You are on page 1of 10

ิ สส

โครงการขยายผลการวิจัยและองค์ความรู ้ฟิ สก ์ ค
ู่ รูและเยาวชน
ิ ส์ไทย - สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
สมาคมพิสก http://www.thaiphysoc.org/exam

เฉลยชุดข้อสอบ : แสงเชงิ เรขาคณิต ชุดที 1

ข้อที 1

ตอบ 1.67
เรือง การหักเหของแสงผ่านรอยต่อ
ค่าดรรชนีหก
ั เหนิยามโดย
c
n =
v

v และ c แทน อัตราเร็วเสียงในตัวกลางนันและในสุญญากาศตามลําดับ สําหรับตัวกลาง 2 ชนิดทีมีดรรชนีหก


ั เห n1 และ n2

เราได ้

n1 v2 f λ2
= =
n2 v1 f λ1

(การหักเหความถีคลืนไม่เปลียน) เราได ้

λA 500
nB = nA = (1.50) = 1.67
λB 450

ข้อที 2

ตอบ จุดโฟกัส
จากโจทย์ถามว่า ตําแหน่งของวัตถุ (ระยะวัตถุ s ) ควรอยูท
่ ใดหน
ี ้ากระจกเว ้าจึงจะทําให ้ไม่เกิดภาพ ซึงหมายความว่าแสง
จะต ้องไปตัดกันทีอนันต์ (ระยะภาพ s′ → ∞) จากสมการการเกิดภาพ

1 1 1
= +

f s s

สําหรับกระจกเว ้า มีระยะโฟกัส f > 0 เสมอ และด ้วยเงือนไขที s′ → ∞ จะได ้

1 1 1
= +
f s ∞

1 1
= + 0
f s

∴ f = s

ดังนันตําแหน่งของวัตถุ ควรจะเป็ นตําแหน่งเดียวกับจุดโฟกัส


ข้อที 3

ตอบ 30  cm
ิ ส์
เรือง แสงเชิงฟิ สก

4
จากโจทย์ นํ ามีดช
ั นีหก
ั เห (n) เท่ากับ และวัตถุอยูล
่ ก
ึ จากผิวนํ าเป็ นระยะ h  cm โดยภาพทีปรากฎอยูห
่ า่ งจากวัตถุ
3
10  cm

ลึกจริง h
จาก      = n =
ลึกปรากฎ h − 10

4 h
=
3 h − 10

4
(h − 10) = h
3

∴   h = 40  cm

40 − 10 = 30  cm
ด ังนน
ั ภาพทีเกิดจะอยูห
่ า่ งจากผิวนํ าเป็ นระยะ 40 − 10 = 30  cm

ข้อที 4

ตอบ 20

จากกฎการสะท ้อนเราได ้ความสัมพันธ์ระหว่างมุมต่าง ๆ ดังรูป

เนืองจากเส ้น AB ขนานกับเส ้น CD เราได ้

θ = x + y

จากรูป

2y = 40   และ  2x = 30   หรือ  y = 20   และ  x = 15


∘ ∘ ∘ ∘

เราได ้
∘ ∘ ∘
θ = 20 + 15 = 35

ข้อที 5

−−
2
ตอบ √
3

จากกฎของสเนลล์

sin θ1 n2
= (1)
sin θ2 n1

โดยในทีนี ตัวกลางที 1 คืออากาศ และตัวกลางที 2 คือของเหลว (a หรือ b) n คือดัชนีหก


ั เหของตัวกลาง (สําหรับ
อากาศ มีคา่ เป็ น 1 ) คือมุมตกกระทบ (จากอากาศ) และ คือมุมหักเห (ในตัวกลาง)
สําหรับตัวกลาง a



na sin 60 √ 3/2

= = = √3 (2)

1 sin 30 1/2

สําหรับตัวกลาง b

∘ –
nb sin 45 √ 2/2

= = = √2 (3)

1 sin 30 1/2

อัตราส่วนดัชนีหก
ั เหของตัวกลาง a และ b จะเป็ น
−−
nb 2
= √
na 3



2
ดังนัน ค่าดัชนีหก
ั เหในของเหลว b เป็ น √ เท่าของค่าดัชนีหก
ั เหของเหลว a
3

ข้อที 6

ตอบ 45 cm
ปกติแล ้ว ถ ้าแสงขนาน (จากอนันต์) หักเหผ่านเลนส์นูน มันจะไปตัดกันและเกิดภาพทีจุดโฟกัสหลังเลนส์พอดี ในกรณีนี
เมือมีแท่งพลาสติกมาขวางไว ้ แสงทีผ่านเลนส์ไปแล ้วจะหักเหอีกครังและไปตัดกันทีจุดอืน
โดยใช ้ความรู ้เรืองความลึกปรากฎ เราจะเห็นจุดทีแสงควรไปตัดกันจริง ๆ เมือไม่คด
ิ ผลของแท่งพลาสติก คือความลึกจริง
y แต่เมือมีผลจากแท่งพลาสติก แสงจะไปตัดกันทีความลึกปรากฏ (x) จากสมการหาความลึกปรากฎ
x n2
=
y n1

ในทีนี n1 คือตัวกลางทีคิดความลึกจริง (อากาศ) และ n2 คือตัวกลางทีคิดความลึกปรากฏ (แท่งแก ้ว) แทนค่าจะได ้


n2
x = y
n1

1.5
= × (30  cm)
1

∴   x = 45  cm

ดังนันความลึกปรากฎมีคา่ เป็ น 45 เซนติเมตร

ข้อที 7


√3
ตอบ
2
เรือง แสงและการมองเห็น

มุมวิกฤต คือ มุมตกกระทบของตัวกลางชนิดที 1 (ซึงมีคา่ ดรรชนีหก


ั เหน ้อยกว่า) ทีทําให้เกิดมุมห ักเหในตัวกลางชนิดที 2
โตเท่าก ับ90∘
จากโจทย์ สามารถเขียนรูป แสดงมุมตกกระทบ และ มุมหักเห ของของเหลวได ้ดังนี
λ1 sin θ1
จากกฎการ หักเหของสเนลล์ =
λ2 sin θ2

โดย กําหนดให ้
λ1 คือ ความยาวคลืนของของเหลว (λของเหลว
)
λ2 คือ ความยาวคลืนของอากาศ (λอากาศ)
θ1 คือ มุมวิกฤติของของเหลว
θ2 คือ มุมหักเหในอากาศ
จะได ้ว่า

λ1 sin θ1
=
λ2 sin θ2

λของเหลว sin  60
=

λอากาศ sin  90

√3
λของเหลว
2
=
λอากาศ 1


λของเหลว √3
=
λอากาศ 2

√3
∴   λของเหลว=  λอากาศ
2


√3
ด ังนน
ั ความยาวคลืนในของเหลว จะเป็ น ของความยาวคลืนในอากาศ
2

ข้อที 8

ตอบ 1.7
จากกฎการหักเหของแสง

n1 sin θ1 = n2 sin θ2
∘ ∘
n1 sin 30 = (1) sin 60

1 √3
n1 ( ) =
2 2

n1 = √ 3

n1 = 1.732

ข้อที 9

ตอบ การแทรกสอดของแสง
เรือง สมบัตข ิ องแสง
เมือแสงเดินทางผ่านจากอากาศเข ้าสูฟ ่ องสบู่ บางส่วนจะเกิดการหักเหเนืองจากความเร็วของแสงในอาการศและฟองสบูไ่ ม่
่ องสบู่ อีกส่วนหนึงจะเกิดการสะท ้อนกับสูอ
เท่ากัน เข ้าสูฟ ่ ากาศ (สมมติเรียกว่าแสง 1 )
เมือแสงทีเคลือนในฟองสบู่ เคลือนทีมาถึงรอยต่อระหว่างผิวฟองสบู่ (ผิวอีกด ้านหนึง) กับอากาศ แสงบางส่วนจะเกิดการ
สะท ้อนกลับ (สมมติเรียกแสง 2 )
หากแสง 1 และ แสง 2 เคลือนทีกลับมารวมกันแบบเสริมกัน (ซึงจะเกิดแค่บางความยาวคลืน λ) จะทําให ้เห็นเป็ นสีตา่ งๆ
ขึนอยูก
่ บ
ั ความยาวคลืน ซึงเป็ นสมบัตก ิ ารแทรกสอดของแสง

ข้อที 10

n2
ตอบ
−1 ∘
sin ( ) < θ < 90
n1

เรือง สมบัตข
ิ องคลืน (การส่งคลืน)
ในการส่งคลืนภายในท่อส่งนัน ไม่สามารถส่งไปตรงๆ (ขนานกับผิวท่อ θ = 90∘ )) ได ้ แต่ต ้องส่งโดยให ้คลืนสะท ้อนกลับ
ไปมาภายในท่อ ซึงการสะท ้อนต ้องเป็ นการสะท ้อนกลับหมด หรือก็คอ
ื มุมตกกระทบในท่อต ้องมีคา่ มากกว่ากับมุมวิกฤต θc < θ
ซึงคํานวณได ้จากกฎของสเนลล์
sin θ = sin θ
n1 sin θ1 = n2 sin θ2

n1 sin θc = n2 sin 90

n2
−1
∴  θc = sin ( )
n1

n2
ดังนันมุมในการส่งคลืนต ้องอยูร่ ะหว่าง
−1 ∘
sin ( ) < θ < 90
n1

ข้อที 11

ตอบ 30 เซนติเมตร
เรือง เลนส์และการเกิดภาพ

เนืองจากเลนส์มท ี งหมด
ั 3 อัน ดังนั นเพือไม่ให ้เกิดความสับสนขอกําหนดให ้ระยะภาพ s ระยะวัตถุ s และระยะโฟกัส f

ทีเกิดจากเลนส์เว ้าด ้านซ ้ายมือสุดมีดช ั นี (index) ระบุเป็ น x1 เลนส์นูนเป็ น x2 และเลนส์เว ้าทีอยูด


่ ้านขวามือเป็ น x3 เมือมีเลนส์
จํานวนมากกว่า 1 อันวางซ ้อนกัน ให ้ทําการแยกคิดภาพทีเกิดจากเลนส์แต่ละอัน โดยภาพทีเกิดขึนของเลนส์อน ั ดับก่อนหน ้าจะ
กลายเป็ นวัตถุให ้แก่เลนส์อน ั ดับ ถัดไป เช่น s′1 = s2 เป็ นต ้น
ขันแรกพิจารณาภาพทีเกิดจากเลนส์เว ้าทีอยูด ่ ้านซ ้ายมือ โจทย์กําหนดให ้แหล่งกําเนิดแสงคือดวงอาทิตย์ ดังนันระยะวัตถุ
จึงมีคา่ s1 = ∞ ซึงในกรณีนระยะภาพที
ี เกิดขึนจากเลนส์เว ้าคือ s′1 = −f = −10  cm โดยเครืองหมายลบทีเกิดขึนแสดง
ว่าภาพทีเกิดขึนอยูเ่ กิดด ้านเดียวกับ วัตถุ (ในทีนีคือด ้านซ ้ายมือของเลนส์เว ้า)
ถัดมาพิจารณาภาพทีเกิดจากเลนส์นูน ระยะวัตถุของเลนส์นูนมีคา่ s2 = a + 10  cm โดยทีเลนส์นูนมีความยาวโฟกัส
f2 = 20  cm ดังนั นภาพทีเกิดขึนจะอยูห ่ า่ งจากเลนส์นูน s′2

1 1 1
= +

f s s

1 1 1
= +

(20) (a + 10) s

20(a + 10)

∴  s =   cm
a − 10

20(a + 10)
สุดท ้ายพิจารณาเลนส์เว ้าด ้านขวามือ ระยะวัตถุของเลนส์เว ้านีมีคา่ s3 = a − โดยระยะโฟกัสอยูท
่ ี
a − 10

f3 = −10  cm และเนืองจากโจทย์ต ้องการให ้แสงสุดท ้ายทีเกิดขึนเป็ นแสงขนาน ดังนันระยะทีเกิดจากเลนส์เว ้านีจะเกิดขึนที


ระยะอนันต์ s′3 = ∞ (แสงขนานตัดกันทีระยะอนันต์) ดังนัน

1 1 1
= +

f s s

1 (a − 10) 1
= +
2
(−10) (a − 30a − 200) (∞)

2
a − 20a − 300 = 0

∴  a = 30  cm
ข้อที 12

ตอบ −10 เซนติเมตร


เรือง เลนส์และการเกิดภาพ

จากรูปแสงตกกระทบตังฉากกับกระจกเว ้า ซึงจะเป็ นไปได ้ก็ตอ ่ เมือวัตถุวางอยูท


่ ระยะ
ี s2 = 2f = 20  cm โดยวัตถุของ

กระจกเว ้า คือภาพจากเลนส์เว ้า ดังนันภาพทีเกิดจากเลนส์เว ้าจะเกิดอยูห่ า่ งจากเลนส์เว ้าเป็ นระยะ s′1 = 20 − 15 = 5  cm


หากระยะวัตถุอยูห่ า่ งจากเลนส์เว ้า s1 = 10  cm ความยากโฟกัสของเลนส์เว ้า f1 สามารถคํานวณได ้จาก

1 1 1
= +

f s s

1 1 1
= −
f1 10 5

∴  f1 = −10  cm

(ระยะภาพของเลนส์เว ้ามีคา่ เป็ นลบเนืองจากภาพเกิดฝั งเดียวกับวัตถุ) ดังนัน เลนส์เว ้าต ้องมีความยาวโฟกัส f1 = −10  cm

ข้อที 13

ตอบ 1. ม่วง
ึ แสงขาวจะกระจายออกเป็ นสีตา่ ง ๆ ได ้แก่ แสงสีมว่ ง
ในปรากฏการณ์กระจายของแสง เมือแสงขาวผ่านเข ้าไปในปริซม
คราม นํ าเงิน เขียว เหลือง แสด และแสงสีแดง ดังรูป
จากรูปจะเห็นว่า แสงสีมว่ งมีมม
ุ หักเห (θ2 ) น ้อยทีสุด ส่วนสีแดงมีมม
ุ หักเหมากทีสุด (มุม D เป็ นมุมระหว่างรังสีหก
ั เหที
ึ กับเส ้นแนวรังสีตกกระทบเดิม เรียกมุมนีว่า มุมเบียงเบน (Angle of Deviation) )
ออกจากปริซม

ข้อที 14

ตอบ 4.76  cm
จากโจทย์ แว่นขยายซึงเป็ นเลนส์นูนมีความยาวโฟกัส f = 4  cm และโจทย์ต ้องการให ้เห็นภาพชัดทีสุด แสดงว่าระยะ
ภาพจะต ้องอยูห
่ า่ งจากเลนส์ของแว่นขยายเป็ นระยะ s′ = 25  cm เราสามารถหาระยะวัตถุ (s) ได ้ดังนี

1 1 1
= +

f s s

1 1 1
= +
4  cm s 25  cm
1 1 1
= −
s 4  cm 25  cm
−1
= 0.21  cm

∴   s = 4.76  cm

ดังนันต ้องวางหนังสือห่างจากแว่นขยายเป็ นระยะ 4.76 เซนติเมตร

ข้อที 15

ตอบ เหลือง
เรือง แสงและการเกิดภาพ
แม่สขี องแสงประกอบด ้วยสี 3 สีได ้แก่ แสงสีแดง แสงสีนําเงิน และแสงสีเขียว เมือมองผ่านแผ่นกรองแสงสีแดง แสง
สีนําเงินและแสงสีเขียวจะถูกกรองออกไป ซึงการทีสามารถเห็นแสงสีแดงผ่านแผ่นกรองแสงสีแดงได ้แสดงว่า ดอกไม ้ไม่ดด ู กลืน
แสงสีแดง (หากดูดกลินแสงสีแดงเมือมองผ่านแผ่นกรองแสงสีแดง จะต ้องเห็นเป็ นสีดํา)
เมือมองผ่านแผ่นกรองแสงสีเขียว จะมีเพียงแสงสีเขียวเท่านันทีผ่านแผ่นกรองมาได ้ ซึงการทีสามารถมองเห็นสีเขียวผ่าน
แผ่นกรองได ้นันแสงดว่าดอกไม ้ไม่ดด ู กลืน แสงสีเขียว
จากข ้อความข ้างต ้น ทําให ้รู ้ว่าดอกไม ้ไม่ดด
ู กลืนแสงสีแดงและแสงสีเขียว ดังนันเมือมองผ่านแผ่นกรองแสงสีเหลือง ซึงจะ
อนุญาติให ้แสงสีแดงและเขียวผ่านเท่านัน จะต ้องเห็นดอกไม ้เป็ นสีเหลือง

ิ ส์ไทย - สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)


สมาคมพิสก http://www.thaiphysoc.org/exam

You might also like