You are on page 1of 2

การวัดความสูงของต ้นไม ้ (TREE HEIGHT)

การความสูงของวัตถุ เช่น วัดความสูงของต ้นไม ้ ความสูงของตึก เป็ นต ้น นั กเรียนอาจไม่สามารถวัดได ้โดยตรง


เราสามารถใช ้ไคลโนมิเตอร์ (Clinometer) ซึง่ เป็ นเครือ ่ งมือแบบง่ายๆ
สาหรับวัดมุมเพือ ่ หาความสูงของวัตถุ มีเส ้นโค ้งวงกลมทีม ่ ข
ี ด
ี แบ่งช่ององศาตัง้ แต่ 0 ถึง 90
องศา ดูภาพที1 ่ เมือ
่ นั กเรียนยกไคลโนมิเตอร์ขน ึ้ มองวัตถุผา่ นหลอดพลาสติก เส ้นเชือกทีผ ่ ูกน็ อตโลหะ หรือ
วงแหวน ไว ้จะตกลงมาตามแรงโน ้มถ่วงของโลกมาสัมผัสส่วนโค ้งของวงกลมเกิดมุม BVW ซึง่ จะมีคา่ เท่ากับมุม
BAC ซึง่ เป็ นมุมเงยของไคลโนมิเตอร์ นักเรียนสามารถอ่านค่ามุม BVW ได ้จากไคลโนมิเตอร์
ถ ้านักเรียนทราบค่ามุมเงยและระยะทางทีห ่ า่ งจากวัตถุ
นักเรียนก็สามารถคานวณความสูงของวัตถุด ้วยสมการอย่างง่ายได ้

ภาพที่ 1 ไคลโนมิเตอร์

วิธก
ี ารตรวจว ัด

ขนตอนที
ั้ ่ 1 เลือกต้นไม้

ในพืน
้ ทีศ ึ ษาของนั กเรียน ให ้นักเรียนวัดความสูงของทัง้ พืชพันธุเ์ ด่น (พืชพันธุท
่ ก ์ ม
ี่ ม
ี ากทีส
่ ด
ุ ในพืน
้ ทีศ ึ ษา)
่ ก
และพืชพันธุเ์ ด่นรอง (พืชพันธุท ์ ม
ี่ ม
ี ากรองลงมาในพืน
้ ทีศ ึ ษา)
่ ก

1. ถ ้าพืชพันธุเ์ ด่นในพืน ้ ทีเ่ ป็ นไม ้ยืนต ้น (คือ ต ้นไม ้ทีม


่ ค
ี วามสูงมากกว่า 4-5 เมตร)
ให ้เลือกตัวอย่างต ้นไม ้เพือ่ วัดความสูงต ้นไม ้จานวน 5 ต ้น
โดยเลือกต ้นทีใ่ หญ่ทส ี่ ด
ุ และเล็กทีส ่ ด
ุ แต่มเี รือนยอดอยูใ่ นระดับสูง อย่างละ 1 ต ้น และต ้นขนาดกลางอีก 3 ต ้น
และทาเครือ ่ งหมายไว ้

2. ถ ้าพืชพันธุเ์ ด่นรองเป็ นไม ้ยืนต ้นให ้ใช ้วิธเี ดียวกับข ้อ 1 แต่ถ ้ามีน ้อยกว่า 5 ต ้น ให ้รวมต ้นไม ้จากสปี ชีสอ
์ น
ื่ ให ้ครบ
5 ต ้น แล ้วทาเครือ ่ งหมายไว ้

ขนตอนที
ั้ ่ 2 ใชไ้ คลโนมิเตอร์ว ัดความสูง

1. เลือกต ้นไม ้ทีต


่ ้องการตรวจวัดความสูง 1 ต ้น
ถ ้าเป็ นไปได ้ควรเลือกต ้นไม ้ทีต
่ งั ้ อยูบ
่ นพืน
้ ระดับเดียวกับผู ้สังเกต เลือ
่ นระยะทางระหว่างผู ้สังเกตให ้ห่างจากโคนต ้น
ไม ้พอสมควร และบันทึกระยะทางจากผู ้สังเกตถึงโคนต ้นไม ้ไว ้ ระยะทางนี้ก็คอ ื เส ้น AC ด ังภาพที่ 2

2. วัดและบันทึกความสูงระดับสายตาผู ้สังเกตจนถึงพืน
้ ดิน

3. มองผ่านหลอดพลาสติกบนไคลโนมิเตอร์ไปยังปลาย ยอดสุดของต ้นไม ้ เส ้นเชือกทีผ ่ ูกน็ อตโลหะ หรือ


วงแหวน ไว ้จะตกลงมาตามแรงโน ้มถ่วงของโลกดังภาพที่ 2 จะทาให ้เกิดมุมเงย BAC ดังภาพที่ 1
จดบันทึกค่ามุมเงยไว ้
ภาพที่ 2 การว ัดความสูงของต้นไม้โดยการใชไ้ คลโนมิเตอร์

ขนตอนที
ั้ ่ 3 คานวณความสูงของต้นไม้

ตัวอย่าง สมมติให ้นักเรียนยืนห่างจากโคนต ้นไม ้เป็ นระยะทาง 60 เมตร


และมองจุดยอดสุดของต ้นไม ้ผ่านไคลโนมิเตอร์ โดยตาของนั กเรียนสูงจากพืน
้ ดิน 1.5 เมตร
ซึง่ นักเรียนจะอ่านค่ามุมเงยได ้ 24 องศา

วิธก
ี ารคานวณ

1. จากสมการการหาค่า
TANGENT สามารถคานวณหาความสูงของต ้นไม ้ตัง้ แต่ระดับเหนือสายตาของนักเรียนจนถึงจุดยอดสุดของต ้นไม ้
(BC) ได ้

Tan A = BC/AC

จากสมการข ้างบนนักเรียนสามารถแทนค่าได ้ดังนี้

มุมเงย (Tan A) = Tan 24

ระยะทางจากนั กเรียนถึงโคนต ้นไม ้ (AC) = 60 เมตร

ความสูงของต ้นไม ้ตัง้ แต่ระดับเหนือสายตาจนถึงจุดยอดสุดของต ้นไม ้ (BC) คือ สิง่ ทีต


่ ้องการหา

Tan 24 = BC / 60

BC = 60 (Tan 24)

BC = 60 (0.45) = 27 เมตร

2. หาความสูงของต ้นไม ้ทัง้ ต ้น โดย

ความสูงของต ้นไม ้ทัง้ ต ้น = ความสูงของ BC + ความสูงจากพืน


้ ดินจนถึงระดับสายตาของนั กเรียน

= 27 เมตร + 1.5 เมตร

= 28.5 เมตร

You might also like