จา่ ยของสานักงานธุรการ เช่น ค่าเช่าต่อเดือน (กรณีเช่า)
หรือประมาณการค่าเช่า โดยพิจารณาจากค่าเช่าในละแวกใกล้เคียง (กรณีทเ่ี ป็ นของ
บริษทั เอง)
Push Supply chain
Push Process

Supplier Manufacturer DC/Wholesaler Retailer Consumer

Supply Flow
Pull Supply chain
Demand Flow
Pull Process

Supplier Manufacturer DC/Wholesaler Retailer Consumer


Push-Pull Supply chain

Supplier Manufacturer DC/Wholesaler Retailer Consumer

Supply Flow
Mass Customization
 การมุง่ เน้นความสามารถในการตอบสนองความต้องการของลูกค้าที่
หลากหลายได้ในขณะทีส่ ามารถรักษาต้นทุนการผลิตได้ดว้ ยการผลิต
ปริมาณมาก ด้วยหลักการใหญ่ๆ คือ
- Modularity คือ การออกแบบผลิตภัณฑ์ ซึง่ สามารถประกอบ
กันได้หลากหลายชนิด หากแต่ประกอบมาจากชิน้ ส่วนมาตรฐาน
(limited set of standard modules)
- Postponement คือ การเลื่อนการประกอบผลิตภัณฑ์ให้ชา้ ไป
ทางปลายสายการผลิตเท่าทีท่ าได้ เพือ่ จะรองรับความต้องการของ
ลูกค้าได้ตามทีล่ กู ค้ากาหนด
ปัญหาในการจัดการโซ่อปุ ทาน
 ขาดการประสานงาน และการทางานร่วมกันของบุคคลในองค์กร โดยเฉพาะใน
ระดับการวางแผนและตัดสินใจ ทาให้แผนของแต่ละแผนกไม่มคี วามเชื่อมโยงกัน
ทัวทั
่ ง้ องค์กร
 ไม่มรี ะบบสารสนเทศทีด่ ที าให้ขาดข้อมูลทีถ่ กู ต้องและทันสมัย เมือ่ ข้อมูลไม่
ถูกต้องและการตัดสินใจจึงได้ผลลัพธ์กไ็ ม่ถูกต้อง ทาให้ความสามารถในการ
ตอบสนองความต้องการของลูกค้าลดลง
 ขาดกลไกในการตัดสินใจร่วมกัน การประสานงาน ระหว่างสมาชิกในโซ่อุปทาน
ทัง้ ภายในและภายนอก
 การสร้างพันธมิตรธุรกิจไม่สามารถทาได้อย่างแท้จริง เนื่องจากขาดความไว้เนื้อ
เชื่อใจกัน
โซ่ อุปทานแบบเก่ า: Functional Enterprise
Information

Suppliers Production Marketing Customers


Purchasing
Control /Sale

Logistics R&D Distribution Customers


Suppliers

Material, Product
Payments
Service
Bullwhip Effect
 Bullwhip Effect เป็ นปรากฏการณ์ทเ่ี กิดขึน้ ในห่วงโซ่อุปทานเนื่องจากการขาด
การสือ่ สารทีด่ วี า่ อุปสงค์ของลูกค้าทีแ่ ท้จริงเป็ นเท่าใด ทาให้เกิดความเข้าใจคาสังซื
่ อ้
ของลูกค้าตนเองผิดไป
สาเหตุของการเกิด Bullwhip Effect
 Lead Time Variability ระยะเวลานาไม่แน่นอนทาให้ลกู ค้ากลัวว่าจะไม่ได้รบั
สินค้าในเวลาทีต่ อ้ งการ จึงมีการสังสิ
่ นค้าเผื่อไว้แล้วเก็บเป็ นสินค้าคงคลัง
 Order Batching - อุปสงค์ของลูกค้าอาจะไม่ได้มมี ากครบตามจานวน batch ที่
ตกลงไว้กบั Supplier แต่เนื่องจากเป็ นข้อกาหนดว่าต้องสังสิ
่ นค้าทีละ Batch จึง
ทาให้อุปสงค์ของลูกค้าทีแ่ ท้จริงดูมากขึน้
 Price Fluctuation - ความแปรปรวนของราคาทาให้เกิดการซือ้ เพือ่ กักตุนสินค้า
 Rationing and Shortage Gaming - และการจัดส่วนส่งเสริมการขาย ทาให้เกิด
การซือ้ เพือ่ กักตุนสินค้าหรือซือ้ มากกว่าความต้องการทีแ่ ท้จริง
โซ่ อปุ ทานแบบใหม่ : Integrated Enterprise
ฐานข้ อมูลกลาง

Suppliers Production Marketing Customers


Purchasing
Control /Sale

Logistics R&D Distribution Customers


Suppliers

 มีการเชื่อมโยงของโซ่อุปทานภายในองค์กร มีการแลกเปลี่ยนข้อมูล
(Information Sharing) และร่ วมมือกัน (Collaboration) ระหว่าง
แผนกต่างๆ ในองค์กร
โซ่ อปุ ทานแบบใหม่ : Extended Enterprise
Networked Information Flow

Suppliers Production Marketing Customers


Purchasing
Control /Sale

Suppliers Logistics R&D Distribution


Customers

 มีการเชื่อมโยงของโซ่อุปทานทั้งภายในและภายนอกองค์กร มีการ
แลกเปลี่ยนข้อมูล (Information Sharing) และร่ วมมือกัน (Collaboration)
ระหว่างแผนกต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกองค์กร เช่นผูผ้ ลิตสิ นค้ามีการ
แลกเปลี่ยนข้อมูลของความต้องการลูกค้ากับ Supplier โดยอาศัย
เทคโนโลยี Internet
Supply Chain Integration
 ความสาเร็จในการบริหารโซ่อุปทานเพือ่ ให้สามารถตอบสนองความต้องการของ
ลูกค้าได้อย่างยืดหยุน่ และ รวดเร็ว ขณะทีต่ น้ ทุนลดต่าลงอยูท่ ค่ี วามสามารถใน
การบูรณาการของกระบวนการหลักทางธุรกิจทัง้ ภายในและภายนอก ให้สามารถ
ร่วมกันวางแผนและดาเนินธุรกิจเป็ นหนึ่งเดียวโดยให้ความสาคัญกับผลประโยชน์
โดยรวมของทัง้ โซ่อุปทานมากกว่าบริษทั ใดบริษทั หนึ่งโดยเฉพาะ ความร่วมมือกัน
เป็ นหนึ่งนี้อาจจะเกิดขึน้ ได้ในหลายรูปแบบ เช่น
 การบูรณาการกระบวนการภายในของบริษทั รวมถึงการบูรณากระบวนการของลูกค้าผูจ้ ดั หา
วัตถุดบิ และ พันธมิตรทางธุรกิจทีส่ าคัญเข้ากับกระบวนการภายในของบริษทั
 การบูรณาการเทคโนโลยีการสือ่ สารและสารสนเทศ เพือ่ ให้การแลกเปลีย่ นและประสานข้อมูล
ข่าวสารภายในองค์กรและระหว่างองค์กรเป็ นไปอย่างถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ
 การบูรณาการวางแผนรวมกันทัง้ ภายนอกและภายใน เป็ นการรวมมือกันของทุกๆองค์กรในโซ่
อุปทาน
Supply Chain Operation
Reference Model (SCOR)
Supply Chain Reference Model (SCOR)
 เป็ นการรวบรวมกระบวนการมาตรฐานในโซ่อุปทาน 5 ส่วน คือ การ
วางแผน การจัดหาแหล่งวัตถุดบิ สินค้าและบริการ การผลิต การ
จัดส่งและส่งมอบ การส่งคืนสินค้าจากลูกค้า กระบวนการมาตรฐานจะ
ถูกแบ่งในลักษณะเป็ นกลุ่ม ซึง่ ใช้อธิบายความสัมพันธ์ภายในโซ่
อุปทานได้ ในอุตสาหกรรมทีต่ ่างกันหรือเป็ นอุตสาหกรรมคนละ
ประเภทกัน ก็สามารถทีจ่ ะเชื่อมต่อกันได้หรือสามารถแสดง
ความสัมพันธ์กนั ได้ภายใต้แบบจาลองโซ่อุปทาน และสามารถทีจ่ ะนา
แบบจาลองโซ่อุปทานนี้มาอธิบายและเป็ นพืน้ ฐานในการพัฒนาและ
ปรับปรุงโซ่อุปทาน
Supply Chain Reference Model (SCOR)
Plan

Deliver Source Make Deliver Source Make Deliver Source Make Deliver Source

Return Return Return Return Return


Return
Return Return

Customer’s
Suppliers’ Supplier Your Company Customer
Customer
Supplier
Internal or External Internal or External

SCOR Model

School of Engineering UTCC Manisra Baramichai


Level of SCOR Model
Level 1 Level 2 Level 3 Level 4 Level 5
Scope Configuration Activity Workflow Transactions
ขอบเขตกระบวนการ การกาหนดงาน การกาหนดกิจกรรม การกาหนดขัน้ ตอน การเชื่อมธุรกรรม

S1 Source S1.2 EDI XML


S
Stocked Receive
Source
Product Product

Differentiates Differentiates Names Tasks Sequences Steps Links Transactions


Business Complexity

Defines Scope Differentiates Links, Metrics, Job Details Details of


Capabilities Tasks and Automation
Practices

CxO (COO, CIO) SVP VP Manager Team Lead


EVP VP Director Team Lead Individuals
SVP Line Manager Programmer

Organization focused Activity focused

61
6
SCOR Level 1
Supply Chain Operations
Supply Chain
่ ป
การปฏิบ ัติการในโซอ ุ ทาน

Customer processes
Plan
processes
Supplier processes

Source Make Deliver


Supplier

Return Return

Standard Processes
Process, arrow indicates material flow direction
Process, no material flow Information flow

62
62
SCOR Level 2

Manisra Baramichai
SCOR Level 3
S1 Source
Stocked Product

P2.4 แผนการจัดซือ้
ES2 ข้อมูลผูผ้ ลิต
D1.3 รับสัญญาณของใกล้หมด
D1.4 รวบรวมคาสังซื ่ อ้
ES4 ทีว่ าง ES9 เครดิตการค้า
สินค้าจากผูข้ าย
S1.1 S1.2 S1.3 S1.4 S1.5
ตารางการรับ
ตรวจสอบ
สินค้าจาก รับสินค้า จัดเก็บ สังจ่
่ ายเงิน
สินค้า
ผูผ้ ลิต
ES1,ES2 ตรวจ D1.8 เตรียมส่งของ ใบรับสินค้า
ส่งสัญญาณให้ผขู้ าย ES6 รับสินค้าเข้า ประเมิน
P2.2 เลือกผูข้ าย
D1.8 ส่งข้อมูลให้เตรียมรถ

School of Engineering UTCC Manisra Baramichai


Performance Attributes: SCOR Level 1
ตัวชวี้ ด
ั Strategy
Reliability (RL) ความสามารถในการตอบสนองคาสงั่ ซอ ื้ ของ
Customer

ลูกค ้าทัง้ ในด ้านปริมาณ คุณภาพ และ เวลา


Responsiveness ความรวดเร็วในการตอบสนองคาสงั่ ซอ
ื้ ของ
(RS) ลูกค ้า
Agility (AG) ความสามารถ และความยืดหยุน
่ ของ
กระบวนการในการตอบสนองคาสงั่ ซอ
ื้ ของลูกค ้า
Internal

ทีม
่ ก
ี ารเปลีย
่ นแปลง
Cost (CO) ต ้นทุนในการบริหารจัดการกระบวนการในโซ่
อุปทาน
Assets (AM) ความสามารถและประสท ิ ธิผลในการจัดการ
ิ ทรัพย์ เพือ
สน ่ สนับสนุนการตอบสนองคาสงั่ ซอ
ื้
ของลูกค ้า
65
ตัวชี้วดั ศักยภาพของโซ่อปุ ทาน
Reliability
Line Item On Time and In จานวนการส่งสินค้าตามคาสังซื
่ อ้ ทีม่ กี ารจัดส่งสินค้าเต็มจานวนตามคาสังซื
่ อ้
Full และตรงเวลา

จานวนคาสังซื
่ อ้ ทัง้ หมด

Perfect Order Fulfillment จานวนคาสังซื


่ อ้ สินค้าทีถ่ ูกต้องทัง้ จานวนตามทีล่ กู ค้าสัง,่ ส่งของตรงเวลา,
เอกสารต่างๆ ถูกต้องครบถ้วน และ สภาพของสินค้าสมบูรณ์ทุกประการ

จานวนคาสังซื
่ อ้ ทัง้ หมด

Responsiveness
Order Fulfillment Cycle Time รอบเวลาตัง้ แต่ได้รบั คาสังซื
่ อ้ จากลูกค้าจนกระทัง้ ลูกค้าได้รบั สินค้า
ตัวชี้วดั ศักยภาพของโซ่อปุ ทาน
Agillity
Upside Supply Chain กรณีทม่ี คี าสังซื
่ อ้ ทีไ่ ม่ได้สงตามเวลาปกติ
ั่ หรือลูกค้าของเพิม่ คาสังซื
่ อ้
Flexibility กะทันหัน (เช่นเพิม่ ขึน้ 20%) บริษทั ของท่านจะสามารถตอบสนองคา
สังซื
่ อ้ ได้ภายในเวลากีว่ นั
ตัวชี้วดั ศักยภาพของโซ่อปุ ทาน
Cost
ร้อยละของต้นทุนสินค้าขายต่อยอดขาย
Cost of Goods Sold
ต้นทุนสินค้าขาย= ต้นทุนวัตถุดบิ + ต้นทุนแรงงานทางตรง+ ค่าใช้จา่ ยอื่นๆ
ต้นทุนของสินค้าขาย ในการผลิต
Total Supply Chain ร้อยละของต้นทุนการจัดการโซ่อุปทานต่อยอดขาย.
management Cost ต้นทุนการจัดการโซ่อุปทาน=ต้นทุนของกระบวนการวางแผน + ต้นทุนการ
ต้นทุนการจัดการโซ่อุปทาน จัดซือ้ + ต้นทุนการผลิต+ต้นทุนการส่งมอบ + ต้นทุนการส่งคืน + ค่าความ
ทัง้ หมด เสีย่ ง

Warranty or Return
Processing Cost
ต้นทุนของกระบวนการส่งคืนสินค้าต่อยอดขาย
ต้นทุนกระบวนการรับประกัน
หรือการส่งคืน
ตัวชี้วดั ศักยภาพของโซ่อปุ ทาน
Cost
ใช้บ่งบอกจานวนวัสดุหรือสินค้าคงคลังทีเ่ ก็บในคลังสินค้า ว่าสามารถ
Inventory Days of Supply ตอบสนองความต้องการได้เป็ นจานวนกีว่ นั แบ่งเป็ น วัตถุดบิ ) สินค้าคงคลัง
จานวนวันทีส่ นิ ค้าคงคลังพร้อม ระหว่างการผลิต(WIP), สินค้าสาเร็จรูป
ขาย จานวนวันทีส่ นิ ค้าคงคลังพร้อมขาย =มูลค่าของสินค้าคงคลังเฉลีย่ / ต้นทุน
สินค้าขาย
ตัวชีว้ ดั รอบกระแสเงินสดซึง่ ใช้บง่ บอกว่าบริษทั มีการจัดการการหมุนเวียน
ของเงินสดได้ดเี พียงใด โดยนับจากเวลาทีมก่ี ารชาระเงินให้กบั ผูส้ ง่ มอบ
Cash to Cash Cycle Time
จนกระทังลู ่ กค้าชาระเงินค่าสินค้าให้บริษทั
รอบเวลากระแสเงินสด รอบเวลากระแสเงินสด= ระยะเวลาเฉลีย่ ในการจัดเก็บสินค้า + ระยะเวลาทีจ่ ะ
ได้รบั เงินจากลูกค้า – ระยะเวลาทีต่ อ้ งจ่ายเงินให้กบั ผูส้ ง่ มอบ
ใช้บ่งบอกความรวดเร็วในการหมุนเวียนวัสดุหรือสินค้าคงคลัง ไปเป็ นรายได้
Inventory Turn over หรือไปใช้งานแบ่งเป็ นวัตถุดบิ , สินค้าคงคลังระหว่างการผลิต(WIP), สินค้า
จานวนรอบหมุนเวียนของสินค้า สาเร็จรูป
อัตราการหมุนเวียนของสินค้า = ต้นทุนขาย ( Cost of Good Sold) / มูลค่า
คงคลัง สินค้าคงคงคลังเฉลีย่
สายโซ่แห่งคุณค่า (Value chain)
 สายโซ่แห่งคุณค่า (Value chain)
 เป็ นแนวคิดทีว่ า่ ด้วยคุณค่าหรือราคาของสินค้าทีล่ กู ค้าหรือผูซ้ อ้ื ยอม
จ่ายให้กบั สินค้าตัวใดตัวหนึ่ง ซึง่ คุณค่าของสินค้าเหล่านี้เป็ นผลจาก
กิจกรรมในกระบวนการดาเนินงานของบริษทั ต่างๆทีอ่ ยูม่ นห่วงโซ่
อุปทาน เพือ่ สร้างให้สนิ ค้านัน้ มีคุณค่าต่อเจ้าของ สินค้า ซึง่ มี
กิจกรรมต่าง ๆ เกิดขึน้ มากมายระหว่างการดาเนินงาน และกิจกรรม
เหล่านี้มคี วามสัมพันธ์กนั คล้ายลูกโซ่ทต่ี ่อเนื่อง
Value: Basic Equation
กิจกกรมหลักใน Value Chain
 กิจกรรมหลัก 5 กิจกรรมทีม่ สี ว่ นช่วยในการเพิม่ คุณค่าให้กบั สินค้าและบริการเป็ นกิจกรรมที่
เกีย่ วข้องกับการผลิตหรือสร้างสรรค์สนิ ค้าหรือบริการ การตลาดและการขนส่งสินค้าหรือ
บริการไปยังผูบ้ ริโภค ประกอบด้วย
Inbound Logistics กิจกรรมทีเ่ กีย่ วข้องกับการได้รบั การขนส่ง การจัดเก็บและการ
แจกจ่ายวัตถุดบิ
Operations กิจกรรมทีเ่ กีย่ วข้องกับการเปลีย่ นหรือแปรรูปวัตถุดบิ ให้ออกมาเป็ นสินค้า เป็
นขันตอนการผลิ
้ ต
Outbound Logistics กิจกรรมทีเ่ กีย่ วข้องกับการจัดเก็บ รวบรวม จัดจาหน่ายสินค้าและ
บริการไปยังลูกค้า
Marketing and Sales กิจกรรมทีเ่ กีย่ วกับการชักจูงให้ลกู ค้าซือ้ สินค้าและบริการ
Customer Services กิจกรรมทีค่ รอบคลุมถึงการให้บริการเพือ่ เพิม่ คุณค่าให้กบั สินค้า
รวมถึงการบริการหลังการขาย
กิจกรรมสนับสนุนใน Value Chain
 กิจกรรมสนับสนุน เป็ นกิจกรรมทีช่ ว่ ยส่งเสริมและสนับสนุนให้กจิ กรรมหลักสามารถทางาน
ประสานงานกันได้ดจี นก่อให้เกิดคุณค่า ซึง่ นอกจากกิจกรรมสนับสนุ นจะทาหน้าทีส่ นับสนุน
กิจกรรมหลักแล้ว กิจกรรมสนับสนุนยังทาหน้าทีส่ นับสนุนซึง่ กันและกันอีกด้วย ประกอบด้วย
Procurement กิจกรรมในการจัดซือ้ -จัดหา input เพือ่ มาใช้ในกิจกรรมหลัก
Technology Development กิจกรรมเกีย่ วกับการพัฒนาเทคโนโลยีและระบบสารสนเทศที่
ช่วยในการเพิม่ คุณค่าให้สนิ ค้าและบริการหรือกระบวนการผลิต
Human Resource Management กิจกรรมทีเ่ กีย่ วข้องกับการบริหารทรัพยากรบุคคล ตัง้ แต่
วิเคราะห์ความต้องการ สรรหา และคัดเลือก ประเมินผล พัฒนา ฝึกอบรม ระบบเงินเดือนค่าจ้าง
และแรงงาน
Firm Infrastructure โครงสร้างพืน้ ฐานขององค์กร ได้แก่ ระบบบัญชี ระบบการเงิน การ
บริหารจัดการขององค์กร
Value Chain –Value Adding
Stage of Production Value Value of
Added Product
Farmer produces and $0.25 $0.25
harvests wheat
Wheat transported to mill $0.08 $0.33

Mill produces flour $0.15 $0.48

Flour transported to baker $0.08 $0.56

Baker produces bread $0.44 $1.00

Bread transported to $0.08 $1.08


grocery store
Grocery store displays $0.21 $1.29
and sells bread
Total Value-Added $1.29
การจาแนกประเภทกิจกรรม
Value Chain –Value Adding
1. กิจกรรมทีก่ ่อให้เกิดมูลค่าเพิม่ (Value Added : VA) หมายถึง
กิจกรรมทีก่ ่อให้เกิดการเปลีย่ นแปลงรูปร่างของวัตถุดบิ หรือข้อมูล
ข่าวสาร ให้เป็ นไปตามความต้องการของลูกค้า (หรืออาจถาม
คาถามง่ายกับตัวเองว่า ลูกค้าจาเป็ นไหมทีจ่ ะต้องจ่ายเงินสาหรับ
กิจกรรมเหล่านี้ ถ้าจาเป็ น แสดงว่ากิจกรรมนัน้ เป็ นกิจกรรมที่
ก่อให้เกิดมูลค่าเพิม่ )

75
การจาแนกประเภทกิ จกรรม
Value Chain –Value Adding

2. กิจกรรมทีไ่ ม่ก่อให้เกิดมูลค่าเพิม่ (Non Value Added : NVA)


หมายถึง กิจกรรมทีใ่ ช้เวลา ทรัพยากร หรือ พืน้ ที่ แต่ไม่ได้ทาให้
รูปร่าง หรือคุณสมบัตขิ องชิน้ งานเปลีย่ นแปลงไป หรือไม่
ตอบสนองความต้องการของลูกค้า หรือไม่ได้เพิม่ มูลค่าให้กบั ตัว
ผลิตภัณฑ์

76
การจาแนกประเภทกิ จกรรม
Value Chain –Value Adding

2. กิจกรรมทีไ่ ม่ก่อให้เกิดมูลค่าเพิม่ (Non Value Added : NVA)


 ไม่มคี ุณค่าแต่จาเป็ นต้องทา (ชนิดที่ 1) เช่น การตรวจสอบ
การขนย้าย เป็ นต้น
 ไม่มคี ุณค่าและไม่จาเป็ นต้องทา (ชนิดที่ 2) เช่น การบันทึก
ข้อมูลทีไ่ ม่ได้ใช้งานหรือไม่มปี ระโยชน์ การผลิตของเสีย การ
ผลิตเกินความต้องการ เป็ นต้น (Waste or Muda)

77
Value Chain –Value Adding

กิจกรรมที่ กิจกรรม ก
สร้ างมูลค่ า
ความสูญเสีย กิจกรรม ข

กิจกรรมที่ไม่ ได้ เพิ่ม กิจกรรม ค


มูลค่ าแต่ ไม่ สามารถ
หลีกเลี่ยงได้

การลดความสูญเสียทาให้ ตอบสนองได้ ดขี นึ ้


Wastes
 ความสูญเปล่าจากการผลิตของเสีย (Defects)
 ความสูญเปล่าจากการผลิตเกินความต้องการ (Over production) ทาให้เกิดจาก
การเก็บ สต๊อกมากเกินไป
 ความสูญเปล่าจากการรอคอย / ความล่าช้า (Waiting time / Delay) เช่น
เครือ่ งจักรเสีย ทาให้พนักงานว่างงาน
 ความสูญเปล่าจากการเก็บวัสดุคงคลังมากเกินไป (Excessive Inventory) สัง่
วัสดุ ปริมาณมากแต่มกี ารใช้น้อย ดัง้ นัน้ การสังซื
่ อ้ ต้องมีเหตุผลในการสังและ ่
ประหยัด ต้องสังตามจ
่ านวน
 ความสูญเปล่าจากการขนย้ายทีไ่ ม่จาเป็ น (Unnecessary Transport) จึงควรมี
วิธกี ารขนย้ายทีเ่ หมาะสมและถูกวิธหี รือไม่ ต้องมีวธิ กี ารทีด่ แี ละจาเป็ นต้องขน
ย้าย
Wastes
 ความสูญเปล่าจากการมีขนั ้ ตอนการทางานทีม่ ากเกินความจาเป็ น ทาให้เกิด
ความล่าช้าในการผลิต ซึง่ ทาให้กระทบต่อการจัดส่งสินค้าได้ ทัง้ ยังทาให้เกิด
ความเมือ่ ยล้าต่อพนักงานและเป็ นต้นทุนอีกด้วย
 ความสูญเปล่าจากการเคลื่อนไหวร่างกายทีไ่ ม่จาเป็ น (Unnecessary Motion)
การเคลื่อนไหวร่างกายมากเกินความจาเป็ น ทาให้สญ ู เสียเวลาในการผลิตและ
เกิดความเมือ่ ยล้า
Lean Supply Chain
 LEAN คือการออกแบบและการจัดการกระบวนการ, ระบบ, ทรัพยากร ทัง้ หมด
เพือ่ ให้ตงั ้ แต่จากผูจ้ ดั ส่งวัตถุดบิ ไปสูผ่ บู้ ริโภคอย่างเหมาะสม ทาให้สามารถส่ง
มอบผลิตภัณฑ์ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมในครัง้ แรกทีด่ าเนินการ โดยพยายามให้
เกิดความสูญเสียน้ อยทีส่ ดุ (Minimum Waste) หรือมีสว่ นเกินทีไ่ ม่จาเป็ น
น้อยทีส่ ดุ โดยความสูญเสียดังกล่าวจะประเมินจากกิจกรรมหรือกระบวนการ
ทัง้ หมดทีใ่ ช้ทรัพยากรโดยไม่ก่อให้เกิดมูลค่าเพิม่ (Non-value added)ในการ
ผลิต
 หลักการ LEAN จะเน้นไปทีก่ ารจัดหาผลิตภัณฑ์หรือการบริการทีล่ กู ค้าต้องการ
โดยการทาความเข้าใจในกระบวนการผลิต และบ่งชีค้ วามสูญเสียภายใน
กระบวนการเหล่านัน้ และกาจัดความสูญเสียเหล่านัน้ ทีละขัน้ ตอนอย่างต่อเนื่อง
Supply Chain Optimization
 การออกแบบและการดาเนินงานโซ่อุปทาน
 จะต้องทาให้ตน้ ทุนโดยรวมทัง้ ระบบต่าสุด ขณะทีร่ ะดับบริการทัง้ ระบบ
โดยรวมจาเป็ นจะต้องสามารถรักษาไว้ให้
 สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าทีเ่ ปลีย่ นแปลงได้ใน "เวลา" ที่
รวดเร็ว
 ขจัดความไม่แน่นอนให้มากทีส่ ดุ เท่าทีจ่ ะเป็ นไปได้ และจัดการกับความไม่
แน่นอนทีเ่ หลืออยูใ่ ห้เหลือน้อยทีส่ ดุ
Supply Chain Flexibility and Responsiveness
 Supply Chain ในปจั จุบนั ต้องมีความยืดหยุน่ และสามารถตอบ
สนองตอบความต้องการของลูกค้าทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปได้อย่างรวดเร็ว
ทัง้ ในแง่ของปริมาณการจัดส่งทีเ่ พิม่ ขึน้ หรือลดลง ความหลากหลาย
ของผลิตภัณฑ์ (product variety) และบริการ ภายใต้ตน้ ทุนต่า ซึง่
ต้องการการลดย่อเวลาของระบบทุก ๆ ส่วน ตัง้ แต่การเกิดของ
ผลิตภัณฑ์จนถึงการนาส่งผลิตภัณฑ์ เช่นกระบวนการการออกแบบ
อย่างรวดเร็ว การผลิตอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะเวลาตัง้ แต่ลกู ค้า
ตัดสินใจจะซือ้ สินค้าจนถึงเวลาในการนาส่งสินค้า
Supply Chain Agility
 Supply Chain ทีม่ คี วามคล่องตัวต้องสามารถปรับตัวเพือ่ รับมือกับ
การเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ แม้วา่ การเปลีย่ นแปลงนัน้ อาจเป็ นการ
เปลีย่ นแปลงทีเ่ ราไม่สามารถคาดการณ์ได้ล่วงหน้า รากฐานทีส่ าคัญที่
ทาให้องค์กรเกิดความคล่องตัว คือ การกาหนดโครงสร้าง
กระบวนการ และรูปแบบความสัมพันธ์ ทีส่ ามารถปรับเปลีย่ นได้อย่าง
รวดเร็ว โดยปจั จัยเหล่านี้จะช่วยเอือ้ ให้องค์กรจะสามารถทีจ่ ะ
ตอบสนองต่อความเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้
การวางแผนโซ่อปุ ทานและโลจิสติกส์ในระดับกลยุทธ์
(Strategic Planning)
 การวางแผนโซ่อุปทานและโลจิสติกส์ในระดับกลยุทธ์ (Strategic Planning) จะ
ครอบคลุมการกาหนดโครงสร้างโซ่อุปทานรวมถึงทิศทาง (Direction) ของ
กิจกรรมโลจิสติกส์ การวางแผนกลยุทธ์ส่วนใหญ่จะทาเป็ น แผนระยะยาว 3 ถึง 10
ปี โดยจะคลอบคลุมประเด็นต่างๆ เช่น
 การกาหนดจานวน และ ขนาด ตาแหน่งทีต่ งั ้ ของของสิง่ อานวยความสะดวกต่างๆที่
สนับสนุ นการดาเนินงานขององค์กร
 การจัดสรรสิง่ อานวยความสะดวก ทีจ่ ะสนับสนุ นการดาเนินงานใน Supply Chain
เช่น การเลือกโรงงานจะผลิตผลิตภัณฑ์ทใ่ี นแต่ละไหน (Facility Allocation)
 การกาหนดช่องทางในการกระจายสินค้า (Determine Best Distribution Channels)
 การจัดหาวัสดุและสินค้าจากเครือข่ายโลจิสติกส์ (Sourcing Strategy)
การวางแผนโซ่ อุปทานและโลจิสติกส์ ในระดับหน้ าทีง่ าน
(Tactical Planning)
 การวางแผนโซ่อุปทานและโลจิสติกส์ในระดับหน้าที่งาน (Tactical Planning) คือ
วางแผนเพื่อกาหนดวัตถุประสงค์ แนวทาง เป้ าหมายของการดาเนินงานของแต่ละ
กิจกรรมโลจิสติกส์ รวมถึงกิจกรรมอื่นๆในโซ่อุปทานที่ตอ้ งดาเนินการเพื่อ
สนับสนุนกลยุทธ์หลักขององค์กร การวางแผนในระดับนี้มกั เป็ นการวางแผนระยะ
กลางตั้งแต่ 6 เดือน ถึง 3 ปี โดยจะคลอบคลุมประเด็นต่างๆ เช่น
 การวางแผนอุปสงค์ (Demand Planning)
 การวางแผนการผลิต (Production Planning)
 การวางแผนการจัดซื้อ จัดหา (Procurement Planning)
 การวางแผนวัสดุและสิ นค้าคงคลัง (Inventory Planning
 การวางแผนกระบวนการขนส่ ง (Transportation Planning)
 การวางแผนกระจายสิ นค้า (The Frequency With Which Customers are Visited)
การวางแผนโซ่อปุ ทานและโลจิสติกส์ในระดับ
ปฎิบตั ิ การ
 การวางแผนโซ่อุปทานและโลจิสติกส์ในระดับปฎิบตั กิ าร (Operational
Planning) เป็ นการวางแผนเพือ่ กาหนดขัน้ ตอน วิธกี ารดาเนินงานของ
แผนการทีว่ างไว้ระดับหน้าทีแ่ ละระดับกลยุทธ์ โดย การวางแผนในระดับ
นี้มกั เป็ นการวางแผนระยะสัน้ ตัง้ แต่ 1 สัปดาห์ ถึง 3 เดือน ซึง่ จะ
ประกอบด้วยการวางแผนทีเ่ กีย่ วข้องกับ การดาเนินงานด้านต่างๆ ดังนี้
 การจัดตารางการผลิต (Production Scheduling)
 การจัดตารางเครือ่ งจักร (Machine Scheduling)
 การจัดตารางและจัดเส้นทางการจัดส่งสินค้า (Transportation Scheduling
and Vehicle Routing)
 การจัดตารางและการมอบหมายงาน (Work Scheduling and Assignment )
 การกาหนดแผนการส่งมอบของผูส้ ง่ มอบ (Schedule Supplier Delivery)
Supply Chain Planning
 การออกแบบเครื อข่ายเชิงกลยุทธ์— เครื่ องมือจาลองแบบและขยายประโยชน์เพื่อ
บ่งชี้จานวน ที่ต้ งั ขนาด และความสามารถของสิ่ งอานวยความสะดวกได้อย่างมี
ประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ด ทั้งนี้เพื่อให้สอดคล้องกับเป้ าหมายในการบริ การลูกค้า การ
วางแผนกลยุทธ์ตามช่วงเวลาเพื่อชี้วา่ ควรซื้ อ จัดเก็บ และเคลื่อนย้ายผลิตภัณฑ์ใน
เครื อข่ายไปยังที่ไหนและเมื่อใด
 การวางแผนอุปสงค์— เครื่ องมือที่ใช้คาดการณ์ล่วงหน้า อินเตอร์ เฟสความร่ วมมือ
บนเว็บ และรายงานยอดขายและการปฏิบตั ิงาน รวมถึงระบบเมตริ กต่างๆ ที่ช่วย
บริ ษทั ในการคาดการณ์และจัดการกับความต้องการของลูกค้าได้แม่นยายิง่ ขึ้น
Supply Chain Planning
 การวางแผนจัดจาหน่าย— การวิเคราะห์สินค้าคงคลังและการคานวณเป้ าหมาย
สิ นค้าคงคลังแบบผันผวนเพื่อให้ ได้ยอดสมดุลสู งสุ ดระหว่างระดับการให้บริ การ
และการลงทุนด้านสิ นค้าคงคลัง ปรับแผนการสั่งสิ นค้าทดแทนแบบทันควันในทุก
จุดของเครื อข่ายย้อนกลับไปยังผู ้ ผลิต และแหล่งสิ นค้าเพื่อวิสัยทัศน์ที่ดีกว่า
 การวางแผนการผลิต— ระบบวางแผนแบบก้าวหน้าซึ่ งมุ่งเน้นที่ขอ้ จากัดสาหรับ
สภาพแวดล้อมการผลิตแบบ ทาซ้ า แบบรวมกลุ่ม และด้านวิศวกรรม โดยใช้
เครื่ องมือที่คล้ายคลึงกันสาหรับผูผ้ ลิตเชิงกระบวนการ
 การจัดการตารางการผลิต— การจัดตารางความสามารถที่เหมาะสมสาหรับ
สิ่ งแวดล้อมการผลิตแบบทาซ้ า แบบรวมกลุ่ม และด้านวิศวกรรม เช่นเดียวกับ
อุปกรณ์ดา้ นกระบวนการผลิตที่เป็ นชุด
Supply Chain Planning
 การวางแผนการขนส่ งและการจัดส่ งสิ นค้า— การวางแผนการขนส่ ง การจัดหา
พาหนะ การวางเส้นทาง การบริ หารการขนส่ ง การส่ งหี บห่อขนาดเล็กทางเรื อ และ
การจัดส่ งสิ นค้าระดับชาติสาหรับส่ งแบบเปลี่ยนถ่ายพาหนะ
 ระบบจัดการโกดังสินค้า— การปฏิบตั ภิ ารกิจจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งและ
การกระจายทีร่ วมถึงสินค้าคง คลัง แรงงาน และการจัดการงานและหน้าที่
เช่นเดียวกับการลาเลียงสินค้า (cross docking) บริการทีเ่ พิม่ มูลค่า การจัดการ
ท่าจัดส่งสินค้า การเป็ นเจ้าของสินค้าคงคลังร่วมกัน การวางบิล/เรียกเก็บเงิน
และการกระจายสินค้าโดยใช้เสียงสังการ ่
Supply Chain Planning Processes

Demand Forecasting
Material Planning Demand Planning

แผนจัดซื ้อ แผนจัดซื ้อ
Production
แผนจัดการวัสดุคงคลัง
Plan

Supplier Logistics Warehouse Plant Warehouse Logistics Retailer

แผนจัดการวัสดุคงคลัง แผนจัดการวัสดุคงคลัง

Order Management
การจัดการคลังสินค้า

93 กรมอุตสาหกรรมพื ้นฐานและการเหมืองแร่
หัวข้อการอบรม
1. การจัดการคลังสินค้า
2. ตัวชี้วดั ประสิทธิภาพของการจัดการคลังสินค้า
3. การออกแบบและวางผังคลังสินค้า
4. อุปกรณ์ที่ใช้ในคลังสินค้า
5. การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการคลังสินค้า
ความสาคัญของคลังสินค้า
 สนับสนุนการให้บริการลูกค้า
 ความสะดวก ถูกต้อง รวดเร็ว และต้นทุนต่า
 สนับสนุนการผลิตให้เป็ นไปอย่างราบรื่น
 ลดเวลานา ป้องกันวัตถุดบ ิ ขาดแคลน ป้องกันปญั หาจากฤดูกาล ปญั หาการขนส่ง
 เพื่อรองรับสินค้าจากการผลิต
 การผลิตเป็ นล็อตขนาดใหญ่ (mass production) เพือ ่ ความคุม้ ค่า
 การผลิตไว้จาหน่ ายตามฤดูกาล
 การผลิตและจัดเก็บเพือ ่ เก็งกาไร
 เพื่อจัดเก็บวัตถุดิบจากการจัดซื้อ
 การจัดซือ ้ เป็ นล็อตขนาดใหญ่ เพือ่ ได้สว่ นลดจากราคา คุม้ ค่าการขนส่ง
 เพือ ่ รองรับปญั หาด้านราคาวัตถุดบิ
 เพื่อเก็บสินค้าที่ใช้ในการส่งเสริมการขาย
 ของแถม ของแจก
คลังสินค้า และกิจกรรมในคลังสินค้า
ความสัมพันธ์ของคลังสินค้ากับกิจกรรมอื่นๆ
การจัดการคลังสินค้ากับการผลิต
คลังสินค้ากับการผลิตมีความสัมพันธ์กนั มาก กล่าวคือ การผลิตทีผ่ ลิตเป็ นปริมาณ
น้อยแต่ทาการผลิตบ่อยๆ หรือการผลิตทีผ่ ลิตตามคาสังซื ่ อ้ ของลูกค้า หรือทีเ่ รียกว่า
ระบบการผลิตแบบตามคาสังซื ่ อ้ (Make to order) นัน้ จะทาให้ตน้ ทุนด้านพัสดุคง
คลังน้อย แต่ตน้ ทุนการตัง้ สายการผลิตสูง (Setup cost) ซึง่ อาจจะสูงมาก จนทาให้
ต้นทุนรวมของการผลิตสูง ในทางตรงกันข้ามในระบบการผลิตทีผ่ ลิตต่อครัง้ เป็ น
ปริมาณมาก (Make to stock) ซึง่ จะทาให้ตน้ ทุนการตัง้ สายการผลิตต่า แต่ตอ้ งมี
ต้นทุนพัสดุคงคลังสูง (Inventory carrying cost) ซึง่ มีความจาเป็ นต้องสร้าง
คลังสินค้ารองรับ และมีระบบการจัดการคลังสินค้าทีม่ ปี ระสิทธิภาพ
ความสัมพันธ์ของคลังสินค้ากับกิจกรรมอื่นๆ
การจัดการคลังสินค้ากับการขนส่ง
คลังสินค้ากับการขนส่งมีความสัมพันธ์กนั มาก กล่าวคือ ในการขนส่งทีต่ อ้ งการ
รวบรวมสินค้าก่อนการขนส่ง(Consolidate) เพือ่ ประโยชน์ของการขนส่งทีเ่ ป็ น
ปริมาณมาก นัน้ จาเป็ นต้องใช้คลังสินค้าเป็ นจุดรวบรวมและกระจายสินค้า
(Consolidate point) ทัง้ นี้เพือ่ เป็ นการประหยัคค่าขนส่ง (Transportation cost)
ถึงแม้วา่ การขนส่งบางประเภทจะช่วยลดต้นทุนการขนส่งลงได้โดยไม่ตอ้ งใช้
คลังสินค้าช่วย เช่น ระบบการขนส่งแบบ Milk run แต่กต็ อ้ งใช้ระบบการจัดการ
ผลิตทีม่ ปี ระสิทธิภาพและต้องอาศัยการแบ่งปนั ข้อมูลทีม่ าก และยังต้องการระบบ
การจัดการทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูงด้วย
ความสัมพันธ์ของคลังสินค้ากับกิจกรรมอื่นๆ
การจัดการคลังสินค้ากับการบริการ
คลังสินค้ากับการบริการมีความสัมพันธ์กนั มาก กล่าวคือ ในกิจการบาง
ประเภทต้องการระดับการตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้าทีร่ วดเร็วและ
แม่นยา เช่น ระบบ Quick response ในธุรกิจสินค้าอุปโภค บริโภค
(Consumable product) นัน้ จาเป็ นต้องใช้คลังสินค้าและระบบการจัดการ
คลังสินค้าทีม่ ปี ระสิทธิภาพเพือ่ ตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้าได้อย่าง
รวดเร็ว ซึง่ เป็ นการเพิม่ ความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจ

99 กรมอุตสาหกรรมพื ้นฐานและการเหมืองแร่
ประเภทของคลังสินค้า
 คลังสินค้าสาหรับเก็บรักษา (Storage)
 คลังสินค้าสาหรับกระจายสินค้า (Distribution Center) เป็ น
 คลังสินค้าทัณฑ์บน (Bonded Warehouse)
 คลังสินค้าควบคุมอุณหภูมิ ได้แก่คลังสินค้าซึง่ ต้องมีการควบคุมอุณหภูมิ เช่น
Frozen Storage , คลังสินค้าเก็บเคมีหรือคลังสินค้าเก็บไวน์
 คลังยุทธ์ปจั จัย เป็ นคลังสินค้าทีม่ ไี ว้เพือ่ การทหาร
 คลังสินค้าเทกอง มักจะเป็ นคลังสินค้าทีไ่ ม่มหี ลังคา ใช้ในการเก็บพืชไร่ , แร่ธาตุ
 คลังสินค้าประเภทไซโลและถัง (Silo & Tank) ซึง่ มีลกั ษณะปิดมิด
คลังสินค้าสาหรับกระจายสินค้า
(Distribution Center)
วัตถุประสงค์ของคลังประเภทกระจายสินค้า
 เพือ่ ความรวดเร็วในการกระจายสินค้าโดยรวม การกระจายสินค้าต้องสอดคล้องกับการ
ประชาสัมพันธ์สนิ ค้า ในด้านการผลิตต้องมีการกระจายสินค้าไปสูค่ ลังสินค้าต่างๆ ได้ตรง
ตามแผนการผลิตของลูกค้า
 ประหยัดต้นทุนรวมของสินค้า โดยการผลิตทีเ่ รียกว่า Zero Stock
 ใช้เป็ นกลยุทธ์ในการกระจายสินค้า เพือ่ ให้ได้เปรียบคูแ่ ข่งขัน โดยอาจไปตัง้ คลังสินค้าใกล้
กับลูกค้า
 ใช้เป็ นศูนย์รวบรวมสินค้า เพือ่ ให้มปี ริมาณพอเพียงกับการจัดส่ง เช่น การบรรจุสนิ ค้าแบบ
Consolidate คือรวบรวมสินค้าของแต่ละผูส้ ง่ หรือผูข้ าย ซึง่ มีจานวนไม่พอเพียงทีจ่ ะจัดส่ง
ให้เต็มตู้ Container
คลังสินค้ากับศูนย์กระจายสินค้า
คลังสินค้า (Warehouse) ศูนย์กระจายสินค้า (Distribution Center)
เก็บสินค้าทุกประเภท เก็บสินค้าน้อยประเภทโดยเน้นเฉพาะสินค้าทีอ่ ยูใ่ นความ
ต้องการของตลาด
ดาเนินงานส่วนใหญ่ประกอบด้วยการรับ การดาเนินงานส่วนใหญ่ประกอบด้วยการรับ จัดส่ง
จัดเก็บ เลือกหยิบและการจัดส่ง กระจาย คัดแยก เปลีย่ นถ่ายสินค้า และบริการโลจิสติกส์
ไม่มกี จิ กรรมทีท่ าให้เกิดมูลค่าเพิม่ แก่ มีกจิ กรรมทีส่ ามารถทาให้เกิดมูลค่าเพิม่ แก่สนิ ค้ามากซึง่
สินค้า รวมทัง้ การประกอบสินค้าขัน้ สุดท้าย (บรรจุ ติดฉลาก)
มีการเก็บข้อมูลทีเ่ กีย่ วข้องทีละงวด การเก็บข้อมูลทีเ่ กีย่ วข้องทันทีทเ่ี กิดขึน้ จริง
เน้นการส่งสินค้าตามทีต่ อ้ งการโดยให้ เน้นการจัดส่งสินค้าให้ลกู ค้าตามทีต่ อ้ งการโดยให้เกิด
ต้นทุนการดาเนินงานต่าสุด กาไรสูงสุด
กิจกรรมหลักของการคลังสินค้า
1. การรับสินค้า (Goods Receipt)
2. การตรวจพิสจู น์ทราบ (Identify goods)
3. การตรวจแยกประเภท (Sorting goods)
4. การจัดเก็บสินค้า (Put away)
5. การดูแลรักษาสินค้า (Holding goods)
6. การนาออกจากทีเ่ ก็บ (Picking)
7. การบรรจุ (Packaging) และ การให้บริการหลังหารผลิต (Post Manufacturing
Service)*
8. การเตรียมการจัดส่งสินค้า (Staging goods)
9. การจัดส่ง (Shipping)
Warehousing Process and Activities
Order
Management
ERP
Inbound Warehouse System Transportation
Management Outbound
Products Management
Products

Cross-Docking Staging &


Receiving
Shipping
Flow-Through

Identifying
Put-away Picking Packaging
Sorting
Traditional
Post-Mfg
Storage Services

© 2009 APICS CONFIDENTIAL AND


Cross Docking Warehouse
 เป็ นคลังสินค้าชนิดท่าเปลีย่ นถ่ายสินค้า (Cross-Dock Warehouse) ทีใ่ ช้สาหรับคัดแยก
(Sorting) ผสมสินค้า (Mixing) และกระจายสินค้าไปยังลูกค้าปลายทาง ทาให้คลังสินค้าชนิดนี้
เป็ นคลังสินค้าทีร่ องรับการส่งสินค้าผ่านระหว่างจุดทีร่ บั สินค้าเข้าและจุดทีส่ ง่ สินค้าออกโดยไม่
ต้องนาสินค้าเข้าไปเก็บในคลังสินค้า
 การใช้ทา่ รับส่งสินค้าทีใ่ ช้งานร่วมกันนี้สว่ นทีจ่ าเป็ นคือการประสานงานทีด่ ขี องการรับสินค้า
และการขนส่งสินค้าออก เนื่องมาจากไม่มที เ่ี ก็บสินค้า
 มักใช้ได้ดกี บั การส่งผ่านสินค้าประเภททีเ่ น่าเสียง่าย เช่น ผักสด
 ธุรกิจค้าปลีกสมัยใหม่ (Modern trade) ทีม่ สี นิ ค้าจานวนมาก (> 10,000 SKUs: Stock-
Keeping-Unit) นิยมทีจ่ ะไม่เก็บสินค้าจานวนมากเนื่องจากจะทาให้เสียพืน้ ทีอ่ กี ทัง้ เสีย
ค่าใช้จา่ ยสูงทัง้ ค่าประกันภัย, ค่ารักษาความปลอดภัย แต่ทงั ้ นี้ไม่ได้หมายความว่าการกระจาย
สินค้าออกทันทีโดยไม่เก็บสินค้าจะมีตน้ ทุนถูกทีส่ ุด ทัง้ นี้ตอ้ งพิจารณาต้นทุนอื่นๆ เช่น
ระยะทางการขนส่ง
Cross Docking Warehouse
Shipping

Receiving
ข้อควรระวังในการใช้ Cross Docking
 Demand ควรจะมีความแน่นอน (Demand Stability)
 ต้องมีการประสานงานอย่างใกล้ชดิ กับผูส้ ง่ มอบ (Supplier) รวมถึงผูส้ ง่ มอบต้อง
เชื่อถือได้มฉิ ะนัน้ จะรวนทัง้ ระบบ (มักมีคา่ ปรับเข้ามาใช้หากนาส่งสาย)
 ต้องใช้คอมพิวเตอร์ชว่ ยสนับสนุนในการรับ ส่ง ข้อมูลและประสานงาน
 ไม่เหมาะสมกับสินค้าทีต่ อ้ งใช้เวลาในการตรวจสอบคุณภาพหรือมาตรฐานสินค้านาน
 เนื่องจากมีการส่งสินค้าถีข่ น้ึ ดังนัน้ อาจเกิดปญั หาสินค้าอาจจะถูกส่งในระวางทีน่ ้อย
กว่าปริมาณเต็มหนึ่งพาเล็ตได้งา่ ย และมักมีปริมาณไม่ถงึ หนึ่งคันรถ ทาให้คา่ ขนส่ง
เพิม่ ขึน้
 ต้องมีพน้ื ทีส่ าหรับการขนถ่ายสินค้าพอประมาณในคลังสินค้าสาหรับกิจกรรมการคัด
แยกสินค้า
กิจกรรมหลักของการคลังสินค้า
1. การรับสินค้า (Goods Receipt)
2. การตรวจพิสจู น์ทราบ (Identify goods)
3. การตรวจแยกประเภท (Sorting goods)
4. การจัดเก็บสินค้า (Put away)
5. การดูแลรักษาสินค้า (Holding goods)
6. การนาออกจากทีเ่ ก็บ (Picking)
7. การบรรจุ (Packaging) และ การให้บริการหลังการผลิต (Post Manufacturing
Service)*
8. การเตรียมการจัดส่งสินค้า (Staging goods)
9. การจัดส่ง (Shipping)
งานรับสินค้า (Goods Receipt)
 รายละเอียดของการปฏิบตั งิ านรับสินค้ามีความแตกต่างกัน ขึน้ อยูก่ บั
แบบสินค้า และสิง่ อานวยความสะดวกในการเก็บรักษา
 นอกจากนัน ้ สินค้าทีร่ บั เข้ามา ก็มาจากแหล่งต่างกัน การขนส่งใช้
ยานพาหนะทีแ่ ตกต่างกัน ภาชนะ หรือหีบห่อบรรจุมลี กั ษณะแตกต่าง
กัน
 สิง่ เหล่านี้มผี ลต่อรายละเอียดในการปฏิบตั งิ านรับสินค้า ทาให้แตกต่าง
กันออกไปด้วย
 การจัดทาเอกสารในการรับสินค้า และการดาเนินกรรมวิธแี รกรับที่
รวดเร็วมีความสาคัญต่อการดาเนินงานคลังสินค้าทีม่ ปี ระสิทธิผล
การตรวจพิสจู น์ ทราบ (Identify and Sort Goods)
 เป็ นกระบวนการในการตรวจสภาพ จานวน และคุณสมบัตขิ องสินค้าที่
จะได้รบั เข้ามานัน้ ว่าถูกต้องตรงตามเอกสารการส่งหรือไม่เพือ่ รับรอง
ความถูกต้องในเรือ่ งของ ชื่อ แบบ หมายเลข หรือข้อมูลอื่นๆ ซึง่ เป็ น
ลักษณะเฉพาะของสินค้ารายการนัน้
 เป็ นกระบวนการแยกประเภทสินค้า ออกเป็ นหมวดหมู่ เพือ ่ ความ
สะดวกในการเก็บรักษา เช่น เป็ นของดี ของชารุด ของเก่า ของใหม่
 ความจาเป็ นในเรือ ่ งเหล่านี้อาจไม่เหมือนกันกับคลังสินค้าแต่ละ
ประเภท
งานจัดเก็บสินค้า (Put away)
 การขนย้ายสินค้าจากพืน้ ทีร่ บั สินค้าเข้าไปยังตาแหน่งเก็บทีไ่ ด้ไว้
กาหนดไว้ล่วงหน้า และจัดวางสินค้านัน้ ไว้อย่างเป็ นระเบียบ
 บันทึกเอกสารเก็บรักษาทีเ่ กีย ่ วข้องเช่น บัตรตาแหน่งเก็บ ป้ายประจา
กอง
 ต้องมีการวางแผน เพือ ่ ให้สามารถจัดเก็บสินค้าอย่างเป็ นระเบียบ และ
ประหยัดเนื้อทีเ่ วลาแรงงาน ง่ายแก่การดูแลรักษา และง่ายต่อการนา
ออกเพือ่ การจัดส่งในโอกาสต่อไป
งานจัดเก็บสินค้า (Put Away)
ระบบการจัดเก็บที่ไม่ได้กาหนดตาแหน่ งตายตัว (Random Location System)
 เป็ นการจัดเก็บทีไ่ ม่ได้กาหนดตาแหน่ งตายตัว ทาให้สน ิ ค้าแต่ละชนิดสามารถถูก
จัดเก็บไว้ในตาแหน่งใดก็ได้ในคลังสินค้า แต่รปู แบบการจัดเก็บแบบนี้จาเป็ นต้อง
มีระบบสารสนเทศในการจัดเก็บและติดตาม ข้อมูลของสินค้าว่าจัดเก็บอยูใ่ น
ตาแหน่งใดโดยต้องมีการปรับปรุงข้อมูลอยู่ ตลอดเวลาด้วย
 ข้อดี: สามารถใช้งานพืน ้ ทีจ่ ดั เก็บได้อย่างเกิดประโยชน์สงู สุด มีความยืดหยุน่ สูง
ง่ายต่อการขยายการจัดเก็บ ง่ายในการปฏิบตั งิ าน ระยะทางเดินหยิบสินค้าไม่ไกล
 ข้อเสีย: ต้องมีการบันทึกข้อมูลการจัดเก็บสินค้าอย่างละเอียดและมีประสิทธิภาพ
ต้องเข้มงวดในติดตามการบันทึกข้อมูลการจัดเก็บ
งานจัดเก็บสินค้า (Put Away)
ระบบจัดเก็บโดยกาหนดตาแหน่ งตายตัว (Fixed Location System)
 แนวความคิดในการจัดเก็บสินค้ารูปแบบนี้ สินค้าทุกชนิดหรือทุก SKU นัน ้ จะมี
ตาแหน่งจัดเก็บทีก่ าหนดไว้ตายตัวอยูแ่ ล้ว ซึง่ การจัดเก็บรูปแบบนี้เหมาะสาหรับ
คลังสินค้าทีม่ ขี นาดเล็ก มีจานวนพนักงานทีป่ ฏิบตั งิ านไม่มากและมีจานวน
สินค้าหรือจานวน SKU ทีจ่ ดั เก็บน้อยด้วย
 ข้อดี: ง่ายต่อการนาไปใช้ ง่ายต่อการปฏิบต ั งิ าน
 ข้อเสีย: ใช้พน ้ื ทีจ่ ดั เก็บไม่ได้ไม่เต็มที่ ต้องเสียพืน้ ทีจ่ ดั เก็บโดยเปล่าประโยชน์ใน
กรณีทไ่ี ม่มสี นิ ค้าอยูใ่ นสต็อก ต้องใช้พน้ื ทีม่ ากหลายตาแหน่งในการจัดเก็บสินค้า
ให้มากทีส่ ดุ ยากต่อการขยายพืน้ ทีจ่ ดั เก็บ ยากต่อการจดจาตาแหน่งจัดเก็บ
สินค้า
งานจัดเก็บสินค้า (Put Away)
 ระบบการจัดเก็บแบบผสม (Combination System)
เป็ นรูปแบบการจัดเก็บทีผ่ สมผสานหลักการของรูปแบบการจัดเก็บในข้างต้น โดย
ตาแหน่งในการจัดเก็บนัน้ จะมีการพิจารณาจากเงือ่ นไขหรือข้อจากัดของสินค้า ชนิด
นัน้ ๆ เช่น หากคลังสินค้านัน้ มีสนิ ค้าทีเ่ ป็ นวัตถุอนั ตรายหรือสารเคมีต่างๆ รวมอยูก่ บั
สินค้าอาหาร จึงควรแยกการจัดเก็บสินค้าอันตราย และสินค้าเคมีดงั กล่าวให้อยูห่ า่ ง
จากสินค้าประเภทอาหาร และเครือ่ งดืม่ เป็ นต้น ซึง่ ถือเป็ นรูปแบบการจัดเก็บแบบ
กาหนดตาแหน่งตายตัว สาหรับพืน้ ทีท่ เ่ี หลือในคลังสินค้านัน้ เนื่องจากมีการคานึงถึง
เรือ่ งการใช้งานพืน้ ทีจ่ ดั เก็บ ดังนัน้ จึงจัดใกล้ทเ่ี หลือมีการจัดเก็บแบบไม่ได้กาหนด
ตาแหน่งตายตัว (Random) ก็ได้โดยรูปแบบการจัดเก็บแบบนี้เหมาะสาหรับ
คลังสินค้าทุกๆแบบ โดยเฉพาะอย่างยิง่ คลังสินค้าทีม่ ขี นาดใหญ่และสินค้าทีจ่ ดั เก็บ
นัน้ มีความ หลากหลาย
งานจัดเก็บสินค้า (Put Away)
 ระบบการจัดเก็บสินค้าตามประเภทของสินค้า (Commodity System)
เป็ นรูปแบบการจัดเก็บสินค้าทีม่ กี ารจัดวางสินค้าในกลุม่ เดียวกันหรือประเภท
เดียวกันไว้ ตาแหน่งทีใ่ กล้กนั โดยอาจจัดเป็ น โซน โดยสินค้าทีจ่ ดั เก็บอยูภายใน
โซนเดียวกัน อาจมีการใช้พน้ื ทีร่ ว่ มกันได้ ซึง่ จะช่วยในการเพิม่ ประสิทธิภาพใน
การจัดเก็บสินค้า เนื่องจากการใช้งานพืน้ ทีจ่ ดั เก็บ มากขึน้ และยังง่ายต่อ
พนักงาน pick สินค้าในการทราบถึงตาแหน่งของสินค้าทีจ่ ะต้องไปหยิบ
 ข้อดี สินค้าถูกแบบ่งตามประเภททาให้พนักงานผูป้ ฏิบตั งิ านเข้าได้ได้งา่ ย การ
หยิบสินค้าทาได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความยืดหยุน่ สูง
 ข้อเสีย ในกรณีทส่ี นิ ค้าประเภทเดียวกันมีหลายรุน่ /ยีห่ อ้ อาจทาให้หยิบสินค้าผิด
รุน่ /ยีห่ อ้ ได้ จาเป็ นต้องมีความรูใ้ นเรือ่ งของสินค้าแต่ละชิดหรือแต่ละยีห่ อ้ ทีจ่ ะ
หยิบ การใช้สอยพืน้ ทีจ่ ดั เก็บดีขน้ึ แต่ยงั ไม่ดที ส่ี ดุ
งานดูแลรักษาสินค้า (Holding Goods)
 หลังจากทีไ่ ด้จดั เก็บสินค้าในพืน้ ทีเ่ ก็บรักษาของคลังสินค้า จะต้องเอา
มาตรการต่างๆของการดูแลรักษามาใช้ เพือ่ ป้องกันไม่ให้สนิ ค้าทีเ่ ก็บ
รักษาอยูใ่ นคลังสินค้าเกิดความเสียหายสูญหายหรือเสือ่ มคุณภาพ
สินค้านี้ตอ้ งได้รบั การป้องกันจากการถูกขโมย ป้องกันจากสภาพ
อากาศ งานดูแลรักษาสินค้าอาจประกอบด้วยงานย่อยต่างๆ เช่น
 การตรวจสภาพ
 การถนอม สินค้าบางประเภทย่อมต้องการถนอมตามระยะเวลา
 การตรวจสอบ หมายถึงการตรวจตรานับสินค้าในทีเ่ ก็บรักษาเพือ่ สอบยอด
กับบัญชีคลุมในคลังสินค้าไม่น้อยกว่าปีละ 2 ครัง้
การนาออกจากที่เก็บ (Picking)
 เป็ นการเลือกเอาสินค้าจากพืน้ ทีต่ ่างๆ ในคลังเก็บสินค้ามารวมกันไว้ยงั พืน้ ที่
จัดส่ง และตรวจสอบความถูกต้อง และพิสจู น์ให้แน่นอนว่าเป็ นไปตามหลักฐาน
การสังจ่
่ าย หรือตามความต้องการของผูร้ บั หรือตามละจุดหมาย
ปลายทางทีจ่ ะส่ง
 การเลือกหยิบสินค้า สามารถแบ่งเป็ น 3 วิธ ี ดังนี้
 Discreet Picking การเลือกหยิบสินค้าทีละคาสังซื
่ อ้ แล้วดาเนินการตัง้ แต่ตน้ จนจบ
 Batch Picking การเลือกหยิบสินค้าในแต่ละครัง้ เป็ นการหยิบสาหรับหลายคาสังซื ่ อ้
 Zone Picking การเลือกหยิบของตามโซนทีเ่ ลือกไว้ในคลังเก็บ
งานจัดส่งสินค้า (Dispatch Goods)
 เป็ นกิจกรรมในการจัดส่งพัสดุหรือสินค้าให้กบั ผูร้ บั ในสภาพทีพ่ ร้อม
สาหรับการใช้งาน เช่นการการแยกประเภทสินค้า และการจัดบรรจุ
ภัณฑ์ตามคาสังซื่ อ้ ซึง่ สินค้าจะถูกจัดเก็บในกล่อง หีบห่อ พาเลทหรือตู้
คอนเทนเนอร์ และมีการติดสลาก ระบบบาร์โค้ด การบันทึกข้อมูลเพือ่
เตรียมส่งสินค้าออกจากคลัง เช่น ต้นทาง ปลายทาง ผูส้ ง่ ผูร้ บั และ
รายละเอียดสินค้าทีส่ ง่ ก่อนดาเนินการจัดส่งให้กบั ลูกค้า
การเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
 กิจกรรมคลังสินค้าสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มให้กบั สินค้าได้เช่น
 การติดฉลาก (Label) ให้กบ ั สินค้าเพือ่ แยกประเภทส่งให้กบั ลูกค้า
 การบรรจุหบ ี ห่อ (Packaging)การบรรจุใหม่ (Repacking)
 การเปลีย ่ นแปลงหีบห่อเป็ นลักษณะพิเศษตามความต้องการของลูกค้า
 การเพิม่ เติมชิน้ ส่วนอุปกรณ์บางประเภทให้กบั สินค้า
 การจัดการสินค้าส่งคืนให้สมบูรณ์โดยไม่ตอ ้ งกลับไปทีฝ่ า่ ยผลิต
 การชะลอส่งมอบเพือ ่ ให้สนิ ค้านัน้ เพิม่ มูลค่าขึน้ เช่น การควบคุมอุณหภูมใิ ห้
ผลไม้สามารถสุกได้ทก่ี ่อนส่งมอบ
 ช่วยรักษาความลับของลูกค้าไม่ให้ทราบแหล่งกาเนิดของสินค้า (ตัวอย่าง
Free Zone ของคลังสินค้าสนามบินสุวรรณภูม)ิ
ตัวชี้วดั การดาเนินงานในคลังสินค้า
ตัวชี้วดั แยกตามกิจกรรมภายในคลังสินค้า
กิจกรรม Cycle Time Utilization Quality

การรับ ระยะเวลาในการรับ % การใช้ประโยชน์ของ % ของใบส่งมอบที่


สินค้าต่อใบส่งมอบ ประตู และพืน้ ทีร่ บั สินค้า ดาเนินการรับอย่างถูกต้อง

การนาไปวาง ระยะเวลานาสินค้าไป % การใช้ประโยชน์ของคน % ของการนาไปจัดวางที่


จัดวางต่อรอบการ และอุปกรณ์ในการขนย้าย สมบูรณ์ (ครบถ้วน ถูก
จัดเก็บ ตาแหน่ง ไม่มสี นิ ค้า
เสียหาย)
การจัดเก็บ ระยะเวลาในการ % การใช้พน้ื ทีห่ รือความจุ % สินค้าเสียหาย หมดอายุ
จัดเก็บสินค้าในชัน้ วาง ของคลังในการจัดเก็บ ระหว่างจัดเก็บ
สินค้า
ตัวชี้วดั แยกตามกิจกรรม
กิจกรรม Cycle Time Utilization Quality

การหยิบ ระยะเวลาในการหยิบ % การใช้ประโยชน์ของคน % การหยิบสินค้าทีส่ มบูรณ์


สินค้า ต่อใบ สังหรื
่ อ และอุปกรณ์ในการหยิบ ต่อรอบการหยิบ (ครบถ้วน
ใบเบิกสินค้า ถูกต้อง ไม่มสี นิ ค้าเสียหาย)

การส่งมอบ ระยะเวลาดาเนิน การ % การใช้ประโยชน์ของ % การส่งมอบทีส่ มบูรณ์


ในคลังสินค้าต่อใบส่ง ประตู และพืน้ ทีจ่ ดั เตรียม (ครบถ้วน ถูกต้อง ไม่มสี นิ ค้า
หรือใบเบิก ส่งมอบสินค้า เสียหาย)
ตัวชี้วดั ประสิทธิภาพรวมภายในคลังสินค้า

 ด้านรอบเวลา

รอบเวลาของคลังสินค้า
= รอบเวลาการรับ + รอบเวลาการนาไปวาง
+ รอบเวลาในการหยิบ + รอบเวลาในการส่งมอบ

124 กรมอุตสาหกรรมพื ้นฐานและการเหมืองแร่


ตัวชี้วดั ประสิทธิภาพรวม
 ด้านคุณภาพ

% ของการตอบสนองความต้องการของลูกค้าทีส่ มบูรณ์
จานวนครัง้ ของการตอบสนองทีส่ มบูรณ์
 X 100
จานวนครัง้ การร้องขอบริการจากลูกค้า

หมายเหตุ ไม่นบั รวมกรณีสนิ ค้าขาดแคลนเนื่องจากปญั หาในการวาง


แผนการผลิต
ตัวชี้วดั ประสิทธิภาพรวม
 ด้านอัตราการใช้ประโยชน์ จากทรัพยากร

% การใช้ประโยชน์ในการจัดเก็บสินค้า จากพืน้ ที่ หรือความจุเพือ่ การ จัดเก็บ

 พืน้ ที่ หรือความจุทใ่ี ช้ในการเก็บสินค้า


X 100
พืน้ ที่ หรือความจุทงั ้ หมดภายในคลังสินค้า

% การประโยชน์ของพนักงาน และอุปกรณ์ภายในคลังสินค้า
เวลาปฏิบตั งิ านจริงของพนักงาน หรือเวลาใช้งานจริงของอุปกรณ์ X 100

เวลาการทางานทัง้ หมดของคลังสินค้า
ตัวชี้วดั ประสิทธิภาพรวม
 ต้นทุน

ต้นทุนการดาเนินงานในคลังสินค้า

= ต้นทุนการดาเนินงานภายในคลังสินค้า ต่อใบสังสิ
่ นค้า หรือต่อหน่วย หรือ
ต่อมูลค่าสินค้าคงคลัง
การออกแบบคลังสินค้า
การออกแบบ และจัดวางผังคลังสินค้า
 การกาหนดเส้นทางการไหลของวัสดุ
• กาหนดหน่ วยสินค้า (Unit Loads) ทีม ่ กี ารเคลื่อนย้ายในคลัง
• พืน
้ ทีจ่ ดั วางสินค้าเพือ่ เตรียมส่งมอบ (forward area)
• พืน้ ทีส่ ารองสินค้าสาหรับเติมเต็ม (backward area)
• กาหนดโซน และขนาดของพืน ้ ที่
 การเลือกชนิดและขนาดของอุปกรณ์ ภายในคลังสินค้า
• อุปกรณ์สาหรับการจัดเก็บ (storage modes)
• อุปกรณ์สาหรับการหยิบ และเคลื่อนย้ายสินค้า
• ระบบสารสนเทศในคลังสินค้า และอุปกรณ์บ่งชีส ้ ถานะของสินค้าในคลัง
การออกแบบ และจัดวางผังคลังสินค้า
 ประเด็นที่ต้องตัดสินใจ
 การวางผังและจัดสรรพืน ้ ทีใ่ นคลังสินค้า (Layout: Allocation of Storage
Capacity)
 การคัดเลือกความชานาญและจานวนพนักงานในคลัง
การปรับปรุงการหยิบ (Picking Improvement)
 การหยิบสินค้าจากทีเ่ ก็บ (Pick-from Storage) ในการหยิบสินค้า
หัวใจคือจะทาอย่างไรถึงจะหยิบสินค้าได้รวดเร็วและถูกต้อง การหยิบ
สินค้าจากทีจ่ ดั เก็บมักขึน้ กับวิธกี ารจัดชัน้ วางสินค้าตัง้ แต่แรกว่า
ต้องการมีรปู แบบการหยิบอย่างไร แต่ในการปรับปรุงบางทีเรา
สามารถออกแบบให้พน้ื ในการหยิบเล็กลงโดยการจัดคลังสินค้าเป็ น
ส่วนๆ เช่น ทีเ่ ก็บสินค้าเป็ นพาเล็ต, ทีเ่ ก็บสินค้าเพือ่ การหยิบเต็มลัง, ที่
เก็บสินค้าสาหรับการหยิบไม่เต็มลัง
การปรับปรุงผังคลังสินค้าและการออกแบบ
 ในการจัดผังคลังสินค้า ผูบ้ ริหารจะพบคาถามสาคัญว่าจะจัดเก็บสินค้าไว้ทใ่ี ดใน
คลังสินค้า ซึง่ การจัดเก็บสินค้าเหล่านี้สามารถมีผลกระทบต่อประสิทธิผลและ
ผลิตภาพของแต่ละธุรกิจ คลังสินค้าทีด่ คี วรมีการจัดผังโดยมีวตั ถุประสงค์ดงั นี้
 สามารถเพิม ่ ความสามารถในการเก็บสินค้า
 ปรับปรุงการไหลของสินค้า
 ลดต้นทุน
 ปรับปรุงการให้บริการลูกค้า
 ปรับปรุงบรรยากาศการทางาน
การปรับปรุงผังคลังสินค้าและการออกแบบ
การจัดผังการจัดเก็บสินค้าตามปริมาณความต้องการหยิบสินค้า
(Volume-based Storage)
 เป็ นเทคนิคการจัดเก็บสินค้า ทีม ่ คี วามต้องการสูงไว้อยูใ่ กล้กบั ประตูเข้าการ
จัดเก็บแบบ Volume-based Storage นัน้ จะช่วยลดเวลาและระยะทางในการ
หยิบสินค้า แต่ขอ้ เสียคือทาให้เกิดความแออัดในช่องทางเดินทีเ่ ก็บสินค้าและทา
ให้เกิด ความไม่สมดุลในการใช้พน้ื ทีใ่ นการจัดเก็บสินค้า สาหรับจัดเก็บแบบซุ่ม
(Random Storage) นัน้ จะเป็ นวิธที ม่ี กี ารใช้ประโยชน์ของพืน้ ทีจ่ ดั เก็บได้ทวทั
ั ่ ง้
คลังสินค้าซึง่ จะช่วยลดความแออัดของช่องทางเดินลงไปได้ แต่ขอ้ เสียคือ ทาให้
เสียเวลาในการหยิบสินค้ามาก เนื่องจากสินค้าทีม่ กี ารหยิบบ่อยนัน้ อาจมีพน้ื ที่
จัดเก็บทีอ่ ยูไ่ กลจากประตู เป็ นต้น
การปรับปรุงผังคลังสินค้าและการออกแบบ
หลักเกณฑ์ในการจัดกลุ่มสินค้าที่จดั เก็บ 3 ประเภท
 สินค้าทีเ่ ข้ากันได้ (Compatibility) สินค้าทีเ่ ก็บไว้ใกล้กน ั ควรมีความกลมกลืนกัน
หรือไม่มขี อ้ ห้ามในการเก็บไว้ดว้ ยกัน เช่น ทีเ่ ก็บยาไม่ควรอยูใ่ กล้กบั ทีเ่ ก็บปุ๋ย
ทัง้ นี้เป็ นไปตามข้อกาหนดขององค์การอาหารและยาของประเทศสหรัฐอเมริกา
 สินค้าทีใ่ ช้ประกอบกัน (Complementarily) สินค้าทีม ่ กี ารสังควบคู
่ ก่ นั ควรเก็บไว้
ใกล้กนั เช่น จอคอมพิวเตอร์กบั ดิสไดรส์ โต๊ะและเก้าอี้ ฯลฯ
 สินค้าทีไ่ ด้รบั ความนิยม (Popularity) โดยพิจารณาจากอัตราการหมุนเวียนของ
สินค้าคงคลัง หรืออัตราความต้องการสินค้าของลูกค้า ซึง่ สินค้าทีม่ คี วาม
ต้องการมากสุดควรจัดเก็บไว้ใกล้ประตูทางออกมากทีส่ ดุ ส่วนสินค้าทีม่ คี วาม
เคลื่อนไหวน้อยควรจัดเก็บไว้ในทีไ่ กลออกไป
การปรับปรุงการใช้พืน้ ที่ (Space Utilization)
 พืน้ ทีเ่ ป็ นส่วนทีท่ าให้เกิดต้นทุนสูงถึง 25% ดังนัน้ จึงเป็ นการดีทจ่ี ะมีการพัฒนา
ปรับปรุงการใช้พน้ื ที่ ตลอดจนการทาการ Re-slotting ดังนัน้ ในการตรวจสอบพืน้
ทีว่ า่ มีการใช้พน้ื ทีท่ เ่ี หมาะสมหรือไม่
 พืน้ ทีท่ ใ่ี ช้งาน = พืน้ ทีท่ ใ่ี ช้ / พืน้ ทีท่ เ่ี ก็บทัง้ หมด
 เนื้อทีว่ า่ ง พิจารณา ความสูง และในแนวราบ
 ความสูง = จะถูกใช้พน้ื ทีใ่ ห้มากทีส่ ุดหรือเต็มเนื้อที่
 แนวราบ = ต้องลดช่องทางเดินของสินค้าได้น้อย เท่าทีจ่ ะขนถ่ายลาเลียงสินค้าได้สะดวก
 ดังนัน้ เราต้องรูว้ า่ ในชัน้ เก็บแต่ละชนิดมีขอ้ ดี/ข้อเสีย และมีอตั ราส่วนพืน้ ทีว่ า่ ง
เพียงใด ในหลาย กรณีพบว่าเรามักสูญเสียพืน้ ทีเ่ หนือชัน้ วางสินค้าไปดังนัน้ เรา
อาจใช้ชนั ้ ลอย (Mezzanine) ได้ หรือในพืน้ ทีท่ อ่ี ยูเ่ หนือประตูทว่ี า่ ง เราสามารถทา
เป็ นชัน้ เก็บกล่อง หรือ พาเล็ตทีย่ งั ไม่ใช้งานก็ได้
การปรับปรุงการใช้พนื้ ที่ (Space Utilization)
การปรับปรุงการใช้พืน้ ที่ (Space Utilization)
 การจัดผังคลังสินค้าจะมีการนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์มาช่วยในการจัดกลุ่มสินค้า
โดยมีประเด็นในการพิจารณาดังนี้
 สินค้าทีม ่ คี วามเคลื่อนไหวเร็วทีส่ ดุ ควรจัดเก็บไว้ใกล้ประตูทางออกมากทีส่ ดุ
ซึง่ จะช่วยลดระยะทางและเวลาในการลาเลียงสินค้าออก ในขณะทีส่ นิ ค้าทีม่ ี
ความเคลื่อนไหวช้าทีส่ ดุ ควรจัดเก็บไว้ให้ไกลจากประตูทางออกมากทีส่ ดุ
 พืน ้ ทีส่ ว่ นทีเ่ หลือในคลังสินค้าควรเก็บสินค้าบางอย่าง เช่น สินค้าทีต่ อ้ งมีการ
ทาใหม่ หรือสารองไว้สาหรับสินค้าทีม่ คี วามเคลื่อนไหวเร็วส่วนเกิน
 ควรออกแบบทางเดินซึง่ ช่วยสนับสนุ นการเคลื่อนย้ายของสินค้าให้มากทีส ่ ดุ
 พืน ้ ทีจ่ ดั เก็บแต่ละส่วนควรจะออกแบบให้เหมาะสมกับประเภทสินค้า และการ
หมุน เวียนของสินค้าแต่ละประเภทซึง่ จะดีกว่าการออกแบบให้รองรับการเก็บ
สินค้าทุกประเภท
การปรับปรุงการหยิบ (Picking Improvement)
 จัดคลังสินค้าโดยใช้หลัก Pareto และ ABC analysis โดยจัดเรียงให้สนิ ค้าทีเ่ ป็ น
A (Fast move) อยูใ่ กล้จุดหยิบมากทีส่ ดุ และเก็บสินค้าทีเ่ ป็ น Slow move ไว้
ด้านหลัง
อุปกรณ์ที่ใช้ในคลังสินค้า
พาเลท (Pallet)
 พาเลท (Pallet) หรือไม้รองรับสินค้า เป็ นอุปกรณ์ทส่ี าคัญอย่างหนึ่งในการ
รวบรวมสินค้าเพือ่ การขนส่ง และขนถ่ายสินค้า ในปจั จุบนั
 พาเล็ทส่วนใหญ่จะทาจาก ไม้ กระดาษ พลาสติก โดยนอกจากจะให้ความสะดวก
รวดเร็วในการขนส่งและขนถ่ายสินค้าแล้ว ยังสามารถลดความเสียหายของ
สินค้า ประหยัดพืน้ ทีใ่ นการเก็บสินค้า และยังช่วยทาให้การจัดเก็บสินค้าเป็ น
ระเบียบสวยงามอีกด้วย โดยขนาดของพาเล็ทนี้จะเกีย่ วพันโดยตรงกับอุปกรณ์
ในการขนส่งอื่นๆ เช่น รถยก ( Forklift ) รถบรรทุก ตูข้ นส่งสินค้า
 ขนาด Pallet ทีเ่ หมาะสมและทีใ่ ช้กนั มากใน US คือ 48 x 40 นิ้ว (27% of all
pallets) และ ขนาด Pallet ทีเ่ หมาะสมและทีใ่ ช้กนั มากใน Euro-Pallet คือ 1200
x 800 mm
Pallet
ปัจจัยที่สาคัญในการวางสินค้าบน Pallet
 น้าหนักของสินค้า เช่น การวางแป้งในกระสอบ, ข้าวในกระสอบ, หรือเม็ด
พลาสติกในกระสอบ เป็ นต้น
 ความสามารถในการเรียงซ้อนกัน (ตามสภาพของการบรรจุภณ ั ฑ์ดว้ ย เช่น ความ
แข็งแรงของกล่อง)
 ระดับความปลอดภัยทีย่ อมรับได้ในทุกๆความสูงทีซ่ อ้ นกัน เพราะในหลายๆครัง้
พบว่าการซ้อนกันมักทาให้สนิ ค้าชัน้ บนๆเอียงออกมาซึง่ อาจก่อให้เกิดอันตรายได้
 ความสามารถในการยกพาเล็ตของอุปกรณ์ยกสินค้าต่อความสูงทีต่ อ้ งการ
 ความสามารถในการรองรับน้าหนักของพืน้ ทีต่ ่อตารางเมตร
 ระยะความสูงของตัวอาคาร
 สภาพของพาเล็ต
ระบบการจัดเก็บสินค้า
 การวางกองเป็ นตัง้ (Block Stacking)
 ชัน้ วางพาเล็ตแบบปรับได้ (Adjustable pallet racking, APR)
 ชัน้ วางพาเล็ตชนิดความลึกหนึ่งพาเล็ต (Single-deep Pallet Rack/Selective Rack)
 ชัน้ วางพาเล็ตชนิดความลึกสองพาเล็ต (Double-deep Pallet Rack)
 ชัน้ วางพาเล็ตชนิดขับรถเข้าเก็บ (Drive-in Rack)
 ชัน้ วางพาเล็ตชนิดขับรถผ่าน (Drive-through Rack)
 ชัน้ วางพาเล็ตชนิดลาดเอียง (Pallet Flow Rack/Gravity Flow Rack)
 ชัน้ วางพาเล็ตชนิดดันไปด้านหลัง (Push-back Rack)
 ชัน้ หมุนในแนวราบ (Horizontal Carousel)
 ชัน้ หมุนในแนวดิง่ (Vertical Carousel)
การวางกองเป็ นตั้ง (Block Stacking)
ชัน้ วางพาเล็ตแบบปรับได้

 ชัน้ วางพาเล็ตทีใ่ ช้กนั แพร่หลายมาก


ทีส่ ดุ
 ระบบนี้เหมาะสมกับทัง้ สินค้าคงคลังที่
เคลื่อนทีร่ วดเร็วและทีเ่ คลื่อนทีไ่ ด้ชา้
 ประสิทธิภาพในการใช้พน้ื ทีว่ างพา
เล็ตใน APR สูงตัง้ แต่ 90 ถึง 95
เปอร์เซ็นต์
ชัน้ วางพาเล็ตชนิดความลึกหนึ่ งพาเล็ต

 ชัน้ วางชนิดนี้เป็ นชัน้ วางทีถ่ ูกจัดว่าเป็ นชัน้ วาง


ทีม่ คี วามหนาแน่นต่า (Low Density) เนื่องจาก
วางพาเล็ตได้แค่หนึ่งพาเล็ตต่อช่องและถูกรูจ้ กั
ในชื่อของ
 Selective Rack ชัน้ วางชนิดนี้เป็ นชนิดทีใ่ ช้กนั
มาก ข้อดีของชนิดนี้คอื การเข้าถึงสินค้าได้ทุก
ชิน้ โดยง่าย แต่ขอ้ เสียประการสาคัญคือการ
สูญเสียพืน้ ทีบ่ างส่วนเพือ่ ใช้เป็ นทางเดินซึง่ มีอยู่
ประมาณ 50-60% ของพืน้ ทีท่ งั ้ หมด
ชั้นวางพาเล็ตชนิดความลึกสองพาเล็ต

 ชัน้ วางชนิดนี้เป็ นชัน้ วางทีถ่ ูกจัดว่าเป็ น


ชัน้ วางทีม่ คี วามหนาแน่นต่า (Low
 Density) เช่นเดียวกับชัน้ วางพาเล็ต
ชนิดความลึกหนึ่งพาเล็ต แต่มกี ารวาง
ในลักษณะทีม่ คี วามลึกเท่ากับสองพา
เล็ต ดังนัน้ จึงสามารถเก็บสินค้าได้มาก
ขึน้ ทีด่ ู
 เหมือนว่าจะมากกว่าความลึกหนึ่งพา
เล็ตถึง 2 เท่า
ชัน้ วางพาเล็ตชนิดขับรถเข้าเก็บ
 ชัน้ วางชนิดนี้ถอื ว่าเป็ นการเก็บในแบบความหนาแน่นสูง (High-density Rack)
ชัน้ วางชนิดนี้เนื่องจากรถสามารถวิง่ เข้าไปหยิบสินค้าได้ ดังนัน้ ความลึกจึง
สามารถเก็บได้มากกว่าสองตอนของพาเล็ต และอย่างมากน่าจะไม่เกิน 20 พา
เล็ต
 ความสูงควรต้องสูงกว่ารถยกหรือประมาณ 3-5 พาเล็ตในแนวตัง้
 เนื่องจากสามารถเก็บได้มากต่อหนึ่งช่องดังนัน้ จึงควรจะเก็บสินค้าชนิดเดียวกัน
มิฉะนัน้ การนาสินค้าเข้าออกจะยุง่ มาก
 ความสูงสูงสุดทีแ่ นะนาคือ 10 ถึง 11 เมตร โดยมีความลึกจากแถวหน้าไปแถว
หลังเท่ากับหกพาเล็ตจากแถวทีร่ ถยกเข้าถึงได้ หรือสิบสองพาเล็ตถ้านาแถวหลัง
ชนกับแถวหลังอีกแถวหนึ่ง
 การใช้งานชัน้ วางชนิดนี้จะลึกเท่าใดจึงควรจะเป็ นไปตามปริมาณการสังของ ่
ลูกค้าในคราวเดียวกันหรือยกหมดภายในการคาสังซื ่ อ้ ไม่เกินสามคาสังซื
่ อ้
ชัน้ วางพาเล็ตชนิดขับรถเข้าเก็บ

Single Entry Drive In Rack Double Entry Drive In Rack


ชัน้ วางพาเล็ตชนิดขับรถผ่านเข้าเก็บ
 ชัน้ วางชนิดนี้ถอื ว่าเป็ นการเก็บในแบบความหนาแน่นสูง (High-density Rack)
ชัน้ วางชนิดนี้มี ความคล้ายกันกับชัน้ วางชนิดขับรถเข้าเก็บ โดยจุดทีแ่ ตกต่างคือ
ชัน้ วางชนิดนี้อนุญาตให้รถยกเข้าออกได้สองทาง ซึง่ เป็ นการเพิม่ ความสามารถ
ในการเข้าถึง สินค้าได้เร็วขึน้
ชัน้ วางพาเล็ตชนิดลาดเอียง

 ชัน้ วางชนิดนี้ถอื ว่าเป็ นชัน้ วางชนิดทีเ่ ป็ นพลวัต (Dynamic Storage) อัน


เนื่องมาจากตัวสินค้าสามารถเคลื่อนตัวไปได้ตามแรงโน้มถ่วง โดยผ่านลูกล้อ หรือ
แท่งโลหะทรงกระบอกทีร่ องรับตัวพาเล็ตและหมุนได้ ดังนัน้ ตัวสินค้าจะเคลื่อนทีต่ าม
แรงโน้มถ่วงเนื่องจากตัวชัน้ วางจะเอียงเล็กน้อยทาให้ เคลื่อนตัวแบบไหลลงมาได้
 ชัน้ วางแบบนี้รองรับสินค้าได้หลายความลึกของพาเล็ต และด้วยการเข้าสินค้าทาง
หนึ่งและออกอีกทางหนึ่ง (FIFO, First-In/First-Out) จึงเหมาะกับสินค้าทีม่ พี จิ ารณา
ตามอายุของสินค้า เช่น ไอศกรีม เป็ นต้น
 ชัน้ วางแบบนี้น้ีจะเหมาะกับสินค้าทีม่ อี ตั ราการ หมุนเวียนของสินค้าสูงและต้องเก็บ
คราวละมากๆ และมักใช้กบั ท่าเปลีย่ นถ่ายสินค้า, การคัดแยกสินค้าสาหรับสินค้า
ขนาดเล็ก (Case)
ชัน้ วางพาเล็ตชนิดลาดเอียง
ชัน้ วางพาเล็ตชนิดดันไปด้านหลัง
 เป็ นชัน้ วางชนิดทีเ่ ป็ นพลวัต (Dynamic Storage) โดยมีชนิดของการหยิบ:
LIFO (Last-In-First-Out)ความสูงสูงสุดทีแ่ นะนาคือ 10 ถึง 11 เมตร และเหมาะ
กับการเก็บสินค้าประมาณ 3-10 พาเล็ตชัน้ วางพาเล็ตชนิดดันไปด้านหลัง
(Push-back Rack)
ชัน้ หมุนในแนวราบ (Horizontal Carousel)
 เป็ นชั้นวางสิ นค้าที่สามารถหมุนได้ในแนวราบโดยทิศทางในการหมุนจะอยู่
ประมาณ 24 – 30 เมตร/นาที
 ชั้นหมุนในแนวราบระหมุนไปทางซ้าย/ขวา ส่ วนความสู งขึ้นอยูก่ บั การออกแบบ
โดยปกติไม่ควรจะให้สูงมากนั้นเพราะมิฉะนั้นจะต้องปี นบันไดขึ้นไปหยิบสิ นค้า
ชัน้ หมุนในแนวดิ่ง (Vertical Carousel)
 เป็ นชั้นวางสิ นค้าที่สามารถหมุนได้ในแนวดิ่ง โดยชัน้ หมุนชนิดนี้จะเสียพืน้ ที่
บนพืน้ ของคลังสินค้าน้อยการชัน้ หมุนในแนวราบเนื่องจากจะเก็บในแนวสูงทา
ให้ใช้พน้ื ทีโ่ ดยรวมของคลังสินค้าคุม้ ค่ากว่า
 ข้อเสียของชัน้ หมุนในแนวดิง่ คือราคาทีแ่ พงเนื่องจาก ชัน้ หมุนทีห่ มุนขึน้ นัน้
จะต้องต้านแรงโน้มถ่วงของโลกทาให้มอเตอร์ตอ้ งมีกาลังและชุดเกียร์ทดที่
มากพอทีจ่ ะรับน้าหนักของสินค้าและตัวโครงเหล็กได้
ชัน้ หมุนในแนวดิ่ง (Vertical Carousel)
เครือ่ งมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในการขนถ่ายวัสดุ
 เครือ่ งลาเลียง (Conveyor) เป็ นเครือ่ งมือขนถ่ายทีท่ าการเคลื่อนย้ายวัสดุ
แบบต่อเนื่อง
 เครือ่ งยกย้ายต่างๆ (Crane Elevator Hoist Monorail) เป็ นเครือ่ งมือยกวัสดุขน้ึ -
ลง ในทางดิง่ และเคลื่อนย้ายวัสดุเหนือหัวทางานไม่ต่อเนื่อง
 ยวดยานทีใ่ ช้ในงานอุตสาหกรรม (Industrial Vehicles) เป็ นรถขนย้ายวัสดุ หรือ
รถยกทีท่ าหน้างานบนพืน้
 ตูบ้ รรจุ และอุปกรณ์รองรับวัสดุ (Container and Support) ใช้เป็ นทีร่ วมวัสดุ
จานวนมากเข้าด้วยกันให้เป็ นหน่วยใหญ่ เพือ่ การขนถ่ายทีป่ ระหยัด และ
ปลอดภัย
 อุปกรณ์ชว่ ยเสริมต่างๆ (Auxiliary Equipment) เพือ่ ทาหน้าทีเ่ สริมการขนถ่าย
ให้มปี ระสิทธิภาพมากที่
สายพาน (Conveyor)
 สายพาน (Conveyors) ระบบสายพานเป็ นสิง่ ทีถ่ ูกใช้ในการเคลื่อน
วัตถุดบิ จากจุดคงทีท่ ห่ี นึ่งไปยังอีกทีห่ นึ่ง สายพานมีหลายประเภท
โดยส่วนมากแล้วสายพานจะใช้ขนสินค้าทีไ่ ม่ใช่พาเล็ต สายพาน
ประเภทพืน้ ฐานทีส่ ดุ คือสายพานแบบลูกกลิง้ ตามแรงดึงดูด (gravity
roll conveyors) สายพานเหล่านี้จะประกอบด้วยลูกกลิง้ ชุดหนึ่งทีเ่ รียง
กันเอียงเล็กน้อย เมือ่ พาเล็ตถูกวางลงบนสายพาน พาเล็ตจะไหลตาม
ลูกกลิง้ ไปถึงจุดหยุดปลายทาง (หรือ ชนกับพาเล็ตก่อนหน้านัน้ )
สายพาน (Conveyor)
สายพานคัดแยกสินค้า (Sorting Conveyor)
 สายพานคัดแยกสินค้า: เป็ นอุปกรณ์ขนถ่ายทีม่ กี ารนามาใช้มากในศูนย์กระจาย
สินค้าและการคลังสินค้าทีใ่ ช้วธิ กี ารขนถ่ายชนิดท่าข้าม (Cross-dock) สายพานคัด
แยกเป็ นอุปกรณ์ทท่ี างานร่วมกับระบบคอมพิวเตอร์โดยจะตรวจสอบสินค้าโดยใช้
เซนเซอร์ตรวจจับไม่วา่ จะเป็ นการอ่านจากรหัสแท่ง(Barcode) ทีเ่ ป็ น 1 มิติ หรือ 2
มิติ ทีบ่ รรจุขอ้ มูลมาก อุปกรณ์ชนิดนี้เป็ นกลจักรทีส่ าคัญทีท่ าให้ทา่ ข้ามหรือศูนย์คดั
แยกประสบความสาเร็จ
การเลือกใช้ยานพาหนะในคลังสินค้า
 การใช้ยานพาหนะในแต่ละประเภทจะแตกต่างกันตามราคาและวิธกี ารจัดเก็บ/ยก
สินค้าตามความสูงและความแคบระหว่างแถวของชัน้ วางทีแ่ บ่งเป็ น 3 ระดับ
ดังนี้คอื
 มาตรฐาน/กว้าง (Wide) มากกว่า 11 ฟุต
 แคบ (Narrow) 8 ฟุต – 10 ฟุต
 แคบมาก (Very Narrow) น้อยกว่า 6 ฟุต
Hand Pallet Truck

 เป็ นอุปกรณ์ขนถ่ายทีใ่ ช้การยกร่วมกับ


ระบบไฮดรอลิค รถยกพาเล็ตด้วยมือ เป็ น
รถทีม่ สี อ้ มสองใบทีจ่ ะสอดเข้าช่องของพา
เล็ตได้ ส้อมเหล่านี้สามารถยกขึน้ ได้ดว้ ย
ั ้ อเพือ่ ยกพาเล็ตให้ลอยจากพืน้ ได้
ปมมื
จากนัน้ เราก็สามารถลากรถยกได้ดว้ ยมือ
และนาพาเล็ตไปส่งทีพ่ น้ื ทีข่ องคลังสินค้า
ตามทีต่ อ้ งการได้ รถยกพาเล็ตด้วยมือจะมี
ประโยชน์สาหรับการเคลื่อนทีใ่ กล้
รถยกพาเล็ตไฟฟ้า (Powered Pallet Truck)

 จะคล้ายคลึงกับประเภทก่อนหน้า
นี้ แต่วา่ จะทางานด้วยแบตเตอรี่
รถยกนี้อาจจะควบคุมจากฐาน
หรืออาจจะมีแท่นควบคุมหรือทีน่ งั ่
ทีพ่ นักงานจะยืนหรือนังได้

รถหัวลาก (Tow vehicle)

 ใช้สาหรับการเคลื่อนทีแ่ นวราบ
ระยะไกลๆ เราสามารถใช้รถลากทีจ่ งู
รถลาก (trailers)จานวนหนึ่งได้ การ
ลากจูงแบบนี้จะช่วยลดจานวนเทีย่ วที่
ต้องเดินทางได้
Counterbalanced Truck (CB)
 รถยกแบบมีน้าหนักถ่วงจะยกน้าหนักในช่วงด้านหน้าของล้อหน้า ดังนัน้ เพือ่ ทีจ่ ะให้
สมดุล จะมีการติดตัง้ น้าหนักถ่วงทีด่ า้ นท้ายของเครือ่ งจักร ซึง่ เป็ นทีม่ าของชื่อมัน
ด้วย ส่วนประกอบทีม่ นี ้าหนักเช่นเครือ่ งยนต์และแบตเตอรีก่ จ็ ะถูกวางไว้ให้อยู่
ด้านหลังทีส่ ดุ เท่าทีจ่ ะทาได้เพือ่ ช่วยถ่วงโมเมนต์ดา้ นหน้านี้
 เครือ่ งจักรเหล่านี้จะมีความสามารถในการยกตัง้ แต่ 1,000 กิโลกรัมจนถึง 45,000
กิโลกรัม โดยทีเ่ ครือ่ งขนาดใหญ่จะถูกใช้สาหรับงานนอกคลังสินค้า เช่น การขนถ่าย
คอนเทนเนอร์
 รถบรรทุกขนาดเล็กทีม่ คี วามสามารถในการยก 1,000-1,500 กิโลกรัม บางแบบจะมี
สามล้อแทนทีจ่ ะมีสล่ี อ้ เพือ่ ให้เคลื่อนทีไ่ ด้คล่องตัวขึน้ และแบบทีม่ ขี นาดเล็กบาง
แบบจะถูกสร้างมาเพือ่ ควบคุมจากพืน้ ด้วย
Counterbalanced Truck (CB)
Counterbalanced Truck (CB)
รถเอื้อมหยิบ (Reach Truck )
 รถเอือ้ มหยิบถูกออกแบบให้มขี นาดเล็กและเบากว่ารถถ่วงน้าหนักเพือ่ ให้ใช้งาน
ได้ในพืน้ ทีข่ นาดเล็ก ดังนัน้ จึงสามารถใช้ในชัน้ วางทีม่ ขี นาดแคบได้ (Narrow
Aisle) เมือ่ กาลังหยิบหรือกาลังวางระวางสินค้าลง รถจะหันหน้าไปยังชัน้ วาง
สินค้าและตัวทีย่ ดึ พาเล็ตงวงช้างทีม่ ลี กั ษณะคล้ายกรรไกรจะยืน่ ออกไปได้ จึง
สามารถหยิบในชัน้ วางพาเล็ตลึกได้
 ขีดความสามารถโดยทัวไปของรถเอื
่ อ้ มหยิบคือตัง้ แต่น้าหนัก 1,000 กิโลกรัมถึง
3,500 กิโลกรัม โดยมีความสูงทีย่ กได้สงู สุด 11 เมตร
รถเอื้อมหยิบ (Reach Truck )
Turret Truck
 เป็ นรถขนถ่ายสินค้าทีส่ ามารถยืดได้สงู โดยปกติสามารถเข้าขนถ่ายสินค้าโดย
ใช้กบั ชัน้ วางสินค้าทีช่ นั ้ วางแคบมากๆได้ (Very Narrow Aisle) ส้อมทีใ่ ช้ขนจะ
อยูท่ างด้านข้าง และถ้าใช้กลับด้านได้โดยสามารถขนไม่วา่ จะเป็ นทางซ้ายหรือ
ขวาของรถก็ได้จะเรียกว่าเป็ น Swing Mast และถ้ายืดได้จะเป็ น Swing Reach
การขนส่งโดยปกติจะรับน้าหนักได้ ตัง้ แต่ 1,000-2,500 กก.
 Turret Truckจะยืดได้สงู จึงใช้เก็บสินค้าในชัน้ เก็บชนิดความหนาแน่นสูงได้
(High Density Storage) ดังนัน้ เมือ่ รถวิง่ ในซอยแคบการบังคับจึงยาก ในทาง
ปฏิบตั มิ กั ทารางหรือใช้เส้นลวดเป็ นอุปกรณ์นาทางเพือ่ ให้เกิดความปลอดภัยใน
การขับเคลื่อน
Turret Truck

171
School of Engineering UTCC Manisra Baramichai
Side Loader Truck
 เป็ นชนิดรถยกทีข่ นถ่ายทางด้านข้าง จะใช้สาหรับวัตถุทม่ี คี วามยากมากกว่า
สินค้าทัวไป
่ เช่น ไม้, ท่อน้า, กระจก เป็ นต้น
 รถเหล่านี้จะมีเสาโครงทีห่ มุนได้ 90 องศากับทิศทางการเคลื่อนทีข่ องรถ ความ
ยาวของระวางสินค้าทัวไปอาจยาวได้
่ ถงึ 6 ถึง 7เมตร โดยขนถ่ายในแถวทางเดิน
แคบระหว่างชัน้ สินค้า เพือ่ ทีจ่ ะเข้าถึงระวางสินค้าทีว่ างตามแนวขวางด้านใดด้าน
หนึ่งของแถว รถเหล่านี้จะต้องเข้าไปในแถวทางเดินด้วยกลไกเอือ้ มหยิบหันไป
ในแนวขวางของแถวทางเดิน รถยกเหล่านี้มกั จะมีขนาดยาวและต้องมีขนาดแถว
ทางเดินในแนวขวางกว้างถึง 7 เมตรเพือ่ ให้สามารถเคลื่อนทีร่ ะหว่างแถว
ทางเดิน
Side Loader Truck
เปรียบเทียบความต้ องการพืน้ ที่สาหรับรถขนถ่ าย
เปรียบเทียบความต้ องการพืน้ ที่สาหรับรถขนถ่ าย
พาหนะนาทางอัตโนมัติ
(Automated guided vehicles, AGVs)
 พาหนะเหล่านี้เป็ นรถบรรทุกพลังงานไฟฟ้าทีไ่ ม่ตอ้ งใช้คนขับ และควบคุมด้วย
คอมพิวเตอร์
 เราสามารถส่งข้อมูลต่างๆ ถึง AGV ได้ดว้ ยสัญญาณคลื่นวิทยุ ในขณะที่
สามารถนาทางรถบรรทุกได้หลายทาง วิธกี ารหนึ่งคือการฝงั สายไฟใต้พน้ื ซึง่ จะ
มีกระแสไฟฟ้ากระแสสลับทีส่ ร้างสนามแม่เหล็กรอบๆ สายไฟอยู่ อุปกรณ์จบั
สัญญาณบนพาหนะจะวัดพืน้ เพือ่ จับสัญญาณว่าพาหนะเคลื่อนทีอ่ อกจาก
เส้นทางทีก่ าหนดไว้หรือไม่ นอกจากนี้ยงั มีระบบสมัยใหม่คอื ระบบนาทางด้วย
เลเซอร์ พาหนะจะมีอุปกรณ์ตรวจจับสิง่ กีดขวางติดตัง้ อยูเ่ พือ่ ทีจ่ ะหยุดได้ถา้
ตรวจจับพบคน รถบรรทุก หรือสิง่ กีดขวางอื่นๆ ในเส้นทางของมัน
พาหนะนาทางอัตโนมัติ
(Automated guided vehicles, AGVs)
Automated Storage/Retrieval Systems

 Automated Storage/Retrieval System (AS/RS) อุปกรณ์ประเภทนี้มกั ใช้ในการ


ขนย้ายวัสดุ โดยการนาวัสดุไปเก็บ (store) และนาวัสดุออกมา (retrieve) แบบ
อัตโนมัติ จากทีจ่ ดั เก็บประเภทหิง้ จัดเก็บ (storage rack) โดยมีตาแหน่ง/บริเวณที่
เครือ่ ง AS/RS มารับวัสดุไปจัดเก็บ (pickup station) และจุดทีน่ าวัสดุจากหิง้
จัดเก็บไปส่งเมือ่ วัสดุนนั ้ ถูกเรียกใช้ (deposit station) อย่างชัดเจน
Automated Storage/Retrieval Systems
 อุปกรณ์แบบ AS/RS เหมาะกับงานทีต่ อ้ งการการจัดเก็บและเรียกใช้วสั ดุ
หลากหลายแบบ ในหิง้ จัดเก็บทีห่ นาแน่นมากๆ
 การเลือกใช้อุปกรณ์แบบ AS/RS ขึน้ อยูก่ บั ความหนาแน่นของพืน้ ทีจ่ ดั เก็บ
ความถีใ่ นการจัดเก็บและเรียกใช้วสั ดุ โดยจะมีทงั ้ แบบ
 ใช้ AS/RS เครือ่ งเดียวต่อการจัดเก็บ 1 ช่องทาง (aisle)
 ใช้ AS/RS เครือ่ งเดียวต่อการจัดเก็บหลายช่องทาง หรือใช้ AS/RS หลายเครือ่ งในการ
จัดเก็บ 1 ช่องทาง
 ปจั จัยทีม่ ผี ลต่อความสามารถในการจัดเก็บและเรียกใช้ของอุปกรณ์แบบ AS/RS
จะพิจารณาจากลักษณะโครงสร้างของหิง้ ทีใ่ ช้จดั เก็บ ความเร็วในการเคลื่อนของ
อุปกรณ์ AS/RS ทัง้ ในแนวดิง่ และแนวราบ
Unit load AS/RS
Storage Structure

Storage Module

S/R Machine

Pickup-and-deposit Station
ระบบ Bar Code และการประยุกต์ใช้ในคลัง

181 กรมอุตสาหกรรมพื ้นฐานและการเหมืองแร่


การวางแผนเลือกที่ตงั ้ ของคลังสินค้า
การวางแผนเลือกที่ตงั ้ ของคลังสินค้า
 การวางแผนการจัดตัง้ คลังสินค้านัน้ ประกอบไปด้วยการตัดสินใจเกีย่ วกับสถานทีต่ งั ้
จานวน และขนาดของคลังสินค้า รวมถึงแหล่งทีม่ าของวัตถุดบิ (ผูข้ ายสินค้า) และ
การกาหนดกลุม่ ลูกค้าทีจ่ ะให้บริการส่งหรือกระจายสินค้าจากคลังสินค้า
 การเลือกสถานทีต่ งั ้ คลังสินค้านัน้ อาจทาโดยมีจุดมุง่ เน้นเพือ่ ให้ประหยัดค่าใช้จา่ ย
มากทีส่ ดุ หรือเพือ่ ให้เกิดผลกาไรมากทีส่ ดุ
 การวางแผนการจัดตัง้ คลังสินค้านี้มคี วามสาคัญเป็ นอย่างมากต่อประสิทธิภาพของ
ระบบ Logistics โดยรวม เนื่องจากเป็ นการตัดสินใจทีม่ ผี ลกระทบต่อประสิทธิภาพ
และต้นทุนในส่วนอื่นๆทีเ่ กีย่ วข้อง เช่น ต้นทุนวัตถุดบิ เส้นทาง ระยะเวลา และ
ต้นทุนในการขนส่งทัง้ จากผูข้ ายสินค้ามายังคลังสินค้าและจากคลังสินค้าไปยังลูกค้า
 การวางแผนการจัดตัง้ คลังสินค้านัน้ จะพิจารณาจากปจั จัย 2 ส่วนทีส่ าคัญได้แก่
ปจั จัยทีเ่ ป็ นข้อจากัด และปจั จัยด้านกลยุทธ์การแข่งขัน
การวางแผนเลือกที่ตงั ้ ของคลังสินค้า
ปัจจัยที่เป็ นข้อจากัด
 ปจั จัยทีเ่ ป็ นข้อจากัด ปจั จัยทีม่ ผี ลกระทบต่อการตัดสินใจ เนื่องมาจากข้อจากัด
ต่างๆเช่น
 ปจั จัยกระทบจากการเมืองและข้อจากัดทางด้านภาษีอากร
 ปจั จัยทางด้านสิง่ แวดล้อม
 ปจั จัยทีม่ ผี ลมาจากระบบสาธารณูปโภค ได้แก่ระบบไฟฟ้า, ระบบพลังงานไฟฟ้า
สารอง, เส้นทางการขนส่งทีเ่ หมาะสม (เข้า/ออกสะดวก)
การวางแผนเลือกที่ตงั ้ ของคลังสินค้า
ปัจจัยด้านกลยุทธ์การแข่งขัน
 ปจั จัยด้านทรัพยากร เช่น แรงงานท้องถิน่ ผูเ้ ชีย่ วชาญ หรือการเข้าถึงระบบขนส่ง
หรือผูใ้ ห้บริการขนส่งของคูค่ า้ ทีส่ าคัญ
 ปจั จัยด้านขนาดของคลังสินค้า โดยพิจารณาจากความต้องการพืน้ ทีส่ าหรับ
กิจกรรมต่างๆ ในคลังสินค้า เพือ่ รองรับการขยายตัวของบริษทั
 ปจั จัยด้านระยะทางในการขนส่ง โดยพิจารณาการขนส่งจากผูส้ ง่ มอบมาที่
คลังสินค้า และจากคลังสินค้าไปยังลูกค้า
 ปจั จัยด้านการเลือกทีจ่ ะซือ้ /สร้าง/เช่า การให้ซอ้ื /สร้าง/หรือเช่าเป็ นเรือ่ งของใน
ระดับกลยุทธ์ทม่ี ผี ลกระทบต่อ สมรรถนะของบริษทั
 ปจั จัยด้านจานวนของคลังสินค้า
การเลือกทาเลที่ตงั ้ โดยใช้วิธีการถ่วงน้าหนัก
 เป็ นวิธกี ารทีส่ ามารถนามาช่วยประกอบในการพิจารณาปจั จัยทีม่ ผี ลกระทบอื่นๆขัน้ สุดท้ายใน
การเลือกทีต่ งั ้ ได้ โดยวิธนี ้สี ามารถนามาใช้พจิ ารณาเพือ่ เลือกเช่าคลังสินค้าได้เช่น โดยการ
พิจารณาแบบถ่วงน้าหนักนี้เป็ นการพิจารณาในเชิงคุณภาพ (Qualitative decision) ประกอบ
กับการพิจารณาต้นทุนและสถานทีต่ งั ้ ก่อนหน้านี้ โดยจะให้ความสาคัญของปจั จัยดังต่อไปนี้
 ยานพาหนะทีใ่ ช้ในการขนส่ง : ประเภท ขนาด คุณภาพ ปริมาณขนส่ง
 แรงงาน : ปริมาณ ค่าแรง ฝีมอื ทักษะ
 เขตอุตสาหกรรม : ความใกล้ ไกล แหล่งชุมชน สิง่ แวดล้อม ศักยภาพในการขยายพืน ้ ที่
 สาธารณูปโภค : ไฟฟ้า น้ า โทรศัพท์ ไปรษณีย์ อินเทอร์เนต ธนาคาร
 คมนาคม : ความสะดวก จานวนเส้นทาง สภาพถนนหนทาง
 ต้นทุนต่างๆ : ค่าแรงก่อสร้าง ดอกเบีย ้ ภาษี ค่าแรง
 เมือ่ ทาการเปรียบเทียบแล้ว เราจะตัดสินใจเลือกทาเลทีต่ งั ้ ทีม่ คี ะแนนรวมมากทีส่ ุด
การเลือกทาเลที่ตงั ้ โดยใช้วิธีการถ่วงน้าหนัก
ผลรวม
ลาดับ ปัจจัย น้าหนัก คะแนน
(น้าหนักxคะแนน)
1 การอยูใ่ กล้ตลาด : ค่าขนส่งทีถ่ ูกลง A B AxB
2 การอยูใ่ กล้แหล่งวัตถุดบิ : ค่าขนส่งทีถ่ ูกลง
3 เนื้อที่ (เพือ่ เพียงพอต่อความต้องการ และ สามารถขยายได้
เพียงพอกับความต้องการในอนาคต
4 การขนถ่ายกับคลังสินค้าอืน่ ๆ (Consolidation)
5 การคมนาคมขนส่งสะดวก
7 ระบบสาธารณูปโภคพร้อม
8 สิง่ แวดล้อมโดยรอบ
9 การถ่ายเทของเสีย
10 กฎหมายและภาษี
11 ทีต่ งั ้ เหมาะสม
12 ราคาเหมาะสม (เช่า, ซือ้ )
คะแนนรวม
การเลือกทาเลที่ตงั ้ โดยใช้วิธีการหาจุดศูนย์กลาง
 วิธกี ารหาจุดศูนย์กลาง (Center of Gravity Method) เป็ นเทคนิคใช้เพือ่ หาทาเล
ทีต่ งั ้ ทีด่ ที ส่ี ดุ สาหรับจุดการกระจายจุดเดียว แต่บริการพืน้ ทีห่ ลายแห่ง
 วิธจี ุดศูนย์ถ่วง หรือจุดกลางแกนหมุน ซึง่ เป็ นเทคนิคทีจ่ ะช่วยหาตาแหน่งที่
เหมาะสมเสมือนเป็ นศูนย์กลางรวมของการกระจายในพืน้ ที่ และทาให้สามารถลด
การกระจายของต้นทุนในการผลิตลงได้
 วิธขี องจุดศูนย์กลางจะรวบรวมข้อมูลด้านตลาดปริมาณสินค้าทีส่ ง่ ไปยังตลาดและ
ราคาค่าขนส่งเป็ นการพิจารณาหาค่าใช้จา่ ยทีต่ ่าทีส่ ดุ จากศูนย์กลาง
 เหมาะกับการหาทาเลทีต่ งั ้ ของศูนย์กระจายสินค้า
การเลือกทาเลที่ตงั ้ โดยใช้วิธีการหาจุดศูนย์กลาง
การเพิ่มประสิทธิภาพภายในคลังสินค้า
การเพิ่มประสิทธิภาพภายในคลังสินค้า
แนวทางที่ 1 : การลดภาระสินค้าที่ผ่านคลังสินค้า
• อาศัยวิธกี าร Drop-Shipping หรือการวางแผนจัดหาวัตถุดบิ จากซัพพลายเออร์
หรือ การวางแผนการผลิตของโรงงาน ให้เสร็จทันการใช้งาน หรือส่งมอบ
• จัดเก็บทีซ่ พั พลายเออร์หรือทีโ่ รงงาน แทนการเก็บทีค่ ลังสินค้า วิธกี ารนี้ถอื ว่า
เป็ นวิธกี ารทีด่ ที ส่ี ดุ ต่อบริษทั เพราะทาให้บริษทั ไม่ตอ้ งมีภาระด้านงาน คลังสินค้า
แต่อย่างใด และทาให้ตน้ ทุนโลจิสติกส์โดยรวมลดลง
• กรณีน้ี บริษทั จะต้องมีการวางแผนด้านการจัดหา การผลิต และการส่งมอบทีด่ ี
เยีย่ ม วิธกี ารนี้โดยส่วนมากจะนามาใช้กบั สินค้า จาพวกสังผลิ ่ ต
การเพิ่มประสิทธิภาพภายในคลังสินค้า
แนวทางที่ 2 : การส่งผ่านสินค้าเข้าคลังแบบ Cross-Docking
• วิธี Cross-Docking เป็ นวิธกี ารทีส่ นิ ค้าจะถูกส่งเข้ามาในคลังสินค้าเป็ นระยะเวลา
สัน้ ๆ เพือ่ ลาเลียงขึน้ รถขนส่งร่วมกับสินค้าอื่นๆ ทีอ่ าจมีการส่งเข้ามาใน
ระยะเวลาไล่เลีย่ กัน โดยมากช่วงระยะเวลานี้จะน้อยกว่า 1 วัน เป็ นเพียง "สินค้า
ส่งผ่านคลัง" เท่านัน้
• ทาให้คลังสินค้าไม่ตอ้ งมีการจัดเก็บ และรองรับปริมาณสินค้าได้มากขึน้ ผลิต
ภาพการทางานของคลังสูงขึน้
• อย่างไรก็ตามวิธกี ารนี้มคี วามยาก คือ จะต้องมีการประสานข้อมูลด้านสินค้าขา
เข้าและขาออกจากคลัง จากต้นทางถึงปลายทาง พร้อมๆ กันในเวลาเดียวกัน
การเพิ่มประสิทธิภาพภายในคลังสินค้า
แนวทางที่ 3 : พิจารณายุบรวมคลังสินค้า
• ให้เหลือเพียงแห่งเดียวหรือน้อยลง ให้เป็ นลักษณะของศูนย์รวบรวมและกระจาย
สินค้า
• โดยเลือกทาเลทีต่ งั ้ ของคลังสินค้าใหม่ทส่ี ะดวกและประหยัดในการรวบรวมสินค้า
จากแหล่งผลิตหรือโรงงานต่างๆ และง่ายต่อการกระจายสินค้าไป สูล่ กู ค้าหรือ
แหล่งบริโภค
• การพิจารณายุบรวมคลังสินค้านี้ จะส่งผลดีต่อบริษทั ทัง้ ในแง่ของการบริหาร
จัดการสต็อก การจัดการคลังสินค้าในภาพรวม และทีส่ าคัญลดต้นทุนโลจิสติกส์
โดยรวมได้มากขึน้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ถ้ามีกจิ กรรมทีช่ ว่ ยเพิม่ มูลค่าของ
สินค้าเข้าไป เช่น การติดฉลากสินค้า การตรวจเช็คคุณภาพสินค้า การประกอบ
สินค้าขัน้ สุดท้าย หรือ การแบ่งถ่ายและบรรจุสนิ ค้า
การเพิ่มประสิทธิภาพภายในคลังสินค้า
แนวทางที่ 4 : การปรับเปลี่ยนรูปแบบในการจัดเก็บสินค้า
• จากแบบ Random หรือแบบทีไ่ ม่ได้ระบุตาแหน่งทีต่ งั ้ ของสินค้าชัดเจน มาเป็ นการ
จัดเก็บสินค้าแบบ โซน ABC หรือ แบบทีก่ าหนดตาแหน่งทีต่ งั ้ ของสินค้า ตามลาดับ
ความสาคัญเชิงปริมาณเข้าออก หรือลักษณะการใช้งานคลังสินค้า
• ตัวอย่างเช่น สินค้าทีม่ ปี ริมาณเข้าออกคลังบ่อยๆ เป็ นจานวนมากๆ ถือว่าเป็ นกลุม่ สินค้า
A จะถูกกาหนดโซนในการจัดเก็บทีใ่ กล้ประตูเข้าออกมากทีส่ ดุ เนื่องจากจาเป็นต้อง
ปฏิบตั งิ านเป็ นประจา ส่วนสินค้าทีม่ ปี ริมาณเข้าออก และจานวนน้อยลงมา ถือว่าเป็ น
กลุม่ สินค้า B C และD ตามลาดับ ซึง่ จะกาหนด โซนในการจัดเก็บทีไ่ กลออกไป และต้อง
เสียเวลาและระยะทาง ในการปฏิบตั งิ านนาสินค้าเข้าไปเก็บและหยิบออกมามากขึน้
ตามลาดับ
• การปรับเปลีย่ นรูปแบบในการจัดเก็บสินค้าภายในคลังเช่นนี้ ส่งผลให้ประสิทธิภาพใน
การใช้พน้ื ทีภ่ ายในคลังสูงขึน้ และทาให้การบริหารควบคุมสต๊อกภายในคลังง่ายขึน้
การเพิ่มประสิทธิภาพภายในคลังสินค้า
แนวทางที่ 5 : การเลือกวิธีการหยิบสินค้าที่เหมาะสม
• โดยสามารถเลือกวิธกี ารหยิบสินค้าได้หลากหลายรูปแบบ ซึง่ แต่ละแบบอาจทา
ให้การทางานมีประสิทธิภาพสูงเพิม่ ขึน้ ได้ วิธกี ารหยิบสินค้าทีน่ ิยมกันมีดงั นี้
• มอบหมายให้ผหู้ ยิบสินค้าในแต่ลออเดอร์ดาเนินการเพียงคนเดียว มีขอ้ ดีคอื สินค้าในแต่ละออเดอร์
มีผรู้ บั ผิดชอบดูแลโดยตรง อาจช่วยลดปญั หาเรือ่ งออเดอร์ไม่ครบหรือผิดพลาดได้ดยี งิ่ ขึน้ แต่มี
ข้อเสียตรงทีต่ อ้ งใช้เวลาในการดาเนินการมาก และในบางกรณีกจ็ าเป็ นจะต้องใช้พนักงานที่
เกีย่ วข้องเป็ นจานวนมากเช่นกัน โดยเฉพาะในกรณีทม่ี อี อเดอร์ในเวลาเดียวกันครัง้ ละมากๆ
• มอบหมายให้ผหู้ ยิบสินค้าหยิบสินค้าเป็ น Batch กล่าวคือ ผูห้ ยิบสินค้าคนหนึ่งๆ ทาการหยิบสินค้า
ในแต่ละครัง้ เพือ่ หลายๆ ออเดอร์ วิธกี ารหยิบสินค้าแบบนี้มขี อ้ ดีและข้อเสีย ตรงกันข้ามกับแบบแรก
และนิยมใช้กบั คลังสินค้าขนาดใหญ่ทม่ี รี ายการสินค้าในแต่ละออเดอร์ไม่มากนัก และให้ความสาคัญ
กับเรือ่ งของรอบระยะเวลาและออเดอร์ทด่ี าเนินการในแต่ละวันเป็ นสาคัญ
การเพิ่มประสิทธิภาพภายในคลังสินค้า
แนวทางที่ 5 : การเลือกวีธีการหยิบสินค้าที่เหมาะสม
• การหยิบสินค้าในลักษณะโซน การหยิบวิธนี ้จี ะมีการมอบหมายผูห้ ยิบไว้ในลักษณะโซน
สินค้าอย่างชัดเจน เมือ่ มีออเดอร์สนิ ค้าทีต่ อ้ งทาการหยิบ รายการสินค้าจะถูกหยิบโดยผู้
หยิบในแต่ละโซน และเมือ่ ได้จานวนครบตามออเดอร์แล้ว สินค้าทีห่ ยิบมาจะต้องถูกนามา
คัดแยกและบรรจุภณ ั ฑ์เพือ่ เตรียมส่งมอบอีกทอดหนึ่ง วิธกี ารหยิบแบบนี้มขี อ้ ดีตรงทีก่ าร
หยิบแต่ละครัง้ มีความรวดเร็วมาก เนื่องจากผูห้ ยิบมีความเชีย่ วชาญและชานาญในโซน
นัน้ ๆ อยูแ่ ล้ว แต่จะมีขอ้ ด้อยตรงทีจ่ ะต้องมีการดาเนินกิจกรรมคลังสินค้าเพิม่ เติมในส่วน
ของการคัดแยกสินค้า และเตรียมสินค้าในภายหลัง
การเพิ่มประสิทธิภาพภายในคลังสินค้า
แนวทางที่ 6 : ทาการปรับเปลี่ยนพืน้ ที่การใช้สอย และพืน้ ที่จดั เก็บภายใน
คลังสินค้า
 โดยอาจเริม ่ จากการทา 5ส ก่อน ได้แก่
◦ การสะสางสต็อก หรือวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ทีไ่ ม่ได้ก่อประโยชน์แล้วออกจาก
คลังสินค้า
◦ การทาความสะอาดภายในคลังสินค้าให้สามารถใช้งานได้เต็มประสิทธิภาพ
และลดความเสีย่ งต่างๆ ทีอ่ าจจะก่อให้เกิดอุบตั เิ หตุภายในคลังสินค้าได้
◦ การเพิม่ ความสะดวกในการเคลือ่ นย้ายสินค้าเข้าออกภายในคลังสินค้า
โดยการจัดระเบียบเส้นทางคมนาคมภายในคลัง รวมถึงการตีเส้นแบ่งเส้น
จราจรภายในคลังอย่างชัดเจน
การเพิ่มประสิทธิภาพภายในคลังสินค้า
แนวทางที่ 6 : ทาการปรับเปลี่ยนพืน้ ที่การใช้สอย และพืน้ ที่จดั เก็บภายใน
คลังสินค้า
• การดูแลในเรือ่ งสุขลักษณะภายในคลังสินค้า เช่น ช่องลม ช่องแสง ปญั หาเรือ่ ง
ความชืน้ ฝุน่ ทีอ่ าจก่อให้เกิดปญั หา ทัง้ ในด้านสุขภาพของพนักงาน และ
ประสิทธิภาพการทางานและการจัดเก็บสินค้าภายในคลังสินค้า
• สุดท้ายเป็ นการสร้างอุปนิสยั ทีด่ ใี นการทางานภายในคลังสินค้า เช่น การออก
กฎระเบียบข้อห้ามต่างๆ ในการปฏิบตั งิ านภายในคลังสินค้า ไม่วา่ จะเป็ นการห้าม
ขับรถยกด้วยความเร็วสูง หรือ การ กลับรถยกภายในช่องเก็บสินค้า การห้ามขึน้ ลง
สินค้านอกบริเวณขึน้ ลง การห้ามวางสินค้าตรงบริเวณประตูขน้ึ ลงสินค้า เป็ นต้น
การเพิ่มประสิทธิภาพภายในคลังสินค้า
แนวทางที่ 7 : การปรับปรุงขบวนการทางานภายในคลังสินค้า
• ให้มปี ระสิทธิภาพสูงขึน้ รวดเร็วขึน้ ไม่วา่ จะเป็ นขัน้ ตอนการรับและตรวจเช็คนับ
สินค้า, การนาสินค้าเข้าบริเวณหรือชัน้ จัดเก็บสินค้า, การดูแลสินค้าขณะจัดเก็บ
ให้อยูใ่ นสภาพทีด่ ี ไม่เสือ่ มสภาพ หรือเสียหาย, การหยิบสินค้าทีจ่ ดั เก็บออกมา
ใช้หรือเตรียมส่ง มอบ, การคัดแยกและเตรียมสินค้าเพือ่ จัดส่ง, การบรรจุหบี ห่อ
หรือ ติดป้ายตราสินค้าต่างๆ สาหรับส่งมอบและส่งออก
• นาวิธกี ารคิดต้นทุนแบบกิจกรรม ทีน่ ิยมเรียกกันว่า Activity-Based Costing มา
ประเมินต้นทุนในแต่ละกิจกรรม และประเมินกิจกรรม หรือการปฏิบตั งิ านต่างๆ
ภายในคลังสินค้ากิจกรรมใดทีช่ ว่ ยสร้างหรือเพิม่ มูลค่า ซึง่ จะสามารถทาให้การ
ทางานของคลังสินค้าต่างๆ มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลดีขน้ึ
การเพิ่มประสิทธิภาพภายในคลังสินค้า
แนวทางที่ 8 : การประยุกต์ใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศสาหรับงานคลังสินค้า
• การใช้ระบบเทคโนโลยีฯ เข้าช่วยในการปฏิบตั งิ านด้านคลังสินค้า ทีส่ าคัญได้แก่
ระบบบาร์โค้ด
• การนาระบบบาร์โค้ดมาใช้กบั คลังสินค้าจะสามารถใช้ได้ในหลายๆ จุด ได้แก่ การ
รับและส่งสินค้าเข้าออกจากคลัง การจัดระบบเก็บสินค้าภายในคลัง และการตรวจ
นับสินค้าภายในคลัง เป็ นต้น
• ใช้ระบบบาร์โค้ดในการระบุตวั สินค้าและบรรจุภณั ฑ์เพือ่ ขนย้าย และจัดเก็บ
สามารถลดปญั หาภายในคลังสินค้า เช่นข้อผิดพลาดทีเ่ กิดจากพนักงานตรวจนับ
รับส่งสินค้า
การเพิ่มประสิทธิภาพภายในคลังสินค้า
แนวทางที่ 8 : การประยุกต์ใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศสาหรับงานคลังสินค้า
• นอกจากนัน้ ยังช่วยให้การทางานด้านเอกสาร และการตรวจเช็ค ตรวจนับต่างๆ
ภายในคลังสินค้าสามารถทาได้รวดเร็วขึน้ และช่วยให้ขอ้ ผิดพลาดต่างๆ ทีเ่ กิดจาก
การป้อนข้อมูลด้วยคนสามารถลดลงได้
• นอกเหนือจากระบบบาร์โค้ดแล้ว ปจั จุบนั ยังมีระบบ RFID ซึง่ เป็ นระบบทีม่ กี าร
ทางานและสามารถใช้ประโยชน์คล้ายคลึงกับระบบบาร์โค้ด แต่อาศัยคลื่นวิทยุแทน
คลื่นแสง และสามารถอ่านข้อมูลในระยะไกลโดยไม่จาเป็ นต้องสัมผัสสินค้า)
การเพิ่มประสิทธิภาพภายในคลังสินค้า
แนวทางที่ 9 : การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีการสื่อสารสาหรับงานคลังสินค้า
ด้วยระบบ Electronic Data Interchange (EDI)
• เป็ นระบบแลกเปลีย่ นและส่งข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์
• การประยุกต์ใช้ระบบ EDI นี้จะทาให้การรับและส่งมอบสินค้าจากซัพพลายเออร์
และลูกค้า สามารถทาได้รวดเร็ว ทีส่ าคัญสามารถเตรียมการต่างๆ ทัง้ ในเรือ่ ง
ของพืน้ ที่ อุปกรณ์ และพิธกี ารรับส่งสินค้าต่างๆ ได้ล่วงหน้า
• นอกจากนัน้ ยังช่วยลดขัน้ ตอน และข้อผิดพลาดต่างๆ ของการรับและส่งมอบ
สินค้า เอกสารต่างๆ มีความถูกต้องและรวดเร็วยิง่ ขึน้ การตรวจทานต่างๆ
สามารถทาได้งา่ ยและคล่องตัวมากขึน้ ส่งผลให้ตน้ ทุนและประสิทธิภาพด้านเวลา
รับและส่งมอบสินค้าดีขน้ึ
การเพิ่มประสิทธิภาพภายในคลังสินค้า
แนวทางที่ 10 : ปรับปรุงอุปกรณ์ ในคลังสินค้าให้เหมาะสม
• จัดหาอุปกรณ์ขนถ่ายวัสดุ หรือ อุปกรณ์ขนย้ายทีเ่ หมาะสม
• ปรับเปลีย่ นระบบการจัดเก็บ และระบบการขนย้ายโดยใช้พาเลท หรือกระดานรอง
• วิธกี ารนี้จะทาให้การทางานของคลังสินค้าสะดวก และรวดเร็วยิง่ ขึน้ การนาของขึน้
และลง ไม่วา่ จะเป็ นในช่วงของการรับสินค้าเข้าคลัง หรือการนาสินค้าออกมาจาก
บริเวณจัดเก็บ รวมถึงการยกสินค้าขึน้ รถบรรทุกสามารถทาได้งา่ ย และรวดเร็ว
ยิง่ ขึน้
• ส่งผลให้ประสิทธิภาพด้านเวลา และรอบของการปฏิบตั งิ านดีขน้ึ ผลิตภาพของคลัง
สูงขึน้
การเพิ่มประสิทธิภาพภายในคลังสินค้า
แนวทางที่ 11 : ลดภาระต้นทุนคลังสินค้าในบางกรณี
• โดยการปรับเปลีย่ นจากการใช้ทรัพย์สนิ ของบริษทั ตนเอง ซึง่ ใช้เป็ นสถานที่
จัดเก็บวัตถุดบิ ชิน้ ส่วนการผลิต และสินค้า มาเป็ นการเช่าสถานที่ หรือ
คลังสินค้าภายนอก
• การดาเนินการเช่นนี้จะส่งผลดีในหลายๆ ด้าน ได้แก่ การลดต้นทุนจมทีห่ มดไป
กับคลังสินค้า การรับทราบต้นทุนการจัดเก็บหรือต้นทุนดูแลจัดเก็บสินค้าต่อ
หน่วยได้ชดั เจนแม่นยาขึน้ และทีส่ าคัญทาให้องค์กรแบกรับภาระเรือ่ ง คนงาน
และความเสีย่ งต่างๆ น้อยลง
การขนส่ง

205 กรมอุตสาหกรรมพื ้นฐานและการเหมืองแร่


หัวข้อการอบรม
 ประเภทของการขนส่ง
 การตัดสินใจด้านการขนส่ง
 ปจั จัยทีม
่ ผี ลต่อต้นทุนการขนส่ง
 ต้นทุนของผูป ้ ระกอบการขนส่ง
 ต้นทุนของการขนส่งทางถนนในกรณีทาเอง และ ว่าจ้าง
 การเพิม่ ประเสิทธิภาพและลดต้นทุนการขนส่ง
ประเภทของการขนส่ง
 รูปแบบของการขนส่งแบบดัง้ เดิม แบ่งเป็ น 5 ประเภท คือ รถไฟ ถนน ทาง
น้า-ทางทะเล ทางท่อ และทางอากาศ
 Multimodal Transport เป็ นการผสมผสานการขนส่งสินค้า จากทีห่ นึ่งทีใ่ ด
(One Point) หรือจากประเทศหนึ่งประเทศใด ไปสูอ่ กี ทีห่ นึ่งหรืออีกประเทศ
หนึ่งซึง่ เป็ นอาณาบริเวณทีเ่ ป็ นจุดพบสุดท้าย (Interface Final Point) โดยใช้
รูปแบบการขนส่งตัง้ แต่ 2 รูปแบบขึน้ ไป ภายใต้การบริหารจัดการของผูข้ นส่ง
รายเดียว และมีสญ ั ญาขนส่งฉบับเดียวหรือเป็ นวิธกี ารขนส่งสินค้าแบบ
เบ็ดเสร็จทีค่ รอบคลุมการขนส่งทุกประเภท โดยผูป้ ระกอบการเพียงรายเดียว
ในการสนองความต้องการของกระบวนการในส่วนทีเ่ กีย่ วข้องกับโลจิสติกส์
โดย Multimodal Transport เป็ นการผสมผสานการขนส่งสินค้า เช่น ทางถนน
ทางรถไฟ ทางน้า
ข้อดี/ข้อเสียของการขนส่งทางรถไฟ

 เป็ นวิ ธี ก ารประหยัด ค่ า ขนส่ ง ส าหรับ การ


เคลื่อนย้ายสินค้าจานวนมาก เช่น การขนส่ง
ปูนซีเมนต์ น้ ามัน ถ่านหิน และขนส่งโดยตู้
คอนเทนเนอร์ เหมาะกับการขนส่งระยะไกล
 ข้อจากัด คือ เรื่องเวลา ค่อนข้างล่าช้าและไม่
ตรงเวลา เส้น ทางการเดิน ทางก็ม ีอ ยู่ อ ย่ า ง
จากัด และไม่สามารถเข้าถึงสถานทีเ่ ป้าหมาย
ได้ ต้องมีการขนย้ายด้วยพาหนะอื่นๆ เสริม
ด้ ว ย มี เ วลาเดิ น ทางค่ อ นข้ า งตายตั ว ไม่
ยืดหยุน่

208 Manisra Baramichai School of Engineering UTCC Manisra


School Baramichai UTCC
of Engineering
ข้อดี/ข้อเสียของการขนส่งทางน้า

 สามารถขนส่งได้จานวนมาก ในราคา
ต่า สามารถขนส่งสินค้าทีม่ นี ้าหนัก
มากได้ เหมาะกับการขนส่งระยะไกล
ข้ามประเทศ
 ข้อจากัด คือ ล่าช้ามากๆ มีเส้นทาง
ขนส่งจากัด เช่น ทะเล แม่น้า คลอง
ทาให้เข้าถึงเป้าหมายยากลาบาก จึง
ต้องมีการขนส่งร่วมกับวิธกี ารอื่นๆ

209 Manisra Baramichai School of Engineering UTCC Manisra


School Baramichai UTCC
of Engineering
Bulk Cargo Carrier

Bulk Cargo Carrier Oil Tanker

Container Ship

210 School of Engineering UTCC Manisra Baramichai


ระบบขนส่งสินค้า
 จากภาพเป็ นสะพานเพือ่ ใช้สาหรับพาหนะประเภทใด
ระบบขนส่งสินค้าทางน้า
Magdeburg Water Bridge
Europe's Largest Water Bridge, Germany
 เริ่ มก่ อสร้ างปี 1997/ เปิ ดใช้ งานในเดือนตุลาคม
2003
 มีความยาว 918 เมตร
(ส่ วนที่อยู่ในพืน้ ดิน 690 เมตร และส่ วนที่อยู่ในนา้ 228
เมตร)
 ลดระยะทางจากเส้ นทางเดิมได้ ถงึ 12 กิโลเมตร
 ช่ วยให้ ขนส่ งต่ อวันมากกว่ าใช้ รถบรรทุก เกือบ 100
เท่ า
 ลดค่ า ขนส่ ง เพราะใช้ เ รื อ บรรทุ ก สิ น ค้ า ได้ ป ริ ม าณ
มากกว่ า
ท่ าเรือในประเทศไทย
 ท่าเรือกรุงเทพ
 ท่าเรือแหลมฉบัง
 ท่าเรือมาบตาพุด
 ท่าเรือสงขลา
 ท่าเรือภูเก็ต
 ท่าเรือระนอง
 ท่าเรือศรีราชาฮาร์เบอร์
 ท่าเรือสยามซีพอร์ต
Land Bridge
 สะพานข้ามพืน้ ดิน เป็ นการสร้างเส้นทาง (ถนน
ั่
รถไฟ) เชื่อมชายฝงทะเลสองแห่ ง เพือ่ เชื่อมต่อ
การขนส่งสินค้าต่าง ๆ ทีม่ าทางเรือจากฝงทะเล ั่
ด้านหนึ่งไปยังอีกด้านหนึ่ง โดยจะเน้นในรูปแบบ
ของวัตถุประสงค์ทจ่ี ะใช้เฉพาะเพือ่ การขนส่ง
ั่
สินค้าระหว่างสองฝงทะเลที ม่ แี ผ่นดินกัน้ เป็ น
หลัก และในด้านการขนส่งไม่วา่ จะเป็ นการขนส่ง
ในรูปแบบการขนส่งน้ามันโดยการผ่านท่อน้ามัน
ั่
จากฝงทะเลหนึ ั ่ ่ง เช่นการขนส่ง
่งไปยังอีกฝงหนึ
สินค้าทางเรือ โดยมีการขนถ่ายสินค้าจากฝงั ่
ั่
ทะเลหนึ่ง ไปยังอีกฝงทะเลหนึ ่ง โดยใช้
รถบรรทุกเป็ นตัวเชื่อมในการขนส่ง
การขนส่งทางลาน้า
 การขนส่งทางลาน้าเป็ นระบบการขนส่งทีม่ ตี น้ ทุนต่อหน่วยบรรทุกต่าสามารถ
ขนส่งได้คราวละมาก ๆ แต่ใช้เวลาขนส่งมากกว่าการขนส่งรูปแบบอื่น และไม่
สามารถขนส่งแบบ door-to-door
 มักใช้เรือท้องแบน (Barge) ในการขนส่ง เนื่องจากมีขอ้ จากัดเรือ่ งความลึกของ
น้าและความกว้างของแม่น้า
 การขนส่งทางลาน้าจาเป็ นต้องมีคลังสินค้าหรือลานพักสินค้าเพือ่ รวบรวมและ
แยกสินค้าก่อนขึน้ และหลังจากสินค้าลงจากเรือ ซึง่ ผลิตภัณฑ์ทข่ี นส่งทางลาน้า
ส่วนใหญ่เป็ นสินค้ามูลค่าต่า ไม่ตอ้ งการความรวดเร็วในการขนส่ง และสามารถ
ส่งได้คราวละมาก ๆ เช่น ดิน หิน ทราย ปูนซีเมนต์ ข้าว น้ าตาล แป้งมัน
สาปะหลัง
การขนส่งทางลาน้า
 การขนส่งทางลาน้าประกอบด้วยการขนส่งระหว่างประเทศและการขนส่ง
ภายในประเทศ
 เส้นทางทีข่ นส่งสินค้าระหว่างประเทศ คือ แม่น้าโขง เป็ นเส้นทางขนส่งสินค้า
ระหว่างประเทศในกลุม่ ประเทศสีเ่ หลีย่ มเศรษฐกิจ อันได้แก่ จีน พม่า ไทย และ
ลาว ซึง่ แม่น้าโขง นี้ไหลผ่านเมืองสาคัญ เช่น ชิงไฮ่ (จีน) หลวงพระบาง (ลาว)
เวียงจันทร์ (ลาว) นครพนม (ไทย) สุวรรณเขต (ลาว) ปากเซ (ลาว) และ
พนมเปญ (กัมพูชา)
 เส้นทางทีข่ นส่งสินค้าภายในประเทศ ได้แก่ แม่น้ าเจ้าพระยา แม่น้ าปา่ สัก แม่น้ า
บางปะกง แม่น้าแม่กลอง และแม่น้าท่าจีน
ข้อดี/ข้อเสียของการขนส่งทางอากาศ
 การขนส่งทางอากาศ เป็ นการขนส่ง
ทีร่ วดเร็วทีส่ ดุ เหมาะกับสินค้าขนาด
ไม่ใหญ่ น้าหนักไม่มาก
 แต่คอ่ นข้างราคาแพง มีจานวน
เทีย่ วขนส่งจากัดตามเทีย่ วบินของผู้
ให้บริการ ไม่สามารถขนส่งสินค้า
น้าหนักมากได้
 เหมาะกับสินค้าทีต่ อ้ งการด่วนพิเศษ
และสินค้าทีเ่ น่าเสียง่าย มีอายุสนั ้
หรือสินค้าทีต่ อ้ งแช่แข็ง
รถไฟความเร็วสูง (High Speed Train)
รถไฟความเร็วสูง (High Speed Train) – (ต่อ)
แล้ วอนาคตประเทศไทยจะมีรถไฟความสูงหรื อไม่

ที่มา: http://www.sepo.go.th/highspeedrail/
ข้อดี/ข้อเสียของการขนส่งทางท่อ
 นิยมใช้เฉพาะกับสินค้าประเภทก๊าซ น้ า
และน้ ามัน ข้อดีคอื ปลอดภัย ต้นทุนต่ า
และสามารถเคลื่อนย้า ยสินค้า จานวน
มากได้ สามารถขนส่งไปยังสถานที่ท่ี
ต้องการได้ ตลอด 24 ชม.
 การขนส่ ง ทางท่ อ มีผู้ใ ห้บ ริก ารจ ากัด
ไม่กร่ี าย เพราะการลงทุนสูงมาก
 มีอายุการทางานค่อนข้างนาน แต่ก็ม ี
ค่าบารุงรักษาท่อค่อนข้างสูงพอสมควร
ข้อดี/ข้อเสียของการขนส่งทางถนน
 รถบรรทุก เป็ นวิธกี ารขนส่งที่ดที ส่ี ุด
ส่งถึงจุ ดหมายได้ใกล้ท่ีสุด มีค วาม
ยืด หยุ่น สูง ส่ง ของรวดเร็ว ควบคุ ม
เวลาได้ดี และมีจานวนเที่ยวขนส่ง
มากตามความต้ อ งการ สามารถ
ขนส่งสินค้าได้หลากหลายประเภท
เหมาะกับธุรกิจทีเ่ น้นความเทีย่ งตรง
ของเวลาในการขนส่งสินค้า
 มีข้อ จ ากัด ด้า นปริม าณขนส่ง และ
ต้นทุนสูงกว่าการขนส่งโดยรถไฟ
การขนส่งสินค้าทางถนน
 การขนส่งสินค้าทางถนนเป็ นรูปแบบการขนส่งทีไ่ ด้รบั ความนิยมใช้ขนส่งสินค้า
ภายในประเทศมากทีส่ ดุ ทัง้ นี้สาเหตุทก่ี ารขนส่งสินค้าทางถนนได้รบั ความนิยม
มากเนื่องจากมีขอ้ ได้เปรียบเมือ่ เปรียบเทียบกับการขนส่งรูปแบบอื่น ๆ คือ
ความสามารถในการเข้าถึงแหล่งผลิตและแหล่งบริโภคได้โดยตรง (door-to-
door) เนื่องจากมีโครงข่ายถนน ทีเ่ ชื่อมต่อภูมภิ าคต่าง ๆ ครอบคลุมทัวประเทศ

มีหน่วยบรรทุก (unit load) ขนาดเล็ก และสามารถจัดหาพาหนะ ได้สะดวก ทา
ให้สามารถขนส่งสินค้าไปทีจ่ ุดหมายปลายทางทีแ่ ตกต่างกันได้สะดวก
 การขนส่งทางถนนจัดเป็ น Feeder ให้กบั การขนส่งด้านอื่น
การเลือกรูปแบบการขนส่ง
การเลือกวิธกี ารขนส่ง มีเกณฑ์กาหนดการเลือก คือ
 ลักษณะสินค้า ขนาดและน้ าหนักของสินค้า
 ค่าใช้จ่ายในการขนส่ง ประกอบด้วย
 ค่าระวางการขนส่ง
 ค่าใช้จ่ายในการยกขนสินค้า และขนถ่ายสินค้า
 ค่าประกันภัยขนส่ง
 ระยะทางการขนส่ง และระยะเวลาทีใ่ ช้ในการขนส่ง
 บริการและอัตราความเสียหายหรือสูญหายของสินค้าในระหว่างการ
ขนส่ง
การเลือกรูปแบบการขนส่ง
ประเภทของการขนส่ง
 Multimodal Transport เป็ นการผสมผสานการขนส่งสินค้า จากทีห่ นึ่งทีใ่ ด
(One Point) หรือจากประเทศหนึ่งประเทศใด ไปสูอ่ กี ทีห่ นึ่งหรืออีกประเทศ
หนึ่งซึง่ เป็ นอาณาบริเวณทีเ่ ป็ นจุดพบสุดท้าย (Interface Final Point) โดยใช้
รูปแบบการขนส่งตัง้ แต่ 2 รูปแบบขึน้ ไป ภายใต้การบริหารจัดการของผูข้ นส่ง
รายเดียว และมีสญ ั ญาขนส่งฉบับเดียวหรือเป็ นวิธกี ารขนส่งสินค้าแบบเบ็ดเสร็จ
ทีค่ รอบคลุมการขนส่งทุกประเภท โดยผูป้ ระกอบการเพียงรายเดียว ในการ
สนองความต้องการของกระบวนการในส่วนทีเ่ กีย่ วข้องกับโลจิสติกส์ โดย
Multimodal Transport เป็ นการผสมผสานการขนส่งสินค้า เช่น ทางถนน ทาง
รถไฟ ทางน้า
Intermodal Transportation
 แนวคิดและเป้าหมายในการใช้การขนส่งต่อเนื่องหลาย
รูปแบบ มุง่ เน้นไปทีก่ ารทดแทนการขนส่งทางถนน
เพียงอย่างเดียว ซึง่ การขนส่งรูปแบบนี้จะสามารถลด
ต้นทุนขนส่งทางถนนได้ต่อเมือ่ มีระยะทางในการขนส่ง
ไม่น้อยกว่า 500 กิโลเมตร เพราะการเปลีย่ นโหมด
ขนส่งจะมีตน้ ทุนค่า Lift On / Lift Off คือค่าขนลงและ
ขนขึน้ นอกจากนี้ การขนส่งต่อเนื่องส่งหลายรูปแบบที่
เกิดประสิทธิภาพด้านต้นทุน และระยะเวลาในการ
ขนส่งทีร่ วดเร็ว จะต้องดาเนินการในลักษณะทีไ่ ม่มกี าร
ถ่ายเปลีย่ นสินค้า เข้า-ออกจากตูค้ อนเทนเนอร์
 ในการขนส่งจะมุง่ เน้นไปทีก่ ารขนส่งทางรถไฟ ทางแม่น้า และทางทะเลเป็ นหลัก เพราะเป็ น
โหมดทีป่ ระหยัดทีส่ ุด ถ้าจาเป็ นจะต้องมีการใช้การขนส่งทางถนนก็จะจากัดระยะทางทีใ่ ช้ให้
น้อยทีส่ ุด โดยอาจจะใช้การขนส่งทางถนนเพียงระยะทางสัน้ ๆ ทีต่ น้ ทางหรือปลายทางในการ
ขนส่งสินค้าเท่านัน้
Container Transportation

 เป็ นรูปแบบการขนส่งสินค้าด้วยวิธกี ารผสมผสานการขนส่งหลายรูปแบบจาก


สถานทีห่ นึ่งหรือจากผูส้ ง่ สินค้าต้นทางไปสูส่ ถานหนึ่งหรือต่อเนื่องไปจนถึง
สถานทีห่ รือผูร้ บั สินค้าปลายทาง โดยการส่งมอบนัน้ อยูภ่ ายใต้ความ
รับผิดชอบของผูป้ ระกอบการขนส่งรายเดียว หรือภายใต้สญ ั ญาขนส่งเพียง
ฉบับเดียว
 เป็ นลักษณะการขนส่ง ซึง่ เหมาะสาหรับการขนส่งเชื่อมโยงในระดับภูมภิ าค
หรือการขนส่งระหว่างประเทศ โดยการผสมผสานการขนส่งสินค้า จากทีห่ นึ่งที่
ใด (One Point) หรือจากประเทศหนึ่งประเทศใด ไปสูอ่ กี ทีห่ นึ่งหรืออีก
ประเทศหนึ่งซึง่ เป็ นอาณาบริเวณทีเ่ ป็ นจุดพบสุดท้าย (Interface Final Point)
Container Transportation
 ลดระยะเวลาของการขนส่ง (Just In Time)
 ลดต้นทุน (Reduce Transport Cost)
 เพิม
่ ประสิทธิภาพให้มี ศักยภาพการแข่งขัน (Core Competitiveness)
 ให้สนิ ค้ามีและความปลอดภัยทีด่ กี ว่า (More Cargoes Security)
Container
 Dry Cargoes เป็ นตูท้ ใ่ี ส่สนิ ค้าทัวไปที
่ ม่ กี ารบรรจุหบี ห่อหรือภาชนะต้องเป็ นสินค้า
ทีไ่ ม่ตอ้ งการรักษาอุณหภูม ิ โดยสินค้าทีเ่ ข้าตูแ้ ล้วจะต้องมีการจัดทาทีก่ นั ้ ไม่ให้ม ี
สินค้าเลื่อนหรือขยับ

 Refrigerator Cargoes เป็ นตูส้ นิ ค้าประเภททีม่ เี ครือ่ งปรับอากาศ มีการปรับ


อุณหภูมใิ นตู้ ซึง่ ทาตามมาตรฐานต้องสามารถปรับอุณหภูมไิ ด้อย่างน้อย –18
องศาเซลเซียส โดยเครือ่ งทาความเย็นนี้อาจจะติดอยูก่ บั ตัวตูห้ รือมีปลักใช้

กระแสไฟฟ้าเสียบจากนอกตู้
Container
 Garment Container เป็ นตูส้ นิ ค้าที่
ออกแบบสาหรับใช้ในการบรรจุสนิ ค้า
ทีเ่ ป็ นเสือ้ ผ้า โดยมีราวสาหรับแขวน
เสือ้ ซึง่ ส่วนใหญ่มกั จะใช้กบั สินค้าที่
เป็ น Fashion ซึง่ ไม่ตอ้ งการทีจ่ ะมีการ
พับหรือบรรจุใน Packing ซึง่ จะมีผล
ทาให้เสือ้ ผ้ามีการยับหรือไม่สวยงาม
Container

 Open Top เป็ นตูซ้ ง่ึ ส่วนใหญ่จะต้องเป็ น 40 ฟุต โดยจะออกแบบมาไม่ให้มี


หลังคา สาหรับใช้ในการวางสินค้าขนาดใหญ่ เช่น เครือ่ งจักร ซึง่ ไม่สามารถ
ขนย้ายผ่านประตูตไู้ ด้ จึงต้องขนย้ายโดยการยกส่วนบนของตูแ้ ทน

231 Manisra Baramichai School of Engineering UTCC Manisra


School Baramichai UTCC
of Engineering
Container

 Flat-rack เป็ นพืน้ ราบมีขนาดกว้างและยาว ตาม Size ของ Container มาตรฐาน


โดยจะเป็ นตูค้ ล้ายกับ Container ทีม่ แี ต่พน้ื Platform สาหรับใส่สนิ ค้าทีม่ ี
ลักษณะเป็ นพิเศษ เช่น เครือ่ งจักร , แท่งหิน , ประติมากรรม , รถแทรกเตอร์
Container Transportation
 Inland Container Depot (ICD) ลานวางตูห้ รือท่าเรือในแผ่นดิน (ไม่ตดิ น้า) เป็ น
สถานีในการเป็ นศูนย์ (HUB) ในการรับตูส้ นิ ค้าเพือ่ ขนส่งไปท่าเรือ (Port) หรือ
รับตูส้ นิ ค้าจากท่าเรือเข้ามาเก็บก่อนทีจ่ ะส่งต่อไปให้สถานทีร่ บั มอบ สินค้า
(Origin Point) ซึง่ ปจั จุบนั สถานะของ ICD จึงทาหน้าทีค่ ล้ายกับท่าเรือในแผ่นดิน
และมีบทบาทอย่างมากต่อกิจกรรมลอจิสติกส์ระหว่างประเทศ
GMS Location at Heart of Asia

234 Manisra Baramichai School of Engineering UTCC Manisra


School Baramichai UTCC
of Engineering
Economic Corridors
GMS Economic Corridors
 เป็ นโครงการพัฒนาศูนย์รวม เส้นทางทีเ่ ชือ่ มต่อ ของกิจกรรมทาง
เศรษฐกิจไปพร้อมกับการพัฒนารูปแบบพืน้ ทีท่ างภูมศิ าสตร์ ของกลุม่
ประเทศ GMS ประเทศสมาชิก ในกรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุ
ภูมภิ าคลุ่มแม่น้ าโขง (GMS) โดยเน้นการพัฒนาเส้นทางการขนส่งทาง
ถนนเป็ นหลัก ตลอดจนการลดอุปสรรคในกาขนส่งข้ามพรมแดน ซึง่ แระ
กอบด้วยโครงการใน 3 เส้นทางได้แก่
 แนวพืน้ ทีเ่ ศรษฐกิจเหนือ-ใต้ (North-South Economic Corridor)
 แนวพืน้ ทีเ่ ศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก (East-West Economic Corridor)
 แนวพืน้ ทีเ่ ศรษฐกิจตอนใต้ (Southern Economic Corridor)
237 School of Engineering UTCC Manisra Baramichai
North-South Corridor
North-South Corridor
North-South Corridor
North-South Corridor
1. เส้นทาง R3E ซึ่งเป็ นถนนที่มีระยะทางสั้นที่สุดในการเชื่อมโยง
ประเทศไทย , ประเทศ สปป.ลาว และประเทศจีนตอนใต้
2. ภาคเหนือตอนบนกลายเป็ นจุดยุทธศาสตร์ต่อโอกาสการขยายเส้นทาง
การค้าและการลงทุน ในการเชื่อมโยงเศรษฐกิจระหว่างประเทศจีน
และประเทศต่างๆในอาเซียน
3. เส้นทาง R3E หรื อที่จีนเรี ยกว่า คุนมัง่ -กงลู่ เป็ นถนนตามมาตรฐาน
GMS ที่สร้างเสร็ จสมบูรณ์ สามารถใช้ในการขนส่ งผูโ้ ดยสารและ
สิ นค้าที่ส้ นั ที่สุดในการเชื่อมประเทศไทยกับประเทศจีน
East-West Corridor

242 Manisra Baramichai School of Engineering UTCC Manisra


School Baramichai UTCC
of Engineering
East-West Corridor
East-West Corridor
โครงข่ายเส้นทางแนวตะวันออก - ตะวันตก (East - West Corridor)
หรือ เส้นทาง R2

 เชือ่ มโยง พม่า -ไทย - ลาว - เวียดนาม จาก ท่าเรือเมาะละแหม่ง - แม่


สอด - มุกดาหาร -สะหวันนะเขต - ดานัง ระยะทางประมาณ 1,450
กิโลเมตร
 สถานะปจั จุบนั
 เส้นทางในส่วนของพม่า คือ ช่วงเมาะละแหม่ง-เมียวดี ระยะทาง 200
กิโลเมตร ไทยได้ให้ความช่วยเหลือเงินกูแ้ ก่พม่าในการปรับปรุงถนนช่วง
แม่สอด/เมียวดี-ผะอัน ระยะทาง 153 กิโลเมตร เพือ่ เชือ่ มโยงโครงข่าย
ไทย-พม่า-อินเดีย
Southern Coastal Corridor
Southern Coastal Corridor
โครงข่ายเส้นทางถนนเลียบชายฝังทะเลไทย-กั
่ มพูชา-เวียดนาม
หรือ เส้นทาง R10

 เชื่อมโยง ไทย -กัมพูชา - เวียดนาม


 เส้นทางในส่วนของไทย คือ กรุงเทพ-ตราด-บ้านหาดเล็ก (ชายแดนไทยกัมพูชา)
 เส้นทางของกัมพูชา คือ เกาะกง-กาพต-ชายแดนกัมพูชา/เวียดนาม
 เส้นทางในส่วนของเวียดนาม คือ กาพต-ฮาเตียน-คาเมา
Eastern Corridor
Eastern Corridor
โครงข่ายเส้นทางสายตะวันออก เส้นทาง R1 (Eastern Corridor)
ไทย-กัมพูชา-เวียดนาม (กรุงเทพฯ-พนมเปญ-โฮจิมินต์ซิตี้-วังเตา)

 เส้นทางในส่วนของไทย คือ กรุงเทพฯ - สระแก้ว-อรัญประเทศ


 เส้นทางในส่วนของกัมพูชา คือ ปอยเปต - พนมเปญ - บาเวท ช่วงปอยเปต - ศรี
โสภณ -เสียมเรียบ ระยะทาง 150 กิโลเมตร
 เส้นทางในส่วนของประเทศเวียดนาม คือ มอคไบ - โฮจิมนิ ต์ซติ ้ี - วังเตา ช่วง
มอคไบ - โฮจิมนิ ต์ ซิตร้ี ะยะทาง 80 กิโลเมตร

248 Manisra Baramichai School of Engineering UTCC Manisra


School Baramichai UTCC
of Engineering
การตัดสิ นใจด้ านการขนส่ ง
 การเลือกว่าจะดาเนินการเองหรือว่าจ้าง
 ยานพาหนะสาธารณะ (Common Carrier) : บริการขนส่งสาธารณะที่
ดาเนินการโดยรัฐบาลหรือรัฐวิสาหกิจ ทาให้ธุรกิจสามารถขนส่งได้ดว้ ยต้นทุน
ต่า เช่น รสพ. รถไฟส่งสินค้า เรือเดินสมุทร
 ยานพาหนะทีท่ าสัญญา (Contact Carrier) : การให้บริการขนส่งสาหรับลูกค้า
เฉพาะกลุ่ม ทีม่ กี ารทาสัญญาจัดจ้างกันเฉพาะงาน เช่น รถขนเงิน
 ยานพาหนะส่วนตัว (Private Carrier) : ธุรกิจมียานพาหนะขนส่งเป็ นของ
ตนเอง ข้อดีคอื สามารถควบคุมการขนส่งได้ ประหยัดค่าใช้จา่ ยในระยะยาว
แต่อาจมีปญั หาเรือ่ งลูกจ้าง ค่าแรงและสวัสดิภาพของพนักงานขับรถ
ปัจจัยที่มีผลต่อต้นทุนการขนส่ง
 ต้นทุนของการขนส่งจะแตกต่างกันมากน้อยเพียงใดขึน้ อยูก่ บั
ปจั จัยต่างๆ ดังต่อไปนี้
 ช่องทางและพาหนะสาหรับการขนส่ง
 ลักษณะของเส้นทางทีใ่ ช้ในการขนส่ง
 ระยะทางและระยะเวลาของการขนส่ง
 อุปกรณ์และมาตรฐานต่างๆ ในการขนส่ง
 ลักษณะของสินค้าและบริการทีจ่ ะทาการขนส่ง
 สภาพแวดล้อมและภูมปิ ระเทศทีจ่ ะทาการขนส่ง
ระยะทาง (Distance)
 ระยะทางเป็ นปจั จัยที่มอี ทิ ธิพลต่อต้นทุน
การขนส่ง เนื่องจากมีความเกี่ยวข้องกับ
ต้นทุนผันแปร คือ ค่าแรง เชื้อเพลิงและ
การบารุงรักษา
 จากภาพที่ 1 แสดงความสัมพันธ์ทส่ี าคัญ
อยู่ 2 ประการ ประการแรกคือ ต้นทุน
การขนส่ ง จะเพิ่ ม ขึ้ น ตามระยะทาง
ประการที่สองคือ เส้น ต้นทุนเพิ่มขึ้นใน
อัตราทีล่ ดลงตามระยะทาง
น้าหนัก (Weight)
 ต้น ทุ น การขนส่ง ต่ อ หนึ่ ง หน่ ว ยน้ า หนัก สิน ค้า
ลดลงเมื่อปริมาณสินค้ามีจานวนเพิม่ ขึน้ ที่เป็ น
เช่นนี้เพราะต้นทุนคงทีข่ องการรับและส่งสินค้า
และการค่าการจัดการต่างๆได้ถูกเฉลี่ยลงไป
ตามจานวนสินค้าทีเ่ พิม่ ขึน้
 ความสัมพันธ์น้ีจะถูกจากัดด้วยความสามารถ
ในการบรรทุ ก ของยานพาหนะ เช่ น เมื่ อ
ยานพาหนะคันทีห่ นึ่งเต็ม ก็จะต้องใช้คนั ที่สอง
บรรทุกส่วนทีเ่ หลือ ดังนัน้ ถ้าปริมาณสินค้าน้อย
ก็ควรทีจ่ ะทาการรวบรวมสินค้าให้มมี ากพอเพื่อ
ความได้เปรียบตามหลักของเศรษฐศาสตร์
ความหนาแน่ น (Density)

 ต้นทุนการขนส่งต่อหนึ่งหน่ วยน้ าหนักสินค้า


จะลดลงเมือ่ ความหนาแน่นจะเพิม่ ขึน้
 ่ จ้ ดั การฝา่ ยโลจิสติกส์พยายามทีจ่ ะ
โดยทัวไปผู
เพิม่ ความหนาแน่ นของผลิตภัณฑ์ เพื่อที่จะ
บรรทุกได้มากขึน้ การเพิม่ ความหนาแน่ นให้
บรรจุ ภ ัณ ฑ์ เ พื่อ ที่จ ะบรรจุ ส ิน ค้า ได้ม ากขึ้น
ตัวอย่างเช่น ของเหลว เบียร์ โซดา สามารถ
ภาพที่ 3 ความสัมพันธ์ระหว่างความหนาแน่น
บรรทุ ก ได้เ พีย งครึ่ง เดีย วเนื่ อ งจากน้ า หนั ก ของสินค้าและต้นทุนการขนส่ง
บรรทุกเต็มหรือน้ าหนักถึงก่อนปริมาณที่ทา
การบรรทุกได้
การจัดเก็บ (Stowability)
 หมายถึงขนาดและรูปทรงของผลิตภัณฑ์ซง่ึ มีผลต่อยานพาหนะทีจ่ ะ
บรรทุก ขนาดและรูปทรงทีผ่ ดิ แผก เช่นเดียวกับน้าหนักทีเ่ กินหรือ
ความยาวทีเ่ กิน จะทาให้การจัดเก็บได้ไม่ดแี ละสิน้ เปลืองเนื้อทีบ่ รรทุก
 ผลิตภัณฑ์ทร่ี ป
ู ทรงมาตรฐานจะจัดเก็บได้งา่ ยกว่ารูปทรงทีผ่ ดิ แผก
ออกไป ตัวอย่างเช่น แท่งเหล็กและคันเบ็ด มีความหนาแน่นเท่ากัน
แต่คนั เบ็ดจัดเก็บยากกว่าเพราะความยาวและรูปทรง หรือ รถบรรทุก
ขนกระป๋องทีไ่ ม่ใช้แล้ว ถ้าบรรทุกเป็ นกระป๋องเดีย่ วทาให้ยากแก่การ
จัดเก็บมากกว่ากระป๋องทีถ่ ูกอัดให้แบน
การจัดการ (Handling)
 อุปกรณ์พเิ ศษในการจัดการสินค้าช่วยในการขนย้ายสินค้าขึน้ ลง
รถบรรทุกหรือเรือ รวมถึงลักษณะของภาชนะบรรจุผลิตภัณฑ์ เช่น
กล่อง พาเลต เชือกผูก ซึง่ มีกผลต่อต้นทุกของการจัดการ

ความรับผิดชอบ (Liability)
 ผลิตภัณฑ์ทจ่ี ะถูกความกระทบกระเทือนได้งา่ ย การเน่าเปื่อย การถูก
ขโมย ระเบิด ผูร้ บั ขนส่งควรจะทาประกันสินค้า และผูส้ ง่ ออกสามารถ
ลดความเสีย่ ง และค่าขนส่งได้โดยการปรับปรุงบรรจุภณ ั ฑ์ให้สามารถ
ป้องกันหรือลดการสูญหายหรือเสียหาย
ต้นทุนของผูป้ ระกอบการขนส่ง
 ประเภทของต้นทุนของผูป
้ ระกอบการขนส่ง
 ต้นทุนคงที่
 ต้นทุนผันแปร
 ต้นทุนเทีย่ วเปล่า
 ต้นทุน
 ต้นทุนรวม
ต้นทุนคงที่ (Fixed Cost)
 เป็ นต้นทุนหรือค่าใช้จา่ ยทีไ่ ม่มกี ารเปลีย่ นแปลงใดๆตามปริมาณงานทีท่ า
 ในแง่การขนส่งไม่วา่ จะทาการขนส่งหรือไม่ผลิตก็ตาม ต้นทุนนี้จะเกิดขึน ้ เป็ น
จานวนคงที่
 ต้นทุนนี้ถงึ แม้จะมีการขนส่งมากหรือน้อยเพียงใด ก็จะต้องเสียค่าใช้จา่ ยใน
อัตราเท่าเดิมอยูต่ ลอดเวลา
 ตัวอย่าง ค่าเช่า ทีด ่ นิ อาคารสาหรับยานพาหนะ ค่าประกันภัย ค่าทะเบียน
ยานพาหนะ ค่าเสือ่ มราคา เงินเดือนประจา ค่าใบอนุญาตเช่าสถานที่ เป็ นต้น
 ในบางครัง้ ต้นทุนประเภทนี้อาจเรียกชื่อได้อย่างอื่นอีก เช่น Constant Cost
หรือ Overhead Cost ต้นทุนชนิดนี้แม้จะให้บริการมากน้อยเพียงใดหรือไม่ได้
ให้บริการเลย ก็ตอ้ งเสียเป็ นจานวนเท่ากัน เป็ นต้น
ต้ นทุนผันแปร (Variable Cost)
 เป็ นต้นทุนหรือค่าใช้จ่ายทีจ่ ะมีการเปลีย่ นแปลงไปตามปริมาณของงานที่
ทา
 ในแง่การขนส่งถ้ามีการขนส่งมากต้นทุนชนิดนี้กม ็ ากด้วย ถ้าขนส่ง
น้อยต้นทุนนี้กน็ ้อย
 อาจเรียกชื่อเป็ นอย่างอื่นได้อก ี คือต้นทุนดาเนินงาน (Operation
Cost)
 ต้นทุนผันแปร ได้แก่ ค่าน้ ามันเชือ้ เพลิง ค่าซ่อมแซม ค่าน้ ามันหล่อลื่น
ค่าใช้จ่ายในการขนส่ง เป็ น
ต้นทุนเที่ยวกลับ (Back Haul Cost)
 เป็ นต้นทุนหรือค่าใช้จ่ายทีไ่ ด้รวมเอาลักษณะของค่าเสียโอกาส
(Opportunity Cost) ในการทีต่ อ้ งบรรทุกผูโ้ ดยสาร สินค้าหรือ
บริการ ไปส่งยังจุดหมายปลายทางแล้ว ในเทีย่ วกลับนัน้ ไม่ได้
บรรทุกอะไรกลับมาเลย กรณีน้ีจงึ ต้องมีการคิดถึงต้นทุนเทีย่ วกลับ
รวมไว้ในการคิดต้นทุนค่าบริการขนส่งด้วย ซึง่ ในบางครัง้ ลักษณะ
เช่นนี้ ถือว่าการสูญเปล่าได้เกิดขึน้ และถือเป็ นการขนส่งทีไ่ ม่ทาให้
เกิดการประหยัดอีกด้วย
ต้นทุนอื่นๆ
 ต้นทุนในการ loading / unloading orders
 ต้นทุน Inventory in Transit
ต้ นทุนรวม (Total Cost หรือ Joint Cost)
 เป็ นต้นทุนหรือค่าใช้จา่ ยต่างๆ โดยรวมเอาต้นทุนคงทีแ่ ละต้นทุนผันแปรมารวมกันถือเป็ น
ต้นทุนของการบริการทัง้ หมด
 ในการขนส่งถือว่าเป็ นต้นทุนหรือค่าใช้จา่ ยทีเ่ กิดขึน้ สาหรับการขนส่งสินค้า โดยไม่สามารถ
จะแยกออกได้วา่ ต้นทุนของการขนส่งสินค้าหรือบริการแต่ละอย่างแต่ละประเภทนัน้ เป็ น
เท่าใด เช่น การขนส่งทางรถไฟ โดยรถขบวนหนึ่งอาจมีทงั ้ ผูโ้ ดยสารสินค้าและบริการอยู่
ในขบวนเดียวกัน ค่าใช้จา่ ยทีเ่ กิดขึน้ จะเป็ นต้นทุนร่วมกัน เพราะไม่สามารถจะแยกออกได้
ว่าเป็ นต้นทุนในการขนส่งผูโ้ ดยสาร หรือเป็ นต้นทุนสาหรับการขนส่งสินค้าและบริการ
 ต้นทุนทีเ่ กิดขึน้ ในการขนส่งเทีย่ วนัน้ ก็ควรจะแบ่งสรรไปยังสินค้าแต่ละชนิดทีข่ นส่งใน
เทีย่ วนัน้ การทีต่ อ้ งแบ่งสรรต้นทุนเช่นนี้กจ็ ะเป็ นประโยชน์แก่ธุรกิจ เพือ่ จะได้ทราบว่า
สินค้าแต่ละประเภททีด่ าเนินการอยูน่ นั ้ มีตน้ ทุนและให้กาไรเพียงใด ต้นทุนร่วมทีส่ ามารถ
แยกแยะได้ชดั เจน เช่น ค่าน้ ามันซึง่ อาจคิดเฉลีย่ ค่าน้ ามันแต่ละเทีย่ วไปตามน้ าหนัก
บรรทุกสินค้า เป็ นต้น
การลงทุนเพือ่ การขนส่ งทางถนนในกรณีลงทุนทาเอง
ในกรณีที่ทาเองค่าใช้ จ่ายในการขนส่ง ประกอบด้ วย
การลงทุนเพื่อการขนส่งทางถนนในกรณี ลงทุนทาเอง
 ต้นทุนเบือ้ งต้น (Initial Cost) ซึง่ เกิดขึน้ เมือ่ มีการซือ้ รถบรรทุก การต่อตัวถังหรือติดตัง้ เครือ่ งมือ
อุปกรณ์บนรถ
 ต้นทุนดาเนินงาน (Operating Cost) ส่วนใหญ่จะเป็ นต้นทุนคงทีแ่ ละลดได้ยาก เช่น เงินเดือน
ค่าประกันภัย ภาษีรถ ค่าใช้จา่ ยสานักงาน ค่าเช่า ค่าเสือ่ มราคาต่างๆ เป็ นต้น
 ต้นทุนการวิง่ ขนส่ง หรือRunning Costเช่น ค่าน้ามันเชือ้ เพลิง ค่าซ่อมบารุง และค่ายาง
Running Cost นัน้ เป็ นต้นทุนสาคัญ ธุรกิจขนส่งจะกาไรหรือขาดทุนก็ขน้ึ กับการบริหารจัดการ
Running Cost และขึน้ อยูก่ บั ว่ามีพนักงานทีด่ มี ปี ระสิทธิภาพเพียงใด ปจั จัยทีเ่ กีย่ วข้องต่อการ
เพิม่ ขึน้ หรือลดลงของ Running Cost คือ สภาพรถ สมรรถนะ การจัดการด้านต่างๆ ระบบการ
บริหารงาน แต่ปจั จัยทีส่ าคัญมากทีส่ ดุ คือบุคลากร โดยเฉพาะพนักงานขับรถ
การลงทุนเพื่อการขนส่งทางถนน ทาเอง หรือ ว่าจ้าง?
การลงทุนเพื่อการขนส่งในกรณี ว่าจ้าง

 ในกรณีทว่ี า่ จ้างค่าใช้จา่ ยในการขนส่ง ประกอบด้วย


 ค่าระวางการขนส่ง
 ค่าใช้จ่ายในการยกขนสินค้า และขนถ่ายสินค้า
 ค่าประกันภัยขนส่ง

265 Manisra Baramichai School of Engineering UTCC Manisra Baramichai


แนวทางการลดต้นทุนและเพิ่มประสิทธิภาพการขนส่ง

 การพยายามบรรทุกสินค้าในหนึ่งเทีย่ วให้เต็ม Capacity ของยานพาหนะ


ในหนึ่งเทีย่ ว และพยายามปรับปรุงรูปแบบของพาหนะให้มขี นาดใหญ่ขน้ึ
เพือ่ การประหยัดต่อขนาด
 การเลือกเทอมการซือ ้ ขายทีเ่ หมาะสมโดยให้ฝา่ ยทีจ่ ดั การขนส่งทีม่ ี
ประสิทธิภาพกว่าเป็ นผูข้ นส่ง เช่น EXW หรือ DDP เป็ นต้น
 การว่าจ้างผูใ้ ห้บริการขนส่งในเส้นทางทีผ่ ใู้ ห้บริการขนส่งมีการจัดการ
ขนส่งทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูงกว่า

Manisra Baramichai 266 School of Engineering UTCC


แนวทางการลดต้นทุนและเพิ่มประสิทธิภาพการขนส่ง
 การมีศนู ย์กระจายสินค้า จะช่วยทาให้สามารถลดต้นทุนการขนส่งได้
เนื่องจากการขนส่งตรงถึงลูกค้า ในต่างจังหวัดโดยไม่มศี นู ย์รวบรวมพัก
สินค้า ตามต่างจังหวัด ทีเ่ ป็ นศูนย์กลางการขนส่ง ทาให้สว่ นใหญ่ตอ้ ง
ขนส่งรถเทีย่ วเปล่ากลับหรือส่งสินค้า ไม่เต็มคันรถ ซึง่ การแก้ปญั หา
ดังกล่าวทาได้ โดยการมีศนู ย์กระจายสินค้า ทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ซึง่ มี
โครงข่ายกระจายสินค้า ทาหน้า ทีร่ วบรวมสินค้า ให้เต็มคันรถหรือจัด
พาหนะให้เหมาะสมกับจานวน และสอดคล้องกับสถานทีส่ ง่ มอบสินค้า
อีกทัง้ ยังมีเครือข่ายในการรวบรวมสินค้า หรือเปลีย่ นรูปแบบการขนส่ง
ไปสูร่ ปู แบบทีป่ ระหยัดพลังงานอีกด้วย
แนวทางการลดต้นทุนและเพิ่มประสิทธิภาพการขนส่ง
SPOKE
ศูนย์รวมและกระจายสินค้า
รวมศูนย์เพือ่ ประสาน
ระบบการขนส่ง
HUB ประหยัดทรัพยากร
ใช้เพียง 7 เส้นทาง

ทางน้า รถไฟ ท่อ

HUB
เพื่อประหยัดการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานและ ลดค่าใช้จ่ายใน
การดาเนินการและค่าใช้จ่ายในการขนส่ง โดยจะเน้ นการเชื่อมโยง
ระหว่าง HUB & SPOKE เท่านัน้ SPOKE
แนวทางการลดต้นทุนและเพิ่มประสิทธิภาพการขนส่ง
 การจัดเส้นทาง (Vehicle Routing) และตารางการวิง่ รถ ให้เหมาะสม เพือ่ ให้
่ ได้คมุ้ ค่าทีส่ ดุ โดยมี ปจั จัยทีต่ อ้ งคานึงได้แก่
สามารถใช้รถขนส่งได้ 24 ชัวโมง
 ความสามารถในการรับระวางบรรทุกของยานพาหนะ (Vehicle Capacity)
 ความถีข ่ องการหยุดรถเพือ่ ส่งหรือรับ สินค้า (Density of stops)
 เวลาทีใ่ ช้ในกิจกรรมต่างๆ เช่นเวลาในการเดินทาง (Transit Time) เวลาใน
ยกสินค้าขึน้ และลง (Loading-Unloading Time) รวมถึงเวลาทีม่ ใี นการ
ทางาน
 ต้นทุนทีเ่ กีย
่ วข้องในการวิง่ รถในแต่ละเส้นทาง เช่นค่าธรรมเนียมผ่านทาง
ค่าน้ามัน เป็ นต้น
แนวทางการลดต้นทุนและเพิ่มประสิทธิภาพการขนส่ง
 การเพิม่ ประสิทธิภาพการขนส่งด้วยการลดการวิง่ เทีย่ วเปล่าโดยจัดให้มสี นิ ค้าในรถ
เทีย่ วกลับ เรียกว่าการทา Back Haul) เพือ่ ให้ เกิดการใช้ประโยชน์สงู สุดจาก
ยานพาหนะ เพราะการขนส่งโดยทัวไปเมื ่ อ่ ส่งสินค้า เสร็จ จะตีรถวิง่ เทีย่ วเปล่ากลับมา
ซึง่ ทาให้เกิดต้น ทุนของการประกอบการเพิม่ สูงขึน้ โดยเปล่าประโยชน์ ซึง่ ต้นทุนที่
เกิดขึน้ มานี้นบั เป็ นต้นทุนทีไ่ ม่ก่อให้เกิดมูลค่า (Non-value added cost) ต้อง
พยายามใช้ประโยชน์ของจากรถบรรทุก (Truck utilization) ให้เต็มที่
 มีการบริหารจัดการคาสังซื ่ อ้ การเลือกเส้นทางและการวางแผนการขนส่งทีม่ ี
ประสิทธิภาพ เช่น จัดส่งหลายรายในเส้นทางเดียวกัน การจัดระบบแบบ Milk Run
เป็ นต้น
แนวทางการลดต้นทุนและเพิ่มประสิทธิภาพการขนส่ง

ระบบ Milk Run


แนวทางการลดต้นทุนและเพิ่มประสิทธิภาพการขนส่ง
 การใช้พลังงานทดแทน โดยปรับเปลีย่ นพลังงานทีใ่ ช้ในการขนส่งจากน้ามันดีเซล
หรือเบนซิน เป็ นไบโอดีเซลหรือก๊าซ CNG ซึง่ การใช้ก๊าซ CNG จะประหยัดกว่าการ
ใช้น้ามันประมาณ 60-70% แต่ในการตัดสินใจติดตัง้ ระบบ NGV ผูป้ ระกอบการควร
มีการตัดสินใจทีล่ ะเอียดถีถ่ ว้ น เนื่องจากการติดตัง้ ระบบ NGV ใช้งบประมาณที่
ค่อนข้างสูง ในการติดตัง้ ผูป้ ระกอบการควรพิจารณาตามหลักเกณฑ์ดงั ต่อไปนี้ คือ
พิจารณาประเภทของเครือ่ งยนต์ พิจารณาสถานีบริการ NGV และเส้นทางในการ
ขนส่งสุดท้าย คือ การพิจารณาผลตอบแทนการลงทุนซึง่ การพิจารณาถึง
องค์ประกอบเหล่านี้ จะทาให้ผปู้ ระกอบการเห็นถึงความเป็ นไปได้ของการติดตัง้ ใน
ด้านผลตอบแทนการลงทุนรวมถึงการเพิม่ ความสามารถในการแข่งขัน
แนวทางการลดต้นทุนและเพิ่มประสิทธิภาพการขนส่ง
 การซ่อมบารุงเครือ่ งยนต์และการตรวจสอบรถขนส่งรายวัน เช่น การ
ตรวจความดันลมยาง การล้างไส้กรองอากาศ เพือ่ ช่วยลดการใช้
พลังงาน
 การฝึ กอบรมพนักงานขับรถ และการควบคุมพฤติกรรมคนขับรถด้วย
เทคโนโลยี เช่น การใช้ GPS, Automatic Identification เพือ่ ควบคุม
ให้พนักงานขับรถอย่างประหยัดเชือ้ เพลิงและปลอดภัย
TMS (Transport Management System)
 TMS (Transport Management System) คือ โปรแกรมการแก้ไขปั ญหางานบริ การขนส่ งที่ซบั ซ้อน
มากขึ้น ประกอบด้วยฐานข้อมูลสาคัญ ได้แก่
 เส้นทางการวิง่ รถ (รวมจุดจอดพักรถ ทางอันตราย ทางซ่ อมบารุ ง แผนที่ หรื อ ระบบ GIS)
 กองรถ (ขนาด ประเภท อัตราการใช้เชื้อเพลิง ระยะทางวิง่ ที่เหมาะสม สาหรับรถแต่ละประเภท)
 พนักงานขับรถ (ประเภทใบขับขี่ เส้นทางที่ชานาญหรื อต้องการวิง่ ช่วงเวลาที่ตอ้ งการทางาน
อัตราค่าจ้าง)
 ข้อจากัดด้านกฎหมาย เช่น ระเบียบทางราชการของรถบางประเภท สิ นค้าบางประเภท เส้นทาง
บางเส้นทาง จานวนชัว่ โมงในการขับขี่ และการขับรถให้ตรงกับประเภทใบขับขี่
 จุดหลักหรื อสถานที่ๆ รถต้องแวะรับและส่ งสิ นค้า (โรงพักสิ นค้ากลาง โรงงานและ ศูนย์กระจาย
สิ นค้าของลูกค้า ร้านค้าท่าเรื อ ท่าอากาศยาน ด่านศุลกากรตามชายแดน)
 ระบบการรับคาสัง่ จากลูกค้า (ประเภทสิ นค้า จานวน ต้นทาง-ปลายทาง เวลานัดหมายบริ การ
เพิ่มเติมอื่นๆ)

You might also like