You are on page 1of 9

ปฏิบัติงานหน่วยที่ ๒

งานคานวณมาตราส่วน และหาเนื้อที่รูปแผนที่โฉนดที่ดิน

1. ความสาคัญ ความหมายของมาตราส่วน

1.1 ความสาคัญ มนุษย์สามารถรู้ความเข้าใจถึงลักษณะภูมิประเทศและรูปร่างลักษณะ


ของพื้นโลก สามารถแลเห็นไกลออกไปมากกว่าที่จะแลเห็นด้วยตาเปล่าจาต้องอาศัยแผนที่ แผนผัง ซึ่ง
ในการทาแผนที่ แผนผังเราไม่สามารถนาแผนที่ แผนผังเท่าของจริงมานาเสนอได้เพราะมีขนาดกว้างใหญ่
มากจึงต้องจัดทาให้มีขนาดที่พอเหมาะแก่การใช้งานแต่ยังคงรายละเอียดลักษณะภูมิประเทศและรูปร่าง
ลักษณะของพื้นโลกไว้เช่นเดิม การที่จะกระทาเช่นนั้นได้จึงต้องใช้มาตราส่วนในการดาเนินการ
1.2 ความหมาย “มาตราส่วน” (Scale) หมายถึงอัตราส่วนความยาวจริงในพื้นที่กับ
ความยาวในแผนที่ แผนผัง หรือหมายถึงระยะเปรียบเทียบระหว่างระยะจริงในภูมิประเทศกับระยะใน
แผนที่ แผนผัง
ระยะในแผนที่(Map Distance) MD
 มาตราส่วน (Scale) = =
ระยะในพื้นที่จริง(Ground GD
=
Distance)
วัดระยะในแผนผังจากหมุด ก-ข ยาว 8 เซนติเมตร
จ ง ค มาตราส่วนแผนผัง 1 : 4000 สามารถหา GD ได้

จากมาตราส่วน =
MD = 8 cm แทนค่า =
ก ข
มาตราส่วน 1 : 4000 GD = 8 cm × 4000
= 32,000 cm
= 32,000 cm ×
= 320.00 m
ระยะจากหมุด ก-ข ในพื้นที่จริง คือ 320.00 เมตร
2. การใช้มาตราส่วน
2.1 ประเภทของมาตราส่วน มาตราส่วนสามารถแบ่งเป็นประเภทได้ ดังนี้
1) Numerical Scale คือมาตราส่วนตัวเลขเศษส่วน จะบอกเป็นตัวเลขไม่มีหน่วย
เช่น 1 , 1 1 และ 1 ซึ่งก็คือ 1 : 100, 1 : 500, 1 : 1,000, และ 1 : 4,000
100 500 1,000 4,000
ตามลาดับ
2) Verbal Scale คือมาตราส่วนคาพูดซึ่งเขียนระบุในแผนผัง เช่น 1 cm = 40
m 2 cm = 5 km, 1 นิ้ว = 5 ไมล์ และ 2 นิ้ว = 5000 หลา
3) Graphic Scale คือมาตราส่วนรูปภาพเส้นบรรทัดจึงเรียกว่า “Scale bar”
ซึ่งอาจจะเขียนในรูปแบบเส้นเดี่ยว หรือเส้นคู่ก็ได้ เช่น

1 0 1 2 3 4 กิโลเมตร

Scale bar รูปแบบเส้นเดี่ยว

ส่วนแบ่งย่อย (Extension Scale) มีค่า ของส่วนเต็ม


1 0 1 2 3 4 กิโลเมตร

Index point ส่วนแบ่งเต็ม (Primary Scale)


Scale bar รูปแบบเส้นคู่

ภาพที่ 2.1 แสดงแบบและส่วนประกอบของมาตราส่วนรูปภาพเส้นบรรทัด


2.2 การใช้มาตราส่วนในแผนที่ ขนาดของมาตราส่วนจะเป็นตัวกาหนดชนิดของแผนที่
ซึง่ สามารถแบ่งชนิดของแผนที่ แผนผังจากขนาดของมาตราส่วนได้ ดังนี้
1) แผนที่มาตราส่วนขนาดเล็ก(Small Scale maps) เป็นแผนที่ที่ใช้มาตราส่วน
ขนาด 1 : 1,000,000 1 : 500,000 1 : 200,000 1 : 50,000 1 : 25,000 1 : 20,000 แต่ที่นิยมคือ
1 : 50,000 1 : 25,000 เช่น แผนที่ประเทศ แผนที่จังหวัด
2) แผนที่มาตราส่วนขนาดใหญ่(Large Scale maps) เป็นแผนที่ที่ใช้มาตราส่วน
ขนาด 1 : 10,000 1 : 5,000 1 : 4,000 1 : 2,500 และ 1 : 1,000 เช่น แผนที่อาเภอ แผนที่
ตาบล แผนที่ที่ดิน
3) แผนผังแสดงที่ตั้งอาคารต่างๆ (Site plans) เป็นแผนผังกาหนดตาแหน่งของ
การก่อสร้างต่างๆ จะใช้มาตราส่วนที่มีขนาด 1 : 500 1 : 200 1 : 100 และ 1 : 50
4) แผนผังแสดงรายละเอียด(Detail plans) เป็นแผนผังกาหนดแสดง
รายละเอียดในการก่อสร้างต่างๆ เช่น คู คลองต่าง จะใช้มาตราส่วนขนาด 1 : 20 1 : 10 1 : 5
และ 1 : 1
2.3 การแปลงมาตราส่วน ในการอ่านแผนที่ แผนผังจาเป็นต้องมีการแปลงมาตราส่วนที่
ระบุในแผนที่ แผนผังเป็นมาตราส่วนที่ทาให้เราเข้าใจได้ง่ายขึ้น ซึง่ สามารถแปลงมาตราส่วนได้ดังนี้
1) การแปลงมาตราส่วนรูปภาพเส้นบรรทัดเป็นมาตราส่วนตัวเลขเศษส่วน สามารถ
กระทาได้โดยทาการวัดระยะ 1 ช่วงเต็มของมาตราส่วนรูปภาพเส้นบรรทัดว่ายาวเท่าไร ในกรณีนี้วัด
ได้ 2 เซนติเมตร ซึ่งสามารถนาไปคานวณหามาตราส่วนตัวเลขเศษส่วนได้ ดังนี้
100 0 100 200 300 400 m

2 cm

จากมาตราส่วน =
แทนค่า มาตราส่วน = = ×
=
 มาตราส่วน คือ 1 : 5,000

2) การแปลงมาตราส่วนคาพูดเป็นมาตราส่วนตัวเลขเศษส่วน เช่น มาตราส่วนคาพูด


ระบุ 2 นิ้ว = 5 ไมล์ สามารถแปลงเป็นมาตราส่วนตัวเลขเศษส่วน ได้ดังนี้
จากหน่วยวัดระยะ 1 ไมล์ = 1,760 หลา
1 หลา = 36 นิ้ว
จากสมการมาตราส่วน = MD
GD
แทนค่า มาตราส่วน = 2 นิ้ว
5 ไมล์ × 1,760 หลา × 36 นิ้ว
1 ไมล์ 1 หลา
= =
=
 มาตราส่วน คือ 1 : 158,400
3) การแปลงมาตราส่วนตัวเลขเศษส่วนเป็น มาตราส่วนรูปภาพเส้นบรรทัด เช่น ให้
สร้างมาตราส่วนรูปภาพบรรทัดสาหรับแผนที่ 1 : 50,000 โดยให้มีหน่วยวัดระยะหน่วยละ 1,000 เมตร
และให้สามารถอ่านครอบคุมภูมิประเทศได้ 5,000 เมตร
การหา จากมาตราส่วนที่กาหนดให้เป็น 1 : 50,000 นั่นคือ 1 เซนติเมตร จะ
เท่ากับ 50,000 เซนติเมตร แสดงว่า GD = 50,000 เซนติเมตร MD = 1 เซนติเมตร
ดังนั้น จาก GD 50,000 cm = 1 cm
ถ้า GD 1,000 m = 1 cm × 1,000 m × 100 cm
50,000 cm 1m
= 2 cm
และ GD 5,000 m = 1 cm × 5,000 m × 100 cm
50,000 cm 1m
= 10 cm
จากความละเอียดของช่วงแบ่งย่อย = 1 ของส่วนเต็ม
10
แต่ความยาวของส่วนเต็มวัดระยะได้ = 2 cm
ดังนั้น ขนาดของช่องแบ่งย่อย = 2 cm × 1 = 2 cm
10 10
= 0.2 cm หรือ 2 mm
 ความยาวของเส้นบรรทัดทั้งหมด คือ ความยาวส่วนแบ่งเต็มที่ต้องการสร้าง บวก
กับ ส่วนแบ่งย่อย เป็น 10 cm + 2 cm เท่ากับ 12 cm โดยมีขนาดความละเอียดของช่องแบ่งย่อย
เท่ากับ 2 mm แล้วนาค่าความยาวดังกล่าวไปสร้างมาตราส่วนรูปภาพเส้นบรรทัด ได้ดังนี้
1,000 0 1,000 2,000 3,000 4,000 5,000 m

ลาดับขั้นการปฏิบัติ อธิบายจากรูป
3.1) กาหนดมาตราส่วนตามตามที่กาหนดคือ 1 : 50,000
3.2) ขีดเส้นตรงคู่กันกว้าง 4 มิลลิเมตร ยาว 12 เซนติเมตร
3.3) แบ่งเส้นตรงออกเป็น 2 ส่วน โดยส่วนแรกอยู่ซ้ายมือยาว 2 ซม. ส่วนที่ 2
อยู่ทางขวามือยาว 10 เซนติเมตร
3.4) แบ่งส่วนแรกออกเป็นช่องย่อย ๆ ช่องละ 2 มิลลิเมตร หมายระยะทุกๆ 2
มิลลิเมตร จะได้ 10 ช่อง เขียนเลขกากับ 0 และ 1,000
3.5) แบ่งส่วนที่ 2 ออกเป็นส่วนย่อยๆ ช่องละ 2 เซนติเมตร จะได้ 5 ช่อง โดย
ช่องแรกที่ติดกับส่วนแรกให้แบ่งครึ่งข้างละ 1 เซนติเมตร แล้วเขียนเลขกากับ 1,000 2,000 3,000
4,000 และ 5,000 เรียงตามลาดับ ทาการแรเงาทึบในแต่ละช่องสลับบนล่าง ดังรูป
ข้อควรระวัง การวัดระยะเพื่อสร้างมาตราส่วนต้องวัดด้วยความระมัดระวังและ
ละเอียด

3. วิธีย่อ ขยายแผนที่ แผนผัง

การใช้งานแผนที่ แผนผังจาเป็นต้องมีการย่อ หรือขยายเพื่อให้มีขนาดเหมาะสมกับการใช้งาน


ในแต่ละงาน โดยวิธีการย่อขยายแผนที่ แผนผังเป็นการนาเอามาตราส่วนมาใช้งาน ซึ่งในการย่อหรือ
ขยายแผนที่มีหลายวิธี เช่นการสร้างตารางกริด การฉายเส้นรัศมี แต่ในที่นี้จะขอกล่าวเฉพาะวิธีการฉาย
เส้ นรั ศมีเท่านั้ น ซึ่งเหมาะกับแผนที่ หรื อแผนผั งที่ไม่มีรายละเอียดมากมายนัก วิธีการฉายเส้ นรัศมี
สามารถกระทาได้ 2 วิธีคือ การกาหนดจุดรวมเส้ นฉายรัศมีอยู่ภายใน หรือภายนอกรูปแผนที่แผนผัง
ดังนี้
a b A B

A B
E
e
a b
E e
O D C
C d c
D
c O
d
a) การขยายแผนผังโดยกาหนด b) การย่อแผนผังโดยกาหนด
จุดรวมเส้นฉายรัศมีอยู่ภายในรูป จุดรวมเส้นฉายรัศมีอยู่ภายนอกรูป
ภาพที่ 2.2 แสดงวิธีการย่อ ขยายแผนผังแบบฉายเส้นรัศมี

3.1 ลาดับขั้นการปฏิบัติงาน อธิบายจากภาพ ต้องการขยายและย่อรูป ABCDE 1 เท่า


1) ให้เลือกจุด O อยู่ภายในและภายนอกรูป ABCDE
2) ลากเส้นฉายรัศมีจากจุด O ผ่านจุด ABCDE ต่อเส้นออกไปให้ยาวพอประมาณ
3) ลากต่อระยะ OA, OB, OC, OD, และ OE ออกไปตามเส้นรัศมีเท่ากับระยะ 1
เท่าตัวของมันเองเป็น Oa, Ob, Oc, Od, และ Oe ตามลาดับ (ถ้าจะขยายกี่เท่าก็ลากจุดต่อออกไป
เท่านั้นเท่า) ก็จะได้ตาแหน่งของจุด ABCDE ที่ขยายแล้ว 1 เท่า
4) ลากต่อจุด a b, bc, cd, de และ ea เข้าด้วยกันจะได้รูป ABCDE ที่ขยายแล้ว 1 เท่า
5) ถ้าจะย่อก็ทากลับกัน โดยการกาหนดจุด O ขึ้นในหรือนอกรูป ABCDE แล้ว
ลากเส้นจากจุด A B C D และ E เข้าหาจุด O จากทุกจุดดังภาพที่ 1.2 จะได้รูป ABCDE ที่ย่อแล้ว 1 เท่า
3.2 ข้อควรระวัง
1) เส้นรัศมีต้องคมชัด
2) การวัดระยะเพื่อย่อ - ขยายแผนที่ต้องวัดอย่างละเอียด
4. ปฏิบัติงานหาเนื้อที่รูปแผนที่โฉนดทีด่ ิน
4.1 เครื่องมือ-อุปกรณ์ที่ใช้ในการปฏิบัติ
1) ไม้โปรแทรกเตอร์ หรือบรรทัดมาตรส่วน 1 อัน
2) กระดาษไขขนาด A4 1 แผ่น
3) เครื่องคานวณ 1 เครื่อง
4) อุปกรณ์เครื่องเขียนที่จาเป็น 1 ชุด
4.2 ลาดับขั้นการปฏิบัติงาน
จากรูปแผนที่ในโฉนดที่ดินเลขที่ 36849 มาตราส่วนในระวาง 1 : 4000 รูปแผน
ที่มาตราส่วน 1 : 2000 ที่ต้องการหาระยะจริงให้ดาเนินการปฏิบัติดังต่อไปนี้
1) แบ่งพื้นที่ของรูปแผนที่ในโฉนดที่ดินออกเป็นรูปสามเหลี่ยมให้ครอบคลุมทั้ง
พื้นที่ กาหนดหมายเลขของรูปสามเหลี่ยมนั้นๆ เช่น สามเหลี่ยมรูปที่ 1 ที่มีหมุด ก47079 1ก0451
และหมุด ก46572
2) ใช้ไม้โปรแทรกเตอร์ หรือบรรทัดมาตรส่วนวัดระยะจากหมุดถึงหมุดของด้าน
ทั้งสามด้านของรูปสามเหลี่ยมนั้นๆ จะได้ค่า MD(ระยะในแผนที่) บันทึกข้อมูลในสมุดสนาม เช่น
ระยะจากหมุด ก47079 - 1ก0451 = 4.90 เซนติเมตร
หมุด 1ก0451 - ก46572 = 6.30 เซนติเมตร
หมุด ก46572 - ก47079 = 3.20 เซนติเมตร
3) ใช้เครื่องคานวณ คิดคานวณหาค่า GD (ระยะในพื้นที่จริง) แล้วบันทึกค่า GD
ลงในสมุดสนาม โดยใช้สมการมาตราส่วน = MD เช่น
GD
ระยะจากหมุด ก47079 - 1ก0451 วัดระยะได้ = 4.90 เซนติเมตร
แทนค่า 1 = 4.90 cm โดยรูปแผนที่มีมาตราส่วน 1 : 2000
2,000 GD
GD = 4.90 cm × 2000 = 98,000 cm
= 98,000 cm × 1 m = 98.00 m
100 cm
ระยะจากหมุด ก47079 - 1ก0451 ในพื้นที่จริงจะมีความยาว = 98.00 เมตร
ระยะ GD จากหมุด 1ก0451 - ก46572 = 6.30 × 2000 ÷ 100 = 126.00 เมตร
ระยะ GD จากหมุด ก46572 - ก47079 = 3.20 × 2000 ÷ 100 = 64.00 เมตร
4) คานวณหาพื้นที่รูปสามเหลี่ยมด้านไม่เท่ารูปที่ 1 หมุด ก47079 - 1ก0451 - ก46572
แล้วบันทึกค่าพื้นที่ลงในสมุดสนาม ซึง่ ใช้สมการสูตรหาพืน้ ที่(Area)รูปสามเหลี่ยมด้านไม่เท่า ดังนี้
สูตรหาพืน้ ที่(Area) = √ ( )( )( ) โดย s =
ก 1ก
47079 0451
ทางสาธารณประโยชน์
a = 98.00 m
b = 64.00 m
c = 126.00
ก m
46572
ภาพที่ 2.3 แสดง รูปสามเหลี่ยมด้านไม่เท่ารูปที่ 1 หมุด ก47079-1ก0451-ก46572
จากรูปสามเหลีย่ มด้านไม่เท่ารูปที่ 1 หมุด ก47079-1ก0451-ก46572 คานวณหาพื้นที่
ดังนี้
4.1) หาค่า S โดย S = a + b + c
2
แทนค่า S = 98.00 + 64.00 + 126.00
2
= 288.00 = 144.00 เมตร
2
4.2) หาพื้นทีโ่ ดย Area = √ ( )( )( )
แทนค่า Area = √ ( )( )( )

=√ ( )( )( ) = √

= 3,088.456 ตารางเมตร บันทึกค่าพื้นที่ลงในสมุดสนาม


5) วัดระยะจากหมุดถึงหมุดของด้านทั้งสามด้านของรูปสามเหลี่ยมอื่นๆ จะได้ค่า
MD บันทึกค่าลงในสมุดสนาม คานวณหาค่า GD แล้วบันทึกค่าลงในสมุดสนาม คานวณหาพื้นที่รูป
สามเหลี่ยมด้านไม่เท่ารูปนั้นๆ แล้วบันทึกค่าพื้นที่ลงในสมุดสนาม
6) รวมค่าพื้นที่รูปสามเหลี่ยมด้านไม่เท่าทุกรูป บันทึกค่ารวมเนื้อที่ลงในสมุดสนาม
แล้วคานวณหาเนื้อที่ของแปลงโฉนดว่ามีกี่ไร่ ..งาน..ตารางวา เพื่อตรวจสอบกับเนื้อที่จริงที่ระบุในโฉนด
โดยการแปลงหน่วยจากตารางเมตรเป็น...ไร่...งาน...ตารางวาคือใช้....ตารางเมตร ÷1600 จะได้ ไร่ ทศนิยม
ของไร่ (เศษของไร่) × 4 จะได้ งาน ทศนิยมของงาน (เศษของงาน) × 100 จะได้ ตารางวา

สมุดสนามการคานวณพื้นที่จากโฉนดที่ดิน
โฉนดเลขที่................................................. ผู้คานวณ............................................................
เจ้าของโฉนด................................................ เครื่องมือวัด.......................................................
วันที่............................................................. เครื่องคานวณยี่ห้อ........................รุ่น...............
รูปที่ หมุด ระยะ MD(ซม.) ระยะ GD(ม.) พื้นที่(Area) ม2 หมายเหตุ
1 4ก 5356-4ก3827 2.75 55.00 S=90
4ก3827-4ก4647 2.70 54.00
4ก4647-4ก 5356 3.55 71.00
2 4ก4647-4ก 5356 3.55 71.00
4ก 5356-4ก4481 2.45 49.00
4ก4481-4ก4647 2.95 59.00

รวมเนื้อที่ ...........................ตารางเมตร
สรุป โฉนดแปลงนี้มีเนื้อที่ประมาณ......................ไร่..................งาน....................ตารางวา
ลงชื่อ......................................................ผู้ตรวจสอบ
4.3 ข้อควรระวัง
ในการปฏิบัติงานใช้มาตราส่วน ย่อ ขยายแผนที่และหาเนื้อที่ที่ดิน ต้องมีเหตุผล วัด
ระยะเป็นจริ งมี ความพอประมาณ ก่อให้ เกิด ภูมิคุ้มกัน กับผู้ปฏิบัติงานจึงต้องระมัดระวัง ในสิ่ ง
ต่อไปนี้
1) การวัดระยะเพื่อหาค่า MD ต้องวัดด้วยความระมัดระวัง และละเอียดโดยวัด
จากศูนย์กลาง ถึง ศูนย์กลางของแต่ละหมุด
2) บันทึกค่าหมุด ค่า MD, GD, S และค่าพื้นที่ ลงในสมุดสนามทันทีทุกครั้ง
เพื่อความถูกต้องและความป้องกันความผิดพลาด
3) การหาค่า S ต้องเอาค่า a + b + c ก่อน ค่อยหารด้วย 2 จะได้ค่าที่ถูกต้อง
4) การถอดรากกาลังที่สอง ( ) จะต้องลบและคูณค่าในกรณ์ของรากเสียก่อน
ค่อยกดปุม่ ถอดรากกาลังที่สอง จึงจะได้ค่าที่ถูกต้อง

4.4 กิจกรรมฝึกทักษะ
1) ให้ผู้เรียนรู้ปฏิบัติวัดระยะ คานวณหาและบันทึกค่าของรูปสามเหลี่ยมอื่นๆ
ดังนี้
1.1) วัดระยะบันทึกค่า MD ลงในสมุดสนาม
1.2) คานวณหาค่า GD แล้วบันทึกค่าลงในสมุดสนาม
1.3) คานวณหาพื้นที่รูปสามเหลี่ยมด้านไม่เท่ารูปนั้นๆ แล้วบันทึกค่าพื้นที่ลง
ในสมุดสนาม
1.4) รวมค่าพื้นที่รูป สามเหลี่ยมด้านไม่เท่าทุกรูป บันทึกค่ารวมเนื้อที่ลงใน
สมุดสนาม
1.5) คานวณหาเนื้อที่ของแปลงโฉนดว่ามีกี่ ...ไร่ ...งาน...ตารางวา บันทึก
สมุดสนาม
2) ให้ผู้เรียนรู้ปฏิบัติ ใช้กระดาษไขทาบรูปแผนที่โฉนดที่ดินแล้วดาเนินการย่อหรือ
ขยายรูปแผนที่นั้น พร้อมระบุมาตราส่วนของรูปแผนที่ใหม่นั้นด้วย
4.5 สรุปผลและวิจารณ์
ให้ผู้เรียนรู้สรุปผลเปรียบเทียบหาค่าความคลาดเคลื่อนในการคานวณหา
เนื้อที่ของแปลงโฉนดกับ เนื้อที่จ ริงที่ระบุในโฉนด และวิเคราะห์วิจารณ์ หาสาเหตุของความคลาด
เคลื่อนที่เกิด เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานในโอกาสครั้งต่อไป

You might also like