You are on page 1of 932

ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 1 บทนา

บ ท ที่ 1 บ ทนำ
1.1 ฟิ สิ กส์
วิ ช าวิ ท ยาศาสตร์ (science) คื อ วิ ช าซึ่ งศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ สิ่ งต่ า งๆ ในธรรมชาติ ด้ ว ย
กระบวนการค้นคว้าหาความรู ้ที่มีข้ นั ตอนมีระเบียบแบบแผน
วิชาวิทยาศาสตร์ แบ่งได้เป็ น 2 สาขาหลัก ได้แก่
1. วิทยาศาสตร์ ชีวภาพ เน้นศึกษาเฉพาะส่ วนที่เกี่ยวกับสิ่ งมีชีวติ
2. วิทยาศาสตร์ กายภาพ เน้นศึกษาเกี่ยวกับสิ่ งไม่มีชีวิต แบ่งออกเป็ นอีกหลายแขนง
เช่น ฟิ สิ กส์ เคมี ธรณี วทิ ยา ดาราศาสตร์ เป็ นต้น
วิชาฟิ สิ กส์ (physics) คือ วิชาวิทยาศาสตร์ พื้ นฐานสาขาหนึ่ ง นอกเหนือจากวิชาเคมี และ
ชีววิทยา วิชาฟิ สิ กส์จะศึกษากฎเกณฑ์ของธรรมชาติเฉพาะทางกายภาพ เช่น ศึกษาเรื่ องของคลื่น
แสง เสี ยง ไฟฟ้ า แม่เหล็ก การเคลื่อนที่ มวล แรง พลังงาน โมเมนตัม เป็ นต้น
1. ข้อใดต่อไปนี้เป็ นสาขาหนึ่งของวิชาวิทยาศาสตร์ กายภาพ
1. พฤษศาสตร์ 2. สัตว์ศาสตร์ 3. ดาราศาสตร์ 4. แพทย์ศาสตร์

1.2 ปริมาณกายภาพและหน่ วย
1.2.1 ปริมาณในวิชาฟิ สิ กส์
ปริมาณ (Quantities) ในวิชาฟิ สิ กส์ อาจแบ่ งเป็ นกลุ่มย่ อยได้ ดังนี้
แบ่ งโดยใช้ ลกั ษณะของปริมาณเป็ นเกณฑ์ จะแบ่งได้เป็ น
1. ปริ มาณเวกเตอร์ คือ ปริ มาณที่ตอ้ งบอกทั้งขนาดและทิศทางจึงจะสมบูรณ์ เช่น
การกระจัด แรง โมเมนตัม สนามไฟฟ้ า สนามแม่เหล็ก เป็ นต้น
2. ปริ มาณสเกลาร์ คือ ปริ มาณที่บอกแต่ขนาดอย่างเดี ยวก็สมบูรณ์ ได้ เช่น มวล
พลังงาน เป็ นต้น

1
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 1 บทนา
แบ่ งโดยใช้ ทมี่ าของปริมาณเป็ นเกณฑ์ จะแบ่งได้เป็ น
1. ปริ ม าณมู ล ฐาน คื อ ปริ ม าณขั้นต้นที่ จาเป็ นต่อการอธิ บ ายปรากฏการณ์ ท าง
ฟิ สิ กส์ มี 7 ปริ มาณ
ปริมาณ หน่ วย สั ญลักษณ์
ความยาว (Length) เมตร m
มวล (Mass) กิโลกรัม kg
เวลา (Time) วินาที s
กระแสไฟฟ้ า (Electric Current) แอมแปร์ A
อุณหภูมิทางเทอร์โมไดนามิก เคลวิน K
ความเข้มของการส่ องสว่าง แคนเดลา cd
ปริ มาณของสาร โมล mol
2. ปริ มาณอนุพทั ธ์ คือ ปริ มาณที่เกิดขึ้นจากการนาปริ มาณมูลฐานมาประกอบเข้า
ด้วยกัน เช่น อัตราเร็ ว (เกิดจากระยะทางหรื อความยาวหารด้วยเวลา) เป็ นต้น
3. ปริ มาณเสริ ม คือ ปริ มาณที่นอกเหนือจากปริ มาณทั้งสองที่ผา่ นมา เช่น มุมของ
รู ปเรขาคณิ ต เป็ นต้น
2. ปริ มาณที่แสดงค่าแต่ขนาดเพียงอย่างเดียวก็ได้ความหมายสมบูรณ์ เรี ยกว่าปริ มาณใด
1. เวกเตอร์ 2. มูลฐาน 3. สเกลาร์ 4. สัมบูรณ์

3. ปริ มาณที่ตอ้ งแสดงค่าทั้งขนาดและทิศทาง จึงจะได้ความหมายสมบูรณ์เรี ยกว่าปริ มาณใด


1. เวกเตอร์ 2. มูลฐาน 3. สเกลาร์ 4. อนุพทั ธ์

2
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 1 บทนา
4. ปริ มาณใดต่อไปนี้ เป็ นหน่วยฐานทั้งหมด
1. มวล , ความยาว , แรง 2. ระยะทาง , พื้นที่ , ปริ มาตร
3. มวล , กระแสไฟฟ้ า , ปริ มาณของสาร 4. อุณหภูมิ , มุม , พลังงาน

5. หน่วยที่เป็ นมาตรฐานสากลของปริ มาณต่อไปนี้คือหน่วยอะไร ความยาว มวล เวลา


กระแสไฟฟ้ า
1. เซนติเมตร , กิโลกรัม , ชัว่ โมง , แอมแปร์ 2. เมตร , กิโลกรัม , วินาที , แอมแปร์
3. กิโลเมตร , กิโลกรัม , วินาที , แอมแปร์ 4. มิลลิเมตร , กิโลกรัม , วินาที , แอมแปร์

1.2.2 การเปลีย่ นหน่ วย


พิจารณาตัวอย่างต่อไปนี้ สมมุติ
ไม้บรรทัดมีสเกลยาว 1 เมตรดังรู ป
หากแบ่งสเกลยาว 1 เมตร ( m )
ออกเป็ น 100 ช่องๆ เท่ากัน แต่ละช่อง
ย่อยจะเรี ยก 1 เซนติเมตร (cm) ดังนั้น
1 เมตร
1 เซนติเมตร จะมีค่าเท่ากับ 100
หากแบ่งสเกลยาว 1 เมตร ( m )
ออกเป็ น 1,000 ช่องๆ เท่ากัน แต่ละช่อง
ย่อยจะเรี ยก 1 มิลลิเมตร (mm) ดังนั้น
1 มิลลิเมตร จะเท่ากับ 10001 เมตร
หากแบ่งสเกลยาว 1 เมตร ( m )
ออกเป็ น 1,000,000 ช่องๆ เท่ากัน แต่ละ
1 เมตร
ช่องย่อยจะเรี ยก 1 ไมโครเมตร ( m ) ดังนั้น 1 ไมโครเมตร จะเท่ากับ 1000000
3
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 1 บทนา

หากแบ่งสเกลยาว 1 เมตร ( m ) ออกเป็ น 1,000,000,000 ช่องๆ เท่ากัน แต่ละช่องย่อยจะ


1
เรี ยก 1 นาโนเมตร ( nm ) ดังนั้น 1 นาโนเมตร จะเท่ากับ 1000000000 เมตร
นอกจากความยาวแล้ว ปริ มาณอื่นๆ ก็สามารถแบ่งเป็ นหน่วยต่างๆ นอกเหนือจาก
หน่วยฐานได้เช่นกัน เช่น
มวล 1 กรัม ( g ) จะแบ่งได้เป็ น 100 เซนติกรัม ( cg )
มวล 1 กรัม ( g ) จะแบ่งได้เป็ น 1000 มิลลิกรัม ( mg ) 1g
มวล 1 กรัม ( g ) จะแบ่งได้เป็ น 1,000,000 ไมโครกรัม (g )
มวล 1 กรัม ( g ) จะแบ่งได้เป็ น 1,000,000,000 นาโนกรัม ( ng )
6. ปริ มาณในข้อใดต่อไปนี้ มีขนาดเล็กที่สุด
1. 1 cm 2. 1 mm 3. 1 nm 4. 1 m

7. ปริ มาณในข้อใดต่อไปนี้ มีขนาดใหญ่ที่สุด


1. 8 cg 2. 8 mg 3. 8 ng 4. 8 g

ตัวอย่าง จงเปลี่ยน 834 เซนติเมตร ให้มีหน่วยเป็ นเมตร


วิธีทา วิธีที่ 1 เทียบบัญญัติไตรยางศ์
เนื่องจาก 100 เซนติเมตร มีค่าเท่ากับ 1 เมตร
ดังนั้น 834 เซนติเมตร มีค่าเท่ากับ 1 x100834 เมตร
= 8.34 เมตร
4
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 1 บทนา
วิธีที่ 2 ใช้ตวั พหุคูณ
ค่ าอุปสรรคใช้ แทนตัวพหุคูณ
ค่ าพหุคูณ
ชื่อ สั ญลักษณ์
เอกซะ (exa) E 1018
เพตะ (peta ) P 1015
เทอรา (tera) T 1012
จิกะ (giga) G 109
* เมกกะ (mega) M 106
* กิโล (killo) k 103
เฮกโต (hecto) h 102
เดซิ (daci) d 10–1
* เซนติ (centi) c 10–2
* มิลลิ (milli) m 10–3
* ไมโคร (micro)  10–6
* นาโน (nano) n 10–9
* พิโค (pico) p 10–12
อัตโต (atto) a 10–18
จะได้วา่ 834 cm ( เปลี่ยน c เป็ น 10–2 ได้โดยตรง เพราะมีค่าเท่ากัน )
= 834 x 10–2 m
= 8.34 m
ดังนั้น 834 เซนติเมตร มีค่าเท่ากับ 8.34 เมตร

ตัวอย่าง จงเปลี่ยน 720 ไมโครกรัม ให้มีหน่วยเป็ นกรัม โดยใช้ตวั พหุ คูณ


วิธีทา 720 g ( เปลี่ยน  เป็ น 10–6 ได้โดยตรง เพราะมีค่าเท่ากัน )
= 720 x 10–6 g
= 7.20 x 10–4 g
ดังนั้น 720 ไมโครกรัม มีค่าเท่ากับ 7.20 x 10–4 กรัม
5
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 1 บทนา
ตัวอย่าง จงเปลี่ยน 8.25 กิโลเมตร ให้มีหน่วยเป็ นเมตร โดยใช้ตวั พหุ คูณ
วิธีทา 8.25 km ( เปลี่ยน k เป็ น 103 ได้โดยตรง เพราะมีค่าเท่ากัน )
= 8.25 x 103 m
= 8250 m
ดังนั้น 8.25 กิโลเมตร มีค่าเท่ากับ 8250 เมตร

ตัวอย่าง จงเปลี่ยน 4200 เมตร ให้มีหน่วยเป็ นไมโครเมตร โดยใช้ตวั พหุ คูณ


วิธีทา 4200 m ( คูณด้วย 106 x 10–6 เพิม่ เข้าไป )
= 4200 x 106 x 10–6 m
= 4200 x 106 m
= 4.20 x 109 m
ดังนั้น 4200 เมตร มีค่าเท่ากับ 4.20 x 109 ไมโครเมตร
8. 6.23 nm มีคา่ เท่ากับกี่ m
1. 6.23 x 10–3 2. 6.23 x 10–6 3. 6.23 x 10–9 4. 6.23 x 10–12

9. 65.24 mg มีคา่ เท่ากับกี่ g


1. 6.524 x 10–1 2. 6.524 x 10–2 3. 6.524 x 10–3 4. 6.524 x 10–4

6
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 1 บทนา
10. 55.26 m มีค่าเท่ากับกี่ m
1. 5.526 x 10–3 2. 5.526 x 10–4 3. 5.526 x 10–5 4. 5.526 x 10–6

11. 62.5 pg มีคา่ เท่ากับกี่ g


1. 6.25 x 10–9 2. 6.25 x 10–10 3. 6.25 x 10–11 4. 6.25 x 10–12

12. 425 km มีค่าเท่ากับกี่ m


1. 4.25 x 103 2. 4.25 x 104 3. 4.25 x 105 4. 4.25 x 106

13. 0.042 g มีค่าเท่ากับกี่ g


1. 4.2 x 10–6 2. 4.2 x 10–7 3. 4.2 x 10–8 4. 4.2 x 10–9

7
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 1 บทนา
14. 0.0659 M มีค่าเท่ากับกี่ 
1. 6.59x104 2. 6.59x105 3. 6.59x106 4. 6.59x107

15. 0.0073 G มีค่าเท่ากับกี่ 


1. 7.3 x 103 2. 7.3 x 104 3. 7.3 x 105 4. 7.3 x 106

16. 720 cm มีค่าเท่ากับกี่ m


1. 72 2. 7.20 3. 0.72 4. 0.072

17. 3.3 x 105 km มีค่าเท่ากับกี่ m


1. 3.3 x 105 2. 3.3 x 106 3. 3.3 x 107 4. 3.3 x 108

8
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 1 บทนา
18. 4.625 x 105 nA มีค่าเท่ากับกี่ A
1. 4.625 x 10–3 2. 4.625 x 10–4 3. 4.625 x 10–5 4. 4.625 x 10–6

19. 2.55 x10–3 g มีค่าเท่ากับกี่ g


1. 2.55 x 10–6 2. 2.55 x 10–7 3. 2.55 x 10–8 4. 2.55 x 10–9

20. 7.31 m มีคา่ เท่ากับกี่ cm


1. 7.31 x 10–2 2. 7.31 x 10–1 3. 73.1 4. 7.31 x 102

21. 7.23 x 10–5  มีค่าเท่ากับกี่ k


1. 7.23 x 10–2 2. 7.23 x 10–3 3. 7.23 x 10–7 4. 7.23 x 10–8

9
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 1 บทนา
22. 7.23 x 103 A มีค่าเท่ากับกี่ mA
1. 7.23 x 10–2 2. 7.23 x 10–3 3. 7.23 x 105 4. 7.23 x 106

23. 6500 g มีค่าเท่ากับกี่ kg


1. 0.65 2. 6.5 3. 65 4. 650

24. 5530 A มีค่าเท่ากับกี่ kA


1. 553 2. 55.3 3. 5.53 4. 0.553

25. ความยาว 4.9 นาโนเมตร มีคา่ เท่าไรในหน่วยกิโลเมตร


1. 4.9x10–9 2. 4.9x10–11 3. 4.9x10–12 4. 4.9x10–13

10
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 1 บทนา
26. จงเปลี่ยนหน่วยมวลโปรตรอน 1.6 x 10–27 กิโลกรัม เป็ นพิโคกรัม
1. 1.6x10–39 2. 1.6x10–36 3. 1.6x10–15 4. 1.6x10–12

27. มวล 100 เมกะกรัม มีคา่ เป็ นกี่ไมโครกรัม


1. 1 x 102 2. 1 x 106 3. 1 x 1012 4. 1 x 1014

28. 1.5 ตารางเซนติเมตร (cm2) มีค่าเท่ากับกี่ตารางเมตร (m2)


1. 1.5 x 10–4 2. 1 x 10–2 3. 1 x 102 4. 1 x 104

29. พื้นที่ 300 ตารางมิลลิเมตร (mm2) คิดเป็ นเท่าไรในหน่วยตารางเมตร (m2)


1. 3.00 x 104 2. 3.00 x 103 3. 3.00 x 10–3 4. 3.00 x 10–4

11
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 1 บทนา
30. จงเปลี่ยน 4 x 10–8 ลูกบาศก์เซนติเมตร (cm3) ให้เป็ นลูกบาศก์เมตร (m3)
1. 4 x 10–10 2. 4 x 10–12 3. 4 x 10–14 4. 4 x 10–16

31. จงเปลี่ยน 5 x 10–9 ลูกบาศก์เมตร (m3) ให้เป็ นลูกบาศก์เซนติเมตร (cm3)


1. 5 x 10–3 2. 5 x 10–2 3. 5 x 102 4. 4 x 104

32. จงเปลี่ยน 7 ไมโครนิวตัน/ตารางเซนติเมตร เป็ น นิวตัน/ตารางเมตร


1. 7 x 10–3 2. 7 x 10–2 3. 7 x 102 4. 7 x 104

12
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 1 บทนา
33. จงเปลี่ยน 3 x 1011 ไมโครเมตร/มิลลิวนิ าที ให้เป็ น เมตร/วินาที
1. 3 x 106 2. 3 x 107 3. 3 x 108 4. 3 x 109

34. รถประจาทางคันหนึ่ งวิ่งด้วยความเร็ ว 36 กิ โลเมตรต่อชัว่ โมง อยากทราบว่ารถคันนี้ ว่ิง


ด้วยความเร็ วเท่ากับกี่เมตรต่อวินาที
1. 5 2. 10 3. 15 4. 20

35. ความเร็ วขนาด 1 เมตรต่อวินาที เป็ นเท่าใดในหน่วยกิโลเมตรต่อชัว่ โมง


1
1. 3.6 2. 3.6 3. 3.6 x 103 4. 3.6 x 10–2

13
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 1 บทนา
36. กาลัง 8.75x107 วัตต์ (W) เมื่อใช้คาอุปสรรคที่เหมาะสมควรเปลี่ยนเป็ น
1. 87.5 MW 2. 87.5 GW 3. 875 kW 4. 875 W

37. ปริ มาณ 8 x 10–7 เมตร เมื่อใช้คาอุปสรรคที่เหมาะสม ควรเปลี่ยนเป็ น


1. 80 mm 2. 8 pm 3. 0.8 m 4. 0.8 nm

38. ถังน้ าสี่ เหลี่ยมก้นถังมีพ้นื ที่ 2 ตารางเมตร สู ง 1 เมตร จะบรรจุน้ าได้มากที่สุดกี่ลิตร


( 1 ลูกบาศก์เมตร = 1000 ลิตร )
1. 20 ลิตร 2. 200 ลิตร 3. 2000 ลิตร 4. 20000 ลิตร

39. น้ า 20 ลิตร เทียบได้เท่าใดในหน่วยลูกบาศก์เมตร ( 1000 ลิตร = 1 ลูกบาศก์เมตร )


1. 2 2. 0.2 3. 0.02 4. 0.002

14
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 1 บทนา
1.3 เลขนัยสาคัญ
หลักการอ่านค่าที่ได้จากวัดโดยทัว่ ไปนั้น ให้อ่านค่าที่ปรากฏบนสเกลแล้วสามารถเดาค่า
ทศนิยมต่อได้อีก 1 ตาแหน่ง เช่นในรู ป
การอ่านขนาดความยาวของดินสอในรู ปนี้
ต้องอ่านค่าที่มีอยูแ่ ล้วบนสเกลคือ 1.8 cm
แล้วเดาทศนิยมต่อได้อีก 1 ตาแหน่ง ซึ่ ง 1.8
มีค่าประมาณ 0.03 cm รวมแล้วความยาว
ดินสอแท่งนี้ ควรอ่านค่าเป็ น 1.83 cm ( 1.8 มีอยูแ่ ล้วบนสเกล 0.03 ได้มาจากการคาดเดา )
เลขนัยสาคัญ ( Significant ) คือเลขที่ได้จากการอ่านค่าในการวัด ซึ่งจะประกอบด้วย เลขที่
แน่นอน ( เลขที่อยูบ่ นสเกล) และเลขที่ไม่แน่นอน (เลขที่ได้จากการคาดเดา 1 ตัว )
40. จากรู ป ความยาวของแท่งดินสอมีค่าเท่ากับกี่เซนติเมตร
1. 9.4
2. 9.375
3. 9.36
4. 9.3

41. จากรู ป ควรบันทึกความยาวของดินสอเป็ นเท่าใด


1. 5 ซม. 2. 5.0 ซม.
3. 5.00 ซม. 4. ถูกทุกข้อ

15
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 1 บทนา
1.3.1 หลักในการนับจานวนตัวของเลขนัยสาคัญ
1) เลขที่ไม่ใช่เลข 0 ทุกตัวถือเป็ นเลขนัยสาคัญ
2) เลข 0 ที่อยูห่ น้าจานวนทั้งหมด ไม่ถือเป็ นเลขนัยสาคัญ เช่น 0.00046 มีเลขนัยสาคัญ
2 ตัว คือ 4 และ 6 เท่านั้น
3) เลข 0 ที่อยูก่ ลางจานวน ถือเป็ นเลขนัยสาคัญ เช่น 7.03 มีเลขนัยสาคัญ 3 ตัว คือ 7 ,
0 , 0 และ 3
4) กรณี ที่เขียนจานวนในรู ปทศนิยม 0 ที่อยูข่ า้ งหลัง ถือเป็ นเลขนัยสาคัญ เช่น 8.000
มีเลขนัยสาคัญ 4 ตัว คือ 8 , 0 , 0 และ 0
5) ถ้าเขียนจานวนในรู ปจานวนเต็มธรรมดาไม่มีทศนิยม เลข 0 ที่อยูห่ ลังจานวนไม่ถือ
เป็ นเลขนัยสาคัญ เช่น 1500 มีเลขนัยสาคัญ 2 ตัว คือ เลข 1 กับ 5 เท่านั้น
6) ถ้าเขียนจานวนในรู ป a x 10n ให้นบั จานวนเลขนัยสาคัญของ a เท่านั้นเป็ นคาตอบ
เช่น 5.23 x 1089 มีเลขนัยสาคัญ 3 ตัว คือ 5 , 2 และ 3 เท่านั้น
42(แนว มช) นักเรี ยนคนหนึ่งบันทึกตัวเลขจากการทดลองเป็ น 0.0413 กิโลกรัม , 5.33 x 10–42
เมตร , 36.4 เซนติเมตร และ 2.00 วินาที จานวนเหล่านี้มีเลขนัยสาคัญกี่ตวั
1. 1 ตัว 2. 2 ตัว 3. 3 ตัว 4. 4 ตัว

43. ระยะทางจากกรุ งเทพถึงนราธิวาสเป็ น 1150 กิโลเมตร ท่านคิดว่า 1150 มีเลขนัยสาคัญกี่ตวั


1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

16
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 1 บทนา
1.3.2 การบวก และลบ เลขนัยสาคัญ
วิธีการ “ ให้ บ วก หรื อ ลบตามปกติ แต่ ผ ลลัพ ธ์ ที่ ไ ด้ต้อ งมี ต าแหน่ ง ทศนิ ย ม เท่ า กับ
ตาแหน่งทศนิยมของจานวนในโจทย์ที่มีตาแหน่งทศนิยมน้อยที่สุด ”
ตัวอย่าง 4.187  มีทศนิยม 3 ตาแหน่ง
+3 . 4  มีทศนิยม 1 ตาแหน่ง
–2 . 3 2  มีทศนิยม 2 ตาแหน่ง
5.267
เนื่องจาก 3.4 ในโจทย์ มีตาแหน่งทศนิ ยมน้อยที่สุดคือ 1 ตาแหน่ง ดังนั้นคาตอบต้องมี
ทศนิยม 1 ตาแหน่งด้วย จึงต้องตอบ 5.3 เท่านั้น
44. จงหาผลลัพธ์ของคาถามต่อไปนี้ ตามหลักเลขนัยสาคัญ 4.37 + 2.1 – 0.002
1. 6 2. 6.5 3. 6.46 4. 6.458

1.3.3 การคูณ และ หาร เลขนัยสาคัญ


วิธีการ “ ให้คู ณ หรื อหารตามปกติ แต่ ผ ลลัพ ธ์ ที่ ได้ตอ้ งมี จานวนตัวของเลขนัยส าคัญ
เท่ากับจานวนตัวเลขนัยสาคัญของโจทย์ที่มีจานวนตัวเลขนัยสาคัญน้อยที่สุด ”
ตัวอย่าง 3.24  มีเลขนัยสาคัญ 3 ตัว
x 2 . 0  มีเลขนัยสาคัญ 2 ตัว
6.4 8 0

เนื่องจาก 2.0 ในโจทย์ มีจานวนตัวเลขนัยสาคัญน้อยที่สุด คือ 2 ตัว ดังนั้นคาตอบ


จะต้องมีเลขนัยสาคัญ 2 ตัวด้วย ข้อนี้ จึงต้องตอบ 6.5 เท่านั้น
17
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 1 บทนา
45. ห้องเรี ยนห้องหนึ่งกว้าง 3.40 เมตร ยาว 12.71 เมตร ห้องนี้ จะมีพ้ืนที่เท่าไร
1. 43.214 ตารางเมตร 2. 43.2 ตารางเมตร
3. 43.21 ตารางเมตร 4. 43.2140 ตารางเมตร

46. เหล็กแท่งหนึ่งมวล 40.0 กรัม มีปริ มาตร 5.0 ลูกบาศก์เซนติเมตร ถามว่าตัวเลขที่เหมาะ


สมสาหรับค่าความหนาแน่นของเหล็กแท่งนี้ เป็ นกี่กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร
1. 8 2. 8.0 3. 8.00 4. 8.000

47. นักเรี ยนคนหนึ่งใช้เครื่ องวัดวัดเส้นผ่านศูนย์กลางของเหรี ยญบาทได้ 2.59 เซนติเมตร เมื่อ


พิจารณาเลขนัยสาคัญ เขาควรจะบันทึกค่าพื้นที่หน้าตัดดังนี้
1. 5.27065 ตารางเซนติเมตร 2. 5.2707 ตารางเซนติเมตร
3. 5.271 ตารางเซนติเมตร 4. 5.27 ตารางเซนติเมตร

18
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 1 บทนา
48(แนว มช) มวล 2.00 กิโลกรัม ถูกแบ่งออกเป็ นสี่ ส่วนเท่ากันพอดี แต่ละส่ วนจะมีขนาด
กี่กิโลกรัม
1. 0.5 2. 0.50 3. 0.500 4. 0.5000

6.5 + 1.95 – 0.6


49. จงหาผลลัพธ์ของค่าต่อไปนี้ตามหลักเลขนัยสาคัญ 2.0
1. 4.5 2. 4.6 3. 4.55 4. 4.7

1.4 การวิเคราะห์ ผลการทดลอง


ในการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ น้ ัน เมื่อทาการทดลองเสร็ จแล้วต้องมีการนาผลการทดลอง
ที่ได้มาวิเคราะห์ วิธีการวิเคราะห์ขอ้ มูลวิธีหนึ่งคือการนาผลการทดลองมาการเขียนกราฟแบบ
เส้น ซึ่ งเส้นกราฟที่ได้อาจเป็ นรู ปเส้นตรง พาราโบลา รู ปคลื่น หรื ออื่นๆ ในกรณี ที่กราฟที่ได้
เป็ นรู ปเส้นตรง จะมีค่าที่มีประโยชน์ต่อการศึกษาวิทยาศาสตร์ ค่าหนึ่งคือ ความชันของเส้นตรง

19
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 1 บทนา
วิธีการหาค่ าความชันเส้ นตรง ( m )
วิธีที่ 1 หาจากสู ตรต่อไปนี้
y y
m = x2  x1 Y
(x2 , y2)
2 1 
เมื่อ m คือ ความชันเส้นตรง
(x1 , y1)
( x1 , y1 ) และ ( x2 , y2 ) เป็ น 
 X
จุด 2 จุดที่เส้นตรงผ่าน
หรื อ m = tan 
เมื่อ  คือ มุมเอียง
คือ มุมที่เส้นตรงเอียงกระทากับแกน + X ในทิศทวนเข็มนาฬิกา
วิธีที่ 2 หาจากสมการเส้นตรง
สมการเส้นตรง คือสมการที่เมื่อนาไปเขียนกราฟจะได้กราฟเป็ นรู ปเส้นตรง
โดยทัว่ ไปแล้วสมการเส้นตรงจะอยูใ่ นรู ป y = m x + c จากสมการเส้นตรงรู ปนี้ จะได้วา่
ความชันเส้นตรง ( m ) = สัมประสิ ทธิ์ ของ x
และ จุดตัดแกน Y จะมีค่า y = c
ตัวอย่าง จงหาความชันของเส้นตรงที่ผา่ นจุด
( 0 , 1 ) และ ( 3 , 7 ) Y
( 3 ,7 )
วิธีทา สมมุติให้ ( x1 , y1 ) = ( 0 , 1 )
และ ( x2 , y2 ) = ( 3 , 7 ) (0,1)
y y
จาก m = x2  x1 = 37  01 = 63 = 2
X
2 1
นัน่ คือเส้นตรงนี้ มีค่าความชันเท่ากับ 2

ตัวอย่าง เส้นตรงเส้นหนึ่งมีความเอียงเป็ นมุม 45o


จะมีความชันเท่าไร Y

วิธีทา โจทย์บอก มุมเอียง (  ) = 45o


จาก m = tan  = tan 45o = 1 45o X
นัน่ คือเส้นตรงนี้ มีค่าความชันเท่ากับ 1

20
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 1 บทนา
ตัวอย่าง จงหาความชันของเส้นตรงที่มีสมการเป็ น 2 y = 6 x + 16 พร้อมทั้งบอกค่า y ที่จุด
ซึ่งเส้นกราฟตัดแกน Y
วิธีทา จาก 2 y = 6 x + 16 (ต้องเอา 2 หารตลอดเพื่อให้สมั ประสิทธิ์ ของ y เป็ น 1 ก่อน)
2y = 6x + 16
2 2 2 Y
y = 3x + 8
เทียบกับ y = m x + c
จะได้ ความชัน ( m ) = สัมประสิ ทธิ์ x = 3 8
X
และที่จุดตัดแกน Y ค่า y = c = 8
50. จงหาความชันของเส้นตรงที่ผา่ นจุดต่อไปนี้ ตามลาดับ
ก. (0 , 0) , (2 , 6) ข. (3 , 4) , (6 , –5)
ค. (3 , 5) , (4 , 5) ง. (4 , 6) , (4 , 7)
1. 3 , –3 , 0 , หาค่าไม่ได้ 2. –3 , 3 , 0 , หาค่าไม่ได้
3. 0 , –3 , 3 , 0 4. 3 , 3 , 0 , 0

51. เส้นตรงเส้นหนึ่งมีความเอียงเป็ นมุม 60o จะมีความชันเท่าไร


1. 1 2. 0 3. 3 4. 1 / 3

52. จากสมการเส้นตรงต่อไปนี้ เส้นตรงมีความชันเท่าไร


ก. y = 4 x + 6 ข. y = 23 x – 4 ค. 4 y = 8 x – 4
1. 4 , 2/3 , 0 2. 4 , 2/3 , 2
3. 4 , 3/2 , 0 4. 4 , 3/2 , 2

21
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 1 บทนา
เฉลยติ ว สบำย บทที่ 1 บทนำ

1. ตอบข้ อ 3. 2. ตอบข้ อ 3. 3. ตอบข้ อ 1. 4. ตอบข้ อ 3.


5. ตอบข้ อ 2. 6. ตอบข้ อ 3. 7. ตอบข้ อ 1. 8. ตอบข้ อ 3.
9. ตอบข้ อ 2. 10. ตอบข้ อ 3. 11. ตอบข้ อ 3. 12. ตอบข้ อ 3.
13. ตอบข้ อ 3. 14. ตอบข้ อ 1. 15. ตอบข้ อ 4. 16. ตอบข้ อ 2.
17. ตอบข้ อ 4. 18. ตอบข้ อ 2. 19. ตอบข้ อ 4. 20. ตอบข้ อ 4.
21. ตอบข้ อ 4. 22. ตอบข้ อ 4. 23. ตอบข้ อ 2. 24. ตอบข้ อ 3.
25. ตอบข้ อ 3. 26. ตอบข้ อ 4. 27. ตอบข้ อ 4. 28. ตอบข้ อ 1.
29. ตอบข้ อ 4. 30. ตอบข้ อ 3. 31. ตอบข้ อ 1. 32. ตอบข้ อ 2.
33. ตอบข้ อ 3. 34. ตอบข้ อ 2. 35. ตอบข้ อ 2. 36. ตอบข้ อ 1.
37. ตอบข้ อ 3. 38. ตอบข้ อ 3. 39. ตอบข้ อ 3. 40. ตอบข้ อ 3.
41. ตอบข้ อ 3. 42. ตอบข้ อ 3. 43. ตอบข้ อ 3. 44. ตอบข้ อ 2.
45. ตอบข้ อ 2. 46. ตอบข้ อ 2. 47. ตอบข้ อ 4. 48. ตอบข้ อ 3.
49. ตอบข้ อ 3. 50. ตอบข้ อ 1. 51. ตอบข้ อ 3. 52. ตอบข้ อ 4.



22
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 1 บทนา

ต ะลุ ยโ จท ย์ ทั่ ว ไป บท ที่ 1 บท นำ


1.1 ฟิ สิ กส์

1.2 ปริมาณกายภาพและหน่ วย
1.2.1 ปริมาณในวิชาฟิ สิ กส์
1. ข้อใดต่อไปนี้เป็ นความแตกต่างของปริ มาณเวกเตอร์ และสเกลาร์
1. ปริ มาณเวกเตอร์ มีทิศทาง แต่สเกลลาร์ ไม่มี
2. ปริ มาณสเกลาร์ มีทิศทาง แต่เวกเตอร์ ไม่มี
3. ปริ มาณเวกเตอร์ มีขนาด แต่สเกลลาร์ ไม่มี
4. ปริ มาณสเกลาร์ มีทิศขนาด แต่เวกเตอร์ ไม่มี

2. ในระบบเอสไอ เวลามีหน่วยเป็ น
1. วินาที 2. นาที 3. ชัว่ โมง 4. ถูกทุกข้อ

3. หน่วย SI ในข้อใดเป็ นหน่วยมูลฐานทั้งหมด


1. แอมแปร์ เคลวิน แคนเดลา โมล 2. เมตร องศาเซลเซียส เรเดียน คูลอมบ์
3. กิโลกรัม โอห์ม ลูเมน พาสคาล 4. วินาที โวลต์ เวเบอร์ ลักซ์

4(มช 42) ข้อใด ไม่ใช่ หน่วยฐานของระบบหน่วยระหว่างชาติ (เอสไอ) ทั้งหมด


1. วินาที โวลต์ แอมแปร์ 2. แคนเดลา ลูเมน เฮนรี่
3. นิวตัน คูลอมบ์ จูล 4. โอห์ม โมล ซีเมนส์

5. ข้อใดต่อไปนี้เป็ นหน่วย อนุพทั ธ์ในระบบ SI


1. แอมแปร์ 2. จูล 3. โมล 4. แคนเดลา

6. หน่วยในข้อใดเป็ นหน่วยเสริ ม
1. เรเดียน 2. เมตร/วินาที 3. เฮิรตซ์ 4. เคลวิน
23
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 1 บทนา
1.2.2 การเปลีย่ นหน่ วย
7. 8.5 x 105 nA มีค่าเท่ากับกี่ A
1. 8.5 x 10–3 2. 8.5 x 10–4 3. 8.5 x 10–5 4. 8.5 x 10–6

8. 3.68 x10–3 g มีค่าเท่ากับกี่ g


1. 3.68 x 10–6 2. 3.68 x 10–7 3. 3.68 x 10–8 4. 3.68 x 10–9

9. 3.32 x 105  มีค่าเท่ากับกี่ k


1. 3.32 x 102 2. 3.32 x 10–3 3. 3.32 x 10–7 4. 3.32 x 10–8

10. 8.5 x 10–7 A มีค่าเท่ากับกี่ mA


1. 8.5 x 10–4 2. 8.5 x 10–3 3. 8.5 x 104 4. 8.5 x 105

11. ระยะทาง 5 เมกะเมตร มีค่าเท่าใดในหน่วยกิโลเมตร


1. 5 x 102 2. 5 x 103 3. 5 x 106 4. 5 x 109

12. มวล 500 นาโนกรัม มีคา่ เป็ นกี่ไมโครกรัม


1. 0.5 2. 5 x 10–2 3. 5 x 10–3 4. 5 x 10–6

13. ปริ มาณ 4 x 10–7 เมตร เมื่อใช้คาอุปสรรคที่เหมาะสม ควรเปลี่ยนเป็ น


1. 40 mm 2. 4 pm 3. 0.4 m 4. 0.4 nm

14. กาลัง 3.75 x 107 วัตต์ (W) เมื่อใช้คาอุปสรรคที่เหมาะสมควรเปลี่ยนเป็ น


1. 37.5 MW 2. 37.5 GW 3. 375 kW 4. 375 W

15. พลังงาน 3.2 x 1016 จูล มีค่าเท่ากับข้อใด


1. 0.32 เอกซะจูล 2. 32 เพตะจูล 3. 3200 เทอราจูล 4. 320 จิกะจูล

24
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 1 บทนา
16. แสงสี เหลืองมีความยาวคลื่น 0.000006 m จะมีคา่ เท่ากับค่าใด
1. 0.6 mm 2. 60 pm 3. 6 m 4. 600 nm

17. พื้นที่ 3.0 ตารางมิลลิเมตร คิดเป็ นเท่าไรในหน่วยตารางเมตร


1. 3.0 x 106 2. 3.0 x 103 3. 3.0 x 10–3 4. 3.0 x 10–6

18. พื้นที่ 500 ตารางเซนติเมตร คิดเป็ นกี่ตารางเมตร


1. 5 x 10–2 2. 5 x 10–4 3. 5 x 10–6 4. 5 x 10–8

19. จงเปลี่ยน 4 ไมโครนิวตัน/ตารางเซนติเมตร เป็ นนิวตัน/ตารางเมตร


1. 4 x 10–3 2. 4 x 10–2 3. 4 x 102 4. 4 x 104

20. น้ ามีความหนาแน่น 1 กรัม/ลบ.ซม. จะมีค่าเท่าใดในหน่วยกิโลกรัม / ลบ.เมตร


1. 1 x 10–3 2. 1 x 10–2 3. 1 x 103 4. 1 x 102

21. อัตราเร็ ว 72 กิโลเมตร/ชัว่ โมง มีค่าเท่าใดในหน่วยเมตร/วินาที


1. 10 2. 20 3. 30 4. 40

22. อัตราเร็ ว 25 เมตรต่อวินาที มีค่าเท่าใดในหน่วยกิโลเมตรต่อชัว่ โมง


1. 6.95 2. 50 3. 75 4. 90

23. ปูนซีเมนต์ 1 ตัน เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (1 ตัน คือ 1000 กิโลกรัม)


1. 1 Gg 2. 1 Mg 3. 1 mg 4. 1 g

24. น้ า 10 ลิตร เทียบได้เท่าใดในหน่วยลูกบาศก์เมตร ( 1000 ลิตร = 1 เมตร3 )


1. 10–4 2. 10–3 3. 10–2 4. 10–1

25
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 1 บทนา
25. ถังน้ าสี่ เหลี่ยมก้นถังมีพ้นื ที่ 1.5 ตารางเมตรสู ง 1.2 เมตร จะบรรจุน้ าได้มากที่สุดกี่ลิตร
1. 180 ลิตร 2. 600 ลิตร 3. 1800 ลิตร 4. 18000 ลิตร

26. หน่วยวัดความยาวของไทยสมัยก่อนคือ คืบ ศอก วา เส้น โดยสองคืบเป็ นหนึ่งศอก , 4 ศอก


เป็ นหนึ่งวา และ 20 วาเป็ นหนึ่งเส้น ปั จจุบนั เทียบหนึ่งวาเป็ นกี่เมตร
1. 2 2. 4 3. 8 4. 16

27. พื้นที่ขนาด 1 ตารางวา จะมีค่าเท่ากับกี่ตารางเมตร


1. 2 2. 4 3. 8 4. 16

28. ที่ดินแปลงหนึ่งกว้าง 5 เมตร ยาว 24 เมตร อยากทราบว่าจะมีพ้ืนที่กี่ตารางวา


1. 16 2. 20 3. 24 4. 30

29. พื้นที่ 100 ตารางวา เรี ยกว่า หนึ่งงาน และ 4 งาน คือพื้นที่ 1 ไร่ พื้นที่หนึ่งไร่ มีกี่
ตารางเมตร
1. 1600 2. 2000 3. 2400 4. 3000
30

30. พื้นที่ 1 ตารางกิโลเมตร มีคา่ กี่ไร่ ( 1 ไร่ มี 1600 ตารางเมตร)


1. 125 2. 250 3. 625 4. 2500

1.3 เลขนัยสาคัญ
31. จากรู ปที่กาหนดให้ ความยาวที่อ่านได้ควรเป็ นข้อใด

1 2 3 4 5 6 7 8 cm
9
1. 2 cm 2. 2.4 cm 3. 2.45 cm 4. 2.455 cm

26
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 1 บทนา
32. ปริ มาณในข้อใดที่ได้จากการวัดโดยใช้ไม้บรรทัดที่มีความละเอียดถึง 0.1 เซนติเมตร
1. 9 เซนติเมตร 2. 9.0 เซนติเมตร
3. 9.00 เซนติเมตร 4. 9.000 เซนติเมตร

33. เลขนัยสาคัญคืออะไร
1. เลขที่วดั ได้จริ ง ๆ จากเครื่ องมือวัด
2. เลขที่อ่านได้จากเครื่ องมือวัดแบบขีดสเกลรวมกับตัวเลขที่ประมาณอีก 1 ตัว
3. เลขที่ประมาณขึ้นมาในการวัด
4. เลขที่แน่นอนที่อ่านได้ในการวัด

1.3.1 หลักในการนับจานวนตัวของเลขนัยสาคัญ
34. จงพิจารณาปริ มาณต่อไปนี้ขอ้ ใดมีเลขนัยสาคัญ 2 ตัว
1. 20 2. 0.2 3. 0.04 4. 0.010

35. จงบอกจานวนเลขนัยสาคัญของปริ มาณต่อไปนี้ 105 , 0.0020 , 3.5 x 103


1. 3 , 2 และ 2 ตัว 2. 3 , 4 และ 5 ตัว
3. บอกไม่ได้ , 1 และ 4 ตัว 4. 2 , 1 และ 3 ตัว

36. ปริ มาณในข้อใดมีเลขนัยสาคัญ 3 ตัว ทั้งหมด


1. 0.15 , 3.0 x 103 , 151 2. 1.00 , 0.03 , 0.12 x 10–3
3. 10.0 , 100 , 3.06 x 109 4. 0.120 , 4.32 x 10–21 , 168

1.3.2 การบวก และลบ เลขนัยสาคัญ

37. จงหาผลลัพธ์ของคาต่อไปนี้ตามหลักเลขนัยสาคัญ 2.35 + 2.1 – 0.002


1. 4 2. 4.4 3. 4.445 4. 4.448

27
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 1 บทนา
1.3.3 การคูณ และหาร เลขนัยสาคัญ
104 ) x 3.6
38. จงหาผลลัพธ์ของค่าต่อไปนี้ตามหลักเลขนัยสาคัญ (1.50 x0.25
1. 2.2 x 105 2. 2.16 x 105 3. 2 x 105 4. 2.1600 x 105
4.5 + 3.95 – 0.5
39. จงหาผลลัพธ์ของค่าต่อไปนี้ตามหลักเลขนัยสาคัญ 2.0
1. 5.6 2. 5.65 3. 5.7 4. 5.75

1.4 การวิเคราะห์ ผลการทดลอง


40. จากกราฟที่กาหนดให้ จงหาค่าความชันของกราฟ
1. 14 v (m/s)
2. 12 4
3. 1 2
4. 2 t(s)
0 4 6

41. จากความสัมพันธ์ของปริ มาณ 2 ปริ มาณ เขียนเป็ นสมการได้ว า่ 2x + 3y = 6 เมื่อนาไป


เขียนกราฟระบบพิกดั ฉากจะได้กราฟมีค่าความชันเท่าไร
1. 32 2. 23 3. 23 4. 23

42. จากการทดลองหาอัตราเร็ วของการเคลื่อนที่ s (เมตร)


ของวัตถุหนึ่ง พบว่าระยะทาง ( s ) ที่วตั ถุ
12
เคลื่อนที่ได้ กับเวลา ( t ) ที่วตั ถุใช้ในการ เคลื่อน
มีความสัมพันธ์ดงั กราฟ จงหาอัตราเร็ วของ
การเคลื่อนที่ของวัตถุน้ ี ในหน่วย เมตร/วินาที ( 0 ,0 ) 10 t (วินาที)
( กาหนดให้ s = V t เมื่อ s คือ ระยะทาง ( เมตร )
V คือ อัตราเร็ ว ( เมตร/วินาที )
t คือ เวลา ( วินาที ) )


28
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 1 บทนา
เฉลยตะลุ ย โจทย์ ท วั่ ไป บทที่ 1 บทนำ

1. ตอบข้ อ 1. 2. ตอบข้ อ 1. 3. ตอบข้ อ 1. 4. ตอบข้ อ 3.


5. ตอบข้ อ 2. 6. ตอบข้ อ 1. 7. ตอบข้ อ 2. 8. ตอบข้ อ 4.
9. ตอบข้ อ 1. 10. ตอบข้ อ 1. 11. ตอบข้ อ 2. 12. ตอบข้ อ 1.
13. ตอบข้ อ 3. 14. ตอบข้ อ 1. 15. ตอบข้ อ 2. 16. ตอบข้ อ 3.
17. ตอบข้ อ 4. 18. ตอบข้ อ 1. 19. ตอบข้ อ 2. 20. ตอบข้ อ 3.
21. ตอบข้ อ 2. 22. ตอบข้ อ 4. 23. ตอบข้ อ 2. 24. ตอบข้ อ 3.
25. ตอบข้ อ 3. 26. ตอบข้ อ 1. 27. ตอบข้ อ 2. 28. ตอบข้ อ 4.
29. ตอบข้ อ 1. 30. ตอบข้ อ 3. 31. ตอบข้ อ 3. 32. ตอบข้ อ 3.
33. ตอบข้ อ 2. 34. ตอบข้ อ 4. 35. ตอบข้ อ 1. 36. ตอบข้ อ 4.
37. ตอบข้ อ 2. 38. ตอบข้ อ 1. 39. ตอบข้ อ 1. 40. ตอบข้ อ 2.
41. ตอบข้ อ 1. 42. ตอบ 1.2



29
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง

บทที่ 2 การเคลื่ อ นที่ ใ นแนวเส้ นตรง


2.1 ปริมาณต่ างๆ ของการเคลือ่ นที่
2.1.1 ระยะทาง (distance) และ การกระจัด (displacement )
ระยะทาง (distance) คือ ความยาวตามแนวที่เคลื่อนที่ได้จริ ง มีหน่วยเป็ นเมตร ( m ) เป็ น
ปริ มาณสเกลาร์ เพราะการคิดระยะทางไม่ตอ้ งคานึงถึงทิศทางของการเคลื่อนที่
การกระจั ด (displacement) คื อ ความยาวที่ วดั เป็ นเส้ นตรงจากจุ ดเริ ่ มต้นถึ งจุ ดสุ ดท้าย
ของการเคลื่อนที่ มีหน่วยเป็ นเมตร ( m ) เป็ นปริ มาณเวกเตอร์ เพราะการคิดการกระจัดต้องคิด
ทิศทางจากจุดเริ่ มต้นถึงจุดสุ ดท้ายด้วย
ตัวอย่างเช่น หากวัตถุกอ้ นหนึ่งเคลื่อนที่จาก C
จุด A ไปจุด B แล้วเคลื่อนต่อไปจุด C ในทิศที่ต้ งั ฉาก 3 เมตร
กันดังรู ป จะได้วา่ ความยาวที่เคลื่อนได้จริ งมีค่า 7 เมตร A 4 เมตร B
ซึ่งหาค่าได้จาก 4 เมตร + 3 เมตร ( ไม่ตอ้ งสนใจทิศ ทาง ) ความยาวเช่นนี้เรี ยก ระยะทาง
และเนื่องจากการคิดระยะทางนี้ ไม่ตอ้ งคานึงถึงทิศทาง ดังนั้นระยะทางจึงเป็ นปริ มาณสเกลาร์
จากตัวอย่างเดิม หากเราหาความยาวจากจุดเริ่ มต้น
( A ) ตรงไปยังจุดสุ ดท้าย (C ) โดยใช้ทฤษฎีพีทาโกรัส C
5 เมตร
จะได้วา่ AC2 = 42 + 32 3 เมตร
AC2 = 15 + 9 A 4 เมตร B
AC2 = 25
AC = 5 เมตร
ความยาวจากจุดเริ่ มต้น( A ) ตรงไปยังสุ ดท้าย( C ) นี้ เรี ยก การกระจัด ซึ่ งเป็ นปริ มาณที่มีท้ งั
ขนาดและทิศทาง ดังนั้นการกระจัดจึงเป็ นปริ มาณเวกเตอร์
1. ระยะทาง และการกระจัดของการเคลื่อนที่ต่อไปนี้ มีขนาด
C
เท่ากับกับ กี่เมตร ตามลาดับ
6 เมตร
1. 14 , 8 2. 14 , 10
A 8 เมตร B
3. 8 , 14 4. 10 , 14

1
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
2. ระยะทาง และการกระจัดของการเคลื่อนที่ต่อไปนี้ มีขนาด 2 ม.
เท่ากับ กี่เมตร ตามลาดับ 10 ม.
1. 12 , 8 2. 8 , 10 3. 8 , 12 4. 10 , 8

3. ระยะทาง และการกระจัดของการเคลื่อนที่ต่อไปนี้ มีขนาดเท่ากับกี่เมตร ตามลาดับ


1. 7 , 14 2. 14 , 7
R=7ม.
3. 22 , 14 4. 14 , 22

4. ระยะทาง และการกระจัดของการเคลื่อนที่ต่อไปนี้ มีขนาด


เท่ากับกี่เมตร ตามลาดับ R=7ม.
1. 44 , 7 2. 7 , 44
3. 44 , 0 4. 0 , 44

พิจารณาตัวอย่าง จากรู ป จงวาดรู ปการกระจัดลัพธ์ a 


 b
ของ a และ b ต่อไปนี้

วิธีทา ขั้นแรก ต้องนา a และ b มาเขียนต่อกัน โดย a

นาปลายของ a มาต่อกับจุดเริ่ มต้นของ b ดังรู ป การกระจัดลัพธ์
ขั้น 2 เขียนลูกศรจากจุดเริ่ มต้น a ตรงไปยังจุดสุ ด 
 b
ท้ายของ b ลูกศรที่ได้น้ ีเรี ยกการกระจัดลัพธ์ของ a
  
กับ b หรื อ เวกเตอร์ลพั ธ์ของ a กับ b หรื อ a + b ก็ได้
2
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
 
เพิม่ เติม หากเราทราบขนาดของ a กับ b และมุมระหว่าง a กับ b เราสามารถคานวณหา
ขนาดของเวกเตอร์ลพั ธ์ได้โดยใช้สูตร
ขนาดเวกเตอร์ลพั ธ์ = | a |2  | b |2  2 | a | | b | cos a = 3/
เมื่อ | a | = ขนาดของ a การกระจัดลัพธ์
= 60o
 
| b | = ขนาดของ b  /
  b=4
 = มุมระหว่าง a กับ b เมื่อนาปลาย

ของ a มาต่อกับจุดเริ่ มต้นของ b
 
เช่นหากสมมุติให้ a มีขนาด 3 หน่วย b มีขนาด 4 หน่วย และมุมระหว่าง a กับ b

มีค่า 60o เราจะหาขนาดของเวกเตอร์ลพั ธ์ของ a กับ b ได้ดงั นี้
จาก ขนาดเวกเตอร์ลพั ธ์ = | a |2  | b |2  2 | a | | b | cos
= 32  4 2  2(3)(4) cos60 o
= 9  16  2(3) (4) ( 1 )
2
= 13
ขนาดเวกเตอร์ ลพั ธ์ = 3.61 หน่ วย

5. จากรู ป การกระจัดลัพธ์ของ a และ b a

ดังรู ป ควรเป็ นดังข้อใดต่อไปนี้ b

1. 2. 3. 4.


6. a , b , c เป็ นเวกเตอร์ ดงั รู ป
 c
a b


รู ปใดเป็ นเวกเตอร์ลพั ธ์ของ a  b  c
1. 2. 3. 4.

3
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง

7. a , b , c เป็ นเวกเตอร์ ดงั รู ป
 c
a b


รู ปใดเป็ นเวกเตอร์ลพั ธ์ของ a  b  c
1. 2. 3. 4.

2.1.2 อัตราเร็ว ( speed ) และ ความเร็ว ( velocity )


2.1.2.1 อัตราเร็วเฉลี่ย และความเร็วเฉลีย่
อัตราเร็ วเฉลี่ย คือ อัตราส่ วนของระยะทางที่เคลื่ อนที่ได้ต่อเวลาที่ ใช้ในการเคลื่ อนที่
ตลอดช่วงนั้น มีหน่วยเป็ น เมตรต่อวินาที เป็ นปริ มาณสเกลาร์ เขียนเป็ นสมการจะได้
v = st
เมื่อ v = อัตราเร็ ว ( เมตร/วินาที )
s = ระยะทางที่เคลื่อนที่ได้ ( เมตร )
t = เวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ ( วินาที )
ความเร็วเฉลีย่ คือ อัตราส่ วนของการกระจัดที่เคลื่อนที่ได้ต่อเวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่
ตลอดช่วงนั้น มีหน่วยเป็ นเมตรต่อวินาที เป็ นปริ มาณเวกเตอร์ เขียนเป็ นสมการจะได้
v = dt
เมื่อ v = ความเร็ ว ( เมตร/วินาที )
d = การกระจัด ( เมตร )
t = เวลา ( วินาที )

4
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
8. จงหาอัตราเร็ วเฉลี่ย และความเร็ วเฉลี่ยของการเคลื่อนที่
ตามแผนภาพต่อไปนี้ ในหน่วยเมตรต่อวินาที กาหนด R=7ม.
เวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ท้ งั หมดเท่ากับ 2 วินาที
1. 22 , 14 2. 11 , 7 3. 22 , 0 4. 11 , 0

9. วัตถุหนึ่งเคลื่อนที่จาก A ไป D ผ่าน B , C ซึ่งอยูบ่ นแนวเส้นตรงเดียวกันดังรู ปใช้เวลา


นาน 10 วินาที จงหาอัตราเร็ วเฉลี่ยและความเร็ วเฉลี่ยในหน่วยเมตรต่อวินาที
1. 4.5 , 1.5 20 m
A
2. 9 , 3 15 m B
3. 13.5 , 4.5 C
D
4. 18 , 6 5m 10 m

10. รถยนต์คนั หนึ่งเคลื่อนที่ได้ 30 กิโลเมตร ในครึ่ งชัว่ โมงแรก และเคลื่อนที่ได้ระยะทาง 50


กิโลเมตร ในครึ่ งชัว่ โมงต่อมา อัตราเร็ วเฉลี่ยใน 1 ชัว่ โมงมีค่ากี่กิโลเมตรต่อชัว่ โมง

5
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
11. นายตี๋เคลื่อนที่เป็ นเส้นตรงด้วยอัตราเร็ ว 5 เมตร/วินาที ได้ระยะทาง 100 เมตร แล้วจึงวิ ง่
ต่อด้วยอัตราเร็ ว 10 เมตร/วินาที ได้ระยะทาง 50 เมตร อัตราเร็ วเฉลี่ยมีค่ากี่เมตร/วินาที

2.1.2.2 ความเร็ว ณ.จุดใดจุดหนึ่ง


ความเร็ ว ณ.จุดหนึ่ งๆ อาจหาค่าได้โดยใช้อนุ พนั ธ์ของฟั งก์ชน่ั ซึ่ งนักเรี ยนจะได้เรี ยน
ในวิชาคณิ ตศาสตร์ เรื่ องแคลคูลสั หรื ออาจหาค่าได้จากความชันเส้ นกราฟของการกระจัดกับ
เวลาก็ได้
12. กาหนดกราฟการกระจัดของการเคลื่อนที่หนึ่ง การกระจัด ( m )
เทียบกับเวลาเป็ นดังรู ป จงหาความเร็ ว ณ.จุด
วินาทีที่ 15 ในหน่วย เมตร/วินาที 10 (15 , 10)

(3 , 0 )
15 เวลา ( วินาที )

6
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
2.1.3 อัตราเร่ ง และ ความเร่ ง
อัตราเร่ ง คืออัตราส่ วนของอัตราเร็ วที่เปลี่ ยนไปต่อเวลาที่ใช้ในช่ วงเปลี่ยนอัตราเร็ วนั้น
มีหน่วยเป็ น เมตร/วินาที2 เป็ นปริ มาณสเกลาร์ เขียนเป็ นสมการจะได้
v v
a = 2t 1
เมื่อ a = อัตราเร่ ง ( เมตร/วินาที2 )
v1 = อัตราเร็ วตอนแรก ( เมตร/วินาที )
v2 = อัตราเร็ วตอนหลัง ( เมตร/วินาที )
t = เวลาที่ใช้ในช่วงเปลี่ยนอัตราเร็ ว ( วินาที )
ความเร่ ง คืออัตราส่ วนของความเร็ วที่เปลี่ ยนไปต่อเวลาที่ใช้ในช่ วงเปลี่ ยนความเร็ วนั้น
หน่วยเป็ น เมตร/วินาที2 เป็ นปริ มาณเวกเตอร์ เขียนเป็ นสมการจะได้
v v
a = 2t 1
เมื่อ a = ความเร่ ง ( เมตร/วินาที2 )
v 1 = ความเร็ วตอนแรก ( เมตร/วินาที )
v 2 = ความเร็ วตอนหลัง ( เมตร/วินาที )
t = เวลาที่ใช้ในช่วงเปลี่ยนอัตราเร็ ว ( วินาที )
ควรทราบ ถ้า a เป็ นบวก เรี ยกความเร่ ง จะทาให้ความเร็ ว ( v ) มีค่าเพิ่มมากขึ้น
ถ้า a เป็ นลบ เรี ยกความหน่วง จะทาให้ความเร็ ว ( v ) มีค่าลดลง
ถ้า a = 0 จะทาให้ความเร็ ว ( v ) มีค่าคงที่
13. รถคันหนึ่งวิง่ ด้วยความเร็ ว 10 เมตร/วินาที จนกระทัง่ มีความเร็ ว 15 เมตร/วินาที ใน
เวลา 1.5 วินาที ในแนวเส้นตรง จงหาความเร่ งเฉลี่ยของรถในหน่วยเมตร/วินาที2

7
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
14. ขับจักรยานด้วยอัตราเร็ วดังนี้
อัตราเร็ว (m/s ) 10 8 6 4 2 0
เวลา ( s ) 0 1 2 3 4 5
จงหาอัตราเร่ งในหน่วยเมตร/วินาที2
1. 2 2. 4 3. –2 4. –4

15. ลิฟต์กาลังเคลื่อนที่ข้ ึนด้วยความเร็ วที่ลดลงอย่างสม่าเสมอ ความเร่ งจะมีค่าเป็ นอย่างไร


1. มีค่าเป็ นบวก 2. มีค่าเป็ นลบ 3. มีค่าเป็ นศูนย์ 4. ไม่มีคาตอบที่ถูก

16. เมื่อลากแผ่นกระดาษผ่านเครื่ องเคาะสัญญาณเวลาชนิ ดเคาะ 50 ครั้ งต่อวินาที ปรากฏจุด


บนแถบกระดาษดังรู ป จงหาอัตราเร็ วเฉลี่ยระหว่าง A ถึง B ในหน่วยเมตรต่อวินาที
B
.. . . A . . . . .
8 ซม.

8
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
2.2 สมการสาหรับคานวณหาปริมาณต่ างๆ ของการเคลือ่ นที่ในแนวเส้ นตรงด้ วยความเร่ งคงตัว
สาหรับการคานวณเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงด้วยความเร่ งคงที่น้ นั เราอาจใช้
สมการต่อไปนี้ทาการคานวณ
ถ้าความเร่ งไม่เท่ากับศูนย์ ( a  0 ) ความเร็ วมีการเปลี่ยนแปลง ใช้สมการ
 v = u+at  s = u 2 v  t
 s = u t + 12 a t2  s = v t – 12 a t2
 v2 = u2 + 2 a s
เมื่อ u = ความเร็ วต้น (m/s) , v = ความเร็ วปลาย (m/s)
t = เวลา (s) , a = ความเร่ ง (m/s2) , s = การกระจัด (m)
ถ้าความเร่ งเท่ากับศูนย์ ( a = 0 ) ( ความเร็ วคงที่ ) ใช้สมการ
s = Vt
เมื่อ s = การกระจัด (m) , t = เวลา (s) , V = ความเร็ วซึ่งคงที่ ( m/s )
ตัวอย่าง รถคันหนึ่งเคลื่อนที่ไปด้วยความเร็ ว 2 เมตร/วินาที แล้วเร่ งเครื่ องด้วยความเร่ ง 2
เมตร/วินาที2 ภายในเวลา 20 วินาที จะมีความเร็ วสุ ดท้ายเป็ นกี่เมตรต่อวินาที
วิธีทา ขั้นแรก วิเคราะห์ตวั แปรต่างๆ ที่โจทย์บอก
จะได้วา่ u = 2 m/s , a = 2 m/s2 , t = 20 วินาที , v = ?
ขั้น 2 เลือกสู ตรที่มีตวั แปรที่วเิ คราะห์ไว้ครบทุกตัว แล้วนามาแทนค่า
ข้อนี้ใช้สูตร v = u + a t
v = 2 + (2)(20)
v = 42 เมตร/วินาที
นัน่ คือความเร็ วสุ ดท้ายมีค่าเท่ากับ 42 เมตร/วินาที

ตัวอย่ าง นักเรี ยนคนหนึ่ งขับ รถมอเตอร์ ไซด์ด้วยความเร็ ว 10 เมตร/วินาที ต่อมาเบรกทาให้


ความเร็ วลดลงเหลือ 2 เมตร/วินาที ในเวลา 4 วินาที จงหาระยะทางในช่วงที่เบรกในหน่วย
เป็ นเมตร
1. 10 2. 24 3. 30 4. 40
9
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
วิธีทา ขั้นแรก วิเคราะห์ตวั แปรต่างๆ ที่โจทย์บอก
จะได้วา่ u = 10 m/s , v = 2 m/s , t = 4 วินาที , s = ?
ขั้น 2 เลือกสู ตรที่มีตวั แปรที่วเิ คราะห์ไว้ครบทุกตัว แล้วนามาแทนค่า
ข้อนี้ใช้สูตร s =  u 2 v  t =  10 2 2  4 = 24 เมตร
นัน่ คือระยะทางช่วงที่เบรกมีค่าเท่ากับ 24 เมตร
17. รถคันหนึ่งเคลื่อนที่ไปด้วยความเร็ ว 10 เมตร/วินาที แล้วเร่ งเครื่ องด้วยความเร่ ง 5 เมตร/-
วินาที2 ภายในเวลา 20 วินาที จะมีความเร็ วสุ ดท้ายเป็ นกี่ เมตรต่อวินาที

18. รถคันหนึ่งเคลื่อนที่ไปด้วยความเร็ ว 5 เมตร/วินาที แล้วเร่ งเครื่ องด้วยความเร่ ง 8 เมตร/-


วินาที2 ภายในเวลา 10 วินาที จะมีความเร็ วสุ ดท้ายเป็ นกี่เมตรต่อวินาที

19. น้องบีขบั รถด้วยความเร็ ว 25 เมตร/วินาที เห็นเด็กวิง่ ข้ามถนนจึงเหยียบเบรกทาให้ความเร็ ว


ลดลงเหลือ 5 เมตร/วินาที ในเวลา 2 วินาที จงหาระยะทางในช่วงที่เบรกในหน่วยเป็ นเมตร
1. 10 2. 20 3. 30 4. 40

10
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
20. ถ้าเครื่ องบินต้องใช้เวลาในการเร่ งเครื่ อง 20 วินาที จากหยุดนิ่ง และใช้ระยะทาง 400 เมตร
ก่อนที่จะขึ้นจากทางวิง่ ได้ จงหาอัตราเร็ วของเครื่ องบินขณะที่ข้ึนจากทางวิง่ เท่ากับกี่เมตรต่อ
วินาที

21. รถคันหนึ่งเคลื่อนที่จากหยุดนิ่ง ด้วยความเร่ ง 5 เมตร/วินาที2 ภายในเวลา 2 วินาที จะ


เคลื่อนที่ได้ระยะทางกี่เมตร

22. รถยนต์คนั หนึ่งออกวิง่ จากจุดหยุดนิ่งไปตามถนนตรงด้วยขนาดความเร่ งคงตัว และวิง่ ได้


ไกล 75 เมตร ภายในเวลา 5 วินาที ขนาดของความเร่ งของรถยนต์มีค่ากี่เมตรต่อวินาที2

11
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
23. วัตถุกอ้ นหนึ่ งเคลื่อนไปข้างหน้าด้วยความเร่ ง 10 เมตร/วินาที2 ในเวลา 2 วินาทีต่อมา วัตถุ
เคลื่อนที่ได้ระยะทาง 4 เมตร จะมีความเร็ วปลายเท่าใด
1. 8 m/s 2. 12 m/s 3. 16 m/s 4. 18 m/s

24. รถคันหนึ่งเคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ วต้น 36 กิโลเมตร/ชัว่ โมง ต่อมาเร่ งเครื่ องด้วยความเร่ ง 3


เมตร/วินาที2 จงหาว่าภายในระยะทาง 50 เมตร รถคันนี้ จะมีความเร็ วปลายกี่เมตร/วินาที

25. “ความไว” ของการตอบสนองคนขับรถยนต์คนั หนึ่งเท่ากับ 1/5 วินาที ซึ่งหมายความว่า


ถ้าคนขับรถยนต์คน หนึ่งเห็นสิ่ งของใดอยูข่ า้ งหน้า ช่วงเวลาที่ส้ ันที่สุดที่สมองของเขาจะสัง่
ให้กระทาการอันใดอันหนึ่งตอบสนอง ต่อสิ่ งที่สังเกตเห็น คือ 1/5 วินาที ถ้าขณะที่เขาขับ
รถยนต์ดว้ ยความเร็ วคงตัว 25 เมตรต่อวินาที จงหาว่าจากจุดเวลาที่คนขับเห็นสิ่ งกีดขวางถึง
จุดเริ่ มเหยียบห้ามล้อ รถยนต์ของเขาแล่นได้ระยะทางอย่างน้อยที่สุดกี่เมตร

12
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
26. ชายผูห้ นึ่ งขับรถยนต์เข้าหาสัญญาณไฟจราจรที่สี่แยกแห่ งหนึ่งขณะที่รถยนต์มีความเร็ ว 30
เมตร/วินาที สัญญาณไฟเปลี่ยนจากสี เขียวเป็ นสี เหลือง หากชายผูน้ ้ ันใช้เวลา 1.0 วินาที
ก่อนจะเหยียบเบรกและหากอัตราหน่วงสู งสุ ดของเบรกเป็ น 2 เมตร/วินาที 2 จงหาระยะ
น้อยที่สุดที่รถยนต์อยูห่ ่างจากสัญญาณไฟซึ่ งรถจะหยุดได้ทนั พอดี
1. 30 เมตร 2. 225 เมตร 3. 195 เมตร 4. 255 เมตร

27(แนว En) รถยนต์คนั หนึ่ งวิง่ ด้วยความเร็ วคงที่ 5 เมตรต่อวินาที ขณะที่อยูห่ ่ างสิ่ งกี ดขวาง
เป็ นระยะทาง 30 เมตร คนขับตัดสิ นใจห้ามล้อรถ โดยเสี ยเวลา 1 วินาที ก่อนที่ห้ามล้อ
จะทางาน เมื่อห้ามล้อทางานแล้วรถจะต้องมีความหน่วงเท่าใดจึงจะทาให้รถหยุดพอดีเมื่อ
ถึงสิ่ งกีดขวางนั้น
1. 0.5 m/s2 2. 1.0 m/s2 3. 2.0 m/s2 4. 3.0 m/s2

เกีย่ วกับการเคลือ่ นที่เป็ นเส้ นตรงในแนวดิ่ง


ขณะวัตถุเคลื่อนที่ในแนวดิ่งวัตถุจะถูกแรงดึง
ดูดของโลกดูดเอาไว้ ทาให้เกิดความเร่ งเนื่องจากแรง
โน้มถ่วงในทิศพุง่ ลงสู่ พ้ืนโลก และมีขนาดประมาณ
9.8 เมตร/วินาที2 ความเร่ งนี้นิยมใช้สัญลักษณ์แทน
ด้วย g
13
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
28(มช 49) นักเรี ยนโยนก้อนหิ นขึ้นไปในแนวดิ่งถึงจุดสู งสุ ด 12 เมตร ก้อนหิ นหยุดนิ่ งก่อนตก
ลงมา ณ จุดสู งสุ ดก้อนหิ นมีความเร่ งกี่เมตร/วินาที2
1. 0 2. 9.8 3. 12 4. 19.6

29(แนว มช) วัตถุ A และ B มีมวลเท่ากัน ตกจากที่ สูง 0.5 และ 1.0 เมตร ตามลาดับ ใน
ขณะที่เหรี ยญตกเกือบถึงพื้น ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
1. วัตถุ B มีความเร่ งมากกว่าวัตถุ A
2. วัตถุ B มีความเร่ งน้อยกว่าวัตถุ A
3. วัตถุ B มีความเร่ งเท่ากับวัตถุ A
4. มีขอ้ ที่ไม่ถูกมากกว่า 1 ข้อ

การคานวณเกี่ยวกับการเคลือ่ นทีเ่ ป็ นเส้ นตรงในแนวดิ่งบนผิวโลก ด้ วยความเร็วต้ นในทิศลง


การเคลื่อนที่แบบเส้นตรงในแนวดิ่งบนผิวโลก ด้วยความเร็ วต้นในทิศลง การคานวณ
ยังคงใช้สมการเดิมทั้งหมดได้ แต่มีสิ่งที่ตอ้ งรู ้เพิ่มเติมคือ
1) ให้ใช้ค่าความเร่ ง (a) เป็ น +9.8 เมตร/วินาที2 เพราะความ u
เร่ งนี้มีทิศลงเหมือนกับความเร็ วต้น (u) ของการเคลื่อนที่ a = +9.8 m/s2
2) ความเร็ วปลาย (v) และการกระจัด (s) จะมีค่าเป็ นบวก
เสมอ เพราะมีทิศเหมือนความเร็ วต้น (u) คือมีทิศลงเสมอ
14
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
30. ขว้างลูกบอลลงมาในแนวดิ่งด้วยความเร็ ว 10 เมตร/วินาที ใช้เวลา 3 วินาที จึงจะถึงพื้น
ถามว่าความเร็ วของลูกบอลขณะกระทบพื้นมีค่ากี่เมตร/วินาที
1. 15 2. 25 3. 30 4. 40

31. ปล่อยวัตถุให้ตกลงในแนวดิ่งจากที่สูง 20 เมตร จงหาความเร็ วขณะกระทบพื้น


1. 10 m/s 2. 20 m/s 3. 30 m/s 4. 40 m/s

การคานวณเกี่ยวกับการเคลือ่ นทีเ่ ป็ นเส้ นตรงในแนวดิ่งบนผิวโลก ด้ วยความเร็วต้ นในทิศขึน้


การเคลื่ อนที่แบบเส้นตรงในแนวดิ่ งบนผิวโลก ด้วยความเร็ วต้นในทิ ศขึ้ น การคานวณ
ยังคงใช้สมการเดิมทั้งหมดได้ แต่มีสิ่งที่ตอ้ งรู ้เพิ่มเติมคือ v=0
2
1) ให้ใช้ค่าความเร่ งเป็ น –9.8 เมตร/วินาที เพราะความ
a = –9.8 m/s2
เร่ งนี้มีทิศลงตรงกันข้ามกับความเร็ วต้น ( u ) ของการเคลื่อนที่
u
2) ความเร็ วปลาย (v) และการกระจัด (s)
ถ้ามีค่าเป็ นบวก แสดงว่ามีทิศเหมือนความเร็ วต้น (u) คือมีทิศขึ้น
ถ้ามีค่าเป็ นลบ แสดงว่ามีทิศตรงกันข้ามกับความเร็ วต้น (u) คือมีทิศลง
15
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
32. โยนวัตถุข้ ึนจากพื้นด้วยความเร็ วต้น 30 เมตร/วินาที ผ่านไป 2 วินาที วัตถุจะอยูส่ ู งจาก
พื้นกี่เมตร

33. โยนวัตถุ กอ้ นหนึ่ งขึ้นจากพื้นด้วยความเร็ วต้น 30 เมตร/วินาที ถามว่าขณะที่วตั ถุ กาลัง


ลอยขึ้นด้วยความเร็ ว 20 เมตร/วินาที วัตถุจะอยูส่ ู งจากพื้นกี่เมตร

34. โยนวัตถุข้ ึนจากพื้นด้วยความเร็ วต้น 30 เมตร/วินาที วัตถุจะขึ้นไปถึงจุดสู งสุ ดภายในเวลา


กี่วนิ าที และจุดสู งสุ ดนั้นอยูส่ ู งจากพื้นกี่เมตร
1. 3 วินาที , 45 เมตร 2. 3 วินาที , 90 เมตร
3. 6 วินาที , 45 เมตร 4. 6 วินาที , 90 เมตร

16
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
35. ขว้างก้อนหิ นขึ้นไปในแนวดิ่ งด้วยความเร็ ว 40 เมตร/วินาที กิ นเวลานานเท่าไรก้อนหิ น
จึงอยูส่ ู งจากพื้นดิน 60 เมตร
1. 2 และ 4 วินาที 2. 3 และ 6 วินาที
3. 1 และ 3 วินาที 4. 2 และ 6 วินาที

36. โยนวัตถุ จากพื้นด้วยความเร็ วต้น 20 เมตร/วินาที จงหาความเร็ วเมื่อเวลาผ่านไป 1 และ


5 วินาที ตามลาดับ
1. 10 m/s ทิศขึ้น , 30 m/s ทิศลง 2. 30 m/s ทิศขึ้น , 30 m/s ทิศลง
3. 30 m/s ทิศขึ้น , 60 m/s ทิศลง 4. 60 m/s ทิศขึ้น , 60 m/s ทิศลง

37(แนว En) เด็กคนหนึ่ งโยนพวงกุญแจขึ้ นไปในแนวดิ่ งเพื่อให้เพื่อนที่อยูบ่ นระเบียงสู งขึ้ นไป


และพบว่าเพื่ อนรั บ พวงกุญ แจได้ในเวลา 3 วินาที ต่อมา ถ้าจุ ดที่ รับ สู งกว่าจุ ดที่ โยน 6
เมตร พวงกุญแจถึงมือผูร้ ับด้วยความเร็ วเท่าใด
1. 13 m/s ในทิศขึ้น 2. 13 m/s ในทิศลง
3. 9 m/s ในทิศขึ้น 4. 9 m/s ในทิศลง

17
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
38. โยนก้อนหิ นขึ้นไปในแนวดิ่งจากพื้นดิน ด้วยความเร็ วต้น 20 เมตรต่อวินาที หลังจากที่
โยนไปแล้วเป็ นเวลากี่วนิ าที ก้อนหิ นจึงตกลงมาด้วยความเร็ ว 10 เมตรต่อวินาที

39. โยนวัตถุ จากพื้นด้วยความเร็ วต้น 20 เมตร/วินาที จงหาการกระจัด เมื่ อเวลาผ่านไป 1


และ 5 วินาทีตามลาดับ
1. สู งกว่าจุดเริ่ มต้น 15 เมตร และสู งกว่าจุดเริ่ มต้น 25 เมตร
2. สู งกว่าจุดเริ่ มต้น 15 เมตร และต่ากว่าจุดเริ่ มต้น 25 เมตร
3. ต่ากว่าจุดเริ่ มต้น 15 เมตร และต่ากว่าจุดเริ่ มต้น 25 เมตร
4. ต่ากว่าจุดเริ่ มต้น 15 เมตร และสู งกว่าจุดเริ่ มต้น 25 เมตร

40(แนว มช) เด็กคนหนึ่ งยืนอยูบ่ นหน้าผาแห่ งหนึ่ งเขาขว้างก้อนหิ นขึ้นไปในอากาศในแนวดิ่ ง


ด้วยความเร็ ว 4 เมตร/วินาที หลังจากก้อนหิ นหลุ ดจากมื อเขา 3 วินาที ก็ตกถึ งพื้ นดิ น
ความสู งของหน้าผาแห่งนี้เป็ นเท่าไร
1. 12.0 เมตร 2. 25.0 เมตร 3. 33.0 เมตร 4. 45.0 เมตร

18
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
41(แนว มช) เด็กคนหนึ่งโยนก้อนหิ นขึ้นไปในแนวดิ่งด้วยอัตราเร็ วต้น 10 เมตร/วินาที ก้อนหิ น
ตกถึงพื้นซึ่ งอยูต่ ่ากว่าตาแหน่งมือที่กาลังโยนเป็ นระยะทาง 15 เมตร จงหาว่าก้อนหิ น
เคลื่อนที่อยูใ่ นอากาศเป็ นเวลานานกี่วนิ าที

42. บอลลูนลูกหนึ่งกาลังลอยขึ้นในแนวดิ่งซึ่ งขณะนั้นมีความเร็ ว 20 เมตร/วินาที คนในบอล


ลูนได้ทิ้งก้อนหิ นก้อนหนึ่งลงมา ปรากฏว่าก้อนหิ นกระทบพื้นดินในเวลา 12 วินาที อยาก
ทราบขณะทิง้ ก้อนหิ นบอลลูนอยูส่ ู งจากพื้นดินกี่เมตร

43(แนว En) รถไฟ 2 ขบวน วิ่งเข้าหากันโดยวิ่งในรางเดียวกัน รถขบวนที่ 1 วิ่งด้วยความเร็ ว


10 เมตร/วินาที ส่ วนรถขบวนที่ 2 วิง่ ด้วยความเร็ ว 20 เมตร/วินาที ขณะที่อยูห่ ่างกัน
290 เมตร รถไฟทั้ง 2 ขบวน ต่างเบรกรถและหยุดได้พอดีพร้อมกันโดยห่างกัน 65 เมตร
เวลาที่รถทั้งสองใช้ในการเบรคเป็ นเท่าใด
1. 10 วินาที 2. 15 วินาที 3. 20 วินาที 4. 25 วินาที

19
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
44(แนว En) นาย ก. ยืนอยู่บนดาดฟ้ าตึ กซึ่ งสู งจากพื้ นดิ น 20 เมตร ปล่ อยก้อนหิ นลงไปใน
แนวดิ่ ง ในขณะเดี ยวกันนาย ข. ซึ่ งอยู่ที่พ้ืนดิ นโยนก้อนหิ นขึ้ นไปตรงๆ ด้วยความเร็ ว 20
เมตร/วินาที ก้อนหิ นทั้งสองจะพบกันที่สูงจากพื้นดินกี่เมตร

45. วัตถุชิ้นหนึ่งถูกปล่อยให้ตกลงมาในแนวดิ่ง จงหาระยะทางระหว่างวินาทีที่ 4 ถึงวินาทีที่ 8


1. 320 m 2. 280 m 3. 240 m 4. 200 m

เพิม่ เติม ระยะทางในวินาทีที่ t หมายถึงระยะทางที่เคลื่อนที่ได้ในช่วงเวลาวินาทีที่ t – 1 ถึง


วินาทีที่ t เช่น ระยะทางที่เคลื่อนที่ได้ในวินาทีที่ 5 หมายถึงระยะทางที่เคลื่อนที่ได้ในช่วงเวลา
วินาทีที่ 4 ถึงวินาทีที่ 5 เป็ นต้น ระยะทางในวินาทีที่ t จะสามารถหาค่าได้จากสู ตร
st = u + 12 a (2 t – 1)
เมื่อ st คือระยะทางในวินาทีที่ t ( เมตร ) u คือความเร็ วต้น ( เมตร/วินาที )
a คือความเร่ ง ( เมตร/วินาที2 ) t คือเวลา ( วินาที )
20
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
46. วัตถุชิ้นหนึ่งถูกปล่อยให้ตกลงมาในแนวดิ่งจงหาระยะทางที่เคลื่อนที่ได้ในวินาทีที่ 5
1. 30 เมตร 2. 35 เมตร 3. 40 เมตร 4. 45 เมตร

47(แนว มช) วัตถุ ถูกโยนขึ้ นไปในแนวดิ่งด้วยความเร็ ว 80 เมตรต่อวินาที ระยะทางที่วตั ถุ


เคลื่อนที่ได้ในช่วงวินาทีที่ 1 กับระยะทางที่วตั ถุเคลื่อนที่ได้ในช่วงวินาทีที่ 7 มีค่าแตกต่าง
กันอยูก่ ี่เมตร

48. วัตถุหนึ่งเริ่ มเคลื่อนที่จากจุดหยุดนิ่ง ด้วยความเร่ งคงที่ปรากฏว่าในวินาทีที่ 15 วัตถุเคลื่อนที่


ได้ระยะทาง 58 เมตร จงหาความเร่ งของวัตถุ
1. 1 m/s2 2. 2 m/s2 3. 3 m/s2 4. 4 m/s2

21
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
2.3 กราฟของการเคลือ่ นทีใ่ นแนวเส้ นตรงด้ วยความเร่ งคงที่
2.3.1 กราฟความเร่ ง ความเร็ว และการกระจัด ทีส่ ั มพันธ์ กนั
กราฟชุ ด ที่ 1 กราฟชุ ด นี้ จะแสดงถึ ง การเคลื่ อ นที่ ซ่ ึ งความเร่ ง ( a ) มี ค่ า เป็ น 0 คงที่
ความเร็ ว ( v ) ของการเคลื่อนที่จะคงที่ตลอดเวลา ส่ วนการกระจัด ( s ) จะเพิ่มขึ้นแปรผันตรง
ตามเวลา ( t ) กราฟของการกระจัดเทียบกับเวลาจะเป็ นเส้นตรงสู งขึ้นตามเวลา

ความเร่ ง = 0 ความเร็ วคงที่ การกระจัดเพิ่มขึ้นเป็ นกราฟเส้นตรง


กราฟชุ ด ที่ 2 กราฟชุ ด นี้ จะแสดงถึ ง การเคลื่ อ นที่ ซ่ ึ งความเร่ ง ( a ) มี ค่ า เป็ นบวกคงที่
ความเร็ ว ( v ) ของการเคลื่อนที่จะเพิ่มขึ้นแปรผันตรงกับเวลา กราฟของความเร็ วเทียบกับเวลา
จะเป็ นเส้นตรงสู งขึ้นตามเวลา ส่ วนการกระจัดจะเพิ่มขึ้นเร็ วกว่าการเคลื่อนที่แบบความเร็ วคงที่
กราฟของการกระจัดเทียบกับเวลาจะเป็ นเส้นโค้งพาราโบลาหงาย

ความเร่ งเป็ นบวกคงที่ ความเร็ วเพิ่มเป็ นเส้นตรง การกระจัดเพิ่มขึ้นเป็ นเส้นโค้งพาราโบลา


กราฟชุ ดที่ 3 กราฟชุดนี้ จะแสดงถึงการเคลื่อนที่ซ่ ึ งความเร่ ง ( a ) มีค่าเป็ นลบคงที่
ความเร็ ว ( v ) ของการเคลื่อนที่จะลดลงแปรผกผันกับเวลา กราฟของความเร็ วเทียบกับเวลาจะ
เป็ นเส้นตรงลดลงตามเวลา ส่ วนการกระจัดจะเพิ่มขึ้นน้อยกว่าการเคลื่อนที่แบบความเร็ วคงที่
กราฟของการกระจัดเทียบกับเวลาจะเป็ นเส้นโค้งพาราโบลาตะแคงเปิ ดขวา

ความเร่ งเป็ นลบคงที่ ความเร็ วลดลงเป็ นเส้นตรง การกระจัดเพิ่มเป็ นเส้นโค้งพาราโบลา

22
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
กราฟน่ าสนใจ พิจารณากราฟการกระจัดเทียบกับ
เวลาด้านขวา จะพบว่าการกระจัดมีค่าคงที่คือ 5 เมตร
แสดงว่าวัตถุอยูน่ ิ่งๆ กับที่ ที่ระยะห่างจากจุดเริ่ มต้น 5
เมตร ดังนั้น ความเร็ ว = 0 และ ความเร่ ง = 0
49. ตามรู ปเป็ นกราฟระหว่างการกระจัด – เวลา ช่วงเวลา การขจัด
ข้อใดที่ความเร็ วเป็ นศูนย์
1. 0 t1 , t2 t4 2. t2 , t3 t4
3. 0 t1 , t3 t4 4. 0 t1 , t2 t3
0 t1 t2 t3 t4 เวลา

50. พิจารณาการเคลื่อนที่ของจักรยานคันหนึ่งในแนวเส้นตรง กราฟระหว่างการกระจัด – เวลา


ในข้อใดต่อไปนี้ที่แสดงว่าจักรยานมีความเร็ วคงที่
1. การกระจัด 2. การกระจัด

เวลา 0 เวลา
0
3. การกระจัด 4. การกระจัด

เวลา 0 เวลา
0

23
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
51(แนว A–net) กราฟของอัตราเร็ ว ( v ) กับเวลา ( t ) ของวัตถุ ที่ข้ ึ นอย่างอิ สระในสุ ญญากาศ
ภายใต้แรงโน้มถ่วง ควรเป็ นดังรู ปใด
1. v 2. v

t t
3. v 4. v

t t

52. วัตถุกอ้ นหนึ่งเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงโดย มีกราฟความเร็ ว–


เวลา ดังรู ปดังนั้นกราฟในข้อใดต่อไปนี้ แทนความสัมพันธ์ ระหว่างความเร่ งกับเวลา
ของการเคลื่อนที่น้ ี ได้ถูก
1. ความเร่ ง 2. ความเร่ ง

0 เวลา 0 เวลา

3. ความเร่ ง 4. ความเร่ ง

0 เวลา 0 เวลา

24
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
2.3.2 พืน้ ทีใ่ ต้ กราฟ และ ความชันเส้ นกราฟของกราฟความเร่ ง ความเร็ว และการกระจัด
สาหรับกราฟการกระจัด ( s ) และเวลา ( t ) s
ความชันเส้นกราฟจะมีค่าเท่ากับ ความเร็ ว (v ) ของการเคลื่อนที่
พื้นที่ใต้กราฟ ( พื้นที่ระหว่างเส้นกราฟถึงแกนนอน ) จะไม่เท่า
t
กับปริ มาณใดๆ ทางฟิ สิ กส์ v
สาหรับกราฟการความเร็ว ( v ) และเวลา ( t )
ความชันเส้นกราฟ จะมีค่าเท่ากับ ความเร่ ง (a ) ของการเคลื่อนที่
t
พื้นที่ใต้กราฟ จะมีค่าเท่ากับการกระจัด ( s ) ที่เคลื่อนที่ได้ a
สาหรับกราฟการความเร่ ง ( a ) และเวลา ( t )
ความชันเส้นกราฟ จะไม่เท่ากับปริ มาณใดๆ ทางฟิ สิ กส์ t
พื้นที่ใต้กราฟ จะมีค่าเท่ากับความเร็ วปลาย ลบ ความเร็ วต้น ( v – u )
ตัวอย่าง จากกราฟการเคลื่อนที่ดงั รู ป จงหาการ ความเร็ ว (m/s)
กระจัดของการเคลื่อนที่
2
1. 5 เมตร 2. 10 เมตร
3. 15 เมตร 4. 20 เมตร เวลา (s)
4 5
วิธีทา จาก การกระจัด = พื้นที่ใต้กราฟความเร็ ว-เวลา
การกระจัด = 12 (ฐาน)(สู ง)
การกระจัด = 12 (5)(2)
การกระจัด = 5 เมตร
ตัวอย่าง ข้อที่ผา่ นมา จงหาความเร่ งของการเคลื่อนที่ ณ.วินาทีที่ 4.5
วิธีทา เนื่องจากวินาทีที่ 4.5 อยูใ่ นเส้นกราฟช่วงหลัง
ดังนั้น a = ความชันของกราฟ v , t เส้นหลัง
y2 - y1 ความเร็ ว (m/s)
a = x -x
2 1 2 (4, 2)

a = 05 -- 42
a = – 12 (5, 0)
4 5 เวลา (s)
a = – 2 เมตร/วินาที2
นัน่ คือความเร่ ง ณ.วินาทีที่ 4.5 มีค่า –2 เมตร/วินาที2
25
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
53. รถยนต์คนั หนึ่งเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงได้กราฟ
ระหว่าง ความเร็ ว – เวลา ดังรู ป ถามว่าเมื่อสิ้ น ความเร็ ว (m/s)
30
วินาทีที่ 6 การกระจัดจะเป็ นกี่เมตร 20
10
1. 1190 2. 80 เวลา (s)
1 2 3 45 6
3. 180 4. 90

54. จากข้อที่ผา่ นมา ค่าความเร็ วเฉลี่ยในช่วงเวลา 0 ถึง 6 วินาที เป็ นกี่เมตรต่อวินาที


1. 20 2. 15 3. 10 4. 5

55(En 24) วัตถุอนั หนึ่งเคลื่อนที่โดยมีความเร็ ว


เปลี่ยนแปลงกับเวลาเป็ น sine curve (ดังรู ป)
1 A B
ซึ่ งมีค่าแอมปลิจูดเป็ น 0.3 เมตร/วินาที จง
เวลา (s)
หาระยะที่วตั ถุเคลื่อนไปได้ระหว่าง A กับ B 1 2 3 4
1. 1 เมตร 2. 2 เมตร 3. 3 เมตร 4. 4 เมตร

26
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
56. อนุภาคหนึ่งเคลื่อนที่ได้การกระจัด 150 เมตร โดยมีความเร็ วสู งสุ ด 10 เมตร/วินาที และ
ความเร็ ว v กับเวลา t มีความสัมพันธ์ดงั กราฟ V (m/s)
จงหาเวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่
1. 10 วินาที 2. 20 วินาที 10
3. 30 วินาที 4. 40 วินาที 0 t
t (s)

57. จากกราฟการเคลื่อนที่ดงั รู ป จงหาความเร่ ง ความเร็ ว (m/s)


ณ. วินาทีที่ 9 4
1. –1 m/s2 2. –2 m/s2
3. 1 m/s2 4. 2 m/s2
8 10 เวลา (s)

27
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
58(แนว มช) รถคันหนึ่งวิง่ ออกจากจุดสตาร์ ทไปตาม V (m/s)
ลู่แข่งด้วยอัตราเร็ วดังแสดงในกราฟ จงหาอัตรา
เร่ งของรถขณะวิง่ ออกมาได้ 4 วินาที ในหน่วย 45
เมตรต่อวินาที2 30
t (s)
5 10 14

59(En 31) วัตถุอนั หนึ่งเคลื่อนที่จากนิ่งด้วยความเร่ ง a


a (m/s2)
ที่เวลา t ดังได้แสดงในรู ป จงหาความเร็ วของวัตถุ
2
ที่เวลา 5 วินาที 0 t (s)
1. 2 m/s 2. 1 m/s 1 2 3 4 5
–1
3. 0 m/s 4. –1 m/s

28
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
60. จากกราฟของการเคลื่อนที่ต่อไปนี้ จงหาระยะทาง v (m/s )
และการกระจัดของการเคลื่อนที่ตามลาดับ 10
1. 52 m , 28 m 2. 28 m , 52 m
8 10 t(s)
3. 28 m , 0 m 4. 0 m , 28 m
–12

61. จากข้อที่ผา่ นมา จงหาอัตราเร็ ว และความเร็ วเฉลี่ย ตามลาดับ


1. 5.2 m/s , 2.8 m/s 2. 2.8 m/s , 5.2 m/s
3. 2.8 m/s , 0 m/s 4. 0 m/s , 2.8 m/s

62(มช 29) ในการวิง่ มาราธอน 5000 เมตร ความเร็ ว (เมตร/วินาที)


ถ้านาย ก. วิง่ ด้วยความเร็ วดังแสดงในกราฟ
ด้านข้าง เขาจะถึงเส้นชัยในเวลากี่นาที 30

1. 2.5 2. 2.8 15

3. 3.3 4. 3.8 60 120 เวลา (วินาที)

29
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
2.4 ความเร็วสั มพัทธ์
ความเร็ วสัมพัทธ์ คือความเร็ วของวัตถุเมื่อเปรี ยบเทียบกับจุดอ้างอิงหนึ่งๆ
ตัวอย่างเช่ น สมมุตินาย A วิ่งไปข้างหน้าด้วยความเร็ ว 2 เมตร/วินาที ขณะเดี ยวกันนั้น
นาย B วิ่งอยูข่ า้ งหน้านาย A ไปในทิศเดียวกันด้วยความเร็ ว 5 เมตร/วินาที นาย A จะมองเห็น
นาย B เคลื่อนห่ างออกไปจากนาย A ด้วยความเร็ วเพียง 3 เมตร/วินาที เท่านั้น ความเร็ วที่นาย
A เห็ นนี้ เรี ยกความเร็ วสัมพัทธ์ของนาย B เทียบกับนาย A และในที่น้ ี ถือว่าตัวนาย A เป็ น
จุดอ้างอิง

วิธีการหาค่ าความเร็วสั มพัทธ์


กรณีที่ 1 หากความเร็ ววัตถุมีทิศเดียวกับความเร็ วจุดอ้างอิง
vสัมพัทธ์ของวัตถุ = vวัตถุ – vจุดอ้างอิง
กรณีที่ 2 หากความเร็ ววัตถุมีทิศสวนทางกับความเร็ วจุดอ้างอิง
vสัมพัทธ์ของวัตถุ = vวัตถุ + vจุดอ้างอิง
กรณีที่ 3 หากความเร็ ววัตถุทามุมกับความเร็ วจุดอ้างอิง vอ้างอิง
vวัตถุ
ขั้น 1 ให้กลับทิศทางของความเร็ วจุดอ้างอิง

ขั้น 2 เอาปลายเวกเตอร์ ความเร็ ววัตถุมาต่อ vสัมพัทธ์ของวัตถุ
–vอ้างอิง
กับจุดเริ่ มต้นเวกเตอร์ ความเร็ วจุดอ้างอิง เทียบกับจุดอ้างอิง
ขั้น 3 ใช้สูตร
vสัมพัทธ์ของวัตถุ = vวัตถุ2 + vจุดอ้างอิง2 – 2 vวัตถุ vจุดอ้างอิง cos
เมื่อ
คือ มุมระหว่างเวกเตอร์ vวัตถุ กับ –vจุดอ้างอิง

ตัวอย่าง วัตถุ A มีความเร็ ว 4 เมตร/วินาที วัตถุ B มีความเร็ ว 3 เมตร/วินาที เคลื่อนที่ใน


แนวเส้นตรง จงหาความเร็ วสัมพัทธ์ของวัตถุ A เทียบกับ B เมื่อ
1. วัตถุ A และ B เคลื่อนที่ไปทางทิศตะวันออกเหมือนกัน
2. วัตถุ A เคลื่อนไปทางทิศตะวันออก ส่ วน B เคลื่อนไปทางทิศตะวันตก
3. วัตถุ A เคลื่อนไปทางทิศตะวันออก ส่ วน B เคลื่อนไปทางทิศเหนือ
วิธีทา โจทย์ให้หา ความเร็ วสัมพัทธ์ของวัตถุ A เทียบกับ B
ดังนั้น Vวัตถุ คือ VA และ Vจุดอ้างอิง คือ VB

30
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
1) วัตถุเคลื่อนที่ไปทางเดียวกัน
จาก Vสัมพัทธ์ = Vวัตถุ – Vจุดอ้างอิง
จะได้ Vสัมพัทธ์ = VA – VB
Vสัมพัทธ์ = 4 – 3 VA = 4 m/s VB = 3 m/s
Vสั มพัทธ์ = 1 เมตร/วินาที
2) หาวัตถุเคลื่อนที่สวนทางกัน
จาก Vสัมพัทธ์ = Vวัตถุ + Vจุดอ้างอิง
จะได้ Vสัมพัทธ์ = VA + VB
Vสัมพัทธ์ = 4 + 3 VA = 4 m/s VB = 3 m/s
Vสั มพัทธ์ = 7 เมตร/วินาที
3) หากความเร็ ววัตถุทามุมต่อกัน VA = 4 m/s
ขั้น 1 ต้องกลับทิศความเร็ วจุดอ้างอิง คือ VB
Vสัมพัทธ์ VB = 3 m/s
ซึ่งเดิมมีทิศไปทางเหนือ ให้กลับลงทางใต้
ขั้น 2 นาจุดเริ่ ม VB ต่อกับปลาย VA ดังรู ป
ขั้น 3 ใช้สูตร Vสัมพัทธ์ = Vวัตถุ2 + Vจุดอ้างอิง2 – 2 Vวัตถุ Vจุดอ้างอิง cos
Vสัมพัทธ์ = VA2  VB2  2VA VB cos
= 4 2  32  2(4)(3)cos 90
= 16  9  2(4)(3)(0)
= 25
Vสัมพัทธ์ = 5 เมตร/วินาที
63. วัตถุ A มีความเร็ ว 8 เมตร/วินาที วัตถุ B มีความเร็ ว 6 เมตร/วินาที เคลื่อนที่ในแนวเส้น
ตรง จงหาความเร็ วสัมพัทธ์ของวัตถุ A เทียบกับ B เมื่อวัตถุ A และ B เคลื่อนที่ไปทาง
ทิศตะวันออกเหมือนกัน
1. 2 m/s 2. 10 m/s 3. 12 m/s 4. 14 m/s

31
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
64. วัตถุ A มีความเร็ ว 8 เมตร/วินาที วัตถุ B มีความเร็ ว 6 เมตร/วินาที เคลื่อนที่ในแนวเส้น
ตรง จงหาความเร็ วสัมพัทธ์ของวัตถุ A เทียบกับ B เมื่อวัตถุ A เคลื่อนไปทางทิศตะวันออก
ส่ วน B เคลื่อนไปทางทิศตะวันตก
1. 2 m/s 2. 10 m/s 3. 12 m/s 4. 14 m/s

65. วัตถุ A มีความเร็ ว 8 เมตร/วินาที วัตถุ B มีความเร็ ว 6 เมตร/วินาที เคลื่อนที่ในแนว


เส้นตรง จงหาความเร็ วสัมพัทธ์ของวัตถุ A เทียบกับ B เมื่อวัตถุ A เคลื่อนไปทางทิศ
ตะวันออก ส่ วน B เคลื่อนไปทางทิศเหนือ
1. 2 m/s 2. 10 m/s 3. 12 m/s 4. 14 m/s



32
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง

เฉลยบทที่ 2 การเคลื่ อ นที่ ใ นแนวเส้ น ตรง


1. ตอบข้ อ 2. 2. ตอบข้ อ 1. 3. ตอบข้ อ 3. 4. ตอบข้ อ 3.
5. ตอบข้ อ 2. 6. ตอบข้ อ 2. 7. ตอบข้ อ 3. 8. ตอบข้ อ 2.
9. ตอบข้ อ 1. 10. ตอบ 80 11. ตอบ 6 12. ตอบ 0.83
13. ตอบ 3.3 14. ตอบข้ อ 3. 15. ตอบข้ อ 2. 16. ตอบ 0.8
17. ตอบ 110 18. ตอบ 85 19. ตอบข้ อ 3. 20. ตอบ 40
21. ตอบ 10 22. ตอบ 6 23. ตอบข้ อ 2. 24. ตอบ 20
25. ตอบ 5 26. ตอบข้ อ 4. 27. ตอบข้ อ 1. 28. ตอบข้ อ 2.
29. ตอบข้ อ 4. 30. ตอบข้ อ 4. 31. ตอบข้ อ 2. 32. ตอบ 40
33. ตอบ 25 34. ตอบข้ อ 1. 35. ตอบข้ อ 4. 36. ตอบข้ อ 1.
37. ตอบข้ อ 2. 38. ตอบ 3 39. ตอบข้ อ 2. 40. ตอบข้ อ 3.
41. ตอบ 3 42. ตอบ 480 43. ตอบข้ อ 2. 44. ตอบ 15
45. ตอบข้ อ 3. 46. ตอบข้ อ 4. 47. ตอบ 60 48. ตอบข้ อ 4.
49. ตอบข้ อ 3. 50. ตอบข้ อ 2. 51. ตอบข้ อ 4. 52. ตอบข้ อ 4.
53. ตอบข้ อ 4. 54. ตอบข้ อ 2. 55. ตอบข้ อ 3. 56. ตอบข้ อ 3.
57. ตอบข้ อ 2. 58. ตอบ 9 59. ตอบข้ อ 2. 60. ตอบข้ อ 1.
61. ตอบข้ อ 1. 62. ตอบข้ อ 4. 63. ตอบข้ อ 1. 64. ตอบข้ อ 4.
65. ตอบข้ อ 2.


33
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
ตะลุ ย โจทย์ ท่ วั ไป
บทที่ 2 การเคลื่ อ นที่ ใ นแนวเส้ น ตรง
2.1 ปริมาณต่ างๆ ของการเคลือ่ นที่
2.1.1 ระยะทาง และการกระจัด
1. จงหาระยะทาง และ การกระจัด ของการเคลื่อนที่ตาม 3 ม.
แผนภาพต่อไปนี้วา่ มีขนาดเท่ากับ กี่เมตร ตามลาดับ 7 ม.
1. 10 , 4 2. 14 , 10 3. 4 , 10 4. 10 , 14
2. จงหาระยะทาง และ การกระจัด ของการเคลื่อนที่ตาม
C
แผนภาพต่อไปนี้วา่ มีขนาดเท่ากับกี่เมตร ตามลาดับ 3 เมตร
1. 7 , 5 2. 14 , 10
A 4 เมตร B
3. 5 , 7 4. 10 , 14
3. จงหาระยะทาง และ การกระจัด ของการเคลื่อนที่ตาม
แผนภาพต่อไปนี้วา่ มีขนาดเท่ากับกี่เมตร ตามลาดับ
1. 88 , 0 2. 28 , 0 R=14 ม.

3. 88 , 7 4. 0 , 28
4. สนามวงกลมหนึ่งมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 14 เมตร เด็กคนหนึ่งเดินไปตามขอบสนาม
เมื่อเดินไปจนครบรอบ จะได้ระยะทางและการกระจัดกี่เมตร ตามลาดับ
1. 0 , 44 2. 44 , 0 3. 4 , 10 4. 10 , 14
5. สนามวงกลมหนึ่งมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 14 เมตร เด็กคนหนึ่งเดินไปตามขอบสนาม
เมื่อเดินไปครึ่ งรอบ จะได้ระยะทางและการกระจัดกี่เมตร ตามลาดับ
1. 22 , 14 2. 14 , 11 3. 4 , 10 4. 10 , 14
6. หนูแดงวิง่ รอบสนามกีฬา ซึ่ งมีความยาวรอบสนาม 400 เมตร หนูแดงวิง่ ทั้งหมด 10 รอบ
จงหาระยะทางและการกระจัดที่ได้
1. 400 เมตร , 400 เมตร 2. 400 เมตร , 0
3. 4000 เมตร , 400 เมตร 4. 4000 เมตร , 0

34
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
7. เด็กคนหนึ่งเดินตามเส้นทางครึ่ งวงกลมดังรู ป ระยะทาง
และการกระจัดจาก A ไป B มีค่าเท่าไร ตามลาดับ 10 ม.
1. 10 , 10 เมตร 2. 30 , 15 เมตร A B 5 ม.
3. 47.1 , 10 เมตร 4. 47.1 , 15 เมตร
8. สนามวงกลมหนึ่งมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 14 เมตร เด็กคนหนึ่งเดินไปตามขอบสนาม
เมื่อเดินไปเป็ นระยะ 1 ใน 4 ของรอบ จะได้ระยะทางและการกระจัดกี่เมตร ตามลาดับ
1. 22 , 14 2. 11 , 9.9 3. 14 , 22 4. 9.9 , 11
9. เขาทรายออกวิง่ จากค่ายมวยไปทางตะวันออก 16 กิโลเมตร แล้วเดินต่อไปทางเหนือ 12
กิโลเมตร จงหาการกระจัดของเขาทราย จากค่ายมวยเป็ นกี่กิโลเมตร
1. 4 2. 20 3. 24 4. 28
   
10. กาหนด A , B , C และ D เป็ นเวกเตอร์ที่มีขนาดและทิศทางดังรู ป ข้อความใดถูกต้อง
     
1. A  B  C  D  0 C
   
2. A  B  C  D  
    D B
3. A  B  D  C
    
4. A  B  C  D A

2.1.2 อัตราเร็ว และความเร็ว

11. จงหาอัตราเร็ ว และ ความเร็ ว ในหน่วยเมตร/วินาทีของการเคลื่อน


ที่ตามแผนภาพ กาหนดเวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ท้ งั หมด 2 วินาที
3m
1. 3.5 , 2.5 2. 2.5 , 3.5
3. 5.5 , 7.5 4. 7.5 , 5.5 4m

12. เรื อเร็ วลาหนึ่งแล่นไปทางทิศเหนื อเป็ นระยะทาง 30 กิโลเมตร ในเวลา 40 นาที หลังจาก
นั้น ก็แล่นไปทางทิศตะวันออกอีก 30 กิโลเมตร ใน 20 นาที อัตราเร็ วเฉลี่ยของเรื อลานี้ คือ
1. 30 2 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง 2. 45 5 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง
3. 60.0 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง 4. 67.5 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง

35
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
13. เรื อเร็ วลาหนึ่งแล่นไปทางทิศเหนื อเป็ นระยะทาง 30 กิโลเมตร ในเวลา 40 นาที หลังจาก
นั้นก็แล่นไปทางทิศตะวันออกอีก 30 กิโลเมตร ใน 20 นาที ความเร็ วของเรื อลานี้ คือ
1. 30 2 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง 2. 45 5 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง
3. 60.0 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง 4. 67.5 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง
14. รัตน์ใจซ้อมวิง่ รอบสนามกีฬาซึ่ งมีความยาวเส้นรอบวง 400 เมตร ครบรอบใช้เวลา 50
วินาที จงหาอัตราเร็ วเฉลี่ย และความเร็ วเฉลี่ยของรัตน์ใจ ในหน่วย เมตร/วินาที ตามลาดับ
1. 8 , 4 2. 8 , 0 3. 16 , 8 4. 16 , 0
15. ตามรู ป A กับ B ใกล้กนั ที่สุด 1000 เมตร ถ้าปั่ นจักรยานตามเส้นทางคดโค้งที่กาหนดให้
จะกินเวลา 100 วินาที ความเร็ วและอัตราเร็ วเป็ นเท่าไร
1. 5 เมตร/วินาที , 5 เมตร/วินาที
2. 10 เมตร/วินาที , 20 เมตร/วินาที
3. 10 เมตร/วินาที , 5 เมตร/วินาที
4. 5 เมตร/วินาที , 10 เมตร/วินาที
16. นาย ก. ขับรถจากหาดใหญ่ไปสงขลาด้วยอัตราเร็ ว 60 กิโลเมตร/ชัว่ โมง ทาธุระที่สงขลา 1
ชัว่ โมง จากนั้นขับรถกลับหาดใหญ่ดว้ ยอัตราเร็ ว 80 กิโลเมตร/ชัว่ โมง ถนนจากหาดใหญ่ถึง
สงขลาเป็ นเส้นตรงยาว 30 กิโลเมตร นาย ก. ขับรถด้วยอัตราเร็ วเฉลี่ยกี่กิโลเมตรต่อชัว่ โมง
1. 0 2. 32.0 3. 46.7 4. 68.6
17. ถ้าเคลื่อนที่จากจุด A ไปยังจุด B ด้วยอัตราเร็ วเฉลี่ย 40 เมตร/วินาที แล้วเคลื่อนที่ยอ้ น
กลับตามเส้นทางเดิมด้วยอัตราเร็ วเฉลี่ย 60 เมตร/วินาที อยากทราบว่าอัตราเร็ วเฉลี่ยตลอด
ทั้งไปและกลับมีค่าเท่าไร
1. 40 m/s 2. 48 m/s 3. 50 m/s 4. 56 m/s
18. จากข้อที่ผา่ นมา
A  B X C Y D

1.2 cm 2.5 cm 6.2 cm 12.0 cm


อัตราเร็ วเฉลี่ยระหว่างจุด A , D เป็ นกี่เมตร/วินาที
1. 0.3 2. 0.6 3. 0.9 4. 1.2
36
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
19. จากข้อที่ผา่ นมา อัตราเร็ วที่จุด B เป็ นกี่เมตร/วินาที
A  B X C Y D

1.2 cm 2.5 cm 6.2 cm 12.0 cm


1. 0.625 2. 0.75 3. 0.90 4. 1.25
20. จากข้อที่ผา่ นมา อัตราเร็ วที่จุด C เป็ นกี่เมตร/วินาที
A  B X C Y D

1.2 cm 2.5 cm 6.2 cm 12.0 cm


1. 0.3 2. 0.6 3. 0.9 4. 1.2
21. จากรู ปเป็ นแถบกระดาษที่ได้จากการทดลองเรื่ อง
      
การตกของวัตถุอย่างอิสระ ระยะระหว่างจุดบน
กระดาษคือค่าอะไรของวัตถุ
1. การกระจัด 2. เวลา 3. ความเร็ ว 4. ความเร่ ง

2.1.3 อัตราเร่ ง และความเร่ ง


22. น้องบีขบั รถด้วยความเร็ ว 25 เมตร/วินาที เห็นเด็กวิง่ ข้ามถนนจึงเหยียบเบรกทาให้ความเร็ ว
ลดลงเหลือ 5 เมตร/วินาที ในเวลา 2 วินาที ขณะเหยียบเบรกรถมีความเร่ งกี่เมตร/วินาที2
1. –10 2. 10 3. –15 4. 15
23. วัต ถุ อนั หนึ่ งเคลื่ อนที่ ด้วยความเร่ ง 10 เมตร/วิน าที 2 จะต้องใช้เวลานานเท่ าไรในการ
เปลี่ยนความเร็ วจาก 20 เมตร/วินาที เป็ น 50 เมตร/วินาที
1. 2 s 2. 3 s 3. 5 s 4. 7 s

37
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
2.2 สมการสาหรับคานวณหาปริมาณต่ างๆ ของการเคลือ่ นทีใ่ นแนวเส้ นตรงด้ วยความเร่ งคงตัว
24. วัตถุหนึ่งเคลื่อนที่ออกจากจุดหยุดนิ่งด้วยความเร่ งคงที่ 4 เมตร/วินาที2 อยากทราบว่าเมื่อ
เวลาผ่านไป 5 วินาที วัตถุจะมีความเร็ วเท่าไร และได้ระยะทางเท่าไร ตอบตามลาดับ
1. 20 , 50 2. 20 , 40 3. 14 , 22 4. 14 , 11
25. รถคันหนึ่งเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงด้วยความเร็ วต้น 10 เมตร/วินาที มีความเร่ งคงที่ 4
เมตร/วินาที2 เมื่อเวลาผ่านไป 10 วินาที วัตถุเคลื่อนที่ได้ทางกีเ่ มตร
26. จรวดลาหนึ่งทะยานขึ้นจากพื้นโลกในแนวดิ่งด้วยความเร่ ง 15 เมตร/วินาที2 เมื่อเวลา
ผ่านไป 60 วินาที จรวดลานี้ จะอยูส่ ู งจากพื้นโลกกี่เมตร
1. 1.9x104 2. 1.2x104 3. 2.7x104 4. 9.4x103
27. จรวดพุง่ ออกจากฐานปล่อยบนพื้นโลกตามแนวดิ่งด้วยความเร่ งคงตัว ภายใน 10 วินาที
จรวดมีความเร็ วเพิ่มขึ้นจนเป็ น 2 กิโลเมตรต่อวินาที จรวดนั้นมีความเร่ งเท่าใดและขณะนั้น
จรวดอยูส่ ู งจากพื้นดินเท่าใด ตอบตามลาดับ
1. 200 , 500 2. 200 , 10000 3. 150 , 250 4. 200 , 1100
28. อนุภาคหนึ่งกาลังเคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ ว 20 เมตร/วินาที เมื่อผ่านไป 5 วินาที ปรากฏว่า
อนุภาคเคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ ว 30 เมตร/วินาที อนุ ภาคเคลื่อนนี้ ที่ได้ระยะทางกี่เมตร
29. น้องบีขบั รถด้วยความเร็ ว 25 เมตร/วินาที เห็นเด็กวิง่ ข้ามถนนจึงเหยียบเบรกทาให้ความ
เร็ วลดลงเหลือ 5 เมตร/วินาที ในเวลา 2 วินาที จงหาว่าระยะทางในช่วงที่เบรกมีค่าเป็ นกี่
เมตร
1. 10 2. 20 3. 30 4. 40
30. รถคันหนึ่งกาลังเคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ ว 72 กิโลเมตร/ชัว่ โมง แล้วเบรกเพื่อให้จอดในเวลา
12 วินาที อยากทราบว่ารถเคลื่อนที่ได้ระยะทางกี่เมตรก่อนหยุด
31. รถยนต์คนั หนึ่ งกาลังแล่นบนถนนด้วยความเร็ ว 72 กิโลเมตร/ชัว่ โมง คนขับเห็นการจรา-
จรติดขัดข้างหน้าจึงเบรก ปรากฏว่าเหลือความเร็ ว 18 กิโลเมตร/ชัว่ โมง ในเวลา 40 วินาที
จงหาระยะทางในหน่วยเป็ นเมตรในช่วงการเบรกนี้

38
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
32. วัตถุเคลื่อนที่ออกไปจากหยุดนิ่งด้วยความเร่ ง 5 เมตร/วินาที2 ในระยะ 10 เมตร จะมี
ความเร็ วปลายกลายเป็ นกี่เมตร/วินาที
33. รถคันหนึ่ งจอดติดไฟแดง พอได้รับสัญญาณไฟเขียวก็เร่ งเครื่ องออกไปด้วยความเร่ งคงที่
พอไปได้ไกล 100 เมตร วัดความเร็ วได้ 72 กิโลเมตร/ชัว่ โมง อยากทราบว่าความเร่ งของ
รถในหน่วยเมตร/วินาที2 มีค่าเป็ นเท่าใด
34. วัตถุ ชิ้นหนึ่ งเคลื่ อนที่ในแนวเส้นตรงด้วยความเร็ วต้น 5 เมตรต่อวินาที โดยมีความเร่ ง
2 เมตร/วินาที2 ขณะที่วตั ถุเคลื่อนที่ได้ระยะทาง 24 เมตร วัตถุเคลื่อนที่มาแล้วกี่วนิ าที

35. ถ้ากฎหมายจากัดความเร็ วของรถยนต์ที่จะวิง่ บนถนนไว้ที่ไม่เกิน 108 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง


และท่านซึ่งเป็ นวิศวกรกาลังขับรถไปโดยไม่ทนั สังเกตหน้าปั ทม์บอกความเร็ วรถ ถูกตารวจ
โบกมือให้จอดรถและแจ้งข้อหาว่าท่านขับรถเร็ วเกินกาหนด โดยตอนที่ท่านเห็นตารวจโบก
มือนั้น ท่านทาการเหยียบเบรกรถทันที ทาให้รถวิง่ ช้าลงด้วยความหน่วงคงที่ 10 m/s2 และ
ปรากฏเป็ นรอยไหม้บนพื้นถนนจากตาแหน่งที่เริ่ มต้นเหยียบเบรกจนรถจอดสนิทเป็ นระยะ
ทาง 45 เมตร ในแนวเส้นตรง ท่านขับรถเร็ วเกินกาหนดหรื อไม่
1. เกินกาหนด 2. เท่ากาหนด 3. น้อยกว่ากาหนด 4. สรุ ปไม่ได้
36. รถยนต์คนั หนึ่งวิง่ ด้วยความเร็ วคงที่ 30 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง เป็ นเวลา 1 นาที แล้วเครื่ อง
ยนต์ดบั จึงทาให้รถวิง่ ต่อไปด้วยความหน่วงคงที่ ระยะเวลาที่ใช้จากขณะที่เครื่ องยนต์ดบั ถึง
เวลาที่รถหยุดนิ่งคือ 30 วินาที จงหาระยะทางทั้งหมดที่รถยนต์เคลื่อน ที่ได้
1. 125 เมตร 2. 625 เมตร 3. 650 เมตร 4. 750 เมตร
37. รถไฟขบวนหนึ่งวิง่ ออกจากหยุดนิ่งที่สถานี ก. ไปด้วยความเร่ ง 4 เมตร/วินาที2 นาน 10
วินาที วิง่ ต่อไปด้วยความเร็ วคงที่เป็ นเวลา 30 วินาที จึงลดความเร็ วลงในอัตรา 8 เมตร/-
วินาที2 จนไปหยุดนิ่งสถานี ข. พอดี ให้หาระยะทางระหว่างสถานี ก. และ ข.
1. 1100 เมตร 2. 1300 เมตร 3. 1500 เมตร 4. 1700 เมตร
38. รถยนต์สีแดงและสี ขาวแล่นคู่กนั มาด้วยความเร็ วคงตัว 10 เมตร/วินาที บนถนนตรง ขณะ
เวลาหนึ่งรถสี แดงเพิ่มอัตราเร็ วอย่างสม่าเสมอด้วยอัตราคงตัว 5 เมตร/(วินาที)2 และขณะ
เดียวกัน รถสี ขาวลดอัตราเร็ วด้วยอัตราคงตัว 5 เมตร/(วินาที)2 จงหาว่าทันทีที่รถสี ขาว
หยุดนิ่ง รถสี แดงอยูห่ น้ารถสี ขาวกี่เมตร
1. 10 2. 20 3. 30 4. 50
39
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
39. รถยนต์และรถไฟเคลื่อนที่คู่ขนานกันไปด้วยความเร็ ว 30 เมตร/วินาที เท่ากัน เมื่อมาถึง
สัญญาณไฟแดงรถยนต์ก็เบรกทาให้เคลื่อนที่ดว้ ยความหน่วง 3 เมตร/(วินาที)2 จนหยุดนิ่ง
และหยุดอยูน่ าน 2.0 วินาที ก่อนจะเคลื่อนที่ต่อไปด้วยความเร่ ง 1.5 เมตร/(วินาที)2 จนมี
ความเร็ วเป็ น 30 เมตร/วินาที เท่ากับความเร็ วของรถไฟ ในขณะนั้นรถยนต์จะอยูห่ ่ างจาก
รถไฟกี่เมตร
40. เมื่อสัญญาณไฟเขียว รถยนต์คนั หนึ่งก็ออกวิง่ จากหยุดนิ่งไปด้วยความเร่ ง 4 เมตร/วินาที2
ในขณะนั้น รถบรรทุกคันหนึ่งก็วง่ิ ผ่านจุดเดียวกันไปด้วยความเร็ วคงที่ 20 เมตร/วินาที จง
หาเวลาที่รถยนต์จึงวิง่ ทันรถบรรทุก และจุดที่ทนั กันนั้นอยูห่ ่างจากสัญญาณไฟเท่าไร
1. 10 วินาที , 200 เมตร 2. 10 วินาที , 90 เมตร
3. 6 วินาที , 200 เมตร 4. 6 วินาที , 200 เมตร
41. รถคันหนึ่งออกจากจุดหยุดนิ่งด้วยความเร่ ง 6 เมตร/วินาที2 พร้อมกันนั้นมีรถ A แล่นผ่าน
จุดเดียวกันไปด้วยความเร็ วคงที่ 30 เมตร/วินาที พุง่ นาหน้ารถคันแรก รถคันแรกจะทันรถ A
ในระยะทางกี่เมตร และในขณะที่ทนั กันรถคันแรกมีความเร็ วกี่เมตรต่อวินาที
1. 300 , 30 2. 300 , 60 3. 400 , 30 4. 450 , 30
42. ขว้างลูกบอลลงมาในแนวดิ่งด้วยความเร็ ว 15 เมตร/วินาที ใช้เวลา 2 วินาที จึงจะถึงพื้น
ถามว่าตาแหน่งที่ขว้างลูกบอลอยูส่ ู งจากพื้นกี่เมตร
1. 10 2. 50 3. 20 4. 30
43. ถ้าขว้างก้อนหิ นก้อนหนึ่งลงไปตรง ๆ ในแนวดิ่งด้วยความเร็ ว 10 เมตร/วินาที จากยอด
หน้าผาชันแห่งหนึ่งซึ่ งสู ง 120 เมตร นานกี่วนิ าที ก้อนหิ นจึงตกถึงพื้นดินข้างล่าง
44. ถ้าขว้างก้อนหิ นก้อนหนึ่งลงไปตรงๆ ในแนวดิ่งด้วยความเร็ ว 10 เมตร/วินาที จากยอด
หน้าผาชันแห่งหนึ่งซึ่ งสู ง 120 เมตร หลังจากขว้างไปแล้ว 2 วินาที จะมีความเร็ วเท่าใด
1. 10 m/s 2. 20 m/s 3. 30 m/s 4. 40 m/s
45. ยิงวัตถุข้ ึนในแนวดิ่ง จากพื้นด้วยความเร็ ว 60 เมตร/วินาที นานเท่าใดวัตถุจึงอยูส่ ู งจากพื้น
100 เมตร ( g = 10 เมตร/วินาที2 )
1. 2 , 17 2. 20 , 14 3. 2 , 15 4. 2 , 10

40
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
46. ถ้าความเร็ วต้นของน้ าที่ฉีดขึ้นในแนวดิ่งมีค่าเท่ากับ 8 เมตร/วินาที จงหาความสู งของน้ า
ที่พุง่ ขึ้นไปในอากาศ
1. 5.0 เมตร 2. 3.2 เมตร 3. 1.5 เมตร 4. 1.0 เมตร
47. เด็กคนหนึ่งขว้างก้อนหิ นขึ้นไปในอากาศตามแนวดิ่งจากหน้าผาแห่งหนึ่งด้วยความเร็ วต้น
20 เมตรต่อวินาที จงหาตาแหน่งของก้อนหิ นจากจุดเริ่ มต้น เมื่อสิ้ นเวลา 1 วินาที
1. สู งกว่าจุดเริ่ มต้น 15 เมตร 2. สู งกว่าจุดเริ่ มต้น 25 เมตร
3. ต่ากว่าจุดเริ่ มต้น 15 เมตร 4. ต่ากว่าจุดเริ่ มต้น 25 เมตร
48. โยนก้อนหิ นขึ้นไปตามแนวดิ่งด้วยความเร็ วต้น 20 เมตร/วินาที ถามว่าโยนขึ้นไปแล้วนาน
5 วินาที ก้อนหิ นจะอยูท่ ี่ใด
1. วัตถุอยูต่ ่ากว่าจุดที่โยน 25 เมตร 2. วัตถุอยูส่ ู งกว่าจุดที่โยน 15 เมตร
3. วัตถุอยูท่ ี่พ้ืน 4. วัตถุอยูต่ ่ากว่าจุดที่โยน 15 เมตร
49. เด็กคนหนึ่งขึ้นไปบนอาคารซึ่ งสู งจากพื้นดิน 25 เมตร ยื่นมือออกนอกอาคารเล็กน้อยแล้ว
โยนก้อนหิ นขึ้นไปในอากาศตรงๆ ด้วยความเร็ วต้น 20 เมตร / วินาที นานเท่าไรหลังจาก
โยนวัตถุจึงจะตกถึงพื้นดิน
1. 2 วินาที 2. 3 วินาที 3. 4 วินาที 4. 5 วินาที
50. ถ้าต้องการโยนเหรี ยญขึ้นในแนวดิ่งให้ตกลงสู่ พ้ืน โดยเหรี ยญอยูใ่ นอากาศนาน 2 วินาที
และพื้นอยูต่ ่ากว่าตาแหน่งมือที่กาลังโยนเป็ นระยะ 60 ซม. จะต้องโยนเหรี ยญด้วยอัตราเร็ ว
เท่าใด ในหน่วยเมตร/วินาที
1. 9.7 2. 10.3 3. 12.5 4. 15.0
51. ยิงปื นจากหน้าผาสู ง ขึ้นไปในแนวดิ่งตรงๆ พบว่าหลังจากยิงไปแล้วนาน 10 วินาที กระ
สุ นปื นจะอยูต่ ่ากว่าจุดที่ยงิ เป็ นระยะ 40 เมตร จงหาค่าความเร็ วต้นของลูกปื นและกระสุ นนี้
ถูกยิงขึ้นไปสู งสุ ดจากจุดยิงเป็ นระยะเท่าไร ตามลาดับ
1. 40 m/s , 100.4 m 2. 46 m/s , 105.8 m
3. 30 m/s , 107.5 m 4. 35 m/s , 110.0 m

41
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
52. โยนวัตถุข้ ึนไปจากระเบียงตึกใบหยกซึ่ งสู ง 60 เมตร ตามแนวดิ่งด้วยอัตราเร็ ว 20 เมตร/-
วินาที วัตถุข้ ึนไปได้สูงสุ ดจากพื้นดินเท่าไร
1. 20 เมตร 2. 60 เมตร
3. 80 เมตร 4. 100 เมตร
53. เด็กคนหนึ่งขว้างก้อนหิ นขึ้นไปในอากาศตามแนวดิ่งจากหน้าผาแห่งหนึ่งด้วยความเร็ วต้น
20 เมตรต่อวินาที จงหาความเร็ วของก้อนหิ นเมื่อสิ้ นเวลา 1 วินาที
1. 10 เมตร/วินาที ในทิศขึ้น 2. 20 เมตร/วินาที ในทิศขึ้น
3. 10 เมตร/วินาที ในทิศลง 4. 20 เมตร/วินาที ในทิศลง
54. บอลลูนกาลังลอยขึ้นด้วยความเร็ ว 5 เมตร/วินาที มีวตั ถุหนึ่งหล่นจากลูกบอลลูนแล้ว
กระทบพื้นด้านล่างในเวลา 10 วินาที ความเร็ วของวัตถุขณะกระทบพื้นมีค่าเท่าไร
1. 80 m/s 2. 85 m/s 3. 90 m/s 4. 95 m/s
55. บอลลูนกาลังลอยขึ้นด้วยความเร็ ว 5 เมตร/วินาที มีวตั ถุหนึ่ งหล่นจากลูกบอลลูนแล้ว
กระทบพื้นด้านล่างในเวลา 10 วินาที ขณะที่วตั ถุเริ่ มหล่นบอลลูนอยูส่ ู งจากพื้นกี่เมตร
1. 300 เมตร 2. 350 เมตร 3. 400 เมตร 4. 450 เมตร
56. ขณะที่บอลลูนลูกหนึ่ งลอยขึ้นตรงๆ ด้วยความเร็ ว 5.0 เมตรต่อวินาที ขณะที่ลูกบอลลูนสู ง
จากพื้นดิน 30 เมตร ผูอ้ ยูใ่ นบอลลูนก็ปล่อยถุงทรายลงมา ถุงทรายจะตกถึงพื้นดินในเวลา
เท่าใดและขณะที่ถึงพื้นดิน ถุงทรายมีความเร็ วเท่าใด
1. 3 วินาที , 25 เมตร/วินาที 2. 3 วินาที , 90 เมตร/วินาที
3. 6 วินาที , 45 เมตร/วินาที 4. 6 วินาที , 90 เมตร/วินาที
57. ลูกบอลลูนลอยขึ้นไปในอากาศด้วยความเร็ วคงที่ 5 เมตรต่อวินาที เมื่อขึ้นไปได้ 30 วินาที
ก็ปล่อยลูกระเบิดลงมานานกี่วนิ าที ลูกระเบิดจึงจะตกถึงพื้น
1. 5 2. 6 3. 3 4. 15 2
58. บอลลูนลอยขึ้นด้วยความเร็ วคงที่ เป็ นเวลา 8 วินาที จึงปล่อยวัตถุให้ตกลงมา ปรากฏว่า
วัตถุจะถึงพื้นนับจากปล่อย 8 วินาที จงหาความเร็ วของบอลลูน
1. 13.33 m/s 2. 16 m/s 3. 20 m/s 4. 68 m/s

42
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
59. บอลลูนลูกหนึ่งกาลังลอยขึ้นตรงๆ ในแนวดิ่งด้วยความเร็ ว 10 เมตร/วินาที ขณะอยูส่ ู งจาก
พื้นดิน 400 เมตร ก็ปล่อยถุงทรายลงมา อยากทราบว่าถุงทรายจะถึงพื้นด้านล่างในกี่วินาที

60. จากข้อที่ผา่ นมา ขณะที่วตั ถุตกถึงพื้น บอลลูนอยูส่ ู งจากพื้นกี่เมตร


61. ขณะที่บอลลูนลูกหนึ่งลอยขึ้นตรงๆ ด้วยความเร็ ว 5 เมตร/วินาที ขณะที่ลูกบอลลูนสู งจาก
พื้นดิน 30 เมตร ผูอ้ ยูใ่ นบอลลูนก็ปล่อยถุงทรายลงมา จุดสู งสุ ดของถุงทรายสู งจากพื้นดิน
เท่าใด
1. 1.25 2. 2.50 3. 31.25 4. 32.50
62. เด็กคนหนึ่งโยนก้อนหิ นก้อนหนึ่งขึ้นไปตรงๆ ด้วยความเร็ ว 20 เมตร/วินาที จากสะพาน
ซึ่ งสู งจากผิวน้ า 25 เมตร ถ้าเขาต้องการจะปล่อยก้อนหิ นอีกก้อนหนึ่งให้ตกถึงผิวน้ าพร้อมๆ
กับก้อนแรกต้องรอเป็ นเวลานานกี่วนิ าทีหลังจากโยนก้อนแรกไปแล้วจึงปล่อยก้อนที่2
63. นักโดดร่ มดิ่งพสุ ธาคนหนึ่ง โดดลงมาจากเครื่ องบินอีก 100 เมตร จะถึงพื้นดินก็กระตุกร่ ม
กางออกจะทาให้เขาเคลื่อนที่ดว้ ยความหน่วง 5.0 เมตร/วินาที2 แล้วถึงพื้นด้วยความเร็ ว 1
เมตร/วินาที ขณะที่เขาโดดเครื่ องบินอยูส่ ู งจากพื้น
1. 140 เมตร 2. 150 เมตร 3. 160 เมตร 4. 170 เมตร
64. วัตถุกอ้ นหนึ่งถูกปล่อยให้ตกลงมาในแนวดิ่งอีกก้อนตกลงมาด้วยความเร็ วต้น 1 เมตร/วินาที
จงหาว่าอีกนานเท่าไรวัตถุท้ งั สองจึงจะอยูห่ ่างกัน 18 เมตร
1. 8 s 2. 10 s 3. 15 s 4. 18 s
65. กระถางต้นไม้ตกจากดาดฟ้ าตึกแถวผ่านหน้าต่างสู ง 1 เมตร ในเวลา 0.2 วินาที ขอบล่าง
ของหน้าต่างนี้ต่าจากยอดตึกเท่าใด
1. 1.0 m 2. 1.2 m 3. 1.8 m 4. 2.2 m
66. หิ นก้อนหนึ่งหลุดลงมาจากยอดตึกสู ง 45 เมตร เมื่อก้อนหิ นผ่านยอดต้นมะม่วงแล้ว 0.5
วินาที ก็ตกถึงพื้นดิน จงหาความสู งของต้นมะม่วง
1. 10.25 เมตร 2. 13.75 เมตร 3. 15.33 เมตร 4. 18.50 เมตร

43
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
67. ปล่อยวัตถุจากดาดฟ้ าตึกสู ง 100 เมตร ในขณะเดียวกันก็ขว้างวัตถุอีกก้อนหนึ่งจากพื้นล่าง
ขึ้นไปด้วยอัตราเร็ ว 50 เมตร/วินาที อยากทราบว่าอีกนานเท่าใดวัตถุท้ งั สองจึงจะพบกัน
และจุดที่พบกันอยูส่ ู งจากพื้นด้านล่างเท่าไร
1. 2 วินาที , 50 เมตร 2. 3 วินาที , 80 เมตร
3. 2 วินาที , 80 เมตร 4. 3 วินาที , 50 เมตร
68. นาย ก. ยืนอยูบ่ นหลังคาตึกซึ่ งสู ง 10 เมตร จากพื้นดิน เขายืน่ มือออกนอกหลังคาแล้วโยน
ก้อนหิ นขึ้นไปในแนวดิ่ งด้วยความเร็ วต้น 10 เมตร/วินาที ขณะเดียวกัน นาย ข. ซึ่ งยืนอยู่
ที่พ้ืนดิ นข้างตึกก็โยนก้อนหิ นอีกลูกหนึ่ งขึ้นไปในแนวดิ่งด้วยความเร็ วต้น 20 เมตร/วินาที
จงหาว่าก้อนหิ นทั้งสองจะชนกันเมื่อเวลาผ่านไปนานเท่าไร และชนกันที่ตาแหน่งเหนื อพื้น
ดินเป็ นระยะเท่าไร
1. 2 วินาที , 10 เมตร 2. 1 วินาที , 15 เมตร
3. 1 วินาที , 10 เมตร 4. 2 วินาที , 5 เมตร
69. วัตถุชิ้นหนึ่งถูกปล่อยให้ตกลงมาในแนวดิ่งจงหาระยะทางที่เคลื่อนที่ได้ในวินาทีที่ 3
1. 10 เมตร 2. 15 เมตร 3. 20 เมตร 4. 25 เมตร
70. อนุภาคอันหนึ่งเคลื่อนที่ดว้ ยความเร่ ง 10 เมตร/วินาที2 ปรากฏว่าในระหว่างวินาทีที่ 11
วัตถุเคลื่อนที่ได้ระยะทาง 195 เมตร ความเร็ วต้นของวัตถุคือ
1. 13.45 m.s–1 2. 30.50 m.s–1 3. 90.00 m.s–1 4. 110 m.s–1
71. รถคันหนึ่งเริ่ มเคลื่อนจากหยุดนิ่ง ด้วยความเร่ งคงที่ ปรากฏว่าในวินาทีที่ 4 รถจะเคลื่อนที่
ได้ระยะทาง 56 เมตร จงหาว่าในวินาทีที่ 10 จะเคลื่อนที่ได้ระยะทางเท่าไร
1. 146 เมตร 2. 148 เมตร 3. 150 เมตร 4. 152 เมตร
72. วัตถุหนึ่งกาลังเคลื่อนที่ดว้ ยความเร่ งคงที่ เมื่อจับเวลาพบว่าในวินาทีที่ 2 จะเคลื่อนที่ได้ 10
เมตร และในวินาทีที่ 4 จะเคลื่อนที่ได้ 15 เมตร จงหาค่าความเร็ วตอนเริ่ มจับเวลาและค่า
ความเร่ งของการเคลื่อนที่
1. 5 m/s , 1 m/s2 2. 5 m/s , 2.5 m/s2
3. 6.25 m/s , 1 m/s2 4. 6.25 m/s , 2.5 m/s2

44
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
73. วัตถุกอ้ นหนึ่งเคลื่อนที่ดว้ ยความเร่ งคงที่ ปรากฏว่าในวินาทีที่ 10 เคลื่อนที่ได้ระยะทาง 48
เมตร และในวินาทีที่ 15 เคลื่อนที่ได้ระยะทาง 68 เมตร จงหาความเร็ วต้น และความเร่ ง
ของการเคลื่อนที่ ตามลาดับ
1. 5 m/s , 2 m/s2 2. 5 m/s , 4 m/s2
3. 10 m/s , 2 m/s2 4. 10 m/s , 4 m/s2
74. ปล่อยวัตถุ A มวล m และวัตถุ B มวล 2m ให้ตกลงมาตรงๆ จากที่สูงแห่งหนึ่งพร้อมกัน
ที่ระยะ 1 เมตร ก่อนกระทบพื้นวัตถุ A มีความเร็ ว V วัตถุ B จะมีความเร็ วเท่าใด
1. V2 2. V 3. 2V 4. 4V
75. ระยะสู งสุ ดที่วตั ถุเคลื่อนที่ข้ ึนตามแนวดิ่งมีค่าขึ้นกับปริ มาณใดบ้าง
1. ความเร็ วต้น 2. ความเร็ วปลาย 3. ความเร่ ง 4. ถูกทุกข้อ

2.3 กราฟของการเคลือ่ นทีใ่ นแนวเส้ นตรงด้ วยความเร่ งคงที่


2.3.1 กราฟความเร่ ง ความเร็ว และการกระจัด ทีส่ ั มพันธ์ กนั
76. กราฟรู ปใด แสดงว่าวัตถุมีความเร็ วคงที่
a a a a

t t t t
1. 2. 3. 4.

77(มช 33) กราฟที่แสดงการเคลื่อนที่ของวัตถุที่มีอตั ราเร่ งคงที่คือ


s V s V

t t t t
1. 2. 3. 4.

78. กราฟรู ปใด แสดงว่าวัตถุมีความเร็ วเพิม่ ขึ้น อย่างสม่าเสมอ


s s s s

t t t t
1. 2. 45 3. 4.
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
79. กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความเร่ ง a กับเวลา t a
ของการเคลื่อนที่ของวัตถุในแนวเส้นตรงเป็ นดังรู ป
กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างการกระจัด s กับเวลา t t
ของการเคลื่อนที่น้ ี เป็ นดังข้อใด
1. s 2. s 3. s 4. s

t t t t

80. จากการศึกษาการเคลื่อนที่ของวัตถุในแนวเส้นตรง โดยใช้เครื่ องเคาะสัญญาณเวลา ได้จุด


บนแถบกระดาษดังรู ป โดยที่ระยะห่างระหว่างจุดมีช่วงเวลาเท่ากัน
        

กราฟรู ปใดที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างความเร่ งของวัตถุกบั เวลา


1. a 2. a

0 t 0 t
a a
3. 4. 0 t
0 t

2.3.2 พืน้ ทีใ่ ต้ กราฟ และ ความชันเส้ นกราฟของกราฟความเร่ ง ความเร็ว และการกระจัด


81. คากล่าวต่อไปนี้ ข้อใดผิด
1. ความชันของกราฟระหว่างการกระจัด – เวลา คือ ความเร็ ว
2. ความชันของกราฟระหว่างความเร็ ว – เวลา คือ ความเร่ ง
3. ความชันของกราฟระหว่างความเร่ ง – เวลา คือ พลังงานจลน์
4. พื้นที่ใต้กราฟระหว่างความเร็ ว – เวลา คือ การกระจัด

46
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
82. จากกราฟ ระหว่างการกระจัด– เวลา กราฟ การกระจัด
เส้นใด ที่แสดงว่าความเร็ วมีค่ามากที่สุด (4)
(3)
1. เส้นที่ 1 2. เส้นที่ 2 (2)
2. เส้นที่ 3 4. เส้นที่ 4
(1)
 เวลา
83. กราฟระหว่างการกระจัด ( S ) และเวลา (t) ของ ( S )
การเคลื่อนที่หนึ่งเป็ นดังรู ป จงบอกว่ากราฟ
ระหว่างความเร็ ว (V) กับเวลา ( t ) ข้างล่างนี้ รู ปใด 0
 t
เป็ นการเคลื่อนที่เดียวกันกับรู ปบน
 
(V) (V)
1. 2.
0 t 0 t


 (V)
(V)
3. 0 t 4. 0 t

84. จากกราฟ v – t กราฟเส้นใดแสดงการเคลื่อนที่


3 4 2
ของวัตถุดว้ ยความเร่ งมากที่สุด v
1. เส้น 1 2. เส้น 2 1
3. เส้น 3 4. เส้น 4
t
85. จากกราฟการเคลื่อนที่ดงั รู ป จงหาการกระจัด ความเร็ ว (m/s)
ของการเคลื่อนที่
4
1. 10 เมตร 2. 20 เมตร
3. 30 เมตร 4. 40 เมตร เวลา (s)
8 10

47
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
86. จากข้อที่ผา่ นมา จงหาค่าความเร็ วเฉลี่ยของการเคลื่อนที่
1. 1 เมตร/วินาที 2. 2 เมตร/วินาที 3. 3 เมตร/วินาที 4. 4 เมตร/วินาที
87. กราฟของความเร็ วกับเวลาของการเคลื่อนที่ v (เมตร/วินาที)
ของวัตถุเป็ นดังรู ป ระยะทางที่วตั ถุเคลื่อนที่ 4
ได้ท้ งั หมดเป็ นเท่าไร 3
2
1. 65 เมตร 2. 105 เมตร
1
3. 140 เมตร 4. 155 เมตร 0 t (วินาที)
10 20 30 40 50
88. จากกราฟของความเร็ วกับเวลาของการเคลื่อน v (เมตร/วินาที)
ที่ของวัตถุเป็ นดังรู ป ระยะทางที่วตั ถุเคลื่อนที่ 5
ได้ท้ งั หมด 4
1. 105 เมตร 2. 180 เมตร 3
2
3. 120 เมตร 4. 135 เมตร
1
0 t (วินาที)
10 20 30 40 50
89(มช 34) กราฟของอัตราเร็ วกับเวลาของนักวิง่ คนหนึ่งปรากฏดังรู ป จงหาระยะทางที่วิง่ ได้ใน
ช่วงเวลาระหว่างวินาทีที่ 8 ถึงวินาทีที่ 14 V(m/s)
1. 280.00 เมตร 25
17.5
2. 116.25 เมตร 10
3. 82.50 เมตร
4. 45.00 เมตร
90. จากกราฟความเร็ ว– เวลา แสดง 8 11 14 t(s)
v (km/hr)
การเดินทางไปช่วงเวลา A , B
50
C และ D จงหาระยะทางที่ 40
เคลื่อนที่ไปได้ใน 0.5 ชัว่ โมง 30
1. 18.5 กิโลเมตร 20
2. 19.5 กิโลเมตร 10
t(hr)
3. 20.0 กิโลเมตร 0.1 0.2 0.3 0.4 0.5 0.6
4. 40.0 กิโลเมตร A B C D
48
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
91. รถยนต์คนั หนึ่งเคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ วตาม V( m/s)
กราฟที่กาหนดให้ อยากทราบว่าเมื่อสิ้ นสุ ด 50
วินาทีที่ 5 ระยะทาง และ การกระจัดของ
รถยนต์เป็ นเท่าไรในหน่วยเมตร เวลา (s)
1 2 3 4 5 6 7 8
1. 50 , 50 2. 50 , 250 –50
3. 250 , 50 4. 250 , 250
92. จากข้อที่ผ่านมา อยากทราบว่าเมื่อสิ้ นสุ ดวินาทีที่ 5 ความเร็ วเฉลี่ยและอัตราเร็ วเฉลี่ยของ
รถยนต์มีค่าเป็ นกี่เมตร/วินาที
1. 10 , 10 2. 50 , 10 3. 50 , 50 4. 10 , 50
93. จากกราฟที่กาหนดให้เป็ นการเคลื่อนที่ v ( m/s )
ของอนุภาคหนึ่ง โดยมีความเร็ วเปลี่ยน 40

แปลงตามเวลา ระยะทางและการกระจัด 20
t(s)
ที่อนุภาคเคลื่อนที่ได้ใน 50 วินาที มีค่า
กี่เมตร ตามลาดับ –20
10 20 30 40 50

1. 750 , 50
–40
2. 900 , 100
3. 1150 , 50
4. 1300 , 150
94. จากการเคลื่อนที่ซ่ ึงแสดงได้ดว้ ยกราฟ
V( m/s)
ความเร็ ว – เวลา ดังรู ป จงหาขนาด
10
ของการกระจัดและระยะทาง เมื่อสิ้ น
5
วินาทีที่ 8 ตอบตามลาดับ
t (s)
1. 5 , 20 เมตร 2. 10 , 40 เมตร –5 1 2 3 4 5 6 7 8
3. 20 , 40 เมตร 4. 40 , 20 เมตร –10

95. จากข้อที่ผา่ นมา เมื่อสิ้ นวินาทีที่ 8 ความเร็ วและอัตราเร็ วเฉลี่ยมีค่าเป็ นกี่เมตร/วินาที


1. 0 , 1.25 2. 1.25 , 5 3. 0 , 5 4. 5 , 2.5
49
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
96. กราฟระหว่างความเร็ วกับเวลาของการ v (m/s)

เคลื่อนที่ของมวล m เป็ นดังรู ป ความเร่ ง


ของมวล m นี้ เท่ากับกี่เมตร/วินาที2
(8, 6)
(4, 4)

0 t(s)

97. จากการเคลื่อนที่ซ่ ึงแสดงได้ดว้ ยกราฟ V( m/s)


ความเร็ ว–เวลา ดังรู ป จงหาความเร่ ง 10
เฉลี่ยของการเคลื่อนที่ในช่วงเวลา 0 ถึง 5
3 วินาที เป็ นกี่เมตร/วินาที2 t (s)
1. 5 2. +5 –5 1 2 3 4 5 6 7 8
3.  53 4. + 53 –10
V( m/s)
98. จากการเคลื่อนที่ซ่ ึงแสดงได้ดว้ ยกราฟ 10
ความเร็ ว–เวลา ดังรู ปความเร่ งเฉลี่ยของ 5
การเคลื่อนที่ในช่วงเวลา 4.2 ถึง 5.7 t (s)
วินาที เป็ นกี่เมตร/วินาที2 –5 1 2 3 4 5 6 7 8
1. 7 2. 8 –10
3. 9 4. 10
99. จากรู ป กราฟความเร็ วกับเวลาของอนุภาคซึ่ งเคลื่อนไปตามแนวแกน x ความเร่ งเฉลี่ย
ระหว่างช่วงเวลา 10 วินาทีถึง 20 วินาที มีค่าเป็ นกี่เมตร/วินาที2
1. 0 vx ( m/s )
2. –0.8 4
3. 0.4 0 t(s)
10 20 30
4. –0.4 –4

50
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
100. จากกราฟ ความเร่ งของอนุภาคนี้ที่ v (m/s)

เวลา 15 วินาที มีค่ากี่เมตร/วินาที2


40
1. 0 2. 1
20
3. 2 4. 4 t(s)
10 20 30 40 50
–20

–40

101. จากกราฟ ขนาดของความเร่ ง v (m/s)

ของอนุ ภาคนี้ มีค่ามากที่สุดกี่ 40


เมตร/วินาที2 20
t(s)
1. 2 2. 4
10 20 30 40 50
3. 6 4. 8 –20

–40

102. วัตถุเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงด้วยความเร่ ง a a(m/s ) 2


ณ. เวลา t ใดๆ ดังรู ป โดยความเร่ งที่มีทิศไป 3
ทางขวามีเครื่ องหมายบวก ถ้าวัตถุมีความเร็ ว
5 10 15 20
t(s)
ต้น 3.0 เมตร/วินาที วัตถุจะมีความเร็ วเท่าใด
–2
ที่วนิ าทีที่ 20
1. –12 m/s 2. +12 m/s
3. –15 m/s 4. +15 m/s
103(มช 44) จากกราฟดังรู ป ระหว่างขนาดของ v(m/s)

ความเร็ ว และเวลา t ของอนุภาคซึ่งเคลื่อนที่ 40


ในแนวดิ่งภายใต้แรงเสี ยดทาน และน้ าหนัก 20
t(s)
0
ของอนุ ภาค อนุภาคอยูใ่ น อากาศได้นาน 16 4 8 12 16
-20
วินาที จงหาว่าอนุภาคนี้จะเคลื่อนที่ได้ระยะ -40
ทางสู งสุ ดกี่เมตร
1. 80 2. 160 3. 240 4. 320
51
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
104. จากกราฟวัตถุจะขึ้นไปสู งสุ ดเท่าไร v(m/s)
1. 9.50 เมตร 15

2. 10.25 เมตร t(s)

3. 11.25 เมตร 1 2 3

4. 12.50 เมตร –15

105. อนุภาคอันหนึ่งเคลื่อนที่ได้ความสัมพันธ์ระหว่าง v2 กับ s ดังกราฟข้างล่าง จงหา


ความเร่ งของการเคลื่อนที่ v2 (m/s)2
1. 5 m/s2 900
2. 3.5 m/s2
200
3. 2 m/s2
s(m)
4. 1.5 m/s2 0
100
106. การเคลื่อนที่ของอนุภาคอันหนึ่ง เขียนกราฟแสดง v2 (m/s)2
ความสัมพันธ์ระหว่าง v2 กับ s ได้ดงั รู ป ความเร่ ง
400
ของอนุ ภาคนี้มีค่าเท่าไร
1. 4 m/s2 2. –4 m/s2 200
s (m)
3. 2 m/s2 4. –2 m/s2 50 100

107. จากข้อที่ผา่ นมา เวลาที่อนุภาคใช้ในการเคลื่อนที่จาก s = 0 ถึง s = 100 เมตรเท่ากับ


1. 20 วินาที 2. 15 วินาที 3. 10 วินาที 4. 1.5 วินาที



52
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
เฉลยตะลุ ย โจทย์ ท วั่ ไป
บทที่ 2 การเคลื่ อ นที่ ใ นแนวเส้ น ตรง
1. ตอบข้ อ 1. 2. ตอบข้ อ 1. 3. ตอบข้ อ 1. 4. ตอบข้ อ 2.
5. ตอบข้ อ 1. 6. ตอบข้ อ 4. 7. ตอบข้ อ 3. 8. ตอบข้ อ 2.
9. ตอบข้ อ 2. 10. ตอบข้ อ 3. 11. ตอบข้ อ 1. 12. ตอบข้ อ 3.
13. ตอบข้ อ 1. 14. ตอบข้ อ 2. 15. ตอบข้ อ 2. 16. ตอบข้ อ 4.
17. ตอบข้ อ 2. 18. ตอบข้ อ 3. 19. ตอบข้ อ 1. 20. ตอบข้ อ 4.
21. ตอบข้ อ 1. 22. ตอบข้ อ 1. 23. ตอบข้ อ 2. 24. ตอบข้ อ 1.
25. ตอบ 300 26. ตอบข้ อ 3. 27. ตอบข้ อ 2. 28. ตอบ 125
29. ตอบข้ อ 3. 30. ตอบ 120 31. ตอบ 500 32. ตอบ 10
33. ตอบ 2 34. ตอบ 3 35. ตอบข้ อ 2. 36. ตอบข้ อ 2.
37. ตอบข้ อ 3. 38. ตอบข้ อ 2. 39. ตอบ 510 40. ตอบข้ อ 1.
41. ตอบข้ อ 2. 42. ตอบข้ อ 2. 43. ตอบ 4 44. ตอบข้ อ 3.
45. ตอบข้ อ 4. 46 . ตอบข้ อ 2. 47. ตอบ 1. 48. ตอบข้ อ 1.
49. ตอบข้ อ 4. 50 . ตอบข้ อ 1. 51 . ตอบข้ อ 2. 52. ตอบข้ อ 3.
53. ตอบข้ อ 1. 54. ตอบข้ อ 4. 55. ตอบข้ อ 4. 56. ตอบข้ อ 1.
57. ตอบข้ อ 2. 58. ตอบข้ อ 3. 59. ตอบ 10 60. ตอบ 500
61. ตอบข้ อ 3. 62. ตอบ 2.76 63. ตอบข้ อ 2. 64. ตอบข้ อ 4.
65. ตอบข้ อ 3. 66. ตอบข้ อ 2. 67. ตอบข้ อ 3. 68. ตอบข้ อ 2.
69. ตอบข้ อ 4. 70. ตอบข้ อ 3. 71. ตอบข้ อ 4. 72. ตอบข้ อ 4.
73. ตอบข้ อ 4. 74. ตอบข้ อ 2. 75. ตอบข้ อ 1. 76. ตอบข้ อ 1.
77. ตอบข้ อ 2. 78. ตอบข้ อ 3. 79. ตอบข้ อ 2. 80. ตอบข้ อ 3.
81. ตอบข้ อ 3. 82. ตอบข้ อ 4. 83. ตอบข้ อ 1. 84. ตอบข้ อ 4.
85. ตอบข้ อ 2. 86. ตอบข้ อ 2. 87. ตอบข้ อ 3. 88. ตอบข้ อ 2.
89. ตอบข้ อ 2. 90. ตอบข้ อ 1. 91. ตอบข้ อ 3. 92. ตอบข้ อ 4.
93. ตอบข้ อ 3. 94. ตอบข้ อ 2. 95. ตอบข้ อ 2. 96. ตอบ 0.5

53
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
97. ตอบข้ อ 1. 98. ตอบข้ อ 4. 99. ตอบข้ อ 2. 100. ตอบข้ อ 1.
101. ตอบข้ อ 4. 102. ตอบข้ อ 1. 103. ตอบข้ อ 2. 104. ตอบข้ อ 3.
105. ตอบข้ อ 2. 106. ตอบข้ อ 4. 107. ตอบข้ อ 3.


54
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และก ฎก ารเคลื่ อ นที่ ข องนิ วตัน
3.1 มวล
มวล (m) หมายถึงสมบัติตา้ นการเปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ของวัตถุ สมบัติของมวลข้อนี้
อาจเรี ยกอีกอย่างว่า “ ความเฉื่อย ”
ตัวอย่างเช่ น หากเรามีกอ้ นหิ นขนาดใหญ่ (มีมวลมาก) การจะผลักให้ก อ้ นหิ นนี้ เคลื่ อนที่
ต้องใช้แรงผลักมาก ทั้งนี้ เป็ นเพราะก้อนหิ นที่ มีมวลมากนั้นจะมีความสามารถในการต้านการ
เคลื่ อนที่ได้มากนัน่ เอง ในทางกลับกันก้อนหิ นที่มีมวลน้อยก็จะต้านการเคลื่ อนที่ได้น้อย หาก
ต้องการให้เกิดการเคลื่อนที่ก็ใช้แรงเพียงน้อยก็สามารถทาให้เคลื่อนที่ได้
มวลมาก มวลน้ อย

ต้ องใช้ แรงผลักมาก ต้ านการเคลือ่ นทีม่ าก ใช้ แรงน้ อย


ต้ านการเคลือ่ นทีน่ ้ อย
ควรรู้ 1) มวลเป็ นปริ มาณสเกลาร์ มีหน่วยเป็ นกิโลกรัม (kg)
2) มวลเป็ นปริ มาณซึ่งคงที่
1(มช 30) ปริ มาณใดในทางฟิ สิ กส์ที่บอกให้เราทราบว่า วัตถุใดมีความเฉื่ อยมากน้อยเพียงใด
1. แรง 2. น้ าหนัก 3. ความเร่ ง 4. มวล

2(แนว มช) มวลขนาด 10.0 กิ โลกรัม บนโลก เมื่ อนามวลนี้ ไปไว้บนดวงจันทร์ ซ่ ึ งมี ค่า g
เป็ น 1.6 เท่าของโลก มวลนี้จะมีขนาดเป็ นกี่กิโลกรัม
1. 1.6 2. 10.0 3. 16 4. 100.0

3.2 แรง
แรง ( F ) คืออานาจที่พยายามจะทาให้มวลเกิดการเคลื่อนที่ดว้ ยความเร่ ง
ควรรู้ 1) แรงเป็ นปริ มาณเวกเตอร์ เพราะเป็ นปริ มาณที่มีท้ งั ขนาดและทิศทาง
2) แรงใช้หน่วยมาตรฐาน S.I. เป็ น นิวตัน (N)
1
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
3.2.1 การหาแรงลัพธ์
แรงลัพธ์ คือแรงซึ่ งเกิดจากแรงย่อยๆ หลายแรงเข้ามารวมกัน
วิธีการหาค่ าแรงลัพธ์ เมื่อมีแรงย่อย 2 แรง
กรณีที่ 1 หากแรงย่อยมีทิศไปทางเดียวกัน
Fลัพธ์ = F1 + F2
ทิศทางแรงลัพธ์ จะเหมือนแรงย่อยนั้น
กรณีที่ 2 หากแรงย่อยมีทิศตรงกันข้าม
F2 F1
Fลัพธ์ = F1 – F2
ทิศทางแรงลัพธ์ จะเหมือนแรงที่มากกว่า
กรณีที่ 3 หากแรงย่อยมีทิศเอียงทามุมต่อกัน
Fลัพธ์ = F12  F22  2F1F2 cos
F2sin
และ tan α =
F1F2 cos
เมื่อ Fลัพธ์ คือขนาดของแรงลัพธ์ ( นิวตัน )
F1 คือขนาดของแรงย่อยที่ 1 ( นิวตัน )
F2 คือขนาดของแรงย่อยที่ 2 ( นิวตัน )
 คือมุมระหว่างแรง F1 และ F2
α คือมุมระหว่างแรง Fลัพธ์ กับ F1 (ดังรู ป)

ตัวอย่าง แรง 2 แรง ขนาด 4 นิวตัน และ 3 นิวตัน กระทาต่อวัตถุชิ้นหนึ่ง ณ. จุดเดียวกัน


จงหาขนาดของแรงลัพธ์ ถ้าแรงทั้งสองกระทาต่อวัตถุ
ก. ในทิศทางเดียวกัน ข. ในทิศทางตรงกันข้าม ค. ในทิศที่ต้ งั ฉากกัน
วิธีทา ก. แรงย่ อยกระทาต่ อวัตถุในทิศทางเดียวกัน F1= 4 น.
Fลัพธ์ = F1 + F2 = 4 + 3 = 7 นิวตัน F2 = 3 น.

ข. แรงย่อยกระทาต่อวัตถุในทิศทางตรงกันข้าม F1= 4 น. F2= 3 น.


Fลัพธ์ = F1 – F2 = 4 – 3 = 1 นิวตัน

2
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
ค. แรงย่อยกระทาต่อวัตถุในตั้งฉากกัน
Fลัพธ์ = F12  F22  2F1F2 cos F1 = 4 น.
Fลัพธ์ = 4 2  32  2(4)(3) cos90 o (cos 90o = 0)
= 16  9  2(4) (3) (0)  = 90o F2 = 3 น.
= 25
Fลัพธ์ = 5 นิวตัน

3. แรง 2 แรง ขนาด 8 นิวตัน และ 6 นิวตัน กระทาต่อวัตถุชิ้นหนึ่ง ณ จุดเดียวกัน จงหา


ขนาดของแรงลัพธ์ ถ้าแรงทั้งสองกระทาในทิศทางเดียวกันและทิศทางตรงกันข้ามตามลาดับ
1. 10 นิวตัน , 14 นิวตัน 2. 14 นิวตัน , 10 นิวตัน
3. 14 นิวตัน , 2 นิวตัน 4. 2 นิวตัน , 14 นิวตัน

4. แรง 2 แรง ขนาด 8 นิวตัน และ 6 นิวตัน กระทาต่อวัตถุชิ้นหนึ่ง ณ. จุดเดียวกันในทิศ


ตั้งฉากกัน จงหาขนาดของแรงลัพธ์
1. 2 นิวตัน 2. 8 นิวตัน 3. 10 นิวตัน 4. 14 นิวตัน

5. แรง 2 แรง ขนาด 15 นิวตัน และ 20 นิวตัน จะมีแรงลัพธ์มีขนาดมากที่สุดกี่นิวตัน


1. 20 2. 25 3. 30 4. 35

6. จากข้อที่ผา่ นมา แรงลัพธ์ที่มีขนาดน้อยที่สุดมีขนาดกี่นิวตัน


1. 0 2. 5 3. 10 4. 15

3
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
7. จากข้อที่ผา่ นมา ขนาดของแรงลัพธ์ในข้อใดต่อไปนี้เป็ นไปไม่ได้
1. 4 นิวตัน 2. 5 นิวตัน 3. 6 นิวตัน 4. 7 นิวตัน

8(แนว En) เมื่อแรงสองแรงทามุมกันค่าต่างๆ ผลรวมของแรงมีค่าต่ าสุ ด 1 นิ วตัน และมี ค่า


สู งสุ ด 7 นิวตัน ผลรวมของแรงทั้งสองเมื่อกระทาตั้งฉากกันจะมีค่าเท่าใด
1. 3 นิวตัน 2. 4 นิวตัน 3. 5 นิวตัน 4. 5 2 นิวตัน

3.2.2 การแตกแรง
หากมีแรง 1 แรง สมมุติเป็ นแรง F ดังรู ป เรา
สามารถแตกแรงนั้นออกเป็ น 2 แรงย่อย ซึ่ งตั้งฉาก
กันได้ และเมื่อแตกแรงแล้วจะได้วา่
แรงย่อยที่ติดมุม  จะมีค่า F cos 
แรงย่อยที่ไม่ติดมุม  จะมีค่า F sin  (ดังรู ป)
ตัวอย่าง จากรู ป จงทาการแตกแรง ( F ) ที่กาหนด y F = 20 นิวตัน
เพื่อหาขนาดของแรง x และ y
30o x
วิธีทา จากรู ปจะได้วา่
o y = F sin30o F = 20 นิวตัน
แรง x อยูต่ ิดมุม 30 ดังนั้น
x = F cos 30o
30o x = F cos30o
o 3
= 20 cos 30 = 20 ( 2 ) = 10 ( 3 ) นิวตัน
แรง y อยูไ่ ม่ติดมุม 30o ดังนั้น
y = F sin 30o = 20 sin 30o = 20 ( 12 ) = 10 นิวตัน
4
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
9. จากรู ป จงทาการแตกแรงที่กาหนดเพื่อหาขนาดของแรง x และ y ตามลาดับ
1. x = 5 3 N , y = 5 3 N
2. x = 5 N , y = 5 3 N 60o x

3. x = 5 3 N , y = 5 N y
4. x = 5 N , y = 5 N F = 10 N

10. จากรู ป จงทาการแตกแรง ( F ) ที่กาหนดเพื่อหาขนาดของแรง x และ y ตามลาดับ


1. x = 4 2 N , y = 4 N
F=8N y
2. x = 4 N , y = 4 2 N
3. x = 4 2 N , y = 4 2 N 45o
4. x = 4 N , y = 4 N
x

3.2.3 การหาแรงลัพธ์ ของแรงมากกว่า 2 แรงซึ่งทามุมต่ อกัน


11. จากรู ป แรงลัพธ์ที่เกิดจากแรงย่อยทั้ง 3 แรงดังรู ป
จะมีขนาดเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ 10 N
1. 2 นิวตัน 8N
2. 6 นิวตัน 45o
3. 8 นิวตัน
2 2N
4. 10 นิวตัน

5
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
3.3 กฎการเคลือ่ นทีข่ องนิวตัน
กฎข้ อที่ 1 กล่าวว่า “ วัตถุจะคงสภาพอยูน่ ิ่ง หรื อสภาพเคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ วคงตัว
ในแนวเส้นตรง นอกจากจะมีแรงลัพธ์ซ่ ึ งมีค่าไม่เป็ นศูนย์มากระทาต่อวัตถุน้ นั ”
กฎข้ อที่ 2 กล่าวว่า “ เมื่อมีแรงลัพธ์ซ่ ึ งมีค่าไม่เป็ นศูนย์ มากระทาต่อวัตถุ จะทาให้
วัตถุเกิดความเร่ งในทิศเดียวกับแรงลัพธ์ที่มากระทา ขนาดของความเร่ งจะแปรผันตรงกับขนาด
ของแรงลัพธ์ และจะแปรผกผันกับมวลของวัตถุ ”
จากกฎข้อนี้จะได้สมการ a = mF
หรื อ F = m a
กฎข้ อที่ 3 กล่าวว่า “ ทุกแรงกริ ยา ( Action Force ) ต้อง
มีแรงปฏิกิริยา ( Reaction Force ) ที่มีขนาดเท่ากัน และทิศ
ตรงกันข้ามเสมอ ”
เขียนเป็ นสมการจะได้ Fกริยา = –Fปฏิกริ ิยา
12(มช 40) เมื่อรถหยุดกะทันหัน ผูโ้ ดยสารจะคะมาไปข้างหน้า ปรากฏการณ์น้ี เป็ นไปตามกฎ
นิวตันข้อที่เท่าใด
1. ข้อ 1 2. ข้อ 2 3. ข้อ 3 4. ทุกข้อ

13. เข็มขัดนิ รภัยและที่พิงศีรษะที่ติดอยูก่ บั เบาะนัง่ ในรถยนต์บางคันมีไว้เพื่อประโยชน์อะไร


1. เพื่อรั้งผูโ้ ดยสารไม่ให้คะมาไปข้างหน้าเวลารถเบรก
2. เพื่อป้ องกันมิให้ผโู ้ ดยสารตกจากเบาะขณะรถเคลื่อนที่
3. เพื่อป้ องกันไม่ให้เบาะล้มไปทางด้านหลังขณะรถเคลื่อนที่
4. ถูกทุกข้อ

14(มช 24) ใช้มา้ ตัวหนึ่งลากรถ แรงที่ทาให้มา้ เคลื่อนที่ไปข้างหน้าคือ


1. แรงที่มา้ กระทาต่อรถ 2. แรงที่รถกระทาต่อม้า
3. แรงที่มา้ กระทาต่อพื้น 4. แรงพื้นกระทาต่อเท้าม้า

6
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
15(มช 32) เมื่อตกต้นไม้ลงมากระทบพื้นจะรู ้สึกเจ็บ เหตุที่เจ็บอธิ บายได้ดว้ ยกฎทางฟิ สิ กส์ขอ้ ใด
1. กฎข้อที่หนึ่งของนิวตัน 2. กฎข้อที่สองของนิวตัน
3. กฎข้อที่สามของนิวตัน 4. กฎแรงดึงดูดระหว่างมวลของนิวตัน

16. ข้อความใดที่ไม่ ถูกต้ อง ตามลักษณะของแรงที่กล่าวถึงในกฎข้อที่ 3 ของนิวตัน


1. ประกอบด้วยแรงสองแรง
2. มีขนาดเท่ากันและมีทิศตรงกันข้าม
3. เป็ นแรงที่ทาให้แรงลัพธ์ที่กระทาต่อวัตถุมีค่าเป็ นศูนย์
4. เป็ นแรงที่กระทาบนวัตถุต่างชนิดกัน

3.4 นา้ หนัก


วัตถุมวล m ใดๆ เมื่ออยูบ่ ริ เวณผิวโลกจะถูกโลกดูดลงทาให้เกิดความเร่ งประมาณ 9.8
เมตรต่อวินาที2 ในทิศลง เรี ยก ความเร่ งเนื่องจากแรงโน้ มถ่ วงโลก ( g )
เราสามารถหาแรงที่โลกดูดวัตถุใดๆ ได้เสมอจาก
F = ma ( แทนค่า a = g )
F = mg
แรงที่โลกดูดวัตถุน้ ี เราจะเรี ยกชื่อเฉพาะว่า น้ าหนัก
นิยมใช้สัญลักษณ์เป็ น W
ดังนั้นจาก F = m g ( แทนค่า F = W )
จะได้ W = m g
เมื่อ W คือน้ าหนัก ( นิวตัน )
m คือมวล ( กิโลกรัม )
g คือความเร่ งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก ( เมตร/วินาที2 )
7
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
ข้ อแตกต่ างระหว่าง นา้ หนัก ( W ) กับ มวล ( m )
นา้ หนัก ( W ) มวล ( m )
1) หน่วยเป็ นนิวตัน ( N ) 1) หน่วยเป็ นกิโลกรัม ( kg )
2) เปลี่ยนแปลงได้ข้ ึนอยูก่ บั ค่า g 2) มีค่าคงที่ เปลี่ยนไม่ได้
3) เป็ นปริ มาณเวกเตอร์ เพราะมีทิศทาง 3) เป็ นปริ มาณสเกลาร์ เพราะไม่มีทิศทาง
17. วัตถุมวล 5 กิโลกรัม เมื่อนาไปวางไว้ที่ข้ วั โลกเหนื อซึ่ งมีค่าความเร่ งเนื่องจากแรงโน้มถ่วง
ของโลกเท่ากับ 9.83 เมตร/วินาที2 วัตถุน้ ีจะมีน้ าหนักกี่นิวตัน

18. สมมติวา่ มีการจาลองมวลที่มาตรฐาน 1 กิโลกรัม จากกรุ งปารี สมาไว้กรุ งเทพฯ มวลและ


น้ าหนักของมวลจาลองนี้ ที่กรุ งเทพฯ แตกต่างกับที่กรุ งปารี สเท่าใด
( ถ้า g ที่กรุ งปารี ส และกรุ งเทพฯ เป็ น 9.81 และ 9.78 เมตร/วินาที 2 ตามลาดับ)
1. 0.03 นิวตัน , 0.3 กิโลกรัม 2. 0.03 นิวตัน , 0 กิโลกรัม
3. 0.03 นิวตัน , 0.03 กิโลกรัม 4. 0 นิวตัน , 0.3 กิโลกรัม

19(En 32) แขวนวัตถุดว้ ยเชือกจากเพดานแรงปฏิกิริยาตามกฎข้อที่ 3 ของนิวตันของแรงซึ่ง


เป็ นน้ าหนักของวัตถุคือ
1. แรงที่เส้นเชือกกระทาต่อเพดาน
2. แรงที่เส้นเชือกกระทาต่อวัตถุ
3. แรงโน้มถ่วงที่วตั ถุกระทาต่อโลก
4. แรงที่วตั ถุกระทาต่อเส้นเชือก

8
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
3.5 การนากฎการเคลือ่ นทีข่ องนิวตันไปใช้
การคานวณเรื่ องที่เกี่ยวกับกฎการเคลื่อนที่ของนิ วตันนั้น สมการที่ใช้คานวณเป็ นหลักคือ
F = ma
เมื่อ F คือแรงลัพธ์ที่กระทาต่อวัตถุ ซึ่ งอยูใ่ นแนวเดียวกับการเคลื่อนที่ ( นิวตัน )
m คือมวลของวัตถุที่ถูกแรงลัพธ์น้ นั กระทา ( กิโลกรัม )
a คือความเร่ งของมวลซึ่ งอยูใ่ นแนวเดียวกับการเคลื่อนที่ ( เมตร/วินาที2)
20. วัตถุกอ้ นหนึ่งเมื่อถูกแรง 50 นิวตัน กระทาจะเคลื่อนที่ดว้ ยความเร่ ง 4 เมตร/วินาที2
อยากทราบว่าวัตถุน้ ีมีมวลกี่กิโลกรัม
1. 2.5 2. 5.0 3. 10.0 4. 12.5

21. แรงขนาด 6 และ 8 นิวตัน กระทาต่อมวล 2 กิโลกรัม ในแนวขนานกับพื้นราบ ถ้าแรง


ทั้งสองตั้งฉากต่อกัน วัตถุจะเคลื่อนที่ดว้ ยความเร่ งเท่าไร
1. 5 m/s2 2. 3 m/s2 3. 2 m/s2 4. 1 m/s2

22. จากรู ปวัตถุ 20 กิโลกรัม และ 10 กิโลกรัม


20 kg a = 2 m/s2
วางติดกันบนพื้นที่ไม่มีแรงเสี ยดทาน ให้หา P 10 kg
Q
แรง P และ Q ในรู ปภาพ
1. P = 40 N , Q = 20 N 2. P = 60 N , Q = 20 N
3. P = 60 N , Q = 40 N 4. P = 60 N , Q = 10 N

9
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
23. จากรู ป วัตถุมวล 30 kg และ 20 kg
ผูกติดกันด้วยเชือก อยูบ่ นพื้นที่ไม่มีแรง T2 T1
30 kg 20 kg
เสี ยดทาน หากความเร่ งของการเคลื่อน
ที่มีค่า 3 m/s2 ให้หาแรง T1 และ T2
1. T1 = 60 N , T2 = 30 N 2. T1 = 150 N , T2 = 60 N
3. T1 = 150 N , T2 = 90 N 4. T1 = 60 N , T2 = 20 N

24(มช 42) จากรู ป มวลขนาด 10 , 8 และ


10 kg 8 kg 6 kg
6 กิโลกรัม วางบนพื้นที่ไม่มีความฝื ด
T1 T2 120 N
ออกแรงขนาด 120 นิวตัน ลากมวลทั้ง
สามไป จงหาว่าขนาดของแรงดึงในเส้น
เชือก T1 และ T2 มีค่ากี่นิวตัน
1. T1 = T2 = 60 2. T1 = T2 = 120
3. T1 = 50 , T2 = 90 4. T1 = 90 , T2 = 50

25. มวล 3 ชิ้น วางอยูบ่ นพื้นที่ไม่มีแรงเสี ยด


T T T
ทาน และถูกดึงด้วยแรง T3 = 30 N อยาก 10 kg 1 20 kg 2 30 kg 3
ทราบว่า T2 / T1 มีค่าเท่ากับเท่าใด

10
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
26. หัวรถจักรคันหนึ่งลากรถพ่วงอีก 2 คัน ถ้าไม่คิดค่าแรงเสี ยดทาน จงหาว่าแรงดึงระหว่าง
หัวรถจักรกับรถพ่วงคันแรกจะมีค่าเป็ นกี่เท่าของแรงดึงระหว่างรถพ่วงคันแรกกับคันที่ 2
1. 13 2. 12 3. 1 4. 2

27. จากรู ป หากวัตถุไถลไปบนพื้นราบอย่างเดียว 80 N


จงหาความเร่ งของการเคลื่อนที่ 60o
5 kg
1. 4 m/s2 2. 8 m/s2
3. 10 m/s2 4. 12 m/s2

28. วางมวล 10 กิโลกรัม ไว้บนกระดานลื่น เมื่อเอียงกระดานทามุม 30o กับแนวราบ มวลจะ


เคลื่อนที่ดว้ ยความเร่ งกี่เมตร/วินาที2
1. 1 2. 3 3. 5 4. 7

11
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
29. นักเรี ยนคนหนึ่งถือเชือกมวลน้อยมาก ซึ่ งปลายข้างหนึ่งผูกติดกับ
เหล็กมวล 1 กิโลกรัม ให้หาแรงดึงเชือก เมื่อดึงเชือกขึ้นด้วย
ความเร่ ง 5 เมตร/วินาที2
1. 5 นิวตัน 2. 10 นิวตัน 3. 15 นิวตัน 4. 20 นิวตัน

30. จากข้อที่ผา่ นมา ให้หาแรงดึงเชื อกเมื่อหย่อนเชือกลงด้วยความเร่ ง 5 เมตร/วินาที2


1. 5 นิวตัน 2. 10 นิวตัน 3. 15 นิวตัน 4. 20 นิวตัน

31. คนหนัก 60 กิโลกรัม ปี นลงจากหน้าผา ถ้าเชื อกทนน้ าหนักได้เพียง 480 นิวตัน เขาต้อง
ปี นลงด้วยความเร่ งอย่างน้อยกี่เมตร/วินาที2 เชือกจึงพอดีไม่ขาด
1. 2 2. 3 3. 4 4. 5

12
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
32. ชายคนหนึ่งมวล 50 กิโลกรัม โหนเชือกดังรู ป ชายคนนี้ จะต้องไต่
เชื อกขึ้ น หรื อลงด้วยความเร่ ง เท่ า ใด เชื อกจึ ง จะมี แ รงตึ ง 600
นิวตัน ถือว่าเชื อกมีมวลน้อยมาก
1. ไต่ข้ ึน , 1 เมตร/วินาที2 2. ไต่ลง , 1 เมตร/วินาที2
3. ไต่ข้ ึน , 2 เมตร/วินาที2 4. ไต่ลง , 2 เมตร/วินาที2

33. ชายคนหนึ่งมวล 50 กิโลกรัม โหนเชือกดังรู ป ชายคนนี้ จะต้องไต่


เชื อกขึ้ น หรื อลงด้วยความเร่ ง เท่ า ใด ถ้า เชื อกทนแรงตึ ง ได้สู ง สุ ด
480 นิ ว ตัน ถื อว่า เชื อกมี ม วลน้อยมาก
1. ขึ้ น , 0.2 เมตร/วินาที 2 2. ลง , 0.2 เมตร/วินาที 2
3. ขึ้น , 0.4 เมตร/วินาที2 4. ลง , 0.4 เมตร/วินาที2

13
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
34. วัตถุมวล 3 kg และ 2 kg ผูกติดกันด้วยเชือก ดังรู ป วัตถุท้ งั สอง
T1
ถูกดึงขึ้นด้วยเชือกอีกเส้นด้วยความเร่ ง 2 m/s2 ในแนวดิ่ง แรง
ดึงเชือกทั้งสองมีค่าเท่าใด 3 kg
1. T1 = 60 N , T2 = 30 N 2. T1 = 60 N , T2 = 24 N T2
3. T1 = 36 N , T2 = 30 N 4. T1 = 36 N , T2 = 24 N
2 kg

35. วัตถุ 2 ชิ้นมวล 7 และ 5 kg ตามลาดับ เชื่อมกันด้วยเชือก 200 N


มวล 4 kg ดังรู ป ถ้ามีแรงฉุ ดวัตถุท้ งั สองขึ้นด้วยแรง 200
7 kg
นิวตัน จงหาความตึงเชือกที่ปลายบน
4 kg
1. 105.5 นิวตัน 2. 107.5 นิวตัน 5 kg
3. 110.5 นิวตัน 4. 112.5 นิวตัน

14
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
36. จากรู ป m1 , m2 มวล 2 และ 0.5 กิโลกรัม
อยูบ่ นพื้นเกลี้ยง 2 kg
ก. ระบบจะเคลื่อนที่ดว้ ยความเร่ งเท่าใด
0.5 kg
ข. เชือกจะมีแรงดึงเชื อกเท่าใด 1 เมตร
ค. ระบบจะมีความเร็ วสู งสุ ดเท่าใด
1. (ก) 2 m/s2 , (ข) 4 N , (ค) 2 m/s 2. (ก) 2 m/s2 , (ข) 4 N , (ค) 4 m/s
3. (ก) 4 m/s2 , (ข) 8 N , (ค) 4 m/s 4. (ก) 4 m/s2 , (ข) 8 N , (ค) 8 m/s

37. จากรู ปวัตถุจะมีความเร่ งเท่าไร และมีความเร่ งมีทิศทางไปทางใด


1. 6.67 m/s2 ลงทางด้านซ้าย
2. 13.34 m/s2 ลงทางด้านซ้าย
2 kg
3. 6.67 m/s2 ลงทางด้านขวา
10 kg
4. 13.34 m/s2 ลงทางด้านขวา

38. จากรู ปข้อที่ผา่ นมาเชื อกจะมีความตึงเท่าใด


1. 33.33 นิวตัน 2. 66.67 นิวตัน 3. 133.34 นิวตัน 4. 16.67 นิวตัน

15
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
ข้ อมูลสาหรับโจทย์ 3 ข้ อถัดไป B
จากรู ปวัตถุ A , B และ C มีมวล 3 , 5
และ 2 กิโลกรัม ตามลาดับ ถ้าถือว่าทุกผิว A C
สัมผัสไม่มีความฝื ด
39. ความเร่ งของวัตถุท้ งั สามมีค่ากี่เมตร/วินาที2
1. 1 2. 1.5 3. 2.0 4. 2.5

40. แรงตึงเชือกที่ผกู ระหว่างวัตถุ A กับวัตถุ B มีคา่ กี่นิวตัน


1. 24 2. 27 3. 30 4. 33

41. แรงตึงเชือกที่ผกู ระหว่างวัตถุ B กับวัตถุ C มีคา่ กี่นิวตัน


1. 18 2. 20 3. 22 4. 24

16
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
42. ชายคนหนึ่ งมวล 50 กิโลกรัม ยืนอยูใ่ นลิฟต์ จงหาแรงที่พ้ืนลิฟต์กระทาต่อชายคนนั้น
เมื่อลิฟต์เริ่ มเคลื่อนที่ข้ ึนด้วยความเร่ ง 1.2 เมตร/วินาที2
1. 440 นิวตัน 2. 460 นิวตัน 3. 500 นิวตัน 4. 560 นิวตัน

43. จากข้อที่ ผ่านมา จงหาแรงที่ พ้ื นลิ ฟ ต์กระทาต่อชายคนนั้น เมื่อลิ ฟต์เริ่ มเคลื่ อนที่ ลงด้วย
ความเร่ ง 1.2 เมตร/วินาที2
1. 440 นิวตัน 2. 460 นิวตัน 3. 500 นิวตัน 4. 560 นิวตัน

44. จากข้อที่ผา่ นมา จงหาแรงที่พ้ืนลิ ฟต์กระทาต่อชายคนนั้น เมื่อลิฟต์เคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ ว


สม่าเสมอ 2 เมตร/วินาที
1. 440 นิวตัน 2. 460 นิวตัน 3. 500 นิวตัน 4. 560 นิวตัน

17
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
45(En 27) นายแดงยืนอยูบ่ นตาชัง่ สปริ งในลิฟต์ ถ้าลิฟต์อยูน่ ิ่ งๆ นายแดงอ่านน้ าหนักตัวเองได้
56 กิ โลกรั ม ถ้าลิ ฟ ต์คลื่ อนที่ ลงด้วยความเร่ ง 2 เมตร/วินาที 2 นายแดงจะอ่านน้ าหนัก
ตัวเองจากตาชัง่ ได้กี่กิโลกรัม
1. 40 2. 44.8 3. 50 4. 67.2

46. นักเรี ยนคนหนึ่งมวล 50 กิโลกรัม ยืนอยูบ่ นตาชัง่ ในลิฟต์ที่กาลังเคลื่อนที่ข้ ึนด้วยความเร่ ง


1 เมตร/วินาที 2 ในขณะเดี ยวกันมือของเขาก็ดึงเชื อกที่ แขวนอยู่กบั เพดานลิ ฟต์ ถ้าเชื อกมี
ความตึง 150 นิวตัน เข็มของตาชัง่ สปริ งจะชี้ที่กี่กิโลกรัม

47(En 36) ชายคนหนึ่ งมวล 75 กิ โลกรัม อยูใ่ นลิ ฟต์ กดปุ่ มให้ลิฟต์ลง ลิฟต์เริ่ มลงด้วย
ความเร่ งจนมีความเร็ วคงที่ แล้วเริ่ มลดอัตราเร็ วลงด้วยขนาดของความเร่ ง 1 เมตร/วินาที 2
เพื่อจะหยุดแรงที่ ลิฟต์กระทาต่อชายคนนี้ขณะที่ลิฟต์กาลังจะหยุดเป็ นกี่นิวตัน

18
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
48. ลิฟต์ตวั หนึ่งมีมวล 500 กิโลกรัม บรรทุกสัมภาระมวล 100 กิโลกรัม หากลิฟต์น้ ีเคลื่อน
ที่ข้ ึนด้วยความเร่ งสู งสุ ดได้เพียง 2 เมตร/วินาที2 จงหาแรงดึงสายเคเบิลสู งสุ ดที่กระทา
ต่อลิฟต์น้ ี
1. 6800 นิวตัน 2. 7000 นิวตัน 3. 7200 นิวตัน 4. 7400 นิวตัน

49. ลิฟต์ตวั หนึ่งมีมวล 500 กิโลกรัม เคลื่อนที่ข้ ึนด้วยความเร่ งสู งสุ ดได้เพียง 2 เมตร/วินาที2
หากแรงดึงสายเคเบิลสู งสุ ดที่มีได้มีค่า 8400 นิวตัน จงหาว่าลิฟต์น้ ีสามารถบรรทุกสัมภาระ
ได้มากที่สุดกี่กิโลกรัม

50. ชายคนหนึ่งมีมวล 55 กิโลกรัม นัง่ บนชิงช้ามวล 5 กิโลกรัม ที่


แขวนด้วยเชือกเบาซึ่ งคล้องผ่านรอกเบา และหมุนได้คล่องดังรู ป
เขาค่อยๆ ดึงปลายเชือก เพื่อให้ตวั เขาเองค่อยๆ ขยับสู งขึ้นโดยไม่
มีความเร่ งเขาต้องออกแรงกี่นิวตัน
1. 300 2. 480 3. 550 4. 600

19
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
51. จากข้อที่ผา่ นมาถ้าเขาค่อยๆ ดึงปลายเชือก เพื่อให้ตวั เขาเองค่อยๆ
ขยับสู งขึ้นโดยมีความเร่ ง 1 เมตร/วินาที2 เขาต้องออกแรงกี่นิวตัน
1. 270 2. 300 3. 330 4. 480

52. จากข้อที่ผา่ นมาถ้าเขาค่อยๆ ดึงปลายเชือก เพื่อให้ตวั เขาเองค่อยๆ


ขยับลงโดยมีความเร่ ง 1 เมตร/วินาที2 เขาต้องออกแรงกี่นิวตัน
1. 270 2. 300 3. 330 4. 480

53. วัตถุหนึ่งมวล 0.5 กิโลกรัม กาลังจมลงสู่ กน้ สระน้ าด้วยอัตราเร่ ง 6 เมตร/วินาที2 แรง
เฉลี่ยที่น้ ากระทาต่อวัตถุน้ ีมีค่ากี่นิวตัน
1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

20
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
54. ลูกปื นมวล 40.0 กรัม ถูกยิงออกจากลากล้องปื นด้วยความเร็ ว 300 เมตร/วินาที ทะลุแผ่น
ไม้หนา 4.0 เซนติเมตร ทาให้ความเร็ วของลูกปื นขณะออกจากแผ่นไม้อีกด้านหนึ่ งเท่ากับ
100 เมตร/วินาที ให้หาขนาดแรงเฉลี่ยที่แผ่นไม้กระทาต่อลูกปื น
1. 20000 นิวตัน 2. 40000 นิวตัน 3. 60000 นิวตัน 4. 80000 นิวตัน

55. ลู ก ปื นมวล 0.02 กิ โลกรั ม เคลื่ อ นที่ ด้วยความเร็ ว 400 เมตร/วิน าที วิ่ง เข้าชนใน
แนวตั้งฉากกับต้นไม้แนวราบ ปรากฏว่าเจาะเนื้ อไม้เข้าลึก 0.1 เมตร จึงหยุดนิ่ ง จงหาแรง
ต้านทานการเคลื่อนที่ที่เนื้ อไม้กระทาต่อลูกปื น
1. 8000 นิวตัน 2. 16000 นิวตัน 3. 80000 นิวตัน 4. 160000 นิวตัน

56(มช 34) ลูกปื นมวล 0.002 กิโลกรัม เคลื่อนที่ออกจากลากล้องปื นซึ่งยาว 0.80 เมตร ด้วย
อัตราเร็ ว 400 เมตร/วินาที จงหาแรงที่ดนั ให้ลูกปื นหลุดออกจากลากล้องจะมีค่ากี่นิวตัน

21
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
3.6 แรงเสี ยดทาน
แรงเสี ยดทาน คือแรงที่เกิดจากการเสี ยดสี ระหว่างผิวสัมผัส มีทิศต้านการเคลื่อนที่
ประเภทของแรงเสี ยดทาน
ประเภทที่ 1 แรงเสี ยดทานสถิตย์ ( fs ) คือ แรงเสี ยดทานที่มีตอนวัตถุอยูน่ ิ่งๆ
ควรทราบ 1. แรงเสี ยดทานสถิตจะมีค่าไม่คงที่
จะเพิ่มขึ้นและลดลงตามแรงที่กระทาต่อวัตถุ
2. fs ต่าสุ ด = 0 และ fs สู งสุ ด = s N
เมื่อ fs คือแรงเสี ยดทานสถิตย์ ( นิวตัน )
s คือสัมประสิ ทธิ์ แรงเสี ยดทานสถิตย์
N คือแรงปฏิกิริยาที่พ้ืนดันวัตถุ (นิวตัน) ซึ่ งปกติแล้วหากไม่มีแรงภายนอกมา
กระทาต่อวัตถุเพิม่ เติม แรงดันพื้น ( N ) จะเท่ากับน้ าหนักวัตถุที่กด ( W )
ประเภทที่ 2 แรงเสี ยดทานจลน์ ( fk ) คือแรงเสี ยดทานที่มีตอนวัตถุกาลังเคลื่อนที่
ควรทราบ 1. fk < fs (สู งสุ ด)
2. fk = k N
เมื่อ fk คือแรงเสี ยดทานจลน์ ( นิวตัน )
k คือสัมประสิ ทธิ์ แรงเสี ยดทานจลน์
N คือแรงที่พ้ืนดันวัตถุ ( นิ วตัน ) ซึ่ งปกติแล้วหากไม่มีแรงภายนอกมา กระทา
ต่อวัตถุเพิ่มเติม แรงดันพื้น ( N ) จะเท่ากับน้ าหนักวัตถุที่กด ( W )
57(มช 24) ถ้า N เป็ นแรงปฏิกิริยาที่พ้ืนกระทาต่อวัตถุ และ s เป็ นสัมประสิ ทธิ์ ของความเสี ยด
ทานสถิตระหว่างผิววัตถุและพื้นแรงเสี ยดทานสถิตในขณะที่วตั ถุยงั ไม่เคลื่อนที่จะมีค่า
1. 0 2. sN 3. ระหว่าง 0 และ sN 4. มากกว่า sN

หลักในการคานวณเกี่ยวกับแรงเสี ยดทาน
ขั้นที่ 1 ให้หาแรงเสี ยดทานก่อนโดย
fs = s N ใช้หาแรงเสี ยดทานสถิตย์ (ตอนวัตถุอยูน่ ิ่ง ๆ )
และ fk = k N ใช้หาแรงเสี ยดทานจลน์ (ตอนวัตถุกาลังเคลื่อนที่)
22
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน

เมื่อ fs คือแรงเสี ยดทานสถิตย์ ( นิวตัน )


fk คือแรงเสี ยดทานจลน์ ( นิวตัน )
s คือสัมประสิ ทธิ์ แรงเสี ยดทานสถิตย์
k คือสัมประสิ ทธิ์ แรงเสี ยดทานจลน์
N คือแรงที่พ้ืนดันวัตถุ ( นิ วตัน ) ซึ่ งปกติแล้วหากไม่มีแรงภายนอกมา
กระทาต่อวัตถุเพิ่มเติม แรงดันพื้น ( N ) จะเท่ากับน้ าหนักวัตถุที่กด ( W )
ขั้นที่ 2 กรณี 1 หาก a = 0 (วัตถุอยูน่ ิ่งๆ , ความเร็ วคงที่ , เริ่ มจะเคลื่อนที่ )
ให้ใช้ Fซ้าย = Fขวา
หรื อ Fขึ้น = Fลง
กรณี 2 หาก a  0
ให้ใช้ Fลัพธ์ = m a
เมื่อ F คือแรงลัพธ์ที่กระทาต่อวัตถุ ซึ่ งอยูใ่ นแนวเดียวกับการเคลื่อนที่ ( นิวตัน )
m คือมวลของวัตถุที่ถูกแรงลัพธ์น้ นั กระทา ( กิโลกรัม )
a คือความเร่ งของมวลซึ่ งอยูใ่ นแนวเดียวกับการเคลื่อนที่ ( เมตร/วินาที2)
58. วัตถุมวล 2 กิโลกรัม อยูบ่ นพื้นที่มี ส.ป.ส ความเสี ยดทาน 0.2 จงหาแรงน้อยที่สุดที่จะ
ทาให้วตั ถุเริ่ มเคลื่อนที่
1. 2 นิวตัน 2. 4 นิวตัน 3. 6 นิวตัน 4. 8 นิวตัน

59. F เป็ นแรงซึ่งใช้ในการดึงให้วตั ถุมวล 100 กิโลกรัม


จนเกิดความเร่ ง 2 เมตร/วินาที2 อยากทราบว่า F  = 0.1 100 kg F
มีค่ากี่นิวตัน

23
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
60. มวล 10 และ 15 กิโลกรัม วางบนพื้นฝื ด
ต่อกันด้วยเชือกเบา ออกแรง 300 นิวตัน เชือกเบา
ดึงในแนวราบทาให้ระบบมีความเร่ งคงที่ 10 kg 15 kg 300 N
ถ้าสัมประสิ ทธิ์ ของความเสี ยดทานสถิตมี
ค่า 0.6 และสัมประสิ ทธิ์ ของความเสี ยดทานจลน์มีค่า 0.5 จงหาความเร่ งของระบบ
1. 7 เมตร/วินาที2 2. 5 เมตร/วินาที2
3. 3 เมตร/วินาที2 4. 1 เมตร/วินาที2

61. จากข้อผ่านมา แรงตึงในเส้นเชือก


1. 100 นิวตัน 2. 120 นิวตัน 3. 140 นิวตัน 4. 160 นิวตัน

62. วัตถุ A และ B มีมวล 0.6 และ 0.3 กิโลกรัม ตาม 


ลาดับ วางติดกันบนพื้นราบ ถ้าออกแรงผลัก F เท่า F A B
กับ 15 นิวตัน ดังรู ป สัมประสิ ทธิ์ ความเสี ยดทาน
ระหว่างวัตถุท้ งั สองกับพื้นมีค่า 23 จงหาว่าวัตถุท้ งั
สองจะเคลื่อนที่ไปด้วยความเร่ งเท่าใด
1. 10 m/s2 2. 20 m/s2 3. 30 m/s2 4. 40 m/s2

24
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
63. จากข้อที่ผา่ นมา แรงกระทาระหว่างวัตถุ A และ B มีค่ากี่นิวตัน
1. 3 2. 5 3. 10 4. 15

64. จากรู ป มวล A และ B โยงต่อกันด้วยเชื อกน้ าหนักเบาผ่านรอกที่ไม่มีความฝื ด พื้นโต๊ะ


มีสัมประสิ ทธิ์ ของแรงเสี ยดทานเท่ากับ 0.5 ถ้าเปลี่ยนวัตถุ A เป็ นวัตถุ C ซึ่งมีมวลมากเป็ น
สองเท่าของ A จะหาได้วา่ อัตราเร่ งของระบบ AB ต่างจากระบบ CB เท่าไร ถ้า A = 2 กก.
และ B = 6 กก.
A C

AB CB

B B

1. AB น้อยกว่า CB อยู่ 2.25 m/s2 2. CB น้อยกว่า AB อยู่ 2.25 m/s2


3. AB น้อยกว่า CB อยู่ 0.75 m/s2 4. CB น้อยกว่า AB อยู่ 0.75 m/s2

25
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
65. มวล m วางบนพื้นเอียงซึ่ งทามุม 30o กับแนว
ระดับ ถ้าวัดได้วา่ มวลนั้นไถลลงพื้นเอียงด้วย Vคงที่
ความเร็ วคงที่ สัมประสิ ทธิ์ ความเสี ยดทานจลน์
ระหว่างมวลนั้นกับพื้นจะเป็ นเท่าไร 30o
1. 12 2. 3
3. 1 4. 22
3

66. มวล m วางบนพื้นเอียงซึ่ งทามุม 30o กับ


แนวระดับ ถ้าวัดได้วา่ มวลนั้นไถลลงพื้น a = 1g
8
เอียงด้วยความเร่ ง 18 g สัมประสิ ทธิ์ ความ
เสี ยดทานจลน์ระหว่างมวลกับพื้นมีค่าเท่าไร 300
1. 0.2 2. 0.4
3. 0.5 4. 0.8

26
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
67. วัตถุ 15 2 กิโลกรัม วางบนระนาบเอียงฝื ดทามุม 45o
F
กับแนวราบออกแรง F ดึงวัตถุขนานกับระนาบเอียง ถ้า
สัมประสิ ทธิ์ ของความเสี ยดทานสถิตมีค่า 0.5 จงหาแรง F
ที่พอดี ทาให้วตั ถุขยับลง 45o
1. 75 นิวตัน 2. 150 นิวตัน
3. 175 นิวตัน 4. 225 นิวตัน

68. จากข้อที่ผา่ นมา จงหาแรง F ที่พอดีทาให้วตั ถุขยับขึ้ น


1. 75 นิวตัน 2. 150 นิวตัน 3. 175 นิวตัน 4. 225 นิวตัน

69. จากข้อที่ผา่ นมา จงหาแรง F ที่ทาให้วตั ถุที่ข้ึนด้วยความเร่ ง 5 2 เมตร/วินาที2


1. 75 นิวตัน 2. 150 นิวตัน 3. 225 นิวตัน 4. 375 นิวตัน

27
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
70. วัตถุหนัก 20 นิวตัน แขวนไว้
ด้วยเชือกคล้องผ่านรอกที่ไม่คิด
ความฝื ด ปลายอีกข้างหนึ่งของ 25 N
20 N
เชือกผูกวัตถุหนัก 25 นิวตัน
ซึ่งวางอยูบ่ นพื้นเอียงดังรู ป เมื่อ 30o
ปล่อยไว้อย่างอิสระ ปรากฏว่า
วัตถุที่วางบนพื้นเอียงเคลื่อนที่
ขึ้นพื้นเอียงได้พอดี จงหาสัมประสิ ทธิ์ ความเสี ยดทานสถิตระหว่างพื้นกับวัตถุ
1. 0.34 2. 0.44 3. 0.55 4. 0.65

71. จากรู ป ถ้า ก. มีมวล 40 kg ข. มีมวล


60 kg และพื้นมีสัมประสิ ทธิ์ แรงเสี ยดทาน ก
0.2 จงหาความเร่ งของมวลในหน่วย m/s2
(กาหนด sin 53o = 45 , cos 53o = 35 ) ข
53o
1. 2.80 2. 3.28
3. 4.00 4. 4.20

28
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
72. ระนาบเอียง 2 ระนาบ เอียงทามุม 30o
และ 60o กับระดับระนาบ ทั้งสองนี้บรร
จบกันที่ยอด บนระนาบทั้งสองนี้มีมวล 5 kg 10 kg

5 กิโลกรัม และ 10 กิโลกรัม วางอยูต่ าม


ลาดับ มวลทั้งสองยึดกันด้วยเชือกที่คล้อง 30o 60o
ผ่านรอกที่ยอดของระนาบดังรู ป พื้นเอียง
ทั้งสองมีค่าสัมประสิ ทธิ์ ความเสี ยดทาน
1 / 3 จงหาความเร่ งในการเคลื่อนที่ของวัตถุท้ งั สอง (ในหน่วย เมตร/วินาที2)
1. 0.25 2. 0.36 3. 0.44 4. 0.52

73. วัตถุกอ้ นหนึ่งมวล 2 กิโลกรัม ถูกดันติดกับกาแพงซึ่งอยู่


 
ในแนวดิ่งด้วยแรง F ดังรู ป ข้างล่างนี้ ถ้าสัมประสิ ทธิ์ F
 = 0.1
ความเสี ยดทานระหว่างวัตถุกบั พื้นกาแพงมีค่า 0.1 จงหา

ขนาดของแรง F ที่ทาให้วตั ถุเคลื่อนที่ลงด้วยความเร่ ง
1 เมตร/วินาที2
1. 200 นิวตัน 2. 180 นิวตัน 3. 160 นิวตัน 4. 140 นิวตัน

29
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
74. วัตถุมวล 50 กิโลกรัม ผูกติดกับเชือก ถ้าออกแรงดึง
เพื่อให้วตั ถุน้ ีไถลไปตามพื้นราบ โดยทิศทางของเส้น 50 kg 30o
เชือกทามุม 30o ส.ป.ส แรงเสี ยดทานระหว่างพื้นกับวัตถุ
มีค่า 0.3 ต้องออกแรงดึงเชือกกี่นิวตัน วัตถุจึงจะเริ่ มเคลื่อน
1. 150 2. 147.67 3. 140 4. 137.67

75. หนังสื อเล่มหนึ่งวางอยูบ่ นเบาะรถยนต์ที่กาลังวิง่ ด้วยความเร็ ว 30 เมตร/วินาที ถ้าค่า


สัมประสิ ทธิ์ ความเสี ยดทานระหว่างหนังสื อกับเบาะเท่ากับ 0.25 จงคานวณหาระยะทางสั้น
ที่สุดที่รถหยุดด้วยความเร่ งคงที่โดยหนังสื อบนเบาะไม่ไถล
1. 150 เมตร 2. 160 เมตร 3. 170 เมตร 4. 180 เมตร

30
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
3.7 กฎแรงดึงดูดระหว่ างมวลของนิวตัน
3.7.1 สนามโน้ มถ่ วง
ปกติแล้วมวลหนึ่งก้อนใดๆ จะแผ่แรงดึงดูดมวลอื่นๆ ออก
มารอบตัวอยูต่ ลอดเวลา เราเรี ยกบริ เวณรอบมวลซึ่งปกติจะมีแรง
m
ดึงดูดแผ่ออกมานั้นว่า สนามโน้ มถ่ วง และเมื่อมวล 2 ก้อนอยู่
ห่างกันขนาดหนึ่ง มวลทั้งสองจะมีแรงดึงดูดกันเสมอ
เราสามารถหาแรงดึงดูดระหว่างมวล 2 ก้อนใดๆ ได้เสมอ จาก

Gm1m2
FG =
R2
เมื่อ FG คือ แรงดึงดูดระหว่างมวล (นิวตัน)
m1 , m2 คือ ขนาดของมวลก้อนที่ 1 และ ก้อนที่ 2 ตามลาดับ (กิโลกรัม)
R คือ ระยะห่างระหว่างใจกลางมวลทั้งสอง (เมตร)
G คือ ค่าคงตัวความโน้มถ่วงสากล คือ 6.672 x 10–11 Nm2/kg2
76. ดาว A มีมวล 6 x 1020 กิโลกรัม มียานอวกาศมวล 5 x 102 กิโลกรัม โคจรอยูร่ อบ
เป็ นวงกลมรัศมี 5 x 107 กิโลเมตร ดาว A จะมีแรงดึงดูดยานอวกาศนี้ กี่นิวตัน
1. 4 x 109 2. 8 x 109 3. 4 x 10–9 4. 8 x 10–9

31
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
77. ทรงกลม A เป็ นทรงกลมกลวง ทรงกลม B เป็ นทรงกลมตัน ทรงกลมทั้งสองมีมวลและ
รัศมีเท่ากัน คือ 100 กิโลกรัม และ 0.5 เมตร ตามลาดับ ผิวของทรงกลมทั้งสองอยูห่ ่างกัน
1 เมตร แรงดึงดูดที่กระทาต่อทรงกลม A เนื่องจากทรงกลม B จะมีค่ากี่นิวตัน
1. 6.7x10–7 2. 8.0x10–7 3. 1.7x10–7 4. 0.7x10–7

78. มวล m , 5m และ 9m อยูก่ นั เป็ นระบบดังรู ป


จงหาแรงโน้มถ่วงที่กระทาแก่มวล m m 9m
5m
1. 5 G m22 2. 6 G m22
R R
3. 16G m2 2 4. 4 G m22
R R

3R R

32
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
79. มวล m , 5m และ 9m อยูก่ นั เป็ นระบบดังรู ป
จงหาแรงโน้มถ่วงที่กระทาแก่มวล m m 5m 9m
1. 5 G m22 2. 6 G m22
R R
3. 16G m2 2 4. 4 G m22
R 2R
3R R

80. จากรู ปข้างล่างนี้ จงหาขนาดของแรงดึงดูดระหว่างมวลที่กระทาต่อมวล m1 เนื่องจาก


มวล m2 และมวล m3 ในเทอมของค่าคงตัวโน้มถ่วงสากล G
( กาหนดให้ m1 = 1 กิโลกรัม , m2 = 3 กิโลกรัม และ m3 = 4 กิโลกรัม )
1. 3 G นิวตัน m2
2. 4 G นิวตัน
1 เมตร
3. 5 G นิวตัน m3
m1
4. 6 G นิวตัน 1 เมตร

33
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
3.7.2 ความเร่ งโน้ มถ่ วง ( g ) ณ ตาแหน่ งทีห่ ่ างจากผิวโลก
ค่าความเร่ งเนื่ องจากแรงโน้มถ่วงของโลก ณ.ตาแหน่งหนึ่ งๆ นั้น จะมีคา่ แปรเปลี่ยน
ขึ้นกับระยะห่างจากจุดศูนย์กลางของโลก ( R ) เราสามารถหา g ณ.จุดหนึ่งๆ ได้จาก
g = Gm2
R
เมื่อ g คือความเร่ งเนื่องจากแรงโน้มถ่วง ณ.จุดใดๆ (เมตร/วินาที2)
G คือค่าคงตัวความโน้มถ่วงสากล
= 6.672 x 10–11 นิวตันเมตร2/กิโลกรัม2
m คือมวลโลก (กิโลกรัม)
R คือระยะจากใจกลางโลกถึงจุดที่จะหาค่า g (เมตร)
สมการนี้อาจนาไปใช้คานวณหาค่าความเร่ งเนื่องจากแรงโน้มถ่วง ( g ) ของดวงดาวอื่นๆ ได้ดว้ ย
81. จงหาค่าความเร่ งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก ณ.จุดที่ห่างจากใจกลางโลก 10000 กิโล-
เมตร กาหนดมวลโลก = 6 x 1024 กิโลกรัม
1. 4 m/s2 2. 5 m/s2 3. 6 m/s2 4. 7 m/s2

82. ดาวเทียมดวงหนึ่งถูกส่ งขึ้นไปโคจรห่างจากผิวโลกเป็ น 2 เท่าของรัศมีโลก ดาวเทียมดวง


นี้ จะมีค่าความเร่ งเนื่ องจากสนามความโน้มถ่วงเป็ นเท่าใด ( กาหนด ความเร่ งที่ผิวโลก = g )
1. 19 g 2. 41 g 3. 13 g 4. 12 g

34
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
83(แนว En) ดาวเคราะห์ดวงหนึ่งมีมวลเป็ น 3 เท่าของโลก แต่มีรัศมีเป็ นครึ่ งหนึ่งของโลก จง
หาค่าความเร่ งเนื่ องจากความโน้มถ่วงที่ผวิ ของดาวเคราะห์ดวงนั้น ( ให้ ความเร่ งที่ผิวโลก = g )
1. 41 g 2. 3 g 3. 9 g 4. 12g

84(En 27) ถ้ามวลของดวงจันทร์เป็ น 1/80 เท่าของโลก และรัศมีเป็ น 1/4 เท่าของรัศมีโลก


ให้มวลโลกเป็ น M และรัศมีโลกเป็ น R G เป็ นค่าคงตัวความโน้มถ่วงสากล วัตถุที่ตก
อย่างอิสระบนดวงจันทร์ จะมีความเร่ งเท่าใด ( g คือ ความเร่ งที่ผวิ โลก )
1. 41 g 2. 15 g 3. 16 g 4. 201 g

35
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
85. ดาวเคราะห์ดวงหนึ่ งมีเส้นผ่าศูนย์กลางหนึ่ งในสามของเส้นผ่านศูนย์กลางของโลก และมี
มวลหนึ่งในหกของมวลของโลก ชายผูห้ นึ่งหนัก 500 นิวตัน บนผิวโลก เขาจะหนักเท่าใด
เมื่อขึ้นไปอยูบ่ นดาวเคราะห์ดวงนี้
1. 500 นิวตัน 2. 550 นิวตัน 3. 650 นิวตัน 4. 750 นิวตัน



36
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
เฉลยบทที่ 3 แรง และกฎการเคลือ่ นทีข
่ องนิวตัน
1. ตอบข้ อ 4. 2. ตอบข้ อ 2. 3. ตอบข้ อ 3. 4. ตอบข้ อ 3.
5. ตอบข้ อ 4. 6. ตอบข้ อ 2. 7. ตอบข้ อ 1. 8. ตอบข้ อ 3.
9. ตอบข้ อ 2. 10. ตอบข้ อ 3. 11. ตอบข้ อ 4. 12. ตอบข้ อ 1.
13. ตอบข้ อ 1. 14. ตอบข้ อ 4. 15. ตอบข้ อ 3. 16. ตอบข้ อ 3.
17. ตอบ 49.15 18. ตอบข้ อ 4. 19. ตอบข้ อ 3. 20. ตอบข้ อ 4.
21. ตอบข้ อ 1. 22. ตอบข้ อ 2. 23. ตอบข้ อ 3. 24. ตอบข้ อ 3.
25. ตอบ 3 26. ตอบข้ อ 4. 27. ตอบข้ อ 2. 28. ตอบข้ อ 3.
29. ตอบข้ อ 3. 30. ตอบข้ อ 1. 31. ตอบข้ อ 1. 32. ตอบข้ อ 3.
33. ตอบข้ อ 4. 34. ตอบข้ อ 2. 35. ตอบข้ อ 4. 36. ตอบข้ อ 1.
37. ตอบข้ อ 1. 38. ตอบข้ อ 1. 39. ตอบข้ อ 1. 40. ตอบข้ อ 2.
41. ตอบข้ อ 3. 42. ตอบข้ อ 4. 43. ตอบข้ อ 1. 44. ตอบข้ อ 3.
45. ตอบข้ อ 2. 46. ตอบ 40 47. ตอบ 825 48. ตอบข้ อ 3.
49. ตอบ 200 50. ตอบข้ อ 1. 51. ตอบข้ อ 3. 52. ตอบข้ อ 1.
53. ตอบข้ อ 2. 54. ตอบข้ อ 2. 55. ตอบข้ อ 2. 56. ตอบ 200
57. ตอบข้ อ 3. 58. ตอบข้ อ 2. 59. ตอบ 300 60. ตอบข้ อ 1.
61. ตอบข้ อ 2. 62. ตอบข้ อ 1. 63. ตอบข้ อ 2. 64. ตอบข้ อ 2.
65. ตอบข้ อ 3. 66. ตอบข้ อ 2. 67. ตอบข้ อ 1. 68. ตอบข้ อ 4.
69. ตอบข้ อ 4. 70. ตอบข้ อ 1. 71. ตอบข้ อ 2. 72. ตอบข้ อ 4.
73. ตอบข้ อ 2. 74. ตอบข้ อ 2. 75. ตอบข้ อ 4. 76. ตอบข้ อ 4.
77. ตอบข้ อ 3. 78. ตอบข้ อ 4. 79. ตอบข้ อ 2. 80. ตอบข้ อ 3.
81. ตอบข้ อ 1. 82. ตอบข้ อ 1. 83. ตอบข้ อ 4. 84. ตอบข้ อ 2.
85. ตอบข้ อ 4.



37
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
ตะลุยโจทย์ท่วั ไป
บทที่ 3 แรง และก ฎก ารเคลื่ อ นที่ ข องนิ วตัน
3.1 มวล
1. วัตถุมีมวล 1.0 กิโลกรัม ณ. ตาแหน่งศูนย์สูตร ถ้านาวัตถุน้ ี ไปไว้ที่ข้ วั โลกจะมีขนาดเท่าใด
( กาหนดค่า g ดังนี้ ที่ศูนย์สูตร = 10 m/s2 และที่ข้ วั โลก = 9 m/s2)
1. 0.9 กิโลกรัม 2. 1.0 กิโลกรัม 3. 1.1 กิโลกรัม 4. 1.2 กิโลกรัม
3.2 แรง
3.2.1 การหาแรงลัพธ์
2. แรง 2 แรง ขนาด 4 นิวตัน และ 3 นิ วตัน กระทาต่อวัตถุชิ้นหนึ่ ง ณ จุดเดี ยวกัน จงหา
ขนาดของแรงลัพธ์เป็ นกี่นิวตัน ถ้าแรงทั้งสองกระทาในทิศทางเดียวกัน
3. แรง 2 แรง ขนาด 4 นิ วตัน และ 3 นิ วตัน กระทาต่อวัตถุ ชิ้นหนึ่ ง ณ จุดเดี ยวกัน จงหา
ขนาดของแรงลัพธ์เป็ นกี่นิวตัน ถ้าแรงกระทาในทิศทางตรงกันข้ามกัน
4. แรง 2 แรง ขนาด 3 นิ วตัน และ 4 นิ วตัน กระทาต่อวัตถุ ชิ้นหนึ่ ง ณ จุดเดี ยวกัน จงหา
ขนาดของแรงลัพธ์เป็ นกี่นิวตัน ถ้าแรงทั้งสองตั้งฉากกัน
5. จงหาขนาดแรงลัพธ์ของแรงขนาด 10 นิวตัน เท่ากัน 2 แรง ซึ่งทามุม 120o ซึ่งกันและกัน
1. 5 นิวตัน 2. 10 นิวตัน 3. 15 นิวตัน 4. 20 นิวตัน
6. แรง 2 แรง มีขนาด 5 นิวตัน และ 4 นิวตัน จงหาขนาดของแรงลัพธ์ที่เป็ นไปไม่ ได้
1. 1 นิวตัน 2. 5 นิวตัน 3. 8 นิวตัน 4. 10 นิวตัน

3.2.2 การแตกแรง
3.2.3 การหาแรงลัพธ์ ของแรงมากกว่า 2 แรงซึ่งทามุมต่ อกัน
7. จากรู ป จงหาแรงลัพธ์ 6N
1. 2 นิวตัน
2. 6 นิวตัน 5N 45o
3. 5 นิวตัน
4. 10 นิวตัน 2 2N
38
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
3.3 กฎการเคลือ่ นทีข่ องนิวตัน
8. กฎข้อที่ 1 ของนิวตัน คืออะไร
1. กฎของแรงกิริยา 2. กฎของแรงปฏิกิริยา
3. กฎของมวลสาร 4. กฎของความเฉื่ อย
9. ขณะยิงปื นแรงที่ปืนดันลูกกระสุ น และแรงที่ลูกกระสุ นดันปื นมีขนาดเท่ากัน แต่ทิศตรงกัน
ข้าม เหตุใดลูกกระสุ นจึงเคลื่อนที่ไปได้
1. เพราะแรงกระทาต่อกระสุ นมีเพียงแรงที่ปืนดันกระสุ นเพียงแรงเดียว
2. เพราะแรงปฏิกิริยาคือแรงที่กระสุ นปื นดันปื น ไม่ได้ดนั ตัวกระสุ นปื น
3. เพราะแรงลัพธ์ที่กระทาต่อกระสุ นปื นมิได้มีค่าเป็ นศูนย์
4. ถูกทุกข้อ
10. การที่จรวดเคลื่อนที่ไปข้างหน้าเนื่ องจากก าลังขับของการเผาไหม้เชื้ อเพลิงนั้น เป็ นไปตาม
กฎข้อใด
1. กฎข้อที่หนึ่งของนิวตัน 2. กฎข้อที่สองของนิวตัน
3. กฎข้อที่สามของนิวตัน 4. ไม่มีขอ้ ใดถูก
11. ถ้าจรวดพ่นแก๊สและเชื้อเพลิงที่เผาไหม้ออกไป ทาให้เกิดแรงขับเคลื่อนจรวดคงตัว ความ
เร่ งของจรวดจะเพิ่มขึ้นหรื อลดลง เพราะเหตุใด
1. เพิ่มขึ้น เพราะมวลลดลง 2. เพิ่มขึ้น เพราะแรงขับมีมากขึ้น
3. ลดลง เพราะแรงขับลดลง 4. คงที่ เพราะแรงขับคงที่

3.4 นา้ หนัก


12. วัตถุมวล 5 กิโลกรัม ตกจากตึกสู ง 50 เมตร ขณะลอยในอากาศมีแรงกระทาต่อวัตถุเท่าใด
1. 50 นิวตัน 2. 100 นิวตัน 3. 250 นิวตัน 4. 500 นิวตัน
13. นักบินอวกาศมวล 75 กิโลกรัม ซึ่ งน้ าหนักตัวของเขาบนดาวเคราะห์ดวงหนึ่ง พบว่าหนัก
225 นิวตัน ความเร่ งเนื่องจากแรงดึงดูดของดาวเคราะห์น้ ันเป็ นกี่เมตร/วินาที2
1. 2 2. 3 3. 5 4. 10

39
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
3.5 การนากฎการเคลือ่ นทีข่ องนิวตันไปใช้
14. เชือกเส้นหนึ่งทนแรงดึงได้มากที่สุด 600 นิวตัน นาไปฉุดวัตถุมวล 50 กิโลกรัม ซึ่ งวาง
บนพื้นระดับลื่นในแนวระดับ จะทาให้วตั ถุมีความเร่ งมากที่สุดกี่เมตร/วินาที2
1. 6 2. 8 3. 10 4. 12
15. รถทดลองมวล 15 กิโลกรัม ถูกแรงดึง 30 นิ วตัน จะเคลื่อนที่ดว้ ยความเร่ งเท่าใด และหาก
ตอนแรกมวลนี้ อยูน่ ิ่งๆ ถามว่าเมื่อเวลาผ่านไป 2 วินาที จะเคลื่อนที่ไปได้ไกลกี่เมตร
1. 2 เมตร/วินาที2 , 4 เมตร 2. 5 เมตร/วินาที2 , 10 เมตร
3. 1 เมตร/วินาที2 , 2 เมตร 4. 3 เมตร/วินาที2 , 6 เมตร
16. วัตถุมวล 20 กิโลกรัม วางอยูบ่ นพื้นราบถูกแรง 100 นิวตัน กระทาในแนวขนานกับ
พื้นทาให้วตั ถุเคลื่อนที่ได้ระยะทางเท่าใด ในเวลา 20 วินาที
1. 100 เมตร 2. 500 เมตร 3. 1000 เมตร 4. 2000 เมตร
17. วัตถุมวล 20 กิโลกรัม วางอยูบ่ นพื้นราบถูกแรง 100 นิวตัน กระทาในแนวขนานกับ
พื้นทาให้วตั ถุเคลื่อนที่เมื่อสิ้ นสุ ดวินาทีที่ 20 วัตถุมีความเร็ วกี่เมตร/วินาที
1. 400 2. 300 3. 200 4. 100
18. เด็กชายคนหนึ่งต้องการลากรถมวล 5 กิโลกรัม บรรจุของมวล 45 กิโลกรัม ด้วยแรง 100
นิวตัน ถ้าคิดว่าพื้นและรถไม่มีความฝื ด เด็กคนนี้ จะลากรถไปได้ไกลเท่าใดจากหยุดนิ่งใน
เวลา 2 วินาที
1. 10 เมตร 2. 8 เมตร 3. 4 เมตร 4. 2 เมตร
19. จากรู ปเป็ นกราฟระหว่างความเร็ ว v และเวลา t ใน v (km/s)
การเคลื่อนที่ของวัตถุมวล 5 กิโลกรัม จงหาว่าในการ
12 B
เปลี่ยนตาแหน่งของวัตถุจากจุด A ไปยังจุด B วัตถุน้ี
จะต้องใช้ได้รับแรงจากภายนอกกี่นิวตัน
1. 5 นิวตัน 2. 50 นิวตัน 4 A
0 t (s)
3. 500 นิวตัน 4. 5000 นิวตัน 8

40
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
20. แรงสองแรงมีขนาดเท่ากัน เท่ากับ 3.0 นิวตัน กระทาต่อมวล 6.0 กิโลกรัม จงหาความ
เร่ งของวัตถุเมื่อแรงทั้งสองกระทาในทิศเดียวกัน
1. –1 m/s2 2. 0 m/s2 3. 1 m/s2 4. 2 m/s2
21. แรงสองแรงมี ข นาดเท่ า กัน เท่ ากับ 3.0 นิ ว ตัน กระท าต่ อ มวล 6.0 กิ โ ลกรั ม จงหา
ความเร่ งของวัตถุเมื่อแรงทั้งสองกระทาในทิศตรงกันข้าม
1. –1 m/s2 2. 0 m/s2 3. 1 m/s2 4. 2 m/s2
22. ถ้ามีแรงขนาด 12.0 นิวตัน และ 16.0 นิวตัน กระทาต่อวัตถุซ่ ึ งมีมวล 4.0 กิโลกรัม โดย
แรงทั้งสองกระทาในทิศตั้งฉากซึ่ งกันและกัน วัตถุน้ นั จะเคลื่อนที่ดว้ ยอัตราเร่ งเท่าใด
1. 3.0 m/s2 2. 4.0 m/s2 3. 5.0 m/s2 4. 6.0 m/s2
23. ชายคนหนึ่งลากกระเป๋ ามวล 5 กิโลกรัม ให้เลื่อนไปตามพื้นราบที่ไม่มีความฝื ดด้วยแรง 40
นิวตัน โดยแรงนี้ทามุม 30o กับแนวราบ กระเป๋ าจะเลื่อนไปตามพื้นราบด้วยความเร่ ง เท่าใด
1. 0.50 m/s2 2. 0.85 m/s2 3. 4.00 m/s2 4. 6.93 m/s2
24. แรง 30 นิ วตัน กระทาต่อวัตถุมวลก้อนหนึ่งในทิศทามุม 60o กับพื้นราบ ถ้าวัตถุเคลื่อนที่
ด้วยความเร่ ง 3 เมตร/วินาที2 มวลก้อนนั้นมีค่ากี่กิโลกรัม
1. 4 2. 5 3. 6 4. 8
25. จากรู ป วัตถุมวล m1= 6 กิโลกรัม m2 = 4 กิโลกรัม
วางอยูบ่ นพื้นที่ไม่มีความฝื ด เมื่อออกแรง 40 นิวตัน 40 N m1 m2
กระทาต่อมวล m1 ทาให้มวลทั้งสองเคลื่อนที่ติดกันไป
มวล m1 และ m2 เคลื่อนที่ดว้ ยความเร่ งกี่เมตร/วินาที2
และแรงกระทาระหว่างมวล m1 และ m2 มีค่าเป็ นกี่นิวตัน ตอบตามลาดับ
1. 2 , 8 2. 4 , 16 3. 6 , 32 4. 8 , 40
26. จากรู ปวัตถุมวล 10 กิโลกรัม และ 5 กิโลกรัม
ผูกติดกันด้วยเชือก อยูบ่ นพื้นที่ไม่มีแรงเสี ยดทาน T2 T1
10 kg 5 kg
หากความเร่ งของการเคลื่อนที่มีค่า 2 เมตร/วินาที2
ให้หาแรง T1 และ T2
1. T1 = 60 N , T2 = 30 N 2. T1 = 150 N , T2 = 60 N
3. T1 = 30 N , T2 = 20 N 4. T1 = 60 N , T2 = 20 N
41
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน

27. รถ 2 คัน ผูกติดกันด้วยเชือกที่รับแรง เชือก


1 kg 1 kg
ได้สูงสุ ด 10 นิวตัน โดยไม่ขาด รถแต่
F
ละคันมีมวล 1 กิโลกรัม ค่าสู งสุ ดของ
แรง F ที่จะดึงให้รถทั้งสองคันเคลื่อนที่ไปด้วยกัน โดยเชือกไม่ขาดมีค่าเท่ากับ
1. 10 นิวตัน 2. 15 นิวตัน 3. 20 นิวตัน 4. 25 นิวตัน
28. วัตถุมวล 5.0 และ 10.0 กิโลกรัม ผูกติดกัน
a
ด้วยเชือกเบาดังรู ป วางอยูบ่ นพื้นราบที่ไม่มี
ความฝื ด ให้แรง F ซึ่ งมีค่าคงตัวกระทาต่อ F
5.0 kg 10.0 kg
วัตถุท้ งั สองอยูน่ าน 15 วินาที จนความเร็ วของ
วัตถุเปลี่ยนไป 40 เมตร/วินาที ให้หาค่าแรง
ที่เชือกดึงมวล 5.0 กิโลกรัม ว่ามีค่ากี่นิวตัน
29. มวล 5 กิโลกรัม และ 3 กิโลกรัม ผูก F
5 kg 3 kg
ติดกันด้วยตาชัง่ สปริ งและวางอยูบ่ นพื้น
ราบที่ไม่มีความฝื ด ออกแรง F ในแนวขนานกับพื้นกระทาแก่มวล 3 กิโลกรัม ดังรู ป ทาให้
มวลทั้งสองเคลื่อนที่จากหยุดนิ่ง ถ้าตาชัง่ สปริ งอ่านค่าได้ 20 นิวตัน แรง F มีขนาดกี่นิวตัน
1. 27.5 2. 32.0 3. 52.0 4. 60.0
30. หัวรถจักรมวล 10,000 กิโลกรัม มีแรงฉุ ด 100,000 นิวตัน ลากขบวนรถไฟจานวน 20 ตู้
มีมวลเท่ากันตูล้ ะ 2000 กิโลกรัม จงหาความเร่ งของขบวนรถไฟและแรงฉุ ดระหว่างตูร้ ถไฟ
ที่ 10 และตูท้ ี่ 11
1. 2 เมตร/วินาที2, 50,000 นิวตัน 2. 3 เมตร/วินาที2, 50,000 นิวตัน
3. 2 เมตร/วินาที2, 40,000 นิวตัน 4. 3 เมตร/วินาที2, 30,000 นิวตัน
31. F = 50 N

5 kg
T 2 T 1 o
3 kg 2 kg 37

วัตถุมวล 2, 3 และ 5 กิโลกรัม ผูกติดกันด้วยเชื อกเบาวางบนพื้นที่ไม่มีความฝื ด เมื่อออก


แรง 50 นิวตัน กระทาต่อมวล 2 กิโลกรัม ดังรู ป ผลต่างของแรงดึงในเส้นเชือก ( T1 – T2)
มีขนาดกี่นิวตัน
42
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
32. นักเรี ยนคนหนึ่งถือเชือกมวลน้อยมาก ซึ่ งปลายข้างหนึ่งผูกติดกับ
เหล็กมวล 7 กิโลกรัม ให้หาแรงดึงเชือกในหน่วยนิวตัน เมื่อดึง
เชือกขึ้นด้วยความเร่ ง 2 เมตร/วินาที2
33. นักเรี ยนคนหนึ่งถือเชือกมวลน้อยมาก ซึ่ งปลายข้างหนึ่งผูกติดกับ
เหล็กมวล 7 กิโลกรัม ให้หาแรงดึงเชือกในหน่วยนิวตัน เมื่อ
หย่อนเชื อกลงด้วยความเร่ ง 2 เมตร/วินาที2
34. ทาร์ซานมวล 75 กิโลกรัม เข้าไปอยูใ่ นลิฟต์ แล้วโหนเชื อกโดยขาลอยพ้นพื้น ถ้าขณะนั้น
ลิฟต์กาลังเคลื่อนที่ข้ ึนด้วยความเร่ ง 1.2 เมตร/วินาที2 จงหาแรงตึงเชือก
1. 740 นิวตัน 2. 800 นิวตัน 3. 840 นิวตัน 4. 900 นิวตัน
35. ลิงตัวหนึ่งมวล 10 กิโลกรัม เกาะเชือกซึ่ งแขวนไว้ในแนวดิ่ง โดยลิงอยูส่ ู งจากพื้น 18 เมตร
เมื่อลิงรู ดตัวลงมาตามเชือกจนถึงพื้นด้วยความเร่ งคงที่ในเวลา 3 วินาที ความตึงของเส้น
เชือกขณะที่ลิงรู ดตัวลงมาเท่ากับกี่นิวตัน
1. 40 2. 60 3. 140 4. 160

36. เชือก A ทนแรงดึงได้ 24000 นิวตัน และเชือก B ทนแรง A

ดึงได้ 7000 นิวตัน อยากทราบว่าค่าอัตราเร่ ง (a) สู งสุ ดในการ


1000 kg
ดึงมวลทั้งสองก้อน โดยเชื อกไม่ขาดเป็ นเท่าไร
1. 4 m/s2 2. 5 m/s2
B
a
3. 6 m/s2 4. 7 m/s2 500 kg

37. จากรู ปมวลสองก้อน m1 และ m2 มีขนาด 4 และ 5 กิโลกรัม 


ตามลาดับ ผูกติดกันด้วยเชื อกซึ่ งมีมวล 1 กิโลกรัม และมีแรง F F
ขนาด 120 นิวตัน กระทาต่อวัตถุในแนวดิ่งความเร่ งของระบบมี m1
ค่ากี่เมตร/วินาที2 แรงตึงเชือกที่ปลายบนและแรงตึงเชือกที่ปลาย
ล่างมีค่ากี่นิวตัน ตอบตามลาดับ
1. 1 , 45 , 60 2. 2 , 72 , 60 m2
3. 2 , 70 , 60 4. 1 , 45 , 59

43
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
38. เมื่อใช้แรงฉุด 200 นิ วตัน ดึงวัตถุสามก้อนมวล 2 , 3 , 5 กิ-
200 N
โลกรัม ขึ้นดังรู ป จงหาความตึงเชื อกแต่ละตอนระหว่างมวล
2 kg
และความเร่ งของระบบนี้ ตอบตามลาดับ
T1 นิวตัน
1. T1 = 165 N , T2 = 100 N , a = 15 m/s2
3 kg
2. T1 = 160 N , T2 = 100 N , a = 15 m/s2 T2 นิวตัน
3. T1 = 165 N , T2 = 100 N , a = 12 m/s2 5 kg
4. T1 = 160 N , T2 = 100 N , a = 10 m/s2
39. วัตถุ m1 มีค่า 0.3 kg วางอยูบ่ นโต๊ะที่ไม่มีความฝื ดผูก
ติดกับมวล m2 มีค่า 0.2 kg ด้วยเชือกเบา แล้วคล้อง m1
ผ่านรอกดังรู ป หลังจากมวล m2 เคลื่อนที่เป็ นระยะ
0.5 เมตร อัตราเร็ วของ m2 ขณะนั้นเท่ากับ 2 เมตร/- m2
2
วินาที ความเร่ งของมวล m1 เท่ากับกี่เมตร/วินาที และ
แรงดึงเชือกในเส้นเชือกที่ผกู มวล m1 และ m2 มีค่ากี่นิวตัน ตอบตามลาดับ
1. 1 , 2.2 2. 4 , 2.2 3. 3 , 1.2 4. 4 , 1.2
40. พิจารณาระบบดังในรู ป ก าหนดให้เชื อกไม่มีมวลและพื้นไม่มีความเสี ยดทาน แรงตึงใน
เส้นเชือก T จะมีค่ากี่นิวตัน
5 kg
1. 100
2. 50 a
10 kg
3. 100
3
4. ไม่มีขอ้ ใดถูก
41. มวล 2 และ 8 กิโลกรัม ถูกจัดดังรู ป (A)โดยพื้นโต๊ะ และรอกเกลี้ยง เมื่อจัดใหม่ตามรู ป
(B) อัตราส่ วนของความเร่ งของระบบ A ต่อระบบ B เป็ นเท่าใด
8 kg 2 kg

(A) 2 kg (B) 8 kg

1. 2 2. 4 3. 12 4. 14
44
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
42. ชายคนหนึ่งดึงวัตถุข้ ึนไปบนยอดตึกสู ง 50 เมตร โดยใช้วธิ ี นาเชือกเบาผูกกับวัตถุคล้องกับ
รอกลื่นดังรู ป พบว่าขณะวัตถุข้ ึนไปถึงยอดตึก
จะมีความเร็ ว 20 เมตร/วินาที ถ้าวัตถุมีมวล
25 กิโลกรัม ชายคนนั้นต้องออกแรงดึงเท่าไร
M
1. 50 นิวตัน 2. 150 นิวตัน
3. 250 นิวตัน 4. 350 นิวตัน
43. วัตถุมวล 5 กิโลกรัม และ 15 กิโลกรัม ผูกแขวนอยู่
คนละข้างของเชือกเบาที่คล้องผ่านรอกเบาและหมุนได้
คล่อง ดังรู ป ถ้าขณะเมื่อเริ่ มต้นวัตถุอยูส่ ู งจากพื้น 0.40
เมตร จงหาว่าวัตถุมวล 15 กิโลกรัม จะตกถึงพื้นใน
5 kg 15 kg
เวลากี่วนิ าที
0.4 ม.

44. จากรู ป เป็ นระบบของมวล 3 ก้อน จงหาว่าแรงดึงเชือก


T1 และ T2 แต่ละเส้นมีความตึงเป็ นเท่าไรตอบตามลาดับ
1. T1 = 88.9 N , T2 = 22.2 N T1
2. T1 = 88.9 N , T2 = 30.2 N 6 kg
T2
3. T1 = 70.9 N , T2 = 22.2 N 10 kg
2 kg
4. T1 = 70.9 N , T2 = 30.2 N
45. จากรู ปวัตถุ A และ B ผูกติดกับเครื่ องชัง่ สปริ ง ซึ่ งถือได้วา่ เชื อกและสปริ งเบา ถ้า A
และ B มีมวล 4 และ 6 กิโลกรัม ตามลาดับ เครื่ องชัง่ สปริ งจะอ่านค่าได้เท่าใด

A B

1. 48 นิวตัน 2. 50 นิวตัน 3. 60 นิวตัน 4. 100 นิวตัน

45
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
46. จากรู ปตาชัง่ เบาผูกติดมวล A ซึ่งมีมวลมากกว่ามวล B
ตาชัง่
และ A กำลังเคลื่อนที่ดว้ ยความเร่ ง 2 เมตร/วินาที2 ขณะ
นั้นตาชัง่ อ่านค่าได้ 12 นิวตัน มวล A และ B มีค่ากี่ kg
1. A = 1.5 kg , B = 1 kg A B
2. A = 1.5 kg , B = 10 kg
3. A = 19 kg , B = 1 kg
4. A = 20 kg , B = 10 kg
47. มวล m เท่ากัน 2 ก้อน ผูกที่ปลายของเชือกเบาแล้วนาไป
คล้องกับรอกลื่นดังรู ป แรงตึงในเส้นเชือกจะมีค่าเป็ นเท่าไร
1. mg 2. 2 mg
3. 3 mg 4. 12 mg m m

48. หญิงตุ่มมวล 80 กิโลกรัม ยืนบนตาชัง่ ในลิฟต์ที่กาลังเคลื่อนลงด้วยความเร่ ง 2 เมตร/วินาที2


จงหาตัวเลขที่ปรากฏบนตาชัง่ มีค่ากี่กิโลกรัม
1. 64 2. 72 3. 80 4. 96
49. ชายคนหนึ่ งยืนอยู่บนตาชัง่ ในลิ ฟท์ที่ก าลังวิ่งขึ้ นด้วยอัตราเร่ งขนาดหนึ่ ง ขณะนั้นตาชัง่ ชี้
น้ าหนัก 600 นิ วตัน และพบว่าเมื่อลิฟท์น้ นั วิ่งลงด้วยอัตราเร่ งที่มีขนาดเท่าเดิม (เท่ากับเมื่อ
ตอนวิง่ ขึ้น) ตาชัง่ จะชี้น้ าหนัก 400 นิวตัน จงหามวลของชายคนนี้ ในหน่วยกิโลกรัม
50. ลิฟต์มวล 200 กิโลกรัม เคลื่อนที่ข้ ึนด้วยความเร่ ง 2 เมตร /วินาที2 ถ้าลวดที่แขวนลิฟต์
นี้ทนแรงดึงได้สูงสุ ด 7000 นิวตัน ลิฟต์จะบรรทุกคนได้มากที่สุดกี่คน
( ให้คน 1 คน มีมวลเฉลี่ย 50 kg และ g = 10 m/s2)
1. 7 คน 2. 8 คน 3. 10 คน 4. 14 คน
51. ยอดรักหนัก 65 กิโลกรัม แบกกลองหนัก 20 กิโลกรัม ยืนอยูใ่ นลิ ฟต์ที่กาลังเคลื่อนที่ลง
ถ้าเขาต้องออกแรง แบกกลอง 160 นิ วตัน จงหาอัตราเร่ งของลิ ฟ ต์ว่ามี ค่ากี่ เมตร/วินาที 2
และแรงที่พ้ืนลิฟต์กระทาต่อเท้าของยอดรัก มีค่ากี่นิวตันตอบตามลาดับ
1. 0.5 , 600 2. 2 , 620 3. 2 , 680 4. 4 , 680

46
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
52. ชายคนหนึ่ งมีมวล 55 กิ โลกรัม ยืนอยูบ่ นล้อเลื่อนถูกดึงให้เคลื่อนที่ข้ ึนไปตามพื้นเอียงซึ่ ง
ทามุม 37o กับแนวระดับด้วยความเร่ ง 2 เมตร/วินาที 2 จงหาแรงปฏิ กิ ริยาที่ พ้ืนล้อเลื่ อน
กระทาต่อชายคนนี้ในหน่วยนิวตัน
53. จากรู ป ชายคนหนึ่งมีมวล 80 กิโลกรัม อยูใ่ นห้องมวล 20 กิโลกรัม ถ้าต้องการให้หอ้ ง
เคลื่อนที่ลงด้วยความเร่ งคงที่ 2 เมตร/วินาที2
ชายคนนี้จะต้องออกแรงดึงเชือกเท่าใด
1. 200 นิวตัน
2. 400 นิวตัน
3. 600 นิวตัน
4. 800 นิวตัน
54. วัตถุมวล 20 กิ โลกรัม เคลื่ อนที่มาด้วยความเร็ ว 10 เมตร/วินาที ต้องออกแรงต้านการ
เคลื่ อนที่เท่าใด วัตถุ จึงจะหยุดได้ในเวลา 5 วินาที และวัตถุ เคลื่อนที่ได้ระยะทางเท่าใด
ก่อนหยุด
1. 10 นิวตัน , 15 เมตร 2. 20 นิวตัน , 20 เมตร
3. 30 นิวตัน , 25 เมตร 4. 40 นิวตัน , 25 เมตร
55. ลูกปื นมวล 40 กรัม ถูกยิงออกจากลากล้องปื นด้วยความเร็ ว 300 เมตร/วินาที ทะลุแผ่น
ไม้หนา 4 เซนติเมตร ทาให้อตั ราเร็ วของลู กปื นขณะออกจากแผ่นไม้อีกด้านหนึ่ งเท่ากับ
100 เมตร/วินาที ให้หาแรงเฉลี่ยที่แผ่นไม้กระทาต่อลูกปื นว่ามีค่ากี่นิวตัน
1. –4 x 104 2. 4 x 104 3. –8 x 104 4. 8 x 104

3.6 แรงเสี ยดทาน


56. วัตถุมวล 10 กิโลกรัม อยูบ่ นพื้นที่มี ส.ป.ส ความเสี ยดทาน 0.5 จงหาแรงน้อยที่สุดที่จะ
ทาให้วตั ถุเคลื่อนที่ไปด้วยความเร่ ง 2 เมตร/วินาที2
1. 20 นิวตัน 2. 40 นิวตัน 3. 60 นิวตัน 4. 80 นิวตัน

47
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
57. สมศรี ผลักรถยนต์มวล 1000 กิโลกรัม ในแนวราบจากจุดหยุดนิ่ง ให้เคลื่อนที่จนมีความ
เร็ ว 20 เมตรต่อวินาที ในเวลา 10 วินาที ถ้าพื้นมีค่าสัมประสิ ทธิ์ ของความเสี ยดทาน 0.50
สมศรี ตอ้ งออกแรงกี่นิวตัน
1. 7000 2. 2000 3. 3000 4. 5000
58. แท่งไม้สี่เหลี่ยม A และ B มีมวล 0.3 และ 0.6
F
กิโลกรัมตามลาดับ วางติดกันบนพื้นราบ ถ้าออก B A

แรงผลัก F 15 นิวตัน ดังรู ป ทาให้แท่งไม้ B มี


ความเร่ ง 10 เมตรต่อวินาที2 จงหาสัมประสิ ทธิ์ ความเสี ยดทานจลน์ระหว่างแท่งไม้กบั พื้น
1. 19 2. 16 3. 12 4. 23
59. แท่งเหล็กมวล 60 กิโลกรัม และ 140 กิโลกรัม วางอยูช่ ิดกันบนพื้นราบ ถ้าออกแรง 800
นิวตัน กระทาต่อแท่งเหล็กแท่งแรกในแนวขนานพื้น จงหาว่าแรงที่แท่งเหล็กทั้งสองกระทา
ต่อกันมีค่ากี่นิวตัน ถ้าค่าสัมประสิ ทธิ์ แรงเสี ยดทานจลน์ระหว่างแท่งเหล็กกับพื้นมีค่า 0.25
1. 560 2. 750 3. 800 4. 1260
60. กล่องมวล 2 กิโลกรัม และ 3 กิโลกรัม ถูก
10 N 30 N
แรง 10 นิวตัน และ 30 นิวตัน กระทาตาม 2 kg 3 kg

แนวระดับดังในรู ป ถ้าสัมประสิ ทธิ์ ความ


เสี ยดทานของกล่องกับพื้นเท่ากับ 0.3 แรงที่กล่องมวล 3 กิโลกรัม กระทาต่อกล่องมวล 2
กิโลกรัม เป็ นกี่นิวตัน
1. 18 2. 14 3. 12 4. 10

61. จากรู ปแรง F = 120 นิวตัน ดึงมวล 5 กิโลกรัม ดังรู ป จงหาความเร่ งของมวลทุกก้อน ,
T1 และ T2 เมื่อสัมประสิ ทธิ์ ของความเสี ยดทาน = 0.1 ( ตอบตามลาดับ )

15 kg T1 T2 F
10 kg 5 kg

1. 3 m/s2 , 60 N , 100 N 2. 6 m/s2 , 120 N , 200 N


3. 9 m/s2 , 180 N , 300 N 4. 12 m/s2 , 240 N , 400 N

48
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
62. ถ้าก้อนไม้กอ้ นหนึ่งมีมวล 10 กิโลกรัม ถูกดึงให้เคลื่อนที่ไปบนพื้นไม้ในแนวราบด้วยแรง
ที่สามารถเอาชนะแรงของความเสี ยดทานสถิตได้พอดีเท่านั้น ถ้าค่าสัมประสิ ทธิ์ ความเสี ยด
ทานสถิตและสัมประสิ ทธิ์ ความเสี ยดทานจลน์ระหว่างก้อนไม้กบั พื้นไม้มีค่าเท่ากับ 0.5 และ
0.3 ตามลาดับ ก้อนไม้จะเคลื่อนที่ดว้ ย ( ใช้ค่า g = 10 เมตร/วินาที2 )
1. ความเร็ วคงที่ 2. ความเร่ ง 0.2 เมตร/วินาที2
3. ความเร่ ง 0.5 เมตร/วินาที2 4. ความเร่ ง 2.0 เมตร/วินาที2

63. วัตถุ 3 ก้อนเหมือนกันทุกประการ ถ้าวางดังรู ป


1
จะมีความเร่ ง a เมตร/วินาที2 ถ้าเอามวลก้อน
2
ที่ 1 ออกความเร่ งจะเป็ น 3a เมตร/วินาที2 จง
หาค่า  ระหว่างวัตถุกบั พื้นโต๊ะ
1. 23 2. 13 3. 12 4. 0 3

64. ไม้สี่เหลี่ยมแห่งหนึ่งมีมวล m เท่ากับ 2 กิโลกรัม วางบน


พื้นเอียงทามุม 30o กับแนวราบ ดังรู ป ถ้ากาหนดค่าสัม- m
ประสิ ทธิ์ ของแรงเสี ยดทานเท่ากับ 0.6 จงหาแรงน้อยที่สุด 30o
ที่จะดึงไม้แท่งนี้ข้ ึนไปตามพื้นเอียง
1. 18.4 นิวตัน 2. 20.4 นิวตัน 3. 23.4 นิวตัน 4. 25.3 นิวตัน
65. แท่งไม้สี่เหลี่ยมแท่งหนึ่ งมีมวล 4 กิโลกรัม วางบนพื้นเอียงทามุม 37o กับแนวระดับ
ถ้าสัมประสิ ทธิ์ ของแรงเสี ยดทานระหว่างผิวของแท่งไม้กบั พื้นเอียงเท่ากับ 0.4 จงหาแรง
น้อยที่สุดที่จะดึงแท่งไม้น้ ีข้ ึนไปตามพื้นเอียง
1. 24.0 N 2. 36.8 N 3. 48.6 N 4. 56.2 N
66. วัต ถุ มี น้ าหนั ก 20 นิ ว ตัน วางอยู่ บ นพื้ น เอี ย งซึ่ งเอี ย งท ามุ ม 45o กับ แนวระดับ ถ้ า
สัมประสิ ทธิ์ ความเสี ยดทานจลน์ระหว่าง วัตถุ กบั พื้นเท่ากับ 0.3 แรง F กระทาต่อวัตถุ มี
แนวขนานกับพื้นเอียง จงหาแรงดึงขึ้นว่ามีค่ากี่นิวตันเมื่อวัตถุน้ นั เคลื่อนที่ข้ ึน

49
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
67. วัตถุชิ้นหนึ่งมีมวล 2.0 กิโลกรัม ถูกดึงให้เคลื่อนที่ข้ ึนไปตามพื้นเอียง 30 องศา โดยใช้
เส้นเชือกตามรู ป ถ้าความตึงในเส้นเชือกเป็ น 40 นิวตัน และแรงเสี ยดทานมีขนาด 2.0
นิวตัน ความเร่ งของวัตถุจะมีค่าเป็ นเท่าไร
1. 15 เมตร/วินาที2 40 N
2. 14 เมตร/วินาที2
3. 14 เมตร/วินาที2
30o
4. 24 เมตร/วินาที 2

68. กล่องไม้สี่เหลี่ยมมวล m ไถลลงมาตามพื้นเอียงทามุม


30o กับแนวราบ ค่าสัมประสิ ทธิ์ ความเสี ยดทานระหว่าง m
ผิวกล่องกับพื้นเอียงเท่ากับ 0.2 ความเร่ งของกล่องขณะ
30o
ลงมาตามพื้นเอียงจะเท่ากับเท่าไร
1. 1.73 m/s2 2. 3.27 m/s2 3. 3.5 m/s2 4. 6.73 m/s2
69. มวล m วางบนพื้นเอียงที่ทามุม 30o กับ
พื้นราบ ถูกโยงกับมวล 10 กิโลกรัม ด้วย
เชือกไร้น้ าหนักซึ่ งพาดอยูบ่ นรอกดังรู ป ถ้า m
มวล m กาลังเคลื่อนที่ข้ ึนด้วยความเร่ ง 2.0 10 kg
o
เมตรต่อ(วินาที)2 และสัมประสิ ทธิ์ ความ 30

เสี ยดทานจลน์ระหว่างมวล m กับพื้นเอียง คือ 0.5 มวล m จะใกล้เคียงกับค่าใด


1. 7 kg 2. 9 kg 3. 10 kg 4. 11 kg

70. มวล A 5 กิโลกรัม มวล B 10 กิโลกรัม โยง F


เข้าด้วยกันด้วยเชือกเส้นหนึ่งคล้องผ่านรอกที่
ไม่มีความฝื ด ดังในรู ป ถ้าค่าสัมประสิ ทธิ์ 5 kg
ความเสี ยดทานระหว่างมวลกับพื้นเท่ากับ 0.4 10 kg 30o
ทั้งสองก้อน จงหาค่าแรง F ที่พอดี ดึงมวล
ทั้งระบบขึ้นไปด้วยความเร็ วคงที่ (g = 10 m/s2 , sin 30o = 0.500 , cos 30o = 0.866)
1. 17 นิวตัน 2. 25 นิวตัน 3. 40 นิวตัน 4. 82 นิวตัน

50
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
71. จากรู ป พื้นเอียงและพื้นราบมีสัมประสิ ทธิ์ ของ
ความเสี ยดทานเท่ากับ  ปรากฏว่ามวล 40
กิโลกรัม เคลื่อนที่ลงตามพื้นเอียงด้วยอัตราเร็ ว 40 kg
20 kg 37o
คงที่ จงหาค่า  ( sin37o = 0.6 , cos37o = 0.8 )

72. มวล 1 กก. และ 2 กก. ผูกติดกันด้วยเชื อก


1 กก.
เบา แล้วนาไปคล้องลูกรอกตามรู ป จงหาขนาด
2 กก. F
F ที่ทาให้ความตึงของเชือกเท่ากับ 5 นิวตัน
สัมประสิ ทธิ์ ของแรงเสี ยดทานจลน์ระหว่างมวล
1 กก. กับ มวล 2 กก. และระหว่างมวล 2 กก. กับพื้นเป็ น 0.25
1. 15.0 N 2. 17.5 N 3. 20.0 N 4. 22.5 N
73. กล่องใส่ มวล 2 กิโลกรัม ถูกดึงจากหยุดนิ่งด้วยแรงคงที่
P
ขนาด 22 นิวตัน ในทิศ 60 องศา กับแนวราบให้เคลื่อน
ที่ไปตามพื้นราบจนมีความเร็ ว 2 เมตรต่อวินาที ในเวลา 60 o
0.8 วินาที ถ้าคิดว่าแรงเสี ยดทานคงที่ แรงเสี ยดทานนี้ จะ
มีขนาดกี่นิวตัน
1. 5 N 2. 6 N 3. 11 N 4. 14 N
74. ดึงวัตถุมวล 40 กิโลกรัม ด้วยแรง 500 นิวตัน
วัตถุวางอยูบ่ นพื้นที่มีสัมประสิ ทธิ์ ของความเสี ยด 500 N
ทาน 0.4 ดังรู ป จงหาความเร่ งของวัตถุวา่ มีค่ากี่ 37o
เมตร/วินาที2
75. กล่องหนัก 20 กิโลกรัม พลัดตกลงมาจากรถซึ่ งกาลังแล่นด้วยอัตราเร็ ว 30 เมตรต่อวินาที
ถ้ากล่องใบนั้นไถลไปตามพื้นถนนได้ไกล 40 เมตร จึงหยุดนิ่ ง แรงเสี ยดทานระหว่างกล่อง
กับพื้นถนนเป็ นกี่นิวตัน

51
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
76. รถยนต์คนั หนึ่ งขณะที่ วิ่งด้วยความเร็ ว 72 กิ โลเมตร/ชัว่ โมง เกิ ดเหตุที่ทาให้คนขับต้อง
เหยียบเบรกกะทันหัน สมมติ ว่าการเหยียบเบรกทาให้ลอ้ รถหยุดหมุนทันที จงหาว่าหลัง
จากที่เหยียบเบรกไปแล้ว 2 วินาที ความเร็ วของรถยนต์จะลดลงเหลื อเท่าไร กาหนดให้
สัมประสิ ทธิ์ ความเสี ยดทานระหว่างยางรถยนต์กบั ถนนเท่ากับ 0.5 และ g = 10 m/s2
1. 60 km/h 2. 32 km/h 3. 36 km/h 4. 62 km/h

3.7 กฎแรงดึงดูดระหว่ างมวลของนิวตัน


3.7.1 สนามโน้ มถ่ วง
77. ข้อใดกล่าวถูกต้อง เกี่ยวกับแรงดึงดูดระหว่างมวล
1. แปรโดยตรงกับผลคูณของมวลทั้งสอง 2. แปรผกผันกับกาลังสองของระยะห่าง
3. เป็ นแรงต่างกระทาร่ วมของมวลทั้งสอง 4. ที่กล่าวมาถูกทุกข้อ
78. ดาว ก และ ดาว ข มีมวล 60 x 1024 กิโลกรัม และ 16 x 1027 กิโลกรัม ตามลาดับ ถ้า
ดาวทั้งสองอยูห่ ่างกัน 4 x 109 เมตร จงคานวณหาว่าแรงดึงดูดระหว่างมวลของดาวทั้งสอง
เท่ากับกี่นิวตัน ( ให้ค่าคงตัวของแรงดึงดูดระหว่างมวล = 6.7 x 10–11 N.m2/kg2 )
1. 4.00 x 1024 2. 3.72 x 1025 3. 4.15 x 1022 4. 5.16 x 1021
79. ถ้าระยะห่างระหว่างมวลสองก้อนเพิ่มขึ้นเป็ น 4 เท่าของเดิม แรงดึงดูดระหว่างมวลจะ เป็ น
กี่เท่าของเดิม
1. 161 2. 41 3. 4 4. 16
80. ถ้าระยะห่างระหว่างมวลสองก้อนลดลงเป็ น 41 เท่าของเดิม แรงดึงดูดระหว่างมวลจะเป็ น
กี่เท่าของเดิม
1. 161 2. 41 3. 4 4. 16

3.7.2 ความเร่ งโน้ มถ่ วง ( g ) ณ ตาแหน่ งที่ห่างจากผิวโลก


81. จงหาอัตราส่ วนของแรงโน้มถ่วงที่โลกกระทาต่อยานอวกาศ เมื่ออยูท่ ี่ระดับสู งจากผิวโลก
เป็ นระยะทางเท่ากับครึ่ งหนึ่ งของรัศมี ของโลกต่อแรงโน้มถ่วงที่ โลกกระทาต่อยานอวกาศ
เมื่ออยูบ่ นผิวโลก
1. 12 2. 23 3. 2 4. 49
52
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
82. ถ้ามวลของโลกเพิ่มขึ้นเป็ น 16 เท่าของมวลเดิ ม ขณะที่รัศมีเพิ่มขึ้นเป็ น 2 เท่าของรัศมี
เดิมความเร่ ง g จะมีค่าเปลี่ยนจากเดิมไปเป็ นกี่เมตร/วินาที2
1. 80 2. 2.5 3. 1.25 4. 40
83. โลกมีมวลประมาณ 80 เท่าของมวลดวงจันทร์ และมีรัศมีเป็ น 4 เท่าของดวงจันทร์ จงหา
ความเร่ งที่ผวิ ดวงจันทร์ เป็ นกี่เท่าของความเร่ งที่ผวิ โลก
1. 16 2. 15 3. 41 4. 13
84. เมื่อชัง่ วัตถุที่ระยะห่างจากผิวโลกเป็ นสามเท่าของรัศมีโลก วัตถุจะหนัก 10 นิวตัน ถามว่า
จะชัง่ วัตถุน้ ีที่ผวิ โลกได้หนักกี่นิวตัน
85. นักบินอวกาศหนัก 800 นิ วตัน เมื่อไปอยูบ่ นดาวเคราะห์ดวงหนึ่ง ซึ่ งมีเส้นผ่าศูนย์กลาง
ครึ่ งหนึ่ งของเส้นผ่านศูนย์กลางโลก และมีมวล 15 ของมวลโลก อยากทราบว่านักบินอวกาศ
คนนี้จะหนักเท่าใด เมื่ออยูท่ ี่ผวิ โลก
1. 600 นิวตัน 2. 800 นิวตัน 3. 1000 นิวตัน 4. 1200 นิวตัน
86. นักบินอวกาศชัง่ น้ าหนักตนเองบนดาวเคราะห์ดวงหนึ่งได้ 14 เท่าของน้ าหนักบนผิวโลก
ถ้าดาว เคราะห์น้ ีมีรัศมี 12 เท่าของรัศมีโลก มวลดาวเคราะห์มีค่าเป็ นกี่เท่าของมวลโลก
1. 4 2. 16 3. 14 4. 161



53
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
เฉลยตะลุยโจทย์ท่วั ไป
บทที่ 3 แรง และกฎการเคลื่ อ นที่ ข องนิ ว ตัน
1. ตอบข้ อ 2. 2. ตอบ 7 3. ตอบ 1 4. ตอบ 5
5. ตอบข้ อ 2. 6. ตอบข้ อ 4. 7. ตอบข้ อ 3. 8. ตอบข้ อ 4.
9. ตอบข้ อ 4. 10. ตอบข้ อ 3. 11. ตอบข้ อ 1. 12. ตอบข้ อ 1.
13. ตอบข้ อ 2. 14. ตอบข้ อ 4. 15. ตอบข้ อ 1. 16. ตอบข้ อ 3.
17. ตอบข้ อ 4. 18. ตอบข้ อ 3. 19. ตอบข้ อ 4. 20. ตอบข้ อ 3.
21. ตอบข้ อ 2. 22. ตอบข้ อ 3. 23. ตอบข้ อ 4. 24. ตอบข้ อ 2.
25. ตอบข้ อ 2. 26. ตอบข้ อ 3. 27. ตอบข้ อ 3. 28. ตอบ 13.35
29. ตอบข้ อ 2. 30. ตอบข้ อ 3. 31. ตอบ 12 32. ตอบ 84
33. ตอบ 56 34. ตอบข้ อ 3. 35. ตอบข้ อ 2. 36. ตอบข้ อ 1.
37. ตอบข้ อ 2. 38. ตอบข้ อ 4. 39. ตอบข้ อ 4. 40. ตอบข้ อ 3.
41. ตอบข้ อ 4. 42. ตอบข้ อ 4. 43. ตอบ 0.4 44. ตอบข้ อ 1.
45. ตอบข้ อ 1. 46. ตอบข้ อ 1. 47. ตอบข้ อ 1. 48. ตอบข้ อ 1.
49. ตอบ 50 50. ตอบข้ อ 1. 51. ตอบข้ อ 3. 52. ตอบ 616
53. ตอบข้ อ 2. 54. ตอบข้ อ 4. 55. ตอบข้ อ 1. 56. ตอบข้ อ 3.
57. ตอบข้ อ 1. 58. ตอบข้ อ 4. 60. ตอบข้ อ 1. 61. ตอบข้ อ 1.
62. ตอบข้ อ 4. 63. ตอบข้ อ 2. 64. ตอบข้ อ 2. 65. ตอบข้ อ 2.
66. ตอบ 18.38 67. ตอบข้ อ 3. 68. ตอบข้ อ 2. 69. ตอบข้ อ 1.
70. ตอบข้ อ 4. 71. ตอบ 0.46 72. ตอบข้ อ 1. 73. ตอบข้ อ 2.
74. ตอบ 9 75. ตอบ 225 76. ตอบข้ อ 3. 77. ตอบข้ อ 4.
78. ตอบข้ อ 1. 79. ตอบข้ อ 1. 80. ตอบข้ อ 4. 81. ตอบข้ อ 4.
82. ตอบข้ อ 4. 83. ตอบข้ อ 2. 84. ตอบ 160 85. ตอบข้ อ 3.
86. ตอบข้ อ 4.


54
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
บทที่ 4 การเคลือ
่ นทีแ
่ บบต่างๆ
4.1 การเคลือ่ นที่แบบโพรเจกไทล์
การเคลือ่ นที่แบบโพรเจกไทล์ คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งรู ปพาราโบลา เกิดจาก
การเคลื่อนที่หลายมิติผสมกัน ตัวอย่างเช่นหากเราขว้างวัตถุออกไปในแนวราบจากดาดฟ้ าตึก
แห่งหนึ่ง เราจะพบว่าวัตถุจะมีความพยายามที่จะเคลื่อนที่ไปใน แกน X
แนวราบ ( แกน X ) ตามแรงที่เราขว้าง พร้อมกันนั้นวัตถุ
จะถูกแรงโน้มถ่วงของโลก ดึงให้เคลื่อนที่ตกลงมาในแนว
ดิ่ง ( แกน Y ) ด้วย และเนื่องจากการเคลื่อนที่ท้ งั สองแนว
แกน Y
นี้เกิดในเวลาเดียวกัน จึงเกิดการผสมผสานกันกลายเป็ น
การเคลื่อนที่แบบเส้นโค้งพาราโบลาพุง่ ออกมาระหว่างกลางแนวราบ (แกน X ) และแนวดิ่ง
( แกน Y ) ดังรู ป การเคลื่อนที่ในวิถีโค้งแบบนี้ เรี ยกว่าเป็ น การเคลือ่ นที่แบบโพรเจกไทล์
การคานวณเกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์น้ ัน ต้องแยกคิดแกนย่อย (แกน X ,
แกน Y) ทีละแกน สุ ดท้ายจึงนาคาตอบของแกนย่อยเหล่านั้นมาหาคาตอบลัพธ์ของโพรเจกไทล์
ตัวอย่ าง ขว้างวัตถุไปตามแนวราบจากที่สูงแห่งหนึ่ง ด้วย Vx= 2 m/s
ความเร็ วต้น 2 เมตร/วินาที เมื่อเวลาผ่านไป 1 วินาที
จงหา ก. การกระจัด
ข. ความเร็ วปลาย
ค. มุมที่ความเร็ วปลายกระทาต่อแนวราบ
วิธีทา วัตถุที่ถูกขว้างไปตามแนวราบจากดาดฟ้ าตึกนี้ จะเคลื่อนที่ตกลงมาเป็ นรู ปโพรเจกไทล์
ก. หาการกระจัด ( s )
การกระจัด คือความยาวที่วดั เป็ นเส้นตรงจากจุดเริ่ มต้นลงมาถึงจุดสุ ดท้ายดังรู ปถัดไป
ซึ่งสามารถหาค่าได้ดงั นี้

1
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ

ขั้น 1 หาการกระจัดในแนวราบ ( แกน X ) Vx= 2 m/s sx= 2 ม.


ในแนวราบนั้นความเร็ วจะคงที่ โดยโจทย์กาหนด
Vx (คงที่) = 2 m/s , t = 1 วินาที , sx = ? sลัพธ์
sy= 5 ม.
จาก sx = Vx t
จะได้ sx = (2) (1) = 2 เมตร
ขั้น 2 หาการกระจัดในแนวดิ่ง ( แกน Y )
โจทย์บอก uy = 0 , a = 10 m/s2 , t = 1 วินาที , sy = ?
จาก s = u t + 12 a t2
จะได้ sy = (0)(2) + 12 (10)(1)2 = 5 เมตร
สุ ดท้ าย หาการกระจัดของการเคลื่อนที่ท้ งั หมด (sลัพธ์ )
จาก sลัพธ์ = s 2x  s 2y = 2 2  52 = 5.4 เมตร
นัน่ คือเมื่อเวลาผ่านไป 1 วินาที วัตถุจะอยูห่ ่างจากจุดเริ่ มต้น 5.4 เมตร
ข. หาความเร็วปลาย ( v )
ขั้น 1 คิดแนวราบ ( แกน X ) ในแนวราบนั้นความเร็ วของการเคลื่อนที่จะคงที่
ดังนั้น ความเร็ วปลายของแกน X (Vx) = ความเร็ วต้น = 2 เมตร/วินาที
ขั้น 2 คิดแนวดิ่ง( แกน Y) โจทย์บอก uy = 0 , a = 10 m/s2 , t = 1 วินาที , vy = ?
จาก v = u+ at
vy = (0) + (10) (1) = 10 เมตร/วินาที
สุ ดท้ าย หา vลัพธ์
จาก vลัพธ์ = v 2x  v 2y = 2 2  10 2 = 10.2 เมตร/วินาที
นัน่ คือเมื่อเวลาผ่านไป 1 วินาที วัตถุจะจะมีความเร็ วปลาย 10.2 เมตร/วินาที

2
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
ค. หามุมที่ความเร็วปลายกระทาต่ อแนวราบ vx= 2 m/s
vy
ได้จากสมการ tan  = v
x
เมื่อ vy คือความเร็ วปลายของแกน Y
vx คือความเร็ วปลายของแกน X 
vy= 10 m/s
คือมุมที่แนวการเคลื่อนที่กระทาต่อแนวราบ ( แกน X )
v
จาก tan  = v y
x
จะได้ tan  = 102
 = 78.7o

นัน่ คือมุมที่ความเร็ วปลายกระทาต่อแนวราบมีค่าเท่ากับ 78.7o

1. ขว้างวัตถุไปตามแนวราบจากที่สูงแห่งหนึ่ง ด้วยความเร็ วต้น vx = 3 m/s


3 เมตร/วินาที เมื่อเวลาผ่านไป 1 วินาที การกระจัดมี
ขนาดเท่ากับกี่เมตร
1. 3.0 2. 5.0 3. 5.5 4. 5.8

3
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
2. ขว้างวัตถุไปตามแนวราบจากที่สูงแห่งหนึ่ง ด้วย
ความเร็ วต้น 3 เมตร/วินาที เมื่อเวลาผ่านไป vx = 3 m/s
1 วินาที ความเร็ วปลายจะมีขนาดกี่เมตร/วินาที
และมุมที่ความเร็ วปลายนั้นเอียงกระทากับแนวราบ
1. 3.0 , 60.0o 2. 10.0 , 66.5o
3. 10.4 , 73.3o 4. 11.5 , 78.8o

3. เครื่ องบินทิ้งระเบิดบินในแนวระดับด้วยความเร็ ว 200 เมตรต่อวินาที สู งจากพื้นดิน 2000


เมตร เมื่อทิ้งระเบิดที่ปีกลงมา จงหาระเบิดตกไกลจากตาแหน่งที่ทิ้งตามแนวระดับเท่าไร

1. 3000 เมตร 2. 3500 เมตร 3. 4000 เมตร 4. 4500 เมตร

4
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
4(มช 41) ผลักวัตถุออกจากขอบดาดฟ้ าตึกสูง 20 เมตร ด้วยความเร็ วต้น 15 เมตร/วินาที ตาม
แนวระดับ วัตถุจะตกถึงพื้นที่ระยะห่างกี่เมตรจากฐานตึก
1. 10 2. 20 3. 30 4. 40

5. นักเรี ยนคนหนึ่งยืนบนดาดฟ้ าตึกห้าชั้นสูง 75 เมตร แล้วขว้างก้อนหิ นลงไปทามุมเอียง 30o


กับแนวระดับด้วยความเร็ ว 20 เมตร/วินาที วัตถุจะตกถึงพื้นห่างจากฐานตึกตามแนวราบ
กี่เมตร
1. 30 3 2. 20 3 3. 10 3 4. 3

5
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
6. ถ้าถือปื นที่ยงิ ด้วยแรงอัดของสปริ ง 4.0 m
เล็งไปยังเป้ า โดยให้สปริ งเล็งไปยัง
เป้ า โดยให้ลากล้องปื นขนานกับพื้น 5.0 m/s
และ สู งจากพื้น 6.0 เมตร ส่ วนปาก 6.0 m
ลากล้อง ปื น ห่างจากเป้ า 4.0 เมตร h
เมื่อทาการยิงลูก ปื น ซึ่ งเป็ นลูกเหล็ก
กลมเคลื่อนที่ออกจากปากลากล้องปื นด้วยความเร็ ว 5.0 เมตรต่อวินาที ในขณะเดียวกันเป้ า
ตกแบบเสรี สู่พ้ืน จงหาว่าลูกกลมเหล็กจะตกลงมาได้ระยะในแนวดิ่งกี่เมตรขณะกระทบเป้ า
และจุดที่กระทบอยูส่ ู งจากพื้นกี่เมตร ตามลาดับ
1. 3.2 , 2.8 2. 3.0 , 3.0 3. 4.0 , 2.0 4. 2.8 , 3.2

7. กาแพงห่างจากปากกระบอกปื น 10 2 เมตร โดยที่ปากกระบอกปื นเอียงทามุม 45o เมื่อ


กระสุ นถูกยิงออกจากปากกระบอกปื นขึ้นไปด้วยอัตราเร็ ว 20 เมตร/วินาที กระสุ นปื นจะ
กระทบกาแพงสูงจากพื้นกี่เมตร
1. 6.0 2. 6.2 3. 9.1 4. 10.6

6
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
8. ชายคนหนึ่งยืนบนยอดตึกขว้างลูกบอลออกไปด้วยความเร็ ว 15 เมตร/วินาที ทามุม 45 o
กับแนวราบไปยังตึกที่สูงกว่าอยูห่ ่างออกไป
45 เมตร อยากทราบว่าข้อใดถูกต้อง A 45o
1. ลูกบอลกระทบตึกที่จุด A
2. ลูกบอลกระทบตึกสูงกว่าจุด A 45 เมตร
3. ลูกบอลกระทบตึกต่ากว่าจุด A 45 เมตร
45 ม.
4. ลูกบอลตกถึงพื้นดินโดยไม่กระทบตึก

9(En 37) ชายคนหนึ่งอยูบ่ นพื้นสนามราบเขาขว้างลูกบอลขึ้นไปในอากาศ ลูกบอลลอยอยู่


ในอากาศนาน 4.0 วินาที โดยไม่คิดแรงต้านของอากาศ ถ้าลูกบอลไปได้ไกลในแนว
ระดับ 60.0 เมตร ความเร็ วที่ใช้ขว้างลูกบอลมีค่าเท่าใด
1. 15.0 m/s 2. 20.0 m/s 3. 25.0 m/s 4. 30.0 m/s

7
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
10. ขว้างลูกบอลไปในอากาศลูกบอลลอยในอากาศนาน 2 วินาที ปรากฏว่าลูกบอลตกไปไกล
80 เมตร ขณะขว้างลูกบอล ถามว่าลูกบอลจะพุง่ ขึ้นไปในอากาศทามุมเท่าไรกับแนวราบ

1. tan –1 13  2. tan –1 14  3. tan –1 15  4. tan –1 43 

ข้ อน่ าสนใจเกีย่ วกับการเคลือ่ นที่แบบโพรเจกไทล์


1. ถ้าเราปล่อยวัตถุให้ตกจากที่สูงในแนวดิ่ง วัตถุน้ ี
จะเคลื่อนที่เป็ นเส้นตรงลงมาในแนวดิ่ง พร้อมกับขว้าง
วัตถุอีกก้อนออกไปในแนวราบจากจุดเดียวกันกับก้อน
แรก วัตถุน้ ี จะเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ ดังรู ป วัตถุ
ทั้งสองจะตกถึงพื้นพร้อมกัน แต่จุดกระทบพื้นจะอยูค่ นละจุด และความเร็ วปลายของก้อนที่
เคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์จะมีท้ งั ความเร็ วของทั้งแกน X และแกน Y จึงทาให้กอ้ นนี้มีความเร็ ว
ปลายมากกว่าของก้อนที่เคลื่อนที่เป็ นเส้นตรงลงมา เพราะก้อนนี้จะมีความเร็ วปลายของแกน Y
อย่างเดียวเท่านั้น
2. เกี่ยวกับการโยนวัตถุจากพื้นสู่ อากาศแล้วปล่อยให้ตกลงมาถึงระดับเดิม
 
เวลาที่วตั ถุลอยในอากาศ ( t ) = ( 2 u gsin ) sY
2
ระยะทางที่วตั ถุข้ ึนไปได้สูงสุ ด ( sy ) = ( u sin
2
2g )  
2 2
ระยะทางตามแนวราบเมื่อวัตถุลงมาถึงระดับเดิม (sx) = ( ug sin 2 ) = ug 2 sin cos
เมื่อ u คือความเร็ วต้น ( เมตร/วินาที )
 คือมุมที่ความเร็ วต้นเอียงกระทากับแนวราบ

g คือความเร่ งเนื่องจากความโน้มถ่วงของโลก ( เมตร/วินาที2 )

8
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ

3. เกี่ยวกับการโยนวัตถุจากพื้นสู่ อากาศแล้วตกลง
มาถึงระดับเดิม ถ้าความเร็ วต้นเอียงทามุม 45o กับ
แนวราบ วัตถุจะเคลื่อนที่ไปได้ไกลที่สุดในแนวราบ  = 45o

4. เมื่อขว้างวัตถุข้ ึนจากพื้นเอียงทามุมกับแนวราบ
 กับ 90o– ด้วยความเร็ วต้นเท่ากัน วัตถุจะเคลื่อน
ได้ระยะทางในแนวราบ (Sx) เท่ากันเสมอ
5. เกี่ยวกับการโยนวัตถุจากพื้นสู่ อากาศแล้วตกลง
มาขณะที่วตั ถุเคลื่อนที่ข้ ึนและลง ที่ระดับความสู ง
เดียวกัน อัตราเร็ วและมุมที่ความเร็ วกระทากับแนว
ราบจะมีขนาดเท่ากัน
6. เวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ในแนวราบ ในแนวดิ่งและเวลาที่ใช้เคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์จะ
มีค่าเท่ากัน นัน่ คือ tX = tY = tรวม
7. เกี่ยวกับการโยนวัตถุจากพื้น จะได้วา่
sy
1
s x = 4 tan
เมื่อ sy คือ ระยะสูงในแนวดิ่ง ( เมตร )
sx คือ ระยะไกลในแนวราบ ( เมตร )
 คือ มุมที่ความเร็ วต้นเอียงกระทากับแนวราบ

9
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
11. ลูกบอลชนิดเดียวกัน 2 ลูก A และ B ลูกบอล A ถูกขว้างออกไปในแนวราบ และลูก
บอล B ถูกปล่อยให้ตกลงในแนวดิ่งพร้อมกันจากระดับสู งเดียวกัน
จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ แล้วเลือกข้อที่ถูกที่สุด
ก. ลูกบอล A ตกถึงพื้นก่อน B
ข. ลูกบอลทั้งสองตกถึงพื้นพร้อมกัน
ค. ลูกบอล A จะมีอตั ราเร็ วสูงกว่าขณะที่ตกถึงพื้น
ง. ลูกบอล B จะมีอตั ราเร็ วสูงกว่าขณะที่ตกถึงพื้น
1. ข้อ ก. ถูก 2. ข้อ ก. และ ค. ถูก
3. ข้อ ข. และ ค. ถูก 4. ข้อ ข. และ ง. ถูก

12. ขีปนาวุธถูกยิงจากพื้นด้วยความเร็ ว 60 เมตร/วินาที ในทิศทามุม 30o กับแนวระดับขีปนาวุธ


นั้น ลอยอยูใ่ นอากาศนานเท่าใด จึงตกถึงพื้นและขณะที่อยูจ่ ุดสู งสุ ดนั้นอยูห่ ่างจากพื้นเท่าไร

1. 3 วินาที , 45 เมตร 2. 6 วินาที , 60 เมตร


3. 6 วินาที , 45 เมตร 4. 6 วินาที , 60 เมตร

10
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
13. ตีวตั ถุให้วิง่ ขึ้นจากพื้นดินเป็ นมุม 30o วัตถุไปตกในระดับเดียวกันห่างจุดเริ่ มต้น 20 3
เมตร จงหาความเร็ วต้นของวัตถุ
1. 10 m/s 2. 14 m/s 3. 10 3 m/s 4. 20 m/s

14(มช 29) นักกรี ฑาขว้างค้อนมีความสามารถเหวี่ยงค้อนได้ในอัตราเร็ วสูงสุ ด 5 เมตร/วินาที


เขาจะสามารถขว้างค้อนไปได้ไกลสุ ดห่างจากจุดที่เขายืนอยูก่ ี่เมตร ถ้าไม่คิดแรงเสี ยดทาน
อากาศ และความสูงของนักกรี ฑา
1. 2.75 2. 2.50 3. 1.50 4. 1.25

15(แนว En) เมื่อขว้างหิ นก้อนหนึ่งด้วยความเร็ วต้น 20 เมตร/วินาที พบว่าหิ นก้อนนี้ตกถึง


พื้นราบด้วยความเร็ วที่ทามุม 30 องศากับแนวดิ่ง หิ นก้อนนี้จะขึ้นไปได้สูงสุ ดเท่าใด
1. 5 m 2. 10 m 3. 15 m 4. 20 m

11
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
16. ขว้างก้อนหินขึ้นไปในอากาศทามุม  กับ
แนวราบ ให้ t1 เป็ นเวลาที่คิดการเคลื่อนที่
t3

ในแนวดิ่งจากพื้นจนตกกลับมาที่เดิม t2 เป็ น t1
เวลาที่คิดการเคลื่อนที่ใน แนวราบ จาก จุด ที่ 
ขว้างถึงจุดที่ตก t3 เป็ นเวลาที่กอ้ นหิ นใช้ t2
ในการลอยอยูใ่ นอากาศทั้งหมดข้อใดถูก
t
1. t1 = t2 = t3 2. t1 = 23
t t t
3. t1 = t2 = 23 4. t1 = 22 = 23

17. ถ้าต้องการยิงปื นให้ได้ระยะทางในแนวราบเป็ น 3 เท่าของระยะทางในแนวดิ่ง ต้องยิงปื น


ทามุมเท่าไรกับแนวระดับ
1. 30o 2. 37o 3. 53o 4. 60o

12
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
4.2 การเคลือ่ นที่แบบวงกลมด้ วยอัตราเร็วคงตัว
4.2.1 คาบ ความถี่ และอัตราเร็วเชิงเส้ น
ก่อนศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบวงกลม
นักเรี ยนต้องทาความเข้าใจคาศัพท์ต่อไปนี้ให้ดีก่อน
1. คาบ ( T ) คือเวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ครบ 1 รอบ มีหน่วย
เป็ นวินาที ( s )
2. ความถี่ ( f ) คือจานวนรอบที่เคลื่อนที่ได้ในหนึ่งหน่วยเวลา
มีหน่วยเป็ น รอบ/วินาที หรื อเฮิรตซ์ (Hz) เราสามารถหาค่าความถี่ได้จากสมการต่อไปนี้
f = จานวนรอบ
เวลา หรื อ f = T1
เมื่อ f คือความถี่ ( Hz ) , T คือคาบของการเคลื่อนที่ ( วินาที )
3. อัตราเร็วเชิงเส้ น ( v ) คืออัตราเร็ วของการเคลื่อนที่ตามแนวเส้นรอบวง หาได้จากสมการ
v = 2rf หรื อ v = 2πT r
เมื่อ v คืออัตราเร็ วเชิงเส้น ( เมตร/วินาที )
r คือรัศมีการเคลื่อนที่ ( รัศมีวงกลมการเคลื่อนที่ ) ( เมตร )
ตัวอย่าง วัตถุกอ้ นหนึ่งเคลื่อนที่แบบวงกลมรัศมี 1 เมตร และในเวลา 3 วินาที จะเคลื่อนที่ได้
6 รอบ จงหา
ก. จงหาค่าความถี่ของการเคลื่อนที่ ข. คาบของการเคลื่อนที่ ค. อัตราเร็ วเชิงเส้น
วิธีทา โจทย์บอก r = 1 เมตร , เวลา = 3 วินาที , จานวนรอบที่เคลื่อนที่ได้ = 6 รอบ
ก. หาความถี่ ( f )
จาก f = จานวนรอบ
เวลา = 6 รอบ = 2 เฮิรตซ์
3 วินาที
ข. หาคาบ ( T )
จาก f = T1
จะได้ T = 1f = 12 = 0.5 วินาที
ค. หาอัตราเร็ วเชิงเส้น ( v )
จาก v = 2πT r = 2 π (1)
0.5 = 12.6 เมตร/วินาที
13
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
18. จากการเคลื่อนที่แบบวงกลมของวัตถุหนึ่งพบว่าช่วงเวลา 2 วินาที เคลื่อนที่ได้ 10 รอบ
รัศมีวงกลมมีค่าเท่ากับ 0.2 เมตร ค่าของความถี่ , คาบ และอัตราเร็ วเชิงเส้นของการ
เคลื่อนที่น้ ี มีค่าเท่าใดตามลาดับ
1. 5 เฮิรตซ์ , 0.2 วินาที , 6.3 เมตร/วินาที
2. 5 เฮิรตซ์ , 0.2 วินาที , 12.6 เมตร/วินาที
3. 10 เฮิรตซ์ , 0.4 วินาที , 6.3 เมตร/วินาที
4. 10 เฮิรตซ์ , 0.4 วินาที , 12.6 เมตร/วินาที

4.2.2 แรงสู่ ศูนย์ กลาง และความเร่ งสู่ ศูนย์ กลาง


โดยทัว่ ไปแล้วการเคลื่อนที่แบบวงกลม จะมีแรง
เกี่ยวข้องอย่างน้อย 2 แรง เสมอ ได้แก่ แรงหนีศนู ย์กลาง
1. แรงหนีศูนย์กลาง 2. แรงเข้าสู่ ศูนย์กลาง
ปกติแล้วแรงทั้งสองนี้ จะมีขนาดเท่ากัน แต่มีทิศ
ตรงกันข้ามดังรู ป และตามกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
เมื่อมีแรงเข้าสู่ ศูนย์กลาง จะต้องมีความเร่ งเข้าสู่ ศูนย์ แรงเข้ าสูศ่ นู ย์กลาง
กลางด้วย เราสามารถคานวณหาขนาดของแรงเข้าสู่
ศูนย์กลาง และความเร่ งเข้าสู่ ศูนย์กลางได้จากสมการ
Fc = mrv
2 และ a = v2
c r
เมื่อ Fc = แรงเข้าสู่ ศูนย์กลาง (นิวตัน) ac = ความเร่ งศูนย์กลาง ( เมตร/วินาที2 )
v = อัตราเร็ วเชิงเส้น ( เมตร/วินาที) r = รัศมีการเคลื่อนที่ ( เมตร )
m = มวลวัตถุที่เคลื่อนที่เป็ นวงกลมนั้น (kg)
14
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
19. จงหาความเร่ งเข้าสู่ ศูนย์กลางของวัตถุที่เคลื่อนที่เป็ นรู ปวงกลมรัศมี 8 เมตร ด้วยอัตราเร็ ว
20 เมตร/วินาที และหากมวลที่เคลื่อนที่มีขนาด 5 กิโลกรัม จงหาแรงเข้าสู่ ศูนย์กลาง

1. 50 m/s2 , 200 N 2. 50 m/s2 , 250 N


3. 100 m/s2 , 400 N 4. 100 m/s2 , 500 N

20. วัตถุมวล 1 กิโลกรัม เคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ วคงที่ 1 เมตร/วินาที บนพื้นราบ เมื่อมาถึง


จุด P ปรากฏว่ามีแรงขนาด 10 นิวตัน กระทาในทิศตั้งฉากกับทิศของความเร็ วและ
ขนานกับพื้นตลอดเวลานานกี่วินาที วัตถุจึงจะกลับมาที่จุด P
1. 0.314 2. 0.628 3. 3.14 4. 6.28

4.2.3 โจทย์ ตัวอย่ างเกีย่ วกับการเคลือ่ นที่แบบวงกลมด้ วยอัตราเร็วคงที่


ขั้นตอนการคานวณเกี่ยวกับวงกลม มีดงั นี้
1) วาดรู ปเขียนแรงกระทาที่เกี่ยวข้องทุกแรง
2) กาหนดให้ แรงเข้าวงกลม = แรงออกวงกลม แล้วแก้สมการจะได้คาตอบ

15
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
4.2.3.1 โจทย์ ตัวอย่ างเกีย่ วกับแรงดันพืน้ ( N )
ตัวอย่ าง ลูกแก้วมวล 1 กิโลกรัม เคลื่อนที่ข้ ึนรางโค้งตีลงั กาอันมีรัศมี 1 เมตร ด้วยความเร็ ว
คงที่ 4 เมตรต่อวินาที จงหาแรงปฏิกิริยาที่รางกระทาต่อลูกแก้วตอนที่
ก. ลูกแก้วอยูท่ ี่จุดล่างสุ ดของราง
ข. ลูกแก้วอยูท่ ี่จุดบนสุ ดของราง
ค. ลูกแก้วอยูท่ ี่จุดตรงกับแนวศูนย์กลางรางในแนวระดับ
วิธีทา โจทย์บอก m = 1 kg , r = 1 ม. , v = 4 m/s N
ก. ตอนลูกแก้วอยูท่ ี่จุดต่าสุ ดของราง จะถูกแรงกระทา 3 แรง คือ
2
1) แรงหนีศูนย์กลาง = m rv มีทิศออก
2) น้ าหนัก = m g มีทิศออก mg
mvr 2
3) แรงดันพื้น = N มีทิศเข้า
จาก  Fเข้า =  Fออก
2
N = m rv + m g
2
N = (1)(4)
(1) + (1)(10)
N = 26 นิวตัน
นัน่ คือขณะวัตถุเคลื่อนที่ผา่ นจุดต่าสุ ด แรงดันพื้นจะมีค่าเท่ากับ 26 นิวตัน
ข. ตอนลูกแก้วอยูท่ ี่จุดต่าสุ ดของราง จะถูกแรงกระทา 3 แรง คือ
2 mvr 2
1) แรงหนีศูนย์กลาง = m rv มีทิศออก
2) น้ าหนัก = m g มีทิศเข้า
3) แรงดันพื้น = N มีทิศเข้า
จาก  Fเข้า =  Fออก mg N

N + m g = m rv
2

N + (1) (10) = (1)(1) (4)2


N = 6 นิวตัน
นัน่ คือขณะวัตถุเคลื่อนที่ผา่ นจุดสูงสุ ด แรงดันพื้นจะมีค่าเท่ากับ 6 นิวตัน
16
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
ค. ตอนลูกแก้วอยูท่ ี่จุดตรงกับศูนย์กลางในแนวระดับ จะถูกแรงกระทา 3 แรง คือ
2
1) แรงหนีศูนย์กลาง = m rv มีทิศออก
2) แรงดันพื้น = N มีทิศเข้า
3) น้ าหนัก = m g มีทิศไม่เข้า ไม่ออก จึงไม่ตอ้ งคิด
จาก  Fเข้า =  Fออก

N = m rv
2 mvr 2
N
(4)2
N = (1)(1)
N = 16 นิวตัน
mg
นัน่ คือขณะวัตถุเคลื่อนผ่านจุดตรงกับศูนย์กลางในแนวระดับ
แรงดันพื้นจะมีค่าเท่ากับ 16 นิวตัน
21. รถคันหนึ่งมีมวล 1000 กิโลกรัม เคลื่อนที่ข้ ึนรางโค้งตี
ลังกาอันมีรัศมี 10 เมตร ด้วยความเร็ วคงที่ 30 เมตรต่อ
วินาที ตอนที่รถคันนี้ กาลังตีลงั กาอยูท่ ี่จุดสูงสุ ดของราง
โค้ง แรงปฏิกิริยาที่รางกระทาต่อรถมีค่ากี่นิวตัน
1. 40000 นิวตัน 2. 60000 นิวตัน 3. 80000 นิวตัน 4. 100000 นิวตัน

22. จากข้อที่ผา่ นมา จงหาแรงปฏิกิริยาที่รางกระทาต่อรถตอนรถอยูท่ ี่จุดล่างสุ ดของราง


1. 80000 N 2. 90000 N 3. 100000 N 4. 110000 N

17
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
23. จากข้อที่ผา่ นมา จงหาแรงปฏิกิริยาที่รางกระทาต่อรถตอนที่รถอยูท่ ี่จุดตรงกับแนวศูนย์กลาง
รางในแนวระดับ
1. 80000 N 2. 90000 N 3. 100000 N 4. 110000 N

24. เครื่ องบินไอพ่นบินเป็ นวงกลมในแนวดิ่งรัศมี 100 เมตร และอัตราเร็ วคงที่ 100 เมตร/-
วินาที นักบินมีมวล 50 กิโลกรัม อยากทราบว่า แรงปฏิกิริยาที่เบาะนัง่ กระทาต่อนักบิน
เป็ นเท่าไร ขณะเครื่ องบินอยูท่ ี่จุดสูงสุ ด
1. 4000 นิวตัน 2. 4500 นิวตัน 3. 5000 นิวตัน 4. 5500 นิวตัน

25(แนว มช) วัตถุกลมเล็กอันหนึ่งมีมวล 5 กิโลกรัม วางอยูจ่ ุดบนสุ ดของครึ่ งทรงกลมตัน


รัศมี 10 เมตร จงหาอัตราเร็ วในแนวระดับที่นอ้ ยที่สุดที่จะทาให้วตั ถุหลุดออกผิวทรงกลม
โดยไม่มีการเลื่อนไถลลงมาตามผิวทรงกลม
1. 2 m/s 2. 4 m/s 3. 10 m/s 4. 100 m/s

18
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ

4.2.3.2 โจทย์ ตัวอย่ างเกีย่ วกับแรงดึงในเส้ นเชือก ( T )


ตัวอย่ างโจทย์ เกีย่ วกับแรงดึงเชือกเมื่อแรงดึงเชือกอยู่ในแนวดิ่ง
ผูกวัตถุมวล 0.5 กิโลกรัม ด้วยเชือกเบายาว 2 เมตร แล้วแกว่งเป็ นวงกลมตามระนาบดิ่ง
ขณะถึงจุดต่าสุ ดมีอตั ราเร็ ว 10 เมตรต่อวินาที จงหาแรงตึงเชือก ณ. จุดต่าสุ ด
วิธีทา โจทย์บอก m = 0.5 kg , r = 2 ม. , v = 10 m/s
ที่จุดต่าสุ ด มวล 0.5 kg จะถูกแรง 3 แรง คือ
1) แรงหนีศูนย์กลาง = mvr
2 มีทิศออก
T
2) แรงดึงเชือก = T มีทิศเข้า
3) น้ าหนัก = m g มีทิศออก
จาก  Fเข้า =  Fออก mvr 2
mg
mv
T = r + mg
2
2
T = (0.5)(10)
(2) + (0.5)(10)
T = 30 นิวตัน
นัน่ คือขณะเชือกอยูท่ ี่จุดต่าสุ ดแรงดึงเชือกจะมีค่าเท่ากับ 30 นิวตัน
ตัวอย่ างโจทย์ เกีย่ วกับแรงดึงเชือกเมื่อแรงดึงเชือกอยู่ในแนวราบ
มวล 0.05 กิโลกรัม ผูกติดไว้กบั ปลายเชือกยาว 1 เมตร ถูกแกว่งให้เป็ นวงกลมในแนวราบ
ในอากาศ ถ้าแรงดึงเชือกมีค่า 0.2 นิวตัน จงหาอัตราเร็ วของมวลในแนวเส้นสัมผัสวงกลม
วิธีทา โจทย์บอก m = 0.05 kg , r = 1 ม. , T = 0.2 นิวตัน
มวล จะถูกแรงกระทาที่เกี่ยวกับวงกลม 2 แรง คือ
2
1) แรงหนีศูนย์กลาง = mvr มีทิศออก
2) แรงดึงเชือก = T มีทิศเข้า

19
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ

จาก  Fเข้า = Fออก


mvr 2
T = mvr
2
T

0.2 = (0.05) v2
(1)
v2 = 4
v = 2 เมตร/วินาที
นัน่ คืออัตราเร็ วของมวลนี้ มีค่าเท่ากับ 2 เมตร/วินาที
ตัวอย่ างโจทย์ เกีย่ วกับแรงดึงเชือกเมื่อแรงดึงเชือกอยู่ในแนวเอียง
ลูกบอลมวล 1 กิโลกรัม แขวนด้วยเชือก
 = 30o
เบาทามุม 30o กับแนวดิ่ง แกว่งให้เป็ นวงกลม

รัศมี 0.4 เมตร ถ้าแรงดึงเชือกมีค่า 11.5 นิวตัน
จงหาอัตราเร็ วของการเคลื่อนที่
วิธีทา โจทย์บอก m = 1 kg , r = 0.4 ม. , T = 11.5 นิวตัน , v = ?
เนื่องจากแรงดึงเชือกอยูใ่ นแนวเอียง 30o o
T T cos 30
เมื่อทาการแตกแรงดึงเชือก จะได้ดงั รู ป
30o
หากคิดในแนวราบ วัตถุจะถูกแรงกระทา 2 แรง
2
1. แรงหนีศูนย์กลาง = mvr มีทิศออก T sin 30o mvr 2
r = 0.4 ม.
2. แรง T sin30o มีทิศเข้า mg
จาก  Fเข้า =  Fออก

T sin 30o = mvr


2
(11.5)( 12 ) = (1) v2
(0.4)
v2 = 2.3
v = 1.52 เมตร/วินาที
นัน่ คืออัตราเร็ วของการเคลื่อนที่มีค่าเท่ากับ 1.52 เมตร/วินาที

20
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
26. ผูกเชือกเบาติดกับลูกบอลมวล 3 กิโลกรัม แกว่งเชือกให้เป็ นวงกลมในแนวดิ่งรัศมี 1 เมตร
ด้วยความเร็ วเชิงเส้น 5 เมตร/วินาที จงหาแรงดึงของเชือกขณะที่ลูกบอลอยูท่ ี่ตาแหน่งสู งสุ ด

1. 45 N 2. 50 N 3. 55 N 4. 60 N

27. จากข้อที่ผา่ นมา จงหาแรงดึงของเชือกขณะที่ลูกบอลอยูท่ ี่จุดต่าสุ ด


1. 105 N 2. 110 N 3. 115 N 4. 120 N

28. จากข้อที่ผา่ นมา จงหาแรงดึงของเชือกขณะที่ลูกบอลอยูท่ ี่จุดตรงกับแนวศูนย์กลางวงกลม


ในแนวระดับ
1. 55 N 2. 65 N 3. 75 N 4. 85 N

21
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
29. นาเชือกเส้นหนึ่งยาว 2 เมตรผูกลูกตุม้ มวล 0.4 กิโลกรัมที่ปลายข้างหนึ่ง ถ้าจับปลาย
เชือกอีกข้างหนึ่งแกว่งให้ลูกตุม้ เคลื่อนที่เป็ นวงกลมในระนาบดิ่ง ด้วยอัตราเร็ วคงตัว 10
เมตร/วินาที จงหาค่าแรงดึงในเส้นเชือกซึ่งมีค่าสู งสุ ด
1. 20 N 2. 24 N 3. 28 N 4. 32 N

30(En 34) วัตถุมวล 0.5 กิโลกรัม ผูกติดกับเชือกยาว 1.0 เมตร แกว่งเป็ นวงกลมในแนวดิ่ง
เมื่อเชือกทามุม 60o กับแนวดิ่งจากตาแหน่งต่าสุ ดของวิถีทางโคจรของวัตถุ จงหาความตึง
ในเส้นเชือก ถ้าขณะนั้นอัตราเร็ วในการเคลื่อนที่ที่ตาแหน่งเป็ น 3.0 เมตร/วินาที
1. 2.0 นิวตัน 2. 6.5 นิวตัน 3. 7.0 นิวตัน 4. 8.8 นิวตัน

31. วัตถุมวล 2 กิโลกรัม ผูกไว้ดว้ ยเชือกเส้นหนึ่งแล้วแกว่งให้หมุนเป็ นวงกลมในแนวดิ่งมี รัศมี


10 เมตร วัตถุตอ้ งมีความเร็ วน้อยที่สุดเท่าไร จึงจะยังคงเคลื่อนที่เป็ นวงกลมได้
1. 20 เมตร/วินาที 2. 15 เมตร/วินาที
3. 10 เมตร/วินาที 4. 5 เมตร/วินาที

22
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
32. จากรู ป มวล 5 กิโลกรัม ถูกมัดด้วยเชือกยาว 1 เมตร
แล้วแกว่งเป็ นวงกลมตามแนวราบ ด้วยอัตราเร็ วคงที่ 2 T
เมตรต่อวินาที จงหาค่าของแรงดึงในเส้นเชือก
1. 5 N 2. 10 N 3. 15 N 4. 20 N

33. วัตถุมวล 2 กิโลกรัม ผูกด้วยเชือกแล้วแกว่งเป็ นวงกลมในแนวระดับรัศมี 0.3 เมตร โดย


เส้นเชือกเอียงทามุม 53 องศากับแนวราบ ถ้าความเร็ วในการแกว่งคงที่เท่ากับ 1.5 เมตร/-
วินาที จงหาแรงดึงในเส้นเชือก (กาหนด cos 53o = 0.6 , sin 53o = 0.8 )
1. 10 N 2. 15 N 3. 20 N 4. 25 N

34. วัตถุกอ้ นหนึ่งผูกด้วยเชือกแล้วแกว่งเป็ นวงกลมในแนวระดับรัศมี 0.3 เมตร โดยเส้นเชือก


เอียงทามุม 53o กับแนวราบ ถ้าแรงดึงในเส้นเชือกมีค่าเท่ากับ 50 นิวตัน จงหามวลของวัตถุ
ก้อนนี้ และอัตราเร็ วของการเคลื่อนที่เป็ นวงกลม ( cos 53o = 3/5 , sin 53o = 4/5 )

1. 4 kg , 1.5 m/s 2. 8 kg , 3.0 m/s


3. 8 kg , 1.5 m/s 4. 4 kg , 3.0 m/s

23
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
35. ยิงลูกเหล็กเล็ก ๆ ให้วิ่งไปตามขอบโลหะโค้งดังรู ป (4)
เมื่อลูกเหล็กหลุดออกจากขอบโลหะ ลูกเหล็กจะวิ่ง (1) (2)
(3)
ไปตามเส้นทาง
1. หมายเลข 1 2. หมายเลข 2
3. หมายเลข 3 4. หมายเลข 4

4.2.3.3 โจทย์ ตัวอย่ างเกีย่ วกับแรงเสี ยดทาน ( f ) และการเลีย้ วโค้ งบนถนน


ตัวอย่ าง รถคันหนึ่งเลี้ยวโค้งบนถนนราบด้วยรัศมีความโค้ง 20 เมตร ถ้าสัมประสิ ทธิ์ ความ
เสี ยดทานสถิตย์ระหว่างยางรถกับถนนเป็ น 0.5 รถคันนั้นจะเลี้ยวโค้งด้วยอัตราเร็ วอย่างมาก
ที่สุดเท่าใดจึงจะไม่ไถล
วิธีทา โจทย์บอก r = 20 ม. ,  = 0.5
รถที่กาลังเลี้ยวโค้งถือเป็ นการเคลื่อนที่ส่วนหนึ่งของวงกลม
จะมีแรงกระทาที่เกี่ยวกับวงกลม 2 แรง ได้แก่
1. แรงหนีศูนย์กลาง = mvr 2 มีทิศออก
2. แรงเสี ยดทาน =  mg มีทิศเข้า
จาก Fออก = Fเข้า
mvr 2 =  mg mvr 2

v2 =  r g
v =  rg
f = mg
v = 0.5 (20) (10)
v = 10 เมตร/วินาที
นัน่ คือรถจะเลี้ยวโค้งด้วยความเร็ วอย่างมากที่สุด 10 เมตร/วินาที จึงจะไม่ไถล
24
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
36. ถนนราบโค้งมีรัศมีความโค้ง 100 เมตร ถ้าสัมประสิ ทธิ์ ของความเสี ยดทานระหว่างยางกับ
ถนนของรถคันหนึ่งมีค่าเท่ากับ 0.4 รถคันนี้ จะเลี้ยวโค้งได้ดว้ ยความเร็ วสู งสุ ดเท่าไรจึงจะ
ไม่ไถลออกนอกโค้ง
1. 10 m/s 2. 20 m/s 3. 30 m/s 4. 40 m/s

37. รถคันหนึ่งกาลังเลี้ยวโค้งด้วยอัตราเร็ วสูงสุ ด 25 เมตรต่อวินาที โดยมีรัศมีความโค้ง 125


เมตร จงหาสัมประสิ ทธิ์ ของความเสี ยดทานระหว่างถนนกับล้อ
1. 0.3 2. 0.4 3. 0.5 4. 0.6

38(มช 30) แผ่นเสี ยงแผ่นหนึ่งวางอยูใ่ นแนวระดับ เมื่อเอาเหรี ยญอันหนึ่งมาวางไว้ห่างจาก


จุดศูนย์กลางของแผ่นเสี ยงเป็ นระยะ 10 เซนติเมตร ปรากฏว่าเหรี ยญอันนี้ จะหมุนติดไปกับ
แผ่นเสี ยงได้โดยไม่ไถลหลุดจากโต๊ะ ถ้าอัตราการหมุนของแผ่นน้อยกว่า 1 รอบต่อวินาที
จงหาสัมประสิ ทธิ์ ความเสี ยดทานสถิตระหว่างเหรี ยญกับแผ่นเสี ยง
1. 0.2 2. 0.3 3. 0.4 4. 0.6

25
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ

ข้ อสั งเกตุเกีย่ วกับการเลีย้ วโค้ งของรถบนถนน


1) ขณะรถกาลังเลี้ยวมีแรงเสี ยดทานระหว่าง
ยางรถกับพื้นถนนเป็ นแรงผลักเข้าสู่ ศูนย์กลาง
2) กรณี รถมอเตอร์ไซค์เลี้ยวโค้ง จะต้องมี
การเอียงตัวทามุมกับแนวดิ่งขนาดหนึ่ง เพื่อให้
แนวแรงลัพธ์ของแรงเสี ยดทานกับแรงดันพื้นผลัก
ผ่านจุดศูนย์กลางมวลของมอเตอร์ไซด์ มุมที่
เอียงออกไปจากแนวดิ่งจะคานวณหาค่าได้จาก
tan = rv2g
เมื่อ v คือ อัตราเร็ วของการเคลื่อนที่ (เมตร/วินาที)
r คือ รัศมีความโค้งของถนน (เมตร)
 คือ มุมที่มอเตอร์ ไซด์เอียงไปจากแนวดิ่ง
3) กรณี รถยนต์เลี้ยวโค้งบนถนน ต้องมีการยกพื้นถนนให้เอียงทามุมกับแนวราบขนาด
หนึ่ง เมื่อรถยนต์เลี้ยวโค้งบนถนนตัวรถยนต์จะเอียงตัวทามุมกับแนวดิ่งโดยอัตโนมัติ และมุมที่
รถยนต์เอียงไปจากแนวดิ่งจะเท่ากับมุมที่พ้ืนถนนเอียงทามุมกับพื้นราบ เราหามุมนั้นได้จาก
tan = rv2g
เมื่อ v คือ อัตราเร็ วของการเคลื่อนที่ (เมตร/วินาที)
r คือ รัศมีความโค้งของถนน (เมตร)
 คือ มุมที่พ้ืนถนนเอียงกระทากับแนวพื้นราบ
หรื อรถยนต์เอียงไปจากแนวดิ่ง

26
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
39. รถจักรยานยนต์เลี้ยวโค้งบนถนนรัศมีความโค้ง 0.1 กิโลเมตร ด้วยอัตราเร็ ว 36 กิโลเมตร/-
ชัว่ โมงได้อย่างปลอดภัยแม้ฝนตกทางลื่น คนขับต้องเอียงตัวทามุมกับแนวดิ่งกี่องศา

1. 6o 2. 30o 3. 45o 4. 60o

40(มช 41) ผูข้ บั ขี่รถจักรยานยนต์เลี้ยวโค้งบนถนนราบที่มีรัศมีความโค้ง 40 เมตร คนขับต้อ


เอียงรถทามุม 37o กับแนวดิ่ง ขณะนั้นผูข้ บั ขี่ขบั รถในอัตราเร็ วกี่เมตร/วินาที ( tan37o = 43 )

1. 17.32 2. 40.51 3. 30.67 4. 23.29

41. รถยนต์คนั หนึ่งแล่นด้วยความเร็ ว 60 กิโลเมตร/ชัว่ โมง เมื่อรถคันนี้ เลี้ยวโค้งบนถนนมีรัศม


ความโค้ง 150 เมตร พื้นถนนควรเอียงทามุมกับแนวระดับเท่าใด รถจึงจะเลี้ยงโค้งอย่าง
ปลอดภัย
1. tan–1 0.19 2. tan–1 0.38 3. tan–1 0.55 4. tan–1 0.69

27
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ

4.2.3.4 โจทย์ ตัวอย่ างเกีย่ วกับแรงดึงดูดระหว่ างมวล( FG ) และการเคลือ่ นที่ของดาวเทียม


ตัวอย่ าง ยานอวกาศลาหนึ่งกาลังโคจรรอบดวงจันทร์มีรัศมี 1.2 x 106 เมตร จงหาความเร็ วของ
การโคจรของยานอวกาศลานี้ ถ้าความเร่ งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงที่บริ เวณนั้นมีค่า 81 เท่า
ของความเร่ งที่ผวิ โลก
วิธีทา โจทย์บอก r = 1.2 x 106 เมตร , g = 81 (10) N/kg ( เป็ น 81 เท่าของ gโลก )
ดาวเทียมที่โคจรเป็ นวงกลมรอบดวงจันทร์น้ี จะถูกแรงกระทา 2 แรง ได้แก่
1. แรงหนีศูนย์กลาง = mvr 2 มีทิศออก
2. แรงดึงดูดดวงจันทร์ = mg มีทิศเข้า mvr 2
จาก  Fออก =  Fเข้า
mvr 2 = m g mg

v2 = r g
v = rg
v = (1.2x10 6 ) ( 81 x 10)
v = 1224.74 เมตร/วินาที
นัน่ คือความเร็ วของยานอวกาศมีค่าเท่ากับ 1224.74 เมตร/วินาที
42. ดาวเทียมดวงหนึ่งโคจรรอบโลกเป็ นวงกลมรัศมี 8 x 106 เมตร และที่ความสู งระดับนี้
แรงดึงดูดของโลกเท่ากับ 8 นิวตัน / กิโลกรัม จงคานวณหาความเร็ วในการโคจรของดาว
เทียมดวงนี้
1. 6000 m/s 2. 7000 m/s 3. 8000 m/s 4. 9000 m/s

28
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ

43. ดาวเทียมมวล 6 กิโลกรัม หมุนรอบโลกเป็ นวงกลม รัศมี 7000 กิโลเมตร และที่ความสู ง


ระดับนี้ แรงดึงดูดของโลกมีค่าเท่ากับ 7 นิวตัน/กิโลกรัม จงคานวณหาความเร็ วและ
คาบการหมุนของดาวเทียมนี้
1) 7000 เมตร/วินาที , 5548 วินาที 2. 7000 เมตร/วินาที , 6283 วินาที
3) 8000 เมตร/วินาที , 5548 วินาที 4. 8000 เมตร/วินาที , 6283 วินาที

44. ดาวเทียมเคลื่อนที่เป็ นวงกลมรอบโลก โดยมีรัศมีวงโคจร 12.8 x 106 เมตร อัตราเร็ ว


ของดาวเทียม มีค่ากี่เมตรต่อวินาที ( กาหนด มวลโลก = 6 x 1024 kg )
1. 5600 m/s 2. 6000 m/s 3. 6600 m/s 4. 7000 m/s

45. ดาวเทียมที่โคจรรอบโลก รัศมีวงโคจรเป็ น r และคาบของการเคลื่อนที่เป็ น T ถ้ารัศมี


วงโคจรเปลี่ยนไปคาบก็จะเปลี่ยนไปด้วย ข้อใดถูกต้อง
1. T2  r3 2. T3  r2 3. T  r2 4. T  r3

29
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ

46(En 31) ถ้าวงจรของโลกรอบดวงอาทิตย์เป็ นวงกลม และถ้ารัศมีของวงโคจรเพิ ่มขึ้นเป็ น


2 เท่า อยากทราบว่าคาบของการโคจรจะเพิ่มเป็ นกี่เท่า
1. 2 2. 2 3. 2 2 4. 4

4.2.4 อัตราเร็วเชิงมุม
อัตราเร็ วเชิงมุม (  ) คือมุมที่รัศมีกวาดไปได้ใน 1 หน่วยเวลา
เราสามารถหาขนาดของอัตราเร็ วเชิงมุมได้จาก
 = t หรื อ  = 2T หรื อ  = 2 f
เมื่อ  คือ อัตราเร็ วเชิงมุม (เรเดียน / วินาที)
 คือ มุมที่กวาดไป (เรเดียน) 
t คือ เวลาที่ใช้กวาดมุมนั้น (วินาที)
T คือ คาบของการเคลื่อนที่ (วินาที)
f คือ ความถี่ของการเคลื่อนที่ ( เฮิรตซ์ )
เมื่อเราทราบอัตราเร็ วเชิงมุม เราจะหาค่าอัตราเร็ วเชิงเส้น และความเร่ งเข้าสู่ ศูนย์กลางได้จาก
v =  r หรื อ ac = 2 r
เมื่อ v คือ อัตราเร็ วเชิงเส้น (เมตร/วินาที)
ac คือ ความเร่ งเข้าสู่ ศูนย์กลาง (เมตร/วินาที2)
 

30
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
47. วัตถุกอ้ นหนึ่งเคลื่อนที่เป็ นวงกลมรอบจุดจุดหนึ่งด้วยความถี่ 7 รอบ/วินาที จงหาอัตราเร็ ว
เชิงมุมของการเคลื่อนที่น้ ี ในหน่วยเรเดียน/วินาที
1. 22 2. 33 3. 44 4. 77

48. การหมุนรอบตัวของโลกรอบละ 24 ชัว่ โมง กาหนด รัศมีโลกเท่ากับ 6.37 x 106 เมตร


จงหาอัตราเร็ วเชิงมุมที่ผวิ โลก ในหน่วย เรเดียน/วินาที
1. 3.17x10–4 2. 7.27x10–4 3. 3.17x10–5 4. 7.27x10–5

49. จากข้อที่ผา่ นมา จงหาอัตราเร็ วของวัตถุที่ผวิ โลก


1. 300 m/s 2. 463 m/s 3. 545 m/s 4. 600 m/s

50. จากข้อที่ผา่ นมา จงหาอัตราเร่ งสู่ ศูนย์กลางที่เส้นศูนย์สูตร


1. 0.500 m/s2 2. 0. 636 m/s2 3. 0.034 m/s2 4. 0.018 m/s2

31
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
51. ถ้าในการทดลองเกี่ยวกับการเคลื่อนที่เป็ นวงกลม
ขณะที่วตั ถุมวล M เคลื่อนที่ดว้ ยรัศมีความโค้ง 0.8 0.2 m
เมตรนั้น น้ าหนักของวัตถุทาให้วตั ถุอยูต่ ่ากว่าปลาย M
0.8 m
เชือกที่แกนหมุน 0.2 เมตร ดังรู ปอัตราเร็ วเชิงมุมของ
การเคลื่อนที่จะต้องเป็ นเท่าไรในหน่วยเรเดียน/วินาที
1. 7 2. 8 3. 9 4. 10

52. วัตถุมวล 2 กิโลกรัม ผูกด้วยเชือกยาว 0.5 เมตร แล้วแกว่ง


เป็ นวงกลมในระนาบระดับด้วยรัศมี 0.3 เมตร จงหาอัตราเร็ ว 0.5 ม.
ของการเคลื่อนที่ และแรงดึงภายในเส้นเชือก
1. 1.5 m/s , 25 N 2. 2.5 m/s , 50 N
3. 1.5 m/s , 50 N 4. 2.5 m/s , 25 N r = 0.3 ม.

32
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
4.3 การเคลือ่ นที่แบบฮาร์ มอนิกอย่ างง่ าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย คือการเคลื่อนที่ซ่ ึงเคลื่อนที่กลับไปมาซ้ า
ทางเดิม โดยผ่านตาแหน่งสมดุลโดยมีคาบของการเคลื่อนที่คงตัว และการกระจัดเป็ นฟังก์ชน่ั
ของเวลาเป็ นฟังก์ชน่ั รู ปไซน์
4.3.1 การเคลือ่ นทีแ่ บบฮาร์ มอนิกอย่ างง่ ายของวัตถุติดปลายสปริง
หากเรานาวัตถุติดปลายสปริ งดังรู ป จุดที่วตั ถุอยูต่ อนที่ยงั ไม่มีแรงใดๆ มากระทา จุดตรง
นั้นเราจะเรี ยกจุดสมดุล และเมื่อเราออกแรงดึงให้สปริ งยืดหรื อกดให้สปริ งหดแล้วปล่อยมือออก
สปริ งจะสัน่ ทาให้วตั ถุเคลื่อนที่สัน่ กลับไปกลับมาผ่านจุดสมดุล การเคลื่อนที่แบบนี้ เป็ นการ
เคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างหนึ่ง ซึ่งมีสิ่งที่ควรทราบเพิ่มเติมดังนี้
1. ขณะที่วตั ถุเคลื่อนที่ผา่ นจุดสมดุล วัตถุจะมีความเร็ วสู งที่สุดซึ่งหาค่าได้จาก
vmax =  A

2. ขณะที่วตั ถุอยูท่ ี่จุดปลายของการเคลื่อนที่


วัตถุจะมีความเร่ งสูงสุ ดซึ่งหาค่าได้จาก
amax = 2 A

3. เมื่อวัตถุสัน่ ไป แล้วย้อนกลับมาถึงจุดเดิมเรี ยกว่าเป็ นการเคลื่อนที่ได้ 1 รอบ


เวลาที่ใช้เคลื่อนที่ได้ 1 รอบนี้ เรี ยก คาบ ( T ) ซึ่งหาค่าได้จาก
T = 2 
4. จานวนรอบที่เคลื่อนที่ได้ในหนึ่งหน่วยเวลา เรี ยกความถี่ ( f ) ซึ่งหาค่าได้จาก
f = T1 = 2 
เมื่อ vmax คือความเร็ วสูงสุ ด ( ที่จุดสมดุลเท่านั้น ) ( เมตร/วินาที )
amax คือความเร่ งสูงสุ ด ( ที่จุดปลายของการเคลื่อนที่เท่านั้น ) ( เมตร/วินาที2 )

33
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
A คือแอมพลิจูด (ระยะจากจุดสมดุลถึงจุดปลายสุ ดของการเคลื่อนที่ ) ( เมตร )
T คือคาบของการเคลื่อนที่ ( วินาที )
f คือความถี่ของการเคลื่อนที่ ( เฮิรตซ์ )
 คืออัตราเร็ วเชิงมุมของการเคลื่อนที่ ( เรเดียน/วินาที )
เราสามารถหาค่าอัตราเร็ วเชิงมุมได้จาก
 = mk
เมื่อ m คือมวล ( กิโลกรัม )
k คือค่านิจสปริ ง ( นิวตัน/เมตร) ซึ่งหาค่าได้จาก
k = SF
เมื่อ F คือแรงที่กระทาต่อสปริ ง ( นิวตัน )
S คือระยะยืดหรื อหดของสปริ งเมื่อถูกแรง F กระทา ( เมตร )
ตัวอย่ าง สปริ งเบาตัวหนึ่งมีค่านิจ 100 นิวตัน/เมตร ผูกติดกับมวล 1 กิโลกรัม ซึ่งวางอยูบ่ น
พื้นราบเกลี้ยง เมื่อดึงสปริ งออกไป 0.1 เมตร แล้วปล่อยมือมวลก้อนนี้จะมีอตั ราเร็ วเท่าใด
เมื่อผ่านตาแหน่งสมดุล
วิธีทา โจทย์บอก k = 100 N/m , m = 1 kg , A = 0.1 เมตร , v = ?
ขั้น 1 หาอัตราเร็ วเชิงมุม (  )
จาก  = mk = 100 1 = 10 เรเดียน/วินาที
ขั้น 2 หาอัตราเร็ วสูงสุ ดที่จุดสมดุล ( vmax )
จาก vmax =  A = (10)(0.1) = 1 เมตร/วินาที

นัน่ คือมวลก้อนนี้จะมีความเร็ วสูงสุ ด 1 เมตร/วินาที

34
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
53. สปริ งเบาตัวหนึ่งมีค่านิจ 25 นิวตัน/เมตร ผูกติดกับ
มวล 1 กิโลกรัม ซึ่งวางอยูบ่ นพื้นเกลี้ยง ดังรู ป เมื่อดึง
สปริ งออกไป 20 เซนติเมตร แล้วปล่อยมือ มวลก้อน
นี้จะมีอตั ราเร็ วเท่าใดเมื่อผ่านตาแหน่งสมดุล
1. 0.2 m/s 2. 1.0 m/s 3. 2.0 m/s 4. 3.0 m/s

54. สปริ งเบาตัวหนึ่งมีค่านิจ 100 นิวตัน/เมตร ผูกติดกับมวล 1 กิโลกรัม ซึ่งวางอยูบ่ นพื้น


ราบเกลี้ยง เมื่อดึงสปริ งออกไป 30 เซนติเมตร แล้วปล่อยมือ มวลก้อนนี้จะมีอตั ราเร่ งสู ง
สุ ดเท่าใด
1. 10 m/s2 2. 20 m/s2 3. 30 m/s2 4. 40 m/s2

55(En 36) แขวนมวล 100 กรัม ที่ปลายหนึ่งของสปริ งที่มีมวลน้อยมากดึงมวลจากตาแหน่ง


สมดุล 10 เซนติเมตร แล้วปล่อย อัตราเร็ วเชิงเส้นขณะเคลื่อนที่ผา่ นสมดุลมีค่าเท่าใด ถ้า
คาบของการสัน่ มีค่า 2 วินาที
1. 0.31 m/s 2. 0.99 m/s 3. 3.14 m/s 4. 9.9 m/s

35
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
56. วัตถุหนึ่งเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย มีแอมพลิจูด 10 เซนติเมตร มีความถี่ 2 รอบต่อ
วินาที วัตถุจะมีความเร่ งสูงสุ ดกี่เมตร/วินาที2
1. 9.83 2. 10.60 3. 13.30 4. 15.80

57. สปริ งวางบนพื้นราบมีค่านิจสปริ ง (2)2 นิวตัน / เมตร ปลายข้างหนึ่งผูกตรึ งปลายอีก


ข้างหนึ่งมีมวล 4 กิโลกรัม ติดไว้ เมื่อออกแรงดึงมวลแล้วปล่อยมวลจะเคลื่อนที่แบบ SHM
ด้วยคาบกี่วินาที

36
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ

58. สปริ งวางบนพื้นราบมีค่านิจสปริ ง 2 นิวตัน/เมตร ปลายข้างหนึ่งผูกตรึ งปลายอีกข้างหนึ่ง


มีมวล 1 กิโลกรัม ติดไว้ เมื่อออกแรงดึงมวลแล้วปล่อยมวลจะเคลื่อนที่แบบ SHM ด้วย
คาบกี่วินาที

59. แขวนมวล 2 กิโลกรัม กับสปริ งซึ่งมีค่าคงตัวสปริ ง k แล้วทาให้สัน่ ขึ้นลงในแนวดิ่ง วัด


คาบการสัน่ ได้ 4 วินาที ถ้านามวล 8 กิโลกรัม มาแขวนแทนที่มวล 2 กิโลกรัม แล้วคาบ การสัน่ จะเป็ น

1. 2 2. 4 3. 8 4. 16

37
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ

4.3.2 การแกว่ งของลูกตุ้มอย่ างง่ าย


การแกว่งของลูกตุม้ นั้นเป็ นการเคลื่อนที่
amax amax
แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย อีกแบบหนึ่ง
vmax
จุดสมดุลจะอยูต่ รงจุดต่าสุ ดของการเคลื่อนที่
ดังรู ป สิ่ งควรทราบเกี่ยวกับการแกว่งได้แก่ A A

จุดสมดุล
1. ขณะที่วตั ถุเคลื่อนที่ผา่ นจุดสมดุล
วัตถุจะมีความเร็ วสูงที่สุดซึ่งหาค่าได้จาก
vmax =  A

2. ขณะที่วตั ถุอยูท่ ี่จุดปลายของการเคลื่อนที่วตั ถุจะมีความเร่ งสู งสุ ดซึ่งหาค่าได้จาก


amax = 2 A

3. คาบ ( T ) ของการเคลื่อนที่หาค่าได้จาก
T = 2

4. ความถี่ ( f ) ของการเคลื่อนที่หาค่าได้จาก
f = T1 = 2 
เมื่อ vmax คือความเร็ วสูงสุ ด ( ที่จุดสมดุลเท่านั้น ) ( เมตร/วินาที )
amax คือความเร่ งสูงสุ ด ( ที่จุดปลายของการเคลื่อนที่เท่านั้น ) ( เมตร/วินาที2 )
A คืออัมปลิจูด (ระยะจากจุดสมดุลถึงจุดปลายสุ ดของการเคลื่อนที่ ) ( เมตร )
T คือคาบของการเคลื่อนที่ ( วินาที )
f คือความถี่ของการเคลื่อนที่ ( เฮิรตซ์ )
 คืออัตราเร็ วเชิงมุมของการเคลื่อนที่ ( เรเดียน/วินาที )

38
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
เราสามารถหาค่าอัตราเร็ วเชิงมุมได้จาก
 = Lg
เมื่อ g คือความเร่ งเนื่องจากแรงโน้มถ่วง ( เมตร/วินาที2 )
L คือระยะจากจุดตรึ งสายแกว่งถึงจุดศูนย์กลางลูกตุม้ ( เมตร )
60. ลูกตุม้ แขวนด้วยเชือกยาว 0.4 เมตร แกว่งไปมาด้วยแอมพลิจูด 0.1 เมตร จงหา
ความเร็ วขณะเคลื่อนผ่านจุดสมดุล
1. 0.5 m/s 2. 1.0 m/s 3. 1.5 m/s 4. 2.0 m/s

61(มช 32) ความเร็ วสูงสุ ดของวัตถุที่กาลังแกว่งแบบซิมเปิ ลฮาร์มอนิกด้วยคาบของการแกว่ง


0.2 วินาที และอัมปลิจูด 2 เซนติเมตร จะมีค่าเท่ากับ
1. 5 เซนติเมตร/วินาที 2. 10 เซนติเมตร/วินาที
3. 20 เซนติเมตร/วินาที 4. ไม่สามารถหาค่าได้จากข้อมูลที่ให้มา

39
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
62. ลูกตุม้ นาฬิกาอันหนึ่งแกว่ง 100 รอบในเวลา 200 วินาที ความเร่ งสู งสุ ดในการเคลื่อนที่
2
ของลูกตุม้ เป็ น 20 เมตรต่อวินาที2 การกระจัดสู งสุ ดในการแกว่งนี้เป็ นกี่เซนติเมตร

1. 2.5 2. 5.0 3. 10.0 4. 20

63. ต้องการให้ลูกตุม้ นาฬิกาแกว่งในระนาบบนพื้นโลกให้ครบรอบภายในเวลา 2 วินาที


จะต้องออกแบบให้สายลูกตุม้ นาฬิกายาวกี่เมตร ( ให้ 2 = 10 )

64. ลูกตุม้ แขวนด้วยเชือกยาว 1 เมตร แกว่งไปมาด้วยคาบ 2 วินาที ถ้าลูกตุม้ แขวนด้วย


เชือกยาว 9 เมตร จะแกว่งด้วยคาบเท่าใด
1. 1 วินาที 2. 3 วินาที 3. 6 วินาที 4. 9 วินาที

40
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ

4.3.3 การหาการกระจัด ความเร็ว ความเร่ ง ณ.จุดใดๆ ของการเคลือ่ นที่แบบฮาร์ มอนิกอย่ างง่ าย


การหาความเร็ว และความเร่ ง ณ จุดใดๆ หาได้ จากสมการ
Vs =  A 2  x 2
as = 2 x
Vt = A sin ( t)
X
at = 2 A cos ( t)
A
เมื่อ Vs , as = ความเร็ ว และ ความเร่ ง ณ จุดห่างจากจุดสมดุล
Vt , at = ความเร็ ว และ ความเร่ ง ณ. เวลา t
A = แอมพลิจูด
การหาการกระจัด ณ จุดใดๆ หาได้ จากสมการ
x = A sin (  t )
เมื่อ x = การกระจัด ณ. เวลา t จากจุดสมดุล
65. อนุภาคหนึ่งเคลื่อนที่แบบ SHM ด้วยช่วงกว้าง
1.5 เมตร ความถี่ 50 เฮิรตซ์ จงหาความเร็ ว
และ ความเร่ ง เมื่อการกระจัดเป็ น 1 เมตร
1. 280 m/s , 100000 m/s2
2. 351 m/s , 100000 m/s2 X= 1 m
3. 377 m/s , 50000 m/s2 A=1.5 m
4. 451 m/s , 50000 m/s2

41
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
66. ซิมเปิ ลฮาร์มอนิก มีช่วงกว้าง 8 เซนติเมตร และคาบ 4 วินาที จงหาความเร่ ง ณ. วินาที
ที่ 0.5 วินาที
1. 0.14 m/s2 2. 0.28 m/s2 3. 0.42 m/s2 4. 0.56 m/s2



เฉลย บทที่ 4 การเคลือ


่ นทีแ
่ บบต่างๆ
1. ตอบข้ อ 4. 2. ตอบข้ อ 3. 3. ตอบข้อ 3. 4. ตอบข้ อ 3.
5. ตอบข้ อ 1. 6. ตอบข้ อ 1. 7. ตอบข้ อ 3. 8. ตอบข้ อ 3.
9. ตอบข้ อ 3. 10. ตอบข้ อ 2. 11. ตอบข้ อ 3. 12. ตอบข้ อ 3.
13. ตอบข้ อ 4. 14. ตอบข้ อ 2. 15. ตอบข้ อ 3. 16. ตอบข้ อ 1.
17. ตอบข้ อ 3. 18. ตอบข้ อ 1. 19. ตอบข้ อ 2. 20. ตอบข้ อ 2.
21. ตอบข้ อ 3. 22. ตอบข้ อ 3. 23. ตอบข้ อ 2. 24. ตอบข้ อ 2.
25. ตอบข้ อ 3. 26. ตอบข้ อ 1. 27. ตอบข้ อ 1. 28. ตอบข้ อ 3.
29. ตอบข้ อ 2. 30. ตอบข้ อ 3. 31. ตอบข้ อ 3. 32. ตอบข้ อ 4.
33. ตอบข้ อ 4. 34. ตอบข้ อ 1. 35. ตอบข้ อ 3. 36. ตอบข้ อ 2.
37. ตอบข้ อ 3. 38. ตอบข้ อ 3. 39. ตอบข้ อ 1. 40. ตอบข้ อ 1.
41. ตอบข้ อ 1. 42. ตอบข้ อ 3. 43. ตอบข้ อ 2. 44. ตอบข้ อ 1.
45. ตอบข้ อ 1. 46. ตอบข้ อ 3. 47. ตอบข้ อ 3. 48. ตอบข้ อ 4.
49. ตอบข้ อ 2. 50. ตอบข้ อ 3. 51. ตอบข้ อ 1. 52. ตอบข้ อ 1.
53. ตอบข้ อ 2. 54. ตอบข้ อ 3. 55. ตอบข้ อ 1. 56. ตอบข้ อ 4.
57. ตอบ 2 58. ตอบ 2 59. ตอบข้ อ 3. 60. ตอบข้ อ 1.
61. ตอบข้ อ 3. 62. ตอบข้ อ 2. 63. ตอบ 1 64. ตอบข้ อ 3.
65. ตอบข้ อ 2. 66. ตอบข้ อ 1.

42
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
ตะลุยโจทย์ท่วั ไป บทที่ 4 การเคลือ
่ นทีแ
่ บบต่างๆ
4.1 การเคลือ่ นที่แบบโพรเจกไทล์
1. ขว้างลูกบอลจากที่สูงออกไปในแนวราบด้วยอัตรา vx = 3 m/s
เร็ ว 3 เมตร/วินาที เมื่อเวลาผ่านไป 2 วินาที
จะมีการกระจัดเท่าไร
1. 6 เมตร 2. 20 เมตร
3. 17.35 เมตร 4. 436 เมตร
2. ขว้างลูกบอลจากที่สูงออกไปในแนวราบด้วยอัตราเร็ ว 3 เมตร/วินาที เมื่อเวลาผ่านไป 0.4
วินาที อัตราเร็ วที่ปรากฏจะเป็ นกี่เมตร/วินาที และ vx = 3 m/s
ทิศทางการเคลื่อนที่จะทามุมเท่าไรกับแนวระดับ
1. 3 เมตร/วินาที , tan –1 ( 35 )
2. 5 เมตร/วินาที , tan –1 ( 53 )
3. 5 เมตร/วินาที , tan –1 ( 43 )
4. 2 เมตร/วินาที , tan –1 ( 43 )
3. ชายคนหนึ่ง ยืนบนหน้าผาสูง 80 เมตร ขว้างลูกบอลออกไปในแนวราบ ด้วยความเร็ วต้น
330 เมตร/วินาที ถามว่าลูกบอลไปตกไกลจากหน้าผาในแนวราบกี่เมตร
1. 300 2. 330 3. 1320 4. 2330
4. ลูกระเบิดถูกปล่อยออกมาจากเครื่ องบิน ซึ่งบินอยูใ่ นแนวระดับด้วยอัตราเร็ ว 300 เมตรต่อ
วินาที และอยูส่ ูงจากพื้นดิน 2000 เมตร จงหาว่าลูกระเบิดจะตกถึงพื้นดิน ณ ตาแหน่งที่
ห่างจากจุดทิ้งระเบิดตามแนวระดับกี่เมตร
1. 300 2. 400 3. 600 4. 6000
5. ชายคนหนึ่งยืนอยูบ่ นดาดฟ้ าตึกสูง 50 เมตร แล้วปาก้อนหิ นลงไปในแนวทามุมก้ม 37o กับ
แนวระดับด้วยความเร็ ว 25 เมตรต่อวินาที ( sin37o = 0.6 , cos37o = 0.8 )
ก. นานเท่าไรก้อนหิ นตกถึงพื้นดิน ข. ก้อนหิ นตกห่างจากตัวตึกเท่าไร
1. ก. 2 วินาที , ข. 40 เมตร 2. ก. 4 วินาที , ข. 40 เมตร
3. ก. 2 วินาที , ข. 35 เมตร 4. ก. 4 วินาที , ข. 35 เมตร
43
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ

6. คูน้ ากว้าง 10 เมตร มีลกั ษณะดังรู ป นักขี่จกั ร


ยานยนต์คนหนึ่งต้องการจะขี่ขา้ มคูน้ า จงหา A
5m
ก. ความเร็ วที่นอ้ ยที่สุดของจักรยานยนต์
B
ที่จะข้ามคูน้ าได้พอดี 10 m
ข. ความเร็ วที่ถึงฝั่งตรงข้ามพอดี
1. ก. 10 m/s , ข. 10 m/s 2. ก. 10 m/s , ข. 10 2 m/s
3. ก. 10 2 m/s , ข. 10 2 m/s 4. ก. 10 2 m/s , ข. 10 m/s
7. กาแพงห่างจากปากกระบอกปื น 8 เมตร โดยที่ปากกระบอกปื นเอียงทามุม 45 o เมื่อกระสุ น
ถูกยิงออกจากปากกระบอกปื นด้วยอัตราเร็ ว 20 เมตร/วินาที กระสุ นปื นจะกระทบก าแพง
สู งจากพื้นกี่เมตร
1. 6.0 2. 6.2 3. 6.4 4. 6.6
8. ก้อนหิ นถูกขว้างขึ้นจากพื้นดินด้วยความเร็ ว 28 เมตรต่อวินาที ในแนวเอียงทามุม 30o กับ
พื้นดิน จงหาความเร็ วและความสูงของก้อนหิ นที่จุดสู งสุ ด ตอบตามลาดับ
1. 25 เมตร/วินาที , 10 เมตร 2. 20 เมตร/วินาที , 10 เมตร
3. 24.24 เมตร/วินาที , 9.8 เมตร 4. 24.24 เมตร/วินาที , 10 เมตร
9. ขว้างวัตถุจากตึกสูง 40 เมตร ทามุมเงย 53o กับแนวระดับด้วยความเร็ ว 12.5 เมตร/วินาที
ก. นานเท่าไรวัตถุตกถึงพื้น
ข. วัตถุตกห่างจากขอบตึกในแนวราบเท่าไร u = 12.5 m/s
ค. วัตถุข้ ึนไปได้สูงสุ ดจากพื้นเท่าไร 53o
1. ก. 4 วินาที , ข. 30 เมตร , ค. 45 เมตร
2. ก. 4 วินาที , ข. 25 เมตร , ค. 55 เมตร 40 m
3. ก. 4 วินาที , ข. 35 เมตร , ค. 45 เมตร
4. ก. 4 วินาที , ข. 25 เมตร , ค. 48 เมตร

44
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
10. ลูกบอลถูกขว้างจากสนามหญ้ามายังลานหน้าบ้าน ถ้าลูกบอลลอยอยูใ่ นอากาศนาน 3.0 วินาที
โดยไม่คิดความต้านทานของอากาศ จงหาความเร็ วที่ใช้ขว้างลูกบอล ถ้าลูกบอลไปได้ไกล
ในแนวระดับ 45.0 เมตร
1. 15 m/s 2. 21.2 m/s 3. 25.2 m/s 4. 27 m/s

11. ยิงปื นทามุม 53o กับแนวระดับ ถ้าลูกปื นมีอตั ราเร็ ว 300 เมตรต่อวินาที อยากทราบว่า
ลูกปื นตกไกลจากจุดยิงกี่เมตร
1. 6280 2. 7450 3. 8263 4. 8640

12. นักทุ่มน้ าหนักทีมชาติไทยทุ่มลูกเหล็กออกไปด้วยความเร็ ว 20 เมตรต่อวินาที จะทุ่มได้


ไกลที่สุดกี่เมตร ( g = 10 m/s2 )
1. 10 2. 20 3. 30 4. 40

13. ในการยิงลูกหิ นก้อนหนึ่งจากพื้นทามุม 60o กับแนวระดับพบว่าลูกหิ นตกห่างจากจุดยิงปื น


ระยะห่าง 5 3 เมตร โดยใช้เวลา 3 วินาที ถ้ายิงลูกหิ นนี้ ทามุม 30o กับแนวระดับ
ด้วยความเร็ วต้นคงเดิม จะทาให้ลูกหิ นตกห่างจากจุดยิงปื นระยะห่างเท่าไร
1. 5 3 m 2. 10 m 3. 10 3 4. ไม่มีขอ้ ใดถูก

14. วิศวกรคนหนึ่งต้องการตีลูกกอล์ฟให้ขา้ มต้น


ไม้ซ่ ึงสูง 30 เมตร และอยูห่ ่างออกไป 40 u
เมตร ลงหลุมพอดี โดยหลุมอยูห่ ่างออกไป

80 เมตร ถามว่าต้องตีลูกกอล์ฟไปในทิศทา 40 m หลุม
มุมเท่าใดกับแนวระดับ 80 m
1. tan–1( 23 ) 2. 45o 3. tan–1 43 4. 60o

15. ในการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ เมื่อจุดเริ่ มต้นและจุดสุ ดท้ายอยูใ่ นแนวระดับเดียวกัน ถ้า


ต้องการให้ระยะตกไกล ( Sx) มีค่าเป็ น 4 เท่าของระยะสู งสุ ด (H) มุมยิงควรมีค่ากี่องศา
1. 30o 2. 45o 3. 53o 4. 60o

45
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
16. รถคันหนึ่งวิ่งในแนวเส้นตรงด้วย u
ความเร็ วคงที่ 10 2 เมตร/วินาที
จุดกระทบ v
หนีการสกัดของเจ้าหน้าที่ ทาให้
เจ้าหน้าที่จาเป็ นต้อง ใช้ ปื นยิงสกัด
ปื นที่ใช้ยงิ เป็ นชนิดพาดบ่า กระสุ นปื นวิง่ ออกจากปากกระบอกความเร็ ว 100 เมตร/วินาที
เจ้าหน้าที่ต้ งั ปื นเอียงทามุมกับแนวราบ 45o อยากทราบว่าถ้าจะให้กระสุ นตกกระทบรถยนต์
พอดี เจ้าหน้าที่ตอ้ งลัน่ กระสุ นเมื่อรถวิ่งห่างออกไปแล้วกี่เมตร
1. 800 2. 900 3. 800 2 4. 900

4.2 การเคลือ่ นที่แบบวงกลมด้ วยอัตราเร็วคงตัว


4.2.1 คาบ ความถี่ และอัตราเร็วเชิงเส้ น
17. วัตถุชิ้นหนึ่งเคลื่อนที่เป็ นรู ปวงกลมด้วยอัตราเร็ ว 20 รอบ ในเวลา 4 วินาที จงหา
ความถี่ , คาบ และถ้ารัศมีของการเคลื่อนที่เป็ น 2 เมตร จงหาอัตราเร็ ว ตอบตามลาดับ
1. 5 เฮิรตซ์ , 0.2 วินาที , 62.85 เมตร/วินาที
2. 5 เฮิรตซ์ , 0.2 วินาที , 12.6 เมตร/วินาที
3. 10 เฮิรตซ์ , 0.4 วินาที , 6.3 เมตร/วินาที
4. 10 เฮิรตซ์ , 0.4 วินาที , 12.6 เมตร/วินาที

46
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
4.2.2 แรงสู่ ศูนย์ กลาง และความเร่ งสู่ ศูนย์ กลาง

18. จากการเคลื่อนที่แบบวงกลมของวัตถุหนึ่งพบว่าช่วงเวลา 2 วินาที เคลื่อนที่ได้ 10 รอบ


ถ้ารัศมีการเคลื่อนที่มีค่า 0.2 เมตร อัตราเร็ วเชิงเส้นของวัตถุน้ี จะมีค่ากี่เมตร/วินาที
1. 1.26 2. 12.6 3. 6.3 4. 1

19. จากการเคลื่อนที่แบบวงกลมของวัตถุหนึ่ง พบว่าในช่วงเวลา 1.5 วินาที มุมรองรับที่


ศูนย์กลางของวงกลมเปลี่ยนไป 30 องศา ถ้ารัศมีของการเคลื่อนที่เท่ากับ 90 เมตร จง
คานวณหาอัตราเร็ วเชิงเส้น
1. 10 เมตร/วินาที 10 เมตร/วินาที
2. 
3. 90 เมตร/วินาที 4. 90 เมตร/วินาที

20. จงหาความเร่ งสู่ ศูนย์กลางของวัตถุ ที่เคลื่อนที่แบบวงกลมรัศมี 4 เมตร ด้วยอัตราเร็ ว 20


เมตรต่อวินาที และถ้าวัตถุมีมวล 2 กิโลกรัม จงหาแรงเข้าสู่ ศูนย์กลาง ( ตอบตามลาดับ )
1. 100 เมตร/วินาที2 , 200 นิวตัน 2. 100 เมตร/วินาที2, 105 นิวตัน
3. 100 เมตร/วินาที2 , 205 นิวตัน 4. 100 เมตร/วินาที2, 110 นิวตัน

4.2.3 โจทย์ ตัวอย่ างเกีย่ วกับการเคลือ่ นที่แบบวงกลมด้ วยอัตราเร็วคงที่


4.2.3.1 โจทย์ ตัวอย่ างเกีย่ วกับแรงดันพืน้ ( N )
21. ลูกแก้วมวล 2 กิโลกรัม เคลื่อนที่ข้ ึนรางโค้งตีลงั กาอันมีรัศมี 1 เมตร ด้วยความเร็ วคงที่
3 เมตรต่อวินาที จงหาแรงปฏิกิริยาที่รางกระทาต่อลูกแก้วตอนที่ ลูกแก้วอยูท่ ี่จุดล่างสุ ด
ของรางว่ามีค่ากี่นิวตัน
1. 18 2. 24 3. 38 4. 42

47
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
22. รถไฟเหาะตีลงั กามวล 2000 กิโลกรัม เคลื่อนที่บนราบโค้งรัศมี 10 เมตร ขณะผ่านจุด
สูงสุ ดด้วยอัตรา 20 เมตรต่อวินาที จะมีแรงปฏิกิริยาที่รางกระทาต่อรถไฟกี่นิวตัน
1. 40000 2. 60000 3. 80000 4. 100000

23. ลูกแก้วมวล 2 กิโลกรัม เคลื่อนที่ข้ ึนรางโค้งตีลงั กาอันมีรัศมี 1 เมตร ด้วยความเร็ วคงที่


3 เมตรต่อวินาที จงหาแรงปฏิกิริยาที่รางกระทาต่อลูกแก้วตอนที่ ลูกแก้วอยูท่ ี่จุดตรงกับ
แนวศูนย์กลางรางในแนวระดับว่ามีค่ากี่นิวตัน
1. 18 2. 24 3. 38 4. 42

4.2.3.2 โจทย์ ตัวอย่ างเกีย่ วกับแรงดึงในเส้ นเชือก ( T )


24. ผูกวัตถุมวล 0.5 กิโลกรัม ด้วยเชือกเบายาว 2 เมตร แล้วแกว่งเป็ นวงกลมตามระนาบดิ่ง
ขณะถึงจุดต่าสุ ดมีอตั ราเร็ ว 10 เมตรต่อวินาที จงหาแรงตึงเชือก ณ. จุดต่าสุ ดว่ามีค่ากี่นิวตัน
1. 10 2. 20 3. 30 4. 40

25. วัตถุมวล m ผูกเชือกแล้วแกว่งด้วยอัตราเร็ วคงที่ให้ระนาบอยูใ่ นแนวดิ่ง ผลต่างของความ


ตึงเชือก ณ.จุดต่าสุ ดและจุดสูงสุ ดเป็ นเท่าไร
1. mg 2. 2 mg 3. 3 mg 4. 4 mg

26. วัตถุมวล 1 กิโลกรัม ผูกติดกับเชือกยาว 1 เมตร แกว่งเป็ นวงกลมในระนาบดิ่ง เมื่อเชือก


ทามุม 60o กับแนวดิ่งจากตาแหน่งต่าสุ ดของแนวการเคลื่อนที่ จงหาความตึงในเส้นเชือก
ถ้าขณะนั้นอัตราเร็ วในการเคลื่อนที่ที่ตาแหน่งนั้นเป็ น 5 เมตรต่อวินาที
1. 10 N 2. 20 N 3. 30 N 4. 40 N

48
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
27. วัตถุมวล 1.0 กิโลกรัม ผูกติดกับเชือกยาว 5 เมตร ถ้า
ถือวัตถุอนั นี้ให้เชือกตึงและอยูใ่ นแนวระดับก่อน แล้วจึง
ปล่อยให้วตั ถุตกลงมาอยากทราบว่า
ก. เมื่อวัตถุแกว่งถึงจุดต่าสุ ดจะมีอตั ราเร็ วเท่าใด
ข. ที่จุดต่าสุ ดเชือกมีแรงตึงเท่าใด
1. ก. 10 m/s , ข. 35 นิวตัน 2. ก. 10 m/s , ข. 30 นิวตัน
3. ก. 10 2 m/s , ข. 40 นิวตัน 4. ก. 10 2 m/s , ข. 30 นิวตัน

28. มวล m ผูกอยูท่ ี่ปลายเชือกซึ่งยาว L โดยผูกปลายอีกข้างหนึ่งตรึ งอยูก่ บั ที่จบั มวล m ให้


เชือกตึง และอยูใ่ นแนวระดับก่อนแล้วจึงปล่อยให้วตั ถุตกลงมา

จงหาว่าในขณะที่เชือกแกว่งลงมาทามุม  กับแนวระดับนั้น
ก. มวล m มีความเร็ วเท่าใด ข. เชือกมีความตึงเท่าใด
1. ก. 2 g L sin θ , ข. 4 mg sin 2. ก. 2 gL sin , ข. 3 mg sin
3. ก. 2 gL sin , ข. 4 mg sin 4. ก. 2 g L sin θ , ข. 3 mg sin

29. เทน้ าใส่ ถงั แล้วนาเชือกผูกหูถงั น้ าแล้วแกว่งเป็ นวงกลมในแนวดิ่ง ถ้าเชือกยาว 1 เมตร และ
น้ ามีมวล 1 กิโลกรัม อยากทราบว่าเราต้องแกว่งถังน้ าให้มีอตั ราเร็ วที่จุดสู งสุ ดอย่างน้อย
กี่เมตร/วินาที น้ าในถังจึงจะไม่หก
1. 1 2. 1.4 3. 2 4. 3.1

30. หากต้องการให้มวล m ซึ่งมัดด้วยเชือกรัศมี r สามารถแกว่งตัวเป็ นวงกลมในแนวดิ่งได้


พอดี ความเร็ วที่จุดต่าสุ ดของวงกลมการเคลื่อนที่อย่างน้อยที่สุดต้องมีค่าเป็ นเท่าใด
1. gr 2. 2gr 3. 4gr 4. 5gr

31. จุกยางมีมวล 50 กรัม ผูกติดไว้กบั ปลายเชือกซึ่งยาว 50 เซนติเมตร ถูกแกว่งให้เป็ นวงกลม


ในแนวราบในอากาศ พบว่าแรงดึงเชือกมีค่า 10 นิวตัน อัตราเร็ วของจุกยางในแนวเส้น
สัมผัสวงกลมจะมีค่ากี่เมตร/วินาที ( g = 10 m/s2 )

49
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
32(มช 41) ลูกบอลมวล 0.1 กิโลกรัม แขวนด้วยเชือกเบา

ทามุม 30o กับแนวดิ่งแกว่งให้เป็ นวงกลมรัศมี 0.4 เมตร  = 30o
ด้วยความเร็ วเชิงเส้น 6 เมตร/วินาที แรงดึงของเส้นเชือก
มีค่ากี่นิวตัน
1. 9 2. 36 3. 18 4. 24
33. มวลผูกเชือกแล้วแกว่งให้เคลื่อนที่เป็ นวงกลมตามแนวระดับบนพื้นลื่น เมื่อเชือกขาดมวล
จะเคลื่อนที่อย่างไร
1. วงกลม 2. ส่ วนโค้งของวงกลม 3. พาราโบลา 4. เส้นตรง

4.2.3.3 โจทย์ ตัวอย่ างเกีย่ วกับแรงเสี ยดทาน ( f ) และการเลีย้ วโค้ งบนถนน


34(มช 30) แผ่นเสี ยงแผ่นหนึ่งวางอยูใ่ นแนวระดับ เมื่อเอาเหรี ยญอันหนึ่งมาวางไว้ห่างจาก
จุดศูนย์กลางของแผ่นเสี ยงเป็ นระยะ 11 เซนติเมตร ปรากฏว่าเหรี ยญอันนี้ จะหมุนติดไปกับ
แผ่นเสี ยงได้โดยไม่ไถลหลุดจากแผ่นเสี ยง ถ้าอัตราการหมุนของแผ่นน้อยกว่า 65 รอบต่อ-
วินาที จงหาสัมประสิ ทธิ์ ความเสี ยดทานสถิตระหว่างเหรี ยญกับแผ่นเสี ยง
1. 0.2 2. 0.3 3. 0.4 4. 0.6

35. วัตถุกอ้ นหนึ่งวางอยูบ่ นโต๊ะซึ่งหมุนได้รอบแกนแนวดิ่งห่างจากแกนหมุน 0.5 เมตร ถ้า


สัมประสิ ทธิ์ ของความเสี ยดทานระหว่างผิววัตถุกบั โต๊ะมีค่า 0.3 อยากทราบว่าโต๊ะหมุนได้
เร็ วที่สุดกี่รอบ/วินาที วัตถุจึงยังไม่กระเด็นจากโต๊ะ
1. 0.3 2. 0.4 3. 0.5 4. 0.6

36. ถนนราบโค้งมีรัศมีความโค้ง 50 เมตร ถ้าสัมประสิ ทธิ์ ของความเสี ยดทานระหว่างยางกับ


ถนนของรถคันหนึ่ง มีค่าเท่ากับ 0.2 รถคันนี้ จะเลี้ยวโค้งได้ดว้ ยความเร็ วสู งสุ ดเท่าไรจึงจะไม่
ไถลออกนอกโค้ง
1. 10 m/s 2. 20 m/s 3. 30 m/s 4. 40 m/s

50
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
37. รถยนต์มวล 1200 กิโลกรัม เลี้ยวโค้งบนถนนราบที่มีรัศมีความโค้ง 120 เมตร และมีคา่
สัมประสิ ทธิ์ ความเสี ยดทานระหว่างยางล้อกับผิดถนนเท่ากับ 0.8 ขณะที่รถเลี้ยวโค้งด้วย
อัตราเร็ ว 20 เมตร / วินาที จงหาแรงเสี ยดทานในแนวตั้งฉากกับการเคลื่อนที่
1. 9600 N 2. 6400 N 3. 4000 N 4. 3200 N
38. รถคันหนึ่งเลี้ยวโค้งบนถนนราบด้วยรัศมีความโค้ง 25 เมตร ถ้าสัมประสิ ทธิ์ ความเสี ยด
ทานสถิตย์ระหว่างยางรถกับถนนเป็ น 0.4 รถคันนั้นจะเลี้ยวโค้งด้วยอัตราเร็ วอย่างมากที่สุด
เท่าใดจึงจะไม่ไถล
1. 4 m/s 2. 5 m/s 3. 8 m/s 4. 10 m/s
39. รถจักรยานยนต์คนั หนึ่งกาลังเลี้ยวด้วยอัตราเร็ ว 10 3 เมตรต่อวินาที โดยมีรัศมีความโค้ง
10 3 เมตร คนขี่จะต้องเอียงรถทามุมกับแนวระดับเท่าไร
1. 10o 2. 30o 3. 45o 4. 60o

4.2.3.4 โจทย์ ตัวอย่ างเกีย่ วกับแรงดึงดูดระหว่ างมวล( FG ) และการเคลือ่ นที่ของดาวเทียม

40. ยานอวกาศลาหนึ่งกาลังโคจรรอบดวงจันทร์มีรัศมี 1.2 x 106 เมตร จงหาคาบของการ


โคจรของยานอวกาศลานี้ วา่ มีค่ากี่วินาที ถ้าความเร่ งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงที่บริ เวณนั้นมีค่า
1
8 เท่าของความเร่ งที่ผวิ โลก
1. 3080 วินาที 2. 4280 วินาที 3. 5240 วินาที 4. 6160 วินาที
41. ดาวเทียมดวงหนึ่งโคจรสูงจากผิวโลก 1600 กิโลเมตร ถ้ารัศมีของโลกมีคา่ 6400 กิโล-
เมตร และมวลของโลกมีค่า 6x1024 กิโลกรัม จงหาอัตราเร็ วของการเคลื่อนที่ของ
ดาวเทียม ( G = 6.67x10–11 N m2 / kg2 )
1. 4.8x103 m/s 2. 5.4 x103 m/s 3. 6.1 x103 m/s 4. 7.1 x103 m/s
42. วัตถุเคลื่อนที่เป็ นวงกลมในระนาบระดับด้วยอัตราเร็ วคงที่ ผลคือ
1. ความเร่ งเป็ นศูนย์ 2. ความเร่ งอยูใ่ นแนวเส้นสัมผัสกับวงกลม
3. ความเร่ งอยูใ่ นแนวพุง่ ออกจากจุดศูนย์กลาง 4. ความเร่ งอยูใ่ นแนวพุง่ เข้าหาจุดศูนย์กลาง

51
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
4.2.4 อัตราเร็วเชิงมุม
43. การหมุนรอบตัวของโลกรอบละ 24 ชัว่ โมง กาหนด รัศมีโลกเท่ากับ 6.37x106 เมตร
จงหา ก. อัตราเร็ วเชิงมุมที่ผวิ โลก
ข. อัตราเร็ วของวัตถุที่ผวิ โลก
ค. ความเร่ งสู่ ศูนย์กลางที่เส้นศูนย์สูตร
1. ก. 7.25x10–5 rad /s , ข. 463 เมตร / วินาที , ค. 0.044 เมตร / วินาที2
2. ก. 8.27x10–5 rad /s , ข. 470 เมตร / วินาที , ค. 0.534 เมตร / วินาที2
3. ก. 7.27x10–5 rad /s , ข. 463 เมตร / วินาที , ค. 0.034 เมตร / วินาที2
4. ก. 7.27x10–5 rad /s , ข. 450 เมตร / วินาที , ค. 0.004 เมตร / วินาที2
44. จากรู ป นักเรี ยนคนหนึ่งทาการทดลอง เรื่ องแรงสู่ ศูนย์
กลาง ปรากฏว่ามีขณะหนึ่งวัตถุอยูห่ ่างออกมาจาก
แกน กลาง 0.6 เมตร และอยูต่ ่าลงมาจากแนวระดับ 0.2 เมตร
ถามว่าขณะนั้นวัตถุหมุนด้วยอัตราเร็ วกี่เมตร/วินาที
1. 3.0 2. 4.2 3. 5.8 4. 7.2
45. จากรู ปนักเรี ยนคนหนึ่งทาการทดลองเรื่ องแรงสู่ ศูนย์

กลาง ปรากฎว่าขณะวัตถุอยูห่ ่างออกมาจากแกนหมุน 0.1 m
0.8 เมตร และอยูต่ ่าลงมาจากแนวระดับ 0.1 เมตร 0.8 m
อยากทราบว่าขณะนั้นวัตถุมีอตั ราเร็ วกี่เมตร/วินาที
1. 3.0 2. 6.0 3. 8.0 4. 10.0

46. จากรู ปวัตถุมวล 0.2 กิโลกรัม ผูกปลายเชือกยาว 2 เมตร


แล้วแกว่งเป็ นวงกลมสม่าเสมอในระนาบระดับ ถ้าเชือกทา 37o
2 ม.
มุม 37o กับแนวดิ่งตลอดเวลา อยากทราบว่าวัตถุจะเคลื่อน
ที่ดว้ ยอัตราเร็ วเชิงมุมกี่เรเดียน/วินาที
1. 1.5 2. 2.5 3. 3.0 4. 3.5

52
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
47. วัตถุมวล m ผูกด้วยเชือกเบายาว  หมุนเป็ นวงกลม จนทา
ให้เส้นเชือกทามุม  กับแนวดิ่ง ดังรู ป อัตราเร็ วเชิงมุม
ของวัตถุคือ 
g

1. gcosθ 2.
 cos
3. gsin 4. g
m
 sin

4.3 การเคลือ่ นที่แบบฮาร์ มอนิกอย่ างง่ าย


4.3.1 การเคลือ่ นที่แบบฮาร์ มอนิกอย่ างง่ ายของวัตถุติดปลายสปริง
48. รถทดลองติดปลายลวดสปริ งเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายด้วยแอมพลิจูด 15 เซนติเมตร
และความถี่ 4 รอบต่อวินาที จงคานวณหาความเร็ วสู งสุ ด และความเร่ งสู งสุ ดของรถทดลอง
ตอบตามลาดับ
1. v = 3.90 m/s , a = 94 m/s2 2. v = 3.77 m/s , a = 94 m/s2
3. v = 3.77 m/s , a = 90 m/s2 4. v = 3.40 m/s , a = 84 m/s2
49. แขวนมวลที่ปลายหนึ่งของสปริ งที่มีมวลน้อยมากดึงมวลจากตาแหน่งสมดุล 14 เซนติเมตร
แล้วปล่อยอัตราเร็ วเชิงเส้น ขณะเคลื่อนที่ผา่ นสมดุลมีค่ากี่เมตร/วินาที ถ้าคาบของการสัน่
มีค่า 2 วินาที
1. 0.22 2. 0.44 3. 0.66 4. 0.88
50. แมลงวันมวล 0.70 กรัม บินไปติดใยแมงมุม ทาให้ใยแมงมุมสัน่ ด้วยความถี่ 8 เฮิรตซ์
ก. ค่าคงตัวสปริ งของใยแมงมุมเป็ นเท่าใด
( สมมติวา่ แรงที่ใยแมงมุมกระทาต่อแมลงวันมีสมบัติเช่นเดียวกับแรงในสปริ ง )
ข. ถ้าแมลงมวล 0.50 กรัม บินมาติดใย ใยแมงมุมจะสัน่ ด้วยความถี่เท่าใด
1. ก. 1.77 N/m ข. 9.46 Hz 2. ก. 1.50 N/m ข. 8.44 Hz
3. ก. 1.50 N/m ข. 9.44 Hz 4. ก. 1.77 N/m ข. 6.44 Hz
53
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ

51. แท่งไม้ชนิดหนึ่งมวล 50 กรัม ลอยขึ้นลงบนผิวน้ าด้วยความถี่ 2.5 เฮิรตซ์


ก. ค่าคงตัวสปริ งของน้ าเป็ นเท่าใด
( สมมติแรงของน้ าที่กระทาต่อแท่งไม้ มีสมบัติเช่นเดียวกับแรงของสปริ ง )
ข. ขวดใบหนึ่งมีน้ าบรรจุส่วนหนึ่งรวมหนัก 2.5 นิวตัน มีรูปทรงเหมือนแท่งไม้
ถ้าปล่อยให้ลอยขึ้นลงในน้ า ขวดใบนี้ จะเคลื่อนที่ข้ ึนลงด้วยความถี่เท่าใด
1. ก. 12.50 N/m ข. 1.80 Hz 2. ก. 12.32 N/m ข. 1.11 Hz
3. ก. 13.52 N/m ข. 1.11 Hz 4. ก. 12.32 N/m ข. 1.80 Hz

52. เมื่อออกแรง 2.0 นิวตัน ดึงปลายแผ่นสปริ งของเครื่ องชัง่ มวล ปลายแผ่นสปริ งเบนไปจาก
ตาแหน่งสมดุล 10 เซนติเมตร ดังรู ป ที่ปลายแผ่นสปริ งติดมวล 0.3 กิโลกรัม ถ้าดึงให้
ปลายสปริ งเบนไปจากตาแหน่งสมดุล 15 เซนติเมตร แล้วปล่อยมือ จงคานวณหา
ก. คาบของการสัน่ ของมวล ข. ความเร่ งสู งสุ ดของมวล
1. ก. 0.77 วินาที , ข. 15 เมตร/วินาที2 2. ก. 0.85 วินาที , ข. 15 เมตร/วินาที2
3. ก. 0.77 วินาที , ข. 10 เมตร/วินาที2 4. ก. 0.95 วินาที , ข. 10 เมตร/วินาที2
53. แขวนมวล m กับสปริ งแล้วปล่อยให้สัน่ ขึ้นลงวัดคาบ
ได้ 2 วินาที ถ้าเอามวล m ออกสปริ งจะสั้นกว่า
ตอนที่แขวนมวล m กี่เมตร ( ให้ g = 10 m/s2 )
m
1. 0.40 2. 0.3 3. 0.2 4. 10
54. เมื่อมวล 2 กิโลกรัม ติดปลายลวดสปริ ง
ดังรู ป ก. ดึงสปริ งให้ยดื ออกแล้วปล่อยให้ 2 kg

วัตถุเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย บน
พื้นราบเกลี้ยง วัตถุเคลื่อนที่ครบ 1 รอบ m
2 kg
ใช้เวลา 1 วินาที ถ้ามีมวล m วางทับ

มวล 2 กิโลกรัม ดังรู ป ข. ทาให้วตั ถุเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย และครบ 1 รอบ
ใช้เวลา 1.5 วินาที จงหาค่า m ในหน่วยกิโลกรัม
1. 2.0 2. 2.5 3. 3.0 4. 3.5
54
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
55. แขวนมวล 2 กิโลกรัม กับสปริ งซึ่งมีคา่ คงตัวสปริ ง k แล้วทาให้สัน่ ขึ้นลงในแนวดิ่ง วัด
ความถี่การสัน่ ได้ 3 เฮิรตซ์ ถ้านามวล 8 กิโลกรัม มาแขวนแทนที่มวล 2 กิโลกรัม แล้ว
ความถี่การสัน่ จะเป็ นกี่เฮิรตซ์
1. 1.5 2. 3.0 3. 6.0 4. 12.0
56. ผูกมวลก้อนหนึ่งกับสปริ งที่วางอยูบ่ นพื้นราบเมื่อดึงให้สปริ งยืดออก 10 เซนติมเตร สปริ ง
จะสัน่ ด้วยความถี่ 2 รอบ/วินาที ถ้าดึงให้สปริ งยืดออกจากตาแหน่งสมดุล 20 เซนติเมตร
วัตถุจะสัน่ ด้วยความถี่เท่าใด
1. 1 เฮิรตซ์ 2. 2 เฮิรตซ์ 3. 3 เฮิรตซ์ 4. 4 เฮิรตซ์
57. วัตถุกอ้ นหนึ่งวางอยูบ่ นพื้นโดยพื้นกาลังเคลื่อนที่แบบ SHM ด้วยความถี่ 2 เฮิรตซ์ สัม-
ประสิ ทธิ์ ความเสี ยดทานระหว่างพื้นกับวัตถุมีค่า 0.5 ช่วงกว้างของฮาร์มอนิกจะมีค่าได้มากที่
สุ ดกี่เมตร วัตถุจึงจะไม่ไถล
1. 0.01 2. 0.02 3. 0.03 4. 0.04

4.3.2 การแกว่ งของลูกตุ้มอย่ างง่ าย


58. ความเร็ วสู งสุ ดของวัตถุที่กาลังแกว่งแบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายด้วยคาบของการแกว่ง 5 วินาที
และแอมพลิจูด ( amplitude ) 4 เซนติเมตร จะมีค่ากี่เซนติเมตร / วินาที
1. 7 2. 12 3. 5 4. 10
59. ลูกตุม้ แขวนด้วยเชือกยาว 2 เมตร แกว่งไปมาด้วยคาบ 2.5 วินาที ถ้าลูกตุม้ แขวนด้วย
เชือกยาว 8 เมตร จะแกว่งด้วยคาบกี่วินาที
60. ลูกตุม้ นาฬิกาอันหนึ่งเมื่อใช้แกว่งบนโลกซึ่งมีค่า g = 9.8 เมตร/วินาที2 จะมีคาบการแกว่ง
2 วินาที จงหาว่าถ้านาลูกตุม้ นี้ ไปแกว่งบนผิวดวงจันทร์ซ่ ึงมีค่า g = 1.7 เมตร/วินาที2
จะมีคาบการแกว่งเท่าใด
1. 4.8 วินาที 2. 9.6 วินาที 3. 10.3 วินาที 4. 20.6 วินาที

55
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
61. ถ้านาฬิกาแบบลูกตุม้ เดินได้ตรง ณ บริ เวณพื้นที่ราบใกล้ระดับน้ าทะเล ถ้านานาฬิกานี้ ไป
ใช้ ณ บริ เวณยอดเขาสูงกว่าระดับน้ าทะเลมาก ๆ คาบของการแกว่งจะเพิ่มขึ้นหรื อลดลง
1. เพิ่มขึ้น 2. เพิ่มขึ้นแล้วค่อยลดลง
3. ลดลง 4. ลดลงแล้วค่อยเพิ่มขึ้น

4.3.3 การหาการกระจัด ความเร็ว ความเร่ ง ณ.จุดใดๆ ของการเคลือ่ นที่แบบฮาร์ มอนิกอย่ างง่ าย


62. วัตถุเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย มีแอมพลิจูด 10 เซนติเมตร มีความถี่ 2 รอบ/วินาที
ณ ตาแหน่งที่มีการกระจัด 7 เซนติเมตร วัตถุจะมีความเร่ งกี่เมตร/วินาที2
1. 0.81 2 2. 1.12 2 3. 2.22 2 4. 4.42 2


56
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
เฉลยตะลุยโจทย์ท่วั ไป บทที่ 4 การเคลือ
่ นทีแ
่ บบต่างๆ
1. ตอบข้ อ 4. 2. ตอบข้ อ 3. 3. ตอบข้ อ 3. 4. ตอบข้ อ 4.
5. ตอบข้ อ 1. 6. ตอบข้ อ 2. 7. ตอบข้ อ 3. 8. ตอบข้ อ 3.
9. ตอบข้ อ 1. 10. ตอบข้ อ 2. 11. ตอบข้ อ 4. 12. ตอบ ข้ อ 4.
13. ตอบข้ อ 1. 15. ตอบข้ อ 2. 16. ตอบข้ อ 1. 17. ตอบข้ อ 1.
18. ตอบข้ อ 3. 19. ตอบข้ อ 1. 20. ตอบข้ อ 1. 21. ตอบข้ อ 3.
22. ตอบข้ อ 2. 23. ตอบข้ อ 1. 24. ตอบข้ อ 3. 25. ตอบข้ อ 2.
26. ตอบข้ อ 3. 27. ตอบข้ อ 2. 28. ตอบข้ อ 4. 29. ตอบข้ อ 4.
30. ตอบข้ อ 4. 31. ตอบ 10 32. ตอบข้ อ 3. 33. ตอบข้ อ 4.
34. ตอบข้ อ 2. 35. ตอบข้ อ 2. 36. ตอบข้ อ 1. 37. ตอบข้ อ 3.
38. ตอบข้ อ 4. 39. ตอบข้ อ 4. 40. ตอบข้ อ 4. 41. ตอบข้ อ 4.
42. ตอบข้ อ 4. 43. ตอบข้ อ 3. 44. ตอบข้ อ 2. 45. ตอบข้ อ 3.
46. ตอบข้ อ 2. 47. ตอบข้ อ 2. 48. ตอบข้ อ 2. 49. ตอบข้ อ 2.
50. ตอบข้ อ 1. 51. ตอบข้ อ 2. 52. ตอบข้ อ 3. 53. ตอบข้ อ 4.
54. ตอบข้ อ 2. 55. ตอบข้ อ 1. 56. ตอบข้ อ 2. 57. ตอบข้ อ 3.
58. ตอบข้ อ 3. 59. ตอบ 5 60. ตอบข้ อ 1. 61. ตอบข้ อ 1.
62. ตอบข้ อ 2.

57
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลัง งาน
5.1 งาน
งาน เป็ นผลอย่างหนึ่ งซึ่ งเกิ ดจากการออกแรงกระทาต่อวัตถุ แล้วทาให้วตั ถุ เคลื่ อนที่ไป
ตาม แนวแรงนั้น
เราสามารถหาขนาดของงานได้จากผลคูณระหว่างขนาดของแรงกับการกระจัดตามแนวแรง
นั้น เขียนเป็ นสมการจะได้
W = Fs F
เมื่อ F คือแรง ( นิวตัน ) s
s คือการกระจัดตามแนวแรงนั้น ( เมตร )
W คืองาน ( นิวตันเมตร , จูล )
หมายเหตุ : ถ้าทิศของแรงมีทิศเดียวกับทิศของการกระจัด ต้องแทนค่าแรง (F) เป็ นบวก
ถ้าทิศของแรงมีทิศตรงกันข้ามกับทิศของการกระจัด ต้องแทนค่าแรง (F) เป็ นลบ
1. เด็กคนหนึ่ งออกแรงสม่าเสมอ 6 นิ วตัน ลากวัตถุไปตามแนวราบได้ระยะทาง 3 เมตร
งานของแรงลากนี้ มีขนาดเท่ากับกี่จูล
1. 10 2. 15 3. 18 4. 20

2. วัตถุมวล 10 กิโลกรัม ไถลไปบนพื้นที่มีสัมประสิ ทธิ์ ความเสี ยดทานจลน์ระหว่างพื้นกับผิว


วัตถุเท่ากับ 0.2 เป็ นระยะทาง 5 เมตร งานของแรงเสี ยดทานมีค่าเท่ากับกี่จูล
1. –100 2. –50 3. 50 4. 100

1
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 งานและพลังงาน
5.1.1 งานของแรงทีท่ ามุมกับแนวการเคลือ่ นที่
การคานวณหางานโดยใช้สมการ W = F s นั้น ต้องระวังว่า
ทิศของแรง (F) กับการกระจัด (s) ต้องอยูใ่ นแนวที่ขนานกันจึงใช้คานวณหางาน (W) ได้
หากแรง (F) มีทิศตั้งฉากกับการกระจัด (s) ค่าของงาน (W) จะมีค่าเป็ นศูนย์
หากทิศของแรง (F) อยู่ในแนวเอียงทามุ มกับการกระจัด (s) ให้ทาการแตกแรงแล้วใช้
แรงที่อยูใ่ นแนวขนานกับการกระจัด (s) เป็ นตัวคานวณหางาน (W)
F sin
F
F
F
 F cos
s s s
W=Fs W=0 W = Fcos s
( ใช้ Fcos เพราะอยู่ในแนวขนานกับ s )

3. จงหางานของแรง F ในแต่ละกรณี ต่อไปนี้ ( ตอบตามลาดับ )


ก. ข. F = 5 นิวตัน ค. F = 5 นิวตัน
F = 5 นิวตัน
60o

s = 3 เมตร s = 3 เมตร
s = 3 เมตร
1. 15 , 0 , 7.5 จูล 2. 18 , 1 , 8.5 จูล
3. 20 , 0 , 9 จูล 4. 23 , 2 , 10 จูล

4. แบกของหนัก 100 กิโลกรัม แล้วเดินไปข้างหน้าได้ทาง 7 เมตร จะทางานได้กี่จูล


1. 0 2. 10 3. 25 4. 100

2
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 งานและพลังงาน
5. ในการที่ดวงจันทร์ โคจรรอบโลกนั้น งานที่เกิดจากแรงกระทาของโลกต่อดวงจันทร์ มีค่าเป็ น
ศูนย์เพราะ
1. แรงดึงดูดที่โลกกระทาต่อดวงจันทร์ มีค่าเท่ากับแรงสู่ ศูนย์กลาง
2. แรงดึงดูดที่โลกกระทาต่อดวงจันทร์ มีค่าเท่ากับแรงดึงดูดที่ดวงจันทร์ กระทาต่อโลก
3. แรงดึงดูดที่โลกกระทาต่อดวงจันทร์ มีทิศตั้งฉากกับทิศการเคลื่อนที่ของดวงจันทร์
4. สนามโน้มถ่วงที่ผวิ ดวงจันทร์ มีค่าน้อยกว่าสนามโน้มถ่วงที่ผวิ โลก

6(แนว มช) ชายคนหนึ่ งแบกข้าวสารหนัก 100 กิ โลกรั ม ไว้บ นบ่าเดิ นไปตามพื้ นราบเป็ น
ระยะทาง 10 เมตร แล้วจึงขึ้นบันไดด้วยความเร็ วคงที่ไปชั้นบนซึ่ งสู งจากพื้นล่าง 3 เมตร
จงหางานที่ชายผูน้ ้ นั ทา
1. 10000 จูล 2. 3000 จูล 3. 13000 จูล 4. 1300 จูล

5.1.2 งานของแรงทีม่ ขี นาดเพิม่ ขึน้ หรือลดลงอย่ างสมา่ เสมอ


หากแรงมีขนาดเพิ่มขึ้นหรื อลดลงอย่างสม่าเสมอ ต้องหาค่าของแรงเฉลี่ย แล้วจึงนาแรง
เฉลี่ยนั้นมาคานวณหางาน
7. ถ้าออกแรงเพิ่มขึ้นสม่าเสมอจาก 0 ถึง 10 นิวตัน ทาให้วตั ถุเคลื่อนที่ไปตามแนวแรงนั้นได้
ระยะทาง 10 เมตร จะได้งานกี่จูล
1. 15 2. 30 3. 46 4. 50

3
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 งานและพลังงาน
5.1.3 การหางานจากพืน้ ทีใ่ ต้ กราฟของแรง ( F ) กับการกระจัด ( s )
หากโจทย์กาหนดกราฟของแรง ( F ) กับ F (นิวตัน)
การกระจัด ( s ) มาให้ พื้นที่ใต้กราฟนั้นจะมีค่า
เท่ากับผลคูณ F.s เสมอ 40
20
5 10 s (เมตร)
8(แนว En) แรง F กระทากับวัตถุแสดงโดยกราฟ F (นิวตัน)
ดังรู ป งานที่เกิดขึ้นในระยะ 10 เมตร เป็ นกี่จูล 80
1. 100 2. 150 40
3. 200 4. 300 s (เมตร)
5 10

9. แรงกระทาต่อวัตถุหนึ่ง เมื่อนาค่าแรงที่กระทาต่อ
30 แรง(นิวตัน)
วัตถุในแนวขนานกับการเคลื่อนที่ มาเขียนกราฟ
ความสัมพันธ์ระหว่างแรง กับการกระจัดได้ดงั รู ป 20
จงหางานที่เกิดขึ้น เมื่อการกระจัดเป็ น 40 เมตร 10
40 การกระจัด
1. 300 จูล 2. 400 จูล 0 10 20 30 (เมตร)
3. 500 จูล 4. 600 จูล –10

4
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 งานและพลังงาน
10. จากรู ปวัตถุถูกกระทาด้วยแรง F ทามุม 37o
F (N)
กับแนวระดับ ขนาดของแรง F เปลี่ยนแปลง
10
ตามการกระจัดในแนวราบดังกราฟ จงหางาน s ( m)
เนื่องจากแรง F ในการทาให้วตั ถุเคลื่อนที่ได้ 0 10 20 30
30 เมตร
1. 100 จูล 2. 140 จูล
3. 160 จูล 4. 200 จูล

11. แรง 20 นิวตัน กระทาต่อวัตถุมวล 2 กิโลกรัม ที่อยูน่ ิ่ งให้เคลื่อนที่บนพื้นลื่น จงหางาน


ที่เกิดขึ้นในเวลา 4 วินาที ในหน่วยจูล
1. 40 2. 160 3. 400 4. 1600

12. วัตถุมวล 4 กิโลกรัม แขวนอยูใ่ นแนวดิ่ งด้วยเชื อกเส้นหนึ่งเหนื อระดับพื้ น 20 เมตร ถ้า
ดึงเชื อกให้มวลเคลื่ อนขึ้ นเป็ นระยะทาง 10 เมตร ด้วยอัตราเร่ ง 2.5 เมตร/วินาที 2 จงหา
งานที่ทาโดยแรงตึงเชือก ( ให้ใช้ค่า g = 10 เมตร/วินาที2 )
1. 300 จูล 2. 500 จูล 3. 700 จูล 4. 1000 จูล

5
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 งานและพลังงาน
13. เด็กคนหนึ่งออกแรงยกถังน้ ามวล 30 กิโลกรัม ขึ้นจากบ่อน้ าลึก 5 เมตร ด้วยอัตราเร็ ว
สม่าเสมอจะทางานได้กี่จูล
1. 1000 2. 1250 3. 1500 4. 2000

14. ชายคนหนึ่ งผลักมวล 50 กิ โลกรัม จากปลายพื้ นเอียงขึ้ นไปตามพื้นเอียงที่ ไม่มีแรงเสี ยด


ทาน ด้วยความเร็ วคงตัว เป็ นระยะ 1.6 เมตร โดยพื้นเอียงทามุม 30o กับพื้นราบ
จงหา ก. แรงที่ใช้ในการผลัก
ข. งานที่ชายผูน้ ้ ีกระทาในการผลัก
ค. งานในการผลักจะเป็ นเท่าใด ถ้าพื้นเอียงมีแรงเสี ยดทาน 60 นิวตัน
1. ก. 220 นิวตัน , ข. 350 จูล , ค. 446 จูล
2. ก. 220 นิวตัน , ข. 350 จูล , ค. 475 จูล
3. ก. 250 นิวตัน , ข. 400 จูล , ค. 496 จูล
4. ก. 250 นิวตัน , ข. 400 จูล , ค. 480 จูล

6
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 งานและพลังงาน
5.2 พลังงาน
พลังงาน คือความสามารถในการทางานได้ พลังงานเป็ น ปริ มาณสเกลาร์
พลังงานมีหลายรู ปแบบเช่น พลังงานความร้อน พลังงานไฟฟ้ า พลังงานแสง พลังงาน
เคมี พลังงานกล เป็ นต้น
พลังงานกล คือพลังงานที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของวัตถุ และพลังงานที่สะสมในตัววัตถุ
ซึ่งอาจถูกปลดปล่อยออกเป็ นพลังงานรู ปแบบอื่นๆ ได้ พลังงานกลของวัตถุมี 2 รู ปแบบได้แก่
พลังงานจลน์ และ พลังงานศักย์

5.2.1 พลังงานจลน์
พลังงานจลน์ คือพลังงานกลที่ข้ ึนกับความเร็ วของวัตถุ วัตถุที่กาลังเคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ ว
จะมีพลังงานจลน์ วัตถุที่อยูน่ ิ่งจะไม่มีพลังงานจลน์
เราสามารถหาขนาดของพลังงานจลน์ได้จาก
Ek = 12 m v2

เมื่อ Ek คือพลังงานจลน์ (จูล)


m คือมวล (กิโลกรัม)
v คือความเร็ วของวัตถุ ( เมตร/วินาที )
15(มช 28) รถยนต์หนัก 2000 กิโลกรัม วิง่ ด้วยความเร็ ว 72 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง พลังงานจลน์
ของรถคันนั้นมีค่าเท่ากับกี่จูล
1. 51.8 x 105 2. 1.0 x 105 3. 2.0 x 105 4. 4.0 x 105

16. นายฟั กทิ้งขวดมวล 0.5 กิ โลกรัม จากหลังคาบ้านซึ่ งสู ง 12 เมตร ให้ตกอย่างอิสระ


ถ้าขวดตกลงมาได้ทาง 13 ของทางทั้งหมด จะมีพลังงานจลน์กี่จูล
1. 10 2. 20 3. 30 4. 40

7
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 งานและพลังงาน
17. วัตถุมวล m มีพลังงานจลน์ E แล้ววัตถุมวล 2m ซึ่ งมีอตั ราเร็ วเท่ากัน จะมีพลังงานจลน์
เท่าใด
1. E4 2. E2 3. E 4. 2E

18. วัตถุมวล m มีอตั ราเร็ ว v มีพลังงานจลน์ E ถ้าวัตถุมวล 2m มีอตั ราเร็ ว 2v จะมีพลัง


งานจลน์เท่าใด
1. E4 2. E2 3. 2E 4. 8E

19. วัตถุหนึ่งเมื่อเพิ่มอัตราเร็ วให้เป็ น 2 เท่า ของอัตราเร็ วเดิมจะมีพลังงานจลน์กี่เท่าของเดิม


1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

20. ถ้าวัตถุอยูน่ ิ่งๆ พลังงานจลน์ของวัตถุน้ นั จะมีค่าเท่ากับกี่จูล


1. 5 2. 3 3. 1 4. 0

8
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 งานและพลังงาน
5.2.2 พลังงานศักย์
พลังงานศักย์ คือพลังงานที่สะสมอยูใ่ นตัววัตถุซ่ ึงอาจถูกปลดปล่อยออกมาเป็ นพลังงาน
รู ปแบบอื่นๆ ได้
พลังงานศักย์ซ่ ึ งเกี่ยวข้องกับแรงโน้มถ่วง เรี ยกว่าพลังงานศักย์ โน้ มถ่ วง เช่นเมื่อเราแบก
วัตถุไว้สูงจากพื้นขนาดหนึ่ง ในวัตถุจะมีพลังงานสะสมอยู่ พลังงานที่สะสมตรงนี้ เกิดจากแรง
โน้มถ่วงของโลก เราเรี ยกพลังงานศักย์โน้มถ่วง ซึ่ งหาขนาดได้จาก
Ep = m g h
เมื่อ Ep คือพลังงานศักย์โน้มถ่วง ( จูล )
m คือมวล (กิโลกรัม)
g คือความเร่ งเนื่องจากแรงโน้มถ่วง ( เมตร/วินาที2 )
h คือความสู งจากจุดเปรี ยบเทียบถึงวัตถุ ( เมตร )
พลังงานศักย์ซ่ ึ งเกี่ยวข้องกับความยืดหยุน่ ของวัตถุ เรี ยกว่าพลังงานศักย์ ยดื หยุ่น เช่น
เมื่อเรานาวัตถุติดไว้ตรงปลายสปริ งดังรู ป หากเราไม่ออกแรงดึงสปริ งให้ยดื หรื อกดสปริ งให้
ยุบ จุดที่วตั ถุอยู่ (ปลายสปริ ง) จะเรี ยก จุดสมดุล ณ.จุดตรงนี้วตั ถุจะไม่มีพลังงานศักย์ หากเราดึง
สปริ งให้ยดื หรื อกดให้ยบุ ให้วตั ถุอยูห่ ่างจากจุดสมดุล ในวัตถุจะมีพลังงานศักย์สะสมอยูเ่ รี ยก
พลังงานศักย์ยดื หยุน่ ซึ่งหาขนาดได้จาก
Ep = 12 k s2
เมื่อ Ep คือพลังงานศักย์ยดื หยุน่ ( จูล )
s คือระยะห่างจากจุดสมดุล (เมตร)
k คือค่านิจสปริ ง (นิวตัน/เมตร )
โดย k = Fs
เมื่อ F คือแรงกระทา ( นิวตัน )
s คือระยะห่างจากสมดุล ซึ่งเกิดจากแรง F ( เมตร )
พลังงาน

พลังงานจลน์ พลังงานศักย์
Ek = 12 m v2
พลังงานศักย์ โน้ มถ่ วง พลังงานศักย์ ยดื หยุ่น
Ep = m g h Ep = 12 k s2
9
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 งานและพลังงาน
21. มวล A ขนาด 10 กิโลกรัม อยูส่ ู งจากพื้นโลก 1 เมตร กับมวล B ขนาด 5 กิโลกรัม
อยูส่ ู งจากพื้นโลก 1.5 เมตร อัตราส่ วนของพลังงานศักย์ของ A ต่อ B เป็ นเท่าไร
1. 4 : 3 2. 3 : 4 3. 1 : 2 4. 2 : 1

22. สปริ งตัวหนึ่งมีความยาวปกติ 1 เมตร และมีค่านิจสปริ ง 100 นิ วตัน/เมตร ต่อมาถูกแรง


กระทาแล้วทาให้ยืดออกและมีความยาวเปลี่ ยนเป็ น 1.2 เมตร จงหาพลังงานศักย์ยืดหยุ ่น
ขณะที่ถูกแรงนี้กระทามีค่ากี่จูล
1. 10 2. 7 3. 4 4. 2

23. สปริ งตัวหนึ่งเมื่อออกแรงกระทา 100 นิวตัน จะยืดได้ 0.5 เมตร หากเปลี่ยนแรงกระทา


เป็ น 200 นิวตัน ขณะนั้นสปริ งมีพลังงานศักย์ยดื หยุน่ มีค่ากี่จูล
1. 20 2. 50 3. 100 4. 250

5.3 กฎการอนุรักษ์ พลังงาน


กฎการอนุรักษ์ พลังงาน กล่าวว่า “ พลังงานเป็ นปริ มาณที่ไม่สูญหาย แต่อาจเปลี่ยนรู ปหรื อ
เคลื่อนย้ายได้ โดยปริ มาณทั้งหมดของพลังงานต้องคงเดิม ”
10
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 งานและพลังงาน
5.4 การประยุกต์ กฎการอนุรักษ์ พลังงาน
การคานวณโจทย์เกี่ยวกับกฎการอนุ รักษ์พลังงาน สามารถทาได้โดยใช้สมการ
E1 + W = E 2
เมื่อ E1 , E2 คือพลังงานที่มีตอนแรก และตอนหลังตามลาดับ
W คืองานในระบบ
24. ถ้าความเร็ วต้นของน้ าที่ฉีดขึ้นในแนวดิ่งมีค่าเท่ากับ 8 เมตร / วินาที จงหาความสู งของน้ า
ที่พุง่ ขึ้นไปในอากาศ
1. 5.0 เมตร 2. 3.2 เมตร 3. 1.5 เมตร 4. 1.0 เมตร

25. ปล่อยวัตถุตกจากที่สูงจากพื้น 20 เมตร เมื่อวัตถุตกลงมาถึ งพื้นดิ นจะมีความเร็ วกี่ เมตร/-


วินาที
1. 1 2. 20 3. 50 4. 100

26(แนว En) เสาชิงช้าสู ง 5 เมตร ถ้าแกว่งชิ งช้าขึ้นจนถึง 90o อัตราเร็ วของชิ งช้าตอนผ่าน
จุดต่าสุ ดจะเป็ นกี่เมตรต่อวินาที
1. 10 2. 20 3. 36 4. 72

11
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 งานและพลังงาน
27. ขว้างก้อนหิ นหนัก 0.5 กิโลกรัม ด้วยความเร็ ว 10 เมตร/วินาที จากหน้าผาสู งจากระดับ
น้ าทะเล 75 เมตร ความเร็ วของก้อนหิ นกระทบน้ ามีค่าเท่ากับเท่าไร (g = 10 เมตร/วินาที2)
1. 31.62 เมตร/วินาที 2. 33.17 เมตร/วินาที
3. 36.10 เมตร/วินาที 4. 40.00 เมตร/วินาที

28. ลูกปิ งปองกระเด็นทามุมเงย 30o กับแนวระดับจากขอบโต๊ะซึ่ งสู ง 1 เมตร ด้วยอัตราเร็ ว


4 เมตรต่อวินาที จงหาอัตราเร็ วของลูกปิ งปองขณะที่อยูส่ ู งจากพื้น 0.55 เมตร
1. 4.4 เมตร/วินาที 2. 5.0 เมตร/วินาที
3. 5.2 เมตร/วินาที 4. 5.6 เมตร/วินาที

29. กล่องมวล 1 กิโลกรัม เคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ ว 2 เมตร/-


u = 2 m/s
วินาที บนผิวราบที่ปราศจากความฝื ดไปชนกับปลาย 1 kg
ของสปริ งที่เคลื่อนไปมาอย่างอิสระ ถ้าค่านิจของสปริ ง
ดังกล่าวเท่ากับ 400 นิวตัน/เมตร อยากทราบว่าสปริ งจะถูกอัดตัวเป็ นระยะทางกี่เมตร
1. 1 2. 1 3. 0.05 4. 0.1
10 2 2

12
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 งานและพลังงาน
30(แนว En) กดมวล 2 กิ โลกรั ม บนสปริ งซึ่ งตั้งในแนวดิ่ งให้ส ปริ งยุบ ตัวลงไป 0.1 เมตร
จากนั้นก็ปล่อย ปรากฏว่ามวลถูกดีดให้ลอยสู งขึ้นเป็ นระยะ 0.5 เมตร จากจุดที่ปล่อย จงหา
ค่าคงตัวของสปริ ง
1. 8 นิวตัน/เมตร 2. 20 นิวตัน/เมตร
3. 800 นิวตัน/เมตร 4. 2000 นิวตัน/เมตร

31. วัตถุเคลื่อนที่ดว้ ยอัตราเร็ ว 2 เมตร/วินาที ถูกแรงกระแรงทาให้เคลื่อนที่ดว้ ยอัตราเร็ ว 10


เมตร/วินาที ภายในระยะทาง 4 เมตร ถ้าวัตถุมีมวล 2 กิโลกรัม จงหา
ก. งานที่ทาได้ ข. แรงที่ออกไป
1. ก. 90 จูล , ข. 20 นิวตัน 2. ก. 94 จูล , ข. 22 นิวตัน
3. ก. 96 จูล , ข. 24 นิวตัน 4. ก. 100 จูล , ข. 28 นิวตัน

13
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 งานและพลังงาน
32. วัตถุเคลื่อนที่ดว้ ยอัตราเร็ ว 8 เมตร/วินาที ถูกแรงกระแรงทาให้เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ ว 4
เมตร/วินาที ภายในระยะทาง 2 เมตร ถ้าวัตถุมีมวล 2 กิโลกรัม จงหา
ก. งานที่ทาได้ ข. แรงที่ออกไป
1. ก. 90 จูล , ข. 20 นิวตัน 2. ก. 56 จูล , ข. 22 นิวตัน
3. ก.–50 จูล , ข. –23 นิวตัน 4. ก. –48 จูล , ข. –24 นิวตัน

33. กล่องใบหนึ่งมีมวล 20 กิโลกรัม วางอยูบ่ นโต๊ะซึ่ งสู ง


จากพื้นห้อง 1 เมตร ถ้ายกกล่องใบนี้ข้ ึนไปวางบนชั้น
ซึ่งสู งจากพื้นห้อง 3 เมตร จงคานวณงานที่ใช้ในการยก
ถ้าเส้นทางของการยกเฉียงดังรู ปในหน่วยจูล
1. 200 2. 400 3. 1000 4. 2500

14
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 งานและพลังงาน
34. นักเรี ยนคนหนึ่งมวล 40 กิโลกรัม เดินขึ้นบันไดดังรู ป
เมื่อถึงจุด A นักเรี ยนต้องทางานอย่างน้อยที่สุดเท่าไร 5m
1. 200 จูล 2. 2000 จูล
30o
3. 4000 จูล 4. 2000 3 จูล

35. ปั้ นจัน่ เครื่ องหนึ่ งสามารถฉุ ดลูกตุม้ เหล็กมวล 1000 กิโลกรัม ขึ้นจากพื้นสู ง 10 เมตร และ
ขณะนั้นลูกตุม้ มีอตั ราเร็ ว 2 เมตร/วินาที จงหางานที่ป้ ั นจัน่ ทาได้ในหน่วยกิโลจูล
1. 72 2. 84 3. 96 4. 102

36(แนว มช) สปริ งอันหนึ่งเมื่อออกแรงกด 100 นิวตัน จะหดเข้าไป 0.75 เมตร จงหางานเป็ น
จูล ที่ทาเมื่อดึงให้สปริ งยืดออก 0.30 เมตร จากสภาพสมดุลปกติ
1. 6.0 จูล 2. 7.5 จูล 3. 15.0 จูล 4. 22.5 จูล

15
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 งานและพลังงาน
37. สปริ งสองตัวมีค่านิจเป็ น k1 และ k2 เชื่อมกันดังรู ป จุดสมดุล
k1 x k2
ออกแรง F ผลักให้จุดเชื่อมต่อของสปริ งทั้งสองเลื่อน
ไปจากเดิมเป็ นระยะ x ต้องทางานเท่าไร
1. Fx 2. 12 Fx2 3. 12 (k1+ k2) x2 4. (k1 + k2) x2

38. แท่งวัตถุมวล 4 กิโลกรัม ไถลลงมาตามรางส่ วนโค้งของ 2.5 ม.


วงกลมรัศมีความโค้ง 2.5 เมตร ดังรู ป เมื่อถึงส่ วนล่างสุ ด
2.5 ม.
ของส่ วนโค้งแท่งวัตถุมีความเร็ ว 4 เมตร/วินาที จงหางาน
ในการไถลลงมาตามรางของแท่งวัตถุเนื่ องจากความฝื ด
1. 60 จูล 2. 68 จูล 3. 130 จูล 4. 256 จูล

16
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 งานและพลังงาน
39. หิ นก้อนหนึ่งมวล 20 กิโลกรัม ไถลลงตามเนินดังรู ป A
ถ้าก้อนหิ นมีอตั ราเร็ ว 1 เมตร/วินาที ที่จุด A และ 4
เมตร/วินาที ที่จุด B จงหางานของแรงเสี ยดทานที่กระ 4 ม.
B
ทาต่อก้อนหิ น ในช่วงการเคลื่อนที่จาก A ไป B 5 ม.
1. 320 จูล 2. 460 จูล 3. 650 จูล 4. 810 จูล

40. จากรู ป วัตถุเคลื่อนตามรางโค้ง รัศมี R ถ้าวัตถุหยุดนิ่ง A R


อยูท่ ี่ A และไถลลงมายังจุด B เกิดงานเนื่ องจากความฝื ด N
ระหว่างพื้นกับวัตถุ 2.75 จูล จงหาความเร็ วของวัตถุที่ R

จุด B เป็ นกี่เมตรต่อวินาที


B
กาหนด R = 1 เมตร และวัตถุมีมวล = 0.5 กิโลกรัม
1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

17
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 งานและพลังงาน
41. วัตถุมวล 2 กิโลกรัม มีอตั ราเร็ ว 1 เมตร/วิน าที
ที่ จุด A และ 6 เมตร/วินาที ที่ จุด B ถ้า ระยะ A
ทางโค้งจาก A ถึง B เท่ากับ 15 เมตร แรง
5 ม.
เสี ยดทานเฉลี่ยที่กระทาบนกล่องเป็ นเท่าไร
B
1. 3 นิวตัน 2. 4 นิวตัน 1 ม.
3. 5 นิวตัน 4. 6 นิวตัน

42(แนว En) ยิงลูกปื นมวล 0.012 กิโลกรัม ไปยังแท่งไม้ซ่ ึ งตรึ งอยูก่ บั ที่ ปรากฏว่าลูกปื นฝัง
เข้า ไปในเนื้ อไม้เป็ นระยะ 0.05 เมตร ถ้าความเร็ วของลูกปื นคือ 200 เมตรต่อวินาที จงหา
แรงต้านทานเฉลี่ยของเนื้ อไม้ต่อลูกปื น
1. 4800 นิวตัน 2. 6000 นิวตัน 3. 9600 นิวตัน 4. 12000 นิวตัน

18
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 งานและพลังงาน
43. ผลักวัตถุมวล 1 กิโลกรัม ให้ไถลไปตามพื้นราบขรุ ขระด้วยความเร็ ว 2 เมตร/วินาที
ถ้า ส.ป.ส. ความเสี ยดทานของพื้นกับวัตถุมีค่า 0.2 ให้หาว่าวัตถุไปได้ไกลเท่าไร
1. 1 เมตร 2. 2.13 เมตร 3. 3 เมตร 4. 4 เมตร

44(แนว En) กล่องใบหนึ่งมีมวล 2 กิโลกรัม ไถลบนพื้นราบด้วยความเร็ วต้น 2 เมตร/วินาที


เมื่อไถลได้ 1 เมตร ก็หยุดนิ่งสัมประสิ ทธิ์ ความเสี ยดทานระหว่างกล่องและพื้นเป็ นเท่าใด
1. 0.4 2. 0.3 3. 0.2 4. 0.1

19
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 งานและพลังงาน
5.5 กาลัง
กาลัง คืออัตราการทางาน หรื อปริ มาณงานที่ทาได้ในหนึ่งหน่วยเวลา
เราสามารถหากาลังได้จาก
P = Wt
เมื่อ P คือกาลัง ( วัตต์ )
W คืองาน (จูล )
t คือเวลา ( วินาที )
และเนื่องจาก W = F s จึงได้วา่ P = Ft s
และเนื่องจาก v = st จึงได้วา่ P=Fv
เมื่อ F คือแรง ( นิวตัน ) s คือระยะทาง ( เมตร )
t คือเวลา ( วินาที ) v คืออัตราเร็ ว ( เมตรต่อวินาที )
45. เด็กคนหนึ่งดึงถังน้ ามวล 15 กิโลกรัม ขึ้นจากบ่อน้ าลึก 3 เมตร ด้วยอัตราเร็ วสม่าเสมอใน
เวลา 6 วินาที จะใช้กาลังกี่วตั ต์
1. 75 2. 50 3. 30 4. 15

46. ในการยกกล่องมวล 100 กิโลกรัม จากพื้น โดยใช้กาลัง 1 กิโลวัตต์ เป็ นเวลา 10 วินาที
กล่องนั้นจะขึ้นไปได้สูงจากพื้นกี่เมตร
1. 0.1 2. 1.0 3. 10.0 4. 20.0

20
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 งานและพลังงาน
47. จงหากาลังของเครื่ องจักรเครื่ องหนึ่ง ซึ่ งกาลังยกวัตถุมวล 500 กิโลกรัม ขึ้นในแนวดิ่งด้วย
ความเร็ วคงที่ 1.6 เมตร/วินาที
1. 8000 วัตต์ 2. 1600 วัตต์ 3. 4000 วัตต์ 4 . 100 วัตต์

48. รถอีแต๋ นคันหนึ่งใช้เครื่ องยนต์ซ่ ึ งมีกาลัง 5 กิโลวัตต์ สามารถแล่นได้เร็ วสู งสุ ด 36 กิโล-
เมตร/ชัว่ โมง จงหาแรงฉุ ดสู งสุ ดของเครื่ องยนต์มีค่ากี่นิวตัน
1. 200 2. 500 3. 1000 4. 2000

49(แนว En) งานของแรง F ซึ่ งกระทากับวัตถุหนึ่งมีความสัมพันธ์กบั ระยะทางที่วตั ถุเคลื่อนที่ s


ดังรู ป วัตถุใช้เวลาเคลื่อนที่ท้ งั หมด 5 วินาที F (N)
ในการทางานของแรง F นี้ กาลังเฉลี่ยของ
แรง F เป็ นเท่าใด 30
1. 3.5 วัตต์ 2. 9.0 วัตต์ 20
3. 14 วัตต์ 4. 70 วัตต์ s (m)
4 6

21
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 งานและพลังงาน
50(แนว En) รถยนต์คนั หนึ่งมีมวล 1000 กิโลกรัม สามารถเร่ งอัตราเร็ วจาก 10 เมตร/วินาที
เป็ น 20 เมตร/วินาที โดยอัตราเร่ งคงที่ในเวลา 10.0 วินาที กาลังเฉลี่ยเครื่ องยนต์ที่ใช้อย่าง
น้อยเป็ นเท่าใด
1. 10.0 กิโลวัตต์ 2. 15.0 กิโลวัตต์ 3. 20.0 กิโลวัตต์ 4. 25.0 กิโลวัตต์

51. ใช้ป้ ั นจัน่ ยกวัตถุมวล 200 กิโลกรัม ขณะวัตถุหยุดนิ่ง หลังจากนั้น 20 วินาที พบว่าวัตถุ
อยูส่ ู งจากตาแหน่งเดิม 20 เมตร และกาลังเคลื่อนที่ดว้ ยอัตราเร็ ว 2 เมตรต่อวินาที กาลัง
ของปั้ นจัน่ มีค่ากี่วตั ต์
1. 2000 2. 2020 3. 2500 4. 3000

5.6 เครื่องกล
เครื่ องกลเป็ นเครื่ องมือที่ช่วยให้การทางานสะดวกขึ้นหรื อง่ายขึ้น เครื่ องกลจะไม่ช่วย
ให้เราทางานได้มากกว่างานที่เราให้แก่เครื่ องกล และอาจสู ญเสี ยงานไปเล็กน้อยเนื่องจากความ
ฝื ดอีกด้วย
งานที่ได้จากเครื่ องกล = งานที่เราให้แก่เครื่ องกล – งานที่สูญเสี ยไปเนื่องจากความฝื ด
และ ประสิ ทธิ์ ภาพเครื่ องกล ( Eff ) = งานทีไ่ ด้จากเครื่องกล x 100 %
งานทีเ่ ราให้แก่เครื่ องกล
เครื่ องกลอย่างง่ายมี 6 ประเภทได้แก่ คาน , ลิ่ม , พื้นเอียง , ล้อกับเพลา , สกรู , รอก
22
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 งานและพลังงาน
52. เมื่อออกแรงงัดค้อน F = 80 นิวตัน ทาให้คอ้ นเอียง 0.05 ม.
ไปจากแนวเดิม 0.05 เมตร พร้อมกันนั้นหัวค้อน F

จะงัดหัวตะปูข้ ึนมาจากพื้นได้ 0.01 เมตร ดังรู ป


W
ถ้าแรงงัดหัวตะปูมีขนาดเท่ากับ W = 300 นิวตัน จง
หาประสิ ทธิ ภาพของเครื่ องกลนี้
1. 50.00 % 2. 62.50 % 0.01 ม.
3. 75.00 % 4. 80.00 %

53. ลิ่มยาว s = 0.2 เมตร เมื่อออกแรงตอก F = 400


0.05 ม.
นิวตัน ตอกเข้าแท่งไม้จะทาให้เนื้ อไม้แยกออก F
ห่าง S = 0.05 เมตร ถ้าแรงต้านเนื้ อไม้มีค่าเท่ากับ W
W = 1200 นิวตัน จงหาประสิ ทธิ ภาพเครื่ องกลนี้ 0.2 ม.
1. 50.00 % 2. 62.50 %
3. 75.00 % 4. 80.00 %

23
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 งานและพลังงาน
54(มช 41) ถ้าใช้พ้ืนเอียงผิวเกลี้ยงดังรู ป เป็ นเครื่ องกล 4N
อันหนึ่งประสิ ทธิ ภาพของเครื่ องกลอันนี้ มีค่าเท่าใด 0.6 kg
1. 75 % 2. 67 %
3. 50 % 4. 40 % 30o

55. เครื่ องกลแบบสกรู มีแขนหมุนยาว 50 เซนติเมตร และมีระยะเกลียว 3 มิลลิเมตร ถ้าออก


แรงหมุนสกรู 3 นิวตัน จะสามารถยกน้ าหนักได้มากที่สุด 2200 นิวตัน จงหาประสิ ทธิภาพ
ของเครื่ องกลนี้
1. 90 % 2. 70 % 3. 50 % 4. 40 %

24
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 งานและพลังงาน
56. จากรู ป จงหาประสิ ทธิ ภาพของรอกมีค่าเท่าใด
1. 50 % 2. 60 %
3. 70 % 4. 80 %
40 kg
500 N

57. จงหาประสิ ทธิภาพของรอก ดังรู ป


1. 75 % F = 40 N
2. 67 %
3. 50 %
W = 40 N
4. 40 %

58. ใช้เครื่ องผ่อนแรงแบบรอกระบบหนึ่ง ช่วยยกน้ าหนัก 30 นิวตัน จะใช้แรงเพียง 6 นิวตัน


แต่ตอ้ งใช้แรงนั้นดึงเป็ นระยะทางถึง 8 เซนติเมตร จึงจะยกน้ าหนักขึ้นได้สูงเพียง 1 เซนติ-
เมตร จงหาประสิ ทธิ ภาพของเครื่ องกลนี้
1. 50.25 % 2. 60.00 % 3. 62.50 % 4. 70.00 %

25
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 งานและพลังงาน

เฉลย บทที่ 5 งานและพลังงาน


1. ตอบข้ อ 3. 2. ตอบข้ อ 1. 3. ตอบข้ อ 1. 4. ตอบข้ อ 1.
5. ตอบข้ อ 3. 6. ตอบข้ อ 2. 7. ตอบข้ อ 4. 8. ตอบข้ อ 4.
9. ตอบข้ อ 2. 10. ตอบข้ อ 3. 11. ตอบข้ อ 4. 12. ตอบข้ อ 2.
13. ตอบข้ อ 3. 14. ตอบข้ อ 3. 15. ตอบข้ อ 4. 16. ตอบข้ อ 2.
17. ตอบข้ อ 4. 18. ตอบข้ อ 4. 19. ตอบข้ อ 4. 20. ตอบข้ อ 4.
21. ตอบข้ อ 1. 22. ตอบข้ อ 4. 23. ตอบข้ อ 3. 24. ตอบข้ อ 2.
25. ตอบข้ อ 2. 26. ตอบข้ อ 1. 27. ตอบข้ อ 4. 28. ตอบข้ อ2.
29. ตอบข้ อ 4. 30. ตอบข้ อ 4. 31. ตอบข้ อ 3. 32. ตอบข้ อ4.
33. ตอบข้ อ 2. 34. ตอบข้ อ 2. 35. ตอบข้ อ 4. 36. ตอบข้ อ1.
37. ตอบข้ อ 3. 38. ตอบข้ อ 2. 39. ตอบข้ อ 3. 40. ตอบข้ อ 3.
41. ตอบข้ อ 1. 42. ตอบข้ อ 1. 43. ตอบข้ อ 1. 44. ตอบข้ อ 3.
45. ตอบข้ อ 1. 46. ตอบข้ อ 3. 47. ตอบข้ อ 1. 48. ตอบข้ อ 2.
49. ตอบข้ อ 3. 50. ตอบข้ อ 2. 51. ตอบข้ อ 2. 52. ตอบข้ อ 3.
53. ตอบข้ อ 3. 54. ตอบข้ อ 1. 55. ตอบข้ อ 2. 56. ตอบข้ อ4.
57. ตอบข้ อ 3. 58. ตอบข้ อ 2.



26
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 งานและพลังงาน
ตะลุ ย โจทย์ ท่ วั ไป บทที่ 5 งานและพลัง งาน
5.1 งาน
5.1.1 งานของแรงที่ทามุมกับแนวการเคลือ่ นที่
1. วัตถุชิ้นหนึ่ ง ถูกแรงกระทาตามแนวราบ 20 นิ วตัน แล้วเคลื่อนที่ไปตามแนวแรงนั้น ได้
ระยะทาง 5 เมตร จงหางานของแรงนี้ ในหน่วยจูล
1. 10 2. 50 3. 100 4. 300
2. หากทิศทางของเวกเตอร์ แรงอยูใ่ นแนวตั้งฉากกับการกระจัด งานจะมีค่าเท่ากับเท่าใด
1. 0 จูล 2. 10 จูล 3. 100 จูล 4. 1000 จูล
3. กรณี ในข้อใดต่อไปนี้ไม่เกิดงานในความหมายทางฟิ สิ กส์
1. ยกของจากพื้นขึ้นไปไว้บนโต๊ะ
2. เดินจากชั้นล่างขึ้นชั้นบน
3. กรรมกรเดินแบกกระสอบข้าวสารไปตามถนนราบ
4. เข็นรถให้เคลื่อนที่
4. เด็กคนหนึ่งออกแรง 50 นิ วตัน ลากกล่องไม้ในแนวทามุม 30o ถ้าเขาลากกล่องไม้ไปได้
ไกล 10 เมตร ด้วยอัตราเร็ วคงที่ จงหางานที่เขาทาในหน่วยจูล
1. 200 2. 368 3. 433 4. 527
5.1.2 งานของแรงทีม่ ีขนาดเพิม่ ขึน้ หรือลดลงอย่างสม่าเสมอ
5. ถ้าออกแรงเพิ่มขึ้นสม่ าเสมอจาก 2 ถึง 20 นิ วตัน ทาให้วตั ถุเคลื่อนที่ได้ระยะาง 1 เมตร
จะได้งานได้กี่จูล
1. 3 2. 7 3. 9 4. 11
6. ชายผูห้ นึ่ งออกแรง 100 นิวตัน ดึงสปริ ง แล้วเพิ่มแรงดึงเป็ น 500 นิ วตัน ทาให้สปริ งยืด
ออกจากตาแหน่งเดิม 1.2 เมตร งานที่ใช้ดึงสปริ งครั้งนี้มีค่ากี่จูล
1. 250 2. 300 3. 360 4. 400

27
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 งานและพลังงาน
7. สมอเรื อขนาด 4 ตัน ผูกด้วยโซ่ขนาด 2 ตัน ยาว 30 เมตร เมื่อเรื อไปจอด ณ ท่าแห่งหนึ่ ง
ต้องทอดสมอ โดยใช้โซ่ ท้ งั หมดพอดี ในการถอนสมอขึ้ นมาไว้บนเรื อโดยใช้เครื่ องยนต์
จะต้องทางานมีค่ากี่จูล
1. 1.5x106 2. 1.0x106 3. 1x105 4. 3x104
8. จงหางานของแรงที่ลากวัตถุมวล 80 กิ โลกรัม ในแนวขนานกับพื้นระดับด้วยอัตราเร่ ง 2
เมตร/วินาที2 เป็ นระยะทาง 25 เมตร ถ้าสัมประสิ ทธิ์ ของความเสี ยดทานระหว่างวัตถุกบั
พื้นมีค่า 0.05
1. 500 จูล 2. 1000 จูล 3. 2000 จูล 4. 5000 จูล
9. จากข้อที่ผา่ นมา ถ้าต้องการให้วตั ถุเคลื่อนที่ไปด้วยความเร็ วคงที่ จะต้องทางานกี่จูล
1. 500 2. 1000 3. –500 4. –1000
10. จากข้อที่ผา่ นมา จงหางานของแรงเสี ยดทานมีค่ากี่จูล
1. 500 2. 1000 3. –500 4. –1000
11. วัตถุมวล 5 กิ โลกรัม วางอยูบ่ นพื้นที่มี ส.ป.ส. ความเสี ยดทาน 0.1 เมื่อออกแรงกระทา
ต่อวัตถุ 50 นิวตัน ในแนวขนานกับพื้น จงหางานของแรงนั้นใน 10 วินาที
1. 20000 จูล 2. 22500 จูล 3. 25000 จูล 4. 30000 จูล
12. แรง 5 นิวตัน กระทาต่อวัตถุ มวล 2.0 กิโลกรัม ที่อยูน่ ิ่งให้เคลื่อนที่
จงหา ก. งานที่เกิดขึ้นในเวลา 2.0 วินาที
ข. งานที่เกิดขึ้นระหว่างวินาทีที่ 9 และวินาทีที่ 10
1. ก. 25 จูล , ข. 108.50 จูล 2. ก. 25 จูล , ข. 118.75 จูล
3. ก. 40 จูล , ข. 136.50 จูล 4. ก. 40 จูล , ข. 147.75 จูล
13. เด็กคนหนึ่ งออกแรงยกถังน้ ามวล 30 กิโลกรัม ขึ้นจากบ่อน้ าลึก 10 เมตร ด้วยความเร่ ง
2 เมตร/วินาที2 จะต้องทางานกี่จูล
1. 3200 2. 3400 3. 3600 4. 3800
14. ชายคนหนึ่งยกวัตถุมวล 5 กิโลกรัม ขึ้นสู ง 2 เมตร ด้วยความเร่ ง 2 เมตร/วินาที2 งาน
ของแรงยกมีค่ากี่จูล
1. 120 2. 250 3. 500 4. 1250
28
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 งานและพลังงาน
15. ชายคนหนึ่งยกวัตถุมวล 8 กิโลกรัม ขึ้นสู ง 5 เมตร ด้วยความเร็ วคงที่ งานของแรงยกมี
ค่ากี่จูล
1. 30 2. 100 3. 400 4. 1250
16. พนักงานบริ ษทั ทาตูน้ ิ รภัยช่ วยกันดึ งตูน้ ิ รภัยตูห้ นึ่ งเพื่อจะนาไปซ่ อมดังรู ปไปตามพื้ นราบ
เป็ นระยะ 200 เมตร คนหนึ่ งออกแรงผลัก 320 นิ วตัน ในทิศกดลง 30o กับ แนวระดับ
ส่ วนอีกคนหนึ่งออกแรงดึง 250 นิวตัน
ทิศ 37o กับแนวระดับ
ก. จงหางานที่กระทาบนตูน้ ิรภัย
30o 37o
ข. ถ้าตูน้ ิรภัยนี้มีน้ าหนัก W
จงหางานเนื่องจากน้ าหนัก
ของตู้
1. ก. 90.45 x 103 จูล , ข. 1 จูล 2. ก. 95.42 x 103 จูล , ข. 0 จูล
3. ก. 100.42 x 103 จูล , ข. 0 จูล 4. ก. 112.32 x 103 จูล , ข. 1 จูล

5.2 พลังงาน
5.2.1 พลังงานจลน์
17. วัตถุ กอ้ นหนึ่ งมีมวล 0.5 กิ โลกรัม กาลังเคลื่ อนที่ดว้ ยอัตราเร็ ว 10 เมตร/วินาที จะมี
พลังงานจลน์กี่จูล
1. 25 จูล 2. 20 จูล 3. 10 จูล 4. 2 จูล
18. ถ้ามวลของอิเล็กตรอน 1 อิเล็กตรอนมีค่าเท่ากับ 9.1x10–31 กิโลกรัม อิเล็กตรอนตัวหนึ่ ง
เคลื่อนที่ดว้ ยอัตราเร็ ว 2x106 เมตรต่อวินาที จงหาพลังงานจลน์ของอิเล็กตรอนนี้ และถ้า
จะให้มีพลังงานจลน์ 1 จูล จะต้องมี อิเล็กตรอนแบบนี้ กี่ตวั
1. 1.82 x 10–18 จูล , 5.5 x 1017 ตัว 2. 1.82 x 10–19 จูล , 5.5 x 1018 ตัว
3. 2.98 x 10–18 จูล , 4.5 x 1017 ตัว 4. 2.98 x 10–17 จูล , 4.5 x 1016 ตัว

29
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 งานและพลังงาน
19. ดาวเที ย มดวงหนึ่ งมี ม วล 208 กิ โ ลกรั ม โคจรเป็ นวงกลมรอบโลกโดยมี รั ศ มี 9,640
กิโลเมตร และในการโคจรรอบหนึ่ งๆ ใช้เวลานาน 96.0 นาที จงหาพลังงานจลน์ของดาว
เทียมดวงนี้ในหน่วยจูล
1. 1.15x1010 จูล 2. 1.15x109 จูล 3. 1.50x1010 จูล 4. 2.50x1010 จูล

5.2.2 พลังงานศักย์
20(แนว มช) พลังงานศักย์เนื่ องจากแรงโน้มถ่วงของโลกจะมีค่า
1. แปรโดยตรงกับระยะทางจากพื้นโลก
2. แปรผกผันกับระยะทางจากพื้นโลก
3. แปรโดยตรงกับกาลังสองของระยะทางจากพื้นโลก
4. แปรผกผันกาลังสองของระยะทางจากพื้นโลก
21(En 32) ตาชัง่ สปริ งอ่านค่าได้ระหว่าง 0 – 50 นิวตัน ยืดได้ 0.20 เมตร ขณะอ่านได้ 50
นิวตัน ถ้านามวลขนาด 3 กิโลกรัม แขวนไว้ที่ปลายตาชัง่ ขณะนั้นสปริ งมีพลังงานศักย์
ยืดหยุน่ เท่าใด
1. 1.8 จูล 2. 3.2 จูล 3. 4.6 จูล 4. 6.4 จูล

5.3 กฎการอนุรักษ์ พลังงาน


5.4 การประยุกต์ กฎการอนุรักษ์ พลังงาน
22. ปล่อยวัตถุตกจากที่สูงจากพื้น 5 เมตร เมื่อวัตถุตกลงมาถึงพื้นดินจะมีความเร็ วเท่าใด
1. 4 m/s 2. 9 m/s 3. 10 m/s 4. 25 m/s

23. เมล็ดพืชถูกนกปล่อยให้ตกจากที่สูงจากพื้น 80 เมตร เมื่อตกลงมาถึงพื้นดินจะมีความเร็ ว


กี่กิโลเมตรต่อชัว่ โมง
1. 100 2. 120 3. 144 4. 200

30
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 งานและพลังงาน
24. วัตถุมวล 10 กิโลกรัม ปล่อยจากตาแหน่งสู ง
จากพื้นโลก 10 เมตร ดังรู ป ขณะกระทบก้น 10 m
บ่อซึ่งลึก 10 เมตร วัตถุจะมีพลังงานจลน์กี่จูล
1. 500 จูล 2. 1000 จูล 10 m
3. 1500 จูล 4. 2000 จูล

25. กระสุ นปื นถูกยิงออกในแนวราบจากหน้าผาสู ง 160 เมตร โดยมีความเร็ วต้น 20 เมตร/-


วินาที ความเร็ วของกระสุ นปื นที่ตกถึงพื้นเป็ นกี่เมตรต่อวินาที
1. 20 2. 40 2 3. 60 2 4. 60

26. ยิงวัตถุจากหน้าผาด้วยความเร็ ว 20 เมตร/วินาที 30o


ทามุม 30o กับแนวระดับ ถ้าหากหน้าผาอยูส่ ู ง
จากพื้นดิน 30 เมตร จงหาความเร็ วของวัตถุที่ 30 ม.
กระทบพื้นดินในหน่วยเมตรต่อวินาที
1. 31.62 2. 39.53 3. 45.37 4. 50.75
27. วัตถุมวล m ลื่นไถลตามรางคดโค้งซึ่ งไม่มี A m
ความเสี ยดทานโดยไม่ไถลออกนอกราง ถ้า
ขณะเริ่ มต้นวัตถุอยูน่ ิ่งที่จุด A ซึ่ งอยูส่ ู ง 70 70 เมตร B m

เมตร จากพื้นดินที่จุด B ซึ่ งอยูส่ ู งจากพื้น 25 เมตร


C
25 เมตร วัตถุน้ ี จะมีอตั ราเร็ วกี่เมตร/วินาที
1. 17.3 2. 20.0 3. 30.0 4. 400.0
28. วัตถุมวล 2 กิโลกรัม ผูกที่ปลายเชือกน้ าหนักเบายาว 1 เมตร ซึ่งมีปลายอีกข้างหนึ่งยึด
ติดกับเพดาน ถ้าดึงวัตถุให้เชือกทามุม 60o กับแนวดิ่งแล้วปล่อย จงหาความเร็ วของวัตถุ
เมื่อเชือกทามุม 45o กับแนวดิ่ง ในหน่วยเมตรต่อวินาที
1. 2 2. 4 3. 6 4. 8
29. มวล 10 กิโลกรัม ผูกกับเชือกยาว 1 เมตร แล้วแกว่งแบบลูกตุม้ นาฬิกา ถ้าพลังงานจลน์
สู งสุ ดของมวลเท่ากับ 50 จูล เมื่อแกว่งถึงจุดสู งสุ ดเชื อกจะเอียงทามุมกับแนวดิ่งกี่องศา
1. 30o 2. 45o 3. 60o 4. 90o

31
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 งานและพลังงาน
30. รถทดลองมวล 0.5 กิ โลกรั ม วิ่งด้ว ยอัตราเร็ ว 2.0 เมตรต่ อวิน าที บนพื้ นราบเข้าชน
สปริ งอันหนึ่ งซึ่ งมีปลายข้างหนึ่ งยึดติดกับผนัง และมีค่าคงตัวสปริ ง 200 นิ วตันต่อเมตร
เมื่อรถชนสปริ ง สปริ งจะหดสั้นที่สุดเท่าไร
1. 2 ซม. 2. 4 ซม. 3. 10 ซม. 4. 20 ซม.
31. จากข้อที่ผา่ นมา สปริ งออกแรงกระทาต่อรถมากที่สุดเท่าใด ในหน่วยนิวตัน
1. 20 2. 40 3. 80 4. 160
32. จากข้อที่ ผ่า นมา ขณะที่ ส ปริ ง หดเป็ นครึ่ งหนึ่ ง ของระยะหดสั้ นที่ สุ ด รถจะมี ค วามเร็ ว
กี่ เมตร/วิ นาที
1. 2 2. 2 3. 3 4. 3
33. วัตถุมวล 2 กิ โลกรัม เคลื่ อนที่บนพื้นราบลื่ นด้วยอัตราเร็ ว 2 เมตร/วินาที เข้าชนสปริ ง
ปรากฏว่าสปริ งหดสั้นมากที่สุด 10 ซม. ค่านิจของสปริ งมีค่ากี่นิวตัน/เมตร
1. 200 2. 350 3. 800 4. 1200
34. จากข้อที่ผา่ นมา จงหาแรงมากที่สุดที่สปริ งกระทาต่อวัตถุมีค่ากี่นิวตัน
1. 5 2. 30 3. 60 4. 80
35. จากข้อที่ผา่ นมา เมื่อสปริ งหด 5 ซม. วัตถุจะมีความเร็ วกี่เมตร/วินาที
1. 3 2. 1 3. 3 4. 5
36. วัตถุมวล 1.0 กิโลกรัม เคลื่อนที่บนพื้นราบ
เกลี้ยงด้วยความเร็ ว 2.0 เมตร/วินาที วิง่ เข้าชน v = 2 m/s
สปริ งดังรู ป ปรากฏว่าวัตถุหยุดชัว่ ขณะเมื่อ 1 kg
สปริ งหดสั้นกว่าเดิม 0.05 เมตร
ก. พลังงานศักย์ของสปริ ง เมื่อหดสั้นสุ ดเป็ นเท่าใด
ข. ณ. ตาแหน่งที่วตั ถุหยุดนั้นสปริ งผลักวัตถุดว้ ยแรงเท่าใด
1. ก. 0.50 จูล , ข. 30 นิวตัน 2. ก. 0.75 จูล , ข. 50 นิวตัน
3. ก. 1.00 จูล , ข. 70 นิวตัน 4. ก. 2.00 จูล , ข. 80 นิวตัน

32
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 งานและพลังงาน
37. สปริ งตั้งในแนวดิ่งถูกมวล 1 กิโลกรัม อัดจนหดลงไป 10 เซนติเมตร จากความยาวปกติ
เมื่อปล่อยมวลให้เคลื่อนอิสระสปริ งจะดันมวลให้กระเด็นขึ้นไปได้สูงจากเดิม 20 เซนติเมตร
อยากทราบว่าค่านิ จของสปริ งเป็ นกี่นิวตัน/เมตร
1. 2100 2. 1900 3. 1400 4. 400
38. ปล่อยวัตถุมวล 3.0 กิโลกรัม จากที่สูง 2 เมตร ลงมากระทบกับสปริ งซึ่ งมีคา่ คงตัวสปริ ง
เท่ากับ 120 นิวตันต่อเมตร โดยไม่เด้ง สปริ งจะถูกกดลงเป็ นระยะทางมากที่สุดกี่เมตร
1. 0.8 2. 1.3 3. 2.4 4. 3.6
39(แนว En) จากการปล่อยวัตถุมวล 10 กิโลกรัม ตกอิสระลงบนสปริ งเบาที่วางตั้งอยูบ่ นพื้น
โดยระยะห่างจากวัตถุถึงยอดของสปริ งเท่ากับ 1.0 เมตร เมื่อวัตถุตกกระทบสปริ ง ปรากฏ
ว่าสปริ งหดสั้นลงจากเดิม 20 เซนติเมตร ก่อนดีดกลับ จงคานวณค่าคงตัวของสปริ ง
ในหน่วย นิวตัน/เมตร โดยประมาณว่าไม่มีการสู ญเสี ยพลังงาน
1. 2500 2. 3000 3. 5500 4. 6000
40(แนว En) ขว้างวัตถุลงมาด้วยความเร็ วต้น 10 เมตร/วินาที จากจุดหนึ่งเหนือพื้นดินโดยไม่
คิดแรงต้านอากาศ พบว่าเมื่อตกลงมาอยูส่ ู งจากพื้นดิน 10 เมตร พลังงานศักย์เท่ากับ
พลังงานจลน์พอดี แสดงว่าเราต้องขว้างวัตถุจากจุดที่สูงจากพื้นโลกเท่าไร
1. 15 เมตร 2. 20 เมตร 3. 25 เมตร 4. 30 เมตร
41(En 32) นักทุ่มน้ าหนัก ทุ่มลูกเหล็ก 4 กิโลกรัม
ออกไป และเขียนกราฟระหว่างเวลา t และ v (m/s)
ความเร็ ว v ของลูกเหล็กขณะเคลื่อนที่ได้ ดังรู ป 40 B
จงคานวณว่าระหว่าง A และ B มีการทางาน 20
A
เท่าไรในหน่วยจูล
1. 1000 2. 1200 0.2 0.4 0.6 t (s)
3. 1600 4. 2000
42. ในการยกวัตถุมวล m จากตาแหน่ง A ไป B B
ตามรู ป ต้องทางานอย่างน้อยที่สุดเท่าไร A
1. mg (h2 – h1) 2. mg (h2 + h1) h2
h1
3. mgh2 4. mgh1
33
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 งานและพลังงาน
43. จากรู ป W1 , W2 , W3 เป็ นงานอย่างน้อยที่สุดในการยกวัตถุมวล m จาก A ไป B ตาม
เส้นทางที่ 1 , 2 และ 3 ตามลาดับ ข้อใดถูกต้อง W3 B
1. W3 > W2 > W1 W1
30 ม.
2. W2 > W3 > W1 A
W2
3. W2 = W3 > W1 10 ม.
4. W1 = W2 = W3 พื้นโลก

44. ออกแรง F (ไม่จาเป็ นต้องคงที่ ) กดสปริ งให้หดสั้น จุดสมดุล k


เข้าไปเป็ นระยะ x จากจุดสมดุลของสปริ งต้องทางาน
เท่าไร เมื่อ k เป็ นค่านิจสปริ ง x
1. Fx 1
2. 2 kx2 3. kx2 4. 12 Fx2
45. วัตถุมวล 2 กิโลกรัม เคลื่อนที่เป็ นเส้น F(N)
ตรง บนพื้นระดับลื่น ด้วยแรงที่มีการ 30
เปลี่ยนแปลงดังกราฟ จงหางานที่ทาให้ 20
10 s(m)
วัตถุเคลื่อนจากจุดเริ่ มต้น จนได้ระยะ
5 10 15 20 25 30
ทาง 30 เมตร –10
1. 100 จูล 2. 200 จูล –20
3. 300 จูล 4. 400 จูล
46. จากข้อที่ผา่ นมา ถ้าวัตถุมีอตั ราเร็ วขณะผ่านจุดเริ่ มต้น 2 เมตร/วินาที ขณะเคลื่อนที่ได้ทาง
30 เมตร อัตราเร็ วของวัตถุเป็ นกี่เมตร/วินาที
1. 6.3 2. 8.6 3. 10.2 4. 12.4

47. จากรู ปมวล m อยูท่ ี่ตาแหน่ง A เริ่ มไถลลง u


A m
ตามทางลาดลื่นด้วยอัตราเร็ วต้น u อยาก C
ทราบว่ามวล m จะสามารถไถลขึ้นไปตาม h
ทางเอียง BC ได้สูงสุ ดในแนวดิ่งเท่าไร B
1. h + u2g2 2. h – u2g2
3. h 4. u2g2

34
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 งานและพลังงาน
48. ถ้าปล่อยลูกบอลให้ไหลลงจากจุด C อัตราเร็ วของลูกบอลจะเป็ นอย่างไร
1. ที่จุด A จะมากกว่าที่จุด B
2. ที่จุด B จะมากกว่าที่จุด A C
A B
3. มีค่าเท่ากันที่จุด A และ B
4. เป็ นศูนย์ที่จุด A และ B

49. กล่องมวล 30 กิโลกรัม เคลื่อนที่ลง


A 1 m/s
ตามทางโค้ง ถ้ากล่องมีอตั ราเร็ ว 1.0
เมตร/วินาที ณ.ตาแหน่ง A และ 6 เมตร/-
3m B 6 m/s
วินาที ณ. ตาแหน่ง B จงหางานของแรง
เสี ยดทานที่พ้ืนทางโค้งกระทาต่อกล่องใน
ช่วงการเคลื่อนที่จาก A ไปยัง B มีค่ากี่จูล 5m
1. 150 2. 300 3. 375 4. 500
50. รถยนต์คนั หนึ่งมวล 1000 กิโลกรัม กาลังแล่นด้วยอัตราเร็ ว 108 กิโลเมตร/ชัว่ โมง พอดี
เห็ นรถชนกัน อยู่ขา้ งหน้าจึงเหยียบเบรก ทาให้อตั ราเร็ วลดลงเหลื อ 18 กิ โลเมตร/ชัว่ โมง
ในระยะทาง 50 เมตร จงหางานเนื่องจากแรงต้านจากพื้นถนนเป็ นกี่กิโลจูล
1. – 437.5 2. 449.5 3. –5.670 4. 5.670
51. วัตถุเคลื่อนที่ดว้ ยอัตราเร็ ว 6 เมตร/วินาที เขาออกแรงทาให้เคลื่อนที่ดว้ ยอัตราเร็ ว 4 เมตร/-
วินาที ภายในระยะทาง 10 เมตร ถ้าวัตถุมวล 2 กิโลกรัม จงหา
ก. งานที่ทาได้ ข. แรงที่ออกไป
1. ก. 10 จูล , ข. 0.5 นิวตัน 2. ก. 20 จูล , ข. 2 นิวตัน
3. ก. 30 จูล , ข. 5 นิวตัน 4. ก. 50 จูล , ข. 10 นิวตัน
52. จากรู ปวัตถุมวล 1 กิโลกรัม เริ่ มเคลื่อน
A
ที่จากตาแหน่ง A มาหยุดที่ตาแหน่ง D ถ้า
10 m B 5m
พื้นทางโค้งไม่มีแรงเสี ยดทานเลย จงหา 5m C D
แรงต้านเฉลี่ยบริ เวณพื้นราบ CD
1. 20 N 2. 40 N 3. 50 N 4. 100 N

35
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 งานและพลังงาน
53. ยิงลูกปื นมวล 10 กรัม เข้าไปในเนื้ อไม้ดว้ ยอัตราเร็ ว 300 เมตร/วินาที ลูกปื นหยุดนิ่ง
หลังจากที่เข้าไปในเนื้ อไม้เป็ นระยะทาง 5 เซนติเมตร จงหาแรงเฉลี่ยที่ลูกปื นกระทาต่อแท่ง
ไม้ในหน่วยนิวตัน
1. 1500 2. 9000 3. 15000 4. 90000
54. ลูกปื นมวล 2.0 กรัม วิง่ ออกจากลากล้องยาว 0.8 เมตร ด้วยความเร็ ว 400 เมตรต่อวินาที
จงหา ก. พลังงานจลน์ของลูกปื น ข. แรงเฉลี่ยที่ใช้ดนั ลูกปื นออกจากลากล้อง
1. ก. 120.0 จูล , ข. 150 นิวตัน 2. ก. 114.5 จูล , ข. 175 นิวตัน
3. ก. 160.0 จูล , ข. 200 นิวตัน 4. ก. 200.0 จูล , ข. 250 นิวตัน
55. วัตถุมวล 10 กิโลกรัม ตกจากที่สูง 1.25 เมตร ลงกระทบพื้นทราย พบว่าจมลงไปใน
ทราย 50 เซนติเมตร แล้วหยุด จงหาแรงต้านเฉลี่ยของทรายกระทาต่อวัตถุในหน่วยนิ วตัน
1. 250 2. 300 3. 350 4. 400
56. วัตถุมวล 1 กิโลกรัม ตกจากที่สูง 5 เมตร ลงบนพื้นดิน ถ้าดินมีแรงต้านทานเฉลี่ยกระทา
ต่อวัตถุ 510 นิวตัน วัตถุจะลมลงในดินลึกกี่เซนติเมตร
1. 1 2. 5 3. 10 4. 20
57. วัตถุทรงกลมมวล 10 กิโลกรัม ตกอย่างอิสระในสนามความโน้มถ่วงของโลกจากจุดหยุด
นิ่ง ปรากฏว่าเมื่อตกลงมาได้ทาง 10 เมตร จะมีความเร็ ว 10 เมตร/วินาที จงคานวณหา
พลังงานที่วตั ถุน้ ีถ่ายเทให้กบั อากาศ
1. 250 จูล 2. 500 จูล 3. 750 จูล 4. 1000 จูล
58. ทิ้งก้อนหิ นมวล 10 กิโลกรัม จากที่สูงจากพื้น 20 เมตร ก้อนหิ นกระทบพื้นและจมลงไป
ลึก 20 เซนติเมตร ถ้าแรงต้านทานของอากาศมีค่า 28 นิวตัน จะหาได้วา่ แรงต้านเฉลี่ย
ของพื้นมีค่าเท่ากับกี่นิวตัน
1. 7200 2. 7400 3. 7300 4. 7900
59. จงหางานอย่างน้อยที่กรรมกรคนหนึ่ งต้องทาในการดันกล่องสิ นค้ามวล 50 กิโลกรัม ขึ้นไป
ตามพื้ น เอี ย งท ามุ ม 53 องศา กับ พื้ น ราบถึ ง จุ ด สู ง จากพื้ น 4 เมตร ถ้า แรงเสี ย ดทาน
ระหว่างพื้นเอียงกับกล่องเป็ น 80 นิวตัน (sin53o = 45 )
1. 400 จูล 2. 520 จูล 3. 2000 จูล 4. 2400 จูล

36
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 งานและพลังงาน
5.5 กาลัง
60. ปั้ นจัน่ เครื่ องหนึ่งยกหี บสิ นค้ามวล 1.5 x 105 กิโลกรัม ขึ้นจากท่าเรื อเพื่อวางบนดาดฟ้ าเรื อ
ซึ่ งสู งจากพื้นท่าเรื อ 15 เมตร จงหางานในการยกสิ นค้าของปั้ นจัน่ ในหน่วยจูล
1. 0 จูล 2. 1.5x106 จูล 3. 2.25x106 จูล 4. 2.25x107 จูล
61. จากข้อที่ผ่านมา ถ้าเวลาที่ใช้ในการยกสิ นค้าเท่ากับ 1 นาที 15 วินาที กาลังของปั้ นจัน่
ขณะยกสิ นค้าเป็ นเท่าใดในหน่วยกิโลวัตต์
1. 1.98 x 102 กิโลวัตต์ 2. 3 x 102 กิโลวัตต์
3. 1.68 x 104 กิโลวัตต์ 4. 3 x 105 กิโลวัตต์
62. เด็กคนหนึ่ งดึ งถังน้ ามวล 3 กิ โลกรั ม ขึ้ นจากบ่ อน้ าลึ ก 4 เมตร ด้วยอัตราเร็ วสม่ าเสมอ
ในเวลา 5 วินาที จะใช้กาลังกี่วตั ต์
1. 12 2. 20 3. 24 4. 30
63. ในการยกกล่องมวล 100 กิโลกรัม จากพื้น โดยใช้กาลัง 1 กิโลวัตต์ เป็ นเวลา 10 วินาที
กล่องนั้นจะขึ้นไปได้สูงจากพื้นกี่เมตร
1. 0.1 2. 1.0 3. 10.0 4. 20.0
64. สมศรี เดินหิ้วกระเป๋ ามวล 4 กิโลกรัม ขึ้นตึกไปยังชั้น 5 ภายในเวลา 50 วินาที ถ้าตึกมี
ความสู งเฉลี่ยชั้นละ 5 เมตร จงหากาลังที่สมศรี ใช้ในการหิ้วกระเป๋ าเป็ นกี่วตั ต์
1. 12 2. 14 3. 16 4. 18
65(แนว มช) 40 กิโลกรัม ของน้ าตกไหลลงมาเป็ นระยะทาง 20 เมตร ทุกๆ วินาที อยากทราบ
ว่าจะเกิดกาลังงานขึ้นกี่วตั ต์
1. 8000 2. 1600 3. 4000 4 . 100
66. จงหากาลังของเครื่ องจักรเครื่ องหนึ่ ง ซึ่ งกาลังยกวัตถุมวล 80 กิโลกรัม ขึ้นในแนวดิ่งด้วย
ความเร็ วคงที่ 2 เมตร/วินาที
1. 100 วัตต์ 2. 500 วัตต์ 3. 1600 วัตต์ 4. 8000 วัตต์
67. ด.ญ. เข็ม มีมวล 40 กิ โลกรัม ไต่บนั ไดลิ งด้วยอัตราเร็ วสม่ าเสมอ 1 เมตร/วินาที จงหา
กาลังที่ ด.ญ. เข็ม ใช้ในหน่วยกิโลวัตต์
1. 0 กิโลวัตต์ 2. 0.4 กิโลวัตต์ 3. 0.8 กิโลวัตต์ 4. 1.6 กิโลวัตต์
37
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 งานและพลังงาน
68(แนว มช) รถไฟขบวนหนึ่ งมีมวล 2 x 105 กิโลกรัม เคลื่ อนที่ดว้ ยความเร็ วสม่ าเสมอ 25
เมตร/วินาที ถ้ารถไฟมีกาลัง 95000 วัตต์ แรงต้านเฉลี่ยของรางรถไฟเป็ นกี่นิวตัน
1. 3.8 x 103 นิวตัน 2. 1 x 105 นิวตัน 3. 2 x 106 นิวตัน 4. 5 x 106 นิวตัน
69. ออกแรง F = 20 นิวตัน กระทาบนวัตถุหนึ่งให้เคลื่อนที่ดว้ ยความเร่ งคงที่ จากความเร็ ว
2 เมตร/วินาที เป็ น 8 เมตร/วินาที จงหากาลังเฉลี่ยของแรง F
1. 40 วัตต์ 2. 60 วัตต์ 3. 80 วัตต์ 4. 100 วัตต์
70. ปรี ดาซ้อมขี่ จกั รยานขึ้ นไปตามถนนราบเอียงทามุม 15 องศา กับแนวระดับ ด้วยความเร็ ว
36 กิโลเมตร/ชัว่ โมง ถ้าปรี ดาและจักรยานมีมวลรวม 80 กิ โลกรัม จงหากาลังของปรี ดาที่
ใช้ ขี่จกั รยาน ( sin 15o = 0.26 , cos 15o = 0.97 )
1. 1250 วัตต์ 2. 2080 วัตต์ 3. 4600 วัตต์ 4. 8000 วัตต์

71. ออกแรงในแนวราบขนาด 8 นิวตัน ดึงวัตถุมวล 2 กิโลกรัม จากสภาพนิ่งให้เคลื่อนที่ไป


บนพื้นราบเกลี้ยงเป็ นระยะทาง 10 เมตร กาลังเฉลี่ยของการทางานครั้งนี้เป็ นกี่วตั ต์
1. 8 10 2. 16 5 3. 16 10 4. 16
72. จากกราฟดังรู ป แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง F(N)
แรงกระทาต่อวัตถุ กับระยะทางที่วตั ถุเคลื่อน 15
ที่ได้ตามแนวแรง ถ้าในระยะทาง 10 เมตร 10
ใช้เวลา 10 วินาที จงหากาลังของแรงกระทา
5
1. 3 วัตต์ 2. 6 วัตต์ s(m)
3. 9 วัตต์ 4. 12 วัตต์ 2 4 6 8 10

73. ใช้ป้ ั นจัน่ ยกวัตถุมวล 100 กิโลกรัม ขณะวัตถุหยุดนิ่ ง หลังจากนั้น 20 วินาที พบว่าวัตถุ
อยูส่ ู งจากตาแหน่งเดิม 20 เมตร และกาลังเคลื่อนที่ดว้ ยอัตราเร็ ว 2 เมตรต่อวินาที กาลัง
ของปั้ นจัน่ มีค่ากี่วตั ต์
1. 1000 2. 1010 3. 2500 4. 3000
74. เครื่ องสู บน้ า สู บน้ ามวล 3900 กิโลกรัม ขึ้นจากบ่อลึก 10 เมตร ในเวลา 1 ชัว่ โมง แล้ว
ฉี ดน้ าออกไปด้วยอัตราเร็ ว 20 เมตร/วินาที จงหากาลังของเครื่ องสู บน้ านี้ในหน่วยวัตต์
1. 100 2. 250 3. 325 4. 500
38
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 งานและพลังงาน
75(แนว En) ใช้เครื่ องสู บน้ าที่มีกาลัง 100 วัตต์ สู บน้ าขึ้นจากบ่อน้ าลึก 10 เมตร ในเวลา
1 ชัว่ โมง แล้วฉี ดออกไปด้วยอัตราเร็ ว 20 เมตร/วินาที จงหาว่าเครื่ องสู บน้ าได้กี่กิโลกรัม
1. 1200 2. 2400 3. 3600 4. 4800

5.6 เครื่องกล
76. เมื่อออกแรงงัดค้อน F = 100 นิวตัน ทาให้คอ้ นเอียง 0.05 ม.
ไปจากแนวเดิม 0.05 เมตร พร้อมกันนั้นหัวค้อน F

จะงัดหัวตะปูข้ ึนมาจากพื้นได้ 0.01 เมตร ดังรู ป


W
ถ้าแรงงัดหัวตะปูมีขนาดเท่ากับ W = 400 นิวตัน จง
หาประสิ ทธิ ภาพของเครื่ องกลนี้
1. 50.00 % 2. 62.50 % 0.01 ม.
3. 75.00 % 4. 80.00 %
77. ลิ่มยาว s = 0.2 เมตร เมื่อออกแรงตอก F = 500
0.05 ม.
นิวตัน ตอกเข้าแท่งไม้จะทาให้เนื้ อไม้แยกออก F
ห่าง S = 0.05 เมตร ถ้าแรงต้านเนื้ อไม้มีค่าเท่ากับ W
W = 1000 นิวตัน จงหาประสิ ทธิ ภาพเครื่ องกลนี้ 0.2 ม.
1. 50.00 % 2. 62.50 %
3. 75.00 % 4. 80.00 %
78. จากรู ปออกแรง 20 นิวตัน ฉุดวัตถุมวล 3 กิโลกรัม 20 น.
ขึ้นพื้นเอียงซึ่งทามุม 37o กับแนวระดับ จงหาประ–
สิ ทธิ ภาพของพื้นเอียงนี้
1. 90 % 2. 67 %
37o
3. 50 % 4. 40 %
79. เครื่ องกลแบบสกรู มีแขนหมุนยาว 1 เมตร และมีระยะเกลียว 1 เซนติเมตร ถ้าออกแรง
หมุนสกรู 5 นิวตัน จะยกน้ าหนักได้มากที่สุดกี่นิวตัน ถ้าประสิ ทธิ ภาพของเครื่ องกล 50%
1. 1000 นิวตัน 2. 1500 นิวตัน 3. 1570 นิวตัน 4. 1757 นิวตัน

39
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 งานและพลังงาน

80. จากรู ป จงหาประสิ ทธิภาพของรอกมีค่าเท่าใด


1. 50 % 2. 60 %
3. 70 % 4. 80 %
50 kg
300 N

81. จงหาประสิ ทธิภาพของรอก ดังรู ป


1. 75 % F = 60 N
2. 67 %
3. 50 %
W = 60 N
4. 40 %



40
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 5 งานและพลังงาน

เฉลยตะลุยโจทย์ ทั่วไปฟิ สิกส์ บทที่ 5 งานและพลังงาน


1. ตอบข้ อ 3. 2. ตอบข้ อ 1. 3. ตอบข้ อ 3. 4. ตอบข้ อ 3.
5. ตอบข้ อ 4. 6. ตอบข้ อ 3. 7. ตอบข้ อ 1. 8. ตอบข้ อ 4.
9. ตอบข้ อ 2. 10. ตอบข้ อ 4. 12. ตอบข้ อ 2. 13. ตอบข้ อ 3.
14. ตอบข้ อ 1. 15. ตอบข้ อ 3. 16. ตอบข้ อ 2. 17. ตอบข้ อ 1.
18. ตอบข้ อ 1. 19. ตอบข้ อ 1. 20. ตอบข้ อ 1. 21. ตอบข้ อ 1.
22. ตอบข้ อ 3. 23. ตอบข้ อ 3. 24. ตอบข้ อ 4. 25. ตอบข้ อ 4.
26. ตอบข้ อ 1. 27. ตอบข้ อ 3. 28. ตอบข้ อ 1. 29. ตอบข้ อ 3.
30. ตอบข้ อ 3. 31. ตอบข้ อ 1. 32. ตอบข้ อ 4. 33. ตอบข้ อ 3.
34. ตอบข้ อ 4. 35. ตอบข้ อ 3. 36. ตอบข้ อ 4. 37. ตอบข้ อ 4.
38. ตอบข้ อ 2. 39. ตอบข้ อ 4. 40. ตอบข้ อ 1. 41. ตอบข้ อ 3.
42. ตอบข้ อ 1. 43. ตอบข้ อ 4. 44. ตอบข้ อ 2. 45. ตอบข้ อ 1.
46. ตอบข้ อ 3. 47. ตอบข้ อ 1. 48. ตอบข้ อ 3. 49. ตอบข้ อ 3.
50. ตอบข้ อ 1. 51. ตอบข้ อ 2. 52. ตอบข้ อ 1. 53. ตอบข้ อ 2.
54. ตอบข้ อ 3. 55. ตอบข้ อ 3. 56. ตอบข้ อ 3. 57. ตอบข้ อ 2.
58. ตอบข้ อ 3. 59. ตอบข้ อ 4. 60. ตอบข้ อ 4. 61. ตอบข้ อ 2.
62. ตอบข้ อ 3. 63. ตอบข้ อ 3. 64. ตอบข้ อ 3. 65. ตอบข้ อ 1.
66. ตอบข้ อ 3. 67. ตอบข้ อ 2. 68. ตอบข้ อ 1. 69. ตอบข้ อ 4.
70. ตอบข้ อ 2. 71. ตอบข้ อ 2. 72. ตอบข้ อ 3. 73. ตอบข้ อ 2.
74. ตอบข้ อ 3. 75. ตอบข้ อ 1. 76. ตอบข้ อ 4. 77. ตอบข้ อ 1.
78. ตอบข้ อ 1. 79. ตอบข้ อ 3. 80. ตอบข้ อ 2. 81. ตอบข้ อ 3.


41
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บท ที่ 6 โ มเมนตั ม และการ ชน
6.1 โมเมนตัม
โมเมนตั ม คื อผลคู ณ ระหว่างมวลกับ ความเร็ ว ของมวลนั้น เป็ นปริ ม าณเวกเตอร์ ซ่ ึ งมี
ทิศทางไปตามทิศของความเร็ วนั้น เขียนเป็ นสมการแสดงจะได้วา่
p = mv
เมื่อ p คือโมเมนตัม ( กิโลกรัม . เมตร/วินาที )
m คือมวล ( กิโลกรัม )
v คือความเร็ วของมวลนั้น ( เมตร/วินาที )
โมเมนตัมของวัตถุหรื อระบบใดๆ จาแนกได้ 2 ประเภท คือ
1. โมเมนตัมเชิงเส้ น ( linear momentum ) เป็ นโมเมนตัมของการเคลื่อนที่แบบเลื่อนที่
2. โมเมนตัมเชิงมุม ( angular momentum ) เป็ นโมเมนตัมของการเคลื่อนที่รอบจุดหนึ่ งๆ
โดยทัว่ ไปเมื่อใช้คาว่า "โมเมนตัม" จะหมายถึงโมเมนตัมเชิงเส้น
1. จงหาโมเมนตัมของรถบรรทุกที่มีมวล 1.5 x 104 กิโลกรัม กาลังเคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ ว 36
กิโลเมตรต่อชัว่ โมง ไปทางทิศตะวันออก
1. 1.5 x 105 กิโลเมตร.เมตร/วินาที 2. 2.0 x 105 กิโลเมตร.เมตร/วินาที
3. 2.1 x 104 กิโลเมตร.เมตร/วินาที 4. 5.0 x 104 กิโลเมตร.เมตร/วินาที

6.2 การดล และแรงดล


ในกรณี ที่วตั ถุถูกแรงกระทาวัตถุจะมีการเปลี่ยนแปลงความเร็ วและโมเมนตัม ค่าของ
โมเมนตัมที่เปลี่ยนไป เรี ยกว่า การดล ( p ) v
u
นัน่ คือ  p = p 2 – p 1 F F
m m
p = mv – mu
P1 = mu P2 = mv
เมื่อ  p คือการดล ( กิโลกรัม . เมตร/วินาที )

1
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
m คือมวล ( กิโลกรัม )
v คือความเร็ วปลาย ( เมตร/วินาที )
u คือความเร็ วต้น ( เมตร/วินาที )
แรงที่ทาให้โมเมนตัมเปลี่ยนไป เรี ยกแรงดล ( F ) ซึ่งหาค่าได้จาก
F =  pt และ F = m vΔt m u
เมื่อ F = แรงดล ( นิวตัน )
 t = เวลา ( วินาที )
หมายเหตุ ; ในการคานวณเกี่ยวกับโมเมนตัม การดล และแรงดลนั้น ต้องกากับทิศทางของตัว
แปรต่างๆ โดยใช้เครื่ องหมายบวกและลบ ดังนี้
+u, +v , +F, +p (ทิศเข้า)
สาหรับ ความเร็ วต้น( u ) , ความเร็ วปลาย ( v )
การดล (  p ) , แรงดล ( F )
หากมีทิศพุง่ เข้าหรื อไปข้างหน้าต้องใช้ค่าเป็ นบวก ( + ) –u, –v , –F, –p (ทิศออก)
หากมีทิศพุง่ ออกหรื อมาข้างหลังให้ใช้ค่าเป็ นลบ ( – )
2. ใช้คอ้ นมวล 0.5 กิโลกรัม ตอกตะปู ในขณะที่คอ้ นใกล้กระทบตะปูน้ ันมีขนาดความเร็ ว
8 เมตร/วินาที และหลังจากกระทบหัวตะปูแล้วค้อนสะท้อนกลับด้วยความเร็ วเท่าเดิม ถ้า
ช่วงเวลาที่คอ้ นกระทบหัวตะปูเป็ น 1 มิลลิวนิ าที จงหาค่าการดลและแรงดลที่หวั ตะปู
กระทาต่อค้อน
1. 2 กิโลกรัม.เมตร/วินาที , 3000 นิวตัน
2. 5 กิโลกรัม.เมตร/วินาที , 5000 นิวตัน
3. 6 กิโลกรัม.เมตร/วินาที , 7000 นิวตัน
4. 8 กิโลกรัม.เมตร/วินาที , 8000 นิวตัน

2
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
3(แนว En) ลูกบอลมีมวล 1.0 กิโลกรัม เข้าชนผนังในแนวตั้งฉากด้วยอัตราเร็ ว 10 เมตร /-
วินาที และสะท้อนกลับในแนวตั้งฉากกับฝาผนังด้วยอัตราเร็ วเดิม ถ้าช่วงเวลาที่ลูกบอล
กระทบผนังเท่ากับ 0.001 วินาที จงคานวณแรงเฉลี่ยผนังทาต่อลูกบอล
1. 2.0 x 103 นิวตัน 2. 2.5 x 103 นิวตัน
3. 2.0 x 104 นิวตัน 4. 2.5 x 104 นิวตัน

4(แนว En) นักกีฬาเตะลูกบอลมวล 200 กรัม อัดกาแพงแล้วลูกบอลสะท้อนสวนออกมาด้วย


อัตราเร็ ว 5 เมตร/วินาที ซึ่ งเท่ากับอัตราเร็ วเดิม ถ้าแรงที่กาแพงกระทาต่อลูกบอลเป็ น 40
นิวตัน ลูกบอลกระทบกาแพงอยูน่ านเท่าใด
1. 0.025 วินาที 2. 0.05 วินาที 3. 0.25 วินาที 4. 0.5 วินาที

3
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
5(แนว En) กระสุ นปื นมวล 10 กรัม เคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ ว 1000 เมตรต่อวินาที เข้าไปใน
กระสอบทรายใช้เวลา 1.0 มิลลิวนิ าที กระสุ นจึงหยุด ถ้าแรงต้านทานของทรายที่กระทา
ต่อกระสุ นมีค่าคงตัวแรงต้านทานนี้ มีค่าเท่าใดในหน่วยเป็ นกิโลนิวตัน
1. 3 2. 5 3. 8 4. 10

6. แทงลูกสนุ๊กเกอร์มวล 100 กรัม ทาให้ลูกสนุ๊กมีความเร็ ว 8 เมตรต่อวินาที ถ้าช่วงเวลาที่


ไม้คิวกระทบลูกสนุ๊กเกอร์เป็ น 0.01 วินาที จงหาแรงเฉลี่ยที่ไม้คิวกระทาต่อลูกสนุ๊กเกอร์
1. 50 นิวตัน 2. 80 นิวตัน 3. 120 นิวตัน 4. 150 นิวตัน

7. รถคันหนึ่งเริ่ มเบรกขณะมีความเร็ ว 20 เมตร/วินาที ถ้ารถวิง่ บนถนนระดับราบที่มีสัมประ-


สิ ทธิ์ ของความเสี ยดทานเป็ น 0.50 รถต้องใช้เวลาเบรกนานเท่าไรจึงหยุด
1. 2 วินาที 2. 3 วินาที 3. 4 วินาที 4. 5 วินาที

4
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
8. ถ้าลูกบอลมวล m วิง่ เข้าชนกาแพงด้วยความเร็ ว u
u
โดยทามุม  กับเส้นตั้งฉากกับกาแพง และสะท้อน
ออกด้วยขนาดความเร็ ว u และทามุม  กับเส้นตั้ง 

ฉากดังรู ป ถ้าลูกบอลใช้เวลา t ในการกระทบแรง u
เฉลี่ยที่กาแพงกระทากับลูกบอลคือ
1. 2 mu tsinθ 2. 2 mutcosθ
3. mu sin
t
θ 4. mu cos
t
θ

9. ปล่อยลูกบอลมวล 0.4 กิโลกรัม จากที่สูง 5 เมตร ตกลงในแนวดิ่ง กระทบพื้นนาน 0.02


วินาที ปรากฏว่าลูกบอลกระดอนขึ้นสู ง 3.2 เมตร จงหา
ก. การดลของลูกบอล
ข. แรงดลที่กระทาต่อลูกบอล
1. ก. 5.6 นิวตัน.วินาที , ข. 340 นิวตัน
2. ก. 7.2 นิวตัน.วินาที , ข. 360 นิวตัน
3. ก. 8.4 นิวตัน.วินาที , ข. 380 นิวตัน
4. ก. 9.6 นิวตัน.วินาที , ข. 400 นิวตัน

5
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
ควรทราบเพิม่ เติม
พื้นที่ใต้กราฟของกราฟความสัมพันธ์ของแรงดล ( F ) กับเวลา ( t ) จะมีขนาดเท่ากับ
ขนาดของการดล (  p )
10(แนว En) ถ้าแรงกระทากับวัตถุหนึ่ง ( ดังรู ป ) ในช่วงเวลาที่มีแรงกระทานั้นจะทาให้วตั ถุ
เปลี่ยนโมเมนตัมไปเท่าใด แรง (นิวตัน)
1. 4.0 กิโลกรัม . เมตร/วินาที
2. 6.0 กิโลกรัม . เมตร/วินาที 20
3. 9.0 กิโลกรัม . เมตร/วินาที
เวลา (วินาที)
4. 12.0 กิโลกรัม . เมตร/วินาที 0 0.2 0.4 1.0

11. มวล 5 กิโลกรัม อยูใ่ นสภาพหยุดนิ่ง ถูกกระทาด้วยแรงคงที่ 6 นิวตัน เป็ นเวลา 5 วินาที
หลังจากนั้น แรงกระทาลดลงไปอย่างสม่าเสมอจนเป็ น 0 นิวตัน ในเวลา 3 วินาที ความ
เร็ วของมวลก้อนนี้เมื่อแรงกระทาเป็ น 0 คือ
1. 2.4 เมตรต่อวินาที 2. 4.2 เมตรต่อวินาที
3. 7.8 เมตรต่อวินาที 4. 9.6 เมตรต่อวินาที

6
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
12. ลูกบอลเคลื่อนที่ในแนวระดับ ชายคนหนึ่งใช้ไม้ตีลูกบอลนี้ สวนออกมาในทิศตรงกันข้าม
แรงที่กระทาต่อลูกบอลกับเวลาที่ลูกบอลกระทบไม้ตี เขียนแทนได้ดว้ ยกราฟนี้
ก. การดลมีค่าเท่าใด
ข. ถ้าลูกบอลมีมวล 25 กรัม และเคลื่อนที่เข้าด้วยความเร็ วต้น 25 เมตร/วินาที ลูกบอล
จะมีความเร็ วเท่าใดหลังถูกไม้ตี
F (N)
1. 1 นิวตัน.วินาที , 15 เมตร/วินาที 100
2. 3 นิวตัน.วินาที , 13 เมตร/วินาที
3. 5 นิวตัน.วินาที , 12 เมตร/วินาที
t (ms)
4. 7 นิวตัน.วินาที , 10 เมตร/วินาที 0 10 20 30

13. เวลาเรากระโดดลงจากที่สูง เมื่อเท้าถึงพื้นเรามักจะย่อเข่าเพื่อป้ องกันไม่ให้เกิดอาการบาด


เจ็บที่เท้า ข้อใดเป็ นเหตุผลทางฟิ สิ กส์ของคากล่าวนี้
1. การงอเข่าทาให้ความสู งที่กระโดดลงมาเพิ่มขึ้น ทาให้เกิดแรงที่เท้าน้อยลง
2. การงอเข่าทาให้โมเมนตัมลดลง จึงเกิดแรงที่เท้าน้อยลง
3. การงอเข่าทาให้เวลาที่เท้ากระทาต่อพื้นสั้นลง ทาให้เกิดแรงที่เท้าน้อยลง
4. การงอเข่าทาให้เวลาที่เท้ากระทาต่อพื้นนานขึ้น ทาให้เกิดแรงที่เท้าน้อยลง

7
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
6.3 การชน
6.3.1 กฎการอนุรักษ์ โมเมนตัม
กฎการอนุรักษ์ โมเมนตัม กล่ าวว่า " เมื่อไม่มีแรงภายนอกมากระทาต่อระบบ ผลรวมของ
โมเมนตัมของระบบตอนแรก จะเท่ากับผลรวมของโมเมนตัมของระบบตอนหลัง "
นัน่ คือ  p ก่อน =  p หลัง
 m u =  mv
6.3.2 การชนในหนึ่งมิติ
การชนในหนึ่งมิติหรื อการชนในแนวตรง คือการชนที่แนวการเคลื่อนที่ของวัตถุท้ งั สอง
อยูใ่ นแนวเส้นตรงเดียวกันทั้งก่อนชนและหลังชน การชนแบบนี้ จะเกิดขึ้นได้เมื่อแนวการเคลื่อน
ที่ของจุดศูนย์กลางมวลของวัตถุที่เคลื่อนที่เข้าชน มีแนวผ่านจุดศูนย์กลางมวลของวัตถุที่ถูกชน
14. วัตถุ 2 ก้อน มวล 2 กิโลกรัม และ 4 กิโลกรัม ตามลาดับ ถ้าก้อนแรกเคลื่อนที่ไปทาง
ทิศตะวันออกด้วยความเร็ ว 5 เมตร/วินาที พุง่ เข้าชนก้อนที่ 2 ซึ่ งอยูน่ ิ่งให้เคลื่อนที่ไปทาง
ทิศตะวันออกด้วยความเร็ ว 2 เมตร/วินาที แล้วก้อนแรกจะเหลือความเร็ วกี่เมตร/วินาที
1. 1 2. 5 3. 7 4. 10

8
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
15. นักสเกต 2 คน มวล 50 กิโลกรัม และ 60 กิโลกรัม ตามลาดับ กาลังเล่นสเกตบนลาน
น้ าแข็ง ถ้าคนแรกเคลื่อนที่ไปทางทิศตะวันออกด้วยความเร็ ว 5 เมตร/วินาที พุ ง่ เข้าชน
คนที่ 2 ซึ่ งยืนอยูน่ ิ่งให้เคลื่อนที่ไปทางทิศตะวันออกด้วยความเร็ ว 3 เมตร/วินาที แล้วคน
แรกจะเคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ วกี่เมตร/วินาที
1. 4.2 2. 3.5 3. 2.8 4. 1.4

16. มวล m เคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ ว 16 เมตร/วินาที เข้าชนกับมวล 3m ที่หยุดนิ่ง หลังชน


พบว่ามวล m กระเด็นกลับด้วยความเร็ ว 5 เมตร/วินาที ความเร็ วหลังชนของมวล 3m มี
ขนาดกี่เมตร/วินาที
1. 5 2. 7 3. 10 4. 15

9
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
17. วัตถุมวล 2 x 104 กิโลกรัม เคลื่อนที่ไปตามรางด้วยความเร็ ว 2 เมตร / วินาที วิง่ เข้าชน
วัตถุอีกก้อนมวล 3 x 104 กิโลกรัม ซึ่ งอยูน่ ิ่งๆ หลังชนแล้ววัตถุท้ งั สองวิง่ ไปพร้อมกัน จง
หาความเร็ วของวัตถุท้ งั สองก้อนหลังชนว่ามีค่ากี่เมตร/วินาที
1. 0.4 2. 0.8 3. 1.5 4. 2.5

18(แนว มช) วัตถุมวล 10 กิโลกรัม เคลื่อนไปทางขวาตามพื้นโต๊ะซึ่งไร้ความเสี ยดทานด้วยอัตรา


เร็ ว 50 เมตร/วินาที วัตถุน้ ี ชนในแนวตรงกับวัตถุอีกชิ้นหนึ่งซึ่ งกาลังเคลื่อนที่มาทางซ้าย
ด้วยอัตราเร็ ว 30 เมตร/วินาที ถ้าหลังจากการชนวัตถุท้ งั สองติดไปด้วยกันและเคลื่อนที่ไป
ทางขวาด้วยอัตราเร็ ว 20 เมตร/วินาที วัตถุกอ้ นที่สองมีมวลกี่กิโลกรัม
1. 12 2. 8 3. 6 4. 4

19(แนว มช) จากข้อที่ผา่ นมา จงหาพลังงานจลน์ที่สูญเสี ยไปในหน่วยจูล


1. 10000 2. 12000 3. 20000 4. 35000

10
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
6.3.3 การชนในสองมิติ
การชนในสองมิติ คือการชนที่แนวการเคลื่อนที่ของวัตถุท้ งั สองไม่อยูใ่ นแนวเส้นตรง
เดียวกัน การชนแบบนี้ เกิดจากแนวการเคลื่อนที่ของจุดศูนย์กลางมวลของวัตถุที่เคลื่อนที่เข้าชน
มีแนวไม่ผา่ นจุดศูนย์กลางมวลของวัตถุที่ถูกชน
20(แนว En) วัตถุ A มีมวล 8 กิโลกรัม เคลื่อนที่ไปทางแกน +X ด้วยความเร็ ว 10 เมตรต่อ
วินาที ได้ชนกับวัตถุ B มวล 10 กิโลกรัม ซึ่ งกาลังเคลื่อนที่ไปทางแกน +Y ด้วยความ
เร็ ว 6 เมตรต่อวินาที ภายหลังการชนวัตถุท้ งั สองเคลื่อนที่ติดกันไป จงหาความเร็ วลัพธ์
ภายหลังการชนดังกล่าว
1. 3.3 เมตร/วินาที 2. 4.0 เมตร/วินาที
3. 5.6 เมตร/วินาที 4. 8.0 เมตร/วินาที

6.3.4 การระเบิด
การระเบิดของระบบใดๆ ปกติแล้วในตอนแรกระบบจะอยูน่ ิ่งๆ โมเมนตัมจะมีค่าเป็ น
ศูนย์ หลังระเบิดวัตถุในระบบจะแยกตัวออกจากกันด้วยความเร็ วขนาดหนึ่ง ทาให้โมเมนตัม
ของวัตถุยอ่ ยๆ ในระบบมีค่าไม่เป็ นศูนย์ แต่ผลรวมของโมเมนตัมหลังระเบิดจะยังคงมีค่าเป็ น
ศูนย์เหมือนตอนก่อนระเบิด
11
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
21. วัตถุสองก้อนมวล 2 และ 4 กิโลกรัม วางอยูน่ ิ่งๆ
โดยมีสปริ งอัดอยูร่ ะหว่างกลาง เมื่อปล่อยให้เกิดการ 4 kg
2 kg
เคลื่อนที่มวล 2 กิโลกรัม จะเคลื่อนที่ออกไปด้วย
ความเร็ ว 10 เมตร/วินาที จงหาว่ามวล 4 กิโลกรัม จะเคลื่อนที่ออกไปด้วยความเร็ วเท่าใด
1. 5 เมตร/วินาที 2. 15 เมตร/วินาที 3. 24 เมตร/วินาที 4. 30 เมตร/วินาที

22(แนว มช) รถสองคันมีมวล 1.0 กิโลกรัม และมีมวล M ผูกติดกันด้วยสปริ งดังรู ป เมื่อออก


แรงดันรถทั้งสองอัดสปริ งเข้าหากันแล้วปล่อยทันที ปรากฏว่ารถคันที่มีมวล M มีอตั ราเร็ ว
เท่ากับ 14 ของอัตราเร็ วของรถคันที่มีมวล 1.0 กิโลกรัม มวล M มีค่า
1 kg M

1. 2 กิโลกรัม 2. 4 กิโลกรัม 3. 8 กิโลกรัม 4. 16 กิโลกรัม

12
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
23. ยิงลูกปื นมวล 0.002 กิโลกรัม ออกไปด้วยความเร็ ว 1000 เมตร/วินาที ถ้าตัวปื นมีมวล 2
กิโลกรัม อยากทราบว่าปื นจะถอยหลังด้วยความเร็ วเท่าใด
1. 1 m/s 2. 10 m/s 3. 3 m/s 4. 30 m/s

24. จรวดลาหนึ่งมีมวลทั้งหมด 7500 กิโลกรัม เคลื่อนที่ในอวกาศ (โดยปราศจากแรงโน้มถ่วง)


ไปทางขวามือ ด้วยอัตราเร็ ว 150 เมตร/วินาที ทันใดนั้นก็เกิดระเบิดอย่างรุ นแรง ทาให้จรวด
ลานี้แตกออกเป็ นสองส่ วนโดยมวลไม่สูญสลาย ภายหลังจากระเบิดส่ วนที่หนึ่งมีมวล 4000
กิโลกรัม เคลื่อนที่ไปทางขวาด้วยความเร็ ว 250 เมตร/วินาที อยากทราบว่าส่ วนที่สองจะมี
อัตราเร็ วเท่าใด และมีทิศทางไปทางไหน
1. 35.7 เมตร/วินาที ไปทางขวา 2. 132 เมตร/วินาที ไปทางซ้าย
3. 250 เมตร/วินาที ไปทางซ้าย 4. 0 เมตร/วินาที

13
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
25(แนว มช) ลูกระเบิดลูกหนึ่งตกลงในแนวดิ่ง ขณะที่อยูส่ ู งจากพื้นดิน 2000 เมตร และมี
ความเร็ ว 60 เมตรต่อวินาที ได้ระเบิดขึ้นและแยกออกเป็ นสองเสี่ ยงเท่า ๆ กัน ภายหลังการ
ระเบิดชิ้นส่ วนหนึ่งได้ตกลงด้วยความเร็ ว 80 เมตรต่อวินาที ในแนวดิ่ง อยากทราบว่า
หลังจากการระเบิดผ่านไปนาน 12 วินาที ชิ้นส่ วนทั้งสองจะอยูห่ ่างกันกี่เมตร
1. 300 2. 400 3. 480 4. 560

6.3.5 การชนแบบยืดหยุ่น และไม่ ยดื หยุ่น


การชนกันของวัตถุโดยทัว่ ไปจะมี 2 แบบ คือ
1) การชนกันแบบยืดหยุ่น เป็ นการชนซึ่ งพลังงานจลน์จะมีค่าคงเดิม
นัน่ คือ Ekก่อนชน = Ekหลังชน
2) การชนกันแบบไม่ ยดื หยุ่น เป็ นการชนซึ่งพลังงานจลน์ จะมีค่าไม่คงเดิม
นัน่ คือ Ekก่อนชน  Ekหลังชน
อย่างไรก็ตามการชนทั้งสองแบบนี้ยงั คงเป็ นไปภายใต้กฎการอนุ รักษ์โมเมนตัม กล่าวคือ
ผลรวมโมเมนตัมก่อนชนจะมีค่าเท่ากับผลรวมโมเมนตัมหลังชน
14
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
ในกรณี ที่วตั ถุสองก้อนเกิดการชนกันแบบยืดหยุน่ จะได้วา่
u1  v1 = u2  v 2
เมื่อ u1 คือความเร็ วก่อนชนของวัตถุกอ้ นแรก
u2 คือความเร็ วก่อนชนของวัตถุกอ้ นที่สอง
v1 คือความเร็ วหลังชนของวัตถุกอ้ นแรก
v2 คือความเร็ วหลังชนของวัตถุกอ้ นที่สอง
26(แนว มช) ในการชนกันของวัตถุแบบยืดหยุน่ ข้อใดถูกต้อง
1. พลังงานจลน์มีค่าคงตัว แต่โมเมนตัมไม่คงตัว
2. โมเมนตัมมีค่าคงตัว แต่พลังงานจลน์มีค่าไม่คงตัว
3. ทั้งโมเมนตัมและพลังงานจลน์มีค่าไม่คงตัว
4. ทั้งโมเมนตัมและพลังงานจลน์มีค่าคงตัว

27. ในการชนกันของวัตถุแบบไม่ยดื หยุน่ ข้อใดถูกต้อง


1. พลังงานจลน์มีค่าคงตัว แต่โมเมนตัมไม่คงตัว
2. โมเมนตัมมีค่าคงตัว แต่พลังงานจลน์มีค่าไม่คงตัว
3. ทั้งโมเมนตัมและพลังงานจลน์มีค่าไม่คงตัว
4. ทั้งโมเมนตัมและพลังงานจลน์มีค่าคงตัว

28. วัตถุมวล 10 กิโลกรัม วิง่ ด้วยความเร็ ว 5 เมตร/วินาที ชนกับมวล 2 กิโลกรัม ซึ่ งวิง่ สวน
มาด้วยความเร็ ว 10 เมตร/วินาที มีผลให้มวล 10 กิโลกรัม ลดความเร็ วเหลือ 1 เมตร/-
วินาที จงหาว่ามวล 2 กิโลกรัม มีความเร็ วเท่าไร และการชนเป็ นการชนแบบไหน
1. 10 m/s , ยืดหยุน่ 2. 10 m/s , ไม่ยดื หยุน่
3. 15 m/s , ยืดหยุน่ 4. 15 m/s , ไม่ยดื หยุน่

15
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
29. มวล 1 กิโลกรัม เคลื่อนที่ไปทางขวาด้วยความเร็ ว 4 เมตร/วินาที เข้าชนมวล 2 กิโล-
กรัม ซึ่งเคลื่อนที่ไปทางเดียวกันด้วยความเร็ ว 2 เมตร/วินาที ถ้าการชนเป็ นแบบยืดหยุน่
โดยสมบูรณ์ จงหาความเร็ วหลังชนของมวลทั้งสองในหน่วย เมตร/วินาที ตอบตามลาดับ
1. 4 , 3 2. 4 , 10 3. 43 , 1 4. 43 , 103

30. มวล m วิง่ ด้วยความเร็ ว u เข้าชนมวล 2 m ซึ่ งวางอยูก่ บั ที่ ถ้าเป็ นการชนแบบยืดหยุน่
หลังชนกันแล้วข้อใดถูกต้อง
1. มวล m มีความเร็ ว 13 u ไปทางขวา
u 2m
2. มวล m มีความเร็ ว 23 u ไปทางซ้าย m

3. มวล 2m มีความเร็ ว 13 u ไปทางซ้าย


4. มวล 2m มีความเร็ ว 23 u ไปทางขวา

16
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
6.4 โจทย์ ประยุกต์ เกีย่ วกับโมเมนตัม
31(แนว En) ลูกเหล็กทรงกลมมวล 1 กิโลกรัม กลิ้งเข้าชนแท่งไม้หนัก 4 กิโลกรัม ที่วางอยูบ่ น
พื้นด้วยความเร็ ว 20 เมตรต่อวินาที ถ้าสัมประสิ ทธิ์ ของแรงเสี ยดทานระหว่างผิวของแท่งไม้
กับพื้นเท่ากับ 0.2 หลังจากชนแล้วลูกเหล็กหยุดนิ่งกับที่ แท่งไม้จะไถลไปได้ไกลเท่าไร
1. 1.25 เมตร 2. 6.25 เมตร 3. 50.26 เมตร 4. 250 เมตร

32(แนว En) ช่างไม้ใช้คอ้ นมวล 200 กรัม ตีตะปูมวล 2 กรัม ในแนวราบ โดยความเร็ วของ
ค้อนก่อนกระทบตะปูเป็ น 10 เมตร/วินาที และค้อนไม่กระดอนจากหัวตะปู ถ้าเนื้ อไม้มี
แรงต้านทานเฉลี่ย 1000 นิวตัน ตะปูเจาะลึกในเนื้ อไม้กี่เซนติเมตร
1. 0.1 2. 0.2 3. 1.0 4. 2.0

17
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
33(แนว En) ลูกปื นมวล 4 กรัม มีความเร็ ว 1000 เมตรต่อวินาที ยิงทะลุแผ่นไม้หนัก 800 กรัม
ที่หอ้ ยแขวนไว้ดว้ ยเชื อกยาว หลังจากทะลุแผ่นไม้ลูกปื นมีความเร็ ว 400 เมตรต่อวินาที
จงหาว่าแท่งไม้จะแกว่งขึ้นไปสู งจากจุดหยุดนิ่งกี่เมตร
1. 0.15 เมตร 2. 0.20 เมตร 3. 0.45 เมตร 4. 0.60 เมตร

34(แนว En) ยิงลูกปื นมวล 25 กรัม เข้าไปฝังอยูใ่ นถุงทราย มวล 6 กิโลกรัม ซึ่งแขวนอยูแ่ ละ
ทาให้ถุงทรายโยนสู งขึ้นเป็ นระยะ 20 เซนติเมตร จงหาความเร็ วของลูกปื นในหน่วย
เมตร/วินาที
1. 300 2. 375 3. 482 4. 512

18
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
โจทย์สาหรับคาถาม 2 ข้ อถัดไป
ปื นใหญ่และรถมีมวล 10000 กิโลกรัม ติดสปริ งกัน
การสะท้อนถอยหลังดังรู ป เมื่อยิงปื นใหญ่ปรากฏว่า
กระสุ นวิง่ ออกไปด้วยความเร็ ว 1000 เมตร/วินาที
35. จงหาความเร็ วของรถทันทีเมื่อยิงปื นใหญ่ ถ้ากระสุ นมีมวล 10 กิโลกรัม
1. 1 เมตร/วินาที 2. 2.5 เมตร/วินาที
3. 5 เมตร/วินาที 4. 10 เมตร/วินาที

36. ถ้าตัวรถและปื นใหญ่เคลื่อนที่ถอยหลังไปเพียง 0.2 เมตร จงหาค่านิจของสปริ ง


1. 25 นิวตัน/เมตร 2. 4 x 103 นิวตัน/เมตร
3. 2.5 x 105 นิวตัน/เมตร 4. 4 x 106 นิวตัน/เมตร

19
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
37(แนว มช) ลูกบิลเลียดสี ฟ้าและสี ชมพู มีมวล 0.5 กิโลกรัม เท่ากันลูกสี ฟ้าเคลื่อนที่ดว้ ยอัตรา
เร็ ว 2 เมตร/วินาที เข้าชนลูกสี ชมพูซ่ ึ งอยูน่ ิ่ ง ถ้าการชนนี้ เป็ นการชนในสองมิติ และเป็ น
การชนแบบยืดหยุน่ จงหาว่าภายหลังการชนกันแล้วลูกบิลเลียดทั้งสองจะเคลื่อนที่อย่างไร
1. แยกออกจากกันเป็ นมุม 60o 2. แยกออกจากกันเป็ นมุม 90o
3. เคลื่อนที่ตามกันไปในทิศทางเดียวกัน 4. เคลื่อนที่ไปในทิศตรงกันข้าม

38(แนว En) ลูกบิลเลียด A วิง่ ด้วยอัตราเร็ ว


VA
10 เมตร/วินาที เข้าชนกับลูกบิลเลียด B
ที่อยูน่ ิ่งและมีมวลเท่ากับ A หลังจากชนกัน 10 m/s 37o
แล้ว ลูกบิลเลียดทั้งสองเคลื่อนที่แยกออก
จากกันโดย A ทามุม 37o กับแนวเดิมดังรู ป ก่ อนชน หลังชน V
B
ถ้าการชนเป็ นแบบยืดหยุน่ และไม่คิดผลจาก
การหมุน และ ความฝื ดของพื้นกับลูกบิลเลียดอัตราเร็ วของลูกบิลเลียดทั้งสองจะเป็ นเท่าใด
1. VA = 4 เมตร/วินาที , VB = 3 เมตร/วินาที
2. VA = 3 เมตร/วินาที , VB = 4 เมตร/วินาที
3. VA = 8 เมตร/วินาที , VB = 6 เมตร/วินาที
4. VA = 6 เมตร/วินาที , VB = 8 เมตร/วินาที

20
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
39. รถยนต์ A มวล 1000 กิโลกรัม วิง่ จากทิศใต้ไปยังทิศเหนือ และรถยนต์ B มวล 1500
กิโลกรัม วิง่ จากทิศตะวันตกไปยังทิศตะวันออก เมื่อรถทั้งสองชนกันได้ไถลลื่นติดกันไปใน
ทิศทางทามุม 30o กับแนวทิศตะวันออก ถ้ารถยนต์ A ขับด้วยความเร็ ว 80 กิโลเมตร/ชัว่ โมง
จงหาอัตราเร็ วของรถยนต์ B
1. 53 กิโลเมตร/ชัว่ โมง 2. 80 กิโลเมตร/ชัว่ โมง
3. 92 กิโลเมตร/ชัว่ โมง 4. 104 กิโลเมตร/ชัว่ โมง

21
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
เฉล ยบทที่ 6 โ มเมนตั ม และการ ชน

1. ตอบข้ อ 1. 2. ตอบข้ อ 4. 3. ตอบข้ อ 3. 4. ตอบข้ อ 2.


5. ตอบข้ อ 4. 6. ตอบข้ อ 2. 7. ตอบข้ อ 3. 8. ตอบข้ อ 2.
9. ตอบข้ อ 2. 10. ตอบข้ อ 4. 11. ตอบข้ อ 3. 12. ตอบข้ อ 1.
13. ตอบข้ อ 4. 14. ตอบข้ อ 1. 15. ตอบข้ อ 4. 16. ตอบข้ อ 2.
17. ตอบข้ อ 2. 18. ตอบข้ อ 3. 19. ตอบข้ อ 2. 20. ตอบข้ อ 3.
21. ตอบข้ อ 1. 22. ตอบข้ อ 2. 23. ตอบข้ อ 1. 24. ตอบข้ อ 1.
25. ตอบข้ อ 3. 26. ตอบข้ อ 4. 27. ตอบข้ อ 2. 28. ตอบข้ อ 2.
29. ตอบข้ อ 4. 30. ตอบข้ อ 4. 31. ตอบข้ อ 2. 32. ตอบข้ อ 3.
33. ตอบข้ อ 3. 34. ตอบข้ อ 3. 35. ตอบข้ อ 1. 36. ตอบข้ อ 3.
37. ตอบข้ อ 2. 38. ตอบข้ อ 3. 39. ตอบข้ อ 3.



22
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
ตะลุ ย โจทย์ ท่ วั ไป บทที่ 6 โมเมนตัม และการชน
6.1 โมเมนตัม
1. นักรักบี้ A มีมวล 40 กิโลกรัม วิง่ ด้วยความเร็ ว 10 เมตร/วินาที นักรักบี้ B มีมวล 50
กิโลกรัม ต้องวิง่ ด้วยความเร็ วกี่ เมตร/วินาที จึงจะมีโมเมนตัมเท่ากับนักรักบี้ A
1. 8.0 2. 9.0 3. 9.3 4. 10.0

6.2 การดล และแรงดล


2. การดลที่กระทาบนวัตถุหนึ่งจะมีค่าเท่ากับการเปลี่ยนแปลงของปริ มาณใดต่อไปนี้
1. ความเร็ ว 2. โมเมนตัม 3. พลังงานจลน์ 4. แรง
3. นักบอลแตะลูกบอลมวล 0.5 กิโลกรัม ทาให้ลูกบอลเคลื่อนที่ดว้ ยอัตราเร็ ว 20 เมตรต่อ-
วินาที เข้าชนฝาผนังในแนวตั้งฉาก แล้วสะท้อนกลับออกมาในแนวเดิมด้วยอัตราเร็ ว 20
เมตรต่อวินาทีเท่ากัน จงหาการดลของลูกบอล
1. 20 กิโลกรัม.เมตร/วินาที 2. 60 กิโลกรัม.เมตร/วินาที
3. 70 กิโลกรัม.เมตร/วินาที 4. 90 กิโลกรัม.เมตร/วินาที

4. วัตถุมวล m เคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ ว v เข้าชนกาแพงในแนวตั้งฉาก แล้วสะท้อนกลับออกมา


ในแนวเดิมด้วยความเร็ วเป็ น 13 ของความเร็ วเดิมโมเมนตัมของวัตถุน้ี เปลี่ยนไปเท่าไร
1. 13 mv 2. 23 mv 3. 43 mv 4. 43 mv
5. วัตถุมวล 4 กิโลกรัม เคลื่อนที่ดว้ ยอัตราเร็ วคงตัว 5 เมตรต่อวินาที ในแนวระดับ ไปชน
กาแพงแนวดิ่งหลังจากชนแล้ววัตถุกระดอนกลับในแนวเดิมด้วยอัตราเร็ วคงเดิม แต่ทิศทาง
ตรงกันข้าม จงหาโมเมนตัมที่เปลี่ยนไปหลังการชน และถ้าเวลาที่วตั ถุชนก าแพง 0.5 วินาที
จงหาแรงเฉลี่ยที่กาแพงกระทาต่อวัตถุ
1. 40 กิโลกรัม. เมตร/วินาที , 80 นิวตัน
2. 20 กิโลกรัม. เมตร/วินาที , 100 นิวตัน
3. 10 กิโลกรัม. เมตร/วินาที , 70 นิวตัน
4. 10 กิโลกรัม. เมตร/วินาที , 50 นิวตัน
23
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
6. นักบอลแตะลูกบอลมวล 0.5 กิโลกรัม ทาให้ลูกบอลเคลื่อนที่ดว้ ยอัตราเร็ ว 20 เมตรต่อ-
วินาที เข้าชนฝาผนังในแนวตั้งฉาก แล้วสะท้อนกลับออกมาในแนวเดิมด้วยอัตราเร็ ว 20
เมตรต่อวินาที เท่ากัน ถ้าลูกบอลกระทบฝาผนังนาน 0.05 วินาที จงหา
ก. การดลของลูกบอล ข. แรงเฉลี่ยที่ฝาผนังกระทาต่อลูกบอล
1. ก. 20 กิโลกรัม. เมตร/วินาที , ข. 400 นิวตัน
2. ก. 25 กิโลกรัม. เมตร/วินาที , ข. 440 นิวตัน
3. ก. 30 กิโลกรัม. เมตร/วินาที , ข. 456 นิวตัน
4. ก. 50 กิโลกรัม. เมตร/วินาที , ข. 500 นิวตัน
7(แนว มช) ใช้ไม้ตีลูกบอล 0.16 กิโลกรัม ซึ่ งกาลังเคลื่อนที่ตามแนวราบด้วยอัตราเร็ ว 30 เมตร/-
วินาที ไม้สัมผัสอยูก่ บั ลูกบอลเป็ นเวลานาน 10–2 วินาที หลังจากนั้นลูกบอลเคลื่อนที่
ออกไปด้วยอัตราเร็ ว 35 เมตร / วินาที ในทิศตรงกันข้ามกับทิศทางเริ่ มต้น จงคานวณแรง
เฉลี่ยซึ่งไม้กระทาต่อลูกบอลระหว่างสัมผัสกัน ( ให้ตอบในหน่วยกิโลนิวตัน )
1. 1.04 2. 2.02 3. 2.41 4. 3.05
8(แนว En) ก้อนหิ นมวล 2 กิโลกรัม เคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ ว 6 เมตร/วินาที จะต้องใช้แรง
ขนาดกี่นิวตัน จึงจะสามารถหยุดก้อนหิ นก้อนนี้ได้ในช่วงเวลา 5 x 10–3 วินาที
1. 1200 2. 2400 3. 3600 4. 4500
9. ลูกฟุตบอลมวล 0.5 กิโลกรัม เคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ ว 20 เมตรต่อวินาที ถ้าผูร้ ักษาประตู
ใช้มือรับลูกบอลให้หยุดนิ่ง ภายในเวลา 0.04 วินาที แรงเฉลี่ยที่มือกระทาต่อลูกบอลมี
ขนาดกี่นิวตัน
1. 150 2. 200 3. 250 4. 360
10. ชายคนหนึ่งมวล 60 กิโลกรัม ขับรถด้วยความเร็ ว 60 กิโลเมตร/ชัว่ โมง ถ้าเขาเบรครถ
ให้หยุดภายในเวลา 10 วินาที จงหาแรงเฉลี่ยที่กระทาต่อชายผูน้ ้ ี
1. 100 นิวตัน 2. 250 นิวตัน 3. 500 นิวตัน 4. 750 นิวตัน

24
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
11(แนว มช) นักบินอวกาศได้ทาการทดลองเชื่อมยานอวกาศกับจรวดเข้าด้วยกัน เมื่อยานอวกาศ
เชื่อมต่อกับจรวดแล้ว นักบินบนยานอวกาศได้ยงิ เครื่ องขับดันไอพ่นซึ่งมีแรงดัน 1800 นิว-
ตัน เพื่อปรับทิศทางอยูน่ าน 5.0 วินาที ถ้ายานอวกาศมีมวล 3350 กิโลกรัม และจรวดมี
มวล 6650 กิโลกรัม อัตราเร็ วจะเปลี่ยนไปในช่วงเวลาดังกล่าวกี่เมตร/วินาที
1. 0.2 2. 0.6 3. 0.9 4. 1.5
12. มวล 2 กิโลกรัม เคลื่อนที่บนผิวราบผ่านผิว
ขรุ ขระยาว 3 เมตร ส่ วนผิวราบทั้งหมดเป็ น u = 10 m /s
ผิวเกลี้ยง ขณะที่มวลเคลื่อนที่เข้าไปในผิว
ขรุ ขระมีอตั ราเร็ ว 10 เมตร/วินาที ถ้าอัตรา 3 เมตร
เร่ งขณะมวลเคลื่อนผ่านผิวขรุ ขระ = –6 เมตร
ต่อ(วินาที)2 ขนาดการดลในช่วงที่มวลเคลื่อนที่ผา่ นผิวขรุ ขระมีค่ากี่กิโลกรัม.เมตร/วินาที
1. 2 2. 4 3. 6 4. 8
13. กล่องใบหนึ่งอยูบ่ นรถ ซึ่ งกาลังเคลื่อนที่ในแนวระดับด้วยความเร็ ว 30 เมตร/วินาที รถจะ
ต้องเบรกจนหยุดนิ่งในเวลาน้อยที่สุดเท่าไรกล่องจึงจะไม่ไถลไปบนรถ ถ้าสัมประสิ ทธิ์ ความ
เสี ยดทานระหว่างกล่องกับรถเป็ น 0.5
1. 2 วินาที 2. 4 วินาที 3. 6 วินาที 4. 8 วินาที

14. ปาลูกบอล 0.2 กิโลกรัม ทามุม 30o กับกาแพงด้วยความเร็ ว 10 เมตรต่อวินาที โดยไม่มี


การสู ญเสี ยพลังงาน จงหาโมเมนตัมที่เปลี่ยนไปของลูกบอลในการชนก าแพง
1. 2 กิโลกรัม.เมตร/วินาที
2. 4 กิโลกรัม.เมตร/วินาที
3. 6 กิโลกรัม.เมตร/วินาที
4. 8 กิโลกรัม.เมตร/วินาที
15. ขว้างลูกบอลมวล 100 กรัม ลงบนพื้นด้วยอัตราเร็ ว 20 เมตร/วินาที ทามุม 30o กับพื้นราบ
ถ้าลูกบอลสะท้อนด้วยอัตราเร็ วเท่าเดิม และเวลาช่วงกระทบเท่ากับ 0.02 วินาที จงหา
ก. โมเมนตัมของลูกบอลที่เปลี่ยนไป
ข. แรงเฉลี่ยที่พ้ืนกระทาต่อลูกบอล

25
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
1. ก. 2 กิโลกรัม .เมตร/วินาที , ข. 100 นิวตัน
2. ก. 3 กิโลกรัม .เมตร/วินาที , ข. 75 นิวตัน
3. ก. 4 กิโลกรัม .เมตร/วินาที , ข. 50 นิวตัน
4. ก. 5 กิโลกรัม .เมตร/วินาที , ข. 25 นิวตัน
16. จากรู ปลูกเทนนิสมวล m ตกกระทบพื้น แล้ว
กระดอนขึ้นโดยมีขนาดของความเร็ วคงที่ ข้อใด m
คือโมเมนตัมของลูกเทนนิสที่เปลี่ยนไป u
1. 2 mu 2. 2 mu 45o 45o
3. mu 4. 12 mu
2
17. จากข้อที่ผา่ นมา ถ้าเวลาที่ชนพื้นคือ 0.2 วินาที แรงดลมีคา่ เท่าใด
1. m u0.2 2 2. m u0.1 2 3. m 0.2
u 3 4. m u0.1 3
18. วัตถุกอ้ นหนึ่งตกจากที่สูง h1 จากพื้น ด้วยความเร็ วต้นเท่ากับศูนย์ อยากทราบว่าการดลที่
ต้องใช้ในการทาวัตถุหยุดนิ่งทันทีที่พ้ืนจะเป็ นเท่าไร ถ้า m เป็ นมวลของวัตถุ
1. m 2gh 1 2. 2mgh 1 3. 12 m gh1 4. 12 mgh 1
19. ปล่อยลูกบอลมวล 0.2 กิโลกรัม จากระดับความสู ง 1.8 เมตร หลังจากกระทบพื้นแล้ว
ลูกบอลกระดอนขึ้นสู ง 1.25 เมตร จงหาการดลที่ลูกบอลได้รับเมื่อกระทบพื้น ( หน่วยเป็ น
กิโลกรัม . เมตร / วินาที )
1. 0.25 2. 0.84 3. 1.86 4. 2.2
20. ลูกบอล 0.5 กิโลกรัม ปล่อยให้ตกจากหยุดนิ่งลงสู่ พ้ืนที่ระดับความสู ง 5 เมตร ปรากฏว่า
ลูกบอลกระดอนกลับขึ้นมาได้สูงเพียง 3.2 เมตร ถ้าระยะเวลาที่ลูกบอลกระทบพื้นนาน
0.05 วินาที การดลที่พ้ืนกระทาต่อลูกบอลมีค่ากี่กิโลกรัมเมตร/วินาที
1. 1.0 2. 9.0 3. 90.0 4. 180.0
21. ปล่อยลูกบอลมวล 0.2 กิโลกรัม จากจุดซึ่ งสู งจากพื้นถนน 80 เมตร ปรากฏว่าเมื่อลูก
บอลกระทบพื้นถนนจะสะท้อนขึ้นตรงๆ ด้วยความเร็ ว 25 เมตรต่อวินาที ถ้าลูกบอลใช้
เวลาในการสัมผัสพื้นถนน 0.4 วินาที แรงเฉลี่ยที่ถนนกระทาต่อลูกบอลมีค่ากี่นิวตัน
1. 30.00 2. 32.50 3. 37.50 4. 42.50
26
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
22. ปล่อยลูกบอลมวล 0.4 กิโลกรัม จากที่สูง 20 เมตร ลงกระทบพื้น ปรากฏว่าลูกบอล
กระดอนขึ้นจากพื้นได้สูงสุ ด 5 เมตร ถ้าเวลาตั้งแต่เริ่ มปล่อยลูกบอลจนกระทัง่ ลูกบอล
กระดอนขึ้นมาถึงตาแหน่งสู งสุ ดเท่ากับ 5 วินาที จงหาแรงดลเฉลี่ยที่พ้ืนกระทาต่อลูกบอลนี้
1. ขนาด 12 นิวตัน ทิศทางลงสู่ พ้ืน
2. ขนาด 6 นิวตัน ทิศทางขึ้นจากพื้น
3. ขนาด 4 นิวตัน ทิศทางลงสู่ พ้ืน
4. ขนาด 2.4 นิวตัน ทิศทางขึ้นจากพื้น
23. วัตถุอนั หนึ่งถูกแรงกระทา มีความสัมพันธ์กบั เวลาดังกราฟ จงหาการดลและแรงดล
1. 5 นิวตัน.วินาที , 25 นิวตัน F(N)
2. 12 นิวตัน.วินาที , 30 นิวตัน 150
100
3. 15 นิวตัน.วินาที , 75 นิวตัน 50 t
4. 25 นิวตัน.วินาที , 100 นิวตัน 0.1 0.2 0.3
24. มีแรงผลักวัตถุหนึ่งดังรู ป ในช่วงเวลาที่มีแรงกระทานั้น จะทาให้โมเมนตัมของวัตถุเปลี่ยน
ไปเท่าใด และหากวัตถุมีมวล 2 กิโลกรัม และมีความเร็ วต้น 2 เมตร/วินาที จะมีความเร็ ว
ปลายเท่าใด F(N)
1. 10 นิวตัน.วินาที , 10 เมตร/วินาที 30
2. 15 นิวตัน.วินาที , 12 เมตร/วินาที 20
3. 25 นิวตัน.วินาที , 15 เมตร/วินาที 10
t (s)
4. 30 นิวตัน.วินาที , 17 เมตร/วินาที 1 2 3
25. วัตถุชิ้นหนึ่งมวล 1 หน่วย เคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ ว v ขนาด 1 หน่วย ที่เวลา t = 0 มี
แรง F( t ) ซึ่งขนาดของแรงแทนได้ดว้ ยกราฟดังรู ป กระทาต่อวัตถุในทิศเดียวกับ v อัตรา
เร็ วของวัตถุที่เวลา t = 1 และ 2 หน่วย F (N)

ตามลาดับมีค่าเป็ นเท่าใด 1
1. 1/2 หน่วย , 0 หน่วย t (s)
1 2
2. 3/2 หน่วย , 1 หน่วย
3. 1/2 หน่วย , 2 หน่วย
–1
4. 3/2 หน่วย , 2 หน่วย
27
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
26. กล่องบรรจุของมีมวล 4.0 กิโลกรัม มีแรงลัพธ์ที่มีขนาดเปลี่ยนแปลงตามเวลากระทาดังกราฟ
ที่แสดงในรู ปทาให้กล่องเคลื่อนที่ไปโดยมีความเร่ งไม่คงที่ เมื่อเวลา t = 0 กล่องนี้มีความเร็ ว
10 เมตรต่อวินาที ในทิศทางของแรงลัพธ์ จงหา
ก. อัตราเร็ วของกล่องเมื่อเวลา t = 4 วินาที แรงลัพธ์ (N)
ข. ขนาดของความเร่ งเมื่อเวลา t = 1 วินาที 20
1. ก. 20.5 เมตร/วินาที , ข. 3.15 เมตร/วินาที2 15
2. ก. 25.5 เมตร/วินาที , ข. 3.50 เมตร/วินาที2 10
3. ก. 27.5 เมตร/วินาที , ข. 3.75 เมตร/วินาที2
1 2 4 เวลา (s)
4. ก. 30.5 เมตร/วินาที , ข. 3.95 เมตร/วินาที2
27. ลูกบอลมวล 100 กรัม เคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ ว F(N)
20 เมตร/วินาที ในแนวระดับ ชายคนหนึ่งใช้ 500
ไม้ตีลูกบอลนี้สวนออกมาในทิศตรงข้าม แรง
ที่กระทาต่อลูกบอลกระทบไม้ตี แทนได้ดว้ ย 250
กราฟนี้ อยากทราบว่าลูกบอลจะมีความเร็ ว t (ms)
เท่าใดในหน่วยเมตร/วินาที หลังกระทบไม้ตี 10 20 30
1. 15 2. 30 3. 40 4. 50
28. ลูกบอลมวล 0.2 กิโลกรัม เคลื่อนที่เข้ากระทบ
F(N)
กันหน้าไม้เทนนิสในแนวตั้งฉากกับหน้าไม้ ด้วย
ความเร็ ว 30 เมตร/วินาที ลูกบอลเคลื่อนที่ออก
จากหน้าไม้ดว้ ยความเร็ ว 50 เมตร/วินาที แรงที่
กระทาต่อลูกบอลขณะกระทบหน้าไม้เป็ นไปตาม
รู ป แรงสู งสุ ดที่กระทาต่อลูกบอลเท่ากับกี่นิวตัน 0 0.2 0.4 0.6 t ( s )
1. 10 2. 20 3. 30 4. 40

28
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
29. แรงดังรู ปกระทาต่อมวล 45 กรัม ที่อยูน่ ิ่ง
F(N)
ในช่วงเวลา 3 มิลลิวนิ าที ทาให้มวลนั้น
มีความเร็ ว 20 เมตรต่อวินาที ค่าสู งสุ ด
ของแรงนั้นมีค่ากี่นิวตัน
1. 200 2. 260
3. 550 4. 600 0 1 2 3 t ( ms )
30. จากรู ป เป็ นกราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างโมเมนตัมกับเวลาของวัตถุหนึ่ง จงหา
ก. ขนาดของการดลที่กระทาต่อวัตถุในช่วง 5 วินาทีแรก
ข. ขนาดของแรงลัพธ์ที่กระทาต่อวัตถุใน 5 วินาทีแรก โมเมนตัม (kg.m/s)
1. ก. 5 กิโลกรัม .เมตร/วินาที , ข. 2 นิวตัน
20
2. ก. 15 กิโลกรัม .เมตร/วินาที , ข. 3 นิวตัน
10
3. ก. 20 กิโลกรัม .เมตร/วินาที , ข. 4 นิวตัน
4. ก. 30 กิโลกรัม .เมตร/วินาที , ข. 7 นิวตัน 5 10 15 เวลา(s)
31. รถเข็นคันหนึ่งถูกดันไปในแนวเส้นตรงบนพื้นราบด้วยแรงขนาด 10 นิวตัน นาน 5 วินาที
ถ้ารถเข็นมีมวล 100 กิโลกรัม อยากทราบว่าอัตราเร็ วของรถเข็นจะเปลี่ยนไปกี่เมตร/วินาที
1. 100 2. 0.75 3. 0.50 4. 0.25
32. จากข้อที่ผา่ นมา ถ้าออกแรงขนาดต่างๆ ดันรถเข็นในช่วงเวลาต่างๆ ตามตาราง
แรง ( N ) เวลา ( s )
10 1
5 0.5
15 0.3
20 1

อยากทราบว่าอัตราเร็ วของรถเข็นจะเปลี่ยนไปกี่เมตร/วินาที
1. 37 2. 0.37 3. –37 4. –0.37

29
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
33. จากข้อที่ผา่ นมา ถ้ารถเข็นมีความเร็ วปลาย 2 เมตร/วินาที รถเข็นจะมีความเร็ วต้นกี่เมตร/-
วินาที
1. 0 2. 2.37 3. 1.63 4. 35
34. วัตถุมวล 0.5 กิโลกรัม เคลื่อนที่เป็ นวงกลมในระนาบระดับบนพื้นโต๊ะที่ไม่มีความฝื ดด้วย
อัตราเร็ วคงตัว 2.0 เมตรต่อวินาที ในช่วงเวลา 1 วินาที วัตถุเคลื่อนที่ได้ 1/4 รอบ จากจุด
A ไปจุด B ดังรู ป แรงเฉลี่ยที่กระทาต่อวัตถุมีขนาดเป็ นเท่าใด และมีทิศทางไปทางไหน
v2 B
N
v1
A W E

1. 2 นิวตัน มีทิศตะวันตกเฉี ยงใต้ 2. 2 นิวตัน มีทิศตะวันออกเฉียงเหนือ


3. 2 2 นิวตัน มีทิศตะวันตกเฉี ยงใต้ 4. 2 2 นิวตัน มีทิศตะวันออกเฉียงเหนือ
35. ปล่อยลูกเทนนิสจากตาแหน่งที่ 1 ตกลงไม้เทนนิสที่วางอยูบ่ นพื้นตาแหน่งที่ 2 ดังรู ป ถ้า
เราขึงเส้นเอ็นของไม้เทนนิสให้ตึงมากขึ้ น จะทาให้เกิดผลในข้อใด 1
( ให้ การดลของการชน มีค่าเท่ากันทั้งก่อนขึงเอ็นและหลังขึงเอ็น)
1m
1. ความเร็ วของลูกเทนนิสตอนตกกระทบไม้เทนนิสเพิ่มขึ้น
2
2. แรงที่ไม้เทนนิสกระทากับลูกเทนนิสมากขึ้น
3. โมเมนตัมที่เปลี่ยนไปมีค่ามากขึ้น
4. ช่วงเวลาที่เกิดกระทบกันมีค่ามากขึ้น

6.3 การชน
6.3.1 กฎการอนุรักษ์ โมเมนตัม
6.3.2 การชนในหนึ่งมิติ

30
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
36. รถทดลอง A มวล 5 กิโลกรัม เคลื่อนที่บนพื้นเกลี้ยงไปทางขวาด้วยความเร็ ว 10 เมตร/-
วินาที เข้าชนรถทดลอง B มวล 6 กิโลกรัม ซึ่ งอยูน่ ิ่ง หลังชนรถทดลอง A เหลือความเร็ ว
2 เมตร/วินาที ในทิศทางเดิม จงหาว่าหลังชนรถทดลอง B จะมีความเร็ วกี่เมตร/วินาที
1. 3.56 2. 5.78 3. 6.67 4. 7.32
37. เอและบีเป็ นนักสเกตมีมวล 60 และ 40 กิโลกรัม วิ่งสวนทางกันบนพื้นที่ลื่นมาก ด้วย
ความเร็ ว 10 และ 5 เมตร/วินาที ตามลาดับ พุ่งเข้าชนกัน หลังชนเอมีความเร็ ว 2 เมตร/
วินาทีในทิศทางเดิม จงหาความเร็ วหลังชนของบีในหน่วยเมตร/วินาที
1. 2 2. 5 3. 7 4. 10
38. รถทดลองมวล 3m วิง่ ด้วยความเร็ ว 20 เมตร/วินาที เข้าชนรถทดลอง 6m ซึ่ งวิง่ ไปใน
ทิศทางเดียวกับมวล 3m ด้วยความเร็ ว 5 เมตร/วินาที หลังชนรถทดลองมวล 3m มีความ
เร็ ว 2 เมตร/วินาที ในทิศตรงข้ามเดิม รถทดลองมวล 6m จะมีความเร็ วกี่เมตร/วินาที
1. 4 2. 8 3. 12 4. 16
39. รถทดลอง A มวล 5 กิโลกรัม เคลื่อนที่บนพื้นเกลี้ยงไปทางขวาด้วยความเร็ ว 10 เมตร/-
วินาที เข้าชนรถทดลอง B ซึ่ งอยูน่ ิ่ ง หลังชนรถทดลอง A สะท้อนกลับด้วยความเร็ ว 2
เมตร/วินาที ส่ วนรถทดลอง B วิง่ ออกไปด้วยความเร็ ว 6 เมตร/วินาที จงหาว่ารถทดลอง B
มีมวลกี่กิโลกรัม
1. 5 2. 10 3. 15 4. 20
40. มวล 2 กิโลกรัม เคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ ว 5 เมตร/วินาที เข้าชนมวล 12 กิโลกรัม ซึ่ งอยู่
นิ่ง หลังชนปรากฏว่ามวล 2 กิโลกรัม สะท้อนด้วยอัตราเร็ วเท่ากับอัตราเร็ วของมวล 12
กิโลกรัม จงหาอัตราเร็ วของมวลทั้งสองก้อนหลังชนกันมีค่ากี่เมตร/วินาที
1. 1 2. 2 3. 3 4. 4
41(แนวEn ) ลูกปื นมวล 3 กรัม มีความเร็ ว 700 เมตรต่อวินาที วิง่ ทะลุผา่ นแท่งไม้มวล 600
กรัม เกิดการดลทาให้แท่งไม้มีความเร็ ว 2 เมตรต่อวินาที จงหาความเร็ วลูกปื นหลังทะลุ
1. 200 เมตร/วินาที 2. 300 เมตร/วินาที
3. 400 เมตร/วินาที 4. 500 เมตร/วินาที

31
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
42. ลูกปื นมวล 5 กรัม มีความเร็ ว 1000 เมตร/วินาที วิ่งทะลุ ผ่านแผ่นไม้มวล 1 กิ โลกรัม
ทาให้แผ่นไม้มีความเร็ ว 4 เมตร/วินาที จงหาความเร็ วของลูกปื นหลังทะลุแผ่นไม้
1. 100 เมตร/วินาที 2. 200 เมตร/วินาที
3. 300 เมตร/วินาที 4. 400 เมตร/วินาที
43. รถสิ นค้ามวล 1 x 104 กิโลกรัม เคลื่อนที่ไปตามรางด้วยความเร็ ว 2 เมตร/วินาที วิง่ เข้าชน
รถสิ นค้าอีกคันหนึ่งมวล 2 x 104 กิโลกรัม และจอดอยูน่ ิ่ง หลังชนแล้วรถทั้งสองวิง่ ไป
พร้อมกัน จงหาความเร็ วของรถทั้งสองคันหลังชนว่ามีค่ากี่เมตร/วินาที
1. 0.15 เมตร/วินาที 2. 0.47 เมตร/วินาที
3. 0.52 เมตร/วินาที 4. 0.67 เมตร/วินาที
44. รถ A มีมวล 1000 กิโลกรัม จอดอยูน่ ิ่ง ถูกรถ B มวล 1200 กิโลกรัม วิง่ เข้าชนแล้วรถ
ทั้งสองติดกันไปมีความเร็ ว 4 เมตร/วินาที จงหาว่าก่อนชนรถ B มีความเร็ วกี่เมตร/วินาที
1. 2.33 2. 4.33 3. 6.33 4. 7.33
45. วีณาและโชติเป็ นนักสเกตมีมวล 60 และ 40 กิโลกรัม ตามลาดับ วิง่ สวนทางกันบนพื้น
ที่ลื่นมาก หลบกันไม่หนั ชนแบบประสานงาติดกันไป ถ้าวีณาและโชติกาลังวิง่ มาด้วยความ
เร็ ว 10 และ 5 เมตร/วินาที ตามลาดับ จงหาความเร็ วหลังชนของนักสเกตทั้งสอง
1. 0 m/s 2. 2 m/s 3. 4 m/s 4. 6 m/s
46. วัตถุทรงกลมก้อนหนึ่งมีมวล m วิง่ มาด้วยความเร็ ว v1 มาชนกับวัตถุทรงกลมอีกก้อนหนึ่ง
ซึ่งมีมวล m เท่ากัน มีความเร็ ว v2 ซึ่งวัตถุท้ งั สองเคลื่อนที่ไปในทิศทางเดียวกัน เมื่อชน
กันแล้ววัตถุท้ งั สองติดกันไปจะมีความเร็ วเท่าไร
1. 12 (v1 – v2 ) 2. 12 (v1 + v2 ) 3. 2 (v2 – v1 ) 4. 2(v1 – v2 )
47. วัตถุมวล 10 กิโลกรัม เคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ ว 6 เมตร/วินาที เข้าชนวัตถุอีกก้อนหนึ่งมวล
20 กิโลกรัม ซึ่ งอยูน่ ิ่ง แล้ววัตถุกอ้ นแรกกระเด็นกลับด้วยความเร็ ว 2 เมตร/วินาที จงหา
พลังงานจลน์ของระบบเปลี่ยนไปเท่าไร
1. 0 จูล 2. 90 จูล 3. 180 จูล 4. 360 จูล

32
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
48. มวลขนาด 8 กิโลกรัม เคลื่อนที่ไปทางทิศตะวันออกด้วยความเร็ ว 20 เมตรต่อวินาที ไป
ชนกับมวลขนาด 2 กิโลกรัม ที่เคลื่อนที่ไปทางทิศตะวันตกด้วยความเร็ ว 10 เมตรต่อวินาที
แล้วมวลแรกยังคงเคลื่อนที่ไปทางทิศตะวันออกด้วยความเร็ ว 10 เมตรต่อวินาที พลังงาน-
จลน์รวมเปลี่ยนไปกี่จูล
1. 250 2. 400 3. 750 4. 1000
49(แนว มช) รถตูค้ นั หนึ่งมีมวล 3000 กิโลกรัม วิ่งไปในแนวเส้นตรงบนทางราบ ด้วยอัตราเร็ ว
คงที่ 10 เมตร/วินาที พุ่งเข้าชนรถยนต์คนั หนึ่ งที่จอดนิ่ งอยู่ และมีมวลเป็ นครึ่ งหนึ่ งของ
รถตู้ ปรากฏว่ารถทั้งสองคันนั้นเกาะติดกันไป จงหาพลังงานจลน์ที่หายไปในการชนกัน
ของรถทั้งสองนี้
1. 10.0 x 104 จูล 2. 7.5 x104 จูล
3. 5.0 x 104 จูล 4. 2.5 x104 จูล
50. รถยนต์ A มวล 1500 กิโลกรัม และรถยนต์ B มวล 1000 กิโลกรัม รถยนต์ B แล่น
ตามหลังรถยนต์ A ด้วยความเร็ วคงที่เท่ากับ 2 และ 1 เมตร/วินาที ตามลาดับ ในระหว่าง
นั้นมีรถยนต์ C มวล 1500 กิโลกรัม วิง่ สวนทางกันมาด้วยความเร็ วคงที่ เท่ากับ 5 เมตร /-
วินาที ถ้ารถเกิดชนพร้อมกันทั้งสามคันเป็ นผลให้รถทั้งหมดติดกันไปหลังชน สมมติวา่ ไม่มี
ความเสี ยดทานระหว่างพื้นถนนกับล้อรถยนต์ จงคานวณหาความเร็ วและทิศทางหลังชนกัน
2 m/s 1 m/s 5 m/s
B A C
1000 kg 1500 kg 1500 kg

1. 1 เมตร/วินาที ไปทางซ้าย 2. 1 เมตร/วินาที ไปทางขวา


3. 2 เมตร/วินาที ไปทางซ้าย 4. 2 เมตร/วินาที ไปทางขวา
51. จากข้อที่ผา่ นมาจงหาพลังงานที่เสี ยไปในการชนกันครั้งนี้ในหน่วยจูล
1. 14500 2. 17500 3. 19500 4. 22500

33
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
6.3.3 การชนในสองมิติ
52. ลูกกลม 2 ลูก มวล 4 และ 2 กิโลกรัม ตามลาดับ มี
ขนาดของความเร็ วก่อนชนดังรู ป ความเร็ วหลังชนเมื่อ 2 kg
มวลทั้งสองเคลื่อนที่ติดกันไปมีค่ากี่เมตรต่อวินาที 3 m/s
1. 1.4 2. 1.7 4 kg 2 m/s
3. 2.4 4. 6.0
53. วัตถุ A มวล 40 กิโลกรัม ลื่นไถลมาจากทิศตะวันออกด้วยอัตราเร็ ว 10 เมตรต่อวินาที
และวัตถุ B มวล 60 กิโลกรัม ลื่นไถลมาจากทิศเหนือด้วยอัตราเร็ ว 5 เมตรต่อวินาที
มาชนกันแล้วเคลื่อนที่ติดไปด้วยกัน อัตราเร็ วของวัตถุท้ งั สองหลังเกิดการชนกันเป็ นเท่าไร
(กาหนดให้พ้ืนไม่มีความฝื ด)
1. 5 เมตร/วินาที 2. 15 เมตร/วินาที
3. 50 เมตร/วินาที 4. 100 เมตร/วินาที
54. มวลสองก้อนวิง่ เข้าชนกันด้วยความเร็ วขนาดเท่ากัน Y
ดังรู ป ถ้ามวลสองก้อนเท่ากัน ความเร็ วของจุดศูนย์
กลางมวลของระบบจะเป็ นเท่าไร m u X
1. 2u 2. u2 u
3. u 2 4. u 2 2 m

55. จากข้อที่ผา่ นมา ความเร็ วของจุดศูนย์กลางมวลของระบบที่ทิศทามุมกับแกน X เท่าไร


1. 30o 2. 45o 3. 60o 4. 90o
56. จากข้อที่ผา่ นมา หลังจากที่มวลทั้งสองชนกันแล้วโมเมนตัมของจุดศูนย์กลางมวลจะเป็ นเท่าไร
1. mu 2 2. 2mu 3. mu 4. mu
2
2
57. วัตถุมวล 3 กิโลกรัม เคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ ว 5 เมตร / วินาที ชนมวล m ที่หยุดนิ่งอยูภ่ าย
หลังการชน ทาให้มวล 3 กิโลกรัม และมวล m เบี่ยงเบนไปจากแนวเดิมทามุม 90o ซึ่ง
กันและกัน และมีความเร็ วหลังชนเท่ากันคือ 3 เมตร / วินาที มวล m ควรมีค่ากี่กิโลกรัม
1. 2 2. 3 3. 4 4. 5
34
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
6.3.4 การระเบิด
58. รถ A ติดสปริ งซึ่ งมีคา่ นิจ 80 นิวตันต่อเมตร ยาว 0.1 เมตร นารถ B มาอัดที่ปลายสปริ ง
อีกข้างหนึ่งจนระยะห่างระหว่างทั้งสองเป็ น 0.05 เมตร แล้วปล่อย วัดอัตราเร็ วของรถ A
และ B ได้ 2 และ 3 เมตร/วินาที ตามลาดับ จงหาอัตราส่ วนมวลของรถ A และ B
1 1
1. 23 2 2. 23 2 3. 2 4. 3
3 2
59. นักล่าสัตว์ยงิ ลูกปื นมวล 60 กรัม ออกไปด้วยความเร็ ว 900 เมตร/วินาที ถ้าเสื อมีมวล
40 กิโลกรัม กระโดดตะปบเขาด้วยความเร็ ว 10 เมตร/วินาที เขาจะต้องยิงกระสุ นกี่นดั
จึงจะหยุดเสื อนั้นได้ โดยยิงแล้วลูกปื นฝังในเสื อ
1. 5 นัด 2. 8 นัด 3. 10 นัด 4. 15 นัด
6.3.5 การชนแบบยืดหยุ่น และไม่ ยดื หยุ่น
60. มวลขนาด 4 กิโลกรัม และ 2 กิโลกรัม เคลื่อนที่เข้าหากันบนพื้นไม้ที่ไม่มีความเสี ยด
ทานด้วยความเร็ ว 20 เมตรต่อวินาที และ 10 เมตรต่อวินาที ตามลาดับ หลังจากชนกัน
มวล 4 กิโลกรัม ยังคงเคลื่อนที่ในทิศเดิมด้วยความเร็ ว 6 เมตรต่อวินาที และมวล 2 กิโล-
กรัม เคลื่อนที่ไปในทิศทางเดียวกับมวล 4 กิโลกรัม ด้วยความเร็ ว 18 เมตรต่อวินาที
การชนนี้เป็ นการชนแบบยืดหยุน่ หรื อไม่ยดื หยุน่
1. ยืดหยุน่ 2. ไม่ยดื หยุน่
3. เป็ นทั้ง 2 แบบ 4. ไม่เป็ นทั้ง 2 แบบ
61(แนว มช) มวลขนาด 4 กิโลกรัม และ 3 กิโลกรัม เคลื่อนที่ไปทางเดียวกันบนพื้นไม้ที่ไม่มี
ความเสี ยดทานด้วยความเร็ ว 12 เมตรต่อวินาที และ 5 เมตรต่อวินาที ตามลาดับ หลังจาก
ชนกันมวล 4 กิโลกรัม ยังคงเคลื่อนที่ในทิศเดิมด้วยความเร็ ว 9 เมตรต่อวินาที และมวล
3 กิโลกรัม เคลื่อนที่ไปในทิศทางเดียวกับมวล 4 กิโลกรัม ด้วยความเร็ ว 9 เมตรต่อวินาที
การชนนี้เป็ นการชนแบบยืดหยุน่ หรื อไม่ยดื หยุน่
1. ยืดหยุน่ 2. ไม่ยดื หยุน่
3. ไม่ทราบ ข้อมูลไม่เพียงพอ 4. เป็ นทั้งยืดหยุน่ และไม่ยดื หยุน่

35
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
62. จากรู ปเป็ นการชนของวัตถุ 2 ก้อน รู ปใดเป็ นการชนแบบยึดหยุน่ สมบูรณ์
ก่อนชน หลังชน
5 m/s 2 m/s 2 m/s 4 m/s
1.    
1 m/s 4 m/s 2 m/s 2 m/s
2.    
3 m/s 5 m/s
3.    
6 m/s 1 m/s 7 m/s
4.    
63. วัตถุ A มวล 1 กิโลกรัม เคลื่อนที่ดว้ ยความ
เร็ ว 4 เมตร/วินาที บนพื้นราบที่ไม่มีความ 4 m/s
เสี ยดทานชนกับวัตถุ B ที่วางอยูน่ ิ่ง หลังการ
A B
ชนกัน วัตถุ A กระดอนกลับโดยมีความเร็ วลด
ลงครึ่ งหนึ่ง ถ้าการชนเป็ นการชนแบบยืดหยุน่
หยุน่ ความเร็ วหลังการชนของวัตถุ B จะเท่ากับ กี่เมตร/วินาที
1. 2 2. 2 3. 2 3 4. 6
64. มวล 10 กิโลกรัม เคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ ว 10 เมตร/วินาที พุง่ เข้าชนมวล 10 กิโลกรัม
ซึ่ งอยูน่ ิ่ง ถ้าการชนเป็ นแบบยืดหยุน่ มวลที่พุง่ เข้าชนจะ
1. หยุดนิ่งอยูก่ บั ที่
2. เคลื่อนที่ดว้ ยอัตราเร็ ว 10 เมตรต่อวินาที ในทิศทางตรงข้ามกับทิศเดิม
3. เคลื่อนที่ดว้ ยอัตราเร็ ว 5 เมตรต่อวินาที ในทิศทางเดิม
4. เคลื่อนที่ดว้ ยอัตราเร็ ว 10 เมตรต่อวินาที ในทิศทางเดิม
65. มวล m1 = 10 กิ โลกรัม วิ่งด้วยความเร็ ว u1 = 10 เมตร/วินาที เข้าชนมวล m2 = 2
กิโลกรัม ที่กาลังวิง่ อยู่ ข้างหน้าด้วยความเร็ ว 4 เมตร/วินาที ในทิศเดียวกัน ถ้าการชนกันนี้
เป็ นการชนแบบยืดหยุน่ สมบูรณ์ จงหาว่าชนกันแล้ววัตถุแต่ละก้อนจะมีความเร็ วเท่าไร
1. 5 เมตร/วินาที , 10 เมตร/วินาที 2. 7 เมตร/วินาที , 12 เมตร/วินาที
3. 8 เมตร/วินาที , 14 เมตร/วินาที 4. 10 เมตร/วินาที , 14 เมตร/วินาที

36
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
66. วัตถุมวล m1 วิง่ ด้วยความเร็ ว u1 เข้าชนกับมวล m2 ที่กาลังวิง่ อยูข่ า้ งหน้าด้วยความเร็ ว
u2 ในทิศทางเดียวกัน ถ้าการชนกันนี้เป็ นการชนแบบยืดหยุน่ สมบูรณ์ จงหาว่าหลังการชน
วัตถุกอ้ นแรกจะมีความเร็ วเป็ นเท่าไร
(m  m ) u  2m u (m  m ) u  2m u
1. 1 m2 1m 1 1 2. 1 m2 1m 2 2
1 2 1 2
(m1 m2 ) u1 (m1 m2 ) u2  2m 2u2
3. m  m 4. m1  m2
1 2
67. รถทดลองมวล M วิง่ ด้วยความเร็ ว V เข้าชนกับรถทดลองมวล m ซึ่ งหยุดนิ่ ง และติด
สปริ งไว้หลังจากชนแล้ว รถมวล m จะมีความเร็ วเป็ นเท่าไร
1. M2Mm V 2. MM m V 3. M2mm V 4. Mm m V
68. วัตถุมวล 2 กิโลกรัม วิง่ เข้าชนอย่างยืดหยุน่ กับวัตถุมวล 1.2 กิโลกรัม ซึ่งหยุดนิ่ง จงหา
ว่าหลังชนแล้วมวล 2 กิโลกรัม จะเคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ วเป็ นกี่เท่าของความเร็ วเดิมก่อนชน
1. 0.25 เท่า 2. 0.4 เท่า 3. 0.5 เท่า 4. 0.8 เท่า
69. ลูกทรงกลมเหล็กมวล 1 กิโลกรัม ผูกติดปลายเชือกยาว 80 เซนติเมตร ส่ วนอีกปลาย
หนึ่งก็ผกู ติดไว้ที่จุด A เมื่อปล่อยให้ทรงกลมตกลงมาก็กระทบแท่งเหล็กมวล 4 กิโลกรัม
ซึ่ งวางอยูน่ ิ่งบนพื้นที่ไม่มีความเสี ยดทาน ถ้าเป็ นการชนแบบยืดหยุน่ ความเร็ วของลูกกลม
เหล็ก และ แท่งเหล็กมวล 4 กิโลกรัม เป็ นเท่าใด
1 kg A
1. – 125 เมตร/วินาที , 85 เมตร/วินาที
2. – 105 เมตร/วินาที , 85 เมตร/วินาที
4 kg
3. – 45 เมตร/วินาที , 45 เมตร/วินาที
4. – 35 เมตร/วินาที , 83 เมตร/วินาที

6.4 โจทย์ ประยุกต์ เกีย่ วกับโมเมนตัม


70. ลูกปื นมวล 10 กรัม ถูกยิงออกจากปากกระบอกปื นด้วยความเร็ ว 1500 เมตร/วินาที ตาม
กฎทรงโมเมนตัมปื นจะเคลื่อนที่ตรงข้ามกับลูกปื น ถามว่าเราต้องออกแรงเฉลี่ยเท่าไร จึงจะ
บังคับให้ปืนหยุดในเวลา 0.1 วินาที
1. 100 นิวตัน 2. 150 นิวตัน 3. 200 นิวตัน 4. 250 นิวตัน
37
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
71. รถยนต์คนั หนึ่งมวล 2,000 กิโลกรัม แล่นด้วยความเร็ ว 10 เมตรต่อวินาที แล้วชนกับรถ
ยนต์อีกคันหนึ่งมวล 3,000 กิโลกรัม ซึ่ งจอดอยูน่ ิ่ง ภายหลังการชนรถทั้งสองติดกันและไถล
ไปได้ไกล 5 เมตรแล้วหยุด จงหาขนาดของแรงเสี ยดทานที่พื้นถนนกระทาต่อรถทั้งสองใน
หน่วยนิวตัน
1. 2000 2. 4000 3. 8000 4. 9000
72. ลูกปื นมวล 5 กรัม ถูกยิงด้วยความเร็ ว 1000 เมตร/วินาที เข้าไปฝังในแท่งไม้มวล 5
กิโลกรัม ที่วางอยูบ่ นโต๊ะ ถ้าค่าสัมประสิ ทธิ์ ความเสี ยดทานระหว่างแท่งไม้กบั โต๊ะโดยเฉลี่ย
มีค่าเท่ากับ 0.25 แท่งไม้จะไถลไปได้ไกลเท่าไร
1. 0.20 เมตร 2. 0.25 เมตร 3. 0.50 เมตร 4 . 1.25 เมตร
73. รถบรรทุกมีมวล 8000 กิโลกรัม วิง่ ด้วยความเร็ ว 2 เมตรต่อวินาที พุง่ เข้าชนรถบรรทุกอีก
คันหนึ่งที่มีมวล 20000 กิโลกรัม ซึ่ งจอดอยูน่ ิ่งๆ แรงปะทะทาให้คนั ที่วิง่ เข้าชนกระเด็นถอย
หลังไปด้วยความเร็ ว 0.1 เมตรต่อวินาที ถ้าแรงเสี ยดทานของถนนเท่ากับ 0.2 นิวตันต่อ-
กิโลกรัม รถบรรทุกคันที่จอดอยูน่ ิ่งๆ จะกระเด็นไปเป็ นระยะทางเท่าไรก่อนที่จะหยุด
1. 0.18 เมตร 2. 1.8 เมตร 3. 4.4 เมตร 4. 10.0 เมตร
74. วัตถุ A มีมวล 30 กิโลกรัม วิง่ ไปชนกับวัตถุ B ซึ่งมีมวล 20 กิโลกรัม ที่หยุดนิ่งบน
พื้นราบซึ่งมีค่าสัมประสิ ทธิ์ ของความเสี ยดทานระหว่างพื้นกับวัตถุท้ งั สองเท่ากับ 0.3 หลัง
ชน A และ B เคลื่อนที่ติดกันไปและหยุดภายในเวลา 1.2 วินาที ความเร็ วของ A ขณะ
เข้าชนกับ B มีค่ากี่เมตรต่อวินาที
1. 0.5 2. 3.6 3. 4.8 4. 6.0
75. ตุม้ น้ าหนักของเครื่ องตอกเสาเข็มมวล 3000 กิโลกรัม ปล่อยจากที่สูง 5 เมตร ลงบนต้น
เสาเข็มมวล 1000 กิโลกรัม ปรากฏว่าเสาเข็มจะจมลงไปในดิน 1 เมตร จงหาว่า แรงต้าน
ทานของดินมีค่าเฉลี่ยกี่นิวตัน โดยสมมติวา่ หลังชนกันแล้วตุม้ น้ าหนัก และเสาเข็มเคลื่อนที่
ไปด้วยกัน
1. 132500 2. 144500 3. 152500 4. 155900

38
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
76. ยิงลูกปื นมวล 40 กรัม ด้วยความเร็ ว u เข้าชน
และฝังในกล่องมวล 1.96 กิโลกรัม ที่วางบนพื้น 40 g u 1.96
ระดับราบลื่นและติดอยูท่ ี่ปลายหนึ่งของสปริ ง ซึ่ง kg
มีค่าคงที่ 800 นิวตัน/เมตร ทาให้สปริ งหดเข้าไปมากที่สุด 10 เซนติเมตร จงหา u
1. 100 เมตร/วินาที 2. 200 เมตร/วินาที
3. 300 เมตร/วินาที 4. 400 เมตร/วินาที
77. มวล 20 กรัม ถูกยิงออกมาด้วยความเร็ ว 816 เมตร/ วินาที วิง่ เข้าฝังติดในเนื้ อของท่อน
ไม้ซ่ ึ งวางนิ่งอยูบ่ นพื้นเอียงซึ่ งทามุม 30o กับแนวระดับ ถ้าท่อนไม้มีมวล 1 กิโลกรัม จง
หาระยะทางตามแนวพื้นเอียงที่ท่อนไม้เคลื่อนที่ข้ ึนไปได้สูงสุ ด สมมติวา่ ไม่มีความเสี ยดทาน
ระหว่างท่อนไม้กบั พื้นเอียง
1. 6.40 เมตร 2. 12.80 เมตร
3. 13.30 เมตร 4. 25.60 เมตร 30o

78. ลูกปื นมวล 4 กรัม มีความเร็ ว 1,000 เมตรต่อวินาที ยิงทะลุแผ่นไม้หนัก 600 กรัม ที่
ห้อยแขวนไว้ดว้ ยเชื อกยาว หลังจากทะลุแผ่นไม้ลูกปื นมีความเร็ ว 400 เมตรต่อวินาที จงหา
ว่าแท่งไม้จะแกว่งขึ้นไปสู งจากจุดหยุดนิ่งกี่เมตร
1. 0.5 2. 0.8 3. 1.2 4. 3.5
79(แนว มช) กระสุ นปื นมวล 4 กรัม ถูกยิงในแนวระดับด้วยอัตราเร็ ว 500 เมตร/วินาที วิง่ เข้า
ชนแท่งไม้มวล 2 กิโลกรัม ซึ่ งแขวนไว้ดว้ ยเชื อกเบายาว 1 เมตร ลูกกระสุ นเคลื่อนที่
เข้าไปในเนื้ อไม้และทะลุออกด้วยอัตราเร็ ว 100 เมตร/วินาที จงหาว่าแท่งไม้จะแกว่งขึ้น
ไปได้สูงกี่เซนติเมตรเหนือระดับเดิม
1. 6.0 2. 3.2 3. 4.9 4. 5.4
80. เป้ ามวล 2 กก. ผูกเชือกแล้วนาไปแขวนไว้ ลูกปื นมวล 50 กรัม เคลื่อนที่ในแนวระดับ
มากระทบเป้ าด้วยความเร็ ว 300 เมตรต่อวินาที แล้วทะลุเป้ าออกไป หลังจากลูกปื นกระทบ
เป้ าทาให้เป้ าเคลื่อนที่ข้ ึนสู งจากเดิม 20 เซนติเมตร ลูกปื นจะทะลุออกจากเป้ า ด้วยความเร็ ว
กี่เมตรต่อวินาที
1. 150 2. 200 3. 220 4. 350
39
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
81. ยิงลูกปื นมวล m ซึ่งมีความเร็ ว v ในแนวระดับ วิง่ เข้าชนถุงทรายมวล M ซึ่ งแขวนอยู่
ในแนวดิ่ง ลูกปื นฝังในถุงทราย และทาให้ถุงทรายนั้นแกว่งขึ้นไปได้สูง h โดยวิธีการ
นี้จะวัดความเร็ วของลูกปื นก่อนชนถุงทรายได้เท่าไร
( g คือ ความเร่ งเนื่องจากแรงโน้มถ่วง )

h
m M

1. m M  M  2gh 2. MM m  2gh


3. M m m  2gh 4. Mm m  2gh
82. ขว้างลูกบอลมวล 100 กรัม เข้าชนเป้ าไม้มวล 500 กรัม ที่แขวนไว้ดว้ ยเชือกที่ยาวมาก
ทาให้เป้ าไม้แกว่งขึ้นไปสู งสุ ด 20 เซนติเมตร ถ้าการชนเป้ าไม้ไม่มีการสู ญเสี ยพลังงานจลน์
จงหาความเร็ วของลูกบอลก่อนชนเป้ าเป็ นกี่เมตร/วินาที
1. 2 2. 4 3. 6 4. 8
83. มวล A ขนาด 100 กรัม เคลื่อนที่ไปในทิศตะวันออกด้วยความเร็ ว 10 เมตร/วินาที
มวล B ขนาด 400 กรัม เคลื่อนที่ไปทางทิศเหนื อด้วยความเร็ ว 5 เมตร/วินาที ชนเข้า
กับมวล A ถ้าเมื่อหลังจากชนกันมวล A เคลื่อนไปทางทิศเหนือ และมวล B เคลื่อนไป
ทางทิศตะวันออกความเร็ วของมวล A จะเป็ นกี่เท่าของความเร็ วของมวล B
1. 2 เท่า 2. 4 เท่า 3. 6 เท่า 4. 8 เท่า
84. มวล m กาลังเคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ ว 20 เมตร/วินาที พุง่ เข้าชนมวล m อีกก้อนที่อยูน่ ิ่ง
โดยไม่ผา่ นจุดศูนย์กลาง ภายหลังการชนก้อนแรกทามุม 45o กับแนวเดิม ก้อนหลังทามุม
30o กับแนวเดิมอัตราเร็ วหลังชนทั้งสองก้อนเป็ นกี่เมตร/วินาที ตอบตามลาดับ
1. 10.4 , 14.6 เมตร/วินาที 2. 14.1 , 17.3 เมตร/วินาที
3. 10.4 , 17.3 เมตร/วินาที 4. 14.1 , 14.6 เมตร/วินาที

40
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
85(แนว มช) วัตถุมวล A 1 กิโลกรัม เคลื่อนที่ดว้ ยอัตราเร็ ว 5 เมตร/วินาที และชนแบบยืด
หยุ่นกับวัตถุ B ซึ่ งเดิ มหยุดนิ่ ง หลังการชนวัตถุ A เคลื่อนที่ไปในทิศทางซึ่ งทามุม 90o
กับทิศ ทางการเคลื่อนเดิมของมันก่อนชนด้วยอัตราเร็ ว 4 เมตร/วินาที หลังการชนวัตถุ B
จะมีขนาดโมเมนตัมในหน่วยของกิโลกรัม.เมตร/วินาที ใกล้เคียงกับค่าใด
1. 2 2. 3 3. 6 4. 7
86. วัตถุ เดิ มอยู่บนพื้นที่ ไม่มีแรงเสี ยดทานเกิ ดระเบิ ดออกเป็ น 3 ส่ วน มี 2 ชิ้ น มี มวลเท่ากัน
และเคลื่ อนที่ ในแนวตั้งฉากกัน ด้วยอัตราเร็ วเท่ากันคือ 30 เมตร/วินาที ส่ วนที่ 3 มีมวล
เป็ น 3 เท่าของส่ วนที่ 1 จงหาความเร็ วของส่ วนที่ 3 ทันทีที่ระเบิด
1. 10.36 เมตร/วินาที 2. 14.14 เมตร/วินาที
3. 20.89 เมตร/วินาที 4. 25.45 เมตร/วินาที
87. วัตถุ B มีมวลเป็ น 2 เท่าของวัตถุ A วัตถุ A และ B วิง่ เข้าหากันเป็ นมุมฉาก เข้าชน
กันแล้วจะติดกันไป ด้วยความเร็ ว vAB ซึ่งมีทิศทาง ดังรู ป ถ้า uA= 30 เมตร/วินาที จงหา
ค่าของ uB และ vAB
uA
1. 15 เมตร/วินาที , 20 เมตร/วินาที 30o vAB
2. 15 3 เมตร/วินาที , 20 เมตร/วินาที A
3. 15 เมตร/วินาที , 20 3 เมตร/วินาที uB
B
4. 15 3 เมตร/วินาที , 20 3 เมตร/วินาที



41
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 http://www.pec9.com บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
เฉลยตะลุ ย โจท ย์ ทั่ วไป บท ที่ 6 โมเมนตัม และก ารชน

1. ตอบข้ อ 1. 2. ตอบข้ อ 2. 3. ตอบข้ อ 1. 4. ตอบข้ อ 4.


5. ตอบข้ อ 1. 6. ตอบข้ อ 1. 7. ตอบข้ อ 1. 8. ตอบข้ อ 2.
9. ตอบข้ อ 3. 10. ตอบข้ อ 1. 11. ตอบข้ อ 3. 12. ตอบข้ อ 2.
13. ตอบข้ อ 3. 14. ตอบข้ อ 1. 15. ตอบข้ อ 1. 16. ตอบข้ อ 1.
17. ตอบข้ อ 1. 18. ตอบข้ อ 1. 19. ตอบข้ อ 4. 20. ตอบข้ อ 2.
21. ตอบข้ อ 2. 22. ตอบข้ อ 2. 23. ตอบข้ อ 3. 24. ตอบข้ อ 4.
25. ตอบข้ อ 2. 26. ตอบข้ อ 3. 27. ตอบข้ อ 2. 28. ตอบข้ อ 4.
29. ตอบข้ อ 4. 30. ตอบข้ อ 3. 31. ตอบข้ อ 3. 32. ตอบข้ อ 2.
33. ตอบข้ อ 3. 34. ตอบข้ อ 1. 35. ตอบข้ อ 2. 36. ตอบข้ อ 3.
37. ตอบข้ อ 3. 38. ตอบข้ อ 4. 39. ตอบข้ อ 2. 40. ตอบข้ อ 1.
41. ตอบข้ อ 2. 42. ตอบข้ อ 2. 43. ตอบข้ อ 4. 44. ตอบข้ อ 4.
45. ตอบข้ อ 3. 46. ตอบข้ อ 2. 47. ตอบข้ อ 1. 48. ตอบข้ อ 2.
49. ตอบข้ อ 3. 50. ตอบข้ อ 1. 51. ตอบข้ อ 3. 52. ตอบข้ อ 2.
53. ตอบข้ อ 1. 54. ตอบข้ อ 4. 55. ตอบข้ อ 2. 56. ตอบข้ อ 1.
57. ตอบข้ อ 3. 58. ตอบข้ อ 4. 59. ตอบข้ อ 2. 60. ตอบข้ อ 2.
61. ตอบข้ อ 2. 62. ตอบข้ อ 4. 63. ตอบข้ อ 2. 64. ตอบข้ อ 1.
65. ตอบข้ อ 3. 66. ตอบข้ อ 2. 67. ตอบข้ อ 1. 68. ตอบข้ อ 1.
69. ตอบข้ อ 1. 70. ตอบข้ อ 2. 71. ตอบข้ อ 3. 72. ตอบข้ อ 1.
73. ตอบข้ อ 2. 74. ตอบข้ อ 4. 75. ตอบข้ อ 3. 76. ตอบข้ อ 1.
77. ตอบข้ อ 4. 78. ตอบข้ อ 2. 79. ตอบข้ อ 2. 80. ตอบข้ อ 3.
81. ตอบข้ อ 4. 82. ตอบข้ อ 3. 83. ตอบข้ อ 4. 84. ตอบข้ อ 1.
85. ตอบข้ อ 3. 86. ตอบข้ อ 2. 87. ตอบข้ อ 2.



42
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่ อ นที่ แ บบหมุ น
การเคลื่อนที่แบบหมุน (rotational motion) คือการเคลื่ อนที่หมุนอยูก่ บั ที่ รอบแกนหมุ น
ตรึ งแน่น หรื ออาจหมุนรอบศูนย์กลางมวล เช่นการหมุนของใบพัดของพัดลม , การหมุนของ
ล้อจักรยาน เป็ นต้น
วัตถุ ที่ใช้ในการศึ กษาการเคลื่ อนที่ แบบหมุ นจะเป็ นวัตถุ ที่มี รูป ร่ างแน่ นอน ระยะห่ าง
ระหว่างจุดต่างๆ บนวัตถุมีระยะคงตัว และวัตถุไม่เปลี่ ยนรู ปร่ างเมื่อเคลื่อนที่หรื อมีแรงกระทา
เรี ยกวัตถุน้ นั ๆ ว่า วัตถุแข็งเกร็ง (regid body)

7.1 ปริมาณต่ างๆ ทีเ่ กีย่ วข้ องกับการหมุน


ก่อนศึกษาการเคลื่อนที่แบบหมุน จาเป็ นต้องรู ้จกั คาศัพท์พื้นฐานเกี่ยวกับการหมุนดังนี้
การกระจัดเชิ งมุม (angular displacement ,  )
คือมุมที่กวาดไปได้ ใช้หน่วยเป็ นเรเดียน เช่นมุมที่ปก
หนังสื อกวาดขึ้นไปได้เมื่อถูกเปิ ดดังรู ป 
ความเร็วเชิ งมุม (angular velocity ,  ) คือปริ -
มาณของการกระจัดเชิงมุมที่กวาดไปได้ในหนึ่งหน่วยเวลา
นัน่ คือ  = t

เมื่อ  คือความเร็ วเชิงมุม ( เรเดียน/วินาที )


 คือการกระจัดเชิงมุม ( เรเดียน )
 t คือเวลา ( วินาที )
นอกจากนี้ความเร็ วเชิงมุมยังสามารถหาค่าได้จาก
 = 2T และ  = 2 f

เมื่อ  คือความเร็ วเชิงมุม ( เรเดียน/วินาที )


T คือคาบของการเคลื่อนที่ ( วินาที ) ( คือเวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ได้ 1 รอบ )
f คือความถี่ของการเคลื่อนที่ ( เฮิรตซ์ )

1
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
การกระจัดเชิงมุม และความเร็ วเชิง
,
มุม เป็ นปริ มาณเวกเตอร์ซ่ ึงสามารถหาทิศ
ทางได้จากกฎมือขวา โดยใช้มือขวากาแกน
หมุน แล้วให้นิ้วทั้งสี่ วนตามการเคลื่อนที่
นิ้วหัวแม่มือจะชี้บอกทิศของการกระจัดเชิง
มุม และความเร็ วเชิงมุมดังแสดงในรู ป

1. ล้อหมุนอันหนึ่งหมุนได้การกระจัดเชิงมุม 25 เรเดียน ในเวลา 10 วินาที จงหาอัตราเร็ ว


เชิงมุมเฉลี่ยของการหมุนล้อนี้ ในหน่วยเรเดียนต่อวินาที
1. 2.0 2. 2.5 3. 4.0 4. 4.5

2. ล้อหมุนอันหนึ่ งหมุนครบรอบได้โดยใช้เวลา 2 วินาที จงหาอัตราเร็ วเชิ งมุมเฉลี่ยของการ


หมุนล้อนี้ในหน่วยเรเดียนต่อวินาที
1. 1.57 2. 3.14 3. 6.28 4. 7.25

3. ล้อหมุนอันหนึ่ งหมุนด้วยความถี่ คงที่ 420 รอบ/นาที จงหาอัตราเร็ วเชิ งมุมเฉลี่ยของการ


หมุนล้อนี้ในหน่วยเรเดียนต่อวินาที
1. 22 2. 44 3. 66 4. 88

2
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
ความเร่ งเชิ ง มุ ม (angular acceleration , α ) คื อ ความเร็ วเชิ ง มุ ม ที่ เปลี่ ย นไปในหนึ่ ง
หน่วยเวลา
นัน่ คือ  =
  o
t
เมื่อ  คือความเร่ งเชิงมุม ( เรเดียน/วินาที2 )
 คือความเร็ วเชิงมุมตอนปลาย ( เรเดียน/วินาที )
o คือความเร็ วเชิงมุมตอนต้น ( เรเดียน/วินาที )
t คือเวลา ( วินาที )

4. ล้ออันหนึ่ง ในตอนแรกหมุนด้วยความเร็ วเชิงมุมคงตัว 50 เรเดียน/วินาที ต่อมาลดลงเหลือ


10 เรเดียน/วินาที ในเวลา 10 วินาที จงหาความเร่ งเชิงมุมในหน่วย เรเดียน/วินาที2
1. 2 2. 4 3. –2 4. –4

เมื่อเปรี ยบเทียบปริ มาณต่างๆ ของการเคลื่ อนที่แบบเลื่ อนที่ในแนวเส้นตรงกับการเคลื่อนที่


แบบหมุนรอบแกนหมุนตรึ งแน่นจะได้ดงั นี้
ปริมาณของการเคลือ่ นที่แบบ ปริมาณการเคลือ่ นทีแ่ บบหมุน
เลือ่ นทีใ่ นแนวเส้ นตรง รอบแกนหมุนตรึงแน่ น
s 
u o
v 
a α
เมื่อ s คือการกระจัดเชิงเส้น ( เมตร )  คือการกระจัดเชิงมุม (เรเดียน)
u คือความเร็ วต้น (เมตร/วินาที) o คือความเร็ วเชิงมุมต้น (เรเดียน/วินาที)
v คือความเร็ วปลาย (เมตร/วินาที)  คือความเร็ วเชิ งมุมปลาย (เรเดียน/วินาที)
a คือความเร่ ง (เมตร/วินาที2) α คือความเร่ งเชิงมุม (เรเดียน/วินาที 2)

3
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
ควรทราบ : การกระจัด (s) ความเร็ ว ( v ) และความเร่ ง ( a ) ของการเคลื่อนที่แบบเลื่อนที่น้ นั
อาจเรี ยกเป็ นการกระจัดเชิงเส้น ความเร็ วเชิงเส้น และความเร่ งเชิงเส้น ปริ มาณทั้งสามนี้สามารถ
หาค่าได้จาก
s = R และ v =  R และ a =  R
เมื่อ s คือการกระจัดเชิงเส้น ( เมตร )  คือการกระจัดเชิงมุม (เรเดียน)
v คือความเร็ วเชิงเส้น ( เมตร/วินาที )  คือความเร็ วเชิง (เรเดียน/วินาที)
a คือความเร่ งเชิงเส้น ( เมตร/วินาที2 ) α คือความเร่ งเชิงมุม (เรเดียน/วินาที2)
R คือรัศมีการเคลื่อนที่ ( เมตร )
เมื่อเปรี ยบเทียบสมการของการเคลื่อนที่แบบเลื่อนที่ในแนวเส้นตรงกับการเคลื่อนที่แบบ
หมุนรอบแกนหมุนตรึ งแน่นจะได้ดงั นี้
สมการการเคลือ่ นที่แบบ สมการการเคลือ่ นที่แบบหมุน
เลือ่ นทีใ่ นแนวเส้ นตรง รอบแกนหมุนตรึงแน่ น
v = u+at  = o +  t
s = u 2 v  t  = ( ωo  ω
2 )t
s = u t + 12 a t2  = o t + 12  t2
s = v t – 12 a t2  =  t – 12  t2
v2 = u 2 + 2 a s 2 =  02 + 2  
s = V t ( เมื่อ V คงที่ )  =  t ( เมื่อ  คงที่ )

5. วัตถุกอ้ นหนึ่งหมุนรอบตัวเองด้วยความเร็ วเชิงมุม 5 เรเดียน/วินาที เมื่อให้แรงกระทาในทิศ


เดียวกับการหมุน ปรากฏว่าวัตถุกอ้ นนั้นมีความเร่ งเชิงมุม 2 เรเดียน/วินาที2 จงหาว่าถ้าให้
แรงกระทานาน 10 วินาที ค่าความเร็ วเชิงมุม ณ.วินาทีที่ 10 นั้นมีค่าเท่าใด
1. 20 เรเดียน/วินาที 2. 25 เรเดียน/วินาที
3. 30 เรเดียน/วินาที 4. 35 เรเดียน/วินาที

4
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
6. ล้ออันหนึ่งใช้เวลา 3 วินาที ในการหมุนไปได้มุมทั้งหมด 234 เรเดียน วัดความเร็ วเชิงมุม
ขณะนั้นได้ 108 เรเดียน/วินาที จงหาความเร็ วเชิงมุมตอนเริ่ มต้น
1. 44 เรเดียน/วินาที 2. 46 เรเดียน/วินาที
3. 48 เรเดียน/วินาที 4. 50 เรเดียน/วินาที

7. จากข้อที่ผา่ นมา จงหาความเร่ งเชิงมุมของการหมุน


1. 20 เรเดียน/วินาที2 2. 25 เรเดียน/วินาที2
3. 30 เรเดียน/วินาที2 4. 35 เรเดียน/วินาที2

8. ล้ออันหนึ่งหมุนด้วยความเร่ งเชิ งมุม 2 เรเดียน/วินาที 2 และเพิ่มความเร็ วเชิ งมุมในการหมุน


เป็ น 40 เรเดียน/วินาที ในเวลา 20 วินาที จงหาการกระจัดเชิงมุมที่หมุนไปได้ในช่วงเวลา
ดังกล่าว ( ตอบในหน่วยเรเดียน )
1. 400 2. 450 3. 500 4. 600

5
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
9. ใบพัดลมเครื่ องหนึ่งหมุนด้วยอัตรา 600 รอบ/นาที ในเวลา 5 วินาที จากหยุดนิ ่ง จงหา
ความเร่ งเชิงมุมของใบพัดลมนี้
1. –4 เรเดียน / วินาที2 2. 10 เรเดียน / วินาที2
3. 4 เรเดียน / วินาที2 4. 30 เรเดียน / วินาที2

10. พัดลมเครื่ องหนึ่งกาลังหมุนด้วยอัตรา 750 รอบต่อนาที แล้วค่อยๆ ช้าลงอย่างสม่าเสมอ


จนมีอตั ราเร็ ว 150 รอบต่อนาที ในเวลา 30 วินาที จงหาความเร่ งเชิงมุมและจานวนรอบที่
หมุนได้ในช่วงเวลานี้
1.  3 เรเดียน/วินาที2 , 150 รอบ 2.  3 เรเดียน/วินาที2 , 225 รอบ
3.  2 เรเดียน/วินาที2 , 150 รอบ
3
4.  2 เรเดียน/วินาที2 , 225 รอบ
3

11. ล้ออันหนึ่งมีรัศมี 2 เมตร หมุนจากหยุดนิ่งจนมีความเร็ วเชิงมุมคงตัว 100 เรเดียน/วินาที


ในเวลา 20 วินาที จงหาความเร่ งเชิงมุม
1. 5 เรเดียน/วินาที2 2. 10 เรเดียน/วินาที2
3. 15 เรเดียน/วินาที2 4. 20 เรเดียน/วินาที2

6
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
12. จากข้อที่ผา่ นมา จงหามุมที่หมุนไปได้ท้ งั หมดตั้งแต่ตน้
1. 400 เรเดียน 2. 600 เรเดียน 3. 800 เรเดียน 4. 1000 เรเดียน

13. จากข้อที่ผา่ นมา จงหาความเร็ ว และความเร่ งที่ผิวล้อ ณ.วินาทีที่ 20


1. 100 เมตร/วินาที , 5 เมตร/วินาที2 2. 200 เมตร/วินาที , 5 เมตร/วินาที2
3. 100 เมตร/วินาที , 10 เมตร/วินาที2 4. 200 เมตร/วินาที , 10 เมตร/วินาที2

14. จากข้อที่ผา่ นมา ถ้าล้อนี้ กลิ้งไปข้างหน้า จงหาระยะทางที่กลิ้งไปได้ เมื่อผ่านไป 20 วินาที


1. 500 เมตร 2. 1000 เมตร 3. 1500 เมตร 4. 2000 เมตร

15. รถจักรยานคันหนึ่ งแล่ นเป็ นเส้ นตรงจากหยุดนิ่ ง พบว่าล้อมี ความเร่ งเชิ งมุ ม 2 เรเดียน/-
วินาที2 ถ้าล้อรถมี เส้นผ่านศูนย์กลาง 1 เมตร จงหาระยะทางที่เคลื่อนที่ได้ใน 20 วินาที
นับจากเริ่ มต้น
1. 50 เมตร 2. 100 เมตร 3. 150 เมตร 4. 200 เมตร

7
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
16. เฟื อง A รั ศมี 100 มิ ล ลิ เมตร ขบกับ เฟื อง B รัศ มี 200 มิ ล ลิ เมตร ดังรู ป ถ้าเฟื อง A
หมุนด้วย ความเร็ ว  A = 10 เรเดี ย น/วิน าที ตามเข็ ม นาฬิ ก า เฟื อง B จะหมุ น ด้ว ย
ความเร็ ว B = ? A
1. 20 เรเดียน/วินาที ตามเข็มนาฬิกา rA
2. 20 เรเดียน/วินาที ทวนเข็มนาฬิกา B
3. 5 เรเดียน/วินาที ตามเข็มนาฬิกา rB
4. 5 เรเดียน/วินาที ทวนเข็มนาฬิกา

17. ตามรู ป นักขี่จกั รยานถีบจักรยานทาให้จานหมุนหนึ่งรอบในเวลา 2 วินาที ถ้าจาน A ,


จาน B และล้อหลัง C มี รัศ มี 10 เซนติ เมตร , 2.5 เซนติ เมตร และ 35 เซนติ เมตร
ตามลาดับ จักรยานจะวิง่ ด้วยอัตราเร็ วเท่าใด C
1. 1.1 เมตร/วินาที A B
2. 3.1 เมตร/วินาที
3. 4.4 เมตร/วินาที
4. 6.3 เมตร/วินาที

8
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
7.2 โมเมนต์ ความเฉื่อยรอบแกนหมุนสมมาตร
โมเมนต์ ความเฉื่อย (moment of inertia ) เป็ นสมบัติตา้ นการหมุนของวัตถุ วัตถุที่มี
โมเมนต์ความเฉื่อยมากจะหมุนได้ยาก วัตถุที่มีโมเมนต์ความเฉื่อยน้อยจะหมุนได้ง ่าย
โมเมนต์ความเฉื่ อยของวัตถุรูปร่ างต่างๆ รอบแกนสมมาตรสามารถหาได้จาก
I =  m r2
I = m1 r12 + m2 r22 + m3 r32 + ….
m1
r1
เมื่อ I คือโมเมนต์ความเฉื่ อย ( กิโลกรัม.เมตร2) r2
r3
m คือมวล ( กิโลกรัม ) m2
r คือรัศมีการหมุนของมวลนั้น ( เมตร ) m 3
18. จากรู ป มวล 3 ก้อน เคลื่อนที่รอบแกน
หมุนเดียวกันพร้อมกัน จงหาโมเมนต์แห่ง m2 = 5 kg
m1 = 2 kg
ความเฉื่ อยของการหมุนนี้ R 2= 1 m R1 = 3 m
1. 19 กิโลกรัม.เมตร2
R3 = 2 m
2. 29 กิโลกรัม.เมตร2
3. 39 กิโลกรัม.เมตร2 m3 = 4 kg
4. 49 กิโลกรัม.เมตร2

9
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
ในกรณี วตั ถุรูปร่ างอื่นๆ เราอาจหาค่าโมเมนต์ความเฉื่ อยได้ดงั นี้
รู ปร่ างวัตถุ แกนหมุน รู ป โมเมนต์ความเฉื่ อย
ทรงกลมตัน รอบแกนผ่าน
มวล m รัศมี R จุดศูนย์กลาง I  25 mR 2

ทรงกลมกลวง รอบแกนผ่านจุด
มวล m รัศมี R ศูนย์กลาง I  23 mR 2

ทรงกระบอกตัน รอบแกนของ
มวล m รัศมี R ทรงกระบอก I  12 mR 2
ยาว L
แผ่นกลมบาง รอบแกนผ่านศูนย์กลาง
มวล m รัศมี R บนระนาบของแผ่น I  41 mR 2

แท่งวัตถุเล็ก รอบแกนผ่านศูนย์กลาง
มวล m ยาว L มวล ตั้งฉากกับแท่ง I  121 mL2

การหมุนของวัตถุท้ งั หมดในตารางนี้ เป็ นการหมุนรอบแกนผ่านศูนย์กลางมวล และเป็ น


แกนสมมาตรของวัตถุซ่ ึ งแกนนั้นต้องอยูก่ บั ที่ ถ้าเลื่อนแกนหมุนไปเป็ นระยะ L ขนานกับแกน
สมมาตรเดิ ม โมเมนต์ความเฉื่ อยจะเพิ่มขึ้นอีก m L2 โมเมนต์ความเฉื่ อยรวมจึงต้องนา m L2
บวกเพิม่ เข้าไปด้วย

10
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
7.3 ทอร์ กกับการเคลือ่ นทีแ่ บบหมุน
ความแรงการหมุนของวัตถุจะขึ้นกับโมเมนต์
F
ของแรง ( moment of force ) หรื อ ทอร์ก ( torque , )
ซึ่งหมายถึงผลคูณเชิงเวกเตอร์ของแรงกระทาต่อวัตถุ ( F )
r
กับการกระจัดที่วดั จากจุดหมุน ( r )
ขนาดของทอร์กสามารถหาค่าได้จาก
 = Fr และ  = Iα
เมื่อ  คือทอร์ก ( นิวตัน.เมตร )
F คือแรงที่ทาให้เกิดการหมุน ( นิวตัน )
r คือระยะจากจุดหมุนไปตกตั้งฉากกับแนวแรงนั้น ( เมตร )
I คือโมเมนต์ความเฉื่ อย ( กิโลกรัม.เมตร2)
α คือความเร่ งเชิงมุม ( เรเดียน/วินาที2)
19. จากรู ปจงหาทอร์ กที่กระทาต่อวัตถุน้ ี
1. 1 นิวตัน.เมตร
3. 1 นิวตัน.เมตร
2. 2 นิวตัน.เมตร
4. 4 นิวตัน.เมตร
F = 5 น.
r = 0.2 ม.
. O

20. จงหาทอร์ กที่ทาให้ล้อมวล 8 กิ โลกรั ม รัศมี 25 เซนติ เมตร หมุ นด้วยความเร่ ง 3


เรเดียน/วินาที2
1. 0.5 นิวตัน.เมตร 2. 1.0 นิวตัน.เมตร
3. 1.5 นิวตัน.เมตร 4. 2.0 นิวตัน.เมตร

11
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
21. จงหาทอร์กที่ใช้ในการทาให้จานกลมที่มีโมเมนต์ความเฉื่อย 5 กิโลกรัม.เมตร2 เริ่ มหมุน
จากหยุดนิ่งจนกระทัง่ มีความเร็ วเชิงมุม 30 เรเดียน/วินาที ใน 10 วินาที
1. 15 นิวตัน.เมตร 2. 22 นิวตัน.เมตร
3. 44 นิวตัน.เมตร 4. 88 นิวตัน.เมตร

22. จงหาทอร์กที่ใช้ในการทาให้จานกลมที่มีโมเมนต์ความเฉื่อย 20 กิโลกรัม.เมตร2 เริ่ มหมุน


จากหยุดนิ่งจนกระทัง่ มีอตั ราเร็ ว 7 รอบ/วินาที ใน 10 วินาที
1. 60 นิวตัน.เมตร 2. 75 นิวตัน.เมตร
3. 88 นิวตัน.เมตร 4. 100 นิวตัน.เมตร

23. วงล้อมีรัศมี 25 เซนติเมตร หมุนโดยไม่มีแรงเสี ยดทานด้วยความเร่ งเชิงมุม 2.25 เรเดียน/


วินาที2 เมื่อมีแรงคงที่ 90 นิ วตัน กระทาในแนวเส้นสัมผัสกับวงล้อ จงหาโมเมนต์ความ
เฉื่อยของวงล้อ
1. 0.1 กิโลกรัม.เมตร2 2. 1.0 กิโลกรัม.เมตร2
3. 10.0 กิโลกรัม.เมตร2 4. 40.0 กิโลกรัม.เมตร2

12
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
24. คานเบา AB ยาว 3 เมตร ปลาย A มีมวล 5
กิโลกรัม ติดอยู่ ส่ วนปลาย B เป็ นจุดหมุนตรึ ง 5 kg
ที่ทาให้คานหมุนได้คล่องในระนาบราบ เมื่อมี A
F
แรง F ขนาด 36 นิวตัน กระทาอย่างตั้งฉาก 3 ม.
กับคานกระทาห่างจาก B ไปเป็ นระยะ 2 เมตร 2 ม.
ดังรู ป ปลาย A จะมีความเร่ งเชิงมุมกี่เรเดียนต่อ B
วินาที2
1. 0.4 2. 0.8 3. 1.6 4. 2.4

25. เครื่ องยนต์ของเฮลิคอปเตอร์ ลาหนึ่ ง ส่ งทอร์ กขนาด 1000 นิวตัน.เมตร กระทาต่อใบพัด


ซึ่ งมีโมเมนต์ความเฉื่ อย 200 กิโลกรัม . เมตร2 จงหาว่าจะต้องใช้เวลานานกี่วินาที จึงทา
ให้ความเร็ วของใบพัดหมุน 420 รอบ/นาที จากเริ่ มต้นอยูน่ ิ่ง
1. 2.2 วินาที 2. 4.4 วินาที 3. 6.6 วินาที 4. 8.8 วินาที

13
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
26. ตามรู ปเป็ นวงล้อรัศมี 40 เซนติเมตร มีแกนหมุนลื่นและมี
โมเมนต์ความเฉื่ อยรอบแกนหมุนเท่ากับ 0.2 กิโลกรัม-เมตร2
วงล้อนี้ถูกพันไว้ดว้ ยเส้นเชือกขนาดเล็ก และ เบาจานวนหลาย
รอบ ถ้าออกแรง F ขนาดคงที่เท่ากับ 2 นิวตัน ดึงปลาย
เชือก จงหาความยาวของเชือกที่ถูกดึงออกมาได้ในเวลา 2
วินาที ทั้งนี้กาหนดว่าวงล้อเริ่ มหมุนจากหยุดนิ่ง
F
(ให้ตอบในหน่วยเมตร)
1. 0.2 เมตร 2. 0.3 เมตร 3. 1.6 เมตร 4. 3.2 เมตร

27. แป้ นหมุนมวล 2 กิโลกรัม รัศมี 10 เซนติเมตร


กาลังหมุนด้วยอัตราเร็ วเชิงมุม 50 เรเดียน/วินาที

ได้นาแผ่นเหล็กกดกับแป้ นหมุน ทาให้เกิดแรง
กระทากับแป้ นหมุนในทิศต้านการหมุนมีขนาดใน
แนวสัมผัส 5 นิวตัน จงหาว่าหลังจากนั้นนานกี่
วินาทีแป้ นหมุนจึงจะหยุดนิ่ง ให้โมเมนต์ความเฉื่ อยของแป้ นหมุน 0.01 กิโลกรัม.เมตร2
1. 1 วินาที 2. 2 วินาที 3. 3 วินาที 4. 4 วินาที

14
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
28. หินเจียเหล็กซึ่งมีลกั ษณะเป็ นล้อตันมีมวล 4 กิโลกรัม รัศมี 0.1 เมตร กาลังหมุนรอบแกน
ของล้อด้วยอัตราเร็ ว 5 รอบต่อวินาที เมื่อเอาปลายแท่งหล็กกดลงที่ผวิ ของล้อในแนวตั้งฉาก
กับผิวด้วยแรงขนาด 100 นิวตัน คงที่ ถ้าสัมประสิ ทธิ์ ของความเสี ยดทานระหว่างปลายแท่ง
เหล็กกับผิวหิ นเจียเท่ากับ 0.5 และโมเมนต์ของความเฉื่ อยของหิ นเจียรอบแกนหมุนดังกล่าว
เป็ น 0.7 กิโลกรัม . เมตร2 หลังจากออกแรงกด ล้อจะหมุนต่อไปได้กี่รอบจึงหยุด
1. 8 รอบ 2. 9 รอบ 3. 10 รอบ 4. 11 รอบ

29. แผ่นกลมรัศมี 0.2 เมตร ยึดติดกับ


แกนหมุนที่จุดศูนย์กลางของแผ่นกลม
และมีแท่งวัตถุมวล 0.5 กิโลกรัม ผูก
ติดเส้นเชือกเบาคล้องผ่านแผ่นกลมทา 0.5 kg
ให้แผ่นกลมหมุนด้วยอัตราเร่ งคงที่ โมเมนต์ความเฉื่ อยของแผ่นกลม 0.05 กิโลกรัม.เมตร2
จงหาอัตราเร่ งเชิงมุมของแผ่นกลมนี้ (ไม่คิดแรงเสี ยดทาน)
1. 18.28 เรเดียน/วินาที2 2. 16.25 เรเดียน/วินาที2
3. 14.28 เรเดียน/วินาที2 4. 11.23 เรเดียน/วินาที2

15
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
30. มวล m1 และ m2 ขนาด 10 และ
20 กิโลกรัม ตามลาดับ ผูกต่อกันด้วย a = 4 m/s2
m1
เชือกเบาคล้องผ่านรอกที่มีรัศมี 0.25
เมตร พบว่ามวล m1 เคลื่อนที่ตามพื้น
ราบเกลี้ยงด้วยความเร่ ง 4 เมตรต่อ- m2
วินาที2 โมเมนต์ความเฉื่ อยของรอกมีค่ากี่กิโลกรัม. เมตร2
1. 1.00 2. 1.25 3. 2.00 4. 2.25

7.4 โมเมนตัมเชิงมุมและอัตราการเปลีย่ นโมเมนตัมเชิงมุม


โมเมนตัมเชิ งมุม (L) หมายถึงผลคูณเชิงเวกเตอร์ของโมเมนตัมเชิงเส้น ( L ) กับเวกเตอร์
บอกตาแหน่ง ( r ) จากจุด O ไปยังตาแหน่งของมวล m
ขนาดของของโมเมนตัมเชิงมุมสามารถหาได้จาก
L = I และ L= t และ L= mvr
เมื่อ L คือโมเมนตัมเชิงมุม ( กิโลกรัม.เมตร2 /วินาที )
I คือโมเมนต์ความเฉื่ อย (กิโลกรัม.เมตร2)
 คือความเร็ วเชิงมุม ( เรเดียน/วินาที )
 คือทอร์ก ( นิวตัน.เมตร )
t คือเวลา (วินาที)
m คือมวล ( กิโลกรัม )
v คือความเร็ ว ( เมตร/วินาที )
r คือรัศมีการหมุน ( เมตร )
16
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
31. วัตถุมวล 0.2 กิ โลกรัม ผูกติดกับปลายข้างหนึ่ งของเส้นเชื อกยาว 2 เมตร จับปลายอีก
ข้างหนึ่ งเหวี่ยงให้วตั ถุเคลื่อนที่ในแนววงกลม ในระนาบระดับด้วยอัตราเร็ วคงที่ 10 เมตร/-
วินาที จงหาโมเมนตัมเชิงมุมของวัตถุน้ี ในหน่วยกิโลกรัม.เมตร2/วินาที
1. 2 2. 4 3. 8 4. 16

32. ถ้าเหวีย่ งมวล 0.2 กิโลกรัม ด้วยเชือกยาว 4 เมตร ให้เคลื่อนที่เป็ นวงกลมในระนาบระดับ


ถ้าความเร็ วเชิ งมุมมีค่า 10 เรเดียน/วินาที จงหาโมเมนตัมเชิ งมุม ในหน่วยกิโลกรัม.เมตร2/-
วินาที
1. 24 2. 28 3. 32 4. 46

กฏทรงโมเมนตัมเชิ งมุม กล่าวว่า “ หากผลรวมของทอร์ กมีค่าเป็ นศูนย์ โมเมนตัมเชิงมุมจะ


มีค่าคงตัว ”
นัน่ คือ L1 = L2
และ I11 =  I22

33. ชายคนหนึ่ ง ถือดัมเบลไว้สองมือ ยืนบนเก้าอี้ที่หมุนได้อย่างเสรี ไม่มีแรงเสี ยดทานและมี


แกนหมุนอยูใ่ นแนวดิ่งขณะที่เขากางมือออก โมเมนต์ความเฉื่ อยของชายคนนั้นและเก้าอี้เท่า
กับ 2.25 กิโลกรัม.เมตร2 ความเร็ วเชิงมุมเริ่ มต้นในการหมุน 5 เรเดียน/วินาที เมื่อเขาหุบ
แขนทั้งสองเข้าหาตัว โมเมนต์ความเฉื่ อยรวมเท่ากับ 1.80 กิโลกรัม.เมตร2 อัตราเร็ วเชิงมุม
ในการหมุนขณะหุ บแขนมีค่ากี่เรเดียนต่อวินาที
1. 4.50 2. 5.00 3. 6.25 4. 7.25

17
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
34(แนว En) วัตถุมวล m ผูกติดกับปลายเชื อกซึ่ งลอดผ่านรู หลอดเล็กๆ ปลายเชื อกข้างหนึ่ งดึ ง
ยืดไว้ดว้ ยแรงค่าหนึ่งแล้วเหวีย่ งให้เป็ นวงกลมรัศมี 2 เมตร ถ้าดึงเชือกให้รัศมีวงกลม เป็ น
1 เมตร ทันที วัตถุ จะเคลื่ อนที่ ดว้ ยอัตราเร็ วเชิ งมุมเท่าไรในหน่ วยเรเดี ยน/วินาที ถ้าเดิ มมี
อัตราเร็ วเชิงมุม 3 เรเดียนต่อวินาที

35. ชายคนหนึ่งยืนอยูบ่ นแป้ นหมุนในขณะที่เหยียดแขนออกเขาหมุนด้วยอัตราเร็ ว 0.50 รอบ /-


วินาที แต่เมื่อเขาดึงแขนเข้าข้างตัว อัตราเร็ วเปลี่ยนเป็ น 0.75 รอบ/วินาที จงหาอัตราส่ วน
ของโมเมนต์ความเฉื่ อยของระบบตอนแรกต่อตอนหลัง
1. 23 2. 49 3. 23 4. 49

36. ชายคนหนึ่งมีมวล 80 กิโลกรัม ยืนอยูบ่ นขอบของม้าหมุนเด็กเล่นที่อยูน่ ิ่งที่ระยะ 4 เมตร


จากจุดศูนย์กลาง ชายคนนี้ เดินไปตามขอบของม้าหมุนด้วยอัตราเร็ ว 1 เมตร/วินาที เทียบกับ
พื้น การเคลื่อนที่น้ ี จะทาให้มา้ หมุน หมุนด้วยอัตราเร็ วเชิงมุมกี่เรเดียน/วินาที ถ้าม้าหมุน
มีโมเมนต์ ความเฉื่อย 10000 กิโลกรัม.เมตร2
1. 0.028 2. 0.032 3. – 0.028 4. – 0.032

18
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
37. ล้อวงกลมหมุนอยูใ่ นระนาบระดับโดยมีแกนหมุน B
อยูใ่ นแนวดิ่ ง ดัง รู ป ด้วยอัต ราเร็ ว คงที่ โมเมนตัม
เชิ ง มุ ม ของล้อมี ทิ ศ ใด A
1. A 2. B C D
3. C 4. D

7.5 พลังงานจลน์ ของการหมุน


พลังงานจลน์ของการเคลื่อนที่แบบหมุนสามารถหาค่าได้จาก
Ek = 12 I 2
เมื่อ Ek คือพลังงานจลน์ ( จูล )
I คือโมเมนต์ความเฉื่ อย (กิโลกรัม.เมตร2 )
 คือความเร็ วเชิงมุม ( เรเดียน/วินาที )
เมื่อเปรี ยบเทียบกับการเคลื่อนที่แบบเลื่อนที่จะได้วา่
Ek การเลื่อนที่ = 12 m v2 เทียบได้กบั Ek การหมุน = 12 I 2
38. ม้าหมุนชุดหนึ่งมีโมเมนต์ความเฉื่ อยรอบแกนหมุนในแนวดิ่ง 900 กิโลกรัม.เมตร2 ถ้าผลัก
ให้หมุนในอัตรา 2 รอบต่อนาที จงหาพลังงานจลน์ของม้าหมุนนี้
1. 15.5 จูล 2. 18.8 จูล 3. 19.8 จูล 4. 28.5 จูล

7.6 การเคลือ่ นทีท่ ้งั แบบเลือ่ นทีแ่ ละแบบหมุน


เนื่ องจากการเคลื่ อนที่ของวัตถุ บางอย่างเช่ นลูกบอล ล้อรถจักรยาน วัตถุเหล่านี้ จะมีการ
เคลื่ อนที่ ท้ งั แบบหมุ นและแบบเลื่ อนที่ ไ ปด้ว ย เรี ย กว่าเป็ นการกลิ้ง (rolling motion) การหา
พลังงานจลน์ของการกลิ้ งต้องหาทั้งพลังงานจลน์ของการเลื่ อนที่และของการหมุนแล้วนามา
รวมกัน
นัน่ คือ Ek การกลิง้ = Ek การเลื่อนที่ + Ek การหมุน
Ek การกลิ้ง = 12 m v2 + 12 I 2
19
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
39. แผ่นไม้กลมมีรัศมี 0.5 เมตร มวล 2 กิโลกรัม และโมเมนต์ความเฉื่อย 0.25 กิโลกรัม.เมตร2
เคลื่อนที่ในแนวตรง โดยมีความเร็ วของศูนย์กลางมวล 4 เมตรต่อวินาที จงหาพลังงานจลน์
ของแผ่นไม้น้ ี เมื่อวัตถุเคลื่อนที่โดยหมุนกลิ้งรอบศูนย์กลางมวล
1. 18 จูล 2. 20 จูล 3. 22 จูล 4. 24 จูล

40. แผ่นกลมมวล 1 กิ โลกรั ม รั ศมี 0.2 เมตร มีโมเมนต์ความเฉื่ อย 0.02 กิ โลกรัม.เมตร2


เคลื่ อนที่ จากหยุดนิ่ งลงมาตามพื้ นเอี ยงดังรู ป จนศูนย์กลางมวลต่ ากว่าเดิ ม 1 เมตร จงหา
ความเร็ วสู งสุ ดของแผ่นกลมนี้เมื่อ
ก. เคลื่อนที่แบบไถล ข. เคลื่อนที่แบบกลิ้ง
1. ก. 1.35 เมตร/วินาที , ข. 2.22 เมตร/วินาที
2. ก. 1.35 เมตร/วินาที , ข. 3.65 เมตร/วินาที
3. ก. 4.47 เมตร/วินาที , ข. 2.22 เมตร/วินาที
4. ก. 4.47 เมตร/วินาที , ข. 3.65 เมตร/วินาที

20
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
41. ปล่อยวงล้อรัศมี 40 เซนติเมตร กลิ้งลงมาจากเนิ น ณ. ตาแหน่งที่สูง 3.6 เมตร จงหา
อัตราเร็ วเชิงมุมเมื่อถึงปลายล่างเนิน
1. 15 เรเดียน/วินาที 2. 30 เรเดียน/วินาที
3. 45 เรเดียน/วินาที 4. 60 เรเดียน/วินาที

42. วงแหวนมวล 4 กิโลกรัม เส้นผ่านศูนย์กลาง 1 เมตร กลิ้งขึ้นพื้นเอียงโดยไม่ไถล จุดศูนย์


กลางมวลมีความเร็ วต้น 10 เมตรต่อวินาที จะขึ้นไปได้สูงสุ ดในแนวดิ่งเป็ นระยะทางกี่เมตร
( g = 10 เมตร/วินาที2)

21
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
เฉลยบทที่ 7 การเคลื่ อ นที่ แ บบหมุ น

1. ตอบข้ อ 2. 2. ตอบข้ อ 2. 3. ตอบข้ อ 2. 4. ตอบข้ อ 4.


5. ตอบข้ อ 2. 6. ตอบข้ อ 3. 7. ตอบข้ อ 1. 8. ตอบข้ อ 1.
9. ตอบข้ อ 3. 10. ตอบข้ อ 4. 11. ตอบข้ อ 1. 12. ตอบข้ อ 4.
13. ตอบข้ อ 4. 14. ตอบข้ อ 4. 15. ตอบข้ อ 4. 16. ตอบข้ อ 4.
17. ตอบข้ อ 3. 18. ตอบข้ อ 3. 19. ตอบข้ อ 1. 20. ตอบข้ อ 3.
21. ตอบข้ อ 1. 22. ตอบข้ อ 3. 23. ตอบข้ อ 3. 24. ตอบข้ อ 3.
25. ตอบข้ อ 4. 26. ตอบข้ อ 4. 27. ตอบข้ อ 1. 28. ตอบข้ อ 4.
29. ตอบข้ อ 3. 30. ตอบข้ อ 2. 31. ตอบข้ อ 2. 32. ตอบข้ อ 3.
33. ตอบข้ อ 3. 34. ตอบ 12 35. ตอบข้ อ 3. 36. ตอบข้ อ 4.
37. ตอบข้ อ 2. 38. ตอบข้ อ 3. 39. ตอบข้ อ 4. 40. ตอบข้ อ 4.
41. ตอบข้ อ 1. 42. ตอบ 10


22
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
ตะลุ ย โจทย์ ท วั่ ไป บทที่ 7 การเคลื่ อ นที่ แ บบหมุ น
7.1 ปริมาณต่ างๆ ทีเ่ กีย่ วข้ องกับการหมุน
1. ล้อหมุนอันหนึ่ งหมุนครบรอบได้โดยใช้เวลา 2 วินาที จงหาอัตราเร็ วเชิ งมุมเฉลี่ยของการ
หมุนล้อนี้ในหน่วยเรเดียนต่อวินาที
1. 2 2.  3. 2 4. 4
2. ล้อหมุนอันหนึ่ งหมุ นด้วยความถี่ คงที่ 60 รอบ/นาที จงหาอัตราเร็ วเชิ งมุมเฉลี่ ยของการ
หมุนล้อนี้ในหน่วยเรเดียนต่อวินาที
1. 2 2.  3. 2 4. 4
3. วัตถุกอ้ นหนึ่งหมุนรอบตัวเองด้วยความเร็ วเชิงมุม 2 เรเดียน/วินาที เมื่อให้แรงคู ่ควบกระทา
ทางเดียวกับการหมุนปรากฎว่าวัตถุกอ้ นนั้นมีความเร่ งเชิงมุม 2 เรเดียน/วินาที2 จงหาว่าถ้า
ให้แรงคู่ควบกระทานาน 5 วินาที ความเร็ วเชิงมุมของวัตถุเป็ นเท่าใด
1. 10 เรเดียน/วินาที 2. 12 เรเดียน/วินาที
3. 14 เรเดียน/วินาที 4. 18 เรเดียน/วินาที
4. ล้อหน้าของรถจักรยานคันหนึ่งหมุนด้วยความเร่ งเชิงมุมคงที่ 2 เรเดียน/วินาที2 ที่เวลา
t = 0 วินาที ความเร็ วเชิงมุมเท่ากับ 5 เรเดียน/วินาที ความเร็ วเชิงมุมของล้อมีค่าเท่าใด
เมื่อ t = 4 วินาที
1. 7 เรเดียน/วินาที 2. 10 เรเดียน/วินาที
3. 13 เรเดียน/วินาที 4. 14 เรเดียน/วินาที
5. วงล้อวงหนึ่ งมีเส้ นผ่านศูนย์กลาง 1 เมตร เริ่ มหมุ นรอบแกนจากหยุดนิ่ งด้วยแรงขนาด
หนึ่ งท าให้ ล้อ นั้น มี ค วามเร็ ว ปลาย 40 เรเดี ย น/วิน าที ในเวลา 10 วิ น าที จงหาค่ า
ความเร่ งเชิงมุม
1. 4 เรเดียน/วินาที2 2. 8 เรเดียน/วินาที2
3. 12 เรเดียน/วินาที2 4. 16 เรเดียน/วินาที2
6. จากข้อที่ผา่ นมา จงหามุมที่วงล้อนั้นกวาดไปได้
1. 100 เรเดียน 2. 200 เรเดียน 3. 300 เรเดียน 4. 400 เรเดียน
23
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
7. ล้ออันหนึ่งมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 2.4 เมตร หมุนจากหยุดนิ่งจนมีความเร็ วเชิงมุมคงตัว 100
เรเดียนต่อวินาที ในเวลา 20 วินาที ให้หาความเร่ งเชิงมุม และมุมที่หมุนไปได้ท้ งั หมด
1. 5 เรเดียน/วินาที2 , 1000 เรเดียน 2. 5 เรเดียน/วินาที2 , 2000 เรเดียน
3. 10 เรเดียน/วินาที2 , 1000 เรเดียน 4. 10 เรเดียน/วินาที2 , 2000 เรเดียน
8. ล้ออันหนึ่งใช้เวลา 3 วินาที ในการหมุนไปเป็ นมุมทั้งหมด 234 เรเดียน วัดความเร็ วเชิงมุม
ขณะนั้นได้ 108 เรเดียน/วินาที จงหาความเร่ งเชิงมุมของการหมุน
1. 20 เรเดียน/วินาที2 2. 25 เรเดียน/วินาที2
3. 30 เรเดียน/วินาที2 4. 35 เรเดียน/วินาที2
9. วงล้ออันหนึ่งกาลังหมุนด้วยอัตรา 10 รอบต่อวินาที ถ้าวงล้อนี้ถูกกระทาด้วยแรงคงที่คา่
หนึ่งแล้วหยุดนิ่งในเวลา 15 วินาที นับตั้งแต่แรงเริ่ มกระทาจนถึงวงล้อหยุดหมุนวงล้อนี้
หมุนไปได้ท้ งั หมดกี่รอบ
1. 75 รอบ 2. 150 รอบ 3. 472 รอบ 4. 600 รอบ
10. ความเร็ วเชิงมุมของล้ออันหนึ่งลดลงด้วยอัตราคงที่จาก 1000 รอบต่อนาที เหลือ 400 รอบ
ต่อนาที ในเวลา 5 วินาที จงหาจานวนรอบที่หมุนได้ในช่วงเวลา 5 วินาที
1. 56 รอบ 2. 50 รอบ 3. 90 รอบ 4. 58.33 รอบ

11. มอเตอร์ ของพัดลมเครื่ องหนึ่ งก าลังหมุนด้วยอัตราเร็ ว 900 รอบ/นาที แล้วค่อยๆ หมุนช้า


ลงอย่างสม่าเสมอจนมีอตั ราเร็ ว 300 รอบ/นาที ในขณะที่หมุนไปได้ 50 รอบ จงหา
ก. ความเร่ งเชิงมุม ข. เวลาที่ใช้ในการหมุนไป 50 รอบนี้
1. ก. 4 เรเดียน/วินาที2 ข. 5 วินาที
2. ก. 4 เรเดียน/วินาที2 ข. 10 วินาที
3. ก. –4 เรเดียน/วินาที2 ข. 5 วินาที
4. ก. –4 เรเดียน/วินาที2 ข. 10 วินาที

12. ล้อจักรยานมีรัศมี 20 เซนติเมตร เคลื่ อนที่ ด้วยความเร็ ว 5 เมตร/วินาที จะมี อตั ราเร็ ว
เชิงมุม กี่เรเดียน/วินาที
1. 25 2. 50 3. 75 4. 100

24
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
13. มวล 0.5 กิ โลกรัม เคลื่อนที่เป็ นวงกลมรอบจุดหมุนด้วยรัศมี 2 เมตร จากหยุดนิ่ งจนมี
ความเร็ วเชิงเส้น 20 เมตร/วินาที เมื่อเวลาผ่านไป 10 วินาที จงหาจานวนรอบที่เคลื่อนที่ได้
1. 5.56 รอบ 2. 6.68 รอบ 3. 7.96 รอบ 4. 8.86 รอบ
14. จักรยานคันหนึ่งเริ่ มเคลื่อนที่ออกไปด้วยความเร่ งเชิงมุม 2 เรเดียน/วินาที2 ถ้าล้อจักรยาน
มีรัศมี 0.5 เมตร จงหาระยะทางที่จกั รยานเคลื่อนที่ได้ใน 10 วินาที นับจากเริ ่ มต้น
1. 25 เมตร 2. 50 เมตร 3. 75 เมตร 4. 100 เมตร
15. ต้องการส่ งกาลังในรู ปความเร็ วเชิงมุมจากลูกรอกกลมหมายเลข 1 ไปยังลูกรอกกลมหมาย
เลข 4 โดยส่ งกาลังผ่านสายพานไปยังลูกรอกที่ 2 ลูกรอกหมายเลข 2 และ 3 อยูบ่ นเพลา
เดียวกัน ลูกรอกกลม 4 สัมผัสโดยตรงกับลูกรอกกลม 3 (ดูรูปประกอบ) ลูกรอกที่ 1 มี
รัศมี 1 นิ้ว ลูกรอกที่ 2 เท่ากับ 3 นิ้ว ลูกรอกที่ 3 เท่ากับ 1.5 นิ้ว และลูกรอกที่ 4
มีรัศมี 2 นิ้ว ถ้าลูกรอกที่ 1 มีความเร็ วเชิงมุมเท่ากับ 10 เรเดียน/วินาที อยากทราบว่าลูก
รอกที่ 4 จะหมุนด้วยความเร็ วเชิงมุมเท่าใด
1. 10 เรเดียน/วินาที 2
1
2. 7.5 เรเดียน/วินาที 3 4
3. 5 เรเดียน/วินาที
4. 2.5 เรเดียน/วินาที
16. เจ้าของรถจักรยานยนต์คนั หนึ่ง ไม่พอใจกับล้อรถขนาดมาตรฐานที่ได้มาพร้อมกับรถ จึง
เปลี่ยนล้อทั้งสองให้มีขนาดเล็กลงจากเดิมที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 18 นิ้ว เป็ นขนาด 15
นิ้ว ถ้าในขณะขับขี่รถจักรยานยนต์ดว้ ยล้อชุดใหม่น้ นั เขาอ่านมาตรวัดความเร็ วของรถได้
60 กิโลเมตร/ชัว่ โมง อยากทราบว่าความเร็ วที่แท้จริ งของรถในขณะนั้นมีค่าเท่าไร
1. 50 กิโลเมตร/ชัว่ โมง 2. 60 กิโลเมตร/ชัว่ โมง
3. 72 กิโลเมตร/ชัว่ โมง 4. มีค่าระหว่าง 50 – 60 กิโลเมตร/ชัว่ โมง

25
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
7.2 โมเมนต์ ความเฉื่อยรอบแกนหมุนสมมาตร
17. วัตถุมวล 100 กรัม และ 200 กรัม 20 cm 100 cm
ติดอยูก่ บั ปลายทั้งสองของแท่งโลหะ
100 g A 200 g
เบายาว 120 เซนติเมตร ดังรู ป จง B
หาโมเมนต์ความเฉื่อยรอบแกน AB
1. 0.204 กิโลกรัม.เมตร2 2. 1.204 กิโลกรัม.เมตร2
3. 5.204 กิโลกรัม.เมตร2 4. 6.204 กิโลกรัม.เมตร2

7.3 ทอร์ กกับการเคลือ่ นทีแ่ บบหมุน


18. จากรู ป จงคานวณหาทอร์ก เมื่อ F มีค่า 10 นิวตัน
1. 5 นิวตัน.เมตร
1 ม. O
2. 10 นิวตัน.เมตร
3. 15 นิวตัน.เมตร
F = 10 น.
4. 20 นิวตัน.เมตร
19. ล้อวงหนึ่งมีโมเมนต์ความเฉื่อยรอบแกนหมุน 500 กิโลกรัม.เมตร2 จงหาค่าทอร์ กที่ทาให้
วงล้อนี้หมุนด้วยความเร่ งเชิงมุม 4 เรเดียน/วินาที2
1. 500 นิวตัน.เมตร 2. 1000 นิวตัน.เมตร
3. 1500 นิวตัน.เมตร 4. 2000 นิวตัน.เมตร
20. จงหาทอร์กที่ใช้ในการทาให้จานกลมที่มีโมเมนต์ความเฉื่ อย 5 กิโลกรัม.เมตร2 เริ่ มหมุน
จากหยุดนิ่งจนกระทัง่ มีอตั ราเร็ ว 7 รอบ/วินาที ใน 10 วินาที
1. 18 N.m 2. 20 N.m 3. 22 N.m 4. 24 N.m
21. จงหาทอร์กที่ใช้ในการทาให้จานกลมที่มีโมเมนต์ความเฉื่อย 10 กิโลกรัม.เมตร2 เริ่ มหมุน
จากหยุดนิ่งจนกระทัง่ มีความเร็ วเชิงมุม 20 เรเดียน/วินาที ใน 5 เรเดียน
1. 400 นิวตัน.เมตร 2. 600 นิวตัน.เมตร
3. 800 นิวตัน.เมตร 4. 1000 นิวตัน.เมตร

26
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
22. เครื่ องยนต์ของเฮลิคอปเตอร์ ลาหนึ่ งส่ งทอร์กขนาด 1000 นิวตัน-เมตร กระทาต่อใบพัดซึ่ ง
มีโมเมนต์ค วามเฉื่ อย 10 กิ โลกรั ม -เมตร 2 ให้ห าว่าจะต้องใช้เวลานานเท่ าใดจึ งจะท าให้
ความเร็ วในการหมุนของใบพัดจาก 120 รอบ/นาที เป็ น 360 รอบ/นาที
1. 2 นาที 24 วินาที 2. 3 นาที 15 วินาที
3. 4 นาที 16 วินาที 4. 0.25 วินาที
23. มู่เล่ตวั หนึ่งมีโมเมนต์ความเฉื่ อย 3 กิโลกรัม เมตร2 จงหาทอร์กคงที่ซ่ ึงจะทาให้อตั ราเร็ ว
ของมู่เล่เพิม่ จาก 2 รอบ/วินาที เป็ น 5 รอบ/วินาที ใน 6 รอบ
1. 25 นิวตัน.เมตร 2. 28 นิวตัน.เมตร
3. 33 นิวตัน.เมตร 4. 38 นิวตัน.เมตร
24. เชือกยาว 10 เมตร พันรอบแกนทรงกระบอกรัศมี
F
10 เซนติเมตร ซึ่งมีโมเมนต์ของความเฉื่ อย 0.02
กิโลกรัม . เมตร2 เมื่อเชือกได้รับแรงดึง 5 นิวตัน
ถ้าการหมุนของทรงกระบอกไม่เกิดแรงเสี ยดทาน จง
หาว่าเมื่อดึงเชื อกจนหมด ทรงกระบอกจะหมุนด้วย
อัตราเร็ วเชิงมุมกี่เรเดียน/วินาที
1. 50 2. 50 2 3. 100 4. 100 2
25. หิ นลับมีดอันหนึ่ งมีโมเมนต์ความเฉื่ อย 0.5 กิ โลกรั ม.เมตร2 รัศมี 0.5 เมตร ก าลังหมุ น
ด้วยอัตรา 700 รอบ/วินาที ถ้านาวัตถุ ไปกดผิวของหิ นลับมีดในแนวที่ผ ่านจุดศูนย์กลาง
ของหินลับมีดด้วยแรงขนาด 500 นิวตัน ปรากฏว่าจะทาให้หินลับมีดหยุดหมุนได้ในเวลา
10 วินาที จงหาค่าสัมประสิ ทธิ์ ความเสี ยดทานระหว่างผิวของหิ นลับมีดกับวัตถุที่กดนั้น
1. 0.68 2. 0.72 3. 0.88 4. 0.92
26. พิจารณาระบบรอกรัศมี 0.2 เมตร และมีโมเมนต์ของ
ความเฉื่อย 0.4 กิโลกรัม.เมตร2 ถ้าเชื อกไม่ไถลบนรอก
จงคานวณหาความเร็ วที่มวล 4 กิโลกรัม กระทบพื้น
1. 1.58 เมตร/วินาที
2. 3.54 เมตร/วินาที 4 kg
3. 5.58 เมตร/วินาที 5 ม.
2 kg
4. 8.96 เมตร/วินาที
27
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
7.4 โมเมนตัมเชิงมุมและอัตราการเปลีย่ นโมเมนตัมเชิงมุม
27. ถ้าเหวี่ยงมวล 0.2 กิ โลกรัม ด้วยเชื อกยาว 2 เมตร ให้เคลื่อนที่เป็ นวงกลมในระนาบ
ระดับ ถ้าความเร็ วเชิ งมุมมีค่า 10 เรเดียน/วินาที จงหาโมเมนตัมเชิงมุมในหน่วยกิโลกรัม-
. เมตร2/วินาที
1. 8 2. 12 3. 16 4. 20
28. นาวัตถุมวล 1 กิโลกรัม ผูกติดกับปลายเชื อกแล้วเหวี่ยงให้เป็ นวงกลมด้วยความเร็ วเชิงมุม
15 เรเดียน/วินาที ต่อมาดึงเชื อกให้หดสั้นเข้าทาให้รัศมีวงกลมลดลงและมีความเร็ วเชิ งมุม
เปลี่ยนเป็ น 5 เรเดียน/วินาที ถ้าตอนแรกโมเมนต์ความเฉื่ อยเท่ากับ 2.5 กิโลกรัม.เมตร2
แล้วโมเมนต์ความเฉื่ อยตอนหลังมีค่าเท่าใด
1. 2.5 กิโลกรัม.เมตร2 2. 5.0 กิโลกรัม.เมตร2
3. 7.5 กิโลกรัม.เมตร2 4. 10.0 กิโลกรัม.เมตร2
29. วัตถุมวล 50 กรัม ผูกติดกับปลายเชื อกซึ่ งลอดผ่านรู หลอดเล็กๆ ปลายเชื อกข้างหนึ่ ง
ดึงยืดไว้ดว้ ยแรงค่าหนึ่งแล้วเหวี่ยงให้เป็ นวงกลมรัศมี 1 เมตร ถ้าดึงเชือกให้รัศมีวงกลมเป็ น
50 เซนติ เมตร ทันที วัตถุ จะเคลื่ อนที่ ด้วยอัตราเร็ วเชิ งมุ ม เท่าไรในหน่ วยเรเดี ยน/วินาที
ถ้าเดิมมีอตั ราเร็ วเชิงมุม 6 เรเดียนต่อวินาที
30. ชายคนหนึ่งยืนบนแป้ นหมุนซึ่ งหมุนรอบแกนดิ่ง ชายคนนี้ขณะเหยียดแขนและแป้ นหมุนมี
โมเมนต์ความเฉื่อย 12 กิโลกรัมเมตร2 เมื่อหมุนแป้ นจนกระทัง่ มีอตั ราเร็ ว 5 รอบต่อนาที
แล้วเขาหดแขนลง พบว่าแป้ นหมุนหมุนด้วยอัตราเร็ ว 6 รอบ/นาที โมเมนต์ความเฉื่อยขณะ
นั้นมีค่ากี่กิโลกรัม.เมตร2
1. 1 2. 5.0 3. 8 4. 10.0
31. ชายคนหนึ่งยืนบนแป้ นหมุนซึ่ งหมุนรอบแกนดิ่ง ชายคนนี้และแป้ นหมุนมีโมเมนต์ความ
เฉื่อย 8.0 กิโลเมตร. เมตร2 มือแต่ละข้างถือดัมเบลไว้ขา้ งละอัน ดัมเบลแต่ละอันมีมวล
2.0 กิโลกรัม เหยียดแขนให้มวลดัมเบลอยูห่ ่างจากแกนหมุน 1.0 เมตร แล้วหมุนแป้ นจน
มีอตั ราเร็ ว 5.0 รอบ/นาที ต่อไปหดแขนให้ดมั เบลอยูห่ ่างจากแกนหมุน 20.0 เซนติเมตร
จงหาว่าแป้ นจะหมุนด้วยอัตราเร็ วกี่รอบต่อนาที
1. 6.0 รอบ/นาที 2. 6.2 รอบ/นาที
3. 6.6 รอบ/นาที 4. 7.3 รอบ/นาที

28
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
7.5 พลังงานจลน์ ของการหมุน
32(แนว En) วัตถุมวล 0.1 กิโลกรัม และ 0.3 0.25 ม. 0.75 ม.
กิโลกรัม ติดอยูก่ บั ปลายทั้งสองของแท่ง
โลหะเบายาว 1.00 เมตร ดังรู ป จงหา 0.1 kg A 0.3 kg
พลังงานจลน์ของการหมุน ถ้าแท่งโลหะ
B
หมุนรอบแกน AB 5 เรเดียน/วินาที
1. 2.19 J 2. 5.63 J 3. 7.50 J 4. 15.0 J

33. วัตถุมวล m มีโมเมนต์ความเฉื่อย I และมีโมเมนตัมเชิงมุม L จะมีพลังงานจลน์เท่าใด


1. I 2 2. mI 2 3. L2I2 4. mL 2
2L 2L 2I

7.6 การเคลือ่ นทีท่ ้งั แบบเลือ่ นทีแ่ ละแบบหมุน


34. แผ่นไม้กลมมี รัศมี 0.5 เมตร มวล 2 กิ โลกรัม และโมเมนต์ความเฉื่ อย 0.25 กิ โลกรั ม-
เมตร2 เคลื่อนที่ในแนวตรง โดยมีความเร็ วของศูนย์กลางมวล 4 เมตรต่อวินาที จงหาพลัง
งานจลน์ของแผ่นไม้น้ ี
ก. เคลื่อนที่บนพื้นเกลี้ยง (ไม่มีแรงเสี ยดทาน)
ข. เคลื่อนที่โดยหมุนรอบศูนย์กลางมวล
1. ก. 16 จูล , ข. 24 จูล 2. ก. 18 จูล , ข. 32 จูล
3. ก. 16 จูล , ข. 32 จูล 4. ก. 18 จูล , ข. 24 จูล

35. แผ่นไม้กลมมีรัศมี 1 เมตร มวล 4 กิโลกรัม และโมเมนต์ความเฉื่ อย 1 กิโลกรัม.เมตร2


เคลื่อนที่ในแนวตรง โดยมีความเร็ วของศูนย์กลางมวล 4 เมตรต่อวินาที จงหาพลังงานจลน์
ของแผ่นไม้น้ ี เมื่อวัตถุเคลื่อนที่โดยหมุนกลิ้งรอบศูนย์กลางมวล
1. 10 จูล 2. 20 จูล 3. 30 จูล 4. 40 จูล

29
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
36. ยางรถยนต์อนั หนึ่งรัศมี 0.3 เมตร มวล 3.5 กิโลกรัม กาลังกลิ้งไปตามพื้นราบอย่าง
สม่าเสมอโดยไม่มีการไถล ศูนย์กลางมวลของล้อมีความเร็ ว 0.6 เมตรต่อวินาที จงหา
พลังงานจลน์ของล้อในการกลิ้งมีค่าเท่าใด กาหนดให้โมเมนต์ของความเฉื่ อยของล้อมีค่า
0.185 กิโลกรัม.ตารางเมตร
1. 0.63 จูล 2. 1.00 จูล 3. 1.63 จูล 4. 2.03 จูล

37. แผ่นไม้กลมแบนรัศมี 3 เมตร มีมวล 10 กิ โลกรัม กาลังกลิ้งไปตามพื้ นราบอย่างสม่ า


เสมอโดยไม่มีการไถล ศูนย์กลางมวลของแผ่นไม้มีความเร็ ว 3 เมตรต่อวินาที พลังงาน
จลน์ของแผ่นไม้ในการกลิ้งมีค่าเท่าใด กาหนดให้ โมเมนต์ความเฉื่ อยของแผ่นไม้เท่ากับ
90 กิโลกรัม.เมตร2
1. 90 จูล 2. 120 จูล 3. 150 จูล 4. 180 จูล

38(แนว มช) แผ่นไม้กลมแบนรัศมี 8.0 เซนติเมตร มวล 280 กรัม กาลังกลิ้งไปตามพื้น


ราบอย่างสม่าเสมอโดยไม่มีการไถล ศูนย์กลางมวลของแผ่นไม้มีความเร็ ว 0.16 เมตร/
วินาทีพลังงานจลน์ของแผ่นไม้ในการกลิ้งครั้งนี้ รวมทั้งสิ้ นมีค่าเท่าใด กาหนดโมเมนต์
ความเฉื่ อยของแผ่นไม้เท่ากับ 9.0 x 10–4 กิโลกรัม.เมตร2
1. 1.8 x 10–3 จูล 2. 3.58 x 10–3 จูล
3. 5.38 x 10–3 จูล 4. 7.18 x 10–3 จูล

39. แผ่นไม้กลมแบนรัศมี 0.5 เมตร มวล 4 กิโลกรัม มีโมเมนต์ความเฉื่ อย 0.5 กิโลกรัม . -


เมตร2 กาลังกลิ้งไปบนพื้นราบสม่าเสมอโดยไม่มีการไถล ขณะที่แผ่นกลมมีพลังงานจลน์
เป็ น 12 จูลนั้น จุดศูนย์กลางมวลของแผ่นกลมมีอตั ราเร็ วเป็ นกี่เมตร/วินาที

40. ท่อทรงกระบอกกลวงกลิ้งไปตามพื้นระดับโดยไม่ไถล จงหาอัตราส่ วนระหว่างพลังงาน


จลน์ของการหมุนต่อพลังงานจลน์ของการเลื่อนตาแหน่ง ( I ทรงกระบอก = m r2 )
1. 12 2. 1 3. 2 4. 4

30
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
41. แผ่นโลหะกลมแบนรัศมี 20 เซนติเมตร มวล 10
กิโลกรัม กลิ้งลงมาตามพื้นเอียงดังรู ป โดยเริ่ มต้น +
จากสภาวะหยุดนิ่ง จงหาความเร็ ว v ของแผ่นโลหะ v

นี้เมื่อกลิ้งระยะทาง 50 เซนติเมตร ตามแนวบนระ 3


นาบเอียง ให้โมเมนต์ความเฉื่ อยของแผ่นโลหะรอบ 4
2
แกนหมุนเท่ากับ 0.4 กิโลกรัม.เมตร และสมมติ
ให้การกลิ้งบนพื้นเอียงไม่มีการลื่นไถล
1. 3 เมตร/วินาที 2. 5 เมตร/วินาที
3. 6 เมตร/วินาที 4. 10 เมตร/วินาที

42. แผ่นกลมแบนมวล 30 กิโลกรัม รัศมี 50 เซนติเมตร มีโมเมนต์ความเฉื่ อยเท่ากับ 6.5


กิโลกรัม.เมตร2 เมื่อปล่อยให้กลิ้งลงมาตามพื้นซึ่งเอียงทามุม 30o เทียบกับแนวระดับ
จงหาอัตราเร็ วเชิงมุมของแผ่นกลมขณะกลิ้งลงได้ระยะ 2 เมตร ตามพื้นเอียง
1. 10 17 เรเดียน/วินาที 2. 10 27 เรเดียน/วินาที
3. 10 73 เรเดียน/วินาที 4. 10 47 เรเดียน/วินาที

43. วัตถุทรงกลมมวล m กลิ้งไปบนพื้นราบด้วยความ


เร็ ว 20 เมตรต่อวินาที ขึ้นไปบนพื้นเอียงดังรู ป เมื่อ
ไม่คิดการไถลวัตถุจะขึ้นไปได้สูงสุ ดจากพื้นกี่เมตร
กาหนดให้โมเมนต์ความเฉื่ อยของทรงกลม = 25 mr2 20 m/s h
1. 10 เมตร 2. 28 เมตร
3. 32 เมตร 4. 64 เมตร

44. ห่วงวงกลมอันหนึ่งกลิ้งลงตามพื้นเอียงโดยไม่มีการไถล ขณะที่ห่วงเคลื่อนที่ลงมาถึงปลาย


พื้นเอียง ห่วงจะมีพลังงานจลน์ของการหมุนเท่ากับกี่เท่าของพลังงานจลน์ท้ งั หมด
1. 41 2. 13 3. 12 4. 23



31
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
เฉลยตะลุ ย โจทย์ ท่ วั ไป บทที่ 7 การเคลื่ อ นที่ แ บบหมุ น
1. ตอบข้ อ 2. 2. ตอบข้ อ 3. 3. ตอบข้ อ 2. 4. ตอบข้ อ 3.
5. ตอบข้ อ 1. 6. ตอบข้ อ 2. 7. ตอบข้ อ 1. 8. ตอบข้ อ 1.
9. ตอบข้ อ 1. 10. ตอบข้ อ 4. 11. ตอบข้ อ 3. 12. ตอบข้ อ 1.
13. ตอบข้ อ 3. 14. ตอบข้ อ 2. 15. ตอบข้ อ 4. 16. ตอบข้ อ 3.
17. ตอบข้ อ 1. 18. ตอบข้ อ 2. 19. ตอบข้ อ 4. 20. ตอบข้ อ 2.
21. ตอบข้ อ 1. 22. ตอบข้ อ 4. 23. ตอบข้ อ 3. 24. ตอบข้ อ 2.
25. ตอบข้ อ 3. 26. ตอบข้ อ 2. 27. ตอบข้ อ 1. 28. ตอบข้ อ 3.
29. ตอบ 24 30. ตอบข้ อ 4. 31. ตอบข้ อ 4. 32. ตอบข้ อ 1.
33. ตอบข้ อ 3. 34. ตอบข้ อ 1. 35. ตอบข้ อ 4. 36. ตอบข้ อ 2.
37. ตอบข้ อ 1. 38. ตอบข้ อ 3. 39. ตอบ 2 40. ตอบข้ อ 2.
41. ตอบข้ อ 1. 42. ตอบข้ อ 3. 43. ตอบข้ อ 2. 44. ตอบข้ อ 3.



32
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
บทที่ 8 สภาพสมดุ ล และสภาพยื ด หยุ่ น
ทบทวนเรื่องการแตกแรงเพือ่ หาแรงลัพธ์
ขั้นตอนการแตกแรงเพือ่ หาแรงลัพธ์
ขั้น 1 แตกแรงที่อยูใ่ นแนวเอียงให้อยูใ่ นแนวแกน X และแกน Y
ขั้น 2 หาแรงลัพธ์ในแนวแกน X และแกน Y
ขั้น 3 หาแรงลัพธ์สุดท้ายจาก Fลัพธ์ = Fx2  Fy2

1. จากรู ป จงหาแรงลัพธ์ของแรงย่อยในรู ปต่อไปนี้ 10 N


1. 5 นิวตัน
8N
2. 10 นิวตัน 45o
3. 15 นิวตัน
4. 20 นิวตัน 2 2N

1
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
8.1 สภาพสมดุล
สภาพสมดุล (equilibrium ) คือภาวะที่วตั ถุรักษาสภาพการเคลื่ อนที่ให้คงเดิ มได้ เช่ นตู ้
วางนิ่งๆ บนพื้น , รถยนต์วงิ่ ด้วยความเร็ วคงที่ , ล้อหมุนด้วยความเร็ วคงตัว เป็ นต้น

8.2 สมดุลต่ อการเคลือ่ นที่


สมดุ ลต่ อการเคลื่อ นที่ ( translational equilibrium ) คือภาวะที่ วตั ถุ ไม่เคลื่ อนที่ (อยู่นิ่งๆ)
หรื อเคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ วคงตัว เช่นตูว้ างนิ่งๆ บนพื้น , รถยนต์วงิ่ ด้วยความเร็ วคงที่ เป็ นต้น
สมดุลต่อการเลื่อนที่ จะเกิดเมื่อแรงลัพธ์ที่กระทาต่อวัตถุมีค่าเป็ นศูนย์ ( ∑F = 0 )
หรื อเกิดเมื่อ ผลรวมของแรงที่มีทิศไปทางซ้าย = ผลรวมของแรงที่มีทิศไปทางข้างขวา
Fไปทางซ้าย = Fไปทางขวา
พร้อมกันนั้น ผลรวมของแรงที่มีทิศขึ้น = ผลรวมของแรงที่มีทิศลง
Fทิศขึ้น = Fทิศลง

2. ระบบในข้อใดต่อไปนี้ อยูใ่ นภาวะสมดุล


10 N 18 N
1. 2. 8N 3. 4. 8 N
6N 8N 6N 18 N 8 N 10 N

3. จงตรวจดูวา่ ระบบอยูใ่ นภาวะสมดุลหรื อไม่


40 N 40 N
1. สมดุล
2. ไม่สมดุล 30o 30o
3. เป็ นไปไม่ได้ท้ งั สองกรณี
4. ข้อมูลไม่เพียงพอที่จะหาคาตอบ 40 N

2
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
4. จากรู ป หากระบบอยูใ่ นภาวะสมดุล จงหาขนาดของแรงดึงเชื อก T1 และ T2 ตามลาดับ
1. 100 นิวตัน , 50 3 นิวตัน T1
30o 5 kg
2. 50 3 นิวตัน , 100 นิวตัน
3. 50 นิวตัน , 25 3 นิวตัน T2
4. 25 3 นิวตัน , 50 นิวตัน mg

5(แนว En) ชายคนหนึ่งมีมวล 55 กิโลกรัม ห้อยอยูด่ ว้ ย 15o


15o
เชือกสองเส้น ดังในรู ปจงหาความตึงในเส้นเชือกทั้ง
สอง ( sin15o = 0.25 , cos15o = 0.96 , g = 10 m/s2)
1. 275 นิวตัน 2. 540 นิวตัน 3. 550 นิวตัน 4. 1100 นิวตัน

3
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
6. ชายคนหนึ่งมวล 80 กิโลกรัม โหนเชื อกเบาที่จุด O โดยปลายของเชือกทั้งสองข้างไปผูกไว้
แน่นกับเสาที่ A และ B แรงดึงในเส้นเชือก
AO และ  BO เป็ นเท่าไร A B
  60o 30o
1. 400 และ 400 3 นิวตัน
2. 400 3 และ 400 นิวตัน  O
3. 300 และ 300 3 นิวตัน
4. 300 3 และ 300 นิวตัน

7. จากรู ป นาเชื อกผูกกับก้อนน้ าหนัก W จง


53o 37o
หาอัตราส่ วนของขนาดของแรงดึงในเส้นเชือก
T1 ต่อ T2 (sin 53o = 4/5 , sin 37o = 3/5) T1 T2
1. 35 2. 43
3. 45 4. 43 W

4
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
8(แนว En) ลิ่มอยูบ่ นพื้นราบที่ไม่มีแรงเสี ยดทาน m1
และ m2 ผูกไว้ดงั รู ป m1 , m2 และมุม  ต้อง
สัมพันธ์กนั อย่างไร จึงจะทาให้ลิ่มไม่เลื่อน (ไม่คิด
m1 m2
แรงเสี ยดทาน)
1. m1 = m2 cos  2. m2 = m1 cos   ลิ่ม
3. m1 = m2 sin  4. m2 = m1 sin 

8.3 สมดุลต่ อการหมุน


สมดุลต่ อการหมุน คือภาวะที่วตั ถุไม่หมุน ( อยูน่ ิ่ งๆ ) หรื อหมุนด้วยความเร็ วคงตัว เช่น
ไม้คานซึ่งถูกแรงขนาดเท่ากันกดลงทั้งด้านขวาและด้านซ้ายห่างจากจุดหมุนเท่ากันดังรู ป เป็ นต้น
F F

r r
8.3.1 โมเมนต์ ของแรง หรือทอร์ ก
การหมุ นของวัตถุ จะขึ้ นกับโมเมนต์ของแรง (moment of force) หรื อทอร์ ก (torque , )
ซึ่งหมายถึงผลคูณเชิงเวกเตอร์ ของแรงกระทาต่อวัตถุ ( F ) กับการกระจัดที่วดั จากจุดหมุน ( r )
ขนาดของทอร์ ก หรื อ ขนาดของโมเมนต์ จะมี ค่ าเท่ ากับ ผลคู ณ ระหว่างขนาดของแรงกับ
ระยะทางจากจุดหมุนไปตั้งฉากกับแนวแรงนั้น
นัน่ คือ M =Fd
เมื่อ M คือขนาดของโมเมนต์ ( นิวตัน . เมตร )
F คือแรง ( นิวตัน )
d คือระยะห่างจากจุดหมุนไปตั้งฉากกับแนวแรงนั้น ( เมตร )
5
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
สมดุลต่อการหมุนจะเกิดเมื่อ
ผลรวมของโมเมนต์ ทวนเข็มนาฬิ กา = ผลรวมของโมเมนต์ ตามเข็มนาฬิ กา
 Mทวน =  Mตาม

9. ตามรู ปเป็ นคานเบาอันหนึ่ง ถามว่า m ควร 1m 2m


มีค่ากี่กิโลกรัม จึงจะทาให้คานอยูใ่ นภาวะ m
สมดุล 4m
1. 1 2. 2 3. 3 4. 4 80 N 10 N

10. จากรู ปจงหาค่า X / Y ที่ทาให้คานอยูใ่ น


40 N 20 N
ภาวะสมดุลต่อการหมุน
1. 1 / 2 2. 3 / 5
3. 4 / 5 4. 5 / 6 X Y

6
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
11. คานอันหนึ่งยาว 6 เมตร หนัก 8 นิวตัน มี
จุดหมุนอยูห่ ่างจากปลายข้างหนึ่ง 1 เมตร ตาม F
รู ป ต้องใช้แรง F เท่าใด จึงจะทาให้คานนี้ อยู่
1m
ในสภาพสมดุล
1. 4 นิวตัน 2. 8 นิวตัน 3. 12 นิวตัน 4. 16 นิวตัน

12. จากรู ปเป็ นไม้คานมีจุดหมุนอยูท่ ี่ระยะห่าง


จากปลายขวา 2 เมตร มีชายคนหนึ่งมวล
60 กิโลกรัม ยืนอยูบ่ นคานนั้น จงหาว่า
คานนี้ควรมีมวลกี่กิโลกรัมจึงจะอยูใ่ นภาวะ 8m 2m
สมดุล
1. 10 2. 20 3. 30 4. 40

7
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
13. จากรู ปให้หา T และ W ว่าเป็ นแรง
ที่มีขนาดเท่าใดตามลาดับ 5N T
1. 5 นิวตัน , 1 นิวตัน 1m 1m 1m 1m

2. 6 นิวตัน , 2 นิวตัน 2m 2m
3. 7 นิวตัน , 3 นิวตัน 4N W 5N

4. 9 นิวตัน , 5 นิวตัน

14. ตามรู ป นาย A และนาย B แบกกระดานสม่า


เสมอยาว 10 เมตร มีมวล 20 กิโลกรัม ใน RA 10 m RB
3m
แนวระดับเด็กคนหนึ่งยืนบนกระดานที่จุด C มี
มวล 5 กิโลกรัม นาย A และ นาย B จะต้อง A C
B

ออกแรงคนละกี่นิวตัน ตอบตามลาดับ
1. 155 , 135 2. 115 , 85 W1
W2
3. 135 , 115 4. 85 , 115

8
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
8.3.2 โมเมนต์ ของแรงคู่ควบ
แรงคู่ควบ (couple) คือแรงที่กระทาต่อวัตถุสองแรงซึ่ งมีขนาดเท่ากัน แต่มีทิศตรงกันข้าม
โมเมนต์ของแรงคู่ควบจะมีขนาดเท่ากับผลคูณขนาดของแรงใดแรงหนึ่ งกับระยะทางตั้ง
ฉากระหว่างแนวแรงทั้งสอง
นัน่ คือ Mc = F l
เมื่อ Mc คือโมเมนต์ของแรงคู่ควบ ( นิวตัน . เมตร )
F คือขนาดของแรงคู่ควบ ( นิวตัน )
l คือระยะตั้งฉากระหว่างแนวแรงทั้งสอง ( เมตร )
15(แนว มช) แรง 2 แรง ขนานกันแต่มีทิศตรงกันข้าม ขนาด 50 นิวตัน เท่ากัน แนวแรงทั้งสอง
ห่างกัน 10 เซนติเมตร โมเมนต์ของแรงคู่น้ ีรอบจุดใด ๆ ที่อยูร่ ะหว่างแนวแรงทั้งคู่จะเป็ น
เท่าใด
1. 25 นิวตัน.เมตร 2. 500 นิวตัน.เมตร
3. 5 นิวตัน.เมตร 4. หาไม่ได้

16. ชายคนหนึ่ งขับรถเลี้ ยวซ้าย เกิดโมเมนต์ของแรงคู่ควบที่พวงมาลัย 200 นิ วตัน-เมตร ถ้า


ถ้าพวงมาลัยมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.4 เมตร จงหาแรงที่มือแต่ละข้างดึงพวงมาลัย
1. 250 นิวตัน 2. 500 นิวตัน 3. 750 นิวตัน 4. 1000 นิวตัน

9
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
8.4 สมดุลของวัตถุ
17. กล่องสี่ เหลี่ยมกว้าง 20 เซนติเมตร สู ง 40 20 ซม.
เซนติเมตร หนัก 100 นิวตัน ถูกแรงกระทา
40 นิวตัน ณ. จุดสู งเท่ากับ h จงหาว่าความสู ง 40 N
h มีค่าเท่าใด จึงจะทาให้กล่องนี้เริ่ มล้มพอดี
h
1. 20 เซนติเมตร 2. 25 เซนติเมตร
3. 30 เซนติเมตร 4. 35 เซนติเมตร

18(แนว En) ออกแรง F = 160 นิวตัน ผลักตูเ้ ย็น


40 กิโลกรัม บนพื้นฝื ดที่ความสู ง 90 เซนติ-
เมตร จากพื้นโดยตูเ้ ย็นไม่ลม้ จงหาความ 120 cm
กว้างน้อยที่สุดของฐานตูเ้ ย็น (X) ในหน่วย 90 cm
เซนติเมตร กาหนดให้ความสู งของตูเ้ ย็นคือ
120 เซนติเมตร และจุดศูนย์กลางมวลอยูส่ ู ง
จากพื้น 60 เซนติเมตร ดังรู ป
1. 30 2. 72 3. 100 4. 110

10
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
19(แนว En) กล่องวัตถุรูปสี่ เหลี่ยมมีมวลสม่าเสมอ 37o
ฐานกว้าง 0.2 เมตร สู ง 0.5 เมตร มีน้ าหนัก
P
200 นิวตัน วางอยูบ่ นพื้นที่ฝืดมาก ถ้าออกแรง
P กระทาต่อวัตถุในแนวทามุม 37o กับแนว
ระดับ ดังรู ป จะต้องออกแรง P เท่าใดจึงจะทาให้วตั ถุลม้ พอดี
1. 25 นิวตัน 2. 50 นิวตัน 3. 75 นิวตัน 4. 100 นิวตัน

20. จากรู ป วัตถุมวล 10 กิโลกรัม สู ง 1.0 เมตร กว้าง 0.5


เมตร เคลื่อนที่ในแนวระดับด้วยอัตราเร่ งคงที่ ถ้าสัมประ 0.5 ม.
สิ ทธิ์ ความเสี ยดทานของผิวสัมผัส และพื้นราบมีค่า 0.2 จง
หาอัตราเร่ งในแนวขนานซึ่ งผ่านจุดศูนย์กลางมวลที่พอดีทา
1 ม.
ให้วตั ถุลม้ ก่อนที่เกิดการไถล
( ให้ใช้ g = 9.8 เมตร/วินาที2 )
1. a = 2.5 เมตร/วินาที2 2. a = 4.9 เมตร/วินาที2
3. a = 9.8 เมตร/วินาที2 4. a = 19.6 เมตร/วินาที2

11
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
21. บันไดสม่าเสมอยาว 10 เมตร หนัก 400 นิวตัน ปลาย
บนพิงกาแพงเกลี้ยงตรงจุดซึ่ งอยูส่ ู งจากพื้น 8 เมตร โดย
บันไดยันกับพื้นขรุ ขระห่างจากกาแพง 6 เมตร
ก. จงหาแรงที่ยนั ปลายบันไดไม่ให้ไถลลงมา
ข . ถ้ามีวตั ถุหนัก 100 นิวตัน วางอยูป่ ลาย
บันไดด้านล่างห่างขึ้นมา 14 ของความยาวของบันได จงหาแรงเสี ยดทานที่พื้นราบ
1. ก. 150 นิวตัน , ข. 150 นิวตัน 2. ก. 150 นิวตัน , ข. 168.75 นิวตัน
3. ก. 168.75 นิวตัน , ข. 150 นิวตัน 4. ก. 168.75 นิวตัน , ข. 168.75 นิวตัน

22(แนว มช) เส้นลวดดึงคาน AB มีมวล 5


กิโลกรัม แขวนไว้ที่ปลาย B ถ้าคานสม่า เส้ นลวด
เสมอมีน้ าหนัก 20 นิวตัน ยาว 5 เมตร
มีปลาย A ตรึ งติดกาแพง คานสมดุลอยูไ่ ด้ 30o 1m
A B
ดังรู ป จงหาว่าแรงดึงเส้นลวดมีค่ากี่นิวตัน 4m
1. 100 2. 150 5 kg
3. 200 4. 300

12
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
8.5 การได้ เปรียบเชิงกล และประสิ ทธิภาพเชิงกล
พิจารณาตัวอย่างคานงัดต่อไปนี้
F = 10 N
W = 40 N

r = 1 ม. R = 4 ม.
จากรู ปตัวอย่างจะพบว่าการยกน้ าหนัก (W) 40 นิวตัน เราใช้แรงกด (F) เพียง 10 นิวตัน
เช่นนี้เรี ยกมีการได้เปรี ยบเชิงกล ( mechanical advantage , MA )
การได้เปรี ยบเชิงกลสามารถหาค่าได้จาก
MA = WF หรื อ MA = Rr
เมื่อ MA คือการได้เปรี ยบเชิงกล
W คือน้ าหนักที่ยกได้
F คือแรงที่ใช้ยก
R คือระยะห่างจากจุดหมุนถึงแรงที่ใช้
r คือระยะห่างจากจุดหมุนถึงน้ าหนักที่ยกได้
ในการปฏิ บ ตั ิ จริ งนั้น น้ าหนัก ที่ ยกได้จริ งจะมี ข นาดน้อยกว่าน้ าหนักที่ ยกได้จากการ
คานวณ เช่นจากตัวอย่างนี้ น้ าหนักที่ยกได้จริ งจะมีขนาดน้อยกว่า 40 นิ วตัน แต่หากเครื่ องมือมี
ประสิ ทธิ ภาพเชิงกลสู ง ขนาดของน้ าหนักที่ยกได้จริ งจะมีขนาดใกล้เคียงกับที่คานวณได้
ประสิ ทธิ ภาพเชิงกล ( Mechanical Efficiency ) สามารถหาค่าได้จาก
Eff = WR // Fr x 100 %
เมื่อ Eff คือประสิ ทธิภาพเชิงกล
W คือน้ าหนักที่ยกได้จริ ง
F คือแรงที่ใช้ยกจริ ง
R คือระยะห่างจากจุดหมุนถึงแรงที่ใช้
r คือระยะห่างจากจุดหมุนถึงน้ าหนักที่ยกได้

13
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
23. กรรไกรตัดลวดมีระยะระหว่างลวดและจุดหมุนเป็ น 2 เซนติเมตร ระยะระหว่างจุดหมุน
และมือเป็ น 10 เซนติเมตร ออกแรง F 50 นิวตัน บีบขากรรไกรดังรู ป
ก. แรงที่กระทาต่อลวดเป็ นเท่าใด F = 50 N
ข. การได้เปรี ยบเชิงกลเป็ นเท่าใด W

1. ก. 100 N , ข. 2 เท่า
2. ก. 150 N , ข. 3 เท่า
3. ก. 200 N , ข. 4 เท่า W

4. ก. 250 N , ข. 5 เท่า 2 cm 10 cm

24(แนว มช) ทดลองโดยการใช้ลอ้ และเพลาดังรู ป สามารถยกวัตถุ


มวล 40 กิโลกรัม โดยใช้แรง 50 นิวตัน กระทาที่ขอบของล้อ
รัศมีของล้อ และเพลามีค่าเท่ากับ 96 และ 6 เซนติเมตร ตาม 50 N
ลาดับ จงหาประสิ ทธิ ภาพเครื่ องกลนี้ 40 kg
1. 40% 2. 50% 3. 78% 4. 80%

25. เมื่อออกแรง 10 นิ วตัน กดที่ปลายด้ามคีมอันหนึ่ ง จะเกิ ดแรงกดวัตถุที่ปลายคีมเท่าไร ถ้า


ปากคีมยาว 2 เซนติเมตร ด้ามคีมยาว 10 เซนติเมตร และคีมมีประสิ ทธิภาพ 95%
1. 37.5 นิวตัน 2. 43.0 นิวตัน 3. 47.5 นิวตัน 4. 50.0 นิวตัน

14
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
26. คานงัดอันหนึ่ งยาว 3 เมตร ชายคนหนึ่ งต้องการงัดก้อนหิ นก้อนหนึ่ งหนัก 100 กิโลกรัม
โดยออกแรงกดลง 200 นิ วตัน ถ้าคานงัดนี้ มีประสิ ทธิ ภาพ 70 % เขาจะต้องนาที่รองงัดมา
วางห่างจากก้อนหิ นเท่าไร
1. 0.21 เมตร 2. 0.37 เมตร 3. 0.52 เมตร 4. 1.04 เมตร

8.6 เสถียรภาพของสมดุล
ขณะที่วตั ถุ อยูใ่ นสภาวะสมดุ ล อาจมีการวางตัวในลักษณะต่างๆ กัน ซึ่ งจะทาให้วตั ถุมี
เสถียรภาพของสมดุลต่างกันไป
เสถียรภาพของสมดุลแบ่งได้เป็ น 3 แบบ ได้แก่
1. สมดุลแบบเสถียร คือสมดุลที่มีรากฐานรองรับมัน่ คง
เมื่อถูกแรงกระทาเล็กน้อยจะเปลี่ยนลักษณะการวางตัว แต่เมื่อ
แรงกระทานั้นหมดไปจะสามารถกลับคืนสู่ ลกั ษณะเดิมได้
2. สมดุลแบบไม่ เสถียร คือสมดุลที่มีรากฐานอ่อนแอ
เมื่อถูกกระทบกระเทือนจะเปลี่ยนลักษณะการวางตัวและจะไม่
สามารถกลับคืนสู่ ลกั ษณะเดิมได้
3. สมดุลแบบสะเทิน คือสมดุลซึ่งเมื่อถูกแรงมากระ
เทือนจะเปลี่ยนตาแหน่งที่อยู่ แต่ลกั ษณะการวางตัวยังคงเหมือน
เดิม
15
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
27. สมดุลต่อไปนี้เป็ นสมดุลแบบใด
ก. เหรี ยญบาทตั้งตะแคง ข. ลูกแก้ววางบนพื้น ค. แท่งปิ รามิดวางตั้งบนพื้น
1. ก. ไม่เสถียร ข. สะเทิน ค. เสถียร
2. ก. ไม่เสถียร ข. เสถียร ค. สะเทิน
3. ก. เสถียร ข. สะเทิน ค. ไม่เสถียร
4. ก. เสถียร ข. ไม่เสถียร ค. สะเทิน

8.7 ศู นย์ กลางมวล และศู นย์ ถ่วง


พิจารณาตัวอย่างต่อไปนี้ สมมุติมีแผ่นสี่ เหลี่ยมเบาซึ่ งมีมวล m1 , m2 , m3 , m4 ติด
อยู่ตรงมุม ณ.จุด (x1 , y1) , (x2 , y2) , (x3 , y3) , (x4 , y4) ตามลาดับ กรณี เช่ นนี้ มวลทั้งสี่
จะเสมือนเข้ามารวมกันอยูท่ ี่จุด ( x , y ) ดังรู ป จุดซึ่ งเป็ นเสมือนที่รวมของ มวล ของวัตถุท้ งั
ก้อนเช่นนี้ เรี ยกศูนย์ กลางมวล ( center of mass , cm )
เราสามารถหาศูนย์กลางมวลได้จาก
(x2 , y2) (x3 , y3)
cm = ( x , y ) m2 m3
m x m x m x3....
เมื่อ x = 1 m1 m2 2m 3.... (x,y) (x4 , y4)
1 2 3 (x1 , y1)
m y m y m y3....
และ y = 1 m1 m2 2m 3.... m1 m4
1 2 3
ศูนย์ กลางมวล ( center of gravity , cg ) คือจุดซึ่งเป็ นที่รวมของนา้ หนัก ของวัตถุท้ ังก้อน
เราสามารถหาศูนย์กลางมวลได้จาก (x2 , y2) (x3 , y3)
cg = ( x , y ) W2 W3
W x W x W x3....
เมื่อ x = 1 W1 W2 2W 3.... (x1 , y1)
( x , y ) (x , y )
4 4
1 2 3
W1y1W2y2 W3y3.... W1 W4
และ y = W1W2 W3....

16
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
28. แผ่นพลาสติกบางเบารู ปสี่ เหลี่ยมจัตุรัส มีความ
Y
ยาวด้านละ 20 เซนติเมตร มีมวล 1 , 2 , 3
2 kg 3 kg
และ 4 กิโลกรัม ติดอยูท่ ี่มุมทั้งสี่ ดา้ น จงหาจุด
ศูนย์กลางมวลของระบบนี้
1. ( 14 , 10) 2. ( 14 , 8) 1 kg 4 kg X
3. ( 8 , 10) 4. ( 8 , 8)

29. คานเบายาว 1 เมตร วางตัวอยูใ่ นแนวราบ 1 ม.


ตรงปลายทั้งสองมีมวล 3 และ 6 กิโลกรัม
ติดอยูด่ งั รู ป จงหาว่าศูนย์กลางมวลจะอยู่ m1 = 3 kg m2 = 3 kg
ห่างจากมวล 3 กิโลกรัมกี่เมตร

17
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
8.8 สภาพยืดหยุ่น
สภาพยืดหยุ่น (elasticity) คือสมบัติของวัตถุที่มีการเปลี่ยนแปลงรู ปร่ างเมื่อมีแรงกระทา
และสามารถคืนตัวกลับสู่ สภาพเดิมเมื่อหยุดออกแรงกระทา
สภาพพลาสติก (plasticity) คือสมบัติของวัตถุที่มีการเปลี่ยนรู ปร่ างไปอย่างถาวร โดยผิว
วัตถุไม่ฉีกขาดหรื อแตกหัก
พิจารณาตัวอย่างการออกแรงดึงสปริ งต่อไปนี้ เมื่อออก
แรงดึง (หรื อกด) สปริ ง (หรื อเส้นลวด) จะพบว่าในขอบเขต
หนึ่งความยาวที่เปลี่ยนไป (x) จะแปรผันตรงกับแรงกระทา (F)
( กฎของฮุก , Hooke’s law ) เมื่อเขียนกราฟแสดงความสัม
พันธ์ระหว่างแรง ( F ) กับความยาวที่เปลี่ ยนไป ( x ) จะได้กราฟเป็ นเส้นตรงดังช่วง 0a ในรู ป
จุด a นี้ เรี ยกขีด จ ากัด การแปรผันตรง (proportional limit) เมื่ อออกแรงมากกว่าจุ ด a ไป
เล็กน้อยจนถึงจุด b ความยาวจะเปลี่ยนไปเพียงเล็กน้อย และเมื่อหยุดแรงกระทาสปริ งจะยังคง
กลับไปอยู่ในสภาพเดิ มได้ จุด b นี้ เรี ยกขีดจากัดสภาพยืดหยุ่น (elastic limit) และเมื่อออก
แรงมากเกิ นกว่าจุด b สปริ งจะเปลี่ ยนรู ปร่ างไปอย่างถาวร ไม่สามารถกลับคืนสู่ สภาพเดิ มได้
อีก และถ้าออกแรงไปถึ งจุด c เส้ นวัสดุ จะขาด จุด c นี้ เรี ยกจุ ดแตกหัก (breaking point)
และสภาพของวัสดุช่วง bc ก็คือสภาพพลาสติก
F
c
a
* * *b (จุดแตกหัก)
(ขีดจำกัดสภำพยืดหยุน่ )
(ขีดจำกัดกำรแปรผันตรง)

0 x
ช่วง 0a ระยะยืดกับแรงจะแปรผันตรงต่อกัน เมื่อหมดแรงกระทาสปริ งจะคืนสภาพเดิมได้
ช่วง ab ระยะยืดกับแรงจะไม่แปรผันตรงต่อกัน เมื่อหมดแรงกระทาสปริ งยังคืนสภาพเดิมได้
ช่วง bc เมื่อแรงกระทาหมดไปสปริ งจะไม่คืนสภาพเดิม เมื่อถึงจุด c สปริ งจะขาด

18
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
8.8.1 ความเค้ น และ ความเครียด
พิจารณาตัวอย่างดังรู ป เมื่อเส้นลวดถูกแรงดึง F ทุกๆ
ส่ วนของภาคตัดขวางของเส้นลวดจะได้รับแรงกระทาเป็ น F
อย่างสม่าเสมอ อัตราส่ วนระหว่างแรงกระทากับพื้นที่ภาคตัด
ขวางของเส้นลวด เรี ยกว่าความเค้ นดึง (tensile stress)
นัน่ คือ s = AF
เมื่อ s คือความเค้น ( นิวตัน/เมตร2)
F คือแรงเค้น ( นิวตัน )
A คือพื้นที่ภาคตัดขวางของเส้นลวด (เมตร2) F = mg
โดยทัว่ ไปความเค้นมี 2 ชนิด
1. ความเค้ นตามยาว ( longitudinal stress) เกิดจากแรงกระทาตามแนวยาวของวัตถุ
ซึ่งได้แก่ ความเค้ นดึง (tensile stress) เกิดจากแรงดึง
และ ความเค้ นอัด (compressive stress) เกิดจากแรงกดหรื อแรงอัด
2. ความเค้ นเฉือน (shear stress) เกิดจากแรงเฉื อน

เมื่อเส้นลวดถูกแรงกระทาความยาวของเส้นลวดจะเปลี่ยนไป อัตราส่ วนระหว่างความ


ยาวที่เปลี่ยนไปต่อความยาวเดิม เรี ยกความเครียด ( strain )
นัน่ คือ e = L L
0
เมื่อ e คือความเครี ยดตามยาว
L คือความยาวที่เปลี่ยนไป ( เมตร )
Lo คือความยาวเดิม ( เมตร )

19
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
8.8.2 ค่ ามอดูลสั ของยัง
ค่ามอดูลสั ของยัง (Young’s modulus) เป็ นค่าคงที่ซ่ ึงได้จากอัตราส่ วนของความเค้นต่อ
ความเครี ยด
F
A
นัน่ คือ s
Y = e =   = AF ΔLoL
 L 
 
L 
 o 
เมื่อ E คือค่ามอดูลสั ของยัง ( นิวตัน/เมตร2)
s คือความเค้น ( นิวตัน/เมตร2)
e คือความเครี ยด
F คือแรงเค้น ( นิวตัน )
A คือพื้นที่หน้าตัดของเส้นลวด ( เมตร2)
Lo คือความยาวเดิม ( เมตร )
L คือความยาวที่เปลี่ยนไป ( เมตร )

30. ในการทดลองหาค่ามอดูลสั โดยใช้น้ าหนัก 450 กิโลกรัม แขวนไว้ที่


ปลายลวดเหล็กยาว 2 เมตร พื้นที่หน้าตัด 0.15 ตารางเซนติเมตร
ปรากฏว่าลวดยืดออก 0.3 เซนติเมตร จงหาความเค้น (นิวตัน/เมตร2 )
1. 1 x 108 2. 2 x 108
M
3. 3 x 108 4. 4 x 108

31. จากข้อที่ผา่ นมา จงหาความเครี ยด


1. 1.0 x 10–3 2. 1.5 x 10–3 3. 2.0 x 10–3 4. 2.5 x 10–3

32. จากข้อที่ผา่ นมา จงหาค่ามอดูลสั ของยังของลวดเหล็กนี้ ในหน่วยนิ วตัน/ตารางเมตร


1. 1 x 1011 2. 2 x 1011 3. 3 x 1011 4. 4 x 1011

20
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
33(แนว มช) วัตถุหนัก 100 นิวตัน แขวนด้วยลวดโลหะซึ่งมีความยาวเดิมเท่ากับ 1 เมตร มีพ้ืน
ที่หน้าตัดเท่ากับ 100 ตารางเซนติเมตร ถ้าลวดโลหะนี้ มีค่ามอดูลสั ของยังเท่ากับ 20 x 1010
นิวตันต่อตารางเมตร ลวดนี้ จะยืดออกเท่าใด
1. 0.5 x 10–6 เมตร 2. 0.5 x 10–7 เมตร
3. 0.5 x 10–12 เมตร 4. 0.5 x 10–11 เมตร

34. ลวดเหล็กเส้นหนึ่งยาว 4 เมตร มีพ้ืนที่หน้าตัด 5 x 10–5 ตารางเมตร จงหาว่าแรงดึงที่ทา


ให้ลวดเส้นนี้ยดื ออก 0.02 x 10–2 เมตร มีค่ากี่นิวตัน
(ค่ามอดูลสั ของยังของลวดเหล็กเท่ากับ 2 x 1011 นิวตันต่อตารางเมตร)
1. 200 2. 300 3. 400 4. 500

35. ลวดโลหะชนิดหนึ่งมีความยาว 1 เมตร ค่ามอดูลสั ของยังเป็ น 2.5x1011 นิวตัน/ตารางเมตร


พื้นที่ภาคตัดขวาง 2 ตารางมิลลิเมตร นาไปยึดติดกับวัตถุมวล m ทาให้ลวดยืดออกไป
อีก 0.01 เมตร จงหาขนาดของมวล m ในหน่วยกิโลกรัม
1. 500 2. 1000 3. 2000 4. 5000

21
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
36. แท่งโลหะอันหนึ่ งมีพ้ืนที่ภาคตัดขวาง 3 ตารางเซนติเมตร และมีค่ามอดูลสั ของยังเท่ากับ
2 x 1011 นิ วตัน/ตารางเมตร จงหาว่าจะต้องออกแรงดึ งกี่ นิวตัน จึงจะทาให้แท่งโลหะมี
ความยาวเพิ่มขึ้น 0.01 เปอร์เซ็นต์
1. 5000 2. 5700 3. 6000 4. 7000

37(แนว En) ลวดทาด้วยโลหะต่างชนิดกันสองเส้นยาวเท่ากันมีพ้ืนที่หน้าตัดเป็ น 0.05 และ 0.09


ตารางเซนติเมตร เมื่อดึงลวดทั้งสองนี้ดว้ ยแรงเท่ากัน มันจะยืดออกเท่ากับ 0.3 และ 0.2
เซนติเมตร ตามลาดับ จงหาอัตราส่ วนของมอดูลสั ของยังของลวดเส้นที่หนึ่ งต่อมอดูลสั ของ
ยังของลวดเส้นที่สอง
27
1. 100 2. 65 3. 65 4. 100
27

22
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
38. ลวดเหล็กและลวดทองเหลืองยาวเท่ากัน มีพ้ืนที่หน้าตัดเป็ น 0.10 และ 0.15 ตารางเซนติ-
เมตร เมื่อดึงลวดทั้งสองด้วยแรงเท่ากัน ลวดจะยืดออก 0.25 และ 0.20 เซนติเมตร ตาม
ลาดับ จงหาอัตราส่ วนยังมอดูลสั ของลวดเหล็กและลวดทองเหลือง
1. 3 : 4 2. 4 : 3 3. 5 : 6 4. 6 : 5

39. ลวด 2 เส้น ทาด้วยวัสดุชนิดเดียวกัน ถ้าลวด A ยาวเป็ นครึ่ งหนึ่งของลวด B แต่กลับมี


รัศมี 2 เท่าของลวด B ถ้าต้องการดึงลวดทั้งสองให้ยดื ออกมา โดยให้ความยาวที่ยดื ออกมา
มีขนาดเท่ากันแรงที่ใช้ยดื ลวด A ต้องมีขนาดเท่าใด
1. 1/8 ของแรงที่ใช้ยดื ลวด B 2. 2 เท่าของแรงที่ใช้ยดื ลวด B
3. 4 เท่าของแรงที่ใช้ยดื ลวด B 4. 8 เท่าของแรงที่ใช้ยดื ลวด B

23
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
40(แนว En) ลวดเหล็ กกล้าส าหรับ ดึ งลิ ฟ ท์ตวั หนึ่ งมี พื้ นที่ ห น้าตัด 10 ตารางเซนติ เมตร ตัว
ลิฟท์ และสัมภาระในลิฟท์มีน้ าหนัก 2000 กิโลกรัม จงหาความเค้น (stress) ในสายเคเบิล
ในขณะที่ลิฟท์กาลังเคลื่อนที่ข้ ึนด้วยความเร่ งสู งสุ ด 2.0 เมตรต่อ(วินาที)2
1. 24 x 106 เมตรต่อ(วินาที)2 2. 48 x 106 เมตรต่อ(วินาที)2
3. 40 x 106 เมตรต่อ(วินาที)2 4. 32 x 106 เมตรต่อ(วินาที)2

41. ลวดเหล็กดึ งลิ ฟ ท์มีความเค้นที่ ขีดจากัดความยืดหยุ่นเท่ากับ 2 x 108 นิ วตัน /ตารางเมตร


และมี พ้ืนที่หน้าตัด 1.77 x 10–4 ตารางเมตร ถ้าลิฟท์และสัมภาระมีมวล 2000 กิ โลกรั ม
ลิฟท์น้ ีจะสามารถเคลื่อนที่ข้ ึนด้วยความเร่ งสู งสุ ดเท่าใด ลวดจึงจะไม่ยดื เกินขีดจากัด
(กาหนดให้ g = 10 เมตร/วินาที2)
1. 7.7 เมตร/วินาที2 2. 6.3 เมตร/วินาที2
3. 5.0 เมตร/วินาที2 4. 4.3 เมตร/วินาที2



24
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ

เฉลยบทที่ 8 สภาพสมดุ ล และสภาพยื ด หยุ่ น


1. ตอบข้ อ 2. 2. ตอบข้ อ 3. 3. ตอบข้ อ 1. 4. ตอบข้ อ 1.
5. ตอบข้ อ 4. 6. ตอบข้ อ 2. 7. ตอบข้ อ 4. 8. ตอบข้ อ 4.
9. ตอบข้ อ 2. 10. ตอบข้ อ 1. 11. ตอบข้ อ 4. 12. ตอบข้ อ 4.
13. ตอบข้ อ 3. 14. ตอบข้ อ 3. 15. ตอบข้ อ 3. 16. ตอบข้ อ 2.
17. ตอบข้ อ 2. 18. ตอบข้ อ 2. 19. ตอบข้ อ 2. 20. ตอบข้ อ 2.
21. ตอบข้ อ 2. 22. ตอบข้ อ 2. 23. ตอบข้ อ 4. 24. ตอบข้ อ 2.
25. ตอบข้ อ 3. 26. ตอบข้ อ 2. 27. ตอบข้ อ 1. 28. ตอบข้ อ 1.
29. ตอบ 0.67 30. ตอบข้ อ 3. 31. ตอบข้ อ 2. 32. ตอบข้ อ 2.
33. ตอบข้ อ 2. 34. ตอบข้ อ 4. 35. ตอบข้ อ 1. 36. ตอบข้ อ 3.
37. ตอบข้ อ 3. 38. ตอบข้ อ 4. 39. ตอบข้ อ 4. 40. ตอบข้ อ 1.
41. ตอบข้ อ 1.


25
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
ตะลุ ย โจทย์ ท่ วั ไป
บทที่ 8 สมดุ ล กลและสภาพยื ด หยุ่ น
8.1 สภาพสมดุล
8.2 สมดุลต่ อการเคลือ่ นที่
1. จากรู ป จงหาแรงลัพธ์ของแรงย่อยในรู ปภาพ 16 N
1. 5 นิวตัน
2. 10 นิวตัน 18 N
45o
3. 15 นิวตัน
4. 20 นิวตัน 10 2 N

2. จงตรวจดูวา่ ระบบในรู ปนี้ อยูใ่ นภาวะสมดุลหรื อไม่


10 N 10 N
1. สมดุล
60o 60o
2. ไม่สมดุล
3. เป็ นไปไม่ได้ท้ งั สองกรณี
4. ข้อมูลไม่เพียงพอที่จะหาคาตอบ 10 3 N

3. จากรู ปมวล 2 กิโลกรัม ผูกเชือกแขวนเพดาน


ถูกแรงผลัก P ผลักไปทางขวา มีแรงดึงเชือก ( T )
และ น้ าหนักกระทาดังรู ป จงหาขนาดของแรง T 45o
ดึงเชือก ( T ) และแรงผลัก ( P ) ตามลาดับ P

1. 10 นิวตัน , 10 2 นิวตัน
2. 10 2 นิวตัน , 10 นิวตัน
mg
3. 20 นิวตัน , 10 2 นิวตัน
4. 10 2 นิวตัน , 20 นิวตัน

26
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
4. จากรู ปมวล 4 2 กิโลกรัม ผูกเชือกแขวนเพดาน ถูกแรงผลัก P ผลักไปทางขวา มีแรง
ดึงเชือก (T) และน้ าหนัก ( mg ) กระทาดังรู ป จงหาขนาดของแรงดึงเชือก (T) และแรง
ผลัก ( P ) ตามลาดับ
1. 40 นิวตัน , 20 2 นิวตัน
2. 20 2 นิวตัน , 40 นิวตัน T 45o
3. 80 นิวตัน , 40 2 นิวตัน P
4. 40 2 นิวตัน , 80 นิวตัน
mg
5. มวล 4 3 กิโลกรัม ผูกเชื อกแขวนจากเพดาน นาย ก. ออกแรงผลักมวลไปในแนวระดับ
จนเชือกทามุม 30o จงหาว่าเชือกมีความตึง
เท่าไร และต้องออกแรงผลักเท่าไรตามลาดับ
T
1. 40 นิวตัน , 20 นิวตัน 30o
2. 20 3 นิวตัน , 40 นิวตัน P

3. 80 นิวตัน , 40 นิวตัน
4. 40 3 นิวตัน , 80 นิวตัน

6. มวล 20 3 กิโลกรัม ผูกเชื อกแขวนจากเพดาน


นาย ก. ออกแรงผลักมวลไปในแนวระดับจนเชือก T
30 o
ทามุม 30o จงหาว่าเชื อกมีความตึงเท่าไร และ P
ต้องออกแรงผลักเท่าไร ตามลาดับ
1. 400 นิวตัน , 200 นิวตัน 2. 200 3 นิวตัน , 400 นิวตัน
3. 200 นิวตัน , 400 นิวตัน 4. 400 3 นิวตัน , 400 นิวตัน

7. วัตถุกอ้ นหนึ่งแขวนไว้ดว้ ยเชือกเบา 3 เส้น


ดังรู ป ถ้าเชื อกแต่ละเส้นรับขนาด แรงดึง 30o
ได้ไม่เกิน 20 นิวตัน จงหาว่าจะแขวนน้ า
หนักได้มากที่สุดกี่นิวตัน W

27
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
8. กรอบรู ปสี่ เหลี่ยมหนัก 30 นิวตัน มีเชือกเส้นหนึ่งผูกที่
มุมบนทั้งสองของกรอบรู ปแล้วคล้องกับตะปูลื่นตัวหนึ่ง
37o 37o
ปรากฏว่าเส้นเชื อกทามุม 37o กับแนวกรอบรู ป จงหา
แรงดึงในเส้นเชือก ( sin 37o = 3/5 )
1. 25 นิวตัน 2. 30 นิวตัน
3. 40 นิวตัน 4. 60 นิวตัน

9(แนว มช) วัตถุมวล 0.6 กิโลกรัม ผูกเชือกแขวนกับเพดาน


60o 60o
ดังรู ป จงหาความตึงในเชือกที่ติดกับเพดาน
1. 23 นิวตัน 2. 3 นิวตัน
3. 2 3 นิวตัน 4. 3 2 นิวตัน 0.6 kg

10. โคมไฟมวล 8.5 กิโลกรัม ห้อยอยูด่ ว้ ยลวดเบา


สองเส้นดังรู ป จงหาความตึงในเส้นลวดทั้งสอง 10o 10o
กาหนด sin 10o = 0.17 , cos 10o = 0.98
1. 250 นิวตัน 2. 500 นิวตัน
3. 600 นิวตัน 4. 850 นิวตัน

11. หีบสัมภาระหนัก W นิ วตัน ถูกยกขึ้นดังรู ป ปรากฏว่าหี บใบนี้เคลื่อนที่ข้ ึนด้วยความเร็ ว


สม่ าเสมอ 5 เมตร/วินาที ถ้า OA และ OB เป็ นเชื อกที่ ยาวเท่ากัน จงหาแรงดึ งใน
เชือก OA มีค่าเท่าใด
1. W  2. 2W  O
2 sin 2  cos 2  
   

3. 2W 4. W A B

sin 2 2 cos 2

28
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
12. แขวนวัตถุมวล m ด้วยเชือกเบาดังรู ป ถ้าแรง
ดึงในเส้นเชือกตามแนวระดับมีขนาด 60 นิวตัน 60o
จงหาน้ าหนักของวัตถุน้ นั
1. 30 นิวตัน
60 N
2. 30 3 นิวตัน
3. 60 3 นิวตัน m
4. 120 นิวตัน

13. ชายคนหนึ่งมวล 50 กิโลกรัม โหนเชือกเบาที่จุด O โดยปลายของเชื อกทั้งสองข้างไปผูก


ไว้แน่นกับเสาที่ A และ B แรงดึงในเส้นเชือก AO และ BO เป็ นเท่าไรตามลาดับ
1. 250 นิวตัน และ 250 3 นิวตัน A 60o 30o B
2. 250 3 นิวตัน และ 250 นิวตัน O
3. 250 3 นิวตัน และ 250 3 นิวตัน
4. 250 นิวตัน และ 250 นิวตัน

14. จากรู ป นาเชือกผูกกับก้อนน้ าหนัก 40 นิวตัน


จงหาขนาดของแรงดึงเชือก T1 และ T2 60o 30o
1. 20 นิวตัน , 20 3 นิวตัน T1 T2
2. 20 3 นิวตัน , 20 นิวตัน
3. 10 นิวตัน , 10 3 นิวตัน 40 N
4. 10 3 นิวตัน , 10 นิวตัน

15. มวล 10 กิโลกรัม แขวนด้วยเชื อก 2 เส้น ทามุม


กับเพดานดังรู ป จงหาอัตราส่ วนของขนาดแรงดึง 30o 60o
เชือกในแนวดิ่งของเชื อก ก ต่อเชื อก ข ก ข
1. 1 : 1 2. 1 : 2
10 kg
3. 1 : 3 4. 1 : 3
29
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
16. จงหาอัตราส่ วนของแรง T1 ต่อ T2 เมื่อระบบ
60o
อยูน่ ิ่ง
T1 T2
1. 12 2. 23
3. 2 4. 23 w
3

17. วัตถุ M และ m สมดุลกันดังรู ปอัตราส่ วน


m คือข้อใดต่อไปนี้ ( ให้ sin 37o = 35 )
M
1. 4/3
2. 5/3 53o 37o m
3. 7/5
M
4. 8/5

18. ตามรู ป เชือกที่โยงกาแพงแนวตั้งกับคานเบามาก


จะต้องทนแรงดึงได้ไม่ต่ากว่ากี่นิวตัน จึงจะทาให้ T
น้ าหนัก 46 นิวตัน อยูใ่ นสภาวะสมดุล
1. 23 60o
2. 23 3
3. 46 46 N
4. 46 3

19. วัตถุมวล 20 กิโลกรัม วางอยูบ่ นพื้นเอียงลื่น ซึ่ งทามุม 30o กับแนวระดับ จงหาแรงน้อย
ที่สุดที่ผลักวัตถุข้ ึนตามแนวพื้นเอียง ที่ทาให้วตั ถุอยูใ่ นสภาพสมดุลได้
1. 100 นิวตัน 2. 200 นิวตัน 3. 300 นิวตัน 4. 400 นิวตัน

30
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
20. เด็กสามคนกาลังแย่งตุก๊ ตาตัวหนึ่ง เด็กคนหนึ่ง
เด็กคนแรก
ออกแรง ดึงที่หวั ( ทิศเหนือ ) ด้วยแรง 50 นิวตัน
50 N
เด็กอีกคนหนึ่งดึงขาด้านซ้ายทามุมกับเส้นระดับ 30o
ด้วยแรงค่าหนึ่ง เด็กคนสุ ดท้ายจะต้องออกแรง
เด็กคนสุดท้าย
เท่าใดที่แขนด้านขวาเพื่อให้เกิดสมดุล (ดูภาพประกอบ) 30o
1. 50 นิวตัน 2. 25 3 นิวตัน
3
เด็กคนที่ 2
3. 25 นิวตัน 4. 50 3 นิวตัน
3
21. ตามรู ปเป็ นคานเบาอันหนึ่ง ถามว่า m 1m 2m
ควรมีค่ากี่กิโลกรัม จึงจะทาให้คานอยู่
m
ในภาวะสมดุล
1. 0.5 2. 1.0 4m
50 N 10 N
3. 1.5 4. 2.0

8.3 สมดุลต่ อการหมุน


8.3.1 โมเมนต์ ของแรง หรือทอร์ ก
22. คานสม่าเสมอยาว 50 เซนติเมตร มีไม้ 5 cm 20 cm 25 cm
หมอนหนุนไว้ที่จุดกึ่งกลางคาน P และมี P
น้ าหนักแขวนไว้ที่ต่างๆ ดังรู ป ถ้าต้อง
การให้คานวางตัวตามแนวระดับ จะต้อง 2 kg
แขวนมวล 5 กิโลกรัม เพิ่มทางขวามือ 4 kg 4 kg
ของจุด P ห่างออกไปกี่เซนติเมตร
1. 2 2. 4 3. 6 4. 8
23. นาย A และนาย B ยืนอยูป่ ลายกระดานหก
4m 6m
คนละด้าน มวลของกระดาน 5 กิโลกรัม จุด
หมุนอยูท่ ี่ C ถ้านาย A มีมวล 60 กิโลกรัม
B
นาย B จะมีมวลกี่กิโลกรัม A
C
1. 50 2. 49 3. 40 4. 39
31
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
24. คานสม่าเสมอหนัก 30 นิวตัน จงหาน้ า B
หนัก W ที่ทาให้ระบบนี้ ยงั คงสมดุลได้พอ
ดี คานถูกแขวนโดยเชือก AB ( น้ าหนัก 4L 6L
เบามาก) ดังรู ป
A
1. 30 นิวตัน 2. 7.5 นิวตัน
W
3. 45.5 นิวตัน 4. 10 นิวตัน
25. แท่งไม้ยาว L มีมวล 0.04 กิโลกรัม ปลาย
ข้างหนึ่งผูกไว้กบั เพดานด้วยเชือก ปลายอีกข้าง
หนึ่งวางไว้บนแผ่นโฟมซึ่ งลอยอยูใ่ นอ่างน้ า นา
ตุม้ น้ าหนักมวล 0.04 กิโลกรัม มาห้อยไว้ที่
ระยะ L4 จากปลายที่ผกู เชือก จงหาว่าแรงที่
แผ่นโฟมกระทาต่อไม้มีค่ากี่นิวตัน
1. 0.3 2. 0.5 3. 0.7 4. 0.9
26. คานสม่าเสมอ AB ยาว 4 เมตร มีมวล 60
กิโลกรัม วางพาดอยูบ่ นเสา A และเสา C ซึ่ง C
อยูห่ ่างกัน 3 เมตร ชายคนหนึ่งมีมวล 75 กิ- A B
โลกรัม เดินจาก A ไป B ดังรู ป จงหาว่าเขา
จะเดินได้ไกลจาก A มากที่สุดเท่าไร คานจึงคงสภาพสมดุลอยูไ่ ด้
1. 3.2 เมตร 2. 3.4 เมตร 3. 3.6 เมตร 4. 3.8 เมตร
27(แนว มช) แผ่นไม้สม่าเสมอแผ่นหนึ่งยาว 4.0 เมตร มีมวล 60 กิโลกรัม วางพาดอยูบ่ นหมอน
หนุนที่จุด C และปลาย A ตั้งอยูบ่ นคมมีด ชายคนหนึ่งหนัก 600 นิวตัน เดินบนแผ่นไม้
จาก A ไปยัง B ดังรู ป จงหาว่าเขาจะเดินไปได้ไกลจาก A เป็ นระยะทางมากที่สุดกี่เมตร
แผ่นไม้จึงจะยังคงสภาพสมดุลครั้งสุ ด
ท้ายอยูไ่ ด้ A 2.5 m C B
1. 2.0 2. 2.5
3. 3.0 4. 3.5

32
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
28. กระดานสปริ งสาหรับกระโดดน้ า หนัก 400 นิวตัน มีหลักยึดกับกระดานสปริ งที่ A และ
B ซึ่ งห่างกัน 1/4 ของความยาวของกระดานสปริ ง ดังรู ป จงหาขนาดของแรงที่ A และ B
กระทาต่อกระดานสปริ ง ขณะที่นกั กระโดดน้ าหนัก 600 นิว ตัน ที่ปลายคาน C ยืนนิ่งอยู่
1. A = 2200 นิวตัน , B = 3200 นิวตัน
2. A = 1200 นิวตัน , B = 1200 นิวตัน
3. A = 3200 นิวตัน , B = 2200 นิวตัน
4. A = 2200 นิวตัน , B = 1200 นิวตัน C
A B
8.3.2 โมเมนต์ ของแรงคู่ควบ
29. แรง 2 แรง ขนานกันแต่มีทิศตรงกันข้ามขนาด 100 นิวตันเท่ากัน แนวแรงทั้งสองห่างกัน
5 เซนติเมตร โมเมนต์ของแรงคู่น้ ีรอบจุดใดๆ ที่อยูร่ ะหว่างแนวแรงทั้งคู่จะเป็ นเท่าใด
1. 5 นิวตัน.เมตร 2. 10 นิวตัน.เมตร
3. 15 นิวตัน.เมตร 4. 20 นิวตัน.เมตร
30. ชายคนหนึ่งขับรถเลี้ยวซ้าย เกิดโมเมนต์ของแรงคู่ควบที่พวงมาลัย 100 นิวตัน–เมตร ถ้า
พวงมาลัยมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.5 เมตร จงหาแรงที่มือแต่ละข้างดึงพวงมาลัย
1. 50 นิวตัน 2. 100 นิวตัน 3. 150 นิวตัน 4. 200 นิวตัน

8.4 สมดุลของวัตถุ
31. กล่องสี่ เหลี่ยมกว้าง 20 ซม. สู ง 50 ซม. หนัก 100 นิวตัน วางอยูบ่ นพื้นราบซึ่ งมีสัม-
ประสิ ทธิ์ ความเสี ยดทานสถิ ตระหว่างผิวสั มผัส 0.4 จงหาแรงผลักในแนวระดับที่ ท าให้
กล่องเริ่ มจะเคลื่อนที่
1. 20 นิวตัน 2. 40 นิวตัน 3. 60 นิวตัน 4. 80 นิวตัน
32. จากข้อที่ผา่ นมา แรงผลักจะอยูส่ ู งจากพื้นมากที่สุดกี่เซนติเมตร กล่องจึงยังไม่ลม้
1. 15 2. 20 3. 25 4. 30
33. กล่องสี่ เหลี่ยมกว้าง 1 เมตร สู ง 2 เมตร หนัก 10 กิโลกรัม ออกแรงผลักในแนวขนาน
กับพื้นขนาด 30 นิวตัน สู งจากพื้นเท่าไรกล่องจึงจะเริ่ มล้ม
1. 1.0 เมตร 2. 1.2 เมตร 3. 1.5 เมตร 4. 1.7 เมตร
33
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
34. จากข้อที่ผา่ นมา ถ้าออกแรง 60 นิวตัน กระทาแทน แนวแรงจะสู งจากพื้นได้มากที่สุด
เท่าไร กล่องจึงยังไม่ลม้
1. 0.83 เมตร 2. 1.24 เมตร 3. 1.48 เมตร 4. 1.56 เมตร

35. กล่องสี่ เหลี่ยมกว้าง 40 ซม. สู ง 80 ซม. หนัก 400 นิวตัน ถูกแรงกระทา 200 นิวตัน
ณ.จุดสู งจากพื้น 50 เซนติเมตร จงหาว่ากล่อง 40 ซม.
ใบนี้จะล้มหรื อไม่ 200 N
1. ล้ม
2. ไม่ลม้ h
3. เป็ นไปได้ท้ งั 2 แบบ
4. ข้อมูลไม่เพียงพอหาคาตอบ

36. ถ้าตูเ้ ย็นขนาดกว้าง 0.4 เมตร สู ง 1.6 เมตร วางอยูบ่ นกระบะท้ายรถสิ บล้อ สัมประสิ ทธิ์
ความเสี ยดทานระหว่างกระบะรถกับพื้นตูเ้ ย็น = 0.2 จงหาความเร่ งสู งสุ ดของรถสิ บล้อที่
พอดีทาให้ตเู ้ ย็นหกคะเมนว่ามีค่ากี่เมตรต่อ(วินาที)2
1. 2.0 2. 2.5 3. 4.0 4. 4.5

37. บันไดสม่าเสมอหนัก 200 นิวตัน ปลายบนพิงกาแพง


เกลี้ยงตรงจุดซึ่ งอยูส่ ู งจากพื้น 4 เมตร โดยบันไดยัน
กับพื้นขรุ ขระห่างจากกาแพง 3 เมตร
ก. จงหาแรงที่ยนั ปลายบันไดว่าไม่ให้ไถลลงมา
ข . ถ้ามีวตั ถุหนัก 100 นิวตัน วางอยูป่ ลายบันได
ด้านล่างห่างขึ้นมา 14 ของความยาวของบันได จงหาแรงเสี ยดทานที่พื้นราบ
1. ก. 50 นิวตัน ข. 78.50 นิวตัน 2. ก. 50 นิวตัน ข. 93.75 นิวตัน
3. ก. 75 นิวตัน ข. 78.50 นิวตัน 4. ก. 75 นิวตัน ข. 93.75 นิวตัน

34
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
38. บันไดยาว 2.5 เมตร มีน้ าหนัก 40 นิวตัน A
ศูนย์ถ่วงของบันไดอยูห่ ่างจากปลายล่าง 1.0
เมตร จงหาแรงที่บนั ไดกระทาต่อกาแพงที่
จุด A และแรงเสี ยดทานระหว่างพื้นล่างกับ 53o B
บันไดและเพื่อทาให้บนั ไดอยูน่ ิ่งได้ ตอบตามลาดับ
1. 12 นิวตัน , 12 นิวตัน 2. 12 นิวตัน , 24 นิวตัน
3. 24 นิวตัน , 12 นิวตัน 4. 24 นิวตัน , 24 นิวตัน

39. บันไดสม่าเสมอมวล 5 กิโลกรัม ยาว 10 เมตร ปลายบนวางพิงกาแพงเกลี้ยง ปลายล่าง


วางอยูบ่ นพื้นราบฝื ด โดยวางไว้ห่างจากกาแพง 6 เมตร ถ้าพื้นราบนั้นมีค่าสัมประสิ ทธิ์
ความเสี ยดทาน 0.4 แล้วมีชายคนหนึ่งมวล 50 กิโลกรัม ไต่บนั ไดขึ้นไป จงหาว่าเขาจะไต่
บันไดขึ้นไปได้เป็ นระยะไกลที่สุดกี่เมตร บันไดจึงจะเริ่ มไถล
1. 2.7 2. 5.4 3. 3.3 4. 6.6

40. คานสม่าเสมอมีมวล 10 กิโลกรัม แขวนไว้


กับเพดานที่จุดหมุนลื่น จงหาขนาดของแรง F
ในแนวระดับ ที่ดนั ปลายคานด้านล่างให้คาน 30o
เบนไปจากแนวเดิม 30 องศา ดังรู ป
F
1. 50 นิวตัน 2. 100 นิวตัน
3 3
3. 20 3 นิวตัน 4. 100 3 นิวตัน

41. คาน AB โตสม่าเสมอมีมวล 5 กิโลกรัม และ


B
แขวนมวล 15 กิโลกรัม ไว้ตรงจุดกึ่งกลางคาน D

ดังรู ป แรงดึงในเส้นเชือก CD มีค่ากี่นิวตัน


C
1. 10.0 2. 17.3 30o
3. 75.0 4. 100.0 A

35
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
42. เส้นลวดดึงคาน AB ซึ่ งมีน้ าหนัก 50 นิวตัน
แขวนไว้ ถ้าคานสม่าเสมอมีน้ าหนัก 20 นิว 53o เส้นลวด 1 ม.
ตัน ยาว 5 เมตร มีปลาย A ตรึ งติดกับกาแพง 37o
คานสมดุลอยูไ่ ด้ดงั รู ป จงหาแรงดึงในเส้นลวด
A B
1. 100 นิวตัน 2. 125 นิวตัน
4m 50 N
3. 150 นิวตัน 4. 175 นิวตัน

43. คานสม่าเสมอ ปลายหนึ่ งยึดติดกับกาแพงด้วยตะปู


เกลี้ยง อีกปลายหนึ่งยึดไว้ดว้ ยสายเคเบิล ดังแสดง เคเบิล
3 เมตร
ในรู ป ถ้าคานหนัก 100 นิวตัน และน้ าหนักที่ถ่วง
4 เมตร
ขนาด 400 นิวตัน แรงดึงในสายเคเบิลจะเป็ นกี่นิวตัน A
1. 1800 2. 750
400 N
3. 600 4. 450

8.5 การได้ เปรียบเชิงกล และประสิ ทธิภาพเชิงกล


44. กว้านตัวหนึ่งมีแขนหมุนยาว 60 เซนติเมตร และ รัศมีกว้าน 7.5 เซนติเมตร ถ้าไม่มีแรง
เสี ยดทาน การได้เปรี ยบเชิงกลจะเป็ นกี่เท่า
1. 2 2. 3 3. 5 4. 8

45. จากข้อที่ผา่ นมา ถ้าออกแรง 50 นิวตัน ยกน้ าหนักได้จริ ง 150 นิวตัน การได้เปรี ยบเชิง
กลครั้งหลังนี้เป็ นกี่เท่า
1. 2 2. 3 3. 5 4. 8

46. จากข้อที่ผา่ นมา ประสิ ทธิ ภาพเชิงกลเป็ นเท่าใด


1. 25.0% 2. 37.5% 3. 47.5% 4. 50.0%

36
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
47. มีดควัน่ อ้อยอันหนึ่ง มีดา้ มจับห่างจากจุดหมุน 25 เซนติเมตร ตาแหน่งที่วางอ้อย ห่าง
จากจุดหมุน 5 เซนติเมตร ถ้าอ้อยแต่ละท่อนต้องใช้แรงตัด 30 นิวตัน เราจะต้องใช้แรงกด

ที่มีดควัน่ อ้อยน้อยที่สุดเท่าไรจึงทาให้ออ้ ยขาด P F

พอดี (ไม่คิดน้ าหนักของตัวมีด) และค่าการได้


เปรี ยบเชิงกลของมีดควัน่ อ้อยเป็ นเท่าไร
1. 3 นิวตัน , 2.5 เท่า ท่อนอ้อน
2. 6 นิวตัน , 5.0 เท่า
3. 9 นิวตัน , 7.5 เท่า 5 cm
4. 12 นิวตัน , 10.0 เท่า 25 cm

48. เมื่อออกแรง 10 นิวตัน กดที่ปลายด้ามคีมอันหนึ่ง จะเกิดแรงกดวัตถุที่ปลายคีมเท่าไร ถ้า


ปากคีมยาว 2 เซนติเมตร ด้ามคีมยาว 10 เซนติเมตร และคีมมีประสิ ทธิภาพ 80%
1. 10 นิวตัน 2. 20 นิวตัน 3. 30 นิวตัน 4. 40 นิวตัน

8.6 เสถียรภาพของสมดุล
8.7 ศู นย์ กลางมวล และศู นย์ ถ่วง
49. วัตถุมวล 10 กิโลกรัม รู ปสี่ เหลี่ยมจัตุรัส มี Y
ความยาวด้านละ 20 เซนติเมตร มีมวล 1 , 2 , 2 kg 3 kg
10 kg
3 และ 4 กิโลกรัม ติดอยูท่ ี่มุมทั้งสี่ ดา้ น
จงหาจุดศูนย์กลางมวลของระบบนี้
1 kg 4 kg X
1. ( 12 , 10 ) 2. ( 10 , 12 )
3. ( 2 , 10 ) 4. ( 10 , 2 )

37
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
8.8 สภาพยืดหยุ่น
50. ลวดโลหะยาว 3 เมตร และมี พ้ื น ที่ ห น้ า ตัด 0.25 ตารางเซนติ เมตร จะยืด ออก 0.05
เซนติเมตร เมื่อใช้แรงดึง 10000 นิวตัน จงหาความเค้นดึงและความเครี ยดดึง ตามลาดับ
1. 2 x 108 N/m2 , 1.67 x 10–4 2. 2 x 108 N/m2 , 3.34 x 10–4
3. 4 x 108 N/m2 , 1.67 x 10–4 4. 4 x 108 N/m2 , 3.34 x 10–4

51. ทองแดงมีมอดูลสั ของยัง 1.25 x 1011 นิ วตันต่อตารางเมตร และความเค้นตามยาวที่ ขีด


จากัดสภาพยืดหยุ่น 7.9 x 1010 นิ วตันต่อตารางเมตร ลวดทองแดงยาว 10 เมตร มีพื้ นที่
หน้าตัด 10 ตารามิลลิเมตร เมื่อออกแรง 50 นิวตัน ดึงลวดทองแดงเส้นนี้ จงหา
ก. ความเค้นตามยาวของลวดทองแดง ข. ความเครี ยดตามยาวของลวดทองแดง
1. ก. 2.5 x 106 N/m2 ข. 2 x 10–5 2. ก. 5.0 x 106 N/m2 ข. 2 x 10–5
3. ก. 2.5 x 106 N/m2 ข. 4 x 10–5 4. ก. 5.0 x 106 N/m2 ข. 4 x 10–5

52(แนว En) แขวนมวล 1000 กิโลกรัม กับเส้นลวดโลหะชนิดหนึ่งยาว 10 เมตร มีพื้นที่


หน้าตัด 2 x 10–4 ตารางเมตร เส้นลวดนี้ จะยืดออกเท่าใด ถ้ากาหนดให้ค่ายังมอดูลสั ของ
เส้นนี้เป็ น 2 x 1011 นิวตัน/ตารางเมตร
1. 0.10 เซนติเมตร 2. 0.25 เซนติเมตร
3. 1.00 เซนติเมตร 4. 2.50 เซนติเมตร

53. ลวดโลหะชนิดหนึ่งยาว L มีพ้ืนที่หน้าตัด A เมื่อนาวัตถุทรงกลมมวล M มาแขวนเข้ากับ


ลวดนี้ แล้วนาปลายลวดข้างหนึ่งไปยึดติดกับเพดานปรากฏว่าลวดยึดออก L จงหาค่ามอ-
ดูลสั ของยังของลวดเส้นนี้
1. AL / Mg L 2. LA / MgL 3. Mg L / AL 4. MgL / L A

54. โลหะชนิดหนึ่งมีค่ามอดูลสั ของยัง Y ถ้านาโลหะนี้ ไปทาเป็ นลวดยาว L มีพ้ืนที่หน้าตัด


A แขวนลวดดังกล่าวด้วยมวล M ทาให้ลวดมีระยะยืด X จงหาว่ามวล M มีค่าเท่าไร
1. XAY LY
2. AXg 3. XAY gL 4. XAY
L gL
38
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
55. เสาคอนกรี ตต้นหนึ่งรับน้ าหนักได้สูงสุ ด 20000 กิโลกรัม และจะหดตัวลง 3 มิลลิเมตร
ถ้าเสาคอนกรี ตนี้ มีฐานกว้าง 10 เซนติเมตร หนา 20 เซนติเมตร สู ง 4.5 เมตร จงหา
ค่ามอดูลสั ของเสาต้นนี้
1. 1.0 x 1010 นิวตัน/เมตร2 2. 1.5 x 1010 นิวตัน/เมตร2
3. 2.0 x 1010 นิวตัน/เมตร2 4. 2.5 x 1010 นิวตัน/เมตร2

56. มอดูลสั ของยังของเหล็กมีค่า 2 x 1011 นิวตัน/เมตร2 ถ้าแขวนมวล 100 กิโลกรัม ที่


ปลายล่างของแท่งเหล็กพื้นที่หน้าตัด 0.1 ตารางเมตร ยาว 2 เมตร โดยให้ปลายบนตรึ งกับ
เพดาน แท่งเหล็กจะยืดออกเท่าใด
1. 1.0 x10–13 เมตร 2. 4.0 x 10–10 เมตร
3 . 1.0 x 10–8 เมตร 4. 1.0 x 10–7 เมตร

57. ลวดอลูมิเนี ยมยาว 2 เมตร และเส้ นผ่านศูนย์กลาง 0.1 เซนติ เมตร นาเส้ นลวดนี้ ไปยก
วัตถุมวล 1000 กิโลกรัม ลวดจะยืดออกกี่เมตร
( ค่ามอดูลสั ของยังของอลูมิเนียมเท่ากับ 7 x 1010 นิวตันต่อตารางเมตร )
1. 0.15 2. 0.25 3. 0.30 4. 0.35

58. แท่งโลหะอันหนึ่งมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 2 เซนติเมตร มีคา่ มอดูลสั ของยัง Y = 2 x 1011


นิ วตัน/เมตร 2 จงหาว่าต้องออกแรงดึ งกี่ นิวตัน จึ งจะท าให้แท่ งโลหะมี ความยาวเพิ่ ม ขึ้ น
0.01 เปอร์เซ็นต์
1. 5000 2. 5700 3. 6300 4. 7000

59. เมื่อแขวนวัตถุมวล 50 กิโลกรัม เข้ากับเส้นลวด แล้วแขวนกับเพดานพบว่าลวดยืดออก


เป็ น 0.25 % ของความยาวเดิม ถ้าลวดมีพื้นที่หน้าตัด 0.4 ตารางมิลลิเมตร จงหาค่า
มอดูลสั ความยืดหยุน่ ของลวดเส้นนี้
1. 2.5 x 108 นิวตัน/ตารางเมตร 2. 5.0 x 1010 นิวตัน/ตารางเมตร
3. 5.0 x 1011 นิวตัน/ตารางเมตร 4. 2.5 x 1012 นิวตัน/ตารางเมตร

39
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
60. กาหนดให้มอดูลสั สภาพยืดหยุน่ ของเส้นลวดเท่ากับ 2.0 x 1011 นิ วตันต่อตารางเมตร เมื่อ
แขวนวัตถุมวล m ที่ปลายลวดเส้นนี้ ลวดจะยาวออกร้อยละ 0.1 ของความยาวเดิม ถ้าเส้น
ผ่านศูนย์กลางของลวดเท่ากับ 0.5 มิลลิเมตร จงหาขนาดของมวล m
1. 1 กิโลกรัม 2. 2 กิโลกรัม 3. 4 กิโลกรัม 4. 8 กิโลกรัม

61. ลวดเหล็กเส้นหนึ่ง มีความเครี ยดตามความยาว 0.01 มีคา่ ยังมอดูลสั 1011 นิวตัน/ ตาราง-
เมตร พื้นที่หน้าตัด 2 ตารางมิลลิเมตร จงหาแรงดึงในเส้นลวดในหน่วยนิวตัน
1. 1.0x103 2. 2.0x103 3. 3.0x103 4. 4.0x103

62. ลวดโลหะต่างชนิ ดกัน 2 เส้น ยาวเท่ากัน มีพ้ืนที่หน้าตัดเท่ากัน อัตราส่ วนมอดูลสั ของยัง


ของลวดเส้ นที่หนึ่ งต่อลวดเส้ นที่ สอง เป็ น 4 : 5 มี แรงกระทาต่อลวดเส้นที่ หนึ่ งต่อเส้ นที่
สอง 5 : 4 จงหาอัตราส่ วนของระยะยืดของลวดเส้นที่หนึ่งต่อลวดเส้นที่ 2
1. 1 : 1 2. 5 : 4 3. 16 : 25 4. 25 : 16

63. วัตถุมวล 10 กิโลกรัม แขวนไว้ที่ปลายข้างหนึ่งของลวด x ที่ยาว 1 เมตร ลวด x ยืด


ออก 1 มิลลิเมตร และเมื่อเอามวล 20 กิโลกรัม แขวนกับลวด y ที่ยาว 1.5 เมตร ลวด y
ยืดออก 2 มิลลิเมตร รัศมีของพื้นที่หน้าตัดของลวด x เป็ น 2 เท่า ของรัศมีของพื้นที่หน้า
ตัดของลวด y อัตราส่ วนของค่ามอดูลสั ยังของลวด x ต่อลวด y มีค่าเท่าใด
1. 1 : 6 2. 3 : 8 3. 2 : 3 4. 3 : 4

64. ลวดกลม A และ B ทาจากวัสดุชนิดเดียวกัน ยาวเท่ากัน 5 เมตร มีเส้นผ่านศูนย์กลาง


เป็ น 6 และ 8 มิลลิเมตร ตามลาดับ ปลายข้างหนึ่งของลวดทั้งสองยึดตรึ งกับเพดาน ปลาย
ที่เหลือต่างถูกแขวนด้วยมวล 400 กิโลกรัม ลวดทั้งคู่อยูใ่ นแนวดิ่ง ขณะนั้นความเครี ยดตาม
ยาวของลวด A เป็ นกี่เท่าของความเครี ยดตามยาวของลวด B
1. 169 2. 43 3. 43 4. 169

40
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
65. ลวดทังสเตนมีค่ามอดูลสั ของยังเป็ น 5 เท่าของลวดอะลูมิเนียม เมื่อนาลวดทั้งสองชนิดที่มี
พื้นที่หน้าตัดเท่ากัน ทาการทดลองพบว่าเมื่อออกแรงดึงลวดทั้งสอง ความเครี ยดตามยาว
ของลวดทังสเตนเป็ น 2 เท่าของลวดอะลูมิเนียม แรงดึงที่กระทาต่อลวดทั้งสองนั้น
1. มีค่าเท่ากัน
2. ของลวดทังสเตนเป็ น 10 เท่าของลวดอะลูมิเนียม
3. ของลวดอะลูมิเนียมเป็ น 5 เท่าของลวดทังสเตน
4. ของลวดทังสเตนเป็ น 2.5 เท่าของลวดอะลูมิเนียม

66. ลวดทองแดงและลวดเหล็กกล้ามีพ้ืนที่หน้าตัดเท่ากับ 0.5 ตารางมิลลิเมตร และมีความยาว


1 เมตรเท่ากัน มอดูลสั ของยังสาหรับลวดทองแดงเป็ น 1.2 x 1011 นิ วตันต่อตารางเมตร
และมอดูลสั ของยังสาหรับลวดเหล็ก มีค่าเป็ น 2 x 1011 นิวตันต่อตารางเมตร ถ้านาลวดทั้ง
สองไปแขวนในแนวดิ่งโดยมีกอ้ นน้ าหนัก 100 นิวตัน แขวนที่ปลายลวดความเค้นของลวด
ทั้งสองต่างกันเท่าใด และลวดทั้งสองจะยืดออกจากเดิมต่างกันกี่เมตร
1. 3.4 x 10–3 2. 6.7 x 10–3 3. 3.4 x 10–4 4. 6.7 x 10–4

67. ลวดโลหะเส้นหนึ่งประกอบด้วยส่ วนที่เป็ นเหล็กและทองแดงต่อกันอยู่ มีพ้ืนที่หน้าตัดเท่า


กันคื อ 0.25 ตารางเซนติเมตร และมี ความยาวทั้งหมด 3 เมตร เมื่ อดึ งลวดนี้ ด้วยแรง
10000 นิ วตัน ปรากฏว่าลวดจะยาวกว่าเดิม 0.72 เซนติเมตร จงหาความยาวเดิมของส่ วนที่
เป็ นเหล็ก
( ค่ามอดูลสั ของเหล็กและทองแดงเป็ น 20 x 1010 นิวตัน/เมตร2 และ 12 x 1010 นิวตัน/เมตร2 )
1. 1.1 เมตร 2. 1.5 เมตร 3. 2.0 เมตร 4. 2.1 เมตร

68. รถยนต์ A ลากรถยนต์ B ด้วยความเร่ งคงที่ จากหยุดนิ่ งจนกระทัง่ มีความเร็ ว 36 กิโล-


เมตรต่อชัว่ โมง ภายใน 20 วินาที ถ้ารถยนต์ B มีมวล 1200 กิโลกรัม และถูกลากด้วย
ลวดเหล็กกล้าที่มีค่ามอดูลสั ของยังส์ 200 จิกะนิวตันต่อตารางเมตร ยาว 2 เมตร และมีพื้น
ที่หน้าตัด 10 ตารางมิลลิเมตร ลวดเส้นนี้ จะยืดเท่าใด
1. 0.06 มิลลิเมตร 2. 0.6 มิลลิเมตร 3. 6 มิลลิเมตร 4. 60 มิลลิเมตร
41
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
69. ลวดเหล็กกล้าสาหรับดึงลิฟต์ตวั หนึ่งมีพื้นที่หน้าตัด 5 ตารางเซนติเมตร ตัวลิฟท์และสัม-
ภาระในลิฟต์มีน้ าหนักรวม 2000 กิโลกรัม จงหาความเค้น (stress) ในสายเคเบิล ในขณะที่
ลิฟท์กาลังเคลื่อนที่ข้ ึนด้วยความเร่ งสู งสุ ด 2.0 เมตรต่อวินาที2
1. 64 x 106 นิวตัน/เมตร2 2. 48 x 106 นิวตัน/เมตร2
3. 40 x 106 นิวตัน/เมตร2 4. 32 x 106 นิวตัน/เมตร2

70. ลวดเหล็กเส้นหนึ่งยาว 2 เมตร ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.4 เซนติเมตร นาไปผูกกับมวล


1000 กิโลกรัม แล้วหย่อนให้มวลนั้นเคลื่อนที่ลงในแนวดิ่งด้วยความเร่ ง 2 เมตร/วินาที2
จงหาว่าลวดจะยืดยาวออกมากกว่าเดิมเท่าไร
(ให้ค่ามอดูลสั ของเหล็ก = 2 x 1010 นิวตัน/เมตร2)
1. 5.2 มิลลิเมตร 2. 6.5 มิลลิเมตร 3. 7.8 มิลลิเมตร 4. 36 มิลลิเมตร

71. ลวดเหล็กกล้ามีขีดจากัดสภาพยืดหยุด 4 x 107 นิวตัน/เมตร2


มีพ้ืนที่หน้าตัด 1x10–3 เมตร2 นามาใช้ยกลิฟท์ที่มีมวลรวม
ลวดเหล็กกล้า
ทั้งสิ้ น 2000 กิโลกรัม ดังรู ป อยากทราบค่าความเร่ งสู งสุ ด
ของลิฟท์ที่จะไม่ทาให้ลวดเหล็กนี้เกินขีดจากัดสภาพยืดหยุน่
ลิฟท์
1. 100.0 เมตร/วินาที2 2. 10.0 เมตร/วินาที2 a

3. 1.0 เมตร/วินาที2 4. 0.1 เมตร/วินาที2

72. โลหะชนิ ดหนึ่ งมีค่ามอดูลสั ยัง 2 x 1010 นิ วตัน/ตารางเมตร มีค่าความเค้นที่ขีดจากัดสภาพ


ยืดหยุน่ 3 x 109 นิวตันต่อตารางเมตร ถ้ามีลวดที่ทาจากโลหะชนิดนี้ ยาว 10 เมตร มีพ้ืนที่
หน้าตัด 10 ตารางมิลลิเมตร แขวนลวดดังกล่าวในแนวดิ่ง และต้องการให้มนั ยืดและยาว
สุ ทธิ 12 เมตร ต้องแขวนด้วยมวลเท่าไร
1. 2.4 x 103 กิโลกรัม 2. 4 x 103 กิโลกรัม
3. 2.4 x 104 กิโลกรัม 4. ลวดขาดก่อน

42
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
73. คานตามรู ปที่แสดงต่อไปนี้ มีจุดรองรับที่ C มีน้ าหนักถ่วง 2000 นิวตัน และ W อยูค่ นละ
ข้างกาหนดให้ ลวดเหล็ก AB มีความยาว 2 เมตร และมีพื้นที่หน้าตัด 0.3 ตารางเซนติเมตร
เมื่อคานอยูใ่ นแนวระดับพอดีลวดเหล็ก AB จะยืดออกไปเป็ นระยะเท่าไร ถ้าหากลวดเหล็ก
มีค่ามอดูลสั ของยังส์เท่ากับ 200 x 109
18 m 12 m
นิวตัน/เมตร2 และไม่คิดน้ าหนักคาน A
1. 1 mm
C 2m
2. 2 mm B
3. 10 mm 2000 N w
4. 20 mm

74. ลวดเหล็กยาว 4 เมตร พื้นที่หน้าตัด 0.5 ตารางเซนติเมตร ผูกยึดกับคานแข็งเบา ABO ที่


จุด B จงหาส่ วนยืดของลวดเหล็กเมื่อมีน้ าหนัก 2000 กิ โลกรัม มากระทาที่จุด A ของคาน
ถ้าเหล็กมีคา่ มอดูลสั ของยังส์เท่ากับ 200 x 109
นิวตัน/ตารางเมตร และ g = 10 เมตร/วินาที2 2 ม.
O
1. 8 มิลลิเมตร
2. 1 มิลลิเมตร A B

3. 24 มิลลิเมตร 2000 kg

4. 12 มิลลิเมตร 6 ม.

75. ลูกตุม้ มีมวล 20 กิโลกรัม สายแขวนลูกตุม้ เป็ นลวดเหล็กยาว 10 เมตร มีพื้นที่ภาคตัด


ขวาง 5x10–6 ตารางเมตร ปล่อยให้ลูกตุม้ แกว่งเป็ นมุมกว้าง โดยมีอตั ราเร็ วที่จุดต่ าสุ ด 10
เมตรวินาที ความยาวของเส้ นลวดที่ ยืดเพิ่มขึ้ นจากเมื่อแขวนอยู่นิ่งมีค่าเท่าไร กาหนดค่า
มอดูลสั ของยังส์เท่ากับ 20 x 2010 นิวตัน/เมตร2
1. 4 x 10–3 เมตร 2. 3 x 10–3 เมตร
3. 2 x 10–3 เมตร 4. 1 x 10–3 เมตร



43
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 2 บทที่ 8 สมด ุลกลและสภาพยืดหยน่ ุ
เฉลยตะลุ ย โจทย์ ท่ วั ไป
บทที่ 8 สมดุ ล กลและสภาพยื ด หยุ่ น
1. ตอบข้ อ 2. 2. ตอบข้ อ 1. 3. ตอบข้ อ 3. 4. ตอบข้ อ 3.
5. ตอบข้ อ 3. 6. ตอบข้ อ 1. 7. ตอบ 10 8. ตอบข้ อ 1.
9. ตอบข้ อ 3. 10. ตอบข้ อ 1. 11. ตอบข้ อ 4. 12. ตอบข้ อ 3.
13. ตอบข้ อ 2. 14. ตอบข้ อ 2. 15. ตอบข้ อ 4. 16. ตอบข้ อ 1.
17. ตอบข้ อ 2. 18. ตอบข้ อ 2. 19. ตอบข้ อ 1. 20. ตอบข้ อ 4.
21. ตอบข้ อ 1. 22. ตอบข้ อ 3. 23. ตอบข้ อ 4. 24. ตอบข้ อ 2.
25. ตอบข้ อ 1. 26. ตอบข้ อ 4. 27. ตอบข้ อ 3. 28. ตอบข้ อ 1.
29. ตอบข้ อ 1. 30. ตอบข้ อ 4. 31. ตอบข้ อ 2. 32. ตอบข้ อ 3.
33. ตอบข้ อ 4. 34. ตอบข้ อ 1. 35. ตอบข้ อ 1. 36. ตอบข้ อ 2.
37. ตอบข้ อ 4. 38. ตอบข้ อ 1. 39. ตอบข้ อ 2. 40. ตอบข้ อ 1.
41. ตอบข้ อ 4. 42. ตอบข้ อ 2. 43. ตอบข้ อ 2. 44. ตอบข้ อ 4.
45. ตอบข้ อ 2. 46. ตอบข้ อ 2. 47. ตอบข้ อ 2. 48. ตอบข้ อ 4.
49. ตอบข้ อ 1. 50 . ตอบข้ อ 3. 51. ตอบข้ อ 4. 52. ตอบข้ อ 2.
53. ตอบข้ อ 4. 54. ตอบข้ อ 4. 55. ตอบข้ อ 2. 56. ตอบข้ อ 4.
57. ตอบข้ อ 4. 58. ตอบข้ อ 3. 59. ตอบข้ อ 3. 60. ตอบข้ อ 3.
61. ตอบข้ อ 2. 62. ตอบข้ อ 4. 63. ตอบข้ อ 1. 64. ตอบข้ อ 4.
65. ตอบข้ อ 2. 66. ตอบข้ อ 4. 67. ตอบข้ อ 4. 68. ตอบข้ อ 2.
69. ตอบข้ อ 2. 70. ตอบข้ อ 1. 71. ตอบข้ อ 2. 72. ตอบข้ อ 4.
73. ตอบข้ อ 1. 74. ตอบข้ อ 4. 75. ตอบข้ อ 3.



44
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 บทที่ 9 คลื่นกล

บทที่ 9 คลื่ น กล
9.1 การถ่ ายโอนพลังงานของคลืน่ กล
การเคลื่อนที่แบบคลื่น หมายถึง “ การเคลื่อน
ที่ซ่ ึงพลังงานถูกถ่ายทอดไปข้างหน้าได้ โดยที่อนุ ภาค
ตัวกลางสัน่ อยูท่ ี่เดิม ”

ตัวอย่างเช่ น
ถ้าเราทาการทดลองโดยใช้เชื อกยาวประมาณ 5 เมตร วางไว้บนพื้ นราบโดยผูกด้ายสี สด
ไว้ตรงกลางเส้นเชื อก แล้วยึดปลายเชือกข้างหนึ่งไว้ก บั ฝาผนัง ใช้มือดึงปลายเชือกที่เหลือให้ตึง
พอประมาณแล้วสะบัดปลายเชื อกนั้นขึ้ นลงตามแนวดิ่ ง จะเกิ ดส่ วนโค้งขึ้ นในเส้ นเชื อกซึ่ งจะ
เคลื่ อนจากปลายที่ ถูกสะบัดพุ่งเข้าหาฝาผนัง การเคลื่ อนที่ น้ ี จะมี การนาพลังงานจากจุดสะบัด
เชื อกเคลื่ อนติดไปพร้อมกับส่ วนโค้งของเชื อกนั้น ส่ งผลให้พลังงานถูกถ่ายทอดไปข้างหน้าได้
แต่ถ้าพิจารณาถึ งเส้นด้ายที่ ผูกไว้กลางเชื อก จะพบว่าเส้ นด้ายเพียงแต่สั่นขึ้นลงอยู่กบั ที่ไม่ได้
เคลื่อนที่เข้าหาฝาผนังเหมือนกับพลังงาน แสดงให้เห็นว่าอนุ ภาคของเส้นเชื อกตรงที่ผกู ด้ายอยู่
นั้นไม่ได้เคลื่ อนที่ไปกับพลังงาน แต่จะสั่นขึ้ นลงอยู่ที่เดิ ม เราเรี ยกการเคลื่ อนที่ ซ่ ึ งพลังงานถูก
ถ่ายทอดไปข้างหน้าได้ โดยอนุภาคตัวกลางสัน่ อยูท่ ี่เดิมเช่นนี้วา่ เป็ นการเคลือ่ นที่แบบคลืน่
ทิศของพลังงาน

ทิศการสัน่ ไปมาของอนุภาค

อีกตัวอย่างเช่ น
ถ้าเรานาลูกแก้วกลมๆ มาวางเรี ยงกันประมาณ 7 ลูก แล้วออกแรงตีลูกแก้วลูกแรก จะทา
ให้ลูกแก้วนั้นวิ่งไปกระทบลูกที่ 2 แล้วลูกที่ 2 นั้นจะวิ่งไปชนลูกที่ 3 เป็ นเช่นนี้ ไปเรื่ อยๆ จนถึง
ลูกสุ ดท้าย การชนกันแบบนี้ จะมีการถ่ายทอดพลังงานไปข้างหน้าเรื่ อยๆ ทาให้พลังงานเกิดการ
เคลื่อนที่ไปข้างหน้าได้ โดยที่อนุ ภาคตัวกลาง (คือลูกแก้ว) เพียงแต่สั่นไปมาอยูเ่ ดิม การเคลื่อนที่
แบบนี้เรี ยกการเคลื่อนที่แบบคลื่นได้เช่นกัน

1
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 บทที่ 9 คลื่นกล
ชนิดของคลืน่
การแบ่ งชนิดของคลืน่ วิธีที่ 1 แบ่งโดยอาศัยทิศทางของพลังงานกับทิศการสั่นอนุ ภาค จะ
แบ่งคลื่นได้ 2 ชนิด คือ
1) คลืน่ ตามขวาง (longitudinal wave) คือ
คลื่นซึ่ งมีทิศการถ่ายทอดพลังงานตั้งฉากกับทิศของการ
สั่นอนุภาค เช่นคลื่นในเส้นเชือก เป็ นต้น
2) คลืน่ ตามยาว (transverse wave) คือคลื่นที่มีทิศการถ่ายทอดพลังงานขนาน กับทิศ
การสั่นของอนุภาค เช่น คลื่นในลูกแก้ว เป็ นต้น
การแบ่ งชนิดของคลืน่ วิธีที่ 2 แบ่งโดยอาศัยลักษณะการถ่ายทอดพลังงาน จะแบ่งคลื่นได้
2 ชนิด คือ
1) คลื่ น กล (mechanical wave) คื อ คลื่ น ที่ ต้ อ งอาศัย อนุ ภ าคตัว กลางจึ ง ถ่ า ยทอด
พลังงานได้ เช่นคลื่นในเส้นเชือก คลื่นในลูกแก้ว เป็ นต้น
2) คลื่ น แม่ เหล็ ก ไฟฟ้ า (electromagnetic wave) คื อ คลื่ น ที่ ไ ม่ ต้ อ งอาศัย อนุ ภ าค
ตัวกลาง ก็สามารถถ่ายทอดพลัง งานได้ ซึ่ งได้แก่ รังสี แกมมา รังสี เอ็กซ์ รังสี อลั ตราไวโอเลต
คลื่นแสง รังสี อินฟาเรด คลื่นไมโครเวฟ คลื่นวิทยุ ไฟฟ้ ากระแสสลับ
1. การเคลื่อนที่แบบคลื่นคือการเคลื่อนที่ซ่ ึง
1. พลังงานถูกถ่ายโอนไปข้างหน้าพร้อมกับการเคลื่อนที่ของอนุ ภาคตัวกลาง
2. พลังงานถูกถ่ายโอนไปข้างหน้า ก่อนการเคลื่อนที่ของอนุภาคตัวกลาง
3. พลังงานถูกถ่ายโอนไปข้างหน้า หลังการเคลื่อนที่ของอนุภาคตัวกลาง
4. พลังงานถูกถ่ายโอนไปข้างหน้าได้ โดยที่อนุ ภาคตัวกลางสั่นอยูท่ ี่เดิม

2
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 บทที่ 9 คลื่นกล
2. เมื่อมีคลื่นผิวน้ าแผ่ไปถึงวัตถุที่ลอยอยูท่ ี่ผวิ น้ าจะมีการเคลื่อนที่อย่างไร
1. อยูน่ ิ่งๆ เหมือนเดิม 2. กระเพื่อมขึ้นลงและอยูก่ บั ที่เมื่อคลื่นผ่านไปแล้ว
3. เคลื่อนที่ตามคลื่น 4. ขยับไปข้างหน้าแล้วถอยหลัง

3. คลื่นในเส้นเชื อกกาลังเคลื่อนที่จากซ้ายไปขวา A ทิศการเคลื่อนที่


และ B เป็ นจุดสองจุดบนเส้นเชือก เมื่อเวลา
A B
หนึ่งรู ปร่ างของเส้นเชือกเป็ นดังรู ป ถ้าเวลาผ่านไป
อีกเล็กน้อย จุด A และ B จะเคลื่อนที่อย่างไร
1. ทั้ง A และ B จะเคลื่อนที่ไปทางขวามือ 2. A ต่ากว่าเดิม B สู งกว่าเดิม
3. A สู งกว่าเดิม B ต่ากว่าเดิม 4. ทั้ง A และ B อยูท่ ี่เดิม

4. คลื่นตามยาวและคลื่นตามขวางต่างกันอย่างไร
1. ต่างกันที่ความยาวคลื่น 2. ต่างกันที่แอมพลิจูดของคลื่น
3. ต่างกันที่ประเภทของแหล่งกาเนิด 4. ต่างกันที่ทิศทางการสั่นของตัวกลาง

3
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 บทที่ 9 คลื่นกล
5. คลื่นที่ตอ้ งอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่คือ
1. คลื่นกล 2. คลื่นดล 3. คลื่นตามยาว 4. คลื่นตามขวาง

6. คลื่นในข้อใดต่อไปนี้ ข้อใดเป็ นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าทั้งหมด


1. คลื่นเสี ยง , คลื่นวิทยุ , คลื่นไมโครเวฟ 2. คลื่นน้ า , คลื่นในเส้นเชื อก , คลื่นดล
3. คลื่นในสปริ ง , คลื่นน้ า , แสง 4. แสง , ไฟฟ้ ากระแสสลับ , รังสี แกมมา

9.2 คลืน่ ผิวนา้


คลื่นผิวน้ าเป็ นคลื่นกล เกิดเมื่อผิวน้ า
ถูกรบกวน และมีการถ่ายโอนพลังงานผ่าน
อนุภาคของน้ า
สิ่ งที่ควรทราบเป็ นเบื้องต้นเกี่ยวกับคลื่นผิวน้ ามีดงั นี้
1. สั นคลืน่ (crest) คือจุดสู งสุ ดที่คลื่นกระเพื่อมขึ้ นไปได้
2. ท้องคลืน่ (trough) คือจุดต่าสุ ดที่คลื่นกระเพื่อมลงไปได้
3. แอมพลิจูด (amplitude , A ) คือการกระจัดจากระดับผิวน้ าปกติข้ ึนไปถึงสันคลื่นหรื อ
การกระจัดจากระดับผิวน้ าปกติลงไปถึงท้องคลื่น
4
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 บทที่ 9 คลื่นกล
สันคลื่น 
A  X
W Y Z
A

ท้องคลื่น
4. หนึ่งลูกคลืน่ คือช่วงจังหวะคลื่นกระเพื่อมขึ้น 1 อัน รวมกับลงอีก 1 อัน เช่นในรู ป
ช่วง WX คือ 1 ลูกคลื่น หรื อช่วง XY ก็เป็ น 1 ลูกคลื่น หรื อช่วง YZ ก็เป็ น 1 ลูกคลื่นเช่นกัน
5. ความยาวคลืน่ ( wavelength , ) คือระยะทางที่วดั เป็ นเส้นตรงจากจุดตั้งต้นไป
จนถึงจุดสุ ดท้ายของหนึ่ งลูกคลื่ น เช่ น ระยะทางจาก W ไป X ดังรู ป หรื อระยะระหว่างสัน
คลื่นที่อยูถ่ ดั กัน หรื อระยะระหว่างท้องคลื่นที่อยูถ่ ดั กัน ก็ได้
6. คาบ (period, T) คือเวลาที่คลื่นใช้ในการเคลื่อนที่ครบ 1 ลูกคลื่น มีหน่วยเป็ นวินาที (s)
7. ความถี่ (frequency , f ) คือจานวนลูกคลื่นที่เกิดขึ้นในหนึ่งหน่วยเวลา เช่นถ้าเกิด
คลื่น 3 ลูกในเวลา 1 วินาที เช่นนี้เรี ยกได้วา่ ความถี่คลื่นมีค่า 3 รอบต่อวินาที
ความถี่ มีหน่วยเป็ น รอบ/วินาที หรื อ 1 /วินาที หรื อสั้นๆ ว่า เฮิรตซ์ (Hz)
เราอาจคานวณหาค่าความถี่ได้จาก
f = จานวนคลืน่ ทีเ่ กิด หรื อ f = T1
เวลาทีเ่ กิดคลืน่ นั้น
เมื่อ f คือความถี่ ( 1s , Hz)
T คือคาบ (วินาที)
8. อัตราเร็วคลืน่ (wave speed , v ) คือระยะทางที่คลื่นเคลื่อนที่ได้ในหนึ่งหน่วยเวลา
เราสามารถคานวณหาอัตราเร็ วคลื่นได้จาก
v = st หรื อ v = f
เมื่อ v คืออัตราเร็ วคลื่น (เมตร/วินาที)
s คือระยะทางที่เคลื่อนที่ไปได้ ( เมตร )
t คือเวลาที่คลื่นใช้ในการเคลื่อนที่ ( วินาที )
f คือความถี่คลื่น ( Hz หรื อ รอบ/วินาที )
 คือ ความยาวคลื่น ( เมตร )
5
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 บทที่ 9 คลื่นกล
9. เฟสของคลืน่ (phase , ) เป็ นการบอกตาแหน่งบนหน้าคลื่นในรู ปของมุมหน่วย
องศาหรื อเรเดียน เช่นในรู ป
90o 450o 810o
B
A 180o E
0o C 360o 540o 720o 900o 1180o
D
270o 630o 990o
จุด A เป็ นจุดซึ่ งคลื่นเริ่ มเคลื่อนที่ข้ ึนจากจุดสมดุล เราถือว่าจุด A มีเฟสเป็ น 0o
จุด E เป็ นจุดซึ่งคลื่นเคลื่อนที่ครบ 1 รอบนับจากจุดเริ่ มต้น A เราถือว่าจุด E มีเฟสเป็ น 360o
จุด C เป็ นจุดซึ่งคลื่นเคลื่อนที่ได้ครึ่ งรอบ นับจากจุดเริ่ มต้น A เราถือว่าจุด C มีเฟสเป็ น 180o
จุด B เป็ นจุดซึ่ งอยูต่ รงกับสันคลื่น เราถือว่าจุด B มีเฟสเป็ น 90o
จุด D เป็ นจุดซึ่ งอยูต่ รงกับท้องคลื่น เราถือว่าจุด D มีเฟสเป็ น 270o
สู ตรใช้คานวณเกี่ยวกับเฟสของคลื่น ได้แก่
o o
 = 360 vf ( x) หรื อ  = 360 ( x) หรื อ  = 360 o f (Δ t)

เมื่อ คือเฟสที่ต่างกันของจุด 2 จุด ( องศา )

 x คือระยะการกระจัดที่ต่างกันของจุด 2 จุด ( เมตร )
f คือความถี่ของคลื่น ( เฮิรตซ์ )
v คืออัตราเร็ วของคลื่น ( เมตร/วินาที )
 คือความยาวคลื่น ( เมตร )
t คือเวลาที่ต่างกันของจุด 2 จุด ( วินาที )
10. เฟสตรงกัน คือจุดบนหน้าคลื่นซึ่ งอยูห่ ่างกันเท่ากับ n  เมื่อ n = 1 , 2 , 3 , …

3
2
90o 1 450o 810o 1170o
0o 180o 540o 900o 1260o
360o 720o 1180o 1440o
270o 630o 990o 1350o

6
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 บทที่ 9 คลื่นกล
ตัวอย่างเช่น เฟส 90o , 450o , 810o , 1170o ในรู ป อยูห่ ่างกันเท่ากับ 1  , 2  , 3 
ดังนั้นเฟสเหล่านี้ถือว่าเป็ นเฟสที่ตรงกันหมด
และจากรู ปจะได้อีกว่า 270o , 630o , 990o , 1350o เป็ นเฟสที่ตรงกัน
และ 180o , 540o , 900o , 1260o เป็ นเฟสที่ตรงกัน
เพราะอยูห่ ่างกันเท่ากับ n 

11. เฟสตรงกันข้ าม คือจุดบนหน้าคลื่นซึ่ งอยูห่ ่างกัน ( n – 12 )  เมื่อ n = 1 , 2 , 3 , …


90o 450o 810o 1170o
0o 180o 540o 900o 1260o
360o 720o 1180 o 1440o

λ 270
o 630o 990o 1350o
2 3λ
2 5λ
2
ตัวอย่างเช่นในรู ปด้านบน
เฟส 90o เป็ นเฟสที่ตรงกันข้ามเฟส 270o เพราะเฟสทั้งสองอยูห่ ่างกัน 1  ( คือ [ 1–
2
1 ])
2
เฟส 90o เป็ นเฟสที่ตรงกันข้ามเฟส 630o เพราะเฟสทั้งสองอยูห่ ่างกัน 3
2  ( คือ [ 2–
1 ])
2
เฟส 90o เป็ นเฟสที่ตรงกันข้ามเฟส 990o เพราะเฟสทั้งสองอยูห่ ่างกัน 5 1 ])
2  ( คือ [ 3– 2
12. สมการของคลืน่
s = A sin  t Y
S t
เมื่อ s = การกระจัดจากระดับน้ าปกติ
ไปถึงจุดใดๆ บนผิวคลื่น
A = แอมพลิจูดของคลื่น
 = อัตราเร็ วเชิงมุม ( เรเดียน/วินาที )
ค่าของ  สามารถหาได้จาก
 = 2f

เมื่อ f คือความถี่ของคลื่น ( เฮิรตซ์ )

7
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 บทที่ 9 คลื่นกล
7. ข้อใดต่อไปนี้คือความหมายของความยาวคลื่น (  )
1. ระยะทางที่วดั เป็ นเส้นตรงจากจุดตั้งต้นไปจนถึงจุดสุ ดท้ายของหนึ่งลูกคลื่น
2. ระยะระหว่างสันคลื่นที่อยูถ่ ดั กัน
3. ระยะระหว่างท้องคลื่นที่อยูถ่ ดั กัน
4. ถูกทุกข้อ

8. คลื่นชนิดหนึ่งเกิดจากการสั่น 3000 รอบต่อนาที คลื่นนี้มีความถี่ และคาบเท่าไร


1. 50 Hz , 0.02 วินาที 2. 100 Hz , 0.04 วินาที
3. 150 Hz , 0.06 วินาที 4. 300 Hz , 0.08 วินาที

9. คลื่นน้ าคลื่นหนึ่งมีความยาวคลื่น 2 เมตร เคลื่อนที่ได้ระยะทาง 40 เมตร ใน 5 วินาที


จงหา ก. ความเร็ วคลื่น ข. ความถี่ ค. เวลาที่ใช้เคลื่อนที่ได้ 1 ลูกคลื่น
1. 8 m/s , 4 Hz , 0.25 s 2. 8 m/s , 8 Hz , 0.50 s
3. 4 m/s , 4 Hz , 0.25 s 4. 4 m/s , 8 Hz , 0.50 s

8
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 บทที่ 9 คลื่นกล
10(แนว มช) แหล่ งกาเนิ ดคลื่ นให้คลื่ นความถี่ 400 เฮิรตซ์ ความยาวคลื่ น 12.5 เซนติเมตร
คลื่นที่เกิดจะมีอตั ราเร็ วเท่าใด และในระยะทาง 300 เมตร คลื่นนี้ จะใช้เวลาเคลื่อนที่เท่าไร
1. 25 เมตร/วินาที , 3 วินาที 2. 25 เมตร/วินาที , 6 วินาที
3. 50 เมตร/วินาที , 3 วินาที 4. 50 เมตร/วินาที , 6 วินาที

11. แหล่งกาเนิดคลื่นปล่อยคลื่นมีความยาวคลื่น 5 เซนติเมตร วัดอัตราเร็ วได้ 40 เมตร/วินาที


ในเวลา 0.8 วินาที ได้จะเกิดคลื่นทั้งหมดกี่ลูกคลื่น
1. 320 2. 640 3. 800 4. 1200

12. เมื่อสังเกตคลื่นเคลื่อนที่ไปบนผิวน้ ากระเพื่อมขึ้นลง 600 รอบ ใน 1 นาที และระยะระหว่าง


สันคลื่นที่ถดั กันวัดได้ 20 เซนติเมตร จงหาว่าเมื่อสังเกตคลื่นลูกหนึ่งเคลื่อนที่ไปใน 1 นาที
จะได้ระยะทางกี่เมตร

9
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 บทที่ 9 คลื่นกล
13. ในการทดลองเรื่ องการเคลื่อนที่ของคลื่น โดยใช้ถาดน้ ากับตัวกาเนิดคลื่นซึ่ งเป็ นมอเตอร์ ที่
หมุน 4 รอบ/วินาที ถ้าคลื่นมีความยาวคลื่น 3 เซนติเมตร จงหาอัตราเร็ วของคลื่นที่เกิดขึ้น
1. 8 cm/s 2. 10 cm/s 3. 12 cm/s 4. 14 cm/s

14. ตัวกาเนิ ดคลื่นมีค่าความถี่ของการสัน่ 8 เฮิรตซ์ ทาให้เกิดคลื่นผิวน้ า ดังแสดงในรู ป


ทิศทางการเคลื่อนที่
ของคลื่นผิวน้ า
ระดับผิวน้ าปกติ
11 12 13 14 cm

รู ปแสดงคลื่นผิวน้ าในกล่องคลื่นที่เวลาหนึ่งหาความเร็ วของคลื่นนี้ ในหน่วยเซนติเมตร/-


วินาที
1. 20 2. 16 3. 8 4. 4

10
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 บทที่ 9 คลื่นกล
15. นักเรี ยนคนหนึ่งยืนอยูร่ ิ มฝั่งโขงสังเกตเห็นคลื่นผิวน้ าเคลื่อนกระทบฝั่งมีระยะห่างระหว่าง
สันคลื่ นที่อยูถ่ ดั กัน 10 เซนติเมตร และคลื่นมีอตั ราเร็ ว 5 เซนติเมตร/วินาที อยากทราบว่า
คลื่นขบวนนี้จะเคลื่อนกระทบฝั่งนาทีละกี่ลูก

16. การทดลองโดยใช้ถาดคลื่นที่มีน้ าลึกสม่าเสมอ วัดระยะห่างระหว่างสันคลื่น 5 สันที่อยูถ่ ดั


กันได้ระยะทาง 10 เซนติเมตร ถ้าคลื่นผิวน้ ามีอตั ราเร็ ว 20 เซนติเมตรต่อวินาที จงหา
ความถี่ของคลื่น
1. 2 Hz 2. 4 Hz 3. 8 Hz 4. 4 Hz

11
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 บทที่ 9 คลื่นกล
17. คลื่นต่อเนื่องในเส้นเชื อกกาลังเคลื่อนที่ไปทางขวา เมื่อเวลา t = 0 กราฟระหว่างการกระจัด
ของอนุ ภาคบนเส้นเชือกกับระยะทางที่คลื่นเคลื่อนที่ได้ เป็ นดังรู ป ก. ถ้าเขียนกราฟระหว่าง
การกระจัดของอนุภาคบนเส้นเชือกกับเวลา จะได้กราฟดังรู ป ข. อัตราเร็ วของคลื่น ในเส้น
เชือกเป็ นเท่าใด
ระยะห่างจากตาแหน่งเดิม ระยะห่างจากตาแหน่งเดิม

เซนติเมตร เวลา
10 20 30 40 50 1 2 3 4 (วินาที)

1. 0.1 m/s 2. 0.2 m/s 3. 0.3 m/s 4. 0.4 m/s

18. การกระจัด

ตาแหน่ง
0 20 40 60 80 100 120 140 160 (cm)

จากรู ปคลื่นขบวนหนึ่ง เมื่อเวลา t = 0 แสดงด้วยเส้นทึบ และเมื่อเวลาผ่านไป t = 0.2


วินาที แสดงด้วยเส้นประ จงหาความเร็ วของคลื่นในหน่วยกี่เมตร/วินาที
1. 0.2 2. 0.5 3. 1.0 4. 1.5

12
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 บทที่ 9 คลื่นกล
19. คลื่นนิ่งในเส้นเชื อกที่เวลาต่างๆ 3 เวลา เวลา 0 วินาที
ดังรู ป จงหาความเร็ วของคลื่นในเชือกนี้ 120 cm
0 30 60 90
1. 15 เมตร/วินาที เวลา 0.01 วินาที
2. 30 เมตร/วินาที 120 cm
0 30 60 90
3. 60 เมตร/วินาที
เวลา 0.02 วินาที
4. 120 เมตร/วินาที 120 cm
0 30 60 90

20(แนว En) ในการสังเกตของนักเรี ยนกลุ่มหนึ่ง รัศมี(เซนติเมตร)


พบว่า เมื่อทาให้เกิดคลื่นดลวงกลมขึ้นในถาด
คลื่นรัศมีของคลื่นดลวงกลมที่เวลาต่างๆ เป็ น 50
40
ไปตามกราฟ ถามว่านักเรี ยนกลุ่มนี้ทาให้เกิด 30
คลื่นต่อเนื่องขึ้นในถาดคลื่นนี้ ดว้ ยความถี่ 10 20
เฮิรตซ์ ยอดคลื่น 2 ยอด ที่อยูใ่ กล้กนั มาก 10 เวลา (วินาที)
ที่สุดจะอยูห่ ่างกันกี่เซนติเมตร 2 4 6 8 10

13
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 บทที่ 9 คลื่นกล
21. คลื่นขบวนหนึ่งมีรูปร่ างดังกราฟ ข้อใดถูกต้องทั้งหมด
1. มุมเฟสเริ่ มต้น 0 องศา แอมปลิจูด 10 เซนติเมตร การกระจัด (เซนติเมตร)
คาบ 10 วินาที ความถี่ 0.1 เฮิรตซ์ 5 เวลา
2. มุมเฟสเริ่ มต้น 0 องศา แอมปลิจูด 5 เซนติเมตร
2 4 6 8 10 (วินาที)
คาบ 8 วินาที ความถี่ 0.125 เฮิรตซ์ –5
3. มุมเฟสเริ่ มต้น 90 องศา แอมปลิจูด 5 เซนติเมตร
คาบ 8 วินาที ความถี่ 0.125 เฮิรตซ์
4. มุมเฟสเริ่ มต้น 90 องศา แอมปลิจูด 10 เซนติเมตร
คาบ 10 วินาที ความถี่ 0.1 เฮิรตซ์

22. คลื่นสองขบวน มีลกั ษณะดังรู ป ข้อใดที่ถูกต้อง


A B

1m
1. คลื่น A มีความยาวคลื่น 0.5 เมตร , คลื่น A และ B มีเฟลต่างกัน 90o
2. คลื่น A มีความยาวคลื่น 0.25 เมตร , คลื่น A และ B มีเฟลต่างกัน 90o
3. คลื่น A มีความยาวคลื่น 0.5 เมตร , คลื่น A และ B มีเฟลต่างกัน 45o
4. คลื่น A มีความยาวคลื่น 0.25 เมตร , คลื่น A และ B มีเฟลต่างกัน 45o

14
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 บทที่ 9 คลื่นกล
23. คลื่นความถี่ 500 เฮิรตซ์ มีความเร็ ว 300 เมตร/วินาที จุด 2 จุดซึ่ งอยูห่ ่างกัน 0.06 เมตร
จึงมีเฟสต่างกันเท่าใด
1. 30o 2. 36o 3. 42o 4. 45o

24. คลื่นขบวนหนึ่งมีความถี่ 150 เฮิรตซ์ มีความเร็ ว 300 เมตร/วินาที จุดสองจุดบนคลื่นที่มี


เฟสต่างกัน 90 องศา จะอยูห่ ่างกันกี่เมตร
1. 0.2 2. 0.5 3. 0.06 4. 1.5

25. จากรู ป S เป็ นแหล่งกาเนิดคลื่นความถี่ 100 เฮิรตซ์ P


จุด P และ Q อยูห่ ่างจาก S เป็ นระยะ 15 เมตร และ 15 m
18 เมตร ตามลาดับ ถ้าคลื่นที่มาถึงจุด P และ Q มี S
เฟสต่างกัน 32 เรเดียน จงหาอัตราเร็ วของคลื่นใน 18 m Q
หน่วยเมตร/วินาที (  = 180o )
1. 400 2. 500 3. 600 4. 700

15
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 บทที่ 9 คลื่นกล
26. คลื่นขบวนหนึ่งมีความยาวคลื่น 0.5 เมตร จุด 2 จุด บนคลื่นที่ห่างกัน 0.2 เมตร จะมี
เฟสต่างกันกี่องศา
1. 144o 2. 360o 3. 155o 4. 123o

27. เชือกเส้นหนึ่งขึงตึง โดยปลายข้างหนึ่ งตรึ งอยูก่ บั ที่ อีกปลายหนึ่งติดอยูก่ บั เครื่ องสั่นสะเทือน


ณ ที่จุดหนึ่งบนเชือกที่เฟสเปลี่ยนไป 240 องศา ทุกๆ ช่วง 3 วินาที จงหาว่าเครื่ องสั่น
สะเทือนนี้มีความถี่ในการสั่นเท่าไร (ในหน่วยเฮิรตซ์)
1. 0.11 2. 0.22 3. 0.33 4. 0.44

16
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 บทที่ 9 คลื่นกล
28(แนว En) คลื่นผิวน้ ามีอตั ราเร็ ว 20 เซนติเมตร/วินาที กระจายออกจากแหล่งกาเนิ ดคลื่นซึ่ง
มีความถี่ 5 เฮิรตซ์ การกระเพื่อมของผิวน้ าที่อยูห่ ่างจากแหล่งกาเนิด 30 เซนติเมตร และ
48 เซนติเมตร จะมีเฟสต่างกัน
1. 30o 2. 60o 3. 90o 4. 180o

29. คลื่นน้ าความถี่ 2 เฮิรตซ์ แอมพลิจูด 10 เซนติเมตร จะมีการขจัดตามแนวแกน Y เท่าใด


ณ. จุดเวลา 83 วินาทีจากจุดเริ่ มต้น
1. สู งขึ้นไป 15 เซนติเมตร 2. ลึกลงไป 10 เซนติเมตร
3. ลึกลงไป 15 เซนติเมตร 4. สู งขึ้นไป 10 เซนติเมตร

17
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 บทที่ 9 คลื่นกล
9.3 การซ้ อนทับของคลืน่
หลักการซ้ อนทับ ( principle of superposition ) กล่าวว่า “ เมื่อคลื่ นตั้งแต่สองคลื่ น
มาพบกันแล้วเกิดการรวมกัน การกระจัดของคลื่นรวมจะมีค่าเท่ากับผลบวกการกระจัดของคลื่น
แต่ละคลื่ นที่ มาพบกัน หลังจากที่คลื่ นเคลื่ อนผ่านพ้นกันแล้ว แต่ละคลื่ นยังคงมี รูปร่ างและทิ ศ
ทางการเคลื่อนที่เหมือนเดิม ”
ตัวอย่าง ก.
คลืน่  คลืน่ 

คลืน่ รวม เมื่อคลื่นมาซ้อนกัน จะเกิดการ


รวมกัน ทาให้แอมพลิจูดรวมสูงขึ้น
เมื่อคลื่นแยกจากกัน จะกลับมา
คลืน่  คลืน่  มีลกั ษณะเดิมทั้งขนาดและทิศทาง

ตัวอย่าง ข.

คลืน่  คลืน่ 
เมื่อคลื่นมาซ้อนกัน จะเกิดการ
คลืน่ รวม รวมกัน ทาให้แอมพลิจูดรวมลึกลง
เมื่อคลื่นแยกจากกัน จะกลับมา
คลืน่  คลืน่  มีลกั ษณะเดิมทั้งขนาดและทิศทาง

ตัวอย่าง ค.
คลืน่ 
คลืน่ 
คลืน่ รวม เมื่อคลื่นมาซ้อนกัน จะเกิดการ
หักล้างกัน ทาให้คลื่นรวมหายไป
คลืน่  เมื่อคลื่นแยกจากกัน จะกลับมา
คลืน่ 
มีลกั ษณะเดิมทั้งขนาดและทิศทาง

18
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 บทที่ 9 คลื่นกล
9.4 สมบัติของคลืน่
การเขียนรู ปคลืน่
แบบที่ 1 หากเรามองดูคลื่นน้ าในตูป้ ลา
โดยมองจากด้านข้างตู้ ใช้ตามองที่ระดับผิวน้ า
พอดี เราจะเห็นคลื่นผิวน้ าเป็ นดังรู ป การเขียน
รู ปคลื่นแบบนี้ เป็ นรู ปแบบที่ 1
แบบที่ 2 หากเราใช้มือตีผวิ น้ าที่อยูน่ ิ่งใน
สระว่ายน้ า จะเกิดคลื่นน้ ากระจายออกไปเป็ นรู ป รังสี คลื่น แสดงทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่น
ครึ่ งวงกลม เราอาจเขียนรู ปแสดงการกระจาย สันคลืน่
ของคลื่นได้ดงั รู ป เส้นทึบเป็ นตาแหน่งที่อยูต่ รง (หน้ าคลืน่ )
กับสันคลื่น และตาแหน่งที่อยูต่ รงกลางระหว่าง
เส้นทึบจะอยูต่ รงกับท้องคลื่น และลูกศรที่แสดง S
ถึงทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่นเรี ยกรังสี คลื่น และจากรู ปจะเห็นได้ว า่ รังสี คลื่นจะตั้งฉากกับแนว
สันคลื่น (หน้าคลื่น) เสมอ
ฝึ กทา จากรู ปหน้าคลื่นต่อไปนี้
แหล่งกาเนิดคลื่น
จงเขียนรังสี คลื่น อยูด่ า้ นนี้

คลืน่ ทุกชนิดจะมีคุณสมบัติ 4 ประการ คือ


1. การสะท้อน (Reflection) 2. การหักเห (Refraction)
3. การแทรกสอด (lnterference) 4. การเลี้ ยวเบน (Diffrection)
การสะท้อน และการหักเห ทั้งคลื่ นและอนุ ภาคต่างก็แสดงคุ ณสมบัติสองข้อนี้ ได้ แต่การ
แทรกสอดและการเลี้ ยวเบนจะเป็ นคุ ณสมบัติเฉพาะตัวของคลื่ น เพราะคลื่ นเท่านั้นที่จะแสดง
คุณสมบัติสองข้อนี้ ได้

19
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 บทที่ 9 คลื่นกล
9.4.1 การสะท้อน
เมื่อคลื่นพุง่ เข้าไปตกกระทบสิ่ งกีด รังสีตกกระทบ เส้ นปกติ รังสีสะท้ อน
ขวาง คลื่นจะเกิดการสะท้อนกลับออกมา มุมตก มุมสะท้ อน
ได้ดงั แสดงในรู ปภาพ สมบัติของคลื่นข้อ 1 2
นี้เรี ยก สมบัติการสะท้อนได้ของคลื่น
คาศัพท์เกีย่ วกับการสะท้อนคลืน่
1. รังสี ตกกระทบ คือรังสี คลื่นที่พุง่ เข้าไปตกกระทบ
2. รังสี สะท้อน คือรังสี คลื่นที่สะท้อนย้อนกลับออกมา
3. เส้นปกติ คือเส้นตรงที่ลากมาตกตั้งฉากกับผิวที่คลื่นมาตกกระทบ
4. มุมตกกระทบ คือมุมระหว่างรังสี ตกกระทบกับเส้นปกติ
5. มุมสะท้อน คือมุมระหว่างรังสี สะท้อนกับเส้นปกติ
การสะท้อนของคลืน่ ใดๆ จะเป็ นไปภายใต้ กฎการสะท้อน 2 ข้ อคือ
1. มุมตกกระทบจะมีขนาดเท่ากับมุมสะท้อน
2. รังสี ตกกระทบ รังสี สะท้อน และเส้นปกติ ต้องอยูใ่ นระนาบเดียวกัน
ฝึ กทา จงเติมคาลงในช่องว่างต่อไปนี้
ให้ถูกต้องและสมบูรณ์
1 2

20
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 บทที่ 9 คลื่นกล
การสะท้อนของคลืน่ ในเส้ นเชือก
หากเรานาเชือกเส้นหนึ่งมามัดติดเสา ปลายอีกข้างหนึ่งใช้มือดึงให้ตึงพอสมควร จากนั้น
สะบัดให้เกิดคลื่นในเส้นเชื อก คลื่นนี้ จะเคลื่อนที่จากจุดที่ใช้มือสะบัดพุง่ เข้าหาต้นเสา และเมื่อ
คลื่นกระทบเสาแล้วจะสามารถสะท้อนย้อนกลับออกมาได้ดว้ ย
สาหรับการสะท้อนของคลื่นในเส้นเชือกนี้ คลืน่ เข้ า
จะเป็ นไปได้ 2 กรณี ได้แก่
1) ถ้าปลายเชือกมัดไว้แน่น คลื่นที่ออก
มาจะมีลกั ษณะตรงกันข้ามกับคลื่นที่เข้าไป นัน่
คือคลื่นที่สะท้อนออกมาจะมีเฟสเปลี่ยนไป 180o คลืน่ ออก
คลืน่ เข้ า
2) ถ้าปลายเชือกมัดไว้หลวมๆ ( จุดสะ
ท้อนไม่คงที่ ) คลื่นที่สะท้อนออกมาจะมีลกั ษณะ
เหมือนคลื่นที่เข้าไป นัน่ คือคลื่นที่สะท้อนออก
มาจะมีเฟสเท่าเดิมหรื อมีเฟสเปลี่ยนไป 0o
คลืน่ ออก
30(แนว มช) เชือกเส้นหนึ่งมีปลายข้างหนึ่งผูกแน่นติดกับเสา เมื่อสร้างคลื่นจากปลายอีกข้าง
หนึ่งเข้ามาตกกระทบจะเกิดคลื่นสะท้อนขึ้น คลื่นสะท้อนนี้ มีเฟสเปลี่ยนไปกี่องศา
1. 90 2. 180 3. 270 4. 360

31. คลื่นสะท้อนจะไม่เปลี่ยนเฟสเมื่อ
1. คลื่นตกกระทบตั้งฉากกับตาแหน่งสะท้อน 2. ตาแหน่งสะท้อนคลื่นคงที่
3. ตาแหน่งสะท้อนคลื่นไม่คงที่ 4. มุมตกกระทบโตกว่ามุมสะท้อน

21
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 บทที่ 9 คลื่นกล
32. คลื่นน้ าหน้าตรงเคลื่อนที่เข้ากระทบผิวสะท้อนราบเรี ยบจะเกิดการสะท้อนขึ้น คลื่นน้ าที่
สะท้อนออกมามีเฟสเปลี่ยนไปกี่องศา
1. 0 2. 90 3. 180 4. 270

33(แนว มช) รู ปแสดงถึงคลื่นตกกระทบในเส้นเชือก ซึ่ งปลายข้างหนึ่งของเชื อกผูกติดอยูก่ บั


กาแพง เมื่อคลื่นตกกระทบกับกาแพง
แล้วจะเกิดคลื่นสะท้อนขึ้น ต่อไปนี้
ข้อใดแสดงถึงคลื่นสะท้อน
1. 2.

3. 4.

22
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 บทที่ 9 คลื่นกล
9.4.2 การหักเห
เมื่อคลื่ นผ่านจากตัวกลางหนึ่ งไปยังอีกตัวกลางหนึ่ ง ซึ่ งมีความหนาแน่นไม่เท่ากัน จะทา
ให้อตั ราเร็ ว ( v ) แอมพลิจูด (A) และความยาวคลื่น () เปลี่ยนไป แต่ความถี่ ( f ) จะคงเดิม
ในกรณี ที่ คลื่ นตกกระทบพุ่งเข้าตกตั้งฉากกับ แนวรอยต่อตัวกลาง คลื่ นที่ ท ะลุ ลงไปใน
ตัวกลางที่ 2 จะมีแนวตั้งฉากกับแนวรอยต่อตัวกลางเช่นเดิม แต่หากคลื่นตกกระทบตกเอียงทา
มุมกับแนวรอยต่อตัวกลาง คลื่นที่ทะลุลงไปในตัวกลางที่ 2 จะไม่ทะลุลงไปในแนวเส้นตรงเดิม
แต่จะมีการเบี่ยงเบนไปจากแนวเดิมดังรู ป ปรากฏการณ์น้ี เรี ยกว่าเกิดการหักเหของคลืน่
กรณี คลื่นตกตั้งฉากรอยต่อ เส้นปกติ กรณี คลื่นตกไม่ต้งั ฉากกับรอย
รังสี ตกกระทบ
ตัวกลาง คลื่นจะไม่เปลี่ยน ต่อตัวกลาง คลื่นจะเบี่ยงเบน
ทิศทางการเคลื่อนที่ ตัวกลางที่ 1 มุมตก แนวการเคลื่อนที่
V 1 , 1 , A 1 V 1 ,  1 , A 1 1
รอยต่อตัวกลาง
V2 , 2 , A2 ตัวกลางที่ 2 V ,  , A 
2 2 2 มุมหักเห2
รังสี หกั เห
v ,  , A เปลี่ยน แต่ f คงที่
คาศัพท์เกีย่ วกับการหักเหของคลืน่
1. รังสี ตกกระทบ คือรังสี คลื่นที่พุง่ เข้าไปตกกระทบ
2. รังสี หักเห คือรังสี คลื่นที่ทะลุเข้าไปในตัวกลางที่ 2
3. เส้ นปกติ คือเส้นตรงที่ลากมาตกตั้งฉากกับรอยต่อตัวกลาง
4. มุมตกกระทบ คือมุมระหว่างรังสี ตกกระทบกับเส้นปกติ
5. มุมหักเห คือมุมระหว่างรังสี หกั เหกับเส้นปกติ
ฝึ กทา จงเติมคาลงในช่องว่างต่อไปนี้ให้ถูกต้องและสมบูรณ์
……… ………

………

………

………

23
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 บทที่ 9 คลื่นกล
กฏของสเนลล์
sin θ 1 v1 
= = 1 = n
21 ( เมื่อ   90o )
sin θ 2 v2 
2
เมื่อ 1 และ 2 คือมุมระหว่ างรังสี คลืน่ กับเส้ นปกติในตัวกลางที่ 1 และ 2 ตามลาดับ
v1 และ v2 คือความเร็วคลืน่ ในตัวกลางที่ 1 และ 2 ตามลาดับ
1 และ 2 คือความยาวคลืน่ ในตัวกลางที่ 1 และ 2 ตามลาดับ
n21 คือค่ าดัชนีหักเหของตัวกลางที่ 2 เทียบกับตัวกลางที่ 1
เกีย่ วกับการหักเหผ่านนา้ ตืน้ นา้ ลึก น้ าตื้น
เมื่อคลื่นเคลื่อนที่ระหว่างน้ าตื้นกับน้ าลึก รอยต่อระหว่างตัวกลาง
ตอนคลื่นอยูใ่ นน้ าลึก คลื่นจะมีความยาวคลื่น (ผิวหักเห)
แอมพลิจูด ความเร็ วคลื่น มากกว่าในน้ าตื้น
น้ าลึก
เสมอ แต่ความถี่จะมีค่าเท่าเดิม

34(แนว มช) เมื่อคลื่นเคลื่อนที่จากโลหะเข้าไปในน้ าจะทาให้


1. ความเร็ วคลื่นคงเดิม 2. ความยาวคลื่นคงเดิม
3. แอมพลิจูดคลื่นคงเดิม 4. ความถี่คลื่นคงเดิม

35. ข้อความใดถูกต้องเกี่ยวกับคลื่นน้ า
1. คลื่นน้ าตื้นอัตราเร็ วคลื่นมากกว่าคลื่นน้ าลึก
2. คลื่นน้ าตื้นอัตราเร็ วคลื่นเท่ากับคลื่นน้ าลึก
3. คลื่นน้ าตื้นอัตราเร็ วคลื่นน้อยกว่าอัตราเร็ วคลื่นในน้ าลึก
4. ความยาวคลื่นในน้ าตื้นมากกว่าความยาวคลื่นในน้ าลึก

24
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 บทที่ 9 คลื่นกล
36. คลื่ น เคลื่ อ นที่ จากตัวกลาง x ไปยังตัว กลาง y ถ้า ความเร็ วคลื่ น ในตัว กลาง x เป็ น 8
เมตร/วินาที และความยาวคลื่นมีขนาดเท่ากับ 4 เมตร เมื่อผ่านเข้าไปในตัวกลาง y ความเร็ ว
คลื่นเปลี่ยนเป็ น 10 เมตร/วินาที ความยาวคลื่นในตัวกลาง y จะมีค ่าเป็ นกี่เมตร
1. 3 2. 5 3. 6 4. 8

37(แนว En) ถ้าคลื่นน้ าเคลื่อนที่ผา่ นจากเขตน้ าลึกไปยังเขตน้ าตื้น แล้วทาให้ความยาวคลื่นลดลง


ครึ่ งหนึ่ง จงหาอัตราส่ วนของอัตราเร็ วของคลื่นในน้ าลึกกับอัตราเร็ วของคลื่นในน้ าตื้น
1. 0.5 2. 1.0 3. 2.0 4. 4.0

25
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 บทที่ 9 คลื่นกล
38. คลื่นน้ าเคลื่อนที่จากน้ าตื้นไปยังน้ าลึก ถ้ามุม
ตกกระทบและมุมหักเหเท่ากับ 30o และ 45o 30o =นาตืน น้ าตื้น
ตามลาดับ และความเร็ วคลื่นในน้ าตื้นเท่ากับ ้ ้
ผิวรอยต่อ
10 เซนติเมตร/วินาที จงหาความเร็ วคลื่น นาลึก= 45
o
้ น้ าลึก
ในน้ าลึกในหน่วยเซนติเมตร/วินาที
1. 2 2. 2 3. 10 4. 10 2

39(แนว En) คลื่นน้ าเคลื่อนที่จากน้ าตื้นไปยังน้ าลึก


ถ้ามุมตกกระทบและมุมหักเหเท่ากับ 30 และ 30o =นาตื้น น้ าตื้น
45 องศา ตามลาดับ และความยาวคลื่นในน้ าตื้น ้
ผิวรอยต่อ
เท่ากับ 5 เซนติเมตร จงหาความยาวคลื่นใน นาลึก
้ = 45o น้ าลึก
น้ าลึกในหน่วยเซนติเมตร
1. 2.8 2. 5.0 3. 7.0 4. 15.0

26
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 บทที่ 9 คลื่นกล
40. ถ้าความเร็ วคลื่นในตัวกลาง x เป็ น 8 เมตร/วินาที เมื่อผ่านเข้าไปในตัวกลาง y ความเร็ ว
คลื่นเปลี่ยนเป็ น 10 เมตร/วินาที ดัชนีหกั เหของตัวกลาง y เทียบกับตัวกลาง x เป็ นเท่าใด
1. 0 2. 0.8 3. 1.8 4. 2.7

41. ถ้าคลื่นเคลื่อนจากบริ เวณน้ าตื้นมีความยาวคลื่น 45 เซนติเมตร ไปสู่ น้ าลึกความยาวคลื่น


เปลี่ยนเป็ น 60 เซนติเมตร จงหาดัชนีหกั เหของตัวกลางน้ าลึกเทียบกับตัวกลางน้ าตื้น
1. 0 2. 0.75 3. 1.82 4. 2.45

27
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 บทที่ 9 คลื่นกล
42. แสงเคลื่อนที่จากอากาศสู่ ผวิ น้ าทามุม 37o กับผิวน้ า จงหาค่าของมุมหักเหที่เกิดขึ้นในน้ าว่า
มีค่ากี่องศา กาหนดดรรชนีหกั เหของน้ าเทียบกับอากาศ = 43 , sin37o= 35 , sin53o= 45
1. 0 2. 37 3. 1.82 4. 150

43. จากรู ปแสดงหน้าคลื่นตกกระทบ และหน้าคลื่นหักเหของคลื่นผิวน้ าที่เคลื่อนที่จากเขตน้ าลึก


ไปยังเขตน้ าตื้นเมื่อ กข คือเส้นรอยต่อระหว่างน้ าลึกและน้ าตื้น จงหาอัตราส่ วนความเร็ วของ
คลื่นในน้ าลึกต่อความเร็ ว บริ เวณน้ าลึก
ของคลื่นในน้ าตื้น ข
บริ เวณน้ าตื้น
1. sin 60o / sin 35o
2. sin 35o / sin 60o 55o
30o
3. sin 55o / sin 30o

4. sin 30o / sin 55o

28
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 บทที่ 9 คลื่นกล
9.4.3 การแทรกสอดคลืน่

คลืน่  คลืน่ 

คลืน่ รวม

คลืน่  คลืน่ 

แนวปฏิบพั แนวปฏิบพั แนวปฏิบพั


A3 A2 บัพN A1 บัNพ A0 บัพ A1 บัพ A2 A3
N3 2 1 N1 N2 คลืน่ รวม

คลืน่ 
คลืน่ 
คลืน่ รวม
*S1 *S2
ถ้าเราให้แหล่งกาเนิ ดคลื่ นอาพันธ์ (แหล่ งกาเนิ ดคลื่ น 2 แหล่ ง ที่ให้คลื่ นที่ มีความถี่ และ
เฟสตรงกันตลอด ) วางอยูห่ ่ างกันในระยะที่พอเหมาะ แล้วสร้างคลื่นพร้อมๆ กัน จะพบว่าคลื่นที่
เกิดขึ้นทั้งสองจะเกิดการแทรกสอดกัน โดยจะมีแนวบางแนวที่คลื่นทั้งสองจะมาเสริ มกัน โดย
คลื่นทั้งสองอาจนาสันคลื่นมารวมกัน จะทาให้คลื่นรวมมีแอมปลิจูดสู งขึ้ นกว่าเดิม หรื อคลื่นทั้ง
สองอาจนาท้องคลื่นมารวมกัน จะทาให้คลื่นรวมมีแอมปลิจูดลึกลงกว่าเดิม ลักษณะเช่นนี้ จะทา
ให้ตลอดแนวดังกล่าวคลื่ นน้ าจะกระเพื่อมขึ้ นลงอย่างแรง แนวที่คลื่ นมีการเสริ มกันเช่ นนี้ เรี ยก
แนวปฎิบั พ (Antinode , A) ซึ่ งจะมี อยู่หลายแนวกระจายออกไปทั้งทางด้านซ้ายและด้านขวา
อย่างสมมาตรกัน แนวปฏิ บพั ที่อยูต่ รงกลางเราจะเรี ยกเป็ นปฏิ บพั ที่ 0 ( A0) ถัดออกไปจะเรี ยก
แนวปฏิบพั ที่ 1 ( A1) , 2 ( A2) , 3 ( A3) , .... ไปเรื่ อยๆ ทั้งด้านซ้ายและด้านดังรู ป
นอกจากนี้ แล้วยังจะมีแนวบางแนวที่คลื่ นทั้งสองจะมาหักล้างกัน โดยคลื่นหนึ่ งจะนาสัน
คลื่นมารวมกับท้องคลื่นของอีกคลื่นหนึ่ ง คลื่นรวมของคลื่นทั้งสองจะมีลกั ษณะราบเรี ยบ (ผิวน้ า
จะค่อนข้างนิ่ ง ) แนวหักล้างนี้ จะเรี ยกแนวบัพ (Node , N) แนวบัพ จะแทรกอยู่ระหว่างกลาง
แนวปฏิบพั เสมอ แนวบัพแรกที่อยูถ่ ดั จากแนวปฏิบพั กลาง ( A0 ) จะเรี ยกแนวบัพที่ 1 ( N1) ถัด
ออกไปจะเรี ยกแนวบัพที่ 2 ( N2) , 3 (N3) , ….. ไปเรื่ อยๆ ทั้งทางด้านซ้ายและด้านขวาดังรู ป
29
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 บทที่ 9 คลื่นกล
สู ตรทีใ่ ช้ คานวณเกี่ยวกับการแทรกสอดคลืน่ n=0 n=1 n=2
A1 A0 A1
A2 A2
สาหรับแนวปฎิบัพลาดับที่ n (An) A3
P
S1P – S2P = n 
d sin  = n 
เมื่อ P คือจุดซึ่ งอยูบ่ นแนวปฎิบพั ลาดับที่ n ( An ) x x
S1 S2
S1 คือจุดเกิดคลื่นลูกที่ 1
S2 คือจุดเกิดคลื่นลูกที่ 2 n=3 n=2 n=1
A0
A2 A1
S1P คือระยะจาก S1 ถึง P A3

S2P คือระยะจาก S2 ถึง P

 คือความยาวคลื่น 
n คือลาดับที่ของปฎิบพั นั้น
x x
d คือระยะห่างจาก S1 ถึง S2 S1 S2
 คือมุมที่วดั จาก A0 ถึง An d
สาหรับแนวบัพลาดับที่ n (Nn)
S1P – S2P= n – 12  
d sin = n – 12  
เมื่อ P คือจุดซึ่ งอยูบ่ นแนวบัพลาดับที่ n ( Nn )
S1P คือระยะจาก S1 ถึง P S2P คือระยะจาก S2 ถึง P
 คือความยาวคลื่น (m) n คือลาดับที่ของบัพนั้น
d คือระยะห่างจาก S1 ถึง S2  คือมุมที่วดั จาก A0 ถึง Nn

44. คลื่นรวมซึ่ งเกิดจากการแทรกสอดของคลื่นสองขบวนที่มีแอมปลิจูดความถี่ ความยาวคลื่น


และ เฟสเท่ากัน ที่จุดที่อยูบ่ นแนวปฎิบพั จะมีลกั ษณะดังนี้
1. แอมปลิจูด และความถี่เป็ นสองเท่าของคลื่นเดิม
2. แอมปลิจูด เท่าเดิมแต่มีความถี่เพิ่มขึ้นเป็ นสองเท่า
3. ความถี่เท่าเดิม แต่มีแอมปลิจูดเพิ่มขึ้นเป็ นสองเท่า
4. ความถี่เท่าเดิม แต่มีแอมปลิจูดเป็ นศูนย์
30
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 บทที่ 9 คลื่นกล
45. เมื่อคลื่นสองคลื่นเคลื่อนที่มารวมกันแล้ว เกิดการแทรกสอดแบบหักล้างกันแสดงว่า
1. ผลต่างทางเดินของคลื่นทั้งสองเป็ นจานวนเต็มของความยาวคลื่น
2. ผลต่างมุมเฟสของคลื่นทั้งสองเท่ากับ 0 องศา
3. ผลต่างของมุมเฟสของคลื่นทั้งสองเท่ากับ 180 องศา
4. ผลต่างของมุมเฟสของคลื่นทั้งสองเท่ากับ 360 องศา

46. คลื่นชนิดหนึ่ง เมื่อเกิดการแทรกสอดจะเกิดแนวดังรู ป


ก. คลื่นนี้มีความยาวคลื่นเท่าใด
ข. ถ้าคลื่นนี้มีความถี่ 100 เฮิรตซ์ จะมีความเร็ วเท่าใด A0
A1
1. ก. 2 เมตร ข. 250 เมตร/วินาที
A2
2. ก. 2 เมตร ข. 200 เมตร/วินาที 5 เมตร P
1 เมตร
3. ก. 4 เมตร ข. 250 เมตร/วินาที
4. ก. 4 เมตร ข. 200 เมตร/วินาที S1 S2

31
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 บทที่ 9 คลื่นกล
47. คลื่นชนิดหนึ่งเมื่อเกิดการแทรกสอดแนวปฏิบพั ที่ 2 เอียงทามุมจากแนวกลาง 30o หาก
แหล่งกาเนิดคลื่นทั้งสองอยูห่ ่ างกัน 8 เมตร
ก. ความยาวคลื่นนี้ มีค่าเท่าใด
ข. หากคลื่นนี้มีความเร็ ว 300 เมตร/วินาที จะมีความถี่เท่าใด
1. ก. 2 เมตร , ข. 150 Hz 2. ก. 2 เมตร , ข. 300 Hz
3. ก. 7 เมตร , ข. 300 Hz 4. ก. 7 เมตร , ข. 150 Hz

48. จากรู ป แสดงภาพการแทรกสอดของคลื่น


A0 A1 N2 A2
ผิวน้ าที่เกิดจากแหล่งกาเนิดอาพันธ์ S1
และ S2 มี P เป็ นจุดบนเส้นบัพ ถ้า S1P
เท่ากับ 10 เซนติเมตร และ S2P เท่ากับ
7 เซนติเมตร ถ้าอัตราเร็ วของคลื่นทั้ง
สองเท่ากับ 30 เซนติเมตรต่อวินาที แหล่ง *s *s
1 2
กาเนิดทั้งสองมีความถี่เท่าใด d
1. 3 Hz 2. 8 Hz 3. 5 Hz 4. 7.5 Hz

32
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 บทที่ 9 คลื่นกล
49. แหล่งกาเนิดคลื่นน้ าสร้างคลื่นน้ าที่สองตาแหน่ง
A และ B มีความยาวคลื่น 1.5 เซนติเมตร และ
C
ได้แนวของเส้นปฏิบพั ดังแสดงในรู ป อยาก
ทราบว่า AC และ BC มีความยาวต่างกันเท่าใด A B
1. 1.5 cm 2. 3 cm 3. 4.5 cm 4. 6 cm

50(แนว En) แหล่งกาเนิดคลื่นน้ าอาพันธ์ให้หน้าคลื่นวงกลมสองแหล่งอยูห่ ่างกัน 10 เซนติเมตร


มีความยาวคลื่น 2 เซนติเมตร ที่ตาแหน่งหนึ่งห่างจากแหล่งกาเนิดคลื่นทั้งสองเป็ นระยะ 10
เซนติเมตร และ 19 เซนติเมตร ตามลาดับ 10 cm P
จะอยูบ่ นแนวบัพหรื อปฎิบพั ที่เท่าใด นับ S1
จากแนวกลาง 10 cm 19 cm
1. ปฎิบพั ที่ 4 2. บัพที่ 4
S2
3. ปฎิบพั ที่ 5 4. บัพที่ 5

33
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 บทที่ 9 คลื่นกล
51. แหล่งกาเนิดคลื่นวงกลมสองแหล่งห่างกัน 6 เซนติเมตร สร้างคลื่นที่มีความถี่เท่ากันและมี
ความยาวคลื่นเป็ น 3 เซนติเมตร ตาแหน่งที่จะเกิดการแทรกสอดเป็ นจุดบัพนั้นคือตาแหน่ง
ที่ห่างจากแหล่งกาเนิดทั้งสองเป็ นระยะ
1. 10 และ 20.5 เซนติเมตร 2. 12 และ 15 เซนติเมตร
3. 16 และ 23 เซนติเมตร 4. 20.5 และ 29.5 เซนติเมตร

52(แนว มช) ถ้า S1 และ S2 เป็ นแหล่งกาเนิ ดคลื่ น ซึ่ งมีความถี่ เท่ากัน และเฟสตรงกันอยูห่ ่ าง
8.0 เซนติเมตร ถ้าความยาวคลื่นเท่ากับ 4.0 เซนติเมตร จะเกิดจุดบัพกี่จุดบนเส้นตรง S1S2
1. 0.1 2. 2 3. 3 4. 4

34
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 บทที่ 9 คลื่นกล
53. S1 , S2 เป็ นแหล่งกาเนิ ดคลื่นน้ า อยูห่ ่างกัน 16 เซนติเมตร ให้คลื่นเฟสตรงกัน มีความถี่
และแอมพลิจูดเท่ากัน ความยาวคลื่น 4 เซนติเมตร จาก S1 ถึง S2 จะมีแนวปฏิบพั กี่แนว
1. 4 แนว 2. 5 แนว 3. 8 แนว 4. 9 แนว

9.4.4 การเลีย้ วเบนของคลื่น


ถ้าเรานาแผ่นที่มีช่องแคบๆ ไปกั้นหน้าคลื่นไว้ จะพบว่า
เมื่อคลื่นเข้าไปตกกระทบแผ่นกั้นแล้ว คลื่นส่ วนหนึ่งจะลอด
ช่องนั้นออกไปได้ คลื่นส่ วนที่ลอดออกไปนั้นจะสามารถสร้าง
s
คลื่นลูกใหม่หลังแผ่นกั้นดังรู ป คลื่นลูกใหม่ที่เกิดขึ้นนั้นจะ
สามารถกระจายเลี้ยวอ้อมไปทางด้านซ้ายและขวาของช่องแคบ
ได้ ปรากฏการณ์น้ ี จึงเรี ยกเป็ น การเลี้ยวเบนได้ของคลื่น
การเลี้ยวเบนได้ของคลื่น จะเป็ นไปตามหลักของฮอยเกนส์ ซึ่งกล่าวว่า “ ทุก ๆ จุดบน
หน้าคลื่น สามารถประพฤติตวั เป็ นแหล่งกาเนิดคลื่นใหม่ได้ ”

54. หลักของฮอยเกนส์ใช้อธิบายปรากฏการณ์ใด
1. การเลี้ยวเบน 2. การแทรกสอด 3. การเปลี่ยนเฟส 4. การหักเห

35
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 บทที่ 9 คลื่นกล
9.5 คลืน่ นิ่ง
ถ้านาเชื อกเส้นหนึ่ งมัดติดเสาให้แน่น แล้วดึงปลายอีกข้างหนึ่งให้ตึงพอสมควร จากนั้นทา
การสะบัดให้เกิดคลื่นต่อเนื่ องพุ่งไปกระทบเสา คลื่นที่เข้ากระทบเสาจะสามารถจะสะท้อนกลับ
ออกมาจากเสาได้ จากนั้นคลื่นที่เข้าและคลื่นที่สะท้อนออกมานี้ จะเกิดการแทรกสอดกัน ทาให้
เชื อกที่บางจุดมี การสั่นขึ้ นลงอย่างแรงกว่าปกติ เรี ยกจุดที่ สั่นสะเทื อนแรงนี้ ว่า แนวปฎิบั พ (A)
และจะมีบางจุดไม่สั่นขึ้นหรื อลงเลย เราเรี ยกจุดที่ไม่มีการสั่นสะเทือนนี้วา่ แนวบัพ (N)
และเนื่ อ งจากจุ ด ที่ สั่ น และไม่ สั่ น ดั ง กล่ า ว จะสั่ น หรื อไม่ สั่ น อยู่ ที่ เดิ ม ตลอดเวลา
ปรากฏการณ์น้ ีจึงเรี ยกเป็ นการเกิด คลืน่ นิ่ง เคลื่อนเข้า λ
2
ควรทราบ A A A
N N
1) คลื่นนิ่งจะเกิดได้ก็ต่อเมื่อมีคลื่น 2 คลื่น
ซึ่งมีความถี่ ความยาวคลื่น แอมพลิจูด เท่ากัน แต่
เคลื่อนที่สวนทางกันเข้ามาแทรกสอดกันเท่านั้น เคลื่อนออก λ
4
2) แนวปฏิบพั (A) 2 แนวที่อยูถ่ ดั กัน จะห่างกัน = 2
แนวบัพ ( N ) 2 แนวที่อยูถ่ ดั กัน จะห่างกัน = 2
แนวปฏิบพั (A) และแนวบัพ ( N ) ที่อยูถ่ ดั กัน จะห่างกัน = 4
3) จานวนแนวปฏิบพั (A ) หรื อจานวน Loop ของคลื่นนิ่งที่เกิดขึ้น จะหาได้จาก
n = 2L

เมื่อ L คือความยาวของเชือกทั้งหมด (เมตร)
 คือความยาวคลื่น (เมตร)
n คือจานวนแนวปฏิบพั หรื อจานวน Loop ของคลื่นนิ่งที่เกิด
4) ความถี่ของคลื่น จะหาได้จาก
f = nv
2L
เมื่อ f คือความถี่คลื่นนิ่ง ( เฮิรตซ์ ) v คือความเร็ วคลื่นนิ่ง (เมตร/วินาที)
L คือความยาวของเชือก (เมตร)  คือความยาวคลื่น (เมตร)
n คือจานวนแนวปฏิบพั หรื อจานวน Loop ของคลื่นนิ่งที่เกิด

36
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 บทที่ 9 คลื่นกล
55. คุณสมบัติหรื อปรากฏการณ์ ข้อใดที่ใช้อธิ บายการเกิดคลื่นนิ่ง
1. การแทรกสอด 2. การรวมกันได้ของคลื่น
3. แหล่งกาเนิดอาพันธ์ 4. ถูกทั้ง (1) , (2) และ (3)

56. ในการทดลองคลื่นนิ่งบนเส้นเชื อก ถ้าความถี่ของคลื่นนิ่งเป็ น 475 เฮิรตซ์ และอัตราเร็ ว


ของคลื่นในเส้นเชือกเท่ากับ 380 เมตรต่อวินาที ตาแหน่งบัพสองตาแหน่งที่อยูถ่ ดั กันจะห่าง
กันเท่าใด
1. 0.4 2. 2.0 3. 3.5 4. 4.2

57(แนว มช) คลื่นนิ่งเป็ นคลื่นที่เกิดจากการแทรกสอดกันของคลื่นสองขบวนที่เหมือนกันทุกประ


การแต่เคลื่อนที่สวนทางกัน ถ้าคลื่นนิ่งที่เกิดขึ้น มีตาแหน่งบัพและปฎิบพั อยูห่ ่างกัน 1.0
เมตร คลื่นที่มาแทรกสอดกันนี้จะต้องมีความยาวคลื่นกี่เมตร
1. 1.0 2. 2.0 3. 3.0 4. 4.0

37
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 บทที่ 9 คลื่นกล
58(แนว En) จากรู ปเป็ นคลื่นนิ่งในเส้นเชือกที่มีปลาย 1.2 m
ทั้งสองยึดแน่นไว้ ถ้าเส้นเชือกยาว 1.2 เมตร
และความเร็ วคลื่นในเส้นเชื อกขณะนั้นเท่ากับ 240
เมตรต่อวินาที จงหาความถี่คลื่น
1. 200 Hz 2. 300 Hz 3. 400 Hz 4. 800 Hz

59. เชือกเส้นหนึ่ง ปลายข้างหนึ่งถูกตรึ งแน่น ปลายอีกข้างหนึ่งติดกับตัวสัน่ สะเทือน สัน่ ด้วย


ความถี่ 30 เฮิรตซ์ ปรากฏว่าเกิดคลื่นนิ่งพอดี 3 Loop ถ้าใช้เชือกยาว 1.5 เมตร จงหา
อัตราเร็ วคลื่นในเส้นเชือกในหน่วย เมตร/วินาที
1. 15 2. 30 3. 45 4. 60

38
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 บทที่ 9 คลื่นกล

เฉลยบทที่ 9 คลื่ น กล
1. ตอบข้ อ 4. 2. ตอบข้ อ 2. 3. ตอบข้ อ 2. 4. ตอบข้ อ 4.
5. ตอบข้ อ 1. 6. ตอบข้ อ 4. 7. ตอบข้ อ 4. 8. ตอบข้ อ 1.
9. ตอบข้ อ 1. 10. ตอบข้ อ 4. 11. ตอบข้ อ 2. 12. ตอบ 120
13. ตอบข้ อ 3. 14. ตอบข้ อ 2. 15. ตอบ 30 16. ตอบข้ อ 3.
17. ตอบข้ อ 1. 18. ตอบข้ อ 3. 19. ตอบข้ อ 1. 20. ตอบ 0.5
21. ตอบข้ อ 3. 22. ตอบข้ อ 1. 23. ตอบข้ อ 2. 24. ตอบข้ อ 2.
25. ตอบข้ อ 1. 26. ตอบข้ อ 1. 27. ตอบข้ อ 2. 28. ตอบข้ อ 4.
29. ตอบข้ อ 2. 30. ตอบข้ อ 2. 31. ตอบข้ อ 3. 32. ตอบข้ อ 1.
33. ตอบข้ อ 4. 34. ตอบข้ อ 4. 35. ตอบข้ อ 3. 36. ตอบข้ อ 2.
37. ตอบข้ อ 3. 38. ตอบข้ อ 4. 39. ตอบข้ อ 3. 40. ตอบข้ อ 2.
41. ตอบข้ อ 2. 42. ตอบข้ อ 2. 43. ตอบข้ อ 3. 44. ตอบข้ อ 3.
45. ตอบข้ อ 3. 46. ตอบข้ อ 2. 47. ตอบข้ อ 1. 48. ตอบข้ อ 3.
49. ตอบข้ อ 2. 50. ตอบข้ อ 4. 51. ตอบข้ อ 1. 52. ตอบข้ อ 4.
53. ตอบข้ อ 4. 54. ตอบข้ อ 1. 55. ตอบข้ อ 4. 56. ตอบข้ อ 1.
57. ตอบข้ อ 4. 58. ตอบข้ อ 2. 59. ตอบข้ อ 2.



39
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 บทที่ 9 คลื่นกล
ต ะ ลุ ย โ จ ท ย์ ทั่ ว ไ ป บ ท ที่ 9 ค ลื่ น ก ล
9.1 การถ่ ายโอนพลังงานของคลืน่ กล
1. คลื่นดลในเส้นเชื อกกาลังเคลื่อนที่จากขวาไปซ้าย A ,
B และ C เป็ นจุดบนเส้นเชือก เมื่อเวลาหนึ่งรู ปร่ าง ทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่นดล
ของเส้นเชื อกเป็ นดังรู ป ถ้าเวลาผ่านไปอีกเล็กน้อย จุด A
ทั้งสามจะเคลื่อนที่อย่างไร B
1. จุดทั้งสามจะเคลื่อนที่ไปทางซ้ายมือ C
2. A สู งกว่าเดิม B ต่ากว่าเดิม และ C สู งกว่าเดิม
3. A สู งกว่าเดิม B สู งกว่าเดิม และ C ต่ากว่าเดิม
4. A ต่ากว่าเดิม B ต่ากว่าเดิม และ C สู งกว่าเดิม

2(แนว มช) จงพิจารณาคลื่นในเส้นเชือกที่เกิดจากการสะบัดปลายเชือกขึ้นลง คลื่นผิวน้ าที่เกิด


จากวัตถุกระทบผิวน้ า และ คลื่นเสี ยงในน้ า ข้อใดผิด
1. คลื่นทั้งสามชนิดเป็ นคลื่นกล
2. คลื่นทั้งสามชนิดเป็ นคลื่นตามยาว
3. คลื่นทั้งสามชนิดเป็ นการถ่ายโอนพลังงาน
4. คลื่นทั้งสามชนิดจะสะท้อนเมื่อเคลื่อนที่ผา่ นตัวกลางต่างชนิด

9.2 คลืน่ ผิวนา้


3. แหล่งกาเนิ ดคลื่นให้คลื่นความถี่ 500 เฮิรตซ์ ความยาวคลื่น 10 เซนติเมตร ถ้าคลื่นชุ ดนี้
เคลื่อนที่ในระยะทาง 300 เมตร จะใช้เวลากี่วนิ าที

4. เมื่อเรากระทุ่มน้ าเป็ นจังหวะสม่ าเสมอ 3 ครั้งต่อวินาที แล้วจับเวลาที่คลื่ นลูกแรกเคลื่ อนที่


ไปกระทบขอบสระอีกตาแหน่ งซึ่ งอยู่ห่างออกไป 45 เมตร พบว่าใช้เวลา 3 วินาที ความ
ยาวคลื่นของคลื่นผิวน้ านี้เท่ากับกี่เมตร

40
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 บทที่ 9 คลื่นกล
5. เมื่ อสั งเกตคลื่ นเคลื่ อนที่ ไปบนผิวน้ ากระเพื่ อมขึ้ นลง 600 รอบ ใน 1 นาที และระยะระ
หว่างสันคลื่นที่ถดั กันวัดได้ 10 เซนติเมตร จงหาว่าเมื่อสังเกตคลื่นลูกหนึ่งเคลื่อนที่ไปใน
1 นาที จะได้ระยะทางกี่เมตร

6. แหล่งกาเนิ ดคลื่ นสั่นอย่างสม่ าเสมอด้วยอัตรา 30 ครั้ง ใน 1 นาที ทาให้เกิ ดคลื่ นน้ าแผ่
ออกไปอย่างต่อเนื่ อง เมื่อพิจารณาคลื่นที่เกิดขึ้นพบว่าคลื่นแต่ละลูกเคลื่อนที่จากเสาต้นหนึ่ ง
ไปยังเสาอีกต้นหนึ่ งซึ่ งปั กอยูห่ ่ างกัน 20 เมตร ต้องใช้เวลา 2 วินาที ความยาวคลื่ นน้ ามีค่า
เท่าใด
1. 10 เมตร 2. 15 เมตร 3. 20 เมตร 4. 25 เมตร

7. น้องดายืนอยูท่ ี่ท่าน้ าสังเกตเห็นคลื่นผิวน้ าที่เกิ ดจากเรื อวิง่ กระทบฝั่ง 20 ลูกคลื่น ในเวลา 10


วินาที และทราบว่าอัตราเร็ วของคลื่นผิวน้ า 10 เมตร/วินาที อยากทราบว่าสันคลื่นที่อยูต่ ิด
กันห่างกันเท่าไร
1. 10 เมตร 2. 5 เมตร 3. 2 เมตร 4. 25 เมตร

8. คลื่ นในทะเลซัดเข้าหาฝั่ งด้วยอัตราเร็ ว 3 เมตรต่อวินาที ถ้าระยะระหว่างสั นคลื่ นที่ ถดั กัน


เท่ากับ 6 เมตร ในเวลา 1 ชัว่ โมง จะมีคลื่นกระทบฝั่งกี่ลูก

9. ทดลองใช้ถาดคลื่ นที่ มีน้ าลึ กสม่ าเสมอ วัดระยะห่ างระหว่างสันคลื่ น 6 สันที่ อยู่ถดั กันได้
ระยะทาง 30 เซนติ เมตร ถ้าคลื่ นผิวน้ ามี อตั ราเร็ ว 10 เซนติ เมตรต่อวินาที จงหาความถี่
ของคลื่น
1. 2.13 Hz 2. 1.67 Hz 3. 2.33 Hz 4. 1.22 Hz

10. คลื่นน้ าเคลื่อนที่ผา่ นจุดๆ หนึ่ งไป 30 ลูกคลื่น ในเวลา 1 นาที ถ้าคลื่ นนี้ เคลื่อนที่ดว้ ย
อัตราเร็ ว 2 เมตรต่อวินาที จงหาระยะระหว่างสันคลื่นและท้องคลื่นที่อยูต่ ิดกัน
1. 1 m 2. 2 m 3. 3 m 4. 4 m

41
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 บทที่ 9 คลื่นกล
11. ในการสั่นเชื อกที่มีความยาวมากเส้นหนึ่ง
ปรากฏว่าหลังจากการสั่น 0.5 วินาที ได้
คลื่นดังรู ป จงหาอัตราเร็ วของคลื่นบน 0 2 4 6 (cm)
เชือกเส้นนี้
1. 1.5 cm/s 2. 3 cm/s 3. 12 cm/s 4. 6 cm/s

12. คลื่นชนิดหนึ่งกาลังเคลื่อนที่ดงั ในรู ปไป y (cm)


ทางขวาด้วยอัตราเร็ ว 0.5 เมตร/วินาที +1
อยากทราบว่า เมื่อเวลาผ่านไป 4 วินาที P x (m)
จุด P ซึ่งเป็ นจุดหนึ่งบนตัวกลางจะ 1 2 3 4 5 6 7
–1
เคลื่อนที่ได้การกระจัดกี่เซนติเมตร
1. +0.25 2. +1.00 3. –0.50 4. –1.00

13. คลื่นต่อเนื่องขบวนหนึ่ง เกิดจากแหล่งกาเนิ ดที่สั่น 20 รอบ/วินาที มีความเร็ วเฟส 30


เมตร/วินาที ณ. จุด 2 จุด บนคลื่นนี้ ซ่ ึ งห่างกัน 0.5 เมตร จะมีเฟสต่างกันเท่าไร
1. 120o 2. 160o 3. 240o 4. 360o

14. คลื่นมีความถี่ 600 เฮิรตซ์ มีความเร็ ว 400 เมตร/วินาที จุดที่มีเฟสต่างกัน 45o อยูห่ ่ างกัน
กี่เมตร
1. 301 2. 241 3. 181 4. 121

15. คลื่นขบวนหนึ่งเคลื่อนที่ได้ระยะทาง 20 เมตร ในเวลา 4 วินาที ถ้าพบว่าจุด 2 จุด บน


คลื่นที่ห่างกัน 0.2 เมตร มีเฟสต่างกัน 120o จงหาค่าความถี่ของคลื่นนี้
1. 8.33 Hz 2. 1.01 Hz 3. 4.25 Hz 4. 30 Hz

42
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 บทที่ 9 คลื่นกล
16. จากรู ป S เป็ นแหล่งกาเนิ ดคลื่นซึ่ งมีความถี่ 20 Hz ให้ A
16 cm
คลื่นแผ่ออกไปอัตราเร็ ว 1.2 เมตร/วินาที จุด A และ B
S
อยูห่ ่างจาก S เป็ นระยะ 16 และ 13 ซม. ตามลาดับ 13 cm B
อยากทราบว่าคลื่นที่จุด A และ B มีเฟสต่างกันกี่องศา
1. 180o 2. 270o 3. 360o 4. 450o

17. คลื่ นผิวน้ ากระจายออกจากแหล่งกาเนิ ดคลื่ นซึ่ งมีความถี่ 6 เฮิรตซ์ มีอตั ราเร็ ว 30 เซนติ-
เมตร/วินาที การกระเพื่ อมของผิวน้ าที่ อยู่ห่างจากแหล่ งกาเนิ ด 40 เซนติ เมตร และ 55
เซนติเมตร จะมีเฟสต่างกันเท่าใด
1. 2  2. 4 3. 6 4. 8

18. ตัวกาเนิ ดคลื่ นน้ าให้คลื่ นที่มีความถี่ 8 เฮิรตซ์ ซึ่ งเคลื่อนที่ดว้ ยอัตราเร็ ว 2 เมตรต่อวินาที
จุด A และ B อยูบ่ นผิวน้ าในแนวเส้นตรงต่อกับตัวกาเนิ ดคลื่น โดยอยูห่ ่ างกัน 0.30 เมตร
จุดทั้งสองมีเฟสต่างกันกี่เรเดียน
1. 0.25  2. 0.40  3. 2.25  4. 2.40 

19. คลื่นหนึ่งมีคาบการสั่น 0.5 วินาที และระยะระหว่าง 2 จุด บนคลื่นที่มีมุมเฟสต่างกัน 5


เรเดียนเท่ากับ 30 เซนติเมตร จงหาค่าความเร็ วคลื่นในหน่วยเมตรต่อวินาที ( = 180o)
1. 0.24 m/s 2. 6.4 m/s 3. 8.12 m/s 4. 1.2 m/s

20. จุด 2 จุดบนคลื่นขบวนหนึ่งอยูห่ ่างกัน 3 เมตร มีเฟสต่างกัน 240o แสดงว่าคลื่นขบวนนี้


มีความยาวคลื่น
1. 1.5 เมตร 2. 3.0 เมตร 3. 4.5 เมตร 4. 6.0 เมตร

21. คลื่ นน้ ามี อตั ราเร็ ว 0.5 เมตรต่อวินาที มี ความยาวคลื่ น 0.1 เมตร เมื่ อเวลาผ่านไป 1
วินาที ผิวน้ า ณ.จุดหนึ่ง จะมีเฟสเปลี่ยนไปจากเดิมกี่องศา
1. 1200o 2. 160o 3. 1800o 4. 360o
43
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 บทที่ 9 คลื่นกล
22. คลื่นที่มีความยาวคลื่น 0.5 เมตร มีความเร็ ว 50 เมตร / วินาที ถ้าเวลาผ่านไป 0.1 วินาที
การกระจัดของจุดจุดหนึ่งจะมีเฟสเปลี่ยนไปเท่าไร
1. 30o 2. 3600o 3. 35o 4. 360o

23. คลื่ นน้ ามีความถี่ 30 เฮิรตซ์ และความเร็ ว 2.4 เมตร/วินาที ระยะทางระหว่าง 2 จุด ที่
คลื่นมีความแตกต่างเฟสเป็ น 120 องศา มีค่าเป็ นเท่าใด และเมื่อพิจารณาตาแหน่ งหนึ่ งของ
ผิวน้ าที่มีคลื่นน้ านี้ถา้ เวลาผ่านไป 901 วินาที แล้วคลื่น ณ ตาแหน่งนี้มีการเปลี่ยนเฟสเท่าใด
1. ระยะทาง 2.7 เซนติเมตร เปลี่ยนเฟส 30 องศา
2. ระยะทาง 2.7 เซนติเมตร เปลี่ยนเฟส 120 องศา
3. ระยะทาง 4.2 เซนติเมตร เปลี่ยนเฟส 30 องศา
4. ระยะทาง 4.2 เซนติเมตร เปลี่ยนเฟส 120 องศา

24. คลื่นเสี ยงมีความถี่ 600 เฮิรตซ์ และมีความเร็ วเฟส 360 เมตรต่อวินาที ตาแหน่งสอง
ตาแหน่งบนคลื่นซึ่ งมีเฟสต่างกัน 60 องศา จะอยูห่ ่างกันเท่าใด
ก. 10 cm ข. 50 cm ค. 70 cm ง. 80 cm
คาตอบที่ถูกต้องคือ
1. ก , ข และ ค 2. ก และ ค 3. ง เท่านั้น 4. คาตอบเป็ นอย่างอื่น

25. ที่ความถี่ 3 เมกะเฮิรตซ์ คลื่นเดินทางในตัวกลางที่ 1 และตัวกลางที่ 2 ด้วยความเร็ ว 3x10 6


เมตร/วินาที และ 9x106 เมตร/วินาที ตามลาดับ โดยมีเฟสเริ่ มต้นเป็ น 0o เหมือนกัน อยาก
ทราบว่าที่ระยะ 3 เมตร เฟสของคลื่นในตัวกลางทั้งสองเป็ นอย่างไร
1. เฟสตรงกัน
2. เฟสของคลื่นในตัวกลางที่ 1 เป็ น 3 เท่าของเฟสของคลื่นในตัวกลางที่ 2
3. เฟสของคลื่นในตัวกลางที่ 2 เป็ น 3 เท่าของเฟสของคลื่นในตัวกลางที่ 1
4. เฟสของคลื่นในตัวกลางทั้งสองต่างกัน 30 องศา พอดี

44
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 บทที่ 9 คลื่นกล
26. คลื่นน้ าความถี่ 5 เฮิรตซ์ แอมพลิจูด 15 เซนติเมตร จะมีการขจัดตามแนวแกน Y เท่าใด
ณ. จุดเวลา 2.5 วินาทีจากจุดเริ่ มต้น
1. สู งขึ้นไป 14.7 เซนติเมตร 2. ลึกลงไป 14.7 เซนติเมตร
3. ลึกลงไป 18.3 เซนติเมตร 4. สู งขึ้นไป 18.3 เซนติเมตร

27. หากผูกปลายเชือกข้างหนึ่งกับจุดยึดแน่น แล้วสะบัดปลายเชือกอีกข้างหนึ่งในแนวตั้งฉาก


กับความยาวเชือกทาให้เกิดเป็ นคลื่นรู ปซายน์ ( sine ) จากการเปรี ยบเทียบการเคลื่อนที่ของ
อนุภาคของตัวกลางเชื อกกับการเคลื่อนที่ของคลื่น ข้อใดไม่เป็ นความจริ ง
1. ความถี่ในการสั่นของอนุ ภาคตัวกลางเท่ากับความถี่ของคลื่น
2. แอมปลิจูดในการสั่นของอนุภาคตัวกลางเท่ากับแอมปลิจูดของคลื่น
3. ความเร็ วในการสัน่ ของอนุภาคตัวกลาง เท่ากับความเร็ วของคลื่น
4. ช่วงเวลาที่อนุ ภาคสั่นครบ 1 รอบ เท่ากับเวลาที่คลื่นเคลื่อนที่ไปได้ 1 ความยาวคลื่น

9.3 การซ้ อนทับของคลืน่


9.4 สมบัติของคลืน่
9.4.1 การสะท้อน
28. จากรู ป จงหาว่ามุมตกกระทบควรมี
ขนาดเท่ากับเท่าใด
1. 30o 2. 45o 30o
3. 60o 4. 120o

29. ปริ มาณใดของคลื่นที่ใช้บอกค่าพลังงานบนคลื่น


1. ความถี่ 2. ความยาวคลื่น 3. แอมพลิจูด 4. อัตราเร็ ว

30. เชือกเส้นหนึ่งมีปลายข้างหนึ่งผูกแน่นติดกับเสา เมื่อสร้างคลื่นดลจากปลายอีกข้างหนึ่งเข้า


มาตกกระทบ จะเกิดคลื่นสะท้อนขึ้น คลื่นสะท้อนนี้ มีเฟสเปลี่ยนไปกี่องศา
1. 90 2. 180 3. 270 4. 360
45
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 บทที่ 9 คลื่นกล
31. คลื่นดลในเส้นเชือกคลื่นหนึ่ง เมื่อ t = 0 วินาที

มีลกั ษณะดังรู ป (ก) ต่อมาเมื่อเวลา t = 0.2 วินาที
คลื่นมีลกั ษณะดังรู ป (ข) จงหาว่าคลื่นดลในเส้น จุดตรึ ง
เชือกนี้มีความยาวคลื่นเท่าใด ถ้าคลื่นนี้ มีความถี่ 0.2 m
5 เฮิรตซ์
1. 2 เมตร 2. 0.2 เมตร

3. 44 เมตร 4. 0.4 เมตร

32. ในรู ป คลื่นขบวนหนึ่งในเส้นเชือกแผ่เข้าหากา


แพง โดยปลายเชือกที่ 0 ตรึ งแน่นไว้กบั กาแพง เมตร
ถ้าอัตราเร็ วของคลื่นเป็ น 5 เมตร/วินาที ให้หา
0 2 4 6 8
ว่านานกี่วินาที รู ปร่ างของคลื่นจึงจะเปลี่ยนจาก
รู ปข้างบนเป็ นรู ปข้างล่าง
เมตร
1. 2.3 วินาที 2. 2.2 วินาที 0 2 4 6 8
3. 4.1 วินาที 4. 0.4 วินาที

9.4.2 การหักเห
33. ขณะเมื่อแสงสี ขาวผ่านเข้าไปในเลนส์ สิ่ งใดต่อไปนี้ มีการเปลี่ยนแปลง
1. ความเร็ วและความถี่ 2. ความเร็ วและคาบ
3. ความเร็ วและความยาวคลื่น 4. ความถี่และความยาวคลื่น

34. ถ้าคลื่นเคลื่อนที่จากบริ เวณน้ าลึกไปยัง บริ เวณน้ าตื้น ข้อใดไม่ถูกต้อง


1. ความยาวคลื่นน้ าลึกมากกว่าในน้ าตื้น
2. ความถี่คลื่นน้ าลึกมากกว่าความถี่ในน้ าตื้น
3. ความเร็ วคลื่นน้ าลึกมากกว่าในน้ าตื้น
4. ข้อ 1. และ 3. ถูก

46
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 บทที่ 9 คลื่นกล
35. คลื่นใด ๆ เมื่อเคลื่อนที่ผา่ นจากตัวกลางหนึ่งไปอีกตัวกลางหนึ่ง โดยที่ไม่ต้ งั ฉากกับเส้นเขต
ระหว่างตัวกลาง จะมีการหักเห ข้อใดเป็ นข้อดีที่สุดที่เป็ นสาเหตุของการหักเห
1. ความเร็ วของคลื่นในตัวกลางทั้งสองไม่เท่ากัน
2. ความยาวคลื่นในตัวกลางทั้งสองไม่เท่ากัน
3. ความถี่ของคลื่นในตัวกลางทั้งสองไม่เท่ากัน
4. แอมปลิจูดของคลื่นในตัวกลางทั้งสองไม่เท่ากัน

36. คลื่นน้ าที่เกิดจากแหล่งกาเนิดที่สั่นเร็ วขึ้น จะมีอะไรเปลี่ยนแปลงนอกจากความถี่


1. คาบเพิ่มขึ้น 2. ความยาวคลื่นลดลง
3. พลังงานมากขึ้น 4. อัตราเร็ วเพิ่มขึ้น

37. คลื่นผิวน้ าเคลื่อนที่จากบริ เวณน้ าลึกไปยังบริ เวณน้ าตื้น โดยหน้าคลื่นตกกระทบขนานกับ


บริ เวณรอยต่อ คลื่นในบริ เวณทั้งสองมีค่าใดบ้างที่เท่ากัน
ก. ความถี่ของคลื่น ข. ความยาวคลื่น
ค. อัตราเร็ วของคลื่น ง. ทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น
1. ก และ ข 2. ข และ ค 3. ค และ ง 4. ก และ ง

38. คลื่นตรงแผ่จากบริ เวณน้ าตื้น A ไปสู่ น้ าลึก B แล้วสะท้อนกลับเข้าบริ เวณน้ าตื้น( เดิม) C
ถ้าไม่มีการสู ญเสี ยใดๆ เลย
1. ความยาวคลื่นบริ เวณ C มากกว่าบริ เวณ A และทิศหน้าคลื่นเปลี่ยน
2. ความยาวคลื่นบริ เวณ C น้อยกว่าบริ เวณ A และทิศหน้าคลื่นไม่เปลี่ยน
3. ความยาวคลื่นบริ เวณ C เท่ากับบริ เวณ A และทิศหน้าคลื่นเปลี่ยน
4. ความยาวคลื่นบริ เวณ C เท่ากับบริ เวณ A และทิศหน้าคลื่นไม่เปลี่ยน

39. คลื่นน้ าเคลื่อนที่จากน้ าตื้นเข้าสู่ น้ าลึก ทามุมตกกระทบ 30o แล้วมุมหักเห 37o ถ้าความ
ยาวคลื่นในน้ าลึกวัดได้ 6 เซนติเมตร ในน้ าตื้นจะมีความยาวคลื่นกี่เซนติเมตร
( ให้ sin 30o = 0.5 , sin 37o = 0.6 )
1. 2 2. 3 3. 4 4. 5
47
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 บทที่ 9 คลื่นกล
40. คลื่ นน้ าเคลื่ อนที่ จากน้ าตื้ นไปยังน้ าลึ ก ถ้ามุ ม ตกกระทบและมุ ม หักเหเท่ ากับ 30 องศา
และ 45 องศา ตามลาดับ และความยาวคลื่นในน้ าตื้นเท่ากับ 2 เซนติเมตร จงหาความยาว
คลื่นในน้ าลึกในหน่วยเซนติเมตร
1. 2.83 2. 3.22 3. 4.12 4. 5.02

41. คลื่ นน้ าขบวนหนึ่ งเคลื่ อนที่ จากบริ เวณน้ าตื้นไปสู่ บริ เวณน้ าลึ ก โดยแนวทางเดิ นของคลื่ น
ตกกระทบทามุมตกกระทบ 30o ถ้าความยาวคลื่ นในน้ าลึกเป็ น 3 เท่า ของความยาวคลื่ น
ในน้ าตื้น จงหามุมหักเห
1. 30o 2. 40o 3. 50o 4. 60o

42. คลื่นผิวน้ าเคลื่อนที่จากน้ าตื้นเข้าสู่ บริ เวณน้ าลึก พบว่าอัตราเร็ วของคลื่นเพิม่ เป็ น 2 เท่า
ของเดิม ถ้ามุมตกกระทบมีขนาด 30o จงหามุมหักเหที่เกิดขึ้น
1. 30o 2. 45o 3. 60o 4. 90o

43. คลื่นน้ ามีอตั ราเร็ วในน้ าลึกและในน้ าตื้นเป็ น 20 ซม./วินาที และ 16 ซม./วินาที จงหาอัตรา
ส่ วนของ sine ของมุมตกกระทบต่อ sine ของมุมหักเห เมื่อคลื่นเคลื่อนที่จากน้ าลึกสู่ น้ าตื้น
1. 45 2. 45 3. 23 4. 23

44. คลื่นผิวน้ าในถาดคลื่นเคลื่อนที่จากบริ เวณน้ าตื้นเข้าสู่ บริ เวณน้ าลึก โดยมีมุมตกกระทบเท่า


กับ 56 องศา และมุมหักเหเท่ากับ 70 องศา (ให้ sin 56o = 0.829 , sin 70o = 0.940 )
ก. ถ้าความยาวคลื่นในน้ าตื้นเท่ากับ 0.6 เซนติเมตร จงหาความยาวคลื่นในน้ าลึก
ข. ถ้าคานกาเนิดคลื่นสั่น 10 รอบต่อวินาที ความถี่ของคลื่นในบริ เวณน้ าลึกมีค่าเท่าใด
ค. อัตราเร็ วคลื่นในบริ เวณน้ าลึกมีค่าเท่าใด
1. ก) 0.68 เซนติเมตร ข) 10 Hz ค) 6.8 เซนติเมตร/วินาที
2. ก) 0.75 เซนติเมตร ข) 10 Hz ค) 4.5 เซนติเมตร/วินาที
3. ก) 0.68 เซนติเมตร ข) 10 Hz ค) 5.5 เซนติเมตร/วินาที
4. ก) 0.75 เซนติเมตร ข) 10 Hz ค) 8.2 เซนติเมตร/วินาที

48
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 บทที่ 9 คลื่นกล
45. คลื่นน้ าในถาดคลื่นเคลื่อนที่จากบริ เวณน้ าลึกไปสู่ บริ เวณน้ าตื้นโดยมีมุมตกกระทบ 45o และ
มุมหักเห 30o ถ้าระยะห่างของหน้าคลื่นหักเหที่ติดกันวัดได้ 2 2 เซนติเมตร และแหล่ง
กาเนิดคลื่นมีความถี่ 20 เฮิรตซ์ จงหาอัตราเร็ วคลื่นตกกระทบ
1. 75 cm/s 2. 70 cm/s 3. 85 cm/s 4. 80 cm/s

46. ถ้าความเร็ วคลื่นในตัวกลาง x เป็ น 6 เมตร/วินาที เมื่อผ่านเข้าไปในตัวกลาง y ความเร็ ว


คลื่นเปลี่ยนเป็ น 8 เมตร/วินาที ดัชนีหกั เหของตัวกลาง y เทียบกับตัวกลาง x เป็ นเท่าใด
1. 90 2. 0.75 3. 2.70 4. 3.12

47. ถ้าคลื่นเคลื่อนจากบริ เวณน้ าตื้นมีความยาวคลื่น 45 เซนติเมตร ไปสู่ น้ าลึกความยาวคลื่น


เปลี่ยนเป็ น 60 เซนติเมตร จงหาดัชนี หกั เหของตัวกลางน้ าลึกเทียบกับตัวกลางน้ าตื้น
1. 4.60 2. 0.75 3. 2.70 4. 0.50

48. เมื่อคลื่นแนวตรงเคลื่อนที่จากบริ เวณ A


ไปสู่ บริ เวณ B ในถาดคลื่นทาให้เกิดการ 4 6 8 10 12 cm
หักเหของคลื่นปรากฏดังรู ป ซึ่งมีไม้
สเกลเซนติเมตรวางเทียบอยู่ ถ้าคลื่นนี้ A 45o
เขตระหว่าง
เกิดจากแหล่งกาเนิ ดซึ่ งมีความถี่ 9 30o ตัวกลาง
เฮิรตซ์ จงหาอัตราเร็ วของคลื่นน้ าที่
B
บริ เวณ B
1. 9 2 cm/s 2. 18 cm/s 3. 9 cm/s 4. 92 cm/s

49
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 บทที่ 9 คลื่นกล
49. คลื่นน้ าเคลื่อนที่ผา่ นบริ เวณที่มีความลึกต่างกันเกิดปรากฏการณ์ดงั รู ป บริ เวณ ก หน้าคลื่น
อยูห่ ่างกัน 12 เซนติเมตร ในบริ เวณ ข คลื่นมีความเร็ ว 6 2 เซนติ เมตรต่อวินาที ถ้า
ต้นกาเนิ ดคลื่นมาจากบริ เวณ ก ความถี่
ของต้นกาเนิดคลื่นมีค่าเท่ากับข้อใด 12 ซม. 60o
1. 23 รอบต่อวินาที ก 45o
2. 4 รอบต่อวินาที
3
3. 12 รอบต่อวินาที ข
3
4. 1 รอบต่อวินาที
3

50. ในการศึกษาคลื่นผิวน้ าในถาดคลื่น โดยให้คลื่นเคลื่อนที่จากบริ เวณน้ าลึกไปบริ เวณน้ าตื้น


พบว่าระยะระหว่างหน้าคลื่นที่ติดกันในน้ าลึกและในน้ าตื้นเท่ากับ 2.5 และ 1.5 เซนติเมตร
ตามลาดับ ถ้ามุมระหว่างหน้าคลื่นในบริ เวณน้ าตื้นทามุม 35 องศา กับรอยต่อของน้ าลึกและ
น้ าตื้น มุมระหว่างหน้าคลื่นในน้ าลึกกับรอยต่อของน้ าลึกและน้ าตื้นเป็ นเท่าใด
( กาหนดให้ sin 35o = 0.574 )
1. sin–1 0.357 2. sin–1 0.487 3. sin–1 0.587 4. sin–1 0.957

9.4.3 การแทรกสอดคลืน่
51. คลื่นชนิดหนึ่ง เมื่อเกิดการแทรกสอดจะเกิดแนวดังรู ป
ก. คลื่นนี้มีความยาวคลื่นเท่าใด A0 A1
ข. ถ้าคลื่นนี้มีความถี่ 150 เฮิรตซ์ จะมีความเร็ วเท่าใด A2
1. ก. 2 เมตร ข. 300 เมตร/วินาที
2. ก. 2 เมตร ข. 220 เมตร/วินาที 5 เมตร 1 เมตร
3. ก. 4 เมตร ข. 250 เมตร/วินาที S1 S2
4. ก. 4 เมตร ข. 200 เมตร/วินาที

50
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 บทที่ 9 คลื่นกล
52. จากรู ป P เป็ นจุดใด ๆ อยูบ่ นเส้นปฏิบพั ถ้า ปฏิบพั
S1P = 10 เซนติเมตร , S2P = 4 เซนติเมตร
และการทดลองนี้ ใช้มอเตอร์ ความถี่ 50 เฮิรตซ์
P
ความเร็ วของคลื่นน้ ามีค่ากี่ เซนติเมตร/วินาที
1. 50 2. 150
3. 300 4. 400 S1 S2

53. ในการทดลองการแทรกสอดของคลื่นผิวน้ าจาก S1 S2


แหล่งกาเนิดอาพันธ์ S1 และ S2 ได้ผลดังรู ป
S1P = 0.50 เมตร , S2P = 0.44 เมตร ถ้า P
อัตราเร็ วของคลื่นทั้งสองเป็ น 0.60 เมตร/วินาที
แหล่งกาเนิดคลื่นมีความถี่กี่รอบต่อวินาที A0
1. 32 2. 52 3. 15 4. 20

54. คลื่นชนิดหนึ่งเมื่อเกิดการแทรกสอดแนวปฏิบพั ที่ 2 เอียงทามุมจากแนวกลาง 30o หาก


แหล่งกาเนิดคลื่นทั้งสองอยูห่ ่ างกัน 10 เมตร
ก. ความยาวคลื่นนี้ มีค่าเท่าใด
ข. หากคลื่นนี้มีความเร็ ว 100 เมตร/วินาที จะมีความถี่เท่าใด
1. ก. 2.5 เมตร ข. 45 เฮิรตซ์ 2. ก. 4.2 เมตร ข. 45 เฮิรตซ์
3. ก. 4.2 เมตร ข. 40 เฮิรตซ์ 4. ก. 2.5 เมตร ข. 40 เฮิรตซ์

55. แหล่งกาเนิ ดคลื่นอาพันธ์เฟสตรงกัน 2 อัน วางห่ างกัน 6 เซนติเมตร ความเร็ วคลื่น 40


เซนติเมตร/วินาที ขณะนั้นคลื่นมีความถี่ 20 เฮิรตซ์ จงหาว่าแนวปฏิบพั ที่ 3 จะเบนออกจาก
แนวกลางเท่าไร
1. 30o 2. 53o 3. 60o 4. 90o

51
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 บทที่ 9 คลื่นกล
56. จากรู ป แสดงภาพการแทรกสอดของคลื่นผิวน้ า
ปฏิบพั
ที่เกิดจากแหล่งกาเนิดอาพันธ์ S1 และ S2 มี
P
P เป็ นจุดบนเส้นบัพ ถ้า S1P เท่ากับ 10 เซน-
ติเมตร และ S2P เท่ากับ 6 เซนติเมตร ถ้า
อัตราเร็ วของคลื่นทั้งสองเท่ากับ 32 เซนติ-
S1 S2
เมตร/วินาที แหล่งกาเนิดทั้งสองมีความถี่เท่าใด
1. 3 Hz 2. 4 Hz 3. 5 Hz 4. 7 Hz

57(แนว En) จากรู ปเป็ นภาพการแทรกสอดของคลื่น ปฏิบพั


ผิวน้ าจากแหล่งกาเนิดอาพันธ์ S1 และ S2 โดย บัพ
มี P เป็ นจุดใดๆ บนแนวเส้นบัพ S1P = 19 P
เซนติเมตร S2P = 10 เซนติเมตร ถ้าอัตราเร็ วของ
คลื่นทั้งสองเท่ากับ 60 เซนติเมตรต่อวินาที แหล่ง
กาเนิดคลื่นทั้งสองมีความถี่กี่เฮิรตซ์ S1 S2
1. 7.5 Hz 2. 10.0 Hz 3. 12.5 Hz 4. 15.0 Hz

58. ในการทดลองการแทรกสอดของคลื่นผิวน้ าจาก S1 S2


แหล่งกาเนิดอาพันธ์ S1 และ S2 ได้ผลดังรู ป
S1P = 0.50 เมตร และ S2P = 0.44 เมตร ถ้า P
อัตราเร็ วของคลื่นทั้งสองเป็ น 0.60 เมตร/วินาที
แหล่งกาเนิดคลื่นมีความถี่เท่าไร A0
1. 34 Hz 2. 45 Hz 3. 55 Hz 4. 15 Hz

59. จุด P อยูห่ ่ างจาก S1 และ S2 ซึ่ งเป็ นแหล่งกาเนิ ดอาพันธ์มีเฟสตรงกัน ให้กาเนิ ดคลื่นความ
ยาวคลื่น 3 ซม. จุด P อยู่ห่างจาก S1 เป็ นระยะ 6 ซม. และจะอยู่ห่างจาก S2 เท่าไร ถ้า
จุด P เป็ นตาแหน่งบนแนวบัพเส้นแรกถัดจากเส้นกลาง
1. 1.5 ซม. 2. 3.0 ซม. 3. 4.5 ซม. 4. 6.0 ซม.

52
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 บทที่ 9 คลื่นกล
60. S1 และ S2 เป็ นแหล่งกาเนิดคลื่นอาพันธ์ให้คลื่นเฟสตรงกัน อยูห่ ่างกัน 25  บนแนว
เส้น S1S2 จะมีจุดบัพกี่จุด
1. 3 2. 4 3. 5 4. 6

61. แหล่งกาเนิ ดอาพันธ์สองแหล่งมีเฟสตรงกันอยู่ห่างกัน 12 เซนติเมตร ให้คลื่ นมีความยาว


คลื่น 3 เซนติเมตร ระหว่างแหล่งกาเนิดทั้งสองจะเกิดจุดปฏิบพั กี่จุด
1. 6 จุด 2. 7 จุด 3. 8 จุด 4. 9 จุด

62. แหล่งกาเนิดคลื่นน้ าสร้างคลื่นน้ าที่สองตาแหน่ง


A และ B มีความยาวคลื่น 2 เซนติเมตร และ C
ได้แนวของเส้นปฏิบพั ดังแสดงในรู ป อยาก
ทราบว่า AC และ BC มีความยาวต่างกันเท่าใด A B
1. 1.5 cm 2. 2 cm 3. 2.5 cm 4. 3 cm

63. S1 และ S2 เป็ นแหล่งกาเนิดอาพันธ์สองแหล่งที่ทาให้เกิดคลื่นผิวน้ าที่มีความถี่เท่ากัน และ


อยูห่ ่างกัน 6 เซนติเมตร พบว่าบนเส้นตรงที่ต่อระหว่างแหล่งกาเนิดทั้งสองมีบพั 6 บัพ
ถ้า Q เป็ นจุดในแนวปฏิบพั ที่ 2 นับจากปฏิบพั กลาง จุด Q จะอยูห่ ่างจาก S1 และ S2
เป็ นระยะต่างกันกี่เซนติเมตร

64. แหล่งกาเนิดอาพันธ์สองแห่งห่างกัน 10 ซม. ทาให้เกิดคลื่นมีความเร็ ว 40 ซม./วินาที


ถ้าแหล่งกาเนิดทั้งสองมีเฟสตรงกัน และมีความถี่ 20 เฮิรตซ์ S1
จงหาว่าจุด C ซึ่ งอยูห่ ่างจากแหล่งกาเนิดทั้งสองเป็ นระยะทาง
16 ซม. และ 24 ซม. จะอยูต่ าแหน่งไหนของการแทรกสอด C
1. อยูบ่ นปฏิบพั ที่ 4 2. อยูบ่ นปฏิบพั ที่ 5
3. อยูบ่ นบัพที่ 4 4. อยูบ่ นบัพที่ 5 S2

53
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 บทที่ 9 คลื่นกล
65. กาหนดแผ่นกั้น AB เป็ นตัวสะท้อนคลื่นน้ าจาก S ซึ่ งห่างจากแผ่น AB 6 ซม. และจุด R
เป็ นจุดที่ อยูห่ ่างจาก S เป็ นระยะ 15 ซม. ดังรู ป ถ้า S ให้คลื่นที่มีความยาวคลื่น 2 ซม.
อยากทราบว่าจุด R จะเกิดการแทรกสอดอย่างไร
A B
1. เป็ นจุดปฏิบพั
2. เป็ นจุดบัพ 6 cm
3. เกิดแทรกสอดแต่ไม่ใช่ท้ งั บัพและปฏิบพั
4. ไม่เกิดการแทรกสอด S R
16 cm

9.4.4 การเลีย้ วเบนของคลื่น

9.5 คลืน่ นิ่ง


66. ในการทดลองคลื่นนิ่ งบนเส้นเชื อก ถ้าความถี่ ของคลื่นนิ่ งเป็ น 512 เฮิรตซ์ และอัตราเร็ ว
ของคลื่นในเส้นเชื อกเท่ากับ 256 เมตรต่อวินาที ตาแหน่งบัพสองตาแหน่งที่อยูถ่ ดั กันจะห่ าง
กันเท่าใด
1. 0.4 2. 2.5 3. 0.25 4. 4.05

67. ระยะห่ างระหว่างจุดปฎิ บ พั กับจุ ดปฏิ บพั ที่ อยู่ถดั ไปของคลื่ นนิ่ งเป็ น 12.5 เซนติเมตร ตัว
คลื่นมีความเร็ ว 75 เซนติเมตร/วินาที จงหาความถี่ของคลื่นนิ่งมีค่ากี่เฮิรตซ์
1. 1.5 2. 3.0 3. 4.5 4. 6.0

68. คลื่นนิ่งในเส้นเชื อกยาว 0.8 เมตร มีจานวน 4 Loop อัตราเร็ วคลื่น 20 เมตร/วินาที จง
หาความถี่คลื่น
1. 10 Hz 2. 25 Hz 3. 50 Hz 4. 100 Hz

69. เมื่อสัน่ เชื อกเส้นหนึ่งซึ่ งยาว 1.6 เมตร ถูกขึงตรึ งด้วยความถี่ 50 เฮิรตซ์ ปรากฏว่าเกิด
คลื่นนิ่งมีลกั ษณะเป็ น Loop 5 Loop พอดี จงหาอัตราเร็ วของคลื่นในเชื อกเส้นนี้
1. 32 m/s 2. 50 m/s 3. 64 m/s 4. 100 m/s
54
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 บทที่ 9 คลื่นกล
เ ฉ ล ย ต ะ ลุ ย โ จ ท ย์ ทั่ว ไ ป บ ท ที่ 9 ค ลื่ น ก ล
1. ตอบข้ อ 2. 2. ตอบข้ อ 2. 3. ตอบ 6 4. ตอบ 5
5. ตอบ 60 6. ตอบข้ อ 3. 7. ตอบข้ อ 2. 8. ตอบ 1800
9. ตอบข้ อ 2. 10. ตอบข้ อ 2. 11. ตอบข้ อ 3. 12. ตอบข้ อ 4.
13. ตอบข้ อ 1. 14. ตอบข้ อ 4. 15. ตอบข้ อ 1. 16. ตอบข้ อ 1.
17. ตอบข้ อ 3. 18. ตอบข้ อ 4. 19. ตอบข้ อ 1. 20. ตอบข้ อ 3.
21. ตอบข้ อ 3. 22. ตอบข้ อ 2. 23. ตอบข้ อ 2. 24. ตอบข้ อ 2.
25. ตอบข้ อ 2. 26. ตอบข้ อ 1. 27. ตอบข้ อ 3. 28. ตอบข้ อ 3.
29. ตอบข้ อ 3. 30. ตอบข้ อ 2. 31. ตอบข้ อ 4. 32. ตอบข้ อ 2.
33. ตอบข้ อ 3. 34. ตอบข้ อ 2. 35. ตอบข้ อ 1. 36. ตอบข้ อ 2.
37. ตอบข้ อ 4. 38. ตอบข้ อ 3. 39. ตอบข้ อ 4. 40. ตอบข้ อ 1.
41. ตอบข้ อ 4. 42. ตอบข้ อ 4. 43. ตอบข้ อ 1. 44. ตอบข้ อ 1.
45. ตอบข้ อ 4. 46. ตอบข้ อ 2. 47. ตอบข้ อ 2. 48. ตอบข้ อ 1.
49. ตอบข้ อ 1. 50. ตอบข้ อ 4. 51. ตอบข้ อ 1. 52. ตอบข้ อ 2.
53. ตอบข้ อ 4. 54. ตอบข้ อ 4. 55. ตอบข้ อ 4. 56. ตอบข้ อ 2.
57. ตอบข้ อ 2. 58. ตอบข้ อ 4. 59. ตอบข้ อ 3. 60. ตอบข้ อ 4.
61. ตอบข้ อ 4. 62. ตอบข้ อ 2. 63. ตอบ 4.8 64. ตอบข้ อ 1.
65. ตอบข้ อ 1. 66. ตอบข้ อ 3. 67. ตอบข้ อ 2. 68. ตอบข้ อ 3.
69. ตอบข้ อ 1.



55
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง

บทที่ 10 เสี ย ง
10.1 ธรรมชาติและสมบัติของเสี ยง
เสี ยงเกิดจากการสั่นสะเทือนของวัตถุซ่ ึ งส่ งผลให้โมเลกุลของตัวกลางเกิดการอัดตัวและ
ขยายตัวแล้วเกิดการถ่ายทอดพลังงานไปโดยที่อนุภาคตัวกลางสั่นไปมาอยูท่ ี่เดิม
พลังงาน

ส่วนอัด ส่วนขยาย ส่วนอัด ส่วนขยาย

เมื่อพิจารณาการเคลื่อนที่ของเสี ยงแล้ว จะพบว่าเสี ยงมีลกั ษณะเป็ นคลื่นตามยาว และ


เนื่ องจากการเดิ นทางของเสี ยงนั้นต้องอาศัยตัวกลางเสมอ ดังนั้นเสี ยงจึงมีลกั ษณะเป็ นคลื่ นกล
ด้วย
1(แนว มช) วางกระดิ่งไฟฟ้ าที่ส่งเสี ยงดังตลอดเวลา และหลอดไฟฟ้ าที่ให้แสงสว่างในครอบแก้ว
ที่ภายในเป็ นสุ ญญากาศแล้ว ข้อใดถูกต้องที่สุด
1. ไม่ได้ยนิ เสี ยงกระดิ่ง แต่เห็นแสงจากหลอดไฟ
2. ไม่ได้ยนิ เสี ยงกระดิ่ง และไม่เห็นแสงจากหลอดไฟ
3. ได้ยนิ เสี ยงกระดิ่ง และ เห็นแสงจากหลอดไฟ
4. ได้ยนิ เสี ยงกระดิ่ง แต่ไม่เห็นแสงหลอดไฟ

10.2 อัตราเร็วของเสี ยง
อัตราเร็ วเสี ยงสามารถหาค่าได้จาก
v = st หรือ v = f
เมื่อ v คืออัตราเร็ วเสี ยง ( เมตร/วินาที )
s คือระยะทางที่เสี ยงเคลื่อนที่ได้ ( เมตร )
t คือเวลา ( วินาที )
f คือความถี่เสี ยง ( เฮิรตซ์ )
 คือความยาวคลื่น ( เมตร )

1
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
ปัจจัยทีม่ ีผลต่ ออัตราเร็วเสี ยง
1. ความหนาแน่ นของตัวกลาง
อัตราเร็ วเสี ยงในตัวกลางที่ มีความหนาแน่ นมากกว่า จะมี ค่ามากกว่าในตัวกลางที่ มี
ความหนาแน่นน้อยกว่า
ตารางแสดงอัตราเร็วของเสี ยงในตัวกลางต่ างๆ ทีอ่ ุณหภูมิ 25oC
ตัวกลาง อัตราเร็ว (m/s)
อากาศ 346
น้ า 1,498
น้ าทะเล 1,531
เหล็ก 5,200
2. อุณหภูมิ
อัตราเร็ วเสี ย งจะแปรผัน ตรงกับ รากที่ 2 ของอุ ณ หภู มิ เคลวิน เพราะเมื่ อ อุ ณ หภู มิ
สู งขึ้นจะทาให้อนุภาคตัวกลางมีพลังงานจลน์มากขึ้ น การอัดตัวและขยายตัวจะเกิดได้เร็ วขึ้น ทา
ให้เสี ยงเคลื่อนที่ได้เร็ วขึ้น ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราเร็ วเสี ยงกับอุณหภูมิเคลวินคือ
v T
ในอากาศปกติเราสามารถหาอัตราเร็ วเสี ยงที่อุณหภูมิต่างๆ ได้จากสมการ
v = 331 + 0.6 t
เมื่อ v คืออัตราเร็ วเสี ยงในอากาศ ( เมตร/วินาที )
t คืออุณหภูมิ ( oC )
2. จงหาอัตราเร็ วเสี ยงที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส
1. 346 เมตร/วินาที 2. 375 เมตร/วินาที
3. 412 เมตร/วินาที 4. 546 เมตร/วินาที

3. แหล่งกาเนิดเสี ยงอันหนึ่งสั่นด้วยความถี่ 692 เฮิรตซ์ วางไว้ในอากาศที่อุณหภูมิ 25oC


อยากทราบว่า คลื่นเสี ยงที่ออกจากแหล่งกาเนิดนี้จะมีความยาวคลื่นยาวเท่ากับกี่เมตร
1. 0.50 2. 0.75 3. 0.92 4. 1.20

2
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
4. ส่ วนอัดกับส่ วนอัดที่ติดกันที่ติดกันของคลื่นเสี ยงในอากาศวัดได้ 0.5 เมตร และแหล่งกาเนิด
เสี ยงมีความถี่ 680 เฮิรตซ์ อยากทราบว่าอุณหภูมิของอากาศบริ เวณนั้นเป็ นเท่าใด
1. 10oC 2. 15oC 3. 20oC 4. 25oC

5. คลื่นเสี ยงความถี่ 170 เฮิรตซ์ มีอตั ราเร็ วในอากาศ 340 เมตร/วินาที จงหาระยะห่าง
ระหว่างส่ วนอัดกับส่ วนขยายที่อยูใ่ กล้กนั ที่สุดมีค่าเท่ากับกี่เมตร
1. 1.0 2. 1.5 3. 2.2 4. 2.8

6. ถ้าเห็นฟ้ าแลบและได้ยินเสี ยงฟ้ าร้องในเวลา 5 วินาทีต่อมา จงหาว่าตาแหน่ งที่ฟ้าแลบอยู่


ไกลเท่าไร เมื่ออัตราเร็ วเสี ยงในอากาศ 340 เมตร/วินาที
1. 1200 เมตร 2. 1450 เมตร 3. 1500 เมตร 4. 1700 เมตร

3
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
7. เมื่อเคาะท่อเหล็กยาว 1 ครั้งที่ปลายข้างหนึ่ง ปรากฏว่าผูฟ้ ังซึ่งอยูท่ ี่ปลายอีกข้างหนึ่งของ
ท่อเหล็กจะได้ยนิ เสี ยงเคาะ 2 ครั้ง หลังจากเคาะแล้วเป็ นเวลา 0.2 วินาที และ 3 วินาที
ตามลาดับ ถ้าขณะเคาะท่อเหล็ก อากาศมีอุณหภูมิ 25oC จงหาความยาวอัตราเร็ วของเสี ยง
ในท่อเหล็กขณะนั้นในหน่วยเมตร/วินาที
1. 5190 2. 6325 3. 6952 4. 5450

10.3 สมบัติของคลืน่ เสี ยง


ดังได้กล่ าวไปแล้วว่า เสี ยงเป็ นคลื่ นชนิ ดหนึ่ ง ดังนั้นเสี ยงจึงต้องมี สมบัติของคลื่ น
ครบ 4 ประการ ได้แก่ การสะท้อนได้ การหักเหได้ การแทรกสอดได้ และการเลี้ ยวเบนได้
10.3.1 การสะท้อนได้ ของเสี ยง
เมื่อเสี ยงไปตกกระทบวัตถุที่มีขนาดใหญ่กว่าความ
ยาวคลื่นเสี ยง เสี ยงจะสะท้อนออกจากวัตถุน้ นั ได้
สิ่ งควรทราบเพิม่ เติมเกีย่ วกับการสะท้อนเสี ยง
1) วัตถุที่จะสะท้อนเสี ยงออกมาได้น้ นั ต้องมีขนาด
ใหญ่กว่าความยาวคลื่นเสี ยง หากวัตถุมีขนาดเล็กกว่า
ความยาวคลื่นเสี ยง เมื่อเสี ยงตกกระทบจะเลี้ ยวอ้อมไป
ทางอื่นไม่สะท้อนออกมา
4
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
2) หากมีเสี ยงสะท้อนจากหลายแหล่งมาถึงผูฟ้ ังในช่วงเวลาที่ต่างกันมากกว่า 0.1 วินาที
จะทาให้ได้ยนิ เสี ยงสะท้อนหลายเสี ยง เรี ยกว่าเกิดเสี ยงก้อง

8(แนว En) หากต้องการคัดแยกผลไม้ขณะก าลังไหลผ่านมาตามรางน้ าโดยอาศัยการสะท้อน


ของเสี ยงจากเครื่ องโซนาร์ โดยต้องการแยกผลไม้ที่มีขนาดใหญ่กว่าและเล็กกว่า 5 เซนติ-
เมตร ออกจากกัน จงหาความถี่เหมาะสมของคลื่นจากโซนาร์ (ความเร็วเสียงในน้ า = 1500 m/s)
1. 1 kHz 2. 3 kHz 3. 10 kHz 4. 30 kHz

9. เรื อลาหนึ่ งลอยนิ่ งอยูใ่ นทะเลได้ส่งคลื่ นสัญญาณเสี ยงลงไปในน้ าทะเล และ ได้รับสัญญาณ
เสี ยงนั้นกลับมาในเวลา 0.6 วินาที เมื่ออัตราเร็ วของเสี ยงในน้ าทะเลมีค่า 1500 เมตร/วินาที
ทะเล ณ.บริ เวณนี้ลึกกี่เมตร
1. 300 2. 400 3. 450 4. 900

5
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
10(แนว En) เรื อหาปลาลาหนึ่งหาฝูงปลาด้วยโซ-
นาร์ ส่ งคลื่นดลของเสี ยงความถี่สูงลงไปใน 40 m
น้ าทะเล ถ้าฝูงปลาอยูห่ ่างจากเครื่ องกาเนิ ด
คลื่นไปทางหัวเรื อเป็ นระยะทาง 40 เมตร
30 m
และอยูล่ ึกจากผิวน้ าเป็ นระยะ 30 เมตร หลัง
จากส่ งคลื่นดลจากโซนาร์ ไปเป็ นเวลาเท่าใด
จึงจะได้รับคลื่นที่สะท้อนกลับมา
กาหนดความเร็ วเสี ยงในน้ าทะเล = 1500 เมตร / วินาที
1. 0.07 วินาที 2. 0.14 วินาที 3. 0.31 วินาที 4. 0.62 วินาที

11. ชายคนหนึ่งยืนอยูร่ ะหว่างผา 2 แห่ง แล้วยิงปื นออกไป เขาได้ยนิ เสี ยงครั้งแรก ครั้งที่สอง
เมื่อเวลาผ่านไป 1 และ 5 วินาที นับจากเริ่ มยิง จงหาระยะห่างระหว่างหน้าผาทั้งสอง ถ้า
ความเร็ วเสี ยงในอากาศเป็ น 340 เมตร/วินาที
1. 1000 เมตร 2. 1020 เมตร 3. 2000 เมตร 4. 2040 เมตร

6
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
12(แนว มช) บ่ายวันหนึ่งชายคนหนึ่งเปล่งเสี ยงไปยังหน้าผาแห่งหนึ่ ง ปรากฏว่าได้ยินเสี ยงของ
ตัวเองสะท้อนกลับมาหลังจากเปล่งเสี ยงไปแล้ว 8 วินาที ต่อมาชายคนนี้เดินเข้าหาหน้าผา
เป็ นระยะทาง 30 เมตร แล้วเปล่งเสี ยงอีก ปรากฏว่าได้ยินเสี ยงสะท้อนกลับมาหลังจาก
เปล่งเสี ยงไปแล้ว 5 วินาที อยากทราบว่าจุดแรกที่ชายคนนี้ ยนื อยูห่ ่างจากหน้าผากี่เมตร
1. 80.0 2. 85.8 3. 30.0 4. 27.0

13(แนว En) เรื อลาหนึ่ งวิ่งเข้าหาหน้าผาเรี ยบด้วยความเร็ ว 5 เมตรต่อวินาที เมื่อเปิ ดหวูดขึ้ น


คนในเรื อได้ยินเสี ยงหวูดสะท้อนจากหน้าผาในเวลา 2.0 วินาที ถ้าขณะนั้นความเร็ วเสี ยง
ในอากาศเป็ น 330 เมตรต่อวินาที ขณะเปิ ดหวูดเรื อห่างจากหน้าผาเป็ นระยะเท่าใด
1. 335 เมตร 2. 345 เมตร 3. 355 เมตร 4. 365 เมตร

7
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
14. ชายคนหนึ่งอยูห่ น้ากาแพงตะโกนเสี ยงเข้าหากาแพง ถ้าเขาต้องการให้เกิดเสี ยงก้องเขาต้อง
อยูห่ ่างจากกาแพงอย่างน้อยกี่เมตร ( ให้ เสี ยงมีอตั ราเร็ วในอากาศ 340 เมตร/วินาที )
1. 14 2. 15 3. 17 4. 19

10.3.2 การหักเหของเสี ยง
เมื่อคลื่ นเสี ยงเคลื่ อนที่ จากตัวกลางหนึ่ งไปยังอี กตัวกลางหนึ่ ง ซึ่ งมี ความหนาแน่ นไม่
เท่ากัน จะทาให้อตั ราเร็ ว ( v ) แอมพลิจูด (A) และความยาวคลื่น () เปลี่ยนไป แต่ความถี่ ( f )
จะคงเดิ ม ในกรณี ที่คลื่ นเสี ยงตกกระทบตกกระทบเอี ยงท ามุ มกับแนวรอยต่อตัวกลาง คลื่ น
เสี ยงที่ทะลุลงไปในตัวกลางที่ 2 จะไม่ทะลุ ลงไปในแนวเส้นตรงเดิ ม แต่จะมีการเบี่ยงเบนไป
จากแนวเดิมเล็กน้อยดังรู ป ปรากฏการณ์เช่นนี้เรี ยกว่าเกิดการหักเหของคลื่นเสี ยง
กรณี คลื่นตกตั้งฉากรอยต่อ เส้นปกติ กรณี คลื่นตกไม่ต้งั ฉากกับรอย
รังสี ตกกระทบ
ตัวกลาง คลื่นจะไม่เปลี่ยน ต่อตัวกลาง คลื่นจะเบี่ยงเบน
ทิศทางการเคลื่อนที่ ตัวกลางที่ 1 มุมตก แนวการเคลื่อนที่
v 1 , 1 , A 1 v 1 , 1 , A 1 1
รอยต่อตัวกลาง
v2 , 2 , A2 ตัวกลางที่ 2 v ,  , A 
2 2 2 มุมหักเห2
รังสี หกั เห
v,  , A เปลี่ยน แต่ f คงที่
จากกฎของสเนลจะได้วา่
sin 1 v1 1 T1
sin 2 = v = = T = n21
2 2 2
เมื่อ 1 และ 2 คือมุมในตัวกลางที่ 1 และ 2 ตามลาดับ
v1 และ v2 คือความเร็ วคลื่นในตัวกลางที่ 1 และ 2 ตามลาดับ
1 และ 2 คือความยาวคลื่นในตัวกลางที่ 1 และ 2 ตามลาดับ
T1 และ T2 คืออุณหภูมิ (เคลวิน) ในตัวกลางที่ 1 และ 2 ตามลาดับ
n21 คือดัชนีหกั เหของตัวกลางที่ 2 เทียบกับตัวกลางที่ 1
8
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
15. อากาศบริ เวณ x ที่อุณหภูมิ 27oC บริ เวณ y มีอุณหภูมิ 21oC เมื่อเสี ยงผ่านจาก x ไป y
ก. ดัชนีหกั เหของตัวกลาง y เมื่อเทียบกับตัวกลาง x เป็ นเท่าใด
ข. ถ้าในตัวกลาง y เสี ยงมีอตั ราเร็ ว 342 เมตร/วินาที ในตัวกลาง x เสี ยงจะมี
อัตราเร็ วเท่าใด
1. ก. 1.01 , ข. 345.40 เมตร/วินาที 2. ก. 2.04 , ข. 356.20 เมตร/วินาที
3. ก. 2.56 , ข. 420.36 เมตร/วินาที 4. ก. 3.02 , ข. 526.89 เมตร/วินาที

16. เสี ยงเคลื่อนที่จากบริ เวณที่มีอุณหภูมิ 27oC ไปสู่ บริ เวณที่มีอุณหภูมิเท่ากับกี่องศาเซลเซี ยส


จึงทาให้ความยาวคลื่นเป็ น 23 เท่าของความยาวคลื่นเดิม
1. 400 2. 402 3. 408 4. 420

9
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
17. คลื่นเสี ยงอันหนึ่งในอากาศวิง่ จากบริ เวณที่มีอุณหภูมิสูง T1 เข้าสู่ บริ เวณที่มีอุณหภูมิต่ากว่า
คือ T2 โดยมีมุมตกกระทบเท่ากับ 1 และมุมหักเหเท่ากับ 2 จงหาค่าของอัตราส่ วน
ระหว่าง sin 1 กับ sin 2 กาหนด T1 = 1.0201 T2 ( เคลวิน )
1. 1.01 2. 1.04 3. 2.02 4. 2.08

18. เมื่อเสี ยงผ่านตัวกลาง A ไปยังตัวกลาง B อัตราส่ วน sin มุมตกกับมุมหักเหเป็ น 0.98


ถ้าอุณหภูมิอากาศในตัวกลาง B เป็ น 18oC จงหาอุณหภูมิอากาศในตัวกลาง A
1. 4.5oC 2. 6.5oC 3. 8.5oC 4. 10.5oC

19(แนว มช) บางครั้งเกิดฟ้ าแลบโดยไม่ได้ยนิ เสี ยงเพราะ


1. ไม่มีเสี ยงเกิดขึ้น 2. เสี ยงเลี้ยวเบนหมด
3. เสี ยงหักเหหมด 4. เสี ยงสะท้อนหมด

10
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
10.3.3 การเลีย้ วเบนของเสี ยง
เมื่อคลื่นเสี ยงลอดผ่านช่องแคบไป คลื่นส่ วนที่ลอดไป
หลังช่องแคบจะสร้างคลื่นลูกใหม่หลังช่องแคบนั้น และคลื่น
ที่เกิดใหม่จะสามารถเลี้ยวกระจายออกไปทั้งด้านซ้ายและขวา
ของแนวคลื่นที่ลอดไปนั้น ปรากฏการณ์น้ ี จึงเรี ยกเป็ นการ
เลี้ยวเบนได้ของคลื่นเสี ยง
การเลี้ยวเบนจะเกิดได้ดี เมื่อช่องแคบมีขนาดเล็กกว่าความยาวคลื่น หรื อความยาวคลื่น
ต้องใหญ่กว่าช่องแคบ นัน่ เอง
20. ถ้าอัตราเร็ วของเสี ยงในอากาศขณะหนึ่งเท่ากับ 340 เมตร/วินาที เสี ยงแตรรถยนต์มีความถี่
170 เฮิรตซ์ ก่อนที่รถยนต์จะออกจากซอยคนขับรถบีบแตรรถยนต์เพื่อให้สัญญาณทาให้คน
ซึ่ งยืนอยูบ่ นทางเท้า ณ มุมตึกปากซอยได้ยินเสี ยงสัญญาณแตรได้ชดั เจน จงประมาณขนาด
ความกว้างของซอยมีค่ากี่เมตร
1. 0.5 2. 1.0 3. 1.5 4. 2.0

21. คลื่นเสี ยงหนึ่งผ่านเข้าทางช่องหน้าต่างกว้าง 0.8 เมตร และสู ง 1.2 เมตร ในแนวตั้งฉาก ผู ้


ฟังที่อยูข่ า้ งหน้าต่างจะได้ยนิ เสี ยงชัดเจน ถ้าขณะนั้นอุณหภูมิของอากาศ 38oC จงหาความถี่
ของเสี ยงนี้ในหน่วย เฮิรตซ์ ( กาหนดให้เกิดการเลี้ยวเบนในแนวราบ )
1. 400.50 เฮิรตซ์ 2. 420.25 เฮิรตซ์ 3. 442.25 เฮิรตซ์ 4. 450.55 เฮิรตซ์

22(แนว En) ในชี วิตประจาวันเรามักเห็ นแสงเดินทางเป็ นเส้นตรง แต่พบว่าเสี ยงเดิ นทางเป็ น


เส้นโค้งอ้อมมุมตึกได้ เพราะว่า
1. เสี ยงเป็ นคลื่นกล แต่แสงเป็ นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า
2. เสี ยงเป็ นคลื่นตามยาว แต่แสงเป็ นคลื่นตามขวาง
3. ความเร็ วของเสี ยงในอากาศน้อยกว่าของแสงมาก
4. ความยาวคลื่นของเสี ยงมีขนาดพอๆ กับ ขนาดวัตถุ ขณะที่ความยาวคลื่นของแสง
สั้นกว่ามาก ๆ
11
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
12.3.4 การแทรกสอดของเสี ยง
หากเราวางแหล่งกาเนิดเสี ยง 2 แนวปฏิบพั แนวปฏิบพั แนวปฏิบพั
A3 A2 บัพN A1 บัNพ A0 บัพ A1 บัพ A2 A3
แหล่ง ( S1 , S2 ) ห่างกันขนาดหนึ่งแล้ว N3 2 1 N1 N2

ส่ ง คลื่นเสี ยง ที่มีลกั ษณะเหมือนกันทุก


ประการ ( คลื่นอาพันธ์ ) ออกมาพร้อม
กัน คลื่นเสี ยงทั้งสองนั้นจะเข้ามาแทรก
สอดกันโดยจะมีแนวบางแนวคลื่นเสี ยง *S1 *S2
ทั้งสองจะเข้ามาเสริ มกันทาให้มีเสี ยงดังมากกว่าปกติ เรี ยกแนวนี้ วา่ แนวปฏิบัพ (Antinode , A)
ซึ่งจะมีอยูห่ ลายแนวกระจายออกไปทั้งทางด้านซ้ายและด้านขวาอย่างสมมาตรกัน แนวปฏิบพั ที่
อยูต่ รงกลางเราจะเรี ยกเป็ นปฏิบพั ที่ 0 ( A0) ถัดออกไปจะเรี ยกแนวปฏิบพั ที่ 1 ( A1) , 2 ( A2) ,
3 ( A3) , .... ไปเรื่ อยๆ ทั้งทางด้านซ้ายและด้านขวาดังรู ป
ระหว่างกลางแนวปฏิบพั คลื่นเสี ยงทั้งสองจะเกิดการหักล้างกันทาให้เสี ยงเบากว่าปกติ
เรี ยกแนวนี้วา่ เป็ นแนวบัพ ( Node , N ) แนวบัพแรกที่อยูถ่ ดั จากแนวปฏิบพั กลาง ( A0 ) จะเรี ยก
แนวบัพที่ 1 ( N1) ถัดออกไปจะเรี ยกแนวบัพที่ 2 ( N2) , 3 (N3) , ….. ไปเรื่ อยๆ ทั้งทางด้าน
ซ้ายและด้านขวาดังรู ป
n=0 n=1 n=2
สู ตรที่ใช้คานวณเกี่ยวกับการแทรกสอดคลื่น A 0 A
A2 A1 1 A2
สาหรับแนวปฎิบัพลาดับที่ n (An) A 3 P
S1P – S2P = n 
d sin  = n 
เมื่อ P คือจุดซึ่ งอยูบ่ นแนวปฎิบพั ลาดับที่ n ( An ) x x
S1 คือจุดเกิดคลื่นลูกที่ 1 S 1 S2
S2 คือจุดเกิดคลื่นลูกที่ 2 n=3 n=2 n=1
A0
A2 A1
S1P คือระยะจาก S1 ถึง P A3
S2P คือระยะจาก S2 ถึง P 

 คือความยาวคลื่น

n คือลาดับที่ของปฎิบพั นั้น
x x
d คือระยะห่ างจาก S1 ถึง S2 S1 S2
 คือมุมที่วด ั จาก A0 ถึง An d
12
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
สาหรับแนวบัพลาดับที่ n (Nn)
S1P – S2P= n – 12  
d sin = n – 12  
เมื่อ P คือจุดซึ่ งอยูบ่ นแนวบัพลาดับที่ n ( Nn )
S1P คือระยะจาก S1 ถึง P S2P คือระยะจาก S2 ถึง P
 คือความยาวคลื่น n คือลาดับที่ของบัพนั้น
d คือระยะห่างจาก S1 ถึง S2  คือมุมที่วดั จาก A0 ถึง Nn

23. คลื่นชนิดหนึ่ง เมื่อเกิดการแทรกสอด จะเกิดแนวดังรู ป


ก. คลื่นนี้มีความยาวคลื่นเท่าใด
ข. ถ้าคลื่นนี้มีความถี่ 50 เฮิรตซ์ จะมีความเร็ วเท่าใด
1. ก. 2.0 เมตร , ข. 100 เมตร/วินาที A0
A1
2. ก. 3.5 เมตร , ข. 125 เมตร/วินาที
3. ก. 4.0 เมตร , ข. 150 เมตร/วินาที A2
P
5 เมตร
4. ก. 5.0 เมตร , ข. 250 เมตร/วินาที 1 เมตร
S1 S2

24. คลื่นชนิดหนึ่งเมื่อเกิดการแทรกสอดแนวปฏิบพั ที่ 2 เอียงทามุมจากแนวกลาง 30o หาก


แหล่งกาเนิดคลื่นทั้งสองอยูห่ ่างกัน 4 เมตร
ก. ความยาวคลื่นนี้ มีค่าเท่าใด
ข. หากคลื่นนี้มีความเร็ ว 300 เมตร/วินาที จะมีความถี่เท่าใด
1. ก. 1 เมตร , ข. 150 เฮิรตซ์ 2. ก. 1 เมตร , ข. 300 เฮิรตซ์
3. ก. 2 เมตร , ข. 350 เฮิรตซ์ 4. ก. 5 เมตร , ข. 400 เฮิรตซ์

13
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
25. จากรู ปเป็ นภาพการแทรกสอดของคลื่นผิวน้ า จาก ปฏิบพั
แหล่งกาเนิดอาพันธ์ S1 และ S2 โดยมี P เป็ นจุด บัพ
ใดๆ บนแนวเส้นบัพ S1P = 12 เซนติเมตร P
S2P = 2 เซนติเมตร ถ้าอัตราเร็ วของคลื่นทั้งสอง
เท่ากับ 50 เซนติเมตรต่อวินาที แหล่งกาเนิด
คลื่นทั้งสองมีความถี่กี่เฮิรตซ์ S1 S2
1. 4.50 2. 5.50 3. 6.50 4. 7.50

26. A และ B เป็ นลาโพง 2 ตัววางห่างกัน 2 เมตรในที่โล่ง P เป็ นผูฟ้ ังห่างจาก A 4 เมตร
ห่างจาก B 3 เมตร เสี ยงความถี่ต่าสุ ดที่คลื่นหักล้างกันทาให้ได้ยนิ เสี ยงเบาที่สุดเป็ นเท่าไร
( กาหนดความเร็ วเสี ยง = 340 เมตร/วินาที )
1. 270 เฮิรตซ์ 2. 230 เฮิรตซ์ 3. 190 เฮิรตซ์ 4. 170 เฮิรตซ์

14
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
27. S1 และ S2 เป็ นลาโพง 2 ตัว ให้เสี ยงที่มีเฟสเดียวกันความถี่ S1 2m S2
เท่ากัน จุด P และจุด Q เป็ นจุดที่มีเสี ยงเบาที่สุดระหว่าง P
และ Q มีความเข้มเสี ยงมากที่สุดเพียงจุดเดียว จงหาความถี่ของ x
ลาโพงทั้งสอง ถ้า X มีค่า 5 เมตร ให้อตั ราเร็ วเสี ยง 330
เมตร/วินาที และ S1 , S2 อยูห่ ่างกัน 2 เมตร P Q

1. 400.50 Hz 2. 412.50 Hz 3. 500.50 Hz 4. 512.50 Hz

28. S1 และ S2 เป็ นแหล่งกาเนิดอาพันธ์ที่ให้คลื่นเฟส S1


ตรงกันมีความถี่ 20 เฮิรตซ์ วางอยูห่ ่างกัน 40 A
เซนติเมตร จุด A และจุด B เป็ นตาแหน่งปฏิบพั
40 cm
และระหว่างจุด A และ B จะมีตาแหน่งปฏิบพั
อีก 7 ตาแหน่ง จงหาค่าความเร็ วของคลื่นที่ส่งออก
B
มาในหน่วยเมตร/วินาที S2
1. 1 2. 2 3. 3 4. 4 30 cm

15
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
29. S1 และ S2 เป็ นลาโพง 2 ตัว อยูห่ ่างกัน 6 เมตร P
ชายผูห้ นึ่งอยูท่ ี่จุด P ได้ยนิ เสี ยงชัดเจนถามว่าในขณะ S1 54 m
30 m
ที่เขาเดินจากจุด P ไป Q เขาจะรู ้สึกว่าเสี ยงหายไปกี่ 
ครั้ง กาหนดความถี่จากลาโพงทั้งสองมีค่าเท่ากัน คือ Q
510 เฮิรตซ์ และมีเฟสตรงกันความเร็ วเสี ยงในอากาศ S
2
340 เมตร/วินาที
1. 2 ครั้ง 2. 3 ครั้ง 3. 4 ครั้ง 4. 5 ครั้ง

10.4 ความเข้ มเสี ยง


10.4.1 ความเข้ มเสี ยง
ความเข้มเสี ยง ( I ) คือกาลังเสี ยงที่แหล่งกาเนิดเสี ยงส่ งออกไปต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่
เขียนเป็ นสมการจะได้
I = P
A
เมื่อ I คือความเข้มเสี ยง ( วัตต์/ตารางเมตร )
P คือกาลังเสี ยง ( วัตต์ )
A คือพื้นที่ ( ตารางเมตร )
16
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
ปกติแล้วนั้น เสี ยงที่ออกมาจากจุดกาเนิดจะมีลกั ษณะแผ่ออกเป็ นทรงกลมคล้ายลูกบอล
กว้างออกไปเรื่ อย ๆ ดังรู ป
และเนื่องจากพื้นที่ผิวทรงกลมจะหาค่าได้จากสมการ
A = 4  R2
ดังนั้นสมการหาความเข้มเสี ยงจึงสามารถเปลี่ยนเป็ น
I = P
4R 2
เมื่อ I คือความเข้มเสี ยง ( วัตต์/ตารางเมตร )
P คือกาลังเสี ยง ( วัตต์ )
R คือระยะห่างจากจุดกาเนิ ดเสี ยงถึงผูฟ้ ัง ( รัศมีวงกลม ) ( เมตร )
โปรดทราบ
 ความเข้มเสี ยงสูงสุ ดที่หูคนเราทนฟังได้มีค่าเท่ากับ 1 วัตต์/ตารางเมตร
 ความเข้มเสี ยงต่าสุ ดที่หูคนเรายังคงได้ยนิ (Io) มีค่าเท่ากับ 10–12 วัตต์/ตารางเมตร
 ความเข้มสัมพัทธ์ คืออัตราส่ วนของความเข้มเสี ยงที่จุดใดๆ หารด้วย Io
ดังนั้น ความเข้ มสัมพัทธ์ = I
Io
30. หวูดรถไฟมีกาลังเสี ยง 20 วัตต์ จงหาความเข้มเสี ยงที่จุดห่างจากหวูด 150 เมตร ในหน่วย
วัตต์/ตารางเมตร
1. 3.02 x 10–5 2. 5.12 x 10–5 3. 7.07 x 10–5 4. 9.01 x 10–5

31(แนว En) แมลงตัวหนึ่ งบินหนี ในแนวเส้นตรงด้วยความเร็ ว 0.1 เมตรต่อวินาที จากคนๆ


หนึ่ งซึ่ งยืนนิ่ งในที่โล่ง อยากทราบว่าคนนั้นจะได้ยินเสี ยงการบินของแมลงนั้นอยูไ่ ด้นานกี่
วินาที ถ้ากาหนดอัตราที่พลังงานเสี ยงที่แมลงนั้นส่ งออกมาขณะบินมีค่าเท่ากับ 4 x 10–12
วัตต์ กาหนดให้เสี ยงที่เบาที่สุดที่มนุษย์ได้ยนิ ได้มีความเข้ม 10 –12 วัตต์ต่อตารางเมตร
1. 10 2. 15 3. 20 4. 25

17
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
32(แนว En) ในการทดลองเรื่ องความเข้มของเสี ยงวัดความเข้มของเสี ยงที่ตาแหน่งที่อยูห่ ่าง ไ ป
5 เมตร จากลาโพงได้ 1.2x10–2 วัตต์ต่อตารางเมตร ความเข้มเสี ยงที่ตาแหน่ง 10 เมตร
จากลาโพงจะเป็ นเท่าใด
1. 1 x 10–3 วัตต์ต่อตารางเมตร 2. 2 x 10–3 วัตต์ต่อตารางเมตร
3. 3 x 10–3 วัตต์ต่อตารางเมตร 4. 4 x 10–3 วัตต์ต่อตารางเมตร

33(แนว มช) ชายคนหนึ่ งอยูห่ ่ างจากแหล่งกาเนิดเสี ยงอันหนึ่ งได้ยินเสี ยงมีความเข้ม 10–8 วัตต์/-
ตารางเมตร เขาออกเดิ นห่ างออกมาอีก จนได้ยินเสี ยงมีความเข้ม 10–12 วัตต์/ตารางเมตร
จึงหยุด อยากทราบว่าเขาจะอยูห่ ่างจากแหล่งกาเนิดเสี ยงเป็ นกี่เท่าของระยะเดิม
1. 10 2. 100 3. 1000 4. 10000

18
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
34. นาย ก. เห็นพลุแตกกลางอากาศเหนือศีรษะเขาขึ้ นไป 40 เมตร ขณะเดียวกัน นาย ข. ซึ่ งอยู่
ห่างจากนาย ก. ตามแนวราบเป็ นระยะ 30 เมตร ก็เห็นพลุแตกเช่นเดียวกัน ความเข้มของ
เสี ยงที่นาย ก. ได้รับจะเป็ นกี่เท่าของที่นาย ข. ได้รับ
1. 16
25 2. 45 3. 45 25
4. 16

10.4.2 ระดับเสี ยง
เนื่องจากค่าความเข้มเสี ยง ( I ) ปกติจะมีค่าน้อยมาก เราจึงนิยมเปลี่ยนให้อยูใ่ นรู ปที่ดูง่าย
ขึ้นคือรู ปของระดับเสี ยง (  ) วิธีการเปลี่ยนจะใช้สมการ
 = 10 log I

10 12
เมื่อ  คือระดับเสี ยง ( เดซิเบล , dB )
I คือความเข้มเสี ยง ( วัตต์/ตารางเมตร )
หมายเหตุ 1. log 10 = 1
2. log Mx = x log M เช่น log 105 = 5 log 10 = 5 ( 1 ) = 5
3. log x = log y ก็ต่อเมื่อ x = y
19
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
35. จงหาระดับเสี ยง ณ จุดซึ่ งมีค่าความเข้มเสี ยง 1 x 10–7 วัตต์ /ตารางเมตร
1. 30 เดซิเบล 2. 40 เดซิเบล 3. 50 เดซิเบล 4. 70 เดซิเบล

36. หากความเข้มเสี ยงสู งสุ ดที่หูคนเราจะทนฟังได้มีค่า 1 วัตต์ /ตารางเมตร จงหาระดับความ


เข้มเสี ยงสู งสุ ดที่หูคนเราจะทนฟังได้มีค่ากี่เดซิ เบล
1. 100 2. 120 3. 150 4. 170

37(แนว มช) เสี ยงที่ มี ระดับ เสี ย ง 80 เดซิ เบล จะมี ค วามเข้ม เสี ยงในหน่ วยวัตต์/ตารางเมตร
เท่าใด
1. 10–2 2. 10–4 3. 10–6 4. 10–8

20
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
38(แนว มช) วางเครื่ องวัดระดับเข้มเสี ยงห่ างจากลาโพง 10 เมตร พบว่าระดับเสี ยงเท่ากับ
100 เดซิเบล กาลังเสี ยงจะเท่ากับกี่วตั ต์
1. 12.5 x 104 2. 12.6 3. 3.14 4. 10–2

39. แหล่งกาเนิดให้เสี ยงมีระดับเสี ยง 90 เดซิ เบล ผ่านหน้าต่างซึ่ งมีพ้ืนที่ 1.5 ตาราง เมตร จง
หาว่ากาลังของแหล่งกาเนิ ดเสี ยงมีค่าเท่ากับกี่วตั ต์
1. 0.50 x 10–3 2. 0.75 x 10–3 3. 1.00 x 10–3 4. 1.50 x 10–3

สู ตรเพิม่ เติมเกีย่ วกับระดับเสี ยง


I P R2
= 10 log I2
2 – 1 และ 2 – 1 = 10 log 2 12
1 P1 R 2
เมื่อ 1 , 2 คือระดับเสี ยงตอนแรก และ ตอนหลัง ( เดซิเบล )
I1 , I2 คือความเข้มเสี ยงตอนแรก และ ตอนหลัง ( วัตต์/ตารางเมตร )
P1 , P2 คือกาลังเสี ยงตอนแรก และ ตอนหลัง ( วัตต์ )
R1 , R2 คือระยะห่างตอนแรก และ ตอนหลัง ( เมตร )
21
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
40(แนว มช) ยุงตัวหนึ่งเมื่อบินมาที่ประตูหอ้ งซึ่ งอยูห่ ่างจากนาย ก. 20 เมตร พบว่าทาให้ระดับ
ความดังมาถึงหูนาย ก. มีขนาด 20 เดซิเบล ถ้ายุง 100000 ตัว ระดับความดังที่มาถึงหูนาย ก.
จะมีขนาดกี่เดซิเบล
1. 600 2. 100 3. 70 4. 60

41(แนว มช) เมื่ออยูห่ ่างจากแหล่งกาเนิดเสี ยงเป็ นระยะ 5 เมตร วัดระดับเสี ยงได้ 50 dB ถ้าที่
ระยะห่างจากแหล่งกาเนิดเสี ยง 50 เมตร ระดับเสี ยงจะมีค่ากี่เดซิ เบล
1. 20 2. 30 3. 100 4. 150

42. แหล่งเสี ยง A และ B ที่เป็ นจุดมีกาลังเสี ยง 10 และ 40 วัตต์ ตามลาดับ เอาแหล่งเสี ยง


มาทดลองวัดระดับเสี ยงทีละแหล่ง ระดับเสี ยงที่ระยะห่างจาก B 2 เมตร ต่างจากระดับ
เสี ยงที่ระยะห่าง A 1 เมตร เท่ากับกี่เดซิ เบล
1. 0 2. 4 3. 10 4. 15

22
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
43(แนว En) ระดับเสี ยงในโรงงานแห่งหนึ่งมีค่า 80 เดซิ เบล คนงานผูห้ นึ่งใส่ เครื่ อง ครอบหูซ่ ึง
สามารถลดระดับเสี ยงลงเหลือ 70 เดซิเบล เครื่ องดังกล่าวลดความเข้มเสี ยงลงกี่เปอร์ เซ็นต์
1. 80 % 2. 88 % 3. 90 % 4. 99 %

44. เมื่อต้องการให้ผฟู้ ังได้ยนิ เสี ยงจากเครื่ องขยายเสี ยงเพิ่มขึ้น 10 เดซิ เบล เราจะต้องเพิ่มกาลัง
ของเครื่ องขยายเสี ยงเป็ นกี่เท่าของเดิม
1. 2 เท่า 2. 10 เท่า 3. 10 เท่า 4. 100 เท่า

23
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
10.5 เสียงดนตรี
10.5.1 ความดัง เบา และระดับสู งต่าของเสี ยง
ความดังหรื อเบาของเสี ยงขึ้นกับแอมพลิจูดของคลื่นเสี ยง
ถ้าคลื่นเสี ยงมีแอมพลิจูดสู ง เสี ยงจะดัง
ถ้าคลื่นเสี ยงมีแอมพลิจูดต่า เสี ยงจะเบา
ระดับความสู งต่า หรื อทุม้ แหลมของเสี ยง
จะขึ้นกับความถี่ของคลื่นเสี ยง
ถ้าคลื่นเสี ยงมีความถี่สูง เสี ยงจะแหลม เรี ยกระดับเสี ยงสู ง
ถ้าคลื่นเสี ยงมีความถี่ต่า เสี ยงจะทุม้ เรี ยกระดับเสี ยงต่า
ช่วงความถี่ของเสี ยงที่หูคนปกติจะได้ยนิ คือช่วง 20 – 20000 เฮิรตซ์ เท่านั้น
เสี ยงที่มีความถี่ต่ากว่า 20 เฮิรตซ์ ลงไปเรี ยกคลื่นใต้เสี ยง ( Infrasonic wave )
เสี ยงที่มีความถี่สูงกว่า 20000 เฮิรตซ์ ขึ้นไปเรี ยกคลื่นเหนือเสี ยง ( Ultrasonic wave )
หูคนปกติจะไม่ได้ยนิ เสี ยงพวกนี้
ข้ อควรทราบเกีย่ วกับความถี่เสี ยงของตัวโน้ ตดนตรี
คู่ 8 หรื อ 2 คู่ 8 3 คู่ 8 4 คู่ 8
เสี ยงมูลฐาน เสี ยงที่ 8 (เสี ยงที่ 16 ) (เสี ยงที่ 24 ) (เสี ยงที่ 32 )
Harmonicที่ 1 Harmonicที่ 2 Harmonicที่ 3 Harmonicที่ 4 Harmonicที่ 5

โด เร มี ฟา ซอล ลา ที โด/ ….. โด// ….. โด/// …….. โด//// …..

ความถี่ 256 Hz 512 Hz 1024 Hz 2048 Hz 4096 Hz


จากโน้ตโด ไปสู่ โน้ตโด/ จะนับได้ 8 ตัวโน๊ตพอดี ดังนั้นโน้ตโด กับ โด/ จึงเรี ยกเป็ น
คู่แปดซึ่ งกันและกัน และสาหรั บโน้ต โด // , โด/// , โด//// ถัดๆ ไปจะเรี ยกเป็ น 2 คู่แปด ,
3 คู่แปด และ 4 คู่แปด ตามลาดับ
เมื่อตัวโน๊ตสู งขึ้นไปทุกๆ คู่แปด ความถี่ของคลื่นเสี ยงจะเพิ่มขึ้นเป็ น 2 เท่าตัวเสมอ
45. สมบัติของเสี ยงข้อใดที่มีผลต่อความดังของเสี ยงมากที่สุด
1. ความยาวคลื่น 2. ความถี่ 3. แอมพลิจูด 4. ความเร็ วคลื่น

24
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
46. ปริ มาณใดเป็ นตัวบอกพลังงานเสี ยง
1. ความยาวคลื่น 2. แอมพลิจูด 3. ความถี่ 4. อัตราเร็ ว

47(แนว มช) ความถี่ของคลื่นเสี ยงที่ระดับเสี ยง 70 เดซิ เบล ที่หูของคนปกติไม่สามารถได้ยนิ คือ


1. 30 เฮิรตซ์ 2. 1000 เฮิรตซ์ 3. 10000 เฮิรตซ์ 4. 30000 เฮิรตซ์

48. ถ้าระดับเสี ยงโน้ต C มีความถี่ 256 เฮิรตซ์ เสี ยงที่ 16 ของระดับเสี ยง C มีค า่ เท่าไร
1. 512 เฮิรตซ์ 2. 1024 เฮิรตซ์ 3. 2048 เฮิรตซ์ 4. 4096 เฮิรตซ์

49. คลื่นเสี ยงที่ความถี่ 1200 เฮิรตซ์ เป็ นเสี ยงสามคู่แปดของเสี ยงที่มีความถี่เท่าไร


1. 600 เฮิรตซ์ 2. 400 เฮิรตซ์ 3. 300 เฮิรตซ์ 4. 150 เฮิรตซ์

10.5.2 คุณภาพเสี ยง
ขณะที่เราฟังเสี ยงเครื่ องดนตรี หลายชนิด เช่น ขลุ่ย เปี ยโน ซึ่ งเล่นโน้ตตัวเดียวกันพร้อมๆ
กัน แต่เรายังสามารถแยกออกได้วา่ เสี ยงใดเป็ นเสี ยงขลุ่ย เสี ยงใดเป็ นเสี ยงเปี ยโน ทั้งนี้เพราะ
เสี ยงทั้งสองจะมีลกั ษณะที่ต่างกัน กล่าวคือเสี ยงแต่ละเสี ยงจะมี Higher Hamonic ( เสี ยงตัวโน๊ต
ชั้นสู งถัดๆ ไป ) และความเข้มสัมพัทธ์ของแต่ละ Hamonic ไม่เท่ากัน จึงทาให้เสี ยงแต่ละ
เสี ยงมีลกั ษณะโดยรวมต่างกันไป ลักษณะของเสี ยงเช่นนี้เราเรี ยกคุณภาพเสี ยง
ตัวอย่ างสมมุติ 90% 4% 4% 1% 1%
เสี ยงเครื่ องดนตรี ชนิดที่ 1 ประกอบด้วย โด โด โด โด โด
เสี ยงเครื่ องดนตรี ชนิดที่ 2 ประกอบด้วย โด โด โด
95% 3% 2%

25
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
50(แนว En) วงดนตรี ที่ประกอบด้วยเครื่ องดนตรี หลายชนิด เมื่อเล่นพร้อมกันแต่เราสามารถแยก
ได้วา่ เสี ยงใดเป็ นเสี ยงไวโอลิน เสี ยงใดเป็ นเสี ยงขลุ ่ย และเสี ยงใดเป็ นเสี ยงเปี ยโน เนื่ องจาก
เสี ยงดนตรี แต่ละชนิดมีลกั ษณะเฉพาะตามข้อใดที่ต่างกัน
1. ระดับสู งต่าของเสี ยง 2. ระดับเสี ยง
3. ความถี่เสี ยง 4. คุณภาพเสี ยง

51(แนว มช) คุณภาพเสี ยงอธิบายได้ดว้ ยคุณสมบัติของเสี ยงข้อใด


1. ความดังของเสี ยง และระดับความดัง
2. ความถี่ของเสี ยง และความเร็ วของเสี ยง
3. ระดับสู งต่าของเสี ยง และความถี่ธรรมชาติ
4. จานวนฮาร์ โมนิก และ ความเข้มของเสี ยงของฮาร์โมนิก

10.6 การบีต และคลืน่ นิ่งของเสี ยง


10.6.1 การบีตเสี ยง
เมื่อมีคลื่นเสี ยง 2 คลื่น ซึ่ งมีความถี่ต่างกันเล็กน้อยเข้ามาปนกัน คลื่นทั้งสองจะเกิด
การแทรกสอดกันเอง แล้วจะได้คลื่นรวมที่มีแอมพลิจูดสู งต่าสลับกันไป เสี ยงที่เกิดจากคลื่นรวม
จะมีลกั ษณะดังสลับกับเบา ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นนี้เรี ยกว่าการบีตของเสี ยง ( beats )

คลืน่ รวม

จานวนครั้งที่เสี ยงดังใน 1 หน่วยเวลาเรี ยก ความถี่บีต ซึ่งหาค่าจาก


fB =  f1 – f2 
เมื่อ fB คือความถี่บีต (เฮิรตซ์ )
f1 คือความถี่เสี ยงที่ 1 (เฮิรตซ์ )
f2 คือความถี่เสี ยงที่ 2 (เฮิรตซ์ )
26
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
และความถี่คลื่นเสี ยงรวมหาจาก
f f
fรวม = 1 2
2
ปกติแล้วหูคนเราจะได้ยนิ เสี ยงบีตที่มีความถี่ไม่เกิน 7 เฮิรตซ์
52(แนว En) เมื่อจะทาการทดลองเกี่ยวกับสมบัติของคลื่นเสี ยงเรื่ องบีต เราจาเป็ นต้องใช้
1. เครื่ องกาเนิดสัญญาณเสี ยง 1 เครื่ อง ลาโพง 1 ตัว
2. เครื่ องกาเนิดสัญญาณเสี ยง 1 เครื่ อง ลาโพง 2 ตัว
3. เครื่ องกาเนิดสัญญาณเสี ยง 2 เครื่ อง ลาโพง 2 ตัว
4. เครื่ องกาเนิดสัญญาณเสี ยง 3 เครื่ อง ลาโพง 3 ตัว

53. นักเรี ยนคนหนึ่งเล่นไวโอลินความถี่ 507 เฮิรตซ์ และนักดนตรี อีกคนหนึ่งเล่นกีตาร์ ความถี่


512 เฮิรตซ์ ถ้าทั้งสองคนเล่นพร้อมกัน จะเกิดปรากฏการณ์บีตที่ความถี่กี่เฮิรตซ์
1. 5 2. 10 3. 50 4. 75

54. ถ้าต้องการให้เกิดเสี ยงดังเป็ นจังหวะห่างกันทุก 0.25 วินาที จะต้องเคาะส้อมเสี ยงความถี่


450 เฮิรตซ์ พร้อมกับส้อมเสี ยงที่มีความถี่กี่เฮิรตซ์
1. 100 2. 250 3. 378 4. 454

55. คลื่ นเสี ยงจากแหล่งกาเนิ ดเสี ยงสองแหล่ง เมื่อมาซ้อนทับกันแล้วเกิ ดบีต 5 ครั้งต่อวินาที


คลื่นเสี ยงที่ทุม้ กว่ามีความถี่ 438 เฮิรตซ์ คลื่นเสี ยงคลื่นหนึ่งจะมีความถี่กี่เฮิรตซ์
1. 433 2. 435.5 3. 440.5 4. 443

27
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
56. ส้อมเสี ยง 30 อัน วางเรี ยงกันจากความถี่นอ้ ยไปหามาก เมื่อเคาะส้อมเสี ยงแตะละคู ท่ ี่ติดกัน
จะทาให้เกิดบีต 6 เฮิรตซ์ เหมือนกัน ถ้าความถี่ของส้อมเสี ยงอันสุ ดท้ายเป็ นคู่แปดของ
ส้อมเสี ยงอันแรก จงหาว่าความถี่ของส้อมเสี ยงอันแรกมีค่ากี่เฮิรตซ์
1. 182 2. 174 3. 364 4. 348

10.6.2 คลืน่ นิ่งของเสี ยง


คลืน่ นิ่งของเสี ยง เป็ นปรากฏการณ์แทรกสอดของคลื่นเสี ยงที่ตกกระทบ กับคลื่นเสี ยง
ที่สะท้อนจากตัวกลาง ทาให้เกิดตาแหน่งเสี ยงดังและเสี ยงค่อยสลับกันไป
ตาแหน่งเสี ยงดัง เรี ยกว่าปฏิบัพ (A) λ
เคลื่อนเข้า 2
ตาแหน่งเสี ยงค่อย เรี ยกว่าบัพ (N) A A A
N N
ควรทราบ
1) คลื่นนิ่งจะเกิดได้ก็ต่อเมื่อ มีคลื่น 2 คลื่น
ซึ่งมีความถี่ ความยาวคลื่น แอมพลิจูด เท่ากัน แต่ เคลื่อนออก λ
4
เคลื่อนที่สวนทางกันเข้ามาแทรกสอดกัน
2) แนวปฏิบพั (A) 2 แนวที่อยูถ่ ดั กัน จะห่างกัน = 2
แนวบัพ ( N ) 2 แนวที่อยูถ่ ดั กัน จะห่างกัน = 2
แนวปฏิบพั (A) และแนวบัพ ( N ) ที่อยูถ่ ดั กัน จะห่างกัน = 4
57. ลาโพงเสี ยงอันหนึ่ งหันหน้าเข้าหาก าแพงห่ างจากกาแพงระยะหนึ่ ง ให้สัญญาณเสี ยงซึ่ งมี
ความถี่ 340 เฮิรตซ์ ชายคนหนึ่ งอยูร่ ะหว่างกาแพงกับลาโพง เมื่อออกเดินเข้าหาก าแพง
อย่างช้าๆ พบว่าจะได้ยนิ เสี ยงดังค่อยสลับกันไป จงหาว่าจุดที่เกิดเสี ยงดัง 2 จุดถัดกันอยูห่ ่าง
กันกี่เมตร เมื่ออัตราเร็ วเสี ยงในอากาศเป็ น 340 เมตร/วินาที
1. 0.5 2. 1.0 3. 500 4. 100.0

28
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
58. ในการทดลองส่ งคลื่นเสี ยงความถี่ 3000 เฮิรตซ์ ให้ไปตกกระทบก าแพงในแนวตั้งฉาก
ปรากฏว่าจุดที่มีเสี ยงเบาที่สุด 2 จุด ที่ติดกันห่างกัน 6 เซนติเมตร จงหาอัตราเร็ วของเสี ยง
1. 340 เมตร/วินาที 2. 350 เมตร/วินาที
3. 360 เมตร/วินาที 4. 380 เมตร/วินาที

10.7 ความถี่ธรรมชาติ และการสั่ นพ้องของเสี ยงในอากาศ


10.7.1 ความถี่ธรรมชาติ และการสั่ นพ้อง
เมื่อวัตถุถูกกระทบกระเทือน โดยทัว่ ไปแล้ววัตถุจะเกิดการสั่นสะเทือนด้วยความถี่เฉพาะ
ตัวค่าหนึ่ ง เรี ยกความถี่ น้ ี วา่ ความถี่ธรรมชาติ ( natural frequency ) ของวัตถุ น้ ัน เช่ นลูกตุม้ ที่
แขวนติดกับสายแกว่ง เมื่อถูกกระทบก็จะแกว่งไปมาด้วยความถี่ธรรมชาติของลูกตุม้ นั้น
และเมื่อวัตถุ น้ นั ถูกแรงภายนอกมากกระทาอย่างต่อเนื่ องด้วยความถี่ เท่ากับความถี่ ธรรม
ชาติของวัตถุ จะทาให้วตั ถุ เกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุ นแรง เราเรี ยกปรากฏการณ์ การสั่นอย่าง
รุ นแรงเนื่องจากเหตุเช่นนี้ วา่ เป็ นการสั่ นพ้อง ( Resonance )
59. คนปกติจะมีอตั ราการเต้นของหัวใจ 72 ครั้ง/นาที ถ้าได้ยนิ เสี ยงกลองที่ดงั เป็ นจังหวะ 72
ครั้ง/นาที ผูฟ้ ังจะรู ้สึกอย่างไร
1. หัวใจเต้นปกติ 2. หัวใจเต้นแรงกว่าปกติ
3. หัวใจเต้นค่อยกว่าปกติ 4. หัวใจอาจหยุดเต้น

10.7.2 การสั่ นพ้องของเสี ยงในอากาศ


เมื่อเราส่ งคลื่นเสี ยงเข้าไปในท่อปลายตัน เสี ยงที่ส่งเข้าไปนั้นจะไปกระทบผนังด้านในแล้ว
สะท้อนออกมา และเข้ามาแทรกสอดกับคลื่นที่เข้าไปเกิดเป็ น
คลื่นนิ่ง และหากตรงตาแหน่งปากท่ออยูต่ รงกับแนวปฏิบพั
ของคลื่นนิ่งนั้น จะทาให้โมเลกุลตัวกลาง(อากาศ) สั่นสะ
เทือนอย่างรุ นแรง ทาให้เสี ยงที่ออกมาจากท่อนั้นดังกว่าปกติ
ปรากฏการณ์ที่มีเสี ยงดังอันเกิดจากอนุภาคตัวกลางสัน่ สะเทือน
อย่างรุ นแรงเช่นนี้ เรี ยกว่าการสั่ นพ้องของเสี ยง
29
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
ควรทราบเพิม่ เติมเกีย่ วกับการสั่ นพ้อง
ประการที่ 1 ท่อที่ทาให้เกิดเสี ยงดัง จะต้อง
เป็ นท่อที่มีความพอดีที่จะทาให้ปากท่ออยูต่ รงกับ
แนวปฏิบพั ของคลื่นนิ่งพอดี หากปากท่อตรงกับ
แนวบัพจะไม่เกิดเสี ยงดัง เช่นที่แสดงในรู ปภาพ
จากรู ปโปรดสั งเกตว่า
ความยาวที่ทาให้เกิดสั่นพ้องแต่ละครั้ง
ถัดกัน จะยาวต่างกัน = 2
ความยาวจากปากท่อถึงจุดที่ทาให้เกิด
สัน่ พ้องครั้งแรก จะมีความยาว = 4
ประการที่ 2 สาหรับท่อปลายตันซึ่ งมีความยาวขนาดหนึ่ง หากเราปรับความถี่ของเสี ยงที่ส่ ง
เข้าไปให้เหมาะสม อาจท าให้เกิ ดการสั่ นพ้องได้เช่ นกัน ความถี่ ที่ ท าให้เกิ ดการสั่ นพ้องนั้น
สามารถคานวณหาได้จาก
f = 4n Lv
เมื่อ f คือความถี่เสี ยงที่ทาให้เกิดการสั่นพ้อง ( เฮิรตซ์ )
v คือความเร็ วเสี ยง ( เมตร/วินาที )
L คือความยาวลาอากาศ หรื อ ความยาวท่อกาทอน ( เมตร )
n คือจานวนเต็มบวกคี่ คือ 1 , 3 , 5 , 7 , 9 , ....
ถ้า n = 1 ความถี่ที่ได้จะทาให้เกิดเสี ยงดังครั้งแรก เรี ยกความถี่น้ ี วา่ ความถี่มูลฐาน
หรื อ Harmonic ที่ 1
ถ้า n = 3 ความถี่ที่ได้จะทาให้เกิดเสี ยงดังครั้งที่ 2 เรี ยกความถี่น้ ี วา่ Harmonic ที่ 2
ถ้า n = 5 ความถี่ที่ได้จะทาให้เกิดเสี ยงดังครั้งที่ 3 เรี ยกความถี่น้ ี วา่ Harmonic ที่ 3
หมายเหตุ : ถ้าท่อกาทอนมีปลายเปิ ดทั้งสองข้าง ความถี่ที่ทาให้เกิดการสั่นพ้องนั้น สามารถ
คานวณหาได้จาก
f = 2n Lv
เมื่อ f คือความถี่เสี ยงที่ทาให้เกิดการสั่นพ้อง ( เฮิรตซ์ )
30
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
v คือความเร็ วเสี ยง ( เมตร/วินาที )
L คือความยาวลาอากาศ หรื อ ความยาวท่อปลายเปิ ด ( เมตร )
n คือจานวนเต็มบวกธรรมดา คือ 1 , 2 , 3 , 4 , 5 , .....
ถ้า n = 1 ความถี่ที่ได้จะทาให้เกิดเสี ยงดังครั้งแรก เรี ยกความถี่มูลฐาน
หรื อ Harmonic ที่ 1
ถ้า n = 2 ความถี่ที่ได้จะทาให้เกิดเสี ยงดังครั้งที่ 2 เรี ยก Harmonic ที่ 2
ถ้า n = 3 ความถี่ที่ได้จะทาให้เกิดเสี ยงดังครั้งที่ 3 เรี ยก Harmonic ที่ 3
60. จากการทดลองปรากฏว่าถ้าเคาะส้ อมเสี ยงซึ่ งมี ความถี่ 346 รอบต่อวินาที หน้าหลอดก า
ทอนจะเกิดกาทอนขึ้นครั้งแรกที่ระยะ 25 เซนติเมตร อุณหภูมิของอากาศขณะนั้นมี่ค่าเท่า
กับกี่องศาเซลเซียส
หลอดกาทอน
1. 25 ส้อมเสี ยง
2. 24
3. 22
25 ซม. ลูกสู บ
4. 20

61. การทดลองหาอัตราเร็ วเสี ยงในอากาศโดยใช้หลอดกาทอน พบว่าหลังจากเกิดสั่นพ้องแล้วก็


เลื่อนลูกสู บถอยหลังไปอีก 25 เซนติเมตร จึงเกิ ดสั่นพ้องอีกครั้ง ถ้าความถี่ 680 เฮิรตซ์
จงหาอัตราเร็ วเสี ยงในอากาศมีค่ากี่เมตร/วินาที
1. 250 2. 300 3. 340 4. 410

62(แนว En) การทดลองเรื่ องการก าทอนของเสี ยงโดยใช้หลอดกาทอน พบว่าเกิ ดกาทอนครั้ ง


หนึ่งและครั้งถัดไปที่ระยะ 0.15 เมตร และ 0.50 เมตร จากปากท่อตามลาดับ ถ้าความเร็ ว
ของเสี ยงในขณะนั้นเท่ากับ 350 เมตร/วินาที จงหาความถี่ของคลื่นสี ยงที่ใช้มีค่ากี่เฮิรตซ์
1. 400 2. 500 3. 600 4. 1000

31
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
63. ท่อปลายปิ ดยาว 25 เซนติเมตร จงหาความถี่ 3 ลาดับแรกที่ทาให้เกิดการสั่นพ้องของเสี ยง
ในท่อนี้ได้ในหน่วยเฮิรตซ์ เมื่ออัตราเร็ วเสี ยงในอากาศมีค่า 350 เมตร/วินาที
1. 350 , 700 , 1050 เฮิรตซ์ 2. 350 , 1050 , 1750 เฮิรตซ์
3. 700 , 1400 , 2100 เฮิรตซ์ 4. 700 , 2100 , 3500 เฮิรตซ์

64. ถ้าความเร็ วของเสี ยงในอากาศเท่ากับ 340 เมตร/วินาที ส้อมเสี ยงจะต้องสั่นด้วยความถี่ต่า


สุ ดมีค่ากี่เฮิรตซ์จึงจะทาให้เกิดกาทอนได้เมื่อจ่อใกล้ปากกระบอกตวงซึ่ งยาว 20 เซนติเมตร
1. 250 2. 320 3. 375 4. 425

65(แนว En) หลอดเรโซแนนซ์ที่ใช้ในการทดลองชุดหนึ่งจะให้ความดันสู งสุ ดสามครั้ ง เมื่อเลื่อน


ตาแหน่งลูกสู บไปตามความยาวของหลอดเรโซแนนซ์ ถ้าตาแหน่งสุ ดท้ายดังเมื่อลูกสู บห่าง
จากลาโพงมากที่สุดและห่างจากปลายกระบอกสู บ 50 เซนติเมตร อยากทราบว่าลาโพงสั่น
ด้วยความถี่กี่เฮิรตซ์ ( กาหนดความเร็ วเสี ยงในอากาศเป็ น 340 เมตร/วินาที )
1. 300 2. 435 3. 510 4. 850

32
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
66(แนว มช) หลอดปิ ดปลายข้างหนึ่งมีความถี่หลักมูล 100 เฮิรตซ์ ความถี่ที่จะไม่เกิดกาทอนคือ
1. 100 เฮิรตซ์ 2. 200 เฮิรตซ์ 3. 300 เฮิรตซ์ 4. 500 เฮิรตซ์

67. คลื่นเสี ยงขบวนหนึ่งทาให้เกิดกาทอนลาดับ 1 ในกล่องไม้กลวงที่เปิ ดทุกด้านมีความยาว 0.5


เมตร ความถี่ธรรมชาติของกล่องไม้น้ ีเท่ากับกี่เฮิรตซ์ (ให้อตั ราเร็ วเสี ยง = 330 เมตร/วินาที )
1. 330 2. 495 3. 660 4. 3 x 10–3

สาหรับเสี ยงที่เกิดจากสายสัน่ เราสามารถหาความถี่และความเร็ วของเสี ยงที่เกิดได้จาก


f= n T และ v = T
2L  
เมื่อ f คือ ความถี่เสี ยงที่เกิดจากสายสั่น ( เฮิรตซ์ )
n คือ จานวน Loop คลื่นนิ่งที่เกิดในสายสั่น
L คือ ความยาวสายสั่น (เมตร)
T คือ แรงดึงสายสั่น (นิวตัน)
 คือ มวลสายสั่นซึ่ งยาว 1 เมตร (กิโลกรัม)
v คือ ความเร็ วเสี ยง (เมตร/วินาที)
68. เชื อกเส้ นหนึ่ งยาว 2 เมตร มี ม วล 15 กรั ม ถู ก ดึ งให้ตึง ด้วยแรง 12 นิ วตัน จงหา
ความถี่ของคลื่นในเส้นเชือกในหน่วยเฮิรตซ์
1. 10 2. 20 3. 30 4. 40

33
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
69. เชือกเส้นหนึ่งปลายข้างหนึ่งผูกติดกับตุม้ น้ าหนัก ปลายอีกข้างหนึ่งผูกติดกับเครื่ องเคาะ
สัญญาณเวลา เมื่อเครื่ องเคาะสัญญาณเวลาสั่น ทาให้เกิดคลื่นในเส้นเชือกถ้าเพิ่มน้ าหนักที่
ผูกติดกับเชือกเป็ น 2 เท่า อยากทราบว่าอัตราเร็ วของคลื่นในเส้นเชือกเป็ นกี่เท่าของเดิม
1. 12 เท่า 2. 1 เท่า 3. 2 เท่า 4. 2 เท่า

70(แนว En) ในการดีดพิณระดับเสี ยง จะเพิ่มขึ้นได้เมื่อ


ก) ความตึงของสายพิณเพิม่ ขึ้น
ข) สายพิณยาวขึ้น
ค) น้ าหนักต่อความยาวของสายพิณมีค่าเพิ่มขึ้น
ง) จานวนคลื่นนิ่งที่เกิดขึ้นในสายพิณมีจานวนมากขึ้น
จงพิจารณาว่าข้อความข้างต้นข้อใดถูก
1. ก และ ง 2. ข และ ค 3. ข เท่านั้น 4. ถูกทุกข้อ

34
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
10.8 ปรากฏการณ์ ดอปเพลอร์ และคลืน่ กระแทก
10.8.1 ปรากฏการณ์ ดอปเพลอร์
ปรากฏการณ์ ดอปเพลอร์ เป็ นปรากฏการณ์มีการเปลี่ยนแปลงระดับเสี ยง (ความถี่ของ
เสี ยง) เมื่อแหล่งกาเนิดและผูส้ ังเกตเคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ วสัมพัทธ์ต่อกัน
กรณีที่ 1 หากแหล่งกาเนิดเสี ยงพุง่ เข้าหาผูฟ้ ังที่อยูน่ ิ่ง เช่นผูฟ้ ังยืนอยูห่ น้ารถแล้วฟังเสี ยง
รถที่พุง่ เข้ามาหาตัวผูฟ้ ัง เสี ยงรถที่มาถึงผูฟ้ ังจะถูกกดดันทาให้ความยาวคลื่น ( ) ของเสี ยงลดลง
ความถี่ (f ) ของเสี ยงเพิม่ ขึ้น ทาให้ผฟู ้ ังได้ยนิ เสี ยงที่แหลมกว่าปกติ

กรณีที่ 2 หากแหล่งกาเนิ ดเสี ยงเคลื่อนห่างออกจากผูฟ้ ังที่อยูน่ ิ่ง เช่นผูฟ้ ังยืนอยูห่ ลังรถ


แล้วฟังเสี ยงรถที่เคลื่อนห่างออกจากตัวผูฟ้ ัง เสี ยงรถที่มาถึงผูฟ้ ังจะถูกลากออกไปทาให้ความ
ยาวคลื่น ( ) ของเสี ยงมากขึ้น ความถี่ (f ) ของเสี ยงลดลง ทาให้ผฟู ้ ังได้ยนิ เสี ยงที่ทุม้ กว่าปกติ
กรณีที่ 3 หากผูฟ้ ังเคลื่อนห่ างออกไปจากแหล่งกาเนิดเสี ยงที่อยูน่ ิ่ง เสี ยงที่มาถึงผูฟ้ ังจะ
ถูกลากออกไปทาให้ความยาวคลื่น ( ) ของเสี ยงมากขึ้น ความถี่ (f ) ของเสี ยงลดลง ทาให้ผฟู้ ัง
ได้ยนิ เสี ยงที่ทุม้ กว่าปกติ เสี ยงกระจายออกจากเปี ยโน

กรณีที่ 4 หากผูฟ้ ังเคลื่อนเข้าหาแหล่งกาเนิดเสี ยงที่อยูน่ ิ่ ง เสี ยงที่มาถึงผูฟ้ ังจะถูกกดดัน


เข้าทาให้ความยาวคลื่น ( ) ของเสี ยงลดลง ความถี่ (f ) ของเสี ยงมากขึ้น ทาให้ผฟู ้ ังได้ยนิ เสี ยง
ที่แหลมกว่าปกติ

35
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
กรณีที่ 5 หากแหล่งกาเนิ ดเสี ยงเคลื่อนที่เข้าหาผูฟ้ ังที่กาลังเคลื่อนที่
หากความเร็ วแหล่งกาเนิ ดเสี ยงมากกว่าผูฟ้ ัง เสี ยงที่มาถึงผูฟ้ ังจะถูกกดดันเข้าทาให้ความ
ยาวคลื่น() ของเสี ยงลดลง ความถี่ (f ) ของเสี ยงมากขึ้น ทาให้ผฟู ้ ังได้ยนิ เสี ยงที่แหลมกว่าปกติ
หากความเร็ วแหล่งกาเนิ ดเสี ยงน้อยกว่าผูฟ้ ัง เสี ยงที่มาถึงผูฟ้ ังจะถูกลากออกทาให้ความ
ยาวคลื่น ( ) ของเสี ยงเพิม่ ขึ้น ความถี่ (f )ของเสี ยงลดลง ทาให้ผฟู ้ ังได้ยนิ เสี ยงที่ทุม้ กว่าปกติ
เสี ยงแตรออกจากมอเตอร์ไซด์

ในปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ เราสามารถหาความถี่ที่ผฟู้ ังได้ยนิ จากสมการ


(V  V )
fL = (Vo  VL) fs เมื่อ fL = ความถี่ที่ผสู้ ังเกตได้ยนิ
o s
fs = ความถี่ปกติของต้นกาเนิดเสี ยง
Vo = อัตราเร็ วเสี ยง
และหาความยาวคลื่นโดยจากสมการ Vs = อัตราเร็ วของต้นกาเนิดเสี ยง
 = (Vo fs Vs ) VL = อัตราเร็ วของผูส้ ังเกต
 = ความยาวคลื่นเสี ยงที่ผสู้ ังเกตได้ยนิ
เงื่อนไขการใช้ สมการทั้งสองนี้ คือ
ในการแทนค่า VL กับ Vs ต้องคานึงค่า +, – ด้วย โดยอาศัยหลักดังนี้
ถ้า VL , Vs มิทิศสวนทางกับ Vo จะมีค่าเป็ น +
ถ้า VL , Vs มีทิศไปทางเดียวกัน Vo จะมีค่าเป็ น –
71(แนว En) ในขณะที่แหล่งกาเนิดเสี ยงเคลื่อนที่ในอากาศนิ่ง ข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. ความยาวคลื่นเสี ยงที่อยูด่ า้ นหน้าแหล่งกาเนิดจะสั้นกว่าความยาวคลื่นเสี ยงที่จุด
ด้านหลังแหล่งกาเนิ ด
2. ความถี่เสี ยงที่อยูด่ า้ นหน้าแหล่งกาเนิดจะต่ากว่าความถี่เสี ยงที่จุดด้านหลังแหล่งกาเนิ ด
3. ความเร็ วเสี ยงด้านหน้าแหล่งกาเนิดจะสู งกว่าความเร็ วเสี ยงด้านหลังแหล่งกาเนิด
4. ความเร็ วเสี ยงด้านหน้าแหล่งกาเนิดจะต่ากว่าความเร็ วเสี ยงด้านหลังแหล่งกาเนิด
36
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
72(แนว มช) รถมอเตอร์ ไซด์คนั หนึ่ งแล่นตามหลังรถยนต์คนั หนึ่ งไปบนถนนตรงความเร็ วของ
รถยนต์เป็ นสองเท่าของมอเตอร์ ไซด์ ถ้าคนขี่มอเตอร์ไซด์บีบแตรด้วยความถี่ 500 เฮิรตซ์
1. คนขับรถยนต์ได้ยินเสี ยงความถี่ต่ากว่า 500 เฮิรตซ์ แต่คนขี่มอเตอร์ ไซด์ได้ยนิ เสี ยง
ความถี่ 500 เฮิรตซ์
2. คนขับรถยนต์ได้ยินเสี ยงความถี่สูงกว่า 500 เฮิรตซ์ แต่คนขี่มอเตอร์ ไซด์ได้ยนิ เสี ยง
ความถี่ 500 เฮิรตซ์
3. คนขับรถยนต์ และคนขี่มอเตอร์ ไซด์ ได้ยนิ เสี ยงความถี่เดียวกัน
4. คนขับรถยนต์ได้ยินเสี ยงความถี่สูงกว่าคนขี่มอเตอร์ ไซด์ได้ยนิ

73. ถ้าท่านนัง่ อยูใ่ นรถยนต์ที่กาลังเคลื่อนที่เป็ น ก


รู ปวงกลมในทิศทางตามเข็มนาฬิกา ด้วย
อัตราเร็ วคงที่ และ มีคลื่นเสี ยงความถี่เดียว คลื่นเสี ยง ค ข
เคลื่อนเข้าหารถยนต์ตามรู ป ท่านจะได้ยนิ
เสี ยงความถี่สูงสุ ดเมื่อท่านอยูท่ ี่ตาแหน่งใด ง
1. ก 2. ข 3. ค 4. ง

74. รถไฟวิง่ ด้วยความเร็ ว 30 เมตร/วินาที ในอากาศนิ่งความถี่หวูดรถไฟมีคา่ 500 เฮิรตซ์


ถ้าเสี ยงมีอตั ราเร็ ว 330 เมตร/วินาที จงหาความถี่เสี ยงที่ได้ยนิ จากผูฟ้ ังซึ่ งก าลังเคลื่อนที่
ด้วยความเร็ ว 15 เมตร/วินาที เมื่อ
ก. ผูฟ้ ังวิง่ เข้าหารถไฟ ข. ผูฟ้ ังและรถไฟวิง่ ออกจากกัน
1. ก. 275 เฮิรตซ์, ข. 357.5 เฮิรตซ์ 2. ก. 575 เฮิรตซ์ ,ข.437.5 เฮิรตซ์
3. ก. 757 เฮิรตซ์, ข. 734.5 เฮิรตซ์ 4. ก. 895 เฮิรตซ์, ข. 745.5 เฮิรตซ์

37
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
75. รถไฟวิ่งด้วยความเร็ ว 30 เมตร/วินาที ในอากาศนิ่ งความถี่ หวูดรถไฟมีค่า 500 เฮิรตซ์
ถ้าเสี ยงมีอตั ราเร็ ว 330 เมตร/วินาที จงหาความยาวคลื่นเสี ยงที่ผสู้ ังเกตได้ยนิ เมื่อ
ก. อยูห่ น้ารถไฟ ข. อยูห่ ลังรถไฟ
1. ก. 0.4 เมตร , ข. 0.70 เมตร 2. ก. 0.6 เมตร , ข. 0.72 เมตร
3. ก. 0.8 เมตร , ข. 0.92 เมตร 4. ก. 0.9 เมตร , ข. 1.20 เมตร

76. ชายคนหนึ่ งยืนที่ชานชลาสังเกตเห็ นหวูดรถไฟ มีความถี่ ต่าลง 6/7 ขณะที่ รถไฟผ่านชาน


ชลา จงหาอัตราเร็ วรถไฟเท่ากับกี่เมตร/วินาที ( Vเสียง = 330 เมตร/วินาที )
1. 40 2. 55 3. 62 4. 85

77(แนว มช) ผูโ้ ดยสารรถไฟสังเกตได้วา่ ขณะที่เขายืนหยุดอยูบ่ นชานชลาเสี ยงหวูดรถไฟที่


จอดนิ่งมีความถี่ต่างจากเสี ยงหวูดขณะรถไฟวิง่ ออกจากชานชลา ปรากฏการณ์เช่นนี้เรี ยกว่า
1. การแทรกสอด 2. การเลี้ยวเบน
3. การหักเห 4. ดอปเพลอร์

38
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
78(แนว มช) ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ ของเสี ยงแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลง
1. มลภาวะเสี ยง 2. ความเข้มเสี ยง
3. ความดังเสี ยง 4. ระดับเสี ยง

79(แนว En) ในการหาอัตราเร็ วที่เม็ดเลือดวิง่ ในเส้นเลือดสามารถทาได้ โดยการส่ งคลื่นเสี ยง


อุลตราโซนิกที่มีความถี่หนึ่งเข้าไปกระทบกับเม็ดเลือดแล้ววัดสมบัติของคลื่นที่สะท้อนออก
มา สมบัติขอ้ ใดที่นาไปคานวณหาอัตราเร็ วของเม็ดเลือดได้
1. ความถี่ของคลื่นที่เปลี่ยนไป
2. เฟสของคลื่นที่เปลี่ยนไป
3. แอมพลิจูดของคลื่นที่เปลี่ยนไป
4. ช่วงเวลาระหว่างคลื่นที่ส่งเข้าไป และที่สะท้อน

10.8.2 คลืน่ กระแทก


ถ้าแหล่งกาเนิดเคลื่อนที่เร็ วกว่าเสี ยง
จะทาให้แหล่งกาเนิดเสี ยงเคลื่อนทะลุออก
จากคลื่นเสี ยงที่กระจายออกไป และคลื่น
เสี ยงที่เกิดจากแหล่งกาเนิ ดในเวลาต่อๆ มา
จะทะลุทะลวงออกจากคลื่นเสี ยงที่เกิดในตอนก่อนหน้าดังแสดงในรู ป ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นนี้
เรี ยกว่า คลื่นกระแทก ( Sonic boom ) ซึ่งจะทาให้เกิดเสี ยงดังมากเหมือนเสี ยงระเบิด และเกิด
แรงดันขึ้นอย่างมหาศาล เช่นในกรณี ที่เครื่ องไอพ่นบินด้วยความเร็ วมากกว่าเสี ยง แรงดันที่
เกิดขึ้นนี้ อาจทาให้กระจกหน้าแตกได้

39
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
จากรู ปของคลื่นกระแทกจะได้วา่
Sin = VVos = M1 = hx
เมื่อ  คือมุมครึ่ งหนึ่งของยอดกรวยเสี ยง
Vo คือความเร็ วเสี ยง ( เมตร/วินาที )
Vs คือความเร็ วแหล่งกาเนิดเสี ยง ( เมตร/วินาที )
M คือเลขมัค คือจานวนเท่าตัวของความเร็ วเสี ยง
h คือความสู งจากพื้นดินถึงเพดานบิน ( เมตร )
x คือระยะจากจุดสังเกตถึงแหล่งกาเนิดเสี ยงตอนที่ได้ยินเสี ยงพอดี ( เมตร )
80. เสี ยง Sonic boom เป็ นเสี ยงที่เกิดจาก
1. แหล่งกาเนิดทัว่ ไปที่หยุดนิ่ง
2. แหล่งกาเนิดเคลื่อนที่แต่ชา้ กว่าความเร็ วเสี ยง
3. แหล่งกาเนิดเคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ วเท่ากับเสี ยง
4. แหล่งกาเนิดเคลื่อนที่เร็ วกว่าความเร็ วเสี ยง

81. ถ้าแหล่งกาเนิดเสี ยงและแสงมีอตั ราเร็ วเท่าไรก็ได้ไม่จากัด จะมีปรากฏการณ์เกิดขึ้นคือ


ก. ดอปเพลอร์ ข. คลื่นกระแทก
คาตอบที่ถูกต้องคือ
1. ทั้งเสี ยงและแสงแสดง ก. และ ข.
2. เฉพาะเสี ยงแสดง ก. และ ข.
3. เสี ยงแสดง ก. และ ข. แต่แสงแสดงเฉพาะ ก.
4. เสี ยงแสดง ก. และ ข. แต่แสงแสดงเฉพาะ ข.

82. เครื่ องบิน บินด้วยอัตราเร็ ว 1.5 Mach เหนือระดับพื้นดิน 3 กิโลเมตร คนจะได้ยนิ


เสี ยงเครื่ องบิน เมื่อเครื่ องบิน บินอยูห่ ่างคนกี่กิโลเมตร
1. 1.0 2. 2.5 3. 4.0 4. 4.5

40
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
83(แนว En) เครื่ องบินบินด้วยอัตราเร็ ว 510 เมตร/วินาที ในแนวระดับ ซึ่ งสู งจากพื้นดิน 6
กิโลเมตร ชายคนนั้นยืนอยูบ่ นถนนจะได้ยนิ เสี ยงเครื่ องบิน เมื่อเครื่ องบินอยูห่ ่างจากชายผูน้ ้ นั
เป็ นระยะทางกี่กิโลเมตร ( กาหนดอัตราเร็ วของเสี ยง = 340 เมตร/วินาที )
1. 6 2. 6.7 3. 9 4. 12

84(แนว En) เครื่ องบินความเร็ วเหนื อเสี ยงบินในแนวระดับผ่านเหนื อศีรษะชายผูห้ นึ่ ง เมื่อเขา
ได้ ยินเสี ยงของคลื่นกระแทก เขาจะมองเห็นตัวเครื่ องบินมีมุมเงยจากพื้นดิน 30o เครื่ องบิน
บินมีความเร็ วเท่าใดในหน่วยเมตร/วินาที ถ้าอัตราเร็ วเสี ยงในอากาศเป็ น 330 เมตร/วินาที
1. 350 2. 400 3. 580 4. 660

85. เครื่ องบิน บินในแนวระดับด้วยอัตราเร็ ว 1.5 มัค สู งจากพื้ น 10 กิโลเมตร จงหามุมหน้า


ที่คลื่นกระแทกทากับแนวทางการเคลื่อนที่ของเครื่ องบิน
1. sin–1 13 2. sin–1 23 3. sin–1 1 4. sin–1 23

86. จากข้อที่ผา่ นมา ขณะที่ผฟู ้ ังที่พ้ืนดินได้ยนิ เสี ยงเครื่ องบินอยูห่ ่างจากผูฟ้ ังกี่กิโลเมตร
1. 5 2. 10 3. 15 4. 20

87. เครื่ องบินไอพ่นบินด้วยความเร็ วมัค 2 จะบินด้วยความเร็ วเท่ากับกี่เมตร/วินาที


ให้อตั ราเร็ วเสี ยง 340 เมตร/วินาที
1. 400 2. 520 3. 590 4. 680

41
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง

เฉลยบทที่ 10 เสี ย ง
1. ตอบข้ อ 1. 2. ตอบข้ อ 1. 3. ตอบข้ อ 1. 4. ตอบข้ อ 2.
5. ตอบข้ อ 1. 6. ตอบข้ อ 4. 7. ตอบข้ อ 1. 8. ตอบข้ อ 4.
9. ตอบข้ อ 3. 10. ตอบข้ อ 1. 11. ตอบข้ อ 2. 12. ตอบข้ อ 1.
13. ตอบข้ อ 1. 14. ตอบข้ อ 3. 15. ตอบข้ อ 1. 16. ตอบข้ อ 2.
17. ตอบข้ อ 1. 18. ตอบข้ อ 2. 20. ตอบข้ อ 4. 21. ตอบข้ อ 3.
22. ตอบข้ อ 4. 23. ตอบข้ อ 1. 24. ตอบข้ อ 2. 25. ตอบข้ อ 4.
26. ตอบข้ อ 4. 27. ตอบข้ อ 2. 28. ตอบข้ อ 1. 29. ตอบข้ อ 4.
30. ตอบข้ อ 3. 31. ตอบข้ อ 1. 32. ตอบข้ อ 3. 33. ตอบข้ อ 2.
34. ตอบข้ อ 4. 35. ตอบข้ อ 3. 36. ตอบข้ อ 2. 37. ตอบข้ อ 2.
38. ตอบข้ อ 2. 39. ตอบข้ อ 4. 40. ตอบข้ อ 3. 41. ตอบข้ อ 2.
42. ตอบข้ อ 1. 43. ตอบข้ อ 3. 44. ตอบข้ อ 3. 45. ตอบข้ อ 3.
46. ตอบข้ อ 2. 47. ตอบข้ อ 4. 48. ตอบข้ อ 2. 49. ตอบข้ อ 4.
50. ตอบข้ อ 4. 51. ตอบข้ อ 4. 52. ตอบข้ อ 3. 53. ตอบข้ อ 1.
54. ตอบข้ อ 4. 55. ตอบข้ อ 4. 56. ตอบข้ อ 2. 57. ตอบข้ อ 1.
58. ตอบข้ อ 3. 59. ตอบข้ อ 2. 60. ตอบข้ อ 1. 61. ตอบข้ อ 3.
62. ตอบข้ อ 2. 63. ตอบข้ อ 2. 64. ตอบข้ อ 4. 65. ตอบข้ อ 4.
66. ตอบข้ อ 2. 67. ตอบข้ อ 1. 68. ตอบข้ อ 1. 69. ตอบข้ อ 3.
70. ตอบข้ อ 1. 71. ตอบข้ อ 1. 72. ตอบข้ อ 1. 73. ตอบข้ อ 4.
74. ตอบข้ อ 2. 75. ตอบข้ อ 2. 76. ตอบข้ อ 2. 77. ตอบข้ อ 4.
78. ตอบข้ อ 4. 79. ตอบข้ อ 1. 80. ตอบข้ อ 4. 81. ตอบข้ อ 1.
82. ตอบข้ อ 4. 83. ตอบข้ อ 3. 84. ตอบข้ อ 4. 85. ตอบข้ อ 2.
86. ตอบข้ อ 3. 87. ตอบข้ อ 4.

42
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง

ต ะ ลุ ยโ จท ย์ ทั่ ว ไป บท ที่ 1 0 เสี ย ง


10.1 ธรรมชาติและสมบัติของเสี ยง
1. คลื่นเสี ยงไม่สามารถเคลื่อนที่ผา่ นบริ เวณใด
1. กาแพงคอนกรี ต 2. น้ าทะเล
3. อากาศแปรปรวน 4. สุ ญญากาศ

10.2 อัตราเร็วของเสี ยง
2(แนว มช) สิ่ งใดจากข้อต่อไปนี้ที่มีผลต่อความเร็ วของเสี ยงในอากาศมากที่สุด
1. อุณหภูมิของอากาศ 2. ความดังของเสี ยง
3. ความดันบรรยากาศ 4. ระดับเสี ยง

3(แนว มช) ตัวกลางที่คลื่นเสี ยงผ่าน 3 ชนิ ด คือ น้ าทะเล น้ าบริ สุทธิ์ และปรอท ณ อุณหภูมิ
เดียวกัน ข้อใดเรี ยงลาดับความสามารถในการถ่ายทอดคลื่นเสี ยงจากดีที่สุดไปหาเลวที่สุด
1. น้ าบริ สุทธิ์ ปรอท น้ าทะเล 2. น้ าทะเล น้ าบริ สุทธิ์ ปรอท
3. ปรอท น้ าทะเล น้ าบริ สุทธิ์ 4. น้ าทะเล ปรอท น้ าบริ สุทธิ์

4(แนว มช) อัตราเร็ วของเสี ยงเปลี่ยนอย่างไรกับอุณหภูมิ


1. แปรผันโดยตรงกับอุณหภูมิองศาเซลเซียส
2. แปรผันโดยตรงกับอุณหภูมิเคลวิน
3. แปรผันผกผันกับรากที่สองของอุณหภูมิ องศาเซลเซี ยส
4. แปรผันโดยตรงกับรากที่สองอุณหภูมิเคลวิน

5. อัตราเร็ วของเสี ยงในอากาศ ณ. อุณหภูมิ 15oC มีค่าเท่ากับกี่เมตร/วินาที


1. 300 2. 340 3. 380 4. 400

6. ณ อุณหภูมิ 35oC อัตราเร็ วเสี ยงในอากาศจะมากกว่า ณ อุณหภูมิ 30oC อยูก่ ี่เมตรต่อวินาที


1. 3 2. 6 3. 12 4. 34
43
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
7. เสี ยงเคลื่อนที่ผา่ นอากาศบริ เวณหนึ่ งมีอตั ราเร็ ว 342 เมตร/วินาที เมื่อผ่านไปยังอีกบริ เวณ
หนึ่ ง อัตราเร็ วเปลี่ยนเป็ น 348 เมตร/วินาที จงหาว่าบริ เวณทั้งสองมีอุณหภูมิแตกต่างกันกี่
องศาเซลเซียส
1. 5 2. 10 3. 20 4. 30

8. แหล่งกาเนิดเสี ยงอันหนึ่ งสัน่ ด้วยความถี่ 692 เฮิรตซ์ วางไว้ในอากาศที่อุณหภูมิ 25oC


อยากทราบว่าคลื่นเสี ยงที่ออกจากแหล่งกาเนิดนี้ จะมีความยาวคลื่นกี่เมตร
1. 0.5 2. 2.0 3. 2.5 4. 5.0

9. จากการวัดระยะห่างของส่ วนอัดและส่ วนขยายที่อยูใ่ กล้กนั ที่สุดของคลื่นเสี ยงได้ 25 เซนติ-


เมตร ถ้าขณะนั้นอากาศมีอุณหภูมิ 20oC อยากทราบว่าเสี ยงนั้นมีความถี่กี่เฮิรตซ์
1. 171.5 2. 120.0 3. 514.5 4. 686.0

10. ส้อมเสี ยง A มีความถี่ 450 เฮิรตซ์ ให้เสี ยงมีอตั ราเร็ ว 336 เมตร/วินาที ผ่านอากาศ ถ้า
นาส้อมเสี ยง B มีความถี่ 500 เฮิรตซ์ มาเคาะให้สั่นจะให้เสี ยงมีอตั ราเร็ วเท่าใดเมื่อวางใน
บริ เวณเดียวกับส้อมเสี ยง A
1. 302.4 เมตร/วินาที 2. 320.0 เมตร/วินาที
3. 336.0 เมตร/วินาที 4. 373.3 เมตร/วินาที

11. วสุ ใช้ไม้เคาะเหล็กอันหนึ่ งยาว 1700 เมตร เพื่อนของเขาที่ยืนอยูป่ ลายอีกข้างหนึ่ งได้


ยิน เสี ยงดังสองครั้ง ถ้าอัตราเร็ วในท่อเหล็กเป็ น 5100 เมตร/วินาที อัตราเร็ วเสี ยงในอากาศ
เป็ น 340 เมตร/วินาที วัสดุจะได้ยนิ เสี ยงดังสองครั้ งในเวลาต่างกันกี่วนิ าที
1. 2.41 2. 3.56 3. 4.23 4. 4.67

12. เมื่อเคาะรางอะลูมิเนียมที่ปลายข้างหนึ่ง ปรากฏว่าเสี ยงเดินทางผ่านอากาศมาถึงปลายอีก


ข้างหนึ่งช้ากว่าเสี ยงที่เดินทางในอะลูมิเนียม 0.01 วินาที ถ้าเสี ยงเดินทางในอากาศมีความ
เร็ ว 346 เมตรต่อวินาที และเดินทางในอะลูมิเนียมมีความเร็ ว 5000 เมตรต่อวินาที จงหา
ว่าแท่งอะลูมิเนียมนี้ยาวกี่เมตร
1. 1.7 2. 3.7 3. 4.5 4. 5.0
44
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
13. ชายคนหนึ่งกาลังว่ายน้ า เห็นเรื อบรรทุกกาลังจะจม และเห็นแสงไฟจากการระเบิดของเรื อ
1 ครั้ง แต่ปรากฏว่าได้ยินเสี ยงระเบิดตามมา 2 ครั้ ง ในเวลาห่ างกัน 2.4 วินาที ถ้าขณะ
นั้นอัตราเร็ วเสี ยงในอากาศ 340 เมตร/วินาที และอัตราเร็ วเสี ยงในน้ า 1496 เมตร/วินาที
อยากทราบว่าตาแหน่งที่เรื อจมอยูห่ ่างจากชายคนนั้นกี่เมตร
1. 1000 2. 1062 3. 1500 4. 1575

14. ขณะเรื อขุดเจาะน้ ามันเกิดระเบิดกลางมหาสมุทร เรื อลาดตระเวนลาหนึ่ ง สามารถตรวจรับ


สัญญาณคลื่นเสี ยงจากใต้ทอ้ งเรื อได้ก่อนที่จะได้ยนิ เสี ยงที่มาทางอากาศถึง 20 วินาที เรื อลาด
ตระเวนลานี้อยูห่ ่างจากที่เกิดเหตุกี่กิโลเมตร ถ้าความเร็ วเสี ยงในน้ าทะเลมี ค่า 1531 เมตร/-
วินาที และความเร็ วเสี ยงในอากาศขณะนั้นมีค่า 346 เมตร/วินาที
1. 8.94 2. 16.30 3. 25.80 4. 30.60

15. แหล่งกาเนิดเสี ยงสั่นด้วยความถี่ 692 เฮิรตซ์ ในอากาศที่มีอุณหภูมิเป็ น 25oC จงหาว่า


จุด 2 จุดบนคลื่นเสี ยงที่มีเฟสต่างกัน 60o จะห่างกันเท่าไร
1. 8.3 เซนติเมตร 2. 12.0 เซนติเมตร
3. 25.0 เซนติเมตร 4. 50.0 เซนติเมตร

16(แนว มช) ลาโพง A และ B วางในห้องประชุ มที่มีอุณหภูมิ 35oC ลาโพง A ให้กาลัง


เสี ย ง 4 x 10–2 วัต ต์ ล าโพง B ให้ ก าลังเสี ย ง 3.5 x 10–2 วัตต์ โดยทั้ง สองล าโพง
กระจายเสี ยงออกไปโดยรอบอย่างสม่ าเสมอ ถ้าลาโพงทั้งสองสั่ นในเฟส เดี ยวกันด้วย
ความถี่ 88 ครั้ งต่อวินาที จงหาความแตกต่างของเฟสของสัญญาณจากลาโพงทั้งสองที่
กลางห้องซึ่งห่าง จาก A 17 เมตร และห่างจาก B 20 เมตร
1. 150 องศา 2. 180 องศา 3. 250 องศา 4. 270 องศา

45
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
10.3 สมบัติของคลืน่ เสี ยง
10.3.1 การสะท้อนของเสี ยง
17. เครื่ องโซนาร์ บ นเรื อลาหนึ่ งส่ งคลื่ นดลของเสี ยงลงไปใต้ทอ้ งทะเล และรับฟั งสะท้อนได้
ในเวลา 5 วินาที ถ้าอัตราเร็ วของเสี ยงในน้ าทะเลเท่ากับ 1450 เมตร/วินาที ท้องทะเล
นั้นลึกเท่าใด  
1. 2500 เมตร 2. 2876 เมตร 3. 3156 เมตร 4. 3625 เมตร

18. เรื อลาหนึ่งลอยอยูใ่ นทะเลลึก 300 เมตร ส่ งคลื่นดลเสี ยง (sonic pulse) ออกไปและได้รับ
สัญญาณสะท้อนกลับ จากก้นทะเลในเวลา 0.4 วินาที ความเร็ วของคลื่ นเสี ยงในน้ ามี ค่ากี่
เมตร/วินาที
1. 1000 2. 1200 3. 1500 4. 2000

19. ไพโรจน์ยืนอยูท่ ี่หน้าตึกแห่ งหนึ่ ง เมื่อเขาตะโกนเขาจะได้ยินเสี ยงสะท้อนของเขาหลังจาก


ที่เวลาผ่านไป 0.5 วินาที จงหาว่าเขายืนห่างจากตึกเท่าไร ( อัตราเร็ วเสี ยงในอากาศเท่ากับ
340 เมตร/วินาที )
1. 85 เมตร 2. 170 เมตร 3. 225 เมตร 4. 340 เมตร

20. ชายคนหนึ่งตะโกนเสี ยงมีความถี่ 1000 ครั้ง/วินาที ออกไปยังหน้าผาซึ่ งอยูห่ ่างออกไป


300 เมตร ปรากฏว่าเขาได้ยินเสี ยงสะท้อนกลับหลังจากตะโกนแล้ว 4 วินาที จงหา
ก) ความเร็ วเสี ยง ข) ความยาวคลื่นเสี ยง
1. ก. 150 เมตร/วินาที , ข. 0.15 เมตร 2. ก. 250 เมตร/วินาที , ข. 0.25 เมตร
3. ก. 450 เมตร/วินาที , ข. 0.45 เมตร 4. ก. 750 เมตร/วินาที , ข. 0.75 เมตร

21. เมื่อเรายิงปื นระหว่างผาสองด้าน ปรากฏว่าได้ยนิ เสี ยงสะท้อน 2 ครั้ง หลังจากยิงปื นเป็ น


เวลา 2 และ 4 วินาที ตามลาดับ จงหาระยะระหว่างหน้าผาทั้งสองเป็ นกี่เมตร เมื่ออุณหภูมิ
อากาศขณะนั้นเป็ น 30 องศาเซลเซี ยส กาหนดอัตราเร็ วของเสี ยงที่ 0 องศาเซลเซี ยสเท่ากับ
331 เมตร/ วินาที
1. 1000 2. 1047 3. 1200 4. 1235
46
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
22. จ๋ ายืนอยูร่ ะหว่างบ้าน 2 หลัง เขาเป่ านกหวีดและได้ยนิ เสี ยงสะท้อนจากบ้านทั้ง 2 หลังใน
เวลา 3 วินาที และ 4 วินาที ตามลาดับ จงหาว่าบ้าน 2 หลังอยูห่ ่างกันกี่เมตร
( กาหนด อัตราเร็ วเสี ยงขณะนั้นมีค่า 350 เมตร/วินาที )
1. 612.5 2. 820 3. 1225 4. 2450

23. เครื่ องบินลาหนึ่งอยูเ่ หนื อทะเล นักบินปล่อยเสี ยงจากเครื่ องบินที่มีความถี่ 5 กิโลเฮิรตซ์


แล้ว จับ เวลาการสะท้อ นกลับ จากพื้ น ดิ น ใต้ท ้อ งทะเลได้ใ นเวลา 5.5 วิ น าที ขณะนั้ น
เครื่ องบินบินสู งจากผิวน้ าทะเล 704 เมตร และอุณหภูมิของอากาศเท่ากับ 35oC ความเร็ ว
เสี ยงในน้ าทะเลเท่ากับ 1530 เมตร/วินาที จงหาความลึกของทะเล
1. 1148 เมตร 2. 1530 เมตร 3. 2298 เมตร 4. 3064 เมตร

24. ปล่อยก้อนหิ นลงไปในบ่อลึก 20 เมตร พบว่าอีก 2.06 วินาที ต่อมาได้ยินเสี ยงก้อนหิ น


กระทบก้นบ่อ อัตราเร็ วของเสี ยงที่ได้จากข้อมูลนี้ เป็ นเท่าใด
1. 333 เมตร/วินาที 2. 340 เมตร/วินาที
3. 347 เมตร/วินาที 4. 352 เมตร/วินาที

25. บอลลูนลูกหนึ่งเคลื่อนที่ข้ ึนในแนวดิ่งด้วยอัตราเร็ วคงที่ ขณะที่อยูส่ ู งจากพื้นดิน 660 เมตร


ส่ งคลื่นเสี ยงลงไป และได้รับสัญญาณเสี ยงสะท้อนกลับเมื่อเวลาผ่านไป 4 วินาที ขณะนั้น
อัตราเร็ วเสี ยงเท่ากับ 350 เมตร/วินาที จงหาอัตราเร็ วของบอลลูนเป็ นกี่เมตร/วินาที
1. 5 2. 10 3. 15 4. 20

26. เรื อลาหนึ่งจอดนิ่งอยูใ่ นทะเลใช้เครื่ องโซนาร์ ตรวจพบวัตถุที่ทิ้งจากเรื อลงไปในน้ า โดยได้


รับสัญญาณสะท้อนกลับจากวัตถุน้ นั ในเวลา 0.4 วินาที ในเวลา 30 วินาที ต่อมาสัญญาณ
จะสะท้อนกลับจากวัตถุเดิมในเวลา 0.6 วินาที วัตถุ
นั้นจมน้ าด้วยความเร็ วเท่าใด
( อัตราเร็ วของเสี ยงในน้ าทะเล = 1531 เมตร/วินาที )
1. 5.1 เมตร/วินาที 2. 10.2 เมตร/วินาที
3. 15.3 เมตร/วินาที 4. 25.5 เมตร/วินาที
47
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
10.3.2 การหักเหของเสี ยง
27. เสี ยงระเบิดใต้น้ า หักเหขึ้นสู่ อากาศโดยมีมุมตกกระทบ 30o จงหามุมหักเหที่ออกสู่ อากาศ
ถ้าอัตราเร็ วเสี ยงในอากาศและในน้ าเป็ น 350 และ 1400 เมตร/วินาที ตามลาดับ
1. sin–1 0.125 2. sin–1 0.131 3. sin–1 0.152 4. sin–1 0.175

28. อัตราส่ วนของอัตราเร็ วเสี ยงในอากาศที่อุณหภูมิ 927oC ต่อ 27oC มีคา่ เท่าใด
1. 2 2. 2 3. 4 4. 8

10.3.3 การเลีย้ วเบนของเสี ยง


10.3.4 การแทรกสอดของเสี ยง
29. S1 และ S2 เป็ นลาโพงสองตัววางห่ างกัน 3 เมตร ในที่ โล่ ง P เป็ นผูฟ้ ั งอยู่ห่างจาก S1
5 เมตร และห่ างจาก S2 4 เมตร เสี ยงความถี่ ต่ าสุ ดที่ หักล้างกันทาให้ P ได้ยินเสี ยงเบา
ที่สุดจะเป็ นเท่าใด ถ้าอัตราเร็ วเสี ยงในอากาศเป็ น 340 เมตร/วินาที
1. 270 เฮิรตซ์ 2. 230 เฮิรตซ์ 3. 190 เฮิรตซ์ 4. 170 เฮิรตซ์

30. S1 และ S2 เป็ นลาโพง 2 ตัว วางห่างกัน 3 เมตร ให้คลื่นขนาดเดียวกันและ มี เฟ ส


ตรงกัน ถ้า P เป็ นตาแหน่งเสี ยงดังครั้งที่สอง ห่างจากแนวกลางในทิศทามุม 30o คลื่ น ที่
แผ่มีความยาวกี่เมตร
1. 0.50 2. 0.75 3. 0.90 4. 1.20

31. ลาโพงสองตัวหันไปทางเดียวกันให้คลื่นความถี่ 680 เฮิรตซ์ และเฟสตรงกัน A เป็ นจุดๆ


หนึ่งอยูห่ น้าลาโพงทั้งสอง ห่างจากลาโพงเป็ นระยะ 10 เมตร และ 13 เมตร ถ้าอัตราเร็ ว
เสี ยงในอากาศเท่ากับ 340 เมตร/วินาที แล้วจุด P อยูบ่ นแนวบัพหรื อปฏิบพั ที่เท่าใด
1. ปฏิบพั ที่ 5 2. บัพที่ 5 3. ปฏิบพั ที่ 6 4. บัพที่ 6

48
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
32(แนว En) จากรู ปเป็ นท่อซึ่ งตรงกลางมีทางแยกเป็ นส่ วนโค้งรู ปครึ่ งวงกลมรัศมี r เท่ากับ
14 เซนติเมตร ถ้าอัตราเร็ วของเสี ยงในท่อเท่ากับ 320 เมตรต่อวินาที ให้คลื่นเสี ยงเข้าไป
ในท่อทางด้าน S ความถี่ของเสี ยงที่ทาให้ผฟู้ ังที่ปลายด้าน D ได้ยนิ เสี ยงค่อยที่สุดมีค่าเท่าใด
1. 285 เฮิรตซ์
2. 575 เฮิรตซ์
S r D
3. 700 เฮิรตซ์
4. 1000 เฮิรตซ์

33. แหล่งกาเนิ ดเสี ยงอยู่ห่างจากกาแพง 1.50 เมตร ผูส้ ังเกตยืนห่ างจากกาแพงออกไป 5.00
เมตร ในแนวเดี ยวกับแหล่งกาเนิ ดสามารถรับฟั งเสี ยงได้ ทั้งที่ออกจากแหล่งกาเนิ ดโดย
ตรงและจากการสะท้อนที่กาแพง ถ้าขณะนั้นความเร็ วเสี ยงในอากาศมีค่า 360 เมตร/วินาที
ความถี่ต่าสุ ดทาให้ผสู ้ ังเกตได้ยนิ เสี ยงค่อยที่สุดมีค่ากี่เฮิรตซ์
1. 50 2. 54 3. 58 4. 60

34. อัตราเร็ วเสี ยงในอากาศ 350 เมตร-


ต่อวินาที ขณะทาการทดลองการ ดัง
แทรกสอดของเสี ยง เมื่อรับฟังเสี ยง 0.7 m
ทางด้านหน้าลาโพง ที่ตาแหน่งต่าง ๆ 0.5 m 
ดัง
กัน ในแนวขนานที่ห่างจากลาโพง 0.7 m
ประมาณ 2 เมตร โดยหยุดฟังทีละ 2m ดัง
ตาแหน่ง ผลจากการได้ยินเสี ยงดัง
เป็ นไปตามรู ป แสดงว่าความถี่ของเสี ยงโดยประมาณจากลาโพง คือ ( หน่วยเฮิรตซ์ )
1. 1121 2. 1750 3. 2121 4. 3352

49
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
10.4 ความเข้ มเสี ยง
10.4.1 ความเข้ มเสี ยง
35. แหล่ งกาเนิ ดเสี ยงส่ งพลังงานด้วยอัตรา  x 10–8 วัตต์ ผูฟ้ ั งซึ่ งอยู่ห่างจากแหล่งกาเนิ ด
10 เมตร จะได้ยนิ เสี ยงมีความเข้มเสี ยงกี่วตั ต์/ตารางเมตร
1. 2.5 x 10–10 2. 2.5 x 10–11 3. 4.5 x 10–10 4. 4.5 x 10–11

36. ชายคนหนึ่งขณะอยูห่ ่ างจากแหล่งกาเนิ ดเสี ยง อันหนึ่ งเป็ นระยะทาง 10 เมตร วัดความเข้ม


ของเสี ยงจากแหล่งกาเนิดเสี ยงนั้นได้ 10–8 วัตต์/ตารางเมตร จงหากาลังเสี ยงที่ส่งออกมา
1. 2 x 10–5 วัตต์ 2. 3 x 10–6 วัตต์ 3. 4 x 10–6 วัตต์ 4. 5 x 10–7 วัตต์

37. แหล่งกาเนิ ดเสี ยงที่ ให้กาลังเสี ยง  x 10–10 วัตต์ ผูฟ้ ั งอยูไ่ กลจากแหล่งกาเนิ ดเสี ยงมาก
ที่สุดกี่เมตรจึงจะยังคงได้ยนิ เสี ยง ( ความเข้มเสี ยงต่าสุ ดที่ได้ยนิ = 10–12 วัตต์/ตารางเมตร )
1. 2 2. 5 3. 7 4. 12

38. แหล่งกาเนิ ดเสี ยงมีกาลัง 4 x 10–6 วัตต์ จงหาระยะไกลสุ ดจากแหล่งกาเนิ ดเสี ยงที่มนุ ษย์
จะได้ยนิ เสี ยงจากแหล่งกาเนิด
1. 10 เมตร 2. 100 เมตร 3. 1,000 เมตร 4. 10,000 เมตร

39(แนว มช) สมมติยุงตัวหนึ่ งๆ โดยเฉลี่ยแล้วเวลาบินทาให้เกิดเสี ยงหึ่ งๆ มีกาลัง 3.14 x 10–14


วัตต์ ขณะที่ยงุ บินจากระยะไกลเข้าหาเด็กคนหนึ่ง เด็กคนนี้ จะเริ่ มได้ยนิ เสี ยงยุง เมื่อยุงอยูท่ ี่
ระยะห่าง จากเขากี่เซนติเมตร ถ้าเสี ยงเบาที่สุดที่เขาสามารถได้ยนิ มีความเข้ม 10 –12 วัตต์/-
ตารางเมตร
1. 5 2. 10 3. 25 4. 40

40. ผึ้งตัวหนึ่งกระพือปี กทาให้เกิดเสี ยงมีกาลัง 4 x 10–11 วัตต์ ถ้าผึ้งตัวนั้นเกาะอยูท่ ี่พ้ืนแล้ว


กระพือปี กและถื อว่าพื้นสะท้อนเสี ยงได้ 100 % คนที่ ยืนอยู่ห่างจากผึ้งอย่างน้อยเท่ากับกี่
เมตรจึงจะไม่ได้ยนิ เสี ยง
1. 2.14 2. 3.04 3. 3.16 4. 4.21
50
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
41. แหล่งกาเนิ ดเสี ยงมีกาลัง 4 x 10–2 วัตต์ จงหาความเข้มเสี ยงมีตาแหน่งซึ่ งอยูห่ ่างจาก
แหล่งกาเนิดเสี ยง 20 เมตร ถ้าอากาศดูดกลืนเสี ยง 20% ในช่วงระยะทาง 20 เมตร
( ในหน่วยวัตต์/ตารางเมตร )
1. 0.5 x 10–5 2. 1.0 x 10–5 3. 2.0 x 10–5 4. 4.0 x 10–5

42. แหล่งกาเนิดเสี ยงกาลัง 220 วัตต์ กระจายเสี ยงออกโดยรอบอย่างสม่าเสมอ จงหาความ


เข้มของเสี ยงที่จุดซึ่ งห่างจากแหล่งกาเนิดเสี ยง 100 เมตร ถ้าการแพร่ ของคลื่นเสี ยงในช่วง
100 เมตร พลังงานเสี ยงถูกดูดกลืนไป 10%
1. 7.9 x 10–4 วัตต์/ตารางเมตร 2. 9.0 x 10–4 วัตต์/ตารางเมตร
3. 15.8 x 10–4 วัตต์/ตารางเมตร 4. 18.0 x 10–4 วัตต์/ตารางเมตร

43. บุง้ กี๋ ฟังเพลงห่ างจากลาโพง 10 เมตร ได้ยินเสี ยงเพลงมีความเข้ม 10–6 วัตต์/ตารางเมตร
เธอต้องการได้ยนิ เสี ยงทีมีความเข้ม 10–8 วัตต์/ตารางเมตร จะต้องยืนห่างจากลาโพงเท่าไร
1. 1 เมตร 2. 20 เมตร 3. 50 เมตร 4. 100 เมตร

44. บิลลี่อยูห่ ่างจากแหล่งกาเนิดเสี ยงอันหนึ่งได้ยนิ เสี ยงมีความเข้ม 10–6 วัตต์ ต่อ ตารางเมตร
เมื่อเขาเดินออกไปอีกจนได้ยนิ เสี ยงค่อยที่สุดจึงหยุด อยากทราบว่าตอนหลังเขาอยูจ่ ากแหล่ง
กาเนิดเสี ยงเป็ นกี่เท่าของระยะเดิม
1. 10 2. 30 3. 100 4. 1000

45. นาย ก. เห็นพลุแตกกลางอากาศเหนื อศีรษะเขาขึ้ นไป 80 เมตร ขณะเดียวกันนาย ข. ซึ่ งอยู่


ห่ างจากนาย ก. ตามแนวราบ เป็ นระยะทาง 60 เมตร ก็เห็ นพลุ แตกเช่นกัน ความเข้มของ
เสี ยงพลุที่นาย ข. ได้รับเป็ นกี่เท่าของความเข้มของเสี ยงพลุที่นาย ก. ได้รับ
1. 0.14 2. 0.35 3. 0.55 4. 0.64

51
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
46(แนว มช) ในวันที่มีหมอกลงจัดและอุณหภูมิ 15oC มีชายคนหนึ่งลอยเรื ออยูใ่ นทะเล ได้หา
ทางเข้าฝั่งโดยเปิ ดวิทยุกาลัง 1 วัตต์ และพบว่าเวลาของเสี ยงจากเริ่ มส่ งจนสะท้อนกลับ
เป็ นเวลา 20 นาที ข้อใดต่อไปนี้ถูก
1. ชายคนนั้นอยูห่ ่างจากหน้าผา 6800 เมตร
2. ชายคนนั้นอยูห่ ่างจากหน้าผา 204,000 เมตร
3. ชายคนนั้นอยูห่ ่างจากหน้าผา 3400 เมตร
4. ชายคนนั้นไม่ได้ยนิ เสี ยงสะท้อน

10.4.2 ระดับเสี ยง
47. ณ. ตาแหน่งซึ่ งอยูห่ ่างจากแหล่งกาเนิดเสี ยงอันหนึ่ง วัดค่าความเข้มเสี ยงได้ 10–10 วัตต์-
ต่อตารางเมตร ณ. ตาแหน่งนี้จะมีค่าระดับเสี ยงเท่ากับกี่เดซิเบล
1. 10 2. 20 3. 30 4. 40

48. จงหาระดับเสี ยงเมื่อผูฟ้ ังอยูห่ ่างจากวิทยุ 1 เมตร เมื่อกาลังเสี ยงของวิทยุเป็ น 4x10–3 วัตต์
1. 50 เดซิเบล 2. 70 เดซิเบล 3. 90 เดซิเบล 4. 120 เดซิเบล

49. ณ. จุดซึ่ งอยูห่ ่ างจากแหล่งกาเนิดเสี ยงแหล่งหนึ่งมีระดับเสี ยง 60 เดซิ เบล ณ. จุดนั้นจะมีค่า


ความเข้มเสี ยงกี่วตั ต์/ตารางเมตร
1. 10–4 2. 10–5 3. 10–6 4. 10–7

50. จากข้อที่ผา่ นมา ถ้าจุดนั้นอยูห่ ่างจากแหล่งกาเนิดเสี ยง 5 เมตร แหล่งกาเนิดส่ งเสี ยง


ด้วยกาลังกี่วตั ต์
1. 3.14 x 10–4 2. 3.14 x 10–5 3. 4.36 x 10–4 4. 6.32 x 10–4

51. วางเครื่ องวัดระดับเสี ยงห่ างจากลาโพง 10 เมตร พบว่าระดับเสี ยงเท่ากับ 80 เดซิ เบล
กาลังเสี ยงของแหล่งกาเนิดเป็ นกี่วตั ต์
1. 0.126 2. 0.135 3. 0.548 4. 6.32
52
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
52(แนว มช) หน้าต่างเป็ นรู ปวงกลม มีพ้ืนที่ 2 ตารางเมตร มีแหล่งกาเนิดเสี ยงหันมาตรงหน้า
เมื่อวัดระดับเสี ยงที่ผา่ นช่องหน้าต่างนี้ได้ 100 เดซิเบล จงหากาลังเสี ยงว่าเป็ นกี่วตั ต์
1. 0.01 2. 0.02 3. 2 4. 10

53. ประตูหอ้ งหนึ่งมีขนาดความกว้าง 0.5 เมตร สู ง 2.0 เมตร ที่หน้าประตูมีระดับเสี ยง 60


เดซิเบล (dB) จงหากาลังของเสี ยงในหน่วยวัตต์ที่ผา่ นเข้าห้องนี้
1. 106 วัตต์ 2. 6 x 102 วัตต์ 3. 60 วัตต์ 4. 10–6 วัตต์

54. เสี ยงจากกระดิ่ง 1 ลูก มีระดับเสี ยง 40 เดซิ เบล และเสี ยงระฆัง 1 ใบ มีความเข้มเสี ยง
0.2 ไมโครวัตต์ต่อตารางเมตร จะต้องใช้กระดิ่งชนิ ดเดียวกันจานวนกี่ ลูก จึงจะมีความเข้ม
เสี ยงเท่ากับระฆัง 1 ใบ โดยผูฟ้ ั งอยูห่ ่ างจากกระดิ่งกับระฆังเท่ากัน กาหนดความเข้มของ
เสี ยงเบาที่สุดที่มนุษย์ได้ยนิ เท่ากับ 10–12 วัตต์/ตารางเมตร
1. 20 ลูก 2. 32 ลูก 3. 45 ลูก 4. 53 ลูก

55. ตีกลอง 1 ใบ ได้ยนิ เสี ยงมีระดับเสี ยง 60 เดซิ เบล ถ้าตีกลองพร้อมกัน 100 ใบ จะได้ยิน
เสี ยง ณ. ตาแหน่งเดิมมีระดับเสี ยงเท่ากับกี่เดซิ เบล
1. 30 2. 60 3. 70 4. 80

56(แนว มช) ลาโพง 1 ตัว ให้เสี ยงที่ระดับเสี ยง 60 เดซิเบล ถ้าใช้ลาโพงชนิ ดเดียวกัน 10 ตัว
จะให้ระดับเสี ยงกี่เดซิ เบล
1. 600 2. 100 3. 70 4. 60

57. เครื่ องเจาะถนนเครื่ องหนึ่ ง อยู่ห่างจากนาย ก. 10 เมตร เขาวัดระดับเสี ยงได้เป็ น 90 เดซิ -


เบล ถ้ามีเครื่ องเจาะสามเครื่ องที่เหมือนกันทุกประการอยู่ห่างจากเขา 10 เมตร เท่ากัน เมื่อ
เครื่ องเจาะทั้งสามทางานพร้อมกัน เขาจะวัดระดับเสี ยงได้เป็ นเท่าใด
1. 93 เดซิเบล 2. 95 เดซิเบล 3. 120 เดซิเบล 4. 270 เดซิเบล

53
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
58. แหล่งกาเนิดเสี ยงหนึ่งส่ งเสี ยงออกไปทุกทิศทางอย่างสม่าเสมอ ณ ตาแหน่งซึ่ งห่างจากแหล่ง
กาเนิ ดเสี ยง 10 เมตร วัดระดับเสี ยงได้ 60 เดซิ เบล จงหาระดับเสี ยง ณ ตาแหน่ งที่ อยู่
ห่างจากแหล่งกาเนิดเสี ยง 100 เมตรมีค่ากี่เดซิเบล
1. 10 2. 20 3. 30 4. 40

59. มอเตอร์ ไซด์เหมือนๆ กัน 2 คัน แล่นมาจากปากซอยพอมาถึงกลางซอยมีเพิม่ อีก 1 คัน


นาย ก. ซึ่ งอยูบ่ า้ นสุ ดซอย จะวัดความแตกต่างของระดับเสี ยงจากมอเตอร์ ไซด์ที่ปากซอยกับที่
กลางซอยได้กี่เดซิ เบล
1. 3.25 2. 4.00 3. 6.37 4. 7.78

60. สี ไวโอลิน 1 ตัว วัดระดับเสี ยงได้ 60 เดซิเบล ถ้าต้องการให้ได้ระดับเสี ยง 70 เดซิเบล


ณ. ตาแหน่งเดิมต้องสี ไวโอลินพร้อมกันกี่ตวั
1. 2 2. 10 3. 100 4. 150

61. ในการวัดระดับเสี ยงที่ระยะ 10 เมตร จากแหล่งกาเนิ ดเสี ยงที่เป็ นจุดมีค่า 80 เดซิ เบล ที่
จุดห่างจากแหล่งกาเนิดเดิมกี่เมตร ระดับเสี ยงจึงเท่ากับ 40 เดซิเบล
1. 10 2. 50 3. 100 4. 1000

62. ถ้าสมมติวา่ เครื่ องบินโดยสารไอพ่นกาลังบินขึ้นจากสนามบินก่อให้เกิดเสี ยงที่มีระดับเสี ยง


120 เดซิ เบล ณ จุดที่ห่างจากเครื่ องบิน 200 เมตร จะต้องปลูกบ้านห่ างจากสนามบินไป
ไกลกี่กิโลเมตร จึงจะได้ยนิ เสี ยงเครื่ องบินดังไม่เกิน 80 เดซิเบล
1. 1 2. 2 3. 5 4. 20

63. ชายคนหนึ่งยืนอยู่ ณ.ตาแหน่งที่มีระดับเสี ยง 60 เดซิ เบล ถ้าเขาใส่ ที่ครอบหูซ่ ึ งมีสมบัติ


ดูดกลืนความเข้มเสี ยงได้ร้อยละ 90 เขาจะได้ยนิ เสี ยงที่ระดับเสี ยงลดลงร้อยละเท่าไร
1. 17 % 2. 20 % 3. 83 % 4. 90 %

54
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
10.5 เสียงดนตรี
10.5.1 ความดัง เบา และระดับสู งต่าของเสี ยง
64. ความดังของเสี ยงที่ได้ยนิ ขึ้นอยูก่ บั
1. ความถี่ของเสี ยง 2. อัตราเร็ วของเสี ยง
3. ความยาวคลื่น 4. แอมพลิจูดของคลื่นเสี ยง

65. ระดับสู งต่าของเสี ยงขึ้นอยูก่ บั ปริ มาณใด


1. ความยาวคลื่น 2. แอมพลิจูด 3. ความถี่ 4. อัตราเร็ ว

66. ถ้าแหล่งกาเนิดส่ งเสี ยงออกมามีความถี่ 25000 เฮิรตซ์ มนุษย์จะรู ้สึกอย่างไร


1. ปวดแก้วหู 2. ราคาญ , หงุดหงิด 3. เสี ยวฟัน 4. ไม่ได้ยนิ

67. ความถี่ของคลื่นเสี ยงที่หูมนุษย์รับได้อยูใ่ นช่วง 20 – 20000 Hz ความถี่ช่วงนี้ เรี ยกว่า


1. Ultrasonic 2. Audible 3. Infrasonic 4. Lasor

10.5.2 คุณภาพเสี ยง
68(แนว มช) เราสามารถแยกประเภทของแหล่งกาเนิ ดเสี ยงว่าเป็ นกีตาร์ หรื อเสี ยงขลุ่ยได้จาก
1. คุณภาพเสี ยง 2. ระดับเสี ยง 3. ความถี่เสี ยง 4. ความเข้มเสี ยง

69(แนว มช) เปี ยโนกับกีตาร์ เมื่อเล่นโน้ตเดียวกัน แต่เราสามารถแยกออกได้วา่ เสี ยงใดเป็ นเสี ยง


เปี ยโน เสี ยงใดเป็ นเสี ยงกีตาร์ ทั้งนี้เพราะเสี ยงจากเครื่ องดนตรี ท้ งั สองมีอะไรแตกต่างกัน
1. บีสต์ 2. ความถี่และความเร็ ว 3. ความถี่มูลฐาน 4. จานวนฮาร์ โมนิก

55
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
70(แนว มช) ถ้า ให้ เครื่ องดนตรี ต่ างชนิ ด กัน เช่ น เปี ยโน และไวโอลิ น ท าเสี ย งโน้ต เดี ย วกัน
พร้อมๆ กัน ผูฟ้ ังก็ยงั สามารถจะบอกได้วา่ เสี ยงที่ได้ยนิ ดังมาจากเครื่ องดนตรี ชนิดใดบ้าง
การที่เสี ยงทั้งสองนี้แตกต่างกันก็เพราะ
1. เป็ นเสี ยงที่มีความถี่มูลฐานเท่ากัน แต่มีจานวน higher harmonics (ฮาร์ โมนิคอื่น ๆ
ที่มีความถี่สูงกว่าความถี่มูลฐาน) แตกต่างกันเท่านั้น
2. เป็ นเสี ยงที่มีความถี่มูลฐานเท่ากันและมี higher harmonics ที่มีความถี่เท่ากันด้วย
แต่แอมพลิจูดสัมพันธ์ (retative amplitude) ระหว่างเสี ยงความถี่มูลฐาน และ higher
harmonics ในแต่ละกรณี แตกต่างกัน
3. เป็ นเสี ยงที่มีความถี่มูลฐานเท่ากัน แต่จานวน higher harmonics และ (relative
Amplitude) ของเสี ยงความถี่มูลฐานกับ higher harmonics ในแต่ละกรณี ต่างกัน
4. เป็ นเสี ยงที่มีความถี่มูลฐานแตกต่างกันแต่มี higher harmonics และ ความเข้มของ
higher harmonics เหมือนกัน

10.6 การบีต และคลืน่ นิ่งของเสี ยง


10.6.1 การบีตเสี ยง
71(แนว มช) ในการปรับเสี ยงเปี ยโนโดยผูป้ รับใช้วธิ ี เคาะส้อมเสี ยง ความถี่มาตรฐานเทียบกับ
เสี ยงที่ได้จากการกดคียเ์ ปี ยโนคียห์ นึ่ง ถ้าเสี ยงที่ได้ยนิ เป็ นลักษณะดังแล้วค่อยจางหาย แล้ว
ดังอีกเป็ นจังหวะสลับกันไป เขาก็จะปรับความตึงของลวดเปี ยโนจนกว่าเสี ยงที่ได้ยนิ จะดัง
เป็ นเสี ยงเดียวต่อเนื่องกันไป การกระทาอย่างนี้ อาศัยหลักการของปรากฏการณ์ที่เรี ยกว่า
1. Doppler effect (ปรากฏการณ์ดอปเปอร์ ) 2. Resonance (กาทอน)
3. Shock waves (คลื่นกระแทก) 4. Beats

72. ในการปรับ เสี ยงของเปี ยโนระดังเสี ยง C โดยเที ยบกับ ส้ อมเสี ยงความถี่ 256.0 เฮิรตซ์
ถ้าได้ยนิ เสี ยงบีตความถี่ 3.0 ครั้ง/วินาที ความถี่ที่เป็ นไปได้ของเปี ยโนมีค่ากี่เฮิรตซ์
1. 250 2. 253 3. 356 4. 564

56
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
73. คลื่น 2 ขบวน A และ B มีแอมปลิจูดเท่ากัน คลื่นละ 2 เซนติเมตร มีความถี่ 200 และ
204 เฮิรตซ์ ตามลาดับ ถ้าคลื่นทั้งสองเข้ารวมกันเป็ นคลื่น C ความถี่ของคลื่น C และ
ความถี่บีสต์ของคลื่น C มีค่าเท่าใด ในหน่วยของเฮิรตซ์ ตอบตามลาดับ
1. 202 , 4 2. 204 , 5 3. 230 , 7 4. 345 , 9

74. ส้อมเสี ยง 3 อัน มีความถี่เท่ากับ f1 , f2 และ f3 ตามลาดับโดยที่ f1 < f2 < f3 ถ้าเคาะ


ส้อมเสี ยงอันแรกกับอันที่สองพร้อมกันทาให้เกิดบีตมีความถี่ 2 เฮิรตซ์ แต่ถา้ เคาะอันที่
สองกับอันที่สามพร้อมกันจะเกิดบีตมีความถี่ 4 เฮิรตซ์ ถ้าเคาะอันที่หนึ่งกับอันที่สาม
พร้อมกันจะเกิดบีตความถี่กี่เฮิรตซ์
1. 2 2. 6 3. 9 4. 12

75. ส้อมเสี ยงสองอันให้คลื่นเสี ยงมีความยาวคลื่น 2 เมตร และ 2.05 เมตร ตามลาดับ เมื่อ
เคาะส้อมเสี ยงทั้งสองพร้อมกันทาให้เกิดบีต 4 ครั้ง/วินาที จงหาอัตราเร็ วของคลื่นเสี ยง
1. 300 เมตร/วินาที 2. 328 เมตร/วินาที
3. 412 เมตร/วินาที 4. 525 เมตร/วินาที

10.6.2 คลืน่ นิ่งของเสี ยง

10.7 ความถี่ธรรมชาติ และการสั่ นพ้องของเสี ยงในอากาศ


10.7.1 ความถี่ธรรมชาติ และการสั่ นพ้อง
10.7.2 การสั่ นพ้องของเสี ยงในอากาศ
76(แนว มช) วางลาโพงชิดกับปลายข้างหนึ่งของหลอดเรโซแนนซ์ เลื่อนลูกสู บออกช้าๆ จน
กระทัง่ ได้ยนิ เสี ยงดังเพิ่มขึ้นมากที่สุดครั้งแรกที่ระยะห่างจากปลายหลอด 3.3 เมตร ความ
เร็ วเสี ยงในอากาศมีค่า 330 เมตร/วินาที จงหาว่าความถี่ของเสี ยงจากลาโพงมีค่าเท่ากับเท่าใด
1. 10 เฮิรตซ์ 2. 20 เฮิรตซ์ 3. 25 เฮิรตซ์ 4. 45 เฮิรตซ์

57
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
77. จากการทดลองการสั่นพ้องของเสี ยง ถ้าแหล่งกาเนิดเสี ยงมีความถี่ 1000 เฮิรตซ์ และทา
การทดลองในขณะมีอุณหภูมิ 15oC อยากทราบว่าตาแหน่งของลูกสู บที่ทาให้เกิดการสั่น
พ้องของเสี ยง 2 ครั้งต่อเนื่องกัน จะห่างกันกี่เมตร
1. 0.10 2. 0.15 3. 0.17 4. 2.00

78. ในการทดลองเรื่ องการสัน่ พ้องของเสี ยง ถ้าใช้เสี ยงความถี่ 686 เฮิรตซ์ ในการทดลอง


และอุณหภูมิขณะทดลองเท่ากับ 20 องศาเซลเซี ยส ตาแหน่งของลูกสู บจากปากหลอด
เรโซแนนซ์ขณะเกิดการสั่นพ้องครั้งแรกจะห่างจากตาแหน่งของลูกสู บขณะเกิดการสั่นพ้อง
ครั้งถัดไปเป็ นระยะกี่เมตร
1. 0.10 2. 0.12 3. 0.25 4. 0.50

79. เมื่อให้เสี ยงความถี่ 1200 เฮิรตซ์ เข้าไปในหลอดเรโซแนนซ์ ปรากฏว่าตาแหน่งเสี ยงดัง


2 ครั้งที่ ถดั กันไปลู กสู บห่ างกัน 15 เซนติเมตร จงหาอัตราเร็ วของคลื่ นเสี ยงในขณะนั้น
เป็ นกี่เมตร/วินาที
1. 180 2. 340 3. 360 4. 380

80. ในการทดลองหาอัตราเร็ วของเสี ยงโดยใช้หลอดกาทอน เมื่อใช้แหล่งกาเนิ ดเสี ยงความถี่ 800


เฮิ รตซ์ ตาแหน่ งที่ เสี ย งดัง มากสองครั้ ง ถัดกัน ห่ างกัน เป็ นระยะ 21.5 เซนติ เมตร จงหา
อัตราเร็ วของเสี ยงนี้
1. 344 เมตร/วินาที 2. 412 เมตร/วินาที
3. 512 เมตร/วินาที 4. 620 เมตร/วินาที

81. ในการทดลองเรื่ องการสั่นพ้องของเสี ยง ได้ผลการทดลองดังนี้


ตาแหน่ งของลูกสู บขณะเกิดเสี ยงดังเพิม่ ขึน้
ความถี่ ( kHz) x2 – x1 (เมตร )
x1 (เมตร) x2 (เมตร)
1 0.25 0.42
ความเร็ วของคลื่นเสี ยงในกรณี น้ี มีค่ากี่เมตร/วินาที
1. 300 2. 340 3. 360 4. 400
58
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
82. การหาความถี่ของเสี ยงจากแหล่งกาเนิดเสี ยงครั้งหนึ่งโดยใช้หลอดกาทอน ปริ มาตรของ
อากาศที่อยูใ่ นหลอดกาทอนสามารถปรับได้ โดยการเลื่อนลูกสู บที่อยูใ่ นหลอดแล้วสังเกต
เสี ยงดังชัดที่สุด 3 ตาแหน่ง คือ 0.15 , 0.49 และ 0.83 เมตร จากปลายหลอด ขณะที่ทา
การทดลองวัดอุณหภูมิห้องได้ 20oC จงหาความถี่เสี ยงนั้นมีค่ากี่เฮิรตซ์
1. 504 2. 520 3. 526 4. 572

83. ส้อมเสี ยงอันหนึ่ ง เมื่ อเคาะเหนื อท่อเรโซแนนซ์เกิ ดเสี ยงดังครั้งแรกเมื่ อน้ าอยูต่ ่ าจากปาก
ท่อ 17 เซนติ เมตร และดัง ครั้ งที่ ส องเมื่ อ น้ าอยู่ ต่ า จากปากท่ อ 53 เซนติ เมตร ส้ อ ม
เสี ยงอีกอัน หนึ่ งมีความถี่ 450 เฮิรตซ์ ทาให้เกิ ดเสี ยงดังครั้งที่ สองเมื่ อน้ าอยู่ต่ าจากปาก
ท่อ 59 เซนติเมตร และครั้งที่สามเมื่อน้ าอยูต่ ่าจากปากท่อ 99 เซนติเมตร ส้อมเสี ยงอัน แรก
มีความถี่กี่เฮิรตซ์
1. 400 2. 500 3. 550 4. 650

84(แนว มช) โดยปกติคลื่นเสี ยงจะเข้าสู่ ระบบการรับฟังเสี ยงของหูคนเราโดยผ่านช่องรู หู (ear


canal) ไปตกกระทบเยือ่ แก้วหูที่ปลายช่องรู หูซ่ ึ งจะสั่นตามจังหวะของคลื่นเสี ยงนั้น ช่องรู หู
จึงเป็ นด่านแรกที่ช่วยขยายสัญญาณเสี ยงที่ผา่ นเข้าไป ถ้าความยาวของช่องรู หูของคนทัว่ ไป
มีค่าประมาณ 2.5 เซนติเมตร แสดงว่าคนเราควรจะรับฟังเสี ยงความถี่ประมาณกี่เฮิรตซ์
ได้ไวเป็ นพิเศษ ( ให้ vเสี ยง = 350 เมตร/วินาที )
1. 3000 2. 3500 3. 4600 4. 700

85. ท่อทรงกระบอกปลายปิ ดข้างหนึ่ งยาว 2 เมตร ความถี่ต่าที่สุดของคลื่นเสี ยงที่ทาให้เกิดการ


สั่นพ้องในท่อนี้จะเท่ากับกี่เฮิรตซ์ ให้ความเร็ วเสี ยงในอากาศเท่ากับ 340 เมตรต่อวินาที
1. 170 2. 85 3. 42.5 4. 21.25

86. กระบอกตวงยาว 34 เซนติเมตร วางไว้ในอากาศมีอุณหภูมิ 15oC ถ้าต้องการให้เกิดการ


สั่นพ้องของเสี ยง จะต้องเอาส้อมเสี ยงที่มีความถี่ต่าสุ ดเท่าใด มาจ่อเหนือปากกระบอกตวงนี้
1. 125 เฮิรตซ์ 2. 250 เฮิรตซ์ 3. 500 เฮิรตซ์ 4. 1000 เฮิรตซ์

59
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
87. ลาโพงเสี ยงความถี่ต่าสุ ด 200 เฮิรตซ์ สามารถทาให้เกิดการสั่นพ้องของเสี ยงกับหลอด
ปลายปิ ดได้ ถ้าต้องการให้เกิดการสั่นพ้องของเสี ยงกับหลอดเดิมได้อีก ต้องปรับลาโพงให้
มีความถี่กี่เฮิรตซ์
1. 400 , 600 , 800 เฮิรตซ์ 2. 400 , 800 , 1200 เฮิรตซ์
3. 600 , 900 , 1200 เฮิรตซ์ 4. 600 , 1000 , 1400 เฮิรตซ์

88(แนว En) จงเลื อกหลอดก าทอนอันสั้ น ที่ สุ ด เพื่ อจะใช้ก บั คลื่ นที่ มี ค วามถี่ 700 เฮิ รตซ์
แล้วเกิดกาทอนได้ 3 ครั้ง กาหนดความเร็ วเสี ยงเป็ น 350 เมตร/วินาที
1. หลอดยาว 40 เซนติเมตร 2. หลอดยาว 50 เซนติเมตร
3. หลอดยาว 60 เซนติเมตร 4. หลอดยาว 70 เซนติเมตร

89. ในการทดลองการสั่นพ้องของเสี ยงกับหลอดเรโซแนนซ์ซ่ ึ งยาว 1 เมตร พบว่าตาแหน่ ง


ลูกสู บที่ทาให้เกิ ดเสี ยงดังมากกว่าปกติ 2 ครั้ง ติดห่ างกัน 30 เซนติเมตร อยากทราบว่า
สามารถทาให้เกิดเสี ยงดังโดยการเลื่อนลูกสู บได้กี่ครั้ง
1. 3 2. 4 3. 5 4. 6

90(แนว มช) มีท่อทรงกระบอกปลายปิ ดข้างหนึ่งยาว เท่ากัน 2 ท่อ ซึ่งเมื่อทาให้ลาอากาศภายใน


ท่อเกิดการสั่น พบว่าเสี ยงจากท่อทั้งสองนี้ มีความถี่ต่าสุ ดเป็ น 480 เฮิรตซ์ ที่อุณหภูมิ
15 องศาเซลเซี ยส แต่ถา้ อุณหภูมิของอากาศในท่อหนึ่งเปลี่ยนไปเป็ น 20 องศาเซลเซี ยส
เมื่อทาให้เกิดเสี ยงจากท่อทั้งสองพร้อมกันจะเกิดเสี ยงบีตส์ดว้ ยความถี่บีตส์กี่เฮิรตซ์
1. 2 2. 3 3. 4 4. 6

91. ส้อมเสี ยงที่มีความถี่ 256 เฮิรตซ์ จะทาให้ท่อปลายปิ ดข้างเดี ยวแท่งหนึ่ งเกิ ดกาทอน ถ้า
ความเร็ วของเสี ยงในอากาศขณะนั้นเท่ากับ 330 เมตรต่อวินาที จะต้องตัดท่อด้านปลายเปิ ด
ให้ส้ ันลงกี่เซนติเมตร จึงจะเกิดเสี ยงความถี่สูงขึ้น 4 เฮิรตซ์
1. 0.2 2. 0.3 3. 0.4 4. 0.5

60
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
92(แนว En) เมื่อนาลาโพงที่กาลังส่ งเสี ยงความถี่ 700 เฮิรตซ์ ไปจ่อที่ปลายเปิ ดของหลอดแก้ว
ที่ มี ป ลายอี ก ข้า งหนึ่ ง ปิ ด และตั้งอยู่บ นพื้ น ราบ ถามว่าจะต้องเติ ม น้ าลงในหลอดแก้วกี่
ลูกบาศก์เซนติเมตร เพื่อทาให้ได้ยนิ เสี ยงดังมากกว่าปกติออกมาจากหลอดแก้ว
กำหนด ให้หลอดแก้วมีพ้ืนที่หน้าตัด 10 ตารางเซนติเมตร ยาว 13 เซนติเมตร
และ ความเร็ วเสี ยงในอากาศ 350 เมตร/วินาที
1. 1 2. 3 3. 5 4. ไม่มีโอกาสทาได้

93. เมื่อกรอกน้ าใส่ ขวดขณะระดับน้ าสู งขึ้นระดับเสี ยงที่ได้ยนิ จะสู งขึ้น เพราะ
1. ระยะห่างจากผิวน้ าถึงหูส้ ันลง 2. น้ าในขวดมีปริ มาณมากขึ้น
3. ลาอากาศในขวดสั้นลง 4. ผนังขวดภายในสั่นแรงขึ้น

94. ท่อปลายเปิ ดสองข้างยาว 50 เซนติเมตร จงหาความถี่ 3 ลาดับแรกที่ทาให้เกิดการสั่นพ้อง


ของเสี ยงในท่อนี้ได้ เมื่ออัตราเร็ วเสี ยงในอากาศขณะนั้นมีค่า 350 เมตร/วินาที
1. 350 , 700 , 1050 เฮิรตซ์ 2. 350 , 1050 , 1750 เฮิรตซ์
3. 700 , 1400 , 2100 เฮิรตซ์ 4. 700 , 2100 , 3500 เฮิรตซ์

95. หลอดปลายเปิ ดสองข้าง เมื่อนาส้อมเสี ยงความถี่ 150 เฮิรตซ์ ที่กาลังสั่นมาจ่อที่ปากหลอด


ปรากฏว่าเกิดเสี ยงดังที่สุด แต่ถา้ ส้อมเสี ยงมีความถี่ต่ากว่านี้จะไม่เกิดเสี ยงดังอีกเลย ถ้าต้อง
การให้เกิดเสี ยงดังออกจากหลอดนี้ อีกต้องใช้ส้อมเสี ยงที่มีความถี่เท่าใด มาสั่นที่ปากหลอด
1. 300 , 450 , 600 เฮิรตซ์ 2. 300 , 600 , 900 เฮิรตซ์
3. 450 , 750 , 1050 เฮิรตซ์ 4. 450 , 900 , 1350 เฮิรตซ์

96. ท่อออร์ แกนปลายเปิ ดสองท่อซึ่ งยาว 240 และ 242 เซนติเมตร ให้เสี ยงความถี่มาตรฐาน
พร้อมกันทั้งสองท่อ จะเกิดเสี ยงบีตกี่ครั้งในเวลา 10 วินาที ถ้าความเร็ วเสี ยงในอากาศคือ
348 เมตรต่อวินาที
1. 2 ครั้ง 2. 3 ครั้ง 3. 4 ครั้ง 4. 6 ครั้ง

61
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
97(แนว En) เส้นลวดยาว 1 เมตร ถูกดึงด้วยแรงดึงขนาดหนึ่ง เมื่อดีดจะทาให้เกิดเสี ยงที่มี
ค่าความถี่มูลฐานเป็ น 200 เฮิรตซ์ ถ้าเพิ่มแรงดึงอีก 900 นิวตัน จะทาให้ค่าความถี่มูล
ฐานของเสี ยงที่เกิดจากลวดเส้นนี้ เปลี่ยนไปเป็ น 400 เฮิรตซ์ อยากทราบว่ามวลของเส้น
ลวดนี้ เท่ากับเท่าไร
1. 1.22 กรัม 2. 1.44 กรัม 3. 1.66 กรัม 4. 1.88 กรัม

10.8 ปรากฏการณ์ ดอปเพลอร์ และคลืน่ กระแทก


10.8.1 ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์
98. ผูส้ ังเกตจะรับฟังเสี ยงมีระดับเสี ยงสู งที่สุดเมื่อ
1. ผูส้ ังเกต วิง่ ตามแหล่งกาเนิดด้วยความเร็ วเท่ากัน
2. ผูส้ ังเกต และแหล่งกาเนิดวิง่ เข้าหากัน
3. ผูส้ ังเกต และแหล่งกาเนิดวิง่ หนีออกจากกัน
4. ผูส้ ังเกต และแหล่งกาเนิดอยู่ ณ. ตาแหน่งเดียวกัน

99. รถยนต์คนั หนึ่ งกาลังแล่นไปด้วยอัตราเร็ ว 25 เมตร/วินาที บีบแตรส่ งเสี ยงความถี่ 400


เฮิรตซ์ ออกมา ผูส้ ังเกตอยู่ในรถอีกคันหนึ่ งซึ่ งกาลังแล่นด้วยอัตราเร็ ว 20 เมตร/วินาที จะ
ได้ยนิ เสี ยงแตรมีความถี่เท่าใด ถ้าอัตราเร็ วเสี ยงในอากาศ = 340 เมตร/วินาที และรถผูส้ ังเกต
แล่นอยูด่ า้ นหน้าสวนทางกับรถคันแรก
1. 356.14 เฮิรตซ์ 2. 457.14 เฮิรตซ์ 3. 561.58 เฮิรตซ์ 4. 598.66 เฮิรตซ์

100. จากข้อที่ ผ่านมา ถ้ารถผูส้ ังเกตแล่ นอยู่ด้านหน้าไปทางเดี ยวกันกับรถคันแรก จะได้ยิน


เสี ยงแตรมีความถี่เท่าใด
1. 398.25 เฮิรตซ์ 2. 406.35 เฮิรตซ์ 3. 425.74 เฮิรตซ์ 4. 512.23 เฮิรตซ์

101. จากข้อที่ผ่านมา ถ้ารถผูส้ ังเกตแล่นอยูด่ ้านหลังไปทางเดี ยวกับรถคันแรก จะได้ยินเสี ยง


แตรมีความถี่เท่าใด
1. 289.36 เฮิรตซ์ 2. 394.52 เฮิรตซ์ 3. 441.26 เฮิรตซ์ 4. 468.97 เฮิรตซ์
62
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
102. จากข้อที่ผา่ นมา ถ้ารถผูส้ ังเกตแล่นอยูด่ า้ นหลังสวนทางกับรถคันแรก จะได้ยนิ เสี ยงแตรมี
ความถี่เท่าใด
1. 225.96 เฮิรตซ์ 2. 350.00 เฮิรตซ์ 3. 447.63 เฮิรตซ์ 4. 554.33 เฮิรตซ์

103. รถไฟวิง่ ด้วยความเร็ ว 30 เมตร/วินาที ในอากาศนิ่งความถี่หวูดรถไฟมีคา่ 500 เฮิรตซ์


ถ้าเสี ยงมีอตั ราเร็ ว 330 เมตร/วินาที จงหาความถี่ที่ผสู ้ ังเกตได้ยนิ ขณะอยูน่ ิ่งอยูห่ น้ารถไฟ
1. 275 เฮิรตซ์ 2. 475 เฮิรตซ์ 3. 550 เฮิรตซ์ 4. 895 เฮิรตซ์

104. จากข้อที่ผา่ นมา จงหาความถี่ที่ผสู ้ ังเกตได้ยนิ ขณะอยูน่ ิ่งอยูห่ ลังรถไฟ


1. 357.5 เฮิรตซ์ 2. 437.5 เฮิรตซ์ 3. 458.3 เฮิรตซ์ 4. 745.5 เฮิรตซ์

10.8.2 คลืน่ กระแทก


105. เครื่ องบินรบ เอฟ-14 บินด้วยอัตราเร็ วสู งสุ ด 2.2 มัค แสดงว่าอัตราเร็ วสู งสุ ดของเครื่ อง
บินเอฟ-14 เป็ นเท่าใด ถ้าขณะนั้นเสี ยงมีอตั ราเร็ วในอากาศ 350 เมตร/วินาที
1. 160 เมตร/วินาที 2. 385 เมตร/วินาที
3. 700 เมตร/วินาที 4. 770 เมตร/วินาที

106. เครื่ องบินบินด้วยอัตราเร็ ว 510 เมตร/วินาที ในแนวระดับเหนื อพื้ นดิ น 4 กิ โลเมตร


ในขณะที่เสี ยงมีอตั ราเร็ วในอากาศ 340 เมตร/วินาที จงหา
ก. เลขมัค
ข. มุมระหว่างหน้าคลื่นกระแทกกับแนวการเคลื่อนที่ของเครื่ องบิน
ค. เมื่อคนที่พ้ืนดินได้ยินเสี ยงนั้นเครื่ องบินอยูห่ ่างจากคนคนนั้นเท่าไร
1. ก. 1.5 , ข. sin–1 23 , ค. 6 กิโลเมตร 2. ก. 1.5 , ข. sin–1 43 , ค. 6 กิโลเมตร
3. ก. 3.0 , ข. sin–1 23 , ค. 8 กิโลเมตร 4. ก. 3.0 , ข. sin–1 45 , ค. 8 กิโลเมตร



63
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 10 เสียง
เฉลยตะลุ ย โจทย์ ท วั่ ไป บทที่ 10 เสี ย ง
1. ตอบข้ อ 4. 2. ตอบข้ อ 1. 3. ตอบข้ อ 3. 4. ตอบข้ อ 4.
5. ตอบข้ อ 2. 6. ตอบข้ อ 1. 7. ตอบข้ อ 2. 8. ตอบข้ อ 1.
9. ตอบข้ อ 4. 10. ตอบข้ อ 3. 11. ตอบข้ อ 4. 12. ตอบข้ อ 2.
13. ตอบข้ อ 2. 14. ตอบข้ อ 1. 15. ตอบข้ อ 1. 16. ตอบข้ อ 4.
17. ตอบข้ อ 4. 18. ตอบข้ อ 3. 19. ตอบข้ อ 1. 20. ตอบข้ อ 1.
21. ตอบข้ อ 2. 23. ตอบข้ อ 1. 24. ตอบข้ อ 1. 25. ตอบข้ อ 4.
26. ตอบข้ อ 1. 27. ตอบข้ อ 1. 28. ตอบข้ อ 2. 29. ตอบข้ อ 4.
30. ตอบข้ อ 2. 31. ตอบข้ อ 3. 32. ตอบข้ อ 4. 33. ตอบข้ อ 4.
34. ตอบข้ อ 3. 35. ตอบข้ อ 2. 36. ตอบข้ อ 3. 37. ตอบข้ อ 2.
38. ตอบข้ อ 3. 39. ตอบข้ อ 1. 40. ตอบข้ อ 3. 41. ตอบข้ อ 3.
42. ตอบข้ อ 3. 43. ตอบข้ อ 4. 44. ตอบข้ อ 4. 45. ตอบข้ อ 4.
46. ตอบข้ อ 4. 47. ตอบข้ อ 2. 48. ตอบข้ อ 3. 49. ตอบข้ อ 3.
50. ตอบข้ อ 1. 51. ตอบข้ อ 1. 52. ตอบข้ อ 2. 53. ตอบข้ อ 4.
55. ตอบข้ อ 4. 56. ตอบข้ อ 3. 57. ตอบข้ อ 2. 58. ตอบข้ อ 4.
59. ตอบข้ อ 4. 60.ตอบข้ อ 2. 61. ตอบข้ อ 4. 62. ตอบข้ อ 4.
63. ตอบข้ อ 1. 64. ตอบข้ อ 4. 65. ตอบข้ อ 3. 66. ตอบข้ อ 4.
67. ตอบข้ อ 2. 68. ตอบข้ อ 1. 69. ตอบข้ อ 4. 70. ตอบข้ อ 3.
71. ตอบข้ อ 4. 72. ตอบข้ อ 2. 73. ตอบข้ อ 1. 74. ตอบข้ อ 2.
75. ตอบข้ อ 2. 76. ตอบข้ อ 3. 77. ตอบข้ อ 3. 78. ตอบข้ อ 3.
79. ตอบข้ อ 3. 80. ตอบข้ อ 1. 81. ตอบข้ อ 2. 82. ตอบข้ อ 1.
83. ตอบข้ อ 2. 84. ตอบข้ อ 2. 85. ตอบข้ อ 3. 86. ตอบข้ อ 2.
87. ตอบข้ อ 4. 88. ตอบข้ อ 4. 89. ตอบข้ อ 1. 90. ตอบข้ อ 3.
91. ตอบข้ อ 4. 92. ตอบข้ อ 3. 93. ตอบข้ อ 3. 94. ตอบข้ อ 1.
95. ตอบข้ อ 1. 96. ตอบข้ อ 4. 97. ตอบข้ อ 4. 98. ตอบข้ อ 2.
99. ตอบข้ อ 2. 100. ตอบข้ อ 2. 101. ตอบข้ อ 2. 102. ตอบข้ อ 2.
103. ตอบข้ อ 3. 104. ตอบข้ อ 3. 105. ตอบข้ อ 4. 106. ตอบข้ อ 1.
64
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
บทที่ 11 แสงและทัศ นอุ ป กรณ์
11.1 การเคลือ่ นที่ และอัตราเร็วของแสง
แสงเป็ นคลื่นตามขวางชนิดหนึ่ง แสงจะเดินทาง
เป็ นเส้นตรง ทิศทางการเคลื่อนที่ของแสงเราอาจใช้เส้น
ลูกศรแทนได้ เรี ยกลูกศรนี้ วา่ รังสี ของแสง ความเร็ วแสง
ในสุ ญญากาศจะมีค่าเท่ากับ 3 x 108 เมตรต่อวินาที แต่
แต่ในตัวกลางต่างชนิดกันความเร็ วแสงจะมีค่าไม่เท่ากัน
1. กาหนดความเร็ วแสงในสุ ญญากาศมีค่าเท่ากับ 3 x 108 เมตรต่อวินาที ดังนั้นในเวลา 1 ปี
แสงจะเคลื่อนที่ได้ระยะทางเท่าไร
1. 9.78 x 1015 เมตร 2. 9.46 x 1015 เมตร
3. 9.77 x1015 เมตร 4. 9.88 x 1015 เมตร

11.2 การสะท้ อนแสงของแสง


11.2.1 กฎการสะท้อนของแสง
รังสี ตกกระทบ เส้นปกติ รังสี สะท้อน
เมื่อแสงไปตกกระทบผิววัตถุใดๆ
ปกติแล้วแสงจะสะท้อนออกจากผิวของ มุมตก มุมสะท้อน
กระทบ
วัตถุน้ นั ได้ ปรากฏการณ์น้ ี เรี ยกว่าเป็ น 1 2
การสะท้อนได้ ของแสง
กฎการสะท้อนของแสง มีดังนี้
1. รังสี ตกกระทบ รังสี สะท้อน และเส้นปกติ ต้องอยูใ่ นระนาบเดียวกัน
2. มุมตกกระทบต้องมีขนาดเท่ากับมุมสะท้อน
ข้ อควรรู้ เพิม่ เติมเกีย่ วกับการสะท้ อนแสง แสงสะท้อน
1. ถ้ารังสี ตกกระทบตกตั้งฉากกับผิวของวัตถุ
แสงตกกระทบ
รังสี สะท้อนจะสะท้อนย้อนแนวเดิมออกมาโดยตลอด
1
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
2. หากรังสี สะท้อนอย่างน้อย 2 เส้น มาตัดกัน
จะเกิดภาพของวัตถุตน้ กาเนิดแสงขึ้น ณ.จุดตัดนั้น
ระยะจากใจกลางผิวตกกระทบถึงวัตถุ เรี ยก
ระยะวัตถุ (s )
ระยะจากใจกลางผิวตกกระทบถึงภาพ เรี ยก
ระยะภาพ ( s)
ระยะภาพ ( s)
ระยะวัตถุ (s)
อัตราส่ วนของระยะภาพต่อระยะวัตถุ หรื อขนาดภาพต่อขนาดวัตถุ ของการสะท้อน
หนึ่งๆ จะมีค่าคงที่ เรี ยกค่าคงที่น้ ีวา่ กาลังขยาย ( m )
นัน่ คือ กำลังขยำย (m) = ss = yy
เมื่อ s = ระยะภาพ s = ระยะวัตถุ
y = ขนาดภาพ y = ขนาดวัตถุ

2. กาหนดให้ภาพที่เกิดจากการสะท้อนครั้งหนึ่งมีความสู งเป็ น 10 เซนติเมตร ระยะภาพมีคา่


เท่ากับ 6 เซนติเมตร ระยะวัตถุมีค่าเท่ากับ 3 เซนติเมตร จงหาว่าขนาดของวัตถุตน้ กาเนิด
นี้มีความสู งกี่เซนติเมตร

โดยทัว่ ไปแล้วการศึกษาการสะท้อนแสง จะใช้


กระจกเป็ นอุปกรณ์ในการศึกษา กระจกโดยทัว่ ไปนั้นจะ
มี 2 ชนิด
1. กระจกราบ
2. กระจกโค้ง ( กระจกโค้งเว้า และกระจกโค้งนูน )

หลัง หน้า

กระจกโค้งเว้า กระจกโค้งนูน กระจกราบ


2
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
11.2.2 ภาพทีเ่ กิดจากกระจกเงาราบ
พิจารณาตามรู ป เมื่อยิงแสง
ออกจากวัตถุตน้ กาเนิดแสง ไปตก
กระทบกระจกดังรู ป รังสี ของแสง
สะท้อนเส้นที่ 1 และ 2 จะกระ
จายออกจากกัน ดังนั้นรังสี สะท้อน
นี้จะไม่สามารถตัดกันและไม่ทาให้
ที่ดา้ นหน้ากระจกได้ แต่ถา้ เรา
ต่อแนวรังสี สะท้อนทั้งสองย้อนไป
ด้านหลังกระจก จะพบว่าเส้นสมมติที่ต่อออกไปนี้จะไปตัดกันได้ที่จุดจุดหนึ่ง การตัดกันของ
เส้นสมมติน้ ี จะทาให้เกิดภาพหลังกระจก เรี ยกภาพที่เกิดนี้ วา่ ภาพเสมือน
สาหรับภาพที่เกิดจากกระจกราบ จะได้วา่
ระยะภาพ ( s ) = ระยะวัตถุ ( s )
และ ขนาดภาพ ( y ) = ขนาดวัตถุ ( y )
ดังนั้น กาลังขยายของกระจกราบ ( m ) = ss = yy = 1
3. ภาพที่เกิดจากกระจกราบจะเป็ นภาพ
1. ภาพจริ งอยูห่ น้ากระจก 2. ภาพจริ งอยูห่ ลังกระจก
3. ภาพเสมือนอยูห่ น้ากระจก 4. ภาพเสมือนอยูห่ ลังกระจก

4. ภาพที่เกิดจากกระจกราบจะมีลกั ษณะ
1. ขนาดวัตถุ ( y ) = ขนาดภาพ ( y ) กาลังขยายเท่ากับ 1
2. ขนาดวัตถุ ( y ) > ขนาดภาพ ( y ) กาลังขยายน้อยกว่า 1
3. ขนาดวัตถุ ( y ) < ขนาดภาพ ( y ) กาลังขยายมากกว่า 1
4. ขนาดวัตถุ ( y ) < ขนาดภาพ ( y ) กาลังขยายน้อยกว่า 1

3
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
11.2.3 ภาพทีเ่ กิดจากกระจกเงาทรงกลม
กระจกเงาทรงกลม หรื อกระจกโค้ง จะแบ่งได้เป็ น 2 ชนิ ดย่อย ได้แก่กระจกโค้ง
เว้า และกระจกโค้งนูน กระจกแต่ละ
แบบจะมีจุดต่างๆ ซึ่งต้องรู้จกั เป็ นพื้น
ฐานดังรู ป R R
จากรู ป จุด C เรี ยกจุดศูนย์กลางความโค้ง O C C O
จุด O เรี ยกจุดใจกลางบนผิวโค้ง
กระจกเว้า กระจกนูน
เส้นตรง CO เรี ยกเส้นแกนมุขสาคัญ
ระยะ CO เรี ยกรัศมีความโค้ง ( R )

ถ้าเราให้รังสี ของแสงขนานกับเส้นแกนมุขสาคัญ
มาตกกระทบกระจกเว้า จะพบว่ารังสี สะท้อนของรังสี
ขนานเหล่านี้ จะไปตัดกันที่จุดกึ่งกลางระหว่างจุด C กับ
จุด O เสมอ จุดตัดนี้ เรี ยกจุดโฟกัส ( F ) และระยะ
ห่างจากจุด O ถึงจุด F เรี ยกความยาวโฟกัส ( f )
แต่กระจกนูนจะเป็ นกระจกกระจายแสง กล่าวคือ
เมื่อรังสี ของแสงขนานกับเส้นแกนมุขสาคัญไปตกกระ
ทบกระจกนูน รังสี ของสะท้อนจะกระจายออกจากกัน
ดังรู ป แต่ถา้ ต่อแนวรังสี สะท้อนย้อนไปด้านหลังกระจก
จะพบว่าเส้นสมมุติเหล่านั้น จะไปตัดกันที่จุดกึ่งกลางระ
หว่างจุด C กับจุด O ด้านหลังกระจก จุดตัดนี้ เรี ยกจุดโฟกัส ( F ) และระยะห่างจากจุด O ถึง
จุด F เรี ยกความยาวโฟกัส ( f ) แต่เป็ นจุดโฟกัสและความยาวโฟกัสเสมือนเท่านั้น

ทีส่ าคัญ f = R2 เสมอ

5. ถ้าใช้กระจกเว้ารัศมีความโค้ง 100 เซนติเมตร รับแสงจากดาวดวงหนึ่ง จะได้ภาพห่าง


จากกระจกกี่เซนติเมตร
1. 200 2. 100 3. 50 4. 25

4
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
6. ถ้ากาหนดให้ R คือรัศมีความโค้งของกระจกเว้า ถ้าต้องการให้เกิดลาแสงขนานส่ งออกไป
จากกระจกเว้านี้ ควรจะวางหลอดไฟฟ้ าไว้ที่ตาแหน่งใดบนเส้นแกนมุขสาคัญของกระจกนี้
1. 2R 2. R 3. R2 4. R4

เกิดภาพโดยกระจกโค้งเว้ า
รู ปที่ 1 รู ปที่ 4

รู ปที่ 2 รู ปที่ 5

รู ปที่ 3

รู ปที่ 1 เมื่อวัตถุอยูไ่ กลกว่าจุด C จะเกิดภาพจริ งหัวกลับอยูด่ า้ นหน้าใกล้กระจกเว้า


รู ปที่ 2 และ 3 เมื่อขยับวัตถุเข้าใกล้กระจก ภาพที่เกิดจะถอยไกลกระจกออกไป และขนาดใหญ่ข้ ึน
รู ปที่ 4 เมื่อวัตถุอยูท่ ี่จุดโฟกัสของกระจก แสงสะท้อนแต่ละเส้นจะขนานกัน จะไม่เกิดภาพใดๆ
รู ปที่ 5 เมื่อวัตถุอยูใ่ กล้กว่าจุดโฟกัส แสงสะท้อนแต่ละเส้นกระจายออกจากกันไม่ตดั กัน แต่แนว
เส้นสมมุติถอยหลังไปจากแสงสะท้อนจะตัดกันได้ ทาให้เกิดภาพเสมือนหัวตั้งขนาดใหญ่กว่าวัตถุ

5
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
การเกิดภาพโดยกระจกนูน
ภาพที่เกิดจากกระจกนูน จะเป็ นภาพเสมือน
หัวตั้งขนาดภาพเล็กกว่าขนาดวัตถุ อยูห่ ลังกระจก
และระยะภาพสั้นกว่าระยะวัตถุเสมอ
ลักษณะของภาพจริงทีเ่ กิดจากการสะท้อน ลักษณะของภาพเสมือนทีเ่ กิดจากการสะท้อน
1. หัวกลับ 1. หัวตั้ง
2. เกิดหน้ากระจก 2. เกิดหลังกระจก
3. เอาฉากมารับได้ 3. เอาฉากมารับไม่ได้ แต่เห็นได้ดว้ ยตาเปล่า
ผ่านกระจก
7(แนว En) เมื่อเลื่ อนวัตถุ ซ่ ึ งอยูห่ น้ากระจกเว้าจากจุดซึ่ งไกลมากเข้ามาสู่ จุดโฟกัสของกระจก
เว้า ภาพที่เกิดขึ้นจะมีลกั ษณะดังข้อใดต่อไปนี้
1. เป็ นภาพจริ งหัวกลับขนาดใหญ่ข้ ึนเรื่ อยๆ แล้วหายไป
2. เป็ นภาพจริ งหัวกลับขนาดเล็กลงเรื่ อยๆ แล้วหายไป
3. เป็ นภาพเสมือนหัวตั้งขนาดใหญ่กว่าวัตถุ
4. เป็ นภาพเสมือนหัวตั้งขนาดเล็กกว่าวัตถุ

8. เมื่อวางวัตถุไว้หน้ากระจกเว้า ณ. จุดซึ่ งใกล้กระจกมากกว่าจุดโฟกัสของกระจกเว้านั้น ภาพ


ที่เกิดจะมีลกั ษณะดังข้อใดต่อไปนี้
1. เป็ นภาพจริ งหัวกลับขนาดเล็ก อยูห่ น้ากระจกระยะภาพสั้นกว่าระยะวัตถุ
2. เป็ นภาพจริ งหัวตั้งขนาดเล็ก อยูห่ น้ากระจกระยะภาพสั้นกว่าระยะวัตถุ
3. เป็ นภาพเสมือนหัวตั้ง อยูห่ ลังกระจกขนาดใหญ่กว่าวัตถุ
4. ไม่เกิดภาพใดๆ ทั้งสิ้ น

9. ภาพที่เกิดจากกระจกนูน จะมีลกั ษณะดังข้อใดต่อไปนี้


1. เป็ นภาพจริ งหัวกลับขนาดเล็ก อยูห่ น้ากระจกระยะภาพสั้นกว่าระยะวัตถุ
2. เป็ นภาพเสมือนหัวตั้ง อยูห่ ลังกระจกขนาดเล็กกว่าวัตถุ
3. เป็ นภาพเสมือนหัวตั้ง อยูห่ ลังกระจกขนาดใหญ่กว่าวัตถุ
4. ไม่เกิดภาพใดๆ ทั้งสิ้ น
6
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
10. กระจกในข้อใดต่อไปนี้ สร้างภาพจริ งได้
1. กระจก เว้า 2. กระจกราบ 3. กระจกนูน 4. ถูกทุกข้อ

11. กระจกในข้อใดต่อไปนี้ สร้างภาพเสมือนได้


1. กระจก เว้า 2. กระจกราบ 3. กระจกนูน 4. ถูกทุกข้อ

สู ตรทีใ่ ช้ คานวณการเกิดภาพโดยกระจกเว้า และกระจกนูน


1 = 1s + 1
f m = ss = yy เมื่อ f = ความยาวโฟกัส
s s = ระยะวัตถุ
m = s f f f = R2 s = ระยะภาพ
y = ขนาดวัตถุ
y = ขนาดภาพ
เงื่อนไขการใช้ สูตร
m = กาลังขยาย
1) หากเป็ นกระจกเว้า ต้องใช้ R , f มีค่าเป็ น +
R = รัศมีความโค้งกระจก
หากเป็ นกระจกนูน ต้องใช้ R , f มีค่าเป็ น –
2) หากภาพที่เกิดเป็ นภาพจริ ง ต้องใช้ s , y , m มีค่าเป็ น +
หากภาพที่เกิดเป็ นภาพเสมือน ต้องใช้ s , y , m มีค่าเป็ น –
12. วางวัตถุไว้หน้ากระจกเว้าอันมีความยาวโฟกัส 5 เซนติเมตร ปรากฏว่าเกิดภาพจริ งขึ้นที่
ระยะห่างจากกระจก 10 เซนติเมตร จงหาว่าวัตถุอยูห่ ่างกระจกกี่เซนติเมตร
1. 5 2. 10 3. 15 4. 20

7
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
13. วางวัตถุไว้หน้ากระจกนูนอันมีความยาวโฟกัส 10 เซนติเมตร ปรากฏว่าเกิดภาพขึ้นที่ระยะ
ห่างจากกระจก 5 เซนติเมตร จงหาว่าวัตถุอยูห่ ่างกระจกกี่เซนติเมตร
1. 5 2. 10 3. 15 4. 20

14. วางวัตถุหน้ากระจกเว้าเป็ นระยะ 10 เซนติเมตร เกิดภาพจริ งหน้ากระจกที่ระยะ 15 เซน-


ติเมตร กระจกมีรัศมีความโค้งมีค่ากี่เซนติเมตร
1. 8 2. 10 3. 12 4. 14

15. เมื่อวางวัตถุ หน้ากระจกโค้งห่ าง 30 เซนติ เมตร ปรากฏว่าได้ภาพจริ งขนาด 2 เท่าของ


วัตถุบนฉาก จงหาความยาวโฟกัสของกระจกและชนิดกระจก
1. –20 เซนติเมตร , กระจกนูน 2. 20 เซนติเมตร , กระจกเว้า
3. 100 เซนติเมตร , กระจกเว้า 4. –100 เซนติเมตร , กระจกนูน

8
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
16. กระจกเว้ามี ความยาวโฟกัส 40 เซนติ เมตร จะต้องวางวัตถุ บ นแกนของกระจกห่ างจาก
กระจกกี่เซนติเมตรจึงจะทาให้เกิดภาพหัวตั้งที่มีขนาดเป็ น 4 เท่าของขนาดวัตถุ
1. 60 2. 50 3. 40 4. 30

17. วัตถุสูง 5 เซนติเมตร อยูห่ ่ าง 10 เซนติเมตร จากกระจกเว้าซึ่ งมีรัศมีความโค้ง 50 เซน–


ติเมตร จงหาขนาดของภาพ
1. 253 เซนติเมตร 2. 25 เซนติเมตร
3. 203 เซนติเมตร 4. 12.5 เซนติเมตร

18. วางวัตถุสูง 5 เซนติเมตร ไว้หน้ากระจกโค้งเป็ นระยะ 5 เซนติเมตร ได้ภาพเสมือนขนาด


สู ง 3 เซนติเมตร จงหาความยาวโฟกัสและชนิดของกระจก
1. – 7.5 เซนติเมตร , กระจกนูน 2. – 8.5 เซนติเมตร , กระจกนูน
3. + 7.5 เซนติเมตร , กระจกเว้า 4. + 8.5 เซนติเมตร , กระจกเว้า

9
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
19. กระจกเว้า 2 บาน ความยาวโฟกัสแผ่นละ 10 เซนติเมตร วางหันหน้าเข้าหากันห่ างกัน
30 เซนติเมตร นาวัตถุวางห่างกระจกบานหนึ่ งระยะ 5 เซนติเมตร จงหาตาแหน่งและชนิ ด
ของภาพที่เกิดจากการสะท้อนแสงระหว่างกระจกทั้งสอง ให้สะท้อนจากบานใกล้วตั ถุก่อน
1. ภาพจริ งอยูห่ น้ากระจกบาน 2 = 40 / 3 เซนติเมตร
2. ภาพเสมือนอยูห่ น้ากระจกบาน 2 = 40 / 3 เซนติเมตร
3. ภาพจริ งอยูห่ น้ากระจกบาน 2 = 10 เซนติเมตร
4. ภาพเสมือนอยูห่ น้ากระจกบาน 2 = 10 เซนติเมตร

20. วัตถุสูง 5 เซนติเมตร วางห่างจากกระจกนูน 15 เซนติเมตร กระจกนูนมีรัศมีความโค้ง 20


เซนติ เมตร กระจกราบบานหนึ่ งวางหั น หน้ า เข้า หากระจกนู น ห่ า งจากกระจกนู น 20
เซนติ เมตร จงหาตาแหน่ งของภาพซึ่ งเกิ ดจากรั งสี ข องแสง ซึ่ งสะท้อนที่ ก ระจกนู น ก่ อน
จากนั้นสะท้อนที่กระจกราบ
1. หลังกระจกนูน 30 เซนติเมตร 2. หลังกระจกราบ 26 เซนติเมตร
3. หลังกระจกราบ 30 เซนติเมตร 4. หลังกระจกนูน 26 เซนติเมตร

10
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
21. วางหลอดไฟฟ้ าที่ โฟกัส ของกระจกเว้าดังรู ป ถ้านากระจกเว้าอีกบานหนึ่ งมารับแสงจาก
กระจกบานแรก ภาพหลอดไฟฟ้ านี้ จะเกิดขึ้น ณ.ตาแหน่งใดและเป็ นภาพจริ งหรื อภาพเสมือน
1. เกิดภาพจริ ง ที่จุดโฟกัสกระจกบานที่ 2
2. เกิดภาพจริ ง ที่จุดใจกลางกระจกบานที่ 2
วัตถุ
3. เกิดภาพเสมือน ที่จุดโฟกัสกระจกบานที่ 2 F
4. เกิดภาพเสมือน ที่จุดใจกลางกระจกบานที่ 2

11.3 การหักเหของแสง
11.3.1 กฎการหักเหของแสง
เมื่อแสงผ่านจากตัวกลางหนึ่งไปยังอีกตัวกลางหนึ่ งซึ่งมีความหนาแน่นไม่เท่ากัน จะทาให้
อัตราเร็ ว (v) แอมพลิจูด (A) และความยาวคลื่น () ของแสงเปลี่ยนไป แต่ความถี่ (f ) จะคงที่
ในกรณี ที่แสงตกกระทบพุ่งเข้าตกตั้งฉากกับ แนวรอยต่อตัวกลาง แสงที่ท ะลุ ลงไปใน
ตัวกลางที่ 2 จะมีแนวตั้งฉากกับแนวรอยต่อตัวกลางเช่นเดิม แต่หากแสงตกกระทบตกเอียงทา
มุมกับแนวรอยต่อตัวกลาง แสงที่ทะลุลงไปในตัวกลางที่ 2 จะไม่ทะลุลงไปในแนวเส้นตรงเดิม
แต่จะมีการเบี่ยงเบนไปจากแนวเดิมดังรู ป ปรากฏการณ์น้ี เรี ยกการหักเหของแสง

กรณี คลื่นตกตั้งฉากรอยต่อ เส้นปกติ กรณี คลื่นตกไม่ต้งั ฉากกับรอย


รังสี ตกกระทบ
ตัวกลาง คลื่นจะไม่เปลี่ยน ต่อตัวกลาง คลื่นจะเบี่ยงเบน
ทิศทางการเคลื่อนที่ ตัวกลางที่ 1 มุมตก แนวการเคลื่อนที่
V 1 , 1 , A 1 V1 , 1 , A1 1
รอยต่อตัวกลาง
V2 , 2 , A2 ตัวกลางที่ 2 V ,  , A 
2 2 2 มุมหักเห2
รังสี หกั เห
v,  , A เปลี่ยน แต่ f คงที่
กฎของสเนลล์
sin 1 v1 1 n2
sin 2 = v = 2
= n 21 = n1
2
เมื่อ 1 และ 2 คือมุมระหว่างรังสี แสงกับเส้นปกติในตัวกลางที่ 1 และ 2 ตามลาดับ
11
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
v1 และ v2 คือความเร็ วแสงในตัวกลางที่ 1 และ 2 ตามลาดับ
1 และ 2 คือความยาวคลื่นแสงในตัวกลางที่ 1 และ 2 ตามลาดับ
n1 คือดัชนีหกั เหตัวกลางที่ 1 เทียบกับอากาศ เรี ยกสั้นๆ ดัชนีหกั เหของตัวกลางที่ 1
n2 คือดัชนีหกั เหตัวกลางที่ 2 เทียบกับอากาศ เรี ยกสั้นๆ ดัชนีหกั เหของตัวกลางที่ 2
n21 คือดัชนีหกั เหของตัวกลางที่ 2 เทียบกับตัวกลางที่ 1

22. แสงชนิ ด หนึ่ งมี ค วามยาวคลื่ น 450 นาโนเมตร ความเร็ ว 3 x 108 เมตร/วิน าที ใน
อากาศ เมื่อยิงแสงทะลุลงไปในของเหลวชนิดหนึ่ง ปรากฏว่าความยาวคลื่นเปลี่ยนเป็ น 300
นาโนเมตร ความเร็ วแสงในของเหลวชนิดนี้ มีค่ากี่เมตร/วินาที
1. 2.0 x 108 เมตร/วินาที 2. 1.5 x 108 เมตร/วินาที
3. 7.0 x 108 เมตร/วินาที 4. 2.5 x 108 เมตร/วินาที

23. ดัชนีหกั เหของตัวกลาง A = 3 และ ดัชนีหกั เหของตัวกลาง B = 6 หากแสงเดินทางจาก


ตัวกลาง A ไปยังตัวกลาง B เมื่อแสงในตัวกลาง B มีความเร็ วเท่ากับ 1.2 x 108 เมตร/-
วินาที แล้วความเร็ วแสงในตัวกลาง A จะมีค่าเท่าใด
1. 2.4 x 108 เมตร/วินาที 2. 2.2 x 108 เมตร/วินาที
3. 2.0 x 108 เมตร/วินาที 4. 2.5 x 108 เมตร/วินาที

12
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
24(แนว En) แสงความยาวคลื่นในอากาศ 390 นาโนเมตร เมื่อเคลื่อนที่ผ า่ นไปในแก้วที่มีดชั นี
หักเห 1.30 จงหาความยาวคลื่นแสงในแก้วในหน่วยนาโนเมตร
( ให้ ดัชนีหักเหของแสงในอากาศ = 1 )
1. 100 2. 200 3. 300 4. 400

25. ดรรชนีหกั เหของแสงในตัวกลางหนึ่งมีค่า 1.5 ดังนั้นอัตราเร็ วของแสงในตัวกลางนั้นมีค่า


เท่าไร ( กาหนด ดัชนีหกั เหของแสงในอากาศ = 1 , อัตราเร็วแสงในอากาศ = 3 x 10 8 เมตร/วินาที )
1. 4.5 x 107 เมตร/วินาที 2. 1.5 x 108 เมตร/วินาที
3. 2.0 x 108 เมตร/วินาที 4. 2.5 x 108 เมตร/วินาที

26. แสงเคลื่อนที่ผา่ นของเหลวหนึ่งด้วยอัตราเร็ ว 2.25 x 108 เมตร/วินาที อยากทราบว่าของ


เหลวนี้มีค่าดัชนีหกั เหเท่าใด
1. 1.00 2. 1.25 3. 1.33 4. 1.86

13
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
27. แสงเคลื่อนจากของเหลวผ่านแท่งแก้วไปสู่ อากาศ
30o
ดังรู ป จงหาดรรชนีหกั เหของของเหลว ของเหลว
1. 1 2. 2
แก้ว 
3. 3 4. 4
อากาศ

28(แนว En) แสงสี หนึ่ งมีความยาวคลื่น 600 นาโนเมตร ในอากาศ และมีอตั ราเร็ ว 3 x 10 8
เมตร/วินาที ถ้าดัชนี หักเหของแก้วเทียบกับอากาศเป็ น 23 จงหาอัตราเร็ วแสงในแก้วและ
ความยาวคลื่นแสงในแก้ว
1. 2 x 108 เมตร/วินาที , 500 นาโนเมตร
2. 3 x 108 เมตร/วินาที , 400 นาโนเมตร
3. 3 x 108 เมตร/วินาที , 500 นาโนเมตร
4. 2 x 108 เมตร/วินาที , 400 นาโนเมตร

29. ถ้า ดรรชนีหกั เหของน้ า = 43


ดรรชนีหกั เหของแก้วเมื่อเทียบกับน้ า = 89
ดรรชนีหกั เหของพลาสติกเทียบกับแก้ว = 45
จงหาดรรชนีหกั เหของพลาสติก
1. 5/86 2. 8/15 3. 15/8 4. 86/5

14
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
11.3.2 การสะท้อนกลับหมดของแสง
อากาศ หักเห อากาศ 90o อากาศ
ตก c > c
พลาสติก พลาสติก พลาสติก

หากยิงแสงจากตัวกลางที่มีความหนาแน่ นมากไปสู่ ตวั กลางที่มีความหนาแน่ นน้อยกว่า


เช่ นยิงแสงจากพลาสติกไปสู่ อากาศ จะเกิ ดการหักเหซึ่ งมุมหักเหโตกว่ามุมตกกระทบเสมอดัง
รู ป สาหรับมุมตกกระทบที่ทาให้มุมหักเหเป็ นมุม 90o มุมตกกระทบนั้นเรี ยกมุมกฤติ (C)
ในกรณี ที่มุมตกกระทบมีขนาดโตกว่ามุมวิกฤติ จะทาให้แสงเกิดการสะท้อนกลับเข้ามา
ภายในตัวกลางแรกทั้งหมดไม่มีการหักเหออกไปยังตัวกลางที่ 2 เราเรี ยกปรากฏการณ์น้ี วา่ เป็ น
การสะท้อนกลับหมด
30. เมื่อแสงเดิ นทางจากตัวกลางที่ มีความหนาแน่ นมากสู่ ตวั กลางที่ มีความหนาแน่ นน้อยกว่า
จะเกิดการหักเหโดย
1. มุมตกกระทบมีขนาดใหญ่กว่ามุมหักเห
2. มุมตกหักเหมีขนาดใหญ่กว่ามุมตกกระทบ
3. มุมตกกระทบมีขนาดเท่ากับมุมหักเห
4. ไม่สามารถบอกได้วา่ มุมตกกระทบและมุมหักเห มุมใดจะใหญ่กว่ากัน

31. มุมวิกฤติ ( C ) คือข้อใดต่อไปนี้


1. มุมตกกระทบที่ทาให้มุมหักเหเป็ นมุม 90o
2. มุมหักเหซึ่งมีขนาดเป็ น 90o
3. มุมตกกระทบที่มีขนาดเป็ น 90o
4. มุมที่เบี่ยงเบนไปจากแนวเดิมในการหักเห

32. ปรากฏการณ์สะท้อนกลับหมดจะเกิดเมื่อ
1. มุมตกกระทบมีขนาดใหญ่กว่ามุมหักเห 2. มุมตกกระทบมีขนาดใหญ่กว่ามุมวิกฤติ
3. มุมตกกระทบมีขนาดเป็ น 90o 4. มุมตกหักเหมีขนาดเป็ น 90o

15
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
33(แนว En) มุม วิกฤติ C ของแสงที่ เดิ นทางจากแก้วซึ่ งมี ค่าดรรชนี หักเห 1.4 ไปยังของ
เหลวซึ่งมีค่าดรรชนีหกั เห 1.2 มีค่าเท่ากับเท่าใด
1. sin–1(0.65) 2. sin–1(0.76) 3. sin–1(0.86) 4. sin–1(0.92)

34. ผลึกใสชนิดหนึ่งมีค่าดัชนีหกั เห 2 และของเหลวชนิดหนึ่งมีค่าดัชนีหกั เห 43 จงหามุม


วิกฤตระหว่างผลึกใสและของเหลวนี้
1. sin–1 25 2. sin–1 23 3. sin–1 85 4. sin–1 43

35(แนว En) มุมวิกฤติสาหรับสารโปร่ งใสชนิ ดหนึ่ งในอากาศมีค่าเท่ากับ 30 องศา ความเร็ ว


แสงในสารโปร่ งใสนี้มีค่าเท่าใด ( ให้ ความเร็ วแสงในอากาศ = 3.0 x 108 เมตร/วินาที )
1. 1.5 x 108 เมตร/วินาที 2. 2.0 x 108 เมตร/วินาที
3. 2.7 x 108 เมตร/วินาที 4. 3.0 x 108 เมตร/วินาที

16
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
36. มุมวิกฤติสาหรับสารโปร่ งใสชนิดหนึ่งในอากาศมีค่าเท่ากับ 30 องศา ดัชนีหกั เหของแสง
ในสารโปร่ งใสนี้มีค่าเท่าใด ( ให้ดชั นีหกั เหแสงในอากาศ = 1 )
1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

37(แนว En) ในการส่ งพลังงานในรู ปคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า โดยใช้แสงเป็ นคลื่นพาหะไปตามเส้น


ใยนาแสง ควรมีเงื่อนไขของมุม  อย่างไร
n
1. 0o    sin –1  n1  n2
2 n1
n 
2. 0o    sin –1  n2 
1
n 1
3. sin –1 n     90o เส้นใยนาแสง
2
n
4. sin –1 n2     90o
1

17
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
11.3.3 ความลึกจริง ความลึกปรากฏ
พิจารณาตัวอย่างการมองวัตถุที่จม
อยูใ่ ต้น้ า เราจะเห็นวัตถุน้ นั อยูต่ ้ืนกว่า
ความเป็ นจริ ง ทั้งนี้ เพราะแสงที่สะท้อน
ออกมาจากวัตถุน้ นั เมื่อเคลื่อนที่ออก
จากน้ ามาสู่ อากาศแล้วเข้าตาเรานั้น แสง
จะเกิดการหักเห แต่เนื่ องจากสายตาของ
คนเราจะมองตรงเสมอ เราจึงมองเห็นวัตถุอยูต่ ้ืนกว่าความเป็ นจริ งดังแสดงในรู ป
ในกรณี ที่เรามองวัตถุลงไปตรงๆ
ตา
( มองตั้งฉากกับผิวหักเห ) เราสามารถ
คานวณหาความลึกปรากฏได้จาก
ลึกปรากฏ
ลึกจริ ง = nn1 ภาพ
ลึกปรากฏ 2
ลึกจริ ง
เมื่อ n1 คือดัชนีหกั เหของตัวกลางที่ 1 ที่แสงอยู่ วัตถุ
n2 คือดัชนีหกั เหของตัวกลางที่ 2 ที่แสงไป
กรณี ที่เรามองวัตถุเอียงทามุมกับผิวหักเห เราสามารถคานวณหาความลึกปรากฏได้จาก
ลึกจริ ง = n1 cos 1
ลึกปรากฏ n2 cos 2
เมื่อ n1 คือดัชนีหกั เหของตัวกลางที่ 1 ที่แสงอยู่
n2 คือดัชนีหกั เหของตัวกลางที่ 2 ที่แสงไป
1 คือมุมตกกระทบในตัวกลางที่ 1
2 คือมุมหักเหในตัวกลางที่ 2

38(แนว มช) ปลาอยูใ่ นน้ ามีความลึกจริ งเป็ น 4 เมตร เราจะมองเห็นภาพปลานั้นอยูล่ ึกกี่เมตร


( กาหนดดัชนีหกั เหของน้ า = 4 / 3 )
1. 4 2. 3 3. 2.67 4. 2

18
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
39. นายเอนกยืนอยูบ่ นสะพานเห็นปลาตัวหนึ่ งอยูล่ ึก 2 เมตร ถามว่าตัวจริ งของปลาอยูล่ ึกกี่เมตร
( กาหนด ดัชนีหกั เหของน้ า = 4 / 3 )
1. 1.33 2. 1.50 3. 2.50 4. 2.67

40(แนว มช) นกตัวหนึ่ งบินอยูใ่ นอากาศสู งจากผิวน้ า 3 เมตร คนที่ดาอยู่ใต้น้ าและมองดูนก


ตัวนี้ ในแนวเส้นปกติจะมองเห็ นนกไกลหรื อใกล้กว่าความจริ งเท่าใด ในหน่ วยของเมตร
กาหนด n ของน้ า = 43
1. ใกล้เข้ามามากกว่าความจริ ง 1.00 2. ไกลออกไปมากกว่าความจริ ง 1.00
3. ใกล้เข้ามากกว่าความจริ ง 2.25 4. ไกลออกไปมากกว่าความจริ ง 2.25

41. แท่งแก้วสี่ เหลี่ยมหนา 6 เซนติเมตร มีคา่ ดัชนีหกั เห 1.5 วางทับกระดาษ อยากทราบว่า ถ้า
มองผ่านแท่งแก้วนี้ ลงไปตรงๆ จะเห็นตัวอักษรบนกระดาษลอยสู งจากกระดาษขึ้ นมากี่เซน-
ติเมตร
1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

19
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
42(แนว มช) มองผ่านกล้องจุลทรรศน์เห็ นจุดเล็ก ๆ บนโต๊ะชัดเจน แต่เมื่อนาแผ่นวัตถุ ใสหนา
1.00 เซนติเมตร มาวางทับจุดดังกล่าว ต้องปรับเลื่ อนกล้องให้ห่างโต๊ะจากตาแหน่ งเดิ ม
ไปเป็ นระยะ 0.40 เซนติเมตร โดยที่ โฟกัสของกล้องจุลทรรศน์ยงั คงเดิม ดัชนี หักเหของ
แผ่นวัตถุน้ ีเป็ นเท่าใด
1. 1.24 2. 1.40 3. 1.66 4. 2.50

43(แนว En) แท่งแก้วรู ปลูกบาศก์ยาวด้านละ 15 เซนติเมตร มีฟองอากาศเล็กๆ อยูภ่ ายใน เมื่อ


มองทางด้านหนึ่ งจะเห็นฟองอากาศอยูท่ ี่ระยะ 6 เซนติเมตร แต่เมื่อมองทางด้านตรงกัน
ข้ามจะเห็นอยูท่ ี่ระยะ 4 เซนติเมตร จริ งๆ ฟองอากาศอยูท่ ี่ความลึกกี่เซนติเมตร จากผิวแรก
ที่มอง
1. 4 2. 6 3. 9 4. 10

20
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
11.4 ปรากฏการณ์ เกีย่ วกับแสง
11.4.1 การกระจายของแสง
พิจารณาส่ งแสงอาทิตย์ผา่ นแท่งแก้ว
สามเหลี่ยม(ปริ ซึม) แสงขาวของดวงอาทิตย์
นั้นมีองค์ประกอบด้วยแสงสี ต่างๆ 7 สี คือ
ม่วง คราม น้ าเงิน เขียว เหลือง แสด และ
แดง เมื่อผ่านปริ ซึมแต่ละสี จะเกิดการหักเห
ออกมาได้ไม่เท่ากัน
สี แดง มีความยาวคลืน่ มากทีส่ ุ ดจะเกิดการหักเหน้ อยทีส่ ุ ด
สี ม่วง มีความยาวคลืน่ น้ อยทีส่ ุ ดจะเกิดการหักเหมากทีส่ ุ ด
ส่ วนสี อื่นๆ ซึ่ งมีความยาวคลื่นแตกต่างกัน ก็จะเกิดการหักเหได้ไม่เท่ากันด้วย ลักษณะนี้
จะทาให้แสงแต่ละสี ที่หักเหออกมาเกิ ดการแยกออกจากกันดังรู ป เรี ยกว่าเกิ ดการกระจายของ
แสง
44. ทาไมเมื่อให้แสงสี ขาวเช่นแสงอาทิตย์ผา่ นปริ ซึมแสงสี ขาวนั้นถูกกระจายออกเป็ นสี ต่าง ๆ กัน
1. เพราะแสงเดินเป็ นแสงตรง
2. เพราะสี ภายในวัตถุที่ใช้ทาปริ ซึม
3. เพราะแสงถูกปริ ซึมดูดคลื่นและปล่อยออกมาบางส่ วน
4. เพราะแสงแต่ละสี หกั เหไม่เท่ากัน

45. เมื่อแสงสี ขาวผ่านปริ ซึมแสงสี ใดมีการเบี่ยงเบนได้มากที่สุด


1. สี น้ าเงิน 2. สี เหลือง 3. สี ม่วง 4. สี แดง

46. มุมเบี่ยงเบนของแสงสี ใดมีค่าน้อยที่สุด


1. สี แดง 2. สี ม่วง 3. สี น้ าเงิน 4. สี เขียว

47. ปรากฏการณ์ใดไม่สามารถเกิดขึ้นได้กบั แสงสี เดี่ยว


1. การหักเห 2. การเลี้ยวเบน 3. การแทรกสอด 4. การกระจาย

21
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
11.4.2 รุ้งกินนา้
หยดน้ า

รุ ้งทุติยภูมิ
แดง
ม่วง
แสงจากดวงอาทิตย์
แดง
ม่วง
รุ ้งปฐมภูมิ
ม่วง
แดง
ม่วง
แดง

รุ ้ งกิ นน้ ามักจะเกิ ดหลังฝนตกและเกิ ดในทิ ศซึ่ งตรงกันข้ามกับพระอาทิ ตย์ ทั้งนี้ เพราะ
หลังฝนตกในอากาศจะมีละอองน้ าอยูม่ าก เมื่อแสงตกกระทบเข้าไปในละอองน้ านี้ จะเกิดการ
สะท้อนกลับหมด และหักเหออกมาทาให้สีท้ งั 7 สี ของแสงขาวเกิดการกระจายออกจากกัน รุ ้ง
กินน้ ามี 2 ชนิด ซึ่ งปกติแล้วจะเกิดขึ้นพร้อมกัน ได้แก่
1) รุ ้งทุติยภูมิ เป็ นรุ ้งกิ นน้ าซึ่ งแสงจะเกิ ดการสะท้อนกลับหมดภายในละอองน้ า 2 ครั้ง
รุ ้งแบบนี้ จะเกิ ดในระดับความสู งมากกว่ารุ ้งชนิ ดต่อไป แสงที่หกั เหออกมาจากละอองน้ าแต่ละ
ละอองนั้นแสงสี แดงจะหักเหอยูด่ า้ นบนสี ม่วง แต่สีที่มาเข้าตาเรากลับเป็ นสี ม่วงอยูบ่ นสี แดง
2) รุ ้งปฐมภูมิ เป็ นรุ ้งกินน้ าซึ่ งแสงจะเกิดการสะท้อนกลับหมดภายในละอองน้ า 1 ครั้ง
รุ ้งแบบนี้ จะเกิ ดในระดับต่ ากว่ารุ ้ งทุ ติยภูมิ แสงที่ หักเหออกมาจากละอองน้ าแต่ละละอองนั้น
แสงสี ม่วงจะหักเหอยูด่ า้ นบนสี แดง แต่สีที่มาเข้าตาเรากลับเป็ นสี แดงอยูบ่ นสี ม่วง

22
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์

สี ม่วง สี แดง สี แดง สี ม่วง รุ ้งปฐมภูมิ รุ ้งทุติยภูมิ


11.4.3 มิราจ

ในบางครั้ งคนซึ่ งเดิ นทางในทะเลทราย จะมองเห็ นต้นไม้เป็ นสองต้นพร้ อมกัน โดย


ต้นไม้ตน้ หนึ่ งคือต้นไม้ปกติ แต่อีกต้นหนึ่ งจะเป็ นภาพหัวกลับยอดชี้ ลงใต้พ้ืนทราย ปรากฏ-
การณ์น้ ี เรี ยกมิราจ ปรากฏการณ์น้ ี เกิดขึ้นเนื่องจากพื้นทรายถูกแดดจัดเผา ทาให้อากาศบริ เวณ
ใกล้พ้ื น ทรายมี อุณ หภูมิ สู ง และมี ค วามหนาแน่ น ต่ า แต่ จุดซึ่ งสู งกว่าพื้ น ทรายขึ้ น มาเล็ ก น้อ ย
อุณหภูมิจะลดลงอย่างมาก ทาให้ความหนาแน่นอากาศบริ เวณนี้ สูงขึ้น จึงเกิดความแตกต่างของ
ความหนาแน่นของชั้นอากาศบริ เวณนั้น
และเมื่อแสงอาทิตย์สะท้อนออกจากยอดไม้ แสงบางส่ วนจะพุง่ ตรงเข้าตา ทาให้เห็นยอด
ไม้ช้ ี ข้ ึนบนอากาศเป็ นปกติ แต่แสงบางส่ วนจะพุ่งลงข้างล่างแล้วเกิ ดการหักเหตามชั้นอากาศ
ซึ่งมีความหนาแน่นต่างกันอยูแ่ ล้วย้อนขึ้นมาเข้าตา และเมื่อสายตามองตรงลงไป จะทาให้เห็น
ยอดไม้ช้ ีลงไปใต้พ้ืนทราย
23
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
นอกจากตัวอย่างนี้ แล้ว ยังมีปรากฏการณ์ มิราจให้เห็นได้อีก เช่ นการเห็นน้ าปรากฏบน
พื้นผิวถนนที่ร้อนทั้งๆ ที่ถนนแห้ง หรื อเห็นเรื อลอยคว่าอยูใ่ นอากาศเหนือท้องทะเลเป็ นต้น
ฝึ กทา จงวาดภาพเพื่ออธิ บายปรากฏการณ์มิราจที่เกิดกับเรื อลอยลาอยูก่ ลางท้องทะเล

11.5 เลนส์ บาง


เลนส์โดยทัว่ ไป จะมี 2 ชนิดย่อย ได้แก่เลนส์เว้า และเลนส์นูน
เลนส์แต่ละแบบจะมีจุดต่างๆ ซึ่งต้องรู้จกั R
เป็ นพื้นฐานดังรู ป
C O C/
จุด C , C เรี ยกจุดศูนย์กลางความโค้งของเลนส์
จุด O เรี ยกจุดกลางเลนส์ R
เส้นตรง OC เรี ยกแกนมุขสาคัญ C O C/
ระยะจาก O ถึง C เรี ยกรัศมีความโค้ง (R)
เลนส์นูนจะเป็ นเลนส์รวมแสง กล่าวคือถ้า
เราให้แสงซึ่งมีรังสี ขนานกับเส้นแกนมุขสาคัญมาตก
กระทบผ่านเลนส์นูน แสงหักเหของแสงขนานเหล่า
นี้จะไปตัดกันที่จุดกึ่งกลางระหว่างจุด C กับจุด O
ฝั่งตรงข้ามเสมอ จุดที่แสงหักเหตัดนี้ เรี ยกจุดโฟกัส (F)
และระยะห่างจากจุด O ถึงจุด F เรี ยกว่าความยาวโฟกัส (f )
24
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
เลนส์เว้าจะเป็ นเลนส์กระจายแสง กล่าวคือ
เราให้แสงซึ่ งมีรังสี ขนานกับเส้นแกนมุขสาคัญมาตก
กระทบผ่านเลนส์เว้า แสงหักเหจะกระจายออกจาก
กันไม่สามารถมาตัดกันได้ แต่ถา้ เราลากเส้นสมมุติ
ย้อนถอยออกมาจากแสงหักเหแต่ละเส้น เส้นสมมุติ
เหล่านี้จะมาตัดกันที่จุดกึ่งกลางจุด O กับจุด C ด้านหน้าเลนส์จุดตัดนี้ เรี ยกจุดโฟกัส (F) เช่นกัน
และระยะห่างจากจุด O ถึงจุด F เรี ยกว่าความยาวโฟกัส (f ) แต่เป็ นจุดโฟกัสและความยาว
โฟกัสเสมือนเท่านั้น
ทีส่ าคัญ f = R2 เสมอ
48. ลาแสงสี เดียวส่ องผ่านเลนส์ 2 อัน และรังสี เดิน
ทางดังรู ป เลนส์ I และเลนส์ II เป็ นเลนส์อะไร
1. เป็ นเลนส์นูนทั้งคู่
2. I เป็ นเลนส์นูน II เป็ นเลนส์เว้า
3. I เป็ นเลนส์เว้า II เป็ นเลนส์นูน I II

4. เป็ นเลนส์เว้าทั้งคู่

การเกิดภาพโดยเลนส์ นูนบาง รู ปที่ 4


รู ปที่ 1

รู ปที่ 2

รู ปที่ 3
รู ปที่ 5

25
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
รู ปที่ 1 เมื่อวัตถุอยูไ่ กลกว่าจุด C จะเกิดภาพจริ งหัวกลับอยูด่ า้ นหลังใกล้เลนส์นูน
รู ปที่ 2 และ 3 เมื่อขยับวัตถุเข้าใกล้เลนส์ ภาพที่เกิดจะถอยไกลกระจกออกไป และขนาดใหญ่ข้ ึน
รู ปที่ 4 เมื่อวัตถุอยูท่ ี่จุดโฟกัสของเลนส์ แสงหักเหแต่ละเส้นจะขนานกัน จะไม่เกิดภาพใดๆ
รู ปที่ 5 เมื่อวัตถุอยูใ่ กล้กว่าจุดโฟกัส แสงหักเหแต่ละเส้นกระจายออกจากกันไม่ตดั กัน แต่แนว
เส้นสมมุติถอยหลังไปจากแสงหักเหจะตัดกันได้ ทาให้เกิดภาพเสมือนหัวตั้งขนาดใหญ่กว่าวัตถุ
การเกิดภาพโดยเลนส์ เว้ าบาง
ภาพที่เกิดจากเลนส์เว้า จะเป็ นภาพเสมือน
หัวตั้งขนาดภาพเล็กกว่าขนาดวัตถุ อยูห่ น้าเลนส์
ระยะภาพสั้นกว่าระยะวัตถุเสมอ
ลักษณะของภาพจริงที่เกิดจากเลนส์ ลักษณะของภาพเสมือนที่เกิดจากเลนส์
1. หัวกลับ 1. หัวตั้ง
2. เกิดหลังเลนส์ 2. เกิดหน้าเลนส์
3. เอาฉากมาตั้งรับได้ 3. เอาฉากมารับไม่ได้ แต่เห็นได้ดว้ ยตาเปล่า

49(แนว En) เมื่อเลื่อนวัตถุซ่ ึ งอยูห่ น้าเลนส์ นูนจากจุดซึ่ งไกลมากเข้ามาสู่ จุดโฟกัสของเลนส์ นูน


ภาพที่เกิดขึ้นจะมีลกั ษณะดังข้อใดต่อไปนี้
1. เป็ นภาพจริ งหัวกลับขนาดใหญ่ข้ ึนเรื่ อยๆ แล้วหายไป
2. เป็ นภาพจริ งหัวกลับขนาดเล็กลงเรื่ อยๆ แล้วหายไป
3. เป็ นภาพเสมือนหัวตั้งขนาดใหญ่กว่าวัตถุ
4. เป็ นภาพเสมือนหัวตั้งขนาดเล็กกว่าวัตถุ

50. เมื่อวัตถุอยูห่ น้าเลนส์นูนใกล้กว่าจุดโฟกัส ภาพที่เกิดขึ้นจะมีลกั ษณะดังข้อใดต่อไปนี้


1. เป็ นภาพจริ งหัวกลับขนาดใหญ่กว่าวัตถุ 2. เป็ นภาพจริ งหัวกลับขนาดเล็กกว่าวัตถุ
3. เป็ นภาพเสมือนหัวตั้งขนาดใหญ่กว่าวัตถุ 4. เป็ นภาพเสมือนหัวตั้งขนาดเล็กกว่าวัตถุ
26
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
51. ภาพที่เกิดจากเลนส์เว้า จะมีลกั ษณะดังข้อใดต่อไปนี้
1. เป็ นภาพจริ งหัวกลับขนาดเล็ก อยูห่ ลังเลนส์
2. เป็ นภาพจริ งหัวกลับขนาดใหญ่ อยูห่ น้าเลนส์
3. เป็ นภาพเสมือนหัวตั้งขนาดใหญ่ อยูห่ ลังเลนส์
4. เป็ นภาพเสมือนหัวตั้งขนาดเล็ก อยูห่ น้าเลนส์

52(แนว มช) ถ้าให้ O เป็ นจุดกึ่ งกลางความหนาของเลนส์ C เป็ นจุดศูนย์กลางของผิวโค้ง


F เป็ นจุ ดโฟกัส U เป็ นวัตถุ และ I เป็ นภาพ อยากทราบว่าการเกิ ดภาพจากเลนส์
ในรู ปข้างล่างนี้ รู ปไหนถูก
U U
I 2. I
1.

U U
3. 4.
I I

สู ตรทีใ่ ช้ คานวณการเกิดภาพโดยเลนส์ เว้ า และเลนส์ นูน


1 = 1s + 1
f m = ss = yy เมื่อ f = ความยาวโฟกัส
s s = ระยะวัตถุ
m = s f f f = R2 s = ระยะภาพ
y = ขนาดวัตถุ
y = ขนาดภาพ
เงื่อนไขการใช้ สูตร
m = กาลังขยาย
1) หากเป็ นเลนส์นูน ต้องใช้ f มีค่าเป็ น +
R = รัศมีความโค้ง
หากเป็ นเลนส์เว้า ต้องใช้ f มีค่าเป็ น –
2) หากภาพที่เกิดเป็ นภาพจริ ง ต้องใช้ s , y , m มีค่าเป็ น +
หากภาพที่เกิดเป็ นภาพเสมือน ต้องใช้ s , y , m มีค่าเป็ น –
27
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
53. วางวัตถุ ไว้หน้าเลนส์ นูนอันมี ความยาวโฟกัส 5 เซนติ เมตร ปรากฏว่าเกิ ดภาพจริ งขึ้ นที่
ระยะห่างจากเลนส์ 10 เซนติเมตร จงหาว่าวัตถุอยูห่ ่างเลนส์กี่เซนติเมตร
1. 5 2. 10 3. 15 4. 20

54. วางวัตถุไว้หน้าเลนส์ เว้าอันมีความยาวโฟกัส 10 เซนติเมตร ปรากฏว่าเกิดภาพขึ้นที่ระยะ


ห่างจากเลนส์ 5 เซนติเมตร จงหาว่าวัตถุอยูห่ ่างเลนส์เว้ากี่เซนติเมตร
1. 5 2. 10 3. 15 4. 20

55. วางวัตถุ ห่ า งเลนส์ นู น 12 เซนติ เมตร ทางยาวโฟกัส เลนส์ นู น 18 เซนติ เมตร จงหา
ตาแหน่งและชนิดของภาพที่เกิด
1. เกิดภาพเสมือนห่างเลนส์ 36 เซนติเมตร
2. เกิดภาพเสมือนห่างเลนส์ 18 เซนติเมตร
3. เกิดภาพจริ งห่างเลนส์ 36 เซนติเมตร
4. เกิดภาพจริ งห่างเลนส์ 18 เซนติเมตร

28
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
56. วางวัตถุห่างจากเลนส์ A เป็ นระยะทาง 15 เซนติเมตร ได้ภาพเสมือนขนาดใหญ่กว่าวัตถุ
4 เท่า เลนส์ A ควรจะเป็ นเลนส์ชนิดใด มีความยาวโฟกัสเท่าไร
1. เลนส์นูน f = 20 เซนติเมตร 2. เลนส์นูน f = 10 เซนติเมตร
3. เลนส์เว้า f = 20 เซนติเมตร 4. เลนส์เว้า f = 10 เซนติเมตร

57. เลนส์ อนั หนึ่ งให้ภาพเสมือนขนาด 3/4 เท่ าของวัตถุ ในขณะที่ วตั ถุ อยู่หน้าเลนส์ 10
เซนติเมตร จงหาว่าเลนส์น้ ีเป็ นเลนส์ชนิดใด และมีความยาวโฟกัสเท่าไร
1. เลนส์นูน f = 20 เซนติเมตร 2. เลนส์นูน f = 30 เซนติเมตร
3. เลนส์เว้า f = 20 เซนติเมตร 4. เลนส์เว้า f = 30 เซนติเมตร

58(แนว มช) วัตถุสูง 9.0 เซนติเมตร อยูห่ ่ างจากเลนส์ เว้า 27.0 เซนติเมตร ถ้าเลนส์ มีความ
ยาวโฟกัส 18.0 เซนติเมตร ขนาดของภาพมีความสู งกี่เซนติเมตร

29
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
59. จากรู ป จงหาตาแหน่งภาพ ถ้าความ
ยาวโฟกัสเลนส์นูน = 30 เซนติเมตร 20 cm 40 cm
ของเลนส์เว้า 50 เซนติเมตร
1. 33 เซนติเมตร ทางซ้ายเลนส์เว้า
2. 20 เซนติเมตร ทางซ้ายเลนส์เว้า
3. 33 เซนติเมตร ทางซ้ายเลนส์นูน
4. 20 เซนติเมตร ทางซ้ายเลนส์นูน

60. เลนส์ นูนและเลนส์ เว้าความยาวโฟกัสเท่ากัน 20 เซนติเมตร วางอยูใ่ นแนวแกนมุขสาคัญ


เดียวกันและห่างกัน 30 เซนติเมตร วัตถุวางอยูห่ น้าเลนส์นูนห่าง 40 เซนติเมตร จงหาชนิด
ตาแหน่งของภาพที่เกิดขึ้นหลังจากแสงหักเหผ่านเลนส์ท้ งั สองแล้ว
1. ภาพเสมือน หน้าเลนส์เว้า 30 เซนติเมตร
2. ภาพเสมือน หลังเลนส์เว้า 20 เซนติเมตร
3. ภาพจริ ง หน้าเลนส์เว้า 30 เซนติเมตร
4. ภาพจริ ง หลังเลนส์เว้า 20 เซนติเมตร

30
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
61(แนว มช) เลนส์นูนความยาวโฟกัส 30 เซนติเมตร อยูห่ ่ างจากกระจกเว้ารัศมีความโค้ง 20
เซนติเมตร เป็ นระยะทาง 80 เซนติเมตร ถ้าวางวัตถุหน้าเลนส์นูนเป็ นระยะทาง 60 เซนติ-
เมตร จะเกิดภาพจริ งหรื อภาพเสมือน ณ ตาแหน่ง ที่ห่างจากกระจกเว้าเท่าใด
1. ภาพจริ ง 10 เซนติเมตร 2. ภาพเสมือน 10 เซนติเมตร
3. ภาพจริ ง 20 เซนติเมตร 4. ภาพเสมือน 20 เซนติเมตร

62(แนว มช) เลนส์นูนทางยาวโฟกัส 0.5 เมตร


วัตถุ
วางห่างจากกระจกเงาราบ 2 เมตร มีวตั ถุ
วาง หน้าเลนส์นูนโดยวางห่างจากเลนส์
นูน 1 เมตร จงหาว่าเมื่อมองผ่านเลนส์
นูนจะเห็นภาพของวัตถุอยูห่ ่างจากเลนส์นูน 1 เมตร 2 เมตร
กี่เซนติเมตร
1. 100 2. 200 3. 300 4. 400

31
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
11.6 ตาและการมองเห็น
สายตาของคนปกติ น้ ั นจะมองเห็ น วัต ถุ ไ ด้ ชั ด เจนเมื่ อ วัต ถุ อ ยู่ ใ นระยะใกล้ สุ ด 25
เซนติเมตร และไกลสุ ดที่ระยะอนันต์ ( Infinite ) จากตา
สาหรับคนสายตายาวหากวัตถุอยูท่ ี่ระยะ 25 เซนติเมตร จะเห็นไม่ชดั แต่อาจมองเห็นชัด
ที่ระยะไกลกว่านี้ ดังนั้นต้องใช้แว่นตาเลนส์
นูน เพื่อนาวัตถุซ่ ึ งอยูท่ ี่ระยะ 25 เซนติเมตร
นั้น ไปสร้างเป็ นภาพเสมือนตรงจุดใกล้ที่
สุ ดที่เขามองเห็นได้ชดั

สาหรับคนสายตาสั้น หากวัตถุอยูไ่ กลๆ


จะเห็นได้ไม่ชดั แต่หากวัตถุอยูใ่ กล้ๆ อาจ
เห็นชัด ดังนั้นต้องใช้แว่นตาเลนส์เว้า เพื่อ
นาวัตถุที่อยูไ่ กลๆ นั้น มาสร้างเป็ นภาพ
เสมือนตรงจุดไกลสุ ดที่เขา ยังสามารถเห็น
ได้ชดั เจน ดังแสดงในรู ป

63(แนว มช) ชายผูห้ นึ่ งสามารถอ่านหนังสื อได้ชัดเมื่ อหนังสื ออยู่ห่างจากเขาไม่น้อยกว่า 90


เซนติเมตร ดังนั้นเขาจะต้องสวมแว่นตาความยาวโฟกัสกี่เซนติเมตร
1. 15 2. 20 3. 35 4. 40

64. ชายสายตาสั้นผูห้ นึ่งสามารถมองเห็นได้ชดั เจนในระยะไกลสุ ดเพียง 5 เมตร เท่านั้น


ดังนั้นเขาจะต้องสวมแว่นตาความยาวโฟกัสกี่เซนติเมตร
1. 150 2. 200 3. 400 4. 500

32
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
11.7 ทัศนอุปกรณ์
11.7.1 แว่นขยาย
ภาพเสมือน
แว่นขยายทาจากเลนส์นูนโดยอาศัยหลักการว่า เมื่อ
วางวัตถุไว้ใกล้กว่าจุดโฟกัสของเลนส์นูน จะทาให้เกิดภาพ
เสมือนหัวตั้งขนาดใหญ่กว่าวัตถุ ซึ่ งสามารถมองเห็นได้
วัตถุ
ด้วยตาเปล่าย้อนผ่านเลนส์เข้าไป
65. กล้องส่ องพระอันหนึ่งมีความยาวโฟกัส 5 เซนติเมตร ต้องการส่ องดูพระสมเด็จให้เห็น
ภาพชัดที่สุดต้องวางพระห่างจากเลนส์ของกล้องส่ องเท่าไร และจะเห็นภาพมีกาลังขยายกี่เท่า
1. 4.05 เซนติเมตร , 7 เท่า 2. 5.23 เซนติเมตร , 6 เท่า
3. 4.17 เซนติเมตร , 6 เท่า 4. 4.09 เซนติเมตร , 7 เท่า

11.7.2 เครื่องฉายภาพนิ่ง
เครื่ องฉายภาพนิ่งมีองค์ประกอบพื้นฐานดังแสดงในรู ป

เมื่อแสงจากหลอดไฟผ่านเลนส์ รวมแสงแล้วผ่านสไลด์ จากนั้นแสงจะพุ่งผ่านฉายภาพ


แล้วเกิดการหักเหไปเกิ ดเป็ นภาพจริ งหัวกลับขึ้นที่ฉากรับภาพ และเนื่ องจากภาพที่เกิดบนฉาก
เป็ นภาพหัวกลับ ดัง นั้น เวลาใส่ ฟิ ล์ม จึ งต้องกลับ หัวฟิ ล์ม ลงเพื่ อให้ ได้ภาพหัวตั้งขึ้ น บนฉาก
นัน่ เอง
66. ขนาดของฟิ ล์ม 5 มิลลิเมตร x 4 มิลลิเมตร ใช้กบั เครื่ องฉายสไลด์แล้วทาให้เกิดภาพชัด
มีขนาด 80 เซนติเมตร x 64 เซนติเมตร ที่จอซึ่งอยูห่ ่างจากเลนส์ของเครื่ องฉายเป็ นระยะ 5
เมตร กาลังขยายของเลนส์ในเครื่ องฉายสไลด์มีค่าเท่าใด
1. 5 เท่า 2. 16 เท่า 3. 80 เท่า 4. 160 เท่า
33
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
11.7.3 กล้ องถ่ ายรู ป
กล้องถ่ายรู ปจะมีองค์ประกอบพื้นฐานดังแสดงในรู ป
เมื่อแสงสะท้อนออกจากวัตถุที่จะถ่ายรู ป
แสงจะพุง่ ผ่านเลนส์นูนหน้ากล้องแล้วหักเหไป
เกิดภาพจริ งหัวกลับบนฟิ ล์มในกล้อง จากนั้น
แสงจะทาให้เกิดปฏิกิริยาเคมีบนฟิ ล์มเกิดเป็ น
รู ปภาพที่ตอ้ งการเก็บไว้นนั่ เอง
อุปกรณ์เสริ มในกล้องถ่ายรู ปปกติจะมีดงั นี้
วงแหวนปรับความชัด ใช้ปรับเลื่อนเลนส์ ( ปรับโฟกัส ) เพื่อปรับความคมชัดของภาพ
ไดอะแฟรม เป็ นช่องกลมปรับย่อขยายขนาดได้ เพื่อปรับแต่งปริ มาณแสงให้เข้ามากน้อย
ตามความพอดี
ชัตเตอร์ เป็ นแผ่นทึบแสงคอยกั้นแสงและปิ ดเปิ ดเมื่อต้องการถ่ายรู ป
หากปริ มาณแสงมีมาก ต้องปรับความเร็ วชัตเตอร์ ให้ปิดเปิ ดอย่างรวดเร็ ว
หากปริ มาณแสงมีนอ้ ย ต้องปรับความเร็ วชัตเตอร์ ให้ปิดเปิ ดอย่างช้าๆ
67. กล้องถ่ายรู ปอันหนึ่ง ใช้เลนส์ซ่ ึ งมีความยาวโฟกัส 50 มิลลิเมตร ถ้าต้องการถ่ายรู ปชายคน
หนึ่งซึ่งสู ง 175 เซนติเมตร โดยต้องการให้ได้ขนาดภาพบนฟิ ล์มเท่ากับ 35 มิลลิเมตร
อยากทราบว่า ชายผูน้ ้ ีควรยืนห่างจากกล้องถ่ายรู ปเป็ นระยะกี่เมตร
1. 2.55 2. 3.0 3. 25.5 4. 30.0

34
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
11.7.4 กล้ องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์จะมีองค์ประกอบพื้นฐานดังแสดงในรู ป

เมื่อแสงสะท้อนออกจากวัตถุ ที่ตอ้ งการส่ องดู แสงจะพุ่งผ่านเลนส์ ใกล้วตั ถุแล้วเกิ ดเป็ น


ภาพจริ งหัวกลับ (ภาพ 1) ในกล้องจุลทรรศน์ และเมื่อจัดให้ภาพที่ เกิ ดนี้ อยู่ใกล้กว่าจุดโฟกัส
ของเลนส์ใกล้ตาด้านบน เมื่อแสงหักเหผ่านเลนส์ใกล้ตาจะทาให้เกิดเป็ นภาพเสมือนหัวตั้งขนาด
ใหญ่ (ภาพ 2) สามารถมองเห็นได้ดว้ ยตาเปล่า
68. ภาพที่เกิดในกล้องจุลทรรศน์จะเป็ นภาพอะไร
1. ภาพจริ งหัวกลับ 2. ภาพจริ งหัวตั้ง
3. ภาพเสมือนหัวกลับ 4. ภาพเสมือนหัวตั้ง

11.7.5 กล้องโทรทรรศน์
กล้องโทรทรรศน์เป็ นกล้องที่ใช้ส่องดูวตั ถุที่อยูไ่ กลๆ เช่นกล้องดูดาว กล้องส่ องทางไกล
เป็ นต้น กล้องโทรทรรศน์จะมีองค์ประกอบพื้นฐานดังแสดงในรู ป

35
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
เมื่อแสงจากวัตถุซ่ ึ งอยูไ่ กลพุ่งผ่านเลนส์ ใกล้วตั ถุของกล้องโทรทรรศน์ แสงจะเกิดการหัก
เหทาให้เกิดภาพจริ งหัวกลับ (ภาพ 1) ขึ้นที่จุดโฟกัสของเลนส์ ใกล้วตั ถุน้ นั และเมื่อแสงพุ่งผ่าน
เลนส์ใกล้ตาจะหักเหแล้วทาให้เกิดภาพเสมือน (ภาพ 2) ขนาดใหญ่มองเห็นได้ดว้ ยตาเปล่าดังรู ป
ปั จจุบนั เราสามารถทาให้ภาพเสมือนที่มองเห็นเป็ นภาพหัวตั้ง โดยใส่ เลนส์นูนตัวที่ 3
แทรกไว้ระหว่างเลนส์ใกล้วตั ถุกบั เลนส์ใกล้ตาดังรู ป

ความยาวของกล้องโทรทรรศน์ จะมีค่าประมาณ
ความยาวโฟกัสของเลนส์ใกล้วตั ถุ + ความยาวโฟกัส
ของเลนส์ใกล้ตา
กาลังขยายของกล้องโทรทรรศน์ สามารถหาค่า
ได้จาก กาลังขยาย = ความยาวโฟกสเลนส์ใกล้วัตถุ
ความยาวโฟกสเลนส์ใกล้ตา
เนื่องจากกล้องโทรทรรศน์จะมีขนาดที่ยาวมาก
หากเราใช้ปริ ซึมเข้าช่วยจะสามารถลดความยาวของ
กล้องได้ดงั รู ป วิธีการนี้ จะใช้กบั กล้องส่ องทางไกล
69. ข้อใดต่อไปนี้เป็ นหน้าที่ของเลนส์ใกล้วตั ถุของกล้องโทรทรรศน์
1. สร้างภาพจริ งหัวกลับของวัตถุข้ ึนข้างในกล้อง
2. สร้างภาพจริ งหัวตั้งของวัตถุข้ ึนข้างในกล้อง
3. สร้างภาพเสมือนหัวกลับของวัตถุข้ ึนข้างในกล้อง
4. สร้างภาพเสมือนหัวตั้งของวัตถุข้ ึนข้างในกล้อง

36
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
70. ข้อใดต่อไปนี้เป็ นหน้าที่ของเลนส์ใกล้ตาของกล้องโทรทรรศน์
1. สร้างภาพจริ งหัวกลับของวัตถุข้ ึนข้างในกล้อง
2. สร้างภาพจริ งหัวตั้งของวัตถุข้ ึนข้างในกล้อง
3. สร้างภาพเสมือนหัวกลับของวัตถุข้ ึนข้างในกล้อง
4. สร้างภาพเสมือนหัวตั้งของวัตถุข้ ึนข้างในกล้อง

71. ความยาวกล้องโทรทรรศน์ จะเท่ากับ


1. ความยาวโฟกัสเลนส์ใกล้วตั ถุลบความยาวโฟกัสเลนส์ใกล้ตา
2. ความยาวโฟกัสเลนส์ใกล้วตั ถุบวกความยาวโฟกัสเลนส์ใกล้ตา
3. ความยาวโฟกัสเลนส์ใกล้วตั ถุคูณความยาวโฟกัสเลนส์ ใกล้ตา
4. ความยาวโฟกัสเลนส์ใกล้วตั ถุยกกาลังสอง

72. ปริ ซึมที่ใส่ แทรกเข้าไปในกล้องโทรทรรศน์ มีจุดประสงค์เพื่อข้อใดต่อไปนี้


1. เพิ่มความคมชัดของภาพ
2. ขยายขนาดของภาพ
3. ลดความยาวกล้อง
4. กลับหัวของภาพให้ต้ งั ขึ้น

73. กล้องโทรทรรศน์ชนิดหักเหแสง ประกอบด้วยเลนส์นูน 2 อัน คือ A และ B มีระยะ


โฟกัส 80 เซนติเมตร และ 20 เซนติเมตร ตามลาดับในการส่ องดูดาว ข้อใดผิด
1. ความยาวกล้อง 1 เมตร
2. ภาพที่มองผ่านเลนส์ตาเป็ นภาพจริ ง
3. ภาพที่เกิดจากเลนส์ใกล้วตั ถุมีระยะภาพ 80 เซนติเมตร
4. กาลังขยายของกล้อง 4 เท่า

37
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
11.8 ความสว่ าง
ความสว่างบนพื้นผิวใด ๆ สามารถคานวณหาค่าได้ จากสมการ
E = AF หรือ E = I2
R
เมื่อ E คือความสว่าง (ลูเมน/เมตร2 . ลักซ์ )
F คืออัตราการให้พลังงานแสง หรื อ ฟลักซ์ส่องสว่าง (ลูเมน)
[ ปริ ม าณพลั ง งานแสงที่ ส่ องออกมาจากแหล่ ง กาเนิ ด ต่ อ หนึ่ ง หน่ ว ย เวลา ]
A คือพื้นที่รับแสง (เมตร2)
I คือความเข้มของการส่ องสว่าง (แคนเดลลา)
[ ความสามารถในการเปล่ ง แสงออกจากแหล่ ง กาเนิ ด ]
R คือระยะจากแหล่งกาเนิดแสงวัดมาตั้งฉากกับพื้นที่ ( เมตร )
74. หลอดฟลูออเรสเซนต์ 1 หลอด ให้อตั ราพลังงานแสงได้ 2700 ลูเมน จงหาความสว่าง
บนโต๊ะพื้นที่ 5 ตารางเมตร จากหลอดไฟ 2 หลอดเป็ นเท่าไร
1. 1080 ลักซ์ 2. 880 ลักซ์ 3. 640 ลักซ์ 4. 540 ลักซ์

75(แนว En) พลังงานแสงเท่ากับ 1000 ลูเมน เมื่อใช้ไประยะหนึ่งประสิ ทธิภาพของหลอดใน


การให้พลังงานแสงเหลือเพียง 50% ถ้าต้องการฉายภาพให้มีความสว่างเฉลี่ยบนจอ 200
ลักซ์ ภาพที่ฉายจะมีขนาดใหญ่มากที่สุดได้กี่ตารางเมตร
1. 2.5 2. 3.2 3. 3.6 4. 4.0

38
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
76(แนว มช) หลอดไฟ 64 วัตต์ มีความเข้มแห่ งการส่ องสว่าง 36 แคนเดลา ถ้าต้องการความ
สว่างบนโต๊ะอ่านหนังสื อ 144 ลักซ์ จะต้องแขวนหลอดไฟสู งจากโต๊ะเป็ นระยะกี่เมตร
1. 0.50 2. 0.67 3. 1.50 4. 2.25

11.9 แสงสี และการผสมสี


แสงสี ปฐมภูมิ คือ แสงสี พ้ืนฐานซึ่ งมี 3 สี ได้
แก่ แสงสี แดง แสงสี เขียว และแสงสี น้ าเงิน เมื่อนา
แสงสี ปฐมภูมิมาผสมกัน จะเกิดเป็ นสี อื่นๆ อีก ดังนี้
แสงสี แดง + แสงสี น้ าเงิน ได้ แสงสี แดงม่วง
แสงสี แดง + แสงสี เขียว ได้ แสงสี เหลือง
แสงสี น้ าเงิน + แสงสี เขียว ได้ แสงสี น้ าเงินเขียว
ทั้ง 3 แสงสี ปฐมภูมิรวมกัน จะได้แสงขาว
77. เมื่อฉายแสงสี เหลืองและแสงสี น้ าเงินลงบนจอภาพสี ขาวพร้อมกัน ด้วยความเข้มแสงที่
เท่า ๆ กัน แสงที่ปรากฏบนจอภาพจะเป็ นสี อะไร
1. สี ฟ้าอ่อน 2. สี เหลือง 3. สี ขาว 4. สี เทา

78. แสงสี คู่ใดที่เป็ นสี เติมเต็มของกันและกัน


1. น้ าเงิน – น้ าเงินเขียว 2. น้ าเงิน – แดงม่วง
3. แดง – แดงม่วง 4. เขียว – แดงม่วง

39
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
79. ถ้าตาของเรามองดูแสงสี น้ าเงินเป็ นเวลานานๆ แล้วเปลี่ยนมาดูแสงสี ขาวทันที ท่านจะมอง
เห็นเป็ นแสงสี
1. สี ขาว 2. สี เขียว 3. สี น้ าเงิน 4. สี เหลือง

สาหรับการมองเห็นวัตถุเป็ นสี ต่างๆ นั้น เกิดจากการที่วตั ถุสะท้อนแสงสี น้ นั ๆ ออกมาเข้า


ตามเรา ตัวอย่างเช่น วัตถุสีแดง
น้ าเงิน
ถ้าเรามองเห็นวัตถุมีสีแดง แสดงว่าวัตถุน้ นั สะท้อน เขียว
แสงสี แดงออกมาเข้าตาเรา ส่ วนแสงสี อื่นๆ จะถูกดูดกลืน แดง
หมดดังแสดงในแผนภาพ

ถ้าเรามองเห็นวัตถุมีสีเหลือง แสดงว่าวัตถุน้ นั สะท้อนแสงสี แดงและเขียวออกมาเข้าตา


เรา แล้วแสงสี ท้ งั สองเกิดการผสมรวมกันเป็ นแสงสี เหลือง ส่ วนแสงสี น้ าเงินจะถูกดูดกลืน
ถ้าเรามองเห็นวัตถุมีสีขาว แสดงว่าวัตถุน้ นั สะท้อนแสงทุกสี ออกมาเข้าตาเรา แล้วแสงสี
ทั้งหมดเกิดการผสมรวมกันเป็ นแสงสี ขาว
ส่ วนการที่ เรามองเห็ น วัต ถุ เป็ นสี ด า เป็ นเพราะวัตถุ น้ ั น ดู ด กลื น แสงทุ ก สี จึงไม่ มี แ สง
สะท้อนมาเข้าตาเรา เราจึงมองเห็นวัตถุน้ นั มืดดานัน่ เอง
80. วัตถุหนึ่งมีสีเหลืองภายใต้แสงอาทิตย์ ถ้านาวัตถุน้ี มาไว้ในห้องที่มีแต่แสงสี น้ าเงิน จะ
ปรากฏเป็ นสี อะไร
1. เขียว 2. น้ าเงิน 3. เหลือง 4. ดา

81(แนว En) นาย ก. สวมหมวกสี เขียว เสื้ อสี ขาว กางเกงสี แดง เมื่อฉายแสงสี เขียว ตกกระทบ
นาย ก. จะเห็นเขาแต่งตัวอย่างไร
1. หมวกสี เขียว เสื้ อสี เขียว กางเกงสี ดา
2. หมวกสี เขียว เสื้ อสี เขียว กางเกงสี เขียว
3. หมวกสี ขาว เสื้ อสี เขียว กางเกงสี เหลือง
4. หมวกสี ขาว เสื้ อสี เขียว กางเกงสี เขียว

40
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
เฉลยบทที่ 11 แสงและทัศ นอุ ป กรณ์
1. ตอบข้ อ 2. 2. ตอบ 5 3. ตอบข้ อ 4. 4. ตอบข้ อ 1.
5. ตอบข้ อ 3. 6. ตอบข้ อ 3. 7. ตอบข้ อ 1. 8. ตอบข้ อ 3.
9. ตอบข้ อ 2. 10. ตอบข้ อ 1. 11. ตอบข้ อ 4. 12. ตอบข้ อ 2.
13. ตอบข้ อ 2. 14. ตอบข้ อ 3. 15. ตอบข้ อ 2. 16. ตอบข้ อ 4.
17. ตอบข้ อ 1. 18. ตอบข้ อ 1. 19. ตอบข้ อ 1. 20. ตอบข้ อ 2.
21. ตอบข้ อ 1. 22. ตอบข้ อ 1. 23. ตอบข้ อ 1. 24. ตอบข้ อ 3.
25. ตอบข้ อ 3. 26. ตอบข้ อ 3. 27. ตอบข้ อ 2. 28. ตอบข้ อ 4.
29. ตอบข้ อ 3. 30. ตอบข้ อ 2. 31. ตอบข้ อ 1. 32. ตอบข้ อ 2.
34. ตอบข้ อ 2. 35. ตอบข้ อ 1. 36. ตอบข้ อ 2. 37. ตอบข้ อ 4.
38. ตอบข้ อ 2. 39. ตอบข้ อ 4. 40. ตอบข้ อ 2. 41. ตอบข้ อ 2.
42. ตอบข้ อ 3. 43. ตอบข้ อ 3. 44. ตอบข้ อ 4. 45. ตอบข้ อ 3.
46. ตอบข้ อ 1. 47. ตอบข้ อ 4. 48. ตอบข้ อ 2. 49. ตอบข้ อ 1.
50. ตอบข้ อ 3. 51. ตอบข้ อ 4. 52. ตอบข้ อ 2. 53. ตอบข้ อ 2.
54. ตอบข้ อ 2. 55. ตอบข้ อ 1. 56. ตอบข้ อ 1. 57. ตอบข้ อ 4.
58. ตอบ 3.6 59. ตอบข้ อ 1. 60. ตอบข้ อ 4. 61. ตอบข้ อ 3.
62. ตอบข้ อ 3. 63. ตอบข้ อ 3. 64. ตอบข้ อ 4. 65. ตอบข้ อ 3.
66. ตอบข้ อ 4. 67. ตอบข้ อ 1. 68. ตอบข้ อ 1. 69. ตอบข้ อ 1.
70. ตอบข้ อ 4. 71. ตอบข้ อ 2. 72. ตอบข้ อ 3. 73. ตอบข้ อ 2.
74. ตอบข้ อ 1. 75. ตอบข้ อ 1. 76. ตอบข้ อ 1. 77. ตอบข้ อ 3.
78. ตอบข้ อ 4. 79. ตอบข้ อ 4. 80. ตอบข้ อ 4. 81. ตอบข้ อ 1.



41
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
ตะลุ ย โจทย์ ท่ วั ไป บทที่ 11 แสงและทัศ นอุ ป กรณ์
11.1 การเคลือ่ นที่ และอัตราเร็วของแสง
1. กาหนดความเร็ วแสงในสุ ญญากาศมีค่าเท่ากับ 3 x 108 เมตรต่อวินาที ดังนั้นในเวลา 1
นาที แสงจะเคลื่อนที่ได้ระยะทางกี่เมตร
1. 1.8 x 1010 เมตร 2. 2.8 x 1010 เมตร
3. 3.8 x 1010 เมตร 4. 4.8 x 1010 เมตร
2. สมมติวา่ ดวงอาทิตย์อยูห่ ่ างจากดาวพระเคราะห์ (A) เป็ นระยะ 20000 ล้านกิโลเมตร และ
ห่ างจากดาวพระเคราะห์ (B) เป็ นระยะ 50000 ล้านกิ โลเมตร จงหาว่าหากพระอาทิตย์ส่อง
แสงสว่างถึงทั้งสองดาวพระเคราะห์น้ ี จะใช้เวลาต่างกันเท่าไร ถ้าความเร็ วแสงเท่ากับ 3x108
เมตรต่อวินาที
1. 1.0 x 105 วินาที 2. 1.0 x 106 วินาที
3. 1.0 x 107 วินาที 4. 1.0 x 108 วินาที

11.2 การสะท้ อนแสงของแสง


11.2.1 กฎการสะท้อนของแสง
3. เมื่อรังสี ของแสงสะท้อนตั้งแต่ 2 เส้นขึ้นไปมาตัดกันจะทาให้เกิดข้อใดต่อไปนี้
1. การกระเจิงแสง 2. การกระจายแสง
3. ภาพของวัตถุตน้ กาเนิ ดแสงนั้น 4. ถูกทุกข้อ
4. กาหนดให้วตั ถุ ชิ้นหนึ่ งมี ความสู ง 6 เซนติ เมตร เมื่ อเกิ ดการสะท้อนผ่านกระจกที่มีกาลัง
ขยายเท่ากับ 2 จงหาว่าภาพที่เกิดจะมีความสู งกี่เซนติเมตร
11.2.2 ภาพทีเ่ กิดจากกระจกเงาราบ
11.2.3 ภาพทีเ่ กิดจากกระจกเงาทรงกลม
5. จุดโฟกัสของกระจกเว้าเกิดจากข้อใดต่อไปนี้
1. รังสี สะท้อนของแสงขนานไปตัดกัน
2. เส้นสมมุติที่ลากย้อนหลังของรังสี สะท้อนของแสงขนานไปตัดกัน
3. รังสี หกั เหของแสงขนานไปตัดกัน
4. เส้นสมมุติที่ลากย้อนหลังของรังสี หกั เหของแสงขนานไปตัดกัน
42
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
6. จุดโฟกัสของกระจกนูนเกิดจากข้อใดต่อไปนี้
1. รังสี สะท้อนของแสงขนานไปตัดกัน
2. เส้นสมมุติที่ลากย้อนหลังของรังสี สะท้อนของแสงขนานไปตัดกัน
3. รังสี หกั เหของแสงขนานไปตัดกัน
4. เส้นสมมุติที่ลากย้อนหลังของรังสี หกั เหของแสงขนานไปตัดกัน
7. รังสี ของแสงจากดวงอาทิตย์ถือเป็ นรังสี ขนาน หากเรานากระจกเว้ามารองรับแสงอาทิตย์ เมื่อ
แสงสะท้อนมาตัดกัน จะทาให้เกิดภาพของดวงอาทิตย์ที่จุดใดของกระจกเว้านั้น
1. จุดโฟกัส 2. จุดศูนย์กลางความโค้ง
3. จุดใจกลางกระจก 4. จุดหลังกระจกเว้า
8. ถ้าวางวัตถุไว้ที่จุดศูนย์กลางความโค้งของกระจกเว้า ภาพที่เกิดขึ้นเป็ นอย่างไร
1. ภาพเสมือนขนาดเท่าวัตถุ 2. ภาพจริ งขนาดเท่าวัตถุ
3. ภาพจริ งขนาดเล็กกว่าวัตถุ 4. ภาพจริ งขนาดโตกว่าวัตถุ
9. จะต้องวางวัตถุห่างจากกระจกเว้าอย่างไร เราจึงมองเห็นภาพที่เกิดจากกระจกเว้าได้เลยโดย
ไม่ตอ้ งใช้ฉากรับภาพ
1. วัตถุอยูห่ ่างจากกระจกน้อยกว่าความยาวโฟกัส
2. วัตถุอยูห่ ่างจากกระจกเท่ากับความยาวโฟกัส
3. วัตถุอยูร่ ะหว่างศูนย์กลางความโค้งกับโฟกัส
4. วัตถุอยูท่ ี่จุดศูนย์กลางความโค้ง
10. กระจกในข้อใดสามารถให้ภาพเสมือนที่มีขนาดใหญ่กว่าวัตถุ
1. กระจกเงาราบ 2. กระจกนูน
3. กระจกเว้า 4. ข้อ 2 , 3 ถูก
11. ข้อใดไม่ถูกต้อง
1. ภาพจริ งหัวกลับ ภาพเสมือนหัวตั้ง 2. ภาพจริ งต้องใช้ฉากรับ
3. ภาพเสมือนโตเท่าวัตถุเสมอ 4. ภาพเสมือนไม่ตอ้ งใช้ฉากรับ

43
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
12. วางวัตถุ ไ ว้ห น้ากระจกโค้งห่ างกระจก 4 เซนติ เมตร เกิ ดภาพเสมื อ นห่ างกระจก 2
เซนติเมตร จงหาความยาวโฟกัส และชนิดของกระจก
1. –4 เซนติเมตร , กระจกนูน 2. –5 เซนติเมตร , กระจกนูน
3. –4 เซนติเมตร , กระจกเว้า 4. –5 เซนติเมตร , กระจกเว้า
13. เมื่อเอาวัตถุมาวางไว้ที่หน้ากระจกโค้งอันหนึ่งที่ระยะห่าง 10 เซนติเมตร พบว่าจะเกิดภาพ
ซึ่งเอาฉากรับได้ที่ระยะ 10 เซนติเมตร ข้อความต่อไปนี้ ขอ้ ใดถูกต้องที่สุด
1. กระจกเป็ นกระจกนูนมีความยาวโฟกัส 20 เซนติเมตร
2. กระจกเป็ นกระจกเว้ามีความยาวโฟกัส 20 เซนติเมตร
3. กระจกเป็ นกระจกนูนมีความยาวโฟกัส 5 เซนติเมตร
4. กระจกเป็ นกระจกเว้ามีความยาวโฟกัส 5 เซนติเมตร
14. ถ้า จะให้ เกิ ด ภาพหลัง จากกระจกนู น 40 เซนติ เมตร กระจกนู น มี รั ศ มี ค วามโค้ง 120
เซนติเมตร จะต้องวางวัตถุห่างจากกระจกนูนกี่เซนติเมตร
1. 80 2. 120 3. 140 4. 180
15. วางวัตถุหน้ากระจกโค้งความยาวโฟกัส 40 เซนติเมตร ปรากฏว่าใช้ฉากรับภาพได้ที่ระยะ
120 เซนติเมตร หน้ากระจก จงหาว่าวัตถุอยูห่ ่างจากกระจกเท่าใด และได้ขนาดภาพเป็ นกี่
เท่าของขนาดวัตถุ
1. 30 เซนติเมตร , 4 เท่า 2. 30 เซนติเมตร , 2 เท่า
3. 60 เซนติเมตร , 4 เท่า 4. 60 เซนติเมตร , 2 เท่า
16. ถ้าจะให้เกิดภาพหลังจากกระจกนูน 20 เซนติเมตร กระจกนูนมีรัศมีความโค้ง 60 เซนติ-
เมตร จะต้องวางวัตถุห่างจากกระจกนูนกี่เซนติเมตร
1. 20 2. 40 3. 60 4. 80
17. วางวัตถุไว้หน้ากระจกโค้ง ห่างกระจก 8 เซนติเมตร เกิดภาพเสมือนห่างกระจก 4 เซนติ-
เมตร จงหาความยาวโฟกัส และชนิดของกระจก
1. 8 เซนติเมตร , กระจกนูน 2. 4 เซนติเมตร , กระจกนูน
3. 8 เซนติเมตร , กระจกเว้า 4. 4 เซนติเมตร , กระจกเว้า

44
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
18. ทันตแพทย์ถือกระจกเว้ารัศมีความโค้ง 4.0 เซนติเมตร ห่างจากฟันที่ตอ้ งการอุดเป็ นระยะ
1.0 เซนติเมตร ทันตแพทย์จะเห็นฟันในกระจกขยายเป็ นกี่เท่า
1. 2 เท่า 2. 3 เท่า 3. 4 เท่า 4. 5 เท่า
19(แนว Pat) กระจกเว้า ให้ ภ าพหั ว ตั้ ง ขนาดเป็ น 2 เท่ า ของวัต ถุ เมื่ อ ระยะวัต ถุ เป็ น 20
เซนติเมตร ความยาวโฟกัสของกระจกเว้าบานนี้ เท่ากับกี่เซนติเมตร
1. +5 2. +10 3. +20 4. +40
20. จงหาชนิ ดและความยาวโฟกัสของกระจกโค้งที่ให้ภาพจริ งขนาด 14 เท่าของวัตถุ เมื่ อ
วัตถุ วางห่างกระจก 40 เซนติเมตร
1. กระจกเว้า f = 8 เซนติเมตร 2. กระจกเว้า f = 10 เซนติเมตร
3. กระจกนูน f = 8 เซนติเมตร 4. กระจกนูน f = 10 เซนติเมตร
21. นาวัตถุมาวางด้านหน้าของกระจกเว้าที่มี รัศมีความโค้ง 35.0 เซนติเมตร โดยวางห่ างจาก
กระจกเป็ นระยะที่ทาให้เกิดภาพจริ งขนาดใหญ่เป็ น 2.5 เท่า ของวัตถุ อยากทราบว่าวัตถุห่าง
จากกระจกเป็ นระยะเท่าไร
1. 10.50 เซนติเมตร 2. 12.25 เซนติเมตร
3. 21.00 เซนติเมตร 4. 24.50 เซนติเมตร
22. กระจกโค้งทรงกลมอันหนึ่ง เมื่อวางวัตถุไว้ห่างจากกระจก 60 เซนติเมตร ปรากฏว่าภาพ
ที่เกิดขึ้นเป็ นภาพหัวตั้งมีขนาดโต 1.5 เท่าของวัตถุ ข้อใดกล่าวถึงกระจกอันนี้ ได้ถูกต้อง
1. เป็ นกระจกเว้า ความยาวโฟกัส 36 เซนติเมตร
2. เป็ นกระจกนูน ความยาวโฟกัส 72 เซนติเมตร
3. เป็ นกระจกนูน ความยาวโฟกัส 90 เซนติเมตร
4. เป็ นกระจกเว้า ความยาวโฟกัส 180 เซนติเมตร
23. วางวัตถุ ไว้ขา้ งหน้ากระจกโค้ง ซึ่ งมี ความยาวโฟกัส 20 เซนติเมตร ปรากฏว่าได้ภาพ
เสมือนโดยมีกาลังขยาย 0.1 จงหาระยะวัตถุ
1. +220 cm 2. +180 cm 3. –220 cm 4. –180 cm
24. ถ้าวางวัตถุ ที่ มี ความสู ง 10 เซนติ เมตร ไว้หน้ากระจกเว้ารัศ มีค วามโค้ง 50 เซนติ เมตร
โดยวางให้ห่างจากหน้ากระจกเป็ นระยะ 100 เซนติเมตร ภาพจะสู งกี่เซนติเมตร
1. 1.00 2. 3.33 3. 4.55 4. 5.00
45
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
25(แนว มช) ถ้าวางวัตถุ ที่มีความสู ง 10 เซนติเมตร ไว้หน้ากระจกนู นซึ่ งมีรัศมีความโค้ง 50
เซนติเมตร โดยวางให้ห่างจากกระจกเป็ นระยะ 100 เซนติเมตร จงหาความสู งของภาพ
ว่ามีขนาดกี่เซนติเมตร
1. –2 2. 25 3. 2 4. 2.5
26(แนว มช) ถ้าวางวัตถุที่มีความสู ง 10 เซนติเมตร ไว้หน้ากระจกนูนซึ่ งมีรัศมีความโค้ง 50
เซนติเมตร โดยวางให้ห่างจากกระจกเป็ นระยะ 100 เซนติเมตร จงหาความสู งของภาพ
ว่ามีขนาดกี่เซนติเมตร
1. –2 2. +2 3. –4 4. +5
27. วัตถุ สู ง 10 เซนติ เมตร อยู่ห่ าง 10 เซนติ เมตร จากกระจกเว้าซึ่ งมีรัศ มี ความโค้ง 40
เซนติเมตร ภาพจะสู งกี่เซนติเมตร
1. 10 2. 20 3. 30 4. 40
28(แนว มช) วัตถุ สูง L วางอยูห่ น้ากระจกเว้าซึ่ งมี ทางยาวโฟกัส f ด้วยระยะ s จากกระจก
ภาพที่เกิดขึ้นจะมีขนาดเท่าใด
2 2
1. Lf  f  2. L  (s - f)  3. Lf 4. L(s - f)
 (s - f)   f  (s - f) f
29. กระจกเว้า P รัศมีความโค้ง 50 เซนติเมตร
150 cm
กระจกเว้า Q รัศมีความโค้ง 68 เซนติเมตร P Q
วางหันหน้าเข้าหากันห่างกัน 150 เซนติเมตร
วัตถุ A
ดังรู ป เมื่อวางวัตถุเล็กๆ A ไว้ที่โฟกัสของ F
กระจกเว้า P พิจารณาแสงสะท้อนของวัตถุ A
ที่กระจก P เคลื่อนที่ไปกระจกเว้า Q แล้วสะ
ท้อนมาพบกันที่จุด B ถามว่าจุด B อยูห่ ่าง
กระจกเว้า P กี่เซนติเมตร
1. 100 2. 116 3. 121 4. 133
30. กระจกที่เหมาะสมจะใช้ติดข้างรถสาหรับคนขับใช้ดูรถข้างหลังเป็ นกระจกชนิดใด
1. กระจกนูน 2. กระจกเว้า 3. กระจกราบ 4. ถูกทุกข้อ

46
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
11.3 การหักเหของแสง
11.3.1 กฎการหักเหของแสง
31. ถ้าเปลี่ยนทางเดินแสงจากตัวกลางหนึ่งไปยังอีกตัวกลางหนึ่ง
1. แสงเปลี่ยนความเร็ วและความถี่
2. ความเร็ ว ความยาวคลื่นและความถี่ของแสงเปลี่ยนแปลง
3. เปลี่ยนเฉพาะความถี่อย่างเดียว
4. เปลี่ยนความเร็ วและความยาวคลื่น
32. แสงเคลื่อนที่จากตัวกลาง (1) ซึ่งมีดชั นีหกั เห 23 ไปยังตัวกลาง (2) ซึ่งมีดชั นีหกั เห 65
ด้วยมุมตกกระทบ 30o จงหามุมหักเหในตัวกลาง (2)
1. sin–1 25 2. sin–1 85 3. sin–1 85 4. sin–1 43
33. แสงเคลื่อนที่ผา่ นตัวกลางด้วยอัตราเร็ ว 2.25 x 108 เมตร/วินาที อยากทราบว่าตัวกลางนี้มี
ค่าดัชนีหกั เหเท่าใด
1. 1.11 2. 1.22 3. 1.33 4. 1.44
34. ดัชนีหกั เหของแก้วมีคา่ 1.5 จงหาอัตราเร็ วของแสงในแก้วเป็ นเท่าใด
1. 1.0 x 108 เมตร/วินาที 2. 1.5 x 108 เมตร/วินาที
3. 2.0 x 108 เมตร/วินาที 4. 3.0 x 108 เมตร/วินาที
35. ถ้าดัชนีหกั เหของน้ ามีค่า 43 และดัชนีหกั เหของน้ ามันมีค่า 23 อัตราส่ วนระหว่าง
อัตราเร็ วของแสงในน้ ามันและน้ าเป็ นเท่าใด
1. 9 / 8 2. 8 / 9 3. 4 / 3 4. 3 / 4
36(แนวA–net) แสงความถี่ 2.00 x 1014 เฮิรตซ์ ในเส้นใยนาแสงมีความยาวคลื่ นในเนื้ อเส้น
ใยเท่ากับ 4.50 x 10–7 เมตร จงหาค่าดรรชนีหกั เหของเนื้ อเส้นใยนาแสงนี้
1. 3.62 2. 3.12 3. 3.52 4. 3.33
37. ดัชนี หักเหของตัวกลาง A = 3 และ ดัชนี หักเหของตัวกลาง B = 6 จงหาดัชนี หักเห
ของตัวกลาง A เทียบกับ B
1. 0.5 2. 0.4 3. 0.2 4. 0.1

47
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
38. แสงเคลื่อนที่จากตัวกลาง A ไปยังตัวกลาง B มีมุมตกกระทบ 30 o และมีมุมหักเหเป็ น 37o
จงหาดัชนีหกั เหของตัวกลาง B เทียบกับตัวกลาง A
1. 5 / 8 2. 8 / 15 3. 5 / 6 4. 6 / 5
39. ถ้าดัชนีหกั เหของน้ า และแก้วเป็ น 43 และ 23 ตามลาดับ จงหาดัชนี หกั เหของแก้วเทียบ
กับน้ ามีค่าเท่าใด
1. 9 / 8 2. 8 / 9 3. 7 / 6 4. 6 / 5
40. จากรู ป แสงเดินทางจากตัวกลางที่ 1 ผ่าน
ตัวกลางที่ 2 ตัวกลางที่ 3 ไปสู่ ตวั กลางที่ 4 53o (4)
C
โดยผ่านรอยต่อตัวกลาง A , B , C ซึ่งขนาน
(3)
กัน จงหาดัชนีหกั เหของของตัวกลางที่ 1 B
เทียบกับตัวกลางที่ 4 (2)
A
53o (1)
1. 3 / 4 2. 4 / 3
3. 5 / 6 4. 6 / 5
11.3.2 การสะท้อนกลับหมดของแสง
41. ถ้ามุมวิกฤตของตัวกลางชนิดหนึ่งเป็ น 30 องศา จงหาอัตราเร็ วของแสงในตัวกลางนั้น
1. 1.0 x 108 เมตร/วินาที 2. 1.5 x 108 เมตร/วินาที
3. 2.0 x 108 เมตร/วินาที 4. 3.0 x 108 เมตร/วินาที
42. ถ้ามุมวิกฤตในของเหลวชนิดหนึ่ง ( เมื่อแสงเดินทางผ่านไปสู่ อวกาศ ) มีค่าเป็ น 60o ถามว่า
ความเร็ วแสงในของเหลวนี้ มีค่าเป็ นเท่าใด ( c = ความเร็ วแสงในอากาศ )
1. 23 c 2. 2c 3. 42 c 4. 43 c
3
43. เมื่อแสงเคลื่อนที่จากแก้วดัชนีหกั เห 23 สู่ อากาศ จงหามุมวิกฤติของแก้วนี้
1. sin–1 25 2. sin–1 23 3. sin–1 85 4. sin–1 43
44. ถ้าเพชรมีดชั นีหกั เห 2.42 มุมวิกฤตของเพชรจะมีค่าเท่าใด
1. sin–1(0.635) 2. sin–1(0.446) 3. sin–1(0.413) 4. sin–1(0.972)

48
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
45. จากรู ป แสงเคลื่อนที่จากผลึกใสไปสู่ ของเหลว อากาศ
แล้วเคลื่อนที่ต่อไปยังอากาศ ทาให้เกิดมุมวิกฤต
จงหาดัชนีหกั เหของผลึกใส ของเหลว
1. 2 2. 4 30o ผลึกใส
3. 6 4. 8
46. หลอดไฟเล็กๆ เปิ ดไฟสว่างอยูภ่ ายใต้ของเหลวลึก 100 เซนติเมตร ปรากฏว่าเห็นความ
สว่างบนผิวของเหลวเป็ นรู ปวงกลม ถ้าดรรชนีของเหลวเป็ น 45 จงหารัศมีของวงกลม
ของแสงไฟ
1. 100 เซนติเมตร 2. 133 เซนติเมตร
3. 150 เซนติเมตร 4. 177 เซนติเมตร
11.3.3 ความลึกจริง ความลึกปรากฏ
47. ชายคนหนึ่งอยูบ่ นเรื อ มองลงตรงๆ ในน้ าเห็นปลาอยูล่ ึกจากผิวน้ า 27 เซนติเมตร ซึ่ งพบว่า
ผิดความจริ งไป 9 เซนติเมตร จงหาดัชนีหกั เหของน้ า
1. 3/4 2. 4/3 3. 2/7 4. 7/2
48. ปลาอยูท่ ี่พ้ืนสระน้ าซึ่ งลึก 5 เมตร ถ้าดัชนีหกั เหของน้ ามีค่าเท่า 43 จะมองเห็นปลาอยูล่ ึก
จากผิวน้ ากี่เมตร
1. 154 2. 43 3. 43 4. 5
49. น้ ามันเบนซิ นและน้ าไม่ ผ สมกัน ถ้าเทน้ ามันเบนซิ นลงไปอ่างใส่ น้ า จะปรากฏว่าน้ ามัน
เบนซินลอยเป็ นชั้นสู งด้านบน ถ้าน้ าและน้ ามันเบนซิ นลึกชั้นละ 5 เซนติเมตร เท่ากัน และ
มีเหรี ยญบาทที่กน้ อ่างคนที่มองดูเหรี ยญจากด้านบนตรง ๆ จะเห็นว่าเหรี ยญอยูท่ ี่ความลึก
กี่เซนติเมตร กาหนดดรรชนีหกั เหของน้ า = 43 และของน้ ามันเบนซิ น = 45
1. 3.38 2. 5.25 3. 7.76 4. 8.86
11.4 ปรากฏการณ์ เกีย่ วกับแสง
11.4.1 การกระจายของแสง
11.4.2 รุ้งกินนา้
11.4.3 มิราจ
49
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
11.5 เลนส์ บาง
50. รังสี ของแสงเบนเข้าหากันที่จุด A ถ้านาเลนส์ไปวางไว้ ที่จุด B รังสี ของแสงนี้ จะเบนไป
พบกันที่จุด C เลนส์ที่นาไปวางเป็ นเลนส์ชนิดใด
1. เลนส์เว้า
2. เลนส์นูน
3. เลนส์เว้าประกบเลนส์นูน B A C

4. เลนส์นูนครึ่ งซีก
51. จุดโฟกัสของเลนส์นูนเกิดจากข้อใดต่อไปนี้
1. รังสี สะท้อนของแสงขนานไปตัดกัน
2. เส้นสมมุติที่ลากย้อนหลังของรังสี สะท้อนของแสงขนานไปตัดกัน
3. รังสี หกั เหของแสงขนานไปตัดกัน
4. เส้นสมมุติที่ลากย้อนหลังของรังสี หกั เหของแสงขนานไปตัดกัน
52. จุดโฟกัสของเลนส์เว้าเกิดจากข้อใดต่อไปนี้
1. รังสี สะท้อนของแสงขนานไปตัดกัน
2. เส้นสมมุติที่ลากย้อนหลังของรังสี สะท้อนของแสงขนานไปตัดกัน
3. รังสี หกั เหของแสงขนานไปตัดกัน
4. เส้นสมมุติที่ลากย้อนหลังของรังสี หกั เหของแสงขนานไปตัดกัน
53. ถ้าวัตถุเคลื่อนที่จาก 2F ไป F ทางด้าน A เมื่อ F ในรู ปเป็ นจุดโฟกัสของเลนส์ ภาพที่
เกิดขึ้นบนด้าน R จะเคลื่อนที่จากที่ใดไปที่ใด
1. 2F ไป F A
2. 2F ไประยะอนันต์
3. F ไป 2F 2F F F 2F
4. F ไปเลนส์
54. ภาพที่เกิดจากเลนส์นูนจะมีขนาดเท่าวัตถุเมื่อ
1. วางวัตถุไว้ที่จุดศูนย์กลางความโค้ง 2. วางวัตถุไว้ที่จุดโฟกัส
3. วางวัตถุไว้ชิดขอบเลนส์ 4. วางวัตถุไว้ที่ระยะไกลมาก ๆ

50
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
55. ภาพเสมือนเป็ นภาพที่ได้จากข้อใด
a. กระจกนูน b. กระจกเว้า c. เลนส์นูน d. เลนส์เว้า
คาตอบคือ
1. ข้อ a , b , c , d 2. ข้อ a , c 3. ข้อ a , d 4. ข้อ b , c
56. ภาพเสมือนขนาดโตกว่าวัตถุเกิดจาก
1. กระจกเว้า เลนส์เว้า 2. กระจกเว้า เลนส์นูน
3. กระจกนูน เลนส์เว้า 4. กระจกนูน เลนส์เว้า
57(แนว มช) เมื่อต้องการดูของที่มีขนาดเล็กเรามักจะใช้ “ แว่นขยาย ” ซึ่งทาด้วยเลนส์ นูน
เพราะภาพที่เกิดจากการวางวัตถุไว้หน้าเลนส์นูนนั้น
1. มีขนาดใหญ่กว่าวัตถุเสมอ
2. เป็ นภาพเสมือนเสมอ
3. เป็ นภาพจริ งหรื อภาพเสมือน และมีขนาดใหญ่กว่าวัตถุเสมอ
4. เป็ นภาพเสมือนขนาดใหญ่กว่าวัตถุที่ระยะวัตถุช่วงหนึ่ง
58. ภาพที่เกิดจากเลนส์เว้าจะเป็ นภาพในข้อใดต่อไปนี้
1. ภาพจริ งหัวกลับ 2. ภาพจริ งหัวตั้ง
3. ภาพเสมือนหัวกลับ 4. ภาพเสมือนหัวตั้ง
59. เลนส์ นูนความยาวโฟกัส 10 เซนติเมตร มีวตั ถุอยูด่ า้ นหน้าห่ าง 20 เซนติเมตร จงหาว่า
สุ ดท้ายจะเกิดภาพห่างจากเลนส์กี่เซนติเมตร
 

60. วางวัตถุไว้หน้าเลนส์นูนซึ่ งมีความยาวโฟกัส 5 เซนติเมตร เป็ นระยะ 10 เซนติเมตร


ภาพที่เกิดขึ้นจะเป็ น
1. ภาพจริ งหัวกลับ อยูห่ ลังเลนส์เป็ นระยะ 10 เซนติเมตร
2. ภาพจริ งหัวตั้ง อยูห่ ลังเลนส์เป็ นระยะ 10 เซนติเมตร
3. ภาพเสมือนหัวตั้ง อยูห่ น้าเลนส์เป็ นระยะ 10 เซนติเมตร
4. ภาพจริ งหัวกลับ อยูห่ ลังเลนส์เป็ นระยะ 103 เซนติเมตร
61. วางวัตถุไว้หน้าเลนส์เว้าห่างจากเลนส์ 15 เซนติเมตร เกิดภาพห่างจากเลนส์ 10 เซนติเมตร
จงหาความยาวโฟกัสของเลนส์เว้ามีขนาดกี่เซนติเมตร
1. –30 2. +30 3. – 40 4. +40
51
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
62. วัตถุสูง 6 เซนติเมตร อยูห่ ่างจากเลนส์นูน 12.0 เซนติเมตร ถ้าเลนส์มีความยาวโฟกัส
6.0 เซนติเมตร ขนาดของภาพมีความสู งกี่เซนติเมตร
63. เลนส์นูนความยาวโฟกัส 10 เซนติเมตร เมื่อวางวัตถุสูง 5 เซนติเมตร ไว้ห่างจากเลนส์
15 เซนติเมตร จงหาชนิ ดตาแหน่งและขนาดของภาพ
1. ภาพจริ งอยูห่ น้าเลนส์ 40 เซนติเมตร , สู ง 6 เซนติเมตร
2. ภาพจริ งอยูห่ ลังเลนส์ 40 เซนติเมตร , สู ง 6 เซนติเมตร
3. ภาพจริ งอยูห่ น้าเลนส์ 30 เซนติเมตร , สู ง 6 เซนติเมตร
4. ภาพจริ งอยูห่ ลังเลนส์ 30 เซนติเมตร , สู ง 10 เซนติเมตร
64. วัตถุสูง 4 เซนติเมตร วางหน้าเลนส์นูนเป็ นระยะ 12 เซนติเมตร ได้ภาพจริ งห่างจาก
เลนส์ 24 เซนติเมตร จงหาความสู งของภาพและความยาวโฟกัสของเลนส์เป็ นเซนติเมตร
1. y = 7 เซนติเมตร , f = 8 เซนติเมตร
2. y = 8 เซนติเมตร , f = 8 เซนติเมตร
3. y = 8 เซนติเมตร , f = 7 เซนติเมตร
4. y = 7 เซนติเมตร , f = 7 เซนติเมตร
65. มีเลนส์ นูนความยาวโฟกัส 10 เซนติเมตร อยู่ 1 อัน ถ้าต้องการภาพจริ งขยายเป็ น 2
เท่าของวัตถุจะต้องวางวัตถุห่างจากเลนส์เท่าใด
1. 5 เซนติเมตร 2. 10 เซนติเมตร
3. 15 เซนติเมตร 4. 20 เซนติเมตร
66. เลนส์นูนบางความยาวโฟกัส 15 เซนติเมตร วางวัตถุไว้หน้าเลนส์ทาให้เกิดภาพเสมือน
ขนาด 3 เท่าของวัตถุ วัตถุอยูต่ าแหน่งที่กี่เซนติเมตร
1. 10 2. 20 3. 30 4. 40
67. เลนส์นูนบางความยาวโฟกัส 13 เซนติเมตร วางวัตถุไว้หน้าเลนส์ทาให้เกิดภาพเสมือน
ขนาด 3 เท่าของวัตถุ วัตถุอยูท่ ี่ตาแหน่ง
1. 10.00 เซนติเมตร 2. 8.67 เซนติเมตร
3. 3.45 เซนติเมตร 4. 4.13 เซนติเมตร

52
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
68(แนว มช) เมื่อมองผ่านเลนส์ อนั หนึ่ งเห็นวัตถุที่วางห่ างจากเลนส์ 10 เซนติเมตร มีขนาดเล็ก
ลงครึ่ งหนึ่งของขนาดจริ ง จงหาว่าเป็ นเลนส์ชนิดใด ทางยาวโฟกัสเท่าไร
1. เลนส์เว้า ทางยาวโฟกัส 10 เซนติเมตร
2. เลนส์นูน ทางยาวโฟกัส 10 เซนติเมตร
3. เลนส์นูน ทางยาวโฟกัส 5 เซนติเมตร
4. เลนส์เว้า ทางยาวโฟกัส 5 เซนติเมตร
69. เลนส์เว้ามีความยาวโฟกัส 20 เซนติเมตร จะต้องวางวัตถุไว้ที่ตาแหน่งกี่เซนติเมตร จึงจะ
ให้ภาพมีขนาด 41 เท่าของวัตถุ
1. 20 2. 30 3. 50 4. 60
70. ถ้าต้องการให้ได้ภาพบนฉากมีขนาด 4 เท่าของวัตถุ และเกิดอยูห่ ่ างจากเลนส์ 100 เซน-
ติเมตร จะต้องใช้เลนส์นูนมีความยาวโฟกัสกี่เซนติเมตร
1. 10 2. 20 3. 30 4. 40
71. แว่นขยายทาด้วยเลนส์นูนความยาวโฟกัส 10 เซนติเมตร ถ้าต้องการใช้ส่องดูวตั ถุเพื่อให้
เห็นวัตถุใหญ่ข้ ึนควรวางวัตถุให้ห่างจากเลนส์เท่าใด
1. 7 เซนติเมตร 2. 14 เซนติเมตร
3. 21 เซนติเมตร 4. 28 เซนติเมตร
72(แนว En) วัตถุอยูท่ างด้านซ้ายมือของเลนส์นูน
วัตถุ
(ความยาวโฟกัส 5 เซนติเมตร) ระยะทาง 10
เซนติเมตร และมีเลนส์เว้า (ความยาวโฟกัส 10
เซนติเมตร) ทางด้านขวามือของเลนส์นูนนั้น 10 cm 5 cm
ระยะทาง 5 เซนติเมตร ภาพที่เกิดเป็ นดังข้อใด
1. ภาพเสมือนอยูท่ างด้านซ้ายมือของเลนส์เว้าเป็ นระยะทาง 3.33 เซนติเมตร
2. ภาพจริ งอยูท่ างด้านขวามือของเลนส์เว้าเป็ นระยะทาง 10 เซนติเมตร
3. ภาพเสมือนอยูท่ างด้านขวามือของเลนส์เว้าเป็ นระยะทาง 10 เซนติเมตร
4. ภาพจริ งอยูท่ างด้านซ้ายมือของเลนส์เว้าเป็ นระยะทาง 10 เซนติเมตร

53
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
73. เลนส์นูน 2 อัน ความยาวโฟกัสอันละ 10 เซนติเมตร วางห่างกัน 35 เซนติเมตร อยูบ่ น
แกนมุขสาคัญเดียวกัน วัตถุสูง 5 เซนติเมตร วางอยูห่ น้าเลนส์ท้ งั สอง และอยูห่ ่างจากเลนส์
อันใกล้ 15 เซนติเมตร จงหาตาแหน่งชนิดและขนาดของภาพที่เกิดจากแสงหักเหผ่านเลนส์
ทั้งสองแล้ว
1. ภาพเสมือนสู ง 20 เซนติเมตร , อยูห่ น้าเลนส์ L2 ห่าง 10 เซนติเมตร
2. ภาพเสมือนสู ง 40 เซนติเมตร , อยูห่ น้าเลนส์ L2 ห่าง 20 เซนติเมตร
3. ภาพเสมือนสู ง 20 เซนติเมตร , อยูห่ ลังเลนส์ L2 ห่าง 10 เซนติเมตร
4. ภาพเสมือนสู ง 40 เซนติเมตร , อยูห่ ลังเลนส์ L2 ห่าง 20 เซนติเมตร
74(แนว มช) แสงจากจุดวัตถุซ่ ึ งอยูห่ ่าง
เลนส์นูนเป็ นระยะ 12 เซนติเมตร จุดวัตถุ
เมื่อหักเหผ่านเลนส์นูนจะตัดแกนห่าง
จากเลนส์นูนเป็ นระยะ 24 เซนติเมตร
เมื่อนาเลนส์เว้ามาวางต่อจากเลนส์นูน
12 cm 6 cm
เป็ นระยะ 6 เซนติเมตร ปรากฎว่า
แสงที่หกั เหผ่านเลนส์เว้าเป็ นแสงขนาน 24 cm

กับแกนดังรู ป ทางยาวโฟกัสของเลนส์เว้าเท่ากับ
1. 6 เซนติเมตร 2. 12 เซนติเมตร
3. 18 เซนติเมตร 4. 24 เซนติเมตร
75. เลนส์นูนความยาวโฟกัส 0.2 เมตร และเลนส์
เว้า ความยาวโฟกัส 0.15 เมตร วางอยูด่ งั รู ป
เมื่อให้ลาแสงขนานตกกระทบเลนส์นูนลาแสง
จะผ่านเลนส์นูนไปสู่ เลนส์เว้า ถ้าลาแสงผ่าน
เลนส์เว้าออกมาเป็ นลาแสงขนานอีกครั้งหนึ่งเลนส์ท้ งั สองจะต้องห่างกันกี่เมตร
1. 0.03 2. 0.02 3. 0.04 4. 0.05

54
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
11.6 ตาและการมองเห็น
76(แนว En) เลนส์แว่นตาสาหรับคนตายาวทาหน้าที่ต่อผูใ้ ส่ แว่นนั้นอย่างไร
1. ย้ายวัตถุที่ระยะ 25 เซนติเมตร จากตาไปไว้ที่ระยะใกล้สุดที่ตาเปล่ามองเห็นชัด
2. ย้ายวัตถุที่ระยะ 25 เซนติเมตร จากตาไปไว้ที่อนันต์
3. ย้ายวัตถุที่ระยะอนันต์มาไว้ที่ระยะใกล้สุดที่ตาเปล่ามองเห็นชัด
4. ย้ายวัตถุที่ระยะอนันต์มาไว้ที่ระยะไกลสุ ดที่ตาเปล่ามองเห็นชัด
77. เลนส์แว่นตาสาหรับคนตาสั้นทาหน้าที่ต่อผูใ้ ส่ แว่นนั้นอย่างไร
1. ย้ายวัตถุที่ระยะ 25 เซนติเมตร จากตาไปไว้ที่ระยะใกล้สุดที่ตาเปล่ามองเห็นชัด
2. ย้ายวัตถุที่ระยะ 25 เซนติเมตร จากตาไปไว้ที่อนันต์
3. ย้ายวัตถุที่ระยะอนันต์มาไว้ที่ระยะใกล้สุดที่ตาเปล่ามองเห็นชัด
4. ย้ายวัตถุที่ระยะอนันต์มาไว้ที่ระยะไกลสุ ดที่ตาเปล่ามองเห็นชัด

11.7 ทัศนอุปกรณ์
11.7.1 แว่นขยาย
11.7.2 เครื่องฉายภาพนิ่ง
11.7.3 กล้ องถ่ ายรู ป
11.7.4 กล้ องจุลทรรศน์
11.7.5 กล้องโทรทรรศน์
78. พิจารณาข้อความต่อไปนี้ ข้อใดถูก
ก. ภาพที่มองเห็นจากกล้องจุลทรรศน์เป็ นภาพเสมือนหัวตั้งขนาดใหญ่วา่ วัตถุ
ข. ภาพที่เกิดในระนาบฟิ ล์มของกล้องถ่ายรู ปเป็ นภาพจริ งหัวกลับขนาดเล็กกว่าวัตถุ
ค. ภาพที่เห็นจากแว่นขยายเมื่อระยะวัตถุส้ ันกว่าความยาวโฟกัสเป็ นภาพเสมือนหัวตั้ง
ขนาดใหญ่กว่าวัตถุ
1. ก. และ ข. 2. ข. และ ค. 3. ก. และ ค 4. ข. เท่านั้น

55
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
11.8 ความสว่ าง
79. หลอดฟลูออเรสเซนต์ 1 หลอด ให้อตั ราพลังงานแสงได้ 2500 ลูเมน ความสว่างจาก
หลอดไฟ 4 หลอด บนโต๊ะพื้นที่ 5 ตารางเมตร มีค่าเป็ นเท่าไร
1. 1080 ลักซ์ 2. 880 ลักซ์ 3. 2000 ลักซ์ 4. 2540 ลักซ์
80. พลังงานแสงเท่ากับ 1000 ลูเมน เมื่อใช้ไประยะหนึ่ งประสิ ทธิ ภาพของหลอดใน การให้
พลังงานแสงเหลื อเพี ยง 60% ถ้าต้องการฉายภาพให้มีค วามสว่างเฉลี่ ยบนจอ 300 ลัก ซ์
ภาพที่ฉายจะมีขนาดใหญ่มากที่สุดได้กี่ตารางเมตร
1. 4 2. 14 3. 20 4. 2
81. เครื่ องฉายภาพยนตร์ เครื่ องหนึ่งให้ความสว่างเฉลี่ยบนจอ 300 ลักซ์ เมื่อฉายที่ระยะห่าง
จากจอ 5 เมตร ถ้าเลื่อนเครื่ องฉายไปเป็ น 2 เท่าของระยะเดิม ความสว่างบนจอจะเป็ นเท่าใด
1. 65 ลักซ์ 2. 70 ลักซ์ 3. 75 ลักซ์ 4. 80 ลักซ์

11.9 แสงสี และการผสมสี


82. ฉายแสงสี ขาวกระทบวัตถุ ก. และวัตถุ ข. ซึ่งวางอยูด่ ว้ ยกัน มองเห็นวัตถุ ก. สี เหลือง
ส่ วนวัตถุ ข. เห็นเป็ นสี ขาว หากฉายแสงสี เขียวแทนแสงสี ขาว จะมองเห็นเป็ นเช่นไร
1. เห็นวัตถุ ก. และ ข. สี เขียว 2. เห็นวัตถุ ก. สี เหลือง วัตถุ ข. สี ขาว
3. เห็นวัตถุ ก. สี ดา และ วัตถุ ข. สี เขียว 4. เห็นวัตถุ ทั้ง ก. และ ข. สี ดา



56
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 11 แสงและทัศนอ ุปกรณ์
เฉลยตะลุ ย โจท ย์ ทั่ วไป บท ที่ 11 แสงและทัศ นอุ ป ก รณ์
1. ตอบข้ อ 1. 2. ตอบข้ อ 1. 3. ตอบข้ อ 3. 4. ตอบ 12
5. ตอบข้ อ 1. 6. ตอบข้ อ 2. 7. ตอบข้ อ 1. 8. ตอบข้ อ 2.
9. ตอบข้ อ 1. 10. ตอบข้ อ 3. 11. ตอบข้ อ 3. 12. ตอบข้ อ 1.
13. ตอบข้ อ 4. 14. ตอบข้ อ 2. 115. ตอบข้ อ 4. 16. ตอบข้ อ 3.
17. ตอบข้ อ 1. 18. ตอบข้ อ 1. 19. ตอบข้ อ 4. 20. ตอบข้ อ 1.
21. ตอบข้ อ 4. 22. ตอบข้ อ 4. 23. ตอบข้ อ 2. 24. ตอบข้ อ 2.
25. ตอบข้ อ 1. 26. ตอบข้ อ 1. 27. ตอบข้ อ 2. 28. ตอบข้ อ 3.
29. ตอบข้ อ 2. 30. ตอบข้ อ 1. 31. ตอบข้ อ 4. 32.ตอบข้ อ 3.
33. ตอบข้ อ 3. 34. ตอบข้ อ 3. 35. ตอบข้ อ 2. 36. ตอบข้ อ 4.
37. ตอบข้ อ 1. 38. ตอบข้ อ 3. 39. ตอบข้ อ 1. 40. ตอบข้ อ 1.
41. ตอบข้ อ 2. 42. ตอบข้ อ 1. 43. ตอบข้ อ 2. 44. ตอบข้ อ 3.
45. ตอบข้ อ 1. 46. ตอบข้ อ 2. 47. ตอบข้ อ 2. 48. ตอบข้ อ 1.
49. ตอบข้ อ 3. 50. ตอบข้ อ 1. 51. ตอบข้ อ 3. 52. ตอบข้ อ 4.
53. ตอบข้ อ 2. 54. ตอบข้ อ 1. 55. ตอบข้ อ 1. 56. ตอบข้ อ 2.
57. ตอบข้ อ 4. 58. ตอบข้ อ 4. 59. ตอบ 20 60. ตอบข้ อ 1.
61. ตอบข้ อ 1. 62. ตอบ 6 63. ตอบข้ อ 4. 64. ตอบข้ อ 2.
65. ตอบข้ อ 3. 66. ตอบข้ อ 1. 67. ตอบข้ อ 2. 68. ตอบข้ อ 1.
69. ตอบข้ อ 4. 70. ตอบข้ อ 2. 71. ตอบข้ อ 1. 72. ตอบข้ อ 2.
73. ตอบข้ อ 1. 74. ตอบข้ อ 3. 75. ตอบข้ อ 4. 76. ตอบข้ อ 1.
77. ตอบข้ อ 4. 78. ตอบข้ อ 2. 79. ตอบข้ อ 3. 80. ตอบข้ อ 4.
81. ตอบข้ อ 3. 82. ตอบข้ อ 1.



57
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
บทที่ 12 แสงเชิงฟิ สิกส์
12.1 การแทรกสอดของแสง

เมื่อฉายแสงอาพันธ์ผา่ นแผ่นทึบแสงที่มีช่องแคบคู่อยู่ ( สลิตคู่ ) แสงที่ลอดผ่านช่องแคบ


คู่ไปนั้นจะสร้างคลื่นแสงใหม่ข้ ึนมา 2 แสง แล้วคลื่นแสงทั้งสองนั้นจะเกิดการแทรกสอดกัน
หลังแผ่นทึบแสงนั้น โดยจะมีแนวบางแนวแสงทั้งสองจะเข้ามาเสริ มกันทาให้มีความสว่าง
มากกว่าปกติ เรี ยกแนวนี้ วา่ แนวปฏิบัพ (Antinode,A) หรือแถบสว่าง ซึ่ งจะมีอยูห่ ลายแนว
กระจายออกไปทั้งทางด้านซ้ายและด้านขวาอย่างสมมาตรกัน แถบสว่างที่อยูต่ รงกลางเราจะเรี ยก
เป็ นแถบสว่างที่ 0 ( A0) หรื อแถบสว่างกลาง ถัดออกไปจะเรี ยกแถบสว่างที่ 1 ( A1) , 2 ( A2) ,
3 ( A3) , .... ไปเรื่ อยๆ ทั้งทางด้านซ้ายและด้านขวาดังรู ป
ระหว่างกลางแถบสว่าง คลื่นแสงจะเกิดการหักล้างกันทาให้มีความสว่างน้อยปกติ เรี ยก
แนวนี้วา่ เป็ นแนวบัพ ( Node , N ) หรือแถบมืด แถบมืดแรกที่อยูถ่ ดั จากแถบสว่างกลาง ( A0 )
จะเรี ยกแถบมืดที่ 1 ( N1) ถัดออกไปจะเรี ยกแถบมืดที่ 2 ( N2) , 3 (N3) , ….. ไปเรื่ อยๆ ทั้ง
ทางด้านซ้ายและด้านขวาดังรู ป
หากนาฉากรับแสงไปรองรับแสงบริ เวณหลังสลิต เมื่อแสงที่เกิดการแทรกสอดแล้วมาตก
กระทบบนฉากจะทาให้เกิดเป็ นแถบสว่างและแถบมืดสลับกันไปบนฉากรับแสงนั้นดังรู ป
1
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
สมการทีใ่ ช้ คานวณเกีย่ วกับการแทรกสอดแสง
สาหรับแนวปฏิบัพ (An) (แถบสว่าง)
S1P – S2P = n 
d sin  = n 
 = nd Dx
สาหรับแนวบัพ (Nn) (แถบมืด)
S1P – S2P = (n – 12 )
d sin  = (n – 12 )
 = d 1x
(n  2 ) D
เมื่อ P คือจุดซึ่ งอยูบ่ นแถบสว่างหรื อแถบมืดลาดับที่ n
S1 คือจุดเกิดคลื่นลูกที่ 1 (ช่องแคบที่ 1 ) S2 คือจุดเกิดคลื่นลูกที่ 2 (ช่องแคบที่ 2 )
S1P คือระยะจาก S1 ถึง P ( เมตร ) S2P คือระยะจาก S2 ถึง P ( เมตร )
 คือความยาวคลื่น ( เมตร ) d คือระยะห่ างจาก S1 ถึง S2 ( เมตร )
D คือระยะจากสลิตถึงฉากรับแสง ( เมตร )
 คือมุมที่วดั จากแถบสว่างกลางถึงแถบสว่างหรื อแถบมืดที่ n
x คือระยะจากแถบสว่างกลางถึงแถบสว่างหรื อแถบมืดที่ n บนฉากรับแสง ( เมตร )
n คือลาดับที่ของแถบสว่างหรื อแถบมืดซึ่ งจุด P อยูบ่ นนั้น หรื อที่วดั มุม  ไปถึง
หรื อที่วดั ความยาว x ไปถึง

1. เมื่อฉายแสงที่มีความยาวคลื่น 700 นาโนเมตร ตกตั้งฉากบนช่องแคบคูห่ นึ่งซึ่ งห่างกัน 0.2


มิลลิเมตร จงหาว่าแถบสว่างลาดับที่ 10 ทั้งสองด้านจะทามุมกันกี่องศา (sin 2o = 0.035)
1. 2 องศา 2. 3 องศา 3. 4 องศา 4. 8 องศา

2
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
2. สลิตคู่ห่างกัน 0.03 มิลลิเมตร วางห่างจากฉาก 2 เมตร เมื่อฉายแสงผ่านสลิต ปรากฏว่า
แถบสว่างลาดับที่ 5 อยูห่ ่างจากแถบกลาง 14 เซนติเมตร ความยาวคลื่นของแสงเป็ นกี่
นาโนเมตร
1. 320 2. 380 3. 420 4. 480

3. ช่องแคบคู่หนึ่งห่างกัน 0.1 มิลลิเมตร เมื่อฉายแสงความยาวคลื่น 600 นาโนเมตร ตกตั้ง


ฉากบนช่องแคบ แถบสว่างลาดับที่ 4 บนฉากที่ห่างออกไป 80 เซนติเมตร จะอยูห่ ่างจาก
แนวกลางกี่เซนติเมตร
1. 0.80 2. 1.92 3. 4.68 4. 6.59

4(แนว En) เมื่อใช้แสงที่มีความยาวคลื่น 5.0 x 10–7 เมตร ตกตั้งฉากกับสลิตคูเ่ กิดภาพการแทรก


สอดบนฉากที่อยูห่ ่างออกไป 1 เมตร ถ้าระยะห่างระหว่างสลิตคู่เท่ากับ 0.1 มิลลิเมตร
แถบสว่าง 2 แถบที่ติดกันอยูห่ ่างกันกี่มิลลิเมตร
1. 1 2. 3 3. 5 4. 10

3
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
5. สลิ ตคู่ที่มีระยะระหว่างสลิ ตเป็ น 0.10 เซนติเมตร ฉากอยู่ห่างจากสลิ ตเป็ นระยะทาง 1.0
เมตร ระยะระหว่างแถบมืดที่อยูต่ ิดกันมีค่าเป็ น 0.5 มิลลิเมตร ความยาวคลื่นแสงที่ใช้เป็ น
เท่าใดในหน่วยนาโนเมตร
1. 300 2. 400 3. 500 4. 600

6. แสงสี เหลืองความยาวคลื่น 630 นาโนเมตร ตกตั้ง 6 mm


ฉากผ่านสลิตคู่อนั หนึ่ง พบว่าบนฉากที่ห่างออกไป A0 A1 A2 A3 A4 A5 A6 A7
1.5 เมตร แถบสว่างลาดับที่ 3 และลาดับที่ 7 อยู่
ห่างกัน 6 มิลลิเมตร ช่องทั้งสองของสลิตคู่น้ ี อยู่
ห่างกันกี่ไมโครเมตร
1. 330 2. 450 3. 580 4. 630

7. เมื่อใช้แสงสี แดงความยาวคลื่น 650 นาโนเมตร ตกตั้งฉากกับสลิ ตคู่ เกิดภาพแทรกสอด


บนฉากโดยแถบสว่าง 2 แถบติดกันอยูห่ ่างกัน 0.25 มิลลิเมตร แต่ถา้ ใช้แสงสี ม่วงความ
ยาวคลื่น 400 นาโนเมตร ตกตั้งฉากกับสลิตคู่ดงั กล่าวแถบสว่าง 2 แถบติดกันจะห่างกัน
กี่มิลลิเมตร
1. 0.10 2. 0.15 3. 0.20 4. 0.22

4
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
8. เมื่อให้ลาแสงขนานแสงสี เดียว ความยาวคลื่น  ตกตั้งฉากกับสลิตคู่ซ่ ึ งมีระยะห่ างระหว่าง
ช่ องสลิ ตเป็ น d แล้วจะเกิ ดภาพการแทรกสอดขึ้ นบนฉากที่ อยู่ห่างจากสลิ ตเป็ นระยะ D
จงหาระยะระหว่างแถบสว่างแถบแรกกับแถบมืดที่สาม
1. λdD 2. 23 λdD 3. 2 λdD 4. 25 λdD

12.2 การเลีย้ วเบนของแสง


เมื่อฉายแสงผ่านแผ่นทึบแสงซึ่ ง
มี 1 ช่องแคบ ( สลิตเดี่ยว ) เมื่อแสง
ลอดผ่านช่องแคบไปแล้ว จะเกิดการ
เลี้ยวเบนโดยแถบสว่างกลางจะมีความ
กว้างมากและถัดออกไป จะมีแถบมืด
กับแถบสว่างสลับกันไป แถบมืดแรก
ที่อยูถ่ ดั จากแถบสว่างกลาง จะเรี ยก
แถบมืดที่ 1 ( N1 ) ถัดไปจะเป็ นแถบ
มืดที่ 2 ( N2 ) , 3 ( N3 ) ไปเรื่ อยๆ

สมการทีใ่ ช้ คานวณเกีย่ วกับแนวบัพของการเลีย้ วเบน


d sin  = n 
และ  = nd D x
เมื่อ d คือความกว้างของช่องสลิตเดี่ยว ( เมตร )
 คือความยาวคลื่น ( เมตร )
 คือมุมที่วดั จากแถบสว่างกลางถึงแถบมืดที่ n
D คือระยะจากสลิตถึงฉากรับแสง ( เมตร )
x คือระยะจากแถบสว่างกลางถึงแถบมืดที่ n บนฉากรับแสง ( เมตร )
n คือลาดับที่ของแถบมืดซึ่งวัด x ไปถึง หรื อวัด  ไปถึง
5
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
9. ฉายแสงผ่านสลิ ตเดี่ยวทาให้เกิดแนวมืดแถบแรกเบนไปจากแนวกลางเป็ นมุม 30o กาหนด
ความยาวคลื่น 650 นาโนเมตร จงหาความกว้างของช่องสลิตในหน่วยไมโครเมตร
1. 0.65 2. 1.3 3. 650 4. 1300

10(แนว En) ใช้แสงมีความยาวคลื่น 600 นาโนเมตร


x = 6 mm
ตกตั้งฉากผ่านสลิตเดี่ยวที่มีความกว้างของช่องเท่า
กับ 50 ไมโครเมตร จากการสังเกตภาพเลี้ ยวเบน N1 N1
บนฉาก พบว่าแถบมืดแถบแรกอยูห่ ่างจากกึ่งกลาง
แถบสว่างกลาง 6.0 มิลลิเมตร ระยะระหว่าง
สลิตเดี่ยวกับฉากเป็ นเท่าใดในหน่วยเซนติเมตร
1. 20 2. 30 d
3. 40 4. 50

11. แสงความยาวคลื่น 550 นาโนเมตร ตกตั้งฉากบนสลิตเดี่ยวกว้าง 50 ไมโครเมตร เกิด


ภาพการแทรกสอดบนฉากห่ าง 0.6 เมตร แถบมืดที่สองอยูห่ ่างจากแถบมืดที่สี่กี่เมตร
1. 0.66 x 10–2 2. 1.32 x 10–2 3. 0.66 x 10–3 4. 1.32 x 10–3

6
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
12(แนว En) แสงสี เหลืองความยาวคลื่น 590 นาโนเมตร เป็ นลาขนาน
ฉายผ่านสลิตเดี่ยว (single slit ) กว้าง 250 ไมโครเมตร แสงที่ตก
บนฉากหลังสลิตที่ระยะ 50 เซนติเมตร มีความเข้มดังรู ปในแนว
ตั้งฉากกับแนวของสลิตระยะ A จะเป็ นเท่าใด
1. 1.18 มิลลิเมตร 2. 2.36 มิลลิเมตร A
3. 3.54 มิลลิเมตร 4. 4.92 มิลลิเมตร

13. ใช้แสงความยาวคลื่น 600 นาโนเมตร ฉายผ่านสลิตเดี่ยวเกิดแถบมืด – สว่าง บนฉากห่ าง


ออกไป 3 เมตร ระยะห่างระหว่างจุดที่มืดที่สุดสองข้างของแถบสว่างที่กว้างที่สุดเป็ น 1.5
เซนติเมตร สลิตนั้นกว้างกี่เมตร
1. 1.2 x 10–2 2. 2.4 x 10–2 3. 1.2 x 10–4 4. 2.4 x 10–4

12.3 เกรตติง
เกรตติงเป็ นแผ่นทึ บแสงซึ่ งประกอบด้วยช่ องขนาดเล็กจานวนมากมายที่ เล็กจนมอง
ด้วยตาเปล่าไม่เห็น จานวนช่องของเกรตติงอาจมีต้ งั แต่ 1000 ถึง 10000 ช่องในช่วงความยาว
1 เซนติเมตร โดยช่องมีขนาดแคบมากและอยูห่ ่างเท่าๆ กัน
ปกติแล้วเมื่อแสงผ่านเกรตติงออกไป จะทาให้เกิดทั้งการแทรกสอดและเลี้ ยวเบนขึ้น
ควบคู่กนั ไป โดยแถบสว่างของการเลี้ยวเบนจะมีความกว้างมาก ส่ วนแถบสว่างและแถบมืดของ
การแทรกสอดจะมีขนาดเล็กแทรกอยูภ่ ายในแถบสว่างของการเลี้ยวเบนนั้น
7
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์

ความสว่ างทีเ่ กิดจากการ ความสว่ างทีเ่ กิดจากการ


เลีย้ วเบนโดยสลิตเดีย่ ว แทรกสอดโดยสลิตคู่

การคานวณเกี่ยวกับแถบสว่าง ( An ) ของการแทรกสอด ยังคงใช้สมการเดิมคือ


d sin  = n 
 = nd Dx
เมื่อ  คือความยาวคลื่น ( เมตร )
d คือระยะห่ างจาก S1 ถึง S2 ( เมตร )
เราหาค่า d ได้จาก
d= ความยาวเกรตติง
จานวนช่องในความยาวนัน
D คือระยะจากสลิตถึงฉากรับแสง ( เมตร )
 คือมุมที่วด
ั จากแถบสว่างกลางถึงแถบสว่างที่ n
x คือระยะจากแถบสว่างกลางถึงแถบสว่างที่ n บนฉากรับแสง ( เมตร )
n คือลาดับที่ของแถบสว่างที่วดั มุม  ไปถึง หรื อที่วดั ความยาว x ไปถึง
การคานวณเกี่ยวกับแถบมืด ( Nn ) ของการเลี้ยวเบนใช้สมการ
d sin  = n 
 = nd D x
เมื่อ d คือความกว้างของช่องสลิตเดี่ยว ( เมตร )
 คือความยาวคลื่น ( เมตร )
 คือมุมที่วดั จากแถบสว่างกลางถึงแถบมืดที่ n
D คือระยะจากสลิตถึงฉากรับแสง ( เมตร )
x คือระยะจากแถบสว่างกลางถึงแถบมืดที่ n บนฉากรับแสง ( เมตร )
n คือลาดับที่ของแถบมืดซึ่งวัด x ไปถึง หรื อวัด  ไปถึง

8
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
14(แนว มช) เกรตติงมี 2000 ช่องต่อเซนติเมตร ถ้าฉายแสงความยาวคลื่นขนาดหนึ่งไปยังเกรต
ติงนี้ แถบสว่างที่เกิดขึ้นแถบแรกบนจอจะอยูห่ ่างจากแนวกลางเป็ นมุม 30 องศา แสงนั้นมี
ความยาวคลื่นเท่าใดในหน่วยนาโนเมตร
1. 1.5x10–6 2. 2.5x10–6 3. 1500 4. 2500

15(แนว En) จากการทดลองเพื่อศึกษาสเปกตรัมของก๊าซ x


O
ไฮโดรเจน โดยใช้เกรตติงซึ่ งมีจานวนช่อง/เซนติเมตร
เท่ากับ 3000 ดังรู ป พบว่าเมื่อระยะ D เท่ากับ 1
D
เมตร จะมีแถบสว่างสี เดียวกันบนไม้เมตรห่างจาก
จุด O ทั้งทางด้านซ้ายและขวาเท่ากันคือ 0.3 เมตร เกรตติง
จงหาว่าแถบสว่างนั้น มีความยาวคลื่นประมาณ
1. 464 นาโนเมตร 2. 565 นาโนเมตร
3. 632 นาโนเมตร 4. 1000 นาโนเมตร

9
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
16(แนว มช) แสงความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร พุง่ ผ่านเกรตติงพบว่าแนวแถบสว่างแถบที่ 4
ทามุมกับแนวแถบสว่างตรงกลางเท่ากับ 30 องศา จงหาจานวนช่องสลิตต่อเซนติเมตรของ
เกรตติงนี้
1. 2000 2. 200 3. 3333 4. 2500

17(แนว En) แสงขาวตกตั้งฉากกับเกรตติง สเปกตรัมลาดับที่ 3 ของแสงสี ม่วงตรงกับสเปกตรัม


ลาดับที่ 2 ของแสงสี แดง ถ้าความยาวคลื่นของแสงสี ม่วงเป็ น 400 นาโนเมตร ความยาว
คลื่นของแสงสี แดงเป็ นกี่นาโนเมตร
1. 100 2. 300 3. 600 4. 900

10
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
18. เมื่อให้แสงความยาวคลื่น 1 และ 2 ผ่านสลิตคู่ซ่ ึ งห่างกัน d พบว่าแถบมืดที่ 4 ของ
แสงความยาวคลื่น 1 เกิดขึ้นที่เดียวกับแถบมืดที่ 5 ของแสงความยาวคลื่น 2 อัตราส่ วน
ของ 1 / 2 มีค่าเท่าใด
1. 12 2. 53 3. 35 4. 97

19(แนว En) ต้องการให้ตาแหน่ งริ้ วมืดแรกของลวดลายจากการเลี้ ยวเบนของสลิ ตเดี่ยวตรงกับ


ตาแหน่ งมืดที่ 5 ของริ้ วลวดลายจากการแทรกสอดของสลิ ตคู่ระยะระหว่างสลิ ตคู่ตอ้ งเป็ น
กี่เท่าของความกว้างของสลิต
1. 5 2. 72 3. 92 4. 112

12.4 การกระเจิงของแสง
เมื่อแสงอาทิตย์ผา่ นเข้ามาในบรรยากาศของโลก แสงจะกระทบโมเลกุลของอากาศหรื อ
อนุภาคในบรรยากาศ อิเล็กตรอนในโมเลกุลจะดูดกลืนแสงที่ตกกระทบนั้น และจะปลดปล่อย
แสงนั้นออกมาอีกครั้งหนึ่งในทุกทิศทาง ปรากฏการณ์น้ี เรี ยกว่า การกระเจิงของแสง
ปกติแล้วแสงสี ม่วง สี น้ าเงิน ในแสงอาทิตย์จะกระเจิงได้ดีกว่าแสงสี แดง ดังนั้นในช่วง
เวลากลางวันแสงสี ม่วง สี น้ าเงินจะกระเจิงเต็มท้องฟ้ า แต่ตาคนเรารับแสงสี น้ าเงินได้ดีกว่าสี
ม่วงเราจึงมองเห็นท้องฟ้ าเป็ นสี ฟ้าในตอนกลางวัน ส่ วนในตอนเช้าซึ่งพระอาทิตย์เริ่ มขึ้น หรื อ
ตอนเย็นพระอาทิตย์ใกล้ตก สี ม่วงและสี น้ าเงินซึ่งกระเจิงได้ดี จะกระเจิงหายไปทางอื่น ทาให้
เหลือแต่สีแดงเราจึงเห็นท้องฟ้ าเป็ นสี แดงในตอนเช้าหรื อเย็น
11
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
เฉลยบทที่ 12 แสงเชิงฟิ สิกส์
1. ตอบข้ อ 3. 2. ตอบข้ อ 3. 3. ตอบข้ อ 2. 4. ตอบข้ อ 3.
5. ตอบข้ อ 3. 6. ตอบข้ อ 4. 7. ตอบข้ อ 2. 8. ตอบข้ อ 2.
9. ตอบข้ อ 2. 10. ตอบข้ อ 4. 11. ตอบข้ อ 2. 12. ตอบข้ อ 2.
13. ตอบข้ อ 4. 14. ตอบข้ อ 4. 15. ตอบข้ อ 4. 16. ตอบข้ อ 4.
17. ตอบข้ อ 3. 18. ตอบข้ อ 4. 19. ตอบข้ อ 3.



12
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
ตะลุยโจทย์ทวั่ ไป บทที่ 12 แสงเชิงฟิ สิกส์
12.1 การแทรกสอดของแสง
1. เมื่อฉายแสงความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร ลงบนสลิตคู ่ ซึ่ งมีระยะห่างระหว่างสลิตเป็ น 10
ไมโครเมตร อยากทราบว่าจุดที่เกิดการแทรกสอดแบบเสริ มกันจุดที่ 2 จะเบนไปจากแนวที่
ฉายแสงเป็ นมุมเท่าใด (sin 6o = 0.1)
1. 3o 2. 6o 3. 12o 4. 30o
2. เมื่อฉายแสงที่มีความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร ตกตั้งฉากบนช่องแคบคูห่ นึ่งซึ่ งห่ างกัน 0.1
มิลลิเมตร จงหาว่าแถบสว่างลาดับที่ 20 จะเอียงทำมุมกับแถบสว่ำงกลำงกี่องศา (sin 6o= 0.1)
1. 2 องศา 2. 3 องศา 3. 6 องศา 4. 12 องศา
3. สลิตคู่ห่างกัน 1 ไมโครเมตร มีแสงความยาวคลื่น 550 นาโนเมตร ผ่านในแนวตั้งฉาก
จงหามุมที่แถบมืดแรกเบนออกจากแนวกลาง
1. sin–1 0.275 2. sin–1 0.375 3. sin–1 0.460 4. sin–1 0.500
4(แนว En) ให้แสงความยาวคลื่น 600 นาโนเมตร ผ่านสลิตคู่ในแนวตั้งฉาก เกิ ดลวดลายการ
แทรกสอดบนฉากที่อยู่ห่างจากสลิ ต 1 เมตร วัดระยะระหว่างกึ่ งกลางของแถบสว่าง 2
แถบที่ถดั กันได้ 6 มิลลิเมตร สลิตคู่น้ ีมีระยะห่างระหว่างช่องสลิตเท่าใดในหน่วยมิลลิเมตร
1. 0.1 2. 0.2 3. 0.3 4. 0.5
5. แสงที่มีความยาวคลื่น 5 x 10–7 เมตร ส่ องกระทบสลิตคู่แคบๆ ซึ่ งมีระยะห่ างระหว่างสลิ ต
1 มิลลิเมตร ระยะห่ างระหว่างแถบสว่างจากการแทรกสอดที่เกิ ดขึ้นบนฉากซึ่ งอยู่ห่างจาก
สลิตเป็ นระยะ 2 เมตร จะเป็ นเท่าใด
1. 0.1 มิลลิเมตร 2. 0.25 มิลลิเมตร 3. 0.4 มิลลิเมตร 4. 1.0 มิลลิเมตร
6. สลิตคู่มีระยะห่ างระหว่างช่องสลิตเท่ากับ 0.40 มิลลิเมตร เมื่อส่ องด้วยแสงสี เดียวและเป็ น
แสงอาพันธ์ในแนวตั้งฉาก ปรากฏริ้ วการแทรกสอดบนฉากที่อยูห่ ่างจากสลิต 2.50 เมตร
วัดระยะระหว่างแถบสว่างลาดับถัดกันได้เท่ากับ 3.50 มิลลิเมตร แสงนี้ มีความยาวคลื่นกี่
เมตร
1. 2.60 x 10–7 2. 3.20 x 10–7 3. 4.80 x 10–7 4. 5.60 x 10–7

13
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
7. จากการทดลองเรื่ องการแทรกสอดของแสงโดยใช้สลิตคู ่ พบว่าระยะระหว่างริ้ วสว่างที่อยู่
ติดกันเท่ากับ 0.329 มิลลิเมตร ระยะระหว่างช่องสลิตเท่ากับ 0.5 มิลลิเมตร และระยะห่ าง
ระหว่างสลิตคู่กบั ฉากเท่ากับ 40 เซนติเมตร จงหาความยาวคลื่นของแสงในหน่วยเมตร
1. 2.11 x 10–6 2. 4.11 x 10–6 3. 2.11 x 10–7 4. 4.11 x 10–7
8. สลิ ตคู่มีระยะห่ างช่ องสลิ ตเท่ ากับ 0.40 มิ ลลิ เมตร เมื่ อส่ องด้วยแสงสี เดี ยวและเป็ นแสง
อาพันธ์ในแนวตั้งฉาก ปรากฏริ้ วการแทรกสอดบนฉากที่อยูห่ ่ างจากสลิต 2.50 เมตร วัดระยะ
ระหว่างแถบสว่างลาดับถัดกันได้เท่ากับ 3.50 มิลลิเมตร แสงนี้ มีความยาวคลื่นกี่นาโนเมตร
1. 380 2. 480 3. 560 4. 640
9. ในการเกิดการแทรกสอดของแสงที่มีความยาวคลื่น 7.5x10–7 เมตร โดยใช้ช่องขนาดเล็ก 2
ช่อง บนฉากที่อยูห่ ่ างออกไป 1 เมตร ถ้าต้องการให้แถบสว่าง 2 แถบที่ติดกันอยูห่ ่ างกัน 1
มิลลิ เมตร ช่ องทั้งสองจะต้องอยู่ห่างกันกี่ เมตร (ให้ถือว่าตาแหน่ งแถบสว่างเบนไปจากแนว
กลางน้อยมาก)
1. 3.75 x 10–4 2. 7.50 x 10–4 3. 3.75 x 10–6 4. 7.50 x 10–6
10. แสงสี หนึ่ง เมื่อผ่านช่องแคบคู่ซ่ ึ งอยูห่ ่างกัน 0.5 มิลลิเมตร ปรากฏว่าแถบสว่างที่ 4 และที่
6 อยู่ห่างกัน 2 มิ ลลิเมตร บนฉาก ซึ่ งอยู่ห่างจากช่ องแคบคู่ 1 เมตร จงหาความยาว
คลื่นแสงนี้
1. 250 นาโนเมตร 2. 300 นาโนเมตร 3. 450 นาโนเมตร 4. 500 นาโนเมตร
11. ฉายแสงสองค่าความถี่ผ่านตั้งฉากกับสลิตคู่ไปยังฉากปรากฏว่าแถบสว่างลาดับที่ 2 ของ
แสงที่มีความยาวคลื่น 750 นาโนเมตร ซ้อนอยูก่ บั แถบสว่างลาดับที่ 3 ของแสงสี หนึ่งแล้ว
แสงสี น้ นั จะมีความยาวคลื่นกี่นาโนเมตร
1. 250 2. 300 3. 450 4. 500
12. เมื่ อให้แสงที่ เปล่งจากหลอดบรรจุไฮโดรเจน ผ่านตั้งฉากช่ องสลิ ตคู่ขนานกันอันหนึ่ ง
ปรากฏว่าเส้นสเปกตรัมที่ เป็ นลาดับที่ 2 (second – order) เนื่ องจากแสงสี แดงซึ่ งมีความยาว
คลื่น 656 นาโนเมตร ซ้อนอยูท่ ี่เดี ยวกับสเปกตรัมอีกเส้นหนึ่ งที่เป็ นลาดับที่ 3 (third – order)
เนื่องจากแสงสี อื่นอีกสี หนึ่ง แสงสี น้ี จะมีความยาวคลื่นเท่าใด
1. 437 นาโนเมตร 2. 486 นาโนเมตร
3. 546 นาโนเมตร 4. 579 นาโนเมตร
14
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
13. ส่ องแสงสี แดงตั้งฉากกับช่องสลิตคู่อนั หนึ่งปรากฏแถบสว่างที่ 1 จะเบนออกจากแนวกลาง
ไปเป็ นมุม 45 องศา ถ้านาช่ องสลิตคู่อีกอันหนึ่ งที่มีระยะระหว่างช่องเป็ น 3 เท่าของอัน
แรกมาวางแทนแถบสว่างที่ 3 จะเบนออกจากแนวกลางเป็ นมุมกี่องศา
1. 30 องศา 2. 45 องศา 3. 60 องศา 4. 90 องศา
14. ฉายแสง A และ B ให้ผา่ นช่องสลิตคูข่ นานกันไปบนฉากที่อยูห่ ่ างออกไป ปรากฏว่าริ้ วมืด
ที่สี่ของแสง A อยูซ่ ้อนกับริ้ วสว่างที่ห้าของแสง B ถ้าแสง A มีความยาวคลื่น 5.8 x 10–7
เมตร แสง B จะมีความยาวคลื่นเท่าใดในหน่วยของเมตร
1. 2.1 x 10–6 2. 4.1 x 10–6 3. 2.1 x 10–7 4. 4.1 x 10–7
15. เมื่ อให้แสงที่ เปล่ งจากหลอดบรรจุก๊าซชนิ ดหนึ่ งตกตั้งฉากบนช่ องสลิ ตคู่ ปรากฏว่าเส้ น
สเปกตรัมลาดับที่ 2 ของแสง A และของแสง B เบนไปจากแนวกลางเป็ นระยะ 0.6
เซนติเมตร และ 0.9 เซนติเมตร บนฉากตามลาดับ ถ้าแสง A มีความยาวคลื่น 500
นาโนเมตร แสง B มีความยาวคลื่นกี่นาโนเมตร
1. 350 2. 400 3. 550 4. 750
16. ในการทดลองเรื่ องสลิ ตคู่ของยังส์ พบว่าเมื่อให้แสงที่ ประกอบด้วยสองความยาวคลื่ น
1 = 750 นาโนเมตร , 2 = 900 นาโนเมตร ส่ อ งตั้งฉากไปยังสลิ ตคู่ ที่ มี ระยะห่ า ง
ระหว่างช่อง 2 มิลลิเมตร พบว่าแถบสว่างจากคลื่นทั้งสองที่ปรากฏบนฉากที่อยูห่ ่ างออก
ไป 2 เมตร จะซ้อนกันครั้งแรกที่ระยะห่างจากแถบสว่างตรงกลางกี่มิลลิเมตร
1. 2.0 2. 4.5 3. 5.5 4. 6.0
17. ถ้าแสงจากแหล่งกาเนิดแสงอันหนึ่งประกอบด้วยคลื่นแสง 2 ความยาวคลื่น ซึ่งมีอตั รา
ส่ วนของความยาวคลื่นเป็ น 1.2 จงคานวณหาค่า n สาหรับคลื่นที่ยาวกว่า ว่าต้องมีค่า
เท่าไร ที่จะทาให้ตาแหน่งของแถบสว่างของภาพที่เกิดจากการแทรกสอดของคลื่นนี้ ทบั กับ
ตาแหน่ งของแถบสว่างของคลื่นอันที่ส้ ันกว่าพอดี ในการทดลองเกี่ ยวกับช่องสลิตคู่ โดยให้
ตอบเพียงค่า n ที่เล็กที่สุดค่าเดียว ( n คือ ตัวเลขบอกลาดับ (order) ของแถบสว่าง )
1. 1 2. 3 3. 5 4. 6

15
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
18. แสงขนานความยาวคลื่น 600 นาโนเมตร ตกตั้งฉากกับช่องสลิตคู่ เมื่อนาฉากมาวางห่ าง
จากช่ อ งสลิ ต คู่ 1 เมตร พบว่า แถบสว่า งแถบที่ ส องจะอยู่ห่ า งจากแถบสว่า งแรก x
เซนติเมตร ถ้าเลื่อนฉากออกไปอีก 2 เมตร แถบสว่างแถบที่สองจะอยูห่ ่ างจากแถบสว่าง
แรกกี่เซนติเมตร
1. x 2. 2 x 3. 3 x 4. 4 x
19. เมื่อให้ลาแสงขนานผ่านสลิตคู่หนึ่ง แสงสี ใดต่อไปนี้ จะให้จานวนแถบสว่างมากที่สุด
1. แสงสี น้ าเงิน 2. แสงสี เขียว 3. แสงสี แสด 4. แสงสี แดง
20. ระยะห่างระหว่างช่องสลิตควรจะมีค่าน้อย เพื่อ
1. จะได้แถบสว่างมีความสว่างมากขึ้น
2. จะทาให้แถบสว่างอยูช่ ิดกันมากขึ้น ทาให้อยูใ่ นช่วงที่เครื่ องมือวัดจะวัดได้
3. จะทาให้แถบสว่างมีขนาดเล็กกว่าเดิม
4. จะทาให้แถบสว่างอยูห่ ่างกันทาให้สะดวกในการวัด

12.2 การเลีย้ วเบนของแสง


21. เมื่อให้แสงมีความยาวคลื่น 640 นาโนเมตร ผ่านช่องแคบเดี่ยว และต้องการให้แถบมืดแรก
เบนจากแนวกลาง 30o จงหาความกว้างของช่องแคบนี้ในหน่วยไมโครเมตร
1. 0.64 2. 1.28 3. 640 4. 1280
22. แสงความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร ตกตั้งฉากผ่านสลิตเดี่ยวที่มีความกว้าง 0.01 เซนติ-
เมตร จงหาระยะห่ างระหว่างแถบมืดลาดับที่ 1 ซึ่ งอยู่สองข้างของแถบสว่างที่ปรากฏบน
ฉากซึ่ งอยูห่ ่างออกไป 1.5 เมตร
1. 0.75 x 10–2 เมตร 2. 1.5 x 10–2 เมตร
3. 3.0 x 10–2 เมตร 4. 6.0 x 10–2 เมตร
23. แสงมีความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร ตกตั้งฉากกับสลิตเดี่ยวที่มีความกว้าง 2 ไมโครเมตร
ปรากฏภาพ ช่องแคบที่ระยะห่างออกไป 10 เซนติเมตร จงหาความกว้างของแถบสว่างตรง
กลางที่เกิดขึ้นในหน่วยเซนติเมตร
1. 2 2. 5 3. 7 4. 10

16
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
24. แสงเลเซอร์ ความยาวคลื่น 630 นาโนเมตร ฉายผ่านสลิตเดี่ยวแล้วปรากฏภาพของสลิตที่
ระยะ 3 เมตร เป็ นแถบสว่างหลายแถบระยะระหว่างจุดมื ดที่ สุด 2 ข้างของแถบสว่างที่
กว้างที่สุดเป็ น 1.5 เซนติเมตร สลิตนั้นกว้างเท่าไร (หน่วยเป็ นไมโครเมตร)
1. 63 2. 126 3. 189 4. 252
25. เมื่อฉายแสงความยาวคลื่น 600 นาโนเมตร ตกตั้งฉากกับสลิ ตเดี่ยว จะปรากฏภาพการ
แทรกสอดบนฉากที่ห่างออกไปจากสลิต 1.5 เมตร และแถบสว่างกลางกว้าง 2 เซนติเมตร
จงหาความกว้างของสลิตนี้ ในหน่วยไมโครเมตร
1. 10 2. 30 3. 60 4. 90
26. สลิตเดี่ยววางห่ างจากฉาก 60 เซนติเมตร ใช้แสงความยาวคลื่น 600 นาโนเมตร ทาให้
เกิดแถบการเลี้ยวเบนขึ้นที่ฉากวัดความกว้างแถบสว่างอันกลางได้ 0.7 เซนติเมตร จงหา
ความกว้างช่องสลิตนี้ในหน่วยเมตร
1. 1.03 x 10–4 2. 2.06 x 10–4 3. 1.03 x 10–6 4. 2.06 x 10–6
12.3 เกรตติง
27. เกรตติงมี 10000 ช่องต่อเซนติเมตร ถ้าฉายแสงความยาวคลื่น  ตกตั้งฉากกับเกรตติง
แถบสว่างที่เกิดขึ้นแถบแรกบนจอ จะอยูห่ ่างจากแนวกลางเป็ นมุม 30o ค่า  มีค่าเท่าใด
1. 250 นาโนเมตร 2. 300 นาโนเมตร 3. 450 นาโนเมตร 4. 500 นาโนเมตร
28. เกรตติงชนิ ด 6000 ช่ อง/เซนติ เมตร มีแสงตกผ่านทาให้เกิดแถบที่สองเบนทามุ ม 37o กับ
แถบสว่างกลาง ถ้าระยะห่ างจากเกรตติงไปยังฉากเท่ากับ 60 เซนติเมตร จงหาความยาวคลื่น
1. 250 นาโนเมตร 2. 300 นาโนเมตร 3. 450 นาโนเมตร 4. 500 นาโนเมตร
29(En 31) แสงสี ขาวที่ผา่ นเกรตติงที่มีจานวนช่องเท่ากับ 120 ช่องต่อความยาว 1 เซนติเมตร
ถ้าต้องการให้แสงสี เขียว ( ความยาวคลื่ น 500 นาโนเมตร ) เลี้ ยวเบนห่ างจากแถบสี ขาว
0.6 เซนติเมตร จะต้องวางฉากรับให้ห่างจากเกรตติงอย่างน้อยเป็ นระยะทางกี่เซนติเมตร
1. 50.0 2. 60.0 3. 66.7 4. 100.0
30. ใช้แสงที่มีความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร ส่ องผ่านเกรตติงอันหนึ่ งทาให้แถบสว่างที่ 2
เบนไปเป็ นมุม 30o จากแนวกลาง จงหาจานวนช่อง/เซนติเมตร ของเกรตติงนี้
1. 2500 2. 3000 3. 4500 4. 5000
17
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
31. แสงความช่ วงคลื่ น 600 นาโนเมตร พุ่งผ่านเกรตติ ง พบว่าแนวแถบสว่างที่ 4 ทามุ มกับ
แนวแถบสว่างตรงกลางเท่ากับ 37 องศา จงหาจานวนช่องต่อมิลลิเมตรของเกรตติงที่ใช้น้ ี
1. 250 2. 300 3. 450 4. 500
32. ฉายแสงที่มีความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร ลงบนเกรตติงที่มีจานวนเส้น 5000 เส้นต่อ
เซนติเมตร ระหว่างมุม  = 0o ถึง  = 90o จะมีตาแหน่งสว่างได้กี่ตาแหน่ง
1. 1 2. 2 3. 3 4. 4
33. เกรตติงอันหนึ่งชนิด 4000 ช่อง/เซนติเมตร ถ้าให้แสงมีความยาวคลื่น 600 นาโนเมตร
ส่ องผ่านจะเห็นแถบสว่างทั้งหมดกี่แถบ
1. 4 2. 5 3. 8 4. 9
34. ให้คลื่นหน้าตรงความยาวคลื่น 2 เซนติเมตร ตกกระทบช่องเปิ ดซึ่งกว้าง 6 เซนติเมตร
ในแนวตั้งฉากกับช่องเปิ ดจงหาแนวบัพที่เกิดขึ้นทั้งหมด
1. 5 แนว 2. 6 แนว 3. 7 แนว 4. 8 แนว
35. คลื่นน้ าความยาวคลื่นเท่าใด ที่จะได้เกิดบัพทั้งหมด 6 บัพรอบแนวกึ่งกลางของช่องเปิ ด
เมื่อคลื่นเคลื่อนที่ผา่ นช่องเปิ ดที่มีความกว้าง 3 เซนติเมตร
1. 0.6 เซนติเมตร 2. 1.0 เซนติเมตร
3. 1.2 เซนติเมตร 4. 1.4 เซนติเมตร
36. ถ้าฉายแสงความยาวคลื่ น 500 และ 600 นาโนเมตร ผ่านตั้งฉากกับเกรตติ งไปยังฉาก
จงหาลาดับของแสงสี ท้ งั สองที่ทาให้ริ้วสว่างซ้อนกันเป็ นครั้งแรกจากแนวกลาง
1. A6 สี แรกซ้อน A5 สี สอง 2. A4 สี แรกซ้อน A2 สี สอง
3. A5 สี แรกซ้อน A6 สี สอง 4. A2 สี แรกซ้อน A4 สี สอง

12.4 การกระเจิงของแสง

18
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 3 http://www.pec9.com บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
เฉลยตะลุยโจทย์ท่วั ไป บทที่ 12 แสงเชิงฟิ สิกส์
1. ตอบข้ อ 2. 2. ตอบข้ อ 3. 3. ตอบข้ อ 1. 4.ตอบข้ อ 1.
5. ตอบข้ อ 4. 6. ตอบข้ อ 4. 7. ตอบข้ อ 4. 8. ตอบข้ อ 3.
9. ตอบข้ อ 2. 10. ตอบข้ อ 4. 11. ตอบข้ อ 4. 12. ตอบข้ อ 1.
13. ตอบข้ อ 2. 14. ตอบข้ อ 4. 15. ตอบข้ อ 4. 16. ตอบข้ อ 2.
17. ตอบข้ อ 3. 18. ตอบข้ อ 3. 19. ตอบข้ อ 1. 20. ตอบข้ อ 4.
21. ตอบข้ อ 2. 22. ตอบข้ อ 2. 23. ตอบข้ อ 2. 24. ตอบข้ อ 4.
25. ตอบข้ อ 4. 26. ตอบข้ อ 1. 27. ตอบข้ อ 4. 28. ตอบข้ อ 4.
29. ตอบข้ อ 4. 30. ตอบข้ อ 4. 31. ตอบข้ อ 1. 32. ตอบข้ อ 3.
33. ตอบข้ อ 4. 34. ตอบข้ อ 2. 35. ตอบข้ อ 2. 36. ตอบข้ อ 1.



19
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
บทที่ 13 ไฟฟ้ าสถิ ต
13.1 ประจุไฟฟ้ า การเหนี่ยวนาทางไฟฟ้ า อิเล็กโทรสโคบ และการต่ อสายดิน
13.1.1 ประจุไฟฟ้า
พิจารณาการทดลองนาแท่งแก้วถูผา้ สักหลาดต่อ แท่งแก้ว
ไปนี้ ปกติแล้วอะตอมในแท่งแก้วและผ้าสักหลาดจะ e
e ++
มีจานวนประจุลบ (อิเล็กตรอน) และประจุบวก (โปร ++
e + e
eน้อย e
ตอน) ในปริ มาณที่เท่ากัน ทาให้ประจุไฟฟ้ ารวมเป็ น eมาก
e e
ศูนย์เรี ยกว่าเป็ นกลางทางไฟฟ้ า เมื่อทาแท่งแก้วถูผา้ ++++
e e ผ้าสักหลาด
สักหลาดจะทาให้อิเล็กตรอนของผ้าสักหลาดและแท่ง
แก้วบางส่ วนหลุดไปมาหากัน แต่เนื่องจากแท่งแก้วมีความสามารถในการจ่ายอิเล็กตรอนได้
มากกว่าผ้าสักหลาด ดังนั้นจานวนอิเล็กตรอนที่หลุดจากแท่งแก้วไปหาผ้าสักหลาดจึงมีมาก
กว่าอิเล็กตรอนที่หลุดจากผ้าสักหลาดกลับมาหาแท่งแก้ว เมื่อแยกแท่งแก้วออกจากผ้าสักหลาด
ผ้าสักหลาดจะมีอิเล็กตรอนมากกว่าปกติจึงมีประจุสะสมเป็ นลบ ส่ วนแท่งแก้วเสี ยอิเล็กตรอน
ไปมากจะมีประจุสะสมเป็ นบวก
หมายเหตุ : ความสามารถในการจ่ายอิเล็กตรอนของวัตถุบางอย่างเรี ยงลาดับจากมากไปน้อยเป็ นดังนี้
แก้ว > เส้นผมคน > เปอร์สเปกซ์ > ไนลอน > ผ้าสักหลาด > ผ้าไหม > ผ้าฝ้ าย > อาพัน > พีวซี ี > เทฟลอน
ในที่น้ ี จะได้วา่ แก้วจ่ายอิเล็กตรอนได้มากที่สุด และเทฟลอนจ่ายอิเล็กตรอนได้นอ้ ยที่สุด
1. เหตุใดเมื่อนาแท่งแก้วไปถูผา้ สักหลาดแล้วแท่งแก้วจึงมีประจุไฟฟ้ าสะสมเป็ นบวก
1. เพราะแท่งแก้วจ่ายประจุลบ (อิเล็กตรอน) ให้แก่ผา้ สักหลาดฝ่ ายเดียว
2. เพราะแท่งแก้วรับประจุบวก (โปรตอน) จากผ้าสักหลาด
3. เพราะแท่งแก้วรับประจุบวก (โปรตอน) จากสิ่ งแวดล้อม
4. เพราะแท่งแก้วจ่ายประจุลบ (อิเล็กตรอน) ให้แก่ผา้ สักหลาดมากกว่าที่รับมา
2. กาหนดให้ผา้ ไหมจ่ายอิเล็กตรอนได้มากกว่าแท่งพีวซี ี เมื่อนาแท่งพีวซี ี ไปถูผา้ ไหมแล้วดึง
แท่งพีวซี ี ออกจากผ้าไหม แท่งพีวซี ี จะมีประจุไฟฟ้ าสะสมเป็ นบวกหรื อลบ
1. เป็ นลบ เพราะแท่งพีวซี ี จะรับอิเล็กตรอนจากผ้าไหมมากกว่าที่จ่ายไป
2. เป็ นลบ เพราะแท่งพีวซี ี จะรับอิเล็กตรอนมาจากสิ่ งแวดล้อม
3. เป็ นบวก เพราะแท่งพีวซี ี จะจ่ายอิเล็กตรอนแก่ผา้ ไหมมากกว่ารับมา
4. เป็ นบวก เพราะแท่งพีวซี ี จะจ่ายอิเล็กตรอนให้แก่สิ่งแวดล้อม
1
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
3. เมื่อนาแท่งพีวซี ี ไปถูผา้ ไหมประจุไฟฟ้ าบวก ( โปรตอน ) จะสามารถหลุดจากแท่งพีวซี ี ไปหา
ผ้าไหมได้หรื อไม่
1. ได้ เพราะแรงเสี ยดทานมีมากพอ
2. ได้ เพราะโปรตอนมีขนาดเล็ก
3. ไม่ได้ เพราะโปรตอนอยูใ่ นนิวเคลียส
4. ไม่ได้ เพราะโปรตอนมีมวลมากเคลื่อนย้ายได้ยาก

4(แนว มช) เมื่อนาสาร ก. มาถูกบั สาร ข. พบว่าสาร ก. มีประจุไฟฟ้ าเกิดขึ้น สาร ก. ต้อง
เป็ นสาร
1. ตัวนา 2. ฉนวน 3. กึ่งตัวนา 4. โลหะ

13.1.2 การเหนี่ยวนาทางไฟฟ้า
ถ้าเรานาแท่งแก้วที่มีประจุไฟฟ้ าสะสมเป็ นบวกไปจ่อใกล้ๆ เม็ดโฟมทรงกลมเล็กๆ ปกติ
นั้นในเม็ดโฟมจะมีประจุไฟฟ้ าบวก (โปรตอน) และ
ลบ (อิเล็กตรอน) ในจานวนเท่าๆ กัน กระจายอยู่ แท่งแก้ว
เม็ดโฟม ++
อย่างสม่าเสมอ เมื่อเรานาแท่งแก้วที่มีประจุไฟฟ้ า
++  +
บวกไปจ่อใกล้ๆ ประจุบวกบนแท่งแก้วจะดึงดูด 
+ 
ประจุลบ (อิเล็กตรอน) บนเม็ดโฟมให้เคลื่อนเข้ามา
อยูด่ า้ นที่ใกล้กบั แท่งแก้ว แล้วประจุลบบนเม็ดโฟมกับประจุบวกบนแท่งแก้วจะเกิดแรงดึงดูดซึ่ ง
กันและกัน ส่ งผลให้เม็ดโฟมเคลื่อนที่เข้ามาติดแท่งแก้วได้ ส่ วนเม็ดโฟมด้านที่อยูไ่ กลจากแท่ง
แก้วจะเหลือประจุไฟฟ้ าสะสมเป็ นบวกดังรู ป การจัดเรี ยงประจุบนวัตถุหลังจากที่มีประจุไฟฟ้ า
อื่นเข้าใกล้ (เช่นที่เกิดบนเม็ดโฟมนี้ ) เราเรี ยกว่าเป็ น การเหนี่ยวนาทางไฟฟ้ า
5. จากรู ปเป็ นการนาแท่งแก้วที่มีประจุไฟฟ้ าบวกสะสมอยู่ ไปจ่อใกล้เม็ดโฟมที่เป็ นกลางทาง
ไฟฟ้ า (มีประจุไฟฟ้ าบวกและลบในจานวนที่เท่ากัน) ในบริ เวณที่ 1 และ 2 ในรู ปภาพจะมี
ประจุไฟฟ้ าเป็ นบวกหรื อลบ ตามลาดับ
แท่งแก้ว
1. บวก , ลบ 2. ลบ , บวก เม็ดโฟม ++
3. บวก , บวก 4. ลบ , ลบ +
(1) (2)

2
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
6. จากรู ปเป็ นการนาแท่งพีวีซีที่มีประจุไฟฟ้ าลบสะสมอยู่ ไปจ่อใกล้เม็ดโฟมที่เป็ นกลางทาง
ไฟฟ้ า (มีประจุไฟฟ้ าบวกและลบในจานวนที่เท่ากัน) ในบริ เวณที่ 1 และ 2 ในรู ปภาพจะมี
ประจุไฟฟ้ าเป็ นบวกหรื อลบ ตามลาดับ
1. บวก , ลบ แท่งพีวซี ี
เม็ดโฟม ––
2. ลบ , บวก

3. บวก , บวก (1) (2)
4. ลบ , ลบ

7. เมื่อเรานาแท่งแก้วที่มีประจุไฟฟ้ าบวกสะสมอยูไ่ ปจ่อใกล้เม็ดโฟมที่เป็ นกลางทางไฟฟ้ า แท่ง


แก้วจะมีแรงดึงดูดเม็ดโฟมได้ หากเปลี่ยนแท่งแก้วเป็ นแท่งพีวซี ี ที่มีประจุไฟฟ้ าลบสะสมอยู่
ไปจ่อใกล้เม็ดโฟมแทน แท่งพีวซี ี จะมีแรงดูดหรื อแรงผลักเม็ดโฟม
1. ดูด 2. ผลัก 3. ดูดแล้วผลัก 4. ผลักแล้วดูด

8. ทรงกลมโลหะ A และ B วางสัมผัสกัน โดยยึด


ไว้ดว้ ยฉนวน เมื่อนาแท่งอิโบไนท์ซ่ ึ งมีประจุ
ลบเข้าใกล้ทรงกลม A ดังรู ป จะมีประจุไฟฟ้ า
ชนิดใด เกิดขึ้นที่ตวั นาทรงกลมทั้งสอง
1. ทรงกลมทั้งสองจะมีประจุบวก
2. ทรงกลมทั้งสองจะมีประจุลบ
3. ทรงกลม A จะมีประจุบวกและทรงกลม B มีประจุลบ
4. ทรงกลม A จะมีประจุลบและทรงกลม B มีประจุบวก

9(แนว En) โลหะทรงกระบอกยาวปลายมนเป็ นกลาง


ทางไฟฟ้ าตั้งอยูบ่ นฐานที่เป็ นฉนวน ถ้านาประจุ
บวกขนาดเท่ากันมาใกล้ปลายทั้งสองข้างพร้อมกัน
โดยระยะห่างจากปลายเท่าๆ กัน ตามลาดับ การ
กระจายของประจุส่วน A ส่ วน B และ C ของทรงกระบอกเป็ นอย่างไร
1. A และ C เป็ นลบ แต่ B เป็ นกลาง 2. A และ C เป็ นกลาง แต่ B เป็ นบวก
3. A และ C เป็ นบวก แต่ B เป็ นลบ 4. A และ C เป็ นลบ แต่ B เป็ นบวก
3
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
13.1.3 อิเล็กโทรสโคบ
อิเลคโตรสโคป คือเครื่ องมือใช้ตรวจหาประจุ
ไฟฟ้ าที่สะสมอยูใ่ นวัตถุใดๆ ลูกพิธ ++
อิเลคโตรสโคป มี 2 ชนิด คือ + +  +
+ 
1) อิเลคโตรสโคปแบบลูกพิธ
เป็ นอิเลคโตรสโคปซึ่งทาจากเม็ดโฟม ฉาบผิว ลูกพิธ ––
เอาไว้ดว้ ยอลูมิเนียม เมื่อมีวตั ถุที่มีประจุไฟฟ้ าสะสม – ++ –
– +
อยูเ่ ข้าใกล้ จะเกิดการเหนี่ยวนาทางไฟฟ้ าทาให้อิเลค- –

โตรสโคปถูกแรงดึงดูดแล้วเอียงเข้าหาวัตถุที่มีประจุน้ ัน
2) อิเลคโตรสโคปแบบจานโลหะ
มีลกั ษณะเป็ นกระป๋ องพลาสติกไสหรื อแก้วมีฝา
ปิ ด ตรงกลางจะมีแกนโลหะเสี ยบลงไปในกล่อง ปลาย
ล่างของแกนจะมีแผ่นโลหะแบนๆ บางๆ ติดอยู่ 2 แผ่น
ปลายแกนด้านบนจะมีจานโลหะวางเชื่อมอยูด่ งั รู ป หาก
ต้องการตรวจสอบว่าวัตถุใดมีประจุไฟฟ้ าสะสมหรื อไม่
ให้นาวัตถุที่ตอ้ งการตรวจสอบไปไว้ใกล้ๆ จานโลหะ
ด้านบนแล้วสังเกตุผลที่แผ่นโลหะบางๆ 2 แผ่น ด้านล่าง

ปกติแล้วที่จานโลหะ แกนโลหะ และแผ่นโลหะ –


ด้านล่าง จะมีประจุไฟฟ้ าบวกและลบกระจายอยูอ่ ย่าง –
สม่าเสมอ แต่ถา้ เรานาวัตถุที่มีประจุสะสมเป็ นลบไปไว้ + +
ใกล้ๆ จานโลหะด้านบน ประจุไฟฟ้ าลบ ( อิเล็กตรอน )
ของจานโลหะจะถูกผลักลงไปยังแกนโลหะและแผ่นโล –

หะบางๆ 2 แผ่นด้านล่าง ส่ งผลให้แผ่นโลหะ 2 แผ่น –
มีประจุเป็ นลบเหมือนกันและเกิดแรงผลักกันทาให้แผ่น – –
โลหะทั้งสองกางออกดังรู ป

4
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
ถ้านาวัตถุที่มีประจุเป็ นบวกไปไว้ใกล้ๆ จานโลหะ
+
ด้านบน ประจุไฟฟ้ าลบ ( อิเล็กตรอน ) ของแกนโลหะ +
และแผ่นโลหะ 2 แผ่นด้านล่าง ถูกดูดขึ้นมาอยูท่ ี่จาน – –
โลหะ ทาให้แผ่นโลหะ 2 แผ่นล่างเหลือประจุเป็ นบวก
เหมือนกันทั้งสองแผ่นและเกิดแรงผลักกันเอง ทาให้ +
แผ่นโลหะทั้งสองกางออกดังรู ปเช่นกัน +
+
ดังนั้นถ้านาวัตถุไปไว้ใกล้จานโลหะด้านบน แล้ว
+ +
สังเกตเห็นแผ่นโลหะ 2 แผ่นด้านล่างกางออก แสดงว่า
วัตถุที่นามาตรวจสอบนี้ มีประจุไฟฟ้ าสะสมอยู่
10. เมื่อนาแท่งวัตถุที่มีประจุไปวางใกล้อิเล็กโทรสโคบแบบลูกพิธซึ่งเป็ นกลางทางไฟฟ้ า ลูกพิธ
จะมีการวางตัวอย่างไร
1. โน้มเอียงเข้าหาวัตถุ 2. ถอยห่างออกจากวัตถุ
3. อยูน่ ิ่งๆ 4. ข้อมูลไม่เพียงพอที่จะหาคาตอบ

11. จากรู ปอิเล็กโทรสโคบแบบจานโลหะที่กาหนด


ณ บริ เวณที่ (1 ) (2) และ (3) จะมีประจุชนิด 

ใดตามลาดับ
1. บวก , ลบ , ลบ (1)
2. บวก , ลบ , บวก
3. บวก , บวก , ลบ (2)
(3)
4. บวก , บวก , บวก

12. จากรู ปอิเล็กโทรสโคบแบบจานโลหะที่กาหนด


ณ บริ เวณที่ (1 ) (2) และ (3) จะมีประจุชนิด ++
+
ใดตามลาดับ
1. ลบ , ลบ , บวก (1)
2. ลบ , บวก , บวก
3. ลบ , บวก , ลบ (2)
(3)
4. ลบ , ลบ , ลบ
5
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
13.1.4 การต่ อสายดิน รู ป (1)
พิจารณาการทดลองตามรู ปต่อไปนี้ +
+
รู ปที่ 1 เมื่อนาวัตถุที่มีประจุบวกเข้าใกล้จานโลหะของอิเล็ก- 
โทรสโคบแบบจานโลหะ ประจุลบ(อิเล็กตรอน) ของแผ่นโลหะ +
+ +
ด้านล่างจะถูกดึงดูดขึ้นมาอยูท่ ี่จานโลหะด้านบน แผ่นโลหะ +
ด้านล่างจะเหลือประจุเป็ นบวก ทาให้แผ่นโลหะด้านล่างเกิด
รู ป (2)
แรงผลักกันแล้วกางออก +
+

รู ปที่ 2 เมื่อนาเส้นลวดโลหะตัวนาแตะที่จานโลหะแล้วต่อ 


ลงสู่ พ้ืนดิน ( เรี ยกว่าเป็ นการต่อสายดิน) ประจุลบจากพื้นดิน + +
จะถูกดูดแล้วเคลื่อนที่ข้ ึนไปอยูก่ บั ประจุบวกที่แผ่นโลหะด้านล่าง  
แล้วทาให้แผ่นโลหะด้านล่างกลายเป็ นกลางทางไฟฟ้ าแล้วหุบลง
รู ป (3)
รู ปที่ 3 เมื่อตัดสายดินออกโดยยังไม่เคลื่อนย้ายแท่งวัตถุที่ +
+
จ่อใกล้จานออกไป จะยังไม่ส่งผลใดๆ แผ่นโลหะด้านล่างจะ

ยังคงหุ บเช่นเดิม
+ +
 

รู ปที่ 4 เมื่อเคลื่อนย้ายแท่งวัตถุที่จอ่ ใกล้จานออกไป ประจุ   


ลบที่จานโลหะบางส่ วน จะเคลื่อนย้ายลงมาสู่ แผ่นโลหะด้านล่าง 
ส่ งผลให้แผ่นโลหะด้านล่างมีประจุไฟฟ้ ารวมเป็ นลบ แผ่นโลหะ +

ด้านล่างจะเกิดแรงผลักกันแล้วกางออก รู ป (4)  +

รู ปที่ 5 หากนาเส้นลวดโลหะตัวนาแตะที่จานโลหะแล้วต่อ
ลงสู่ พ้ืนดินอีกครั้ง จะทาให้ประจุลบส่ วนเกินของแผ่นโลหะ
+
ด้านล่างเคลื่อนที่ลงสู่ พ้ืนดิน แล้วแผ่นโลหะกลายเป็ นกลางทาง +

ไฟฟ้ าแล้วหุ บลงอีกครั้ง รู ป (5) 

6
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
13. พิจารณาการต่อสายดินดังรู ป ณ บริ เวณที่ ( 1 )
++
( 2 ) และ ( 3 ) จะมีประจุชนิดใดตามลาดับ
1. ลบ , ลบ , บวก (1)
2. ลบ , บวก , บวก
3. ลบ , 0 , 0 (2)
(3)
4. ลบ , บวก , 0

พิจารณาการทดลองตามรู ปต่ อไปนี้ รู ป (1)



รู ปที่ 1 เมื่อนาวัตถุที่มีประจุลบเข้าใกล้จานโลหะของอิเล็ก-
โทรสโคบแบบจานโลหะ ประจุลบ(อิเล็กตรอน) ของจานโลหะ ++++++

จะถูกผลักลงไปที่แผ่นโลหะด้านล่าง ทาให้แผ่นโลหะกางออก


รู ปที่ 2 เมื่อนาเส้นลวดโลหะตัวนาแตะที่จานโลหะแล้วต่อ รู ป (2)



ลงสู่ พ้ืนดิน ( เรี ยกว่าเป็ นการต่อสายดิน) ประจุลบส่ วนเกินที่
แผ่นโลหะด้านล่างจะวิง่ ลงสู่ พ้ืนดิน ทาให้แผ่นโลหะด้านล่าง ++++++
กลายเป็ นกลางทางไฟฟ้ าแล้วหุบลง

รู ปที่ 3 เมื่อตัดสายดินออกโดยยังไม่เคลื่อนย้ายแท่งวัตถุที่
รู ป (3)
จ่อใกล้จานออกไป จะยังไม่ส่งผลใดๆ แผ่นโลหะด้านล่างจะ 
ยังคงหุ บเช่นเดิม
++++++

รู ปที่ 4 เมื่อเคลื่อนย้ายแท่งวัตถุที่จ่อใกล้จานออกไป ประจุ


+ + + –+
บวกที่จานโลหะจะดึงอิเล็กตรอนที่เหลื อจากแผ่นโลหะด้านล่าง –

ขึ้นไปที่จานโลหะเล็กน้อย ทาให้แผ่นโลหะด้านล่างเหลือประจุ
บวกอยู่ แล้วเกิดแรงผลักทาให้กางออก + +
รู ป (4)

7
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
รู ปที่ 5 หากนาเส้นลวดโลหะตัวนาแตะที่จานโลหะแล้วต่อ + +  + 
ลงสู่ พ้ืนดินอีกครั้ง จะทาให้ประจุเคลื่อนที่จากพื้นดินกลับขึ้น
+
มาที่จานโลหะและแผ่นโลหะ ทาให้กลายเป็ นกลางทางไฟฟ้ า +
รู ป (5) 
แล้วแผ่นโลหะหุ บลง 

14. พิจารณาการต่อสายดินดังรู ป ณ บริ เวณที่ ( 1 )


( 2 ) และ ( 3 ) จะมีประจุชนิดใดตามลาดับ 

1. บวก , ลบ , ลบ (1)
2. บวก , ลบ , บวก
3. บวก , 0 , 0 (2)
(3)
4. บวก , 0 , ลบ

13.2 แรงระหว่ างประจุและกฏของคูลอมบ์


กฏแรงกระทาระหว่ างประจุของคูลอมบ์ กล่าวว่า
“ เมื่อประจุไฟฟ้า 2 ตัว อยู่ห่างกันขนาดหนึ่งจะมีแรงกระทาซึ่งกันและกันเสมอ หาก
เป็ นประจุชนิดเดียวจะมีแรงผลักกัน หากเป็ นประจุต่างชนิดกันจะมีแรงดึงดูดกัน ”
แรงกระทาทีเ่ กิดหาค่ าได้ จาก
KQ1Q2
F =
R2
เมื่อ F คือแรงกระทา (นิวตัน)
K คือค่ าคงทีข่ องคูลอมบ์ มีค่าเท่ากับ 9 x 109 ( นิวตัน . เมตร2 / คูลอมบ์ 2 )
Q1 , Q2 คือขนาดของประจุตัวที่ 1 และตัวที่ 2 ตามลาดับ ( คูลอมบ์ )
R คือระยะห่ างระหว่ างประจุท้งั สอง ( เมตร )
หมายเหตุ : การคานวณเกี่ ยวกับแรงกระทาระหว่างประจุ ไม่ตอ้ งนาเครื่ องหมายบวก
หรื อลบของประจุมาคานวณ เพราะเครื่ องหมายบวกและลบจะเพียงเป็ นสิ ่ งบอกทิศทางของแรง
ว่าแรงนั้นจะเป็ นแรงดูดหรื อแรงผลักของประจุไฟฟ้ าเท่านั้น
8
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
15. ประจุ +5.0 x 10–5 คูลอมบ์ และ –2.0 x 10–5 คูลอมบ์ วางอยูห่ ่างกัน 1 เมตร จะมีแรง
ดูดกันหรื อผลักกันกี่นิวตัน
1. ผลักกัน 9 นิวตัน 2. ผลักกัน 18 นิวตัน
3. ดูดกัน 9 นิวตัน 4. ดูดกัน 18 นิวตัน

16. ประจุขนาด A คูลอมบ์ และ 1.0 x 10–5 คูลอมบ์ วางอยูห่ ่างกัน 3 เมตร จะมีแรงกระทา
ต่อกัน 1 นิวตัน จงหาว่าประจุ A เป็ นประจุขนาดกี่คูลอมบ์
1. 1 x 10–4 2. 3 x 10–4 3. 6 x 10–4 4. 9 x 10–4

กรณีทโี่ จทย์ ไม่ บอกประจุ ( Q ) มาให้ เราอาจหาขนาดของประจุน้ ันๆ ได้ จาก


Q=ne
เมื่อ n = จานวนอนุภาคไฟฟ้ า
e = ประจุของอนุภาคไฟฟ้ านั้น 1 ตัว ( คูลอมบ์ )
9
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
17. ก้อนทองแดง 2 ก้อน วางห่างกัน 3 เมตร แต่ละก้อนมีอิเล็กตรอนอิสระอยู่ 5 x 1014
ตัว จงหาขนาดของแรงผลักที่เกิดขึ้นในหน่วยนิวตัน
( กาหนด อิเล็กตรอน 1 ตัว มีประจุ 1.6 x 10–19 คูลอมบ์ )
1. 1.4 2. 2.4 3. 4.4 4. 6.4

18. ทรงกลมเล็กๆ 2 อัน เป็ นกลางทางไฟฟ้ า และวางอยูห่ ่างกัน 0.5 เมตร สมมติวา่
อิเล็กตรอน 3.0 x 1013 ตัว หลุดออกจากทรงกลมหนึ่งและไปอยูท่ ี่อีกทรงกลมหนึ่ง
จงหาขนาดของแรงที่เกิดกับทรงกลมแต่ละอัน และแรงที่เกิดขึ้นเป็ นแรงดูดหรื อแรงผลัก
1. เป็ นแรงดูด 0.83 นิวตัน 2. เป็ นแรงดูด 1.68 นิวตัน
3. เป็ นแรงผลัก 0.83 นิวตัน 4. เป็ นแรงผลัก 1.68 นิวตัน

10
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
19. จากรู ป จงหาแรงลัพธ์ที่กระทาต่อประจุ B
1. 0.1 นิวตัน
2. 1.4 นิวตัน A = 6 x 10–5 C B = +1x10–5 C C = 5 x 10–5 C
3. 3.8 นิวตัน
3 ม. 3 ม.
4. 4.4 นิวตัน

20. จากรู ป จงหาแรงลัพธ์ที่กระทาต่อประจุ B


1. 1.1 นิวตัน –5
A = +6 x 10–5 C B = +1 x 10 C C = 5 x 10–5 C
2. 2.4 นิวตัน
3. 4.8 นิวตัน
3 ม. 3 ม.
4. 6.4 นิวตัน

11
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
21(แนว มช) สามเหลี่ยมด้านเท่ารู ปหนึ่ งมีความยาวด้านละ 30 เซนติเมตร และที่แต่ละมุมของ
สามเหลี่ยมนี้ มีจุดประจุ +2 , –2 และ +5 ไมโครคูลอมบ์ วางอยู่ อยากทราบว่าขนาดของ
แรงไฟฟ้ าบนประจุ +5 ไมโครคูลอมบ์มีค่ากี่นิวตัน ( กาหนด cos 120o = 1/2 )
1. 1 นิวตัน 2. 2 นิวตัน 3. 3 นิวตัน 4. 4 นิวตัน

13.3 สนามไฟฟ้ารอบจุดประจุ
จุดประจุ หมายถึงประจุไฟฟ้ าที่มีขนาดความกว้าง ความยาวน้อยมาก ( เช่นอิเล็กตรอน 1
ตัว ) และปกติน้ นั ประจุไฟฟ้ าใดๆ จะมีแรงทางไฟฟ้ าแผ่ออกมารอบๆ ตัวประจุขนาดหนึ่งเสมอ
เราเรี ยกบริ เวณรอบประจุซ่ ึ งมีแรงทางไฟฟ้ าแผ่ออกมานี้วา่ สนามไฟฟ้ า ( E )
หากเรานาประจุขนาดเล็กอีกตัวหนึ่งมาวางในบริ เวณสนามไฟฟ้ า ประจุที่นามาวางนั้นจะ
ถูกแรงที่แผ่ออกมากระทา ทาให้ประจุน้ นั เกิดการ
เคลื่อนที่ ประจุที่ถูกแรงทางไฟฟ้ าทาให้เคลื่อนที่
นี้ เรี ยกเป็ นประจุทดสอบ (q ) ส่ วนประจุที่เป็ นตัว
สร้างสนามไฟฟ้ าจะเรี ยก ประจุต้นเหตุ( Q ) (ประจุทดสอบ)
(ประจุต้นเหตุ)
12
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
สนามไฟฟ้ าเป็ นปริ มาณเวกเตอร์ เพราะเป็ น
ปริ มาณที่มีทิศทาง ทิศของสนามไฟฟ้ า กาหนดว่า
สาหรับประจุบวก สนามไฟฟ้ ามีทิศออกตัวประจุ
สาหรับตัวประจุลบ สนามไฟฟ้ ามีทิศเข้าตัวประจุ
ดังแสดงในรู ป เส้นของแรงที่เขียนแทนแรงทางไฟฟ้ า
ที่แผ่ออกมาเรี ยก เส้ นแรงไฟฟ้ า
สาหรับขนาดความเข้มสนามไฟฟ้ าหาค่าได้จาก
E = KQ2 หรื อ E = Fq
R
เมื่อ E คือความเข้มสนามไฟฟ้ า ( นิวตัน/คูลอมบ์ )
K คือค่าคงที่ของคูลอมบ์ มีค่าเท่ากับ 9x109 ( นิวตัน . เมตร2 / คูลอมบ์2 )
Q คือขนาดของประจุตน้ เหตุ ( คูลอมบ์ )
R คือระยะห่างจากประจุตน้ เหตุ ( เมตร )
q คือขนาดของประจุทดสอบ ( คูลอมบ์ )
F คือขนาดแรงที่กระทาต่อประจุทดสอบ ( นิวตัน )
22. จากรู ปจงหาว่าสนามไฟฟ้ าของประจุ +2 x 10–3 คูลอมบ์ ณ จุด A ในรู ปจะมีความเข้มกี่
นิวตัน/คูลอมบ์ และ มีทิศไปทางซ้ายหรื อขวา
1. 1 x 106 N/C ไปทางขวา Q = +2 x 10–3 C
A
2. 2 x 106 N/C ไปทางขวา *
3. 1 x 106 N/C ไปทางซ้าย 3 ม.
4. 2 x 106 N/C ไปทางซ้าย

23. จากรู ป จงหาว่าสนามไฟฟ้ าของประจุ –4 x 10–3 คูลอมบ์ ณ จุด A จะมีความเข้มกี่นิวตัน/-


คูลอมบ์ และ มีทิศขึ้นหรื อลง
1. 18 x 106 N/C ทิศขึ้น Q = 4 x 10–3 C
2. 36 x 106 N/C ทิศขึ้น 1 ม.
6
3. 18 x 10 N/C ทิศลง *A
4. 36 x 106 N/C ทิศลง

13
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
24(แนว มช) ประจุบวก q1= +2 ไมโครคูลอมบ์ วางห่างจาก ประจุลบ q2 = –2 ไมโครคูลอมบ์
เป็ นระยะ 6 เมตร สนามไฟฟ้ าที่ตาแหน่ งกึ่งกลางระหว่าง 2 ประจุน้ ี ในหน่ วยของนิ ว-
ตัน/คูลอมบ์ มีค่าเป็ นเท่าใด
1. –2 x103 2. 0 3. 2 x 103 4. 4 x103

25. ที่ตาแหน่ง ก. , ข. และ ค. มีประจุเป็ น 1.0 x 10–7 1m


–1.0 x 10–7 และ –10 x 10–7 คูลอมบ์ ตามลาดับ ก ข
จงหาขนาดของสนามไฟฟ้ าตาแหน่ง ค. เนื่องจาก 1m 1m
ประจุที่ตาแหน่ง ก. และ ข. ( ให้ cos 120o = – 1 )
2
1. 300 N/C 2. 300 2 N/C ค
3. 900 N/C 4. 900 2 N/C

14
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
จุดสะเทิน คือจุดทีม่ ีค่าสนามไฟฟ้าลัพธ์ มีค่าเป็ นศูนย์
โดยทัว่ ไปแล้ว
1. จุดสะเทินจะ เกิดขึ้นได้เพียงจุดเดียวเท่านั้น
Eรวม = 0
2. หากเป็ นจุดสะเทินของประจุ 2 ตัว จะเกิด *
ในแนวเส้นตรงที่ลากผ่านประจุท้ งั สอง +Q1 +Q2
หากประจุท้ งั สองเป็ นประจุชนิดเดียวกัน
จุดสะเทินจะอยูร่ ะหว่างประจุท้ งั สอง Eรวม= 0
หากประจุท้ งั สองเป็ นประจุต่างชนิดกัน *
+Q1 Q 2
จุดสะเทินจะอยูร่ อบนอกประจุท้ งั สอง
3. จุดสะเทินจะเกิดอยูใ่ กล้ประจุที่มีขนาดเล็กกว่า
26. ประจุไฟฟ้ าขนาด +9 C ถูกวางไว้ที่ตาแหน่ง X = 0 ม. และประจุไฟฟ้ าที่สอง +4 C
ถูกวางไว้ที่ตาแหน่ง X = 1 ม. จุดสะเทินจะอยูห่ ่างจากประจุ +9 C กี่เมตร
1. 0.2 2. 0.4 3. 0.6 4. 1.0

15
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
27(แนว มช) วางประจุ +9Q คูลอมบ์ ที่ตาแหน่งจุดกาเนิ ด (0 , 0) และจุดประจุ –4Q คูลอมบ์
ที่ตาแหน่ง X = 1 เมตร Y = 0 จงหาระยะบนแกน X ที่สนามไฟฟ้ าเป็ นศูนย์
1. X = 0.4 2. X = 0.6 3. X = 2 4. X = 3

สาหรับแรงที่สนามไฟฟ้ ากระทาต่อประจุทดสอบ จะหาค่าได้จาก


F = qE
เมื่อ F คือขนาดแรงที่กระทาต่อประจุทดสอบ ( นิวตัน )
q คือขนาดของประจุทดสอบ ( คูลอมบ์ )
E คือความเข้มสนามไฟฟ้ า ( นิวตัน/คูลอมบ์ )
28. กาหนดให้จุด A อยูห่ ่างจากประจุ 5 x 10–9 คูลอมบ์ เป็ นระยะ 3 เมตร
ก. สนามไฟฟ้ า ณ จุด A จะมีความเข้มกี่นิวตัน/คูลอมบ์
ข. หากนาอิเล็กตรอน 1 ตัว ไปวางตรงจุด A จงหาแรงกระทาต่ออิเล็กตรอนนี้
( กาหนด ประจุอิเล็กตรอน 1 ตัว เท่ากับ 1.6 x 10–19 คูลอมบ์ )
1. ก. 5 N/C , ข. 4 x10–19 N 2. ก. 5 N/C , ข. 8 x10–19 N
3. ก. 10 N/C , ข. 4 x10–19 N 4. ก. 10 N/C , ข. 8 x10–19 N

16
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
29. วางอิเล็กตรอน 1 ตัว ที่จุด A ซึ่ งอยูห่ ่างจากประจุ 4 x 10–9 คูลอมบ์ เป็ นระยะ 1 เมตร
จงหาความเร่ งในการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนนี้
(ให้ ประจุอิเล็กตรอน 1 ตัว = 1.6 x 10–19 คูลอมบ์ , มวลอิเล็กตรอน 1 ตัว = 9.1 x 10–31 กิโลกรัม )
1. 5.80 x 107 m/s2 2. 6.33 x 107 m/s2
3. 5.80 x 1012 m/s2 4. 6.33 x 1012 m/s2

13.4 ศักย์ ไฟฟ้ ารอบจุดประจุ


เมื่อเรานาประจุทดสอบ ( q ) มาวางใน
สนามไฟฟ้ าของประจุตน้ เหตุ ( Q ) ประจุทด
สอบนั้นจะถูกแรงกระทาทาให้เกิดการเคลื่อน
ที่ และการที่ประจุทดสอบสามารถเคลื่อนที่
ได้ แสดงว่าประจุทดสอบนั้นมีพลังงานสะสมอยูภ่ ายในตัว พลังงานที่สะสมในประจุเช่นนี้
เรี ยกว่าพลังงานศักย์ไฟฟ้ า ( Ep ) และขนาดของพลังงานศักย์ไฟฟ้ าของประจุ 1 คูลอมบ์ จะ
เรี ยกว่าศักย์ไฟฟ้ า ( V )
ศักย์ไฟฟ้ าเป็ นปริ มาณสเกลาร์ เพราะเป็ นปริ มาณที่ไม่มีทิศทาง เราสามารถคานวณหาค่า
ของศักย์ไฟฟ้ ารอบจุดประจุได้จาก
E
V = qp หรื อ V = KQ R
เมื่อ V คือศักย์ไฟฟ้ า ( โวลต์ )
q คือประจุทดสอบ ( คูลอมบ์ )
Ep คือพลังงานศักย์ไฟฟ้ าของประจุทดสอบ ( จูล )
Q คือประจุตน้ เหตุ ( คูลอมบ์ )
R คือระยะห่างจากประจุตน้ เหตุ ( เมตร )
17
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
ข้ อควรทราบ
1) การคานวณหาศักย์ไฟฟ้ าต้องแทนเครื่ องหมายบวก และลบ ของประจุดว้ ยเสมอ
2) เมื่อทาการเลื่อนประจุทดสอบ ( q ) จากจุดที่หนึ่งไปสู่ จุดที่สองซึ่ งมีศกั ย์ไฟฟ้ าต่างกัน
เราสามารถคานวณหางานที่ใช้เลื่อนประจุน้ นั ได้จาก
W = q ( V2 – V1 )
เมื่อ W คืองานที่ใช้ในการเลื่อนประจุ ( จูล )
q คือประจุที่ถูกเลื่อน ( คูลอมบ์ )
V1 คือศักย์ไฟฟ้ าที่จุดเริ่ มต้น (โวลต์ )
V2 คือศักย์ไฟฟ้ าที่จุดสุ ดท้าย ( โวลต์ )
30. ประจุ Q มีขนาด –1 x 1 0–9 คูลอมบ์ จงหาศักย์ไฟฟ้ า ณ จุดซึ่ งห่ างจากประจุ Q นี้ ออก
ไป 1 เมตร
1. 3 โวลต์ 2. 9 โวลต์ 3. –3 โวลต์ 4. –9 โวลต์

31. จงหางานที่ใช้ในการเลื่อนประจุขนาด – 2 คูลอมบ์ จากจุดซึ่งมีศกั ย์ไฟฟ้ า +10 โวลต์ ไป


ยังจุดที่มีศกั ย์ไฟฟ้ า +15 โวลต์
1. 1 จูล 2. 10 จูล 3. –1 จูล 4. –10 จูล

32(แนว En) จุด A และ B เป็ นจุดที่อยูห่ ่างจากประจุ 4 x 10–6 คูลอมบ์ เป็ นระยะทาง 2 และ
12 เมตร ตามลาดับ ถ้าต้องการเลื่อนประจุ –4 คูลอมบ์ จาก B ไป A ต้องใช้งานใน
หน่วยกิโลจูลเท่าใด
1. 8.75 2. 15 3. –35 4. –60

18
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
33. มีประจุขนาด –4 x 10–10 คูลอมบ์ จุด A อยูห่ ่างจากประจุน้ ี 1 เมตร จงหางานที่ตอ้ ง
ทาในการพาประจุ 2 x 10–12 คูลอมบ์ จากที่ไกลมากมาที่จุด A นี้
1. 5.4 x 10–12 2. 7.2 x 10–12 3. –5.4 x 10–12 4. –7.2 x 10–12

34. จากข้อที่ผา่ นมา จงหางานในการพาประจุ 2 x 10–12 คูลอมบ์ จากจุด A ไปวาง ณ จุด


ซึ่งไกลมาก
1. 5.4 x 10–12 2. 7.2 x 10–12 3. –5.4 x 10–12 4. –7.2 x 10–12

35. จุด A อยูห่ ่างจากประจุ Q เป็ นระยะ r มีศกั ย์ไฟฟ้ า V เมื่อนาประจุทดสอบ q จาก
ระยะอนันต์มายังจุด A ต้องเปลืองงานเท่าไร
1. Kqr 2. KQ
r 3. KQq r 4. KQq
r2

36. ในการนาประจุ 2 x 10–4 คูลอมบ์ จาก infinity เข้าหาประจุบวกถึงจุด ๆ หนึ่งต้องสิ ้ น


เปลืองงาน 5 x 10–2 จูล จุดนั้นมีศกั ย์ไฟฟ้ ากี่โวลต์
1. 2.5 x 102 2. 5.0 x 102 3. –2.5 x 102 4. –5.0 x 102

19
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
กรณี ที่มีศกั ย์ไฟฟ้ าย่อยหลายๆ ตัว หากต้องการหาค่าศักย์ไฟฟ้ ารวมให้นาศักย์ไฟฟ้ าย่อย
แต่ละตัวมารวมกันแบบพีชคณิ ตธรรมดา เพราะศักย์ไฟฟ้ าเป็ นปริ มาณสเกลาร์ ไม่ใช่เวกเตอร์
37. จากรู ป A , B และ C มีจุดประจุขนาด 3.0 x 10–6 , 1.0 x 10–6 และ –1.0 x 10–6 คูลอมบ์
ตามลาดับ เมื่อ AP = 0.6 เมตร , CP = 0.3 เมตร และ C
BP = 0.1 เมตร ศักย์ไฟฟ้ าที่ตาแหน่ง P มีค่ากี่โวลต์
1. 1.05 x 105 2. 1.83 x 105
A B
3. 2.10 x 105 4. 3.66 x 105 P

38. จากข้อที่ผา่ นมา หากนาประจุขนาด –1.0 x 10–6 คูลอมบ์ จากจุดที่ไกลมากมาวางที่จุด


P จะต้องทางานกี่จูล
1. –2.10 2. –1.05 3. –0.105 4. –10.5

20
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
39(แนว มช) ที่จุด O และ Q วางประจุ 3 x 10–6 P
และ 1 x 10–6 คูลอมบ์ หากนาประจุ
–2 x 10–6 คูลอมบ์ จากอนันต์มาวาง ณ 0.5 ม. 0.3 ม.
จุด P จะต้องใช้งาน
1. 0.16 จูล 2. –0.16 จูล O Q
3x10–6C 0.4 ม. 1x10–6 C
3. –0.168 จูล 4. –0.20 จูล

40. ประจุ +4.0 คูลอมบ์ และประจุ –2.0 คูลอมบ์ วางห่างกัน 12 เมตร บนแนวเส้นตรงที่
เชื่อมต่อระหว่างประจุ จุดที่มีศกั ย์ไฟฟ้ าเป็ นศูนย์อยูห่ ่างประจุ 4 คูลอมบ์ กี่เมตร

21
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
41(แนว มช) จุดประจุ 3 จุด วางอยูท่ ี่มุมของสามเหลี่ยมด้านเท่ายาวด้านละ 2 เซนติเมตร ทาให้
จุดที่เส้นมัธยฐานทั้งสามตัดกันมีศกั ย์ไฟฟ้ าเป็ นศูนย์ หากจุดประจุ 2 ประจุ มีค่า +2 ไม-
โครคูลอมบ์ และ +4 ไมโครคูลอมบ์ จงหาค่าจุดประจุตวั ที่สามในหน่วยไมโครคูลอมบ์
1. –8 2. –6 3. +6 4. +8

42. กาหนดประจุ ( q ) ขนาด –1 x 10–9 คูลอมบ์ อยูห่ ่างจากประจุ ( Q ) ขนาด 3 x 10–6 คู-
ลอมบ์ เป็ นระยะ 3 เมตร จงหาพลังงานศักย์ไฟฟ้ าที่สะสมอยูใ่ นประจุ q
1. 3 x 10–6 จูล 2. 9 x 10–6 จูล 3. –3 x 10–6 จูล 4. –9 x 10–6 จูล

22
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
13.5 สนามไฟฟ้า และศักย์ ไฟฟ้ าเนื่องจากประจุบนตัวนาทรงกลม
ในตอนที่ผา่ นนั้นเป็ นเรื่ องราวเกี่ยวกับสนามไฟฟ้ าและศักย์ไฟฟ้ าของจุดประจุ ( ประจุที่มี
ขนาดเล็ก ) สาหรับในตอนนี้ จะเป็ นเรื่ องเกี่ยวกับสนามไฟฟ้ าและศักย์ไฟฟ้ าของตัวนาไฟฟ้ าที่มี
ประจุไฟฟ้ าสะสมอยูภ่ ายใน เช่นลูกตุม้ เหล็กขนาดเท่ากาปั้ นซึ่งมีอิเล็กตรอนอยูภ่ ายในมากมาย
เป็ นต้น การคานวณหาสนามไฟฟ้ าและศักย์ไฟฟ้ ารอบนาเช่นนี้ ตอ้ งแบ่งเป็ น 2 กรณี ได้แก่
กรณีที่ 1 หากจุดที่จะคานวณอยูภ่ ายนอก หรื อ
อยูท่ ี่ผวิ วัตถุ ให้ใช้สมการ
E = KQ2 และ V = KQ R
R
เมื่อ E คือความเข้มสนามไฟฟ้ า ( นิวตัน/คูลอมบ์ )
V คือศักย์ไฟฟ้ า ( โวลต์ )
K คือค่าคงที่ของคูลอมบ์ มีค่าเท่ากับ 9x109 ( นิวตัน . เมตร2 / คูลอมบ์2 )
Q คือขนาดของประจุตน้ เหตุ ( คูลอมบ์ )
R คือระยะที่วดั จากจุดศูนย์กลางวัตถุตวั นาไปถึงจุดที่จะคานวณ
กรณีที่ 2 หากจุดที่จะคานวณอยูภ่ ายในวัตถุ ให้ถือหลักการว่า
Eทุกจุดภายในวัตถุตวั นา = 0
Vทุกจุดภายในวัตถุตวั นา = Vที่ผวิ วัตถุน้ นั
43. ทรงกลมรัศมี 1 เมตร และมีประจุ –5x10–9
คูลอมบ์ จงหาสนามไฟฟ้ าและศักย์ไฟฟ้ า ที่ระ
ยะห่าง 2 เมตร จากผิวทรงกลม ตอบตามลาดับ 2 ม.
1 ม.
1. 5 N/C , –15 V 2. 45 N/C , –45 V
3. 0 N/C , –15 V 4. 0 N/C , –45 V

23
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
44. จากข้อที่ผา่ นมา จงหาสนามไฟฟ้ าและศักย์ไฟฟ้ าที่ผวิ ทรงกลม
1. 5 N/C , –15 V 2. 45 N/C , –45 V
3. 0 N/C , –15 V 4. 0 N/C , –45 V

45. จากข้อที่ผา่ นมา จงหาสนามไฟฟ้ าและศักย์ไฟฟ้ าที่จุดภายในทรงกลม


1. 5 N/C , –15 V 2. 45 N/C , –45 V
3. 0 N/C , –15 V 4. 0 N/C , –45 V

46(แนว A–net ) ทรงกลมตัวนารัศมี 20 เซนติเมตร มีประจุ 1 ไมโครคูลอมบ์ ศักย์ไฟฟ้ าที่


ระยะ 5 เซนติเมตร จากจุดศูนย์กลางภายในทรงกลมเป็ นเท่าใด
1. 0 V 2. 45x103 V 3. 9x104 V 4. 1.8x105 V

47. ตัวนาทรงกลมมีรัศมี 10 เซนติเมตร มีประจุกระจายอย่างสม่าเสมอบนผิวตัวนา ถ้าสนาม


ไฟฟ้ าที่ผวิ ทรงกลมมีค่า 5.0 x 106 โวลต์/เมตร จงหาค่าศักย์ไฟฟ้ าที่ผวิ ทรงกลมนี้
1. 5.0 x106 โวลต์ 2. 2.5 x106 โวลต์ 3. 5.0 x105 โวลต์ 4. 2.5 x105 โวลต์

24
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
48(แนว En) ทรงกลมโลหะกลวงมี รั ศ มี 10 เซนติ เมตร ท าให้ มี ศ ัก ย์ไ ฟฟ้ า 1000 โวลต์
สนามไฟฟ้ าภายนอกทรงกลมบริ เวณใกล้ผิวจะมีค่าเท่าใดในหน่วยโวลต์ต่อเซนติเมตร

49. ทรงกลมตัวนามีประจุ –200 C รัศมี 50 เซนติมเตร จงหาศักย์ไฟฟ้ าที่ผวิ ของทรงกลม


และงานที่ใช้ในการพาประจุ –20 C จาก infinity มาที่ผวิ นี้
1. 3.6 x 106 โวลต์ , 36 จูล 2. –3.6 x 106 โวลต์ , 36 จูล
3. 3.6 x 106 โวลต์ , 72 จูล 4. –3.6 x 106 โวลต์ , 72 จูล

50(แนว มช) ถ้าต้องการเคลื่อนประจุขนาด q คูลอมบ์ ไปตามผิวนอกของทรงกลมซึ่งมีประจุ Q


อยูภ่ ายในจากตาแหน่งหนึ่งไปสู่ อีกตาแหน่งหนึ่ง งานที่ใช้ในการเคลื่อนประจุคือ
1. KqQ
2 J 2. KqQ3 J 3. KqQ4 J 4. 0 J

25
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
13.6 ความสั มพันธ์ ระหว่ างความต่ างศักย์ และสนามไฟฟ้าสมา่ เสมอ
ในกรณี ที่เรามีแผ่นโลหะ 2 แผ่นวางขนานกัน
แผ่นหนึ่งมีประจุไฟฟ้ าบวกสะสมอยู่ อีกแผ่นหนึ่งนั้น
มีประจุไฟฟ้ าลบสะสม สนามไฟฟ้ าระหว่างแผ่นทั้ง
สองจะมีทิศออกจากขั้วบวกเข้าหาขั้วลบดังรู ป และ
ขนาดของสนามไฟฟ้ าทุกๆ จุดระหว่างแผ่นคู่ขนานนี้
จะมีค่าเท่ากับทุกจุด เราจึงเรี ยกสนามไฟฟ้ าระหว่าง
แผ่นโลหะคู่ขนานเช่นนี้วา่ สนามไฟฟ้ าสม่าเสมอ
เราสามารถหาค่าความเข้มของสนามสม่าเสมอได้จาก
E = Vd
เมื่อ E คือค่าความเข้มสนามไฟฟ้ าสม่าเสมอ ( นิวตัน/คูลอมบ์ , โวลต์/เมตร )
V คือความต่างศักย์ระหว่างจุดที่คานวณ (โวลต์ )
d คือระยะห่างระหว่างจุดที่คานวณ ( เมตร)
51. แผ่นโลหะคู่ขนานวางห่ างกัน 1 มิลลิเมตร ต่ออยูก่ บั ขั้วบวก–ลบของแบตเตอรี่ 1.5 โวลต์
สนามไฟฟ้ าระหว่างแผ่นตัวนาคู่ขนานจะมีค่ากี่โวลต์ต่อเมตร
1. 500 2. 1000 3. 1500 4. 2000

52. สนามไฟฟ้ าสม่าเสมอขนาด 8 โวลต์/เมตร จุด A และ B


อยูห่ ่าง กัน 0.5 เมตร ดังรู ป จงหาความต่างศักย์ไฟฟ้ าใน 0.5 ม.
โวลต์ (V ) ระหว่าง A และ B
A B
1. 2 V 2. 4 V 3. 8V 4. 16 V

26
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
จากสมการ E = Vd
อาจจัดสมการใหม่เป็ น V = Ed
เมื่อ V คือความต่างศักย์ระหว่างจุดที่คานวณ (โวลต์ )
E คือค่าความเข้มสนามไฟฟ้ าสม่าเสมอ ( นิวตัน/คูลอมบ์ , โวลต์/เมตร )
d คือระยะห่างระหว่างจุดที่คานวณ ( เมตร)
เงื่อนไขการใช้ สูตร V = Ed
1. ทิศของการกระจัด ( d ) และสนามไฟฟ้ า ( E ) ต้องอยูใ่ นแนวขนานกัน
หากทิศของการกระจัด ( d ) ตั้งฉากกับสนามไฟฟ้ า ( E ) ให้ตอบ ความต่างศักย์ (V) = 0
หากทิศของการกระจัด ( d ) เอียงทามุมกับสนามไฟฟ้ า ( E ) ต้องแตกการกระจัด d นั้น
ให้ขนานกับสนามไฟฟ้ า ( E ) ก่อน แล้วใช้การกระจัดที่อยูใ่ นแนวขนานกับสนามไฟฟ้ า ( E )
มาแทนค่าในสมการ
2. ถ้าการกระจัด ( d ) มีทิศไปทางเดียวกับสนามไฟฟ้ า ( E ) ให้ใช้ค่าการกระจัด ( d ) เป็ นลบ
ถ้าการกระจัด ( d ) มีทิศสวนทางกับสนามไฟฟ้ า ( E ) ให้ใช้ค่าการกระจัด ( d ) เป็ นบวก
53. จงหาความต่างศักย์ไฟฟ้ าระหว่าง A ไป B ( ในหน่วยโวลต์ ) ตามกรณี ต่อไปนี้
ก. ข. ค.
0.5 m A 60o A
0.5 m 2m
B A B B
E=10 V/m E=10 V/m E=10 V/m
1. ก. –5 ข. 0 ค. 10 2. ก. 5 ข. 0 ค. –10
3. ก. 5 ข. 0 ค. 10 4. ก. –5 ข. 0 ค. –10

27
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
การหางาน ( W ) เนื่องจากการเลื่อนประจุในสนามไฟฟ้ าอาจหาได้จาก
W = q ( V2 – V1 ) ( ค่า V2 – V1 คือความต่างศักย์อาจแทนค่าด้วย V ก็ได้ )
จะได้ W = q V
เมื่อ W คืองานที่ใช้ในการเลื่อนประจุ ( จูล )
q คือประจุที่ถูกเลื่อน ( คูลอมบ์ )
V คือความต่างศักย์ไฟฟ้ า (โวลต์ )
54. สนามไฟฟ้ าสม่าเสมอขนาดเท่ากับ 8 โวลต์/เมตร
0.5 m E
ตาแหน่ง A และ B อยูห่ ่าง กัน 0.5 เมตร ดังรู ป
B A
จงหาความต่างศักย์ไฟฟ้ าระหว่าง A ไป B และ
หากเลื่อนประจุขนาด 2 x 10–6 คูลอมบ์ จากจุด A ไป B จะต้องทางานกี่จูล
1. 2 V , 4 x 10–6 J 2. 4 V , 4 x 10–6 J
3. 2 V , 8 x 10–6 J 4. 4 V , 8 x 10–6 J


55. ถ้า E เป็ นสนามไฟฟ้ าสม่าเสมอมีขนาด 12 โวลต์/เมตร  B
จงหางานที่ใช้ในการเคลื่อนที่ประจุทดสอบ 3.0 x 10–6 E
5 ซม.
คูลอมบ์ จาก A  B  C
C
1. 1.8 x 10–6 จูล 2. –1.8 x 10–6 จูล 5 ซม.
3. 3.6 x 10–6 จูล 4. –3.6 x 10–6 จูล A

28
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
56. อนุ ภาคโปรตอนเคลื่ อนที่ในบริ เวณที่มีสนามไฟฟ้ าสม่าเสมอขนาด 50,000 นิ วตันต่อ-
คูลอมบ์ จาก A ไป B ถ้าการเคลื่ อนที่ น้ี ทาให้อนุ ภาคโปรตอนมี พลังงานจลน์เปลี่ ยนไป
2 x 10–15 จูล จงหาระยะทางจาก A ไป B ในหน่วยเป็ นเมตร
1. 0.25 2. 0.50 3. 0.75 4. 1.00

หากเรานาประจุทดสอบ ( q ) ไปวางในสนามไฟฟ้ าสม่าเสมอ ประจุทดสอบนั้นจะถูก


แรงกระทาแล้วทาให้เกิดการเคลื่อนที่ในสนามสม่าเสมอนั้น
โดย ประจุไฟฟ้ าบวกจะวิง่ ไปหาขั้วไฟฟ้ าลบ
และ ประจุไฟฟ้ าลบจะวิง่ ไปหาขั้วไฟฟ้ าบวก
โปรดสั งเกตว่า
แรงกระทาต่อประจุบวกจะมีทิศเดียวกับสนามไฟฟ้ า
แรงกระทาต่อประจุลบจะมีทิศตรงกันข้ามกับสนามไฟฟ้ า
และ เราสามารถหาขนาดของแรงกระทานั้น ได้จาก
F = qE หรื อ F = q Vd
เมื่อ F คือ แรงที่กระทาต่อประจุทดสอบ ( นิวตัน )
E คือค่าความเข้มสนามไฟฟ้ าสม่าเสมอ ( นิวตัน/คูลอมบ์ , โวลต์/เมตร )
V คือความต่างศักย์ระหว่างจุดที่คานวณ (โวลต์)
d คือระยะห่างระหว่างจุดที่คานวณ ( เมตร)
29
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
57. จากรู ป จงหาแรงไฟฟ้ าที่กระทาต่ออิเล็กตรอนที่อยูใ่ นระหว่างแผ่นโลหะขนาน AB
1. 3.0 x 10 –33 N ทิศขึ้น
2. 5.3 x 10–20 N ทิศขึ้น 
E  13 N/C
3. 5.3 x 10–20 N ทิศลง
4. 4.8 x 10–19 N ทิศขึ้น

58. เมื่อนาประจุ +3.6 x 10–14 คูลอมบ์ วางในสนามไฟฟ้ าของแผ่นโลหะสองแผ่นซึ่ งมีทิศ


จากซ้ายไปขวา และมีความต่างศักย์ 100 โวลต์ และอยูห่ ่างกัน 0.3 เมตร จะเกิดแรง
กระทาต่อประจุตามข้อใดต่อไปนี้
1. 1.2 x10–9 N ในทิศจากซ้ายไปขวา 2. 1.2 x 10–9 N ในทิศจากขวาไปซ้าย
3. 1.2 x 10–11 N ในทิศจากซ้ายไปขวา 4. 1.2 x 10–11 N ในทิศจากขวาไปซ้าย

59. ในการทดลองตามแบบของมิลลิแกน พบว่าหยดน้ ามันหยดหนึ่ งลอยนิ่ งได้ระหว่างแผ่น


โลหะขนาน 2 แผ่น ซึ่ งห่างกัน 0.8 เซนติเมตร โดยมีความต่างศักย์ระหว่างแผ่นทาให้เกิด
สนาม 12000 โวลต์/เมตร ถ้าหยดน้ ามันมีประจุ 8.0 x 10–19 คูลอมบ์ จะมีมวลกี่กิโลกรัม
1. 4.8 x 10–16 2. 9.6 x 10–16 3. 10.4 x 10–16 4. 20.8 x 10–16

30
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
60. ลูกบอลมวล 0.012 กิโลกรัม มีประจุไฟฟ้ า –18 ไมโครคูลอมบ์ จงหาขนาดและทิศทาง
ของสนามไฟฟ้ าที่จะทาให้ลูกบอลนี้ เริ่ มลอยขึ้นจากพื้นดิน
1. 3.4 x 103 N/C , ทิศลง 2. 6.7 x 103 N/C , ทิศลง
3. 3.4 x 103 N/C , ทิศขึ้น 4. 6.7 x 103 N/C , ทิศขึ้น

61. แผ่นตัวนาขนานห่างกัน 0.2 เซนติเมตร ทาให้เกิดสนามสม่าเสมอตามแนวดิ่ง ถ้าต้องการ


ให้อิเล็กตรอนมวล 9.1 x 10–31 กิโลกรัม มีประจุ –1.6 x 10–19 คูลอมบ์ ลอยอยูน่ ิ่งๆ ได้
ที่ตาแหน่งหนึ่งระหว่างแผ่นตัวนาขนานนี้ ความต่างศักย์ระหว่างตัวนาขนานต้องเป็ นเท่าใด
1. 1.14 x 10–11 โวลต์ 2. 2.28 x 10–11 โวลต์
3. 1.14 x 10–13 โวลต์ 4. 2.28 x 10–13 โวลต์

31
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
62. หยดน้ ามันหยดหนึ่ งมี ม วล 3.2 x 10–15 กิ โลกรั ม สามารถลอยนิ่ ง อยู่ในอากาศภายใน
สนามไฟฟ้ าซึ่ งมีทิศพุง่ ลงในแนวดิ่งขนาด 2 x 104 นิวตัน/คูลอมบ์ แสดงว่าหยดน้ ามันนี้
( กาหนดให้ อิเล็กตรอน 1 ตัว มีประจุ –1.6x10–19 คูลอมบ์ )
1. รับอิเล็กตรอนเพิ่มขึ้น 10 ตัว 2. เสี ยอิเล็กตรอนไป 10 ตัว
3. รับอิเล็กตรอนเพิม่ ขึ้น 20 ตัว 4. เสี ยอิเล็กตรอนไป 20 ตัว

63. แผ่นตัวนาขนานห่ างกัน 10 เซนติเมตร มีความต่างศักย์ 30 โวลต์ ทาให้เกิดสนามสม่า


เสมอใน แนวดิ่งลง เมื่อนาลูกพิธมวล 0.60 กรัม ที่มีประจุ 20 x 10–6 คูลอมบ์ มาแขวน
ไว้ดว้ ยด้ายเบาเส้นเล็กๆ ยาว 5 เซนติเมตร ปลายหนึ่งผูกติดอยูก่ บั โลหะแผ่นบน แรงดึงใน
เส้นด้ายจะมีค่าเท่าใด และถ้าเส้นด้ายขาดลูกพิธจะเคลื่อนที่ดว้ ยความเร่ งเท่าใด
1. T = 0.6 x 10–2 N , a = 10 m/s2 2. T = 0.6 x 10–2 N , a = 20 m/s2
3. T = 1.2 x 10–2 N , a = 10 m/s2 4. T = 1.2 x 10–2 N , a = 20 m/s2

32
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
64. ชายคนหนึ่งมวล 80 กิโลกรัม ยืนอยูใ่ นห้องที่มีสนามไฟฟ้ าสม่าเสมอขนาด 3000 นิ วตัน/-
คูลอมบ์ มีทิศทางพุง่ ขึ้นสู่ เพดานในแนวดิ่ง ถ้าชายคนนี้ตอ้ งการลอยตัวขึ้นสู่ เพดานด้วยอัตรา
เร่ ง 5 เมตร/วินาที2 เขาจะต้องสร้างประจุไฟฟ้ าขนาดเท่าใดให้กบั ตนเอง
1. ประจุขนาด 0.2 คูลอมบ์ 2. ประจุขนาด 0.4 คูลอมบ์
3. ประจุขนาด 0.6 คูลอมบ์ 4. ประจุขนาด 0.8 คูลอมบ์

65. สนามไฟฟ้ าสม่าเสมอ E มีขนาด 1.0 x 104 นิ วตันต่อคูลอมบ์ มีทิศตามแนวดิ่ ง กระทา


กับ ลูกพิธมวล 0.02 กรัม พบว่าลูกพิธเคลื่อนที่ลงด้วยความเร่ ง 2 เมตรต่อวินาที2 ลูกพิธมี
ประจุกี่คูลอมบ์
1. 1.6 x 10–7 2. 8 x 10–7 3. 1.6 x 10–8 4. 8 x 10–8

33
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
66(แนว En) บริ เวณที่มีสนามไฟฟ้ า 160 โวลต์/เมตร และมีทิศในแนวดิ่ง ปรากฏว่าละอองน้ า
หยดหนึ่ งซึ่ งมีประจุ –6.4 x10–18 คูลอมบ์ เคลื่ อนที่ลงในแนวดิ่ งด้วยความเร่ ง 2 เมตร/-
วินาที2 มวลของละอองน้ านี้มีค่าเท่าใดในหน่วยของ 10–18 กิโลกรัม
1. 568 2. 145 3. 128 4. 124

67. ทรงกลมขนาดเล็กแขวนอยูใ่ นแนวดิ่งด้วยเชื อกเบา


ที่เป็ นฉนวน เมื่อทรงกลมหยุดนิ่งในสนามไฟฟ้ าที่ 45o

สม่าเสมอ และอยูใ่ นแนวระดับดังรู ป ถ้าทรงกลมมี E
ประจุ 2.5 x10–6 คูลอมบ์ และมีมวล 0.015 กรัม
จงหาขนาดสนามไฟฟ้ า
1. 30 N/C 2. 60 N/C
3. 90 N/C 4. 120 N/C

34
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
13.7 ตัวเก็บประจุและความจุ
13.7.1 ตัวเก็บประจุ
ตัวเก็บประจุ คือวัสดุที่สามารถเก็บสะสมประจุไฟฟ้ าไว้ภายในตัวเองได้
สาหรับจานวนประจุที่ตวั เก็บประจุแต่ละตัวสามารถเก็บไว้ได้จะมากหรื อน้อยนั้น
สามารถดูได้จากค่าความจุของตัวเก็บประจุน้ นั ๆ ( C ) หากตัวเก็บประจุมีค่าความจุสูงก็จะเก็บ
ประจุได้มาก หากมีค่าความจุต่าก็จะเก็บประจุได้นอ้ ย
ตัวเก็บประจุ แบบทรงกลม
ตัวเก็บประจุแบบนี้ เราสามารถหาค่าความจุประจุได้จาก
C = ka หรื อ C = QV
เมื่อ C คือค่าความจุประจุ ( ฟารัด )
a คือรัศมีทรงกลม ( เมตร )
K คือค่าคงที่ของคูลอมบ์ = 9 x 109 (นิวตัน . เมตร2 / คูลอมบ์2 )
Q คือประจุที่เก็บสะสม ( คูลอมบ์)
V คือศักย์ไฟฟ้ าที่ผวิ ( โวลต์ )
68. ตัวนาทรงกลมรัศมี 10 เซนติเมตร ความจุประจุของทรงกลมมีค ่ากี่ฟารัด
1. 0.7 x 10–11 2. 0.9 x 10–11 3. 1.1 x 10–11 4. 1.3 x 10–11

69. จากโจทย์ที่ผา่ นมา หากศักย์ไฟฟ้ าสู งสุ ดที่ผวิ ตัวนามีค่าเท่ากับ 3 x 102 โวลต์ ประจุไฟฟ้ า
สู งสุ ดที่ทรงกลมนี้ สามารถเก็บได้มีค่ากี่ไมโครคูลอมบ์
1. 1.3 x 10–3 2. 2.5 x 10–3 3. 3.3 x 10–3 4. 4.5 x 10–3

35
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
ตัวเก็บประจุ แบบแผ่ นโลหะคู่ขนาน
ตัวเก็บประจุแบบนี้ จะมีแผ่นโลหะแบนๆ 2 แผ่น
วางขนานกันโดยแผ่นหนึ่งจะเก็บสะสมประจุบวก ส่ วน
อีกแผ่นจะเก็นสะสมประจุลบ ตัวเก็บประจุแบบนี้ เราสามารถหาค่าความจุประจุได้จาก
C = QV
เมื่อ C คือค่าความจุประจุ ( ฟารัด )
Q คือประจุที่ข้ วั บวก (คูลอมบ์)
V คือความต่างศักย์ระหว่างขั้วไฟฟ้ า (โวลต์)

70. ตัวเก็บประจุตวั หนึ่ งมี ความจุ 0.2 ไมโครฟารัด ใช้งานกับความต่างศักย์ 250 โวลต์ จะ
เก็บประจุไว้ได้กี่คูลอมบ์
1. 0.5 x 102 2. 1.25 x 102 3. 2.5 x 10–5 4. 5 x10–5

เราสามารถหาพลังงานไฟฟ้ าที่เก็บสะสมในตัวเก็บประจุแผ่นโลหะคู่ขนานได้จาก
2
U = 12 Q V หรื อ U = 12 QC หรื อ U = 12 C V2
เมื่อ U คือพลังงานที่เก็บสะสม ( จูล )
Q คือประจุที่ข้ วั บวก ( คูลอมบ์ )
V คือความต่างศักย์ระหว่างขั้วไฟฟ้ า ( โวลต์ )
C คือค่าความจุประจุ ( ฟารัด )

71. จงหาพลังงานที่สะสมในคาปาซิเตอร์ที่มีความจุ 2 ไมโครฟารัด เมื่อประจุไฟฟ้ าให้คา-


ปาซิ เตอร์ จนมีความต่างศักย์ 2 โวลต์
1. 1 x 10–6 จูล 2. 2 x 10–6 จูล 3. 4 x 10–6 จูล 4. 8 x 10–6 จูล

36
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
72. ในการเกิดฟ้ าผ่าครั้งหนึ่ง ปรากฏว่ามีประจุถ่ายเทระหว่างเมฆและพื้นดิน 40 คูลอมบ์
และความต่างศักย์ระหว่างเมฆกับพื้นดินมีค่า 8 x 106 โวลต์ จงหาพลังงานที่เกิดขึ้นเนื่อง
จากฟ้ าผ่าครั้งนี้
1. 1.6 x 106 จูล 2. 3.2 x 106 จูล 3. 1.6 x 108 จูล 4. 3.2 x 108 จูล

73(แนว มช) ถ้าใช้ตวั ต้านทาน 10 โอห์ ม ต่อคร่ อมตัวเก็บประจุ ขนาด 2000 ไมโครฟารัด
เพื่อคายประจุจากค่าประจุเริ่ มต้น 2 คูลอมบ์ จนไม่มีประจุเหลื ออยู่เลย จะเกิ ดความร้ อน
บนตัวต้านทานกี่จูล
1. 100000 2. 5000 3. 2000 4. 1000

74. ตัวเก็บประจุหนึ่งสะสมประจุไว้ 5.3 x 10–5 คูลอมบ์ เมื่อต่อกับความต่างศักย์ 6 โวลต์


จงหาประจุที่สะสมในตัวเก็บประจุ ถ้าต่อเข้ากับความต่างศักย์ 9 โวลต์
1. 53 C 2. 69 C 3. 79 C 4. 85 C

37
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
13.7.2 การต่ อตัวเก็บประจุ
ปกติแล้วในวงจรไฟฟ้ าหนึ่งๆ นั้น จะต้องใช้ตวั เก็บประจุหลายๆ ตัวเข้ามาต่อร่ วมกัน
ทางาน การต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้ าหลายตัวเข้าด้วยกันนั้น โดยทัว่ ไปแล้วจะมี 2 แบบ ได้แก่
การต่อแบบอนุกรม และการต่อแบบขนาน
ก. การต่ อตัวเก็บประจุแบบอนุกรม
การต่อแบบอนุกรมจะเป็ นการต่อตัวเก็บประจุหลายๆ ตัวให้อยูใ่ นแนวเส้นเดียวกัน ดังรู ป
การต่อแบบอนุกรมจะมีสิ่งที่ตอ้ งจดจาดังนี้
1. ประจุไฟฟ้ าที่เก็บในตัวเก็บแต่ละตัว จะมี
ขนาดเท่ากัน และเท่ากับประจุไฟฟ้ ารวมที่ไหลเข้า
Q1 Q2
วงจร นัน่ คือ Qรวม = Q1 = Q2 = …..
Q Q
2. ความต่างศักย์ไฟฟ้ าของตัวเก็บประจุแต่ละ V1= C1 V2= C 2
1 2
ตัวอาจมีค่าไม่เท่ากันก็ได้ นัน่ คือ V1  V2  ……
3. ความต่างศักย์รวมทั้งวงจร จะเท่ากับความต่างศักย์ของตัวเก็บประจุแต่ละตัวรวมกัน
นัน่ คือ Vรวม = V1 + V2 + …..
4. ค่าความจุประจุรวมหาค่าได้จาก C 1 = C1 + C1 + ….
รวม 1 2
C xC
และหากตัวเก็บประจุต่ออนุกรมกันเพียง 2 ตัว ค่าความจุรวมอาจหาได้จาก Cรวม = C1  C2
1 2
75. จากรู ป ให้หาค่า Cรวม
1. 2 F 2. 4 F C1 = 3 F C2 = 6 F
Qรวม = 18 C
3. 9 F 4. 18 F Q1 Q2
V1 V2

76. จากข้อที่ผา่ นมา ให้หาค่า Q1 และ Q2


1. Q1 = 12 C , Q2 = 6 C 2. Q1 = 6 C , Q2 = 12 C
3. Q1 = 12 C , Q2 = 12 C 4. Q1 = 18 C , Q2 = 18 C

38
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
77. จากข้อที่ผา่ นมา ให้หาค่า V1 และ V2
1. V1 = 12 V , V2 = 6 V 2. V1 = 6 V , V2 = 12 V
3. V1 = 6 V , V2 = 3 V 4. V1 = 3 V , V2 = 6 V

78. จากข้อที่ผา่ นมา ให้หาค่า Vรวม


1. 3 V 2. 9 V 3. 12 V 4. 18 V

79. จากรู ป จงหา Cรวม และ Qรวม


6 F 12 F
1. Cรวม = 4 F , Qรวม = 144 C
2. Cรวม = 4 F , Qรวม = 288 C
3. Cรวม = 8 F , Qรวม = 144 C
4. Cรวม = 8 F , Qรวม = 288 C Vรวม = 36 โวลต์

80. จากข้อที่ผา่ นมา จงหาประจุและความต่างศักย์ของตัวเก็บ 6 F


1. 72  C , 12 V 2. 72  C , 24 V
3. 144  C , 12 V 4. 144  C , 24 V

39
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
81. จากข้อที่ผา่ นมา จงหาประจุและความต่างศักย์ของตัวเก็บ 12 F
1. 72  C , 12 V 2. 72  C , 24 V
3. 144  C , 12 V 4. 144  C , 24 V

82. จากข้อที่ผา่ นมา จงหาพลังงานไฟฟ้ าของตัวเก็บ 12 F


1. 4.32 x 10–3 จูล 2. 8.64 x 10–3 จูล
3. 4.32 x 10–4 จูล 4. 8.64 x 10–4 จูล

ข. การต่ อตัวเก็บประจุแบบขนาน
การต่อแบบขนานจะเป็ นการต่อตัวเก็บประจุหลายๆ ตัวโดยแยกกันอยูค่ นละสาย ดังรู ป
การต่อแบบขนานจะมีสิ่งที่ตอ้ งจดจาดังนี้
1. ประจุไฟฟ้ าที่เก็บในตัวเก็บแต่ละตัว อาจมี Q1

ขนาดไม่เท่ากันก็ได้ นัน่ คือ


Qรวม  Q1  Q2  ….. Q2

2. ประจุไฟฟ้ ารวม จะมีขนาดเท่ากับผลบวกของประจุไฟฟ้ าในแต่ละตัวเก็บประจุ


Qรวม = Q1 + Q2 + …..
3. ความต่างศักย์ไฟฟ้ าของตัวเก็บประจุแต่ละตัวจะมีค่าเท่ากันและเท่ากับความต่างศักย์
รวมของวงจรด้วย นัน่ คือ Vรวม = V1 = V2 = …
4. ค่าความจุประจุรวมหาค่าได้จาก Cรวม = C1 + C2 + ...
40
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
83(แนว มช) จากรู ป จงหาค่าความจุรวม และประจุไฟฟ้ า
รวมบนตัวเก็บประจุท้ งั สอง 2 pF 5 pF
140 V
1. 7 pF , 0.05 pC 2. 1.4 pF , 196 pC
3. 7 pF , 980 pC 4. 1.4 pF , 1960 pC

84. จากรู ป ให้หาค่า Cรวม C1 = 4 F V1


Q1
1. 2 F 2. 4 F Qรวม = 48 C
3. 8 F 4. 16 F Q2 C2 = 12 F V2

85. จากข้อที่ผา่ นมา ให้หาค่า Vรวม


1. 3 V 2. 9 V 3. 12 V 4. 18 V

86. จากข้อที่ผา่ นมา ให้หาค่า V1 และ V2


1. V1 = 3 V , V2 = 6 V 2. V1 = 6 V , V2 = 3 V
3. V1 = 3 V , V2 = 3 V 4. V1 = 6 V , V2 = 6 V

87. จากข้อที่ผา่ นมา ให้หาค่า Q1 และ Q2


1. Q1 = 12 C , Q2 = 36 C 2. Q1 = 36 C , Q2 = 12 C
3. Q1 = 12 C , Q2 = 12 C 4. Q1 = 36 C , Q2 = 36 C

41
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
88. ตัวเก็บประจุขนาด 4.0 F และ 8.0 F ต่อขนานกัน และต่อเข้ากับความต่างศักย์ 25
โวลต์ จงหาความจุไฟฟ้ ารวม และ ประจุที่สะสมในตัวเก็บประจุแต่ละตัว ตามลาดับ
1. 12 F , 50 C , 100 C 2. 12 F , 50 C , 200 C
3. 12 F , 100 C , 100 C 4. 12 F , 100 C , 200 C

89. ตัวเก็บประจุ 3 ตัว มีความจุดงั นี้ C1


C1 = 1 ไมโครฟารัด C3
C2 = 2 ไมโครฟารัด
C3 = 3 ไมโครฟารัด C2
ต่อกันอยูด่ งั ในรู ป ความจุรวมจะเท่ากับกี่ไมโครฟารัด
1. 23 2. 23 3. 113 4. 12

42
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
90. C1 = 4 ไมโครฟารัด C2 = 6 ไมโครฟารัด
C1
C3 = 6 ไมโครฟารัด C4 = 6 ไมโครฟารัด
C2 C3 C4
ต่อตัวเก็บประจุ C1 , C2 , C3 และ C4 ดังรู ป จงหา
ความจุรวมของทั้งหมดในหน่วยไมโครฟารัด
1. 2 2. 3 3. 4 4. 6

91. เมื่อสับสวิทซ์ลงในวงจรดังแสดงในรู ปจะมีประจุ C2 = 8 F


ขนาด 40 ไมโครคูลอมบ์ ไหลจากแบตเตอรี่ ไป C1 = ?
เก็บอยูใ่ นตัวเก็บประจุ C1 , C2 และ C3 ขนาด C3 = 8 F
ความจุของตัวเก็บประจุที่ไม่ทราบค่า C1 มีค่ากี่
ไมโครฟารัด E=5V
1. 2 2. 4 3. 8 4. 16

43
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
92. จากรู ป จงหาความต่างศักย์ระหว่างจุด A กับจุด B
A 2 F B
และ ประจุไฟฟ้ าในตัวเก็บประจุ 2 F * *
1. 36 V , 36 C C* D*
6 F 3 F
2. 18 V , 36 C
3. 36 V , 72 C
4. 18 V , 72 C Vรวม = 36 โวลต์

93. จากข้อที่ผา่ นมา จงหาความต่างศักย์ระหว่างจุด C กับ D และ ประจุไฟฟ้ าในตัวเก็บ 6 F


1. 36 V , 36 C 2. 18 V , 36 C 3. 36 V , 72 C 4. 18 V , 72 C

94. จากข้อที่ผา่ นมา ความต่างศักย์ของตัวเก็บประจุ 6 F


1. 3 V 2. 9 V 3. 12 V 4. 18 V

95. จากข้อที่ผา่ นมา พลังงานไฟฟ้ าที่สะสมในตัวเก็บประจุ 6 F


1. 4.32 x 10–3 จูล 2. 8.64 x 10–3 จูล
3. 4.32 x 10–4 จูล 4. 8.64 x 10–4 จูล

44
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
96(แนว En) วงจรไฟฟ้ าประกอบด้วยตัวเก็บประจุสามตัว
ต่ออยูก่ บั ความต่างศักย์ 12 โวลต์ ดังรู ป จงคานวณหา 3 F 6 F
ขนาดของความต่างศักย์ที่คร่ อมตัวเก็บประจุ 3 ไมโคร 2 F
ฟารัด และ 6 ไมโครฟารัด ตามลาดับ
1. 12 V และ 12 V 2. 6 V และ 6 V
12V
3. 4 V และ 8 V 4. 8 V และ 4 V

13.7.3 การถ่ ายโอนประจุระหว่ างทรงกลมตัวนา


เมื่อนาตัวเก็บประจุหลาย ตัวมาแตะกัน จะเกิดการถ่ายโอนประจุให้แก่กนั และกัน ซึ่ งการ
ถ่ายโอนประจุน้ นั จะเป็ นไปภายใต้กฎ คือ
1) หลังแตะ ศักย์ไฟฟ้ าของตัวเก็บประจุทุกตัวจะเท่ากัน
2) ประจุ ( Q ) รวมก่อนแตะ = ประจุ ( Q ) รวมหลังแตะ
97. ตัวนาทรงกลมรัศมี a ที่มีประจุ –Q ไปแตะกับตัวนาทรงกลมรัศมี 2a ที่มีประจุ +4Q
หลังจากแยกออกจากกันแล้วตัวนาทรงกลมรัศมี a จะมีประจุเท่าใด
1. Q2 2. Q 3. 3Q2 4. 2Q

45
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
98. ตัวนาทรงกลมรัศมี a ที่มีประจุ –Q ไปแตะกับตัวนาทรงกลมรัศมี 3a ที่มีประจุ +9Q
หลังจากแยกออกจากกันแล้ว ตัวนาทรงกลมรัศมี a จะมีประจุเท่าใด
1. Q2 2. Q 3. 3Q
2 4. 2Q

99. ทรงกลมตัว น าขนาดเท่ ากัน 2 อัน แต่ ล ะอันมี รัศ มี 1 ซม. อัน แรกมี ป ระจุ 3 x 10–5
คูลอมบ์ อันหลังมีประจุ –1 x 10– 5 คูลอมบ์ เมื่อให้ทรงกลมทั้งสองแตะกันแล้วแยกนาไป
วางไว้ให้ผวิ ทรงกลมทั้งสองห่างกัน 8 ซม. ขนาดของแรงระหว่างทรงกลมคือ (นิวตัน)
1. 90 2. 270 3. 360 4. 563



46
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
เฉลยบทที่ 13 ไฟฟ้ าสถิ ต
1. ตอบข้ อ 4. 2. ตอบข้ อ 1. 3. ตอบข้ อ 4. 4. ตอบข้ อ 2.
5. ตอบข้ อ 1. 6. ตอบข้ อ 2. 7. ตอบข้ อ 1. 8. ตอบข้ อ 3.
9. ตอบข้ อ 4. 10. ตอบข้ อ 1. 11. ตอบข้ อ 1. 12. ตอบข้ อ 2.
13. ตอบข้ อ 3. 14. ตอบข้ อ 3. 15. ตอบข้ อ 3. 16. ตอบข้ อ 1.
18. ตอบข้ อ 1. 19. ตอบข้ อ 1. 20. ตอบข้ อ 1. 21. ตอบข้ อ 1.
22. ตอบข้ อ 2. 23. ตอบข้ อ 2. 24. ตอบข้ อ 4. 25. ตอบข้ อ 3.
26. ตอบข้ อ 3. 27. ตอบข้ อ 4. 28. ตอบข้ อ 2. 29. ตอบข้ อ 4.
30. ตอบข้ อ 4. 31. ตอบข้ อ 4. 32. ตอบข้ อ 4. 33. ตอบข้ อ 4.
34. ตอบข้ อ 2. 35. ตอบข้ อ 3. 36. ตอบข้ อ 1. 37. ตอบข้ อ 1.
38. ตอบข้ อ 3. 39. ตอบข้ อ 3. 41. ตอบข้ อ 2. 42. ตอบข้ อ 4.
43. ตอบข้ อ 1. 44. ตอบข้ อ 2. 45. ตอบข้ อ 4. 46. ตอบข้ อ 2.
47. ตอบข้ อ 3. 48. ตอบ 100 49. ตอบข้ อ 4. 50. ตอบข้ อ 4.
51. ตอบข้ อ 3. 52. ตอบข้ อ 2. 53. ตอบข้ อ 3. 54. ตอบข้ อ 4.
55. ตอบข้ อ 1. 56. ตอบข้ อ 1. 57. ตอบข้ อ 2. 58. ตอบข้ อ 3.
59. ตอบข้ อ 2. 60. ตอบข้ อ 2. 61. ตอบข้ อ 3. 62. ตอบข้ อ 1.
63. ตอบข้ อ 4. 64. ตอบข้ อ 2. 65. ตอบข้ อ 3. 66. ตอบข้ อ 3.
67. ตอบข้ อ 2. 68. ตอบข้ อ 3. 69. ตอบข้ อ 3. 70. ตอบข้ อ 4.
71. ตอบข้ อ 3. 72. ตอบข้ อ 3. 73. ตอบข้ อ 4. 74. ตอบข้ อ 3.
75. ตอบข้ อ 1. 76. ตอบข้ อ 4. 77. ตอบข้ อ 3. 78. ตอบข้ อ 2.
79. ตอบข้ อ 1. 80. ตอบข้ อ 4. 81. ตอบข้ อ 3. 82. ตอบข้ อ 4.
83. ตอบข้ อ 3. 84. ตอบข้ อ 4. 85. ตอบข้ อ 1. 86. ตอบข้ อ 3.
87. ตอบข้ อ 1. 88. ตอบข้ อ 4. 89. ตอบข้ อ 2. 90. ตอบข้ อ 4.
91. ตอบข้ อ 4. 92. ตอบข้ อ 3. 93. ตอบข้ อ 3. 94. ตอบข้ อ 3.
95. ตอบข้ อ 3. 96. ตอบข้ อ 4. 97. ตอบข้ อ 2. 98. ตอบข้ อ 4.
99. ตอบข้ อ 1.


47
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
ตะลุ ย โจทย์ ท่ วั ไป บทที่ 13 ไฟฟ้ าสถิ ต
13.1 ประจุไฟฟ้ า การเหนี่ยวนาทางไฟฟ้า อิเล็กโทรสโคบ และการต่ อสายดิน
13.1.1 ประจุไฟฟ้า
13.1.2 การเหนี่ยวนาทางไฟฟ้า
1(แนว มช) เมื่อนาแท่งแก้วถูผา้ ไหมจะพบว่าวัตถุท้ งั สองกลายเป็ นวัตถุที่มีประจุ การที่วตั ถุท้ งั
สองมีประจุได้ เนื่องจาก
1. ประจุถูกสร้างขึ้น 2. การแยกของประจุ
3. การเสี ยดสี 4. แรงที่ถู
2. เมื่อถูแท่งแก้วด้วยผ้าไหม แท่งแก้วจะมีประจุไฟฟ้ าเป็ นบวกเพราะว่าสาเหตุใด
1. โปรตรอนบางตัวในไหมถ่ายเทไปแท่งแก้ว
2. อิเล็กตรอนบางตัวหลุดจากแท่งแก้วและถ่ายเทไปยังผ้าไหม ทาให้เหลือประจุไฟฟ้ า
บวกบนแท่งแก้วมากกว่าประจุไฟฟ้ าลบ
3. ทั้งข้อ 1. และ 2. ถูกต้อง
4. ผิดหมดทุกข้อ
3(แนว มช) เมื่อนาแท่งพีวซี ี ที่ถูกบั ผ้าสักหลาดแล้วไปวางใกล้ ๆ กับลูกพิธที่เป็ นกลางทางไฟฟ้ า
จะสังเกตเห็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นดังนี้
1. ลูกพิธจะหยุดนิ่ง
2. ลูกพิธจะเคลื่อนที่เข้าหาแท่งพีวซี ี
3. ลูกพิธจะเคลื่อนที่ออกห่างจากแท่งพีวซี ี
4. ลูกพิธจะเคลื่อนที่เข้าหาแท่งพีวซี ี ในตอนแรก แล้วจะเคลื่อนที่จากไปภายหลัง
4(แนว มช) เป็ นที่ ทราบกันแล้วว่าอิเล็กตรอนในโลหะ สามารถเคลื่ อนที่ ได้อย่างอิ สระและ
มักจะพบเสมอว่าอิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่มาอยูต่ ามบริ เวณผิวของโลหะ เหตุที่อิเล็กตรอนไม่
เคลื่อนที่ต่อไปในอากาศ เพื่อหนีออกจากโลหะเพราะ
1. อากาศไม่เป็ นตัวนาไฟฟ้ า
2. อิเล็กตรอนมีพลังงานน้อยกว่าพลังงานยึดเหนี่ยวของโลหะ
3. อากาศมีแรงเสี ยดทานมาก
4. อิเล็กตรอนถูกอะตอมของโลหะยึดจับไว้
48
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
5(แนว En) ในการทาให้วตั ถุที่มีประจุไฟฟ้ าเป็ นลบหรื อเป็ นบวก มีสภาพไฟฟ้ าเป็ นกลางนั้ น
จะต้องต่อสายดินกับพื้นโลก ทั้งนี้เพราะข้อใด
1. โลกมีความต้านทานต่า 2. โลกมีความจุไฟฟ้ ามาก
3. โลกมีสนามไฟฟ้ าต่า 4. โลกมีศกั ย์ไฟฟ้ าเป็ นกลาง
13.1.3 อิเล็กโทรสโคบ
13.1.4 การต่ อสายดิน

13.2 แรงระหว่ างประจุและกฏของคูลอมบ์


6. จากรู ปให้หาแรงกระทาระหว่างประจุท้ งั สองนี้ R = 3 ม.
ว่ามีขนาดกี่นิวตัน
1. 0.01 2. 0.05 + –
3. 0.02 4. 0.15 Q1 = +5 x 10–6 C Q2 = –2 x 10–6 C

7. ลูกพิธสองลูกแต่ละลูกมีประจุ 1.0 ไมโครคูลอมบ์ เมื่อวางห่างกันเป็ นระยะ 50 เซนติเมตร


และถือว่าลูกพิธทั้งสองนี้มีขนาดเล็กมากจนถือได้วา่ เป็ นจุดประจุ แรงระหว่างประจุที่เกิดขึ้น
มีค่าเท่าใด
1. 9.0 x 109 นิวตัน 2. 3.6 x 109 นิวตัน
3. 36 นิวตัน 4. 3.6 x 10–2 นิวตัน
8. นิวเคลียสของอะตอมฮีเลียมประกอบด้วยโปรตอน 2 ตัว ซึ่ งอยูห่ ่างกัน 3.0 x 10–15
เมตร จงหาขนาดของแรงที่เกิดกับโปรตอนแต่ละตัว
( กาหนด โปรตรอน 1 ตัว มีประจุ 1.6 x 10–19 คูลอมบ์ )
1. 18.8 นิวตัน 2. 20.6 นิวตัน 3. 25.6 นิวตัน 4. 30.5 นิวตัน
9. จงหาระยะห่างในหน่วยเมตรของจุดประจุที่มีขนาด +1.0 และ –1.0 ไมโครคูลอมบ์ ซึ่ง
มีแรงดึงดูดต่อกัน 360 นิวตัน
1. 5 x 10–3 เมตร 2. 6 x 10–3 เมตร
3. 7 x 10–3 เมตร 4. 8 x 10–3 เมตร

49
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
10. ประจุขนาดเท่ากันชนิ ดเดี ยวกันอยู่ห่างกัน 3 เมตร แรงผลักระหว่างประจุ 0.4 นิ วตัน
ประจุแต่ละตัวจะมีขนาดเท่ากับกี่คูลอมบ์
1. 1 x 10–5 2. 2 x 10–5 3. 1 x 10–6 4. 2 x 10–6
11. ก้อนโลหะ 2 ก้อน มีระยะห่างระหว่างจุดศูนย์กลางของโลหะทั้งสองเป็ น 3 เมตร แต่ละ
ก้อนมีอิเล็กตรอนอิสระอยู่ 1 x 1015 ตัว จงหาขนาดแรงผลักที่เกิดขึ้นว่ามีกี่นิวตัน
12. ทรงกลมโลหะลูกเล็กๆ เริ่ มแรกไม่มีประจุท้ งั สองลูก จะต้องมีการถ่ายเทอิเล็กตรอนจานวนกี่
ตัว จากลูกหนึ่งไปยังอีกลูกหนึ่ง จึงจะทาให้เกิดแรงดึงดูดระหว่างทรงกลมทั้งสองเท่ากับ 1.0
นิวตัน ขณะที่อยูห่ ่างกัน 10 เซนติเมตร
1. 6.59 x 1010 ตัว 2. 6.59 x 109 ตัว
3. 6.59 x 108 ตัว 4. 6.59 x 1012 ตัว
13. เมื่อวางลูกพิธที่มีประจุห่างกัน 3.0 เซนติเมตร ปรากฏว่ามีแรงกระทาต่อกัน 8.0 x 10–6
นิว ตัน ถ้าวางลูกพิธทั้งสองห่างกัน 6.0 เซนติเมตร จะมีแรงกระทาระหว่างกันกี่นิวตัน
1. 2 x 10–5 2. 4 x 10–5 3. 2 x 10–6 4. 4 x 10–6
14. แรงผลักระหว่างประจุที่เหมือนกันคู่หนึ่งเป็ น 3.5 นิ วตัน จงหาขนาดของแรงผลักระหว่าง
ประจุคู่น้ ีวา่ มีค่ากี่นิวตัน ถ้าระยะห่างของประจุเป็ น 5 เท่าของเดิม
15. แรงผลักระหว่างประจุที่เหมือนกันคู่หนึ่งเป็ น 27 นิวตัน จงหาขนาดของแรงผลักระหว่าง
ประจุ คู่ น้ ี ถ้า ระยะห่ า งของประจุ เป็ น 3 เท่ า ของเดิ ม
1. 3 นิวตัน 2. 9 นิวตัน 3. 34 นิวตัน 4. 81 นิวตัน
16. ถ้าระยะห่ างระหว่างประจุ 2 ตัวเพิ่มขึ้นเป็ น 2 เท่าของของเดิม แรงกระทาระหว่างประจุ
ในตอนหลังจะมีค่าเป็ นกี่เท่าของแรงกระทาระหว่างประจุในตอนแรก
1. 2 เท่า 2. 4 เท่า 3. 12 เท่า 4. 14 เท่า
17. ประจุคู่หนึ่ งวางให้ห่างกันเป็ นครึ่ งหนึ่ งของระยะเดิ ม แรงกระทาระหว่างประจุจะเพิ่มหรื อ
ลดจากเดิมเท่าไร
1. เพิ่มขึ้น 12 เท่า 2. เพิ่มขึ้น 2 เท่า 3. เพิ่มขึ้น 4 เท่า 4. ลดลง 2 เท่า

50
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
18. ลูกพิธ 2 ลูก วางห่ างกัน 8 ซม. จะเกิดแรงผลักกันค่าหนึ่ ง ถ้าเพิ่มประจุลูกหนึ่งเป็ น 2
เท่า และอีกลูกหนึ่ งเป็ น 3 เท่า จะต้องวางลูกพิธทั้งสองห่ างกันกี่เซนติเมตร จึงจะเกิดแรง
กระทาเท่าเดิม
1. 4 2. 4 6 3. 8 4. 8 6
19. ประจุ q1 = +4 x 10–6 คูลอมบ์ , q2 = –5 x 10–6 คูลอมบ์ และ q3 = +6 x 10–6 คูลอมบ์
วางอยูด่ งั รู ป จงหาแรงที่เกิดขึ้นกับประจุ q2 ว่ามีค่ากี่นิวตัน
4 ม.
+-– – –2–ม.– – – – – – – – – – – – – – – –+–
q1 = + 4x10–6 C q2 = –5x10–6 C q3 = +6x10–6 C
1. 0.029 2. 0.05 3. 0.045 4. 0.151
20. ประจุ +5.0 x 10–6 C และ –3.0 x 10–6 C วางอยูห่ ่างกัน 20 เซนติเมตร ถ้านาประจุทด
สอบขนาด +1.0 x 10–6 C มาวางไว้ที่จุดกึ่งกลางระหว่างประจุท้ งั สองขนาด และมีทิศทาง
ของแรงที่กระทาต่อประจุทดสอบคือ
1. 0.72 นิวตัน และมีทิศชี้ เข้าหาประจุลบ 2. 1.80 นิวตัน และมีทิศเข้าหาประจุบวก
3. 7.20 นิวตัน และมีทิศเข้าหาประจุลบ 4. 7.20 นิวตัน และมีทิศเข้าหาประจุบวก
21(แนว มช) ประจุไฟฟ้ า –3 x10–4 C
+ C = +4 x 10–4 C
+2 x10–3 C และ +4 x 10–4 C
วางอยูท่ ี่จุด A , B และ C ดัง 3 ม.
รู ป จงหาว่าแรงกระทาที่มีต่อประ A = 3 x 10–4 C
– + B = +2 x 10–3 C
จุ +2 x 10–3 C มีขนาดกี่นิวตัน 3 ม.
1. 600 2. 800 3. 1000 4. 1400
22. จากรู ป จงหาแรงลัพธ์ที่กระทาต่อประจุ B
1. 3 นิวตัน C = +3 x 10–5 C
2. 4 นิวตัน 3 ม.
3. 5 นิวตัน A = 4 x 10–5 C
B = +1 x 10–4 C
4. 6 นิวตัน 3 ม.

51
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
23. จากรู ป จงหาขนาดของแรงที่กระทาต่อ
+10 C
ประจุ +3 C 
1. 0.068 นิวตัน
2. 13.5 นิวตัน 2 cm 2 cm
3. 22.5 นิวตัน
+3 C  2 cm
 –10 C
4. 675 นิวตัน
24. ประจุ +10 ไมโครคูลอมบ์ , +20 ไมโครคูลอมบ์ +10 C +4 C
และ +4 ไมโครคูลอมบ์ วางอยูใ่ นตาแหน่งแสดง + 37o80 cm +
ดังรู ป จงหาแรงลัพธ์ที่ประจุ +20 ไมโครคูลอมบ์
60 cm
( ให้ cos 53o = 0.6 ) 100 cm
1. 1.4 นิวตัน 2. 3.4 นิวตัน + +20 C
3. 5.4 นิวตัน 4. 6.4 นิวตัน
25. ประจุไฟฟ้ าเท่ากันวางอยูท่ ี่จุด A , B และ C โดยระยะ AB = 2 cm , BC = 1 cm
ถ้าแรงไฟฟ้ าที่กระทาต่อ B เนื่องจาก C เท่ากับ A
2 นิวตัน แรงไฟฟ้ าทั้งหมดที่กระทาต่อ B มี
ขนาดกี่นิวตัน 2 cm
1. 12 2. 25 B C
3. 2 5 4. 5 1 cm

26(แนว En) ตัวนา A และ B มีมวลและประจุเท่ากัน A +q


คือ m และ +q เมื่อวาง B อยูก่ บั พื้น และวาง A r
เหนือ B ปรากฏว่า A ลอยสู งจาก B เป็ นระยะ r
B +q
ดังรู ป จงหาว่า q มีค่าเท่าใด พื้น

1. m2gr 2 2. mKg r 3. mgr 2 2


4. m Kg r
K K

52
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
27. รัศมีวงโคจรของอิเล็กตรอนรอบโปรตรอนในอะตอมธาตุไฮโดรเจน มีคา่ ประมาณ
5.3 x 10–11 เมตร จงหาอัตราส่ วนแรงไฟฟ้ าสถิตกับแรงดึงดูดระหว่างมวล
กาหนด ประจุอิเล็กตรอน = 1.6x10–19 คูลอมบ์
ประจุโปรตรอน = 1.6x10–19 คูลอมบ์
มวลอิเล็กตรอน = 9.1x10–31 กิโลกรัม
มวลโปรตรอน = 1.67x10–27 กิโลกรัม
1. 2.3 x 1039 2. 2.7 x 1039 3. 2.8 x 1039 4. 2.9 x 1039

13.3 สนามไฟฟ้ารอบจุดประจุ
28. จงหาความเข้มสนามไฟฟ้ าที่ระยะ 50 ซม. จากประจุ +10–4 คูลอมบ์ ว่าจะมีความเข้มกี่
นิวตัน/คูลอมบ์
1. 2.3 x 106 นิวตัน/คูลอมบ์ 2. 5.6 x 106 นิวตัน/คูลอมบ์
3. 1.2 x 106 นิวตัน/คูลอมบ์ 4. 3.6 x 106 นิวตัน/คูลอมบ์
29. ความเข้มสนามไฟฟ้ าที่จุดห่างจากประจุ 0.15 เมตร เป็ น 160 นิวตันต่อคูลอมบ์ ที่จุดห่าง
จากประจุ 0.45 เมตร จะมีความเข้มสนามไฟฟ้ ากี่นิวตัน/คูลอมบ์
30. ที่ตาแหน่งซึ่ งห่างจากประจุหนึ่งเป็ นระยะ 2.0 เซนติเมตร มีขนาดของสนามไฟฟ้ าเป็ น 10 5
นิวตันต่อคูลอมบ์ จงหาขนาดของสนามไฟฟ้ าที่ห่างจากจุดนี้ 1.0 เซนติเมตร
1. 4 x 105 นิวตัน/คูลอมบ์ 2. 2 x 105 นิวตัน/คูลอมบ์
3. 7 x 105 นิวตัน/คูลอมบ์ 4. 9 x 105 นิวตัน/คูลอมบ์
31. จากรู ปที่กาหนดให้ จงหาว่าสนาม
A = +4 x 10–9 C B = 3 x 10–9 C
ไฟฟ้ าลัพธ์ที่จุด X มีขนาดเท่าใด X
3 ม. *
1. 5 N/C 2. 7 N/C 3 ม.
3. 10 N/C 4. 14 N/C

53
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
32(แนว มช) วางประจุ 3 x 10–3 คูลอมบ์ , 2 x 10–3
A B C
คูลอมบ์ และ –8 x 10–3 คูลอมบ์ ที่ตาแหน่ง A ,
B และ C ตามลาดับ จงหาสนามไฟฟ้ าที่ตาแหน่ง
B ในหน่วยของนิ วตัน/ คูลอมบ์ AB = 3 เมตร , BC = 2 เมตร
1. 21 x 106 2. 15 x 106 3. 30 x 106 4. 42 x 106
33. จากรู ปที่กาหนดให้ จงหาว่าสนามไฟฟ้ าลัพธ์ A = +4 x 10–9 C
ที่จุด X มีขนาดเท่าใด X
3 ม. *
1. 5 N/C
2. 7 N/C 3 ม.
3. 10 N/C
4. 14 N/C B = 3 x 10–9 C

34. จากรู ป ถ้า ABP เป็ นสามเหลี่ยมด้านเท่ามีแต่ละด้านยาว 1.0 เมตร ถ้านาจุดประจุ 1.0
ไมโครคูลอมบ์ วางไว้ที่จุด A และนาจุดประจุ –1.0 ไม โ ค รคู ล อ ม บ์ ว างไ ว้ ที่ จุ ด B
สนามไฟฟ้ าที่จุด P เนื่องจากจุดประจุท้ งั สองมีค่าเท่าใด
1. 90 นิวตันต่อคูลอมบ์ P
2. 900 นิวตันต่อคูลอมบ์
3. 9000 นิวตันต่อคูลอมบ์
4. 90000 นิวตันต่อคูลอมบ์ A B
1 ม.
35. จงหาความเข้มสนามไฟฟ้ าที่จุด B ในหน่วยของ
นิวตัน/คูลอมบ์ ตามรู ปที่กาหนด +5 C –3.6 C
( กาหนด cos 127o = –0.6 ) 8 cm
37o
6
1. 7.00 x10 นิวตันต่อคูลอมบ์
6 cm
2. 7.05 x 106 นิวตันต่อคูลอมบ์ 10 cm
53o
6
3. 7.26 x 10 นิวตันต่อคูลอมบ์
B
6
4. 5.23 x 10 นิวตันต่อคูลอมบ์

54
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
36. ประจุ q1 , q2 มีขนาดเท่ากันอยูห่ ่างกัน 2 เมตร สนามไฟฟ้ า ณ จุดกึ่งกลางระหว่างประจุ
ทั้งสองมีทิศพุง่ เข้าหา q2 และมีขนาด 4.8 x 104 โวลต์/เมตร จงหา q2 ( หน่วย คูลอมบ์ )
1. + 6.67 x 10–9 2. – 6.67 x 10–9 3. +0.27 x 10–5 4. –0.27 x 10–5
37. จุดประจุ +4 x 10–8 คูลอมบ์ และ –9 x 10–8 คูลอมบ์ วางห่างกัน 0.5 เมตร ดังรู ป จุด P
เป็ นจุดที่สนามไฟฟ้ าเป็ นศูนย์ ระยะ A มีค่ากี่เมตร

P +4 x 10–8 C –9 x 10–8 C

A 0.5 ม.
1. 0.2 2. 0.4 3. 0.8 4. 1.0
38. จุดประจุ 2 จุด อยูห่ ่ างกัน 0.5 เมตร จุดประจุหนึ่ งมีค่า +4 x 10–8 คูลอมบ์ หากสนาม
ไฟฟ้ าเป็ นศูนย์อยูร่ ะหว่างประจุท้ งั สอง และห่างจากจุดประจุ +4 x 10–8 คูลอมบ์ เท่ากับ
0.2 เมตร ค่าของอีกจุดประจุหนึ่งมีกี่คูลอมบ์
1. 0.9 x 10–8 2. 3 x 10–8 3. 9 x 10–8 4. 30 x 10–8
39. จุ ด ประจุ +4 x 10–8 คู ล อมบ์ และ +9 x 10–8 คู ล อมบ์ อยู่ห่ า งกัน 0.5 เมตร จงหาว่า
ตาแหน่งตามแนวเส้นตรงระหว่างจุดประจุท้ งั สองที่มีขนาดของสนามไฟฟ้ าเป็ นศูนย์ อยู่ห่ าง
จากประจุ +4 x 10–8 คูลอมบ์ กี่เมตร
40. ประจุสองประจุมีขนาด –16 และ +4 ไมโครคูลอมบ์ วางอยูใ่ นตาแหน่ งซึ่ งห่ างกัน 3
เมตร จงหาว่าตาแหน่ งที่ อยู่ในแนวระหว่างประจุท้ งั สองที่ จะให้เกิ ดสนามไฟฟ้ าเป็ นศูนย์
อยูห่ ่างประจุ +4 ไมโครคูลอมบ์ กี่เมตร
41. ประจุ +1 x 10–5 คูลอมบ์ และ –4 x 10–5 คูลอมบ์ วางอยูห่ ่ างกัน 10 เซนติเมตร จงหา
ตาแหน่งของจุดสะเทินว่าอยูห่ ่างประจุ +1 x 10–5 คูลอมบ์ กี่เซนติเมตร
1. 5 2. 10 3. 13 4. 15
42. ประจุ ไ ฟฟ้ าหนึ่ ง (+5 C) ถู ก วางไว้ที่ ต าแหน่ ง X = 0 เมตร และประจุ ไ ฟฟ้ าที่ ส อง
(+7 C) ถูกวางไว้ที่ตาแหน่ง X = 1 เมตร จะต้องวางประจุไฟฟ้ าที่สามไว้ที่ตาแหน่ง X
เป็ นกี่เมตร จึงจะได้รับแรงสุ ทธิ จากสองประจุแรกเท่ากับศูนย์
1. 0.46 2. 0.79 3. 0.77 4. 0.86
55
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
43. จุด A , B และ C เรี ยงลาดับอยูใ่ นแนวเส้นตรงเดียวกัน ระยะ AB = ระยะ BC = X เมตร
จุด A และ B มีประจุอยู่ +QA และ –QB ตามลาดับ พบว่าที่จุด C มีสนามไฟฟ้ าเป็ นศูนย์
ประจุ QA และ QB มีค่าตามข้อใดตอบตามลาดับ
1. 4Q และ –Q 2. 2Q และ –Q 3. Q และ –4Q 4. –2Q และ Q
44. ประจุไฟฟ้ าขนาด +15 และ –30 หน่วย 15 A B –30 C
ประจุวางอยูด่ งั รู ป ตาแหน่งใดควรเป็ นจุดสะเทิน
1. A 2. B 3. C 4. ไม่มีคาตอบถูก
45. ตาแหน่งที่สนามไฟฟ้ ารวมเป็ นศูนย์ซ่ ึ งสนามนั้นเกิดจากประจุ 2 ประจุ
ก. เกิดขึ้นได้เพียงจุดเดียวเท่านั้น
ข. เกิดอยูใ่ กล้ประจุที่มีค่าน้อย
ค. เกิดในแนวเส้นตรงที่ลากผ่านประจุท้ งั สอง
1. ข้อ ก , ข , ค 2. ข้อ ก , ข 3. ข้อ ก , ค 4. ข้อ ข , ค
46. ถ้า +Q และ –Q เป็ นประจุตน้ กาเนิดสนามโดยที่ +q และ –q เป็ นประจุทดสอบ รู ปใด
แสดงทิศของ F และ E ไม่ถูกต้อง

1. +Q 2. –Q
E +q F E –q F

3. –Q 4. +Q
E –q F E –q F
47. จงหาค่าสนามไฟฟ้ าที่เกิ ดจากประจุ 50 x 10–10 คูลอมบ์ ณ จุดที่อยูห่ ่ างออกไป 80 เซน-
ติเมตร และถ้ามีอิเล็กตรอน 2 ตัว อยูท่ ี่จุดนั้น อิเล็กตรอนจะถูกแรงกระทาเท่าใด
( กาหนด e 1 ตัว มีประจุ 1.6 x 10–19 คูลอมบ์ )
1. 70.3 นิวตัน/คูลอมบ์ , 2.25 x 10–17 นิวตัน
2. 75.3 นิวตัน/คูลอมบ์ , 9.25 x 10–17 นิวตัน
3. 70.3 นิวตัน/คูลอมบ์ , 8.25 x 10–17 นิวตัน
4. 76.3 นิวตัน/คูลอมบ์ , 5.25 x 10–17 นิวตัน

56
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
48. สนามไฟฟ้ าที่ทาให้โปรตอนมวล 1.67 x 10–27 กิโลกรัม มีประจุ 1.6 x 10–19 คูลอมบ์
เกิดความเร่ ง 2 x 102 เมตรต่อวินาที2 มีค่าเท่าไร
1. 2 x 10–6 นิวตัน/คูลอมบ์ 2. 2 x 10–5 นิวตัน/คูลอมบ์
3. 2 x 10–4 นิวตัน/คูลอมบ์ 4. 2 x 10–3 นิวตัน/คูลอมบ์
49. ที่จุดห่างจากประจุตน้ เหตุ 1.2 เมตร ประจุขนาด 6 x 10–12 คูลอมบ์ ถูกแรงกระทา
6 x 10–10 นิวตัน จงหาขนาดประจุตน้ เหตุน้ี
1. 1.6 x 10–8 C 2. 1.6 x 10–10 C 3. 3.2 x 10–8 C 4. 3.2 x 10–10 C
50. ที่จุดๆ หนึ่งในสนามไฟฟ้ า เกิดแรงกระทาต่ออิเล็กตรอน 4.8 x 10–14 นิวตัน จงหาแรง
ในหน่วยนิวตัน ที่กระทาต่อประจุขนาด 9.0 x 10–7 คูลอมบ์ ที่จุดเดียวกันนั้น
51. อนุ ภาคไฟฟ้ าซึ่ งมีประจุ –2.0 x 10–9 คูลอมบ์ ได้รับแรงเนื่ องจากสนามไฟฟ้ าสม่าเสมอ
3.0 x 10–6 นิวตัน จงหาขนาดและทิศของแรงที่กระทาต่อโปรตอนเมื่ออยูใ่ น สนามนี้
(ให้สนามไฟฟ้ ามีทิศพุง่ ลง)
1. 1.2 x 10–16 นิวตัน ในทิศลง 2. 1.2 x 10–16 นิวตัน ในทิศขึ้น
3. 2.4 x 10–16 นิวตัน ในทิศลง 4. 2.4 x 10–16 นิวตัน ในทิศขึ้น
52. ถ้าจุ ด A อยู่ห่ า งจากจุ ดประจุ Q เป็ นระยะครึ่ งหนึ่ ง ของที่ จุด B อยู่ห่ า งจากประจุ Q
ศักย์ไฟฟ้ าที่จุด A จะมีค่าเป็ นกี่เท่าของศักย์ไฟฟ้ าที่จุด B
1. 41 2. 12 3. 2 4. 4

13.4 ศักย์ ไฟฟ้ ารอบจุดประจุ


53. จุด A มีศกั ย์ไฟฟ้ า –2.0 โวลต์ และจุด B มีศกั ย์ไฟฟ้ า +6.0 โวลต์ ถ้าต้องการเคลื่อน
ประจุ +2.0 x 10–6 คูลอมบ์ จากจุด A ไปจุด B จะต้องใช้งานในการเคลื่อนที่ประจุเท่า
กับกี่จูล
1. –4.0 x 10–6 2. 4.0 x 10–6 3. 1.6 x 10–5 4. –1.6 x 10–5
54(แนว En) A และ B เป็ นจุดที่อยูห่ ่ างจากประจุ 4 x 10–6 คูลอมบ์ เป็ นระยะทาง 2 และ
12 เมตร ตามลาดับ ถ้าต้องการเลื่อนประจุ +1 คูลอมบ์ จาก B ไป A ต้องใช้งานใน
หน่วยกิโลจูลเท่าใด
1. 8.75 2. 15 3. 35 4. 60
57
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
55. จากรู ป ประจุ Q มีขนาด –5 x1 0–9 คูลอมบ์ A
หากเลื่อนประจุขนาด 2 คูลอมบ์ จาก B ไป
1 ม.
A จะต้องทางานกี่จูล B
Q = –5x10–9 C 3 ม.
1. 45 2. –45 3. 60 4. –60
56. จากรู ป ประจุ Q มีขนาด –2 x1 0–9 คูลอมบ์ A
หากเลื่อนประจุขนาด 2 คูลอมบ์ จาก B ไป
1ม
A จะต้องทางานกี่จูล B
1. 12 2. 24 3. –12 4. –24 Q = –2x10–9 C 3 ม

57. เมื่อนาประจุ 0.5 คูลอมบ์ จาก A ไป B ต้องใช้งาน 12.5 จูล ศักย์ไฟฟ้ าที่ A และ B
จะต่างกันกี่โวลต์
1. 25 2. 12.5 3. 2.5 4. 0.25
58. ในการเคลื่อนประจุ 5 x 10–2 คูลอมบ์ จาก A ไปยัง B เป็ นระยะ 10 เมตร ต้องใช้แรง
เฉลี่ย 2 นิวตัน ความต่างศักย์ระหว่าง AB มีค่าเท่าไร
1. 4 x 102 V 2. 2.25 x 102 V
3. 4 x 103 V 4. 2.25 x 103 V
59. จุด A อยูห่ ่ างจากประจุ –2 x 10–10 คูลอมบ์ เป็ นระยะ 1 เมตร จงหางานในหน่วยจูล ที่
ต้องทาในการพาประจุ 3 x 10–12 คูลอมบ์ จากที่ไกลมากมาที่จุด A นี้
1. 5.4 x 10–12 2. 7.2 x 10–12 3. –5.4 x 10–12 4. –7.2 x 10–12

60. จุด A อยูห่ ่างจากประจุ Q เป็ นระยะ d มีศกั ย์ไฟฟ้ า V เมื่อนาประจุทดสอบ q จาก
ระยะอนันต์ (infinity) มายังจุด A จะสิ้ นเปลืองงานไปเท่าใด
1. Kq
d 2. KQd 3. KQ
qd 4. KQd q

61. จากรู ปที่กาหนดให้ จงหาว่า ศักย์


ไฟฟ้ ารวมที่จุด X มีขนาดกี่โวลต์ A = –1 x 10–9 C B = 5 x 10–9 C
X
1. –18 2. –12 3 ม. * 3 ม.
3. 12 4. 18
58
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
A = +4 x 10–9 C
62. จากรู ปที่กาหนดให้ จงหาว่าศักย์ไฟฟ้ ารวม X
3 ม. *
ที่จุด X มีขนาดกี่โวลต์
1. 3 2. 9 3 ม.
3. –3 4. –9
B = 3 x 10–9 C

63. วางประจุไฟฟ้ า 3 x 10–4 คูลอมบ์ ที่ตาแหน่ง x = –2 เมตร , y = 0 เมตร และประจุลบ


ขนาดเท่ากันที่ตาแหน่ง x = 0 เมตร , y = 3 เมตร ศักย์ไฟฟ้ าที่ตาแหน่งจุดกาเนิด (0 , 0)
จะเป็ นโวลต์
1. 9.5 x 105 2. 8.5 x 105 3. 4.5 x 105 4. 6.5 x 105

64. จากรู ปที่กาหนดให้ ที่ตาแหน่ง A , B และ C มีประจุ 5 x 10–7 , –2 x 10–7 และ


1.5 x 10–7 คูลอมบ์ ตามลาดับ จงหาระยะ BD B
ที่ทาให้ศกั ย์ไฟฟ้ าที่ตาแหน่ง D เป็ นศูนย์
A D C
1. 0.1 เมตร 2. 0.2 เมตร 
3. 0.3 เมตร 4. 0.4 เมตร 0.4 เมตร 0.2 เมตร

65. จากรู ป A , B และ C มีจุดประจุขนาด 3.0 x 10–6 , 1.0 x 10–6 และ –1.0 x 10–6 คูลอมบ์
ตามลาดับ เมื่อ AP = 0.6 เมตร , CP = 0.3 เมตร และ
C
BP = 0.1 เมตร หากนาประจุ +1.0 x 10–5 คูลอมบ์
จากจุดที่ไกลมากมาวางที่จุด P ต้องทางานกี่จูล
1. 2.10 2. 1.05 A B
P
3. 0.105 4. 10.5

66(แนว En) ประจุ Q1 = +0.5 คูลอมบ์ ระยะ AB = 10 เซน- A Q1


ติเมตร ระยะ BC = 30 เซนติเมตร มุม ABC = 90o ถ้า
งานที่ใช้ในการนาโปรตอน 1 ตัว จากอนันต์มาจุด B มี Q2
ค่า +28.8 x10–9 จูล จงหาว่า Q2 มีกี่คูลอมบ์ B C

59
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
67. จากรู ป ถ้า O เป็ นจุดที่มีศกั ย์ไฟฟ้ าเป็ นศูนย์ และอยูใ่ นระหว่าง A , B แล้ว BO เท่ากับ
A O B แนว AB
  
+2 C –1 C
1. 13 AB 2. 12 AB 3. 23 AB 4. AB
68. กาหนดประจุ ( q ) ขนาด 2 x 10–6 คูลอมบ์ อยูห่ ่างจากประจุ ( Q ) ขนาด 3 x 10–6 คู-
ลอมบ์ เป็ นระยะ 3 เมตร จงหาพลังงานศักย์ไฟฟ้ าที่สะสมอยูใ่ นประจุ q
1. 0.010 จูล 2. 0.018 จูล 3. 0.100 จูล 4. 0.180 จูล
69. โปรตอนมวล 1.67 x 10–27 กิโลกรัม มีประจุ 1.6 x 10–19 คูลอมบ์ เริ่ มต้นเคลื่อนที่จาก
หยุดนิ่ งจาก A ไป B ถ้าศักย์ไฟฟ้ าที่ A สู งกว่าที่ B 100 โวลต์ อัตราเร็ วของโปรตอน
ขณะผ่านจุด B คือ
1. 200 km/s 2. 138 km/s 3. 98 km/s 4. 49 km/s
70. จงเติมเครื่ องหมาย + หรื อ – ลงในตารางต่อไปนี้ให้สมบูรณ์
ประจุตวั สร้างสนามไฟฟ้ า ( Q )
+Q –Q
เครื่ องหมายพลังงานศักย์ในประจุ + q (ก) (ข)
เครื่ องหมายพลังงานศักย์ในประจุ – q (ค) (ง)
1. (ก) + (ข) – (ค) + (ง) – 2. (ก) + (ข) – (ค) – (ง) +
3. (ก) – (ข) + (ค) + (ง) – 4. (ก) – (ข) – (ค) + (ง) +

13.5 สนามไฟฟ้า และศักย์ ไฟฟ้ าเนื่องจากประจุบนตัวนาทรงกลม


71. ทรงกลมรัศมี 1 เมตร และมีประจุ –1 x 10–9 คูลอมบ์
จงหาสนามไฟฟ้ าและศักย์ไฟฟ้ าที่
ก. ระยะทาง 2 เมตร จากผิวทรงกลม 1 ม. 2 ม.
ข. ผิวทรงกลม
ค. ระยะ 0.2 เมตร จากจุดศูนย์กลางทรงกลม
60
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
1. ก) 1 N/ C , –3 โวลต์ ข) 9 N/ C , –9 โวลต์ ค) 0 N/ C , –9 โวลต์
2. ก) 2 N/ C , –3 โวลต์ ข) 8 N/ C , –7 โวลต์ ค) 2 N/ C , –8 โวลต์
3. ก) 1 N/ C , –3 โวลต์ ข) 8 N/ C , –8 โวลต์ ค) 0 N/ C , –7 โวลต์
4. ก) 2 N/ C , –3 โวลต์ ข) 3 N/ C , –6 โวลต์ ค) 1 N/ C , –9 โวลต์
72. ตัวนาทรงกลมรัศมี 90 เซนติเมตร มีประจุ 1 ไมโครคูลอมบ์ ศักย์ไฟฟ้ าที่ระยะห่ าง 45
เซนติเมตร จากจุดศูนย์กลางของทรงกลมจะมีค่ากี่โวลต์
1. 0 2. 1.0 x 104 3. 2.0 x 104 4. 4.4 x 104
73. ตัวนาทรงกลม A มี O เป็ นจุดศูนย์กลางเส้นผ่านศูนย์กลาง 2.0 เซนติเมตร เมื่อให้ประจุ
+8.0 x 10–4 C แก่ ท รงกลม ทรงกลม A ขาดอิ เล็ กตรอนไปกี่ อนุ ภ าค และสนามไฟฟ้ า
ภายในทรงกลมมีค่ากี่นิวตันต่อคูลอมบ์ ( ตอบตามลาดับ )
1. 5.0 x 1015 ตัว , 0 2. 2.0 x 1014 ตัว , 0
3. 5.0 x 1023 ตัว , 10 4. 2.0 x 1032 ตัว , 12
74. ตัวนาทรงกลมซึ่ งมีเส้นผ่านศูนย์กลาง d มีประจุ +Q เกิดศักย์ไฟฟ้ าภายในทรงกลมมีค่าเท่า
กับ V0 ที่ตาแหน่งภายนอกทรงกลมซึ่ งห่างจากจุดศูนย์กลางของทรงกลมเป็ นระยะ  จะมี
ศักย์ไฟฟ้ าเท่าไร
dV V dV V
1. 0 2. d 0 3. 12 0 4. 12 d 0
 
75. ถ้าต้องการให้สนามไฟฟ้ าที่ผวิ ทรงกลมตัวนาซึ่งมีรัศมี 10 เซนติเมตร มีความเข้ม 1.3x10 –3
นิวตัน/คูลอมบ์ มีทิศพุง่ เข้าสู่ จุดศูนย์กลาง จะต้องให้อิเล็กตรอนแก่ทรงกลมกี่อนุภาค
1. 9x103 2. 9x104 3. 1014 4. 1015
76. ศักย์ไฟฟ้ าที่จุดห่างจากประจุหนึ่งเป็ น 600 โวลต์ และสนามไฟฟ้ าเป็ น 200 นิวตัน/คูลอมบ์
จงหาระยะจากจุดนั้นไปยังประจุ และขนาดของประจุ
1. 3 เมตร , 2 x 10–7 คูลอมบ์ 2. 3 เมตร , 4 x 10–7 คูลอมบ์
3. 6 เมตร , 2 x 10–7 คูลอมบ์ 4. 6 เมตร , 4 x 10–7 คูลอมบ์

61
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
77. ตัวนาทรงกลมตัวหนึ่งรัศมี 30 ซม. เมื่อให้ประจุแก่ทรงกลม พบว่าที่จุดห่ างจากผิวทรง
กลม 60 ซม. จะมีค่าสนามไฟฟ้ า 1 x 104 นิ วตัน/คูลอมบ์ จงหาค่าศักย์ไฟฟ้ า ณ ตาแหน่ง
ห่างจากศูนย์กลางของตัวนานี้ 10 ซม. (หน่วยกิโลโวลต์)
1. 3 2. 9 3. 18 4. 27
78. ถ้าศักย์ไฟฟ้ าสู งสุ ดของตัวนาทรงกลมรัศมี 0.30 เมตร มีค่าเท่ากับ 106 โวลต์ จงหาแรงที่
มากที่สุด ที่ตวั นาทรงกลมนี้ จะผลักจุดประจุไฟฟ้ า 3x10–5 คูลอมบ์ ซึ่งห่างจากผิวทรงกลม
0.2 เมตร ได้
1. 36 นิวตัน 2. 56 นิวตัน 3. 72 นิวตัน 4. 81 นิวตัน
79(แนว มช) หากมีประจุกระจายอยูบ่ นตัวนาทรงกลมกลวงอย่างสม่าเสมอศักย์ไฟฟ้ า และสนาม
ไฟฟ้ าภายในจุดศูนย์กลางทรงกลมกลวงมีค่า
1. ทั้งศักย์ไฟฟ้ า และสนามไฟฟ้ าเป็ นศูนย์ 2. ศักย์ไฟฟ้ าเท่ากัน สนามไฟฟ้ าเป็ นศูนย์
3. ศักย์ไฟฟ้ าไม่เท่ากัน และสนามไฟฟ้ าเท่ากัน 4. ศักย์ไฟฟ้ าเป็ นศูนย์สนามไฟฟ้ าเท่ากัน

13.6 ความสั มพันธ์ ระหว่ างความต่ างศักย์ และสนามไฟฟ้าสมา่ เสมอ


80(แนว มช) ขนาดของสนามไฟฟ้ าในบริ เวณระหว่างแผ่นโลหะที่มีประจุต่างชนิ ดกันจะมีค่า
อย่างไร
1. ศูนย์ 2. สม่าเสมอตลอดบริ เวณ
3. มากเมื่อเข้าใกล้แผ่นประจุบวก 4. มากเมื่อเข้าใกล้แผ่นประจุลบ
81. จากรู ป แผ่นโลหะ x , y ขนาดใหญ่ตอ่ อยูก่ บั ขั้ว 2 cm
แบตเตอรี่ ขนาด 120 โวลต์ อยูใ่ นสุ ญญากาศสนาม y
x
ไฟฟ้ าในระหว่างแผ่นโลหะทั้งสองเป็ นเท่าใด
1. 6 V/m 2. 60 V/m + –
3. 600 V/m 4. 6000 V/m 120 V
82. แผ่น โลหะขนานวางห่ า งกัน 2 เซนติ เมตร ต่ อ อยู่ก ับ แบตเตอรี่ ต ัว หนึ่ ง ถ้าความเข้ม
สนามไฟฟ้ าระหว่างโลหะทั้งสองเป็ น E เมื่ อเลื่ อนแผ่นโลหะให้ห่างกัน 4 เซนติเมตร
ความเข้มของสนาม ไฟฟ้ าระหว่างแผ่นโลหะทั้งสองเป็ นเท่าไร
1. 4 E 2. 2 E 3. E 4. E2
62
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
83. มีแผ่นโลหะสองแผ่นที่ขนานกันและอยูห่ ่ างกัน 3 มิลลิ เมตร ถ้าความต่างศักย์ระหว่าง
แผ่นโลหะทั้งสองเท่ากับ 90 โวลต์ สนามไฟฟ้ าระหว่างแผ่นโลหะคู่น้ ีมีค่ากี่โวลต์/เมตร
1. 3 V/m 2. 30 V/m 3. 300 V/m 4. 3x104 V/m
84. แผ่นตัวนาคู่ขนานเท่ากันวางห่างกัน 5 เซนติเมตร มีสนามไฟฟ้ าสม่าเสมอเข้ม 20 โวลต์/-
เมตร จะมีค่าความต่างศักย์ระหว่างขั้วบวกและลบกี่โวลต์
85. จงหางานในการเลื่อนประจุขนาด 2 x 10–6 คูลอมบ์ จาก
จุด A ไป B ซึ่ งอยูภ่ ายใต้สนามไฟฟ้ า 8 โวลต์/เมตร ดังรู ป B
2m o
1. 8 x 10–6 จูล 2. –8 x 10–6 จูล A
60
3. 16 x 10–6 จูล 4. –16 x 10–6 จูล E = 8 V/m
86. ตามรู ป ถ้าสนามไฟฟ้ าสม่าเสมอในทิศทาง
Y (0.4 , 0.5)
–Y มีขนาด 325 โวลต์ต่อเมตร จงหา B
ความต่างศักย์ระหว่างจุด B กับจุด A
( ให้การกระจัดมีหน่วยเป็ นเมตร )
1. 65 โวลต์ 2. 130 โวลต์ A
(–0.2 , –0.3)
E
3. 195 โวลต์ 4. 260 โวลต์
87. โปรตอนเคลื่อนที่ในสนามไฟฟ้ าสม่าเสมอ ถ้าโปรตอนมีพลังงานจลน์เพิ ม่ ขึ้น 3.2 x 10–18
จูล ภายหลังเคลื่อนที่ไปได้ 2 เมตร ในทิศทางขนานกับเส้นแรงไฟฟ้ า ขนาดของสนามไฟ-
ฟ้ ามีค่ากี่โวลต์ต่อเมตร กาหนดให้ประจุอิเล็กตรอน = –1.6 x 10–19 คูลอมบ์
88. สนามไฟฟ้ าขนาด 280000 นิ วตัน/คูลอมบ์ มีทิศไปทางใต้ จงหาขนาดและทิศทางของ
แรงที่กระทาต่อประจุ –4.0 ไมโครคูลอมบ์ วางอยูใ่ นสนามไฟฟ้ านี้
1. 1.12 นิวตัน , ทิศเหนือ 2. 3.12 นิวตัน , ทิศเหนือ
3. 3.12 นิวตัน , ทิศใต้ 4. 1.12 นิวตัน , ทิศใต้
89. ประจุไฟฟ้ าขนาด +1 x 10–6 คูลอมบ์ อยูใ่ นสนามไฟฟ้ าสม่าเสมอซึ่ งมีทิศจากซ้ายไปขวา
และมีความเข้ม 8 โวลต์/เมตร จะถูกแรงกระทาเท่าใดและไปทางไหน
1. 4 x 10–6 นิวตัน , ไปทางขวา 2. 8 x 10–6 นิวตัน , ไปทางขวา
3. 4 x 10–6 นิวตัน , ไปทางซ้าย 4. 8 x 10–6 นิวตัน , ไปทางซ้าย

63
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
90(แนว En) เมื่อนาประจุ –2 x 10–6 คูลอมบ์ เข้าไปวางไว้ ณ จุด ๆ หนึ่ง ปรากฏว่ามีแรง
8 x 10–6 นิวตัน มากระทาต่อประจุน้ ีในทิศจากซ้ายไปขวา สนามไฟฟ้ าตรงจุดนั้น
1. มีความเข้ม 4 โวลต์/เมตร ทิศจากซ้ายไปขวา
2. มีความเข้ม 4 โวลต์/เมตร ทิศจากขวาไปซ้าย
3. มีความเข้ม 0.25 โวลต์/เมตร ทิศจากซ้ายไปขวา
4. มีความเข้ม 0.25 โวลต์/เมตร ทิศจากขวาไปซ้าย
91. วัตถุเล็กๆ ชิ้นหนึ่งมีประจุ –5 x 10–9 คูลอมบ์ ถูกนาไปวางที่จุดๆ หนึ่งในสนามไฟฟ้ า
ปรากฏว่ามีแรงกระทา 2.0 x 10–9 นิวตัน บนวัตถุน้ นั สนามไฟฟ้ าที่จุดนั้นมีค่าเท่าใด
1. 0.4 N/C ทิศเดียวกับแรง 2. 0.4 N/C ทิศตรงข้ามกับแรง
3. 4.0 N/C ทิศเดียวกับแรง 4. 4.0 N/C ทิศตรงข้ามกับแรง
92. อนุ ภาคไฟฟ้ าซึ่ งมีประจุ –2.0 x 10–9 คูลอมบ์ ได้รับแรงเนื่ องจากสนามไฟฟ้ าสม่าเสมอ
3.0 x 10–6 นิวตัน ถ้าสนามไฟฟ้ ามีทิศพุง่ ลง จงหา
ก. สนามไฟฟ้ า ข. ขนาดและทิศของแรงที่กระทาต่อโปรตอนเมื่ออยูใ่ นสนามนี้
1. ก. 1500 นิวตัน / คูลอมบ์ ข. 2.4 x 10–16 นิวตัน , ทิศลง
2. ก. 1200 นิวตัน / คูลอมบ์ ข. 7.4 x 10–16 นิวตัน , ทิศขึ้น
3. ก. 1500 นิวตัน / คูลอมบ์ ข. 6.4 x 10–16 นิวตัน , ทิศลง
4. ก. 1200 นิวตัน / คูลอมบ์ ข. 5.4 x 10–16 นิวตัน , ทิศขึ้น
93. หยดน้ ามันมวล 2.88 x 10–14 กิ โลกรัม มี ประจุ ไฟฟ้ าทาให้ลอยหยุดนิ่ งในสนามไฟฟ้ า
3 x 105 นิวตัน/คูลอมบ์ ที่มีทิศขึ้นในแนวดิ่ง จงหาค่าประจุบนหยดน้ ามัน
1. 0 2. 1.6x10–19 C 3. 3.2x10–19 C 4. 9.6x10–19 C
94. หยดน้ ามันหยดหนึ่งมวล 0.02 กรัม ประจุ +q อยูใ่ นสนามไฟฟ้ าความเข้ม 10 นิวตัน/-
คูลอมบ์ ปรากฏว่าหยดน้ ามันหยุดนิ่งโดยสมดุลกับแรงโน้มถ่วงของโลก จงหาค่า q
1. 2 x 10–5 C 2. 2 x 10–4 C 3. 2 x 10–3 C 4. 2 x 10–2 C
95. หยดน้ ามันมวล 9.6 x 10–7 กิโลกรัม ลอยนิ่งในสนามไฟฟ้ าความเข้ม 107 นิวตัน/คูลอมบ์
ถ้าประจุไฟฟ้ าของหยดน้ ามันนี้เกิดจากอิเล็กตรอนมีมากเกินจานวนโปรตรอน จงหา
ก. ทิศของสนามไฟฟ้ า ข. ประจุบนหยดน้ ามัน
64
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
1. ก. ทิศลง , ข. 4.8 x10–13 C 2. ก. ทิศลง , ข. 9.6 x10–13 C
3. ก. ทิศขึ้น , ข. 4.8 x10–13 C 4. ก. ทิศขึ้น , ข. 9.6 x10–13 C
96. ในการทดลองตามแบบของมิลลิแกน หยดน้ ามันหยดหนึ่ งลอยนิ่ งได้ระหว่างแผ่นโลหะ
ขนาน 2 แผ่น ซึ่ งห่ างกัน 0.8 เซนติเมตร โดยมีความต่างศักย์ระหว่างแผ่นทาให้เกิดสนาม
12000 โวลต์ต่ อ เมตร ถ้า หยดน้ ามัน มี ป ระจุ ไ ฟฟ้ า 8.0 x 10–19 คู ล อมบ์ จะมี น้ า หนัก
เท่ากับเท่าใด
1 . 7.7 x 10–17 นิวตัน 2 . 6.4 x 10–19 นิวตัน
3. 9.6 x 10–19 นิวตัน 4. 9.6 x 10–15 นิวตัน
97. แผ่นตัวนาขนานที่อยูห่ ่ างกัน 1.0 เซนติเมตร ทาให้เกิดสนามไฟฟ้ าสม่าเสมอตามแนวดิ่ง
ถ้าต้องการให้อิเล็กตรอนที่มีมวล 9.1 x 10–31 กิโลกรัม และประจุ –1.6 x 10–19 คูลอมบ์
ลอยอยูร่ ะหว่างแผ่นตัวนาขนานนี้ ความต่างศักย์ระหว่างแผ่นตัวนาขนานต้องเป็ นกี่โวลต์
1. 1.14 x 10–13 โวลต์ 2. 98 โวลต์
3. 5.67 x 10–13 โวลต์ 4. 78 โวลต์
98. การทดลองหยดน้ ามันของมิลลิแกน พบว่าถ้าต้องการให้หยดน้ ามันซึ่งมีมวล m และอิเล็ก–
ตรอนเกาะติดอยู่ n ตัว ลอยนิ่งอยูร่ ะหว่างแผ่นโลหะ 2 แผ่น ซึ่งวางขนานห่างกัน เป็ นระยะ
ทาง d และมีความต่างศักย์ V ประจุของอิเล็กตรอนที่คานวณได้ในการทดลองนี้ มีค่าเท่าใด
1. mgd
nV 2. mgV
nd 3. nmgd
V 4. nmgV
d
99. ตัวนาทรงกลมมวล 0.60 กรัม มีประจุขนาด 8 ไมโครคูลอมบ์ ถูกแขวนด้วยเชือกเล็ก
อยูใ่ นสนามไฟฟ้ าความเข้ม 300 นิวตัน/คูลอมบ์ ทิศลง จงหาความตึงเชือกถ้าประจุน้ ัน
ก. เป็ นประจุบวก ข. เป็ นประจุลบ
1. ก. 4.2x10–3 N , ข. 1.8x10–3 N 2. ก. 4.2x10–3 N , ข. 3.6x10–3 N
3. ก. 8.4x10–3 N , ข. 1.8x10–3 N 4. ก. 8.4x10–3 N , ข. 3.6x10–3 N
100(แนว En) ทรงกลมตัวนาลูกหนึ่งมีมวล m แขวนด้วยเชือก
ภายใต้สนามไฟฟ้ าสม่าเสมอ 4 x 104 นิวตัน/คูลอมบ์ หาก  30o
ทรงกลมมีประจุอยู่ 2 x 10–6 คูลอมบ์ ทาให้เชือกแขวน
ทามุม 30 องศากับแนวดิ่ง มวลของทรงกลมมีค่าเท่าใด
1. 2.31 x 10–3 kg 2. 4.62 x 10–3 kg 3. 6.93 x 10–3 kg 4. 13.86 x 10–3 kg
65
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
101. ลูกบอลพลาสติกมวล m แขวนด้วยเชือกยาว d และอยูใ่ นบริ เวณที่มีสนามไฟฟ้ าสม่า
เสมอขนาด E ในแนวระดับดังรู ป ถ้าลูกบอลอยูใ่ น
ตาแหน่งสมดุล เส้นเชือกทามุม  กับแนวดิ่ง จง E
หาขนาดของประจุไฟฟ้ าบนลูกบอลพลาสติก 
d
1. mg mg tan g
E 2. E
mg
3. E cot  mg
4. E cos 
102. ทรงกลมเล็กๆ แขวนแนวดิ่งไว้ดว้ ยเชือกเบาที่เป็ น
ฉนวน จากนั้นค่อยๆ เพิ่มขนาดสนามไฟฟ้ าสม่าเสมอ 

ในแนวระดับ ทาให้ทรงกลมเล็กค่อยๆ เคลื่อนที่ไป E
ในทิศทางดังรู ป ถ้าทรงกลมมีประจุ +2.5 x 10–6 คู-
ลอมบ์ และมีมวล 0.015 กรัม เชือกเบาสามารถทน
แรงตึงได้สูงสุ ด 0.25 x 10–3 นิวตัน จงหาขนาดของ
สนามไฟฟ้ า พร้อมกับมุม  ที่ทาให้เชือกเบาขาดพอดี ( ให้ sin 53o = 0.8 )
1. 80 นิวตัน/คูลอมบ์ และ  = 37o 2. 80 นิวตัน/คูลอมบ์ และ  = 53o
3. 40 นิวตัน/คูลอมบ์ และ  = 37o 4. 40 นิวตัน/คูลอมบ์ และ  = 53o
103. อิ เล็ ก ตรอนมี ค วามเร็ ว ต้ น 5 x 106 เมตร/วิ น าที เคลื่ อ นที่ ใ นทิ ศ เดี ย วกั บ ทิ ศ ของ
สนามไฟฟ้ าที่ มี ขนาด 1 x 104 นิ วตัน/คู ลอมบ์ จงหาว่านานเท่ าไหร่ อิเล็ ก ตรอนจึ งจะมี
ความเร็ วเป็ นศูนย์ และระหว่างนั้นอิเล็กตรอนเคลื่อนที่ไปเป็ นระยะทางเท่าไร กาหนดประจุ
ไฟฟ้ าและมวลของอิ เล็ ก ตรอนเป็ น –1.6 x 10–19 คู ล อมบ์ และ 9.1 x 10–31 กิ โลกรั ม
ตามลาดับ
1. 2.8 x 10–9 s , 7.0 x 10–3 m 2. 4.5 x 10–9 s , 10.5 x 10–3 m
3. 4.5 x 10–9 s , 7.0 x 10–3 m 4. 2.8 x 10–9 s , 10.5 x 10–3 m

66
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
13.7 ตัวเก็บประจุและความจุ
13.7.1 ตัวเก็บประจุ
104. ประจุ 2 ไมโครคู ล อมบ์ กระจายสม่ าเสมอบนตัวนาทรงกลมรั ศมี 10 เซนติ เมตร
ความจุทรงกลมนี้ คือกี่ฟารัด
1. 1.1 x 10–11 2. 0.11 x 10–11 3. 0.22 x 10–11 4. 0.44 x 10–11
105. ถ้า ศัก ย์ไ ฟฟ้ าสู ง สุ ด ของตัว น าทรงกลมรั ศ มี 30 เซนติ เมตร มี ค่ า 9 x 105 โวลต์ จง
คานวณหาขนาดประจุไฟฟ้ าที่มากที่สุดที่ตวั นาทรงกลมนี้ จะสามารถรับได้
1. 3 x 10–5 2. 4 x 10–5 3. 6 x 10–5 4. 8 x 10–5
106(แนว En) ศักย์ไฟฟ้ าของตัวนาทรงกลมรัศมี 90 เซนติเมตร มีค่าเท่ากับ 3 x 105 โวลต์
ประจุไฟฟ้ าในข้อใดที่ตวั นา ทรงกลมนี้ สามารถเก็บได้
1. 12 C 2. 18 C 3. 20 C 4. 30 C
107. แผ่นโลหะขนาดห่างกัน 0.1 เมตร ใช้ทาเป็ นตัวเก็บประจุที่มีค่าความจุ 9 นาโนฟารัด
ถ้าสนามไฟฟ้ าระหว่างแผ่นโลหะมีค่า 3 นิวตัน/คูลอมบ์ อยากทราบว่าตัวเก็บประจุน้ ีมี
ประจุกี่คูลอมบ์
1. 2.7 x 10–4 2 . 2.7 x 10–6 3. 2.7 x 10–9 4. 2.7x10–11
108. จงหาพลังงานที่สะสมในคาปาซิ เตอร์ ที่มีความจุ 2 ไมโครฟารัด เมื่อประจุไฟฟ้ าให้คาปา-
ซิ เตอร์ จนมีความต่างศักย์ 100 โวลต์
1. 10–2 จูล 2. 10–3 จูล 3. 10–4 จูล 4. 10–5 จูล

13.7.2 การต่ อตัวเก็บประจุ


109. ตัวเก็บประจุสามตัวมีความจุ C1 , C2 และ C3 นามาต่ อ เข้า ด้วยกันดัง ในรู ป ความจุ
รวมของระบบ จะมี ค่ า เท่ า ใด C2
C C C C .(C  C ) C1
1. C1 (C 2 C 3) 2. C1  C2  C3
1 2 3 1 2 3
(C  C ) C C
3. C1  C2 C 3 4. C1  C 2 C3 C3
2 3 2 3
67
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
110. ตัวเก็บประจุแบบโลหะแผ่นขนาน C1 = 2 F และ C2 = 3F ต่อกันอย่างอนุกรมกับขั้ว
ทั้งสองของแบตเตอรี่ ขนาด 10 โวลต์ จงหา
ก. ประจุไฟฟ้ าบน C1 และ C2 V1 V2
ข. ความต่างศักย์บน C1 และ C2 ( ตอบตามลาดับ ) Q1 Q2
1. ก. 12 C , 12 C , ข. 6 V , 4 V C1 C2
2. ก. 13 C , 10 C , ข. 8 V , 4 V
3. ก. 15 C , 12 C , ข. 9 V , 4 V
4. ก. 18 C , 12 C , ข. 7 V , 4 V Vรวม = 10 V
111. นาตัวเก็บประจุสองตัวที่มีความจุ 2 ไมโครฟารัด และ 4 ไมโครฟารัด มาต่อกันและต่อ
กับความต่างศักย์ 120 โวลต์ จงหาประจุท้ งั หมดและพลังงานทั้งหมดที่สะสมในตัวเก็บ
ประจุเมื่อต่อเก็บประจุ ( ตอบตามลาดับ )
ก. แบบอนุกรม ข. แบบขนาน
1. ก. 9.6 x 10–3 จูล , 1.6 x 10–4 คูลอมบ์ ข. 4.32 x 10–2 จูล , 7.20 x 10–4 C
2. ก. 5.0 x 10–3 จูล , 1.8 x 10–4 คูลอมบ์ ข. 4.92 x 10–2 จูล , 7.80 x 10–4 C
3. ก. 9.6 x 10–3 จูล , 1.6 x 10–4 คูลอมบ์ ข. 4.32 x 10–2 จูล , 7.20 x 10–4 C
4. ก. 5.0 x 10–3 จูล , 1.7 x 10–4 คูลอมบ์ ข. 4.52 x 10–2 จูล , 7.70 x 10–4 C
112(แนว มช) ตัวเก็บประจุ 3 ตัว C1 มีความจุ 6 ไม-
โครฟารัด C2 มีความจุ 12 ไมโครฟารัด และ C1
C3 มีความจุ 8 ไมโครฟารัด เมื่อนามาต่อกับ 100 V C3
ความต่างศักย์ 100 โวลต์ ดังรู ป จงหาพลังงาน C2
สะสมที่ตวั เก็บประจุ C3 ในหน่วยจูล
1. 8 x 10–2 2. 4 x 10–2 3. 8 x 10–4 4. 4 x 10–4
113(แนว En) ตัวเก็บประจุ C1 , C2 และ C3 มีขนาดความจุ 1 ,
C2 C3
2 และ 3 ไมโครฟารัดตามลาดับ ก่อนนามาต่อกับแบตเตอรี่
ขนาด 2 โวลต์ ดังรู ป ตัวเก็บประจุท้ งั สามยังไม่มีประจุอยู่
C1
ภายในเลย เมื่อปิ ดสวิตซ์ S เป็ นเวลานานพอที่จะทาให้อยู่
ในสภาพสมดุล พลังงานไฟฟ้ าที่สะสมอยูใ่ นตัวเก็บประจุ C2
2V S
จะมีขนาดเท่าใดในหน่วยไมโครจูล
68
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
114. เมื่อสับสวิทซ์ลงในวงจรดังแสดงในรู ปจะมีประจุ C2 = 8 F
ขนาด 40 ไมโครคูลอมบ์ ไหลจากแบตเตอรี่ ไป C 1 = ?
เก็บอยูใ่ นตัวเก็บประจุ C1 , C2 และ C3 ขนาด C3 = 8 F
ความจุของตัวเก็บประจุที่ไม่ทราบค่า C1 มีค่ากี่
ไมโครฟารัด E=5V
1. 2 2. 4 3. 8 4. 16
13.7.3 การถ่ ายโอนประจุระหว่ างทรงกลมตัวนา
115. ตัวนารู ปทรงกลม A และ B มีรัศมีของทรงกลมเป็ น r และ 2 r ตามลาดับ ถ้าตัวนา A
มีประจุ Q และตัวนา B มีประจุ –2Q เมื่อเอามาแตะกันแล้วแยกออก จงหาประจุของตัว
นา A
1. –Q 2. – Q2 3. – Q3 4. – Q4
116. ถ้านาตัวนาทรงกลมรัศมี 10 เซนติเมตร ที่มีประจุ –1.0 คูลอมบ์ มาแตะกับตัวนาทรง
กลมรัศมี 20 เซนติเมตร ที่มีประจุ +2.5 คูลอมบ์ หลังจากแยกออกจากกันแล้ว ตัวนาทรง
กลมรัศมี 10 เซนติเมตรจะมีประจุกี่คูลอมบ์



69
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
เฉลยตะลุ ย โจทย์ ท วั่ ไป บทที่ 13 ไฟฟ้ าสถิ ต
1. ตอบข้ อ 2. 2. ตอบข้ อ 2. 3. ตอบข้ อ 2. 4. ตอบข้ อ 2.
5. ตอบข้ อ 2. 6. ตอบข้ อ 1. 7. ตอบข้ อ 4. 8. ตอบข้ อ 3.
9. ตอบข้ อ 1. 10. ตอบข้ อ 2. 11. ตอบ 25.6 12. ตอบข้ อ 4.
13. ตอบข้ อ 3. 14. ตอบ 0.14 15. ตอบข้ อ 1. 16. ตอบข้ อ 4.
17. ตอบข้ อ 3. 18. ตอบข้ อ 4. 19. ตอบข้ อ 1. 20. ตอบข้ อ 3.
21. ตอบข้ อ 3. 22. ตอบข้ อ 3. 23. ตอบข้ อ 4. 24. ตอบข้ อ 2.
25. ตอบข้ อ 4. 26. ตอบข้ อ 3. 27. ตอบข้ อ 1. 28. ตอบข้ อ 4.
29. ตอบ 17.8 30. ตอบข้ อ 1. 31. ตอบข้ อ 2. 32. ตอบข้ อ 1.
33. ตอบข้ อ 1. 34. ตอบข้ อ 3. 35. ตอบข้ อ 3. 36. ตอบข้ อ 4.
37. ตอบข้ อ 4. 38. ตอบข้ อ 3. 39. ตอบ 0.2 40. ตอบ 3
41. ตอบข้ อ 2. 42. ตอบข้ อ 1. 43. ตอบข้ อ 1. 44. ตอบข้ อ 4.
45. ตอบข้ อ 1. 46. ตอบข้ อ 2. 47. ตอบข้ อ 1. 48. ตอบข้ อ 1.
49. ตอบข้ อ 1. 50. ตอบ 0.27 51. ตอบข้ อ 3. 52. ตอบข้ อ 3.
53. ตอบข้ อ 3. 54. ตอบข้ อ 2. 55. ตอบข้ อ 4. 56. ตอบข้ อ 4.
57. ตอบข้ อ 1. 58. ตอบข้ อ 1. 59. ตอบข้ อ 3. 60. ตอบข้ อ 4.
61. ตอบข้ อ 1. 62. ตอบข้ อ 1. 63. ตอบข้ อ 3. 64. ตอบข้ อ 1.
65. ตอบข้ อ 2. 66. ตอบ 4.5 67. ตอบข้ อ 1. 68. ตอบข้ อ 2.
69. ตอบข้ อ 2. 70. ตอบข้ อ 2. 71. ตอบข้ อ 1. 72. ตอบข้ อ 2.
73. ตอบข้ อ 1. 74. ตอบข้ อ 3. 75. ตอบข้ อ 1. 76. ตอบข้ อ 1.
77. ตอบข้ อ 4. 78. ตอบข้ อ 1. 79. ตอบข้ อ 2. 80. ตอบข้ อ 2.
81. ตอบข้ อ 4. 82. ตอบข้ อ 4. 83. ตอบข้ อ 4. 84. ตอบ 1
85. ตอบข้ อ 4. 86. ตอบ ข้ อ 4. 87. ตอบ 10 88. ตอบข้ อ 1.
89. ตอบข้ อ 2. 90. ตอบข้ อ 2. 91. ตอบข้ อ 2. 92. ตอบข้ อ 1.
93. ตอบข้ อ 4. 94. ตอบข้ อ 1. 95. ตอบข้ อ 2. 96. ตอบข้ อ 4.
97. ตอบข้ อ 3. 98. ตอบข้ อ 1. 99. ตอบข้ อ 4. 100. ตอบข้ อ 4.
101. ตอบข้ อ 2. 102. ตอบข้ อ 2. 103. ตอบข้ อ 1. 104. ตอบข้ อ 1.
70
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
105. ตอบข้ อ 1. 106. ตอบข้ อ 4. 107. ตอบข้ อ 3. 108. ตอบข้ อ 1.
109. ตอบข้ อ 2. 110. ตอบข้ อ 1. 111. ตอบข้ อ 1. 112. ตอบข้ อ 2.
113. ตอบ 1.44 114. ตอบข้ อ 4. 115. ตอบข้ อ 3. 116. ตอบ 0.5



71
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
บทที่ 14 ไฟฟ้ ากระแส
14.1 กระแสไฟฟ้า
พิจารณาตัวอย่าง สมมุติในรู ปภาพ ขั้วบวก สนามไฟฟ้ า (E) ขั้วลบ
+ –
เมื่อนาเส้นลวดตัวนาแตะเชื่อมตัวเก็บประ-
+ กระแสอิเล็กตรอน –
จุลบและบวกเข้าด้วยกัน อิเล็กตรอนใน + –e –
ตัวเก็บประจุลบ จะเคลื่อนที่ผา่ นเส้นลวด + +Q
กระแสประจุ = กระแสไฟฟ้ า (I) –
ตัวนาไปยังตัวเก็บประจุบวก ทาให้เกิดเป็ น + –
กระแสอิเล็กตรอนขึ้นในเส้นลวดตัวนานั้น +5  0 –5  0
และเมื่ออิเล็กตรอนวิง่ มาถึงตัวเก็บประจุบวกจะเกิดกระแสของประจุบวกไหลย้อนจากขั้วบวก
ไปขั้วลบ กระแสการไหลของประจุตรงนี้ จะเรี ยกอีกอย่างหนึ่งว่าเป็ นกระแสไฟฟ้า ( I )
โปรดสังเกตว่า กระแสอิเล็กตรอนและอนุ ภาคไฟฟ้ าลบจะมีทิศจากขั้วลบไปขั้วบวก แต่
กระแสประจุหรื อกระแสไฟฟ้ า ( I ) จะมีทิศจากขั้วบวกไปขั้วลบ เหมือนทิศของสนามไฟฟ้ า
( E ) และทิศการเคลื่อนที่ของอนุภาคไฟฟ้ าบวกทัว่ ไปซึ่ งจะมีทิจากขั้วบวกไปลบเช่นกัน
1(แนว มช) กาหนดให้สนามไฟฟ้ า ( E ) มีทิ ศทางดังรู ป การเคลื่ อนที่ของอนุ ภาคที่ มี ประจุ
ไฟฟ้ าและทิศทางของกระแสไฟฟ้ า ( I ) ที่เกิดขึ้นจะเป็ นจริ งดังรู ปในข้อใด
I I
1.  2. 
E E
+ + + +
– –
3. I 4. I
 
E E
+ + + +
– –

1
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
สาหรับปริ มาณกระแสไฟฟ้ าที่ไหลผ่านตัวนานั้น สามารถคานวณหาขนาดได้จากสมการ
I = Qt
เมื่อ Q คือปริ มาณประจุไฟฟ้ าที่ไหลผ่านพื้นที่หน้าตัดตัวนา ณ.จุดหนึ่งๆ ( คูลอมบ์ )
t คือเวลาที่ประจุไฟฟ้ าไหลผ่านจุดนั้นๆ (วินาที )
I คือกระแสไฟฟ้ า ( แอมแปร์ , A )
2. ถ้าประจุไฟฟ้ าที่ผา่ นลวดตัวนาหนึ่งภายในเวลา 2 นาที เท่ากับ 600 ไมโครคูลอมบ์ กระ
แสไฟฟ้ าที่ไหลผ่านลวดตัวนานี้จะมีค่ากี่ไมโครแอมแปร์

3. ถ้ามีประจุไฟฟ้ าลบเคลื่ อนจากขั้วลบไปบวกจานวน –5 คูลอมบ์ พร้ อมกันนั้นมีประจุบวก


เคลื่อนจากขั้วบวกไปลบจานวน +3 คูลอมบ์ ภายในเวลา 10 วินาที จงหาปริ มาณกระแส
ไฟฟ้ าที่เกิดขึ้นในหน่วยแอมแปร์
1. 0.1 2. 0.2 3. 0.4 4. 0.8

สาหรับขนาดของประจุ ( Q ) ที่ไหลผ่านตัวนา เราสามารถหาได้จากสมการ


Q = ne
เมื่อ Q คือปริ มาณประจุไฟฟ้ าที่ไหลผ่านพื้นที่หน้าตัดตัวนา ณ จุดหนึ่งๆ ( คูลอมบ์ )
n คือจานวนอนุภาคไฟฟ้ าที่เคลื่อนที่ผา่ นพื้นที่หน้าตัดตัวนา ณ จุดนั้น
e คือประจุไฟฟ้ าของอนุ ภาคแต่ละตัว ( คูลอมบ์ )
2
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
4. หากจานวนอิเล็กตรอนที่เคลื่อนผ่านพื้นที่หน้าตัดเส้นลวดตัวนาหนึ่ งเท่ากับ 5 x 1020 อนุภาค
ภายในเวลา 2 วินาที จงหาปริ มาณกระแสไฟฟ้ าที่เกิดขึ้นในหน่วยแอมแปร์
( กาหนดให้ อิเล็กตรอน 1 ตัวมีประจุ 1.6 x 10–19 คูลอมบ์ )

5. ถ้าต่อลวดโลหะเส้นหนึ่งกับเซลล์ไฟฟ้ า พบว่ามีกระแสไฟฟ้ าผ่านลวดเส้นนี้ 3.2 แอมแปร์


จง หาจานวนอิเล็กตรอนที่ผา่ นพื้นที่ภาคตัดขวางเส้นลวดนี้ ในเวลา 5.0 วินาที
1. 1 x 1019 2. 1 x 1020 3. 2 x 1019 4. 2 x 1020

การคานวณหาปริ มาณกระแสไฟฟ้ าซึ่ งเกิดในเส้นลวดตัวนานั้น ยังอาจหาได้จากสมการ


I = Nev A
เมื่อ N คือความหนาแน่นอิเล็กตรอน ( เมตร–3 )
e = 1.6 x 10 –19 คูลอมบ์ ( คือประจุอิเล็กตรอน 1 ตัว )
v คือความเร็ วลอยเลื่อนของอิเล็กตรอน ( เมตร/วินาที )
( ความเร็ วอิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่ในตัวนา )
A คือพื้นที่หน้าตัดของตัวนา (เมตร2)

3
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
6. ลวดเส้ นหนึ่ งมี พ้ื นที่ หน้าตัด 5 ตารางมิล ลิ เมตร มี อิเล็กตรอน 1 x 1028 อนุ ภาคต่อลูก -
บาศ์ก เมตร ถ้า อิ เล็ ก ตรอนเคลื่ อนที่ ด้วยความเร็ วลอยเลื่ อน 1 มิ ล ลิ เมตร/วิน าที จงหา
กระแสไฟฟ้ าในหน่วยแอมแปร์ ที่ไหลในเส้นลวดนี้
1. 5.5 2. 6.8 3. 8.0 4. 10.0

7(แนว En) ลวดโลหะเส้นหนึ่งมีพ้ืนที่ภาคตัดขวาง 1 ตารางมิลลิเมตร ถ้ามีกระแสไฟฟ้ าจานวน


หนึ่งไหลผ่านลวดนี้ ในเวลา 10 วินาที โดยขนาดความเร็ วลอยเลื่อนของอิเล็กตรอนเท่ากับ
0.02 เซนติเมตรต่อวินาที จงหาปริ มาณประจุไฟฟ้ าที่เคลื่อนที่ผา่ นลวดนี้ ในเวลาดังกล่าว
( ให้ความหนาแน่นอิเล็กตรอนอิสระของโลหะนี้ เท่ากับ 1.0 x 1029 m–3 )
1. 8 C 2. 16 C 3. 32 C 4. 40 C

ควรทราบเพิม่ เติมว่า
พื้นที่ใต้กราฟกระแสไฟฟ้ า ( I ) กับเวลา ( t ) จะมีขนาดเท่ากับปริ มาณประจุไฟฟ้ า ( Q )
4
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
8(แนว En) กระแสไฟฟ้ า I ที่ผา่ นเส้นลวด I (A)
โลหะเส้นหนึ่งสัมพันธ์กบั เวลา t ดังกราฟ
จงหาปริ มาณประจุไฟฟ้ าทั้งหมดที่ผา่ นพื้น 2.0
ที่หน้าตัดของเส้นลวดโลหะนี้ ในช่วงเวลา 1.0
0 ถึง 6 วินาที t (s)
3 6
1. 5.0 C 2. 6.2 C 3. 7.5 C 4. 9.0 C

14.2 ความสั มพันธ์ ระหว่ างกระแสไฟฟ้ าและความต่ างศักย์


14.2.1 กฏของโอห์ มและความต้ านทาน
กฏของโอห์ม กล่าวว่า “ ถ้ าอุณหภูมิคงตัว กระแสไฟฟ้าทีไ่ หลผ่ านตัวนาจะแปรผันตรง
กับความต่ างศักย์ ระหว่างปลายของตัวนานั้น ”
เขียนความสัมพันธ์จะได้ I  V
I = kV
V = 1k I
( 1k เป็ นค่าคงที่เรี ยกค่าความต้านทาน ใช้สัญลักษณ์ใหม่เป็ น R มีหน่วยเป็ นโอห์ม )
จึงได้วา่ V = IR
เมื่อ V คือความต่างศักย์ ( โวลต์ )
I คือปริ มาณกระแสไฟฟ้ า ( แอมแปร์ )
R คือความต้านทาน ( โอห์ม )

5
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
9. จะต้องใช้ความต่างศักย์เท่าใดต่อกับตัวต้านทาน 1 เมกะโอห์ม ( 106  ) เพื่อให้มีกระแส
ไฟฟ้ าผ่านตัวต้านทาน 1 มิลลิแอมแปร์
1. 10 โวลต์ 2. 100 โวลต์ 3. 1000 โวลต์ 4. 10000 โวลต์

14.2.2 สภาพต้ านทานไฟฟ้า และสภาพนาไฟฟ้ า


โดยทัว่ ไปแล้วความต้านทานของเส้นลวดตัวนาหนึ่งๆ จะแปรผันตรงกับความยาว และ
แปรผกผันกับพื้นที่หน้าตัดของเส้นลวดนั้น เขียนเป็ นความสัมพันธ์จะได้วา่
R  AL
และ R = k AL
สาหรับค่าคงที่ ( k ) ในสมการนี้ เราจะเรี ยก
ว่าค่าสภาพต้ านทานไฟฟ้ า ใช้สัญลักษณ์ใหม่เป็ น 
จึงได้วา่ R =  AL และ R =  L 2 และ R =  4 L2
r D
เมื่อ R คือความต้านทาน (โอห์ม)
 คือสภาพต้านทาน (โอห์ม . เมตร)
L คือความยาวของตัวนา (เมตร)
A คือพื้นที่หน้าตัดของตัวนา (เมตร2)
r คือรัศมีของตัวนา ( เมตร)
D คือเส้นผ่านศูนย์กลางของตัวนา ( เมตร)
ส่ วนกลับของสภาพต้านทานไฟฟ้ า เรี ยกว่าสภาพนาไฟฟ้า มี หน่ วย (โอห์ ม . เมตร)–1
หรื อซีเมนส์ ( siemens ) 
6
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
10. ทรงกระบอกทาจากโลหะที่มีสภาพต้านทาน 4 x 10–7 โอห์ม.เมตร มีพ้ืนที่หน้าตัด 0.04
ตารางเซนติเมตร ช่วง AB ยาว 1.50 เมตร ขณะที่มีกระแสไฟฟ้ า 20 มิลลิแอมแปร์ ไหล
ผ่านทรงกระบอกนี้ ความต่างศักย์ระหว่าง AB มีค่ากี่โวลต์
1. 3 x 10–3 2. 3 x 10–4 3. 3 x 10–5 4. 3 x 10–7

11. สายไฟ 2 เส้น ทาด้วยโลหะ 2 ชนิด เส้นที่ 2 มีสภาพความต้านทานเป็ น 4 เท่าของ


เส้ น แรก พื้ น ที่ ห น้ า ตัด เส้ น แรกมี ข นาด 2 ตารางเซนติ เมตร ถ้า ความยาวและความ
ต้านทานเท่ากัน แล้วพื้นที่หน้าตัดของเส้นที่ 2 จะมีขนาดกี่ตารางเซนติเมตร
1. 2 2. 4 3. 8 4. 16

12. เส้นลวด 2 เส้น ทาจากโลหะชนิ ดเดียวกัน เส้นที่สองมีพ้ืนที่หน้าตัดเป็ น 6 เท่าของเส้น


แรก และมีความยาวเป็ น 3 เท่าของเส้นแรก ถ้าความต้านทานของเส้นแรกมีค่าเป็ น 10
โอห์ม จงหาว่าเส้นลวดเส้นที่สองจะมีความต้านทานกี่โอห์ม
1. 5 2. 10 3. 20 4. 40

7
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
13. ลวดตัวนาขนาดสม่าเสมอเส้นหนึ่งยาว 8 เมตร วัดความต้านทานได้ 9 โอห์ม ถ้ามีลวด
ตัวนาชนิ ดเดี ยวกัน แต่ขนาดรัศมีเป็ นครึ่ งหนึ่ งของเส้นแรก ต้องการให้มีความต้านทาน
18 โอห์ม จะต้องใช้ลวดยาวกี่เมตร

14(แนว มช) ลวดเหล็กมีเส้นผ่านศูนย์กลางเป็ นสองเท่าของลวดทองแดงและมีสภาพต้านทาน


เป็ น 6 เท่ าของลวดทองแดง ถ้าต้องการลวดทองแดงและลวดเหล็ก ที่ มี ความต้านทาน
เท่ากัน จะต้องมีอตั ราส่ วนของความยาวของลวดทองแดงต่อลวดเหล็กเท่าใด
1. 3 : 1 2. 1 : 3 3. 3 : 2 4. 2 : 3

15. ลวดเส้นหนึ่งมีความต้านทาน 6.0 โอห์ม เมื่อนามารี ดให้เส้นลวดมีขนาดเล็กลงจนมีความ


ยาวเป็ นสามเท่าของตอนเริ่ มต้น ถ้าคุณสมบัติต่างๆ ของสารที่ทาเส้นลวดไม่เปลี่ยน ความ
ต้านทานของเส้นลวดตอนสุ ดท้ายจะเป็ นกี่โอห์ม
1. 18 2. 24 3. 36 4. 54

8
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
16. แท่งเจอร์ มาเนี ยมขนาดพื้นที่หน้าตัด 2 ตารางมิลลิเมตร ยาว 1 เซนติเมตร มีความต้าน
ทาน 10000 โอห์ม เจอร์ มาเนียมจะมีสภาพนาไฟฟ้ าเป็ นเท่าใด
1. 0.5  . m 2. 1.0  . m 3. 0.5 ( . m)–1 4. 1.0 ( . m)–1

14.2.3 ผลของอุณหภูมิทมี่ ีต่อสภาพต้ านทาน


สารแต่ละชนิ ดเมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนไปจะส่ งผลให้สภาพต้านทานของสารเปลี่ยนแปลงใน
ลักษณะที่แตกต่างกัน
ฉนวน (insulator) ฉนวนเป็ นสารที่ มีสภาพต้านทานสู ง เช่ นแก้ว พี วีซี ยาง กระเบื้ อง
เป็ นต้น ที่อุณหภูมิสูงๆ สภาพต้านทานจะลดลงเล็กน้อย
สารกึง่ ตัวนา (semiconductor) สารกึ่งตัวนามีสภาพต้านทานอยูร่ ะหว่างตัวนา และฉนวน
แต่มีค่าสู งกว่าสภาพต้านทานของตัวนามาก เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้ นพบว่า สภาพต้านทานจะลดลง
อย่างรวดเร็ ว แสดงว่าการนาไฟฟ้ าจะดี ข้ ึ น ดังนั้นเครื่ องใช้ไฟฟ้ าที่ มีอุปกรณ์ ประเภทสารกึ่ ง
ตัวนาประกอบอยูใ่ นวงจร จึงทางานเป็ นปกติเฉพาะในช่วงอุณหภูมิที่กาหนดไว้
ตัวนา (conductor) ตัวนาเป็ นสารที่ มีสภาพต้านทานต่ า เช่ น แพลทิ นัม ทองแดง เงิ น
เป็ นต้น ที่ อุณ หภูมิต่าง ๆ พบว่าโดยประมาณแล้ว ความต้านทานจะแปรผันตรงกับอุ ณ หภู มิ
สัมบูรณ์ ส่ วนโลหะผสมบางชนิดพบว่าเมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนความต้านทานจะเปลี่ยนน้อยมาก
ตัวนายวดยิ่ง ( superconductor ) สารบางชนิ ดเมื่อลดอุณหภูมิต่าลงถึงจุดๆ หนึ่ ง ความ
ต้านทานของสารนี้ จะมี ค่าเป็ นศูนย์ เช่ นปรอท เมื่ อลดอุ ณ หภูมิลงไปถึ ง 4.15 เคลวิน ความ
ต้านทานของปรอทจะมีค่าเป็ นศูนย์ อุณหภูมิน้ ี เรี ยกอุณหภูมิวิกฤต ( critical temperature , Tc)
ในสภาวะนี้ปรอทจะนาไฟฟ้ าได้ดีที่สุดเรี ยกว่าสภาพนายวดยิง่ ( superconductivity )

9
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
14.3 พลังงานไฟฟ้า และกาลังไฟฟ้า
14.3.1 พลังงานไฟฟ้า
เมื่อปล่อยให้กระแสไฟฟ้ าไหลผ่านความต้านทาน พลังงาน
ขนาดหนึ่งๆ พลังงานไฟฟ้ าบางส่ วนจะถูกเปลี่ยนไปเป็ น I
พลังงานชนิดอื่นๆ ขนาดหนึ่งเสมอ พลังงานไฟฟ้ าที่ถูก R
ใช้ไปนี้สามารถคานวณหาค่าได้จากสมการต่อไปนี้
2
W = Q V หรื อ W = I t V หรื อ W = I2R t หรื อ W = VR t
เมื่อ W คือพลังงานไฟฟ้ า (จูล) Q คือประจุไฟฟ้ า (คูลอมบ์)
V คือความต่างศักย์ (โวลต์) I คือกระแสไฟฟ้ า (แอมแปร์)
t คือเวลา (วินาที) R คือความต้านทาน (โอห์ม)
17. ต่อหลอดไฟกับความต่างศักย์ 220 โวลต์ แอมมิเตอร์ อ่านกระแสไฟฟ้ าได้ 0.1 แอมแปร์
จงหาพลัง งานไฟฟ้ าที่สูญเสี ยไป เมื่อเปิ ดหลอดไฟนี้ 1 นาที
1. 660 จูล 2. 1320 จูล 3. 1980 จูล 4. 2640 จูล

18. ปริ มาณความร้อนที่เกิดจากกระแสไฟฟ้ า 1 แอมแปร์ ผ่านความต้านทาน 50  เป็ น


เวลา 10 นาที เท่ากับกี่แคลลอรี ( ให้ 4.2 จูล = 1 แคลลอรี )
1. 112 2. 893 3. 3571 4. 7143

10
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
14.3.2 กาลังไฟฟ้า
กาลังไฟฟ้า หมายถึง อัตราการใช้พลังงานไฟฟ้ า หรื อพลังงานไฟฟ้ าที่ถูกใช้ไปในหนึ่ ง
หน่วยเวลา
นัน่ คือ P = Wt
เมื่อ P คือกาลังไฟฟ้ า ( จูล/วินาที , วัตต์ )
W คือพลังงานไฟฟ้ า (จูล )
t คือเวลา ( วินาที )
กาลังไฟฟ้ าสามารถหาค่าได้จากสมการต่อไปนี้  
QV 2
P = t หรื อ P = I V หรื อ P = I2 R หรื อ P = VR
เมื่อ P คือกาลังไฟฟ้ า ( จูล/วินาที , วัตต์ ) Q คือประจุไฟฟ้ า (คูลอมบ์)
V คือความต่างศักย์ (โวลต์) I คือกระแสไฟฟ้ า (แอมแปร์)
t คือเวลา (วินาที) R คือความต้านทาน (โอห์ม)
19. ต่อหลอดไฟกับความต่างศักย์ 220 โวลต์ แอมมิเตอร์ อ่านกระแสไฟฟ้ าได้ 0.1 แอมแปร์
จงหากาลังไฟฟ้ าของหลอดไฟนี้
1. 11 วัตต์ 2. 22 วัตต์ 3. 33 วัตต์ 4. 44 วัตต์

11
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
20(แนว En) หลอดไฟฟ้ าหลอดแรกมี ค วามต้านทาน 6 โอห์ ม ต่ อ กับ แบตเตอรี่ 12 โวลต์
หลอดที่ 2 มีความต้านทาน 5 โอห์ม ต่อกับแบตเตอรี่ 15 โวลต์ กาลังไฟฟ้ าที่ หลอดทั้ง
สองใช้ต่างกันเท่าใด
1. 3 W 2. 9 W 3. 11 W 4. 21 W

21(แนว En) เตาไฟฟ้ าขนาด 1140 วัตต์ เตาอบไมโครเวฟขนาด 900 วัตต์ และหม้อหุ งข้าว
ไฟฟ้ าขนาด 600 วัตต์ ถ้าใช้ท้ งั สามเครื่ องกับไฟฟ้ า 220 โวลต์ พร้อมกันจะใช้กระแสไฟฟ้ า
เท่าใด
1. 8 A 2. 10 A 3. 12 A 4. 15 A

22. ห้องทางานแห่งหนึ่งใช้ไฟฟ้ าจากแหล่งกาเนิด 220 โวลต์ ภายในห้องมีหลอดไฟขนาด 100


วัตต์ 3 ดวง และพัดลมขนาด 200 วัตต์ 2 เครื่ อง เพื่อป้ องกันความเสี ยหายจากการเกิด
ไฟฟ้ าลัดวงจร ควรจะมีฟิวส์ขนาดเล็กสุ ดเท่าใด
1. 2 A 2. 3 A 3. 4 A 4. 5 A

12
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
23(แนว มช) จงหาสภาพต้ า นทานไฟฟ้ าในหน่ ว ยโอห์ ม .เมตรของลวดยาว 2 เมตร
พื้นที่ ห น้าตัด 10–6 ตารางเมตร เมื่อมีกระแสไฟฟ้ า 1 แอมแปร์ ไหลผ่าน จะมี อตั ราการ
เปลี่ยนแปลงพลังงานไฟฟ้ าเป็ นพลังงานความร้อน 48 มิลลิวตั ต์
1. 2.4 x 10–2 2. 4.8 x 10–4 3. 4.8 x 10–8 4. 2.4 x 10–8

24(แนว En) เครื่ องใช้ไ ฟฟ้ าในบ้านชนิ ด 40 วัตต์ 220 โวลต์ เมื่ อนามาใช้ขณะที่ ไฟตก
เหลือ 200 โวลต์ เครื่ องใช้ไฟฟ้ านั้นจะใช้กาลังไฟฟ้ าเท่าใด
1. 13 W 2. 20 W 3. 25 W 4. 33 W

25(แนว En) จะต้องให้ความต่างศักย์ไฟฟ้ ากี่โวลต์ เพื่อจะทาให้เกิดสนามไฟฟ้ าที่สามารถเร่ ง


อิเล็กตรอนจากหยุดนิ่งให้มีความเร็ ว 0.4 x 107 เมตรต่อวินาที
ให้ ประจุอิเล็กตรอน = 1.6 x 10–19 คูลอมบ์ , มวลอิเล็กตรอน = 9.1 x 10–31 กิโลกรัม

13
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
26. จงหาความเร็ วอิเล็กตรอนทิ่วง่ิ จากหยุดนิ่งผ่านความต่างศักย์ไฟฟ้ า 1500 โวลต์
ให้ ประจุ อิเล็กตรอน = 1.6 x 10–19 คูลอมบ์ , มวลอิเล็กตรอน = 9.1 x 10–31 กิโลกรัม
1. 2.3 x 107 m/s 2. 2.3 x 106 m/s 3. 2.3 x 105 m/s 4. 2.3 x 103 m/s

การคานวณหาจานวนหน่วยไฟฟ้ าที่ใช้ไปและเงินค่าไฟฟ้ า สามารถทาได้โดยใช้สมการ


P )t
Unit = ( 1000
P ) t ( ราคาต่อหน่วย )
ค่าไฟฟ้ า = ( Unit ) ( ราคาต่อหน่วย ) = ( 1000
เมื่อ Unit คือจานวนหน่วยไฟฟ้ าที่ใช้ ( kW. Hr หรื อหน่วย )
P คือกาลังไฟฟ้ า ( จูล/วินาที , วัตต์ ) 
t คือเวลาที่ใช้ไฟฟ้ าในหน่วยชัว่ โมง
27. เมื่อเปิ ดหลอดไฟขนาด 100 วัตต์ เป็ นเวลานาน 20 ชัว่ โมงต่อเนื่ อง จานวนหน่วยไฟฟ้ าที่
ใช้ไปมีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้  
1. 1 2. 2 3. 1000 4. 2000

14
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
28(แนว มช) เครื่ องทาน้ าอุ่นไฟฟ้ าขนาด 3000 วัตต์ 220 โวลต์ ถ้าอาบน้ าอุ่นเป็ นเวลา 30
นาที จะเสี ยค่าไฟฟ้ ากี่บาท ( อัตราค่าไฟฟ้ าเป็ น 3 บาท / หน่วย )

14.4. การต่ อตัวต้ านทาน


 

การต่ อ ตัวต้า นทานหลายๆ ตัว เข้า ด้วยกัน นั้น โดยพื้ น ฐานแล้ว จะมี รูป แบบการต่ อ 2
รู ปแบบ ได้แก่ 
14.4.1 การต่ อตัวต้ านทานแบบอนุกรม
การต่อตัวต้านทานแบบอนุ กรม เป็ นการต่อตัวต้านทานหลายๆ ตัวให้อยู่ในแนวเส้น
เดียวกันดังรู ปการต่อแบบนี้จะมีสิ่งที่ตอ้ งทราบดังต่อไปนี้ I2 = 10 A
I1 = 10 A
1) กระแสไฟฟ้ ารวมทั้งหมดที่ไหลเข้า
Iรวม = 10 A R1 R2
วงจร และกระแสไฟฟ้ าที่ไหลผ่านตัวต้านทาน
V1 = I1R1 V2 = I2R2
แต่ละตัว จะมีค่าเท่ากันหมด นัน่ คือ Iรวม = I1 = I2 = …..
2) ความต่างศักย์คร่ อมตัวต้านทานแต่ละตัว อาจมีค่าไม่เท่ากัน
นัน่ คือ V1  V2  V3  …… 
3) ความต่างศักย์รวม ( ความต่างศักย์คร่ อมตัวต้านทานทั้งหมด ) จะเท่ากับความต่าง
ศักย์คร่ อมตัวต้านทานแต่ละตัวบวกกัน
นัน่ คือ Vรวม = V1 + V2 + …..
4) ความต้านทานรวม จะเท่ากับความต้านทานแต่ละตัวบวกกัน
นัน่ คือ Rรวม = R1 + R2 + ….. 
15
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
29. จากรู ปที่กาหนด ความต้านทานรวมมีค่าเท่าใด
I1 I2
1. 5  2. 6 
Iรวม = 5 A R1 = 2  R2 = 3
3. 10  4. 15 
V1 V2

30. จากข้อที่ผา่ นมา ขนาดของ I1 และ I2 มีคา่ เท่าใด


1. I1 = 5 A และ I2 = 7.5 A 2. I1 = 5 A และ I2 = 10 A
3. I1 = 10 A และ I2 = 5 A 4. I1 = 5 A และ I2 = 5 A

31. จากข้อที่ผา่ นมา ขนาดของ V1 และ V2 มีคา่ เท่าใด


1. V1 = 15 V และ V2 = 15 V 2. V1 = 10 V และ V2 = 15 V
3. V1 = 4 V และ V2 = 6 V 4. V1 = 10 V และ V2 = 10 V

32. จากข้อที่ผา่ นมา Vรวม มีค่าเท่าใด


1. 10 V 2. 15 V 3. 20 V 4. 25 V

16
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
33. จากรู ป จงหากระแสไฟฟ้ ารวมของวงจร และกระแสไฟฟ้ าที่ไหลผ่านตัวต้านทาน 1 
1. Iรวม = 3 A และ I1 = 1 A
2. Iรวม = 3 A และ I1 = 3 A 1 2 3
3. Iรวม = 1.5 A และ I1 = 1.5 A V3 = 9 V
4. Iรวม = 6 A และ I1 = 6 A

34. จากข้อที่ผา่ นมา จงหาความต่างศักย์ของตัวต้านทาน 1  และความต่างศักย์รวม


1. V1 = 9 V และ Vรวม = 9 V 2. V1 = 3 V และ Vรวม = 3 V
3. V1 = 3 V และ Vรวม = 9 V 4. V1 = 3 V และ Vรวม = 18 V

35. จากรู ป ความต้านทาน R มีค่าเท่าใด 


Iรวม = 3 A 2 R
1. 1  2. 2 
3. 3  4. 4  Vรวม = 18 โวลต์

17
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
36. จากรู ป ความต่างศักย์ที่คร่ อมตัวต้านทาน
ทาน 4  มีค่าเท่าใด R1 = 2 R2 = 4
1. 2 V 2. 4 V V1= 8 V V2= ?
3. 8 V 4. 16 V

37. จากรู ป ความต่างศักย์รวมของวงจรมีค่าเท่าใด


R1=3 R2 = 8
1. 22 V 2. 33 V
3. 44 V 4. 80 V V2= 24 V

38(แนว มช) ถ้าต้องการแบ่งศักย์ไฟฟ้ า V โดยใช้ความ


ต้านทาน จะต้องใช้ตวั ต้านทาน R1 ขนาดกี่โอห์ม 30 

จึงจะได้ความต่างศักย์ระหว่างจุด A และ B มีค่า V A

เป็ น 13 V R1

18
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
14.4.2 การต่ อตัวต้ านทานแบบขนาน
การต่อตัวต้านทานแบบขนาน เป็ นการต่อตัวต้านทานหลายๆ ตัวโดยแยกสายกันอยู่
ดังรู ป การต่อแบบนี้จะมีสิ่งที่ตอ้ งทราบดังต่อไปนี้
1) กระแสไฟฟ้ าที่ไหลผ่านตัว I1 = 3 A R1 V1 = I1R1
Iรวม = 10 A
ต้านทานแต่ละตัว อาจมีค่าไม่เท่ากันก็ได้
นัน่ คือ I1  I2  ….. I2 = 7 A R2 V2 = I2R2
2) กระแสไฟฟ้ ารวมทั้ง หมดที่ ไ หลเข้า วงจร จะมี ค่ าเท่ า กับ กระแสที่ ไ หลผ่านตัว
ต้านทานแต่ละตัวบวกกัน
นัน่ คือ I รวม = I1 + I2 + …..
3) ความต่างศักย์รวม ( ความต่างศักย์คร่ อมตัวต้านทานทั้งหมด ) และความต่างศักย์
คร่ อมตัวต้านทานแต่ละตัวจะมีค่าเท่ากันเสมอ
นัน่ คือ Vรวม = V1 = V2 = ……
4) ความต้านทานรวม จะหาได้จาก
1 1 1
Rรวม = R1 + R 2

39. จากรู ปที่กาหนด ความต้านทานรวมมีค่าเท่าใด I1


1. 2  2. 4  R1 = 3 
3. 9  4. 18  Iรวม = 18 A V1
V2
R2 = 6 
I2

40. จากข้อที่ผา่ นมา ขนาดของ Vรวม มีค่าเท่าใด


1. 12 V 2. 18 V 3. 36 V 4. 42 V

19
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
41. จากข้อที่ผา่ นมา ขนาดของ V1 และ V2 มีค่าเท่าใด
1. V1 = 18 V และ V2 = 36 V 2. V1 = 18 V และ V2 = 18 V
3. V1 = 36 V และ V2 = 18 V 4. V1 = 36 V และ V2 = 36 V

42. จากข้อที่ผา่ นมา ขนาดของ I1 และ I2 มีค่าเท่าใด


1. I1 = 6 A และ I2 = 6 A 2. I1 = 12 A และ I2 = 12 A
3. I1 = 12 A และ I2 = 6 A 4. I1 = 6 A และ I2 = 12 A

43. จากรู ป จงหาว่าหากกระแสที่ไหลผ่านตัวต้านทาน 3


3  เป็ น 10 แอมแปร์ แล้วกระแสที่ไหลผ่านตัว
ต้านทาน 6  จะมีค่ากี่แอมแปร์ 6
1. 2 2. 5 3. 10 4. 20

44. จากรู ปจงหาว่าหากกระแสที่ไหลผ่านตัวต้านทาน 4


4  เป็ น 15 แอมแปร์ แล้วกระแสรวมที่ไหล
Iรวม = ?
เข้าวงจรทั้งหมดจะมีค่ากี่แอมแปร์ 12 

20
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
45. ลวดความต้านทาน 2 , 3 และ 4  ต่อกันอย่าง 2
ขนาน ถ้ามีกระแสไหลผ่านลวด 3  เป็ น 4
3
แอมแปร์ กระแสทั้งหมดในวงจรเป็ นเท่าไร
4
1. 8 A 2. 10 A 3. 13 A 4. 18 A

46. กระแสไฟฟ้ า 3.5 แอมแปร์ ไหลผ่านความต้านทาน 3 โอห์ม และ 4 โอห์ม ซึ่ งต่อกัน
แบบขนานกระแสไฟฟ้ าที่ไหลผ่านความต้านทานแต่ละอันมีค่าเท่าใด
1. 2 A , 1.5 A 2. 3 A , 0.5 A 3. 0.5 A , 3 A 4. 1.8 A , 1.7 A

47. ลวดความต้านทาน 4 เส้น ต่อกันดังรู ป ถ้าความต่างศักย์ระหว่างปลายทั้งสองของความ


7 8
ต้านทาน 4 โอห์ม มีค่า 8 โวลต์ จงหา
A I1 B C
กระแสที่ไหลผ่านตัวต้านทาน 8 โอห์ม I
I2 10 4 I
1. 0.2 A 2. 0.8 A
3. 1.2 A 4. 2.0 A

21
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
48. จากรู ป ความต้านทานรวมระหว่าง 8
16  20 
จุด X กับจุด Y มีค่ากี่โอห์ม A B
X 16  Y
1. 2 2. 4 9
3. 6 4. 8
C D 6
18 

49. จากรู ป ความต้านทานรวมระหว่าง 1 1


C
จุด A กับจุด B มีค่าเป็ นกี่โอห์ม A
1. 2 2
4
2. 4
3. 6 B
3 D 1
4. 8

22
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
50. จากรู ปต่อไปนี้ ความต้านทานรวมระหว่าง
จุด A กับจุด B มีค่ากี่โอห์ม 6 C 3 4 B
1. 0.8 2. 1.0 A D
3. 1.3 4. 1.5

51. จากรู ปต่อไปนี้ ความต้านทานรวมระหว่าง


จุด A กับจุด B มีค่ากี่โอห์ม 6 C 3 6 B
A D
1. 2.50 2. 3.00
3. 3.75 4. 4.25 8

52. จากรู ปต่อไปนี้ ความต้านทานรวมระหว่าง


จุด A กับจุด B มีค่ากี่โอห์ม 2 C
A
1. 2.50
2. 3.00 1
3. 3.75 B D
3
4. 5.00

23
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
53. จากรู ปต่อไปนี้ ความต้านทานรวมระหว่าง
จุด A กับจุด B มีค่ากี่โอห์ม 10  20 
1. 25
2. 50 A 100 B
3. 100 100 
50 
4. 200

54. จากรู ปต่อไปนี้ ความต้านทานรวมระหว่าง


R1 = 1 R2 = 2
จุด A กับจุด B มีค่ากี่โอห์ม
1. 1.0 A B
6
2. 2.0
3. 2.5
R3 = 5 R4 = 10
4. 3.5

55. นาความต้านทานขนาด 1 โอห์ม จานวน 20 ตัวมาต่อกัน จะต่อกันได้ความต้านทานรวม


มากที่สุด และน้อยที่สุดกี่โอห์ม
1. 20 , 0.05 2. 15 , 1 3. 10 , 2 4. 5 , 3

24
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
14.5 แรงเคลือ่ นไฟฟ้ า และการต่ อแบตเตอรี่
 

14.5.1 แรงเคลือ่ นไฟฟ้า


แรงเคลื่อนไฟฟ้า ( E ) หมายถึงพลังงานที่ประจุ 1 คูลอมบ์ ใช้ในการเคลื่อนที่จนครบ
วงจร ( คือเคลื่อนที่ออกจากขั้วบวกของแบตเตอรี่ ผา่ นตัวต้านทานภายนอกแบตเตอรี่ แล้ววนจน
กลับมาถึงขั้วบวกของแบตเตอรี่ อีกที ดังรู ป )
เราสามารถหาขนาดของแรงเคลื่อนไฟฟ้ าได้จากสมการ
E = I(R+r)
เมื่อ E คือแรงเคลื่อนไฟฟ้ า (โวลต์ )
I คือปริ มาณกระแสไฟฟ้ า ( แอมแปร์ )
R คือความต้านทานภายนอกเซลล์ไฟฟ้ า (โอห์ม )
r คือความต้านทานภายในเซลล์ไฟฟ้ า(โอห์ม)
หมายเหตุ ; ปกติแล้วการเขียนแบตเตอรี่ 1 เซลล์ใดๆ เราจะเขียนเป็ นสัญลักษณ์  โดย

เส้นยาวใช้แทนขั้วบวกส่ วนเส้นสั้นใช้แทนขั้วลบ

56. เซลไฟฟ้ าอันหนึ่ งมีความต้านทานภายใน 2 โอห์ม เมื่อต่อกับความต้านทาน 8 โอห์ม


พบว่ามีกระแสไฟฟ้ าไหล 0.15 แอมแปร์ แรงเคลื่อนไฟฟ้ าของเซลไฟฟ้ านี้ มีค่ากี่โวลต์

57(แนว En) จงหากระแสไฟฟ้ าที่ไหลผ่าน 3 5 1


แอมมิเตอร์ (A) ในวงจร I
1 7 A
1. 0.3 A 2. 0.6 A
3. 1.0 A 4. 1.5 A E = 6V 1

25
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
58. เซลไฟฟ้ าเซลหนึ่งมีแรงเคลื่อนไฟฟ้ า 2 โวลต์ 8
ความต้านทานภายใน 2  ต่อเป็ นวงจรด้วยลวด
ความต้านทาน 8  กระแสไฟฟ้ าที่ไหลในวง
จรมีขนาดเท่ากับกี่แอมแปร์ 2V 2 
1. 0.1 2. 0.2 3. 0.3 4. 0.4

59. จากข้อที่ผา่ นมา ความต่างศักย์ที่ข้ วั เซลมีขนาดเท่ากับกี่โวลต์


1. 0.2 2. 0.4 3. 0.8 4. 1.6

60. จากข้อที่ผา่ นมา ความต่างศักย์ภายในเซลมีขนาดเท่ากับกี่โวลต์


1. 0.2 2. 0.4 3. 0.8 4. 1.6

26
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
61. นาเอาลวดความต้านทาน 6 และ 12  ต่อเข้ากับขั้วแบตเตอรี่ แรงเคลื่อนไฟฟ้ า 18 โวลต์
ความต้านทานภายใน 2  จะเกิดความต่างศักย์ระหว่างขั้วเซลเท่าใด เมื่อลวดต้านทานทั้ง
สองต่อกันแบบอนุกรม
1. 12.0 V 2. 12.4 V 3. 14.8 V 4. 16.2 V

62. จากข้อที่ผ่านมา หากตัวต้านทาน 6 และ 12  เปลี่ยนเป็ นต่อกันแบบขนาน จะเกิ ด


ความต่างศักย์ระหว่างขั้วเซลกี่โวลต์  
1. 12.0 V 2. 12.4 V 3. 14.8 V 4. 16.2 V

63(แนว En) เซลไฟฟ้ าหนึ่งเมื่อเอาลวดความต้านทาน 8.5  ต่อระหว่างขั้วของเซลล์จะเกิด


ความต่ า งศัก ย์ที่ ข้ ัว ของเซล 2.125 โวลต์ เมื่ อ ท าให้ ว งจรเปิ ดความต่ า งศัก ย์ที่ ข้ ัว เซล
เปลี่ยนเป็ น 2.5 โวลต์ ความต้านทานภายในเซลมีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 1.0  2. 1.5  3. 2.0  4. 2.5 

27
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
64. เมื่อต่อความต้านทาน 1  เข้าระหว่างขั้วเซลล์ไฟฟ้ าเซลล์หนึ่ง วัดกระแสไฟฟ้ าได้ 5
แอมแปร์ เมื่อเปลี่ยนความต้านทานเป็ น 7  วัดกระแสไฟฟ้ าได้ 1 แอมแปร์ เซลล์ไฟฟ้ า
นี้มีแรงเคลื่อนไฟฟ้ ากี่โวลต์

65. แบตเตอรี่ ตวั หนึ่ งเมื่อนาไปต่อวงจรไฟฟ้ า ถ้ามี กระแสไหลผ่านแบตเตอรี่ 5.0 แอมแปร์


จะมีความต่างศักย์ระหว่างขั้วแบตเตอรี่ เท่ากับ 50 โวลต์ แต่ถา้ มีกระแสไหลผ่านแบตเตอรี่
1.8 แอมแปร์ จะมี ความต่างศักย์ระหว่างขั้วแบตเตอรี่ เท่ากับ 56.4 โวลต์ แบตเตอรี่ น้ ี มี
แรงเคลื่อนไฟฟ้ าและความต้านทานภายในเท่าไร
1. 30 V , 2  2. 60 V , 2  3. 30 V , 4  4. 60 V , 4 

28
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
14.5.2 การต่ อแบตเตอรี่
การต่ อ แบตเตอรี่ ห ลายๆ ตัว เข้า ด้ว ยกัน นั้ น โดยพื้ น ฐานแล้ ว จะมี รู ป แบบการต่ อ 2
รู ปแบบ ได้แก่
ก. การต่ อแบตเตอรี่ แบบอนุกรม
การต่ อแบตเตอรี่ แ บบอนุ ก รม เป็ นการต่ อแบตเตอรี่ ห ลายๆ ตัว ให้ อ ยู่ในแนวเส้ น
เดียวกันดังรู ป การต่อแบบนี้จะมีสิ่งที่ตอ้ งทราบดังต่อไปนี้
1) ถ้าต่อถูกทิศ ( คือหันขั้วบวกของแบตเตอรี่ ไปทางเดียวกัน )
E1 E 2
จะได้วา่ Eรวม = E1 + E2   r1 r2
ถ้าต่อกลับทิศ ( คือหันขั้วบวกของแบตเตอรี่ ไปคนละทาง )
จะได้วา่ Eรวม = E1 – E2
2) ความต้านทานภายในรวม ( rรวม )   E1 E 2
r1 r2
หาค่าได้จาก rรวม = r1 + r2 (ทั้งถูกและกลับทิศ)
ข. การต่ อแบตเตอรี่ แบบขนาน     
การต่อแบตเตอรี่ แบบขนาน เป็ นการต่อแบตเตอรี่ หลายๆ ตัวโดยแยกสายกันอยูด่ งั รู ป
การต่อแบบนี้จะมีสิ่งที่ตอ้ งทราบดังต่อไปนี้
E r1
1) การต่อแบบนี้ แบตเตอรี่ แต่ละตัวจะมีแรง
เคลื่อนไฟฟ้ าเท่ากัน และหันขั้วบวกไปทางเดียวกัน
E r2
2) Eรวม = Eแบตเตอรี่ ตวั เดียว
และ rรวม 1 = r1 + r1 + ......
1 2
66. จากรู ปจงหากระแสที่ไหลในวงจร   7
1. 2 A
2. 3 A
3. 4 A 20V , 1 30V , 2 
4. 5 A 
 
 

29
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
67. จากวงจรที่แสดงตามรู ป จงหากระแสในวงจร
1. 0.25 A 7
2. 0.50 A 10V , 2
3. 1.00 A
4. 1.50 A 20V , 1

68(แนว En) พิจารณาวงจรไฟฟ้ าดังรู ป จง 4V , 1 3


หาค่ากระแสไฟฟ้ าที่ไหลในวงจร a
1. 0.25 A 2. 0.50 A 12V , 1 2
3. 0.75 A 4. 1.00 A  3
b
1 2V , 1

69. พิจารณาวงจรไฟฟ้ าดังรู ป จงหากระแส


ไฟฟ้ าที่ผา่ นความต้านทาน 2  2
1. 2 A
2. 3 A 10V 4 
3. 4 A 10V 12 
4. 5 A

30
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
70. กระแสที่ไหลผ่านตัวต้านทานในวงจรดังรู ป 1.5 V , 1
มีค่ากี่แอมแปร์ 1.5 V , 0.5
1. 0.25
1.5 V , 1
2. 0.30
3. 0.45
4. 0.50 9

71. จงหา I ที่ผา่ นความต้านทาน 4  จากรู ป 4


1. 1 A
2. 2 A 8V , 1  2V , 1  4V , 2
3. 3 A
4. 4 A
4V , 1 5V , 1 3V , 2

31
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
14.6 การวิเคราะห์ วงจรไฟฟ้ากระแสตรงเบือ้ งต้ น
 

72. จงหากระแสไฟฟ้ าผ่านตัวต้านทาน 4 


ในวงจรไฟฟ้ าดังรู ป 4
7
1. 1.500 A 12 
2. 0.250 A
3. 0.750 A 12V , 1 12V , 1
4. 1.000 A

73. วงจรไฟฟ้ าดังรู ป มีกระแสไฟฟ้ า 4 แอมแปร์ R = 0.5  หลอดไฟ


ผ่านความต้านทาน 0.5 โอห์ม ต่อกับหลอดไฟ
และแบตเตอรี่ 6 โวลต์ ถ้าไม่คิดความต้านทาน I=4A
ภายในแบตเตอรี่ จงหาความต้านทานหลอดไฟ + –
1. 0.5  2. 1.0  E=6V
3. 1.5  4. 2.0 

32
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
74. แบตเตอรี่ หม้อหนึ่งประกอบด้วยเซลชนิดเดียวกัน 3 เซลล์ ต่อกันแบบขนาน เมื่อเอาลวด
10  และ 15  ต่อโยงขนานกันกับ ขั้วแบตเตอรี่ จะมี กระแสไฟฟ้ าผ่านลวด 10 
เท่ากับ 0.18 แอมแปร์ ถ้ามีเซลมีความต้านทานเซลละ 2  แรงเคลื่อนไฟฟ้ าของแบตเตอรี่
นี้แต่ ละเซลมีขนาดเท่ากับกี่โวลต์

75. ไดโอดเปล่งแสง (LED) ตัวหนึ่ งจะเปล่ งแสงเมื่ อมี กระแสไฟฟ้ า 20 มิ ลลิ แอมแปร์ ผ่าน
ขณะต่อไบแอสตรง และความต่างศักย์ระหว่างขั้ว 1.7 โวลต์ ถ้านาไดโอดตัวนี้ ไปต่อกับ
แบตเตอรี่ 6 โวลต์ ที่มีความต้านทานภายในน้อยมาก จะต้องนาตัวต้านทานค่าเท่าใดมาต่อ
อย่างไรกับ วงจร เพื่ อ ไม่ ใ ห้ ไ ดโอดเสี ย หาย ( ถ้า ต่ อ เฉพาะไดโอดกับ แบตเตอรี่ ข ณะต่ อ
ไบแอสตรงไดโอดมีความต้านทานน้อย กระแสในวงจรมีค่ามากทาให้ไดโอดเสี ยหายได้ )
1. 215  ต่ออนุกรม 2. 215  ต่อขนาน
3. 430  ต่ออนุกรม 4. 430  ต่อขนาน

33
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
14.7 เครื่องวัดไฟฟ้ า
เครื่ องมือวัดปริ มาณต่างๆ ที่เกี่ยวกับกระแสไฟฟ้ า โดย
ทัว่ ไปจะถูกดัดแปลงมาจากแกลแวนอมิเตอร์ ( galvanometer )
ซึ่งประกอบไปด้วยขดลวดติดเข็มชี้ วางตัวอยูร่ ะหว่างขั้วแม่
เหล็กเหนือและใต้ การใช้แกลแวนอมิเตอร์วดั ปริ มาณกระแส
ไฟฟ้ าต้องนาแกลแวนอมิเตอร์ ( G ) ต่ออนุกรมกับวงจรดังรู ป ขดลวด
เมื่อมีกระแสไฟฟ้ าไหลผ่านขดลวด จะเกิดแรงผลักทาให้ขด
ลวด เข็มที่ติดขดลวดจะกระดิกชี้ บอกปริ มาณกระแสไฟฟ้ าได้
14.7.1 แอมมิเตอร์
การใช้แกลแวนอมิเตอร์ ต่ออนุกรมกับวงจร บางครั้ง
จะมีกระแสไฟฟ้ าไหลผ่านแกลแวนอมิเตอร์ มากเกินไป อาจ
ทาให้แกลแวนอมิเตอร์ เกิดความเสี ยหาย เพื่อป้ องกันไม่ให้
เกิดความเสี ยหายดังกล่าว จึงต้องนาตัวต้านทานมาต่อขนาน
กับแกลแวนอมิเตอร์ ดงั รู ปเพื่อแบ่งกระแสไฟฟ้ าไปบางส่ วน ทาให้กระแสที่เหลือไหลผ่านแกล
แวนอมิ เตอร์ มีปริ มาณไม่มากเกิ นไป ตัวต้านทานที่ ต่อขนานแกลแวนอมิ เตอร์ เพิ่มนี้ เรี ยกชั นต์
( shunt ) และแกลแวนอมิเตอร์ รวมกับชันต์จะเรี ยกเป็ นแอมมิเตอร์ ( ammeter ) พิ จ า ร ณ า
วงจรของแอมมิแตอร์ ดังรู ป เนื่องจากชันต์แกลแวนอมิเตอร์ ต่อกันแบบขนาน จึงได้วา่
VS = VG ( แทน V = I R ) IS = Iรวม – IG
IS RS = IG RG ( แทน IG = Iรวม – IS ) RS
จะได้ IS RS = ( Iรวม – IS ) RG I รวม
RG
G
IG = Iรวม – IS
จาก IS RS = IG RG ( แทน IS = Iรวม – IG )
จะได้ (Iรวม – IG) RS = IG RG
เมื่อ RS คือความต้านทานของชันต์ (โอห์ม)
RG คือความต้านทานของแกลแวนอมิเตอร์ (โอห์ม)
IS คือกระแสไฟฟ้ าที่ผา่ นชันต์ (แอมแปร์)
IG คือกระแสไฟฟ้ าที่ผา่ นแกลแวนอมิเตอร์ (แอมแปร์)
Iรวม คือกระแสไฟฟ้ ารวมที่ไหลเข้าแอมมิเตอร์    (แอมแปร์) 
34
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
76. แกลแวนอมิเตอร์ เครื่ องหนึ่ งความต้านทาน RG = 100 โอห์ม กระแสไฟฟ้ าผ่านสู งสุ ด 10
ไมโครแอมแปร์ ถ้าต้องการกระแสไฟฟ้ า 210 ไมโครแอมแปร์ ผ่านต้องใช้ความต้านทาน
Rs ขนาดเท่าใดมาต่อขนาน
1. 5  2. 10  3. 15  4. 20 

77(แนว En) แกลแวนอมิเตอร์ เครื่ องหนึ่ งความต้านทาน RG = 900 โอห์ม กระแสไฟฟ้ าผ่าน
สู งสุ ด 10 ไมโครแอมแปร์ ถ้าต้องการกระแสไฟฟ้ า 100 ไมโครแอมแปร์ ผ่านต้องใช้
ความต้านทาน Rs มีค่าเท่าไรต่ออย่างไร
1. Rs = 100 โอห์ม ต่อขนานกับแกลแวนอมิเตอร์
2. Rs = 60 โอห์ม ต่อขนานกับแกลแวนอมิเตอร์
3. Rs = 100 โอห์ม ต่ออนุกรมกับแกลแวนอมิเตอร์
4. Rs = 90 โอห์ม ต่ออนุกรมกับแกลแวนอมิเตอร์

35
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
78(แนว En) แอมป์ มิเตอร์ วดั กระแสได้ 1 มิลลิแอมแปร์ ต้องใช้ความต้านทานชันต์ 10 โอห์ม
ต่อขนานแกลแวนอมิเตอร์ ซ่ ึ งมีความไว 100 ไมโครแอมแปร์ ค่าความต้านทานของแกล-
แวนอมิเตอร์ ( RG ) มีค่าเท่าใด
1. 100  2. 90  3. 10  4. 2 

14.7.2 โวลต์ มิเตอร์


การวัดความต่างศักย์ระหว่างตัวต้านทานในวงจรนั้น
สามารถทาได้โดย ต่อ แกลแวนอมิเตอร์ คร่ อมขนานกับตัว
ต้านทานในวงจรนั้น แต่การทาเช่นนี้จะทาให้กระแสไฟ
ฟ้ าในวงจรบางส่ วนแยกไหลไปหาแกลแวนอมิเตอร์ ส่ งผล
ให้กระแสไฟฟ้ าในวงจรมีปริ มาณลดลงทาให้ค่าความต่างศักย์ที่วดั ได้มีค่าลดลงด้วย ดังนั้นจึง
ต้องนาตัวต้านทานที่ มีค่าสู งเรี ยกว่ามัลติพลายเออร์ ( multiplier ) มาต่ออนุ กรมกับแกลแวนอ
มิเตอร์ เพื่อให้กระแสไฟฟ้ าที่ไหลผ่านแกลแวนอมิเตอร์ มาปริ มาณน้อยลง กระแสในวงจรจะมีค่า
ใกล้เคียงกับของเดิม ทาให้ค่าความต่างศักย์ที่วดั ได้มีค่าใกล้เคียงกับความเป็ นจริ ง
มัลติพลายเออร์ รวมกับแกลแวนอมิเตอร์ ซ่ ึ งต่อ
Iรวม RG Rm
อนุกรมกัน จะรวมเรี ยกเป็ นโวลต์ มิเตอร์ ( voltmeter ) G
เป็ นเครื่ องมือใช้วดั ค่าความต่างศักย์ I G = Iรวม
พิจารณาวงจรโวลต์มิเตอร์ดงั รู ป
จาก Vรวม = Iรวม Rรวม ( แทน IG = Iรวม และ Rรวม = RG + Rm )
จะได้ Vรวม = IG ( RG + Rm )
เมื่อ RG คือความต้านทานของแกลแวนอมิเตอร์ (โอห์ม)
Rm คือความต้านทานของมัลติพลายเออร์ (โอห์ม)

36
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
IG คือกระแสไฟฟ้ าที่ผา่ นแกลแวนอมิเตอร์ (แอมแปร์ )
Iรวม คือกระแสไฟฟ้ ารวมที่ไหลเข้าโวลต์มิเตอร์ (แอมแปร์ ) 
Vรวม คือความต่างศักย์รวม (โวลต์)
79(แนว มช) การดัดแปลงแกลแวนอมิเตอร์ เป็ นโวลต์มิเตอร์ จะต้องนาความต้านทานมาต่อร่ วม
แบบใด
1. ชันต์และความต้านทานมีค่าน้อย 2. ชันต์และความต้านทานมีค่ามาก
3. อนุกรมและความต้านทานมีค่าน้อย 4. อนุกรมและความต้านทานมีค่ามาก

80(แนว มช) แกลแวนอมิเตอร์เครื่ องหนึ่งมีความต้านทาน 1000 โอห์ม วัดกระแสไฟฟ้ าสู งสุ ด


100 ไมโครแอมแปร์ จงหาขนาดของความต้านทานที่นามาต่อกับแกลแวนอมิเตอร์ น้ ี เพื่อ
ดัดแปลงให้เป็ นโวลต์มิเตอร์ ที่วดั ความต่างศักย์สูงสุ ด 1 โวลต์
1. 90  2. 900  3. 9000  4. 90000 

81(แนว มช) แกลแวนอมิเตอร์เครื่ องหนึ่งมีความต้านทาน 0.2 โอห์ม กระแสไฟฟ้ าสู งสุ ดที่ไหล
ผ่านได้มีค่า 50 มิลลิแอมแปร์ ต้องหาความต้านทานเท่าไร (โอห์ม) มาต่อกับแกลแวนอ–
มิเตอร์ น้ ี เพื่อให้วดั ความต่างศักย์ได้สูงสุ ด 100 มิลลิโวลต์
1. 0.2 2. 1.8 3. 2.0 4. 2.4

37
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
82(En47 ต.ค.) กัลวานอมิเตอร์เครื่ องหนึ่งมีความต้านทาน 500 โอห์ม วัดความต่างศักย์ไฟฟ้ า
ได้สู ง สุ ดเป็ น 1 โวลต์ ต้ อ งการเปลี่ ย นเครื่ อ งนี้ ให้ เป็ นโวลต์ มิ เตอร์ ที่ ว ัด ความต่ า ง
ศักย์ไฟฟ้ าสู งสุ ดได้สูงขึ้นเป็ น 3 โวลต์ จะต้องใช้ความต้านทานกี่โอห์มมาต่ออนุกรม
1. 500 2. 1000 3. 1500 4. 2000

14.7.3 โอห์ มมิเตอร์


โอห์ มมิเตอร์ (Ohmmeter) คือ G
เครื่ องมือที่ใช้วคั วามต้านทาน ส่ วน E
ประกอบที่สาคัญของโอห์มมิเตอร์ คือ R0
แกลแวนอมิเตอร์ ต่อกับตัวต้านทาน
แปรค่า R0 และ เซลล์ไฟฟ้ า E ดังรู ป
y
เมื่อต้องการวัดความต้านทาน Rx x Rx
ใดๆ ให้เอาขั้ว x และ y ไปต่อที่ ปลายตัวต้านทานนั้นซึ่ งจะมีผลให้กระแสไฟฟ้ าผ่านโอห์ ม
มิเตอร์ ถ้า Rx มีค่ามาก กระแสไฟฟ้ าผ่านโอห์มมิเตอร์ มีค่าน้อย เข็มจะเบนน้อย แต่ถา้ Rx
มีค่าน้อย กระแสไฟฟ้ าผ่านโอห์ มมิ เตอร์ มี ค่ามาก เข็มจะเบนมาก แต่ ถ้านาปลาย x และ y
แตะกัน ถื อว่าความต้านทานเป็ นศูนย์ กระแสไฟฟ้ าจะผ่านโอห์ มมิ เตอร์ มากที่ สุด เข็มของ
โอห์ ม มิ เตอร์ จะเบนได้มากที่ สุ ด ตาแหน่ งของเข็มขณะนี้ ต้องชี้ ศูนย์ ดังนั้นสเกลของโอห์ ม
มิเตอร์ จะกลับกับแอมมิเตอร์ และโวลต์มิเตอร์
83. ถ้าจะดัดแปลงแกลแวนอมิเตอร์ ให้เป็ นโอห์มมิเตอร์ จะต้องปฏิบตั ิตามข้อใด
1. นาความต้านทานต่ออนุกรมกับแกลแวนอมิเตอร์
2. นาความต้านทานและเซลล์ไฟฟ้ าต่อขนานกับแกลแวนอมิเตอร์
3. นาเซลล์ไฟฟ้ ากับตัวเก็บประจุต่ออนุกรมกับแกลแวนอมิเตอร์
4. นาความต้านทานแบบปรับค่าได้และเซลล์ไฟฟ้ าต่ออนุ กรมแกลแวนอมิเตอร์

38
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส

เฉลยบทที่ 14 ไฟฟ้ ากระแส


1. ตอบข้ อ 3. 2. ตอบ 5 3. ตอบข้ อ 4. 4. ตอบ 40
5. ตอบข้ อ 2. 6. ตอบข้ อ 3. 7. ตอบข้ อ 3. 8. ตอบข้ อ 4.
9. ตอบข้ อ 3. 10. ตอบข้ อ 1. 11. ตอบข้ อ 3. 12. ตอบข้ อ 1.
13. ตอบ 4 14. ตอบข้ อ 3. 15. ตอบข้ อ 4. 16. ตอบข้ อ 3.
17. ตอบข้ อ 2. 18. ตอบข้ อ 4. 19. ตอบข้ อ 2. 20. ตอบข้ อ 4.
21. ตอบข้ อ 3. 22. ตอบข้ อ 3. 23. ตอบข้ อ 4. 24. ตอบข้ อ 4.
25. ตอบ 45.5 26. ตอบข้ อ 1. 27. ตอบข้ อ 2. 28. ตอบ 4.50
29. ตอบข้ อ 1. 30. ตอบข้ อ 4. 31. ตอบข้ อ 2. 32. ตอบข้ อ 4.
33. ตอบข้ อ 2. 34. ตอบข้ อ 4. 35. ตอบข้ อ 4. 36. ตอบข้ อ 4.
37. ตอบข้ อ 2. 38. ตอบ 15 39. ตอบข้ อ 1. 40. ตอบข้ อ 3.
41. ตอบข้ อ 4. 42. ตอบข้ อ 3. 43. ตอบข้ อ 2. 44. ตอบ 20
45. ตอบข้ อ 3. 46. ตอบข้ อ 1. 47. ตอบข้ อ 2. 48. ตอบข้ อ 4.
49. ตอบข้ อ 3. 50. ตอบข้ อ 3. 51. ตอบข้ อ 3. 52. ตอบข้ อ 4.
53. ตอบข้ อ 1. 54. ตอบข้ อ 2. 55. ตอบข้ อ 1. 56. ตอบ 1.5
57. ตอบข้ อ 3. 58. ตอบข้ อ 2. 59. ตอบข้ อ 4. 60. ตอบข้ อ 2.
61. ตอบข้ อ 4. 62. ตอบข้ อ 1. 63. ตอบข้ อ 2. 64. ตอบ 7.5
65. ตอบข้ อ 2. 66. ตอบข้ อ 4. 67. ตอบข้ อ 3. 68. ตอบข้ อ 2.
69. ตอบข้ อ 1. 70. ตอบข้ อ 2. 71. ตอบข้ อ 1. 72. ตอบข้ อ 1.
73. ตอบข้ อ 2. 74. ตอบ 2 75. ตอบข้ อ 1. 76. ตอบข้ อ 1.
77. ตอบข้ อ 1. 78. ตอบข้ อ 2. 79. ตอบข้ อ 4. 80. ตอบข้ อ 3.
81. ตอบข้ อ 2. 82. ตอบข้ อ 2. 83. ตอบข้ อ 4.



39
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
ตะลุ ย โจทย์ ท วั่ ไป บทที่ 14 ไฟฟ้ ากระแส
14.1 กระแสไฟฟ้า
1. ถ้าปริ มาณประจุ ไฟฟ้ าที่ ผ่านหลอดไฟใน 1 นาที เท่ากับ 120 ไมโครคูลอมบ์ กระแส
ไฟฟ้ าผ่านหลอดไฟมีค่ากี่ไมโครแอมแปร์
1. 1 x 10–6 2 2 x 10–6 3. 1 4. 2
2. ถ้ามีกระแสไฟ 1.25 แอมแปร์ ในเส้นลวดโลหะเส้นหนึ่ง ประจุไฟฟ้ าทั้งหมดที่ผา่ นพื้นที่
ภาคตัดขวางของเส้นลวดโลหะเส้นนั้นในเวลา 5.0 นาที จะมีค่ากี่คูลอมบ์
1. 175 2. 225 3. 325 4. 375
3. ปริ มาณประจุไฟฟ้ าที่เกิดจากกระแส 250 มิลลิแอมแปร์ ไหลผ่านตัวนาเป็ นเวลา 1 นาที
มีค่าเท่าไร
1. 1.5 x 104 คูลอมบ์ 2. 1.5 คูลอมบ์
3. 1.5 x 106 ไมโครคูลอมบ์ 4. 1.5 x 107 ไมโครคูลอมบ์
4. แบตเตอรี่ อนั หนึ่งสามารถจ่ายประจุไฟฟ้ าได้ท้ งั หมด 5.0 x 104 คูลอมบ์ ตลอดเวลาที่ใช้งาน
ถ้าแบตเตอรี่ น้ ีจ่ายกระแสไฟฟ้ าสม่าเสมอ 20 มิลลิแอมแปร์ จะใช้งานได้นานกี่ชว่ั โมง
5. ถ้าต่อเส้ นลวดโลหะเส้ นหนึ่ งกับเซลล์ไฟฟ้ า แล้วปรากฏว่ามี กระแสไฟฟ้ าผ่านเส้ นลวดนี้
1.60 แอมแปร์ จงหาจานวนอิเล็กตรอนอิสระที่ผ ่านพื้นที่ภาคตัดขวางของลวดโลหะนั้นใน
เวลา 10.0 วินาที ( อิเล็กตรอนมีประจุไฟฟ้ า 1.6 x 10–19 คูลอมบ์ )
1. 1 x 1019 2. 1 x 1020 3. 2 x 1019 4. 2 x 1020
6. ลวดเส้ นหนึ่ งมี พ้ื นที่ หน้าตัด 3 ตารางมิล ลิ เมตร มีอิเล็กตรอน 6 x 1028 อนุ ภาคต่อลู ก -
บาศ์กเมตร ถ้าอิ เล็กตรอนเคลื่ อนที่ด้วยความเร็ วลอยเลื่ อน 0.28 มิ ลลิ เมตร/วินาที จงหา
กระแสไฟฟ้ าในหน่วยแอมแปร์ ที่ไหลในเส้นลวดนี้
1. 5.5 2. 6.8 3. 8.1 4. 10.0
7. ลวดตัวนาโลหะขนาดสม่ าเสมอมี ป ริ มาณกระแสต่อหน่ วยพื้นที่ เท่ากับ 1 x 106 แอมแปร์
ต่อตารางเมตร และความหนาแน่นของอิเล็กตรอนอิสระเป็ น 5 x 1028 ต่อลูกบาศก์เมตร จง
หาขนาดของความเร็ วลอยเลื่อนของอิเล็กตรอนอิสระในลวด
1. 1.25 x 10–4 m/s 2. 1.50 x 10–4 m/s
3. 1.75 x 10–4 m/s 4. 2.00 x 10–4 m/s
40
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
8. ลวดเงินเส้นผ่าศูนย์กลาง 1 มิลลิเมตร มีประจุผา่ น 90 คูลอมบ์ ในเวลา 1 ชัว่ โมง 15
นาที และความหนาแน่นอิเล็กตรอนในลวดเงินเท่ากับ 5.8 x 1022 ตัว/ลูกบาศก์เซนติเมตร
จงหาความเร็ วลอยเลื่อนของประจุในลวดในหน่วย เมตร/วินาที
1. 2.74 x 10 –5 2. 2.74 x 10 –6 3. 5.48 x 10 –5 4. 5.48 x 10 –6
9(แนว En) แบตเตอรี่ ซ่ ึงมีแรงเคลื่อนไฟฟ้ า กระแส (A)
20 โวลต์ ลูกหนึ่ง เมื่อต่อจ่ายกระแสให้ 10
แก่ความต้านทานขนาด 1.8 โอห์ม พบว่า 8
6
กระแสไฟฟ้ าเปลี่ยนแปลงตามเวลา ดังกราฟ 4
ที่แสดง ปริ มาณประจุที่เคลื่อนผ่านวงจร 2
ในเวลา 20 นาทีแรก เท่ากับกี่คูลอมบ์ 0
10 20 เวลา(นาที)
10. จากรู ป เป็ นกราฟแสดงกระแสไฟฟ้ าที่ไหลผ่าน I (A)
ลวดเส้นหนึ่งกับเวลา จงหาว่าสิ้ นสุ ดเวลา t = 5
2
วินาที จะมีประจุไฟฟ้ าผ่านลวดเส้นนี้ แล้วกี่คูลอมบ์
1
1. 1.0 C 2. 2.0 C
3. 5.0 C 4. 6.0 C 0 1 2 3 4 5 t (s)

14.2 ความสั มพันธ์ ระหว่ างกระแสไฟฟ้ าและความต่ างศักย์


14.2.1 กฏของโอห์ มและความต้ านทาน
11. จะต้องใช้ความต่างศักย์เท่าไรต่อเข้ากับตัวต้านทาน 1000 โอห์ม เพื่อให้มีกระแสไฟฟ้ า
ผ่านตัวต้านทาน 1.0 มิลลิแอมแปร์
1. 0.5 V 2. 1.0 V 3. 1.5 V 4. 2.0 V
12. ลวดความต้านทานเส้นหนึ่งเมื่อต่อระหว่างความต่างศักย์ 4.0 x 10–3 โวลต์ มี
กระแสไฟฟ้ าไหลผ่ า น 1.0 มิ ล ลิ แ อมแปร์ ถ้า ต่ อ ระหว่า งความต่ า งศัก ย์ 1.2 โวลต์ จะมี
กระแสไฟฟ้ าผ่านกี่แอมแปร์
1. 0.3 x 10–3 2. 3.3 x 10–3 3. 4.8 x 10–3 4. 0.3

41
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
14.2.2 สภาพต้ านทานไฟฟ้า และสภาพนาไฟฟ้ า
13. ลวดโลหะชนิดหนึ่ง มีสภาพต้านทาน 2.0 x 10–8 โอห์ม . เมตร และมีพ้ืนที่หน้าตัด 1.0
ตารางมิลลิเมตร ต้องการให้ลวดโลหะนี้ มีความต้านทาน 1 โอห์ม ต้องใช้ลวดยาวกี่เมตร
1. 5.0 x 10–3 2. 2.0 x 10–2 3. 50 4. 5.0 x 107
14(แนว มช) วัตถุ ท รงลู กบาศก์ซ่ ึ งมี ความกว้าง ยาว และสู ง ด้านละ 1 เมตร พบว่าความ
ต้านทาน ระหว่างด้านตรงข้ามวัดได้ 1.6 x 10–8 โอห์ ม ถามว่าวัตถุ มี ค วามต้านทาน
จาเพาะเท่าใด
1. 1.60 x 10–8  . m 2. 1.60 x 108  . m
3. 6.25 x 10–7  . m 4. 6.25 x 107  . m
15. ลวดเส้นหนึ่งมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.50 มิลลิเมตร ทาด้วยสารซึ่งมีสภาพต้านทาน
4.8 x 10–7 โอห์ม.เมตร ถ้าจะใช้ลวดเส้นนี้ เป็ นตัวต้านทานที่มีความต้านทาน 2.00 โอห์ม
จะต้องใช้ลวดยาวกี่เมตร
1. 0.64 2. 0.82 3. 1.00 4. 1.24
16. ทรงกระบอกทาจากโลหะที่มีสภาพต้านทาน 4 x 10–7 โอห์ม.เมตร มีพ้ืนที่หน้าตัด 0.04
ตารางเซนติเมตร ช่วง AB ยาว 1.50 เมตร ขณะที่มีกระแสไฟฟ้ า 10 แอมแปร์ไหล ผ่า น
ทรงกระบอกนี้ ความต่างศักย์ระหว่าง AB มีค่ากี่โวลต์
1. 1.0 2. 1.5 3. 3.0 4. 6.0
17(แนว มช) ลวดโลหะเส้นหนึ่งที่มีสภาพต้านทาน 2.0 x 10–8 โอห์ม.เมตร มีพ้ืนที่ภาคตัดขวาง
2.0 ตารางมิ ล ลิ เมตร และยาว 100 เมตร ถู ก น าไปต่ อ กับ ความต่ างศัก ย์ 1.6 โวลต์ ถ้า
อิเล็กตรอนอิ สระในโลหะนี้ เคลื่ อนที่ด้วยขนาดความเร็ วลอยเลื่ อน 0.50 มิลลิ เมตร/วินาที
จานวนอิเล็กตรอนอิสระ/ลูกบาศก์เมตรคือ
1. 1 x 1028 2. 2 x 1028 3. 5 x 1028 4. 10 x 1028
18. หน่วยของความต้านทานจาเพาะ ( สภาพต้านทาน ) คือข้อใดต่อไปนี้
1. โอห์ม . เมตร 2. โอห์ม 3. โอห์มต่อเมตร2 4. โอห์มต่อเมตร

42
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
19(แนว มช) สายไฟ 2 เส้น ทาด้วยโลหะ 2 ชนิด เส้นที่สองมีสภาพความต้านทานเป็ น 5 เท่า
ของเส้นแรก ถ้าความยาวและความต้านทานเท่ากัน อัตราส่ วนพื้นที่ หน้าตัดของเส้นที่ 2
ต่อเส้นที่ 1 คือ
1. 1 : 3 2. 2 : 1 3. 5 : 1 4. 5 : 2
20. เส้นลวด 2 เส้น ทาจากโลหะชนิดเดียวกัน เส้นแรกมีพ้ืนที่หน้าตัดเป็ น 4 เท่าของเส้น
ที่สอง และมีความต้านทานเป็ นครึ่ งหนึ่งของเส้นที่สอง หากเส้นแรกมีความยาว 10 เมตร
จงหาว่าเส้นที่สองจะมีความยาวกี่เมตร
21. สายไฟ 2 เส้น ทาจากโลหะชนิ ดเดียวกัน เส้นที่สองมีพ้ืนที่หน้าตัดเป็ น 6 เท่าของเส้น
แรก และมีความยาวเป็ น 3 เท่าของเส้นแรก จงหาว่าความต้านทานของเส้นแรกว่ามีค่า
เป็ นกี่เท่าของเส้นที่สอง
22. ลวดความต้านทาน A และ B ยาวเท่ากัน ทาด้วยโลหะชนิดเดียวกัน รัศมีของ A เป็ น
ครึ่ งหนึ่งของรัศมีของ B ความต้านทานของ A จะเป็ นกี่เท่าของความต้านทานของ B
1. 14 เท่า 2. 12 เท่า 3. 2 เท่า 4. 4 เท่า
23. เส้นลวดที่มีพ้ืนที่หน้าตัดเป็ นวงกลม ถ้าความยาวและขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของเส้นลวด
เพิ่มขึ้นเป็ น 2 เท่าทั้งสองค่าแล้วความต้านทานของเส้นลวดจะ
1. ลดลงเหลือ 14 2. ลดลงครึ่ งหนึ่ง
3. เพิ่มขึ้นเป็ น 2 เท่า 4. เพิ่มขึ้นเป็ น 4 เท่า
24. เส้นลวดที่มีพ้ืนที่หน้าตัดเป็ นวงกลม ถ้าความยาวและเส้นผ่าศูนย์กลางของลวดลดลงเป็ น
1 เท่าทั้งสองค่าความต้านทานของเส้นลวดจะเปลี่ยนแปลงอย่างไร
2
1. ลดลงเหลือ 12 2. ลดลงเหลือ 41
3. เพิม่ ขึ้นเป็ น 2 เท่า 4. เพิม่ ขึ้นเป็ น 4 เท่า
25(แนว มช) ลวดเส้นหนึ่ งถูกยืดออกห่ างสม่ าเสมอจนมีความยาวเป็ น 5 เท่าของความยาวเดิ ม
ค่าความต้านทานของลวดที่ยดื แล้วควรเปลี่ยนแปลงอย่างไร
1. ลดลงเป็ น 5 เท่า 2. ลดลงเป็ น 25 เท่า
3. เพิ่มขึ้นเป็ น 5 เท่า 4. เพิ่มขึ้นเป็ น 25 เท่า

43
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
26(แนว En) ลวดตัวนาเส้นหนึ่งมีพื้นที่หน้าตัด A ยาว L ถ้านามารี ดให้ขนาดพื้นที่หน้าตัด
A ค่าความต้านทานของลวดเส้นใหม่ เมื่อเทียบกับเส้นเดิม
4
1. ความต้านทานเพิ่มขึ้นเป็ น 4 เท่า 2. ความต้านทานลดลงเป็ น 4 เท่า
3. ความต้านทานเพิม่ ขึ้นเป็ น 16 เท่า 4. ความต้านทานลดลงเป็ น 16 เท่า
27. ผลการทดลองหาความสัมพันธ์ระหว่าง I ( แอมแปร์ )
ความต่างศักย์ ( V ) และกระแสไฟฟ้ า ( I ) 0.4
ที่ไหลผ่านลวดนิโครมเป็ นดังรู ป ถ้าอัตรา 0.3
ส่ วนของพื้นที่ภาคตัดขวางต่อความยาวเส้น 0.2
ลวดมีค่า 2 x 10–6 ม. สภาพต้านทาน () 0.1
ของลวดนิ โครมมีค่ากี่โอห์มเมตร 1 2 3 4 V (โวลต์)
1. 2 x 10–2 2. 2 x 10–4 3. 2 x 10–5 4. 2 x 10–7
28(แนว มช) เตาไฟฟ้ าเตาหนึ่ งประกอบด้วยลวดให้ความร้ อนซึ่ งมีความต้านทาน 48.4 โอห์ม
เมื่อต่อเข้ากับความต่างศักย์ไฟฟ้ า 220 โวลต์ เป็ นเวลา 10 นาที จงหาปริ มาณความร้อนที่
เกิดขึ้น
1. 6 x 105 จูล 2. 6 x 104 จูล 3. 104 จูล 4. 103 จูล

14.2.3 ผลของอุณหภูมิทมี่ ีต่อสภาพต้ านทาน

14.3 พลังงานไฟฟ้า และกาลังไฟฟ้า


14.3.1 พลังงานไฟฟ้ า
29. หม้อหุ งข้าวใบหนึ่ งมีความต้านทานเท่ากับ 88 โอห์ ม ต่อเข้ากับแหล่งกาเนิ ดไฟฟ้ า 220
โวลต์ ใช้เวลาในการหุ งข้าวให้สุกเท่ากับครึ่ งชัว่ โมง จงคานวณหาพลังงานไฟฟ้ าที่ใช้ไป
สาหรับหม้อหุงข้าว
1. 2.75 x 102 J 2. 5.5 x 103 J 3. 1.65 x 104 J 4. 9.9 x 105 J
30. เตารี ดไฟฟ้ ามีความต้านทาน 20 โอห์ม ใช้กระแส 5 แอมแปร์ จงหาความร้อนที่เกิ ดขึ้น
ใน 30 วินาที ( ในหน่วยจูล )
1. 10 x 102 2. 15 x 102 3. 25 x 102 4. 15 x 103
44
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
31. กระแสไฟคงที่ 5 แอมแปร์ ไหลผ่านตัว ต้า นทานใน 1 นาที ท าให้ พ ลัง งานศัก ย์
ไฟฟ้ าถูกเปลี่ยนพลังงานความร้อนเท่ากับ 8 กิโลจูล จงหาความต่างศักย์ไฟฟ้ าที่ตกคร่ อม
ตัวต้านทานดังกล่าว
1. 1.6 โวลต์ 2. 27 โวลต์ 3. 0.6 โวลต์ 4. 39 โวลต์
32. เตาไฟฟ้ าเตาหนึ่ งหนึ่ งสร้างด้วยลวดนิ โครมซี่ งมีพื้นที่หน้าตัด 0.5 ตารางมิลลิเมตร มีค่า
สภาพต้านทาน 9.8 x 10–7 โอห์ม . เมตร และมีความยาว 25 เมตร ถ้านาเตาไฟฟ้ านี้ ไปใช้
กับความต่างศักย์ 220 โวลต์ เป็ นเวลา 24.5 วินาที จงหาปริ มาณความร้อนที่เกิดขึ้น
1. 1.45 x 106 จูล 2. 2.42 x 104 จูล
3. 2.42 x 107 จูล 4. 1.45 x 109 จูล
14.3.2 กาลังไฟฟ้า
33. ลวดตัวนายาว 50 ซม. มีความต้านทาน 44 โอห์ ม นามาขดเป็ นเตาหุ งต้มไฟฟ้ าใช้ก บั
ไฟฟ้ า 220 โวลต์ เตานี้ใช้กาลังไฟฟ้ าเท่าใด
1. 800 วัตต์ 2. 900 วัตต์ 3. 1100 วัตต์ 4. 1000 วัตต์
34. อัดแบตเตอรี่ ซ่ ึงมีแรงเคลื่อนไฟฟ้ า 6.4 โวลต์ และความต้านทานภายใน 0.08 โอห์ม ด้วย
กระแส 15 แอมแปร์ กาลังไฟฟ้ าที่เสี ยเป็ นความร้อนภายในแบตเตอรี่ มีค่าเท่าใด (วัตต์)
1. 16 2. 18 3. 20 4. 22
35. ลวดเส้นหนึ่งขนาดพื้นที่หน้าตัด 1 ตารางมิลลิเมตร ยาว 4 เมตร ทาจากสารซึ่งมีสภาพ
นาไฟฟ้ า 2.0 x 106 ซี เมนส์ต่อเมตร ถ้าให้กระแสไฟฟ้ าไหลผ่านเส้นลวดนี้ 0.5 แอมแปร์
จงหากาลังไฟฟ้ าที่สูญเสี ยในเส้นลวดนี้
1. 0.125 วัตต์ 2. 0.25 วัตต์ 3. 0.50 วัตต์ 4. 1.00 วัตต์
36. เตาปิ้ งขนมปั งอันหนึ่งใช้พลังงานไฟฟ้ า 800 วัตต์ เมื่อใช้กบั ไฟฟ้ า 200 โวลต์ ขดลวด
ความร้อนทาด้วยลวดนิโครมมีพ้ืนที่หน้าตัด 0.2 ตารางมิลลิเมตร และมีสภาพต้านทานไฟ
ฟ้ า 1 x 10–6 โอห์มเมตร จงหาว่าจะต้องใช้ลวดนิโครมยาวกี่เมตร
1. 10 2. 5 3. 1 4. 0.1

45
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
37(แนว มช) บ้านหลังหนึ่ งใช้ไฟฟ้ าความต่างศักย์ 220 V มีเครื่ องใช้ไฟฟ้ าได้แก่ หม้อหุ งข้าว
300 W เตารี ดขนาด 750 W หลอดฟลูออเรสเซนต์ 40 W 2 ดวง ทีวีขนาด 150 W
ควรใช้ฟิวส์รวมเท่าไร
1. 4 A 2. 5.5 A 3. 6.5 A 4. 8 A
38. โดยเปรี ยบเทียบกับสายไฟในบ้านที่ยาวเท่ากันลวดโลหะที่ใช้ทาฟิ วส์ ควรมีลกั ษณะใด
1. ความต้านทานต่า และจุดหลอมเหลวต่า
2. ความต้านทานสู ง และจุดหลอมเหลวสู ง
3. ความต้านทานสู ง และจุดหลอมเหลวต่า
4. ความต้านทานต่า และจุดหลอมเหลวสู ง

39. เตาไฟฟ้ าเครื่ องหนึ่งใช้กบั ไฟฟ้ า 220 โวลต์ ใช้กาลังเป็ น 6 เท่าของกาลังที่ใช้โดยหลอด


ไฟฟ้ าหลอดหนึ่งซึ่ งใช้กบั ไฟฟ้ า 110 โวลต์ ความต้านทานของเตาไฟฟ้ าจะเป็ นกี่เท่าของ
ความต้านทานของหลอดไฟฟ้ า
1. 13 2. 3 3. 23 4. 23
40. เตารี ดไฟฟ้ าขนาด 1000 วัตต์ ใช้กบั ไฟฟ้ า 220 V ถ้านามาต่อกับไฟ 110 V จะได้กาลัง
ไฟฟ้ าเท่าใด
1. 250 W 2. 500 W 3. 700 W 4. 750 W
41. จงหาความเร็ วอิเล็กตรอนที่วิง่ จากหยุดนิ่งผ่านความต่างศักย์ไฟฟ้ า 1.8 x 105 โวลต์
กาหนด ประจุอิเลคตรอน = 1.6 x 10–19 คูลอมบ์
มวลอิเลคตรอน = 9.1 x 10–31 กิโลกรัม
1. 2.5 x 106 m/s 2. 5.0 x 106 m/s
3. 2.5 x 108 m/s 4. 5.0 x 108 m/s
42. อิเล็กตรอนตัวหนึ่งเคลื่อนที่ออกจากหยุดนิ่งตกผ่านความต่างศักย์ที่สูงขึ้น 80 โวลต์
อัตราเร็ วสุ ดท้ายเท่ากับ
1. 7.3 x 103 m/s 2. 5.3 x 106 m/s
3. 1.1 x 107 m/s 4. 1.3 x 107 m/s

46
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส

43(แนว มช) เครื่ องทาน้ าอุ่นไฟฟ้ าขนาด 3000 วัตต์ 220 โวลต์ ถ้าอาบน้ าอุ่นเป็ นเวลา 15
นาที จะเสี ยค่าไฟฟ้ าประมาณกี่บาท ( อัตราค่าไฟฟ้ าเป็ น 3 บาท/หน่วย )
44. เตารี ดไฟฟ้ าขนาด 1000 วัตต์ ใช้ก บั ไฟฟ้ า 220 โวลต์ ถ้าใช้เฉลี่ยอาทิตย์ละ 10 ชัว่ โมง
เสี ยค่าไฟฟ้ าอาทิตย์ละเท่าใด ถ้าไฟฟ้ าหน่วยละ 5 บาท
1. 5 บาท 2. 10 บาท 3. 11 บาท 4. 50 บาท
45. ครอบครัวหนึ่งใช้เครื่ องใช้ไฟฟ้ าเท่ากันทุกวัน โดยมีรายการดังต่อไปนี้
ใช้หม้อหุงข้าวขนาด 1000 วัตต์ วันละ 1 ชัว่ โมง
ใช้หลอดไฟ 40 วัตต์ 5 ดวง วันละ 4 ชัว่ โมง
ใช้โทรทัศน์ขนาด 150 วัตต์ วันละ 4 ชัว่ โมง
ใช้เตารี ดไฟฟ้ าขนาด 750 วัตต์ วันละ 1 ชัว่ โมง
ถ้าไฟฟ้ าที่ใช้มีความต่างศักย์ 220 โวลต์ และเสี ยค่าไฟยูนิตละ 3.00 บาท ในช่วงเวลา
1 เดือน จะต้องเสี ยค่าไฟฟ้ าเท่าใด
1. 283.50 บาท 2. 141.75 บาท 3. 82.20 บาท 4. 61.65 บาท
14.4. การต่ อตัวต้ านทาน
14.4.1 การต่ อตัวต้ านทานแบบอนุกรม
14.4.2 การต่ อตัวต้ านทานแบบขนาน
5
46. จากรู ป ความต้านทานรวมระหว่าง
จุด P กับจุด ๐ มีค่าเป็ นกี่โอห์ม
3 P Q 5
1. 2 2. 4
3. 6 4. 8
3
47(แนว มช) วงจรในรู ป จงหาค่ากระแสไฟฟ้ า
2 18 
ที่ไหลผ่านความต้านทาน 18 โอห์ม
1. 3 แอมแปร์
10  5
2. 6 แอมแปร์
3. 9 แอมแปร์
4. 12 แอมแปร์ 60 V
47
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
48. จากวงจรที่กาหนดให้ มีกระแสไฟฟ้ าผ่าน
ความต้านทาน 4  , 6  และ 3  6
ตามลาดับดังนี้ 4
1. 2 , 1 , 3 แอมแปร์
3
2. 1 , 2 , 3 แอมแปร์
3. 3 , 1 , 2 แอมแปร์ 18 V
4. 3 , 2 , 1 แอมแปร์
49. กระแสไฟฟ้ าที่ผา่ นความต้านทาน 8  คือ
1. 7I 2
2. 24I I 4
3. 37I 8
4. 47I
วงจรต่ อไปนีใ้ ช้ ตอบคาถาม 4 ข้ อถัดไป
16  C 1
A
I = 0.5 A
8 3
B
5 D 4
50. จากรู ปที่กาหนด ความต้านทานรวมระหว่างจุด A กับจุด B มีค่าเป็ นกี่โอห์ม
1. 21.25  2. 22.00  3. 25.00  4. 36.00 
51. จากข้อที่ผา่ นมา กระแสไฟฟ้ าที่ไหลผ่านตัวต้านทาน 1.0  มีค่าเท่าใด
1. 0.3 A 2. 0.25 A 3. 0.28 A 4. 0.4 A
52. จากข้อที่ผา่ นมา ความต่างศักย์ระหว่างปลายของตัวต้านทาน 4  คือค่าใด
1. 0.5 V 2. 1.0 V 3. 1.5 V 4. 2.0 V
53. จากข้อที่ผา่ นมา จงหาอัตราพลังงานที่หมดเปลืองไปในความต้านทาน 16 โอห์ม
1. 1 วัตต์ 2. 2 วัตต์ 3. 3 วัตต์ 4. 4 วัตต์
48
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
54. จากรู ปวงจรต่อไปนี้ ความต้านทาน
R1 = 100
รวมของวงจรมีค่า
1. 120 
2. 150  360 V R2 = 60 R4 = 60
R3 = 60
3. 185 
4. 260 
55. จากข้อที่ผา่ นมา กระแสไฟฟ้ าใน R1 มีคา่
1. 1.0 A 2. 2.0 A 3. 3.0 A 4. 4.0 A
56. จากข้อที่ผา่ นมา จงหากระแสที่ไหลผ่าน R2 , R3 , R4
1. 0.8 , 1.0 , 1.2 2. 1.0 , 0.5 , 1.5
3. 1.0 , 1.0 , 1.0 4. 1.0 , 1.5 , 0.5
57. วงจรไฟฟ้ าดังรู ป R1 R3
R1 = 20  ; R2 = 30  A B R4 I3
C
R3 = 10  ; R4 = 35 
R5 = 70  I2 R5
R2
I2 = 2 A ; VAC = 95 โวลต์
I3 มีค่ากี่แอมแปร์ VAC
1. 0.5 2. 1.0 3. 3.5 4. 5.5
58. วงจรดังรู ป ความต่างศักย์ระหว่าง
จุด a และ b มีค่ากี่โวลต์ R1=1
1. 3.0 9V a
2. 4.5
R2=2 
3. 6.0
b
4. 9.0

49
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
59. วงจรดังรู ป ความต่างศักย์ระหว่าง
จุด a และ b มีค่ากี่โวลต์
R1=1
1. 3.0 a
9V
2. 4.5
3. 6.0 R2=2  R3=2 
4. 9.0 b
60. จากรู ปต่อไปนี้ ความต้านทานรวมระหว่าง
จุด A กับจุด B มีค่ากี่โอห์ม 6 C 3 10  B
A D
1. 2.50 2. 3.00
3. 3.75 4. 5.00 8
61. จากรู ปต่อไปนี้ จงหาความต้านทานรวม 4 E 2
A B
ระหว่างจุด A กับจุด B
4 2
1. 1.0 
2. 1.5  3
D C
3. 2.0 
4. 2.5 
62. จากรู ปต่อไปนี้ ความต้านทานรวมระหว่าง A 1.2  5.6 
C D
จุด A กับจุด B มีค่าเท่ากับข้อใด
12  6
1. 3.0 
4
2. 4.5 
B E
3. 6.0  F
4. 9.0 
63. จากรู ปต่อไปนี้ ความต้านทานรวมระหว่าง 1 1
1 1 B
จุด A กับจุด B มีค่าเท่ากับข้อใด
b c
1. 1.0  1 1
a
2. 2.5  1 d 1
3. 5.0  f e
A 1
4. 8.0  1 1 1
50
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
64. ตัวต้านทานชุดหนึ่งต่อกันดังรู ป ความ
ต้านทานรวมระหว่างจุด A กับ B คือ 1
1. 23 
1 2 1
2. 1  A C D B
3. 23 
1
4. 2 
65. จากรู ป จงหาความต้านทาน 200
500
รวมระหว่างจุด A กับ B 200
1. 100  A B
100 500
2. 200  50
3. 400 
4. 800  500

66. จากวงจรในรู ป โวลต์มิเตอร์ อ่านค่าได้ศูนย์ 20 C R


จงหาตัวต้านทาน R ในวงจรมีค่ากี่โอห์ม
1. 1.0  40 30
A V B
2. 3.0  E D
3. 6.0  10
4. 9.0 

14.5 แรงเคลือ่ นไฟฟ้ า และการต่ อแบตเตอรี่


14.5.1 แรงเคลือ่ นไฟฟ้า
67. แบตเตอรี่ มีแรงเคลื่อนไฟฟ้ า 24 โวลต์ ความต้านทานภายใน 2 โอห์ม เมื่อนาไปต่อกับ
ตัวต้านทาน 6 โอห์ม จะมีกระแสไฟฟ้ าไหลผ่านตัวต้านทานนี้ กี่แอมแปร์

68(แนว มช) เซลไฟฟ้ าอันหนึ่งมีแรงเคลื่อนไฟฟ้ า 50 โวลต์ เมื่อต่อกับความต้านทาน 10 โอห์ม


พบว่ามีกระแสไฟฟ้ าไหล 4.5 แอมแปร์ ความต้านทานภายในของเซลไฟฟ้ าอันนี้ คือ
1. 0  2. 0.50  3. 1.1  4. 5 
51
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
69. แบตเตอรี่ มีแรงเคลื่อนไฟฟ้ า 12 โวลต์ ความต้านทานภายใน 2 โอห์ม ต่อกับตัวต้านทาน
10 โอห์ม จงหากาลังที่เกิดที่ตวั ต้านทานนี้ (วัตต์)
1. 2 2. 5 3. 10 4. 12
70. เมื่อนาเอาลวดความต้านทาน 4  ต่อเข้ากับขั้วแบตเตอรี่ แรงเคลื่อนไฟฟ้ า 18 โวลต์ ความ
ต้านทานภายใน 2  จะเกิดความต่างศักย์ระหว่างขั้วเซลเท่าใด
1. 3 V 2. 6 V 3. 9 V 4. 12 V
71. แบตเตอรี่ รถยนต์อนั หนึ่งมีแรงเคลื่อนไฟฟ้ า 12.0 โวลต์ มีความต้านทานภายในเซลล์
2.0 โอห์ม ต่ออยูก่ บั ตัวต้านทาน 70 โอห์ม จงคานวณหาความต่างศักย์ระหว่างขั้ว
แบตเตอรี่ อนั นี้ในหน่วยโวลต์
1. 10.55 2. 11.67 3. 13.46 4. 15.58
72. กระแสไฟฟ้ า I ในวงจรมีคา่ กี่แอมแปร์
I A B
1. 0.7
2 6
2. 2.0 6V
3
3. 2.4 I 1.5 
4. 4.0 D
73. จากวงจรดังรู ป กระแส I มีค่าเท่าใด
6
1. 23 A
I 4 4
2. 1 A + 4
3 – 12 V
3. 2 A
8 8
4. 2 A
74(แนว En) แบตเตอรี่ ตวั หนึ่ งเมื่อต่ออนุ กรมกับความต้านทาน R = 148 โอห์ม ปรากฏว่ามี
กระแสไฟฟ้ าในวงจรเท่ากับ 0.05 แอมแปร์ แต่เมื่ อเพิ่มความต้านทานเป็ น 248 โอห์ม
จะมีกระแสเพียง 0.03 แอมแปร์ แบตเตอรี่ ตวั นี้ มีแรงเคลื่อนไฟฟ้ ากี่โวลต์
75(แนว มช) เมื่อต่อความต้านทาน 1  เข้าระหว่างขั้วเซลล์ไฟฟ้ าเซลล์หนึ่ง วัดกระแสไฟฟ้ า
ได้ 2 A เมื่อเปลี่ยนความต้านทานเป็ น 2.5  วัดกระแสไฟฟ้ าได้ 1 A เซลล์ไฟฟ้ านี้ มี
แรงเคลื่อนไฟฟ้ าเท่าไร
1. 1.0 V 2. 1.5 V 3. 2.5 V 4. 3.0 V
52
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
76(แนว มช) ความต้านทานตัวหนึ่ งต่อกับ แบตเตอรี่ ทาให้ มีก ระแสไฟฟ้ า 0.6 แอมแปร์
ไหลผ่าน เมื่อนาความต้านทาน 4 โอห์ม มาต่ออนุ กรมกับความต้านทานตัวแรก จะทา
ให้กระแสไฟฟ้ าลดลงไปจากเดิม 0.1 แอมแปร์ จงหาแรงเคลื่อนไฟฟ้ าของแบตเตอรี่
1. 5 โวลต์ 2. 6 โวลต์ 3. 12 โวลต์ 4. 0.48 โวลต์
77(แนว มช) เครื่ องกาเนิดไฟฟ้ าเครื่ องหนึ่งสามารถส่ งกาลังไฟฟ้ าได้ 345 กิโลวัตต์ ให้หาค่า
พลังงานที่สูญเสี ยไปในรู ปของความร้อนภายในสายไฟ ถ้าส่ งกาลังไฟฟ้ าผ่านสายไฟยาว
500 เมตร ความต้านทาน 0.25 โอห์ม เป็ นเวลา 20 วินาที ด้วยความต่างศักย์ 69 กิโลโวลต์
78(แนว มช) เครื่ องกาเนิดไฟฟ้ าเครื่ องหนึ่ งสามารถส่ งกาลังไฟฟ้ าได้ 10 เมกะวัตต์ ปรากฏว่า
เมื่อส่ งกาลังไฟฟ้ าด้วยความต่างศักย์ 20 กิโลโวลต์ ผ่านสายไฟฟ้ ายาวหนึ่ งกิโลเมตร จะมี
อัตราการสู ญเสี ยพลังงานไปในรู ปความร้อน 1 เมกะวัตต์ ถ้าสายไฟฟ้ านี้ มีพ้ืนที่ภาคตัด
กรวยหนึ่งตารางเซนติเมตร สายไฟฟ้ าจะมีสภาพต้านทานกี่โอห์มเมตร
1. 2 x 10–3 2. 4 x 10–3 3. 2 x 10–7 4. 4 x 10–7

14.5.2 การต่ อแบตเตอรี่


79. จากรู ป จงหากระแสไฟฟ้ าที่ไหลในวงจร 20V , 1 10V , 0.5
1. 2 A
2. 4 A
3. 6 A
4. 7 A 7 30V , 1.5

80. วงจรดังรู ป กระแสไฟฟ้ าที่ผา่ นความต้านทาน 5  คือ


1. 0 A
2. 2.0 A 12 V 12 V
2 2 5
3. 2.5 A
4. 83 A

53
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
81. VAB ของวงจรในรู ปมีค่าเท่ากับ
A
1. 0 r r R
2. E
3. 2R2 ER
r E E
2 ER
4. R  2r B

82. เมื่ อใช้ถ่านไฟฉาย 4 ก้อน ซึ่ งต่อกันอยู่แบบอนุ กรมต่อเข้ากับ ความต้านทาน 5.6 โอห์ ม
กระแสไฟฟ้ าในวงจรจะมีค่ากี่แอมแปร์ ถ้าถ่านไฟฉายแต่ละก้อนมีแรงเคลื่อนไฟฟ้ า 1.5
โวลต์ และมีความต้านทานภายใน 0.1 โอห์ม

14.6 การวิเคราะห์ วงจรไฟฟ้ากระแสตรงเบือ้ งต้ น


 

14.7 เครื่องวัดไฟฟ้ า
14.7.1 แอมมิเตอร์
83(แนว En) แกลแวนอมิเตอร์ เครื่ องหนึ่ งความต้านทาน RG = 90 โอห์ ม กระแสไฟฟ้ าผ่าน
สู งสุ ด 10 ไมโครแอมแปร์ ถ้าต้องการให้กระแสไฟฟ้ า 100 ไมโครแอมแปร์ ผ่านต้องใช้
ความต้านทาน Rs มีค่าเท่าไร และต่ออย่างไรกับแกลแวนอมิเตอร์
1. Rs = 10 โอห์ม ต่อขนานกับแกลแวนอมิเตอร์
2. Rs = 9 โอห์ม ต่อขนานกับแกลแวนอมิเตอร์
3. Rs = 10 โอห์ม ต่ออนุกรมกับแกลแวนอมิเตอร์
4. Rs = 9 โอห์ม ต่ออนุกรมกับแกลแวนอมิเตอร์
14.7.2 โวลต์ มิเตอร์
84. แกลแวนอมิเตอร์มีความต้านทาน 25 โอห์ม เมื่อมีกระแสไฟฟ้ าผ่าน 1 มิลลิแอมแปร์ เข็ม
จะเบนไป 1 ช่องสเกล ถ้าต้องการนาไปใช้เป็ นโวลต์มิเตอร์ วดั ความต่างศักย์ได้ 1 โวลต์
ต่อ 1 ช่องสเกล จะต้องนาความต้านทานกี่โอห์มมาต่อ และต่อแบบอะไร
1. 100  ต่อแบบอนุกรม 2. 100  ต่อแบบขนาน
3. 975  ต่อแบบอนุกรม 4. 975  ต่อแบบขนาน
54
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
85. มาตรไฟฟ้ าที่ใช้วดั โวลต์มิเตอร์เครื่ องหนึ่งมีความต้านทาน 10000 โอห์ม ใช้วดั ความ ต่ าง
ศักย์ได้สูงสุ ด 100 โวลต์ ถ้าต้องการวัดให้ได้ถึง 400 โวลต์ จะต้องต่อความ ต้ าน ท า น
x อย่างไร และค่า x มีค่าเท่าใด
1. ต่ออนุกรม x = 30000 โอห์ม 2. ต่ออนุกรม x = 40000 โอห์ม
3. ต่อขนาน x = 30000 โอห์ม 4. ต่อขนาน x = 40000 โอห์ม
86. โวลต์มิเตอร์ เครื่ องหนึ่ งมีความต้านทาน 10000 โอห์ม ปกติใช้วดั ความต่างศักย์ได้สูงสุ ด
10 โวลต์ ถ้าต้องการนาโวลต์มิเตอร์ เครื่ องนี้ ไปใช้วดั ความต่างศักย์ที่มีค่าสู งสุ ด 50 โวลต์
จะต้องทาอย่างไร
1. นาตัวต้านทานขนาด 40000 โอห์มมาต่ออนุกรม
2. นาตัวต้านทานขนาด 40000 โอห์มมาต่อขนาน
3. นาตัวต้านทานขนาด 60000 โอห์มมาต่ออนุกรม
4. นาตัวต้านทานขนาด 60000 โอห์มมาต่อขนาน
87. ความต้านทานไฟฟ้ า R1 และ R2 มีค่า 20000
โอห์ม และ 10000 โอห์มตามลาดับ ต่อในวง R1
จรดังรู ป แบตเตอรี่ มีแรงเคลื่อนไฟฟ้ า 6 โวลต์
ถ้านาโวลต์มิเตอร์มีความต้านทาน 10000 โอห์ม 6V R2 V
มาวัดคร่ อม R2 โวลต์มิเตอร์ จะอ่านค่าเท่าไร
1. 1.2 V 2. 1.5 V
3. 1.8 V 4. 2.0 V

14.7.3 โอห์ มมิเตอร์



55
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
เฉลยตะลุ ย โจทย์ ท วั่ ไป บทที่ 14 ไฟฟ้ ากระแส
1. ตอบข้ อ 4. 2. ตอบข้ อ 4. 3. ตอบข้ อ 4. 4. ตอบ 694.44
5. ตอบข้ อ 2. 6. ตอบข้ อ 3. 7. ตอบข้ อ 1. 8. ตอบข้ อ 2.
9. ตอบ 10800 10. ตอบข้ อ 4. 11. ตอบข้ อ 2. 12. ตอบข้ อ 4.
13. ตอบข้ อ 3. 14. ตอบข้ อ 1. 15. ตอบข้ อ 2. 16. ตอบข้ อ 2.
17. ตอบข้ อ 1. 18. ตอบข้ อ 1. 19. ตอบข้ อ 3. 20. ตอบ 5
21. ตอบ 0.5 22. ตอบข้ อ 4. 23. ตอบข้ อ 2. 24. ตอบข้ อ 3.
25. ตอบข้ อ 4. 26. ตอบข้ อ 3. 27. ตอบข้ อ 3. 28. ตอบข้ อ 1.
29. ตอบข้ อ 4. 30. ตอบข้ อ 4. 31. ตอบข้ อ 2. 32. ตอบข้ อ 2.
33. ตอบข้ อ 3. 34. ตอบข้ อ 2. 35. ตอบข้ อ 3. 36. ตอบข้ อ 1.
37. ตอบข้ อ 3. 38. ตอบข้ อ 1. 39. ตอบข้ อ 4. 40. ตอบข้ อ 1.
41. ตอบข้ อ 3. 42. ตอบข้ อ 2. 43. ตอบ 2.25 44. ตอบข้ อ 4.
45. ตอบข้ อ 1. 46. ตอบข้ อ 2. 47. ตอบข้ อ 1. 48. ตอบข้ อ 3.
49. ตอบข้ อ 1. 50. ตอบข้ อ 3. 51. ตอบข้ อ 2. 52. ตอบข้ อ 2.
53. ตอบข้ อ 4. 54. ตอบข้ อ 1. 55. ตอบข้ อ 3. 56. ตอบข้ อ 3.
57. ตอบข้ อ 3. 58. ตอบข้ อ 3. 59. ตอบข้ อ 2. 60. ตอบข้ อ 4.
61. ตอบข้ อ 2. 62. ตอบข้ อ 3. 63. ตอบข้ อ 1. 64. ตอบข้ อ 2.
65. ตอบข้ อ 2. 66. ตอบข้ อ 3. 67. ตอบ 3 68. ตอบข้ อ 3.
69. ตอบข้ อ 3. 70. ตอบข้ อ 4. 71. ตอบข้ อ 2. 72. ตอบข้ อ 4.
73. ตอบข้ อ 2. 74. ตอบ 7.5 75. ตอบข้ อ 4. 76. ตอบข้ อ 3.
77. ตอบ 125 78. ตอบข้ อ 4. 79. ตอบข้ อ 2. 80. ตอบข้ อ 2.
81. ตอบข้ อ 3. 82. ตอบ 1 83. ตอบข้ อ 1. 84. ตอบข้ อ 3.
85. ตอบข้ อ 1. 86. ตอบข้ อ 1. 87. ตอบข้ อ 1.



56
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
บทที่ 15 ไฟฟ้ าและแม่ เ หล็ ก
15.1 แม่ เหล็กและสนามแม่ เหล็ก
6

แม่ เหล็ก ( magnet ) คือวัตถุ ที่ดูดเหล็กได้ และวัตถุ ที่แม่เหล็กส่ งแรงกระทำเรี ยกสาร


แม่ เหล็ก ( magnetic substance )
แท่งแม่เหล็ก 1 แท่ง จะมี 2 ขั้ว คือ
ขั้วเหนื อและขั้วใต้เสมอ ขั้วแม่เหล็กชนิด
เดียวกันจะผลักกัน และขั้วต่ำงกันจะดูดกัน
เสมอ แรงดูด

15.1.1 สนามแม่ เหล็ก


เมื่อวำงแท่งแม่เหล็กลงบนแผ่นกระดำษ
แล้วโปรยผงเหล็กลงไป จะพบว่ำแท่งแม่เหล็ก
จะมีแรงกระทำต่อผงเหล็กเหล่ำนั้น บริ เวณที่มี
แรงกระทำต่อผงเหล็กเรี ยกสนามแม่ เหล็ก (ma-
gnetic field) และแรงกระทำนี้ จะทำให้ผง
เหล็กเรี ยงตัวเป็ นแนวเรี ยกแนวนี้ วำ่ เส้ นสนาม
แม่ เหล็ก (magnetic field line)

สนำมแม่เหล็กเป็ นปริ มำณเวกเตอร์ ซ่ ึง


ภำยนอกแท่งแม่เหล็ก จะมีทิศออกจำกขั้วแม่
เหล็กเหนือเข้ำหำขั้วแม่เหล็กใต้ ส่ วนภำยใน
แท่งแม่เหล็กจะมีทิศจำกขั้วแม่เหล็กใต้ไปหำ
ขั้วแม่เหล็กเหนือ

1
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
1. ไดอะแกรมต่อไปนี้ รู ปใดไม่สำมำรถใช้แทนสนำมแม่เหล็ก 2 แท่งได้
1. 2.

3. 4.

15.1.2 สนามแม่ เหล็กโลก


โลกของเรำนั้นเป็ นเสมือนแท่งแม่เหล็กขนำด
ใหญ่แท่งหนึ่ง โดยทำงทิศเหนือจะเป็ นขั้วแม่เหล็ก
ใต้ ส่ วนทำงทิศใต้จะเป็ นขั้วแม่เหล็กเหนือดังรู ป
( ขั้วแม่เหล็กจะตรงข้ำมกับชื่ อขั้วโลกที่เรำเรี ยกกัน )
รอบโลกของเรำจึงเต็มไปด้วยสนำมแม่เหล็กเรี ยก
สนามแม่ เหล็กโลก (earth’s manetic field) และ
เนื่องจำกสนำมแม่เหล็กภำยนอกแท่งแม่เหล็ก จะมี
ทิศออกจำกขั้วแม่เหล็กเหนือไปหำขั้วแม่เหล็กใต้
ดังนั้นสนำมแม่เหล็กโลกจึงมีทิศพุง่ ขึ้นดังรู ป
สนำมแม่เหล็กโลกทำหน้ำที่ป้องกันชีวติ จำก
ลมสุ ริยะ (solar wind) จำกดวงอำทิตย์ กล่ำวคือ
กำรระเบิดที่ดวงอำทิตย์จะผลักดันให้มีกระแสของ
อนุภำคที่มีประจุพุง่ ออกมำ ซึ่ งเมื่อมำถึงโลกอนุ -
ภำคเหล่ำนี้จะถูกสนำมแม่เหล็กโลกเบี่ยงเบนให้เคลื่อนไปทำงอื่นไม่สำมำรถเข้ำสู่ โลกได้ และ
ในชั้นบรรยำกำศโลกระดับควำมสู ง 100 – 300 กิ โลเมตร อนุ ภำคเหล่ำนี้ จะชนเข้ำกับอะตอม
ของออกซิ เจนและไนโตรเจน จำกนั้นอะตอมออกซิ เจนและไนโตรเจนจะปล่อยแสงในช่วงที่ตำ
มองเห็นออกมำ เรี ยกว่ำออโรรา (aurora)
2
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
2(แนว มช) บริ เวณใดบนพื้นโลกที่สนำมแม่เหล็กมีทิศตั้งฉำกกับพื้นโลกมำกที่สุด
1. แถบทวีปยุโรป 2. แถบเส้นศูนย์สูตร
3. แถบขั้วโลกเหนื อและใต้ 4. แถบทวีปแอฟริ กำ

15.1.3 ฟลักซ์ แม่ เหล็ก


ฟลักซ์ แม่ เหล็ก (magnetic flux) คือเส้นแรงแม่เหล็กที่ผำ่ นพื้นที่หนึ่งๆ ขนำดของฟลักซ์
แม่เหล็กมีหน่วยเป็ นเวเบอร์ ( Wb )
เรำสำมำรถคำนวณหำขนำดของ
ฟลักซ์แม่เหล็ก ที่ตกบนพื้นที่รองรับ
หนึ่งๆ ได้จำก
 = B A sin 
เมื่อ  คือขนำดของฟลักซ์แม่เหล็ก ( เวเบอร์ )
A คือพื้นที่รองรับฟลักซ์แม่เหล็ก ( เมตร2 )
B คือควำมหนำแน่นฟลักซ์แม่เหล็ก หรื อขนำดของสนำมแม่เหล็ก
( เวเบอร์ /เมตร2 , เทสลำ )
 คือมุมระหว่ำงทิศของสนำมแม่เหล็กกับระนำบพื้นที่รองรับฟลักซ์แม่เหล็ก
3. ขดลวดพื้นที่ 10 x 10–4 ตำรำงเมตร วำงอยูใ่ นบริ เวณที่มีสนำมแม่เหล็กขนำดสม่ำเสมอ 10
เทสลำ จงหำค่ ำฟลัก ซ์ แม่ เหล็ ก ที่ ผ่ำนขดลวด เมื่ อระนำบของขดลวดท ำมุ ม 90o กับ
สนำมแม่เหล็ก
1. 2.0 x 10–2 2. 1.0 x 10–2 3. 0.5 x 10–2 4. 0

4. จำกข้อที่ผ่ำนมำ จงหำค่ำฟลักซ์ แม่เหล็กที่ ผ่ำนขดลวด เมื่อระนำบของขดลวดทำมุม 30o


กับสนำมแม่เหล็ก
1. 2.0 x 10–2 2. 1.0 x 10–2 3. 0.5 x 10–2 4. 0
3
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
5. จำกข้อที่ผำ่ นมำ จงหำค่ำฟลักซ์แม่เหล็กที่ผำ่ นขดลวด เมื่อระนำบของขดลวดทำมุม 0o
กับสนำมแม่เหล็ก
1. 2.0 x 10–2 2. 1.0 x 10–2 3. 0.5 x 10–2 4. 0

15.2.4 การเคลือ่ นทีข่ องอนุภาคทีม่ ีประจุไฟฟ้าในสนามแม่ เหล็ก


เมื่ออนุภำคไฟฟ้ ำบวกเคลื่อนที่ตดั สนำมแม่เหล็ก จะเกิดแรงของสนำมแม่เหล็กกระทำต่อ
อนุภำคไฟฟ้ ำบวกนั้น ในทิศทำงซึ่งสำมำรถหำได้โดยใช้กฎมือขวำดังนี้
ขั้น 1. แบมือขวำพร้อมกำง
หัวแม่มือออก แล้วชี้ นิ้วทั้งสี่ ไปตำม
แนวกำรเคลื่อนที่ของอนุภำค ( v )
ขั้น 2. หันหน้ำมือแบไป
ตำมทิศของสนำมแม่เหล็ก ( B )
ขั้น 3. หัวแม่มือที่กำงออก
จะชี้บอกทิศของแรงที่เกิด ( F ) ดังรู ป
ในกรณี ที่อนุ ภำคไฟฟ้ ำลบเคลื่ อนที่ตดั สนำมแม่เหล็ก จะเกิ ดแรงของสนำมแม่เหล็ก
กระทำต่ออนุ ภำคไฟฟ้ ำลบนั้นเช่ นกัน แต่ทิศทำงของแรงที่เกิ ดจะตรงกันข้ำมกับแรงที่กระทำ
ต่ออนุ ภำคไฟฟ้ ำบวก เรำสำมำรถหำทิศของแรงกระทำต่ออนุภำคไฟฟ้ ำลบได้โดยใช้กฎมือซ้ำย
ซึ่งทำได้ตำมขั้นตอนเดียวกับกำรใช้กฎมือขวำหำทิศของแรงกระทำต่อประจุบวกนัน่ เอง
สำหรับขนำดของแรงที่กระทำต่ออนุภำคไฟฟ้ ำ เรำสำมำรถหำค่ำได้จำกสมกำร
F = q v B sin
เมื่อ F คือแรงกระทำต่ออนุ ภำคที่มีประจุ ( นิ วตัน )
q คือขนำดของประจุไฟฟ้ ำ ( คูลอมบ์ )
v คือควำมเร็ วของอนุภำคนั้น ( เมตร/วินำที )
B คือขนำดของสนำมแม่เหล็ก ( เทสลำ )
 คือมุมระหว่ำงทิศของสนำมแม่เหล็กกับทิศควำมเร็ วอนุภำคไฟฟ้ ำ

4
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
6(แนว มช) ถ้ำมีอิเล็กตรอนวิ่งตำมแนวรำบไปทำงขวำผ่ำนสนำมแม่เหล็กขนำดสม่ ำเสมอซึ่ งมี
ทิศพุง่ ออกมำตั้งฉำกกับระนำบของแผ่นกระดำษ แนวทำงกำรเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนคือ
1. วิง่ ในแนวรำบตำมเดิม
2. เบี่ยงเบนจำกแนวเดิมลงข้ำงล่ำง
3. เบี่ยงเบนพุง่ ออกมำจำกแผ่นกระดำษตำมทิศของสนำมแม่เหล็ก
4. เบี่ยงเบนจำกแนวเดิมขึ้นข้ำงบน

7(แนว มช) ถ้ายิงโปรตอนไปทางทิศตะวันออก โปรตอนจะถูกเบี่ ยงเบนด้วยสนามแม่เหล็ก


โลกไปในทิศใด
1. เหนือ 2. ระหว่ำงทิศเหนือกับทิศตะวันออก
3. เบนขึ้นในแนวดิ่ง 4. ไม่มีขอ้ ถูก

8. ประจุ ไฟฟ้ ำ –3.2 x 10–19 คู ล อมบ์ เคลื่ อนที่ ด้วยควำมเร็ ว 2.5 x 105 เมตรต่ อวิน ำที
ผ่ำนเข้ำไปในบริ เวณที่ มีสนำมแม่เหล็กขนำด 1.2 เทสลำ โดยทิ ศของควำมเร็ วตั้งฉำกกับ
ทิศของสนำมแม่เหล็ก จงหำขนำดของแรงที่กระทำต่อประจุไฟฟ้ ำนี้
1. 4.8 x 10–13 N 2. 9.6 x 10–13 N
3. 4.8 x 10–14 N 4. 9.6 x 10–14 N

9. โปรตอนตัวหนึ่ งเข้ำมำในสนำมแม่เหล็กขนำด 1.5 เทสลำ ด้วยควำมเร็ ว 2 x 107 เมตร/-


วินำที โปรตอนเป็ นอนุภำคมีประจุไฟฟ้ ำ 1.6 x 10–19 คูลอมบ์ จงคำนวณหำแรงที่สนำม
แม่เหล็กนี้กระทำต่อโปรตอน เมื่อโปรตอนเคลื่อนที่ทำมุม 30o กับสนำมแม่เหล็ก
1. 1.2 x 10–14 N 2. 2.4 x 10–14 N
3. 1.2 x 10–12 N 4. 2.4 x 10–12 N

5
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
ข้ อควรทราบเพิม่ เติมเกีย่ วกับแรงที่สนามแม่ เหล็กกระทาต่ ออนุภาคทีเ่ คลือ่ นทีต่ ัดผ่ าน
1. จำกสมกำร F = q v B sin
จะได้วำ่ กรณี ต่อไปนี้ แรงกระทำต่ออนุภำคนั้นมีค่ำเป็ นศูนย์ ( F = 0 ) เสมอ
ก. เมื่ออนุภำคนั้นมีขนำดประจุไฟฟ้ ำเป็ นศูนย์ ( q = 0 ) เช่นอนุภำคนิวตรอน
ข. กรณี ควำมเร็ วอนุภำคมีค่ำเป็ นศูนย์ ( v = 0 ) คืออนุภำคนั้นอยูน่ ิ่งๆ
ค. กรณี ที่ประจุไฟฟ้ ำเคลื่อนขนำนกับทิศสนำมแม่เหล็ก
กรณี น้ ี  = 0o จะได้ sin = sin 0o = 0 จะทำให้แรงกระทำเป็ นศูนย์เช่นกัน

2. เมื่ ออนุ ภ ำคไฟฟ้ ำถู ก แรงกระท ำในสนำมแม่ เหล็ ก อนุ ภำคนั้น จะเคลื่ อนที่ เป็ นรู ป
วงกลมซึ่งหำรัศมีได้จำก
R = m vqBsinθ
เมื่อ R คือรัศมีวงโคจรของอนุภำคไฟฟ้ ำในสนำมแม่เหล็ก ( เมตร )
m คือมวลของอนุ ภำคนั้น ( กิโลกรัม )
v คือควำมเร็ วของประจุน้ นั ( เมตร/วินำที )
q คือขนำดของประจุไฟฟ้ ำ ( คูลอมบ์ )
B คือขนำดของสนำมแม่เหล็ก ( เทสลำ )
 คือมุมระหว่ำงทิศของสนำมแม่เหล็กกับทิศควำมเร็ วอนุภำคไฟฟ้ ำ

ในกรณี ที่อนุภำคไฟฟ้ ำเคลื่อนที่ต้ งั ฉำกกับสนำมแม่เหล็ก (  = sin90o )


จะได้ R = m vqsin90 o ( แทนค่ำ sin90o = 1 )
B
นัน่ คือ R = qm Bv
หำกประจุเคลื่อนที่เอียงทำมุม
กับสนำมแม่เหล็ก ประจุน้ นั จะเคลื่อน
เป็ นเกลียวสปริ งดังรู ป

6
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
10(แนว En) สนำมแม่เหล็กจะไม่ มีผล ต่อ
1. ประจุไฟฟ้ ำที่อยูน่ ิ่ง 2. ประจุไฟฟ้ ำที่เคลื่อนที่
3. แม่เหล็กถำวรที่อยูน่ ิ่ง 4. แม่เหล็กถำวรที่เคลื่อนที่

11(แนว En) เมื่ออิเล็กตรอนเคลื่อนที่ผำ่ นบริ เวณหนึ่ งซึ่ งมีสนำมแม่เหล็ก กรณี ใดที่อิเล็กตรอน


ไม่เปลี่ยนแปลงแนวทำงกำรเคลื่อนที่
1. ขนำนกับสนำมแม่เหล็ก 2. ทำมุม 30o กับสนำมแม่เหล็ก
3. ทำมุม 45o กับสนำมแม่เหล็ก 4. ตั้งฉำกกับสนำมแม่เหล็ก

12(แนว En) อนุ ภำคแอลฟำและอนุ ภำคบีตำเคลื่อนที่เข้ำไปในแนวขนำนกับสนำมแม่เหล็ก B


ที่มีค่ำสม่ำเสมอดังรู ป กำรเคลื่อนที่ในสนำมแม่เหล็กของอนุภำคทั้งสองจะเป็ นอย่ำงไร
1. เป็ นเส้นตรง 
B
2. เป็ นวงกลม โดยวิง่ วนคนละทำงกัน 
3. เป็ นวงกลม โดยวิง่ วนทำงเดียวกัน

4. เป็ นรู ปเกลียว

13. โปรตอนตัวหนึ่ งเข้ำมำในสนำมแม่เหล็กขนำด 1.5 เทสลำ ด้วยควำมเร็ ว 2 x 107 เมตร/-


วิน ำที โปรตอนเป็ นอนุ ภ ำคมี ป ระจุไ ฟฟ้ ำ 1.6 x 10–19 คู ล อมบ์ มี ม วล 1.67 x 10–27
กิโลกรัม จงคำนวณหำรัศมีวงโคจรกำรเคลื่อนที่ของโปรตอน เมื่อโปรตอนเคลื่อนที่ทำมุม
30o กับสนำมแม่เหล็ก
1. 3.48 cm 2. 6.96 cm 3. 13.90 cm 4. 20.88 cm

7
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
14(แนว มช) จงหำรัศมีทำงโคจรของประจุบวก
q = 4 x 10–3 คูลอมบ์ มีมวล 9 x 10–9 กิโลกรัม x x x x x x x x
v
เคลื่อนที่ดว้ ยควำมเร็ ว 8 x 104 เมตร/วินำที ทิศ
+ q
ทิศตั้งฉำกกับสนำมแม่เหล็ก B = 0.3 เทสลำ
1. 0.6 เมตร 2. 60 เมตร x x x x x x x x
3. 96 เมตร 4. 126 เมตร

15. อนุภำคดิวเทอรอนเคลื่อนที่ดว้ ยควำมเร็ ว 9.6 x 106 เมตรต่อวินำที ในทิศทำงที่ต้ งั ฉำกกับ


สนำมแม่เหล็กที่มีขนำด 0.4 เทสลำ ทำให้อนุภำคดิวเทอรอนเคลื่อนที่เป็ นวงกลมรัศมี 0.5
เมตร อัตรำส่ วนระหว่ำงประจุต่อมวลของอนุภำคดิวเทอรอนมีค่ำกี่คูลอมบ์ต่อกิโลกรัม
1. 2.1 x 10–8 2. 2.1 x 10–6 3. 4.8 x 105 4. 4.8 x 107

8
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
16. ในเครื่ องเร่ งอนุภำคบำงแบบอนุภำคจะถูกทำให้วิง่ เป็ นวงกลม โดยใช้สนำมแม่เหล็กที่มี
ทิศทำงตั้งฉำกกับแนวที่อนุภำควิง่ ถ้ำสนำมแม่เหล็กสม่ำเสมอขนำด B เทสลำ และอนุภำค
มีมวล m ประจุ q เวลำที่อนุภำควิง่ แต่ละรอบจะต้องเป็ นกี่วนิ ำที
1. 2mB q 2. 2
qB
m B
3. 3qB 4. 2mqB

17. อนุภำคหนึ่งวิง่ ตั้งฉำกกับสนำมแม่เหล็กขนำดสม่ำเสมอควำมเข้ม 2 x 10–4 เทสลำ ถ้ ำ


อัตรำส่ วนของประจุ ต่ อมวลของอนุ ภ ำคนี้ มี ค่ ำเท่ ำกับ 3.14 x 1010 คู ล อมบ์ต่ อกิ โลกรั ม
ควำมถี่ของกำรเคลื่อนที่เป็ นวงกลมของอนุภำคนี้ มีค่ำกี่เมกะเฮิรตซ์

9
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
15.2 กระแสไฟฟ้าทาให้ เกิดสนามแม่ เหล็ก
เออร์เสตด นักฟิ สิ กส์ชำวเดนมำร์ คเป็ นผูค้ น้ พบว่ำ
เมื่อปล่อยให้กระแสไฟฟ้ ำไหลผ่ำนเส้นลวดตัวนำ จะเกิด
สนำมแม่เหล็กวนรอบๆ เส้นลวดตัวนำนั้น ในทิศทำง
กำรวนซึ่งหำได้จำกกฎมือขวำ โดยใช้มือขวำกำเส้นลวด
ตัวนำและให้หวั แม่มือชี้ไปตำมทิศกำรไหลของกระแสไฟ
ฟ้ ำ สนำมแม่เหล็กที่เกิดจะวนไปตำมทิศของนิ้วทั้งสี่ ที่
กำเส้นลวดนั้น
สำหรับขนำดของสนำมแม่เหล็กที่เกิดหำได้จำก
B = ( 2 x 10–7 ) RI
เมื่อ B คือขนำดของสนำมแม่เหล็กเหนี่ยวนำรอบลวดโลหะตัวนำ ( เทสลำ )
I คือกระแสไฟฟ้ ำ ( แอมแปร์ )
R คือระยะห่ำงจำกตัวนำถึงจุดที่วดั ขนำดสนำมแม่เหล็ก ( เมตร )
โปรดสั งเกต ทิศของสนำมแม่เหล็กจะตั้งฉำกกับทิศของกระแสไฟฟ้ ำเสมอ

หำกเรำปล่อยกระแสไฟฟ้ ำไหลวนในขดลวด
ซึ่งพันเป็ นเกลียว จะเกิดสนำมแม่เหล็กไหลวนรอบ
เกลียวขดลวดนั้นดังรู ป ทิศกำรไหลวนของสนำม
แม่เหล็กนี้สำมำรถหำได้จำกกฎมือขวำ โดยใช้มือ
ขวำกำขดลวดทั้งเกลียวและให้นิ้วทั้งสี่ วนตำมกระแส
ไฟฟ้ ำ หำกหัวแม่มือชี้ไปทำงทิศใดสนำมแม่เหล็กจะ
วนออกขดลวดทำงด้ำนนั้น ลักษณะนี้ จะทำให้ขดลวดนี้ เป็ นเสมือนแท่งแม่เหล็กแท่งหนึ่ ง โดย
ด้ำนที่หวั แม่มือชี้ไปจะเป็ นขั้วแม่เหล็กเหนือ เพรำะมีสนำมแม่เหล็กพุง่ ออกดังกล่ำว ขดลวดที่มี
กระแสไฟฟ้ ำไหลผ่ำนแล้วกลำยเป็ นเสมือนแท่งแม่เหล็กเช่นนี้ เรี ยกขดลวดโซลินอยด์

10
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
18(แนว En) AB เป็ นส่ วนของลวดตรงยำวมีกระแส I
จำก A ไป B และมีอิเล็กตรอนประจุ –e กำลัง C V
วิง่ ผ่ำนจุด C ด้วยควำมเร็ ว v ซึ่ งมีทิศขนำนกับ A B
I
AB ดังรู ป ขณะนั้นอิเล็กตรอนเคลื่อนที่ตำมข้อใด
1. เบนเข้ำหำเส้นลวด AB 2. เบนออกจำกเส้นลวด AB
3. เคลื่อนที่เป็ นเส้นตรงพุง่ ไปข้ำงหน้ำ 4. เคลื่อนที่เป็ นเส้นตรงย้อนมำข้ำงหลัง

15.3 แรงกระทาต่ อลวดตัวนาทีม่ กี ระแสไฟฟ้ าไหลผ่ านและอยู่ในสนามแม่ เหล็ก


ในกรณี ที่มีเส้นลวดตัวนำวำงอยูใ่ น
สนำมแม่เหล็ก เมื่อมีกระแสไฟฟ้ ำไหล
ผ่ำนเส้นลวดตัวนำ นั้น จะเกิดแรงกระ
ทำต่อเส้นลวดนั้น เรำสำมำรถหำทิศของ
แรงที่กระทำนั้นได้จำกกฎมือขวำดังนี้
ขั้น 1. แบมือขวำพร้อมกำงหัวแม่
มือออก แล้วชี้นิ้วทั้งสี่ ไปทิศของกระแสไฟฟ้ ำ
ขั้น 2. หันหน้ำมือแบไปตำมทิศของสนำมแม่เหล็ก
ขั้น 3. หัวแม่มือที่กำงออกจะชี้บอกทิศของแรงกระทำที่เกิดขึ้น
สำหรับขนำดของแรงกระทำนั้น สำมำรถหำได้จำกสมกำร
F = I L B sin
เมื่อ F คือแรงกระทำต่อเส้นลวดนั้น ( นิวตัน )
I คือกระแสไฟฟ้ ำที่ไหลผ่ำน (แอมแปร์ )
L คือควำมยำวของเส้นลวด ( เมตร )
 คือมุมระหว่ำงทิศกำรไหลกระแสไฟฟ้ ำกับทิศของสนำมแม่เหล็ก

11
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
19. เส้นลวดตัวนำยำว 60 เซนติเมตร มีกระแสไฟฟ้ ำไหลผ่ำน 10 แอมแปร์ และทำมุม
30o กับทิศของสนำมแม่เหล็กขนำด 1.5 เทสลำ จงหำขนำดของแรงที่เกิดในหน่วยนิวตัน
1. 3.0 2. 4.5 3. 6.0 4. 7.5

20. จำกข้อที่ผ่ำนมำ ถ้ำเส้นลวดมีมวล 9 กิโลกรัม จงหำควำมเร่ งของกำรเคลื่อนที่ของเส้น


ลวดนี้ในหน่วยเมตร/วินำที2
1. 0.5 2. 1.0 3. 3.0 4. 6.0

21. จำกข้อที่ ผ่ำนมำ จงหำว่ำถ้ำตอนแรกเส้นลวดอยู่นิ่งๆ ในเวลำ 2 วินำที จะมีควำมเร็ ว


กี่เมตร/วินำที
1. 0.5 2. 1.0 3. 3.0 4. 6.0

22. ถ้ำต้องกำรให้เส้นลวดตัวนำยำว 20 เซนติเมตร มวล 0.1 กิโลกรัม ลอยนิ่งอยูใ่ น


สนำมแม่เหล็กที่มีขนำด 1.0 เทสลำ และมีทิศทำง x x x x
ดังในรู ป จะต้องผ่ำนกระแสไฟฟ้ ำเข้ำไปในเส้น x x x x
ลวดกี่แอมแปร์ และไหลไปทำงทิศใดในรู ปภำพ x x x x
1. 3 A ไปทำงซ้ำย 2. 3 A ไปทำงขวำ x x x x
3. 5 A ไปทำงซ้ำย 4. 5 A ไปทำงขวำ (สนำมแม่เหล็กมีทิศเข้ำกระดำษ)

12
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
15.4 แรงระหว่ างลวดตัวนาสองเส้ นทีข่ นานกันและมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่ าน
ลวดตัวนำ 2 เส้นที่วำงตัวขนำนกัน เมื่อมีกระ I I I
แสไฟฟ้ ำไหลผ่ำน เส้นลวดทั้งสองนั้นจะเกิดแรงกระ
ทำซึ่งกันและกันเสมอ โดยที่ เกิด เกิด
แรงผลัก แรงดูด
หำกกระแสไฟฟ้ ำในเส้นลวดทั้งสองไหลไปใน
ทำงตรงกันข้ำมลวดทั้ง 2 จะเกิดแรงผลักกัน I
หำกมีกระแสไฟฟ้ ำในเส้นลวดทั้งสองไหลไปทำงเดียวกันลวดทั้ง 2 จะเกิดแรงดูดกัน
23(แนว En) สำยไฟที่ เดิ น ในอำคำรประกอบขึ้ นด้วยลวดทองแดง 2 เส้ น หุ ้ม ฉนวนและมี
เปลือกหุม้ ให้ 2 เส้น รวมอยูด่ ว้ ยกันอีกชั้นหนึ่ง เมื่อมีกำรใช้เครื่ องไฟฟ้ ำในบ้ำนลวด 2
เส้นจะมีแรงกระทำต่อกันหรื อไม่และอย่ำงไร
1. ไม่มีแรงกระทำต่อกัน เพรำะมีฉนวนหุ ม้ แยกจำกกันไม่ได้
2. มีแรงกระทำต่อกัน โดยผลักและดูดสลับกันเพรำะเป็ นไฟฟ้ ำกระแสสลับ
3. มีแรงกระทำต่อกันและเป็ นแรงดูดเข้ำหำกัน
4. มีแรงกระทำต่อกันและเป็ นแรงผลักซึ่ งกันและกัน

15.5 แรงกระทาต่ อขดลวดทีม่ กี ระแสไฟฟ้าผ่ านและอยู่ในสนามแม่ เหล็ก


หำกเรำนำขดลวดไปไว้ในสนำมแม่เหล็ก แล้ว
ปล่อยกระแสไฟฟ้ ำเข้ำไปไหลวนดังรู ป จะพบว่ำ
แรงกระทำต่อขดลวด 2 ข้ำงจะมีทิศตรงกันข้ำม จะ
ส่ งผลทำให้ขดลวดนั้นเกิดกำรหมุนตัว เรำสำมำรถ
หำโมเมนต์กำรหมุนของขดลวดนี้ ได้จำกสมกำร
M = N I A B cos 
เมื่อ M คือโมเมนต์ของแรงคู่ควบ ( นิวตัน.เมตร )
N คือจำนวนรอบของขดลวด
A คือพื้นที่ของขดลวด ( เมตร2)
B คือขนำดของสนำมแม่เหล็ก ( เทสลำ )
 คือมุมระหว่ำงระนำบพื้นที่ ( A) กับสนำมแม่เหล็ก (B)
13
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
ควรจำ 1) โมเมนต์สูงสุ ดเกิดเมื่อ A ขนำนกับ B คือ  = 0o
2) โมเมนต์ต่ำสุ ดเกิดเมื่อ A ตั้งฉำกกับ B คือ  = 90o
เพรำะ M = N I A B cos  = N I A B cos 90o = N I A B (0) = 0
24. ขดลวดตัวนำรู ปสี่ เหลี่ยมผืนผ้ำพื้นที่ 10 ตำรำงเซนติเมตร วำงอยูใ่ นบริ เวณที่มีสนำมแม่
เหล็ก 5 เทสลำ ถ้ำจำนวนรอบของขดลวดตัวนำเท่ำกับ 400 รอบ จงหำโมเมนต์ของแรง
คู่ควบที่เกิดขึ้น เมื่อระนำบขดลวดทำมุม 60o กับแนวสนำมแม่เหล็ก ค่ำของกระแสที่ผำ่ น
ขดลวดเท่ำกับ 6 แอมแปร์
1. 2 N.m 2. 3 N.m 3. 6 N.m 4. 9 N.m

25(แนว มช) ขดลวดวงกลมมีพ้ืนที่หน้ำตัด 50 ตำรำงเซนติเมตร มีขดลวดพันอยู่ 1000 รอบ


และมี ก ระแสไหลผ่ำน 1 แอมแปร์ วำงไว้ในสนำมแม่ เหล็ก ที่ มี ควำมเข้ม 1 เทสลำ
โมเมนต์สูงสุ ดของขดลวดจะมีค่ำกี่นิวตัน.เมตร

15.6 มอเตอร์ ไฟฟ้ ากระแสตรง


จำกหลักกำรของขดลวดหมุนตัวในสนำม
แม่เหล็กที่ผำ่ นมำ เรำสำมำรถนำไปสร้ำงเป็ นมอ
เตอร์ กระแสตรงได้ แต่จะมีปัญหำเบื้องต้นและวิธี
แก้ไขดังนี้
ปัญหาที่ 1 เมื่อขดลวดหมุนไปได้ครึ่ งรอบ
สำยไฟที่ต่อกระแสเข้ำจะเกิดกำรไขว้กนั ทำให้กระ
แสไหลกลับด้ำนกับตอนแรกส่ งผลให้ขดลวดหมุน
กลับไปกลับมำดังรู ป
14
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
วิธีแก้คือ ใส่ คอมมิวเทเตอร์ วงแหวนผ่ำ
ซีก และแปรงสัมผัสที่ปลำยขดลวดดังรู ป แปรง
กับวงแหวนผ่ำซี กจะเพียงสัมผัสกัน ไม่ได้เชื่อมติด
ดังนั้นเมื่อขดลวดหมุนไป ก็จะไม่ลำกสำยไฟไป
พันกันทำให้ขดลวดหมุนไปในทิศทำงเดียวได้อย่ำง
ต่อเนื่อง วงแหวนครึ่งซีก
ปัญหาที่ 2 เมื่อขดลวดหมุนตัวไป 1/4 รอบ
ระนำบพื้นที่จะตั้งฉำกกับสนำมแม่เหล็ก โมเมนต์
กำรหมุนจะมีค่ำเป็ น 0 ขดลวดจะหยุดหมุน
วิธีแก้คือ ใส่ ขดลวดเพิม่ เข้ำไปอีกในระนำบเอียงทำมุมเหมำะสมกับขดลวดเดิม ดังรู ป

15.7 กระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนาและแรงเคลือ่ นไฟฟ้ าเหนี่ยวนา


เมื่อมีฟลักซ์แม่เหล็กที่มีขนำดเปลี่ยนแปลงตัดผ่ำนลวดตัวนำ จะทำให้เกิดแรงเคลื่อน
ไฟ ฟ้ ำระหว่ำงปลำยของลวดตัวนำนั้น แรงเคลื่อนไฟฟ้ ำที่เกิดนี้เรี ยกว่ำแรงเคลือ่ นไฟฟ้า
เหนี่ยวนา ( induced electromotive force ) และเมื่อต่อให้ครบวงจรจะเกิดกระแสไฟฟ้ ำ
ไหลในลวดตัวนำนั้น เรี ยกกระบวนกำรเกิดกระแสไฟฟ้ ำลักษณะนี้ วำ่ การเหนี่ยวนา
แม่ เหล็กไฟฟ้า (electromagnetic induction ) และเรี ยกกระแสไฟฟ้ ำที่เกิดจำกวิธีน้ ีวำ่
กระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนา ( induce current )
กฎกำรเหนี่ ยวนำของฟำรำเดย์กล่ำวว่ำ " แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนาที่เกิดขึ้นในขดลวด
เป็ นสั ดส่ วนกับอัตราการเปลีย่ นแปลงของฟลักซ์ แม่ เหล็กทีผ่ ่านขดลวดนั้นเมื่อเทียบกับเวลา "
กรณี ที่เรำเคลื่อนเส้นลวดตัวนำตัดสนำมแม่ I
เหล็กด้วยควำมเร็ ว v ดังรู ป จะทำให้เกิดแรง
เคลื่อนไฟฟ้ ำเหนี่ยวนำ และกระแสไฟฟ้ ำเหนี่ยว I
นำซึ่งหำทิศทำงได้จำกกฎมือขวำ โดยแบมือขวำ
และกำงนิ้วหัวแม่มือออก ให้นิ้วทั้ง 4 ชี้ไปตำม
ทิศของควำมเร็ ว v ของเส้นลวด แบหน้ำมือไป
E
ตำมทิศของสนำมแม่เหล็ก หัวแม่มือจะชี้ไปตำม
ทิศของกระแสไฟฟ้ ำเหนี่ยวนำทันที
15
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
กรณี ที่เรำหมุนขดลวดตัดสนำมแม่เหล็กจะ
ทำให้ฟลักซ์แม่เหล็กที่ผำ่ นขดลวดนั้นมีกำรเปลี่ยน
แปลงทำให้เกิดกระแสไฟฟ้ ำเหนี่ยวนำเช่นกัน แต่
กระแสไฟฟ้ ำที่เกิดขึ้นนี้จะมีทิศกลับไปกลับมำจึง
เรี ยกว่ำไฟฟ้ากระแสสลับ
กรณี ที่เรำเคลื่อนสนำมแม่เหล็กผ่ำนขดลวด B
ซึ่งอยูก่ บั ที่จะทำให้ฟลักซ์แม่เหล็กที่ผำ่ นขดลวดนั้น
มีกำรเปลี่ยนแปลงทำให้เกิดกระแสไฟฟ้ ำเหนี่ยวนำ
ซึ่งหำทิศทำงกำรไหลเวียนได้จำกกฎมือซ้ำยดังนี้
1. กำมือมือซ้ำยแล้วกำงหัวแม่มือออกแล้วชี้นิ้วหัวแม่
มือไปตำมทิศของสนำมแม่เหล็ก ( ทิศออกไปทำงขั้วเหนือ )
2. หำกฟลักซ์แม่เหล็กที่ผำ่ นพื้นที่ขดลวดมีปริ มำณ
เพิ่มขึ้น ( เช่นกรณี ที่เคลื่อนแท่งแม่เหล็กเข้ำใกล้ขดลวด )
กระแสไฟฟ้ ำเหนี่ยวนำจะมีทิศวนตำมนิ้วทั้ง 4 ที่เหลือ
แต่ถำ้ ฟลักซ์แม่เหล็กมีปริ มำณลดลง ( เช่นกรณี ที่เคลื่อนแท่งแม่เหล็กถอยห่ำงขดลวด )
กระแสเหนี่ยวนำจะมีทิศวนในทิศตรงกันข้ำมกับนิ้วทั้ง 4
26(แนว มช) ดึงแท่งแม่เหล็กขั้วเหนื อออกจำกห่วง ซึ่งทำด้วย
N
พลำสติกดังรู ป อยำกทรำบว่ำจะเกิดผลอย่ำงไร
1. จะเกิดสนำมไฟฟ้ ำเหนี่ยวนำในห่วงไปตำมทิศ 
2. จะเกิดสนำมไฟฟ้ ำหนี่ ยวนำในห่วงไปตำมทิศ   
S
3. จะเกิดกระแสเหนี่ยวนำในห่วงไปตำมทิศ 
4. ไม่เกิดอะไรเลยเนื่ องจำกเป็ นฉนวน

27(แนว มช) จำกกฎกำรเหนี่ยวนำทำงแม่เหล็ก ในบริ เวณที่สนำมแม่เหล็กมีกำรเปลี่ยนแปลง จะ


มีกำร เหนี่ ยวนำให้เกิ ดสนำมไฟฟ้ ำขึ้นในบริ เวณนั้นดังแสดงในรู ป ก และ ข ถ้ำ  B ชี้
ทิศเดียวกับ B แสดงว่ำสนำมแม่เหล็กเพิ่มขึ้น และถ้ำ  B ชี้ทิศตรง ข้ำมกับ B แสดงว่ำ
สนำมแม่เหล็กลดลง อยำกทรำบว่ำสนำมไฟฟ้ ำที่เกิดขึ้นจะเกิดขึ้นในทิศทำงใด ตำมลำดับ
16
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก

  
B B B

   
E1 E2 E3 E4

รู ป (ก) รู ป (ข) 
B
       
1. E 1 และ E 3 2. E 1 และ E 4 3. E 2 และ E 3 4. E 2 และ E 4

15.8 เครื่องกาเนิดไฟฟ้ าและแรงเคลือ่ นไฟฟ้ าเหนี่ยวนาในมอเตอร์


15.8.1 เครื่องกาเนิดไฟฟ้ า
หลักกำรทำงำนของเครื่ องกำเนิด
ไฟฟ้ ำโดยพื้นฐำนแล้วจะต้องหมุนขดลวด
ตัดสนำมแม่เหล็ก และจะเกิดแรงเคลื่อน
ไฟฟ้ ำเหนี่ยวนำขึ้นในขดลวดนั้น ถ้ำสม-
มุติเวลำที่หมุนขดลวด 1 รอบมีค่ำเป็ น T
E
จะพบว่ำช่วงกำรหมุนขดลวดครึ่ งรอบแรก
+ +
( จำก 0 – T2 ) แรงเคลื่อนไฟฟ้ ำจะมีค่ำ 0 T
2 – T – t
เพิ่มขึ้นแล้วลดลง จำกนั้นครึ่ งรอบหลัง
( จำก T2 – T ) แรงเคลื่อนไฟฟ้ ำจะมีทิศ
ย้อนกลับ จึงเรี ยกกระแสไฟฟ้ ำลักษณะนี้
ว่ำกระแสสลับ
เครื่ องกำเนิดไฟฟ้ ำบำงประเภท
ใช้วธิ ี หมุนแท่งแม่เหล็กให้ฟลักซ์แม่เหล็ก
ตัดขดลวดตัวนำ จะทำให้มีไฟฟ้ ำกระแส
สลับเกิดขึ้นในขดลวดได้เช่นกัน
17
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
เครื่ องกำเนิดไฟฟ้ ำกระแสสลับ
ที่ใช้ตำมโรงงำนไฟฟ้ ำ มักจะมีขดลวด E
ตัวนำอยู่ 3 ชุด ล้อมรอบแท่งแม่เหล็ก 0 t เฟสที่ 1
ระนำบขดลวดแต่ละขดจะทำมุม 120o E
ต่อกัน ลักษณะนี้จะได้กระแสไฟฟ้ ำ 0 t เฟสที่ 2
สลับถึง 3 กระแสซึ่ งมีเฟสต่ำงกัน 120o
E
จึงเรี ยกเป็ นเครื่ องกำเนิดไฟฟ้ ำ 3 เฟส
0 t เฟสที่ 3

15.8.2 แรงเคลือ่ นไฟฟ้ าเหนี่ยวนาในมอเตอร์


ในกรณี ของมอเตอร์ น้ นั เรำต้องปล่อยกระแสไฟฟ้ ำให้ไหลเข้ำไปในขดลวดที่อยูใ่ น
สนำมแม่เหล็ก จะทำให้มอเตอร์ เกิดกำรหมุน ขณะ
เดียวกันกำรหมุนนี้จะทำให้เกิดแรงเคลื่อนไฟฟ้ ำเหนี่ยว
นำ ( e ) ซึ่ งจะมีทิศตรงกันข้ำมกับแรงเคลื่อนไฟฟ้ ำที่ e
E
เรำใส่ เข้ำไป ( E ) จึงเรี ยกแรงเคลือ่ นไฟฟ้าดันกลับ (e)
ดังนั้น แรงเคลื่อนไฟฟ้ ำลัพธ์ = E – e
กระแสไฟฟ้ ำที่ไหลเข้ำมอเตอร์ จะหำค่ำได้
จำก I = ER  re
เมื่อ I คือกระแสไฟฟ้ ำที่ไหลเข้ำมอเตอร์ ( แอมแปร์ )
E คือแรงเคลื่อนไฟฟ้ ำที่ใส่ เข้ำไป (โวลต์ )
e คือแรงเคลื่อนไฟฟ้ ำดันกลับ (โวลต์ )
r คือควำมต้ำนทำนภำยในของแหล่งกำเนิดไฟฟ้ ำ (โอห์ม)
R คือควำมต้ำนทำนภำยนอกแหล่งกำเนิดไฟฟ้ ำ (ควำมต้ำนทำนของมอเตอร์ ) (โอห์ม)
จำกสมกำรนี้ จะเห็ นว่ำถ้ำมอเตอร์ ฝื ดหรื อไฟฟ้ ำตก จะท ำให้ม อเตอร์ หมุ นช้ำลงทำให้
แรงเคลื่อนไฟฟ้ ำดันกลับ ( e ) จะมีค่ำน้อยลง ดังนั้นแรงเคลื่อนไฟฟ้ ำลัพธ์ ( E – e ) จะมีค่ำมำก
ทำให้กระแสไฟฟ้ ำ ( I ) ที่ไหลเข้ำมอเตอร์ มีค่ำมำกกว่ำที่ควร อำจทำให้มอเตอร์ไหม้ได้

18
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
28(แนว มช) แบตเตอรี่ ขนำด 6 โวลต์ มีค วำมต้ำนทำนภำยใน 1 โอห์ ม ต่อเข้ำกับมอเตอร์
กระแสตรงซึ่ งมีควำมต้ำนทำนของขดลวดของมอเตอร์ เท่ำกับ 1 โอห์ม ในขณะที่มอเตอร์
หมุนสำมำรถวัดกระแสไฟฟ้ ำ 0.5 แอมแปร์ แรงเคลื่อนไฟฟ้ ำดันกลับมอเตอร์ มีค ่ำเท่ำใด
1. 7.5 V 2. 5.5 V 3. 5.0 V 4. 4.5 V

29. มอเตอร์ เครื่ องหนึ่ งใช้กบั แรงเคลื่ อนไฟฟ้ ำ 12 โวลต์ ขณะมอเตอร์ ก ำลังทำงำนจะเกิ ด
แรงเคลื่อนไฟฟ้ ำต้ำนกลับ 10 โวลต์ และมีกระแสผ่ำนมอเตอร์ 8 แอมแปร์ ขดลวดของ
มอเตอร์ มีควำมต้ำนทำนเท่ำใด

30(แนว มช) ถ้ำมอเตอร์ ฝืดจนหยุดหมุนเป็ นเวลำนำนจะทำให้มอเตอร์ไหม้เพรำะ


1. มีควำมเสี ยดทำนเกิดขึ้นตำมจุดหมุนเป็ น
2. เกิดแรงเคลื่อนไฟฟ้ ำเหนี่ยวนำซึ่ งมีทิศตรงกันข้ำมกับแรงเคลื่อนไฟฟ้ ำเดิม
3. ไม่มีแรงเคลื่อนไฟฟ้ ำดันกลับเกิดขึ้น
4. ทำให้ฟลักซ์แม่เหล็กที่ผำ่ นขดลวดมีกำรเปลี่ยนแปลง เกิดกระแสเหนี่ยวนำขึ้นเป็ น
จำนวนมำก

15.9 หม้ อแปลงไฟฟ้า


หม้ อแปลงไฟฟ้า คือเครื่ องมือที่ใช้เปลี่ยนควำมต่ำงศักย์ ( หรื อแรงเคลื่อนไฟฟ้ ำ ) ให้มีค่ำ
สู งขึ้นหรื อต่ำลงตำมต้องกำร หม้อแปลงไฟฟ้ ำมี
2 แบบ ได้แก่
1. หม้อแปลงขึ้น (Set up Transformer)
ใช้เปลี่ยนควำมต่ำงศักย์จำกต่ำเป็ นสู งขึ้น
2. หม้อแปลงลง (Step down Transformer)
ใช้เปลี่ยนควำมต่ำงศักย์จำกสู งเป็ นต่ำลง
19
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
ส่ วนประกอบของหม้ อแปลงไฟฟ้า
1. แกนเหล็ก อ่ อน ท ำด้วยเหล็ ก อ่อนแผ่นบำงๆ หลำยๆ แผ่นวำงซ้อนกัน นิ ยมตัดเป็ น
สี่ เหลี่ยมจัตุรัสกลำงกลวงหรื อตัดเป็ นรู ปตัว E ทำหน้ำที่รวมเส้นแรงแม่เหล็กจำกขดลวด
2. ขดลวดปฐมภูมิ (Pimary coil) เป็ นขดลวดที่ปล่อยให้กระแสไฟฟ้ ำเข้ำ พันอยูท่ ี่ขำข้ำง
หนึ่งของแกนเหล็ก
3. ขดลวดทุติยภูมิ (Secondary coil) เป็ นขดลวดที่ส่ งกระแสไฟฟ้ ำออก จะพันอยูท่ ี่ปลำย
อีกข้ำงหนึ่งของแกนเหล็ก
หลักการทางานของหม้ อแปลงไฟฟ้า
เมื่อให้แรงเคลื่อนไฟฟ้ ำ (E1) ผ่ำนไปยังขด
ลวดปฐมภูมิ จะเกิดสนำมแม่เหล็กวนรอบๆ ขด
ลวดปฐมภูมิข้ ึน และฟลักซ์แม่เหล็กที่เกิดขึ้นจะ
เหนี่ยวนำให้เกิดแรงเคลื่อนไฟฟ้ ำ (E2) ที่ขดลวด
ทุติยภูมิ
ควำมสัมพันธ์ ของแรงเคลื่อนไฟฟ้ ำทั้งสองคือ
E1 N1 V1
E2 = N2 = V2
เมื่อ E1 , E2 คือแรงเคลื่อนไฟฟ้ ำของขดลวดปฐมภูมิ และทุติยภูมิ ตำมลำดับ
N1 , N2 คือจำนวนขดลวดปฐมภูมิ และทุติยภูมิ ตำมลำดับ
V1 , V2 คือควำมต่ำงศักย์ของขดลวดปฐมภูมิ และ ทุติยภูมิ ตำมลำดับ
ข้ อควรรู้ 1. หม้อแปลงลง จะมีค่ำ E2 < E1 และ V2 < V1 และ N2 < N1
หม้อแปลงขึ้น จะมีค่ำ E2 > E1 และ V2 > V1 และ N2 > N1
2. ประสิ ทธิ ภำพของหม้อแปลงหำได้จำก
P
Eff = P2 x 100 %
1
เมื่อ Eff คือประสิ ทธิ ภำพของหม้อแปลง ( %)
P1 คือกำลังไฟฟ้ ำที่ใส่ เข้ำไปที่ขดลวดปฐมภูมิ ( วัตต์ )
P2 คือกำลังไฟฟ้ ำที่เกิดในขดลวดทุติยภูมิ ( วัตต์ )

20
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
หำกหม้อแปลงมีประสิ ทธิภำพ 100%
จะได้ P 1 = P2 ( แทนค่ำ P = I V )
จะได้ I1 V1 = I2 V2
31(แนว มช) กระแสไฟฟ้ ำสลับในขดลวดทุติยภูมิของหม้อแปลงไฟฟ้ ำเกิดขึ้นได้เนื่องจำก
1. กำรเปลี่ยนแปลงสนำมไฟฟ้ ำ 2. กำรเปลี่ยนแปลงสนำมแม่เหล็ก
3. แกนเหล็กของหม้อแปลงไฟฟ้ ำ 4. กระแสไฟฟ้ ำในขดปฐมภูมิ

32(แนว En) หม้อแปลงไฟฟ้ ำซึ่ งใช้ไฟฟ้ ำ 200 โวลต์ มีขดลวดปฐมภูมิ 100 รอบ ถ้ำต้องกำร
ให้หม้อแปลงนี้สำมำรถจ่ำยไฟฟ้ ำได้ 3000 โวลต์ ขดลวดทุติยภูมิตอ้ งมีจำนวนรอบเท่ำไร
1. 750 รอบ 2. 1500 รอบ 3. 3000 รอบ 4. 4500 รอบ

33(แนว En) หม้อแปลงเครื่ องหนึ่ง มีจำนวนรอบของขดลวดปฐมภูมิต่อจำนวนรอบของขดลวด


ทุติยภูมิเป็ น 1 : 4 ถ้ำมีควำมต่ำงศักย์ในขดลวดทุติยภูมิเท่ำกับ 1000 โวลต์ จงหำควำม
ต่ำงศักย์ในขดลวดปฐมภูมิ
1. 100 V 2. 150 V 3. 200 V 4. 250 V

21
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
34(แนว En) หม้อแปลงไฟลงจำก 20000 โวลต์ เป็ น 200 โวลต์ เกิดกำลังในขดลวดทุติยภูมิ
5.6 กิโลวัตต์ หม้อแปลงมีประสิ ทธิภำพร้อยละ 80 กระแสไฟฟ้ ำที่ผำ่ นขดลวดปฐมภูมิมีค่ำ
เท่ำใด
1. 0.24 A 2. 0.27 A 3. 0.35 A 4. 0.54 A

35. เตำรี ดไฟฟ้ ำเครื่ องหนึ่ งมีควำมต้ำนทำน 20 โอห์ม ใช้ก บั ควำมต่ำงศักย์ 110 โวลต์ แต่
ไฟฟ้ ำที่ใช้กนั ตำมบ้ำนมีควำมต่ำงศักย์ 220 โวลต์ จึงต้องใช้หม้อแปลงไฟฟ้ ำช่วยเมื่อใช้เตำ
รี ดเครื่ องนี้ ถ้ำหม้อแปลงไฟฟ้ ำมี ประสิ ท ธิ ภ ำพ 75% จงหำค่ำกระแสไฟฟ้ ำที่ ไหลผ่ำน
ขดลวดปฐมภูมิ
1. 2.06 A 2. 3.7 A 3. 2.75 A 4. 11 A

22
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
36(แนว En) หม้อแปลงเครื่ องหนึ่ ง มีจำนวนรอบของขดลวดปฐมภูมิต่อจำนวนรอบของขดลวด
ทุติยภูมิเป็ น 1 : 5 ถ้ำมีกระแสไฟฟ้ ำและควำมต่ำงศักย์ในขดลวดทุติยภูมิเท่ำกับ 10 แอม-
แปร์ และ 200 โวลต์ ตำมลำดับ จงหำควำมต่ำงศักย์และกระแสไฟฟ้ ำในขดลวดปฐมภูมิ
1. 40 V และ 50 A 2. 50 V และ 40 A
3. 40 V และ 40 A 4. 50 V และ 50 A

15.10 ไฟฟ้ ากระแสสลับ


15.10.1 ค่ าของปริมาณทีเ่ กี่ยวข้ องกับไฟฟ้ ากระแสสลับ
ดังได้กล่ำวมำแล้วว่ำแรงเคลื่อนไฟฟ้ ำเหนี่ยวนำ E
ที่เกิดจำกเครื่ องกำเนิดไฟฟ้ ำแบบหมุนขดลวดในสนำม + +
แม่เหล็กจะมีขนำดไม่คงที่และมีทิศสลับไปมำ ควำม 0 t
2 – T –
T

สัมพันธ์ระหว่ำงแรงเคลื่อนไฟฟ้ ำกับเวลำจะอยูใ่ นรู ป


e = Em sin  t
เมื่อ e คือแรงเคลื่อนไฟฟ้ ำ ณ เวลำ t ใดๆ ( โวลต์ )
Em คือแรงเคลื่อนไฟฟ้ ำสู งสุ ด (โวลต์ )
 คือควำมเร็ วเชิงมุม ( เท่ำกับอัตรำเร็ วเชิงมุมของกำรหมุนขดลวด ) ( เรเดียน/วินำที )
ค่า  หาค่าได้จาก
 = 2π
T หรื อ  = 2 f
เมื่อ T คือคำบของไฟฟ้ ำกระแสสลับ ( เท่ำกับคำบของกำรหมุนขดลวด ) (วินำที)
f คือควำมถี่ของไฟฟ้ ำกระแสสลับ ( เท่ำกับควำมถี่ของกำรหมุนขดลวด ) ( เฮิร์ตซ )
23
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
เมื่ อเรำต่ อแรงเคลื่ อ นไฟฟ้ ำข้ำงต้น เข้ำ กับ ตัว ต้ำนทำน จะมี ก ระแสไฟฟ้ ำไหลผ่ำนตัว
ต้ำนทำนและเกิดควำมต่ำงศักย์ระหว่ำงปลำยของตัวต้ำนทำน ซึ่ งจะมีค่ำแปรเปลี่ยนไปตำมเวลำ
ดังสมกำรต่อไปนี้
i = Im sin  t และ v = Vm sin  t
เมื่อ i และ v คือกระแสไฟฟ้ ำและควำมต่ำงศักย์ ณ เวลำ t ใดๆ
Im และ Vm คือกระแสไฟฟ้ ำและควำมต่ำงศักย์สูงสุ ด
37. เครื่ องกำเนิดไฟฟ้ ำกระแสสลับเครื่ องหนึ่ งผลิตกระแสไฟฟ้ ำได้สูงสุ ด 20 แอมแปร์ ควำม-
ต่ำงศักย์สูงสุ ด 300 โวลต์ ควำมถี่กระแสไฟฟ้ ำ 50 เฮิรตซ์ จงหำกระแสไฟฟ้ ำ และควำม
ต่ำงศักย์ ณ เวลำ 600 1 วินำที หลังจำกเปิ ดเครื่ อง
1. 10 A , 150 V 2. 20 A , 150 V
3. 10 A , 300 V 4. 20 A , 300 V

กำรหำค่ำเฉลี่ยของกระแสไฟฟ้ ำและควำมต่ำงศักย์ไฟฟ้ ำของกระแสไฟฟ้ ำสลับนั้น อำจ


ทำได้หลำยวิธีได้แก่
1. ทำกำรทดลอง ซึ่ งค่ำที่ได้จำกกำรทดลองจะเรี ยกเป็ นค่ ายังผล
2. ใช้เครื่ องมือวัดค่ำโดยตรง ค่ำที่ได้จำกกำรวัดเรี ยกค่ ามิเตอร์
3. คำนวณหำ ค่ำที่ได้จำกกำรคำนวณเรี ยกค่ ารากทีส่ องของกาลังสองเฉลีย่ ( root
mean square , rms ) ซึ่งหำได้จำกสมกำร
Irms = Im2 และ Vrms = Vm2
เมื่อ Irms และ Vrms คือค่ำกระแสไฟฟ้ ำเฉลี่ย และควำมต่ำงศักย์เฉลี่ย
Im และ Vm คือค่ำกระแสไฟฟ้ ำสู งสุ ด และควำมต่ำงศักย์สูงสุ ด
24
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
38. แอมมิ เตอร์ ก ระแสไฟฟ้ ำสลับ ต่ ออนุ ก รมกับ หลอดไฟอ่ ำนค่ ำได้ 0.25 แอมแปร์ จงหำ
กระแสสู งสุ ด ( Im ) ที่ไหลผ่ำนหลอดไฟในหน่วยแอมแปร์
1. 0.25 2. 0.5 3. 0.5 4. 0.25 2
2

39. จำกข้อที่ ผ่ำนมำ ถ้ำโวลต์มิเตอร์ กระแสไฟฟ้ ำสลับต่อคร่ อมหลอดไฟอ่ำนควำมต่ำงศักย์


100 โวลต์ จงหำควำมต่ำงศักย์มำกสุ ด ( Vm ) mujคร่ อมหลอดไฟในหน่วยโวลต์
1. 50 2. 100 3. 100 4. 100 2
2

40(แนว มช) ถ้ำกล่ำวว่ำไฟฟ้ ำในบ้ำนมีควำมต่ำงศักย์ 220 โวลต์ หมำยควำมว่ำควำมต่ำงศักย์


สู งสุ ดมีค่ำกี่โวลต์
1. 110 2. 220 3. 220 4. 220 2
2

41. ในวงจรไฟฟ้ ำกระแสสลับ ถ้ำควำมสัมพันธ์ของควำมต่ำงศักย์ของแหล่งกำเนิ ด E แปรกับ


เวลำ t ใดๆ ตำมควำมสัมพันธ์ E = 20 sin 314 t จงหำค่ำยังผล ( หรื อค่ำมิเตอร์ ) ของ
ควำมต่ำงศักย์ และควำมถี่ของกระแสไฟฟ้ ำสลับนี้
1. 10 V , 50 Hz 2. 10 V , 100 Hz
3. 10 2 V , 50 Hz 4. 10 2 V , 100 Hz

25
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
42. โวลต์มิเตอร์ ตวั หนึ่ งอ่ำนค่ำควำมต่ำงศักย์ของไฟบ้ำนซึ่ งเป็ นไฟฟ้ ำกระแสสลับ 50 เฮิรตซ์
ได้ 200 โวลต์ ถ้ำ V เป็ นค่ำควำมต่ำงศักย์ระหว่ำงคู่สำยที่เวลำ t ใดๆ ข้อใดต่อไปนี้แสดง
ควำมสัมพันธ์ระหว่ำง V และ t ได้อย่ำงถูกต้อง
1. V = 283 sin 100 t 2. V = 200 sin 100 t
3. V = 283 sin 50 t 4. V = 200 sin 50 t

15.10.2 ตัวต้ านทาน ตัวเก็บประจุ และตัวเหนี่ยวนาในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ


ก. ตัวต้ านทานในวงจรไฟฟ้ ากระแสสลับ
เมื่อมีกระแสไฟฟ้ ำสลับไหลผ่ำนตัวต้ำนทำน
จะเกิดควำมต่ำงศักย์คร่ อมตัวต้ำนทำนนั้น
เรำสำมำรถหำค่ำควำมต่ำงศักย์ที่เกิดได้จำก
V = IR
เมื่อ V คือควำมต่ำงศักย์คร่ อมตัวต้ำนทำน (โวลต์)
I คือกระแสไฟฟ้ ำที่ไหลผ่ำนตัวต้ำนทำน
( แอมแปร์ )
R คือค่ำควำมต้ำนทำน (โอห์ม)
และค่ำกระแส ณ เวลำใดๆ หำค่ำได้จำก
i = Im sin  t
และ v = Vm sin  t
เมื่อ i และ v คือกระแสที่ไหล และควำมต่ำงศักย์ของตัวต้ำนทำน ณ เวลำ t ใด ๆ
Im และ Vm คือกระแสสู งสุ ดและควำมต่ำงศักย์สูงสุ ดของตัวต้ำนทำน
ควรทราบว่า เฟสของกระแสไฟฟ้ ำและควำมต่ำงศักย์ของตัวต้ำนทำนจะมีค่ำเท่ำกันเสมอ
26
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
43(แนว En) ในวงจรไฟฟ้ ำกระแสสลับดังรู ป ถ้ำโวลต์
มิเตอร์ V อ่ำนค่ำควำมต่ำงศักย์ได้ 200 โวลต์ จง R = 100 
V 
หำกระแสสู งสุ ดที่ผำ่ นควำมต้ำนทำน R
1. 0.70 A 2. 2.00 A 3. 2.82 A 4. 4.80 A

ข. ตัวเก็บประจุในวงจรไฟฟ้ ากระแสสลับ
เมื่อมีกระแสไฟฟ้ ำสลับไหลผ่ำนตัวเก็บประจุ
จะเกิดควำมต่ำงศักย์คร่ อมตัวเก็บประจุน้ นั
เรำสำมำรถหำค่ำควำมต่ำงศักย์ที่เกิดได้จำก
V = I XC
เมื่อ V คือควำมต่ำงศักย์คร่ อมตัวเก็บประจุ (โวลต์ )
I คือกระแสไฟฟ้ ำที่ไหลผ่ำนตัวเก็บประจุ ( แอมแปร์ )
XC คือค่ำควำมต้ำนทำนเชิ งควำมจุ ( โอห์ม )
และ XC = 1 C = 21f C
เมื่อ C คือค่ำควำมจุประจุ ( ฟำรัด )
f คือควำมถี่กระแสไฟฟ้ ำ ( เฮิรตซ์ )
และค่ำกระแส ณ เวลำใด ๆ หำค่ำได้จำก
i = Im sin  t
และ v = Vm sin ( t – 90o)
เมื่อ i และ v คือกระแสไฟฟ้ ำที่ไหล และควำมต่ำง
ศักย์ของตัวเก็บประจุ ณ.เวลำ t ใด ๆ
Im และ Vm คือกระแสไฟฟ้ ำสู งสุ ดและควำมต่ำง
ศักย์สูงสุ ดของตัวตัวเก็บประจุ
ควรทรำบว่ำ
เฟสของควำมต่ำงศักย์ของตัวเก็บประจุจะมีค่ำน้อยกว่ำเฟสของกระแสไฟฟ้ ำอยู่ 2 หรื อ 90o
27
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
44. ควำมต่ำงศักย์คร่ อมตัวเก็บประจุมีค่ำกี่โวลต์ จึงจะทำให้เกิดกระแสไฟฟ้ ำ 3.14 มิลลิแอม-
แปร์ ในวงจรตัวเก็บประจุที่มีควำมจุ 0.5 ไมโครฟำรัด เมื่อควำมถี่ของกระแสไฟฟ้ ำเป็ น
1 กิโลเฮิรตซ์
1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

45. ตัวเก็บประจุควำมจุ 70 ไมโครฟำรั ด ต่อกับแหล่งกำเนิ ดไฟฟ้ ำสลับที่ มีค่ำยังผลของแรง


เคลื่ อนไฟฟ้ ำ 50 โวลต์ จงหำควำมถี่ ของแหล่ งกำเนิ ดเพื่ อให้เกิ ดกระแสไหลผ่ำนตัวเก็บ
ประจุ 1.1 แอมแปร์
1. 50 Hz 2. 100 Hz 3. 150 Hz 4. 220 Hz

ค. ตัวเหนี่ยวนาในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
เมื่อมีกระแสไฟฟ้ ำสลับไหลผ่ำนขดลวดเหนี่ยวนำ
จะเกิดควำมต่ำงศักย์คร่ อมขดลวดเหนี่ยวนำนั้น
เรำสำมำรถหำค่ำควำมต่ำงศักย์ที่เกิดได้จำก
V = I XL
เมื่อ V คือควำมต่ำงศักย์คร่ อมขดลวดเหนี่ยวนำ ( โวลต์ )
I คือกระแสไฟฟ้ ำที่ไหลผ่ำนขดลวดเหนี่ยวนำ ( แอมแปร์ )
XL คือค่ำควำมต้ำนทำนเชิ งหนี่ยวนำ ( โอห์ม )
และ XL =  L = 2 f L
เมื่อ L คือค่ำควำมเหนี่ยวนำของขดลวด (เฮนรี )
f คือควำมถี่กระแสไฟฟ้ ำ ( เฮิรตซ์ )

28
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
และค่ำกระแส ณ เวลำใด ๆ หำค่ำได้จำก
i = Im sin  t
และ v = Vm sin ( t + 90o)
เมื่อ i และ v คือกระแสไฟฟ้ ำที่ไหล และควำม
ต่ำงศักย์ของตัวเก็บประจุ ณ เวลำ t ใดๆ
Im และ Vm คือกระแสไฟฟ้ ำสู งสุ ดและควำมต่ำง
ศักย์สูงสุ ดของตัวตัวเก็บประจุ
ควรทรำบว่ำ
เฟสของควำมต่ำงศักย์ของตัวเหนี่ยวนำจะมีค่ำมำกกว่ำเฟสของกระแสไฟฟ้ ำอยู่ 2 หรื อ 90o
46(แนว มช) วงจรไฟฟ้ ากระแสสลับความถี่ 100 เฮิรตซ์ ประกอบด้วยตัวต้านทาน 20 โอห์ม
และตัวเหนี่ยวนา 20 มิลลิเฮนรี มีกระแสผ่าน 0.2 แอมแปร์ ความต่างศักย์ระหว่าง
ปลายของตัวเหนี่ยวนาจะมีค่ากี่โวลต์

47. ตัวเหนี่ ยวนำ 0.07 เฮนรี ต่ อเป็ นวงจรกับ แหล่ งกำเนิ ดไฟฟ้ ำกระแสสลับ ควำมต่ ำงศัก ย์
220 โวลต์ 50 เฮิรตซ์ จะเกิดกระแสไฟฟ้ ำที่ไหลในวงจรกี่แอมแปร์
1. 5 2. 10 3. 15 4. 20

29
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
48(แนว มช) วงจรกระแสไฟฟ้ ำสลับมีกระแส i เป็ น i = 5 sin 1000 t แอมแปร์ วัด
ควำมต่ำงศักย์ระหว่ำงปลำยของตัวเหนี่ยวนำได้ 100 โวลต์ จงหำค่ำควำมเหนี่ยวนำ
2
ของตัวเหนี่ยวนำในหน่วยเฮนรี
1. 12 x 10–3 2. 20 x 10–3 3. 28 x 10–3 4. 40 x 10–3

49(แนว En) ส่ วนประกอบของวงจรไฟฟ้ ำกระแสสลับ ตำมรู ป (ก) มี กระแสไฟฟ้ ำที่ ผ ่ำนและ


ควำมต่ำงศักย์ระหว่ำงปลำยทั้งสองสัมพันธ์กนั ตำมรู ป (ข) จงวิเครำะห์วำ่ ส่ วนประกอบของ
วงจรไฟฟ้ ำนี้คืออะไร
ส่วนประกอบ i , v 90o
ของวงจร v

0o t
i
(ก) (ข)
1. ตัวเก็บประจุ
2. ตัวเหนี่ยวนำ
3. ตัวต้ำนทำน
4. เป็ นวงจรผสมของตัวเหนี่ยวนำและตัวต้ำนทำน

50(แนว มช) ตัวเหนี่ ยวนำ L = 50 มิลลิ เฮนรี มีกระแสสลับ เป็ น i เมื่อ i = 3 sin 60 t
แอมแปร์ จงหำควำมต่ำงศักย์ระหว่ำงปลำยของตัวเหนี่ยวนำนี้ เมื่อเวลำ t ใดๆ
1. VL = sin 60 t 2. VL = 150 sin 60 t
3. VL = 150 cos ( 60 t – 2 ) 4. VL = 9 sin ( 60 t + 2 )

30
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
15.10.3 กาลังไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
กำรหำกำลังไฟฟ้ ำของไฟฟ้ ำกระแสสลับสำมำรถหำค่ำได้จำก
P = I V cos  และ P = I2 R และ P = VR2
เมื่อ P คือกำลังไฟฟ้ ำของวงจร (วัตต์)
I คือกระแสไฟฟ้ ำในวงจร (แอมแปร์ )
V คือควำมต่ำงศักย์ (โวลต์)
 คือเฟสที่แตกต่ำงระหว่ำงเฟสของกระแสไฟฟ้ ำกับควำมต่ำงศักย์
cos  คือตัวประกอบกำลัง
R คือค่ำควำมต้ำนทำน ( โอห์ม )
51(แนว En) ถ้าเฟสของกระแสยังผลและความต่างศักย์
ยังผลของวงจรไฟฟ้ ากระแสสลับเป็ นดังรู ป กาลังไฟ V = 1000 V
ฟ้ าเฉลี่ยที่สูญเสี ยในวงจรนี้ มีค่ากี่กิโลวัตต์
1. 4 kW 2. 5 kW 60o I = 10 A
3. 8 kW 4. 9 kW

52. ก ำหนดให้ v = 100 sin  โวลต์ และกระแสไฟฟ้ ำ i = 10 sin (  – 60o) แอมแปร์


กำลังไฟฟ้ ำสู งสุ ดจะมีค่ำเท่ำใด
1. 1000 วัตต์ 2. 750 วัตต์ 3. 500 วัตต์ 4. 250 วัตต์

31
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
53. ขดลวดเหนี่ ยวน ำ 0.03 เฮนรี และตัวต้ำนทำน 40 โอห์ ม ต่ ออนุ ก รมกับ แหล่ งกำเนิ ด
ไฟฟ้ ำกระแสสลับ กระแสไฟฟ้ ำของวงจร ( i ) มีค่ำดังสมกำร i = 5 sin (1000 t) แอมแปร์
จงหำกำลังเฉลี่ยของวงจร
1. 500 วัตต์ 2. 750 วัตต์ 3. 1000 วัตต์ 4. 1500 วัตต์

32
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
เฉลยบทที่ 15 ไฟฟ้ าและแม่ เ หล็ ก
1. ตอบข้ อ 4. 2. ตอบข้ อ 3. 3. ตอบข้ อ 2. 4. ตอบข้ อ 3.
5. ตอบข้ อ 4. 6. ตอบข้ อ 4. 7. ตอบข้ อ 3. 8. ตอบข้ อ 4.
9. ตอบข้ อ 4. 10. ตอบข้ อ 1. 11. ตอบข้ อ 1. 12. ตอบข้ อ 1.
13. ตอบข้ อ 2. 14. ตอบข้ อ 1. 15. ตอบข้ อ 4. 16. ตอบข้ อ 2.
17. ตอบ 1 18. ตอบข้ อ 2. 19. ตอบข้ อ 2. 20. ตอบข้ อ 1.
21. ตอบข้ อ 2. 22. ตอบข้ อ 4. 23. ตอบข้ อ 4. 24. ตอบข้ อ 3.
25. ตอบ 5 26. ตอบข้ อ 2. 27. ตอบข้ อ 1. 28. ตอบข้ อ 3.
29. ตอบ 0.25 30. ตอบข้ อ 3. 31. ตอบข้ อ 2. 32. ตอบข้ อ 2.
33. ตอบข้ อ 4. 34. ตอบข้ อ 3. 35. ตอบข้ อ 2. 36. ตอบข้ อ 1.
37. ตอบข้ อ 1. 38. ตอบข้ อ 4. 39. ตอบข้ อ 4. 40. ตอบข้ อ 4.
41. ตอบข้ อ 3. 42. ตอบข้ อ 1. 43. ตอบข้ อ 3. 44. ตอบข้ อ 1.
45. ตอบข้ อ 1. 46. ตอบ 0.8 47. ตอบข้ อ 2. 48. ตอบข้ อ 2.
49. ตอบข้ อ 2. 51. ตอบข้ อ 2. 52. ตอบข้ อ 3. 53. ตอบข้ อ 1.



33
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
ตะลุ ย โจทย์ ท่ วั ไป บทที่ 15 ไฟฟ้ าและแม่ เ หล็ ก
15.1 แม่ เหล็กและสนามแม่ เหล็ก
15.1.1 สนามแม่ เหล็ก
15.1.2 สนามแม่ เหล็กโลก
15.1.3 ฟลักซ์ แม่ เหล็ก
1. ขดลวดตัวนำวงกลมรัศ มี 10 เซนติ เมตร วำงอยู่ในบริ เวณที่ มี สนำมแม่ เหล็ก สม่ ำเสมอ 4
เทสลำ จงหำฟลักซ์แม่เหล็กที่ผำ่ นขดลวดเมื่อระนำบขดลวดทำมุม 30o กับสนำมแม่เหล็ก
1. 0.02  เวเบอร์ 2. 0.04  เวเบอร์
3. 0.023  เวเบอร์ 4. 0.043  เวเบอร์

15.2.4 การเคลือ่ นทีข่ องอนุภาคทีม่ ีประจุไฟฟ้าในสนามแม่ เหล็ก


2(แนว En) อนุภำคไฟฟ้ ำบวกจำกอวกำศเคลื่อนที่ลงหำผิวโลกในแนวดิ่งบริ เวณเส้นสู ตรศูนย์
ของโลก ซึ่งมีสนำมแม่เหล็กโลกขนำนกับผิวโลก โปรตอนจะเบนไปทำงทิศใด
1. ทิศเหนื อ 2. ทิศตะวันตก 3. ทิศใต้ 4. ทิศตะวันออก

3. เมื่อประจุลบวิง่ ด้วย v ในสนำมแม่เหล็กสม่ำเสมอ ประจุน้ นั วิง่ เป็ นวงกลมกำรเคลื่อนที่ดงั


รู ปใดเป็ นรู ปที่ถูกต้อง ( x แสดงทิศทำงของ B เข้ำตั้งฉำกกับกระดำษ )
1. X X X X X v X
 2.
B
X X X X X X

X
v
X X X X X
B

3.  4. 
B B

v v

34
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
4. อนุภำคอิเล็กตรอน ( ประจุ –1.6 x 10–19 คูลอมบ์ ) ถูกยิงอย่ำงตั้งฉำก กับ สนำมแม่เหล็กที่มี
ควำมเข้ม 10 เทสลำ ด้วยควำมเร็ ว 3 x 107 เมตร/วินำที ในทิศทำง ( +x ) ดังรู ป ขนำด
และทิศทำงของแรงเนื่องจำกสนำมแม่
เหล็กเป็ นตำมข้อใด สนามแม่เหล็กมีทิศพุง่ เข้ากระดาษ
x x x
1. 4.8 x 10–11 นิวตัน , ทิศ ( +Y )
2. 4.8 x 10–11 นิวตัน , ทิศ ( –Y ) Y e x x x
3. 4.8 x 10–12 นิวตัน , ทิศ ( +Y )
X x x x
4. 4.8 x 10–12 นิวตัน , ทิศ ( –Y )
5. อิเล็กตรอนที่มีควำมเร็ ว 1 x 107 เมตร/วินำที ในทิศตั้งฉำกกับสนำมแม่เหล็กขนำด 10–4
เทสลำ จะมีแรงกระทำเท่ำใดในหน่วยนิวตัน
1. 1.6 x 10–12 2. 1.6 x 10–16 3. 3.2 x 10–12 4. 3.2 x 10–16
6. จำกข้อที่ผำ่ นมำ ถ้ำสนำมแม่เหล็กนั้นสม่ ำเสมอ อิเล็กตรอนจะวิ่งโค้งด้วยรัศมีควำมโค้งกี่
เมตร
1. 2.812 2. 0.2812 3. 5.625 4. 0.5625
7(แนว มช) ยิงอิเล็กตรอนด้วยควำมเร็ ว 5.0 x 107 
x x x x x x x xB
เมตร/วินำที เข้ำไปในทิศตั้งฉำกกับ B จะมี x x x x x x x x
แรงกระทำต่ออิเล็กตรอนด้วยขนำดเท่ำไร ใน v
x x x x x x x x
หน่วยของนิ วตัน x x x x x x x x

1. 2.8 x 10–14 2. 0.7 x 10–10 B เป็ นสนามแม่เหล็กมีทิศพุง่ ตั้งฉากลงไป
3 1.0 x 102 4. 1.8 x 105 ในกระดาษมีขนาด 3.5 x 10–3 เทสลา

8(แนว มช) จำกข้อที่ผำ่ นมำอิเล็กตรอนจะมีกำรเคลื่อนที่อย่ำงไร


1. หยุดนิ่งกับที่เนื่ องจำกแรงโน้มถ่วง
2. เคลื่อนที่เป็ นรู ปพำรำโบลำ
3. เคลื่อนที่เป็ นวงกลมในทิศตำมเข็มนำฬิกำ
4. เคลื่อนที่เป็ นวงกลมในทิศทวนเข็มนำฬิกำ

35
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
9(แนว มช) จำกข้อที่ผำ่ นมำรัศมีควำมโค้งของกำรเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนมีค่ำกี่เมตร
1. 8.31 x 10–55 2. 3.94 x 10–22
3. 2.78 x 10–10 4. 8.13 x 10–2
10. โปรตอนตัวหนึ่ งเข้ำมำในสนำมแม่เหล็กขนำด 1.5 เทสลำ ด้วยควำมเร็ ว 2 x 107 เมตร/-
วิน ำที โปรตอนเป็ นอนุ ภ ำคมี ป ระจุไ ฟฟ้ ำ 1.6 x 10–19 คู ล อมบ์ มี ม วล 1.67 x 10–27
กิโลกรัม จงคำนวณหำรัศมีวงโคจรกำรเคลื่อนที่ของโปรตอน เมื่อโปรตอนเคลื่อนที่ต้ ังฉำก
กับสนำมแม่เหล็ก
1. 3.48 cm 2. 6.96 cm 3. 13.9 cm 4. 20.88 cm
11. อนุ ภำคโปรตอนในรั งสี คอสมิ กพุ่งเข้ำหำโลกในทิ ศทำงตั้งฉำกกับเส้ นแรงของสนำมแม่
เหล็กโลกด้วยควำมเร็ ว 2.4 x 108 เมตร/วินำที หลังจำกเกิดกำรเบี่ยงเบนโดยสนำมแม่เหล็ก
โลกแล้ว ปรำกฏว่ำอนุภำคโปรตอนเคลื่อนที่เป็ นวงกลมรอบโลกโดยมีรัศมีของวงโคจร
8.35 x 103 กิ โลเมตร ควำมเข้มข้นของสนำมแม่เหล็กโลก ณ ตำแหน่ งของวงโคจรมี ค่ำกี่
เทสลำ กำหนดให้มวลของอนุ ภำคโปรตอนเท่ำกับ 1.67 x 10–27 กิโลกรัม มีประจุเท่ำกับ
1.6 x 10–19 คูลอมบ์
1. 2 x 10–7 2. 3 x 10–7 3. 2 x 10–10 4. 3 x 10–10
12. อนุภำคดิวเทอรอนเคลื่อนที่ดว้ ยควำมเร็ ว 9.6 x 106 เมตรต่อวินำที ในทิศทำงที่ต้ งั ฉำกกับ
สนำมแม่เหล็กที่มีขนำด 0.4 เทสลำ ทำให้อนุ ภำคดิวเทอรอนเคลื่อนที่เป็ นวงกลมรัศมี
0.5 เมตร อัต รำส่ ว นระหว่ำ งประจุ ต่ อ มวลของอนุ ภ ำคดิ ว เทอรอนจะมี ค่ ำ กี่ คู ล อมบ์ ต่ อ
กิโลกรัม
1. 2.1 x 10–8 2. 2.1 x 10–6 3. 4.8 x 105 4. 4.8 x 107
13. อิเล็กตรอนหนึ่งวิง่ เป็ นวงกลมรัศมี 1.2 เซนติเมตร ตั้งฉำกกับสนำมแม่เหล็กสม่ำเสมอด้วย
ควำมเร็ ว 106 เมตร/วิน ำที อยำกทรำบว่ำ จำนวนฟลัก ซ์ แ ม่ เหล็ ก ภำยในวงโคจรของ
อิเล็กตรอนมีค่ำกี่เวเบอร์
1. 4.7 x 10–2 2. 4.7 x 10–4 3. 2.14 x 10–5 4. 2.14 x 10–7

36
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
14. อิเล็กตรอนเคลื่ อนที่ดว้ ยควำมเร็ ว 100 เมตร/วินำที เข้ำไปในสนำมแม่เหล็กซึ่ งมีค่ำ 0.1
เทสลำ ในแนวตั้งฉำกกับสนำมแม่เหล็กนั้น กินเวลำกี่ วินำทีทิศทำงของกำรเคลื่อนที่จึงจะ
เบนไปจำกเดิม 60o กำหนดให้อิเล็กตรอน 1 ตัวมีมวล = 9.1 x 10–31 กิ โลกรัม และมี
ประจุ 1.6 x 10–19 คูลอมบ์
1. 5.0 x 10–11 2. 6.0 x 10–11 3. 7.0 x 10–8 4. 8.0 x 10–9
15. ในเครื่ องเร่ งอนุภำคบำงแบบอนุภำคจะถูกทำให้วิง่ เป็ นวงกลม โดยใช้สนำมแม่เหล็กที่มี
ทิศทำงตั้งฉำกกับแนวที่อนุภำควิง่ ถ้ำสนำมแม่เหล็กสม่ำเสมอขนำด B เทสลำ และอนุภำค
มีมวล m ประจุ q เวลำที่อนุภำควิง่ แต่ละรอบจะต้องเป็ นกี่วนิ ำที
1. 2mBq 2. 2qB
m B
3. 3qB 4. 2mqB
16. อนุ ภำคหนึ่ งวิ่งท ำมุ ม 90o กับ สนำมแม่เหล็ก ขนำดสม่ ำเสมอควำมเข้ม 2 x 10–4 เทสลำ
ถ้ำอัตรำส่ วนของประจุต่อมวลของอนุ ภำคนี้ มีค่ำเท่ำกับ 4.4 x 1010 คูลอมบ์ต่อกิ โลกรั ม
ควำมถี่ของกำรเคลื่อนที่เป็ นวงกลมของอนุภำคนี้ มีค่ำกี่เมกะเฮิรตซ์
17. จงหำขนำดของสนำมแม่เหล็ก B ที่จะทำให้อิเล็กตรอนเคลื่อนที่เป็ นวงกลมในระนำบตั้ง
ฉำกกับสนำมแม่เหล็กด้วยควำมถี่ 4.8 x 108 รอบ/วินำที
1. 1.71 x 10–2 2. 3.42 x 10–2 3. 1.71 x 10–3 4. 3.42 x 10–3
18. อิเล็กตรอนที่จุด A ดังรู ป มีควำมเร็ ว(Vo)
x x x x x
107 เมตร/วินำที จงหำขนำดของสนำมแม่
x Vo x x x x
เหล็กในหน่วยเทสลำ ที่ทำให้อิเล็กตรอน
เคลื่อนที่จำก A ไป B x x x x x
1. 1.14 x 10–3 2. 2.94 x 10–3 A e B
x x
3. 4.41 x 10–3 4. 5.88 x 10–3 10 cm

19. จำกข้อที่ผำ่ นมำ จงหำเวลำที่ใช้ในกำรเคลื่อนที่จำก A ไป B


1. 1.57 x 10–6 วินำที 2. 3.14 x 10–6 วินำที
3. 1.57 x 10–8 วินำที 4. 3.14 x 10–8 วินำที

37
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
15.2 กระแสไฟฟ้าทาให้ เกิดสนามแม่ เหล็ก
20(แนว มช) ถ้ำมีกระแสไหลในลวดตัวนำเส้นตรงดังรู ป
จะมีอะไรเกิดขึ้นกับอนุภำคอิเล็กตรอน ก. และ ข. I
ซึ่งกำลังเคลื่อนที่ขนำนกับเส้นลวดนี้ดว้ ยอัตรำเร็ ว v V V
1. อิเล็กตรอน ก. และ ข. เคลื่อนที่เข้ำหำลวดตัวนำ ก ข
2. อิเล็กตรอน ก. และ ข. เคลื่อนที่ออกจำกลวดตัวนำ
3. อิเล็กตรอน ก. เคลื่อนที่เข้ำหำลวดตัวนำ และอิเล็กตรอน ข. เคลื่อนที่ออกห่ำงลวด
4. อิเล็กตรอน ก. เคลื่อนที่ออกห่ำงลวดตัวนำ และอิเล็กตรอน ข. เคลื่อนที่เข้ำหำลวด

15.3 แรงกระทาต่ อลวดตัวนาทีม่ กี ระแสไฟฟ้ าไหลผ่ านและอยู่ในสนามแม่ เหล็ก


21. ลวดเส้นหนึ่งยำว 5.0 เซนติเมตร มีกระแสไฟฟ้ ำ
ไหล 4 แอมแปร์ วำงอยูใ่ นสนำมแม่เหล็กขนำดสม่ำ
เสมอ 10–3 เทสลำ โดยลวดเอียงทำมุม 30o กับ 30o
B

สนำมแม่เหล็กดังรู ป จงหำขนำดของแรงแม่เหล็ก i
ที่กระทำต่อลวดเส้นนี้ในหน่วยนิวตัน
1. 1 x 10–2 2. 2 x 10–2 3. 1 x 10–4 2. 2 x 10–4
22(แนว มช) ลวดเส้ น หนึ่ งยำว 10 เมตร มี ก ระแสไหลผ่ ำ น 1 แอมแปร์ วำงอยู่ ใ น
สนำมแม่เหล็กขนำดสม่ ำเสมอ 10–3 เทสลำ โดยลวดทำมุมฉำกกับสนำมแม่เหล็กขนำด
ของแรงที่กระทำ ต่อลวดเป็ นกี่นิวตัน
23. ลวดเส้นหนึ่ งยำว 5 เมตร มี ก ระแสไหลผ่ำน 4 แอมแปร์ วำงอยู่ส นำมแม่เหล็ กขนำด
สม่ำเสมอ 10–3 เทสลำ โดยลวดทำมุ มฉำกกับสนำมแม่เหล็ก ขนำดของแรงที่กระทำต่อ
ลวดเป็ นกี่นิวตัน
24. ในกำรทดลองวัดสนำมแม่เหล็กที่ศูนย์กลำงของขดลวดโซเลนอยด์ โดยกำรวัดแรงที่กระทำ
ต่อลวดที่มีกระแสไฟฟ้ ำถ้ำส่ วนของลวดที่ต้ งั ฉำกกับสนำมยำว 15 มิลลิเมตร มีแรงกระทำ
12 x 10–3 นิวตัน เมื่อมีกระแสไฟฟ้ ำผ่ำน 4.0 แอมแปร์ สนำมแม่เหล็กมีค่ำเท่ำใดในหน่วย
เทสลำ
1. 0.2 2. 0.3 3. 0.5 4. 1.2
38
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
25. ในวงจรดังรู ปมีกระแสไฟฟ้ ำไหลผ่ำนคงที่ 5 แอมแปร์ A
และสนำมแม่เหล็กมีค่ำคงที่ 0.2 เทสลำ จงหำควำมเร่ ง x x x x
ของเส้นลวด AB เมื่อลวดมีมวล 50 กรัม x x x x
5 cm x x x x
1. 0.5 m/s2 2. 1.0 m/s2 x x x x
3. 1.5 m/s2 4. 2.0 m/s2 B
26. จำกข้อที่ ผ่ำนมำ ถ้ำตอนแรกเส้ นลวดอยู่นิ่งๆ จงหำว่ำเมื่อเวลำ 0.4 วินำที ลวด AB มี
ควำมเร็ วเท่ำใด
1. 0.2 m/s 2. 0.4 m/s 3. 0.8 m/s 4. 1.0 m/s
27. ลวดตัวนำยำว 0.2 เมตร มวล 0.06 กิโลกรัม วำงอยูบ่ นโต๊ะรำบเกลี้ยงมีสนำมแม่เหล็ก

สม่ำเสมอ B ขนำด 0.08 เทสลำ มีทิศพุง่ ขึ้นตำมแนวดิ่ง เมื่อให้กระแสไฟฟ้ ำจำนวนหนึ่ง
แก่ลวด พบว่ำลวดเคลื่อนที่จำกหยุดนิ่งไปเป็ นระยะ 1.6 เมตร ในเวลำ 2 วินำที กระแส
ไฟฟ้ ำที่ให้แก่ลวดมีค่ำกี่แอมแปร์
28. แท่งตัวนำยำว 10 เซนติเมตร มวล 0.05 กิโลกรัม มีกระแสไฟฟ้ ำผ่ำน 25 แอมแปร์ เมื่อ
นำไปไว้บริ เวณที่มีสนำมแม่เหล็กขนำดสม่ ำเสมอ ปรำกฏว่ำแท่งตัวนำนี้ สำมำรถลอยนิ่ งอยู่
ในสนำมแม่เหล็ก จงหำขนำดของสนำมแม่เหล็กและเขียนรู ปประกอบ
( ไม่คิดน้ ำหนักของสำยไฟที่ต่อกับแท่งตัวนำ กำหนดค่ำ g = 10 เมตร/วินำที2 )
1. 0.2 เทสลำ 2. 0.6 เทสลำ 3. 0.8 เทสลำ 4. 1.0 เทสลำ

15.4 แรงระหว่ างลวดตัวนาสองเส้ นทีข่ นานกันและมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่ าน


15.5 แรงกระทาต่ อขดลวดทีม่ กี ระแสไฟฟ้าผ่ านและอยู่ในสนามแม่ เหล็ก
29. ขดลวดตัวนำรู ปวงกลมรัศมี 0.2 เมตร แขวนขดลวดด้วยเชื อกในแนวดิ่ ง โดยให้ระนำบ
ของขดลวดทำมุม 30o กับทิศตะวันออกถ้ำขดลวดมีจำนวนรอบ 400 รอบ มีกระแสไฟฟ้ ำ
ไหลผ่ำนขดลวด 7 แอมแปร์ สนำมแม่ เหล็ ก โลกตำมแนวรำบ ณ ตำแหน่ งที่ แขวน
ขดลวดมีควำมเข้มเท่ำกับ 0.5 เทสลำ โมเมนต์ของแรงคู่ควบที่เกิดขึ้นมีค่ำกี่นิวตันเมตร
1. 76.5 2. 88.0 3. 125.7 4. 140.0

39
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
30. ขดลวดวงกลมมีจำนวน 100 รอบ รัศมีเฉลี่ยเท่ำกับ 0.1 เมตร วำงอยูใ่ นบริ เวณที่มีสนำม
แม่เหล็ก 2 เทสลำ โดยระนำบของขดลวดทำมุม 60 องศำ กับสนำมแม่เหล็ก เมื่อผ่ำน
กระแสไฟฟ้ ำเข้ำไปในขดลวดทำให้เกิดโมเมนต์ของแรงคู่ควบ 22.44 นิวตัน.เมตร กระแส
ไฟฟ้ ำมีค่ำกี่แอมแปร์
31. ขดลวดตัวนำรู ปสี่ เหลี่ยมจัตุรัสยำวด้ำนละ 2.0 เซนติเมตร ซึ่ งมีจำนวนทั้งหมด 300 รอบ
มีกระแสไฟฟ้ ำไหลผ่ำน 10 มิลลิ แอมแปร์ ขดลวดนี้ อยู่ในสนำมแม่เหล็กภำยนอกค่ำคงที่
5 x 10–2 เทสลำ ระนำบของขดลวดทำมุม 0o กับทิศของสนำมแม่เหล็กภำยนอก ในขณะที่
ขดลวดนี้หมุนอยูใ่ นสนำมแม่เหล็ก จงหำขนำดของโมเมนต์ของแรงคู่ควบสู งสุ ดที่เกิดขึ้น
1. 0 2. 6 x 10–5 N.m
3. 8 x 10–5 N.m 4. 9 x 10–5 N.m
32. AA , BB , CC , DD แสดงตำแหน่งต่ำงๆ
ของระนำบของขดลวดซึ่งมีกระแสไฟฟ้ ำจำนวน
หนึ่งผ่ำนตำแหน่งใดของขดลวด จึงจะมีโมเมนต์
ของแรงคู่ควบมำกที่สุด
1. DD 2. CC 3. BB 4. AA

15.6 มอเตอร์ ไฟฟ้ ากระแสตรง


15.7 กระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนาและแรงเคลือ่ นไฟฟ้ าเหนี่ยวนา
33(แนว มช) แท่งแม่เหล็กเคลื่อนที่เข้ำหำหรื อออกจำกขดลวดตัวนำทำให้มีกระแสเหนี่ยวนำเกิด
ขึ้น ในขดลวด อยำกทรำบว่ำรู ปใดถูกต้อง
1. i 2. i
N S N S
v v

3. i 4. i
S N S N
v v

40
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
34(แนว มช) เมื่ อมี ก ำรเปลี่ ย นแปลงสนำมแม่ เหล็ ก  B จะท ำให้ เกิ ดกระแสเหนี่ ย วน ำใน
ขดลวด ถ้ำ  B ชี้ ทิศเดี ยวกับ B แสดงว่ำสนำมแม่เหล็กเพิ่มขึ้ น และถ้ำ  B ชี้ ทิศตรง
ข้ำมกับ B แสดงว่ำสนำมแม่เหล็กลดลง จงเลือกข้อที่ถูก B
1. B 2.
B
I
I B
3. 4. B
B
B
I
I B

15.8 เครื่องกาเนิดไฟฟ้ าและแรงเคลือ่ นไฟฟ้ าเหนี่ยวนาในมอเตอร์


15.8.1 เครื่องกาเนิดไฟฟ้ า
15.8.2 แรงเคลือ่ นไฟฟ้าเหนี่ยวนาในมอเตอร์
35. แบตเตอรี่ ขนำด 12 โวลต์ มีควำมต้ำนทำนภำยใน 1 โอห์ม ต่อเข้ำกับมอเตอร์ กระแสตรง
ซึ่งมีควำม ต้ำนทำนของขดลวดของมอเตอร์ เท่ำกับ 1 โอห์ม ในขณะที่มอเตอร์ หมุนสำมำรถ
วัดกระแสไฟฟ้ ำ 2 แอมแปร์ แรงเคลื่อนไฟฟ้ ำต้ำนกลับมอเตอร์ มีค่ำกี่โวลต์
36. มอเตอร์ไฟฟ้ ำเครื่ องหนึ่งมีควำมต้ำนทำนของขดลวด 0.5 โอห์ม สำหรับใช้ก บั แรงเคลื่อน
ไฟฟ้ ำ 12 โวลต์ ขณะทำงำนวัดกระแสไฟฟ้ ำที่ผำ่ นมอเตอร์ ได้ 8.0 แอมแปร์ แรงเคลื่อน
ไฟฟ้ ำต้ำนกลับของมอเตอร์ จะมีค่ำกี่โวลต์

15.9 หม้ อแปลงไฟฟ้า


37. หม้อแปลงไฟฟ้ ำซึ่ งใช้ไฟฟ้ ำ 220 โวลต์ มีขดลวดปฐมภูมิ 150 รอบ ถ้ำต้องกำรให้หม้อ
แปลงนี้สำมำรถจ่ำยไฟฟ้ ำได้ 1100 โวลต์ ขดลวดทุติยภูมิตอ้ งมีจำนวนรอบกี่รอบ
1. 500 2. 750 3. 1500 4. 3000

41
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
38. หม้อแปลงไฟลงจำก 10000 โวลต์ เป็ น 220 โวลต์ เกิ ด ก ำลัง ในขดลวดทุ ติย ภูมิ 5.4
กิ โลวัตต์ หม้อแปลงมีประสิ ทธิ ภำพร้ อยละ 90 กระแสไฟฟ้ ำที่ ผ ่ำนขดลวดปฐมภูมิมีค่ำกี่
แอมแปร์
1. 0.3 2. 0.6 3. 0.9 4. 1.5
39. หม้อแปลงเครื่ องหนึ่ ง มีจำนวนรอบของขดลวดปฐมภูมิต่อจำนวนรอบของขดลวดทุติยภูมิ
เป็ น 1 : 10 ถ้ำมีกระแสไฟฟ้ ำและควำมต่ำงศักย์ในขดลวดทุติยภูมิเท่ำกับ 5 แอมแปร์ และ
200 โวลต์ตำมลำดับ จงหำกระแสไฟฟ้ ำและควำมต่ำงศักย์ในขดลวดปฐมภูมิ
1. 25 A , 10 V 2. 25 A , 20 V
3. 50 A , 10 V 4. 50 A , 20 V
40(แนว En) หม้อแปลงอุดมคติตวั หนึ่งมี
ฟิ วส์
จำนวนรอบของขดลวดปฐมภูมิเป็ น 
1000 รอบ และจำนวนรอบของขด

1000 500 หม้อหุงข้าว
ลวดทุติยภูมิเป็ น 500 รอบ เมื่อนำ รอบ รอบ 100 V
มำใช้ในวงจรดังรู ป ขนำดของฟิ วส์ 700 W
ที่ใช้ตอ้ งมีค่ำอย่ำงน้อยที่สุดเท่ำไร
1. 2 A 2. 3 A 3. 5 A 4. 11 A

15.10 ไฟฟ้ ากระแสสลับ


15.10.1 ค่ าของปริมาณทีเ่ กี่ยวข้ องกับไฟฟ้ ากระแสสลับ
41. จำกกรำฟที่กำหนดให้ แสดงควำมสัมพันธ์ระหว่ำงกระแสไฟฟ้ ำกับเวลำ จงหำค่ำควำมถี่
และค่ำยังผลของกระแสไฟฟ้ ำ
I (A)
1. 50 Hz , 10 A
10
2. 50 Hz , 10 2 A
3. 50 Hz , 10 A 0.01 0.02 t(s)
2 –10
4. 100 Hz , 10 A

42
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
15.10.2 ตัวต้ านทาน ตัวเก็บประจุ และตัวเหนี่ยวนาในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
42. เมื่ อต่อตัวเก็บประจุอนั มี ค่ำควำมต้ำนทำนเชิ งควำมจุ 1000  เข้ำกับ วงจรไฟฟ้ ำกระแส
สลับ ปรำกฏว่ำเกิดควำมต่ำงศักย์คร่ อมตัวเก็บประจุ 3 โวลต์ จงหำปริ มำณกระแสไฟฟ้ ำ
ที่ไหลผ่ำนตัวเก็บประจุน้ นั
1. 1 mA 2. 2 mA 3. 3 mA 4. 4 mA
43. ที่ควำมถี่กี่เฮิรตซ์ตวั เก็บประจุที่มีค่ำควำมจุ 5 มิลลิฟำรัด จึงจะมีค่ำควำมต้ำนทำนตัวเก็บ
ประจุ 227 โอห์ม
1. 50 2. 100 3. 150 4. 150
44. เมื่ อต่ อตัวเก็ บประจุ อนั มี ค่ำควำมต้ำนทำนเชิ งควำมจุ 2 กิ โลโอห์ ม เข้ำกับ วงจรไฟฟ้ ำ
กระแสสลับ ปรำกฏว่ ำ เกิ ด ควำมต่ ำ งศัก ย์ค ร่ อ มตัว เก็ บ ประจุ 5 โวลต์ จงหำปริ มำณ
กระแสไฟฟ้ ำที่ไหล ผ่ำนตัวเก็บประจุน้ นั
1. 2.5 A 2. 2.5 mA 3. 5.0 A 4. 5.0 mA
45. ควำมต่ำงศักย์คร่ อมตัวเก็บประจุมีค่ำกี่โวลต์ จึงจะทำให้เกิดกระแสไฟฟ้ ำ 6.28 มิลลิแอม-
แปร์ ในวงจรตัวเก็บประจุที่มีควำมจุ 0.5 ไมโครฟำรัด เมื่อควำมถี่ของกระแสไฟฟ้ ำเป็ น
1 กิโลเฮิรตซ์
1. 1 2. 2 3. 3 4. 4
46. ตัวเหนี่ยวนำ 0.07 เฮนรี ต่อเป็ นวงจรกับแหล่งกำเนิ ดไฟฟ้ ำควำมต่ำงศักย์ 220 V 50 Hz
จะเกิดกระแสไฟฟ้ ำไหลในวงจรเท่ำไร
1. 5.0 A 2. 5.0 mA 3. 10.0 A 4. 10.0 mA
47(แนว มช) วงจรกระแสสลับความถี่ 50 เฮิรตซ์ ที่มีตวั ต้านทาน ต่ออนุ กรมกับตัวเหนี่ ยวนา
วัดกระแสไฟฟ้ าในวงจรได้ 0.1 แอมแปร์ ความต่างศักย์คร่ อมตัวเหนี่ ยวนา 22 โวลต์
ค่าความเหนี่ยวนาจะเป็ น
1. 14.4 ไมโครเฮนรี 2. 0.7 เฮนรี 3. 200 เฮนรี 4. 2.2 เฮนรี
48. วงจรกระแสไฟฟ้ ำสลับ มีกระแส i เป็ น i = 10 sin 1000 t แอมแปร์ วัดควำมต่ำงศักย์
ระหว่ำงปลำยของตัวเหนี่ยวนำได้ 100 โวลต์ จงหำค่ำควำมเหนี่ยวนำของตัวเหนี่ยวนำ
2
ในหน่วยเฮนรี
43
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
49. ขดลวดเหนี่ ยวน ำตัวหนึ่ งมี ค่ ำควำมต้ำนทำนเชิ งเหนี่ ย วน ำ 120 โอห์ ม ที่ ค วำมถี่ 200
เฮิรตซ์ เมื่อนำขดลวดนี้ ไปต่อกับไฟฟ้ ำกระแสสลับ 240 V , 60 Hz จะเกิ ดกระแสไฟฟ้ ำ
ไหลผ่ำนขดลวดเหนี่ยวนำนี้ กี่แอมแปร์
50. ตัวเหนี่ยวนำมีรีแอกแทนซ์เชิงเหนี่ยวนำ 60 โอห์ม ที่ควำมถี่ 60 เฮิรตซ์ ถ้ำนำตัวเหนี่ยว
นี้ไปต่อกับแหล่งจ่ำยไฟฟ้ ำกระแสสลับควำมถี่ 50 เฮิรตซ์ ซึ่ งทำให้ได้ Irms เป็ น 3 แอม-
แปร์ ควำมต่ำงศักย์ Vrms คร่ อมตัวเหนี่ยวนำเป็ นเท่ำไร
1. 150 V 2. 212 V 3. 220 V 4. 255 V
51. แหล่งกำเนิดกระแสสลับไฟฟ้ ำในวงจรดังรู ปมี
อัตรำเร็ วเชิงมุม () 107 เรเดียน/วินำที ถ้ำตัว
เหนี่ยวนำมีควำมเหนี่ยวนำ 100 ไมโครเฮนรี
จงหำค่ำควำมจุในหน่วยพิโกฟำรัด ของตัวเก็บ 
ประจุที่ทำให้ควำมต้ำนทำนเชิงควำมจุของตัว
เก็บประจุ และควำมต้ำนทำนเชิงควำมเหนี่ยวนำมีค่ำเท่ำกัน
1. 10 F 2. 100 F 3. 10 pF 4. 100 pF
52. จำกวงจรในรู ป ถ้ำเปลี่ยน C ไปเป็ นตัวเหนี่ยวนำ L กระแส rms ในวงจรจะเปลี่ยนไป
จำกเดิมเท่ำใด
V0 1ω2LC 
1.
2 ωL
V0 1ω2LC 
 

2.
2 ωC Vo sin  t ~ C
3. V0  ωL2 
1ω LC 
 
 

4. V0  2  ω C
1ω LC 
 
 

44
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
15.10.3 กาลังไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
53. จำกแผนภำพเฟเซอร์กระแสไฟฟ้ ำและควำม
I = 60 แอมแปร์
ต่ำงศักย์ของวงจรไฟฟ้ ำกระแสสลับเป็ นดังรู ป 53o
กำลังเฉลี่ย P ของวงจรนี้มีค่ำกี่วตั ต์
1. 540 2. 720 V = 30 โวลต์
3. 1080 4. 1440
54. ขดลวดเหนี่ยวนำ 0.01 เฮนรี และตัวต้ำนทำน 10 โอห์ม ต่ออนุกรมกับแหล่งกำเนิดไฟฟ้ ำ
กระแสสลับ กระแสไฟฟ้ ำของวงจร( i ) มีค่ำดังสมกำร i = 5 sin ( 1000 t ) แอมแปร์ จง
หำกำลังเฉลี่ยของวงจร
1. 50 W 2. 75 W 3. 125 W 4. 150 W
55. มอเตอร์ไฟฟ้ ำกระแสสลับตัวหนึ่ง ใช้งำนที่ควำมถี่ 50 เฮิรตซ์ วัดค่ำแรงดัน กระแสและ
กำลังไฟฟ้ ำที่ข้ วั ของมอเตอร์ ได้ 220 โวลต์ 10 แอมแปร์ และ 1100 วัตต์ ตำมลำดับ จง
หำเวกเตอร์ของแรงดันและกระแสไฟฟ้ ำ
1. 2. Vm = 220 2 V
30 o V m = 220 2 A 60o
Im = 10 2 V
Im = 10 2 A

3. 4. Im = 10 2 A
Im = 10 2 A 60o
30o
Vm = 220 2 V Vm = 220 2 V

45
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
เฉลยตะลุ ย โจทย์ ท วั่ ไป บทที่ 15 ไฟฟ้ าและแม่ เ หล็ ก
1. ตอบข้ อ 1. 2. ตอบข้ อ 4. 3. ตอบข้ อ 1. 4. ตอบข้ อ 2.
5. ตอบข้ อ 2. 6. ตอบข้ อ 4. 7. ตอบข้ อ 1. 8. ตอบข้ อ 3.
9. ตอบข้ อ 4. 10. ตอบข้ อ 3. 11. ตอบข้ อ 2. 12. ตอบข้ อ 4.
13. ตอบข้ อ 4. 14. ตอบข้ อ 2. 15. ตอบข้ อ 2. 16. ตอบ 1.4
17. ตอบข้ อ 1. 18. ตอบข้ อ 1. 19. ตอบข้ อ 3. 20. ตอบข้ อ 1.
21. ตอบข้ อ 3. 22. ตอบ 0.01 23. ตอบ 0.02 24. ตอบข้ อ 1.
25. ตอบข้ อ 2. 26. ตอบข้ อ 2. 27. ตอบ 3 28. ตอบข้ อ 1.
29. ตอบข้ อ 2. 30. ตอบ 7.14 31. ตอบข้ อ 2. 32. ตอบข้ อ 4.
33. ตอบข้ อ 4. 34. ตอบข้ อ 1. 35. ตอบ 8.00 36. ตอบ 8.00
37. ตอบข้ อ 2. 38. ตอบข้ อ 2. 39. ตอบข้ อ 4. 40. ตอบข้ อ 3.
41. ตอบข้ อ 3. 42. ตอบข้ อ 3. 43. ตอบข้ อ 2. 44. ตอบข้ อ 2.
45. ตอบข้ อ 2. 46. ตอบข้ อ 3. 47. ตอบข้ อ 2. 48. ตอบ 0.01
49. ตอบ 6.7 50. ตอบข้ อ 1. 51. ตอบข้ อ 4. 52. ตอบข้ อ 1.
53. ตอบข้ อ 3. 54. ตอบข้ อ 3. 55. ตอบข้ อ 2.



46
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 16 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
บทที่ 16 คลื่ น แม่ เ หล็ ก ไฟฟ้ า
16.1 ทฤษฏีคลืน่ แม่ เหล็กไฟฟ้ าของแมกซ์ เวลล์
ทฤษฎีของแมกซ์เวลล์ กล่าวว่า “ สนามแม่ เหล็กทีม่ ีการเปลี่ยนแปลง สามารถเหนี่ยวนา
ให้ เกิดสนามไฟฟ้า และสนามไฟฟ้าที่เปลี่ยนแปลงสามารถทาให้ เกิด สนามแม่ เหล็กได้ แม้ ว่า
บริเวณนั้นๆ จะเป็ นตัวนาหรือฉนวนหรือสุ ญญากาศก็ตาม ”

ตามทฤษฎีของแมกซ์เวลล์ เมื่อมีสนามแม่เหล็กที่มีการเปลี่ยนแปลงจะเกิดการเหนี่ยวนา
ระหว่างสนามแม่เหล็กกับสนามไฟฟ้ าอย่างต่อเนื่อง จนเกิดเป็ นคลื่น เรี ยกว่าคลืน่ แม่ เหล็กไฟฟ้า

16.2 การแผ่ คลืน่ แม่ เหล็กไฟฟ้ า


เกี่ยวกับการแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า มีสิ่งที่ควรทราบดังนี้

1. สนามไฟฟ้ า สนามแม่เหล็ก และทิศการเคลื่อนที่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า จะอยูใ่ นทิศ


ที่ต้ งั ฉากกันตลอดเวลา จึงถือว่าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าเป็ นคลื่นตามขวาง
Z
2. เมื่อทราบทิศของสนามไฟฟ้ า
และสนามแม่เหล็ก จะสามารถหาทิศของ v
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าจากกฎมือขวาโดยแบ 
E
มือขวาและกางหัวแม่มือออก ชี้นิ้วทั้งสี่ 0 Y
ไปตามทิศสนามไฟฟ้ า ( E ) แล้วแบมือ 
B
ไปตามทิศของสนามแม่เหล็ก ( B ) หัว
X
แม่มือจะชี้บอกทิศการเคลื่อนที่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าทันที

1
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 16 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
3. อิเล็กตรอนที่ สั่นสะเทือน จะเหนี่ ยวนาทาให้เกิดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ ารอบแนวการสั่น
ได้ ตัวอย่างเช่นอิเล็กตรอนในเส้นลวดตัวนาที่มีกระแสไฟฟ้ าสลับไหลผ่าน หรื ออิเล็กตรอนใน
วัตถุที่มีอุณหภูมิสูงๆ หรื ออิเล็กตรอนที่เปลี่ยนวงโคจรรอบๆ อะตอมจะแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า
ออกมารอบตัวเสมอ
4. อิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่ดว้ ยความเร่ ง จะเหนี่ยวนาให้เกิดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าได้เช่นกัน
5. อิเล็กตรอนที่สั่นสะเทือนจะทาให้เกิ ดคลื่ นแม่เหล็กไฟฟ้ ารอบแนวการสั่นทุกทิศทาง
ยกเว้นแนวที่ตรงกับการสั่นสะเทือน จะไม่มีคลื่นแผ่ออกมา
6. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าทุกชนิด จะเคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ วเท่ากัน คือ 3 x 108 เมตร/วินาที
7. สนามแม่เหล็ก และสนามไฟฟ้ าทุกสนามในคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าถือว่าเกิดพร้อมกัน
หมายเหตุ อิเล็กตรอนในไฟฟ้ ากระแสตรง จะ
เคลื่อนที่ไปในทิศทางเดียวโดยไม่มีความเร่ ง
การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนนี้ จะเหนี่ยวนา
ทาให้เกิดสนามแม่เหล็กรอบบริ เวณนั้น แต่
เป็ นสนามแม่เหล็กคงที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลง
จึงไม่เหนี่ยวนาให้เกิดสนามไฟฟ้ าต่อเนื่องอีก จึงไม่สามารถแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าออกมาได้
1(แนว Pat) จากรู ปแสดงทิศทางของสนาม
  Z
ไฟฟ้ า ( E ) และ สนามแม่เหล็ก ( B )
  
บนแกน Z และ – X ค่า E และ B E
นี้เป็ นค่า ขณะใด ขณะหนึ่งของคลื่นแม่ 
B
เหล็กไฟฟ้ าที่กาลังกระจายออกไป อยาก
0 Y
ทราบว่าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ ากาลังเคลื่อน
ที่ไปในทิศทางใด
1. ทิศ +X 2. ทิศ – X X
3. ทิศ – Y 4. ทิศ + Y

2
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 16 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
2(แนวEn) จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ วสู ง
ข. กลุ่มอิเล็กตรอนเคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ วคงที่
ค. อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ดว้ ยความหน่วง
เหตุการณ์ที่จะทาให้เกิดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าคือ
1. ก. และ ข. 2. ข. และ ค. 3. ข. เท่านั้น 4. ค. เท่านั้น

3(แนว มช) คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าเกิดจาก


1. กระแสไฟฟ้ าในวงจรไฟฟ้ ากระแสตรง
2. การเคลื่อนที่ของนิ วตรอนด้วยความเร่ ง
3. โลหะที่ถูกเผาจนร้อนแดง
4. การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนด้วยความเร็ วคงที่

4(แนว มช ) ข้อใด ไม่ ใช่ แหล่งกาเนิดของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า


1. วัตถุมีอุณหภูมิสูง
2. อิเล็กตรอนในอะตอมปลดปล่อยพลังงาน
3. อิเล็กตรอนในไฟฟ้ ากระแสสลับ
4. อิเล็กตรอนในกระแสไฟฟ้ าตรงปลดปล่อยพลังงาน

5. เมื่อปล่อยกระแสไฟฟ้ าขนาดคงที่เข้าไปในเส้นลวดตัวนา จะเกิดผลตามข้อใด


1. เกิดสนามแม่เหล็กในทิศตั้งฉากกับกระแส
2. เกิดสนามแม่เหล็ก และสนามไฟฟ้ าเหนี่ยวนาอย่างต่อเนื่อง
3. เกิดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าแผ่ออกจากลวดตัวนา
4. ถูกทุกข้อ
3
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 16 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
6(แนว มช) ถ้าอิเล็กตรอนเคลื่อนกลับไปมาในแนว A A
ดังรู ป ตามทฤษฎีแมกซ์เวลล์จะมีการแผ่คลื่นแม่เหล็ก
ไฟฟ้ าออกมา แต่มีแนวหนึ่งที่ไม่มีคลื่นแผ่ออกมา 45o 45o B
เลยแนวนั้นคือ
C D
1. A 2. B 3. C 4. D

7(แนว มช) สนามแม่เหล็กที่มาพร้อมกับการเคลื่อนที่ของแสงนั้นจะมีทิศทาง


1. ขนานกับทิศทางของการเคลื่อนที่ของแสง
2. ขนานกับสนามไฟฟ้ า แต่เฟสต่างกัน 90 องศา
3. ตั้งฉากกับทั้งสนามไฟฟ้ าและทิศทางการเคลื่อนที่ของแสง
4. ตั้งฉากกับสนามไฟฟ้ า แต่ขนานกับทิศทางการเคลื่อนที่ของแสง

16.3 สเปกตรัมคลืน่ แม่ เหล็กไฟฟ้า


แหล่งกาเนิดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าที่ใหญ่ที่สุดในจักรวาลนี้ คือดวงอาทิตย์
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าที่ออกมาจากดวงอาทิตย์ จะแยกได้ 8 สเปกตรัม ดังนี้
การ การเรียงลาดับ การเรียงลาดับ
สเปกตรัม เรียงลาดับ ความยาวคลืน่ พลังงาน
ความถี่
รังสี แกมมา มาก น้อย มาก
รังสี เอกซ์
รังสี อลั ตราไวโอเลต
แสงขาว
รังสี อินฟราเรด
คลื่นไมโครเวฟ
คลื่นวิทยุ
ไฟฟ้ ากระแสสลับ น้อย มาก น้อย
อย่าลืม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าทุกสเปกตรัม จะมีความเร็ วเท่ากันหมดคือ 3 x 108 เมตร/วินาที
4
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 16 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
8(แนว มช) คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าทุกชนิดขณะเคลื่อนในสุ ญญากาศจะมีสิ่งหนึ่งเท่ากันเสมอ คือ
1. ความยาวคลื่น 2. แอมปลิจูด 3. ความถี่ 4. ความเร็ ว

9(แนว En) คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าจากดวงอาทิตย์สเปกตรัมใดเคลื่อนที่มาถึงโลกก่อน สเปกตรั ม


อื่นเสมอ
1. คลื่นวิทยุ 2. รังสี แกมมา 3. แสง 4. มาถึงพร้อมกัน

10(แนว มช) การแผ่รังสี คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าต่อไปนี้ขอ้ ใดมีความยาวคลื่นสั้นที่สุด


1. รังสี แกมมา 2. แสง
3. ไมโครเวฟ 4. รังสี อลั ตราไวโอเลต

11. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าต่อไปนี้คลื่นชนิดใดมีพลังงานมากที่สุด


1. ไมโครเวฟ 2. อินฟราเรด 3. แสง 4. รังสี เอกซ์

เราสามารถหาค่าพลังงานของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าได้จากสมการ
E = hf และ E = hC

เมื่อ E คือพลังงานของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า (จูล)
h คือค่านิจของพลังค์ มีค่าเท่ากับ 6.62 x 10–34 จูล.วินาที
f คือความถี่ ( เฮิรตซ์ )
 คือความยาวคลื่น ( เมตร )
C คือความเร็ วคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า มีค่าเท่ากับ 3 x 108 เมตร/วินาที
นอกจากนี้แล้ว พลังงานของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ ายังหาได้จากสมการ
E = hef และ E = hC
e
เมื่อ E คือพลังงานของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าซึ่ งมีหน่วยเป็ น อิเล็กตรอนโวลต์ (eV)
e = 1.6 x 10–19
หมายเหตุ ; 1 อิเล็กตรอนโวลต์ = 1.6 x 10–19 จูล
5
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 16 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
12. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าชนิดหนึ่งมีความถี่ 1 x 1014 เฮิรตซ์ คลื่นนี้จะมีพลังงานกี่จูล
1. 6.62 x 10–20 2. 3.31 x 10–20 3. 6.62 x 10–19 4. 3.31 x 10–19

13. จงหาพลังงานของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าซึ่ งมีความยาวคลื่น 600 นาโนเมตร ในหน่วยจูล


1. 6.62 x 10–20 2. 3.31 x 10–20 3. 6.62 x 10–19 4. 3.31 x 10–19

14. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าที่มีพลังงาน 1.324 x 10–20 จูล จะมีความถี่กี่เฮิรตซ์


1. 2 x 1013 2. 3 x 1013 3. 2 x 1014 4. 4 x 1014

15(แนว มช) จงหาความถี่ในหน่วยเฮิรตซ์ของแสงที่โฟตอนมีพลังงาน 3.0 อิเล็กตรอนโวลต์


1. 3.63 x 1013 2. 7.25 x 1013 3. 3.63 x 1014 4. 7.25 x 1014

6
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 16 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
16.3.1 คลืน่ วิทยุ
คลื่นวิทยุมีความถี่อยูใ่ นช่วง 106 – 109 เฮิรตช์ คลื่นวิทยุมี 2 ระบบ ได้แก่
1. คลื่ นวิท ยุระบบ AM มี ค วามถี่ ต้ ังแต่ 530 – 1600 กิ โลเฮิ รตซ์ ที่ ส ถานี วิท ยุส่ ง ออก
อากาศในระบบเอเอ็ม เป็ นการสื่ อสารโดยการผสม (modulate) คลื่ นเสี ยงเข้ากับคลื่ นวิท ยุ ซึ่ ง
เรี ยกว่าคลื่นพาหะ และสัญญาณเสี ยงจะบังคับให้แอมพลิจูดของคลื่นพาหะเปลี่ยนแปลงไป

เมื่อคลื่นวิทยุที่ผสมสัญญาณเสี ยงกระจายออกจากสายอากาศไปยัง เครื่ องรับวิทยุเครื่ องรับ


วิทยุจะทาหน้าที่แยกสัญญาณเสี ยงซึ่ งอยูใ่ นรู ปของสัญญาณไฟฟ้ าออกจากสัญญาณคลื่นวิทยุแล้ว
ขยายให้มีแอมพลิจูดสู งขึ้น เพื่อส่ งให้ลาโพงแปลงสัญญาณออกมาเป็ นเสี ยงที่หูรับฟังได้
2. คลื่นวิทยุระบบ FM เป็ นการผสมสัญญาณเสี ยงเข้ากับคลื่นพาหะโดยให้ความถี่ของ
คลื่นพาหะเปลี่ยนแปลงสัญญาณเสี ยง

7
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 16 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
การส่ งคลื่ นในระบบ FM ใช้ช่วงความถี่ จาก 88 – 108 เมกะเฮิรตซ์ ระบบการส่ งคลื่ น
แบบเอเอ็มและเอฟเอ็มต่างกันที่วิธีการผสมคลื่ น ดังนั้นเครื่ องรับวิทยุระบบเอเอ็มกับเอฟเอ็มจึง
ไม่สามารถรับคลื่นวิทยุของอีกระบบหนึ่งได้
ในการส่ งกระจายเสี ยงด้วยคลื่น ไอโอโนสเฟี ยร์
วิทยุระบบเอเอ็ม คลื่นสามารถเดินทาง คลื่นฟ้ า
ถึงเครื่ องรับวิทยุได้สองทาง คือเคลื่อน
ที่ไปตรงๆในระดับสายตา ซึ่ งเรี ยกว่า คลื่นดิน
คลืน่ ดิน ส่ วนคลื่นที่สะท้อนกลับลงมา
จากชั้นไอโอโนสเฟี ยร์ ซึ่ งเรี ยกว่าคลืน่
ฟ้า ส่ วนคลื่นวิทยุระบบเอฟเอ็มซึ่ งมีความถี่สูงจะมีการสะท้อนที่ช้ ันไอโอโนสเฟี ยร์ นอ้ ย
ดังนั้นถ้าต้องการส่ งกระจายเสี ยงด้วยระบบเอฟเอ็มให้ครอบคลุมพื้นที่ไกลๆ จึงต้องมีสถานี
ถ่ายทอดเป็ นระยะๆ

16.3.2 คลืน่ โทรทัศน์


คลื่นโทรทัศน์มีความถี่ประมาณ
108 เฮิรตซ์ คลื่นโทรทัศน์จะไม่สะ
ท้อนที่ช้ นั ไอโอโนสเฟี ยร์ แต่จะทะลุ
ผ่านออกไปนอกโลก การส่ งคลื่น
โทรทัศน์ไปไกลๆ ในแนวเส้นตรงบน
ผิวโลกนั้น คลื่นจะถูกส่ วนโค้งของโลกบังไว้ จึงต้องใช้สถานีถ่ายทอดคลื่นเป็ นระยะๆ รับคลื่น
โทรทัศ น์จากสถานี ส่ งซึ่ งมาในแนวเส้ นตรง แล้วขยายให้สั ญ ญาณแรงขึ้ นก่ อนที่ จะส่ งไปยัง
สถานีที่อยูถ่ ดั ไป หรื ออาจใช้คลื่นไมโครเวฟนาสัญญาณจากสถานีส่ งไปยังดาวเทียมแล้วส่ งคลื่น
ต่อไปยังสถานีรับที่อยูไ่ กลๆได้

16.3.3 คลืน่ ไมโครเวฟ


คลื่นไมโครเวฟมีความถี่ต้ งั แต่
1 x 109 เฮิรตซ์ ถึง 3 x 1011 เฮิรตซ์
เราใช้คลื่นไมโครเวฟในการทาอาหาร
เปิ ดปิ ดประตูซ่ ึงควบคุมโดยรี โมทคอน-
8
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 16 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
โทรล ใช้ถ่ายภาพพื้นผิวดาวเคราะห์ใช้ศึกษากาเนิดของจักรวาล และเนื่องจากคลื่น
ไมโครเวฟสะท้อนจากผิวโลหะได้ดีจึงใช้ในการตรวจหาอากาศยาน ตรวจจับอัตราเร็ วของ
รถยนต์ ซึ่งอุปกรณ์ดงั กล่าวเรี ยกว่าเรดาร์
16.3.4 รังสี อนิ ฟราเรด
เป็ นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าที่มีความถี่ในช่วง 1011 – 1014 เฮิรตซ์ สามารถแบ่งเป็ น 3 ช่วง
1. อินฟราเรดใกล้ (0.7–1.5 ไมโครเมตร)
2. อินฟราเรดปานกลาง (1.5–4.0 ไมโครเมตร)
3. อินฟราเรดไกล (4.0–1000 ไมโครเมตร)
ประสาทสัมผัสทางผิวหนังของมนุ ษย์รับรังสี อินฟราเรดที่มีความยาวคลื่นบางช่วงได้ ปกติ
แล้วสิ่ งมีชีวิตทุกชนิดจะแผ่รังสี อินฟราเรดตลอดเวลา เราใช้รังสี อินฟราเรดถ่ายภาพพื้นโลกจาก
ดาวเทียม เพราะรังสี อินฟราเรดสามารถทะลุผา่ นเมฆหมอกที่หนาทึบเกินกว่าที่แสงธรรมดาจะ
ผ่านได้ รังสี อินฟราเรดมีใช้ในระบบควบคุ มที่เรี ยกว่ารี โมทคอนโทรล (remote control) หรื อ
การควบคุ มระยะไกล นอกจากนี้ ในทางการทหารก็มีการนารังสี อินฟราเรดมาใช้ควบคุ มอาวุธ
นาวิถีให้เคลื่อนไปยังเป้ าหมายได้อย่างแม่นยา
เทคโนโลยีปั จจุ บ นั ใช้การส่ งสัญญาณด้วยเส้ นใยนาแสง (optical fiber) และคลื่ นที่ เป็ น
พาหะนาสัญญาณคือรังสี อินฟราเรด เพราะการใช้แสงธรรมดานาสัญญาณอาจถูกรบกวนโดย
แสงภายนอกได้ง่าย
16.3.5 แสง
แสงมีความถี่โดยประมาณตั้งแต่ 4 x 1014 เฮิรตซ์ ถึง 8 x 1014 เฮิรตซ์ ประสาทตาของ
มนุ ษ ย์ไ วต่ อคลื่ นแม่ เหล็ ก ไฟฟ้ าช่ วงนี้ มาก แสงที่ มี ค วามยาวคลื่ น ประมาณ 700 นาโนเมตร
ประสาทตาจะรับรู ้ เป็ นแสงสี แดง ส่ วนแสงที่ มีความยาวคลื่ นน้อยกว่าประสาทตาจะรับรู ้ เป็ น
แสงสี ส้ ม เหลื อ ง เขี ย ว น้ า เงิ น ตามล าดับ จนถึ ง แสงสี ม่ วง แสงสี ต่ างๆ เมื่ อ รวมกัน ด้ว ย
ปริ มาณที่เหมาะสม จะเป็ นแสงสี ขาว
เราสามารถใช้แสงเป็ นคลื่นพาหะนาข่าวสารในการสื่ อสารได้เช่นเดียวกับการใช้คลื่นวิทยุ
และคลื่นโทรทัศน์ ปั จจุบนั เรามีเครื่ องกาเนิ ดเลเซอร์ ซึ่ งเป็ นแหล่งกาเนิ ดแสงอาพันธ์ที่ให้แสง
ได้ ได้มี ผูท้ ดลองผสมสั ญ ญาณเสี ย งและภาพกับ เลเซอร์ ไ ด้ส าเร็ จ นอกจากใช้สื่ อ สารแล้ว
เลเซอร์ ยงั ใช้ในวงการต่างๆได้อย่างกว้างขวาง เช่น วงการแพทย์ ใช้ในการผ่าตัดนัยน์ตาเป็ นต้น

9
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 16 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เลเซอร์ เขี ยนภาษาอังกฤษว่า LASER ซึ่ งย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated
Emission of Radiation ที่ แปลเป็ นภาษาไทยได้ว ่า “การขยายสัญญาณแสงโดยการปล่อยรังสี
แบบเร่ งเร้ า” เพราะแสงเลเซอร์ เป็ นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าที่ได้จากกระบวนการปล่อยรังสี แบบเร่ ง
เร้า และสัญญาณแสงถูกขยาย
16.3.6 รังสี อลั ตราไวโอเลต
เป็ น คลื่ น แม่ เห ล็ ก ไฟ ฟ้ าที่ มี ค วาม ถี่ อ ยู่ ใ น ช่ วง 1015 ถึ ง 1018 เฮิ รต ซ์ รั ง สี
อัลตราไวโอเลตที่มีในธรรมชาติส่วนใหญ่มาจากดวงอาทิตย์ ถ้าเราได้รับรังสี อลั ตราไวโอเลต
มากเกิ น อาจเป็ นมะเร็ งผิวหนังได้ แต่ในบรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟี ยร์ จะมีโมเลกุลหลายชนิ ด
เช่นโอโซน ซึ่ งสามารถกั้นรังสี อลั ตราไวโอเลตได้ดี รังสี น้ ี สามารถฆ่าเชื้ อโรคบางชนิ ดได้ ใน
วงการแพทย์จึงใช้รังสี อลั ตราไวโอเลตในปริ มาณพอเหมาะรักษาโรคผิวหนังบางชนิด

16.3.7 รังสี เอกซ์


เป็ นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าที่มีความถี่ อยูใ่ นช่วง 1017–1021 เฮิรตซ์ รังสี เอกซ์สามารถทะลุ
ผ่านสิ่ งกี ดขวางหนาๆ ได้ ดังนั้นวงการอุตสาหกรรม จึงใช้รังสี เอกซ์ตรวจหารอยร้ าวภายใน
ชิ้ นส่ วนโลหะขนาดใหญ่ รังสี เอกซ์ จะถู กขวางกั้นโดยอะตอมของธาตุ หนักได้ดีกว่าธาตุ เบา
แพทย์จึงใช้วิธี ฉ ายรั งสี เอกซ์ ผ่านร่ างกายคน ไปตกบนฟิ ล์ม เพื่ อตรวจดู ลกั ษณะผิดปกติ ข อง
อวัยวะภายในและกระดูก เจ้าหน้าที่ด่านตรวจก็ใช้รังสี เอกซ์ตรวจหาอาวุธปื นหรื อวัตถุระเบิดใน
กระเป๋ าเดินทางได้

16.3.8 รังสี แกมมา


รังสี แกมมาเป็ นคลี่ นแม่เหล็กไฟฟ้ าที่ มีความถี่ สูงกว่ารั งสี เอกซ์ ปฏิ กิริยานิ วเคลี ยร์ บาง
ปฏิ กิริยาปลดปล่ อยรั งสี แกมมา การมี ความถี่ สูงทาให้รังสี น้ี เป็ นอันตรายต่อสิ่ งมี ชีวิตทุ กชนิ ด
นอกจากนี้ ยงั มีรังสี แกมมาที่ไม่ได้เกิ ดจากการสลายของธาตุกมั มันตรังสี เช่ น รังสี แกมมาที่มา
จากอวกาศและรังสี คอสมิกนอกโลก อนุ ภาคประจุไฟฟ้ าที่ถูกเร่ งในเครื่ องเร่ งอนุ ภาคก็สามารถ
ให้กาเนิดรังสี แกมมาได้เช่นกัน

10
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 16 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
16.4 โพลาไรเซชันของคลืน่ แม่ เหล็กไฟฟ้า
ปกติ แ ล้ว คลื่ น แม่ เหล็ ก ไฟฟ้ าทั่ว ไป จะมี ร ะนาบการเปลี่ ย นแปลงสนามไฟฟ้ า (E )
ประกอบกันอยูห่ ลายระนาบ ถ้าเราสามารถทาให้ระนาบของสนามไฟฟ้ า( E) ในคลื่นแม่เหล็ก
ไฟฟ้ าเหลือเพียงระนาบเดียวได้ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ านั้นจะเรี ยกเป็ นคลื่นโพลาไรส์
16.4.1 โพราไรเซชันของแสง
สาหรับแสงที่ไม่โพลาไรส์ เราสามารถทาให้โพลาไรส์ได้ ซึ่งอาจทาได้หลายวิธีเช่น
1. ฉายแสงผ่านแผ่นโพลารอยด์
แผ่นโพลารอยด์เป็ นแผ่นพลาสติกที่
มีโมเลกุลของพอลิไวนิลแอลกอฮอล์(poly-
vinyl alcohol ) และถูกยึดให้โมเลกุลเรี ยง แสงโพลาไรซ์
ตัวในแนวขนานกัน เมื่อแสงผ่านแผ่นโพ-
ลารอยด์ สนามไฟฟ้ าที่มีทิศตั้งฉากกับ
แนวการเรี ยงตัวของโมเลกุลเท่านั้นที่จะ
แสงไม่ โพลาไรซ์
ผ่านแผ่นโพลารอยด์ออกไปได้ แสงที่
ผ่านแผ่นโพลารอยด์ไปจึงเป็ นแสงโพราไรซ์
2. ใช้ การสะท้ อ นแสง เมื่ อให้แสงไม่ โพลาไรส์ ตกกระทบผิว วัตถุ เช่ น แก้ว น้ า หรื อ
กระเบื้อง หากใช้มุมตกกระทบที่เหมาะสม แสงที่สะท้อนออกมาจะเป็ นแสงโพลาไรส์

มุมตกกระทบที่ทาให้แสงสะท้อนเป็ นแสงโพลาไรส์ ( B ) สามารถหาค่าได้จากสมการ


tanB = n
เมื่อ B คือมุมโพราไรซ์ หรื อมุมบรู สเตอร์
n คือค่าดัชนีหกั เหของสสารที่แสงตกกระทบ
( สมการนี้เรี ยกว่า กฎของบรู สเตอร์ )

11
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 16 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
กรณี ที่มุมตกกระทบเป็ นมุมบรู สเตอร์ จะได้วา่ แสงสะท้อนกับแสงที่หกั เหเข้าไปในวัตถุ
จะทามุมฉาก ( 90o ) ต่อกันเสมอดังรู ป
และตามรู ปจะได้อีกว่า
1 + 2 + 90o = 180o
ดังนั้น 1 + 2 = 90o
16. จากรู ปกาหนดให้ จากตัวกลางที่ 1
1  n1 = 1
( อากาศ ) ไปสู่ ตวั กลางที่ 2 มี 1 เป็ น 1
มุมบรู สเตอร์ และจากตัวกลางที่ 2 ไป 2 n2
2 2
ตัวกลางที่ 3 มี 2 เป็ นมุมบรู สเตอร์
ถ้า n1 = 1 แล้ว n3 มีค่าเท่าใด 3
1. 1.0 2 1.2
n3
3. 1.4 4. 1.5

17. แสงไม่โพลาไรซ์ตกกระทบผิววัตถุ โดยทามุมตกกระทบเท่ากับ 48 องศา พบว่าแสง


สะท้อนจากผิววัตถุเป็ นแสงโพลาไรซ์ ดรรชนีหกั เหของวัตถุน้ี เป็ นเท่าใด

18. นิลในอากาศ จงคานวณหามุมบรู สเตอร์ของนิล ถ้ามุมวิกฤตของนิลเท่ากับ 34.4 องศา


1. 30o 2. 45o 3. 60o 4. 90o

3. โพลาไรเซชันโดยการกระเจิงของแสง
เมื่อแสงอาทิตย์ผา่ นเข้ามาในบรรยากาศของโลก แสงจะกระทบโมเลกุลของอากาศหรื อ
อนุ ภาคในบรรยากาศ อิเล็กตรอนในโมเลกุลจะดูดกลืนแสงที่ตกกระทบนั้น และจะปลดปล่อย
แสงนั้นออกมาอี กครั้งหนึ่ งในทุ กทิศทาง ปรากฏการณ์ น้ี เรี ยกว่าการกระเจิงของแสง แสงที่
กระเจิงออกมาจะเป็ นแสงโพลาไรซ์
12
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 16 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เฉลยบทที่ 16 คลื่ น แม่ เ หล็ ก ไฟฟ้ า
1. ตอบข้ อ 3. 2. ตอบข้ อ 4. 3. ตอบข้ อ 3. 4. ตอบข้ อ 4.
5. ตอบข้ อ 1. 6. ตอบข้ อ 1. 7. ตอบข้ อ 3. 8. ตอบข้ อ 4.
9. ตอบข้ อ 4. 10. ตอบข้ อ 1. 11. ตอบข้ อ 4. 12. ตอบข้ อ 1.
13. ตอบข้ อ 4. 14. ตอบข้ อ 1. 15. ตอบข้ อ 4. 16. ตอบข้ อ 1.
17. ตอบ 1.11 18. ตอบข้ อ 3.



13
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 16 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ตะลุ ย โจทย์ ท่ วั ไป บทที่ 16 คลื่ น แม่ เ หล็ ก ไฟฟ้ า
16.1 ทฤษฏีคลืน่ แม่ เหล็กไฟฟ้ าของแมกซ์ เวลล์
16.2 การแผ่ คลืน่ แม่ เหล็กไฟฟ้ า
1. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าเกิดจาก
1) การเหนี่ยวนาอย่างต่อเนื่ องระหว่างสนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้ า
2) กระแสไฟฟ้ าคงที่ไหลผ่านเส้นลวดตัวนา
คาตอบที่ถูกคือ
1. ข้อ 1. 2. ข้อ 2. 3. ข้อ 1. และข้อ 2. 4. ไม่มีขอ้ ถูก
2. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ ามีแหล่งกาเนิดได้จาก
ก. ประจุไฟฟ้ าเคลื่อนที่ดว้ ยความเร่ ง ข. วัตถุที่มีอุณหภูมิสูงมาก ๆ
ค. การสลายตัวของธาตุกมั มันตรังสี ง. เครื่ องปฏิกรณ์ปรมณู
คาตอบข้อใดที่ถูกต้อง
1. ข้อ ก. เท่านั้น 2. ข้อ ก. และ ค.
3. ข้อ ก. และ ค. 4. ถูกทุกข้อ
3. การเปลี่ยนแปลงสนามแม่เหล็กจะเหนี่ยวนาให้เกิดสนามไฟฟ้ าขึ้น ซึ่ งจะเกิดสนามไฟฟ้ าได้
ก็ต่อเมื่อบริ เวณนั้นเป็ นอะไร
1. ตัวนา 2. ฉนวน 3. สุ ญญากาศ 4. ถูกทุกข้อ
4. ข้อความต่อไปนี้ขอ้ ใดกล่าวถูกต้องตามทฤษฎีเกี่ยวกับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า
ก. ขณะประจุเคลื่อนที่ดว้ ยความเร่ งหรื อความหน่วง จะแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า
ข. เมื่อสนามแม่เหล็กเปลี่ยนแปลงจะเหนี่ยวนาให้เกิดสนามไฟฟ้ าโดยรอบยกเว้นบริ เวณ
นั้นเป็ นฉนวน
ค. บริ เวณรอบตัวนาที่มีกระแสไฟฟ้ าจะเกิดสนามแม่เหล็ก
1. ก. , ข. และ ค. 2. ก. และ ค.
3. ค. เท่านั้น 4. คาตอบเป็ นอย่างอื่น

14
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 16 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
5. เมื่อเกิดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าสิ่ งที่เคลื่อนไปกับคลื่นคือ
1. พลังงาน 2. ประจุไฟฟ้ า 3. นิวตรอน 4. ไม่มีขอ้ ถูก
6. ทิศทางของสนามแม่เหล็กของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าจะอยูใ่ นแนวใด
1. ขนานกับทิศของสนามไฟฟ้ า 2. ขนานกับทิศของการเคลื่อนที่ของคลื่น
3. ตั้งฉากกับทิศของคลื่นและสนามไฟฟ้ า 4. มีทิศไม่แน่นอน

16.3 สเปกตรัมคลืน่ แม่ เหล็กไฟฟ้า


7. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าทุกชนิดมีคุณสมบัติที่เหมือนกันคือ
1. มีความเร็ วเท่ากับแสง 2. มีความถี่เท่ากับแสง
3. มีความยาวคลื่นเท่ากับแสง 4. มีพลังงานเท่ากับแสง
8. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าต่อไปนี้ คลื่นชนิดใดมีพลังงานมากที่สุด
1. คลื่นวิทยุ 2. รังสี อินฟราเรด 3. แสง 4. รังสี เอกซ์
9. คลื่นต่อไปนี้ชนิดใดที่มีความถี่สูงสุ ด
1. รังสี แกมมา 2. รังสี อุลตราไวโอเลต
3. ไมโครเวฟ 4. คลื่นวิทยุ
10. ข้อใดเรี ยงคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าชนิดต่างๆ ตามความถี่จากน้อยไปมากได้ถูกต้อง
1. รังสี แกมมา แสง ไมโครเวฟ คลื่นวิทยุ
2. คลื่นวิทยุ ไมโครเวฟ แสง รังสี แกมมา
3. คลื่นวิทยุ แสง ไมโครเวฟ รังสี แกมมา
4. ไมโครเวฟ คลื่นวิทยุ แสง รังสี แกมมา
11. ขนาดความเข้มของสนามแม่เหล็กของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าในขณะใดๆ มีค่าตามข้อใด
1. เท่ากับสนามไฟฟ้ า
2. เป็ นปฏิภาคโดยตรงกับความเข้มของสนามไฟฟ้ า
3. เป็ นปฏิภาคผกผันกับความเข้มของสนามไฟฟ้ า
4. ไม่ข้ ึนอยูก่ บั สนามไฟฟ้ า

15
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 16 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
12. ถ้าคลื่นวิทยุในอากาศมีอตั ราเร็ ว 3 x 108 เมตร/วินาที และความถี่ 500 กิโลเฮิร์ตซ คลื่น
วิทยุน้ ีมีความยาวคลื่นเท่าใดในหน่วยของเมตร
1. 1.67 x 10–3 2. 3.33 x 10–5 3. 6.00 x 102 4. 8.00 x104
13. สถานี วิทยุกระจายเสี ยงแห่ งหนึ่ งออกอากาศด้วยความถี่ 101.5 เมกะเฮิร์ตซ จงหาความ
ยาวคลื่นของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าที่ส่งจากสถานีน้ นั มีขนาดเท่ากับกี่เมตร
14. คลื่นวิทยุ 2 คลื่ น มีความถี่ 1.5 x 108 และ 3 x 107 เ ฮิร์ตซ ตามลาดับ คลื่ นวิทยุท้ งั
สองนี้จะมีความยาวคลื่นต่างกันกี่เมตร
1. 1.5 2. 4.0 3. 8.0 4. 12.0
15. คลื่นที่สามารถสะท้อนได้จากบรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟี ยร์ คือ
1. เรดาร์ 2. ไมโครเวฟ 3. อัลตราไวโอเลต 4. คลื่นวิทยุ
16. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าที่มีได้เฉพาะคลื่นดิน คือ
1. คลื่นที่มีความยาวคลื่นน้อยกว่าคลื่นวิทยุระบบ เอฟเอ็ม
2. คลื่นที่มีความยาวคลื่นมากกว่าคลื่นวิทยุระบบ เอฟเอ็ม
3. คลื่นที่มีความยาวคลื่นน้อยกว่าคลื่นวิทยุระบบ เอเอ็ม
4. คลื่นที่มีความยาวคลื่นมากกว่าคลื่นวิทยุระบบ เอเอ็ม
17. การตรวจหาตาแหน่งของวัตถุดว้ ยเรดาร์ อาศัยการส่ งคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าในข้อใด
1. คลื่นสั้น 2. อินฟราเรด
3. ไมโครเวฟ 4. อัลตราไวโอเลต
18. คลื่นที่ใช้ในการสื่ อสารระยะทางไกลๆ ข้ามทวีปได้โดยใช้ดาวเทียมเป็ นตัวรับสัญญาณขยาย
ให้แรงขึ้น แล้วจึงส่ งตรงไปยังสถานีรับที่อยูไ่ กลๆ คือ คลื่นชนิดใด
1. คลื่นวิทยุ 2. เรดาร์ 3. ไมโครเวฟ 4. คลื่นแสง
19. เมื่อนักบินอวกาศไปลงบนดวงจันทร์ สามารถพูดคุยกับคนที่อยูบ่ นโลกได้ การติดต่อจะต้อง
ใช้คลื่นชนิดใดส่ งระหว่างโลกกับดวงจันทร์
1. คลื่นเสี ยง 2. ไมโครเวฟ
3. คลื่นวิทยุและโทรทัศน์ 4. แสงเลเซอร์

16
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 4 http://www.pec9.com บทที่ 16 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
20. คลื่นแสงที่ตาสัมผัสได้มีอยูด่ ว้ ยกันหลายสี องค์ประกอบส่ วนใดของคลื่นแสงที่ทาหน้าที่
กาหนดสี ของแสงแต่ละชนิด
1. ความถี่ 2. แอมพลิจูด 3. ความยาวคลื่น 4. ข้อ 1. และ 3. ถูก

16.4 โพลาไรเซชันของคลืน่ แม่ เหล็กไฟฟ้า


21. แสงไม่โพลาไรซ์ ตกกระทบผิววัตถุ โดยทามุมตกกระทบเท่ากับ 60 องศา พบว่าแสง
สะท้อนจากผิววัตถุเป็ นแสงโพลาไรซ์ ดรรชนีหกั เหของวัตถุน้ี เป็ นเท่าใด



เฉลยตะลุ ย โจทย์ ทั่ วไป ฟิ สิ ก ส์ บทที่ 16 คลื่ นแม่ เหล็ ก ไฟฟ้ า


1. ตอบข้ อ 1. 2. ตอบข้ อ 4. 3. ตอบข้ อ 4. 4. ตอบข้ อ 2.
5. ตอบข้ อ 1. 6. ตอบข้ อ 3. 7. ตอบข้ อ 1. 8. ตอบข้ อ 4.
9. ตอบข้ อ 1. 10. ตอบข้ อ 2. 11. ตอบข้ อ 2. 12. ตอบข้ อ 3.
13. ตอบ 2.96 14. ตอบข้ อ 3. 15. ตอบข้ อ 4. 16. ตอบข้ อ 3.
17. ตอบข้ อ 3. 18. ตอบข้ อ 3. 19. ตอบข้ อ 2. 20. ตอบข้ อ 4.
21. ตอบ 1.73



17
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 17 ของไหล
ฟิ สิ ก ส์ บทที่ 17 ของไหล
ของไหล หมายถึงสสารใดๆ ที่สามารถไหลได้ ซึ่ งได้แก่ ของเหลว และแก๊สหรื อไอใดๆ
17.1 ความหนาแน่ น
ความหนาแน่ น ( density ) เป็ นสมบัติเฉพาะตัวอย่างหนึ่งของสารซึ่งหาได้จากปริ มาณ
มวลสารต่อหนึ่งหน่วยปริ มาตร
เขียนเป็ นสมการจะได้  = mV
เมื่อ  คือความหนาแน่น ( กิโลกรัม/ลูกบาศก์เมตร )
m คือมวลของสาร ( กิโลกรัม )
V คือปริ มาตรของสาร ( ลูกบาศก์เมตร )
1. นักสารวจเดินทางด้วยบอลลูนบรรจุแก๊ส ก่อนออกเดินทางเขาบรรจุแก๊สฮีเลียมที่มีปริ มาตร
400 ลูกบาศก์เมตร และมวล 65 กิโลกรัม แก๊สฮีเลียมในบอลลูนนี้ มีความหนาแน่นเท่าใด
1. 0.05 kg/m3 2. 0.16 kg/m3 3. 0.48 kg/m3 4. 0.54 kg/m3

2. วัตถุรูปลูกบาศก์มีความยาวแต่ละด้านเท่ากับ 2 เมตร มีมวล 400 กิโลกรัม จงหาความหนา


แน่นของวัตถุกอ้ นนี้
1. 30 kg/m3 2. 40 kg/m3 3. 50 kg/m3 4. 60 kg/m3

1
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 17 ของไหล
3. ของเหลวชนิ ดหนึ่ งมีความหนาแน่ น 1000 กิ โลกรัมต่อลู กบาศก์เมตร จงหาว่าของเหลวนี้
ปริ มาตร 3.50 ลูกบาศก์เมตร จะมีน้ าหนักกี่นิวตัน
1. 350 2. 3500 3. 35000 4. 350000

4. ทรงกระบอกทาจากเหล็กและอลูมิเนียม ถ้าเหล็กมีมวลเป็ น 6 เท่าของอลูมิเนียมแล้วปริ มาตร


ของเหล็กจะมีค่า เป็ น 2 เท่าของอลูมิเนียม ถ้าอลูมิเนี ยมมีความหนาแน่น 2600 กิโลกรัม/-
เมตร3 จงหาค่าความหนาแน่นของเหล็ก
1. 5200 kg/m3 2. 7800 kg/m3 3. 10400 kg/m3 4. 13000 kg/m3

5. โลหะรู ปลูกบาศก์มีความยาวด้านละ 2 เมตร จะมีมวลเท่ากับก้อนทองปริ มาตร 2 ลูกบาศก์


เมตร ถ้าทองมีความหนาแน่น 19.4 x 103 กิโลกรัม/ลูกบาศก์เมตร จงหาว่าโลหะมีความ
หนาแน่นกี่กิโลกรัม/ลูกบาศก์เมตร
1. 3.29 x 103 2. 4.85 x 103 3. 5.56 x 103 4. 7.39 x 103

2
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 17 ของไหล
6. ดาวเคราะห์ดวงหนึ่ งมีมวลเป็ น 4 เท่าของโลก และมีรัศมี เป็ น 2 เท่าของโลก จงหาว่า
ความหนาแน่นของดาวเคราะห์ดวงนี้ มีค่าเป็ นกี่เท่าของความหนาแน่นของโลก
( กาหนดให้ ปริ มาตรทรงกลม = 43  R3 )
1. 2 2. 4 3. 12 4. 14

ความหนาแน่นสัมพัทธ์ ( relative density ) หรื อความถ่วงจาเพาะ ( specific gravity )


หมายถึง อัตราส่ วนระหว่างความหนาแน่นของสารต่อความความหนาแน่นของน้ า
ดังนั้น ความหนาแน่นสัมพัทธ์ของสาร = ความหนาแน่นของสาร
ความหนาแน่นของน้ า
หรื อ ความถ่วงจาเพาะของสาร = ความหนาแน่นของสาร
ความหนาแน่นของน้ า
และ ความหนาแน่นของสาร = ความถ่วงจาเพาะของสาร x ความหนาแน่นของน้ า
7. ปรอทมีความหนาแน่น 13.6 x 103 กิโลกรัม/เมตร3 จงหาความหนาแน่นสัมพัทธ์ของปรอท
( กาหนด น้ ามีความหนาแน่น 1 x 103 กิโลกรัม/เมตร3 )

8. แอลกอฮอล์มีความถ่วงจาเพาะ 0.8 จงหาค่าความหนาแน่นของแอลกอฮอล์


1. 0.8 kg/m3 2. 0.8 x 103 kg/m3 3. 1.6 kg/m3 4. 1.6 x 103 kg/m3

3
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 17 ของไหล

17.2 ความดันในของเหลว
หากเรานาน้ าใส่ ในถุงแล้วปิ ดให้สนิท น้ าจะมีแรงดันผนังของถุงดังรู ป และหากนาแรงดัน
ที่มีหารด้วยพื้นที่ที่แรงนั้นกระทา ผลหารที่ได้จะเรี ยกว่า ความดัน ( P )
นัน่ คือ P = AF
เมื่อ P คือความดัน ( นิวตัน/ตารางเมตร )
F คือแรงดัน ( นิวตัน )
A คือพื้นที่ท่ีถูกแรงดันนั้นกระทา ( ตารางเมตร )
แรงดันและความดันของของเหลวใดๆ จะมีสมบัติเบื้องต้นได้แก่
1. มีทิศได้ทุกทิศทาง
2. มีทิศตั้งฉากกับผิวภาชนะที่สัมผัส
ถ้าเรานาของเหลวไปใส่ ในภาชนะดังรู ป แรงดัน
และความดันของของเหลวที่กระทาต่อผนังภาชนะ จะ
แบ่งได้เป็ น 2 ส่ วน ได้แก่
1. แรงดัน และความดันที่กดก้นภาชนะ
2. แรงดัน และความดันที่ดนั พื้นที่ดา้ นข้าง
17.2.1 แรงดันและความดันของเหลวทีก่ ระทาต่ อพืน้ ที่ก้นภาชนะ
ก. กรณีทภี่ าชนะบรรจุของเหลวเป็ นภาชนะปิ ด
แรงดันทีก่ ดก้นภาชนะ = น้ าหนักของของเหลวส่ วน
ที่อยูใ่ นแนวตั้งฉากกับพื้นที่กน้ ภาชนะนั้น
นัน่ คือ Fก้น = m g
ความดันทีก่ ดก้นภาชนะ จะหาค่าได้จากสมการ
Fก้น
Pก้น = A หรื อ Pก้น =  g h
ก้น
เมื่อ Pก้น คือความดันที่กดก้นภาชนะ ( นิวตัน/ตารางเมตร )
Fก้น คือแรงดันที่กดก้นภาชนะ ( นิวตัน )
Aก้น คือพื้นที่ที่กน้ ภาชนะ ( ตารางเมตร )

4
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 17 ของไหล
 คือความหนาแน่นของของเหลว ( กิโลกรัม/ลูกบาศก์เมตร)
g คือความเร่ งเนื่องจากแรงโน้มถ่วง (  9.8 เมตร/วินาที2 )
h คือความลึกวัดจากผิวของเหลวถึงก้นภาชนะ ( เมตร )
เมื่อพิจารณาจากสมการ Pก้น =  g h จะได้วา่ สาหรับของเหลวชนิ ดหนึ่งๆ ความหนา
แน่น (  ) และค่า g จะคงที่ ดังนั้นความดัน ( P ) จึงแปรผันตรงกับความลึก ( h ) อย่างเดียว
ดังนั้นหากความลึก ( h ) เท่ากันความดันย่อมเท่ากันอย่างแน่นอน
พิจารณาตัวอย่าง ภาชนะทั้ง 3 หากบรรจุของ
เหลวชนิดเดียวกันสู งเท่ากัน ความดันที่กดภาชนะ
ทั้ง 3 ใบ จะเท่ากัน เพราะความดันจะขึ้นกับความ
ลึก ( h ) อย่างเดียวไม่เกี่ยวกับรู ปร่ างภาชนะ

9. กล่องปิ ดรู ปสี่ เหลี่ ยมมุมฉาก มีพ้ืนที่ฐานเท่ากับ 0.2 ตารางเมตร บรรจุน้ าบริ สุทธิ์ มวล 5
กิโลกรัม จงหาแรงดันและความดันของน้ าที่กดก้นภาชนะ
( กาหนดให้ ความหนาแน่นของน้ ามีค่า 1 x 103 กิโลกรัม / ลูกบาศก์เมตร )
1. 50 N , 150 N/m2 2. 50 N , 250 N/m2
3. 100 N , 150 N/m2 4. 100 N , 250 N/m2

5
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 17 ของไหล
10. ภาชนะปิ ดรู ปทรงกระบอกสู ง 50 เซนติเมตร พื้น
ที่หน้าตัด 0.8 เมตร2 ฝาด้านบนเจาะเป็ นรู วงกลม 50 cm
แล้วต่อเป็ นปล่องสู ง 50 เซนติเมตร ถ้าใส่ น้ าจน 50 cm
เต็มขึ้นมาเสมอระดับปากท่อที่ต่อขึ้นมาใหม่ จงหา
ความดัน และแรงดันของน้ าที่กน้ ภาชนะ กาหนด ความหนาแน่นของน้ า 1 x 103 kg/m3
1. 1 x 104 N/m2 , 4 x 103 N 2. 2 x 104 N/m2 , 4 x 103 N
3. 1 x 104 N/m2 , 8 x 103 N 4. 2 x 104 N/m2 , 8 x 103 N

ข. กรณีทภี่ าชนะบรรจุของเหลวเป็ นภาชนะเปิ ด


สาหรับของเหลวที่บรรจุอยูใ่ นภาชนะเปิ ดนั้น ความดันที่กระทาต่อพื้นที่กน้ ภาชนะจะ
มี 2 อย่าง ได้แก่
1) ความดันเกจ (Pw) คือความดันที่เกิดจากน้ าหนักของเหลว ( หาจาก P =  g h )
2) ความดันบรรยากาศ (Pa) คือความดันที่เกิดจากน้ าหนักของอากาศที่กดทับผิวของ
เหลวลงมา ซึ่งปกติแล้วความดันบรรยากาศ จะมีค่า
ประมาณ 1x 105 นิวตัน/เมตร2 ( Pascal ) Pa = 1x 105 N/m2

ดังนั้น Pรวม = Pa + Pw Pw =  g h
Pสัมบูรณ์ = Pa +  g h

ความดันรวมของความเกจและความดันบรรยากาศ จะเรี ยก ความดันสั มบูรณ์

6
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 17 ของไหล
11. น้ าทะเลมีความหนาแน่น 1.03 x 103 กิโลกรัม/เมตร3 และความดันบรรยากาศที่ระดับน้ า
ทะเลเป็ น 1 x 105 นิวตัน/เมตร2 จงหาความดันสมบูรณ์ที่ใต้ทะเลลึก 100 เมตร
1. 1.0 x 105 N/m2 2. 10.3 x 105 N/m2
3. 11.3 x 105 N/m2 4. 11.3 x 106 N/m2

12. ณ ความลึกตาแหน่งหนึ่งใต้ทะเลวัดความดันได้ 4 เท่าของความดันที่ผวิ น้ าบริ เวณนั้น


จงหาความลึก ณ ที่แห่งนี้ ( น้ าทะเล = 1.025x103 kg/m3, ความดันบรรยากาศ = 105 N/m2)
1. 10.30 เมตร 2. 15.25 เมตร 3. 20.30 เมตร 4. 29.27 เมตร

13(แนว มช) น้ าและน้ ามัน ชนิดหนึ่งบรรจุในหลอดแก้ว


รู ปตัวยู โดยน้ าอยูใ่ นหลอดแก้วทางขวาและน้ ามัน น้ ามัน
อยูใ่ นภาวะสมดุลระดับน้ าและน้ ามันดังแสดงในรู ป 0.5 m 0.3 m
จงหาความหนาแน่นน้ ามันนี้ เป็ น กิโลกรัม/เมตร3
1. 900 2. 700 น้ า
3. 800 4. 600

7
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 17 ของไหล
14. ของเหลว 3 ชนิด อยูใ่ นสภาวะสมดุลในหลอด
แก้วรู ปตัวยูดงั รู ป ความหนาแน่นของของเหลว
ชนิดที่หนึ่ง และ ชนิดที่สองมีค่า 4.0x103 และ 10 ซม. 3 1
3.0x103 กิโลกรัม/เมตร3 ตามลาดับ ความหนา
6 ซม. 2
แน่นของเหลวชนิ ดที่สามมีค่ากี่กิโลกรัม/เมตร3 12 ซม.
1. 1.4 x 103 2. 1.6 x 103 4 ซม.
3. 2.4 x 103 4. 2.8 x 103

15. หลอดรู ปตัว U มีขาโตเท่ากันมีของเหลวบรรจุอยู่ ถ้าเทน้ าลงไปในขาหลอดข้างซ้ายจน


กระทัง่ ของเหลวในขาข้างนั้นลดลง 1 เซนติเมตร จงหาว่าเทน้ าลงไปสู งกี่เซนติเมตร
กาหนด ความหนาแน่นของเหลวเท่ากับ 3 x 103 kg/m3
และ ความหนาแน่นของน้ าเท่ากับ 1 x 103 kg/m3
1. 3 2. 4 3. 5 4. 6

8
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 17 ของไหล
16. ขาข้างหนึ่งของแมนอมิเตอร์ที่มีปรอทบรรจุ
อยู่ ถูกต่อเข้ากับถังสี่ เหลี่ยมที่บรรจุแก๊สชนิด
หนึ่ง ปรากฏว่าระดับปรอทในขาทั้งสองข้าง
สูง 5 เซนติเมตร และ 15 เซนติเมตร ดังรู ป 15 cm
5 cm
ถ้าความดันของอากาศขณะนั้นเท่ากับ 105 พาสคัล
แก๊สในถังมีความดันกี่พาสคัล ให้ ความหนาแน่นปรอท = 13.6x103 kg/m3 , g = 9.8 m/s2
1. 1.00 x105 2. 1.13 x105 3. 2.00 x105 4. 2.13 x105

17.2.2 แรงดันและความดันของเหลวทีก่ ระทาต่ อพืน้ ที่ด้านข้ าง


การหาค่าความดันของของเหลวที่กระทาต่อพื้นที่ดา้ นข้างนั้น สามารถหาได้จากค่าเฉลี่ย
ของความดัน ณ จุดบนสุ ดกับจุดต่าสุ ดของพื้นที่น้ นั
Pบนสุด
Pบนสุด  Pลางสุด
นัน่ คือ Pข้ าง = hcm
2
เมื่อ Pข้าง คือความดันที่ดนั พื้นที่ดา้ นข้าง Pล่างสุด
(นิวตัน/เมตร2)
Pบนสุด คือความดัน ณ จุดบนสุ ดของพื้นที่ (นิวตัน/เมตร2)
Pล่างสุด คือความดัน ณ จุดล่างสุ ดของพื้นที่ (นิวตัน/เมตร2)
9
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 17 ของไหล
นอกจากนี้ความดันของของเหลวที่กระทาต่อพื้นที่ดา้ นข้างยังอาจหาได้จากสมการ
Pข้ าง =  g hcm
เมื่อ Pข้าง คือความดันที่ดนั พื้นที่ดา้ นข้าง (นิวตัน/เมตร2)
 คือความหนาแน่นของของเหลว ( กิโลกรัม/เมตร3)
g คือความเร่ งเนื่องจากแรงโน้มถ่วง (  9.8 เมตร/วินาที2 )
hcm คือความลึกวัดจากผิวของเหลวถึงจุดกึ่งกลางพื้นที่ดา้ นข้างนั้น (เมตร)
สาหรับแรงดันของของเหลวที่กระทาต่อพื้นที่ดา้ นข้าง สามารถหาค่าได้จาก
Fข้ าง = Pข้ าง Aข้ าง
เมื่อ Fข้าง คือแรงที่กระทาต่อพื้นที่ดา้ นข้าง (นิวตัน)
Pข้าง คือความดันที่กระทาต่อพื้นที่ดา้ นข้าง (นิวตัน/เมตร2)
Aข้าง คือพื้นที่ดา้ นข้างภาชนะ ( เมตร2)
การหาความดัน ที่ ก ระท าต่ อพื้ น ที่ ด้านข้าง ไม่ จาเป็ นต้องคิ ดความดันบรรยากาศ ( Pa)
เพราะความดันบรรยากาศจะมีท้ งั ภายในและภายนอกภาชนะ และจะเกิดการหักล้างกันหมดไป
17. ถังปิ ดรู ปสี่ เหลี่ยมลูกบาศก์ที่มีความยาวด้านละ 2 เมตร เมื่อบรรจุน้ าเต็มความดันและแรง
ดันของของเหลวที่กระทาต่อพื้นที่ดา้ นขวามือของกล่องมีขนาดเท่ากับเท่าใด
1. 1 x 104 Pa , 2 x 104 N 2. 1 x 104 Pa , 4 x 104 N
3. 2 x 104 Pa , 2 x 104 N 4. 2 x 104 Pa , 4 x 104 N

10
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 17 ของไหล
18. เขื่อนกั้นน้ าแห่งหนึ่งยาว 200 เมตร กั้นน้ าสู ง 20 เมตร จงหาแรงดันของน้ าที่กระทาต่อ
เขื่อนนี้
1. 2 x 108 N 2. 4 x 108 N 3. 6 x 108 N 4. 8 x 108 N

19. กล่องสี่ เหลี่ยมลูกบาศก์มีความยาวด้านละ 1 เมตร


ด้านบนมีฝาปิ ดสนิท ตรงกลางฝาบนเจาะรู โตขนาด 0.4 m
200 ตารางเซนติเมตร เสี ยบท่อแน่นพอดี และเติม
น้ าลงไปตามท่อจนกระทัง่ ระดับน้ าเต็มท่อพอดีแล้ว
ปิ ดฝาให้สนิท เมื่อท่อยาว 40 เซนติเมตร จงหา 1 m
แรงดันของน้ าที่ฝาด้านข้างแต่ละด้าน
1m
1. 6 x 103 N 2. 7 x 103 N 1m
3
3. 8 x 10 N 3
4. 9 x 10 N

11
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 17 ของไหล
20. เขื่อนกั้นน้ าจืดแห่งหนึ่ง มีน้ าอยูล่ ึก 20 เมตร ที่ฐานเขื่อนเจาะเป็ นรู โตมีเส้นผ่าศูนย์กลาง
1.4 เมตร จงหาแรงดันของน้ าที่ไหลออกไป
1. 2.97 x 105 N 2. 4.97 x 105 N 3. 2.51 x 105 N 4. 4.51 x 105 N

21. เขื่อนยาว 50 เมตร ผิวเขื่อนด้านที่รับ น้ าเอียง 53o กับ


แนวราบในขณะที่มีน้ าสู ง 10 เมตร จงหาแรงดันของน้ า
ที่กระทาต่อเขื่อนนี้
10 ม.
1. 6.25 x 107 N 2. 3.12 x 107 N
53o
3. 6.25 x 108 N 4. 3.12 x 108 N

12
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 17 ของไหล
17.2.3 เครื่องวัดความดัน
ก. แมนอมิเตอร์ ( manometer ) เป็ นเครื่ อง
มือวัดความดันของของไหลชนิดหนึ่ง ประกอบด้วย
หลอดแก้วรู ปตัวยูมีของเหลวบรรจุอยูภ่ ายใน ปลาย
ข้างหนึ่งเปิ ด ส่ วนปลายอีกข้างหนึ่งจะต่อกับภาชนะ
บรรจุของไหลหรื อแก๊สที่ตอ้ งการวัดความดัน ถ้ารู้
ความแตกต่างของระดับของเหลวในหลอดแก้วรู ป
ตัวยูท้ งั สองข้างจะทาให้สามารถหาความดันของของ สุญญากาศ
ไหลได้
ข. บารอมิเตอร์ ปรอท (mercury barometer) Pบรรยากาศ Pปรอท
760 ม.ม.
เป็ นเครื่ องมือสาหรับวัดความดันบรรยากาศโดยตรง
ประกอบด้วยหลอดแก้วทรงกระบอก ยาวประมาณ
80 เซนติเมตร ปลายข้างหนึ่งปิ ด ภายในบรรจุดว้ ย
ปรอทจนเต็มแล้วคว่าลงในอ่างปรอท โดยไม่ให้อากาศเข้าในหลอดแล้วระดับปรอทในหลอดจะ
ลดต่าลงมาเอง ปลายบนของหลอดจะเกิดเป็ นสุ ญญากาศและความดันของลาปรอทในหลอดจะ
มีค่าเท่ากับความดันบรรยากาศภายนอกพอดี ที่ระดับน้ าทะเล ความดัน 1 บรรยากาศ จะ
เท่ากับความดันปรอทซึ่ งสู ง 760 มิลลิเมตร
นัน่ คือ 1 ความดันบรรยากาศ = ความดันปรอทสู ง 760 มิลลิเมตร (0.76 เมตร)
= gh
= ( 13.6x103) (9.8) ( 0.76 )
ดังนั้น ความดัน 1 บรรยากาศ (atm) = 1.01 x 105 นิวตัน/ตารางเมตร
.

17.3 กฎของพาสคัล
กฎของพาสคัล กล่าวว่า “ ถ้ ามีของไหล ( ของ
เหลวหรือแก๊ส) บรรจุอยู่ในภาชนะทีอ่ ยู่นิ่ง เมื่อให้
ความดันเพิม่ แก่ของไหล ณ ตาแหน่ งใด ๆ ความ
ดันทีเ่ พิม่ ขึน้ จะถ่ ายทอดไปทุกๆ จุดในของเหลวนั้น”
ความรู้จากกฎของพาสคัล ทาให้เราสามารถ
13
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 17 ของไหล
ประดิษฐ์เครื่ องผ่อนแรงที่ เรี ยกว่าเครื่ องอัดไฮดรอริ กขึ้นมาได้ เครื่ องมือนี้ เป็ นเครื่ องที่ใช้ยก
วัตถุที่มีน้ าหนักมาก เช่นแม่แรงยกรถ เป็ นต้น เครื่ องอัดไฮดรอลิกโดยทัว่ ไปจะมีองค์ประกอบ
หลักได้แก่ ลูกสู บขนาดใหญ่ และลูกสู บขนาดเล็ก ซึ่ งมีทอ่ เชื่อมต่อถึงกัน ภายในจะบรรจุ
ของเหลวไว้ ดังรู ป เมื่อจะใช้ยกวัตถุตอ้ งนาลูกสู บใหญ่เป็ นตัวยกวัตถุน้ นั แล้วออกแรงกดที่
วัตถุเล็กแล้วจะสามารถยกวัตถุหนักๆ ได้โดยใช้แรงที่นอ้ ยกว่า
การคานวณเกี่ยวกับเครื่ องอัดไฮดรอริ กนั้นจะอาศัยกฎของพาสคัล กล่าวคือ ความดันที่
ลูกสู บใหญ่จะมีค่าเท่ากับความดันที่ลูกสู บเล็ก เพราะอยูใ่ นของเหลวเดียวกัน
นัน่ คือ Pลูกสูบใหญ่ = Pลูกสูบเล็ก ( แทนค่า P = แรงดัน )
พื้นที่
จะได้ แรงดันลู กสบใหญ่ = แรงดันลูกสบเล็ก
พื้นทีห่ น้ าตัดลู กสูบใหญ่ พื้นทีห่ น้ าตัดลู กสูบเล็ก
W = Fa
A
เมื่อ W = น้ าหนักที่ยกได้
F= แรงที่ใช้กด
A= พื้นที่หน้าตัดกระบอกสู บใหญ่
a= พื้นที่หน้าตัดกระบอกสู บเล็ก
นอกจากนี้ยงั จะได้อีกว่า
W = F และ W = F
R2 r2 D2 d2
เมื่อ R = รัศมีกระบอกสู บใหญ่
r = รัศมีกระบอกสู บเล็ก
D = เส้นผ่านศูนย์กลางกระบอกสู บใหญ่
d = เส้นผ่านศูนย์กลางกระบอกสู บเล็ก
สาหรับการได้เปรี ยบเชิงกลและประสิ ทธิ ภาพเชิงกลของเครื่ องอัดไฮดรอริ กจะหาได้จาก
การได้เปรี ยบเชิงกลทางปฏิบตั ิ (M.A.ปฏิบตั ิ) = WF
การได้เปรี ยบเชิงกลทางทฤษฎี (M.A.ทฤษฎี) = Aa
M.A.
ประสิ ทธิภาพเชิงกล (Eff) = M.A.ปฎิ บตั ิ x 100% = W /F
A / a x 100%
ทฤษฎี

14
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 17 ของไหล
22. เครื่ องอัดไฮดรอริ กเครื่ องหนึ่งลูกสู บเล็กมีพื้นที่หน้าตัด 3 ตารางเซนติเมตร ลูกสู บใหญ่มี
พื้นที่หน้าตัด 24 ตารางเซนติเมตร ถ้าต้องการให้ลูกสู บใหญ่ยกน้ าหนักได้ 80 นิวตัน ต้อง
ออกแรงกดที่ลูกสู บเล็กกี่นิวตัน
1. 10 N 2. 20 N 3. 40 N 4. 80 N

23(แนว มช) เครื่ องอัดไฮดรอลิ กเครื่ องหนึ่ ง ลูกสู บใหญ่มีรัศมี 1.0 เมตร และลูกสู บเล็กมีรัศมี
0.1 เมตร ถ้าออกแรงกดลูกสู บเล็ก 200 นิวตัน จะยกวัตถุมวลเท่าไรได้
1. 2000 กิโลกรัม 2. 2000 นิวตัน 3. 20000 กิโลกรัม 4. 200000 นิวตัน

24. เครื่ องอัดไฮดรอลิ กเครื่ องหนึ่ งลูกสู บใหญ่เส้ นผ่านศูนย์กลาง 20 เซนติเมตร และลูกสู บ
เล็กมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 2 เซนติเมตร ถ้าต้องการให้ลูกสู บใหญ่ยกน้ าหนักได้ 1000 นิวตัน
ต้องออกแรงกดที่ลูกสู บเล็กกี่นิวตัน
1. 125 2. 250 3. 1250 4. 2500

15
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 17 ของไหล
25(แนว En) เครื่ องอัดไฮโดรลิกใช้สาหรับยกรถยนต์เครื่ องหนึ่ง ใช้น้ ามันที่มีความหนาแน่น
800 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร พื้นที่ของลูกสู บใหญ่และลูกสู บเล็กมีค่า 1000 ตารางเซนติ-
เมตร และ 25 ตารางเซนติเมตร ตามลาดับ ต้องการยกรถยนต์หนัก 1000 กิโลกรัม ขณะ
ที่กดลูกสู บเล็กระดับน้ ามันในลูกสู บเล็กอยูส่ ู งกว่าน้ ามันในลูกสู บใหญ่ 100 เซนติเมตร แรง
ที่กดบนลูกสู บเล็กมีค่าเท่าใด
1. 230 N 2. 250 N 3. 270 N 4. 290 N

26. เครื่ องอัดไฮโดรลิกหนึ่งใช้น้ ามันที่มีความหนาแน่น 800 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร พื้นที่


ของลูกสู บใหญ่และลูกสู บเล็กมีค่า 0.1 และ 0.02 ตารางเมตรตามลาดับ ระดับน้ ามันในลูก
สู บใหญ่อยูส่ ู งกว่าน้ ามันในลูกสู บเล็ก 20 เซนติเมตร หากต้องการยกรถยนต์หนัก 2000
กิโลกรัม จะต้องออกแรงกดบนลูกสู บเล็กกี่นิวตัน
1. 2030 N 2. 3250 N 3. 4032 N 4. 5040 N

16
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 17 ของไหล
y
27. คานยกในเครื่ องอัดไฮดรอริ กดังรู ป มีอตั รา x
ส่ วนของ x : y = 1 : 4 และ a : A = 1 : 50 A a
เมื่อจะยกน้ าหนัก 1 x 104 นิวตัน ต้องออก
แรงที่ปลายคานโยกกี่นิวตัน
1. 30 N 2. 40 N 3. 50 N 4. 60 N

28. เครื่ องอัดไฮดรอลิกสู บใหญ่มีพ้ืนที่ 10 เท่าลูกสู บเล็ก ถ้าออกแรงกดที่สูบเล็ก 5 นิวตัน


ปรากฏว่าสามารถยกน้ าหนักที่สูบใหญ่ได้มากที่สุด 40 นิวตัน
ก. การได้เปรี ยบเชิงกลทางทฤษฎีเป็ นเท่าใด
ข. การได้เปรี ยบเชิงกลทางปฏิบตั ิเป็ นเท่าใด
ค. ประสิ ทธิ ภาพของเครื่ องกลเป็ นเท่าใด
1. ก. 10 ข. 8 ค. 80% 2. ก. 10 ข. 8 ค. 75%
3. ก. 5 ข. 4 ค. 80% 4. ก. 5 ข. 4 ค. 75%

17
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 17 ของไหล
17.4 แรงพยุงและหลักของอาร์ คมิ ดี ีส
จากรู ป วัตถุที่จมอยูใ่ นของเหลวจะถูกแรงดันของ
ของเหลวกระทาในทุกทิศทาง พิจารณาเฉพาะแนวดิ่ง
แรง F2 จะมีค่ามากกว่า F1 เพราะจุดที่ F2 อยูน่ ้ นั มี
ความลึกมากกว่า มีค่าความดันมากกว่า จึงทาให้
F2 > F1 ดังกล่าว แรงลัพธ์ ( F2 – F1)
จึงมีค่าไม่เป็ นศูนย์ และมีทิศยกขึ้น แรงลัพธ์น้ ีเรี ยกแรงพยุง
หลักของอาร์ คิมีดีส กล่าวว่า
“ แรงพยุงจะมีค่าเท่ากับ น้ าหนักของของเหลว
ซึ่งมีปริ มาตรเท่ากับปริ มาตรของวัตถุส่วนจม ”
นัน่ คือ แรงพยุง = น้ าหนักของของเหลว แรงพยุง
FB = m g ของเหลว ( แทนค่า m = v)
FB = ของเหลว Vของเหลว g ( แทนค่า Vของเหลว = Vวัตถุส่วนจม )
FB = ของเหลว Vวัตถุส่วนจม g
เมื่อ FB คือแรงพยุง ( นิวตัน )
ของเหลว คือความหนาแน่นของของเหลว ( กิโลกรัม/เมตร3 )
Vวัตถุส่วนจม คือปริ มาตรของวัตถุส่วนจม ( เมตร3 )

29. ปล่อยวัตถุทรงกลมมวล 10 กรัม ที่มีปริ มาตร 5 ลูกบาศก์เซนติเมตร ลงไปในน้ า ขณะที่


จมลงไปได้ระยะหนึ่งจะมีการเคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ วคงที่ แรงพยุงจะมีค ่ากี่นิวตัน
1. 5.0 x 10–2 2. 2.5 x 10–3 3. 2.0 x 10–4 4. 1.5 x 10–5

18
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 17 ของไหล
30. วัต ถุ ชิ้ น หนึ่ งมี ม วล 2 กิ โ ลกรั ม เมื่ อ น าไปลอยในน้ า ซึ่ งมี ค วามหนาแน่ น 1 x 103
กิโลกรัม/เมตร3 จงหาปริ มาตรของวัตถุส่วนจมใต้น้ า
1. 0.001 m3 2. 0.002 m3 3. 0.1 m3 4. 0.2 m3

31. วัตถุชิ้นหนึ่งมีปริ มาตร 20 เซนติเมตร3 ความหนาแน่น 900 กิโลกรัม/เมตร3 เมื่อนาวัตถุน้ ี


ไปลอยในน้ าซึ่ งมีความหนาแน่น 1000 กิโลกรัม/เมตร3 จงหาปริ มาตรของวัตถุส่วนจมใต้น้ า
1. 9 cm3 2. 12 cm3 3. 15 cm3 4. 18 cm3

32. วัตถุทรงกลมตันลูกหนึ่งลอยอยูใ่ นของเหลวโดยจมลงไปครึ่ งลูกพอดี กาหนดว่าของเหลว


มีความหนาแน่น 1.2 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร จงหาว่าความหนาแน่นของวัตถุมีค่าเท่าใด
1. 0.6 g/cm3 2. 0.8 g/cm3 3. 0.9 g/cm3 4. 1.0 g/cm3

19
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 17 ของไหล
33. เมื่อนาวัตถุกอ้ นหนึ่งใส่ ลงในน้ า ปรากฏว่าวัตถุลอยน้ าโดยมีปริ มาตรส่ วนที่จมลงในน้ า เป็ น
0.6 เท่าของปริ มาตรทั้งหมด จงหาความหนาแน่นของวัตถุน้ ี
1. 0.6 x 103 kg/m3 2. 0.8 x 103 kg/m3
3. 0.9 x103 kg/m3 4. 1.0 x 103 kg/m3

34. ถ้าวัตถุ เป็ นน้ าแข็งและของเหลวเป็ นน้ าที่ มีความหนาแน่ น 917 และ 1000 กิ โลกรัม/-
เมตร3 ตามลาดับ ปริ มาตรส่ วนที่จมและลอยคิดเป็ นร้อยละเท่าใดตามลาดับ
1. 80.5 , 19.5 2. 85.0 , 15.0 3. 88.2 , 11.8 4. 91.7 , 8.3

35. เรื อขนาดกว้าง 0.5 เมตร ยาว 1 เมตร สู ง 0.5 เมตร จะสามารถบรรทุกคนที่มีน้ าหนัก
เท่ากับ 60 กิโลกรัม ได้อย่างมากที่สุดกี่คน จึงจะไม่ทาให้เรื อลานี้จม
( กาหนดให้มวลของเรื อเท่ากับ 40 กิโลกรัม )
1. 2 คน 2. 3 คน 3. 4 คน 4. 5 คน

20
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 17 ของไหล
36. โป๊ ะรู ปสี่ เหลี่ยมยาว 4 เมตร กว้าง 2 เมตร มีมวล 2m
12 ตัน ลอยอยูใ่ นน้ าทะเลที่มีความหนาแน่น
1.03 x 103 กิโลกรัม/เมตร3 จงหาส่ วนที่จมน้ า ( d )
d
1. d = 1.15 เมตร 2. d = 1.25 เมตร
3. d = 1.46 เมตร 4. d = 1.55 เมตร

37. วัตถุปริ มาตร 1 เมตร3 มีมวล 500 กิโลกรัม จมอยูใ่ ต้น้ า


20 เมตร
โดยมีเชื อกดึงติดไว้กบั ใต้น้ าดังรู ป จงหาแรงดึงเชื อก
1. 3500 N 2. 4000 N
T
3. 4500 N 4. 5000 N

21
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 17 ของไหล
38. โลหะผสมมวล 2 กิโลกรัม มีความหนาแน่น 2.5 x 103
กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ผูกติดกับตาชัง่ และจมอยูใ่ นน้ า
ดังรู ปตาชัง่ จะอ่านค่าได้กี่นิวตัน กาหนดความหนาแน่น
ของน้ า 103 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร

39. เมื่อชัง่ วัตถุกอ้ นหนึ่งในอากาศวัดได้ 50 นิวตัน เมื่อนาวัตถุไปชัง่ ในน้ าจะหนัก 40 นิวตัน


วัตถุน้ ีมีความหนาแน่นเท่าใด ( กาหนดให้ น้ ามีความหนาแน่น 103 กิโลกรัม/เมตร3 )
1. 2x103 kg/m3 2. 3x103 kg/m3 3. 4x103 kg/m3 4. 5x103 kg/m3

22
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 17 ของไหล
40. เมื่อชัง่ มงกุฎในอากาศอ่านน้ าหนักได้ 8.5 นิวตัน เมื่อนาไปชัง่ ในน้ าอ่านน้ าหนักได้ 7.7
นิวตัน มงกุฎนี้ ทาด้วยทองคาบริ สุทธิ์ หรื อไม่
( ถ้าเป็ นทองคาบริ สุทธิ์ จะมีความหนาแน่น 19.3x103 kg/m3 )
1. บริ สุทธิ์ 2. ไม่บริ สุทธิ์
3. เป็ นไปได้ท้ งั สองอย่างขึ้นกับสภาพแวดล้อม 4. ข้อมูลไม่เพียงพอที่จะหาคาตอบ

17.5 ความตึงผิว
แรงตึงผิว คือแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคที่ผวิ ของของเหลวซึ่งพยายามจะยึดผิวของ
ของเหลวเอาไว้ ไม่ให้ผวิ ของเหลวแยกออกจากกัน
สมบัติของแรงตึงผิว
1. มีทิศขนานกับผิวของของเหลว
2. มีทิศตั้งฉากกับผิวสัมผัส
หากเรานาวัตถุเบา เช่นห่วงวงกลมที่ทาจากลวดเส้นเล็กๆ ไปวางบนผิวของเหลว ต่อจากนั้น
จึงออกแรงดึงหรื อแรงกดต่อวัตถุน้ นั การทดลองแบบนี้ มีสิ่งที่ควรทราบเพิม่ เติมดังนี้
1. หากวัตถุถูกดึงขึ้นจากผิวของเหลว แรงตึงผิวจะมีทิศฉุ ดลง
2. หากวัตถุถูกกดลงจากผิวของเหลว แรงตึงผิวจะมีทิศต้านขึ้ น
Fยก
Fกด

Fตึงผิว Fตึงผิว

23
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 17 ของไหล
เราอาจหาค่าแรงตึงผิวได้จาก
F=L
เมื่อ  คือความตึงผิวของของเหลว ( นิวตัน/เมตร )
F คือแรงตึงผิว ( นิวตัน )
L คือระยะที่วตั ถุสัมผัสของเหลว ( เมตร )
41. เอาห่วงลวดรัศมี 3.5 เซนติเมตร จุม่ ลงในน้ าเมื่อดึงขึ้นมา
F
ต้องออกแรงเอาชนะแรงตึงผิวเท่าใด (ไม่คิดน้ าหนักของห่ วง)
กาหนด น้ ามีความตึงผิว 7 x 10–2 นิวตัน/เมตร
1. 0.030 2. 0.0308 3. 0.300 4. 0.308

42. แผ่นโลหะรู ปวงกลมมีรัศมี 5 เซนติเมตร กาลังแตะผิวน้ าพอดี จงหาแรงที่ดึงแผ่นโลหะนี้


ให้หลุดจากผิวน้ าพอดี เมื่อแผ่นโลหะมีมวล 25 กรัม กาหนดให้ ความตึงผิวของน้ าเท่ากับ
7.0 x 10–2 นิวตันต่อเมตร
1. 0.175 N 2. 0.272 N 3. 0.359 N 4. 0.598 N

24
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 17 ของไหล
43. แผ่นโลหะบางมากรู ปวงกลม มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 7 เซนติเมตร นาไปลอยอยูบ่ นผิวน้ า
ถ้าการที่แผ่นโลหะนี้สามารถลอยน้ าอยูไ่ ด้เป็ นผลมาจากแรงตึงผิวเพียงอย่างเดียว จงหาว่า
โลหะแผ่นนี้มีมวลอย่างมากที่สุดเท่าใด กาหนดให้ความตึงผิวของน้ ามีค่า 0.072 นิวตัน/เมตร
1. 1.58 กรัม 2. 2.26 กรัม 3. 3.16 กรัม 4. 4.52 กรัม

44. การทดลองเพื่อศึกษาความตึงผิวของของ X Y
เหลวใช้ลวดสี่ เหลี่ยมจัตุรัสยาวด้านละ 5.0
cm ในอุปกรณ์ดงั รู ป โดยระยะ X = 2Y
พบว่ามวลที่ทาให้ลวดหลุดออกจากผิวของ
เหลวคือ 0.004 กิโลกรัม ความตึงผิวของ
ของเหลวเป็ นกี่ นิวตัน/เมตร
1. 0.05 2. 0.10 3. 0.20 4. 0.40

25
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 17 ของไหล
การซึมตามรู เล็ก
หากเรานาหลอดรู เล็ก ( capillary tube ) จุ่มลงในของเหลว แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค
จะแบ่งได้ 2 ประเภทได้แก่
1. แรงเชื่ อมแน่น คือแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคของของเหลวด้วยกันเอง
2. แรงยึดติด คือแรงยึดเหนี่ ยวระหว่างอนุภาคของของเหลวกับผนังหลอด
และเมื่อจุ่มหลอดลงในของเหลวแล้วผลที่เกิดขึ้นอาจเป็ นไปได้ 3 แบบ ได้แก่
1. ถ้าแรงยึดติดมีค่ามากกว่าแรงเชื่ อมแน่น กรณี
นี้ผวิ ของเหลวจะซึ มขึ้นไปในหลอดแก้วได้สูงกว่าระดับของ
เหลวปกติ ผิวของเหลวในหลอดแก้วจะมีลกั ษณะเว้าลงและ
ผนังแก้วจะเปี ยก เช่น จุ่มหลอดแก้วลงในน้ า จะเกิดกรณี น้ ี
2. ถ้าแรงเชื่ อมแน่นมีค่ามากกว่าแรงยึดติด กรณี
นี้ผวิ ของเหลวในหลอดจะอยูต่ ่ากว่าระดับของเหลวปกติ มี
ลักษณะโค้งขึ้น และผนังแก้วจะไม่เปี ยก เช่นจุ่มหลอดแก้ว
ลงในปรอท จะเกิดกรณี น้ ี
3. ถ้าแรงเชื่ อมแน่นมีค่าเท่ากับแรงยึดติด กรณี น้ ี
ผิวของเหลวในหลอดและนอกหลอดจะอยูใ่ นระดับเดียวกัน ผิวของเหลวในหลอดจะแบนราบ
45. ในท่อส่ งน้ าของลาต้นพืช สามารถส่ งน้ าจากพื้นดินขึ้นไปสู่ ดา้ นบนลาต้นได้ แสดงว่า
แรงยึดติดกับแรงเชื่อมแน่น แรงไหนมีค่ามากกว่ากัน
1. แรงยึดติด 2. แรงเชื่ อมแน่น
3. แรงทั้งสองมีขนาดเท่ากัน 4. ข้อมูลไม่เพียงพอที่จะหาคาตอบ

26
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 17 ของไหล
17.6 ความหนืด
หากเรานาช้อนไปคน น้ า กับนมข้นหวาน เราจะพบว่าการคนนมข้นหวานจะต้องใช้แรง
คนมากกว่า ทั้งนี้ เป็ นเพราะว่านมข้นหวานมีความหนื ดมากกว่ากว่าน้ า จึงทาให้นมข้นหวานมี
แรงต้านการเคลื่อนที่ของช้อนมากกว่าน้ า แรงต้านการเคลื่ อนที่ของวัตถุในของไหลอันเกิดจาก
ความหนืดของของไหล เรี ยกว่าแรงหนืด (viscous force)
ข้ อน่ าสนใจเกีย่ วกับความหนืดของของเหลว
1) ของเหลวที่มีความหนืดน้อยจะไหลได้เร็ วกว่า ของเหลวที่มีความหนืดมาก
2) ของเหลวที่มีความหนื ดมากจะมีแรงต้านการคนมากกว่าของเหลวที่มีความหนื ดน้อย
3) หากนาวัตถุเล็ก ๆ หย่อนลงในของเหลว ในของเหลวที่มีความหนืดมากกว่าวัตถุจะ
เคลื่อนที่ได้ชา้ กว่าการเคลื่อนที่ในของเหลวที่มีความหนืดน้อย
4) ปกติแล้ว เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น ความหนื ดของของเหลวจะลดลง
การทดลองหยอดลูกเหล็กกลมลงในของเหลว
หากเราทาการทดลองโดยนากระบอกตวง a0
สู งประมาณ 50 เซนติเมตร มาบรรจุของเหลว
เช่นน้ ามันพืช ลงไป จากนั้นลองหย่อนลูกเหล็ก
กลมลงไป จะพบว่า
ช่ วงแรก ลูกเหล็กจะจมลงไปโดยมีความเร่ ง
( a ) เป็ นบวก ทาให้ความเร็ ว ( v ) ของการจมมี
ค่าเพิ่มขึ้นทั้งนี้เป็ นเพราะลูกเหล็กจะถูกแรงกระทา 3 แรงดังรู ป และในช่วงแรกนี้
แรงหนืด + แรงพยุง < mg
ดังนั้น mg – (แรงหนืด + แรงพยุง) ≠ 0
นัน่ คือแรงลัพธ์ที่กระทาต่อวัตถุมีค่าไม่เป็ นศูนย์ วัตถุจึงจมลงด้วยความเร่ งเป็ นบวกดังกล่าว
ช่ วงหลัง ความเร่ ง ( a ) ของการเคลื่อนที่จะลดลงจนกลายเป็ นศูนย์ ลูกเหล็กจะเคลื่อนที่ดว้ ย
ความเร็ ว ( v ) คงที่ ทั้งนี้เป็ นเพราะวัตถุเคลื่อนเร็ วขึ้น แรงหนืดจะมากขึ้น
สุ ดท้าย แรงหนืด + แรงพยุง = m g
ดังนั้น mg – (แรงหนืด + แรงพยุง) = 0
นัน่ คือแรงลัพธ์ที่กระทาต่อวัตถุมีค่าเป็ นศูนย์ ความเร่ งของการเคลื่อนที่จึงมีค่าเป็ นศูนย์ดว้ ย
ลูกเหล็กจึงเคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ วคงที่
27
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 17 ของไหล
46. ลูกกลมโลหะที่ลกั ษณะเหมือนกันตกในของเหลวที่มีความหนืดต่างกัน ความเร็ วปลายของ
ลูกกลมโลหะทั้งสองจะต่างกันหรื อไม่อย่างไร
1. ต่างกันโดยในของเหลวที่มีความหนืดมากกว่าวัตถุมีความเร็ วปลายมากกว่า
2. ต่างกันโดยในของเหลวที่มีความหนืดมากกว่าวัตถุมีความเร็ วปลายน้อยกว่า
3. ต่างกัน แต่ความเร็ วปลายจะมากหรื อน้อยขึ้นกับสิ่ งแวดล้อมอื่นๆ ด้วย
4. ไม่ต่างกัน

47. ลูกกลมเหล็กที่มีขนาดเท่ากันสองลูก ถูกปล่อยพร้อมกันลงในหลอดบรรจุน้ าที่มีอุณหภูมิ


10 และ 20 องศาเซลเซี ยส ลูกกลมเหล็กในหลอดใดถึงก้นหลอดก่อน
1. ที่ 10oC 2. ที่ 20oC
3. ตกถึงก้อนหลอดพร้อมกัน 4. ข้อมูลไม่เพียงพอที่จะหาคาตอบ

48(แนว En) เมื่ อหย่อนลู ก โลหะทรงกลมเล็ กๆ ลงในทรงกระบอกที่ ท าด้วยแก้ว โดยมี น้ ามัน


บรรจุอยู่ ถ้าระยะ ab = bc = cd การเคลื่อนที่ของลูกโลหะ
เป็ นไปตามข้อใด โลหะทรงกลมเล็กๆ
1. ช่วง a ถึง b มีความเร่ ง ต่อจากนั้นจะมีความเร็ วคงตัว a
b
2. ช่วง a ถึง b มีความหน่วงต่อจากนั้นจะมีความเร็ วคงตัว c
3. จาก a ถึง b มีความเร่ งคงตัวตลอด d
4. จาก a ถึง d มีความเร่ งคงตัวตลอด

กฏของสโตกส์ ( Sir George Stokes )


สโตกส์พบว่า เราสามารถหาแรงหนื ดที่กระทาต่อวัตถุทรงกลมที่เคลื่อนที่ในของไหล ได้จาก
F = 6  r v
เมื่อ F คือแรงหนืดของของไหล ( นิวตัน )
r คือรัศมีของวัตถุทรงกลม ( เมตร )
v คือความเร็ วของวัตถุทรงกลม ( เมตร/วินาที )
 คือความหนืดของของไหล ( พาสคัล . วินาที )
28
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 17 ของไหล
สาหรับความเร็ วสุ ดท้ายของวัตถุทรงกลมสามารถหาค่าได้จาก
2
v = 29rg ( วัตถุ – ของเหลว )
เมื่อ v คือความเร็ วของวัตถุทรงกลม ( เมตร/วินาที )
r คือรัศมีของวัตถุทรงกลม ( เมตร )
 คือความหนืดของของไหล (พาสคัล . วินาที )
วัตถุ คือความหนาแน่นของวัตถุทรงกลม ( กิโลกรัม/เมตร3 )
ของเหลว คือความหนาแน่นของของเหลว ( กิโลกรัม/เมตร3 )
49. จงหาแรงหนืดซึ่งต้านการเคลื่อนที่ของทรงกลมซึ่งมีรัศมี 2 มิลลิเมตร ในกลีเชอรี นซึ่งมี
ความหนาแน่น 3 x 103 กิโลกรัม/เมตร3 ในขณะที่ลูกกลมมีอตั ราเร็ ว 0.2 เมตร/วินาที
กาหนดให้ความหนืดของกลีเชอรี นมีค่าเท่ากับ 0.84 นิวตัน.วินาที/เมตร2
1. 3.16 x 10–3 นิวตัน 2. 4.48 x 10–3 นิวตัน
3. 6.33 x 10–3 นิวตัน 4. 8.96 x 10–3 นิวตัน

50. ปล่อยทรงกลมเหล็กที่มีรัศมี 1 มิลลิเมตร ลงในน้ า ความเร็ วปลายของทรงกลมเหล็กจะมี


ค่าเท่าใด ( ให้ g = 9.8 m/s2 , ความหนาแน่นเหล็ก = 7.8 x 103 kg/m3 ,
ความหนาแน่นน้ า = 1 x 103 kg/m3 , ความหนืดของน้ า = 1 x 10–3 N.s/m2 )
1. 11.55 m/s 2. 14.81 m/s 3. 25.53 m/s 4. 30.55 m/s

29
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 17 ของไหล
17.7 พลศาสตร์ ของไหล
17.7.1 ของไหลในอุดมคติ
ของไหล (ของเหลวหรื อแก๊ส ) ในอุดมคติ จะมีสมบัติดงั นี้
1. ของไหลมีอตั ราการไหลอย่างสม่าเสมอ หมายถึง ความเร็ วของทุก ๆ อนุภาค ณ
ตาแหน่งหนึ่งมีค่าเท่ากัน
2. ของไหลมีการไหลโดยไม่หมุน
3. ของไหลมีการไหลโดยไม่มีแรงต้านเนื่ องจากความหนื ดของของไหล
4. ของไหลมีปริ มาตรคงที่ ไม่สามารถอัดได้ ไม่วา่ ไหลผ่านบริ เวณใด ยังคงมีความ
หนาแน่นเท่าเดิม
17.7.2 สมการความต่ อเนื่อง
“ ผลคูณระหว่างพื้นที่หน้าตัดซึ่ งของไหลผ่านกับอัตราเร็ วของของไหลที่ผา่ น ไม่วา่ จะ
เป็ นตาแหน่งใดในหลอดการไหลมีค่าคงที่ ” ค่าคงที่น้ ีเรี ยกอัตราการไหล ( Q )
นัน่ คือ Q = A v หรือ Q = Vt ( สมการความต่อเนื่ อง )
เมื่อ Q คืออัตราการไหล ( เมตร3/วินาที ) A คือพื้นที่หน้าตัด ( เมตร2)
v คืออัตราเร็ วการไหล ( เมตร/วินาที ) V คือปริ มาตรของไหล ( เมตร3 )
t คือเวลา ( วินาที )
และเนื่องจาก อัตราการไหล ( Q ) ของการไหลหนึ่งๆ
มีค่าคงที่ ดังนั้นหากเราให้ของไหลไหลผ่านท่อท่อหนึ่ง
ดังรู ป กาหนดอัตราการไหล ณ จุดที่ 1 เป็ น Q1 และ
อัตราการไหล ณ จุดที่ 2 เป็ น Q2 ดังรู ป
จะได้วา่ Q1 = Q 2 ( แทนค่า Q = A v )
จะได้ A 1 v1 = A 2 v 2
เมื่อ A1 , A2 คือพื้นที่หน้าตัดจุดที่ 1 และจุดที่ 2 ตามลาดับ
v1 , v2 คือความเร็ วของไหล ณ จุดที่ 1 และจุดที่ 2 ตามลาดับ

30
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 17 ของไหล
51. ถ้าน้ าในท่อประปาที่ไหลผ่านมาตรวัดเข้าบ้านมีอตั ราการไหล 1 ลิตรต่อวินาที จงหาอัตรา
เร็ วของน้ าในท่อประปาเมื่อไหลผ่านท่อที่มีพ้ืนที่หน้าตัด 10 ตารางเซนติเมตร
1. 1.00 m/s 2. 1.414 m/s 3. 1.732 m/s 4. 2.12 m/s

52. เครื่ องสู บน้ าเครื่ องหนึ่ง สามารถสู บน้ าได้ 0.01 ลูกบาศก์เมตร ในเวลา 10 วินาที แล้ว
พ่นออกไปทางท่อซึ่ งมีพ้ืนที่หน้าตัด 1 ตารางเซนติเมตร จงหาความเร็ วของน้ าที่พน่ ออกไป
1. 5 m/s 2. 10 m/s 3. 15 m/s 4. 20 m/s

53. เปิ ดน้ าจากก๊อกให้ไหลลงในบีกเกอร์ ความจุ 1 ลิตร จนเต็มภายในเวลา 10 วินาที ถ้าน้ า


ไหลออกจากก๊อกเป็ นลาด้วยอัตราเร็ ว 0.5 เมตร/วินาที จงหารัศมีของปลายก๊อก
1. 0.4 cm 2. 0.6 cm 3. 0.8 cm 4. 1.3 cm

31
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 17 ของไหล
54. เม็ดเลือดไหลด้วยอัตราเร็ ว 10 เซนติเมตร/วินาที ในเส้นเลือดใหญ่ที่มีรัศมี 0.3 เซนติเมตร
ไปสู่ เส้นเลือดขนาดเล็กลง และมีรัศมี 0.2 เซนติเมตร อัตราเร็ วของเม็ดเลือดในเส้นเลือด
เล็กเป็ นเท่าใด
1. 15.0 cm/s 2. 17.5 cm/s 3. 22.5 cm/s 4. 28.5 m/s

55. น้ าไหลลงในแนวดิ่งจากก๊อกน้ าซึ่ งมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 2.0 เซนติเมตร โดยมี ความเร็ วต้น


40 เซนติเมตรต่อวินาที น้ าจะต้องไหลลงมาเป็ นระยะทางกี่ เซนติเมตร เส้นผ่านศูนย์กลาง
ของลาน้ าจึงจะลดลงเหลือ 1.0 เซนติเมตร (ความหนาแน่นของน้ าคงที่)

17.7.3 หลักของแบร์ นูลลี


กล่าวว่า “ เมื่อของไหลเคลื่อนที่ในแนวระดับ หากอัตราเร็ วมีค่าเพิ่มขึ้น ความดันในของ
ของเหลวจะลดลงและเมื่ออัตราเร็ วลดลง
ความดันในของเหลวจะเพิ่มขึ้น ”
สมการของแบร์ นูลลี
เนื่องจาก “ ผลรวมความดัน พลังงานจลน์
ต่อปริ มาตร และ พลังงานศักย์ต่อปริ มาตร ทุกๆ
จุดภายในท่อที่ของไหล ไหลผ่านจะมีค่าคงที่ ”

32
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 17 ของไหล
นัน่ คือ P + 12 v2 + gh = ค่าคงที่
และ P1 + 12  v12 + gh1 = P2 + 12  v 22 + gh2
เมื่อ P1 , P2 คือ ความดันของเหลวในท่อ ณ จุดที่ 1 และ จุดที่ 2 ตามลาดับ (N/m2)
v1 , v2 คือ อัตราเร็ วของไหล ณ จุดที่ 1 และ จุดที่ 2 ตามลาดับ (m/s)
h1 , h2 คือ ความสู งจากพื้นถึงจุดศูนย์กลางท่อที่ 1 และ จุดที่ 2 ตามลาดับ (m)
 คือ ความหนาแน่นของของเหลว (kg / m3)
56. แรงที่ยกปี กเครื่ องบินขึ้นได้น้ นั เกิดได้อย่างไร
1. เกิดจากความดันใต้ปีกเครื่ องบินซึ่ งมีค่ามากกว่าความดันเหนื อปี กเครื่ องบิน
2. เกิดจากลมที่วงิ่ ผ่านปี กเครื่ องบินหมุนวนยกปี กเครื่ องบินขึ้น
3. เกิดจากลมที่พุง่ ผ่านใบพัดของเครื่ องบินสร้างแรงยกเครื่ องบินขึ้ น
4. เกิดจากลมที่ใบพัดของเครื่ องบินพ่นออกมาด้านหลังสร้างแรงยกเครื่ องบินขึ้น

57. ท่อน้ าที่ไม่สม่าเสมอท่อหนึ่ง ท่อตอนบนมีพ้ืนที่หน้าตัด 4.0 ตารางเซนติเมตร และอยูส่ ู ง


จากพื้น 10 เมตร ถ้าน้ าในท่อมีความดัน 1.5 x 105 พาสคัล และไหลด้วยอัตราเร็ ว 2 เมตร
ต่อวินาที ไปยังท่อตอนล่างซึ่ งมีพ้ืนที่หน้าตัด 8 ตารางเซนติเมตร และอยูส่ ู งจากพื้น 1 เมตร
จงหาความดันของน้ าในท่อตอนล่าง
1. 1.41 x 105 พาสคัล 2. 2.42 x 105 พาสคัล
3. 1.41 x 106 พาสคัล 4. 2.42 x 106 พาสคัล

33
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 17 ของไหล
58. ท่อน้ าวางในแนวระดับ มีน้ าไหลอย่างสม่าเสมอด้วยอัตราเร็ ว 4 เมตร/วินาที ท่อคอด
ลงโดยพื้นที่ ลดลงเป็ น 1 ใน 4 ของพื้ นที่ ตอนแรกดังรู ป ถ้าความดันน้ าที่ ไหลเข้ามี ค่า
3 x 105 นิวตัน/เมตร2 จงหาความดันน้ าที่ไหลออก
1. 0.9 x 105 นิวตัน/ตารางเมตร2
2. 1.8 x 105 นิวตัน/ตารางเมตร2
3. 0.9 x 106 นิวตัน/ตารางเมตร2
4. 1.8 x 106 นิวตัน/ตารางเมตร2

59. น้ าไหลออกจากท่อ A ไปยังท่อ B และ


B
ท่อ C ซึ่งมีขนาดเท่ากันดังรู ป โดยที่ A
และ B อยูส่ ู งจาก C เป็ น 1.0 และ 2.0
A 2.0 เมตร
เมตร ตามลาดับ ถ้าความดันในท่อ A
1.0 เมตร
เท่ากับ 1.50x105 นิวตัน/ตารางเมตร และ
C
น้ ามีอตั ราเร็ ว 5.0 เมตร/วินาที ความดัน
ในท่อ C เป็ นกี่นิวตัน/ตารางเมตร กาหนดให้ความหนาแน่นของน้ าเท่ากับ 1000 กิโลกรัม/-
ลูกบาศก์เมตร และถือว่าน้ าไม่มีความหนืด
1. 1.3 x 105 2. 1.4 x 105 3. 1.5x105 4. 1.6 x 105

34
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 17 ของไหล
60. หลอดรู ปตัวยูทาหน้าที่เป็ นกาลักน้ า ส่ วน
โค้งของหลอดอยูเ่ หนื อผิวน้ า 1 เมตร และ 1 เมตร
ที่ทางออกของหลอด อยู่ ต่ากว่าระดับผิวน้ า 8 เมตร
7 เมตร สมมติให้เป็ นการไหลที่ปราศจาก
ความเสี ยดทาน จงหาความเร็ วของลาน้ าที่
พุง่ ออกมา (ให้ g = 10 เมตร/วินาที2)
1. 8.5 m/s 2. 9.3 m/s 3. 10.7 m/s 4. 11.8 m/s

61. ถังใบใหญ่ใส่ น้ าลึก 1.8 เมตร เจาะรู เล็กๆ ที่กน้ ถัง จงหาว่าน้ าจะพุง่ ออกจากรู เล็กๆ นี้
ด้วยอัตราเร็ วกี่เมตรต่อวินาที

35
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 17 ของไหล
62. ถังน้ าสู ง 10 เมตร มีน้ าอยูเ่ ต็ม จุดน้ ารั่ว A และ B
อยูส่ ู งจากก้นถังเป็ นระยะ 6 เมตร และ 3 เมตร ตาม
ลาดับ เมื่อถือว่าระดับน้ าลดลงช้ามาก และรู รั่วมีขนาด 10 m A
เล็กมาก จงหาอัตราส่ วนของอัตราเร็ วของน้ าที่รั่วออก B 6m
จากจุด A ต่ออัตราเร็ วของน้ าที่รั่วออกจากจุด B 3m
1. 2 2. 3 3. 74 4. 74

63. จากรู ป ถังน้ าใบหนึ่งเติมน้ าเต็มสู งจากพื้น ho


ถ้าเจาะให้มีรูรั่วที่ระดับสู งจากพื้น h จงหา
ว่าน้ าจะพุง่ ไปได้ไกลเท่าใดในแนวระดับ
1. 2 h (ho  h) ho
2. 2 h h o h
3. 2 h o (ho  h)
4. 2 h (ho  h) Sx

64. อัตราเร็ วของลมพายุที่พดั เหนือหลังคาบ้านหลังหนึ่งเป็ น 30 เมตร/วินาที ถ้าหลังคาบ้านมี


พื้นที่ 175 ตารางเมตร แรงยกที่กระทากับหลังคาบ้านมีค่าเป็ นกี่นิวตัน
กาหนด ความหนาแน่นของอากาศขณะนั้นเป็ น 0.3 กิโลกรัม/เมตร3
1. 20400 2. 23625 3. 28953 4. 29842
36
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 17 ของไหล
เฉลยฟิ สิ ก ส์ บทที่ 17 ของไหล
1. ตอบข้ อ 2. 2. ตอบข้ อ 3. 3. ตอบข้ อ 3. 4. ตอบข้ อ 2.
5. ตอบข้ อ 2. 6. ตอบข้ อ 3. 7. ตอบ 13.6 8. ตอบข้ อ 2.
9. ตอบข้ อ 2. 10. ตอบข้ อ 3. 11. ตอบข้ อ 3. 12. ตอบข้ อ 4.
13. ตอบข้ อ 4. 14. ตอบข้ อ 1. 15. ตอบข้ อ 4. 16. ตอบข้ อ 2.
17. ตอบข้ อ 2. 18. ตอบข้ อ 2. 19. ตอบข้ อ 4. 20. ตอบข้ อ 1.
21. ตอบข้ อ 2. 22. ตอบข้ อ 1. 23. ตอบข้ อ 1. 24. ตอบข้ อ 2.
25. ตอบข้ อ 1. 26. ตอบข้ อ 3. 27. ตอบข้ อ 3. 28. ตอบข้ อ 1.
29. ตอบข้ อ 1. 30. ตอบข้ อ 2. 31. ตอบข้ อ 4. 32. ตอบข้ อ 1.
33. ตอบข้ อ 1. 34. ตอบข้ อ 4. 35. ตอบข้ อ 2. 36. ตอบข้ อ 3.
37. ตอบข้ อ 4. 38. ตอบ 12 39. ตอบข้ อ 4. 40. ตอบข้ อ 2.
41. ตอบข้ อ 2. 42. ตอบข้ อ 2. 43. ตอบข้ อ 1. 44. ตอบข้ อ 3.
45. ตอบข้ อ 1. 46. ตอบข้ อ 2. 47. ตอบข้ อ 2. 48. ตอบข้ อ 1.
49. ตอบข้ อ 3. 50. ตอบข้ อ 2. 51. ตอบข้ อ 1. 52. ตอบข้ อ 2.
53. ตอบข้ อ 3. 54. ตอบข้ อ 3. 56. ตอบข้ อ 1. 57. ตอบข้ อ 2.
58. ตอบข้ อ 2. 59. ตอบข้ อ 4. 60. ตอบข้ อ 4. 61. ตอบ 6
62. ตอบข้ อ 4. 63. ตอบข้ อ 4. 64. ตอบข้ อ 2.


37
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 17 ของไหล
ตะลุ ย โจทย์ ท่ วั ไป บทที่ 17 ของไหล
17.1 ความหนาแน่ น
1. แก๊สไฮโดรเจนมีปริ มาตร 500 ลูกบาศก์เมตร และมวล 60 กิโลกรัม แก๊สไฮโดรเจนนี้มี
ความหนาแน่นเท่าใด
1. 0.12 kg/m3 2. 0.20 kg/m3 3. 0.41 kg/m3 4. 0.14 kg/m3
2. ดาวนิ วตรอนเป็ นดาวขนาดเล็กแต่มีความหนาแน่นมาก ถ้าดาวนิ วตรอนมีรัศมี 10 กิโลเมตร
แต่มีมวลเท่ากับดวงอาทิตย์ คือ 1.99 x 1030 กิโลกรัม ความหนาแน่นของดาวนิ วตรอน
เป็ นกี่กิโลกรัม/เมตร3
1. 4.75 x 1015 2. 4.75 x 1017 3. 8.75 x 1017 4. 8.75 x 1015
3. ของเหลวความหนาแน่ น 100 กิ โลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร จงหาว่าของเหลวนี้ ปริ มาตร 2.50
ลูกบาศก์เมตร จะมีน้ าหนักกี่นิวตัน
1. 250 2. 2500 3. 25000 4. 250000
4. ลูกกลมทาจากเหล็กและอลูมิเนียม ถ้าเหล็กมีมวลเป็ น 4 เท่าของอลูมิเนียมแล้วปริ มาตรของ
เหล็กจะมีค่าเป็ น 2 เท่าของอลูมิเนี ยม ถ้าอลูมิเนี ยมมีความหนาแน่ น 1600 กิโลกรัม/เมตร3
จงหาค่าความหนาแน่นของเหล็ก
1. 3200 kg/m3 2. 1800 kg/m3 3. 15400 kg/m3 4. 13020 kg/m3
5. โลหะ A มีมวลเป็ น 2 เท่าของโลหะ B แต่มีปริ มาตรเป็ นครึ่ งหนึ่งของโลหะ B ถ้าโลหะ B
มีความหนาแน่น 1000 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร โลหะ A จะมีความหนาแน่นเท่าใด
1. 250 kg/m3 2. 1000 kg/m3 3. 2500 kg/m3 4. 4000 kg/m3
6. ดาวเคราะห์ดวงหนึ่งมีมวลเท่ากับโลก แต่มีรัศมีเป็ นครึ่ งหนึ่งของรัศมีโลก จงหาว่าความ
หนาแน่นของดาวเคราะห์ดวงนี้ มีค่าเป็ นกี่เท่าของความหนาแน่นของโลก
( กาหนดให้ ปริ มาตรทรงกลม = 43  R3 )
1. 2 2. 4 3. 8 4. 16
7. ดาวเคราะห์มีมวลเท่ากับโลก แต่มีรัศมีเป็ น 3 เท่าของรัศมีโลก จงหาว่าความหนาแน่นของ
ดาวเคราะห์ดวงนี้ มีค่าเป็ นกี่เท่าของความหนาแน่นของโลก ( ให้ ปริ มาตรทรงกลม = 43  R3)
1. 1/9 2. 1/2 3. 1/27 4. 1/6
38
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 17 ของไหล
8. วัสดุรูปลูกบาศก์มีความยาวด้านละ 3 เมตร จะมีมวลเท่ากับก้อนอะลูมิเนียมปริ มาตร 3 ลูก-
บาศก์เมตร ถ้าอะลูมิเนียมมีความหนาแน่น 15.2 x 103 กิโลกรัม/ลูกบาศก์เมตร จงหาว่า
วัสดุมีความหนาแน่นกี่กิโลกรัม/ลูกบาศก์เมตร
1. 1.36 x 103 2. 1.69 x 103 3. 1.56 x 103 4. 2.33 x 103
9. น้ ามีความหนาแน่น 1000 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร หมายความว่าอย่างไร
1. ในปริ มาตร 1 ลูกบาศก์เมตร จะมีมวล 1000 กิโลกรัม
2. ในมวล 1 กิโลกรัม จะมีความหนาแน่น 1 ลูกบาศก์เมตร
3. ในปริ มาตร 1 ลูกบาศก์เมตร จะมีมวล 1000 กรัม
4. ในน้ ามวล 1 กิโลกรัม จะมีความหนาแน่น 1000 ลูกบาศก์เมตร
10. ทองมีความถ่วงจาเพาะ 4.5 ความหนาแน่นของทองมีค่ากี่กิโลกรัม/เมตร3 และทองหนัก
12.3 นิวตัน จะมีปริ มาตรกี่เมตร3
1. 2.6 x 103 , 2 x 10–4 2. 4.5 x 103 , 2.7 x 10–4
3. 8.6 x 103 , 1 x 10–4 4. 3.8 x 103 , 1.4 x 10–4
11. เหล็กมี ความถ่ วงจาเพาะ 7.6 ความหนาแน่ นของเหล็กมีค่ากี่ กิโลกรัม/เมตร3 และเหล็ก
หนัก 15.2 นิวตัน จะมีปริ มาตรกี่เมตร3
1. 7.6 x 103 , 2 x 10–4 2. 3.8 x 103 , 2 x 10–4
3. 7.6 x 103 , 1 x 10–4 4. 3.8 x 103 , 1 x 10–4
12. ไม้บลั ซาปริ มาตร 1 ลูกบาศก์เมตร และ มีความหนาแน่นสัมพัทธ์ 0.15 จะมีน้ าหนักเท่าใด
( กาหนด g = 9.8 เมตร/วินาที2 )
1. 1530 2. 1522 3. 1470 4. 1520
13. ข้อใดต่อไปนี้เป็ นสมบัติเบื้องต้นของแรงดันของของเหลว
1. มีทิศเหมือนแรงภายนอกที่กระทาต่อของเหลว
2. มีทิศขนานกับผิวสัมผัส
3. มีทิศตั้งฉากกับผิวสัมผัส
4. ถูกทุกข้อ

39
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 17 ของไหล

17.2 ความดันในของเหลว
17.2.1 แรงดันและความดันของเหลวทีก่ ระทาต่ อพืน้ ทีก่ ้ นภาชนะ
14. กล่องสี่ เหลี่ยมลูกบาศก์มีความยาวด้านละ 2 เมตร ด้านบนปิ ดสนิ ท แล้วเติมน้ าลงไปจนเต็ม
จงหาแรงดันที่กน้ กล่อง ( ความหนาแน่นของน้ า = 1 x 103 กิโลกรัม/เมตร3 )
1. 8 x 104 นิวตัน 2. 5 x 104 นิวตัน 3. 7 x 104 นิวตัน 4. 3 x 104 นิวตัน
15. ภาชนะปิ ดดังรู ปมีพ้ืนที่กน้ ภาชนะ 0.050 ตารางเมตร
มีของเหลวอยูส่ ู ง 10 เซนติเมตร ถ้าของเหลวมีปริ -
มาตร 0.0060 ลูกบาศก์เมตร มีมวล 5.4 กิโลกรัม 10 cm
แรงดันที่ของเหลวกระทาต่อก้นภาชนะเป็ นกี่นิวตัน
1. 25 2. 35 3. 45 4. 55
16. น้ ามีความหนาแน่น 103 กิโลกรัม/เมตร3 ใส่ รวมกับน้ ามันซึ่งมีความหนาแน่น 0.6 x 103
กิโลกรัม/เมตร3 ในภาชนะปิ ดซึ่ งมีพ้ืนที่ที่กน้ ภาชนะเท่ากับ 0.6 ตารางเมตร ถ้าน้ าและ
น้ ามันลอยอยูเ่ ป็ นชั้น ชั้นละ 20 เซนติเมตร จงหา
ความดัน และแรงดันที่กระทาต่อก้นภาชนะ
1. 1.6 x 104 N/m2 , 1.92 x 103 N 20 cm
2. 1.6 x 104 N/m2 , 3.92 x 103 N
20 cm
3. 3.2 x 104 N/m2 , 1.92 x 103 N
4. 3.2 x 104 N/m2 , 3.92 x 103 N
17. จะต้องใช้ความดันอย่างน้อยกี่กิโลพาสคัล ( kPa ) สาหรับระบบประปาหมู่บา้ นที่ตอ้ งส่ งน้ า
ขึ้นไปยังบ้านบนเนินสู งจากระดับปกติ 30 เมตร ให้ถือว่าขนาดของท่อน้ าสม่าเสมอ
1. 300 กิโลพาสคัล 2. 350 กิโลพาสคัล
3. 390 กิโลพาสคัล 4. 330 กิโลพาสคัล
18. ถ้าเครื่ องมือวัดความดันของน้ าแสดงค่าความดันน้ าในท่อประปา ซึ่ งอยูท่ ี่ช้ นั ล่างของตัวตึก
เท่ากับ 2.7 x 105 นิวตัน/ตารางเมตร ถ้าถือว่าน้ าประปาในท่อขณะนั้นอยูน่ ิ่ง อยากทราบว่า
น้ าประปาจะสามารถขึ้นไปได้สูงที่สุดกี่เมตร
1. 7 2. 12 3. 17 4. 27

40
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 17 ของไหล
19. ชายคนหนึ่งสามารถดาในน้ าจืดได้ลึกที่สุด 20 เมตร ถ้าเขาไปดาในน้ าทะเล ซึ่งมีความหนา
แน่น 1.025 x 103 กิโลกรัม/ลูกบาศก์เมตร เขาจะดาได้ลึกที่สุดเท่าไร
1. 16.5 เมตร 2. 17.0 เมตร 3. 18.5 เมตร 4. 19.5 เมตร
20. เรื อดาน้ าลาหนึ่ งอยูท่ ี่ระดับลึก 50 เมตร จงหาความดันเกจและความดันสมบูรณ์ที่ ตวั เรื อ
ดาน้ า ถ้าน้ าทะเลมีความหนาแน่ น 1.024 x103 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร และความดัน
บรรยากาศที่ระดับน้ าทะเลเท่ากับ 1.013 x 105 พาสคัล ( ตอบตามลาดับ )
1. 8.12 x 105 N/m2 , 6.13 x 105 N/m2 2. 5.12 x 105 N/m2 , 6.13 x 105 N/m2
3. 6.12 x 105 N/m2 , 8.13 x 105 N/m2 4. 4.12 x 105 N/m2 , 8.13 x 105 N/m2
21. น้ าทะเลมีความหนาแน่ น 1.03 x 103 กิโลกรัม/เมตร3 และความดันบรรยากาศที่ระดับน้ า
ทะเลเป็ น 1 x 105 นิวตัน/เมตร2 จงหาความดันสัมบูรณ์ที่ใต้ทะเลลึก 10 เมตร
1. 2.03 x 105 N/m2 2. 0.8 x 103 N/m2
3. 1.2 x 105 N/m2 4. 1.6 x 103 N/m2
22. จุดใต้น้ าจืดจุดหนึ่ง มีความดันสัมบูรณ์ 3 x 105 นิวตัน / เมตร2 จงหาว่าจุดดังกล่าวอยูล่ ึก
จากผิวน้ ากี่เมตร ( กาหนด ความหนาแน่นของน้ า = 1 x 103 กิโลกรัม/เมตร3 ,
ความดันบรรยากาศ = 1 x 105 นิวตัน/เมตร2 )
1. 20 2. 30 3. 40 4. 50
23. ณ ความลึกตาแหน่งหนึ่งใต้ทะเลวัดความดันได้ 3 เท่าของความดันที่ผวิ น้ าบริ เวณนั้น จงหา
ความลึกที่แห่งนี้ ( น้ าทะเล = 1.03x103 กิโลกรัม/เมตร3 , ความดันบรรยากาศ = 105 นิวตัน/เมตร2)
1. 20.42 เมตร 2. 19.42 เมตร 3. 18.42 เมตร 4. 17.42 เมตร
24. น้ าและน้ ามันอยูใ่ นหลอดแก้วรู ปตัว U และอยูใ่ น
สภาพสมดุ ล ดัง รู ป ถ้า น้ า มี ค วามหนาแน่ น เท่ า กับ น้ ามัน
1.0 x 103 กิโลกรัมต่อ(เมตร)3 จงหาว่าความหนา 8 cm น้ า
แน่นของน้ ามันมีค่ากี่กิโลกรัมต่อ (เมตร)3 10.4 cm
1. 1.25 x 103 2. 0.90 x 103 4 cm
3. 0.90 x 10–3 4. 0.80 x 10 3

41
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 17 ของไหล
25. เมื่อเทน้ า และ ของเหลวชนิดหนึ่งที่ไม่รวมกับน้ า
ลงข้างหนึ่งของหลอดรู ปตัว U ที่มีขาโตเท่ากัน ถ้า 2 cm
ของเหลว เป็ นลาสู ง 10 เซนติเมตร และมีรอยต่อ น้ า ของเหลว 10 cm
ระหว่างน้ ากับของเหลวอยูข่ า้ งหลอดที่ใส่ ของเหลว
ปรากฏว่าระดับบนของน้ าอยูส่ ู งกว่าระดับของเหลว 2 เซนติเมตร จงหาความหนาแน่นของ
ของเหลวที่ใส่ ในหน่วย กิโลกรัม/เมตร3
1. 0.4 x 103 2. 0.6 x 103 3. 1.0 x 103 4. 1.2 x 103
26. หลอดแก้วรู ปตัวยู ด้านซ้ายมีพ้ืนที่หน้าตัดเป็ น
สี่ เท่าของด้านขวา ตอนเริ่ มต้นบรรจุน้ าความ
หนาแน่น 1000 กิโลกรัม/เมตร3 ต่อมาเติมน้ า hน้ า
hน้ ามัน= 12 cm

มันซึ่ งมีความหนาแน่น 800 กิโลกรัม/เมตร3


ลงในหลอดด้านขวาโดยลาน้ ามันสู ง 12 เซน-
ติเมตร จงหาว่าระดับน้ าในหลอดด้านซ้ายจะมีระดับความสู ง ( h ) เท่าใด
1. 2.4 ซม. 2. 7.6 ซม. 3. 9.6 ซม. 4. 15 ซม.
27. หลอดแก้วรู ปตัวยู ขาโตสม่าเสมอ ภายในบรรจุปรอทพอประมาณ เติมน้ าลงไปในขาข้าง
หนึ่งยาว 10 เซนติเมตร จงหาระดับปรอทในขาอีกข้างหนึ่งสู งกว่าในขาข้างที่เติมน้ าเท่าไร
( ปรอท = 13.6x103 กิโลกรัม/เมตร3 )
1. 5.74 เซนติเมตร 2. 8.74 เซนติเมตร
3. 0.74 เซนติเมตร 4. 1.74 เซนติเมตร
28. หลอดแก้วรู ปตัวยูดงั รู ป หลอดด้านขวามีพ้ืนที่หน้าตัดเป็ น 2 เท่าของ
ด้านซ้าย ตอนเริ่ มบรรจุน้ าความหนาแน่น 1x103 กิโลกรัม/เมตร3 เอา
ไว้ และระดับน้ าในหลอดทั้งสองข้างสู งเท่ากัน ต่อมาเติมน้ ามันความ
หนาแน่น 0.9 x103 กิโลกรัม/เมตร3 ลงในหลอดด้านซ้ายโดยลาน้ ามัน
ยาวเท่ากับ 10 เซนติเมตร จงหาว่าระดับน้ าในหลอดด้านขวาจะสู งกว่าด้านซ้ายกี่เซนติเมตร
1. 10 2. 9 3. 5 4. 4.5
29. หลอดแก้วรู ปตัวยูบรรจุน้ า ใส่ น้ ามันชนิดหนึ่งซึ่งไม่ละลายในน้ าและมีความหนาแน่น 800
กิโลกรัม/เมตร3 ที่ดา้ นขวาสู ง 10 เซนติเมตร ระดับผิวของน้ าด้านซ้ายมือจะต่ากว่าระดับผิว
42
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 17 ของไหล
บนของน้ ามันด้านขวามือเท่าใด
1. 0.2 cm 2. 0.4 cm 3. 0.8 cm 4. 2 cm
30. หลอดแก้วรู ปตัวยู ขาโตสม่าเสมอมีพ้ืนที่หน้าตัด 2 ตารางเซนติเมตร ภายในบรรจุน้ าเชื่ อม
ความหนาแน่น 4 x 103 กิโลกรัม/ลูกบาศก์เมตร จะต้องเติมน้ าลงในขาข้างหนึ่งข้างใดเป็ น
ปริ มาตรเท่าใด จึงจะทาให้ระดับน้ าเชื่อมในขาอีกข้างหนึ่งเพิม่ ขึ้น 1 เซนติเมตร
1. 16 cm3 2. 18 cm3 3. 20 cm3 4. 22 cm3
31. หลอดแก้ว รู ป ตัว ยู โ ตสม่ า เสมอบรรจุ ด้ว ยน้ า เติ ม ของเหลวที่ มี ค วามหนาแน่ น 900
กิโลกรัม/เมตร3 ลงในหลอดข้างหนึ่งสู ง 5 ซม. ระดับน้ าแต่ละข้างจะเปลี่ยนไปเท่าไร
1. 1.25 ซม. 2. 2.25 ซม. 3. 3.75 ซม. 4. 4.50 ซม.
32. หลอดรู ปตัว U ปลายเปิ ดข้างหนึ่ง บรรจุปรอทไว้
ปลายหลอดขวาเปิ ดไว้หลอดด้านซ้ายต่อกับภาชนะ
บรรจุก๊าซ ระดับของปรอทปรากฎ ดังรู ป จงหา
100 cm
ความดันสัมบูรณ์ของก๊าซกี่นิวตัน/ตารางเมตร 20 cm
กาหนด ความดันบรรยากาศ = 1.01 x 105 N/m2
ความหนาแน่นปรอท = 13.6 x 103 kg/m3 , g = 9.8 m/s2
1. 1.00 x105 2. 1.13 x105 3. 2.098 x105 4. 2.13 x105
33. ในหลอดมาโนมิเตอร์ บรรจุน้ าไว้เป็ นตัวชี้ความดัน ถ้าน้ าขึ้นสู งจากขีด 0 เป็ นระยะ 3.5
เซนติเมตร ขณะนั้นความดันที่หลอดมาโนมิเตอร์ วดั มีค่าเป็ นกี่ นิวตัน/เมตร2
กาหนด ความดันบรรยากาศ 1 x 105 นิวตัน/เมตร2
1. 100700 2. 100900 3. 100570 4. 100712
34. จากรู ป จงหาผลต่างของความดันที่จุด A และ B ในหน่วยนิวตัน/เมตร2 ( กาหนด
ความหนาแน่นของน้ ามันก๊าดมีค่าเท่ากับ น้ ามันก๊าด
800 กิโลกรัม/เมตร3 ) y
x
1. 0.2 x 103 10 ซม.
2. 1.0 x 103 40 ซม. 20 ซม.
3. 1.2 x 103 น้ า B
A 10 ซม.
4. 4.0 x 103
43
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 17 ของไหล

35. หลอดแก้วบางสม่าเสมอรู ปตัว U มีน้ าบรรจุอยูภ่ ายใน


เป็ นลายาว 80 ซม. และมีระดับสู ง 30 ซม. (ดังรู ป) หาก
ดันน้ าทางด้านหนึ่งของหลอดแล้วปล่อย น้ าก็จะไหลขึ้น
30 cm
ไหลลงสลับกันไปในลักษณะของการเคลื่อนที่แบบซิ มเปิ ล
ฮาร์ โมนิกด้วยคาบของการไหลเท่ากับเท่าไร
1. 1.1 วินาที 2. 1.3 วินาที 3. 1.5 วินาที 4. 4.0 วินาที
17.2.2 แรงดันและความดันของเหลวทีก่ ระทาต่ อพืน้ ทีด่ ้ านข้ าง
36. กล่องสี่ เหลี่ยมลูกบาศก์มีความยาวด้านละ 2 เมตร ด้านบนปิ ดสนิ ท แล้วเติมน้ าลงไปจน
เต็มจงหา แรงดันที่ฝาแต่ละข้าง
1. 4 x 104 นิวตัน 2. 5 x 104 นิวตัน 3. 7 x 104 นิวตัน 4. 3 x 104 นิวตัน
37. เขื่อนกั้นน้ ายาว 400 เมตร กั้นน้ าสู ง 40 เมตร จงหาแรงดันของน้ าที่กระทาต่อเขื่อนนี้
( ให้ ความดันบรรยากาศ = 1x105 นิวตัน/ตารางเมตร )
1. 9 x 108 N 2. 7 x 108 N 3. 32 x 108 N 4. 48 x 108 N
38. เขื่อนกั้นน้ าจืดแห่ งหนึ่ งมีน้ าอยูล่ ึ ก 10 เมตร ที่ฐานเขื่อนเจาะเป็ นรู โตมีเส้นผ่านศูนย์กลาง
1 เมตร จงหาแรงดันของน้ าที่ไหลเข้าไปในท่อ
1. 4.97 x 104 N 2. 7.46 x 104 N 3. 2.51 x 105 N 4. 4.51 x 105 N
39. ประตูก้ นั น้ าแห่ งหนึ่ งกว้าง L สู ง H เมื่อระดับสู งสุ ดแรงที่น้ ากระทาต่อประตูก้ นั น้ าเป็ น
เท่าใด ( กาหนดให้ ความดันบรรยากาศ = P0 )
1. 41 gLH3 2. 12 gLH8 3. 12 gLH2 4. 12 gLH4
40. เครื่ องอัดไฮดรอริ กเครื่ องหนึ่ งลูกสู บเล็กมีพื้นที่หน้าตัด 10 ตารางเซนติเมตร ลูกสู บใหญ่มี
พื้นที่ หน้าตัด 80 ตารางเซนติเมตร ถ้าออกแรงที่ลูกสู บเล็ก 20 นิ วตัน จะเกิ ดแรงยกที่ลูก
สู บใหญ่กี่นิวตัน
1. 20 N 2. 40 N 3. 80 N 4. 160 N
41. เครื่ องอัดไฮดรอลิ กเครื่ องหนึ่ งลู กสู บใหญ่ มีรัศมี 10 เซนติเมตร และลูกสู บเล็กมีรัศมี 2
เซนติเมตร ถ้าออกแรงกดลูกสู บเล็ก 50 นิวตัน ลูกสู บใหญ่จะจะยกน้ าหนักได้กี่นิวตัน
1. 125 2. 250 3. 1250 4. 2500
44
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 17 ของไหล
17.3 กฎของพาสคัล
42. เครื่ องอัดไฮดรอลิกเครื่ องหนึ่ งลูกสู บใหญ่มีรัศมี 0.1 เมตร และลูกสู บเล็กมีรัศมี 0.01 เมตร
ถ้าออกแรงกดลูกสู บเล็ก 200 นิวตัน จะยกวัตถุมวลกี่นิวตัน
43. เครื่ องอัดไฮโดรลิกเครื่ องหนึ่งมีลูกสู บอัด (ลูกสู บเล็ก) ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1 ซม. และ
สู บดัน (ลูกสู บใหญ่) ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 2 ซม. อยากทราบว่าแรงอัด 1 นิวตัน จะก่อ
ให้เกิดแรงยกกี่นิวตัน
1. 0.5 2. 0.25 3. 2 4. 4
44. เครื่ องอัดไฮดรอลิกเครื่ องหนึ่ง ลูกสู บใหญ่มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.8 เมตร และลูกสู บเล็กมี
เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.08 เมตร ถ้าต้องการให้เครื่ องนี้ ยกวัตถุมวล 2000 กิโลกรัม จะต้อง
ออกแรงกดที่ลูกสู บเล็กกี่นิวตัน
1. 20 2. 200 3. 800 4. 2000
45. เครื่ องอัดไฮโดรลิกใช้สาหรับยกรถยนต์เครื่ องหนึ่ งใช้น้ ามันที่มีความหนาแน่น 800 กิโล-
กรัมต่อลูกบาศก์เมตร พื้นที่ของลูกสู บใหญ่และลูกสู บเล็กมีค่า 0.1 ตารางเมตรและ 0.05
ตารางเมตร ตามลาดับ ต้องการยกรถยนต์หนัก 1000 กิโลกรัม ขณะที่กดลูกสู บเล็กระดับ
น้ ามันในลูกสู บเล็กอยูส่ ู งกว่าน้ ามันในลูกสู บใหญ่ 10 เซนติเมตร แรงที่กดบนลูกสู บเล็กมี
ค่ากี่นิวตัน ( ให้ g = 10 เมตร/วินาที2 )
1. 3880 2. 4460 3. 4960 4. 5460
46. เครื่ องอัดไฮโดรลิกเครื่ องหนึ่ ง ลูกสู บใหญ่มีพ้ืนที่หน้าตัด 600 ตารางเซนติเมตร มีมวล
6000 กิโลกรัม วางอยูบ่ นลูกสู บ ลูกสู บเล็กมีพ้ืนที่หน้าตัด 200 ตารางเซนติเมตร ในเครื่ อง
อัดไฮโดรลิกมีน้ ามันที่มีความหนาแน่น 800 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ถ้าเครื่ องไฮโดรลิ ก
อยูใ่ นสมดุล ระดับน้ ามันในลูกสู บเล็กสู ง m kg
กว่าระดับน้ ามันในลูกสู บใหญ่ 100 ซ.ม. 6000 kg
1m
มวล m ที่วางบนลูกสู บเล็กมีค่าเท่าใด
1. 2016 kg 2. 2000 kg
3. 1984 kg 4. 1800 kg

45
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 17 ของไหล
47. เครื่ องอัดไฮดรอลิกดังรู ป สู บใหญ่มีรัศมี 4 เท่า y
x
สู บเล็กมีอตั ราส่ วนของ x : y = 1 : 5 ถ้าออก
A a
แรงกดที่ปลายคาน 5 นิวตัน จะสามารถยกน้ า
หนักที่สูบใหญ่มากที่สุดได้กี่นิวตัน
48. เครื่ องอัดไฮดรอลิกเครื่ องหนึ่งลูกสู บใหญ่มีรัศมี 7 เซนติเมตร จงหาความดันในหน่วยนิว-
ตันต่อตารางเมตร ที่ใช้ยกวัตถุมวล 2000 กิโลกรัม
1. 0.8 x 106 2. 1.3 x 106 3. 2.0 x 106 4. 2.5 x 106
49. เครื่ องอัดไฮดรอลิกเครื่ องหนึ่ งลูกสู บยกมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 14 เซนติเมตร จงหาความดัน
ในหน่วยนิวตันต่อตารางเมตร ที่ใช้ยกวัตถุมวล 4 ตัน
1. 0.8 x 106 2. 1.3 x 106 3. 1.6 x 106 4. 2.6 x 106
50(แนว มช) จากรู ประบบประกอบด้วยกระบอกสู บและลูกสู บ 3 ชุด ภายในบรรจุดว้ ยของ
เหลว มีพ้ืนที่หน้าตัดของกระบอกสู บเป็ น 2A , 3A และ A ซึ่งมีมวล M1 , M2 และ M3
วางอยูบ่ นลูกสู บของแต่ละชุ ดตามลาดับ ถ้าลูกสู บทุกอันมีน้ าหนักเบามากและไม่มีแรงเสี ยด
ทานระหว่างผิวของกระบอกสู บและลูกสู บ เมื่อระบบอยูใ่ นสภาวะสมดุล ความสัมพันธ์
ระหว่าง M1 , M2 และ M3 เป็ นไปตามข้อใด
1. M1 = M2 = M3 M1 M2 M3
2. 2M1 = M2 = 3M3
M M
3. 21 = 32 = M3 2A 3A A

4. M1 + M3 = M2
51. เครื่ องอัดไฮดรอริ กเครื่ องหนึ่ง ลูกสู บเล็กมีพื้นที่หน้าตัด 5 ตารางเซนติเมตร ลูกสู บใหญ่มี
พื้นที่หน้าตัด 40 ตารางเซนติเมตร ถ้าออกแรงที่ลูกสู บเล็ก 200 นิวตัน จะเกิดแรงยกที่ลูกสู บ
ใหญ่เท่าใด และการได้เปรี ยบเชิงกลเป็ นกี่เท่า ตอบตามลาดับ
1. 1670 นิวตัน , 4 เท่า 2. 1650 นิวตัน , 8 เท่า
3. 1600 นิวตัน , 8 เท่า 4. 1600 นิวตัน , 4 เท่า

46
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 17 ของไหล
17.4 แรงพยุงและหลักของอาร์ คมิ ดี ีส
52. วัตถุ ชิ้นหนึ่ งมี 4 กิ โลกรัม เมื่อนาไปลอยในน้ าซึ่ งมีความหนาแน่ น 1 x 103 กิ โลกรัม/-
เมตร3 จงหาปริ มาตรของวัตถุส่วนจมใต้น้ า เป็ นกี่ลูกบาศก์เมตร
1. 0.004 2. 200 3. 0.008 4. 2000
53. วัตถุชิ้นหนึ่งมีปริ มาตร 40 เซนติเมตร3 ความหนาแน่น 0.9 x 103 กิโลกรัม/เมตร3 เมื่อนา
วัตถุ น้ ี ไปลอยในน้ าซึ่ งมี ความหนาแน่ น 1 x 103 กิ โลกรัม/เมตร3 จงหาปริ มาตรของวัตถุ
ส่ วนจมใต้น้ าเป็ นกี่ลูกบาศก์เซนติเมตร
1. 0.004 2. 36 3. 0.008 4. 20
54. นาวัตถุ กอ้ นหนึ่ งไปลอยน้ า ปรากฏว่า 0.8 เท่าของปริ มาตรวัตถุ ท้ งั ก้อนจมลงไปในน้ า
ความหนาแน่นของวัตถุน้ ีจะเป็ นกี่เท่าของความหนาแน่นของน้ า
1. 0.2 เท่า 2. 0.4 เท่า 3. 0.6 เท่า 4. 0.8 เท่า
55. น้ าแข็งก้อนหนึ่งลอยอยูท่ ี่ผวิ น้ า โดยมีส่วนที่จมคิดเป็ น 92% ของปริ มาตรทั้งก้อน จงหา
ความหนาแน่นของน้ าแข็งก้อนนี้วา่ เป็ นกี่ กิโลกรัม/เมตร3
1. 920 2. 334 3. 968 4. 786
56. วัตถุ ลอยในของเหลวโดยมีปริ มาตรส่ วนที่ ลอยเป็ น 41 เท่าของปริ มาตรทั้งหมด จงหาว่า
ความหนาแน่นของวัตถุเป็ นกี่เท่าของความหนาแน่นของของเหลว
1. 15 2. 25 3. 43 4. 45
57. วัต ถุ ค วามหนาแน่ น 512 กิ โ ลกรั ม /เมตร 3 ก าลัง จมน้ า โดยน้ ามี ค วามหนาแน่ น 1000
กิโลกรัม/เมตร3 ปริ มาตรส่ วนที่จมและลอยคิดเป็ นร้อยละเท่าใดตามลาดับ
1. 44.5 , 55.5 2. 95.0 , 5.0 3. 51.2 , 48.8 4. 56.2 , 43.8
58. ไม้แท่งหนึ่งมี ถ.พ. 0.8 ลอยอยูใ่ นของเหลวที่มี ถ.พ. 1.2 จงหาปริ มาตรส่ วนที่ลอยอยูเ่ หนื อ
ของเหลวเป็ นกี่เท่าของส่ วนที่จมในของเหลว
1. 0.5 2. 1.0 3. 1.5 4. 2.0
59. ท่อนไม้มี ถ.พ. 0.4 ลอยอยูใ่ นของเหลวที่มี ถ.พ. 1.4 ปริ มาตรส่ วนที่ลอยอยูเ่ หนื อของเหลว
เป็ นกี่เท่าของส่ วนที่จมในของเหลว
1. 0.5 2. 1.0 3. 2.5 4. 2.0
47
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 17 ของไหล
60. ลังรู ปลูกบาศก์มีฝาปิ ด วางอยูบ่ นพื้น แต่ละด้านยาว 0.5 เมตร หนัก 200 นิวตัน วันหนึ่ง
ฝนตกน้ าท่วม ระดับน้ าจะต้องขึ้นสู งจากพื้นเท่าใด ลังจึงเริ่ มลอย
( ให้ความหนาแน่นของน้ าเท่ากับ 1,000 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร )
1. 0.01 ม. 2. 0.04 ม. 3. 0.08 ม. 4. 0.25 ม.
61. กล่ องรู ปลูกบาศก์มีฝาปิ ดวางอยู่บนพื้น แต่ละด้านยาว 0.2 เมตร หนัก 100 นิ วตัน วัน
หนึ่งฝนตกน้ าท่วม ระดับน้ าจะต้องขึ้นสู งจากพื้นเท่าใดลังจึงเริ่ มลอย ( ให้ความหนาแน่นของ
น้ าเท่ากับ 1,000 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร)
1. 0.11 m 2. 0.94 m 3. 0.25 m 4. 0.25 m
62. ท่อนไม้รูปลูกบาศก์มีปริ มาตร 1 เมตร3 นาไปลอย F = 2 kN
ในน้ า เมื่อออกแรงกด 2 กิโลนิวตัน ปรากฏว่าผิว
0.2 m
บนอยูส่ ู งจากระดับน้ า 0.2 เมตร3 จงหาความถ่วง
จาเพาะของท่อนไม้ กาหนดให้ความหนาแน่นของ
น้ าเท่ากับ 1,000 kg/m3 และ g = 10 m/s2
1. 0.8 2. 0.7 3. 0.6 4. 0.5
63. เรื อขนาดกว้าง 0.8 เมตร ยาว 2 เมตร สู ง 0.5 เมตร จะสามารถบรรทุกคนที่มีน้ าหนัก
เท่ากับ 60 กิโลกรัมได้อย่างมากที่สุดกี่คน จึงจะไม่ทาให้เรื อลานี้ จม ( กาหนดให้มวลของ
เรื อเท่ากับ 50 กิโลกรัม )
1. 12 คน 2. 14 คน 3. 16 คน 4. 18 คน
65. เมื่อกดลูกบอลพลาสติกปริ มาตร 5 ลิตร ให้จมมิดในของเหลวชนิดหนึ่ง พบว่าต้องใช้แรง
20 นิวตัน และเมื่อกดลูกบอลนี้ ให้จมมิดในน้ าต้องใช้แรง 35 นิวตัน ของเหลวนี้ มีความ
หนาแน่นกี่กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร
66. ลูกบอลลูนมวล 8 กิโลกรัม และมีปริ มาตร 0.06 ลูกบาศก์เมตร
ผูกกับเชือกเบาที่ยดึ กับก้นสระทาให้บอลลูนจมอยูใ่ นน้ าทั้งลูก เมื่อ
เชือกตึงและไม่คิดน้ าหนักเชื อก แรงดึงเชือกมีค่ากี่นิวตัน กาหนด
ให้น้ ามีความหนาแน่น 1000 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร
1. 360 2. 480 3. 520 4. 640

48
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 17 ของไหล
67. วัตถุปริ มาตร 1 เมตร3 มีมวล 500 กิโลกรัม จมอยูใ่ ต้น้ า
20 เมตร
โดยมีเชื อกดึงติดไว้กบั ใต้น้ าดังรู ป เมื่อตัดเชือกออกวัตถุจะ
ลอยขึ้น เมื่อลอยถึงผิวน้ าวัตถุจะมีความเร็ วกี่เมตร/วินาที
T
1. 10 2. 20 3. 3 0 4. 40
68. แขวนก้อนอะลูมิเนียมที่มีมวล 1 กิโลกรัม และความหนาแน่น 2.7 x 103 กิโลกรัม/เมตร3
ด้วยเชือกจากนั้นนาไปแช่น้ า จงหาแรงดึงเชื อกหลังแช่น้ า
1. 5.0 นิวตัน 2. 6.3 นิวตัน 3. 7.8 นิวตัน 4. 10 นิวตัน
69. วัตถุทาจากอะลูมิเนียมก้อนหนึ่งชัง่ ในอากาศได้ 0.27 กิโลกรัม ชัง่ ในน้ าได้ 0.15 กิโลกรัม
ถ้าอะลูมิเนียมมีความหนาแน่น 2.7 x 103 กิโลกรัม/เมตร3 ก้อนอะลูมิเนียมนี้ ตนั หรื อกลวง
1. กลวง 2. ตัน
3. เป็ นไปได้ท้ งั สองอย่างขึ้นกับสภาพแวดล้อม 4. ข้อมูลไม่เพียงพอที่จะหาคาตอบ
70. ก้อ นวัส ดุ ภ ายในกลวง ชั่ง ในอากาศหนัก 0.98 นิ วตัน ชั่ง ในน้ าจะหนัก 0.49 นิ วตัน
ปริ มาตรของโพรงเป็ นกี่ลูกบาศก์เซนติเมตร ถ้าเนื้ อวัสดุมีความหนาแน่น 4000 กิโลกรัม/-
เมตร3 น้ าความหนาแน่น 1000 กิโลกรัม/เมตร3 และ g = 9.8 เมตร/วินาที2
1. 25 2. 50 3. 75 4. 100
71. ก้อนหิ นผูกเชือกถูกนามาจุ่มลงในของเหลวสามชนิ ดคือ
น้ า น้ าเกลือ และน้ ามัน และมีแรงตึงเชือก T1 T2 และ T1 T2 T3

T3 ตามลาดับ ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง M M M
(ให้ น้ ำเกลือ > น้ ำ > น้ ำมัน ) น้ า น้ าเกลือ น้ ามัน
1. T2 < T3 < T1 2. T2 < T1 < T3
3. T3 < T1 < T2 4. T3 < T2 < T1
72. ในการใช้เครื่ องชัง่ สปริ งชัง่ วัตถุ เหตุใดในขณะที่ชงั่ วัตถุขณะอยูใ่ นของเหลว เครื่ องชัง่ จึง
อ่านค่าได้นอ้ ยกว่าเมื่อชัง่ วัตถุน้ นั ในอากาศ
1. เพราะความหนาแน่นน้ ามากกว่าความหนาแน่นอากาศ
2. เพราะความหนาแน่นวัตถุมากกว่าความหนาแน่นน้ า
3. เพราะน้ าหนักของน้ ามีค่าน้อยกว่าน้ าหนักของวัตถุ
4. เพราะมีแรงพยุงคอยพยุงวัตถุเอาไว้
49
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 17 ของไหล
73. ตะกัว่ มีความหนาแน่นมากกว่าเหล็ก แต่ท้ งั ตะกัว่ และเหล็กต่างก็มีความหนาแน่นมากกว่าน้ า
ถ้านาตะกัว่ และเหล็กที่มีปริ มาตรเท่ากันไปวางในน้ า แรงพยุงของน้ าที่กระทาต่อตะกัว่
จะเป็ นอย่างไรเมื่อเทียบกัน แรงพยุงของน้ าที่กระทาต่อเหล็ก
1. มากกว่า 2. น้อยกว่า 3. เท่ากับ 4. ไม่ทราบผล

17.5 ความตึงผิว
74. ถ้าใช้ห่วงลวดวงกลมที่มีเส้นรอบวง 0.25 เมตร ทดลองเพื่อหาความตึงผิวของของเหลว
พบว่าต้องออกแรงดึงลวด 0.03 นิ วตัน จึงจะทาให้ลวดนั้นหลุดพ้นจากผิวของเหลวได้พอดี
จงหาค่าความตึงผิวของของเหลวนี้
1. 0.22 N/m 2. 0.06 N/m 3. 0.44 N/m 4. 0.58 N/m
75. วงแหวนกลมรัศมี 14 เซนติเมตร มีมวลน้อยมากวางลอยอยูบ่ นผิวของเหลวชนิ ดหนึ่งซึ่ งมี
ค่าความตึงผิว 0.05 นิวตัน/เมตร แรงดึงที่นอ้ ยที่สุดที่จะพอดีดึงวงแหวนนี้ ให้ลอยขึ้นจากผิว
ของเหลวคือ
1. 3.1 x 10–2 N 2. 6.2 x 10–2 N 3. 4.4 x 10–2 N 4. 8.8 x 10–2 N
76. ลวดวงกลมมวล m มีเส้นผ่านศูนย์กลางภายใน R1 และมีเส้นผ่านศูนย์กลางภายนอก R2
ห้อยอยูใ่ นแนวราบ โดยวงกลมแตะผิวของเหลว แรงที่ใช้ดึงวงกลมให้หลุดจากผิวของเหลว
พอดีมีค่าเท่าใด กาหนดให้ความตึงผิวของของเหลวเท่ากับ 
1. mg 2. mg + R1 3. mg + R2 4. mg + (R1+R2)
77. แผ่นโลหะรู ปวงกลมมีรัศมี 8 เซนติเมตร กาลังแตะผิวน้ าพอดี จงหาแรงที่ดึงแผ่นโลหะนี้
ให้หลุดจากผิวน้ าพอดี เมื่อแผ่นโลหะมีมวล 50 กรัม กาหนดให้ ความตึงผิวของน้ าเท่ากับ
6.0 x 10–2 นิวตันต่อเมตร
1. 0.865 N 2. 0.882 N 3. 0.530 N 4. 0.598 N
78. แผ่นโลหะบางมากรู ปวงกลม มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 9 เซนติเมตร นาไปลอยอยูบ่ นผิวน้ า
ถ้าการที่แผ่นโลหะนี้สามารถลอยน้ าอยูไ่ ด้เป็ นผลมาจากตึงผิวเพียงอย่างเดียว จงหาว่าโลหะ
แผ่นนี้มีมวลอย่างมากที่สุดเท่าใด กาหนดให้ความตึงผิวของน้ ามีค่า 0.065 นิวตัน/เมตร
1. 1.58 กรัม 2. 1.84 กรัม 3. 3.45 กรัม 4. 5.26 กรัม

50
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 17 ของไหล
79. ในการทดลองหาความตึงผิวของเหลว 1 4
อย่างหนึ่ง ถ้าวงแหวนที่ใช้มีเส้นรอบวง
25 เซนติเมตร จะต้องแขวนมวล 50 กรัม
เพื่อทาให้คานอยูใ่ นสมดุล ขณะ ที่ห่วงไม่
สัมผัสผิวของเหลว และเมื่อห่วงสัมผัส
ของเหลว ค่อย ๆ เพิ่มมวลจนห่วงหลุด
จากผิวของเหลว พบว่าต้องใช้มวลทั้ง
หมด 62.6 กรัม ความตึงผิวของของเหลวที่ใช้ทดลองมีค่าเท่าใด
1. 0.313 นิวตัน/เมตร 2. 0.126 นิวตัน/เมตร
3. 0.083 นิวตัน/เมตร 4. 0.063 นิวตัน/เมตร
80. ในการทดลองวัดความตึงผิวของของเหลวชนิด 10 cm 30 cm
หนึ่ง โดยใช้เครื่ องมือทดลองดังรู ป เมื่อใช้ห่วง
กลมรัศมี 7 เซนติเมตร พบว่าจะต้องเพิ่มมวลที่
ห่วงสาหรับแขวนน้ าหนักเป็ น จานวน 30 กรัม mg
จึงทาให้ห่วงกลมหลุดจากผิวของเหลวพอดี จง F
หาความตึงผิวของเหลวนี้ ในหน่วยนิวตัน/เมตร
1. 0.11 2. 0.14 3. 0.18 4. 0.24
81. ชุดทดลองวัดแรงตึงผิวของของเหลว กา
X Y
หนดให้ X : Y = 1 : 2 ห่วงวงกลมที่
ใช้มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 4 เซนติเมตร เมื่อ
เทของเหลวชนิดหนึ่งลงในถาด จนผิวของ
เหลวแตะด้านล่างห่วงวงกลมพอดี ปรากฏ
ว่าต้องเติมแหวนโลหะขนาดต่างๆ รวมเป็ น
มวล 22 กรัม ลงที่ห่วงสาหรับแขวนน้ าหนักจึงทาให้ห่วงวงกลมหลุดขึ้นจากผิวของเหลว
พอดี จงคานวณหาค่าความตึงผิวของของเหลวนี้ ( ไม่ตอ้ งคิดน้ าหนักของห่วงลวด )
1. 0.22 N/m 2. 0.35 N/m 3. 0.44 N/m 4. 0.58 N/m

51
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 17 ของไหล
82. แรงตึงผิวของของเหลวที่กระทาต่อห่ วงวงกลมและเหรี ยญวงกลม ซึ่ งมีรัศมีเท่ากันและทา
ด้วยวัสดุชนิดเดียวจะมีค่า
1. เท่ากัน
2. ห่วงวงกลมเป็ น 2 เท่าของเหรี ยญวงกลม
3. เหรี ยญวงกลมเป็ น 2 เท่าของห่วงวงกลม
4. ห่วงวงกลมเป็ น R2 เท่าของเหรี ยญวงกลม

17.6 ความหนืด
83(มช 37) เมื่อทิง้ ลูกกลมเหล็กทรงกลมลงในน้ าที่บรรจุภาชนะที่สูงมากและระดับน้ าในภาชนะ
ก็สูงด้วย ในขณะที่ลูกกลมเคลื่อนที่อยูใ่ นน้ า จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้
1. แรงหนืดจะมีค่าลดลงจนมีค่าเท่ากับศูนย์
2. แรงหนืดจะมีค่าเพิ่มจนมีค่ามากสุ ดแล้ว คงที่ต่อไป
3. ความเร็ วของลูกกลมเหล็กลดลงจนมีค่าเท่ากับ 0
4. ความเร่ งของลูกกลมเหล็กลดลงจนมีค่าเท่ากับ 0
ข้อความที่ถูกต้องคือ
1. ข้อ 1 , 3 และ 4 2. ข้อ 1 , 4 3. ข้อ 1 , 3 4. ข้อ 2 , 4
84. ปล่อยลูกกลมโลหะความหนาแน่น 7500 กิโลกรัม /ลูกบาศก์เมตร มีรัศมี 2 มิลลิเมตร ให้
ตกลงในน้ ามันความหนาแน่น 900 กิโลกรัม / ลูกบาศก์เมตร มีสัมประสิ ทธิ์ ความหนืด 2.0
นิวตัน.วินาที /เมตร2 จงหาความเร็ วปลายของลูกกลมโลหะนี้ ( g = 9.8 เมตร/วินาที2)
1. 0.029 m/s 2. 0.138 m/s 3. 0.255 m/s 4. 0.305 m/s
85. ลูกกลมเหล็กรัศมี 1 มิลลิเมตร ตกในน้ าเชื่อม ความเร็ วสุ ดท้ายของลูกกลมเหล็กมีค่าเท่าใด
ก าหนดให้ ลู ก กลมเหล็ ก และน้ าเชื่ อ มมี ค วามหนาแน่ น 7800 และ 1600 กิ โ ลกรั ม ต่ อ
ลูกบาศก์เมตร ตามลาดับ และน้ าเชื่อมมีความหนืด 100 มิลลิพาสคัล วินาที
1. 11.55 m/s 2. 0.135 m/s 3. 25.53 m/s 4. 0.305 m/s

52
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 17 ของไหล
86. เมื่อปล่อยลูกกลมเหล็กรัศมี 0.5 เซนติเมตร ให้ตกลงในกลีเซอรี นปรากฎว่าวัดความเร็ วขั้น
สุ ดท้ายได้ 0.077 เมตร/วินาที จงคานวนหาความหนืดของกลีเซอรี น
( ความหนาแน่นของกลีเซอรี นและเหล็กมีค่า 1.26x103 kg/m3 และ 7.86x103 kg/m3 ตามลาดับ )
1. 2.76 N.s /m2 2. 3.76 N.s /m2 3. 4.66 N.s /m2 4. 5.76 N.s /m2

17.7 พลศาสตร์ ของไหล


17.7.1 ของไหลในอุดมคติ
17.7.2 สมการความต่ อเนื่อง
87. เครื่ องสู บน้ าเครื่ องหนึ่ งสามารถสู บน้ าได้ 0.05 ม.3 ในเวลา 8 วินาที แล้วพ่นออกไป
ทางท่อซึ่งมีพ้ืนที่หน้าตัด 2 ตารางเซนติเมตร จงหาความเร็ วของน้ าที่พน่ ออกไป
1. 31.25 m/s 2. 1.020 m/s 3. 15.36 m/s 4. 20.12 m/s
88. ท่อน้ าดับเพลิงดังแสดงดังรู ป จงหาความเร็ วของน้ าที่พุ่งออกจากปลายท่อที่ B เมื่อความ
เร็ วของน้ าที่ A เท่ากับ 5 เมตรต่อวินาที กาหนดให้เส้นผ่านศูนย์กลางของท่อ A และ B
เท่ากับ 8 เซนติเมตร และ 4 เซนติเมตร ตามลาดับ
1. 10 m/s 2. 15 m/s A B
3. 20 m/s 4. 25 m/s
89. น้ าไหลลงในแนวดิ่งจากก๊อกน้ าซึ่ งมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 4.0 เซนติเมตร โดยมีความเร็ วต้น
20 เซนติเมตรต่อวินาที น้ าจะต้องไหลลงมาเป็ นระยะทางกี่ เซนติเมตร เส้นผ่านศูนย์กลาง
ของลาน้ าจึงจะลดลงเหลือ 2.0 เซนติเมตร (ความหนาแน่นของน้ าคงที่)
90. ท่อน้ าลักษณะดังรู ปอยูใ่ นแนวราบ ปากท่อ
สู งจากพื้น 20 ม. ปรากฏว่าน้ าที่พุง่ ออกจาก A B
ปากท่อ จะไปตกที่พ้ืนห่างจากปากท่อในแนว
20 m
ระดับเป็ นระยะ 16 เมตร ถ้าท่อน้ าส่ วน B
นั้นมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเป็ นครึ่ งหนึ่งของ
ท่อน้ าส่ วน A จงหาอัตราเร็ วน้ าในท่อที่จุด A
1. 16 m/s 2. 8 m/s 3. 4 m/s 4. 2 m/s
53
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 17 ของไหล

91. ท่อน้ าลักษณะดังรู ปอยูใ่ นแนวราบ ปากท่อ


สู งจากพื้น 45 ม. ปรากฏว่าน้ าที่พุง่ ออกจาก A B
ปากท่อ จะไปตกที่พ้ืนห่างจากปากท่อในแนว
45 m
ระดับเป็ นระยะ 12 เมตร ถ้าท่อน้ าส่ วน B
นั้นมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเป็ นครึ่ งหนึ่งของ
ท่อน้ าส่ วน A จงหาอัตราเร็ วน้ าในท่อที่จุด A
1. 4 m/s 2. 13 m/s 3. 2 m/s 4. 1 m/s

17.7.3 หลักของแบร์ นูลลี


92. ท่อน้ าที่ไม่สม่าเสมอท่อหนึ่ง ท่อตอนบนมีพ้ืนที่หน้าตัด 4.0 ตารางเซนติเมตร อยูส่ ู งจากพื้น
10 เมตร ถ้าน้ าในท่อมีความดัน 1.5x105 พาสคัล และไหลด้วยอัตราเร็ ว 2 เมตรต่อวินาที
ไปยังท่อตอนล่างซึ่ งมีพ้ืนที่หน้าตัด 8 ตารางเซนติเมตร และอยูส่ ู งจากพื้น 1 เมตร จงหา
ก. อัตราเร็ วของน้ าในท่อตอนล่าง ข. ความดันของน้ าในท่อตอนล่าง
1. ก. 1 m/s , ข. 2.305 x 105 N/m2 2. ก. 1 m/s , ข. 2.415 x 105 N/m2
3. ก. 5 m/s , ข. 3.415 x 105 N/m2 4. ก. 2 m/s , ข. 3.415 x 105 N/m2
93. สายยางรดน้ าต้นไม้มีพ้ืนที่หน้าตัดภายในของท่อ 3.5 เซนติเมตร2 ที่ปลายท่อข้างหนึ่งต่อ
กับหัวฉี ดซึ่ งมีพ้ืนที่หน้าตัด 0.25 เซนติเมตร2 เมื่อเปิ ดน้ าให้ไหลผ่านท่อโดยคนสวนยกหัว
ฉี ดสู งจากพื้น 1.50 เมตร น้ าที่ไหลผ่านท่อที่วางอยูบ่ นพื้นมีความเร็ ว 50 เซนติเมตร/วินาที
จงหาความดันในท่อส่ วนที่วางอยูบ่ นพื้น ให้ ความดัน 1 บรรยากาศ = 1.00x105 พาสคัล
1. 0.39 x 105 พาสคัล 2. 1.39 x 105 พาสคัล
3. 0.68 x 105 พาสคัล 4. 1.68 x 105 พาสคัล
94. น้ าไหลเข้าท่อ A ด้วยความเร็ ว 10 เมตร/วินาที แล้วผ่านสู่ ทอ่ B ที่ปลายเปิ ดโดยท่อ A มี
พื้นที่หน้าตัด 10 ตารางเมตร และปลายเปิ ดท่อ B มีพ้ืนที่หน้าตัด 5 ตารางเมตร ตามลาดับ
กาหนดให้ ความดันในท่อที่จุด A มีค่า 3x105 นิ วตัน/ตารางเมตร จงหาความเร็ วของน้ าที่
ปลายเปิ ด B และความดันมีค่าเท่ากับเท่าไร
1. 20 m/s , 1.5 x 105 N/m2 2. 10 m/s , 2.4 x 105 N/m2
3. 50 m/s , 3.4 x 105 N/m2 4. 20 m/s , 3.4 x 105 N/m2
54
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 17 ของไหล
95. ท่อน้ าวางในแนวระดับ มีน้ าไหลอย่างสม่าเสมอด้วยอัตราเร็ ว 2 เมตร/วินาที ถ้าท่อคอด
ลงโดยพื้นที่ลดลงเป็ น 1 ใน 8 ของพื้นที่ตอนแรกดังรู ป จงหา
ก. อัตราเร็ วของน้ าที่พุง่ ผ่านท่อส่ วนที่คอด
ข. ถ้าความดันน้ าที่ไหลเข้ามีค่า 2x105 นิวตัน/เมตร2
จงหาความดันน้ าที่ไหลออก
1. ก. 16 m/s , ข. 0.74 x 105 N/m2 2. ก. 17 m/s , ข. 0.89 x 105 N/m2
3. ก. 16 m/s , ข. 0.55 x 105 N/m2 4. ก. 17 m/s , ข. 0.55 x 105 N/m2
96. น้ าไหลออกจากท่อ A ไปยังท่อ B และท่อ C
ซึ่งมีขนาดเท่ากันดังแสดงในรู ป โดยที่ A และ B
B อยูส่ ู งจาก C เป็ น 1.5 และ 3.0 เมตร ตาม
ลาดับ ถ้าความดันในท่อ A เท่ากับ 2.0x105 A 3.0 เมตร
นิวตันต่อตารางเมตร และน้ ามีอตั ราเร็ ว 5.0 1.5 เมตร
เมตรต่อวินาที ความดันในท่อ C เป็ นกี่นิวตัน C
ต่อตารางเมตร กาหนดให้ความหนาแน่นของ
น้ าเท่ากับ 1000 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตรและถือว่าน้ าไม่มีความหนืด
1. 1.53 x 105 2. 2.15 x 105 3. 1.5x105 4. 1.46 x 105
97. แท้งค์น้ าเปิ ดสู ง 1.5 เมตร มีน้ าอยู่ 1.25 เมตร
ที่กน้ แทงค์ดา้ นข้างมีท่อเปิ ดอยู่ และแท้งน้ าตั้ง 1.25 ม.
อยูส่ ู งจากพื้น 5 เมตร จงหาอัตราเร็ วของน้ าที่
v=?
พุง่ ออกจากท่อด้านล่าง
5 ม.
1. 2 m/s 2. 5 m/s
3. 10 m/s 4. 18 m/s
98. อัตราเร็ วของลมที่พดั เหนือหลังคาบ้านมีค่าเป็ น 40 เมตร/วินาที ถ้าหลังคาบ้านพื้นที่ 200
ตารางเมตร แรงยกที่กระทากับหลังคาบ้านมีค่าเป็ นกี่นิวตัน
กาหนด ความหนาแน่นของอากาศขณะนั้นเป็ น 0.3 กิโลกรัม/เมตร3
1. 40400 2. 43000 3. 45000 4. 48000

55
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 17 ของไหล
99(มช 40) ของเหลวชนิดหนึ่งไหลอย่างต่อเนื่ อง
โดยไม่มีการหมุน ไปตามท่อกลมซึ่ งมีพ้ืนที่ d
หน้าตัดไม่สม่าเสมอกันตลอดความยาวท่อ ดัง V1 V2 V1
แสดงในรู ปข้างล่าง ให้หาค่าความสู ง d ที่ A2 A1
พ.ท. หน้าตัด A1
แสดงในรู ปในหน่วยของเซนติเมตร ถ้า A1/A2
เท่ากับ 5/3 และ V1 เท่ากับ 60 เซนติเมตร/วินาที
1. 1.53 2. 2.15 3. 3.2 4. 12.3
100. ในการออกแบบเครื่ องบินให้มีแรงยก 900 นิวตัน/ตารางเมตรของพื้นที่ปีก โดยถือว่าลม
ที่ผา่ นปี กเครื่ องบินแบบสม่าเสมอ ถ้าลมที่ผา่ นใต้ปีกมีความเร็ ว 100 เมตร/วินาที จงหา
ความเร็ วลมเหนื อปี กเพื่อให้ได้แรงยกขึ้นตามต้องการ กาหนดให้อากาศมีความหนาแน่น
1.3 กิโลกรัม/เมตร3
1. 60.6 m/s 2. 65 m/s 3. 71 m/s 4. 106.7 m/s



56
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 17 ของไหล

เ ฉ ลย ต ะลุ ย โ จท ย์ ทั่ ว ไ ป ฟิ สิ ก ส์ บท ที่ 17 ขอ งไ หล


1. ตอบข้ อ 1. 2. ตอบข้ อ 2. 3. ตอบข้ อ 2. 4. ตอบข้ อ 1.
5. ตอบข้ อ 4. 6. ตอบข้ อ 3. 7. ตอบข้ อ 3. 8. ตอบข้ อ 2.
9. ตอบข้ อ 1. 10. ตอบข้ อ 2. 11. ตอบข้ อ 1. 12. ตอบข้ อ 3.
13. ตอบข้ อ 3. 14. ตอบข้ อ 1. 15. ตอบข้ อ 3. 16. ตอบข้ อ 3.
17. ตอบข้ อ 1. 18. ตอบข้ อ 4. 19. ตอบข้ อ 4. 20. ตอบข้ อ 2.
21. ตอบข้ อ 1. 22. ตอบข้ อ 1. 23. ตอบข้ อ 2. 24. ตอบข้ อ 4.
25. ตอบข้ อ 4. 26. ตอบข้ อ 3. 27. ตอบข้ อ 3. 28. ตอบข้ อ 2.
29. ตอบข้ อ 4. 30. ตอบข้ อ 1. 31. ตอบข้ อ 2. 32. ตอบข้ อ 3.
33. ตอบข้ อ 1. 34. ตอบข้ อ 3. 35. ตอบข้ อ 2. 36. ตอบข้ อ 1.
37. ตอบข้ อ 3. 38. ตอบข้ อ 2. 39. ตอบข้ อ 3. 40. ตอบข้ อ 4.
41. ตอบข้ อ 3. 42. ตอบ 20000 43. ตอบข้ อ 4. 44. ตอบข้ อ 2.
45. ตอบข้ อ 3. 46. ตอบข้ อ 3. 47. ตอบ 400 48. ตอบข้ อ 2.
49. ตอบข้ อ 4. 50. ตอบข้ อ 3. 51. ตอบข้ อ 3. 52. ตอบข้ อ 1.
53. ตอบข้ อ 2. 54. ตอบข้ อ 4. 55. ตอบข้ อ 1. 56. ตอบข้ อ 3.
57. ตอบข้ อ 3. 58. ตอบข้ อ 1. 59. ตอบข้ อ 3. 60. ตอบข้ อ 3.
61. ตอบข้ อ 3. 62. ตอบข้ อ 3. 63. ตอบข้ อ 1. 65. ตอบ 700
66. ตอบข้ อ 3. 67. ตอบข้ อ 2. 68. ตอบข้ อ 2. 69. ตอบข้ อ 1.
70. ตอบข้ อ 1. 71. ตอบข้ อ 2. 72. ตอบข้ อ 4. 73. ตอบข้ อ 3.
74. ตอบข้ อ 2. 75. ตอบข้ อ 4. 76. ตอบข้ อ 4. 77. ตอบข้ อ 3.
78. ตอบข้ อ 2. 79. ตอบข้ อ 4. 80. ตอบข้ อ 1. 81. ตอบข้ อ 3.
82. ตอบข้ อ 2. 83. ตอบข้ อ 4. 84. ตอบข้ อ 1. 85. ตอบข้ อ 2.
86. ตอบข้ อ 3. 87. ตอบข้ อ 1. 88. ตอบข้ อ 3. 89. ตอบ 3
90. ตอบข้ อ 4. 91. ตอบข้ อ 4. 92. ตอบข้ อ 2. 93. ตอบข้ อ 2.
94. ตอบข้ อ 1. 95. ตอบข้ อ 1. 96. ตอบข้ อ 2. 97. ตอบข้ อ 2.
98. ตอบข้ อ 4. 99. ตอบข้ อ 3. 100. ตอบข้ อ 4.


57
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 18 ความร้อนและทฤษฏีจลน์ของแก๊ส
บทที่ 18 ความร้ อ น และท ฤ ษฏี จ ลน์ ของแก๊ ส
18.1. ความร้ อน
ความร้อนเป็ นพลังงานรู ปแบบหนึ่ งซึ่ งสามารถถ่ายโอนจากแหล่งที่มีอุณหภูมิสูงไปสู่
แหล่งที่มีอุณหภูมิต่ากว่า สามารถเปลี่ยนไปเป็ นพลังงานรู ปแบบอื่นๆ หรื อเปลี่ยนจากพลังงาน
รู ปแบบอื่นๆ มาเป็ นความร้อนก็ได้
สสารใดๆ เมื่อได้รับความร้อนอาจเกิดการเปลี่ยนแปลงได้ 2 แบบคือ
1. อาจมีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารนั้นๆ
2. อาจมีการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสารนั้นๆ
ตัวอย่างเช่ น หากเรานาก้อนน้ าแข็งอุ ณหภูมิ –10oC มาต้ม จะเกิ ดการเปลี่ ยนแปลงเป็ น
ขั้นตอนตามแผนภาพดังต่อไปนี้
อุณหภูมิ ( o ) 
 ไอน้ า
100

 น้ า
0
 เวลา

–10 น้ าแข็ง

ขั้นที่ 1 น้ าแข็งจะดูดความร้อนเข้าไปแล้วทาให้อุณหภูมิเพิ่มขึ้นจาก –10oC ไปเป็ น 0oC


ขั้นที่ 2 ที่ 0oC น้ าแข็งจะดูดความร้อนเข้าไปเพื่อใช้ในการเปลี่ยนสถานะจากของแข็งไป
เป็ นของเหลว ความร้อนช่วงนี้เรี ยก ความร้อนแฝงสาหรับการหลอมเหลว
ขั้นที่ 3 น้ าที่เกิดขึ้นที่ 0oC จะดูดความร้อนเข้าไปเพื่อใช้เพิ่มอุณหภูมิของน้ าจาก 0oC ไป
เป็ น 100oC
ขั้นที่ 4 ที่ 100oC น้ าจะดูดความร้อนเข้าไปเพื่อใช้ในการเปลี่ยนสถานะจากของเหลวไป
เป็ นไอน้ า ความร้อนช่วงนี้เรี ยก ความร้อนแฝงสาหรับการกลายเป็ นไอ
ขั้นที่ 5 ไอน้ าที่เกิดขึ้นที่ 100oC จะดูดความร้อนเข้าไปเพื่อใช้เพิม่ อุณหภูมิของไอน้ า

1
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 18 ความร้อนและทฤษฏีจลน์ของแก๊ส
ขณะที่สสารกาลังเปลี่ยนสถานะ ( คือขั้น 2 และ 4 ) ความร้อนที่สสารดูดเข้าไปจะใช้ใน
การเปลี่ยนสถานะของสสารไม่ใช้เพิ่มอุณหภูมิ ดังนั้นขณะเปลี่ยนสถานะนี้ อุณหภูมิจึงคงที่
การเปลี่ยนแปลงจาก ของแข็ง ไปเป็ นของเหลว และจากของเหลวไปเป็ นไอ ทุกขั้นตอน
จะเป็ นการเปลี่ยนแปลงแบบดูดความร้อน ถ้าเปลี่ยนย้อนกลับจากไอเป็ นของเหลวหรื อจากของ
เหลวเป็ นของแข็ง จะเป็ นการเปลี่ยนแปลงแบบคายความร้อน
การคานวณหาค่าพลังงานความร้อนนั้น อาจแบ่งเป็ น 2 กรณี ยอ่ ย ได้แก่
กรณีที่ 1 การหาความร้อนที่ใช้เปลี่ยนอุณหภูมิของสสาร หาค่าได้จากสมการ
 Q = c m T หรือ  Q = C T
เมื่อ Q = ความร้อน ( จูล )

m = มวล ( กิโลกรัม )
C = ค่าความจุความร้อน ( จูล / เคลวิน )
c = ค่าความร้อนจาเพาะ ( จูล / กิโลกรัม . เคลวิน )
และ c = mC
T = อุณหภูมิที่เปลี่ยนไป ( K หรื อ oC )

กรณีที่ 2 การหาความร้อนที่ใช้เปลี่ยนสถานะสสาร (ความร้อนแฝง) หาค่าได้จากสมการ


Q = m L

เมื่อ Q = ความร้อนแฝง (จูล)


m = มวลของสารที่เปลี่ยนสถานะไป (กิโลกรัม)
L = ค่าความร้อนแฝงจาเพาะ (จูล/กิโลกรัม)
หมายเหตุ ; ความร้อนแฝง (Q ) และความร้อนแฝงจาเพาะ ( L ) จะมี 2 แบบย่อย ได้แก่
1. ความร้ อ นแฝงของการหลอมเหลว ( Q ) และความร้ อ นแฝงจ าเพาะของการ
หลอมเหลว ( L ) ใช้ในการเปลี่ยนสถานะจากของแข็งไปเป็ นของเหลว
2. ความร้อนแฝงของการกลายเป็ นไอ (Q ) และความร้อนแฝงจาเพาะของการกลายเป็ น
ไอ ( L ) ใช้ในการเปลี่ยนสถานะจากของเหลวกลายเป็ นไอ

2
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 18 ความร้อนและทฤษฏีจลน์ของแก๊ส
1. ความร้อนแฝงคือ
1. ความร้อนที่เก็บสะสมไว้ภายในสสารใดๆ
2. ความร้อนที่เก็บสะสมไว้ในรู ปแบบของพลังงานแบบอื่นๆ
3. ความร้อนที่ใช้เพิ่มอุณหภูมิของสสาร
4. ความร้อนที่ใช้เปลี่ยนสถานะของสสาร

2. ช่วงที่สสารกาลังเปลี่ยนสถานะ อุณหภูมิของสสารจะเปลี่ยนหรื อไม่ เพราะเหตุใด


1. เปลี่ยน เพราะสสารยังคงดูดความร้อนเข้าไปตลอดเวลา
2. เปลี่ยน เพราะพลังงานจลน์ของอนุภาคสสารมีค่ามากขึ้น
3. ไม่เปลี่ยน เพราะสสารจะไม่มีการดูดความร้อน
4. ไม่เปลี่ยน เพราะความร้อนที่ดูดเข้าไปไม่ใช้ในการเพิ่มอุณหภูมิ

3. จงหาพลังงานความร้อนที่ทาให้เหล็กมวล 200 กรัม ที่อุณหภูมิ 7 องศาเซลเซียส มีอุณหภูมิ


สู งขึ้นเป็ น 27 องศาเซลเซียส
( กาหนด ค่าความร้อนจาเพาะของเหล็กเท่ากับ 450 จูล / กิโลกรัม . เคลวิน )
1. 1800 จูล 2. 3600 จูล 3. 4000 จูล 4. 4200 จูล

4. ให้พลังงานความร้อนขนาด 3000 จูล กับเหล็กท่อนหนึ่ง ปรากฏว่าเหล็กมีอุณหภูมิสูงขึ้น


จาก 30 องศาเซลเซียส เป็ น 80 องศาเซลเซี ยส จงหามวลของเหล็กก้อนนี้
( กาหนด เหล็กมีค่าความร้อนจาเพาะ 0.500 กิโลจูล / กิโลกรัม.เคลวิน )
1. 0.12 kg 2. 0.14 kg 3. 0.16 kg 4. 0.18 kg

3
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 18 ความร้อนและทฤษฏีจลน์ของแก๊ส
5. วัตถุหนึ่งมีมวล 1 กิโลกรัม เมื่อให้ความร้อนกับวัตถุน้ ี ดว้ ยอัตราคงที่ 1 กิโลจูลต่อวินาที
เป็ นเวลา 5 นาที พบว่าอุณหภูมิของวัตถุเปลี่ยนจากตอนเริ่ มต้น 100 องศาเซลเซียส ไปเป็ น
200 องศาเซลเซียส จงหาว่าความร้อนจาเพาะของวัตถุน้ ี มีค่าเท่าใดในหน่วยกิโลจูล /-
กิโลกรัม.เคลวิน
1. 0.01 2. 0.02 3. 1.5 4. 3

6. ลู ก ปื นทองแดงอุ ณ หภูมิ 10 องศาเซลเซี ย ส ถู ก ยิง ออกไปด้วยความเร็ ว 385 เมตร/วิน าที


กระทบเป้ าแล้วหยุดนิ่งในเป้ า ลูกปื นจะมีอุณหภูมิเป็ นเท่าใด ( ความร้อนจาเพาะของทองแดง
385 J / kg. K) ( กาหนดพลังงานจลน์ท้ งั หมดเปลี่ยนเป็ นความร้อน )
1. 122.5oC 2. 152.5oC 3. 200.5oC 4. 202.5oC

7. น้ าตกตกจากหน้าผาสู ง 50 เมตร ปรากฏว่าพลังงานศักย์เปลี่ยนเป็ นพลังงานความร้อนเพียง


50 % ถ้าค่าความร้อนจาเพาะของน้ าเท่ากับ 4.180 กิโลจูล/กิโลกรัม.เคลวิน ถามว่ า น้ าจะมี
อุณหภูมิสูงขึ้นจากเดิมกี่องศาเซลเซี ยส
1. 0.01oC 2. 0.06oC 3. 0.10oC 4. 0.60oC

4
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 18 ความร้อนและทฤษฏีจลน์ของแก๊ส
8. ในการทดลองการเปลี่ยนแปลงพลังงานกลเป็ นพลัง
C.M เมื่อกลับท่อ
งานความร้อนโดยใช้ลูกเหล็ก 50 ก้อน แต่ละก้อน
มีมวล 0.04 กิโลกรัม และใช้ระยะห่างของจุดศูนย์
กลางมวลเมื่อมีการกลับท่อ h = 0.6 เมตร ในตอน h
เริ่ มต้น อุณหภูมิของเหล็กเป็ น 34 องศาเซลเซียส
ถ้าถือว่า พลังงานกลทั้งหมดกลายเป็ นพลังงานความ
C.M
ร้อนให้แก่ลูกเหล็ก เมื่อกลับท่อทดลอง 500 ครั้ง
อุณหภูมิของลูกเหล็กควรมีค่ากี่องศาเซลเซี ยส กาหนดความร้อนจาเพาะของเหล็ก
เป็ น 0.50 กิโลจูลต่อกิโลกรัม.เคลวิน และพลังงานกลเปลี่ยนเป็ นความร้อนทั้งหมด
1. 36 2. 40 3. 46 4. 60

9. ในการทดลองการเปลี่ยนรู ปพลังงานกลเป็ นพลังงานความร้อน โดยใช้กระบอกยาว 0.8


เมตร บรรจุลูกกลมโลหะมี ความร้อนจาเพาะ 500 จูล/กิ โลกรัม . เคลวิน มีมวล 100 กรัม
ท าการทดลองพลิ ก กลับ กระบอกขึ้ นลงให้ ลูก กลมหล่ นในกระบอก จงหาว่าจะต้องกลับ
กระบอกกี่ครั้ง จึงจะทาให้อุณหภูมิของลูกกลมโลหะเพิม่ ขึ้น 3.2 องศาเซลเซียส
1. 100 ครั้ง 2. 180 ครั้ง 3. 200 ครั้ง 4. 220 ครั้ง

5
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 18 ความร้อนและทฤษฏีจลน์ของแก๊ส
10. น้ าแข็งมวล 5 กิโลกรัม อุณหภูมิ 0oC เปลี่ ยนเป็ นน้ าที่ 0oC ต้องใช้พลังงานความร้อน
เท่าใด กาหนด ค่าความร้อนแฝงจาเพาะของการหลอมเหลวของน้ า 333 กิโลจูล/กิโลกรัม
1. 1635 กิโลจูล 2. 1645 กิโลจูล 3. 1655 กิโลจูล 4. 1665 กิโลจูล

11. ถ้าจะทาให้น้ า 100oC มวล 5 กิโลกรัม เปลี่ยนเป็ นไอน้ าหมดที่ 100oC ต้องใช้ความ ร้อน
เท่าใด กาหนด ค่าความร้อนแฝงจาเพาะการกลายเป็ นไอของน้ า 2256 กิโลจูล/กิโลกรัม
1. 11280 กิโลจูล 2. 11290 กิโลจูล 3. 11380 กิโลจูล 4. 11390 กิโลจูล

12. ให้พลังงานความร้อนแก่น้ าแข็ง (0oC) 2 กิโลกรัม ปริ มาณเท่าไร เพื่อให้น้ าแข็งเป็ นน้ าและ
เหลือน้ าแข็ง 0.5 กิโลกรัม ให้ความร้อนแฝงจาเพาะของน้ าแข็ง 336 กิโลจูล/กิโลกรัม
1. 504 kJ 2. 336 kJ 3. 168 kJ 4. 94 kJ

13. ก้อนน้ าแข็งมวล 10 กิโลกรัม ไถลลงจากที่สูง 10 เมตร อยากทราบว่าน้ าแข็งจะละลาย


ไปเท่าไร ถ้าพื้นมีอุณหภูมิ 0oC ( Lการหลอมเหลวน้ าแข็ง = 333 kJ/kg )
1. 0.002 กิโลกรัม 2. 0.003 กิโลกรัม 3. 0.004 กิโลกรัม 4. 0.005 กิโลกรัม

6
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 18 ความร้อนและทฤษฏีจลน์ของแก๊ส
14. ก้อนน้ าแข็งมวล 1 กิโลกรัม มีอุณหภูมิศูนย์องศาเซลเซี ยส ตกลงไปในทะเลสาบที่น้ ามี
อุณหภูมิศูนย์องศาเซลเซี ยสเช่นเดียวกัน ปรากฏว่าน้ าแข็งละลายไป 0.01 กิโลกรัม น้ าแข็ง
ตกลงมาจากระดับความสู งกี่เมตร
( ความร้อนแฝงจาเพาะของการหลอมเหลวของน้ า = 300 x 103 J / kg )
1. 10 2. 30 3. 300 4. 1000

15(En44 ต.ค.) จงหาปริ มาณความร้อนที่ทาให้น้ าแข็งมวล 100 กรัม อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส


กลายเป็ นน้ ามวล 100 กรัม อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส
กาหนดให้ ความร้อนจาเพาะของน้ าเท่ากับ 4.2 กิโลจูลต่อกิโลกรัม.เคลวิน
และ ความร้อนแฝงจาเพาะของการหลอมเหลวของน้ าแข็งเท่ากับ 333 กิโลจูลต่อกิโลกรัม
1. 33.7 kJ 2. 37.5 kJ 3. 45.9 kJ 4. 4233 kJ

7
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 18 ความร้อนและทฤษฏีจลน์ของแก๊ส
16. ต้องการทาให้น้ าแข็ง 1 กิโลกรัม อุณหภูมิ –10 องศาเซลเซียส เปลี่ยนเป็ นน้ า 10 องศา-
เซลเซียส ต้องใช้พลังงานความร้อนเท่าใด
กาหนด ค่าความร้อนจาเพาะของน้ าแข็ง 2.1 กิโลจูลต่อกิโลกรัม.เคลวิน
ค่าความร้อนแฝงจาเพาะการหลอมเหลวของน้ า 333 กิโลจูลต่อกิโลกรัม
ค่าความร้อนจาเพาะของน้ า 4.2 กิโลจูลต่อกิโลกรัม.เคลวิน
1. 63 กิโลจูล 2. 354 กิโลจูล 3. 375 กิโลจูล 4. 396 กิโลจูล

17. เอทิ ลอัลกอฮอล์มีจุดหลอมเหลว –144oC มีจุดเดื อด 78oC ต้องใช้พลังงานความร้อน


เท่าใด จึงจะทาให้เอทิลอัลกอฮอล์แข็ง 2 กิโลกรัม กลายเป็ นไอหมด
กาหนด ค่าความร้อนจาเพาะของเอทิลอัลกอฮอล์ = 2 x 103 J / kg.K
ค่าความร้อนแฝงจาเพาะของการหลอมเหลวของเอทิลอัลกอฮอล์ = 104 kJ / kg
ค่าความร้อนแฝงจาเพาะของการกลายเป็ นไอของเอทิลอัลกอฮอล์ = 850 kJ / kg
1. 2795 กิโลจูล 2. 2796 กิโลจูล 3. 2895 กิโลจูล 4. 2896 กิโลจูล

8
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 18 ความร้อนและทฤษฏีจลน์ของแก๊ส
18. นาแท่งเหล็กมวล 0.05 กิโลกรัม อุณหภูมิ 200 องศาเซลเซี ยส ใส่ ลงในกระป๋ องที่มีน้ า
มวล 0.2 กิโลกรัม อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซี ยส เมื่อเข้าสู่ ภาวะสมดุลอุณหภูมิเท่ากับ 25
องศาเซลเซียส ความร้อนจาเพาะของแท่งเหล็กมีค่ากี่จูลต่อกิโลกรัม.เคลวิน
กาหนด ความร้อนจาเพาะของน้ าเท่ากับ 4.2 กิโลจูลต่อกิโลกรัม.เคลวิน
(ไม่คิดการถ่ายเทความร้อนระหว่างน้ ากับกระป๋ อง)
1. 460 J/kg.K 2. 470 J/kg.K 3. 475 J/kg.K 4. 480 J/kg.K

19. นาเหล็กมวล 1 กิโลกรัม อุณหภูมิ 60oC ใส่ ในน้ า 1 กิโลกรัม อุณหภูมิ 0oC ต่อมา
อุณหภูมิของน้ าและเหล็กเท่ากัน อยากทราบว่าอุณหภูมิน้ ี มีค่าเท่าใด ถ้าความร้อนจาเพาะ
ของน้ าและเหล็กมีค่า 4180 และ 500 จูล / กิโลกรัม.เคลวิน ตามลาดับ
1. 5.41oC 2. 6.41oC 3. 7.41oC 4. 8.41oC

9
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 18 ความร้อนและทฤษฏีจลน์ของแก๊ส
20. ก้อนอะลูมิเนียมมวล 200 กรัม อุณหภูมิ 300 องศาเซลเซี ยส อยูใ่ นภาชนะที่เป็ นฉนวน
เมื่อเทน้ าแข็งอุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส มวล 70 กรัม ลงในภาชนะ จากนั้นปิ ดภาชนะด้วย
ฝาฉนวน อุณหภูมิสุดท้ายภายในภาชนะเป็ นเท่าใด
( กาหนด ค่าความร้อนจาเพาะของอลูมิเนียม = 0.9 กิโลจูลต่อกิโลกรัม.เคลวิน
ค่าความร้อนจาเพาะของน้ า = 4.2 กิโลจูลต่อกิโลกรัม.เคลวิน
ค่าความร้อนแฝงของการหลอมเหลวของน้ า = 333 กิโลจูลต่อกิโลกรัม )
1. 64.7oC 2. 64.8oC 3. 64.9oC 4. 65.7oC

21. ลูกเหล็กมวล 50 กรัม อุณหภูมิ 300 องศาเซลเซียส ถูกหย่อนลงในน้ ามวล 100 กรัม ซึ่ง
บรรจุอยูใ่ นกระป๋ องมวล 70 กรัม และมีโฟมหุ ม้ กระป๋ องอยู่ ทาให้น้ ามีอุณหภูมิเปลี่ยนจาก 6
องศาเซลเซียส ไปเป็ น 20 องศาเซลเซียส จงหาความร้อนจาเพาะของกระป๋ อง
( กาหนด ความร้อนจาเพาะของเหล็กเท่ากับ 0.45 กิโลจูล / กิโลกรัม เคลวิน
ความร้อนจาเพาะของน้ าเท่ากับ 4.20 กิโลจูล/กิโลกรัม เคลวิน )
1. 0.13 kJ/kgK 2. 0.23 kJ/kgK 3. 0.43 kJ/kgK 4. 0.70 kJ/kgK

10
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 18 ความร้อนและทฤษฏีจลน์ของแก๊ส
การนาความร้อน คือ การส่ งผ่านความร้อนโดยโมเลกุลของตัวกลางที่ส่งผ่านความร้อนไม่
ได้เคลื่อนที่ไปพร้อมกับความร้อนที่ส่งผ่าน
การพาความร้อน คือ การส่ งผ่านความร้อนโดยโมเลกุลของตัวกลางที่ส่งผ่านความร้อน
เคลื่อนที่ไปพร้อมกับความร้อนที่ส่งผ่าน
การแผ่รังสี ความร้อน คือ การส่ งพลังงานความร้อนโดยไม่ตอ้ งอาศัยตัวกลาง เช่น การส่ ง
พลังงานความร้อนจากดวงอาทิตย์มาสู่ โลกของเรา เป็ นต้น

18.2 แก๊สอุดมคติ
แก๊ สอุดมคติ คือแก๊สที่ประพฤติตนเป็ นไปตามทฤษฏีทุกประการ แก๊สในธรรมชาติจริ ง
จะไม่สามารถประพฤติตนให้เป็ นไปตามทฤษฏีได้อย่างสมบูรณ์ แบบ แก๊สในธรรมชาติจริ งจะ
ประพฤติตนให้ใกล้เคียงทฤษฏีได้ในสภาวะอุณหภูมิสูง และความดันต่าเท่านั้น
18.2.1 สมบัติของแก๊สจากการทดลอง
กฎของบอยล์ กล่าวว่า " เมื่ออุณหภูมิและมวลของแก๊ สคงที่ ปริมาตรของแก๊ สจะแปรผก
ผันกับความดันของแก๊สนั้น " จากกฎข้อนี้ จะได้สมการ
P1V1 = P2V2
เมื่อ P1 , P2 = ความดันตอนแรก และตอนหลัง ( atm , N/m2 , Pascal , … )
V1 , V2 = ปริ มาตรตอนแรก และตอนหลัง ( m3 , cm3 , Lit , … )
* ควรระวัง สู ตรนี้ใช้ได้เมื่ออุณหภูมิ และมวลแก๊สคงที่
กฎของชาร์ ล กล่าวว่า " เมื่อความดัน และมวลของแก๊ สคงที่ ปริมาตรของแก๊สใดๆ จะ
แปรผันตรงกับอุณหภูมิเคลวิน " จากกฎข้อนี้ จะได้สมการ
V1 V2
T1  T2

เมื่อ V1 , V2 = ปริ มาตรตอนแรก และตอนหลัง ( m3 , cm3 , Lit , … )


T1 , T2 = อุณหภูมิเคลวินตอนแรก และตอนหลัง ( K )
* ควรระวัง สู ตรนี้ใช้ได้เมื่อ ความดัน และมวลแก๊สคงที่

11
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 18 ความร้อนและทฤษฏีจลน์ของแก๊ส
กฎรวมของแก๊ส
เมื่อนากฎของบอยล์ และกฎของชาร์ ล มารวมกันจะได้กฎรวมของแก๊ส คือ
PV
11 P2V
2
T1 = T2

ควรระวัง สู ตรนี้ใช้ได้เมื่อมวลของแก๊สมีคงที่เท่านั้น
หากมวลของแก๊สไม่ คงที่ ต้องใช้สมการ
P1V1 P2V2 P1V1 P2V2 P1V1 P2V2
m1T1 = m 2T2 หรื อ n1T1 = n2T2 หรื อ N1T1 = N2T2
เมื่อ m1 , m2 = มวลตอนแรก และตอนหลัง ( g , kg , … )
n1 , n2 = จานวนโมลแก๊สตอนแรก และตอนหลัง ( โมล )
N1 , N2 = จานวนโมเลกุลแก๊สตอนแรก และตอนหลัง ( โมเลกุล )
หากมีความหนาแน่ นของแก๊ สมาเกีย่ วข้ อง ต้องใช้สมการ
P1 P2
=
1T1 2T2
เมื่อ 1 , 2 = ความหนาแน่นตอนแรก และตอนหลัง ( kg/m3 , g/cm3 , … )
หมายเหตุ ; ค่าของ P , V , m ,  ตัวแปรเหล่านี้ จะใช้หน่ วยใดๆ ของตัวแปรก็ได้ แต่ตอน
แรก และตอนหลังต้องใช้หน่ วยให้เหมือนกัน เพื่อจะได้ตดั ทอนให้ลงตัว เช่ น หากความ
ดันตอนแรก ( P1) ใช้หน่ วยเป็ นบรรยากาศ ( atm ) ความดันตอนหลังต้องใช้หน่ วยเป็ น
บรรยากาศ ( atm ) ด้วย หรื อจะเปลี่ ยนใช้หน่ วยอย่างอื่นก็ได้ แต่ตอ้ งใช้หน่ วยเดี ยวกันนั้น
ทั้งตอนแรกและ ตอนหลัง
22. แก๊สจานวนหนึ่งปริ มาตร 0.5 ลูกบาศก์เมตร ที่ความดัน 105 นิวตัน/ตารางเมตร อุณหภูมิ
0 องศาเซลเซี ยส ถ้าจะทาให้แก๊สนี้ มีปริ มาตร 1 ลูกบาศก์เมตร โดยความดันไม่เปลี่ยน
แปลง อุณหภูมิสุดท้ายเป็ นเท่าไร
1. 545 เคลวิน 2. 546 เคลวิน 3. 547 เคลวิน 4. 548 เคลวิน

12
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 18 ความร้อนและทฤษฏีจลน์ของแก๊ส
23. ขวดขนาด 10 ลิตร บรรจุแก๊สที่อุณหภูมิ 127 องศาเซลเซียส ความดัน 20 บรรยากาศ
เมื่อเพิ่มอุณหภูมิข้ ึน 100 องศาเซลเซียส จงหาความดันในขวดในหน่วยบรรยากาศ
1. 11.2 2. 16.0 3. 25.0 4. 35.7

24. แก๊สในภาชนะปิ ดมีอุณหภูมิ 27oC หากต้องการให้ความดันแก๊สเพิ่มเป็ น 1.5 เท่า ของ


ความดันเดิม ต้องเพิ่มอุณหภูมิแก๊สให้เป็ นเท่าใดในหน่วยองศาเซลเซี ยส
1. 167oC 2. 172oC 3. 175oC 4. 177oC

25. แก๊สชนิดบรรจุในถังที่มีปริ มาตรคงที่ ถ้าอุณหภูมิของแก๊สเพิ่มขึ้นจาก 7oC เป็ น 21oC


อยากทราบว่าความดันของแก๊สจะเปลี่ยนเป็ นกี่เท่าของของเดิม
1. 3.00 2. 1.14 3. 1.05 4. 0.95

13
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 18 ความร้อนและทฤษฏีจลน์ของแก๊ส
26(แนว En) ถ้าให้ความดันของแก๊สในกระบอกสู บหนึ่งคงที่ และให้อุณหภูมิของแก๊สภายใน
กระบอกสู บเปลี่ยนจาก 27oC เป็ น 77oC อัตราส่ วนปริ มาตรใหม่ต่อปริ มาตรเดิมเป็ น
เท่าใด
1. 0.3 2. 0.9 3. 1.2 4. 3.5

27(แนว มช) แก๊สชนิดหนึ่งมีปริ มาตร 1 x 10–3 ลูกบาศก์เมตร ที่ 27oC ความดัน 1 บรรยากาศ
ขยายตัวจนมีปริ มาตรเป็ น 1.5 x 10–3 ลูกบาศก์เมตร และความดันเป็ น 1.1 บรรยากาศ
จงหาอุณหภูมิสุดท้ายของแก๊สนี้วา่ เป็ นกี่องศาเซลเซี ยส
1. 49.5 2. 495 3. 22.2 4. 222

28. แก๊สชนิดหนึ่งมีปริ มาตรและอุณหภูมิสัมบูรณ์เพิม่ เป็ น 1.5 เท่า และ 2 เท่า ตามลาดับ


จงหาว่าความดันของแก๊สนี้เป็ นกี่เท่าของความดันเดิม
1. 43 2. 43 3. 45 4. 45

14
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 18 ความร้อนและทฤษฏีจลน์ของแก๊ส
29. แก๊สในถังใบหนึ่ง เมื่อทาให้อุณหภูมิลดลงจาก 27 องศาเซลเซียส เป็ น –6 องศาเซลเซียส
ความดันของแก๊ส จะเพิ่มหรื อลดลงจากเดิมกี่เปอร์ เซ็นต์
1. 98 % 2. 89% 3. 11% 4. 18%

30. ที่ 0oC ความดัน 1 atm อากาศ 1 ลิตร มีมวล 1.29 กรัม และที่อุณหภูมิ 27oC ความ
ดัน 2 atm อากาศมวล 2.73 กรัม จะมีปริ มาตรกี่ลิตร
1. 0.86 ลิตร 2. 0.98 ลิตร 3. 1.16 ลิตร 4. 1.58 ลิตร

31. แก๊สในถังที่อุณหภูมิ 30oC ความดัน 5 บรรยากาศ มีมวล 10 กิโลกรัม เมื่อปล่อยแก๊ส


ออกมาใช้เสี ยบ้าง ความดันจะลดลงเหลือ 2 บรรยากาศ วัดที่อุณหภูมิ 27oC ถามว่าแก๊ส
ที่เหลือจะมีมวลกี่กิโลกรัม
1. 2.56 2. 2.79 3. 3.48 4. 4.04

15
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 18 ความร้อนและทฤษฏีจลน์ของแก๊ส
32. แก๊สจานวนหนึ่ งบรรจุในถังที่มีอุณหภูมิ 30 องศาเซลเซี ยส แก๊สนี้ มีมวล 10 กิโลกรัม
และมีความดัน 2 บรรยากาศ ถ้าแก๊สรั่วออกไปจานวนหนึ่ง ทาให้อุณหภูมิลดลงเหลือ 27
องศาเซลเซียส และมีความดัน 1 บรรยากาศ แก๊สรั่วออกไปกี่กิโลกรัม
1. 5.05 กิโลกรัม 2. 5.15 กิโลกรัม 3. 4.85 กิโลกรัม 4. 4.95 กิโลกรัม

33. ภาชนะเปิ ดใบหนึ่งมีปริ มาตร 25 ลูกบาศก์เซนติเมตร เริ่ มต้นอากาศอยูใ่ นนั้นจานวนหนึ่ง


ที่อุณหภูมิ 27oC ซึ่ งเป็ นอุณหภูมิและความดันเดียวกับสภาวะแวดล้อม จะต้องทาให้
อุณหภูมิของภาชนะและอากาศในนั้นร้อนถึงอุณหภูมิเท่าใด จานวนโมลอากาศในภาชนะ
จึงจะเหลือ 43 ของจานวนโมลเดิม ( ตอบในหน่วย oC )
1. 400oC 2. 500oC 3. 127 oC 4. 227oC

34. แก๊สในถังใบหนึ่งมีอุณหภูมิคงตัวเมื่อใช้แก๊สไปจนความดันลดลงครึ่ งหนึ่งของความดันเดิม


จานวนโมเลกุลของแก๊สที่รั่วออกจากถังมีค่าเป็ นกี่เท่าของจานวนโมเลกุลแก๊สเดิม
1. 0.3 2. 0.4 3. 0.5 4. 0.6

16
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 18 ความร้อนและทฤษฏีจลน์ของแก๊ส
35(แนว En) ถ้าความหนาแน่นของแก๊สที่อุณหภูมิ 27oC ความดัน 1 บรรยากาศ มีค่าเท่ากับ
1.3 กิโลกรัม/ลูกบาศก์เมตร จงคานวณหาความหนาแน่นของแก๊สนี้ที่อุณหภูมิ 127oC และ
มีความดัน 2 บรรยากาศ
1. 0.55 kg/m3 2. 0.81 kg/m3 3. 1.95 kg/m3 4. 2.35 kg/m3

36. ฟองอากาศปริ มาตร 20 เซนติเมตร3 อยูก่ น้ ทะเลสาบลึก 40 เมตร มีอุณหภูมิ 2oC ถ้าฟอง
อากาศลอยขึ้นสู่ ผวิ น้ าซึ่ งมีอุณหภูมิ 27oC จงหาปริ มาตรของฟองอากาศซึ่ งอยูท่ ี่ผวิ น้ าพอดี
กาหนด ความหนาแน่นของน้ า = 1 x 103 kg/m3 และความดันบรรยากาศ = 1 x 105 N/m2
1. 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร 2. 105 ลูกบาศก์เซนติเมตร
3. 107 ลูกบาศก์เซนติเมตร 4. 109 ลูกบาศก์เซนติเมตร

17
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 18 ความร้อนและทฤษฏีจลน์ของแก๊ส
สมการทีใ่ ช้ คานวณเกีย่ วกับการผสมแก๊ส
ในกรณี ที่มีการนาแก๊สหลายตัวมาผสมกัน การคานวณสามารถใช้สมการต่อไปนี้ได้
Pรวม . Vรวม = P1V1 + P2 V2 + …
nรวม . tรวม = n1t1 + n2 t2 + …
เมื่อ Pรวม = ความดันของแก๊สผสม ( atm , N/m2 , Pa , ….. )
Vรวม = ปริ มาตรของแก๊สผสม ( m3 , cm3 , Lit , …. )
P1 , P2 , … = ความดันของแก๊สตัวที่ 1 , 2 , ..... ตามลาดับ
V1 , V2 , … = ปริ มาตรของแก๊สตัวที่ 1 , 2 , ..... ตามลาดับ
nรวม = จานวนโมลของแก๊สผสม ( โมล )
tรวม = อุณหภูมิของแก๊สผสม ( oC )
n1 , n2 , … = จานวนโมลของแก๊สตัวที่ 1 , 2 , ..... ตามลาดับ
t1 , t2 , … = อุณหภูมิของแก๊สตัวที่ 1 , 2 , ..... ตามลาดับ
37. ถัง A มีปริ มาตร 40 ลูกบาศก์เซนติเมตร บรรจุแก๊สความดัน 80 มิลลิเมตรปรอท และ
ถัง B มีปริ มาตร 60 ลูกบาศก์เซนติเมตร บรรจุแก๊สความดัน 70 มิลลิเมตรปรอท โดยที่
ถังทั้งสองมีท่อต่อกันและมีลิ้นปิ ดเปิ ดอยู่ เมื่อเปิ ดท่อให้แก๊สผสมกันแก๊สจะมีความดันเท่าใด
1. 64 mm-Hg 2. 74 mm-Hg 3. 85 mm-Hg 4. 88 mm-Hg

38. เมื่อนาแก๊สฮีเลียม 5 โมล ที่ 40oC และแก๊สนีออน 3 โมล ที่ 20oC กับแก๊สอาร์ กอน 4
โมล ที่ 25oC มาผสมกัน จงหาอุณหภูมิของแก๊สผสม
1. 30oC 2. 60oC 3. 90oC 4. 100oC

18
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 18 ความร้อนและทฤษฏีจลน์ของแก๊ส
18.2.2 กฏของแก๊ สอุดมคติ
การคานวณเกี่ยวกับสมบัติเบื้องต้นของแก๊ส นอกจากสมการข้างต้นที่กล่าวมาแล้วนั้น ยัง
สามารถใช้สมการต่อไปนี้คานวณได้อีกด้วย
PV = nRT ( กฎของแก๊สอุดมคติ )
เมื่อ T = อุณหภูมิเคลวิน ( K )
R = ค่าคงตัวแก๊ส ( เป็ นค่าคงที่ มีค่าได้หลายแบบ )
ถ้าใช้ R = 0.0821 Lit . atm / mol . K
จะต้องใช้ P คือความดันแก๊สในหน่วย บรรยากาศ ( atm )
และ V คือปริ มาตรแก๊สในหน่วย ลิตร ( Lit , dm3 )
ถ้าใช้ R = 8.31 N . m / mol . K
จะต้องใช้ P คือความดันแก๊สในหน่วย นิวตัน/เมตร2 ( N/m2 )
และ V คือปริ มาตรแก๊สในหน่วย ลูกบาศก์เมตร ( m3 )
n = จานวนโมลแก๊ส ( โมล )
จานวนโมลแก๊สอาจหาค่ าได้ จาก
n = Mg = N
6.02x10 23
เมื่อ g = มวลแก๊สในหน่ วยเป็ นกรัม
M = มวลโมเลกุล
N = จานวนโมเลกุล

และ P V = N kB T
เมื่อ P คือความดันแก๊สในหน่วย นิวตัน/เมตร2 ( N/m2 )
V คือปริ มาตรแก๊สในหน่วย ลูกบาศก์เมตร ( m3 )
N คือจานวนโมเลกุล ( โมเลกุล )
kB = 1.38 x 10–23 J /mol .K ( ค่าคงตัวโบลต์ชมันน์ )
T คืออุณหภูมิเคลวิน ( K )

19
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 18 ความร้อนและทฤษฏีจลน์ของแก๊ส
39. ภาชนะ 2 ลิตร บรรจุแก๊ส CO2 มีความดัน 20.5 บรรยากาศ ที่อุณหภูมิ –23oC มีกี่โมล
1. 4.0 โมล 2. 3.0 โมล 3. 2.0 โมล 4. 1.0 โมล

40. แก๊ส (ก) 1 โมล กับแก๊ส (ข) 1 โมล บรรจุในกล่องเดียวกันซึ่ งมีปริ มาตร 1 ลูกบาศก์เมตร
โดยไม่ทาปฏิกิริยากันที่ 27oC ความดันแก๊สในกล่องเป็ นเท่าใด
1. 4568 นิวตัน/ตารางเมตร 2. 4986 นิวตัน/ตารางเมตร
3. 5286 นิวตัน/ตารางเมตร 4. 5297 นิวตัน/ตารางเมตร

41. แก๊ส N2 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร ที่อุณหภูมิ 0oC ความดัน 2 บรรยากาศ มีกี่โมเลกุล


1. 6.02x1023 2. 1.25x1020 3. 5.37x1021 4. 4.20x1015

42. ถังบรรจุแก๊สออกซิ เจน 60 ลิตร อุณหภูมิ 273 เคลวิน ความดัน 1 บรรยากาศ จงหา
มวลของออกซิ เจนในถังนี้
1. 60 กรัม 2. 75 กรัม 3. 80 กรัม 4. 86 กรัม

20
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 18 ความร้อนและทฤษฏีจลน์ของแก๊ส
43. ภาชนะปริ มาตร 2 x 10–2 ลูกบาศก์เมตร บรรจุแก๊ส CO2 22 กรัม อุณหภูมิ 57 องศา
เซลเซี ยส จงหาความดันของแก๊ส CO2 นี้ ( C = 12 , O = 16 )
1. 6.23x104 นิวตัน/เมตร2 2. 6.85x104 นิวตัน/เมตร2
3. 7.23x104 นิวตัน/เมตร2 4. 7.32x104 นิวตัน/เมตร2

44(แนว มช) ถังแก๊ ส ใบหนึ่ ง บรรจุ แก๊ส ไฮโดรเจน (มวลโมเลกุ ล เท่ ากับ 2) ซึ่ งมี อุณ หภูมิ 27
องศาเซลเซียส ลงในถังจนมีความดัน 24.93x105 นิวตันต่อตารางเมตร แก๊ ส ไฮโดรเจน
ในถังจะมี ความหนาแน่นกี่กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร
1. 1 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร 2. 1.5 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร
3. 2 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร 4. 2.5 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร

45. แก๊ส N2 จานวน 6.02 x 1023 โมเลกุล บรรจุในภาชนะ 1 เมตร3 ที่ 27oC มีความดันเท่าไร
1. 8369 N/m2 2. 5283 N/m2 3. 4230 N/m2 4. 2493 N/m2

21
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 18 ความร้อนและทฤษฏีจลน์ของแก๊ส
18.3 ทฤษฎีจลน์ ของแก๊ส
เพื่อความสะดวกในการศึกษาเรื่ องราวเกี่ยวกับแก๊ส นักวิทยาศาสตร์ จึงได้สร้างแบบ
จาลองของแก๊สในอุดมคติข้ ึน ซึ่ งมีใจความดังนี้
1) แก๊สประกอบด้วยโมเลกุลจานวนมาก ทุกโมเลกุลมีลกั ษณะเป็ นก้อนกลมที่มีขนาด
เท่ากัน มีความยืดหยุน่ สู ง ดังนั้นโมเลกุลเหล่านี้จะชนผนังและกระดอนแบบยืดหยุน่
2) ถือว่าปริ มาตรรวมของโมเลกุลทุกตัวน้อยมาก เมื่อเปรี ยบเทียบกับปริ มาตรของแก๊ส
ทั้งภาชนะ จึงสามารถตัดปริ มาตรของโมเลกุลทิง้ ไปได้
3) ไม่มีแรงใดๆ กระทาต่อโมเลกุลไม่วา่ จะเป็ นแรงผลักหรื อแรงดูด หรื อแม้กระทัง่ แรง
โน้มถ่วงโลกที่กระทาต่อโมเลกุลด้วย
4) โมเลกุลทุกโมเลกุลจะเคลื่อนที่เป็ นเส้นตรงแบบสับสนไร้ทิศทาง และอาจเปลี่ยนแนว
การเคลื่อนที่ได้หากไปชนใส่ ผนังภาชนะหรื อชนกับโมเลกุลแก๊สด้วยกันเอง เรี ยกการ
เคลื่อนที่แบบนี้ วา่ การเคลื่อนที่แบบบราวน์เนียน
และนักวิทยาศาสตร์ ยงั สามารถหาความสัมพันธ์ระหว่างความดันกับพลังงานจลน์เฉลี่ยของ
โมเลกุลแก๊สได้ ดังนี้
P V = 13 N m v 2
หรื อ P V = 23 N m E k
เมื่อ P คือความดันแก๊ส ( N/m2 )
V คือปริ มาตรแก๊ส ( m3 )
N คือจานวนโมเลกุลแก๊ส ( โมเลกุล )
m คือมวลของแก๊ส 1 โมเลกุล ( kg )
v 2 คืออัตราเร็ วกาลังสองเฉลี่ยของโมเลกุลแก๊ส ( m/s )
E k คือพลังงานจลน์เฉลี่ยของโมเลกุลแก๊ส ( J )

22
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 18 ความร้อนและทฤษฏีจลน์ของแก๊ส
46. เหตุใดแก๊สจึงฟุ้ งกระจายเต็มภาชนะที่บรรจุ และ สามารถบีบอัดให้มีปริ มาตรน้อยลงกว่า
เดิมได้มาก
1. เพราะความหนาแน่นแก๊สมีค่าน้อย
2. เพราะโมเลกุลแก๊สแต่ละโมเลกุลอยูห่ ่างกันมาก
3. เพราะแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลแก๊สมีค่าน้อย
4. เพราะโมเลกุลแก๊สมีขนาดเล็ก

47. เมื่ออัดแก๊สให้มีปริ มาตรลดลง ความดันของแก๊สจะเพิ่มขึ้นเพราะเหตุใด


1. เพราะความหนาแน่นแก๊สจะสู งขึ้น
2. เพราะโมเลกุลแก๊สจะอยูใ่ กล้กนั มากขึ้น
3. เพราะจะทาให้โมเลกุลแก๊สชนผนังภาชนะได้บ่อยครั้งขึ้น
4. เพราะจะทาให้อุณหภูมิแก๊สสู งขึ้น

18.4 อัตราเร็วของโมเลกุลแก๊ส
ปกติแล้วโมเลกุลแก๊สแต่ละโมเลกุลจะเคลื่อนที่ตลอดเวลา และเนื่องจากอัตราเร็ วของ
โมเลกุลแก๊สแต่ละโมเลกุลจะมีค่าไม่เท่ากัน ดังนั้นหากจะกล่าวถึงอัตราเร็ วของโมเลกุลแก๊สจึง
ต้องทาการหาค่าเฉลี่ยของอัตราเร็ วมาใช้ อัตราเร็ วเฉลี่ยของโมเลกุลแก๊สจะเรี ยกชื่อพิเศษเป็ น
อัตราเร็ วรากที่สองของกาลังสองเฉลี่ย ( Vrms ) ซึ่งหาค่าได้จากสมการ
3k BT
Vrms = v หรื อ Vrms = 3RT
2
M หรื อ V rms = m หรื อ Vrms= 3P

เมื่อ Vrms = อัตราเร็ วรากที่สองของกาลังสองเฉลี่ย ( m/s )
T = อุณหภูมิ ( K )
R = 8.31 N.m / mol.K
kB = ค่านิจของโบลต์ชมันน์ = 1.38 x 10–23 N.m / mol.K
P = ความดันแก๊ส ( N/m2 )
 = ความหนาแน่น ( kg/m3 )
m = มวลแก๊ส 1 โมเลกุล ( kg ) = มวลโมเลกุล x 1.66 x 10–27 kg
M = มวลแก๊ส 1 โมล ( kg ) = มวลโมเลกุล x 10–3 kg
23
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 18 ความร้อนและทฤษฏีจลน์ของแก๊ส
48. สมมติวา่ สามารถทดลองวัดค่าอัตราเร็ วของโมเลกุล แต่ละตัวได้ท้ งั หมด 5 โมเลกุล ซึ่งมี
อัตราเร็ วโมเลกุลเป็ น 3 , 3 , 4 , 4 และ 5 เมตร / วินาที ตามลาดับ จงหาค่ารากที่
สองของกาลังสองเฉลี่ยของอัตราเร็ ว
1. 3.5 m/s 2. 3.9 m/s 3. 4.2 m/s 4. 4.5 m/s

49. จงหาอัตราเร็ วของโมเลกุลแก๊สไฮโดรเจน (H2) ที่อุณหภูมิ 27oC


1. 1564 m/s 2. 1796 m/s 3. 1825 m/s 4. 1934 m/s

50. อากาศที่ อุณหภูมิปกติ มี ความหนาแน่ น 0.3 กิ โลกรัม/เมตร3 ที่ความดัน 1 บรรยากาศ


จงหาว่าโมเลกุลของแก๊สจะมี Vrms เท่าใด ( 1 บรรยากาศ = 1 x 105 N/m2 )
1. 10 2. 100 3. 1000 4. 5000

24
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 18 ความร้อนและทฤษฏีจลน์ของแก๊ส
51. อัตราเร็ วเฉลี่ยของโมเลกุลไฮโดรเจนเท่ากับ 400 เมตร/วินาที ที่ 27oC ถ้าอุณหภูมิเปลี่ยน
เป็ น 927oC อัตราเร็ วจะเป็ นเท่าใด
1. 500 m/s 2. 600 m/s 3. 700 m/s 4. 800 m/s

52. บรรจุแก๊สในภาชนะปิ ดจานวนหนึ่ ง อัตราเร็ วรากที่สองของก าลังสองเฉลี่ยของแก๊สเป็ น


0.5 เมตร/วินาที ถ้าอุณหภูมิสัมบูรณ์ ของแก๊สเพิ่มขึ้นเป็ น 4 เท่าของเดิม อัตราเร็ วรากที่
สองของกาลังเฉลี่ยของแก๊สเป็ นเท่าไร
1. 1 m/s 2. 2 m/s 3. 4 m/s 4. 4 2 m/s

53. ที่อุณหภูมิ 227 องศาเซลเซี ยส แก๊สไฮโดรเจนมีอตั ราเฉลี่ย 2000 เมตร/วินาที อยากทราบ


ว่าที่อุณหภูมิ 47 องศาเซลเซี ยส แก๊สออกซิ เจนจะมีอตั ราเร็ วเฉลี่ยกี่เมตรต่อวินาที
1. 50 2. 100 3. 200 4. 400

25
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 18 ความร้อนและทฤษฏีจลน์ของแก๊ส
54. ถ้าความดันของแก็สในถังใบหนึ่งเพิ่มขึ้น 21 เปอร์ เซ็นต์ อยากทราบว่า อัตราเร็ วเฉลี่ยของ
แก๊สจะเพิ่มหรื อลดลงกี่เปอร์ เซ็นต์
1. 10% 2. 50% 3. 60% 4. 75%

55. ถ้าอัตราส่ วนของอัตราเร็ วรากที่สองของกาลังสองเฉลี่ย (Vrms) ของแก๊สออกซิ เจนต่อแก๊ส


ไนโตรเจนเป็ น 3 ต่อ 2 และแก๊สออกซิเจนมีความดันเป็ น 2 เท่าของแก๊สไนโตรเจน อัตรา-
ส่ วนของความหนาแน่นของแก๊สออกซิ เจนต่อแก๊สไนโตรเจนมีค่าเป็ นเท่าใด
1. 29 2. 89 3. 43 4. 43

56. กระบอกสู บ แก๊ ส ชนิ ดหนึ่ งบรรจุ แก๊ส จานวน n โมล เมื่ อให้ค วามร้ อนจานวนหนึ่ งแก่
กระบอกสู บ พบว่า vrms ของแก๊สเพิ่มขึ้ นเป็ น 2 เท่า และปริ มาตรเพิ่ม ขึ้นเป็ น 3 เท่ า
ความดันของแก๊สจะเปลี่ยนเป็ นกี่เท่าของความดันเดิม
1. 3/2 2. 4 /3 3. 3/2 4. 3/4

26
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 18 ความร้อนและทฤษฏีจลน์ของแก๊ส
18.5 พลังงานจลน์ โมเลกุลแก๊ส และพลังงานภายในระบบ
ปกติแล้วโมเลกุลแก๊สแต่ละโมเลกุลจะเคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ วขนาดหนึ่งตลอดเวลา ดังนั้น
แต่ละโมเลกุลแก๊สจะมีพลังงานจลน์ขนาดหนึ่งด้วย แต่เนื่ องจากแต่ละโมเลกุลจะมีพลังงานจลน์
ไม่เท่ากัน ดังนั้นหากจะกล่าวถึงพลังงานจลน์ของโมเลกุลแก๊สจึงต้องหาค่าเฉลี่ยมาใช้ ซึ่งหาค่า
ได้จากสมการ
E k = 23 kBT หรื อ E k = 23 PV
N
เมื่อ E k = พลังงานจลน์เฉลี่ยของโมเลกุลแก๊ส ( J )
( มีค่าเป็ นพลังงานจลน์ของแก๊ส 1 โมเลกุล )
kB = 1.38 x 10–23 N.m / mol.k
T = อุณหภูมิ ( K )
P = ความดัน ( N/m2 )
V = ปริ มาตร ( m3 )
N = จานวนโมเลกุลแก๊ส (โมเลกุล )
พลังงานจลน์เฉลี่ยของโมเลกุลแก๊ส ( E k ) ที่กล่าวมาในข้างต้นนี้ จะมีค่าเท่ากับพลังงาน
จลน์ของโมเลกุลแก๊สเพียง 1 โมเลกุลเท่านั้น หากเป็ นพลังงานจลน์รวมของทุกโมเลกุลรวมกัน
จะเรี ยกอีกอย่างหนึ่งว่า พลังงานภายในระบบ ( U ) ซึ่ งสามารถหาค่าได้จาก
U = N E k หรื อ U = 23 N kB T หรื อ U = 23 PV หรื อ U = 23 n RT
เมื่อ U คือพลังงานภายในระบบ ( พลังงานจลน์รวมของทุกโมเลกุลแก๊ส ) ( J )
n คือจานวนโมลแก๊ส ( โมล )
R = 8.31 J / mol . K
57. พลังงานจลน์เฉลี่ยของโมเลกุลแก๊ส ที่อุณหภูมิ 27oC มีค่ากี่จูล
1. 1.38 x 10–21 2. 2.07 x 10–21 3. 2.67x10–21 4. 6.21x10–21

27
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 18 ความร้อนและทฤษฏีจลน์ของแก๊ส
58. บรรจุแก๊สในถังที่มีปริ มาตร 0.2 เมตร3 ที่ความดัน 104 นิวตัน/เมตร2 ภายใต้ภาวะนี้
แก๊สมี 0.6 x 1022 โมเลกุล พลังงานจลน์เฉลี่ยของแต่ละโมเลกุลของแก๊สมีค่าเท่าใด
1. 1.38 x 10–19 2. 2.07 x 10–19 3. 5 x 10–19 4. 6 x 10–19

59. พลังงานของแก๊ส 1 โมล ( 6.02 x 1023 โมเลกุล ) ที่อุณหภูมิ 27oC มีค่ากี่จูล


1. 3.7 x 103 2. 7.4 x 103 3. 11.1 x 103 4. 14.8 x 103

60. จงหาพลังงานจลน์ของโมเลกุลแก๊สทั้งหมดซึ่งมีปริ มาตร 2 ลิตร ความดัน 2.5 บรรยากาศ


( กาหนด ความดัน 1 บรรยากาศ = 1.01 x 105 N/m2 )
1. 1.7 x 102 จูล 2. 3.4 x 102 จูล 3. 3.8 x 102 จูล 4. 7.6x102 จูล

61. ที่ความดัน 4 x 105 นิ วตัน/ตารางเมตร แก๊สจะมีพลังงานกี่จูลต่อลูกบาศก์เมตร


1. 6 x 105 2. 7 x 105 3. 8 x 105 4. 9 x 105

28
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 18 ความร้อนและทฤษฏีจลน์ของแก๊ส
62. แก๊สชนิดหนึ่งมีอุณหภูมิ 300 K ถ้าจะให้แก๊สพลังงานจลน์เฉลี่ยของโมเลกุลเพิ่มเป็ น 2 เท่า
ของเดิมจะต้องทาให้อุณหภูมิเป็ นเท่าใด
1. 400 K 2. 600 K 3. 800 K 4. 1000 K

63(แนว มช) ถ้าอุณหภูมิของแก๊สลดลงจาก 27oC เหลือเพียง 21oC พลังงานจลน์เฉลี่ยของ


โมเลกุลของแก๊สจะลดลงจากเดิมกี่เปอร์ เซ็นต์
1. 2 % 2. 4 % 3. 96 % 4. 98 %

64. เมื่อความดันเฉลี่ยของแก๊สภายในถังใบหนึ่งเพิ่ม 20 เปอร์ เซ็นต์ อยากทราบว่าพลังงานจลน์


เฉลี่ยของแก๊สภายในถังนี้จะเปลี่ยนแปลงไปกี่เปอร์ เซ็นต์
1. 20% 2. 30% 3. 120% 4. 130%

65. แก๊สต่างชนิดกัน ถ้ามีอุณหภูมิเท่ากัน พลังงานจลน์เฉลี่ยของโมเลกุลเท่ากันหรื อไม่


1. เท่ากัน เพราะพลังงานจลน์เฉลี่ยโมเลกุลแก๊สจะขึ้นกับค่าอุณหภูมิเท่านั้น
2. เท่ากัน เพราะมวลของโมเลกุลแก๊สมีค่าเท่ากัน
3. เท่ากัน เพราะมวลของโมเลกุลแก๊สมีค่าไม่เท่ากัน
4. ไม่เท่ากัน เพราะอัตราเร็ วของโมเลกุลแก๊สไม่เท่ากัน
29
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 18 ความร้อนและทฤษฏีจลน์ของแก๊ส
66. มีโมเลกุลของแก๊สจานวน 1.0x1010 โมเลกุล อยูใ่ นห้องปิ ดที่มีปริ มาตร 1 ลูกบาศก์เมตร
ที่อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซี ยส ถ้าเราเพิ่มโมเลกุลของแก๊สชนิดเดียวกันเข้าไปในห้องนี้ อีก
5.0 x 109 โมเลกุล โดยบังคับไม่ให้อุณหภูมิเปลี่ยนแปลง พลังงานจลน์เฉลี่ยของโมเลกุล
ของแก๊สจะเพิ่มขึ้นเป็ นกี่เท่า
1. 2 เท่า 2. 1.5 เท่า 3. 1.5 เท่า 4. คงเดิม

เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ ( T ) หรื อความดัน ( P ) หรื อปริ มาตรแก๊ส ( V )


จะทาให้พลังงานภายในระบบ ( U ) เปลี่ยนแปลงไปด้วย เราสามารถหาค่าพลังงานภายใน
ระบบที่เปลี่ยนไปได้จากสมการต่อไปนี้
U = 23 N kB T หรื อ U = 23 n R T หรื อ U = 23 P2V2 – 23 P1V1

เมื่อ U คือพลังงานภายในระบบที่เปลี่ยนไป ( J )
N คือจานวนโมเลกุล
kB = 1.38 x 10–23 J / mol.K
T คืออุณหภูมิที่เปลี่ยนไป ( K หรื อ oC )
n คือจานวนโมล ( โมล )
R = 8.31 J / mol.K
P1 , P2 คือความดันแก๊สตอนแรกและตอนหลัง ( N/m2 ) ตามลาดับ
V1 , V2 คือปริ มาตรแก๊สตอนแรกและตอนหลัง ( m3 ) ตามลาดับ
และเมื่อปริ มาตรแก๊สมีการเปลี่ยนแปลง จะทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของงานของระบบ
ด้วย และงานที่เปลี่ยนแปลงนี้ สามารถหาค่าได้จากสมการ
W = P V หรื อ W = n R T
เมื่อ W คืองานของระบบที่เปลี่ยนแปลง ( J )
P คือความดันแก๊ส ( N/m2 )
V คือปริ มาตรที่เปลี่ยนแปลง ( m3 )
n คือจานวนโมลแก๊ส ( โมล )
R = 8.31 J / mol.K
T คืออุณหภูมิของแก๊สที่เปลี่ยนไป ( K หรื อ oC )

30
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 18 ความร้อนและทฤษฏีจลน์ของแก๊ส
และเมื่อเราทาให้พลังงานความร้อนของแก๊สมีการเปลี่ยนแปลง มักจะทาให้พลังงาน
ภายในระบบ และงานของระบบเกิดการเปลี่ยนแปลงไปด้วย และจากกฎการอนุรักษ์พลังงาน
จะได้วา่ พลังงานความร้อนที่เปลี่ยนแปลง (Q ) จะเท่ากับผลรวมของพลังงานภายในระบบที่
เปลี่ยน แปลง (U ) กับงานของระบบที่เปลี่ยนไป (W )
นัน่ คือ Q = U + W
เมื่อ Q = ความร้อน ( จูล )
U = พลังงานภายในระบบที่เปลี่ยนแปลง ( จูล )
W = งานของระบบที่เปลี่ยนแปลง ( จูล )
การใช้สมการนี้ ตอ้ งคานึงถึงค่าบวก ลบ ของตัวแปรทุกตัวดังนี้
สาหรับ Q หากความร้อนเข้าสู่ ระบบ (ดูดความร้อน) Q มีค่า +
หากความร้อนออกจากระบบ (คายความร้อน) Q มีค่า –
หากความร้อนไม่เข้าหรื อออก ระบบ Q มีค่า 0
สาหรับ U หากพลังงานภายในเพิ่ม (อุณหภูมิเพิ่ม) U มีค่า +
หากพลังงานภายในลด (อุณหภูมิลด) U มีค่า –
หากพลังงานภายในไม่เปลี่ยน (อุณหภูมิคงที่) U มีค่า 0
สาหรับ W หากปริ มาตรแก๊สเพิม่ (ระบบทางาน) W มีค่า +
หากปริ มาตรแก๊สลด (ทางานให้ระบบ) W มีค่า –
หากปริ มาตรแก๊สคงที่ W มีค่า 0

67. พลังงานภายในของแก๊สฮีเลียม 10 โมล จะเปลี่ยนไปเท่าใด เมื่ออุณหภูมิของแก๊สฮีเลียม


เปลี่ยนไป 20 องศาเซลเซียส
1. 6400 จูล 2. 5820 จูล 3. 3593 จูล 4. 2493 จูล

31
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 18 ความร้อนและทฤษฏีจลน์ของแก๊ส
68. แก๊สโมเลกุลอะตอมเดี่ยวชนิดหนึ่งมีมวล 60 กรัม เมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนไป 10 เคลวิน
พลังงานของแก๊สนี้จะเปลี่ยนไปเท่าไร กาหนดให้มวลโมเลกุลของแก๊สนี้ = 15
1. 466.6 จูล 2. 478.6 จูล 3. 498.6 จูล 4. 548.6 จูล

69. แก๊สปริ มาตร 2 ลูกบาศก์เมตร อุณหภูมิ 0oC ความดัน 105 นิวตัน/เมตร2 มีปริ มาตร
เพิ่มขึ้นเป็ น 12 ลูกบาศก์เมตร มีความดันเท่าเดิม การขยายตัวนี้ แก๊สทางานได้กี่จูล
1. 1.0x106 2. 1.2x106 3. 2.0x106 4. 4.0x106

70. แก๊สในระบบขยายตัวด้วยความดันคงที่ 2 x 105 นิ วตัน/เมตร2 ในกระบวนการนี้ วดั งาน


ได้ 104 จูล โดยพลังงานภายในระบบคงที่ ปริ มาตรของระบบเปลี่ยนแปลงกี่ลูกบาศก์เมตร
1. 0.05 2. 0.02 3. 0.20 4. 0.30

71. แก๊สในกระบอกสู บรับความร้อนจากภายนอก 142 จูล ขณะที่แก๊สขยายตัวมันทางานบน


ระบบภายนอก 160 จูล ถามว่าพลังงานภายในของแก๊สเพิ่มขึ้นหรื อลดลงเท่าใด
1. เพิ่มขึ้น 18 จูล 2. เพิ่มขึ้น 20 จูล 3. ลดลง 18 จูล 4. ลดลง 20 จูล

32
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 18 ความร้อนและทฤษฏีจลน์ของแก๊ส
72. แก๊สในกระบอกสู บคายความร้อน 240 จูล ขณะที่พลังงานภายในเพิ่มขึ้น 50 จูล ถามว่า
แก๊สจะหดตัวหรื อขยายตัว
1. หดตัว 2. ขยายตัว 3. หดแล้วขยาย 4. ขยายแล้วหด

73. เมื่อเพิ่มความร้อนให้แก่ระบบแก๊ส 8400 จูล พร้อมกับทางานให้ระบบ 4000 จูล พลัง


งานภายในระบบเปลี่ยนไปเท่าใด
1. 12100 จูล 2. 12250 จูล 3. 12400 จูล 4. 12550 จูล

74. ระบบหนึ่ง เมื่อได้รับความร้อน 8000 จูล จะทาให้พลังงานภายในระบบเพิ ม่ ขึ้น 6000 จูล


อยากทราบว่าในการนี้ตอ้ งทางานให้แก่ระบบหรื อระบบทางานเท่าไร
1. ระบบทางาน 1250 จูล 2. ระบบทางาน 2000 จูล
3. ทางานให้ระบบ 1250 จูล 4. ทางานให้ระบบ 2000 จูล

33
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 18 ความร้อนและทฤษฏีจลน์ของแก๊ส
75. ในการอัดแก๊ส 2 โมล ในกระบอกสู บต้องทางานให้ระบบ 400 จูล ถ้าระบบไม่ถ่ายเท
ความร้อนเลย อยากทราบว่าอุณหภูมิของแก๊สจะสู งขึ้นกี่เคลวิน
1. 12.84 2. 14.64 3. 15.23 4. 16.04

76. เมื่อให้ความร้อน 64.9 จูล แก่แก๊ส 0.5 โมล ที่บรรจุในกระบอกสู บ แก๊สทางานได้


40 จูล ดันลูกสู บให้เคลื่อนที่ อุณหภูมิของแก๊สเพิ่มขึ้นกี่เคลวิน ( R = 8.3 J / mol.k)
1. 1 K 2. 1.5 K 3. 3.5 K 4. 4 K

77. เมื่อให้พลังงานความร้อนกับกระบอกสู บอันหนึ่ง 60000 จูล แก๊สภายในกระบอกสู บขยาย


ตัวขึ้น 0.5 เมตร3 ภายใต้ความดัน 105 นิวตัน/เมตร2 ถ้าในกระบอกสู บมีแก๊ส 1 กิโลโมล
อุณหภูมิของแก๊สจะเปลี่ยนไปกี่เคลวิน
1. 0.3 K 2. 0.5 K 3. 0.7 K 4. 0.8 K

34
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 18 ความร้อนและทฤษฏีจลน์ของแก๊ส
78. อัดแก๊สในกระบอกสู บด้วยความดันคงที่ 1 x 105 นิ วตัน/เมตร2 ทาให้ปริ มาตรลดลง 0.004
เมตร3 ถ้าพลังงานภายในระบบของแก๊สในกระบอกคงที่ จงหาพลังงานความร้อนที่เกิดขึ้น
1. 350 จูล 2. 400 จูล 3. 650 จูล 4. 900 จูล

79. ให้พลังงานความร้อนแก่แก๊ส 23 โมล จานวน 830 จูล แก๊สมีการเปลี่ยนแปลงแบบ


ปริ มาตรคงตัว จงหาอุณหภูมิของแก๊สที่เพิ่มขึ้น (R = 8.3 J / mol.K)
1. 10 K 2. 100 K 3. 150 K 4. 200 K

80. แก๊สจานวนหนึ่งมีจานวนโมเลกุล 1025 โมเลกุล ถ้าต้องการให้แก๊สจานวนนี้มีอุณหภูมิ


เพิ่มขึ้น 1oC ต้องให้ความร้อนแก่แก๊สนี้เท่าไร เมื่อปริ มาตรของแก๊สคงที่
1. 207 จูล 2. 210 จูล 3. 227 จูล 4. 247 จูล

35
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 18 ความร้อนและทฤษฏีจลน์ของแก๊ส
81. ในการอัดแก๊สฮีเลียมจานวน 0.2 กิโลโมล จากปริ มาตร 0.4 ลูกบาศก์เมตร ให้เหลือ 0.2
ลูกบาศก์เมตร ด้วยความดันคงที่ 2x105 พาสคัล ถ้าระบบหุม้ ด้วยฉนวนที่หนามาก จงหา
ก. งานในการอัดแก๊ส ข. พลังงานภายในระบบของแก๊สเปลี่ยนไปอย่างไร
1. ก. –4x10–4 จูล , ข. 4x10–4จูล 2. ก. –6x10–4 จูล , ข. 2x10–4 จูล
3. ก. –5x10–4 จูล , ข. 5x10–4 จูล 4. ก. –2x10–4 จูล , ข. 9x10–4 จูล

82(แนว มช) ภายใต้ความดันคงตัว แก๊สฮีเลียมมวล 16 กรัม (4 โมล) ถูกทาให้มีอุณหภูมิสูงขึ้น


จาก 20oC ไปเป็ น 30oC จงหาค่างานที่ระบบทาในหน่วยของจูล เมื่อค่าความจุความร้อน
จาเพาะของแก๊สฮีเลียมเท่ากับ 5 กิโลจูล / กิโลกรัม .เคลวิน
1. 295 จูล 2. 300 จูล 3. 302 จูล 4. 375 จูล

83. แก๊สในกระบอกสู บมีความดัน 1 กิโลพาสคัล และปริ มาตร 2 เมตร3 ถ้าแก๊สนี้ได้รับ


ความร้อน 10 กิโลจูล จนมีความดัน 2 กิโลพาสคัล และปริ มาตร 4 เมตร3 จงหางาน
ที่กระทาโดยแก๊สในกระบวนการนี้
1. 1 kJ 2. 4 kJ 3. 7 kJ 4. 8 kJ

36
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 18 ความร้อนและทฤษฏีจลน์ของแก๊ส
เฉลยบทที่ 18 ความร้ อ น และท ฤ ษฏี จ ลน์ ของแก๊ ส
1. ตอบข้ อ 4. 2. ตอบข้ อ 4. 3. ตอบข้ อ 1. 4. ตอบข้ อ 1.
5. ตอบข้ อ 4. 6. ตอบข้ อ 4. 7. ตอบข้ อ 2. 8. ตอบข้ อ 2.
9. ตอบข้ อ 3. 10. ตอบข้ อ 4. 11. ตอบข้ อ 1. 12. ตอบข้ อ 1.
13. ตอบข้ อ 2. 14. ตอบข้ อ 3. 15. ตอบข้ อ 3. 16. ตอบข้ อ 4.
17. ตอบข้ อ 2. 18. ตอบข้ อ 4. 19. ตอบข้ อ 2. 20. ตอบข้ อ 1.
21. ตอบข้ อ 3. 22. ตอบข้ อ 2. 23. ตอบข้ อ 3. 24. ตอบข้ อ 4.
25. ตอบข้ อ 3. 26. ตอบข้ อ 3. 27. ตอบข้ อ 4. 28. ตอบข้ อ 2.
29. ตอบข้ อ 3. 30. ตอบข้ อ 3. 31. ตอบข้ อ 4. 32. ตอบข้ อ 4.
33. ตอบข้ อ 3. 34. ตอบข้ อ 3. 35. ตอบข้ อ 3. 36. ตอบข้ อ 4.
37. ตอบข้ อ 2. 38. ตอบข้ อ 1. 39. ตอบข้ อ 3. 40. ตอบข้ อ 2.
41. ตอบข้ อ 3. 42. ตอบข้ อ 4. 43. ตอบข้ อ 2. 44. ตอบข้ อ 3.
45. ตอบข้ อ 4. 46. ตอบข้ อ 2. 47. ตอบข้ อ 2. 48. ตอบข้ อ 2.
49. ตอบข้ อ 4. 50. ตอบข้ อ 3. 51. ตอบข้ อ 4. 52. ตอบข้ อ 1.
53. ตอบข้ อ 4. 54. ตอบข้ อ 1. 55. ตอบข้ อ 2. 56. ตอบข้ อ 2.
57. ตอบข้ อ 4. 58. ตอบข้ อ 3. 59. ตอบข้ อ 1. 60. ตอบข้ อ 4.
61. ตอบข้ อ 1. 62. ตอบข้ อ 2. 63. ตอบข้ อ 1. 64. ตอบข้ อ 1.
65. ตอบข้ อ 1. 66. ตอบข้ อ 4. 67. ตอบข้ อ 4. 68. ตอบข้ อ 3.
69. ตอบข้ อ 1. 70. ตอบข้ อ 1. 71. ตอบข้ อ 3. 72. ตอบข้ อ 1.
73. ตอบข้ อ 3. 74. ตอบข้ อ 2. 75. ตอบข้ อ 4. 76. ตอบข้ อ 4.
77. ตอบข้ อ 4. 78. ตอบข้ อ 2. 79. ตอบข้ อ 2. 80. ตอบข้ อ 1.
81. ตอบข้ อ 1. 82. ตอบข้ อ 3. 83. ตอบข้ อ 1.


37
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 18 ความร้อนและทฤษฏีจลน์ของแก๊ส
ตะลุ ย โจทย์ ท่ วั ไป
บทที่ 18 ความร้อนและทฤษฏีจลน์ของแก๊ส
18.1. ความร้ อน
1. ปัจจัยที่ทาให้ความร้อนเกิดการถ่ายโอนคือ
1. ความต่างศักย์ 2. ความเข้มสนามแม่เหล็ก
3. อุณหภูมิ 4. ถูกทุกข้อ
2. พลังงานในข้อใดต่อไปนี้สามารถเปลี่ยนเป็ นความร้อนได้
1. พลังงานศักย์ 2. พลังงานจลน์ 3. พลังงานไฟฟ้ า 4. ถูกทุกข้อ
3. อ่านอุณหภูมิของเหลวชนิ ดหนึ่ งโดยใช้เทอร์ โมมิเตอร์ สองอัน อันหนึ่งมีสเกลเป็ นเซลเซี ยส
อีกอันหนึ่งมีเสกลเป็ นเคลวิน ถ้าของเหลวนั้นมีอุณหภูมิสูงขึ้น 5 องศาเซลเซี ยส เทอร์ โม-
มิเตอร์ สเกลเคลวินจะเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมกี่เคลวิน
1. 0.8 2. 1.6 3. 3.5 4. 5.0
4. จงหาพลังงานความร้อนที่ทาให้เหล็กมวล 100 กรัม ที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส มีอุณหภูมิ
สู งขึ้นเป็ น 60 องศาเซลเซี ยส (ค่าความร้อนจาเพาะของเหล็กเท่ากับ 450 จูล/กิโลกรัม.เคลวิน)
1. 1550 จูล 2. 1700 จูล 3. 1750 จูล 4. 1800 จูล
5. น้ ามวล 1 กิโลกรัม ที่ 20 องศาเซลเซี ยส ถ้าทาให้อุณหภูมิเพิ่มขึ้นจากเดิม 2 องศาเซลเซียส
จะมีพลังงานความร้อนเพิ่มขึ้นกี่กิโลจูล กาหนดให้ความร้อนจาเพาะของน้ าเท่ากับ 4.2
กิโลจูลต่อกิโลกรัมเคลวิน
1. 4.2 2. 8.4 3. 92.4 4. 115.5
6. ให้พลังงานความร้ อนแก่ ตะกัว่ 252 จูล ถ้าตะกัว่ มี มวล 1 กิ โลกรัม จะมี อุณ หภูมิสูงขึ้ น
เท่าใดในหน่วยเคลวิน ( ความร้อนจาเพาะของตะกัว่ = 126 จูล/กิโลกรัม.เคลวิน )
1. 1 K 2. 1.5 K 3. 2 K 4. 2.5 K
7(แนว En) นากระดาษมาพับเป็ นรู ปถ้วยเติมน้ าเย็น 4 องศาเซลเซี ยส ลงไป 100 มิลลิลิตร
แล้ว ใช้เปลวเที ย นลนถ้วยกระดาษนั้น จนกระทั่ง อุ ณ หภูมิ เพิ่ ม ขึ้ น เป็ น 9 องศาเซลเซี ย ส
พลังงานความร้อนที่เปลวเทียนถ่ายเทให้มีค่าเท่าใด

38
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 18 ความร้อนและทฤษฏีจลน์ของแก๊ส
( กาหนดให้ ความร้อนจาเพาะของน้ า = 4.18 กิโลจูล/กิโลกรัม . เคลวิน
และ น้ า 1 ลิตร มีมวล 1 กิโลกรัม )
1. 1.09 x 103 จูล 2. 1.29 x 103 จูล 3. 2.09 x 103 จูล 4. 2.29 x 103 จูล
8. ลูกปื นทองแดงอุณหภูมิ 10 องศาเซลเซี ยส ถูกยิงออกไปด้วยความเร็ ว 300 เมตร/วินาที
กระทบเป้ า แล้วหยุด นิ่ ง ในเป้ า ลู ก ปื นจะมี อุณ หภู มิ เป็ นเท่ า ใด ( ความร้ อนจาเพาะของ
ทองแดง 385 จูลต่อกิโลกรัมเคลวิน ) ( กาหนดพลังงานจลน์ท้ งั หมดเปลี่ยนเป็ นความร้อน )
1. 111.5oC 2. 120.56oC 3. 126.88oC 4. 202.5oC
9. ยิงกระสุ นปื นทองแดง กระสุ นกระทบเป้ าด้วยความเร็ ว 385 เมตร/วินาที กระสุ นจะหยุด
ทันทีที่ชนเป้ า ถ้า 3 ใน 5 ของพลังงานจลน์เปลี่ยนเป็ นพลังงานความร้อน จงหาว่ากระสุ น
ปื นจะมีอุณหภูมิเพิ่มเป็ นเท่าใด ถ้าเดิมกระสุ นมีอุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส
กาหนด ค่าความร้อนจาเพาะของทองแดง 0.385 กิโลจูล / กิโลกรัม . เคลวิน
1. 161.38oC 2. 151.38oC 3. 142.5oC 4. 121.67oC
10. น้ าตกจากหน้าผาสู ง 200 เมตร ถ้าในการเปลี่ยนรู ปของพลังงานศักย์เปลี่ยนเป็ นพลังงาน
ความร้อนทั้งหมด ถ้าน้ าตกถึงพื้นด้านล่างจะมีอุณหภูมิเพิ่มขึ้นเท่าไร
( ความร้อนจาเพาะของน้ า 4.2 กิโลจูลต่อกิโลกรัม.เคลวิน)
1. 0.25oC 2. 0.31oC 3. 0.37oC 4. 0.48oC
11. น้ าตกแห่งหนึ่งสู ง 50 เมตร ถ้าพลังงานศักย์ของน้ าตกเปลี่ยนรู ปเป็ นพลังงานความร้อน
ทั้งหมดอุณหภูมิของน้ าที่ปลายน้ าตกจะมีค่าสู งขึ้นเท่าใด
( กาหนดให้ความร้อนจาเพาะของน้ า 4200 จูลต่อกิโลกรัม.เคลวิน)
1. 0.12oC 2. 0.21oC 3. 4.2oC 4. 8.4oC
12. นาลูกกลมโลหะขนาดเล็กมากมีความหนาแน่นเฉลี่ย 8 x 103 กิโลกรัม / เมตร3 มีมวล
รวม 1 กิโลกรัม ใส่ ลงไปในท่อพีวซี ี ยาว 60 เซนติเมตร มีพ้ืนที่หน้าตัด 25 x 10–4 เมตร2
เมื่อทาการทดลองโดยพลิกท่อพีวซี ี ในแนวดิ่ง 200 ครั้ง อุณหภูมิของลูกกลมโลหะจะเปลี่ยน
ไป กี่เคลวิน ถ้าลูกกลมโลหะมีความร้อนจาเพาะ 500 จูลต่อกิโลกรัม.เคลวิน
1. 1.8 K 2. 2.2 K 3. 2.4 K 4. 3 K

39
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 18 ความร้อนและทฤษฏีจลน์ของแก๊ส
13. ในการทดลองการเปลี่ยนรู ปพลังงานกลเป็ นพลังงานความร้อน โดยใช้กระบอกยาว 0.4
เมตร บรรจุลูกกลมโลหะมีความร้อนจาเพาะ 500 จูล / กิ โลกรัม.เคลวิน มีมวล 100 กรัม
ท าการทดลองพลิ กกลับ กระบอกขึ้ นลงให้ ลูก กลมหล่ น ในกระบอก 200 ครั้ ง จงหาว่า
อุณหภูมิของลูกกลมโลหะเพิ่มขึ้นมากที่สุดกี่องศาเซลเซี ยส
14(แนว มช) ในการทดลองที่ บรรจุ ลูกกลมโลหะในท่อพีวีซีที่สามารถปิ ดทั้งสองด้านได้ ถ้า
ระยะห่ างระหว่างระดับผิวบนสุ ดของลูกกลมโลหะกับปลายท่ออีกด้านหนึ่ งเป็ น 0.2 เมตร
จงหาว่าถ้ากลับท่อพีวีซี 165 ครั้ง แล้วอุณหภูมิของลูกกลมเหล็กจะเพิ่มขึ้นเท่าใด และถ้า
เปลี่ยนลูกกลมเหล็กเป็ นลูกกลมทองแดงมวลเท่ากัน อุณหภูมิจะเปลี่ยนแปลงอย่างไร
กาหนด ความร้อนจาเพาะของเหล็ก = 0.550 kJ / kg.K
ความร้อนจาเพาะของทองแดง = 0.385 kJ / kg.K
1. อุณหภูมิเพิ่ม 0.6 องศาเซลเซี ยส อุณหภูมิลูกกลมทองแดงสู งกว่าลูกกลมเหล็ก
2. อุณหภูมิเพิ่ม 0.6 องศาเซลเซี ยส อุณหภูมิลูกกลมทองแดงต่ากว่าลูกกลมเหล็ก
3. อุณหภูมิเพิ่ม 0.6 เคลวิน อุณหภูมิลูกกลมทองแดงต่ากว่าลูกกลมเหล็ก
4. อุณหภูมิเพิม่ 6 เคลวิน อุณหภูมิลูกกลมทองแดงสู งกว่าลูกกลมเหล็ก
15. วัตถุกอ้ นหนึ่งมีมวล 0.5 กิโลกรัม ตกจากที่สูงจากพื้น 2000 เมตร พบว่าอัตราเร็ วของ
วัตถุก่อนกระทบพื้นเท่ากับ 180 เมตรต่อวินาที ถ้า 25% ของพลังงานกลที่สูญเสี ยไปจาก
การต้านของอากาศกลายเป็ นความร้อนที่สะสมในวัตถุก่อนกระทบพื้น วัตถุมีอุณหภูมิเพิ่ม
ขึ้นจากเดิมเท่าใด ( ให้ความร้อนจาเพาะของวัตถุเท่ากับ 500 จูลต่อกิโลกรัม.เคลวิน )
1. 0.2oC 2. 1.9oC 3. 3.6oC 4. 10.0oC
16. วัตถุมวล 100 กิโลกรัม ไถลจากหยุดนิ่งลงมาตามพื้นเอียงซึ่งสู ง 20 เมตร เมื่อมาถึงพื้น
วัตถุมีความเร็ ว 10 เมตรต่อวินาที ถ้าพลังงานของวัตถุที่สูญเสี ยไปในการไถลครั้ งนี้ ครึ่ ง
หนึ่งกลายเป็ นพลังงานความร้อนให้แก่วตั ถุ อุณหภูมิของวัตถุจะเปลี่ยนไปจากเดิมกี่เคลวิน
กาหนด วัตถุมีความร้อนจาเพาะ 50 จูลต่อกิโลกรัมเคลวิน
1. 0.5 2. 1.0 3. 1.5 4. 2

40
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 18 ความร้อนและทฤษฏีจลน์ของแก๊ส
17. ผลักก้อนเหล็กมวล 15 กิโลกรัม ให้เคลื่อนที่ไปบนพื้นฝื ดด้วยความเร็ วคงที่เป็ นระยะทาง
80 เมตร พบว่าอุณหภูมิของเหล็กทั้งก้อนเปลี่ยนไป 0.24 องศาเซลเซียส ถ้าสมมติวา่ งาน
ของแรงเสี ยดทานทั้งหมดกลายเป็ นความร้อน และไม่มีความร้อนสู ญหายไปจากระบบ
สัมประสิ ทธิ์ ของความเสี ยดทานของพื้นและก้อนเหล็กมีค่าเท่าใด
กาหนด ความร้อนจาเพาะของเหล็ก = 0.5 กิโลจูลต่อกิโลกรัมเคลวิน
1. 0.10 2. 0.15 3. 0.24 4. 0.32
18. แท่งทองแดงมวล 10 กิโลกรัม ถูกลากให้เคลื่อนที่ไปตามพื้นราบฝื ดที่มีค่าสัมประสิ ทธิ์
ความเสี ยดทาน 0.5 ด้วยแรงขนาด 70 นิวตัน เป็ นเวลานาน 20 วินาที ถ้า 40% ของงาน
ที่เกิดเนื่ องจากแรงเสี ยดทานแปรเป็ นความร้อนให้แก่แท่งทองแดง จงหาว่าแท่งทองแดงนี้จะ
มีอุณหภูมิสูงขึ้นจากเดิมเท่าไร
กาหนดค่าความร้อนจาเพาะของทองแดง = 400 จูล/กิโลกรัมเคลวิน
1. 1oC 2. 2oC 3. 5oC 4. 9oC
19. จงหาว่าต้องให้ความร้อนด้วยกาลังเฉลี่ยกี่วตั ต์จึงจะทาให้โลหะมวล 1 กิโลกรัม มีอุณหภูมิ
สู งขึ้น 60 องศาเซลเซี ยส ในเวลา 5 นาที กาหนดให้ความร้อนจาเพาะของโลหะนั้นเท่ากับ
400 จูลต่อกิโลกรัมเคลวิน
1. 50 2. 60 3. 80 4. 100
20. น้ าแข็งมวล 20 กรัม อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซี ยส ละลายกลายเป็ นน้ าหมดที่ 0 องศา-
เซลเซี ยสจะต้องใช้ความร้อนกี่จูล ( Lหลอมเหลวน้ าแข็ง = 333 x103 จูลต่อกิโลกรัม)
1. 5000 2. 5450 3. 6180 4. 6660
21. น้ ามวล 20 กรัม อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส เดือดกลายเป็ นไอหมดที่ 100 องศาเซล-
เซี ยสจะต้องใช้ความร้อนกี่จูล ( Lการเดือดของน้ า = 2256x103 จูลต่อกิโลกรัม)
1. 45120 2. 46220 3. 48210 4. 49480
22. ก้อนน้ าแข็งมวล 5 กิโลกรัม ไถลลงจากที่สูง 5 เมตร อยากทราบว่าน้ าแข็งจะละลายไป
กี่กิโลกรัม ถ้าพื้นมีอุณหภูมิ 0oC ( Lการหลอมเหลวน้ าแข็ง = 333 กิโลจูลต่อกิโลกรัม)
1. 0.25x10–3 2. 0.45 x10–3 3. 0.50 x10–3 4. 0.75 x10–3

41
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 18 ความร้อนและทฤษฏีจลน์ของแก๊ส
23. ถ้าต้องการให้น้ าแข็งมวล 1 กิโลกรัม อุณหภูมิ –10 องศาเซลเซี ยส กลายเป็ นน้ าที่อุณหภูมิ
100 องศาเซลเซี ยส ทั้งหมด จงหาว่าต้องใช้พลังงานความร้อนกี่กิโลจูล
กาหนด Cน้ า = 4.18 กิโลจูล / กิโลกรัม.เคลวิน
Cน้ าแข็ง = 2.10 กิโลจูล / กิโลกรัม.เคลวิน
Lน้ าแข็ง = 333 กิโลจูล / กิโลกรัม
1. 231 2. 649 3. 772 4. 793
24. จงค านวณหาปริ ม าณพลังงานความร้ อนที่ จะท าให้ น้ าแข็ง จานวน 10 กิ โลกรั ม ที่ 0oC
เดือดกลายเป็ นไอน้ าที่ 100oC จนหมด
กาหนด ค่าความร้อนจาเพาะของน้ าเท่ากับ 4 กิโลจูลต่อกิโลกรัมเคลวิน
ค่าความร้อนแฝงจาเพาะของการหลอมเหลวของน้ าแข็ง และค่าความร้อนแฝงจาเพาะของ
การกลายเป็ นไอน้ าเท่ากับ 300 และ 2200 กิโลจูลต่อกิโลกรัม ตามลาดับ
1. 35.92 เมกะจูล 2. 29 เมกะจูล 3. 7 เมกะจูล 4. 25 เมกะจูล
25. จงหาพลังงานความร้อนที่ทาให้น้ าแข็งมวล 50 กรัม อุณหภูมิ –20 องศาเซลเซียส หลอม
ละลายกลายเป็ นน้ าหมด และน้ ามีอุณหภูมิสูงจนเดือดเป็ นไอที่อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซี ยส
ที่ความดัน 1 บรรยากาศ กาหนดให้
ความร้อนจาเพาะของน้ าแข็งเท่ากับ 2.10 กิโลจูลต่อกิโลกรัม.เคลวิน
ค่าความร้อนแฝงจาเพาะการหลอมเหลวของน้ า 333.00 กิโลจูลต่อกิโลกรัม
ค่าความร้อนจาเพาะของน้ า 4.18 กิโลจูลต่อกิโลกรัม.เคลวิน
ค่าความร้อนแฝงจาเพาะการกลายเป็ นไอของน้ า 2256.00 กิโลจูลต่อกิโลกรัม
1. 145.35 กิโลจูล 2. 148.65 กิโลจูล 3. 152.45 กิโลจูล 4. 162.35 กิโลจูล
26. นาน้ าแข็ง 0.06 กิโลกรัม ที่ 0oC ใส่ เข้าไปในคาลอริ มิเตอร์ ( ที่ถือว่าไม่มีค่าความร้อนจาเพาะ )
ซึ่ งบรรจุน้ า 0.4 กิโลกรัม อุณหภูมิ 70oC อยู่ ภายหลังจากเกิดสมดุลทางความร้อนอุณหภูมิ
สุ ดท้ายจะเป็ นเท่าใด
( กาหนด ค่าความร้อนจาเพาะของน้ า = 4.2 กิโลจูลต่อกิโลกรัม.เคลวิน
ค่าความร้อนแฝงของการหลอมเหลวของน้ า = 333 กิโลจูลต่อกิโลกรัม )
1. 0oC เพราะน้ าแข็งละลายไม่หมด 2. ประมาณ 5oC
3. ใกล้เคียงกับ 50oC 4. ใกล้ ๆ กับจุดเดือด (100oC)
42
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 18 ความร้อนและทฤษฏีจลน์ของแก๊ส
27. น้ าแข็ง 1 กิโลกรัม ที่ 0oC ใส่ ไว้ในถังแช่เย็น ( ถ้าถือว่าถังไม่มีความร้อนจาเพาะ ) ถ้าต้อง
การให้เป็ นน้ าเย็น 0oC ทั้งหมด ต้องใช้น้ าอุ ณ หภูมิ 40oC เทลงไปในถังแช่ เป็ นปริ มาณ
กี่กิโลกรัมเพื่อละลายน้ าแข็งให้เป็ นน้ าเย็นตามต้องการ
ให้ Lของน้ าแข็ง = 333 กิโลจูล / กิโลกรัม
cของน้ าแข็ง = 4.18 กิโลจูล / กิโลกรัม เคลวิน
1. ใกล้เคียงกับ 1 2. ใกล้เคียงกับ 1.5
3. ใกล้เคียงกับ 2 4. ใกล้เคียงกับ 2.5
28. ใส่ เหล็กมวล 20 กิโลกรัม อุณหภูมิ 55oC ลงในน้ ามวล 2 กิโลกรัม อุณหภูมิ 35oC แล้ว
ให้ความร้อนแก่ระบบจนมีอุณหภูมิผสมที่สมดุลเป็ น 50oC ถ้าถือว่าไม่มีการสู ญเสี ยความ
ร้อนแก่ภาชนะและสิ่ งแวดล้อม ความร้อนที่เข้าระบบมีค่ากี่กิโลจูล
กาหนด ความร้อนจาเพาะของน้ า = 4.20 กิโลจูลต่อกิโลกรัม.เคลวิน
ความร้อนจาเพาะของเหล็ก = 0.50 กิโลจูลต่อกิโลกรัม.เคลวิน
1. 50 2. 76 3. 126 4. 176
29. น้ าแข็งที่ 0oC , 50 กรัม มาผสมกับไอน้ าที่ 100oC , 10 กรัม ผลลัพธ์สุดท้ายคือข้อใด
( กาหนดให้ ความร้อนแฝงจาเพาะของการหลอมเหลวของน้ าแข็ง = 80 k.cal / kg )
ความร้อนแฝงจาเพาะของการกลายเป็ นไอน้ า = 540 kcal / kg
ความร้อนจาเพาะของน้ า = 1 kcal / kg . K )
1. น้ า 55 กรัม น้ าแข็ง 5 กรัม ที่ 0oC 2. น้ า 50 กรัม ที่ 20oC
3. น้ า 50 กรัม ที่ 40oC 4. น้ า 60 กรัม ที่ 40oC
30. เมื่อให้ความร้อนด้วยอัตราคงที่ตลอดเวลา
อุณหภูมิ (K)
แก่สารชนิดหนึ่งมีมวล 2 กิโลกรัม ได้
ความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิ ( เคลวิน ) 2000
และปริ มาณความร้อน (หน่วยกิโลจูล) ที่
ให้แก่สารเป็ นไปดังรู ปความจุความร้อนจา
600
เพาะของสารนี้ มีค่าเป็ นกี่ kJ / Kg . K
1. 0.125 2. 0.200 0 50 400 1050
3. 0.250 4. 0.500 ปริ มาณความร้อน( kJ )

43
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 18 ความร้อนและทฤษฏีจลน์ของแก๊ส
31. ลูกแซคเป็ นเครื่ องดนตรี ชนิดหนึ่งที่ใช้เขย่าเป็ นจังหวะ การเขย่าลูกแซคจนจบเพลงอุณหภูมิ
ภายในลูกแซคจะเปลี่ยนแปลงหรื อไม่อย่างไร
1. อุณหภูมิเพิ่มขึ้น 2. อุณหภูมิลดลง
3. อุณหภูมิคงที่ 4. ไม่เกิดการเปลี่ยนแปลง
32. แท่งเหล็กมวล 5 กิโลกรัม และ 10 กิโลกรัม จะมีค่าความร้อนและค่าความจุความร้อน
จาเพาะเท่ากันหรื อต่างกัน อย่างไร
1. Q เท่ากัน และ c เท่ากัน 2. Q ไม่เท่ากัน และ c ไม่เท่ากัน
3. Q ไม่เท่า แต่ c เท่ากัน 4. Q เท่ากัน แต่ c ไม่เท่ากัน
33(แนว มช) อากาศปริ มาตร 10 ลู กบาศก์ฟุต อุณหภูมิ 17oC เคลื่ อนผ่านพื้นผิวที่ มีอุณ หภูมิ
77oC ถ้าความดันอากาศไม่เปลี่ยนแปลงปริ มาตรอากาศจะกลายเป็ นกี่ลูกบาศก์ฟุต
1. 0.4 2. 1.7 3. 2.4 4. 12.1

18.2. แก๊สอุดมคติ
18.2.1 สมบัติของแก๊สจากการทดลอง
34. แก๊สในกระบอกสู บอัดลูกสู บให้มีปริ มาตรลดลงจาก 10 cc เป็ น 5 cc ความดันเดิม 1 atm
จงหาความดันของแก๊สในกระบอกสู บหลังอัดแล้ว เมื่อกาหนดให้อุณหภูมิของแก๊สคงตัว
1. 4.0 atm 2. 2.0 atm 3. 1.5 atm 4. 1.0 atm
35. ความดันแก๊สในภาชนะปิ ดอันหนึ่งเป็ น 8 x 105 นิวตัน/ตารางเมตร ที่อุณหภูมิ 27oC
ถ้าอุณหภูมิเพิ่มขึ้นอีก 900oC ความดันในระบบจะเป็ นเท่าใด
1. 30 x 104 นิวตัน/เมตร2 2. 32 x 104 นิวตัน/เมตร2
3. 30 x 105 นิวตัน/เมตร2 4. 32 x 105 นิวตัน/เมตร2
36. ถ้าต้องการให้แก๊สที่อุณหภูมิ 27oC มีความดันแก๊สเพิ่มเป็ น 1.5 เท่าของความดันเดิม โดย
ที่ปริ มาตรคงที่ จะต้องเพิม่ อุณหภูมิเป็ นเท่าใด
1. 450 K 2. 475 K 3. 500 K 4. 525 K
37. Idealgas จานวนหนึ่ งอุณหภูมิ 27 องศาเซลเซี ยส ความดัน 1 บรรยากาศ ถ้าความดันลด
ลงเป็ น 0.6 บรรยากาศ ปริ มาตรเพิม่ เป็ น 2 เท่า อุณหภูมิสุดท้ายของแก๊สจะเป็ นเท่าไร
1. 87oC 2. 95oC 3. 250oC 4. 360oC
44
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 18 ความร้อนและทฤษฏีจลน์ของแก๊ส
38. บอลลูนที่ภายในบรรจุแก๊สไฮโดรเจน ขณะอยูท่ ี่พ้ืนที่อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส มีปริ มาตร
1.8x10–2 ลูกบาศก์เมตร และมีความดัน 1.0x105 พาสคัล ถ้าบอลลูนนี้ ลอยสู งขึ้นจนอุณหภูมิ
แก๊สภายในลดลงเหลือ 18 องศาเซลเซียส ความดันลดลงเหลือ 0.8x105 พาสคัล ถามว่า
ขณะนั้นบอลลูนมีปริ มาตรกี่ลูกบาศก์เมตร
1. 2.183 x 10–3 2. 21.83 x 10–3 3. 218.3 x 10–3 4. 2183 x 10–3
39. แก๊สชนิดหนึ่งถูกบังคับให้มีความดันคงที่ และอุณหภูมิของแก๊สถูกทาให้เพิ่มขึ้นจาก 27oC
ไปเป็ น 127oC ปริ มาตรของแก๊สจะเปลี่ยนไปเป็ นอัตราส่ วนเท่าใดของปริ มาตรเดิม
1. 4/3 2. 3/4 3. 127/27 4. ไม่เปลี่ยน
40. ถ้าต้องการอัดแก๊สจานวนหนึ่งที่อุณหภูมิ 220 เคลวิน ความดัน 1 บรรยากาศ ให้มีปริ มาตร
เพียงครึ่ งหนึ่งของปริ มาตรเดิม และอุณหภูมิเป็ น 165 เคลวิน จะต้องใช้ความดันกี่นิวตัน/-
ตารางเมตร ( กาหนด ความดัน 1 บรรยากาศ = 105 นิวตันต่อตารางเมตร)
1. 1.0x105 2. 1.5x105 3. 2.0x105 4. 2.5x105
41. แก๊สที่อุณหภูมิ 273 เคลวิน ความดัน 105 นิวตัน/เมตร2 ถูกทาให้มีปริ มาตรเหลือเพียง
1 ของปริ มาตรเดิม และมีอุณหภูมิกลายเป็ น 340 เคลวิน จะมีความดันเป็ นเท่าไร
3
( ในหน่วย 105 นิวตัน/ตารางเมตร )
1. 1.2 2. 2.8 3. 3.3 4. 3.7
42. ในการทดลองเพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างความดันและปริ มาตรของแก๊สชนิดหนึ่ง พบว่า
ถ้าเราเพิ่มความดันขึ้นเป็ น 3 เท่าของความดันเริ่ มต้น ปริ มาตรของแก๊สในระบบจะลดลง
เป็ นครึ่ งหนึ่ง จงหาว่าอุณหภูมิของแก๊สควรจะเพิ่มขึ้นกี่เปอร์ เซ็นต์
1. 0% 2. 50% 3. 75% 4. 150%
43. ที่ STP. ( 0oC , 1 atm) อากาศ 1 ลิ ตร มีมวล 1.293 กรัม จงหาความดันของอากาศ
มวล 12.93 กรัม ปริ มาตร 10 ลิตร ที่อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส
1. 0.5 atm 2. 1.1 atm 3. 2.2 atm 4. 3.5 atm
44. ถังแก๊สใบหนึ่งมีปริ มาตร 1 ลูกบาศก์เมตร สามารถอัดความดันได้สูงสุ ด 1 เมกะปาสคาล
หากบรรจุแก๊สอุดมคติที่อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส จะสามารถบรรจุได้ 20 กิโลกรัม ถ้านา
ถังนี้ไปบรรจุแก๊สที่อุณหภูมิ 17 องศาเซลเซี ยส จะสามารถบรรจุแก๊สได้กี่กิโลกรัมที่ความดัน
เดียวกัน
1. 20.69 kg 2. 31.76 kg 3. 25.69 kg 4. 36.76 kg
45
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 18 ความร้อนและทฤษฏีจลน์ของแก๊ส
45. แก๊สหุ งต้มถังหนึ่งมีอุณหภูมิ 37oC ความดัน 5 บรรยากาศ มีมวล 10 กิโลกรัม เมื่อนา
แก๊สไปใช้งานบ้างความดันลดลงเหลือเพียง 3 บรรยากาศ ณ อุณหภูมิ 27oC แก๊สที่ใช้ไปมี
มวลกี่กิโลกรัม
1. 2.6 2. 3.1 3. 3.8 4. 5.2
46(แนว En) ถ้าอุณหภูมิของอากาศในห้องที่มีขนาด 40 ลูกบาศก์เมตร มีค่าเพิ่มขึ้นจาก 27oC เป็ น
63oC จงคานวณหาอัตราส่ วนมวลของอากาศที่ขยายตัวหนีออกมาจากห้องเทียบกับมวลตั้ง
ต้นของอากาศ (ให้ตอบค่าที่ได้เป็ นทศนิยม 2 ตาแหน่ง)
1. 0.11 2. 0.38 3. 0.52 4. 0.75
47. ระบบหนึ่งบรรจุแก๊สไว้ 1 โมล โดยมีปริ มาตร V0 ความดัน P0 และอุณหภุมิ T0 ถ้าแก๊ส
รั่วออกไปอย่างช้าๆ โดยที่อุณหภูมิไม่เปลี่ยนแปลง เมื่ออุดรอยรั่วแล้วปรากฏว่าเหลือแก๊ส
อยูเ่ พียง 0.5 โมล ความดันภายในจะเป็ นเท่าใด ถ้าถือว่าแก๊สเป็ นแก๊สอุดมคติ
P P P
1. P0 2. 20 3. 30 4. 40
48. ภาชนะบรรจุแก๊สในอุดมคติ เดิมบรรจุแก๊สไว้ n โมล มีความดัน 4 บรรยากาศ ถ้าต้องการ
ให้ความดันลดลงเหลือ 3 บรรยากาศ จะต้องปล่อยแก๊สออกมากี่โมล โดยอุณหภูมิคงตัว
1. 4n 2. n3 3. 2n3 4. 3n4
49. อัดแก๊สชนิ ดหนึ่งที่อุณหภูมิ 27oC ความดัน 1 บรรยากาศ ความหนาแน่น 1 กิโลกรัมต่อ-
ลูกบาศก์เมตร ให้มีความหนาแน่นเป็ น 4 กิ โลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ที่ 177oC จะต้องอัด
แก๊สนี้ให้มีความดันกี่บรรยากาศ
1. 26 2. 6 3. 4 4. 1.5
50. ความหนาแน่นของอากาศที่ 27 องศาเซลเซี ยส ความดัน 760 มิลลิเมตรของปรอท เป็ น
2.5 กรั ม / ลิ ตร ถ้า ณ อุ ณ หภู มิ เดี ยวกัน ความดันเป็ น 860 มิ ล ลิ เมตรของปรอท ความ
หนาแน่นของอากาศเป็ นเท่าไร
1. 1.56 g/Lit 2. 1.98 g/Lit 3. 2.54 g/Lit 4. 2.83 g/Lit
51. ห้องประชุมมีอุณหภูมิ 32oC เมื่อเปิ ดเครื่ องปรับอากาศ ทาให้อุณหภูมิของห้องเป็ น 26oC
จงหาอัตราส่ วนความหนาแน่นของอากาศที่อุณหภูมิ 26oC ต่อความหนาแน่นของอากาศที่
อุณหภูมิ 32oC
26
1. 32 2.. 32 3. 299 4. 305
26 305 299
46
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 18 ความร้อนและทฤษฏีจลน์ของแก๊ส
52. อากาศซึ่งอยูใ่ นห้องที่มีขนาด 50 เมตร3 เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้นจาก –3oC ไปเป็ น 27oC จะ
มีอากาศรั่วออกไปจากห้องนี้ เป็ นจานวนกี่กิโลกรัม ความหนาแน่นของอากาศที่อุณหภูมิ
27oC ความดัน 1 บรรยากาศเท่ากับ 1.8 กิโลกรัม/เมตร3
1. 1 kg 2. 2 kg 3. 9 kg 4. 10 kg
53. ฟองอากาศลอยขึ้นจากก้นทะเลสาบลึก 50 เมตร เมื่อลอยถึงผิวน้ าจะมีปริ มาตรเป็ นกี่เท่า
ของปริ มาตรขณะอยูก่ น้ ทะเลสาบ ถ้าอุณหภูมิที่ผวิ น้ าเท่ากับ 30oC และอุณหภูมิที่กน้ ทะเล
สาบเท่ากับ 27oC
( กาหนด ความดันบรรยากาศที่ผวิ น้ า = 105 นิวตัน/เมตร2
ความหนาแน่นของน้ า = 103 กิโลกรัม/เมตร3 )
1. 2.06 2. 3.41 3. 6.06 4. 8.12
54. ถ้าความดันบรรยากาศเท่ากับความดันของน้ าลึก 10 เมตร ถ้าฟองอากาศใต้ผวิ น้ าลึก 50 เมตร
มีปริ มาตร 1 ลูกบาศก์มิลลิเมตร ลอยขึ้นมาอยูท่ ี่ตาแหน่งต่ากว่าระดับผิวน้ า 10 เมตร จะมี
ปริ มาตรเท่าใด
1. 4 mm3 2. 3 mm3 3. 2 mm3 4. 1 mm3
55. ลูกโป่ งบรรจุอากาศถูกนาลงไปใต้น้ าที่ความลึกระดับหนึ่ง ปรากฏว่าปริ มาตรของลูกโป่ ง
ลดลงครึ่ งหนึ่ง ถ้าสมมุติวา่ การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมินอ้ ยมาก จงหาว่าลูกโป่ งถูกนาไป
ระดับความลึกเท่าไร ( กาหนด ความหนาแน่นของน้ าเท่ากับ 1000 กิโลกรัม/เมตร3
และความดันบรรยากาศเท่ากับ 1 x 105 นิวตัน/เมตร2 )
1. 10 m 2. 20 m 3. 30 m 4. 40 m
56. ยางรถยนต์มีความดันเกจ 2.0 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร ที่อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซี ยส
ถ้าขณะที่ รถวิ่งทางไกล ยางรถมี อุณหภูมิ 57 องศาเซลเซี ยส ความดันเกจของยางจะเป็ น
เท่าใด กาหนดให้ความดันบรรยากาศเป็ น 1.0 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร
1. 2.1 kg/cm2 2. 2.2 kg/cm2 3. 2.3 kg/cm2 4. 2.4 kg/cm2

47
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 18 ความร้อนและทฤษฏีจลน์ของแก๊ส
57. ถ้าความดันบรรยากาศเท่ากับ 105 นิวตันต่อตารางเมตร ตลอดเวลา เมื่อสู บอากาศเข้าไป
ในยางรถยนต์คนั หนึ่ง พบว่ามิเตอร์ วดั ความดันเกจ อ่านค่าได้ 2x105 นิวตันต่อตารางเมตร
อุณหภูมิของอากาศในยางขณะนั้นเท่ากับ 27 องศาเซลเซียส ถ้าอุณหภูมิของอากาศในยาง
เปลี่ยนไปเป็ น 87 องศาเซลเซียส อยากทราบว่ามิเตอร์ วดั ความดันเกจจะอ่านได้เท่าใด ถ้า
ถือว่าปริ มาตรของยางรถยนต์เปลี่ยนไปน้อยมาก
1. 3.6 x 105 N/m2 2. 3.4 x 105 N/m2
3. 2.6 x 105 N/m2 4. 2.4 x 105 N/m2
58. ถัง A มีปริ มาตร 5 ลิตร บรรจุแก๊สความดัน 2 บรรยากาศ ถัง B มีปริ มาตร 10 ลิตร
บรรจุแก๊สความดัน 3 บรรยากาศ นาท่อเล็ก ๆ ต่อระหว่างถัง A และ B ความดันของ
แก๊สในถังทั้งสองเป็ นเท่าใด เมื่ออุณหภูมิไม่เปลี่ยนแปลง
1. 1.50 2. 2.67 3. 3.84 4. 4.12
59. แก๊สในถัง A และ B เป็ นแก๊สชนิดเดียวกัน ถัง A มีปริ มาตร 1 ลูกบาศก์เมตร ความดัน
2 บรรยากาศ ถัง B มีปริ มาตร 2 ลูกบาศก์เมตร ความดัน 4 บรรยากาศ ถ้าถังทั้งหมด
ต่อกันโดยท่อเล็กๆ เมื่อเปิ ดลิ้นให้แก๊สผสมกันแล้ว แก๊สจะมีความดันเท่าใด
1. 1.11 atm 2. 2.22 atm 3. 3.33 atm 4. 4.44 atm
60(มช 38) ผสมแก๊สฮีเลียม 2 โมล อุณหภูมิ 60oC กับแก๊สอาร์ กอน 1 โมล อุณหภูมิ 30oC
จงหาว่าอุณหภูมิผสมเป็ นเท่าใด
1. 40oC 2. 45oC 3. 50oC 4. 55oC
18.2.2 กฏของแก๊ สอุดมคติ
61. Ideal gas ที่ความดัน 1 บรรยากาศ อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส ปริ มาตร 20 ลิตร จะมี
ปริ มาณแก๊สกี่โมล
1. 0.32 2. 0.48 3. 0.65 4. 0.81
62. มีแก๊สอยู่ 4 โมล บรรจุในภาชนะ 8.31 ลิตร ถ้าแก๊สมีอุณหภูมิ 27oC จะมีความดันเท่าไร
1. 1.0 x 106 N/m2 2. 1.1 x 106 N/m2
3. 1.2 x 106 N/m2 4. 1.4 x 106 N/m2
63. แก๊ส N2 จานวน 12.04 x 1023 โมเลกุล บรรจุในภาชนะ 67.2 ลิตร ที่ 0oC มีความดัน
เท่าไร
1. 2.3 atm 2. 1.6 atm 3. 0.9 atm 4. 0.67 atm
48
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 18 ความร้อนและทฤษฏีจลน์ของแก๊ส
64. แก๊สออกซิ เจนหนัก 64 กรัม บรรจุในกระบอกซึ่ งมีลูกสู บอยูข่ า้ งใน ทาให้เกิดความดัน
3 x 105 นิวตัน/เมตร2 และอุณหภูมิ 77 องศาเซลเซี ยส ปริ มาตรของแก๊สออกซิ เจนในขณะ
นี้จะเป็ นกี่ลูกบาศก์เมตร
1. 2x10–4 2. 0.02 3. 0.2 4. 2.0
65. แก๊สไฮโดรเจน 10 ลิตร ความดัน 1 บรรยากาศ อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส จะมีมวล
ของแก๊สกี่กรัม
1. 0.44 2. 0.62 3. 0.74 4. 0.81
66. ไฮโดรเจนบรรจุในภาชนะปิ ดปริ มาตร 200 ลู กบาศก์เมตร ที่ 273 เคลวิน ความดัน
1.01 x 105 นิวตันต่อตารางเมตร จงหาจานวนโมเลกุลไฮโดรเจนในภาชนะนี้
1. 4.36 x1027 2. 5.36 x1026 3. 5.36 x1027 4. 6.53 x1027
67. อากาศที่ความดัน 105 นิวตัน/ตารางเมตร อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซี ยส จะมีกี่โมเลกุลใน
1 ลูกบาศก์เมตร ( kB = 1.38 x 10–23 จูล/เคลวิน )
1. 1.24x1024 2. 2.34x1025 3. 3.89x1025 4. 4.42x1025
68. หลอดแก้วทดลองบรรจุแก๊สปริ มาตร 50 ลูกบาศก์เซนติเมตร อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซี ยส
ความดัน 1 บรรยากาศ ด้านบนมีจุกไม้ก๊อกแต่ไม่สนิทแก๊สพอรั่วออกมาได้ จุ่มหลอดแก้ว
นี้ลงไปในน้ าอุณหภูมิ 87 องศาเซลเซี ยส ทิ้งไว้นานพอสมควร จงหาว่ามีแก๊สรั่วไปกี่โมล
1. 1.2x10–4 โมล 2. 2.6 x10–4 โมล 3. 3.3x10–4 โมล 4. 4.3 x10–4 โมล
69. ภาชนะบรรจุแก๊ส ความดัน P มีอุณหภูมิ T มีปริ มาณ N โมเลกุล จงหาปริ มาตรแก๊ส
Nk T 2NkBT
1. PB 2. nRTP 3. P 4. nRT
2P
70. ภาชนะปิ ดที่มีปริ มาตร 4.15 ลูกบาศก์เมตร บรรจุแก๊สที่มีความดัน 6x104 นิวตัน/ตาราง-
เมตร ที่อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซี ยส ถ้าปล่อยให้แก๊สรั่วออกจากภาชนะจนความดันเหลือ 41
ของความดันเดิม และอุณหภูมิเท่าเดิม จงหาจานวนโมลของแก๊สที่รั่วออกไป
1. 45 โมล 2. 55 โมล 3. 65 โมล 4. 75 โมล
71. มีแก๊สอยูใ่ นภาชนะ ถ้าต้องการรู ้จานวนโมลของแก๊ส จะต้องทราบปริ มาณใดบ้าง
1. ความดัน , ปริ มาตร , อุณหภูมิ 2. ความดัน , อุณหภูมิ
3. ความดัน , ปริ มาตร 4. ปริ มาตร , อุณหภูมิ
49
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 18 ความร้อนและทฤษฏีจลน์ของแก๊ส
18.3 ทฤษฎีจลน์ ของแก๊ส
18.4 อัตราเร็วของโมเลกุลแก๊ส
72. จงหา vrms ของแก๊ส H2 ที่ 0 องศาเซลเซียส
1. 1654.7 m/s 2. 1844.7 m/s 3. 1964.6 m/s 4. 2136.4 m/s
73. โมเลกุลของแก๊สออกซิ เจน (O2) ที่ 27 องศาเซลเซี ยส จะมีคา่ เฉลี่ยกาลังสองของอัตราเร็ ว
เท่าใด ( เมตร/วินาที )
1. 4.2x10–27 2. 250 3. 490 4. 2.5x105
74(แนว มช) สมมติ ว่าอิ เล็ ก ตรอนที่ น าไฟฟ้ าในโลหะประพฤติ ตวั เหมื อนกับ แก๊ ส จงหาค่ า
อัตราเร็ วของอิเล็กตรอน(กิโลเมตร/วินาที ) ในขณะที่โลหะมีอุณหภูมิ 2727 องศาเซลเซียส
กาหนดให้ ค่าคงตัวของโบลต์ชมันน์ (KB) = 1.6 x 10–23 จูลต่อเคลวิน
และ มวลของอิเล็กตรอน = 9 x 10–31 kg
1. 250 2. 340 3. 400 4. 420
75. แก๊สจานวนหนึ่งมีความดัน P นิวตันต่อตารางเมตร โมเลกุลนี้ มีอตั ราเร็ วเฉลี่ย x เมตรต่อ
วินาที ใน 1 ลูกบาศก์เมตร แก๊สนี้มีมวลกี่กิโลกรัม
1. 3 Px2 2. 13 Px2 3. 13 Px 4. 3P2
x
76. ถ้าอัตราเร็ วเฉลี่ยของแก๊สนี ออนที่อุณหภูมิ 10oC เท่ากับ 200 เมตรต่อวินาที เมื่ออุณหภูมิ
สู งขึ้นเป็ น 859oC อัตราเร็ วโมเลกุลของแก๊สจะเป็ นกี่เมตร/วินาที
1. 125 2. 219 3. 400 4. 550
77. แก๊สที่ 27oC มีค่า Vrms ของโมเลกุลเป็ น 400 เมตรต่อวินาที ถ้าอุณหภูมิเป็ น 327oC จะ
มีค่า Vrms กี่เมตร/วินาที
1. 456.98 2. 511.47 3. 569.69 4. 614.56
78(แนว มช) ออกซิเจนมีมวลโมเลกุล 16 เท่าของไฮโดรเจน ถ้ามวลโมเลกุลไฮโดรเจนเป็ น 2
อัตราเร็ วรากที่สองของกาลังสองเฉลี่ยของแก๊สไฮโดรเจนต่อออกซิ เจน คือ
1. 2 : 1 2. 4 : 1 3. 8 : 1 4. 16 : 1
79. ถ้าแก๊สมีความหนาแน่นลดลงครึ่ งหนึ่ง ขณะที่ความดันคงที่ค่า Vrms จะเป็ นกี่เท่าของค่าเดิม
1. 2 2. 5 3. 7 4. 11
50
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 18 ความร้อนและทฤษฏีจลน์ของแก๊ส
80. แก๊สชนิดหนึ่งบรรจุในกระบอกสู บ ที่มีลูกสู บเลื่อนได้โดยแก๊สไม่ร่ัว เมื่อทาให้ความหนา
แน่นของแก๊สเพิ่มจากเดิมเป็ นสองเท่า โดยความดันของแก๊สคงที่ อัตราเร็ วเฉลี่ยของอนุภาค
แก๊สจะต้องเปลี่ยนไปเป็ นกี่เท่าของค่าเดิม
1. 1 2. 12 3. 23 4. 23
2
81. ในปริ มาตรอันหนึ่ง อัตราเร็ วเฉลี่ยของแก๊สเพิ่มขึ้นเป็ น 2 เท่า ความดันของแก๊สในปริ มาตร
นั้นจะเพิ่มเป็ นกี่เท่า
1. 23 เท่า 2. 2 เท่า 3. 25 เท่า 4. 4 เท่า
82. แก๊สจานวนหนึ่งบรรจุในลูกสู บ ถ้าแก๊สจานวนนี้ ถูกทาให้มีความดันเพิ่มขึ้นเป็ นสองเท่าพบ
ว่าค่าเฉลี่ยของกาลังสองของอัตราเร็ วโมเลกุลจะเพิ่มขึ้นเป็ น 43 เท่า ความหนาแน่นของ
แก๊สจะเป็ นกี่เท่าของความหนาแน่นเดิม
1. 0.38 2. 0.67 3. 1.5 4. 2.7
83(แนว En) จงหาว่าแก๊สไนโตรเจนที่ อุณ หภูมิเท่าใด ที่ มีค่าเฉลี่ ยของก าลังสองของอัตราเร็ ว
โมเลกุลเท่ากับของแก๊สออกซิ เจนที่อุณหภูมิ 47oC
( กาหนด น้ าหนักโมเลกุลของไนโตรเจน และออกซิ เจนเท่ากับ 28 และ 32 ตามลาดับ )
1. –28oC 2. 7oC 3. 42oC 4. 47oC
84(มช 31) แก๊ส ( อะตอมเดี่ยว ) นี ออน อาร์ กอน และคริ ปตอน มีน้ าหนักโมเลกุลเป็ น 10 , 18
และ 36 ตามลาดับ ที่อุณหภูมิ 300 เคลวิน แก๊สชนิดไหนมีอตั ราเร็ วรากที่สองเฉลี่ยสู งสุ ด
1. นีออน 2. อาร์กอน 3. คริ ปตอน 4. เท่ากันหมด

18.5 พลังงานจลน์ โมเลกุลแก๊ส และพลังงานภายในระบบ


85. จงหาพลังงานจลน์เฉลี่ยของโมเลกุลแก๊สที่ 30oC
1. 4.38 x 10–21 2. 6.07 x 10–21 3. 6.27 x 10–21 4. 6.72 x 10–21
86. แก๊สชนิดหนึ่งบรรจุไว้ในถังขนาด 0.5 ลูกบาศก์เมตร มีความดัน 1 บรรยากาศ จงหาพลัง
งานจลน์เฉลี่ยของแต่ละโมเลกุลของแก๊สนี้ในหน่วยจูล ( J ) ถ้าแก๊สนี้ 1 ลูกบาศก์เมตร มี
จานวนโมเลกุลเท่ากับ 2.5x1025 โมเลกุล
1. 1.20 x 10–20 2. 0.80 x 10–20 3. 0.60 x 10–20 4. 0.27 x 10–20
51
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 18 ความร้อนและทฤษฏีจลน์ของแก๊ส
87. แก๊สบรรจุในถังขนาด 0.1 ลูกบาศก์เมตร ความดัน 106 นิวตันต่อตารางเมตร จงหา
พลังงานจลน์เฉลี่ยของแต่ละโมเลกุลของแก๊ส
( กาหนดให้ ในปริ มาตร 1 เมตร3 มีแก๊สอยู่ 2.5 x 1024 โมเลกุล)
1. 1.38 x 10–19 2. 2.07 x 10–19 3. 5 x 10–19 4. 6 x 10–19
88. แก๊สจานวน 100 โมเลกุล มีความเร็ วเท่าๆ กันที่ 10 เมตรต่อวินาที อยูใ่ นภาชนะทรง
กลมปริ มาตร 1 ลูกบาศก์เมตร ถ้าแต่ละโมเลกุลมีมวล 3 x 10–20 กิโลกรัม ความดันของ
แก๊สในขณะนั้นมีค่ากี่นิวตันต่อตารางเมตร
1. 1 x 10–16 2. 1 x 10–20 3. 3 x 10–16 4. 3 x 10–20
89. ณ อุณหภูมิ 37oC แก๊สชนิดหนึ่ง 2 โมล จะมีพลังงานเท่าใด (R = 8.3 J/mol.K)
1. 76199 จูล 2. 7691 จูล 3. 7719 จูล 4. 7899 จูล
90. จงหาพลังงานภายในระบบของแก๊สไฮโดรเจนเมื่อ
ก. ปริ มาณ 2 โมล ที่อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส
ข. ปริ มาตร 10 ลิตร ความดัน 2 x 105 พาสคัล
1. ก. 7479 , ข. 3 x 103 จูล 2. ก. 7500 , ข. 6 x 103 จูล
3. ก. 8000 , ข. 3 x 103 จูล 4. ก. 8256 , ข. 4 x 103 จูล
91. แก๊ส X มีความดัน a นิวตัน/เมตร2 มีปริ มาตร b เมตร3 จะมีพลังงานจลน์ท้ งั หมดเท่าไร
1. 23 a b 2. ab 3. 12 a b 4. 23 a b
92. ถ้าพลังงานจลน์เฉลี่ยของแก๊สในภาชนะปิ ดเท่ากับ 6.3 x 10–21 จูล และ จานวนโมเลกุลต่อ
ปริ มาตรของแก๊สเท่ากับ 2.4 x 1025 โมเลกุลต่อลูกบาศก์เมตร จงหาความดันของแก๊สนี้
1. 1.008 x 105 นิวตัน/เมตร2 2. 2.008 x 105 นิวตัน/เมตร2
3. 3.008 x 105 นิวตัน/เมตร2 4. 4.008 x 105 นิวตัน/เมตร2
93. แก๊สอะตอมเดี่ยวมีความดัน P จะมีค่าพลังงานต่อหนึ่งหน่วยปริ มาตรเท่าใด
1. 13 P 2. 23 P 3. 23 P 4. 25 P
94. ถ้าความดันของอากาศในห้องปิ ดห้องหนึ่งเป็ น a นิวตันต่อตารางเมตร พลังงานจลน์ของ
อากาศต่อหนึ่งหน่วยปริ มาตรเป็ นเท่าไร
1. a3 J/m2 2. 2a J/m2 3. 2a3 J/m3 4. 3a2 J/m3
52
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 18 ความร้อนและทฤษฏีจลน์ของแก๊ส
95. แก๊สชนิ ดหนึ่ งมีอุณหภูมิ 250 เคลวิน ถ้าจะให้แก๊สพลังงานจลน์เฉลี่ยของโมเลกุลเพิ่มเป็ น
3 เท่าของเดิมจะต้องทาให้อุณหภูมิเป็ นเท่าใด
1. 400 K 2. 600 K 3. 750 K 4. 950 K
96. เมื่ออุณหภูมิของแก๊สลดลงจาก 27 องศาเซลเซี ยส เป็ น 9 องศาเซลเซี ยส อยากทราบว่า
พลังงานจลน์เฉลี่ยของโมเลกุลของแก๊สจะลดลงกี่เปอร์ เซ็นต์
1. 2 % 2. 4 % 3. 6 % 4. 8 %
97. แก๊สจานวนหนึ่งมีความดัน 1 บรรยากาศ และมีปริ มาตร V พลังงานจลน์ของโมเลกุลของ
แก๊สต้องเป็ นกี่เท่าของพลังงานเดิม จึงทาให้แก๊สนั้นมีปริ มาตรเป็ น 2V โดยที่ความดันเท่าเดิม
1. 0.5 2. 1.4 3. 2.0 4. 4.0
98. แก๊สบรรจุในกล่องที่ถือว่าปริ มาตรคงที่ ถ้าความหนาแน่นของแก๊สเพิ่มเป็ น 2 เท่า และ
ความดันเพิ่มเป็ น 8 เท่า พลังงานจลน์เฉลี่ยเปลี่ยนเป็ นกี่เท่าของพลังงานจลน์เฉลี่ยเดิม
1. 1 2. 2.5 3. 3.5 4. 4
99. พลังงานภายในของแก๊สฮีเลี ยม 2 โมล จะเปลี่ ยนไปเท่าใด เมื่ ออุณหภูมิของแก๊สฮีเลี ยม
เปลี่ยนไป 10 เคลวิน
1. 220 จูล 2. 249.3 จูล 3. 259.3 จูล 4. 214.3 จูล
100. แก๊สโมเลกุลอะตอมเดี่ ยวชนิ ดหนึ่ งมี มวล 60 กรัม เมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนไป 50 เคลวิน
พลังงานของแก๊สนี้จะเปลี่ยนไปเท่าไร กาหนดให้มวลโมเลกุลของแก๊สนี้ = 15
1. 2439 จูล 2. 2493 จูล 3. 2593 จูล 4. 2943 จูล
101. ในการอัดแก๊ส อาร์ กอนจากปริ ม าตร 20 ลู ก บาศก์เมตร ความดัน 105 นิ วตันต่อตาราง
เมตรให้ปริ มาตรลดเหลือ 10 ลูกบาศก์เมตร โดยความดันคงที่ งานในการอัดแก๊สเท่ากับ
กี่จูล
1. 1.0x106 2. 2.0x106 3. 1.0x107 4. 1.0x109
102. แก๊สในกระบอกสู บรับความร้อนจากภายนอก 120 จูล ขณะที่แก๊สขยายตัวมันทางานบน
ระบบภายนอก 180 จูล ถามว่าพลังงานภายในของแก๊สลดลงเท่าใด
1. 40 2. 50 3. 60 4. 80

53
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 18 ความร้อนและทฤษฏีจลน์ของแก๊ส
103. ให้พลังงานความร้อนแก่แก๊ส 5000 จูล และแก๊สมีปริ มาตรคงตัว จงหาว่าพลังงานภาย
ในระบบของแก๊สเปลี่ยนแปลงตามข้อใด
1. เพิ่มขึ้น 5000 จูล 2. เพิ่มขึ้น 3000 จูล
3. ลดลง 5000 จูล 4. ลดลง 3000 จูล
104. เมื่ อ เพิ่ ม ความร้ อ นให้ แ ก่ ร ะบบแก๊ ส 6000 จูล พร้ อ มกับ ท างานให้ ระบบ 2000 จู ล
พลังงานภายในระบบเปลี่ยนไปเท่าใด
1. 4000 จูล 2. 5600 จูล 3. 8000 จูล 4. 9500 จูล
105. ระบบหนึ่ง เมื่อได้รับความร้อน 10000 จูล จะทาให้พลังงานภายในระบบเพิ ่มขึ้น 2000 จูล
อยากทราบว่าในการนี้ตอ้ งทางานให้แก่ระบบหรื อระบบทางานเท่าไร
1. 4000 จูล 2. 5600 จูล 3. 8000 จูล 4. 9500 จูล
106. แก๊สในกระบอกสู บรับความร้อนจากภายนอก 142 จูล ขณะที่แก๊สขยายตัวมันทางานบน
ระบบภายนอก 160 จูล ถามว่าพลังงานภายในของแก๊สเพิม่ ขึ้นหรื อลดลงเท่าใด และ
อุณหภูมิของแก๊สเพิ่มขึ้นหรื อลดลง
1. เพิ่มขึ้น 18 จูล และอุณหภูมิของแก๊สลดลง
2. ลดลง 18 จูล และอุณหภูมิของแก๊สลดลง
3. ลดลง 18 จูล และอุณหภูมิของแก๊สเพิ่มขึ้น
4. เพิม่ ขึ้น 18 จูล และอุณหภูมิของแก๊สเพิม่ ขึ้น
107. ในการอัดแก๊ส 4 โมล ในกระบอกสู บ ต้องทางานให้ระบบ 800 จูล ถ้าระบบไม่ถ่ายเท
ความร้อนเลย อยากทราบว่าอุณหภูมิของแก๊สจะสู งขึ้นกี่เคลวิน
1. 12.84 2. 14.64 3. 15.23 4. 16.04
108. แก๊สฮีเลียม 1 โมล บรรจุอยูใ่ นคนโทแก้วที่ปิดไว้อย่างดี และถือว่าปริ มาตรคงที่ตลอดเวลา
เมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนไป ถ้าต้องการทาให้อุณ หภูมิเปลี่ ยนจาก 27 องศาเซลเซี ยส ไปเป็ น
67 องศาเซลเซี ยส จะต้องให้ความร้อนเข้าไปเท่าใด
1. 830 จูล 2. 498 จูล 3. 332 จูล 4. 276 จูล
109. จะต้องให้ความร้อนเท่าใดแก่แก๊สฮีเลียมจานวน 1 โมล ที่บรรจุอยูใ่ นกระบอกสู บ แล้ว
ทา ให้แก๊สนั้นดันให้ลูกสู บทางาน 20 จูล และอุณหภูมิเพิ่มขึ้น 10 เคลวิน
1. 72.5 J 2. 124.5 J 3. 144.5 J 4. 249.5 J
54
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 18 ความร้อนและทฤษฏีจลน์ของแก๊ส
110. เมื่อระบบขยายตัวอย่างช้าๆ โดยความดันและอุณหภูมิคงที่ เมื่อวัดความดันได้ 5 x 105
พาสคัล และปริ มาตรของระบบเพิ่มจาก 5 ลิตร เป็ น 10 ลิตร จงหาพลังงานความร้อนที่
ให้แก่ระบบ
1. 2000 จูล 2. 2500 จูล 3. 6000 จูล 4. 9500 จูล
111. กระบอกสู บ อัน หนึ่ งบรรจุ แ ก๊ ส ฮี เลี ย ม 2 กิ โ ลโมล และความดัน ของแก๊ ส เท่ า กับ
1.05x105 นิ วตั น ต่ อ ตารางเมตร ปรากฏว่ า เมื่ อ ให้ ค วามร้ อ นกั บ แก๊ ส เท่ า กั บ 105 จู ล
ปริ ม าตรของแก๊ ส ในกระบอกสู บ เพิ่ ม ขึ้ น 0.4 ลู ก บาศก์ เมตร โดยความดัน ของแก๊ ส คงที่
อยากทราบว่าอุณหภูมิของแก๊สจะเพิ่มขึ้นเท่าใด ให้ค่านิจแก๊สเท่ากับ 8.3 จูล/โมล.เคลวิน
1. 1.40 K 2. 2.33 K 3. 4.01 K 4. 5.70 K
112. แก๊สในกระบอกสู บมีความดัน 2 กิโลปาสคาล และปริ มาตร 1 ลูกบาศก์เมตร ถ้าแก๊สนี้
ได้รับความร้อน 10 กิโลจูล จนมีความดัน 4 กิโลปาสคาล และปริ มาตร 2 ลูกบาศก์เมตร
จงหางานที่กระทาโดยแก๊สในกระบวนการนี้
1. 1 kJ 2. 4 kJ 3. 7 kJ 4. 8 kJ
113. แก๊ สฮี เลี ยมจานวน 1 โมล บรรจุ อยู่ในภาชนะปิ ดที่ แข็งแรงมาก อยากทราบว่าเมื่ อให้
ความร้ อ นเข้า ไป 900 จู ล ความดัน แก๊ ส ในภาชนะจะเพิ่ ม ขึ้ น จากเดิ ม เท่ า ใด ถ้า ถัง มี
ปริ มาตร 0.5ลูกบาศก์เมตร
1. 600 N/m2 2. 800 N/m2 3. 1000 N/m2 4. 1200 N/m2
114. ในกระบอกสู บเครื่ องรถจักรยานยนต์ เมื่อหัวเทียนจุดระเบิดโดยที่ความดันคงที่
1. Q เป็ นบวก , W เป็ นบวก พลังงานภายในเปลี่ยน
2. Q เป็ นบวก , W เป็ นลบ พลังงานภายในเปลี่ยน
3. Q เป็ นลบ , W เป็ นบวก พลังงานภายในเปลี่ยน
4. Q เป็ นลบ , W เป็ นบวก พลังงานภายในไม่เปลี่ยน


55
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 18 ความร้อนและทฤษฏีจลน์ของแก๊ส
เฉลยตะลุ ย โจทย์ ท วั่ ไป
บทที่ 18 ความร้อนและทฤษฏีจลน์ของแก๊ส
1. ตอบข้ อ 3. 2. ตอบข้ อ 4. 3. ตอบข้ อ 4. 4. ตอบข้ อ 4.
5. ตอบข้ อ 2. 6. ตอบข้ อ 3. 7. ตอบข้ อ 3. 8. ตอบข้ อ 3.
9. ตอบข้ อ 3. 10. ตอบข้ อ 4. 11. ตอบข้ อ 1. 12. ตอบข้ อ 3.
13. ตอบ 1.6 14. ตอบข้ อ 1. 15. ตอบข้ อ 2. 16. ตอบข้ อ 3.
17. ตอบข้ อ 2. 18. ตอบข้ อ 2. 19. ตอบข้ อ 3. 20. ตอบข้ อ 4.
21. ตอบข้ อ 1. 22. ตอบข้ อ 4. 23. ตอบข้ อ 3. 24. ตอบข้ อ 2.
25. ตอบข้ อ 3. 26. ตอบข้ อ 3. 27. ตอบข้ อ 3. 28. ตอบข้ อ 2.
29. ตอบข้ อ 4. 30. ตอบข้ อ 1. 31. ตอบข้ อ 1. 32. ตอบข้ อ 3.
33. ตอบข้ อ 4. 34. ตอบข้ อ 2. 35. ตอบข้ อ 4. 36. ตอบข้ อ 1.
37. ตอบข้ อ 1. 38. ตอบข้ อ 2. 39. ตอบข้ อ 1. 40. ตอบข้ อ 2.
41. ตอบข้ อ 4. 42. ตอบข้ อ 2. 43. ตอบข้ อ 2. 44. ตอบข้ อ 1.
45. ตอบข้ อ 3. 46. ตอบข้ อ 1. 47. ตอบข้ อ 2. 48. ตอบข้ อ 1.
49. ตอบข้ อ 2. 50. ตอบข้ อ 4. 51. ตอบข้ อ 4. 52. ตอบข้ อ 4.
53. ตอบข้ อ 3. 54. ตอบข้ อ 2. 55. ตอบข้ อ 1. 56. ตอบข้ อ 3.
57. ตอบข้ อ 3. 58. ตอบข้ อ 2. 59. ตอบข้ อ 3. 60. ตอบข้ อ 3.
61. ตอบข้ อ 4. 62. ตอบข้ อ 3. 63. ตอบข้ อ 4. 64. ตอบข้ อ 2.
65. ตอบข้ อ 4. 66. ตอบข้ อ 3. 67. ตอบข้ อ 2. 68. ตอบข้ อ 3.
69. ตอบข้ อ 1. 70. ตอบข้ อ 4. 71. ตอบข้ อ 1. 72. ตอบข้ อ 2.
73. ตอบข้ อ 4. 74. ตอบข้ อ 3. 75. ตอบข้ อ 4. 76. ตอบข้ อ 3.
77. ตอบข้ อ 3. 78. ตอบข้ อ 2. 79. ตอบข้ อ 1. 80. ตอบข้ อ 1.
81. ตอบข้ อ 4. 82. ตอบข้ อ 3. 83. ตอบข้ อ 2. 84. ตอบข้ อ 1.
85. ตอบข้ อ 3. 86. ตอบข้ อ 1. 87. ตอบข้ อ 4. 88. ตอบข้ อ 1.
89. ตอบข้ อ 3. 90. ตอบข้ อ 1. 91. ตอบข้ อ 4. 92. ตอบข้ อ 1.
93. ตอบข้ อ 3. 94. ตอบข้ อ 4. 95. ตอบข้ อ 3. 96. ตอบข้ อ 3.
97. ตอบข้ อ 3. 98. ตอบข้ อ 4. 99. ตอบข้ อ 2. 100. ตอบข้ อ 2.
56
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 http://www.pec9.com บทที่ 18 ความร้อนและทฤษฏีจลน์ของแก๊ส
101. ตอบข้ อ 1. 102. ตอบข้ อ 3. 103. ตอบข้ อ 1. 104. ตอบข้ อ 3.
105. ตอบข้ อ 3. 106. ตอบข้ อ 2. 107. ตอบข้ อ 4. 108. ตอบข้ อ 2.
109. ตอบข้ อ 3. 110. ตอบข้ อ 2. 111. ตอบข้ อ 2. 112. ตอบข้ อ 1.
113. ตอบข้ อ 4. 114. ตอบข้ อ 1.



57
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
บทที่ 19 ฟิ สิ ก ส์ อ ะตอม

19.1 อะตอมและการค้ นพบอิเล็กตรอน


สสารโดยทัว่ ไปนั้นจะประกอบด้วยอนุ ภาคที่ เรี ยกว่าอะตอม อยูภ่ ายใน แต่ละอะตอมจะ
ประกอบไปด้วยอนุ ภาคมู ลฐานซึ่ งได้แก่ อิ เล็กตรอน โปรตอน และนิ วตรอน ซึ่ งเราจะได้
ศึกษาถึงการค้นพบอนุภาคมูลฐานเหล่านี้ในหัวข้อต่อๆ ไป
19.1.1 รังสี แคโทด
การศึกษาเกี่ยวกับอะตอมมีความก้าวหน้าอย่างรวดเร็ วหลังจากมีการประดิษฐ์หลอดแก้ว
สุ ญญากาศขึ้นมา หลอดแก้วสุ ญญากาศเป็ นหลอด
แก้วกลวงปิ ดสนิทภายในมีข้ วั ไฟฟ้ า 2 ขั้ว คือขั้ว
แคโทดและขั้วแอโนด ภายในหลอดนี้ จะมีแก๊สอยู่
น้อยมากจนถือว่าเป็ นสุ ญญากาศได้ ผนังหลอดด้าน
ในจะฉาบเอาไว้ดว้ ยสารเรื องแสง ซึ่ งจะเรื องแสงขึ้ น
มาให้ เห็ น เมื่ อ มี รั ง สี มาตกกระทบ เมื่ อ น าหลอดแก้ ว สุ ญญากาศไปต่ อ กั บ เครื่ อ งก าเนิ ด
กระแสไฟฟ้ าความต่างศักย์สูงประมาณ 10000 โวลต์ โดยต่อขั้วไฟฟ้ าลบเข้ากับแคโทดและ
ขั้วไฟฟ้ าบวกเข้ากับแอโนด จะเกิดรังสี พุง่ ออกมาจากขั้วแคโทด จึงเรี ยกรังสี น้ ี วา่ รังสี แคโทด
19.1.2 การทดลองของทอมสั น
ทอมสันพบว่ารังสี แคโทดจะมีสมบัติที่สาคัญได้แก่
1) เมื่อนาขั้วไฟฟ้ าบวกและลบเข้าประกบเพิม่ ภาย
นอกหลอด รังสี แคโทดจะเบี่ยงเบนเข้าหาขั้วไฟฟ้ าบวก

2) เมื่อนาขั้วแม่เหล็กเหนือและใต้ เข้าประกบภาย
นอกหลอด ทาให้เกิดสนามแม่เหล็กพุง่ ตัดผ่านหลอดแก้ว
รังสี แคโทดจะเบี่ยงเบนในสนามแม่เหล็ก และทิศการ
เบี่ยงเบนเป็ นไปตามกฎมือซ้าย

3) เมื่อนาแผ่นโลหะบางๆ มาวางกั้นรังสี แคโทด


รังสี แคโทดจะไม่สามารถทะลุแผ่นโลหะที่ขวางกั้น

1
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
4) เมื่อนากังหันเล็กๆ มาวางขวางทางรังสี ให้รังสี
พุง่ เข้ากระทบกังหัน จะทาให้กงั หันเกิดการหมุนตัวได้

จากสมบัติขอ้ ที่ 3) และ 4) ทาให้ทราบว่าภายในรังสี น้ ีประกอบไปด้วยก้อนอนุภาคซึ่ งมี


ตัวตน มีมวล มีโมเมนตัม ( ไม่ใช่ คลื่ นที่ไร้ตวั ตน ) ดังนั้นเมื่อรังสี พุ่งชนแผ่นโลหะที่ก้ นั จึงไม่
สามารถทะลุแผ่นโลหะได้ เมื่อชนกังหันเล็กๆ จะทาให้กงั หันหมุนตัวได้
จากสมบัติขอ้ ที่ 1) และ 2) ทาให้ทราบว่าอนุ ภาคภายในรังสี แคโทดนี้ มีประจุไฟฟ้ าเป็ น
ลบ จึงเบนเข้าหาขั้วไฟฟ้ าบวก และเบนในสนามแม่เหล็ก
อนุภาคที่มีประจุเป็ นลบนี้ ต่อมาถูกเรี ยกว่า อิเล็กตรอน
ทอมสันอธิ บายสาเหตุ การเกิ ดรังสี แคโทดว่า เมื่ อโลหะที่ เป็ นขั้วแคโทดได้รับพลังงาน
ไฟฟ้ าที่ มีศกั ย์สูง จะทาให้อิเล็กตรอนภายในอะตอมโลหะในขั้วแคโทดนั้นหลุ ดออกมา แล้ว
เคลื่อนที่พุ่งตรงไปยังขั้วแอโนด (ขั้วบวก) เกิดเป็ นเส้นรังสี แคโทดขึ้นมา และจากการทดลองนี้
ท าให้ ทอมสั น สรุ ปว่ า ในอะตอมจะต้ อ งมี อ นุ ภ าคไฟฟ้ าลบเรี ยกว่ า อิ เล็ ก ตรอน เป็ น
องค์ประกอบอยูภ่ ายใน

1. สมบัติของรังสี แคโทดข้อใดที่ทาให้ทราบว่ารังสี แคโทดประกอบไปด้วยอนุภาค


1. เบี่ยงเบนเข้าหาขั้วไฟฟ้ าบวกและสนามแม่เหล็ก
2. ไม่ทะลุแผ่นโลหะบางๆ ที่วางกั้น และชนกังหันแล้วทาให้กงั หันหมุนได้
3. ทาให้สารเรื องแสงเกิดการเรื องแสงได้
4. ถูกทุกข้อ 

2. สมบัติของรังสี แคโทดข้อใดที่ทาให้ทราบว่า อนุภาคในรังสี แคโทดมีประจุไฟฟ้ าเป็ นลบ


1. เบี่ยงเบนเข้าหาขั้วไฟฟ้ าบวกและสนามแม่เหล็ก
2. ไม่ทะลุแผ่นโลหะบางๆ ที่วางกั้น และชนกังหันแล้วทาให้กงั หันหมุนได้
3. ทาให้สารเรื องแสงเกิดการเรื องแสงได้
4. ถูกทุกข้อ

2
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
นอกจากนี้ทอมสันยังทาการทดลองเพื่อหาความเร็ วในการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนและหา
อัตราส่ วนของขนาดประจุต่อมวลของอิเล็กตรอน โดยยิงรังสี แคโทดซึ่ งมีอิเล็กตรอนอยูผ่ า่ นเข้า
ไปในสนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้ า อิเล็กตรอนจะถูกแรงกระทา 2 แรง คือ
แรงจากสนามไฟฟ้ า ( F = q E ) และแรงจากสนามแม่เหล็ก ( F = q v B )
หากแรงทั้ง สองมี ค่ าเท่ า กัน และมี ทิ ศ ตรงกัน ข้าม จะท าให้ อิเล็ ก ตรอนจะเคลื่ อนเป็ น
เส้นตรงอยูใ่ นแนวระดับ และจะได้วา่
q v B = q E 
v = BE ( แทนค่า E = Vd )
v = dVB
เมื่อ v คือความเร็ วอิเล็กตรอน ( เมตร/วินาที )
B คือความเข้มสนามแม่เหล็กไฟฟ้ า ( เทสลา )
E คือความเข้มสนามไฟฟ้ า ( นิวตัน/คูลอมบ์ , โวลต์/เมตร )
V คือความต่างศักย์ที่ใช้ (โวลต์ )
D คือระยะห่ างของขั้วไฟฟ้ า ( เมตร )
3. ในการทดลองหาอัตราเร็ วอิเล็กตรอน ถ้า ใช้สนามแม่เหล็กความเข้ม 2 x 10–3 เทสลา และ
ใช้สนามไฟฟ้ าความเข้ม 3 x 104 นิ วตัน/คูลอมบ์ ทาให้รังสี แคโทดเป็ นเส้นตรงพอดี จง
หาความเร็ วของอนุภาครังสี แคโทดในหน่วยเมตรต่อวินาที
1. 1.0 x 107 2. 1.5 x 107 3. 2.0 x 107 4. 2.5 x 107

4. ในการทดลองหาอัตราเร็ วอิเล็กตรอน ถ้าใช้สนามแม่เหล็กความเข้ม 1 x 10–3 เทสลา และ


ใช้สนามไฟฟ้ าที่เกิดจากเพลตสองเพลตที่อยูห่ ่างกัน 0.01 เมตร แล มีความต่างศักย์ 200
โวลต์ ทาให้รังสี แคโทดเป็ นเส้นตรงพอดี จงหาความเร็ วของอนุ ภาครังสี แคโทดในหน่วย
เมตรต่อวินาที
1. 1.0 x 107 2. 1.5 x 107 3. 2.0 x 107 4. 2.5 x 107

3
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
และเมื่อยิงรังสี แคโทดตัดสนามแม่เหล็กอย่างเดียว อิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่เป็ นวงกลม
จาก R = mq Bv
q
จะได้วา่ m = BvR
เมื่อ q คือประจุของอิเล็กตรอน 1 ตัว (คูลอมบ์ )
v คือความเร็ วของอิเล็กตรอน ( เมตร/วินาที )
R คือรัศมีวงโคจรอิเล็กตรอน ( เมตร )
m คือวลอิเล็กตรอน 1 ตัว ( กิโลกรัม )
B คือความเข้มสนามแม่เหล็ก ( เทสลา )
จากการทดลองของทอมสัน จะได้ mq ของอิ เล็กตรอนมี ค่า 1.76 x 1011 คู ลอมบ์ต่อ-
กิ โลกรั ม คงที่ เสมอไม่ ว่าจะเปลี่ ย นขั้วแคโทดเป็ นอะตอมของธาตุ ช นิ ด ใดก็ ต าม แสดงว่า
อิเล็กตรอนของธาตุทุกชนิดจะมีอตั ราส่ วนของประจุและมวลเท่ากันเสมอ
 

5. เมื่อยิงอิเล็กตรอนความเร็ ว 3 x 107 เมตร/วินาที พุ่งเข้าตัดตั้งฉากกับสนามแม่เหล็กความ


เข้ม 0.001 เทสลา ทาให้อิเล็กตรอนเคลื่อนเป็ นวงกลมรัศมี 0.2 เมตร จงหาค่าประจุต่อ
มวลของอิเล็กตรอนในหน่วยคูลอมบ์ต่อกิโลกรัม
1. 1.0 x 1011 2. 1.5 x 1011 3. 2.0 x 1011 4. 2.5 x 1011

6. อิเล็กตรอนเคลื่ อนที่ด้วยอัตราเร็ ว 2.8 x 107 เมตรต่อวินาที เข้าสู่ ส นามแม่ เหล็ก โดยมี ทิ ศ


การเคลื่อนที่ต้ งั ฉากกับสนามแม่เหล็ก ปรากฏว่าอิเล็กตรอนเคลื่อนที่เป็ นวงกลมรัศมี 0.1
เมตร จงหาว่า สนามแม่ เหล็ ก ที่ ใ ช้มี ข นาดกี่ เทสลา ก าหนดให้ ป ระจุ ไ ฟฟ้ าต่ อ มวลของ
อิเล็กตรอนเป็ น 1.76 x 1011 คูลอมบ์ต่อกิโลกรัม
1. 0.8 x 10–3 2. 1.0 x 10–3 3. 1.4 x 10–3 4. 1.6 x 10–3

4
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
7. ในการทดลองของทอมสั น เพื่ อหาค่าอัตราส่ วนของประจุ ต่ อมวลของอนุ ภาครังสี แคโทด
ถ้าใช้เพียงสนามแม่เหล็กเพียงอย่างเดียว การเบี่ยงเบนของรังสี มีรัศมีความโค้ง 0.114 เมตร
และค่าสนามแม่เหล็กเท่ากับ 1 x 10–3 เทสลา ในสนามแม่เหล็กเดียวกันถ้าใช้สนามไฟฟ้ าที่
เกิ ดจากเพลตสองเพลตที่อยูห่ ่ างกัน 0.01 เมตร และ มีความต่างศักย์ 200 โวลต์ ทาให้รังสี
เดิ ม เป็ นเส้ น ตรง จงหาค่ าประจุ ต่ อมวลของอนุ ภาคของรั งสี แคโทดในหน่ วยคู ล อมบ์ต่ อ
กิโลกรัม
1. 1.50 x 1011 2. 1.75 x 1011 3. 2.00 x 1011 4. 2.25 x 1011

19.1.3 การทดลองของมิลลิแกน 
มิลลิแกน ( Robert A. Millikan ) ได้ทาการทดลองเพื่อหาประจุของอิเล็กตรอน โดย
ใช้หยดน้ ามันซึ่ งมีประจุไฟฟ้ าใส่ ลง
ไประหว่างขั้วไฟฟ้ าดังรู ป หยดน้ า
มันจะถูกแรงกระทา 2 แรง ได้แก่
1. น้ าหนักหยดน้ ามัน ( W = m g )
ซึ่งมีทิศลง  
2. แรงของสนามไฟฟ้ า ( F = q E )
ซึ่งมีทิศขึ้น
หากปรับขนาดของแรงทั้งสองให้มีค่าเท่ากันหยดน้ ามันจะลอยอยูน่ ิ่งได้
จาก Fขึ้น = Fลง
qE = mg ( แทนค่า q = n e )
neE = mg
n e = mgE
เมื่อ q คือประจุรวมทั้งหมดในหยดน้ ามัน ( คูลอมบ์ )
n คือจานวนอิเล็กตรอน
5
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
e คือประจุอิเล็กตรอน 1 ตัว = 1.6 x 10–19 คูลอมบ์
m คือมวลของหยดน้ ามันทั้งหมด ( กิโลกรัม )
E คือความเข้มสนามไฟฟ้ า ( นิวตัน/คูลอมบ์ )
จากการทดลองจะได้ n e = จานวนเต็ม x 1.6 x 10–19 คูลอมบ์
เช่น n e = 1 x 1.6 x 10–19 คูลอมบ์
n e = 2 x 1.6 x 10–19 คูลอมบ์
n e = 3 x 1.6 x 10–19 คูลอมบ์
จึงสรุ ปว่าอิเล็กตรอน 1 ตัว มีประจุ 1.6 x 10–19 คูลอมบ์ ส่ วนจานวนเต็มคูณอยู่ ก็
คือจานวนอิเล็กตรอนนัน่ เอง 
8. หยดน้ ามันอันมี จานวนอิ เล็กตรอนมากกว่าจานวนโปรตอนอยู่ 5 ตัว มีมวล 1.3 x 10–15
กิโลกรัม ลอยแขวนอยูร่ ะหว่างแผ่นประจุในเครื่ องทดลองของมิลลิแกนซึ่ งมีสนามไฟฟ้ าเข้ม
2 x 104 นิวตันต่อคูลอมบ์ จากการทดลองนี้ จงหาประจุของอิเล็กตรอน 1 ตัว
1. 1.1 x 10–19 C 2. 1.3 x 10–19 C 3. 1.6 x 10–19 C 4. 1.8 x 10–19 C

9. หยดน้ ามันอันมีจานวนอิเล็กตรอนมากกว่าจานวนโปรตอนอยู่ 10 ตัว มีมวล 1.6 x 10–15


กิโลกรัม ลอยแขวนอยูร่ ะหว่างแผ่นประจุในเครื่ องทดลองของมิลลิแกนซึ่ งมีความต่างศักย์
100 โวลต์ ระยะห่างระหว่างขั้วไฟฟ้ า 1 เซนติเมตร จงหาประจุของอิเล็กตรอน 1 ตัว
1. 1.1 x 10–19 C 2. 1.3 x 10–19 C 3. 1.6 x 10–19 C 4. 1.8 x 10–19 C

6
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
10(แนว มช) ในการทดลองของมิลลิแกนเมื่อทาให้หยดน้ ามันมวล 1.6 x 10–14 กิโลกรัม ลอย
หยุดนิ่ งระหว่างแผ่นโลหะขนานซึ่ งวางห่ างกัน 1 ซม. โดยแผ่นบนมีศกั ย์ไฟฟ้ าสู งกว่าแผ่น
ล่างเท่ากับ 400 โวลต์ ถ้าอิเล็กตรอนมีประจุ 1.6 x 10–19 คูลอมบ์ จงหาว่าหยดน้ ามัน
นี้มีอิเล็กตรอนแฝงอยูก่ ี่ตวั
1. 25 2. 50 3. 250 4. 500

11. ในการทดลองเรื่ องหยดน้ ามันของมิ ลลิ แกน ถ้าหยดน้ ามันมี มวล 6.4 x 10–15 กิ โลกรั ม
และได้รับอิ เล็กตรอนเพิ่ม 5 ตัว เคลื่ อนที่ ข้ ึ นด้วยความเร่ ง 5 เมตร/วินาที 2 ถ้าระยะห่ าง
ระหว่างแผ่นโลหะเท่ ากับ 1 เซนติ เมตร ความต่างศักย์ระหว่างแผ่นโลหะทั้งสองมี ค่ากี่
โวลต์ กาหนดให้ประจุไฟฟ้ าของอิเล็กตรอนเท่ากับ –1.6 x 10–19 คูลอมบ์

19.2 แบบจาลองอะตอม
19.2.1 แบบจาลองอะตอมของทอมสั น
ในเวลาต่อมามีนกั วิทยาศาสตร์ ชื่อ ออยเกน-
โกลด์สไตน์ (Eugen Goldstein ) ได้ทาการทดลอง
โดยใช้หลอดแก้วสุ ญญากาศ เช่น เดียวกับ ทอมสัน
โกลด์สไตน์พบว่า เมื่อเกิดรังสี แคโทดขึ้นแล้วจะ
เกิดรังสี อีกชนิดหนึ่งวิง่ ย้อนกลับมาหาขั้วแคโทดซึ่ ง
เป็ นขั้วไฟฟ้ าลบ แสดงว่ารังสี น้ ีมีประจุเป็ นบวก จึงเรี ยกรังสี บวกหรื อรังสี แคแนล โกลด์สไตน์
อธิ บ ายการเกิ ดรังสี น้ ี ว่า อะตอมของแก๊สในหลอดสุ ญญากาศนั้น ควรจะมี อิเล็กตรอนลบอยู่
ภายในและควรมีอนุ ภาคไฟฟ้ าบวกอยูด่ ว้ ยในจานวนที่เท่าๆ กัน เพราะอะตอมปกติจะต้องเป็ น
7
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
กลางทางไฟฟ้ าคื อมี ป ระจุ ไฟฟ้ ารวมเท่ ากับ ศูน ย์ และเมื่ อยิงรั งสี แคโทดซึ่ งประกอบไปด้ว ย
อิ เล็ ก ตรอนอยู่ภ ายในเข้า ไปกระทบอะตอมแก๊ ส อิ เล็ ก ตรอนในรั ง สี แ คโทดจะไปกระทบ
อิเล็กตรอนของแก๊สให้หลุดกระเด็นออกไป ทาให้อะตอมแก๊สกลายเป็ นอนุ ภาคไฟฟ้ าบวกแล้ว
วิ่งย้อนกลับ มาหาขั้วแคโทด(ลบ) กลายเป็ นรั งสี บ วกดังกล่ าว และจากการทดลองนี้ เป็ นสิ่ ง
ยืนยันให้โกลด์สไตน์ ทราบว่าในอะตอมนั้นต้องมีอนุภาคไฟฟ้ าบวกอยูด่ ว้ ยอย่างแน่นอน โกลด์
สไตน์เรี ยกอนุภาคบวกนี้ วา่ โปรตอน
จากการทดลองของทอมสัน , โกลด์สไตน์ และนักวิทยาศาสตร์ อีกหลายท่าน ทาให้เชื่อว่า
ในอะตอมใดๆ จะต้องประกอบด้วยอนุภาคที่มีประจุบวก (โปรตอน) และอนุภาคที่มีประจุลบ
(อิเล็กตรอน) ทอมสันจึงได้เสนอแบบจาลองของอะตอมเอาไว้วา่
“ อะตอมมีลกั ษณะเป็ นทรงกลม ประกอบไปด้วยโปรตอน
ซึ่งมีประจุบวก และอิเล็กตรอนซึ่ งมีประจุลบกระจายอยูท่ วั่ ไปอย่าง
สม่าเสมอและในอะตอมที่เป็ นกลางทางไฟฟ้ าจะมีจานวนโปรตอน
เท่ากับจานวนอิเล็กตรอน ”
12. ต่อไปนี้ขอ้ ใดเป็ นแบบจาลองอะตอมของทอมสัน
1. 2. 3. e 4.
+ +
– – – ++
+ + +
– –
e

19.2.2 แบบจาลองอะตอมของรัทเทอร์ ฟอร์ ด


รัทเทอร์ฟอร์ ด ได้ทาการทดลอง
ยิงรังสี แอลฟา ซึ่งเป็ นอนุภาคไฟฟ้ าบวก
เข้าไปกระทบแผ่นทองคาบางๆ ซึ่ งล้อม
รอบไว้ดว้ ยฉากเรื องแสง ผลปรากฏว่า
รังสี แอลฟาส่ วนใหญ่ ทะลุแผ่นทองคา
ออกไปเป็ นเส้นตรง ส่ วนน้อยเบี่ยงเบน
แนวการเคลื่อนที่ และส่ วนน้อยที่สุดจะ
เกิดการสะท้อนย้อนกลับ
8
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
จากการทดลองนี้ ทาให้รัทเทอร์ ฟอร์ ดเสนอแบบจาลองอะตอมขึ้น e
มาใหม่วา่ อะตอมประกอบด้วยนิวเคลียสที่มีขนาดเล็กมากอยูต่ รงกลาง
++
และมีประจุไฟฟ้ าเป็ นบวก โดยมีอิเล็กตรอนวิง่ วนอยูร่ อบๆ นอก
e
และระหว่างนิวเคลียสกับอิเล็กตรอนจะเป็ นที่โล่งกว้าง
และรัทเทอร์ฟอร์ดได้ใช้แบบจาลอง รังสีสว่ นน้ อยเบี่ยงเบน
อะตอมที่สร้างขึ้นใหม่ อธิ บายผลการทด e
ลองยิงรังสี แอลฟากระทบแผ่นทองคาบางว่า ++
เมื่อรังสี แอลฟาทะลุเข้าอะตอมทองคา รังสี e
e รังสีสว่ นมาก
ส่ วนมากจะลอดช่องว่าง ระหว่างนิวเคลียส
++ ทะลุตรง
กับอิเล็กตรอนแล้วทะลุออกไปเป็ นเส้นตรง
รังสี ส่วนน้อย จะ พุง่ เข้าใกล้นิวเคลียสซึ่ งมี e
ขนาดเล็กแล้วเกิดแรงผลักระหว่างประจุบวก รังสีน้อยที่สดุ สะท้ อนกลับ
ของนิวเคลียส กับประจุบวกของรังสี แอลฟาแล้วทาให้รังสี แอลฟาเกิดการเบี่ยงเบน และรังสี
ส่ วนน้อยที่สุดจะพุง่ เข้าชนนิ วเคลียสตรงๆ แล้วเกิดการสะท้อนย้อนกลับออกมา แต่การพุง่ เข้า
ใกล้กบั การพุง่ ชนตรงๆ จะเกิดได้นอ้ ยเพราะนิวเคลียสมีขนาดเล็กนัน่ เอง

13. ต่อไปนี้ ข้อใดเป็ นแบบจาลองอะตอมของรัทเทอร์ ฟอร์ ด 


e
+ +
– – – ++
+ + +
– – e
1. 2. 3. 4.

14(แนว มช) เมื่อยิงอนุภาคแอลฟาไปยังแผ่นโลหะทองบางๆ ( เลียนแบบการทดลองของรัท-


เทอร์ ฟอร์ ด ) ปรากฏการณ์ในข้อใดมีโอกาสเกิดได้นอ้ ยที่สุด
1. อนุภาคแอลฟาจะวิง่ ผ่านทะลุผา่ นทองคาเป็ นเส้นตรง
2. อนุภาคแอลฟาจะวิง่ สะท้อนกลับ
3. อนุภาคจะวิง่ เบนไปจากแนวเส้นตรงเล็กน้อย
4. อนุภาคแอลฟาจะวิง่ เบนไปจากแนวเส้นตรงค่อนข้างมาก
9
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
15. มีอนุภาคแอลฟาวิง่ ตรงเข้าสู่ นิวเคลียสของอะตอมทองคา อนุภาคแอลฟาจะหยุดนิ่งก็ต่อ
เมื่ออนุภาคนั้น
1. มีพลังงานรวมเป็ นศูนย์ 2. กระทบผิวนิวเคลียส
3. กระทบกับอิเล็กตรอนในชั้นใดชั้นหนึ่ง 4. มีพลังงานศักย์เท่ากับพลังงานจลน์เดิม

19.3 ทฤษฏีอะตอมของโบร์  
19.3.1 แบบจาลองอะตอมของโบร์
โบร์ ได้เสนอแบบจาลองอะตอมของไฮโดรเจนขึ้ นมาโดยนาแนวคิดเรื่ องควอนตัมของ
พลังงานของพลังค์มาใช้กบั แบบจาลองอะตอมของรัทเทอร์ ฟอร์ ด พร้อมทั้งเสนอสมมติฐานขึ้ น
ใหม่ 2 ข้อ ได้แก่
1. อิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่เป็ นวงกลมรอบ
นิวเคลียส จะมีวงโคจรบางวงที่อิเล็กตรอนไม่
แผ่รังสี คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าออกมา ในวงโคจร
ดังกล่าวอิเล็กตรอนจะมีโมเมนตัมเชิงมุม ( L )
คงตัว และโมเมนตัมเชิงมุมนี้ มีค่าเป็ นจานวน
เต็มเท่าของค่าตัวมูลฐานค่าหนึ่งคือ h ( อ่าน
ว่าเอชบาร์ ) ซึ่งเท่ากับ 2h ดังนั้นสาหรับ
อิเล็กตรอนมวล m ที่เคลื่อนที่รอบนิวเคลียสใน
วงโคจรรัศมี r โดยมีอตั ราเร็ วเชิงเส้น v ตามสมมติฐานข้อนี้ จะได้วา่
L = mvr = nh
เมื่อ n เป็ นเลขจานวนเต็มบวก 1 , 2 , 3 , .... ในที่น้ี เรี ยกว่าเลขควอนตัมของวงโคจร
2. อิเล็กตรอนจะรับหรื อปล่อยพลังงานออกมา เมื่อมีการเปลี่ยนวงโคจรตามข้อ 1. พลัง
งานที่อิเล็กตรอนรับหรื อปล่อยออกมาจะอยูใ่ นรู ปคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า
สาหรับรัศมีวงโคจรอิเล็กตรอนแต่ละวงของอะตอมไฮโดรเจน สามารถหาได้จากสมการ
rn = 5.3 x 10–11 n2
เมื่อ rn คือรัศมีวงโคจรที่ n ( เมตร )
n คือลาดับที่ของวงโคจรจากวงในสุ ดไปนอกสุ ด
10
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
16(แนว มช) รัศมีวงโคจรที่สามจากในสุ ดของอะตอมไฮโดรเจนมีค ่าเท่ากับกี่เมตร
1. 5.3 x 10–11 2. 10.6 x 10–11 3. 21.2 x 10–11 4. 47.7 x 10–11

17(แนว En) ในแบบจาลองอะตอมไฮโดรเจนของโบร์ รัศมีวงโคจรของอิเล็กตรอนในสถานะ


n = 4 เป็ นกี่เท่าของรัศมีวงโคจรในสถานะ n = 2

19.3.2 ระดับพลังงานของะตอม
พลังงานของอิเล็กตรอนซึ่ งอยูใ่ นแต่ละวงโคจรของอะตอมไฮโดรเจน หาได้จากสมการ
E
En = 21
n
เมื่อ En คือพลังงานอิเล็กตรอนในวงโคจรที่ n ของอะตอมไฮโดรเจน
( อิเล็กตรอนโวลต์, eV )
E1 คือพลังงานของอิเล็กตรอนไฮโดรเจนในวงโคจรที่ 1 คือ –13.6 eV
n คือลาดับที่ของวงโคจรจากวงในสุ ดไปนอกสุ ด
หมายเหตุ ; 1 อิเล็กตรอนโวลต์ (eV) = 1.6 x 10–19 จูล
ฝึ กทา. จากทฤษฏีอะตอมของโบร์ จะได้วา่
พลังงานของอิเล็กตรอนของไฮโดรเจนในวงโคจรที่ 4 (E4) = …………………………………
พลังงานของอิเล็กตรอนของไฮโดรเจนในวงโคจรที่ 3 (E3) = …………………………………
พลังงานของอิเล็กตรอนของไฮโดรเจนในวงโคจรที่ 2 (E2) = …………………………………
พลังงานของอิเล็กตรอนของไฮโดรเจนในวงโคจรที่ 1 (E1) = …………………………………
เฉลย จาก En =  13.6
n2
จะได้ E4 =  13.6 = –0.85 eV
42
E3 =  13.6 = –1.51 eV
32
E2 =  13.6 = –3.40 eV
22
E1 =  13.6 = –13.60 eV
12
11
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
19.3.3 สเปกตรัมของอะตอม
เกี่ยวกับแบบจาลองอะตอมของโบร์ มีขอ้ ที่ควรทราบเพิ่มเติมดังนี้
1. ระดับพลังงานในสุ ด ( n = 1 ) จะเป็ นระดับที่มีพลังงานต่าสุ ด และถัดออกมาจะเป็ น
ระดับที่มีพลังงานมากขึ้นเรื่ อยๆ และปกติอิเล็กตรอนชอบที่จะอยูช่ ้ นั ในสุ ด ( n = 1 ) เพราะจะมี
เสถียรภาพมากที่สุด ภาวะเช่นนี้เรี ยกสภาวะพืน้ ( Ground State )
2. หากอิ เล็ ก ตรอนได้ รั บ พลัง งานที่ เหมาะสม อิ เล็ ก ตรอนจะดู ด พลัง งานนั้ นแล้ ว
เคลื่อนย้ายจากระดับพลังงานต่าขึ้ นไประดับพลังงานสู งกว่าเดิ ม เรี ยกภาวะเช่ นนี้ วา่ เป็ นสภาวะ
กระตุ้น ( Excited State ) แต่
ภาวะถูกกระตุน้ นี้ อิเล็กตรอนจะมีพลังงานมากเกิ นไปจึงไม่เสถี ยร อิเล็กตรอนจะคายพลังงาน
ส่ วนหนึ่งออกมแล้วเคลื่อนย้ายลงมาอยูใ่ นระดับพลังงานที่ต่ากว่าเดิม
3. พลังงานที่อิเล็กตรอนคายออกมาจะอยูใ่ นรู ปของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าเสมอ
ตัวอย่างการคายพลังงานของอิเล็กตรอนของอะตอมไฮโดรเจนเกิดเป็ นสเปกตรัมดังนี้
การเคลือ่ นอิเล็กตรอน คลืน่ แม่ เหล็กไฟฟ้าทีค่ าย ชื่ อชุ ดสเปกตรัม (อนุกรม)
จากชั้นบน ลงมา ชั้น 1 รังสี อลั ตราไวโอเลต ไลแมน
จากชั้น 6 ลงมา ชั้น 2 แสงสี ม่วง (410 nm)
จากชั้น 5 ลงมา ชั้น 2 แสงสี น้ าเงิน(434 nm)
บัลเมอร์
จากชั้น 4 ลงมา ชั้น 2 แสงสี น้ าทะเล (484 nm)
จากชั้น 3 ลงมา ชั้น 2 แสงสี แดง (656 nm)
จากชั้นบน ลงมา ชั้น 3 รังสี อินฟาเรด พาสเชน
จากชั้นบน ลงมา ชั้น 4 รังสี อินฟาเรด แบรกเกต
จากชั้นบน ลงมา ชั้น 5 รังสี อินฟาเรด ฟุนด์

12
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
ฝึ กทา. จงเติมคาลงในช่องว่างต่อไปนี้ให้ถูกต้องและสมบูรณ์
( เกี่ยวกับการเปลี่ยนวงโคจรของอิเล็กตรอนในอะตอมไฮโดรเจน )
การเคลือ่ น e คลืน่ แม่ เหล็กไฟฟ้า อนุกรม
บน  1 ............................... ..............
6  2 ...............................
5  2 ............................... ..............
4  2 ...............................
3  2 ...............................
บน  3 ............................... ..............
บน  4 ............................... ..............
บน  5 ............................... ..............
 

18. อนุกรมของเส้นสเปกตรัมชุดใดที่ปลดปล่อยพลังงานโฟตอนเป็ นอัลตราไวโอเลต


1. อนุกรมไลแมน 2. อนุกรมบัลเมอร์
3. อนุกรมพาสเชน 4. อนุกรมแบรกเกต 

19. สเปกตรัมของอะตอมไฮโดรเจนชุดใดที่ตามองเห็นได้
1. อนุกรมไลแมน 2. อนุกรมบัลเมอร์
3. อนุกรมพาสเชน 4. อนุกรมแบรกเกต

20. สเปกตรัมที่ได้จากอะตอมของธาตุต่างๆ จะ
1. เหมือนกันสาหรับธาตุทุกธาตุ
2. จะแสดงคุณสมบัติเฉพาะของแต่ละธาตุ
3. จะได้เป็ นแถบสว่างเสมอ
4. ได้เป็ นเส้นมืดเสมอ
21. การเปลี่ยนสถานะต่อไปนี้ของอะตอมไฮโดรเจน ข้อใดจะปล่อยโฟตอนที่มีพลังงานสู งกว่า
1. n = 1 ไป n = 2 2. n = 2 ไป n = 1
3. n = 2 ไป n = 6 4. n = 6 ไป n = 2

13
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
การคานวณหาพลังงาน ความถี่ ความยาวคลื่นของสเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าที่
อะตอมคายออกมาหรื อดูดเข้าไป สามารถหาได้จากสมการต่อไปนี้
E = E f – E i
E  = hef = 4.125 x 10–15 f
E  = h C = 1237.5λx 109

เมื่อ E คือพลังงานที่เปลี่ยนแปลง ( อิเล็กตรอนโวลต์ )
หาก E มีค่าบวก แสดงว่าเป็ นพลังงานที่ดูดเข้าไป
หาก E มีค่าลบ แสดงว่าเป็ นพลังงานที่คายออกมา
Ef คือพลังงานของอิเล็กตรอนในระดับพลังงานสุ ดท้าย (อิเล็กตรอนโวลต์)
Ei คือพลังงานของอิเล็กตรอนในระดับพลังงานตอนแรก (อิเล็กตรอนโวลต์)
f คือความถี่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า ( เฮิรตซ์ )
h = 6.6 x 10–34 J.s ( ค่าคงที่ของพลังค์ )
e = 1.6 x 10–19 C ( คือประจุอิเล็กตรอน 1 ตัว )
C = 3 x 108 m/s ( คือความเร็ วคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า )
 คือความยาวคลื่น ( เมตร )
22. หากอิเล็กตรอนของอะตอมไฮโดรเจนเคลื่อนจากระดับพลังงานที่ 4 มาสู ่ ระดับที่ 2 จะคาย
พลังงานออกมากี่อิเล็กตรอนโวลต์

23(แนว En) พลังงานต่าสุ ดของอิเล็กตรอนในอะตอมไฮโดรเจนคือ –13.6 อิเล็กตรอนโวลต์ ถ้า


อิเล็กตรอนเปลี่ยนสถานะจาก n = 3 ไปสู่ n = 2 จะให้แสงที่มีพลังงานควอนตัมเท่าใด
1. 1.51 eV 2. 1.89 eV 3. 3.40 eV 4. 4.91 eV

14
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
24(แนว En) จากข้อที่ผา่ นมา พลังงานที่คายออกมาจะมีความยาวช่วงคลื่นกี่นาโนเมตร
1. 454.1 2. 545.3 3. 654.8 4. 672.0

25(แนว En) จากข้อที่ผา่ นมา พลังงานที่คายออกมาจะมีความถี่ประมาณกี่เฮิรตซ์


1. 2.30 x 1014 2. 4.58 x 1014 3. 2.30 x 1015 4. 4.61 x 1015

26(แนว En) สมมติวา่ แผนภาพแสดงระดับพลังงานของ


อะตอมชนิดหนึ่งเป็ นดังรู ป ให้หาค่าความยาวคลื่นของ
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าที่จะทาให้อะตอมในสถานะพื้นฐาน
e
แตกตัวเป็ นไอออนได้พอดี
1. 62 nm 2. 100 nm 3. 210 nm 4. 310 nm

การหาความยาวคลื่นของสเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าที่อะตอมคายออกมาหรื อดูดเข้าไป


ยังสามารถหาได้จากสมการต่อไปนี้อีกด้วย
 1 
1 =R


 n2
- n12 
 f i
7 –1
เมื่อ R = 1.097 x 10 m ( ค่าคงตัวของริ ดเบิร์ก )
nf คือลาดับชั้นของวงโคจรที่อิเล็กตรอนอยูต่ อนสุ ดท้าย
ni คือลาดับชั้นของวงโคจรที่อิเล็กตรอนอยูต่ อนแรก
15
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
27. ถ้าอะตอมเปลี่ยนระดับพลังงานเดิมจาก E3 มายัง E1 จะปลดปล่อยโฟตอนที่มีความยาว
ช่วงคลื่นประมาณเท่าใดในหน่วยเมตร
1. 1 x 10–6 2. 2 x 10–6 3. 1 x 10–7 4. 1 x 10–9

28(แนว มช) จงคานวณหาความยาวคลื่นสั้นที่สุดในอนุกรมไลแมนของไฮโดรเจน สเปกตรั ม


(ตอบในหน่วยอังสตรอม)
1. 1415 2. 1215 3. 952 4. 912

16
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
19.3.4 การทดลองของฟรังก์ และเฮิรตซ์  

ฟรังก์และเฮิรตซ์ทาการทดลองและพบว่า อะตอมของไอปรอทจะมี ระดับพลังงานของ


อิเล็กตรอนแบ่งเป็ นชั้นๆ และชั้นที่ 1 กับ 2 จะมีพลังงานต่างกันอยู่ 4.9 eV ส่ วนชั้นที่ 1 กับ 3
จะมี พลังงานต่างกันอยู่ 6.7 eV ถ้าเราให้พลังงานแก่ อิเล็กตรอนสถานะพื้ น ( อยู่ในชั้นที่ 1 )
จานวนน้อยกว่า 4.9 eV อิเล็กตรอนนั้นจะไม่รับพลังงานนั้น เพราะมีปริ มาณไม่เพียงพอที่จะ
ใช้เคลื่ อนขึ้นไปชั้นที่สูงกว่า แต่ถา้ ให้พลังงานจานวน 4.9 eV อิเล็กตรอนจะรับพลังงานแล้ว
เคลื่อนขึ้นไปอยูช่ ้ นั 2 ได้พอดี และถ้าให้พลังงานมากกว่า 4.9 eV แต่ไม่ถึง 6.7 eV เช่นให้
พลังงาน 6.0 eV อิเล็กตรอนจะรับพลังงานเพียง 4.9 eV พลังงานส่ วนที่เหลือจะคายทิง้ ออกมา
แต่ถา้ ให้พลังงาน 6.7 eV อิเล็กตรอนจะรับพลังงานทั้งหมด 6.7 eV เพราะเป็ นพลังงานที่ทา
ให้เคลื่อนย้ายขึ้นไปชั้น 3 ได้พอดีนนั่ เอง
การทดลองของฟรังก์และเฮิรตซ์น้ ีเป็ นอีกสิ่ งหนึ่งที่สนับสนุนทฤษฏีอะตอมของโบร์ ที่บอกว่า
ระดับพลังงานของอิเล็กตรอนรอบนิวเคลียสแบ่งเป็ นชั้นๆ นัน่ เอง

17
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
29(แนว En) ตามการทดลองของฟรังก์และเฮิรตซ์ ข้อสรุ ปใดไม่จริ ง
1. อิเล็กตรอนที่มีพลังงานน้อยกว่า 4.9 eV จะมีการชนแบบยืดหยุน่ กับอะตอมของ
ไอปรอท
2. อิเล็กตรอนที่มีพลังงานมากกว่า 4.9 eV จะสู ญเสี ยพลังงานส่ วนหนึ่งให้กบั อะตอม
ของไอปรอท
3. อะตอมของไอปรอทมีค่าพลังงาน ระดับพื้นเท่ากับ 4.9 eV
4. อะตอมของไอปรอทมีค่าพลังงานเป็ นชั้นๆ ไม่ต่อเนื่ อง

30. การทดลองของฟรังค์และเฮิรตซ์ให้ผลสรุ ปที่สาคัญข้อใด


1. อิเล็กตรอนชนอะตอมแบบยืดหยุน่ เป็ นส่ วนใหญ่
2. อิเล็กตรอนชนกับอะตอมแบบไม่ยดื หยุน่
3. อะตอมมีระดับพลังงานเป็ นชั้น ๆ
4. กระแสไฟฟ้ าผ่านแก๊สที่มีความดันต่า

19.3.5 รังสี เอกซ์  


หลอดรังสี เอกซ์เป็ นเครื่ องมือผลิตรังสี เอกซ์มีส่วนประกอบสาคัญดังรู ป ขั้วไฟฟ้ า C จะ
ถูกทาให้ร้อน โดยผ่านกระแสไฟฟ้ าจาก
ความต่างศักย์ V1 อิเล็กตรอนซึ่งหลุด
จากขั้วไฟฟ้ า C (แคโทด) จะถูกเร่ งให้มี
ความเร็ วสู ง โดยสนามไฟฟ้ าจากความ
ต่างศักย์ Vo ซึ่ งมีค่าสู ง และชนเป้ าโล-
หะ A (แอโนด) ทาให้เกิดรังสี เอกซ์ข้ ึน
สเปกตรัมของรังสี เอกซ์มี 2 แบบ
1. สเปกตรัมแบบต่อเนื่ อง (continuous X - ray) ในหลอดรังสี เอกซ์ อิเล็กตรอนที่วิ่งเข้า
ชนกับอะตอมของเป้ า อิเล็กตรอนจะสู ญเสี ยพลังงานจลน์โดยแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าในรู ปรังสี
เอกซ์ออกมาเป็ นผลให้ตวั มันเองเคลื่อนที่ช้าลง เนื่ องจากจานวนอิเล็กตรอนที่ชนเป้ ามีมากมาย
และแต่ละตัวมี การสู ญ เสี ยพลังงานค่ าต่างๆ กัน ดังนั้นรังสี เอกซ์ ที่ แผ่ออกมาจะมี สเปกตรั ม
แบบต่อเนื่ องอิเล็กตรอนบางตัวอาจชนกับอะตอมของเป้ าโดยตรงและหยุดลงทันที ในการนี้
18
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
พลังงานจลน์ท้ งั หมดของอิเล็กตรอนจะเปลี่ยนเป็ นพลังงานคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า ซึ่ งอยูใ่ นรู ปรังสี
เอกซ์ที่มีความถี่สูงสุ ด (fmax) เนื่องจากพลังงานมีค่าสู งสุ ดได้จากการผ่านความต่างศักย์ Vo
การคานวณหาความถี่สูงสุ ดของรังสี เอกซ์
เนื่องจากอิเล็กตรอน จะเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้ าเป็ นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า (รังสี เอกซ์)
จึงได้วา่ W = E รังสีเอกซ์
eV = hf
หรื อ e V = hλC
เมื่อ e คือประจุอิเล็กตรอน = 1.6 x 10–19 คูลอมบ์
V คือความต่างศักย์ที่ใช้เร่ งอิเล็กตรอน ( โวลต์ )
h = 6.6 x 10–34 J.s ( ค่าคงที่ของพลังค์ )
f คือความถี่สูงสุ ดรังสี เอกซ์ ( เฮิรตซ์ )
C = 3 x 108 m/s ( คือความเร็ วคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า )
 คือความยาวคลื่นน้อยที่สุดรังสี เอกซ์ ( เมตร )
2) สเปกตรั ม แบบเส้ น (characteristic X – rays) เกิ ด จากอิ เล็ ก ตรอน ที่ ถู ก เร่ ง จนมี
พลังงานสู ง มากจะสามารถผ่านเข้า ชนกับ อิ เล็ ก ตรอนในวงโคจรชั้น ในของอะตอม ท าให้
อิเล็กตรอนดังกล่าวหลุ ดไปอิเล็กตรอนในวงโคจรถัดออกมา ซึ่ งมีระดับพลังงานสู งกว่าวงโคจร
ชั้นในจึงโดดเข้าแทนที่พร้อมกับปล่อยพลังงานส่ วนเกินออกมาในรู ปรังสี เอกซ์การเปลี่ยนแปลง
ในอะตอมเช่ นนี้ เป็ นในท านองเดี ยวกับ การเกิ ดสเปกตรั มของอะตอมไฮโดรเจน รังสี เอกซ์ ที่
เกิดขึ้นจะมีความยาว คลื่นเป็ นค่าเฉพาะ และจะ
แตกต่างกันไปตามชนิดของโลหะที่ใช้ทาเป้ า ดัง
นั้นสเปกตรัมส่ วนนี้จึงมีลกั ษณะเป็ นเส้นซึ่ งปรากฏ
การณ์น้ ีสนับสนุนทฤษฎีของโบร์ ในแง่ที่วา่ อะตอม
มีระดับพลังงานเป็ นชั้นๆ
31. ในหลอดผลิ ตรั งสี เอกซ์ ถ้าใช้ความต่างศักย์เร่ งอิ เล็กตรอน 10000 โวลต์ จงหาความ
ยาวคลื่นที่ส้ ันที่สุดของรังสี เอกซ์น้ ี ในหน่วยเมตร
1. 4.1 x 10–9 2. 1.2 x 10–10 3. 8.0 x 109 4. 2.4 x 1018

19
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
32. ในการผลิตรังสี เอกซ์โดยให้อิเล็กตรอนหยุด ทันทีเมื่อชนเป้ าปรากฎว่าได้รังสี เอกซ์มีความ
ยาวคลื่น 0.124 นาโนเมตร จงหาความต่างศักย์ที่ใช้ต่อกับหลอดรังสี เอกซ์
1. 1000 โวลต์ 2. 2000 โวลต์ 3. 4990 โวลต์ 4. 9980 โวลต์

33. ในหลอดผลิตรังสี เอกซ์ ถ้าใช้ความต่างศักย์เร่ งอิเล็กตรอน 20000 โวลต์ จงหาความถี่


ของรังสี เอกซ์น้ ีในหน่วยเฮิรตซ์
1. 2.42 x 1016 2. 4.83 x 1016 3. 2.42 x 1018 4. 4.83 x 1018

34(แนว มช) จงเลือกข้อความที่ถูกต้อง


1. รังสี เอกซ์เป็ นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าที่มีความถี่สูงมากและเป็ นสเปกตรัมต่อเนื่ อง
2. รังสี เอกซ์เป็ นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าที่มีสเปกตรัมต่อเนื่ องซึ่ งค่าความถี่สูงสุ ดขึ้นกับชนิด
ของโลหะที่ใช้ทาเป้ า และยังมีสเปกตรัมเส้นด้วย
3. รังสี เอกซ์เป็ นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าที่มีสเปกตรัมเส้นซึ่งเกิดจากการปล่อยพลังงานของ
อิเล็กตรอนของอะตอม เมื่ออิเล็กตรอนนั้นเปลี่ยนวงโคจรจากที่มีระดับพลังงานต่า
ไปสู่ วงโคจรที่มีระดับพลังงานสู งและยังมีสเปกตรัมต่อเนื่ องด้วย
4. ไม่มีขอ้ ใดถูก
20
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
19.3.6 ความไม่ สมบูรณ์ ของทฤษฏีอะตอมของโบร์
จากทฤษฏีอะตอมของโบร์ น้ นั เราสามารถใช้อธิ บายปรากฏการณ์ต่างๆ เกี่ยวกับอะตอม
ได้มากมาย เช่น
1. อธิ บายถึงการเกิดสเปกตรัมของอะตอมไฮโดรเจน
2. อธิบายถึงการจัดตัวของอิเล็กตรอนในอะตอมของธาตุไฮโดรเจน
3. อธิ บายถึงค่าพลังงานที่ทาให้อะตอมที่มีอิเล็กตรอนเพียงตัวเดียวแตกตัวเป็ นอิออนได้
แต่ทฤษฎีของโบร์ ไม่สามารถอธิ บายหลายๆ สิ่ งหลายๆ อย่างได้ เช่น
1. การเกิดสเปกตรัมของอะตอมอื่นๆ ที่ไม่ใช้ไฮโดรเจน
2. การเกิดสเปกตรัมแยกออกเป็ นหลายๆ เส้น เมื่ออะตอมที่อยูใ่ นสนามแม่เหล็ก
3. เหตุผลที่ค่าความเข้มของแสงของเส้นสเปกตรัมแต่ละเส้นมีค่าไม่เท่ากัน
4. ทาไม L = m v r = n h
19.4 ทวิภาวะของคลืน่ และอนุภาค
19.4.1 ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก
เมื่อจัดหลอดสุ ญญากาศดังรู ป แล้วใช้แสง
ตกกระทบใส่ ข้ วั แคโทด เมื่ออิเล็กตรอนของอะ
ตอมในขั้วแคโทดได้รับพลังงานแสงจานวนมาก
พอจะหลุดออกจากขั้วแคโทดแล้วเคลื่อนที่พุง่ เข้า
หาขั้วแอโนด แล้วเกิดกระแสไฟฟ้ าไหลในวงจร
ปรากฏการณ์น้ ีเรี ยกปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก (photoelectric effect )
ตัวอิเล็กตรอนที่หลุดออกมาจากแคโทด เรี ยกโฟโตอิเล็กตรอน (photo electron)
ข้ อต้ องทราบเกีย่ วกับปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก
1. ปกติแล้วอิเล็กตรอนในอะตอม
ของขั้วแคโทดจะถูกนิวเคลียสยึดเหนี่ยวไว้
ด้วยพลังงานขนาดหนึ่ง เมื่อให้พลังงานแสง
แก่อิเล็กตรอนนี้ พลังงานส่ วนหนึ่งจะถูก
ใช้สลายพลังงานยึดเหนี่ยวนี้ พลังงานที่ใช้
ไปนี้เรี ยกฟังก์ชันงาน (Work function) แทนด้วยสัญลักษณ์ W ซึ่ งจะมีขนาดเท่ากับพลังงาน
21
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
ยึดเหนี่ ยวอิ เล็กตรอนนัน่ เอง แล้วพลังงานส่ วนที่ เหลื อก็จะเปลี่ ยนเป็ นพลังงานจลน์ของอิเล็ก
ตรอนที่เคลื่อนที่ออกไป
จึงได้วา่ Eแสง = W + Ek ของอิเล็กตรอน
2. หากเราให้แสงที่มีพลังงานน้อยกว่า
พลังงานยึดเหนี่ยว (W) อิเล็กตรอนจะไม่
หลุดออกมาจากแคโทด จะต้องเพิ่มความถี่
( f ) แสงให้มากขึ้นจนกระทัง่ พลังงานแสง
มีค่าอย่างน้อยเท่ากับพลังงานยึดเหนี่ยวอิเล็กตรอนจึงจะหลุดออกมาได้ ความถี่แสงตรงนี้ เรี ยก
ความถี่ขีดเริ่ม ( fo) และความยาวคลื่นแสงตรงนี้ เรี ยกความยาวคลืน่ ขีดเริ่ม (o)
3. หากต้องการทดลองหาพลังงานจลน์
ของโฟโตอิเล็กตรอน ให้ต่อขั้วไฟฟ้ าลบเข้า
กับแอโนด และขั้วไฟฟ้ าบวกเข้ากับแคโทด
ดังรู ป หากใช้ความต่างศักย์เหมาะสม เมื่อ
อิเล็กตรอนอันมีประจุลบเข้าใกล้ข้ วั แอโนด
( ขั้วลบ ) จะเกิดแรงต้านทาให้อิเล็กตรอนหยุดนิ่งแล้วเปลี่ยนพลังงานจลน์ให้กลายเป็ นพลังงาน
ศักย์ ไฟฟ้ า ความต่างศักย์ที่ใช้หยุดอิเล็กตรอนนี้ เรี ยกความต่ างศักย์ หยุดยั้ง (Vo)
เมื่ออิเล็กตรอนหยุดนิ่งจะได้วา่
Ek = Ep
E k = e Vo
เมื่อ Ek คือพลังงานจลน์ของอิเล็กตรอน ( จูล )
e = 1.6 x 10–19 C ( คือประจุอิเล็กตรอน 1 ตัว )
Vo คือความต่างศักย์หยุดยั้ง (โวลต์ )
4. พลังงานจลน์ของอิเล็กตรอน ( Ek ) จะแปรผันกับพลังงานแสง , ความถี่แสง และจะ
แปรผกผันกับพลังงานยึดเหนี่ยว (W)
5. พลังงานยึดเหนี่ยว (W) จึงขึ้นกับชนิ ดของโลหะที่นามาใช้เป็ นแคโทดและไม่เกี่ยวกับ
ขนาดของโลหะขั้วแคโทดนั้น 
6. จานวนโฟโตอิเล็กตรอน จะแปรผันตรงกับความเข้มแสง
22
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
35. โฟโตอิเล็กตรอน คืออิเล็กตรอนชนิดใด
1. อิเล็กตรอนที่มีประจุมากกว่าอิเล็กตรอนธรรมดา
2. อิเล็กตรอนที่ทา ปฏิกิริยากับฟิ ล์มถ่ายรู ป
3. อิเล็กตรอนที่หลุดจากผิวโลหะโดยการฉายแสง
4. อิเล็กตรอนที่มีประจุเป็ นบวก

36. ความถี่ขีดเริ่ ม หรื อความถี่ตดั ขาดของแสงที่ใช้ในปรากฎการณ์โฟโตอิเล็กทริ ก คืออะไร


1. ความถี่ที่ทาให้โฟตอนมีพลังงานเท่ากับพลังงานยึดเหนี่ ยว
2. ความถี่แสงที่พอดี ทาให้อิเล็กตรอนหลุดจากโลหะได้พอดี
3. ความถี่แสงที่ทาให้โฟโตอิเล็กตรอนมีพลังงานจลน์เท่ากับศูนย์
4. ถูกทุกข้อ

37. ข้อความต่อไปนี้ เป็ นเท็จ


1. เมื่อใช้แสงความถี่สูงขึ้น (และสู งกว่าความถี่ขีดเริ่ ม) ตกกระทบแคโทด โฟโต-
อิเล็กตรอนจะมีพลังงานจลน์มากขึ้น
2. หากใช้แสงที่มีความเข้มสู งตกกระทบแคโทด หากเกิดโฟโตอิเล็กทริ ก จานวน
โฟโตอิเล็กตรอนจะมีมาก
3. หากเพิ่มความเข้มแสง โฟโตอิเล็กตรอนจะมีพลังงานจลน์สูงขึ้ น
4. ฟังก์ชนั งานจะขึ้นกับชนิดของโลหะที่ใช้ทาขั้วแคโทด

38(แนว มช) พลังงานจลน์สูงสุ ดของโฟโตอิเล็กตรอนนั้น


1. ไม่ข้ ึนกับความเข้มของแสงที่มาตกกระทบ
2. ขึ้นกับกาลังหนึ่งของความเข้มของแสงที่มาตกกระทบ
3. ขึ้นกับกาลังสองของความเข้มของแสงที่มาตกกระทบ
4. ขึ้นกับรากที่สองของความเข้มของแสงที่มาตกกระทบ

23
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
39. ในปรากฎการณ์โฟโตอิเล็กทริ ก เมื่อแสงที่มีความถี่สูงกว่าความถี่ขีดเริ่ มตกกระทบผิวโลหะ
ถ้าเพิ่มความเข้มของแสงขึ้นเป็ น 2 เท่า พลังงานของโฟโตอิเล็กตรอนจะเป็ นเท่าไร
1. พลังงาน และจานวนอิเล็กตรอนเท่าเดิม
2. พลังงานเพิ่มขึ้นเป็ น 2 เท่า และจานวนอิเล็กตรอนเท่าเดิม
3. พลังงานเท่าเดิม แต่จานวนอิเล็กตรอนเพิม่ เป็ น 2 เท่า
4. พลังงานเท่าเดิม แต่จานวนอิเล็กตรอนเพิ่มเป็ น 4 เท่า

สมการที่ใช้คานวณเกี่ยวกับโฟโตอิเล็กทริ กได้แก่
Eแสง = W + Vo และ hef = W + Vo และ hC
e  = W + Vo
เมื่อ Eแสง คือพลังงานแสง ( อิเล็กตรอนโวลต์ , eV )
W คือพลังงานยึดเหนี่ยว , ฟังก์ชน่ั งาน (อิเล็กตรอนโวลต์ , eV )
Vo คือพลังงานจลน์ของโฟโตอิเล็กตรอน (อิเล็กตรอนโวลต์ , eV )
Vo คือความต่างศักย์หยุดยั้ง ( โวลต์ )
h = 6.6 x 10–34 J.s ( ค่าคงที่ของพลังค์ )
f คือความถี่แสง ( เฮิรตซ์ )
e = 1.6 x 10–19 C ( คือประจุอิเล็กตรอน 1 ตัว )
C = 3 x 108 m/s ( คือความเร็ วคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า )
 คือความยาวคลื่นแสง ( เมตร )
40(แนว En) โลหะแมกนีเซี ยมมีพลังงานยึดเหนี่ยวอิเล็กตรอน 3.79 อิเล็กตรอนโวลต์ ถูกฉาย
ด้วยแสงอัลตราไวโอเล็ตซึ่งมีความยาวคลื่น 300 นาโนเมตร โฟโตอิเล็กตรอนที่หลุดออกมา
จะมีพลังงานจลน์มากที่สุดกี่อิเล็กตรอนโวลต์ 
 
 
 
 
 
 
 
24
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
41. ไฮโดรเจนที่สถานะพื้นฐาน (ground state) ดูดกลืนโฟตอนซึ่ งมีพลังงาน 20 อิเล็กตรอน-
โวลต์ แล้วแตกตัวเป็ นไอออน จะต้องให้ความต่างศักย์กี่โวลต์ เพื่อที่จะทาให้อิเล็กตรอนที่
หลุดออกมาหยุดนิ่งได้
1. 0 2. 6.4 3. 13.6 4. 20.0

42. กาหนดให้ค่าพลังงานยึดเหนี่ยวของแผ่นทองแดงเท่ากับ 4.2 อิเล็กตรอนโวลต์ ต้องฉาย


แสงที่มีความยาวคลื่นกี่นาโนเมตร จึงเกิดปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริ ก

43. เมื่อฉายแสงอัตราไวโอเลตความยาวคลื่น 250 นาโนเมตร ลงบนผิวแมกนีเซียม ปรากฏ


ว่าต้องใช้ศกั ย์หยุดยั้ง 0.6 โวลต์ จงหาความถี่ขีดเริ่ มของแมกนีเซี ยม
1. 1.05 x 1014 Hz 2. 2.10 x 1014 Hz
3. 1.05 x 1015 Hz 4. 2.10 x 1015 Hz

25
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
44(แนว En) ในการศึกษาปรากฏการณ์โฟโตอิเล็ก
E
ทริ กของโลหะชนิดหนึ่ง ได้กราฟความสัมพันธ์ kสูงสุด
ระหว่างพลังงานจลน์สูงสุ ดของโฟโตอิเล็กตรอน
กับความถี่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า ที่ตกกระทบผิว
โลหะดังรู ป ถ้าให้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าความถี่
6 x 1014 เฮิรตซ์ ตกกระทบผิวโลหะนี้ จะต้อง 0 2 4 6 f (x1014 Hz)
ใช้ความต่างศักย์หยุดยั้งเท่าใด
1. 0.42 V 2. 0.83 V 3. 1.65 V 4. 2.50 V

45(แนว En) วัตถุ A มีค่าพลังงานยึดเหนี่ ยว 3.3 อิเล็กตรอนโวลต์ วัตถุ B มีค่าความถี่ ขีดเริ่ ม


เป็ น 4 x 1014 เฮิ รตซ์ แสงความถี่ เดี ยวกันตกกระทบผิววัตถุ A และ B จะทาให้โฟโต
อิเล็กตรอนจากวัตถุ A มีพลังงานจลน์สูงสุ ดเท่ากับ 1.2 อิเล็กตรอนโวลต์ อยากทราบว่า
พลังงานจลน์สูงสุ ดของโฟโตอิเล็กตรอน จากวัตถุ B จะเป็ นกี่อิเล็กตรอนโวลต์

26
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
19.4.2 โฟตอน
จากเรื่ องโฟโตอิเล็กทริ กเราจะพบว่าหากใช้แสงที่มี
ความถี่ต่า มีพลังงานน้อยกว่าพลังงานยึดเหนี่ยวตกกระทบ
แคโทด อิเล็กตรอนจะไม่หลุดออกมาจากแคโทดแม้จะ
เพิม่ ความเข้มแสงให้มากขึ้นก็ตาม เพราะการเพิม่ ความ
เข้มแสงไม่ได้ทาให้พลังงานแสงเพิ่มขึ้นตาม ความเป็ น
จริ งตรงนี้ จะขัดแย้งกับทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า เพราะ
หากแสงเป็ นคลื่ น แม่ เหล็ ก ไฟฟ้ า เมื่ อ ความเข้ม แสงมากขึ้ น ความเข้ม สนามแม่ เหล็ ก กับ
สนามไฟฟ้ าในคลื่นที่จะมี ความเข้มมากขึ้ นด้วย ซึ่ งจะทาให้พลังงานแสงมีมากขึ้ นตาม เมื่อ
แสงนี้ ตกกระทบแคโทดควรทาให้อิเล็กตรอนหลุดออกจากแคโทดได้ แต่ในการทดลองจริ ง
ไม่ได้เป็ นเช่นนั้น ดังนั้นความเชื่อที่วา่ แสงเป็ นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าจึงไม่สมบูรณ์
ไอน์สไตน์ (Albert Einstein) ได้เสนอแนวความคิดว่า
1. แสงมีลกั ษณะเป็ นกลุ่มก้อนของพลังงานที่เรี ยก
ว่า ควอนตัมของพลังงาน หรือโฟตอน (photon)
2. โฟตอน 1 ตัว จะมีพลังงานเท่ากับ h f หรื อ hC
ดังนั้น โฟตอน n ตัวจะมี
พลังงานแสง = n (h f ) = n ( hC ) (หน่วยเป็ นจูล)
3. เมื่ อโฟตอนพุ่งชนอิ เล็ก ตรอนจะชนกัน แบบหนึ่ งต่ อหนึ่ ง และโฟตอนจะถ่ ายทอด
พลังงานทั้งหมดแก่อิเล็กตรอน ดังนั้นหากโฟตอนมีความถี่ต่า พลังงานน้อย ก็จะไม่สามารถทา
ให้อิเล็กตรอนหลุดออกมาได้ การเพิ่มความเข้มแสง ( เพิ่มจานวนโฟตอน ) ให้มากขึ้นโดยไม่
เพิ่มความถี่แสง พลังงานแสงแต่ละโฟตอนจะไม่เพิ่มขึ้น จึงไม่ทาให้อิเล็กตรอนหลุดออกมาได้
ซึ่งจะสอดคล้องกับการทดลองโฟโตอิเล็กทริ กนัน่ เอง
 

27
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
46. นัยน์ตาของมนุษย์สามารถรับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าพลังงาน 10–18 จูลได้ ถ้าคลื่นแม่เหล็ก
ไฟฟ้ าที่พลังงานนี้ มีความยาวคลื่น 6 x 10–7 เมตร โฟตอนที่รับได้มีจานวนเท่าใด
( กาหนด ค่านิ จของพลังค์ = 6.6 x 10–34 J.s )
1. 1 โฟตอน 2. 2 โฟตอน 3. 3 โฟตอน 4. 4 โฟตอน

47. ตาสามารถรั บ รู้ แ สงสี เหลื อ งความยาวคลื่ น 550 นาโนเมตร และมี ค วามเข้ม ต่ า สุ ด
ประมาณ 10 วัตต์ จานวนโฟตอนที่กระทบตาใน 1 วินาที มีค่าเท่าไร
1. 2.8 x 1019 2. 3.2 x 1019 3. 3.6 x 1019 4. 4.2 x 1019

48(แนว En) ผ่านแสงความยาวคลื่น 0.66 ไมโครเมตร จานวน 2 x 1022 โฟตอน เข้าไปใน


น้ ามวล 71 กิ โลกรัม ถ้าสมมติวา่ น้ าดูดกลื นพลังงานจากแสงไว้ได้ 50 % จงหาอุณหภูมิ
ของน้ าที่เปลี่ยน ( ให้ ความจุความร้อนจาเพาะของน้ า = 4.2 กิโลจูล / กิโลกรัม.เคลวิน )
1. 3oC 2. 4oC 3. 5oC 4. 10oC

28
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
19.4.3 ปรากฏการณ์คอมตัน
คอมป์ ตัน (Arthur H. Compton) และดีบาย (Peter Debye) ทาการทดลองฉายรังสี เอกซ์
ไปที่แท่งกราไฟต์ ปรากฏว่ามีอิเล็กตรอนและ
รังสี เอกซ์กระเจิงออกมาดังรู ป และจะพบว่า
ความยาวคลื่น และพลังงานของรังสี เอกซ์ที่
กระเจิงออกมา จะแปรผันตามมุมที่กระเจิงซึ่ง
เป็ นไปตามกฎอนุรักษ์พลังงานและกฎอนุรักษ์
โมเมนตัม แสดงว่าการชนระหว่างโฟตอน
ของรังสี เอกซ์กบั อิเล็กตรอนในแท่งกราไฟต์เป็ นการชนกันของอนุภาค
การทดลองของคอมป์ ตันนี้ สนับสนุ นแนวคิดของไอน์สไตล์ที่ว ่า คลื่ นแม่เหล็กไฟฟ้ า
สามารถประพฤติตวั เป็ นอนุภาคได้
19.4.4 สมมติฐานของเดอบรอยล์
เดอ บรอยล์ ได้เสนอสมการว่า
P = mC ( แทนค่า m = E2 )
C
P= 2 C E
C
P = CE ( แทนค่า E = h C )
λ
P = h C 2C
C
P = hλ
สมการนี้แสดงว่า โมเมนตัมของโฟตอนขึ้นอยูก่ บั ความยาวคลื่นของโฟตอน
และจาก  = Ph ( แทนค่า P = m v )
จะได้  = mhv และ  = h
2mE k
สมการนี้แสดงว่า “ อนุภาคที่มีมวล m เคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ ว v สามารถแสดงสมบัติ
เป็ นคลื่นซึ่งมีความยาวเท่ากับ  ได้ ” ตรงนี้เรี ยก สมมุติฐานของเดอบรอยล์ และ  นี้เรี ยก
ความยาวคลืน่ ของเดอบรอยล์ (De Broglic wavelength)
จากที่ กล่าวมาจะเห็ นว่า คลื่ นแสดงสมบัติของอนุ ภาคได้ และอนุ ภาคก็แสดงสมบัติของ
คลื่นได้ สมบัติดงั กล่าวนี้เรี ยกว่าทวิภาพของคลืน่ และอนุภาค (duality of wave and particle)
29
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
เดอบรอยส์ ใช้ทฤษฎี ของเขาอธิ บายสมมติ ฐานของโบร์ ที่ ว ่า อิ เล็กตรอนที่ วิ่งวนรอบ
นิวเคลียสโดยไม่แผ่คลื่ นแม่เหล็กไฟฟ้ าจะมีโมเมนตัมเชิ งมุม m v r เท่ากับ n h โดยโบร์ ไม่
สามารถพิสูจน์ได้วา่ ทาไมถึงเป็ นเช่ นนั้น แต่เดอบรอยล์ อธิ บายว่าการที่อิเล็กตรอนในอะตอม
ไม่มีการแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าก็เนื่ องจาก “อิเล็กตรอนที่วิ่งวนรอบนิ วเคลียสจะแสดง สมบัติของ
คลื่ นนิ่ ง ซึ่ งเป็ นไปได้ เมื่อความยาวของเส้ นรอบวงมีค่าเป็ นจานวนเท่าของความยาว คลื่ นของ
อิเล็กตรอน” นัน่ คือ
2r = n
ดังนั้น 2  r = n mv
h
หรื อ mvr = n 2 h
จะได้วา่ mvr = n h
ซึ่ งจะเห็ นได้ว่าตรงกับสมมติฐานข้อหนึ่ งของโบร์ ย่อมแสดงว่าทฤษฎี ทวิภาพของคลื่ น
และอนุภาคของ เดอบรอยส์ เป็ นจริ ง
49. รถยนต์คนั หนึ่ งมีมวล 1000 กิ โลกรัม แล่นด้วยความเร็ ว 72 กิ โลเมตรต่อชัว่ โมง ถ้าคิด
ว่ารถยนต์คนั นี้เป็ นคลื่นจะมีความยาวคลื่นเดอ บรอยล์กี่เมตร
1. 0.92 x 10–38 2. 3.3 x 10–38 3. 0.33 x 10–38 4. 1.1 x 10–38

50. จงหาความยาวคลื่นของอิเล็กตรอนซึ่งเคลื่อนที่ดว้ ยพลังงานจลน์ 5 อิเล็กตรอนโวลต์


1. 0.55 nm 2. 0.85 nm 3. 0.95 nm 4. 1.10 nm

51(แนว En) อนุ ภาคมวล m มีพลังงานจลน์เพิ่มขึ้นเป็ น 4 เท่าของพลังงานจลน์เดิม ความยาว


คลื่นเดอ บรอยล์ของอนุภาคนี้ ในครั้งหลังจะเป็ นกี่เท่าของความยาวคลื่นเดอบรอยล์ครั้งแรก
1. 12 เท่า 2. 2 เท่า 3. 4 เท่า 4. 8 เท่า

30
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
52. จากทฤษฎีของเดอ บรอยล์ เส้นรอบวงของวงโคจรของอิเล็กตรอนรอบนิ วเคลียสมีค ่าเท่าไร
1. ค่านิจของพลังค์หารด้วยความยาวคลื่นของอิเล็กตรอน
2. ค่านิจของพลังค์คูณด้วยเลขจานวนเต็มหารด้วย 2
3. ความยาวคลื่นของอิเล็กตรอนคูณด้วยเลขจานวนเต็ม
4. ความยาวคลื่นของอิเล็กตรอนหารด้วยความเร็ วของแสง
 

19.5 กลศาสตร์ ควอนตัม 


กลศาสตร์ ควอนตัมจะบอกถึ งความน่ าจะเป็ นในการพบอนุ ภาคในรู ปของกลุ่ มคลื่ น ณ
ตาแหน่งและเวลาหนึ่งๆ ซึ่ งจะแตกต่างจากกลศาสตร์ ของนิวตันซึ่ งจะบอกอย่างแน่ชดั ถึงการพบ
อนุภาค ณ ตาแหน่งและเวลาหนึ่งๆ
กลศาสตร์ควอนตัมสามารถอธิ บายอะตอมได้ดีกว่าทฤษฏีอะตอมของโบร์ และเป็ นที่
ยอมรับมาถึงปัจจุบนั
19.5.1 หลักความไม่ แน่ นอน
เนื่ องจากอิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่ตลอดเวลา จึงทาให้เราไม่สามารถวัดตาแหน่ งที่แน่นอน
ของที่อยูข่ องอิเล็กตรอนได้ และหากทาให้อิเล็กตรอนหยุดนิ่ งก็อาจทาให้สามารถวัดตาแหน่ ง
ได้แม่นยามากขึ้น แต่ก็จะไม่สามารถวัดค่าความเร็ วและโมเมนตัมที่แม่นยาได้ ไฮเซนเบิร์กจึง
กล่ าวว่า เราไม่สามารถวัดตาแหน่ งและโมเมนตัมของอิ เล็กตรอนให้ได้ค่าที่ แม่นยาพร้ อมกัน
และความไม่แน่ นอนของการวัดตาแหน่ งกับความไม่แน่ นอนของโมเมนตัม จะสัมพันธ์ก นั ดัง
สมการ
( x ) ( p ) > h
เมื่อ x คือความไม่แน่นอนของตาแหน่ง
p คือความไม่แน่นอนของโมเมนตัม = m v
h = h

53. อนุภาคแอลฟาเคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ ว 6.0 x 106 เมตร/วินาที ถ้าความไม่แน่นอนของ การ
วัดความเร็ วเป็ น 0.5 x 106 เมตร/วินาที ความไม่แน่นอนของ ตาแหน่ งอนุ ภาคแอลฟาเป็ น
กี่เมตร กาหนดให้มวลอนุภาคแอลฟามีค่า 6.7 x 10–27 กิโลกรัม
1. 3.1 x 10–14 2. 6.2 x 10–14 3. 3.1 x 10–15 4. 6.2 x 10–15

31
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
19.5.2 โครงสร้ างอะตอมตามแนวคิดกลศาสตร์ ควอนตัม
ตามหลักความไม่แน่นอน เราไม่สามารถระบุได้วา่ อิเล็กตรอนที่เคลื่ อนที่รอบนิ วเคลียส
ของอะตอมนั้นอยูท่ ี่ใดได้ชดั เจน หรื อเคลื่อนที่ในลักษณะใด เราบอกได้แต่เพียงโอกาศที่จะพบ
อิเล็กตรอน ณ ที่ ต่างๆ ว่าเป็ นเท่าใดเท่านั้น เราจึ งสร้ างแบบจาลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก
โดยใช้กลุ่มหมอกแทนบริ เวณที่มีโอกาศพบอิเล็กตรอนนั้นดังรู ป

32
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
เฉลยบทที่ 19 ฟิ สิ ก ส์ อ ะตอม
1. ตอบข้ อ 2. 2. ตอบข้ อ 1. 3. ตอบข้ อ 2. 4. ตอบข้ อ 3.
5. ตอบข้ อ 2. 6. ตอบข้ อ 4. 7. ตอบข้ อ 2. 8. ตอบข้ อ 2.
9. ตอบข้ อ 3. 10. ตอบข้ อ 1. 11. ตอบ 1200 12. ตอบข้ อ 2.
13. ตอบข้ อ 3. 14. ตอบข้ อ 2. 15. ตอบข้ อ 4. 16. ตอบข้ อ 4.
17. ตอบ 16 18. ตอบข้ อ 1. 19. ตอบข้ อ 2. 20. ตอบข้ อ 2.
21. ตอบข้ อ 2. 22. ตอบ 2.55 23. ตอบข้ อ 2. 24. ตอบข้ อ 3.
25. ตอบข้ อ 2. 26. ตอบข้ อ 1. 27. ตอบข้ อ 3. 28. ตอบข้ อ 4.
29. ตอบข้ อ 3. 30. ตอบข้ อ 3. 31. ตอบข้ อ 2. 32. ตอบข้ อ 4.
33. ตอบข้ อ 4. 34. ตอบข้ อ 2. 35. ตอบข้ อ 3. 36. ตอบข้ อ 4.
37. ตอบข้ อ 3. 38. ตอบข้ อ 1. 39. ตอบข้ อ 3. 40. ตอบ 0.34
41. ตอบข้ อ 2. 42. ตอบ 294.6 43. ตอบข้ อ 3. 44. ตอบข้ อ 3.
45. ตอบ 2.85 46. ตอบข้ อ 3. 47. ตอบข้ อ 1. 48. ตอบข้ อ 3.
49. ตอบข้ อ 2. 50. ตอบข้ อ 1. 51. ตอบข้ อ 1. 52. ตอบข้ อ 3.
53. ตอบข้ อ 1.



33
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
ตะลุ ย โจท ย์ ทั่ วไป ฟิ สิ ก ส์ บท ที่ 19 ฟิ สิ ก ส์ อ ะตอม
19.1 อะตอมและการค้ นพบอิเล็กตรอน
19.1.1 รังสี แคโทด
1. ทาไมหลอดรังสี แคโทดจึงต้องจัดให้เป็ นหลอดสุ ญญากาศหรื อเกือบเป็ นสุ ญญากาศ
1. เพื่อลดความดันของอากาศในหลอด
2. เพื่อให้สนามไฟฟ้ าระหว่างขั้วหลอดคงที่
3. เพื่อช่วยลดความร้อนให้กบั ขั้วของหลอด
4. ป้ องกันไม่ให้รังสี แคโทดชนกับโมเลกุลของอากาศซึ่ งจะทาให้เกิดรังสี ได้นอ้ ย

19.1.2 การทดลองของทอมสั น
2. ถ้าใช้สนามแม่เหล็กซึ่ งมีความเข้ม 3 x 10–3 เทสลา และสนามไฟฟ้ าในทิศตั้งฉากกับสนาม
แม่เหล็กซึ่ งเกิดจากการต่อแผ่นโลหะขนานกันสองแผ่นซึ่ งมีระยะห่ างกัน 1 เซนติเมตร เข้า
กับความต่างศักย์ไฟฟ้ า 600 โวลต์ เมื่ อยิงอนุ ภาครังสี แคโทดเข้าไปในสนามทั้งสอง รังสี
สามารถเคลื่อนที่ได้ในแนวเส้นตรง ความเร็ วของอนุภาคดังกล่าวนี้จะมีค่าเท่ากับข้อใด
1. 0.5 x 107 เมตร/วินาที 2. 1.0 x 107 เมตร/วินาที
3. 1.5 x 107 เมตร/วินาที 4. 2.0 x 107 เมตร/วินาที
3. ลาอิเล็กตรอนมีอตั ราเร็ ว 2.0 x 107 เมตรต่อวินาที
เคลื่อนที่ในทิศทางตั้งฉากกับสนามแม่เหล็ก ขนาด
3.0 x 10–3 เทสลา ทาให้ลาอิเล็กตรอนเคลื่อนที่
ในแนวโค้งดังรู ป จงหาขนาดของสนามไฟฟ้ าที่
จะทาให้อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ตรงไปโดยไม่เบน
1. 2 x 104 นิวตัน/คูลอมบ์ 2. 4 x 104 นิวตัน/คูลอมบ์
3. 6 x 104 นิวตัน/คูลอมบ์ 4. 8 x 104 นิวตัน/คูลอมบ์
4(แนว En) จะต้องให้ความต่างศักย์ไฟฟ้ ากี่โวลต์ เพื่อจะทาให้เกิดสนามไฟฟ้ าที่สามารถเร่ ง
อิเล็กตรอนจากหยุดนิ่งให้มีความเร็ ว 0.4 x 107 เมตรต่อวินาที
ให้ ประจุอิเล็กตรอน = 1.6 x 10–19 คูลอมบ์ , มวลอิเล็กตรอน = 9.1 x 10–31 กิโลกรัม

34
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
5. หลอดไดโอดต่อเข้ากับความต่างศักย์ 360 โวลต์ อิเล็กตรอนที่หลุดจากแคโทดจะวิง่ ถึง
แอโนดด้วยอัตราเร็ วกี่เมตร/วินาที
1. 1.13 x 106 2. 2.26 x 106 3. 1.13 x 107 4. 2.26 x 107
6. จงหาความเร็ วอิเล็กตรอนทิ่วง่ิ จากหยุดนิ่งผ่านความต่างศักย์ไฟฟ้ า 1500 โวลต์
ให้ประจุอิเล็กตรอน = 1.6 x 10–19 คูลอมบ์ , มวลอิเล็กตรอน = 9.1 x 10–31 กิโลกรัม
1. 2.3 x 107 m/s 2. 2.3 x 106 m/s 3. 2.3 x 105 m/s 4. 2.3 x 103 m/s
7. จงหาความเร็ วของอิ เล็กตรอน เมื่ อพุ่งผ่านสนามไฟฟ้ าเข้ม 34 x 104 โวลต์ต่อเมตร และ
สนามแม่เหล็กมี ความเข้ม 2 x 10–3 เทสลา แล้วลาอิ เล็กตรอนยังคงแนวเดิ มไว้ ก าหนด
ให้แรงกระทาซึ่ งเกิดจากสนามไฟฟ้ า และสนามแม่เหล็กอยูใ่ นทิศตรงกันข้าม จงหาความ
เร็ วของอิเล็กตรอนในหน่วยเมตรต่อวินาที
กาหนด mq ของอิเล็กตรอน = 1.76 x 1011 คูลอมบ์ต่อกิโลกรัม
1. 1.3 x 108 2. 1.5 x 108 3. 1.7 x 108 4. 2.5 x 108
8. จากข้อ ที่ ผ่า นมา จงหารั ศ มี ค วามโค้ง การเคลื่ อ นที่ ข องอิ เล็ ก ตรอนในหน่ ว ยเมตร เมื่ อ
อิเล็กตรอนวิง่ ตัด สนามไฟฟ้ าออกไปสู่ สนามแม่เหล็ก
1. 0.250 2. 0.483 3. 0.628 4. 0.821
9. ในการทดลองหลอดตาแมว พบว่าความเร็ วของอนุภาครังสี แคโทดมีค่าเท่ากับ 9 x 107
เมตรต่ อวินาที เมื่ อน าขดลวดโซลิ น อยด์ ที่ ท าให้ เกิ ดสนามแม่ เหล็ ก เท่ ากับ 0.1 เทสลา
ครอบลงบนหลอดตาแมว รังสี แคโทดจะวิง่ เป็ นเส้นโค้งด้วยรัศมีเท่ากับกี่เซนติเมตร
( ค่า q / m ของอนุภาครังสี แคโทด 1.8 x 1011 คูลอมบ์/กิโลกรัม )
1. 0.05 2. 0.5 3. 2.5 4. 5.0
10. ถ้าสังเกตเห็นว่ารัศมีความโค้งของทางวิง่ ของอิเล็กตรอนที่มีประจุ e มวล m ในสนาม
แม่เหล็ก B ในหลอดตาแมวว่ามีค่าเป็ น R แสดงว่าอิเล็กตรอนนั้นวิง่ ด้วยอัตราเร็ วเท่าไร
1. me BR 2. me RB 3. e2 2 4. e BmR
mB R

35
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
11. จงหาค่าประจุต่อมวลของอิเล็กตรอนตามวิธีทอมสันอิเล็กตรอนวิง่ ผ่านแผ่นโลหะคู่ขนานที่
ห่ างกัน 1 เซนติเมตร แล้วต่อกับความต่างศักย์ 350 โวลต์ เพื่ อจะให้อิเล็กตรอนวิ่งเป็ น
เส้นตรงต้องเสริ มด้วยสนามแม่เหล็ก 0.01 เทสลา ตั้งฉากกับสนามไฟฟ้ า เมื่อนา
สนามไฟฟ้ าออกอิเล็กตรอนจะวิง่ เป็ นเส้นโค้งของวงกลมด้วยรัศมี 0.2 เซนติเมตร 
1. 1.52 x 1011 C / kg 2. 1.64 x 1011 C / kg
3. 1.75 x 1011 C / kg 4. 1.93 x 1011 C / kg
12. ในการทดลองวัดอัตราส่ วนประจุต่อมวล (q/m) ของอนุภาครังสี แคโทด โดยวิธีของทอมสัน
พบว่าเมื่อใช้สนามแม่เหล็กซึ่ งมีความเข้ม B รังสี แคโทดจะเบี่ยงเบนไปเป็ นทางโค้ง ซึ่งมี
รัศมี R ต่อมาเมื่อใส่ สนามไฟฟ้ าเข้าไปโดยทาให้เกิดความต่างศักย์ V ระหว่างแผ่นโลหะ
2 แผ่น ซึ่งวางห่างกันเป็ นระยะ d รังสี แคโทดจะเดินทางเป็ นเส้นตรงโดยไม่เกิดการเบี่ยง
เบน อัตราส่ วนประจุต่อมวลของอนุภาครังสี แคโทดจะมีค่าเท่าใด
1. d BV R 2. V2 3. d BV R 4. d BV2 R
dB R
13. ถ้าปรับความต่างศักย์ระหว่างขั้วของหลอดรังสี แคโทดให้เพิ่มมากขึ้นจะมีผลตามข้อใด
ก. จานวนอนุภาคในลารังสี แคโทดจะเพิ่มมากขึ้น
ข. อนุภาคจะเคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ วมากขึ้น
ค. ความเข้มของการส่ องสว่างบริ เวณขั้วบวกมากขึ้น
คาตอบคือ
1. ข้อ ก. , ข. , ค. 2. ข้อ ก. , ข.
3. ข้อ ข. , ค. 4. ข้อ ข. เท่านั้น

19.1.3 การทดลองของมิลลิแกน 
14. ในการทดลองของมิลลิแกน เมื่อใช้สนามไฟฟ้ ามีทิศดิ่งลงขนาด 1.96 x 104 นิ วตันต่อคู-
ลอมบ์ จะทาให้หยดน้ ามันมวล 3.2 x 10–15 กิโลกรัม หยุดนิ่ งได้ จงคานวณว่าหยดน้ ามัน
นี้ได้รับเข้าไปอิเล็กตรอนกี่ตวั
1. 10 2. 15 3. 20 4. 40

36
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
15. หยดน้ ามัน 4.8 x 10–14 นิ วตัน ลอยนิ่ งอยู่ในสนามไฟฟ้ าในทิ ศลง ระหว่างแผ่นโลหะ
ขนานซึ่ งห่ างกัน 1 เซนติเมตร เมื่อต่อแผ่นโลหะเข้ากับความต่างศักย์ 500 โวลต์ อยาก
ทราบว่าหยดน้ ามันมีอิเล็กตรอนอยูก่ ี่อนุภาค
 
16. การทดลองหยดน้ ามันของมิลลิแกน พบว่าถ้าต้องการให้หยดน้ ามันซึ่งมีมวล m และอิเล็ก–
ตรอนเกาะติดอยู่ n ตัว ลอยนิ่งอยูร่ ะหว่างแผ่นโลหะ 2 แผ่น ซึ่งวางขนานห่างกัน เป็ นระยะ
ทาง d และมีความต่างศักย์ V ประจุของอิเล็กตรอนที่คานวณได้ในการทดลองนี้ มีค่าเท่าใด
1. mgd
nV 2. mgV
nd 3. nmgd
V 4. nmgV
d
 

17. หยดน้ ามันมีความหนาแน่ น 400 กิ โลกรัม/เมตร3 มีปริ มาตร 2.5 x 10–12 เมตร3 ลอย
นิ่ งอยู่ในสนามไฟฟ้ าขนาดสม่ าเสมอ 4 x 105 นิ วตัน/คูลอมบ์ จงหาขนาดประจุบนหยด
น้ ามันในหน่วยคูลอมบ์
1. 2.5 x 10–14 2. 5.0 x 10–14 3. 2.5 x 10–15 4. 5.0 x 10–15
18. ในการทดลองเรื่ องหยดน้ ามันของมิ ลลิ แกน ถ้าหยดน้ ามันมี มวล 6.4 x 10–15 กิ โลกรั ม
และได้รับ อิ เล็กตรอนเพิ่ ม 5 ตัว เคลื่ อนที่ ลงด้วยความเร่ ง 5 เมตร/วินาที 2 ถ้าระยะห่ าง
ระหว่างแผ่นโลหะเท่ ากับ 1 เซนติ เมตร ความต่างศักย์ระหว่างแผ่นโลหะทั้งสองมี ค่ากี่
โวลต์ กาหนดให้ประจุไฟฟ้ าของอิเล็กตรอนเท่ากับ –1.6 x 10–19 คูลอมบ์
19. ในการทดลองหยดน้ ามันของมิลลิแกนนั้นพบว่า เมื่อเพิ่มค่าความต่างศักย์จนถึงค่าสู งสุ ดของ
เครื่ องมือแล้วไม่สามารถทาให้หยดน้ ามันหยุดนิ่งหรื อเคลื่อนที่ในทิศตรงข้ามกับเมื่อยังไม่ให้
ค่าความต่างศักย์แสดงว่า
1. หยดน้ ามันมีมวลมากเกินไป
2. หยดน้ ามันมีประจุชนิดหนึ่งทาให้แรง เนื่ องจากสนามไฟฟ้ ามีทิศทางเดียวกับแรงโน้ม
ถ่วงโลก
3. สนามไฟฟ้ ามีค่าน้อยเกินไป
4. ถูกทุกข้อ

37
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
20. ประจุของหยดน้ ามันแต่ละหยดที่มิลลิแกนหาได้ จะมีค่าดังนี้ ยกเว้นข้อใดที่เป็ นไปไม่ได้
1 12.8 x 10–19 C 2. 11.2 x 10–19 C
3. 9.6 x 10–19 C 4. 1.44 x 10–19 C

19.2 แบบจาลองอะตอม
19.2.1 แบบจาลองอะตอมของทอมสั น
21. ต่อไปนี้ ข้อใดเป็ นแบบจาลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน ตามลาดับ
e
+ +
– – – ++
+ + +
– – e
(ก) (ข) (ค) (ง)
1. ( ก ) , ( ข ) 2. ( ก ) , ( ค ) 3. ( ก ) , ( ง ) 4. ( ข ) , ( ค )
22. ตามแบบจาลองอะตอมของทอมสัน ข้อใดกล่าวถูกต้อง
1. อะตอมมีลกั ษณะเป็ นทรงกลม โดยเนื้ อของทรงกลมเป็ นประจุบวกกระจายอย่าง
สม่าเสมอและมีอิเล็กตรอนฝังอยูใ่ นเนื้ อทรงกลม
2. ปริ มาณประจุบวกและปริ มาณประจุลบมีจานวนเท่ากัน
3. ในสภาพปกติอะตอมเป็ นกลางทางไฟฟ้ า
4. ถูกทุกข้อ
19.2.2 แบบจาลองอะตอมของรัทเทอร์ ฟอร์ ด
23. ตามแบบจาลองอะตอมของรัทเทอร์ ฟอร์ ด ข้อใดกล่าวถูกต้อง
1. อะตอมมีลกั ษณะเป็ นทรงกลม มีนิวเคลียสอยูท่ ี่จุดศูนย์กลางมีอิเล็กตรอนเคลื่อนอยู่
รอบๆ นิวเคลียส
2. ภายในนิวเคลียสจะมีอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้ าบวกรวมกันอยู่
3. เนื้อที่ส่วนใหญ่ภายในอะตอมเป็ นที่วา่ งเปล่า
4. ถูกทุกข้อ

38
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
24. ในการทดลองยิงอนุภาคแอลฟาผ่านแผ่นทองคาบางๆ ของรัทเทอร์ ฟอร์ ด ข้อใดที่แสดงว่า
นิวเคลียสของอะตอมมีขนาดเล็กและมีประจุบวกทั้งหมดรวมกันอยู่
1. อนุภาคแอลฟาส่ วนใหญ่ผา่ นไปตรงๆ
2. อนุภาคแอลฟาบางตัวเบนไปถึง 90 องศา หรื อมากกว่า
3. จานวนอนุภาคแอลฟาที่เบนเป็ นมุมโตมีไม่นอ้ ย
4. จานวนอนุภาคที่ยอ้ นกลับมีมาก
25. อนุ ภาคแอลฟาจะต้องถู กเร่ งด้วยความต่างศักย์กี่ โวลต์ เมื่ อวิ่งตรงไปยังนิ วเคลี ยสของ
ทองคา (79Au ) ได้มากที่สุด 7.9 x 10–15 เมตร
1. 0.72 x 107 2. 1.44 x 107 3. 0.72 x 108 4. 1.44 x 108
 

19.3 ทฤษฏีอะตอมของโบร์  
19.3.1 แบบจาลองอะตอมของโบร์
26. ตามทฤษฎีอะตอมของไฮโดรเจนของโบร์ มีอิเล็กตรอนวิง่ รอบนิวเคลียสเพื่อ
1. ปล่อยโฟตอน 2. เพื่อสะสมพลังงาน
3. เพื่อไม่ให้ถูกดูดไปติดนิวเคลียส 4. เพื่อไม่ให้ถูกนิวเคลียสผลักออกไป
19.3.2 ระดับพลังงานของะตอม
19.3.3 สเปกตรัมของอะตอม
27. สภาวะที่อิเล็กตรอนอยูใ่ นระดับพลังงานต่าสุ ด เรี ยกว่าสภาวะใด
1. สภาวะพื้น 2. สภาวะถูกกระตุน้ 3. สภาวะปกติ 4. สภาวะเริ่ มต้น
28. สภาวะที่อิเล็กตรอนอยูใ่ นระดับพลังงานที่สูงกว่าปกติ เรี ยกว่าสภาวะใด
1. สภาวะพื้น 2. สภาวะถูกกระตุน้ 3. สภาวะปกติ 4. สภาวะเริ่ มต้น
29. การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนจากระดับพลังงานต่าไประดับพลังงานสู งเป็ นกระบวนการดูด
พลังงานหรื อคายพลังงาน
1. ดูดพลังงาน 2. คายพลังงาน
3. ดูดพลังงานก่อนแล้วจึงคายพลังงาน 4. คายพลังงานก่อนแล้วจึงดูด

39
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
30. การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนจากระดับพลังงานสู งลงมาระดับพลังงานต่าเป็ นกระบวนการ
ดูดพลังงานหรื อคายพลังงาน
1. ดูดพลังงาน 2. คายพลังงาน
3. ดูดพลังงานก่อนแล้วจึงคายพลังงาน 4. คายพลังงานก่อนแล้วจึงดูด
31. อนุกรมของเส้นสเปกตรัมชุดแบรกเกตให้พลังงานในระดับรังสี ใด
1. อัลตราไวโอเลต 2. อินฟาเรด
3. รังสี เอกซ์ 4. แสงที่ตาสัมผัสได้
32. สเปกตรัมของอะตอมไฮโดรเจนชุดใดมีความถี่อยูใ่ นช่วงของแสง
1. ชุดไลมาน 2. ชุดบัลเมอร์
3. ชุดพาสเซน 4. ชุดฟรันด์
33. เมื่ออิเล็กตรอนของไฮโดรเจนเปลี่ยนระดับพลังงาน n = 5 เป็ นระดับพลังงาน n = 2 จะ
ให้แสงสี น้ าเงิน ถ้าอิเล็กตรอนเปลี่ยนพลังงานจาก n = 6 ไปยัง n = 2 จะได้แสงสี ใด
1. ม่วง 2. เขียว 3. เหลือง 4. แดง
34. การเปลี่ยนสถานะต่อไปนี้ของอะตอมไฮโดรเจน ข้อใดจะปล่อยโฟตอนที่มีพลังงานสู งกว่า
1. n = 1 ไป n = 2 2. n = 2 ไป n = 1
3. n = 2 ไป n = 6 4. n = 6 ไป n = 2
35. การเปลี่ยนสถานะต่อไปนี้ของอะตอมไฮโดรเจน ข้อใดจะดูดโฟตอนที่มีพลังงานสู งกว่า
1. n = 1 ไป n = 2 2. n = 2 ไป n = 1
3. n = 2 ไป n = 6 4. n = 6 ไป n = 2
36. ในการกระตุ ้น ให้ อ ะตอมไฮโดรเจนที่ ระดับ พลัง งานต่ าสุ ด ( –13.6 eV ) ไปอยู ่ที่ ระดับ
พลังงานกระตุน้ ที่ 3 ต้องให้โฟตอนที่มีพลังงานเท่าไร
1. 0.85 eV 2. 1.51 eV 3. 12.09 eV 4. 12.75 eV
37(แนว En) ตามทฤษฎี อะตอมของโบร์ ระดับพลังงานของอะตอมไฮโดรเจนต่ าสุ ดเท่ากับ
–13.6 อิเล็กตรอนโวลต์ ถ้าอะตอมไฮโดรเจนถูกกระตุน้ ไปอยู่ที่ระดับพลังงานสู งขึ้ นและ
กลับ สู่ ส ถานะพื้ น ที่ มี พ ลังงานต่ า สุ ด โดยการปล่ อยโฟตอนออกมาด้วยพลังงาน 12.09
อิ เล็ ก ตรอนโวลต์ แสดงว่าอะตอมไฮโดรเจนถู ก กระตุ ้น ไปที่ ระดับ พลังงานที่ n เท่ ากับ
เท่าใด
1. 2 2. 3 3. 4 4. 5
40
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
38(แนว En) พลังงานต่าสุ ดของอิเล็กตรอนในอะตอมไฮโดรเจนคือ –13.6 อิเล็กตรอนโวลต์ ถ้า
อิเล็กตรอนเปลี่ยนสถานะจาก n = 3 ไปสู่ n = 1 จะให้แสงที่มีพลังงานควอนตัมเท่าใด
1. 1.51 eV 2. 1.89 eV 3. 3.40 eV 4. 12.09 eV
39(แนว En) จากข้อที่ผา่ นมา พลังงานที่คายออกมาจะมีความยาวช่วงคลื่นกี่นาโนเมตร
1. 102.4 2. 256.5 3. 525.5 4. 672.0
40(แนว En) จากข้อที่ผา่ นมา พลังงานที่คายออกมาจะมีความถี่ประมาณกี่เฮิรตซ์
1. 2.93 x 1014 2. 5.86 x 1014 3. 2.93 x 1015 4. 5.86 x 1015
41(แนว En) อิเล็กตรอนอะตอมธาตุหนึ่งเปลี่ยนสถานะจากชั้น 5 ซึ่ งมี ร ะดับ พลัง งาน 20.66
อิเล็กตรอนโวลต์ ลงมายังชั้น 3 พร้อมๆ กับคายโฟตอนที่มี ความยาวคลื่ น 632.8 นาโน
เมตร ระดับพลังงานของอะตอมนี้ ในชั้น 3 มีค่าประมาณเท่าไร
1. 15.8 eV 2. 16.6 eV 3. 17.6 eV 4. 18.7 eV
42(แนว En) อะตอมไฮโดรเจน เมื่อเปลี่ยนระดับพลังงานจากสถานะ n = 3 สู ่ สถานะพื้น จะให้
โฟตอนมีพลังงาน 12.09 อิเล็กตรอนโวลต์ และเมื่อเปลี่ยนสถานะจาก n = 2 สู่ สถานะพื้น
จะให้โฟตอนพลังงาน 10.21 อิเล็กตรอนโวลต์ ถ้าต้องการกระตุน้ ให้อะตอมไฮโดรเจน
เปลี่ยนระดับพลังงานจากสถานะ n = 2 ไปยังสถานะ n = 3 จะต้องใช้แสงความถี่เท่าใด
1. 4.5 x 1014 Hz 2. 5.4 x 1014 Hz
3. 3.0 x 1015 Hz 4. 5.4 x 1015 Hz
43. ถ้าอะตอมเปลี่ยนระดับพลังงานเดิมจาก E4 มายัง E2 จะปลดปล่อยโฟตอนที่มีความยาว
ช่วงคลื่นประมาณเท่ากับกี่นาโนเมตร
1. 243.1 2. 256.4 3. 486.2 4. 512.8
44(แนว En) อะตอมไฮโดรเจนเปลี่ยนระดับพลังงานจาก n = 2 ไป n = 1 ความยาวคลื่น ของ
แสงที่ปล่อยออกมาเป็ นกี่เท่าของในกรณี ที่เปลี่ยนระดับพลังงานจาก n = 3 ถึง n = 2
1. 275 เท่า 2. 163 เท่า 3. 83 เท่า 4. 85 เท่า
45. ในการเคลื่อนย้ายอิเล็กตรอนของอะตอมของไฮโดรเจนจากวงโคจรที่ 4 ลงสู ่ วงโคจรที่
ต่ากว่าสเปกตรัมเส้นที่มีความยาวคลื่นสั้นที่สุดจะมีความยาวคลื่นกี่นาโนเมตร
1. 97.2 2. 110.8 3. 256.3 4. 400.0

41
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
46. อิเล็กตรอนตัวหนึ่งถูกเร่ งด้วยความต่างศักย์ 13.2 โวลต์ เข้าชนกับอะตอมไฮโดรเจนที่อยู่
ในสถานะพื้น การชนครั้งนี้จะสามารถทาให้อะตอมไฮโดรเจนอยูใ่ นระดับพลังงานสู งสุ ดใน
ระดับ n เท่าใด ( พลังงานสถานะพื้นของไฮโดรเจน = –13.6 eV )
1. n = 7 2. n = 6 3. n = 5 4. n = 4
47. ในช่วงระดับพลังงานต่าสุ ดสามระดับแรกของอะตอมไฮโดรเจน คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าที่ตรวจ
พบจะอยูใ่ นชุดความถี่ที่เรี ยกว่า
1. ชุดไลมาน และ ชุดบัลเมอร์ 3. ชุดไลมาน และชุดพาสเซน
3. ชุดบัลเมอร์ และชุดพาสเซน 4. ชุดไลมาน ชุดบัลเมอร์ และชุดพาสเซน
48. ในการทดลองของฟรังค์และเฮิรตซ์ ถ้าเราใช้ หลอดทดลองที่บรรจุไฮโดรเจนแทนหลอด
ที่บรรจุไอปรอท จะต้องให้พลังงานแก่อิเล็กตรอนน้อยที่สุดเท่าใด จึงจะรับพลังงานนั้น
( ให้ระดับพลังงานในหน่วย eV ของอิเล็กตรอนในอะตอมไฮโดรเจนเรี ยงจากวงในสุ ดเป็ น
–13.59 , –3.40 , –1.51 , .... 0 ตามลาดับ )

19.3.4 การทดลองของฟรังก์ และเฮิรตซ์  


19.3.5 รังสี เอกซ์  
49. อิเล็กตรอนถูกเร่ งในหลอดโทรทัศน์ดว้ ยความต่างศักย์ประมาณ 10,000 โวลต์ เมื่ออิเล็ก -
ตรอนกระทบจอโทรทัศน์ คลื่ นแม่เหล็กไฟฟ้ าที่แผ่มาจากจอโทรทัศน์มีความยาวคลื่ นได้ส้ ั น
สุ ดคือ ( หน่วยเมตร )
1. 4.1 x 10–9 2. 1.2 x 10–10 3. 8.0 x 109 4. 2.4 x 1018
50. ในหลอดผลิ ตรังสี เอกซ์ ถ้าใช้ความต่างศักย์เร่ งอิเล็กตรอน 10000 โวลต์ จงหาความถี่
ของรังสี เอกซ์น้ ี ในหน่วยเฮิรตซ์
1. 2.42 x 1016 2. 4.83 x 1016 3. 2.42 x 1018 4. 4.83 x 1018
51. เมื่อต่อหลอดรังสี เอกซ์เข้ากับความต่างศักย์ 20 กิโลโวลต์ จงหาความเร็ วของอิเล็กตรอน
ตัวที่เร็ วที่สุดที่มาถึงแอโนด (เป้ า) ถ้าอิเล็กตรอนเริ่ มต้นด้วยความเร็ วเป็ นศูนย์
1. 4.22 x 107 m/s 2. 8.43 x 107 m/s
3. 4.22 x 108 m/s 4. 8.43 x 108 m/s

42
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
52. จากข้อที่ผา่ นมา จงหาความยาวคลื่นน้อยที่สุดในสเปกตรัมของรังสี เอกซ์
1. 30.95 nm 2. 61.90 nm 3. 30.95 pm 4. 61.90 pm

19.3.6 ความไม่ สมบูรณ์ ของทฤษฏีอะตอมของโบร์


19.4 ทวิภาวะของคลืน่ และอนุภาค 
19.4.1 ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก
53. ฟังก์ชนั งาน ( work function ) ของโลหะคือ
1. พลังงานยึดเกาะระหว่างอะตอม 2. พลังงานที่โฟตอนให้กบั โลหะ
3. พลังงานสู งสุ ดของโฟโตอิเล็กตรอน 4. พลังงานระหว่างอะตอมกับอิเล็กตรอน
54. พลังงานยึดเหนี่ยวของโลหะจะมีค่ามากหรื อน้อยขึ้นอยูก่ บั
1. ขนาดของโลหะ 2. ชนิดของโลหะ
3. ความถี่ของแสงที่ใช้ 4. ความเข้มของแสงที่ใช้
55. พลังงานจลน์สูงสุ ดของโฟโตอิเล็กตรอนมีค่าตามข้อใด
1. เท่ากับพลังงานของโฟตอนที่ให้กบั โลหะ
2. เท่ากับพลังงานยึดเหนี่ยวของโลหะนั้น
3. เท่ากับผลต่างพลังงานของโฟตอนกับพลังงานยึดเหนี่ยว
4. เท่ากับผลบวกพลังงานของโฟตอนและพลังงานยึดเหนี่ ยว
56. ผลที่ได้จากการศึกษาปรากฎการณ์โฟโตอิเล็กตริ ก สรุ ปได้ดงั นี้
ก. โฟโตอิเล็กตรอนเกิดขึ้นเมื่อแสงที่ตกกระทบมีความถี่สูงกว่าความถี่ขีดเริ่ ม
ข. ถ้าแสงที่มีความถี่สูงกว่าความถี่ขีดเริ่ มจานวนโฟโตอิเล็กตรอนจะเป็ นสัดส่ วนโดยตรง
กับความเข้มแสง
ค. พลังงานสู งสุ ดของอิเล็กตรอน เพิ่มขึ้นเป็ นสัดส่ วนกับความถี่ที่เพิ่ม
ง. พลังงานสู งสุ ดของอิเล็กตรอนย่อมเท่ากับผลบวกของพลังงานโฟตอนกับพลังงานยึด
เหนี่ยว
1. ข้อ ก. , ข. 2. ข้อ ก. , ค. 3. ข้อ ก. , ข. , ค. 4. ถูกทุกข้อ

43
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
57. ในการทดลองโฟโตอิเล็กตริ กเมื่อความถี่ของแสงที่ฉายเพิ่มขึ้นผลที่เกิดขึ้น ต่อไปนี้ขอ้ ใดผิด
1. ความต่างศักย์หยุดยั้งเพิ่มขึ้น
2. อิเล็กตรอนที่หลุดออกมามีพลังงานเพิ่มขึ้น
3. จานวนอิเล็กตรอนที่หลุดมีค่าเท่าเดิม
4. ความถี่ขีดเริ่ มเพิม่ ขึ้น
58. พิจารณาข้อความต่อไปนี้ ข้อใดเป็ นจริ ง
1. โลหะชนิดเดียวกัน ขนาดไม่เท่ากัน จะมีพลังงานยึดเหนี่ยวเท่ากัน
2. สามารถเพิ่มจานวนโฟโตอิเล็กตรอนได้โดยเพิ่มความเข้มแสงซึ่ งมีความถี่มากกว่า
ความถี่ขีดเริ่ ม
3. โลหะชนิดเดียวกันทาให้ความต่างศักย์หยุดยั้งแตกต่างกันได้ ทั้งนี้ข้ ึนอยูก่ บั ความถี่
ของแสงที่ใช้
4. เป็ นจริ งทุกข้อ
59. จงหาความยาวคลื่นที่ยาวที่สุดในอนุกรมไลแมน เมื่อกาหนดให้ k เป็ นค่านิจของริ ดเบิร์ก
1. 1k 2. k 3. 3k4 4. 3k4
60. พลังงานจลน์ของโฟโตอิเล็กตรอนจะมีค่ามากหรื อน้อยขึ้นอยูก่ บั ค่าใด
ก. ความเข้มของแสง ข. ความยาวคลื่นของแสง ค. ความถี่ของแสง
ง. ความเร็ วของแสง จ. สี ของแสง
1. ข้อ ก. 2. ข้อ ข. , ค. 3. ข้อ ข. , ค. , จ. 4. ข้อ ค.
61(แนว En) โลหะชนิ ดหนึ่ งมีค่าพลังงานยึดเหนี่ ยวเท่ากับ 2.0 อิเล็กตรอนโวลต์ ถ้ามีแสงที่มี
ความยาวคลื่ น 100 นาโนเมตร มากระทบพลังงานจลน์ สู งสุ ด ของโฟโตอิ เล็ ก ตรอนที่
ออกมาจะเป็ นกี่อิเล็กตรอนโวลต์ (eV) 
1. 6.4 eV 2. 10.4 eV 3. 14.4 eV 4. 18.4 eV
62. แสงมีความยาวคลื่ น 180 นาโนเมตร ตกกระทบผิวโลหะทองแดงซึ่ งมี ค ่าพลังงานยึด
เหนี่ ยวของทองแดงเท่ากับ 3.2 อิ เล็กตรอนโวลต์ จงหาค่าพลังงานจลน์สูงสุ ดของอิ เล็ก-
ตรอนที่หลุดจากผิวทองแดง
1. 2.8 x 10–19 จูล 2. 3.2 x 10–19 จูล
3. 5.9 x 10–19 จูล 4. 6.6 x 10–19 จูล
44
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
63. ในการทดลองเรื่ องปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริ ก ให้แสงซึ่งมีความยาวคลื่น 4 x 10 –7 เมตร
ตกกระทบผิวโลหะซึ่ ง ถ้าต้องการจะให้อิเล็กตรอนหลุดจากผิวโลหะได้น้ ัน จะต้องใช้พลัง
งานอย่างน้อยที่สุดเท่ากับ 3.2 x 10–19 จูล โฟโตอิเล็กตรอนที่หลุดออกมา จะมีพลังงาน
จลน์มากที่สุดกี่อิเล็กตรอนโวลต์
1. 1.09 2. 2.09 3. 3.09 4. 4.09
64(แนว มช) อนุ ภาคโฟตอนตัวหนึ่ งมี ค วามยาวคลื่ น 60 นาโนเมตร วิ่งเข้าชนอะตอมของ
ไฮโดรเจน มีอิเล็กตรอนถูกปลดปล่อยออกจากอะตอมของไฮโดรเจน ถ้าพลังงาน ไอออน
ไนเซชัน่ ของอะตอมไฮโดรเจนเป็ น 13.6 อิเล็กตรอนโวลต์ ถามว่าอิเล็กตรอนดัง กล่ า วมี
พลังงานจลน์กี่อิเล็กตรอนโวลต์
65(แนว En) เมื่อฉายแสงตกกระทบผิวแพลทินมั ซึ่ งมีค่าฟังก์ชนั งาน 5.6 อิเล็กตรอนโวลต์ ทา
ให้อิเล็กตรอนหลุดจากผิวออกมาด้วยพลังงานจลน์สูงสุ ด 1.0 อิเล็กตรอนโวลต์ ถ้าเรา ใ ห้
แสงเดี ยวกันนี้ ไปตกกระทบผิวเงิ นซึ่ งมี ค่าฟั งก์ชันงาน 4.2 อิ เล็ กตรอนโวลต์ จะต้องใช้
ความต่างศักย์กี่โวลต์ เพื่อที่จะทาให้อิเล็กตรอนที่หลุดจากผิวหยุดนิ่ง
1. 2.4 V 2. 4.4 V 3. 6.6 V 4. 11.2 V
66(แนว มช) สาหรับผิวโลหะหนึ่งพบว่า ความยาวคลื่นขีดเริ่ มของแสงสาหรับผิวโลหะนี้ มีค่า
เท่ากับ 310 นาโนเมตร เมื่อแสงมีความยาวคลื่น 2.0 x 10–7 เมตร มาตกกระทบ จะต้อง
ใช้ความต่างศักย์กี่โวลต์ เพื่อที่จะทาให้อิเล็กตรอนที่หลุดจากผิวหยุด
67. ในปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กตรอน ถ้าให้แสงมีความถี่ 8 x 1014 เฮิรตซ์ ตกกระทบโลหะ
 

ชนิ ดหนึ่ ง ปรากฏว่าต้องใช้ความต่ างศักย์ในการหยุดยั้งโฟโตอิ เล็ก ตรอนที่ หลุ ดออกมา


เท่ากับ 1.3 โวลต์ พลังงานยึดเหนี่ยวของโลหะที่ใช้การทดลองนี้ มีค่าเท่าใด
1. 0 อิเล็กตรอนโวลต์ 2. 2.0 อิเล็กตรอนโวลต์
3. 2.5 อิเล็กตรอนโวลต์ 4. 4.3 อิเล็กตรอนโวลต์
68. ในการทดลองปรากฏการณ์ โฟโตอิเล็กทริ ก เมื่อให้แสงมีความถี่ 6 x 10 14 เฮิรตซ์ ตก
กระทบโลหะชนิ ดหนึ่ ง ปรากฏว่าต้องใช้ความต่างศักย์หยุดยั้ง 1 โวลต์ แสดงว่าพลังงาน
ยึดเหนี่ยวของโลหะที่ใช้ในการทดลองมีค่าเป็ นกี่อิเล็กตรอนโวลต์
 

45
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
69. จากปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริ ก เมื่อให้แสงที่มีพลังงาน 2.0 อิเล็กตรอนโวลต์ ตกกระ
ทบโลหะชนิดหนึ่ง ปรากฏว่าต้องใช้ความต่างศักย์ระหว่างแคโทดกับแอโนด ในการหยุด
ยั้งโฟโตอิเล็กตรอนเท่ากับ 0.65 โวลต์ ถ้าให้แสงมีพลังงาน 4.0 อิเล็กตรอนโวลต์ ตก
กระทบโลหะชนิดเดียวกันจะต้องใช้ความต่างศักย์หยุดยั้งกี่โวลต์
1. 1.30 2. 1.35 3. 2.65 4. 5.25
70(แนว En) เมื่อฉายแสงอัตราไวโอเลตความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร ลงบนผิวแม็กนีเซี ยม
ปรากฏว่าต้องใช้ศกั ย์หยุดยั้ง 1.2 โวลต์ จงหาความถี่ขีดเริ่ มของแมกนีเซี ยม
1. 1.6 x 1014 Hz 2. 3.1 x 1014 Hz 3. 1.6 x 1015 Hz 4. 3.1 x 1015 Hz
71. เมื่อให้แสงที่มีความยาวคลื่น 450 นาโนเมตร ตกกระทบผิวโลหะชนิดหนึ่ง ปรากฎว่าต้อง
ใช้ความต่างศักย์ในการหยุดยั้งโฟโตอิเล็กตรอนเท่ากับ 1.5 โวลต์ ถ้าต้องการให้อิเล็กตรอน
หลุดออกจากผิวโลหะได้พอดีจะต้องใช้แสงที่มีความยาวคลื่นกี่นาโนเมตร
( ให้ค่านิจของพลังค์ = 6.6 x 10–34 J.s )
72. จงคานวณหาค่าความเข้มสนามแม่เหล็กในแนวตั้งฉาก (เทสลา) ที่ทาให้โฟโตอิเล็กตรอน
โคจรเป็ นวงกลมที่มีรัศมีความโค้งเท่ากับ 20 เซนติเมตร โดยโฟโตอิเล็กตรอนดังกล่าวหลุด
ออกจากผิวหน้าของโลหะแบเรี ยม เมื่อแสงความยาวคลื่น 4000 อังสตรอม เข้าตกกระทบ
ที่ผวิ โลหะ กาหนดค่าพลังงานยึดเหนี่ยวอะตอมของโลหะแบเรี ยม = 2.5 อิเล็กตรอนโวลต์
1. 5.0 x 10–6 2. 8.0 x 10–6 3. 1.3 x 10–5 4. 2.1 x 10–5

19.4.2 โฟตอน
73. หลอดโซเดียมให้แสงสี เหลืองที่มีความยาวคลื่น 590 นาโนเมตร ก าลังงาน 100 วัตต์
จงคานวณพลังงานโฟตอนของแสงสี เหลื องและจานวนโฟตอนที่ ถูกปล่ อยออกจากหลอด
ใน 1 วินาที
1. 2.98 x 1019 2. 3.67 x 1019 3. 2.98 x 1020 4. 3.67 x 1020
74. เมื่อผ่านแสงสี แดงความยาวคลื่น 660 นาโนเมตร จานวน 7 x 1022 โฟตอน เข้าไปใน
น้ ามวล 200 กรัม ถ้าน้ าดูดกลืนพลังงานร้อยละ 40 ไปเป็ นความร้อนน้ ามีอุณหภูมิเพิ่มขึ้น
เท่าไร ( กาหนดให้ ความร้อนจาเพาะของน้ าเป็ น 4.2 x103 J / kg.K )
1. 25oC 2. 20oC 3. 15oC 4. 10oC
46
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
19.4.3 ปรากฏการณ์คอมตัน
19.4.4 สมมติฐานของเดอบรอยล์
75. แสงที่มีความยาวคลื่น 600 นาโนเมตร เมื่อแสงนี้ แสดงสมบัติของอนุภาคจะมีโมเมนตัม
กี่นิวตัน.วินาที
1. 1.1 x 10–25 2. 1.9 x 10–25 3. 1.1 x 10–27 4. 1.9 x 10–27
76. ไฮโดรเจนอะตอมอยูใ่ นสถานะกระตุน้ มีพลังงานเท่ากับ 0.9 x 10–19 จูล ค่าความยาว
คลื่นเดอบรอยด์ของอิเล็กตรอนในอะตอมนี้ คือข้อใด
1. 1.6 x 10–9 m 2. 2 x 10–6 m 3. 3.2 x 10–9 m 4. 2.5 x 10–10 m
77. อนุภาคชนิดหนึ่งมีมวล 3.2 x 10–27 กิโลกรัม ประพฤติตวั เป็ นคลื่นที่มีพลังงาน 1 เมกะ-
อิเล็กตรอนโวลต์ ความยาวคลื่นของอนุ ภาคนี้ เท่ากับ
1. 2.0 x 10–31 เมตร 2. 8.3 x 10–24 เมตร
3. 2.1 x 10–14 เมตร 4. 1.2 x 10–12 เมตร
78. อนุภาคมีประจุไฟฟ้ า q มวล m ถูกเร่ งจากสภาพนิ่งด้วยสนามไฟฟ้ าสม่าเสมอความ
ต่างศักย์ V จะประพฤติตวั เป็ นคลื่นมีความยาวคลื่นเท่าไร
1.  = h 2.  = 2qVmh 3.  = h h2
4.  = 2qVm
2qVm
79. อนุภาค A และ B ประพฤติตวั เป็ นคลื่นสสารมีความยาวคลื่นของเดอบรอยล์เท่ากัน จงหา
อัตราส่ วนพลังงานจลน์ของอนุ ภาค A ต่อของอนุ ภาค B ถ้ามวลของอนุภาค A เป็ น 1600
เท่าของมวลอนุภาค B
1. 40 2. 1/40 3. 1/1600 4. 1600

19.5 กลศาสตร์ ควอนตัม 


19.5.1 หลักความไม่ แน่ นอน
19.5.2 โครงสร้ างอะตอมตามแนวคิดกลศาสตร์ ควอนตัม

47
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
เฉลยตะลุ ย โจทย์ ท่ วั ไปฟิ สิ ก ส์ บทที่ 19 ฟิ สิ ก ส์ อ ะตอม
1. ตอบข้ อ 4. 2. ตอบข้ อ 4. 3. ตอบข้ อ 3. 4. ตอบ 45.5 
5. ตอบข้ อ 3. 6. ตอบข้ อ 1. 7. ตอบข้ อ 3. 8. ตอบข้ อ 2.
9. ตอบข้ อ 2. 10. ตอบข้ อ 4. 11. ตอบข้ อ 3. 12. ตอบข้ อ 2.
13. ตอบข้ อ 4. 14. ตอบข้ อ 1. 15. ตอบ 6 16. ตอบข้ อ 1.
17. ตอบข้ อ 1. 18. ตอบ 400 19. ตอบข้ อ 4. 20. ตอบข้ อ 4.
21. ตอบข้ อ 1. 22. ตอบข้ อ 4. 23. ตอบข้ อ 4. 24. ตอบข้ อ 2.
25. ตอบข้ อ 2. 26. ตอบข้ อ 3. 27. ตอบข้ อ 1. 28. ตอบข้ อ 2.
29. ตอบข้ อ 1. 30. ตอบข้ อ 2. 31. ตอบข้ อ 2. 32. ตอบข้ อ 2.
33. ตอบข้ อ 1. 34. ตอบข้ อ 2. 35. ตอบข้ อ 1. 36. ตอบข้ อ 4.
37. ตอบข้ อ 2. 38. ตอบข้ อ 4. 39. ตอบข้ อ 1. 40. ตอบข้ อ 3. 
41. ตอบข้ อ 4. 42. ตอบข้ อ 1. 43. ตอบข้ อ 3. 44. ตอบข้ อ 1.
45. ตอบข้ อ 1. 46. ตอบข้ อ 3. 47. ตอบข้ อ 1. 48. ตอบ 10.19
49. ตอบข้ อ 2. 50. ตอบข้ อ 3. 51. ตอบข้ อ 2. 52. ตอบข้ อ 4.
53. ตอบข้ อ 4. 54. ตอบข้ อ 2. 55. ตอบข้ อ 3. 56. ตอบข้ อ 3.
57. ตอบข้ อ 4. 58. ตอบข้ อ 4. 59. ตอบข้ อ 4. 60. ตอบข้ อ 3. 
61. ตอบข้ อ 2. 62. ตอบข้ อ 3. 63. ตอบข้ อ 1. 64. ตอบ 7.02
65. ตอบข้ อ 1. 66. ตอบ 2.2 67. ตอบข้ อ 2. 68. ตอบ 1.5
69. ตอบข้ อ 3. 70. ตอบข้ อ 2. 72. ตอบข้ อ 3. 73. ตอบข้ อ 3.
74. ตอบข้ อ 4. 75. ตอบข้ อ 3. 76. ตอบข้ อ 1. 77. ตอบข้ อ 3.
78. ตอบข้ อ 3. 79. ตอบข้ อ 3.



48
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์
บทที่ 20 ฟิ สิ ก ส์ นิ ว เคลี ย ร์
ทบทวนเรื่องอนุภาคมูลฐานของอะตอม
ในปั จจุ บ นั นี้ เป็ นที่ ท ราบกันแล้วว่า อะตอมประกอบไปด้วยอนุ ภ าคที่ ส าคัญ สามชนิ ด
ได้แก่ อิเล็กตรอน โปรตอน และนิ วตรอน อนุ ภาคทั้งสามชนิ ดนี้ เรี ยกว่าอนุ ภาคมูลฐานของ
อะตอม ซึ่งมีคุณสมบัติดงั แสดงในตารางต่อไปนี้
อนุภาค ประจุ ( C ) ตัวแทน มวล (กรัม) มวล (a.m.u)
โปรตอน (p) +1.6 x 10–19 +1 1.672 x 10–24 1.007285
อิเล็กตรอน (e) –1.6 x 10–19 –1 9.108 x 10–28 0.000549
นิวตรอน (n) 0 0 1.674 x 10–24 1.008665
หมายเหตุ : 1 a.m.u = 1.66 x 10–24 กรัม
สัญลักษณ์ของธาตุที่เขียนโดยแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับจานวนอนุภาคมูลฐานของอะตอม
เรี ยกว่าสั ญลักษณ์นิวเคลียร์ รู ปแบบการเขียนเป็ นดังนี้
เลขมวล (A) = จานวนโปรตอน + นิวตรอน
= จานวนนิวคลีออน
AX
Z
เลขอะตอม (Z) = จานวนโปรตอน
เลขอะตอม ( Z ) คือจานวนโปรตอนที่มีในนิ วเคลียส และหากเป็ นอะตอมปกติจะเป็ น
กลางทางไฟฟ้ า ( ประจุไฟฟ้ ารวมเป็ นศูนย์ ) จานวนโปรตอนจะเท่ากับจานวนอิเล็กตรอน ดังนั้น
เลขอะตอมจะเท่ากับจานวนอิเล็กตรอนด้วย
เลขมวล ( A ) คือมวลรวมของอะตอม ปกติแล้วอิ เล็กตรอนจะมีมวลน้อยมากเมื่อเทียบ
กับมวลโปรตอนและนิ วตรอน ดังนั้นมวลรวมของอะตอมจึงเป็ นมวลของโปรตอนรวมกับมวล
ของนิ ว ตรอนนั่น เอง และเนื่ อ งจากโปรตอนกับ นิ วตรอนแต่ ล ะตัว จะมี ม วลเท่ ากับ 1 มวล
อะตอมรวมแล้วจึ งเท่ากับ จานวนโปรตอนรวมกับ จานวนนิ วตรอน นั่นคื อเลขมวลจะเท่ ากับ
จานวนโปรตอน + จานวนนิวตรอน นัน่ เอง

1
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ข้ อควรทราบเกีย่ วกับสั ญลักษณ์นิวเคลียร์
1. เลขอะตอม = จานวนโปรตอน = ลาดับของธาตุในตารางธาตุ
@ ถ้ารู ้จานวนโปรตอน จะรู ้วา่ เป็ นธาตุลาดับที่เท่าไรในตารางธาตุ และเป็ นธาตุอะไร
@ อะตอมของธาตุชนิ ดเดียวกันจะมีจานวนโปรตอนเท่ากัน
@ ถ้าจานวนโปรตอนของอะตอมเปลี่ยนไปชนิดและสมบัติของอะตอมจะเปลี่ยนไป
2. อะตอมปกติ จานวน p = จานวน e จะทาให้ประจุไฟฟ้ ารวม = 0 (เป็ นกลางทางไฟฟ้ า)
หากอะตอมปกติรับอิเล็กตรอนเพิ่มเข้า 1 ตัว ประจุรวม = –1 เขียนสัญลักษณ์เป็ น AZ X1-
หากรับอิเล็กตรอนเพิม่ เข้า 2 ตัว ประจุรวม = –2 เขียนสัญลักษณ์เป็ น AZ X 2-
หากเสี ยอิเล็กตรอนออกไป 1 ตัว ประจุรวม = +1 เขียนสัญลักษณ์เป็ น AZ X1 
หากเสี ยอิเล็กตรอนออกไป 2 ตัว ประจุรวม = +2 เขียนสัญลักษณ์เป็ น AZ X 2 
3. จากสัญลักษณ์นิวเคลียร์
เลขมวล (A) บอกประจุ (K)
4 He1 
2
เลขอะตอม (Z)
จะได้วา่ จานวนโปรตอน ( p ) = A
จานวนนิวตรอน ( n ) = A – Z
จานวนอิเล็กตรอน ( e ) = A – K
เมื่อ A คือเลขมวล Z คือเลขอะตอม K คือเลขบอกประจุไฟฟ้ า
ฝึ กทา จงหาจานวนโปรตอน นิวตรอน และ อิเล็กตรอน จากสัญลักษณ์ของอะตอมต่อไปนี้
1. 1840 Ar ตอบ p = …….. n = ……..…. e = ……….
2. 1939 K ตอบ p = …….. n = ……..…. e = ……….
3. 92235 U ตอบ p = …….. n = ……..…. e = ……….

2
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฝึ กทา จงหาจานวนโปรตอน นิวตรอน และ อิเล็กตรอน จากสัญลักษณ์ของอะตอมต่อไปนี้
1. 31 3 ตอบ P = …….. N = …….. e = ……….
15 P
2. 35 1 ตอบ P = …….. N = …….. e = ……….
17 Cl
3. 9 Be 2 ตอบ P = …….. N = …….. e = ……….
4

1(แนว มช) อะตอมของธาตุ 196 197


78 Pt และ 79 Au จะมีจานวนอะไรเท่ากัน
1. นิวคลีออน 2. นิวตรอน 3. โปรตอน 4. อิเล็กตรอน

20.1 กัมมันตภาพรังสี
กัมมันตภาพรังสี เป็ นปรากฏการณ์ที่นิวเคลียส
ของโอโซโทปที่ไม่เสถียร เกิดการปรับตัวเพื่อให้มี
เสถียรภาพ โดยการปล่อยอนุภาคบางชนิ ดหรื อ
พลังงานออกมาในรู ปของรังสี ธาตุที่มีสมบัติใน
การแผ่รังสี ได้เองนี้เรี ยกว่าธาตุกมั มันตรังสี
รังสี ที่คายออกมาจากธาตุกมั มันตรังสี
เมื่อนาไปแยกในสนามแม่เหล็กจะแยกได้
3 ชนิดคือ
1. รังสี แอลฟา (Alpha particte ,  )
เป็ นนิวเคลียสของอะตอมของธาตุ
ฮีเลี ยม มีมวลเท่ากับ 4 และมีประจุไฟฟ้ า +2 เขียนสัญลักษณ์จึงได้ 42 He มีพลังงาน 4 –10
MeV เนื่ องจากรังสี แอลฟามีมวลมาก เมื่อเคลื่อนไปชนอนุภาคตัวกลางใดๆ จะทาให้อนุ ภาค
ตัวกลางแตกตัวได้ดี แต่ตวั รั งสี แอลฟาจะสู ญเสี ยพลังงานไปมากจึ งท าให้อานาจในการทะลุ
ทะลวงไปข้างหน้าต่า ( เคลื่อนได้ 3 – 5 เซนติเมตร ในอากาศ )
เนื่องจากรังสี แอลฟามีองค์ประกอบเป็ นอนุภาค จึงอาจเรี ยกเป็ นอนุภาคแอลฟาก็ได้
3
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์
2. รังสี บีตา ( Beta paticle ,  )
เป็ นอิเล็กตรอนที่มีพลังงานสู งในช่วงประมาณ 0.025 – 3.5 MeV เขียนเป็ นสัญลักษณ์จะ
ได้ -01 e เนื่ องจากรังสี บีตามีมวลน้อย เมื่อเคลื่อนไปชนอนุภาคตัวกลางใดๆ จะทาให้อนุ ภาค
ตัวกลางแตกตัวได้นอ้ ย สู ญเสี ยพลังงานไม่มากจึงทาให้อานาจในการทะลุทะลวงไปข้างหน้าสู ง
กว่า รั ง สี แ อลฟา ( เคลื่ อ นได้ 1 – 3 เมตร ในอากาศ ) นอกจากนี้ รั ง สี บี ต ายัง เบี่ ย งเบนใน
สนามแม่เหล็กได้มากกว่ารังสี แอลฟา เพราะอัตราเร็ วของการเคลื่อนที่สูงกว่าแอลฟา
รังสี บีตาเกิดจากการแตกตัวของนิ วตรอนในนิ วเคลี ยส ซึ่ งเมื่อนิ วตรอนแตกตัวจะได้
โปรตอน 1 ตัวและอิเล็กตรอน 1 ตัว อิ เล็กตรอนนี้ จะหลุ ดออกมาจากนิ วเคลี ยสแล้วเกิ ดเป็ น
รังสี บีตา ส่ วนโปรตอนจะยังคงอยูใ่ นนิ วเคลียส ด้วยเหตุน้ ี ในนิ วเคลียสจะมีโปรตอนเพิ่ม 1 ตัว
เสมอเมื่อมีการคายรังสี บีตา อีกประการหนึ่งอิเล็กตรอนในคายออกมานั้นมีมวลน้อยมาก ดังนั้น
การคายรังสี บีตาจึงไม่ทาให้มวลของนิวเคลียสเปลี่ยนแปลง
3. รังสี แกมมา ( Gamma Rays ,  )
เป็ นคลื่ นแม่ เหล็ ก ไฟฟ้ าชนิ ดหนึ่ ง จึ งเป็ นกลางทางไฟฟ้ า ( ไม่ มี ป ระจุ ) เกิ ดจากการ
เปลี่ยนแปลงระดับพลังงานของนิ วเคลียส เพราะนิวเคลียสที่เกิดใหม่ในกัมมันตภาพรังสี น้ นั จะ
อยูใ่ นภาวะถูกกระตุน้ ( Excited Stated ) มีพลังงานสู งมาก ซึ่ งจะต้องมีการคายพลังงานออกมา
บางส่ วน พลังงานที่คายออกมานั้นจะเป็ นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า ในระดับของรังสี แกมมานัน่ เอง
เนื่องจากรังสี แกมมามีพลังงานสู งมาก ( 0.04 – 3.2 MeV ) และทาให้เกิดการแตกตัวเป็ น
ไอออนของตัวกลางที่ผา่ นน้อยมาก ดังนั้นรังสี แกมมาจึงมีอานาจในการทะลุผา่ นสู งมาก
ฝึ กทำ. รังสี แอลฟา มีมวล = ……….. มีประจุ = .............
เนื่องจากมีมวลมาก  ทาให้ตวั กลางแตกตัวได้..........  เสี ยพลังงาน...........  ทะลุทลวงได้.......

ฝึ กทำ. รังสี บีตา มีมวล = ……….. มีประจุ = .............     


เนื่องจากมีมวลน้อย  ทาให้ตวั กลางแตกตัวได้......... เสี ยพลังงาน......... ทะลุทลวงได้.......

2. รังสี บีตาคืออิเล็กตรอนที่หลุดออกมาจากนิวเคลียส เกิดจากการสลายตัวของข้อใดต่อไปนี้


1. โปรตอน 2. นิวตรอน 3. อิเล็กตรอน 4. นิวเคลียส

4
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์
3. เมื่ อ นิ ว เคลี ย สคายรั ง สี บี ต าออกมาแล้ว นิ ว เคลี ย สจะเกิ ด การเปลี่ ย นแปลงชนิ ด ของธาตุ
เพราะเหตุในข้อใด
1. จานวนโปรตอนในนิวเคลียสลดลง 1 ตัว
2. จานวนโปรตอนในนิวเคลียสเพิ่มขึ้น 1 ตัว
3. จานวนนิวตรอนในนิวเคลียสลดลง 1 ตัว
4. จานวนอิเล็กตรอนในนิวเคลียสลดลง 1 ตัว

4. เหตุใดเมื่อนิวเคลียสคายรังสี บีตาออกมาแล้ว มวลของนิวเคลียสจะยังคงมีค ่าเท่าเดิม


1. เพราะจานวนโปรตอนในนิวเคลียสมีเท่าเดิม
2. เพราะจานวนนิวตรอนในนิวเคลียสมีเท่าเดิม
3. เพราะรังสี บีตาที่คายออกมานั้น คืออิเล็กตรอนซึ่ งมีมวลน้อยมาก
4. เพราะนิวตรอนที่สลายไปนั้นมีมวลน้อยมาก

5. รังสี แคโทดต่างกับรังสี บีตา คือ


1. รังสี แคโทดมีค่า me คงที่
2. รังสี แคโทดสามารถควบคุมด้วยสนามแม่เหล็กไฟฟ้ าพร้อมๆ กันได้
3. รังสี บีตามีความเร็ วไม่คงที่
4. รังสี บีตาเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ 

6. กระบวนการที่เกิดขึ้นในนิวเคลียส ซึ่ งมีลกั ษณะคล้ายกับการปล่อยแสงของอะตอมที่อยูใ่ น


สถานะกระตุน้ คือกระบวนการใด  
1. การแผ่รังสี แกมมา 2. การปล่อยอนุภาคบีตา
3. การปล่อยอนุภาคแอลฟา 4. การปล่อยอนุภาคนิวตรอน

5
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฝึ กทำ. รังสี ที่คายออกมาจากนิวเคลียสของธาตุกมั มันตรังสี ได้แก่ แอลฟา , บีตา , แกมมา

1. จงเรี ยงลาดับรังสี จากมวลมากไปน้อย ................................................ ........ ........ .........


2. จงเรี ยงลาดับจากความสามารถทาให้ตวั กลางแตกตัวจากมากไปน้อย........ ........ ........ .....
3. จงเรี ยงลาดับอัตราการสู ญเสี ยพลังงานจากมากไปน้อย........ ........ ........ ........ ........ .........
4. จงเรี ยงลาดับอานาจในการทะลุทะลวงจากมากไปน้อย........ ........ ........ ........ ........ ........ 
5. จงเรี ยงลาดับพลังงานรังสี จากมากไปน้อย........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ .

7. การแผ่รังสี ชนิ ดใดที่มิได้มีแหล่งกาเนิดจากนิวเคลียส


1. แอลฟา 2. บีตา 3. แกมมา 4. รังสี เอกซ์

8. รังสี ต่อไปนี้ รังสี ใดมีประจุไฟฟ้ า


ก. รังสี เอกซ์ ข. รังสี แอลฟา ค. รังสี แกมมา ง. รังสี บีตา จ. รังสี แคโทด
คาตอบที่ถูกต้องคือ
1. ข้อ ก , ข , ค 2. ข้อ ข , ค , ง 3. ข้อ ค , ง , จ 4. ข้อ ข , ง , จ

9(แนว มช) ถ้าให้รังสี บีตา แกมมา และแอลฟา เคลื่อนที่อยูใ่ นน้ า และรังสี บีตาทั้งสามชนิ ด
มีพลังงานเท่ากัน เราจะพบว่ารังสี บีตาเคลื่อนที่ได้ระยะทาง
1. สั้นที่สุด 2. ไกลที่สุด
3. ไกลกว่าแกมมาแต่ใกล้กว่าแอลฟา 4. ไกลกว่าแอลฟาแต่ใกล้กว่าแกมมา

10. อนุ ภาคแอลฟามีพลังงานโดยเฉลี่ยสู งกว่าอนุ ภาคบีตา และรังสี แกมมาแต่เหตุใดจึงมีอานาจ


ในการทะลุทะลวงได้นอ้ ยกว่า
1. อนุภาคสู ญเสี ยพลังงานเร็ ว 2. อนุภาคแอลฟามีมวลมาก
3. อนุภาคแอลฟามีประจุมาก 4. อนุภาคแอลฟามีขนาดโต

11. รังสี ที่เบี่ยงเบนในสนามแม่เหล็กได้มากที่สุดคือ


1. แอลฟา 2. บีตา 3. แกมมา 4. รังสี เอกซ์

6
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์

20.2 การเปลีย่ นสภาพนิวเคลียส


20.2.1 กำรค้ นพบนิวตรอน
W.Bothe และ H.Becker นัก
เคมีชาวเยอรมัน ได้ทาการทดลองใช้
อนุภาคแอลฟายิงแผ่นโลหะแบริ ลเลียม
ปรากฏว่าเกิดรังสี ซ่ ึ งไม่มีประจุ มีอา-
นาจทะลุทะลวงได้ดี เมื่อรังสี น้ี ชนกับ
โมเลกุลของพาราฟิ นจะได้โปรตอนออกมา ต่อมาในปี พ.ศ. 2475 Jame Chadwich ได้เสนอ
ว่ารังสี น้ ีตอ้ งประกอบด้วยอนุภาคและให้ชื่อว่านิวตรอน และได้ทาการพิสูจน์ได้วา่ นิวตรอนไม่มี
ประจุ และคานวณมวลนิวตรอนได้ค่าใกล้เคียงกับมวลของโปรตอน

20.2.2 สมกำรนิวเคลียร์  
ก่อนที่จะศึกษาถึงเรื่ องต่อไป นักเรี ยนควรทาความรู ้จกั สัญลักษณ์บางอย่างต่อไปนี้ดี
รังสี แอลฟา =  = 42 He รังสี บีตา =  = 01 e
รังสี แกมมา =  โปรตรอน = p = 11 H
นิวตรอน = n = 10 n โพซิตรอน = e+ = 10 e
ดิวเทอรอน = 12 H ตริ ตรอน = 13 H
การแตกตัวคายรังสี ของนิ วเคลี ยสกัมมันตรังสี น้ นั เราสามารถเขียนแสดงเป็ นสมการได้
สมการแสดงการแตกตัวดังกล่าวเรี ยกสมการนิวเคลียร์
หลักในการเขียนสมการนิวเคลียร์
1. ต้องให้ผลรวมเลขมวลก่อนปฏิกิริยา และผลรวมเลขมวลหลังปฏิกิริยามีค่าเท่ากัน
2. ต้องให้ผลรวมเลขอะตอมก่อนปฏิกิริยา และผลรวมเลขอะตอมหลังปฏิกิริยาเท่ากัน

ตัวอย่าง กาหนด 92238 U สลายตัวให้รังสี แอลฟาออกมา จงเขียนสมการแสดงการแตกตัวนี้


วิธีทา สมการเบื้องต้นอย่างง่าย คือ
นิวเคลียสเริ่ มต้น  นิวเคลียสเกิดใหม่ + รังสี ที่คาย
238 + 42 He
92 U 
7
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์
1. เนื่องจาก ผลรวมเลขมวลก่อนปฏิกิริยา = ผลรวมเลขมวลหลังปฏิกิริยา
จะได้ 238 = เลขมวลใน  + 4
234 = เลขมวลใน 
2. เนื่องจาก ผลรวมเลขอะตอมก่อนปฏิกิริยา = ผลรวมเลขอะตอมหลังปฏิกิริยา
จะได้ 92 = เลขอะตอมใน  + 2
90 = เลขอะตอมใน 
เมื่อดูจากตารางธาตุธาตุที่มีเลขอะตอม 90 คือธาตุลาดับที่ 90 ในตารางธาตุคือ Th
234 Th และสมการการแตกตัวนี้ คือ
ดังนั้นนิวเคลียสใน  จึงเป็ น 90
238 234 4
92 U  90 Th + 2 He


ตัวอย่าง กาหนด 86222 Rn สลายตัวให้รังสี แอลฟาออกมา จงเขียนสมการแสดงการแตกตัว


วิธีทา สมการเบื้องต้นอย่างง่าย
นิวเคลียสเริ่ มต้น  นิวเคลียสเกิดใหม่ + รังสี ที่คาย
222 + 42 He
86 Rn 
1. เนื่องจาก ผลรวมเลขมวลก่อนปฏิกิริยา = ผลรวมเลขมวลหลังปฏิกิริยา
จะได้ 222 = เลขมวลใน  + 4
218 = เลขมวลใน 
2. เนื่องจาก ผลรวมเลขอะตอมก่อนปฏิกิริยา = ผลรวมเลขอะตอมหลังปฏิกิริยา
จะได้ 86 = เลขอะตอมใน  + 2
84 = เลขอะตอมใน 
เมื่อดูจากตารางธาตุธาตุที่มีเลขอะตอม 84 คือธาตุลาดับที่ 84 ในตารางธาตุคือธาตุ Po
ดังนั้นนิวเคลียสใน  จึงเป็ น 84 218 Po และสมการการแตกตัวนี้ คือ
222 218 4
86 Rn  84 Po + 2 He

8
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ตัวอย่าง กาหนด 83210 Bi สลายตัวให้รังสี บีตาออกมา จงเขียนสมการแสดงการแตกตัวนี้
วิธีทา สมการเบื้องต้นอย่างง่าย
นิวเคลียสเริ่ มต้น  นิวเคลียสเกิดใหม่ + รังสี ที่คาย
210 + 01 e
83 Bi 
1. เนื่องจาก ผลรวมเลขมวลก่อนปฏิกิริยา = ผลรวมเลขมวลหลังปฏิกิริยา
จะได้ 210 = เลขมวลใน  + 0
210 = เลขมวลใน 
2. เนื่องจาก ผลรวมเลขอะตอมก่อนปฏิกิริยา = ผลรวมเลขอะตอมหลังปฏิกิริยา
จะได้ 83 = เลขอะตอมใน  + ( –1)
84 = เลขอะตอมใน 
เมื่อดูจากตารางธาตุธาตุที่มีเลขอะตอม 84 คือธาตุลาดับที่ 84 ในตารางธาตุคือธาตุ Po
ดังนั้นนิวเคลียสใน  จึงเป็ น 84 210 Po และสมการการแตกตัวนี้ คือ
210 210 0
83 Bi  84 Po + 1 e


ตัวอย่าง กาหนด 90234 Th สลายตัวให้รังสี บีตา และแกมมา ออกมา จงเขียนสมการแสดง


การแตกตัวนี้
วิธีทา สมการเบื้องต้นอย่างง่าย
นิวเคลียสเริ่ มต้น  นิวเคลียสเกิดใหม่ + รังสี ที่คาย
234 + 01 e + 
90 Th 
1. เนื่องจาก ผลรวมเลขมวลก่อนปฏิกิริยา = ผลรวมเลขมวลหลังปฏิกิริยา
จะได้ 234 = เลขมวลใน  + 0
234 = เลขมวลใน 
2. เนื่องจาก ผลรวมเลขอะตอมก่อนปฏิกิริยา = ผลรวมเลขอะตอมหลังปฏิกิริยา
จะได้ 90 = เลขอะตอมใน  + ( –1)
91 = เลขอะตอมใน 
เมื่อดูจากตารางธาตุธาตุที่มีเลขอะตอม 91 คือธาตุลาดับที่ 91 ในตารางธาตุคือธาตุ Pa
9
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์
234 Pa และสมการการแตกตัวนี้ คือ
ดังนั้นนิวเคลียสใน  จึงเป็ น 91
234 234 0
90 Th  91 Pa + 1 e + 
12(แนว En) ไอโซโทปกัมมันตรังสี 24 11 Na สามารถผลิตได้จากปฎิกิริยา
27 Al + X  24 Na + 4 He
13 11 2
ในสมการนี้อนุ ภาค X คือ
1. นิวตรอน 2. โปรตรอน 3. โพซิตรอน 4. อิเล็กตรอน

13(แนว En) จากปฎิกิริยาต่อไปนี้ 197 Au + 2 H  X + 4 He


79 1 2
นิวเคลียส X จะมีจานวนโปรตรอนและนิวตรอนอย่างไร
1. โปรตอน 78 ตัว นิวตรอน 117 ตัว 2. โปรตอน 78 ตัว นิวตรอน 195 ตัว
3. โปรตอน 117 ตัว นิวตรอน 195 ตัว 4. โปรตอน 195 ตัว นิวตรอน 78 ตัว

214 Bi สลายให้รังสี บีตาลบ นิวเคลียสของธาตุใหม่มีเลขมวลเท่าใด


14(แนว En) เมื่อ 83
1. 210 2. 212 3. 214 4. 216

222 Rn สลายตัวไปเป็ นนิวเคลียส 218 Po จะให้รังสี หรื ออนุภาค


15(แนว มช) นิวเคลียส 86 84
ชนิดใดออกมา
1. แกมมา 2. บีตา 3. นิวตรอน 4. แอลฟา

16. อนุภาคโปรตอนวิง่ ชนนิวเคลียสของ 115 B ทาให้เกิดนิวเคลียสตัวใหม่คือ 116 C กับอนุภาค


อีกตัวหนึ่งอนุภาคตัวนั้นคือ
1. โปรตอน 2. นิวตรอน 3. อิเล็กตรอน 4. แกมมา

10
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์
17(แนว En) อนุกรมการสลายตัวของ 238 92 U จะมีการสลายให้ 2 , 2 และ 2 จะทาให้
ได้นิวเคลียสใหม่ซ่ ึงมีจานวนนิวตรอนเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 138 2. 140 3. 142 4. 144

18(แนว En) นิวเคลียส 210


82 Pb สลายตัวสู่ ไอโซโทปเสถียร ตามลาดับดังนี้
210 β,  β α,
82 Pb  X  Y  Z
จานวนนิวตรอนในไอโซโทปเสถียร Z เป็ นเท่าไร

19(แนว En) จากการสลายตัวของ 88 226 Ra ตามแผน


ภาพข้างล่างนี้ A ควรจะเป็ นอะตอมของข้อใด
214 Po
1. 84 218 At
2. 85
3. 81218 Ti 214 Bi
4. 83

20(แนว En) จากรู ปเป็ นแผนภาพแสดงบางส่ วนของอนุกรมการสลายของนิวเคลียสธาตุหนัก


ในที่น้ ีนิวเคลียส ก. สลายเป็ นนิวเคลียส ข. และ นิวเคลียส ข. สลายเป็ นนิวเคลียส ค. ในระ
หว่างการสลายตัวจากนิวเคลียส ก  ข  ค
จะปล่อยอนุภาคเรี ยงลาดับได้ดงั นี้ A
238 ก
1. อนุภาคแอลฟา และอนุภาคบีตาบวก 236
2. อนุภาคบีตาลบ และอนุภาคแอลฟา 234 ข ค
3. อนุภาคบีตาบวก และ อนุภาคแอลฟา 232 Z
89 90 91 92 93
4. อนุภาคแอลฟา และอนุภาคบีตาลบ

11
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์
21(แนว มช) จากภาพอนุกรมการสลายตัวของ 238U ดังรู ปด้านล่าง ถ้า 222Rn สลายตัวได้
210Pb จะมีอนุภาคแอลฟาและ
บีตาถูกปล่อยออกมาเท่าใด
1. มีอนุภาคบีตา 3 ตัว และ
อนุภาคแอลฟา 3 ตัว
2. มีอนุภาคบีตา 3 ตัว และ
อนุภาคแอลฟา 4 ตัว
3. มีอนุภาคบีตา 4 ตัว และ
อนุภาคแอลฟา 3 ตัว 
4. มีอนุภาคบีตา 4 ตัว และ
อนุภาคแอลฟา 4 ตัว

22. จงหาจานวนอนุภาคแอลฟา ( 42 He ) และอนุภาคบีตา ( 01 e ) จากอนุกรมการสลายตัวของ


232 Th  208 Pb
นิวเคลียสต่อไปนี้ 90 82
1. 4  , 6  2. 6  , 4  3. 4  , 7  4. 7  , 4 

23. จงหาจานวนอนุภาคแอลฟา ( 42 He ) และอนุภาคบีตา ( 01 e ) จากอนุกรมการสลายตัวของ


237 Np  209 Bi
นิวเคลียสต่อไปนี้ 93 83
1. 4  , 6  2. 6  , 4  3. 4  , 7  4. 7  , 4 

12
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์

20.3 การสลายของนิวเคลียสกัมมันตรังสี
เมื่ อนิ วเคลี ยสของธาตุ ก ัม มัน ตรั ง สี ส ลายตัว ไป ปริ ม าณที่ เหลื ออยู่ย่อมมี ค่ าลดลง เรา
สามารถหาปริ มาณที่เหลือได้ โดยอาศัยสมการต่อไปนี้
t
N = No 2 T หรื อ N = No e  t
t
m = mo 2 T หรื อ m = mo e  t
t
A = Ao 2 T หรื อ A = Ao e  t
เมื่อ No คือจานวนนิวเคลียสของธาตุกมั มันตรังสี เริ่ มแรกที่พิจารณา ( t = 0 )
N คือจานวนนิวเคลียสที่เหลืออยูเ่ มื่อเวลาผ่านไป t
Ao คือกัมมันตภาพขณะเริ่ มต้น ( t = 0 )
A คือกัมมันตภาพเมื่อเวลา t ใดๆ นับจากเริ่ มต้น
mo คือมวลขณะเริ่ มต้น ( t = 0 )
m คือมวลเวลาผ่านไป t
e = 2.7182818
T คือครึ่ งชีวิต
และครึ่ งชีวติ อาจาหาค่าได้จากสมการ
T = In2 λ
= 0.693
λ
เมื่อ  = ค่าคงตัวการสลาย
 
24. ธาตุกมั มันตรังสี ชนิ ดหนึ่ งมีเวลาครึ่ งชีวิต 10 วัน ถ้าเก็บธาตุน้ นั จานวน 24 x 1018 อะตอม
ไว้ 30 วัน จะเหลือธาตุน้ นั กี่อะตอม
1. 1.5 x 1017 2. 3 x 1017 3. 1.5 x 1018 4. 3 x 1018

13
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์

25(แนว En) สารกัมมันตรังสี โคบอลต์-60 สลายตัวให้รังสี บีตาและรังสี แกมมา โดยมีครึ่ งชี วิต
5 ปี เมื่อเวลาผ่านไป 15 ปี จะเหลือจานวนอะตอมสารนี้ อยูก่ ี่เปอร์ เซ็นต์
1. 6.25 % 2. 12.5 % 3. 18.75 % 4. 25 %

26. มีธาตุไอโอดีน-131 ซึ่งมีครึ่ งชีวติ 8 วัน อยูจ่ านวน 1 กรัม จะใช้เวลานานเท่าใด จึงจะ
เหลือธาตุดงั กล่าวเพียง 0.125 กรัม
1. 16 วัน 2. 24 วัน 3. 32 วัน 4. 64 วัน

27(แนว มช) สารกัมมันตรังสี ชนิดหนึ่งขณะเริ่ มต้น ( t = 0) มีกมั มันตภาพ 10000 เบคเคอรอล


มีครึ่ งชี วิต 6 วัน อยากทราบว่าเวลาผ่านไปเท่าใดกัมมันตภาพของสารนี้ จะลดลงเหลื อ
1250 เบคเคอรอล
1. 12 วัน 2. 18 วัน 3. 21 วัน 4. 24 วัน

14
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์
28. เศษไม้โบราณเมื่อนาไปวัดกัมมันตภาพจะได้ 12.5 ต่อนาที ของ C-14 แต่ไม้ชนิ ดเดียวกัน
ซึ่ งมีชีวติ และอบแห้งแล้วเป็ นปริ มาณเท่ากันวัดได้ 100 ต่อนาที อยากทราบว่า เศษ ไม้
โบราณได้ตายมากี่ปีแล้ว กาหนดเวลาครึ่ งชีวติ ของ C-14 เท่ากับ 5600 ปี

29(แนว En) สารกัม มัน ตรั ง สี ชิ้ น หนึ่ ง มี ก ัม มัน ตภาพ 32 x 1011 เบคเคลเรล 5 ชั่ ว โมง
ต่อมากัมมันตภาพลดลงเหลือ 1.0 x 1011 เบคเคอเรล สารนี้ มีเวลาครึ่ งชีวติ กี่ชว่ั โมง

30(แนว มช) ไอโซโทปกัมมันตรังสี ชนิ ดหนึ่ งมีค่าครึ่ งชี วิต 30 นาที อยากทราบว่าจะต้องใช้
เวลากี่นาที จึงจะมีปริ มาณลดลงเหลือเพียง 101 ของปริ มาณเมื่อตอนเริ่ มต้น

15
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์
31(แนว Pat2) ธาตุกมั มันตรังสี ชนิ ดหนึ่ งมี ค่ากัมมันตภาพเริ่ มต้นเท่ากับ Ao เมื่อเวลาผ่านไป
ครึ่ งหนึ่งของครึ่ งชีวติ จะมีค่ากัมมันตภาพเหลืออยูเ่ ท่าใด
1. A4o 2. Ao 3. 3 A4 o 4. 7 A8 o
2

32(แนว En) ไอโอดี น -131 มี ค่าคงตัวของการสลายเท่ากับ 0.087 ต่อวัน ถ้ามี ไอโอดี น -131
อยู่ 100 กรัม ตอนเริ่ มต้น เมื่อเวลาผ่านไป 16 วัน จะมีไอโอดีน-131 เหลืออยูก่ ี่กรัม

33(แนว มช) ค่าคงตัวของการสลายของธาตุก มั มันตรังสี ซ่ ึ งเริ่ มต้นมีจานวนอะตอม 16 x 1018


อะตอม เมื่อเวลาผ่านไป 60 วัน จะเหลือ 2 x 1018 อะตอม คือข้อใด
1. 0.069 /วัน 2. 0.035 /วัน 3. 0.023 /วัน 4. 0.017 /วัน

16
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ค่ ากัมมันตภาพ( A ) คืออัตราการสลายตัว ณ เวลาหนึ่ง
นัน่ คือ A = dd Nt
ค่ากัมมันตภาพ มีหน่วยเป็ นนิวเคลียสต่อวินาที เรี ยกเป็ นเบคเคอรอล ( Bq ) หรื ออาจใช้
หน่วยเป็ น คูรี ( Ci ) โดยที่ 1 Ci มีค่าเท่ากับ 3 x 1010 Bq ( นิวเคลียส/วินาที )
เราอาจหาค่ากัมมันตภาพ (A) ได้จากสมการ
A = N
เมื่อ A คือกัมมันตภาพ (นิ วเคลียสต่อวินาที , Bq)
 คือค่าคงตัวการสลาย ( วินาที–1 )
N คือจานวนนิวเคลียส ณ. เวลานั้น ๆ (นิ วเคลียส)
34(แนว En) ค่ า คงที่ ข องการสลายตัวของธาตุ ท อเรี ย ม-232 เท่ า กับ 1.6 x 10–18 ต่ อวิ น าที
ธาตุทอเรี ยมจานวน 464 กรัม จะสลายตัวกี่ลา้ นอะตอมต่อวินาที
( NA = 6 x 1023 อะตอมต่อโมล )

35(แนว En) ถ้าธาตุ X มีจานวนอะตอมเป็ น 6 เท่าของธาตุ Y แต่มีกมั มันตภาพเป็ น 3 เท่ า


ของธาตุ Y ครึ่ งชีวติ ของธาตุ X จะเป็ นกี่เท่าของธาตุ Y
1. 16 เท่า 2. 23 เท่า 3. 23 เท่า 4. 2 เท่า

17
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์
36(แนว En) ในการทดลองทอดลู ก เต๋ าเพื่ อ เปรี ยบเที ย บกั บ การสลายตัว ของนิ ว เคลี ย ส
กัมมันตรังสี นักเรี ยนคนหนึ่ งใช้ลูกเต๋ า 6 หน้า จานวน 300 ลูก โดยแต้มสี ไว้หนึ่ งหน้า
ทุกลูกและหยิบลูกที่ข้ ึนหน้าสี ออกทุกครั้งที่ทอด จงประมาณว่าหลังจากการทอดลูกเต๋ าครั้ง
ที่ 3 เมื่อหยิบลูกที่ข้ ึนหน้าสี ออกแล้วน่าจะเหลือลูกเต๋ ากี่ลูก
1. 173 ลูก 2. 208 ลูก 3. 220 ลูก 4. 250 ลูก

37(แนว En) ในการทดลองอุปมาอุปมัยการทดลองลูกเต๋ า การสลายตัวของธาตุก มั มันตรังสี


โดยการโยนลูกเต๋ าแล้วคัดหน้าที่แต้มสี ออกไป ถ้าลูกเต๋ ามี 6 หน้า มีหน้าที่แต้มสี 2 หน้า
และมีจานวน 180 ลูก จงหาว่าถ้าทาการโยนลูกเต๋ าทั้งหมด 2 ครั้ง โดยสถิติจะคัดลูกเต๋ า
ออกกี่ลูก
1. 10 ลูก 2. 20 ลูก 3. 80 ลูก 4. 100 ลูก

38(แนว Pat2) ลูกเต๋ า 6 หน้า แต่ละหน้าทีหมายเลข 1 ถึง 6 เขียนไว้ เริ่ มต้น โยน ลู ก เต๋ านี้
จานวน 100 ลูก พร้อมกัน และคัดลูกที่ออกเลข 1 ออกไป แล้วนาลูกเต๋ าที่ เหลื อมาโยน
ใหม่และคัดออกโดยใช้เกณฑ์เดิม ค่าครึ่ งชีวติ ของลูกเต๋ ามีค่าเท่าใด
1. 5 ln2 2. 6 ln2 3. ln52 4. ln 2
6

18
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์
39(แนว En) ลูกเต๋ า 16 หน้า แต้มสี ไว้ที่หน้าหนึ่ ง จานวน 800 ลูก นามาทอดและคัดลูกที่
หงายหน้าแต้มสี ออก ต้องทอดกี่ครั้งจึงจะเหลือลูกเต๋ า 400 ลูก
1. 8 ครั้ง 2. 9 ครั้ง 3. 10 ครั้ง 4. 11 ครั้ง

20.4 เสถียรภาพของนิวเคลียส
20.4.1 แรงนิวเคลียร์
ปกติแล้วนิ วเคลียสของอะตอมจะมีขนาดเล็กมาก ถ้าให้ R เป็ นรัศมีของนิ วเคลียสที่มี
เลขมวลเป็ น A แล้ว จะได้วา่
1
R = ro A 3
เมื่อ ro มีค่าประมาณ 1.2 x 10 –15 ถึง 1.5 x 10–15 เมตร ( ยังไม่ทราบค่าที่แน่นอน )
ด้วยเหตุที่นิวเคลียสมีขนาดเล็กมาก จึงทาให้แรงผลักไฟฟ้ าระหว่างโปรตอนกันโปรตอน
ในนิ วเคลี ยสมีค่าสู งมาก นอกจากนั้นแรงนี้ ยงั มี ค่ามากกว่าแรงดึ งดูดระหว่างมวลเป็ นอันมาก
ด้วย ดังนั้นการที่นิวคลีออนสามารถยึดกันอยูใ่ นนิ วเคลียสได้จะต้องมีแรงอีกประเภทหนึ่ งคอย
ยึดเหนี่ยวนิวคลีออนเหล่านั้นเอาไว้ดว้ ยกัน แรงยึดเหนี่ยว
นี้เรี ยกว่าแรงนิวเคลียร์
ลักษณะของแรงนิวเคลียร์ คือ
1. เป็ นแรงดึงดูดระยะสั้น
2. ไม่เกี่ยวกับชนิดของประจุ
3. มีค่ามากกว่าแรงผลักระหว่างประจุไฟฟ้ า

40. รัศมีของนิวเคลียส 64 –15


30 Zn มีขนาดเท่ากับกี่เมตร กำหนด ro = 1.2 x 10 เมตร
1. 1.2 x 10–15 2. 4.8 x10–15 3. 3.6 x 10–14 4. 7.7 x 10–14

19
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์
41. ธาตุไอโซโทปของ 224 28
88 Ra จะมีรัศมีเป็ นกี่เท่าของธาตุไอโซโทปของ 11 Na
1. 2 เท่า 2. 3 เท่า 3. 4 เท่า 4. 5 เท่า

20.4.2 พลังงำนยึดเหนี่ยว
พลังงานยึดเหนี่ยว ( binding energy ) คือพลังงานที่ ให้เข้าไปแก่นิวเคลี ยส เพื่อให้นิว-
คลีออนแยกออกจากกัน เราสามารถหาค่าพลังงานยึดเหนี่ยวได้จาก
B. E = m C2
เมื่อ B.E. คือพลังงานยึดเหนี่ยว ในหน่วย จูล
m คือมวลพร่ อง = มวลรวมของทุกนิวคลีออน – มวลนิวเคลียส ( กิโลกรัม )
C = 3 x 108 เมตร/วินาที ( คือความเร็ วแสง )
หรื อ B.E = 931 m
เมื่อ B.E. คือพลังงานยึดเหนี่ยว ในหน่วย เมกะอิเล็กตรอนโวลต์ ( MeV )
m คือมวลพร่ อง = มวลรวมของทุกนิวคลีออน – มวลนิวเคลียส ( หน่วย u )
931 คือพลังงานของมวล 1 u
หมายเหตุ ; มวล 1 u = 1.66 x 10–27 กิโลกรัม
พลังงาน 1 MeV = 1.6 x 10–13 จูล
42. กาหนด มวลของโปรตรอน 1 ตัว = 1.007825 u
มวลของนิวตรอน 1 ตัว = 1.008665 u
เมื่ อ โปรตอนกับ นิ ว ตรอนกัน รวมอยู่ ใ นนิ ว เคลี ย สของดิ ว เทอรอนจะมี ม วลรวมเท่ า กับ
2.013553 จงหาพลังงานยึดเหนี่ยวทั้งหมด
1. 1.11 MeV 2. 2.22 MeV 3. 4.44 MeV 4. 8.88 MeV

20
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์
43. จากข้อที่ผา่ นมา จงหาพลังงานยึดเหนี่ยวต่อนิ วคลีออน
1. 1.11 MeV 2. 2.22 MeV 3. 4.44 MeV 4. 8.88 MeV

44(แนว มช) นิวเคลียส 20


10 Ne มีมวล 19.992434 จะมีพลังงานยึดเหนี่ยวต่อนิวคลีออนกี่ MeV
ให้มวลนิวตรอน 1 ตัว = 1.008665 u มวลโปรตรอน 1 ตัว = 1.007825 u
1. 160.652 2. 16.065 3. 8.028 4. 5.335

20.5 ปฏิกริ ิยานิวเคลียร์


ปฏิกิริยานิวเคลียร์ คือ กระบวนการที่ นิวเคลี ยสเกิ ดการเปลี่ ยนแปลงองค์ประกอบ หรื อ
ระดับพลังงาน เช่นการสลายตัวของยูเรเนียม-238 ไปเป็ นทอเรี ยม-234 และรังสี แอลฟา เป็ นต้น
สาหรับการชนกันระหว่างนิ วเคลี ยสกับนิ วเคลียส หรื อระหว่างนิ วเคลี ยสกับอนุ ภาคนั้น
อาจเขียนปฏิกิริยานิวเคลียร์ ได้เป็ น
X + a  Y+ b
หรื อเขียนอีกแบบเป็ น X (a , b) Y อ่านว่าปฏิกิริยา a , b ของ X
เมื่อ X คือนิวเคลียสที่ใช้เป็ นเป้ า a คืออนุภาคที่ใช้ยงิ เข้าไปชนเป้ า
Y คือนิวเคลียสของธาตุใหม่ b คืออนุภาคที่ปลดปล่อยออกมาหลังชน
เช่น 14 N + 4 He  17 O + 1 H
7 2 8 1
เป้ า ตัวชนเป้ า ตัวเกิดใหม่ ตัวที่คายหลังชน
อาจเขียนเป็ น 14 17 14
7 N  , p 8 O อ่านว่าปฏิกิริยาแอลฟาโปรตรอนของ 7 N
21
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฝึ กทำ. พิจารณาสมการนิวเคลียร์ ดงั นี้
27 Al + 4 He  30 Si + 1 H
13 2 14 1
ก. ปฏิกิริยานี้เขียนแบบย่อได้อย่างไร ข. ปฏิกิริยานี้มีชื่อเรี ยกว่าอย่างไร

ฝึ กทำ. จงเขียนสมการปฏิกิริยานิวเคลียร์ ต่อไปนี้


ก. 73 Li ( , n) 105 B ข. 94 Be (p ,  ) 63 Li

ฝึ กทำ. จงเขียนสมการปฏิกิริยานิวเคลียร์ ต่อไปนี้


23 Na (d , p) 24 Na
ก. 11 27 Al ( n ,  ) 28 Al
ข. 13
11 13

45(แนว En) ปฏิกิริยานิวเคลียร์ 27 30


13 Al (  , Y ) 14 Si ถามว่า Y คืออนุภาคอะไร
1. ดิวเทอรอน 2. อนุภาคแอลฟา 3. โปรตอน 4. ทริ ทอน

การหาพลังงานเกี่ยวกับปฏิกิริยานิวเคลียร์ สามารถหาได้จากสมการต่อไปนี้
E = 931 m
เมื่อ E คือพลังงาน ในหน่วยเมกะอิเล็กตรอนโวลต์ ( MeV)
m = mหลังปฏิกิริยา – m ก่อนปฏิกิริยา ( หน่วย u )
931 คือพลังงานของมวล 1 u
หรื อ E = BEก่อน – BEหลัง
BEก่อน คือพลังงานยึดเหนี่ยวของทุกนิวเคลียสก่อนปฏิกิริยารวมกัน
BEหลัง คือพลังงานยึดเหนี่ยวของทุกนิวเคลียสหลังปฏิกิริยารวมกัน
หมายเหตุ ; ถ้า E มีค่าเป็ นบวก แสดงว่าเป็ นพลังงานที่ดูดเข้าไป
ถ้า E มีค่าเป็ นลบ แสดงว่าเป็ นพลังงานที่คายออกมา
ในการสลายตัวของธาตุ ก ัม มัน ตรั ง สี ปฏิ กิ ริยาที่ ได้เป็ นปฏิ กิ ริยาคายพลังงานทั้งหมด
พลังงานที่ปล่อยออกมาจากปฏิกิริยานิ วเคลียร์ เรี ยกว่าพลังงานนิวเคลียร์ (nuclear energy) ซึ่ ง
พลังงานนี้อาจอยูใ่ นรู ปพลังงานจลน์ของอนุภาคหรื อในรู ปคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าก็ได้
22
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์
46(แนว มช) พลังงานนิ วเคลียร์ ที่เกิดจากปฏิกิริยานิวเคลียร์ ที่กาหนดให้น้ ีจะมีค่ากี่ MeV
X + a  Y + b
ในที่น้ ี X มีมวล 196.966600 u Y มีมวล 194.968008 u
a มีมวล 2.014012 u b มีมวล 4.002604 u
และมวล 1.0 u = 931 MeV

47. จงคานวณค่าพลังงานน้อยที่ สุด ( ในหน่ วยล้านอิเล็กตรอนโวลต์ ) ในการแยกเอาอนุ ภาค


นิวตรอนหนึ่งตัวออกจากนิวเคลียสของธาตุ 4020 Ca
กาหนด มวล 40Ca = 39.962589 u
มวล 39Ca = 38.970691 u
มวล 01 n = 1.008665 u
และ มวล 1 u = 931.5 ล้านอิเล็กตรอนโวลต์

48. จากปฏิกิริยานิวเคลียร์ 4 He + 9 Be  12 C + 1 n
2 4 6 0
ปฏิกิริยานี้จะดูดหรื อคายพลังงานเท่าใด
ให้ BE ของ 42 He , 94 Be , 12
6 C คือ 28.3 MeV , 58.1 MeV และ 92.1 MeV ตามลาดับ

23
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์
49. จงหาพลังงานที่ใช้ในการแยกนิวเคลียส 10 20 Ne ออกมาเป็ นแอลฟา 2 อนุภาค และ 12 C
6
20 4
1 นิวเคลียส กาหนดให้พลังงานที่ยดึ เหนี่ยวต่อนิวคลีออนในนิวเคลียสของ 10 Ne , 2 He
และ 126 C เป็ น 8.03 , 7.07 และ 7.68 MeV ตามลาดับ
1. –6.72 MeV 2. 5.94 MeV 3. 6.72 MeV 4. 11.88 MeV

50. การเกิดปฏิกิริยา 42 He + 42 He  11 H + 73 Li ต้องใช้พลังงาน 17.2 MeV ถ้าพลังงาน


ยึดเหนี่ยวของนิวเคลียส 73 Li = 39.2 MeV จงหาพลังงานยึดเหนี่ยวของนิวเคลียส 42 He

ฟิ ชชัน คือปฏิกิริยานิวเคลียร์ ที่เกิดจากนิวเคลียสของธาตุหนักเกิดการแตกตัวออกเป็ น 2


ส่ วนที่มีขนาดใกล้เคียงกันจะทาให้ได้นิวเคลียสใหม่ ซึ่ งมีพลังยึดเหนี่ยวต่อนิวคลีออนเพิ่มขึ้น
ตัวอย่างปฏิกิริยาที่เกิดจากการยิงนิวตรอนเข้าไปในนิวเคลียสของยูเรเนียม ดังสมการ
235 1 141 92 1
92 U + 0 n  56 Ba + 36 Kr + 3 0 n + พลังงาน
จะเห็นว่าผลของปฏิ กิริยานี้ จะได้นิวเคลียสใหม่ 2 ตัว ตัวหนึ่ งมีเลขอะตอมอยูร่ ะหว่าง
30 ถึ ง 63 และอี ก ตัว อยู่ร ะหว่า ง 72 ถึ ง 158 และปฏิ กิ ริ ย านี้ ยัง ให้ พ ลัง งานออกมาอย่า ง
มหาศาล และให้นิวตรอนอี ก 3 ตัว ซึ่ งถ้านิ วตรอนเหล่ านี้ มี พ ลังงานสู งพอ ก็ จะวิ่ง เข้าชน
นิวเคลียสของยูเรเนี ยมอะตอมต่อๆ ไป ก่อให้เกิดปฏิ กิริยาอย่างต่อเนื่ องที่เรี ยกว่า ปฏิกิริยาลูกโซ่
เฟร์ มี เป็ นนักวิทยาศาสตร์ คนแรกที่สามารถควบคุมอัตราการเกิดปฏิกิริยาลูกโซ่ ให้สม่าเสมอได้
24
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์
โดยใช้เครื่ องมือที่เรี ยกว่าเครื่องปฏิกรณ์ นิวเคลียร์ ซึ่ งควบคุมอัตราการเกิดฟังชันโดยการควบคุม
จานวนนิวตรอนที่เกิดขึ้น
ฟิ วชั น คือปฏิกิริยาที่เกิดจากการรวมตัวกันของธาตุเบา 2 ธาตุ แล้วยังผลให้เกิดธาตุซ่ ึ ง
หนักกว่าและมีการปลดปล่อยพลังงานนิวเคลียร์ ออกมาด้วย เช่น
4 11 H  42 He + 2 10 e + 26 MeV
จะเห็ นว่าปฏิกิริยานี้ เกิดจาก 11 H 4 ตัว รวมกันเป็ น 42 He 1 ตัว แล้วมีการปล่อยอนุ ภาค
ที่มีประจุบวกและมีมวลใกล้เคียงกับอิเล็กตรอน เรี ยกว่าโพชิ ตรอนอีก 2 ตัว ปฏิ กิริยานี้ มีการ
ปลดปล่ อยพลังงานออกมากมายเช่ นกัน ปฏิ กิริยานี้ เป็ นปฏิ กิริยาที่เกิ ดบนดวงอาทิ ตย์ หรื อบน
ดาวฤกษ์ ที่มีพลังงานสู งทั้งหลาย สาหรับบนโลกเราปฏิกิริยาฟิ วชันสามารถทาให้เกิดขึ้นได้ใน
ห้องปฏิบตั ิการ
2 2 3 1
1 H + 1 H  1 H + 1 H + 4 MeV
2 2 3 1
1 H + 1 H  2 He + 0 n + 3.3 MeV
51. ในการทาปฏิกิริยาฟิ วชัน่ โดยใช้ดิวเทอรอน ( 21 H) พบว่ามีปฏิกิริยาดังนี้
2 2 3 1
1 H + 1 H  1 H + 1 H + 4 MeV
2 3 4 1
1 H + 1 H  2 He + 0 n + 17.6 MeV
อยากทราบว่าถ้าในน้ าทะเลมีดิวเทอเรี ยมประมาณ 5 x 1018 อะตอม ถ้านามาทาให้เกิดฟิ ว-
ชันทั้งหมดจะได้พลังงานกี่เมกะอิเล็กตรอนโวลต์
1. 1.8 x 1018 2. 3.6 x 1018 3. 1.8 x 1019 4. 3.6 x 1019

25
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์
เฉลยบทที่ 20 ฟิ สิ ก ส์ นิ ว เคลี ย ร์
1. ตอบข้ อ 2. 2. ตอบข้ อ 2. 3. ตอบข้ อ 2. 4. ตอบข้ อ 3.
5. ตอบข้ อ 4. 6. ตอบข้ อ 1. 7. ตอบข้ อ 4. 8. ตอบข้ อ 4.
9. ตอบข้ อ 4. 10. ตอบข้ อ 1. 11. ตอบข้ อ 2. 12. ตอบข้ อ 1.
13. ตอบข้ อ 1. 14. ตอบข้ อ 3. 15. ตอบข้ อ 4. 16. ตอบข้ อ 2.
17. ตอบข้ อ 2. 18. ตอบ 124 19. ตอบข้ อ 4. 20. ตอบข้ อ 4.
21. ตอบข้ อ 3. 22. ตอบข้ อ 2. 23. ตอบข้ อ 4. 24. ตอบข้ อ 4.
25. ตอบข้ อ 2. 26. ตอบข้ อ 2. 27. ตอบข้ อ 2. 28. ตอบ 16800
29. ตอบ 1 30. ตอบ 100 31. ตอบข้ อ 2. 32. ตอบ 25
33. ตอบข้ อ 2. 34. ตอบ 1.93 35. ตอบข้ อ 4. 36. ตอบข้ อ 1.
37. ตอบข้ อ 4. 38. ตอบข้ อ 2. 39. ตอบข้ อ 4. 40. ตอบข้ อ 2.
41. ตอบข้ อ 1. 42. ตอบข้ อ 2. 43. ตอบข้ อ 1. 44. ตอบข้ อ 3.
45. ตอบข้ อ 3. 46. ตอบ 9.31 47. ตอบ 15.6 48. ตอบ 5.7
49. ตอบข้ อ 4. 50. ตอบ 28.2 51. ตอบข้ อ 4.



26
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ตะลุ ย โจท ย์ ทั่ วไป บ ทที่ 20 ฟิ สิ ก ส์ นิ ว เคลี ย ร์
20.1 กัมมันตภาพรังสี
1. ธาตุ A มีจานวนอิเล็กตรอน และนิวตรอนเท่ากับ 13 และ 14 ตามลาดับ ธาตุ A มีเลข
อะตอมและเลขมวลเท่าไร
1. 14 , 27 2. 13 , 14 3. 13 , 27 4. 27 , 13
2. ธาตุกมั มันตรังสี หมายถึงธาตุที่มีสมบัติในการแผ่รังสี ได้เอง และรังสี ที่แผ่ออกมาจะต้องเป็ น
รังสี ต่อไปนี้เสมอ
1. รังสี แอลฟา 2. รังสี บีตา รังสี แกมมา
3. รังสี แอลฟา , รังสี บีตา , รังสี แกมมา 4. เป็ นรังสี ชนิ ดใดก็ได้
3. การเรี ยงรังสี จากสารกัมมันตรังสี โดยคุณสมบัติการทะลุทะลวงจากมากไปน้อยคือ
1. แอลฟา บีตา แกมมา 2. แกมมา บีตา แอลฟา
3. บีตา แอลฟา แกมมา 4. บีตา แกมมา แอลฟา
4. รังสี แอลฟามีอานาจในการทะลุผา่ นน้อยกว่ารังสี ชนิดอื่นที่ออกมาจากธาตุกมั มันตรังสี เพราะ
1. รังสี แอลฟามีพลังงานน้อยกว่ารังสี ชนิดอื่น
2. รังสี แอลฟามีคุณสมบัติในการทาให้สารที่รังสี ผา่ นแตกตัวเป็ นไอออนได้ดี
3. รังสี แอลฟาไม่มีประจุไฟฟ้ า
4. ถูกทั้งข้อ 1. และข้อ 2.
5. คุณสมบัติที่สาคัญประการหนึ่งของอนุภาคแอลฟา ก็คือ
1. มีอานาจทะลุทะลวง 2. มีประจุเป็ นลบ
3. ทาให้สารที่ผา่ นแตกตัวเป็ นไอออน 4. คล้ายกับรังสี เอกซ์ ( X–ray )
6. อนุภาคแอลฟาประกอบด้วย
1. 2 โปรตอน 2. 2 โปรตอน กับ 2 อิเล็กตรอน
3. 2 โปรตอน กับ 2 นิวตรอน 4. 4 โปรตอน

27
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์
20.2 การเปลีย่ นสภาพนิวเคลียส
20.2.1 กำรค้ นพบนิวตรอน 
20.2.2 สมกำรนิวเคลียร์
7. X ในสมการนี้คืออะไร 42 He + 49 Be  126 C + X
1. นิวตรอน 2. โปรตรอน 3. โพซิตรอน 4. อิเล็กตรอน
8. ยูเรเนี ยม -238 ( 238
92 U ) สลายตัวให้อนุ ภาคแอลฟา ซึ่ งนิ วเคลียสที่เกิดขึ้นสลายตัวต่อไปให้
อนุภาคบีตา กับแกมมา เลขอะตอมและมวลของนิวเคลียสที่เกิดขึ้นครั้งหลังสุ ดนี้คือ
1. Z = 91 และ A = 234 2. Z = 90 และ A = 234
3. Z = 91 และ A = 233 4. Z = 90 และ A = 233
20.3 การสลายของนิวเคลียสกัมมันตรังสี
9. ธาตุกมั มันตรังสี ชนิ ดหนึ่งมีเวลาครึ่ งชีวิต 5 วัน ถ้าเก็บธาตุน้ นั จานวน 64 x 1018 อะตอม
ไว้ 15 วัน จะเหลือธาตุน้ นั กี่อะตอม
1. 2 x 1018 2. 4 x 1018 3. 8 x 1018 4. 16 x 1018
10. ธาตุกมั มันตรังสี ชนิ ดหนึ่งมีเวลาครึ่ งชีวิต 15 วัน ถ้าเก็บธาตุน้ นั ไว้ 16 x 1019 อะตอม
ไว้ 60 วัน จะเหลือธาตุน้ นั กี่อะตอม
1. 1 x 1019 2. 2 x 1019 3. 4 x 1019 4. 6 x 1019
11. ธาตุบิสมัธกัมมันตรังสี มีเวลาครึ่ งชีวิต 5 วัน ถ้ามีสารนี้ อยู่ 80 กรัม หลังจากเก็บไว้ 15
วัน จะเหลือบิสมัธกี่กรัม
1. 2.5 2. 5.0 3. 10.0 4. 20.0
12. ธาตุไอโอดี น-126 มี ครึ่ งชี วิต 12 วัน นาย ข ได้รับธาตุไอโอดี น -126 เข้าไปในร่ างกาย
16 กรัม เป็ นเวลานานกี่วนั ไอโอดีน-126 ในร่ างกายของ นาย ข จึงจะลดลงเหลือ 2 กรัม
1. 12 วัน 2. 24 วัน 3. 36 วัน 4. 48 วัน
13. เรเดียม-226 มวล 100 กรัม มีครึ่ งชีวิต 1600 ปี ต้องใช้เวลานานกี่ปี จึงจะเหลือเรเดี ยม
อยู่ 12.5 กรัม
1. 3200 2. 4800 3. 6400 4. 8000
28
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์
14. ฟอสฟอรัส-32 มีครึ่ งชีวิต 14 วัน จะต้องใช้เวลานานกี่วนั จึงจะเหลือฟอสฟอรัส 25%
 

15. ทิ้งน้ ายาซึ่งเป็ นสารกัมมันตรังสี ไว้เป็ นเวลานานวัดกัมมันตภาพได้ 4200 ครั้ง/วินาที ถ้า


น้ ายานี้เป็ นของใหม่จะวัดกัมมันตรังสี ได้ 16800 ครั้ง/วินาที ถ้าช่วงครึ่ งชีวติ ของสารในน้ า
ยานี้เป็ น 8 วัน จงหาว่าทิง้ น้ ายาไว้เป็ นเวลานานกี่วนั
16. พอโลเนี ย ม-218 ( 218 84 Po ) มี เวลาครึ่ งชี วิต 3 นาที จงหาว่าเมื่ อเวลาผ่านไป 15 นาที
นิวเคลียสของพอโลเนียมจะสลายไปแล้วกี่เปอร์ เซ็นต์
1. 3.125 2. 6.25 3. 93.75 4. 96.875
17. ครึ่ งชีวติ ของ 198Au เท่ากับ 2.7 วัน จงหาจานวนของธาตุทองที่สลายตัวไปว่าเป็ นกี่เท่า
ของจานวนเดิมเมื่อทิ้งธาตุทองไว้ 5.4 วัน
1. 12 2. 14 3. 43 4. 4
18. ธาตุเรดอน 10 กิโลกรัม เมื่อทิ้งไว้ 20 วัน เหลือธาตุเรดอน 2.5 กิ โลกรัม จงหาครึ่ ง
ชีวติ ของธาตุเรดอนนี้
1. 2 วัน 2. 5 วัน 3. 10 วัน 4. 20 วัน
19. เทคนิเทียม-99 สลายตัว โดยการปล่อยรังสี แกมมาและมีครึ่ งชีวติ 360 นาที ดังนั้นค่านิจ
ของการสลายตัว ( Decay Constant ) ของนิวเคลียสของธาตุน้ี จะมีค่า
1. 1.6 x 10–5 ต่อวินาที 2. 3.2 x 10–5 ต่อวินาที
3. 1.6 x 105 ต่อวินาที 4. 3.2 x 105 ต่อวินาที
20(แนว มช) ธาตุ ช นิ ดหนึ่ งมี ม วล 10 กรัม ใช้เวลา 20 วัน จึ งจะมี ม วลเหลื ออยู่ 2.5 กรั ม
ค่านิจของการสลายตัวมีค่าเป็ น
1. 0.069 ต่อวัน 2. 0.035 ต่อวัน 3. 0.054 ต่อวัน 4. 0.015 ต่อวัน
21. สารกัมมันตรังสี จานวนหนึ่งเมื่อทิ้งไว้ 2 ชัว่ โมง ปรากฏว่าสลายไป 1615 เท่าของของเดิม
จงหาค่านิจของการสลายตัวของสารนี้ ในหน่วย ( ต่อชัว่ โมง )
22(แนว มช) สารกัม มัน ตรั ง สี ชนิ ด หนึ่ งมี ค่ า นิ จ ของการสลายตัว 0.077 ต่ อ ปี จะต้อ งใช้
เวลานานเท่าไร จึงจะมีมวลลดลงจาก 40 กรัม เหลือเพียง 2.5 กรัม
1. 3 ปี 2. 13 ปี 3. 36 ปี 4. 45 ปี

29
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์
23(แนว En) ธาตุกมั มันตรังสี จานวนหนึ่ งมีกมั มันตภาพ 3.7 x 104 เบเคอเรล และมีครึ่ งชี วิต
เท่ากับ 1000 วินาที จานวนนิวเคลียสกัมมันตรังสี น้ นั เป็ นเท่าใด
1. 3.7 x 107 2. 5.3 x 107 3. 3.7 x 109 4. 5.3 x 109
 

24. ธาตุกมั มันตรังสี X มีครึ่ งชีวติ 4 เท่าของธาตุกมั มันตรังสี Y ถ้า X และ Y ต่างก็มี
กัมมันตภาพเท่ากัน จงหาจานวนอะตอมของ X ต่อ Y 
1. 1 : 1 2. 2 : 1 3. 3 : 1 4. 4 : 1
 

20.4 เสถียรภาพของนิวเคลียส
20.4.1 แรงนิวเคลียร์
25(แนว En) จงหาเลขมวลของนิวเคลียสซึ่งมีรัศมีเป็ น 23 เท่าของนิวเคลียส 27
13 Al
1. 8 2. 9 3. 16 4. 18
 
20.4.2 พลังงำนยึดเหนี่ยว
26. ถ้าต้องการเปลี่ยนมวล 2 กิโลกรัม ให้เป็ นพลังงานทั้งหมดจะได้พลังงานทั้งหมดกี่จูล
1. 9 x 1016 2. 9 x 1020 3. 18 x 1016 4. 18 x 1020

20.5 ปฏิกริ ิยานิวเคลียร์


27. ในปฏิกิริยา ( n ,  ) ของนิวเคลียส 109
47 Ag นิวเคลียสที่เกิดใหม่มีเลขมวลเท่าใด
28. จงคานวณพลังงานที่ได้จากปฏิกิริยานิวเคลียร์ ต่อไปนี้
14 N + 2 H  15 N + 1 H
7 1 7 1
กาหนดมวลอะตอม 7 N = 14.003074 u , 157 N = 15.000108 u
14
2 H = 2.014102 u , 1 H = 1.007825 u
1 1
และ 1 u = 931 MeV
29. ในการยิงนิวตรอนเข้าชนอลูมิเนียม 1327 Al เพื่อให้เกิดปฏิกิริยา 27 Al ( n , p ) 27 Mg
13 12
เราจะต้องใช้นิวตรอนซึ่ งมีพลังงานจลน์อย่างน้อยกี่ MeV กาหนดให้มวลอะตอมของ
27 27
13 Al = 26.981535 12 Mg = 26.984346
1 H = 1.007825 1 n = 1.008665
1 0
30
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์
30. จากสมการ 62 He  63 Li +  และกาหนดมวลของไอโซโทปต่าง ๆ ดังนี้
1 H = 1.0078 u 1 n = 1.00867 u
1 0
6 He = 6.02047 u 6 Li = 6.01702 u
2 3
  0.00
จงหาพลังงานของอนุภาค  
1. 1.8 MeV 2. 2.7 MeV  
3. 3.2 MeV 4. 4.3 MeV
31. ปฏิกิริยาฟิ วชันเกิดขึ้นในดวงอาทิตย์ได้พลังงานมากมายดังนี้
4 11 H  42 He + 2 01 e + พลังงาน
จงหาค่าพลังงานที่ได้จากไฮโดรเจน 1 กิโลกรัม ที่เกิดปฏิกิริยานี้
กาหนดให้ มวลอะตอมของไฮโดรเจน = 1.00782 u = 1 g / mole
มวลอะตอมของฮีเลียม = 4.00260 u
มวลของอิเล็กตรอนและโพซิตรอน = 0.00055 u
NA = 6.0 x 1023 , 1 u = 900 MeV
1. 1.8 x 1025 MeV 2. 3.7 x 1025 MeV
3. 1.8 x 1027 MeV 4. 3.7 x 1027 MeV
32(แนว En) ถ้าพลัง งานยึด เหนี่ ย วต่ อ นิ วคลี ออนของ C12 และ C13 เท่ า กับ 7.7 และ 7.5
MeV ต่อนิ วคลีออนตามลาดับ จงหาพลังงานอย่างน้อยในหน่วย MeV ที่ตอ้ งใช้ในการ
ดึงนิวตรอนตัวหนึ่งออกจาก C13
33. ในการทดลองระเบิดนิวเคลียร์ลูกหนึ่งใช้ 92 235 U ทาให้เกิดฟิ ชชัน ได้พลังงานทั้งสิ้ น
9.0 x 1012 จูล หลังจากการระเบิดมวลที่หายไปทั้งสิ้ นกี่กิโลกรัม
1. 1 2. 10–2 3. 10–4 4. 10–5
34. เมื่อนิวเคลียส 235 92 U เกิดฟิ ชชันจะให้พลังงานประมาณ 200 MeV จงคานวณว่าจะต้องเกิด
ปฏิกิริยาฟิ ชชันกี่ครั้งใน 1 วินาที จึงจะได้กาลัง 1 เมกะวัตต์
1. 2.5 x 1016 ครั้ง 2. 3.1 x 1016 ครั้ง
3. 5.0 x 1016 ครั้ง 4. 7.3 x 1016 ครั้ง
35. วัตถุที่ใช้เป็ นเชื้ อเพลิงปรมาณูในปั จจุบนั นอกจาก U-235 แล้วยังมี
1. U–238 2. Au–198 3. Pu–239 4. Na–34
31
ติวสบายฟิสิกส์ เล่ม 5 บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์
เฉลยตะลุ ย โจท ย์ ทั่ วไป บท ที่ 20 ฟิ สิ ก ส์ นิ ว เคลี ย ร์
1. ตอบข้ อ 3. 2. ตอบข้ อ 3. 3. ตอบข้ อ 2. 4. ตอบข้ อ 2.
5. ตอบข้ อ 3. 6. ตอบข้ อ 3. 7. ตอบข้ อ 1. 8. ตอบข้ อ 1.
9. ตอบข้ อ 3. 10. ตอบข้ อ 1. 11. ตอบข้ อ 3. 12. ตอบข้ อ 3.
13. ตอบข้ อ 2. 14. ตอบ 28 15. ตอบ 16 16. ตอบข้ อ 4.
17. ตอบข้ อ 3. 18. ตอบข้ อ 3. 19. ตอบข้ อ 2. 20. ตอบข้ อ 1.
21. ตอบ 1.386 22. ตอบข้ อ 3. 23. ตอบข้ อ 2. 24. ตอบข้ อ 4.
25. ตอบข้ อ 1. 26. ตอบข้ อ 3. 27. ตอบ 110 28. ตอบ 8.61
29. ตอบ 1.84 30. ตอบข้ อ 3. 31. ตอบข้ อ 4. 32. ตอบ 5.1
33. ตอบข้ อ 3. 34. ตอบข้ อ 2. 35. ตอบข้ อ 3.



32

You might also like