You are on page 1of 74

เด็กและครอบครัวไทยในสามวิกฤต:

รายงานสถานการณ์เด็ก เยาวชน และครอบครัว ปี 2022

ฉัตร คำแสง, วรดร เลิศรัตน์ และ เจณิตตำ จันทวงษำ

ศูนย์ความรู้นโยบายเด็กและครอบครัว (คิด for คิดส์)


โดยควำมร่วมมือระหว่ำง
สำนักสนับสนุนสุขภำวะเด็ก เยำวชน และครอบครัว สำนักงำนกองทุนสนับสนุนกำรสร้ำงเสริมสุขภำพ
กับ ศูนย์ควำมรูน้ โยบำยสำธำรณะเพือ่ กำรเปลีย่ นแปลง บริษทั ดิ วันโอวัน เปอร์เซนต์ จำกัด

สิงหำคม 2022
(ฉบับร่ำงสำหรับนำเสนอในงำนเสวนำสำธำรณะ “เด็กและครอบครัวไทยในสำมวิกฤต”
ในวันที่ 22 สิงหำคม 2022)
สารบัญ

เด็กและครอบครัวไทยในสามวิ กฤต ............................................................................................... 5


วิกฤตโรคระบาดโควิด-19 5
วิกฤตความเหลื่อมล้าและการพัฒนา 6
วิกฤตสังคมและการเมือง 8
สามวิกฤตในโลกทีท่ า้ ทาย 9
7 แนวโน้มสาคัญของสถานการณ์เด็ก เยาวชน และครอบครัว 10
เด็กและเยาวชนเผชิ ญภาวะการเรียนรู้ถดถอย พัฒนาการหยุดชะงัก ......................................... 12
การปิ ดสถานศึกษาในช่วงโควิด ส่งผลให้พฒ ั นาการของเด็กถดถอย 12
การเรียนรูถ้ ดถอยทัวโลก ่ แต่เด็กไทยยิง่ เจ็บหนัก 13
ยิง่ พัฒนาการช้าลงหรือหยุดชะงัก เด็กยิง่ มีทุนต่าลงตลอดชีวติ 15
ตัง้ หลักระบบการศึกษาใหม่ เพือ่ ชดเชยช่วงเวลาทีส่ ญ ู หาย 16
เด็กรอยต่อ: เมื่อจุดเปลีย่ นชีวติ มีโควิด-19 เข้ามาแทรก 18
เด็กและครอบครัวเข้าถึงบริ การของรัฐได้ยากขึ้น ในช่วงการแพร่ระบาดของโควิ ด .................. 20
การทุ่มทรัพยากรรัฐเพือ่ แก้โควิดทาให้เด็กและครอบครัวเข้าถึงบริการสาธารณสุขลดลง 20
ปิ ดโรงเรียน-ศูนย์เด็กเล็ก ภาวะโภชนาการเด็กเริม่ น่าเป็ นห่วง 22
บริการรัฐต้องต่อเนื่อง ทัวถึ
่ ง ยืดหยุ่น และพร้อมรับมือวิกฤต 24
ยังไม่ทนั ตัง้ ไข่ เด็กไทยก็ถูกทอดทิง้ จากรัฐ 25
เด็กและเยาวชนถูกผลักเข้าสู่โลกออนไลน์โดยขาดฐานที่ จาเป็ น ................................................ 26
มาตรการโควิดผลักเด็กและเยาวชนเข้าสูโ่ ลกออนไลน์ 26
เด็กและเยาวชนต้องเข้าสูโ่ ลกออนไลน์โดยขาดทักษะทีจ่ าเป็ นและเท่าเทียม 26
ผูป้ กครองและครูมที กั ษะ MIDL ต่า จึงสนับสนุนเด็กและเยาวชนได้จากัด 27
เด็กและเยาวชนจานวนมากประสบปั ญหาในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต 28
การถูกผลักเข้าสูโ่ ลกออนไลน์สง่ ผลระยะยาวต่อพัฒนาการ สวัสดิภาพ และจิตใจ 29
ฟื้ นฟูผลจากวิกฤตเก่า สร้างฐานทีจ่ าเป็ น-เท่าเทียม เตรียมรับวิกฤตใหม่ 30
อาชีวะเรียนออนไลน์อย่างไร เมื่อการเรียนทางไกลไม่ได้เหมาะกับทุกคน 31
เด็กและเยาวชนเครียดและมีปัญหาสุขภาพจิ ตมากขึ้น ................................................................ 32
เด็กไทยเครียดมากขึน้ และมีความเสีย่ งทางสุขภาพจิตเพิม่ ขึน้ ทุกด้าน 32

1
การศึกษาและการทางานเป็ นสาเหตุหลักของความเครียดในเยาวชนทุกช่วงวัย 33
ปั ญหาสุขภาพจิตสามารถส่งผลกระทบตลอดชีวติ 35
ไม่ใช่เด็กทุกคนทีส่ ามารถเข้าถึงบริการสุขภาพจิตได้ 35
ต้องทาบริการสุขภาพจิตให้เข้าถึงได้งา่ ยขึน้ เพิม่ บุคลากรให้เพียงพอ 36
ความฝันทีไ่ ม่มคี าตอบ 37
เด็กและเยาวชนมีส่วนร่วมทางการเมือง แต่ภาครัฐสกัดกัน้ ด้วยความรุนแรงมากขึ้น ............... 38
เด็กและเยาวชนตื่นตัวทางการเมือง 38
เยาวชนเน้นมีส่วนร่วมทางการเมืองแบบเป็ นปั จเจก ไม่ผ่านองค์กรจัดตัง้ และตอบสนองสถานการณ์
เฉพาะเรื่อง 39
เยาวชนประท้วงเรียกร้องทัง้ ผลประโยชน์เฉพาะกลุ่มและผลประโยชน์ร่วมของสังคม 40
เด็กและเยาวชนขาดช่องทางการมีสว่ นร่วมทีเ่ ป็ นทางการและมีความหมาย 41
รัฐบาลกดปราบการมีสว่ นร่วมของเด็กและเยาวชนอย่างละเมิดสิทธิมนุษยชน 43
การกดปราบไม่ช่วยแก้ปัญหา แต่เพิม่ ความขัดแย้ง 43
รัฐบาลต้องหยุดกดปราบและขยายช่องทางการมีสว่ นร่วมทีม่ คี วามหมาย 44
โครงสร้างประชากรเข้าสู่สงั คมสูงวัยสมบูรณ์ ครอบครัวมีขนาดเล็กและเปราะบางยิ่ งขึ้น ......... 46
‘เกิดน้อย อายุยนื ’ ความท้าทายของโครงสร้างประชากรไทย 46
ขนาดครอบครัวไทยเล็กลงต่อเนื่อง 48
ความสูญเสียช่วงโควิด ซ้าเติมปั ญหาเด็กกาพร้า 49
เด็กคือผูไ้ ด้รบั ผลกระทบโดยตรงจากโครงสร้างครอบครัวทีเ่ ปลีย่ นไป 49
คุม้ ครอง เยียวยา ดูแลเด็กเปราะบางทีร่ บั ผลกระทบก่อนเป็ นอันดับแรก 50
ความไม่ลงรอยระหว่างรุ่นรุนแรงขึ้น บันทอนความสั ่ มพันธ์ภายในครอบครัว ........................... 52
เด็กและเยาวชนจานวนมากมีแนวคิดขัดแย้งกับผูใ้ หญ่ 52
ความขัดแย้งทางความคิดเป็ นฐานของความไม่ลงรอยระหว่างรุ่นในครอบครัว 54
ความไม่ลงรอยระหว่างรุ่นทาให้ครอบครัวไม่ใช่พน้ื ทีส่ บายใจของเด็กและเยาวชน 56
สร้างทักษะในการอยู่ร่วมกัน ลดความเหลื่อมล้า พร้อมรับสถานการณ์เลวร้าย 57
ตัง้ หลักใหม่ เติ มความฝันเด็กและครอบครัวไทย......................................................................... 60
3 เสาหลัก เติมความฝันเด็กและครอบครัวไทย 61
ส่งท้าย: กระบวนการนโยบายทีต่ อบโจทย์สงั คมไทยในโลกยุคใหม่ 66
เชิ งอรรถ ......................................................................................................................................... 67

2
สารบัญแผนภูมิ

แผนภูมทิ ่ี P.1 รายได้ต่อหัวประชากรต่อเดือนและจานวนเด็กและเยาวชน 6


อายุไม่เกิน 21 ปี แยกตามเดไซล์รายได้ครัวเรือน
แผนภูมทิ ่ี P.2 ผลกระทบจากวิกฤตทีไ่ ม่เท่าเทียมต่ออัตราการมีงานทาของแรงงาน 7
รายได้ต่าและรายได้สงู
แผนภูมทิ ่ี 1.1 ช่วงเวลาการเปิ ด-ปิ ดโรงเรียนในประเทศไทย ปี 2020-2022 12
แผนภูมทิ ่ี 1.2 ภาวะการเรียนรูท้ ส่ี ญ
ู เสียจากการปิ ดโรงเรียนในต่างประเทศ 14
แผนภูมทิ ่ี 1.3 ภาวะถดถอยด้านผลสัมฤทธิทางวิ ์ ชาการของนักเรียนไทยโดยเฉลีย่ 15
แยกตามระดับชัน้ และรายวิชา
แผนภูมทิ ่ี 1.4 จานวนนักเรียนยากจนพิเศษรายปี ปี การศึกษา 2018-2021 16
แผนภูมทิ ่ี 2.1 อัตราหญิงตัง้ ครรภ์ทไ่ี ด้รบั การฝากครรภ์ครัง้ แรก ปี 2020-2021 21
แผนภูมทิ ่ี 2.2 อัตราหญิงตัง้ ครรภ์ทไ่ี ด้รบั การดูแลก่อนคลอด 5 ครัง้ ตามเกณฑ์ 21
ปี 2020-2022
แผนภูมทิ ่ี 2.3 อัตราความครอบคลุมของเด็กอายุ 1 ปี และ 7 ปี ทไ่ี ด้รบั วัคซีนครบตามเกณฑ์ 22
ปี 2019-2022
แผนภูมทิ ่ี 2.4 ผลสารวจภาวะความไม่มนคงทางโภชนาการในครั
ั่ วเรือนประเภทต่างๆ 23
แผนภูมทิ ่ี 2.5 อัตราส่วนเด็กอายุ 0-14 ปี ทเ่ี จริญเติบโตสมวัย ปี 2019-2021 24
แผนภูมทิ ่ี 3.1 คะแนนประเมินทักษะรูเ้ ท่าทันสือ่ -สารสนเทศ (MIDL) ด้วยตนเองโดยเฉลีย่ 27
ของเยาวชนอายุ 15-25 ปี แยกตามควินไทล์รายได้ครัวเรือน
แผนภูมทิ ่ี 3.2 คะแนนทักษะรูเ้ ท่าทันสือ่ -สารสนเทศ (MIDL) แยกตามช่วงอายุและกลุ่มอาชีพ 28
แผนภูมทิ ่ี 3.3 สัดส่วนของค่าบริการสัญญาณมือถือโดยเฉลีย่ ต่อรายได้ต่อหัวประชากร 29
โดยเฉลีย่ แยกตามควินไทล์รายได้ครัวเรือน
แผนภูมทิ ่ี 4.1 ผลการประเมินสุขภาพจิตตนเองของเด็กและเยาวชนอายุไม่เกิน 20 ปี 32
ปี 2020-2022
แผนภูมทิ ่ี 4.2 การประเมินสุขภาพจิตคนไทย ปี 2021 จาแนกตามกลุ่มอายุ 33
แผนภูมทิ ่ี 4.3 ปั ญหาทีเ่ ยาวชนรายงานว่าทาให้เกิดความเครียดมากถึงมากทีส่ ุด 34
แผนภูมทิ ่ี 5.1 สัดส่วนของเยาวชนอายุ 15-25 ปี ทส่ี นใจติดตามการเมืองค่อนข้างมาก 39
ถึงมากทีส่ ุด แยกตามทีอ่ ยู่ปัจจุบนั ควินไทล์รายได้ครัวเรือนและระดับการศึกษา

3
แผนภูมทิ ่ี 5.2 สัดส่วนของเยาวชนทีเ่ คยมีสว่ นร่วมทางการเมืองในแต่ละรูปแบบ 40
แยกตามทีอ่ ยู่ปัจจุบนั
แผนภูมทิ ่ี 6.1 สัดส่วนประชากรตามช่วงอายุต่อประชากรไทยทัง้ หมด ปี 2010 และ 2020 47
และแนวโน้มการเปลีย่ นแปลงในปี 2030 และ 2040
แผนภูมทิ ่ี 6.2 จานวนประชากรเด็กเกิดใหม่และจานวนผูเ้ สียชีวติ ปี 2012-2021 47
แผนภูมทิ ่ี 6.3 สัดส่วนครัวเรือนวัยแรงงาน จาแนกตามรูปแบบการอยู่อาศัย ปี 2000 48
ปี 2020 และแนวโน้มสัดส่วนปี 2030
แผนภูมทิ ่ี 6.4 อัตราการพึง่ พิงของผูส้ งู อายุ (65 ปี ขน้ึ ไป) และเด็ก (0-14 ปี ) ปี 2010-2020 50
และแนวโน้มในปี 2030 ปี 2035 และ ปี 2040
แผนภูมทิ ่ี 7.1 สัดส่วนของเยาวชนทีร่ ายงานว่าคิดขัดแย้งกับผูใ้ หญ่ในครอบครัว 53
ค่อนข้างมากถึงมากทีส่ ุด แยกตามประเด็นและกลุ่มอายุ
แผนภูมทิ ่ี 7.2 สัดส่วนของเยาวชนทีร่ ายงานว่าคิดขัดแย้งกับผูใ้ หญ่ในครอบครัว 54
ค่อนข้างมากถึงมากทีส่ ุด แยกตามประเด็นและโครงสร้างครอบครัว
แผนภูมทิ ่ี 7.3 สัดส่วนของเยาวชนทีร่ ายงานว่าความขัดแย้งทางความคิดเป็ นอุปสรรค 55
สาคัญทีส่ ุดต่อความสัมพันธ์ภายในครอบครัว แยกตามช่วงอายุ
ระดับรายได้ครัวเรือนทีแ่ บ่งเป็ นควินไทล์ และระดับการศึกษา
แผนภูมทิ ่ี 7.4 เปรียบเทียบเยาวชนทีร่ ายงานว่าความขัดแย้งทางความคิดเป็ นอุปสรรคสาคัญ 56
ทีส่ ุดต่อความสัมพันธ์ภายในครอบครัว กับเยาวชนทีร่ ายงานว่าไม่มอี ุปสรรคต่อ
ความสัมพันธ์ภายในครอบครัว
แผนภูมทิ ่ี E.1 เสาหลักของนโยบายเด็กและครอบครัวแห่งอนาคต 62
แผนภูมทิ ่ี E.2 ผลตอบแทนของการลงทุนในเด็กช่วงวัยต่างๆ 64

4
บทนา
เด็กและครอบครัวไทยในสามวิ กฤต

ปี 2021-2022 เป็ นปี ท่ที ้าทายส าหรับเด็ก เยาวชน และครอบครัว ไทย วิกฤตสามด้าน – ทัง้
วิก ฤตโรคระบาดโควิด -19 (COVID-19) วิก ฤตความเหลื่อ มล้ า และการพัฒ นา และวิก ฤตสัง คมและ
การเมือง – ยังคงทอดเงาทะมึนยาวต่อเนื่องจากปี ก่อนหน้า ทาบทับและท้าทายชี วติ ของเด็ก เยาวชน
และครอบครัวอย่างน่าวิตกกังวล

วิ กฤตโรคระบาดโควิ ด-19
หลังจากพบการแพร่ระบาดครัง้ แรกในปี 2020 ประเทศไทยต้องเผชิญการระบาดของโควิด -19
อีกสามระลอกใหญ่ในช่วงปี 2021-2022 ส่งผลให้มผี เู้ สียชีวติ สะสมราว 3.1 หมื่นคน และติดเชือ้ สะสมราว
4.6 ล้านคน โดยเป็ นผู้ติดเชื้อ ช่วงอายุ 0-19 ปี จานวนอย่างน้อ ย 7.7 แสนคน นับถึงเดือนกรกฎาคม
20221
แม้เด็กและเยาวชนจะมิใ ช่ก ลุ่ มผู้ติดเชื้อ รุนแรงหรือ ผู้เสียชีวติ หลัก แต่ก็ได้รบั ผลกระทบจาก
โควิด-19 รวมถึงมาตรการที่รฐั บาลใช้ชะลอการแพร่ระบาด การปิ ดสถานศึกษาโดยปราศจากแนวทาง
สนับสนุ นที่เหมาะสมส่งผลให้เด็กและเยาวชนประสบปั ญหาการเรียนรู้ถดถอยและทุพโภชนาการ เมื่อ
ประกอบกับการทุ่มทรัพยากรของระบบสาธารณสุขไปกับการจัดการโรคระบาด ยังเป็ นเหตุให้ทงั ้ หญิง
ตัง้ ครรภ์ เด็ก และเยาวชนเข้าถึงบริการสุขภาพได้ยากขึ้น ทาให้มไิ ด้รบั การดูแลป้ องกันความเสีย่ งด้าน
สุขภาพเท่าทีค่ วร
ยิ่ง ไปกว่ า นัน้ การปิ ด สถานที่ ตลอดจนการห้า มด าเนิ น กิจ กรรมและปฏิส ัม พัน ธ์ท างสัง คม
ตามปกติ ยังส่งผลให้ครัวเรือนจานวนมากสูญเสียรายได้และสนับสนุ นเด็กและเยาวชนได้จากัดยิง่ ขึ้น
สถานการณ์ทงั ้ หมดนี้กดดันและกระตุ้นให้เด็กและเยาวชนเครียด กังวล และมีปัญหาสุขภาพจิต ไม่นับ
รวมว่าหลายคนยังต้องเผชิญการสูญเสียบุคคลอันเป็ นทีร่ กั จากโรคระบาดอีกด้วย2
วิกฤตโรคระบาดโควิด-19 ได้รบกวนและเปลีย่ นแปลงวิถขี องเด็ก เยาวชน และครอบครัวอย่าง
กว้างขวางและฉับพลัน ซ้าเติมให้ผลกระทบจากวิกฤตความเหลื่อมล้าและการพัฒนากับวิกฤตสังคมและ
การเมืองซับซ้อนและรุนแรงมากยิง่ ขึน้

5
วิ กฤตความเหลื่อมลา้ และการพัฒนา
เด็ก เยาวชน และครอบครัวไทยเผชิญวิกฤตความเหลื่อมล้าที่รุนแรงมาช้านาน โดยเด็กและ
เยาวชนส่วนใหญ่เกิดและเติบโตในครัวเรือนยากจนทีม่ ที รัพยากรในการสนับสนุนสุขภาวะและพัฒนาการ
จากัดมาก จากผลสารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือนในปี 2021 เด็กและเยาวชนอายุไม่เกิน
21 ปี จานวน 2.9 ล้านคน จากทัง้ หมด 14.0 ล้านคน หรือคิดเป็ นร้อยละ 20.7 อาศัยอยู่ในครัวเรือนที่มี
รายได้ต่าสุดร้อยละ 10 (เดไซล์ท่ี 1) ซึ่งมีรายได้เฉลีย่ ต่อคนต่อเดือนเพียง 2,577 บาท ขณะที่ 4.4 แสน
คน หรือร้อยละ 3.2 อาศัยอยู่ในครัวเรือนที่มรี ายได้สูงสุดร้อยละ 10 (เดไซล์ท่ี 10) ซึ่งมีรายได้เฉลี่ยต่อ
คนถึง 38,699 บาท หรือกว่า 15 เท่าของครัวเรือนเดไซล์ท่ี 13

แผนภูมทิ ่ี P.1 รายได้ต่อหัวประชากรต่อเดือนและจานวนเด็กและเยาวชนอายุไม่เกิน 21 ปี แยกตาม


เดไซล์รายได้ครัวเรือน

ทีม่ า: คิด for คิดส์ คานวณจากผลสารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน (2021)

หากพิจารณาตามข้อมูลบัญชีการโอนประชาชาติในปี 2019 ว่าครัวเรือนมีค่าใช้จ่ายเฉลีย่ ในการ


เลี้ยงดูเด็กหนึ่งคนตัง้ แต่เกิดจนอายุ 21 ปี ราว 1.5 ล้านบาท หรือ 6,250 บาทต่อเดือน 4 จะมีเด็กและ
เยาวชนอายุไม่เกิน 21 ปี มากถึง 8.6 ล้านคน หรือร้อยละ 61.4 อาศัยอยู่ในครัวเรือนทีม่ รี ายได้เฉลี่ยต่อ
คนต่อเดือนน้อยกว่าระดับค่าใช้จ่ายดังกล่าว (เดไซล์ท่ี 1-4) ซึ่งอนุมานได้ว่าพวกเขามีเงินสาหรับใช้จ่าย
ด้า นการเรีย นรู้ ซื้อ อาหารบริโ ภค ดูแ ลสุ ข ภาพ และสนับ สนุ น พัฒ นาการด้า นอื่น ไม่ เ พีย งพอตาม
มาตรฐานเฉลีย่ ของประเทศ

6
ในความเป็ นจริง สถานการณ์ความเหลื่อมล้าทางความสามารถในการสนับสนุนเด็กและเยาวชน
มีแนวโน้มย่าแย่กว่าทีข่ อ้ มูลความเหลื่อมล้าทางรายได้สะท้อนให้เห็น เพราะไทยเป็ นหนึ่งในประเทศที่มี
ความเหลื่อมล้าทางความมังคั ่ งสู
่ งสุดในโลกด้วย โดยในปี 2021 กลุ่มประชากรที่มงคั ั ่ งที
่ ่สุดร้อยละ 1
ถือครองความมังคั
่ งของประเทศถึ
่ งร้อยละ 44.4 ขณะทีก่ ลุ่มยากจนทีส่ ุดร้อยละ 50 ถือครองรวมกันเพียง
ร้อยละ 1.5 เท่านัน้ 5
วิกฤตโควิด-19 ยิง่ ซ้าเติมวิกฤตความเหลื่อมล้านี้ให้รุนแรงขึน้ มาตรการชะลอการแพร่ระบาดทา
ให้ครัวเรือนยากจนมีรายได้ต่อหัว ลดลงมากถึงร้อ ยละ 28.16 ซึ่งกลุ่มผู้มรี ายได้น้อยยังมีรายได้ลดลง
รุนแรงกว่ากลุ่มผูม้ รี ายได้สงู ทีไ่ ม่ค่อยได้รบั ผลกระทบมากนัก แม้จะรวมผลของเงินช่วยเหลือจากรัฐแล้ว7
นอกจากนี้ การจ้างงานแรงงานรายได้น้อยยังต่าลงต่อเนื่อง สวนทางกับกลุ่มทีม่ รี ายได้สูง จนผลกระทบ
และการฟื้ นตัวมีลกั ษณะเป็ นตัว K (แผนภูมทิ ่ี P.2) ท่ามกลางช่วงเวลาที่ยากลาบากสาหรับกลุ่มแรงงาน
และครัวเรือนยากจน ทรัพย์สนิ ของมหาเศรษฐียงั คงเพิม่ ขึ้นต่อเนื่อง โดยระหว่างปี 2020-2022 มหา
เศรษฐีทร่ี ่ารวยทีส่ ุด 10 อันดับแรกของประเทศมีทรัพย์สนิ เพิม่ ขึน้ รวมกันราว 1.8 หมื่นล้านเหรียญสหรัฐ
หรือร้อยละ 21.08
นอกจากนี้ โควิด -19 ยังมีแนวโน้มส่งผลกระทบต่อกลุ่มเด็ก เยาวชน และครอบครัวที่ยากจน
มากกว่าและยาวนานถาวรกว่ากลุ่มร่ารวย เพราะกลุ่มยากจนมีทรัพยากรสาหรับรับมือกับผลกระทบและ
ฟื้ นฟูตวั เองจากวิกฤตน้อยกว่า เช่น เข้าถึงอุปกรณ์ในการเรียน การทางาน และกิจกรรมอื่นแบบออนไลน์
ยากกว่า อีกทัง้ ยังเข้าถึงสวัสดิการรัฐได้น้อยลงในวันทีพ่ วกเขาต้องพึง่ พามากทีส่ ุด เนื่องจากการงดหรือ
ลดให้บริการพืน้ ฐานอย่างบริการการศึกษาและสุขภาพ

แผนภูมทิ ่ี P.2 ผลกระทบจากวิก ฤตที่ไ ม่เ ท่ าเทีย มต่อ อัต ราการมีง านท าของแรงงานรายได้ต่ า และ
รายได้สงู

ทีม่ า: คิด for คิดส์ คานวณจากข้อมูลสารวจภาวะการทางานของประชากร สานักงานสถิตแิ ห่งชาติ

7
ปรากฏการณ์ขา้ งต้นสะท้อนทิศทางการพัฒนาประเทศทีไ่ ม่ทวถึ ั ่ งและทิ้งคนส่วนใหญ่ไว้ขา้ งหลัง
ขาดการกระจายทรัพยากรที่เป็ นธรรม และขาดสวัสดิการที่เปิ ดโอกาสให้ทุกคนเข้าถึงปั จจัยพื้นฐานใน
การดารงชีวติ และพัฒนาศักยภาพของตนเองได้อย่างเต็มทีแ่ ละเสมอภาค หากความเหลื่อมล้าทีเ่ ด็กและ
เยาวชนต้องเผชิญไม่ได้รบั การแก้ไขอย่างมีประสิทธิผล เด็กยากจนจะยังคงมีสุขภาวะ พัฒนาการ ความรู้
ทักษะ ตลอดจนโอกาสในการประสบความสาเร็จตามความฝั นและเลื่อนชัน้ ทางสังคมน้อยกว่า กลายเป็ น
รากฐานของความเหลื่อมล้าตลอดชีวติ ของพวกเขา ซึง่ อาจส่งต่อสูค่ นรุ่นถัดไปด้ว ย

วิ กฤตสังคมและการเมือง
ในช่วงกว่า 100 ปี ทผ่ี ่านมา อายุขยั เฉลีย่ ของมนุษย์ทวโลกเพิ
ั่ ม่ ขึน้ จาก 32 ปี ในปี 1900 เป็ น 71
ปี ในปี 2020 การมีอายุยนื ยาวมากขึน้ หมายความว่ามนุษย์มโี อกาสทีจ่ ะอยู่ร่วมกับคนต่างรุ่นมากขึน้ โดย
ในปั จ จุ บัน โลกมีค น 7 รุ่ น อาศัย อยู่ ร่ ว มกัน ได้ แ ก่ Greatest Generation (เกิ ด 1901-1927) Silent
Generation (เกิ ด 1928-1945) Baby Boomers (เกิ ด 1946-1964) Generation X (เกิ ด 1965-1980)
Generation Y (เกิด 1981-1996) Generation Z (เกิด 1997-2012) และ Generation Alpha (เกิด 2012–
ปั จจุบนั ) นับเป็ นครัง้ แรกในประวัตศิ าสตร์ทม่ี คี นต่างวัยอยู่ร่วมกันมากรุ่นขนาดนี้
การเติบโตภายใต้เงื่อนไขและสภาพแวดล้อมต่างแบบทาให้คนแต่ละรุ่นมีความไม่ลงรอยทาง
ความคิด ความเชื่อ การให้คุณค่า และพฤติกรรมการรับข้อมูลข่าวสารอย่างมีนัยสาคัญ จนทาให้ ‘ความ
ไม่ล งรอยกันระหว่างคนต่างรุ่น’ ปรากฏชัดมากขึ้นและหลายครัง้ ได้กลายเป็ นปั ญ หาทางสังคมและ
การเมืองทีแ่ ทบทุกสังคมต้องเผชิญคล้ายกัน
โครงสร้างทางสังคมและวัฒนธรรมแบบช่วงชัน้ รวมถึงวิกฤตความเหลื่อมล้าและการพัฒนา ทา
ให้ความไม่ลงรอยกันระหว่างคนต่างรุ่นกลายเป็ นวิกฤตทางสังคมและการเมืองในประเทศไทยที่รุนแรง
มากเป็ นพิเศษ เด็กและเยาวชนไทยต้องเติบโตขึน้ ท่ามกลางการจากัดอิสระในการคิดและการแสดงออก
การละเมิดสิทธิในสถานศึกษา ตลอดจนระบอบเผด็จการอานาจนิยม พวกเขาจึงก้าวเข้ามามีบทบาทนา
ในการตัง้ คาถาม แสดงความเห็น และเคลื่อนไหวเรียกร้องการเปลีย่ นแปลงอย่างหลากหลาย แหลมคม
และโดดเด่นทีส่ ุดเท่าทีป่ รากฏในรอบหลายทศวรรษ
อย่างไรก็ดี ข้อเรียกร้องของเด็กและเยาวชนกลับมักไม่ถูกรับฟั งและนาไปสู่การเปลี่ยนแปลง
เด็กและเยาวชนจานวนมากจึงยกระดับการวิพากษ์และการเคลื่อนไหวเข้มข้นยิง่ ขึ้นนับตัง้ แต่ปี 2020
เป็ นต้นมา ทัง้ ในรูปแบบการเคลื่อนไหวผ่านสื่อออนไลน์ การแสดงสัญลักษณ์ และการชุมนุ มประท้วง
ตัวอย่างสาคัญได้แก่ ขบวนการโบว์ขาวทีต่ ่อต้านอานาจนิยมในสถานศึกษาและรัฐบาลเผด็จการในช่วงปี
2020
ในการเคลื่อ นไหวประเด็น การเมือ งต่ อ รัฐ บาลหลายกรณี รัฐ บาลตอบโต้โ ดยกดปราบการ
แสดงออกของเด็กและเยาวชนด้วยความรุนแรง รวมถึงการจับกุมและดาเนินคดีกบั เยาวชนหลายร้อยคน

8
ส่งผลให้สถานการณ์พน้ื ผิวดูเหมือนสงบลง แต่ความไม่พอใจของเด็กและเยาวชนยังคงคุกรุ่นและพร้อม
ปะทุเป็ นวิกฤตในอนาคต
นอกจากการเมืองบนท้องถนน การเรียกร้องและไม่ถูกรับฟั งในสถาบันทางสังคมอื่นยังขับเน้น
ความขัดแย้งทางความคิดและความไม่ลงรอยระหว่างรุ่นให้รุนแรงยิง่ ขึ้ น บันทอนความสั
่ มพันธ์ระหว่าง
เด็กและเยาวชนกับผู้ใหญ่ ไม่เว้นแม้กระทังสถาบั
่ นครอบครัวและสถาบันการศึกษา จึงมีแนวโน้มที่จะ
ส่งผลกระทบต่อสวัสดิภาพ สุขภาพจิต พัฒนาการ และความสุขของเด็กและเยาวชนอย่างมีนยั สาคัญ

สามวิ กฤตในโลกที่ท้าทาย
โลกแห่งอนาคตอยู่ในสภาวะที่ผ ันผวน-ซับซ้อน-ไม่แน่ นอน-คลุ มเครือ หรือที่เรียกว่า VUCA
world วิกฤตทัง้ ในมิตเิ ศรษฐกิจ สังคม สิง่ แวดล้อม เทคโนโลยี ตลอดจนการเมืองระหว่างประเทศ ล้วน
ยากจะคาดการณ์และรับมือ เด็กและเยาวชนที่เติบโตขึ้นในยุคนี้ต้องเผชิญหน้ากับโลกที่ท้าทายมาก
กว่าเดิม เต็มไปด้วยความเสีย่ งหลายอย่างทีค่ นรุ่นก่อนไม่เคยเผชิญ
ประเด็นความเสี่ยงระดับโลกที่น่ากังวลมากที่สุดคือ ปั ญหาสิง่ แวดล้อมและการเปลี่ยนแปลง
สภาพภูมอิ ากาศที่ย่าแย่ลง โดยเฉพาะเมื่อปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทะยานขึ้นอย่างรวดเร็ว
ระหว่างที่ทวโลกบั
ั่ งคับใช้มาตรการล็อกดาวน์ และประชาคมระหว่างประเทศยังล้มเหลวในการร่วมมือ
เพือ่ จัดการปั ญหาดังกล่าว
ความเสีย่ งทีน่ ่ากังวลรองลงมาคือ ความเป็ นปึ กแผ่นของสังคมทีพ่ งั ทลายลง ทัง้ จากการแบ่งขัว้
ทางสังคมที่รุนแรงขึ้น วิกฤตทางมนุ ษยธรรมในหลายประเทศ และการโยกย้ายถิ่นฐานที่เพิม่ มากขึ้น
ปั ญหาทางเศรษฐกิจและการพัฒนาทีเ่ รือ้ รังก็ยงั ถูกซ้าเติมจากวิกฤตโควิด-19 ส่งผลให้ช่องว่างการพัฒนา
ระหว่างกลุ่มร่ารวยและยากจนถ่างกว้างมากขึ้น ยิง่ ไปกว่านัน้ ความตึงเครียดทางภูมริ ฐั ศาสตร์ระหว่าง
ประเทศที่สูงขึ้น ยังทาให้การประสานความร่ว มมือเพื่อเยียวยาบาดแผลจากวิกฤตที่ผ่ านมาแล ะการ
รับมือกับวิกฤตในวันข้างหน้าร่วมกันเป็ นไปได้ยากยิง่ ขึน้ ด้วย9
การเปลีย่ นแปลงด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรมอย่างรวดเร็วก็เป็ นอีกหนึ่งความท้าทายของการ
ทางานในอนาคต มีการคาดการณ์ว่าภายในปี 2025 เทคโนโลยีดิจิทลั และปั ญญาประดิษ ฐ์จะเข้า มา
ทดแทนหรือเสริมตาแหน่ งงานที่ปั จจุบนั ทาโดยมนุ ษย์มากขึ้น ซึ่งจะทาให้งานกว่า 85 ล้านตาแหน่ ง
หายไป โดยเฉพาะงานในรูป แบบซ้ า ๆ (routine work) ที่ร ะบบคอมพิว เตอร์ส ามารถท าแทนได้ ใน
ขณะเดียวกัน งานทีเ่ คยเป็ นที่เข้าใจว่าต้องใช้ทกั ษะของมนุษย์เป็ นหลักอย่างการติดต่อสื่อสาร การให้
เหตุผลและการตัดสินใจ ก็มแี นวโน้มว่าหุ่นยนต์จะทดแทนได้มากขึน้ เนื่องจากพัฒนาการของเทคโนโลยี
ปั ญญาประดิษฐ์ สัดส่วนการทางานระหว่างมนุษย์และเครื่องจักรทีเ่ ปลีย่ นไปนี้จะส่งผลให้แรงงานทักษะ
ระดับต่าและกลางเสีย่ งตกงานมากขึน้ และช่องว่างค่าตอบแทนห่างกับแรงงานทักษะสูงยิง่ กว่าเดิม10

9
ภายใต้บริบทโลกที่ผนั ผวนไม่แน่ นอนมากขึ้นนี้ ประเทศไทยกลับยิง่ เปราะบาง โดยเฉพาะต่อ
ปั ญหาอุบตั ิใหม่ เพราะขาดตาข่ายทางสังคมเพื่อรองรับผู้ได้รบั ผลกระทบ และขีดความสามารถของ
ภาครัฐในการตอบสนองต่อปั ญหาต่างๆ ได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิผล วิกฤตสามด้านทีก่ ล่าวถึง ใน
รายงานฉบับนี้เป็ นภาพตอกย้าโลกที่ผนั ผวน ยากต่อการคาดการณ์และรับมือ แต่ขณะเดียวกัน วิกฤต
เหล่านัน้ ส่งผลให้เด็ก เยาวชน และครอบครัวไทยอยู่ในภาวะเปราะบางยิง่ ขึน้ ไปอีก จนทาให้พวกเขายิง่
ไม่พร้อมรับความท้าทายใหม่ทจ่ี ะเกิดขึน้ ในอนาคต
นโยบายเด็ก และครอบครัว ยุค วิกฤตสามด้านในโลกที่ท้าทาย จึงจาเป็ นต้อ งทาความเข้า ใจ
สถานการณ์และแนวโน้มสาคัญของเด็ก เยาวชน และครอบครัวไทย และตัง้ หลักในการออกแบบนโยบาย
ให้สอดรับกับโลกใหม่ รายงานฉบับนี้จงึ วางเป้ าหมายเป็ นฐานในการทาความเข้าใจปรากฏการณ์ ด้าน
เด็ก เยาวชน และครอบครัวตลอดช่วงปี 2021-2022 เพื่อเป็ นข้อมูลตัง้ ต้นสู่การกาหนดนโยบายแห่ง
อนาคต

7 แนวโน้ มสาคัญของสถานการณ์เด็ก เยาวชน และครอบครัว


วิกฤตสามด้าน – วิกฤตโรคระบาดโควิด -19 วิกฤตความเหลื่อมล้าและการพัฒนา และวิกฤต
สังคมและการเมือง – รวมถึงบริบทโลกที่ผนั ผวนไม่แน่ นอนและความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีท่รี วดเร็ว
ประกอบกันเป็ นบริบทสถานการณ์เด็ก เยาวชน และครอบครัวไทยในปี 2021-2022 ซึ่งปรากฏแนวโน้ม
สาคัญ 7 ประการ ได้แก่
1. เด็กและเยาวชนเผชิญภาวะการเรียนรูถ้ ดถอย พัฒนาการหยุดชะงัก
2. เด็กและครอบครัวเข้าถึงบริการของรัฐได้ยากขึน้ ในช่วงการแพร่ระบาดของโควิด
3. เด็กและเยาวชนถูกผลักเข้าสูโ่ ลกออนไลน์โดยขาดฐานทีจ่ าเป็ น
4. เด็กและเยาวชนเครียดและมีปัญหาสุขภาพจิตสูงขึน้
5. เด็กและเยาวชนมีสว่ นร่วมทางการเมืองแต่ภาครัฐสกัดกัน้ ด้วยความรุนแรงมากขึน้
6. โครงสร้างประชากรเข้าสูส่ งั คมสูงวัยสมบูรณ์ ครอบครัวมีขนาดเล็กและเปราะบางยิง่ ขึน้
7. ความไม่ลงรอยระหว่างรุ่นรุนแรงขึน้ บันทอนความสั
่ มพันธ์ภายในครอบครัว
ทัง้ 7 แนวโน้มของสถานการณ์เด็ก เยาวชน และครอบครัวไทยคือ ปั ญหาสาคัญเร่งด่วนทีส่ ง่ ผล
กระทบต่อการพัฒนาเด็ก เยาวชน และครอบครัวอย่างมีนัยสาคัญ เป็ นทัง้ ‘แผลสด’ ที่ส่งผลกระทบใน
ปั จจุบนั และมีความรุนแรงมากพอทีจ่ ะกลายเป็ น ‘แผลเป็ น’ ทีส่ ่งผลกระทบระยะยาวไปตลอดชีวติ หาก
ไม่ได้รบั การจัดการอย่างถูกต้อง
ในสถานการณ์เช่นนี้รฐั บาลจาเป็ นอย่างยิง่ ทีจ่ ะต้อง ‘ตัง้ หลักใหม่’ ปรับแนวคิดและวิธกี ารดาเนิน
นโยบายครัง้ ใหญ่ในทุกมิติ ทัง้ นี้ไม่เพียงแต่เพื่อลดผลกระทบของแผลที่เกิดจากวิกฤตเท่านัน้ แต่ต้อง
เตรียมพร้อมสาหรับความท้าทายของโลกอนาคตไปพร้อมกันด้วย

10
คิด for คิดส์ เชื่อว่า นโยบายสาธารณะที่ออกแบบบนฐานความรู้ และยึดสวัสดิภาพของเด็ก
เยาวชน และครอบครัวเป็ นศูนย์กลาง เป็ นหัวใจสาคัญในการเยียวยาและฟื้ นฟูคุณภาพชีวติ ของเด็ก
เยาวชน และครอบครัวไทย โดยเฉพาะกลุ่มเปราะบางจานวนมากทีไ่ ด้รบั ผลกระทบรุนแรงกว่ากลุ่มอื่น
รายงานฉบับนี้จงึ เสนอด้วยว่า รัฐบาลควรตัง้ เป้ าให้เด็กและครอบครัวสามารถฟื้ นตัวจากวิกฤต
โดยเร็ว และกลับมาพัฒนาได้อย่างเต็มศักยภาพและต่อเนื่อง บนพื้นฐานของการสร้างสังคมเสมอหน้า
โดยให้ความสาคัญกับการดาเนินนโยบายบน 3 เสาหลัก ได้แก่
1) การจัดหาทรัพยากรให้เพียงพอและทัวถึ ่ งสาหรับการดูแลพัฒนาเด็ก เยาวชน และครอบครัว
2) การเพิม่ ทางเลือกและคุณภาพของบริการสาธารณะ ให้เป็ นทางเลือกคุณภาพทีเ่ ข้าถึงได้จริง
3) การส่งเสริมสิทธิเด็กและการมีสว่ นร่วมของเด็กตลอดกระบวนการนโยบาย

11
1
เด็กและเยาวชนเผชิ ญภาวะการเรียนรู้ถดถอย พัฒนาการหยุดชะงัก

ตลอด 2 ปี ท่ปี ระเทศไทยเผชิญ กับวิกฤตโรคระบาดโควิด รัฐบาลสังปิ ่ ดและจากัดการเข้าถึง


สถานที่ต่างๆ อย่างต่อเนื่อง เพื่อป้ องกันและยับยัง้ การแพร่ระบาด สถานศึกษาทุกรูปแบบตัง้ แต่ศูนย์
พัฒนาเด็กปฐมวัย โรงเรียน และมหาวิทยาลัย เป็ นสถานทีล่ าดับแรกๆ ทีถ่ ูกสังปิ ่ ดและกลับมาเปิ ดเป็ น
ลาดับท้าย ราคาทีต่ ้องจ่ายเพื่อควบคุมโรคคือ ภาวะการเรียนรูถ้ ดถอยครัง้ ใหญ่ (learning loss) ของเด็ก
และเยาวชนไทย ทัง้ การสูญ เสียความรู้ท่ีเ คยร่ าเรีย นมา เสียโอกาสพัฒนาทักษะใหม่ต ามช่ว งวัย ที่
เหมาะสม ประสิทธิภาพการเรียนรู้ล ดลงเมื่อต้องเรียนออนไลน์ และเด็กบางกลุ่ มอาจต้อ งหยุดเรียน
กลางคัน พัฒนาการทีพ่ วกเขาสูญเสียไปในช่วงเวลานี้ย่อมส่งผลต่อศักยภาพการเรียนรู้ ศักยภาพในการ
หารายได้ และศักยภาพทีจ่ ะดาเนินชีวติ อย่างมีคุณภาพในระยะยาวตลอดช่วงชีวติ

การปิ ดสถานศึกษาในช่วงโควิ ด ส่งผลให้พฒ


ั นาการของเด็กถดถอย
มาตรการปิ ดสถานศึกษาเพื่อป้ องกันการแพร่ระบาดของโควิดถูกประกาศใช้ครัง้ แรกในเดือน
มีนาคม ปี 2020 เมื่อจานวนผูต้ ดิ เชื้อโควิด-19 ในประเทศไทยเพิม่ สูงขึน้ โดยในระยะแรกเป็ นการสังปิ
่ ด
ทุกพืน้ ทีท่ วประเทศ
ั่ 11 ก่อนจะกลับมาเปิ ดเป็ นปกติในไตรมาส 4/2020 เมื่อการแพร่ระบาดชะลอตัว

แผนภูมทิ ่ี 1.1 ช่วงเวลาการเปิ ด-ปิ ดโรงเรียนในประเทศไทย ปี 2020-2022

ทีม่ า: องค์การเพือ่ การศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) (2022)

12
รัฐบาลได้อ อกค าสังปิ
่ ดสถานศึก ษาอีกครัง้ เมื่อการระบาดระลอกใหม่เ กิดขึ้นในช่ว งไตรมาส
1/2021 โดยเป็ น การสัง่ ปิ ด สถานศึก ษาในจัง หวัด พื้น ที่ค วบคุ ม สูง สุ ด 28 จัง หวัด 12 ยาวนานตลอด
ปี 2021 จนถึงไตรมาสแรกของปี 2022 หากนับตัง้ แต่ปี 2020 จนถึงปั จจุบนั สถานศึกษาทุกพืน้ ทีถ่ ูกปิ ด
ทัง้ หมด 16 สัปดาห์ และบางพืน้ ทีถ่ ูกปิ ดยาวนานถึง 53 สัปดาห์13
การปิ ดภาคเรียนที่ยาวนานส่งผลกระทบต่อการเรียนรูข้ องนักเรียนโดยตรง แม้จะมีการเปลี่ยน
รูปแบบการเรียนเป็ นการเรียนออนไลน์หรือทางไกล แต่กม็ ขี อ้ จากัดและอุปสรรคทางการเรียนรูม้ ากกว่า
การเรียนปกติ พัฒนาการของเด็กและเยาวชนจึงล่าช้า ถดถอย และบกพร่องมากยิง่ ขึ้น กว่าช่วงหยุด
เรียนตามปกติ ซึ่งเห็นผลชัดใน 3 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านวิชาการความรู้ โดยเฉพาะทักษะอ่าน-เขียน และ
การคานวณ 2) ด้านพัฒนาการ เช่น ทักษะทางร่างกายและความสามารถในการจดจา 3) ด้านอารมณ์
และสังคม ขาดโอกาสปฏิสมั พันธ์กบั ผูอ้ ่นื ขาดทักษะการสือ่ สาร และมีความเครียดมากยิง่ ขึน้ 14

“ในสถานการณ์ปัจจุบนั ทีท่ ุกชีวติ ตกอยู่ในวิกฤตแห่งโรคระบาด…ฉันต้องเรียนผ่าน


ระบบออนไลน์ บนอุปกรณ์สอื ่ สารทีต่ นเองมี มันอาจจะดูทนั สมัย สะดวกสบาย และ
ง่ายต่อการเข้าถึง แต่ในความเป็นจริงแล้วไม่ได้เป็นเช่นนัน้
การเรียนทีเ่ ป็ นการสือ่ สารทางเดียว ภาระงานทีม่ ากมายกองเป็ นภูเขาสูงทีท่ า
เท่าใดก็ดูเหมือนว่าจะไม่มวี นั จบ ตรงข้ามกับความรูท้ ไี ่ ด้กลับมีเพียงน้อยนิด […]
ทาให้ฉนั และเด็กๆ อีกหลายคนรูส้ กึ ท้อแท้ และไม่เข้าใจว่าพวกเราจะเสียเวลาเรียน
ไปเพือ่ อะไร
ในเมือ่ การเรียนในตอนนี้ไม่สามารถตอบโจทย์ทพี ่ วกฉัน หรือสังคมคาดหวังจาก
พวกฉันเลยแม้แต่น้อย…พวกฉันจะต้องเสียเวลา เสียสุขภาพจิตไปเพือ่ สิง่ ใด แต่
สุดท้ายพวกฉันก็ตอ้ งจาใจเรียนต่อไป…”
– พรนัชชา อายุ 17 ปี

การเรียนรู้ถดถอยทั ่วโลก แต่เด็กไทยยิ่ งเจ็บหนัก


การเรียนการสอนในห้องเรียนที่หายไปและการหยุดเรียนเป็ นระยะเวลานานทาให้พฒ ั นาการ
ด้านการเรีย นรู้ของเด็ก และเยาวชนหยุด ชะงัก ล่ าช้า และถดถอยลง องค์การกองทุ นเพื่อ เด็ก แห่ ง
สหประชาชาติ (UNICEF) ประเมินว่า เด็กและเยาวชนกว่า 1.6 พันล้านคนทัวโลกต้ ่ องเผชิญกับภาวะ
สูญเสียการเรียนรู้ ซึง่ ส่วนใหญ่อยู่ในประเทศกลุ่มรายได้ต่าและปานกลาง 15

หลายประเทศได้ประเมินการเรียนรู้ท่ีนักเรียนสูญ เสียไปจากการไม่ได้ไปโรงเรียน พบว่ายิ่ง


ระยะเวลาปิ ดโรงเรียนยาวนาน ความสูญเสียทางการเรียนรู้ของผู้เ รียนก็ยงิ่ มากขึ้นตามไปด้วย จาก
แผนภูมทิ ่ี 1.2 ประเทศเม็กซิโกทีป่ ิ ดโรงเรียนไปเป็ นเวลา 48 สัปดาห์ นักเรียนมีการเรียนรูถ้ ดถอยลงมาก

13
ถึง 1.7 ปี การศึกษา หรือกระทังประเทศที
่ ่ระบบการศึกษามีคุณภาพสูงอย่างประเทศนอร์เวย์ก็ยงั เกิด
ภาวะถดถอยทางการเรียนรูไ้ ป 0.7 ปี การศึกษา เมื่อปิ ดโรงเรียนไปเพียง 7 สัปดาห์

แผนภูมทิ ่ี 1.2 ภาวะการเรียนรูท้ ส่ี ญ


ู เสียจากการปิ ดโรงเรียนในต่างประเทศ

ประเทศ ระยะเวลาปิ ดโรงเรียน ความสูญเสียทางการเรียนรู้ เทียบจานวนปี


(สัปดาห์) โดยเฉลี่ย (SD) การศึกษาที่สูญหาย
เม็กซิโก 48 -0.55 1.7
บราซิล 26 -0.32 1.0
นอร์เวย์ 7 -0.24 0.7
แอฟริกาใต้ 22 -0.22 0.6
สหรัฐอเมริกา 23 -0.14 0.4
รัสเซีย 8-20 -0.27 0.8
จีน 7 -0.22 0.6
หมายเหตุ: 0.33 SD เท่ากับ 1 ปี การศึกษา ทีม่ า: World Bank (2021)

สาหรับประเทศไทย มีการประเมินภาวะถดถอยทางการเรียนรู้อนั เนื่องมาจากการปิ ดโรงเรียน


ในช่วงการแพร่ระบาดของโควิดในเด็กบางกลุ่มแล้วเช่นกัน งานวิจยั โดยสถาบันวิจยั เพือ่ การประเมินและ
ออกแบบนโยบาย มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย พบว่าการปิ ดโรงเรียน 1 เดือน ส่งผลให้เด็กปฐมวัยเกิด
ภาวะถดถอยอย่างมีนัยสาคัญเมื่อเทียบกับเด็กวัยเดียวกันทีส่ ามารถไปโรงเรียนได้ปกติ โดยทักษะด้าน
วิชาการถดถอยลงราวร้อยละ 99 และทักษะด้านความจาใช้งาน (working memory) ถดถอยลงร้อยละ
9816 อย่างไรก็ตาม ยังไม่พบหลักฐานว่าเกิดภาวะถดถอยด้านพฤติกรรม (non-cognitive skills) เช่น
ทักษะทางอารมณ์และทักษะการเข้าสังคม เป็ นต้น
การประเมินภาวะถดถอยเชิงผลสัมฤทธิท์ างวิชาการของผู้เรียนในระดับชัน้ ประถมศึกษาและ
มัธยมศึกษาในโรงเรียนสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐานและสังกัดองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิน่ โดยสานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ซึง่ ใช้วธิ ใี ห้ผเู้ รียนประเมินความรูใ้ นวิชาพืน้ ฐานด้วย
ตนเองผ่านชุดคาถามแบบปลายปิ ด พบว่า ภาวะถดถอยทางความรูเ้ กิดขึน้ กับผูเ้ รียนทุกระดับชัน้ ความรู้

14
ใน 5 รายวิช าหลัก ถดถอยลงเฉลี่ย ร้อ ยละ 35.3 และวิช าที่ถ ดถอยมากที่สุ ด ในแทบทุ ก ระดับชัน้ คือ
ภาษาต่างประเทศ คณิตศาสตร์ และสังคมศึกษาตามลาดับ17 (แผนภูมทิ ่ี 1.3)

แผนภูมทิ ่ี 1.3 ภาวะถดถอยด้านผลสัมฤทธิทางวิ


์ ชาการของนักเรียนไทยโดยเฉลีย่ แยกตามระดับชัน้
และรายวิชา

ทีม่ า: สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (2022)

ยิ่ งพัฒนาการช้าลงหรือหยุดชะงัก เด็กยิ่ งมีทุนตา่ ลงตลอดชีวิต


ช่วงวัยเรียนเป็ นช่วงเวลาสาคัญทีเ่ ด็กและเยาวชนจะได้พฒ ั นาความรูแ้ ละทักษะด้านต่างๆ เพื่อ
สร้างฐานทีแ่ ข็งแรงในการเติบโตเป็ นผูใ้ หญ่ แต่หากการเรียนรูใ้ นช่วงเวลานี้ล่าช้าลงหรือถูกหยุดระหว่าง
ทางจะทาให้พน้ื ฐานอ่อนแอ ศักยภาพในต่อยอดความรู้ ทักษะทางาน และการหารายได้ตลอดชีวติ ก็ยงิ่
น้อยลง
ช่วงวัย 7 ปี แรกนับเป็ น ‘เวลาทอง’ หรือเป็ นช่วงเวลาสาคัญที่สุดในการเสริมสร้างพัฒนาการ
โดยเฉพาะการพัฒนาทักษะสมองส่วนหน้า (Executive Functions: EF) ที่ควบคุมกระบวนการคิด การ
รับรู้ การยับยัง้ ชังใจ
่ และความจา ทัก ษะเหล่ านี้ส ามารถพัฒ นาได้ดีเ มื่ อ เด็กอยู่ใ นสภาพแวดล้อ มที่
เหมาะสมและได้รบั ประสบการณ์การเรียนรู้อย่างเต็มที่ เช่น มีการเคลื่อนไหวร่างกาย ทากิจกรรมที่
กระตุ้นความคิด และปฏิสมั พันธ์กบั ผูอ้ ่นื ในห้องเรียน การไม่ได้ไปโรงเรียนเป็ นเวลานานจึงส่งผลให้การ
พัฒนาทักษะ EF ของเด็กเล็กช้าลงหรือบกพร่อง กระทบกับความสามารถในการเรียนรูใ้ นระดับที่สูงขึ้น
ต่อไป
เช่นเดียวกับเด็กช่วงวัยอื่นก็มแี นวโน้มที่จะเรียนรู้ได้ช้าลง จนส่งผลให้ความสามารถในการหา
รายได้ทงั ้ ชีวติ ต่าลง ธนาคารโลกประเมินว่า ช่วงเวลาการเรียนรู้ทส่ี ูญเสียไปจากการปิ ดโรงเรียน ทาให้
เด็ก ทัว่ โลกสูญ เสีย รายได้ท งั ้ ชีว ิต คิด เป็ น มูล ค่ า ราว 850,000 บาท 18 ในกรณี ข องประเทศไทยที่ใ ช้

15
มาตรการปิ ดโรงเรียนอย่างเป็ นวงกว้างและยาวนานกว่าหลายประเทศ มูลค่ารายได้ทงั ้ ชีวติ ที่เด็กและ
เยาวชนไทยต้องสูญเสียไปก็อาจสูงกว่าทีธ่ นาคารโลกประเมินไว้
ยิง่ ไปกว่านัน้ ผลกระทบของวิกฤตโรคระบาดที่ทาให้รายได้ครัวเรือนลดลงยังบีบให้เด็กและ
เยาวชนต้องหยุดเรียนกลางคัน (drop-out) ในปี การศึกษา 2021 มีเด็กและเยาวชนหลุดออกจากระบบ
การศึกษาเป็ นจานวน 238,707 คน19 ข้อมูลจากกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) ยังชี้
ว่า ในภาคเรียนที่ 1 ของปี การศึกษา 2021 มีนักเรียนยากจนพิเศษจานวน 1,244,591 คน เพิม่ ขึน้ จาก
ช่วงก่อนสถานการณ์โควิดถึงร้อยละ 75 20 และเป็ นประชากรเด็กกลุ่มใหญ่ท่เี สี่ยงหลุดออกจากระบบ
การศึกษาในลาดับถัดไป โดยนักเรียนเหล่านี้อาศัยอยู่ในครัวเรือนที่มรี ายได้ต่อคนต่อเดือนเฉลี่ยเพียง
1,332 บาทเท่านัน้

แผนภูมทิ ่ี 1.4 จานวนนักเรียนยากจนพิเศษรายปี ปี การศึกษา 2018-2021 (คน)

ทีม่ า: กองทุนเพือ่ ความเสมอภาคทางการศึกษา (2022)

ตัง้ หลักระบบการศึกษาใหม่ เพื่อชดเชยช่วงเวลาที่สญ


ู หาย
การปิ ดโรงเรียนแม้เป็ นเพียงเวลาสัน้ ๆ ก็สร้างความสูญเสียทางการเรียนรูม้ หาศาลให้กบั เด็กและ
เยาวชนไทย หากเกิดโรคระบาดอีกครัง้ ในอนาคต รัฐบาลควรดาเนินมาตรการนี้อย่างจากัดทีส่ ุด เฉพาะ
เมื่อเกิดการแพร่ระบาดเป็ นวงกว้างและรุนแรงเท่านัน้ หรืออาจให้อานาจท้องถิน่ ประเมินและพิจารณาปิ ด
โรงเรียนในพืน้ ทีด่ ว้ ยตนเอง แทนการออกคาสังปิ ่ ดทุกพื้นทีโ่ ดยรัฐบาล
สาหรับแนวทางฟื้ นฟูภาวะการเรียนรูท้ ถ่ี ดถอยของเด็กไทย ในขัน้ แรกควรเร่งให้ความช่วยเหลือ
เด็กและเยาวชนกลุ่มเปราะบางที่ได้รบั ผลกระทบจากการปิ ดโรงเรียนมากที่สุด โดยเฉพาะการติดตาม

16
เด็กที่หลุดออกจากระบบการศึกษา ตลอดจนให้การสนับสนุ นด้านทุนทรัพย์แก่เด็กกลุ่มนี้ เพื่อบรรเทา
ผลกระทบทางเศรษฐกิจอันเป็ นสาเหตุสาคัญที่เด็กส่วนใหญ่ต้องหยุดเรียนกลางคัน การสนับสนุ นทาง
การเงินเพื่อตัดวงจรการหลุดออกจากระบบการศึกษาเช่นนี้ นอกจากการให้เงินช่วยเหลือค่าครองชีพ
โดยทัวไปแล้
่ ว ยังสามารถเสริมด้วยความช่วยเหลืออย่างมีเงือ่ นไข ให้เด็กหรือเยาวชนเปราะบางกลับเข้า
เรียนได้ตามเกณฑ์ทก่ี าหนด
ในปั จจุบนั ที่การเรียนการสอนกลับมาสู่ห้องเรียนแล้ว ควรปฏิรูปกระบวนการเรียนการสอนให้
เกิดประสิทธิผลมากทีส่ ุดในจานวนชัวโมงเรี
่ ยนปกติเพือ่ ชดเชยความรูท้ ่ีหายไป แทนการเพิม่ ชัวโมงเรี
่ ยน
ในวันหยุดหรือช่วงปิ ดภาคเรียน เนื่องจากเวลาเรียน 8 ชัวโมงต่
่ อวันของนักเรียนไทยในปั จจุบนั ยังไม่ได้
สร้างผลสัมฤทธิท์ างการศึกษาที่มคี ุณภาพมากนัก 21 การเพิม่ ชัวโมงเรี
่ ยนภายใต้วธิ กี ารเรียนการสอน
แบบเดิมแทนที่จะฟื้ นฟูก ารเรียนรู้ จะยิง่ สร้างความเครียดและกดดันให้กบั เด็กมากขึ้น และเพิม่ การ
สูญเสียโอกาสในการช่วยครอบครัวหารายได้ของกลุ่มเด็กเปราะบาง ซึ่งปั จจัยเหล่านี้สร้างความเสีย่ งทา
ให้ผลสัมฤทธิทางการเรี
์ ยนย่าแย่ลง
ทัง้ นี้ การปรับกระบวนการเรียนการสอนสามารถทาได้หลากหลายวิธี ทัง้ การทาห้องเรียนทีเ่ น้น
การถกเถียง แลกเปลีย่ น และทากิจกรรม มากกว่าการถ่ายทอดเนื้อหาโดยผูส้ อนเพียงอย่างเดียว รวมถึง
ลดทอนรายวิชาทีไ่ ม่จาเป็ นและแทนทีด่ ว้ ยวิชาทีเ่ สริมทักษะจาเป็ นต่อการใช้ชวี ติ ในโลกและสังคมปั จจุบนั
เช่น ทักษะการจัดการอารมณ์และความเครียด การคิดวิเคราะห์และแก้ปัญหา และการสือ่ สาร เป็ นต้น
ท้ายที่สุ ด รัฐบาลควรพัฒ นาแหล่ งเรีย นรู้ทวประเทศให้
ั่ มีคุ ณ ภาพสม่ าเสมอและกระจายตัว
ครอบคลุ มทุก พื้นที่ โดยอาจสร้างความร่ว มมือกับภาคเอกชนและท้อ งถิ่น เพื่อ ให้เด็กและเยาวชนมี
ทางเลือกในการเรียนรู้ท่หี ลากหลาย ในระยะสัน้ ควรเร่งปรับปรุงคุณภาพแหล่งเรียนรู้ท่มี อี ยู่เดิม เช่น
พิพธิ ภัณฑ์และแหล่งเรียนรูใ้ นชุมชนให้มเี นื้อหาตอบรับกับความสนใจของเด็กและเยาวชน รวมถึงพัฒนา
หลักสูตรการเรียนรูอ้ อนไลน์ โดยอาจพิจารณานาระบบการมอบประกาศนียบัตรและสะสมหน่วยกิตมาใช้
เพื่อกระจายช่องทางเสริมสร้างความรู้ออกจากสถานศึกษาในระบบ และเพื่อให้แหล่งเรียนรู้นอกระบบ
เหล่านี้เปิ ดพืน้ ทีเ่ รียนรูใ้ ห้แก่เด็กทุกกลุ่ม

17
เด็กรอยต่อ: เมื่อจุดเปลี่ยนชีวิตมีโควิ ด-19 เข้ามาแทรก
ณัชชา คุณแม่ของลูกเล็กเตรียมขึ้น ป.1 อายุ 40 ปี
“ลูกชายคนโตของพีอ่ ายุ 5 ขวบ 10 เดือน กาลังจะ 6 ขวบปลายเดือนหน้า ตอนนี้เรียนอยู่ชนั ้ อนุ บาล 3
กาลังจะเข้าป.1 เดือนมิถุนายน เลื่อนจากกาหนดการเดิมคือช่วงเดือนพฤษภาคม ส่วนลู กคนเล็กอายุเพิง่ จะ
2 ขวบ กาลังเรียนเตรียมอนุบาล แต่ช่วงนี้ตอ้ งหยุดอยู่บา้ นกันทัง้ คู่เพราะมีโควิด-19 ก็อยู่ดว้ ยกันพ่อแม่ลูก 4 คน
“พอโรงเรียนประกาศหยุดตามคาสั ่งกระทรวงศึกษาธิการจนถึงสิ้นเดือนมกราคม ทางโรงเรียนของลูก
ชายคนโตก็เลือกใช้วธิ ตี ดิ ต่อผ่านไลน์กลุ่ม ครูกบั ผูป้ กครอง ส่งแบบฝึ กหัดให้น้องมาหัดเขียนอ่าน กาหนดว่าวันนี้
ให้อ่านหนังสือหน้าไหนบ้างแทนการเรียนออนไลน์ เพราะทางโรงเรียนคิดว่าการเรียนออนไลน์อาจสร้างภาระให้
ผูป้ กครอง ผูป้ กครองบางคนอาจต้องออกไปทางาน ไม่สะดวกคอยดูแลเด็กให้เรียนออนไลน์ช่วงกลางวัน หรือเด็ก
บางคนอยู่กบั ครอบครัวต่างจังหวัด อาจจะไม่สะดวกเรื่องการสื่อสารหรือมีเครื่องมือต่างๆ ไม่ครบถ้วน”
“ส่วนลูกคนเล็ก ครูกค็ อยส่งภาพวิดโี อกิจกรรมมาให้ทางไลน์กลุ่ม เป็ นกิจกรรมทีโ่ รงเรียนจะจัดในแต่ละ
วันในภาวะปกติ เพื่อให้ผู้ปกครองดูเป็ นตัวอย่ างและน าไปปรับใช้กับ น้ องๆ เช่น วิดีโอการเล่นสีเพื่อ พัฒ นา
กล้ามเนื้อมัดเล็กมัดใหญ่ ทัง้ นี้แล้วแต่ความสะดวกของผู้ปกครอง อีกอย่างหนึ่งคือครูจะคอยนัดหมายวิดโี อกับ
น้องๆ และผูป้ กครองอาทิตย์ละหนึ่งครัง้ ครัง้ ละประมาณ 20 นาที”
“ช่วงนี้กถ็ อื ว่าหนักเหมือนกันสาหรับเราทีเ่ ป็ นคุณแม่ทางานนอกบ้าน เพราะกลับมาต้องดูแลเด็กๆ ไม่ว่า
จะเรื่องอาหารการกิน เสือ้ ผ้า รวมไปถึงกิจกรรมทีต่ อ้ งให้เขาทา พัฒนาทักษะเขาให้เป็ นไปตามวัย มันเหนื่อยอยู่
แล้ว ยิง่ เป็ นช่วงทีง่ านเยอะก็ยงิ่ เหนื่อย แต่เราก็ทง้ิ สิง่ เหล่านี้ไปไม่ได้ เราต้องเลือก และพีก่ เ็ ลือกจะสละงาน ไม่เอา
มาทาทีบ่ า้ น หรือถ้าจะทาก็ตอ้ งรอให้เด็กๆ เข้านอนก่อนค่อยทา”
“ถ้าในอนาคต สถานการณ์รุนแรงจนต้องเลื่อนเปิ ดโรงเรียนไปเรื่อยๆ พีก่ ก็ งั วลนะ เพราะเมื่อเปิ ดเทอม
มา การเรียนการสอนอาจจะเข้มข้นขึน้ มีชวโมงเรี ั่ ยนนานขึน้ เพื่อทาให้น้องเรียนทันเนื้อหาในแต่ละภาคเรียน แต่
พีเ่ ชื่อว่าครูคงไม่เลือกป้ อนข้อมูลให้เด็กประถมเยอะเกินไปจนเด็กรับไม่ไหว หรือถ้าต้องให้ผปู้ กครองสอนน้องที่
บ้าน พีก่ จ็ ะพยายาม ถึงจะไม่ดเี ท่าคุณครู แต่กจ็ ะทาอย่างดีทส่ี ุดเพื่อลูก”

โอปอ นักเรียน ม.3 ขึ้น ม.4 อายุ 14 ปี


“ช่วงโควิด-19 เริม่ ระบาดใหม่ๆ โรงเรียนหนูไม่พดู อะไรเลย ให้เรียนปกติมาตลอด จนวันหนึ่งจู่ๆ ก็ให้ไป
เรียนออนไลน์ ไม่ได้บอกอะไรล่วงหน้าสักนิด ตอนเรียนออนไลน์แรกๆ ก็ทุลกั ทุเลมาก เพราะเด็กหลายคนยังไม่
เคยใช้โปรแกรมพวกนี้เลย เหมือนเขาคิดไปเองว่า เด็กรุ่นใหม่รเู้ รื่องการใช้เทคโนโลยีอยู่แล้ว”
“ส่วนครูบางท่านก็มปี ั ญหากับการใช้เทคโนโลยีเหมือนกัน ตัง้ แต่เรียนออนไลน์มาจนถึงทุกวันนี้ หนูยงั
ไม่ได้เรียนวิชาประวัตศิ าสตร์เลย เพราะครูใช้ zoom ไม่เป็ น ก็ได้แต่สั ่งงานและบอกว่าเป็ นการค้นหาความรูน้ อก
ห้องเรียน”
“เรื่องอุปกรณ์การเรียนก็เป็ นปั ญหาสาหรับบางคนเหมือนกัน อย่างห้องหนู มคี นที่เปิ ดกล้องในคอมฯ
ไม่ได้ ก็เลยไม่ได้เช็กชื่อ เพราะครูจะเช็กชื่อเฉพาะคนทีเ่ ปิ ดกล้องได้เท่านัน้ ไม่ได้มองว่าบางคนอาจจะเปิ ดกล้อง
ไม่ได้จริงๆ อีกอย่างคือ โรงเรียนยังหาวิธสี ่งชีทมาถึงนักเรียนไม่ได้เลย พูดง่ายๆ คือเขายังจัดการกับการเรียน
ออนไลน์ไม่ได้นนแหละ”
ั่

18
“ตอนนี้หนู เหนื่อยมาก เหมือนโดนดับอนาคตไปเรื่อยๆ บางทีหนู ต้องอ่านหนังสือหน้ากล้องเพื่อเอา
คะแนนเช็กชื่อ แล้วค่อยไปตามงานเอาทีหลัง แต่พ่อแม่ก็มองอีกว่าทาไมหนู ไม่ตงั ้ ใจเรียนเลย เหมือนคิดว่าหนู
เป็ นแค่เด็กม.3 ทีย่ งั ไม่มอี ะไรในชีวติ ต้องเครียด การสอบเข้าม.4 ไม่ได้ยากขนาดนัน้ หรอก หนูกพ็ ยายามคุยกับ
เขานะคะ แต่เขาไม่เข้าใจเลย เพื่อนหนูคนหนึ่งเครียดหนักมากจนต้องไปพบแพทย์เลยด้วยซ้า”
“ถ้าพูดกับผูใ้ หญ่ได้ หนูอยากบอกว่าอย่าตัดสินเราด้วยอายุ อย่ามองว่าเด็กน้อยไม่เครียดหรอก อย่ามอง
ว่าปั ญหาของเด็กก็เป็ นแค่ปัญหาเล็กๆ อยากให้มองว่าเราเป็ นมนุ ษย์คนหนึ่งที่เครียดมากๆ จากการจัดการ
แปลกๆ ของผูใ้ หญ่ อยากให้ช่วยซัพพอร์ตเราเท่าทีท่ าได้และช่วยดูแลอนาคตของพวกเราด้วย เพราะพวกคุ ณคือ
ส่วนสาคัญทีจ่ ะทาให้อนาคตของพวกเราดีขน้ึ เหมือนกัน”
“โควิด-19 อาจจะไม่ได้กระทบความฝั นในระยะยาวของหนู มาก เพราะหนู รู้ตัวแล้วว่าอยากทางาน
เกีย่ วกับศิลปะ ถ้าในประเทศหาทางไม่ได้กเ็ ริม่ มองไกลไปถึงต่างประเทศแล้ว พูดตรงๆ คือหนูไม่ค่อยอยากอยู่ทน่ี ่ี
แล้ว เพราะประเทศไทยไม่ได้ให้ความสาคัญกับวงการศิลปะเท่าที่ควร เขาไม่ได้ซพั พอร์ตความฝั นเรา ไม่ได้ให้
พื้นที่เราเติบโต หนู มีความสุขกับการเติบโตไปเรื่อยๆ ในสายงานที่หนู ชอบ แต่ประเทศดับความฝั นของหนู
กัดกินเราไปเรื่อยๆ เด็กไม่ได้เรียนในสิง่ ทีอ่ ยากเรียน ไม่ได้ทาในสิง่ ทีอ่ ยากทา”

เอ๋ย นักเรียนม.6 เตรียมเข้ามหาวิ ทยาลัย อายุ 17 ปี


“ในระบบ TCAS ช่ ว งนี้ เ ป็ น ช่วงที่มหาวิท ยาลัย เปิ ด รับ พอร์ต โฟลิโอ เป็ น รอบแรกในการรับ เด็กเข้า
มหาวิทยาลัย หนูเองก็เพิง่ ส่งพอร์ตไป ส่วนตัวหนูอยากเรียนด้านวาดรูปเลยตัง้ ใจยื่นรอบพอร์ตรอบเดียว หวังได้
แค่รอบเดียว แต่สาหรับเพื่อนทีต่ อ้ งรอสอบรอบอื่นๆ ทีจ่ ะตามมา หนูกเ็ ห็นว่าเขาต้องเตรียมตัวหนัก ส่วนใหญ่ตอ้ ง
อ่านหนังสือกันทัง้ วัน แทบไม่ได้นอนเลย เพราะถึงจะมีโควิด-19 แต่กาหนดการสอบต่างๆ ในตอนนี้ยงั ไม่ได้เลื่อน
ออกไป เราต้องคอยติดตามข่าวตลอดว่าจะเลื่อนสอบไหม หรือเปลีย่ นวิธกี ารสอบไปยังไงด้วย”
“โควิด-19 สร้างความเปลีย่ นแปลงต่อการเรียนในโรงเรียนเหมือนกัน อย่างการปิ ดโรงเรียนคราวก่อน ใช้
วิธเี รียนออนไลน์ กับให้นักเรียนเลขคู่เลขคีส่ ลับกันมาเรียน พอเปิ ดเทอมสองเมื่อเดือนธันวาคมทีผ่ ่านมา ตอนแรก
ก็ไปเรียนกันแบบปกติ แต่พอโควิด-19 กลับมาใหม่กต็ อ้ งเปลีย่ นมาเรียนออนไลน์ทงั ้ หมดเลย”
“จริงๆ การเรียนออนไลน์สาหรับหนู ไม่ได้ยากอะไร ถึงจะมีปัญหาว่าอาจจะต้องเรียนรู้เพิม่ ด้วยตัวเอง
มากขึน้ บางทีเน็ตไม่ค่อยดี เห็นภาพไม่ค่อยชัด ไม่ได้ถามครูเหมือนตอนเรียนในห้อง หรือน่าเบื่อไปบ้าง แต่มนั ก็
ยังเรียนรู้เรื่อง สิง่ ที่เป็ นปั ญหาจริงๆ คือ เราไม่มคี ะแนนเข้าห้องเรียน คะแนนเก็บจากการส่งงานในห้อง หรือ
คะแนนสอบย่อยในห้องเลย ทาให้ครูมกั จะสั ่งชิ้นงานให้เราทาแทน จนงานมันเพิม่ ขึน้ เยอะมาก อย่างปกติเรามี
สอบเก็บคะแนนในห้องสัก 10 คะแนน ก็กลายเป็ นว่าเราอาจต้องทางาน 5 คะแนน 2 ชิ้นเพื่อทดแทนการสอบแค่
ครัง้ เดียว”
“อีกเรื่องคือเรายังยึดกรอบเวลาเรียนเหมือนไปโรงเรียนปกติ ต้องเข้าเรียนคาบแรก 8.15 น. แล้วเรียน
ต่อไปเรื่อยๆ 6-7 วิชาต่อวัน จนถึงบ่ายสาม บางทีสั ่งงานตอนช่วงเช้า จะเอาตอนเย็นหลังเลิกเรียน ทัง้ ทีร่ ะหว่าง
นัน้ เราก็ตอ้ งจดจ่อกับวิชาอื่น มันแทบไม่มเี วลาทา แต่ถา้ ไม่ทา ก็เสียคะแนนตรงนัน้ ไป”
“ตอนนี้หนู อยากให้ครูท่โี รงเรียนสั ่งงานน้อยลงหน่ อย (หัวเราะ) มันเยอะจริงๆ นะ แล้วก็อยากให้จดั
ตารางเวลาเรียนใหม่เหมือนกัน เพราะเรียนออนไลน์กบั เรียนทีโ่ รงเรียนยังไงก็ไม่เหมือนกันอยู่แล้ว ทั ง้ เรื่องเวลา
เรื่องเนื้อหา หรืออื่นๆ เพื่อนๆ จะได้มเี วลาอ่านหนังสือมากขึน้ ด้วย”
ดูเพิม่ เติม: ภาวรรณ ธนาเลิศสมบูรณ์ , “มนุษย์รอยต่อ : เมื่อจุดเปลี่ยนชีวติ มีโควิด -19 เข้ามาแทรก,” The101.world, 3 กุมภาพันธ์
2021, https://www.the101.world/covid-19-change-life/.
19
2
เด็กและครอบครัวเข้าถึงบริการของรัฐได้ยากขึ้น
ในช่วงการแพร่ระบาดของโควิ ด

การทุ่มเททรัพยากรรัฐจานวนมากเพื่อ รับมือวิกฤตโรคระบาดส่งผลให้บริการสาธารณะด้าน
อื่นๆ ที่เ กี่ยวข้อ งกับคุ ณ ภาพชีว ิต ของเด็กและครอบครัว ถู กลดทอนความส าคัญ ลง และไม่ส ามารถ
จัดบริการให้แก่ประชาชนได้อย่างเต็มศักยภาพดังเดิม ผลลัพธ์ทต่ี ามมาคือเด็ก เยาวชน และครอบครัว
ต้องเผชิญความเสีย่ งด้านสุขภาพและความเป็ นอยู่มากยิง่ ขึน้

การทุ่มทรัพยากรรัฐเพื่อแก้โควิ ดทาให้ เด็กและครอบครัวเข้าถึงบริ การสาธารณสุข


ลดลง
การแพร่ระบาดของโควิด-19 ส่งผลให้เด็กและครอบครัวสามารถเข้ารับบริการสุขภาพได้ยากขึน้
ทัง้ ด้วยปั จจัยด้านบุคลากรทางการแพทย์และอุปกรณ์ท่ขี าดแคลน ข้อจากัดในการเดินทางมาเข้า รับ
บริการทีม่ ากขึน้ รวมถึงความกังวลว่าจะติดเชือ้ โควิด-19 ของประชาชน22
กลุ่มคนที่ได้รบั ผลกระทบมากที่สุดคือ หญิงตัง้ ครรภ์และเด็กในครรภ์ ตัง้ แต่ไตรมาสแรกของปี
2021 อัตราหญิงตัง้ ครรภ์ทไ่ี ด้รบั การฝากครรภ์ครัง้ แรก (เมื่ออายุครรภ์น้อยกว่าหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์)
ลดลงจากปี ก่อนหน้าอย่างต่อเนื่อง และลดลงมากที่สุดในไตรมาส 3/2021 (ช่วงการแพร่ระบาดระลอก
ที่ 3 ในประเทศไทย) อยู่ท่รี ้อยละ 68.923 ยิง่ ไปกว่านัน้ อัตราหญิงตัง้ ครรภ์ท่ีได้รบั การดูแลก่อนคลอด
5 ครัง้ ตามเกณฑ์ทก่ี าหนดก็ลดต่าลงอย่างมากในช่วงเวลาเดียวกัน จากร้อยละ 79.5 ในไตรมาส 4/2020
เหลือร้อยละ 56.1 ในไตรมาส 3/202124
การไม่ได้เข้ารับบริการฝากครรภ์ในช่วงเวลาทีเ่ หมาะสมและดูแลสุขภาพก่อนคลอดตามเกณฑ์ท่ี
กาหนด อาจส่งผลให้แม่และเด็กจานวนหนึ่งไม่ได้รบั การคัดกรองและประเมินความเสีย่ งในการตัง้ ครรภ์
ไม่ได้รบั การตรวจสุขภาพอย่างครบถ้วน และอาจไม่ได้รบั คาแนะนาในการเลี้ยงดูเด็กตามมาตรฐาน ซึ่ง
ย่อมส่งผลกระทบต่อสุขภาวะของแม่และเด็ก ตลอดจนและพัฒนาการของเด็กในช่วงแรกเกิด ซึง่ จะส่งผล
อย่างสาคัญต่อพัฒนาการและคุณภาพชีวติ ในระยะยาว

20
แผนภูมทิ ่ี 2.1 อัตราหญิงตัง้ ครรภ์ทไ่ี ด้รบั การฝากครรภ์ครัง้ แรก

ทีม่ า: ฐานข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข (2022)

แผนภูมทิ ่ี 2.2 อัตราหญิงตัง้ ครรภ์ทไ่ี ด้รบั การดูแลก่อนคลอด 5 ครัง้ ตามเกณฑ์ตงั ้ แต่ไตรมาสที่ 4/2020-
ไตรมาสที่ 1/2022

ทีม่ า: ฐานข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข (2022)

นอกจากนี้ จานวนเด็กอายุ 1 ปี ทไ่ี ด้รบั วัคซีนครบตามเกณฑ์กล็ ดลงจากช่วงก่อนการแพร่ระบาด


ราวร้อยละ 10.8 ในช่วงไตรมาส 4/2019 อัตราความครอบคลุมของเด็กอายุ 1 ปี ทไ่ี ด้รบั วัคซีนครบตาม
เกณฑ์อยู่ทร่ี อ้ ยละ 83.8 และหลังจากปี 2020 เป็ นต้นมาก็ลดลงต่อเนื่องในทุกระลอกของการแพร่ระบาด
โดยเฉพาะในไตรมาส 3/2021 ลดลงเหลือร้อยละ 67.625

21
สาหรับจานวนเด็ก อายุ 7 ปี ท่ีไ ด้รบั วัค ซีนครบตามเกณฑ์ แม้จะไม่ล ดลงจากเดิม แต่ค วาม
ครอบคลุมก็เพิม่ ขึ้นในอัตราทีช่ ้าลงเมื่อเทียบกับช่วงก่อนการแพร่ระบาด 26 ส่วนหนึ่งเป็ นผลจากการปิ ด
โรงเรียนซึง่ เดิมเป็ นสถานที่รบั วัคซีนหลัก

แผนภูมทิ ่ี 2.3 อัตราความครอบคลุมของเด็กอายุ 1 ปี และ 7 ปี ทไ่ี ด้รบั วัคซีนครบตามเกณฑ์

ทีม่ า: ฐานข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข (2022)

ปิ ดโรงเรียน-ศูนย์เด็กเล็ก ภาวะโภชนาการเด็กเริ่ มน่ าเป็ นห่วง


ในช่วงเวลาปกติ โรงเรียนและศูนย์พฒ
ั นาเด็กปฐมวัยไม่เพียงเป็ นสถานทีใ่ ห้ความรูแ้ ละให้บริการ
วัคซีนแก่เด็กและเยาวชนเท่านัน้ แต่ยงั ทาหน้าที่จดั สรรสวัสดิการที่จาเป็ นอย่างอาหารกลางวันและนม
โรงเรียนให้แก่ นัก เรียนจานวนมาก สวัสดิการพื้นฐานเหล่ านี้ช่ว ยให้เ ด็ก โดยเฉพาะเด็กในครัว เรือ น
รายได้น้อย ได้รบั สารอาหารครบถ้วนมากขึน้ ด้วยเหตุน้ี การปิ ดสถานศึกษาเพื่อมุ่งแก้ปัญหาโรคระบาด
จึงไม่ไ ด้ส ร้างความเสียหายในด้านการเรียนรู้เท่านัน้ แต่ยงั กระทบต่อภาวะโภชนาการของเด็กและ
เยาวชนอีกด้วย
จากผลสารวจของธนาคารโลก (World Bank) ในเดือนเมษายน-มิถุนายน 2021 ครัวเรือนที่มี
ความเปราะบางทางโภชนาการมากที่สุดในช่วงวิกฤตโควิด คือ ครัวเรือนรายได้ต่าและครัวเรือนที่มแี ม่
และเด็ก โดยร้อยละ 61 ของครัวเรือนรายได้ต่ารายงานว่าอาหารในบ้านเริม่ หมด และร้ อยละ 42 กาลัง
อยู่ในภาวะหิวโหย ครัวเรือนเหล่านี้มคี วามเสีย่ งทีจ่ ะไม่ได้รบั สารอาหารอย่างเพียงพอมากกว่าครัวเรือน
รายได้สูงถึงร้อ ยละ 3027 ส่ว นครัว เรือ นที่มีแม่และเด็กกว่าร้อยละ 73 ก็มีค วามกังวลว่าอาหารจะไม่

22
เพียงพอ และอีกร้อยละ 56 อาหารในบ้านเริม่ หมด ในขณะที่สถานการณ์ของครัวเรือนที่มพี ่อและเด็ก
ค่อนข้างใกล้เคียงกับค่าเฉลีย่ ของครัวเรือนทัวประเทศ

การต้อ งหยุดเรีย นเป็ น ระยะเวลานานส่ง ผลให้เ ด็กในครัว เรือ นยากจนซึ่งต้อ งพึ่งพาอาหาร
โรงเรียนเป็ นหลักและประสบปั ญหาภาวะทุพโภชนาการมากกว่าเด็กกลุ่มอื่นเป็ นทุนเดิมนัน้ เสีย่ งตกอยู่
ในภาวะทุพโภชนาการมากขึน้ อีกทัง้ การไม่ได้รบั สารอาหารทีเ่ พียงพอตามช่วงวัยยังมีแนวโน้มบั น่ ทอน
พัฒนาการและศักยภาพในการเรียนรูข้ องเด็กและเยาวชนในระยะยาว

แผนภูมทิ ่ี 2.4 ผลสารวจภาวะความไม่มนคงทางโภชนาการในครั


ั่ วเรือนประเภทต่างๆ

ทีม่ า: World Bank (2021)

เด็กวัยเรียนอายุ 6-14 ปี เป็ นกลุ่มที่เสีย่ งไม่ได้รบั โภชนาการที่เหมาะสมมากที่สุดเมื่อเทียบกับ


เด็กอายุ 0-5 ปี ข้อมูลจากกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ในเดือนพฤษภาคม 2021 พบว่า เด็กอายุ
6-14 ปี มีภาวะเริม่ อ้วนและอ้วนเตี้ยเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 12.428 รวมถึงอัตราส่วนของเด็กทีส่ ูงดีสมส่วนในช่วง
อายุน้ใี นปี 2021 ยังลดลงจากปี ก่อนหน้าร้อยละ 5 เหลือร้อยละ 58.729 เป็ นสัญญาณว่าสถานการณ์ภาวะ
โภชนาการของเด็กและเยาวชนเริม่ น่าเป็ นห่วงมากขึน้

23
แผนภูมทิ ่ี 2.5 อัตราส่วนเด็กอายุ 0-14 ปี ทเ่ี จริญเติบโตสมวัย ปี 2019-2021

ทีม่ า: กรมอนามัย (2021)

บริ การรัฐต้องต่อเนื่ อง ทั ่วถึง ยืดหยุ่น และพร้อมรับมือวิ กฤต


บริการสาธารณะที่ถูกลดทอนประสิทธิภาพและเข้าถึงได้ยากขึ้นนัน้ ส่งผลให้คุณภาพชีวติ ของ
เด็กและครอบครัวไทยย่าแย่ลง มาตรการเร่งด่วนที่สุดที่รฐั ควรดาเนินการคือ เร่งเยียวยาและให้ความ
ช่วยเหลือกับประชาชนกลุ่มเปราะบางทีไ่ ด้รบั ผลกระทบ ทัง้ การสร้างฐานข้อมูลระดับพืน้ ทีข่ องประชาชน
อย่างเป็ นระบบ เพื่อวิเคราะห์ความต้องการและจัดสรรบริการได้อย่างตรงจุด รวมถึงจัดบริการเชิงรุกให้
ประชาชนที่เข้าถึงบริการได้ยากหรืออาศัยในพื้นที่ห่างไกล ผ่านการทางานร่วมกับหน่ วยงานท้องถิ่น
อาทิ จัดบริการฉีดวัคซีนสาหรับเด็กเล็ก จัดสรรนมและอาหารกลางวันให้ถงึ มือเด็กในครัวเรือนยากจน
โดยอาจดาเนินการทัง้ ในรูปแบบแจกจ่ายอาหารโดยตรง จัดสรรเงินอุดหนุ นให้เพียงพอมากขึ้น หรือใช้
ระบบคูปองแลกอาหาร ตลอดจนให้ความรูด้ า้ นโภชนาการแก่ครัวเรือน
มากไปกว่ า นัน้ ควรปรับ ปรุ ง ประสิท ธิภ าพการให้บ ริก ารของรัฐ ผ่ า นการวางแผนจัด ก าลัง
บุ ค ลากรและทรัพ ยากรให้ส ามารถดูแ ลสุ ข ภาพขึ้น พื้น ฐานให้กับ ประชาชนได้อ ย่ า งเพีย งพอและมี
ประสิทธิภาพแม้ในยามวิกฤต ตลอดจนเตรียมแผนรับมือหากต้องเพิม่ กาลังบุคลากรและทรัพยากรใน
สถานการณ์ เ ฉพาะหน้ า เช่น การอบรมทักษะการให้บริการที่จาเป็ นแก่บุคลากรทางการแพทย์ และ
อาสาสมัค รอย่ า งเร่ ง ด่ ว น ท้า ยที่สุ ด ควรเพิ่ม ทางเลือ กการใช้บ ริก ารสาธารณะให้ป ระชาชนอย่ า ง
ครอบคลุมและเข้าถึงได้จริง เช่น บริการสาธารณสุขใกล้บา้ นและชุมชน และระบบการให้บริการทางไกล

24
ยังไม่ทนั ตัง้ ไข่ เด็กไทยก็ถกู ทอดทิ้ งจากรัฐ
วันนี้แม่เจี๊ยบ กัญญารัตน์ แก้วแล้ว อายุ 33 ปี พาลูกสาวสองคน – มายมิ้นท์ อายุ 9 ปี และ ใบหม่อน
อายุ 4 ปี – มารับข้าวสารอาหารแห้ง นมผง และขนมที่ศูนย์เด็กเล็กใกล้บ้าน พิษโควิด -19 ทาให้รายได้ของ
ครอบครัวหดหาย จากเดิมเธอและสามีประกอบอาชีพรับซื้อของเก่า ได้เงินหลักร้อยต่อวัน (“ถ้าของเยอะก็พอได้
วันละพันกว่าบาท”) มาตอนนี้อย่าว่าแต่จะทามาหากินลาบาก กระทังจะออกไปไหนมาไหนก็
่ ยงั คิดหนัก
เท่าทีเ่ รานึกภาพได้จากคาบอกเล่า ห้องเช่าของแม่เจีย๊ บก็ไม่ได้กว้างสักเท่าไหร่ ลาพังวางฟูกนอนก็กนิ
พืน้ ทีไ่ ปเกือบครึง่ เหลือพืน้ ว่างๆ บนเสื่อน้ ามันให้พอใช้สอยได้บ้างนิดหน่ อย มีหอ้ งน้ าเล็กๆ ห้องหนึ่ง และครัว
แยกออกไปอยู่นอกบ้าน ทัง้ หมดสนนราคาเดือนละ 3,000 กว่าบาท ไม่รวมค่าน้า ค่าไฟ
“เลีย้ งลูกไม่ค่อยสะดวกเท่าไหร่หรอกค่ะ ทีม่ นั แคบ น้องไม่ค่อยมีทอ่ี ยู่”
“เอาเข้าจริง ตอนนี้ค่าห้องก็ยงั ไม่ได้จ่ายเขาเลย” ดูเหมือนว่าการทีล่ ูกๆ ต้องอยู่บา้ นในช่วงโควิดจะยิง่ ทา
ให้ค่าใช้จ่ายเพิม่ สูงสวนทางกับรายได้ ทัง้ ค่าอาหาร ค่าอินเทอร์เน็ตเรียนออนไลน์ ของที่ใช้ป้องกันโรคอย่าง
หน้ากากอนามัยและเจลแอลกอฮอล์ และอื่นๆ อีกมาก
“ค่ากับข้าววันหนึ่ง 300 ก็เอาไม่อยู่ ปกติไปโรงเรียนน้องยังมีขา้ วฟรีให้เช้าเทีย่ ง กลับมากินข้าวเย็นที่
บ้านมื้อเดียว ตอนนี้จ่ายกันเองหมด ไหนจะมีค่านม ค่าขนม เราทาได้แค่เอาเงินเก่ามากิน เงินเก็บน่ ะ เอามากิน
หมดแล้ว” เธอเสริมว่าช่วงนี้ตอ้ งอาศัยเงินค่ากินอยู่จากบัตรสวัสดิการแห่งรัฐเป็ นหลัก ใช้โครงการคนละครึง่ ช่วย
ลดค่าใช้จ่าย รวมถึงรับของแจกจากศูนย์เด็กเล็กเพื่อให้ผ่านไปได้ในแต่ละวัน
ว่ากันตามตรง แม่เจี๊ยบควรได้รบั มากกว่านัน้ เพราะใบหม่อนคือกลุ่มเด็กเล็กที่เข้าเกณฑ์ได้รบั เงิน
อุดหนุนจากรัฐจานวน 600 บาททุกเดือนตามโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลีย้ งดูเด็กแรกเกิด 0-6 ปี และแม่เจีย๊ บ
เองก็เคยลงทะเบียนรับเงินดังกล่าวทีส่ านักงานเขตแล้ว
แต่หลังจากยื่นเอกสารเมื่อแรกเกิด รอจนลูกสาวอายุ 9 เดือนถึงได้เงินก้อนแรกย้อนหลังราว 8 ,000-
9,000 บาท ยังไม่ทนั ดีใจทีม่ เี งินมาช่วยค่านม ค่าแพมเพิร์ส เมื่อใบหม่อนอายุ 1 ขวบสองเดือน แม่เจีย๊ บก็ไม่ได้รบั
เงินอุดหนุนอีกเลย
“เขาไม่ได้บอกอะไรเลยว่าทาไมหยุดส่ง แม่ไปติดต่อเขตใหม่อกี รอบ เจ้าหน้าทีบ่ อกให้กรอกข้อมูลใหม่
แม่กส็ ่งข้อมูลใหม่ไปให้เขา เป็ นเอกสารชุดเดิมเลย แต่กเ็ งียบเหมือนเดิม” เธอเล่านิ่งๆ
“เราตามนะ ตามสองรอบก็แล้ว โทรก็แล้ว ถามเจ้าหน้าที่ เขาบอกให้รอ ก็รอจนถึงตอนนี้แหละ จนลูกจะ
ห้าหกขวบแล้ว”
จริงอยู่ทก่ี ารเลี้ยงลูกคนหนึ่งย่อมใช้เงินมากกว่า 600 บาท แต่สาหรับครอบครัวทีม่ รี ายได้ไม่มาก เงิน
จานวนนี้ทาให้เด็กๆ ได้กินอิ่ม อยู่อิ่ม มีโอกาสเข้าเรียนมากขึน้ กระทังได้
่ รบั การรักษาที่ดขี น้ึ – อย่างครัง้ หนึ่ง
ใบหม่อนป่ วยเป็ นลาไส้อกั เสบตอนอายุ 9 เดือน ต้องนอนโรงพยาบาลอยู่หลายคืน แม่เจี๊ยบก็ใช้เงินอุดหนุ น
ย้อนหลังก้อนนัน้ มาช่วยแบ่งเบาค่าใช้จ่าย

ดูเพิม่ เติม: ภาวรรณ ธนาเลิศสมบูรณ์ , “ยังไม่ทนั ตัง้ ไข่ เด็กไทยก็ถูกทอดทิ้งจากรัฐ: เมื่อ ‘เงินอุดหนุ นเด็กเล็ก’ ไปไม่ถึงทุกคน,”
The101.world, 15 สิงหาคม 2021, https://www.the101.world/child-welfare-documentary/.

25
3
เด็กและเยาวชนถูกผลักเข้าสู่โลกออนไลน์โดยขาดฐานที่จาเป็ น

การปิ ดสถานที่เพื่อชะลอการแพร่ระบาดของโควิด -19 อย่างต่อเนื่องมาถึงช่วงปี 2021-2022


ส่งผลให้กจิ กรรมหลายอย่างในชีวติ เด็กและเยาวชนต้องย้ายจากโลกกายภาพไปสูโ่ ลกออนไลน์ อย่างไรก็
ดี การปิ ดสถานที่โดยขาดมาตรการรองรับผลกระทบทีเ่ หมาะสมและเพียงพอ ประกอบกับปั ญหาความ
เหลื่อมล้าทีร่ ุนแรงและเรือ้ รังมาตัง้ แต่ก่อนเกิดโรคระบาด ทาให้เด็กและเยาวชนจานวนมากถูกผลักเข้าสู่
โลกออนไลน์โดยขาดทักษะและอุปกรณ์ทจ่ี าเป็ นและเท่าเทียม

มาตรการโควิ ดผลักเด็กและเยาวชนเข้าสู่โลกออนไลน์
การปิ ดสถานทีใ่ นช่วงสองปี ทผ่ี ่านมาเร่งให้เด็กต้องเข้าสู่โลกออนไลน์เร็วขึน้ โดยผูป้ กครองส่วน
ใหญ่เริม่ ให้เด็กใช้ส่อื ดิจทิ ลั ตัง้ แต่อายุเพียง 2-3 ปี ตามผลสารวจของ สสส. สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหาร-
ศาสตร์ และสถาบันสือ่ เด็กและเยาวชนในเดือนมกราคม 202130
ยิ่ง ไปกว่ า นัน้ เด็ก และเยาวชนยัง ต้อ งใช้ชีว ิต ส่ว นใหญ่ ใ นโลกออนไลน์ จากผลส า รวจของ
คิด for คิดส์ ในเดือ นพฤษภาคม 2022 เยาวชนอายุ 15-25 ปี ใ ช้เ วลารับสื่อ ออนไลน์ เ ฉลี่ย มากกว่ า
12 ชัวโมงต่
่ อวัน โดยกลุ่มทีเ่ รียนเต็มเวลาร้อยละ 97.0 ใช้อนิ เทอร์เน็ตในการเรียน ส่วนกลุ่มทีท่ างานเต็ม
เวลาร้อ ยละ 70.5 ใช้อินเทอร์เ น็ต ในการทางาน เยาวชนเกือ บทัง้ หมดยังใช้อินเทอร์เ น็ต โทรและส่ง
ข้อความ (ร้อยละ 97.6) ค้นคว้าข้อมูล (ร้อยละ 97.1) ใช้โซเชียลมีเดีย (ร้อยละ 94.7) ซื้อสินค้า (ร้อยละ
86.8) และเล่นเกม (ร้อยละ 81.8)

เด็กและเยาวชนต้องเข้าสู่โลกออนไลน์ โดยขาดทักษะที่จาเป็ นและเท่าเทียม


แม้เด็กและเยาวชนจะต้องใช้ชวี ติ ในโลกออนไลน์มาก แต่ยงั ขาดทักษะรู้เท่าทันสื่อ สารสนเทศ
และดิจิทลั (media, information, and digital literacy หรือ MIDL) ซึ่งจาเป็ นยิ่งต่อ การใช้อินเทอร์เ น็ต
อย่างปลอดภัย มีประสิทธิผล และมีประสิทธิภาพ จากผลสารวจของ คิด for คิดส์ เยาวชนอายุ 15-25 ปี
ประเมินตนเองว่ามีทกั ษะการใช้คอมพิวเตอร์และเครื่องมือดิจทิ ลั อยู่ทร่ี ะดับคะแนนเฉลีย่ เพียง 3.23 เต็ม
5 และมีทกั ษะการประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูลอยู่ท่ี 3.27 เต็ม 5 เท่านัน้

26
ปั ญหาการขาดทักษะนี้มแี นวโน้ มรุนแรงกว่าในเด็กและเยาวชนจากครัวเรือนรายได้ต่ า โดย
เยาวชนจากครัวเรือนที่มรี ายได้ต่าสุดร้อยละ 60 (ควินไทล์ท่ี 1-3) มีระดับคะแนนเฉลี่ยในทัง้ สองทักษะ
ต่ ากว่าค่าเฉลี่ยของประเทศ หากเปรียบเทียบระหว่างเยาวชนจากครัวเรือนในควินไทล์ท่ี 1 (รายได้
ต่าสุด) กับควินไทล์ท่ี 5 (รายได้สูงสุด) จะเห็นได้ว่าควินไทล์ท่ี 1 มีระดับคะแนนเฉลี่ยในทักษะการใช้
คอมพิว เตอร์ฯ (3.07) และทัก ษะการประเมินข้อ มูล ฯ (3.16) น้ อ ยกว่าควินไทล์ท่ี 5 (3.50 และ 3.70
ตามลาดับ) กว่าร้อยละ 10

แผนภูมทิ ่ี 3.1 คะแนนประเมินทักษะ MIDL ด้วยตนเองโดยเฉลีย่ ของเยาวชนอายุ 15-25 ปี แยกตาม


ควินไทล์รายได้ครัวเรือน

ทีม่ า: ผลสารวจเยาวชนของ คิด for คิดส์ (2022)

ผู้ปกครองและครูมีทกั ษะ MIDL ตา่ จึงสนับสนุนเด็กและเยาวชนได้จากัด


ปั ญหาการขาดทักษะ MIDL ดังกล่าวนับว่าน่ ากังวลยิง่ เมื่อพิจารณาว่าผู้ใหญ่ ทใ่ี กล้ชดิ เด็กและ
เยาวชนอย่างผูป้ กครองและครู สามารถแนะนา ช่วยเหลือ และสนับสนุนเด็กและเยาวชนได้จากัด เพราะ
มีทกั ษะ MIDL ต่ายิง่ กว่า จากการประเมินของมหาวิทยาลัยมหิดลและกองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและ
สร้างสรรค์ในเดือนพฤศจิกายน 2020 ผู้ใหญ่อายุ 31 ปี ข้นึ ไปมีทกั ษะ MIDL น้อยกว่าเด็กและเยาวชน
อายุ 11-30 ปี และระดับทักษะของผูใ้ หญ่มแี นวโน้มลดลงตามกลุ่มอายุทเ่ี พิม่ ขึน้ โดยกลุ่มอายุ 51-70 ปี มี
ทักษะระดับพืน้ ฐานเท่านัน้ 31 ในแง่น้ี ครัวเรือนข้ามรุ่นจึงประสบปั ญหาในการสนับสนุนเด็กและเยาวชน
มาก
ในกรณีของครู แม้ว่าจะมีทกั ษะ MIDL สูงกว่าค่าเฉลี่ยของผูใ้ หญ่ทวไป ั ่ แต่ก็ยงั ต่ากว่าเด็กและ
เยาวชนทีเ่ ป็ นผูเ้ รียน32 โดยกลุ่มครูสงู อายุหรืออยู่ในสถานศึกษาทีม่ ที รัพยากรน้อยมีแนวโน้มจะสนับสนุ น
ผูเ้ รียนได้จากัดกว่า

27
แผนภูมทิ ่ี 3.2 คะแนนทักษะ MIDL แยกตามช่วงอายุและกลุ่มอาชีพ

ทีม่ า: มหาวิทยาลัยมหิดล (2021)

เด็กและเยาวชนจานวนมากประสบปัญหาในการเข้าถึงอิ นเทอร์เน็ต
นอกจากขาดทักษะแล้ว เด็กและเยาวชนจานวนมากยังประสบปั ญหาในการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต
จากข้อมูลของสานักงานสถิตแิ ห่งชาติในไตรมาส 4/2021 เด็กและเยาวชนอายุ 6-24 ปี ราว 3.4 แสนคน
หรือคิดเป็ นร้อยละ 2.1 ไม่ได้ใช้งานอินเทอร์เน็ตอย่างสิน้ เชิง โดย 2.4 แสนคน หรือร้อยละ 1.5 อาศัยอยู่
ในพืน้ ทีน่ อกเขตเทศบาล33
ในกลุ่มทีเ่ ข้าถึงอินเทอร์เน็ตได้ ส่วนใหญ่กข็ าดแคลนอุปกรณ์สาหรับใช้งานอินเทอร์เน็ต จากผล
สารวจภาวะเศรษฐกิจ และสังคมของครัว เรือ นในปี 2021 ครัว เรือ นที่ส มาชิกอย่ างน้ อ ยหนึ่ งคนเป็ น
เยาวชนกว่าร้อยละ 77.8 ไม่มคี อมพิวเตอร์ทเ่ี ชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต และร้อยละ 86.9 มีคอมพิวเตอร์น้อย
กว่าจานวนเยาวชนในครัวเรือน ขณะที่ร้อยละ 1.9 ไม่มสี มาร์ทโฟน และร้อยละ 8.8 มีสมาร์ทโฟนน้อย
กว่าจานวนเยาวชน34

“ผมไม่ มีตังค์ซ้ื อโน้ ต บุ๊ค ผมไม่ ไ ด้ส้ิน ไร้ไ ม้ต อกขนาดนั น้ หรอก ผมมีไ อแพดอยู่
เครือ่ งหนึง่ [...] ผมใช้เครือ่ งนี้แทนคอม และมันยังผ่อนไม่เสร็จจนถึงวันนี้
อาจารย์บอกตัง้ แต่แรกก่อนเข้าแล้วล่ะ ว่ามันต้องใช้เงิน มันต้องมีอุปกรณ์ แต่ผม
จะต้องเสียโอกาสในการเรียนเพราะตัวเอง ‘มีไม่มากพอ’ หรอครับ ผมก็ตอ้ งก้มหน้า
ก้มตารับชะตากรรมอีกแล้ว ไม่ว่าจะเป็ นการเข้าไปทางานส่งในร้านเน็ตหรือจ้าง
เพือ่ นให้ช่วยทางานให้ในราคาไม่กบี ่ าท
พูดตรงๆ เทอมนัน้ ผมเรียนไม่รู้เรือ่ งเลย และก็ยงั ไม่มเี งินมากพอจะไปซื้อ ผมไม่
อยากเป็นตัวสร้างหนี้ให้คนในบ้านอีกแล้ว”
– ณัฐนรี อายุ 17 ปี

28
ยิ่งไปกว่านัน้ ครัว เรือ นร้อ ยละ 42.8 ยังไม่มีอินเทอร์เ น็ต ประจาที่ค วามเร็วสูง (อินเทอร์เน็ต
บ้าน)35 และต้องใช้งานอินเทอร์เน็ตมือถือเป็ นหลัก ซึง่ อาจมีปริมาณและคุณภาพสัญญาณอินเทอร์เน็ตให้
ใช้งานไม่เพียงพอ โดยเฉพาะในพืน้ ทีน่ อกเขตเมืองและทางหลวงสายหลัก36 อัตราค่าบริการสัญญาณมือ
ถือยังแพงมากสาหรับประชากรในครัวเรือนรายได้ต่า โดยในไตรมาส 1/2022 อัตราค่าบริการเฉลีย่ อยู่ท่ี
453 บาทต่อเลขหมายต่อเดือน37 คิดเป็ นร้อยละ 13.8 ของรายได้ต่อหัวต่อเดือนโดยเฉลีย่ ของครัวเรือน
ในควินไทล์ท่ี 1

แผนภูมทิ ่ี 3.3 สัดส่วนของค่าบริการสัญญาณมือถือโดยเฉลีย่ ต่อรายได้ต่อหัวประชากรโดยเฉลีย่ แยก


ตามควินไทล์รายได้ครัวเรือน

ทีม่ า: คิด for คิดส์ คานวณจากข้อมูลของ


National Broadcasting and Telecommunications Commission (2022)

การถูกผลักเข้าสู่โลกออนไลน์ ส่งผลระยะยาวต่อพัฒนาการ สวัสดิ ภาพ และจิ ตใจ


การถูกผลักเข้าสู่โลกออนไลน์ ตงั ้ แต่ปฐมวัยและใช้เวลาในโลกออนไลน์ นานอาจส่งผลเสียต่อ
พัฒนาการทางกล้ามเนื้อ สายตา สติปัญญา อารมณ์ และบุคลิกภาพของเด็กในระยะยาว อีก ทัง้ ยังทาให้
เด็กขาดปฏิสมั พันธ์และทักษะทางสังคมในโลกจริง
ขณะเดียวกัน ปั ญหาการขาดทักษะและอุปกรณ์สาหรับใช้งานอินเทอร์เน็ตก็ซ้าเติมผลกระทบ
ข้างต้นและก่อให้เกิดปั ญหาอื่นเพิม่ ตามมา โดยทาให้เด็กและเยาวชนวัยเรียนไม่สามารถเรียนออนไลน์
ได้อย่างมีประสิทธิภาพเต็มที่ การเรียนรูแ้ ละทักษะถดถอย และโอกาสในการได้งานทีด่ ลี ดลง ปั ญหาการ
ไม่รเู้ ท่าทันยังเพิม่ ความเสีย่ งทีเ่ ด็กและเยาวชนจะถูกหลอก ระราน (bully) และคุกคาม รวมถึงกลายเป็ น
ผูก้ ระทาการดังกล่าวเองและผลิตซ้าข้อมูลเท็จในสังคม ปั ญหาข้างต้นทัง้ หมดยังส่งผลเสียต่อสุขภาพจิต
ของเด็กและเยาวชนอีกด้วย

29
ฟื้ นฟูผลจากวิ กฤตเก่า สร้างฐานที่จาเป็ น-เท่าเทียม เตรียมรับวิ กฤตใหม่
ผลกระทบจากการทีเ่ ด็กและเยาวชนถูกผลักเข้าสู่โลกออนไลน์โดยขาดฐานทีจ่ าเป็ นนี้ต้องได้รบั
การฟื้ นฟูอย่างเร่งด่วน ในเบือ้ งต้น รัฐบาลควรให้สถานศึกษาเน้นจัดกิจกรรมการเรียนในรูปแบบทีผ่ เู้ รียน
ได้มปี ฏิสมั พันธ์กนั ในห้องเรียนและกับสังคมภายนอก เพือ่ ส่งเสริมทักษะทางสังคมและชดเชยการเรียนรู้
ที่ห ดหาย พร้อ มทัง้ ร่ ว มมือ กับ ภาคเอกชนและประชาสัง คมพัฒ นาแหล่ งเรีย นรู้และนัน ทนาการที่มี
คุณภาพ ใกล้บา้ นหรือสถานศึกษา และมีค่าธรรมเนียมใช้งานถูก เพื่อดึงดูดให้เด็กและเยาวชนผละออก
จากโลกออนไลน์ไปใช้งานเพิม่ ขึน้
ยิง่ ไปกว่านัน้ รัฐบาลควรวางฐานที่จาเป็ นให้เ ด็กและเยาวชนอย่างเท่าเทียมมากขึ้น ในด้าน
ทักษะ ควรส่งเสริมทักษะ MIDL ให้แก่นักเรียนผ่านหลักสูตรและกิจกรรมในสถานศึกษาภาคบังคับ โดย
ฝึกอบรมครูให้มที กั ษะเพียงพอทีจ่ ะสนับสนุนนักเรียนได้ ตลอดจนเปิ ดให้เยาวชนรวมกลุ่มเสนอโครงการ
เสริมสร้างทักษะเพือ่ ขอรับงบประมาณไปดาเนินการกับผูป้ กครองและผูใ้ หญ่ในชุมชนของตน ในด้านการ
เข้าถึงอุปกรณ์ ควรจัดให้มคี อมพิวเตอร์สาหรับให้ยมื ในสถานศึกษาและห้องสมุดสาธารณะอย่างเพียงพอ
ควบคู่กบั ขยายโครงข่ายอินเทอร์เน็ตให้ครอบคลุมและเข้าถึงได้จริง

30
อาชีวะเรียนออนไลน์ อย่างไร เมื่อการเรียนทางไกลไม่ได้เหมาะกับทุกคน
สาหรับนักเรียนสายอาชีพทีก่ ารเรียนเน้นปฏิบตั ิ การเรียนออนไลน์ตามมาตรการชะลอการแพร่ระบาด
ของโควิด-19 ถือเป็ นเรื่องยากกว่านักเรียนสายสามัญมาก มีวชิ าสายอาชีพหลายวิชาอย่างการนวดกดจุด ดูแล
เครื่องจักร หรือเชื่อมเหล็ก ซึง่ เรานึกแทบไม่ออกว่าจะสอนทางไกลกันอย่างไร

“พวกเราต้องเน้ นปฏิ บตั ิ แต่เรียนทางไกลปฏิ บตั ิ ไม่ได้”


“ทางวิทยาลัยทีเ่ ราเรียน เน้นการปฏิบตั เิ ป็ นส่วนใหญ่ แต่พอมีสถานการณ์โควิดแล้วต้องเรียนออนไลน์
ก็เลยใช้การจาลองแทนการปฏิบตั จิ ริง” สาระเกศ แก้วแสง หรือ ซีอวิ๊ นักเรียนชัน้ ปวช.3 แผนกเมคคาทรอนิกส์
และหุ่นยนต์ วิทยาลัยเทคนิคสิงห์บุรี เล่าถึงการเรียนออนไลน์ในช่วงโควิด-19
เมื่อวิชาหลักคือการเขียนโปรแกรมทีต่ อ้ งใช้กบั เครื่องจักรในโรงงาน การใช้อุปกรณ์จริงจึงจาเป็ น แต่เมื่อ
ปรับรูปแบบการเรียนการสอนเป็ นออนไลน์ อาจารย์จงึ ต้องหาโปรแกรมจาลองให้คล้ายกับที่ใช้จริง เพราะไม่
สามารถให้นักเรียนเข้าไปใช้อุปกรณ์ทว่ี ทิ ยาลัยได้
“แล้วพอต้องเรียนวิชาเขียนโปรแกรม ปกติถ้าเรียนที่วทิ ยาลัย อาจารย์จะมีคอนโทรลเลอร์ตวั เล็กๆ ที่
สั ่งงานได้ เขียนโปรแกรมได้ แต่พอเรียนออนไลน์เลยต้องซื้อเองเป็ นของใครของมันไว้เรียนทีบ่ ้าน” ซีอวิ๊ เล่าถึง
ภาระทีเ่ พิม่ ขึน้ ในการเรียนออนไลน์ ซึง่ นักเรียนทีไ่ ม่ได้ทุนการศึกษาต้องรับภาระนี้เองเต็มสัดส่วน

ขึ้นเขาเพื่อหาสัญญาณ และรวมตัวเพื่อเรียนแพทย์แผนไทย
ญาณี แซ่กอื หรือ ณี นักศึกษาสาขาการแพทย์แผนไทย วิทยาลัยชุมชนตาก เป็ น อีกหนึ่งในคนทีเ่ ผชิญ
ปั ญหาการเรียนออนไลน์ตงั ้ แต่การระบาดรอบแรกของโควิด-19 เนื่องจากบ้านอยู่บนดอยจึงมีปัญหาเรื่องสัญญาณ
อินเทอร์เน็ต ทาให้ณีและเพื่อนต้องขับรถขึน้ เขาไปแต่เช้าตรู่เพื่อหาสัญญาณอินเทอร์เน็ต
“เราต้องขึน้ ไปเขาทีส่ ูงทีส่ ุดเพื่อหาสัญญาณ ซึ่งมีปัญหาเรื่องถนน เนื่องจากเราอยู่ในหมู่บ้านทีห่ ่า งไกล
จากเมือง อยู่แต่บนภูเขา ทางเลยไม่ใช่ทางทีด่ ี เป็ นแค่ทางลูกรัง ถ้าฝนตกก็กลายเป็ นโคลน เราต้องตื่นตัง้ แต่ตี 5
เพราะเริม่ เรียน 8 โมง ใช้เวลาเดินทางเป็ นชัวโมง ่ ... ระยะทางแค่ 10 กิโลฯ ก็จริง แต่เป็ นทางขึน้ เขาลงเขา ยิง่ พอ
เป็ นหน้าฝนก็มแี ต่โคลน เลยต้องใช้เวลานานกว่าจะไปถึงทีท่ ม่ี สี ญ ั ญาณเรียนได้” ณีเล่า
เนื่องจากณีเรียนสาขาการแพทย์แผนไทย จึงต้องมีการเรียนนวดกดจุด ซึง่ จาเป็ นต้องมีการฝึกทากับคน
จริง การเรียนออนไลน์ไม่อาจตอบโจทย์น้ไี ด้ ทางวิทยาลัยจึงแก้ปัญหาด้วยการให้ตวั แทนนักศึกษามาเรียนในห้อง
ตอนนี้ณีเรียนภาคปฏิบตั จิ บหมดแล้ว แต่ปัญหาที่ต้องเผชิญต่อคือเรื่องการหาทีฝ่ ึ กงาน “พวกเราต้อง
เรียน 2 ปี ครึง่ ทาให้จบช้ากว่าเพื่อนต่างสถาบัน พอรวมกับฝึกงานอีก 5 เดือน ก็รวมเป็ นเรียน 3 ปี แต่ตอนนี้มา
ติดช่วงโควิด โรงพยาบาลก็ไม่เปิ ดรับฝึ กงาน ตอนนี้ทางอาจารย์ก็พยายามหาช่องทางในการฝึ กงานให้อยู่ แต่
อาจารย์บอกว่าอาจจะจบช้าหน่อย เราก็ตอ้ งรอ”

ดูเพิม่ เติม: ปาณิส โพธิศ์ รีวงั ชัย , “อาชีวะเรียนออนไลน์อย่างไร เมื่อการเรียนทางไกลไม่ได้เหมาะกับทุกคน,” The101.world, 8


ตุลาคม 2021, https://www.the101.world/online-learning-in-vocational-education/.

31
4
เด็กและเยาวชนเครียดและมีปัญหาสุขภาพจิ ตมากขึ้น

การใช้ชวี ติ ท่ามกลางสามวิกฤตมีสว่ นทาให้เด็กและเยาวชนเครียด กังวล ตกอยู่ในภาวะซึมเศร้า


และมีความเสีย่ งทางสุขภาพจิตอื่นๆ รุนแรงมากขึน้ ทีส่ าคัญ เด็กและเยาวชนทีเ่ ผชิญปั ญหาจานวนมาก
ไม่สามารถเข้าถึงบริการดูแลรักษาได้ ปั ญหาสุขภาพจิตเหล่านี้ส่งผลเสียต่อสุขภาวะทางกาย จิตใจ การ
เรียนรู้ และอาจบันทอนความฝั
่ นและเป้ าหมายของพวกเขาในระยะยาว

เด็กไทยเครียดมากขึ้นและมีความเสี่ยงทางสุขภาพจิ ตเพิ่ มขึ้นทุกด้าน


เด็กและเยาวชนทีเ่ ผชิญกับความเครียดและปั ญหาสุขภาพจิตเพิม่ จานวนมากขึน้ ในช่วงปี ทผ่ี ่าน
มา จากข้อมูลการประเมินสุขภาพจิตตนเองของกรมสุขภาพจิตในปี 2021 ผู้ตอบแบบประเมินร้อ ยละ
30.1 ระบุว่าเครียดสูง ร้อยละ 35.3 เสีย่ งตกอยู่ในภาวะซึมเศร้า ร้อยละ 24.4 เสีย่ งที่จะฆ่าตัวตาย และ
ร้อยละ 35 มีความเสี่ยงทางสุขภาพจิตอย่างน้อยหนึ่งด้าน ส่วนผลการประเมินจนถึงเดือนกรกฎาคม
ปี 2022 ก็มแี นวโน้มทีน่ ่ากังวล โดยเฉพาะเด็กและเยาวชนร้อยละ 11.9 ทีเ่ สีย่ งฆ่าตัวตาย และอีกร้อยละ
17.5 ทีก่ าลังเสีย่ งอยู่ในภาวะซึมเศร้า38

แผนภูมทิ ่ี 4.1 ผลการประเมินสุขภาพจิตตนเองของเด็กและเยาวชนอายุไม่เกิน 20 ปี ปี 2020-2022

หมายเหตุ: จานวนผูต้ อบแบบประเมินปี 2020 29,028 คน ปี 2021 181,629 คน และปี 2022 37,063 คน

32
เด็กและเยาวชน เป็ นกลุ่มทีเ่ ผชิญความเสีย่ งทางสุขภาพจิตทุกด้านมากกว่าผูใ้ หญ่อย่างชัดเจน
(ดูแผนภูมทิ ่ี 4.2) โดยเฉพาะกลุ่มอายุไม่เกิน 20 ปี ซึ่งมีสดั ส่วนผู้มคี วามเครียดสูง เสีย่ งซึมเศร้า และ
เสีย่ งฆ่าตัวตาย มากกว่าผูใ้ หญ่อายุ 40-49 ปี ถงึ 10-20 เท่า

แผนภูมทิ ่ี 4.2 ข้อมูลการประเมินสุขภาพจิตคนไทย ปี 2021 จาแนกตามกลุ่มอายุ

ทีม่ า: กรมสุขภาพจิต (2021)

การศึกษาและการทางานเป็ นสาเหตุหลักของความเครียดในเยาวชนทุกช่วงวัย
สาเหตุของความเครียดในเยาวชนส่วนใหญ่ได้แก่ การเรียน การทางานในอนาคต และสถานะ
ทางการเงินของครอบครัว ทัง้ นี้ผลจากมาตรการรับมือกับวิกฤตโควิด วิกฤตเศรษฐกิจและการสูญเสีย
รายได้ของครัวเรือนมีสว่ นสาคัญทีท่ าให้ความเครียดในประเด็นข้างต้นเพิม่ ขึน้ ในช่วงปี ทผ่ี ่านมา
จากผลสารวจเยาวชนของ คิด for คิดส์ การศึกษาและการทางาน และการเงิน เป็ นสองปั จจัย ที่
ทาให้เยาวชนอายุ 15-25 ปี เกิดความเครียดมากทีส่ ุด สาหรับกลุ่มอายุ 15-18 ปี และ 19-22 ปี การศึกษา
และการทางานเป็ นสาเหตุอนั ดับแรกที่ทาให้พวกเขาเกิดความเครียด (ร้อยละ 38.4 และร้อยละ 60.9
ตามลาดับ) ส่วนสาเหตุรองลงมา ซึ่งมีสดั ส่วนใกล้เคียงกับอันดับแรกในทัง้ สองกลุ่ มอายุคอื การเงิน
(ร้อยละ 34.9 และร้อยละ 60.2 ตามลาดับ) ขณะทีก่ ลุ่มอายุ 23-25 ปี เห็นว่าการเงินเป็ นปั จจัยทีท่ าให้เกิด
ความเครียดมากทีส่ ุด (ร้อยละ 67.1) ตามมาด้วยการศึกษาและการทางาน (ร้อยละ 66.1) และเรื่องสังคม
การเมือง (ร้อยละ 42.1)

33
แผนภูมทิ ่ี 4.3 ปั ญหาทีเ่ ยาวชนรายงานว่าทาให้เกิดความเครียดมากถึงมากทีส่ ุด แยกตามกลุ่มอายุ

ทีม่ า: ผลสารวจเยาวชนของ คิด for คิดส์ (2022)

“ไม่เข้าใจว่าเราจะเรียนหนักขนาดนี้ไปเพือ่ อะไร ทาไมเราต้องเรียนพิเศษหรืออ่าน


หนังสือเพิม่ จนมันสะสมเป็นความเครียด ฉันเคยพูดถึงเรือ่ งนี้ให้ผใู้ หญ่ฟัง เขาตอบ
ฉันมาว่า “แค่น้ีจะไปเหนือ่ ยอะไร โตไปเดี๋ยวจะเหนือ่ ยกว่านี้อีก” มันทาให้ฉัน ยิง่
รูส้ กึ บันทอน
่ ความจริง ฉันแค่อยากได้กาลังใจดีๆ จากพวกเขาก็เท่านัน้ [...]
ฉันอยากให้ผู้ใหญ่เข้าใจว่าการทีเ่ ราพูดคาเหล่านัน้ ออกไป ไม่ได้ช่วยทาให้ดขี ้นึ
กลับกันมันอาจแย่ลง เด็กได้รบั ความกดดันเพิม่ ขึ้น และสิง่ ทีเ่ ลวร้ายทีส่ ุดคือ การที ่
เด็กเหล่านัน้ หมดความหวังทีจ่ ะอยู่ต่อบนโลกใบนี้”
– กุลจิรา อายุ 17 ปี

“ฉันถูกก่นด่าและถูกใช้ถ้อยคาต่างๆ นานา ทีท่ าร้ายจิตใจฉันมากกว่าเดิม นัน่ คือ


“พ่อกับแม่ผดิ หวังในตัวลูกมาก” พวกเขายังคงเหมือนเดิมไม่เปลีย่ นไปเลยสักนิด
พวกเขาไม่ถามไถ่สกั คาว่าฉันต้องประสบพบเจอกับเรือ่ งเลวร้า ยและความรู้สกึ
ทรมานอะไรมาบ้าง พวกเขาสนใจเพียงแค่ผลลัพธ์ของมันเท่านัน้ ซึง่ ผลลัพธ์ทวี ่ ่าก็
คือ “ฉันเรียนไม่จบปริญญาโทและกาลังเป็นโรคทางจิตเวชชนิดหนึง่ ”
นันท่ าให้พ่อของฉันหัวเสียมากในตอนแรกจนเอาแต่พดู ซ้ าๆ ว่ารูส้ กึ ผิดหวังและไม่
ภาคภูมใิ จในตัวฉันอีกแล้ว แถมยังบอกอีกว่าฉันเป็นบ้า…ฉันรูส้ กึ เจ็บปวดจนพูดไม่
ออกและถามกับตัวเองว่า นีค่ อื พ่อของฉันคนทีฉ่ ันทาทุกอย่างเพือ่ เขามาตลอดคน
ทีฉ่ นั รักมากๆ จริงๆ ใช่ไหม?
– ปั ณณรัญชุน์ อายุ 24 ปี

34
ปัญหาสุขภาพจิ ตสามารถส่งผลกระทบตลอดชีวิต
ปั ญหาสุขภาพจิตทีเ่ กิดขึ้นกับเด็กและเยาวชนไม่เพียงส่งผลกระทบในชัวระยะเวลาหนึ
่ ่งเท่านัน้
แต่อาจส่งผลต่อทัง้ ชีวติ ของพวกเขา โดยในด้านสุขภาวะทางกาย อาจมีอาการอ่อนเพลีย ประสบปั ญหา
ในการพัก ผ่ อ น เบื่อ อาหาร และน้ า หนัก ลดหรือ เพิ่ม อย่ า งรวดเร็ว ในด้า นพฤติก รรม อาจมีอ าการ
เหม่อลอย กระสับกระส่าย ก้าวร้าว และนาไปสูก่ ารตัดสินใจฆ่าตัวตาย ปั ญหาสุขภาพจิตยังอาจทาให้เด็ก
และเยาวชนซึ่งอยู่ในวัยเรียนรู้ มีประสิทธิภาพการเรียนรู้ลดลง และเสีย่ งหลุดออกจากระบบการศึกษา
มากขึน้ ด้วย39
ทีส่ าคัญ ปั ญหาสุขภาพจิตส่งผลกระทบอย่างมากต่อตัวตนและการให้คุณค่าตนเองของเด็กและ
เยาวชน ทัง้ ยังอาจเป็ นอุปสรรคต่อการบรรลุความฝั นและเป้ าหมายในชีวติ ของพวกเขา จากผลสารวจ
ของ คิด for คิดส์ เป้ าหมายที่ส าคัญ ที่สุ ดในชีว ิต ของเยาวชนอายุ 15-25 ปี ส่ว นใหญ่ ค ือ การประสบ
ความสาเร็จในด้านการศึกษาและการงาน (ร้อยละ 85) อย่างไรก็ดี เยาวชนร้อยละ 8.1 มองว่าปั ญหา
สุขภาพจิตจะเป็ นอุปสรรคสาคัญที่สุ ดต่อการบรรลุเ ป้ าหมายดังกล่าวของพวกเขา รองจากภาระทาง
การเงิน (ร้อยละ 52.2) และการมีความสามารถไม่เพียงพอ (ร้อยละ 19.7)

ไม่ใช่เด็กทุกคนที่สามารถเข้าถึงบริ การสุขภาพจิ ตได้


เด็กและเยาวชนไทยจานวนมากที่กาลังเผชิญกับความเครียดและความเสี่ยงทางสุขภาพจิต
เหล่านี้ควรได้รบั การรักษาดูแลอย่างเร่งด่วน เพื่อป้ องกันผลกระทบทัง้ ด้านสุขภาวะ การเรียนรู้ และการ
ดาเนินชีวติ ในระยะยาว ซึ่งในปี 2022 ก็พบว่า มีเด็กและเยาวชนที่ ขอเข้ารับบริการโดยไม่มผี ู้ปกครอง
เพิม่ ขึ้นจากเดิม 1.5 เท่า ในจานวนนี้ได้รบั การวินิจฉัยว่าเป็ นโรคซึมเศร้ามากถึงร้อยละ 70 รวมถึงมี
ความคิดอยากฆ่าตัวตายเพิม่ ขึ้น 2.7 เท่า 40 อย่างไรก็ตาม กาลังบุคลากรและทรัพยากรด้านจิตเวชของ
ประเทศไทยยังไม่เพียงพอที่จะทาให้เด็กและเยาวชนที่เผชิญปั ญหาเหล่านี้สามารถเข้าถึงบริการการ
รักษาได้อย่างครอบคลุม
ในปี 2021 กรมสุขภาพจิต รายงานว่า ประเทศไทยมีจิตแพทย์เฉพาะทางด้านเด็กและวัย รุ่น
กระจายตัว อยู่ใ น 55 จังหวัด มีศ ัก ยภาพดูแลเด็กและเยาวชนครอบคลุ ม 3,444 โรงเรียน 41 คิดเป็ น
ร้อ ยละ 10.9 ของจ านวนโรงเรีย นทัง้ หมดในประเทศเท่ า นั น้ ทัง้ นี้ กรุ ง เทพมหานครเป็ น พื้น ที่ท่ีมี
โรงพยาบาลซึ่งมีจติ แพทย์เด็กและวัยรุ่นประจาอยู่มากทีส่ ุดคือ 53 แห่ง อีก 54 จังหวัดมีเพียงจังหวัดละ
1 แห่งโดยเฉลีย่ ในขณะทีเ่ ด็กและเยาวชนในอีก 22 จังหวัดยังไม่สามารถเข้ารับบริการจากจิตแพทย์ เด็ก
ในจังหวัดของตนได้42 แม้กระทรวงสาธารณสุขมีแผนจะเพิม่ กาลังจิตแพทย์เด็กเป็ น 63 จังหวัด ภายใน
ปี 2025 แต่เป้ าหมายนี้กอ็ าจไม่เพียงพอและล่าช้าจนไม่ทนั ต่อความต้องการเข้ารับบริการสุขภาพจิตของ
เด็กและเยาวชนไทยทีเ่ พิม่ ขึน้ อย่างมาก

35
ต้องทาบริ การสุขภาพจิ ตให้เข้าถึงได้ง่ายขึ้น เพิ่ มบุคลากรให้เพียงพอ
สถานการณ์สุขภาพจิตของเด็กและเยาวชนไทยทีย่ ่าแย่ลงท่ามกลางวิกฤตต่างๆ ในช่วงปี ทผ่ี ่าน
มาเป็ นประเด็นที่รฐั บาลควรให้ความสาคัญและเร่งแก้ไข ในขัน้ แรก ควรส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนที่
เผชิญปั ญหาสุขภาพจิตสามารถเข้าถึงบริการสุขภาพจิต ที่จาเป็ นได้รวดเร็วและง่ายที่สุด ทัง้ การเพิม่
บริการสุขภาพจิตอย่างน้อยให้กระจายตัวครบทุกจังหวัด และควรตัง้ เป้ าให้เข้าถึงได้ใกล้ยงิ่ ขึน้ เช่น ระดับ
อาเภอ หรือระดับตาบล รวมถึงเร่งผลักดันให้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าครอบคลุมการรักษาโรค
ทางจิตเวช ลดภาระค่าใช้จ่ายในการรักษาให้น้อยทีส่ ุด ตลอดจนเพิม่ ทางเลือกการรักษาให้หลากหลาย
ขึน้ เช่น บริการให้คาปรึกษาทางออนไลน์ ผ่านการร่วมมือกับหน่วยงานภาคประชาสังคมหรือเอกชน
นอกจากนัน้ รัฐบาลควรเร่งแก้ปัญหาการขาดแคลนบุคลากรด้านสุขภาพจิตให้เพียงพอต่อความ
ต้องการเข้ารับบริการของเด็กและเยาวชนทีเ่ พิม่ มากขึ้น ทัง้ เพิม่ กาลังจิตแพทย์เด็กและวัยรุ่น พยาบาล
จิตเวช รวมถึงวิชาชีพอื่นๆ ที่สามารถทาหน้าที่ให้คาปรึกษาและบาบัดเบื้องต้นได้ เช่น นักจิตวิทยา ที่
ปรึกษาด้านสุขภาพจิต และนักบาบัด เป็ นต้น
ท้ายทีส่ ุด การเข้ารับบริการสุขภาพจิตยังคงมีภาพลักษณ์ทไ่ี ม่ดแี ละทาให้เกิดการตีตรา ทาให้ผมู้ ี
อาการไม่กล้าไปปรึกษาหรือรักษา รัฐบาลควรรณรงค์สร้างความเข้าใจเรื่องสุขภาพจิตอย่างต่อเนื่อง ใน
แง่การเสริมสร้างเยาวชนให้รวู้ ธิ จี ดั การอารมณ์และความเครียด ตระหนักในคุณค่าของตนเอง และพร้อม
ขอความช่วยเหลือเมื่อไม่สามารถรับ มือกับสภาวะทางจิตใจทีเ่ ปลี่ยนไปได้ ทีส่ าคัญกว่านัน้ รัฐบาลต้อง
ส่งเสริมความเข้าใจเรื่องวิธกี ารสื่อสารและการรับมือกับผู้ป่วยทีเ่ หมาะสม ให้แก่สถาบันทีใ่ กล้ชดิ กับเด็ก
และเยาวชนโดยเฉพาะครอบครัว ชุมชน และครู เพื่อสร้างสิง่ แวดล้อมที่เป็ นมิตรต่อสุขภาพจิตของเด็ก
และเยาวชน

36
ความฝันที่ไม่มีคาตอบ
ในหมู่บ้านเล็กๆ ริมแม่น้ าโขง ผูค้ นส่วนใหญ่ทอ่ี ยู่ทน่ี ัน่ เป็ นคนแก่และเด็ก คนวัยทางานบางส่วนเข้ามา
ทางานทีก่ รุงเทพฯ เหลือวัยรุ่นอยู่ประปราย
แอน (นามสมมติ) คือหนึ่งในวัยรุ่นทีย่ งั อยู่ทห่ี มู่บ้านนัน้ เธอเกิดทีน่ ่ี อยู่มาจนถึงวันนี้ทอ่ี ายุ 19 ปี แอน
เรียนชัน้ ประถมในโรงเรียนเล็กๆ ของหมู่บา้ น แล้วเข้าไปเรียนชัน้ มัธยมต้นในตัวอาเภอทีห่ ่างออกไปหลายสิบกิโล
ฯ พอจบชัน้ ม.ต้น แอนก็ตดั สินใจไม่เรียนต่อโรงเรียนเดิม แต่เลือกเรียน กศน. จนจบชัน้ มัธยมแทน ตอนนี้เธออยู่
บ้านคอยดูแลพ่อแม่ ไม่ได้ทาอาชีพอะไรจริงจัง
แอนเป็ นคนพูดน้อย และมักจะขลุกตัวอยู่กบั เด็กๆ แถวบ้าน เพราะไม่ค่อยสนิทกับเพื่อนวัยเดียวกันใน
หมู่บา้ น มีเพื่อนสนิททีเ่ คยเรียนด้วยกันตอน ม.ต้น ทีอ่ ยู่คนละหมู่บา้ น แต่กไ็ ม่ได้ไปมาหาสู่กนั บ่อยนัก
“หนูสนิทกับคนหนึ่ง เป็ นรุ่นพี่ แต่เขาไปทางานแล้วทีก่ รุงเทพฯ เลยไม่เหลือใคร” แอนบอก
ก่อนหน้านัน้ ในวัยเด็ก แอนมีความฝั นว่าอยากเข้ากรุงเทพฯ แต่พอไปเจอจริงๆ ตอนไปอยู่กบั พีส่ าวที่
ทางานทีก่ รุงเทพฯ แอนอยากกลับบ้านทันที
“กรุงเทพฯ รถเยอะ แล้วไปอยู่กบั พีส่ าวกว่าจะได้นอน รถก็เยอะ เสียงก็ดงั เลยไม่ชอบ” แอนเล่า
“พี่เขาก็คงไม่ชอบแหละ แต่ว่าต้องหาเงิน ส่วนหนู อยู่บ้านดูแลพ่อแม่ ตอนแรกหนู บอกว่าจะไป แต่พ่ี
บอกว่าไม่ตอ้ งไปหรอก ให้อยู่ดูแลพ่อแม่นัน่ แหละ แม่กเ็ ทียวไปหาหมอ เป็ นหลายโรค พ่อก็ขบั รถมอ’ไซค์ไม่เป็ น
หนูขบั รถมอ’ไซค์เป็ นคนเดียวในบ้าน เลยต้องคอยขับรถพาแม่ไปหาหมอในเมือง”
รายได้หลักของทีบ่ ้านมาจากเงินที่พส่ี าวไปทางานทีก่ รุงเทพฯ ส่งกลับมาให้ รวมถึงค่ารักษาพยาบาล
ด้วย ส่วนแอนทีเ่ ป็ นน้องสาวต้องคอยดูแลพ่อแม่ทบ่ี ้านเกิด แววตาและวิธพี ูดของแอนเรียบนิ่ง ไม่เปิ ดเผยความ
เจ็บปวด ไม่แม้กระทังฉายแววตาของความสุ
่ ขความหวัง ราบเรียบนิ่งลึกเหมือนแม่น้าโขงไหลเอื่อยในวันที่ไร้ฝน
เรื่องกังวลเดียวของแอนตอนนี้คอื กลัวแม่ป่วย “ไม่อยากให้แม่ยกของหนักๆ กลัวทรุดลงอีก” แอนบอก
เพราะเคยผ่านช่วงเวลาทีแ่ ม่ป่วยหนักนอนโรงพยาบาลกว่าหนึ่งเดือน โชคดีทต่ี อนนี้แม่อาการดีขน้ึ มากแล้ว
ในวันที่เราคุยกัน พ่อของแอนไปไร่ ส่วนแม่ล้างหน่ อไม้อยู่ทบ่ี ้าน ถ้าหาได้เยอะก็มเี อาไปขายบ้าง แต่
ส่วนมากก็เก็บไว้กนิ เอง ส่วนแอนนัง่ เล่นกับหลานวัยเตาะแตะ ชีวติ คืนวันผันผ่านไปแบบนี้วนั แล้ววันเล่า เมื่อถูก
ถามถึงความต้องการในชีวติ แอนเงียบไปนาน ก่อนจะยิม้ แล้วบอกว่า “ตอบไม่ได้”
เบื้องหลังรอยยิม้ และแววตานิ่งเฉยนัน้ ยากจะเดาได้ว่าจริงๆ เธอคิดอะไรอยู่ อาจสุขมาก ทุกข์น้อย หรือ
อาจไม่รสู้ กึ อะไรเลย
แอนยังคงมีชวี ติ วัยรุ่นในโลกอินเทอร์เน็ต เธอดูซีรีส์ ดูคลิปยูทูบ ท่องโซเชียล และเล่นเกมออนไลน์
ขณะทีใ่ นชีวติ จริงก็ยงั มีหน้าทีช่ ่วยดูแลพ่อแม่ และคอยช่วยงานเท่าทีท่ าได้ แม้เพื่อนวัยเดียวกัน จะมีน้อย แต่แอน
ก็ดจู ดั การกับภาวะแบบนัน้ ได้ดี

ดูเพิ่มเติม : ปาณิส โพธิศ์ รีว งั ชัย , “กวดวิช า กวดขัน กอดความฝั น เกลีย ดความจริง: ทาความรู้จักความเจ็บปวดของวัย รุ่น ที่
หลากหลาย,” The101.world, 29 ตุลาคม 2020, https://www.the101.world/teenage-pain/.

37
5
เด็กและเยาวชนมีส่วนร่วมทางการเมือง
แต่ภาครัฐสกัดกัน้ ด้วยความรุนแรงมากขึ้น

ในช่วงที่ผ่านมา เด็กและเยาวชนสนใจและวิพากษ์ปัญหาการละเมิดสิทธิเสรีภาพและความไม่
เป็ น ธรรมในสัง คมมากขึ้น ทัง้ ประเด็น ใกล้ต ัว อย่ า งการปิ ด กัน้ ทางความคิด และการละเมิด สิท ธิใ น
สถานศึกษา และประเด็นทางสังคมและการเมืองระดับมหภาค เช่น โครงสร้างและวัฒนธรรมทางสังคม
แบบมีลาดับชัน้ ความเหลื่อมล้า และระบอบการเมืองทีไ่ ม่เป็ นประชาธิปไตย ด้วยเหตุน้ี เด็กและเยาวชน
มหาศาลจึงออกมามีสว่ นร่วมทางการเมืองเพื่อเรียกร้องการเปลีย่ นแปลง แต่รฐั บาลกลับพยายามสกัดกัน้
โดยกดปราบพวกเขาด้วยความรุนแรงและเครื่องมือทางกฎหมายมากยิง่ ขึน้

เด็กและเยาวชนตื่นตัวทางการเมือง
ในช่วงราว 2 ปี ท่ผี ่านมา เด็กและเยาวชนตื่นตัวทางการเมืองมากที่สุดเท่าที่เคยปรากฏในรอบ
หลายทศวรรษ จากผลส ารวจของ คิด for คิดส์ ในเดือ นพฤษภาคม 2022 เยาวชนอายุ 15-25 ปี ถึง
ร้อยละ 68.8 รายงานว่าสนใจติดตามการเมืองค่อนข้างมากถึงมากที่สุด ยิง่ ไปกว่านัน้ เกือบทัง้ หมดยัง
เห็นว่าสิทธิเ สรีภ าพทางการเมือ ง อันได้แก่ เสรีภาพในการแสดงออก (ร้อ ยละ 82.9) เสรีภาพทาง
ความคิด (ร้อยละ 82.7) เสรีภาพในการรวมตัวและการชุมนุ ม (ร้อยละ 79.2) และสิทธิท่จี ะมีส่วนร่วม
ทางการเมือ ง (ร้อ ยละ 75.8) ส าคัญ ส าหรับ ตนเองค่ อ นข้า งมากถึง มากที่สุ ด โดยเยาวชนในเขต
กรุงเทพมหานครและปริมณฑลตื่นตัวทางการเมืองมากกว่าในจังหวัดอื่น ความตื่นตัวนี้ยงั มีแนวโน้ม
เพิม่ ขึน้ ตามระดับรายได้ครัวเรือนและระดับการศึกษาทีส่ งู ขึน้ ด้วย

“ผมเชือ่ มั ่นในความเปลีย่ นแปลง [...] แต่ประชาชนจะต้องเรียกร้องและต่อสูก้ บั ผูม้ ี


อานาจถึงได้ความเปลีย่ นแปลงครับ”
– กษิธฏั ฐ์ อายุ 18 ปี

38
แผนภูมทิ ่ี 5.1 สัดส่วนของเยาวชนอายุ 15-25 ปี ทส่ี นใจติดตามการเมืองค่อนข้างมากถึงมากทีส่ ุด แยก
ตามทีอ่ ยู่ปัจจุบนั ควินไทล์รายได้ครัวเรือน และระดับการศึกษา

ทีม่ า: ผลสารวจเยาวชนของ คิด for คิดส์ (2022)

เยาวชนเน้ น มี ส่ ว นร่ ว มทางการเมื อ งแบบเป็ นปั จ เจก ไม่ ผ่ า นองค์ก รจัด ตัง้ และ
ตอบสนองสถานการณ์เฉพาะเรื่อง
กระแสความตื่นตัว ทางการเมือ งข้า งต้นถู กแสดงออกผ่ า นการมีส่ว นร่ว มทางการเมือ งของ
เยาวชนอย่างกว้างขวาง กระตือรือร้น และทรงพลังทัง้ ในโลกจริงและโลกออนไลน์ จากผลสารวจของ
คิด for คิดส์ เยาวชนอายุ 15-25 ปี ถงึ ร้อยละ 71.7 รายงานว่าเคยมีส่วนร่วมในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง
โดยมักเคยมีสว่ นร่วมในรูปแบบทีเ่ ป็ นปั จเจก ไม่ผ่านองค์กรจัดตัง้ และตอบสนองสถานการณ์เฉพาะเรื่อง
ในยามทีต่ อ้ งการ เช่น การแสดงสัญลักษณ์ทางการเมือง (ร้อยละ 44.8) การลงชื่อในข้อเรียกร้องออนไลน์
(ร้อยละ 43.1) การซื้อหรืองดซื้อสินค้าด้วยเหตุผลทางการเมือง (ร้อยละ 42.7) และการเข้าชื่อเสนอร่าง
กฎหมาย (ร้อยละ 28.6) มากกว่ามีส่วนร่วมในรูปแบบรวมกลุ่มและผ่านองค์กรจัดตัง้ เช่น การชุมนุ ม
ประท้วง (ร้อยละ 19.9) การซื้อสินค้าหรือบริจาคเงินให้พรรคการเมืองหรือองค์กรประชาสังคม (ร้อยละ
18.2) การร่วมกิจกรรมของพรรคการเมือง (ร้อยละ 11.6) และการเป็ นสมาชิกพรรคการเมือง (ร้อ ยละ
8.2)
ลัก ษณะการมีส่ ว นร่ ว มทางการเมือ งในรู ป แบบดัง กล่ า วปรากฏชัด ในกลุ่ ม เยาวชนเขต
กรุงเทพมหานครและปริมณฑลมากกว่า ขณะที่เยาวชนจังหวัดอื่นจะเคยร่วมกิจกรรมและเป็ นสมาชิก
พรรคการเมือง ตลอดจนร่วมกิจกรรมระดับท้องถิน่ เช่น การเข้าประชุมเพื่อจัดการปั ญหาและการจัดตัง้
กลุ่มเพือ่ ลงมือแก้ปัญหาในท้องถิน่ เป็ นสัดส่วนทีส่ งู กว่าเยาวชนในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

39
แผนภูมทิ ่ี 5.2 สัดส่วนของเยาวชนทีเ่ คยมีสว่ นร่วมทางการเมืองในแต่ละรูปแบบ แยกตามทีอ่ ยู่ปัจจุบนั

ทีม่ า: ผลสารวจเยาวชนของ คิด for คิดส์ (2022)

นอกจากนี้ เยาวชนจานวนมากยังมีส่วนร่วมทางการเมืองผ่านสื่อสังคมออนไลน์ โดยร้อยละ


67.5 เคยแสดงความรู้สกึ แสดงความเห็น หรือแชร์โพสต์เกี่ยวกับการเมือง และร้อยละ 35.5 เคยเขียน
โพสต์เกี่ยวกับการเมืองด้วยตนเอง ในแพลตฟอร์มทวิตเตอร์ (Twitter) 4 ใน 10 แฮชแท็ก (hashtag) ที่
ถูกทวีต (tweet) มากที่สุดในช่วงหนึ่งปี ท่ผี ่านมาก็เป็ นหัวข้อเกี่ยวกับการชุมนุ มทางการเมืองในเดือน
กรกฎาคม-สิงหาคม 2021 โดยถูกทวีตรวมกันราว 28.2 ล้านครัง้ 43
เยาวชนทีเ่ คลื่อนไหวผ่านสือ่ สังคมออนไลน์เหล่านี้ยงั มักมีสว่ นร่วมทางการเมืองในรูปแบบอื่นใน
โลกจริงด้วย โดยเยาวชนที่เคยเขียนโพสต์เกี่ยวกับการเมืองด้วยตนเองร้อยละ 95.8 เคยมีส่วนร่วมใน
รูปแบบอื่น เทียบกับกลุ่มทีไ่ ม่เคยเขียนโพสต์ ซึ่งมีประสบการณ์ทางการเมืองแบบอื่นเพียงร้อยละ 58.4
โดยนัยนี้ พลังการมีสว่ นร่วมของเยาวชนในโลกออนไลน์จงึ มีศกั ยภาพทีจ่ ะนาไปสูก่ ารปฏิบตั ใิ นโลกจริง

เยาวชนประท้วงเรียกร้องทัง้ ผลประโยชน์ เฉพาะกลุ่มและผลประโยชน์ ร่วมของสังคม


หนึ่งในรูปแบบการมีส่วนร่วมทางการเมืองของเด็กและเยาวชนที่สาคัญคือการชุมนุ มประท้วง
จากข้อมูลของม็อบดาต้าไทยแลนด์ (Mob Data Thailand) เกิดการชุมนุมประท้วงในประเทศอย่างน้อย
1,838 ครัง้ ในช่วงเดือนมกราคม 2021-พฤษภาคม 2022 ซึง่ จานวนมากมีเด็กและเยาวชนเป็ นผูจ้ ดั หรือมี
ส่วนร่วม44

40
การชุมนุ มประท้ว งของเด็ก และเยาวชนเรียกร้อ งประเด็นหลากหลายทัง้ ที่เ ป็ นผลประโยชน์
เฉพาะกลุ่มของผูช้ ุมนุมเองและผลประโยชน์ร่วมของสังคม ตัวอย่างกลุ่มการชุมนุม เช่น
• กลุ่มนักเรียนเลว: เรียกร้องประเด็นปั ญหาในระบบการศึกษา และสิทธิเด็กและเยาวชน ผูช้ ุมนุม
กลุ่มหลักเป็ นนักเรียนระดับชัน้ มัธยมศึกษา45
• กลุ่มทะลุแก๊ส: เรียกร้องประเด็นปั ญหาปากท้อง การใช้ความรุนแรงของเจ้าหน้าทีร่ ฐั และการขับ
ไล่รฐั บาล ผูช้ ุมนุมกลุ่มหลักเป็ นเด็กและเยาวชนในครัวเรือนรายได้ต่าทีห่ ลุดจากระบบการศึกษา
และการจ้างงาน46
• กลุ่มทะลุฟ้า: เรียกร้องประเด็นหลากหลาย ครอบคลุมทัง้ ประชาธิปไตย การพัฒนา สิง่ แวดล้อม
และการขับไล่รฐั บาล47
• กลุ่ ม เยาวชนปลดแอก และกลุ่ ม แนวร่ ว มธรรมศาสตร์แ ละการชุ ม นุ ม : เรีย กร้อ งให้ป ฏิรู ป
รัฐธรรมนูญและสถาบันพระมหากษัตริยใ์ ห้เป็ นประชาธิปไตย และมุ่งขับไล่รฐั บาล ผูช้ ุมนุมกลุ่ม
หลักเป็ นนิสติ นักศึกษาและคนรุ่นใหม่48
• กลุ่มทะลุวงั : เน้นสอบถามความเห็นสาธารณะเกี่ยวกับปั ญหาประชาธิปไตย โดยเฉพาะอย่ างยิง่
สถาบันพระมหากษัตริย49์

เด็กและเยาวชนขาดช่องทางการมีส่วนร่วมที่เป็ นทางการและมีความหมาย
การชุมนุมประท้วงทีเ่ กิดขึ้นอย่างต่อเนื่องสะท้อนว่าเด็กและเยาวชนขาดช่องทางการมีส่วนร่วม
ในกระบวนการทางการเมืองและนโยบายสาธารณะที่เป็ นทางการและมีความหมาย โดยเยาวชนไม่มี
สิทธิดารงต าแหน่ งเป็ นผู้ก าหนดนโยบายเอง 50 อีกทัง้ เยาวชนอายุต่ ากว่า 18 ปี บริบูรณ์ ยงั ไม่มีส ิท ธิ
เลือกตัง้ เข้าชื่อต่อรัฐสภาและสภาองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ และมีส่วนร่วมทางตรงด้วยวิธอี ่นื 51 เมื่อ
ประกอบกับการทีเ่ ยาวชนมีทรัพยากรทางการเมืองน้อย จึงสามารถมีอทิ ธิพลต่อกระบวนการนโยบายได้
จากัดมาก
ขณะเดีย วกัน รัฐ บาลก็แ ทบไม่ เ ปิ ด ช่ อ งทางการมีส่ ว นร่ ว มเฉพาะส าหรับ เด็ก และเยาวชน
คณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ ซึ่งเป็ นคณะกรรมการนโยบายของรัฐบาล
เพีย งชุ ด เดีย วที่ มีผู้ แ ทนเยาวชนร่ ว มเป็ นกรรมการ ถู ก เรีย กประชุ ม เพีย ง 2 ครัง้ ระหว่ า งเดื อ น
มกราคม 2021-มิถุนายน 202252
นอกจากนี้ สภาเด็กและเยาวชน 8,781 แห่ง ซึ่งเป็ นองค์กรผู้แทนเด็กและเยาวชนที่กฎหมาย
รับรอง ยังขาดความเป็ นตัว แทนที่แ ท้จริง ไม่มีอิส ระอย่างเต็มที่ มีอ านาจหน้ าที่จากัด และไม่ได้รบั
งบประมาณสนับ สนุ น อย่ า งเพีย งพอ โดยสภาได้ร ับ งบอุ ด หนุ น เฉลี่ย เพีย ง 18,353 บาทต่ อ แห่ ง ใน
ปี ง บประมาณ 2564 และลดลงเหลือ 14,302 บาทต่ อ แห่ ง ในปี ง บประมาณ 256553 ส่ง ผลให้ส ภาไม่
สามารถเป็ นช่องทางการมีสว่ นร่วมทีม่ คี วามหมายสาหรับเยาวชนได้จริง

41
นักเรียนบนเวที #อีสานสิ บ่ทน กับสังคมที่เขาบอกว่าคน ‘โง่ จน เจ็บ’

การชุ ม นุ ม #อี ส านสิ บ่ ท น วัน ที่ 22 ก.ค. 2020 ณ จัง หวัด มหาสารคาม ที่ จ ัด โดยแนวร่ ว มนิ สิต
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (มมส.) เพื่อประชาธิปไตย นอกจากข้อเรียกร้องต่อรัฐบาลจะถูกประกาศก้อง นักศึกษา
และประชาชนหลายคนยังผลัดเปลี่ยนกันขึ้นเวทีเพื่อปราศรัยวิพากษ์วจิ ารณ์สงั คมการเมืองไทย หนึ่งในนัน้ คือ
‘ข้าว’ (นามสมมติ) เด็กผูห้ ญิงตัวผอมบางที่ใส่ชุดนักเรียนขึน้ ไปบนเวที ถ้อยคาของเธอมัดใจผูร้ ่วมชุมนุ ม พิสูจน์
ได้จากเสียงปรบมือและเสียงเชียร์ทไ่ี ด้รบั
สาหรับเธอแล้ว การแสดงความเห็นเป็ นการลดความสัมพันธ์เชิงอานาจทัง้ ในสังคมใหญ่และในโรงเรียน
การเรียนการสอนที่ปิดกัน้ การตัง้ คาถาม วิพากษ์วจิ ารณ์ และแสดงความคิดเห็นก็เป็ นภาพสะท้อนสังคมใหญ่
สาหรับเธอ แม้จะสนใจวิชาสังคมศึกษามาก แต่ขา้ วก็รสู้ กึ ว่าวิชานี้กลายเป็ น ‘เครื่องมือของรัฐ’ การเรียนการสอน
ขาดการวิพากษ์และถกเถียงอย่างมีเหตุผล กลับเป็ นวิชาทีเ่ น้นชี้นา ท่องจา ทาตาม ปิ ดกัน้ ความสงสัยของเด็กๆ
และพยายามหล่อหลอมให้เด็กเชื่อตามสิง่ ที่ ‘ผูใ้ หญ่’ ต้องการ
ด้วยเหตุน้ี นอกจากการขึน้ เวทีปราศรัย เธอจึงตัดสินใจจัดตัง้ ชมรมในโรงเรียนเพื่อสร้างพืน้ ที่ถกเถียง
ประเด็นสังคม จัดกิจกรรมชุมนุ มกลางลานโรงเรียน และเพื่อให้เพื่อนๆ รุ่นพี่รุ่นน้อง ศิษย์เก่า คุณครู ไปจนถึง
ผู้บริหาร ได้มาแลกเปลี่ยนประเด็นสังคมต่างๆ ร่วมกัน ข้าวมีความตัง้ ใจจะทาให้การส่งเสียงแสดงความเห็น
กลายเป็ นวัฒนธรรมทีท่ ุกคนเคยชิน สนุก และเป็ นพืน้ ฐานปฏิบตั ขิ องสังคม
“โรงเรียนก็เหมือนกระจกทีจ่ ะสะท้อนความเป็ นอยู่ของรัฐ ครูเหมือนคนที่ใช้อานาจ นักเรียนก็เหมือน
ประชาชนทีก่ าลังถูกกดทับโดยอานาจ พอเด็กได้มพี น้ื ทีพ่ ูดคุยกัน จะทาให้เด็กตระหนักว่านี่มนั ไม่แฟร์ เช่น กฎ
ของโรงเรียน บางอย่างครูไม่ต้องทาตาม แต่นักเรียนต้องทาตาม การแสดงความคิดเห็นจะทาให้เราเห็นว่า กฎ
ไม่ได้ตกลงมาจากฟากฟ้ า กฎเป็ นสิง่ ทีเ่ ราสามารถพูดคุยถกเถียงและเปลีย่ นแปลงให้เข้ากับสถานการณ์ได้”
ในวัน นี้ ท่ีสัง คมที่เ ป็ น อยู่ผ ลัก ใครๆ ออกจากความฝั น ในทุ ก เมื่อ เชื่อ วัน แต่ ข้า วก็ย ัง ไม่ เ คยหยุ ด ตัง้
ความหวังและความฝั นต่อสังคมนี้ เธอยังยืนยันหนักแน่นตลอดจนจบการสัมภาษณ์ว่าความเห็นของเธอนัน้ ไม่ได้
พิเศษ และความฝั นของเธอก็ไม่ได้หรูหรา ฝั นทีม่ ตี ่อประเทศไทยของเธอเรียบง่ายอย่างถึงทีส่ ุด
“เราแค่ต้องการประเทศที่เห็นประชาชนเป็ นมนุ ษย์มากขึ้น มีพ้นื ที่สาธารณะเพื่อที่จะได้เสพได้ช่นื ชม
ความงามความรู้โดยไม่ต้องเสียสตางค์ ประเทศที่เอื้อให้คนรักกันได้มากขึ้น และเป็ นประเทศที่ส ามารถแสดง
ความคิดเห็น มีสทิ ธิเสรีภาพในการกาหนดทัง้ ตัวตนและร่างกายของตัวเองได้ แค่น้ี เราว่ามันไม่ใช่ความฝั นที่
ยิง่ ใหญ่อะไรมากมาย เป็ นความฝั นทีเ่ ราร่วมกันสร้างได้จริง”
ดูเพิม่ เติม: ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์ , “สังคมไทยในมือม็อบรุ่นเล็ก: การต่อสู้ของเด็กมัธยมที่มอี นาคตเป็ นเดิมพัน ,” The101.world,
3 กันยายน 2020, https://www.the101.world/students-movement/.

42
รัฐบาลกดปราบการมีส่วนร่วมของเด็กและเยาวชนอย่างละเมิ ดสิ ทธิ มนุษยชน
แม้จะมีสาเหตุพ้นื ฐานดังทีก่ ล่าวมาข้างต้น แต่รฐั บาลกลับจัดการกับการมีส่วนร่วมของเด็กและ
เยาวชนโดยใช้อาวุธและเครื่องมือทางกฎหมายกดปราบอย่างละเมิดสิทธิมนุษยชน ในปี 2021 รัฐบาลใช้
กาลังสลายการชุมนุ มประท้วงมากถึง 60 ครัง้ เป็ นเหตุให้มเี ยาวชนเสียชีวติ 1 คน คือ วาฤทธิ ์ สมน้อย
อายุ 15 ปี และบาดเจ็บอีกอย่างน้อย 88 คน54
รัฐบาลยังดาเนินคดีเกี่ยวกับการแสดงออกและการชุมนุ มทางการเมืองกับเยาวชนอายุต่ ากว่า
18 ปี แล้วอย่างน้อย 279 คนระหว่างเดือนมกราคม 2021-พฤษภาคม 2022 โดย 210 คนถูกดาเนินคดี
จากการชุ ม นุ ม ของกลุ่ ม ทะลุ แ ก๊ ส บริเ วณทางแยกดิน แดง กรุงเทพมหานคร ในช่ว งเดือ นสิง หาคม -
ตุลาคม 2021 และ 16 คนถูกดาเนินคดีดว้ ยข้อกล่าวหาหมิน่ พระบรมเดชานุภาพ ตามประมวลกฎหมาย
อาญา มาตรา 11255

การกดปราบไม่ช่วยแก้ปัญหา แต่เพิ่ มความขัดแย้ง


การกดปราบและไม่เปิ ดโอกาสให้เด็กและเยาวชนมีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างมีความหมาย
ส่งผลให้ปัญหาและความต้องการของเด็กและเยาวชนไม่ถูกตอบสนอง อันเป็ นเหตุให้พวกเขาไม่สามารถ
พัฒนาตนเองและสังคมตามความฝั นได้อย่างเต็มที่ จานวนไม่น้อยยังต้องบาดเจ็บ ถูกจาคุก หรือสิน้ หวัง
กับประเทศ โดยจากผลสารวจของ คิด for คิดส์ เยาวชนอายุ 15-25 ปี ถงึ ร้อยละ 65.0 เห็นว่าการย้ายไป
อยู่ต่างประเทศเป็ นเป้ าหมายชีวติ ทีส่ าคัญค่อนข้างมากถึงมากทีส่ ุด ในแง่น้ี อาจส่งผลให้ประเทศสูญเสีย
ทรัพยากรมนุษย์ทม่ี ศี กั ยภาพ
ยิง่ ไปกว่านัน้ การตอบโต้การมีส่วนร่วมทางการเมืองของเยาวชนเช่นนี้ยงั จะซ้าเติมความไม่
ลงรอยระหว่างรุ่น เร่งความขัดแย้ง และทาลายความกลมเกลียวในสังคม ขณะเดียวกันก็กระตุน้ การแบ่ง
ขัว้ ทางการเมืองให้รุนแรงยิง่ ขึน้ ส่งผลกระทบต่อเสถียรภาพและความชอบธรรมของระบอบการเมืองใน
ระยะยาว

“เพือ่ บรรลุถงึ จุดประสงค์นัน้ มันก็ต้องแลกมาด้วยชีวติ ของเพือ่ นเรานับร้อยทีต่ ้อง


บาดเจ็บล้มตายเป็ นผักปลา พวกเราต้องถูกกล่าวหาว่าชังชาติ เพียงเพราะเรา
อยากเห็นประเทศนี้ดขี ้นึ เพือ่ นร่วมอุดมการณ์หลายคนทีร่ อดชีวติ มาได้กเ็ ริม่ ถอด
ใจและเริม่ หาลู่ทางในการเริม่ ต้นชีวิตใหม่ยงั ต่างแดน เนือ่ งจากคิดว่าขืนอยู่ทนี ่ ี ่
ต่อไปก็คงต้องทนใช้ชวี ติ จมอยู่กบั ปั ญหาเรื้อรังทีไ่ ม่อาจแก้ไขอะไรได้ [...] สูไ้ ปตาย
เอาดาบหน้า เสีย่ งชะตาชีวติ กับประเทศอืน่ ยังจะดีเสียกว่า และฉันคิดว่าอีกไม่นาน
ตัวฉันก็คงจะตามพวกเขาไปเหมือนกัน”
– กฤษกร อายุ 21 ปี

43
รัฐบาลต้องหยุดกดปราบและขยายช่องทางการมีส่วนร่วมที่มีความหมาย
การกดปราบการมีส่วนร่วมทางการเมืองของเด็กและเยาวชนอย่างรุนแรงดังที่ปรากฏตลอด
ปี 2021-2022 ไม่ใช่ทางออกจากวิกฤตทัง้ สาม และอาจนาไปสู่วกิ ฤตสังคมและการเมืองที่ใหญ่ข้นึ ใน
อนาคต รัฐบาลควรหยุดใช้อาวุธและเครื่องมือทางกฎหมายคุกคามเด็กและเยาวชนทีเ่ คลื่อนไหวทางการ
เมืองในทันที พร้อมทัง้ ขยายช่องทางการมีสว่ นร่วมทีม่ คี วามหมายสาหรับเด็กและเยาวชนในทุกระดับ
ในการเมืองระดับชาติและท้องถิน่ รัฐควรลดอายุผู้มสี ทิ ธิดารงตาแหน่ งทางการเมือง ผู้มสี ทิ ธิ
เลือกตัง้ และผู้มสี ทิ ธิในการมีส่วนร่วมทางการเมืองทางตรงวิธอี ่นื 56 พร้อมทัง้ ขยายช่องทางการมีส่ว น
ร่วมใหม่ให้สอดคล้องกับความสนใจและพฤติกรรมการมีส่วนร่วมของเด็กและเยาวชนแต่ละกลุ่ม เช่น
การเข้าชื่อ ต่อ รัฐสภา องค์ก รปกครองส่ว นท้อ งถิ่น และหน่ ว ยงานรัฐแบบออนไลน์ การจัดกิจ กรรม
ปรึกษาหารือแบบสร้างสรรค์ การจัดทางบประมาณแบบมีส่วนร่วม และการให้เสนอโครงการเพื่อขอรับ
งบประมาณไปดาเนินการเอง
ในระดับเด็กและเยาวชนโดยเฉพาะ ควรกาหนดให้ส ภาเด็กและเยาวชนมาจากการเลือ กตัง้
ได้รบั งบประมาณอย่างเพียงพอ และสามารถทางานได้อย่างเป็ นอิสระ ให้มผี ู้แทนของสภาและผู้แทน
เยาวชนอื่นในคณะกรรมการนโยบายทีเ่ กีย่ วข้อง และให้รฐั บาลต้องส่งร่างนโยบายสาคัญให้สภาพิจารณา
ให้ความเห็น นอกจากนี้ ยังควรให้เด็กและเยาวชนมีส่วนร่วมตัดสินใจนโยบายในชุมชนและสถานศึกษา
โดยให้คณะกรรมการนักเรียนในสถานศึกษามาจากการเลือกตัง้ ให้มผี ู้แทนนักเรียนในคณะกรรมการ
หรือสภาสถานศึกษา และจัดสรรงบประมาณให้กลุ่มกิจกรรมนักเรียนอย่างเพียงพอ

44
ลดอายุ ผ้ ูมี สิ ท ธิ เลื อ กตัง้ จาก 18 เหลื อ 15 ปี ?: ขยายสิ ท ธิ ให้ เ สี ย งเยาวชนมี
ความหมาย
การลดอายุผมู้ สี ทิ ธิเลือกตัง้ จาก 18 ปี เหลือ 15 ปี เป็ นหนึ่งในวิธขี ยายช่องทางการมีส่วนร่วมทางการ
เมืองของเยาวชนอย่างมีความหมาย ซึง่ พืน้ ฐานและตรงไปตรงมาทีส่ ุด
ทีผ่ ่านมา เสียงของเยาวชนโดยเฉพาะกลุ่มอายุต่ากว่า 18 ปี มกั มีอทิ ธิพลต่อผูก้ าหนดนโยบายจากัดมาก
เนื่องจากไม่มสี ทิ ธิเลือกตัง้ อย่าลืมว่าคะแนนเสียงแทบจะเป็ นทรัพยากรทางการเมืองเพียงอย่างเดียวทีเ่ ยาวชน
สามารถมีเท่าเทียมกับผูใ้ หญ่ได้ (ทรัพยากรอื่น เช่น เงิน อานาจหน้าทีก่ ารงาน และเครือข่ายอุปถัมภ์)
เมื่อปราศจากสิทธิน้ี เยาวชนจึงไร้ทรัพยากรที่ฝ่ายการเมืองผู้กาหนดนโยบายปรารถนา ปั ญหาและ
ความต้องการของเยาวชนจึงมักไม่ถูกรัฐบาลหยิบยกขึน้ มาพูดคุยและพัฒนานโยบายตอบสนองอย่างจริงจัง
การลดอายุผู้มสี ทิ ธิเลือกตัง้ เหลือ 15 ปี จงึ จะส่งผลให้ฝ่ายการเมืองรับฟั งเยาวชนอายุ 15-17 ปี เพิม่ ขึน้
โดยถือเป็ นมาตรการทีไ่ ด้สดั ส่วนกับหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบตามช่วงวัย เพราะเยาวชนวัยนี้ถูกศาลสั ่งลงโทษ
อาญาได้แ ล้ว รับ จ้า งงานได้แ ล้ว และต้อ งรับ ผิด ชอบผลของการตัด สิน ใจประเด็น นโยบายระยะยาวสูงมาก
ขณะเดียวกัน การลดอายุยงั จะเสริมสร้างการพัฒนาประชาธิปไตย เนื่องจากยิง่ เยาวชนได้เลือกตัง้ เร็ว ก็จะยิง่ ได้
ปลูกฝั งทักษะและจิตสานึกพลเมืองในระบอบประชาธิปไตยเข้มแข็งขึน้
การลดอายุผู้มีสิทธิเลือกตัง้ ถือเป็ น “เทรนด์” แห่งศตวรรษที่ 21 เพื่อสร้างอนาคต – ทัง้ อนาคตของ
เยาวชน อนาคตของประชาธิปไตย และอนาคตของสังคม ประเทศส่วนใหญ่ทด่ี าเนินการแล้วเป็ นประเทศในแถบ
ลาตินอเมริกาและยุโรป โดยลดอายุลงไปที่ 16 ปี เช่นในออสเตรีย บราซิล และอาร์เจนตินา เป็ นต้น

ดูเพิม่ เติม: วรดร เลิศรัตน์, “‘ลดอายุผมู้ สี ทิ ธิเลือกตัง้ จาก 18 เหลือ 15 ปี ?: ขยายสิทธิให้เสียงเยาวชนมีความหมาย?,” The101.world,
13 มิถุนายน 2022, https://www.the101.world/lowering-voting-age-to-15.

45
6
โครงสร้างประชากรเข้าสู่สงั คมสูงวัยสมบูรณ์
ครอบครัวมีขนาดเล็กและเปราะบางยิ่ งขึน้

ประเทศไทยเข้าสูส่ งั คมสูงวัยสมบูรณ์ (aged society) เร็วทีส่ ุดในหมู่ประเทศกาลังพัฒนาทัวโลก



ในขณะเดียวกัน ครอบครัวไทยก็มขี นาดเล็กลงและมีรูปแบบหลากหลาย การเปลีย่ นแปลงเชิงโครงสร้าง
ของครอบครัวไทยส่งผลให้ครอบครัวไทยมีความสามารถในการสนับสนุ นสุขภาวะและพัฒนาการของ
เด็กและเยาวชนไทยได้น้อยลง และส่งผลให้เด็กไทยมีความเปราะบางมากขึน้

‘เกิ ดน้ อย อายุยืน’ ความท้าทายของโครงสร้างประชากรไทย


ปี 2021 เป็ นปี แห่งการเปลีย่ นแปลงโครงสร้างประชากรครัง้ สาคัญของไทย โดยไทยได้เริม่ เข้าสู่
สังคมสูงวัยสมบูรณ์ คือมีสดั ส่วนประชากรสูงอายุเพิม่ ขึ้นเป็ นมากกว่าร้อยละ 20 (15.2 ล้านคน) ของ
จานวนประชากรทัง้ ประเทศ57 ถือเป็ นประเทศกาลังพัฒนาแห่งแรกในโลกทีเ่ ข้าสูภ่ าวะดังกล่าว ยิง่ ไปกว่า
นัน้ สหประชาชาติยงั คาดการณ์ว่าสัดส่ วนประชากรสูงอายุมแี นวโน้มจะเพิม่ ขึ้นต่อเนื่องเป็ นร้อยละ 30
(20 ล้านคน) จนกลายเป็ นสัง คมสูงวัย ระดับสุ ดยอด (super aged society) ภายในปี 2033 หรือ ราว
10 ปี ขา้ งหน้าเท่านัน้ 58
ขณะเดียวกัน สัดส่ว นของเด็ก และอัต ราการเกิดใหม่ก็ล ดลงอย่างรวดเร็ว ในปี 2021 ไทยมี
ประชากรเด็ก อายุ ไ ม่ เ กิน 14 ปี ป ระมาณ 11.3 ล้า นคน หรือ คิด เป็ น เพีย งร้อ ยละ 15.8 ของจ านวน
ประชากรทัง้ หมด และมีเด็กเกิดใหม่เพียง 544,570 คน ถือเป็ นจานวนต่าสุดในรอบ 50 ปี โดยลดลงจาก
ปี 2011 ทีเ่ คยมีเด็กเกิดใหม่ 818,901 คน ไปมากกว่าหนึ่งในสาม
ควรกล่าวด้วยว่า ปี 2021 ยังเป็ นครัง้ แรกทีจ่ านวนเด็กเกิดใหม่น้อยกว่าจานวนผูเ้ สียชีวติ 59 ทัง้ นี้
มีปัจจัยหลายประการที่ส่งผลให้ค นรุ่นปั จจุบันตัดสินใจมีลูกน้อ ยลง ไม่ว่าจะเป็ นค่ านิยมในการสร้าง
ครอบครัวที่ไม่ผูกติดกับการมีลูกอีกต่อไป ต้นทุนการดูแลและสนับสนุ นลูกให้เติบโตอย่างมีคุณภาพที่
สูงขึน้ ตลอดจนการต้องทุ่มเวลาเพื่อสร้างความมันคงด้่ านการงานและฐานะของคนรุ่นปั จจุบนั จนทาให้
การมีลูกกลายเป็ นเป้ าหมายในชีวติ ทีส่ าคัญน้อยลง 60

46
แผนภูมทิ ่ี 6.1 สัดส่ว นประชากรตามช่ว งอายุต่อ ประชากรไทยทัง้ หมด ปี 2010 และ 2020
และแนวโน้มการเปลีย่ นแปลงในปี 2030 และ 2040

ทีม่ า: UN World Population Prospects (2022)

แผนภูมทิ ่ี 6.2 จานวนประชากรเด็กเกิดใหม่และจานวนผูเ้ สียชีวติ ปี 2012-2021 (คน)

ทีม่ า: สานักงานสถิตแิ ห่งชาติ (2021)

47
ขนาดครอบครัวไทยเล็กลงต่อเนื่ อง
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรที่มสี ดั ส่วนประชากรสูงวัยมากขึน้ และอัตราการเกิดลดลง
ทาให้โครงสร้างครอบครัวไทยและรูปแบบการอยู่อาศัยของครอบครัว เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม โดย
ครัวเรือนมีขนาดเล็กลงอย่างต่อเนื่อง จากราว 5-6 คนในช่วง 3 ทศวรรษก่อน เหลือเพียง 2.4 คนใน
ปี 202061 และยังมีแ นวโน้ มเล็ก ลงต่อ ไปในอนาคต ซึ่งส่ว นใหญ่ จะมีส มาชิก ไม่เ กิน 3 คน ในขณะที่
ครัวเรือนอยู่คนเดียวเพิม่ ขึน้ โดยเฉพาะในประชากรวัยแรงงานและผูส้ งู อายุ
สถาบันวิจยั ประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล คาดการณ์ว่า ประชากรวัยแรงงานทีอ่ าศัย
อยู่คนเดียวจะเพิม่ ขึน้ จากร้อยละ 8.1 ของประชากรวัยแรงงานทัง้ หมดในปี 2020 เป็ นร้อยละ 13.6 หรือ
ราว 4.9 ล้านคน ภายในปี 2030 เช่นเดียวกับสัดส่วนผู้สูงอายุ อยู่คนเดียวที่อาจเพิม่ จากร้อยละ 12 ใน
ปี 2020 เป็ นร้อยละ 15 ในระยะเวลาไม่ถงึ สิบปี รวมถึงครัวเรือนข้ามรุ่นที่มปี ระชากรวัยพึง่ พิงอย่างเด็ก
และผูส้ งู อายุอยู่อาศัยร่วมกัน ก็มสี ดั ส่วนเพิม่ ขึน้ เป็ นร้อยละ 4.9 ในปี 2020 ในขณะทีส่ ดั ส่วนครัวเรือนพ่อ
แม่ลูกมีแนวโน้มลดลงจากร้อยละ 31 ในปี 2020 เหลือเพียงร้อยละ 21 ในปี 2030 จากการตัดสินใจมีลูก
น้อยลงของวัยแรงงานในปั จจุบนั 62 (ดูแผนภูมทิ ่ี 6.3)

แผนภูมทิ ่ี 6.3 สัดส่วนครัวเรือนวัยแรงงาน จาแนกตามรูปแบบการอยู่อาศัย


ปี 2000 และ 2020 และแนวโน้มสัดส่วนปี 2030

ประเภทครัวเรือน ปี 2000 ปี 2020 ปี 2030

ครัวเรือนคนเดียว 3.1% 8.1% 13.6%

ครัวเรือนพ่อแม่ลูก 50% 31% 21%

ครัวเรือนเลีย้ งเดีย่ ว 9.1% 10.2% 10.3%

ครัวเรือนข้ามรุ่น 2.4% 4.9% 8%

ทีม่ า: สถาบันวิจยั ประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล (2020)

48
ความสูญเสียช่วงโควิ ด ซา้ เติ มปัญหาเด็กกาพร้า
เดิมทีสงั คมไทยมีเด็กกาพร้า เด็กถูกทอดทิ้ง และต้องอยู่คนเดียวตามลาพังมากถึง 5,594 คน63
และมีเด็กทีไ่ ม่ได้อยู่ภายใต้การดูแลของพ่อแม่อกี 4,978 คน64 วิกฤตโรคระบาดซึง่ พรากชีวติ ผูค้ นจานวน
มากไปนัน้ ยังส่งผลให้จานวนเด็กกาพร้าเพิม่ ขึ้นอย่างฉับพลัน กรมกิจการเด็กและเยาวชนพบว่าตัง้ แต่
เดือนกรกฎาคมปี 2021 ถึงเดือนมีนาคมปี 2022 มีเด็ก 448 คนที่ต้องกลายเป็ นเด็กกาพร้า เนื่องจาก
ผูป้ กครองเสียชีวติ จากการติดเชื้อโควิด โดยร้อยละ 71.5 เป็ นเด็กอายุ 6-18 ปี และอีกร้อยละ 28.1 เป็ น
เด็กเล็กอายุต่ ากว่า 6 ปี 65 ในจานวนนี้ เด็ก 157 คน หรือกว่า 1 ใน 3 ยังอาศัยอยู่ในพื้นที่สามจังหวัด
ชายแดนใต้ ซึง่ ประสบปั ญหาความยากจนมากกว่าพืน้ ทีอ่ ่นื อีกด้วย
อย่างไรก็ตาม ตัวเลขเด็กกาพร้าจากสถานการณ์โควิดในช่วงทีผ่ ่านมาอาจสูงกว่าทีห่ น่วยงานรัฐ
บันทึกไว้ เนื่องจากตัวเลขผูเ้ สียชีวติ จากโควิดน่าจะสูงกว่าทีท่ างการบันทึกไว้ นอกจากนี้ ยังมีเด็กทีต่ ้อง
กาพร้าจากกรณีอ่นื ที่เป็ นผลกระทบทางอ้อมจากวิกฤตโรคระบาดและไม่ได้ถูกบันทึกไว้ เช่น กรณีท่ี
สูญเสียพ่อแม่ผปู้ กครองจากการฆ่าตัวตายเพราะวิกฤตเศรษฐกิจ เป็ นต้น

เด็กคือผู้ได้รบั ผลกระทบโดยตรงจากโครงสร้างครอบครัวที่เปลี่ยนไป
ท่ามกลางโฉมหน้าครอบครัวไทยทีเ่ ปลีย่ นไป เด็กและเยาวชนคือผูท้ ไ่ี ด้รบั ผลกระทบโดยตรง ทัง้
ในปั จจุบนั และในอนาคตทีพ่ วกเขาจะต้องเผชิญต่อไปเมื่อเข้าสูว่ ยั แรงงาน
เด็กกาพร้าจากสถานการณ์โควิดหรือเด็กทีถ่ ูกทอดทิง้ ให้อยู่ตามลาพังมีความเสีย่ งอย่างมากที่จะ
ไม่ได้รบั การดูแลทัง้ ด้านร่างกายและพัฒนาการอย่างเหมาะสม มีความเสีย่ งที่จะไม่ได้รบั สารอาหารที่
จ าเป็ น และหลุ ด ออกจากระบบการศึก ษา มากไปกว่ า นัน้ การเผชิญ กับ การสูญ เสีย บุ ค คลสาคั ญ ใน
ครอบครัวย่อมส่งผลต่อสภาพจิตใจของเด็ก อาจเครียด วิตกกังวล จนนาไปสูภ่ าวะซึมเศร้าได้66
ในมิติความเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างครอบครัว เด็กในครัวเรือนข้ามรุ่นมีความเปราะบาง
มากกว่าเด็กในครัวเรือนรูปแบบอื่น เนื่องจากสมาชิกในครัวเรือนประกอบด้วยเด็กและผูส้ ูงอายุซ่ึ งอยู่ใน
วัยพึ่งพิงทัง้ คู่ และรายได้ส่วนใหญ่ของครัวเรือนมาจากเงินโอนจากภายนอกครัวเรือน 67 ทาให้เด็กใน
ครัวเรือนประเภทนี้เสีย่ งเผชิญปั ญหาด้านพัฒนาการและการเรียนรู้มากกว่าด้วยข้อจากัดทางเศรษฐกิจ
และการเลีย้ งดู อีกทัง้ มีแนวโน้มขัดแย้งทางความคิดกับคนในครอบครัวมากกว่ าอีกด้วย68
ท้ายทีส่ ุด เด็กในวันนี้คอื ผูต้ ้องรับมือกับความท้าทายจากภาวะสังคมสูงวัยและอัตราการเกิดต่า
ในระยะยาวและจาเป็ นทีจ่ ะต้องเก่งขึน้ มากยิง่ กว่าคนรุ่นปั จจุบนั เพราะต้องเป็ นผูร้ บั ภาระในการขับเคลื่อน
ประเทศท่ามกลางโครงสร้างเศรษฐกิจทีเ่ ปราะบางอย่างยิง่ รวมถึ งมีภาระต้องดูแลเด็กและผูส้ ูงอายุมาก
กว่าเดิม ในปี 2021 อัตราการพึง่ พิงของสังคมไทยอยู่ท่ี 43.5 คน ต่อวัยแรงงาน 100 คน และคาดการณ์
ว่าภายในปี 2033 ที่ประเทศไทยจะเข้าสู่ภาวะสังคมสูงวัยระดับสุดยอด อัตราการพึ่งพิงจะเพิม่ ขึ้นเป็ น
56.7 คน ต่อวัยแรงงาน 100 คน69

49
แผนภูมทิ ่ี 6.4 อัตราการพึง่ พิงของผูส้ งู อายุ (65 ปี ขน้ึ ไป) และเด็ก (0-14 ปี )
ปี 2010 - 2020 และแนวโน้มในปี 2030 2035 และ 2040

ทีม่ า: UN World Population Prospects (2022)

คุ้มครอง เยียวยา ดูแลเด็กเปราะบางที่รบั ผลกระทบก่อนเป็ นอันดับแรก


เด็กกลุ่มเปราะบางควรได้รบั การช่วยเหลือเป็ นอันดับแรก โดยเฉพาะเด็กกาพร้าจากสถานการณ์
โควิด-19 ทัง้ การเยียวยาสภาพร่างกายและจิตใจของเด็ก เพื่อไม่ให้การสูญเสียสร้างแผลเป็ นไปตลอด
ชีวติ ของพวกเขา รัฐบาลสามารถจัดการเฟ้ นหาครอบครัวทดแทน จากเครือญาติของเด็กหรือครอบครัว
อุปถัมภ์ทแ่ี สดงความจานงเลี้ยงดูเด็ก เพื่อให้เด็กกาพร้าเหล่านี้ได้รบั การดูแลอย่างปลอดภัยและไม่ต้อง
ใช้ชวี ติ โดยลาพัง รวมถึงปรับปรุงระบบสวัสดิการในสถานสงเคราะห์ เพือ่ ให้เด็กสามารถเข้าถึงสวัสดิการ
จาเป็ นอย่างอาหาร การรักษาพยาบาล และการศึกษาอย่างเหมาะสมและเพียงพอ
สาหรับเด็กในครัวเรือนข้ามรุ่น รัฐบาลควรอุดหนุ นค่าใช้จ่ายที่จาเป็ นแก่เด็กในครัวเรือนเหล่านี้
เป็ นการเฉพาะ เช่น ค่าใช้จ่ายด้านการศึกษา การเรียนรู้ และการรักษาพยาบาล เพื่อบรรเทาข้อจากัด
ทางเศรษฐกิจ ลงทุนปรับปรุงคุณภาพศูนย์เด็กเล็กในทุกพื้นที่ให้สามารถดูแลและเสริมสร้างพัฒนาการ
ของเด็กในครัวเรือนเหล่านี้ได้ อย่างมีคุณภาพ ตลอดจนมีมาตรการระยะยาวที่มุ่งลดความเหลื่อ มล้ า
ระหว่ า งพื้น ที่ใ นประเทศไทย เช่ น การกระจายแหล่ ง งาน และการสนับ สนุ น การจ้า งงานนอกภาค
การเกษตรในพืน้ ทีช่ นบท ซึง่ จะลดปั ญหาครัวเรือนข้ามรุ่นได้โดยตรง

50
ตรงกลางของครอบครัวแหว่งกลาง

ลูกคนที่ 2 ของเบส เพิง่ อายุได้ 4 เดือน ยังไม่ทนั จะเรียกแม่ได้เต็มคา เด็กชายก็ถูกส่งกลับไปอยู่บา้ นกับ


ยายทีห่ นองบัวลาภู “เลีย้ งตรงนี้ไม่ไหวหรอก ให้ยายเลีย้ งดีกว่า เราต้องทางาน ไม่มเี วลาดูลูก” เธอขยายความให้
เห็นภาพด้วยภาษาอีสานว่า “เฮ็ดงานแล่นหน้าแล่นหลัง มันบ่ได้”
หลังจากจบ ม.6 เบสมีลูกคนแรกกับแฟนหนุ่ ม กาเงิน 3,000 บาท เข้ามาทางานทีโ่ รงงานทาถุงเท้าใน
กรุงเทพฯ อยู่กนั ไม่นานก็แยกทางกัน ณ ตอนนี้ เบสต้องทางานหาเลี้ยงทัง้ แม่ ลูกชาย 2 คน วัย 9 ขวบ กับวัย
1 ขวบ รวมถึงน้องชายที่ยงั อยู่ในวัยเรียน เงินเดือนแทบจะหมดไปกับค่านมลูก “ลูกกินนมแม่แค่ 15 วัน ไม่มี
น้านมให้ลูกกิน น้านมไม่ค่อยมี” เธอว่า
“ตอนนี้ค่านมลูก ตกเดือนละ 6,000 บาท แม่เราก็แก่แล้ว ไปซื้อเองไม่ไหว สิน้ เดือนมาเราก็ต้องส่งนม
กับผ้าอ้อมเด็กไปให้ทุกเดือน แล้วก็โอนเงินไปต่างหาก น้องชายเราก็ช่วยดูแล โชคดีเขาเป็ นคนไม่ด้อื ไม่ ได้ไป
เทีย่ วทีไ่ หน กลับบ้านมาช่วยแม่ซกั ผ้าล้างถ้วย ดูหลาน”
“เวลาท างานกลับ มาเหนื่ อ ยๆ ก็อ ยากจะกอดลู ก แต่ ก็อ ยู่ไ กล วิดีโ อคอลหาทุ ก วัน วัน ละ 4-5 รอบ
คิดฮอดกะอดเอา” ในช่วงเดือนทีผ่ ่านมา ลูกของเธอป่ วยจนต้องเข้าโรงพยาบาล แต่ดว้ ยสถานการณ์โควิด ทาให้
เธอไม่สามารถขยับตัวไปหาลูกได้อย่างใจคิด “อยากไปหา แต่กต็ ดิ มาตรการควบคุมโรค ทาอะไรไม่ได้” เธอว่า
เบสบอกว่า ถ้าจะคาดหวังนโยบายสักอย่างจากรัฐ เธอก็อยากให้มเี งินกูเ้ พื่อเลี้ยงลูก โดยเฉพาะคนมีลูก
เล็ก เช่น ช่วยค่านม ค่าผ้าอ้อม
“ที่ผ่ า นมาถ้า เรายิ่ง ท าตัว ทุ ก ข์ ก็ยิ่ง ทุ ก ข์ เลยไม่ ไ ด้ท าตัว ซีเ รีย สอะไร ถ้า วัน ไหนเหนื่ อ ยก็พ ัก ผ่ อ น
เงินเดือนออก ก็มชี วนแฟนไปเทีย่ ว ผ่อนคลายตัวเองบ้าง แม่กบ็ อกว่า ‘สูสาบายเนาะ เอาลูกมาถิม่ ไว้’ (สบายนะ
พวกแก เอาลูกมาทิ้งไว้) แต่เขาไม่รู้หรอกว่า เราก็ทุกข์ นานๆ ไปเที่ยวที เพื่อคลายเครียดเราเอง ไม่ได้เที่ยว
สามะเลเทเมาขนาดนัน้ ” ถึงแม่ของเบสจะพูดแบบนัน้ แต่กใ็ ช่ว่าจะไม่อยากเลี้ยงหลาน เบสเล่าให้ฟังว่า แม่เคย
เปรยว่าอยากมีหลานสาวอีกคนหนึ่ง เขามีความสุขกับการเลีย้ งหลาน
ครอบครัวของเบสเชื่อมกันด้วยโทรศัพท์ วิดโี อคอล และผ้าอ้อมทีส่ ่งไปรษณียไ์ ปให้ทุกเดือน ในวันทีล่ ูก
โตขึน้ ทุกวัน และแม่โรยราลงทุกวัน เบสเองก็พยายามอย่างถึงทีส่ ุดเพื่อจะประคับประคองชีวติ เหล่านี้ไว้

ดูเพิม่ เติม: ปาณิส โพธิศ์ รีวงั ชัย, “ถ้าไม่ได้อยู่พร้อมหน้าแบบพ่อแม่ลูกล่ะ เราจะยังเรียกว่าครอบครัวอยู่ไหม,” The101.world, 21


พฤษภาคม 2020, https://www.the101.world/family-scoop/.

51
*หมายเหตุ เนื้อหานี้เป็ นบางส่วนของผลงานบทวิเคราะห์นโยบายเรื่อง ‘ลดอายุผ้มู ีสิทธิ เลือกตัง้ จาก 18 เหลือ 15 ปี ?: ขยายสิ ทธิ
ใ ห้ เ สี ย ง เ ย า ว ช น มี ค ว า ม ห ม า ย ?’ เ ผ ย แ พ ร่ ค รั ้ ง แ ร ก วั น ที่ 13 มิ ถุ น า ย น 2022 อ่ า น ผ ล ง า น ฉ บั บ เ ต็ ม ไ ด้ ที่
7
ความไม่ลงรอยระหว่างรุ่นรุนแรงขึ้น บันทอนความสั
่ มพันธ์ภายในครอบครัว

ความเปลีย่ นแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรม และเทคโนโลยีท่รี วดเร็วส่งผลให้


คนต่างรุ่นมีคุณค่า ทัศนคติ และความคิดขัดแย้งกันมากขึ้น ไม่เว้นแม้กระทังคนต่
่ างรุ่นในครอบครัว
เดียวกัน ความขัดแย้งดังกล่าวเป็ นอุปสรรคสาคัญต่อความสัมพันธ์ภายในครอบครัวจานวนมาก และเป็ น
เหตุให้ครอบครัวไม่ใช่พน้ื ที่สบายใจที่สามารถสนั บสนุ นพัฒนาการและสุขภาวะของเด็กและเยาวชนได้
เท่าทีค่ วร

เด็กและเยาวชนจานวนมากมีแนวคิ ดขัดแย้งกับผู้ใหญ่
เด็กและเยาวชนจานวนมากมีความคิดขัดแย้งกับผู้ใหญ่ในครอบครัวของตนเอง จากผลสารวจ
ของ คิด for คิดส์ ในเดือนพฤษภาคม 2022 เยาวชนอายุ 15-25 ปี ร้อยละ 30.8 รายงานว่ามีความคิด
ขัดแย้งกับครอบครัวค่อนข้างมากถึงมากที่สุดในเรื่องการศึกษาและการทางาน ร้อยละ 29.6 ในเรื่อง
ชีวติ ประจาวัน ร้อยละ 25.5 ในเรื่องสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง ร้อยละ 24.1 ในเรื่องความสัมพันธ์
ภายในครอบครัว ร้อยละ 17.5 ในเรื่องความสัมพันธ์กบั เพือ่ นและคนรัก และร้อยละ 16.2 ในเรื่องศาสนา
และจริยธรรม
ในเรื่องการศึกษาและการทางานซึ่งขัดแย้งมากที่สุด เยาวชนมักต้องการเรียนและทางานใน
สาขาทีต่ รงตามความชอบ หรือใช้เวลาค้นหาความฝันของตนเองอย่างอิสระ แต่ผปู้ กครองกลับบีบบังคับ
ให้เรียนและทางานในสาขาทีเ่ ชื่อว่าค่าตอบแทนสูง ตาแหน่ งงานมันคง่ และสังคมให้คุณค่า ยิง่ ไปกว่านัน้
เยาวชนยังมักให้ความสาคัญกับงานอดิเรก การพักผ่อน และการรักษาสุขภาพจิต ไม่ทุ่มเทชีวติ ทัง้ หมด
กับ การศึก ษาและการท างาน อีก ทัง้ ใช้ว ิธีการที่ป ระหยัด เวลา สะดวก และไม่ ยึด ติดกับ แบบแผนที่
ผูป้ กครองคาดหวัง70
ความขัดแย้งทางความคิดในเรื่องนี้ รวมถึงเรื่องสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง และเรื่องศาสนา
และจริยธรรม มีแนวโน้มรุนแรงขึน้ ตามช่วงอายุของเยาวชนทีเ่ พิม่ ขึน้ โดยในเรื่องสังคม เศรษฐกิจ และ
การเมือง สัดส่วนของเยาวชนที่รายงานว่ามีความคิดขัดแย้งกับครอบครัวเพิม่ ขึ้นจากร้อยละ 20.3 ใน
กลุ่ ม อายุ 15-18 ปี เป็ นร้ อ ยละ 44.9 ในกลุ่ ม อายุ 23-25 ปี หรือ กว่ า หนึ่ ง เท่ า ตัว ขณะที่ ใ นเรื่อ ง
ชีวติ ประจาวัน ความสัมพันธ์ภายในครอบครัว ตลอดจนความสัมพันธ์กบั เพื่อนและคนรัก มีแนวโน้ม
ขัดแย้งรุนแรงทีส่ ุดในช่วงอายุ 19-22 ปี ก่อนจะลดลงในช่วงอายุ 23-25 ปี

52
“ผมอยากจะเป็ นจิตรกร ทางานสายนี้ แต่ครอบครัว ผมไม่สนับสนุ นและไม่อยากให้
ผมเป็ น เพราะในความคิดของพวกท่านเขาคิดว่าอาชีพนี้ไม่มเี กียรติ รายได้น้อย
น่าอับอาย ไม่มอี นั จะกิน ทาไปก็เสียเวลาเปล่า
พวกท่านอยากให้ผมเป็นหมอ ข้าราชการ อาชีพทีม่ รี ายได้สงู ซึง่ ความคิดของพวก
ท่านค่อนข้างจะหัวโบราณ”
– รัชชดาภรณ์ อายุ 13 ปี

เยาวชนในครัวเรือนข้ามรุ่นมีแนวโน้มคิดขัดแย้งกับผูใ้ หญ่ในครอบครัวมากกว่าในครัวเรือนพ่อ
แม่ลูก ทัง้ ในเรื่องชีวติ ประจาวัน ความสัมพันธ์ภายในครอบครัว ความสัมพันธ์กบั เพื่อนและคนรัก และ
การศึกษาและการทางาน

แผนภูมทิ ่ี 7.1 สัดส่วนของเยาวชนที่รายงานว่าคิดขัดแย้งกับผูใ้ หญ่ในครอบครัวค่อนข้างมาก


ถึงมากทีส่ ุด แยกตามประเด็นและกลุ่มอายุ

ทีม่ า: ผลสารวจเยาวชนของ คิด for คิดส์ (2022)

53
แผนภูมทิ ่ี 7.2 สัดส่วนของเยาวชนที่รายงานว่าคิดขัดแย้งกับผูใ้ หญ่ในครอบครัวค่อนข้างมาก
ถึงมากทีส่ ุด แยกตามประเด็นและโครงสร้างครอบครัว

ทีม่ า: ผลสารวจเยาวชนของ คิด for คิดส์ (2022)

ความขัดแย้งทางความคิ ดเป็ นฐานของความไม่ลงรอยระหว่างรุ่นในครอบครัว


เยาวชนอายุ 15-25 ปี รอ้ ยละ 23.2 รายงานว่าความขัดแย้งทางความคิดเป็ นอุปสรรคสาคัญทีส่ ุด
ต่อความสัมพันธ์ภายในครอบครัว มากกว่าความยากจน (ร้อยละ 15.2) การไม่มเี วลาให้กนั (ร้อยละ
11.8) ความสนใจที่แตกต่างกัน (ร้อยละ 11.3) การไม่ได้อยู่ร่วมกัน (ร้อยละ 7.4) และความรุนแรงใน
ครอบครัว (ร้อยละ 2.1) ตามผลสารวจของ คิด for คิดส์
สัดส่วนของเยาวชนที่รายงานว่าความขัดแย้งทางความคิดเป็ นอุปสรรคสาคัญทีส่ ุดนี้มแี นวโน้ม
เพิม่ ขึน้ ตามอายุทม่ี ากขึน้ จากร้อยละ 19.5 ในกลุ่มอายุ 15-18 ปี เป็ นร้อยละ 38.1 ในกลุ่มอายุ 23-25 ปี
เพิม่ ขึ้นตามระดับรายได้ครัวเรือนที่สูงขึ้น จากร้อยละ 20.0 ในครัวเรือนควินไทล์ท่ี 1 เป็ นร้อยละ 38.0
ในควินไทล์ท่ี 5 อีกทัง้ ยังเพิม่ ขึน้ ตามระดับการศึกษาทีส่ ูงขึน้ จากร้อยละ 20.2 ในกลุ่มทีก่ าลังหรือสาเร็จ
การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เป็ นร้อยละ 33.6 ในกลุ่มปริญญาตรีขน้ึ ไป
ในเกือบทุกกลุ่มอายุ กลุ่มควินไทล์รายได้ครัวเรือน และกลุ่มระดับการศึกษา ความขัดแย้งทาง
ความคิดเป็ นประเด็นที่มเี ยาวชนรายงานว่าเป็ นอุปสรรคสาคัญที่สุดต่อความสัมพันธ์ภายในครอบครัว
มากเป็ นอันดับหนึ่ง มีเพียงในกลุ่มควินไทล์ท่ี 1 และกลุ่มประกาศนียบัตรวิชาชีพชัน้ สูง (ปวส.) เท่านัน้ ที่
ประเด็นดังกล่าวมีเยาวชนรายงานมากเป็ นอันดับสอง รองจากความยากจน

54
แผนภูมทิ ่ี 7.3 สัดส่วนของเยาวชนที่รายงานว่าความขัดแย้งทางความคิดเป็ นอุปสรรคสาคัญ
ทีส่ ุดต่อความสัมพันธ์ภายในครอบครัว แยกตามช่วงอายุ ระดับรายได้ครัวเรือน
ทีแ่ บ่งเป็ นควินไทล์ และระดับการศึกษา

ทีม่ า: ผลสารวจเยาวชนของ คิด for คิดส์ (2022)

“ ‘เดี๋ยวนี้หดั เถียงแล้วเนอะ กูอาบน้ าร้อนมาก่อนมึง เชือ่ กูนี!่ !! กูแม่มงึ นะแล้วกูก็


ไม่ได้คลอดมึงมาให้มงึ มายืนเถียงกูฉอดๆๆ ด้วย ทาตามทีก่ ูบอกมันถึงจะเจริญ
เถียงกูแบบนี้นแี ่ หละมันถึงไม่เจริญกับเขาสักที’
‘แม่หวังดีกบั วาฬหรือแม่อยากให้ตวั เองสบายกันแน่ ’ เด็กน้อยถามออกไปทัง้ น้ าตา
‘กูคลอดมึงมากูกต็ ้องหวังให้มงึ ดูแลกูมยั ้ [...] ลูกเนรคุณ กูไม่น่าพลาดมีมงึ เลย จะ
ไปตายไหนก็ไป!!!’ [...]
สิง่ ทีท่ ุกคนเรียกกันว่าครอบครัว แต่สาหรับวาฬ พวกเราไม่ใช่ครอบครัว เพราะ
ครอบครัวเค้าไม่ทาร้ายกันแบบนี้หรอกใช่มยั ้ ล่ะ [...] ความรูส้ กึ ของเขามันเละจนไม่
รูจ้ ะเละยังไงแล้ว จะเล่าให้ใครฟั งก็ไม่ได้
เราไม่มีสิทธิมีเสียงเพราะเราแม่งเป็ นลูกไงล่ะ เป็ นเด็กทีเ่ กิดขึ้นมาเพียงเพราะ
ต้องการให้เราเป็ นไม้ประดับบ้านหรือไม่ก็ปลูกเราเพือ่ หวังพึง่ ร่มเงาจากเราใน
อนาคต พร้อมกับยัดเยียดความคาดหวังเข้ามาทัง้ ๆ ทีเ่ ราไม่เต็มใจ เขาไม่เคยทีจ่ ะ
ฟั งเราฟั งความรูส้ กึ ความต้องการของเราหรอก”
– อทิตยา อายุ 17 ปี

55
ความไม่ลงรอยระหว่างรุ่นทาให้ครอบครัวไม่ใช่พื้นที่สบายใจของเด็กและเยาวชน
ความไม่ลงรอยระหว่างรุ่นในครอบครัวส่งผลให้เด็กและเยาวชนรู้สกึ ว่าครอบครัวไม่ใ ช่พ้ืนที่
สบายใจสาหรับตน จากผลสารวจของ คิด for คิดส์ กลุ่มเยาวชนทีร่ ายงานว่าความขัดแย้งทางความคิด
เป็ นอุปสรรคส าคัญ ที่สุดต่อความสัมพันธ์ภายในครอบครัว จานวนมากถึงร้อ ยละ 21.2 รู้สกึ สนิทกับ
ครอบครัว ของตนน้ อ ย และร้อ ยละ 73.1 ไม่ปรึกษาครอบครัว เป็ น คนแรกเมื่อ ประสบปั ญ หาในชีว ิต
สัดส่วนดังกล่าวสูงกว่ากลุ่มเยาวชนทีร่ ายงานว่าไม่มอี ุปสรรคใดในครอบครัวถึงร้อยละ 19.1 และร้อยละ
38.8 ตามลาดับ ในแง่น้ี ครอบครัวทีม่ คี วามไม่ลงรอยระหว่างรุ่นจึงมีแนวโน้มสนับสนุ นเด็กและเยาวชน
ได้จากัดกว่า
ยิง่ ไปกว่านัน้ เยาวชนทีม่ คี วามขัดแย้งทางความคิดเป็ นอุปสรรคสาคัญในครอบครัวยังต้องเผชิญ
ความรุนแรงในครัวเรือนมากกว่า โดยร้อยละ 10.1 รูส้ กึ ว่าบ้านไม่ใช่พน้ื ทีป่ ลอดภัย และร้อยละ 33.0 เคย
ถูกทาร้ายหรือลงโทษให้ร่างกายเจ็บปวด ซึ่งเป็ นสัด ส่วนมากกว่าเยาวชนทีไ่ ม่มอี ุปสรรคกว่าสองเท่าตัว
และสีเ่ ท่าตัวตามลาดับ เยาวชนเหล่านี้ยงั เสีย่ งมีปัญหาสุขภาพจิตสูงกว่า โดยร้อยละ 77.0 รู้สกึ เครียด
บ่อย ซึ่งเป็ นสัดส่วนมากกว่าเยาวชนทีไ่ ม่มอี ุปสรรคถึงร้อยละ 36.9 ในกรณีเลวร้ายทีส่ ุด ความไม่ลงรอย
ระหว่างรุ่นยังอาจส่งผลให้เด็กและเยาวชนออกจากครอบครัวเพิม่ มากขึน้

แผนภูมทิ ่ี 7.4 เปรียบเทียบเยาวชนทีร่ ายงานว่าความขัดแย้งทางความคิดเป็ นอุปสรรคสาคัญ


ทีส่ ุดต่อความสัมพันธ์ภายในครอบครัว กับเยาวชนทีร่ ายงานว่าไม่มอี ุปสรรคต่อ
ความสัมพันธ์ภายในครอบครัว

ประเด็นเปรียบเทียบ เยาวชนทีร่ ายงานว่าความ เยาวชนทีร่ ายงานว่าไม่มี


ขัดแย้งทางความคิดเป็ น อุปสรรคต่อความสัมพันธ์
อุปสรรคสาคัญทีส่ ุดต่อ ภายในครอบครัว
ความสัมพันธ์ภายในครอบครัว
รูส้ กึ สนิทกับครอบครัวน้อย (%) 21.2 2.1
เชื่อถือไว้ใจครอบครัวน้อย (%) 19.2 4.6
ไม่ปรึกษาครอบครัวเมื่อมีปัญหา (%) 73.1 34.3
รูส้ กึ ว่าบ้านไม่ใช่พน้ื ทีป่ ลอดภัย (%) 10.1 2.9
เคยถูกทาร้าย/ลงโทษทางร่างกาย (%) 33.0 6.8
รูส้ กึ เครียดบ่อย (%) 77.0 41.1
ทีม่ า: ผลสารวจเยาวชนของ คิด for คิดส์ (2022)

56
สร้างทักษะในการอยู่ร่วมกัน ลดความเหลื่อมลา้ พร้อมรับสถานการณ์เลวร้าย
ความไม่ลงรอยระหว่างรุ่นที่ทวีความรุนแรงขึ้นภายใต้สามวิกฤตกาลังบันทอนความสั
่ มพันธ์
ภายในครอบครัว ส่ง ผลกระทบต่ อ ความสามารถของครอบครัว ในการสนั บ สนุ น เด็ก และเยาวชน
รวมถึงสวัสดิภาพและสุขภาวะทางจิตของพวกเขาอย่างมีนยั สาคัญ
ฉะนัน้ การเร่งเสริมสร้างความเข้าใจและทักษะการอยู่ร่วมกันระหว่างคนต่างรุ่นจึงเป็ นสิง่ จาเป็ น
โดยให้เด็กและผูใ้ หญ่มโี อกาสใช้เวลาร่วมกันมากขึน้ เช่น ส่งเสริมให้เยาวชนต้องเข้าร่วมกิจกรรมบริการ
สังคมและให้แรงงานมีสทิ ธิลาเกี่ยวกับบุตร ควบคู่กบั ปลูกฝั งความอดกลัน้ และวิธกี ารสื่อสารข้ามรุ่นที่
เหมาะสมแก่เด็กและเยาวชนผ่านระบบการศึกษา ให้ความรู้และฝึ กอบรมทักษะการดูแลลูกหลานผ่าน
กลไกบริการสุ ขภาพแม่และเด็ก และชมรมผู้สูงอายุ ตลอดจนเปิ ดให้เ ยาวชนรวมกลุ่ มเสนอโครงการ
เสริมสร้างความเข้าใจและทักษะดังกล่าว เพือ่ ขอรับงบประมาณไปดาเนินการกับเด็กและผูใ้ หญ่ในชุมชน
ของตนได้
ขณะเดียวกัน รัฐบาลสามารถใช้บริการพืน้ ฐานเป็ นเครื่องมือลดความเหลื่อมล้าเชิงอานาจภายใน
ครอบครัว เพื่อลดโอกาสทีผ่ ใู้ หญ่จะใช้อานาจบังคับกดดันลูกหลานและเพิม่ ความเท่าเทียมในการพูดคุย
จัดการความขัดแย้ง ในครอบครัว ซึ่งจะช่วยป้ องกันไม่ให้ความขัดแย้งบานปลายจนแตกหักกัน เช่น
จัดบริการสุขภาพและการศึกษาโดยไม่คดิ ค่าใช้จ่ายและให้เยาวชนอายุ 15 ปี ข้นึ ไปเข้าใช้บริการได้เอง
โอนเงินอุดหนุ นและทรัพยากรอื่นให้เยาวชนโดยตรง ตลอดจนส่งเสริมให้เยาวชนทางานเสริม เพื่อลด
การพึง่ พิงทรัพยากรทางบ้าน
นอกจากจัดการสาเหตุแห่งความขัดแย้งแล้ว รัฐบาลยังควรพัฒนากลไกป้ องกันและเยียวยา
ผลกระทบจากความรุนแรงในครัวเรือน โดยยกระดับระบบคุ้มครองเด็กให้เข้าถึงได้ง่าย มีทรัพยากร
เพียงพอ และคุม้ ครองเด็กได้อย่างทันท่วงทีและยังยื่ น พร้อมทัง้ ให้ความรูแ้ ก่เด็ ก เยาวชน ครู และผู้นา
ชุมชนเกีย่ วกับระบบคุม้ ครองเด็กและวิธกี ารให้ความช่วยเหลือเฉพาะหน้าแก่เด็กทีเ่ ผชิญความรุนแรง

57
‘ยาก-ลาบาก-แต่ไม่นึกเสียใจที่ออกมา’ ฟังเสียงเยาวชนที่ไร้บ้านเพราะการเมือง

‘บี’ คือนามสมมติของเด็กสาววัย 22 ปี ทีต่ ้องพาตัวเองออกจากบ้านเพราะความคิดเห็นทางการเมืองที่


ไม่ตรงกับพ่อ เธอเป็ นอีกหนึ่งคนรุ่นใหม่ทอ่ี อกมาเคลื่อนไหวทางการเมืองตลอด 2 ปี ทผ่ี ่านมานี้ บีนิยามตัวเองว่า
เป็ น ‘หน่วยหลังบ้าน’ คอยทาหน้าทีก่ ระจายข้อมูลข่าวสารให้กบั เพื่อนๆ พีๆ่ ทีไ่ ปม็อบ ซึง่ การมารับหน้าทีน่ ้ไี ม่ได้
เกิดจากความตัง้ ใจ แต่เป็ นเพราะว่าพ่อของบีไม่อนุ ญาตให้เธอออกไปร่วมเคลื่อนไหว ไม่แม้กระทังยอมให้ ่ บมี ี
ความคิดเห็นทางการเมืองทีต่ ่างไปจากเขา
บีสะท้อนความในใจให้ฟังว่า “ด้วยความทีพ่ ่อเป็ นคนทีอ่ นิ กับการเมือง เป็ นรอยัลลิสต์ตวั จริง ทีผ่ ่านมา
เขาก็พยายามจะคุยเรื่องนี้กบั เรา แต่เรามักจะตีมนึ ไม่ตอบ เพราะรูด้ วี ่าเรากับพ่อมีความคิดเห็นทางการเมืองทีไ่ ม่
เหมือนกัน และเขาเป็ นคนทีค่ ่อนข้างใช้อารมณ์ในการพูดคุย เลยทาให้รสู้ กึ ว่าคุยกันไปเดีย๋ วก็ทะเลาะกันอยู่ดี ต่าง
คนต่างอยู่ดกี ว่า เราเลยเลือกเก็บซ่อนความคิดของตัวเองไว้ สิง่ นี้ทาให้เรารูส้ กึ อึดอัดมาโดยตลอด”
ไม่ต่างจากภูเขาไฟทีร่ อวันปะทุ ความอึดอัดทีส่ ั ่งสมอยู่ในใจของบีกเ็ ฝ้ ารอวันเวลาทีจ่ ะได้รบั การระบาย
ออก และแล้ววันนัน้ ก็มาถึง ขณะทีบ่ กี บั พ่อกาลังนัง่ ดูข่าวม็อบราษฎรจัดการประท้วงบริเวณหน้าสานักงานใหญ่
ธนาคารไทยพาณิชย์ เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2563 ทันทีทก่ี ารนาเสนอข่าวจบ บรรยากาศหน้าโทรทัศน์ค่อยๆ
ตึงเครียดขึน้ ก่อนทีพ่ ่อของบีจะวิจารณ์การเคลื่อนไหวของคนรุ่นใหม่อย่างหนักหน่ วง บีเล่าว่าเธอพยายามแล้วที่
จะอดทนรับฟั ง แต่ความรู้สกึ ณ เวลานัน้ เอ่อล้นเกินที่ใจของเธอจะรับไหว จนบีพูดออกไปว่า “เราไม่พูดเรื่อง
การเมืองกันในบ้านได้ไหมป๊ า”
ประโยคของบีไม่ทนั สิน้ สุดดี พ่อของเธอก็โมโหร้ายใส่เธออย่างทีไ่ ม่เคยเป็ นมาก่อน บีอธิบายความรูส้ กึ
ณ วันนัน้ ด้วยน้ าเสียงสั ่นเครือว่า นัน่ เป็ นครัง้ แรกที่พ่อแสดงกิริยาแบบนัน้ กับเธอ บียอมรับว่าเธอตกใจแล ะ
หวาดกลัว มาก เอาแต่ บ อกตัว เองว่ า “บ้า นไม่ ป ลอดภัย อีกต่ อ ไป” หลัง จากที่ท ะเลาะกัน เสร็จ บีวิ่ง ขึ้น มาบน
ห้องนอน หยิบกระเป๋ าออกมาใบหนึ่ง ยัดเสือ้ ผ้าใส่กระเป๋ า ก่อนจะคว้าตุ๊กตามาหนึ่งตัว และเดินออกไปอยู่บริเวณ
ร้านสะดวกซื้อหน้าปากซอย เพราะเป็ นพืน้ ทีท่ ส่ี ว่างทีส่ ุดแล้วในเวลาใกล้ขน้ึ วันใหม่ บีกล่าวถึงคืนนัน้ ว่าแม้จะช็อก
และเสียใจแต่เธอก็พยายามตัง้ สติไว้ให้ได้ เพราะนับจากวินาทีน้ชี วี ติ ของเธอจะไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป
“เราเคยเห็นข่าวเด็กทีต่ ้องออกจากบ้านเพราะไปม็อบ แต่ไม่เคยคิดเลยว่าวันหนึ่งเรื่องนี้จะเกิดขึน้ กับตัว
เรา เขาไม่อยากให้ไปม็อบ เราก็ไม่ไป เราก็ประนีประนอมทีส่ ุดแล้วนะ แต่มนั ก็ยงั เกิดขึน้ ”
“หลังออกจากบ้านมา ก็ได้พค่ี นหนึ่งช่วยหาทีพ่ กั ชัวคราวให้
่ พร้อมเงินติดตัวจานวนหนึ่ง แต่สกั พักก็เริม่
กังวลว่าจะเอายังไงต่อดี เพราะตอนทีอ่ อกจากบ้านมาไม่มเี งินติดตัวเลย ในกระเป๋ าตังค์มีแค่เศษเหรียญนิดหน่ อย
กับเงินในบัญชีอีกแค่ 60 บาท ซึ่งเงินจานวนแค่น้ีถอนออกมาไม่ได้ ตอนนัน้ ก็พยายามขอความช่วยเหลือไปที่
หน่ วยงานรัฐที่เกี่ยวข้อง แต่ก็ไม่ได้รบั การตอบรับ เขาบอกว่าเคสของเราไม่ตรงกับเงื่อนไขการช่วยเหลือ เรา
เครียดมาก เพราะไม่มเี งินแม้แต่จะกินข้า วแล้ว ก็เลยเป็ นเหตุผลทีท่ าให้ตดั สินใจเขียนป้ ายขอรับบริจาคในม็อบที่
ลาดพร้าว”
58
การรับบริจาคในวันนัน้ ทาให้บไี ด้เงินมาก้อนหนึ่งสาหรับการตัง้ ต้นชีวติ ใหม่ พอดีกบั ทีค่ นรักของบีทราบ
ถึงเรื่องราวที่เกิดขึ้น จึงชักชวนให้มาอาศัยอยู่ด้วยกัน แม้บจี ะสามารถประหยัดค่าใช้จ่ายเรื่องที่พกั แต่สาหรับ
ค่าใช้จ่ายอื่นๆ เธอต้องเป็ นคนแบกรับภาระทางการเงินเหล่ านัน้ ด้วยตัวเอง หนึ่งในนัน้ คือค่าเทอมสาหรับการ
เรียนมหาวิทยาลัย บีตดั สินใจพักการเรียนไว้ชวคราวเพื
ั่ ่อตัดรายจ่ายก้อนใหญ่และเอาเวลาทีใ่ ช้ในการเรียน มาใช้
ในการทางานแทน
บีอยู่อาศัยอยู่นอกบ้านเป็ นเวลากว่า 3 เดือน จนในที่สุดช่วงต้นปี 2564 พ่อก็ส่งพี่ชายของบีมาเป็ น
กาวใจเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างเธอกับทีบ่ า้ นอีกครัง้ บีเล่าด้วยน้ าเสียงติดตลกว่าตอนแรกเธอลังเลทีจ่ ะกลับไป
อยู่บ้าน แต่พช่ี ายพูดกับเธอหนึ่งประโยคว่า “ให้คดิ เสียว่าบ้านเป็ นแค่ทน่ี อน เดีย๋ วพอเช้าบีกอ็ อกไปข้างนอกได้ ”
เพราะคาพูดนัน้ บวกกับการเห็นแก่พช่ี าย ทาให้บตี ดั สินใจกลับมาอยู่บา้ นทีเ่ ธอเคยจากมา
“ทุกวันนี้ความสัมพันธ์กบั พ่อก็ดขี น้ึ เราคุยกันกับเกือบทุกเรื่อง ยกเว้นเรื่องการเมือง ถ้าเป็ นเรื่องนี้เขา
ไม่คุยกับเราเลย เวลานังดู
่ ขา่ วอยู่หน้าทีวดี ว้ ยกันแล้วมีขา่ วการเมืองขึน้ มา พ่อก็จะลุกขึน้ ห้องไปเลย หรือไม่กน็ งดู
ั่
เฉยๆ แต่ไม่พดู อะไร”
บีเผยความในใจให้ฟังว่า สาหรับคนเป็ นลูกไม่ได้ตอ้ งการอะไรไปมากกว่าการขอแค่ให้พ่อแม่รบั ฟั งโดย
ไม่ตดั สินและเข้าใจในความแตกต่างของกันและกัน “แม้เราจะเชื่อกันคนละอย่าง แต่จริงๆ แล้วเราอยู่ดว้ ยกันได้นะ
เพราะประชาธิปไตยคือการเคารพความเห็นทีแ่ ตกต่ างกันอยู่แล้ว เราแค่อยากให้คุณเคารพความคิดเห็นของเรา
บ้างแค่นนั ้ เอง”
ปั จจุบนั นี้ แม้บจี ะกลับมาอยู่บ้าน แต่เธอยังคงต้องทางานหาเงินเช่นเดิม เนื่องจากที่บ้านของบีได้รบั
ผลกระทบโดยตรงจากพิษโควิด -19 การทางานอย่างหามรุ่งหามค่ าทาให้เธอต้องพักจากการเคลื่อ นไหวไป
ชัวคราว
่ แต่อย่างไรก็ตามบียนื ยันกับเราด้วยน้าเสียงหนักแน่นว่าอุดมการณ์ทางการเมืองของเธอยังเหมือนเดิม
ก่อนจากกันเราถามบีว่า ทัง้ ๆ ทีเ่ จอเรื่องราวมาหนักหนาขนาดนี้ อะไรคือเหตุผลทีท่ าให้เธอยังคงยึดมั ่น
ในอุดมการณ์น้ตี ่อไป
“การทีเ่ ราต้องออกจากบ้านและกลายมาเป็ นแรงงานคนหนึ่งในระบบ ยิง่ ทาให้เข้าใจมากขึน้ ด้วยซ้าว่า
ทาไมถึงยังต้องยึดมั ่นอุดมการณ์น้อี ยู่ สิง่ ทีเ่ กิดขึน้ สะท้อนให้เห็นชัดแล้วว่า ทุกการกระทาของรัฐส่งผลต่อชีวติ ของ
เรา ยิง่ ปี น้ีแสดงให้เห็นชัดมากว่ารัฐไม่สามารถจัดการอะไรให้ดขี น้ึ ได้เลย ไม่พอยังกระทาเราซ้าอีก แทนทีว่ ่ าปี น้ี
จะได้ลมื ตาอ้าปาก กลายเป็ นว่าเสียเวลาไปเปล่าๆ เลยทัง้ ปี เราเข้าใจเลยว่าทาไม ณ วันนัน้ คุณลุงคุณป้ าเขาถึง
ออกมาประท้วงกัน ก็เพราะว่าเขาคือผู้ได้รบั ผลกระทบจากการกระทาของรัฐไง มันไม่ใช่แค่เรื่องเพ้อฝั นของ
นักศึกษาอย่างทีฝ่ ั ง่ ตรงข้ามชอบโจมตี แต่มนั คือการออกมาเรียกร้องเพื่อชีวติ ของพวกเราจริงๆ

“ความลาบากทีเ่ ราต้องเจอไม่ได้ทาให้อุดมการณ์หายไปเลย กลับกันมันยิง่ ตอกย้าว่าเราเดินมาถูกทางแล้ว ”

ดูเพิม่ เติม: ภาวิณี คงฤทธิ,์ “‘ยาก-ลาบาก-แต่ไม่นึกเสียใจทีอ่ อกมา’ ฟั งเสียง 3 เยาวชนทีไ่ ร้บา้ นเพราะการเมือง,” The101.world,
21 ตุลาคม 2022, https://www.the101.world/how-protest-affect-the-life-of-youth/.

59
บทส่งท้าย
ตัง้ หลักใหม่ เติ มความฝันเด็กและครอบครัวไทย

วิกฤตโรคระบาดโควิด -19 วิกฤตความเหลื่อมล้าและการพัฒนา และวิกฤตสังคมและการเมือง


เป็ น สามวิก ฤตใหญ่ ท่ีส ร้ า งบาดแผลต่ อ เด็ก เยาวชน และครอบครัว ในประเทศไทยอย่ า งรุ น แรง
โดยเฉพาะกลุ่มเด็กและเยาวชนทีเ่ ปราะบางเป็ นทุนเดิม จะยิง่ ได้รบั ผลกระทบหลายด้าน วิกฤตเหล่านี้ไม่
เพียงแต่สร้าง ‘แผลสด’ ทีร่ ุนแรงเฉพาะหน้า แต่สามารถสร้าง ‘แผลเป็ น’ ไปตลอดชีวติ ของพวกเขาหาก
ไม่ได้รบั การจัดการอย่างเหมาะสม
อย่างไรก็ตาม ภาครัฐไทยดูจะยังไม่ตระหนักถึงความเร่งด่วนและรุนแรงของวิกฤตอย่างเพียงพอ
อีกทัง้ ยังขาดขีดความสามารถและความยืดหยุ่นในการรับมือกับปั ญหา ตัง้ แต่การเตรียมพร้อม การลด
ผลกระทบ การตอบสนอง ตลอดจนการฟื้ นฟู ตัวอย่างทีเ่ ป็ นรูปธรรมคืองบประมาณรายจ่ายประจาปี ของ
รัฐบาล 2 ปี ทผ่ี ่านมามีโครงการใช้จ่ายเงินทีแ่ ทบไม่แตกต่างกับช่วงก่อนโควิด ราวกับประเทศไทยอยู่ใน
โลกไร้โควิด ยิง่ ไปกว่านัน้ ในปี งบประมาณ 2565 รัฐบาลยังตัดงบประมาณด้านสวัสดิการของประชาชน
ลงให้เป็ นไปตามกฎเกณฑ์ของพระราชบัญญัตวิ นิ ัยการเงินการคลังของรัฐ แม้ว่ารัฐบาลกู้เงิน 1.5 ล้าน
ล้านบาทเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์โควิด แต่เงินกู้จานวนมากถูกใช้ไปกับโครงการทัวไปที ่ ถ่ ูกหีบห่อ
ไว้ดว้ ยคาว่าโควิด71 การไม่เปลีย่ นการจัดสรรงบประมาณสะท้อนว่าการบริหารงานโดยทัวไปของภาครั
่ ฐ
ไม่ได้ปรับตัวเพือ่ แก้วกิ ฤต และไม่ได้มองสวัสดิภาพของประชาชนเป็ นเรื่องหลัก
ในขณะเดียวกัน มาตรการปิ ดโรงเรียนเพื่อจัดการกับวิกฤตโควิด เป็ นการมองปั ญหาอย่างคับ
แคบเฉพาะตัวเลขผู้ตดิ เชื้อโควิด แต่ไม่ได้มองสวัสดิภาพด้านอื่น ซึ่งน่ าเป็ นห่วงไม่แพ้กนั ผลข้างเคียง
ด้านสุขภาพที่เห็นได้ชดั คือ เด็ก เปราะบางต้อ งเสี่ยงโรคทุพโภชนาการมากขึ้น เพราะพวกเขาพึ่ง พา
อาหารกลางวันและนมจากโรงเรียน แต่เมื่อปิ ดโรงเรียน กลับไม่มกี ารแจกจ่ายอาหารและนมไปให้ตาม
บ้านเรือน
การศึกษาก็เกิดปั ญหาในทานองเดียวกัน กล่าวคือ การบังคับให้เรียนออนไลน์ ทัง้ ทีเ่ ด็กไทยขาด
ฐานทีจ่ าเป็ น โดยเฉพาะโดยนักเรียนราวร้อยละ 70-80 ทีไ่ ม่มคี อมพิวเตอร์ทเ่ี ชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต ทีผ่ ่าน
มา โรงเรียนไม่มอี ุปกรณ์การศึกษาพอให้นักเรียนผูข้ าดแคลนได้ยมื ใช้ทบ่ี ้าน และรัฐบาลก็ไม่มนี โยบาย
เพื่อปิ ดช่องว่างดังกล่าว หรือแม้แต่การพัฒนาคู่มอื การเรียนแบบออฟไลน์ทบ่ี า้ น ทีล่ ดผลกระทบสาหรับ
กลุ่มทีไ่ ม่มคี วามพร้อม
เมื่อ โรงเรีย นเปิ ด รัฐ บาลก็ไ ม่ มีแ นวนโยบายรู ป ธรรมเพื่อ แก้ ปั ญ หาการสูญ เสีย การเรีย นรู้
นโยบายเปิ ดโรงเรียนเป็ นไปเพื่อให้โรงเรียน ‘เปิ ดได้’ เพียงอย่างเดียว ตามแนวนโยบายทีต่ ้องการให้โค

60
วิดกลายเป็ นโรคประจาถิน่ การเรียนการสอนในห้องเรียนส่วนใหญ่ยงั ไม่ได้คานึงถึงทักษะและการเรียนรู้
ที่ถดถอยของเด็ก ในกลุ่มเด็กและเยาวชนที่หลุดออกไปจากระบบการศึกษา รัฐบาลยังไม่มฐี านข้อมูล
เพียงพอเพื่อ ติดตามได้ด้ว ยซ้าว่ า ใครบ้างที่ต้อ งหยุดเรีย นไป ภายใต้ข้อ จากัด เช่น นี้ การออกแบบ
นโยบายเพือ่ ให้ความช่วยเหลืออย่างตรงจุดและมีประสิทธิภาพย่อมไม่สามารถทาได้
ในมิตกิ ารมีส่วนร่วมทางการเมืองของเด็กเยาวชน รัฐบาลไม่เพียงเพิกเฉยต่อปั ญหา แต่ตงั ้ ใจไม่
รับฟั งเสียงเรียกร้อ งของพวกเขา การประท้ว งของเยาวชนที่เ ริ่มต้นด้ว ยเรื่อ งใกล้ต ัว อย่างความไม่
เป็ นธรรมในโรงเรียน เมื่อไม่ได้รบั การตอบสนองจึงยกระดับสู่การชุมนุ มทางการเมืองอย่างเต็มรูปแบบ
รัฐบาลเลือกปราบปรามผู้ชุมนุ มด้วยความรุนแรงและกดปราบด้วยกฎหมาย ราวกับว่าความฝั นในการ
สร้างสังคมให้น่าอยู่ของพวกเขาไร้ค่า ถึงมาตรการเหล่านัน้ จะช่วยให้การชุมนุม ผ่อนคลายลง แต่ได้สร้าง
ความไม่พอใจฝังลึก พร้อมปะทุตลอดเวลา
แนวนโยบายกดปราบเด็ก และเยาวชนที่เ ห็นต่ างจากรัฐ ยังถู กตัง้ ค าถามอย่า งมากจากภาค
วิชาการและภาคประชาสังคม โดยเฉพาะผลกระทบต่อความน่าเชื่อถือของกระบวนการยุตธิ รรม หลักนิติ
ธรรม สิทธิเสรีภาพขัน้ พืน้ ฐานของพลเมือง และเสถียรภาพของระบบการเมือง

3 เสาหลัก เติ มความฝันเด็กและครอบครัวไทย


รัฐบาลต้อง ‘ตัง้ หลักใหม่’ ปรับแนวคิดและวิธกี ารดาเนินนโยบายครัง้ ใหญ่ ให้ตอบโจทย์ใหญ่ของ
ประเทศทัง้ ปั ญหาในปั จจุบนั และความท้าทายในอนาคตไปพร้อมกัน กล่าวคือ การรักษาแผลสดและ
แผลเป็ นจากวิกฤตทีผ่ ่านมา และการเตรียมพร้อมสาหรับความท้าทายใหญ่ในอนาคต โดยตัง้ เป้ าให้เด็ก
และครอบครัวสามารถพัฒนาได้อย่างเต็มศักยภาพ บนพื้นฐานของการสร้างสังคมเสมอหน้า ที่ทุกคน
สามารถเข้าถึงโอกาสได้อย่างเท่า เทียม โดยเฉพาะให้เด็กและเยาวชนซึ่งเป็ นอนาคตของประเทศ ได้
เติบโตขึน้ เป็ นพลเมืองในโลกใหม่อย่างเต็มศักยภาพและตามเจตจานงของตนเอง
เพือ่ บรรลุเป้ าหมายข้างต้น รัฐบาลจะต้องปรับเป้ าหมายการทางาน โดยให้ความสาคัญกับการดาเนิน
นโยบายบน 3 เสาหลัก72 ได้แก่
1. การจัดหาทรัพยากรให้เพียงพอและทัวถึ
่ งสาหรับการดูแลพัฒนาเด็ก เยาวชน และครอบครัว
2. การเพิม่ ทางเลือกและคุณภาพของบริการสาธารณะ ให้เป็ นทางเลือกคุณภาพทีเ่ ข้าถึงได้จริง
3. การส่งเสริมสิทธิเด็กและการมีสว่ นร่วมของเด็กตลอดกระบวนการนโยบาย

61
แผนภูมทิ ่ี E.1 เสาหลักของนโยบายเด็กและครอบครัวแห่งอนาคต

ทีม่ า: ปรับปรุงจาก Janta, Barbara et al, Recent trends in Child and Family Policy in EU:
European Platform for Investing in Children - Annual Thematic Report, 2019.

1) การจัดหาทรัพยากรให้เพียงพอและทัวถึ
่ งสาหรับการดูแลพัฒนาเด็ก เยาวชน และครอบครัว
การยกระดับและขยายตาข่ายทางสังคม (social safety net) ให้สงู และครอบคลุมคนทุกกลุ่มเป็ น
เรื่องที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้อกี ต่อไป ครอบครัวไทยส่วนมากไม่พร้อมรับมือกับเหตุการณ์เลวร้ายขนาด
ใหญ่ เนื่องจากโครงสร้างครัวเรือนและสังคมเปลี่ยนแปลงไปจนกระทบระบบความช่วยเหลือเกื้อกูลกัน
รวมถึงความไม่มนคงของอาชี
ั่ พ ตลอดจนข้อจากัดทางด้านทรัพย์สนิ และรายได้ทล่ี ดทอนความสามารถ
ในการดูแลกันเองในครัวเรือน
การเพิม่ สวัสดิการเพื่อดูแลเด็ก และผู้สูงอายุอย่างถ้วนหน้าและเพียงพอต่อคุณภาพชีวติ ที่ดเี ป็ น
เรื่องสาคัญทีร่ ฐั ต้องเร่งดาเนินการ เมื่อพวกเขามีทรัพยากรในการดารงชีวติ อย่างมันคงยิ
่ ง่ ขึน้ จะช่วยเพิม่
ความสามารถในการดูแลตนเอง และยังปลดปล่อยศักยภาพให้พวกเขาสามารถสร้างสรรค์ชวี ติ ส่วนตัว
ชีวติ ครอบครัว ชีวติ การงาน และชีวติ ทางสังคมได้อย่างเต็มทีม่ ากยิง่ ขึน้
การศึกษาของ สมชัย จิตสุชน 73 พบว่าเงินอุดหนุ นเด็กแรกเกิด 600 บาท/เดือนในปั จจุบนั มี
ปั ญหาทัง้ การตกหล่นและจานวนเงินไม่เพียงพอ แม้ว่าจะมีการผ่อนคลายเกณฑ์การคัดกรองจากรายได้
เฉลีย่ ของสมาชิกครัวเรือนไม่เกิน 36,000 บาท/คน/ปี ให้เพิม่ ขึน้ เป็ น 100,000 บาท/คน/ปี ในปี 2019 ซึ่ง
ทาให้มกี ารจ่ายเงินให้แก่เด็กเล็กกว่าครึ่งประเทศแล้วก็ตาม แต่ยงั พบว่ าเด็กในครัวเรือนยากจนยังตก
หล่นไม่ได้รบั ความช่วยเหลือสูงถึงร้อยละ 30 นอกจากนี้ เงินจานวน 600 บาท/เดือนนัน้ ยังไม่สอดคล้อง
กับภาระค่าใช้จ่ายในการเลี้ยงดูเด็กเล็ก ที่มคี ่าเฉลีย่ 3,373 บาท/เดือน โดยอย่างน้อยรัฐควรจะเพิม่ การ
สนับสนุนให้อยู่ท่ี 1,200-1,500 บาท/เดือน ซึ่งจะครอบคลุมค่าใช้จ่ายในการเลี้ยงเด็กในครัวเรือนยากจน
ได้ราวครึง่ หนึ่ง

62
รัฐบาลอาจพิจารณานโยบายเพิม่ ความมันคงทางการเงิ
่ นให้แก่เด็กและเยาวชนทีม่ อี ายุมากกว่า
6 ปี ได้เช่นกัน ซึ่งอาจเป็ นรูปแบบของเงินโอน หรือการส่งเสริมให้หารายได้ เสริมหรือฝึกงาน เพราะการ
เข้าสู่ระบบการศึกษานัน้ มีต้นทุน ทัง้ จากค่าใช้จ่ายด้านการศึกษาและจากค่าเสียโอกาสในการหารายได้
มาช่ ว ยเหลือ จุ น เจือ ครอบครัว ซึ่ง เยาวชนไทยในเศรษฐฐานะล่ า งมีอ ัต ราการเข้า ศึก ษาในระดับ
มัธยมศึกษาตอนปลายและอุดมศึกษาน้อยกว่ากลุ่มอื่นอย่างมีนัยสาคัญอย่างมาก
นอกจากนี้ นโยบายเด็ก เยาวชน และครอบครัว ไม่อาจมองแยกขาดจากนโยบายแรงงานได้
เนื่อ งจากแรงงานคือผู้ดูแ ลครอบครัว หลัก เมื่อ วิกฤตโควิดและวิกฤตเศรษฐกิจ ส่งผลกระทบกับกลุ่ม
แรงงานโดยตรง ท าให้ค วามสามารถในการดูแ ลตนเองและครอบครัว ลดลง โดยเฉพาะครัว เรือ น
รายได้น้อย รัฐจึงจาเป็ นต้องปฏิรูปสวัสดิการแรงงานครัง้ ใหญ่ โดยเฉพาะสวัสดิการการว่างงานและการ
ทางานต่าระดับ (underemployment) ทีเ่ ป็ นช่องว่างใหญ่ในสังคมไทย ให้มขี นาดการช่วยเหลือทีม่ ากขึน้
คานึงถึงภาระการเลีย้ งดูคนรอบตัว และขยายความครอบคลุมไปสูแ่ รงงานนอกระบบ
การเพิม่ ทรัพยากรควรมองกว้างไปกว่าตัวเงินด้วย เช่น การเพิม่ เวลาให้ครอบครัวได้อยู่พร้อม
หน้ า กัน มากขึ้น ผ่ า นนโยบายขยายสิท ธิล าคลอดของพ่ อ แม่ กลไกการช่ ว ยเหลือ ด้า นอาหารและ
โภชนาการเชิงรุกในช่วงวิกฤต ตลอดจนชุดความรูส้ าหรับพ่อแม่เพือ่ รับมือกับโลกใหม่ได้อย่างเข้าใจ
การเพิม่ ทรัพยากรให้ครอบครัวสามารถดูแลตนเองได้อ ย่างเพียงพอทัง้ ในยามปกติและยาม
วิกฤต จะทาให้พวกเขาปฏิบตั ติ ามมาตรการภาครัฐในช่วงเวลาวิกฤตได้ดยี งิ่ ขึน้ โดยเฉพาะความสามารถ
ในการปฏิบตั ติ ามมาตรการขอความร่ วมมือให้หยุดกิจกรรมสาธารณะ แล้วยังจัดการความท้าทายใหญ่
ของสังคมในอนาคตได้ ไม่ว่าจะเป็ นโครงสร้างประชากร ความเหลื่อมล้า และความเปลี่ยนแปลงทาง
เทคโนโลยี

2) การเพิ่ มทางเลือกและคุณภาพของบริ การสาธารณะ ให้เป็ นทางเลือกคุณภาพที่เข้าถึงได้จริ ง


รัฐบาลต้องจัดให้มบี ริการสาธารณะใกล้ชุมชนที่มคี ุณภาพและเข้าถึงได้จริง ลดอุปสรรคด้าน
ค่าใช้จ่ายหรือเวลาให้น้อยทีส่ ุด โดยเฉพาะการยกระดับบริการสาธารณสุขและการศึกษาสาหรับกลุ่มเด็ก
เล็กเพราะการลงทุนกับคนนัน้ ยิง่ เร็วยิง่ ให้ผลตอบแทนสูง หากเด็กมีพฒ ั นาการทางร่างกาย จิตใจ และ
การเรียนรูท้ ่ดี สี มวัย ย่อมมีโอกาสในการต่อยอดความรู้ การทางาน และความรับผิดชอบทางสังคมเมื่อ
เติบโตขึน้ ผลตอบแทนของการลงทุนนี้ยงิ่ เห็นชัดในกลุ่มเด็กเปราะบาง โดยอาจสูงถึงร้อยละ 7-13 ต่อปี
นับเป็ นการลงทุนด้านทรัพยากรมนุ ษย์ท่คี ุ้มค่ามากที่สุด 74 อีกทัง้ ยังช่วยลดความเหลื่อมล้าข้ามรุ่นได้
อย่างมีประสิทธิภาพ และสร้างสังคมทีเ่ สมอหน้าได้มากกว่า75

63
แผนภูมทิ ่ี E.2 ผลตอบแทนของการลงทุนในเด็กช่วงวัยต่างๆ

ทีม่ า: James J. Heckman, “Schools, Skills and Synapses,”


Economic Inquiry, 46(3): 289-324, 2008.

UNICEF ประเมิน ว่ า งบประมาณใช้จ่ า ยด้า นเด็ก เล็ก ควรมีส ัด ส่ ว นประมาณร้อ ยละ 1 ของ
ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) เพื่อสร้างผลลัพธ์ในเชิงคุณภาพได้จริง แต่ทผ่ี ่านมา ประเทศ
ไทยใช้งบประมาณด้านดังกล่าวเพียงร้อยละ 0.25 ของจีดพี 76ี จึงยังมีช่องว่างสาหรับการพัฒนาให้ศูนย์
เด็กเล็กและโรงเรียนอนุบาลเป็ นทางเลือกทีเ่ ข้าถึงได้จริง ทัง้ การกระจายให้เข้าใกล้แหล่งชุมชนนอกตัว
เมือง และการยกระดับคุณภาพการให้บริการ
รัฐบาลจาเป็ นต้อ งยกระดับบริก ารสุ ขภาพจิต เช่นกัน เป้ าหมายการเพิ่มจานวนจิต แพทย์ใ ห้
ครอบคลุม 63 จังหวัดเพิม่ ขึน้ จาก 55 จังหวัดในปั จจุบนั เป็ นเป้ าหมายทีเ่ ล็กเกินไป รัฐบาลควรตัง้ เป้ าให้
มีจติ แพทย์เด็กหรือนักจิตวิทยาเด็กให้ครอบคลุมอย่างน้ อยทุกจังหวัด และควรครอบคลุมระดับอาเภอใน
อนาคต นอกจากนี้ รัฐบาลยังควรกาหนดเป้ าหมายเป็ นสัดส่วนต่อจานวนเด็กในระดับทีเ่ พียงพอ สหราช
อาณาจักรเสนอให้มจี ติ แพทย์เด็กเต็มเวลา 3.6-4.8 คนต่อเด็กอายุ 0-18 ปี จานวน 100,000 คน และใน
สหรัฐเสนอให้มีจิต แพทย์ 12 คนต่อ เด็ก 100,000 คน77 หากยึดตามสัดส่ว นนี้ ประเทศไทยควรจะมี
จิตแพทย์เด็กเต็มเวลาราว 500 - 1,637 คนทัวประเทศ

บทเรียนสาคัญอีกอย่างหนึ่งจากวิกฤตครัง้ นี้คอื การบริหารงานแบบรวมศูนย์ไม่สอดคล้องกับ
สภาพบริบทในแต่ละท้องถิ่น และมีส่วนเร่งให้ปัญหารุนแรงขึ้น หรืออาจสร้างผลข้างเคียงที่ไม่จาเป็ น
อาทิ มาตรการกักตัวที่บ้านหรือในชุมชนอาจทาได้จริงในบางพื้นที่ แต่ในหลายกรณีก็ขาดความพร้อม
ทางสถานที่ จนก่ อ ให้เ กิดการแพร่เ ชื้อ ระหว่างคนใกล้ตวั ยิ่งขึ้น มาตรการปิ ดโรงเรียนทุกช่ว งชัน้ ทัว่
ประเทศอาจช่ว ยลดการแพร่ระบาดในพื้นที่ท่ีมีการระบาดสูงได้ แต่ได้พรากการเรียนรู้ของเด็กและ
เยาวชนส่วนใหญ่ ซึ่งไม่ได้อาศัยอยู่ในพื้นที่แพร่ระบาดรุนแรง และผลักให้พวกเขาเข้าสู่โลกดิจทิ ลั โดย
ขาดฐานรองรับอย่างไม่จาเป็ น

64
เงื่อนไขสาคัญที่จะเพิม่ ทางเลือกและยกระดับคุณภาพบริการสาธารณะได้ คือ การคืนอานาจ
จัดการบริก ารสาธารณะสู่ท้อ งถิ่นให้มากที่สุ ด โดยให้รฐั บาลท้องถิ่นมีอ านาจตัดสินใจและทรัพยากร
สาหรับจัดบริการสาธารณะมากขึน้ และยังสามารถดึงภาคีเครือข่ายทางสังคมเข้ามาให้บริการภายใต้การ
สนับสนุนทางทรัพยากรของภาครัฐ รัฐบาลส่วนกลางควรเปลีย่ นบทบาทมาทาหน้าทีด่ แู ลภาพรวมในเชิง
ระบบ เสริมขีดความสามารถให้กบั ผูม้ บี ทบาทอื่นๆ เข้ามาช่วยกันแก้ปัญหา และประสานงานหากมีความ
จาเป็ นต้องดาเนินการข้ามพืน้ ที่
เพื่อ สนับ สนุ น การด าเนิ น งานทัง้ ระบบ รัฐ บาลควรพัฒ นาฐานข้อ มูล ด้า นเด็ก เยาวชน และ
ครอบครัวในเชิงลึกทีส่ ามารถระบุตวั ผูต้ อ้ งการความช่วยเหลือได้ตรงจุด โดยเฉพาะการเชื่อมโยงข้อมูลที่
กระจัดกระจายอยู่ในแต่ละกรมกอง เช่น การระบุตวั และเข้าช่วยเหลือเด็กกาพร้าจากสถานการณ์โควิด-
19 รวมถึงการช่วยเหลือกลุ่มเสีย่ งต่อภาวะทุพโภชนาการผ่ านการเชื่อมโยงข้อมูล ด้านพัฒนาการทาง
ร่างกายเด็กของโรงเรียนกับข้อมูลทะเบียนราษฎร์และข้อมูลสุขภาพอื่นๆ นอกจากนี้ รัฐบาลควรพัฒนา
ตัวชี้วดั สภาพแวดล้อมของเด็ก เยาวชน และครอบครัว ทีแ่ ยกย่อยในระดับภูมภิ าคและครอบคลุมทุกมิติ
ทัง้ ความเป็ นอยู่ การเข้าถึงโอกาสและสิทธิเสรีภาพ เพือ่ ให้แก้ปัญหาคอขวดในระบบนิเวศได้ตรงจุด

3) การส่งเสริ มสิ ทธิ เด็กและการมีส่วนร่วมของเด็กตลอดกระบวนการนโยบาย


เด็กและเยาวชนต้องเป็ นผูร้ บั มือแผลเป็ นจากวิกฤตสามด้าน และเป็ นผูไ้ ด้รบั ผลกระทบจากความ
ท้าทายหลากหลายด้านในอนาคตอย่างรุนแรงและยาวนานกว่าผู้ใหญ่ใ นปั จจุบัน ดังนัน้ รัฐบาลต้อ ง
เปิ ดกว้างให้เด็กและเยาวชนมีสว่ นร่วมทางการเมืองเพิม่ มากขึน้ ทัง้ ทางตรงและทางอ้อม เพือ่ ให้พวกเขา
มีสว่ นร่วมกาหนดและขับเคลื่อนสังคมแบบทีพ่ วกเขาต้องการใช้ชวี ติ ในอนาคต
สาหรับการเมืองทางตรง รัฐบาลควรลดอายุขนั ้ ต่าของการมีส่วนร่วมทางการเมืองทางตรง และ
อานวยความสะดวกให้เด็กและเยาวชนมีส่วนร่วมในกลไกทางการได้ง่ายยิง่ ขึน้ เช่น การเข้าชื่อเรียกร้อง
แบบออนไลน์ การจัด ท างบประมาณแบบมีส่ว นร่ ว ม และการเสนอโครงการทางสัง คมเพื่อ ขอรับ
งบประมาณไปดาเนินการเองโดยตรง รัฐบาลจะต้องมีกลไกให้เด็กและเยาวชนมันใจได้ ่ ว่าพวกเขาได้ถูก
รับฟั งและรัฐบาลได้ดาเนินการอย่างเต็มความสามารถแล้ว
กลไกสภาเด็กและเยาวชนเป็ นองค์กรที่มศี กั ยภาพอย่างมากในการสะท้อนเสียงและขับเคลื่อน
สังคมทีเ่ ยาวชนต้องการเห็น แต่กลไกดังกล่าวยังมีปัญหาในหลายระดับ เพราะขาดอานาจและทรัพยากร
ในการดาเนินงาน ขาดความเชื่อมโยงกับฝ่ ายบริหารทัง้ ระดับชาติและท้องถิน่ ตลอดจนทีม่ าของสมาชิก
สภาทีย่ งั ไม่อาจเรียกว่าเป็ นตัวแทนของเยาวชนไทยได้จริง
สมาชิกสภาเด็กและเยาวชนควรมีท่ีมาจากการเลือกตัง้ และสภาเด็กและเยาวชนควรได้รบั การ
จัดสรรงบประมาณให้มคี วามแน่นอน เพียงพอ และทางานได้อย่างเป็ นอิสระ นอกจากนี้ ควรกาหนดให้มี
ผูแ้ ทนของสภาเด็กและเยาวชน หรือผูแ้ ทนเยาวชนอื่นในคณะกรรมการระดับชาติด้านเด็กและเยาวชน
รวมถึงรัฐบาลควรพิจารณาส่งร่างนโยบายสาคัญให้สภาเด็กและเยาวชนพิจารณาเพือ่ ให้ความเห็น

65
สุดท้ายนี้ เด็กและเยาวชนควรมีช่องทางในการพัฒนาสังคมรอบตัวอย่างเป็ นรูปธรรม โดยให้เด็ก
และเยาวชนมีส่ว นร่ ว มตัด สิน ใจนโยบายในชุ ม ชนและสถานศึกษา เช่ น คณะกรรมการนัก เรีย นใน
สถานศึกษามาจากการเลือกตัง้ มีผแู้ ทนนักเรียนในคณะกรรมการสถานศึกษา ภาครัฐยังสามารถสร้าง
กระบวนการงบประมาณที่ให้เด็กมีส่วนร่วมได้โดยตรง เช่น ผลักดันส่งเสริมให้มงี บประมาณสาหรับ
กิจกรรมทางสังคมที่มเี ด็กและเยาวชนเป็ นเจ้าของโครงการ ให้พวกเขาตัดสินใจใช้งบประมาณด้ว ย
ตนเอง ลดข้อจากัดในเชิงความคิดทีจ่ ะถูกตัดสินโดยเจ้าหน้าที่ภาครัฐลง เพื่อเปลีย่ นแปลงสังคมรอบตัว
ไปในแบบทีพ่ วกเขาต้องการ

ส่งท้าย: กระบวนการนโยบายที่ตอบโจทย์สงั คมไทยในโลกยุคใหม่


ท่ามกลางความท้าทายของการพัฒนาเด็ก เยาวชน และครอบครัวทีส่ งั คมไทยกาลังเผชิญ ลาพัง
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพียงอย่างเดียว อาจไม่เพียงพอต่อการ ‘ตัง้ หลักใหม่’ เพือ่ เติมความฝันของเด็ก
และครอบครัว ได้ หากแต่ ต้ อ งปรับ กระบวนการนโยบายใหม่ ด้ ว ย ทัง้ นี้ ‘คิด for คิด ส์ ’ เสนอว่ า
กระบวนการทานโยบายเด็กและครอบครัวใหม่ตอ้ งตัง้ บนฐานทีเ่ ข้มแข็ง 3 ฐาน คือ ฐานวิชาการ ฐานการ
พัฒนา และฐานประชาธิปไตย
ฐานวิ ชาการ - โลก VUCA เรียกร้องให้การดาเนินนโยบายต้องใช้หลักคิด และหลักฐานมาก
ยิง่ ขึน้ กระบวนการนโยบายจึงต้องเริม่ จากการ ‘ตัง้ คาถามทีถ่ ูกต้อง’ ในเรื่องทีส่ าคัญต่อชีวติ ของผูค้ นและ
สังคม มุ่งตอบโจทย์ท้าทายแห่งอนาคตด้วยระเบียบวิธแี ละเครื่องมือใหม่ๆ ในการทาวิจยั รับมือความ
ซับซ้อ นด้ว ยความรู้เ ชื่อ มโยงข้า มศาสตร์ วิเ คราะห์และวิพากษ์ อ ย่างตรงไปตรงมา เพื่อ ให้ได้มาซึ่ง
‘ทางเลือกเชิงนโยบาย’ ทีต่ อบไปถึงแก่นของปั ญหาและเป็ นไปได้
ฐานการพัฒนา – กระบวนการนโยบายต้องมองโจทย์การพัฒนาในระยะยาว มุ่งแก้ปัญหาเชิง
โครงสร้างและทลายข้อจากัดของสถาบันทางเศรษฐกิจ การเมือง และวัฒนธรรม เพื่อให้ผลของนโยบาย
ยังยื
่ น มันคง
่ และเป็ นธรรมในทุกมิติ
ฐานประชาธิ ปไตย - กระบวนการนโยบายต้องยึดประชาชนเป็ นศูนย์กลาง เชื่อในการมีส่วน
ร่วมและกระบวนการสาธารณะ เคารพสิทธิสว่ นบุคคลและความแตกต่างหลากหลาย เพือ่ ให้ประชาชนได้
ดาเนินชีวติ อย่างเต็มศักยภาพในทางทีต่ นเองเลือก
‘คิด for คิดส์’ เชื่อว่า รายงานฉบับนี้จะมีส่ว นในการชวนสังคมคิดและออกแบบกระบวนการ
นโยบายเด็ก เยาวชน และครอบครัวใหม่ เพื่อตอบโจทย์วกิ ฤตในปั จจุบนั และรับมือความท้าทายแห่ง
อนาคต

66
เชิ งอรรถ

บทนา: เด็กและครอบครัวไทยในสามวิ กฤต


1 “DDC COVID-19 Interactive Dashboard,” กรมควบคุ มโรค, 4 สิง หาคม 2022, https://ddc.moph.go.th/covid19-dashboard/ (เข้า ถึง
เมื่อ 4 สิงหาคม 2022).
2 UNICEF Thailand, “รายงานรวบรวมผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมของการระบาดโรคโควิด -19 ต่อเด็กและเยาวชนในประเทศไทย,”
UNICEF, พฤษภาคม 2022, https://www.unicef.org/thailand/media/8806/file/COVID-19%20Impact%20on%20Children%20TH.pdf
(เข้าถึงเมื่อ 12 สิงหาคม 2022).
3 คิด for คิดส์ คานวณจากผลสารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน (2021)
4เจณิตตา จันทวงษา, สังคมแบบไหนทีค่ นไทยอยากมีลูก ? [Policy Insights No.3] (ศูนย์ความรูน้ โยบายสาธารณะเพื่อการเปลี่ยนแปลง,
2022), น.7.
5 “Thailand,” World Inequality Database, https://wid.world/country/thailand/ (เข้าถึงเมื่อ 4 สิงหาคม 2022).
6 ศุภชัย สมผล, “การสารวจผลกระทบของโควิด-19 ต่อกลุ่มผูม้ รี ายได้น้อยในประเทศไทย,” โครงการ Social Monitoring สถานการณ์ความ
เหลือ่ มล้าในประเทศไทย, (กรุงเทพฯ: สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาตร์ วิจยั และนวัตกรรม, 2022).
7World Bank Group, “Thailand Economic Monitor: The Road to Recovery”, July, 2021.
8 Naazneen Karmali, “Thailand’s 50 Richest,” Forbes, July 6, 2022, https://www.forbes.com/lists/thailand-billionaires/?sh=
2cf04abf223e (accessed August 12, 2022).
9 World Economic Forum, The Global Risks Report 2022, 17th ed. (World Economic Forum, 2022), p. 14.
10 World Economic Forum, The Future of Jobs Report (2020).

1. เด็กและเยาวชนเผชิ ญภาวะการเรียนรู้ถดถอย พัฒนาการหยุดชะงัก


11 กระทรวงศึกษาธิการ, ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรือ่ ง ให้สถานศึกษาในสังกัดและในกากับของกระทรวงศึกษาธิการปิดเรียนด้วยเหตุ
พิเศษ, 17 มีนาคม 2020, https://moe360.blog/2020/03/17/ศธ-สังสถานศึ
่ กษาทัวประ/.

12กระทรวงศึกษาธิการ, ประการศกระทรวงศึกษาธิการ เรือ่ ง ให้สถานศึกษาในสังกัดและในกากับของกระทรวงศึกษาธิการปิดเรียนด้วย
เหตุพเิ ศษ, 2 มกราคม 2021, https://moe360.blog/2021/01/02/closed-special-reason/.
13UNESCO, “Thailand,” Global monitoring of school closures caused by covid-19, https://covid19.uis.unesco.org/global-monitoring-
school-closures-covid19/country-dashboard/ (accessed July 10, 2022).
14 Emma Dorn et al., “COVID-19 and education: The lingering effects of unfinished learning,” McKinsey & Company, July 27,
2021, https://www.mckinsey.com/industries/education/our-insights/covid-19-and-education-the-lingering-effects-of-unfinished-
learning.
15 UNICEF, The State of the Global Education Crisis, 2021, https://www.unicef.org/media/111621/file/
TheStateoftheGlobalEducationCrisis.pdf.pdf (accessed July 12, 2022).

67
16สถาบันวิจยั เพื่อการประเมินและออกแบบนโยบาย มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย, รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูล
แบบออนไลน์และการขยายผลการสารวจสถานะความพร้อมในการเข้าสู่ระบบการศึกษาของเด็กปฐมวัย สาหรับประเทศไทย ( Thailand
School Readiness Survey: Phase 4), 2022.
17 สานักเลขาธิการสภาการศึกษา, รายงานผลการศึกษาภาวะถดถอยทางการเรียนรูข้ องผูเ้ รียนระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐานในสถานการณ์โค
วิด-19: สภาพการณ์ บทเรีย น และแนวทางพัฒนาคุณภาพการเรีย นรู้ , 2022, http://backoffice.onec.go.th/uploads/Book/1932-file.pdf
(เข้าถึงเมื่อ 12 กรกฎาคม 2022).
18 UNICEF, The State of the Global Education Crisis.
19 “สถิตกิ ารศึกษาของประเทศไทย,” สานักงานเลขาธิการการศึกษา, 2021.
20 “สถิตนิ ักเรียนยากจนพิเศษ ปี การศึกษา 2018-2021,” กองทุนเพือ่ ความเสมอภาคทางการศึกษา, 2021.
21 UNESCO, “2017/2018 Global Education Monitoring Report”, 2017.

2. เด็กและครอบครัวเข้าถึงบริ การของรัฐได้ยากขึ้นในช่วงการแพร่ระบาดของโควิ ด
22กรมอนามัยและยูนิเซฟ, รายงานการสารวจการประเมินผลกระทบเบื้องต้นของสถานการณ์โควิด -19 ต่อการให้บริการในคลินิกฝากครรภ์
และคลินิกเด็กสุขภาพดี, สิงหาคม 2021.
23 “ร้อยละหญิงตัง้ ครรภ์ได้ร บั การฝากครรภ์ครัง้ แรกก่อนหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์,” คลังข้อมูลสุขภาพ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สือ่ สาร กระทรวงสาธารณสุข, 2022.
24“ร้อยละหญิงตัง้ ครรภ์ทไ่ี ด้รบั การดูแลก่อนคลอด 5 ครัง้ ตามเกณฑ์ ไตรมาสที่ 4 ปี 2020-ไตรมาสที่ 1 ปี 2022,” คลังข้อมูลสุขภาพ ศูนย์
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร กระทรวงสาธารณสุข, 2022.
25“ความครอบคลุมการได้รบั วัคซีนแต่ละชนิดครบตามเกณฑ์ในเด็กอายุครบ 1 ปี (fully immunized),” คลังข้อมูลสุขภาพ ศูนย์เทคโนโลยี
สารสนเทศและการสือ่ สาร กระทรวงสาธารณสุข, 2022.
26“ความครอบคลุมการได้รบั วัคซีนแต่ละชนิดครบตามเกณฑ์ในเด็กอายุครบ 7 ปี (fully immunized),” คลังข้อมูลสุขภาพ ศูนย์เทคโนโลยี
สารสนเทศและการสือ่ สาร กระทรวงสาธารณสุข, 2022.
27 World Bank, Impact of COVID-19 on Thailand’s households – Insights from a rapid phone survey, 2021,
https://blogs.worldbank.org/eastasiapacific/impact-covid-19-thailands-households-insights-rapid-phone-survey.
28“กรมอนามัยเปิ ดผลสารวจพบวัยเรียน "อ้วน-เตี้ย" เพิม่ 12.4%,” ไทยพีบเี อส, 24 มิถุนายน 2021, https://news.thaipbs.or.th/content/
305500 (เข้าถึงเมื่อ 10 กรกฎาคม 2022).
29 กรมอนามัย, รายงานผลการประเมิน แผนปฏิบตั กิ ารด้านโภชนาการระดับชาติ 5 ปี พ.ศ. 2562-2566 ระยะครึง่ แผน, สิงหาคม 2564.

3. เด็กและเยาวชนถูกผลักเข้าสู่โลกออนไลน์โดยขาดฐานที่จาเป็ น
30Chatchai Nokdee, “หนุนเด็กไทยใช้ส่อื ดิจทิ ลั พัฒนาตัวเองยุคโควิด,” สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ, 13 พฤษภาคม
2021, https://www.thaihealth.or.th/Content/54595หนุ นเด็กไทยใช้ส่อื ดิจิทลั %20พัฒนาตัวเองยุคโควิด.html (เข้าถึงเมื่อ 25 กรกฎาคม
2022).
31มหาวิทยาลัยมหิดล และ กองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์, “ผลการสารวจสถานการณ์การรูเ้ ท่าทันสื่อ สารสนเทศ และดิจทิ ลั
ของประชาชนไทย: โครงการวิจยั การสารวจสถานการณ์การรูเ้ ท่าทันสื่อ สารสนเทศ และดิจทิ ลั ของประชาชนไทย และจัดทาข้อเสนอเชิง
นโยบาย ปี พ.ศ.2563-2564,” 23 กุ ม ภาพัน ธ์ 2021, https://www.songsue.co/wp-content/uploads/2021/02/แถลงข่ า ว-ผลส ารวจ-
23.02.21_Final.pdf (เข้าถึงเมื่อ 25 กรกฎาคม 2022).
68
32 เพิง่ อ้าง.
33 “จานวนประชาชนอายุ 6 ปี ขน้ึ ไป จาแนกตามการใช้อนิ เทอร์เน็ต/โทรศัพท์มอื ถือ กลุ่มอายุ และเขตการปกครอง ไตรมาส 4 พ.ศ. 2564,”
ส านั ก งานสถิ ติ แ ห่ ง ชาติ , http://statbbi.nso.go.th/staticreport/Page/sector/TH/report/sector_16_201040_TH_.xlsx (เข้ า ถึ ง เมื่ อ 7
กรกฎาคม 2022).
34 สานักงานสถิตแิ ห่งชาติ, “ผลสารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน,” 2021.
35สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ , รายงานอัตราค่าบริการโทรคมนาคม
ประจาไตรมาส 3/2564 (กรกฎาคม-กันยายน 2564) (กรุงเทพฯ: สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการ
โทรคมนาคมแห่งชาติ, 2022), น.42.
36Mark Giles, “5G in Thailand: AIS Leads the Market,” Ookla, January 30, 2022, https://www.ookla.com/articles/5g-in-thailand
(accessed July 25, 2022).
37National Broadcasting and Telecommunications Commission, “Mobile ARPU excluded IC,” Thai Telecom Industry Database,
July 4, 2022, https://ttid.nbtc.go.th/mobile_arpu (accessed July 25, 2022).

4. เด็กและเยาวชนเครียดและมีปัญหาสุขภาพจิ ตมากขึ้น
38 “Mental Health Check-in,” กรมสุขภาพจิต, https://checkin.dmh.go.th/dashboards, 2022.
39 สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.), “ปั ญหา ‘สุขภาพจิต’ วัยรุ่นไทย เมื่อความสัมพันธ์เป็ นสาเหตุ,” จับตาทิศทาง
สุ ข ภาพคนไทย ปี 2564, 2020, https://resourcecenter.thaihealth.or.th/files/212/thaihealth%20watch%202021.pdf (เข้ า ถึ ง เมื่ อ 8
สิงหาคม 2022).
40 “วัยรุ่นเข้าถึงบริการสุขภาพจิตมากขึน้ ,” ไทยรัฐ, 3 มิถุนายน 2565, https://www.thairath.co.th/news/local/2409467.
41 เพิ่งอ้าง.
42 โชษิตา ภาวสุทธิไพศิฐ, “ข้อมูลโรงพยาบาลและคลินิกทีม่ จี ติ แพทย์เด็กและวัยรุ่นในจังหวัดต่างๆ,” กรมสุขภาพจิต, กรกฎาคม 2564.

5. เด็กและเยาวชนมีส่วนร่วมทางการเมือง แต่ภาครัฐสกัดกัน้ ด้วยความรุนแรงมากขึ้น


43 “Top Hashtags in Thailand,” GetDayTrends, https://getdaytrends.com/thailand/top/tweeted/year/ (เข้าถึงเมื่อ 18 กรกฎาคม 2022).
44 “หน้าหลัก,” Mob Data Thailand, https://www.mobdatathailand.org/ (เข้าถึงเมื่อ 21 กรกฎาคม 2022); “ประมวลสถานการณ์การชุมนุม
และการคุกคาม ประจาเดือนมกราคม 2565,” Mob Data Thailand, https://blog.mobdatathailand.org/posts/2022_01.html (เข้าถึงเมื่อ 21
กรกฎาคม 2022); “ประมวลสถานการณ์ การชุมนุ มและการคุ กคาม ประจาเดือ นกุมภาพัน ธ์ 2565,” Mob Data Thailand, https://blog.
mobdatathailand.org/posts/2022_02.html (เข้าถึงเมื่อ 21 กรกฎาคม 2022); “ประมวลสถานการณ์การชุมนุมและการคุกคาม ประจาเดือน
มีนาคม 2565,” Mob Data Thailand, https://blog.mobdatathailand.org/posts/2022_03.html (เข้าถึงเมื่อ 21 กรกฎาคม 2022); “ประมวล
สถานการณ์ ก ารชุ ม นุ ม และการคุ ก คาม ประจ าเดือ นเมษายน 2565,” Mob Data Thailand, https://blog.mobdatathailand.org/posts/
2022_04.html (เข้าถึงเมื่อ 21 กรกฎาคม 2022); “ประมวลสถานการณ์การชุมนุมและการคุกคาม ประจาเดือนพฤษภาคม 2565,” Mob
Data Thailand, https://blog.mobdatathailand.org/posts/2022_05.html (เข้าถึงเมื่อ 21 กรกฎาคม 2022).
45 ณั ฐ พล ทองประดู่ , “‘กฎระเบีย บ เกลีย ดระบบ’ คุ ย กับ 4 แกนน านั ก เรีย นเลวผู้ เ รีย กร้อ งสิท ธิเ หนื อ ร่ า งกายนั ก เรีย น ,” a day,
https://adaymagazine.com/bad-student (เข้าถึงเมื่อ 7 กรกฎาคม 2022); “ "องค์กรนักเรีย นเลว": นักเรีย นบุกกระทรวงศึกษาฯ เป่ า
นกหวีดไล่ รมว. ณัฏฐพล อดีต กปปส.,” BBC News ไทย, 19 สิงหาคม 2020, https://www.bbc.com/thai/thailand-53837728 (เข้าถึงเมื่อ
7 กรกฎาคม 2022).
69
46กนกรัตน์ เลิศชูสกุล และ ธนาพงศ์ เกิง่ ไพบูลย์, รายงานเบื้องต้นโครงการวิจยั การก่อตัว พัฒนาการ และพลวัตการชุมนุมบริเวณแยกดิน
แดงช่วงเดือนสิงหาคม-ตุลาคม 2564 (2021), น.6-8.
47 Karoonp. Chetpayark, “ทาไมต้อง ‘เดินทะลุฟ้า’ ? คุยกับคนร่วมขบวน ถึงการเรียกร้องที่ขบั เคลื่อนด้วยการเดิน ,” The MATTER, 2
มีนาคม 2021, https://thematter.co/social/walk-talu-fah/136897 (เข้าถึงเมื่อ 7 กรกฎาคม 2022).
48 “แนวร่วมธรรมศาสตร์ฯ ประกาศ 5 ข้อเรียกร้อง,” Thai PBS, 10 สิงหาคม 2021, https://news.thaipbs.or.th/content/306830 (เข้าถึง
เมื่อ 7 กรกฎาคม 2022); “เยาวชนปลดแอก: ใครเป็ น ใครในแกนน า-ผู้ชุม นุ ม ที่ถูก ด าเนิน คดี ,” BBC News ไทย, 20 สิง หาคม 2020,
https://www.bbc.com/thai/thailand-53846800 (เข้าถึงเมื่อ 7 กรกฎาคม 2022).
49“เปิ ดจั ก รวาลทะลุ ว ัง และผองเพื่ อ น ,” iLaw Freedom, 27 เมษายน 2022, https://freedom.ilaw.or.th/node/1051 (เข้ า ถึ ง เมื่ อ 18
กรกฎาคม 2022).
50 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2560 (6 เมษายน 2017), ม.97, 108, และ 160.
51 เพิง่ อ้าง, ม.95, 133, 236, และ 256; พระราชบัญญัตวิ ่าด้วยการออกเสียงประชามติ พ.ศ.2564 (12 กันยายน 2021), ม.20.
52 “‘จุรนิ ทร์’ สังผ่
่ าน คกก.พัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติให้ทุกหน่วยรับฟั งข้อเสนอสมัชชาเยาวชน ต้องรายงานความคืบหน้าการช่วย
แก้ ปั ญ หาทุ ก 3 เดื อ น,” รัฐ บาลไทย, 31 กรกฎาคม 2021, https://www.thaigov.go.th/news/contents/details/44295 (เข้ า ถึ ง เมื่อ 18
กรกฎาคม 2022); “ประชุมคณะกรรมการส่ งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่ งชาติ ครัง้ ที่ 1/2565,” กรมกิจการเด็กและเยาวชน,
https://www.dcy.go.th/dcy/webnew/network/?p=gallery_view&id=3301 (เข้าถึงเมื่อ 18 กรกฎาคม 2022).
53สานักงบประมาณ, เอกสารงบประมาณ ฉบับที ่ 3 งบประมาณรายจ่าย ฉบับปรับปรุง ตามพระราชบัญญัตงิ บประมาณรายจ่าย ประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. 2564 เล่มที ่ 2 (สานักงบประมาณ, 2020), น.384; สานักงบประมาณ, เอกสารงบประมาณ ฉบับที ่ 3 งบประมาณรายจ่าย
ฉบับปรับปรุง ตามพระราชบัญญัตงิ บประมาณรายจ่าย ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เล่มที ่ 2 (สานักงบประมาณ, 2021), น.389.
54 “รวมข้อ มูล ผู้บ าดเจ็บ และเสีย ชีว ิต จากการชุ ม นุ ม ในปี 2564,” Mob Data Thailand, https://blog.mobdatathailand.org/posts/2021_
injuries.html (เข้าถึงเมื่อ 18 กรกฎาคม 2022).
55 “สถิติเยาวชนถูกดาเนิน คดีจากการแสดงออกและการชุมนุ ม ปี 2563-65,” ศู น ย์ทนายความเพือ่ สิทธิมนุ ษยชน, 1 มิถุน ายน 2022,
https://tlhr2014.com/archives/24941 (เข้าถึงเมื่อ 18 กรกฎาคม 2022).
56 ดูเพิม่ : วรดร เลิศรัตน์ , ลดอายุผู้มสี ทิ ธิเลือกตัง้ จาก 18 เหลือ 15 ปี ?: ขยายสิทธิให้เสียงเยาวชนมีความหมาย [Policy Insights No.7]
(ศูนย์ความรูน้ โยบายสาธารณะเพื่อการเปลีย่ นแปลง, 2022).

6. โครงสร้างประชากรเข้าสู่สงั คมสูงวัยสมบูรณ์ ครอบครัวมีขนาดเล็กและเปราะบางยิ่ งขึ้น


57 United Nations, World Population Prospects 2022, 2022.
58 เพิง่ อ้าง.
59 “จานวนการเกิดใหม่และจานวนการเสียชีวติ ปี 2012-2021,” สานักงานสถิตแิ ห่งชาติ, 2021.
60มนสิการ กาญจนะจิตรา และคณะ, การส่งเสริมการมีบุตรผ่านการสร้างสมดุลระหว่างการทางานและการสร้างครอบครัวทีม่ คี ุณภาพ,
2016, https://www.knowledgefarm.in.th/birth-promotion/ (เข้าถึงเมื่อ 1 สิงหาคม 2022).
61 “ขนาดครัวเรือนไทย ปี 1990-2020,” สานักบริหารการทะเบียน กระทรวงมหาดไทย, 2020.
62 สถาบันวิจยั ประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล, “ครอบครัวไทยในอนาคต: พ.ศ.2583”, พฤษภาคม 2022.
63 “สถิตเิ ด็กกาพร้า เด็กถูกทอดทิง้ และต้องอยู่คนเดียวตามลาพัง,” กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมันคงของมนุ
่ ษย์, 2016.

70
64 สานักงานสถิตแิ ห่งชาติและองค์การยูนิเซฟ, “การสารวจสถานการณ์เเด็กและสตรีในประเทศไทย พ.ศ.2562 (รายงานผลฉบับสมบูรณ์)”,
สิงหาคม 2563.
65 “ศูนย์ช่วยเหลือเด็กโควิด-19,” กรมกิจการเด็กและเยาวชน, 27 กรกฎาคม 2021-17 มีนาคม 2022.
66 “เปิ ดปม: เด็กกาพร้าเฉียบพลันจากโควิด -19,” ไทยพีบเี อส, 5 ตุลาคม 2021, https://news.thaipbs.or.th/content/308378 (เข้าถึงเมื่อ 6
สิงหาคม 2022).
67 ภัททา เกิดเรือง, “ความอยู่ดมี สี ุขและปั จจัยทางเศรษฐกิจของครัวเรือนข้ามรุ่นในไทย”, 2016.
68 ศูนย์ความรูน้ โยบายเด็กและครอบครัว, “ผลสารวจความเห็นและทัศนคติของเด็กและเยาวชน”, พฤษภาคม 2022.
69 United Nations, “World Population Prospects 2022”, 2022.

7. ความไม่ลงรอยระหว่างรุ่นรุนแรงขึ้น บันทอนความสั
่ มพันธ์ภายในครอบครัว
70สรุปความจากการวิเคราะห์เนื้อหาเรื่องเล่าชีวติ และความฝั นของเด็กและเยาวชนอายุไม่เกิน 25 ปี ท่สี ่งเข้าประกวดในโครงการเรื่องเล่า
ของ “เด็กสมัยนี้” ซึง่ จัดโดย คิด for คิดส์ (2022)

บทส่งท้าย: ตัง้ หลักใหม่ เติ มความฝันเด็กและครอบครัวไทย


71 สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, “โครงการภายใต้ พ.รก. กู้เงินฯ 1 ล้านล้านบาท และ พ.ร.ก. กู้เงินฯ 5 แสนล้าน
บาท”, ThaiME, http://thaime.nesdc.go.th/
72 Janta Barbara et al., Recent trends in Child and Family Policy in EU: European Platform for Investing in Children - Annual

Thematic Report, 2019.


73 “รัฐ หัน่ งบเด็ ก แรกเกิ ด -6 ปี 600 บาท/คน/เดื อ น ปี ’66 ไปไม่ ถึ ง สิท ธิ ถ้ ว นหน้ า 4.2 ล้ า นคน,” ThaiPublica, 8 มิ ถุ น ายน 2022,
https://thaipublica.org/2022/06/child-care-subsidy8-06-2565/.
74 James J. Heckman, “Schools, Skills and Synapses,” Economic Inquiry, 46(3): 289-324, 2008.
75 World Economic Forum, The Global Social Mobility Report 2020 Equality, Opportunity and a New Economic Imperative, 2020.
76 UNESCO, Strengthening Costing and Financing of SDG 4.2 in the Asia-Pacific Region, 2020.
77Hiran Thabrew et al., “Is It Time for Child Psychiatry to Grow Up?,” Australian & New Zealand Journal of Psychiatry, 51(10):
971-973, 2017.

71

You might also like