You are on page 1of 47

Tcas’ 66

A-Level

ช่่องทางติิดต่่อ Social
@pgreatondemand
Teacher Great
2

บทนำำ�
1. น้้องเกี๊๊�ยวทำำ�การวััดความยาวด้้านของวััตถุุสองมิิติิรููปสามเหลี่่�ยมได้้ผลลััพธ์์เป็็น 3.05 cm,
4.50 cm และ 4.95 cm ด้้วยไม้้บรรทััดที่่�มีีการแบ่่งช่่องสเกลความละเอีียด 0.1 cm
ข้้อใดบัันทึึกผลความยาวเส้้นรอบรููปของสามเหลี่่�ยมรููปนี้้�ได้้ดีีที่่�สุุด โดยยึึดตามหลัักนััยสำำ�คััญ
และความคลาดเคลื่่�อนระดัับครึ่่�งสเกล
1. 12.500 ± 0.150 cm
2. 12.50 ± 0.30 cm
3. 12.50 ± 0.15 cm
4. 12.5 ± 0.2 cm
5. 13 ± 1 cm

2. คุุณสุุธีีต้้องการคำำ�นวณหาค่่าคงตััวสปริิง k ของสปริิงตััวหนึ่่�ง โดยการแขวนตุ้้�มถ่่วงมวล M ค่่าต่า่ งๆ แล้้วทำำ�ให้้สั่่�น


จากนั้้�นจัับเวลาที่่�ใช้้ในการสั่่�นครบ 20 รอบ แล้้วหารผลลััพธ์์ด้้วย 20 เพื่่�อหาคาบการสั่่�น T
พิิจารณาข้้อความต่่อไปนี้้�
1
ก. ความคลาดเคลื่่�อนของคาบการสั่่�น T ถืือได้้ว่่าเป็็น 20 ของเวลาที่่�จัับได้้ในการเคลื่่�อนที่่�ครบ 20 รอบของวััตถุุ
2
ข. เมื่่�อวาดกราฟระหว่่างกำำ�ลัังสองของคาบ (T ) กัับ มวลของตุ้้�มถ่่วง (M) จะได้้ผลลััพธ์์ออกมาเป็็นกราฟเส้้นตรง
ค. คุุณสุุธีีสามารถหาค่่าคงตััวสปริิง k ได้้จากความชัันของกราฟในข้้อ ข.
ข้้อความใดบ้้างถููกต้้อง
1. ก เท่่านั้้�น
2. ข เท่่านั้้�น
3. ก และ ข เท่่านั้้�น
4. ข และ ค เท่่านั้้�น
5. ก ข และ ค
3

3. ทำำ�การทดลองเพื่่�อวััดค่่าความเร่่งเนื่่�องจากแรงโน้้มถ่่วงของโลก โดยการปล่่อยวััตถุุจากขอบโต๊๊ะแล้้วอััดวีีดีีโอไว้้
เพื่่�อวััดระยะ y ที่่�ตกลงมา ณ เวลา t ต่่างๆ ได้้สะดวก ดัังรููป ก.
y (cm)
mmax
m
133.5
mmin
(y = 0, t = 0) 132.0
130.6

10.1
9.8
(y, t) 9.5

2.0 27 2 -2
t (10 s )
2

รููป ก. รููป ข.
หากวาดกราฟระหว่่างระยะ y ที่่�ตกลงมากัับกำำ�ลัังสองของเวลาที่่�ผ่่านไป t2 ได้้ผลออกมาเป็็นรููป ข. ซึ่่�งเมื่่�อพิิจารณา
จากความคลาดเคลื่่�อนของระยะ y ที่่�วััดได้้ ทำำ�ให้้ความชัันของกราฟที่่�ได้้มีีความคลาดเคลื่่�อนด้้วย
โดยความคลาดเคลื่่�อนของความชัันสามารถหาได้้จาก
mmax - mmin
Tm = 2

ข้้อใดต่่อไปนี้้� แสดงผลลััพธ์์ของการหาค่่าความเร่่งเนื่่�องจากแรงโน้้มถ่่วงของโลกจากการทดลองนี้้�ได้้อย่่างถููกต้้อง
โดยคำำ�นึึงตามหลัักนััยสำำ�คััญด้้วย (กำำ�หนดให้้แรงต้้านอากาศน้้อยมากเมื่่�อเทีียบกัับน้ำำ��หนัักของวััตถุุ และกราฟที่่�ให้้ไม่่ได้้
วาดตามมาตราส่่วน)
1. 9.78 ± 0.07 m/s2
2. 9.78 ± 0.14 m/s2
3. 9.8 ± 0.14 m/s2
2
4. 9.8 ± 0.2 m/s
2
5. 10 ± 1 m/s
4

กลุ่มกลศาสตร์
2
กำหนดให้้ใช้้ g = 9.8 เมตรต่่อวิินาทีี เว้้นแต่่จะระบุุไว้้เป็็นอย่่างอื่่�น

4. หลวงพี่่�เต้้ยอยู่่�ในบอลลููนที่่�กำลัังลอยขึ้้�นด้้วยความเร็็วคงตััว 9.8 m/s ขณะที่่�บอลลููนอยู่่�สููงจากพื้้�น 14.7 m


พี่่�เต้้ยปล่่อยก้้อนหิินออกนอกบอลลููน อีีกนานกี่่�วิินาทีีบอลลููนจึึงจะตกถึึงพื้้�น
1. 1 วิินาทีี
2. 2 วิินาทีี
3. 3 วิินาทีี
4. 4 วิินาทีี
5. 5 วิินาทีี

5. พี่่�โจนขัับรถขนเงิินด้้วยความเร็็วคงที่่� 108 km/h บนถนนตรงหนีีรถตำรวจ โดยรถตำรวจเริ่่�มออกตััวจากหยุุดนิ่่�ง


ขณะที่่�รถของพี่่�โจนนำหน้้าไปแล้้ว 135 m หากรถตำรวจขัับด้้วยความเร่่งคงตััว 10 m/s2 อีีกนานเท่่าใดรถตำรวจ
จึึงจะไล่่รถพี่่�โจนทััน
1. 1 วิินาทีี
2. 3 วิินาทีี
3. 6 วิินาทีี
4. 9 วิินาทีี
5. 27 วิินาทีี
5

6. วััตถุุเคลื่่�อนที่่�เป็็นเส้้นตรงด้้วยความเร่่งตามกราฟ โดยเริ่่�มต้้นเคลื่่�อนที่่�จากความเร็็วต้้น 20 เมตร/วิินาทีี


ระยะทางที่่�วััตถุุเคลื่่�อนได้้ในช่่วงเวลา 4 วิินาทีี เป็็นกี่่�เมตร

1. 47
2. 69
3. 92
4. 94
5. 100

7. ทำำ�การผููกแถบกระดาษกัับวััตถุุหนึ่่�ง เมื่่�อวััตถุุเคลื่่�อนที่่�และแถบกระดาษผ่่านเครื่่�องเคาะสััญญาณเวลา
พบรอยการเคาะดัังแสดง
A P B

0 10 20 35 51 74 92 (mm)

จงหาความเร่่งของวััตถุุ ณ จุุด P ในหน่่วย m/s2


6

8. พิิจารณาข้้อความต่่อไปนี้้�
ข้้อความที่่� 1: กฎข้้อที่่� 1 มีีรููปสมการเป็็น / F = 0
ข้้อความที่่� 2: กฎข้้อที่่� 1 เป็็นการกำำ�หนดนิิยามความเฉื่่�อยและกรอบอ้้างอิิงเฉื่่�อย
ข้้อความที่่� 3: กฎข้้อที่่� 2 มีีรููปสมการเป็็น / F = ma และเป็็นจริิงในกรอบอ้้างอิิงเฉื่่�อยเท่่านั้้�น
ข้้อใดถููกต้้องเกี่่�ยวกัับนิิยามของกฎการเคลื่่�อนที่่�ของนิิวตััน
1. ข้้อความที่่� 1 และ 2
2. ข้้อความที่่� 1 และ 3
3. ข้้อความที่่� 2 และ 3
4. ข้้อความที่่� 1, 2 และ 3
5. ข้้อความที่่� 1 เท่่านั้้�น

9. นาย ก ทำำ�การทดลองดึึงวััตถุุก้้อนหนึ่่�งไปบนพื้้�นราบฝืืด ได้้กราฟระหว่่างแรงดึึง F กัับความเร่่ง a ของวััตถุุดัังรููป

29.8

9.8

จงหาสััมประสิิทธิ์์�ความเสีียดทานจลน์์ระหว่่างผิิววััตถุุกัับผิิวพื้้�น
7

10. มวล 3M วางอยู่่�บนพื้้�นเอีียงลื่่�น ผููกติิดอยู่่�กัับมวล 2M ผ่่านรอก ดัังแสดงในรููป เมื่่�อปล่่อยให้้ระบบเคลื่่�อนที่่�


ความเร่่งของมวล 2M จะเป็็นดัังข้้อใด (กำหนดให้้ความเร่่งเนื่่�องจากแรงโน้้มถ่่วงของโลกเป็็น g)

1. 0.1 g ทิิศขึ้้�น
2. 0.1 g ทิิศลง
3. 0.2 g ทิิศขึ้้�น
4. 0.2 g ทิิศลง
5. g ทิิศลง

11. จากรููป วััตถุุ A, B และ C มีีมวลเท่่ากััน เมื่่�อปล่่อยให้้เคลื่่�อนที่่�จากหยุุดนิ่่�ง วััตถุุ C จะเคลื่่�อนที่่�ทิิศใดและด้้วยความเร่่ง


ขนาดเท่่าใด (กำหนดให้้รอกลื่่�นและเบาจนถืือได้้ว่่าไร้้มวล และความเร่่งเนื่่�องจากแรงโน้้มถ่่วงของโลกเป็็น g)

A B
C

1. อยู่่�นิ่่�งที่่�เดิิมและความเร่่งเป็็นศููนย์์
2. เคลื่่�อนที่่�ขึ้้�นด้้วยความเร่่ง g
3. เคลื่่�อนที่่�ลงด้้วยความเร่่ง g
g
4. เคลื่่�อนที่่�ขึ้้�นด้้วยความเร่่ง 3
g
5. เคลื่่�อนที่่�ลงด้้วยความเร่่ง 3
8

12. คาน AB เป็็นคานเนื้้�อไม่่สม่ำำ��เสมอยาว 200 cm วางตััวนิ่่�งในแนวราบดัังรููป

40 N 60 N
A B
200 cm

จงหาว่่าจุุดศููนย์์ถ่่วงของคาน AB อยู่่�ห่่างจากปลาย A เป็็นระยะทางกี่่�เซนติิเมตร


9

13. คานสม่่ำเสมอมวล 16 กิิโลกรััม ปลายด้้านหนึ่่�งผููกเชืือกยึึดเพดาน ส่่วนปลายอีีกด้้านวางอยู่่�บนตาชั่่�งดัังรููป

ตาชั่่�งจะอ่่านค่่าได้้กี่่�กิิโลกรััม

14. บัันไดสม่่ำเสมอหนััก 100 นิิวตััน ปลายบนพิิงผนัังลื่่�น ส่่วนปลายล่่างอยู่่�บนพื้้�นราบลื่่�น

53°

ตรงกึ่่�งกลางของบัันไดขึึงด้้วยลวดในแนวระดัับกัับผนััง บัันไดทำมุุม 53° กัับแนวระดัับ ดัังรููป จงหาแรงตึึงในเส้้นลวด


1. 50 N
2. 75 N
3. 80 N
4. 100 N
5. 200 N
10

15. แบมแบมออกแรงดึึงกล่่องเนื้้�อสม่่ำเสมอหนััก 50 N ที่่�วางอยู่่�บนพื้้�นฝืืดด้้วยแรง F = 20 N ณ ตำแหน่่งสููง h จากพื้้�น


ดัังรููป จงหาว่่า h จะต้้องมีีค่่าไม่่เกิินกี่่�เซนติิเมตร กล่่องจึึงจะไม่่พลิิกล้้มไปข้้างหน้้า

กำหนดให้้พื้้�นมีีความฝืืดมากพอที่่�จะทำให้้กล่่องไม่่ไถลบนพื้้�น

16. สปริิงความยาวธรรมชาติิ 10 cm ปลายด้้านหนึ่่�งติิดเพดาน ส่่วนปลายอีีกด้้านสามารถนำมวลมาห้้อยได้้


หากนำมวล 2 kg มาห้้อยแล้้วค่่อยๆ พยุุงให้้อยู่่�ในตำแหน่่งสมดุุล พบว่่าสปริิงจะมีีความยาวใหม่่เป็็น 20 cm
หากทำการทดลองใหม่่โดยคราวนี้้�ใช้้มวล 4 kg แทน แล้้วปล่่อยให้้มวลร่่วงลงมา คราวนี้้�สปริิงจะยืืดออกจนกระทั่่�ง
มีีความยาวเป็็นกี่่�เซนติิเมตร
1. 20 cm
2. 30 cm
3. 40 cm
4. 50 cm
5. 80 cm
11

17. ปล่่อยกล่่องเล็็กๆ ใบหนึ่่ง� ลงทางโค้้งลื่่นรู


� ปู ร่่าง 1 ของวงกลมรััศมีี 2 m เข้้าสู่่�บริิเวณที่่�มีคว
ี ามฝืืด โดยสามารถเคลื่่อ� นที่่�ได้้
4
10 m

ก่่อนที่่�จะหยุุด สััมประสิิทธิ์์�ความเสีียดทานจลน์์ระหว่่างกล่่องกัับพื้้�นฝืืดมีีค่่าเท่่าใด

18. ภููกัับพีีต้้องการที่่�จะย้้ายพััสดุุหนััก 1,000 นิิวตััน ขึ้้�นชั้้�น 2 ของบ้้านซึ่่�งสููงจากพื้้�นดิิน 5.0 เมตร


โดยที่่�
ภูู : ดัันพััสดุุให้้เคลื่่�อนที่่�ขึ้้�นตามแนวพื้้�นเอีียงยาว 8.0 เมตร
พีี : ใช้้ระบบล้้อเพลาในการยกวััตถุุขึ้้�น โดยล้้อและเพลามีีรััศมีี 0.50 และ 0.25 เมตร
ตามลำดัับ
หากพื้้�นเอีียงและระบบล้้อเพลามีีประสิิทธิิภาพ 80% เท่่ากััน ข้้อใดต่่อไปนี้้�กล่่าวถููกต้้อง
1. ภููและพีีออกแรงเท่่ากัันเพราะเครื่่�องกลทั้้�งสองมีีประสิิทธิิภาพที่่�เท่่ากััน
2. ภููและพีีออกแรงเท่่ากัันเพราะเครื่่�องกลทั้้�งสองมีีความได้้เปรีียบเชิิงกลที่่�เท่่ากััน
3. ภููและพีีออกแรงเท่่ากัันเพราะพััสดุุหนััก 1,000 นิิวตัันเหมืือนกััน
4. ภููออกแรงน้้อยกว่่าเพราะพื้้�นเอีียงมีีความได้้เปรีียบเชิิงกลที่่�มากกว่่าระบบล้้อเพลาของพีี
5. พีีออกแรงน้้อยกว่่าเพราะระบบล้้อเพลามีีความได้้เปรีียบเชิิงกลที่่�มากกว่่าพื้้�นเอีียงของภูู
12

19. รถของเล่่น A ท้้ายรถผููกติิดกัับแถบกระดาษซึ่่�งสอดผ่่านเครื่่�องเคาะสััญญาณเวลา เมื่่�อให้้รถของเล่่น A วิ่่�งเข้้าชนกล่่อง B


ซึ่่�งเดิิมอยู่่�นิ่่�งบนพื้้�นลื่่�น พบว่่าหลัังชนวััตถุุทั้้�งสองเคลื่่�อนที่่�ติิดกัันไปและจุุดที่่�ปรากฏบนแถบกระดาษเป็็นดัังรููป

จงหาอััตราส่่วนมวลของกล่่อง B ต่่อมวลของรถของเล่่น A
1. 3 : 4
2. 4 : 3
3. 2 : 3
4. 3 : 2
5. 1 : 3

20. กงจวิ้้�นมวล 60 kg กัับพี่่�วิิเวีียนมวล 80 kg จัับมืือเล่่นสเกตน้้ำแข็็งกััน โดยแรกเริ่่�มทั้้�งคู่่�เคลื่่�อนที่่�


ไปด้้วยกัันทางขวาด้้วยความเร็็ว 6.0 m/s เทีียบพื้้�นน้้ำแข็็ง โดยกงจวิ้้�นอยู่่�ทางขวาและพี่่�วิิเวีียน
อยู่่�ทางซ้้าย จากนั้้�นกงจวิ้้�นทำการผลัักพี่่�วิิเวีียนออก (น่่อว) ส่่งผลให้้กงจวิ้้�นเคลื่่�อนที่่�ไปทางขวา
ด้้วยความเร็็วที่่�เพิ่่�มขึ้้�นเป็็น 8.0 m/s ซึ่่�งสัังเกตโดยพี่่�เคนที่่�ยืืนนิ่่�งอยู่่�ข้้างลานน้้ำแข็็ง พี่่�เคนจะเห็็น
พี่่�วิิเวีียนเคลื่่�อนที่่�ด้้วยความเร็็วขนาดเท่่าใดและทิิศทางใดหลัังถููกกงจวิ้้�นผลัักแล้้ว
1. 3.5 m/s ไปทางซ้้าย
2. 3.5 m/s ไปทางขวา
3. 4.5 m/s ไปทางซ้้าย
4. 4.5 m/s ไปทางขวา
5. 0 m/s
13

21. ลููกเทนนิิสมวล 150 กรััม เคลื่่�อนที่่�ในแนวระดัับด้้วยความเร็็ว 50 เมตรต่่อวิินาทีี โนวััค ยอโควิิช ตีีสวนกลัับไปในแนวเดิิม

F (นิิวตััน)

300

150

t (มิิลลิิวิินาทีี)
0 25 50 75 100

กราฟระหว่่างแรงดลที่่�ลููกเทนนิิสโดนกระทำกัับเวลาเป็็นดัังรููป หลัังจากการตีีแล้้วลููกเทนนิิสจะเคลื่่�อนที่่�ด้้วยความเร็็วขนาดเท่่าใด
1. 50 m/s
2. 75 m/s
3. 100 m/s
4. 150 m/s
5. 200 m/s

22. เครื่่�องบิินรบลำหนึ่่�งกำลัังบิินแนวระดัับด้้วยความเร็็วคงที่่� 40 m/s ที่่�ความสููง 490 เมตรจากระดัับน้้ำทะเล


ซึ่่�งมีีเรืือข้้าศึึกกำลัังแล่่นด้้วยความเร็็วคงที่่� v ค่่าหนึ่่�งอยู่่�ดัังรููป หากทำการปล่่อยระเบิิดขณะที่่�เรืือข้้าศึึกอยู่่�ที่่�ระยะ 200 เมตร
จากเส้้นแนวดิ่่�งของเครื่่�องบิินรบ พบว่่าระเบิิดจะตกใส่่เรืือได้้พอดีี

ความเร็็ว v ของเรืือมีีค่่าเท่่าใดในหน่่วยเมตรต่่อวิินาทีี (ไม่่ต้้องคำนึึงผลจากแรงต้้านอากาศ)


14

23. ทำการทดลองปาลููกบอลจากยอดตึึกด้้วยความเร็็วต้้นขนาด u แต่่มีีทิิศทางต่่างๆ ซึ่่�งระบุุด้้วยตััวอัักษร A, B, C, D


และ E ดัังรููป

หากไม่่คำนึึงถึึงผลจากแรงต้้านอากาศ พิิจารณาปริิมาณต่่อไปนี้้� ปริิมาณใดบ้้างที่่�มีีค่่าเท่่ากัันในทุุกการทดลอง A ถึึง E


ก. ความเร่่งของลููกบอล
ข. อััตราเร็็วของลููกบอลก่่อนกระทบพื้้�นพอดีี
ค. เวลาที่่�ลููกบอลเคลื่่�อนที่่�ในอากาศก่่อนกระทบพื้้�น
1. ก. เท่่านั้้�น
2. ก. และ ข.
3. ข. และ ค.
4. ก. และ ค.
5. ก., ข. และ ค.
15

24. มวล 2 kg ติิดอยู่่�กัับสปริิงอัันหนึ่่�งซึ่่�งปลายอีีกข้้างหนึ่่�งของสปริิงติิดกัับผนััง มวลถููกทำำ�ให้้สั่่�นรอบตำำ�แหน่่งสมดุุล


ในแนวระดัับบนพื้้�นราบลื่่�น โดยมีีการกระจััด x จากสมดุุล ณ เวลา t ใดๆ บรรยายได้้ด้้วยสมการ

x (t) = (0.2 m) sin b (5 s ) t + 2 l


rad r

พิิจารณาข้้อความต่่อไปนี้้�
ก. ค่่าคงตััวของสปริิงคืือ 5 N/m
ข. อััตราเร็็วสููงสุุดของมวลคืือ 1 m/s
ค. ความเร่่ง ณ เวลาเริ่่�มต้้นมีีขนาดเป็็น 5 m/s2
ข้้อความใดบ้้างที่่�ถููกต้้อง
1. ก เท่่านั้้�น
2. ก และ ข เท่่านั้้�น
3. ข และ ค เท่่านั้้�น
4. ก และ ค เท่่านั้้�น
5. ก ข และ ค
16

25. นำมวลก้้อนหนึ่่�งมาติิดสปริิงที่่�พร้้อมจะสั่่�นในแนวราบดัังรููป ณ เวลาเริ่่�มต้้น วััตถุุอยู่่�ที่่�ตำแหน่่ง P ซึ่่�งเป็็นตำแหน่่งที่่�สปริิง


ไม่่ยืืดไม่่หด จากนั้้�นทำการดีีดวััตถุุไปทางขวา ณ เวลา t = 0 s ด้้วยความเร็็วต้้นค่่าหนึ่่�ง ทำให้้วััตถุุมีีการเคลื่่�อนที่่�ไปถึึง
ตำแหน่่ง Q (x = 10 cm) ณ เวลา t = 1 s และถึึงตำแหน่่ง R ซึ่่�งเป็็นจุุดวกกลัับ ณ เวลา t = 2 s

แอมพลิิจููด A ของการเคลื่่�อนที่่�นี้้�มีีค่่าประมาณกี่่�เซนติิเมตร (ตอบเป็็นทศนิิยมสองตำแหน่่ง)

26. ปล่่อยลููกตุ้้�มมวล m จากตำแหน่่ง A ให้้แกว่่งไปทางซ้้าย เมื่่�อสายลููกตุ้้�มแกว่่งไปได้้ครึ่่�งทางก็็ชนหมุุดแล้้วแกว่่งต่่อ

เวลาที่่�ใช้้แกว่่งจากตำแหน่่ง A ไป B เป็็นกี่่�เท่่าของเวลาจาก B ไป C
1. 12
2. 1
2
3. 1
4. 2
5. 2
17

27. มวล M ติิดสปริิงซึ่่�งมีีค่่าคงตััวสปริิงเป็็น k กำลัังสั่่�นขึ้้�นลงในแนวดิ่่�งรอบสมดุุลโดยมีีแอมพลิิจููดของการสั่่�นเป็็น A


ดัังแสดงในรููป

M
A
สมดุุล
A

ความเร็็ว ณ ตำแหน่่งสมดุุลและอััตราเร็็วเฉลี่่�ยในการเคลื่่�อนที่่�ครบ 1 รอบมีีขนาดเป็็นเท่่าใดตามลำดัับ

ความเร็็ว ณ ตำแหน่่งสมดุุล อััตราเร็็วเฉลี่่�ยในการเคลื่่�อนที่่�ครบ 1 รอบ


k 0
1. A m
k 2A k
2. A m r m

3. 0 0

4. 0 2A k
r m
m m
5. k 2r k
18

กลุ่มคลื่น
28. คลื่่�นตามขวางรููปไซน์์บนเส้้นเชืือกกำลัังเคลื่่�อนที่่�ไปทางขวามืือขณะหนึ่่�งจุุด A ซึ่่�งเป็็นจุุดสีีแดงแต้้มเล็็กๆ บนเส้้นเชืือก
กำลัังอยู่่�ที่่�สัันคลื่่�นพอดีี อีีกนานเท่่าใดจุุด A จึึงจะเคลื่่�อนลงมาอยู่่�ที่่�ตำแหน่่งปกติิ (ระดัับเส้้นประ)

0.8 m A
เส้้นเชืือก

v = 5 m/s

1. 20 ms
2. 40 ms
3. 60 ms
4. 80 ms
5. 100 ms

29. คลื่่�นผิิวน้้ำมีีอััตราเร็็ว 20 เซนติิเมตร/วิินาทีี กระจายออกจากแหล่่งกำเนิิดคลื่่�นซึ่่�งมีีความถี่่� 5 Hz การกระเพื่่�อมของผิิวน้้ำ


ท่ี่่��อยู่่�ห่่างจากแหล่่งกำเนิิด 30 เซนติิเมตร และ 48 เซนติิเมตร จะมีีเฟสต่่างกัันกี่่�องศา
1. 0˚
2. 30˚
3. 60˚
4. 90˚
5. 180˚
19

30. คลื่่�นดล 2 คลื่่�น มีีรููปร่่างแตกต่่างกััน เคลื่่�อนที่่�เข้้าหากัันด้้วยอััตราเร็็ว 2 เมตรต่่อวิินาทีี โดยรููปร่่างของคลื่่�นที่่� t = 0 s


เป็็นดัังภาพที่่� 1 และเมื่่�อเวลาผ่่านไปช่่วงหนึ่่�งเป็็นดัังภาพที่่� 2

y (m)

6
2 m/s
4 2 m/s
2
0 x (m)
2 4 6 8 10 12 14 16 18 20
-2
-4

-6
ภาพที่่� 1 รููปร่่างของคลื่่�นที่่� t = 0 s
y (m)

6
2 m/s
4 2 m/s
2
0 x (m)
2 4 6 8 10 12 14 16 18 20
-2
-4

-6
ภาพที่่� 2 รููปร่่างของคลื่่�นเมื่่�อเวลาผ่่านไปช่่วงหนึ่่�ง
คลื่่�นทั้้�งสองเกิิดการแทรกสอดโดยคลื่่�นรวมมีีแอมพลิิจููดมากที่่�สุุดเมื่่�อเวลาผ่่านไปกี่่�วิินาทีี และภาพที่่� 2
เป็็นรููปร่่างของคลื่่�นเมื่่�อผ่่านไปกี่่�วิินาทีี ตามลำดัับหนึ่่�ง
1. 1 และ 2
2. 2 และ 4
3. 3 และ 5
4. 6 และ 5
5. 6 และ 10
20

31. คลื่่�นผิิวน้้ำหน้้าตรงเคลื่่�อนที่่�จากบริิเวณน้้ำลึึกเข้้าสู่่�บริิเวณน้้ำตื้้�นเกิิดการหัักเห
โดยหน้้าคลื่่�นตกกระทบและรัังสีีหัักเหทํํามุุม 45 องศา และ 60 องศา กัับระนาบรอยต่่อระหว่่าง
ตััวกลางตามลํําดัับ ดัังภาพ
รอยต่่อระหว่่างตััวกลาง
รัังสีีหัักเห
60
O รัังสีีตกกระทบ
O
หน้้าคลื่่�นหัักเห 45

หน้้าคลื่่�นตกกระทบ

ถ้้าอััตราเร็็วของคลื่่�นผิิวน้้ำในบริิเวณน้้ำลึึกเท่่ากัับ 2 เมตรต่่อวิินาทีี อััตราเร็็วในบริิเวณน้้ำตื้้�น


เท่่ากัับกี่่�เมตรต่่อวิินาทีี (กํําหนดให้้ 2 = 1.41, 3 = 1.73 และ 6 = 2.45)
21

32. “ขุุนหมื่่�น” เป็็นนายตำรวจนั่่�งอยู่่�ในรถที่่�จอดนิ่่�ง เห็็น “เสืือเอ๋๋อ” ผู้้�เป็็นโจรที่่�ทางการกำลัังล่่าตััวยืืนนิ่่�งอยู่่�หน้้ารถ


ห่่างออกไป 30 เมตร เมื่่�อเห็็นดัังนั้้�นจึึงเปิิดไซเรนซึ่่�งเป็็นแหล่่งกำเนิิดเสีียงความถี่่� 700 Hz ส่่งผลให้้มีีเสีียง
ความยาวคลื่่�น 0.5 เมตรถููกปล่่อยออกมา และส่่งผลให้้เสืือเอ๋๋อได้้ยิินเสีียงที่่�มีีระดัับความเข้้ม 90 เดซิิเบล ดัังรููป ก.

20 m/s 5 m/s
0.5 m

รููป ก. รููป ข.

เมื่่�อเสืือเอ๋๋อได้้ยิินเสีียงไซเรนจึึงตกใจวิ่่�งหนีี ในขณะที่่�ขุุนหมื่่�นขัับรถไล่่ตาม ข้้อใดสรุุปเกี่่�ยวกัับความถี่่� ระดัับความเข้้ม


และความยาวคลื่่�นของเสีียงที่่�เสืือเอ๋๋อได้้ยิิน ณ จัังหวะ รููป ข. ได้้อย่่างถููกต้้อง

ความถี่่� ระดัับความเข้้ม ความยาวคลื่่�น


1. สููงกว่่า 700 Hz มากกว่่า 90 dB ยาวกว่่า 0.5 m
2. สููงกว่่า 700 Hz มากกว่่า 90 dB สั้้�นกว่่า 0.5 m
3. ต่่ำกว่่า 700 Hz มากกว่่า 90 dB ยาวกว่่า 0.5 m
4. ต่่ำกว่่า 700 Hz น้้อยกว่่า 90 dB สั้้�นกว่่า 0.5 m
5. เท่่ากัับ 700 Hz มากกว่่า 90 dB เท่่ากัับ 0.5 m
22

33.
จองกุุกยืืนอยู่่� ณ ตำแหน่่งกึ่่�งกลางระหว่่างลำโพง A และ B ซึ่่�งเหมืือนกัันทุุกประการ หากเปิิดแค่่
ลำโพงอัันใดอัันหนึ่่�ง จองกุุกจะได้้ยิินเสีียงระดัับความเข้้ม 50 dB หากเปิิดลำโพงทั้้�งสองอััน
จองกุุกจะได้้ยิินเสีียงระดัับความเข้้มเท่่าใด กำหนดให้้เสีียงที่่�มาจากลำโพงทั้้�งสองนั้้�นไม่่ได้้มีี
ความเกี่่�ยวเนื่่�องกัันจึึงไม่่ต้้องคำนึึงถึึงการแทรกสอดของคลื่่�น
1. 50 dB
2. 53 dB
3. 60 dB
4. 100 dB
5. 2,500 dB

34. เปิิดลำโพงให้้เสีียงเคลื่่�อนที่่�กระทบกำแพงดิ่่�ง พบว่่าจะเกิิดคลื่่�นนิ่่�งระหว่่างลำโพงกัับกำแพงโดยมีีบริิเวณดัังค่่อยสลัับกััน


ดัังแสดงในรููป

กำหนดให้้เสีียงในอากาศนิ่่�ง ณ ขณะนั้้�นเป็็น 340 m/s พิิจารณาข้้อความต่่อไปนี้้� ข้้อใดบ้้างที่่�ถููกต้้อง


ก. จุุด A เป็็นปฏิิบััพของการกระจััดอนุุภาคอากาศ
ข. จุุดที่่�กำแพงเป็็นบััพของการกระจััดอนุุภาคอากาศ
ค. ลำโพงเปิิดเสีียงที่่�มีีความถี่่� 4,250 Hz
1. ก. เท่่านั้้�น
2. ก. และ ข.
3. ข. และ ค.
4. ก. และ ค.
5. ก., ข. และ ค.
23

35. หลอดกำำ�ทอนชนิิดปลายปิิด 1 ด้้าน เกิิดการสั่่�นพ้้องด้้วยความถี่่มู� ูลฐาน 674 Hz ในห้้องแอร์์ที่มีีอุ ่� ุณหภููมิิ 10˚C หากนำำ�
หลอดกำำ�ทอนเดีียวกัันนี้้�ไปอยู่่�ด้้านนอกที่่�อากาศมีีอุุณหภููมิิ 40˚C ความถี่่มู� ลู ฐานใหม่่จะมีีค่่ากี่่� Hz
1. 305 Hz
2. 674 Hz
3. 710 Hz
4. 1,348 Hz
5. 2,696 Hz

36. แหล่่งกำำ�เนิิดแสงแบบจุุดจมอยู่่�ก้้นบ่่อของเหลวลึึก 2 เมตร เมื่่�อมองจากด้้านบน จะมีีบริิเวณที่่�แสงสว่่างหัักเหผ่่านผิิว


ของเหลวได้้เป็็นวงกว้้างที่่�มีีรััศมีีเท่่าใด กำำ�หนดให้้ของเหลวมีีดััชนีีหัักเห n = 1.1547 ≈ 2
3
1. 2 m
3
2. 3 m
2
3. 3 m

4. 2 3 m

5. 2 m
24

37. ปลาสวยงามมีีความยาว L = 8 เซนติิเมตร อยูู่�ในอ่่างน้้ำสี่่�เหลี่่�ยมดัังรููป ถ้้าดััชนีีหัักเหของน้้ำเป็็น 43

จงหาความยาวของปลาในหน่่วยเซนติิเมตรเมื่่�อมองในแนวขนานกัับความยาวของปลา

38. ทำการทดลองวาดกราฟแสดงความสััมพัันธ์์ระหว่่างระยะภาพที่่�เกิิดขึ้้�น slสำหรัับระยะวััตถุุ (s) ต่่างๆ ที่่�วางหน้้าเลนส์์นููน


ได้้ผลลััพธ์์ดัังรููป

ข้้อความใดถููกต้้อง
1. เลนส์์นููนนี้้�มีีความยาวโฟกััส 5 เซนติิเมตร
2. ที่่�จุุด A เกิิดภาพลัักษณะหััวกลัับเทีียบวััตถุุตั้้�งต้้น
3. ที่่�จุุด B เกิิดภาพจริิงขนาด 2 เท่่าของวััตถุุ
4. ที่่�จุุด C เกิิดภาพด้้านเดีียวกัับวััตถุุ
5. ถููกทุุกข้้อ
25

39. ระบบเลนส์์ประกอบด้้วยเลนส์์เว้้า A, เลนส์์นููน B และเลนส์์เว้้า C ซึ่่�งมีีความยาวโฟกััสเป็็น 4 cm, 12 cm และ


3 cm ตามลำดัับ โดยจััดให้้เลนส์์เว้้า A กัับเลนส์์เว้้า C อยู่่�ห่่างกััน 41 cm ดัังรููป

41 cm

A B C
x

จะต้้องจััดให้้เลนส์์เว้้า A กัับเลนส์์นููน B มีีระยะห่่างกัันเป็็น x เท่่ากัับกี่่�เซนติิเมตร จึึงจะทำให้้เมื่่�อยิิงลำแสงขนาน


ตกกระทบเลนส์์เว้้า A แล้้วได้้ว่่าแสงที่่�หัักเหผ่่านเลนส์์เว้้า C ออกไปเป็็นแสงขนาน
26

40. ฉายแสงขาวซึ่่�งประกอบไปด้้วยแสงความยาวคลื่่�นตั้้�งแต่่ 400 ถึึง 700 นาโนเมตร ไปยัังเกรตติิงที่่�มีี 4,000 ช่่องต่่อ


1 เซนติิเมตร จะเกิิดสเปกตรััมสีีรุ้้�งแบบครบทุุกความยาวคลื่่น
� บนฉากที่่�อยู่่�ห่่างออกไป 2 เมตร ทั้้�งหมดกี่่�แถบ
1. 5 แถบ
2. 6 แถบ
3. 10 แถบ
4. 11 แถบ
5. 12 แถบ

41. ฉายแสงเอกรงค์์ความยาวคลื่่�น λ ผ่่านสลิิตคู่่�อัันหนึ่่�งซึ่่�งมีีระยะระหว่่างช่่องคู่่�เป็็น d และแต่่ละช่่องมีีความกว้้าง a โดยที่่�


a > λ หากพบว่่าแถบสว่่างของแหล่่งคู่่�อัันดัับที่่� 3, 6, 9, ... นั้้�นหายไป สััดส่่วน d เป็็นไปดัังข้้อใด
a

1. 1
3
2. 3

3. 2
3
4. 3
2
5. 1
6
27

42. ฉายแสงเลเซอร์์สีีแดงความยาวคลื่่�น 650 นาโนเมตร ตกกระทบเส้้นผมเส้้นหนึ่่�ง พบว่่าเกิิดริ้้�วรอยเหมืือนการแทรกสอด


ของช่องแคบเดี่ยวบนฉากที่อยู่ห่างออกไป 2.00 เมตร โดยมีแถบสว่างกลางกว้าง 20 มิลลิเมตร จงหาว่าเส้นผมมีขนาด
เส้นผ่านศูนย์กลางเท่าใด
1. 0.065 mm
2. 0.13 mm
3. 0.26 mm
4. 0.39 mm
5. 0.52 mm

43. แสงธรรมชาติิความเข้้ม I0 เคลื่่�อนที่่�ผ่่านแผ่่นโพลารอยด์์ A และ B ดัังแสดงในรููป


โดยแนวการเรีียงตััวโมเลกุุลของแผ่่นโพลารอยด์์ A และ B อยู่่�ในแนวแกน z และ y ตามลำดัับ
จงหาแนวการสั่่�นของสนามไฟฟ้้าหลัังจากผ่่านแผ่่นโพลารอยด์์ A และความเข้้มของแสงหลัังผ่่าน
แผ่่นโพลารอยด์์ B

A B

แนวการสั่่�นของสนามไฟฟ้้า ความเข้้มของแสง
หลัังผ่่านแผ่่นโพลารอยด์์ A หลัังผ่่านโพลารอยด์์ B

1. แกน y I0
2

2. แกน y 0

3. แกน z I0

4. แกน z I0
2

5. แกน z 0
28

กลุ่มไฟฟ้าแม่เหล็ก
44. จากระบบประจุุดัังรููป จงหาว่่าจุุดสะเทิินสนามไฟฟ้้าอยู่่�ที่่�ตำแหน่่ง x = ?

1. x= L
4
2. x= L
2
3. x=3L
4
4. x=3L
2
5. x = 2L

45. ลากจุุดประจุุ q = -200 mC ระหว่่างแผ่่นตััวนำคู่่�ขนานจากตำแหน่่ง A ไปยัังตำแหน่่ง C โดยผ่่านตำแหน่่ง B ก่่อน


ดัังแสดงในรููป สนามไฟฟ้้าระหว่่างแผ่่นตััวนำมีีค่่าสม่่ำเสมอเป็็น 300 V/m จงหางานที่่�ใช้้ในการลากประจุุจากตำแหน่่ง
A ไปตำแหน่่ง C

1. 1.2 J
2. 1.8 J
3. 2.4 J
4. 3.0 J
5. 3.6 J
29

46. ขนาดของสนามไฟฟ้้าที่่�จุุด B เป็็นกี่่�เท่่าของจุุด A

+2q

A -q

1. 1

6
2.
5
2
3.
5
4. 3 2

5. 2
30

47. ทรงกลมตััวนำไฟฟ้้ารััศมีี a มีีประจุุสะสม +Q จงหาความต่่างศัักย์์ไฟฟ้้าระหว่่างจุุดศููนย์์กลางของทรงกลมตััวนำ


กัับที่่�ระยะ 3a จากจุุดศููนย์์กลางของทรงกลม กำหนดให้้ k คืือค่่าคงที่่�ของคููลอมบ์์
kQ
1. a
kQ
2. 3a
2kQ
3. 3a
kQ
4. 2
a
kQ
5.
3a
2

48. เมื่่�อสัับสวิิตช์์ลงจะเกิิดการถ่่ายเทประจุุระหว่่างตััวเก็็บประจุุทั้้�งสอง หลัังจากระบบเข้้าสู่่�สมดุุล ประจุุที่่�สะสมบนตััวเก็็บ


ประจุที่มีค่าความจุ C (ตัวซ้าย) มีค่าเป็นเท่าใด

q
1. 3
2q
2. 3
3. q

4. 2q

5. 3q
31

49. นำตััวเก็็บประจุุ 4 ตััว C1, C2, C3 และ C4 มาต่่อกัับแบตเตอรี่่�ขนาด 6 โวลต์์ ดัังแสดงในรููป


C3 = 60 nF

C2 = 60 nF C4 = 60 nF

A B
C1 = 20 nF

6V

ความจุุไฟฟ้้าสมมููลระหว่่างจุุด A กัับจุุด B และพลัังงานศัักย์์ไฟฟ้้าที่่�สะสมในตััวเก็็บประจุุ C1 มีีค่่าเป็็นเท่่าใด


ตามลำดัับ

ความจุุไฟฟ้้าสมมููล (นาโนฟารััด) พลัังงานที่่�สะสมใน C1 (นาโนจููล)


1. 10 360

2. 40 360
3. 10 180
4. 40 720
5. 10 90
32

50. นำแบตเตอรี่่�ตััวหนึ่่�งมาต่่อกัับตััวต้้านทาน R ซึ่่�งปรัับค่่าความต้้านทานได้้ดัังรููป เมื่่�อปรัับค่่า R แล้้ววััดกระแสไฟฟ้้า I


และความต่างศักย์ V ด้วยแอมมิเตอร์และโวลต์มิเตอร์ตามลำ�ำดับ จะได้กราฟระหว่าง V กับ I ดังแสดง

ความต้านทานภายในของแบตเตอรี่มีค่าเป็นเท่าใด
1. 0.33 โอห์ม
2. 1 โอห์ม
3. 3 โอห์ม
4. 9 โอห์ม
5. 27 โอห์ม

51. เส้้นลวดตััวนำไฟฟ้้าหุ้้�มด้้วยฉนวนยาวมาก 2 เส้้นวางตััวในลัักษณะทำมุุมฉากซึ่่�งกัันและกััน ถ้้าแต่่ละเส้้นมีีกระแสไฟฟ้้า


I เท่่ากัันไหลในทิิศทางดัังรููป สนามแม่่เหล็็กที่่�ตำแหน่่ง A เป็็นเท่่าใด กำหนดให้้ สนามแม่่เหล็็กที่่�เกิิดจากกระแสไฟฟ้้า
I ณ ตำแหน่่งที่่�ห่่างจากเส้้นลวด เป็็นระยะ a มีีขนาดเท่่ากัับ B

1. 0 (จุดสะเทิน)
2. ขนาด 2B ทิศพุ่งเข้าสู่หน้ากระดาษ
3. ขนาด 2B ทิศพุ่งออกจากหน้ากระดาษ
4. ขนาด 2B ทิศทำ�ำมุม +45˚ กับกระแสในเส้นลวดแนวนอน
5. ขนาด 2B ทิศทำ�ำมุม -45˚ กับกระแสในเส้นลวดแนวนอน
33

52. ยิิงอนุุภาคโปรตอนประจุุ +q มวล m ความเร็็วต้้น u เข้้าไปยัังบริิเวณสนามแม่่เหล็็กสม่่ำเสมอ พบว่่าเส้้นทาง


การเคลื่อนที่จะเป็นไปตามเส้นทาง B ดังรูป หากทดลองซ้�้ำำกับอนุภาคอื่นๆ อนุภาคใดจะมีเส้นทางการเคลื่อนที่
ตามเส้นทาง A, C และ E ตามลำ�ำดับ (รัศมีของเส้นทางในรูปเป็นไปตามมาตราส่วน)

1. อนุภาคแอลฟา, อนุภาคนิวตรอน, อนุภาคแอนติโปรตอน (อนุภาคมวลเท่าโปรตอนแต่ประจุตรงข้าม)


2. อนุภาคแอลฟา, อนุภาคแกมมา, อนุภาคบีตาลบ
3. อนุุภาคแอลฟา, อนุุภาคนิิวทริิโน, อนุุภาคอิิเล็็กตรอน
4. อนุภาคดิวเทอรอน, อนุภาคแกมมา, อนุภาคอิเล็กตรอน
5. อนุภาคตริตอน, อนุภาคแอลฟา, อนุภาคบีตาบวก

53. ลวดตรงยาวคู่่�ขนาน 3 เส้้นมีีกระแสไหลผ่่านดัังรููป แรงกระทำต่่อลวด P, Q และ R มีีทิิศดัังข้้อใดตามลำดัับ

1. ขวา, ซ้าย, ขวา


2. ซ้าย, ขวา, ซ้าย
3. ขวา, ขวา, ซ้าย
4. ซ้าย, ซ้าย, ขวา
5. ไม่มีทิศ (แรงลัพธ์ = 0), ซ้าย, ขวา
34

54. สนามแม่่เหล็็กสม่่ำเสมอขนาด 0.50 เทสลา ผ่่านลวดตััวนำ ABCDE ในแนวขนานกัับระนาบของลวดตััวนำ ดัังรููป


C

I 60c 60c
A E
B D

ถ้้า AB และ DE ยาว 20 เซนติิเมตรเท่่ากััน ส่่วน BC และ CD ยาว 40 เซนติิเมตรเท่่ากััน เมื่่�อมีีกระแสไฟฟ้้า I


เท่่ากัับ 2.0 แอมแปร์์ ผ่่านลวดตััวนำนี้้� จงหาขนาดของแรงลััพธ์์ของแรงแม่่เหล็็กที่่�กระทำต่่อลวดตััวนำในหน่่วยนิิวตััน

55. สนามแม่่เหล็็กสม่่ำเสมอขนาด 0.50 เทสลา ผ่่านลวดตััวนำ ABCDE มีีทิิศทางพุ่่�งออกตั้้�งฉากกัับ


กระดาษ ดัังรููป
C
B

I I

I 60c 60c
A E
B D

ถ้้า AB และ DE ยาว 20 เซนติิเมตร ส่่วน BC และ CD ยาว 40 เซนติิเมตร เมื่่�อมีีกระแสไฟฟ้้า


2.0 แอมแปร์์ ผ่่านเส้้นลวดนี้้� จงหาขนาดและทิิศทางแรงลััพธ์์ของแรงแม่่เหล็็กที่่�กระทำต่่อลวด
ตััวนำ ABCDE
1. 0.4 N ทิิศลง
2. 0.4 N ทิิศขึ้้�น
3. 0.8 N ทิิศลง
4. 0.8 N ทิิศขึ้้�น
5. 0.8 N ทิิศพุ่่�งออกจากหน้้ากระดาษ
35

56. ดึึงแท่่งเหล็็กให้้เคลื่่�อนที่่�ด้้วยความเร็็วคงตััว v ไปตามรางคู่่�ขนานซึ่่�งอยู่่�ห่่างกััน L ในบริิเวณที่่�มีีสนามแม่่เหล็็ก B


สม่�่ำำเสมอทิศพุ่งเข้าตั้งฉากหน้ากระดาษดังแสดงในรูป จงหาทิศและขนาดของกระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนำ�ำที่เกิดขึ้น

กำ�ำหนดให้แท่งเหล็กและลวดที่ใช้ทำ�ำรางมีความต้านทานน้อยมากเทียบกับความต้านทานภายนอก R
1. ไหลผ่านแท่งเหล็กจาก x ไป y ขนาด BLv/R
2. ไหลผ่านแท่งเหล็กจาก y ไป x ขนาด BLv/R
3. ไหลผ่านแท่งเหล็กจาก x ไป y ขนาด R/BLv
4. ไหลผ่านแท่งเหล็กจาก y ไป x ขนาด R/BLv
5. ไม่่มีีกระแสเหนี่่�ยวนำเกิิดขึ้้�น

57. อนุุภาคมีีประจุุไฟฟ้้าตััวหนึ่่�งถููกยิิงด้้วยความเร็็วต้้น v เข้้าไปในบริิเวณที่่�มีีสนามแม่่เหล็็กสม่่ำเสมอ


ในทิิศพุ่่�งเข้้าตั้้�งฉากหน้้ากระดาษ ดัังรููป พบว่่าใช้้เวลาเคลื่่�อนที่่�ในบริิเวณที่่�มีีสนามแม่่เหล็็กเป็็น t
ก่่อนจะหลุุดออกมาภายนอก หากทำการทดลองอีีกรอบด้้วยอนุุภาคชนิิดเดิิม แต่่เพิ่่�มความเร็็วต้้น
เป็็น 2v อนุุภาคจะใช้้เวลาเคลื่่�อนที่่�ในบริิเวณที่่�มีีสนามแม่่เหล็็กเป็็นเท่่าใด

1. 4t

2. 2t

3. t
t
4. 2
t
5. 4
36

58. ลวดตััวนำยาวอนัันต์์สองเส้้นวางตััวขนานกััน โดยกระแสไฟฟ้้า I ที่่�ผ่่านลวดแต่่ละเส้้นมีีค่่าเท่่ากััน ถ้้าให้้ ณ เวลาเริ่่�มต้้น


อิิเล็็กตรอนอยู่่�ในระนาบเดีียวกัับลวดตััวนำทั้้�งสองเส้้นที่่�ตำแหน่่งกึ่่�งกลางระหว่่างลวดทั้้�งสอง พิิจารณาสถานการณ์์
และการบรรยายแนวโน้้มการเคลื่่�อนที่่�ของอิิเล็็กตรอน 3 กรณีี ต่่อไปนี้้�

กำหนดให้้ทิิศทางต่่างๆ เป็็นดัังนี้้�

ขึ้้�น

ซ้้าย ขวา

ลง

กรณีี สถานการณ์์เริ่่�มต้้น แนวโน้้มการเคลื่่�อนที่่�ของอิิเล็็กตรอน


I
ลวด A
v อิิเล็็กตรอนจะเคลื่่�อนที่่�ไปทางขวา
ก. ลวด B และเบนโค้้งเข้้าหาลวด A
I
อิิเล็็กตรอนเริ่่�มเคลื่่�อนที่่�ไปทางขวา
I
ลวด A
v อิิเล็็กตรอนจะเคลื่่�อนที่่�ไปทางขวา
ข. ลวด B เป็็นแนวตรงโดยไม่่เบน
I
อิิเล็็กตรอนเริ่่�มเคลื่่�อนที่่�ไปทางขวา
I
ลวด A

ค. ลวด B อิิเล็็กตรอนจะไม่่เคลื่่�อนที่่�
I
วางอิิเล็็กตรอนให้้อยู่่�นิ่่�ง

กรณีีใดบรรยายแนวโน้้มการเคลื่่�อนที่่�ของอิิเล็็กตรอนได้้ถููกต้้อง
1. ก. เท่่านั้้�น
2. ข. เท่่านั้้�น
3. ก. และ ค. เท่่านั้้�น
4. ข. และ ค. เท่่านั้้�น
5. ก., ข. และ ค.
37

59. แหล่่งกำำ�เนิิดไฟฟ้้ากระแสสลัับรููปคลื่่�นไซน์์มีีค่่าโวลต์์ตามเวลาดัังรููป ก. ถููกนำำ�มาต่่อกัับตััวต้้านทานขนาด 40 โอห์์ม


และแอมมิิเตอร์์ดัังรููป ข.
V

t (ms) V R = 40 Ω
10 20 30 40

A
2.0 A
รููป ก. รููป ข.
หากค่่าที่่�แอมมิิเตอร์์อ่่านได้้เป็็น 2.0 A ข้้อใดต่่อไปนี้้�แสดงฟัังก์์ชัันบรรยายความต่่างศัักย์์ของแหล่่งกำำ�เนิิดได้้
อย่่างถููกต้้อง
1. V (t) = 80 sin (100πt)
2. V (t) = 80 sin (50πt)
3. V (t) = 113 sin (100πt)
4. V (t) = 113 sin (50πt)
5. V (t) = 160 sin (100πt)

60. จากรููป หากหม้้อแปลงไฟฟ้้านั้้�นอุุดมคติิ แอมมิิเตอร์์ A1 และ A2 จะอ่่านค่า่ ได้้กี่่�แอมแปร์์ตามลำำ�ดัับ


A1 A2
Vrms = 200 V

N1 = 100 N2 = 20

1. 0.8 A, 4.0 A
2. 5.0 A, 20 A
3. 10 A, 20 A
4. 20 A, 4.0 A
5. 20 A, 5.0 A
38

กลุ่มสมบัติสาร
61. ยางรถยนต์์เส้้นหนึ่่�งเดิิมมีีความดัันเกจ 30 psi โดยแก๊๊สด้้านในมีีอุุณหภููมิิ 27 ˚C เมื่่�อขัับไปบนถนนปรากฏว่่า
แก๊สในยางร้อนขึ้นจนมีอุณหภูมิเป็น 47 ˚C ความดันเกจของแก๊สในยางจะมีค่ากี่ psi
(กำ�ำหนดให้ความดันบรรยากาศมีค่าเป็น 1 atm ≈ 15 psi)
1. 30 psi
2. 31 psi
3. 32 psi
4. 33 psi
5. 52 psi

62. แก๊๊สฮีีเลีียมบรรจุุในกระบอกสููบ ต้้องการให้้แก๊๊สเปลี่่�ยนจากสภาวะ A ไปสภาวะ B ตามเส้้นทาง I และ II ดัังกราฟ

พิจารณาข้อความต่อไปนี้ ข้อความใดบ้างถูกต้อง
ก. งานที่แก๊สในกระบอกสูบทำ�ำเท่ากันทั้งสองเส้นทาง (WI = WII)
ข. พลังงานภายในที่เปลี่ยนไปเท่ากันทั้งสองเส้นทาง (ΔUI = ΔUII)
ค. ความร้อนที่ถ่ายเทระหว่างแก๊สกับสิ่งแวดล้อมเท่ากันทั้งสองเส้นทาง (QI = QII)
1. ก. เท่านั้น
2. ข. เท่านั้น
3. ค. เท่านั้น
4. ก., ข. และ ค.
5. ไม่มีข้อความใดถูกต้องเลย
39

63. เมื่่�อใช้้แมนอมิิเตอร์์ปรอทวััดความดัันของแก๊๊สในถััง พบว่่าระดัับของปรอทฝั่่�งที่่�ต่่อกัับถัังแก๊๊สต่่ำกว่่าระดัับปรอทใน


ขาหลอดที่่�เปิิดสู่่�อากาศภายนอกอยู่่� 20 เซนติิเมตร ความดัันสััมบููรณ์์ของแก๊๊สในถัังเป็็นเท่่าใดในหน่่วยเซนติิเมตรปรอท
(กำหนดให้้ความดัันบรรยากาศ 1 atm = 76 เซนติิเมตรปรอท)

64. ท่่อน้้ำสั้้�นเอีียงทำมุุม 45˚ อยู่่�ที่่�ก้้นถัังน้้ำสููง H น้้ำจะพุ่่�งออกจากท่่อได้้สููงเท่่าใดจากพื้้�นระดัับ

1. 1 h
2
2. 1h
2
3. 1 h
4
4. 3 h
4
5. h
40

กลุ่มฟิสิกส์ยุคใหม่
65. ทำการทดลองโฟโตอิิเล็็กทริิกด้้วยการยิิงแสงความถี่่� f ต่่างๆ ใส่่เป้้าโลหะสองชนิิดคืือ A กัับ B และทำการวััด
ความต่างศักย์ Vs ที่ต้องใช้ในการหยุดยั้งโฟโตอิเล็กตรอน หากฟังก์ชันงานของโลหะ A มีขนาดเป็นสองเท่าของโลหะ B
กราฟในข้อใดแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง Vs กับ f ได้ถูกต้อง
1. 2.

3. 4.

5.
41

66. เร่่งอนุุภาคโปรตอนประจุุ +q มวล m กัับอนุุภาคแอลฟาประจุุ +2q มวล 4m จากหยุุดนิ่่�งผ่่านความต่่างศัักย์์ V


หลัังเร่่งเสร็็จแล้้วความยาวคลื่่�นเดอบรอยล์์ของโปรตอนเป็็นกี่่�เท่่าของอนุุภาคแอลฟา
1. 2 เท่่า

2. 1 เท่่า
2
3. 2 เท่่า

4. 1 เท่่า
2
5. 8 เท่่า

67. จากรููปแสดงแผนภาพระดัับพลัังงาน 3 ชั้้�นแรกของอะตอมหนึ่่�ง เมื่่�ออิิเล็็กตรอนตััวหนึ่่�งย้้ายชั้้�นพลัังงานจาก n = 3


ไปยััง n = 2 และจาก n = 2 ไปยัังชั้้�น n = 1 อะตอมจะแผ่่คลื่่�นแม่่เหล็็กไฟฟ้้าความยาวคลื่่�น 300 และ 600 นาโนเมตร
ตามลำดัับ ถ้้าอิิเล็็กตรอนตััวหนึ่่�งย้้ายชั้้�นพลัังงานจาก n = 3 ไปยััง n = 1 ในคราวเดีียว อะตอมนี้้�จะแผ่่คลื่่�นแม่่เหล็็กไฟฟ้้า
ความยาวคลื่่�นเท่่าใด

1. 100 nm
2. 200 nm
3. 300 nm
4. 600 nm
5. 900 nm
42

68. ในอนุุกรมการสลายตััวของนิิวเคลีียสเรดอน -222 ( Rn ) มีีทั้้�งการสลายตััวให้้แอลฟาและบีีตาจนกระทั่่�งได้้นิิวเคลีียส


222
86

บิิสมััท -214 ( Bi ) ในอนุุการสลายนี้้�มีีการปล่่อยอนุุภาคแอลฟาและอนุุภาคบีีตาออกมาอย่่างละกี่่�ตััวตามลำดัับ


214
83

1. α = 4 ตัว β = 2 ตัว
2. α = 4 ตัว β = 1 ตัว
3. α = 2 ตัว β = 2 ตัว
4. α = 2 ตัว β = 1 ตัว
5. α = 1 ตัว β = 2 ตัว

69. ในกระบวนการฟิิชชัันของ U จะมีีการปลดปล่่อยนิิวตรอนออกมาเพื่่�อก่่อให้้เกิิดปฏิิกิิริิยาลููกโซ่่ต่่อไป


235
92

หากผลิตภัณฑ์ของการฟิชชันครั้งนี้คือ Ba กับ Kr จะมีนิวตรอนถูกปลดปล่อยออกมาด้วยกี่ตัว


144
56
89
36

1. 1 ตัว
2. 2 ตัว
3. 3 ตัว
4. 4 ตัว
5. 5 ตัว
43

70. กำำ�หนดให้้
มวลอะตอมของทริิเทีียม = 3.016049 u
มวลอะตอมของไฮโดรเจน = 1.007825 u
มวลของโปรตอน = 1.007276 u
มวลของนิิวตรอน = 1.008665 u
มวลของอิิเล็็กตรอน = 0.000549 u
หากมวล 1 u = 1.660540 × 10-27 kg = 931 MeV/c2 ส่่วนพร่่องมวลและพลัังงานยึึดเหนี่่�ยวต่่อนิิวคลีีออนของ
นิิวเคลีียสทริิเทีียมมีีค่่าเท่่าใดตามลำำ�ดัับ

ส่่วนพร่่องมวล (u) พลัังงานยึึดเหนี่่�ยวต่่อนิิวคลีีออน (MeV)


1. 0.009106 2.83

2. 0.009106 8.48
3. 0.000549 0.17
4. 0.000549 0.51
5. 0 0
44

71. เราสามารถเปรีียบเทีียบการทอดลููกเต๋๋าแต้้มสีี a หน้้าจากทั้้�งหมด b หน้้า ทั้้�งหมด N0 ลููก แล้้วคััดหน้้าที่่�ขึ้้�นแต้้มสีีออก


ในแต่่ละครั้้�งที่่�ทำการทอดกัับการสลายตััวของสารกััมมัันตรัังสีีที่่�เดิิมมีี N0 นิิวเคลีียสได้้ หากทำการทดลองทอดลููกเต๋๋า
ที่่�มีีหน้้าแต้้มสีี a = 1 หน้้า จากทั้้�งหมด b = 6 หน้้า โดยเริ่่�มต้้นมีีลููกเต๋๋าทั้้�งหมด N0 = 100 ลููก ตามหลัักความน่่าจะเป็็น
“ครึ่่�งชีีวิิต” ของการทอดลููกเต๋๋าหรืือจำนวนครั้้�งที่่�ต้้องทอดเพื่่�อให้้เหลืือลููกเต๋๋าครึ่่�งหนึ่่�งหรืือประมาณ 50 ลููก
มีีค่่าใกล้้เคีียงกัับข้้อใดมากที่่�สุุด
1. 1 ครั้้�ง
2. 2 ครั้้�ง
3. 3 ครั้้�ง
4. 4 ครั้้�ง
5. 6 ครั้้�ง

72. ถ้้าธาตุุ X มีีจำนวนอะตอมเป็็น 2 เท่่าของธาตุุ Y แต่่มีีกััมมัันตภาพเป็็น 31 เท่่าของธาตุุ Y


ครึ่่�งชีีวิิตของ X เป็็นกี่่�เท่่าของ Y
1. 23

2. 2
3
3. 1
6
4. 6

5. ข้้อมููลไม่่เพีียงพอ
45

73. สารกััมมัันตรัังสีีชนิิดหนึ่่�งมีีค่่าครึ่่�งชีีวิิต 2 นาทีี ถ้้า ณ ขณะนี้้�วััดกััมมัันตภาพได้้ 4 มิิลลิิคููรีี เมื่่�อเวลาผ่่านไป 1 นาทีี


สารกัมมันตรังสีนี้จะเหลืออยู่ประมาณกี่อะตอม
(กำหนดให้้ 1 คููรีี = 3.7 × 1010 เบ็็กเคอเรล ln2 ≈ 0.7 และ 2 ≈ 1.4)
1. 7 × 107
2. 3 × 108
3. 9 × 109
4. 2 × 1010
5. 5 × 1010

74. ควาร์์กจััดเป็็นอนุุภาคมููลฐานในแบบจำลองมาตรฐานของฟิิสิิกส์์อนุุภาค โดยมีีทั้้�งสิ้้�น 6 ชนิิด ดัังตาราง


ควาร์ก สัญลักษณ์ ประจุไฟฟ้า
อััป u + 2e
3
-e
ดาวน์ d 3
ชาร์ม c + 2e
3
-e
สเตรนจ์ s 3
ท็อป t + 2e
3
-e
บ็็อตทอม b 3

มีซอน (Meson) คืออนุภาคกลุ่มแฮดรอนชนิดที่ประกอบด้วยควาร์ก 2 ตัวขึ้นไปมารวมกันด้วยแรงนิวเคลียร์อย่างเข้ม


โดยจะต้้องมีีจำนวนควาร์์กเท่่ากัับที่่�มีีจำนวน “แอนติิควาร์์ก” หรืือปฏิิอนุุภาคของควาร์์ก ยกตััวอย่่างเช่่น
ดาวน์์แอนติิควาร์์กมีีมวลเท่่ากัับดาวน์์ควาร์์กแต่่มีีประจุุตรงข้้ามเป็็น +3e
หากเราสนใจเฉพาะมีซอนที่ประกอบด้วยควาร์ก 2 ตัว คือควาร์กปกติ 1 ตัว และแอนติควาร์ก 1 ตัว มารวมกัน
ข้อใดต่อไปนี้สามารถเป็นประจุของมีซอนชนิดนี้ได้
1. 0 เท่านั้น
2. -e กับ +e เท่านั้น
3. 0, -e กับ +e
- -e +e + 2e
4. 2e 3 , 3 , 0, 3 และ 3
5. ประจุเท่าใดก็ได้
46

75. ข้้อมููลของอนุุภาคมููลฐานในกลุ่่�มอนุุภาคสสารเป็็นดัังนี้้�

ชนิิดของควาร์์ก มวล ประจุุ ชนิิดของเลปตอน มวล ประจุุ


2 2
อััป . 2.2 MeV/c + 32 e อิิเล็็กตรอน . 0.51 MeV/c -e
2 2
ดาวน์์ . 4.7 MeV/c -1 e อิิเล็็กตรอนนิิวทริิโน < 2.2 eV/c 0
3
2 2
ชาร์์ม . 1.28 GeV/c + 32 e มิิวออน . 105.66 MeV/c -e
2 2
สเตรนจ์์ . 96 MeV/c -1 e มิิวออนนิิวทริิโน < 0.17 MeV/c 0
3
2 2
ท็็อป . 173.1 GeV/c + 32 e ทาวน์์ . 1.78 GeV/c -e
2 2
บ็็อตทอม . 4.18 GeV/c -1 e ทาวน์์นิิวทริิโน < 18.2 MeV/c 0
3

ข้้อมููลของอนุุภาคมููลฐานในกลุ่่�มอนุุภาคสื่่�อแรงเป็็นดัังนี้้�

ชนิิด มวล ประจุุ


กลููออน 0 0

โฟตอน 0 0
2
Z-โบซอน . 91.19 GeV/c 0

W-โบซอน . 80.39 GeV/c


2
!e

ถ้้าอนุุภาคชนิิดหนึ่่�งมีีองค์์ประกอบเป็็นควาร์์กอััป 1 อนุุภาค และแอนติิควาร์์กสเตรนจ์์ 1 อนุุภาค


พิิจารณาข้้อความต่่อไปนี้้�
ก. อนุุภาคดัังกล่่าวมีีประจุุไฟฟ้้าเท่่ากัับประจุุไฟฟ้้าของ Z- โบซอน
ข. ปฏิิยานุุภาคของอนุุภาคดัังกล่่าว มีีมวลมากกว่่ามวลของทาวน์์นิิวทริิโน
ค. อนุุภาคดัังกล่่าวมีีโฟตอนเป็็นอนุุภาคสื่่�อแรงของแรงที่่�ยึึดเหนี่่�ยวควาร์์กและแอนติิควาร์์ก
ให้้อยู่่�รวมกััน
ข้้อความใดถููกต้้อง
1. ก. เท่่านั้้�น
2. ข. เท่่านั้้�น
3. ค. เท่่านั้้�น
4. ก. และ ข.
5. ข. และ ค.
47

76. จงหาพลัังงานของการประลััยของอิิเล็็กตรอนและโพซิิตรอน โดยไม่่ต้้องคำนึึงถึึงพลัังงานจลน์์เริ่่�มต้้น


(กำหนดให้้อิิเล็็กตรอนมีีมวล 0.511 MeV/c2)
1. 0.256 MeV
2. 0.511 MeV
3. 1.02 MeV
4. 2.04 MeV
5. 0 MeV

You might also like