You are on page 1of 9

ปฏิบัติการที่ 1 การวัดด้วยเครื่องวัดละเอียด

วัตถุประสงค์
1. ฝึ กทักษะการใช้ เวอร์เวียร์คาลิเปอร์ และไมโครมิเตอร์
2. หาค่าที่ถูกต้องของการวัดขนาดของวัตถุท่ีกำาหนดให้

ทฤษฎี
การวัดเป็ นหัวใจสำาคัญในการศึกษาทางฟิ สิกส์ หน่ วยที่ใช้ในการวัด
ต้องเหมาะสม ปั จจุบันมีระบบระหว่างชาติ หรือเรียกย่อๆ ว่า (SI unit) ใช้ ดัง
นั ้นเครื่องมือในการวัดถ้ามีหน่ วยหลายระบบ เราจะเลือกศึกษาเฉพาะระบบ
SI เท่านั ้น ในการวัดสิ่งของต่างๆ โดยใช้เครื่องมือวัดเราต้องใช้เครื่องมือวัดที่
เหมาะสมกับงานที่จะวัด เพื่อหลีกเลี่ยงความคาดเคลื่อนทัง้ หมดที่อาจจะเกิด
ขึ้นในระหว่างการทดลองนั ้น จึงควรศึกษาการใช้เครื่องมือวัดให้เข้าใจ
เวอร์เนี ยคาลิเปอร์ (VERNIER CALIPER)
เป็ นเครื่องมือที่ใช้วัดความยาวของวัตถุทัง้ ภายใน และภายนอกของชิน

งาน เวอร์เนี ยคาลิเปอร์มีลักษณะทัว่ ไป ดังรูป

ส่วนประกอบของเวอร์เนี ยคาลิเปอร์

สเกลหลัก A เป็ นสเกลไม้บรรทัดธรรมดา ซึ่งเป็ นมิลลิเมตร


(mm) และนิ้ว (inch)
2

สเกลเวอร์เนี ย B ซึ่งจะเลื่อนไปมาได้บนสเกลหลัก
ปากวัด C – D ใช้หนี บวัตถุที่ต้องการวัดขนาด
ปากวัด E – F ใช้วัดขนาดภายในของวัตถุ
แกน G ใช้วัดความลึก
ปุ ุม H ใช้กดเลื่อนสเกลเวอร์เนี ยไปบนสเกลหลัก
สกรู I ใช้ยึดสเกลเวอร์เนี ยให้ติดกับสเกลหลัก
ค่าความละเอียดของเวอร์เนี ย

ค่าความละเอียด หรือ Least Count =


1
n

n = จำำนวนช่องของสเกลเวอร์เนี ยร์

โดยปกติแล้ว ตัวเลขที่แสดงค่ำควำมละเอียดที่สุดของเครื่องวัดนี้
มักจะเขียนไว้บนสเกลเวอร์เนี ยในหน่วยต่ำง ๆ เสมอ
เช่น 0.1 mm. สำำหรับสเกลเวอร์เนี ยชนิ ด 10 ช่อง (n = 10)
0.05 mm. สำำหรับสเกลเวอร์เนี ยชนิ ด 20 ช่อง (n = 20)
0.02 mm. เมื่อสเกลเวอร์เนี ยมีจำำนวนช่อง 50 ช่อง (n =
50)
เวอร์เนี ยที่อย่่ในห้องปฏิบัติกำรฟิ สิกส์ส่วนใหญ่จะมีท้ ังชนิ ด n = 20
และ n = 50
ลำาดับการอ่านค่าผลการวัด
1. ก่อนใช้เวอร์เนี ย ต้องตรวจสอบดูว่ามีค่า least count เท่าใด โดยดู
จากตัวเลขที่เขียนไว้บนสเกลเวอร์เนี ย หรืออาจจะคำานวณจากสูตร
least count = n
1

2. ต้องดูว่าขีดที่ศูนย์ของสเกลเวอร์เนี ยอยู่ท่ีตำาแหน่ งใดบนสเกลหลัก


แล้วอ่านค่าบนสเกลหลักในหน่ วยมิลลิเมตร หรือนิ้วก็ได้ ตามที่เรา
ต้องการ
3. ต่อไปดูวา่ สเกลเวอร์เนี ยสเกลแรกที่ตรงกับสเกลหลักคือสเกลใด
3

4. จากนั ้นนั บขีดบนสเกลเวอเนี ยจนถึงสเกลที่ตรงกับสเกลหลัก (การ


นั บสเกลเวอเนี ยให้นับเป็ นช่องสเกลเล็กๆ ได้เลย)
5. ผลการวัดที่ได้คือ

ผลการวัด = ค่าสเกลหลัก + (ค่าสเกลเวอร์เนี ย × ค่าความละเอียดของ


เวอร์เนี ย)

ตัวอย่างการอ่านสเกลเวอร์เนี ย
เมื่อผลการวัดของวัตถุอันหนึ่ งดังแสดงในรูปที่

1. ขณะนี้ขีดที่ 0 ของสเกลเวอร์เนี ยอยู่ท่ีตำาแหน่ งที่ 11.00 มิลลิเมตร


เลยออกมาเล็กน้ อยบนสเกลหลัก
2. และขีดที่ 13 ของสเกลเวอร์เนี ยตรงกับขีดบนสเกลหลัก จึงนำ าเอา
เลข 13 คูณกับ least count จะได้เป็ นค่าเศษของมิลลิเมตร คือ 13
x 0.05 = 0.65 มิลลิเมตร
3. นำ าค่าที่อา่ นได้จากข้อ 1 บวกกับค่าที่อ่านได้ในข้อ 2 ก็จะเป็ นผลการ
วัดในครัง้ นี้ นั่ นคือ
ค่าที่วด
ั ได้ = 11.00 + 0.65 มิลลิเมตร
= 11.65 มิลลิเมตร

การใช้เวอร์เนี ยคาลิเปอร์วัดขนาดของวัตถุในหลายลักษณะดังรูป
4

ในการวัดความยาวของแท่งวัตถุ เส้นผ่าศูนย์กลางของทรงกระบอก
ทรงกรม ใช้ปากวัด CD

C D

การวัดเส้นผ่าศูนย์กลางภายในของวงแหวน ทรงกระบอกกลวง ใช้ปาก


วัด EF ดังรูป

E F

การวัดความลึกของวัตถุ ใช้แกน G

G
5

ไมโครมิเตอร์ ( Micrometer )
เป็ นเครื่องมือวัดขนาดของวัตถุท่ีต้องการความละเอียดสูงในระดับ
ทศนิ ยม 3 ตำาแหน่ งในหน่ วยมิลลิเมตรเครื่องวัดชนิ ดนี้อาศัยหลักการ การ
เคลื่อนที่ของสกรู ซึ่งมีส่วนประกอบที่สำาคัญดังแสดงในรูป

โครง A มีลักษณะคล้ายกับคันธนูหรือตะขอเกี่ยว มีปากวัด C-D และ


แกนสเกลนอน B ติดอยู่แกนสเกลนอน B เป็ นสเกลหลัก มีหน่ วยเป็ น
มิลลิเมตร โดยแบ่งออกเป็ นขีดละ 1 มิลลิเมตร ซึ่งแต่ละขีดจะมีขีดแบ่งครึ่ง
มิลลิเมตรกำากับด้วย
สเกลวงกลม H มีลักษณะเป็ นปลอกครอบสเกลหลัก B แบ่งจำานวน
ขีดโดยรอบทัง้ หมด 50 ช่อง
แกน G ใช้สำาหรับหมุนเพื่อให้ปากวัด D เลื่อนไปสัมผัสกับผิวของวัตถุ
ที่ต้องการวัด ภายในป่ ุม
G มีสปริงเพื่อปรับแรงกด เมื่อปากวัด D สัมผัสพอดีกบ ั ผิววัตถุ จะมีเสียงดัง
กริก๊ เบาๆ แสดงว่าสปริงรับแรงกดพอดีแกนวัดจะไม่เดินหน้ าต่อไปอีก
ป่ ุม I ใช้ตรึงแกนวัด ปลอกวัด และป่ ุม G ให้ติดกับโครง A ทำาให้สเกล
ไม่เลื่อนตำาแหน่ งขณะอ่านค่า เวลาใช้ต้องบิดไปทางซ้ายสุด

ค่าความละเอียดของไมโครมิเตอร์
เมื่อปากวัด C - D สัมผัสกัน ขีดที่ 0 ของสเกลวงกลมจะทาบพอดีกับ
แกนสเกลนอนและถ้าหมุนสเกลวงกลมถอยหลังไป 1 รอบ ขีดที่ 0 ของ
6

สเกลวงกลมจะทาบพอดีกับแกนนอน และขอบของสเกลวงกลมจะทับพอดี
กับขีดแบ่งครึ่งมิลลิเมตรบนสเกลหลัก ซึ่งหมายความว่า ถ้าหมุนแกนวัดถอย
หลังไปเพียง 1 ช่อง ปากวัด C - D จะห่างกันเป็ นระยะ 505.0= 0.010
มิลลิเมตร ซึ่งเป็ นค่าที่น้อยที่สุดที่สามารถอ่านได้จากเครื่องวัดชนิ ดนี้ เรียกว่า
least count
ปกติค่า least count ของเครื่องไมโครมิเตอร์จะเขียนไว้บนโครง A
เช่น 0.01 mm

การอ่านค่าจากไมโครมิเตอร์
ผลการวัดจะประกอบด้วย ค่าสเกลหลัก, ค่าสเกลวงกลม, ค่าความ
ละเอียดของเครื่องมือ

ผลการวัด = ค่าสเกลหลัก + (ค่าสเกลวงกลม × ค่าความละเอียด


ของไมโครมิเตอร์)

วิธีใช้ไมโครมิเตอร์
หมุนแกน G ให้แกนวัดถอยหลังเพื่อทำาให้ปาก C - D เปิ ดกว้างกว่า
ขนาดของวัตถุเล็กน้ อย แล้วนำ าวัตถุท่ีจะวัดขนาดไปไว้ระหว่างปาก C - D ให้
ด้านหนึ่ งชิดปากวัด C ไว้ แล้วหมุนแกน G ให้ปากวัด D มาสัมผัสพอดีกับ
ผิวด้านหนึ่ งของวัตถุ โดยสังเกตจากเสียงกริก ิ ป่ ุม I ไป
๊ เบาๆ จากนั ้นให้บด
ทางซ้ายเพื่อตรึงแกนวัดไว้แล้วจึงอ่านค่าการวัดได้

ตัวอย่างการอ่านค่าการวัดบนสเกลไมโครมิเตอร์
เมื่อวัดขนาดของวัตถุอันหนึ่ ง ดังแสดงในรูป โดยที่ Least Count ของ
ไมโครมิเตอร์ = 0.01 mm
7

1. ขณะนี้ขอบของสเกลวงกลมอยู่ท่ีตำาแหน่ งที่ 11.500 มิลลิเมตร เลย


ออกมาเล็กน้ อยบนสเกลหลัก
2. ขีดที่ 22.5 ของสเกลวงกลมตรงกับแกนนอนบนสเกลหลัก แล้ว
เอาตัวเลข 22.5 นี้คูณกับค่า Least Count จะได้เป็ นค่าเศษของ
มิลลิเมตร เป็ น 22.5 x 0.010 = 0.225 mm
3.นำ าค่าที่ได้จากข้อ (1) และข้อ (2) รวมกัน จะได้เป็ นผลการวัดครัง้ นี้
นั่ นคือ
ผลการวัด = ค่าสเกลหลัก + (ค่าสเกลวงกลม × ค่าความ
ละเอียดของไมโครมิเตอร์)
= 11.500 mm + 0.225 mm
= 11.725 mm

ดังนั ้นลำาดับขัน
้ การอ่านค่าการวัดเป็ นดังนี้
1. ก่อนใช้ไมโครมิเตอร์ต้องดูว่าค่า Least Count เท่ากับเท่าใด โดยดู
จากตัวเลขที่เขียนไว้บนโครง A หรืออาจจะคำานวณก็ได้ (โดยดูจาก
หัวข้อความละเอียดของไมโครมิเตอร์)
2. ต้องดูว่าขอบของสเกลวงกลมอยู่ท่ีตำาแหน่ งที่เท่าใดของสเกลหลัก
อ่านในหน่ วยมิลลิเมตร
3. ต่อไปดูวา่ ขีดที่เท่าใดบนสเกลวงกลมอยู่ตรงกับเส้นแกนของสเกล
หลัก แล้วเอาตัวเลขนี้คูณกับค่า Least Count จะได้เป็ นเศษของ
มิลลิเมตร
4. ผลรวมที่ได้จากข้อ 2 และ ข้อ 3 คือผลการวัด
8

ปฏิบัติการที่ 1 การวัดด้วยเครื่องวัดละเอียด
อุปกรณ์การทดลอง
1. เวอร์เนี ยคาลิปเปอร์
2. ไมโครมิเตอร์
3. เครื่องชัง่ Triple Beam Balance
4. วัตถุรูปทรงต่างๆ ที่กำาหนดให้
- ทรงกลมตัน
- ทรงกระบอกกลวง

วิธีการทดลอง
1. ใช้เวอร์เนี ยคาลิเปอร์วัดเส้นผ่าศูนย์กลางภายนอก (d1) เส้นผ่า
ศูนย์กลางภายใน (d2)
ของทรงกระบอกกลวง บันทึกผลการทดลอง และให้ทำาการทดลองซำา้ 5 ครัง้
พร้อมทัง้ หาค่าเฉลี่ย
2. ใช้เวอร์เนี ยคาลิเปอร์วัดความสูง (h) ของทรงกระบอกกลวง
บันทึกผลการทดลอง และให้ทำาการทดลองซำา้ 5 ครัง้ พร้อมทัง้ หาค่าเฉลี่ย
คำานวณหาปริมาตร (V) ของทรงกระบอกกลวงจากสูตรต่อไปนี้
ปริมาตรของทรงกระบอก
V = πr h 2
; r = รัศมีของทรงกระบอก
π
V = 4
d 2h ; d = เส้นผ่าศูนย์กลาง
; h = ความสูง
ปริมาตรของทรงกระบอกกลวง
π
V = 4
( d − d )h 1
2 2
2

; d1 = เส้นผ่าศูนย์กลางภายนอก ; d2 = เส้นผ่า
ศูนย์กลางภายใน
9

3. ชัง่ มวล (m) ของทรงกระบอกกลวงด้วยเครื่องชัง่ Triple Beam


Balance บันทึกผลการทดลอง ให้ทดลองซำา้ 5 ครัง้ และคำานวณหาความ
หนาแน่ น ( ρ ) ของทรงกระบอกกลวงจากสมการ
=
ρ m
v

4. ใช้ไมโครมิเตอร์วัดเส้นผ่าศูนย์กลางของทรงกลมตันบันทึกผลการ
ทดลอง ให้ทำาการทดลองซำา้ 5 ครัง้ พร้อมทัง้ หาค่าเฉลี่ย
5. คำานวณหาปริมาตร (V) ของทรงกลมตันจากสูตรต่อไปนี้
ปริมาตรของทรงกลม
V = 4 πr 3 ; r = รัศมีของทรงกลม
3
1
= 6
πd 3 ; d = เส้นผ่าศูนย์กลาง

3. ชัง่ มวล (m) ของทรงกลมตันด้วยเครื่องชัง่ Triple Beam


Balance บันทึกผลการทดลอง ให้ทดลองซำา้ 5 ครัง้ และคำานวณหาความ
หนาแน่ น ( ρ ) ของทรงกลมตันจากสมการ
m
ρ = v

You might also like