You are on page 1of 53

Psychology of Learning

จิตวิทยาการเรียนรู ้
่ ยวข้
จิตวิทยาทีเกี ่ องก ับการศึกษา
 1. จิตวิทยาบุคลิกภาพ ( Psychology of
Personality)
 2. จิตวิทยาการเรียนรู ้ (Psychology of
Learning)

 3. จิตวิทยาเกียวกั
บความคิดหรือความรู ้
ความเข้าใจ
(Psychology of Thinking or
Cognition)
 4. จิตวิทยาพัฒนาการ (Developmental
Psychology)
จิตวิทยาพัฒนาการ

การศึกษาถึงพัฒนาการ
ในวัยต่างๆมีบทบาท
สาคัญต่อการจัดการ
เรียนการสอนในขันของ ้

พัฒนาการนัน เพือให้่
่ ของ
เด็กเป็ นสมาชิกทีดี
่ ของสังคม
 การเป็ นสมาชิกทีดี
(Socialization)
มีผลต่อพัฒนาการอย่างยิง่
เพราะพฤติกรรมของคนจะ
สามารถปร ับให้ดข ึ้
ี นหรือเลวลง
ในช่วงใดก็ได้ ถ้าสภาพการณ์
ในชีวติ ของคนผู น ้ั
้ นเปลี
ยน่
Socialization มีอท
ิ ธิพลต่อพัฒนาการ

 ่
Anderson มองเกียวกับ
พัฒนาการว่า
พัฒนาการคือ ความสามารถทีคน ่

จะพึงตนเองและควบคุ มตนเองได้
 ่
Havighurst มองเกียวกับ
พัฒนาการว่า
กระบวนการพัฒนาการในแต่ละวัย
จะประกอบไปด้วยการ

การทาความเข้าใจเรืองพั ฒนาการ
 ในการทาความเข้าใจเกียวกั ่ บ
พัฒนาการของมนุ ษย ์ เป็ นความ

 จาเป็ นทีจะต้ องทาความเข้าใจทัง้
ทางด้านร่างกาย ชีววิทยา
 สติปัญญา สังคม อารมณ์ และ
รู ปแบบต่างๆของพฤติกรรม

 พฤติกรรมแต่ละอย่างจะเปลียนแปลง
่ กพัฒนาขึน
เมือเด็ ้
่ ้
สรุปพัฒนาการทางร่างกาย

 นับตังแต่
แรกเกิดถึงวัยชรา ร่างกาย
จะพัฒนาอย่างเป็ นระบบและต่อเนื่ อง
ผมจะยาวขึนทุ้ กๆนาที และสีของผมจะ
แสดงความชราคือผมหงอก เว้นแต่

บางรายทีผมหงอกก่ อนวัย ฟั นจะขึน ้
และหลุดไปตามวัย ตาจะดีในระยะแรกๆ
่ งวัยชราจะเห็นไม่ช ัด ส่วนใหญ่จะ
เมือถึ
เป็ นสายตายาว จึงต้องสวมแว่นตา หู
ในระยะวัยเด็กประสาทหู จะไว แต่ถงึ วัย
ชราหู จะตึง และอวัยวะส่วนอืนๆ่ ก็เป็ น
สรุปพัฒนาการทาง
สติปัญญา

 แรกเกิด ในวัยทารกสมองจะเจริญขึน

เรือยๆ ่
สัมผัสและร ับรู ้ในสิงแวดล้อม
ต่างๆ
 วัยเด็ก เกิดอ ัตมโนทัศน์วา ่ ตนเองสาคัญ
สนใจแต่ตนเอง ช่วงความสนใจสัน ้ ไม่
ร ับรู ้เหตุผล อยากรู ้อยากเห็น
 วัยเด็กตอนปลาย รู ้จักใช้เหตุผล รู ้คิด
สร ้างความคิดรวบยอดได้
 วัยรุน ่ ่ างๆทีเป็
สามารถเรียนรู ้สิงต่ ่ น
สรุปพัฒนาการทาง
สังคม
 ระยะแรกเกิด จะยึดตนเองเป็ นศู นย ์กลาง
คือรู ้จักตนเองและกระทา

เพือตนเอง
 วัยรุน ่
่ จะยึดเพือนเป็ นศู นย ์กลาง มี
ความรู ้สึกทีต้ ่ องพึงพาอาศ
่ ่
ัยเพือน

รู ้จักคบเพือนต่ างเพศ รู ้จักเลือกคู ค ่ รอง

เพือเตรี ยมใช้ชวี ต ิ คู ่

 วัยผู ใ้ หญ่ เริมใช้ ชวี ต
ิ คู แ
่ ละสร ้าง
ครอบคร ัวมีบุตรไว้สบ ื สกุล
สรุปพัฒนาการทาง
อารมณ์
 ระยะแรกเกิดถึงวัยเด็ก เด็กจะมี
ื่
อารมณ์ตนเต้ น พอใจ-ไม่พอใจ
กลัว โกรธ เกลียด ยินดี
ร ัก อิจฉาและร่าเริง
 วัยรุน
่ จะพัฒนาอารมณ์ร ัก เป็ นร ัก
เพศตรงข้าม อารมณ์วต ิ กกังวล
่ั
อารมณ์รว่ ม อารมณ์ชวแล่ น อารมณ์
สุนทรียภาพ อารมณ์ทเกิ ี่ ดจากการ
สัมผัสโดยตรง (อยากรู ้อยากเห็น
ขยะแขยง) และอารมณ์ทเกิ ี่ ดจากการ
ประโยชน์ของการศึกษา
จิตวิทยาพัฒนาการ
 มนุ ษย ์ในแต่ละว ัยจะมีความ
้ างกาย สติปัญญา
แตกต่างก ัน ทังร่
อารมณ์ และสังคม
 การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ควรจัดให้สอดคล้องกับพัฒนาการ
ของผู เ้ รียนในแต่ละว ัย

 ครู สามารถกาหนดเนื อหาและ

กิจกรรมต่างๆทีเหมาะสมก ับ

การทาความเข้าใจเรืองพัฒนาการ
ก ับการจัดการศึกษา
 เพราะเหตุใด แนวความคิดใน
การจัดการศึกษา
 นักการศึกษาบางกลุ่มจึงเน้น
บทบาทของครู เป็ น
สาคัญ
 หรือบางกลุ่มเน้นบทบาทของ

การทาความเข้าใจเรือง
พัฒนาการ
 พัฒนาการเป็ นผล
เนื่ องมาจาก
 Maturation วุฒภ
ิ าวะ
 Learning การเรียนรู ้
การเรียนรู ้
องค ์ประกอบ ของ
พัฒนาการ
 1. วุฒภ
ิ าวะ ( maturation)

หมายถึง การเปลียนแปลงซึ ง่
เนื่องมาจากความเจริญงอก
งามทางด้านร่างกาย ซึงจะ ่
่ ได้
รวมถึงสิงที ่ ร ับถ่ายทอดทาง
พันธุกรรมด้วย โดยมี

สิงแวดล้อมเป็ นตัวเสริม
องค ์ประกอบ ของ
พัฒนาการ
 2. การเรียนรู ้ (Learning)


คือ การเปลียนแปลง
พฤติกรรมทีค่ ่ อนข้างถาวร อ ัน
เป็ นผลมาจากการฝึ กหัด และ
การได้ร ับประสบการณ์ตา ่ งๆ
คาว่า maturation

 เป็ นกระบวนการ

เปลียนแปลงซึ ่
งจะนาไปสู ่
maturity เป็ นการ

เปลียนแปลงทางด้ าน
ร่างกาย ทางกรรมพันธุ ์
เป็ นไปโดยธรรมชาติ ไม่
คาว่า maturity

่ มสมบู รณ์
 เป็ นสภาวะทีเต็
หรือหมายถึงสภาพความ
เป็ นผู ใ้ หญ่ทุกๆส่วนของ
ร่างกายพร ้อมทีจะท ่ างานได้

อย่างเต็มทีตามวั ย
คาว่า readiness

 หมายถึงความพร ้อม
ทางด้านการเรียน ซึงต้่ อง
สืบเนื่ องมาจากร่างกายมีวุฒ ิ
ภาวะเสียก่อน
 ในช่วงของการพัฒนาการจะมี

จุดสู งสุดทีจะสอนสิ ่ างๆให้ก ับเด็ก
งต่
เด็กจะเรียนทักษะใดทักษะหนึ่ งได้
อย่างรวดเร็วและบังเกิดผลดี จุดๆ

นันเราเรี ยกว่า “ ความพร ้อม ”
่ นจุดเริมต้
ซึงเป็ ่ นของ “Critical
period” หรือ “sensitive period”

เป็ นระยะทีไวต่ อการเรียนรู ้
 “sensitive period ” (Critical

period) เป็ น ระยะทีไวต่ อการ
เรียนรู ้ ประสบการณ์หรือ
เหตุการณ์ใดๆทีเกิ่ ดขึนในช่
้ วง

นี จะมี
ผลต่อพัฒนาการในระยะ
หลังๆ
 ถ้าเด็กพลาดโอกาสทีจะได้่
เรียนหรือได้กระทาในช่วงวัยที่
ความพร ้อม กับแนวคิดการจัด
การศึกษา
่ ครู
 สิงที ่ ตอ
้ งทาความเข้าใจ
คือ ความพร ้อม ซึงถื่ อว่า
่ าคัญใน
เป็ นองค ์ประกอบทีส
การจัดการเรียนการสอน

 ความเห็นทีแตกต่
างของ
นักการศึกษา
 1. ควรรอให้เด็กพร ้อมเสียก่อน

ความเห็นทีแตกต่
างของนักจิตวิทยา

 กลุ่มที่ 1. ควรรอให้เด็กพร ้อม


เสียก่อน “Natural ”
Readiness Approach

 กลุ่มที่ 2. ความพร ้อมเป็ นสิงที


่ ่ เร่ง

ให้เกิดเร็วขึนได้
“Guided - experience”
Approach

ความเห็นทีแตกต่
างของนักจิตวิทยา

- ควรรอให้เด็กพร ้อมเสียก่อน
 กลุ่มที่ 1 “Natural” Readiness
Approach

เห็นว่า ความพร ้อมเป็ นเรือง
ของธรรมชาติ เด็กจะไป
โรงเรียนต้องมีความพร ้อม ถ้า
ยังไม่พร ้อมก็ให้รอ

ความเห็นทีแตกต่ างของ
นักจิตวิทยา
- ความพร ้อมสามารถเร่งให้

เกิดขึนได้
 กลุ่มที่ 2 “Guided-experience”
Approach
เห็นว่า ความพร ้อมจะสามารถ

เร่งให้เกิดขึนได้
โดยการจ ัด
ประสบการณ์ให้ไม่จาเป็ นต้องรอ

การช่วยให้เด็กมีความพร ้อมเร็วขึน
่ ควรทาอย่างไร
โรงเรียนทีดี

 จะต้องสนับสนุ นกิจกรรมของเด็ก
อย่างหลากหลาย
 มีการสารวจและให้เด็กได้ลงมือ
กระทาด้วยตนเอง
 ครู ตอ
้ งไม่พยายามใช้วธ
ิ ล
ี ด
ั โดยวิธ ี
บอก หรือป้ อนความรู ้ให้แก่เด็ก
การจัดกิจกรรมใน
ห้องเรียน

่ จด
 กิจกรรมต่างๆทีครู ้
ั ขึนใน

ห้องเรียน จะต้องยัวยุให้ เด็กได้ใช้
ความสามารถทีมี ่ ในต ัวให้เกิดการ
เรียนรู ้ และทาให้เด็กได้มคี วาม
เข้าใจโลกรอบๆต ัวเขาอย่างค่อย
เป็ นค่อยไป
 งานทีส ่ าค ัญของครู กค
็ อ
ื การ
หลักทัว่ ไปของ
พัฒนาการ
 - พัฒนาการของเด็ ่
กโดยทัวไป จะมี
บางส่วนเหมือนก ัน

 - ยีนส ์และสิงแวดล้ อมเป็ นตัวกาหนด
ความแตกต่าง ทาให้
เด็กแต่ละคนมีความแตกต่างๆ
 - ในระยะแรกๆของชีวต ิ พัฒนาการ
เป็ นผลรวมของ
maturation เป็ นส่วนใหญ่ เป็ น
พฤติกรรมทีท ่ านายได้
ี่ ยวข้
ทฤษฎีทเกี ่ องกับการ
พัฒนาการมนุ ษย ์

 1. ทฤษฎีพฒั นาการทาง
บุคลิกภาพ
 2. ทฤษฎีพฒ ั นาการทาง
สติปัญญา
 3. ทฤษฎีพฒ
ั นาการทาง
จริยธรรม
ี่ ยวข้
ทฤษฎีทเกี ่ องกับการ
พัฒนาการมนุ ษย ์
ี่ ยวข้
ทฤษฎีทเกี ่ องกับการ
พัฒนาการมนุ ษย ์
 2. ทฤษฎีพฒ
ั นาการทาง
สติปัญญา
 2.1 ทฤษฎีพฒ
ั นาการทาง
สติปัญญา “Piaget”
 2.2 ทฤษฎีพฒั นาการทาง
สติปัญญา “Bruner”
ี่ ยวข้
ทฤษฎีทเกี ่ องกับการ
พัฒนาการมนุ ษย ์
 3. ทฤษฎีพฒั นาการทาง
จริยธรรม
 3.1 ทฤษฎีพฒ ั นาการทาง
จริยธรรมของ
“Kolberg ”
1.1 ทฤษฎีจต
ิ วิเคราะห ์ของฟรอยด ์
 Freud เจ้าของทฤษฎี Psychoanalytic
Theory
 “ ประสบการณ์แต่เยาว ์วัยจะมีอท ิ ธิพลต่อ
พฤติกรรมของบุคคลในระยะเวลาต่อมา
(บุคลิกภาพ) โดยเฉพาะประสบการณ์
ชนิ ดรุนแรง ( traumatic
experience)
 ระยะ critical period ของคนจะอยู ่ใน
ระหว่างวัย 6 ปี แรกของชีวต ่
ิ ซึงแบ่ ง
ออกเป็ น 3 ระยะด้วยกัน คือ
 ระยะที่ 1 Oral stage อายุ 1 -

สิงแวดล้ ่
อมทีเหมาะสม ในช่วงแรก
ของชีวต
ิ สาค ัญอย่างไร
 Hebb (1949)กล่าวว่า การจัด

สิงแวดล้ อมทีดี่ ในช่วงแรกของชีวติ จะ

เป็ นเสมือนพืนฐานส าหร ับพัฒนาการ
ทางด้านสติปัญญาต่อไป

 Hunt (1961) กล่าวว่า ถ้าเราจัด



สิงแวดล้ ่ ให้กบ
อมทีดี ั เด็กในช่วง 6 ปี
แรกของชีวต
ิ จะช่วยให้เด็กมี

สิงแวดล้ ่
อมทีเหมาะสม ในช่วงแรก
ของชีวต
ิ สาค ัญอย่างไร
กล่าวว่า เราสามารถจัด
 Bruner (1960)

สิงแวดล้ อม ประสบการณ์เพือช่ ่ วยให้

เด็กเกิดการเรียนรู ้ขึนได้ แต่ตอ้ ง
สอดคล้องกับคุณลักษณะของเด็กใน
้ ฒนาการนันด้
ขันพั ้ วย

“ Any subject can be taught effectively


honest form to any child at any stage
of development ” (1960, p. 33)

สิงแวดล้ ่
อมทีเหมาะสม ในช่วงแรก
ของชีวต
ิ สาค ัญอย่างไร
 Bloom (1964) กล่าวว่า 8 ปี แรกของ
ชีวต ่ ความสาคัญมาก
ิ เป็ นช่วงทีมี
ฉะนัน้ ถ้าจัดประสบการณ์ในช่วงนี ให้ ้
ดี จะช่วยเพิม่ I.Q. เพราะ I.Q.
ของผู ใ้ หญ่ 50% ได้มาในช่วงอายุ 4
ขวบ และ 80 % ได้มาเมืออายุ่ 8 ขวบ

 การศึกษาในระด ับอนุ บาล


และประถมต้นเป็ นช่วง
1.2 ทฤษฎีพฒ
ั นาการทางสังคมของ
อีริคสัน
 Erikson เจ้าของทฤษฎี “Erikson’ s
Theory of Development ” มีแนวคิดว่า

การอบรมเลียงดู เด็กในแต่ละขัน ้ ถ้า
เหมาะสมก็จะส่งเสริมให้เด็กเป็ นผู ท ี่
้ มี
สุขภาพจิตดี มีชวี ต ่ ความสุข แต่
ิ ทีมี
ถ้าไม่เหมาะสม เด็กก็จะมีปัญหาการ
ปร ับตัว
 เน้นสัมพันธภาพระหว่างบุคคลและ
สังคม ่
ทีจะมีผลต่อการพัฒนา
บุคลิกภาพ

ิ สัน แบ่งขันการพั
อิรค ้
ฒนาการออกเป็ น 8 ขัน

้ ่ 1 ความไว้วางใจ / ไม่ไว้วางใจ ( 0 – 1 ปี )
 ขันที
้ ่ 2 ความเป็ นตัวของตัวเอง / ความไม่มนใจใน
 ขันที ่ั
ตนเอง ( 1 – 2 ปี )
้ ่ 3 ความคิดริเริม
 ขันที ่ / ความรู ้สึกผิด ( 3 – 4 ปี )
้ ่ 4 ความขยันหมันเพี
 ขันที ่ ่ อย
ยร / ความรู ้สึกตาต้
( 5 – 11 ปี )
้ ่ 5 ความเป็ นเอกลักษณ์ / ความสับสนใน
 ขันที
บทบาท ( 12 – 18 ปี )
้ ่ 6 ความผู กพัน / การแยกตัว ( วัยผู ใ้ หญ่
 ขันที
ตอนต้น )
แนวคิดของอิรค ่ อท
ิ สันทีมี ิ ธิพลต่อ
การศึกษา ่ ้
 ระดับอนุ บาล - เป็ นวัยทีกล้ามเนื อ
ต่างๆกาลังพัฒนา
- เป็ นวัยทีพร่ ้อมจะ
่ างๆเร็วมาก
เรียนรู ้สิงต่
บทบาทครู ควรเปิ ดโอกาสให้เด็ก
ได้ทดลองทาสิงต่ ่ างๆอย่างอิสระคอย
ช่วยเหลือแนะนาอยู ่ห่างๆ กระตุน ้ ให้
เกิดความคิดริเริม ่
แนวคิดของอิรค ่ อท
ิ สันทีมี ิ ธิพลต่อ
การศึกษา ่
 ระดับประถม - เด็กต้องการเป็ นที

ยอมร ับของครู และเพือน
- ต้องการความสาเร็จ
จากการทางานสู ง

 บทบาทของครู ควรสอนให้เด็ก
เกิดความพึงพอใจกับการทางานให้
เสร็จสมบู รณ์ โดยมีความตังใจและ้
ความขยันขันแข็ง ต้องระวังอย่าให้
่ อยสู เ้ พือนไม่
พัฒนาความรู ้สึกตาต้ ่ ได้
แนวคิดของอิรค ่ อท
ิ สันทีมี ิ ธิพลต่อ
การศึกษา ่
 ระดับมัธยม - ช่วงวัยรุน
่ เป็ นวัยที
กาลังแสวงหาเอกลักษณ์ของ
ตนเอง
- มีความเป็ นตัวของตัวเอง
/ ไม่มจี ด
ุ ยืนของตนเอง
บทบาทของครู สิงที ่ จะต้
่ องทาคือ
สัมพันธภาพระหว่างครู -นักเรียน
ความเมตตา ความเข้าใจ
และความสนใจในตัว
้ ฒนาการของ ฮาวิก
1.3 งานตามขันพั
เฮอร ์สท
 Havighurst “ ในแต่ละช่วงวัยของชีวต ิ

นันจะมี งานประจาวัย ซึงเป็่ นงานที่
เด็กแต่ละคนควรจะทาได้ในช่วงวัย
นันๆ้ เป็ นงานของชีวต ่ องทาให้ได้
ิ ทีต้
ในช่วงวัยนันๆ ้ ถ้าบุคคลไม่ประสบ

ผลสาเร็จในงานนันๆก็ จะมีผลต่อการ
ปร ับตัว
้ ฒนาการของ Havighurst
งานตามขันพั

 มีประโยชน์ตอ
่ การจัดการศึกษา อยู ่ 2
ประการ
้ ตถุประสงค ์ใน
 1. ช่วยให้สามารถตังวั
การจัดการเรียนการสอนในโรงเรียน
ทาอย่างไรโรงเรียนจึงจะสามารถช่วย
ั เรียนแต่ละคนบรรลุ “งาน” ใน
ให้นก
แต่ละวัยได้

 2. ช่วยให้จด
ั การเรียนการสอนได้
2.1 ทฤษฎีพฒ
ั นาการทางสติปัญญา
“Piaget”
 Piaget เจ้าของ ทฤษฎีพฒ ั นาการทางด้าน
สติปัญญาและความคิด กล่าวว่า การ
เจริญเติบโตทางสมองของเด็ก ส่วนหนึ่ ง
เป็ นผลมาจากวุฒภ ิ าวะและการ
ปฏิสม ั พันธ ์อย่างต่อเนื่ องกับสิงแวดล้
่ อม
ภายนอก
ทาให้เด็กได้ดูดซึมประสบการณ์ใหม่ๆ
ให้รวมอยู ่ในโครงสร ้างของเชาวน์ปัญญา

และปร ับตัวกับสิงแวดล้ อม
 - Organization
เป็ นการจัดภายในโดยวิธ ี รวม
กระบวนการต่างๆเข้าเป็ นระบบ

อย่างติดต่อกันเป็ นเรืองเป็ นราว เช่น
เด็กเล็ก เห็น ของแล้ว คว้า
่ กทากิจกรรม 2 อย่างได้ใน
การทีเด็
เวลาเดียวกัน เรียกว่า
เป็ นการรวมกระบวนการเข้าเป็ น
ระบบ
 - Adaptation

เพียเจท ์ แบ่งขันการพั
ฒนาการทาง

สติปัญญา ออกเป็ น 4 ขัน

้ ่ 1 การร ับรู ้ด้วยประสาทสัมผัสและ


 ขันที

การเคลือนไหว ( 0 – 2 ปี )
้ ่ 2 การคิดก่อนมีเหตุผล ( 2 – 7 ปี )
 ขันที
้ ่ 3 การคิดแบบมีเหตุผลเชิงรู ปธรรม
 ขันที
( 7 – 11 ปี )
้ ่ 4 การคิดแบบมีเหตุผลเชิง
 ขันที
นามธรรม ( 11 – 15 ปี )
แนวคิดของเพียเจท ์มีอท
ิ ธิพลต่อ
การศึกษา
 ทฤษฎีพฒ
ั นาการทางด้านสติปัญญาและ
ความคิดของเพียเจท ์มีอท ิ ธิพลเป็ นอย่าง
มากต่อการจัดการศึกษา โดย นัก
การศึกษาได้นามาใช้ในการพัฒนา
หลักสู ตรให้มค ี วามยากง่ ายเหมาะกับระดับ
ของเด็ก
 การจัดให้มศ ่
ี ู นย ์กิจกรรมต่างๆเพือให้เด็ก
ได้เลือกประสบการณ์การเรียนเอง
 เด็กควรได้ร ับการส่งเสริมการพู ด การ
แสดงความคิดเห็น การโต้แย้ง เพือช่ ่ วย
2.2 ทฤษฎีพฒ
ั นาการทางสติปัญญา
“Bruner”
 Bruner มีความเห็นว่า ความพร ้อมเป็ น
่ สามารถสอนให้
สิงที ่ ้
เกิดเร็วขึนได้

โดยการจัดสิงแวดล้
อมให้สอดคล้องกับ
้ ฒนาการ
ขันพั

 การจัดการเรียนการสอน ครู สามารถ


่ วยให้เกิดความ
ช่วยจัดประสบการณ์เพือช่
พร ้อมได้ โดยไม่ตอ
้ งรอให้เกิดความ
่ นการ
พร ้อมตามธรรมชาติ ซึงเป็
บรู เนอร ์ แบ่งพัฒนาการทางความรู ้ ความเข้าใจ
ของมนุ ษย ์ เป็ น 3 ลักษณะ

 ลักษณะที่ 1 การกระทา ( อายุ 2 – 7


ปี )
 Enactive representation
 ลักษณะที่ 2 การสร ้างภาพในใจ (
อายุ 7 – 11 ปี )
 Iconic representation
 ลักษณะที่ 3 การใช้สญ
ั ลักษณ์ ( อายุ
11 – 15 ปี )
่ ผลต่อ
ความคิดเห็นของ บรู เนอร ์ ทีมี
การศึ กษา
 1. ทาให้ตระหนักถึงการจัดวัสดุอปุ กรณ์ท ี่
เหมาะสมในการสอนให้กบ ั เด็กเล็กๆ เพือ ่
กระตุน ้ การกระทา ให้เกิดการร ับรู ้ง่ าย
 2. เน้นความสาคัญของผู เ้ รียน มี
บทบาทและคิดค้นกระทาสิงต่ ่ างๆด้วย
ตนเอง ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู ้แบบ
discovery learning
 3. เราสามารถจัดการสอนเนื อหาวิ ้ ชา
ใดๆ ให้กบ ั เด็กในช่วงใดของชีวต ิ ได้ ถ้า
รู ้จักเลือกวิธก ่
ี ารทีเหมาะสม
3.1 ทฤษฎีพฒ
ั นาการทาง จริยธรรม
ของ “Kolberg ”

ี่ ยวข้
 เป็ นทฤษฎีทเกี ่ องกับการให้เหตุผล
ทางจริยธรรม โดยศึกษาแนวทางจาก
งานวิจย ั ของเพียเจท ์
่ กโตขึนจะเลื
 เมือเด็ ้ อกกระทาพฤติกรรม
โดยคานึ งถึงส่วนรวมหรือชุมชนมาก
้ และลดการกระทาเพือตนเองลง
ขึน ่
ระด ับของการให้เหตุผลทางจริยธรรม
3 ระด ับ
 ระดับที่ 1 ระดับก่อนเกณฑ ์ (อายุ 2-10 ปี )
 เหตุผลทางจริยธรรม ความคาดหวังใน
รางว ัล หรือการถูกลงโทษ
 ้ ่ 1 หลักการหลีกเลียงมิ
ขันที ่ ให้
ถูกลงโทษ (อายุ 2-7 ปี )
 ่
เด็กเชือกฎเกณฑ ่
์เพือ
ไม่ให้ถูกลงโทษ
 ้ ่ 2 หลักการได้ร ับรางวัล
ขันที
(อายุ 7-10 ปี )
 พฤติกรรมบุคคลจะคล้อย
ระด ับของการให้เหตุผลทางจริยธรรม 3
่ ระด ับ
 ระดับที 2 ระดับตามกฎเกณฑ ์ (อายุ 10-16 ปี )
 เหตุผลทางจริยธรรม มีพนฐานอยูื้ ่บนการ
คล้อยตามบุคคลอืน ่
 และมาตรฐานทางสังคม
 ้ ่ 3 หลักการทาตามความเห็นของ
ขันที
ผู อ ื่
้ น(อายุ 10-13 ปี )
 ่ ผู
จะทาในสิงที ่ อ ื่
้ นเห็ นว่าดี ให้
ผู อ ื่
้ นยอมร ับในต ัวเขา
 ้ ่ 4 หลักการทาตามหน้าที่ (อายุ
ขันที
13-16 ปี )
ระด ับของการให้เหตุผลทางจริยธรรม 3
่ ระด ับ
 ระด ับที 3 ระดับเหนื อกฎเกณฑ ์ (อายุ 16

ปี ขึนไป)
 เป็ นระด ับสู งสุดของการให้เหตุผลทาง

จริยธรรม พืนฐานการกระท าอยู ่บนมาตรฐาน
และความเชือส่ ่ วนบุคคล
 ้ ่ 5 หลักการมีเหตุผลและเคารพ
ขันที
ตนเอง
 ยอมร ับกฎเกณฑ ์แบบ
ประชาธิปไตย ควบคุมตนเองให้อยู ่
 ่
ในกรอบไม่ทาอะไรทีจะไป
กระทบสิทธิของผู อ ื่
้ น
้ ่

You might also like