You are on page 1of 102

มหัศจรรย์ ๑,๐๐๐ วันแรกแห่งชีวิต

สร้างคน สร้างชีวิต สร้างชาติ

หลักการและแนวทางการขับเคลื่อน
โครงการมหัศจรรย์ ๑,๐๐๐ วันแรกแห่งชีวิต
นายแพทย์ ยุทธนา พูนพานิช
ประธานคณะทางานขับเคลื่อนโครงการ
มหัศจรรย์ ๑,๐๐๐ วันแรกแห่งชีวิต เฉลิมพระเกียรติ ฯ
ผลการสารวจระดับ
สติปัญญานักเรียนชัน้ ป.1
กรมสุขภาพจิต ปี 2559

• IQ เฉลี่ย = 98.23 (ค่ามาตรฐานสากล IQ = 100)


• IQ น้ อยกว่า 90 = 31.81 % (ไม่ควรเกิน 25 %)
• IQ น้ อยกว่า 70 = 5.8% (ไม่ควรเกิน 2.5 %)
• EQ ระดับปกติขึน้ ไป = 77%
• EQ ควรได้รบั การพัฒนา = 23%
“ เด็กเกิดน้ อย ด้อยคุณภาพ ”
คาว่า “ด้อยคุณภาพ” นพ.วชิระ เพ็งจันทร์
อธิบายว่า “ เรื่องคุณภาพเด็กเกิดใหม่ แม้
ว่า ประเทศไทยจะทาได้ดีในเรื่องการลด
อัตราการเสียชีวิตของทารกหลังคลอดคือ
ตา่ กว่า 10 ต่อแสนการเกิดมีชีพ หรือตาย
ไม่ถึง 1% แต่ในเรื่องคุณภาพนัน้ ยังไม่ดี
เท่าที่ควร

เพราะยังพบว่า น้าหนักทารกแรกเกิดน้ อยกว่า 2,500 กรัม สูงถึงร้อยละ 10.4


การกินนมแม่อย่างเดียวนาน 6 เดือน มีเพียงร้อยละ 23.9 พัฒนาการล่าช้า ปี
2555 พบถึงร้อยละ 30 และปัญหาการเจริญเติบโตที่พบทัง้ ผอม เตี้ยและอ้วน
จากภาวะโภชนาการและการขาดการออกกาลังกาย ”
การพัฒนาเด็กปฐมวัย 0-6 ปีบริบรู ณ์

พัฒนาการ พัฒนาการ พัฒนาการ พัฒนาการ


ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ ด้านสังคม ด้านสติปัญญา

เด็กดี มีค ุณภาพ มีความส ุข (IQ ดี & EQ เด่น)


แผนพัฒนาสติปัญญา
(IQ & EQ)
เด็กปฐมวัย 0 - 6 ปี
โครงการมหัศจรรย์ โครงการหนูน้อย เด็กดี
1,000 วันแรกแห่งชีวิต อัจฉริยะ & แสนดี มีคณุ ภาพ
มีความสุข
ตัง้ แต่ปฏิสนธิ-คลอด
จนถึงอายุ 2 ปีบริบรู ณ์
(1,000 วัน)
+ ตัง้ แต่อาย ุ 2 ปี
จนถึง 6 ปีบริบรู ณ์
(1,825 วัน)
ร่างกาย อารมณ์
มีการเจริญเติบโตตามวัย มีความส ุขและ
ส ุขภาพแข็งแรง ใช้อวัยวะ แสดงออกทางอารมณ์
ได้อย่างประสานสัมพันธ์กนั ได้อย่างเหมาะสม

การพัฒนา
สติปัญญา เด็ก 4 ด้าน สังคม
มีการสื่อความหมาย มีการปฏิสมั พันธ์
ใช้ภาษาได้เหมาะสมกับวัย กับบ ุคคลและสิ่งแวดล้อม
และสนใจเรียนรูส้ ิ่งต่างๆ รอบตัวได้อย่างเหมาะสม
ปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนา
IQ & EQ ของล ูก
1. พันธ ุกรรม
2. อาหารและโภชนาการ
3. สิ่งแวดล้อม
3.1 ครอบครัว
3.2 การอบรมเลี้ยงด ู
3.3 สังคมและช ุมชน
3.4 การศึกษา
3.5 อื่นๆ
แม่กินอะไร...
ล ูกกินอย่างนัน้

... โปรตีน โฟเลต เหล็ก แคลเซี่ยม ไอโอดีน…


นมจืด... 90 วัน 90 กล่อง
นมแม่
...ของขวัญที่ดีที่สดุ
นมแม่ดีที่สดุ ...
มีคณ ุ ค่าทางโภชนาการสูงสุด
มีภมู ิ ค้มุ กันโรคต่างๆ WHO แนะนาให้ทารก...
ทานนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน
ทานนมแม่ต่อเนื่ องควบคู่กบั อาหารตามวัย
จนอายุ 2 ปี หรือมากกว่า
แม่ให้นมลูก เป็ นมากกว่าหน้ าที่
แต่เป็ นช่วงเวลาดีๆ ในการสร้าง
...ความไว้วางใจและ
ความผูกพันที่มนคง
ั่
ระหว่างแม่และลูก อีกทัง้ ยังสามารถ
กระตุ้นประสาทสัมผัสทัง้ 5 ของลูกน้ อย
(ตาดู หูฟัง มือสัมผัส รับรส ได้กลิ่น)
ไอโอดีน
- การเสริมไอโอดีนให้แม่ตงั ้ แต่ก่อนและขณะตัง้ ครรภ์
และเสริมไอโอดีนให้เด็กหลังคลอดเด็ก จะมีโอกาสที่
ระดับ IQ มากกว่าเด็กที่ไม่ได้รบั เสริมเลย ประมาณ 12 คะแนน
(Qian M, 2005)
- หญิงตัง้ ครรภ์ที่ขาดไอโอดีน จะให้กาเนิดบุตรที่มีสติปัญญาตา่ กว่าปกติ
- ในพืน้ ที่ที่ขาดไอโอดีนมาก นักเรียนจะมีสติปัญญาน้ อยกว่าที่ควรจะเป็ น 10-15 จุด
อัตราตายทารกจะมากกว่าปกติ ความสาเร็จในการศึกษาจะด้อยกว่าปกติชดั เจน
(ข้อมูลจาก Unicef)
การเลี้ยงล ูกที่ถ ูกต้อง
งานวิจยั ...กระทรวงศึกษาธิการของอเมริกา
แบ่งเด็กเป็น 2 กลมุ่ มีสภาพสังคมที่เหมือนกัน
1. ปล่อยให้พ่อแม่เลี้ยงตามธรรมชาติเท่าที่ครอบครัวมีความร ้ ู
2. ให้ความรูก้ บั พ่อแม่ เรือ่ งการเลี้ยงล ูกที่ถกู ต้อง
- วัด IQ เมื่อเด็กอาย ุ 3 ขวบ พบว่า เด็กที่พ่อแม่มีความรใ้ ู นการเลี้ยง
ล ูกที่ถกู ต้อง มี IQ มากกว่า 17 คะแนน
มหัศจรรย์ 1,000 วันแรกแห่งชีวิต

270 365 365


+ วัน + วัน
วัน
ตัง้ แต่ปฏิสนธิจนคลอด 1 ขวบปีแรก 2 ปีบริบรู ณ์

“นาทีทอง...พัฒนาร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา


ต้องทาใน 1,000 วันแรกของชีวิต”
วัตถุประสงค์ ผลลัพธ์
1 เพืให้่อมพัีคฒวามสมบู
นาระบบการดูแลสตรีตงั ้ ครรภ์ เด็กแรกเกิด – 2 ปี
รณ์ทงั ้ ร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา เด็กของชุมชน

กระตุ้นและส่งเสริมครอบครัว ชุมชน ให้ความสาคัญ


2 เพืกับ่อการดู
แลเอาใจใส่ต่อสตรีตงั ้ ครรภ์และเด็ก 0-2 ปี รวมทัง้
เด็กอายุ 2 ปี มี
การสร้างความผูกพันระหว่างเด็ก ครอบครัวและชุมชน ความสมบูรณ์
ด้านร่างกาย
เพื่อสร้างความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายและองค์กรต่างๆ อารมณ์ สังคม
3 ในการเพิ่มศักยภาพของครอบครัวในการดูแลสตรีตงั้ ครรภ์
และเด็ก 0- 2 ปี ด้วยการร่วมกันแก้ไขปัญหาให้กบั ครอบครัว สติปัญญา ให้กบั
ครอบครัวและ
4 เพืเพิ่่อมสร้การเข้
างโอกาสการพัฒนาและลดความเหลื่อมลา้ ด้วยการ ชุมชน
าถึงบริการทางสังคมที่พึงได้รบั ของสตรีตงั ้ ครรภ์
และเด็ก 0-2 ปี
# โอกาสที่เท่าเทียม
# เด็กก็คือเด็ก

... พวกเขาต้องได้รบั สิทธิขนั้ พื้นฐานไม่ว่า จะเป็นโภชนาการที่ดี


การเลี้ยงด ูที่ดี การศึกษาที่มีค ุณภาพ และการสนับสน ุนที่เท่าเทียม
... เราไม่ควรปล่อยให้เด็กคนไหนถูกทิ้งไว้ขา้ งหลัง และหันมาช่วยกัน
ทาให้เด็กท ุกคนในสังคม...มีโอกาสที่เท่าเทียมกัน
ผลลัพธ์คือ เด็กอาย ุ 2 ปี ที่มีความสมบูรณ์
ด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม สติปัญญาให้กบั ช ุมชน ดังนี้
1.
1 เด็กสูงดี สมส่วน
-ดช.สูงไม่ต่ากว่า 82.5 ซม. น้าหนัก ไม่ต่ากว่า 10.5 กก.
-ดญ.สูงไม่ต่ากว่า 81.0 ซม. น้าหนัก ไม่ต่ากว่า 9.5 กก.
2
2. เด็กมีฟันอย่างน้อย 12 ซี่ ฟันน้านมไม่ผ ุ
3
3. ได้รบั วัคซีนครบถ้วนตามที่กาหนด
4
4. ไม่เป็ นโรคโลหิตจางจากการขาดธาต ุเหล็ก
5
5. เด็กมีพฒ ั นาการสมวัย
• การเคลื่อนไหว : วิ่ง & กระโดด 2 ขาได้ ถอดช ุดเองได้ ตักข้าวกินเองได้
• การพูด : พูด 2 คาที่มีความหมายได้ บอกความต้องการได้ บอกอ ุจจาระได้
• การมีวินยั : เล่นแล้วเก็บของเองได้

เป้ าหมายสุดท้าย : เด็กดี เก่ง มีความสุข


ความสาคัญของ
1,000 วันแรกของชีวิต
1. สมองเจริญเติบโตและพัฒนาเร็วมาก
2. ร่างกายเจริญเติบโตเร็วมาก
3. แม่ร้สู ึกอย่างไร...ลูกรู้สึกอย่างนัน้
4. ทารกรับรู้และเรียนรู้ตงั ้ แต่ในครรภ์
5. ความไว้วางใจและความผูกพันจะเกิดขึน้
ระหว่างเด็กกับพ่อแม่ภายใน 1 ปี แรก
หลักการ...
มหัศจรรย์ 1,000 วันแรกแห่งชีวิต

1. ให้ความสาคัญกับแม่และเด็ก (Mother & Child Oriented)


2. ครอบครัวและชุมชนเป็ นฐาน (Family & Community Based)
3. การดูแลระดับบุคคลและครอบครัว (Individual & Family Care)
4. แม่มีคณ
ุ ภาพ ครอบครัวคุณภาพ เด็กมีคณุ ภาพ
•Mother & Child Oriented
•Mother & Child Focused
•Mother & Child Centered

มหัศจรรย์ 1,000 วันแรกแห่งชีวิต ไม่ได้ทาเพื่อแก้ตวั ชี้วดั


...หากแต่ทาทุกอย่างเพื่อแม่และเด็ก
มอบสิ่งที่ดีที่สดุ ให้กบั แม่และเด็ก
การใช้ครอบครัวและช ุมชนเป็นฐาน
(Family and Community based)

ทีมพัฒนาเด็กและครอบครัว
(Child and Family care Team : CFT)

การเยีย่ มบ้านสตรีตงั้ ครรภ์ เด็กและครอบครัว


•ให้ความสาคัญกับแม่และเด็ก
•พัฒนาศักยภาพของครอบครัวในการเลี้ยงด ูเด็ก
•สร้างความผูกพันระหว่างเด็ก ครอบครัว & ช ุมชน
การดูแลระดับบุคคล
(Individual care)
• การดูแลสตรีรายบุคคล ตัง้ แต่มาฝากครรภ์ครัง้ แรก จนกระทังคลอด

และดูแลทารกต่อเนื่ องตัง้ แต่แรกคลอดจนครบ 2 ปี บริบรู ณ์
• เป็ นการดูแลที่จดั ให้เฉพาะตัวบุคคล และครอบครัว
• เป็ นการดูแลองค์รวม ด้วยการประเมินกาย จิต สังคม เพื่อค้นหาปัญหา
และวางแผนแก้ไขปัญหาด้วย Care plan
ทิศทางการดูแลสตรีตงั ้ ครรภ์และทารก
“ ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย ”

ุ ภาพ ทารกแรกเกิดมีคณ
“ แม่มีคณ ุ ภาพ ”
มหัศจรรย์ 1,000 วัน
แรกแห่งชีวิต
“ แม่มีคณ
ุ ภาพ ครอบครัวคุณภาพ เด็กมีคณ
ุ ภาพ ”
แม่มีคณ
ุ ภาพ
(Quality Mother)
1. มีสขุ ภาพดี ไม่มีโรคประจาตัวหรือ มีแต่ดแู ลและจัดการได้
2. มีความรู้ในการดูแลการตัง้ ครรภ์อย่างปลอดภัยจนกระทังคลอด

3. มีความรู้ในการกระตุ้นสมองทารกในครรภ์
4. มีความพร้อมที่จะเลี้ยงดูลกู ด้วยตนเองอย่างน้ อย 3 ปี
ครอบครัวค ุณภาพ
ครอบครัวเข้มแข็ง
มีความพร้อม 4 ด้าน
1. มีความพร้อมด้านการเงิน
2. มีที่อยูอ่ าศัยและสิ่งแวดล้อมดี
3. มีความรูใ้ นการเลี้ยงล ูกที่ถกู ต้อง
4. มีสมั พันธภาพที่ดีภายในครอบครัว
เส้นทางชีวิต (Life course approach : LCA)

1. ระยะก่อนการตัง้ ครรภ์ 4. ระยะแรกเกิด - 6 เดือน


2. ระยะตัง้ ครรภ์ 5. ระยะ 6 - 12 เดือน
3. ระยะคลอด 6. ระยะ 1- 2 ปี
ทารกแรกเกิดค ุณภาพ
(Quality newborn)

1. ทารกคลอดครบกาหนด (Term pregnancy)


2. น้าหนักแรกคลอดไม่นอ้ ยกว่า 2,500 กรัม (Low Birth Weight)
3. ไม่มีภาวะขาดออกซิเจนในทารกแรกคลอด (Birth Asphyxia)
4. ไม่มีความพิการแต่กาเนิด (Congenital anomalies)
5. ไม่มีภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนแต่กาเนิด
(Congenital Hypothyroidism)
ค ุณภาพทารกอาย ุ 6 เดือน
1.ทารกกินนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน
2.ร่างกายมีการเจริญเติบโตตามเกณฑ์
3.ทารกมีพฒ ั นาการตามวัยท ุกด้าน
4.ทารกได้รบั วัคซีนป้องกันโรคตามกาหนด
5.พ่อแม่เป็นผูเ้ ลี้ยงด ูตลอด 6 เดือน
ค ุณภาพเด็กอาย ุ 1 ขวบ
(Quality Infant)

1.เด็กกินอาหารตามวัยตามหลักโภชนาการ
2.เด็กมีการเจริญเติบโตทางร่างกายตามเกณฑ์
3.เด็กมีพฒั นาการสมวัยครบท ุกด้าน
4.เด็กได้รบั วัคซีนป้องกันโรคตามที่กาหนด
5.เด็กไม่มีภาวะโลหิตจางจากการขาดธาต ุเหล็ก
6.เด็กได้รบั การด ูแลส ุขภาพฟันและช่องปาก
7.เด็กมีความไว้วางใจและความผูกพันกับพ่อแม่
ค ุณภาพเด็กอาย ุ 2 ขวบ
(Quality Toddler)
1. เด็กมีการเจริญเติบโตทางร่างกายตามเกณฑ์
2. เด็กมีพฒั นาการสมวัยครบท ุกด้าน
3. เด็กได้รบั วัคซีนป้องกันโรคตามที่กาหนด
4. เด็กไม่มีภาวะโลหิตจางจากการขาดธาต ุเหล็ก
5. เด็กมีฟันครบถ้วนและส ุขภาพฟันดี
6. เด็กมีความไว้วางใจ (Trust) และมีความผูกพัน
(Attachment)กับพ่อแม่และครอบครัว
7. เด็กมีความเป็นตัวของตัวเอง (Autonomy)
การด ูแลองค์รวม
& Care plan
จิตประภัสสร มหัศจรรย์ การเลี้ยงล ูกด้วยวิธี
ตัง้ แต่นอนอยูใ่ นครรภ์ 1,000 วันแรก กิน กอด เล่น เล่า
แห่งชีวิต

กิจกรรมทางส ุขภาพ กิจกรรมทางสังคม

ดอกไม้...มหัศจรรย์พนั วัน
กิจกรรมทางสุขภาพ
• กิจกรรมการดูแลและการบริการด้านสุขภาพของสตรี
ตัง้ แต่ระยะก่อนการตัง้ ครรภ์จนถึงคลอด และเด็กแรก
เกิดจนถึงอายุ 2 ปี บริบรู ณ์
• เป็ นการยกระดับมาตรฐานงานอนามัยแม่และเด็ก ด้วย
การสร้างระบบการดูแลแม่และเด็กที่ดีมีคณ ุ ภาพร่วมกัน
ในทุกระดับ มีความต่อเนื่ องเชื่อมโยงกัน ตัง้ แต่ รพ.สต.
รพ.ชุมชน รพท.และรพศ.
กิจกรรมทางสุขภาพ
ต.โคกมังงอย

อ. คอนสวรรค์ จ.ชัยภูมิ
กิจกรรมทางสังคม
1. กิจกรรมที่สร้างความเข้มแข็งให้สตรีตงั ้ ครรภ์และครอบครัวในการ
แก้ไขปัญหาด้านสังคมและเศรษฐกิจของสตรีตงั ้ ครรภ์และครอบครัว
เป็ น การยกระดับมาตรฐานคุณภาพชีวิต
2. กิจกรรมที่สร้างความรัก ความอบอุ่นและความผูกพันระหว่างเด็ก
ครอบครัวและชุมชน ได้แก่ กิจกรรมด้านศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี
เพื่อเชื่อมโยงเด็ก ครอบครัวและชุมชนให้เป็ นหนึ่ งเดียว
3. กิจกรรมที่สนับสนุนกิจกรรมทางสุขภาพ เพื่อแก้ปัญหาสุขภาพของแม่
และเด็กได้แก่ การจัดตัง้ กองทุน การจัดหานมจืด/ไข่ การรับบริจาค ฯลฯ
ยกระดับ
คุณภาพชีวิต
กิจกรรมทางสังคม
ต. สระพัง
อ. บ้านแท่น จ. ชัยภูมิ
กลไกและเครือ่ งมือ
กลไก เครือ่ งมือ
ทีมพัฒนาเด็กและครอบครัว
1. การด ูแลแบบองค์รวม
Child and Family care Team : CFT
2. จิตประภัสสรตัง้ แต่นอน
•CFT จังหวัด
•CFT อาเภอ
อยูใ่ นครรภ์
•CFT ตาบล/หมูบ่ า้ น 3. การเลี้ยงล ูก ด้วยวิธี
“กิน กอด เล่น เล่า”
ทีมพัฒนาเด็กและครอบครัว
(Child & Family care Team: CFT)

แพทย์/พยาบาล
นักวิชาการ
นายก อปท. กานัน /
และทีม ผูใ้ หญ่บา้ น

อาจารย์/
นักเรียน ทีม CFT ผูอ้ าว ุโส/
ปราชญ์ชาวบ้าน

อสม./ เจ้าอาวาส
จิตอาสา /พระสงฆ์
คหบดี
และอื่นๆ
บทบาทและหน้ าที่ของทีม CFT ตาบล
1. ขับเคลื่อนและจัดกิจกรรมต่างๆ ของโครงการมหัศจรรย์พนั วัน
2. เยี่ยมบ้านเพื่อให้กาลังใจสตรีตงั ้ ครรภ์และครอบครัว
อย่างน้ อยเดือนละ 1 ครัง้
3. พัฒนาศักยภาพของสตรีตงั ้ ครรภ์และครอบครัวให้มีความพร้อม
ในการเลี้ยงลูกโดยการประเมินกาย จิต สังคมและทา Care plan
4. ประสานขอความร่วมมือจากองค์กรต่างๆในชุมชุน เพื่อแก้ไขปัญหา
และยกระดับคุณภาพชีวิตของสตรีตงั ้ ครรภ์และครอบครัว
5. จัดกิจกรรมอื่นๆที่เกิดประโยชน์ กบั หญิงตัง้ ครรภ์และเด็ก
และสร้างโอกาสในการพัฒนาเด็กให้ครบทัง้ 4 ด้าน
ทีม CFT
“ ปัญหาที่อยากแก้
ความดีที่อยากทา ”
- กลุ่มคนที่มาจากหลายภาคส่วน มาทางานร่วมกัน เพราะเห็นปัญหาร่วมกัน
ปัญหาเดียวกัน ร่วมระดมสมอง เพื่อ…ปัญหาที่อยากแก้ ความดีที่อยากทา
ร่วมแรงร่วมใจ ร่วมแก้ไขปัญหาและพัฒนา ให้ครอบครัวมีศกั ยภาพที่เข้ม
แข็ง สามารถดูแลหญิงตัง้ ครรภ์และเด็กได้
- ความมหัศจรรย์เกิดจากการลงมือทาของทีม CFT ด้วยการพัฒนาคุณภาพ
ชีวิต...เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กบั เด็กและครอบครัว
Coffee or Tea (5 minutes)
Biology Social

Psychological
การด ูแลแบบองค์รวม
การด ูแลบ ุคคล หรือ การด ูแลคนๆหนึ่ง ด้วยการด ูแลทัง้ ในด้าน
ร่างกาย จิตใจและสังคม นอกจากนี้ การด ูแลแบบองค์รวมยังหมายถึง
การด ูแลบ ุคคล รวมทัง้ ครอบครัวของเขา และช ุมชนที่เขาอาศัยอยูด่ ว้ ย
การดูแลแบบองค์รวม
การประเมินกาย จิต สังคม
การจัดทาแผนการด ูแล
(Bio-psycho-social assessment)
(Care plan)
สังค

จิต 1.แผนการด ูแลบ ุคคล
2.แผนการด ูแลครอบครัว
กา 3.แผนการด ูแลช ุมชน

ทีมพัฒนาเด็กและครอบครัว (ทีม CFT)
การเยี่ยมบ้าน
การประเมินกายจิตสังคม & Care plan

การสนับสนุนทางสังคม ยกระดับคุณภาพชีวิต

1.การสนับสนุนด้านอารมณ์ ครอบครัวคุณภาพ
2.การสนับสนุนด้านสิ่งของและบริการ
3.การสนับสนุนด้านข้อมูลข่าวสาร
4.การสนับสนุนด้านการยอมรับและเห็นคุณค่า
ครอบครัวค ุณภาพ
ครอบครัวเข้มแข็ง
มีความพร้อม 4 ด้าน
1. มีความพร้อมด้านการเงิน
2. มีที่อยูอ่ าศัยและสิ่งแวดล้อมดี
3. มีความรูใ้ นการเลี้ยงล ูกที่ถกู ต้อง
4. มีสมั พันธภาพที่ดีภายในครอบครัว
ทีม CFT กับการดูแลองค์รวม

การเยี่ยมบ้าน
Individual care plan : ICP

การดูแลองค์รวม Family care plan : FCP

•ประเมินกายจิตสังคม Community care plan : CCP


•ประเมินครอบครัว
ทีม CFT
…เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา
• ทีม CFT ต้องใช้เครื่องมือที่เรียกว่า การดูแลองค์รวม
ด้วยการประเมินกาย จิต สังคม ของหญิงตัง้ ครรภ์ และครอบครัว
เพื่อค้นหาและทาความ...เข้าใจ...กับปัญหาที่เกิดขึน้
• การเยี่ยมบ้านจะทาให้...เข้าใจปัญหา และความต้องการของหญิง
ตัง้ ครรภ์ ทัง้ ยังเป็ นการ...เข้าถึงครอบครัว และเกิดความร่วมมือ
• Care plan ก็คือ แผนแก้ไขปัญหาของสตรีตงั ้ ครรภ์...พัฒนาศักยภาพ
ของครอบครัว ที่จะดูแลเด็กให้ดีที่สดุ
มหัศจรรย์ 1,000 วันแรกแห่งชีวิต
การด ูแลองค์รวม

แม่ค ุณภาพ เด็ก 2 ปี


ทีม CFT
ครอบครัวค ุณภาพ มีค ุณภาพ
กรณีตวั อย่าง รพ.สต.บ ุแปบ อ.ลาปลายมาศ จ.บ ุรีรมั ย์
• สตรีตงั้ ครรภ์ อาย ุ 18 ปี
• Teenage pregnancy
• ฐานะยากจน อ่านหนังสือไม่ออก
-หลานสาว ได้นมกล่องจากโรงเรียนเอามาให้คนท้องกินแทน
-คนท้องอ่านหนังสือไม่ออก หลานสาวอ่านให้ฟัง แต่บางคาก็อ่านไม่ออก
จากการประเมินกายจิตสังคม (Bio-Psycho-Social)
ปัญหา..ว่าที่ค ุณแม่คนใหม่ในช ุมชน
ระดับบ ุคคล
ประเมินทางกาย
• แม่ตงั้ ครรภ์วยั รนุ่ ทารกแรกคลอดอาจจะเป็น Low birth weight
• ผอม BMI ก่อนตัง้ ครรภ์ 16.6 (ค่าปกติ18.5)
• ครรภ์เล็กกว่าเกณฑ์ (31 wks วัด size 26 ซม ) **ANC first 3wks
ประเมินทางจิตสังคม
• เครียด เพราะตายายทะเลาะกัน เรื่องไม่มีเงินเลี้ยงหลาน และเหลน
• อ่านหนังสือไม่ออก ไม่อยากไปเรียน อายคนอื่น (LD)
• ไม่มีอาชีพ ไม่มีรายได้ กินอยูแ่ บบประหยัดเท่าที่หาได้
• อยากมีงานทา อยูบ่ า้ น/ใกล้บา้ นด ูแลล ูกได้
ปัญหา..ว่าที่ค ุณแม่คนใหม่ในช ุมชน

ระดับครอบครัว
• รายได้ครอบครัวไม่แน่นอน ไม่มนั่ คง กินอยูแ่ บบประหยัดเท่าที่หาได้
• ผูห้ ารายได้คือ ตาบ ุญมี ขับมอเตอร์ไซค์ไปรับหอม ผัก ตามสวนที่ อ.หนอง
หงส์ มาขายตลาดลาปลายมาศ ตัง้ แต่ 5ทมุ่ -สว่าง ถ้ามีความจาเป็นต้อง
ใช้เงิน เงินลงท ุนก็จะหมด ไม่มีเงินไปลงท ุนใหม่
• ไม่อยากปล ูกผักเอง เพราะเปลืองค่าน้า ไม่มีเงินจ่ายค่าน้า
• สามี(พ่อป้อม)..เป็ นล ูกจ้างร้านวัสด ุก่อสร้าง 07.00-17.30 น
รายได้ 200บาท/วัน
ปัญหา..ว่าที่ค ุณแม่คนใหม่ในช ุมชน

ระดับช ุมชน
• มีพิธีผกู ข้อมือแต่งงาน ช ุมชนรับร ้ ู ตัง้ ครรภ์พร้อมแต่ไม่ได้วางแผน
• ANC 3 wks แม่หล่า อสม.เป็นผูใ้ ห้คาแนะนา
• เข้าโครงการ1,000วัน ได้รบั นมสนับสน ุน 90 วัน 90 กล่องที่ GA
27 wks
• อปท.เป็นผูส้ นับสน ุนงบประมาณในการจัดซื้อนม
• ผูกข้อมือรับขวัญ ภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง
• ทีม CFT ตาบล/หมูบ่ า้ น ยังไม่ได้แสดงบทบาท
สร ุปปัญหาของหญิงตัง้ ครรภ์และแนวทางแก้ไข

1. ตัง้ ครรภ์วยั รนุ่ แต่พร้อม เด็กตัวเล็ก เสี่ยงกับ Preterm & LBW ได้นมจืดช้า
ภาวะโภชนาการไม่ดี
วิธีแก้ไขคือ
1.1 เพิ่มนมจืดวันละ 2 กล่อง เพิ่มไข่ วันละ 2-3 ฟอง
1.2 นาส่งไปพบสูติแพทย์ (MFM) เพื่อค้นหาความเสี่ยงและแนวทางป้องกัน
วิธีแก้ไขคือ
2. อ่านหนังสือไม่ออก วิธีแก้ไขคือ
2.1 ค้นหานักเรียนมัธยมในหมูบ่ า้ น เป็นจิตอาสามาอ่านหนังสือให้ล ูกในท้องฟัง
2.2 ขอความช่วยเหลือจากครู ก.ศ.น.มาช่วยสอนหนังสือ
สร ุปปัญหาของหญิงตัง้ ครรภ์และแนวทางแก้ไข

3. ครอบครัวยากจน รายได้ต่ามีคนหารายได้เพียง 2 คน
ไม่ปล ูกผัก เพราะว่า กลัวเสียค่าน้า
วิธีแก้ไขคือ หาวิธีเพิ่มรายได้ สร้างอาชีพ ต้องให้ทีม CFT
ตาบล/หมู่บา้ นมาช่วย
4. ตายายทะเลาะกัน เรือ่ งไม่มีเงินเลี้ยงหลาน สร้างความกดดัน
ให้แม่และล ูกในท้อง
วิธีแก้ไขคือ ทาความเข้าใจกับตาและยาย อาจจะต้องนิมนต์
พระสงฆ์ในหมู่บา้ นมาช่วยด้วย
จิตประภัสสร...
ตัง้ แต่นอนอยู่ในครรภ์
จิตประภัสสร
• จิตที่บริสทุ ธ์ ิ ผุดผ่อง
• จิตที่ผอ่ งใส
• จิตที่ไม่ข่นุ มัว
จิตเดิมแท้ของลูกในครรภ์
...ยังเป็ นจิตประภัสสร
จิตประภัสสร เป็ นทุนชีวิต
ให้เด็กทีจ่ ะเกิดมา
แม่รส้ ู ึกอย่างไร...ล ูกรส้ ู ึกอย่างนัน้
•แม่ที่อารมณ์ดี จะหลัง่ สารแห่งความส ุข
คือ Endorphin ที่ผา่ นไปยังล ูกได้ ทาให้ล ูก
อารมณ์ดี และมีความส ุข
•แม่ที่เครียด หง ุดหงิด โมโหง่าย จะหลัง่
สารแห่งความเครียดคือ Cortisol ที่ผา่ น
ไปยังล ูก จะขัดขวางพัฒนาการของล ูกทัง้
ร่างกายและสมองที่กาลังสร้างขึ้น
• การรักษาใจของแม่ เป็นการพัฒนาจิตของแม่และล ูก ไปพร้อมกันตลอด
9 เดือน โดยมีพ่อและวงศาคณาญาติเป็นผูเ้ กื้อก ูล
• การฝึกสมาธิจะทาให้ใจของแม่และล ูก กลับมาอยูใ่ นสภาวะจิตประภัสสร
และทาให้ล ูกอารมณ์ดี เลี้ยงง่าย มีพฒ
ั นาการดีทงั้ IQ & EQ
จิตประภัสสร...ตั้งแต่นอนอยู่ในครรภ์
“ ครรภ์ของแม่ คือ โลกของลูก ”

ครัง้ ที่ 1 : ฝากครรภ์ครัง้ แรก


“ เปิดสมองล ูกด้วยรัก ”
ครัง้ ที่ 2 : อาย ุครรภ์ ๒๐-๒๖ สัปดาห์
“ สร้างสมองล ูกด้วยรัก ”
ครัง้ ที่ 3 : อาย ุครรภ์ ๓๒-๓๖ สัปดาห์
“ ลมหายใจของแม่คือ ลมหายใจของล ูก ”
จิตประภัสสร
...ท ุนชีวิต…ที่พ่อแม่ให้ล ูกได้ตงั้ แต่ในครรภ์
การพัฒนาเด็กแรกเกิด-2 ปีบริบรู ณ์

พัฒนาการ พัฒนาการ พัฒนาการ พัฒนาการ


ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ ด้านสังคม ด้านสติปัญญา

การเลี้ยงล ูกด้วยวิธี กิน กอด เล่น เล่า

เด็กดี มีค ุณภาพ มีความส ุข


เครือ่ งมือที่ 3
การเลี้ยงล ูกด้วย
วิธีกิน กอด เล่น เล่า
- แรกเกิดถึง 6 เดือน นมแม่ดีที่ส ุด
(Breast feeding)
- 6 เดือนถึง 2 ปี อาหารตามวัย
(Complementary feeding)

กิน… ที่มากกว่ากิน
1. การเจริญเติบโตและพัฒนาการ
2. พัฒนาความไว้วางใจ ความผูกพันและความเป็นตัวของตัวเอง
3. พัฒนาด้านอารมณ์ สังคมและสติปัญญา
อาหารตามวัยสาหรับทารก
(Complementary food)

อาหารอื่นที่ทารกได้รบั เป็นมื้อ นอกจากนมแม่หรือนมผสม


เพื่อให้ทารกได้รบั สารอาหารครบถ้วนและพอเพียง สาหรับการ
เจริญเติบโต ช่วยให้ทารกปรับตัวจากการกินอาหารเหลวเป็น
อาหารกึ่งแข็งกึ่งเหลว และอาหารแบบผูใ้ หญ่ เพื่อให้มีพฒ
ั นาการ
ในการกินที่เหมาะสมต่อไป
การให้อาหารตามวัยสาหรับทารก
“ เหมาะสม เพียงพอ สะอาดและปลอดภัย ”
กอด...มหัศจรรย์แห่งสัมผัส
วิธีที่เร็วที่ส ุดในการกระตน้ ุ การหลัง่ ฮอร์โมนอ็อกซิโตซิน...
ฮอร์โมนแห่งความผูกพัน จะช่วยสร้างความส ุขและสงบให้แก่จิตใจ
งานวิจยั พบว่า...“ ยิง่ ทารกถ ูกกอดมากเท่าไหร่
เซลล์สมองก็จะเติบโตมากเท่านัน้ ”
การสัมผัสลูกน้ อยแรกเกิด
ให้แม่กอดสัมผัสทารกแบบเนื้ อแนบเนื้ อ (skin-to-skin contact)
ภายในครึ่งชม.หลังคลอด...
พ่อแม่ควรสัมผัสลูกด้วยความอ่อนโยน อุ้ม โอบกอด
ทาให้เขารู้สึกอบอุ่น จะช่วยกระตุ้นพัฒนาการที่ดีให้ลกู ได้
กอด
เป็นสิ่งสาคัญมากๆ สาหรับทารก
เพราะเป็นพื้นฐานของความอบอนุ่
มัน่ คง ทาให้เด็กเกิดความรส้ ู ึกรัก
และภ ูมิใจในตัวเอง
อุ้ม...กอด...สัมผัส พัฒนาลูกครบทัง้ 4 ด้าน
ร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา รวมทัง้
...ความไว้วางใจ ความผูกพันและความเป็ นตัวของตัวเอง
ค ุณพ่อ...กอดล ูกตัง้ แต่อยูใ่ นครรภ์
การเล่น คือ การส่งเสริมพัฒนาการ
การเล่น คือ การเรียนร ้ ู
การเล่น คือ การพัฒนาอย่างมีชีวิตชีวา
การเล่น คือ งานของเด็ก
การเล่น
• การเล่น เป็ นการกระทาเพื่อความสนุกหรือผ่อนคลายอารมณ์
• เป็ นการเสริมสร้างความผูกพันทางอารมณ์ ระหว่างเด็กกับพ่อแม่
• เริ่มได้ตงั ้ แต่แรกเกิดจากการมอง การสัมผัส การใช้เสียง การใช้ท่าทาง
• พ่อแม่มีบทบาทในการเล่นร่วมกับเด็ก คอยให้กาลังใจใกล้ ๆ ทาให้ลกู
รู้สึกอบอุ่นและปลอดภัย มีความรู้สึกมันใจที
่ ่จะเรียนรู้ ลองทาสิ่งใหม่ๆ
กระตน้ ุ สมองผ่าน
การเล่นและทาซ้าๆ
• ทารกแรกเกิด มีเซลล์สมองแสนล้านเซลล์ เซลล์ที่ได้รบั การกระตน้ ุ
จะมีการพัฒนาอย่างมากและรวดเร็ว เซลล์ที่ไม่ได้ใช้ จะฝ่อตายไป
• สมองทารก...ควรได้รบั สารอาหารที่ถกู ต้อง ครบถ้วน ร่วมกับการ
กระตน้ ุ การทางานของเซลล์สมอง ผ่านการส่งเสริมพัฒนาการท ุกๆ
ด้านอย่างเหมาะสม
• เด็กเล็กๆ เรียนรูผ้ า่ นทางประสาทสัมผัสทัง้ 5
• เรียนรูผ้ า่ นทางการเล่นและทาซ้าๆ จนเกิดความชานาญ แต่ตอ้ ง
ได้รบั ความรัก ความเอาใจใส่ ความอบอนุ่ และจากพ่อแม่อย่างต่อ
เนื่องสม่าเสมอ และพ่อแม่ควรจัดกิจกรรมให้เหมาะสมกับล ูกตามวัย
จ๊ะเอ๋! เล่นง่ายๆ...พัฒนาสมองล ูก
เด็กอาย ุ 1 ปี 6 เดือน
- กล้ามเนื้อมีพฒ ั นาการเพิ่มมากขึ้น
สามารถเดิน วิ่ง กระโดด
- ใช้น้ ิวมือหยิบจับสิ่งของได้ดีข้ ึนมาก
- พ่อแม่ควรวางวัตถ ุสี่เหลี่ยมในแนว
ตัง้ ให้เด็กด ูและทาตาม
- ถ้าทาไม่ได้ ให้จบั มือทา
- การพัฒนากล้ามเนื้อมือเป็นพื้นฐาน
ของการจับดินสอ วาดรูปและขีดเขียน
วัยต่อบล็อก
พัฒนาการสะด ุด...
ถ้าไม่หย ุดสมาร์ทโฟน

สื่อมีจอ...สมาร์ทโฟน โทรทัศน์ แทปเล็ต คอมพิวเตอร์


ส่งผลกระทบต่อพัฒนาการของสมองและสมาธิของเด็ก
ห้ามเด็กอาย ุต่ากว่า 2 ปี ใช้หน้าจอท ุกชนิด
เด็ก 2-5 ปี ให้จากัดเวลาการใช้สื่อมีจอ ไม่เกินวันละ 1 ชัว่ โมง
พ่อแม่คือของเล่นที่ดีที่ส ุด...สาหรับล ูก
การเล่านิทาน... สิ่งสาคัญและยิ่งใหญ่
สาหรับโลกของเด็ก
รอให้ถึงอนุบาล…ก็สายเสียแล้ว
3 สิ่งสาคัญทีส่ ุดในชีวติ
ถูกสร้างขึน้ ใน 3 ขวบปี แรก
1.ความไว้วางใจ (Trust)
2.ความผูกพัน (Attachment)
3.ความเป็ นตัวของตัวเอง (Autonomy)
ทาอย่างไร…
ให้เด็กเกิดความไว้วางใจ

• ทาให้เด็กรว้ ู ่า...แม่มีจริง
• การเลี้ยงด ูอย่างสม่าเสมอ ทาให้เด็กไว้วางใจสิ่งแวดล้อม
• แม่เริม่ มีจริง เมื่อเด็กอาย ุ 6 เดือน
ชัดเจนมากขึ้นเรือ่ ยๆจน 3 ขวบ
• ถ้าเด็กที่ไม่ไว้ใจสิ่งแวดล้อม...จะเป็นอย่างไร
ความผูกพัน...สาคัญอย่างไร

• เมื่อแม่มีจริงแล้ว...เด็กจะเกิดความผูกพัน (Attachment)
• ความผูกพัน... เป็นตัวกาหนดพฤติกรรมของเด็ก เด็กจะทาดีหรือไม่
ก็จะคิดถึงพ่อแม่เสมอ
• ความผูกพันที่ดี ทาให้เป็นเด็กดี เชื่อฟังคาสัง่ สอนของพ่อแม่
• ครอบครัวอบอนุ่ ...เกิดจากความผูกพันที่ดีและมัน่ คง
ความผูกพันทางอารมณ์
(Attachment)
• ความผูกพันระหว่างแม่หรือบุคคลสาคัญที่เป็ นส่วนหนึ่ งในชีวิตกับเด็ก
• ความสัมพันธ์อนั ลึกซึ้งทางจิตใจ ที่ส่งผลให้เด็กมีความรู้สึกมันใจ

และปลอดภัยที่จะทาสิ่งต่างๆ เมื่อมีแม่อยู่ใกล้ ๆ
• เป็ นความสัมพันธ์พิเศษ ความสัมพันธ์ที่สามารถช่วยจัดการอารมณ์ได้
• เริ่มพัฒนาตัง้ แต่ขวบปี แรก ชัดเจนขึน้ ในปี ที่ 2 และมันคงในปี
่ ที่ 3
ความเป็นตัวของตัวเอง (Autonomy)
• เมื่ออาย ุ 3 ขวบ เด็กจะสร้าง “ตัวตน” ของตัวเองที่ชดั เจน
สามารถควบค ุมการเคลื่อนไหวต่างๆ และควบค ุมการขับถ่ายได้ดี
• ถึงเวลาแยกตัวเองออกจากแม่ บางคนจะถ่ายโอนแม่ไปไว้ที่ ผ้าห่ม หมอน
ตกุ๊ ตา ระยะหนึ่งแล้วจึงแยกตัวเป็นอิสระ (Autonomy)
• เด็กจะมีตวั ตนให้รกั เอาใจใส่ด ูแล เรียนหนังสือ คบเพื่อน หาแฟน
เมื่อโตขึ้นจะรักตนเองและไม่ใช้พฤติกรรมเสี่ยง
สิ่งที่สาคัญสาหรับเด็กวัย 0-3 ปี
แท้จริงคือ การอยูก
่ บั พ่อแม่
…สร้างความไว้วางใจให้ล ูก
…สร้างความผูกพันที่ดีต่อกัน
…สร้างความเชื่อมัน่ ในตัวเองให้ล ูก
เตรียมตัวเตรียมใจของล ูกให้พร้อม
ก่อนที่จะเปิดตัวออกสูโ่ ลกภายนอก
การด ูแลองค์รวม
& Care plan
จิตประภัสสร มหัศจรรย์ การเลี้ยงล ูกด้วยวิธี
ตัง้ แต่นอนอยูใ่ นครรภ์ 1,000 วันแรก กิน กอด เล่น เล่า
แห่งชีวิต

กิจกรรมทางส ุขภาพ กิจกรรมทางสังคม

ดอกไม้...มหัศจรรย์พนั วัน
มหัศจรรย์ 1,000 วันแรกแห่งชีวิต
...จะเริ่มต้นอย่างไร

1. นาเรื่องเข้าที่ประช ุม พชอ.
2. จัดตัง้ คณะกรรมการขับเคลื่อนมหัศจรรย์ 1,000 วันระดับอาเภอ
3. การเตรียมความพร้อม
4. ศึกษาวิธีการประเมินกาย จิต สังคม & care plan
5. การอบรม “ จิตประภัสสรตัง้ แต่นอนอยูใ่ นครรภ์ ”
6. การอบรม “ การเลี้ยงล ูกด้วยวิธีกิน กอด เล่น เล่า ”
7. อื่นๆ
การเตรียมความพร้อม (Preparation)

การประช ุมสร้างความเข้าใจ การประช ุมเพื่อความเข้าใจ


กับภาคีเครือข่าย ร่วมกับโรงพยาบาลพี่เลี้ยง

การแต่งตัง้ ทีม CFT การพัฒนาระบบการด ูแล


ระดับตาบลและหมูบ่ า้ น สตรีตงั้ ครรภ์และเด็ก 0–2 ปี
ให้ต่อเนื่องและเชื่อมโยงกัน
การประช ุมชี้แจงรายหมูบ่ า้ น
การยกระดับมาตรฐานและ
การสารวจกลมุ่ เป้าหมาย ค ุณภาพในการด ูแล
สตรีตงั้ ครรภ์และเด็ก 0 – 2 ปี
การเตรียมนมจืด
การเตรียมยาและเวชภัณฑ์
การให้ความรูท้ ีม CFT
อื่นๆ
หัวใจแห่งความสาเร็จ
(The Heart of Success)

1. ความเข้มแข็งของทีม CFT
2. งานอนามัยแม่และเด็กมีคณ ุ ภาพและมาตรฐาน
3. การลงทุนอย่างจริงจังเพื่อแม่และเด็ก
“Our Loss is our gain” “ขาดท ุน คือ กาไร”

• ดร.ส ุเมธ ตันติเวชก ุล บอกเล่าไว้ในหนังสือ “การทรงงาน


พัฒนาประเทศ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ”
“ สาหรับพระองค์จะเป็ นการแก้ไขปั ญหาโดยใช้ค่าใช้จ่ายน้อยที่สดุ
ตา่ ที่สดุ แต่หากเป็นปัญหาที่เกี่ยวข้องกับมน ุษย์นนั้ บางครัง้
แพงแสนแพงก็ตอ้ งทา เพราะชีวิตมน ุษย์เราจะไปตีราคาแบบ
วัสด ุสิ่งของไม่ได้ ซึ่งพระองค์ตรัสว่า ขาดท ุน คือ กาไร
Our Loss is our gain การเสีย คือ การได้ ประเทศชาติก็จะ
ก้าวหน้า และการที่คนอยู่ดมี สี ขุ นัน้ เป็ นการนับที่มลู ค่าเงินไม่ได้
Mr. Thomas Davin
ผูแ้ ทนกองทุนเพื่อเด็ก
แห่งสหประชาชาติ
(UNICEF) ประเทศไทย

“ ทุกฝ่ ายต้องร่วมกันแก้ปัญหาเรื่องนี้ โดยหันมาให้ความสาคัญ


กับการลงทุนพัฒนาเด็กปฐมวัยเป็ นลาดับแรก เพราะช่วง 1,000
วันแรกของชีวิต ถือเป็ นช่วงที่สาคัญที่สดุ ของการพัฒนาเด็ก ซึ่ง
เราไม่ควรพลาดโอกาสที่สาคัญยิ่งนี้ ”
จัดระบบการทางานให้ดี มีคุณภาพ
1 เพื่อดูแลสตรีตั้งครรภ์และเด็กแรกเกิด 0-2 ปี

ให้ความสาคัญกับสตรีตั้งครรภ์และเด็ก
2 มากกว่า...ตัวชี้วัด
สิ่งที่เราต้องทา
ไม่เพียงแค่เติมเต็มส่วนขาด แต่ต้องพัฒนา
&
ระลึกอยูเ่ สมอ
3 และแต่งเติมให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น

สตรีตั้งครรภ์และเด็กอยู่ที่บ้าน
4 กับครอบครัวและชุมชน

ไม่ใช่ Routine care แต่เป็น


5 Individual & Family care
เมื่อครบ 2 ปี ...ดูแลต่อเนื่องให้ครบ 6 ปี บริบูรณ์

“ โครงการหนูนอ้ ยอัจฉริยะและแสนดี ” (Good IQ & Great EQ)


... ศ ูนย์เด็กเล็ก & รร.อน ุบาล ...เป็นฐานสาคัญ
• อาหารและโภชนาการ
• กิน กอด เล่น เล่า
• การเลี้ยงล ูกด้วยวินยั เชิงบวก
• การด ูแลแบบองค์รวม
• การเรียนรแ้ ู บบไฮสโคป
“ โลกต้องการคนดี
…ไม่ใช่เพื่อให้มารับรางวัล
แต่เพื่อช่วยกัน ทาชีวิตและ
สังคมให้ดีขนึ้ ”

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์
(ป.อ.ปยุตโฺ ต)
It ’s a Miracle.
“ ความมหัศจรรย์เกิดขึ้นกับ
...เด็กและครอบครัว
ความส ุขเกิดขึ้นกับ
...พวกเราที่ลงมือทา ”
พิธีสง่ มอบหนูนอ้ ยมหัศจรรย์ 1,000 วัน
ณ บ้านใหม่โนนโชงโลง ม. 19
ต. ดงใหญ่ อ. พิมาย จ. นครราชสีมา
วันที่ 5 มีนาคม 2563
พิธีส่งมอบหนูน้อยมหัศจรรย์ 1,000 วัน
ณ บ้านใหม่โนนโชงโลง ม. 19
ต.ดงใหญ่ อ.พิมาย จ.นครราชสีมา
1. ขอให้สร้างคนดีให้แก่บ้านเมือง
2. การสร้างคนดีนัน้ เป็ นเรื่องที่ยากและยาว แต่กต็ ้องทา
3. ขอให้ถือเป็ น “หน้ าที่”
“หน้ าต่างแห่งโอกาส : โอกาสทองของชีวิต”

“ 1,000 วันแรกของชีวิตคือ หน้ าต่าง


แห่งโอกาสบานแรกของเด็ก เวลาใน
แต่ละวันของเด็กคนนัน้ มีค่ามาก เรา
จะยอมให้มนั ผ่านไปโดยไม่ได้ทาอะไร
ที่เกิดประโยชน์ กบั เด็กคนนัน้ หรือ ”

สวัสดีครับ

You might also like