You are on page 1of 672

I บทที่ 1 บทนํา

บทที่ 1 บทนํา
ตอนที่ 1 ความหมายของวิชาฟสิกส
วิชาวิทยาศาสตร คือ วิชาซึ่งเนนศึกษาเกี่ยวกับสิ่งตางๆ ปรากฏการณตางๆ ในธรรมชาติ
วิชาวิทยาศาสตร อาจแบงไดเปน 2 สาขาหลัก ไดแก
1. วิทยาศาสตรชีวภาพ เปนการศึกษาเฉพาะสวนที่เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต
2. วิทยาศาสตรกายภาพ เปนการศึกษาเกี่ยวกับสิ่งไมมีชีวิต แบงออกเปนอีกหลาย
แขนง เชน ฟสิกส เคมี ธรณีวิทยา ดาราศาสตร เปนตน
วิชาฟสิกส เปนวิชาวิทยาศาสตรกายภาพแขนงหนึ่ง ซึ่งเนนศึกษาเกี่ยวกับปรากฏการณ
ธรรมชาติ เชน ศึกษาเกี่ยวกับคลื่น แสง เสียง ไฟฟา แมเหล็ก การเคลือ่ นที่ มวล
แรง พลังงาน โมเมนตัม เปนตน
1. วิทยาศาสตรชีวภาพ ศึกษาเกี่ยวกับ ......................................................................................
วิทยาศาสตรกายภาพ ศึกษาเกี่ยวกับ ......................................................................................
วิชาฟสิกส ศึกษาเกี่ยวกับ .......................................................................................................

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

ตอนที่ 2 การวัด และ ความละเอียดในการวัด


พิจารณาตัวอยางตอไปนี้
ความละเอียดของสเกล = 1 cm
ความละเอียดในการวัด = 0.1 cm

ความละเอียดของสเกล = 0.1 cm
ความละเอียดในการวัด = 0.01 cm

ความละเอียดของสเกล = 0.01 cm
ความละเอียดในการวัด = 0.001 cm

1
ฏฺ
I บทที่ 1 บทนํา
2. เครือ่ งมือวัดดังรูป มีความละเอียดของชองสเกล และความ
ละเอียดของการวัดเปนเทาใด ในหนวย cm
1. 1 cm และ 0.1 cm 2. 0.1 cm และ 1 cm
3. 0.1 cm และ 0.01 cm 4. 0.01 cm และ 0.1 cm (ขอ 1)

3. เครือ่ งมือวัดดังรูป มีความละเอียดของชองสเกล และ


ความละเอียดของการวัดเปนเทาใด ในหนวย cm
1. 1 และ 1 2. 1 และ 1
10 100 100 10
3. 10 และ 1 4. 1 และ 1 (ขอ 1)
10 10
4. จากรูป ความยาวของแทงดินสอมีคาเทากับกี่เซนติเมตร
1. 9.4
2. 9.375
3. 9.36
4. 9.3
เหตุผล (ขอ 3)

5. จากรูป ควรบันทึกความยาวของดินสอเปนเทาใด
1. 5 ซม. 2. 5.0 ซม.
3. 5.00 ซม 4. ถูกทุกขอ (ขอ 3)
เหตุผล

ในการวัดปริมาณแตละครัง้ ตองเลือกใชเครื่องมือซึ่งมีความละเอียดใหเหมาะสมกับสิ่งที่จะวัด
เชน การวัดความยาว อาจใชเครือ่ งมือเปน ไมบ รรทัดธรรมดา

ไมบรรทัด
ความละเอียดสเกล = 1 mm
ความละเอียดการอาน = 0.1 mm
(เหมาะกับการวัดความกวางของหนังสือ เปนตน)
2
สู
•I บทที่ 1 บทนํา
เวอรเนีย
ความละเอียดการอาน = 0.1 mm
(เหมือนไมบรรทัด แตเวอรเนียจะแมนยํากวาไมบรรทัด)

ไมโครมิเตอร
ความละเอียดการอาน = 0.01 mm
(เหมาะกับการวัดความหนาของแผน CD เปนตน)

6. จากรูป แสดงการวัดความหนาของวัตถุ
0 5 mm 10 mm
โดยใชเวอรเนียร คาที่วัดไดควรมีคาเทาใด
0 5 10
1. 1.6 mm
2. 2.5 mm
3. 8.0 mm
4. 11.3 mm ( ขอ 2. )
ตอบ
7. นักเรียนคนหนึง่ ทําการทดลองวัดเสน
1 2 cm
ผานศูนยกลางของหลอดทดลอง โดย
ใชเวอรเนียรดงั รูป ผลการวัดควรอาน 0 1
คาไดเทาใด
1. 1.14 2. 1.15 3. 1.45 4. 1.50 ( ขอ 1 )
ตอบ
8. จากรูปเปนการแสดงผลการวัดโดยใชไมโครมิเตอร คาที่อานไดมีคาเทาใด
1. 5.31 mm
2. 5.79 mm
3. 5.81 mm
4. 5.93 mm ( ขอ 3 )
ตอบ

3
•I บทที่ 1 บทนํา
9. ในการวัดความหนาของไมแผนหนึง่ โดยใชไมโครมิเตอร แบบสกรูไดผลดังรูป แสดงวา
ไมแผนนี้มีความหนาเปนเทาใด
1. 5.41 มิลลิเมตร
2. 5.91 มิลลิเมตร
3. 7.41 มิลลิเมตร
4. 7.91 มิลลิเมตร ( ขอ 4 )
ตอบ
10(มช 42) นายแดงวัดเสนผาศูนยกลางของเหรียญอันหนึง่ ไดเทากับ 2.542 เซนติเมตร นัก
เรียนคิดวานายแดงใชเครือ่ งมือชนิดไหนวัดเหรียญอันนี้
1. ไมโครมิเตอร 2. เวอรเนียร 3. ตลับเมตร 4. ไมบรรทัด (ขอ 1)
เหตุผล
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

ตอนที่ 3 เลขนัยสําคัญ
เลขนัยสําคัญ คือ เลขที่ไดจากการอานคาในการวัด
คือ เลขทีแ่ นนอน (เลขที่อยูบนสเกล) และเลขทีไ่ มแนนอน (เลขที่ไดจากการคาดเดา 1 ตัว)
หลักในการนับจํานวนตัวของเลขนัยสําคัญ
1) เลขที่ไมใชแลข 0 ทุกตัวถือเปนเลขนัยสําคัญ
2) เลข 0 ทีอ่ ยูห นาจํานวนทัง้ หมด ไมถือเปนเลขนัยสําคัญ
เชน 0.00046 มีเลขนัยสําคัญ 2 ตัว คือ 4 และ 6 เทานัน้
3) เลข 0 ที่อยูกลางจํานวน ถือเปนเลขนัยสําคัญ
เชน 7.003 มีเลขนัยสําคัญ 4 ตัว คือ 7 , 0 , 0 และ 3
4) กรณีที่เขียนจํานวนในรูปทศนิยม 0 ทีอยูขางหลัง ถือเปนเลขนัยสําคัญ
เชน 8.000 มีเลขนัยสําคัญ 4 ตัว คือ 8 , 0 , 0 และ 0
5) ถาเขียนจํานวนในรูปจํานวนเต็มธรรมดาไมมที ศนิยม เลข 0 ที่อยูหลังจํานวนไม
ถือเปนเลขนัยสําคัญ เชน 1500 มีเลขนัยสําคัญ 2 ตัว คือ เลข 1 กับ 5 เทานัน้
6) ถาเขียนจํานวนในรูป a x 10n ใหนับจํานวนเลขนัยสําคัญของ a เทานัน้ เปนคําตอบ
เชน 5.23 x 1089 มีเลขนัยสําคัญ 3 ตัว คือ 5 , 2 และ 3 เทานัน้
4
•I บทที่ 1 บทนํา
11(มช 34) นักเรียนคนหนึง่ บันทึกตัวเลขจากการทดลองเปน 0.0652 กิโลกรัม , 8.20 x 10–2
เมตร , 25.5 เซนติเมตร และ 8.00 วินาที จํานวนเหลานี้มีเลขนัยสําคัญกี่ตัว
ก. 1 ตัว ข. 2 ตัว ค. 3 ตัว ง. 4 ตัว (ขอ ค)
เหตุผล
12. ระยะทางจากกรุงเทพถึงนราธิวาสเปน 1150 กิโลเมตร ทานคิดวา 1150 มีเลขนัยสําคัญกี่ตัว
เหตุผล (3)

การบวก และลบ เลขนัยสําคัญ


วิธีการ “ใหบวกลบตามปกติ แตผลลัพธที่ไดตองมีจํานวนทศนิยม เทากับจํานวน
ทศนิยมของตัวตั้งที่มีจํานวนทศนิยมนอยที่สุด”
ตัวอยาง 4 . 1 8 7 ⊇ ทศนิยม 3 ตําแหนง
+3 . 4 ⊇ ทศนิยม 1 ตําแหนง
–2 . 3 2 ⊇ ทศนิยม 2 ตําแหนง
5.267

ขอนีต้ อ งตอบ 5.3 เพื่อใหมีทศนิยม 1 ตําแหนง เทากับจํานวนทศนิยมของ 3.4


ในโจทยซึ่งมีจํานวนตัวทศนิยมนอยที่สุด

13. จงหาผลลัพธของคําถามตอไปนี้ตามหลักเลขนัยสําคัญ 4.36 + 2.1 – 0.002


1. 6 2. 6.5 3. 6.46 4. 6.458 (ขอ 2)
วิธที าํ

การคูณ และ หาร เลขนัยสําคัญ


วิธีการ “ใหคูณ หรือ หารตามปกติ แตผลลัพธที่ไดตองมีจํานวนตัวเลขนัยสําคัญ
เทากับจํานวนเลขนัยสําคัญของตัวตั้งที่มีจํานวนเลขนัยสําคัญนอยที่สุด”
5
I บทที่ 1 บทนํา
ตัวอยาง 3.24 ⊇ เลขนัยสําคัญ 3 ตัว
x 2 . 0 ⊇ เลขนัยสําคัญ 2 ตัว
6.4 8 0

ขอนีต้ อ งตอบ 6.5 เพื่อใหมีเลขนัยสําคัญ 2 ตัว เทากับจํานวนเลขนัยสําคัญ


ของ 2.0 ซึ่งเปนตัวตั้งที่มีจํานวนเลขนัยสําคัญนอยที่สุด

14 หองหนึง่ กวาง 3.40 เมตร ยาว 12.71 เมตร หองจะมีพื้นที่เทาไร


1. 43.214 ตารางเมตร 2. 43.2 ตารางเมตร
3. 43.21 ตารางเมตร 4. 43.2140 ตารางเมตร (ขอ 2)
วิธที าํ

15. นักเรียนคนหนึง่ ใชเครือ่ งวัด วัดเสนผานศูนยกลางของเหรียญบาทได 2.59 เซนติเมตร เมือ่


พิจารณาเลขนัยสําคัญ เขาควรจะบันทึกคาพืน้ ทีห่ นาตัดดังนี้
1. 5.27065 ตารางเซนติเมตร 2. 5.2707 ตารางเซนติเมตร
3. 5.271 ตารางเซนติเมตร 4. 5.27 ตารางเซนติเมตร (ขอ 4)
วิธที าํ

16(มช 44) ขนมชิ้นหนึ่งมีมวล 2.00 กิโลกรัม ถูกแบงออกเปนสี่สวนเทากันพอดี แตละสวน


จะมีมวลกี่กิโลกรัม
1. 0.5 2. 0.50 3. 0.500 4. 0.5000 (ขอ 3)
วิธที าํ

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

6
ฒฺ
•I บทที่ 1 บทนํา
ตอนที่ 4 ความไมแนนอนในการวัด
เนือ่ งจากคาทีไ่ ดจากการวัดนัน้ จะมีตัวเลขที่ไดจากการคาดเดาอยูดวย จึงอาจทําใหเกิด
ความคาดเคลื่อนไดบาง ดังนั้นการบันทึกคาที่ไดจากการวัด เราอาจเขียนคาความคลาดเคลือ่ น
ลงไปดวย เชน 16.03 ∉ 0.01 เปนตน
17. เชือกเสนหนึ่งยาว 20.68 ∉ 0.01 เซนติเมตร และเสนที่สองยาว 16.32 ∉ 0.02 เซนติเมตร
1. เชือกเสนแรกยาวมากที่สุดเทากับ ...............................เซนติเมตร ( 20.69 )

2. เชือกเสนแรกยาวนอยที่สุดเทากับ ...............................เซนติเมตร (20.67 )

3. เชือกเสนสองยาวมากที่สุดเทากับ ...............................เซนติเมตร (16.34 )

4. เชือกเสนสองยาวนอยที่สุดเทากับ ...............................เซนติเมตร (16.30 )

5. ผลบวกความยาวมากที่สุดของเชือกทั้ง 2 เทากับ .....................เซนติเมตร ( 37.03 )

6. ผลบวกความยาวนอยที่สุดของเชือกทั้ง 2 เทากับ .....................เซนติเมตร ( 36.97 )

7. ผลตางมากที่สุดของความยาวเชือกทั้ง 2 เทากับ .....................เซนติเมตร ( 4.39 )

8. ผลตางนอยที่สุดของความยาวเชือกทั้ง 2 เทากับ .....................เซนติเมตร ( 4.33 )

การบวก และ ลบ จํานวนที่เขียนอยูในรูปความคลาดเคลื่อน


สูตร 1 p ( A ∉ βA ) + q (B ∉ βB ) = (p A + q B) ∉ (p βA + q βB)
สูตร 2 p ( A ∉ βA ) – q (B ∉ βB ) = (p A – q B) ∉ (p βA + q βB)
7
ฏI บทที่ 1 บทนํา
18. กําหนด K = 20.00 ∉ 0.10 , L = 10.00 ∉ 0.40 , M = 5.00 ∉ 0.50 จงหา
1. K + L 2. K – L 3. K + 2L 4. 3K – 2L 5. K + 2L – 3M
( 1. 30.00∉ 0.50 2. 10.00∉0.50 3. 40.00∉0.90 4. 40.00∉1.10 5. 25.00∉2.40 )
วิธที าํ

การคูณ และ หาร จํานวนที่เขียนอยูในรูปความคลาดเคลื่อน


สูตร 3 ( A ∉ βA )p + (B ∉ βB )q = (Ap. Bq) ∉ (p βAA x 100 + q βBB x 100) %

สูตร 4 (A ∉ βA) p = ( A p ) ∉ (p βA x 100 + q βB x 100) %


A B
(B ∉ βB)q Bq
8
•I บทที่ 1 บทนํา
19. กําหนด K = 20.00 ∉ 0.10 , L = 10.00 ∉ 0.40 , M = 5.00 ∉ 0.50 จงหา
1. K . L 2. L . M 3. KL 4. ML
( 1. 200.00∉ 9.00 2. 50.00∉7.00 3. 2.00∉0.09 4. 2.00∉0.28 )
วิธที าํ

9
I บทที่ 1 บทนํา
20. กําหนด K = 20.00 ∉ 0.10 , N = 100.00 ∉ 0.90 จงหา
1. K2 . N 2. K. N 3. K3 4. 2 K.N
( 1. 40000.00∉ 760.00 2. 200.00∉1.90 3. 8000.00∉120.00 4. 4000.00∉56.00 )
วิธที าํ

10
ดื้
BI บทที่ 1 บทนํา
21. โตะสีเ่ หลีย่ มตัวหนึง่ กวาง 20.00 ∉ 0.10 เซนติเมตร ยาว 10.00 ∉ 0.20 เซนติเมตร จะมี
พื้นที่มากที่สุดและนอยที่สุดของโตะนี้ เทากับกีต่ ารางเซนติเมตร (205.00 , 195.00 )
วิธที าํ

22. กลองรูปลูกบาศกมีดานแตละดานยาว 1.00 ∉ 0.02 เซนติเมตร ปริมาตรของกลองนีจ้ ะมี


ความคลาดเคลื่อนสูงสุดกี่ % และปริมาตรมีคา กีล่ กู บาศกเซนติเมตร (6% , 1.00∉0.06 )
วิธที าํ

23. ทรงกลมรัศมี 21.00 ∉ 0.21 เซนติเมตร ปริมาตรของทรงกลมนีจ้ ะมีความคลาดเคลือ่ นสูง


สุดกี่ % ปริมาตรทัง้ หมดมีคา กีล่ กู บาศกเซนติเมตร (3% , 38808.00∉1164.24 )
วิธที าํ

11
•I บทที่ 1 บทนํา
24. ในการศึกษาการแกวงของลูกตุมนาฬิกาอยางงายมีความยาวสายแขวนเปน 90.0∉0.2 เซนติ-
เมตร คาของคาบการแกวงหาไดจากสมการ T = 2 ° Lg กําหนดให g = 10 m/s2
จงคํานวณหาคาบการแกวง ( เมือ่ L คือ ความยาวสายแกวงหนวยเปนเมตร ) ( 1.886∉
∉0.002 )
วิธที าํ

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

ตอนที่ 5 ปริมาณและการเปลีย่ นหนวย


ปริมาณ (Quantities) ในวิชาฟสิกสอาจแบงเปนกลุมยอยไดดังนี้
แบงโดยใชลกั ษณะของปริมาณเปนเกณฑ จะแบงไดเปน
1. ปริมาณเวกเตอร คือ ปริมาณทีต่ อ งบอกทัง้ ขนาดและทิศทางจึงจะสมบูรณ
เชน การขจัด แรง โมเมนตัม สนามไฟฟา สนามแมเหล็ก เปนตน
2. ปริมาณสเกลลาร คือ ปริมาณทีบ่ อกแตขนาดอยางเดียวก็สมบูรณได
เชน มวล พลังงาน เปนตน
25. เวกเตอร คือ ..............................................................................
สเกลลาร คือ ..............................................................................

12
•I บทที่ 1 บทนํา
แบงโดยใชทม่ี าของปริมาณเปนเกณฑ จะแบงไดเปน
1) ปริมาณมูลฐาน คือ ปริมาณขัน้ ตนทีจ่ าํ เปนตอการอธิบายปรากฏการณทางฟสกิ ส
มี 7 ปริมาณ คือ
ปริมาณกายภาพ หนวย สัญลักษณ
ความยาว (Length) เมตร m
มวล (Mass) กิโลกรัม kg
เวลา (Time) วินาที s
กระแสไฟฟา (Electric Current) แอมแปร A
อุณหภูมทิ างเทอรโมไดนามิก เคลวิน K
ความเขมของการสองสวาง แคนเดลา cd
ปริมาณของสาร โมล mol
2) ปริมาณอนุพนั ธ คือ ปริมาณทีเ่ กิดขึน้ จากการนําปริมาณมูลฐานมาประกอบเขาดวยกัน
เชน อัตราเร็ว (m/s)
3) ปริมาณเสริม คือ ปริมาณทีน่ อกเหนือจากปริมาณทัง้ สองทีผ่ า นมา
เชน การวัดมุมเปนองศา
26. ระบบหนวยของปริมาณตางๆ ทีเ่ ปนทีย่ อมรับของนานาชาติ คือ ระบบหนวยอะไร (S.I.)
27. ปริมาณใดตอไปนีเ้ ปนหนวยฐานทัง้ หมด
1. มวล , ความยาว , แรง 2. ระยะทาง , พืน้ ที่ , ปริมาตร
3. มวล , กระแสไฟฟา , ปริมาณของสาร 4. อุณหภูมิ , มุม , พลังงาน (ขอ 3)
28 หนวยทีเ่ ปนมาตรฐานสากลของปริมาณตอไปนีค้ อื หนวยอะไร ความยาว มวล เวลา
กระแสไฟฟา ( เมตร , กิโลกรัม , วินาที , แอมปแปร )
29. หนวย SI ในขอใดเปนหนวยมูลฐานทัง้ หมด
ก. แอมแปร เคลวิน แคนเดลา โมล ข. เมตร องศาเซลเซียส เรเดียน คูลอมบ
ค. กิโลกรัม โอหม ลูเมน พาสคาล ง. วินาที โวลต เวเบอร ลักซ (ขอ ก)
30(มช 42) ขอใด ไมใช หนวยฐานของระบบหนวยระหวางชาติ (เอสไอ) ทัง้ หมด
1. วินาที โวลต แอมแปร 2. แคนเดลา ลูเมน เฮนรี่
3. นิวตัน คูลอมบ จูล 4. โอหม โมล ซีเมนส (ขอ 3)
13
I บทที่ 1 บทนํา
การเปลีย่ นหนวย
คาอุปสรรคใชแทนตัวพหุคูณ
คาพหุคูณ
ชือ่ สัญลักษณ ตัวอยางที่ 3
เอกซะ (exa) E 1018 5.35 cm = 5.35 x 10–2 m
เพตะ (peta ) P 1015
เทอรา (tera) T 1012
จิกะ (giga) G 109 7200 mg = 7200 x 10–3 g = 7.2 g
* เมกกะ (mega) M 106 5.23x10–8 km = 5.23x10–8x103
* กิโล (killo) k 103 m = 5.23 x 10–5 m
เฮกโต (hecto) h 102 4.5 x10–7 ↑A = 4.5x10–7 x 10–6
เดซิ (daci) d 10–1 A = 4.5 x 10–13 A
* เซนติ (centi) c 10–2
* มิลลิ (milli) m 10–3
* ไมโคร (micro) ℵ 10–6
* นาโน (nano) n 10–9
* พิโค (pico) p 10–12
อัตโต (atto) a 10–18
31. ใหเติมคําตอบทีถ่ กู ตองลงในชองวางตอไปนี้
1) 7.2 cm = ……..……....m 2) 6.524 mg = ……..……....g
3) 6.23 nm = ……..……....m 4) 55.26 ↑m = ……..……....m
5) 62.5 pg = ……..……....g 6) 425 km = ……..……....m
7) 0.042 ↑g = ……..……....g 8) 0.0659 Mυ = …....……....υ
9) 0.0073 Gυ = ……..……....υ 10) 3.3 x 103 km = ……..……....m
11) 4.625 x 105 nA = ……..……....A 12) 2.55 x10–3 ↑g = ……..……....g
1) 7.2 x 10–2 m 2) 6.524 x 10–3 g 3) 6.23 x 10–9 m 4) 5.526 x 10–5 m
5) 6.25 x 10–11 g 6) 4.25 x105 m 7) 4.2 x 10–8 g 8) 6.59 x 104 ϖ
9) 7.3 x 106 ϖ 10) 3.3 x 106 m 11) 4.625 x 10–4 A 12) 2.55 x 10–9 g
14
ดื้
I
• บทที่ 1 บทนํา
หากจะเปลีย่ นจากหนวยกลางไปเปนหนวยใด ใหเขียนหนวยนัน้ เลย แตตอ งคูณดวยตัวพหูคณ

ซึง่ มีกาํ ลังอันมีเครือ่ งหมาย ∉ ตรงกันขามดวย
ตัวอยาง จงเปลีย่ น 4.2 x 10–8 เมตร ใหเปนไมโครเมตร
วิธที าํ 4.2 x 10–8 m = 4.2 x 10–8 x 10+6 ↑m = 4.2 x 10–2 ↑m
32. ใหเติมคําตอบทีถ่ กู ตองลงในชองวางตอไปนี้
1) 7.23 x 10–5 υ = …………………..kυ (7.23 x 10–8 kυ
υ)

2) 7.23 x 103 A = …………………..mA (7.23 x 106 mA )

3) 6.5 x 105 g = …………………..kg (6.5 x 102 kg )

4) 7.31 x 10–5 m = …………………..Cm (7.31 x10–3 Cm)

5) 5530 A = …………………..GA (5.53 x 10–6 GA)

ฒื๋ 33. ความยาว 4.9 นาโนเมตร มีคา เทาไรในหนวยกิโลเมตร

วิธที าํ
1. 4.9x10–9 2. 4.9x10–11 3. 4.9x10–12 4. 4.59x10–13 (ขอ 3)

34. จงเปลีย่ นหนวยมวลโปรตรอน 1.6 x 10–27 กิโลกรัม เปนพิโคกรัม


ก. 1.6x10–39 ข. 1.6x10–36 ค. 1.6x10–15 ง. 1.6x10–12 (ขอ ง)
วิธที าํ

15
อI บทที่ 1 บทนํา
35. ระยะทาง 1 เมกะเมตร มีคา เทาใด ในหนวยกิโลเมตร
ก. 1x102 ข. 1x103 ค. 1x106 ง. 1x109 (ขอ ข)
วิธที าํ

36. จงเปลีย่ น 1.5 ตารางเซนติเมตร ใหเปนตารางเมตร (1.5 x 10–4 m2)


วิธที าํ

37. จงเปลีย่ น 4 x 10–8 ลูกบาศกเซนติเมตร ใหเปนลูกบาศกเมตร (4 x 10–14 m3)


วิธที าํ

38. จงเปลีย่ น 5 x 10–9 ลูกบาศกเมตร ใหเปนลูกบาศกเซนติเมตร (5 x 10–3 Cm3)


วิธที าํ

39. จงเปลีย่ น 4 x 10–12 ตารางเซนติเมตร ใหเปนตารางกิโลเมตร (4 x 10–2 km2)


วิธที าํ

40. จงเปลีย่ น 3 x 1011 ไมโครเมตร/มิลลิวนิ าที ใหเปน เมตร/วินาที (3 x 108 m/s)


วิธที าํ

41. จงเปลีย่ น 4 ไมโครนิวตัน/ตารางเซนติเมตร เปน นิวตัน/ตารางเมตร (4 x 10–2 N/m2)


วิธที าํ

16
I
@ บทที่ 1 บทนํา
42. น้าํ มีความหนาแนน 1 กรัม/ลบ.ซม. จะมีคา เทาใดในหนวยกิโลกรัม / ลบ.เมตร (103)
วิธที าํ

43. วัตถุหนึง่ มีความหนาแนน 0.004 kg/m3 วัตถุนจ้ี ะมีความหนาแนนกี่ g/cm3 (4x10–6)


วิธที าํ

44. รถประจําทางคันหนึง่ วิง่ ดวยความเร็ว 36 km/hr อยากทราบวารถคันนีว้ ง่ิ ดวยความเร็ว


เทากับกีเ่ มตรตอวินาที
ก. 5 ข. 10 ค. 15 ง . 20 (ขอ ข)
วิธที าํ

45. ความเร็วขนาด 1 เมตรตอวินาที เปนเทาใดในหนวยกิโลเมตรตอชัว่ โมง


1
1. 3.6 2. 3.6 3. 3.6 x 103 4. 3.6 x 10–2 (ขอ 2)
วิธที าํ

46. หนวยวัคความยาวของไทยสมัยกอนคือ คืบ ศอก วา เสน โดยสองคืบเปนหนึง่ ศอก , 4 ศอก


เปนหนึง่ วา และ 20 วาเปนหนึง่ เสน ทานทราบหรือไมวา ปจจุบนั เทียบหนึง่ วาเปนกีเ่ มตร
วิธที าํ (2)

47. พืน้ ที่ 100 ตารางวา เรียกวา หนึง่ งาน และ 4 งาน คือพืน้ ที่ 1 ไร พืน้ ทีห่ นึง่ ไรมกี ต่ี ารางเมตร
วิธที าํ ( 1600 )

17
•I บทที่ 1 บทนํา
แบบฝ ก หั ด บทที่ 1 บทนํา
ความละเอียดในการวัด และ เลขนัยสําคัญ
1. จากรูป ควรบันทึกความยาวของดินสอเปนเทาใด (ขอ 3)
1. 5 ซม.
2. 5.0 ซม.
3. 5.00 ซม. 1 2 3 4 5 6 7 8 9
4. ถูกทุกขอ
2. จากรูปทีก่ าํ หนดให ความยาวทีอ่ า นไดขอ ใด

1 2 3 4 5 6 7 cm
8 9
1. 2 cm 2. 2.4 cm 3. 2.45 4. 2.455 (ขอ 3)
3. ปริมาณในขอใดทีไ่ ดจากการวัดโดยใชไมบรรทัดทีม่ คี วามละเอียดถึง 0.1 เซนติเมตร
1. 9 เซนติเมตร 2. 9.0 เซนติเมตร
3. 9.00 เซนติเมตร 4. 9.000 เซนติเมตร (ขอ 3)
4. เลขนัยสําคัญคืออะไร
1. เลขทีว่ ดั ไดจริงๆ จากเครือ่ งมือวัด
2. เลขทีอ่ า นไดจากเครือ่ งมือวัดแบบขีดสเกลรวมกับตัวเลขทีป่ ระมาณอีก 1 ตัว
3. เลขทีป่ ระมาณขึน้ มาในการวัด
4. เลขทีป่ ระมาณขึน้ มาในการวัด (ขอ 2)
5. จงพิจารณาปริมาณตอไปนีข้ อ ใดมีเลขนัยสําคัญ 2 ตัว
1. 20 2. 0.2 3. 0.04 4. 0.010 (ขอ 4)
6. จงบอกจํานวนเลขนัยสําคัญของปริมาณตอไปนี้ 105 , 0.0020 , 3.5x103
1. 3 , 2 และ 2 ตัว 2. 3 , 4 และ 5 ตัว
3. บอกไมได , 1 และ 4 ตัว 4. 2 , 1 และ 3 ตัว (ขอ 1)

18
•I บทที่ 1 บทนํา
7. ปริมาณในขอใดมีเลขนัยสําคัญ 3 ตัว ทัง้ หมด
1. 0.15 , 3.0x103 , 151 2. 1.00 , 0.03 , 0.12x10–3
3. 10.0 , 100 , 3.06 x 109 4. 0.120 , 4.32x10–21 , 168 (ขอ 4)
8. จงหาผลลัพธของคําตอไปนีต้ ามหลักเลขนัยสําคัญ 4.36 + 2.1 – 0.002
1. 6 2. 6.5 3. 6.46 4. 6.458 (ขอ 2)
4.5 + 3.95 – 0.5
9. จงหาผลลัพธของคาตอไปนีต้ ามหลักเลขนัยสําคัญ 2.0
1. 5.7 2. 5.75 3. 5.8 4. 5.85 (ขอ 3)
104 ) x 3.6
10. จงหาผลลัพธของคาตอไปนีต้ ามหลักเลขนัยสําคัญ (1.50 x0.25
1. 2.2 x 105 2. 2.16 x 105 3. 2 x 105 4. 2.1600 x 105 (ขอ 1)

ความไมแนนอนในการวัด
11. ผลบวกและผลตางของจํานวน (6.4 ∉ 0.1) กับ (3.6 ∉ 0.2) มีคา (10.0 ∉ 0.3 , 2.8 ∉0.3)

12. เชือกเสนหนึง่ ยาว 22.24 ∉ 0.04 เซนติเมตร ถาตัดออกเปน 2 เสน โดยเสนทีห่ นึง่ ยาว
12.02 ∉ 0.02 เซนติเมตร เชือกอีกเสนหนึง่ ยาวเทาใด (10.22 ∉ 0.06)

13. แผนกระดาษรูปสีเ่ หลีย่ มผืนผา มีดา นกวาง 36.20 ∉ 0.05 เซนติเมตร และมีดา นยาว
96.45 ∉ 0.05 เซนติเมตร แผนกระดาษแผนนีจ้ ะมีพน้ื ทีเ่ ปนเทาไร (3491.49 ∉ 6.63 cm2 )
14. โตะสีเ่ หลีย่ มตัวหนึง่ มีดา นกวาง 40.5 ∉ 0.1 เซนติเมตร มีดา นยาว 115.2 ∉ 0.2 เซนติเมตร
อยากทราบวาโตะตัวนีม้ พี น้ื ทีม่ ากทีส่ ดุ เทาใด (4685.2 cm2 )
15. ปริมาตรของกลองสีเ่ หลีย่ มรูปลูกบาศกมคี วามยาวดานละ 1.50 ∉ 0.02 เมตร จะเปนเทาใด
และคลาดเคลือ่ นเทาใด ความคลาดเคลือ่ นคิดเปนกีเ่ ปอรเซ็นต (3.38 ∉ 0.14 , 4.0% )
16. ลูกกลมมีรัศมี 1.20 ∉ 0.01 เมตร จะมีปริมาตรทีอ่ าจคลาดเคลือ่ นไดกเ่ี ปอรเซ็นต และ คิด
เปนความคลาดเคลือ่ นเทาใด (2.5 % , 0.18 m3 )
17. ในการหาความหนาแนนของวัตถุซง่ึ มีมวล 72.4 ∉ 0.1 กรัม และมีปริมาตร 18.1 ∉ 0.2
ลูกบาศกเซนติเมตร จะมีคา เทาใด (4.00 ∉ 0.05 g/cm3 )

19
อI บทที่ 1 บทนํา
ปริมาณและการเปลีย่ นหนวย
18. ปริมาณใดตอไปนีเ้ ปนหนวยฐานทัง้ หมด
1. มวล , ความยาว , แรง 2. ระยะทาง , พืน้ ที่ , ปริมาตร
3. มวล , กระแสไฟฟา , ปริมาณของสาร 4. อุณหภูมิ , มุม , พลังงาน (ขอ 3)
19. หนวยในขอใดเปนหนวยเสริม
1. เรเดียน 2. เมตร/วินาที 3. เฮิรตซ 4. เคลวิน (ขอ 1)
20. หนวย SI ในขอใดเปนหนวยฐานทัง้ หมด
1. แอมแปร เคลวิน แคนเดลา โมล 2. เมตร องศาเซลเซียส เรเดียน คูลอมบ
3. กิโลกรัม โอหม ลูเมน พาสคาล 4. วินาที โวลต เวเบอร ลักซ (ขอ 1)
21. ขอใดตอไปนีเ้ ปนหนวย อนุพนั ธในระบบ SI
1. แอมแปร 2. จูล 3. โมล 4. แคนเดลา (ขอ 2)
22. ปริมาณทางฟสกิ สทแ่ี สดงคาแตขนาดเพียงอยางเดียวก็ไดความหมายสมบูรณ เรียกวา
ปริมาณใด
1. เวกเตอร 2. มูลฐาน 3. สเกลาร 4. สัมบูรณ (ขอ 3)
23. ปริมาณทีต่ อ งแสดงคาทัง้ ขนาดและทิศทาง จึงจะไดความหมายสมบูรณเรียกวา ปริมาณใด
1. เวกเตอร 2. มูลฐาน 3. สเกลาร 4. สัมบูรณ (ขอ 1)
24. ตองการวัดความยาวของดินสอ ควรใชเครือ่ งมือวัดชนิดใด
1. ไมบรรทัด 2. สายวัด 3. เวอรเนียร 4. ไมโครมิเตอร (ขอ 1)
25. ถาตองการวัดความหนาของแผนกระดาษควรใชเครือ่ งมือวัดชนิดใด
1. ไมบรรทัด 2. ไมเมตร 3. เวอรเนียร 4. ไมโครมิเตอร (ขอ 4)

26. จากรูป เปนการแสดงผลการวัดปริมาตรของของเหลว


40 cm3
ในกระบอกตวง ซึง่ ควรอานคาไดเทาใด
1. 32.0 cm3 2. 34.0 cm3 30
3. 35.0 cm3 4. 36.0 cm3 (ขอ 2)

20
ญI บทที่ 1 บทนํา
27. ปริมาณ 4 x 10–7 เมตร เมือ่ ใชคาํ อุปสรรคทีเ่ หมาะสม ควรเปลีย่ นเปน
1. 40 mm 2. 4 pm 3. 0.4 ↑m 4. 0.4 nm (ขอ 3)
28. แสงสีเหลืองมีความยาวคลืน่ 0.0000006 m จะมีคา เทียบเทากับคาใด
1. 0.6 mm 2. 60 pm 3. 6 ↑m 4. 600 nm (ขอ 4)
29. พลังงาน 3.2 x 1016 จูล มีคา เทากับขอใด
1. 0.32 เอกซะจูล 2. 32 เพตะจูล
3. 3200 เทระจูล 4. 320 จิกะจูล (ขอ 2)
30. กําลัง 3.75x107 วัตต (W) เมือ่ ใชคาํ อุปสรรคทีเ่ หมาะสมควรเปลีย่ นเปน
1. 37.5 MW 2. 37.5 GW 3. 375 kW 4. 375 ↑W (ขอ 1)
31. ระยะทางในหนวยเมกะเมตร มีคา เปนกีเ่ ทาในหนวยกิโลเมตร
1. 102 2. 103 3. 106 4. 109 (ขอ 2)
32. ปูนซีเมนต 1 ตัน เทียบเทากับมวล (1 ตัน คือ 1000 กิโลกรัม)
1. 1 Gg 2. 1 Mg 3. 1 mm 4. 1 ↑g (ขอ 2)
33. มวล 500 เมกะกรัม มีคา เปนกีไ่ มโครกรัม
1. 5 x 102 2. 5 x 106 3. 5 x 1012 4. 5 x 1014 (ขอ 4)
34. พืน้ ที่ 1.5 ตารางมิลลิเมตร คิดเปนเทาไรในหนวยตารางเมตร
1. 1.5 x 106 2. 1.5 x 103 3. 1.5 x 10–3 4. 1.5 x 10–6 (ขอ 4)
35. พืน้ ที่ 500 ตารางเซนติเมตร คิดเปนกีต่ ารางเมตร
1. 5 x 10–2 2. 5 x 10–4 3. 5 x 10–6 4. 5 x 10–8 (ขอ 1)
36. น้าํ มีปริมาตร 1 x 10–4 ลูกบาศกเมตร คิดเปนปริมาตรกีล่ กู บาศกเซนติเมตร
1. 10 2. 100 3. 1000 4. 10000 (ขอ 2)
37. น้าํ มีความหนาแนน 1 กรัม/ลบ.ซม. จะมีคา เทาใดในหนวยกิโลกรัม / ลบ.เมตร
1. 10–6 2. 10–3 3. 103 4. 106 (ขอ 3)

21
bI บทที่ 1 บทนํา
38. วัตถุหนึง่ มีความหนาแนน 0.004 kg/m3 วัตถุนจ้ี ะมีความหนาแนนเทาไรในหนวย g/Cm3
1. 4 x 104 2. 4 x 10–6 3. 4 x 10–3 4. 4 x 109 (ขอ 2)
39. อัตราเร็ว 72 กิโลเมตร/ชัว่ โมง มีคา เทาไรในหนวยเมตร/วินาที
1. 10 2. 20 3. 30 4. 40 (ขอ 2)
40. อัตราเร็ว 25 เมตรตอวินาที มีคา เทาใดในหนวยกิโลเมตรตอชัว่ โมง
1. 6.95 2. 50 3. 75 4. 90 (ขอ 4)
41. น้าํ 10 ลิตร เทียบไดเทาใดในหนวยลูกบาศกเมตร (1000 ลิตร = 1 m3 )
1. 10–4 2. 10–3 3. 10–2 4. 10– 1 (ขอ 3)
42. ถังน้าํ สีเ่ หลีย่ มกนถังมีพน้ื ที่ 1.5 ตารางเมตร สูง 1.2 เมตร จะบรรจุนาํ้ ไดมากทีส่ ดุ กีล่ ติ ร
1. 180 ลิตร 2. 600 ลิตร 3. 1800 ลิตร 4. 18000 ลิตร (ขอ 3)
43. พืน้ ที่ 1 ตารางกิโลเมตร มีคา กีไ่ ร (1 ไร มี 1600 m2)
1. 125 2. 250 3. 625 4. 2500 (ขอ 3)

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

เฉลยแบบฝกหัด ฟสกิ ส บทที่ 1 บทนํา (บางขอ)


26. ตอบขอ 2
เหตุผล เพราะตองมองทีจ่ ดุ ต่าํ สุดของสวนโคง
และเนือ่ งจากบนสเกลไมทศนิยม ดังนัน้ 34 cm3
คาทีไ่ ดจากการอานจึงตองมีทศนิยม 1
ตําแหนง จึงตองตอบ 34.0 cm3
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

22
I บทที่ 2 การเคลื่อนที่

ฟ สิ ก ส บทที่ 2 การเคลื่ อ นที่


ตอนที่ 1 ระยะทาง , การขจัด , อัตราเร็ว , ความเร็ว , อัตราเรง , ความเรง
1.1 ระยะทาง และ การชจัด
ระยะทาง คือ ความยาวตามแนวทีเ่ คลือ่ นทีไ่ ดจริง (เมตร) ( เปนปริมาณ..................... .)
การขจัด คือ ความยาวทีว่ ดั เปนเสนตรงจากจุดเริม่ ตนถึงจุดสุดทายของการเคลือ่ นที่ (เมตร)
( เปนปริมาณ....................... .)
1. จงหาระยะทาง และการขจัด
3m
ของการเคลือ่ นที่ ตอไปนี้
วิธที าํ
4m ( 7 ม. , 5 ม. )

2. จงหาระยะทาง และการขจัด
2m
ของการเคลือ่ นที่ ตอไปนี้ 10 m
วิธที าํ ( 12 ม. , 8 ม. )

3. จงหาระยะทาง และการขจัด
ของการเคลือ่ นที่ ตอไปนี้
วิธที าํ ( 22 ม. , 14 ม. )

4. จงหาระยะทาง และการขจัด
ของการเคลือ่ นที่ ตอไปนี้
วิธที าํ ( 44 ม. , 0 ม. )

!a !
5. จากรูปจงหาการขจัดลัพธของ b
!a และ !b ตอไปนี้
วิธที าํ

22
อฺ
ผ์I บทที่ 2 การเคลื่อนที่
!
6. !a , b , !c เปนเวกเตอรดงั รูป
! !c
!a b

!
รูปใดเปนเวกเตอรลพั ธของ !a + b + !c
1. 2. 3. 4.
(ขอ 2)

วิธที าํ

!
7. จากขอที่ผานมา รูปใดเปนเวกเตอรลพั ธของ !a − b − !c
1. 2. 3. 4.
(ขอ 3)
วิธที าํ

! ! ! !
8. กําหนด A , B , C แ ละ D เปนเวกเตอรทม่ี ขี นาดและทิศทางดังรูป ขอความใดถูกตอง
! ! ! ! ! !
C 1. A + B + C + D = 0
! ! ! !
! ! 2. A +B+C =D
D B ! ! ! !
3. A + B + D = C
! ! ! ! !
A 4. A +B =C +D (ขอ 3)
วิธที าํ

!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

23
เI บทที่ 2 การเคลื่อนที่

1.2 อัตราเร็วเฉลี่ย และ ความเร็วเฉลี่ย


อัตราเร็วเฉลี่ย คือ อัตราสวนของระยะทาง ตอเวลาทีใ่ ชในการเคลือ่ นทีต่ ลอดชวงนัน้
มีหนวยเปน เมตรตอวินาที และ เปนปริมาณ......................
อัตราเร็ว (m/s) → v = St ← ระยะทาง ( m )
← เวลา (s)
ความเร็วเฉลี่ย คือ อัตราสวนของการขจัดตอเวลาทีใ่ ชในการเคลือ่ นทีต่ ลอดชวงนัน้
มีหนวยเปนเมตรตอวินาที และ เปนปริมาณ.......................
9. จงหาอัตราเร็วเฉลีย่ และ ความเร็วเฉลีย่ ของการเคลือ่ นทีต่ ามแผน
ภาพตอไปนี้ กําหนดเวลาที่ใชในการเคลื่อนที่ทั้งหมด 2 วินาที
วิธที าํ ( 11 m/s , 7 m/s )

10. รถยนตคนั หนึง่ เคลือ่ นทีไ่ ด 30 กิโลเมตร ในครึง่ ชัว่ โมงแรก และเคลื่อนที่ไดระยะทาง 50
กิโลเมตร ในครึง่ ชัว่ โมงตอมา อัตราเร็วเฉลีย่ ใน 1 ชั่วโมงมีคาเทาใด (80 km/hr)
วิธที าํ

11. นายตีเ๋ คลือ่ นทีเ่ ปนเสนตรงดวยอัตราเร็ว 5 เมตร/วินาที ไดระยะทาง 100 เมตร แลวจึงวิ่ง
ตอดวยอัตราเร็ว 10 เมตร/วินาที ไดระยะทาง 50 เมตร จงหาอัตราเร็วเฉลีย่ ( 6 m/s)
วิธที าํ

1.3 ความเร็ว ณ.จุดใดจุดหนึ่ง


ความเร็ว ณ.จุดหนึง่ ๆ อาจหาคาไดโดยใชอนุพันธของฟงกชั่น ซึ่งนักเรียนจะไดเรียนใน
วิชาคณิตศาสตร เรือ่ งแคลคูลสั หรือ อาจหาคาไดจากความชันเสนกราฟ การขจัดกับเวลา
24

I บทที่ 2 การเคลื่อนที่
12. กําหนดกราฟการขจัดของการเคลือ่ นทีห่ นึง่ การขจัด ( m )
เปนดังรูป จงหาความเร็ว ณ.จุดวินาทีท่ี 15
วิธที าํ ( 0.83 m/s ) 10 (15 , 10)

(3 , 0 )
15 เวลา ( วินาที )

1.4 อัตราเรง และ ความเรง


อัตราเรง คือ อัตราสวนของอัตราเร็วทีเ่ ปลีย่ นไปตอเวลาทีใ่ ชในการเคลือ่ นที่ (เมตร/วินาที2)
(เปนปริมาณสเกลลาร)
v − v ← อัตราเร็วทีเ่ ปลีย่ นไป (m/s)
อัตราเรง (m/s2) → a = 2 t 1 ← เวลา (s)
ความเรง คือ อัตราสวนของความเร็วทีเ่ ปลีย่ นไป ตอเวลาที่ใชในการเคลื่อนที่ (เมตร/วินาที2)
(เปนปริมาณเวกเตอร)
ควรทราบ ถา a เปนบวก เรียก อัตราเรง จะทําใหอตั ราเร็ว (V) มีคาเพิ่มมากขึ้น
ถา a เปนบวก เรียก อัตราหนวง จะทําใหอตั ราเร็ว (V) มีคาลดลง
ถา a = 0 จะทําใหอตั ราเร็ว (V) มีคาคงที่
13. รถคันหนึง่ วิง่ ดวยความเร็ว 10 เมตร/วินาที จนกระทัง่ มีความเร็ว 15 เมตร/วินาที
ในเวลา 1.5 วินาที ในแนวเสนตรง จงหาความเรงเฉลีย่ ของรถ (3.3 m/s2)
วิธที าํ

14. วัตถุอนั หนึง่ เคลือ่ นทีด่ ว ยความเรง 10 m/s2 จะตองใชเวลานานเทาไรในการเปลี่ยนความ


เร็วจาก 20 m/s เปน 50 m/s
ก. 2 s ข. 3 s ค. 5 s ง. 7 s (ขอ ข)
วิธที าํ

25
เI บทที่ 2 การเคลื่อนที่
15. ขับจักรยานดวยอัตราเร็วดังนี้
อัตราเร็ว (m/s) 10 8 6 4 2 0
เวลา (S) 0 1 2 3 4 5
จงหาอัตราเรง (–2 m/s2)
วิธที าํ

16. ลิฟตกําลังเคลื่อนที่ขึ้นดวยความเร็วที่ลดลงอยางสม่ําเสมอ ความเรงเปนอยางไร


เหตุผล

17. เมือ่ ลากแผนกระดาษผานเครือ่ งเคาะสัญญาณเวลาชนิดเคาะ 50 ครัง้ ตอวินาที ปรากฏจุด


บนแถบกระดาษดังรูป จงหาอัตราเร็วเฉลีย่ ระหวาง A ถึง B (0.8 m/s)
B
.. . .
A
. . . . .
8 ซม.
วิธที าํ

ใชขอมูลตอไปนี้ ตอบคําถามโจทย 5 ขอถัดไป


แถบกระดาษที่ลากผานเครื่องเคาะสัญญาณเวลา ชนิด 50 ครัง้ /วินาที เปนดังรูป
A• • B• X• C• Y• D•

1.2 cm 2.5 cm 6.2 cm 12.0 cm


18. อัตราเร็วเฉลีย่ ระหวางจุด A , D เปนกีเ่ มตร/วินาที
1. 0.3 2. 0.6 3. 0.9 4. 1.2 (ขอ 3.)
วิธที าํ

26
เI บทที่ 2 การเคลื่อนที่
19. อัตราเร็วทีจ่ ดุ B เปนกีเ่ มตร/วินาที
1. 0.625 2. 0.75 3. 0.90 4. 1.25 (ขอ 1.)
วิธที าํ

20. อัตราเร็วทีจ่ ดุ C เปนกีเ่ มตร/วินาที


1. 0.3 2. 0.6 3. 0.9 4. 1.2 (ขอ 4)
วิธที าํ

21. ความเรงทีจ่ ดุ X เปนกีเ่ มตร/วินาที2


1. 12 2. 14 3. 16 4. 18 (ขอ 2.)
วิธที าํ

22. จากแถบกระดาษ แสดงวามีการเคลื่อนที่อยางไร


1. ความเร็วคงที่ 2. ความเร็วลดลง
3. ความเร็วเพิม่ ขึน้ 4. ความเร็วลดลงแลวเพิ่ม (ขอ 3.)
วิธที าํ
23. จากรูปเปนแถบกระดาษที่ไดจากการทดลองเรื่อง
การตกของวัตถุอยางอิสระ ระยะระหวางจุดบน
• • • • • • •
กระดาษคือคาอะไรของวัตถุ
1. การกระจัด 2. เวลา
3. ความเร็ว 4. ความเรง (ขอ1)
วิธที าํ

27
฿I บทที่ 2 การเคลื่อนที่
ตอนที่ 2 สมการการเคลือ่ นทีใ่ นแนวเสนตรงดวยอัตราเรงคงที่
สมการการเคลือ่ นทีเ่ ปนเสนตรง ดวยความเรงคงที่
v = u+at เมือ่ u = ความเร็วตน (m/s)
S = (u+2 v ) t v = ความเร็วปลาย (m/s)
S = ut + 12 a t2 a = ความเรง (m/s2)
v2 = u 2 + 2 a s t = เวลา (s)
s = การขจัด (m)
S = Vt V = ความเร็วซึ่งคงที่
24. รถคันหนึง่ เคลือ่ นทีไ่ ปดวยความเร็ว 10 เมตร/วินาที แลวเรงเครือ่ งดวยความเรง 5 เมตร/-
วินาที2 ภายในเวลา 20 วินาที จะมีความเร็วสุดทายเปนกี่ เมตรตอวินาที (110 m/s)
วิธที าํ

25. รถคันหนึง่ เคลือ่ นทีไ่ ปดวยความเร็ว 5 เมตร/วินาที แลวเรงเครือ่ งดวยความเรง 8 เมตร/-


วินาที2 ภายในเวลา 10 วินาที จะมีความเร็วสุดทายเปนกี่ เมตรตอวินาที ( 85 )
วิธที าํ

26. นองบีขบั รถดวยความเร็ว 25 เมตร/วินาที เห็นเด็กวิง่ ขามถนนจึงเหยียบเบรกทําใหความเร็ว


ลดลงเหลือ 5 เมตร/วินาที ในเวลา 2 วินาที จงหาระยะทางในชวงที่เบรกในหนวยเปนเมตร
1. 10 2. 20 3. 30 4. 40 (ขอ 3)
วิธที าํ

27. ถาเครือ่ งบินตองใชเวลาในการเรงเครือ่ ง 20 วินาที จากหยุดนิ่ง และใชระยะทาง 400


เมตร กอนที่จะขึ้นจากทางวิ่งได จงหาอัตราเร็วของเครือ่ งบินขณะทีข่ น้ึ จากทางวิง่ เทากับกี่
เมตรตอวินาที (40 )
วิธที าํ

28
เI บทที่ 2 การเคลื่อนที่
28. รถคันหนึง่ เคลือ่ นทีจ่ ากหยุดนิง่ ดวยความเรง 5 เมตร/วินาที2 ภายในเวลา 2 วินาที จะ
เคลื่อนที่ไดระยะทางกี่เมตร ( 10 เมตร)
วิธที าํ

29. รถยนตคนั หนึง่ ออกวิง่ จากจุดหยุดนิง่ ไปตามถนนตรงดวยขนาดความเรงคงตัว และวิ่งได


ไกล 75 เมตร ภายในเวลา 5 วินาที ขนาดของความเรงของรถยนตเปนเทาไร (6 m/s2)
วิธที าํ

30. วัตถุชน้ิ หนึง่ เคลือ่ นทีใ่ นแนวเสนตรงดวยความเร็วตน 5 เมตรตอวินาที โดยมีความเรง 2


m/s2 ขณะที่วัตถุเคลื่อนที่ไดระยะทาง 24 เมตร วัตถุเคลื่อนที่มาแลวกี่วินาที (3 )
วิธที าํ

31. วัตถุเคลือ่ นทีอ่ อกไปจากหยุดนิง่ ดวยความเรง 5 เมตร/วินาที2 ในระยะ 10 เมตร จะมี


ความเร็วปลายกลายเปนกี่เมตร/วินาที (10)
วิธที าํ

29
dI บทที่ 2 การเคลื่อนที่
32. รถคันหนึง่ เคลือ่ นทีด่ ว ยความเร็วตน 36 กม/ชม ตอมาเรงเครือ่ งดวยความเรง 3 เมตร/
วินาที2 จงหาวาภายในระยะทาง 50 เมตร รถคันนี้จะมีความเร็วปลายกี่เมตร/วินาที (20 )
วิธที าํ

33. “ความไว” ของการตอบสนองคนขับรถยนตคนั หนึง่ เทากับ 1/5 วินาที ซึ่งหมายความวา


ถาคนขับรถยนตคน หนึง่ เห็นสิง่ ของใดอยูข า งหนา ชวงเวลาที่สั้นที่สุดที่สมองของเขาจะสั่ง
ใหกระทําการอันใดอันหนึง่ ตอบสนอง ตอสิง่ ทีส่ งั เกตเห็น คือ 1/5 วินาที ถาขณะที่เขาขับ
รถยนตดว ยความเร็วคงตัว 25 เมตรตอวินาที อยากทราบวาจากชวงเวลาที่เห็นรถคันขางหนา
ลดความเร็วอยางกระทันหันและเริ่มเหยียบหามลอ รถยนตของเขาแลนไดระยะทางอยางนอย
ที่สุดกี่เมตร (5m)
วิธที าํ

34. ชายผูหนึ่งขับรถยนตเขาหาสัญญาณไฟจราจรที่สี่แยกแหงหนึ่งขณะที่รถยนตมีความเร็ว 30
เมตร/วินาที สัญญาณไฟเปลี่ยนจากสีเขียวเปนสีเหลือง หากชายผูนั้นใชเวลา 1.0 วินาที
กอนจะเหยียบเบรกและหากอัตราหนวงสูงสุดของเบรกเปน 2 เมตร/วินาที2 จงหาระยะ
นอยที่สุดที่รถยนตอยูหางจากสัญญาณไฟซึ่งรถจะหยุดไดทันพอดี ( 255 m)
วิธที าํ

30
I บทที่ 2 การเคลื่อนที่
35(En 38) รถยนตคนั หนึง่ วิง่ ดวยความเร็วคงที่ 10 เมตรตอวินาที ขณะที่อยูหางสิ่งกีดขวางเปน
ระยะทาง 35 เมตร คนขับตัดสินใจหามลอรถ โดยเสียเวลา 1 วินาที กอนที่หามลอจะทํา
งาน เมื่อหามลอทํางานแลว รถจะตองลดความเร็วในอัตราเทาใด จึงจะทําใหรถหยุดพอ
ดีเมื่อถึงสิ่งกีดขวางนั้น
1. 1.0 m/s2 2. 1.5 m/s2 3. 2.0 m/s2 4. 3.0 m/s2 (ขอ 3)
วิธที าํ

เกีย่ วกับการเคลือ่ นทีเ่ ปนเสนตรงในแนวดิง่

36. ขวางลูกบอลลงมาในแนวดิ่งดวยความเร็ว 10 เมตร/วินาที เมือ่ เวลาผานไป 4 วินาที วัตถุ


จะเคลื่อนลงมาไดระยะทางเทากี่เมตร (120 ม)
วิธที าํ

37. ขวางลูกบอลลงมาในแนวดิ่งดวยความเร็ว 15 เมตร/วินาที ใชเวลา 2 วินาที จึงจะถึงพื้น


ดิน ถามวาตําแหนงที่ขวางลูกบอลอยูสูงจากพื้นกี่เมตร
1. 10 2. 50 3. 20 4. 30 (ขอ 2)
วิธที าํ

31
ฎฺ
เI บทที่ 2 การเคลื่อนที่
38. ขวางลูกบอลลงมาในแนวดิ่งดวยความเร็ว 10 เมตร/วินาที ใชเวลา 3 วินาที จึงจะถึงพื้น
ถามวาความเร็วของลูกบอลขณะกระทบพื้นมีคากี่เมตร/วินาที
1. 15 2. 25 3. 30 4. 40 (ขอ 4)
วิธที าํ

39. ปลอยวัตถุใหตกลงในแนวดิ่งจากที่สูง 20 เมตร จงหาความเร็วขณะกระทบพื้น (20 m/s)


วิธที าํ

40(En 41/2) ลูกบอลตกจากจุด A ซึ่งสูง h จากพืน้ เมือ่ ผานจุด B ซึ่งสูง h/4 จากพื้นจะมี
อัตราเร็วกีเ่ มตร/วินาที
1. (gh/2) 1/2 2. (gh) 1/2 3. (3gh/2) 1/2 4. (2gh) 1/2 (ขอ 3)
วิธที าํ

41. โยนวัตถุกอ นหนึง่ ขึน้ จากพืน้ ดวยความเร็วตน 30 เมตร/วินาที ถามวาจุดที่วัตถุอยูสูงจาก


พื้น 25 เมตร จะมีความเร็วเทาใด (20 m/s)
วิธที าํ

32
a
I บทที่ 2 การเคลื่อนที่
42. โยนวัตถุขน้ึ จากพืน้ ดวยความเร็วตน 30 เมตร/วินาที ผานไป 2 วินาที วัตถุจะอยูสูงจาก
พืน้ กีเ่ มตร ( 40 เมตร )
วิธที าํ

43. ขวางกอนหินขึน้ ไปในแนวดิง่ ดวยความเร็ว 40 m/s กินเวลานานเทาไร กอนหินจึงอยูส งู


จากพื้นดิน 60 m
ก. 2 และ 4 วินาที ข. 3 และ 6 วินาที
ค. 1 และ 3 วินาที ง. 2 และ 6 วินาที (ขอ ง)
วิธที าํ

44. โยนวัตถุขน้ึ จากพืน้ ดวยความเร็วตน 30 เมตร/วินาที วัตถุจะขึ้นไปถึงจุดสูงสุดภายในเวลา


กี่วินาที และ จุดสูงสุดนั้นอยูสูงจากพื้นกี่เมตร ( 3 วินาที , 45 เมตร )
ฒึ๊
วิธที าํ

33
•I บทที่ 2 การเคลื่อนที่
45(En 41) โยนวัตถุสองกอน A และ B ใหเคลือ่ นทีข่ น้ึ ตามแนวดิง่ ระยะทางสูงสุดที่วัตถุ A
และ B เคลื่อนที่ขึ้นไปไดคือ 50 และ 200 เมตร ตามลําดับ อัตราสวนของความเร็วตน
ของ A ตอของ B มีคาเทาใด
1. 14 2. 1 3. 12 4. 1 (ขอ 3)
2 2 2
วิธที าํ

46. ระยะสูงสุดที่วัตถุเคลื่อนที่ขึ้นตามแนวดิ่งมีคาขึ้นกับปริมาณใดบาง ( ความเร็วตน )


วิธที าํ

47(En 40) ชายคนหนึง่ โยนเหรียญขึน้ ไปในแนวดิง่ ดวยความเร็วตน 10 เมตร/วินาที เปนเวลา


เทาใดเหรียญจึงจะตกลงมาถึงตําแหนงเริม่ ตนฺ
1. 1 s 2. 2 s 3. 3 s 4. 4 s (ขอ 2)
วิธที าํ

48(En 44/2) โยนวัตถุกอนหนึ่งขึ้นไปในแนวดิ่งโดยวัตถุขึ้นถึงจุดสูงสุดที่ B ถา A และ C


เปนจุดทีอ่ ยูใ นระดับเดียวกันดังรูป เมือ่ ไมคดิ ผลของแรงตานอากาศขอตอไปนีข้ อ ใดถูก
1. ทีจ่ ดุ B วัตถุมคี วามเร็วและความเรงเปนศูนย
2. ทีจ่ ดุ A และ C วัตถุมคี วามเร็วเทากัน
3. ทีจ่ ดุ A และ C วัตถุมคี วามเรงขนาดเทากัน แตทศิ ทางตรงกันขาม
4. ทีจ่ ดุ A , B และ C วัตถุมีความเรงเทากันทั้งขนาดและทิศทาง
วิธที าํ (ขอ 4)

34
I บทที่ 2 การเคลื่อนที่
เพิ่มเติมเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ซึ่งมีความเร็วตนในทิศขึ้น
49. โยนวัตถุจากพืน้ ดวยความเร็วตน 20 m/s จงหา
ก. ความเร็ว เมือ่ เวลาผานไป 1 และ 5 วินาที (10 m/s , –30 m/s)
ข. การขจัด เมือ่ เวลาผานไป 1 และ 5 วินาที (15 m , –25 m)
วิธที าํ

50(มช 30) ชายคนหนึ่งยืนอยูบนดาดฟาของตึกเขาขวางกอนหินมวล 0.1 กิโลกรัม ขึ้นไป


ในอากาศในแนวดิง่ ดวยความเร็ว 5 เมตร/วินาที หลังจากกอนหินหลุดจากมือเขา 6 วินาที
ก็ตกถึงพื้นดินความสูงของตึกเปนเทาไร
1. 125.0 เมตร 2. 150.0 เมตร 3. 151.25 เมตร 4. 152.5 เมตร (ขอ 2)
วิธที าํ

35
หฺ
tI บทที่ 2 การเคลื่อนที่
51(มช 41) เด็กคนหนึง่ โยนกอนหินขึน้ ไปในแนวดิง่ ดวยอัตราเร็วตน 10 เมตร/วินาที กอนหิน
ตกถึงพื้นซึ่งอยูต่ํากวาตําแหนงมือที่กําลังโยนเปนระยะทาง 15 เมตร จงหาวากอนหิน
เคลื่อนที่อยูในอากาศเปนเวลานานกี่วินาที (3 วินาที )
วิธที าํ

52. โยนกอนหินขึน้ ไปในแนวดิง่ จากพืน้ ดิน ดวยความเร็วตน 20 เมตรตอวินาที หลังจากที่


โยนไปแลวเปนเวลาเทาไร กอนหินจึงตกลงมาดวยความเร็ว 10 เมตรตอวินาที (3 วินาที )
วิธที าํ

53. บอลลูนลูกหนึ่งกําลังลอยขึ้นตรง ๆ ในแนวดิง่ ดวยความเร็ว 10 เมตร/วินาที ขณะอยูสูงจาก


พืน้ ดิน 400 เมตร ก็ปลอยถุงทรายลงมา อยากทราบวานานเทาใดถุงทรายถึงพื้นดานลาง
วิธที าํ (10 วินาที)

36
_#
I บทที่ 2 การเคลื่อนที่
54. บอลลูนกําลังลอยขึ้น ดวยความเร็ว 5 เมตร/วินาที มีวัตถุหนึ่งหลนจากลูกบอลลูนแลว
กระทบพื้นดานลางในเวลา 10 วินาที
ก. จงหาความเร็วของวัตถุขณะกระทบพื้น (95 m/s ทิศลง)
ข. ขณะที่วัตถุเริ่มหลน บอลลูนอยูสูงจากพื้นเทาไร (450 เมตร)
วิธที าํ

55. ลูกบอลลูนลอยขึ้นไปในอากาศดวยความเร็วคงที่ 5 เมตรตอวินาที เมือ่ ขึน้ ไปได 30 วินาที


ก็ปลอยลูกระเบิดลงมานานกี่วินาที ลูกระเบิดจึงจะตกถึงพื้น
1. 5 2. 6 3. 3 4. 15 2 (ขอ 2.)
วิธที าํ

56(En 40) นาย ก ยืนอยูบนดาดฟาตึกซึ่งสูงจากพื้นดิน 20 เมตร ปลอยกอนหินลงไปในแนวดิ่ง


ในขณะเดียวกันนาย ข ซึง่ อยูท พ่ี น้ื ดินโยนกอนหินขึน้ ไปตรงๆ ดวยความเร็ว 20 เมตร/วินาที
กอนหินทั้งสองจะพบกันที่สูงจากพื้นดินกี่เมตร ( 15 ม.)
วิธที าํ

37
t
I บทที่ 2 การเคลื่อนที่
57(En 32) รถไฟ 2 ขบวน วิง่ เขาหากันโดยวิง่ ในรางเดียวกัน รถขบวนที่ 1 วิง่ ดวยความเร็ว
10 เมตร/วินาที สวนรถขบวนที่ 2 วิง่ ดวยความเร็ว 20 เมตร/วินาที ขณะที่อยูหางกัน
325 เมตร รถไฟทั้ง 2 ขบวน ตางเบรครถและหยุดไดพอดีพรอมกันโดยหางกัน 25 เมตร
เวลาที่รถทั้งสองใชเปนเทาใด
1. 10 วินาที 2. 15 วินาที 3. 20 วินาที 4. 25 วินาที (ขอ 3.)
วิธที าํ

58. นักโดดรมดิง่ พสุธาคนหนึง่ โดดลงมาจากเครือ่ งบินอีก 100 เมตร จะถึงพื้นดินก็กระตุกรม


กางออกจะทําใหเขาเคลื่อนที่ดวยความหนวง 5.0 เมตร/วินาที2 แลวถึงพื้นดวยความเร็ว 1
เมตร/วินาที ขณะทีเ่ ขาโดดเครือ่ งบินอยูส งู จากพืน้
ก. 140 เมตร ข. 150 เมตร ค. 160 เมตร ง. 170 เมตร (ขอ ข)
วิธที าํ

59. วัตถุชิ้นหนึ่งถูกปลอยใหตกลงมาในแนวดิ่งจงหาระยะทางระหวางวินาทีที่ 4 ถึงวินาทีที่ 8


ก. 320 m ข. 280 m ค. 240 m ง. 200 m (ขอ ค)
วิธที าํ

38
รI บทที่ 2 การเคลื่อนที่
60. วัตถุชิ้นหนึ่งถูกปลอยใหตกลงมาในแนวดิ่งจงหาระยะทางที่เคลื่อนที่ไดในวินาทีที่ 5 (45 m)
วิธที าํ

61(มช 48) วัตถุถูกโยนขึ้นไปในแนวดิ่งดวยความเร็ว 80 เมตรตอวินาที ระยะทางที่วัตถุเคลื่อน


ที่ไดในชวงวินาทีที่ 1 ตอระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ไดในชวงวินาทีที่ 7 เปนเทาไร (5)
วิธที าํ

62. วัตถุหนึง่ เริม่ เคลือ่ นทีจ่ ากจุดหยุดนิง่ ดวยความเรงคงที่ปรากฏวาในวินาทีที่ 15 วัตถุเคลือ่ นที่


ไดทาง 58 เมตร จงหาความเรงของวัตถุ (4 m/s2)
วิธที าํ

63. วัตถุกอ นหนึง่ เคลือ่ นทีด่ ว ยความเรงคงที่ ปรากฏวาในวินาทีที่ 10 เคลื่อนที่ไดระยะทาง 48


เมตร และในวินาทีที่ 15 เคลื่อนที่ไดระยะทาง 68 เมตร จงหาความเร็วตน และความเรง
ของการเคลือ่ นที่ ( 10 เมตร/วินาที , 4 เมตร/วินาที2 )
วิธที าํ

39
!I บทที่ 2 การเคลื่อนที่
ตอนที่ 3 กราฟของการเคลือ่ นทีใ่ นแนวเสนตรงดวยอัตราเรงคงที่
ความสัมพันธแทงกราฟ ความเรง ความเร็ว และการขจัด
กราฟชุดที่ 1

ความเรง = ……… ความเร็ว............. การขจัดเพิม่ ขึน้ เปนกราฟเสน......


กราฟชุดที่ 2

ความเรงเปน..........คงที่ ความเร็ว.........เปนเสนตรง การขจัดเพิม่ ขึน้ เปนเสนโคง........


กราฟชุดที่ 3

ความเรงเปน.........คงที่ ความเร็ว.............เปนเสนตรง การขจัดลดเปนเสนโคง..........

การขจัดคงที่ แสดงวา......................
ความเร็ว = 0 ความเรง = 0
64. ตามรูปเปนกราฟระหวางการขจัด – เวลา ชวงเวลาขอใด
ทีค่ วามเร็วเปนศูนย (ขอ 3)
1. 0→t1 , t2→t4 2. t2 , t3→t4
3. 0→t1 , t3→t4 4. 0→t1 , t2→t3

40
lI บทที่ 2 การเคลื่อนที่
65. พิจารณาการเคลือ่ นทีข่ องจักรยานคันหนึง่ ในแนวเสนตรง กราฟระหวางการขจัด – เวลาใน
ขอใดตอไปนีท้ แ่ี สดงวาจักรยานมีความเร็วคงที่ (ขอ ข)
ก. ข.

ค. ง.

เหตุผล

66(En 43/1) ถากราฟการกระจัด x กับเวลา t ของรถยนต


ก และ ข มีลักษณะดังรูป ขอใดตอไปนีถ้ กู
1. รถยนต ก และ ข จะมีความเร็วเทากัน
เมือ่ เวลาผานไป 2 นาที
2. รถยนต ก มีความเร็วไมคงที่ สวนรถยนต ข มีความเร็วคงที่
3. รถยนต ก มีความเรงมากกวาศูนย สวนรถยนต ข มีความเร็วเทากับศูนย
4. ทัง้ รถยนต ก และ ข ตางมีความเรงเปนศูนย (ขอ 4)
เหตุผล

67. วัตถุกอ นหนึง่ เคลือ่ นทีใ่ นแนวเสนตรงโดย มีกราฟความเร็ว–


เวลา ดังรูปดังนัน้ กราฟในขอใดตอไปนี้ แทนความสัมพันธ
ระหวางความเรงกับเวลาของการ เคลื่อนที่นี้ไดถูก

(ขอ 4)

41
เI บทที่ 2 การเคลื่อนที่
68. จากการศึกษาการเคลือ่ นทีข่ องวัตถุในแนวเสนตรง โดยใชเครือ่ งเคาะสัญญาณเวลา ไดจดุ
บนแถบกระดาษดังรูป โดยที่ระยะหางระหวางจุดมีชวงเวลาเทากัน
• • • • • • • • •

กราฟรูปใดที่แสดงความสัมพันธระหวางความเรงของวัตถุกับเวลา
1. a 2. a

0 t 0 t
a
3. 4. a

0 t

0 t
(ขอ 3)
วิธที าํ

พื้นที่ใตกราฟ จะไมเทากับอะไรเลย
ความชันเสนกราฟ = v

พื้นที่ใตกราฟ = s
ความชันเสนกราฟ = a

พื้นที่ใตกราฟ = v – u
ความชันเสนกราฟ ไมเทากับอะไรเลย
42
lI บทที่ 2 การเคลื่อนที่
69. รถยนตคนั หนึง่ เคลือ่ นทีใ่ นแนวเสนตรงไดกราฟระหวาง ความเร็ว – เวลา ดังรูป ถามวาเมื่อ
สิ้นวินาทีที่ 6 การขจัดจะเปนกีเ่ มตร
1. 1190 2. 80
3. 180 4. 90 (ขอ 4)
วิธที าํ

70. จากขอที่ผานมา คาความเร็วเฉลี่ยในชวงเวลา 0 ถึง 6 วินาที เปนกีเ่ มตรตอวินาที


1. 20 2. 15 3. 10 4. 5 (ขอ 2)
วิธที าํ

71(มช 34) กราฟของอัตราเร็วกับเวลาของนักวิง่ คนหนึง่ ปรากฏดังรูป จงหาระยะทางที่วิ่งไดใน


ชวงเวลาระหวางวินาทีที่ 8 ถึงวินาทีที่ 14
ก. 280.00 เมตร
ข. 116.25 เมตร
ค. 82.50 เมตร
ง. 45.00 เมตร (ขอ ข)
วิธที าํ

72. อนุภาคหนึง่ เคลือ่ นทีไ่ ดการกระจัด 150 เมตร โดยมีความเร็วสูงสุด 10 เมตร/วินาที


และความเร็ว v กับเวลา t มีความสัมพันธดัง
กราฟ จงหาเวลาที่ใชในการเคลื่อนที่ (ขอ ค)
ก. 10 วินาที ข. 20 วินาที
ค. 30 วินาที ง. 40 วินาที
วิธที าํ

43
เI บทที่ 2 การเคลื่อนที่
73(En 24) วัตถุอนั หนึง่ เคลือ่ นทีโ่ ดยมีความเร็ว
เปลี่ยนแปลงกับเวลาเปน sine curve (ดังรูป)
ซึ่งมีคาแอมปลิจูดเปน 0.3 เมตร/วินาที จง
หาระยะที่วัตถุเคลื่อนไปไดระหวาง A กับ B
วิธที าํ ( 3 เมตร )

74. จากกราฟการเคลือ่ นทีด่ งั รูป จงหาความเรง ความเร็ว (m/s)


ณ. วินาทีที่ 9 (– 2 m/s2)
4
วิธที าํ

8 10 เวลา (s)

75(มช 36) รถคันหนึง่ วิง่ ออกจากจุดสตารทไปตามลูแ ขง


ดวยอัตราเร็วดังแสดงในกราฟ จงหาอัตราเรงของรถ
ขณะวิ่งออกมาได 7 วินาที ในหนวยเมตรตอวินาที2
วิธที าํ (-3 m/s2)

76(En 41/2) จากกราฟความสัมพันธระหวางความเร็วกับเวลาของการเคลื่อนที่เปนดังรูป


พบวาภายหลังการเดินทางไปได 4 วินาที
ระยะทางการเคลื่อนที่มีคา 16 เมตร จงหา
ความเรงทีเ่ วลา 3 วินาที (ขอ 4)
1. +2 m/s2 2. –2 m/s2
3. +3 m/s2 4. –4 m/s2
วิธที าํ

44
lI บทที่ 2 การเคลื่อนที่
77(En 31) วัตถุอนั หนึง่ เคลือ่ นทีจ่ ากนิง่ ดวยความเรง a
ที่เวลา t ดังไดแสดงในรูป จงหาความเร็วของวัตถุ
ที่เวลา 5 วินาที
1. 2 m/s 2. 1 m/s
3. 0 m/s 4. –1 m/s (ขอ 2)
วิธที าํ

78(En 42/2) รถเริม่ แลนจากจุดหยุดนิง่ โดยมีความ a(m.s2)


เรงตามทีแ่ สดงในกราฟ จงหาความเร็วของรถที่ 4
เวลา 30 วินาที จากจุดเริม่ ตน 0
2
10 20 30 t(s)
1. 40 m/s 2. 20 m/s -2
-4
3. 10 m/s 4. 0 m/s (ขอ 4)
วิธที าํ

79. จากกราฟของการเคลือ่ นทีต่ อ ไปนี้ จงหาระยะทาง


และการขจัดของการเคลือ่ นที่
วิธที าํ ( 52 m , 28 m)

80. จากขอที่ผานมา จงหาอัตราเร็ว และ ความเร็วเฉลีย่ ( 5.2 m/s , 28 m/s)


วิธที าํ

45
II บทที่ 2 การเคลื่อนที่
81. จากการเคลื่อนที่ซึ่งแสดงไดดวย ความเร็ว (m/s)
กราฟความเร็ว–เวลา ดังรูป กิน
เวลานานเทาไร วัตถุจึงจะกลับมา
เวลา (t) เวลา (t)
ทีจ่ ดุ เริม่ ตน
1. 16 วินาที 2. 18.5 วินาที
3. 13.5 วินาที 4. 16.2 วินาที (ขอ 3)
วิธที าํ

82(En 38) โยนกอนหินขึน้ ในแนวดิง่ จากพืน้ ดินดวยความเร็วตน 20.0 เมตรตอวินาที หลังจาก


ถึงจุดสูงสุดแลว กอนหินก็ตกลงมาถึงจุดที่มีความเร็ว 10.0 เมตรตอวินาที การกระจัด และ
ระยะทางทั้งหมดที่กอนหินเคลื่อนที่ไดถึงจุดนั้นเปนเทาใด (ตอบตามลําดับ หนวยเปนเมตร)
1. 20.0 , 15.0 2. 15.0 , 15.0 3. 25.0 , 15.0 4. 15.0 , 25.0 (ขอ 4)
วิธที าํ

46
lI บทที่ 2 การเคลื่อนที่
83(มช 44) จากกราฟดังรูป ระหวางขนาดของความเร็ว
และเวลา t ของอนุภาคซึง่ เคลือ่ นทีใ่ นแนวดิง่ ภายใต
แรงเสียดทานและน้ําหนักของอนุภาค อนุภาคอยูใ น
อากาศไดนาน 16 วินาที จงหาวาอนุภาคนีจ้ ะเคลือ่ น
ที่ไดระยะทางสูงสุดกี่เมตร (ขอ 2)
1. 80 2. 160 3. 240 4. 320
วิธที าํ

!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

ตอนที่ 4 ความเร็วสัมพัทธ
ความเร็วสัมพัทธ คือ ความเร็วของวัตถุเมือ่ เปรียบเทียบกับจุดอางอิงหนึง่ ๆ
วิธีการหาคาความเร็วสัมพัทธ
กรณีท่ี 1 หากความเร็ววัตถุมที ศิ เดียวกับความเร็วจุดอางอิง
vสัมพัทธของวัตถุ = vวัตถุ – vจุดอางอิง
กรณีท่ี 2 หากความเร็ววัตถุมที ศิ สวนทางกับความเร็วจุดอางอิง
vสัมพัทธของวัตถุ = vวัตถุ + vจุดอางอิง
vอางอิง
กรณีท่ี 3 หากความเร็ววัตถุทาํ มุมกับความเร็วจุดอางอิง vวัตถุ
ขัน้ 1 ใหกลับทิศทางของความเร็วจุดอางอิง –vอางอิง
θ
ขัน้ 2 เอาหางเวกเตอรความเร็ววัตถุมาตอ
vสัมพัทธของวัตถุ
กับ หางเวกเตอรความเร็วจุดอางอิง
เทียบกับจุดอางอิง
ขัน้ 3 ใชสูตร
vสัมพัทธของวัตถุ = vวัตถุ2 + vจุดอางอิง2 + 2 vวัตถุ vจุดอางอิง cosθ

เมือ่ คือ มุมระหวางหางเวกเตอร vวัตถุ กับ –vจุดอางอิง


47
เI บทที่ 2 การเคลื่อนที่
84. วัตถุ A มีความเร็ว 4 เมตร/วินาที วัตถุ B มีความเร็ว 3 เมตร/วินาที เคลือ่ นทีใ่ นแนว
เสนตรง จงหาความเร็วสัมพัทธของวัตถุ A เทียบกับ B เมือ่
1. วัตถุ A และ B เคลือ่ นทีไ่ ปทางทิศตะวันออกเหมือนกัน ( 1 m/s )
2. วัตถุ A เคลือ่ นไปทางทิศตะวันออก สวน B เคลื่อนไปทางทิศตะวันตก ( 7 m/s )
3. วัตถุ A เคลือ่ นไปทางทิศตะวันออก สวน B เคลื่อนไปทางทิศเหนือ ( 5 m/s )
วิธที าํ

!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

48
lI บทที่ 2 การเคลื่อนที่
แบบฝ ก หั ด บทที่ 2 การเคลื่ อ นที่
ระยะทาง , การขจัด , อัตราเร็ว , ความเร็ว , อัตราเรง , ความเรง
1. จงหาระยะทางและการขจัดของการเคลื่อนที่ตามแผนภาพตอไปนี้
ก. ข. ค.

( ก. 7 ม , 5 ม ข. 10 ม , 4 ม ค. 44 ม , 0 ม )

2. เขาทรายออกวิ่งจากคายมวยไปทางตะวันออก 16 กิโลเมตร แลวเดินตอไปทางเหนือ 12


กิโลเมตร จงหาการกระจัดของเขาทราย จากคายมวยเปนกี่กิโลเมตร
1. 4 2. 20 3. 24 4. 28 (ขอ 2)

3. จงหาอัตราเร็ว และ ความเร็ว ของ การเคลือ่ นที่


ตามแผนภาพตอไปนี้ กําหนดเวลาที่ใชในการ
เคลื่อนที่ทั้งหมด 2 วินาที (3.5 m/s , 2.5 m/s)
4(En 41) นาย ก เดินจาก A ไป B ใชเวลา
18 วินาที จากนัน้ เดินตอไปยัง C ดังรูป
ใชเวลา 12 วินาที จงหาขนาดของความ
เร็วเฉลีย่ ของนาย ก ตลอดการเดินนี้
1. 0.67 m/s 2. 0.75 m/s
3. 0.97 m/s 4. 1.0 m/s (ขอ 2.)
5. เรือเร็วลําหนึง่ แลนไปทางทิศเหนือเปนระยะทาง 30 กิโลเมตร ในเวลา 40 นาที หลังจาก
นัน้ ก็แลนไปทางทิศตะวันออกอีก 30 กิโลเมตร ใน 20 นาที อัตราเร็วเฉลีย่ ของเรือลํานีค้ อื
1. 30 2 กิโลเมตรตอชัว่ โมง 2. 45 5 กิโลเมตรตอชัว่ โมง
3. 60.0 กิโลเมตรตอชัว่ โมง 4. 67.5 กิโลเมตรตอชัว่ โมง (ขอ 3)

49
1I บทที่ 2 การเคลื่อนที่
6. การขจัดลัพธที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของเรือในคําถามขอที่ผานมา คือ
1. 30 2 กิโลเมตร ไปทางทิศตะวันออก
2. 30 2 กิโลเมตร ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ
3. 60 กิโลเมตร ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ
4. 60 กิโลเมตร ไปทางทิศตะวันออก
7. วัตถุหนึง่ เคลือ่ นทีจ่ าก A ไป B ผาน C , D ซึ่งอยูบนแนวเสนตรงเดียวกันดังรูปใชเวลา
นาน 10 วินาที จงหา
ก. ระยะทาง (45 m ) 20 m
A
ข. การกระจัด (15 m) C

ค. อัตราเร็วเฉลีย่ (4.5 m/s) D


B
5m 10 m
ง. ความเร็วเฉลีย่ (1.5 m/s)

8. หนูแดงวิ่งรอบสนามกีฬา ซึ่งมีความยาวรอบสนาม 400 เมตร หนูแดงวิง่ ทัง้ หมด 10 รอบ


จงหาระยะทางและการกระจัดทีไ่ ด
1. 400 เมตร , 400 เมตร 2. 400 เมตร , 0
3. 4000 เมตร , 400 เมตร 4. 4000 เมตร , 0 (ขอ 2)

9. รัตนใจซอมวิ่งรอบสนามกีฬาซึ่งมีความยาวเสนรอบวง 400 เมตร ครบรอบใชเวลา 50


วินาที จงหาอัตราเร็วเฉลีย่ และความเร็วเฉลี่ยของรัตนใจ (8 m/s , 0 m/s)

10. กําหนดกราฟการขจัดของการเคลือ่ นทีห่ นึง่ ดังรูป


การขจัด ( m )
จงหาความเร็ว ณ.จุดวินาทีท่ี 3 ( 6.0 m/s )

12

1 2 3 เวลา ( วินาที )

50
lI บทที่ 2 การเคลื่อนที่
สมการการเคลือ่ นที่
11. วัตถุหนึง่ เคลือ่ นทีอ่ อกจากจุดหยุดนิง่ ดวยความเรงคงที่ 4 เมตร/วินาที2 อยากทราบวาเมื่อ
เวลาผานไป 5 วินาที วัตถุจะมีความเร็วเทาไร และไดระยะทางเทาไร ( 20 m/s , 50 m)

12. รถคันหนึง่ เคลือ่ นทีใ่ นแนวเสนตรงดวยความเร็วตน 10 เมตร/วินาที มีความเรงคงที่ 4


เมตร/วินาที2 เมือ่ เวลาผานไป 10 วินาที วัตถุเคลื่อนที่ไดทางเทาใด ( 300 m)

13. จรวดลําหนึ่งทะยานขึ้นจากพื้นโลกในแนวดิ่งดวยความเรง 15 เมตร/วินาที2 เมือ่ เวลา


ผานไป 60 วินาที จรวดลํานี้จะอยูสูงจากพื้นโลกกี่เมตร
ก. 1.9 x 104 ข. 1 .2 x 104
ค. 2.7 x 104 ง. 9.4 x 103 (ขอ ค.)

14. อนุภาคหนึ่งกําลังเคลื่อนที่ดวยความเร็ว 20 เมตร/วินาที เมื่อเวลาผานไป 5 วินาที ปรากฏวา


อนุภาคเคลื่อนที่ดวยความเร็ว 30 เมตร/วินาที อนุภาคเคลือ่ นนีท้ ไ่ี ดระยะทางเทาใด (125 m)
15. นองบีขบั รถดวยความเร็ว 25 เมตร/วินาที เห็นเด็กวิ่งขามถนนจึงเหยียบเบรกทําใหความ
เร็วลดลงเหลือ 5 เมตร/วินาที ในเวลา 2 วินาที จงหาระยะทางในชวงที่เบรกเปนกี่เมตร
ก. 10 ข. 20 ค. 30 ง. 40 (ขอ ค)

16. จากขอที่ผานมา ขณะเหยียบเบรก รถมีความเรง กีเ่ มตร/วินาที2


ก. –10 ข. 10 ค. –15 ง. 15 (ขอ ก)

17. รถคันหนึ่งกําลังเคลื่อนที่ดวยความเร็ว 72 กิโลเมตร/ชัว่ โมง แลวเบรกเพือ่ ใหจอดในเวลา


12 วินาที อยากทราบรถเคลื่อนที่ไดระยะทางเทาใดกอนหยุด (120 m)

18. รถคันหนึง่ จอดติดไฟแดง พอไดรบั สัญญาณไฟเขียวก็เรงเครือ่ งออกไปดวยความเรงคงทีพ่ อ


ไปไดไกล 100 เมตร วัดความเร็วได 72 กิโลเมตร/ชัว่ โมง อยากทราบวาความเรงของรถ
เปนเทาใด (2 m/s2)

19. รถยนตคนั หนึง่ กําลังเลนบนถนนดวยความเร็ว 72 กิโลเมตร/ชัว่ โมง คนขับเห็นการ


จราจรติดขัดขางหนาจึงเบรก ปรากฏวาเหลือความเร็ว 18 กิโลเมตร/ชัว่ โมง ในเวลา 40
วินาที จงหาระยะทางในชวงการเบรกนี้ (500 m)

51
tI บทที่ 2 การเคลื่อนที่
20. ยิงวัตถุขึ้นในแนวดิ่ง จากพืน้ ดวยความเร็ว 60 เมตร/วินาที นานเทาใดวัตถุจึงอยูสูงจากพื้น
100 เมตร (g = 10 เมตร/วินาที2) (2 , 10 s)

21(มช 33) จุกคอรกกระเด็นหลุดจากปากขวดขึ้นในแนวดิ่งกระทบหลอดไฟซึ่งอยูสูงขึ้นไป 4


เมตร จากปากขวดในเวลา 0.4 วินาที จงหาอัตราเร็วของจุกคอรกขณะกระทบหลอดไฟ
ในหนวยเมตร/วินาที
ก. 7 ข. 8 ค. 12 ง. 16 (ขอ ข)

22. ถาขวางกอนหินกอนหนึ่งลงไปตรง ๆ ในแนวดิง่ ดวยความเร็ว 10 เมตร/วินาที จากยอด


หนาผาชันแหงหนึ่งซึ่งสูง 120 เมตร จงหา
ก. นานเทาใดกอนหิน จึงตกถึงพื้นดินขางลาง (4s)
ข. หลังจากขวางไปแลว 2 วินาที จะมีความเร็วเทาใด ( 30 m/s)

23. โยนกอนหินขึน้ ไปตามแนวดิง่ ดวยความเร็วตน 20 เมตร/วินาที ถามวาโยนขึ้นไปแลว


นาน 5 วินาที กอนหินจะอยูที่ใด
1. วัตถุอยูต่ํากวาจุดที่โยน 25 เมตร 2. วัตถุอยูสูงกวาจุดที่โยน 15 เมตร
3. วัตถุอยูที่พื้น 4. วัตถุอยูต่ํากวาจุดที่โยน 15 เมตร (ขอ 1)

24. โยนวัตถุขึ้นไปจากระเบียงตึกใบหยก ซึ่งสูง 60 เมตร ตามแนวดิง่ ดวยอัตราเร็ว 20 เมตร/


วินาที จงหา
ก. นานเทาไรวัตถุตกถึงพื้นขางลาง (6 s )
ข. วัตถุขึ้นไปไดสูงสุดเทาไร (20 m )
ค. เมือ่ เวลาผานไป 4 วินาที วัตถุมคี วามเร็วเทาใด (20 m/s )

25. บอลลูนลูกหนึ่งกําลังลอยขึ้นตรง ๆ ในแนวดิง่ ดวยความเร็ว 10 เมตร/วินาที ขณะอยูสูงจาก


พืน้ ดิน 400 เมตร ก็ปลอยถุงทรายลงมา อยากทราบวานานเทาใดถุงทรายถึงพื้นดานลาง
(10 วินาที)
26. บอลลูนลูกหนึ่งกําลังลอยลงในแนวดิ่งซึ่งขณะนั้นมีความเร็ว 20 เมตร/วินาที คนใน
บอลลูนไดทิ้งกอนหินกอนหนึ่งลงมา ปรากฏวากอนหินกระทบพื้นดินในเวลา 12 วินาที
อยากทราบขณะทิ้งกอนหินบอลลูนอยูสูงจากพื้นดินเทาใด (960 เมตร)

52
1I บทที่ 2 การเคลื่อนที่
27. ปลอยวัตถุจากดาดฟาตึกสูง 100 เมตร ในขณะเดียวกันก็ขวางวัตถุอีกกอนหนึ่งจากพื้นลาง
ขึน้ ไปดวยอัตราเร็ว 50 เมตร/วินาที อยากทราบวาอีกนานเทาใดวัตถุทั้งสองจึงจะพบกัน
ก. 2 วินาที ข. 3 วินาที ค. 4 วินาที ง. 5 วินาที (ขอ ก)

28. จากขอที่ผานมา ขณะพบกัน วัตถุทั้งสองอยูสูงจากพื้นดานลางเทาใด


ก. 20 เมตร ข. 40 เมตร ค. 60 เมตร ง. 80 เมตร (ขอ ง)

กราฟของการเคลือ่ นที่
29. กราฟรูปใด แสดงวาวัตถุมีความเร็วคงที่ (ขอ ก)
a a a a

t t t t
ก. ข. ค. ง.
30. กราฟรูปใด แสดงวาวัตถุมีความเร็วเพิ่มขึ้น อยางสม่ําเสมอ (ขอ ค)

s s s s

t t t t
ก. ข. ค. ง.
31(มช 33) กราฟทีแ่ สดงการเคลือ่ นทีข่ องวัตถุทม่ี อี ตั ราเรงคงทีค่ อื (ขอ ข)

s V s V

t t t t
ก. ข. ค. ง.
32. กราฟรูปใด แสดงการเคลือ่ นทีข่ องวัตถุดว ยความเร็วคงที่
ก. 1 ข. 2 ค. 3 ง. 4 (ขอ ก)

33. กราฟรูปใด แสดงวาวัตถุไมมีการเคลื่อนที่


ก. 1 ข. 2 ค. 3 ง. 4 (ขอ ข)

53
rI บทที่ 2 การเคลื่อนที่
34. กราฟรูปใด แสดงการเคลือ่ นทีข่ องวัตถุ อัตราเร็วเพิม่ ขึน้
ก. 1 ข. 2 ค. 3 ง. 4 (ขอ ค)

35. กราฟรูปใด แสดงวาวัตถุมีความหนวง


ก. 1 ข. 2 ค. 3 ง. 4 (ขอ ง)
!
36. กราฟระหวางการกระจัด ( S ) และเวลา (t) ของ ( !S )
การเคลือ่ นทีห่ นึง่ เปนดังรูป จงบอกวากราฟ
! 0 t
ระหวางความเร็ว (V) กับเวลา (t ) ขางลางนี้ รูปใด
เปนการเคลื่อนที่เดียวกันกับรูปบน
! !
1. (V) 2. (V)

0 t 0 t
!
! (V)
3. (V) 4.
0 t 0 t
(ขอ 1)

37. คํากลาวตอไปนี้ ขอใดผิด


ก. ความชันของกราฟระหวางการกระจัด – เวลา คือ ความเร็ว
ข. ความชันของกราฟระหวางความเร็ว – เวลา คือ ความเรง
ค. ความชันของกราฟระหวางความเรง – เวลา คือ พลังงานจลน
ง. พืน้ ทีใ่ ตกราฟระหวางความเร็ว – เวลา คือ การกระจัด (ขอ ค.)

38. จากกราฟ ระหวางการกระจัด– เวลา กราฟ การกระจัด


เสนใด ที่แสดงวาความเร็วมีคามากที่สุด (4)
ก. เสนที่ 1 ข. เสนที่ 2 (3)
(2)
ค. เสนที่ 3 ง. เสนที่ 4
(ขอ ง.)
(1)
เวลา
54
I บทที่ 2 การเคลื่อนที่
39. จากกราฟ v – t กราฟเสนใดแสดงการเคลื่อนที่
ของวัตถุดวยความเรงมากที่สุด
ก. เสน 1 ข. เสน 2
ค. เสน 3 ง. เสน 4 (ขอ ง.)

40. จากกราฟการเคลือ่ นทีด่ งั รูป จงหาระยะการ


ความเร็ว (m/s)
ขจัดของการเคลือ่ นที่ (20 ม)
4
41. จากขอที่ผานมา จงหาคาอัตราเร็วเฉลีย่
(2 m/s) เวลา (s)
8 10
42. จากกราฟของความเร็วกับเวลาของการเคลือ่ น
ทีข่ องวัตถุเปนดังรูป ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่
ไดทั้งหมด
1. 105 เมตร 2. 180 เมตร
3. 120 เมตร 4. 135 เมตร
(ขอ 2.)
43. จากกราฟความเร็ว–เวลา ซึ่งแสดง v (km/hr)
การเดินทางไปชวงเวลา A , B , C 50
และ D จงหาระยะทางที่เคลื่อนที่ 40
ไปไดใน 0.5 ชัว่ โมง
30
1. 18.5 กิโลเมตร
2. 19.5 กิโลเมตร 20
3. 20.0 กิโลเมตร 10
t(hr)
4. 40.0 กิโลเมตร
(ขอ 1)
0.1 0.2 0.3 0.4 0.5 0.6
A B C D
44. จากโจทยขอที่ผานมา จงหาอัตราเฉลี่ยใน 0.2 ชัว่ โมงแรก
1. 37.5 กิโลเมตรตอชัว่ โมง 2. 25.0 กิโลเมตรตอชัว่ โมง
3. 15.0 กิโลเมตรตอชัว่ โมง 4. 12.8 กิโลเมตรตอชัว่ โมง (ขอ 1)
55
ร่
เI บทที่ 2 การเคลื่อนที่
45. รถยนตคนั หนึง่ เคลือ่ นทีด่ ว ยความเร็วตามกราฟ
ที่กําหนดให อยากทราบวาเมื่อสิ้นสุดวินาทีที่ 5
ระยะทาง และ การขจัดของรถยนตเปนเทาไรใน
หนวยเมตร
1. 50 , 50 2. 50 , 250
3. 250 , 50 4. 250 , 250 (ขอ 3.)
46. จากขอที่ผานมา อยากทราบวาเมื่อสิ้นสุดวินาทีที่ 5 แลวจะไดความเร็วเฉลี่ยและอัตราเฉลี่ย
ของรถยนตเปนกีเ่ มตร/วินาที
1. 10 , 10 2. 50 , 10 3. 50 , 50 4. 10 , 50 (ขอ 4.)
47. จากการเคลื่อนที่ซึ่งแสดงไดดวยกราฟ v(m/s)
ความเร็ว – เวลา ดังรูป
จงหาขนาดของการขจัดเมือ่ สิน้ วินาทีท่ี 8
1. 5 เมตร
2. 10 เมตร t(s)

3. 20 เมตร
4. 40 เมตร (ขอ 2)

48. จากขอที่ผานมา จงคํานวณระยะทางของการเคลื่อนที่เมื่อสิ้นวินาทีที่ 8


1. 5 เมตร 2. 10 เมตร 3. 20 เมตร 4. 40 เมตร (ขอ 4)

49. จากขอที่ผานมา เมือ่ สิน้ วินาทีท่ี 8 ความเร็ว และ อัตราเร็วเฉลีย่ มีคา กีเ่ มตร/วินาที
1. 0 , 1.25 2. 1.25 , 5 3. 0 , 5 4. 5 , 2.5 (ขอ 2)
50. จากขอที่ผานมา ความเรงเฉลี่ยของการเคลื่อนที่ในชวงเวลา 0 ถึง 3 วินาทีเปนเทาไร
1. −5 เมตร/วินาที2 2. +5 เมตร/วินาที2
3. − 53 เมตร/วินาที2 4. + 53 เมตร/วินาที2 (ขอ 1)

51. จากขอที่ผานมา ความเรงเฉลี่ยของการเคลื่อนที่ในชวงเวลา 4.2 ถึง 5.7 วินาทีเปนเทาไร


1. 7 เมตร/วินาที2 2. 8 เมตร/วินาที2
3. 9 เมตร/วินาที2 4. 10 เมตร/วินาที2 (ขอ 4)
56
เI บทที่ 2 การเคลื่อนที่
52. จากรูป กราฟความเร็วกับเวลาของอนุภาค Vx
ซึ่งเคลื่อนไปตามแนวแกน x ความเรงเฉลีย่ 4
(ในแนว –x ) ระหวางชวงเวลา 10 วินาที
ถึง 20 วินาที มีคา เปนกีเ่ มตร/วินาที2 0 10 20 30 t(s)
1. 0 2. 0.8 –4
3. 0.4 4. –0.4 (ขอ 2)

จากกราฟที่กําหนดใหใชสําหรับคําถาม 5 ขอถัดไป
v(m/s)
40
20
t(s)
10 20 30 40 50
–20
–40

จากกราฟทีก่ าํ หนดใหเปนการเคลือ่ นทีข่ องอนุภาคหนึง่ โดยมีความเร็วเปลี่ยนแปลงตามเวลา


53. ระยะทางที่อนุภาคเคลื่อนที่ไดทั้งหมดใน 50 วินาที มีกี่เมตร
ก. 750 ข. 900 ค. 1150 ง. 1300 (ขอ ค)

54. การกระจัดของอนุภาคนีใ้ น 50 วินาที เปนกีเ่ มตร


ก. –50 ข. 0 ค. 50 ง. 100 (ขอ ก)

55. อัตราเร็วเฉลีย่ และความเร็วเฉลีย่ ของอนุภาคนีต้ า งกันกีเ่ มตร/วินาที


ก. 20 ข. 22 ค. 24 ง. 26 (ขอ ข)

56. ความเรงของอนุภาคนี้ ที่เวลา 15 วินาที มีคากี่เมตร/วินาที2


ก. 0 ข. 1 ค. 2 ง. 4 (ขอ ก)

57. ขนาดของความเรงของอนุภาคนี้ มีคามากที่สุดกี่เมตร/วินาที2


ก. 2 ข. 4 ค. 6 ง. 8 (ขอ ง)

57
เI บทที่ 2 การเคลื่อนที่
58(มช 40) วัตถุเคลือ่ นทีใ่ นแนวเสนตรงดวยความ
เรง a ณ. เวลา t ใดๆ ดังรูป โดยความเรงทีม่ ี
ทิศไปทางขวามีเครื่องหมายบวก ถาวัตถุมี
ความเร็วตน 3.0 เมตร/วินาที วัตถุจะมีความ
เร็วเทาใดทีว่ นิ าทีท่ี 20
1. –12 m/s 2. +12 m/s 3. –15 m/s 4. +15 m/s (ขอ 1)

59. จากกราฟความเร็ว – เวลาของการโยนลูกบอล


ความเร็ว(เมตร/วินาที)
ขึน้ ในแนวดิง่ จงหาระยะสูงสุดที่ลูกบอลเคลื่อน 8
ที่ขึ้นไปได เวลา(วินาที)
1. 1.6 เมตร 2. 3.2 เมตร 0
0.8 1.6
3. 4.8 เมตร 4. 5.6 เมตร (ขอ 2) –8

60. จากกราฟ v(m/s)


15
ก. วัตถุจะขึ้นไปสูงสุดเทาไร
ข. เมือ่ เวลา 3 วินาที วัตถุอยูที่จุดใด t(s)

ค. วัตถุใชเวลาอยูในอากาศนานเทาใด 1 2 3

( ก. 11.25 m ข. 0 ค. 3 s) –15

!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

58
tI บทที่ 2 การเคลื่อนที่
เฉลยแบบฝ ก หั ด บทที่ 2 การเคลื่ อ นที่ (บางข อ )
4. ตอบขอ 2
A 20 ม.
วิธที าํ จากรูป การขจัด2 = 202 + 102 B
การขจัด = 20 2 + 10 2 การขจัด 10 ม.
การขจัด = 22.36 เมตร
C
และจาก ความเร็วเฉลีย่ = การขจั ด 22.36 เมตร
เวลา = 30 = 0.75 วินาที
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

5. ตอบขอ 3
วิธที าํ จากรูปจะเห็นวา 30 km
ระยะทางรวม = 30 + 30 = 60 กิโลเมตร 20 นาที
เวลารวม = 40 + 20 = 60 นาที = 1 ชัว่ โมง
30 km
ดังนัน้ อัตราเร็ว = ระยะทาง 60 กิโลเมตร
เวลา = 1 ชัว่ โมง 40 นาที

= 60 กิโลเมตร
ชัว่ โมง
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

6. ตอบขอ 2
30 km
วิธที าํ พิจารณาตามรูป ใชทฤษฏีพิทากอรัส
จะไดวา การขจัดลัพธ 2 = 302 + 302 30 km
การขจัดลัพธ
การขจัดลัพธ = 30 2 (2)
= 30 2 กิโลเมตร
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

8. ตอบขอ 2
วิธที าํ ถาวิ่ง 1 รอบเปนวงกลม จะไดวา
ระยะทาง = เสนรอบวง = 400 เมตร จุดเริ่มตน
การขจัด = 0 เมตร จุดสุดทาย
ถาวิ่ง 10 รอบ
ระยะทาง = 400 x 10 = 4000 เมตร
การขจัด = 0 เมตร (เพราะจุดเริ่มตนและจุดสุดทายอยูที่เดียวกัน)
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

59
lI บทที่ 2 การเคลื่อนที่
21. ตอบขอ ข.
วิธที าํ ตอน 1 ตองหาความเร็วตน (u) กอน
จากโจทย S = 4 ม. , t = 0.4 วินาที , a = –10 m/s2 , u = ?
จาก S = u t + 12 a t2
4 = u (0.4) + 12 (–10) (0.4) 2
u = 12 m/s
ตอน 2 จาก u = 12 , t = 0.4 วินาที , a = –10 m/s2 , v = ?
จาก v = u + a t = 12 + (–10)(0.4) = 8 m/s
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

25. ตอบ 10 วินาที


วิธที าํ วัตถุซึ่งอยูในบอลลูนเคลื่อนที่ไปพรอมบอลลูน
u = 10 m/s
ดังนัน้ จึงมีความเร็วตนเทากับบอลลูน คือ
10 เมตร/วินาที ในทิศขึ้น ดังนัน้ เมือ่ พิจารณาบอลลูน
จะไดวา u = 10 m/s ในทิศขึ้น s = 400 ม.
a = –10 m/s2 เพราะ u มีทิศขึ้น
s = –400 m เพราะอยูต าํ่ กวาจุดเริม่ ตน
t=?
จาก s = ut + 12 at2
–400 = 10t + 12 (–10)t2
–400 = 10t – 5t2
5t2 – 10t – 400 = 0
t2 – 2t – 80 = 0
(t – 10)(t + 8) = 0
t = –8 , 10
แต t (เวลา) มีคาเปนลบไมได จึงตอบแต 10 วินาที
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

60
1I บทที่ 2 การเคลื่อนที่
29. ตอบขอ ก.
เหตุผล เพราะถาความเร็ว (v) คงที่ แสดงวาความเรง (a) มีคาเปนศูนยจึงไดกราฟ a กับ t
เปนดังขอ ก.
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

30. ตอบขอ ค.
เหตุผล เพราะถาความเร็วเพิม่ ขึน้ เรือ่ ยๆ ระยะทางจะเพิ่มมากกวาปกติ จึงไดกราฟระยะทาง (s)
กับเวลา (t) เปนรูป ค.
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

31. ตอบขอ ข.
เหตุผล เพราะถาอัตราเรง (a) คงที่ อัตราเร็ว (v) จะเพิม่ ขึน้ เรือ่ ยๆ จึงไดกราฟ v กับ t ดังรูป ข.
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

32. ตอบขอ ก.
เหตุผล เพราะถาความเร็ว (v) คงที่ ระยะทาง (s) จะเพิม่ ขึน้ เปนกราฟเสนตรง
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

33. ตอบขอ ข.
เหตุผล เพราะถาวัตถุหยุดนิ่ง ระยะทาง (s) จะคงที่ จึงไดกราฟเปนเสนตรงขนานแนวนอน
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

34. ตอบขอ ค.
เหตุผล เพราะถาอัตราเร็ว (v) เพิ่มขึ้น ระยะทาง (s) จะเพิ่ม S
มากกวาปกติ กราฟระยะทาง (s) กับเวลา (t) จะเปนกราฟ
เสนโคงพาราโบลาหงาย t
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

35. ตอบขอ ง. S
เหตุผล เพราะเมือ่ มีความหนวง (–a ) ความเร็ว (v ) จะลดลง
ทําใหระยะทางเพิ่มเพียงเล็กนอยไดกราฟ s กับ t จะเปน t
เสนโคงพาราโบลาตะแคง
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

36. ตอบขอ 1
เหตุผล เพราระยะทางทีเ่ พิม่ เปนเสนตรง แสดงวาความเร็ว ( v ) ของการเคลื่อนที่มีคาคงที่
ซึ่งเปนไปตามกราฟรูปที่ 1 นัน่ เอง
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

61
lI บทที่ 2 การเคลื่อนที่
38. ตอบขอ ง
เหตุผล เพราะกราฟการขจัด S กับเวลา t นัน้
ความเร็ว = ความชัน
กราฟเสนที่ 4 มีความชันมากที่สุดจึงมีความเร็วสูงสุดดวย
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

39. ตอบขอ ง.
เหตุผล เพราะกราฟอัตราเร็ว (v) กับเวลา (t) นัน้
ความเรง = ความชันเสนกราฟ
กราฟเสนที่ 4 มีความชันมากที่สุดจึงมีความเรงมากที่สุดดวย
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

62
บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน

ฟ สิ ก ส บทที่ 3 มวล แรง และกฏการเคลื่ อ นที่ ข องนิ ว ตั น


ตอนที่ 1 มวล และ แรง
มวล (m) คือ เนือ้ ของสาร
ควรรู 1) มวลเปนปริมาณสเกลาร มีหนวยเปน ................... (kg)
2) มวลเปนปริมาณซึ่ง.................
3) มวล อาจหมายถึง ............................................. (ความเฉือ่ ย)
มวลมาก มวลนอย

ตองใชแรงผลักมาก ตานการเคลื่อนที่มาก ใชแรงนอย


ตานการเคลือ่ นทีน่ อ ย
1(มช 30) ปริมาณใดในทางฟสิกส ทีบ่ อกใหเราทราบวา วัตถุใดมีความเฉื่อยมากนอยเพียงใด
ก. แรง ข. น้าํ หนัก ค. ความเรง ง. มวล (ขอ ง)

2(มช 30) วัตถุอนั หนึง่ มีมวล 3 กิโลกรัม บนโลก เมือ่ นําวัตถุนไ้ี ปดาวจูปเ ตอรซง่ึ มี g เปน
10 เทาของโลก วัตถุนี้จะมีมวลเปนกี่กิโลกรัม
ก. 3.0 ข. 9.8 ค. 30 ง. 98 (ขอ ก)

แรง (F ) คือ อํานาจที่พยายามจะทําใหมวลเกิดการเคลื่อนที่ดวยความเรง


ควรรู 1) แรงเปนปริมาณเวกเตอร
2) แรงใชหนวยมาตรฐาน S.I. เปน ................... (N)
3) แรงลัพธ คือ แรงซึง่ เกิดจากแรงยอย ๆ หลายแรงรวมกันเขามา
F2 แรงลัพธ

วิธกี ารหาคาแรงลัพธ F1

กรณีท่ี 1 หากแรงยอยมีทิศทางเดียวกัน
Fลัพธ = F1 + F2
ทิศทางแรงลัพธ จะเหมือนแรงยอยนัน้

63
บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
กรณีท่ี 2 หากแรงยอยมีทิศตรงกันขาม
Fลัพธ = F1 – F2
ทิศทางแรงลัพธ จะเหมือนแรงทีม่ ากกวา

กรณีท่ี 3 หากแรงยอยมีทศิ เอียงทํามุมตอกัน

Fลัพธ = F12 + F22 + 2F1F2 cosθ

F2sinθ
tan ∝ =
F1+F2 cosθ

3. แรง 2 แรง ขนาด 3 นิวตัน และ 4 นิวตัน กระทําตอวัตถุชน้ิ หนึง่ ณ จุดเดียวกัน จงหา
ขนาด และ ทิศทางของแรงลัพธ ถา
ก. กระทําในทิศทางเดียวกัน ข. ทิศทางตรงกันขาม ค. ถาทั้งสองตั้งฉากกัน
วิธที าํ ( ก. 7 นิวตัน ข. 1 นิวตัน ค. 5 นิวตัน )

4(En 42/1) เมือ่ แรงสองแรงทํามุมกันคาตาง ๆ ผลรวมของแรงมีคาต่ําสุด 2 นิวตัน และมีคา


สูงสุด 14 นิวตัน ผลรวมของแรงทั้งสองเมื่อกระทําตั้งฉากกันจะมีคาเทาใด
1. 12 N 2. 10 N 3. 5 2 4. 8 (ขอ 2)
วิธที าํ

64
บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
5. จงหาขนาดของเวกเตอรลพั ธของเวกเตอรตอ ไปนี้ ( ให cos60o = 1/2 , cos120o = – 1/2 )
1. 2.
A ยาว 4 หนวย A ยาว 3 หนวย

B ยาว 3 หนวย B ยาว 3 หนวย


60o 60o
วิธที าํ ( 1. 13 หนวย 2. 3 หนวย )

! !
6. จงหาขนาดของเวกเตอร A – B จากเวกเตอรตอ ไปนี้
B ยาว 3 หนวย
A ยาว 3 หนวย 60o (3)
วิธที าํ

! ! ! !
7. A มีขนาด 5 หนวย B มีขนาด 4 หนวย จงหาขนาดเวกเตอรลัพธของ A และ B
ที่เปนไปไมได
1. 1 หนวย 2. 5 หนวย 3. 8 หนวย 4. 10 หนวย (ขอ 4)
วิธที าํ
65
บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
การแตกแรง
หากมีแรง 1 แรง สมมุตเิ ปนแรง F
เราสามารถแตกออกเปน 2 แรงยอย
ซึ่งตั้งฉากกันได ดังรูปภาพ
แรงยอยทีต่ ดิ มุม θ จะมีคา F cosθ
แรงยอยที่ไมติดมุม θ จะมีคา F sinθ
8. จากรูป จงหาแรง x และ y
1) 2) 8N y
60o x
y x 45o
10 N
วิธที าํ ( 1. x = 5 N , y = 5 3 N 2. x = 4 2 , y = 4 2 )

9. จากรูป จงหาแรงลัพธ ( 10 N )
วิธที าํ

66
บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
10. จากรูป จงหาแรงลัพธ (5N)
วิธที าํ

!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

ตอนที่ 2 กฏการเคลือ่ นทีข่ องนิวตัน


กฏขอที่ 1 “ หากแรงลัพธที่กระทําตอวัตถุมีคาเปนศูนย วัตถุจะรักษาสภาพเดิม ”
คําวา รักษาสภาพเดิมอาจ หมายถึง 1............................. 2 .................................
กฏขอที่ 2 “หากแรงลัพธที่กระทําตอวัตถุมีคาไมเปนศูนย วัตถุจะเคลือ่ นทีด่ ว ยความเรง
และความเรงที่เกิดขึ้น จะแปรผันตรงกับแรง และแปรผกผันกับมวล”
จากกฏขอนี้จะไดสมการ a = mF
หรือ F = m a
กฏขอที่ 3 “ เมื่อมีแรงกริยาก็ยอมตองมีแรงปฏิกิริยา
ซึ่งมีขนาดเทากัน แตมที ศิ ตรงกันขาม”
เขียนเปนสมการจะไดวา ..............................................

11. กฏขอที่ 1 ของนิวตันคืออะไร


ก. กฏของแรงกิริยา ข. กฏของแรงปฏิกิริยา
ค. กฏของมวลสาร ง. กฏของความเฉื่อย (ขอ ง)
เหตุผล
67
บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
12(มช 40) เมือ่ รถหยุดกระทันหัน ผูโดยสารจะคะมําไปขางหนา ปรากฏการณนี้เปนไปตามกฏ
นิวตันขอ
ก. ขอ 1 ข. ขอ 2 ค. ขอ 3 ง. ทุกขอ (ขอ ก)
เหตุผล

13. เข็มขัดนิรภัยและที่พิงศีรษะที่ติดอยูกับเบาะนั่งในรถยนตบางคันมีไวเพื่อประโยชนอะไร
เหตุผล

14(มช 24) ใชมาตัวหนึ่งลากรถ แรงที่ทําใหมาเคลื่อนที่ไปขางหนาคือ


ก. แรงทีม่ า กระทําตอรถ ข. แรงทีร่ ถกระทําตอมา
ค. แรงที่มากระทําตอพื้น ง. แรงพืน้ กระทําตอเทามา (ขอ ง)
เหตุผล

15(มช 32) เมื่อตกตนไมลงมากระทบพื้นจะรูสึกเจ็บ เหตุที่เจ็บอธิบายไดดวยกฏทางฟสิกสขอใด


ก. กฏขอทีห่ นึง่ ของนิวตัน ข. กฏขอที่สองของนิวตัน
ค. กฏขอที่สามของนิวตัน ง. กฏแรงดึงดูดระหวางมวลของนิวตัน (ขอ ค)
เหตุผล

16(มช 25) ขอความใดทีไ่ มถูกตอง ตามลักษณะของแรงที่กลาวถึงในกฏขอที่ 3 ของนิวตัน


ก. ประกอบดวยแรงสองแรง
ข. มีขนาดเทากันและมีทิศตรงกันขาม
ค. เปนแรงที่ทําใหแรงลัพธบนวัตถุมีคาเปน 0
ง. เปนแรงที่กระทําบนวัตถุตางชนิดกัน (ขอ ค)
เหตุผล
68
บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
17. ขณะยิงปนแรงที่ปนดันลูกกระสุน และแรงที่ลูกกระสุนดันปนมีขนาดเทากันกับทิศตรงกัน
ขามแรงลัพธที่กระทําตอลูกกระสุนเปนศูนยหรือไม เหตุใดลูกกระสุนจึงเคลื่อนที่ไปได
เหตุผล

18. จากขอความที่วา “ จรวดไมสามารถเคลือ่ นทีข่ น้ึ จากผิวดวงจันทรได เพราะไมมีอากาศ


ผลัก” คํากลาวนี้ถูกตองหรือไม จงอธิบาย
เหตุผล

19. ถาจรวดพนแกสและเชื้อเพลิงที่เผาไหมออกไป ทําใหเกิดแรงขับเคลือ่ นจรวดคงตัว


ความเรงของจรวดจะคงตัวหรือไม อยางไร เพราะเหตุใด
เหตุผล

วัตถุมวล m กิโลกรัมใดๆ เมื่อยูบนผิวโลกจะถูกโลกดูด ทําใหเกิดความเรงเทากับ 10


เมตรตอวินาที2 เรียก ความเรงเนือ่ งจากแรงโนมถวงโลก (g)
เราสามารถหาแรงที่โลกดูดวัตถุใดๆ ไดเสมอจาก
F = mg
แรงทีโ่ ลกดูดวัตถุน้ี เราจะเรียกชือ่ เฉพาะวา น้าํ หนัก (W)
ดังนัน้ W = m g
ขอแตกตางระหวาง น้าํ หนัก กับ มวล
น้าํ หนัก ( W ) มวล ( m )
1) หนวยเปนนิวตัน 1) หนวยเปนกิโลกรัม
2) เปลี่ยนแปลงได 2) มีคาคงที่ เปลี่ยนไมได
3) เปนเวกเตอร 3) เปนสเกลลาร

20. นักบินอวกาศมวล 75 kg ซึง่ น้าํ หนักตัวของเขาบนดาวเคราะหดวงหนึง่ พบวาหนัก 225 N


ความเรงเนือ่ งจากแรงดึงดูดของดาวเคราะหนน้ั เปนกี่ m/s2
ก. 2 m/s2 ข. 3 m/s2 ค. 5 m/s2 ง. 10 m/s2 (ขอ ข)
วิธที าํ

69
บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
21. สมมติวามีการจําลองมวลที่มาตรฐาน 1 กิโลกรัม จากกรุงปารีสมาไวกรุงเทพฯ น้าํ หนัก
และ มวลของมวลจําลองนี้ที่กรุงเทพฯ แตกตางกับที่กรุงปารีสเทาใด
( ถา g ทก่ี รุงปารีส และกรุงเทพฯ เปน 9.81 และ 9.78 เมตร/วินาที2 ตามลําดับ)
วิธที าํ (0.03 N , 0 kg)

22(En 32) แขวนวัตถุดว ยเชือก จากเพดานแรงปฏิกิริยาตามกฏขอที่ 3 ของนิวตันของแรง


ซึ่งเปนน้ําหนักของวัตถุคือ
1. แรงทีเ่ สนเชือกกระทําตอเพดาน
2. แรงทีเ่ สนเชือกกระทําตอวัตถุ
3. แรงโนมถวงที่วัตถุกระทําตอโลก
4. แรงทีว่ ตั ถุกระทําตอเสนเชือก (ขอ 3)
เหตุผล

!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

ตอนที่ 3 การคํานวณเกีย่ วกับกฏการเคลือ่ นทีข่ องนิวตัน


23. รถทดลองมวล 15 กิโลกรัม ถูกแรงดึง 30 นิวตัน จะเคลือ่ นทีด่ ว ยความเรงเทาใด และหาก
ตอนแรกมวลนีอ้ ยูน ง่ิ ๆ ถามวาเมื่อเวลาผานไป 2 วินาที จะเคลื่อนที่ไปไดไกลกี่เมตร
วิธที าํ ( 2 m/s2 , 4 m)

70
บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
24(En 41/2) แรงลัพธกระทําตอวัตถุมวล 50 กิโลกรัม ความเร็ว (m/s)
ทําใหมวลเคลื่อนที่ โดยมีความเร็วสัมพันธกับเวลา
ดังกราฟที่กําหนดให จงหาแรงลัพธที่กระทําตอวัตถุ 10
นี้ ในหนวยนิวตัน (25 นิวตัน) 5
เวลา (s)
วิธที าํ
10

ควรทราบเพิ่มเติม
ในสมการ F = ma ความเรงซึง่ ในแนวเดียวกับแรงนัน้

แรงลัพธในแนว มวลที่ถูกแรงนั้นกระทํา
ขนานกับการเคลื่อนที่
25. แรงสองแรงมีขนาดเทากัน เทากับ 3.0 นิวตัน กระทําตอมวล 6.0 กิโลกรัม จงหาขนาด
และทิศของความเรงของวัตถุเมือ่ แรงทัง้ สอง (1 m/s2 , 0 m/s2)
ก. กระทําในทิศเดียวกัน ข. กระทําในทิศตรงกันขาม
วิธที าํ

26. แรงขนาด 6 และ 8 นิวตัน กระทําตอมวล 2 กิโลกรัม ในแนวขนานกับพืน้ ราบ ถาแรง


ทั้งสองตั้งฉากตอวัตถุจะเคลื่อนที่ดวยความเรงเทาไร
ก. 5 m/s2 ข. 3 m/s2 ค. 2 m/s2 ง. 1 m/s2 (ขอ ก)
วิธที าํ

71
บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
27. จากรูป หากวัตถุไถลไปบนพื้นราบอยางเดียว 80 N
จงหาความเรงของการเคลือ่ นที่ (8 m/s2) 5 kg 60o
วิธที าํ

28. วางมวล 10 กิโลกรัม ไวบนกระดานลื่น เมือ่ เอียงกระดานทํามุม 30o กับแนวราบ มวลจะ


เคลือ่ นทีด่ ว ยความเรงกีเ่ มตร/วินาที2
1. 1 2. 3 3. 5 4. 7 (ขอ 3)
วิธที าํ

29. จากรูปวัตถุ 20 kg และ 10 kg วางติดกันบน


พื้นที่ไมมีแรงเสียดทาน ใหหา แรง P และ Q
ในรูปภาพ ( 60 N , 20 N )
วิธที าํ

30(En 41/2) แทงไมมวล 5 , 3 และ


2 กิโลกรัม วางติดกันบนพื้นเกลี้ยง
ถาออกแรงผลัก 10 นิวตัน ดังรูป
จงหาขนาดของแรงทีแ่ ทงไม 2 กิโลกรัม กระทําตอแทงไม 3 กิโลกรัม
1. 2.0 N 2. 5.0 N 3. 8.0 N 4 . 10.0 N (ขอ 1)
วิธที าํ

72
บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
31. จากรูปวัตถุมวล 30 kg และ 20 kg
ผูกติดกันดวยเชือก อยูบนพื้นที่ไมมี T2 T1
30 kg 20 kg
แรงเสียดทาน หากความเรงของการ
เคลื่อนที่มีคา 3 m/s2 ใหหาแรง T1 และ T2 ( 150 N , 90 N )
วิธที าํ

32(มช 42) จากรูป มวลขนาด 10 , 8 และ


6 กิโลกรัม วางบนพื้นที่ไมมีความฝด
ออกแรงขนาด 120 นิวตัน ลากมวลทั้ง
สามไป จงหาวาขนาดของแรงดึงในเสน
เชือก T1 และ T2 มีคากี่นิวตัน
1. T1 = T2 = 60 2. T1 = T2 = 120
3. T1 = 50 , T2 = 90 4. T1 = 90 , T2 = 50 (ขอ 3)
วิธที าํ

33. มวล 3 ชิ้น วางอยูบนพื้นที่ไมมีแรงเสียด


ทาน และถูกดึงดวยแรง T3 = 30 N อยาก
ทราบวา T2 / T1 มีคา (3.0)
วิธที าํ

73
บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
34(มช 24) ถา T1 = 4 นิวตัน และพื้นไมมีความ P
เสียดทาน ถาตองการใหวัตถุทั้งสามเคลื่อนที่ 5 kg T1 T2
8 kg 37o
4 kg
ดวยความเรง a เมตรตอวินาที2 แรง P
ตองมีขนาดกีน่ วิ ตัน
ก. 7 ข. 9.3 ค. 17 ง. 22.6 (ขอ ค)
วิธที าํ

35. นักเรียนคนหนึง่ ถือเชือกมวลนอยมาก ซึ่งปลายขางหนึ่งผูกติดกับ


เหล็กมวล 7 kg ใหหาแรงดึงเชือกเมือ่
ก. ดึงเชือกขึน้ ดวยความเรง 2 เมตร/วินาที2 ( 84 N )
ข. หยอนเชือกลงดวยความเรง 2 เมตร/วินาที2 ( 56 N )
วิธที าํ

36. นักเรียนคนหนึง่ ถือเชือกมวลนอยมาก ซึ่งปลายขางหนึ่ง


ผูกติดกับเหล็กมวล 1 kg ใหหาแรงดึงเชือก เมือ่ ดึงเชือกขึน้
ดวยความเรง 5 เมตร/วินาที2 (15 นิวตัน)
วิธที าํ

37. จากขอที่ผานมา ใหหาแรงดึงเชือก เมือ่ หยอนเชือกลงดวยความเรง 5 เมตร/วินาที2


วิธที าํ ( 5 นิวตัน )

74
บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
38(En 42/1) นักกระโดดรมมวล 65 กิโลกรัม ลงถึงพื้นดินดวยการยอตัว ขณะยืดตัวขึ้นจุด
ศูนยกลางมวลของรางกายมีขนาดของความเรง 30 เมตรตอ(วินาที)2 แรงที่พื้นกระทําตอ
เทาของนักกระโดดรมคนนีเ้ ปนเทาใด
1. 650 N 2. 1300 N 3. 1950 N 4. 2600 N (ขอ 4)
วิธที าํ

39. ชายคนหนึ่งมวล 50 กิโลกรัม ยืนอยูในลิฟท จงหาแรงที่พื้นลิฟทกระทําตอชายคนนั้นเมื่อ


ลิฟทเริม่ เคลือ่ นทีข่ น้ึ ดวยความเรง 1.2 m/s2 ( 560 N)
วิธที าํ

40. จากขอที่ผานมา จงหาแรงที่พื้นลิฟทกระทําตอชายคนนั้น เมื่อลิฟทกําลังเคลื่อนที่ลงดวย


ความเรง 1.2 m/s2 (440 N)
วิธที าํ

41. จากขอที่ผานมา จงหาแรงที่พื้นลิฟทกระทําตอชายคนนั้น เมือ่ ลิฟทเคลือ่ นทีด่ ว ยความเร็ว


สม่ําเสมอ 2 m/s ( 500 N)
วิธที าํ

75
บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
42(En 27) นายแดงยืนอยูบนตาชั่งสปริงในลิฟท ถาลิฟทอยูนิ่ง ๆ นายแดงอานน้าํ หนักตัวเองได
56 kg ถาลิฟทเคลื่อนที่ลงดวยความเรง 2 m/s2 นายแดงจะอานน้าํ หนัก ตัวเองจากตาชัง่
นั้นไดกี่กิโลกรัม
ก. 40 ข. 44.8 ค. 50 ง . 67.2 (ขอ ข)
วิธที าํ

43. นักเรียนคนหนึง่ มวล 50 kg ยืนอยูบนตาชั่งในลิฟทที่กําลังเคลื่อนที่ขึ้นดวยความเรง 1 m/s2


ในขณะเดียวกันมือของเขาก็ดึงเชือกที่แขวนอยูกับเพดานลิฟท ถาเชือกมีความตึง 150 นิวตัน
เข็มของตาชั่งสปริงจะชี้ที่กี่กิโลกรัม (40 kg)
วิธที าํ

44(En 36) ชายคนหนึ่งมวล 75 kg อยูในลิฟท กดปุมใหลิฟทลง ลิฟทเริ่มลงดวยความเรงจน


มีความเร็วคงที่ แลวเริม่ ลดอัตราเร็วลงดวยขนาดของความเรง 1 m/s2 เพือ่ จะหยุดแรงที่
ลิฟทกระทําตอชายคนนี้ขณะที่ลิฟทกําลังจะหยุดเปนกี่นิวตัน ( 825 นิวตัน )
วิธที าํ

76
บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
45(En 32) วัตถุกอ นหนึง่ มีมวล 0.5 kg หอยแขวนไวกับเครื่องชั่งสปริงซึ่งอยูในลิฟทเริ่มเคลื่อน
จากหยุดนิง่ ขึน้ ดวยความเรง 0.4 m/s2 จนมีความเร็วคงที่ 0.6 m/s แลวลดอัตราเร็วจน
หยุดนิง่ ดวยขนาดของความเรง 0.4 m/s2 ในระหวางทีล่ ฟิ ทลดอัตราเร็วลงนัน้ เครือ่ งชัง่
สปริงอานไดคา เทาใดในหนวยนิวตัน ( 4.8 N )
วิธที าํ

46. ลิฟทตัวหนึ่งมีมวล 500 กิโลกรัม บรรทุกสัมภาระมวล 100 กิโลกรัม หากลิฟทนี้เคลื่อน


ที่ขึ้นดวยความเรงสูงสุดไดเพียง 2 เมตร/วินาที2 จงหาแรงดึงสายเคเบิลสูงสุดที่กระทํา
ตอลิฟทนี้ ( 7200 นิวตัน )
วิธที าํ

47. ลิฟทตัวหนึ่งมีมวล 500 กิโลกรัม เคลื่อนที่ขึ้นดวยความเรงสูงสุดไดเพียง 2 เมตร/วินาที2


หากแรงดึงสายเคเบิลสูงสุดที่มีไดมีคา 8400 นิวตัน จงหาวาลิฟทนี้สามารถบรรทุกสัมภาระ
ไดมากที่สุดกี่กิโลกรัม ( 200 )
วิธที าํ

77
บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
48. ยอดรักหนัก 65 กิโลกรัม แบกกลองหนัก 20 กิโลกรัม ยืนอยูในลิฟตที่กําลังเคลื่อนที่ลง
ถาเขาตองออกแรง แบกกลอง 160 นิวตัน จงหาอัตราเรงของลิฟตวา มีคา กีเ่ มตร/วินาที2
ก. 0.5 ข. 1 ค. 2 ง. 4 (ขอ ค)
วิธที าํ

49. จากขอที่ผานมา อยากทราบวาแรงทีพ่ น้ื ลิฟตกระทําตอเทาของยอดรัก มีคากี่นิวตัน


ก. 600 ข. 620 ค. 650 ง. 680 (ขอ ง)
วิธที าํ

50. ชายคนหนึ่งมีมวล 55 กิโลกรัม ยืนอยูบนลอเลื่อนถูกดึงใหเคลื่อนที่ขึ้นไปตามพื้นเอียงซึ่ง


ทํามุม 37o กับแนวระดับดวยความเรง 2 เมตร/วินาที2 จงหาแรงปฏิกิริยาที่พื้นลอเลื่อน
กระทําตอชายคนนี้ (616 N)
วิธที าํ

78
บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
51. ชายคนหนึง่ มีมวล 60 กิโลกรัม อยูบนชิงชาที่แขวนดวยเชือกเบา
ซึ่งคลองผานรอกเบาและหมุนไดคลองดังรูป เขาคอยๆ ดึงปลายเชือก
เพื่อใหตัวเขาเองคอย ๆ ขยับสูงขึน้ ดวยความเรง 2 เมตร/วินาที2 เขา
ตองออกแรงกี่นิวตัน (360 N)
วิธที าํ

52. ชายคนหนึ่งมีมวล 55 กิโลกรัม นั่งบนชิงชามวล 5 กิโลกรัม ที่


แขวนดวยเชือกเบาซึง่ คลองผานรอกเบา และหมุนไดคลองดังรูป
เขาคอยๆ ดึงปลายเชือก เพือ่ ใหตวั เขาเองคอยๆ ขยับสูงขึ้นโดยไม
มีความเรง เขาตองออกแรง กีน่ วิ ตัน
ก. 300 ข. 480 ค. 550 ง. 600 (ขอ ก)
วิธที าํ

53. จากขอที่ผานมา ถาเขาตองการดึงเชือก เพือ่ ใหตวั เขาเองเคลือ่ นทีข่ น้ึ ดวยความเรง 1


เมตร/วินาที2 เขาจะตองออกแรงดึงเชือกกีน่ วิ ตัน
ก. 270 ข. 300 ค. 330 ง. 480 (ขอ ค)
วิธที าํ

79
บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
54. จากขอที่ผานมา ถาเขาตองการดึงเชือกเพือ่ ใหตวั เขาเองเคลือ่ นทีล่ งดวยความเรง 1
เมตร/วินาที2 เขาจะตองดึงเชือกกีน่ วิ ตัน
ก. 270 ข. 300 ค. 330 ง. 480 (ขอ ก)
วิธที าํ

55. วัตถุมวล 3 kg และ 2 kg ผูกติดกันดวยเชือก ดังรูป วัตถุทั้งสอง


ถูกดึงขึ้นดวยเชือกอีกเสนดวยความเรง 2 m/s2 ในแนวดิง่ แรง
ดึงเชือกทั้งสองมีคาเทาใด ( T1 = 60 N , T2 = 24 N )
วิธที าํ

56(En 43/1) มวล 2 กอนมีมวลกอนละ 1 กิโลกรัม ผูกติดเชือกน้าํ หนักเบา และแขวนติดกับ


เพดานของลิฟทดงั รูป ถาลิฟทเคลื่อนที่ลงดวยความเรง
2 เมตรตอ(วินาที)2จงหาแรงดึงในเชือก T1 และ T2
1. T1 = 16 N และ T2 = 8 N
2. T1 = 20 N และ T2 = 10 N
3. T1 = T2 = 20 N
4. T1 = 24 N และ T2 = 12 N (ขอ 1)
วิธที าํ

80
บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
ขอมูลตอไปนี้ใชสําหรับโจทย 3 ขอถัดไป !
จากรูปมวลสองกอน m1 และ m2 มีขนาด 4 และ 5 กิโลกรัม F
ตามลําดับ ผูกติดกันดวยเชือกซึ่งมีมวล 1 กิโลกรัม และมีแรง F ขนาด m1
120 นิวตัน กระทําตอวัตถุในแนวดิง่
57. ความเรงของระบบมีคา กีเ่ มตร/วินาที2
ก. 1.0 ข. 2.0
ค. 3.3 ง. 4.5 (ขอ ข) m2
วิธที าํ

58. แรงตึงเชือกที่ปลายบน มีคากี่นิวตัน


ก. 60 ข. 64 ค. 72 ง. 80 (ขอ ค)
วิธที าํ

59. แรงตึงเชือกที่ปลายลาง มีคากี่นิวตัน


ก. 60 ข. 64 ค. 72 ง. 80 (ขอ ก)
วิธที าํ

81
บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
60. จากรูป m1 , m2 มวล 2 kg และ 0.5 kg
อยูบนพื้นเกลี้ยงระบบจะเคลื่อนที่ดวยความเรงเทาใด
วิธที าํ ( 2 m/s2)

61. จากขอที่ผานมา เชือกจะมีแรงดึงเชือกเทาใด (4 N)


วิธที าํ

62. จากขอที่ผานมา ระบบจะมีความเร็วสูงสุดเทาใด (2 m/s)


วิธที าํ

63. มวล 2 และ 8 กิโลกรัม ถูกจัดดังรูป(A)โดยพืน้ โตะ และรอกเกลี้ยง เมือ่ จัดใหมตามรูป(B)


อัตราสวนของความเรงของระบบ A ตอระบบ B เปนเทาใด (1/4 )

วิธที าํ

64. จากรูปวัตถุจะมีความเรงเทาไร และมีความเรงมีทิศทางไปทางใด


วิธที าํ (6.67 m/s2)

82
บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
65. จากรูปขอที่ผานมาเชือกจะมีความตึงเทาใด (33.33 นิวตัน)
วิธที าํ

ขอมูลสําหรับโจทย 3 ขอถัดไป
จากรูปวัตถุ A , B และ C มีมวล 3 , 5 B
และ 2 กิโลกรัม ตามลําดับ ถาถือวาทุกผิว
สัมผัสไมมีความฝด A C

66. ความเรงของวัตถุทั้งสาม มีคากี่เมตร/วินาที2


ก. 1 ข. 1.5 ค. 2.0 ง. 2.5 (ขอ ก)
วิธที าํ

67. แรงตึงเชือกที่ผูกระหวางวัตถุ A กับวัตถุ B มีคากี่นิวตัน


ก. 24 ข. 27 ค. 30 ง. 33 (ขอ ข)
วิธที าํ

68. แรงตึงเชือกที่ผูกระหวางวัตถุ B กับวัตถุ C มีคากี่นิวตัน


ก. 18 ข. 20 ค. 22 ง. 24 (ขอ ค)
วิธที าํ

83
บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
ขอมูลตอไปนี้ใชสําหรับโจทย 2 ขอถัดไป

A B

จากรูปวัตถุ A และ B ผูกติดกับเครือ่ งชัง่ สปริง ซึ่งถือไดวาเชือกและสปริงเบา


69. ถา A และ B มีมวล 4 และ 6 กิโลกรัม ตามลําดับ เครือ่ งชัง่ สปริงจะอานคาไดเทาใด
ก. 48 นิวตัน ข. 50 นิวตัน ค. 60 นิวตัน ง. 100 นิวตัน (ขอ ก)
วิธที าํ

70. ถา A และ B มีมวล 3 และ 2 กิโลกรัม ตามลําดับ เครือ่ งชัง่ สปริงจะอานคาไดเทาใด
ก. 20 นิวตัน ข. 24 นิวตัน ค. 25 นิวตัน ง. 30 นิวตัน (ขอ ข)
วิธที าํ

71. จากรูปตาชัง่ เบา A มีมวลมากกวา B และ A กําลังเคลื่อน


ทีด่ ว ยความเรง 2 m/s2 ขณะนัน้ ตาชัง่ อานคาได 12 นิวตัน
มวล A มีคากี่ kg (1.5 )
วิธที าํ

72. จากขอที่ผานมา มวล B มีคากี่ kg (1.0)


วิธที าํ

84
บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
73(มช 41) A และ B เปนรอกเบาเกลี้ยงไมมีน้ําหนัก ตรึงอยูบ นโตะเกลีย้ งดังแสดงในรูป C
เปนเครื่องชั่งสปริงที่ปลายทั้งสองขาง มีมวลขางละ 2 กิโลกรัม ผูกติดกับเชือกเบาคลอง
ผานรอก A และ B จะอานคาน้าํ หนักของ
มวลบนเครื่องชั่งสปริงไดเทาใด (ขอ 1)
1. 2 กิโลกรัม 2. 4 กิโลกรัม
3. 2 นิวตัน 4 . 4 นิวตัน
วิธที าํ

74. ลูกปนมวล 0.02 kg เคลือ่ นทีด่ ว ยความเร็ว 400 m/s วิ่งเขาชนในแนวตั้งฉากกับตนไม


แนวราบปรากฏวาเจาะเนือ้ ไมเขาลึก 0.1 เมตร จึงหยุดนิง่ จงหาแรงตานทานการเคลือ่ นที่
ที่เนื้อไมกระทําตอลูกปน (16000 นิวตัน)
วิธที าํ

75(มช 34) ลูกปนมวล 0.002 กิโลกรัม เคลื่อนที่ออกจากลํากลองปนซึ่งยาว 0.80 เมตร ดวยอัตรา


เร็ว 400 เมตร/วินาที จงหาแรงที่ดันใหลูกปนหลุดออกจากลํากลองจะมีคากี่นิวตัน (200)
วิธที าํ

76(En 31) ในการทดลองการเคลือ่ นทีข่ องนิวตัน มีการ


F(N)
ชดเชย ความฝด และใชแรงขนาดตาง ๆ ลากมวล
1.5
และวัดความเรง เมือ่ เขียนกราฟระหวางแรง และ
1.0
ความเรงไดรปู กราฟ ดังนี้ มวลที่ทดลองมีคา
0.5
1. 0.8 kg 2. 1.0 kg
3. 1.1 kg 4. 1.2 kg (ขอ 3) -0.2 0.5 1.0 1.5 a(ms -2)
วิธที าํ
85
บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
77. นักเรียนคนหนึง่ ทดลองดึงวัตถุ A , B , C และ
D โดยใชแรงตาง ๆ กัน เมือ่ นําแรง F มาเขียน
กราฟกับความเรง a ของวัตถุแตละกอน จะได
กราฟดังรูปวัตถุกอนใดมวลมากที่สุด และกอน
ใดนอยที่สุด
1. C , A 2. C , D 3. A , B 4. A , D (ขอ 1)
วิธที าํ

!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

ตอนที่ 4 แรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน คือ แรงทีเ่ กิดจากการเสียดสีระหวางผิวสัมผัสคูห นึง่ ๆใดๆ มีทศิ ตานการเคลือ่ นทีเ่ สมอ
ประเภทของแรงเสียดทาน
ประเภทที่ 1 แรงเสียดทานสถิตย (fs) คือ แรงเสียดทานทีม่ ตี อนวัตถุ..................
สมบัติ 1.1 มีคา...................
1.2 ต่ําสุด= .......... และ fs(สูงสุด) = ……….
เมือ่ µs คือ สัมประสิทธิ์แรงเสียดทานสถิตย
N คือ แรงดันพืน้
ประเภทที่ 2 แรงเสียดทานจลน (fk) คือ แรงเสียดทานที่มีตอนวัตถุกําลัง......................
สมบัติ 2.1 fk < fs (สูงสุด)
2.2 fk = µkN
เมือ่ µk คือ สัมประสิทธิ์แรงเสียดทานจลน
N คือ แรงดันพืน้
78(มช 26) เมือ่ ดันกลองใบหนึง่ กลองไมเคลื่อนที่เลยเพราะ
ก. กลองมีน้ําหนักมาก ข. โตะมีแรงเสียดทานมาก
ค. กลองมีแรงปฏิกริ ยิ าโตตอบเทากับแรงดัน ง. ถูกทุกขอ ( ขอ ข)
วิธที าํ
86
บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
79(มช 24) ถา N เปนแรงปฏิกิริยาที่พื้นกระทําตอวัตถุ และ µs เปนสัมประสิทธิ์ของความเสียด
ทานสถิตระหวางผิววัตถุและพื้นแรงเสียดทานสถิต ในขณะที่วัตถยังไมเคลื่อนที่จะมีคา
ก. 0 ข. µsN ค. ระหวาง 0 และ µsN ง. มากกวา µsN ( ค )
วิธที าํ

หลักในการคํานวณเกีย่ วกับแรงเสียดทาน
ขัน้ ที่ 1 ใหหาแรงเสียดทานใหไดกอน
โดย fs = µsN ใหหาแรงเสียดทานสถิตย (ตอนวัตถุอยูน ง่ิ ๆ )
และ fk = µkN ใหหาแรงเสียดทานจลน (ตอนวัตถุกําลังเคลื่อนที)่
ขัน้ ที่ 2 กรณี 1 หาก a = 0 (วัตถุอยูนิ่งๆ , ความเร็วคงที่ , เริม่ จะเคลือ่ นที่ )
ใหใช Fซาย = Fขวา
หรือ Fขึ้น = Fลง
กรณี 2 หาก a ≠ 0
ใหใช Fลัพธ = m⋅a
80. วัตถุมวล 2 กิโลกรัม อยูบนพื้นที่มี ส.ป.ส ความเสียดทาน 0.2 จงหาแรงนอยทีส่ ดุ ทีจ่ ะ
ทําใหวตั ถุเริม่ เคลือ่ นที่ (4 N)
วิธที าํ

81. จากขอที่ผานมา จงหาแรงทีจ่ ะทําใหวตั ถุเคลือ่ นทีด่ ว ยความเรง 2 เมตร/วินาที2 (8 N)


วิธที าํ

87
บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
82. F เปนแรงซึ่งใชในการดึงใหวัตถุมวล 100 กิโลกรัม จนเกิดความเรง 2 เมตร/วินาที2
อยากทราบวา F มีคากี่นิวตัน (300)
วิธที าํ

83. วัตถุ A และ B มีมวล 0.6 และ 0.3 กิโลกรัม ตามลําดับ !


วางติดกันบนพืน้ ราบ ถาออกแรงผลัก F เทากับ 15 นิวตัน F A B
ดังรูป สัมประสิทธิ์ความเสียดทานระหวางวัตถุทั้งสองกับ
พื้นมีคา 23 จงหาวาวัตถุทั้งสองจะเคลื่อนที่ไปดวยความเรงเทาใด ( 10 m/s2)
วิธที าํ

84. จากขอที่ผานมา แรงกระทําระหวางวัตถุ A และ B มีคากี่นิวตัน


ก. 3 ข. 5 ค. 10 ง. 15 (ขอ ข)
วิธที าํ

85(มช 37) แทงไม 2 อัน A และ B มีนาํ้ หนัก 2 กิโลกรัม และ 4 กิโลกรัม ผูกติดกันดวย
เชือกเบาถูกลากดวยแรง F ไปบนพื้นไมที่อยูในแนวระดับซึ่งมีสัมประสิทธิ์ความเสียดทาน
สถิตเปน 0.7 และ สัมประสิทธิ์ความเสียดทานจลนเปน 0.4 จงหาขนาดของแรง F ที่จะทํา
ใหแทงไมทั้งสอง เคลื่อนที่ไปบนพื้นดวยความเร็วคงที่ (ขอ 1)
1. 24 นิวตัน 2. 42 นิวตัน
3. 2.4 นิวตัน 4. 4.2 นิวตัน
วิธที าํ

88
บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
86. มวล 10 และ 15 กิโลกรัม วางบนพื้นฝด
ตอกันดวยเชือกเบา ออกแรง 300 นิวตัน
ดึงในแนวราบทําใหระบบมีความเรงคงที่
ถาสัมประสิทธิ์ของความเสียดทานจลนมีคา 0.5 ทุกผิวสัมผัส จงคํานวณความเรงของระบบ
1. 7 เมตร/วินาที2 2. 5 เมตร/วินาที2
3. 3 เมตร/วินาที2 4. 1 เมตร/วินาที2 (ขอ 1)
วิธที าํ

87. จากขอผานมา แรงตึงในเสนเชือก


1. 100 นิวตัน 2. 120 นิวตัน
3. 140 นิวตัน 4. 160 นิวตัน (ขอ 2)
วิธที าํ

88. วัตถุ 15 2 กิโลกรัม วางบนระนาบเอียงฝดทํามุม 45o


กับแนวราบออกแรง F ดึงวัตถุขนานกับระนาบเอียง ถา
สัมประสิทธิ์ของความเสียดทานสถิตมีคา 0.5 จงหาแรง F
ทีพ่ อดี ทําใหวัตถุขยับขึ้น
1. 75 นิวตัน 2. 150 นิวตัน 3. 175 นิวตัน 4. 225 นิวตัน ( ขอ 4)
วิธที าํ

89
บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
89. จากขอที่ผานมา จงคํานวณแรง F ที่พอดีทําใหวัตถุขยับลง
1. 75 นิวตัน 2. 225 นิวตัน 3. 350 นิวตัน 4. 450 นิวตัน (ขอ 1)
วิธที าํ

90. จากขอที่ผานมา จงคํานวณแรง F ที่ทําใหวัตถุเคลื่อนที่ขึ้นดวยความเรง 5 2 เมตร/วินาที2


1. 75 นิวตัน 2. 225 นิวตัน 3. 375 นิวตัน 4. 450 นิวตัน (ขอ 3)
วิธที าํ

91. มวล m วางบนพื้นเอียงซึ่งทํามุม 30o กับ


แนวระดับ ถาวัดไดวามวลนั้นไถลลงพื้น a = 1g
8
เอียงดวยความเรง 18 g สัมประสิทธิ์ความ
เสียดทานจลนระหวางมวลนั้นกับพื้นจะเปน
300
เทาไร (0.4)
วิธที าํ

90
บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
92. มวล A 5 กิโลกรัม มวล B 10 กิโลกรัม โยง
เขาดวยกันดวยเชือกเสนหนึง่ คลองผานรอกที่
ไมมีความฝด ดังในรูป ถาคาสัมประสิทธิ์
ความเสียดทานระหวางมวลกับพื้นเทากับ 0.4
ทั้งสองกอน จงหาคาแรง F ทีพ่ อดี ดึงมวล
ทั้งระบบขึ้นไปดวยความเร็วคงที่ (g = 10 m/s2 , sin30o = 0.500 , cos30o = 0.866)
ก. 17 นิวตัน ข. 25 นิวตัน ค. 40 นิวตัน ง. 82 นิวตัน ( ขอ ง.)
วิธที าํ

93. จากรูป พื้นเอียงและพื้นราบมีสัมประสิทธิ์ของ


ความเสียดทานเทากับ µ ปรากฏวามวล 40
กิโลกรัม เคลือ่ นทีล่ งตามพืน้ เอียงดวยอัตราเร็ว 40 kg
20 kg 37o
คงที่ จงหาคา µ ( sin37o = 3/ 5 , cos37o = 4/5 )
วิธที าํ ( 0.46 )

94. วัตถุมวล 50 กิโลกรัม ผูกติดกับเชือก ถาออกแรงดึงเพือ่ ให


วัตถุ 50 kg ไถลไปตามพื้นราบ โดยทิศทางของเสนเชือก
ทํามุม 30o ส.ป.ส แรงเสียดทานระหวางพื้นกับวัตถุมีคา 0.3
ตองออกแรงดึงเชือกเทาไร วัตถุจงึ จะเริม่ เคลือ่ น ( 147.67 N )
วิธที าํ

91
บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
95(En 35) นาย ก. สามารถกระทําแรงตอเชือกที่ผูกติดกับกระดานเลื่อนไดสูงสุด 500 N
เชือกทํามุม 30o กับแนวระดับ ถาสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานจลนระหวางพื้นกับกระดาน
เลือ่ นเปน 0.25 จงหามวลมากที่สุดของ กระดานเลือ่ นทีน่ าย ก. สามารถลากไปดวย
อัตราเร็วคงที่
1. 147 kg 2. 173 kg 3. 198 kg 4. 210 kg ( ขอ 3.)
วิธที าํ

!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

ตอนที่ 5 กฏแรงดึงดูดระหวางมวล
เมือ่ มวล 2 กอนอยูห า งกันขนาดหนึง่ มวลทั้งสองจะมีแรงดึงดูดกันเสมอ
เราสามารถหาแรงดึงดูดระหวางมวล 2 กอนใดๆ ไดเสมอ จาก

เมือ่ FG คือ แรงดึงดูดระหวางมวล (นิวตัน)


m1 , m2 คือ ขนาดของมวลกอนที่ 1 และ กอนที่ 2 ตามลําดับ (กิโลกรัม)
R คือ ระยะหางระหวางใจกลางมวลทั้งสอง (เมตร)
G คือ คานิจความโนมถวงสากล คือ 6.672 x 10–11 N⋅m2/kg2
92
บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
96. ดาว A มีมวล 6 x 1020 กิโลกรัม มียานอวกาศมวล 5 x 102 กิโลกรัม โคจรอยูร อบเปน
วงกลมรัศมี 5x107 กิโลเมตร ดาว A จะมีแรงดึงดูดยานอวกาศนี้เทาใด ( 8.01x10–9 N)
วิธที าํ

97. ถาระยะหางระหวางมวลสองกอนลดลงเปน 14 เทาของเดิม แรงดึงดูดระหวางมวลจะเปน


กีเ่ ทาของเดิม
ก. 161 ข. 14 ค. 4 ง. 16 (ขอ ง)
วิธที าํ

เราสามารถหาความเรงเนือ่ งจากแรงโนมถวงไดจาก
g = Gm2
R
เมือ่ g คือ ความเรงเนือ่ งจากแรงดึงดูด ณ จุดใด ๆ (m/s2)
G คือ คานิจความโนมถวงสากลคือ 6.672 x 10–11N⋅m2/kg2
m คือ มวลดวงดาวนั้น ๆ (kg)
R คือ ระยะจากใจกลางดวงดาวถึงจุดที่จะหาคา g
98. จงหาคาความเรงเนือ่ งจากแรงโนมถวงของโลก ณ.จุดที่หางจากใจกลางโลก 10000 กิโล-
เมตร กําหนดมวลโลก = 6 x 1024 กิโลกรัม (4 เมตร/วินาที2)
วิธที าํ

93
บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
99. ดาวเทียมดวงหนึ่งถูกสงขึ้นไปโคจรหางจากผิวโลกเปน 2 เทาของรัศมีโลก ดาวเทียมดวง
นี้ จะมีคาความเรงเนื่องจากสนามความโนมถวงเปนเทาใด ( กําหนด ความเรงทีผ่ วิ โลก = g )
1. 19 g 2. 14 g 3. 13 g 4. 12 g (ขอ 1)
วิธที าํ

100(En 30) ดาวเคราะหดวงหนึ่งมีมวลมากกวาโลก 2 เทา แตมรี ศั มีเปนครึง่ หนึง่ ของโลก จง


หาคาความเรงเนือ่ งจากความโนมถวงทีผ่ วิ ของดาวเคราะหดวงนัน้ ( ให ความเรงที่ผิวโลก = g )
ก. 14 g ข. 2 g ค. 4 g ง. 8g (ขอ ง)
วิธที าํ

101(En 27) ถามวลของดวงจันทรเปน 1/80 เทาของโลก และรัศมีเปน 1/4 เทาของรัศมีโลก


ใหมวลโลกเปน M และรัศมีโลกเปน R G เปนคานิจความโนมถวงสากล วัตถุที่ตกอยาง
อิสระบนดวงจันทรจะมีความเรงเทาใด ( g คือ ความเรงทีผ่ วิ โลก )
ก. 41 g ข. 15 g ค. 16 g ง. 201 g (ขอ ข)
วิธที าํ

94
บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
102. ดาวเคราะหดวงหนึ่งมีเสนผาศูนยกลาง หนึ่งในสามของเสนผานศูนยกลางของโลก และ
มีมวลหนึ่งในหกของมวลของโลก ชายผูหนึ่งหนัก 500 นิวตัน บนผิวโลก เขาจะหนักเทาใด
เมือ่ ขึน้ ไปอยูบ นดาวเคราะหดวงนี้ ( 750 N)
วิธที าํ

103. นักบินอวกาศหนัก 800 นิวตัน เมือ่ ไปอยูบ นดาวเคราะหดวงหนึง่ ซึ่งมีเสนผาศูนยกลาง


ครึ่งหนึ่งของเสนผานศูนยกลางโลก และมีมวล 15 ของมวลโลก อยากทราบวา นักบิน
อวกาศคนนี้จะหนักเทาใด เมือ่ อยูท ผ่ี วิ โลก (1000 N)
วิธที าํ

104. นักบินอวกาศชัง่ น้าํ หนักตนเองบนดาวเคราะหดวงหนึง่ ได 14 เทาของน้ําหนักบนผิวโลก


ถาดาว เคราะหนม้ี รี ศั มี 12 เทาของรัศมีโลก มวลดาวเคราะหมีคาเปนกี่เทาของมวลโลก (1/16 )
วิธที าํ

95
บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
ตอนที่ 6 จุดศูนยกลางมวล และ จุดศูนยถวง
จุดศูนยกลางมวล (C.M.) คือ ตําแหนงซึง่ เปนทีร่ วมของ มวล ของวัตถุทง้ั กอน
จุดศูนยถวง (C.G.) คือ ตําแหนงซึง่ เปนทีร่ วมของ น้ําหนัก วัตถุทง้ั กอน
สูตรหาจุดศูนยกลางมวล
C.M. = ( X , Y )
MX MY
เมือ่ X = M และ Y = M
สูตรหาจุดศูนยถว ง
C.G. = ( X , Y )
WX WY
เมือ่ X = W และ Y = W
108. แผนพลาสติกบางเบารูปสี่เหลี่ยมจตุรัส มีความ Y
ยาวดานละ 20 เซนติเมตร มีมวล 1 , 2 , 3 2 kg 3 kg
และ 4 กิโลกรัม ติดอยูที่มุมทั้งสี่ดาน จงหาจุด
ศูนยกลางมวลของระบบนี้ ( 14 , 10)
4 kg X
1 kg
วิธที าํ

109. วัตถุมวล 10 กิโลกรัม รูปสีเ่ หลีย่ มจตุรสั มี Y


ความยาวดานละ 20 เซนติเมตร มีมวล 1 , 2 , 2 kg 3 kg
10 kg
3 และ 4 กิโลกรัม ติดอยูที่มุมทั้งสี่ดาน
จงหาจุดศูนยกลางมวลของระบบนี้ ( 12 , 10) 4 kg X
1 kg
วิธที าํ

96
บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
110. จงหาจุดศูนยถวง (C.G.) ของวัตถุรปู ตัว L ใน 1 cm 6 cm
รูปตอไปนี้ ( 2.6 , 5.8 )
A 2 cm
วิธที าํ
8 cm

1 cm

111. คาน AB สม่ําเสมอยาว 3 เมตร หนัก 20 A B


นิวตัน ที่ปลาย A และ B ติดน้าํ หนักไว 30
นิวตัน และ 40 นิวตัน ตามลําดับ จุดศูนย
ถวงจะอยูหางจากปลาย A เทาใด (1.67 m) 30 N 20 N 40 N
วิธที าํ

112. แทงเหล็กรูปรางดังรูป จะมีจุดศูนยถวงอยู 5m


สูงจากพื้นเทาใด ( 4.6 m )
2m
วิธที าํ
1m
4m

2m
3m

!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

97
บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝ ก หั ด ฟ สิ ก ส บทที่ 3 กฎการเคลื่ อ นที่
มวล , แรง
1. แรง 2 แรง ขนาด 6 นิวตัน และ 8 นิวตัน กระทําตอวัตถุชน้ิ หนึง่ ณ จุดเดียวกัน จงหา
ขนาด และ ทิศทางของแรงลัพธ ถา
ก. กระทําในทิศทางเดียวกัน ข. ทิศทางตรงกันขาม ค. ถาทั้งสองตั้งฉากกัน
( ก. 14 นิวตัน ทิศเดียงกับแรงยอย ข. 2 นิวตัน ทิศเดียวกับแรง 8 นิวตัน
ค. 10 นิวตัน เอียงทํามุม 53o กับแรง 6 นิวตัน )

2. แรง 2 แรง ขนาด 15 นิวตัน และ 20 นิวตัน จะมีแรงลัพธขนาดนอยที่สุดกี่นิวตัน


ก. 0 ข. 5 ค. 10 ง. 15 (ขอ ข)

3. จากขอที่ผานมา แรงลัพธมีขนาดมากที่สุดกี่นิวตัน
ก. 20 ข. 25 ค. 30 ง. 35 (ขอ ง)

4. จากขอที่ผานมา ขนาดของแรงลัพธที่เปนไปไมได
ก. 4 ข. 5 ค. 6 ง. 7 (ขอ ก)

5. จงหาขนาดเวกเตอรลัพธของเวกเตอรขนาด 10 หนวย เทากัน 2 เวกเตอร ซึ่งทํามุม 120o


ซึ่งกันและกัน
1. 5 หนวย 2. 10 หนวย 3. 15 หนวย 4. 20 หนวย (ขอ 2)

กฏการเคลือ่ นทีข่ องนิวตัน


6. วัตถุกอ นหนึง่ เมือ่ ถูกแรง 50 นิวตัน กระทําจะเคลื่อนที่ดวยความเรง 4 เมตร/วินาที2
อยากทราบวาวัตถุนี้มีมวลกี่กิโลกรัม
ก. 2.5 ข. 5.0 ค. 10.0 ง. 12.5 (ขอ ง)

7. เชือกเสนหนึ่งทนแรงดึงไดมากที่สุด 600 นิวตัน นําไปฉุดวัตถุมวล 50 กิโลกรัม ซึ่ง


วางบนพื้นระดับลื่นในแนวระดับ จะทําใหวัตถุมีความเรงมากที่สุดกี่เมตร/วินาที2
1. 6 2. 8 3. 10 4. 12 (ขอ 4)

98
บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
8. v(km/s) จากรูปเปนกราฟ ระหวางความเร็ว v และเวลา t ใน
B การเคลือ่ นทีข่ องวัตถุมวล 5 กิโลกรัม จงหาวาในการ
(8, 12)
เปลีย่ นตําแหนงของวัตถุจากจุด A ไปยังจุด B วัตถุน้ี
วัตถุนจ้ี ะตองใชไดรบั แรงจากภาย นอกกีน่ วิ ตัน
A
(0, 4) ก. 5 นิวตัน ข. 50 นิวตัน
t(s)
ค. 500 นิวตัน ง. 5000 นิวตัน (ขอ ง)

9. วัตถุมวล 5 กิโลกรัม ตกจากตึกสูง 50 เมตร ขณะลอยในอากาศมีแรงกระทําตอวัตถุเทาใด


ก. 50 นิวตัน ข. 100 นิวตัน ค. 250 นิวตัน ง. 500 นิวตัน (ขอ ก)

10. วัตถุมวล 20 กิโลกรัม วางอยูบนพื้นราบถูกแรง 100 นิวตัน กระทําในแนวขนานกับพื้น


ทําใหวัตถุเคลื่อนที่ไดระยะทางเทาใด ในเวลา 20 วินาที
ก. 100 เมตร ข. 500 เมตร ค. 1000 เมตร ง. 2000 เมตร (ขอ ค)

11. จากขอที่ผานมา เมื่อสิ้นสุดวินาทีที่ 20 วัตถุมคี วามเร็วกีเ่ มตร/วินาที


ก. 10 ข. 20 ค. 50 ง. 100 (ขอ ง)

12. เด็กชายคนหนึ่งตองการลากรถมวล 5 กิโลกรัม บรรจุของมวล 45 กิโลกรัม ดวยแรง


100 นิวตัน ถาคิดวาพื้นและรถไมมีความฝด เด็กคนนี้จะลากรถไปไดไกลเทาใดจากหยุด
นิ่งในเวลา 2 วินาที
1. 10 เมตร 2. 8 เมตร 3. 4 เมตร 4. 2 เมตร (ขอ 3)

13. วัตถุมวล 20 กิโลกรัม เคลือ่ นทีม่ าดวยความเร็ว 10 เมตร/วินาที ตองออกแรงตานการ


เคลื่อนที่เทาใดวัตถุจึงจะหยุดไดในเวลา 5 วินาที
ก. 10 นิวตัน ข. 20 นิวตัน ค. 30 นิวตัน ง. 40 นิวตัน (ขอ ง)

14. จากขอที่ผานมา วัตถุเคลื่อนที่ไดระยะทางเทาใด กอนหยุด


ก. 15 เมตร ข. 20 เมตร ค. 25 เมตร ง. 50 เมตร (ขอ ค)

15. ลังใบหนึ่งตกจากรถบรรทุกที่กําลังแลนดวยความเร็ว 72 กิโลกรัม/ชัว่ โมง แลวไถลไปบน


พื้นถนนไดไกล 20 เมตร จงหาความเรงของลังใบนี้ ขณะไถลบนพื้น มีคากี่เมตร/วินาที2
ก. –10 ข. –5 ค. 5 ง. 10 (ขอ ก)
99
บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
16. จากขอที่ผานมา แรงที่พื้นถนนกระทําตอลังมีคากี่นิวตัน ถาลังใบนี้มีมวล 40 กิโลกรัม
ก. 200 ข. 400 ค. 600 ง. 800 (ขอ ข)

17. แรง 30 นิวตัน กระทําตอวัตถุมวลกอนหนึ่งในทิศทํามุม 60o กับพื้นราบ ถาวัตถุเคลื่อนที่


ดวยความเรง 3 m/s2 มวลกอนนั้นมีคากี่กิโลกรัม
ก. 4 ข. 5 ค. 6 ง. 8 (ขอ ข)

18. จากขอทีผ่ า นมา ถาแรงกระทําตอวัตถุ จากหยุดนิ่งเปนเวลา 4 วินาที วัตถุจะเคลื่อนที่ได ระยะ


ก. 6 เมตร ข. 10 เมตร ค. 18 เมตร ง. 24 เมตร (ขอ ง)

19. ชายคนหนึ่งลากกระเปามวล 5 กิโลกรัม ใหเลื่อนไปตามพื้นราบที่ไมมีความฝดดวยแรง


40 นิวตัน โดยแรงนี้ ทํามุม 30o กับแนวราบ กระเปาจะเลือ่ นไปตามพืน้ ราบดวยความเรง
เทาใด (กําหนดให cos30o = 0.866 , sin 30o = 0.5 )
1. 0.50 m/s 2 2. 0.85 m/s 2 3. 4.00 m/s 2 4. 6.93 m/s 2 (ขอ 4)

20. วางมวล 10 กิโลกรัม ไวบนกระดานลื่น เมือ่ เอียงกระดานทํามุม 30o กับแนวราบ มวลจะ


เคลือ่ นทีด่ ว ยความเรงกีเ่ มตร/วินาที2
1. 1 2. 3 3. 5 4. 7 ( ขอ 3)

21. ถามีแรงขนาด 12.0 นิวตัน และ 16.0 นิวตัน กระทําตอวัตถุซึ่งมีมวล 4.0 กิโลกรัม โดย
แรงทั้งสองกระทําในทิศตั้งฉากซึ่งกันและกัน วัตถุนน้ั จะเคลือ่ นทีด่ ว ยอัตราเรงเทาใด
1. 3.0 m/s2 2. 4.0 m/s2 3. 5.0 m/s2 4. 6.0 m/s2 (ขอ 3)

ขอมูลตอไปนี้ใชสําหรับโจทย 3 ขอถัดไป
จากรูป วัตถุมวล m1 = 6 กิโลกรัม
40 N m1
m2 = 4 กิโลกรัม วางอยูบนพื้นที่ไม m2
มีความฝด เมือ่ ออกแรง 40 นิวตัน
กระทําตอมวล m1 ทําใหมวลทั้งสองเคลื่อนที่ติดกันไป
22. มวล m1 และ m2 เคลือ่ นทีด่ ว ยความเรง กีเ่ มตร/วินาที2
ก. 2 ข. 4 ค. 6 ง. 8 (ขอ ข)

100
บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
23. แรงกระทําระหวางมวล m1 และ m2 มีคา เปนกีน่ วิ ตัน
ก. 8 ข. 16 ค. 32 ง. 40 (ขอ ข)

24. จากรูปวัตถุมวล 10 kg และ 5 kg


ผูกติดกันดวยเชือก อยูบนพื้นที่ไมมี T2 T1
10 kg 5 kg
แรงเสียดทาน หากความเรงของการ
เคลื่อนที่มีคา 2 m/s2 ใหหาแรง T1 และ T2 ( 30 N , 20 N )

25(En 38) วัตถุมวล 5.0 และ 10.0 kg ผูกติดกัน


ดวยเชือกเบาดังรูป วัตถุทั้งสองวางอยูบนพื้นราบ
ที่ไมมีความฝด ให F ซึ่งมีคาคงที่กระทําตอวัตถุ
ทั้งสอง หลังจากดึงได 15 วินาที วัตถุทั้งสองก็มีความเร็ว 45.0 m/s แรงดึงมวล 5 kg
เปนกีน่ วิ ตัน ( 15 N )

26(En 33) ใชแรง P ดึงรถ 3 คัน มีมวล 1 , 2


และ 3 ก.ก รถทัง้ สามตอกันดวยเสนเชือก x
และ y ดังรูป โดยคิดวาไมมแี รงเสียดทานระ
หวางรถกับพื้นเลย ถาเสนเชือก x มีความตึง 20 นิวตัน แรงดึง P และความตึงของ
เชือก y จะเปนกีน่ วิ ตัน
1. 12 และ 4 2. 16 และ 12
3. 24 และ 4 4. 24 และ 12 ( ขอ 4. )

27. มวล 3 ชิ้น วางอยูบนพื้นที่ไมมีแรงเสียด


ทาน และถูกดึงดวยแรง T3 = 60 N อยาก
ทราบวา T2 / T1 มีคา (3.0)

28. หัวรถจักรมวล 10,000 กิโลกรัม มีแรงฉุด 100,000 นิวตัน ลากขบวนรถไฟจํานวน 20 ตู


มีมวลเทากันตูละ 2,000 กิโลกรัม จงหา
ก. ความเรงของขบวนรถไฟ (2 m/s2)
ข. แรงฉุดระหวางตูร ถไฟที่ 10 และตูที่ 11 (40000 N)

101
บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
29. เชือกเสนหนึ่งทนแรงตึงไดมากที่สุด 600 นิวตัน นําไปฉุดวัตถุมวล 50 กิโลกรัม ที่วาง
บนพื้น ระดับลืน่ ในแนวระดับ จะทําใหวัตถุมีความเรงมากที่สุดกี่เมตร/วินาที2
ก. 6 ข. 8 ค. 10 ง. 12 (ขอ ง)

30. จากขอที่ผานมา ถาเปลี่ยนเปนฉุดวัตถุขึ้นในแนวดิ่ง วัตถุจะมีความเรงมากที่สุดกี่ m/s2


ก. 2 ข. 4 ค. 6 ง. 8 (ขอ ก)

31. จากขอทีผ่ า นมา ถาหยอนวัตถุลงในแนวดิง่ ดวยความเรง 2 เมตร/วินาที2 เชือกจะมีแรงตึงเทาใด


ก. 200 นิวตัน ข. 400 นิวตัน ค. 500 นิวตัน ง. 600 นิวตัน (ขอ ข)

32(En 38) นักเรียนคนหนึ่งถือเชือกเบาซึ่งปลายขางหนึ่งผูกติดกับแทงวัตถุมวล 2.0 กิโลกรัม


ใหหาแรงทีเ่ ชือกดึงมือ เมือ่ ดึงเชือกขึน้ ดวยความเรง 5.0 m/s2
1. 20.0 N 2. 30.0 N 3. 35.0 N 4 . 40.0 N ( ขอ 2 )

33. ทารซานมวล 75 กิโลกรัม เขาไปอยูในลิฟต แลวโหนเชือกโดยขาลอยพนพื้น ถาขณะนั้น


ลิฟตกําลังเคลื่อนที่ขึ้นดวยความเรง 1.2 เมตร/วินาที2 จงหาแรงตึงเชือก (840 N)

34(En 26) ลิงตัวหนึ่งมีมวล m รูดตัวลงจากเสาธงดวยอัตราเรง a อยากทราบวาแรงเนือ่ งจาก


ความฝดอันเนือ่ งมาจากมือลิงกุมเอาไวนน้ั มีขนาดเทาใด กําหนดวาคาความโนมถวงของโลก
เปน g
ก. m(g + a) ข. m(g – a) ค. (g + a)/m ง. (g – a)/m (ขอ ข.)

35(En 28) เชือกเสนหนึง่ ทนแรงดึงได 50 นิวตัน ผูกไวกับมวล 4 kg จะดึงมวลขึ้นในแนวดิ่ง


ดวยความเรงไดมากที่สุดกี่เมตร/วินาที2 เชือกจึงไมขาด
ก. 2.5 ข. 10 ค. 12.5 ง. 22.5 ( ขอ ก )

36. คนหนัก 60 kg ปนลงจากหนาผา ถาเชือกทนน้ําหนักไดเพียง 480 N เขาตองปนลง


ดวยความเรงอยางนอยกี่ m/s2 เชือกจึงพอดีไมขาด
ก. 2 ข. 3 ค. 4 ง. 5 (ขอ ก )

102
บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
37. ชายคนหนึ่งมวล 50 กิโลกรัม โหนเชือกดังรูป ชายคนนีจ้ ะตองไต
เชื อกขึ้ น หรื อ ลงด ว ยความเร ง เท า ใด เชือกจึงจะมีแรงตึง 600
นิวตัน ถือวาเชือกมีมวลนอยมาก (ขอ ค)
ก. ไตขึ้น , 1 เมตร/วินาที2 ข. ไตลง , 1 เมตร/วินาที2
ค. ไตขึ้น , 2 เมตร/วินาที2 ง. ไตลง , 2 เมตร/วินาที2
38. จากขอที่ผานมา ถาเชือกทนแรงตึงไดมากที่สุด 480 นิวตัน ชายคนนีจ้ ะตองไตเชือก
อยางไร เชือกจึงมีแรงตึงสูงสุด
ก. ขึ้น , 0.2 เมตร/วินาที2 ข. ลง, 0.2 เมตร/วินาที2
ค. ขึ้น , 0.4 เมตร/วินาที2 ง. ลง 0.4 เมตร/วินาที2 (ขอ ง)
39(En 36) เชือกแขวนไวกับเพดาน มีลิงมวล 20 กิโลกรัม โหนเชือกอยูสูงจากพื้น 10 เมตร
ไดรดู ตัวลงมากับเชือก ดวยความเรงคงที่ถึงพื้นใชเวลา 2 วินาที ความตึงเชือกเปนเทาใด
ไมคิดมวลของเชือก
1. 100N 2. 150 N 3. 200 N 4 . 250 N ( ขอ 1)
40. ชายคนหนึ่งดึงวัตถุขึ้นไปบนยอดตึกสูง 50 m โดยใชวิธีนําเชือกเบาผูกกับวัตถุคลองกับ
รอกลืน่ ดังรูป พบวาขณะวัตถุขึ้นไปถึงยอดตึกจะมีความเร็ว 2.0 เมตร/วินาที ถาวัตถุมี
มวล 25 kg ชายคนนัน้ ตองออกแรงดึงเทาไร
1. 50 นิวตัน 2. 150 นิวตัน
3. 250 นิวตัน 4. 350 นิวตัน (ขอ 4)

41. หญิงตุม มวล 80 กิโลกรัม ยืนบนตาชั่งในลิฟตที่กําลังเคลื่อนลงดวยความเรง 2


เมตร/วินาที2 จงหาตัวเลขที่ปรากฏบนตาชั่ง มีคากี่กิโลกรัม
ก. 64 ข. 72 ค. 80 ง. 96 (ขอ ก)
42. จากขอที่ผานมา ถาลิฟตกําลังจะหยุด โดยลดอัตราเร็วลงอยางสม่ําเสมอ วินาทีละ 2 เมตร/-
วินาที ขณะนั้นตาชั่งอานไดกี่กิโลกรัม
ก. 64 ข. 72 ค. 80 ง. 96 (ขอ ง)
43(มข 36) ลิฟท และน้ําหนักบรรทุกรวมกันมีมวล 800 kg เคลือ่ นทีล่ งดวยความเร็ว 6 m/s ถา
ทําใหลิฟทหยุดในระยะทาง 15 เมตร ดวยความหนวงคงที่ จงหาความตึงในสายเคเบิล
ก. 7040 นิวตัน ข. 8960 นิวตัน ค. 160 นิวตัน ง. 1760 นิวตัน (ขอ ข)
103
บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
44. วัตถุ 2 ชิ้นมวล 7 และ 5 kg ตามลําดับ เชือ่ มกันดวยเชือก
มวล 4 kg ดังรูป ถามีแรงฉุดวัตถุทั้งสองขึ้นดวยแรง 200
นิวตัน จงหาความตึงเชือกที่ปลายบน (112.5)

45. จากรูป m1 , m2 มวล 2 kg และ 0.5 kg อยูบนพื้นเกลี้ยง


ก. ระบบจะเคลื่อนที่ดวยความเรงเทาใด ( 2 m/s2 )
ข. เชือกจะมีแรงดึงเชือกเทาใด (4N)
ค. ระบบจะมีความเร็วสูงสุดเทาใด ( 2 m/s )

โจทยสําหรับคําถาม 3 ขอถัดไป
m1
วัตถุ m1 วางอยูบนโตะที่ไมมีความฝด ผูกติดกับ
มวล m2 ดวยเชือกเบา แลวคลองผานรอกดังรูป
m2

46. หลังจากมวล m2 เคลือ่ นทีเ่ ปนระยะ 0.5 เมตร อัตราเร็วของ m2 ขณะนั้นเทากับ 2 เมตร/
วินาที ความเรงของมวล m1 เทากับกี่เมตร/วินาที2
ก. 1 ข. 2 ค. 3 ง. 4 (ขอ ง)

47. ถา m1 มีมวล 0.3 กิโลกรัม m2 จะมีมวลกี่กิโลกรัม


ก. 0.1 ข. 0.2 ค. 0.3 ง. 0.4 (ขอ ข)

48. แรงตึงในเสนเชือกทีผ่ กู มวล m1 และ m2 มีคากี่นิวตัน


ก. 0.4 ข. 0.8 ค. 1.2 ง. 1.6 (ขอ ค)

49(En 39) วัตถุมวล 5 kg วางอยูบนโตะที่ไม


มีความเสียดทาน ปลายทั้งสองขางผูกเชือก
เบา แลวคลองผานรอกที่ไมมีความฝด นํา
วัตถุมวล 3 และ 2 kg ผูกติดกับปลาย
เชือก ทัง้ สองดานดังรูป เมื่อปลอยใหมวล
ทัง้ หมดเคลือ่ นทีแ่ รงดึงเชือกทีด่ งึ มวล 3 และ 2 kg เปนเทาใด
104
บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
ก. 30 N และ 20 N ข. 27 N และ 22 N
ค. 25 N และ 20 N ง. 20 N และ 15 N (ขอ ข )

50. ลูกปนมวล 40 กรัม ถูกยิงออกจากลํากลองปนดวยความเร็ว 300 เมตร/วินาที ทะลุแผน


ไมหนา 4 เซนติเมตร ทําใหอตั ราเร็วของลูกปนขณะออกจากแผนไมอกี ดานหนึง่ เทากับ
100 เมตร/วินาที ใหหาแรงเฉลี่ยที่แผนไมกระทําตอลูกปน (–4x104 N)

51. วัตถุหนึ่งมวล 0.5 กิโลกรัม กําลังจมลงสูกนสระน้ําดวยอัตราเรง 6 เมตร/วินาที2 แรง


เฉลี่ยที่น้ํากระทําตอวัตถุนี้มีคากี่นิวตัน
ก. 1 ข. 2 ค. 3 ง. 4 (ขอ ข)

52. จากรูป ชายคนหนึ่งมีมวล 80 กิโลกรัม อยูใ นหองมวล 20 กิโลกรัม


ถาตองการใหหองเคลื่อนที่ลงดวยความเรงคงที่ 2 เมตร/นาที2 ชาย
คนนีจ้ ะตองออกแรงดึงเชือกเทาใด
ก. 200 นิวตัน ข. 400 นิวตัน
ค. 600 นิวตัน ง. 800 นิวตัน (ขอ ข)

แรงเสียดทาน
53. จากรูปแรง F = 120 นิวตัน ดึงมวล 5 กิโลกรัม ดังรูป จงหาความเรงของมวลทุกกอน
T1 และ T2 เมื่อสัมประสิทธิ์ของความเสียดทาน = 0.1 (3 m/s2 , 60 N , 100 N)
T1 T2 F
15 10 5

54. แรง 90 นิวตัน กระทําตอวัตถุมวล 20 กิโลกรัม


90 N 20 kg 10 kg
ซึ่งติดกับมวล 10 กิโลกรัม ดังรูป จงหา
ก. ความเรงของมวลทั้งสอง (3 m/s2 )
ข. แรงกระทําระหวางมวลทั้งสอง (30 นิวตัน)
105
บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
55. ไมสี่เหลี่ยมแหงหนึ่งมีมวล m เทากับ 2 กิโลกรัม วางบน
พื้นเอียงทํามุม 30o กับแนวราบ ดังรูป ถากําหนดคาสัม- m
ประสิทธิ์ของแรงเสียดทานเทากับ 0.6 จงหาแรงนอยทีส่ ดุ 30o
ที่จะดึงไมแหงนี้ขึ้นไปตามพื้นเอียง
1. 18.4 นิวตัน 2. 20.4 นิวตัน 3. 23.4 นิวตัน 4. 25.3 นิวตัน (ขอ 2)

56. แทงไมสี่เหลี่ยมแทงหนึ่งมีมวล 4 กิโลกรัม วางบนพื้นเอียงทํามุม 37o กับแนวระดับ


ถาสัมประสิทธิ์ของแรงเสียดทานระหวางผิวของแทงไมกับพื้นเอียงเทากับ 0.4 จงหาแรง
นอยที่สุดที่จะดึงแทงไมนี้ขึ้นไปตามพื้นเอียง
1. 24.0 2. 36.8 3. 48.6 4. 56.2 (ขอ 2)

57. ดึงวัตถุมวล 40 กิโลกรัม ดวยแรง 500 นิวตัน


500 N
วัตถุวางอยูบนพื้นที่มีสัมประสิทธิ์ของความเสียด 37o
ทาน 0.4 ดังรูป จงหาความเรงของวัตถุ (9 m/s2)

กฎแรงดึงดูดระหวางมวล

58. ขอใดกลาวถูกตอง เกีย่ วกับแรงดึงดูดระหวางมวล


ก. แปรโดยตรงกับผลคูณของมวลทั้งสอง
ข. แปรผกผันกับกําลังสองของระยะหาง
ค. เปนแรงตางกระทํารวมของมวลทัง้ สอง
ง. ที่กลาวมาถูกทุกขอ (ขอ ง)

59. จงหาคาความเรงเนือ่ งจากแรงโนมถวงของโลก ณ.จุดที่หางจากใจกลางโลก 10000 กิโล-


เมตร กําหนดมวลโลก = 6 x 1024 กิโลกรัม (4 เมตร/วินาที2)

60. ดาวเทียมดวงหนึ่งถูกสงขึ้นไปโคจรหางจากผิวโลกเปน 2 เทาของรัศมีโลก ดาวเทียมดวง


นี้ จะมีคาความเรงเนื่องจากสนามความโนมถวงเปนเทาใด ( กําหนด ความเรงทีผ่ วิ โลก = g )
1. 19 g 2. 14 g 3. 13 g 4. 12 g (ขอ 1)

106
บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
61(En 30) ดาวเคราะหดวงหนึ่งมีมวลมากกวาโลก 2 เทา แตมรี ศั มีเปนครึง่ หนึง่ ของโลก จง
หาคาความเรงเนือ่ งจากความโนมถวงทีผ่ วิ ของดาวเคราะหดวงนัน้ ( ความเรงทีผ่ วิ โลก = g )
ก. 14 g ข. 2 g ค. 4 g ง. 8g (ขอ ง)

62. โลกมีมวลประมาณ 80 เทาของมวลดวงจันทร และมีรัศมีเปน 4 เทาของดวงจันทร จงหา


ความเรงทีผ่ วิ ดวงจันทร เปนกีเ่ ทาของความเรงทีผ่ วิ โลก
ก. 16 ข. 15 ค. 14 ง. 13 (ขอ ข)

63. จากขอที่ผานมา ถายานอวกาศหนัก 10,000 นิวตัน บนโลกจะหนักเทาใดเมื่อไปอยูที่ผิว


ดวงจันทร
ก. 2000 นิวตัน ข. 4000 นิวตัน ค. 6000 นิวตัน ง. 8000 นิวตัน (ขอ ก)

!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

107
บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
เฉลยแบบฝ ก หั ด ฟ สิ ก ส บทที่ 3 กฎการเคลื่ อ นที่ (บางข อ )
5. ตอบขอ 2
วิธที าํ จากรูปจะไดวา
Fลัพธ = F12 + F22 + 2 F1 F2 cos 120 o
F2 = 10 N Fลัพธ
Fลัพธ = 10 2 + 10 2 + 2(10)(10)(− 12 )
= 100 + 100 − 100 120o
= 100 F1 = 10 N
Fลัพธ = 10 นิวตัน
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"

9. ตอบขอ ก
วิธที าํ ขณะวัตถุตกอยางเสรี จะมีความเรง (a) = g = 10 m/s2
จาก F = ma
F = 5(10)
F = 50 นิวตัน
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"

10. ตอบขอ ค
วิธที าํ ตอน 1 จาก F = ma
100 = 20 a
จะได a = 5 เมตร/วินาที2 m = 20 kg F = 100 N
ตอน 2 จากโจทยจะไดวา
u = 0 , t = 20 วินาที , a = 5 m/s2 , s = ?
จาก s = a t + 12 a t2 = 0(20) + 12 (5) (202 ) = 1000 เมตร
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"

11. ตอบขอ ง.
วิธที าํ จากขอที่ผานมาจะไดวา u = 0 , t = 20 วินาที , a = 5 , v = ?
จาก v = u + a t = 0 + 5 (20) = 100 เมตร/วินาที
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"

108
บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
13. ตอบขอ ง
วิธที าํ ตอน 1 จากโจทยจะไดวา u = 10 เมตร/วินาที , t = 5 วินาที , v = 0 , a = ?
จาก v = u + at
0 = 10 + a(5)
–10 = 5a
a = –2 เมตร/วินาที2 m = 20 kg F
ตอน 2 จาก F = m a = (20) (–2) = –40 นิวตัน
( แรงเปนลบ แสดงวาเปนแรงตานการเคลือ่ นที่ )
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"

14. ตอบขอ ค.
วิธที าํ จากขอที่ผานมาจะไดวา u = 10 m/s , v = 0 , a = –2 m/s2 , s = ?
จาก v2 = u2 + 2as
0 = 102 + 2(–2) s
0 = 100 – 4s
4s = 100
s = 25 เมตร
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"

17. ตอบขอ ข.
วิธที าํ จาก F = ma
30 cos 60o = m (3)
30 ( 12 ) = 3 m
m = 5 kg
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"

20. ตอบขอ 3
วิธที าํ จาก F = ma F = 100 sin30 o m = 10 kg
100 sin 30o = 10 a 30o
100 ( 12 ) = 10 a
a = 5 เมตร/วินาที2 30o 100 นิวตัน
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"

109
บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
21. ตอบขอ 3
วิธที าํ ตอน 1 ตองหาแรงลัพธของแรง 12 นิวตัน และ 16 นิวตัน ซึ่งตั้งฉากกันกอน
จาก Fลัพธ = F12 + F22 + 2 F1 F2 cos 90 o
= 12 2 + 16 2 + 2(12)(16)(0)
Fลัพธ = 20 นิวตัน
ตอน 2 จาก Fลัพธ = m a
20 = 4a
a = 5 เมตร/วินาที2
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"

34. ตอบขอ ข
วิธที าํ จาก Fลัพธ = ma f
a
mg – f = ma
mg – ma = f
m (g – a) = f mg
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"

40. ตอบขอ 4
วิธที าํ ตอน 1 จากโจทยจะไดวา u = 0 , s = 50 , v = 2 , a = ?
จาก v2 = u2 + 2 as F
2
2 = 0 + 2a (0.5) F
a = 4 เมตร/วินาที2
m = 25 kg
ตอน 2 จาก Fลัพธ = ma
F – 250 = 25(4)
w = 250 นิวตัน
F = 350 นิวตัน
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"

110
บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
46. ตอบขอ ง
วิธที าํ จากโจทย u = 0 , s = 0.5 เมตร , v = 2 เมตร/วินาที , a = ?
จาก v2 = u 2 + 2 a s
22 = 02 + 2 a (0.5)
a = 4 เมตร/วินาที2
เนือ่ งจาก m1 และ m 2 มัดเชือกแลวเคลื่อนที่ไปพรอมกันจึงมี a เทากันดวย
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"

47. ตอบขอ ข.
วิธที าํ จาก F = ma
m2 g = (m2 + 0.3)a m1 = 0.3 kg
10 m2 = (m2 + 0.3) (4)
m2
10 m2 = 4m2 + 1.2
6 m2 = 1.2 m 2g
m2 = 0.2 กิโลกรัม
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"

48. ตอบขอ ค.
วิธที าํ จากรูป T ดึงมวล m1 คือ 0.3 kg เทานัน้ T
จงหา T จึงคิดแคมวล 0.3 kg เทานัน้ m1 = 0.3 kg
จาก F = ma
T = 0.3 (4)
m2
T = 1.2 นิวตัน
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"

51. ตอบขอ ข.
วิธที าํ จาก F = ma 0.5 kg
5 – R = 0.5 (6) a = 6 m/s2
R = 2 นิวตัน R
m g = 5 นิวตัน
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"

111
เI บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบตางๆ
ฟ สิ ก ส บทที่ 4 การเคลื่ อ นที่ แ บบต า งๆ
ตอนที่ 1 การเคลือ่ นทีแ่ บบโปรเจกไตล
การเคลือ่ นทีแ่ บบโปรเจกไตล คือ การเคลือ่ นทีใ่ นแนวโคงรูปพาราโบลา เกิดจากการเคลื่อนที่
ในแนว 2 แนว คือ แนวราบและแนวดิ่ง พรอมกัน
1. ขวางวัตถุไปตามแนวราบจากที่สูงแหงหนึ่ง ดวยความเร็วตน
3 เมตร/วินาที เมือ่ เวลาผานไป 1 วินาที จงหาการขจัด
วิธที าํ ( 5.8 เมตร)

2. จากขอที่ผานมา จงหาความเร็วปลาย (10.4 m/s)


วิธที าํ

3. จากขอที่ผานมา จงหามุมทีแ่ นวการเคลือ่ นทีก่ ระทําตอแนวราบ (73.3o)


วิธที าํ

112
tI บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบตางๆ
4(มช 41) ผลักวัตถุออกจากขอบดาดฟาตึกสูง 20 เมตร ดวยความเร็วตน 15 เมตร/วินาที ตาม
แนวระดับ วัตถุจะตกถึงพื้นที่ระยะหางกี่เมตรจากฐานตึก
1. 10 2. 20 3. 30 4. 40 (ขอ 3.)
วิธที าํ

5. เครือ่ งบินทิง้ ระเบิด บินในแนวระดับดวยความเร็ว 200 เมตรตอวินาที และสูงจากพื้นดิน


2000 เมตร เมื่อทิ้งระเบิดที่ปกลงมา จงหา
ก. ระเบิดตกไกลจากตําแหนงที่ทิ้งตามแนวระดับเทาไร (4000 เมตร )
ข. ระเบิดกระทบพืน้ ดินดวยอัตราเร็วเทาไร (200 2 m/s)
วิธที าํ

113
lI บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบตางๆ
6. คูน้ํากวาง 10 เมตร มีลักษณะดังรูป นักขี่
จักรยานยนตคนหนึง่ ตองการจะขีข่ า มคูนาํ้
A
จงหา 5m

ก. ความเร็วทีน่ อ ยทีส่ ดุ ของจักรยานยนต B

ที่จะขามคูน้ําไดพอดี (10 m/s) 10 m


ข. ความเร็วทีถ่ งึ ฝง ตรงขามพอดี (10 2 m/s)
วิธที าํ

7. ถาถือปนที่ยิงดวยแรงอัดของสปริง 4.0 m
เล็งไปยังเปา โดยใหสปริงเล็งไปยัง
5.0 m/s
เปา โดยใหลํากลองปนขนานกับพื้น
และ สูงจากพื้น 6.0 เมตร สวนปาก 6.0 m

ลํากลอง ปน หางจากเปา 4.0 เมตร h

เมื่อทําการยิงลูก ปน ซึ่งเปนลูกเหล็ก


กลมเคลื่อนที่ออกจากปากลํากลองปนดวยความเร็ว 5.0 เมตรตอวินาที ในขณะเดียวกันเปา
ตกแบบเสรีสูพื้น จงหาวาลูกกลมเหล็กจะตกลงมาไดระยะในแนวดิ่งเทาใดขณะกระทบเปา
114
ะI บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบตางๆ
วิธที าํ (3.2 ม.)

8. จากขอที่ผานมา จงหาวาขณะลูกกลมเหล็กกระทบเปานั้น เปาอยูสูงจากพื้นเทาใด ( 2.8 m )


วิธที าํ

9. นักเรียนคนหนึ่งยืนบนดาดฟาตึกหาชั้นสูง 75 เมตร แลวขวางกอนหินลงไปทํามุมเอียง 30o


กับแนวระดับดวยความเร็ว 20 เมตร/วินาที วัตถุจะตกถึงพื้นหางจากดาดฟาตึกตามแนว
ราบกีเ่ มตร
ก. 30 3 ข. 20 3 ค. 10 3 ง. 3 (ขอ ก)
วิธที าํ

115
Iเ บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบตางๆ
10. กําแพงหางจากปากกระบอกปน 10 2 เมตร โดยที่ปากกระบอกปนเอียงทํามุม 45o เมือ่
กระสุนถูกยิงออกจากปากกระบอกปนขึ้นไปดวยอัตราเร็ว 20 เมตร/วินาที กระสุนปนจะ
กระทบกําแพงสูงจากพื้นกี่เมตร
1. 6.0 2. 6.2 3. 9.1 4. 10.6 (ขอ 3)
วิธที าํ

11(En 32) นักขีจ่ กั รยานยนตผาดโผน ตองการจะขี่ขามคลอง


ซึ่งกวาง 5 เมตร ไปยังฝงตรงขาม ถาเขาขับรถดวยอัตรา
เร็ว 10 m/s กอนพนฝง แรก เขาจะขามได โดยไมชน
ฝง ตรงขาม h มีคาไดมากที่สุดกี่เมตร (2.5 เมตร)
วิธที าํ

116
เI บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบตางๆ
12. ชายคนหนึ่งยืนบนยอดตึกขวางลูกบอลออก
ไปดวยความเร็ว 15 เมตร/วินาที ทํามุม 45o
กับแนวราบไปยังตึกที่สูงกวาอยูหางออกไป
45 เมตร อยากทราบวาขอใดถูกตอง
1. ลูกบอลกระทบตึกที่จุด A
2. ลูกบอลกระทบตึกสูงกวาจุด A 45 เมตร
3. ลูกบอลกระทบตึกต่ํากวาจุด A 45 เมตร
4. ลูกบอลตกถึงพื้นดินโดยไมกระทบตึก (ขอ 3)
วิธที าํ

13(มช 37) ชายคนหนึ่งยืนอยูบนตึกสูง 15 เมตร จากพื้นดินขวางลูกบอลขึ้นไปทํามุม 30o


กับแนวระดับดวยความเร็ว 20 เมตรตอวินาที ถามวาลูกบอลจะตกพื้นดินหางจุดขวางใน
แนวระดับกีเ่ มตร (51.96 m)
วิธที าํ

117
าI บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบตางๆ
ขอนาสนใจเกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบโปรเจกไตล
1. ถาเราปลอยวัตถุใหตกจากที่สูงในแนวดิ่ง พรอม
กับขวางวัตถุอกี กอนออกไปในแนวราบ จากจุด
เดียวกันวัตถุทั้งสองจะตกถึงพื้นพรอมกันเสมอ
14. ลูกบอลชนิดเดียวกัน 2 ลูก A และ B ลูกบอล A ถูกขวางออกไปในแนวราบและลูกบอล
B ถูกปลอยใหตกลงในแนวดิ่งพรอมกันจากระดับสูงเดียวกัน จงพิจารณาขอความตอไปนี้
แลวเลือกขอที่ถูกที่สุด
ก. ลูกบอล A ตกถึงพื้นกอน B
ข. ลูกบอลทั้งสองตกถึงพื้นพรอมกัน
ค. ลูกบอล A จะมีอัตราเร็วสูงกวาขณะที่ตกถึงพื้น
ง. ลูกบอล B จะมีอัตราเร็วสูงกวาขณะที่ตกถึงพื้น
1. ขอ ก. ถูก 2. ขอ ก. และ ค. ถูก
3. ขอ ข. และ ค. ถูก 4. ขอ ข. และ ง. ถูก (ขอ 3)
วิธที าํ

2. เกี่ยวกับการโยนวัตถุจากพื้นสูอากาศแลวปลอยใหตกลงมาถึงระดับเดิม
เวลาทีว่ ตั ถุลอยในอากาศ (t) = ( 2U sin g θ)
2 sin2θ )
ระยะทางทีว่ ตั ถุขน้ึ ไปไดสงู สุด (sy) = ( U 2g
ระยะทางตามแนวราบเมือ่ วัตถุตกลงมาระดับเดิม (sx) = ( Ug2 sin 2θ) = Ug2 2 sinθ cosθ
15. ขีปนาวุธถูกยิงจากพื้นดวยความเร็ว 60 m/s ในทิศทํามุม 30o กับแนวระดับขีปนาวุธนั้น
ลอยอยูในอากาศนานเทาใด จึงตกถึงพื้นและขณะที่อยูจุดสูงสุดนั้นอยูหางจากพื้นเทาไร
วิธที าํ (6 วินาที , 45 เมตร)

118
II บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบตางๆ
16(มช 43) โยนลูกบอลขึ้นไปจากพื้นดิน ดวยความเร็วตน 25 เมตร/วินาที ในทิศทํามุม 37o
กับพื้นดิน ลูกบอลนี้จะตกลงมาพื้นดินหางจากตําแหนงที่โยนขึ้นไปกี่เมตร
1. 60 2. 70 3. 80 4. 90 (ขอ 1)
วิธที าํ

17. ตีวตั ถุใหวง่ิ ขึน้ จากพืน้ ดินเปนมุม 30o วัตถุไปตกในระดับเดียวกันหางจุดเริม่ ตน 20 3


เมตร จงหาความเร็วตนของวัตถุ
ก. 10 m/s ข. 14 m/s ค. 10 3 m/s ง. 20 m/s (ขอ ง)
วิธที าํ

3. เกี่ยวกับการโยนวัตถุจากพื้นสูอากาศแลวปลอยใหตกลงมาถึง
ระดับเดิม หากมุมที่เอียงกระทํากับแนวราบเปนมุม 45o วัตถุ
จะไปไดไกลที่สุด (ในแนวราบ)
4. เมื่อขวางวัตถุขึ้นจากพื้นเอียงทํามุมกับแนวราบ
θ กับ 90o – θ ดวยความเร็วตนเทากัน วัตถุ
จะไปไดไกลเทากันเสมอ
18(มช 35) ยิงโปรเจกไทลจากผิวโลก สูช น้ั บรรยากาศเหนือผิวโลก
หากตองการใหไดระยะพิสัยมากที่สุดตองใหมุม θ เปน
ก. 45o ข. นอยกวา 45o ค. มากกวา 45o ง. ไมมีขอถูก (ขอ ก)
ตอบ
19(มช 29) นักกรีฑาขวางคอนมีความสามารถเหวี่ยงคอนไดในอัตราเร็วสูงสุด 5 เมตร/วินาที เขา
จะสามารถขวางคอนไปไดไกลสุดหางจากจุดที่เขายืนอยูกี่เมตร ถาไมคิดแรงเสียดทานอากาศ
และความสูงของนักกรีฑา
1. 2.75 2. 2.50 3. 1.50 4. 1.25 ( ขอ 2)
วิธที าํ
119
ขI บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบตางๆ
20. ในการยิงลูกหินกอนหนึ่งจากพื้นทํามุม 60o กับแนวระดับพบวาลูกหินตกหางจากจุดยิงปน
ระยะหาง 5 3 เมตร โดยใชเวลา 3 วินาที ถายิงลูกหินนี้ทํามุม 30o กับแนวระดับดวย
ความเร็วตนคงเดิม จะทําใหลูกหินตกหางจากจุดยิงปนระยะหางเทาไร
1. 5 3 m 2. 10 m 3. 10 3 4. ไมมีขอใดถูก (ขอ 1)
วิธที าํ

5. เกี่ยวกับการโยนวัตถุจากพื้นสูอากาศแลวปลอยให
ตกลงมาที่ระดับความสูงเดียวกัน อัตราเร็วและ
มุมที่กระทํากับแนวราบจะเทากัน
6. เวลาที่ใชในการเคลื่อนที่แนวราบ แนวดิง่ และ
เวลารวมจะเทากันเสมอ นัน่ คือ tx = ty = tรวม

21. ขวางกอนหินขึน้ ไปในอากาศทํามุม θ กับแนว


ราบให t1 เปนเวลาทีค่ ดิ การเคลือ่ นทีใ่ นแนวดิง่
จากพื้นจนตกกลับมาที่เดิม t2 เปนเวลาที่คิดการ
เคลือ่ นทีใ่ นแนวราบจากจุดทีข่ วางถึงจุดทีต่ ก
t3 เปนเวลาที่กอนหินใชในการลอยอยูในอากาศ
ทั้งหมดขอใดถูก
t
1. t1 = t2 = t3 2. t1 = 23
t t t
3. t1 = t2 = 23 4. t1 = 22 = 23 (ขอ 1)
วิธที าํ

22(En 36) เมือ่ ขวางหินกอนหนึ่งดวยความเร็วตน 20 เมตร/วินาที พบวาหินกอนนี้ตกถึงพื้นราบ


ดวยความเร็วที่ทํามุม 60 องศากับแนวดิ่งหินกอนนี้จะขึ้นไปไดสูงสุดเทาใด
1. 5 m 2. 10 m 3. 15 m 4. 20 m (ขอ 1)
วิธที าํ

120
II บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบตางๆ
Sy
7. 1 θ
Sx = 4 tanθ
เมือ่ Sy = ระยะสูงในแนวดิ่ง
Sx = ระยะไกลในแนวราบ
23(มช 40) ถาโปรเจกไทลมีการกระจัดสูงสุดในแนวดิ่ง 10 เมตร และการกระจัดที่ไปไดไกลสุด
ในแนวระดับเทากับ 30 เมตร โปรเจกไทลนี้จะตองถูกยิงออกไปในแนวที่ทํามุมกี่องศากับราบ
วิธที าํ ( 53 o)

24. ในการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล เมือ่ จุดเริม่ ตนและจุดสุดทายอยูใ นแนวระดับเดียวกัน ถา


ตองการใหระยะตกไกล (Sx) มีคาเปน 4 เทาของระยะสูงสุด (H) มุมยิงควรมีคากี่องศา
1. 30o 2. 45o 3. 53o 4. 60o (ขอ 2)
วิธที าํ

25(มช 33) วัตถุเคลื่อนที่แบบโปรเจกไตล โดยมีทางเดิน


เปนรูปพาราโบลา และมีความสัมพันธระหวางระยะ
ทางที่เคลื่อนที่ในแนวดิ่งกับแนวระดับดังแสดงในรูป
จงหามุม θ ที่ความเร็วของวัตถุทํากับแนวระดับ
(ไมคิดความตานทานของอากาศ) (ขอ ข)
ก. θ = tan–1(2) ข. θ = tan–1(1) ค. θ = tan–1( 12 ) ง. θ = tan–1( 14 )
วิธที าํ

!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

121
1I บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบตางๆ

ตอนที่ 2 การเคลือ่ นทีแ่ บบวงกลม


คาบ (T) คือ เวลาทีใ่ ชในการเคลือ่ นทีค่ รบ 1 รอบ (วินาที)
ความถี่ (f) คือ จํานวนรอบทีเ่ คลือ่ นทีไ่ ดในหนึง่ หนวยเวลา
(รอบ / วินาที , Hz)
หาคาจาก f = จํานวนรอบ
เวลา หรือ f = T1
อัตราเร็วเชิงเสน (v) คือ อัตราเร็วของการเคลือ่ นทีต่ ามเสนรอบวง (เมตร/วินาที)
หาคาจาก v = 2π π Rf หรือ v = 2πTR

การเคลื่อนที่แบบวงกลม จะมีแรงเกีย่ วของอยางนอย 2


แรง เสมอ คือ แรงเหวีย่ งออก และแรงสูศูนยกลาง
Fc = mv 2 v2
R และ ac = R
เมือ่ ac = ความเรงศูนยกลาง (m/s2) v = อัตราเร็วเชิงเสนของวัตถุ (m/s)
R = รัศมีการเคลือ่ นที่ (m) Fc = แรงเขาสูศูนยกลาง ( N )
m = มวลวัตถุที่เคลื่อนที่เปนวงกลมนั้น (kg)
26. จากการเคลื่อนที่แบบวงกลมของวัตถุหนึ่งพบวาชวงเวลา 2 วินาที เคลือ่ นทีไ่ ด 10 รอบ
จงหาคาความถี่ และ คาบของการเคลือ่ นที่ (5 Hz , 0.2 วินาที)
วิธที าํ

27. จากขอที่ผานมา ถารัศมีการเคลื่อนที่มีคา 0.2 เมตร อัตราเร็วเชิงเสนของวัตถุนจ้ี ะเปนเทาไร


วิธที าํ (6.3 เมตร/วินาที)

122
โI บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบตางๆ
28. จงหาความเรงเขาสูศูนยกลางของวัตถุที่เคลื่อนที่เปนรูปวงกลมรัศมี 8 เมตร ดวยอัตราเร็ว
20 เมตรตอวินาที และหากมวลที่เคลื่อนที่มีขนาดเทากับ 5 กิโลกรัม จงหาแรงเขาสูศูนย
กลาง ( 50 m/s2 , 250 N )
วิธที าํ

29. การเคลือ่ นทีข่ องวัตถุเปนวงกลมดวยอัตราเร็วสม่าํ เสมอ ถาอัตราเร็วของการเคลือ่ นทีเ่ พิม่


ขึ้น เปน 2 เทา โดยทีร่ ศั มียงั คงเทาเดิม จะตองใชแรงเขาสูศูนยกลาง
1. เทากับครึง่ หนึง่ ของคาเทาเดิม 2. เทาเดิม
3. เพิม่ ขึน้ เปน 2 เทา 4. เพิม่ ขึน้ เปน 4 เทา (ขอ 4)
วิธที าํ

30(En 43/1) ในการทดลองการเคลื่อนที่แนววงกลมในระนาบระดับ ขณะที่กําลังแกวงใหจุกยาง


หมุนอยูน น้ั เชือกที่ผูกกับจุกยางขาดออกจากกัน นักเรียนคิดวาขณะที่เชือกขาดภาพการ
เคลื่อนที่ที่สังเกตจากดานบนจะเปนตามรูปใด ถา a เปนตําแหนงของจุกยางขณะที่เชือกขาด
1. 2. 3. 4.

ตอบ (ขอ 1)

123
t
I บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบตางๆ
ขัน้ ตอนการคํานวณเกีย่ วกับวงกลม มีดังนี้
1) วาดรูปเขียนแรงกระทําทีเ่ กีย่ วของทุกแรง
2) กําหนดให แรงเขาวงกลม = แรงออกวงกลม แลวแกสมการจะไดคําตอบ
โจทยตัวอยางเกี่ยวกับ แรงดันพืน้ (N)
31. รถคันหนึง่ มีมวล 1000 กิโลกรัม เคลือ่ นทีข่ น้ึ รางโคงตี
ลังกาอันมีรัศมี 10 เมตร ดวยความเร็วคงที่ 30 เมตรตอ
วินาที ตอนที่รถคันนี้กําลังตีลังกาอยูที่จุดสูงสุดของราง
โคง แรงปฏิกิริยาที่รางกระทําตอรถมีคากี่นิวตัน (80000)
วิธที าํ

32. รถไฟเหาะตีลังกามวล 2000 กิโลกรัม เคลือ่ นทีบ่ นราบโคงรัศมี 10 เมตร ขณะผานจุด


สูงสุดดวยอัตรา 20 เมตรตอวินาที จะมีแรงปฏิกิริยาที่รางกระทําตอรถไฟเทาใด (ขอ 2)
1. 40000 นิวตัน 2. 60000 นิวตัน 3. 80000 นิวตัน 4. 100000 นิวตัน
วิธที าํ

124
เI บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบตางๆ
33. รถคันหนึง่ มีมวล 1000 กิโลกรัม เคลือ่ นทีข่ น้ึ รางโคงตีลงั กาอันมีรศั มี 10 เมตร ดวย
ความเร็วคงที่ 30 เมตรตอวินาที จงหาแรงปฏิกริ ยิ าทีร่ างกระทําตอรถตอนที่
ก) รถอยูที่จุดลางสุดของราง (100000 N)
ข) รถอยูท จ่ี ดุ ตรงกับแนวศูนยกลางรางในแนวระดับ (90000 N)
วิธที าํ

34. เครือ่ งบินไอพนบินเปนวงกลมในแนวดิง่ รัศมี 100 เมตร และอัตราเร็วคงที่ 100 เมตร/วินาที


นักบินมีมวล 50 กิโลกรัม อยากทราบวา แรงปฏิกิริยาที่เบาะนั่งกระทําตอนักบินเปนเทาไร
ขณะเครื่องบินอยูที่จุดสูงสุด
1. 4000 นิวตัน 2. 4500 นิวตัน 3. 5000 นิวตัน 4. 5500 นิวตัน (ขอ 2)
วิธที าํ

35(En 43/2) รถยนตมวล 1200 กิโลกรัม กําลังวิ่งดวยอัตราความเร็ว v เมตรตอวินาที ขาม


สะพานที่จุดสูงสุดของสะพานซึ่งมีรัศมีความโคงในระนาบดิ่ง 12 เมตร จงหาอัตราเร็ว v ที่
พอดีทําใหรถยนตเริ่มหลุดจากความโคงของสะพาน
1. 11 m/s 2. 12 m/s 3. 13 m/s 4. 14 m/s (ขอ 1)
วิธที าํ

125
เI บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบตางๆ
36(มช 34) วัตถุกลมเล็กอันหนึ่งมีมวล m วางอยูจุดบนสุดของครึ่งทรงกลมตันซึ่งมีมวล m รัศมี R
จงหาอัตราเร็วในแนวระดับที่นอยที่สุดที่จะทําใหวัตถุหลุดออกผิวทรงกลมโดยไมมีการเลื่อน
ไถลลงมาตามผิว และให N เปนแรงที่ทรงกลมกระทําตอวัตถุในแนวตั้งฉากกับผิวทรงกลม
1 −1 1 −1
ก. (Rg) 2 ข. (Rg) 2 ค. [(g − mN )R] 2 ง. [(g − mN )R] 2 (ขอ ก)
วิธที าํ

โจทยตัวอยางเกี่ยวกับ แรงดึงเชือก
37. จากรูป มวล 5 กิโลกรัม ถูกมัดดวยเชือกยาว 1 เมตร
แลวแกวงเปนวงกลมตามแนวราบ ดวยอัตราเร็วคงที่ 2
เมตรตอวินาที จงหาคาของแรงดึงในเสนเชือก ( 20 N)
วิธที าํ

38. จากรูปมวล m อยูบ นโตะลืน่ ผูกติดกับกอนน้าํ หนัก W


ดวยเชือกเบาสอดผานรูกลางโตะ จงหาอัตราเร็วของ m
ขณะเคลื่อนที่ในแนววงกลมรัศมี r
1. 1/ mrW 2. mrW
3. m 4. rW (ขอ 4)
rW m
วิธที าํ

126
เI บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบตางๆ
39. วัตถุมวล 2 กิโลกรัม ผูกดวยเชือกแลวแกวงเปนวงกลมในแนวระดับรัศมี 0.3 เมตร โดย
เสนเชือกเอียงทํามุม 53 องศากับแนวราบ ถาความเร็วในการแกวงคงที่เทากับ 1.5 เมตร/
วินาที จงหาแรงดึงในเสนเชือก (กําหนด cos 53o=3/5 , sin 53o= 4/5 ) ( 25 N)
วิธที าํ

40. วัตถุกอ นหนึง่ ผูกดวยเชือกแลวแกวงเปนวงกลมในแนวระดับรัศมี 0.3 เมตร โดยเสน


เชือกเอียงทํามุม 53 องศากับแนวราบ ถาแรงดึงในเสนเชือกมีคาเทากับ 50 นิวตัน
จงหามวลของวัตถุกอ นนี้ (กําหนด cos 53o = 3/5 , sin 53o = 4/5 ) (4 kg)
วิธที าํ

41. จากโจทยขอที่ผานมา จงหาอัตราเร็วของการเคลือ่ นทีเ่ ปนวงกลม (1.5 m/s)


วิธที าํ

127
รI บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบตางๆ
42. ผูกเชือกเบาติดกับลูกบอลมวล 3 กิโลกรัม แกวงเชือกใหเปนวงกลมในแนวดิ่งรัศมี 1 เมตร
ดวยความเร็วเชิงเสน 5 เมตร/วินาที จงหาแรงดึงของเชือกขณะที่ลูกบอลอยูที่ตําแหนงสูงสุด
วิธที าํ ( 45 N)

43(มช 41) ผูกเชือกเบาติดกับลูกบอลมวล 1 กิโลกรัม แกวงเชือกใหเปนวงกลมในแนวดิ่งรัศมี


0.2 เมตร ดวยความเร็วเชิงเสน 4 เมตร/วินาที จงหาแรงดึงของเชือกขณะที่ลูกบอลอยูที่
ตําแหนงสูงสุด (70 นิวตัน)
วิธที าํ

44. ผูกเชือกเบาติดกับลูกบอลมวล 3 กิโลกรัม แกวงเชือกใหเปนวงกลมในแนวดิ่งรัศมี 1


เมตร ดวยความเร็วเชิงเสน 5 เมตร/วินาที จงหาแรงดึงของเชือกขณะที่
ก) ลูกบอลอยูที่จุดต่ําสุด (105 N)
ข) ลูกบอลอยูที่จุดตรงกับแนวศูนยกลางวงกลมในแนวระดับ (75 N)
วิธที าํ

128
เI บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบตางๆ
45. วัตถุมวล 1.0 กิโลกรัม ผูกติดกับเชือกยาว 5 เมตร ถาถือวัตถุอนั นีใ้ หเชือกตึง และอยู
ในแนวระดับกอนแลวจึงปลอยใหวัตถุตกลงมาอยากทราบวา
ก. เมือ่ วัตถุแกวงถึงจุดต่าํ สุดจะมีอตั ราเร็วเทาใด (10 m/s)
ข. ทีจ่ ดุ ต่าํ สุดเชือกมีแรงตึงเทาใด (30 N)
วิธที าํ

46. วัตถุมวล 2 กิโลกรัม ผูกไวดวยเชือกเสนหนึ่งแลวแกวงใหหมุนเปนวงกลมในแนวดิ่งมี


รัศมี 10 เมตร วัตถุตอ งมีความเร็วนอยทีส่ ดุ เทาไร จึงจะยังคงเคลื่อนที่เปนวงกลมได
1. 20 เมตร / วินาที 2. 15 เมตร / วินาที
3. 10 เมตร/ วินาที 4. 5 เมตร / วินาที (ขอ 3)
วิธที าํ

47(En 36) นําวัตถุมวล m ผูกติดเชือกแลวแกวงเปนวงกลมในระนาบดิ่ง มีรัศมี R อัตราเร็วที่


นอยที่สุดในวงกลมที่วัตถุจะเคลื่อนที่มีวิถีเปนวงกลมสมบูรณไดจะมีคาเทาใด
1. 3Rg 2. 2Rg 3. Rg2 4. Rg ( ขอ 4. )
วิธที าํ

129
i.I บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบตางๆ
48. หากตองการใหมวล m ซึ่งมัดดวยเชือกรัศมี r สามารถแกวงตัวเปนวงกลมในแนวดิ่งได
พอดี ความเร็วที่จุดต่ําสุดของวงกลมการเคลื่อนที่อยางนอยที่สุดตองมีคาเปนเทาใด
ก. gr 2. 2gr 3. 4gr 4. 5gr (ขอ ง.)
วิธที าํ

49(En 34) วัตถุมวล 0.5 กิโลกรัม ผูกติดกับเชือกยาว 1.0 เมตร แกวงเปนวงกลมในแนวดิ่ง


เมือ่ เชือกทํามุม 60o กับแนวดิง่ จากตําแหนงต่าํ สุดของวิถที างโคจรของวัตถุ จงหาความตึง
ในเสนเชือก ถาขณะนัน้ อัตราเร็วในการเคลือ่ นทีท่ ต่ี าํ แหนงเปน 3.0 เมตร/วินาที (ขอ 3)
1. 2.0 นิวตัน 2. 6.5 นิวตัน 3. 7.0 นิวตัน 4. 8.8 นิวตัน
วิธที าํ

โจทยตัวอยางเกี่ยวกับ แรงเสียดทาน
50. ถนนราบโคงมีรศั มีความโคง 50 เมตร ถาสัมประสิทธิ์ของความเสียดทานระหวางยางกับ
ถนนของรถคันหนึง่ มีคาเทากับ 0.2 รถคันนี้จะเลี้ยวโคงไดดวยความเร็วสูงสุดเทาไรจึงจะ
ไมไถลออกนอกโคง ( 10 m/s )
วิธที าํ

130
เI บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบตางๆ
51. ถนนราบโคงมีรศั มีความโคง 100 เมตร ถาสัมประสิทธิ์ของความเสียดทานระหวางยางกับ
ถนนของรถคันหนึง่ มีคาเทากับ 0.4 รถคันนี้จะเลี้ยวโคงไดดวยความเร็วสูงสุดเทาไรจึงจะ
ไมไถลออกนอกโคง (20 m/s)
วิธที าํ

52(มช 30) แผนเสียงแผนหนึง่ วางอยูใ นแนวระดับ เมือ่ เอาเหรียญอันหนึง่ มาวางไวหา งจาก


จุดศูนยกลางของแผนเสียงเปนระยะ 10 เซนติเมตร ปรากฏวาเหรียญอันนีจ้ ะหมุนติดไปกับ
แผนเสียงไดโดยไมไถลหลุดจากโตะ ถาอัตราการหมุนของแผนนอยกวา 1 รอบตอวินาที
จงหาสัมประสิทธิ์ความเสียดทานสถิตระหวางเหรียญกับแผนเสียง
1. 0.2 2. 0.3 3. 0.4 4. 0.6 (ขอ 3)
วิธที าํ

53(En 32) เหรียญวางอยูท ร่ี ะยะ 20 cm จากศูนยกลางแผนเสียง ถาสัมประสิทธิ์ความเสียดทาน


สถิตยระหวางเหรียญและแผนเสียงเปน 0.125 จงหาจํานวนรอบที่มากที่สุดใน 1 วินาที
ที่แผนเสียงหมุนแลวเหรียญยังคงอยูนิ่งเทียบกับแผนเสียง (0.4 Hz)
วิธที าํ

131
รI บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบตางๆ

กรณี การเลีย้ วโคงของรถบนถนน


1) จะมีแรงเสียดทานระหวางยางรถกับพื้นถนน เปนแรง
ผลักเขาสูศูนยกลาง
2) กรณีรถมอเตอรไซคจะมีการเอียงตัวจากแนวดิง่ เพือ่
ใหแนวแรงลัพธของแรงเสียดทานกับแรงดันพื้นผลัก
ผานจุดศูนยกลางมวลของมอเตอรไซด
θ = vgr2
tanθ
เมือ่ v คือ อัตราเร็วของการเคลือ่ นที่ (m/s)
r คือ รัศมีความโคงของถนน (m)
θ คือ มุมทีม่ อเตอรไซดเอียงกระทํากับแนวดิง่
หรือ θ คือ มุมทีพ่ น้ื ถนนเอียงกระทํากับแนวพืน้ ราบ
54. กําหนดใหรถจักรยานยนตเลี้ยวโคงบนถนนรัศมีความโคง 0.1 km ดวยอัตราเร็ว 36 km/hr
ไดอยางปลอดภัย แมฝนตกทางลื่น คนขับตองเอียงตัวทํามุมกับแนวดิ่งเทาใด (6o)
วิธที าํ

55(มช 41) ผูขับขี่รถจักรยานยนตเลี้ยวโคงบนถนนราบที่มีรัศมีความโคง 40 เมตร คนขับตอง


เอียงรถทํามุม 37o กับแนวดิง่ ขณะนัน้ ผูข บั ขีข่ บั รถในอัตราเร็วกีเ่ มตร/วินาที (ขอ 1)
1. 17.32 2. 40.51 3. 30.67 4. 23.29
วิธที าํ

56. รถยนตคนั หนึง่ แลนดวยความเร็ว 60 กิโลเมตร/ชัว่ โมง เมือ่ รถคันนีเ้ ลีย้ วโคงบนถนนมีรศั มี
ความโคง 150 เมตร พืน้ ถนนควรเอียงทํามุมกับแนวระดับเทาใด รถจึงจะเลีย้ งโคงอยางปลอดภัย
วิธที าํ (10.5o)

132
II บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบตางๆ
57. ทางโคงของถนน ทานจะสังเกตเห็นวาระดับของถนนบริเวณนอกสวนโคงจะมีระดับสูงกวา
บริเวณในสวนโคง ทานจงใหเหตุผลวาเปนเพราะอะไร
ก. เพือ่ ตานแรงหนีศนู ยกลาง ข. เพื่อใหทัศนวิสัยดีขึ้น
ค. เพือ่ ใหรปู รางถนนเปนไปตามความตองการ ง. ขอ ก. และ ข. ถูก (ขอ ก)
วิธที าํ

โจทยตัวอยางเกี่ยวกับ แรงดึงดูดระหวางมวล
58. ดาวเทียมดวงหนึง่ โคจรรอบโลกเปนวงกลมรัศมี 8 x 106 เมตร และที่ความสูงระดับนี้
แรงดึงดูดของโลกเทากับ 8 นิวตัน / กิโลกรัม จงคํานวณหาความเร็วในการโคจรของดาว
เทียมดวงนี้ ( 8x103 m/s )
วิธที าํ

59. ดาวเทียมมวล 6 kg หมุนรอบโลกเปนวงกลม รัศมี 7000 km และที่ความสูงระดับนี้แรง


ดึงดูดของโลกมีคาเทากับ 7 N/kg จงคํานวณหาความเร็วและคาบการหมุนของดาวเทียมนี้
1) 7000 เมตร/วินาที , 5548 วินาที 2. 7000 เมตร/วินาที , 6283 วินาที
3) 8000 เมตร/วินาที , 5548 วินาที 4. 8000 เมตร/วินาที , 6283 วินาที
วิธที าํ (ขอ 2)

133
II บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบตางๆ
60. ดาวเทียมเคลื่อนที่เปนวงกลมรอบโลก โดยมีรศั มีวงโคจร 12.8x106 เมตร อัตราเร็วของ
ดาวเทียม มีคา กีเ่ มตรตอวินาที (กําหนด มวลโลก = 6 x 1024 kg) (5.7x103 m/s)
วิธที าํ

61(En 33) ดาวเทียมเคลื่อนที่เปนวงกลมรอบโลก โดยมีระยะหางจากผิวโลกเทากับรัศมีของ


โลก อัตราเร็วของดาวเทียมมีคา กีเ่ มตรตอวินาที (ขอ 3)
( มวลโลก = 6 x1024 kg , รัศมีโลก = 6.4 x 106 m)
1. 1.6x104 m/s 2. 4.0x103 m/s 3. 5.7x103 m/s 4. 11.3x103 m/s
วิธที าํ

!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

ตอนที่ 3 อัตราเร็วเชิงมุม
ω = θt เมือ่ ω คือ อัตราเร็วเชิงมุม (เรเดียน / วินาที)
θ คือ มุมที่กวาดไป (เรเดียน)
ω = 2Tπ t คือ เวลาที่ใชกวาดมุมนั้น (วินาที)
ω = 2π f T คือ คาบของการเคลือ่ นที่ (วินาที)
V = ωR f คือ ความถี่ของการเคลื่อนที่ (Hz)
ac = ω2 R V คือ อัตราเร็วเชิงเสน (m/s)
ac คือ อัตราเรงเขาสูศ นู ยกลาง (m/s2)
134
l
I บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบตางๆ
62. วัตถุกอ นหนึง่ เคลือ่ นทีเ่ ปนวงกลมรอบจุดจุดหนึง่ ดวยความถี่ 7 รอบ/วินาที จงหาอัตราเร็ว
เชิงมุมของการเคลือ่ นทีน่ ้ี ( 44 rad/s )
วิธที าํ

63. การหมุนรอบตัวของโลกรอบละ 24 ชัว่ โมง กําหนด รัศมีโลกเทากับ 6.37 x 106 เมตร


จงหา อัตราเร็วเชิงมุมทีผ่ วิ โลก ( 7.27x10–5 rad/s)
วิธที าํ

64. จากขอที่ผานมา จงหาอัตราเร็วของวัตถุทผ่ี วิ โลก (463 m/s)


วิธที าํ

65. จากขอที่ผานมา จงหาอัตราเรงสูศูนยกลางที่เสนศูนยสูตร (0.034 m/s2 )


วิธที าํ

66(En 42/2) วัตถุมวล m วางบนจานกลมที่กําลังหมุน ดวยอัตราเร็วเชิงมุม 2π เรเดียน/วินาที


ถาวัตถุวางอยูหางจากศูนยกลางของจานเปนระยะ r และขณะที่หมุนวัตถุไมมีการไถล
แรงเสียดทานที่กระทําตอวัตถุเทากับเทาไร (ขอ 1)
1. 4π2 mr 2. 4π2 r2 m 3. 2π2 mr 4. 2π mr
วิธที าํ

135
เI บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบตางๆ
67. ถาในการทดลองเกี่ยวกับการเคลื่อนที่เปนวงกลม
ขณะที่วัตถุมวล M เคลือ่ นทีด่ ว ยรัศมีความโคง 0.8
เมตรนัน้ น้ําหนักของวัตถุทําใหวัตถุอยูต่ํากวาปลาย
เชือกที่แกนหมุน 0.2 เมตร ดังรูปอัตราเร็วเชิงมุมของ
การเคลือ่ นทีจ่ ะตองเปนเทาไรในหนวยเรเดียน/วินาที (ขอ 1)
1. 7 2. 8 3. 9 4. 10 5. 11
วิธที าํ

68(En 31) วัตถุผูกติดปลายเชือกแลวแกวงเปนวงกลมสม่ําเสมอ


ตามแนวราบแบบฐานกรวย ถารัศมีของการแกวงเปนวงกลม
30 เซนติเมตร และมวลของวัตถุ 0.5 กิโลกรัม เชือกยาว 50
เซนติเมตร อัตราเร็วเชิงมุมของการแกวงเปนกีเ่ รเดียนตอวินาที
1. 5 2. 7.5 3. 10 4. 25 (ขอ 1)
วิธที าํ

69. วัตถุมวล 2 กิโลกรัม ผูกดวยเชือกยาว 0.5 เมตร แลวแกวงเปน


วงกลมในระนาบระดับดวยรัศมี 0.3 เมตร จงหาอัตราเร็ว (1.5 m/s)
วิธที าํ

70. จากขอที่ผานมา จงหาแรงดึงในเสนเชือก (25 N)


วิธที าํ

136
I
I บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบตางๆ
ตอนที่ 4 การเคลือ่ นทีแ่ บบซิมเปลฮารโมนิค
การเคลื่อนที่ซิมเปลฮารโมนิคแบบสั่น
a = ω2 A
v = ωA
ω = mk
T = 2π
ω
f = 1= ω
T 2π
เมือ่ v = ความเร็วสูงสุด (ที่จุดสมดุลเทานั้น)
a = ความเรงสูงสุด (ที่ระยะทางไกลที่สุด)
ω = ความเร็วเชิงมุม (เรเดียน / วินาที) A = อัมปลิจดู (ระยะทางไกลที่สุด)
k = คานิจสปริง (N/m) m = มวล (kg)
T = คาบการสั่น (s) f = ความถี่การสั่น (Hz)
71(มช 34) สปริงเบาตัวหนึง่ มีคา นิจ 25 นิวตัน/เมตร ผูกติดกับ
มวล 1 กิโลกรัม ซึ่งวางอยูบนพื้นเกลี้ยง ดังรูป เมือ่ ดึงสปริง
ออกไป 20 เซนติเมตร แลวปลอยมือ มวลกอนนีจ้ ะมีอตั รา
เร็วเทาใดเมือ่ ผานตําแหนงสมดุล
ก. 0.2 m/s ข. 1.0 m/s ค. 2.0 m/s ง. 3.0 m/s (ขอ ข)
วิธที าํ

72(มช 34) สปริงเบาตัวหนึง่ มีคา นิจ 100 นิวตัน/เมตร ผูกติดกับมวล 1 กิโลกรัม ซึ่งวางอยูบน
พื้นราบเกลี้ยง เมือ่ ดึงสปริงออกไป 30 เซนติเมตร แลวปลอยมือ มวลกอนนีจ้ ะมีอตั ราเรง
สูงสุดเทาใด
ก. 10 m/s2 ข. 20 m/s2 ค. 30 m/s2 ง. 40 m/s2 (ขอ ค)
วิธที าํ

137
เI บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบตางๆ
73(En 36) แขวนมวล 100 กรัม ที่ปลายหนึ่งของสปริงที่มีมวลนอยมากดึงมวลจากตําแหนง
สมดุล 10 เซนติเมตร แลวปลอย อัตราเร็วเชิงเสนขณะเคลือ่ นทีผ่ า นสมดุลมีคา เทาใด ถา
คาบของการสั่นมีคา 2 วินาที (ขอ 1)
1. 0.31 m/s 2. 0.99 m/s 3. 3.14 m/s 4. 9.9 m/s
วิธที าํ

74. วัตถุหนึง่ เคลือ่ นทีแ่ บบฮารมอนิกอยางงาย มีอัมพลิจูด 10 เซนติเมตร มีความถี่ 2 รอบ


ตอวินาที วัตถุจะมีความเรงสูงสุดเทาใด (15.68 m/s2)
วิธที าํ

75. สปริงวางบนพื้นราบมีคานิจสปริง (2π)2 N/m ปลายขางหนึ่งผูกตรึงปลายอีกขางหนึ่ง


มีมวล 4 kg ติดไว เมือ่ ออกแรงดึงมวลแลวปลอยมวลจะเคลือ่ นทีแ่ บบ SHM ดวยคาบ
กี่วินาที (2)
วิธที าํ

76. สปริงวางบนพื้นราบมีคานิจสปริง π2 N/m ปลายขางหนึ่งผูกตรึงปลายอีกขางหนึ่งมีมวล


1 kg ติดไว เมือ่ ออกแรงดึงมวลแลวปลอยมวลจะเคลือ่ นทีแ่ บบ SHM ดวยคาบกี่วินาที
วิธที าํ (2 วินาที)

138
รI บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบตางๆ
77(En 35) รถทดลองมวล 500 กรัม ติดอยูกับปลายสปริง
ดังรูป เมือ่ ดึงดวยแรง 5 นิวตัน ในทิศขนานกับพื้น จะ
ทําใหสปริงยืดออก 10 เซนติเมตร เมื่อปลอยรถจะเคลื่อนที่
กลับไปมาบนพื้นเกลี้ยงแบบซิมเปลฮารโมนิกดวยคาบเทาไร
1. 0.63 s 2. 0.67 s 3. 1.60 s 4. 2.00 s (ขอ 1)
วิธที าํ

78(มช 42) ลวดสปริงอันหนึ่งวางบนพื้นเกลี้ยง ปลายดานหนึ่งยืดแนนกับผนังปลายที่เหลือมี


มวล 1.0 กิโลกรัมติดไว ถาทําใหเกิดการสั่นแบบซิมเปลฮารมอนิกวัดคาบการสั่นได
(2π / 5) วินาที แรงในหนวยของนิวตันทีก่ ระทําตอมวลนี้ เมือ่ อยูห า งจากตําแหนงสมดุล 0.2
เมตร เปนเทาใด (5 นิวตัน)
วิธที าํ

79(มช 43) แขวนมวล 2 กิโลกรัม กับสปริง แลวปลอยใหสั่นขึ้นลง วัดคาบของการสั่นได


1 วินาที ถาเอามวล 2 กิโลกรัม ออกสปริงจะสัน้ กวาตอนทีแ่ ขวนมวลนีอ้ ยูก เ่ี มตร
1. 0.08 2. 0.12 3. 0.25 4. 0.40 (ขอ 3)
วิธที าํ

139
เI บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบตางๆ
80. แขวนมวล 4.9 กิโลกรัม กับสปริงแลวปลอยใหเคลื่อนที่ขึ้นลงวัดคาบของการสั่นได 0.5
วินาที ถาเอามวล 4.9 กิโลกรัม ออกสปริงจะสั้นกวาตอนที่แขวนมวลอยูเทาใด (0.06 m)
วิธที าํ

81(มช 44) แขวนมวล m กับสปริงซึ่งมีคาคงตัวสปริง k แลวทําใหสั่นขึ้นลงในแนวดิ่ง วัด


คาบการสั่นได To ถานํามวล 4m มาแขวนแทนที่มวล m แลวคาบการสั่นจะเปนเทาใด
1. T4o 2. T2o 3. To 4. 2To (ขอ 4)
วิธที าํ

82(En 43/2) หากผูกมวล m ติดกับสปริงในแนวดิง่ ดึงมวลลงเล็กนอยแลวปลอยใหสั่นพบวา


สปริงมีคาบของการสั่น 2 วินาที ถาเพิ่มมวลเขาไปอีก 2 กิโลกรัม สปริงจะมีคาบการสั่น
3 วินาที จงหาขนาดของมวล m ในหนวยกิโลกรัม (1.6 kg)
วิธที าํ

!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

140

I บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบตางๆ

การเคลือ่ นทีซ่ มิ เปลฮารโมนิคแบบแกวง


a = ω2 A
v = ωA
amax amax ω = Lg
vmax
T = 2ωπ
A A f = T1 = 2ωπ
เมือ่ v = ความเร็วสูงสุด (ที่จุดสมดุลเทานั้น)
a = ความเรงสูงสุด (ที่ระยะทางไกลที่สุด)
ω = ความเร็วเชิงมุม (เรเดียน/วินาที)
A = อัมปลิจดู (ระยะทางไกลที่สุด)
L = ความยาวสายแกวง (m)
T = คาบการแกวง (s)
f = ความถี่การแกวง (Hz)
83. ลูกตุมแขวนดวยเชือกยาว 0.4 เมตร แกวงไปมาดวยอัมปลิจูด 0.1 เมตร จงหาความเร็ว
ขณะเคลื่อนผานจุดสมดุล ( 0.5 m/s)
วิธที าํ

84(มช 32) ความเร็วสูงสุดของวัตถุที่กําลังแกวงแบบซิมเปลฮารโมนิคดวยคาบของการแกวง


0.2 วินาที และอัมปลิจูด 2 เซนติเมตร จะมีคาเทากับ
ก. 5π เซนติเมตร/วินาที ข. 10π เซนติเมตร/วินาที
ค. 20π เซนติเมตร/วินาที ง. ไมสามารถหาคาไดจากขอมูลที่ใหมา (ขอ ค)
วิธที าํ

141
เI บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบตางๆ
85. ตองการใหลูกตุมนาฬิกาแกวงในระนาบบนพื้นโลกใหครบรอบภายในเวลา 2 วินาที จะ
ตองออกแบบใหสายลูกตุมนาฬิกายาวเทาใด ให π2 = 10 (1 เมตร)
วิธที าํ

86. ลูกตุมแขวนดวยเชือกยาว 1 เมตร แกวงไปมาดวยคาบ 2 วินาที ถาลูกตุมแขวนดวยเชือก


ยาว 9 เมตร จะแกวงดวยคาบเทาใด (6 วินาที)
วิธที าํ

87. ลูกตุมมวล 0.1 กิโลกรัม แขวนดวยเชือกยาว 4 เมตร ทําใหแกวงกลับไปกับมา โดยมี คาบ


4 วินาที ถาเปลี่ยนมาใชลูกตุมมวล 0.2 กิโลกรัม แขวนดวยเชือกยาว 1 เมตร ในเวลา 10
วินาที ลูกตุมจะแกวงไดกี่รอบ (5 รอบ)
วิธที าํ

88. ถานาฬิกาแบบลูกตุมเดินไดตรง ณ บริเวณพื้นที่ราบใกลระดับน้ําทะเล ถานํานาฬิกานี้ไป


ใช ณ บริเวณยอดเขาสูงกวาระดับน้ําทะเลมาก ๆ คาบของการแกวงจะเพิ่มขึ้นหรือลดลง
วิธที าํ (เพิม่ )

142

I บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบตางๆ
การหาความเร็ว และความเรง ณ จุดใดๆ
Vs = ω A 2 − x 2
as = ω2 x
Vt = ωA sin (ω t)
at = ω2 A cos (ω t) X

เมือ่ Vs ,as = ความเร็ว และ ความเรง ณ จุดหางจากสมดุล A


Vt ,at = ความเร็ว และ ความเรง ณ เวลา t จากสมดุล
A = อัมปลิจดู
และ x = A sin ( ω t )
เมือ่ x = การขจัด ณ. เวลา t ใดๆ
89. อนุภาคหนึง่ เคลือ่ นทีแ่ บบ SHM ดวยชวงกวาง
1.5 เมตร ความถี่ 50 Hz จงหาความเร็ว และ
ความเรง เมือ่ การขจัดเปน 1 เมตร
วิธที าํ (351 m/s , 98696 m/s2)

X= 1 m

A=1.5 m

90. ซิมเปลฮารโมนิค มีชวงกวาง 8 เซนติเมตร และคาบ 4 วินาที จงหาความเรงหลังจากที่


อนุภาคผานจุดสมดุลไปได 0.5 วินาที (0.14 m/s2)
วิธที าํ

!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

143

I บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบตางๆ
แ บ บ ฝ ก หั ดฟ สิ ก ส บทที่ 4 การเคลื่ อ นที่ แ บบต า งๆ
การเคลือ่ นทีแ่ บบโปรเจกไทล
1. ขวางลูกบอลจากที่สูงออกไปในแนวราบดวย
อัตราเร็ว 3 เมตร/วินาที เมือ่ เวลาผานไป
2 วินาที จะมีการขจัดเทาไร
1. 6 เมตร 2. 20 เมตร
3. 17.35 เมตร 4. 436 เมตร (ขอ 4)
2. จากโจทยขอที่ผานมา เมือ่ เวลาผานไป 0.4 วินาที อัตราเร็วทีป่ รากฏจะเปนกีเ่ มตร/วินาที
1. 5 2. 4 3. 3 4. 2 (ขอ 1)
3. จากโจทยขอที่ผานมาอยากทราบวา เมือ่ เวลาผานไป 0.4 วินาที ทิศทางการเคลื่อนที่จะทํา
มุมเทาไรกับแนวเดิม (แนวระดับ)
1. tan –1 ( 35 ) 2. tan –1 ( 53 ) 3. tan –1 ( 43 ) 4. tan –1 ( 43 ) (ขอ 3)
4. ชายคนหนึ่ง ยืนบนหนาผาสูง 80 เมตร ขวางลูกบอลออกไปในแนวราบ ดวยความเร็วตน
330 เมตร/วินาที ถามวาลูกบอลไปตกไกลจากหนาผาเทาไร
1. 300 เมตร 2. 330 เมตร 3. 1320 เมตร 4. 2330 เมตร (ขอ 3)
5. ลูกระเบิดถูกปลอยออกมาจากเครื่องบิน ซึง่ บินอยูใ นแนวระดับดวยอัตราเร็ว 300 เมตรตอ
วินาที และอยูสูงจากพื้นดิน 2000 เมตร จงหาวาลูกระเบิดจะตกถึงพื้นดิน ณ ตําแหนงที่
หางจากจุดทิง้ ระเบิดตามแนวระดับกีเ่ มตร
1. 300 2. 400 3. 600 4. 6000 (ขอ 4)
6. ชายคนหนึ่งยืนอยูบนดาดฟาตึกสูง 50 เมตร แลวปากอนหินลงไปในแนวทํามุมกม 37o
กับแนวระดับดวยความเร็ว 25 เมตรตอวินาที ( sin37o = 0.6 , cos37o = 0.8 )
ก. นานเทาไรกอนหินตกถึงพืน้ ดิน (2 s)
ข. กอนหินตกหางจากตัวตึกเทาไร (40 m)
7. กําแพงหางจากปากกระบอกปน 8 เมตร โดยที่ปากกระบอกปนเอียงทํามุม 45o เมื่อกระสุน
ถูกยิงออกจากปากกระบอกปนดวยอัตราเร็ว 20 เมตร/วินาที กระสุนปนจะกระทบกําแพง
สูงจากพื้นกี่เมตร
1. 6.0 2. 6.2 3. 6.4 4. 6.6 (ขอ 3. )
144
รI บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบตางๆ
8. ยิงกระสุนปน มวล 50 กรัม ดวยความเร็วตน 100 เมตร/วินาที ทํามุม 60o กับแนวระดับ
หลังจากนั้น 5 วินาที กระสุนตกกระทบเปาบนหนาผาเปานั้นอยูสูงจากพื้นระดับที่ยิงเทาไร
1. 228.5 เมตร 2. 308 เมตร 3. 375 เมตร 4. 433 เมตร ( ขอ 2.)
9. ตํารวจดับเพลิงตองการฉีดน้ําดับเพลิงซึ่งไหมอาคารที่มีความสูง 10 เมตร ถาความเร็วตน
ของน้าํ ทีอ่ อกจากเครือ่ งฉีดน้าํ เทากับ 20 เมตรตอวินาที และทํามุม 60o กับแนวระดับ เขา
จะตองยืนหางจากตัวอาคารเปนระยะทางเทาใด
1. 10 (3 − 3 ) เมตร 2. 10 ( 3 − 1) เมตร
3. 10 ( 15 − 3) เมตร 4. 10 ( 5 − 3 ) (ขอ 2)
10. ตามรูป ลูกบอลถูกขวางจากกําแพงดวยความเร็วตน
80 เมตร/วินาที กําแพงสูง 35 เมตร อยากทราบวา
นานเทาไรลูกบอลจึงจะตกถึงพื้น
1. 8.0 วินาที 2. 0.8 วินาที
3. 8.8 วินาที 4. 9.6 วินาที (ขอ 3)
11. จากขอที่ผานมา ลูกบอลจะตกหางจากจุด P ออกไปในแนวราบกีเ่ มตร
1. 704.0 2. 609.7 3. 528.0 4. 665.1 (ขอ 2)
12. ขวางวัตถุจากหนาผาสูง 40 ม. ทํามุมเงย 53o กับแนวระดับดวยความเร็ว 12.5 ม./วินาที
ก. นานเทาไรวัตถุตกถึงพื้น (4 s )
ข. วัตถุตกหางจากตีนผาเทาไร (30 m )
ค. วัตถุขึ้นไปไดสูงสุดจากพื้นเทาไร (45 m)
13. ยิงปนทํามุม 53o กับแนวระดับ ถาลูกปนมีอตั ราเร็ว 300 เมตรตอวินาที อยากทราบวา
ลูกปนตกไกลจากจุดยิงเทาไร (8640 เมตร)
14. นักทุมน้ําหนักทีมชาติไทยทุมลูกเหล็กออกไปดวยความเร็ว 20 เมตรตอวินาที จะทุมได
ไกลที่สุดเทาไร (40 เมตร)
15(En 22) ชายคนหนึง่ ปากอนหินขึน้ ไปในอากาศตามแนวโคงกอนหินเคลือ่ นทีแ่ บบโปรเจกไตล
ไปตกหางจากตําแหนงที่ยืนเปนระยะทาง 10 เมตร เขาตองปากอนหินออกไปดวยอัตราเร็ว
อยางนอยที่สุดกี่ m/s
ก. 10 2 ข. 10 / 2 ค. 2 2 ง. 10 ( ขอ ง )
145
II บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบตางๆ
16. ยิงวัตถุขึ้นจากพื้นดินทํามุม θ กับแนวระดับ อัตราเร็วตน u ถาตองการยิงวัตถุอีกกอน
หนึ่งจากพื้นดินเพื่อใหไปตกไกลเทากอนแรก วัตถุกอนหลังนี้ตองมีมุมยิงเทากับแนวระดับ
และอัตราเร็วตนเทาใด
1. θ/2 และ 2u 2. 2θ และ u
3. 90o – θ และ u 4. 2θ และ u /2 (ขอ 3)

17 วิศวกรคนหนึ่งตองการตีลูกกอลฟใหขามตน
u
ไมซึ่งสูง 30 เมตร และอยูหางออกไป 40
เมตร ใหลงหลุมพอดี โดยหลุมอยูหางออกไป θ
80 เมตร ถามวาตองตีลูกกอลฟไป ณ ทิศทํา 40 m หลุม
80 m
มุมเทาใดกับแนวระดับ
1. tan–1 23 2. 45o 3. tan–1 43 4. 60o (ขอ 1)

18. ถาตองการยิงปนใหไดระยะทางในแนวราบเปน 3 เทา ของระยะทางในแนวดิ่ง ตองยิงปน


ทํามุมเทาไรกับแนวระดับ (53o)

การเคลือ่ นทีแ่ บบวงกลม


19. ยิงลูกเหล็กเล็ก ๆ ใหวง่ิ ไปตามขอบโลหะโคงดังรูป
เมื่อลูกเหล็กหลุดออกจากขอบโลหะ ลูกเหล็กจะวิ่ง
ไปตามเสนทาง
ก. หมายเลข 1 ข. หมายเลข 2
ค. หมายเลข 3 ง. หมายเลข 4 (ขอ ค)

20. มวลผูกเชือกแลวแกวงใหเคลื่อนที่เปนวงกลมตามแนวระดับบนพื้นลื่น เมือ่ เชือกขาดมวล


จะเคลื่อนที่อยางไร
ก. วงกลม ข. สวนโคงของวงกลม
ค. พาราโบลา ง. เสนตรง (ขอ ง)

146
เI บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบตางๆ
21. วัตถุชน้ิ หนึง่ เคลือ่ นทีเ่ ปนรูปวงกลมดวยอัตราเร็ว 20 รอบในเวลา 4 วินาที จงหา
ก. ความถี่ (5 Hz)
ข. คาบ ( 2 วินาที )
ค. ถารัศมีของการเคลือ่ นทีเ่ ปน 2 เมตร จงหาอัตราเร็ว ( 62.83 m/s )
22. จากการเคลื่อนที่แบบวงกลมของวัตถุหนึ่งพบวาชวงเวลา 2 วินาที เคลือ่ นทีไ่ ด 10 รอบ
ถารัศมี การเคลื่อนที่มีคา 0.2 เมตร อัตราเร็วเชิงเสนของวัตถุนจ้ี ะเปนเทาไร
1. 1.26 เมตร/วินาที 2. 12.6 เมตร/วินาที
3. 6.3 เมตร/วินาที 4. 1 เมตร/วินาที ( ขอ 3. )
23. วัตถุเคลือ่ นทีเ่ ปนวงกลมในระนาบระดับดวยอัตราเร็วคงที่ ผลคือ
1. ความเรงเปนศูนย
2. ความเรงอยูในแนวเสนสัมผัสกับวงกลม
3. ความเรงอยูในแนวพุงออกจากจุดศูนยกลาง
4. ความเรงอยูในแนวพุงเขาหาจุดศูนยกลาง (ขอ 4)
24. จงหาความเรงสูศูนยกลางของวัตถุที่เคลื่อนที่แบบวงกลมรัศมี 4 เมตร ดวยอัตราเร็ว 20
เมตรตอวินาที (100 m/s2)
25. รถไฟเหาะตีลังกามวล 2000 กิโลกรัม เคลือ่ นทีบ่ นราบโคงรัศมี 10 เมตร ขณะผานจุด
สูงสุดดวยอัตรา 20 เมตรตอวินาที จะมีแรงปฏิกิริยาที่รางกระทําตอรถไฟกี่นิวตัน
1. 40000 2. 60000 3. 80000 นิวตัน 4. 100000 (ขอ 2)
26. รถคันหนึง่ มีมวล 1000 กิโลกรัม เคลือ่ นทีข่ น้ึ รางโคงตีลงั กาอันมีรศั มี 10 เมตร ดวย
ความเร็วคงที่ 30 เมตรตอวินาที จงหาแรงปฏิกริ ยิ าทีร่ างกระทําตอรถตอนที่
ก) รถอยูที่จุดลางสุดของราง (100000 N)
ข) รถอยูท จ่ี ดุ ตรงกับแนวศูนยกลางรางในแนวระดับ (90000 N)
27(มช 41) ลูกบอลมวล 0.1 กิโลกรัม แขวนดวยเชือกเบา
ทํามุม 30o กับแนวดิ่งแกวงใหเปนวงกลมรัศมี 0.4 เมตร
ดวยความเร็วเชิงเสน 6 เมตร/วินาที แรงดึงของเสนเชือก
มีคากี่นิวตัน
1. 9 2. 36 3. 18 4. 24 (ขอ ข)
147
รI บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบตางๆ
28. ผูกวัตถุมวล 0.5 กิโลกรัม ดวยเชือกเบายาว 2 เมตร แลวแกวงเปนวงกลมตามระนาบดิ่ง
ขณะถึงจุดต่าํ สุดมีอตั ราเร็ว 10 เมตรตอวินาที จงหาแรงตึงเชือก ณ จุดต่าํ สุด (30 N)

29. วัตถุมวล m ผูกเชือกแลวแกวงดวยอัตราเร็วคงทีใ่ หระนาบอยูใ นแนวดิง่ ผลตางของความ


ตึงเชือก ณ จุดต่าํ สุดและจุดสูงสุดเปนเทาไร
ก. mg ข. 2 mg ค. 3 mg ง. 4 mg (ขอ ข)

30(En 34) วัตถุมวล 0.5 กิโลกรัม ผูกติดกับเชือกยาว 1.0 เมตร แกวงเปนวงกลมในแนวดิ่ง


เมือ่ เชือกทํามุม 60o กับแนวดิง่ จากตําแหนงต่าํ สุดของวิถที างโคจรของวัตถุ จงหาความตึง
ในเสนเชือก ถาขณะนัน้ อัตราเร็วในการเคลือ่ นทีท่ ต่ี าํ แหนงเปน 3.0 เมตร/วินาที
1. 2.0 นิวตัน 2. 6.5 นิวตัน 3. 7.0 นิวตัน 4. 8.8 นิวตัน ( ขอ 3.)

31. วัตถุมวล 1 กิโลกรัมผูกติดกับเชือกยาว 1 เมตร แกวงเปนวงกลมในระนาบดิ่ง เมือ่ เชือก


ทํามุม 60o กับแนวดิง่ จากตําแหนงต่าํ สุดของแนวการเคลือ่ นที่ จงหาความตึงในเสนเชือก
ถาขณะนัน้ อัตราเร็วในการเคลือ่ นทีท่ ต่ี าํ แหนงนัน้ เปน 5 เมตรตอวินาที (30 N)

32. ปลอยวัตถุหนัก 10 นิวตัน จากตําแหนง A ใหแกวง


มายังตําแหนง B ดังรูป อยากทราบวาแรงตึงในเสน
30o 30o
เชือกเมือ่ วัตถุอยูท ต่ี าํ แหนง B มีขนาดกีน่ วิ ตัน เชือก
1. 5.0 2. 8.7
3. 11.6 4. 20.0 (ขอ 2)
A B

33(En 44/1) แขวนมวล m ดวยเชือกยาว L แลวทําใหแกวงขณะที่เชือกทํามุม θ กับแนวดิ่งซึ่ง


วัตถุหยุดพอดี จงหาความตึงเชือกขณะนั้น
1. mg(1+ cosθ) 2. mg(1– cosθ)
3. mg cosθ 4. mg sinθ (ขอ 3)

34. รถคันหนึง่ เลีย้ วโคงบนถนนราบดวยรัศมีความโคง 100 เมตร สัมประสิทธิ์ของความเสียด


ทานระหวางลอกับถนนเปน 0.4 รถคันนีจ้ ะเลีย้ วดวยอัตราเร็วไดสงู สุดเทาไร (20 m/s)

148
เI บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบตางๆ
35. รถคันหนึง่ เลีย้ วโคงบนถนนราบดวยรัศมีความโคง 25 เมตร ถาสัมประสิทธิ์ความเสียด
ทานสถิตยระหวางยางรถกับถนนเปน 0.4 รถคันนัน้ จะเลีย้ วโคงดวยอัตราเร็วอยางมากที่
สุดเทาใดจึงจะไมไถล
1. 4 m/s 2. 5 m/s 3. 8 m/s 4. 10 m/s (ขอ 4)

36. รถคันหนึ่งกําลังเลี้ยวโคงดวยอัตราเร็วสูงสุด 25 เมตรตอวินาที โดยมีรศั มีความโคง 125


เมตร จงหาสัมประสิทธิ์ของความเสียดทานระหวางถนนกับลอ ( 0.5)

37(En 27) รถยนตมีมวล 1,200 กิโลกรัม ถาวิ่งเลี้ยวโคงบนถนนซึ่งมีรัศมีความโคง 100 เมตร


ดวยอัตราเร็ว 72 กิโลเมตร/ชัว่ โมง จะตองการแรงสูศูนยกลางขนาดเทียบเทาน้ําหนักของ
มวลกี่กิโลกรัม
ก. 200 ข. 240 ค. 480 ง. 1200 (ขอ ค)

38. รถยนตมวล 1200 kg เลี้ยวโคงบนถนนราบที่มีรัศมีความโคง 120 m และมีคาสัม-


ประสิทธิ์ความเสียดทานระหวางยางลอกับผิดถนนเทากับ 0.8 ขณะทีร่ ถเลีย้ วโคงดวยอัตรา
เร็ว 20 m/s จงหาแรงเสียดทานในแนวตั้งฉากกับการเคลื่อนที่
1. 9600 N 2. 6400 N 3. 4000 N 4. 3200 N (ขอ 3)
39(มช 30) แผนเสียงแผนหนึง่ วางอยูใ นแนวระดับ เมือ่ เอาเหรียญอันหนึง่ มาวางไวหา งจาก
จุดศูนยกลางของแผนเสียงเปนระยะ 11 เซนติเมตร ปรากฏวาเหรียญอันนีจ้ ะหมุนติดไปกับ
แผนเสียงไดโดยไมไถลหลุดจากโตะ ถาอัตราการหมุนของแผนนอยกวา 65 รอบตอวินาที
จงหาสัมประสิทธิ์ความเสียดทานสถิตระหวางเหรียญกับแผนเสียง
1. 0.2 2. 0.3 3. 0.4 4. 0.6 ( ขอ 2.)
40(มช 32) อนุภาคมวล 5.0 มิลลิกรัม เกาะติดอยูกับแผนเสียงซึ่งหมุน 0.75 รอบตอวินาที
ถาอนุภาคนี้อยูหางจากจุดศูนยกลางแผนเสียงนี้เปนระยะทาง 15 เซนติเมตร สัมประสิทธิ์
ความเสียดทานระหวางอนุภาคกับแผนเสียงจะเทากับ
ก. 0.17 ข. 0.34 ค. 0.51 ง. 0.68 (ขอ ข)
41(En 32) เหรียญวางอยูท ร่ี ะยะ 20 cm จากศูนยกลางแผนเสียง ถาสัมประสิทธิ์ความเสียดทาน
สถิตยระหวางเหรียญและแผนเสียงเปน 0.125 จงหาจํานวนรอบที่มากที่สุดใน 1 วินาที
ที่แผนเสียงแลวเหรียญยังคงอยูนิ่งเทียบกับแผนเสียง ( 0.4 )
149
I
r บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบตางๆ
42. วัตถุกอ นหนึง่ วางอยูบ นโตะ ซึง่ หมุนไดรอบแกนแนวดิง่ หางจากแกนหมุน 0.5 เมตร
ถาสัมประสิทธิ์ของความเสียดทานระหวางผิววัตถุกับโตะมีคา 0.3 อยากทราบวาโตะหมุน
ไดเร็วทีส่ ดุ กีร่ อบ/วินาที วัตถุจงึ ยังไมกระเด็นจากโตะ (0.39)
43. รถจักรยานยนตคนั หนึง่ กําลังเลีย้ วดวยอัตราเร็ว 10 3 เมตรตอวินาที โดยมีรศั มีความโคง
10 3 m คนขี่จะตองเอียงรถทํามุมกับแนวระดับเทาไร (60o)
44(En 34) รถจักรยานยนตวง่ิ ดวยความเร็ว 108 กิโลเมตรตอชัว่ โมง วิ่งตามทางโคงซึ่งมีรัศมี
ความโคง 100 เมตร ผิวถนนอยูใ นแนวระดับ รถจักรยานยนตจะเอียงทํามุมกับแนวดิ่งเทาใด
จึงจะไมลม
1. θ = tan−1 0.90 2. θ = tan−1 0.75
3. θ = tan−1 0.50 4. θ = tan−1 0.45 (ขอ 1)
45. ยานอวกาศลําหนึง่ กําลังโคจรรอบดวงจันทรมรี ศั มี 1.2 x 106 เมตร จงหาคาบของการ
โคจรของยานอวกาศลํานี้ ถาความเรง เนือ่ งจากแรงโนมถวงทีบ่ ริเวณนัน้ มีคา 18 เทาของ
ความเรงทีผ่ วิ โลก ( 6.16x103 s)
46(En 35) ถายานอวกาศลําหนึ่งสามารถปรับใหวิ่งวนเปนวงกลม รอบดวงจันทรทร่ี ะยะรัศมี
1.8 x106 เมตร จงหาคาบของการโคจรครบรอบของยานอวกาศลํานี้ เมือ่ ความเรงเนือ่ งจาก
แรงโนมถวงทีบ่ ริเวณนัน้ ของดวงจันทรมคี า เปน 16 เทาของความเรงทีผ่ วิ โลก
1. 44 นาที 2. 57 นาที 3. 81 นาที 4. 109 นาที ( ขอ 4.)
47(En 43/2) ดาวเทียมดวงหนึง่ โคจรรอบโลกทีค่ วามสูง 600 กิโลเมตร จากผิวโลกและมี
อัตราเรงเนือ่ งจากความโนมถวงเปน 8.2 เมตรตอ(วินาที)2 จงหาอัตราเร็วของดาวเทียม
(รัศมีของโลกคือ 6400 กิโลเมตร)
1. 5.6 m/s 2. 6.6 km/s 3. 7.6 km/s 4. 8.6 km/s ( ขอ 3. )

48. ดาวเทียมดวงหนึ่งโคจรสูงจากผิวโลก 1600 กิโลเมตร ถารัศมีของโลกมีคา 6400 กิโลเมตร


และมวลของโลกมีคา 6 x 1024 กิโลกรัม จงหาคาบของการเคลื่อนที่ของดาวเทียม
( G = 6.67x10–11 Nm2/kg2 ) (7.11x103 s)

150
II บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบตางๆ
49(มช 36) จงหาแรงดึงดูดระหวางโลกกับดวงอาทิตยในหนวยนิวตัน ถาโลกมีมวล
5.98 x 10 24 kg อยูหางจากดวงอาทิตยประมาณ 1.5 x 108 km และหมุนรอบดวงอาทิตย
1 รอบใชเวลา 365 วัน
1. 6.5x1020 2. 3.6x1022 3. 7.2x1022 4. 7.2x1024 ( ขอ 2.)

อัตราเร็วเชิงมุม
50. การหมุนรอบตัวของโลกรอบละ 24 ชัว่ โมง กําหนด รัศมีโลกเทากับ 6.37 x 106 เมตร
จงหา ก. อัตราเร็วเชิงมุมทีผ่ วิ โลก (7.27x10–5 rad/s )
ข. อัตราเร็วของวัตถุทผ่ี วิ โลก (463 m/s)
ค. ความเรงสูศูนยกลางที่เสนศูนยสูตร (0.034 m/s2)

51. จากรูปวัตถุมวล 0.2 กิโลกรัม ผูกปลายเชือกยาว 2 เมตร


แลวแกวงเปนวงกลมสม่ําเสมอในระนาบระดับ ถาเชือกทํา 37o
มุม 37o กับแนวดิ่งตลอดเวลา อยากทราบวาวัตถุจะเคลื่อน 2m

ทีด่ ว ยอัตราเร็วเชิงมุมเทาใด (2.5 rad/s)

52. วัตถุมวล m ผูกดวยเชือกเบายาว ! หมุนเปนวงกลม จนทํา


ใหเสนเชือกทํามุม θ กับแนวดิง่ ดังรูป อัตราเร็วเชิงมุม
ของวัตถุคอื θ
!
1. gcosè 2. g
! !cosθ
3. gsinθ 4. g ( ขอ 2.) m
! !sinθ
53. จากรูป นักเรียนคนหนึง่ ทําการทดลอง เรือ่ งแรง
สูศูนยกลาง ปรากฏวามีขณะหนึ่งวัตถุอยูหางออกมา
จากแกนกลาง 0.6 เมตร และอยูต่ําลงมาจากแนวระดับ
0.2 เมตร ถามวาขณะนัน้ วัตถุหมุนดวยอัตราเร็วเทาใด
(4.2 m/s )
151
1I บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบตางๆ
54. จากรูปนักเรียนคนหนึง่ ทําการทดลองเรือ่ งแรงสูศ นู ย
กลาง ปรากฎวาขณะวัตถุอยูหางออกมาจากแกนหมุน θ
0.1 m
0.8 เมตร และอยูต่ําลงมาจากแนวระดับ 0.1 เมตร 0.8 m
อยากทราบวาขณะนัน้ วัตถุมอี ตั ราเร็วเทาใด (8 m/s)

การเคลือ่ นทีแ่ บบซิมเปลฮารโมนิก


55(En 32) วัตถุชิ้นหนึ่งติดอยูกับปลายขางหนึ่งของสปริงซึ่งยาว 2 เมตร และมีปลายขางหนึ่ง
ตรึงอยูก บั ที่ ถาวัตถุชิ้นนี้วางอยูบนพื้นราบเกลี้ยง และกําลังเคลื่อนที่แบบซิมเปลฮารโมนิค
โดยมีความเร็วมากที่สุด 2 เมตร/วินาที และมีการขจัดจากจุดสมดุลมากที่สุด 0.5 เมตร
อัตราเร็วเชิงมุมของการเคลือ่ นทีน่ เ้ี ปนกีเ่ รเดียนตอวินาที
1. 0.12 2. 0.25 3. 1.00 4. 4.00 (ขอ 4)
56. รถทดลองติดปลายลวดสปริงเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงายดวยแอมพลิจูด 15 เซนติเมตร
และความถี่ 4 รอบตอวินาที จงคํานวณหาความเร็วสูงสุด และความเรงสูงสุดของรถทดลอง
( 3.77 m/s , 94 m/s2)
57(En 36) แขวนมวล 100 กรัม ที่ปลายหนึ่งของสปริงที่มีมวลนอยมากดึงมวลจากตําแหนง
สมดุล 10 เซนติเมตร แลวปลอยอัตราเร็วเชิงเสน ขณะเคลื่อนที่ผานสมดุลมีคาเทาใด
ถาคาบของการสั่นมีคา 2 วินาที
1. 0.31 m/s 2. 0.99 m/s 3. 3.14 m/s 4. 9.9 m/s ( ขอ 1.)
58. วัตถุหนึง่ เคลือ่ นทีแ่ บบฮารมอนิกอยางงาย มีอัมพลิจูด 10 เซนติเมตร มีความถี่ 2 รอบตอ
วินาที วัตถุจะมีความเรงสูงสุดเทาใด (15.68 m/s2)
59. แขวนมวล m กับสปริงแลวปลอยใหสั่นขึ้นลงวัดคาบ
ได 2π วินาที ถาเอามวล m ออกสปริงจะสั้นกวาตอน
ทีแ่ ขวนมวล m กีเ่ มตร (กําหนดให g = 10 m/s2)
ก. 0.4 ข. 0.3
ค. 0.2 ง. 10 ( ขอ ง.)

152
รI บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบตางๆ
60(En 42/1) แขวนมวลอันหนึ่งติดกับสปริงแลวปลอยใหสั่นขึ้นลงโดยมีคาบการเคลื่อนที่ 1
วินาที ถาวัตถุอยูนิ่งแลวปลดมวลออกสปริงจะหดสั้นกวาตอนที่แขวนมวลเทาใด
1. π4g2 2. 4 πg 2 3. 4g2 4. g 2 (ขอ 4)
π 4π
61(En 43/1) แขวนมวล 50 กรัม ที่ปลายลางของสปริงซึ่งแขวนในแนวดิ่งโดยที่ปลายบนถูก
ยึดไว ถาดึงมวลลงเล็กนอยเพื่อใหสปริงสั่นขึ้นลง วัดเวลาในการสัน่ ครบ 10 รอบ ไดเปน
5 วินาที หากเปลี่ยนมวลที่แขวนเปน 200 กรัม จะวัดคาบการสั่นไดเทาใด
1. 0.5 s 2. 1.0 s 3. 2.0 s 4. 4.0 s ( ขอ 2.)

62(มช 39) ลูกตุมแขวนดวยเชือกยาว 100 เซนติเมตร เมือ่ จับลูกตุม ใหเบนออกมาจากตําแหนง


สมดุลเปนระยะ 5 เซนติเมตร แลวปลอยใหแกวงอยางอิสระความเร็ว สูงสุดในการแกวงจะ
มีคาเทากับกี่ cm/s
1. 0.16 2. 1.58 3. 15.8 4. 158 (ขอ 3)

63. ความเร็วสูงสุดของวัตถุที่กําลังแกวงแบบซิมเปลฮารมอนิกดวยคาบของการแกวง 0.2


วินาที และแอมพลิจูด (amplitude) 2 เซนติเมตร จะมีคาเทากับ
1. 5π เซนติเมตร/วินาที 2. 10π เซนติเมตร/วินาที
3. 20π เซนติเมตร/วินาที 4. ไมสามารถหาคาไดจากขอมูลที่ใหมา (ขอ 3)
64. ลูกตุมนาฬิกาอันหนึ่งแกวง 100 รอบในเวลา 200 วินาที ความเรงสูงสุดในการเคลื่อนที่
ของลูกตุมเปน π202 เมตรตอวินาที2 การกระจัดสูงสุดในการแกวงนีเ้ ปนกีเ่ ซนติเมตร
1. 2.5 2. 5.0 3. 10.0 4. 20 (ขอ 2)

65. ลูกตุมแขวนดวยเชือกยาว 2 เมตร แกวงไปมาดวยคาบ 2.5 วินาที ถาลูกตุมแขวนดวย


เชือกยาว 8 เมตร จะแกวงดวยคาบเทาไร (5 s)

!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

153
t
I บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบตางๆ
เฉลยแบบฝ ก หั ดฟ สิ ก ส บทที่ 4 การเคลื่ อ นที่ แ บบต า งๆ (บางข อ )
8. ตอบ ขอ 2.
วิธที าํ คิดแกน y
uy = 50 3 , a = –10 , t = 5 , Sy = ?
จาก Sy = u t + 12 a t2
Sy = 50 3 (5) + 12 (–10) (5)2
Sy = 308 เมตร
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

14. ตอบ 40 เมตร


วิธที าํ ขวางไปไดไกลสุด แสดงวา θ = 45o
จาก Sx = u2 2sing? cos?
2 o cos45o ) θ
Sx = 2u (2sin45
10
Sx = 40 เมตร
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

18. ตอบ 53o


วิธที าํ สมมติ Sy = A
จะไดวา Sx = 3A
Sy 1
จาก Sx = 4 tanθ Sy
A 1 θ
3A = 4 tanθ
4 = tanθ
3
θ = 53 o
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

154
dI บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบตางๆ
27. ตอบ ขอ 3.
วิธที าํ จาก Fเขา = Fออก
T sin30o = mvR 2
2)
T( 12 ) = 0.1(6
0.4
T = 18
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

29. ตอบขอ ข. mv2


R
วิธที าํ จากรูปจะไดวา
ที่จุดลางสุด Tลาง = mvR 2 + mg ⎯ # T T mg
ที่จุดบนสุด Tบน+ mg = mvR 2
Tบน = mvR 2 – mg ⎯$
ดังนั้น Tลาง– Tบน = mvR 2 + mg) – ( mvR 2 – mg) mv2
mg
R
Tลาง– Tบน = 2 mg
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

30. ตอบ ขอ 3.


วิธที าํ จาก Fเขา = Fออก
T = mvR 2 + mg cos 60o
2
T = 0.5(3)
1 + 0.5(10)(0.5)
T = 7 นิวตัน
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

155
เI บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบตางๆ
32. ตอบ ขอ 2
วิธที าํ ขอนีต้ อ งตีความวาทีจ่ ดุ B นัน้ ความเร็ว (v)
เปนศูนย เพราะแกวงไปถึงปลายสุดตองหยุดนิ่ง 30o T
จากรูปจะไดวา mv 2
30o R
T = mgcos30o + mvR 2
mgcos30o
2
T = 10( 23 ) + m(0) R mg
T = 10( 23 )
T = 8.7 นิวตัน
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

33. ตอบ ขอ 3.


วิธที าํ จาก Fเขา = Fออก
T = mvR 2 + mg cosθ
T = mg cosθθ

!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

37. ตอบ ขอ ค


วิธที าํ จาก FC = mvR 2 5
เมือ่ V = 72 km m
hr = 72 x 18 = 20 s
2
FC = 1200(20)
100
FC = 4800 นิวตัน
FC = 480 กิโลกรัม
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

156
เI บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบตางๆ
39. ตอบ ขอ 2.
วิธที าํ มวลหมุนเปนวงกลมติดไปกับแผนเสียงได เพราะแรงเสียดทานระหวางมวลกับแผน
เสียงทําหนาที่เปนแรงเขาสูศูนยกลาง
จาก Fเขา = Fออก
µmg = mvr 2 และ V = 2 π r f
2
µmg = m(2πr rf)
µg = 4π 2 rr 2 f 2
µg = 4 π2 r f2
10µ = 4 π2 (0.11)( 65 )2
µ = 0.3
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

41. ตอบ 0.4 Hz


วิธที าํ มวลหมุนเปนวงกลมติดไปกับแผนเสียงได เพราะ
แรงเสียดทานระหวางมวลกับแผนเสียงทําหนาที่เปนแรงเขาสูศูนยกลาง
จาก Fเขา = Fออก
µmg = mvr 2 และ V = 2 π r f
2
µmg = m(2πr rf)
µg = 4π 2 rr 2 f 2
µg = 4 π2 r f2
10(0.125) = 4 ( 227 )2 (0.2) f2
f = 0.4
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

157
รI บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบตางๆ
45. ตอบ 6.16 x103 วินาที
วิธีที จากรูปจะไดวา mv 2
R
mv 2 = mg
R
v2 = Rg mg
v = Rg
v = 1.2x10 6 x ( 1 x 10)
8
v = 1224.74 เมตร/วินาที
ตอไปจาก v = 2πTR
2( 22 )(1.2x1106 )
T = 2πv R = 7 1224.74 = 6.16 x 103 วินาที
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

47. ตอบ ขอ 3.


วิธที าํ จากรูปจะไดวา รัศมีวงโคจร = 6400 + 600 km = 7000 km = 7000 x 103 m
จาก Fเขา = Fออก
mg = mvR 2
gR = v2
v = gR
v = 8.2 x 7000 x 10 3
v = 7580 m/s
v = 7.58 km/s
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

158
เI บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบตางๆ
48. ตอบ 7.11x103 วินาที
วิธที าํ จากรูปจะไดวา mv 2
Gmm e R
mv 2 = Gmm e R2
R R2
Gmm
v2 = R e
Gm e
v =
R
6.67x10 - 11 x 6 x 10 24
v= = 7072.8 เมตร/วินาที
800 x 10 3
ตอไป จาก = v = 2πTR
2π R 2 x ( 227 ) x 8000 x 103
T= v = 7072.8 = 7.11x103 วินาที
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

49. ตอบ ขอ 2.


วิธที าํ จาก Fเขา = Fออก
FG = mvr 2 และ V = 2 πT r
FG = mr [2 π r ]2
T T = 365 วัน
FG = mr 4π 2 r 2
T2 = 365 x 24 ชัว่ โมง x 3600 วินาที
= (5.98 x 1024 )4(10)(1.5 x 1011) r = 1.5x108 km
(365 x 24 x 3600)2 = 1.5 x 108 x 103 m
FG = 3.6 x 1022
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

52. ตอบขอ 2
วิธที าํ จากรูปจะเห็นวา θ
h ! !sinè
h = !sinθ θ
ดังนัน้ จาก ω = g
h
ω = g
!sinθ
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

159
I บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบตางๆ
61. ตอบ ขอ 2.
วิธที าํ พิจารณาชวงแรก จาก f = จํานวนรอบ 10
เวลา = 5 = 2 Hz
และจาก T = 1f = 12 = 0.5 วินาที
จาก T = 2π mk
ตอน 1 0.5 = 2π 50 kกรัม →#

ตอน 2 T = 2π 200kกรัม →$

0.5 2π 50 kกรัม
เอา #÷$ จะได T =
2π 200 kกรัม
0.5 = 50
T 200
1 = T
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

160
ปฺ
III บทที่ 5 งานและพลังงาน

ฟ สิ ก ส บทที่ 5 งานและพลั ง งาน


ตอนที่ 1 งาน
งาน คือ ผลคูณระหวางแรง x ระยะทางตามแนวแรงนั้น
W = Fs F

เมือ่ F คือ แรง (นิวตัน)


s
S คือ ระยะทางตามแนวแรงนั้น (เมตร)
W คือ งาน (นิวตันเมตร , จูล)
ขอควรระวังเมื่อคํานวณหางาน
1) แรงกับระยะทางตองอยูในแนวที่ขนานกันจึงใชได หากแรงตั้งฉากกับระยะทาง
ตองตอบงานเปนศูนย หากแรงอยูใ นแนวเอียงตองแตกแรงกอน
F sin±
±
F
F
F
± F cos±
±
s s s
W=Fs W=0 W = Fcos±
±.s

2) หากแรงไมคงที่ตองหาแรงเฉลี่ยมาใชคํานวณ
3) พื้นที่ใตกราฟ F & s จะเทากับผลคูณ F s เสมอ

1. เด็กคนหนึง่ ออกแรงลากของตามแนวราบ 6 นิวตัน สม่ําเสมอเปนระยะทาง 3 เมตร จะ


ทํางานไดเทาไร (18 จูล)
วิธที าํ
2. เด็กคนหนึง่ ออกแรงยกถังน้าํ มวล 30 กิโลกรัม ขึ้นจากบอน้ําลึก 5 เมตร ดวยอัตราเร็ว
สม่ําเสมอจะทํางานไดเทาไร (1500 จูล)
วิธที าํ
1
เII บทที่ 5 งานและพลังงาน
3. จากขอที่ผานมา ถาตองการใหถังน้ําเคลื่อนที่ขึ้นดวยความเรง 2 m/s2 จะตองทํางานกี่จูล
วิธที าํ (1800)

4. จงหางานของแรงที่ลากวัตถุมวล 80 กิโลกรัม ในแนวขนานกับพืน้ ระดับดวยอัตราเรง 2


เมตร/วินาที2 เปนระยะทาง 25 เมตร ถาสัมประสิทธิ์ของความเสียดทานระหวางวัตถุกับ
พื้นมีคา 0.05
1. 500 2. 1000 จูล 3. 2000 จูล 4. 5000 จูล (ขอ 4.)
วิธที าํ

5. จากขอที่ผานมา ถาตองการใหวัตถุเคลื่อนที่ไปดวยความเร็วคงที่ จะตองทํางานเทาใด


1. 500 2. 1000 จูล 3. –500 จูล 4. –1000 จูล (ขอ 2.)
วิธที าํ

6. จากขอที่ผานมา จงหางานของแรงเสียดทาน
1. 500 2. 1000 จูล 3. –500 จูล 4. –1000 จูล (ขอ 4.)
วิธที าํ

7. จงหางานของแรง F ในแตละกรณีตอไปนี้ (1. 15 J 2. 0 J 3. 7.5 J)


1. 2. F = 5 นิวตัน 3. F = 5 นิวตัน
F = 5 นิวตัน
60o

S = 3 ม. S = 3 ม. S = 3 ม.
วิธที าํ

2
N
II บทที่ 5 งานและพลังงาน
8. ถาออกแรงเพิ่มขึ้นสม่ําเสมอจาก 0 – 10 นิวตัน ทําใหวัตถุเคลื่อนที่ไดทาง 10 เมตร จะได
งานเทาใด (50 จูล)
วิธที าํ

9. ชายผูห นึง่ ออกแรง 100 นิวตัน ดึงสปริง แลวเพิม่ แรงดึงเปน 500 นิวตัน ทําใหสปริงยืด
ออกจากตําแหนงเดิม 1.2 เมตร งานที่ใชดึงสปริงครั้งนี้มีคาเทาใด (360 จูล)
วิธที าํ

10(En 42/2) แรง F กระทํากับวัตถุแสดงโดยกราฟดังรูป


งานที่เกิดขึ้นในระยะ 10 เมตร เปนกีจ่ ลู (150 จูล)
วิธที าํ

11. แรงกระทําตอวัตถุหนึง่ เมือ่ นําคาแรงทีก่ ระทําตอ


วัตถุในแนวขนานกับการเคลื่อนที่ มาเขียนกราฟ 30 แรง(นิวตัน)
ความสัมพันธระหวางแรงกับการกระจัดไดดังรูป 20
จงหางานที่เกิดขึ้น เมือ่ การกระจัดเปน 40 เมตร 10
40 การกระจัด
1. 300 จูล 2. 400 จูล 0 10 20 30 (เมตร)
3. 500 จูล 4. 600 จูล (ขอ 2) –10
วิธที าํ

3
เII บทที่ 5 งานและพลังงาน
12. จากรูปวัตถุถูกกระทําดวยแรง F ทํามุม 37o
กับแนวระดับ ขนาดของแรง F เปลี่ยนแปลง
ตามการขจัดในแนวราบดังกราฟ จงหางาน
เนือ่ งจากแรง F ในการทําใหวัตถุเคลื่อนที่ได
30 เมตร (160 จูล)
วิธที าํ

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

ตอนที่ 2 กําลัง
กําลัง คือ อัตราสวนของงานตอเวลาทีใ่ ชทาํ งานนัน้
P = Wt
เมือ่ P คือ กําลัง (วัตต) W คือ งาน (จูล) t คือ เวลา (วินาที)
P = F⌡t S เพราะ W = FS
P = Fv เพราะ v = st
เมือ่ F คือ แรง (นิวตัน) S คือ ระยะทาง (เมตร)
t คือ เวลา (วินาที) v คือ อัตราเร็ว (เมตรตอวินาที)
13. เด็กคนหนึง่ ดึงถังน้าํ มวล 15 กก ขึ้นจากบอน้ําลึก 3 ม. ดวยอัตราเร็วสม่าํ เสมอในเวลา 6
วินาที จะใชกําลังเทาไร (75 วัตต)
วิธที าํ

4
k
II บทที่ 5 งานและพลังงาน
14. ในการยกกลองมวล 100 กิโลกรัม จากพื้น โดยใชกําลัง 1 กิโลวัตต เปนเวลา 10 วินาที
กลองนั้นจะขึ้นไปไดสูงจากพื้นกี่เมตร
1. 0.1 2. 1.0 3. 10.0 4. 20.0 (ขอ 3)
วิธที าํ

15. จงหากําลังของเครือ่ งจักรเครือ่ งหนึง่ ซึ่งกําลังยกวัตถุมวล 500 กิโลกรัม ขึน้ ในแนวดิง่ ดวย
ความเร็วคงที่ 1.6 เมตร/วินาที (8000 W)
วิธที าํ

16(มช 37) หัวรถจักรออกแรง 100 กิโลนิวตัน ลากขบวนรถใหเคลือ่ นดวยอัตราเร็ว 30 m/s


กําลังทีห่ วั รถจักรกระทําตอขบวนรถเปนเทาใด (ตอบในหนวยของเมกะวัตต) (3 MW)
วิธที าํ

17. รถอีแตนคันหนึง่ ใชเครือ่ งยนตซง่ึ มีกาํ ลัง 5 กิโลวัตต สามารถแลนไดเร็วสูงสุด 36


กิโลเมตร / ชัว่ โมง จงหาแรงฉุดสูงสุดของเครือ่ งยนต (500 N)
วิธที าํ

18(En 36) งานของแรง F ซึ่งกระทํากับวัตถุหนึ่ง มีความสัมพันธกับระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ s


ดังรูป วัตถุใชเวลา เคลือ่ นทีท่ ง้ั หมด 20 วินาที
ในการทํางานของแรง F นี้ กําลังเฉลี่ยของ
แรง F เปนเทาใด
1. 3.5 W 2. 9.0 W
3. 70 W 4 . 90 W (ขอ 1)
วิธที าํ

5

II บทที่ 5 งานและพลังงาน
ตอนที่ 3 พลังงาน
พลังงาน

พลังงานจลน พลังงานศักย
คือ พลังงานที่เกิด คือ พลังงานที่สะสม
จากการเคลื่อนที่ อยูภายในตัววัตถุ
ของวัตถุ
Ek = 12 mv2 พลังงานศักยโนมถวง พลังงานศักยยืดหยุน หากอยูท จ่ี ดุ สมดุล
S=0
Ep = mgh Ep = 12 k s2
เมื่อ Ek คือ พลังงานจลน (จูล) จะได Ep = 0 ดวย
m คือ มวล (กิโลกรัม) เมื่อ Ep คือ พลังงานศักยโนมถวง เมื่อ Ep คือ พลังงานศักยยดื หยุน
v คือ ความเร็วของวัตถุ (m/s) m คือ มวล (กิโลกรัม) k คือ คานิจสปริง
g คือ ความเรงเนื่องจาก s คือ ระยะหางจากจุดสมดุล
แรงโนมถวง (m/s2) k = Fs
h คือ ความสูง (m) เมื่อ F คือ แรงกระทํา
s คือ ระยะหางจากสมดุล ซึง่
เกิดจากแรง F
19(มช 28) รถยนตหนัก 2000 กิโลกรัม วิง่ ดวยความเร็ว 72 กิโลเมตรตอชัว่ โมง พลังงาน
จลนของรถคันนั้นมีคาเทากับกี่จูล
ก. 51.84 x105 ข. 105 ค. 2x105 จูล ง. 4x105 (ขอ ง)
วิธที าํ

20. นายฟกทิ้งขวดมวล 0.5 กิโลกรัม จากหลังคาบานครูใหญ ซึ่งสูง 12 เมตร ใหตกอยาง


อิสระ ถาขวดเหลาตกลงมาไดทาง 13 ของทางทั้งหมด จะมีพลังงานจลนเทาใด
1. 10 จูล 2. 20 จูล 3. 30 จูล 4. 40 จูล (ขอ 2)
วิธที าํ

6

II บทที่ 5 งานและพลังงาน
21. วัตถุมวล m มีพลังงานจลน E ถาวัตถุมวล 2m อัตราเร็วเทาเดิม จะมีพลังงานจลนเทาใด
1. E4 2. E2 3. E 4. 2E (ขอ 4)
วิธที าํ

22. วัตถุมวล m มีอตั ราเร็ว v มีพลังงานจลน E ถาวัตถุมวล 2m มีอตั ราเร็ว 2v จะมีพลัง


งานจลนเทาใด
1. E4 2. E2 3. 2E 4. 8E (ขอ 4)
วิธที าํ

23. ถาวัตถุอยูน ง่ิ ๆ พลังงานจลนของวัตถุนน้ั จะมีคา เทากับเทาใด ( 0 J)


วิธที าํ

24. มวล A ขนาด 10 กิโลกรัม อยูส งู จากพืน้ โลก 1 เมตร กับมวล B ขนาด 5 กิโลกรัม
อยูส งู จากพืน้ โลก 1.5 เมตร อัตราสวนของพลังงานศักยของ A ตอ B เปนเทาไร
1. 4 : 3 2. 3 : 4 3. 1 : 2 4. 2 : 1 (ขอ 1)
วิธที าํ

7
เII บทที่ 5 งานและพลังงาน
25. สปริงตัวหนึง่ มีความยาวปกติ 1 เมตร และมีคา นิจสปริง 100 นิวตัน/เมตร ตอมาถูกแรง
กระทําแลวทําใหยดื ออกและมีความยาวเปลีย่ นเปน 1.2 เมตร จงหาพลังงานศักยยดื หยุน
ขณะทีถ่ กู แรงนีก้ ระทํา ( 2 จูล )
วิธที าํ

26. สปริงตัวหนึง่ เมือ่ ออกแรงกระทํา 100 นิวตัน จะยืดได 0.5 เมตร หากเปลีย่ นแรงกระทํา
เปน 200 นิวตัน ขณะนัน้ สปริงมีพลังงานศักยยดื หยุน เทาใด (100 จูล)
วิธที าํ

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

ตอนที่ 4 กฏทรงพลังงาน
กฏทรงพลังงาน กลาววา “พลังงานไมมวี นั สูญหาย แตอาจเปลีย่ นจากรูปหนึง่ ไปเปนอีกรูปหนึง่ ได”
* สูตรทีใ่ ชคาํ นวณเกีย่ วกับกฏทรงพลังงาน *
E1 + W = E2
เมือ่ E1 , E2 คือ พลังงานทีม่ ตี อนแรก และ ตอนหลัง W คือ งานในระบบ

27. ปลอยวัตถุตกจากทีส่ งู จากพืน้ 20 เมตร เมือ่ วัตถุตกลงมาถึงพืน้ ดินจะมีความเร็วเทาใด


วิธที าํ ( 20 m/s)

8

II บทที่ 5 งานและพลังงาน
28. เมล็ดพืชถูกนกปลอยใหตกจากทีส่ งู จากพืน้ 80 เมตร เมือ่ ตกลงมาถึงพืน้ ดินจะมีความเร็ว
กี่กิโลเมตรตอชั่วโมง ( 144 )
วิธที าํ

29(En 31) เสาชิงชาสูง 20 เมตร ถาแกวงชิงชาขึ้นจนถึง 90o อัตราเร็วของชิงชาตอนผานจุด


ต่ําสุดจะเปนกี่กิโลเมตรตอชั่วโมง
1. 10 2. 20 3. 36 4. 72 (ขอ 4)
วิธที าํ

30. ยิงวัตถุจากหนาผาดวยความเร็ว 20 เมตร/วินาที


30o
ทํามุม 30o กับแนวระดับ ถาหากหนาผาอยูส งู
จากพืน้ ดิน 30 เมตร จงหาความเร็วของวัตถุท่ี 30 ม.
กระทบพืน้ ดิน (31.62 m/s)
วิธที าํ

9

II บทที่ 5 งานและพลังงาน
31. วัตถุมวล m ลืน่ ไถลตามรางคดโคงซึง่ ไมมี A m
ความเสียดทานโดยไมไถลออกนอกราง ถา
ขณะเริม่ ตนวัตถุอยูน ง่ิ ทีจ่ ดุ A ซึง่ อยูส งู 70 70 เมตร B m

เมตร จากพืน้ ดินทีจ่ ดุ B ซึง่ อยูส งู จากพืน้ 30 เมตร


C
30 เมตร วัตถุนจ้ี ะมีอตั ราเร็วกีเ่ มตร/วินาที
1. 17.3 2. 20.0 3. 28.2 4. 400.0 (ขอ 3.)
วิธที าํ

32. กลองมวล 1 กิโลกรัม เคลื่อนที่ดวยความเร็ว


2 เมตร/วินาที บนผิวราบที่ปราศจากความฝด
ไปชนกับปลายของสปริงทีเ่ คลือ่ นไปมาอยาง
อิสระ ถาคานิจของสปริงดังกลาวเทากับ 400 นิวตัน/เมตร อยากทราบวาสปริงจะถูกอัดตัว
เปนระยะทางกีเ่ มตร
1. 1 2. 1 3. 0.05 4. 0.1 (ขอ 4)
10 2 2
วิธที าํ

10
k
II บทที่ 5 งานและพลังงาน
33. วัตถุมวล 2 กิโลกรัม เคลือ่ นทีบ่ นพืน้ ราบลืน่ ดวยอัตราเร็ว 2 เมตร/วินาที เขาชนสปริง
ปรากฎวาสปริงหดสัน้ มากทีส่ ดุ 10 ซม. คานิจของสปริงมีคา กีน่ วิ ตัน/เมตร (800 N/m)
วิธที าํ

34. จากขอทีผ่ า นมา จงหาแรงมากทีส่ ดุ ทีส่ ปริงกระทําตอวัตถุ ( 80 นิวตัน)


วิธที าํ

35. จากขอทีผ่ า นมา เมือ่ สปริงหด 5 ซม. วัตถุจะมีความเร็วกีเ่ มตร/วินาที ( 3 m/s )


วิธที าํ

36(En 42/2) กดมวล 1 กิโลกรัม บนสปริงซึ่งตั้งในแนวดิ่ง ใหสปริงยุบตัวลงไป 10 เซนติเมตร


จากนัน้ ก็ปลอย ปรากฏวามวลถูกดีดใหลอยสูงขึ้นเปนระยะ 50 เซนติเมตร จากจุดที่ปลอย
จงหาคาคงตัวของสปริง
1. 8 N/m 2. 10 N/m 3. 800 N/m 4. 1000 N/m (ขอ 4)
วิธที าํ

11
hII บทที่ 5 งานและพลังงาน
37(En 41) จากการปลอยวัตถุมวล 5 กิโลกรัม ตกอิสระลงบนสปริงเบาที่วางตั้งอยูบนพื้น โดย
ระยะหางจากวัตถุถึงยอดของสปริงเทากับ 1.0 เมตร เมื่อวัตถุตกกระทบสปริง ปรากฏวาสปริง
หดสั้นลงจากเดิม 20 เซนติเมตร กอนดีดกลับ จงคํานวณคาคงตัวของสปริงโดยประมาณวา
ไมมีการสูญเสียพลังงาน
1. 2500 N/m 2. 3000 N/m 3. 3500 N/m 4. 4000 N/m (ขอ 2)
วิธที าํ

38. วัตถุเคลื่อนที่ดวยอัตราเร็ว 2 เมตร/วินาที ถูกแรงกระแรงทําใหเคลื่อนที่ดวยอัตราเร็ว 10


เมตร/วินาที ภายในระยะทาง 4 เมตร ถาวัตถุมีมวล 2 กิโลกรัม จงหา
ก. งานที่ทําได ข. แรงที่ออกไป ( 96 J , 24 N)
วิธที าํ

39. วัตถุเคลื่อนที่ดวยอัตราเร็ว 8 เมตร/วินาที ถูกแรงกระแรงทําใหเคลื่อนที่ดวยอัตราเร็ว 4 เมตร


/วินาที ภายในระยะทาง 2 เมตร ถาวัตถุมีมวล 2 กิโลกรัม จงหา
ก. งานที่ทําได ข. แรงที่ออกไป ( –48 J , –24 N)
วิธที าํ

12
เII บทที่ 5 งานและพลังงาน
40(En 31) รถยนตมมี วล 1000 กิโลกรัม กําลังเคลื่อนที่ดวยความเร็ว 36 กิโลเมตรตอชั่วโมง
เพือ่ จะใหรถหยุดใน 5 วินาที จะตองมีการทํางานกี่จูล
1. 0.5 x 103 2. 0.65 x 104 3. 0.5 x 105 J 4. 0.65 x 106 (ขอ 3)
วิธที าํ

41. กลองใบหนึง่ มีมวล 20 กิโลกรัม วางอยูบ นโตะซึง่ สูง


จากพืน้ หอง 1 เมตร ถายกกลองใบนีข้ น้ึ ไปวางบนชัน้
ซึง่ สูงจากพืน้ หอง 3 เมตร จงคํานวณงานทีใ่ ชในการยก
ถาเสนทางของการยกเฉียงดังรูป (400 จูล )
วิธที าํ

42. นักเรียนคนหนึง่ มวล 40 กิโลกรัม เดินขึ้นบันไดดังรูป


เมื่อถึงจุด A นักเรียนตองทํางานอยางนอยที่สุดเทาไร
1. 200 จูล 2. 2000 จูล
3. 4000 จูล 4. 2000 3 จูล (ขอ 2)
วิธที าํ

13
III บทที่ 5 งานและพลังงาน
43(มช 36) สปริงอันหนึ่งเมื่อออกแรงกด 100 นิวตัน จะหดเขาไป 0.75 เมตร จงหางานเปนจูล
ที่ทําเมื่อดึงใหสปริงยืดออก 0.30 เมตร จากสภาพสมดุลปกติ
1. 6.0 2. 7.5 3. 15.0 4. 22.5 (ขอ 1)
วิธที าํ

44. แทงวัตถุมวล 4 kg ไถลลงมาตามรางสวนโคงของวงกลม


รัศมีความโคง 2.5 m ดังรูป เมือ่ ถึงสวนลางสุดของสวน
โคง แทงวัตถุมคี วามเร็ว 4 m/s จงหางานในการไถลลง
มาตามรางของแทงวัตถุเนือ่ งจากความฝด ( –68 จูล)
วิธที าํ

45. หินกอนหนึง่ มวล 20 กิโลกรัม ไถลลงตามเนินดังรูป A


ถากอนหินมีอตั ราเร็ว 1 เมตร/วินาที ทีจ่ ดุ A และ 4
4m
เมตร/วินาทีทจ่ี ดุ B จงหางานของแรงเสียดทานทีก่ ระทํา
ตอกอนหิน ในชวงการเคลือ่ นทีจ่ าก A ไป B 5m B
1. 320 จูล 2. 460 จูล 3. 650 จูล 4. 810 จูล (ขอ 3.)
วิธที าํ

14

II บทที่ 5 งานและพลังงาน
46. จากรูป วัตถุเคลือ่ นตามรางโคง รัศมี R ถาวัตถุหยุดนิง่
อยูท ่ี A และไถลลงมายังจุด B เกิดงานเนือ่ งจากความฝด
ระหวางพืน้ กับวัตถุ 2.75 จูล จงหาความเร็วของวัตถุท่ี
จุด B เปนกีเ่ มตรตอวินาที (3 m/s)
กําหนด R = 1 เมตร และวัตถุมมี วล = 0.5 kg
วิธที าํ

47. วัตถุมวล 2 กิโลกรัม มีอตั ราเร็ว 1 เมตร/วินาที


A
ที่ จุด A และ 6 เมตร/วินาที ที่ จุด B ถาระยะ
ทางโคงจาก A ถึง B เทากับ 15 เมตร แรง
5m
เสียดทานเฉลีย่ ทีก่ ระทําบนกลองเปนเทาไร
B
1. 3 นิวตัน 2. 4 นิวตัน 1m
3. 5 นิวตัน 4. 6 นิวตัน (ขอ 1.)
วิธที าํ

15
N
II บทที่ 5 งานและพลังงาน
48(En 43/1) ยิงลูกปนมวล 12 กรัม ไปยังแทงไมซง่ึ ตรึงอยูก บั ที่ ปรากฏวาลูกปนฝงเขาไปใน
เนือ้ ไมเปนระยะ 5 เซนติเมตร ถาความเร็วของลูกปนคือ 200 เมตรตอวินาที จงหาแรง
ตานทานเฉลีย่ ของเนือ้ ไมตอ ลูกปน
1. 4800 N 2. 6000 N 3. 9600 N 4. 12000 N (ขอ 1)
วิธที าํ

49. วัตถุมวล 10 กิโลกรัม ตกจากทีส่ งู 1.25 เมตร ลงกระทบพืน้ ทราย พบวาจมลงไปใน


ทราย 50 เซนติเมตร แลวหยุด จงหาแรงตานเฉลีย่ ของทรายกระทําตอวัตถุในหนวยนิวตัน
ก. 250 ข. 300 ค. 350 ง. 400 (ขอ ค)
วิธที าํ

50. วัตถุมวล 1 กิโลกรัม ตกจากทีส่ งู 5 เมตร ลงบนพืน้ ดิน ถาดินมีแรงตานทานเฉลีย่ กระทํา


ตอวัตถุ 510 นิวตัน วัตถุจะลมลงในดินลึกกีเ่ ซนติเมตร
1. 1 2. 5 3. 10 4. 20 (ขอ 3)
วิธที าํ

16
II บทที่ 5 งานและพลังงาน
51. ผลักวัตถุมวล 1 กิโลกรัม ใหไถลไปตามพืน้ ราบขรุขระดวยความเร็ว 2 m/s ถา ส.ป.ส.
ความเสียดทานของพืน้ กับวัตถุมคี า 0.2 ใหหาวาวัตถุไปไดไกลเทาไร
ก. 1 เมตร ข. 2.13 เมตร ค. 3 เมตร ง. 4 เมตร (ขอ ก)
วิธที าํ

52(En 36) กลองใบหนึง่ มีมวล 2 กิโลกรัม ไถลบนพืน้ ราบดวยความเร็วตน 2 เมตร/วินาที


เมือ่ ไถลได 1 เมตร ก็หยุดนิง่ สัมประสิทธิค์ วามเสียดทานระหวางกลองและพืน้ เปนเทาใด
1. 0.4 2. 0.3 3. 0.2 4. 0.1 (ขอ 3)
วิธที าํ

53(En 35) รถยนตคนั หนึง่ มีมวล 1000 kg สามารถเรงอัตราเร็วจาก 10 m/s เปน 20 m/s
โดยอัตราเรงคงทีใ่ นเวลา 5.0 วินาที กําลังเฉลีย่ เครือ่ งยนตทใ่ี ชอยางนอยเปนเทาใด
1. 10.0 kW 2. 20.0 kW 3. 30.0 kW 4. 40.0 kW (ขอ 3)
วิธที าํ

17
พ่
เII บทที่ 5 งานและพลังงาน
54. ใชปน จัน่ ยกวัตถุมวล 200 กิโลกรัม ขณะวัตถุหยุดนิง่ หลังจากนัน้ 20 วินาที พบวาวัตถุ
อยูส งู จากตําแหนงเดิม 20 เมตร และกําลังเคลือ่ นทีด่ ว ยอัตราเร็ว 2 เมตรตอวินาที กําลัง
ของปน จัน่ มีคา กีว่ ตั ต (2020)
วิธที าํ

55. เครือ่ งสูบน้าํ สูบน้าํ มวล 3900 kg ขึน้ จากบอลึก 10 m ในเวลา 1 ชัว่ โมง แลวฉีดน้าํ ออกไป
ดวยอัตราเร็ว 20 m/s จงหากําลังของเครือ่ งสูบน้าํ นี้ (325 วัตต)
วิธที าํ

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

ตอนที่ 5 เครือ่ งกล


56. ใชเครือ่ งผอนแรงแบบรอกระบบหนึง่ ชวยยกน้าํ หนัก 30 นิวตัน จะใชแรงเพียง 6 นิวตัน
แตตอ งใชแรงนัน้ ดึงเปนระยะทางถึง 8 เซนติเมตร จึงจะยกน้าํ หนักขึน้ ไดสงู เพียง 1
เซนติเมตร จงหาประสิทธิภาพของเครือ่ งกลนี้ (62.5%)
วิธที าํ

18

II บทที่ 5 งานและพลังงาน
57. จากรูป จงหาประสิทธิภาพของรอกมีคา เทาใด
วิธที าํ (80% )

40 kg
500 N

58(มช 41) ถาใชพน้ื เอียงผิวเกลีย้ ง ดังรูป เปนเครือ่ งกล


อันหนึง่ ประสิทธิภาพของเครือ่ งกลอันนี้ มีคา เทาใด
1. 75 % 2. 67 %
3. 50 % 4. 40 % (ขอ 1.)
วิธที าํ

59. จากรูปออกแรง 20 นิวตัน ฉุดวัตถุมวล 3 กิโลกรัม


20 N
ขึน้ พืน้ เอียงซึง่ ทํามุม 37o กับแนวระดับ จงหาประ
สิทธิภาพของพืน้ เอียงนี้ (90%)
วิธที าํ 37o

19
เII บทที่ 5 งานและพลังงาน
60. เครือ่ งกลแบบสกรูมแี ขนหมุนยาว 50 เซนติเมตร และมีระยะเกลียว 3 มิลลิเมตร ถาออก
แรง หมุนสกรู 3 นิวตัน จะสามารถยกน้าํ หนักไดมากทีส่ ดุ 2200 นวิ ตัน จงหาประสิทธิ–
ภาพของเครือ่ งกลนี้ ( 70% )
วิธที าํ

61. เครือ่ งกลแบบสกรูมแี ขนหมุนยาว 1 เมตร และมีระยะเกลียว 1 เซนติเมตร ถาออกแรง


หมุนสกรู 5 นิวตัน จะสามารถยกน้าํ หนักไดมากทีส่ ดุ เทาใด ถาประสิทธิภาพของเครือ่ ง
กล 50% (1570.8 N)
วิธที าํ

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

20
b
II บทที่ 6 โมเมนตัม และ การดล
ฟ สิ ก ส บทที่ 6 โมเมนตั ม และการชน
ตอนที่ 1 การดล และ แรงดล
โมเมนตัม คือ ผลคูณระหวางมวลกับความเร็วของมวลนั้น
P = m ⋅v
เมือ่ m คือ มวล (kg) v คือ ความเร็วของมวลนัน้ (m/s) P คือ โมเมนตัม (kg⋅m/s)
1. นักรักบี้ A มีมวล 70 กิโลกรัม วิง่ ดวยความเร็ว 8 เมตร/วินาที นักรักบี้ B มีมวล 60
กิโลกรัม ตองวิง่ ดวยความเร็วเทาไรจึงจะมีโมเมนตัมเทากับนักรักบี้ A
1. 8.3 เมตร/วินาที 2. 9 เมตร/วินาที
3. 9.3 เมตร/วินาที 4. 10 เมตร/วินาที (ขอ 3)
วิธที าํ

พิจารณา ΔP = P2 – P1
ΔP = mv – mu
เมือ่ ΔP = โมเมนตัมที่เปลี่ยน
= การดล (kg⋅m/s)
v = ความเร็วปลาย (m/s)
u = ความเร็วตน (m/s)
F = ΔP
Δt
F = mv - mu
Δt
เมือ่ F = แรงดล , Δt = เวลา (s)
36
B
II บทที่ 6 โมเมนตัม และ การดล
2. ใชฆอ นมวล 0.5 กิโลกรัม ตอกตะปู ในขณะที่ฆอนใกลกระทบตะปูนั้นมีขนาดความเร็ว
8 เมตร/วินาที และหลังจากกระทบหัวตะปูแลวฆอนสะทอนกลับดวยความเร็วเทาเดิม ถา
ชวงเวลาที่ฆอนกระทบหัวตะปูเปน 1 มิลลิวินาที จงหาคาการดลและแรงดลที่หัวตะปู
กระทําตอฆอน (–8 kg⋅⋅m/s , –8000 นิวตัน )
วิธที าํ

3. นักบอลแตะลูกบอลมวล 0.5 กิโลกรัม ทําใหลกู บอลเคลือ่ นทีด่ ว ยอัตราเร็ว 20 เมตรตอ


วินาที เขาชนฝาผนังในแนวตัง้ ฉาก แลวสะทอนกลับออกมาในแนวเดิมดวยอัตราเร็ว 20
เมตรตอวินาทีเทากัน จงหาการดลของลูกบอล (20 kg . m/s)
วิธที าํ

4(En 44/1) ลูกบอลมีมวล 0.5 กิโลกรัม เขาชนผนังในแนวตัง้ ฉากดวยอัตราเร็ว 10 เมตร /


วินาที และสะทอนกลับในแนวตั้งฉากกับฝาผนังดวยอัตราเร็วเดิม ถาชวงเวลาที่ลูกบอล
กระทบผนังเทากับ 5 x 10–3 วินาที จงคํานวณแรงเฉลีย่ ผนังทําตอลูกบอล
1. 2x103 N 2. 2.5x103 N 3. 4x103 N 4. 5x103 N (ขอ 1)
วิธที าํ

37
dII บทที่ 6 โมเมนตัม และ การดล
5(En 42/1) กระสุนปนมวล 20 กรัม เคลือ่ นทีด่ ว ยความเร็ว 500 เมตรตอวินาที เขาไปใน
กระสอบทรายใชเวลา 1.0 มิลลิวินาที กระสุนจึงหยุด ถาแรงตานทานของทรายที่กระทํา
ตอกระสุนมีคาคงตัวแรงตานทานนี้มีคาเทาใด หนวยเปนกิโลนิวตัน (10 กิโลนิวตัน)
วิธที าํ

6(En 41/2) ลูกฟุตบอลมวล 0.5 กิโลกรัม เคลือ่ นทีด่ ว ยความเร็ว 20 เมตรตอวินาที ถาผูรักษา
ประตูใชมือรับลูกบอลใหหยุดนิ่ง ภายในเวลา 0.04 วินาที แรงเฉลี่ยที่มือกระทําตอลูกบอล
มีขนาดเทาใด
1. 100 N 2. 250 N 3. 500 N 4. 750 N (ขอ 2)
วิธที าํ

7. รถคันหนึง่ เริม่ เบรกขณะมีความเร็ว 20 m/s ถารถวิ่งบนถนนระดับราบที่มี ส.ป.ส. ของความ


เสียดทาน µ = 0.50 รถตองใชเวลาเบรกนานเทาไรจึงหยุด ใช g = 10 m/s2
1. 2 วินาที 2. 3 วินาที 3. 4 วินาที 4. 5 วินาที (ขอ 3)
วิธที าํ

38

II บทที่ 6 โมเมนตัม และ การดล
8. กลองใบหนึ่งอยูบนรถ ซึ่งกําลังเคลื่อนที่ในแนวระดับดวยความเร็ว 30 เมตร/วินที รถจะ
ตองเบรกจนหยุดนิง่ ในเวลานอยทีส่ ดุ เทาไร กลองจึงจะไมไถลไปบนรถ ถาสัมประสิทธิ์
ความเสียดทานระหวางกลองกับรถเปน 0.5 (6 วินาที)
วิธที าํ

9. ปลอยลูกบอลมวล 0.4 กิโลกรัม จากที่สูง 5 เมตร ตกลงในแนวดิ่ง กระทบพื้นนาน 0.02


วินาที ปรากฎวาลูกบอลกระดอนขึ้นสูง 3.2 เมตร จงหา
ก. การดลของลูกบอล ข. แรงดลทีก่ ระทําตอลูกบอล (7.2 N.S , 360 N)
วิธที าํ

39
.II บทที่ 6 โมเมนตัม และ การดล
10. ปลอยลูกบอลมวล 0.4 กิโลกรัม จากที่สูง 20 เมตร ลงกระทบพื้น ปรากฏวาลูกบอล
กระดอนขึ้นจากพื้นไดสูงสุด 5 เมตร ถาเวลาตั้งแตเริ่มปลอยลูกบอลจนกระทั่งลูกบอลกระ
ดอนขึ้นมาถึงตําแหนงสูงสุดเทากับ 5 วินาที จงหาแรงดลเฉลี่ยที่พื้นกระทําตอลูกบอลนี้
1. ขนาด 12 N ทิศทางลงสูพื้น 2. ขนาด 6 N ทิศทางขึ้นจากพื้น
3. ขนาด 4 N ทิศทางลงสูพื้น 4. ขนาด 2.4 N ทิศทางขึ้นจากพื้น (ขอ 2)
วิธที าํ

ควรทราบเพิ่มเติม พื้นที่ใตกราฟ F&t = การดล


11(En 42/2) ถาแรงกระทํากับวัตถุหนึ่ง(ดังรูป)
ในชวงเวลาที่มีแรงกระทํานั้นจะทําใหวัตถุ
เปลี่ยนโมเมนตัมไปเทาใด
1. 4.0 kg.m/s 2. 6.0 kg.m/s
3. 9.0 kg/m.s 4. 12.0 kg.m/s (ขอ 4)
วิธที าํ

40
เII บทที่ 6 โมเมนตัม และ การดล
12. ลูกบอลเคลื่อนที่ในแนวระดับ ชายคนหนึ่งใชไมตี
ลูกบอลนี้สวนออกมาในทิศตรงกันขาม แรงที่กระทํา
ตอลูกบอลกับเวลาที่ลูกบอลกระทบไมตี เขียนแทน
ไดดวยกราฟนี้
ก. การดลมีคาเทาใด (1 N.S)
ข. ถาลูกบอลมีมวล 25 กรัม และเคลื่อนที่เขา
ดวยความเร็วตน 25 m/s ลูกบอลจะมีความเร็วเทาใดหลังจากถูกไมตี (–15 m/s)
วิธที าํ

13(En 37) ลูกบอลมวล 0.4 kg เคลือ่ นทีด่ ว ย


อัตราเร็ว 10 m/s ในแนวระดับ ถูกตีสวน
ดวยไม กราฟระหวางแรงกับเวลาในขณะ
กระทบกันแสดงดังรูป อัตราเร็วหลังถูกตี
ของลูกบอลเปนกีเ่ มตรตอวินาที (27.5 m/s)
วิธที าํ

41

II บทที่ 6 โมเมนตัม และ การดล
14(En 36) นักกีฬาเตะลูกบอลมวล 200 กรัม อัดกําแพงแลวลูกบอลสะทอนสวนออกมาดวย
อัตราเร็ว 5 m/s ซึ่งเทากับอัตราเร็วเดิม ถาแรงที่กําแพงกระทําตอลูกบอลเปน 40 นิวตัน
ลูกบอลกระทบกําแพงอยูนานเทาใด
1. 0.025 s 2. 0.05 s 3. 0.25 s 4. 0.5 s (ขอ 2)
วิธที าํ

15. จากรูปลูกเทนนิสมวล m ตกกระทบพื้น แลวกระดอนขึน้ โดยมีขนาดของความเร็วคงที่


ขอใดคือโมเมนตัมของลูกเทนนิสทีเ่ ปลีย่ นไป
1. mu 2 2. 2 mu
3. mu 4. 12 mu (ขอ 1)
2
วิธที าํ

16. จากขอที่ผานมา ถาเวลาที่ชนพื้นคือ 0.2 วินาที แรงดลมีคาเทาใด ( mu0.2 2 )


วิธที าํ

!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

42

II บทที่ 6 โมเมนตัม และ การดล

ตอนที่ 2 กฏทรงโมเมนตัม (1)


กฏทรงโมเมนตัม กลาววา หากแรงลัพธที่กระทําตอวัตถุมีคาเปนศูนย แลวจะไดวา
ผลรวมของโมเมนตัมกอน = ผลรวมโมเมนตัมตอนหลัง
ΣPกอน = ΣPหลัง
17. วัตถุ 2 กอน มวล 2 กิโลกรัม และ 4 กิโลกรัม ตามลําดับ ถากอนแรกเคลื่อนที่ไปทาง
ทิศตะวันออกดวยความเร็ว 5 เมตร/วินาที พุงเขาชนกอนที่ 2 ซึ่งอยูนิ่งใหเคลื่อนที่ไปทาง
ทิศตะวันออกดวยความเร็ว 2 เมตร/วินาที แลวกอนแรกจะเหลือความเร็วเทาใด (1 m/s )
วิธที าํ

18. นักสเกต 2 คน มวล 50 กิโลกรัม และ 60 กิโลกรัม ตามลําดับ กําลังเลนสเกตบนลาน


น้าํ แข็ง ถาคนแรกเคลือ่ นทีไ่ ปทางทิศตะวันออก ดวยความเร็ว 5 เมตร/วินาที พุงเขาชน
คนที่ 2 ซึ่งยืนอยูนิ่งใหเคลื่อนที่ไปทางทิศตะวันออกดวยความเร็ว 3 เมตร/วินาที แลวคน
แรกจะเคลือ่ นทีด่ ว ยความเร็วเทาใด (1.4 m/s)
วิธที าํ

43

II บทที่ 6 โมเมนตัม และ การดล
19. เอและบีเปนนักสเกตมีมวล 60 และ 40 กิโลกรัม วิ่งสวนทางกันบนพื้นที่ลื่นมาก ดวย
ความเร็ว 10 และ 5 เมตร/วินาที ตามลําดับ พุงเขาชนกัน หลังชนเอมีความเร็ว 2 เมตร/
วินาทีในทิศทางเดิม จงหาความเร็วหลังชนของ บี ( 7 m/s)
วิธที าํ

20. มวล m เคลือ่ นทีด่ ว ยความเร็ว 16 m/s เขาชนกับมวล 3m ที่หยุดนิ่ง หลังชนพบวามวล m


กระเด็นกลับดวยความเร็ว 5 m/s ความเร็วหลังชนของมวล 3m มีขนาดกี่ m/s (7 m/s)
วิธที าํ

21. วัตถุมวล 2 x 104 กิโลกรัม เคลือ่ นทีไ่ ปตามรางดวยความเร็ว 2 m/s วิง่ เขาชนวัตถุอกี
กอนมวล 3 x 104 กิโลกรัม ซึ่งอยูนิ่งๆ หลังชนแลววัตถุทั้งสองวิ่งไปพรอมกัน จงหา
ความเร็วของวัตถุทั้งสองกอนหลังชน ( 0.8 m/s)
วิธที าํ

44
แ II บทที่ 6 โมเมนตัม และ การดล
22. รถสินคามวล 104 กิโลกรัม เคลือ่ นทีไ่ ปตามรางดวยความเร็ว 2 เมตร/วินาที วิ่งเขาชน
รถสินคาอีกคันหนึ่งมวล 2 x 104 กิโลกรัม และจอดอยูน ง่ิ หลังชนแลวรถทั้งสองวิ่งไป
พรอมกัน จงหาความเร็วของรถทั้งสองคันหลังชน (0.67 m/s)
วิธที าํ

23. รถยนต A มวล 1500 กิโลกรัม และรถยนต B มวล 1000 กิโลกรัม รถยนต B แลน
ตามหลังรถยนต A ดวยความเร็วคงที่เทากับ 2 และ 1 เมตร/วินาที ตามลําดับ ในระหวาง
นัน้ มีรถยนต C มวล 1500 กิโลกรัม วิ่งสวนทางกันมาดวยความเร็วคงที่ เทากับ 5 เมตร/
วินาที ถารถเกิดชนพรอมกันทั้งสามคันเปนผลใหรถทั้งหมดติดกันไปหลังชน สมมติวาไมมี
ความเสียดทานระหวางพื้นถนนกับลอรถยนต จงคํานวณหาความเร็วและทิศทางหลังชนกัน
2 m/s 1 m/s 5 m/s
B A C
1000 kg 1500 kg 1500 kg

1. 1 m/s ไปทางซาย 2. 1 m/s ไปทางขวา


3. 2 m/s ไปทางซาย 4. 2 m/s ไปทางขวา (ขอ 1)
วิธที าํ

45
W
II บทที่ 6 โมเมนตัม และ การดล
24(มช 37) วัตถุมวล 10 กิโลกรัม เคลือ่ นไปทางขวาตามพืน้ โตะซึง่ ไรความเสียดทานดวยอัตรา
เร็ว 50 เมตร/วินาที วัตถุนี้ชนในแนวตรงกับวัตถุอีกชิ้นหนึ่งซึ่งกําลังเคลื่อนที่มาทางซาย
ดวยอัตราเร็ว 30 เมตร/วินาที ถาหลังจากการชนวัตถุทั้งสองติดไปดวยกันและเคลื่อนที่ไป
ทางขวาดวยอัตราเร็ว 20 เมตร/วินาที วัตถุกอนที่สองมีมวลกี่กิโลกรัม
1. 12 2. 8 3. 6 4. 4 (ขอ 3)
วิธที าํ

25(มช 37) จากขอที่ผานมา จงหาพลังงานจลนที่สูญเสียไป (12000 จูล)


วิธที าํ

26. วัตถุมวล 10 กิโลกรัม เคลือ่ นทีด่ ว ยความเร็ว 6 เมตร/วินาที เขาชนวัตถุอกี กอนหนึง่ มวล
20 กิโลกรัม ซึ่งอยูนิ่งวัตถุกอนแรกกระเด็นกลับดวยความเร็ว 2 เมตร/วินาที จงหาพลังงาน
จลนของระบบเปลี่ยนไปเทาไร
1. 0 2. 90 จูล 3. 180 จูล 4. 360 จูล (ขอ 1)
วิธที าํ

46
เII บทที่ 6 โมเมนตัม และ การดล
27(En 29) ลูกปนมวล 3 กรัม มีความเร็ว 700 เมตรตอวินาที วิ่งทะลุผานแทงไมมวล 600
กรัม เกิดการดลทําใหแทงไมมีความเร็ว 2 เมตรตอวินาที จงหาความเร็วลูกปนหลังทะลุ
ก. 200 เมตร/วินาที ข. 300 เมตร/วินาที
ค. 400 เมตร/วินาที ง. 500 เมตร/วินาที (ขอ ข)
วิธที าํ

28. ยิงลูกปนมวล 0.002 กิโลกรัม ออกไปดวยความเร็ว 1000 เมตร/วินาที ถาตัวปนมีมวล 2


กิโลกรัม อยากทราบวาปนจะถอยหลังดวยความเร็วเทาใด ( 1 m/s )
วิธที าํ

29. ลูกปนมวล 10 กรัม ถูกยิงออกจากปากกระบอกปนดวยความเร็ว 1500 เมตร/วินาที


ตามกฏทรงโมเมนตัม ปนจะเคลื่อนที่ตรงขามกับลูกปนถามวา เราตองออกแรงเฉลีย่ เทาไร
จึงจะบังคับใหปนหยุดในเวลา 0.1 วินาที
1. 100 นิวตัน 2. 150 นิวตัน 3. 200 นิวตัน 4. 250 นิวตัน (ขอ 2 )
วิธที าํ

47
•II บทที่ 6 โมเมนตัม และ การดล
30. นักลาสัตวยิงลูกปนมวล 60 กรัม ออกไปดวยความเร็ว 900 m/s ถาเสือมีมวล 40 kg
กระโดดตะปบเขาดวยความเร็ว 10 m/s เขาจะตองยิงกระสุนกี่นัดจึงจะหยุดเสือนั้นได
โดยยิงแลวลูกปนฝงในเสือ (8 นัด)
วิธที าํ

31. วัตถุสองกอนมวล 2 และ 4 กิโลกรัม วางอยูนิ่งๆ โดยมี


สปริงอัดอยูระหวางกลาง เมือ่ ปลอยใหเกิดการเคลือ่ นที่
4 kg
มวล 2 กิโลกรัม จะเคลือ่ นทีอ่ อกไปดวยความเร็ว 10 2 kg
เมตร/วินาที จงหาวามวล 4 กิโลกรัมจะเคลื่อนที่ออกไป
ดวยความเร็วเทาใด (5 m/s )
วิธที าํ

32(มช 30) รถสองคันมีมวล 1.0 กิโลกรัม และ


มีมวล M ผูกติดกันดวยสปริงดังรูป เมือ่ ออก
แรงดันรถทัง้ สองอัดสปริงเขาหากันแลวปลอย
ทันที ปรากฎวารถคันที่มีมวล M มีอตั ราเร็วเทากับ 14 ของอัตราเร็วของรถคันทีม่ มี วล
1.0 กิโลกรัม มวล M มีคา
1. 2.0 กิโลกรัม 2. 4.0 กิโลกรัม
3. 8 กิโลกรัม 4. 16 กิโลกรัม (ขอ 2)
48

II บทที่ 6 โมเมนตัม และ การดล
วิธที าํ

33. รถ A ติดสปริงซึ่งมีคานิจ 80 นิวตันตอเมตร ยาว 0.1 เมตร นํารถ B มาอัดที่ปลายสปริง


อีกขางหนึ่งจนระยะหางระหวางทั้งสองเปน 0.05 เมตร แลวปลอย วัดอัตราเร็วของรถ A
และ B ได 2 และ 3 เมตร/วินาที ตามลําดับ จงหาอัตราสวนมวลของรถ A และ B
1 1
1. (23 )2 2. (23 )2 3. 23 4. 32 (ขอ 4)
วิธที าํ

34. ชาย 2 คน มวล 50 และ 100 กิโลกรัม ยืนอยูบนลานน้ําแข็งราบและลื่น ผูกติดกันดวย


เชือกเบายาว 9 เมตร เมื่อชายมวล 100 กิโลกรัม ดึงเชือกเขาหาตัวเอง เขาจะเลื่อนไปชน
กัน ณ ตําแหนงทีห่ า งจากตําแหนงเดิมของเขาเปนระยะเทาใด
1. 0 เมตร 2. 3 เมตร 3. 4.5 เมตร 4. 6 เมตร (ขอ 2)
วิธที าํ

49

II บทที่ 6 โมเมนตัม และ การดล
35(En 39) เมล็ดพืชชนิดหนึ่งขณะกําลังตกลงสูพื้นดวยความเร็วตามแนวดิ่งขนาด V0 เกิดการ
ดีดตัวแยกออกจากกันของเมล็ดเปนสองสวนเทากัน สวนหนึง่ ของเมล็ดมีความเร็วขนาด V0
ในทิศทางเคลื่อนที่ขึ้นอีกสวนหนึ่งจะมีขนาดความเร็วเทาใด
1. 12 V0 2. 23 V0 3. 2V0 4 . 3 V0 (ขอ 4)
วิธที าํ

36. จรวดลําหนึ่งมีมวลทั้งหมด 7500 กิโลกรัม เคลื่อนที่ในอวกาศ (โดยปราศจากแรงโนมถวง)


ไปทางขวามือ ดวยอัตราเร็ว 150 เมตร/วินาที ทันใดนัน้ ก็เกิดระเบิดอยางรุนแรง ทําใหจรวด
ลํานี้แตกออกเปนสองสวนโดยมวลไมสูญสลาย ภายหลังจากระเบิดสวนที่หนึ่งมีมวล 4000
กิโลกรัม เคลื่อนที่ไปทางขวาดวยความเร็ว 250 เมตร/วินาที อยากทราบวาสวนที่สองจะมี
อัตราเร็วเทาใด และมีทิศทางไปทางไหน
1. 35.7 เมตร/วินาที ไปทางขวา 2. 132 เมตร/วินาที ไปทางซาย
3. 250 เมตร/วินาที ไปทางซาย 4. 0 (ขอ 1)
วิธที าํ

50

II บทที่ 6 โมเมนตัม และ การดล
37(En 41/2) วัตถุ A มีมวล 8 กิโลกรัม เคลื่อนที่ไปทางแกน +x ดวยความเร็ว 10 เมตรตอ
วินาที ไดชนกับวัตถุ B มวล 10 กิโลกรัม ซึ่งกําลังเคลื่อนที่ไปทางแกน +Y ดวย
ความเร็ว 6 เมตรตอวินาที ภายหลังการชนวัตถุทั้งสองเคลื่อนที่ติดกันไป จงหาความเร็ว
ลัพธภายหลังการชนดังกลาว
1. 3.3 m/s 2. 4.0 m/s 3. 5.6 m/s 4. 8.0 m/s (ขอ 3)
วิธที าํ

38. วัตถุ A มวล 40 กิโลกรัม ลืน่ ไถลมาจากทิศตะวันออกดวยอัตราเร็ว 10 เมตรตอวินาที


และวัตถุ B มวล 60 กิโลกรัม ลืน่ ไถลมาจากทิศเหนือดวยอัตราเร็ว 5 เมตรตอวินาที
มาชนกันแลวเคลื่อนที่ติดไปดวยกัน อัตราเร็วของวัตถุทง้ั สองหลังเกิดการชนกันเปนเทาไร
(กําหนดใหพื้นไมมีความฝด) (5 m/s)
วิธที าํ

51

II บทที่ 6 โมเมนตัม และ การดล
39. มวลสองกอนวิ่งเขาชนกันดวยความเร็วขนาดเทากัน ดังรูป
ถามวลสองกอนเทากัน ความเร็วของจุดศูนยกลางมวลของ
ระบบจะเปนเทาไร
1. 2u 2. u2
3. u 2 4. u 2 2 (ขอ 4)
วิธที าํ

40. จากขอที่ผานมา ความเร็วของจุดศูนยกลางมวลของระบบที่ทิศทํามุมกับแกน x เทาไร


1. 30o 2. 45o 3. 60o 4. 90o (ขอ 2)
วิธที าํ

41. จากขอทีผ่ า นมา หลังจากที่มวลทั้งสองชนกันแลวโมเมนตัมของจุดศูนยกลางมวลจะเปนเทาไร


1. mu 2 2. 2mu 3. mu 4. mu
2 (ขอ 1)
2
วิธที าํ

52

II บทที่ 6 โมเมนตัม และ การดล
42. ลูกปนมวล 5 กรัม ถูกยิงดวยความเร็ว 1000 เมตร/วินาที เขาไปฝงในแทงไมมวล 5
กิโลกรัม ทีว่ างอยูบ นโตะ ถาคาสัมประสิทธิ์ความเสียดทานระหวางแทงไมกับโตะโดย
เฉลี่ยมีคาเทากับ 0. 25 แทงไมจะไถลไปไดไกลเทาไร
1. 0.20 เมตร 2. 0.25 เมตร 3. 0.50 เมตร 4 . 1.25 เมตร ( 1.)
วิธที าํ

43(En 29) ลูกเหล็กทรงกลมมวล 1 กิโลกรัม กลิ้งเขาชนแทงไมหนัก 4 กิโลกรัม ที่วางอยูบน


พืน้ ดวยความเร็ว 20 เมตรตอวินาที ถาสัมประสิทธิ์ของแรงเสียดทานระหวางผิวของแทงไม
กับพื้นเทากับ 0.2 หลังจากชนแลวลูกเหล็กหยุดนิ่งกับที่ แทงไมจะไถลไปไดไกลเทาไร
ก. 1.25 เมตร ข. 6.25 เมตร ค. 50.26 เมตร ง . 250 เมตร (ขอ ข)
วิธที าํ

53

II บทที่ 6 โมเมนตัม และ การดล
44(En 41/2) รถยนตคนั หนึง่ มวล 2000 กิโลกรัม แลนดวยความเร็ว 10 เมตรตอวินาที แลวชน
กับรถยนตอกี คันหนึง่ มวล 3000 กิโลกรัม ซึง่ จอดอยูน ง่ิ ภายหลังการชนรถทั้งสองติดกัน
และไถลไปไดไกล 5 เมตร แลวหยุด จงหาขนาดของแรงเสียดทานทีพ่ น้ื ถนนกระทําตอรถ
ทั้งสองในหนวยนิวตัน (8000 นิวตัน)
วิธที าํ

45(En 34) ชางไมใชฆอนมวล 200 กรัม ตีตะปูมวล 2 กรัม ในแนวราบ โดยความเร็วของ


ฆอนกอนกระทบตะปูเปน 10 เมตร/วินาที และฆอนไมกระดอนจากหัวตะปู ถาเนื้อไมมี
แรงตานทานเฉลีย่ 1000 นิวตัน ตะปูเจาะลึกในเนือ้ ไมกเ่ี ซนติเมตร
1. 0.1 2. 0.2 3. 1.0 4. 2.0 (ขอ 3)
วิธที าํ

54

II บทที่ 6 โมเมนตัม และ การดล
46(En 32) ลูกปนมวล 4 กรัม มีความเร็ว 1000 เมตรตอวินาที ยิงทะลุแผนไมหนัก 800 กรัม
ที่หอยแขวนไวดวยเชือกยาว หลังจากทะลุแผนไมลูกปนมีความเร็ว 400 เมตรตอวินาที
จงหาวาแทงไมจะแกวงขึ้นไปสูงจากจุดหยุดนิ่งเทาใด
1. 0.15 m 2. 0.20 m 3. 0.45 m 4 . 0.60 m (ขอ 3)
วิธที าํ

47(มช 41) กระสุนปนมวล 4 กรัม ถูกยิงในแนวระดับดวยอัตราเร็ว 500 เมตร/วินาที วิง่ เขา


ชนแทงไมมวล 2 กิโลกรัม ซึ่งแขวนไวดวยเชือกเบายาว 1 เมตร ลูกกระสุนเคลื่อนที่
เขาไปในเนือ้ ไมและทะลุออกดวยอัตราเร็ว 100 เมตร/วินาที จงหาวาแทงไมจะแกวง
ขึน้ ไปไดสงู กีเ่ ซนติเมตรเหนือระดับเดิม ( 3.2 เซนติเมตร)
วิธที าํ

55
bII บทที่ 6 โมเมนตัม และ การดล
48. ขวางลูกบอลมวล 100 กรัม เขาชนเปาไมมวล 500 กรัม ที่แขวนไวดวยเชือกที่ยาวมาก
ทําใหเปาไมแกวงขึ้นไปสูงสูด 20 ซม. ถาการชนเปาไมไมมีการสูญเสียพลังงานจลน
จงหาความเร็วของลูกบอลกอนชนเปาเปนกีเ่ มตร/วินาที
1. 2 2. 4 3. 6 4. 8 (ขอ 3)
วิธที าํ

49(En 33) ยิงลูกปนมวล 25 กรัม เขาไปฝงอยูใ นถุงทราย มวล 6 กิโลกรัม ซึ่งแขวนอยูและทํา


ใหถงุ ทรายโยนสูงขึน้ เปนระยะ 20 เซนติเมตร จงหาความเร็วของลูกปนในหนวยเมตร/วินาที
วิธที ํา (482 เมตร/วินาที)

56

II บทที่ 6 โมเมนตัม และ การดล
โจทยสําหรับคําถาม 2 ขอถัดไป
ปนใหญและรถมีมวล 10000 กิโลกรัม ติดสปริงกัน
การสะทอนถอยหลังดังรูป เมือ่ ยิงปนใหญปรากฎวา
กระสุนวิ่งออกไปดวยความเร็ว 1000 เมตร/วินาที
50. จงหาความเร็วของรถทันทีเมือ่ ยิงปนใหญ ถากระสุนมีมวล 10 กก.
1. 1 m/s 2. 2.5 m/s 3. 5 m/s 4. 10 m/s (ขอ 1)
วิธที าํ

51. ถาตัวรถและปนใหญเคลื่อนที่ถอยหลังไปเพียง 0.2 เมตร จงหาคานิจของสปริง


1. 25 N/m 2. 4.0x103 N/m 3. 2.5x105 N/m 4. 4x106 N/m (ขอ 3)
วิธที าํ

52. ยิงลูกปนมวล 40 กรัม ดวยความเร็วเขาชนและฝงใน


กลองมวล 1.96 กิโลกรัม ที่วางบนพื้นระดับราบลื่น 40 g v 1.96
และติดอยูที่ปลายหนึ่งของสปริง ซึ่งมีคาคงที่ 800 N/m kg
ทําใหสปริงหดเขาไปมากที่สุด 10 เซนติเมตร จงหา v
1. 100 m/s 2. 200 m/s 3. 300 m/s 4. 400 m/s (ขอ 1)
วิธที าํ

57
II บทที่ 6 โมเมนตัม และ การดล
53. แขวนกลองมวล 5 กิโลกรัม เขากับสปริงที่มีคาคงที่
( k = 1000 N/m) แล ว ยิ ง ลู ก ป น มวล 10 กรั ม ด วย
ความเร็ว (v = 1000 m/s) ให ฝ ง ในกล อ งจะทํา ให
5 kg
สปริ ง หดสั้ น จากความยาวปกติ กี่ เ มตร
1. 0.05 2. 0.09
v
3. 0.016 4. 0.24 (ขอ 2)
วิธที าํ

54. ตามรูป สปริงอยูใ นแนวราบ มีคาคงที่ของสปริง 800


นิวตันตอเมตร ปลายหนึ่งตรึงติดอยูกับขางฝา อีกปลาย
หนึ่งมีมวล M = 480 กรัมติดอยู และวางบนพื้นซึ่งไมมี m
M
ความฝด เริม่ ตนใหสปริงยังไมยดื หรือหดเลย เมื่อยิงลูก
ปนมวล m = 20 กรัม ในแนวราบ เขาฝงใน M แลวทั้งสองจะกดสปริงเขาไป ถามวา
ความเร็วของลูกปนตองเปนเทาใด สปริงจึงจะหดเขาไป 5 เซนติเมตร
1. 50 m/s 2. 48 m/s 3. 20 m/s 4. 10 m/s (ขอ 1)
วิธที าํ

58
อฺ

II บทที่ 6 โมเมนตัม และ การดล
ตอนที่ 3 การชน
การชนกันของวัตถุ โดยทั่วไปจะมี 2 แบบ คือ
1) การชนกันแบบยืดหยุน เปนการชนซึ่งพลังงานจลนจะมีคาคงเดิม
นัน่ คือ ΣEkกอนชน = ΣEkหลังชน
2) การชนกันแบบไมยืดหยุน เปนการชนซึ่งพลังงานจลน จะมีคาไมคงเดิม
นัน่ คือ ΣEkกอนชน ≠ ΣEkหลังชน
55(มช 30) ในการชนกันของวัตถุแบบยืดหยุน ขอใดถูกตอง
1. พลังงานจลนมีคาคงตัวแตโมเมนตัมไมคงตัว
2. โมเมนตัมมีคาคงตัวแตพลังงานจลนมีคาไมคงตัว
3. ทั้งโมเมนตัมและพลังงานจลนมีคาไมคงตัว
4. ทั้งโมเมนตัมและพลังงานจลนมีคาคงตัว (ขอ 4)
วิธที าํ

56. ในการชนกันของวัตถุแบบไมยืดหยุน ขอใดถูกตอง


1. พลังงานจลนมีคาคงตัวแตโมเมนตัมไมคงตัว
2. โมเมนตัมมีคาคงตัวแตพลังงานจลนมีคาไมคงตัว
3. ทั้งโมเมนตัมและพลังงานจลนมีคาไมคงตัว
4. ทั้งโมเมนตัมและพลังงานจลนมีคาคงตัว (ขอ 2)
วิธที าํ

สมการที่ใชคํานวณเกี่ยวกับการชนแบบยืดหยุน u1 + v 1 = u 2 + v 2

57(มช 28) มวลขนาด 4 กิโลกรัม และ 3 กิโลกรัม เคลื่อนที่เขาหากันบนพื้นไมที่ไมมีความ


เสียดทานดวยความเร็ว 12 เมตรตอวินาที และ 5 เมตรตอวินาที ตามลําดับ หลังจากชน
กันมวล 4 กิโลกรัม ยังคงเคลื่อนที่ในทิศเดิมดวยความเร็ว 6 เมตรตอวินาที และมวล
3 กิโลกรัม เคลื่อนที่ไปในทิศทางเดียวกับมวล 4 กิโลกรัม ดวยความเร็ว 3 เมตรตอวินาที
การชนนีเ้ ปนการชนแบบยืดหยุน หรือไมยดื หยุน
59

II บทที่ 6 โมเมนตัม และ การดล
ก. ยืดหยุน ข. ไมยืดหยุน
ค. ไมทราบ ขอมูลไมเพียงพอ ง. เปนทั้งยืดหยุนและไมยืดหยุน (ขอ ข)
วิธที าํ

58. ในรูป ก. ข. ค. แสดงการชนของมวล 2 มวล ซึ่งขนาดบอกดวยตัวเลขในวงกลม และมี


หนวยเปนกิโลกรัม รูปไหนจะเปนการชนแบบยืดหยุนอยางสมบูรณ ขอใดถูกตองที่สุด
กอนชน หลังชน
ก. 6 m/s 10 m/s 3 m/s 5 3 5 m/s
5 3

ข. 3
5 m/s
3 3 3 5 m/s

ค. 6
6 m/s
3 6 2 m/s 3 8 m/s
1. ทั้ง ก. ข. และ ค. 2. ข. และ ค. 3. เฉพาะ ข. 4. เฉพาะ ค. (ขอ 2)
วิธที าํ

59. วัตถุมวล 10 กิโลกรัม วิง่ ดวยความเร็ว 5 เมตร/วินาที ชนกับมวล 2 กิโลกรัม ซึ่งวิ่ง


สวนมาดวยความเร็ว 10 เมตร/วินาที มีผลใหมวล 10 กิโลกรัม ลดความเร็วเหลือ
1 เมตร/ วินาที จงหาวามวล 2 กิโลกรัม มีความเร็วอยางไร และการชนเปนการชน
แบบไหน (10 m/s เปนการชนแบบไมยืดหยุน)
วิธที าํ

60
6II บทที่ 6 โมเมนตัม และ การดล
60. มวล 1 kg เคลื่อนที่ไปทางขวาดวยความเร็ว 4 m/s เขาชนมวล 2 kg เคลื่อนที่ไปทาง
เดียวกันดวยความเร็ว 2 m/s ถาการชนเปนแบบยืดหยุนโดยสมบูรณ จงหาความเร็วหลังชน
ของมวลทั้งสอง ( v1 = 43 m/s , v2 = 103 m/s )
วิธที าํ

!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

61

II บทที่ 6 โมเมนตัม และ การดล
แบบฝ ก หั ด ฟ สิ ก ส บทที่ 6 โมเมนตั ม
โมเมนตัม , การดล และ แรงดล
1. การดลที่กระทําบนวัตถุหนึ่งจะมีคาเทากับการเปลี่ยนแปลงของปริมาณใดตอไปนี้
1. ความเร็ว 2. โมเมนตัม 3. พลังงานจลน 4. แรง (ขอ 2)
2. นักบอลแตะลูกบอลมวล 0.5 กิโลกรัม ทําใหลกู บอลเคลือ่ นทีด่ ว ยอัตราเร็ว 20 เมตรตอ
วินาที เขาชนฝาผนังในแนวตัง้ ฉาก แลวสะทอนกลับออกมาในแนวเดิมดวยอัตราเร็ว 20
เมตรตอวินาทีเทากัน ถาลูกบอลกระทบฝาผนังนาน 0.05 วินาที จงหา
ก. การดลของลูกบอล (20 kg . m/s)
ข. แรงเฉลี่ยที่ฝาผนังกระทําตอลูกบอล (400 N)

3(En 43/1) ใชฆอ นมวล 400 กรัม ตอกตะปูในขณะทีฆ่ อ นเริม่ กระทบหัวตะปู ฆอนมีขนาด
ความเร็ว 10 เมตร/วินาที หลังจากกระทบหัวตะปูแลว ฆอนสะทอนกลับดวยขนาดความเร็ว
เทาเดิม ถาชวงเวลาที่กระทบตะปูเปน 0.5 มิลลิวินาที จงหาแรงเฉลี่ยที่ฆอนกระทําตอตะปู
1. 1.6x104 N 2. 3.2x104 N 3. 6.4x104 N 4. 8x104 N (ขอ 1)

4(มช 37) ใชไมตีลูกบอล 0.16 kg ซึง่ มีกาํ ลังเคลือ่ นทีต่ ามแนวราบดวยอัตราเร็ว 30 m/s
ไมสัมผัสอยูกับลูกบอลเปนเวลานาน 10–2 วินาที หลังจากนั้นลูกบอลเคลื่อนที่ออกไป
ดวยอัตราเร็ว 35 m/s ในทิศตรงกันขามกับทิศทางเริ่มตน จงคํานวณแรงเฉลี่ยซึ่งไม
กระทําตอลูกบอลระหวางสัมผัสกัน (ใหตอบในหนวยกิโลนิวตัน) (1.040 kN)

5. วัตถุมวล m เคลือ่ นทีด่ ว ยความเร็ว v เขาชนกําแพงในแนวตั้งฉาก แลวสะทอนกลับออกมา


ในแนวเดิมดวยความเร็วเปน 13 ของความเร็วเดิมโมเมนตัมของวัตถุนเ้ี ปลีย่ นไปเทาไร
1. 13 mv 2. 23 mv 3. 43 mv 4. 43 mv (ขอ 4)

6. แทงลูกสนุกเกอรมวล 100 กรัม ทําใหลูกสนุกมีความเร็ว 8 เมตรตอวินาที ถาชวงเวลาที่


ไมคิวกระทบลูกสนุกเกอรเปน 0.01 วินาที จงหาแรงเฉลี่ยที่ไมคิวกระทําตอลูกสนุก (80 N)
7(En 33) กอนหินมวล 2 กิโลกรัม เคลือ่ นทีด่ ว ยความเร็ว 6 เมตร/วินาที จะตองใชแรงขนาด
กีน่ วิ ตัน จึงจะสามารถหยุดกอนหินกอนนี้ไดในชวงเวลา 5x10–3 วินาที
1. 1200 2. 2400 3. 3600 4. 4500 (ขอ 2)
62
•II บทที่ 6 โมเมนตัม และ การดล
8. ชายคนหนึ่งมวล 60 กิโลกรัม ขับรถดวยความเร็ว 60 กิโลเมตร/ชัว่ โมง ถาเขาเบรครถให
หยุดภายในเวลา 10 วินาที จงหาแรงเฉลี่ยที่กระทําตอชายผูนี้ (–100 N)

9(En 39) จากกราฟแสดงความสัมพันธระหวางความเร็วกับ


เวลาของวัตถุหนึ่งซึ่งมีมวล 2 kg จงหาขนาดของการดล
ที่กระทําตอวัตถุ ในชวงเวลาจากวินาทีที่ 5 ถึงวินาทีที่ 10
ในหนวย kg.m/s (–20 kg.m/s)

10. ปลอยลูกบอลมวล 0.2 กิโลกรัม จากระดับความสูง 1.8 เมตร หลังจากกระทบพื้นแลว


ลูกบอลกระดอนขึ้นสูง 1.25 เมตร จงหาการดลที่ลูกบอลไดรับเมื่อกระทบพื้น (หนวยเปน
กิโลกรัม.เมตร/วินาที)
1. 1.0 2. 1.2 3. 2.0 4. 2.2 (ขอ 4)
11. ลูกบอล 0.5 กิโลกรัม ปลอยใหตกจากหยุดนิ่งลงสูพื้นที่ระดับความสูง 50 เมตร ปรากฏวา
ลูกบอลกระดอนกลับขึ้นมาไดสูงเพียง 3.2 เมตร ถาระยะเวลาที่ลูกบอลกระทบพื้นนาน
0.05 วินาที การดลที่พื้นกระทําตอลูกบอลมีคากี่กิโลกรัมเมตร/วินาที
1. 1.0 2. 9.0 3. 90.0 4. 180 (ขอ 2)
12(มช 32) ปลอยลูกบอลมวล 0.2 กิโลกรัม จากจุดซึ่งสูงจากพื้นถนน 80 เมตร ปรากฏวา
เมื่อลูกบอลกระทบพื้นถนนจะสะทอนขึ้นตรง ๆ ดวยความเร็ว 25 เมตรตอวินาที ถาลูกบอล
ใชเวลาในการสัมผัสพื้นถนน 0.15 วินาที แรงเฉลี่ยที่ถนนกระทําตอลูกบอลมีคากี่นิวตัน
(86.67 N)
13. กลองใบหนึ่งอยูบนรถ ซึ่งกําลังเคลื่อนที่ในแนวระดับดวยความเร็ว 30 เมตร/วินที รถจะ
ตองเบรกจนหยุดนิง่ ในเวลานอยทีส่ ดุ เทาไร กลองจึงจะไมไถลไปบนรถ ถาสัมประสิทธิ์
ความเสียดทานระหวางกลองกับรถเปน 0.5 (6 S)
14. รถคันหนึง่ เริม่ เบรกขณะมีความเร็ว 20 m/s ถารถวิ่งบนถนนระดับราบที่มี ส.ป.ส. ของ
ความเสียดทาน µ = 0.50 รถตองใชเวลาเบรกนานเทาไรจึงหยุด ใช g = 10 m/s2
1. 2 วินาที 2. 3 วินาที 3. 4 วินาที 4. 5 วินาที (ขอ 3)
15. ปาลูกบอล 0.2 กิโลกรัม ทํามุม 30o กับกําแพงดวยความเร็ว 10 เมตรตอวินาที โดยไมมี
การสูญเสียพลังงาน จงหาโมเมนตัมที่เปลี่ยนไปของลูกบอลในการชนกําแพง (2 kg.m/s)
63

II บทที่ 6 โมเมนตัม และ การดล
16. ขวางลูกบอลมวล 100 กรัม ลงบนพืน้ ดวยอัตราเร็ว 20 เมตร/วินาที และทํามุม 30o กับพื้น
ราบ ถาลูกบอลสะทอนดวยอัตราเร็วเทาเดิม และเวลาชวงกระทบเทากับ 0.02 วินาที จงหา
ก. โมเมนตัมของลูกบอลที่เปลี่ยนไป ( 2 kg.m/s )
ข. แรงเฉลี่ยที่พื้นกระทําตอลูกบอล ( 100 N)

17(En 39) จากกราฟแสดงความสัมพันธระหวางแรง


กับเวลาของวัตถุที่กระทบกัน ถาพื้นที่ใตกราฟเทา
กับ 2.5 kg m/s แรงที่กระทําตอวัตถุมีคาเทาใด
1. 2.5 N 2. 5 N
3. 10 N 4. 20 N (ขอ 2)

18. มีแรงกระทําตอวัตถุหนึง่ ดังรูป ในชวงเวลาที่มี F(N)


แรงกระทํานัน้ จะทําใหโมเมนตัมของวัตถุเปลี่ยน 30
ไปเทาใด (30 N.s) 20
10
1 2 3 4 t (s)

19. วัตถุอันหนึ่งถูกแรงกระทํา มีความสัมพันธ


F(N)
กับเวลาดังกราฟ จงหาการดลและแรงดล
(15 N.s , 75 N)
150
100
50
t (s)
0.1 0.2 0.3 0.4
20. ลูกบอลมวล 100 กรัม เคลือ่ นทีด่ ว ยความเร็ว
F(N)
20 เมตร/วินาที ในแนวระดับ ชายคนหนึ่งใช 500
ไมตีลูกบอลนี้สวนออกมาในทิศตรงขาม แรง
ที่กระทําตอลูกบอลกระทบไมตี แทนไดดว ย 250
กราฟนี้ อยากทราบวาลูกบอลจะมีความเร็ว t (ms)
10 20 30
เทาใดภายหลังกระทบไมตี (30 m/s)

64

II บทที่ 6 โมเมนตัม และ การดล
21. จากกราฟแสดงแรงเนือ่ งจากคอนมวล 1 กิโล
F (104 N)
กรัม กระทบกับหัวตะปู ดวยความเร็วขณะกระ 2.0
ทบ 8 เมตร/วินาที คอนจะกระดอนกลับดวย 1.5
ความเร็วเทาไร (32 m/s) 1.0
0.5
t (ms)
1 2 3 4 5 6
22. ถาลูกบอลมวล m วิ่งเขาชนกําแพงดวยความเร็ว u โดย
ทํามุม θ กับเสนตั้งฉากกับกําแพง และสะทอนออกดวย
θ
ขนาดความเร็ว u และทํามุม θ กับเสนตั้งฉากดังรูป ถา θ
ลูกบอลใชเวลา t ในการกระทบ แรงเฉลี่ยที่ลูกบอลทํา
กับกําแพง คือ
1. 2musin
t
θ 2. 2mucos
t
θ 3. musin
t
θ 4. mucos
t
θ (ขอ 2)

23. ลูกบอลมวล 0.2 กิโลกรัม ตกทํามุม 45 m = 0.2 kg


องศากับพื้นราบไมมีความฝดดวยความเร็ว u = 2 2 m/s
v = 2 2 m/s
2 2 เมตร/วินาที และกระดอนออกไป 45o 45o
ดวยความเร็ว 2 2 เมตร/วินาที ในทิศ
ทาง 45 องศากับพื้นราบ ถาชวงเวลาที่ลูกบอลกระทบพื้น คือ 0.01 วินาที ขนาดแรงดล
เฉลี่ยที่พื้นกระทําตอลูกบอลมีคากี่นิวตัน
1. 0.64 2. 0.80 3. 8.0 4. 80 (ขอ 4)

24. เด็กคนหนึ่งขวางลูกบอลมวล 50 กรัม ลงบนพืน้ เรียบดวยอัตราเร็ว 30 เมตร/วินาที และทํา


มุม 30o กับพื้นเรียบ ถาลูกบอลสะทอนดวยอัตราเร็วเทาเดิม และเวลาของการกระทบเทากับ
0.03 วินาที จงหาแรงเฉลี่ยที่พื้นกระทําตอลูกบอล
1. 50N 2. 50 3 N 3. 100 N 4. 100 3 N (ขอ 1)

65

II บทที่ 6 โมเมนตัม และ การดล
กฎทรงโมเมนตัม
25. รถทดลอง A มวล 5 กิโลกรัม เคลื่อนที่บนพื้นเกลี้ยงไปทางขวาดวยความเร็ว 10 เมตร/
วินาที เขาชนรถทดลอง B ซึ่งอยูนิ่ง หลังชนรถทดลอง A สะทอนกลับดวยความเร็ว
2 เมตร/วินาที สวนรถทดลอง B วิง่ ออกไปดวยความเร็ว 6 เมตร/วินาที จงหาวารถ
ทดลอง B มีมวลกี่กิโลกรัม
1. 5 2. 10 3. 15 4. 20 (ขอ 2)

26. รถทดลองมวล 3m วิง่ ดวยความเร็ว 20 เมตร/วินาที เขาชนรถทดลอง 6m ซึ่งวิ่งไปใน


ทิศทางเดียวกับมวล 3m ดวยความเร็ว 5 เมตร/วินาที หลังชนรถทดลองมวล 3m มีความ
เร็ว 2 เมตร/วินาที ในทิศตรงขามเดิม รถทดลองมวล 6m จะมีความเร็วกีเ่ มตร/วินาที
1. 4 2. 8 3. 12 4. 16 (ขอ 4)
27. มวล 2 กิโลกรัม เคลือ่ นทีด่ ว ยความเร็ว 5 เมตร/วินาที เขาชนมวล 12 กิโลกรัม ซึ่งอยู
นิง่ หลังชนปรากฏวามวล 2 กิโลกรัม สะทอนดวยอัตราเร็วเทากับอัตราเร็วของมวล 12
กิโลกรัม จงหาอัตราเร็วของมวลทัง้ สองกอนหลังชนกันมีคา กีเ่ มตร/วินาที
1. 1 2. 2 3. 3 4. 4 (ขอ 1)
28. รถ A มีมวล 1000 กิโลกรัม จอดอยูน ง่ิ ถูกรถ B มวล 1200 กิโลกรัม วิ่งเขาชนแลวรถทั้ง
สองติดกันไปมีความเร็ว 4 เมตร/วินาที จงหาวากอนชนรถ B มีความเร็วกีเ่ มตร/ วินาที
1. 2 2. 4 3. 6 4. 8 (ขอ 3)
29. วัตถุทรงกลมกอนหนึ่งมีมวล m วิง่ มาดวยความเร็ว v1 มาชนกับวัตถุทรงกลมอีกกอน
หนึ่งซึ่งมีมวล m เทากัน มีความเร็ว v2 ซึ่งวัตถุทั้งสองเคลื่อนที่ไปในทิศทางเดียวกัน
เมื่อชนกันแลววัตถุทั้งสองติดกันไปจะมีความเร็วเทาไร
1. 12 (v1 – v2 ) 2. 12 (v1 + v2 )
3. 2 (v2 – v1 ) 4. 2(v1 – v2 ) (ขอ 2)

30. วีณาและโชติเปนนักสเกตมีมวล 60 และ 40 กิโลกรัม ตามลําดับ วิ่งสวนทางกันบนพื้น


ที่ลื่นมากหลบกันไมหันชนแบบประสานงาติดกันไป ถาวีณาและโชติกําลังวิ่งมาดวยความ
เร็ว 10 และ 5 เมตร/วินาที ตามลําดับ จงหาความเร็วหลังชนของนักสเกตทั้งสอง
1. 0 2. 2 m/s 3. 4 m/s 4. 6 m/s (ขอ 3)
66

II บทที่ 6 โมเมนตัม และ การดล
31. จากขอที่ผานมาจงหาพลังงานที่เสียไปในการชนกันครั้งนี้
1. 400 จูล 2. 800 จูล 3. 1700 จูล 4. 2700 จูล (ขอ 4)
32. วัตถุ A มวล 60 กิโลกรัม เคลื่อนเขาชนวัตถุ B มวล 40 กิโลกรัม ซึ่งวิ่งไปทางเดียว
กันดวยความเร็ว 6 เมตร/วินาที และ 1 เมตร/วินาที ตามลําดับ เมือ่ ชนกันแลว วัตถุ
ทั้งสองติดกันไป จงหาพลังงานที่สูญเสียไปในการชนกันครั้งนี้
1. –300 จูล 2. 500 จูล 3. 700 จูล 4. 900 จูล (ขอ 1)
33(มช 32) รถตูค นั หนึง่ มีมวล 3000 kg วิง่ ไปในแนวเสนตรงบนทางราบ ดวยอัตราเร็วคงที่
10 m/s พุง เขาชนรถยนตคนั หนึง่ ทีจ่ อดนิง่ อยู และมีมวลเปนครึ่งหนึ่งของรถตู ปรากฏวา
รถทั้งสองคันนั้นเกาะติดกันไป จงหาพลังงานจลนที่หายไปในการชนกันของรถทั้งสองนี้
ก. 10.0 x 104 จูล ข. 7.5 x104 จูล
ค. 5.0 x 104 จูล ง. 2.5 x104 จูล (ขอ ค)
34(En 41) รถทดลองมวล 1.0 กิโลกรัม เคลือ่ นทีด่ ว ยความเร็ว 2 เมตรตอวินาที เขาชนรถ
ทดลองอีกคันหนึ่งซึ่งมีมวลเทากันและอยูนิ่ง หลังการชนรถทดลองทั้งสองเคลื่อนที่ติดกันไป
จงหาคาพลังงานความรอนที่เกิดจากการชน
1. 0.25 J 2. 0.5 J 3. 0.75 J 4. 1.0 J (ขอ 4)
35. ลูกปนมวล 5 กรัม มีความเร็ว 1000 เมตร/วินาที วิ่งทะลุผานแผนไมมวล 1 กิโลกรัม
ทําใหแผนไมมีความเร็ว 4 เมตร/วินาที จงหาความเร็วของลูกปนหลังทะลุแผนไม
1. 100 m/s 2. 200 m/s 3. 300 m/s 4. 400 m/s (ขอ 2)
36. ลูกปนลูกหนึ่งมวล 200 กรัม มีความเร็ว 2 กิโลเมตร/วินาที พุงเขาชนตรงกลางวัตถุ
มวล 2 กิโลกรัม ซึ่งอยูนิ่งบนพื้นระดับราบลื่น ถาลูกปนทะลุวัตถุไปดวยความเร็ว 1
กิโลเมตร/วินาที จงหาความเร็วของวัตถุ ขณะลูกปนหลุดจากวัตถุพอดี
1. 25 m/s 2. 50 m/s 3. 100 m/s 4. 200 m/s (ขอ 3)
37. ลูกกลม 2 ลูก มวล 4 และ 2 กิโลกรัม ตามลําดับ มี
2 kg
ขนาดของความเร็วกอนชนดังรูป ความเร็วหลังชน เมือ่
มวลทั้งสองเคลื่อนที่ติดกันไปมีคากี่เมตรตอวินาที 3 m/s
1. 1.4 2. 1.7 4 kg 2 m/s
3. 2.4 4. 6.0 (ขอ 2)
67
II
• บทที่ 6 โมเมนตัม และ การดล
38(En 41/2) วัตถุ A มีมวล 8 กิโลกรัม เคลื่อนที่ไปทางแกน +x ดวยความเร็ว 10 เมตรตอ
วินาที ไดชนกับวัตถุ B มวล 10 กิโลกรัม ซึ่งกําลังเคลื่อนที่ไปทางแกน +Y ดวย
ความเร็ว 6 เมตรตอวินาที ภายหลังการชนวัตถุทั้งสองเคลื่อนที่ติดกันไป จงหาความเร็ว
ลัพธภายหลังการชนดังกลาว
1. 3.3 m/s 2. 4.0 m/s 3. 5.6 m/s 4 . 8.0 m/s (ขอ 3)

39. วัตถุ A มวล 40 กิโลกรัม ลืน่ ไถลมาจากทิศตะวันออกดวยอัตราเร็ว 10 เมตรตอวินาที


และวัตถุ B มวล 60 กิโลกรัม ลืน่ ไถลมาจากทิศเหนือดวยอัตราเร็ว 5 เมตรตอวินาที
มาชนกันแลวเคลื่อนที่ติดไปดวยกัน อัตราเร็วของวัตถุทง้ั สองหลังเกิดการชนกันเปนเทาไร
(กําหนดใหพื้นไมมีความฝด) (5 m/s)

40(En 34) ชางไมใชฆอนมวล 200 กรัม ตีตะปูมวล 2 กรัม ในแนวราบ โดยความเร็วของฆอน


กอนกระทบตะปูเปน 10 เมตร/วินาที และฆอนไมกระดอนจากหัวตะปู ถาเนือ้ ไมมแี รงตาน
ทานเฉลี่ย 1000 นิวตัน ตะปูเจาะลึกในเนือ้ ไมกเ่ี ซนติเมตร
1. 0.1 2. 0.2 3. 1.0 4. 2.0 (ขอ 3)

โจทยสําหรับคําถาม 2 ขอถัดไป
ปนใหญและรถมีมวล 10000 กิโลกรัม ติดสปริงกัน
การสะทอนถอยหลังดังรูป เมือ่ ยิงปนใหญปรากฎ
วากระสุนวิ่งออกไปดวยความเร็ว 1000 เมตร/วินาที
41. จงหาความเร็วของรถทันทีเมือ่ ยิงปนใหญ ถากระสุนมีมวล 10 กก.
1. 1 m/s 2. 2.5 m/s 3. 5 m/s 4. 10 m/s (ขอ 1)

42. ถาตัวรถและปนใหญเคลื่อนที่ถอยหลังไปเพียง 0.2 เมตร จงหาคานิจของสปริงในหนวย


นิวตัน/เมตร
1. 25 2. 4.0x103 3. 2.5x105 4. 4x106 (ขอ 3)

43. ยิงลูกปนมวล 25 กิโลกรัม เขาไปฝงอยูในถุงทรายมวล 6 กิโลกรัม ซึ่งแขวนอยูและทําให


ถุงทรายโยนสูงขึ้นเปนระยะ 20 เซนติเมตร จงหาความเร็วของลูกปนในหนวย เมตร/วินาที
(482 m/s)
68

II บทที่ 6 โมเมนตัม และ การดล
การชนกันของวัตถุ
44. มวลขนาด 4 กิโลกรัม และ 2 กิโลกรัม เคลื่อนที่เขาหากันบนพื้นไมที่ไมมีความเสียด
ทานดวยความเร็ว 20 เมตรตอวินาที และ 10 เมตรตอวินาที ตามลําดับ หลังจากชน กัน
มวล 4 กิโลกรัม ยังคงเคลื่อนที่ในทิศเดิมดวยความเร็ว 6 เมตรตอวินาที และมวล 2
กิโลกรัม เคลื่อนที่ไปในทิศทางเดียวกับมวล 4 กิโลกรัม ดวยความเร็ว 18 เมตรตอวินาที
การชนนีเ้ ปนการชนแบบยืดหยุน หรือไมยดื หยุน (ไมยดื หยุน )
45. จากรูปเปนการชนของวัตถุ 2 กอน รูปใดเปนการชนแบบยึดหยุนสมบูรณ (ขอ 4)
กอนชน หลังชน
5 m/s 2 m/s 2 m/s 4 m/s
1. # $ # $
1 m/s 4 m/s 2 m/s 2 m/s
2. % & % &
3 m/s 5 m/s
3. ' $ ' $
6 m/s 1 m/s 7 m/s
4. ( ' ( '
46. มวล 10 กิโลกรัม เคลือ่ นทีด่ ว ยความเร็ว 10 เมตร/วินาที พุงเขาชนมวล 10 กิโลกรัม
ซึ่งอยูนิ่ง ถาการชนเปนแบบยืดหยุน มวลที่พุงเขาชนจะ
1. หยุดนิ่งอยูกับที่
2. เคลือ่ นทีด่ ว ยอัตราเร็ว 10 เมตรตอวินาที ในทิศทางตรงขามกับทิศเดิม
3. เคลือ่ นทีด่ ว ยอัตราเร็ว 5 เมตรตอวินาที ในทิศทางเดิม
4. เคลือ่ นทีด่ ว ยอัตราเร็ว 10 เมตรตอวินาที ในทิศทางเดิม (ขอ 1)
47. มวล m วิง่ ดวยความเร็ว u เขาชนมวล 2m ซึ่งวางอยูกับที่ดังรูป ถาเปนการชนแบบยืด
หยุนหลังชนกันแลวขอใดถูกตอง (ขอ 4)
1. มวล m มีความเร็ว 13 u ไปทางขวา
2. มวล m มีความเร็ว 23 u ไปทางซาย
3. มวล 2m มีความเร็ว 13 u ไปทางซาย
4. มวล 2m มีความเร็ว 23 u ไปทางขวา
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

69
อII บทที่ 6 โมเมนตัม และ การดล
เฉลย แบบฝ ก หั ด ฟ สิ ก ส บทที่ 6 โมเมนตั ม ( บางข อ )
9. ตอบ 20 kg. m/s
วิธที าํ จากกราฟจะไดวา u = 20 m/s , v = 10 m/s v(m/s)

จาก Δp = m (v – u) 20 u = 20 ms
= 2(10 – 20) 10 v = 10 ms
Δp = –20 kg.m/s t(s)
Δp มีคาเปนลบแสดงวา มีทิศสวนทางกับการเคลื่อนที่
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

13. ตอบ 6 วินาที


วิธที าํ ขอนีแ้ รงกระทําคือ แรงเสียดทาน (µmg) นัน่ เอง
จาก F = m(v − u)
Δt
–µmg = m(v − u) ใชคา แรงเปนลบเพราะเปนแรง
Δt เสียดทานมีทิศตานการเคลื่อนที่
–0.5(10) = (0 − 30)
Δt
Δt = −−5 30
Δt = 6 วินาที
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

29. ตอบขอ 2
v1 v2 v=?
วิธที าํ
m m
มวล = 2 m
กอนชน
หลังชน

จาก ∑ Pกอน = ∑ Pหลัง


mv1 + mv2 = 2 mv
v1 + v 2 = 2v
v1+ v 2
2 =v
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

70
II บทที่ 6 โมเมนตัม และ การดล
47. ตอบขอ 4
วิธที าํ
u1 = u u2 = 0 v1 v2
m 2m m 2m
กอนชน หลังชน

ตอน 1 จาก ∑ Pกอน = ∑ Pหลัง


mu + 2m (0) = mv1 + 2 mv2
u = v1 + 2v2
u – 2v2 = v1 →)
ตอน 2 เนือ่ งจากเปนการชนแบบยืดหยุน
จะได u1 + v 1 = u 2 + v2
u + (u 2v2 ) = 0 + v2 แทนคา v1 จาก )
2 u = 3 v2
v 2 = 23 u

แทนคา v2 ลงใน ) จะได


v1 = u – 2 ( 23 u ) = u – 43 u = – 13 u
แสดงวาหลังขนมวล m มีความเร็ว 13 u ไปทางซายและมวล 2m มีความเร็ว 23 u ไปทางขวา

!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

71
หฺ
6-
II บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
ฟ สิ ก ส บทที่ 7 การเคลื่ อ นที่ แ บบหมุ น
ตอนที่ 1 การขจัดเชิงมุม ความเร็วเชิงมุม และ ความเรงเชิงมุม
การกระจัดเชิงมุม (! ) คือ มุมที่กวาดไป (เรเดียน)
ความเร็วเชิงมุมเฉลีย่ ( ⊇ ) คือ อัตราสวนของการ
ขจัดเชิงมุมตอเวลาที่ใชกวาดมุมนั้น ( rad / s )

เฉลี่ย = t

และ ÷ = 2±
T , ÷ = 2± f T คือ คาบของการเคลือ่ นที่ (วินาที)
f คือ ความถีข่ องการเคลือ่ นที่ (Hz)
1. ลอหมุนอันหนึง่ หมุนได 25 เรเดียน ในเวลา 10 วินาที จงหาอัตราเร็วเชิงมุมเฉลีย่ ของ
การหมุนลอนี้ ( 2.5 rad /s )
วิธที าํ

ความเรงเชิงมุม ( ′ ) คือ อัตราสวนของความเร็วเชิงมุมทีเ่ ปลีย่ นตอเวลาทีใ่ ช ( rad / s2 )


′ = ÷ Λ÷o
t
ความเร็ว และ ความเรงเชิงมุม ถือเปนปริมาณเวกเตอร สามารถหาทิศทางได โดยใชกฎ
มือขวา โดยใชมือขวากําแกนหมุน แลวใหนว้ิ ทัง้ สีว่ นตามการเคลือ่ นที่ นิว้ หัวแมมอื
จะชี้ทิศของ การกระจัด ความเร็ว และ ความเรงเชิงมุมทันที
2. ลออันหนึง่ ในตอนแรกหมุนดวยความเร็วเชิงมุมคงตัว 50 เรเดียน/วินาที ตอมา ลดลง
เหลือ 10 เรเดียน/วินาที ในเวลา 10 วินาที จงหาความเรงเชิงมุม ( –4 rad /s2 )
วิธที าํ

52

II บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
ควรทราบ 1. เมือ่ เปรียบเทียบการเคลือ่ นทีแ่ บบเสนตรง และการเคลื่อนที่แบบหมุน
s ! ⊗ , a ! × , u ! ⊇o , v ! ⊇
การเคลือ่ นทีแ่ บบเสนตรง การเคลือ่ นทีแ่ บบหมุน
v = u+at ⊇ = ⊇o + × t
S = Ψu∴2 v Ζ t ⊗ = ( o2 ) t
⊇ ∴⊇

S = ut + 12 a t2 ⊗ = ⊇o t + 12 × t2
v2 = u2 + 2 a s ⊇2 = ⊇o 2 + 2 × ⊗

2. v = ⊇ R เมือ่ v คือ ความเร็วเชิงเสน ( เมตร/วินาที )


a = ′ R a คือ ความเรงเชิงเสน ( เมตร/วินาที2 )
(คือ ความเร็วและความเรงของมวลทีเ่ คลือ่ นทีต่ ามเสนรอบวง)
3. วัตถุกอ นหนึง่ หมุนรอบตัวเองดวยความเร็วเชิงมุม 5 เรเดียน/วินาที เมือ่ ใหแรงกระทําในทิศ
เดียวกับการหมุน ปรากฏวาวัตถุกอ นนัน้ มีความเรงเชิงมุม 2 เรเดียน/วินาที2 จงหาวาถาให
แรงกระทํานาน 10 วินาที คาความเร็วเชิงมุม ณ.วินาทีท่ี 10 นัน้ มีคา เทาใด ( 25 rad/s )
วิธที าํ

4. วงลอวงหนึง่ มีเสนผาศูนยกลาง 1 เมตร เริม่ หมุนรอบแกนจากหยุดนิง่ ดวยแรงขนาดหนึง่


ทําใหลอ นัน้ มีความเร็วปลาย 40 เรเดียน/วินาที ในเวลา 10 วินาที จงหาคาความเรงเชิงมุม
วิธที าํ ( 4 rad/s2 )

5. จากขอทีผ่ า นมา จงหามุมทีว่ งลอนัน้ กวาดไปได ( 200 rad )


วิธที าํ

53

II บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
6. ลออันหนึง่ ใชเวลา 3 วินาที ในการหมุนไปไดมมุ ทัง้ หมด 234 เรเดียน วัดความเร็วเชิงมุม
ขณะนัน้ ได 108 เรเดียน/วินาที จงหาความเร็วเชิงมุมตอนเริม่ ตน ( 48 rad/s )
วิธที าํ

7. จากขอทีผ่ า นมา จงหาความเรงเชิงมุมของการหมุน ( 20 rad/s2 )


วิธที าํ

8. ลออันหนึง่ มีรศั มี 2 เมตร หมุนจากหยุดนิง่ จนมีความเร็วเชิงมุมคงตัว 100 เรเดียน/วินาที


ในเวลา 20 วินาที จงหาความเรงเชิงมุม (5 rad /s2)
วิธที าํ

9. จากขอทีผ่ า นมา จงหามุมทีห่ มุนไปไดทง้ั หมดตัง้ แตตน (1000 เรเดียน)


วิธที าํ

54
b
II บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
10. จากขอทีผ่ า นมา จงหาความเร็ว และความเรงทีผ่ วิ ลอ ณ.วินาทีท่ี 20 (200 m/s, 10 m/s2)
วิธที าํ

11. รถจักรยานคันหนึง่ แลนเปนเสนตรงพบวาลอมีความเรงเชิงมุม 2 rad/s2 ถาลอรถมีเสนผา


ศูนยกลาง 1 เมตร จงหาระยะทางทีเ่ คลือ่ นทีไ่ ดใน 20 วินาที นับจากเริม่ ตน (200 ม.)
วิธที าํ

12. มวล 0.5 kg เคลือ่ นทีเ่ ปนวงกลมรอบจุดหมุนดวยรัศมี 2 เมตร จากหยุดนิง่ จนมีความเร็ว


เชิงเสน 20 m/s เมือ่ เวลาผานไป 10 วินาที จงหาจํานวนรอบทีเ่ คลือ่ นทีไ่ ด (7.96 รอบ)
วิธที าํ

55
b
II บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
ตอนที่ 2 โมเมนตความเฉื่อย และ โมเมนตของแรง
โมเมนตความเฉื่อย ( I ) คือ สภาพตานการหมุนของวัตถุ
หากโมเมนตความเฉือ่ ย ( I ) มีคา มาก ความเรงเชิงมุม (×) จะมีคา นอย ( หมุนยาก )
กรณีวตั ถุเล็กๆ หมุนรอบจุดหมุน หรือ วงลอ โมเมนตความเฉือ่ ยจะหาคาไดจาก
I = m R2
เมือ่ I = โมเมนตความเฉือ่ ย (kg . m2)
m = มวล (kg)
R = รัศมีการหมุนของมวลนัน้ (m)
หากรอบแกนหมุนมีมวลยอยๆ หลายชิน้ หมุนพรอมกัน การหาโมเมนตความเฉือ่ ย ใหหาโมเมนต
ความเฉือ่ ยของมวลแตละกอน แลวนํามารวมกัน
I = m 1 R12 + m2 R 22 + m3 R 32
I = θ mR2

13. จากรูป มวล 3 กอน เคลือ่ นทีร่ อบแกน


หมุนเดียวกันพรอมกัน จงหาโมเมนตแหง
ความเฉือ่ ยของการหมุนนี้ (39 kg.m2)
วิธที าํ

14(En 41) ทรงกระบอกเสนผาศูนยกลาง 0.12 เมตร เมือ่ ดึงเชือกที่


พันรอบทรงกระบอกดวยแรง 9.0 นิวตัน พบวาเชือกมีความเรง
0.36 เมตรตอวินาที2 จงหาโมเมนความเฉื่อยของทรงกระบอก
1. 0.05 kg.m2 2. 0.09 kg.m2
3. 0.12 kg.m2 4. 1.20 kg.m2 (ขอ 2)
วิธที าํ

56
@
II บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
ในกรณีวตั ถุรปู รางอืน่ ๆ เราอาจหาคาโมเมนตความเฉือ่ ยไดดงั นี้
รูปรางวัตถุ แกนหมุน รูป โมเมนตความเฉื่อย
ทรงกลมตัน รอบแกนผาน
มวล m รัศมี R จุดศูนยกลาง I ∴ 25 mR 2

ทรงกลมกลวง รอบแกนผานจุดศูนย
มวล m รัศมี R กลาง I ∴ 23 mR 2

ทรงกระบอกตัน รอบแกนของทรง
มวล m รัศมี R กระบอก I ∴ 12 mR 2
ยาว L
แผนกลมบาง รอบแกนผานศูนยกลาง
มวล m รัศมี R ตัง้ ฉากกับแผน I ∴ 12 mR 2
แผนกลมบาง รอบแกนผานศูนยกลาง
มวล m รัศมี R บนระนาบของแผน I ∴ 41 mR 2

แทงวัตถุเล็ก รอบแกนผานศูนยกลาง
มวล m ยาว L มวล ตั้งฉากกับแทง I ∴ 121 mL2

การหมุนของวัตถุทง้ั หมดในตารางนี้ เปนการหมุนรอบแกนผานศูนยกลางมวล และ


เปนสมมาตรของวัตถุซง่ึ แกนนัน้ ตองอยูก บั ที่ ถาเลือ่ นแกนหมุนไปเปนระยะ L ขนานกับ
แกนสมมาตรเดิม โมเมนตความเฉือ่ ยจะเพิม่ ขึน้ อีก m L2 โมเมนตความเฉือ่ ยรวม
จึงตองนํา m L2 บวกเพิม่ เขาไปดวย
โมเมนตของแรง คือ แรง x รัศมีการหมุน
× = FR
เมือ่ ∝ (เรียกวา ทอรก) คือ โมเมนตของแรง (Nm)
F คือ แรงทีท่ าํ ใหเกิดการหมุน (N)
R คือ รัศมีการหมุน (m)
และ × = Iϒ
57

II บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
15. จากรูปจงหาทอรกทีก่ ระทําตอวัตถุน้ี
วิธที าํ F=5N
R = 0.2 m
.O ( 1 N.m )
16. ลอวงหนึง่ มีโมเมนตความเฉือ่ ยรอบแกนหมุน 500 กิโลกรัม.เมตร2 จงหาคาทอรกที่
ทําใหวงลอนีห้ มุนดวยความเรงเชิงมุม 4 เรเดียน/วินาที2 ( 2000 N.m )
วิธที าํ

17. จงหาทอรกทีท่ าํ ใหลอ มวล 8 กิโลกรัม รัศมี 25 เซนติเมตร หมุนดวยความเรง 3 เรเดียน/วินาที2


1. 0.5 N.m 2. 1.0 N.m 3. 1.5 N.m 4. 2.0 N.m (ขอ 3)
วิธที าํ

18. จงหาทอรกทีใ่ ชในการทําใหจานกลมทีม่ โี มเมนตความเฉือ่ ย 5 กิโลกรัม.เมตร2 เริม่ หมุน


จากหยุดนิง่ จนกระทัง่ มีความเร็วเชิงมุม 30 เรเดียน/วินาที ใน 10 วินาที
1. 15 N.m 2. 22 N.m 3. 44 N.m 4. 88 N.m (ขอ 1)
วิธที าํ

19. จงหาทอรกทีใ่ ชในการทําใหจานกลมทีม่ โี มเมนตความเฉือ่ ย 10 กิโลกรัม.เมตร2 เริม่ หมุน


จากหยุดนิง่ จนกระทัง่ มีความเร็วเชิงมุม 20 เรเดียน/วินาที ใน 5 เรเดียน (400 N.m)
วิธที าํ

58

II บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
20. จงหาทอรกทีใ่ ชในการทําใหจานกลมทีม่ โี มเมนตความเฉือ่ ย 20 กิโลกรัม.เมตร2 เริม่ หมุน
จากหยุดนิง่ จนกระทัง่ มีอตั ราเร็ว 7 รอบ/วินาที ใน 10 วินาที (88 N.m)
วิธที าํ

21. เครือ่ งยนตของเฮลิคอปเตอรลาํ หนึง่ สงทอรกขนาด 1000 นิวตัน.เมตร กระทําตอใบพัด


ซึง่ มีโมเมนตความเฉือ่ ย 200 กิโลกรัม.เมตร2 จงหาวาจะตองใชเวลานานเทาใด จึงทําให
ความเร็วของใบพัดหมุน 420 รอบ/นาที จากเริม่ ตนอยูน ง่ิ (8.8 วินาที)
วิธที าํ

22. มูเ ลตวั หนึง่ มีโมเมนตความเฉือ่ ย 3 กิโลกรัม เมตร2 จงหาทอรกคงทีซ่ ง่ึ จะทําใหอตั รา
เร็วของมูเ ลเพิม่ จาก 2 รอบ/วินาทีเปน 5 รอบ/วินาทีใน 6 รอบ (33 N. m)
วิธที าํ

23. วงลอมีรศั มี 25 Cm หมุนโดยไมมแี รงเสียดทานดวยความเรงเชิงมุม 2.25 rad/s2 เมือ่ มีแรง


คงที่ 90 นิวตัน กระทําในแนวเสนสัมผัสกับวงลอ จงหาโมเมนตความเฉือ่ ยของวงลอ
1. 0.1 kg.m2 2. 1.0 kg.m2 3. 10.0 kg.m2 4. 40.0 kg.m2 (ขอ 3)
วิธที าํ

59

II บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
ตอนที่ 3 โมเมนตัมเชิงมุม และ กฏทรงโมเมนตัมเชิงมุม
โมเมนตัมเชิงมุม (L) คือ ผลคูณระหวางโมเมนตความเฉือ่ ย (I) กับความเร็วเชิงมุม (÷)
L = I•
เมือ่ L คือ โมเมนตัมเชิงมุม (kg.m2 . rad/s)
I คือ โมเมนตความเฉือ่ ย (kg.m2)
÷ คือ ความเร็วเชิงมุม (rad/s)
พิจารณา L = I÷ และ ϒ = ⊇t
L = I×t • = ϒt
L = ×t
24. ถาเหวีย่ งมวล 0.2 กิโลกรัม ดวยเชือกยาว 4 เมตร ใหเคลือ่ นทีเ่ ปนวงกลมในระนาบ
ระดับ ถาความเร็วเชิงมุมมีคา 10 เรเดียน/วินาที จงหาโมเมนตัมเชิงมุม ( 8 kg.m2 / s )
วิธที าํ

25. วัตถุมวล 0.2 กิโลกรัม ผูกติดกับปลายขางหนึง่ ของเสนเชือกยาว 2 เมตร จับปลายอีก


ขางหนึง่ เหวีย่ งใหวตั ถุเคลือ่ นทีใ่ นแนววงกลม ในระนาบระดับดวยอัตราเร็วคงที่ 10 เมตร/
วินาที จงหาโมเมนตัมเชิงมุมของวัตถุน้ี ในหนวยกิโลกรัม.เมตร2/วินาที
1. 2 2. 4 3. 8 4. 16 (ขอ 2)
วิธที าํ

กฏทรงโมเมนตัมเชิงมุม กลาววา “ หากทอรกมีคา เปนศูนย โมเมนตัมเชิงมุมจะมีคา คงตัว”


นัน่ คือ ρL1 = ρL2
60

II บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
26. ชายคนหนึง่ ถือดัมเบลไวสองมือ ยืนบนเกาอีท้ ห่ี มุนไดอยางเสรีไมมแี รงเสียดทานและมี
แกนหมุนอยูใ นแนวดิง่ ขณะทีเ่ ขากางมือออก โมเมนตความเฉือ่ ยของชายคนนัน้ และเกาอีเ้ ทา
กับ 2.25 กิโลกรัม.เมตร2 ความเร็วเชิงมุมเริม่ ตนในการหมุน 5 เรเดียน/วินาที เมือ่ เขาหุบ
แขนทัง้ สองเขาหาตัว โมเมนตความเฉือ่ ยรวมเทากับ 1.80 กิโลกรัม.เมตร2 อัตราเร็วเชิงมุม
ในการหมุนขณะหุบแขนมีคา เทาใด (6.25 rad/s)
วิธที าํ

27. นําวัตถุมวล 1 กิโลกรัม ผูกติดกับปลายเชือกแลวเหวีย่ งใหเปนวงกลมดวยความเร็วเชิงมุม


15 เรเดียน/วินาที ตอมาดึงเชือกใหหดสัน้ เขาทําใหรัศมีวงกลมลดลงและมีความเร็วเชิงมุม
เปลีย่ นเปน 5 เรเดียน/วินาที ถาตอนแรกโมเมนตความเฉือ่ ยเทากับ 2.5 กิโลกรัม.เมตร2
แลวโมเมนตความเฉือ่ ยตอนหลังมีคา เทาใด (7.5 kg.m2)
วิธที าํ

28(En 40) วัตถุมวล 50 กรัม ผูกติดกับปลายเชือกซึง่ ลอดผานรูหลอดเล็กๆ ปลายเชือกขางหนึง่


ดึงยืดไวดว ยแรงคาหนึง่ แลวเหวีย่ งใหเปนวงกลมรัศมี 1 เมตร ถาดึงเชือกใหรศั มีวงกลมเปน
50 เซนติเมตรทันที วัตถุจะเคลือ่ นทีด่ ว ยอัตราเร็วเชิงมุมเทาไรในหนวยเรเดียน/ วินาที
ถาเดิมมีอตั ราเร็วเชิงมุม 3 เรเดียนตอวินาที (12 rad/s)
วิธที าํ

61

II บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
29. ชายคนหนึง่ ยืนอยูบ นแปนหมุน ในขณะทีเ่ หยียดแขนออกเขาหมุนดวยอัตราเร็ว 0.50
รอบ/วินาที แตเมือ่ เขาดึงแขนเขาขางตัว อัตราเร็วเปลีย่ นเปน 0.75 รอบ/วินาที จงหาอัตรา
สวนของโมเมนตความเฉือ่ ยของระบบตอนแรกตอตอนหลัง
1. 23 2. 49 3. 23 4. 49 (ขอ 3)
วิธที าํ

30. ชายคนหนึง่ มีมวล 80 กิโลกรัม ยืนอยูบ นขอบของมาหมุนเด็กเลนทีอ่ ยูน ง่ิ ทีร่ ะยะ 4 เมตร
จากจุดศูนยกลาง ชายคนนีเ้ ดินไปตามขอบของมาหมุนดวยอัตราเร็ว 1 เมตร/วินาที เทียบกับ
พื้น การเคลือ่ นทีน่ จ้ี ะทําใหมา หมุน หมุนดวยอัตราเร็วเชิงมุมเทาใด ถามาหมุนมีโมเมนต
ความเฉือ่ ย 10000 กิโลกรัม.เมตร2 (–0.032 rad/s)
วิธที าํ

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

ตอนที่ 4 การทํางานในการหมุน
เราสามารถคํานวณหางานในการหมุนตัวไดจาก
W= ×±
และ กําลังในการหมุนหาคาไดจาก
P = Wt
P = !" t เพราะ W = × ±
P= ו เพราะ ! = !t
เมือ่ W คือ งานทีเ่ กิดจากการหมุน
P คือ กําลังของการหมุน
62

II บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
31. เครือ่ งยนตขนาด 50 กิโลวัตต หมุนลอในอัตรา 3500 รอบ/นาที จงหาทอรกทีเ่ กิดจาก
เครือ่ งยนตในตอนนี้ ( 136.36 N.m )
วิธที าํ

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

ตอนที่ 5 พลังงานจลนของการหมุน
พลังงานจลนของการหมุน
หาจาก Ek = 12 I ÷2

32. มาหมุนชุดหนึง่ มีโมเมนตความเฉือ่ ยรอบแกนหมุนในแนวดิง่ 900 กิโลกรัม.เมตร2 ถา


ผลักใหหมุนในอัตรา 2 รอบตอนาที จงหาพลังงานจลนของมาหมุนนี้ (19.7 จูล)
วิธที าํ

33(En 40) วัตถุมวล 0.1 กิโลกรัม และ 0.3


กิโลกรัม ติดอยูกับปลายทั้งสองของแทง
โลหะเบายาว 1.00 เมตร ดังรูป จงหา
พลังงานจลนของการหมุน ถาแทงโลหะ
หมุนรอบแกน AB 10 เรเดียน/วินาที
1. 3.75 J 2. 5.63 J 3. 7.50 J 4. 15.0 J (ไมมคี าํ ตอบ)
วิธที าํ

63
เII บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
ถาวัตถุกลิ้ง (หมุนพรอมกับเคลือ่ นทีไ่ ป)
พลังงานจลน = พลังงานจลนของการเคลื่อนที่แบบเลื่อนที่
+ พลังงานจลนของการเคลื่อนที่แบบหมุน
Ek = 12 mv2 + 12 I ÷2

34. แผนไมกลมมีรัศมี 0.5 เมตร มวล 2 กิโลกรัม และโมเมนตความเฉือ่ ย 0.25 กิโลกรัม


เมตร2 เคลือ่ นทีใ่ นแนวตรง โดยมีความเร็วของศูนยกลางมวล 4 เมตรตอวินาที จงหาพลัง
งานจลนของแผนไมน้ี เมือ่ วัตถุเคลือ่ นทีโ่ ดยหมุนกลิง้ รอบศูนยกลางมวล (24 J)
วิธที าํ

35(มช 37) แผนไมกลมแบนรัศมี 8.0 เซนติเมตร มวล 280 กรัม กําลังกลิ้งไปตามพื้นราบ


อยางสม่ําเสมอโดยไมมีการไถล ศูนยกลางมวลของแผนไมมีความเร็ว 0.16 เมตร/วินาที
พลังงานจลนของแผนไมในการกลิ้งครั้งนี้ รวมทั้งสิ้นมีคาเทาใด กําหนดโมเมนตความเฉือ่ ย
ของแผนไมเทากับ 9.0 x 10–4 kg.m2 (ขอ 3)
1. 1.8x10–3 จูล 2. 3.58x10–3 จูล 3. 5.38x10–3 จูล 4. 7.18x10–3 จูล
วิธที าํ

36. วัตถุมวล m มีโมเมนตความเฉือ่ ย I และมีโมเมนตัมเชิงมุม L จะมีพลังงานจลนเทาใด


1. I 2 2. mI 2 3. L2I2 4. mL 2 (ขอ 3)
2L 2L 2I
วิธที าํ

64

II บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
37. ทอทรงกระบอกกลวงกลิ้งไปตามพื้นระดับโดยไมไถล จงหาอัตราสวนระหวางพลังงาน
จลนของการหมุนตอพลังงานจลนของการเลือ่ นตําแหนง ( I ทรงกระบอก = m r2)
1. 12 2. 1 3. 2 4. 4 (ขอ 2)
วิธที าํ

38. แผนโลหะกลมมวล 1 กิโลกรัม รัศมี 0.2 เมตร มีโมเมนต


ความเฉือ่ ย 0.02 กิโลกรัม . เมตร2 เคลือ่ นทีจ่ ากหยุดนิง่
ลงมาตามพืน้ เอียงดังรูป จนศูนยกลางมวลต่ํากวาเดิม 1 เมตร
จงหาความเร็วสูงสุดของแผนโลหะนีเ้ มือ่
ก. เคลื่อนที่แบบไถล ข. เคลื่อนที่แบบกลิ้ง (4.47 m/s , 3.65 m/s)
วิธที าํ

39. ปลอยวงลอรัศมี 40 เซนติเมตร กลิ้งลงมาจากเนิน ณ ตําแหนงทีส่ งู 3.6 เมตร จงหา


อัตราเร็วเชิงมุมเมือ่ ถึงปลายลางเนิน
1. 15 rad/s 2. 30 rad/s 3. 45 rad/s 4. 60 rad/s (ขอ 1)
วิธที าํ

65
เII บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
แบบฝ ก หั ด ฟ สิ ก ส บทที่ 7 การเคลื่ อ นที่ แ บบหมุ น
การขจัดเชิงมุม ความเร็วเชิงมุม และ ความเรงเชิงมุม
1. วัตถุกอ นหนึง่ หมุนรอบตัวเองดวยความเร็วเชิงมุม 5 เรเดียน/วินาที เมือ่ ใหแรงคูค วบกระทํา
ทางเดียวกับการหมุนปรากฎวาวัตถุกอ นนัน้ มีความเรงเชิงมุม 2 เรเดียน/วินาที2 จงหาวาถา
ใหแรงคูค วบกระทํานาน 10 วินาที ความเร็วเชิงมุมของวัตถุเปนเทาใด (25 red/s)
2. วงลอวงหนึ่งมีเสนผาศูนยกลาง 1 เมตร เริม่ หมุนรอบแกนจากหยุดนิง่ ดวยแรงคูค วบคูห นึง่
ปรากฎวาวงลอนัน้ มีความเร็วปลายเปน 40 เรเดียน/วินาที ในเวลา 10 วินาที จงหาความ
เรงเชิงมุมและมุมทีร่ ศั มีของวงลอกวาดไปไดเปนเทาใด ( 4 rad/s2 , 200 rad)
3. ลออันหนึง่ ใชเวลา 3 วินาที ในการหมุนไปเปนมุมทัง้ หมด 234 เรเดียน วัดความเร็วเชิงมุม
ขณะนัน้ ได 108 เรเดียน/วินาที จงหาความเรงเชิงมุมของการหมุน ( 20 rad/s2)
4. ใบพัดลมเครือ่ งหนึง่ หมุนดวยอัตรา 600 รอบ/นาที ในเวลา 5 วินาที จากหยุดนิง่ จงหา
ความเรงเชิงมุมของใบพัดลมนี้ ± rad/s2)
( 4±
5. ความเร็วเชิงมุมของลออันหนึง่ ลดลงดวยอัตราคงทีจ่ าก 1000 รอบตอนาทีเหลือ 400 รอบ
ตอนาที ในเวลา 5 วินาที จงหาความเรงเชิงมุมและจํานวนรอบทีห่ มุนไดในชวงเวลา 5
วินาที ° rad/s2 , 58.33)
(–4°

6. มอเตอรของพัดลมเครือ่ งหนึง่ กําลังหมุนดวยอัตราเร็ว 900 รอบ/นาที แลวคอยๆ หมุนชาลง


อยางสม่าํ เสมอจนมีอตั ราเร็ว 300 รอบ/นาที ในขณะที่หมุนไปได 50 รอบ จงหา
ก. ความเรงเชิงมุม ข. เวลาที่ใชในการหมุนไป 50 รอบนี้ (–4±± rad/s2 , 5 S)
7. ลอจักรยานมีรศั มี 20 เซนติเมตร เคลือ่ นทีด่ ว ยความเร็ว 5 เมตร/วินาที จะมีอตั ราเร็ว
เชิงมุมกีเ่ รเดียน/วินาที
1. 25 2. 50 3. 75 4. 100 (ขอ 1)
8. จักรยานคันหนึง่ เริม่ เคลือ่ นทีอ่ อกไปดวยความเรงเชิงมุม 2 เรเดียน/วินาที2 ถาลอจักรยาน
มีรศั มี 0.5 เมตร จงหาระยะทางที่จักรยานเคลื่อนที่ไดใน 10 วินาที นับจากเริม่ ตน (50 ม.)
9. มวล 0.5 กิโลกรัม เคลือ่ นทีเ่ ปนวงกลมรอบจุดหมุน ดวยรัศมี 2 เมตร จากหยุดนิง่ โดยมี
อัตราเรงคงที่ จนมีความเร็วเชิงเสน 20 เมตร/วินาที เมือ่ เวลาผานไป 10 วินาที จงหา
จํานวนรอบทีเ่ คลือ่ นทีไ่ ด (7.96 รอบ)
66
II บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
โมเมนตแหงความเฉือ่ ย และ ทอรก
10. วัตถุมวล 100 กรัม และ 200 กรัม ติด
อยูกับปลายทั้งสองของแทงโลหะเบายาว
20 cm 100 cm
100 g A 200 g
120 เซนติเมตร ดังรูป จงหาโมเมนต B
2
ความเฉือ่ ยรอบแกน AB (0.204 kg.m )
11. จากรูป จงคํานวณหาทอรก เมือ่ F มีคา 10 นิวตัน (10 N.m)

1m O

F = 10 N
12. จงหาทอรกทีใ่ ชในการทําใหจานกลมทีม่ โี มเมนตความเฉือ่ ย 20 กิโลกรัม.เมตร2 เริม่ หมุน
จากหยุดนิง่ จนกระทัง่ มีอตั ราเร็ว 7 รอบ/วินาที ใน 10 วินาที (88 N.m)
13. เครือ่ งยนตของเฮลิคอปเตอรลาํ หนึง่ สงทอรกขนาด 1000 นิวตัน.เมตร กระทําตอใบพัด
ซึง่ มีโมเมนตความเฉือ่ ย 200 กิโลกรัม.เมตร2 จงหาวาจะตองใชเวลานานเทาใด จึงทําให
ความเร็วของใบพัดหมุน 420 รอบ/นาที จากเริม่ ตนอยูน ง่ิ (8.8 วินาที)
14. มูเ ลตวั หนึง่ มีโมเมนตความเฉือ่ ย 3 กิโลกรัม เมตร2 จงหาทอรกคงทีซ่ ง่ึ จะทําใหอตั รา
เร็วของมูเ ลเพิม่ จาก 2 รอบ/วินาทีเปน 5 รอบ/วินาทีใน 6 รอบ (33 N. m)
15. วงลอมีรศั มี 25 Cm หมุนโดยไมมแี รงเสียดทานดวยความเรงเชิงมุม 2.25 rad/s2 เมือ่ มีแรง
คงที่ 90 นิวตัน กระทําในแนวเสนสัมผัสกับวงลอ จงหาโมเมนตความเฉือ่ ยของวงลอ
1. 0.1 kg.m2 2. 1.0 kg.m2 3. 10.0 kg.m2 4. 40.0 kg.m2 (ขอ 3)

โมเมนตตมั เชิงมุม
16. ถาเหวี่ยงมวล 0.2 กิโลกรัม ดวยเชือกยาว 2 เมตร ใหเคลือ่ นทีเ่ ปนวงกลมในระนาบ
ระดับ ถาความเร็วเชิงมุมมีคา 10 เรเดียน/วินาที จงหาโมเมนตัมเชิงมุม ( 8 kg.m2 / s )
17. วัตถุมวล 0.2 กิโลกรัม ผูกติดกับปลายขางหนึ่งของเสนเชือกยาว 2 เมตร จับปลายอีกขาง
หนึง่ เหวีย่ งใหวตั ถุเคลือ่ นทีใ่ นแนววงกลม ในระนาบระดับดวยอัตราเร็วคงที่ 10 เมตร/วินาที
จงหาโมเมนตัมเชิงมุมของวัตถุน้ี ในหนวยกิโลกรัม.เมตร2 / วินาที (4)
67
พ์

II บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
18. ชายคนหนึง่ ถือดัมเบลไวสองมือ ยืนบนเกาอีท้ ห่ี มุนไดอยางเสรีไมมแี รงเสียดทานและมี
แกนหมุนอยูใ นแนวดิง่ ขณะทีเ่ ขากางมือออก โมเมนตความเฉือ่ ยของชายคนนัน้ และเกาอีเ้ ทา
กับ 2.25 กิโลกรัม.เมตร2 ความเร็วเชิงมุมเริม่ ตนในการหมุน 5 เรเดียน/วินาที เมือ่ เขาหุบ
แขนทัง้ สองเขาหาตัว โมเมนตความเฉือ่ ยรวมเทากับ 1.80 กิโลกรัม.เมตร2 อัตราเร็วเชิงมุม
ในการหมุนขณะหุบแขนมีคา เทาใด (6.25 rad/s)
19. วัตถุกอ นหนึง่ มีมวล 50 กรัม ผูกเชือกเขาไปในหลอดเล็กๆ ซึ่งไมมีความเสียดทานอีกปลาย
หนึ่งผูกกับมวล m เอามือจับหลอดแลวเหวีย่ งใหมวล 50 กรัม เคลือ่ นทีเ่ ปนวงกลมตาม
แนวระดับดวยความเร็วเชิงมุม 3 เรเดียน/วินาที รัศมีของวงกลมเปน 20 เซนติเมตร แลว
เพิม่ มวล m ทีห่ อ ยเพือ่ ใหรศั มีของวงกลมเปลีย่ นเปน 10 เซนติเมตรอยางฉับพลัน ถาคิดวา
มวล 50 กรัมเปนอนุภาคเล็กๆ จงหาวามวล 50 กรัม เคลือ่ นทีด่ ว ยความเร็วเชิงมุมเทาใด
( 12 rad/s )
งาน และ พลังงานของการหมุน
20. เครือ่ งยนตขนาด 44 กิโลวัตต หมุนลอในอัตรา 4200 รอบ/นาที จงหาทอรกทีเ่ กิดจาก
เครือ่ งยนตในตอนนี้ ( 100 N.m )
21. แผนไมกลมมีรัศมี 1 เมตร มวล 4 กิโลกรัม และโมเมนตความเฉือ่ ย 1 กิโลกรัม.เมตร2
เคลือ่ นทีใ่ นแนวตรง โดยมีความเร็วของศูนยกลางมวล 4 เมตรตอวินาที จงหาพลังงานจลน
ของแผนไมน้ี เมือ่ วัตถุเคลือ่ นทีโ่ ดยหมุนกลิง้ รอบศูนยกลางมวล ( 40 J)
22. ทอทรงกระบอกกลวงกลิ้งไปตามพื้นระดับโดยไมไถล จงหาอัตราสวนระหวางพลังงาน
จลนของการหมุนตอพลังงานจลนของการเลือ่ นตําแหนง (I ทรงกระบอก = mr2 )
1. 12 2. 1 3. 2 4. 4 (ขอ 2)

23. แผนโลหะกลมมวล 1 กิโลกรัม รัศมี 0.2 เมตร มีโมเมนต


ความเฉือ่ ย 0.02 กิโลกรัม . เมตร2 เคลือ่ นทีจ่ ากหยุดนิง่
ลงมาตามพืน้ เอียงดังรูป จนศูนยกลางมวลต่ํากวาเดิม 1 เมตร
จงหาความเร็วสูงสุดของแผนโลหะนีเ้ มือ่
ก. เคลื่อนที่แบบไถล ข. เคลื่อนที่แบบกลิ้ง (4.47 m/s , 3.65 m/s)
⌦⌦⌦⌦⌦⌦⌦⌦⌦⌦⌦⌦⌦⌦⌦⌦⌦⌦⌦⌦⌦⌦⌦⌦

68
บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน

ฟ สิ ก ส บทที่ 8 สภาพสมดุ ล และสภาพยื ด หยุ น


ตอนที่ 1 สมดุลตอการเคลือ่ นที่
1. จากรูป จงหาแรงลัพธ ( 10 N )

วิธที าํ

สมดุลตอการเคลื่อนที่ คือ ภาวะที่วัตถุอยูนิ่งๆ หรือเคลือ่ นทีด่ ว ยความเร็วคงที่ ภาวะนี้จะ


มีความเรง (a) เปนศูนยจะเกิดเมื่อแรงลัพธที่กระทําตอวัตถุมีคาเปนศูนย
2. ระบบในขอใดตอไปนี้อยูในภาวะสมดุล
10 N 18 N
ก. ข. 8 N ค. ง. 8 N
6N 8N 6N 18 N 8 N 10 N
วิธที าํ

69
บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน
3. จงตรวจดูวา ระบบอยูใ นภาวะ
สมดุลหรือไม

(สมดุล)
วิธที าํ

จากตัวอยางที่ผานมา โปรดสังเกตุวา สมดุลตอการเลื่อนที่จะเกิดเมื่อ


!Fx = 0 นัน ่ คือ แรงขึน้ = แรงลง
และ !Fx = 0 นัน่ คือ แรงซาย = แรงขวา
4. จากรูป หากระบบอยูในภาวะสมดุล จงหาขนาด
T1
ของแรงดึงเชือก T1 และ T2 (100 , 50 3 ) 30o 5 kg
วิธที าํ T2
mg

70
บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน
5. จากรูปมวล 2 กิโลกรัม ผูกเชือกแขวนเพดาน
ถูกแรงผลัก P ผลักไปทางขวา มีแรงดึงเชือก(T) T
45o
และ น้าํ หนักกระทําดังรูป จงหาวาขนาดของแรง P
ดึงเชือก(T) และแรงผลัก (P) (20 N , 10 2 N)
วิธที าํ
mg

6. มวล 20 3 กิโลกรัม ผูกเชือกแขวนจากเพดาน


นาย ก. ออกแรงผลักมวลไปในแนวระดับจนเชือก 30o T
ทํามุม 30o จงหาวาออกแรงผลักเทาไร และ P
เชือกมีความตึงเทาใด (200 N , 400 N)
วิธที าํ

7(En 27) ชายคนหนึ่งมีมวล 55 กิโลกรัม หอยอยูด ว ยเชือกสองเสน ดังในรูปจงหาความตึงใน


เสนเชือกทัง้ สอง
( sin15o = 0.25 cos15o=0.96 g =10 m/s2)
ก. 275 นิวตัน ข. 540 นิวตัน
ค. 550 นิวตัน ง. 1100 นิวตัน (ขอ ง)
วิธที าํ

71
บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน
8. ชายคนหนึ่งมวล 80 กิโลกรัม โหนเชือกเบาทีจ่ ดุ O โดยปลายของเชือกทั้งสองขางไปผูก
ไวแนนกับเสาที่ A และ B แรงตึงในเสนเชือก AO และ BO เปนเทาไร
1. 400 และ 400 3 นิวตัน
2. 400 3 และ 400 นิวตัน
3. 300 และ 300 3 นิวตัน
4. 300 3 และ 300 นิวตัน (ขอ 2)
วิธที าํ

9. จากรูป นําเชือกผูกกับกอนน้าํ หนัก 40 N จง


60o 30o
หาขนาดของแรงตึงในเสนเชือก T1 และ T2
T1 T2
วิธที าํ ( 20 3 N , 20 N)
40N

10. ตามรูป เชือกที่โยงกําแพงแนวตั้งกับคานเบามาก จะตอง


ทนแรงดึงไดไมต่ํากวาเทาใด น้าํ หนัก 46 นิวตัน จึงจะทํา
ใหระบบสมดุล (23 3 )
วิธที าํ

72
บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน
11. วัตถุ M และ m สมดุลกันดังรูปอัตราสวน M/m คือ
( กําหนด sin37o= 53 ) (ขอ ข)
ก. 4/3 ข. 5/3 ค. 7/5 ง. 8/5
วิธที าํ

12. วัตถุมวล 5 กิโลกรัม วางอยูบนพื้นเอียงลื่น ซึ่งทํามุม 30o กับแนวระดับ จงหาแรงทีผ่ ลัก


วัตถุขน้ึ ตามแนวเอียงทีน่ อ ยทีส่ ดุ เพื่อทําใหวัตถุอยูในสภาพสมดุลได (ขอ 2.)
1. 12.5 2. 25.0 3. 37. 5 4. 50.0
วิธที าํ

13(En 34) ลิ่มอยูบนพื้นราบที่ไมมีแรงเสียดทาน m1 และ m2


ผูกไวดงั รูป m1 , m2 และ มุม ± ตองสัมพันธกันอยางไร
จึงจะทําใหลิ่มไมเลื่อน (ไมคิดแรงเสียดทาน) (ขอ 4.)
1. m1 = m2 cos± 2. m2 = m1 cos±
3. m1 = m2 sin± 4. m2 = m1 sin±
วิธที าํ

73
บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน
ตอนที่ 2 สมดุลตอการหมุน
สมดุลตอการหมุน คือ ภาวะที่วัตถุไมหมุน
หรือหมุนดวยความเร็วคงที่
โมเมนต คือ แรง x ระยะหางจากจุดหมุน
วัดมาตกตัง้ ฉากกับแรงนัน้
สมดุลตอการหมุนจะเกิดเมื่อ
θโมเมนตทวนเข็มนาฬิกา = θโมเมนตตามเข็มนาฬิกา
(10 N) x (3 m) = (10 N) x (3 m)
30 N⌡m = 30 N⌡m
14. ตามรูปเปนคานเบาอันหนึง่ ถามวา m
ควรมีคากี่กิโลกรัม จึงจะทําใหคานอยูใน
ภาวะสมดุล (2)
วิธที าํ

15. ตามรูปเปนคานเบาอันหนึง่ ถามวา m ควรมีคากี่


m
กิโลกรัม จึงจะทําใหคานอยูในภาวะสมดุล (0.5 )
วิธที าํ

16. คานอันหนึง่ ยาว 6 เมตร หนัก 8 นิวตัน มีจดุ หมุนอยู


หางจากปลายขางหนึ่ง 1 เมตรตามรูป ตองใชแรง F
เทาใด จึงจะทําใหคานนี้อยูในสภาพสมดุล (16 นิวตัน)
วิธที าํ

74
บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน
17. จากรูปเปนไมคานมีจุดหมุนอยูที่ระยะหางจากปลายขวา
2 เมตร มีชายคนหนึ่งมวล 60 กิโลกรัม ยืนอยูบ นคานนัน้
จงหาวาคานนี้ควรมีมวลกี่กิโลกรัมจึงจะอยูในภาวะสมดุล
8 ม. 2 ม.
วิธที าํ ( 40 กิโลกรัม )

18. นาย A และนาย B ยืนอยูปลายกระดานหกคนละดาน มวลของกระดาน 5 กิโลกรัม


จุดหมุนอยูท ่ี C ถานาย A มีมวล 60 กิโลกรัม
นาย B จะมีมวลกี่กิโลกรัม (ขอ 4)
1. 50 2. 49
3. 40 4. 39
วิธที าํ

19(มช 44) แผนไมสม่ําเสมอแผนหนึ่งยาว 4.0 เมตร มีมวล 60 กิโลกรัม วางพาดอยูบ นหมอน


หนุนทีจ่ ดุ C และปลาย A ตั้งอยูบนคมมีด ชายคนหนึง่ หนัก 600 นิวตัน เดินบนแผนไม
จาก A ไปยัง B ดังรูป จงหาวาเขาจะเดินไปไดไกลจาก A เปน ระยะทางมากที่สุดกี่เมตร
กระดานจึงจะยังคงสภาพสมดุลครั้งสุดทายอยูได
1. 2.0 2. 2.5
3. 3.0 4. 3.5 (ขอ 3.)
วิธที าํ

75
บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน
20(En 41/2) รถยกคันหนึ่งมีมวล 2400 กิโลกรัม
มีศูนยกลางมวลของรถอยูที่ตําแหนงกึ่งกลาง
ระหวางลอหลังกับลอหนาซึ่งหางกัน 2.0 เมตร
ถารถพยายามยกวัตถุที่อยูหางจากตัวรถไปทาง
ดานหนา 10 เมตร มวลมากที่สุดที่รถสามารถ
ยกไดเปนกี่กิโลกรัม (240 กิโลกรัม )
วิธที าํ

21. จากรูปใหหา T และ W วาเปนแรง


ที่มีขนาดเทาใด (7N,3N)
วิธที าํ

22. ตามรูป นาย A และนาย B แบกกระดานสม่ํา RA RB


เสมอยาว 10 เมตร มีมวล 20 กิโลกรัม ใน
แนวระดับเด็กคนหนึง่ ยืนบนกระดานทีจ่ ดุ C มี
มวล 5 กิโลกรัม นาย A และ นาย B จะตอง
ออกแรงคนละกีน่ วิ ตัน
1. 155 , 135 นิวตัน 2. 115 , 85 นิวตัน W1
W2
3. 135 , 115 นิวตัน 4. 85 , 115 นิวตัน ( ขอ 3)
วิธที าํ

76
บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน
23(En 43/1) ชายคนหนึ่งถือแผนไมขนาดสม่ําเสมอยาว 2 เมตร
น้าํ หนัก 100 นิวตัน ใหสมดุลตามแนวระดับ โดยมือขางหนึง่
ยกแผนไมขึ้นที่ตําแหนง 40 เซนติเมตร จากปลายใกลตัวและ
มืออีกขางหนึ่งกดแผนไมลงที่ปลายเดียวกันนั้นดังรูป จงหา
แรงกด และแรงยกจากมือทั้งสองตามลําดับที่ทําใหแผนไมอยูนิ่ง (150 และ 250 นิวตัน)
วิธที าํ

24. กระดานสปริงสําหรับกระโดดน้าํ หนัก 400 นิวตัน มีหลักยึดกับกระดานสปริงที่ A และ B


ซึ่งหางกัน 1/4 ของความยาวของกระดานสปริง ดังรูป
จงหาขนาดและทิศทางของแรงที่ A และ B กระทํา
ตอกระดานสปริง ขณะทีน่ กั กระโดดน้าํ หนัก 600 นิว-
C
ตัน ที่ปลานคาน C ยืนนิ่งอยู ( 2200 N , 3200 N ) A B

77
บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน

ตอนที่ 3 แรงคูควบ การไดเปรียบเชิงกล และ ประสิทธิภาพเชิงกล


แรงคูค วบ คือ แรง 2 แรง ซึ่งมีลักษณะ ดังตอไปนี้
1) มีคาเทากัน
2) มีทศิ ตรงกันขาม
3) อยูใ นแนวทีข่ นานกัน
โมเมนตของแรงคูค วบ = ขนาดของแรงหนึง่ แรงใด x ระยะหางของแรงทั้งสอง
= (10 N) x (8 m)
= 80 N⌡m
25(มช 28) แรง 2 แรง ขนานกันแตมที ศิ ตรงกันขามขนาด 50 นิวตัน เทากัน แนวแรงทัง้ สอง
หางกัน 10 เซนติเมตร โมเมนตของแรงคูน ร้ี อบจุดใด ๆ ทีอ่ ยูร ะหวางแนวแรงทัง้ คูจ ะเปนเทาใด
ก. 25 N.m ข. 500 N.m ค. 5 N.m ง. หาไมได (ขอ ค.)
วิธที าํ

26. ชายคนหนึ่งขับรถเลี้ยวซาย เกิดโมเมนตของแรงคูค วบทีพ่ วงมาลัย 200 นิวตัน – เมตร


ถาพวงมาลัยมีเสนผาศูนยกลาง 0.4 เมตร จงหาแรงที่มือแตละขางดึงพวงมาลัย (500 N)
วิธที าํ

การไดเปรียบเชิงกล ( MA) คือ จํานวนเทาตัวทีไ่ ดเปรียบ


เชน ในรูปภาพ เมือ่ ใชแรง (F) = 20 นิวตัน
จะยกน้ําหนัก ( W )ได 100 นิวตัน
เรียกไดวา การไดเปรียบเชิงกล ( MA) = 5 เทาตัว
เราสามารถหาคาการไดเปรียบเชิงกลไดจาก
M.A. = W F หรือ M.A. = Rr
เมือ่ M.A คือ การไดเปรียบเชิงกล
W คือ น้าํ หนักทีย่ กได F คือ แรงทีใ่ ชยก
R คือ ระยะหางจากจุดหมุนถึงแรงทีใ่ ช r คือ ระยะหางจากจุดหมุนถึงแรงทีไ่ ด
78
บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน
ประสิทธิภาพเชิงกล ( Eff ) คือ เปอรเซ็นตทบ่ี อกคุณภาพเครือ่ งมือ
เชน สมมุติ ตามทฤษฏี น้ําหนักยกไดเปน 100 นิวตัน แตเมือ่ ยกจริง ยกได 70 นิวตัน
เรียกไดวา ประสิทธภาพเชิงกล ( Eff ) = 70%
เราสามารถหาคา ประสิทธิภาพเชิงกลไดจาก
Eff = W/F R/r x 100%
เมือ่ W คือ น้ําหนักที่ยกไดจริง (ไมใชตามทฤษฏี)
27. กรรไกรตัดลวดมีระยะระหวางลวดและจุดหมุนเปน
2 เซนติเมตร ระยะระหวางจุดหมุนและมือเปน 10
เซนติเมตร ออกแรง F 50 N บีบขากรรไกรดังรูป
ก. แรงทีก่ ระทําตอลวดเปนเทาใด (250 N )
ข. การไดเปรียบเชิงกลเปนเทาใด (5 เทา )
วิธที าํ

28. กวานตัวหนึง่ มีแขนหมุนยาว 60 เซนติเมตร และ รัศมีกวาน 7.5 เซนติเมตร ถาไมมีแรง


เสียดทาน การไดเปรียบเชิงกลจะเปนเทาใด ( 8 เทา )
วิธที าํ

29. จากขอที่ผานมา ถาออกแรง 50 นิวตัน ยกน้าํ หนักไดจริง 150 นิวตัน การไดเปรียบ


เชิงกลครั้งหลังนี้เปนเทาใด (3 เทา )
วิธที าํ

30. จากขอที่ผานมา ประสิทธิภาพเชิงกลเปนเทาใด ( 37.5% )


วิธที าํ

79
บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน
31(มช41) โดยการใชลอ และเพลาดังรูปเราสามารถยกวัตถุมวล 40 กิโลกรัม
โดยใชแรง 50 นิวตัน กระทําที่ขอบของลอรัศมีของลอ และเพลามีคา
เทากับ 96 และ 6 เซนติเมตร ตามลําดับ จงหาประสิทธิภาพของเครื่องกลนี้
1. 40% 2. 50% 3. 78% 4. 80% (ขอ 2)
วิธที าํ

32. เมื่อออกแรง 10 นิวตัน กดทีป่ ลายดามคีมอันหนึง่ จะเกิดแรงกดวัตถุที่ปลายคีมเทาไร ถาปาก


คีมยาว 2 เซนติเมตร ดามคีมยาว 10 เซนติเมตร และคีมมีประสิทธิภาพ 95% (47.5 N)
วิธที าํ

33. คานงัดอันหนึง่ ยาว 3 เมตร ชายคนหนึง่ ตองการงัดกอนหินกอนหนึง่ หนัก 100 กิโลกรัม


โดยออกแรงกดลง 200 นิวตัน ถาคานงัดนี้มีประสิทธิภาพ 90 % เขาจะตองนําทีร่ องงัดมา
วางหางจากกอนหินเทาไร (0.45 เมตร )
วิธที าํ

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

ตอนที่ 4 เสถียรภาพของสมดุล
เสถียรภาพของสมดุลมีได 3 แบบ ไดแก
1. สมดุลแบบเสถียร คือ สมดุลทีม่ รี ากฐานรองรับมัน่ คง
เมือ่ ถูกแรงกระทําเล็กนอย จะเปลี่ยนลักษณะการ
วางตัว แตเมือ่ แรงกระทํานัน้ หมดไปจะสามารถ
กลับคืนสูสภาพเดิมได
2. สมดุลแบบไมเสถียร คือ สมดุลทีม่ รี ากฐานออนแอ เมือ่
ถูกกระทบกระเทือน จะเปลี่ยนลักษณะการวาง
ตัว และจะไมสามารถกลับคืนสูสภาพเดิมได
80
บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน
3. สมดุลแบบสะเทิน คือ สมดุลซึ่งเมื่อถูกแรงมากระเทือน
จะเปลี่ยนตําแหนงที่อยู แตลักษณะการวางตัวยัง
คงเหมือนเดิม
34. สมดุลตอไปนี้เปนสมดุลแบบใด
1. เหรียญบาทตัง้ ตะแคง 2. ลูกแกววางบนพื้น 3. แทงปรามิดวางตัง้ บนพืน้
ตอบ
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

ตอนที่ 5 โจทยประยุกตเกี่ยวกับสมดุล
35. กลองสี่เหลี่ยมกวาง 20 ซม. สูง 40 ซม. หนัก
20 ซม.
100 นิวตัน ถูกแรงกระทํา 40 นิวตัน ณ.จุดสูง
เทากับ h จงหาวาความสูง h มีคาเทาใด จึงจะ 40 N
ทําใหกลองนี้เริ่มลมพอดี ( ขอ 2.)
1. 20 ซม. 2. 25 ซม. h
3. 30 ซม. 4. 35 ซม.
วิธที าํ

36(En 44/1) ออกแรง F = 160 นิวตัน ผลักตูเย็น


40 กิโลกรัม บนพื้นฝดที่ความสูง 90 เซน-
ติเมตร จากพื้นโดยตูเย็นไมลม จงหาความ 120 cm
90 cm
กวางนอยทีส่ ดุ ของฐานตูเ ย็น (x) ในหนวย
เซนติเมตร กําหนดใหความสูงของตูเย็นคือ
120 เซนติเมตรและจุดศูนยกลางมวลอยูสูง
จากพื้น 40 เซนติเมตร ดังรูป (72 cm)
81
บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน
วิธที าํ

37(En 43/2) กลองวัตถุรูปสี่เหลี่ยมมีมวลสม่ําเสมอฐานกวาง 0.2 เมตร สูง 0.5 เมตร มีนาํ้ หนัก
200 นิวตัน วางอยูบนพื้นที่ฝดมาก ถาออกแรง P กระทําตอวัตถุในแนวทํามุม 37o กับแนว
ระดับ ดังรูป จะตองออกแรงเทาใด
จึงจะทําใหวัตถุลมพอดี
1. 25 N 2. 50 N
3. 75 N 4. 100 N (ขอ 2)
วิธที าํ

38. กลองสี่เหลี่ยมกวาง 40 ซม. สูง 80 ซม. หนัก


40 ซม.
400 นิวตัน ถูกแรงกระทํา 200 นิวตัน ณ.จุดสูง
จากพื้น 50 เซนติเมตร จงหาวากลองใบนี้จะลม 200N
หรือไม (ลม)
h
วิธที าํ

82
บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน
39. บันไดสม่ําเสมอหนัก 200 นิวตัน ปลายบนพิงกําแพงเกลี้ยงตรงจุด
ซึ่งอยูสูงจากพื้น 4 เมตร โดยบันไดยันกับพื้นขรุขระหางจากกําแพง
3 เมตร จงหาแรงที่ยันปลายบันไดไมใหไถลลงมา ( 75 N )
วิธที าํ

40. บันไดสม่ําเสมอยาว 10 เมตร หนัก 400 นิวตัน ปลายบนพิงกําแพงเกลี้ยงตรงจุดซึ่งอยูสูง


จากพื้น 8 เมตร โดยบันไดยันกับพืน้ ขรุขระหางจาก
กําแพง 6 เมตร
ก. จงหาแรงที่ยันปลายบันไดไมใหไถลลงมา (150 N )
ข . ถามีวัตถุหนัก 100 นิวตัน วางอยูปลายบันไดดาน
ลางหางขึ้นมา 14 ของความยาวของบันได จงหา
แรงเสียดทานทีพ่ น้ื ราบ (168.75 N)
วิธที าํ

83
บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน
41(มช 37) AB เปนทอนไมขนาดสม่ําเสมอยาว 4 เมตร หนัก 4 กิโลกรัม ปลาย A ถูกยึดไว
กับผนังอาคารดวยบานพับ ปลาย B ผูกดวยเสนลวดโลหะ BC ยาว 5 เมตร ทําให AB
อยูในแนวระดับและที่ปลาย B นีม้ วี ตั ถุหนัก 28
กิโลกรัม แขวนดังรูป จงหาแรงตึงลวด BC
(ให g = 10 เมตรตอวินาที2 )
1. 466.7 นิวตัน 2. 46.7 นิวตัน
3. 500 นิวตัน 4. 50 นิวตัน (ขอ 3)
วิธที าํ

42(มช 47) เสนลวดดึงคาน AB ซึ่งมีมวล 5


เสนลวด
กิโลกรัมแขวนไวที่ปลาย B ถาคานสม่ํา
เสมอมีนาํ้ หนัก 20 นิวตัน ยาว 5 เมตร
30o 1m
มีปลาย A ตรึงติดกําแพง คานสมดุลอยูได A B
ดังรูป จงหาวาแรงดึงเสนลวดมีคา กีน่ วิ ตัน 4m
วิธที าํ (150 ) 5 kg

84
บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน

ตอนที่ 6 สภาพยืดหยุนของของแข็ง
สภาพพลาสติก (plasticity) คือ สมบัติของวัตถุที่มีการเปลี่ยนรูปรางไปอยางถาวร โดยผิว
วัตถุไมฉกี ขาดหรือแตกหัก
สภาพยืดหยุน (elasticity) คือ สมบัติของวัตถุที่มีการเปลี่ยนแปลงรูปรางเมื่อมีแรงกระทํา
และสามารถคืนตัวกลับสูสภาพเดิมเมื่อหยุดออกแรงกระทํา
พิจารณาตัวอยาง

ชวง oa แรงกับระยะยืดจะแปรผันตรงตอกัน และเมือ่ หมดแรงกระทําสปริงจะคืนสภาพเดิมได


ชวง ab เมือ่ แรงกระทําหมดไป สปริงจะคืนสภาพได แตแรงกับระยะยืดไมแปรผันตรงตอกัน
ชวง bc เมือ่ แรงกระทําหมดไป สปริงจะไมคืนสภาพเดิม เมือ่ ถึงจุด c สปริงจะขาด
43. สภาพพลาสติก คือ .......... .......... .......... .......... .......... .......... .......... .......... .......... ...............
สภาพยืดหยุน คือ .......... .......... .......... .......... .......... .......... .......... .......... .......... .......... ......

44. หากออกแรงกระทําเกินขีดจํากัดความยืดหยุน กระทําตอสปริง จะทําใหสปริง.......... ............


.......... .......... .......... .......... .......... .......... .......... .......... .......... .......... .......... ..........

แรงเคน (F ) คือ แรงดึงดูดระหวางโมเลกุลภายในของแข็งทีเ่ พิม่ ขึน้


ความเคน (×) คือ อัตราสวนระหวาง แรงเคน ตอพืน้ ทีห่ นาตัด
เขียนเปนสมการจะได × = AF
เมือ่ × คือ ความเคน (N / m2)
F คือ แรงเคน (N)
A คือ พืน้ ทีห่ นาตัดของเสนลวด (m2)

85
บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน
ประเภทของความเคน ความเคนแบบตึง
ความเคนตามยาว (tensile stress)
ความเคน (longitudinal stress)
ความเคนแบบอัด
(stress)
ความเคนเฉือน (compressive stress)
(shear stress)

ความเครียด (ƒ) คือ อัตราสวนระหวางความยาวที่เปลี่ยนไป ตอความยาวเดิม


เขียนเปนสมการจะได ÷ = υL L
0
เมือ่ ƒ คือ ความเครียดตามยาว
χL คือ ความยาวที่เปลี่ยนไป (m)
Lo คือ ความยาวเดิม (m)
คามอดูลสั ของยัง (Young’ s modulus)
คือ คาคงที่ หาไดจากอัตราสวนของความเคนตอความเครียด
เขียนเปนสมการจะได E = ∇℘
&F#
$A!
E = % "
& ′L #
$ ! เมือ่ E = คามอดูลสั ของยัง (N/m2)
$L !
% o "
× = ความเคน (N/m2)
E = AF Lo ƒ = ความเครียด
′L
45. ในการทดลองหาคามอดูลสั โดยใชนาํ้ หนัก 450 กิโลกรัม แขวนไวทป่ี ลาย
ลวดเหล็กยาว 2 เมตร พืน้ ทีห่ นาตัด 0.15 ตารางเซนติเมตร ปรากฎวาลวด
ยืดออก 0.3 เซนติเมตร จงหาความเคน (3x108 นิวตัน / เมตร2)
วิธที าํ

46. จากขอทีผ่ า นมา จงหาความเครียด ( 1.5x10–3 )


วิธที าํ
86
บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน
47. จากขอทีผ่ า นมา จงหาคามอดูลสั ของยังของลวดเหล็กนี้ ( 2x1011 N/ m2)
วิธที าํ

48(En 42/2) แขวนมวล 400 กิโลกรัม กับเสนลวดโลหะชนิดหนึง่ ยาว 10 เมตร มีพน้ื ทีห่ นาตัด
2 x 10–4 เมตร2 เสนลวดนี้จะยืดออกเปนเทาใด ถากําหนดใหคายังมอดูลัสของเสนนี้ เปน
2 x 1011 นิวตัน / เมตร2
1. 0.1 cm 2. 0.2 cm 3. 1.0 cm 4. 2.0 cm ( ขอ 1.)
วิธที าํ

49. ลวดโลหะชนิดหนึง่ มีความยาว 1 เมตร คามอดูลสั ของยังเปน 2.5x1011 นิวตัน/ตารางเมตร


พืน้ ทีภ่ าคตัดขวาง 2 ตารางมิลลิเมตร นําไปยึดติดกับวัตถุมวล m ทําใหลวดยืดออกไปอีก
0.01 เมตร จงหาขนาดของมวล m ในหนวยกิโลกรัม
1. 500 2. 1000 3. 2000 4. 5000 ( ขอ 1.)
วิธที าํ

50. แทงโลหะอันหนึง่ มีพน้ื ทีภ่ าคตัดขวาง 3 ตารางเซนติเมตร และมีคา มอดูลสั ของยังเทากับ


2 x 1011 นิวตัน/เมตร2 จงหาวาจะตองออกแรงดึงกีน่ วิ ตัน จึงจะทําใหแทงโลหะมีความ
ยาวเพิม่ ขึน้ 0.01 เปอรเซ็นต
1. 5000 2. 5700 3. 6000 4. 7000 (ขอ 3)
วิธที าํ

87
บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน
51. เมือ่ แขวนวัตถุมวล 50 กิโลกรัม เขากับเสนลวด แลวแขวนกับเพดานพบวาลวดยืดออก
เปน 0.25 % ของความยาวเดิม ถาลวดมีพน้ื ทีห่ นาตัด 0.4 ตารางมิลลิเมตร จงหาคา
มอดูลสั ความยืดหยุน ของลวดเสนนี้
1. 2.5 x 108 นิวตัน / ตารางเมตร 2. 5.0 x 1010 นิวตัน / ตารางเมตร
3. 5.0 x 1011 นิวตัน / ตารางเมตร 3. 2.5 x 1012 นิวตัน / ตารางเมตร
วิธที าํ

52(En 36) ลวดทําดวยโลหะตางชนิดกันสองเสนยาวเทากันมีพน้ื ทีห่ นาตัดเปน 0.1 และ 0.18


ตารางเซนติเมตร เมือ่ ดึงลวดทัง้ สองนีด้ ว ยแรงเทากัน มันจะยืดออกเทากับ 0.3 และ 0.2
เซนติเมตร ตามลําดับ จงหาอัตราสวนของมอดูลสั ของยังของลวดเสนทีห่ นึง่ ตอมอดูลสั ของ
ยังของลวดเสนที่สอง
27
1. 100 2. 65 3. 65 4. 100 ( ขอ 3.)
27
วิธที าํ

88
บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน
53. ลวด 2 เสน ทําดวยวัสดุชนิดเดียวกัน ถาลวด A ยาวเปนครึง่ หนึง่ ของลวด B แตกลับมีรศั มี 2
เทาของลวด B ถาตองการดึงลวดทัง้ สองใหยดื ออกมา โดยใหความยาวทีย่ ดื ออกมามีขนาดเทากัน
แรงทีใ่ ชยดื ลวด A ตองมีขนาดเทาใด
1. 1/8 ของแรงทีใ่ ชยดื ลวด B 2. 2 เทาของแรงทีใ่ ชยดื ลวด B
3. 4 เทาของแรงทีใ่ ชยดื ลวด B 4. 8 เทาของแรงทีใ่ ชยดื ลวด B (ขอ 4)
วิธที าํ

54(En 44/1) ลวดเหล็กกลาสําหรับดึงลิฟทตวั หนึง่ มีพน้ื ทีห่ นาตัด 5 ตารางเซนติเมตร ตัวลิฟท และ
สัมภาระในลิฟทมนี าํ้ หนัก 2000 กิโลกรัม จงหาความเคน(stress) ในสายเคเบิล ในขณะทีล่ ฟิ ท
กําลังเคลือ่ นทีข่ น้ึ ดวยความเรงสูงสุด 2.0 เมตรตอ(วินาที)2 ( ขอ 2.)
1. 64x106 N/m2 2. 48x106 N/m2 3. 40x106 N/m2 4. 32x106 N/m2
วิธที าํ

55(มช 42) ลวดเหล็กสําหรับดึงลิฟตเครือ่ งหนึง่ มีขดี จํากัดสภาพยืดหยุน 2x108 N/m2 และมีพน้ื ที่
หนาตัด 0.9 Cm2 ถาลิฟตนม้ี คี วามสามารถเคลือ่ นทีข่ น้ึ ไปดวยความเรงสูงสุด 8 m/s2 มวลใน
หนวยของกิโลกรัมของตัวลิฟตและสัมภาระในลิฟตจะมีคา มากทีส่ ดุ เทาใด ( 1000 kg)
วิธที าํ

89
บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน
แบบฝ ก หั ด ฟ สิ ก ส บทที่ 8 สมดุ ล กล
สมดุลตอการเคลือ่ นที่
1. จากรูป จงหาแรงลัพธ 16 N (10 นิวตัน)

18 N
45o

10 2 N
2. จงตรวจดูวา ระบบในรูปนี้ อยุใน 10 N 10 N
ภาวะสมดุลหรือไม (สมดุล) 60o 60o

10 3 N

3. จากรูปมวล 4 2 กิโลกรัม ผูกเชือกแขวนเพดาน


ถูกแรงผลัก P ผลักไปทางขวา มีแรงดึงเชือก(T) T
45o
และ น้าํ หนักกระทําดังรูป จงหาวาขนาดของแรง P
ดึงเชือก(T) และแรงผลัก (P) (80 N , 40 2 N)
mg
4. มวล 4 3 กิโลกรัม ผูกเชือกแขวนจากเพดาน
นาย ก. ออกแรงผลักมวลไปในแนวระดับจนเชือก 30o T
ทํามุม 30o จงหาวาออกแรงผลักเทาไร และ P
เชือกมีความตึงเทาใด (80 N , 40 N)
5(En 42/1) มวล m ถูกตรึงใหอยูใ นลักษณะดังรูป
แรงดึงเสนเชือก T1 ในเทอมของ m , g และ ⊗
มีคา เปนเทาไร (ขอ ก.)
ก. mg / sin ⊗ ข. mg / cos ⊗
ค. mg tan ⊗ ง. mg / tan ⊗
90
บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน
6(En 27) วัตถุกอ นหนึง่ แขวนไวดว ยเชือกเบา 3 เสน ดังรูป
ถาเชือกแตละเสนรับขนาด แรงดึงไดไมเกิน 20 นิวตัน
จงหาวาจะแขวนน้าํ หนักไดมากทีส่ ดุ กีน่ วิ ตัน (10 นิวตัน)

7(มช 34) วัตถุมวล 0.6 กิโลกรัม ผูกเชือกแขวนกับเพดาน


ดังรูป จงหาความตึงในเชือกทีต่ ดิ กับเพดาน
ก. 23 นิวตัน ข. 3 นิวตัน
ค. 2 3 นิวตัน ง. 3 2 นิวตัน (ขอ ค.)

8. โคมไฟมวล 8.5 กิโลกรัม หอยอยูด ว ยลวดเบาสองเสนดังรูป จงหาความตึงในเสนลวดทัง้


สอง กําหนด sin10o = 0.17 , cos10o = 0.98 10o 10o
1. 250 นิวตัน 2. 500 นิวตัน
3. 600 นิวตัน 4. 850 นิวตัน (ขอ 1.)
9. กรอบรูปสีเ่ หลีย่ มหนัก 3 นิวตัน มีเชือกเสนหนึง่ ผูกทีม่ มุ บนทัง้ สองของกรอบรูปแลวคลอง
กับตะปูลน่ื ตัวหนึง่ ปรากฎวาเสนเชือกทํามุม 37o กับแนว
กรอบรูป จงหาแรงตึงในเสนเชือก ( sin37o=3/5 ) 37o 37o
1. 25 นิวตัน 2. 30 นิวตัน
3. 40 นิวตัน 4. 60 นิวตัน (ขอ 1.)
10. ชายคนหนึง่ มวล 50 กิโลกรัม โหนเชือกเบาที่
จุด O โดยปลายของเชือกทัง้ สองขางไปผูกไว
แนนกับเสาที่ A และ B แรงตึงในเสนเชือก
AO และ BO เปนเทาไร (250 3 N , 250 N)
11. จากรูป นําเชือกผูกกับกอนน้าํ หนัก W จงหา
53o 37o อัตราสวนของขนาดของแรงตึงในเสนเชือก
T1 T2
T1 ตอ T2 (sin53o=4/5 , sin37o=3/5 )
w 1. 35 2. 43
3. 45 4. 43 (ขอ 4.)

91
บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน
12. จงหาอัตราสวนของแรง T1 ตอ T2 เมือ่ ระบบอยูน ง่ิ
60o
1. 12 2. 23
T1 T2
3. 2 4. 23 (ขอ 1.)
3
w
13. วัตถุมวล 20 กิโลกรัม วางอยูบ นพืน้ เอียงลืน่ ซึง่ ทํามุม 30o กับแนวระดับ จงหาแรงนอย
ทีส่ ดุ ทีผ่ ลักวัตถุขน้ึ ตามแนวพืน้ เอียง ทีท่ าํ ใหวตั ถุอยูใ นสภาพสมดุลได (100 N)

สมดุลตอการหมุน
14. ตามรูปเปนคานเบาอันหนึง่ ถามวา m
ควรมีคา กีก่ โิ ลกรัม จึงจะทําใหคานอยูใ น
ภาวะสมดุล (2)

15. จากรูปจงหาคา X / Y ทีท่ าํ ใหคานอยูใ น 40 N 20 N


ภาวะสมดุลตอการหมุน ( 1/2 )

X Y
16. จากรูปคานเบามีกอ นน้าํ หนัก W1 และ W2 วางบนคานและคานวางตัวอยูใ นแนวระดับได
แสดงวา
1. W1 L1 = W2 L2 W1 O W2
2. W1 L2 = W2 L1 1
3. W1 / L1 = W2 / L2 L1 L2
4. W1 < W2 (ขอ 1.)
17. คานสม่าํ เสมอ AB ยาว 4 เมตร มีมวล 60
กิโลกรัม วางพาดอยูบ นเสา A และเสา C ซึ่ง
C
อยูห า งกัน 3 เมตร ชายคนหนึง่ มีมวล 75 กิ A B
โลกรัม เดินจาก A ไป B ดังรูป จงหาวาเขา
จะเดินไดไกลจาก A มากทีส่ ดุ เทาไร คานจึงคงสภาพสมดุลอยูไ ด
1. 3.2 เมตร 2. 3.4 เมตร 3. 3.6 เมตร 4. 3.8 เมตร (ขอ 4.)
92
บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน
แรงคูควบ , การไดเปรียบเชิงกล และ ประสิทธิภาพเชิงกล
18. แรง 2 แรง ขนานกันแตมที ศิ ตรงกันขามขนาด 100 นิวตันเทากัน แนวแรงทัง้ สองหางกัน
5 เซนติเมตร โมเมนตของแรงคูน ร้ี อบจุดใด ๆ ทีอ่ ยูร ะหวางแนวแรงทัง้ คูจ ะเปนเทาใด (5 Nm)
19. ชายคนหนึง่ ขับรถเลีย้ วซาย เกิดโมเมนตของแรงคูค วบทีพ่ วงมาลัย 100 นิวตัน–เมตร
ถาพวงมาลัยมีเสนผาศูนยกลาง 0.5 เมตร จงหาแรงทีม่ อื แตละขางดึงพวงมาลัย (200 N)
20. กวานตัวหนึง่ มีแขนหมุนยาว 100 เซนติเมตร และ รัศมีกวาน 10 เซนติเมตร ถาไมมแี รง
เสียดทาน การไดเปรียบเชิงกลจะเปนเทาใด (10 เทา)
21. จากขอทีผ่ า นมา ถาออกแรง 50 นิวตัน ยกน้าํ หนักไดจริง 200 นิวตัน การไดเปรียบ
เชิงกลครัง้ หลังนีเ้ ปนเทาใด (4 เทา)
22. จากขอทีผ่ า นมา ประสิทธิภาพเชิงกลเปนเทาใด (40%)
23. เมื่อออกแรง 10 นิวตัน กดทีป่ ลายดามคีมอันหนึง่ จะเกิดแรงกดวัตถุที่ปลายคีมเทาไร ถาปาก
คีมยาว 2 เซนติเมตร ดามคีมยาว 10 เซนติเมตร และคีมมีประสิทธิภาพ 80% (40 N)

24. คานงัดอันหนึง่ ยาว 3 เมตร ชายคนหนึง่ ตองการงัดกอนหินกอนหนึง่ หนัก 100 กิโลกรัม


โดยออกแรงกดลง 200 นิวตัน ถาคานงัดนีม้ ปี ระสิทธิภาพ 70 % เขาจะตองนําทีร่ องงัดมา
วางหางจากกอนหินเทาไร ( 0.37 ม.)

โจทยประยุกตเกี่ยวกับภาวะสมดุล
25. กลองสีเ่ หลีย่ มกวาง 1 เมตร สูง 2 เมตร หนัก 10 กิโลกรัม ออกแรงผลักในแนวขนาน
กับพืน้ ขนาด 30 นิวตัน สูงจากพืน้ เทาไรกลองจึงจะเริม่ ลม
1. 1.0 เมตร 2. 1.2 เมตร 3. 1.5 เมตร 4. 1.7 เมตร ( ขอ 4.)

26. จากขอทีผ่ า นมา ถาออกแรง 60 นิวตัน กระทําแทน แนวแรงจะสูงจากพืน้ ไดมากทีส่ ดุ


กีเ่ มตร กลองจึงยังไมลม
1. 1.17 2. 1.24 3. 1.48 4. 1.56 ( ขอ 3.)

93
บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน
27. บันไดสม่าํ เสมอหนัก 200 นิวตัน ปลายบนพิงกําแพงเกลีย้ งตรงจุดซึง่ อยูส งู จากพืน้ 4 เมตร
โดยบันไดยันกับพืน้ ขรุขระหางจากกําแพง 3 เมตร
ก. จงหาแรงทีย่ นั ปลายบันไดวาไมใหไถลลงมา (75 N )
ข . ถามีวตั ถุหนัก 100 นิวตัน วางอยูป ลายบันไดดานลาง
หางขึน้ มา 14 ของความยาวของบันได จงหาแรงเสียด
ทานทีพ่ น้ื ราบ ( 84.38 N)
28. บันไดยาว 2.5 เมตร มีนาํ้ หนัก 40 นิวตัน ศูนยถว งของ A
บันไดอยูห า งจากปลายลาง 1.0 เมตร จงหาแรงเสียดทาน
ระหวางพืน้ ลางกับบันไดและแรงทีบ่ นั ไดกระทําตอกําแพง
ทีจ่ ดุ A เพือ่ ทําใหบนั ไดอยูน ง่ิ ได (12 N , 12 N)
53o B

29. AB เปนทอนไมขนาดสม่าํ เสมอยาว 4 เมตร หนัก 8 กิโลกรัม ปลาย A ถูกยึดไวกบั ผนัง


อาคารดวยบานพับ ปลาย B ผูกดวยเสนลวด
โลหะ BC ยาว 5 เมตร ทําให AB อยูใ นแนว
ระดับและทีป่ ลาย B นีม้ วี ตั ถุหนัก 28 กิโลกรัม
แขวนดังรูป จงหาแรงตึงลวด BC (116.67 N)
30. เสนลวดดึงคาน AB ซึง่ มีมวล 5 กิโลกรัม
เสนลวด
แขวนไวทป่ี ลาย B ถาคานสม่าํ เสมอมีนาํ้
หนัก 20 นิวตัน ยาว 5 เมตร มีปลาย A
37o 1m
ตรึงติดกําแพง คานสมดุลอยูไ ดดงั รูป จงหา A B
วาแรงดึงเสนลวดมีคา กีน่ วิ ตัน ( 125 ) 4m
5 kg
แรงแคน , ความเคน และความเครียด
31. ลวดเหล็กเสนหนึง่ ยาว 4 เมตร มีพน้ื ทีห่ นาตัด 5 x 10–5 ตารางเมตร จงหาวาแรงดึงทีท่ าํ
ใหลวดเสนนีย้ ดื ออก 0.02 x 10–2 เมตร มีคา กีน่ วิ ตัน
(คามอดูลสั ของยังของลวดเหล็กเทากับ 2 x 1011 นิวตันตอตารางเมตร)
1. 200 2. 300 3. 400 4. 500 (ขอ 4.)
94
บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน
32. มอดูลสั ของยังของเหล็กมีคา 2 x 1011 นิวตันตอตารางเมตร ถาแขวนมวล 100 กิโลกรัม
ทีป่ ลายลางของแทงเหล็กพืน้ ทีห่ นาตัด 0.1 ตารางเมตร ยาว 2 เมตร โดยใหปลายบนตรึง
กับเพดาน แทงเหล็กจะยืดออกเทาไร ( กําหนด g = 10 เมตร/วินาที2 )
1. 4.0 x 10–10 เมตร 2. 1.0 x 10–8 เมตร
3. 1.0 x 10–7 เมตร 4. 2.0 x 10–7 เมตร (ขอ 3.)
33. ลวดอลูมิเนียมยาว 2 เมตร และเสนผาศูนยกลาง 0.1 เซนติเมตร นําเสนลวดนี้ไปยกวัตถุมวล
1000 กิโลกรัม ลวดจะยืดออกเทาใด
(คามอดูลสั ของยังของอลูมเิ นียมเทากับ 7 x 1010 นิวตันตอตารางเมตร) (0.35 เมตร)
34. โลหะชนิดหนึง่ มีคา มอดูลสั ของยัง Y ถานําโลหะนีไ้ ปทําเปนลวดยาว L มีพน้ื ทีห่ นาตัด A
แขวนลวดดังกลาวดวยมวล M ทําใหลวดมีระยะยืด X จงหาวามวล M มีคา เทาไร
1. XAY LY
2. AXg
L
gL
3. XAY 4. XAY (ขอ 4.)
gL
35. ลวดโลหะชนิดหนึง่ ยาว L มีพน้ื ทีห่ นาตัด A เมือ่ นําวัตถุทรงกลมมวล M มาแขวนเขา
กับลวดนี้ แลวนําปลายลวดขางหนึง่ ไปยึดติดกับเพดานปรากฎวาลวดยึดออก βL จงหา
คามอดูลสั ของยังของลวดเสนนี้
1. AL / MgβL 2. βLA/MgL
3. MgβL/AL 4. MgL/βLA (ขอ 4.)
36(En 35) เมือ่ แขวนมวล M ไวทป่ี ลายเสนลวดดังรูป จะทําใหเสน
ลวดยืดออก 0.12 เปอรเซ็นตของความยาวเดิม ถาพืน้ ทีห่ นาตัด
ของลวดเทากับ 0.20 ตารางมิลลิเมตร และมีคา มอดูลสั ของยัง
เทากับ 2.0 x 1011 นิวตันตอตารางเมตร มวล M จะมีคา เทาใด
1. 48 kg 2. 24 kg 3. 4.8 kg 4. 2.4 kg ( ขอ 3.)
37. ลวดเหล็กเสนหนึ่ง มีความเครียดตามความยาว 0.01 มีคายังมอดูลัส 1011 นิวตัน/ตารางเมตร
พืน้ ทีห่ นาตัด 2 ตารางมิลลิเมตร จงหาแรงดึงในเสนลวดในหนวยนิวตัน
1. 1.0x103 2. 2.0x103 3. 3.0x103 4. 4.0x103 ( ขอ 3.)

95
บทที่ 8 สภาพสมดุล และ สภาพยืดหยุน
38. ลวดเหล็กและลวดทองเหลืองยาวเทากัน มีพน้ื ทีห่ นาตัดเปน 0.10 และ 0.15 ตารางเซนติ-
เมตร เมือ่ ดึงลวดทัง้ สองดวยแรงเทากัน ลวดจะยึดออก 0.25 และ 0.20 เซนติเมตร ตาม
ลําดับ จงหาอัตราสวนยังมอดูลสั ของลวดเหล็กและลวดทองเหลือง
1. 3 : 4 2. 4 : 3 3. 5 : 6 4. 6 : 5 ( ขอ 4.)
39. ลวดโลหะตางชนิดกัน 2 เสน ยาวเทากัน มีพน้ื ทีห่ นาตัดเทากัน อัตราสวนมอดูลสั ของยัง
ของลวดเสนที่ 1 ตอลวดเสนทีส่ อง เปน 4 : 5 มีแรงกระทําตอลวดเสนทีห่ นึง่ ตอเสนทีส่ อง
5 : 4 จงหาอัตราสวนของระยะยืดของลวดเสนทีห่ นึง่ ตอลวดเสนที่ 2
1. 1 : 1 2. 5 : 4 3. 16 : 25 4. 25 : 16 ( ขอ 3.)
40. ลวดเหล็กดึงลิฟตมคี วามเคนทีข่ ดี จํากัดความยืดหยุน เทากับ 2 x 108 นิวตัน/ตารางเมตร
และมีพน้ื ทีห่ นาตัด 1.77 x 10–4 ตารางเมตร ถาลิฟตและสัมภาวะมีมวล 2000 กิโลกรัม
ลิฟตนจ้ี ะสามารถเคลือ่ นทีข่ น้ึ ดวยความเรงสูงสุดเทาใด ลวดจึงจะไมยดื เกินขีดจํากัด
1. 7.7 m/s2 2. 6.3 m/s2 3. 5.0 m/s2 4. 4.3 m/s2 ( ขอ 1.)

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

96
III บทที่ 9 ของไหล

ฟ สิ ก ส บทที่ 9 ของไหล
ตอนที่ 1 ความหนาแนน
ความหนาแนน ( density ) คือ อัตราสวนระหวางมวลตอปริมาตรของสาร
เขียนเปนสมการจะได ∠ = mV
เมือ่ ∠ คือ ความหนาแนน ( kg / m3)
m คือ มวลของสาร (kg)
V คือ ปริมาตรของสาร (m3)
1. นักสํารวจเดินทางดวยบอลลูนบรรจุแกส กอนออกเดินทางเขาบรรจุแกสฮีเลียมทีม่ ี
ปริมาตร 400 ลูกบาศกเมตร และมวล 65 กิโลกรัม ขณะนัน้ แกสฮีเลียมในบอลลูนมีความ
หนาแนนเทาใด ( 0.16 kg/m3 )
วิธที าํ

2. ดาวนิวตรอนเปนดาวทีม่ ขี นาดเล็ก แตมคี วามหนาแนนมาก ถาดาวนิวตรอนมีรศั มี 10


กิโลเมตร แตมมี วลเทากับดวงอาทิตย คือ 1.99x1030 กิโลกรัม ความหนาแนนของดาว
นิวตรอนเปนเทาใด ( 4.75x1017 kg/m3 )
วิธที าํ

3. น้าํ มีความหนาแนน 1000 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร หมายความวาอยางไร


วิธที าํ

อัตราสวนระหวางความหนาแนนของสารตอความความหนาแนนของน้าํ เรียกวา ความ


หนาแนนสัมพัทธ ( relative density ) หรือ ถวงจําเพาะ ( specific gravity )
เขียนเปนสมการจะได ความหนาแนนสัมพัทธ = ความหนาแนนของสาร
ความหนาแนนของน้ํา
1
ยฺ

III บทที่ 9 ของไหล
4. ไมบลั ซาปริมาตร 1 ลูกบาศกเมตร และ มีความหนาแนนสัมพัทธ 0.15 จะมีนาํ้ หนักเทาใด
วิธที าํ ( 1470 นิวตัน )

5. ความหนาแนนสัมพัทธของตะกัว่ เทากับ 11.3 หมายความวาอยางไร


วิธที าํ
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

ตอนที่ 2 ความดัน และ แรงดัน ในของเหลว (1)


สมบัติเบื้องตนของแรงดัน และความดันของของเหลว
1. มีทศิ ไดทกุ ทิศทาง 2. มีตง้ั ฉากกับผิวสัมผัสกับภาชนะ
6. จงบอกสมบัตขิ องแรงดันของของเหลว
1................................................................. 2.................................................................
ประเภทของความดัน และ แรงดัน
1) ความดัน , แรงดันทีก่ ดกนภาชนะ
2) ความดัน , แรงดันทีด่ นั พืน้ ทีด่ า นขาง
แรงดัน และ ความดันที่กดกนภาชนะ
แรงดันที่กดกนภาชนะ = น้าํ หนักของของเหลวสวนทีอ่ ยูใ นแนวตัง้ ฉากกับพืน้ ทีน่ น้ั
นัน่ คือ F = W = mg
และ ความดัน คือ อัตราสวนของ แรงดันตอพืน้ ทีท่ ก่ี น ภาชนะนัน้
นัน่ คือ P = AF
เมือ่ P = ความดัน (N/m2) F = แรงดัน (N) A = พืน้ ที่ (m2)
7. ภาชนะทัง้ สามมีระดับน้าํ สูงเทากันและพืน้ ทีก่ น เทากัน ดังรูป จงตอบคําถามตอไปนี้
ก. น้าํ ในภาชนะทัง้ สาม เมือ่ นําไปชัง่ จะมีนาํ้
หนักเทากันหรือไม (ไมเทากัน)
ข. แรงทีน่ าํ้ กระทําตอกนภาชนะทัง้ สาม เนือ่ ง
จากความดันของน้าํ เทากันหรือไม (เทากัน)
ค. เหตุใดคําตอบในขอ ก. และ ข. จึงไมเทากัน
2

III บทที่ 9 ของไหล
8. กลองใบนึง่ บรรจุนาํ้ บริสทุ ธิจ์ นเต็มแลวปดสนิททุกดาน เมือ่ นํากลองวางบนพืน้ ราบ 3 แบบ
ดังแสดง จงตอบคําถามตอไปนี้

ก) แรงดันทีน่ าํ้ กระทําตอกอนกลองแตละกรณีเทากันหรือไม เพราะเหตุใด


ข) ความดันน้าํ ทีก่ ระทําตอกนกลองเทากันหรือไม เพราะเหตุใด
วิธที าํ

การหาคาความดันที่กดกนภาชนะ อาจใชสมการ
P=≥gh
เมือ่ P = ความดัน (N/m2) ∠ = ความหนาแนนของของเหลว (kg/m3)
g = 10 m/s2 h = ความลึกวัดจากผิวของเหลวถึงกนภาชนะ (m)
โปรดสังเกตวา สําหรับของเหลวชนิดหนึง่ ๆ ความหนาแนน (∠) จะคงที่ และ g ก็คงที่
ดังนัน้ ความดัน (P) จึงแปรผันตรงกับความลึก ( h ) อยางเดียว ดังนัน้ หากความลึกเทา
กัน ความดันยอมเทากันอยางแนนอน
พิจารณาตัวอยาง ภาชนะทัง้ 3 หากบรรจุ
ของเหลวชนิดเดียวกันสูงเทากัน ความดันทีก่ ด
ภาชนะทัง้ 3 ใบ จะเทากัน เพราะความดันจะ
ขึน้ กับความลึก (h) อยางเดียวไมเกีย่ วกับรูปรางภาชนะ

9(En 32) พิจารณาภาชนะบรรจุนาํ้ 3 ใบ ปริมาตรไมเทากัน ถาความสูงของระดับน้าํ ใน


ภาชนะทัง้ สามใบมีคา เทากัน จงเลือกคําตอบทีถ่ กู ทีส่ ดุ ตอไปนี้ (ขอ 1)

3

III บทที่ 9 ของไหล
1. ความดันทีก่ น ภาชนะทัง้ สามใบมีคา เทากัน แตนาํ้ หนักของน้าํ ในภาชนะแตละ
ใบมีคา ไมเทากัน
2. ความดันทีก่ น ภาชนะทัง้ สามใบมีคา ไมเทากัน แตนาํ้ หนักของน้าํ ในภาชนะแตละ
ใบมีคา เทากัน
3. ความดันทีก่ น ภาชนะและน้าํ หนักของน้าํ ในภาชนะแตละใบมีคา ไมเทากัน
4. ความดันทีก่ น ภาชนะและน้าํ หนักของน้าํ ในภาชนะแตละใบมีคา เทากัน
วิธที าํ

10. ภาชนะปดรูปทรง กระบอกสูง 50 cm พืน้ ทีห่ นา


ตัด 0.8 m2 ทางฝาบนเจาะเปนรูวงกลมแลวตอเปน
ปลองสูง 50 cm ถาใสนาํ้ จนเต็มขึน้ มาเสมอระดับ
ปากทอทีต่ อ ขึน้ มาใหมจงหาความดัน และ แรงดัน
ของน้าํ ทีก่ น ภาชนะ กําหนด ความหนาแนนของน้าํ 1x103 kg/m3 (104 N/m2, 8x103 N)
วิธที าํ

สําหรับของเหลวทีบ่ รรจุอยูใ นภาชนะเปดนัน้ ความดันทีก่ ระทําตอพืน้ ทีก่ น ภาชนะ จะมี


อยางนอย 2 อยาง ไดแก
1) ความดันเกจ (Pw ) คือ ความดันทีเ่ กิดจากน้าํ หนักของของเหลว ( หาจาก P = ∠ g h )
2) ความดันบรรยากาศ (Pa ) คือ ความดันทีเ่ กิดจากน้าํ หนักของอากาศทีก่ ดทับผิวของ
เหลวลงมา ซึง่ ปกติแลวความดันบรรยากาศ Pa = 1x 105 N/m2
5 2
จะมีคา ประมาณ 1x 10 N/m ( Pascal )
ดังนัน้ Pรวม = Pa + Pw Pw = ∠ g h
Pสัมบูรณ = Pa + ≥ g h

4
III บทที่ 9 ของไหล
11. น้าํ ทะเลมีความหนาแนน 1.03x103 kg/m3 และความดันบรรยากาศทีร่ ะดับน้าํ ทะเลเปน
1x105 N/m3 จงหาความดันสมบูรณทใ่ี ตทะเลลึก 100 m (11.3x105 N/m3)
วิธที าํ

12. เรือดําน้าํ ลําหนึง่ อยูท ร่ี ะดับลึก 100 เมตร จงหาความดันเกจและความดันสมบูรณทต่ี วั เรือ
ดําน้าํ ถาน้าํ ทะเลมีความหนาแนน 1.024x103 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร และ ความดัน
บรรยากาศทีร่ ะดับน้าํ ทะเลเทากับ 1.013x105 พาสคัล ( 1.024x106 Pa , 1.13x106 Pa )
วิธที าํ

13. ณ ความลึกตําแหนงหนึง่ ใตทะเลวัดความดันได 4 เทาของความดันทีผ่ วิ น้าํ บริเวณนัน้ จงหา


ความลึก ณ ทีแ่ หงนี้ ( ∠น้าํ ทะเล = 1.025x103 kg/m3 , ความดันบรรยากาศ = 105 N/m2 )
วิธที าํ (29.27 เมตร)

14. ชายคนหนึง่ สามารถดําในน้าํ จืดไดลกึ ทีส่ ดุ 20 เมตร ถาเขาไปดําในน้าํ ทะเล ซึง่ มีความหนา
แนน 1.025x103 กิโลกรัม / ลูกบาศกเมตร เขาจะดําไดลกึ ทีส่ ดุ เทาไร (19.51 เมตร)
วิธที าํ

5
ฮฺ
III บทที่ 9 ของไหล
15(มช 41) น้าํ และน้าํ มัน ชนิดหนึง่ บรรจุในหลอดแกว
รูปตัวยู โดยน้าํ อยูใ นหลอดแกวทางขวาและน้าํ มัน
อยูใ นภาวะสมดุลระดับน้าํ และน้าํ มันดังแสดงในรูป
จงหาความหนาแนนน้าํ มันชนิดนีเ้ ปนกิโลกรัม/เมตร3
1. 925 2. 725
3. 875 4. 675 (ขอ 3)
วิธที าํ

16. เมือ่ เทน้าํ และ ของเหลวชนิดหนึง่ ทีไ่ มรวมกับน้าํ


ลงขางหนึง่ ของหลอดรูปตัว U ทีม่ ขี าโตเทากัน ถา
ของเหลว เปนลําสูง 10 cm และมีรอยตอระหวาง
น้าํ กับของเหลวอยูข า งหลอดทีใ่ สของเหลว ปรากฏ
วาระดับบนของน้าํ อยูส งู กวาระดับของเหลว 2 cm
จงคํานวณหาความ หนาแนนของของเหลวทีใ่ ส (1.2x103 kg/m3)
วิธที าํ

17. หลอดแกวรูปตัวยู ขาโตสม่าํ เสมอ ภายในบรรจุปรอทพอประมาณ เติมน้าํ ลงไปในขาขาง


หนึง่ ยาว 10 เซนติเมตร จงหาระดับปรอทในขาอีกขางหนึง่ สูงกวาในขาขางทีเ่ ติมน้าํ เทาไร
( ∠ปรอท = 13.6x103 kg/m3 ) (0.74 cm)
วิธที าํ

6
ลฺ

III บทที่ 9 ของไหล
18. ของเหลว 3 ชนิด อยูใ นสภาวะสมดุลในหลอด
แกวรูปตัวยูดงั รูป ความหนาแนนของของเหลว
ชนิดทีห่ นึง่ และ ชนิดทีส่ องมีคา 4.0x103 และ 3 1
10 ซม.
3.0x103 kg/m3 ตามลําดับ ความหนาแนนของ
ของเหลวชนิดทีส่ ามมีคา กี่ kg/m3 (ขอ 1) 6 ซม. 2 12 ซม.
1. 1.4 x 103 2. 1.6 x 103
3. 2.4 x 103 4. 2.8 x 103 4 ซม.
วิธที าํ

19. หลอดรูปตัว U มีขาโตเทากันมีของเหลวบรรจุอยู ถาเทน้าํ มันลงไปในขาหลอดขางหนึง่


จนกระทัง่ ของเหลวในขาขางนัน้ ลดลง 1 cm จงหาวาเทน้าํ มันลงไปสูงเทาใด
กําหนด ความหนาแนนของเหลวเทากับ 3 x 103 kg/m3
และ ความหนาแนนของน้าํ มันเทากับ 1 x 103 kg/m3 (6 cm)
วิธที าํ

7

III บทที่ 9 ของไหล
20. ขาขางหนึง่ ของแมนอมิเตอรทม่ี ปี รอทบรรจุ
อยู ถูกตอเขากับถังสีเ่ หลีย่ มทีบ่ รรจุแกสชนิด
หนึง่ ปรากฏวาระดับปรอทในขาทัง้ สองขาง
สูง 5 เซนติเมตร และ 15 เซนติเมตร ดังรูป
ถาความดันของอากาศขณะนัน้ เทากับ 105 Pa
แกสในถังมีความดันเทาใด ( 1.13x105 Pa )
ให ความหนาแนนปรอท = 13.6x103 kg/m3
g = 9.8 m/s2
วิธที าํ

แมนอมิเตอร ( manometer ) เปนเครือ่ งมือวัดความดันของของไหลชนิดหนึง่ ประกอบ


ดวยหลอดแกวรูปตัวยูมขี องเหลวบรรจุอยูภ ายใน ปลายขางหนึง่ เปด สวนปลายอีกขางหนึง่ จะ
ตอกับภาชนะบรรจุของไหลทีต่ อ งการวัดความดัน และการรูค วามแตกตางของระดับของเหลว
ในหลอดแกวรูปตัวยูทง้ั สองขางจะทําใหสามารถหาความดันของของไหลได
แบรอมิเตอรปรอท ( mercury barometer ) สุญญากาศ
เปนเครือ่ งมือสําหรับวัดความดันบรรยากาศโดยตรง
ประกอบดวยหลอดแกวทรงกระบอกยาวประมาณ Pบรรยากาศ Pปรอท
80 เซนติเมตร ปลายขางหนึง่ ปด ภายในบรรจุดว ย 760 ม.ม.

ปรอทจนเต็มแลวคว่าํ ลงในอางปรอทโดยไมใหอา-
กาศเขาในหลอด ระดับปรอทในหลอดจะลดต่าํ ลง
มา ปลายบนของหลอดจะเกิดเปนสุญญากาศ และความดันของลําปรอทในหลอดจะมีคา เทากับ
ความดันบรรยากาศภายนอกพอดี
8

III บทที่ 9 ของไหล
ทีร่ ะดับน้าํ ทะเล ความดัน 1 บรรยากาศ จะเทากับความดันปรอทซึง่ สูง 760 มิลลิเมตร
นัน่ คือ ความดันบรรยากาศ = ความดันปรอทสูง 760 มิลลิเมตร (0.76 เมตร)
= ∠gh
= ( 13.6x103) (9.8) ( 0.76 )
ดังนั้น ความดัน 1 บรรยากาศ (atm) = 1.01 x 105 นิวตัน/ตารางเมตร (760 mm–ปรอท)
21. จงอธิบายการทํางานของหลอดฉีดยาขณะดูดของเหลวเขาไปในหลอด
ตอบ

22. เพราะเหตุใด จึงนิยมใชปรอทบรรจุในหลอดแกวของแบรอมิเตอรแทนทีจ่ ะใชนาํ้


ตอบ

แรงดัน และความดัน ที่ดันพื้นที่ดานขางภาชนะ


PบนสุดΙ P
Pขาง = ลางสุด หรือ P = ≥ g h
2 ขาง cm
เมือ่ Pขาง คือ ความดันทีด่ นั พืน้ ทีด่ า นขาง (N/m2)
∠ คือ ความหนาแนนของของเหลว(kg/m3)
g คือ 10 m/s2
hcm คือ ความลึกวัดจากผิวของเหลวถึงจุดกึง่ กลางพืน้ ทีด่ า นขางนัน้ (m)
Fขาง = Pขาง ⌡ Aขาง
เมือ่ F ขาง คือ แรงทีด่ นั พืน้ ทีด่ า นขาง (N)
Pขาง คือ ความดันทีด่ นั พืน้ ทีด่ า นขาง (N/m2)
Aขาง คือ พืน้ ทีด่ า นขางภาชนะ (m2)
23. ถังปดรูปสีเ่ หลีย่ มลูกบาศกทม่ี คี วามยาวดานละ 2 เมตร เมือ่ บรรจุนาํ้ เต็มจะมีความดันที่
กนถังเปนเทาใด และความดันเฉลีย่ ทีด่ า นขางของถังจะเปนเทาใด ( 2x104 Pa , 1x104 Pa )
วิธที าํ

9
III บทที่ 9 ของไหล
24. กลองสีเ่ หลีย่ มลูกบาศกยาวดานละ 40 เซนติเมตร
ฝาดานบนปดสนิทบรรจุนาํ้ เต็ม จงหา
ก. แรงดันของน้าํ ทีก่ ระทําตอกนกลองใบนี้ (640 N)
ข. แรงดันของน้าํ ทีก่ ระทําตอฝากลองขางซาย (320 N)
วิธที าํ

25. กลองสีเ่ หลีย่ มลูกบาศกมคี วามยาวดานละ 1 เมตร


ดานบนมีฝาปดสนิท ตรงกลางฝาบนเจาะรูโตขนาด
200 ตารางเซนติเมตร เสียบทอแนนพอดี และเติม
น้าํ ลงไปตามทอจนกระทัง่ ระดับน้าํ เต็มทอพอดีแลว
ปดฝาใหสนิท เมือ่ ทอยาว 40 เซนติเมตร จงหา
ก) แรงดันของน้าํ ทีก่ น กลอง (1.4x104 N)
ข) แรงดันของน้าํ ทีฝ่ าดานขางแตละดาน (9x103 N)
วิธที าํ

กรณีทเ่ี ปนภาชนะเปดฝา จะตองคิดความดันบรรยากาศเพิม่ เติม จึงไดวา


Pขาง = P0 + ≥ g hcm
เมือ่ P0 = ความดันบรรยากาศ = 1.01x105 นิวตัน/ตารางเมตร
10

III บทที่ 9 ของไหล
26. เขือ่ นกัน้ น้าํ จืดแหงหนึง่ มีนาํ้ อยูล กึ 20 เมตร ทีฐ่ านเขือ่ นเจาะเปนรูโตมีเสนผาศูนยกลาง
1.4 เมตร จงหาแรงดันของน้าํ ทีไ่ หลออกไป (4.51x105 N)
วิธที าํ

27. แรงทีน่ าํ้ กระทําตอประตูกน้ั น้าํ ประตูกน้ั น้าํ แหงหนึง่ กวาง L สูง H เมือ่ ระดับสูงสุดแรง
ทีน่ าํ้ กระทําตอประตูกน้ั น้าํ เปนเทาใด ( P0LH + 12 ″gLH2 )
วิธที าํ

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

ตอนที่ 3 กฎของปาสคาล
กฎของปาสคาล
กลาววา “ ถามีของไหล (ของเหลวหรือกาซ) บรรจุ
อยูใ นภาชนะทีอ่ ยูน ง่ิ เมือ่ ใหความดันเพิม่ เขาไปแกของ
ไหล ณ ตําแหนงใดๆ ความดันทีเ่ พิม่ ขึน้ จะถายทอดไป
ทุกๆ จุดในของเหลวนัน้ ”
ปจจุบนั เราใชกฏของปาสคาลมาสรางเปนเครือ่ งผอน
แรงชนิดหนึง่ คือ เครือ่ งอัดไฮโดรลิก ( เชน แมแรงยกรถ ) ซึง่ มีองคประกอบหลักดังรูป
สมการคํานวณเกีย่ วกับเครือ่ งอัดไฮโดรลิก คือ
W = Fa
A
เมือ่ W = น้าํ หนักทีย่ กได (N)
F = แรงทีใ่ ชกด (N)
A = พืน้ ทีห่ นาตัดกระบอกสูบใหญ
a = พืน้ ทีห่ นาตัดกระบอกสูบเล็ก
11
III บทที่ 9 ของไหล
การไดเปรียบเชิงกลทางปฏิบตั ิ (M.A.ปฏิบตั )ิ = W
F
การไดเปรียบเชิงกลทางทฤษฎี (M.A.ทฤษฎี) = a A
ปกติแลวในทางปฏิบตั ิ M.Aปฏิบตั ิ จะนอยกวา M.Aทฤษฎี เสมอ
M.A.
ประสิทธิภาพเชิงกล (Eff) = M.A.ปฎิบัติ x 100% = W /F
A / a x 100%
ทฤษฎี
28. เครือ่ งอัดไฮดรอริกเครือ่ งหนึง่ ลูกสูบเล็กมีพน้ื ทีห่ นาตัด 10 cm2 ลูกสูบใหญมพี น้ื ทีห่ นา
ตัด 80 cm2 ถาออกแรงทีล่ กู สูบเล็ก 20 N จะเกิดแรงยกทีล่ กู สูบใหญเทาใด ( 160 N )
วิธที าํ

29. เครือ่ งอัดไฮดรอริกเครือ่ งหนึง่ ลูกสูบเล็กมีพน้ื ทีห่ นาตัด 3 cm2 ลูกสูบใหญมพี น้ื ทีห่ นาตัด
24 cm2 ถาออกแรงทีล่ กู สูบเล็ก 10 N จะเกิดแรงยกทีล่ กู สูบใหญเทาใด และการไดเปรียบ
เชิงกลเปนกีเ่ ทา (80 N, 8 เทา)
วิธที าํ

30(มช 42) เครือ่ งอัดไฮดรอลิกเครือ่ งหนึง่ ลูกสูบใหญ มีรศั มี 0.5 เมตร และลูกสูบเล็กมีรัศมี
0.05 เมตร ถาออกแรงกดลูกสูบเล็ก 100 นิวตัน จะยกวัตถุมวลเทาไรได
1. 1,000 กิโลกรัม 2. 1,000 นิวตัน
3. 10,000 กิโลกรัม 4. 100,000 นิวตัน (ขอ 1)
วิธที าํ

31(En 44/1) เครือ่ งอัดไฮโดรลิกใชสาํ หรับยกรถยนตเครือ่ งหนึง่ ใชนาํ้ มันทีม่ คี วามหนาแนน


800 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร พื้นที่ของลูกสูบใหญและลูกสูบเล็กมีคา 1000 ตาราง–
เซนติเมตร และ 25 ตารางเซนติเมตร ตามลําดับ ตองการยกรถยนตหนัก 1000 กิโลกรัม
ขณะที่กดลูกสูบเล็กระดับน้ํามันในลูกสูบเล็กอยูสูงกวาน้ํามันในลูกสูบใหญ 100 เซนติเมตร
แรงทีก่ ดบนลูกสูบเล็ก มีคา เทาใด
1. 230 N 2. 250 N 3. 270 N 4. 290 N (ขอ 1)
12
สึ
E
III บทที่ 9 ของไหล
วิธที าํ

32. เครือ่ งอัดไฮโดรลิกหนึง่ ใชนาํ้ มันทีม่ คี วามหนาแนน 800 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร พืน้ ที่
ของลูกสูบใหญและลูกสูบเล็กมีคา 0.1 และ 0.02 ตารางเมตรตามลําดับ ระดับน้าํ มันในลูก
สูบใหญอยูสูงกวาน้ํามันในลูกสูบเล็ก 20 เซนติเมตร หากตองการยกรถยนตหนัก 2000
กิโลกรัม จะตองแรงทีก่ ดบนลูกสูบเล็กกีน่ วิ ตัน (4032)
วิธที าํ

33. รูปแสดงระบบเบรกไฮดรอลิกของรถยนตโดยอาศัยขอมูลในรูป ตอบคําถามตอไปนี้

ก. แรงทีก่ ระทําตอลูกสูบ A (100 นิวตัน)


ข. ความดันในของเหลวที่ B (105 พาสคัล)
13
III บทที่ 9 ของไหล
ค. ความดันในของเหลวที่ C (105 พาสคัล)
ง. แรงทีก่ ระทําตอจานเบรก (200 นิวตัน)
แรงทีก่ ระทําตอจานเบรกในขอ ง. จะมีคา มากกวาหรือนอยกวาเดิม ถา
จ. จุดกดลูกสูบ A อยูใ กลจดุ หมุนมากกวาเดิม ( มากขึ้น )
ฉ. พื้นที่ของลูกสูบ A ลดลง ( มากขึ้น )
วิธที าํ

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

ตอนที่ 4 แรงลอยตัว และหลักของอารคีมดิ ีส


ตามรูป วัตถุทจ่ี มอยูใ นของเหลว จะถูกแรงดันของ
ของเหลวกระทําในทุกทิศทาง พิจารณาเฉพาะแนวดิง่
แรง F2 จะมีคามากกวา F1 เพราะ F2 อยูลึกกวา
ดังนัน้ เมือ่ หาแรงลัพธ (F2 – F1) จะได แรงลัพธที่มีคา
ไมเปนศูนย อยูใ นทิศขึน้ แรงลัพธนเ้ี รียก แรงลอยตัว

14
ลฺ

III บทที่ 9 ของไหล
หลักของอารคมี ดิ สิ
“ แรงลอยตัวจะมีคา เทากับ น้าํ หนักของของเหลว
ซึง่ มีปริมาตรเทากับปริมาตรของวัตถุสว นจม ”
พิจารณา แรงลอยตัว = น้าํ หนักของของเหลว
FB = m g ของเหลว และ m = ″v
FB = ″ของเหลว v ของเหลว g และ vของเหลว = v วัตถุสว นจม
FB = ″ของเหลว v วัตถุสว นจม g
เมือ่ FB = แรงลอยตัว
″ = ความหนาแนน [kg/m3]
v = ปริมาตร [m3]
34. ปลอยวัตถุทรงกลมมวล 10 กรัม ทีม่ ปี ริมาตร 5 ลูกบาศกเซนติเมตร ลงไปในน้ํา ขณะที่
จมลงไปไดระยะหนึง่ จะมีการเคลือ่ นทีด่ ว ยความเร็วคงที่ แรงลอยตัวจะมีคา กีน่ วิ ตัน
1. 5.0x10–2 2. 2.5x10–3 3. 2.0x10–4 4. 1.5x10–5 (ขอ 1)
วิธที าํ

35. วัตถุชน้ิ หนึง่ มีมวล 2 กิโลกรัม เมือ่ นําไปลอยในน้าํ ซึง่ มีความหนาแนน 1x 103 kg/m3
จงหาปริมาตรของวัตถุสว นจมใตนาํ้ ( 0.002 m3)
วิธที าํ

36. วัตถุชน้ิ หนึง่ มีปริมาตร 10 cm3 ความหนาแนน 0.8 x 103 kg/m3 เมือ่ นําวัตถุนไ้ี ปลอย
ในน้าํ ซึง่ มีความหนาแนน 1x103 kg/m3 จงหาปริมาตรของวัตถุสว นจมใตนาํ้ ( 8 Cm3)
วิธที าํ

15

III บทที่ 9 ของไหล
37. วัตถุชน้ิ หนึง่ มีปริมาตร 20 cm3 ความหนาแนน 900 kg/m3 เมือ่ นําวัตถุนไ้ี ปลอยในน้าํ ซึง่
มีความหนาแนน 1000 kg/m3 จงหาปริมาตรของวัตถุสว นจมใตนาํ้ ( 18 Cm3)
วิธที าํ

38. วัตถุทรงกลมตันลูกหนึง่ ลอยอยูใ นของเหลวโดยจมลงไปครึง่ ลูกพอดี กําหนดวาของเหลว


มีความหนาแนน 1.2 กรัมตอลูกบาศกเซนติเมตร จงหาวาความหนาแนนของวัตถุมคี า เทาใด
1. 0.6 g/cm3 2. 0.8 g/cm3 3. 0.9 g/cm3 4. 1.0 g/cm3 (ขอ 1)
วิธที าํ

39. เมือ่ นําวัตถุกอ นหนึง่ ใสลงในน้าํ ปรากฏวาวัตถุลอยน้าํ โดยมีปริมาตรสวนทีจ่ มลงในน้าํ


เปน 0.6 เทาของปริมาตรทัง้ หมด ความหนาแนนของวัตถุน้ี ( 0.6x103 kg/m3 )
วิธที าํ

16

III บทที่ 9 ของไหล
40. ถาวัตถุเปนน้าํ แข็งและของเหลวเปนน้าํ ทีม่ คี วามหนาแนน 917 และ 1000 kg/m3 ตาม
ลําดับ ปริมาตรสวนทีจ่ มและลอยคิดเปนรอยละเทาใด ( 91.7 , 8.3)
วิธที าํ

41. แขวนกอนอะลูมเิ นียมทีม่ มี วล 1 กิโลกรัม และความหนาแนน 2.7x103 kg/m3 ดวยเชือก


จากนัน้ นําไปแชนาํ้ แรงดึงในเชือกกอนและหลังแชนาํ้ เปนเทาใด ( 10 นิวตัน , 6.3 นิวตัน )
วิธที าํ

42. เมือ่ ชัง่ วัตถุกอ นหนึง่ ในอากาศวัดได 50 N แตเมือ่ นําวัตถุไปชัง่ ในน้าํ จะไดหนัก 40 N วัตถุ
นีม้ คี วามหนาแนนเทาใด (กําหนดใหนาํ้ มีความหนาแนน 103 kg/m3) (5x103 kg/m3)
วิธที าํ

17
£
III บทที่ 9 ของไหล
43. เมือ่ ชัง่ มงกุฎในอากาศอานน้าํ หนักได 8.5 นิวตัน เมือ่ นําไปชัง่ ในน้าํ อานน้าํ หนักได
7.7 นิวตัน มงกุฎนีท้ าํ ดวยทองคําบริสทุ ธิห์ รือไม
( ถาเปนทองคําบริสทุ ธิ จะมีความหนาแนน 19.3x103 kg/m3 ) (ไม)
วิธที าํ

44. ในการใชเครือ่ งชัง่ สปริงชัง่ วัตถุ เหตุใดในขณะทีช่ ง่ั วัตถุขณะอยูใ นของเหลว เครือ่ งชัง่ จึง
อานคาไดนอ ยกวาเมือ่ ชัง่ วัตถุนน้ั ในอากาศ
วิธที าํ

45. ตามปกติเหล็กจมน้าํ แตเหตุใด เรือทีท่ าํ ดวยเหล็กจึงสามารถลอยน้าํ ได


วิธที าํ

46. ตะกัว่ มีความหนาแนนมากกวาเหล็ก แตทง้ั ตะกัว่ และเหล็กตางก็มคี วามหนาแนนมากกวาน้าํ


ถานําตะกัว่ และเหล็กทีม่ ปี ริมาตรเทากันไปวางในน้าํ แรงลอยตัวของน้าํ ทีก่ ระทําตอตะกัว่
จะมากกวา , เทากับ หรือ นอยกวา แรงลอยตัวของน้าํ ทีก่ ระทําตอเหล็ก
วิธที าํ

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

18
III บทที่ 9 ของไหล
ตอนที่ 5 แรงตึงผิว และแรงหนืด
แรงตึงผิว คือ แรงซึง่ พยายามจะยึดผิวของของเหลวเอาไว มิใหผวิ ของเหลวแยกออกจากกัน
สมบัตขิ องแรงตึงผิว
1) มีทศิ ขนานกับผิวของของเหลว
2) มีทศิ ตัง้ ฉากกับผิวสัมผัส
วิธกี ารหาคาแรงตึงผิว ใหนาํ หวงลวดวงกลมเบา ไปวางแปะทีผ่ วิ ของเหลวนัน้ แลวคอยๆ
ออกแรงยกทีละนอย แรงซึง่ พอดียกหวงลวดออกมาไดจะเทากับแรงตึงผิว
ความตึงผิว คือ อัตราสวนระหวางแรงตึงผิวตอระยะทีว่ ตั ถุสมั ผัสของเหลว
นัน่ คือ ♣ = LF
เมือ่ ♣ คือ ความตึงผิว(N/m) F คือ แรงตึงผิว (N) L คือ ระยะทีว่ ตั ถุสมั ผัสของเหลว (m)
47. เอาหวงลวดรัศมี 3.5 เซนติเมตร จุม ลงในน้าํ เมือ่ ดึงขึน้ มา
ตองออกแรงเอาชนะแรงตึงผิวเทาใด ( ไมคดิ น้าํ หนักของหวง)
กําหนด น้าํ มีความตึงผิว 7 x 10–2 N/m (0.0308 N)
วิธที าํ

48. แผนโลหะรูปวงกลมมีเสนผานศูนยกลางยาว 10 เซนติเมตร กําลังแตะผิวน้าํ พอดี จงหา


แรงทีด่ งึ แผนโลหะนีใ้ หหลุดจากผิวน้าํ พอดี เมือ่ แผนโลหะมีมวล 25 กรัม กําหนดให
ความตึงผิวของน้าํ เทากับ 7.0x10–2 นิวตันตอเมตร ( 0.272 นิวตัน )
วิธที าํ

19
สึ
III บทที่ 9 ของไหล
การโคงของผิวของเหลว
หากเรานําหลอดแกวเล็กๆ จุม ลงในของเหลว ผลทีเ่ กิดขึน้ อาจเปนไปได 2 กรณี คือ
1. ถาแรงยึดติดระหวางโมเลกุลของเหลวกับโมเล
กุลของผนังแกว มีคา มากกวาแรงเชือ่ มแนนระ
หวางโมเลกุลของของเหลวดวยกันเอง กรณีน้ี
ผิวของเหลวจะซึมขึน้ ไปในหลอดแกวไดสงู กวา
ระดับของเหลวปกติ และผิวของเหลวในหลอด
แกวจะมีลักษณะเวาลง และผนังแกวจะเปยก
เชน จุม หลอดแกวลงในน้าํ จะเกิดกรณีน้ี
2. ถาแรงเชือ่ มแนนระหวางโมเลกุลของของเหลว
ดวยกันเองมีคา มากกวาแรงยึดติดระหวางโมเล
กุลของเหลวกับผนังแกว กรณีนผ้ี วิ ของเหลวใน
หลอดจะมีลกั ษณะโคงขึน้ และอยูต าํ่ กวาระดับ
ของแลวปกติ และผนังแกวจะไมเปยก เชน จุม
หลอดแกวลงในปรอท จะเกิดกรณีน้ี
ปรากฏการณทร่ี ะดับของเหลวในหลอดสูงกวา หรือต่าํ กวาระดับของเหลวภายนอกหลอด
เชนนี้ เรียกวา การซึมตามรูเล็ก ( capillary action )
49. ในทอสงน้าํ ของลําตนพืช สามารถสงน้าํ จากพืน้ ดินขึน้ ไปสูด า นบนลําตนได แสดงวา
แรงยึดติดกับแรงเชือ่ มแนน แรงไหนมีคา มากกวากัน ตอบ ................................................
แรงหนืด (viscous force) คือ แรงตานทานการเคลือ่ นทีข่ องวัตถุภายในของเหลวนัน้
ความหนืด (viscosity) คือ สมบัตกิ ารมีแรงตานการเคลือ่ นทีข่ องของเหลว (แรงหนืด) นัน้
นาสนใจเกีย่ วกับความหนืดของของเหลว
1) ของเหลวทีม่ คี วามหนืดนอยจะไหลไดเร็วกวา ของเหลวทีม่ คี วามหนืดมาก
2) ของเหลวทีม่ คี วามหนืดมากจะมีแรงตานการคนมากกวาของเหลวทีม่ คี วามหนืดนอย
3) หากนําวัตถุเล็ก ๆ หยอนลงในของเหลว ในของเหลวทีม่ คี วามหนืดมากกวาวัตถุจะ
เคลือ่ นทีไ่ ดชา กวาการเคลือ่ นทีใ่ นของเหลวทีม่ คี วามหนืดนอย
4) ปกติแลว เมือ่ อุณหภูมสิ งู ขึน้ ความหนืดของของเหลวจะลดลง
20
สฺ
III บทที่ 9 ของไหล
50. ลูกกลมโลหะทีล่ กั ษณะเหมือนกันตกในของเหลวทีม่ คี วามหนืดตางกัน ความเร็วปลายของ
ลูกกลมโลหะทัง้ สองจะตางกันหรือไม
ตอบ
51. ลูกลมเหล็กทีม่ ขี นาดเทากันสองลูก ถูกปลอยพรอมกันลงในหลอดบรรจุนาํ้ ทีม่ อี ณ
ุ หภูมิ
10 และ 20 องศาเซลเซียส ลูกกลมเหล็กในหลอดใดถึงกนหลอดกอน
ตอบ
การทดลองหยอดลูกเหล็กกลมลงในของเหลว
ชวงแรก แรงหนืด + แรงลอยตัว < mg
ดังนัน้ mg – (แรงหนืด + แรงลอยตัว) # 0
จาก θF = ma เมือ่ มีแรงลัพธทไ่ี มเปน
ศูนย จึงมีความเรงเกิดขึน้
ชวงหลัง วัตถุเคลือ่ นเร็วขึน้ แรงหนืดจะมากขึน้
และสุดทาย แรงหนืด + แรงลอยตัว = mg
ดังนัน้ mg – (แรงหนืด + แรงลอยตัว) = 0
จาก θF = ma เมือ่ มีแรงลัพธเปนศูนย ความเรงจึงเปนศูนยดว ย
52(En 40) เมือ่ หยอนลูกโลหะทรงกลมเล็กๆ ลงในทรงกระบอก
ที่ทําดวยแกว โดยมีนาํ้ มันบรรจุอยู ถาระยะ ab = bc = cd
การเคลือ่ นทีข่ องลูกโลหะเปนไปตามขอใด
1. ชวง a ถึง b มีความเรง ตอจากนั้นจะมีความเร็วคงตัว
2. ชวง a ถึง b มีความหนวงตอจากนั้นจะมีความเร็วคงตัว
3. จาก a ถึง b มีความเรงคงตัวตลอด
4. จาก a ถึง d มีความเรงคงตัวตลอด (ขอ 1)
วิธที าํ

53(มช 37) เมือ่ ทิง้ ลูกกลมเหล็กทรงกลมลงในน้าํ ทีบ่ รรจุภาชนะทีส่ งู มากและระดับน้าํ ในภาชนะ


ก็สูงดวย ในขณะทีล่ กู กลมเคลือ่ นทีอ่ ยูใ นน้าํ จงพิจารณาขอความตอไปนี้
1. แรงหนืดจะมีคาลดลงจนมีคาเทากับศูนย
2. แรงหนืดจะมีคาเพิ่มจนมีคามากสุดแลว คงทีต่ อ ไป
21
สึ๊
III บทที่ 9 ของไหล
3. ความเร็วของลูกกลมเหล็กลดลงจนมีคาเทากับ 0
4. ความเรงของลูกกลมเหล็กลดลงจนมีคาเทากับ 0
ขอความที่ถูกตองคือ (ขอ 4)
1. ขอ 1 , 3 และ 4 2. ขอ 1, 4 3. ขอ 1, 3 4. ขอ 2, 4
วิธที าํ

กฏของสโตกส ( Sir George Stokes )


สโตกส ไดคน พบวา เราสามารถหาแรงหนืดทีก่ ระทําตอวัตถุทรงกลม ไดจากสมการ
F = 6° ♦ r v
เมือ่ F = แรงหนืดของของไหล ( นิวตัน )
r = รัศมีของวัตถุทรงกลม ( เมตร )
v = ความเร็วของวัตถุทรงกลม ( เมตร/วินาที )
♦ = ความหนืดของของไหล ( Pa . s )
54. ปลอยทรงกลมเหล็กทีม่ รี ศั มี 1 มิลลิเมตร ลงในน้าํ ความเร็วปลายของทรงกลมเหล็กจะมี
คาเทาใด ( ให g = 9.8 m/s2 , ความหนาแนนเหล็ก=7.8x103 kg/m3 ,
ความหนาแนนน้าํ =1x103 kg/m3 , ความหนืดของน้าํ =1x10–3 N.s/m2 ) (14.8 m/s)
วิธที าํ

22
สึ

III บทที่ 9 ของไหล
55. ลูกกลมเหล็กรัศมี 1 มิลลิเมตร ตกในน้าํ เชือ่ ม ความเร็วสุดทายของลูกกลมเหล็กมีคา เทาใด
กําหนดใหลกู กลมเหล็กและน้าํ เชือ่ มมีความหนาแนน 7800 และ 1600 กิโลกรัมตอ
ลูกบาศกเมตร ตามลําดับ และน้าํ เชือ่ มมีความหนืด 100 มิลลิพาสคัล วินาที (0.138 m/s )
วิธที าํ

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

ตอนที่ 6 พลศาสตรของไหล
สมบัตขิ องของไหล (ของเหลว, กาซ) ในอุดมคติ
1) ของไหลมีอตั ราการไหลอยางสม่าํ เสมอ หมายถึง ความเร็วของทุก ๆ อนุภาค
ณ ตําแหนงหนึง่ มีคา เทากัน
2) ของไหลมีการไหลโดยไมหมุน
3) ของไหลมีการไหลโดยไมมแี รงตานเนือ่ งจากความหนืดของของไหล
4) ของไหลไมสามารถอัดได มีปริมาตรคงที่ ไมวา ไหลผานบริเวณใด ยังคงมีความหนา
แนนเทาเดิม
อัตราการไหล
“ ผลคูณระหวางพืน้ ทีห่ นาตัดซึง่ ของเหลวไหลผานกับอัตราเร็วของไหลทีผ่ า น ไมวา จะ
เปนตําแหนงใดในหลอดการไหลมีคา คงที่ ” คาคงทีน่ เ้ี รียก อัตราการไหล ( Q )
นัน่ คือ Q = A v หรือ Q = Vt
เมือ่ Q คือ อัตราการไหล (m3 / s) A คือ พืน้ ทีห่ นาตัด (m2)
v คือ อัตราเร็ว ( m/s ) V คือ ปริมาตรของเหลว (m3 )
t คือ เวลา ( วินาที )
23

III บทที่ 9 ของไหล
และเนือ่ งจาก อัตราการไหล ( Q ) มีคาคงที่
ดังนัน้ Q1 = Q 2
และ A1 v1 = A2 v2
เมือ่ A1 , A2 คือ พืน้ ทีห่ นาตัดจุดที่ 1 และจุดที่ 2 ตามลําดับ
v1 , v2 คือ ความเร็วของไหล ณ จุดที่ 1 และจุดที่ 2 ตามลําดับ

56. ถาน้าํ ในทอประปาทีไ่ หลผานมาตรวัดเขาบานมีอตั ราการไหล 40 ลิตรตอนาที จงหาอัตรา


เร็วของน้าํ ในทอประปาเมือ่ ไหลผานทอทีม่ เี สนผาศูนยกลาง 2 เซนติเมตร ( 2.12 m/s )
วิธที าํ

57. เครือ่ งสูบน้าํ เครือ่ งหนึง่ สามารถสูบน้ําได 0.01 m3 ในเวลา 10 วินาที แลวพนออกไป
ทางทอซึง่ มีพน้ื ทีห่ นาตัด 1 ตารางเซนติเมตร จงหาความเร็วของน้าํ ทีพ่ น ออกไป (10 m/s)
วิธที าํ

58. เม็ดเลือดไหลดวยอัตราเร็ว 10 cm/s ในเสนเลือดใหญทม่ี รี ศั มี 0.3 cm ไปสูเ สนเลือด


ขนาดเล็กลง และมีรศั มี 0.2 cm อัตราเร็วของเม็ดเลือดในเสนเลือดเล็กเปนเทาใด
วิธที าํ (22.5 Cm/s)

24

III บทที่ 9 ของไหล
หลักของแบรนลู ลี
กลาววา “ เมือ่ ของไหลเคลือ่ นทีใ่ นแนวระดับ หากอัตราเร็วมีคา เพิม่ ขึน้ ความดันใน
ของเหลวจะลดลงและเมือ่ อัตราเร็วลดลง
ความดันในของเหลวจะเพิม่ ขึน้ ”
สมการของแบรนลู ลี
เนือ่ งจาก “ ผลรวมความดัน พลังงานจลน
ตอปริมาตร และ พลังงานศักยตอ ปริมาตร ทุกๆ
จุดภายในทอทีข่ องไหล ไหลผานจะมีคา คงที่ ”
นัน่ คือ P + 12 ″v2 + ″gh = คาคงที่
และ P1 + 12 ≥ v12 + ″gh1 = P2 + 12 ≥ v 22 + ″gh2
เมือ่ P1 , P2 คือ ความดันของเหลวในทอ ณ. จุดที่ 1 และ จุดที่ 2 ตามลําดับ (N/m2)
v1 , v2 คือ อัตราเร็วของไหล ณ.จุดที่ 1 และ จุดที่ 2 ตามลําดับ (m/s)
h1 , h2 คือ ความสูงจากพืน้ ถึงจุดศูนยกลางทอที่ 1 และ จุดที่ 2 ตามลําดับ (m)
″ คือ ความหนาแนนของของเหลว (kg / m3)
59. จงอธิบายวาแรงทีย่ กปกเครือ่ งบินขึน้ ไดนน้ั เกิดไดอยางไร
ตอบ

60. ทอน้าํ วางในแนวระดับ มีนาํ้ ไหลอยางสม่าํ เสมอดวยอัตราเร็ว 4 เมตร/วินาที ถาทอคอด


ลงโดยพืน้ ทีล่ ดลงเปน 1 ใน 4 ของพืน้ ทีต่ อนแรก ดังรูป จงหา
ก. อัตราเร็วของน้าํ ทีพ่ งุ ผานทอสวนทีค่ อด (16 m/s)
ข. ถาความดันน้าํ ทีไ่ หลเขามีคา 3 x105 N/m2 จงหาความดันน้าํ ทีไ่ หลออก (1.8x105 N/m2)
วิธที าํ

25

III บทที่ 9 ของไหล
61. ทอน้าํ ทีไ่ มสม่าํ เสมอทอหนึง่ ทอตอนบนมีพน้ื ทีห่ นาตัด 4.0 ตารางเซนติเมตร และอยูสูง
จากพื้น 10 เมตร ถาน้าํ ในทอมีความดัน 1.5 x 105 พาสคัล และไหลดวยอัตราเร็ว 2 เมตร
ตอวินาที ไปยังทอตอนลางซึง่ มีพน้ื ทีห่ นาตัด 8 ตารางเซนติเมตร และอยูสูงจากพื้น 1 เมตร
จงหา ก. อัตราเร็วของน้าํ ในทอตอนลาง ( 1 m/s )
ข. ความดันของน้าํ ในทอตอนลาง ( 2.415x105 พาสคัล )
วิธที าํ

62. น้าํ ไหลออกจากทอ A ไปยังทอ B และ ทอ C


ซึง่ มีขนาดเทากันดังแสดงในรูป โดยที่ A และ B
B อยูส งู จาก C เปน 1.0 และ 2.0 เมตร ตาม
A 2.0 เมตร
ลําดับ ถาความดันในทอ A เทากับ 1.50x105
1.0 เมตร
นิวตันตอตารางเมตร และน้าํ มีอตั ราเร็ว 5.0
C
เมตรตอวินาที ความดันในทอ C เปนกีน่ วิ ตัน
ตอตารางเมตร กําหนดใหความหนาแนนของน้าํ เทากับ 1000 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร
และถือวาน้าํ ไมมคี วามหนืด (ขอ 4)
1. 1.3 x 105 2. 1.4 x 105 3. 1.5x105 4. 1.6 x 105
วิธที าํ

26

III บทที่ 9 ของไหล
63. ในการออกแบบเครือ่ งบินใหมแี รงยก 900 นิวตัน/ตารางเมตรของพืน้ ทีป่ ก โดยถือวาลม
ทีผ่ า นปกเครือ่ งบินแบบสม่าํ เสมอ ถาลมทีผ่ า นใตปก มีความเร็ว 100 เมตร/วินาที จงหา
ความเร็วลมเหนือปกเพือ่ ใหไดแรงยกขึน้ ตามตองการทีก่ าํ หนดใหอากาศมีความหนาแนน
1.3 กิโลกรัม/เมตร3 (106.7 m/s)
วิธที าํ

64. อัตราเร็วของลมพายุทพ่ี ดั เหนือหลังคาบานหลังหนึง่ เปน 30 m/s ผลตางระหวางความดัน


อากาศเหนือหลังคาบาน และใตหลังคาบานหลังนีเ้ ปนเทาใด และถาหลังคาบานมีพื้นที่
175 ตารางเมตร แรงยกทีก่ ระทํากับหลังคาบานเปนเทาใด (135 N/m2, 23625 N)
กําหนด ความหนาแนนของอากาศขณะนัน้ เปน 0.3 kg/m3
วิธที าํ

65. ขณะเกิดพายุ บางครั้งหลังคาบานถูกพายุพัดปลิวหลุด เพราะเหตุใด


ตอบ
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

27

III บทที่ 9 ของไหล
แบบฝกหัด ฟสกิ ส บทที่ 9 ของไหล
ความหนาแนนและความถวงจําเพาะ
1. โลหะรูปลูกบาศกมีความยาวดานละ 2 เซนติเมตร จะมีมวลเทากับกอนทองปริมาตร 2 ลูก–
บาศกเซนติเมตร ถาทองมีความหนาแนน 19.4 กรัม / ลูกบาศกเซนติเมตร จงหาวาโลหะมี
ความหนาแนนเทาไร (4.85 x 103 kg/m3)
2. เหล็กมีความถวงจําเพาะ 7.6 ความหนาแนนของเหล็กมีคา เทาไร และเหล็กหนัก 15.2 นิวตัน
จะมีปริมาตรเทาไร (7.6 x 103 kg/m3 , 2 x 10–4 m3)

แรงดันและความดันของของเหลว
3. น้าํ ทะเลมีความหนาแนน 1.03x103 kg/m3 และความดันบรรยากาศทีร่ ะดับน้าํ ทะเลเปน
1x105 N/m3 จงหาความดันสมบูรณทใ่ี ตทะเลลึก 10 m (2.03x105 N/m3)
4. เรือดําน้าํ ลําหนึง่ อยูท ร่ี ะดับลึก 50 เมตร จงหาความดันเกจและความดันสมบูรณทต่ี วั เรือ
ดําน้าํ ถาน้าํ ทะเลมีความหนาแนน 1.024x103 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร และ ความดัน
บรรยากาศทีร่ ะดับน้าํ ทะเลเทากับ 1.013x105 พาสคัล ( 5.12x105 Pa , 6.13x105 Pa)
5. ณ ความลึกตําแหนงหนึง่ ใตทะเลวัดความดันได 3 เทาของความดันทีผ่ วิ น้าํ บริเวณนัน้ จงหา
ความลึก ณ ทีแ่ หงนี้ ( ″น้าํ ทะเล = 1.03x103 kg/m3 , ความดันบรรยากาศ = 105 N/m2 ) (19.4 1 ม)
6. ชายคนหนึง่ สามารถดําในน้าํ จืดไดลกึ ทีส่ ดุ 20 เมตร ถาเขาไปดําในน้าํ ทะเล ซึง่ มีความหนา
แนน 1.025x103 กิโลกรัม / ลูกบาศกเมตร เขาจะดําไดลกึ ทีส่ ดุ เทาไร (19.51 เมตร)
7. เมือ่ เทน้าํ และ ของเหลวชนิดหนึง่ ทีไ่ มรวมกับน้าํ
ลงขางหนึง่ ของหลอดรูปตัว U ทีม่ ขี าโตเทากัน ถา
ของเหลว เปนลําสูง 10 cm และมีรอยตอระหวาง
น้าํ กับของเหลวอยูข า งหลอดทีใ่ สของเหลว ปรากฏ
วาระดับบนของน้าํ อยูส งู กวาระดับของเหลว 2 cm
จงคํานวณหาความ หนาแนนของของเหลวทีใ่ ส (1.2x103 kg/m3)

28
E
III บทที่ 9 ของไหล
8. หลอดแกวรูปตัวยู ขาโตสม่าํ เสมอ ภายในบรรจุปรอทพอประมาณ เติมน้าํ ลงไปในขาขาง
หนึง่ ยาว 4 เซนติเมตร จงหาระดับปรอทในขาอีกขางหนึง่ สูงกวาในขาขางทีเ่ ติมน้าํ เทาไร
( ″ปรอท = 13.6x103 kg/m3 ) (0.29 cm)
9. ของเหลว 3 ชนิด อยูใ นสภาวะสมดุลในหลอด
แกวรูปตัวยูดงั รูป ความหนาแนนของของเหลว
ชนิดทีห่ นึง่ และ ชนิดทีส่ องมีคา 4.0x103 และ 10 ซม. 3 1
3.0x103 kg/m3 ตามลําดับ ความหนาแนนของ
ของเหลวชนิดทีส่ ามมีคา กี่ kg/m3 (ขอ 1) 6 ซม. 2 12 ซม.
1. 1.4 x 103 2. 1.6 x 103
4 ซม.
3. 2.4 x 103 4. 2.8 x 103
10. หลอดแกวรูปตัวยู ขาโตสม่าํ เสมอมีพน้ื ทีห่ นาตัด 2 ตารางเซนติเมตร ภายในบรรจุนาํ้ เชือ่ ม
ความหนาแนน 4 x 103 กิโลกรัม/ลูกบาศกเมตร จะตองเติมน้าํ ลงในขาขางหนึง่ ขางใดเปน
ปริมาณเทาใด จึงจะทําใหระดับน้าํ เชือ่ มในขาอีกขางหนึง่ เพิม่ ขึน้ 1 เซนติเมตร (16 cm3)
11. หลอดแกวรูปตัวยูโตสม่าํ เสมอบรรจุดว ยน้าํ เติมของเหลวทีม่ คี วามหนาแนน 0.9 กรัม / ซม.3
ลงในหลอดขางหนึง่ สูง 5 ซม. จงหาวาระดับน้าํ แตละขางจะเปลีย่ นไปเทาไร
1. 1.25 ซม. 2. 2.25 ซม. 3. 3.75 ซม. 4. 4.50 ซม. (ขอ 2)
12. ขาขางหนึง่ ของแมนอมิเตอรทม่ี ปี รอทบรรจุ
อยู ถูกตอเขากับถังสีเ่ หลีย่ มทีบ่ รรจุแกสชนิด
หนึง่ ปรากฏวาระดับปรอทในขาทัง้ สองขาง
สูง 5 เซนติเมตร และ 15 เซนติเมตร ดังรูป
ถาความดันของอากาศขณะนัน้ เทากับ 105 Pa
แกสในถังมีความดันเทาใด ( 1.13x105 Pa )
ให ความหนาแนนปรอท = 13.6x103 kg/m3
g = 9.8 m/s2
13. วัตถุขนาด 10 cm x 10 cm x 10 cm วางทีก่ น ถังปดทีบ่ รรจุนาํ้ ลึก 1 m จะเกิดแรงดันของ
น้าํ ทีก่ ระทําทีด่ า นขางของวัตถุขา งละกีน่ วิ ตัน
1. 50 2. 95 3. 125 4. 150 (ขอ 2)
29
@
III บทที่ 9 ของไหล
14. กลองสี่เหลี่ยมลูกบาศกมีความยาวดานละ 1 เมตร
ดานบนมีฝาปดสนิท ตรงกลางฝาบนเจาะรูโตขนาด
200 ตารางเซนติเมตร เสียบทอแนนพอดี และเติม
น้าํ ลงไปตามทอจนกระทัง่ ระดับน้าํ เต็มทอพอดี เมือ่
ทอยาว 40 เซนติเมตร จงหา
ก) แรงดันของน้าํ ทีก่ น กลอง (1.4x104 N)
ข) แรงดันของน้าํ ทีฝ่ าดานขางแตละดาน (9x103 N)
15. เขือ่ นกัน้ น้าํ จืดแหงหนึง่ มีนาํ้ อยูล กึ 10 เมตร ทีฐ่ านเขือ่ นเจาะเปนรูโตมีเสนผาศูนยกลาง
1 เมตร จงหาแรงดันของน้าํ ทีไ่ หลออกไป (1.16x105 N)

กฏของปาสคาล
16. เครือ่ งอัดไฮดรอริกเครือ่ งหนึง่ ลูกสูบเล็กมีพน้ื ทีห่ นาตัด 5 cm2 ลูกสูบใหญมพี น้ื ทีห่ นาตัด
40 cm2 ถาออกแรงทีล่ กู สูบเล็ก 200 N จะเกิดแรงยกทีล่ กู สูบใหญเทาใด และการไดเปรียบ
เชิงกลเปนกีเ่ ทา (1600 N, 8 เทา)
17. เครือ่ งอัดไฮดรอลิกเครือ่ งหนึง่ ลูกสูบใหญ มีรศั มี 0.1 เมตร และลูกสูบเล็กมีรัศมี 0.01
เมตร ถาออกแรงกดลูกสูบเล็ก 200 นิวตัน จะยกวัตถุมวลเทาไรได (20000 นิวตัน)
18. เครือ่ งอัดไฮโดรลิกใชสาํ หรับยกรถยนตเครือ่ งหนึง่ ใชนาํ้ มันทีม่ คี วามหนาแนน 800
กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร พื้นที่ของลูกสูบใหญและลูกสูบเล็กมีคา 0.1 ตารางเมตรและ 0.05
ตารางเมตร ตามลําดับ ตองการยกรถยนตหนัก 1000 กิโลกรัม ขณะที่กดลูกสูบเล็กระดับ
น้ํามันในลูกสูบเล็กอยูสูงกวาน้ํามันในลูกสูบใหญ 10 เซนติเมตร แรงทีก่ ดบนลูกสูบเล็กมี
คากีน่ วิ ตัน (4960)

แรงลอยตัว
19. วัตถุชน้ิ หนึง่ มี 2 กิโลกรัม เมือ่ นําไปลอยในน้าํ ซึง่ มีความหนาแนน 1x 103 kg/m3 จงหา
ปริมาตรของวัตถุสว นจมใตนาํ้ ( 0.002 m3)
20. วัตถุชน้ิ หนึง่ มีปริมาตร 40 cm3 ความหนาแนน 0.9x103 kg/m3 เมือ่ นําวัตถุนไ้ี ปลอย
ในน้าํ ซึง่ มีความหนาแนน 1x103 kg/m3 จงหาปริมาตรของวัตถุสว นจมใตนาํ้ ( 36 Cm3)
30
III บทที่ 9 ของไหล
21. แทงวัตถุมคี วามหนาแนนเปน 25 เทาของของเหลว ถาชัง่ วัตถุโดยใหปริมาตรครึง่ หนึง่ ของ
วัตถุจมอยูใ นของเหลว จงหาวาตาชัง่ จะอานไดเปนกีเ่ ทาของการชัง่ ในอากาศ
1. 15 2. 25 3. 35 4. 45 (ขอ 4)

22. วัตถุลอยในของเหลวโดยมีปริมาตรสวนทีล่ อยเปน 14 เทาของปริมาตรทัง้ หมด จงหาวา


ความหนาแนนของวัตถุเปนกีเ่ ทาของความหนาแนนของของเหลว
1. 15 2. 25 3. 43 4. 45 (ขอ 3)

23. น้าํ แข็งกอนหนึง่ ลอยอยูท ผ่ี วิ น้าํ โดยมีสว นทีจ่ มคิดเปน 92% ของปริมาตรทัง้ กอน จงหา
ความหนาแนนของน้าํ แข็งกอนนี้ (920 kg/m3)
24. ไมแทงหนึง่ มี ถ.พ. 0.8 ลอยอยูใ นของเหลวทีม่ ี ถ.พ. 1.2 จงหาปริมาตรสวนทีล่ อยอยูเ หนือ
ของเหลวเปนกีเ่ ทาของสวนทีจ่ มในของเหลว (0.5 เทา)
25. เมือ่ ชัง่ วัตถุกอ นหนึง่ ในอากาศวัดได 50 N แตเมือ่ นําวัตถุไปชัง่ ในน้าํ จะไดหนัก 40 N วัตถุ
นีม้ คี วามหนาแนนเทาใด (กําหนดใหนาํ้ มีความหนาแนน 103 kg/m3) (5x103 kg/m3)
26. อะลูมเิ นียมกอนหนึง่ ชัง่ ในอากาศได 270 กรัม ชัง่ ในน้าํ ได 150 กรัม ถาอะลูมิเนียมมี
ความหนาแนน 2.7 กรัม / ลูกบาศกเซนติเมตร อยากทราบวากอนอะลูมเิ นียมตันหรือกลวง
( 20 Cm3)
แรงตึงผิว และ แรงหนืด
27. ถาใชหว งลวดวงกลมทีม่ เี สนรอบวง 0.25 เมตร ทดลองเพือ่ หาความตึงผิวของของเหลว
พบวา ตองออกแรงดึงลวด 0.03 นิวตัน จึงจะทําใหลวดนัน้ หลุดพนจากผิวของเหลวได
พอดี จงหาคาความตึงผิวของของเหลวนี้ (0.06 N/m)
28. ปลอยลูกกลมโลหะความหนาแนน 7500 กิโลกรัม / ลูกบาศกเมตร มีรศั มี 2 มิลลิเมตร
ใหตกลงในน้าํ มันความหนาแนน 900 กิโลกรัม / ลูกบาศกเมตร มีสัมประสิทธิ์ ความหนืด
2.0 นิวตัน.วินาที / เมตร2 จงหาความเร็วปลายของลูกกลมโลหะนี้ (0.029 m/s)
29. เมือ่ ปลอยลูกกลมเหล็กรัศมี 0.5 เซนติเมตรใหตกลงในกลีเซอรีนปรากฎวาวัดความเร็วขัน้
สุดทายได 0.077 เมตร/วินาที จงคํานวนหาสัมประสิทธิค์ วามหนืดของกลีเซอรีน
( ความหนาแนนของกลีเซอรีนและเหล็กมีคา 1.26x103 kg/m3 และ 7.86x103 kg/m3 ตามลําดับ )
(4.76 N.S / m2)
31
พ็

III บทที่ 9 ของไหล
พลศาสตรของไหล
30. ถาน้าํ ในทอประปาทีไ่ หลผานมาตรวัดเขาบานมีอตั ราการไหล 60 ลิตร/นาที จงหาอัตรา
เร็วของน้าํ ในทอประปา เมือ่ สงผานทอทีม่ ขี นาดเสนผานศูนยกลาง 3 เซนติเมตร
(1.414 m/s)
31. เครือ่ งสูบน้าํ เครือ่ งหนึง่ สามารถสูบน้ําได 0.02 m3 ในเวลา 10 วินาที แลวพนออกไป
ทางทอซึง่ มีพน้ื ทีห่ นาตัด 10 ตารางเซนติเมตร จงหาความเร็วของน้าํ ทีพ่ น ออกไป (2 m/s)
32. เม็ดเลือดไหลดวยอัตราเร็ว 20 cm/s ในเสนเลือดใหญทม่ี รี ศั มี 0.3 cm ไปสูเ สนเลือดขนาด
เล็กลง และมีรศั มี 0.2 cm จงหาอัตราเร็วของเม็ดเลือดในเสนเลือดเล็ก (45 Cm/s)
33. ทอน้าํ วางในแนวระดับ มีนาํ้ ไหลอยางสม่าํ เสมอดวยอัตราเร็ว 2 เมตร/วินาที ถาทอคอด
ลงโดยพืน้ ทีล่ ดลงเปน 1 ใน 8 ของพืน้ ทีต่ อนแรก ดังรูป จงหา
ก. อัตราเร็วของน้าํ ทีพ่ งุ ผานทอสวนทีค่ อด (16 m/s)
ข. ถาความดันน้าํ ทีไ่ หลเขามีคา 2x105 N/m2 จงหาความดันน้าํ ทีไ่ หลออก (0.74x105 N/m2)
34. ทอน้าํ ทีไ่ มสม่าํ เสมอทอหนึง่ ทอตอนบนมีพน้ื ทีห่ นาตัด 4.0 ตารางเซนติเมตร อยูสูงจากพื้น
10 เมตร ถาน้าํ ในทอมีความดัน 1.5x105 พาสคัล และไหลดวยอัตราเร็ว 2 เมตรตอวินาที
ไปยังทอตอนลางซึง่ มีพน้ื ทีห่ นาตัด 8 ตารางเซนติเมตร และอยูสูงจากพื้น 1 เมตร จงหา
ก. อัตราเร็วของน้าํ ในทอตอนลาง ( 1 m/s )
ข. ความดันของน้าํ ในทอตอนลาง ( 2.415x105 พาสคัล )
35. น้าํ ไหลออกจากทอ A ไปยังทอ B และ ทอ C
ซึง่ มีขนาดเทากันดังแสดงในรูป โดยที่ A และ B
B อยูส งู จาก C เปน 1.5 และ 3.0 เมตร ตาม
A 3.0 เมตร
ลําดับ ถาความดันในทอ A เทากับ 2.0x105
1.5 เมตร
นิวตันตอตารางเมตร และน้าํ มีอตั ราเร็ว 5.0
C
เมตรตอวินาที ความดันในทอ C เปนกีน่ วิ ตัน
ตอตารางเมตร กําหนดใหความหนาแนนของ
น้าํ เทากับ 1000 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตรและถือวาน้าํ ไมมคี วามหนืด (2.15x105)

32

III บทที่ 9 ของไหล
36. อัตราเร็วของลมพายุทพ่ี ดั เหนือหลังคาบานหลังหนึง่ เปน 30 m/s ผลตางระหวางความดัน
อากาศเหนือหลังคาบาน และใตหลังคาบานหลังนีเ้ ปนเทาใด และถาหลังคาบานมีพื้นที่
200 ตารางเมตร แรงยกทีก่ ระทํากับหลังคาบานเปนเทาใด
กําหนด ความหนาแนนของอากาศขณะนัน้ เปน 0.3 kg/m3 (135 N/m2, 27000 N)
37. ในการออกแบบเครือ่ งบินใหมแี รงยก 900 นิวตัน/ตารางเมตรของพืน้ ทีป่ ก โดยถือวาลม
ทีผ่ า นปกเครือ่ งบินแบบสม่าํ เสมอ ถาลมทีผ่ า นใตปก มีความเร็ว 100 เมตร/วินาที จงหา
ความเร็วลมเหนือปกเพือ่ ใหไดแรงยกขึน้ ตามตองการทีก่ าํ หนดใหอากาศมีความหนาแนน
1.3 กิโลกรัม/เมตร3 (106.7 m/s)

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

33

III บทที่ 10 ความรอน

ฟ สิ ก ส บ ทที่ 10 ความร อ น
ตอนที่ 1 ความรอน
พลังงานความรอนที่ใชเปลี่ยนอุณหภูมิ หาคาไดจาก
υQ = c m υt หรือ υQ = C υt

เมือ่ υ Q = พลังงานความรอน (จูล)


c = คาความจุความรอนจําเพาะ (จูล/กิโลกรัม.เคลวิน)
υt = อุณหภูมิที่เปลี่ยนไป ( K หรือ oC )

m = มวล (กิโลกรัม)
C = คาความจุความรอน (จูล / เคลวิน)
1. จงหาพลังงานความรอนที่ทําใหเหล็กมวล 200 กรัม ทีอ่ ณ
ุ หภูมิ 20 องศาเซลเซียส มี
อุณหภูมสิ งู ขึน้ เปน 60 องศาเซลเซียส
( กําหนด คาความจุความรอนจําเพาะของเหล็กเทากับ 450 J /kg.K ) ( 3600 จูล )
วิธที าํ

2. ใหพลังงานความรอนแกตะกั่ว 252 จูล ถาตะกั่วมีมวล 1 กิโลกรัม จะมีอุณหภูมิสูงขึ้นเทาใด


(ความจุความรอนจําเพาะของตะกัว่ = 126 จูล/กิโลกรัม.เคลวิน) (2 K(oC))
วิธที าํ

3. ใหพลังงานความรอนขนาด 3000 จูล กับเหล็กทอนหนึ่ง ปรากฏวาเหล็กมีอุณหภูมิสูงขึ้น


จาก 30 องศาเซลเซียส เปน 80 องศาเซลเซียส จงหามวลของเหล็กกอนนี้
(กําหนด เหล็กมีคา ความจุความรอนจําเพาะ 0.500 กิโลจูล/กิโลกรัม.เคลวิน) (0.12 kg)
วิธที าํ

34
อIII บทที่ 10 ความรอน
4. น้าํ ตก ตกจากหนาผาสูง 50 m ปรากฏวาพลังงานศักยเปลี่ยนเปนพลังงานความรอนเพียง
50 % ถาคาความจุความรอนจําเพาะของน้ําเทากับ 4.180 kJ/kg.k ถามวาน้ําจะมีอุณหภูมิ
สูงขึ้นจากเดิมกี่องศาเซลเซียส ( 0.059 )
วิธที าํ

5. ยิงกระสุนปนทองแดง กระสุนกระทบเปาดวยความเร็ว 385 m/s กระสุนจะหยุดทันทีที่ชน


เปาถา 3 ใน 4 ของพลังงานจลนเปลี่ยนเปนพลังงานความรอน จงหาวากระสุนปนจะมี
อุณหภูมเิ พิม่ เปนเทาใด ถาเดิมกระสุนมีอุณหภูมิ 27oC
กําหนด คาความจุความรอนจําเพาะของทองแดง 0.385 kJ / kg.K
และพลังงานจลนทั้งหมดเปลี่ยนเปนพลังงานความรอน (171.38oC)
วิธที าํ

พิจารณาการเปลี่ยนแปลงจากน้ําแข็งเปลี่ยนเปนน้ํา และจากน้ําเดือดกลายเปนไอตอ
อุณหภูมิระหวางการเปลี่ยนแปลงเปนดังนี้
อุณหภูมิ ( o )
%
$ ไอน้าํ
100
#

" น้ํา
0
เวลา
!

น้ําแข็ง
35

III บทที่ 10 ความรอน
การเปลี่ยนแปลงจาก ของแข็ง ไปเปนของเหลว และจากของเหลวไปเปนไอ ทุกขัน้ ตอน
จะเปนการเปลีย่ นแปลงแบบดูดความรอน
( ถาเปลี่ยนยอนกลับ จากไอเปนของเหลว หรือจากของเหลวเปนของแข็ง จะเปน
การเปลี่ยนแปลงแบบคายความรอน )
พลังงานความรอนที่ดูดเขาไปในชวงเปลี่ยนสถานะจากของแข็งเปนของเหลว ( ชวง !
ในรูปภาพ ) จะใชไปเพื่อสลายแรงดึงดูดระหวางโมเลกุลของแข็ง ทําใหโมเลกุลของ
แข็งถอยหางออกจากกัน แลวของแข็งจะเกิดการเปลี่ยนสถานะเปนของเหลว พลัง
งานที่ใชเปลี่ยนสถานะชวงนี้ เรียก ความรอนแฝงสําหรับการหลอมเหลว
พลังงานความรอนที่ดูดเขาไปในชวงเปลี่ยนสถานะจากของเหลวเปนไอ ( ชวง " ในรูป )
จะใชไปเพื่อสลายแรงดึงดูดระหวางโมเลกุลของเหลว ทําใหโมเลกุลของเหลวถอยหาง
ออกจากกัน แลวของเหลวจะเกิดการเปลี่ยนสถานะเปนไอ พลังงานที่ใชเปลี่ยนสถานะ
ชวงนี้ เรียก ความรอนแฝงสําหรับการกลายเปนไอ
พลังงานความรอนที่ใชเปลี่ยนสถานะ หรือ ความรอนแฝง สามารถหาคาไดจาก
υQ = m.L

เมือ่ υQ = พลังงานความรอน (จูล)

m = มวล (กิโลกรัม)
L = คาความรอนแฝงจําเพาะ (จูล/กิโลกรัม)
6. ชวงที่เกิดการหลอมเหลว สสารมีการดูดความรอนหรือไม ......... แตอุณหภูมิสสารจะไมเพิ่ม
เพราะความรอนทีด่ ดู เขาไปนัน้ มิไดใชเพิม่ อุณหภูมิ แตใชเพื่อ.................................................
7. ชวงที่เกิดการกลายเปนไอ สสารมีการดูดความรอนหรือไม ........ แตอุณหภูมิสสารจะไมเพิ่ม
เพราะความรอนทีด่ ดู เขาไปนัน้ มิไดใชเพิม่ อุณหภูมิ แตใชเพื่อ.................................................
8. น้ําแข็งมวล 5 kg อุณหภูมิ 0oC เปลี่ยนเปนน้ําที่ 0oC ตองใชพลังงานความรอนเทาใด
กําหนด คาความรอนแฝงจําเพาะของการหลอมเหลวของน้าํ 333 kJ / kg (1665 kJ)
วิธที าํ

36

III บทที่ 10 ความรอน
9. ถาจะทําใหน้ํา 100oC มวล 5 kg เปลี่ยนเปนไอน้ําหมดที่ 100oC ตองใชความรอนเทาใด
กําหนด คาความรอนแฝงจําเพาะการกลายเปนไอของน้ํา 2256 kJ / kg (11280 kJ)
วิธที าํ

10. ใหพลังงานความรอนแกน้ําแข็ง (0oC) มวล 2 กิโลกรัม เปนปริมาณเทาไร เพือ่ ใหนาํ้ แข็ง


กลายเปนน้ําและเหลือน้ําแข็ง 0.5 กิโลกรัม ใหความรอนแฝงจําเพาะของน้าํ แข็ง 336 kJ/ kg
1. 504 kJ 2. 336 kJ 3. 168 kJ 4. 94 kJ (ขอ 1)
วิธที าํ

11. กอนน้าํ แข็งมวล 1 กิโลกรัม มีอุณหภูมิศูนยองศาเซลเซียส ตกลงไปในทะเลสาปที่น้ํามี


อุณหภูมิศูนยองศาเซลเซียสเชนเดียวกัน ปรากฏวาน้ําแข็งละลายไป 0.01 กิโลกรัม น้าํ แข็ง
ตกลงมาจากระดับความสูงกี่เมตร
(ความรอนแฝงจําเพาะของการหลอมเหลวของน้าํ = 300 x 103 J/kg )
1. 10 2. 30 3. 300 4. 1000 (ขอ 3)
วิธที าํ

12. กอนน้าํ แข็งมวล 10 กิโลกรัม ไถลลงจากที่สูง 10 เมตร อยากทราบวาน้ําแข็งจะละลาย


ไปเทาไร ถาพื้นมีอุณหภูมิ 0oC ( Lการหลอมเหลวน้าํ แข็ง = 333 kJ/kg ) ( 3 กรัม)
วิธที าํ

37

III บทที่ 10 ความรอน
13(En 44/2) จงหาปริมาณความรอนทีท่ าํ ใหนาํ้ แข็งมวล 100 กรัม อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส
กลายเปนน้ํามวล 100 กรัม อุณหภูมิ 10 องศาเซลเซียส กําหนดใหความจุความรอนจําเพาะ
ของน้ําเทากับ 4200 จูลตอกิโลกรัม เคลวิน และความรอนแฝงจําเพาะของการหลอมเหลว
ของน้ําแข็งเทากับ 333 กิโลจูลตอกิโลกรัม
1. 33.7 kJ 2. 37.5 kJ 3. 75.3 kJ 4. 4233 kJ (ขอ 2)
วิธที าํ

14. ตองการทําใหนาํ้ แข็ง 1 kg อุณหภูมิ –10o C เปลี่ยนเปนน้ํา 10oC ตองใชพลังงานความ


รอนเทาใด กําหนด คาความจุความรอนจําเพาะของน้าํ แข็ง 2.1 kJ/kg.k
คาความรอนแฝงจําเพาะการหลอมเหลวของน้าํ 333 kJ/kg
คาความจุความรอนจําเพาะของน้าํ 4.2 kJ/kg.k (396 kJ)
วิธที าํ

15. นําเหล็กมวล 1 kg อุณหภูมิ 60oC ใสในน้ํา 1 kg อุณหภูมิ 0oC ในเวลาตอมา


อุณหภูมิของน้ําและเหล็กเทากัน อยากทราบวาอุณหภูมินี้มีคาเทาใด ถาความจุความรอน
จําเพาะของน้ําและเหล็กมีคา 4180 และ 500 J/kg.k ตามลําดับ (6.41oC)
วิธที าํ

38

III บทที่ 10 ความรอน
16. กอนอะลูมิเนียมมวล 200 กรัม อุณหภูมิ 300 องศาเซลเซียส อยูในภาชนะที่เปนฉนวน
เมือ่ เทน้าํ แข็งอุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส มวล 70 กรัม ลงในภาชนะ จากนั้นปดภาชนะดวย
ฝาฉนวน อุณหภูมิสุดทายภายในภาชนะเปนเทาใด
( กําหนด คาความจุความรอนจําเพาะของอลูมเิ นียม = 0.9 KJ /kg.K
คาความจุความรอนจําเพาะของน้าํ = 4.2 KJ /kg.K
คาความรอนแฝงของการหลอมเหลวของน้าํ = 333 KJ / Kg ) ( 64.7o )
วิธที าํ

17. ลูกแซคเปนเครือ่ งดนตรีชนิดหนึง่ ทีใ่ ชเขยาเปนจังหวะ การเขยาลูกแซคจนจบเพลง


อุณหภูมิภายในลูกแซคจะเปลี่ยนแปลงหรือไม อยางไร ( อุณหภูมิเพิ่มขึ้น )
วิธที าํ

18. แทงเหล็กมวล 5 กิโลกรัม และ 10 กิโลกรัม จะมีคาความรอนและคาความจุความรอน


จําเพาะเทากันหรือตางกัน อยางไร ( ′Q ไมเทา แต c เทากัน )
วิธที าํ

19. A กับ B เปนวัตถุชนิดเดียวกัน แต A มีมวลมากกวา B ถา A และ B อยูใ นทีเ่ ดียวกันขอใดถูก
ก. A มีความรอนมากกวา B ข. A และ B มีความรอนเทากัน
ค. A และ B มีอณุ หภูมเิ ทากัน ง. ขอ ก. และ ค. ถูก (ขอ ง)
วิธที าํ

39
@
III บทที่ 10 ความรอน
การนําความรอน คือ การสงผานความรอนโดยโมเลกุลของตัวกลางที่สงผานความรอนไม
ไดเคลื่อนที่ไปพรอมกับความรอนที่สงผาน
การพาความรอน คือ การสงผานความรอนโดยโมเลกุลของตัวกลางที่สงผานความรอน
เคลื่อนที่ไปพรอมกับความรอนที่สงผาน
การแผรงั สีความรอน คือ การสงพลังงานความรอนโดยไมตองอาศัยตัวกลาง เชน การสง
พลังงานความรอนขากดวงอาทิตยมาสูโลกของเรา เปนตน
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

ตอนที่ 2 สมบัตขิ องแกส


สมบัติของแกสจากการทดลอง
กฏของบอยส กลาววา "เมือ่ อุณหภูมแิ ละมวลของแกสคงที่ ปริมาตรของแกสจะแปรผก
ผันกับความดันของแกสนั้น"
เขียนเปนสมการจะได P1V1 = P2V2
เมือ่ P1 = ความดันตอนแรก V1 = ปริมาตรตอนแรก
P2 = ความดันตอนหลัง V2 = ปริมาตรตอนหลัง
ควรระวัง สูตรนีใ้ ชไดเมือ่ อุณหภูมิ และ มวลแกสคงที่
กฏของชาลล กลาววา "เมื่อความดัน และมวลของแกสคงที่ ปริมาตรของแกสใดๆ จะ
แปรผันตรงกับอุณหภูมเิ คลวิน"
V1 V2
เขียนเปนสมการจะได T1 ν T2

เมือ่ T1 = อุณหภูมเิ คลวินตอนแรก V1 = ปริมาตรตอนแรก


T2 = อุณหภูมิเคลวินตอนหลัง V2 = ปริมาตรตอนหลัง
ควรระวัง สูตรนีใ้ ชไดเมือ่ ความดัน และ มวลแกสคงที่
กฏรวมของแกส
เมือ่ เรานํากฏของบอลย และ กฏของชาลล มารวมกัน
PV
11 P2V
จะไดกฏรวมของแกส คือ T1 = T2
2

ควรระวัง สูตรนี้ใชไดเมื่อมวลของแกสที่มีคงที่เทานั้น

40

III บทที่ 10 ความรอน
หากมวลของแกสไมคงที่ ตองใชสมการ
P1V1 P2V2
m1T1 = m2T2
เมือ่ P1 , P2 = ความดันตอนแรกและตอนหลัง (atm , N/m2 , Pascal ,.)
V1 , V2 = ปริมาตรตอนแรก และตอนหลัง (m3 , Lit , …)
T1 , T2 = อุณหภูมติ อนแรก และตอนหลัง (K)
m1 , m2 = มวลตอนแรก และตอนหลัง (g , kg , …)
หากมีความหนาแนนของแกสมาเกีย่ วของ ตองใชสมการ
P1 P2
=
⊕1T1 ⊕2T2
เมือ่ ⊕1 , ⊕2 = ความหนาแนนตอนแรก และตอนหลัง (kg/m3 , g/cm3 ,.)
20(มช 42) อากาศปริมาตร 2 ลูกบาศกฟุต อุณหภูมิ 17oC เคลือ่ นผานพืน้ ผิวทีม่ อี ณ
ุ หภูมิ 77oC
ถาความดันอากาศไมเปลี่ยนแปลงปริมาตรอากาศจะกลายเปนกี่ลูกบาศกฟุต (ขอ 3)
1. 0.4 2. 1.7 3. 2.4 4. 9.0
วิธที าํ

21. ความดันแกสในภาชนะปดอันหนึ่งเปน 8x105 N/m2 ทีอ่ ณ


ุ หภูมิ 27oC ถาอุณหภูมิเพิ่ม
ขึ้น อีก 900oC ความดันในระบบจะเปนเทาใด (32x105 N/m2)
วิธที าํ

22(มช 45) แกสชนิดหนึ่งมีปริมาตร 1x10–3 ลูกบาศกเมตรที่ 27oC ความดัน 1 บรรยากาศ


ขยายตัวจนมีปริมาตรเปน 1.5x10–3 ลูกบาศกเมตร และความดันเปน 1.1 บรรยากาศ
จงหาอุณหภูมิสุดทายของแกสนี้วาเปนกี่องศาเซลเซียส (ขอ 4)
1. 49.5 2. 495 3. 22.2 4. 222
วิธที าํ

41

III บทที่ 10 ความรอน
23. ที่ 0oC ความดัน 1 atm อากาศ 1 ลิตร มีมวล 1.29 g และที่อุณหภูมิ 27oC ความดัน
2 atm อากาศมวล 2.73 g จะมีปริมาตรกี่ลิตร (1.16 ลิตร)
วิธที าํ

24(En 32) ถาความหนาแนนของแกสที่อุณหภูมิ 27oC ความดัน 1 บรรยากาศ มีคาเทากับ


ุ หภูมิ 127oC และ
1.3 กิโลกรัม/ลูกบาศกเมตร จงคํานวณหาความหนาแนนของแกสนีท้ อ่ี ณ
มีความดัน 2 บรรยากาศ (ขอ 3)
1. 0.55 kg/m3 2. 0.81 kg/m3 3. 1.95 kg/m3 4. 2.35 kg/m3
วิธที าํ

25. ฟองอากาศปริมาตร 20 cm3 อยูกนทะเลสาบลึก 40 m และมีอณ ุ หภูมิ 2oC ถาฟองอากาศ


ุ หภูมิ 27oC จงหาปริมาตรของฟองอากาศซึ่งอยูที่ผิวน้ําพอดี (109 cm3)
ลอยขึน้ สูผ วิ น้าํ ซึง่ มีอณ
กําหนด ความหนาแนนของน้าํ = 1x103 kg/m3 และ ความดันบรรยากาศ = 1x105 N/m2
วิธที าํ

42
III บทที่ 10 ความรอน
สมการทีใ่ ชคาํ นวณเกีย่ วกับการผสมแกส
Pรวม . Vรวม = P1V1 + P2 V2 + …
nรวม . tรวม = n1t1 + n2 t2 + …
เมือ่ n = จํานวนโมลแกส และ t = อุณหภูมิ (oC)
26. ถัง A มีปริมาตร 40 cc บรรจุแกสความดัน 80 mm–Hg และ ถัง B มีปริมาตร 60 cc บรรจุ
แกสความดัน 70 mm-Hg โดยที่ถังทั้งสองมีทอตอกันและมีลิ้นปดเปดอยู เมือ่ เปดทอใหแกส
ผสมกันแลวแกสจะมีความดันเทาใด (74 mm-Hg)
วิธที าํ

27(En 42/1) แกสฮีเลียมบรรจุในถังสองใบซึ่งเชื่อมตอกันผานวาลว ถังแรกมีความดัน 2


บรรยากาศ ปริมาตร 10 ลิตร ถังที่สองมีความดัน 3 บรรยากาศ ปริมาตร 15 ลิตร
ถาเปดวาลวใหแกสรวมกัน โดยไมมีการถายเทความรอน จากนอกระบบความดันของแกส
ผสมเปนกี่บรรยากาศ (2.60)
วิธที าํ

28(มช 38) ผสมแกสฮีเลียม 2 โมล อุณหภูมิ 60oC กับแกสอารกอน 1 โมล อุณหภูมิ 30oC
จงหาวาอุณหภูมิผสมเปนเทาใด (ขอ 3)
1. 40oC 2. 45oC 3. 50oC 4. 55oC
วิธที าํ

43
ฒฺ
III บทที่ 10 ความรอน
29. เมื่อนําแกสฮีเลียม 5 mol ที่ 40oC และแกสนีออน 3 mol ที่ 20oC กับแกสอารกอน 4 mol
ที่ 25oC มาผสมกัน จงหาอุณหภูมิของแกสผสม (30oC)
วิธที าํ

สมการสถานะ
PV = n R T ถา R = คานิจของแกส = 0.0821 Lit atm / mol.K
P = ความดันแกส (atm)
V = ปริมาตรแกส (Lit)
ถา R = คานิจของแกส = 8.31 N.m / mol.K
P = ความดันแกส (N/m2)
V = ปริมาตรแกส (m3)
n = mg = N g = มวล (กรัม) 1 m3 = 1000 Lit
6.02x1023
m = มวลโมเลกุล 1 Lit = 1000 cm3
N = จํานวนโมเลกุล 1 atm = 1.01 x 105 N/m2
ุ หภูมิ –23oC มีกโ่ี มล
30. ภาชนะ 2 ลิตร บรรจุแกส CO2 มีความดัน 20.5 atm ทีอ่ ณ
1. 4.0 โมล 2. 3.0 โมล 3. 2.0 โมล 4. 1.0 โมล (ขอ 3)
วิธที าํ

31. แกส (ก) 1 mol กับแกส (ข) 1 mol บรรจุในกลองเดียวกันซึง่ มีปริมาตร 1 m3 โดยไมทาํ
ปฏิกิริยากันที่ 27oC ความดันแกสในกลองเปนเทาใด (4986 N/m2)
วิธที าํ

44
ฒิ๋

III บทที่ 10 ความรอน
32. มีแกสอยู 4 โมล บรรจุในภาชนะ 8.31 ลิตร ถาแกสมีอณุ หภูมิ 27oC จะมีความดันเทาไร
1. 1.0 x 106 N/m2 2. 1.1 x 106 N/m2
3. 1.2 x 106 N/m2 4. 1.4 x 106 N/m2 (ขอ 3)
วิธที าํ

33. แกส N2 จํานวน 4.8 x 1024 โมเลกุล บรรจุในภาชนะ 67.2 ลิตร ที่ 0oC มีความดันเทาไร
1. 3.3 atm 2. 2.6 atm 3. 2.1 atm 4. 1.6 atm (ขอ 2)
วิธที าํ

34. แกส N2 100 cm3 ทีอ่ ณ


ุ หภูมิ 0oC ความดัน 2 atm มีกโ่ี มเลกุล (ขอ 3)
1. 6.02 x 1023 2. 1.25 x 1020 3. 5.37 x 1021 4. 4.20 x 1015
วิธที าํ

35. ถังบรรจุแกสออกซิเจน 560 ลิตร อุณหภูมิ 273 เคลวิน ความดัน 1 บรรยากาศ จงหามวล
ของออกซิเจนในถังนี้ (800 กรัม)
วิธที าํ

45
•III บทที่ 10 ความรอน
36. แกสออกซิเจนในถังทีม่ ปี ริมาตร 40 ลูกบาศกเดซิเมตร เดิมมีความดัน 20 บรรยากาศ
และมีอณุ หภูมิ 27 องศาเซลเซียส ตอมาแกสรัว่ ไปบางสวนจนมีความดัน 4.0 บรรยากาศ
และมีอณ
ุ หภูมิ 20 องศาเซลเซียส จงหาวาแกสรัว่ ไปกีก่ โิ ลกรัม
( กําหนด ออกซิเจน 1 โมลมีมวล 32 กรัม ) ( 0.827 กิโลกรัม)
วิธที าํ

37(En 43/1) ถาอุณหภูมภิ ายในหองเพิม่ ขึน้ จาก 27oC เปน 37oC และ ความดันในหองไมเปลีย่ น
แปลงจะมีอากาศไหลออกจากหองกี่โมล หากเดิมมีอากาศอยูในหองจํานวน 2000 โมล
1. 65 2. 940 3. 1620 4. 1940 (ขอ 1)
วิธที าํ

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

ตอนที่ 3 ทฤษฏีจลนของแกส
เพือ่ ความสะดวกในการศึกษาเรือ่ งราวเกีย่ วกับแกส นักวิทยาศาสตรจงึ ไดสรางแบบ
จําลองของแกสในอุดมคติขน้ึ ซึง่ มีความดังนี้
1) แกสประกอบดวยโมเลกุลจํานวนมาก ทุกโมเลกุลมีลักษณะเปนกอนกลมที่มีขนาด
เทากัน มีความยืดหยุน สูง ดังนัน้ โมเลกุลเหลานีจ้ ะชนผนังและกระดอนแบบยืดหยุน
2) ถือวาปริมาตรรวมของโมเลกุลทุกตัวนอยมาก เมือ่ เปรียบเทียบกับปริมาตรของกาซ
ทัง้ ภาชนะ จึงสามารถตัดปริมาตรของโมเลกุลทิง้ ไปได
46

III บทที่ 10 ความรอน
3) ไมมแี รงใดๆ กระทําตอโมเลกุลไมวา จะเปนแรงผลักหรือแรงดูด หรือแมกระทัง่ แรง
โนมถวงโลกทีก่ ระทําตอโมเลกุลดวย
4) โมเลกุลทุกโมเลกุลจะเคลือ่ นทีเ่ ปนเสนตรงแบบสับสนไรทศิ ทาง และอาจเปลีย่ นแนว
การเคลือ่ นทีไ่ ดหากไปชนใสผนังภาชนะหรือชนกับโมเลกุลแกสดวยกันเอง เรียกการ
เคลือ่ นทีแ่ บบนีว้ า การเคลือ่ นทีแ่ บบบราวนเนียน
และนักวิทยาศาสตรยงั สามารถหาความสัมพันธระหวางความดันกับพลังานจลนเฉลีย่ ของ
โมเลกุลแกสได ดังนี้ P V = 13 N m v 2 หรือ P V = 23 N m E k

38. เหตุใดแกสจึงฟุง กระจายเต็มภาชนะทีบ่ รรจุ และ สามารถบีบอัดใหมปี ริมาตรนอยลงกวา


เดิมไดมาก ( เพราะแรงดึงดูดระหวางโมเลกุลแกสมีนอย โมเลกุลแกสจึงฟุงกระจายไดเต็มภาชนะ
บรรจุ และ โมเลกุลแกสจะอยูหางกัน ทีว่ า งระหวางโมเลกุลมีมาก ดังนัน้ เมือ่ เราทําการบีบ
อัดโมเลกุลจะเบียดชิดเขาใกลกันได จึงทําใหปริมาตรของแกสโดยรวมลดลงได )
39. เมือ่ อัดแกสใหมปี ริมาตรลดลง ความดันของแกสจะเพิม่ ขึน้ เพราะเหตุใด
( เพราะเมื่อปริมาตรลดลง จะทําใหโมเลกุลพุงชนผนังภาชนะบรรจุแกสบอยขึ้น จึงทําให
ความดันแกสที่กระทําตอภาชนะมีคาเพิ่มขึ้น )
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

ตอนที่ 4 อัตราเร็วโมเลกุลแกส
Vrms = v 2

Vrms = 12 Ι 32 Ι 52 Ι 62
4
= 1 Ι 9 Ι 25 Ι 36
4
= 17.75
Vrms = 4.21 m/s
3RT 3kBT 3P
Vrms = M Vrms = m Vrms = ″
เมือ่ Vrms = อัตราเร็วรากทีส่ องของกําลังสองเฉลีย่
T = อุณหภูมิ (K)
R = 8.31 N.m/mol.K
kB = คานิจของโบสธมาล = 1.38 x 10–23 N.m/mol.K
47

III บทที่ 10 ความรอน
P = ความดันแกส (N/m2)
″ = ความหนาแนน (kg/m3)
m = มวลแกส 1 โมเลกุล (kg) = มวลโมเลกุล x 1.66 x 10–27 kg
M = มวลแกส 1 โมล (kg) = มวลโมเลกุล x 10–3 kg
40(En 39) สมมติวา สามารถทดลองวัดคาอัตราเร็วของโมเลกุล แตละตัวไดทง้ั หมด 5 โมเลกุล
ไดการกระจายอัตราเร็วโมเลกุลดังตาราง จงหาคารากทีส่ องของกําลังสองเฉลีย่ ของอัตราเร็ว
อัตราเร็วโมเลกุล (เมตรตอวินาที) 3 4 5
จํานวนโมเลกุล 2 2 1
1. 3.5 m/s 2. 3.9 m/s 3. 4.2 m/s 4. 4.5 m/s (ขอ 2)
วิธที าํ

ุ หภูมิ 27oC
41. จงหาอัตราเร็วของโมเลกุลแกสไฮโดรเจน (H2) ทีอ่ ณ (1934 m/s)
วิธที าํ

42. จงหา Vrms ของโมเลกุลของแกสออกซิเจน (O2) ทีม่ อี ณ


ุ หภูมิ 300 เคลวิน (483 m/s)
วิธที าํ

ุ หภูมปิ กติ มีความหนาแนน 1.24 kg/m3 ทีค่ วามดัน 1 atm จงหาวาโมเลกุล


43. อากาศทีอ่ ณ
ของแกสจะมี Vrms เทาใด (1 atm = 1 x 105 N/m2) (491.87 m/s)
วิธที าํ

48
III บทที่ 10 ความรอน
44. อัตราเร็วเฉลีย่ ของโมเลกุลไฮโดรเจนเทากับ 400 m/s ที่ 27oC ถาอุณหภูมเิ ปลีย่ นเปน
927oC อัตราเร็วจะเปนเทาใด (800 m/s)
วิธที าํ

45. แกสที่ 927oC แกสมีคา Vrms เปน 800 m/s ถาตองการใหแกสมีคา Vrms เปนครึง่ หนึง่
ของคาเดิม ตองทําใหมอี ณ
ุ หภูมเิ ทาใด (27oC)
วิธที าํ

46. ถาอัตราสวนของอัตราเร็วรากทีส่ องของกําลังสองเฉลีย่ (Vrms ) ของแกสออกซิเจนตอ


แกสไนโตรเจนเปน 3 ตอ 2 และแกสออกซิเจนมีความดันเปน 2 เทาของแกสไนโตรเจน
อัตราสวนของความหนาแนนของแกสออกซิเจนตอกาซไนโตรเจน
1. 2/9 2. 8/9 3. 4/3 4. 3 /4 (ขอ 2)
วิธที าํ

49
ษึ
อIII บทที่ 10 ความรอน
47. กระบอกสูบแกสชนิดหนึง่ บรรจุจาํ นวน n โมล เมือ่ ใหความรอนจํานวนหนึง่ แกกระบอก
สูบ พบวา Vrms ของแกสเพิม่ ขึน้ เปน 2 เทา และปริมาตรเพิม่ ขึน้ เปน 3 เทา ความดัน
ของแกสจะเปลีย่ นเปนกีเ่ ทาของความดันเดิม
1. 3/2 2. 4 /3 3. 3/2 4. 3/4 (ขอ 2)
วิธที าํ

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

ตอนที่ 5 พลังงานจลนโมเลกุลแกส
E k = 23 kB T E k = 23 PV
N
เมือ่ E k = พลังงานจลนเฉลีย่ ของโมเลกุลแกส (J)
(มีคา เปนพลังงานจลนของแกส 1 โมเลกุล)
kB = 1.38 x 10–23 N.m / mol.k
T = อุณหภูมิ (K)
P = ความดัน (N/m2)
Ekรวม = N Ek
V = ปริมาตร (m3)
U = N 23 kB T
3 N = จํานวนโมเลกุลแกส
U = 2 PV n คือ จํานวนโมลแกส
U = 3
2 nRT R = 8.31 J / mol . K
ุ หภูมิ 27oC มีคา กีจ่ ลู
48. พลังงานจลนเฉลีย่ ของแกส 1 โมเลกุล ทีอ่ ณ (ขอ ง)
ก. 1.38 x 10–21 ข. 2.07 x 10–21 ค. 2.67 x 10–21 ง. 6.21 x 10–21
วิธที าํ

50

III บทที่ 10 ความรอน
49. บรรจุแกสในถังทีม่ ปี ริมาตร 0.2 m3 ทีค่ วามดัน 104 N/m2 ภายใตภาวะนี้ แกสนี้ 0.2 m3
มี 0.6x1022 โมเลกุล อยากทราบวาพลังงานจลนเฉลีย่ ของแตละโมเลกุลของแกสมีคา เทาใด
วิธที าํ (5x10–19 จูล)

50. พลังงานของแกส 1 โมล ( 6.02 x 1023 โมเลกุล ) ทีอ่ ณ


ุ หภูมิ 27oC มีคา กีจ่ ลู
ก. 3.7 x 103 ข. 7.4 x 103 ค. 11.1 x 103 ง. 14.8 x 103 (ขอ ก)
วิธที าํ

51. ณ.อุณหภูมิ 37oC แกสชนิดหนึง่ 2 โมล จะมีพลังงานเทาใด (R = 8.3 J/mol.K) (7719 J)


วิธที าํ

52. จงหาพลังงานจลนเฉลีย่ ของโมเลกุลแกสที่ 30oC (6.27x10–21 จูล)


วิธที าํ

53. จงหาพลังงานจลนของโมเลกุลแกสทัง้ หมดซึง่ มีปริมาตร 2 ลิตร ความดัน 2.5 บรรยากาศ


(กําหนด ความดัน 1 บรรยากาศ = 1.01 x 105 N/m2) (ขอ ง)
ก. 1.7 x 102 จูล ข. 3.4 x 102 จูล ค. 3.8 x 102 จูล ง. 7.6 x 102 จูล
วิธที าํ

51

III บทที่ 10 ความรอน
54. ถาพลังงานจลนเฉลีย่ ของแกสในภาชนะปดเทากับ 6.3x10–21 จูล และ จํานวนโมเลกุลตอ
ปริมาตรของแกสเทากับ 2.4x1025 โมเลกุลตอลูกบาศกเมตร จงหาความดันของแกสนี้
วิธที าํ ( 1.008x105 N /m2 )

55. ทีค่ วามดัน 4x105 นิวตัน/ตารางเมตร แกสจะมีพลังงานกีจ่ ลู ตอลูกบาศกเมตร (6x105 )


วิธที าํ

56. ถาความดันของอากาศในหองปดหองหนึง่ เปน a N/m2 พลังงานจลนของอากาศตอหนึง่


หนวยปริมาตรเปนเทาไร
1. 2a3 J/m2 2. 3a2 J/m2 3. 2a3 J/m3 4. 3a2 J/m3 (ขอ 4)
วิธที าํ

57. แกสชนิดหนึง่ มีอณุ หภูมิ 300 K ถาจะใหแกสพลังงานจลนเฉลีย่ ของโมเลกุลเพิม่ เปน 2


เทาของเดิมจะตองทําใหอณ
ุ หภูมเิ ปนเทาใด (600 K)
วิธที าํ

58. ถาพลังงานจลนเฉลีย่ ของแกสเพิม่ ขึน้ 25% จากพลังงานจลน ณ อุณหภูมิ 31oC ขณะ


นัน้ แกสมีอณ
ุ หภูมเิ ปนเทาไร (107oC)
วิธที าํ

52

III บทที่ 10 ความรอน
59. แกสตางชนิดกัน ถามีอณ
ุ หภูมเิ ทากัน พลังงานจลนเฉลีย่ ของโมเลกุลเทากันหรือไม (เทากัน)
วิธที าํ

60. ถาความดันและปริมาตรของแกสเปลีย่ นไปโดยจํานวนโมเลกุลและอุณหภูมคิ งตัว พลังงาน


ภายในของระบบจะเปลีย่ นแปลงหรือไม อยางไร
( พลังงานภายในระบบจะแปรผันตรงกับผลคูณของความดันกับปริมาตร )
วิธที าํ

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

ตอนที่ 6 พลังงานภายในระบบ
U = 23 NkB T เมือ่ U = พลังงานภายในระบบ (พลังงานจลนรวม) (J)
U = 23 PV N = จํานวนโมเลกุล
U = 23 n R T kB = คาคงที่ของโบสชมาล = 1.38 x 10–23 J / mol.K
T = อุณหภูมิ (K)
P = ความดัน (N/m2)
V = ปริมาตร (m3)
ΕQ = ΕU + ΕW
ΕW = งานเนือ่ งจากการขยายตัวของแกส
ΕU = พลังงานภายในระบบทีเ่ พิม่ ขึน้
ΕW = PΕV ΕU = 23 NkB ΕT
ΕW = n R ΕT ΕU = 23 n R ΕT
ΕU = 23 P2 V2 – 23 P1 V1
เมือ่ P คือ ความดันแกส (N/m2)
χV คือ ปริมาตรทีเ่ ปลีย่ นแปลง
χT คือ อุณหภูมทิ เ่ี ปลีย่ นไป ( K หรือ oC )
n คือ จํานวนโมล R = 8.31 J / mol.K
53

III บทที่ 10 ความรอน
61. จงหาพลังงานภายในระบบของแกสไฮโดรเจนเมื่อ
ก. ปริมาณ 2 โมล ทีอ่ ณ
ุ หภูมิ 27 องศาเซลเซียส (7479 จูล)
ข. ปริมาตร 10 ลิตร ความดัน 2 x 105 พาสคัล (3x103)
วิธที าํ

62. พลังงานภายในของแกสฮีเลียม 10 โมล จะเปลีย่ นไปเทาใด เมือ่ อุณหภูมขิ องแกสฮีเลียม


เปลีย่ นไป 20 องศาเซลเซียส (2493 จูล)
วิธที าํ

63. แกสโมเลกุลอะตอมเดีย่ วชนิดหนึง่ มีมวล 60 กรัม เมือ่ อุณหภูมเิ ปลีย่ นไป 10 K พลังงาน
ของแกสนีจ้ ะเปลีย่ นไปเทาไร กําหนดใหมวลโมเลกุลของแกสนี้ = 15 (498.6 J)
วิธที าํ

64. แกสปริมาตร 2 ลูกบาศกเมตร อุณหภูมิ 0oC ความดัน 105 N/m2 มีปริมาตรเพิม่ ขึน้ เปน
12 ลูกบาศกเมตร มีความดันเดิม การขยายตัวนีแ้ กสทํางานไดกจ่ี ลู (ขอ ก)
ก. 1.0 x 106 ข. 1.2 x 106 ค. 2 x 106 ง. 4.0 x 106
วิธที าํ

54

III บทที่ 10 ความรอน
65. แกสในระบบขยายตัวดวยความดันคงที่ 2x105 N/m2 ในกระบวนการนีว้ ดั งานได 104 จูล
โดยพลังงานภายในระบบไมเปลีย่ นแปลงปริมาตรของระบบเปลีย่ นแปลงกีล่ กู บาศกเมตร
ก. 0.05 ข. 0.02 ค. 0.2 ง. 0.3 (ขอ ก)
วิธที าํ

สมการ βQ = βU + βW
การใชสมการนีต้ อ งคํานึงถึงคาบวก ลบ ของตัวแปรทุกตัวดังนี้
สําหรับ βQ หากความรอนเขาสูร ะบบ (ดูดความรอน) ΕQ มีคา +
หากความรอนออกจากระบบ (คายความรอน) ΕQ มีคา –
หากความรอนไมเขาหรือออก ระบบ ΕQ มีคา 0
สําหรับ βU หากพลังงานภายในเพิม่ (อุณหภูมเิ พิม่ ) ΕU มีคา +
หากพลังงานภายในลด (อุณหภูมลิ ด) ΕU มีคา –
หากพลังงานภายในไมเปลีย่ น (อุณหภูมิคงที)่ ΕU มีคา 0
สําหรับ βW หากปริมาตรแกสเพิม่ ΕW มีคา +
หากปริมาตรแกสลด ΕW มีคา –
หากปริมาตรแกสคงที่ ΕW มีคา 0
66. แกสในกระบอกสูบรับความรอนจากภายนอก 142 จูล ขณะทีแ่ กสขยายตัวมันทํางานบน
ระบบภายนอก 160 จูล ถามวาพลังงานภายในของแกสเพิม่ ขึน้ หรือลดลงเทาใด และ
อุณหภูมขิ องแกสเพิม่ ขึน้ หรือลดลง ( ลดลง 18 จูล )
วิธที าํ

67. แกสในกระบอกสูบคายความรอน 240 จูล ขณะทีพ่ ลังงานภายในเพิม่ ขึน้ 50 จูล ถามวา


แกสหดตัวหรือขยายตัว ( หดตัว )
วิธที าํ

55

III บทที่ 10 ความรอน
68. อัดแกสในกระบอกสูบดวยความดันคงที่ 1x105 N/m2 ทําใหปริมาตรเปลีย่ นลดลง 0.004 m3
ถาพลังงานภายในระบบของแกสในกระบอกคงที่ จงหาพลังงานความรอนที่เกิดขึ้น (400 J)
วิธที าํ

69. เมือ่ เพิม่ ความรอนใหแกระบบแกส 8400 จูล พรอมกับทํางานใหระบบ 4000 จูล พลังงาน
ภายในระบบเปลีย่ นไปเทาใด (12400 จูล)
วิธที าํ

70. ในการอัดแกส 2 โมล ในกระบอกสูบตองทํางานใหระบบ 400 จูล ถาระบบไมถา ยเท


ความรอนเลย อยากทราบวาอุณหภูมขิ องแกสจะสูงขึน้ เทาใด (16.04 K)
วิธที าํ

71. เมือ่ ใหความรอน 64.9 จูล แกแกส 0.5 โมล ทีบ่ รรจุในกระบอกสูบ แกสทํางานได 40 จูล
ดันลูกสูบใหเคลือ่ นที่ อุณหภูมขิ องแกสเพิม่ ขึน้ กีเ่ คลวิน (R = 8.3 J/mol.k) (4 K)
วิธที าํ

56

III บทที่ 10 ความรอน
72 ระบบหนึง่ เมือ่ ไดรบั ความรอน 8000 จูล จะทําใหพลังงานภายในระบบเพิม่ ขึน้ 6000 จูล
อยากทราบวาในการนีต้ อ งทํางานใหแกระบบหรือระบบทํางานเทาไร (ระบบทํางาน 2000 จูล)
วิธที าํ

73. ใหพลังงานความรอนแกแกส 23 โมล จํานวน 830 จูล แกสมีการเปลีย่ นแปลงแบบ


ปริมาตรคงตัว จงหาอุณหภูมขิ องแกสทีเ่ พิม่ ขึน้ (R = 8.3 J / mol.K) (ขอ 2)
1. 10 K 2. 100 K 3. 150 K 4. 200 K
วิธที าํ

74. แกสในกระบอกสูบมีความดัน 1 kPa และปริมาตร 2 m3 ถาแกสนีไ้ ดรับความรอน 10


kJ จนมีความดัน 2 kPa และปริมาตร 4 m3 จงหางานทีก่ ระทําโดยแกสในกระบวนการนี้
1. 1 kJ 2. 4 kJ 3. 7 kJ 4. 8 kJ (ขอ 1)
วิธที าํ

75. แกสฮีเลียมจํานวน 1 โมล บรรจุอยูใ นภาชนะปดทีแ่ ข็งแรงมาก อยากทราบวาเมือ่ ให


ความรอนเขาไป 600 จูล ความดันแกสในภาชนะจะเพิม่ ขึน้ จากเดิมเทาใด ถาถังมี
ปริมาตร 0.5 ลูกบาศกเมตร (ขอ 2)
1. 600 N/m2 2. 800 N/m2 3. 1000 N/m2 4. 1200 N/m2
วิธที าํ

57

III บทที่ 10 ความรอน
แบบฝกหัด ฟสกิ ส บทที่ 10 ความรอน
ความรอน
1. จงหาพลังงานความรอนทีท่ าํ ใหเหล็กมวล 100 กรัม ทีอ่ ณ
ุ หภูมิ 20 องศาเซลเซียส มี
อุณหภูมสิ งู ขึน้ เปน 60 องศาเซลเซียส
( กําหนด คาความจุความรอนจําเพาะของเหล็กเทากับ 450 J /kg.K ) ( 1800 จูล )
2. ใหพลังงานความรอนแกตะกัว่ 252 จูล ถาตะกัว่ มีมวล 2 กิโลกรัม จะมีอณ
ุ หภูมสิ งู ขึน้ เทาใด
(ความจุความรอนจําเพาะของตะกัว่ = 126 จูล/กิโลกรัม.เคลวิน) ( 1 K [oC] )

3. ใหพลังงานความรอนขนาด 5000 จูล กับเหล็กทอนหนึง่ ปรากฏวาเหล็กมีอณ ุ หภูมสิ งู ขึน้


จาก 30 องศาเซลเซียส เปน 80 องศาเซลเซียส จงหามวลของเหล็กกอนนี้
(กําหนด เหล็กมีคา ความจุความรอนจําเพาะ 0.500 กิโลจูล/กิโลกรัม.เคลวิน) (0.20 kg)
4. ลูกปนทองแดง อุณหภูมิ 10 องศาเซลเซียส ถูกยิงออกไปดวยความเร็ว 300 เมตร/วินาที
กระทบเปา แลวหยุดนิง่ ในเปา ลูกปนจะมีอณ
ุ หภูมเิ ปนเทาใด (ความจุความรอนจําเพาะของ
ทองแดง 385 J/kg. K) (กําหนดพลังงานจลนทง้ั หมดเปลีย่ นเปนความรอน) (126.88oC)
5. น้าํ ตกจากหนาผาสูง 200 เมตร ถาในการเปลีย่ นรูปของพลังงานเปลีย่ นเปนพลังงานความ
รอนทัง้ หมด ถาน้าํ ตกถึงพืน้ ดานลาง จะมีอณ
ุ หภูมเิ พิม่ ขึน้ เทาไร (ความจุความรอนจําเพาะ
ของน้าํ 4.2 kJ.kg.K ) (0.48oC)
6. ในการทดลองการเปลีย่ นรูปพลังงานกลเปนพลังงานความรอน โดยใชกระบอกยาว 0.4 เมตร
บรรจุลกู กลมโลหะมีความจุความรอนจําเพาะ 500 จูล / กิโลกรัม.เคลวิน มีมวล 100 กรัม
ทําการทดลองพลิกกลับกระบอกขึน้ ลงใหลกู กลมหลนในกระบอก 200 ครัง้ จงหาวา
อุณหภูมขิ องลูกกลมโลหะเพิม่ ขึน้ มากทีส่ ดุ เทาไร (1.6oC)
7. น้าํ แข็งมวล 20 กรัม อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส ละลายกลายเปนน้าํ หมดที่ 0 องศา
เซลเซียสจะตองใชความรอนเทาไร ( Lหลอมเหลวน้ําแข็ง = 333x103 J/kg) (6660 จูล)
8. น้าํ มวล 20 กรัม อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส เดือดกลายเปนน้าํ หมดที่ 100 องศา
เซลเซียสจะตองใชความรอนเทาไร ( Lการเดือดของน้ํา = 2256x103 J/kg) (45120 จูล)

58

III บทที่ 10 ความรอน
9. ใหพลังงานความรอนแกนาํ้ แข็ง (0o C) มวล 2 กิโลกรัม เปนปริมาณเทาไรเพือ่ ใหนาํ้ แข็ง
กลายเปนน้าํ และเหลือน้าํ แข็ง 0.5 กิโลกรัม ( ความรอนแฝงจําเพาะของน้ําแข็ง 336 kJ/kg )
1. 504 kJ 2. 336 kJ 3. 168 kJ 4. 94 kJ (ขอ 1)
10. กอนน้าํ แข็งมวล 1 กิโลกรัม มีอณ ุ หภูมศิ นู ยองศาเซลเซียส ตกลงไปในทะเลสาปทีน่ าํ้ มี
อุณหภูมศิ นู ยองศาเซลเซียสเชนเดียวกัน ปรากฏวาน้าํ แข็งละลายไป 0.01 กิโลกรัม น้าํ แข็ง
ตกลงมาจากระดับความสูงกีเ่ มตร
(ความรอนแฝงจําเพาะของการหลอมเหลวของน้าํ = 300 x 103 J/kg )
1. 10 2. 30 3. 300 4. 1000 (ขอ 3)
11. กอนน้าํ แข็งมวล 5 กิโลกรัม ไถลลงจากที่สูง 5 เมตร อยากทราบวาน้าํ แข็งจะละลายไป
ุ หภูมิ 0oC ( Lการหลอมเหลวน้าํ แข็ง= 333 kJ/kg )
เทาไร ถาพืน้ มีอณ ( 0.75 กรัม)
12. ถาตองการใหนาํ้ แข็งมวล 1 กิโลกรัม อุณหภูมิ –10 องศาเซลเซียส กลายเปนน้าํ ทีอ่ ณุ หภูมิ
100 องศาเซลเซียส ทัง้ หมด จงหาวาตองใชพลังงานความรอนกีก่ โิ ลจูล
กําหนด Cน้าํ = 4.18 กิโลจูล / กก.เคลวิน
Cน้าํ แข็ง = 2.10 กิโลจูล / กก.เคลวิน
Lน้าํ แข็ง = 333 กิโลจูล / กก.
1. 231 2. 649 3. 772 4. 793 (ขอ 3)
13. นําเหล็กมวล 1 kg อุณหภูมิ 60oC ใสในน้าํ 1 kg อุณหภูมิ 0oC ในเวลาตอมา
อุณหภูมขิ องน้าํ และเหล็กเทากัน อยากทราบวาอุณหภูมนิ ม้ี คี า เทาใด ถาความจุความรอน
จําเพาะของน้าํ และเหล็กมีคา 4180 และ 500 J/kg.k ตามลําดับ (6.41oC)
14. กอนอะลูมเิ นียมมวล 200 กรัม อุณหภูมิ 300 องศาเซลเซียส อยูใ นภาชนะทีเ่ ปนฉนวน
เมือ่ เทน้าํ แข็งอุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส มวล 70 กรัม ลงในภาชนะ จากนัน้ ปดภาชนะดวย
ฝาฉนวน อุณหภูมสิ ดุ ทายภายในภาชนะเปนเทาใด
( กําหนด คาความจุความรอนจําเพาะของอลูมเิ นียม = 0.9 KJ /kg.K
คาความจุความรอนจําเพาะของน้าํ = 4.2 KJ /kg.K
คาความรอนแฝงของการหลอมเหลวของน้าํ = 333 KJ / Kg ) ( 64.7o )

59

III บทที่ 10 ความรอน
สมบัติของแกสจากการทดลอง
15. แกสในกระบอกสูบอักลูกสูบใหมปี ริมาตรลดลงจาก 10 cc เปน 5 cc ความดันเดิม 1 atm
จงหาความดันของแกสในกระบอกสูบหลังอัดแลว เมือ่ กําหนดใหอณ ุ หภูมขิ องแกสคงตัว?
1. 4.0 atm 2. 2.0 atm 3. 1.5 atm 4. 1.0 atm (ขอ 1)
16. แกสจํานวนหนึง่ ปริมาณ 0.5 ลูกบาศกเมตร ทีค่ วามดัน 105 นิวตัน/ตารางเมตร อุณหภูมิ
0 องศาเซลเซียส ถาจะทําใหแกสนีม้ ปี ริมาตร 1 ลูกบาศกเมตร โดยความดันไมเปลีย่ น
แปลง อุณหภูมสิ ดุ ทายเปนเทาไร (546 k)
17. Idealgas จํานวนหนึง่ อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส ความดัน 1 บรรยากาศ ถาความดันลดลง
เปน 0.6 บรรยากาศ ปริมาตรเพิม่ เปน 2 เทา อุณหภูมสิ ดุ ทายของแกสจะเปนเทาไร (87oC)
18. แกสชนิดหนึง่ ถูกบังคับใหมคี วามดันคงที่ และอุณหภูมขิ องแกสถูกทําใหเพิม่ ขึน้ จาก 27o C
ไปเปน 127o C ปริมาตรของแกสจะเปลีย่ นไปเปนอัตราสวนเทาใดของปริมาตรเดิม
1. 4/3 2. 3 /4 3. 127/27 4. ไมเปลีย่ น (ขอ 1)
19. แกสชนิดหนึง่ มีปริมาตรและอุณหภูมสิ มั บูรณเพิม่ เปน 1.5 เทา และ 2 เทา ตามลําดับ
จงหาวาความดันของแกสนีเ้ ปนกีเ่ ทาของความดันเดิม ( 43 เทา )
20. แกสในถังใบหนึง่ เมือ่ ทําใหอุณหภูมลิ ดลงจาก 27 องศาเซลเซียส –6 องศาเซลเซียส ความ
ดันของแกส จะเพิม่ หรือลดลงจากเดิมกีเ่ ปอรเซ็นต (ลดลง 11%)
21. ในการทดลองเพือ่ หาความสัมพันธระหวางความดันและปริมาตรของแกสชนิดหนึง่ พบวา
ถาเราเพิม่ ความดันขึน้ เปน 3 เทาของความดันเริม่ ตนปริมาตรของแกสในระบบจะลดลง
เปนครึง่ หนึง่ จงหาวาอุณหภูมขิ องแกสควรจะเพิม่ ขึน้ กีเ่ ปอรเซ็นต
1. 0% 2. 50% 3. 75% 4. 150% (ขอ 2)
22. ที่ S.T.P. (0oC , 1 atm) อากาศ 1 ลิตร มีมวล 1.293 กรัม จงหาความดันของอากาศมวล
12.93 กรัม ปริมาตร 10 ลิตร ทีอ่ ณ ุ หภูมิ 27 องศาเซลเซียส (1.1 atm )
23. ความหนาแนนของอากาศที่ 27 องศาเซลเซียส ความดัน 760 มิลลิเมตร ของปรอทเปน
2.5 กรัม / ลิตร ถา ณ อุณหภูมเิ ดียวกัน ความดันเปน 860 มิลลิเมตร ของปรอท ความ
หนาแนนของอากาศเปนเทาไร (2.83 g/ ! )

60

III บทที่ 10 ความรอน
24. หองประชุมมีอณ ุ หภูมิ 32o C เมือ่ เปดเครือ่ งปรับอากาศ ทําใหอณุ หภูมขิ องหองเปน 26o C
จงหาอัตราสวนความหนาแนนของอากาศทีอ่ ณ ุ หภูมิ 26o C ตอความหนาแนนของอากาศ
ุ หภูมิ 32o C
ทีอ่ ณ
26
1. 32 2. 32 3. 299 4. 305 (ขอ 4)
26 305 299
25. ถาความดันบรรยากาศเทากับความดันของน้าํ ลึก 10 เมตร ถาฟองอากาศใตผวิ น้าํ ลึก 50
เมตร มีปริมาตร 1 ลูกบาศกมลิ ลิเมตร ลอยขึน้ มาอยูท ต่ี าํ แหนงต่าํ กวาระดับผิวน้าํ 10 เมตร
จะมีปริมาตรเทาใด
1. 4 mm3 2. 3 mm3 3. 2 mm3 4. 1 mm3 (ขอ 2)
26. ถัง A มีปริมาตร 5 ลิตร บรรจุแกสความดัน 2 บรรยากาศ ถัง B มีปริมาตร 10 ลิตร
บรรจุแกสความดัน 3 บรรยากาศ นําทอเล็กๆ ตอระหวาง ถัง A และ B ความดันของ
แกสในถังทัง้ สองเปนเทาใด เมือ่ อุณหภูมไิ มเปลีย่ นแปลง (2.67 atm)
27. Idel gas ทีค่ วามดัน 1 บรรยากาศ อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส ปริมาตร 20 ลิตร จะมี
ปริมาณแกสกีโ่ มล (R = 8.31 J/mol.K , 1 atm = 1.01 x 105 N/m2 ) (0.81)
28. แกส 4 โมล บรรจุในภาชนะ 8.31 ลิตร ถาแกสมีอณ ุ หภูมิ 27o C จะมีความดันเทาไร
1. 1.0 x 106 N/m2 2. 1.1 x 106 N/m2
3. 1.2 x 106 N/m2 4. 1.4 x 106 N/m2 (ขอ 3)
29. แกสไฮโดรเจน 10 ลิตร ความดัน 1 บรรยากาศ อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส จะมีมวล
ของ แกสเทาใด ( H = 1 ) (0.81 กรัม)
30. ภาชนะปริมาตร 2 x 10–2 ลูกบาศกเมตร บรรจุแกส CO2 20 กรัม อุณหภูมิ 57 องศา
เซลเซียส จงหาความดันของแกส CO2 นี้ ( C = 12 , O = 16) (6.23x104 N/m2 )
31. อากาศทีค่ วามดัน 105 นิวตัน/ตารางเมตร อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส จะมีกโ่ี มเลกุลใน
1 ลูกบาศกเมตร ( kB = 1.38 10–23 J/K ) (2.34x1025 )
32. มีแกสอยูใ นภาชนะ ถาตองการรูจ าํ นวนโมลของแกส จะตองทราบปริมาณใดบาง
1. ความดัน , ปริมาตร , อุณหภูมิ 2. ความดัน , อุณหภูมิ
3. ความดัน , ปริมาตร 4. ปริมาตร , อุณหภูมิ (ขอ 1)

61
6
III บทที่ 10 ความรอน
33. ภาชนะบรรจุแกส ความดัน P มีอณ
ุ หภูมิ T มีปริมาณ N โมเลกุล จงหาปริมาตรแกส
Nk T 2Nk BT
1. PB 2. nRT
P 3. P 4. nRT
2P (ขอ 1)

อัตราเร็วโมเลกุลแกส
34. สมมติวา ในการทดลองวัดอัตราเร็วของโมเลกุลแตละตัวไดทง้ั หมด 6 โมเลกุล ไดการ
กระจายอัตราเร็วโมเลกุลดังตาราง จงหาคารากทีส่ องของกําลังสองเฉลีย่ ของอัตราเร็ว
อัตราเร็วโมเลกุล (เมตร/วินาที) 10 20 30
จํานวนโมเลกุล 1 3 2
(22.73 m/s )
35. จงหา vrms ของแกส H2 ที่ 0 องศาเซลเซียส (H = 1) (1844.7 m/s )
36. โมเลกุลของแกสออกซิเจน (O2) ที่ 27 องศาเซลเซียส จะมีคา เฉลีย่ กําลังสองของอัตราเร็ว
เทาใด (เมตร/วินาที) ถามวลอะตอมของออกซิเจนเทากับ 15
1. 4.2x10–27 2. 250 3. 490 4. 2.5x105 (ขอ 4)
37. ออกซิเจนมีมวลโมเลกุลเปน 16 เทาของไฮโดรเจน ถามวลโมเลกุลไฮโดรเจนเทากับ 2
และแกสไฮโดรเจนมีอณ ุ หภูมเิ ปน 4 เทาของแกสออกซิเจนอัตราเร็วรากทีส่ องของกําลัง
สองเฉลีย่ ของแกสไอโดรเจนตอแกสออกซิเจนคือ
1. 2 : 1 2. 4 : 1 3. 8 : 1 4. 16 : 1 (ขอ 3)
38. ทีอ่ ณ
ุ หภูมิ 27 องศาเซลเซียส แกสชนิดหนึง่ มีอตั ราเร็วเฉลีย่ 300 เมตร/วินาที ถาอุณหภูมิ
เปลี่ยนเปน 927 องศาเซลเซียส อยากทราบวา แกสนีจ้ ะมีอตั ราเร็วเฉลีย่ โมเลกุลเปนเทาไร
(600 m/s)
39. ทีอ่ ณ
ุ หภูมิ 27 องศาเซลเซียส แกสไฮโดรเจน มีอตั ราเฉลีย่ 2000 เมตร/วินาที อยากทราบ
วา ทีอ่ ณ
ุ หภูมิ 47 องศาเซลเซียส แกสออกซิเจน จะมีอตั ราเร็วเฉลีย่ เทาใด (H = 1 , O = 16)
(516.4 m/s )
40. ถาความดันของแก็สในถังใบหนึ่งเพิ่มขึ้น 21 เปอรเซ็นต อยากทราบวา อัตราเร็วเฉลีย่ ของ
แกสจะเพิม่ หรือลดลงกีเ่ ปอรเซ็นต (เพิ่มขึ้น 10%)

62
เIII บทที่ 10 ความรอน
41. กระบอกสูบแกสชนิดหนึง่ บรรจุจาํ นวน n โมล เมือ่ ใหความรอนจํานวนหนึง่ แกกระบอก
สูบ พบวา Vrms ของแกสเพิม่ ขึน้ เปน 2 เทา และปริมาตรเพิม่ ขึน้ เปน 3 เทา ความดัน
ของแกสจะเปลีย่ นเปนกีเ่ ทาของความดันเดิม
1. 3/2 2. 4 /3 3. 3/2 4. 3/4 (ขอ 2)
42. บรรจุแกสในภาชนะปดจํานวนหนึง่ อัตราเร็วรากทีส่ องของกําลังสองเฉลีย่ ของแกสเปน
0.5 เมตร/วินาที ถาอุณหภูมสิ มั บูรณของแกสเพิม่ ขึน้ เปน 4 เทาของเดิม อัตราเร็วราก
ที่สองของกําลังเฉลี่ยของแกสเปนเทาไร
1. 1 m/s 2. 2 m/s 3. 4 m/s 4. 4 2 m/s (ขอ 1)

พลังงานจลนของโมเลกุลแกส
43. Ideal gas ณ อุณหภูมิ 27 องศาเซลเซียส จะมีพลังงานจลนเฉลี่ยเทาใด
(kB = 1.38 x 10–23 J/K ) (6.21x10–21 )
44. ทีค่ วามดัน 2 บรรยากาศ แกสชนิดหนึง่ มีความหนาแนนของโมเลกุล 4 x 1025 โมเลกุล/
ลูกบาศกเมตร อยากทราบวาแกส 0.2 ลูกบาศกเมตร จะมีพลังงานจลนเฉลี่ยเทาใด
(1 atm = 1.01 x 105 N/m2 ) (7.58x10–21 J )
45. ณ อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส แกสชนิดหนึง่ 2 โมล จะมีพลังงานเทาใด
(R = 8.3 J/mol.K) (7719 J)
46. ถาความดันของอากาศในหองปดหองหนึง่ เปน a N/m2 พลังงานจลนของอากาศตอหนึง่
หนวยปริมาตรเปนเทาไร
1. 2a3 J/m2 2. 3a2 J/m2 3. 2a3 J/m3 4. 3a2 J/m3 (ขอ 4)

47. ทีค่ วามดัน 4x105 นิวตัน/ตารางเมตร แกสจะมีพลังงานกี่จูลตอลูกบาศกเมตร (6x105 )


48. แกสชนิดหนึง่ มีอณ
ุ หภูมิ 250 K ถาจะใหแกสพลังงานจลนเฉลี่ยของโมเลกุลเพิ่มเปน 3
เทาของเดิมจะตองทําใหอณุ หภูมเิ ปนเทาใด ( 750 K)
49. เมือ่ อุณหภูมขิ องแกสลดลงจาก 27 องศาเซลเซียสเปน 9 องศาเซลเซียสอยากทราบวา
พลังงานจลนเฉลีย่ ของโมเลกุลของแกสจะเพิม่ หรือลดลงกีเ่ ปอรเซนต (ลดลง 6%)

63

III บทที่ 10 ความรอน
50. เมื่อความดันเฉลี่ยของแกสภายในถังใบหนึ่ง เพิม่ 20 เปอรเซ็นต อยากทราบวา พลังงาน
จลนเฉลี่ยของแกสภายในถังนี้จะเปลี่ยนแปลงอยางไร (เพิ่มขึ้น 20%)

พลังงานภายในระบบ
51. พลังงานภายในของแกสฮีเลียม 10 โมล จะเปลี่ยนไปเทาใด เมือ่ อุณหภูมขิ องแกสฮีเลียม
เปลี่ยนไป 20 องศาเซลเซียส (2493 J)
52. แกสโมเลกุลอะตอมเดีย่ วชนิดหนึง่ มีมวล 60 กรัม เมือ่ อุณหภูมเิ ปลีย่ นไป 10 K พลังงาน
ของแกสนี้จะเปลี่ยนไปเทาไร กําหนดใหมวลโมเลกุลของแกสนี้ = 15 (498.6 J)
53. แกสในกระบอกสูบรับความรอนจากภายนอก 120 จูล ขณะที่แกสขยายตัวมันทํางานบน
ระบบภายนอก 180 จูล ถามวาพลังงานภายในของแกสเพิ่มขึ้นหรือลดลงเทาใด และ
อุณหภูมขิ องแกสเพิม่ ขึน้ หรือลดลง ( ลดลง 60 จูล )
54. แกสในกระบอกสูบคายความรอน 120 จูล ขณะที่พลังงานภายในเพิ่มขึ้น 150 จูล ถามวา
แกสหดตัวหรือขยายตัว ( หดตัว )
55. อัดแกสในกระบอกสูบดวยความดันคงที่ 1x105 N/m2 ทําใหปริมาตรเปลีย่ นลดลง 0.004 m3
ถาพลังงานภายในระบบของแกสในกระบอกคงที่ จงหาพลังงานความรอนที่เกิดขึ้น (400 J)
56. เมือ่ เพิม่ ความรอนใหแกระบบแกส 6000 จูล พรอมกับทํางานใหระบบ 2000 จูล พลังงาน
ภายในระบบเปลี่ยนไปเทาใด (8000 จูล)
57. ในการอัดแกส 4 โมล ในกระบอกสูบตองทํางานใหระบบ 800 จูล ถาระบบไมถายเท
ความรอนเลย อยากทราบวาอุณหภูมิของแกสจะสูงขึ้นเทาใด (16.04 K)
58. เมือ่ ใหความรอน 64.9 จูล แกแกส 0.5 โมล ทีบ่ รรจุในกระบอกสูบ แกสทํางานได 40 จูล
ดันลูกสูบใหเคลื่อนที่ อุณหภูมขิ องแกสเพิม่ ขึน้ กีเ่ คลวิน (R = 8.3 J/mol.k) (4 K)
59 ระบบหนึง่ เมือ่ ไดรบั ความรอน 10000 จูล จะทําใหพลังงานภายในระบบเพิ่มขึ้น 2000 จูล
อยากทราบวาในการนีต้ อ งทํางานใหแกระบบหรือระบบทํางานเทาไร (8000 จูล)
60. ใหพลังงานความรอนแกแกส 23 โมล จํานวน 830 จูล แกสมีการเปลี่ยนแปลงแบบ
ปริมาตรคงตัว จงหาอุณหภูมขิ องแกสทีเ่ พิม่ ขึน้ (R = 8.3 J / mol.K) (150 K)

64

III บทที่ 10 ความรอน
61. แกสในกระบอกสูบมีความดัน 2 kPa และปริมาตร 1 m3 ถาแกสนีไ้ ดรบั ความรอน 10 kJ
จนมีความดัน 4 kPa และปริมาตร 2 m3 จงหางานทีก่ ระทําโดยแกสในกระบวนการนี้
1. 1 kJ 2. 4 kJ 3. 7 kJ 4. 8 kJ (ขอ 1)
62. แกสฮีเลียมจํานวน 1 โมล บรรจุอยูใ นภาชนะปดทีแ่ ข็งแรงมาก อยากทราบวาเมือ่ ใหความ
รอนเขาไป 900 จูล ความดันแกสในภาชนะจะเพิม่ ขึน้ จากเดิมเทาใด ถาถังมีปริมาตร 0.5
ลูกบาศกเมตร
1. 600 N/m2 2. 800 N/m2 3. 1000 N/m2 4. 1200 N/m2 (ขอ 4)
!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!

เฉลย แบบฝกหัด ฟสกิ ส บทที่ 10 ความรอน ( บางขอ )


32. ตอบขอ 1.
วิธที าํ จากสูตร PV = nRT
จะได n = PVRT
นัน่ คือตองทราบคา ความดัน (P) , ปริมาตร (V) และอุณหภูมิ (T) จึงจะหาคาจํานวน
โมล (n) ได สวน R นัน้ เปนคาคงที่
!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!
33. ตอบขอ 1.
วิธที าํ จากสูตร PV = NkB T
Nk T
จะได V = PB
!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!

65
บทที่ 11 คลื่นกล

ฟ สิ ก ส บทที่ 11 คลื่ น กล
ตอนที่ 1 การเคลือ่ นทีแ่ บบคลืน่
การเคลื่อนที่แบบคลื่น หมายถึง “ การเคลือ่ นที่
ซึ่งพลังงานถูกถายทอดไปขางหนาได โดยทีอ่ นุภาค
ตัวกลางสั่นอยูที่เดิม”

ตัวอยาง
ถาเราทําการทดลอง โดยใชเชือกยาวประมาณ 5 เมตร วางไวบนพื้นราบ โดยผูกดายสีสดๆ
ไวตรงกลางเสนเชือกยึดปลายเชือกขางหนึ่งไวกับฝาผนัง ใชมือดึงปลายเชือกที่เหลือให
ตึงพอประมาณ แลวสะบัดปลายเชือกนั้นขึ้นลงตามแนวดิ่ง จะเกิดสวนโคงขึน้ ในเสนเชือก
และเคลื่อนจากปลายที่ถูก สะบัดพุงเขาไปหาฝาผนัง
การเคลือ่ นทีน่ ้ี จะ มีการนําพลังงานเคลื่อนติดไปพรอมกับสวนโคงของเชือกนั้น แตถา
พิจารณาถึงเสนดายที่ผูกไวกลางเชือก จะพบวาเสนดายไมไดเคลื่อนที่เขาหาฝาผนังเหมือนกับ
พลังงาน แตเสนดายเพียงแคสั่นขึ้นสั่นลงอยูที่เดิม แสดงใหเห็นวา อนุภาคของเสนเชือกตรงที่
ผูกดายอยูนั้น ไมไดเคลื่อนที่ไปกับพลังงาน เพียงแตสั่นขึ้นลงอยูที่เดิม เราเรียกการเคลือ่ นที่
แบบนีว้ า เปน การเคลื่อนที่แบบคลื่น
1. การเคลื่อนที่แบบคลื่น คือ การเคลื่อนที่ซึ่ง........... ........ ........ ........ ........ ........ .................
........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ..........
ทิศของพลังงาน

ทิศการสัน่ ไปมา
ของอนุภาค

อีกตัวอยาง ถาเรานําลูกแกวกลมๆ มาวางเรียงกัน 7 ลูก แลวออกแรงตีลกู แกวลูกแรก จะทําให


ลูกแกวนั้นวิ่งไปกระทบลูกที่ 2 แลวลูกที่ 2 นั้นจะวิ่งไปชนลูกที่ 3 เปนเชนนีไ้ ปเรือ่ ย ๆ จนถึง
ลูกสุดทายการชนกันแบบนี้ จะมีการถายทอดพลังงานไปขางหนาเรื่อย ๆ ทําใหพลังงานเกิด
การเคลื่อนที่ไปของพลังงาน แตอนุภาคตัวกลางเพียงแตสั่นไปมาอยูเดิม การเคลือ่ นทีแ่ บบนี้
เรียกการเคลื่อนที่แบบคลื่นไดเชนกัน
66
บทที่ 11 คลื่นกล
2(มช 33) ในการเคลื่อนที่แบบคลื่นนั้นพลังงานจากการสะบัดปลายเสนเชือกดานหนึ่ง
จะถายทอดไปยังปลายเชือกอีกดานหนึ่งไดแสดงวา
ก. พลังงานถายทอดไปพรอมกับการเคลื่อนที่ของคลื่น
ข. พลังงานถายทอดหลังการเคลื่อนที่ของคลื่น
ค. พลังงานจะถายทอดไปกอนที่คลื่นจะเคลื่อนที่มาถึง
ง. พลังงานจากคลื่นจะถายเทใหอนุภาคและอนุภาคจะเคลื่อนที่ไปยังปลายเชือก (ขอ ก)
การแบงประเภทของคลืน่
วิธแี บงที่ 1 แบงโดยอาศัยทิศทางของพลังงานกับทิศการสัน่ อนุภาค จะแบงคลืน่ ได 2 ประเภทคือ
1) คลื่นตามขวาง คือ คลื่นซึ่งมีทิศการถายทอด
พลังงานตั้งฉากกับทิศของการสั่นอนุภาค เชน
คลืน่ ในเสนเชือก
2) คลื่นตามยาว คือ คลื่นที่มีทิศการถายทอดพลังงานขนาน กับทิศการสั่นของอนุภาค เชน
คลื่นในลูกแกว เปนตน
3. คลื่นตามยาว คือ ........... ........... ........... ........... ........... ........... ........... ........... ........... .......
คลื่นตามขวาง คือ ........... ........... ........... ........... ........... ........... ........... ........... ........... ....
วิธแี บงที่ 2 แบงโดยอาศัยลักษณะการถายทอดพลังงาน จะแบงคลื่นได 2 ประเภทคือ
1) คลื่นกล คือ คลื่นที่ตองอาศัยอนุภาคตัวกลางจึงถายทอดพลังงานได เชน คลืน่ ในเสนเชือก
คลื่นในลูกแกว เปนตน
2) คลื่นแมเหล็กไฟฟา คือ คลื่นที่ไมตองอาศัยอนุภาคตัวกลางก็สามารถถายทอดพลังงานได
ซึ่งไดแก รังสีแกมมา รังสีเอ็กซ รังสีอลั ตราไวโอเลต คลื่นแสง รังสีอนิ ฟาเรด
คลืน่ ไมโครเวฟ คลื่นวิทยุ ไฟฟากระแสสลับ
4(มช 38) จงพิจารณาคลื่นในเสนเชือกที่เกิดจากการสบัดปลายเชือกขึ้นลง คลื่นผิวน้ําที่เกิดจาก
วัตถุกระทบผิวน้ํา และ คลื่นเสียงในน้ํา ขอใดผิด
1. คลื่นทั้งสามชนิดเปนคลื่นกล
2. คลื่นทั้งสามชนิดเปนคลื่นตามยาว
3. คลื่นทั้งสามชนิดเปนการถายโอนพลังงาน
4. คลื่นทั้งสามชนิดจะสะทอนเมื่อเคลื่อนที่ผานตัวกลางตางชนิด (ขอ 2)
67
บทที่ 11 คลื่นกล
ตอนที่ 2 คลืน่ น้าํ
ถาเราเอากอนหินขวางลงไปในน้ํา จะทําใหเกิด
การกระเพื่อมขึ้นกระเพื่อมลงเปนรูปคลื่น และกระจาย
ตัวออกไปเรือ่ ย ๆ แตถาเราพิจารณาถึงโมเลกุลของน้ํา
จะพบวา โมเลกุลของน้ําไมไดเคลื่อนที่ออกไปกับการ
กระจายคลื่นนั้นแตโมเลกุล จะสั่นขึ้นสั่นลงอยูกับที่
ดังนั้นการเคลื่อนที่แบบนี้จึงมีลักษณะเปนคลื่น เรียกวา “ คลื่นน้ํา”

คําศัพทเกีย่ วกับคลืน่ น้าํ ทีค่ วรรู


1. สันคลื่น คือ จุดสูงสุดของคลื่น
2. ทองคลื่น คือ จุดต่ําสุดของคลื่น A x
A
3. อัมปลิจดู (A) คือ ระยะจากระดับ
น้ําปกติถึงสันคลื่น หรือ ระยะจากระดับน้ําปกติถึงทองคลื่น
4. 1 ลูกคลื่น คือ ชวงจังหวะคลื่นกระเพื่อมขึ้น 1 อัน รวมกับลงอีก 1 อัน เชนในรูปภาพ
ชวง WX คือ 1 ลูกคลืน่ หรือ ชวง XY คือ 1 ลูกคลืน่ หรือ ชวง YZ คือ 1 ลูกคลืน่ เชนกัน
5. หนึ่งลูกคลื่น คือ .............. ...... ...... ...... ...... ...... ...... ...... ..... ..... ..... ..... ..... ..... ..... ..... .
5. ความยาวคลื่น (↵) คือ ระยะทางที่วัดเปนเสนตรงจากจุดตั้งตนไปจนถึงจุดสุดทายของ 1
ลูกคลืน่ (เชน ระยะทางจาก W ไป X ดังรูป) หรือระยะระหวางสันคลืน่ 2 สันที่อยูติดกัน
6. จงใหความหมายของความยาวคลื่น มา 3 อยาง .............. ...... ...... ...... ...... ...... ...... ...... .
...... ...... ...... ...... ...... ...... ...... ...... ...... ...... ...... ...... ...... ...... ...... ...... ...... ...... ...... ...... ......
6. คาบ (T) คือ เวลาที่คลื่นใชในการเคลื่อนที่ครบ 1 ลูกคลื่น มีหนวยเปนวินาที (s)
7. ความถี่ (f) คือ จํานวนลูกคลืน่ ทีเ่ กิดขึน้ ตอหนึง่ หนวยเวลา
เชน ถาเกิดคลื่นขึ้น 3 ลูกคลื่นในเวลา 1 วินาที เราเรียกวา ความถี่คลื่นมีคา 3 รอบ
ตอวินาที โปรดสังเกตุความถี่ มีหนวย รอบ/S แตเรานิยมเขียนเปน 1s หรือเรียก
อีกอยางเปนเฮิตรซ (Hz)
68
บทที่ 11 คลื่นกล
เราอาจคํานวณหาคาความถีไ่ ดจาก
f [ จํานวนคลื่นที่เกิด หรือ f = T1
เวลาที่เกิดคลื่นนั้น
เมือ่ f คือ ความถี่ (Hz) T คือ คาบ (วินาที)
7. คลื่นชนิดหนึ่งเกิดจากการสั่น 3000 รอบตอนาที คลื่นนี้มีความถี่เทาไร (ขอ ก)
ก. 50 Hz ข. 100 Hz ค. 150 Hz ง. 300 Hz
วิธที าํ

8. จากขอที่ผานมา คาบของคลื่นมีคากี่วินาที (0.02 วินาที)


วิธที าํ

8. อัตราเร็วคลืน่ (v) คือ อัตราสวนระหวางระยะทางที่คลื่นเคลื่อนที่ไปไดตอเวลาที่ใชใน


การเคลื่อนที่ไป เราสามารถคํานวณหาอัตราเร็วคลืน่ ไดจาก
v = st หรือ v = f ←
เมือ่ v คือ อัตราเร็ว (เมตร/วินาที)
s คือ ระยะทางที่เคลื่อนที่ไปได (เมตร)
t คือ เวลาที่คลื่นใชในการเคลื่อนที่ (วินาที)
f คือ ความถี่คลื่น (Hz หรือ 1/วินาที)
↵ คือ ความยาวคลื่น (เมตร)
9. คลื่นน้ําคลื่นหนึ่ง สามารถเคลื่อนที่ไดระยะทาง 40 เมตร ในเวลา 5 วินาที คลื่นนี้จะมี
ความเร็วคลื่นเทาใด (8 m/s)
วิธที าํ

10. จากขอที่ผานมา หากคลื่นนี้มีความยาวคลื่น 2 เมตร จะมีความถี่เทาใด (4 Hz)


วิธที าํ

69
บทที่ 11 คลื่นกล
11. จากขอที่ผานมา จงหาเวลาที่คลื่นใชในการเคลื่อนที่ได 1 ลูกคลื่น พอดี (0.25 วินาที )
วิธที าํ

12. แหลงกําเนิดคลื่นปลอยคลื่นมีความยาวคลื่น 0.05 เมตร วัดอัตราเร็วได 40 เมตร/วินาที


เปนเวลา 0.8 วินาที ไดคลื่นทั้งหมดกี่ลูกคลื่น (ขอ 2)
1. 320 2. 640 3. 800 4. 1200
วิธที าํ

13(มช 38) แหลงกําเนิดคลื่นใหคลื่นความถี่ 400 Hz ความยาวคลื่น 12.5 cm ถาคลื่นชุดนี้


เคลื่อนที่ในระยะทาง 300 m จะใชเวลาเทาไร (ขอ ค)
ก. 503 วินาที ข. 3 วินาที ค. 6 วินาที ง. 7.5 วินาที
วิธที าํ

14. เมือ่ สังเกตคลืน่ เคลือ่ นทีไ่ ปบนผิวน้าํ กระเพือ่ มขึน้ ลง 600 รอบ ใน 1 นาที และระยะระหวาง
สันคลื่นที่ถัดกันวัดได 20 เซนติเมตร จงหาวาเมื่อสังเกตคลื่นลูกหนึ่งเคลื่อนที่ไปใน 1 นาที
จะไดระยะทางกี่เมตร (120 เมตร)
วิธที าํ

70
บทที่ 11 คลื่นกล
15. แหลงกําเนิดคลื่นสั่นอยางสม่ําเสมอดวยอัตรา 30 ครัง้ ใน 1 นาที ทําใหเกิดคลื่นน้ําแผออก
ไปอยางตอเนื่อง เมื่อพิจารณาคลื่นที่เกิดขึ้นพบวา คลื่นแตละลูกเคลื่อนที่จากเสาตนหนึ่งไปยัง
เสาอีกตนหนึ่งซึ่งปกอยูหางกัน 20 เมตร ตองใชเวลา 2 วินาที ความยาวคลืน่ น้าํ มีคา เทาใด
ก. 10 เมตร ข. 15 เมตร ค. 20 เมตร ง. 25 เมตร (ขอ ค)
วิธที าํ

16. ตัวกําเนิดคลื่นมีคาความถี่ของการสั่น 8 เฮิรตซ ทําใหเกิดคลืน่ ผิวน้าํ ดังแสดงในรูป

รูปแสดงคลื่นผิวน้ําในกลองคลื่นที่เวลาหนึ่งหาความเร็วของคลื่นนี้ในหนวยเซนติเมตร/วินาที
1. 20 2. 16 3. 8 4. 4 (ขอ 2)
วิธที าํ

17(En 32) ในการสังเกตของนักเรียนกลุม หนึง่


พบวาเมื่อทําใหเกิดคลื่นดลวงกลมขึ้นในถาด
คลื่นรัศมีของคลื่นดลวงกลมที่เวลาตาง ๆ เปน
ไปตามกราฟ ถามวานักเรียนกลุม นีท้ าํ ใหเกิด
คลืน่ ตอเนือ่ งขึน้ ในถาดคลืน่ นีด้ ว ยความถี่ 10
เฮิรตซ ยอดคลื่น 2 ยอด ที่อยูใกลกันมากที่สุดจะอยูหางกันกี่เซนติเมตร (0.5 cm)
วิธที าํ

71
บทที่ 11 คลื่นกล
9. เฟสของคลื่น คือ มุมบนหนาคลื่น

18. คลืน่ ขบวนหนึง่ มีรปู รางดังกราฟ ขอใดถูกตองทั้งหมด


1. มุมเฟสเริ่มตน 0 องศา แอมปลิจูด 10 เซนติเมตร
คาบ 10 วินาที ความถี่ 0.1 เฮิรตซ
2. มุมเฟสเริ่มตน 0 องศา แอมปลิจูด 5 เซนติเมตร
คาบ 8 วินาที ความถี่ 0.125 เฮิรตซ
3. มุมเฟสเริ่มตน 90 องศา แอมปลิจูด 5 เซนติเมตร
คาบ 8 วินาที ความถี่ 0.125 เฮิรตซ
4. มุมเฟสเริ่มตน 90 องศา แอมปลิจูด 10 เซนติเมตร
คาบ 10 วินาที ความถี่ 0.1 เฮิรตซ (ขอ 3)
วิธที าํ

19. คลื่นความถี่ 500 Hz มีความเร็ว 300 m/s จุดที่มีเฟสตางกัน 36o อยูหางกันกี่เมตร (0.06)
วิธที าํ

72
บทที่ 11 คลื่นกล
20. คลื่นขบวนหนึ่งมีความถี่ 150 เฮิรตซ มีความเร็ว 300 เมตร/วินาที จุดสองจุดบนคลื่นที่มี
เฟสตางกัน 90 องศา จะอยูหางกันกี่เมตร (0.5)
วิธที าํ

21. คลื่นขบวนหนึ่งเคลื่อนที่ไดระยะทาง 20 เมตร ในเวลา 4 วินาที ถาพบวาจุด 2 จุด บน


คลื่นที่หางกัน 0.2 เมตร มีเฟสตางกัน 120o จงหาคาความถี่ของคลื่นนี้ (8.33 Hz)
วิธที าํ

22. คลื่นที่มีความยาวคลื่น 0.5 เมตร มีความเร็ว 50 m/s ถาเวลาผานไป 0.1 วินาที การกระจัด
ของจุดจุดหนึ่งจะมีเฟสเปลี่ยนไปเทาไร (3600o)
วิธที าํ

23. จากรูป S เปนแหลงกําเนิดคลื่นซึ่งมีความถี่ 100 Hz จุด P และ Q อยูหางจาก S เปน


ระยะ 15 เมตร และ 18 เมตร ตามลําดับ ถาคลื่นที่มาถึงจุด P และ Q มีเฟสตางกัน
3± เรเดียน จงหาอัตราเร็วของคลืน่ ในหนวย
2
เมตร/วินาที (± = 180o)
1. 400 2. 500
3. 600 4. 700 (ขอ 1)
วิธที าํ

73
บทที่ 11 คลื่นกล
24. คลื่นขบวนหนึ่งมีความยาวคลื่น 0.5 เมตร จุด 2 จุด บนคลื่นที่หางกัน 0.2 เมตร จะมี
เฟสตางกันกี่องศา (144o)
วิธที าํ

25. เชือกเสนหนึง่ ขึงตึง โดยปลายขางหนึ่งตรึงอยูกับที่ อีกปลายหนึ่งติดอยูกับเครื่องสั่นสะเทือน


ณ ที่จุดหนึ่งบนเชือกที่เฟสเปลี่ยนไป 240 องศา ทุก ๆ ชวง 3 วินาที จงหาวาเครือ่ งสัน่
สะเทือนนี้มีความถี่ในการสั่นเทาไร (ในหนวยเฮริตซ)
1. 0.11 2. 0.22 3. 0.33 4. 0.44 (ขอ 2)
วิธที าํ

10. เฟสตรงกัน คือ เฟสที่อยูคนละลูกคลื่น เมื่อยกลูกคลื่นที่ตางกันไปซอนกันเฟสที่


ตรงกันนัน้ จะซอนกันไดพอดี

จากรูปจะเห็นไดวา เฟสที่ตรงกันไดแก 90o = 450o = 810o = 1170o


และ 270o = 630o = 990o = 1350o
และ 180o = 540o = 900o = 1260o
โปรดสังเกตุ 1) เฟสตรงกัน จะอยูหางจากระดับน้ําปกติเทากัน อยูด า นเดียวกัน และมี
ทิศทางการเคลือ่ นทีเ่ หมือนกัน
74
บทที่ 11 คลื่นกล
2) เฟสตรงกัน จะ อยูห า งกัน = n←

เมือ่ n คือ จํานวนเต็ม ↵ คือ ความยาวคลื่น ( เมตร)
3) พิจารณาตัวอยาง ถามวา เฟส 1620o ตรงกับเฟสใด
1. 0o 2. 90o 3. 180o 4. 270o
วิธที าํ 1620 หรือ 1620
-360 -1440
1260 180
-360
900
-360
540
-360
180
26(En 34) คลืน่ ผิวน้าํ มีอตั ราเร็ว 20 เซนติเมตร/วินาที กระจายออกจากแหลงกําเนิดคลื่นซึ่ง
มีความถี่ 5 เฮิรตซ การกระเพื่อมของผิวน้ําที่อยูหางจากแหลงกําเนิด 30 เซนติเมตร และ
48 เซนติเมตร จะมีเฟสตางกัน
1. 30o 2. 60o 3. 90o 4. 180o (ขอ 4)
วิธที าํ

11. สมการของคลื่น
Sy = A sin • t Sy

เมือ่ Sy = การขจัดในแนวแกน y t

A = อัมปลิจดู ของคลืน่
• = อัตราเร็วเชิงมุม
• = 2°f

27. คลื่นน้ําความถี่ 2 เฮิรตซ อัมปลิจดู 10 เซ็นติเมตร จะมีการขจัดตามแนวแกน y เทาใด


ณ. จุดเวลา 83 วินาที ( ลึกลงไป 10 เซนติเมตร )
วิธที าํ

75
บทที่ 11 คลื่นกล
ตอนที่ 3 สมบัตขิ องคลืน่ (1)
สัญลักษณแทนคลืน่
แบบที่ 1

แบบที่ 2

รังสี จะตั้งฉากกับแนวสันคลื่น (หนาคลื่น) เสมอ

28. จากรูปหนาคลืน่ ตอไปนี้


แหลงกําเนิดคลื่น
จงเขียนรังสีคลื่น อยูดานนี้

คลื่นจะมีคุณสมบัติ 4 ประการ คือ


1. การสะทอน (Reflection) 2. การหักเห (Refraction)
3. การแทรกสอด (lnterference) 4. การเลี้ยวเบน (Diffrection)
การสะทอน และการหักเห ทั้งคลื่นและอนุภาค ตางก็แสดงคุณสมบัติสองขอนี้ได
แตการแทรกสอดและการเลี้ยวเบน จะเปนคุณสมบัติเฉพาะตัวของคลื่น เพราะคลื่นเทานั้น
ที่จะแสดงคุณสมบัติสองขอนี้ได
3.1 การสะทอนไดของคลื่น
การสะทอนไดของคลื่น เมื่อคลื่นไป
ตกกระทบสิ่งที่กีดขวาง จะเกิดการสะ
ทอน ดังแสดงในรูปภาพ

76
บทที่ 11 คลื่นกล
29. จงเติมคําลงในชองวางตอไปนี้
ใหถูกตองและสมบูรณ

กฎการสะทอน
1. มุมตกกระทบ (±1) เทากับมุมสะทอน (±2)
2. รังสีตกกระทบ รังสีสะทอน และเสนปกติ ตองอยูใ นระนาบเดียวกัน
30. จากรูปจงหามุมระหวางรังสีตกกับ
รังสีสะทอน ?
30o

การสะทอนของคลื่นในเสนเชือก แยกพิจารณาได 2 กรณี คือ

1) ถาปลายเชือกมัดไวแนน
คลื่นที่ออกมาจะมีลักษณะตรงกันขาม
กับคลื่นที่เขาไป
คลื่นที่สะทอนออกมาจะมีเฟสเปลี่ยนไป 180o

2) ถาปลายเชือกมัดไวหลวม ๆ (จุดสะทอนไมคงที)่
คลื่นที่สะทอนออกมาจะมีเฟสเทาเดิม
คลื่นที่ออกมาจะมีลักษณะเหมือนเดิม

31(มช 33) เชือกเสนหนึ่งมีปลายขางหนึ่งผูกแนนติดกับเสาเมื่อสรางคลื่นจากปลายอีกขางหนึ่ง


เขามาตกกระทบจะเกิดคลืน่ สะทอนขึน้ คลืน่ สะทอนนีม้ เี ฟสเปลีย่ นไปกีอ่ งศา
ก. 90 ข. 180 ค. 270 ง. 360 (ขอ ข)

32. คลืน่ สะทอนจะไมเปลีย่ นเฟสเมือ่ (ขอ ค)


ก. คลื่นตกกระทบตั้งฉากกับตําแหนงสะทอน ข. ตําแหนงสะทอนคลืน่ คงที่
ค. ตําแหนงสะทอนคลืน่ ไมคงที่ ง. มุมตกกระทบโตกวามุมสะทอน
77
บทที่ 11 คลื่นกล
33. คลืน่ น้าํ หนาตรงเคลือ่ นทีเ่ ขากระทบผิวสะทอนราบเรียบจะเกิดการสะทอนขึน้ คลืน่ น้าํ ที่
สะทอนออกมามีเฟสเปลี่ยนไปกี่องศา
1. 0 2. 90 3. 180 4. 270
34(มช 31) รูปแสดงถึงคลืน่ ตกกระทบในเสนเชือก ซึ่งปลายขางหนึ่งของเชือกผูกติดอยูกับ
กําแพง เมื่อคลื่นตกกระทบกับกําแพง
แลวจะเกิดคลื่นสะทอนขึ้นจากขอตอไปนี้
ขอใดแสดงถึงคลื่นสะทอน
ก. ข.

ค. ง. (ขอ ง)

3.2 การหักเหของคลืน่
เมื่อคลื่นผานจากตัวกลางหนึ่งไปยังอีกตัวกลางหนึ่ง ซึ่งมีความหนาแนนไมเทากัน
จะทําใหอตั ราเร็ว อัมปลิจดู และความยาวของคลื่นเปลี่ยนไป แตความถี่จะคงเดิม

v A และ ← เปลีย่ น แต f คงที่

35(มช 41) เมื่อคลื่นเคลื่อนที่จากโลหะเขาไปในน้ําจะทําให


1. ความเร็วคลืน่ คงเดิม 2. ความยาวคลื่นคงเดิม
3. แอมพลิจูดคลื่นคงเดิม 4. ความถี่คลื่นคงเดิม (ขอ 4)

36(มช 43) เมือ่ คลืน่ ตอเนือ่ งเคลือ่ นทีจ่ ากอากาศเขาไปในน้าํ ปริมาณที่มีคาคงเดิมคือขอใด


1. ความยาวคลื่น 2. ความเร็ว 3. แอมพลิจูด 4. ความถี่ (ขอ 4)
78
บทที่ 11 คลื่นกล

เกีย่ วกับการหักเหผานน้าํ ตืน้ น้ําลึก


จํางายๆ วา เมื่อคลื่นเคลื่อนจากน้ําตื้น
ลงไปสูน้ําลึก ตอนคลืน่ อยูใ นน้าํ ลึกคลืน่
จะมีความยาวคลื่น อัมปลิจดู ความเร็วคลืน่
มากกวาในน้ําตื้นเสมอ แตความถี่จะมีคา
คงทีเ่ ทาเดิม
37. ขอความใดถูกตองเกี่ยวกับคลื่นน้ํา
ก. คลื่นน้ําตื้นอัตราเร็วคลื่นมากกวาคลื่นน้ําลึก
ข. คลืน่ น้าํ ตืน้ อัตราเร็วคลืน่ เทากับคลืน่ น้าํ ลึก
ค. คลืน่ น้าํ ตืน้ อัตราเร็วคลืน่ นอยกวาอัตราเร็วคลืน่ ในน้าํ ลึก
ง. ความยาวคลื่นในน้ําตื้นมากกวาความยาวคลื่นในน้ําลึก (ขอ ค)
38(En 43/2) ในการทดลองเรื่องการหักเหของคลื่นผิวน้ํา เมื่อคลื่นผิวน้ําเคลื่อนที่จากบริเวณน้ําลึก
ไปน้าํ ตืน้ ความยาวคลื่น ← ความเร็ว v และ ความถี่ f ของคลืน่ ผิวน้าํ จะเปลีย่ นอยางไร
1. ← นอยลง v นอยลง แต f คงที่ 2. ← มากขึน้ v มากขึน้ แต f คงที่
3. ← นอยลง f มากขึน้ แต v คงที่ 4. ← มากขึน้ f นอยลง แต v คงที่ (ขอ 1)
39. ถาคลื่นเคลื่อนที่จากบริเวณน้ําลึกไปยัง บริเวณน้าํ ตืน้ ขอใดไมถูกตอง
ก. ความยาวคลื่นน้ําลึกมากกวาในน้ําตื้น ข. ความถี่คลื่นน้ําลึกมากกวาความถี่ในน้ําตื้น
ค. ความเร็วคลื่นน้ําลึกมากกวาในน้ําตื้น ง. ขอ ก. และ ค. ถูก (ขอ ข)

40. จงเติมคําลงในชองวางตอไปนี้ใหถูกตองและสมบูรณ
……… ………

………

………

………

79
บทที่ 11 คลื่นกล
sin± v ←
กฏของสเนลล 1 = 1 = 1 = n
sin± 2 v ← 21
2 2
เมื่อ ±1 และ ±2 คือ มุมในตัวกลางที่ 1 และ 2 ตามลําดับ
v1 และ v2 คือ ความเร็วคลื่นในตัวกลางที่ 1 และ 2 ตามลําดับ
←1 และ ←2 คือ ความยาวคลื่นในตัวกลางที่ 1 และ 2 ตามลําดับ
n21 คือ คาคงที่ เรียกชื่อวา ดัชนีหักเหของตัวกลางที่ 2 เทียบกับตัวกลางที่ 1
41. ถาความเร็วคลื่นในตัวกลาง X เปน 8 m/s เมื่อผานเขาไปในตัวกลาง Y ความเร็วคลืน่
เปลี่ยนเปน 10 m/s ดัชนีหักเหของตัวกลาง Y เทียบกับตัวกลาง X เปนเทาใด (0.8)
วิธที าํ

42. ถาคลื่นเคลื่อนจากบริเวณน้ําตื้นมีความยาวคลื่น 45 cm ไปสูน้ําลึกความยาวคลื่นเปลี่ยน


เปน 60 cm จงหาดัชนีหักเหของตัวกลางน้ําลึกเทียบกับตัวกลางน้ําตื้น (0. 75)
วิธที าํ

43(En 42/1) คลื่นน้ําเคลื่อนที่จากน้ําตื้นไปยังน้ําลึก


ถามุมตกกระทบและมุมหักเหเทากับ 30 และ
45 องศา ตามลําดับ และความยาวคลื่นในน้ําตื้น
เทากับ 2 เซนติเมตร จงหาความยาวคลื่นใน
น้ําลึกในหนวยเซนติเมตร (2. 83 cm)
วิธที าํ

80
บทที่ 11 คลื่นกล
44. แสงเคลื่อนที่จากอากาศสูผิวน้ําทํามุม 37o กับผิวน้ํา จงหาคาของมุมหักเหทีเ่ กิดขึน้ ในน้าํ
กําหนด ดรรชนีหกั เหของน้าํ เทียบกับอากาศ = 43 , sin37o= 35 , sin53o= 45 (37o)
วิธที าํ

45. คลื่นน้ําเคลื่อนที่จากเขตน้ําลึกเขาไปยังเขตน้ําตื้น โดยมีรอยตอของเขตทัง้ สองเปนเสนตรง


มุมตกกระทบเทากับ 30 องศา ทําใหความยาวคลื่นในเขตน้ําตื้นเปนครึ่งหนึ่งของความยาว
คลื่นในเขตน้ําลึก อยากทราบวามุมหักเหในน้ําตื้นมีคาเทาใด (ขอ 3)
1. sin–1( 12 ) 2. sin–1( 13 ) 3. sin–1( 14 ) 4. sin–1( 15 )
วิธที าํ

46(En 41) ถาคลื่นน้ําเคลื่อนที่ผานจากเขตน้ําลึกไปยังเขตน้ําตื้น แลวทําใหความยาวคลื่นลดลง


ครึง่ หนึง่ จงหาอัตราสวนของอัตราเร็วของคลืน่ ในน้าํ ลึกกับอัตราเร็วของคลืน่ ในน้าํ ตืน้
1. 0.5 2. 1.0 3. 2.0 4. 4.0 (ขอ 3)
วิธที าํ

81
บทที่ 11 คลื่นกล
ตอนที่ 4 สมบัตขิ องคลืน่ (2)
3.3 การแทรกสอดคลืน่

ถาเราใหแหลงกําเนิดคลื่นอําพัน* วางอยูหางกันในระยะที่พอเหมาะ แลวสรางคลื่นพรอมๆ กัน


จะพบวาคลื่นทั้งสองจะเกิดการแทรกสอดกัน โดยจะมีแนวคลื่นที่เสริมกันตลอดเวลา แนวนีเ้ รียก
แนวปฎิบพั (Antinode, A) และมีแนวที่เกิดการหักลางกันตลอด เรียกวา แนวบัพ (Node, N)
* แหลงกําเนิดคลืน่ อําพันธ คือ แหลงกําเนิดคลืน่ 2 แหลง ทีใ่ หคลืน่ ทีม่ คี วามถีแ่ ละเฟสตรงกันตลอด

47. คลื่นรวมซึ่งเกิดจากการแทรกสอดของคลื่นสองขบวนที่มีแอมปลิจูดความถี่ ความยาวคลื่น


และ เฟสเทากัน จะมีลักษณะดังนี้
1. แอมปลิจูด และความถี่เปนสองเทาของคลื่นเดิม
2. แอมปลิจูด เทาเดิมแตมีความถี่เพิ่มขึ้นเปนสองเทา
3. ความถี่เทาเดิม แตมีแอมปลิจูดเพิ่มขึ้นเปนสองเทา
4. ความถี่เทาเดิม แตมีแอมปลิจูดเปนศูนย (ขอ 3)
วิธที าํ

48. เมื่อคลื่นสองคลื่นเคลื่อนที่มารวมกันแลว เกิดการแทรกสอดแบบหักลางกันแสดงวา


1. ผลตางทางเดินของคลืน่ ทัง้ สองเปนจํานวนเต็มของความยาวคลืน่
2. ผลตางมุมเฟสของคลื่นทั้งสองเทากับ 0 องศา
3. ผลตางของมุมเฟสของคลื่นทั้งสองเทากับ 180 องศา
4. ผลตางของมุมเฟสของคลื่นทั้งสองเทากับ 360 องศา (ขอ 3)
วิธที าํ

82
บทที่ 11 คลื่นกล

สูตรที่ใชคํานวณเกี่ยวกับ การแทรกสอดคลืน่
สําหรับแนวปฎิบัพลําดับที่ n(An)
⇔S1P – S2P⇔ ⇔ = n← ←
d sin ± = n ←
เมื่อ P คือจุดซึ่งอยูบนแนวปฎิบัพลําดับที่ n(An)
S1P คือ ระยะจาก S1 ถึง P
S2P คือ ระยะจาก S2 ถึง P
← คือ ความยาวคลื่น (m)
n คือ ลําดับที่ของปฎิบัพนั้น
d คือ ระยะหางจาก S1 ถึง S2
± คือ มุมที่วัดจาก A0 ถึง An
49. คลืน่ ชนิดหนึง่ เมือ่ เกิดการแทรกสอด จะเกิดแนวดังรูป
ก. คลื่นนี้มีความยาวคลื่นเทาใด (2m)
ข. ถาคลื่นนี้มีความถี่ 100 Hz จะมีความเร็วเทาใด
วิธที าํ ( 200 m/s)

50. คลืน่ ชนิดหนึง่ เมือ่ เกิดการแทรกสอดแนวปฏิบพั ที่ 2 เอียงทํามุมจากแนวกลาง 30o


หากแหลงกําเนิดคลื่นทั้งสองอยูหางกัน 8 เมตร
ก. ความยาวคลื่นนี้มีคาเทาใด (2m)
ข. หากคลื่นนี้มีความเร็ว 300 m/s จะมีความถี่เทาใด ( 150 Hz )
วิธที าํ

83
บทที่ 11 คลื่นกล
51. แหลงกําเนิดคลื่นอําพันธเฟสตรงกัน 2 อัน วางหางกัน 6 ซม. ความเร็วคลืน่ 40 ซม./
วินาที ขณะนั้นคลื่นมีความถี่ 20 Hz จงหาวาแนวปฏิบัพที่ 3 จะเบนออกจากแนวกลางเทาไร
1. 30o 2. 53o 3. 60o 4. 90o ( ขอ 4. )
วิธที าํ

สําหรับแนวบัพลําดับที่ n (Nn)
⇔S1P – S2P⇔⇔= Φn – 12 Γ←
d sin ± = Φn – 12 Γ←
n คือ ลําดับที่ของแนวบัพนั้น

52. จากรูป แสดงภาพการแทรกสอดของคลื่นผิวน้ํา


ที่เกิดจากแหลงกําเนิดอําพันธ S1 และ S2 มี
ปฏิบัพ
P เปนจุดบนเสนบัพ ถา S1P เทากับ 10 เซนติ P
เมตร และ S2P เทากับ 7 เซนติเมตร ถาอัตรา
เร็วของคลื่นทั้งสองเทากับ 30 เซนติเมตร ตอ
S1 S2
วินาที แหลงกําเนิดทั้งสองมีความถี่เทาใด
วิธที าํ (5 เฮิรตซ)

53(En 42/2) จากรูปเปนภาพการแทรกสอดของคลื่น


ผิวน้ําจากแหลงกําเนิดอาพันธ S1 และ S2 โดยมี
P เปนจุดใดๆ บนแนวเสนบัพ S1P = 15 เซนติ
เมตร S2P = 5 เซนติเมตร ถาอัตราเร็วของ
คลื่นทั้งสองเทากับ 50 เซนติเมตรตอวินาที แหลง
กําเนิดคลื่นทั้งสองมีความถี่กี่เฮิรตซ (7.50 Hz)
วิธที าํ

84
บทที่ 11 คลื่นกล
54(มช 45) ถา S1 และ S2 เปนแหลงกําเนิดคลื่น ซึ่งมีความถี่เทากัน และเฟสตรงกันอยูหาง 8.0
เซนติเมตร ถาความยาวคลื่นเทากับ 4.0 เซนติเมตร จะเกิดจุดบัพกี่จุดบนเสนตรง S1S2 (4)
วิธที าํ

55. S1 , S2 เปนแหลงกําเนิดคลื่นน้ํา อยูหางกัน 16 เซนติเมตร ใหคลื่นเฟสตรงกัน มีความถี่


และแอมพลิจูดเทากับความยาวคลื่น 4 เซนติเมตร ระหวาง S1 กับ S2 จะมีแนวปฏิบัพกี่แนว
1. 4 แนว 2. 5 แนว 3. 8 แนว 4. 9 แนว (ขอ 4)
วิธที าํ

56(En 37) แหลงกําเนิดคลื่นน้ําอาพันธใหหนาคลื่น วงกลมสองแหลงอยูหางกัน 10 เซนติเมตร


มีความยาวคลื่น 2 เซนติเมตร ที่ตําแหนงหนึ่งหางจากแหลงกําเนิดคลื่นทั้งสองเปนระยะ 10
เซนติเมตร และ 19 เซนติเมตร ตามลําดับ
จะอยูบนแนวบัพหรือปฎิบัพที่เทาใด นับ
จากแนวกลาง
1. ปฎิบัพที่ 4 2. บัพที่ 4
3. ปฎิบัพที่ 5 4. บัพที่ 5 (ขอ 4)
วิธที าํ

85
บทที่ 11 คลื่นกล

3.4 การเลีย้ วเบนของคลืน่


หลักของฮอยเกนส กลาววา
“ ทุก ๆ จุดบนหนาคลื่น สามารถประพฤติตัวเปนแหลง
กําเนิดคลื่นใหมได”
พิจารณาตัวอยางตอไปนี้
ถาเราเอาแผนทีม่ ชี อ งแคบ ๆ ไปกั้นหนาคลื่นไว จะพบวาเมื่อคลื่นสวนหนึ่งลอดชองนั้น
ออกไปจะเกิดคลื่นลูกใหมหลังชองแคบนั้น และคลื่นที่เกิดใหมบางสวนจะเลี้ยวออมไปทาง
ซาย บางสวนออมไปทางขวา ปรากฎการณนเ้ี รียกวา “ การเลีย้ วเบนของคลืน่ ”
57. กฎของสเนลลใชอธิบายสมบัติขอใดของคลื่น (ขอ ข)
ก. การสะทอน ข. การหักเห ค. การเลี้ยวเบน ง. การแทรกสอด
ตอบ
58. หลักของฮอยเกนสใชอธิบายปรากฎการณใด (ขอ ก)
ก. การเลี้ยวเบน ข. การแทรกสอด ค. การเปลี่ยนเฟส ง. การหักเห
ตอบ
59(มช 38) การหักเหและการเลี้ยวเบนของคลื่นมีหลายอยางที่แตกตางกันอยางหนึ่งนั้นคือ (ขอ ง)
ก. การเลี้ยวเบนจะใหพลังงานมากกวาการหักเห
ข. การหักเหไมเกี่ยวของกับความยาวชวงคลื่น แตการเลี้ยวเบนเกี่ยวของกับความยาวคลื่น
ค. การหักเหจะเกิดตองมีตัวกลางตางชนิดกัน แตการเลี้ยวเบนจะไมเกิด ถามีตัวกลางตาง
ชนิดกัน
ง . การเลี้ยวเบนเกิดขึ้นไดในตัวกลางเดียวกัน แตการหักเหจะเกิดไดตองมีตัวกลางตางกัน
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

ตอนที่ 5 คลืน่ นิง่


ถานําเชือกเสนหนึง่ มัดติดเสาใหแนน เสร็จแลวดึงใหตงึ ตอจากนั้นทําการสะบัดใหเกิด
คลื่นตอเนื่องพุงไปกระทบเสา คลื่นที่เขาไปยอมสามารถจะสะทอนออกมาจากเสาได และ
คลื่นที่ออกมานี้จะเกิดการแทรกสอดกับคลื่นที่เขาไป ทําใหเชือกที่บางจุดมีการสั่นขึ้นลง
อยางแรง เราเรียกจุดบนเชือกนีว้ า แนวปฎิบพั (A) และ จะมีบางจุดบนเชือกที่จะไมสั่นขึ้น
หรือลงเลย เราเรียกจุดนีว้ า แนวบัพ (N)
86
บทที่ 11 คลื่นกล
ควรทราบ 1) คลื่นนิ่ง จะเกิดไดกต็ อ เมือ่ มี
คลื่น 2 คลื่น ซึ่งมีความถี่ ความยาวคลื่น
อัมปลิจดู เทากันแตวิ่งสวนทางกัน
2) ระยะระหวางแนว A 2 อันทีต่ ดิ กัน = ←2
ระยะระหวางแนว N 2 อันทีต่ ดิ กัน = ←2
และระหวางแนว A กับ N ที่ติดกัน = ←4
3) จํานวนแนว A = จํานวน Loop (n) = 2L

เมือ่ L คือ ความยาวของเชือกทั้งหมด (เมตร) ← คือ ความยาวคลื่น (เมตร)
60. คุณสมบัติหรือปรากฏการณ ขอใดทีใ่ ชอธิบายการเกิดคลืน่ นิง่
1. การแทรกสอด 2. การรวมกันไดของคลืน่
3. แหลงกําเนิดอาพันธ 4. ถูกทัง้ (1) , (2) และ (3) (ขอ 4)
วิธที าํ

61. ในการทดลองคลื่นนิ่งบนเสนเชือก ถาความถี่ของคลื่นนิ่งเปน 475 เฮิรตซ และอัตราเร็ว


ของคลื่นในเสนเชือกเทากับ 380 เมตรตอวินาที ตําแหนงบัพสองตําแหนงที่อยูถัดกันจะหาง
กันเทาใด (0.4 เมตร)
วิธที าํ

62(มช 36) คลื่นนิ่งเปนคลื่นที่เกิดจากการแทรกสอดกันของคลื่นสองขบวนที่เหมือนกัน


ทุกประการแตเคลื่อนที่สวนทางกัน ถาคลื่นนิ่งที่เกิดขึ้น มีตําแหนงบัพและปฎิบัพอยูหางกัน
1.0 เมตร คลื่นที่มาแทรกสอดกันนี้ จะตองมีความยาวคลื่นกี่เมตร (ขอ 4)
1. 1.0 2. 2.0 3. 3.0 4. 4.0
วิธที าํ

87
บทที่ 11 คลื่นกล
63(En 43/1) จากรูปเปนคลืน่ นิง่ ในเสนเชือกทีม่ ปี ลายทัง้ สองยึดแนนไว ถาเสนเชือกยาว 90 เซนติ-
เมตร และความเร็วคลื่นในเสนเชือกขณะนั้น เทากับ 2.4x102 เมตรตอวินาที จงหาความถีค่ ลืน่
1. 200 Hz 2. 267 Hz
3. 400 Hz 4. 800 Hz (ขอ 3)
วิธที าํ

64(En 37) ลวดสายกีตารซง่ึ อยูร ะหวางจุดตรึง 2 จุด หางกัน 40 เซนติเมตร เมือ่ ดีดใหเสียง
หลักทีค่ วามถี่ 512 เฮิรตซ ความเร็วของคลืน่ ในสายลวดเปนเทาใด
1. 204.8 m/s 2. 256.0 m/s 3. 409.6 m/s 4. 512.0 m/s (ขอ 3)
วิธที าํ

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

88
บทที่ 11 คลื่นกล
แบบฝกหัด ฟสกิ ส บทที่ 11 คลืน่ กล
คลื่นกล
1. เมือ่ มีคลืน่ ผิวน้าํ แผไปถึงวัตถุที่ลอยอยูที่ผิวน้ําจะมีการเคลื่อนที่อยางไร
1. อยูน ง่ิ ๆ เหมือนเดิม 2. กระเพื่อมขึ้นลงและอยูกับที่เมื่อคลื่นผานไปแลว
3. เคลื่อนที่ตามคลื่น 4. ขยับไปขางหนาแลวถอยหลัง (ขอ 2)
2. คลื่นตามยาวและคลื่นตามขวางตางกันอยางไร
1. ตางกันทีค่ วามยาวคลืน่ 2. ตางกันทีท่ ศิ ทางการเคลือ่ นทีข่ องคลืน่
3. ตางกันทีป่ ระเภทของแหลงกําเนิด 4. ตางกันทีท่ ศิ ทางการสัน่ ของตัวกลาง (ขอ 4)
3. คลื่นที่ตองอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่คือ
1. คลื่นกล 2. คลื่นดล 3. คลื่นตามยาว 4. คลื่นตามขวาง (ขอ 1)
4. คลืน่ ในขอใดตอไปนี้ ขอใดเปนคลืน่ ประเภทเดียวกัน (ขอ 4)
1. คลืน่ เสียง , คลืน่ วิทยุ , คลืน่ ไมโครเวฟ 2. คลืน่ น้าํ , คลืน่ ในเสนเชือก , คลืน่ ดล
3. คลืน่ ในสปริง , คลืน่ น้าํ , แสง 4. แสง , คลืน่ ไฟฟากระแสสลับ , รังสีแกมมา
5. ปริมาณใดของคลื่นที่ใชบอกคาพลังงานบนคลื่น
1. ความถี่ 2. ความยาวคลื่น 3. แอมพลิจูด 4. อัตราเร็ว (ขอ 3)
6. เชือกที่ยาวมาก และสม่ําเสมอเสนหนึ่งถูกขึงตึง ถาเราสะบัดปลายเชือกอีกขางหนึ่ง ขึ้นลง
อยางสม่ําเสมอเปนเวลา 0.5 วินาที รูปรางของเสนเชือกจะเปลีย่ นแปลงดังรูป จงหา
การขจัด (ก) ความยาวคลื่น (8 cm)
(cm) (ข) อัตราเร็วของคลืน่ (44 cm/s)
2 4 6 8 10 12 14 16 18 20 ตําแหนง (ค) ความถี่ของคลื่น (5.5 Hz)
(ง) ความถี่ที่สะบัดปลายเชือก (5.5Hz)

7. ในการสั่นเชือกที่มีความยาวมากเสนหนึ่ง
ปรากฏวาหลังจากการสั่น 0.5 วินาที ได
คลืน่ ดังรูป จงหาอัตราเร็วของคลืน่ บน 0 2 4 6 (cm)
เชือกเสนนี้ (12 cm/s)

89
บทที่ 11 คลื่นกล
8. แหลงกําเนิดคลื่นใหคลื่นความถี่ 500 Hz ความยาวคลื่น 10 cm ถาคลื่นชุดนี้เคลื่อนที่
ในระยะทาง 300 m จะใชเวลาเทาไร ( 6 วินาที )
9. เมือ่ สังเกตคลืน่ เคลือ่ นทีไ่ ปบนผิวน้าํ กระเพือ่ มขึน้ ลง 600 รอบ ใน 1 นาที และระยะระหวาง
สันคลื่นที่ถัดกันวัดได 10 เซนติเมตร จงหาวาเมื่อสังเกตคลื่นลูกหนึ่งเคลื่อนที่ไปใน 1 นาที
จะไดระยะทางกี่เมตร (60 เมตร)
10. แหลงกําเนิดคลื่นสั่นอยางสม่ําเสมอดวยอัตรา 30 ครัง้ ใน 1 นาที ทําใหเกิดคลื่นน้ําแผออก
ไปอยางตอเนื่อง เมื่อพิจารณาคลื่นที่เกิดขึ้นพบวา คลื่นแตละลูกเคลื่อนที่จากเสาตนหนึ่งไปยัง
เสาอีกตนหนึ่งซึ่งปกอยูหางกัน 20 เมตร ตองใชเวลา 2 วินาที ความยาวคลืน่ น้าํ มีคา เทาใด
ก. 10 เมตร ข. 15 เมตร ค. 20 เมตร ง. 25 เมตร (ขอ ค)
11. นองดายืนอยูที่ทาน้ํา สังเกตเห็นคลืน่ ผิวน้าํ ทีเ่ กิดจากเรือวิง่ กระทบฝง 20 ลูกคลื่นในเวลา
10 วินาที และทราบวาอัตราเร็วของคลืน่ ผิวน้าํ 10 เมตร/วินาที อยากทราบวาสันคลื่นที่
อยูติดกันหางกันเทาไร (5 m)
12. นักเรียนคนหนึ่งยืนอยูริมฝงโขงสังเกตเห็นคลื่นผิวน้ําเคลื่อนกระทบฝงมีระยะหางระหวาง
สันคลื่นที่อยูถัดกัน 10 เมตร และคลืน่ มีอตั ราเร็ว 5 เมตร/วินาที อยากทราบวาคลื่นขบวน
นี้จะเคลื่อนกระทบฝงนาทีละกี่ลูก (30 ลูก)
13. คลื่นมีความถี่ 600 Hz มีความเร็ว 400 m/s จุดที่มีเฟสตางกัน 45o อยูหางกันกี่เมตร
1. 301 2. 241 3. 181 4. 121 (ขอ 4)
14. คลืน่ ตอเนือ่ งขบวนหนึง่ เกิดจากแหลงกําเนิดที่สั่น 20 รอบ/วินาที มีความเร็วเฟส 30
เมตร/วินาที ณ จุด 2 จุด บนคลื่นนี้ซึ่งหางกัน 0.5 เมตร จะมีเฟสตางกันเทาไร
1. 120o 2. 160o 3. 240o 4. 360o (ขอ 1)
15. เชือกเสนหนึง่ ขึงตึง โดยปลายขางหนึ่งตรึงอยูกับที่ อีกปลายหนึ่งติดอยูกับเครื่องสั่น
สะเทือน ณ ที่จุดหนึ่งบนเชือกมีเฟสเปลี่ยนไป 240 องศา ทุกๆ ชวง 3 วินาที จงหาวา
เครื่องสั่นสะเทือนนี้มีความถี่ในการสั่นเทาไร (ในหนวยเฮิรตซ )
1. 0.11 2. 0.22 3. 0.33 4. 0.44 (ขอ 2)
16. จุด 2 จุดบนคลื่นขบวนหนึ่งอยูหางกัน 3 เมตร มีเฟสตางกัน 240o แสดงวาคลื่นขบวนนี้
มีความยาวคลื่น
1. 1.5 เมตร 2. 3.0 เมตร 3. 4.5 เมตร 4. 6.0 เมตร (ขอ 3)
90
บทที่ 11 คลื่นกล
17. คลื่นผิวน้ํากระจายออกจากแหลงกําเนิดคลื่นซึ่งมีความถี่ 6 Hz มีอตั ราเร็ว 30 ซม./วินาที
การกระเพื่อมของผิวน้ําที่อยูหางจากแหลงกําเนิด 40 ซม. และ 55 ซม. จะมีเฟสตางกัน
1. 2 ° 2. 4° 3. 6° 4. 8° (ขอ 3)
18. จากรูป S เปนแหลงกําเนิดคลื่นซึ่งมีความถี่ 20 Hz ใหคลืน่ แผออกไปมีอตั ราเร็ว 1.2
∏A เมตร/วินาที จุด A และ B อยูหางจาก S เปนระยะ
16 cm 16 และ 13 ซม. ตามลําดับ อยากทราบวาคลื่นที่จุด A
S และ B มีเฟสตางกันกี่องศา
13 cm ∏B 1. 180o 2. 270o
3. 360o 4. 450o (ขอ 1)
สมบัติของคลื่น
19. คลื่นน้ําที่เกิดจากแหลงกําเนิดที่สั่นเร็วขึ้นจะมีอะไรเปลี่ยนแปลงนอกจากความถี่
1. คาบเพิ่มขึ้น 2. ความยาวคลื่นลดลง
3. พลังงานมากขึ้น 4. อัตราเร็วเพิม่ ขึน้ (ขอ 2)
20. คลื่นน้ําหนาตรงเคลื่อนที่เขากระทบผิวสะทอนราบเรียบจะเกิดการสะทอนขึ้นคลื่นน้ํา
ที่สะทอนออกมามีเฟสเปลี่ยนไปกี่องศา
1. 0 2. 90 3. 180 4. 270 (ขอ 1)
21. เชือกเสนหนึ่งมีปลายขางหนึ่งผูกติดกับเสา เมื่อสรางคลื่นดลจากปลายอีกขางหนึ่งเขามา
ตกกระทบ จะเกิดคลื่นสะทอนขึ้น คลื่นสะทอนนี้มีเฟสเปลี่ยนไปกี่องศา
1. 90 2. 180 3. 270 4. 360 (ขอ 2)
22. ถาความเร็วคลื่นในตัวกลาง X เปน 6 m/s เมื่อผานเขาไปในตัวกลาง Y ความเร็วคลืน่
เปลี่ยนเปน 8 m/s ดัชนีหักเหของตัวกลาง Y เทียบกับตัวกลาง X เปนเทาใด (0.75)
23. ถาคลื่นเคลื่อนจากบริเวณน้ําตื้นมีความยาวคลื่น 30 cm ไปสูน้ําลึกความยาวคลื่นเปลี่ยน
เปน 60 cm จงหาดัชนีหักเหของตัวกลางน้ําลึกเทียบกับตัวกลางน้ําตื้น (0. 50)
24. คลื่นน้ําเคลื่อนที่จากน้ําตื้นเขาสูน้ําลึก ทํามุมตกกระทบ 30o แลวมุมหักเห 37o ถาความ
ยาวคลื่นในน้ําลึกวัดได 6 ซม. ในน้ําตื้นจะมีความยาวคลื่นกี่เซนติเมตร
1. 2 2. 3 3. 4 4. 5 (ขอ 4)
91
บทที่ 11 คลื่นกล
25. คลืน่ ผิวน้าํ เคลือ่ นทีจ่ ากน้าํ ตืน้ เขาสูบ ริเวณน้าํ ลึก พบวาอัตราเร็วของคลืน่ เพิม่ เปน 2 เทา
ของเดิม ถามุมตกกระทบมีขนาด 30o จงหามุมหักเหที่เกิดขึ้น
1. 30o 2. 45o 3. 60o 4. 90o (ขอ 4)
26. คลืน่ น้าํ มีอตั ราเร็วในน้าํ ลึกและในน้าํ ตืน้ เปน 20 ซม./วินาที และ 16 ซม./วินาที จงหาอัตรา
สวนของ sine ของมุมตกกระทบตอ sine ของมุมหักเห เมื่อคลื่นเคลื่อนที่จากน้ําลึกสูน้ําตื้น
1. 45 2. 45 3. 23 4. 23 (ขอ 1)
27. คลืน่ ชนิดหนึง่ เมือ่ เกิดการแทรกสอด จะเกิดแนวดังรูป
ก. คลื่นนี้มีความยาวคลื่นเทาใด (2m)
ข. ถาคลื่นนี้มีความถี่ 150 Hz จะมีความเร็วเทาใด
( 300 m/s)

28. คลืน่ ชนิดหนึง่ เมือ่ เกิดการแทรกสอดแนวปฏิบพั ที่ 2 เอียงทํามุมจากแนวกลาง 30o


หากแหลงกําเนิดคลื่นทั้งสองอยูหางกัน 10 เมตร
ก. ความยาวคลื่นนี้มีคาเทาใด ( 2.5 m )
ข. หากคลื่นนี้มีความเร็ว 100 m/s จะมีความถี่เทาใด ( 40 Hz )
29. แหลงกําเนิดคลื่นอําพันธเฟสตรงกัน 2 อัน วางหางกัน 6 ซม. ความเร็วคลืน่ 40 ซม./วินาที
ขณะนัน้ คลืน่ มีความถี่ 20 Hz จงหาวาแนวปฏิบัพที่ 3 จะเบนออกจากแนวกลางเทาไร
1. 30o 2. 53o 3. 60o 4. 90o (ขอ 4)
30. จากรูป แสดงภาพการแทรกสอดของคลื่นผิวน้ํา
ปฏิบัพ
ที่เกิดจากแหลงกําเนิดอําพันธ S1 และ S2 มี
P เปนจุดบนเสนบัพ ถา S1P เทากับ 10 Cm P
และ S2P เทากับ 6 Cm ถาอัตราเร็วของคลื่นทั้ง
สองเทากับ 32 Cm/s แหลงกําเนิดทั้งสองมี
S1 S2
ความถี่เทาใด ( 5 เฮิรตซ )
31. จุด A อยูหางจาก S1 และ S2 ซึ่งเปนแหลงกําเนิดอาพันธมีเฟสตรงกัน ใหกําเนิดคลื่น
ความยาวคลื่น 3 ซม. จุด A อยูหางจาก S1 เปนระยะ 6 ซม. และจะอยูหางจาก S2 เทาไร
ถาจุด A เปนตําแหนงบนแนวบัพเสนแรกถัดจากเสนกลาง
1. 1.5 ซม. 2. 3.0 ซม. 3. 4.5 ซม. 4. 6.0 ซม. (ขอ 3)
92
บทที่ 11 คลื่นกล
32. แหลงกําเนิดคลื่น 2 แหลง อยูหางกัน 8 ซม. ถาแหลงกําเนิดคลื่นทั้งสอง ทําใหเกิดคลื่นน้ํา
ที่มีความถี่เทากันและความยาวคลื่นเปน 2 ซม. บนเสนตรงเชือ่ มระหวางแหลงกําเนิดคลืน่
ทั้งสองมีปฎิบัพกี่ปฏิบัพ
1. 6 ปฏิบัพ 2. 7 ปฎิบัพ 3. 8 ปฎิบัพ 4. 9 ปฎิบัพ (ขอ 2)
33. S1 และ S2 เปนแหลงกําเนิดคลื่นน้ํา อยูหางกัน 18 ซม. ใหคลื่นเฟสตรงกัน มีความถี่และ
แอมพลิจูดเทากันความยาวคลื่น 4 ซม. ระหวาง S1 และ S2 จะใหแนวบัพกี่แนว
1. 4 แนว 2. 5 แนว 3. 8 แนว 4. 9 แนว (ขอ 3)
34. แหลงกําเนิดอาพันธสองแหลงมีเฟสตรงขามกันอยูหางกัน 12 ซม. ใหคลื่นมีความยาวคลื่น
3 ซม. ระหวางแหลงกําเนิดทั้งสองจะเกิดจุดบัพกี่จุด
1. 5 จุด 2. 6 จุด 3. 7 จุด 4. 8 จุด (ขอ 3)
35. S1 และ S2 เปนแหลงกําเนิดคลื่นอาพันธใหคลื่นเฟสตรงกัน อยูหางกัน 25 ← บนแนว
เสน S1 S2 จะมีจุดบัพกี่จุด
1. 3 2. 4 3. 5 4. 6 (ขอ 4)

คลื่นนิ่ง
36. ขอใด ไมใช เงือ่ นไขการเกิดคลืน่ นิง่
1. เกิดจากคลื่น 2 คลื่น เคลื่อนที่มารวมกัน
2. คาบของคลื่นนิ่งเทากับคาบของคลื่นยอย
3. แอมพลิจูดของคลื่นนิ่งเทากับสองเทาของแอมพลิจูดคลื่นยอย
4. ตําแหนงบัพคงที่เสมอ (ขอ 1)
37. ระยะหางระหวางจุดปฎิบัพกับจุดปฎิบัพที่อยูถัดไปของคลื่นนิ่งเปน 12.5 ซม. ตัวคลื่น
มีความเร็ว 75 ซม.ตอวินาที จงหาความถี่ของคลื่นนิ่งมีคากี่เฮิรตซ
1. 1.5 2. 3.0 3. 4.5 4. 6.0 (ขอ 2)
38. เมื่อสั่นเชือกเสนหนึ่งซึ่งยาว 1.6 เมตร ถูกขึงตรึงดวยความถี่ 50 เฮิรตซ ปรากฏวาเกิด
คลื่นนิ่ง มีลักษณะเปน Loop 5 Loop พอดี จงหาอัตราเร็วของคลืน่ ในเชือกเสนนี้
1. 32 m/s 2. 50 m/s 3. 64 m/s 4. 100 m/s (ขอ 1)
93
บทที่ 11 คลื่นกล
39. คลื่นนิ่งในเสนเชือกยาว 0.8 m มีจาํ นวน 4 Loop อัตราเร็วคลืน่ 20 เมตร/วินาที จงหา
ความถี่คลื่น
1. 10 Hz 2. 25 Hz 3. 50 Hz 4. 100 Hz (ขอ 3)
!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!

เฉลยแบบฝกหัด ฟสกิ ส บทที่ 11 คลืน่ กล ( บางขอ )


5. ตอบขอ 3.
เหตุผล หากคลื่นใดมีพลังงานมาก อัมปลิจูดคลื่นนั้นจะสูง กลาวคือคลื่นจะกระเพื่อมขึ้นไป
ไดสงู นัน่ เอง
!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!

19. ตอบขอ 2.
วิธที าํ จากสูตร v = f ←
จะได v = ←
f
เนื่องจากการสั่นเร็วขึ้นจะทําใหความถี่เพิ่มขึ้น แตในตัวกลางชนิดเดิม ความเร็วยอมเทา
เดิม (V คงที่ ) ดังนั้นตามสมการ เมือ่ f เพิม่ ความยาวคลื่น (← ) จึงลดลง
!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!

94
บทที่ 12 เสียง
ฟ สิ ก ส บทที่ 12 เสี ย ง
ตอนที่ 1 อัตราเร็วเสียง
เสียงเกิดจากการสั่นสะเทือนของวัตถุ ซึ่งสงผลใหโมเลกุลของอากาศเกิดการอัดตัว และขยาย
ตัว แลวเกิดการถายทอดพลังงานไปได โดยที่อนุภาคอากาศไมไดเคลื่อนที่ไปกับพลังงานนั้น

เมือ่ พิจารณาการเคลือ่ นทีข่ องเสียงนัน้ จะพบวาเสียงมีลักษณะเปน คลื่นตามยาว และ การเดิน


ทางของเสียงนั้นตองอาศัยตัวกลางเสมอ เชนในกรณีน้ี ตัวกลางก็คือ อากาศนัน่ เอง
ดังนัน้ เสียงจึงมีลักษณะเปน คลื่นกล อีกดวย
1(มช 38) วางกระดิ่งไฟฟาที่สงเสียงดังตลอดเวลา และหลอดไฟฟาที่ใหแสงสวางในครอบแกว
ที่ภายในเปนสูญญากาศแลว ขอใดถูกตองที่สุด
1. ไมไดยินเสียงกระดิ่ง แตเห็นแสงจากหลอดไฟ
2. ไมไดยินเสียงกระดิ่ง และไมเห็นแสงจากหลอดไฟ
3. ไดยินเสียงกระดิ่ง และ เห็นแสงจากหลอดไฟ
4. ไดยินเสียงกระดิ่ง แตไมเห็นแสงหลอดไฟ ( ขอ 1)
ตอบ
อัตราเร็วเสียง เราอาจหา อัตราเร็วเสียงไดจาก
v = st หรือ v = f↵
เมือ่ v = อัตราเร็ว (m/s) s = ระยะทางที่เสียงเคลื่อนที่ได (m)
t = เวลา (s) f = ความถี่เสียง (Hz) ↵ = ความยาวคลื่น (m)
ปจจัยทีม่ ผี ลตออัตราเร็วเสียง
1. ความหนาแนนของตัวกลาง
อัตราเร็วในตัวกลางทีม่ คี วามหนาแนนมากกวา จะมีคามากกวาในตัวกลางที่มีความ
หนาแนนนอยกวา
1
บทที่ 12 เสียง
ุ หภูมิ 25oC
ตารางแสดงอัตราเร็วของเสียงในตัวกลางตางๆ ทีอ่ ณ
ตัวกลาง อัตราเร็ว (m/s)
อากาศ 346
น้าํ 1,498
น้าํ ทะเล 1,531
เหล็ก 5,200
2. อุณหภูมิ
อัตราเร็วเสียง จะแปรผันตรงกับรากที่ 2 ของอุณหภูมเิ คลวิน เพราะอุณหภูมิสูงขึ้นจะทํา
ใหโมเลกุล มีพลังงานจลนมากขึ้น การอัดตัวและขยายตัวเร็ว ทําใหเสียงเคลื่อนที่ไดเร็วขึ้น
จึงไดวา V  T
และสําหรับในอากาศนั้น เราสามารถหาอัตราเร็วเสียงทีอ่ ณ
ุ หภูมติ า ง ๆ ได โดยอาศัย
สมการ v = vo + 0.6 t หรือ v = 331 + 0.6 t
ุ หภูมิ 0oC = 331 m/s
เมือ่ vo = อัตราเร็วเสียงทีอ่ ณ
t = อุณหภูมิ (oC)
2(มช 31) ตัวกลางที่คลื่นเสียงผาน 3 ชนิด คือ น้าํ ทะเล น้ําบริสุทธิ์ และ ปรอท ณ อุณหภูมิ
เดียวกัน ขอใดเรียงลําดับความสามารถในการถายทอดคลื่นเสียงจากดีที่สุด ไปหาเลวที่สุด
ก. น้ําบริสุทธิ์ ปรอท น้าํ ทะเล ข. น้าํ ทะเล น้ําบริสุทธิ์ ปรอท
ค. ปรอท น้าํ ทะเล น้ําบริสุทธิ์ ง. น้าํ ทะเล ปรอท น้ําบริสุทธิ์ (ขอ ค)
3(มช 31) อัตราเร็วของเสียงเปลี่ยนอยางไรกับอุณหภูมิ
ก. แปรผันโดยตรงกับอุณหภูมิอาศาเซลเซียส
ข. แปรผันโดยตรงกับอุณหภูมเิ คลวิน
ค. แปรผันผกผันกับรากทีส่ องของอุณหภูมิ องศาเซลเซียส
ง. แปรผันโดยตรงกับรากที่สองอุณหภูมิเคลวิน (ขอ ง)
ุ หภูมิ 25oC
4. จงหาอัตราเร็วเสียงทีอ่ ณ (346 m/s)
วิธที าํ

2
บทที่ 12 เสียง
4. ณ อุณหภูมิ 35oC อัตราเร็วเสียงในอากาศจะมากกวา ณ อุณหภูมิ 30oC อยูก เ่ี มตรตอวินาที
ก. 3 ข. 6 ค. 12 ง. 34 (ขอ ก)
วิธที าํ

5. แหลงกําเนิดเสียงอันหนึ่งสั่นดวยความถี่ 692 Hz วางไวในอากาศที่อุณหภูมิ 25o C


อยากทราบวาคลื่นเสียงที่ออกจากแหลงกําเนิดนี้จะมีความยาวคลื่นเทาไร (0.5 ม)
วิธที าํ

6. ถาเห็นฟาแลบและไดยินเสียงฟารองในเวลา 5 วินาที ตอมา จงหาตําแหนงที่ฟาแลบอยูไกล


เทาไร เมือ่ อัตราเร็วเสียงในอากาศ 340 เมตร/วินาที (1700 ม)
วิธที าํ

7. ชายคนหนึ่งกําลังวายน้ํา เห็นเรือบรรทุกกําลังจะจม และเห็นแสงไฟจากการระเบิดของเรือ


1 ครัง้ แตปรากฏวาไดยินเสียงระเบิดตามมา 2 ครัง้ ในเวลาหางกัน 2.4 วินาที ถาขณะ
นัน้ อัตราเร็วเสียงในอากาศ 340 เมตร/วินาที และอัตราเร็วเสียงในน้าํ 1496 เมตร/วินาที
อยากทราบวาตําแหนงที่เรือจมอยูหางจากชายคนนั้นเทาใด (1056 เมตร)
วิธที าํ

3
บทที่ 12 เสียง
ตอนที่ 2 ธรรมชาติของคลืน่ เสียง
2.1 การสะทอนของเสียง
เมื่อเสียงไปตกกระทบวัตถุที่มีขนาดใหญกวาความ
ยาวคลื่นเสียง เสียงจะสะทอนออกจากวัตถุนั้นได
ย้ําเพิ่มเติม
1) หากวัตถุมีขนาดเล็กกวาความยาวคลื่นเสียง
เมื่อเสียงตกกระทบ จะเลี้ยวออมไปทางอื่น
ไมสะทอนออกมา
2) หากมีเสียงสะทอนจากหลายแหลง มาถึง
ผูฟงในชวงเวลาที่ตางกันมากกวา 0.1 วินาที จะทําใหไดยนิ เสียงสะทอนหลายเสียง
เรียกวาเกิด เสียงกอง

8(En 36) คัดขนาดของผลไมในขณะกําลังไหลผานมาตามรางน้ําโดยอาศัยการสะทอนของเสียง


จากเครือ่ งโซนาร โดยตองการแยกผลไมที่มีขนาดใหญกวา และเล็กกวา 7.5 เซนติเมตร
ออกจากกัน จงหาความถี่เหมาะสมของคลื่นจากโซนาร ( ความเร็วเสียงในน้าํ = 1500 m/s )
1. 1 kHz 2. 2 kHz 3. 10 kHz 4. 20 kHz (ขอ 4)
วิธที าํ

9. เรือลําหนึ่งลอยนิ่งอยูในทะเลไดสงคลื่นสัญญาณเสียงลงไปในน้ําทะเล และไดรบั สัญญาณ


เสียงนั้นกลับมาในเวลา 0.6 วินาที เมือ่ อัตราเร็วของเสียงในน้าํ ทะเลมีคา 1500 เมตร/-
วินาที ทะเล ณ บริเวณนี้ลึกเทาไร (450 เมตร)
วิธที าํ

4
บทที่ 12 เสียง
10(En 37) เรือหาปลาลําหนึ่งหาฝูงปลาดวยโซนาร
สงคลื่นดลของเสียงความถี่สูงลงไปในน้ําทะเล
ถาฝูงปลาอยูหางจากเครื่องกําเนิดคลื่นไปทาง
หัวเรือเปนระยะทาง 120 เมตร และอยูลึก
จากผิวน้ําเปนระยะ 90 เมตร หลังจากสง
คลื่นดลจากโซนารไปเปนเวลาเทาใด จึงจะ
ไดรับคลื่นที่สะทอนกลับมา กําหนดความเร็วเสียงในน้ําทะเล = 1500 m/s
1. 0.1 s 2. 0.2 s 3. 0.3 s 4. 0.4 s (ขอ 2)
วิธที าํ

11. ชายคนหนึ่งตะโกนเสียงมีความถี่ 1,000 ครัง้ /วินาที ออกไปยังหนาผาซึ่งอยูหางออกไป


300 เมตร ปรากฏวาเขาไดยินเสียงสะทอนกลับหลังจากตะโกนแลว 4 วินาที จงหา
ก) ความเร็วเสียง (150 m/s)
ข) ความยาวคลื่นเสียง (0.150 เมตร)
วิธที าํ

12. ชายคนหนึ่งยืนอยูระหวางผา 2 แหง แลวยิงปนออกไป เขาไดยนิ เสียงครัง้ แรก ครัง้ ทีส่ อง


และสามเมือ่ เวลาผานไป 1 และ 5 วินาที นับจากเริม่ ยิง จงหาระยะหาง ระหวางหนาผา
ทั้งสอง ถาความเร็วเสียงในอากาศเปน 340 เมตร/วินาที (1020 เมตร)
วิธที าํ

5
บทที่ 12 เสียง
13(มช 32) บายวันหนึ่ง ชายคนหนึ่งเปลงเสียงไปยังหนาผาแหงหนึ่ง ปรากฏวาไดยินเสียงของ
ตัวเองสะทอนกลับมาหลังจากเปลงเสียงไปแลว 8 วินาที ตอมาชายคนนีเ้ ดินเขาหาหนาผา
เปนระยะทาง 30 เมตร แลวเปลงเสียงอีก ปรากฏวาไดยินเสียงสะทอนกลับมาหลังจาก
เปลงเสียงไปแลว 5 วินาที อยากทราบวาจุดแรกที่ชายคนนี้ยืนอยูหางจากหนาผากี่เมตร
1. 80.0 2. 857.5 3. 30 4. 27 (ขอ 1)
วิธที าํ

14. ชายคนหนึ่งอยูหนากําแพงตะโกนเสียงเขาหากําแพง ถาเขาตองการใหเกิดเสียงกองเขาตอง


อยูหางจากกําแพงอยางนอยเทาใด ( ให เสียงมีอตั ราเร็วในอากาศ 340 เมตร/วินาที ) (17 ม)
วิธที าํ

15. ถาอุณหภูมิของอากาศในขณะนั้นมีคาเทากับ 40 องศาเซลเซียส ชายคนหนึ่งจะไดยินเสียง


สะทอนของเสียงทีเ่ ขาตะโกนออกไป เมื่อเขายืนหางจากผนังตึกอยางนอยเทาไร (17.75 ม.)
วิธที าํ

6
บทที่ 12 เสียง
2.2 การหักเหของเสียง
จากกฎของสเนลจะไดวา
sin⊗ 1 v1 ↵1 T1
sin⊗ 2 = v = = T2 = n21
2 ↵2
เมือ่ ⊗1 และ ⊗2 คือ มุมในตัวกลางที่ 1 และ 2 ตามลําดับ
V1 และ V2 คือ ความเร็วคลืน่ ในตัวกลางที่ 1 และ 2 ตามลําดับ
←1 และ ←2 คือ ความยาวคลืน่ ในตัวกลางที่ 1 และ 2 ตามลําดับ
T1 และ T2 คือ อุณหภูมิ (เคลวิน) ในตัวกลางที่ 1 และ 2 ตามลําดับ
n21 คือ คาคงที่ เรียกชือ่ วา ดัชนีหกั เหของตัวกลางที่ 2 เทียบกับตัวกลางที่ 1
16. อากาศบริเวณ X ทีอ่ ณุ หภูมิ 27oC บริเวณ Y มีอณ ุ หภูมิ 21oC เมือ่ เสียงผานจาก
ก. ดัชนีหกั เหของตัวกลาง Y เมือ่ เทียบกับตัวกลาง X เปนเทาใด (1.01)
ข. ถาในตัวกลาง Y เสียงมีอตั ราเร็ว 342 m/s ในตัวกลาง X เสียงจะมีอตั ราเร็วเทาใด (345.4 m/s)
วิธที าํ

2.3 การเลีย้ วเบนของเสียง


การเลีย้ วเบนจะเกิดไดดี เมือ่ ชองแคบมีขนาดเล็กกวาความ
ยาวคลื่น หรือความยาวคลืน่ ตองใหญกวาชองแคบ นัน่ เอง
17. ถาอัตราเร็วของเสียงในอากาศขณะหนึง่ เทากับ 340 เมตร/วินาที เสียงแตรรถยนตมคี วามถี่
170 เฮิรตซ กอนทีร่ ถยนตจะออกจากซอยคนขับรถบีบแตรรถยนตเพือ่ ใหสญ ั ญาณทําใหคน
ซึง่ ยืนอยูบ นทางเทา ณ มุมตึกปากซอยไดยนิ เสียงสัญญาณแตรไดชดั เจนจงประมาณขนาด
ความกวางของซอย ( 2 ม.)
วิธที าํ

7
บทที่ 12 เสียง
18. คลืน่ เสียงหนึง่ ผานเขาทางชองหนาตางกวาง 0.8 เมตร และสูง 1.2 เมตร ในแนวตัง้ ฉาก ผู
ฟงทีอ่ ยูข า งหนาตางจะไดยนิ เสียงชัดเจน ถาขณะนัน้ อุณหภูมขิ องอากาศ 38oC จงหาความถี่
ของเสียงนี้ ( กําหนดใหเกิดการเลีย้ วเบนในแนวราบ ) (442.5 Hz)
วิธที าํ

2.4 การแทรกสอดของเสียง
ในแนวเสริม หรือ แนวปฏิบพั คลืน่ เสียงมีการเสริมกัน จึงมีเสียงดังกวาปกติ
ในแนวหักลาง หรือ แนวบัพ คลืน่ เสียงมีการหักลางกัน จึงมีเสียงเบากวาปกติ
สูตรคํานวณสําหรับหรับแนวปฏิบัพลําดับที่ n (An)
⇔S1P – S2P⇔ = n ←
d sin ⊗ = n ←
เมือ่ P คือ จุดซึง่ อยูบ นแนวปฏิบพั ลําดับที่ n(An)
S1P คือ ระยะจาก S1 ถึง P
S2P คือ ระยะจาก S2 ถึง P
← คือ ความยาวคลืน่ (m)
n คือ ลําดับทีข่ องปฏิบพั นัน้
d คือ ระยะหางจาก S1 ถึง S2
⊗ คือ มุมทีว่ ดั จาก A0 ถึง An
สูตรคํานวณสําหรับแนวบัพลําดับที่ n (Nn)
S1P – S2P = (n – 12 )←
d sin ⊗ = (n – 12 ) ←
เมือ่ n คือ ลําดับทีข่ องแนวบัพนัน้
8
บทที่ 12 เสียง
19. คลืน่ ชนิดหนึง่ เมือ่ เกิดการแทรกสอด จะเกิดแนวดังรูป
ก. คลืน่ นีม้ คี วามยาวคลืน่ เทาใด (2m)
ข. ถาคลื่นนี้มีความถี่ 50 Hz จะมีความเร็วเทาใด
วิธที าํ ( 100 m/s)

20. คลืน่ ชนิดหนึง่ เมือ่ เกิดการแทรกสอดแนวปฏิบพั ที่ 2 เอียงทํามุมจากแนวกลาง 30o


หากแหลงกําเนิดคลืน่ ทัง้ สองอยูห า งกัน 4 เมตร
ก. ความยาวคลืน่ นีม้ คี า เทาใด (1m)
ข. หากคลืน่ นีม้ คี วามเร็ว 300 m/s จะมีความถี่เทาใด ( 300 Hz )
วิธที าํ

21. จากรูปเปนภาพการแทรกสอดของคลืน่ ผิวน้าํ จาก


แหลงกําเนิดอาพันธ S1 และ S2 โดยมี P เปนจุด
ใดๆ บนแนวเสนบัพ S1P = 12 เซนติเมตร
S2P = 2 เซนติเมตร ถาอัตราเร็วของคลืน่ ทัง้ สอง
เทากับ 50 เซนติเมตรตอวินาที แหลงกําเนิดคลืน่
ทัง้ สองมีความถีก่ เ่ี ฮิรตซ (7.50 Hz)
วิธที าํ

9
บทที่ 12 เสียง
22. จากรูป S1 และ S2 เปนลําโพง 2 ตัว วางหางกัน 3 เมตร ใหคลืน่ ขนาดเดียวกันและมี
เฟสตรงกัน ถา P เปนตําแหนงเสียงดังครัง้ ทีส่ อง หางจากแนวกลางในทิศทํามุม 30o
คลืน่ ทีแ่ ผมคี วามยาวกีเ่ มตร
ก. 0.5 ข. 0.75 ค. 0.9 ง. 1.2 (ขอ ข)
วิธที าํ

23. A และ B เปนลําโพง 2 ตัววางหางกัน 2 เมตร ในทีโ่ ลง P เปนผูฟ ง หางจาก A 4 เมตร
และหางจาก B 3 เมตร เสียงความถีต่ าํ่ สุดทีค่ ลืน่ หักลางกันทําใหไดยนิ เสียงเบาทีส่ ดุ เปนเทาไร
(กําหนด ความเร็วเสียง = 340 m/s) (ขอ 4)
1. 270 Hz 2. 230 Hz 3. 190 Hz 4. 170 Hz
วิธที าํ

24(En 41) จากรูปเปนทอซึง่ ตรงกลางมีทางแยกเปนสวนโคงรูปครึง่ วงกลมรัศมี r เทากับ


14 เซนติเมตร ถาอัตราเร็วของเสียงในทอเทากับ 344 เมตรตอวินาที ใหคลืน่ เสียงเขาไป
ในทอทางดาน S ความถี่ของเสียงที่ทําใหผูฟงที่ปลายดาน D ไดยนิ เสียงคอยทีส่ ดุ มีคา เทาใด
1. 287 Hz
2. 574 Hz
3. 718 Hz
4. 1075 Hz (ขอ 4)
วิธที าํ

10
บทที่ 12 เสียง
ตอนที่ 3 ความเขมเสียง
3.1 ความเขมเสียง
เสียงทีอ่ อกมาจากจุดกําเนิดจะมีลกั ษณะแผออกเปนทรงกลมคลายลูกบอล กวางออกไป
เรือ่ ย ๆ ความเขมเสียง (I) คือ อัตราสวนของกําลังเสียง ตอ พืน้ ทีท่ เ่ี สียงกระจายออกไป
I= P หรือ I= P
A 4±R 2
เมื่อ I = ความเขมเสียง (วัตต/ตารางเมตร)
P = กําลังเสียง (วัตต)
A = พืน้ ที่ (ตารางเมตร)
R = รัศมีวงกลม (เมตร)
โปรดทราบ ! ความเขมเสียงมากที่สุดที่หูคนเราทนฟงได 1 w/m2
" ความเขมเสียงนอยทีส่ ดุ ทีค่ นเราไดยนิ คือ 10–12 w/m2 เราใชสัญลักษณ Io
# ถาเรานําความเขมที่จุดใด ๆ หารดวย Io ผลทีไ่ ดเรียกวา ความเขมสัมพัทธ
ดังนั้น ความเขมสัมพัทธ = I
I
o
25. หวูดรถไฟมีกําลังเสียง 20 วัตต จงหาความเขมเสียงทีจ่ ดุ หางจากหวูด 150 เมตร
วิธที าํ (7.07x10–5 w/m2)

26(มช 39) สมมติยงุ ตัวหนึง่ ๆ โดยเฉลีย่ แลวเวลาบินทําใหเกิดเสียงหึง่ ๆ ที่มีกําลัง 3.14x10–14


วัตต ขณะทีย่ งุ บินจากระยะไกลเขาหาเด็กคนหนึง่ เด็กคนนีจ้ ะเริม่ ไดยนิ เสียงยุง เมือ่ ยุงอยูท ่ี
ระยะหางจากเขากีเ่ ซนติเมตร ถาเสียงเบาทีส่ ดุ ทีเ่ ขาสามารถไดยนิ มีความเขม 10–12 W/m2
1. 5 2. 10 3. 25 4. 40 (ขอ 1)
วิธที าํ

11
บทที่ 12 เสียง
27(En 44/1) ในการทดลองเรือ่ งความเขมของเสียงวัดความเขมของเสียงทีต่ าํ แหนงทีอ่ ยูห า ง ไป
10 เมตร จากลําโพงได 1.2x10–2 วัตตตอ ตารางเมตร ความเขมเสียงทีต่ าํ แหนง
30 เมตร จากลําโพงจะเปนเทาใด
1. 1.1x10–2 W/m2 2. 0.6x10–2 W/m2
3. 0.4x10–2 W/m2 4. 0.13x10–2 W/m2 (ขอ 4)
วิธที าํ

3.2 ระดับความเขมเสียง
คาความเขมเสียง เปนคาทีม่ คี า นอย ตัวเลขยุง ยาก เราจึงนิยมเปลีย่ นใหอยูใ นรูปทีด่ งู า ยขึน้
คือ รูปของ ระดับความเขมเสียง (≤) วิธกี ารเปลีย่ น จะใชสมการ
≤ = 10 log I ≤ = 10 log I
I 10 12
-
o
เมือ่ ≤ คือ ระดับความเขมเสียง (เดซิเบล , dB)
I คือ ความเขมเสียง (วัตต/ตารางเมตร)
Io คือ ความเขมเสียงนอยสุดทีย่ งั ไดยนิ = 10–12 วัตต/ตารางเมตร
หมายเหตุ 1. log 10 = 1
2. log Mx = x log M เชน log 105 = 5 log 10 = 5(1) = 5
3. log x = log y ก็ตอ เมือ่ x = y
28. จงหาระดับความเขมเสียง ณ.จุดซึง่ มีคา ความเขมเสียง 1x 10–7 W/m2 ( 50 dB )
วิธที าํ

29. หากความเขมเสียงสูงสุดทีห่ คู นเราจะทนฟงได มีคา 1 W/m2 จงหาระดับความเขมเสียง


สูงสุดทีห่ คู นเราจะทนฟงได ( 120 dB )
วิธที าํ

12
บทที่ 12 เสียง
30. จงหาระดับความเขมเสียง เสียงเมือ่ ผูฟ ง อยูห า งจากวิทยุ 1 เมตร เมือ่ กําลังเสียงของวิทยุ
เทากับ 4° x 10–3 วัตต ( 90 dB )
วิธที าํ

31(มช 43) เสียงทีม่ รี ะดับความเขมเสียง 80 เดซิเบล จะมีความเขมเสียงในหนวย W/m2 เทาใด


1. 10–2 2. 10–4 3. 10–6 4. 10–8 (ขอ 2)
วิธที าํ

32. ณ จุดหนึง่ เสียงจากเครือ่ งจักรมีระดับความเขมเสียงวัดได 50 เดซิเบล จงหาความเขมเสียง


จากเครือ่ งจักร ณ จุดนัน้ กําหนดใหความเขมเสียงทีเ่ ริม่ ไดยนิ เปน 10–12 W/m2 (ขอ 2)
1. 10–5 W/m2 2. 10–7 W/m2 3. 10–9 W/m2 4. 10–17 W/m2
วิธที าํ

33(มช 31) วางเครือ่ งวัดระดับเขมเสียงหางจากลําโพง 10 เมตร พบวาระดับความเขมเสียง


เทากับ 100 เดซิเบล กําลังเสียงจะเทากับกีว่ ตั ต (ขอ 2)
1. 12.5x104 วัตต 2. 12.6 วัตต 3. 3.14 วัตต 4. 10–2 วัตต
วิธที าํ

13
บทที่ 12 เสียง
สูตรเพิม่ เติมเกีย่ วกับระดับความเขมเสียง
I P
′2 – ′1 = 10 log I2 ′2 – ′1 = 10 log P2
1 1
R1 # 2 P R2
&
′2 – ′1 = 10 log $ R ! ′2 – ′1 = 10 log P2 R12
% 2" 1 2
เมือ่ ′1 , ′2 คือ ระดับความเขมเสียงตอนแรก และ ตอนหลัง (เดซิเบล)
I1 , I2 คือ ความเขมเสียงตอนแรก และ ตอนหลัง (วัตต/ตารางเมตร)
P1 , P2 คือ กําลังเสียงตอนแรก และ ตอนหลัง (วัตต)
R1 , R2 คือ ระยะหางตอนแรก และ ตอนหลัง (เมตร)
34(มช 31) ลําโพง 1 ตัว ใหเสียงที่ระดับความเขมของเสียง 60 dB ถาใชลําโพงชนิดเดียวกัน
10 ตัว จะใหความเขมของเสียงกี่ dB (ขอ ค)
ก. 600 dB ข. 100 dB ค. 70 dB ง. 60 dB
วิธที าํ

35(มช 34) ยุงตัวหนึง่ เมือ่ บินมาทีป่ ระตูหอ งซึง่ อยูห า งจาก นาย ก. 20 เมตร พบวาทําใหระดับ
ความดังมาถึงหูนาย ก. มีขนาด 20 เดซิเบล ถายุง 100000 ตัว ระดับความดังทีม่ าถึงหูนาย ก.
จะมีขนาดกี่ dB (70 dB)
วิธที าํ

36(มช 33) เมือ่ อยูห า งจากแหลงกําเนิดเสียงเปนระยะ 5 เมตร วัดระดับความเขมเสียงได 50 dB


ถาที่ระยะหางจากแหลงกําเนิดเสียง 50 เมตร ระดับความเขมเสียงจะมีคา กีเ่ ดซิเบล (30dB)
วิธที าํ

14
บทที่ 12 เสียง
37(En 44/1) ระดับความเขมเสียงในโรงงานแหงหนึง่ มีคา 80 เดซิเบล คนงานผูห นึง่ ใสเครือ่ ง
ครอบหูซง่ึ สามารถลดระดับความเขมลงเหลือ 60 เดซิเบล เครือ่ งดังกลาวลดความเขมเสียง
ลงกีเ่ ปอรเซ็นต (ขอ 4)
1. 80 % 2. 88 % 3. 98 % 4. 99 %
วิธที าํ

!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!

ตอนที่ 4 เสียงดนตรี
4.1 ความดังเบาของเสียง
ความดังหรือเบาของเสียงขึน้ อยู อัมปลิจดู ของคลืน่ เสียง
ถาคลื่นเสียงมีอัมปลิจูดสูง เสียงจะดัง
ถาคลื่นเสียงมีอัมปลิจูดต่ํา เสียงจะเบา
4.2 ระดับเสียง ( ความทุม แหลมของเสียง )
ความทุม แหลม ของเสียงจะขึน้ อยู ความถี่ของคลื่นเสียง
ถาคลื่นเสียงมีความถี่สูง เสียงจะแหลม เรียกวา ระดับเสียงสูง
ถาคลื่นเสียงมีความถี่ต่ํา เสียงจะทุม เรียกวา ระดับเสียงต่ํา
ชวงความถี่ของเสียงที่หูคนปกติจะไดยิน คือ ชวง 20 – 20000 Hz เทานัน้
เสียงที่มีความถี่ต่ํากวา 20 Hz ลงไปเรียก Infra Sonic
เสียงที่มีความถี่สูงกวา 20000 Hz ขึน้ ไปเรียก Ultra Sonic
หูคนปกติจะไมไดยินเสียงพวกนี้
38. สมบัติของเสียงขอใดที่มีผลตอความดังของเสียงมากที่สุด
ก. ความยาวคลื่น ข. ความถี่ ค. อัมพลิจดู ง. ความเร็วคลืน่ (ขอ ค)
39(มช 37) ความถี่ของคลื่นเสียงที่ระดับความเขมเสียง 70 เดซิเบล ทีห่ ขู องคนปกติไม
สามารถไดยิน คือ
1. 30 2. 1000 3. 10000 4. 30000 (ขอ 4)
15
บทที่ 12 เสียง

เกีย่ วกับตัวโนตดนตรี คู 8 หรือ 2 คู 8 3 คู 8 4 คู 8


เสียงที่ 8 (เสียงที่ 16 ) (เสียงที่ 24 ) (เสียงที่ 32 )
เสียงมูลฐาน
Harmonicที่ 2 Harmonicที่ 3 Harmonicที่ 4 Harmonicที่ 5
Harmonicที่ 1

โด เร มี ฟา ซอล ลา ที โดℑ ….. โดℑℑ …. โดℑℑℑ ….. โดℑℑℑℑ


ความถี่ (Hz) 256 512 Hz 1024 Hz 2048 Hz 4096 Hz
40. ถาระดับเสียงโนต C มีความถี่ 256 Hz เสียงที่ 16 ของระดับเสียง C มีคาเทาไร
ก. 512 Hz ข. 1024 Hz ค. 2048 Hz ง. 4096 Hz (ขอ ข)
วิธที าํ
41. คลื่นเสียงที่ความถี่ 1200 เฮิรตซ เปนเสียงสามคูแปดของเสียงที่มีความถี่เทาไร
ก. 600 ข. 400 ค. 300 ง. 150 (ขอ ง)
วิธที าํ
4.3 คุณภาพเสียง
เวลาเราฟงเสียงเครือ่ งดนตรีหลาย ๆ ชนิด เชน ขลุย และเปยโน ซึง่ เลนโนตตัวเดียวกัน
พรอม ๆ กัน แตเรายังสามารถแยกออกไดวา เสียงใดเปนเสียงขลุย เสียงใดเปนเสียงเปยโน
ทั้งนี้เพราะเสียงทั้งสองจะมีลักษณะที่ตางกัน
ทีเ่ ปนเชนนีเ้ พราะเสียงแตละเสียงจะมี Higher Hamonic และความเขมสัมพัทธ
แตละ Hamonic ไมเทากัน จึงทําใหเสียงแตละเสียงมีลักษณะที่ตางกัน ลักษณะของเสียง
เราเรียกวาคุณภาพเสียง

ตัวอยางสมมุติ 90% 4% 4% 1% 1%
เสียงขลุย โด โดℑ โดℑℑ โดℑℑℑ โดℑℑℑℑ
เสียงเปยโน โด โดℑ โดℑℑ
95% 3% 2%
42(En 41) วงดนตรีทป่ี ระกอบดวยเครือ่ งดนตรีหลายชนิด เมือ่ เลนพรอมกัน แตเราสามารถแยก
ไดวา เสียงใดเปนเสียงไวโอลิน เสียงใดเปนเสียงขลุย และเสียงใดเปนเสียงเปยโน เนือ่ งจาก
เสียงดนตรีแตละชนิดมีลกั ษณะเฉพาะตามขอใดทีต่ า งกัน (ขอ 4)
1. ระดับเสียง 2. ระดับความเขมเสียง 3. ความถี่เสียง 4. คุณภาพเสียง

16
บทที่ 12 เสียง
43(มช 34) คุณภาพเสียงอธิบายไดดวยคุณสมบัติของเสียงขอใด
ก. ความดังของเสียง และระดับความดัง
ข. ความถี่ของเสียง และความเร็วของเสียง
ค. ระดับเสียง และความถี่ธรรมชาติ
ง. จํานวนฮารโมนิก และ ความเขมของเสียงของฮารโมนิก (ขอ ง)

4.4 บีสตของเสียง
หากมีคลื่นเสียง 2 คลื่น ซึ่งมีความถี่ตางกันเล็กนอยเขามาปนกัน คลื่นทั้งสองจะเกิด
การแทรกสอดกันเอง แลวจะไดคลื่นรวมที่มีอัมปลิจูดสูงต่ําสลับกันไป เสียงที่เกิดจากคลื่น
รวมจะมีลักษณะดังสลับกับเบา ปรากฏการณทเ่ี กิดขึน้ นี้ เรียกวา บีสตของเสียง

จํานวนครัง้ ทีเ่ สียงดังใน 1 หนวยเวลาเรียก ความถี่บีตส ซึ่งหาจาก


fB = ⇐f1 – f2 ⇐
เมือ่ f1 คือ ความถี่เสียงที่ 1 f2 คือ ความถี่เสียงที่ 2
และ ความถี่คลื่นเสียงรวมหาจาก
f ϑf
fรวม = 1 2
2
ปกติแลว หูคนเราจะไดยินเสียงบีสตที่มีความถี่ไมเกิน 7 Hz
44(En 31) เมือ่ จะทําการทดลองเกีย่ วกับสมบัตขิ องคลืน่ เสียงเรือ่ งบีสต เราจําเปนตองใช
1. เครือ่ งกําเนิดสัญญาณเสียง 1 เครือ่ ง ลําโพง 1 ตัว
2. เครือ่ งกําเนิดสัญญาณเสียง 1 เครือ่ ง ลําโพง 2 ตัว
3. เครือ่ งกําเนิดสัญญาณเสียง 2 เครือ่ ง ลําโพง 2 ตัว
4. เครือ่ งกําเนิดสัญญาณเสียง 3 เครือ่ ง ลําโพง 3 ตัว (ขอ 3)

17
บทที่ 12 เสียง
45(มช 32) ในการปรับเสียงเปยโน โดยผูปรับใชวิธีเคาะสอมเสียง ความถีม่ าตรฐานเทียบกับ
เสียงทีไ่ ดจากการกดคียเ ปยโนคียห นึง่ ถาเสียงที่ไดยินเปนลักษณะดังแลวคอยจางหาย แลว
ดังอีกเปนจังหวะสลับกันไป เขาก็จะปรับความตึงของลวดเปยโนจนกวาเสียงทีไ่ ดยนิ จะดัง
เปนเสียงเดียวตอเนือ่ งกันไป การกระทําอยางนีอ้ าศัยหลักการของปรากฏการณทเ่ี รียกวา
ก. Doppler effect (ปรากฏการณดอปเปเปอร) ข. Resonance (กําทอน)
ค. Shock waves (คลื่นกระแทก) ง. Beats (ขอ ง)
46. นักเรียนคนหนึง่ เลนไวโอลินความถี่ 507 เฮิรตซ และนักดนตรีอกี คนหนึง่ เลนกีตาร ความถี่
512 เฮิรตซ ถาทัง้ สองคนเลนพรอมกัน จะเกิดปรากฏการณบีตสที่ความถี่เทาใด (2 Hz)
วิธที าํ
47. ในการปรับเสียงของเปยโนระดังเสียง C โดยเทียบกับสอมเสียงความถี่ 256.0 Hz ถาได
ยินเสียงบีตสความถี่ 3.0 ครัง้ /วินาที ความถีท่ เ่ี ปนไปไดของเปยโนมีคา เทาใด (253 , 259 Hz)
วิธที าํ

48. คลื่น 2 ขบวน A และ B มีแอมปลิจดู เทากัน คลื่นละ 2 เซนติเมตร มีความถี่ 200 และ
204 เฮิรตซ ตามลําดับ ถาคลืน่ ทัง้ สองเขารวมกันเปนคลืน่ C ความถี่ของคลื่น C และ
ความถี่บีสตของคลื่น C มีคาเทาใด ในหนวยของเฮิรตซ ( 202 , 4 )
วิธที าํ

4.5 คลืน่ นิง่


คลื่นนิ่ง เปนปรากฏการณแทรกสอดของคลืน่ เสียงทีต่ กกระทบ กับคลื่นเสียงที่สะทอน
จากตัวกลาง ทําใหเกิดตําแหนงเสียงดังและเสียงคอยสลับกันไป
ตําแหนงเสียงดัง เรียกวา ปฏิบัพ (A) และ ตําแหนงเสียงคอย เรียกวา บัพ (N)

18
บทที่ 12 เสียง
49(มช 40) ลําโพง A และ B ในรูปมีกําลัง และสมบัติอื่นๆ เหมือนกันทุกประการ ถา A และ B
ตางกําลังสงสัญญาณเสียงเปนรายการเพลงที่กําลังออกอากาศทางสถานีวิทยุแหงหนึ่ง โดย
สัญญาณทีป่ อ นเขาสูล าํ โพงทัง้ สองนีเ่ หมือนกันทุกประการตลอดเวลา ความเขมเสียงที่
ตําแหนงตาง ๆ บนแนวแกน (แนวเสนตรง PQ) ทีเ่ ชือ่ มระหวางลําโพงทัง้ สองนีจ้ ะมี
ลักษณะเปนอยางไร
1. มีคาต่ําสุดที่ R ซึ่งอยูกึ่งกลางระหวาง ลําโพง A และ B พอดี
2. มีคา สม่าํ เสมอเทากันตลอด
3. มีคาสูงสุดที่ R
4. มีคา เปนศูนยทบ่ี างตําแหนงระหวาง P และ Q (ขอ 4)
วิธที าํ

4.6 ความถี่ธรรมชาติ และ การสัน่ พอง


เมือ่ วัตถุถกู กระทบกระเทือน โดยทัว่ ไปแลววัตถุจะเกิดการสัน่ สะเทือนดวยความถีเ่ ฉพาะ
ตัวคาหนึง่ เรียกความถีน่ ว้ี า ความถีธ่ รรมชาติของวัตถุนน้ั เชนลูกตุม ทีแ่ ขวนติดกับสายแกวง
เมือ่ ถูกกระทบกระเทือน ก็จะแกวงไปมาดวยความถีธ่ รรมชาติของลูกตุม นัน้
และเมือ่ วัตถุนน้ั ถูกแรงภายนอกมากกระทําอยางตอเนือ่ งดวยความถีเ่ ทากับความถีธ่ รรม
ชาติของวัตถุ จะทําใหวตั ถุเกิดการสัน่ สะเทือนอยางรุนแรง เราเรียก ปรากฏการณการสัน่ อยาง
รุนแรงเนือ่ งจากเหตุเชนนีว้ า เปน การสัน่ พอง
50. จงยกตัวอยางการสัน่ พอง มา 2 ตัวอยาง
.................. .................. .................. .................. .................. .................. ...............................
51(En 44/2) ลูก A B C D และ E แขวน
กับเชือกที่ขึงตึง ดังแสดงในรูป เมื่อผลักลูก
ตุม A ใหแกวง ลูกตุมใดจะแกวงตามลูก
ตุม A อยางเดนชัด A C
(ขอ 4.) E
1. ลูกตุม B 2. ลูกตุม C
3. ลูกตุม D 4. ลูกตุม E B
D

19
บทที่ 12 เสียง
4.7 การสัน่ พองของเสียง (Resonance)
เมื่อเราสงคลื่นเสียงเขาไปในทอปลายตัน เสียงทีส่ ง เขาไปนัน้ จะไปกระทบผนังดานใน
คลื่นเสียงนั้นจะเกิดการสะทอนออกมา แลวมาแทรกสอดกับคลื่นที่เขาไปเกิดเปนคลื่นนิ่งและ
หากตรงตําแหนงปากทอเปนแนวปฏิบัพของคลื่นนิ่งนั้น จะทําใหโมเลกุลตัวกลาง (อากาศ) สั่น
สะเทือนอยางรุนแรงกวาปกติทําใหเสียงที่ออกมาจากทอนั้น ดังกวาปกติเชนกัน
ปรากฏการณที่มีเสียงดัง อันเกิดจาก
อนุภาคตัวกลางสั่นสะเทือนอยางรุนแรงเชน
นี้ เรียกวาการสัน่ พองของเสียง (กําทอน)
ควรทราบเพิม่ เติมเกีย่ วกับการสัน่ พอง
ประการที่ 1 ทอทีท่ าํ ใหเกิดเสียงดัง จะตอง
เปนทอทีม่ คี วามพอดีทจ่ี ะทําใหปากทออยู
ตรงกับแนวปฏิบพั ของคลืน่ นิง่ พอดี หาก
ปากทอตรงกับแนวบัพจะไมเกิดเสียงดัง
ดังแสดงในรูปภาพ

และทีส่ าํ คัญ
ความยาวทีท่ าํ ใหเกิดสัน่ พองแตละครัง้
ที่อยูถัดกัน จะอยูหางกัน = ↑2
ความยาวจากปากทอถึงจุดทีเ่ กิดสัน่ พอง
ครัง้ แรก จะมีความยาว = ↑4

52(มช 41) วางลําโพงชิดกับปลายขางหนึง่ ของหลอดเรโซแนนซ เลือ่ นลูกสูบออกชา ๆ


จนกระทัง่ ไดยนิ เสียงดังเพิม่ ขึน้ มากทีส่ ดุ ครัง้ แรกทีร่ ะยะหางจากปลายหลอด 3.3 เมตร
ความเร็วเสียงในอากาศมีคา 330 เมตร/วินาที จงหาความถีข่ องเสียงจากลําโพง (25 Hz)
วิธที าํ

20
บทที่ 12 เสียง
53. การทดลองหาอัตราเร็วเสียงในอากาศโดยใชหลอดกําทอน พบวาหลังจากเกิดสัน่ พองแลวก็
เลือ่ นลูกสูบถอยหลังไปอีก 25 cm จึงเกิดสัน่ พองอีกครัง้ ถาความถี่ 680 Hz จงหาอัตรา
เร็วเสียงในอากาศ (340 m/s)
วิธที าํ

54(En 26) การทดลองเรือ่ งการกําทอนของเสียงโดยใชหลอดกําทอน พบวาเกิดกําทอนครัง้ แรก


และครัง้ ทีส่ อง ทีร่ ะยะ 0.15 เมตร และ 0.50 เมตร จากปากทอตามลําดับ ถาความเร็วของ
เสียงใน ขณะนัน้ เทากับ 350 เมตร/วินาที จงหาความถีข่ องคลืน่ สียงทีใ่ ช (ขอ ข)
ก. 400 Hz ข. 500 Hz ค. 600 Hz ง. 1000 Hz
วิธที าํ

ประการที่ 2 หากมีทอ ปลายตัน มีความยาวขนาดหนึง่ หากเราปรับความถีข่ องเสียงทีเ่ ปา


เขาไปใหเหมาะสม อาจทําใหเกิดการสัน่ พองไดเชนกัน ความถีท่ ท่ี าํ ใหเกิด
การสัน่ พองนัน้ สามารถคํานวณหาไดจาก
f = 4L nv

เมือ่ f คือ ความถีเ่ สียงทีเ่ ปาเขาไปแลวทําใหเกิดการสัน่ พอง


v คือ ความเร็วเสียง m/s
L คือ ความยาวลําอากาศ หรือ ความยาวทอกําทอน (m)
n คือ จํานวนเต็มบวกคี่ คือ 1 , 3 , 5 , 7 , 9 , ....
ถา n = 1 ความถีท่ ไ่ี ดจะทําใหเกิดเสียงดังครัง้ แรก เรียกความถีน่ ว้ี า ความถีม่ ลู ฐาน
หรือ Harmonic ที่ 1
ถา n = 3 ความถีท่ ไ่ี ดจะทําใหเกิดเสียงดังครัง้ ที่ 2 เรียกความถีน่ ว้ี า Harmonic ที่ 2
ถา n = 5 ความถีท่ ไ่ี ดจะทําใหเกิดเสียงดังครัง้ ที่ 3 เรียกความถีน่ ว้ี า Harmonic ที่ 3
หมายเหตุ สูตรนี้ใชสําหรับทอปลายตัน ( คือ ทอทีม่ ปี ลายดานหนึง่ ปดไว)
21
บทที่ 12 เสียง
55. ถาความเร็วของเสียงในอากาศเทากับ 340 เมตร/วินาที สอมเสียงจะตองสัน่ ดวยความถีต่ าํ่
สุดเทาใดจึงจะทําใหเกิดกําทอนไดเมื่อจอใกลปากกระบอกตวงซึ่งยาว 20 เซนติเมตร (425 Hz)
วิธที าํ

56(มช 40) โดยปกติคลื่นเสียงจะเขาสูระบบการรับฟงเสียงของหูคนเราโดยผานชองรูหู (ear canal)


ไปตกกระทบเยื่อแกวหูที่ปลายชองรูหูซึ่งจะสั่นตามจังหวะของคลื่นเสียงนั้น ชองรูหูจึงเปน
ดานแรกทีช่ ว ยขยายสัญญาณเสียงทีผ่ า นเขาไป ถาความยาวของชองรูหขู องคนทัว่ ไปมีคา
ประมาณ 2.5 เซนติเมตร แสดงวาคนเราควรจะรับฟงเสียง ความถี่ ประมาณกี่เฮิรตซได
ไวเปนพิเศษ (ให Vเสียง = 350 m/s)
1. 3000 2. 3500 3. 4600 4. 700 (ขอ 2)
วิธที าํ

57(En 38) หลอดเรโซแนนซทใ่ี ชในการทดลองชุดหนึง่ จะใหความดันสูงสุดสามครัง้ เมือ่ เลือ่ น


ตําแหนงลูกสูบไปตามความยาวของหลอดเรโซแนนซ ถาตําแหนงสุดทายดัง เมือ่ ลูกสูบหาง
จากลําโพงมากทีส่ ดุ และหางจากปลายกระบอกสูบ 100 เซนติเมตร อยากทราบวาลําโพงสัน่
ดวยความถีก่ เ่ี ฮิรตซ (กําหนดความเร็วเสียงในอากาศเปน 348 m/s) (435 Hz)
วิธที าํ

22
บทที่ 12 เสียง

ในกรณีทท่ี อ กําทอนมีปลายเปดทัง้ สองขาง เราสามารถหาคาความถีเ่ หมาะสมทําใหเสียงดัง


ไดจากสูตร nv
f = 2L

เมือ่ f คือ ความถีเ่ สียงทีเ่ ปาเขาไปแลวทําใหเกิดการสัน่ พอง


v คือ ความเร็วเสียง (m/s)
L คือ ความยาวลําอากาศ หรือ ความยาวทอกําทอน (m)
n คือ จํานวนเต็มบวกธรรมดา คือ 1 , 2 , 3 , 4 , 5 , .....
ถา n = 1 ความถีท่ ไ่ี ดจะทําใหเกิดเสียงดังครัง้ แรก เรียกความถีน่ ว้ี า ความถีม่ ลู ฐาน
หรือ Harmonic ที่ 1
ถา n = 2 ความถีท่ ไ่ี ดจะทําใหเกิดเสียงดังครัง้ ที่ 2 เรียกความถีน่ ว้ี า Harmonic ที่ 2
ถา n = 3 ความถีท่ ไ่ี ดจะทําใหเกิดเสียงดังครัง้ ที่ 3 เรียกความถีน่ ว้ี า Harmonic ที่ 3
58. คลืน่ เสียงขบวนหนึง่ ทําใหเกิดกําทอนลําดับ 1 ในกลองไมกลวงทีเ่ ปดทุกดานมีความยาว 0.5
เมตร ความถีธ่ รรมชาติของกลองไมนเ้ี ทากับกีเ่ ฮิรตซ (ใหอตั ราเร็วเสียง = 330 m/s)
ก. 330 ข. 495 ค. 660 ง. 3x10–3 (ขอ ก)
วิธที าํ

สําหรับความถีเ่ สียงทีเ่ กิดจากสายสัน่ เราสามารถหาความถีเ่ สียงทีเ่ กิดไดจากสูตร


f= n T
2L ℵ
เมือ่ f คือ ความถีเ่ สียงทีเ่ กิดจากสายสัน่ (Hz)
n คือ จํานวน Loop คลืน่ นิง่ ทีเ่ กิดในสายสัน่
L คือ ความยาวสายสั่น (เมตร)
T คือ แรงดึงสายสัน่ (นิวตัน)
ℵ คือ มวลสายสั่นซึ่งยาว 1 เมตร (กิโลกรัม)

23
บทที่ 12 เสียง
59(En 33) ในการดีดพิณระดับเสียง จะเพิม่ ขึน้ ไดเมือ่
ก) ความตึงของสายพิณเพิม่ ขึน้
ข) สายพิณยาวขึน้
ค) น้าํ หนักตอความยาวของสายพิณมีคา เพิม่ ขึน้
ง) จํานวนคลืน่ นิง่ ทีเ่ กิดขึน้ ในสายพิณมีจาํ นวนมากขึน้
จงพิจารณาวาขอความขางตนขอใดถูก (ขอ 1)
1. ก และ ง 2. ข และ ค 3. ข เทานัน้ 4. ถูกทุกขอ
วิธที าํ

60(En 33) เสนลวดยาว 1 เมตร ถูกดึงดวยแรงดึงขนาดหนึง่ เมือ่ ดีดจะทําใหเกิดเสียงทีม่ คี า


ความถีม่ ลู ฐานเปน 200 เฮิรตซ ถาเพิม่ แรงดึงอีก 900 นิวตัน จะทําใหคา ความถีม่ ลู ฐาน
ของเสียงทีเ่ กิดจากลวดเสนนีเ้ ปลีย่ นไปเปน 400 เฮิรตซ อยากทราบวามวลของเสนลวดนี้
เทากับเทาไร (ขอ 4)
1. 1.22 กรัม 2. 1.44 กรัม 3. 1.66 กรัม 4. 1.88 กรัม
วิธที าํ

24
บทที่ 12 เสียง
ตอนที่ 5 ปรากฏการณดอปเปลอร และ คลืน่ กระแทก
5.1 ปรากฏการณดอปเปลอร
หมายถึง ปรากฏการณเปลีย่ นแปลงระดับเสียง (ความถีข่ องเสียง) เมือ่ แหลงกําเนิด
และ ผูส งั เกตุเคลือ่ นทีด่ ว ย ความเร็วสัมพัทธตอ กัน

เสียงกระจายออกจากเปยโน

ขับรถหนีออก เสมือนลากความยาวคลืน่ ขับรถเขา เสมือนกดความยาวคลืน่ เสียง


เสียงใหยืดยาวออก จะทําใหความถีเ่ สียง ใหสั้นลง จะทําใหความถีเ่ สียงเพิม่ ขึน้
ลดลง และไดยนิ เสียงทุมลง และไดยนิ เสียงแหลมขึน้
เสียงแตรออกจากมอเตอรไซด

หากความเร็วรถยนตนอ ยกวา มอเตอรไซด หากความเร็วรถยนต มากกวา มอเตอรไซด


เสมือนวาความยาวคลืน่ เสียงถูกมอเตอรไซด เสมือนวาความยาวคลืน่ เสียง ถูกรถยนตดึง
กดดันเขามา ทําใหความยาวคลืน่ ลดลง ใหยืด ทําใหความยาวคลืน่ ยาวขึน้ ความถี่
ความถีม่ ากขึน้ เสียงทีไ่ ดยนิ จะแหลม ลดลง เสียงทีไ่ ดยนิ จะทุม
25
บทที่ 12 เสียง
61(มช 29) ผูโ ดยสารรถไฟสังเกตไดวา ขณะทีเ่ ขายืนหยุดอยูบ นชานชลาเสียงหวูดรถไฟทีจ่ อด
นิง่ มีความถีต่ า งจากเสียงหวูด ขณะรถไฟวิง่ ออกจากชานชลา ปรากฏการณเชนนีเ้ รียกวา
ก. การแทรกสอด ข. การเลีย้ วเบน
ค. การหักเห ง. ดอปเปลอร (ขอ ง)
วิธที าํ
62(มช 33) ปรากฏการณดอปเปลอรของเสียงแสดงใหเห็นถึงการเปลีย่ นแปลง
ก. มลภาวะเสียง ข. ความเขมเสียง
ค. ความดังเสียง ง. ระดับเสียง (ขอ ง)
วิธที าํ
63(En 42/2) ในขณะทีแ่ หลงกําเนิดเสียงเคลือ่ นทีใ่ นอากาศนิง่ ขอใดตอไปนีถ้ กู (ขอ 1)
1. ความยาวคลืน่ เสียงทีอ่ ยูด า นหนาแหลงกําเนิดจะสัน้ กวาความยาวคลืน่ เสียงทีจ่ ดุ
ดานหลังแหลงกําเนิด
2. ความถีเ่ สียงทีอ่ ยูด า นหนาแหลงกําเนิดจะต่าํ กวาความถีเ่ สียงทีจ่ ดุ ดานหลังแหลงกําเนิด
3. ความเร็วเสียงดานหนาแหลงกําเนิดจะสูงกวาความเร็วเสียงดานหลังแหลงกําเนิด
4. ความเร็วเสียงดานหนาแหลงกําเนิดจะต่าํ กวาความเร็วเสียงดานหลังแหลงกําเนิด
วิธที าํ
64(มช 35) รถมอเตอรไซดคนั หนึง่ แลนตามหลังรถยนตคนั หนึง่ ไปบนถนนตรงความเร็ว ของ
รถยนตเปนสองเทาของมอเตอรไซด ถาคนขีม่ อเตอรไซดบบี แตรดวยความถี่ 500 เฮิรตซ
ก. คนขับรถยนตไดยนิ เสียงความถีต่ าํ่ กวา 500 เฮิรตซ แตคนขีม่ อเตอรไซดไดยนิ เสียง
ความถี่ 500 เฮิรตซ
ข. คนขับรถยนตไดยนิ เสียงความถีส่ งู กวา 500 เฮิรตซ แตคนขีม่ อเตอรไซดไดยนิ เสียง
ความถี่ 500 เฮิรตซ
ค. คนขับรถยนต และคนขีม่ อเตอรไซด ไดยนิ เสียงความถีเ่ ดียวกัน
ง. คนขับรถยนตไดยนิ เสียงความถีส่ งู กวาคนขีม่ อเตอรไซดไดยนิ (ขอ ก)
วิธที าํ

26
บทที่ 12 เสียง
65(En 40) ชายคนหนึง่ เคาะสอมเสียงซึง่ มีความถี่ f แลวนําไปแกวงเปนวงกลมในแนวระดับ
ดังรูป ชายอีกคนหนึง่ ซึง่ นัง่ นิง่ อยูจ ะไดยนิ เสียง ขณะทีส่ อ มเสียงอยูใ นตําแหนง ABC
และ D ดังรูป ดวยความถี่ fA fB fC และ fD ตามลําดับ ขอตอไปนีข้ อ ใดถูก
1. fA < fB = fD < fC
2. fC < fB = fD < fA
3. fD < fA = fC < fB
4. fB < fA = fC < fD (ขอ 4)
วิธที าํ

เราสามารถหาความถีท่ เ่ี ปลีย่ นไปนีโ้ ดยหาจากสมการดังนี้


(V Ι V )
fL = (Vo Ι VL) fs เมือ่ fL = ความถีท่ ผ่ี สู งั เกตุไดยนิ
o s
fs = ความถีป่ กติของตนกําเนิดเสียง
Vo = อัตราเร็วเสียง
และหาความยาวคลืน่ โดยใชสมการ Vs = อัตราเร็วของตนกําเนิดเสียง
← = (Vo fΙs Vs ) VL = อัตราเร็วของผูส งั เกตุ
← = ความยาวคลื่นเสียงที่ผูสังเกตุไดยิน
เงือ่ นไขการใชสมการทัง้ สองนี้ คือ
ในการแทนคา VL กับ Vs ตองคํานึงคา +, – ดวย โดยอาศัยหลักดังนี้
ถา VL , Vs เคลื่อนที่สวนทางกับ Vo จะมีคาเปน +
ถา VL , Vs เคลือ่ นทีไ่ ปทางเดียวกัน Vo จะมีคาเปน –
66. รถไฟวิง่ ดวยความเร็ว 30 เมตร/วินาที ในอากาศนิ่งความถี่หวูดรถไฟมีคา 500 Hz ถาเสียงมี
อัตราเร็ว 330 เมตร/วินาที จงหาความถี่เสียงที่ไดยินจากคนบนรถไฟขบวนที่ 2 ทีว่ ง่ิ ดวย
ความเร็ว 15 m/s เมือ่
ก. รถไฟวิ่งเขาหากัน (575 Hz) ข. รถไฟวิ่งออกจากกัน (437.5 Hz)
27
บทที่ 12 เสียง
วิธที าํ

67. รถไฟวิง่ ดวยความเร็ว 30 เมตร/วินาที ในอากาศนิ่งความถี่หวูดรถไฟมีคา 500 Hz


ถาเสียงมีอตั ราเร็ว 330 เมตร/วินาที จงหาความถี่ที่ผูสังเกตไดยินขณะอยูนิ่งเมื่อ
ก. อยูห นารถไฟ (550 Hz ) ข. อยูหลังรถไฟ (458.3 Hz )
วิธที าํ

68. รถไฟวิง่ ดวยความเร็ว 30 เมตร/วินาที ในอากาศนิ่งความถี่หวูดรถไฟมีคา 500 Hz


ถาเสียงมีอตั ราเร็ว 330 เมตร/วินาที จงหาความยาวคลื่นเสียง
ก. เมือ่ อยูห นารถไฟ (0.6 m) ข. เมือ่ อยูห ลังรถไฟ (0.72 m)
วิธที าํ

28
บทที่ 12 เสียง
5.2 คลืน่ กระแทก
ถาแหลงกําเนิดเคลือ่ นทีเ่ ร็วกวาเสียง เรียก
วา Supersonic Speed จะเกิดปรากฏการณดงั รูป
ลักษณะนี้เรียกวา เกิดคลื่นกระแทกขึ้น ซึ่งจะทํา
ใหเกิดเสียงดังมากเหมือนกับระเบิด และเกิดแรง
ดันขึน้ อยางมหาศาล เรียกวา Sonic boom เชน ในกรณีทเ่ี ครือ่ งไอพนบินดวยความเร็วมากกวา
เสียง แรงดันทีเ่ กิดขึน้ นี้ อาจทําใหกระจกหนาแตกได
69. เสียง Sonic boom เปนเสียงทีเ่ กิดจาก
ก. แหลงกําเนิดทัว่ ไปทีห่ ยุดนิง่
ข. แหลงกําเนิดเคลือ่ นทีแ่ ตชา กวาความเร็วคลืน่
ค. แหลงกําเนิดเคลือ่ นทีด่ ว ยความเร็วเทากับเสียง
ง. แหลงกําเนิดเคลือ่ นทีเ่ ร็วกวาความเร็วเสียง (ขอ ง.)

จากรูปของคลืน่ กระแทกจะไดวา
Sin± = VVos = M1 = hx
เมือ่ ± = มุมครึง่ หนึง่ ของยอดกรวยเสียง
Vo = ความเร็วเสียง (m/s)
Vs = อัตราเร็วแหลงกําเนิดเสียง (m/s)
M = เลขมัค คือ จํานวนเทาตัวของความเร็วเสียง
h = ความสูงจากพื้นดินถึงเพดานบิน
x = ระยะจากจุดสังเกตถึงแหลงกําเนิดเสียง ตอนทีไ่ ดยนิ เสียงพอดี

29
บทที่ 12 เสียง
70. เครือ่ งบิน บินดวยอัตราเร็ว 1.5 Mach เหนือระดับพืน้ ดิน 3 km คนจะไดยนิ เสียงเครือ่ งบิน
เมือ่ เครือ่ งบิน บินอยูห า งคนเทาใด (4.5 km)
วิธที าํ

71(En 21) เครือ่ งบิน บินดวยอัตราเร็ว 510 m/s ในแนวระดับ ซึ่งสูงจากพื้น ดิน 6 กิโลเมตร
ชายคนนัน้ ยืนอยูบ นถนนจะไดยนิ เสียงเครือ่ งบิน เมือ่ เครือ่ งบินอยูห า งจากชายผูน น้ั เปนระยะ
ทางกี่กิโลเมตร (กําหนดอัตราเร็วของเสียง = 340 เมตร/วินาที)
ก. 6 ข. 6.7 ค. 9 ง. 12 (ขอ ค)
วิธที าํ

72(En 43/2) เครือ่ งบินความเร็วเหนือเสียงบินในแนวระดับผานเหนือศีรษะชายผูห นึง่ เมื่อเขาได


ยินเสียงของคลืน่ กระแทก เขาจะมองเห็นตัวเครื่องบินมีมุมเงยจากพื้นดิน 30o เครือ่ งบินมี
ความเร็วเทาใดในหนวยเมตร/วินาที ถาอัตราเร็วเสียงในอากาศเปน 345 เมตร/วินาที (690)
วิธที าํ

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

30
บทที่ 12 เสียง
แบบฝ ก หั ด ฟ สิ ก ส บทที่ 12 เสี ย ง
อัตราเร็วเสียง
1. คลื่นเสียงความถี่ 170 เฮิรตซ มีอตั ราเร็วในอากาศ 340 เมตร/วินาที จงหาระยะหางระหวาง
สวนอัดกับสวนขยายที่อยูใกลกันที่สุด ( คือหา ← / 2 นั่นเอง) ( 1 ม.)
2. จงหาอัตราเร็วของเสียงในอากาศ ณ อุณหภูมิ 15o C (340 m/s)
3. ุ หภูมิ 25oC อยาก
แหลงกําเนิดเสียงอันหนึง่ สัน่ ดวยความถี่ 692 Hz วางไวในอากาศทีอ่ ณ
ทราบวาคลื่นเสียงที่ออกจากแหลงกําเนิดนี้จะมีความยาวคลื่นเทาไร (0.5 ม.)
4. ถาเห็นฟาแลบและไดยินเสียงฟารองในเวลา 3 วินาที ตอมา จงหาตําแหนงที่ฟาแลบอยูไกล
เทาไร เมือ่ อัตราเร็วเสียงในอากาศ 340 เมตร/วินาที (1020 ม)
5. เสียงเคลือ่ นทีผ่ า นอากาศบริเวณหนึง่ มีอตั ราเร็ว 342 เมตร/วินาที เมือ่ ผานไปยังอีกบริเวณ
หนึง่ อัตราเร็วเปลี่ยนเปน 348 เมตร/วินาที จงหาวาบริเวณทั้งสองมีอุณหภูมิแตกตางกันกี่องศา
(10oC)
6. ชายคนหนึ่งกําลังวายน้ํา เห็นเรือบรรทุกกําลังจะจม และเห็นแสงไฟจากการระเบิดของเรือ 1
ครัง้ แตปรากฏวาไดยนิ เสียงระเบิดตามมา 2 ครัง้ ในเวลาหางกัน 2.4 วินาที ถาขณะนั้น
อัตราเร็วเสียงในอากาศ 340 เมตร/วินาที และอัตราเร็วเสียงในน้าํ 1496 เมตร/วินาที อยาก
ทราบวาตําแหนงทีเ่ รือจมอยูห า งจากชายคนนัน้ เทาใด (1056 เมตร)
7. เมือ่ เคาะทอเหล็กยาว 1 ครั้งที่ปลายขางหนึ่ง ปรากฏวาผูฟงซึ่งอยูที่ปลายอีกขางหนึ่งของทอ
เหล็กจะไดยินเสียงเคาะ 2 ครัง้ หลังจากเคาะแลวเปนเวลา 0.2 วินาที และ 3 วินาที ตาม
ลําดับ ถาขณะเคาะทอเหล็ก อากาศมีอณ ุ หภูมิ 25o C จงหาความยาวของทอเหล็กและอัตรา
เร็วของเสียงในทอเหล็กขณะนัน้ (1038 เมตร , 5190 m/s)

สมบัตขิ องคลืน่ เสียง


8. เรือลําหนึ่งลอยนิ่งอยูในทะเลไดสงคลื่นสัญญาณเสียงลงไปในน้ําทะเล และไดรบั สัญญาณ
เสียงนั้นกลับมาในเวลา 0.6 วินาที เมือ่ อัตราเร็วของเสียงในน้าํ ทะเลมีคา 1500 เมตร/
วินาที ทะเล ณ บริเวณนีล้ กึ เทาไร (450 เมตร)
9. ชายคนหนึง่ ยืนอยูร ะหวางผา 2 แหง แลวยิงปนออกไป เขาไดยนิ เสียงครัง้ แรก ครัง้ ทีส่ อง
และสามเมือ่ เวลาผานไป 2 และ 3 วินาที นับจากเริม่ ยิง จงหาระยะหาง ระหวางหนาผา
ทั้งสอง ถาความเร็วเสียงในอากาศเปน 340 เมตร/วินาที (850 เมตร)
31
บทที่ 12 เสียง
10. ชายคนหนึ่งอยูหนากําแพงตะโกนเสียงเขาหากําแพง ถาเขาตองการใหเกิดเสียงกองเขาตอง
อยูหางจากกําแพงอยางนอยเทาใด ( ให เสียงมีอตั ราเร็วในอากาศ 340 เมตร/วินาที ) (17 ม)
11. ถาอุณหภูมขิ องอากาศในขณะนัน้ มีคา เทากับ 40 องศาเซลเซียส ชายคนหนึ่งจะไดยินเสียง
สะทอนของเสียงทีเ่ ขาตะโกนออกไป เมือ่ เขายืนหางจากผนังตึกอยางนอยเทาไร (17.75 ม.)
12. เสียงระเบิดใตน้ํา หักเหขึน้ สูอ ากาศโดยมีมมุ ตกกระทบ 30o จงหามุมหักเหที่ออกสูอากาศ ถา
อัตราเร็วเสียงในอากาศและในน้ําเปน 350 และ 1400 เมตร/วินาที ตามลําดับ (sin–1 0.125)
13. เสียงเคลื่อนที่จากบริเวณที่มีอุณหภูมิ 27o C ไปสูบ ริเวณทีม่ อี ณ
ุ หภูมเิ ทาใด จึงทําใหความ
ยาวคลื่นเปน 23 เทาของความยาวคลืน่ เดิม (402oC)

14. ถาอัตราเร็วของเสียงในอากาศขณะหนึง่ เทากับ 340 เมตร/วินาที เสียงแตรรถยนตมคี วาม


ถี่ 68 เฮิรตซ กอนทีร่ ถยนตจะออกจากซอยคนขับรถบีบแตรรถยนตเพือ่ ใหสญ
ั ญาณทําให
คนซึ่งยืนอยูบนทางเทา ณ มุมตึกปากซอยไดยนิ เสียงสัญญาณแตรไดชดั เจนจงประมาณ
ขนาดความกวางของซอย (5 เมตร)
15. คลื่นเสียงหนึ่งผานเขาทางชองหนาตางกวาง 0.8 เมตร ในแนวตัง้ ฉาก ผูฟงที่อยูขางหนา
ตางจะไดยินเสียงชัดเจน ถาขณะนัน้ อุณหภูมขิ องอากาศ 25o C จงหาความถี่ของเสียงนี้
(432.5 Hz)
16. ลําโพงสองตัวหันไปทางเดียวกัน ใหคลื่นความถี่ 680 เฮิรตซและเฟสตรงกัน A เปนจุดๆ
หนึง่ อยูห นาลําโพงทัง้ สอง หางจากลําโพงเปนระยะ 10 เมตรและ 13 เมตร ถาอัตราเร็ว
เสียงในอากาศเทากับ 340 ม./วิ อยากทราบวาจุด A อยูบ นแนวบัพหรือปฏิบพั ทีเ่ ทาใด
(ปฏิบัพที่ 6)
17. S1 และ S2 เปนลําโพงสองตัว วางหางกัน 3 เมตร ในที่โลง Q เปนผูฟ ง อยูห า งจาก S1
5 เมตร และหางจาก S2 4 เมตร เสียงความถี่ต่ําสุดที่หักลางกันทําให Q ไดยินเสียงเบาที่
สุดจะเปนเทาใด ถาอัตราเร็วเสียงในอากาศเปน 340 เมตร/วินาที (170 Hz)

ความเขมเสียง และ ระดับความเขมเสียง


18. แหลงกําเนิดเสียงสงพลังงานดวยอัตรา ° x 10–8 วัตต ผูฟงซึ่งอยูหางจากแหลงกําเนิด 10
เมตร จะไดยินเสียงมีความเขมเสียงเทาใด (2.5x10–11 w/m2)
32
บทที่ 12 เสียง
19. แหลงกําเนิดเสียงที่ใหกําลังเสียง °x10–10 วัตต ผูฟงอยูไกลจากแหลงกําเนิดเสียงมากที่สุด
เทาใดจึงจะไดยินเสียง ( ให ความเขมเสียงต่ําสุดที่ไดยิน = 10–12 วัตต/ตารางเมตร ) (5 ม.)
20. ชายคนหนึ่งขณะอยูหางจากแหลงกําเนิดเสียง อันหนึง่ เปนระยะทาง 10 เมตร วัดความเขม
ของเสียงจากแหลงกําเนิดเสียงนั้นได 10–8 วัตต/ตารางเมตร จงหากําลังเสียงที่สงออกมา
(4°°x10–6 W)
21. ผึ้งตัวหนึ่งกระพือปกทําใหเกิดเสียงมีกําลัง 4° x 10–11 วัตต ถาผึ้งตัวนั้นเกาะอยูที่พื้นแลว
กระพือปกและถือวาพื้นสะทอนเสียงได 100% คนทีย่ นื อยูห า งจากผึง้ อยางนอย เทาใดจึงจะ
ไมไดยินเสียง (4.47 เมตร)
22. แมลงตัวหนึ่งบินหนีในแนวเสนตรงดวยความเร็ว 0.5 เมตร/วินาที จากคนๆ หนึง่ ซึง่ ยืนในทีโ่ ลง
อยากทราบวาคนนัน้ ๆ ไดยนิ เสียงการบินของแมลงนัน้ ไดนานเทาไร ถากําหนดใหวาอัตราที่
พลังงานเสียงซึ่งแมลงนั้นสงออกมาในขณะที่บินมีคา 4° x 10–10 วัตตทั้งนี้ กําหนดใหวาเสียง
เบาที่สุดที่มนุษยอาจไดยินมีความเขมเปน 10–12 วัตต/ตารางเมตร (20 วินาที)
23. บิลลี่อยูหางจากแหลงกําเนิดเสียงอันหนึ่งไดยินเสียงมีความเขม 10–6 วัตตตอ ตารางเมตร
เมือ่ เขาเดินออกไปอีกจนไดยนิ เสียงคอยทีส่ ดุ จึงหยุด อยากทราบวาตอนหลังเขาอยูจ ากแหลง
กําเนิดเสียงเปนกีเ่ ทาของระยะเดิม (100 เทา)
24. ณ ตําแหนงซึง่ อยูห า งจากแหลงกําเนิดเสียงอันหนึง่ วัดคาความเขมเสียงได 10–10 วัตต
ตอตารางเมตร ณ ตําแหนงนี้จะมีคาระดับความเขมเสียงเทาใด (20 dB)
25. ณ จุดซึ่งอยูหางจากแหลงกําเนิดเสียงแหลงหนึ่งมีระดับความเขมเสียง 60 เดซิเบล ณ จุด
นั้นจะมีคาความเขมเสียงเทาใด (10–6 w/m2)
26. จากทีผ่ า นมา ถาจุดนั้นอยูหางจากแหลงกําเนิดเสียง 5 เมตร แหลงกําเนิดสงเสียงดวยกําลังเทาใด
(3.4x10–4W)
27. วางเครือ่ งวัดระดับความเขมเสียงหางจากลําโพง 10 เมตร พบวาระดับความเขมเสียงเทากับ
80 เดซิเบล กําลังเสียงของแหลงกําเนิดเปนเทาใด (° = 3.14) (12.56x10–2 W)
28. ตีกลอง 1 ใบ ไดยินเสียงมีระดับความเขมของเสียง 60 เดซิเบล ถาตีกลองพรอมกัน 100 ใบ
จะไดยินเสียง ณ ตําแหนงเดิมมีระดับความเขมของเสียงเทาใด (80 dB)

33
บทที่ 12 เสียง
29. สีไวโอลิน 1 ตัว วัดระดับความเขมเสียงได 60 เดซิเบล ถาตองการใหไดระดับความเขม
เสียง 70 เดซิเบล ณ ตําแหนงเดิมตองสีไวโอลินพรอมกันกีต่ วั (10 ตัว)
30. แหลงกําเนิดเสียงหนึ่งสงเสียงออกไปทุกทิศทางอยางสม่ําเสมอ ณ ตําแหนงซึ่งหางจากแหลง
กําเนิดเสียง 10 เมตร วัดระดับความเขมเสียงได 60 เดซิเบล จงหาระดับความเขมเสียง
ณ ตําแหนงทีอ่ ยูห า ง จากแหลงกําเนิดเสียง 100 เมตร (40 dB)
31. ในการวัดระดับความเขมเสียงที่ระยะ 10 เมตร จากแหลงกําเนิดเสียงทีเ่ ปนจุดมีคา 80
เดซิเบล ทีจ่ ดุ หางจากแหลงกําเนิดอันเดิมกีเ่ มตร ระดับความเขมเสียงจึงเทากับ 40 เดซิเบล
(1000 เมตร)
32. แหลงกําเนิดใหเสียงมีระดับความเขมเสียง 90 เดซิเบล ผานหนาตางซึ่งมีพื้นที่ 1.5 ตาราง
เมตร จงหากําลังของแหลงกําเนิดเสียง (1.5x10–3 W)
33. เสียงจากแหลงกําเนิด 2 แหลง ที่มายังจุดสังเกตหนึ่งพบวามีความเขมสัมพัทธ 101 จงหา
ผลตางของระดับความเขมเสียงทั้งสอง ณ จุดสังเกตนี้ (ความเขมสัมพัทธ คือ II ∴ ΛI12 )
0 10
(10 dB)
34. นักรองประสานเสียงกลุมหนึ่งมี 40 คน จะสงเสียงมีระดับความเขมเสียง 60 เดซิเบล ที่
จุดหางออกไป 40 เมตร อยากทราบวาถามีนักรองประสานเสียงอีกกลุมหนึ่งมี 60 คน จะ
ใหเสียงมีระดับความเขมเสียงเทาใดที่จุดหางออกไป 60 เมตร (ถาถือวานักรองแตละคน
ใหกําลังเสียงออกมาเทากัน) (58.239 dB)
กําหนด log 2 = 0.3010 log 3 = 0.4771
35. ถาขณะที่อยูหางจากแหลงกําเนิดเสียง 10 เมตร ไดยินเสียงที่มีระดับความเขม 60 เดซิเบล
จงหาระดับความเขมเสียง เมือ่ อยูห า งจากแหลงกําเนิดเสียงนีเ้ ปนระยะ 20 เมตร (54 dB)

บีตส
36. คลื่นเสียง 2 คลื่นมีความถี่ 248 เฮิรตซ และ 252 เฮิรตซ เคลื่อนที่มาพบกันทําใหเกิดการ
รวมกันของคลืน่ ทัง้ สอง จงหา
ก) ความถี่ของเสียงที่ไดยิน ข) จังหวะของการไดยินเสียง ( 250 , FB= 4)
37. ถาตองการใหเกิดเสียงดังเปนจังหวะหางกันทุก 0.25 วินาที จะตองเคาะสอมเสียงความถี่
450 เฮิรตซ พรอมกับสอมเสียงที่มีความถี่เทาไร (446 Hz , 454 Hz)
34
บทที่ 12 เสียง
38. คลื่นเสียงสองคลื่นเคลื่อนที่มาพบกันวัดความถี่ของเสียงได 466 เฮิรตซ และใหเสียงบีตส
4 ครัง้ /วินาที จงหาความถี่ของคลื่นแตละคลื่น (468, 464 Hz)
39. สอมเสียง 3 อัน มีความถี่เทากับ f1 , f2 และ f3 ตามลําดับโดยที่ f1 < f2 < f3 ถาเคาะ
สอมเสียงอันแรกกับอันที่สองพรอมกันทําใหเกิดบีตสมีความถี่ 2 เฮิรตซ แตถา เคาะอันที่
สองกับอันที่สามพรอมกันจะเกิดบีตสมีความถี่ 4 เฮิรตซ ถาเคาะอันที่หนึ่งกับอันที่สาม
พรอมกันจะเกิดบีตสความถีก่ เ่ี ฮิรตซ (6 Hz)
40. สอมเสียงสองอันใหคลื่นเสียงมีความยาวคลื่น 2 เมตรและ 2.05 ตามลําดับ เมื่อเคาะสอมเสียง
ทั้งสองพรอมกันทําใหเกิดบีตส 4 ครัง้ /วินาที จงหาอัตราเร็วของคลื่นเสียง (328 m/s )

คลืน่ นิง่ และ การสัน่ พองของเสียง


41. ลําโพงเสียงอันหนึ่งหันหนาเขาหากําแพงหางจากกําแพงระยะหนึ่งใหสัญญาณเสียงซึ่งมีมี
ความถี่ 340 เฮิรตซ ชายคนหนึ่งอยูระหวางกําแพงกับลําโพงเมื่อออกเดินเขาหากําแพงอยางชาๆ
พบวาจะไดยนิ เสียงดังคอยสลับกันไป จงหาระยะหางของเสียงดังที่อยูใกลที่สุด เมื่ออัตราเร็ว
เสียงในอากาศเปน 340 เมตร/วินาที (0.5 เมตร)
42. จากการทดลองการสั่นพองของเสียง ถาแหลงกําเนิดเสียงมีความถี่ 1000 เฮิรตซและทํา
การทดลองในขณะมีอณ ุ หภูมิ 15o C อยากทราบวาตําแหนงของลูกสูบที่ทําใหเกิดการสั่น
พองของเสียง 2 ครัง้ ตอเนือ่ งกัน จะหางกันอยางไร (0.17 เมตร)
43. ทอปลายเปด 2 ปลายอันหนึ่ง ตัง้ ตรงในแนวดิง่ ปลายลางจุมลงในน้ําลึก 10 เซนติเมตร
สามารถเกิดการสั่นพองของเสียงกับสอมเสียงอันหนึ่งได ถาเลือ่ นใหทอ จมลงในน้าํ อีก 17
เซนติเมตร ปรากฏวาสามารถเกิดการสั่นพองของเสียงกับสอมเสียงเดิมไดอีกครั้งหนึ่ง ถา
อัตราเร็วเสียงขณะนัน้ เทากับ 340 เมตร/วินาที จงหาความถี่ของสอมเสียง (1000 Hz)
44. จากการทดลองปรากฏวา ถาเคาะสอมเสียงซึ่งมีความถี่ 346 เฮิรตซ หนาหลอดเรโซแนนซ
จะเกิดการสัน่ พองของเสียงครัง้ แรกทีร่ ะยะ 25 เซนติเมตร อุณหภูมขิ องอากาศขณะนัน้ กี่
องศาเซลเซียส (25oC)

35
บทที่ 12 เสียง
45. ในการทดลองเรือ่ งการสัน่ พองของเสียง ไดผลการทดลองดังนี้
ความถี่ (kHz) ตําแหนงของลูกสูบขณะเกิดเสียงดังเพิ่มขึ้น X2 – x1 (m)
x1 (m) x2 (m)
1 0.25 0.42
ความเร็วของคลืน่ เสียงในกรณีนค้ี อื (340 m/s)
46. ในการทดลองเรือ่ งการสัน่ พองของเสียง ถาใชสอมเสียงความถี่ 686 เฮิรตซ ในการทดลอง
และอุณหภูมิขณะทดลองเทากับ 20 องศาเซลเซียส ตําแหนงของลูกสูบจากปากหลอด
เรโซแนนซ ขณะเกิดการสัน่ พองครัง้ แรกจะหางจากตําแหนงของลูกสูบขณะเกิดการสัน่ พอง
ครั้งถัดไปเปนระยะเทาใด (0.25 เมตร)

ปรากฏการณดอปเปอร
47. รถไฟสองขบวน แลนสวนทางกันบนรางขนานดวยอัตราเร็วขบวนละ 20 เมตร/วินาที
ในขณะทีเ่ สียงมีอตั ราเร็ว 340 เมตร/วินาที ถาขบวนใดขบวนหนึ่งเปดหวูดมีความถี่เสียง
2000 เฮิรตซ (0.16 เมตร)
ก. ผูฟงอยูในรถไฟอีกขบวนหนึ่งจะไดยินเสียงมีความถี่และความยาวคลื่นเทาใด
ข. ถารถไฟทั้งสองขบวนสวนทางกันไปแลวผูฟงคนเดิมจะไดยินเสียงมีความถี่และความ
ยาวคลื่นเทาใด
48. รถยนตคนั หนึง่ กําลังแลนไปดวยอัตราเร็ว 25 เมตร/วินาที บีบแตรสงเสียงความถี่ 400
เฮิรตซออกมา ผูส งั เกตอยูใ นรถอีกคันหนึง่ ซึง่ กําลังแลนดวยอัตราเร็ว 20 เมตร/วินาที จะได
ยินเสียงแตรมีความถี่เทาใด ถาอัตราเร็วเสียงในอากาศ = 340 เมตร/วินาที)
ก) แลนอยูด า นหนาสวนทางกับรถคันแรก (457.14 Hz)
ข) แลนอยูด า นหนาไปทางเดียวกันกับรถคันแรก (406.35 Hz)
ค) แลนอยูด า นหลังไปทางเดียวกับรถคันแรก (394.52 Hz)
ง) แลนอยูด า นหลังสวนทางกับรถคันแรก (350. 68 Hz)

36
บทที่ 12 เสียง
คลืน่ กระแทก
49. เครือ่ งบินบินดวยอัตราเร็ว 510 เมตร/วินาที ในแนวระดับเหนือพืน้ ดิน 4 กิโลเมตร
ในขณะทีเ่ สียงมีอตั ราเร็วในอากาศ 340 เมตร/วินาที จงหา
ก. เลขมัค (1.5)
ข. มุมระหวางหนาคลืน่ กระแทกกับแนวการเคลือ่ นทีข่ องเครือ่ งบิน (sin–1 23 )
ค. เมือ่ คนทีพ่ น้ื ดินไดยนิ เสียงนัน้ เครือ่ งบินอยูห า งจากคนคนนัน้ เทาไร (6 km)
ง. เมือ่ คนทีพ่ น้ื ดินไดยนิ เสียงนัน้ เครือ่ งบินผานศรีษะไปแลวทํามุมเทาไร (cos–1 23 )
จ. หลังจากเครือ่ งบินผานศรีษะในแนวดิง่ ไปแลวนานเทาไร จึงไดยนิ เสียงของเครือ่ งบิน
50. เรือเร็วลําหนึง่ แลนดวยอัตราเร็ว 30 เมตร/วินาที ในแนวขนานฝง แมนาํ้ หางจากฝง 90
เมตร คนทีอ่ ยูร มิ แมนาํ้ จะสังเกตเห็นคลืน่ จากเรือกระทบฝง เมือ่ เรือแลนผานไปแลว 4 วินาที
จงหาอัตราเร็วของคลืน่ น้าํ (18 m/s)
51. เครือ่ งบินลําหนึง่ กําลังบินในแนวระดับดวยอัตราเร็ว 2 มัด จงหา
ก. มุมระหวางหนาคลืน่ กระแทกกับแนวการเคลือ่ นทีข่ องเครือ่ งบิน ( 30o )
ข. ขณะผูฟ ง ทีพ่ น้ื ดินไดยนิ เสียงเมือ่ เครือ่ งบินผานแนวดิง่ ไปแลวเปนมุมเทาใด ( 60o )
!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!

เฉลยแบบฝ ก หั ด ฟ สิ ก ส บทที่ 12 เสี ย ง (บางข อ )


6. ตอบ 1056 เมตร
วิธที าํ เสียงที่วิ่งมาจากจุดระเบิดถึงหูจะมี 2 เสียง คือ
1. เสียงวิ่งมาในอากาศจะมาถึงชา เพราะความเร็วนอย
v = 340 m/s , t = x
2. เสียงวิ่งมาในน้ําจะมาถึงเร็ว ในเวลานอยกวาในอากาศ 2.4 วินาที
v = 1496 m/s , t = x – 2.4
จาก S = vt
ตอน 1 คิดในอากาศ S = 340 x ⊂!
ตอน 2 คิดในน้าํ S = 1496 (x – 2.4) ⊂"
เอา ! = " จะได 340x = 1496 (x– 2.4)
X = 3.10
37
บทที่ 12 เสียง
สุดทาย แทนคา x ลงในสมการที่ !
จะได S = 340x = 340 (3.10) = 1056 เมตร
นัน่ คือระยะจากจุดระเบิดถึงชายคนนีค้ อื 1056 เมตร
!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!

7. ตอบ 1038 เมตร , 5190 m/s


วิธที าํ ตอน 1 หาความเร็วเสียงในอากาศ
Vอากาศ = 331 + 0.6t = 331 + 0.6(25) = 346 m/s
ตอน 2 เสีงเคาะที่มาถึงหูจะมี 2 เสียงคือ
1. เสียงวิง่ มาในเหล็กจะมาถึงหูกอ นเพราะความเร็วในเหล็กสูงกวาในอากาศ (ใชเวลา 0.2 s )
2 เสียงวิง่ มาทางอากาศจะมาถึงหูทหี ลัง (ใชเวลา 3 วินาที)
หาระยะทางในอากาศ
จาก S = vt = 346(3) = 1038 เมตร
และระยะทางในเหล็กเทากับในอากาศ ก็คือ 1038 เมตร นัน่ เอง
ตอน 3 หาอัตราเร็วเสียงในเหล็ก
จาก v = st = 1038
0.2 = 5190 เมตร / วินาที
!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!

40. ตอบ 328 เมตร/วินาที


วิธที าํ โจทยบอก ←1 = 2 ม. , ←2 = 2.05 ม. , f b = 4 Hz
เนือ่ งจาก ←2 > ←1 ไดวา f1 > f2
จาก fb = f1 – f2
4 = v √ v
!1 !2
4 = v2 √ 2.05 v
4 = 2.05v √ 2v
2 (2.05)
0.05 v = 4 (2) 2.05
ζ v = 328 m/s
!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!

38
บทที่ 13 แสง

ฟ สิ ก ส บทที่ 13 แสง
ตอนที่ 1 การแทรกสอดแสง
ทบทวนการแทรกสอดของคลืน่ น้าํ
สําหรับแนวปฎิบัพลําดับที่ n(An)
⇔S1P – S2P⇔ ⇔ = n← ←
d sin ± = n ←
เมื่อ P คือจุดซึ่งอยูบนแนวปฎิบัพลําดับที่ n(An)
S1P คือ ระยะจาก S1 ถึง P
S2P คือ ระยะจาก S2 ถึง P
← คือ ความยาวคลื่น (m)
n คือ ลําดับที่ของปฎิบัพนั้น
d คือ ระยะหางจาก S1 ถึง S2
± คือ มุมที่วัดจาก A0 ถึง An
1. คลืน่ ชนิดหนึง่ เมือ่ เกิดการแทรกสอดจะเกิดแนว ดังรูป
ก. คลื่นนี้มีความยาวคลื่นเทาใด (0.75 เมตร)
ข. ถาคลื่นนี้มีความถี่ 500 Hz จะมีความเร็วเทาใด (375 m/s)
วิธที ํา

2. คลื่นชนิดหนึ่งเมื่อเกิดการแทรกสอดแนวปฏิบัพที่ 2 เอียงทํามุมจากแนวกลาง 30o


หากแหลงกําเนิดคลื่นทั้งสองอยูหางกัน 9 เมตร
ก. ความยาวคลื่นนี้มีคาเปนเทาใด (9/4 เมตร)
ข. หากคลื่นนี้มีความเร็ว 300 m/s จะมีความถี่เทาใด (133.33 Hz)
วิธที ํา

39
บทที่ 13 แสง
สําหรับแนวบัพลําดับที่ n (Nn)
⇔S1P – S2P⇔⇔= Φn – 12 Γ←
d sin ± = Φn – 12 Γ←
n คือ ลําดับทีข่ องแนวบัพนัน้

3. จากรูป แสดงภาพการแทรกสอดของคลื่นผิวน้ํา ปฏิบัพ


ที่เกิดจากแหลงกําเนิดอําพันธ S1 และ S2 มี
P
P เปนจุดบนเสนบัพ ถา S1P เทากับ 10 เซนติ
เมตร และ S2P เทากับ 7 เซนติเมตร ถาอัตรา
เร็วของคลื่นทั้งสองเทากับ 30 เซนติเมตร ตอ S1 S2
วินาที แหลงกําเนิดทั้งสองมีความถี่เทาใด (5 Hz)
วิธที ํา

การแทรกสอดแสง
ในแนวปฏิบัพ (An) (แถบสวาง)
S 1 P – S2 P = n ←
d sin± = n ←
← = nd Dx
ในแนวบัพ (Nn) (แถบมืด)
S1P – S2P = (n – 12 )←
d sin± = (n – 12 )←
← = d 1x
(n - 2 )D

40
บทที่ 13 แสง
เมือ่ ← = ความยาวคลื่น x = ระยะจากแนวกลางถึงแถบ
n = ลําดับที่ของแถบสวางหรือแถบมืด สวาง หรือ แถบมืดที่ n
d = ความหางชองสลิต D = ระยะจากสลิตถึงฉากรับ
4. เมื่อฉายแสงที่มีความยาวคลื่น 500 nm ตกตั้งฉากบนชองแคบคูหนึ่งซึ่งหางกัน 0.1 mm
จงหาวาแถบสวางลําดับที่ 20 จะเอียงทํามุมกับแถบสวางกลางกี่องศา (sin 6o = 0.1) (6o)
วิธที ํา

5. เมื่อฉายแสงที่มีความยาวคลื่น 700 nm ตกตั้งฉากบนชองแคบคูหนึ่งซึ่งหางกัน 0.2 mm


จงหาวาแถบสวางลําดับที่ 10 ทั้งสองดานจะทํามุมกันกี่องศา (sin 2o = 0.035) (4o)
วิธที ํา

6. ชองแคบคูห นึง่ หางกัน 0.1 mm เมื่อฉายแสงความยาวคลื่น 600 nm ตกตัง้ ฉากบนชอง


แคบ แถบสวางลําดับที่ 4 บนฉากที่หางออกไป 80 cm จะอยูหางจากแนวกลางเทาใด
วิธที าํ (1.92 Cm)

41
บทที่ 13 แสง
7(En 42/1) เมื่อใชแสงที่มีความยาวคลื่น 5.0x10–7 เมตร ตกตั้งฉากกับสลิตคูเกิดภาพ
การแทรกสอดบนฉากทีอ่ ยูห า งออกไป 1.2 เมตร ถาระยะหางระหวางสลิตคูเทากับ
0.1 มิลลิเมตร แถบสวาง 2 แถบที่ติดกันอยูหางกันกี่มิลลิเมตร ( 6 mm)
วิธที ํา

8(En 43/1) ใหแสงทีม่ คี วามยาวคลืน่ 500 นาโนเมตร ผานสลิตคูใ นแนวตัง้ ฉาก เกิดลวดลายการ
แทรกสอดบนฉากทีอ่ ยูห า งจากสลิต 1.5 เมตร วัดระยะระหวางกึ่งกลางของแถบสวาง 2 แถบที่
ถัดกันได 5 มิลลิเมตร สลิตคูน ม้ี รี ะยะหางระหวางชองสลิตเทาใดในหนวยมิลลิเมตร (0.15 mm)
วิธที ํา

9(มช 43) แสงสีเหลืองความยาวคลืน่ 550 นาโนเมตร ตก


ตัง้ ฉากผานสลิตคูอ นั หนึง่ พบวาบนฉากทีห่ า งออกไป 1.5
เมตร แถบสวางลําดับที่ 3 และลําดับที่ 7 อยูห า งกัน 6
มิลลิเมตร ชองทัง้ สองของสลิตคูน อ้ี ยูห า งกันกีไ่ มโครเมตร ( 550 )
วิธที ํา

42
บทที่ 13 แสง
10(En 41) แสงขาวตกตัง้ ฉากกับเกรตติง สเปกตรัมลําดับที่ 3 ของแสงสีมวงตรงกับสเปกตรัม
ลําดับที่ 2 ของแสงสีแดง ถาความยาวคลื่นของแสงสีมวงเปน 440 นาโนเมตร ความยาว
คลืน่ ของแสงสีแดงเปนกีน่ าโนเมตร ( 660 mm)
วิธที ํา

11. เมื่อใหแสงความยาวคลื่น ←1 และ ←2 ผานสลิตคูซึ่งหางกัน d พบวาแถบมืดที่ 4 ของ


แสงความยาวคลื่น ←1 เกิดขึ้นที่เดียวกับแถบมืดที่ 5 ของแสงความยาวคลื่น ←2 อัตราสวน
ของ ←1 / ←2 มีคาเทาใด (9/ 7)
วิธที ํา

12(มช 31) เกรตติง้ มี 2000 เสนตอเซนติเมตร ถาฉายแสงความยาวคลื่นขนาดหนึ่งไปยัง


เกรตติง้ นี้ แถบสวางที่เกิดขึ้นแถบแรกบนจอจะอยูหางจากแนวกลางเปนมุม 30 องศา
แสงนัน้ มีความยาวคลืน่ เทาใดในหนวยนาโนเมตร (ขอ ง.)
ก. 1.5 x 10–6 ข. 2.5 x 10–6 ค. 1.5 x 103 ง. 2.5 x 103
วิธที ํา

43
บทที่ 13 แสง
13(En 36) จากการทดลองเพื่อศึกษาสเปกตรัมของกาซ
ไฮโดรเจน โดยใชเกรตติงซึง่ มีจาํ นวนชอง/เซนติเมตร
เทากับ 4500 ดังรูป พบวาเมื่อระยะ D เทากับ
1 เมตร จะมีแถบสวางสีเดียวกันบนไมเมตรหางจาก
จุด O ทั้งทางดานซายและขวาเทากันคือ 0.3 เมตร
จงหาวาแถบสวางนั้น มีความยาวคลื่นประมาณ
1. 464 nm 2. 565 nm 3. 632 nm 4. 667 nm ( ขอ 4.)
วิธที ํา

14. ฉายแสงที่มีความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร ลงบนเกรตติงทีม่ จี าํ นวนเสน 5000 เสนตอ


เซนติเมตร ระหวางมุม ± = 0o ถึง ± = 90o จะมีตาํ แหนงสวางไดกต่ี าํ แหนง (3)
วิธที ํา

15(มช 36) แสงความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร พุงผานเกรตติงพบวาแนวแถบสวางแถบที่ 4


ทํามุมกับแนวแถบสวางตรงกลางเทากับ 30 องศา จงหาจํานวนชองสลิตตอเซนติเมตร
ของเกรตติงนี้
1. 2000 2. 200 3. 3333 4. 2500 ( ขอ 4.)
วิธที ํา

44
บทที่ 13 แสง
16. สองแสงสีแดงตั้งฉากกับเกรตติงอันหนึ่งปรากฏแถบสวางที่ 1 จะเบนออกจากแนวกลาง
ไปเปนมุม 45 องศา ถานําเกรตติงอีกอันหนึง่ ทีม่ รี ะยะระหวางชองเปน 3 เทาของอันแรก
มาวางแทนแถบสวางที่ 3 จะเบนออกจากแนวกลางเปนมุมกีอ่ งศา (45o)
วิธที ํา

17. ถาฉายแสงความยาวคลื่น 500 และ 600 นาโนเมตร ผานตั้งฉากกับเกรตติงไปยังฉาก จงหา


ลําดับของแสงสีทั้งสองที่ทําใหริ้วสวางซอนกันเปนครั้งแรกจากแนวกลาง
วิธที ํา (6 สีแรกซอน 5 สีสอง)

ทบทวนการเลีย้ วเบนของคลืน่
หลักของฮอยเกนส กลาววา
“ ทุก ๆ จุดบนหนาคลืน่ สามารถประพฤติตัวเปนแหลง
กําเนิดคลื่นใหมได”

45
บทที่ 13 แสง
18. หลักของฮอยเกนสใชอธิบายปรากฎการณใด (ขอ ก)
ก. การเลี้ยวเบน ข. การแทรกสอด ค. การเปลี่ยนเฟส ง. การหักเห
การเลีย้ วเบนแสง
การเลี้ยวเบนของคลื่นใด ๆ จะเกิด
ไดดกี ต็ อ เมือ่ ความกวางของชองแคบมี
ขนาดเล็กกวาความยาวคลื่น (←)
สําหรับคลื่นแสง หากความกวาง
ชองแคบมีขนาดใหญกวาความยาวคลื่น
จะทําใหเกิดแนวมืด เรียกแนวบัพ (N)
สมการเกี่ยวกับการเลี้ยวเบน
ในแนวบัพ (Nn)
d sin ± = n←
← = nD dx

เมือ่ ← = ความยาวคลื่น
n = ลําดับที่ของแถบมืด
d = ความกวางของชองสลิตเดี่ยว
x = ระยะจากแนวกลางถึงแถบมืดที่ n
D = ระยะจากสลิตถึงฉากรับ
19. ฉายแสงผานสลิตเดี่ยวทําใหเกิดแนวมืดแถบแรกเบนไปจากแนวกลางเปนมุม 30o
กําหนดความยาวคลื่น 650 nm จงหาความกวางของชองสลิต ( 1.3 ⊄m)
วิธที ํา

46
บทที่ 13 แสง
20(En 42/2) ใชแสงมีความยาวคลืน่ 400 นาโนเมตร ตก
ตัง้ ฉากผานสลิตเดีย่ วทีม่ คี วามกวางของชองเทากับ 50
ไมโครเมตร จากการสังเกตภาพเลีย้ วเบนบนฉาก พบ
วาแถบมืดแถบแรกอยูหางจากกึ่งกลางแถบสวางกลาง
6.0 มิลลิเมตร ระยะระหวางสลิตเดีย่ วกับฉากเปนเทา
ใดในหนวยเซนติเมตร (75)
วิธที ํา

21. ใชแสงความยาวคลื่น 600 นาโนเมตร ฉายผานสลิตเดี่ยวเกิดแถบมืด – สวาง บนฉากหาง


ออกไป 3 เมตร ระยะหาง ระหวางจุดที่มืดที่สุดสองขางของแถบสวางที่กวางที่สุดเปน
1.5 เซนติเมตร สลิตนั้นกวางเทาใด (2.4x10–4 เมตร)
วิธที ํา

22. แสงสีเดียวความยาวคลื่น 550 นาโนเมตร เคลื่อนที่ผานชองแคบซึ่งกวาง 0.5 มิลลิเมตร


แลวเกิดแถบการแทรกสอดบนฉาก ซึ่งหางจากชองแคบ 1 เมตร แถบมืดทั้งสองขางของ
แถบสวางตรงกลางจะอยูหางกันประมาณเทาใด (2.24x10–3 เมตร)
วิธที ํา

47
บทที่ 13 แสง
23. สลิตเดี่ยววางหางจากฉาก 60 cm ใชแสงความยาวคลื่น 600 nm ทําใหเกิดแถบการเลี้ยว
เบนขึ้นที่ฉากวัดความกวางแถบสวางอันกลางได 0.7 cm จงหาความกวางชองสลิต
วิธที าํ (1.03x10–4 m)

24(En 33) ตองการใหตาํ แหนงริว้ มืดแรกของลวดลายจากการเลีย้ วเบนของสลิตเดีย่ วตรงกับ


ตําแหนงมืดที่ 5 ของริว้ ลวดลายจากการแทรกสอดของสลิตคูร ะยะระหวางสลิตคูต อ งเปน
กี่เทาของความกวางของสลิต
1. 5 2. 72 3. 92 4. 112 (ขอ 3.)
วิธที ํา

25(En 40) ถาตองการใหตาํ แหนงมืดแรกของการเลีย้ วเบนผานสลิตเดียวเกิดตรงกับตําแหนงมืด


ทีส่ ามของริว้ จากการแทรกสอดของสลิตคู อยากทราบวาจะตองใหระยะหางระหวางชอง
สลิตคูเปนกี่เทาของความกวางของสลิตเดี่ยว
1. 23 2. 25 3. 72 4. 92 (ขอ 2.)
วิธที ํา

48
บทที่ 13 แสง

แบบฝ ก หั ด ฟ สิ ก ส บทที่ 13 แสง


การแทรกสอดของแสง
1. เมื่อฉายแสงความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร ลงบนสลิตคู ซึ่งมีระยะหางระหวางสลิตเปน 10
ไมโครเมตร อยากทราบวาจุดทีเ่ กิดการแทรกสอดแบบเสริมกันจุดที่ 2 จะเบนไปจากแนวที่
ฉายแสงเปนมุมเทาใด (sin–1 0.1)
2. สลิดคูหางกัน 1 ไมโครเมตร มีแสงความยาวคลื่น 550 นาโนเมตร ผานในแนวตัง้ ฉาก
จงหามุมทีแ่ ถบมืดแรกเบนออกจากแนวกลาง (sin–1 0.275)
3. ชองแคบคูม รี ะยะหางระหวางชอง 0.1 มิลลิเมตร เมื่อฉายแสงความยาวคลื่น 600 นาโนเมตร
ผานชองแคบคู ปรากฏวาแถบสวางลําดับที่สองบนฉากที่หางออกไป 80 เซนติเมตร จะอยู
หางจากแนวกลางเทาไร (9.6 m m)
4. สลิตคูหางกัน 0.03 มิลลิเมตร วางหางจากฉาก 2 เมตร เมื่อฉายแสงผานสลิต ปรากฏวา
แถบสวางลําดับที่ 5 อยูหางจากแถบกลาง 14 เซนติเมตร ความยาวคลื่นของแสงเปนกี่
นาโนเมตร (420 nm)
5. สลิตคูมีระยะหางระหวางชองสลิตเทากับ 0.40 มิลลิเมตร เมื่อสองดวยแสงสีเดียวและเปน
แสงอําพันธในแนวตั้งฉาก ปรากฏริ้วการแทรกสอดบนฉากที่อยูหางจากสลิต 2.50 เมตร
วัดระยะระหวางแถบสวางลําดับถัดกันไดเทากับ 3.50 มิลลิเมตร แสงนี้มีความยาวคลื่นกี่
นาโนเมตร (560 nm)
6. แสงสีหนึ่ง เมือ่ ผานชองแคบคูซ ง่ึ อยูห า งกัน 0.5 มิลลิเมตร ปรากฏวาแถบสวางที่ 4 และที่ 6
อยูหางกัน 2 มิลลิเมตร บนฉาก ซึ่งอยูหางจากชองแคบคู 1 เมตร จงหาความยาวคลืน่ ของแสงนี้
(500 nm)
7. จากการทดลองเรือ่ งการแทรกสอดของแสงโดยใชสลิตคูพ บวาระยะระหวางริว้ สวางทีอ่ ยูต ดิ
กันเทากับ 0.329 มิลลิเมตร ระยะระหวางชองสลิตเทากับ 0.5 มิลลิเมตร และระยะหาง
ระหวางสลิตคูกับฉากเทากับ 40 เซนติเมตร จงหาความยาวคลืน่ ของแสงในหนวยเมตร
(4.11 x 10–7 m)

49
บทที่ 13 แสง
8. เมื่อใชแสงสีแดงความยาวคลื่น 650 นาโนเมตร ตกตั้งฉากกับสลิตคู เกิดภาพแทรกสอดบน
ฉาก โดยแถบสวาง 2 แถบติดกันอยูหางกัน 0.25 มิลลิเมตร แตถาใชแสงสีมวงความยาว
คลืน่ 400 นาโนเมตร ตกตั้งฉากกับสลิตคูดังกลาว แถบสวาง 2 แถบติดกันจะหางกันกี่มิลลิเมตร
(0.15)
9. ฉายแสงสองคาความถี่ผานตั้งฉากกับสลิตคูไปยังฉากปรากฏวาลําดับที่ 2 ของแสงที่มีความ
ยาวคลื่น 750 nm. ซอนอยูกับลําดับที่ 3 ของแสงสีหนึ่งแลวแสงสีนั้นจะมีความยาวคลื่นกี่
นาโนเมตร (500 nm)
10. เมื่อใหแสงความยาวคลื่น ←1 และ ←2 ผานสลิตคูซึ่งหางกัน d พบวาแถบมืดที่ 4 ของ
แสงความยาวคลื่น ←1 เกิดขึ้นที่เดียวกับแถบมืดที่ 5 ของแสงความยาวคลื่น ←2 อัตราสวน
ของ ←1 / ←2 มีคาเทาใด (917)
11. ในการทดลองเรื่องการแทรกสอดของแสง โดยใชสลิตคู สําหรับแสงสีเดียว A และแสงสี
เดียว B พบวา แถบมืดที่ 5 นับจากแถบสวางกลางออกไปดานขางของแสง A ตกทับแถบ
สวางอันดับที่ 4 ของแสง B พอดี จะหาคาอัตราสวนของความยาวคลืน่ แสง A ตอความยาว
คลื่นแสง B ( 89 )
12. ฉายแสง A และ B ใหผานชองสลิตคูขนานกันไปบนฉากที่อยูหางออกไประยะหนึ่ง
ปรากฏวาริ้วมืดที่สี่ของแสง A อยูซอนพอดีกับริ้วสวางที่หาของแสง B ถาแสง A มีความ
ยาวคลื่น 5.8x10 –7 เมตร แสง B จะมีความยาวคลืน่ เทาใดในหนวยของเมตร
(4.06x10–7 เมตร)
13. เกรตติงมี 10,000 เสนตอเซนติเมตร ถาฉายแสงความยาวคลื่น ← ตกตัง้ ฉากกับเกรตติง
แถบสวางที่เกิดขึ้นแถบแรกบนจอ จะอยูหางจากแนวกลางเปนมุม 30o คา ← มีคาเทาใด
(500 nm)
14. เกรตติงอันหนึง่ ชนิด 4000 ชอง/เซนติเมตร ถาใหแสงมีความยาวคลื่น 600 นาโนเมตร
สองผานจะเห็นแถบสวางบนฉากทั้งหมดกี่แถบ (9 แถบ)
15. เกรตติงชนิด 6000 เสน/เซนติเมตร มีแสงตกผานทําใหเกิดแถบที่สองเบนทํามุม 37o กับ
แถบสวางกลาง ถาระยะหางจากเกรตติงไปยังฉากเทากับ 60 เซนติเมตร จงหาความยาวคลื่น
(500 nm)

50
บทที่ 13 แสง
16. ใชแสงที่มีความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร สองผานเกรตติงอันหนึง่ ทําใหแถบสวางที่ 2
เบนไปเปนมุม 30o จากแนวกลาง จงหาจํานวนชอง/เซนติเมตร ของเกรตติงนี้ (5000)
17. แสงความชวงคลื่น 600 นาโนเมตร พุง ผานเกรตติง พบวาแนวแถบสวางที่ 4 ทํามุมกับแนว
แถบสวางตรงกลางเทากับ 37 องศา จงหาจํานวนชองตอมิลลิเมตรของเกรตติงทีใ่ ชน้ี (250)
18. เมื่อใหลําแสงขนานผานสลิตคูหนึ่ง แสงสีใดตอไปนี้จะใหจํานวนแถบสวางมากที่สุด
1. แสงสีนาํ้ เงิน 2. แสงสีเขียว 3. แสงสีแสด 4. แสงสีแดง (ขอ 1)

การเลีย้ วเบนของแสง
19. เมื่อใหแสงมีความยาวคลื่น 640 นาโนเมตร ผานชองแคบเดีย่ ว และตองการใหแถบมืดแรก
เบนจากแนวกลาง 30o จงหาความกวางของชองแคบนี้ (1.28x10–6 เมตร)
20. แสงความยาวคลื่น 600 นาโนเมตร และ 400 นาโนเมตร ตกกระทบชองสลิตเดี่ยวที่มีความ
กวาง 10 ไมโครเมตรขอบของแถบสวางกลาง 2 แถบจากคลื่นทั้งสองที่เกิดขึ้นบนฉากที่อยู
หางออกไป 1 เมตร จะหางกันกีเ่ ซนติเมตร (2)
21. แสงความยาวคลื่น 550 นาโนเมตร ตกตัง้ ฉากบนสลิตเดีย่ วกวาง 50 ไมโครเมตร เกิด
ภาพการแทรกสอดบนฉากหาง 0.6 เมตร แถบมืดที่สองอยูหางจากแถบมืดที่สี่เทาไร
(1.32x10–2 เมตร)
22. ใชแสงความยาวคลื่น 600 นาโนเมตร ฉายผานสลิตเดี่ยวเกิดแถบมืด–สวาง บนฉากหาง
ออกไป 3 เมตร ระยะหาง ระหวางจุดที่มืดที่สุดสองขางของแถบสวางที่กวางที่สุดเปน
1.5 เซนติเมตร สลิตนั้นกวางเทาใด (2.4x10–4 เมตร)
23. แสงสีเดียวความยาวคลื่น 550 นาโนเมตร เคลื่อนที่ผานชองแคบซึ่งกวาง 0.5 มิลลิเมตร
แลวเกิดแถบการแทรกสอดบนฉาก ซึ่งหางจากชองแคบ 1 เมตร แถบมืดทั้งสองขางของ
แถบสวางตรงกลางจะอยูหางกันประมาณเทาใด (2.24x10–3 เมตร)
24. แสงมีความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร ตกตั้งฉากกับสลิตเดี่ยวที่มีความกวาง 2 ไมโครเมตร
ปรากฏภาพ ชองแคบทีร่ ะยะหางออกไป 10 เซนติเมตร จงหาความกวางของแถบสวางตรง
กลางที่เกิดขึ้น (2.5 cm)

51
บทที่ 13 แสง
25. เมื่อฉายแสงความยาวคลื่น 600 นาโนเมตร ตกตั้งฉากกับสลิตเดี่ยว จะปรากฏภาพการ
แทรกสอดบนฉากที่หางออกไปจากสลิต 1.5 เมตร และแถบสวางกลางกวาง 2 เซนติเมตร
จงหาความกวางของสลิตนีใ้ นหนวยไมโครเมตร (90)

!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!

เฉลยแบบฝ ก หั ด ฟ สิ ก ส บทที่ 13 แสง (บางข อ )


18. ตอบขอ 1.
วิธที าํ จากโจทย d จะคงที่ และ ± = 90 , ← ของแสงแตละสี ตองการหา n มากที่สุด
จาก d sin ± = n←
n = d

ไดวา เมือ่ ←นอยสุด ⊂ n มากที่สุด จากแสงสีทก่ี าํ หนดใหแสงสีนาํ้ เงินมี ←นอยสุด
ζ แสงสีนาํ้ เงินมีจาํ นวนแถบสวางมากทีส่ ดุ
ดังนัน้ แสงสีนาํ้ เงินจะใหจาํ นวนแถบสวางมากทีส่ ดุ
!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!

52
บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ
ฟ สิ ก ส บทที่ 14 แสงและทั ศ น อุ ป กรณ
ตอนที่ 1 การเคลือ่ นทีข่ องแสง
แสงเปนคลื่นตามขวางชนิดหนึ่ง แสงจะเดินทางเปน
เสนตรง ทิศทางของแสงเราอาจใชเสนตรงแทนได เรียก
เสนตรงนีว้ า รังสีของแสง ความเร็วแสงในบรรยากาศเทา
กับ 3x108 เมตรตอวินาที แตในตัวกลางตางชนิดกัน
ความเร็วของแสงอาจมีคาไมเทากันได
1. กําหนดความเร็วแสงในสุญญากาศมีคาเทากับ 3x108 เมตรตอวินาที ดังนั้นในเวลา 1 ป
แสงจะเคลื่อนที่ไดระยะทางกี่เมตร ( 9.46x1015 เมตร )
วิธที าํ

2. กําหนดความเร็วแสงในสุญญากาศมีคาเทากับ 3x108 เมตรตอวินาที ดังนั้นในเวลา 1 นาที


แสงจะเคลื่อนที่ไดระยะทางกี่เมตร ( 1.8 x 1010 )
วิธที าํ

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

ตอนที่ 2 การสะทอนแสง
2.1 กฏการสะทอนของแสง
เมื่อยิงแสงไปตกกระทบผิววัตถุใดๆ เสนปกติ
รังสีตกกระทบ รังสีสะทอน
แสงมักสะทอนออกจากวัตถุนั้นได
กฎการสะทอน มีดังนี้ มุมตก มุมสะทอน
1. รังสีตกกระทบ รังสีสะทอน ″1 ″2
เสนปกติอยูในระนาบเดียวกัน
2. มุมตกกระทบเทากับมุมสะทอน
53
บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ
ขอควรรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับการสะทอนแสง แสงสะทอน
1. ถารังสีตกกระทบตั้งฉากกับผิววัตถุ
แสงตกกระทบ
รังสีสะทอนจะสะทอนยอนแนวเดิมออกมาโดยตลอด
2. หากรังสีสะทอนอยางนอย 2 เสน มาตัดกัน
จะเกิด ภาพของวัตถุตนกําเนิดแสงขึ้น ณ จุดตัดนัน้
ระยะจากวัตถุสูจุดสะทอน เรียก ระยะวัตถุ (S)
ระยะจากภาพสูจุดสะทอน เรียก ระยะภาพ (Sℑ)
และ กําลังขยาย (m) = SSℑ ∴ Yℑ
Y ระยะภาพ Sℑ
เมือ่ Yℑ = ขนาดภาพ Y = ขนาดวัตถุ ระยะวัตถุ S

3. จงเติมคําลงในชองวางใหถกู ตอง
ภาพของวัตถุตน กําเนิดแสงจะเกิดเมือ่ ................................
ระยะวัตถุ (S) คือ ..............................................................
ระยะภาพ (Sℑ) คือ ............................................................
กําลังขยาย (m) หาคาไดจาก .............................................

2.2 กระจก
โดยทัว่ ไปมี 2 ชนิด
1. กระจกราบ
2. กระจกโคง ไดแก โคงเวา และโคงนูน

หลัง 4 นา

กระจกเวา กระจกนูน กระจกราบ

54
บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ

การสะทอนกระจกผิวราบ
รังสีทส่ี ะทอนออกมาจากกระจกราบนัน้
จะไมตดั กันจึงไมเกิดภาพจริงขึน้ แตถา เรา
ตอแนวรังสีถอยออกไปขางหลังกระจก จะ
พบวาเสนสมมติทต่ี อ ออกไปนี้ จะไปตัด
กันไดทจ่ี ดุ จุดหนึง่ การตัดกันของเสน
สมมติน้ี จะทําใหเกิดภาพหลังกระจก เรียก
ภาพนีว้ า ภาพเสมือน
และสําหรับกรณีน้ี S = Sℑ และ y = yℑ เสมอ
ดังนัน้ m = SSℑ = 1
4. ภาพทีเ่ กิดจากกระจกราบ จะเปนภาพ ............. เสมอ ขนาดภาพ กับขนาดวัตถุจะมีขนาด .............
และ ระยะภาพ กับระยะวัตถุ จะมีคา ......... กําลังขยายจะมีคาเทากับ ...................
กระจกโคง
จากรูป จุด C เรียก จุดศูนยกลางความโคง
R R จุด O เรียก จุดใจกลางบนผิวโคง
O C C O เสนตรง CO เรียก เสนแกนมุขสําคัญ
ระยะ CO เรียก รัศมีความโคง (R)
กระจกเวา กระจกนูน
ถาเราใหรงั สีทข่ี นานกับเสนแกนมุขสําคัญ มาตกกระทบ
กระจกเวา จะพบวา รังสีสะทอนจะตัดกันทีจ่ ดุ กึง่ กลาง
ระหวาง C กับ O เสมอ จุดตัดนีเ้ รียก จุดโฟกัส (F)
ระยะหางจาก O ถึง F เรียกวา ความยาวโฟกัส (f)
แตกระจกนูนจะเปนกระจกกระจายแสง เมือ่ ยิงแสงขนาน
กับเสนแกนมุขสําคัญไปตกกระทบกระจกนูน แสงสะทอน
จะกระจายออก ตองลากเสนสมมติตอ ไปขางหลังกระจก
จึงจะไดจดุ โฟกัส และความยาวโฟกัส
ที่สําคัญ f = R2 เสมอ
55
บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ
5. จากรูป จุด C เรียก .............................
จุด O เรียก ............................. R R

เสนตรง CO เรียก ............................. O C C O

ระยะ CO เรียก ………………….


กระจกเวา กระจกนูน
6. หากเราฉายแสงที่มีรังสีขนานกับเสนแกนมุข
สําคัญมาตกกระทบกระเวา แสงสะทอนของ
รังสีขนานเหลานัน้ จะไปตัดกันทีจ่ ดุ ..............
ระยะหางจากใจกลางกระจกถึงจุด F เรียกวา
.......................................
7. กระจกนูนเปนกระจกกระจายแสง แสงสะทอน
ของรังสีขนานจะไมตดั กัน จุดโฟกัสของกระจกนูน
จะเกิดจาก ............................................................
8. จุดโฟกัสจะอยูกึ่งกลางระหวางจุดใจกลางกระจก
กับจุดศูนยกลางความโคงเสมอ ดังนัน้ f = ……
9. รังสีของแสงจากดวงอาทิตยถอื เปนรังสีขนาน ดังนัน้ หากเรานํากระจกเวามารองรับแสง
อาทิตย เมือ่ แสงสะทอนมาตัดกัน จะทําใหเกิดภาพของดวงอาทิตยทจ่ี ดุ .................. ของ
กระจกเวานั้น
10. ถาใชกระจกเวารัศมีความโคง 100 เซนติเมตร รับแสงจากดาวดวงหนึง่ จะไดภาพหาง
จากกระจกเซนติเมตร
ก. 200 ข. 100 ค. 50 ง. 25 (ขอ ค)
วิธที าํ

11. ถากําหนดให R คือรัศมีความโคงของกระจกเวา ถาตองการใหเกิดลําแสงขนานสงออกไป


จากกระจกเวานี้ ควรจะวางหลอดไฟฟาไวทต่ี าํ แหนงใดบนเสนแกนมุขสําคัญของกระจกนี้
1. 2R 2. R 3. R2 4. R4 (ขอ 3)
วิธที าํ
56
บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ
การเกิดภาพโดยกระจกโคง
กระจกเวา

สรุป กระจกเวาสวนมากจะสรางภาพจริงหัวกลับ ยกเวนเมือ่ วัตถุอยูต รงจุดโฟกัส


จะไมเกิดภาพ ถาวัตถุอยูใกลกวาจุดโฟกัส จะสรางภาพเสมือนหัวตัง้ ขนาด
ภาพใหญกวาวัตถุ
กระจกนูน

สรุป กระจกนูนจะสรางแตภาพเสมือนหัวตัง้ ขนาดภาพเล็กกวาขนาดวัตถุ


และระยะภาพสั้นกวา ระยะวัตถุเสมอ

57
บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ
12. ใหเขียนการเกิดภาพโดยกระจกเวา และกระจกนูนตามกรณีตอ ไปนีใ้ หสมบูรณ
กระจกเวา

1. 4.

2. 5.

3.

สรุป

กระจกนูน
สรุป

ชวนสังเกตุ
ถาม กระจกอะไรสรางภาพจริงได ถาม กระจกอะไรสรางภาพเสมือนได
ก. เวา ข. ราบ ค. นูน ง. ถูกทุกขอ ก. เวา ข. ราบ ค. นูน ง. ถูกทุกขอ

ลักษณะของภาพจริงที่เกิดจากการสะทอน ลักษณะของภาพเสมือนที่เกิดจากการสะทอน
1. หัวกลับ 1. หัวตั้ง
2. เกิดหนากระจก 2. เกิดหลังกระจก
3. เอาฉากมาตัง้ รับได 3. เอาฉากมารับไมได แตเห็นไดดวยตาเปลา
58
บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ
13(มช 35) คํากลาวตอไปนีข้ อ ใดเปนจริง
ก. ภาพของวัตถุจริงที่เกิดจากกระจกเวา จะเปนภาพจริงเสมอ
ข. ภาพของวัตถุจริงที่เกิดจากกระจกเวา จะมีขนาดโตกวาวัตถุเสมอ
ค. ภาพของวัตถุจริงที่เกิดจากกระจกนูน จะเปนภาพเสมือนเสมอ
ง. ภาพเสมือนที่เกิดจากกระจกนูน จะมีขนาดโตกวาวัตถุเสมอ (ขอ ค)
14. ขอใดไมถกู ตอง
ก. ภาพจริงหัวกลับ ภาพเสมือนหัวตัง้ ข. ภาพจริงตองใชฉากรับ
ค. ภาพเสมือนโตเทาวัตถุเสมอ ง. ภาพเสมือนไมตอ งใชฉากรับ (ขอ ค)
15. กระจกในขอใดสามารถใหภาพเสมือนที่มีขนาดใหญกวาวัตถุ
ก. กระจกเงาราบ ข. กระจกนูน
ค. กระจกเวา ง. ขอ ข, ค ถูก (ขอ ค)

16. จะตองวางวัตถุหา งจากกระจกเวาอยางไร เราจึงมองเห็นภาพทีเ่ กิดจากกระจกเวาไดเลย


โดยไมตอ งใชฉากรับภาพ
ก. วัตถุอยูหางจากกระจกนอยกวาความยาวโฟกัส
ข. วัตถุอยูหางจากกระจกเทากับความยาวโฟกัส
ค. วัตถุอยูระหวางศูนยกลางความโคงกับโฟกัส
ง. วัตถุอยูที่จุดศูนยกลางความโคง (ขอ ก)
17. ถาวางวัตถุไวที่จุดศูนยกลางความโคงของกระจกเวา ภาพทีเ่ กิดขึน้ เปนอยางไร
ก. ภาพเสมือนขนาดเทาวัตถุ ข. ภาพจริงขนาดเทาวัตถุ
ค. ภาพจริงขนาดเล็กกวาวัตถุ ง. ภาพจริงขนาดโตกวาวัตถุ (ขอ ข)
18(En 43/1) ถาวางวัตถุไวหนาทัศนอุปกรณอยางงายชนิดหนึง่ จะไดภาพจริงหัวกลับขนาด
ขยายใหญกวาวัตถุดังรูป ทัศนอุปกรณอยางงายคือ (ขอ 2)
วั ต ถุ
ทั ศ น –
อุปกรณ
ภาพ
1. กระจกนูน 2. กระจกเวา 3. เลนสนูน 4. เลนสเวา
59
บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ
สูตรที่ใชคํานวณการเกิดภาพโดยกระจกเวา และ กระจกนูน
1 [1 Ι 1
f S Sℵ m = SSℵ [ YYℵ เมือ่ f = ความยาวโฟกัส
S = ระยะวัตถุ
m = sΚf f f = 2R
S = ระยะภาพ
y = ขนาดวัตถุ
เงื่อนไขการใชสมการ y = ขนาดภาพ
1) หากเปนกระจกเวา ตองใช f มีคาเปน + m = กําลังขยาย
หากเปนกระจกนูน ตองใช f มีคาเปน – R = รัศมีความโคงกระจก
2) หากภาพทีเ่ กิดเปนภาพจริง ตองใช S , y , m มีคาเปน +
หากภาพที่เกิดเปนภาพเสมือน ตองใช S , y , m มีคาเปน –
19. วางวัตถุไวหนากระจกเวาอันมีความยาวโฟกัส 5 เซนติเมตร ปรากฏวาเกิดภาพจริงขึน้ ที่
ระยะหางจากกระจก 10 เซนติเมตร จงหาวาวัตถุอยูห า งกระจกกีเ่ ซนติเมตร ( 10 cm)
วิธที าํ

20. วางวัตถุไวหนากระจกนูนอันมีความยาวโฟกัส 10 เซนติเมตร ปรากฏวาเกิดภาพขึ้นที่ระยะ


หางจากกระจก 5 เซนติเมตร จงหาวาวัตถุอยูห า งกระจกกีเ่ ซนติเมตร ( 10 cm )
วิธที าํ

60
บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ
21. วางวัตถุหนากระจกเวาเปนระยะ 10 เซนติเมตร เกิดภาพจริงหนากระจกทีร่ ะยะ 15
เซนติเมตร กระจกมีรัศมีความโคงเทาไร (12 cm)
วิธที าํ

22. วางวัตถุหนากระจกโคงความยาวโฟกัส 40 เซนติเมตร ปรากฏวาใชฉากรับภาพไดที่ระยะ


120 เซนติเมตร หนากระจก จงหาวาวัตถุอยูหางจากกระจกเทาใด และไดขนาดภาพเปนกี่
เทาของขนาดวัตถุ (60 cm , 2 เทา)
วิธที าํ

23. ถาจะใหเกิดภาพหลังจากกระจกนูน 20 เซนติเมตร กระจกนูนมีรศั มีความโคง 60 เซนติ-


เมตร จะตองวางวัตถุหา งจากกระจกนูนเทาไร (60 cm)
วิธที าํ

61
บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ
24. วางวัตถุไวหนากระจกโคง หางกระจก 8 เซนติเมตร เกิดภาพเสมือนหางกระจก 4 เซนติ-
เมตร จงหาความยาวโฟกัส และชนิดของกระจก (–8 cm)
วิธที าํ

25. วัตถุสูง 5 เซนติเมตร อยูห า ง 10 เซนติเมตร จากกระจกเวาซึ่งมีรัศมีความโคง 50 เซนติ-


เมตร จงหาขนาดของภาพ ( 25
3 cm)
วิธที าํ

26(มช 32) ถาวางวัตถุที่มีความสูง 10 เซนติเมตร ไวหนากระจกนูนซึง่ มีรศั มีความโคง


50 เซนติเมตร โดยวางใหหางจากกระจกเปนระยะ 100 เซนติเมตร จงหาความสูงของ
ภาพวามีขนาดกีเ่ ซนติเมตร ( –2 cm)
วิธที าํ

62
บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ
27. วางวัตถุสูง 5 เซนติเมตร ไวหนากระจกโคงเปนระยะ 5 เซนติเมตร ไดภาพเสมือน
ขนาดสูง 3 เซนติเมตร จงหาชนิดของกระจก (กระจกนูน f = 7.5 cm)
วิธที าํ

28. ทันตแพทยถอื กระจกเวารัศมีความโคง 4.0 เซนติเมตร หางจากฟนทีต่ อ งการอุดเปนระยะ


1.0 เซนติเมตร ทันตแพทยจะเห็นฟนในกระจกขยายเปนกี่เทา
1. 2 เทา 2. 3 เทา 3. 4 เทา 4. 5 เทา (ขอ 1)
วิธที าํ

29. กระจกเวา 2 บาน ความยาวโฟกัสแผนละ 10 Cm วางหันหนาเขาหากันหางกัน 30 Cm นํา


วัตถุวางหางกระจกบานหนึ่งระยะ 5 Cm ตําแหนงและชนิดของภาพทีเ่ กิดจากการสะทอน
แสงระหวางกระจกทั้งสอง ใหสะทอนจากบานใกลวัตถุกอน
วิธที าํ (ภาพจริงอยูหนากระจกบาน 2 = 13.33 cm)

63
บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ
30. วัตถุสูง 5 เซนติเมตร วางหางจากกระจกนูน 15 เซนติเมตร กระจกนูนมีรศั มีความโคง 20
เซนติเมตร กระจกราบบานหนึง่ วางหันหนาเขาหากระจกนูน หางจากกระจกนูน 20 เซนติเมตร
จงหาตําแหนงของภาพซึง่ เกิดจากรังสีของแสง ซึ่งสะทอนที่กระจกนูนกอน จากนัน้ สะทอน
ทีก่ ระจกราบ (หลังกระจกราบ 26 cm)
วิธที าํ

31. วางหลอดไฟฟาที่โฟกัสของกระจกเวา ดังรูป


ถานํากระจกเวาอีกบานหนึ่งมารับแสงจากกระจก วัตถุ
F
บานแรก ภาพของหลอดไฟฟานี้จะเกิดขึ้น ณ.
ตําแหนงใด และเปนภาพจริงหรือภาพเสมือน
วิธที าํ

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

ตอนที่ 3 การหักเหของแสง
sin⊗ 1 v1 ↵1 n
กฎของสเนลล sin⊗ 2 = v = = n21 = n2
2 ↵2 1
เมือ่ n1 คือ ดัชนีหกั เหตัวกลางที่ 1 เทียบกับอากาศ เรียกสัน้ ๆ ดัชนีหกั เหของตัวกลางที่ 1
n2 คือ ดัชนีหกั เหตัวกลางที่ 2 เทียบกับอากาศ เรียกสัน้ ๆ ดัชนีหกั เหของตัวกลางที่ 2
** หมายเหตุ : 1. n21 ¬ n2 หรือ n1
2. nอากาศ = 1
64
บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ
32. แสงชนิดหนึ่งมีความยาวคลื่น 450 นาโนเมตร ความเร็ว 3x108 เมตร/วินาที ในอากาศ
เมื่อยิงแสงทะลุลงไปในของเหลวชนิดหนึ่ง ปรากฎวาความยาวคลื่นเปลี่ยนเปน 300 นาโน–
เมตร ความเร็วแสงในของเหลวชนิดนีม้ คี า เทาใด (2x108 m/s)
วิธที าํ

33. แสงสีหนึ่งมีความยาวคลื่น 600 นาโนเมตรในอากาศ และมีอตั ราเร็ว 3x108 เมตร/วินาที


ถาดัชนีหกั เหของแกวเทียบหับอากาศเปน 23 จงหาอัตราเร็วแสงในแกว ( 2x108 m/s)
วิธที าํ

34. จากขอทีผ่ า นมา จงหาความยาวคลืน่ ของแสงในแกว (4x10–7m)


วิธที าํ

35. ดัชนีหกั เหของตัวกลาง A = 3 และ ดัชนีหกั เหของตัวกลาง B = 6 จงหาดัชนีหกั เหของ


ตัวกลาง A เทียบกับ B (0.5)
วิธที าํ

65
บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ
36. จากขอทีผ่ า นมา หากความเร็วแสงในตัวกลาง B มีคาเทากับ 1.2x108 เมตร/วินาที แลว
ความเร็วแสงในตัวกลาง A จะมีคาเทาใด (2.4x108)
วิธที าํ

37. ถาดัชนีหกั เหของน้าํ มีคา 43 และดัชนีหกั เหของน้าํ มัน 3


2 อัตราสวนระหวางอัตราเร็ว
ของแสงในน้ํามันและน้ําเปนเทาใด (8/9)
วิธที าํ

38(En 41/2) แสงความยาวคลื่นในอากาศ 525 นาโนเมตร เมือ่ เคลือ่ นทีผ่ า นไปในแกวทีม่ ดี ชั นี


หักเห 1.50 จงหาความยาวคลื่นแสงในแกว ( ให ดัชนีหักเหของแสงในอากาศ = 1 ) (350 nm)
วิธที าํ

39. ดรรชนีหกั เหของแสงในตัวกลางหนึง่ มีคา 1.5 ดังนัน้ อัตราเร็วของแสงในตัวกลางนัน้ มีคา


เทาไร (กําหนด ดัชนีหกั เหของแสงในอากาศ = 1)
ก. 4.5x107 m/s ข. 1.5x108 m/s ค. 2x108 m/s ง. 2.5x108 m/s (ขอ ค)
วิธที าํ

66
บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ
40. แสงเคลือ่ นทีผ่ า นตัวกลางดวยอัตราเร็ว 2.25x108 เมตร/วินาที อยากทราบวาตัวกลางนี้มี
คาดัชนีหกั เหเทาใด (1.33)
วิธที าํ

41. แสงเคลือ่ นจากของเหลวผานแทงแกวไปสูอ ากาศ


ดังรูป จงหาดรรชนีหกั เหของของเหลว (2) ของเหลว 30o
วิธที าํ
แกว ×

อากาศ

42. จากรูป แสงเดินทางจากตัวกลางที่ 1 ผานตัวกลาง


ที่ 2 ตัวกลางที่ 3 ไปสูตัวกลางที่ 4 โดยผานรอยตอ C 53o (4)
ตัวกลาง A , B , C ซึ่งขนานกัน จงหาดัชนีหกั เห (3)
B
ของของตัวกลางที่ 1 เทียบกับตัวกลางที่ 4 ( 43 ) (2)
A
วิธที าํ 53o
(1)

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

67
บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ
ตอนที่ 4 ปรากฏการณทเ่ี กีย่ วกับแสง
4.1 การสะทอนกลับหมด

อากาศ 80o อากาศ 90o อากาศ


50o
30o 45o

พลาสติก พลาสติก พลาสติก


หากยิงแสงจากตัวกลางที่มีความหนาแนนมากกวา ไปสูต วั กลางทีม่ คี วามหนาแนนนอย
กวา เชน ยิงแสงจากพลาสติกไปสูอากาศ จะเกิดการหักเหซึง่ มุมหักเห จะโตกวามุมตก
กระทบเสมอ ดังรูป และสําหรับมุมตกกระทบที่ทําใหมุมหักเหเปนมุม 90o พอดี มุมตก
กระทบนีจ้ ะเรียก มุมวิกฤติ
และหากมุมตกกระทบมีขนาดโตกวามุมวิกฤตินี้ จะทําใหแสงเกิดการสะทอนกลับเขามา
ภายในตัวกลางที่ 1 ทั้งหมด ไมมกี ารหักเหออกไปอีก เราเรียกปรากฎการณนว้ี า การสะทอน
กลับหมด
43. เมื่อแสงเดินทางจากตัวกลางที่มีความหนาแนนมากกวาสูตัวกลางที่มีความหนาแนนนอยกวา
มุมตกกระทบกับมุมหักเห มุมทีม่ ขี นาดโตกวา คือ ...........................
44. มุมวิกฤติ คือ ...............................................................................................................
45. หากมุมตกกระทบโตกวามุมวิกฤติ จะเกิดปรากฏการณ ............................................
46. ถามุมตกกระทบในของเหลวชนิดหนึ่งเทากับมุมวิกฤติ มุมของหักเหของแสงจะเปนเทาไร (90o)
47(En 37) มุมวิกฤติ δ∉Cε ของแสงที่เดินทางจากแกวซึ่งมี คาดรรชนีหกั เห 1.5 ไปยังน้ําซึ่ง
มีคา ดรรชนีหกั เห 1.3 มีคาเทากับเทาใด (ขอ 3)
1. sin–1(0.65) 2. sin–1(0.76) 3. sin–1(0.87) 4. sin–1(0.92)
วิธที าํ

68
บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ
48. ผลึกใสชนิดหนึ่งมีคาดัชนีหักเห 2 และของเหลวชนิดหนึง่ มีคา ดัชนีหกั เห 43 จงหามุม
วิกฤตระหวางผลึกใสและของเหลวนี้ (sin–1 23 )
วิธที าํ

49(En 38) มุมวิกฤติสาํ หรับสารโปรงใสชนิดหนึง่ ในอากาศ มีคาเทากับ 45 องศา ความเร็ว


แสงในสารโปรงใสนี้มีคาเทาใด ( ให ความเร็วแสงในอากาศ = 3.0x108 m/s )
1. 2.1x108 m/s 2. 2.4x108 m/s 3. 2.7x108 m/s 4. 3.0x108 m/s (ขอ 1)
วิธที าํ

50. มุมวิกฤติสาํ หรับสารโปรงใสชนิดหนึง่ ในอากาศมีคา เทากับ 30 องศา ดัชนีหกั เหของแสง


ในสารโปรงใสนี้มีคาเทาใด ( ให ดัชนีหกั เหแสงในอากาศ = 1) (2)
วิธที าํ

51(En 42/2) มุมวิกฤติตอ แสงในของเหลวชนิดหนึง่ มีคา เทากับ 60 องศา ความยาวคลื่นของ


แสงนัน้ ในของเหลวจะเปนกี่เทาของความยาวคลื่นในอากาศ
1. 22 2. 23 3. 2 4. 12 (ขอ 2)
วิธที าํ

69
บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ
52. แผนตัวกลางโปรงใสสามชนิด ดัชนีหกั เห n1 , n2 และ n3 วางซอนกันดังรูป ใหแสงตก
กระทบในแผนแรกทีม่ ดี ชั นีหกั เห n1 แลวผานตอไปยังแผนที่สองและสามได ถาตองการให
การสะทอนกลับหมดเกิดขึ้นไดเฉพาะที่ผิว CD ดังรูป เทานัน้ ดัชนีหักเหทั้งสามคาจะมี
ความสัมพันธดังขอใด (ขอ 4)
1. n1 > n2 > n3 2. n1 < n2 < n3
3. n1 > n2 < n3 4. n1 < n2 > n3
วิธที าํ

4.2 ความลึกปรากฎ ถาเรามองวัตถุทอ่ี ยูใ นน้าํ เราจะเห็นวัตถุนน้ั อยูต น้ื


ตา กวาความเปนจริง ทั้งนี้เพราะเมื่อแสงสะทอนจากตัวปลา
แลวเดินทางออกจากน้าํ มาเขาตาเราซึง่ อยูใ นอากาศ แสงจะ
ลึกปรากฎ ภาพ เกิดการหักเห แตเนือ่ งจากวาสายตาของคนเราจะมองตรง
เสมอ เราจึงมองเห็นปลาอยูต น้ื กวาทีเ่ ปนจริง
ลึกจริง
และหากเรามองวัตถุตรง ๆ (มองตัง้ ฉากกับผิวน้าํ )
วัตถุ
เราสามารถคํานวณหาความลึกปรากฎไดจาก
ลึกจริง = n1
ลึกปรากฏ n2
เมือ่ n1 คือ ดัชนีหกั เหของตัวกลางที่ 1 ที่แสงอยู
n2 คือ ดัชนีหกั เหของตัวกลางที่ 2 ที่แสงอยู
หากเรามองเอียงทํามุมกับผิวหักเห ใชสมการ
ลึกจริง = n1 cos± 1
ลึกปรากฏ n 2 cos± 2

เมือ่ ±1 คือ มุมตกกระทบในตัวกลางที่ 1


±2 คือ มุมหักเหในตัวกลางที่ 2

70
บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ
53(มช 38) วัตถุอยูในน้ํามีความลึกจริงเปน 4 เมตร เราจะมองเห็นภาพวัตถุนั้นอยูลึกกี่เมตร
(กําหนด ดัชนีหกั เหของน้าํ = 4/3)
ก. 4 ข. 3 ค. 2.67 ง. 2 (ขอ ข)
วิธที าํ

54. นายเอนกยืนอยูบ นสะพานเห็นปลาตัวหนึง่ อยูล กึ 2 เมตร ถามวาตัวจริงของปลาอยูลึกกี่เมตร


(กําหนด ดัชนีหกั เหของน้าํ = 4/3) ( 2.67 )
วิธที าํ

55(มช 31) นกตัวหนึง่ บินอยูใ นอากาศสูงจากผิวน้าํ 3 เมตร คนทีด่ าํ อยูใ ตนาํ้ และมองดูนกตัวนี้
ในแนวเสนปกติจะมองเห็นนกไกลหรือใกลกวาความจริงเทาใด ในหนวยของเมตร
กําหนด n ของน้าํ = 43 (ขอ ข)
ก. ใกลเขามามากกวาความจริง 1.00 ข. ไกลออกไปมากกวาความจริง 1.00
ค. ใกลเขามากกวาความจริง 2.25 ง. ไกลออกไปมากกวาความจริง 2.25
วิธที าํ

71
บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ
56. แทงแกวสี่เหลี่ยมหนา 6 เซนติเมตร มีคา ดัชนีหกั เห 1.5 วางทับกระดาษ อยากทราบวาถา
มองผานแทงแกวนีล้ งไปตรงๆ จะเห็นตัวอักษรบนกระดาษลอยสูงจากกระดาษขึน้ มาเทาไร
วิธที าํ (2 cm)

57(มช 38) มองผานกลองจุลทรรศนเห็นจุดเล็ก ๆ บนโตะชัดเจน แตเมือ่ นําแผนวัตถุใสหนา


1.00 cm มาวางทับจุดดังกลาว ตองปรับเลือ่ นกลองใหหา งโตะจากตําแหนงเดิมไปเปน
ระยะ 0.40 cm โดยที่โฟกัสของกลองจุลทรรศนยังคงเดิม ดัชนีหกั เหของแผนวัตถุนเ้ี ปนเทาใด
1. 1.24 2. 1.40 3. 1.66 4. 2.50 (ขอ 3)
วิธที าํ

4.3 มิราจ
ในบางครัง้ คนซึง่ เดินทางในทะเลทราย จะ
มองเห็นตนไมเปนสองตนพรอมกัน โดยตนไม
ตนหนึง่ คือตนไมปกติ แตอกี ตนหนึง่ จะเปน
ภาพหัวกลับยอดชี้ลงใตพื้นทราย ปรากฏการณ
นีเ้ รียก มิราจ ปรากฏการณนเ้ี กิดขึน้ เนือ่ งจากพืน้
ทรายถูกแดดจัดเผา ทําใหอากาศบริเวณใกลพื้น
ทรายมีอณ ุ หภูมสิ งู และมีความหนาแนนต่าํ แตจดุ
ซึ่งสูงกวาพื้นทรายขึ้นมาเล็กนอย อุณหภูมิจะลดลงอยางมาก ทําใหความหนาแนนอากาศ
บริเวณนีส้ งู ขึน้ จึงเกิดความแตกตางของความหนาแนนของชัน้ อากาศบริเวณนัน้
72
บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ
และเมือ่ แสงอาทิตยสะทอนออกจากยอดไม แสงบางสวนจะพุง ตรงเขาตา ทําใหเห็นยอด
ไมชข้ี น้ึ บนอากาศเปนปกติ แตแสงบางสวนจะพุงลงขางลางแลวเกิดการหักเหตามชั้นอากาศ
ซึง่ มีความหนาแนนตางกันอยูแ ลวยอนขึน้ มาเขาตา และเมื่อสายตามองตรงลงไป จะทําใหเห็น
ยอดไมชี้ลงไปใตพื้นทราย
นอกจากตัวอยางนีแ้ ลว ยังมีปรากฏการมิราจใหเห็นไดอกี เชน การเห็นน้าํ ปรากฏบน
พืน้ ผิวถนนทีร่ อ นทัง้ ๆ ทีถ่ นนแหง หรือ เห็นเรือลอยคว่าํ อยูใ นอากาศเหนือทองทะเลเปนตน
58. จงวาดภาพเพือ่ อธิบายปรากฏการณมริ าจทีเ่ กิดกับเรือลอยลําอยูก ลางทองทะเล

4.4 การกระจายของแสง
แสงขาวของดวงอาทิตยนน้ั จริง ๆ แลว
ประกอบดวยแสงสีตาง ๆ 7 สี คือ มวง
คราม น้าํ เงิน เขียว เหลือง แสด และ แดง
เมือ่ ใหแสงขาวเดินทางผานปริซมึ สีแตละสี
จะเกิดการหักเหไดไมเทากัน
สีแดง มีความยาวคลื่นมากที่สุดจะเกิดการหักเหนอยที่สุด
สีมวง มีความยาวคลื่นนอยที่สุดจะเกิดการหักเหมากที่สุด
สวนสีอื่น ๆ ซึ่งมีความยาวคลื่นไมเทากัน ก็จะเกิดการหักเหไดไมเทากันดวย ลักษณะนี้จะ
ทําใหแสงแตละสีเกิดการแยกออกจากกัน เรียกปรากฎการณนว้ี า การกระจายของแสง

59. ทําไมเมื่อใหแสงสีขาวเชนแสงอาทิตยผานปริซึมแสงสีขาวนั้นถูกกระจายออกเปนสีตาง ๆ กัน


ก. เพราะแสงเดินเปนแสงตรง
ข. เพราะสีภายในวัตถุที่ใชทําปริซึม
ค. เพราะแสงถูกปริซึมดูดคลื่นและปลอยออกมาบางสวน
ง. เพราะแสงแตละสีหักเหไมเทากัน (ขอ ง)
73
บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ
60. เมื่อแสงสีขาวผานปริซึมแสงสีใดมีการเบี่ยงเบนไดมากที่สุด
ก. สีน้ําเงิน ข. สีเหลือง ค. สีมวง ง. สีแดง (ขอ ค)
61. มุมเบี่ยงเบนของแสงสีใดมีคานอยที่สุด
ก. สีแดง ข. สีมวง ค. สีน้ําเงิน ง. สีเขียว (ขอ ก)
62. ปรากฎการณใดไมสามารถเกิดขึ้นไดกับแสงสีเดี่ยว (ขอ ง)
ก. การหักเห ข. การเลีย้ วเบน ค. การแทรกสอด ง. การกระจาย
4.5 รุง กินน้าํ
รุง กินน้าํ มักจะเกิดหลังฝนตก และเกิดใน
ทิศซึ่งตรงกันขามกับพระอาทิตย ทัง้ นีเ้ พราะ
หลังฝนตกในอากาศจะมีละอองน้ําอยูมาก เมือ่
แสงตกกระทบเขาไปในละอองน้ํานี้ จะเกิดการ
สะทอนกลับหมด และหักเหออกมา ทําใหสี
ทั้ง 7 สี ของแสงขาวเกิดการกระจายออกจากัน

รุง กินน้าํ มี 2 ชนิด คือ


1) รุง ทุตยิ ภูมิ
รุง แบบนีจ้ ะเกิดดานบน
จริงๆ แลว แสงสีแดงจะหักเหอยูดานบนสีมวง
แตสีที่มาเขาตาเรากลับเปนสีมวงอยูบนสีแดง ?
2) รุง ปฐมภูมิ
รุง แบบนีจ้ ะเกิดดานลาง
จริงๆ แลว แสงสีมวงจะหักเหอยูดานบนสีแดง
แตสีที่มาเขาตาเรากลับเปนสีแดงอยูบนสีมวง ?

ปกติแลว มักจะเกิดรุง ทัง้ สองชนิดซอนกันอยูใ น


เวลาเดียวกัน

74
บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ
ตอนที่ 5 เลนส
เลนสมีอยู 2 ชนิด คือ เลนสนูน และ เลนสเวา
R R

C/
C/
C O
C O

จุด C , Cℵ = จุดศูนยกลางความโคงของเลนส
จุด O = จุดกลางเลนส
ระยะจาก O ถึง C = รัศมีความโคง (R)
ถาเราใหรังสีที่ขนานกับเสนแกนมุขสําคัญ มา
ตกกระทบเลนสนูน จะพบวา แสงหักเหไปตัดกัน
ที่จุดกึ่งกลางระหวาง C กับ O ฝง ตรงขามเสมอ
จุดตัดนีเ้ รียก จุดโฟกัส (F)
ระยะหางจาก O ถึง F เรียกวา ความยาวโฟกัส (f )
แตเลนสเวา จะเปนเลนสกระจายแสง เมือ่ ยิง
แสงขนานกับเสนแกนมุขสําคัญไปตกกระทบเลนส
เวา แสงหักเหจะกระจายออก ตองลากเสนสมมุติ
ยอนถอยออกมา จึงจะไดจดุ โฟกัส และ ความยาว
โฟกัส
ที่สําคัญ f = R2 เสมอ

63. R R

C/
C/
C O
C O

จากรูป จุด C , Cℵ เรียก ..................................


จุด O เรียก ..................................
ระยะจาก O ถึง C เรียก ..................................
64. จุดโฟกัสของเลนสนนู คือ ....................................................................................................
65. จุดโฟกัสของเลนสเวา คือ ....................................................................................................
75
บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ
การเกิดภาพโดยเลนสบาง
เลนสนนู

สรุป เลนสนูน สวนมากจะสรางภาพจริงหัวกลับ ยกเวนเมือ่ วัตถุอยูต รงจุดโฟกัส


จะไมเกิดภาพ ถาวัตถุอยูใกลกวาจุดโฟกัส จะสรางภาพเสมือนหัวตัง้
ขนาดภาพใหญกวาวัตถุ

เลนสเวา

สรุป เลนสเวา จะสรางแต ภาพเสมือนหัวตัง้ ขนาดภาพเล็กกวาขนาดวัตถุ


และ ระยะภาพสั้นกวา ระยะวัตถุเสมอ

76
บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ
66. จงเขียนการเกิดภาพโดยเลนสเวา และ เลนสนูน ตามกรณีตอ ไปนีใ้ หสมบูรณ
เลนสนนู

1. 4.

2. 5.

3.

สรุป

เลนสเวา

สรุป

ชวนสังเกตุ

ลักษณะของภาพจริงที่เกิดจากการหักเห ลักษณะของภาพเสมือนที่เกิดจากการสะทอน
1. หัวกลับ 1. หัวตั้ง
2. เกิดหลังเลนส 2. เกิดหนาเลนส
3. เอาฉากมาตัง้ รับได 3. เอาฉากมารับไมได แตเห็นไดดวยตาเปลา
77
บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ
68. ลําแสงสีเดียวสองผานเลนส 2 อัน และรังสีเดินทางดังรูป
เลนส I และเลนส II เปนเลนสอะไร
ก. เปนเลนสนนู ทัง้ คู
ข. I เปนเลนสนนู II เปนเลนสเวา I II
ค. I เปนเลนสเวา II เปนเลนสนนู
ง. เปนเลนสเวาทัง้ คู (ขอ ข)
69. รังสีของแสงเบนเขาหากันทีจ่ ดุ A ถานําเลนสไปวางไว
ทีจ่ ดุ B รังสีของแสงนีจ้ ะเบนไปพบกันทีจ่ ดุ C B A C
เลนสที่นําไปวางเปนเลนสชนิดใด อธิบาย

70. ภาพทีเ่ กิดจากเลนสนนู จะมีขนาดเทาวัตถุเมือ่


ก. วางวัตถุไวที่จุดศูนยกลางความโคง ข. วางวัตถุไวทจ่ี ดุ โฟกัส
ค. วางวัตถุไวชิดขอบเลนส ง. วางวัตถุไวที่ระยะไกลมาก ๆ (ขอ ก)

71. ถาวัตถุเคลือ่ นทีจ่ าก 2F ไป F ทางดาน A เมือ่ F ในรูปเปนจุดโฟกัสของเลนส ภาพที่


เกิดขึน้ บนดาน R จะเคลื่อนที่จากที่ใดไปที่ใด (ขอ ข) A
ก. 2F ไป F ข. 2F ไประยะอนันต
2F F F 2F
ค. F ไป 2F ง. F ไปเลนส

72(มช 31) เมือ่ ตองการดูของทีม่ ขี นาดเล็ก เรามักจะใช “แวนขยาย” ซึ่งทําดวยเลนสนูน


เพราะภาพทีเ่ กิดจาก การวางวัตถุไวหนาเลนสนนู นัน้
ก. มีขนาดใหญกวาวัตถุเสมอ
ข. เปนภาพเสมือนเสมอ
ค. เปนภาพจริงหรือ ภาพเสมือนและมีขนาดใหญกวาวัตถุเสมอ
ง. เปนภาพเสมือน ขนาดใหญกวาวัตถุทร่ี ะยะวัตถุชว งหนึง่ (ขอ ง)
73(มช 35) ถาให o เปนจุดกึ่งกลางความหนาของเลนส c เปนจุดศูนยกลางของผิวโคง
F เปนจุดโฟกัส U เปนวัตถุ และ I เปนภาพ อยากทราบวาการเกิดภาพจากเลนส
ในรูปขางลางนี้ รูปไหนถูก (ขอ ข)
78
บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ

สูตรที่ใชคํานวณการเกิดภาพโดยเลนสเวา และ เลนสนนู


1 [ 1s Ι 1 เมือ่ f = ความยาวโฟกัส
f sℵ
s = ระยะวัตถุ
m = ssℑ ∴ yyℑ sℑ = ระยะภาพ
m = s f- f y = ระยะวัตถุ
yℑ = ระยะภาพ
f = R2 m = กําลังขยาย
R = รัศมีความโคง
เงื่อนไขการใชสมการ
1) หากเปนเลนสนนู ตองใช f มีคา เปน +
หากเปนเลนสเวา ตองใช f มีคา เปน –
2) หากภาพทีเ่ กิดเปนภาพจริง
ตองใช sℑ , yℑ , m มีคา เปน +
3) หากภาพทีเ่ กิดเปนภาพเสมือน
ตองใช sℑ , yℑ , m มีคา เปน –

74. วางวัตถุไวหนาเลนสนนู อันมีความยาวโฟกัส 5 เซนติเมตร ปรากฏวาเกิดภาพจริงขึน้ ที่


ระยะหางจากเลนส 10 เซนติเมตร จงหาวาวัตถุอยูห า งเลนสกเ่ี ซนติเมตร ( 10 cm )
วิธที าํ

79
บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ
75. วางวัตถุไวหนาเลนสเวาอันมีความยาวโฟกัส 10 เซนติเมตร ปรากฏวาเกิดภาพขึน้ ทีร่ ะยะ
หางจากกระจก 5 เซนติเมตร จงหาวาวัตถุอยูห า งเลนสเวากีเ่ ซนติเมตร ( 10 cm )
วิธที าํ

76. วางวัตถุหา งเลนสนนู 12 cm ทางยาวโฟกัสเลนสนูน 18 cm จงหาตําแหนงและชนิด


ของภาพทีเ่ กิด (ภาพเสมือนหางเลนส 36 cm)
วิธที าํ

77(มช 45) วัตถุสงู 9.0 เซนติเมตร อยูห า งจากเลนสเวา 27.0 เซนติเมตร ถาเลนสมคี วามยาว
โฟกัส 18.0 เซนติเมตร ขนาดของภาพมีความสูงกีเ่ ซนติเมตร (–3.6 cm)
วิธที าํ

78. วางวัตถุหา งจากเลนส A เปนระยะทาง 15 เซนติเมตร ไดภาพเสมือนขนาดใหญกวาวัตถุ


4 เทา เลนส A ควรจะเปนเลนสชนิดใด มีความยาวโฟกัสเทาไร ( เลนสนูน f = 20 cm )
วิธที าํ

80
บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ
79. เลนสอนั หนึง่ ใหภาพเสมือนขนาด 3/4 เทาของวัตถุในขณะทีว่ ตั ถุอยูห นาเลนส 10 cm.
จงหาวาเลนสนเ้ี ปนเลนสชนิดใด มีความยาวโฟกัสเทาไร ( เลนสเวา f = 30 cm )
วิธที าํ

80. จากรูป จงหาตําแหนงภาพ ถาความยาวโฟกัสเลนสนนู = 30 cm. ของเลนสเวา 50 cm.


20 cm. 40 cm.

วิธีทํา (33 cm ทางซายเลนสเวา)

81(En 29) วัตถุอยูท างดานซายมือของเลนสนนู


วัตถุ
(ความยาวโฟกัส 5 เซนติเมตร) ระยะทาง 10
เซนติเมตร และมีเลนสเวา (ความยาวโฟกัส 10
เซนติเมตร) ทางดานขวามือของเลนสนนู นัน้ 10cm 5cm

ระยะทาง 5 เซนติเมตร ภาพทีเ่ กิดเปนดังดานขาง


81
บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ
ก. ภาพเสมือนอยูท างดานซายมือของเลนสเวาเปนระยะทาง 3.33 เซนติเมตร
ข. ภาพจริงอยูท างดานขวามือของเลนสเวาเปนระยะทาง 10 เซนติเมตร
ค. ภาพเสมือนอยูท างดานขวามือของเลนสเวาเปนระยะทาง 10 เซนติเมตร
ง. ภาพจริงอยูท างดานซายมือของเลนสเวาเปนระยะทาง 10 เซนติเมตร (ขอ ข)
วิธที าํ

โดยทัว่ ไปแลว สายตาของคนปกตินน้ั จะมองเห็นวัตถุไดชดั เจนทีส่ ดุ เมือ่ วัตถุอยูใ นระยะใกล


ทีส่ ดุ คือ 25 เซนติเมตร และไกลทีส่ ดุ คือทีร่ ะยะอนันต ( Infinite ) จากตา
แตสาํ หรับคนสายตายาว หากวัตถุอยูท ร่ี ะยะ 25 เซนติเมตร เขาจะเห็น ไมชดั ( แตอาจมอง
เห็นชัดทีร่ ะยะไกลกวานี้ เชน เห็นชัดเมือ่ วัตถุอยูห า ง 1 เมตร เปนตน ) ดังนัน้ ตองใชแวนตา
เลนสนนู เพือ่ นําวัตถุซง่ึ อยูท ร่ี ะยะ 25
เซนติเมตรนัน้ ไปสรางเปนภาพเสมือน
ตรงจุดใกลทส่ี ดุ ทีเ่ ขามองเห็นไดชดั
และสําหรับคนสายตาสัน้ หากวัตถุ
อยูไกลๆ เขาจะเห็นไดไมชดั ( แตหาก
วัตถุอยูใ กลๆ เชน 5 เมตร อาจเห็นชัด )
ดังนัน้ ตองใชแวนตาเลนสเวา เพือ่ นํา
วัตถุทอ่ี ยูไ กลๆ นัน้ มาสรางเปนภาพ
เสมือนตรงจุดไกลสุดทีเ่ ขา ยังสามารถ
เห็นไดชดั เจน ดังแสดงในรูป

82
บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ
82(En 36) เลนสแวนตาสําหรับคนตายาวทําหนาทีต่ อ ผูใ สแวนนัน้ อยางไร
1. ยายวัตถุทร่ี ะยะ 25 cm จากตาไปไวทร่ี ะยะใกลสดุ ทีต่ าเปลามองเห็นชัด
2. ยายวัตถุทร่ี ะยะ 25 cm จากตาไปไวทอ่ี นันต
3. ยายวัตถุทร่ี ะยะอนันตมาไวทร่ี ะยะใกลสดุ ทีต่ าเปลามองเห็นชัด
4. ยายวัตถุทร่ี ะยะอนันตมาไวทร่ี ะยะไกลสุดทีต่ าเปลามองเห็นชัด (ขอ 1)
ตอบ
83(มช 34) ชายผูห นึง่ สามารถอานหนังสือไดชดั เมือ่ หนังสืออยูห า งจากเขาไมนอ ยกวา
90 เซนติเมตร ดังนัน้ เขาจะตองสวมแวนตาความยาวโฟกัสกี่ cm
ก. 15 ข. 20 ค. 35 ง. 40 (ขอ ค)
วิธที าํ

84. เลนสแวนตาสําหรับคนตาสัน้ ทําหนาทีต่ อ ผูใ สแวนนัน้ อยางไร


1. ยายวัตถุทร่ี ะยะ 25 cm จากตาไปไวทร่ี ะยะใกลสดุ ทีต่ าเปลามองเห็นชัด
2. ยายวัตถุทร่ี ะยะ 25 cm จากตาไปไวทอ่ี นันต
3. ยายวัตถุทร่ี ะยะอนันตมาไวทร่ี ะยะใกลสดุ ทีต่ าเปลามองเห็นชัด
4. ยายวัตถุทร่ี ะยะอนันตมาไวทร่ี ะยะไกลสุดทีต่ าเปลามองเห็นชัด (ขอ 4 )
ตอบ
85. ชายสายตาสัน้ ผูห นึง่ สามารถมองเห็นไดชดั เจนในระยะไกลสุดเพียง 5 เมตร เทานัน้
ดังนัน้ เขาจะตองสวมแวนตาความยาวโฟกัสกี่ cm
ก. 150 ข. 200 ค. 400 ง. 500 (ขอ ง )
วิธที าํ

83
บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ
ตอนที่ 6 ทัศนอปุ กรณ
6.1 เครื่องฉายภาพนิ่ง
หลักการทํางานของเครือ่ งฉายภาพนิง่ เปนเปนตามทีแ่ สดงในแผนภาพตอไปนี้

เนือ่ งจากภาพทีเ่ กิดบนฉาก จะเปนภาพจริงหัวกลับ ดังนัน้ เวลาใสฟล ม จึงตองกลับหัว


ฟลมลงเสมอ
86. เหตุใดเวลาใสฟล ม เครือ่ งฉายภาพนิง่ ตองกลับหัวฟลม เสมอ ................................................
6.2 กลองถายรูป
หลักการทํางานของกลองถายรูป เปนเปนตามทีแ่ สดงในแผนภาพตอไปนี้

นอกจากนีใ้ นกลองถายรูปจะมี
อุปกรณเสริมดังนี้
วงแหวนปรับความชัด ใชปรับ
เลือ่ นเลนสเพือ่ ปรับความ
คมชัดของภาพ
ไดอะแฟรม เปนชองกลมปรับ
ยอขยายขนาดได เพือ่ ปรับแตงปริมาณแสงใหเขามากนอยตามความพอดี
ชัตเตอร เปนแผนทึบแสงคอบกัน้ แสงและปดเปดเมือ่ ตองการถายรูป
หากปริมาณแสงมีมาก ตองปรับความเร็วชัตเตอรใหปด เปดอยางรวดเร็ว
หากปริมาณแสงมีนอ ย ตองปรับความเร็วชัตเตอรใหปด เปดอยางชาๆ
87. ภาพทีเ่ กิดบนฟลม ถายรูปจะเปนภาพ .............................................
88. จงบอกประโยชนของ วงแหวนปรับความชัด .....................................................................
ไดอะแฟรม .......................................................ชัตเตอร ..........................................................
84
บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ

6.3 กลองจุลทรรศน
หลักการทํางานของกลองจุลทรรศน เปนเปนตามทีแ่ สดงในแผนภาพตอไปนี้

ภาพแรกทีเ่ กิดในกลองจุลทรรศนจะเปนภาพจริงหัวกลับ สวนภาพทีเ่ กิดทีเ่ รามองเห็น


จะเปนภาพเสมือนของภาพแรกนัน้ ภาพทีเ่ รามองเห็นจึงเปนภาพหัวกลับเมือ่ เทียบกับวัตถุ
เริม่ ตน และภาพสุดทายนีค้ วรเกิดหางจากตาไมนอ ยกวา 25 Cm เพือ่ ใหมองสบายตา
89. ภาพทีเ่ กิดในกลองจุลทรรศนจะเปนภาพ ..........................................
90. ภาพทีม่ องเห็นจากกลองจุลทรรศนจะเปนภาพ ............... ของภาพทีเ่ กิดตอนแรก
6.4 กลองโทรทัศน
หลักการทํางานของกลองโทรทัศน เปนเปนตามทีแ่ สดงในแผนภาพตอไปนี้

ภาพทีเ่ กิดจากเลนสใกลวตั ถุจะเปนภาพจริงหัวกลับเกิดทีจ่ ดุ โฟกัสของเลนสใกลวตั ถุนน้ั


และเมือ่ ใหภาพนีอ้ ยูใ กลจดุ โฟกัสเลนสใกลตา จะเกิดภาพเสมือนของภาพแรกนี้ แลวเราจะมอง
ดูภาพเสมือนทีเ่ กิดนี้ ดังนัน้ ภาพทีเ่ ห็นจึงเปนภาพหัวกลับเมือ่ เทียบกับวัตถุเริม่ ตน
85
บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ
ความยาวของกลองโทรทัศนจะมีคา ประมาณ ความยาวโฟกัสของเลนสทง้ั สองรวมกัน
ปจจุบนั เราสามารถทําใหภาพเสมือนทีม่ องเห็นเปนภาพหัวตัง้ โดยไสเลนสนนู ตัวที่ 3
แทรกไวระหวางเลนสใกลวตั ถุกบั เลนสใกลตาดังรูป

เนือ่ งจากกลองโทรทัศนจะมีขนาดทีย่ าวมาก


แตหากเราใชปริซมึ เขาชวยจะสามารถลดความยาว
ของกลองไดดงั รูป วิธกี ารเชนนีจ้ ะใชกบั กลองสอง
ทางไกล
91. เลนสไกลวตั ถุของกลองโทรทรรศนทาํ หนาที่ .....................................................................
92. เลนสใกลตาจะสรางภาพ..............ของภาพทีเ่ กิดตอนแรก
93. ความยาวกลองจุลทรรศน จะเทากับ................. ................. ................. ................. ..............
94. เลนสตวั ที่ 3 ทีใ่ สแทรกเขาไปในกลองโทรทรรศน ทําหนาที่ ...........................................
95. ปริซมึ ทีใ่ สแทรกเขาไปในกลองโทรทรรศน ทําหนาที่ ........................................................
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

ตอนที่ 7 ความสวาง
ความสวางบนพืน้ ผิวใด ๆ สามารถคํานวณหาคาได จากสมการ
E = AF หรือ E = I2
R
2
เมือ่ E คือ ความสวาง (ลูเมน/m . Lux)
F คือ อัตราการใหพลังงานแสง หรือ ฟลักซสองสวาง (ลูเมน)
[ ปริ ม าณพลั ง งานแสงที่ ส อ งออกมาจากแหล ง กํา เนิ ด ต อ หนึ่ ง หน ว ยเวลา ]
A คือ พื้นที่รับแสง (m2)
86
บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ
I คือ ความเขมแหงการสองสวาง (แคนเดลลา)
[ ความสามารถในการเปล ง แสงออกจากแหล ง กํา เนิ ด ]
R คือ ระยะจากแหลงกําเนิดแสง วัดมาตั้งฉากกับพื้นที่ (m)
96. หลอดฟลูออเรสเซนต 1 หลอด ใหอตั ราพลังงานแสงได 2700 ลูเมน จงหาความสวาง
บนโตะพืน้ ที่ 5 ตารางเมตร จากหลอดไฟ 2 หลอดเปนเทาไร
ก. 1080 ลักซ ข. 880 ลักซ ค. 640 ลักซ ง. 540 ลักซ (ขอ ก)
วิธที าํ

97(En 37) พลังงานแสงเทากับ 1,000 ลูเมน เมื่อใชไประยะหนึ่งประสิทธิภาพของหลอดใน


การใหพลังงานแสงเหลือเพียง 80% ถาตองการฉายภาพใหมีความสวางเฉลี่ยบนจอ
250 ลักซ ภาพที่ฉายจะมีขนาดใหญมากที่สุดไดกี่ตารางเมตร
1. 2.8 2. 3.2 3. 3.6 4. 4.0 (ขอ 2)
วิธที าํ

98(มช 36) หลอดไฟ 64 วัตต มีความเขมแหงการสองสวาง 36 แคนเดลา ถาตองการความ


สวางบนโตะอานหนังสือ 144 ลักซ จะตองแขวนหลอดไฟสูงจากโตะเปนระยะกี่เมตร
ก. 0.5 ข. 0.67 ค. 1.5 ง. 2.25 (ขอ ก)
วิธที าํ

87
บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ
99(En 41) เครือ่ งฉายภาพยนตรเครือ่ งหนึง่ ใหความสวางเฉลีย่ บนจอ 500 ลักซ เมือ่ ฉายที่
ระยะหางจากจอ 10 เมตร ถาเลือ่ นเครือ่ งฉายไปเปน 1.5 เทาของระยะเดิม ความสวาง
บนจอจะเปนเทาใด
1. 200 lx 2. 220 lx 3. 250 lx 4. 280 lx (ขอ 2)
วิธที าํ

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

ตอนที่ 8 เงามืด เงามัว

88
บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ
100. แหลงกําเนิดแสงเปนดวงไฟกลมรัศมี 5 ซม. อยูหางจากวัตถุทึบทรงกลมรัศมี 3 ซม.
เปนระยะ 2 เมตร จงหาเสนผานศูนยกลางของเงามืดและเงามัวที่ปรากฎบนฉากที่อยูหาง
จากวัตถุออกไป 1 เมตร (4 cm, 14 cm)
วิธที าํ

101. แหลงกําเนิดแสงเปนดวงไฟกลมเสนผานศูนยกลาง 6 เซนติเมตร เมื่อนําวัตถุทึบแสง


ทรงกลมที่มีเสนผานศูนยกลาง 4 เซนติเมตร มากั้นแสงที่ระยะหางจากดวงไฟเปนระยะ
3.5 เมตร จงหาระยะที่จะวางจอไวดานหลังทรงกลมเปนระยะหางอยางนอยเทาไร จึงจะ
ทําใหเกิดเงามัวบนจออยางเดียว และหาขนาดเสนผานศูนยกลางของเงามัวนัน้
วิธที าํ (7 m, 24 cm )

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

89
บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ
แบบฝ ก หั ด ฟ สิ ก ส บทที่ 14 แสงและทั ศ น อุ ป กรณ
การสะทอนแสง และ กระจก
1. กระจกเวาบานหนึง่ มีรศั มีความโคง 40 เซนติเมตร จงหาตําแหนงชนิดและกําลังขยายของ
ภาพเมือ่ วางวัตถุไว ณ ตําแหนงทีห่ า งจากกระจก
ก) ไกลมากๆ ข) 60 ซม. ค.) 40 ซม.
ง) 30 ซม. จ) 10 ซม. ฉ) 20 ซม.
( ก. 20 cm , m = 0 ข. 30 cm , m = 0.5 ค. 40 cm , m = 1
ง. 60 cm, m = 2 จ. –20 cm , m = –2 ฉ. ϒ , m = ϒ )
2. กระจกนูนบานหนึง่ มีรศั มีความโคง 20 เซนติเมตร จงหาชนิด ตําแหนงและกําลังขยายของ
ภาพเมือ่ วางวัตถุไว ณ ตําแหนงทีห่ า งจากกระจก
ก. ไกลมากๆ ข. 40 ซม. ค. 10 ซม.
( ก. –10 cm , m = 0 ข. –8 cm , m = –0.2 ค. –5 cm , m = –0.5 )
3. ถาจะใหเกิดภาพหลังจากกระจกนูน 40 เซนติเมตร กระจกนูนมีรศั มีความโคง 120 เซนติ-
เมตร จะตองวางวัตถุหา งจากกระจกนูนเทาไร (120 cm)
4. วางวัตถุไวหนากระจกโคงหางกระจก 4 เซนติเมตร เกิดภาพเสมือนหางกระจก 2 เซนติ-
เมตร จงหาความยาวโฟกัส และชนิดของกระจก (–4 cm เปนกระจกนูน)
5. วัตถุสูง 10 เซนติเมตร อยูห า ง 10 เซนติเมตร จากกระจกเวาซึ่งมีรัศมีความโคง 40 เซนติ-
เมตร จงหาขนาดของภาพ ( 20 cm)
6. เมือ่ วางวัตถุหนากระจกโคงหาง 25 เซนติเมตร ปรากฎวาไดภาพจริงขนาด 2 เทา ของวัตถุ
บนฉาก จงหาชนิดและรัศมีความโคงของกระจก (กระจกเวา R = 100/3 cm)
7. จงหาชนิดและความยาวโฟกัสของกระจกโคงที่ใหภาพขนาด 14 เทาของวัตถุ เมือ่ วัตถุวาง
หางกระจก 40 เซนติเมตร (กระจกเวา f = 8 cm)
8. กระจกเวา 2 บาน มีรัศมีความโคงบานละ 20 เซนติเมตร วางหันหนาเขาหากันหางกัน
30 เซนติเมตร นําวัตถุสูง 10 เซนติเมตร วางหางกระจกบานแรกเปนระยะ 5 เซนติเมตร
จงหาตําแหนงชนิดและขนาดของภาพทีเ่ กิดจากการสะทอนของแสงระหวางกระจก 2 บาน
ใหสะทอนบานใกลวัตถุกอน (หนากระจกบานที่สอง 40 20
3 cm , ขนาด 3 cm)
90
บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ
9. วัตถุสูง 5 เซนติเมตร วางหางจากกระจกนูน 15 เซนติเมตร กระจกนูนมีรศั มีความโคง 20
เซนติเมตร กระจกราบบานหนึง่ วางหันหนาเขาหากระจกนูน หางจากกระจกนูน 20 เซนติเมตร
จงหาตําแหนงของภาพซึง่ เกิดจากรังสีของแสง ซึ่งสะทอนที่กระจกนูนกอน จากนัน้ สะทอน
ทีก่ ระจกราบ (หลังกระจกราบ 26 cm)

การหักเหของแสง และปรากฏการณทเ่ี กีย่ วกับการสะทอนแสง


10. แสงเคลื่อนที่จากตัวกลาง A ไปยังตัวกลาง B มีมุมตกกระทบ 30o และมีมุมหักเหเปน
37o จงหาดัชนีหกั เหของตัวกลาง B เทียบกับตัวกลาง A ( 65 )

11. ถาดัชนีหกั เหของน้าํ และแกวเปน 43 และ 23 ตามลําดับ จงหาดัชนีหกั เหของน้าํ เทียบ


กับแกวมีคาเทาใด ( 89 )

12. แสงเคลื่อนที่จากตัวกลาง (1) ซึง่ มีดชั นีหกั เห 23 ไปยังตัวกลาง (2) ซึง่ มีดชั นีหกั เห 65
ดวยมุมตกกระทบ 30o จงหามุมหักเหในตัวกลาง (2) (sin–1 85 )

13. แสงสีหนึ่งมีความยาวคลื่น 600 นาโนเมตรในอากาศ และมีอตั ราเร็ว 3x108 เมตร/วินาที


ถาดัชนีหกั เหของแกวเปน 23 จงหาความถีอ่ ตั ราเร็ว และความยาวคลื่นของแสงในแกว
(2x108 m/s , 4x10–7m)
14. แสงเคลือ่ นทีผ่ า นตัวกลางดวยอัตราเร็ว 2.25 x 108 เมตร/วินาที อยากทราบวาตัวกลางนี้มี
คาดัชนีหกั เหเทาใด (1.33)
15. ดัชนีหกั เหของแกวมีคา 1.5 จงหาอัตราเร็วของแสงในแกวเปนเทาใด (2x108 m/s )
16. ถาเพชรมีดชั นีหกั เห 2.42 มุมวิกฤตของเพชรจะมีคาเทาใด (sin–1 0.413)
17. ผลึกใสชนิดหนึ่งมีคาดัชนีหักเห 2 และของเหลวชนิดหนึง่ มีคา ดัชนีหกั เห 43 จงหามุม
วิกฤตระหวางผลึกใสและของเหลวนี้ (sin–1 23 )

18. เมือ่ แสงเคลือ่ นทีจ่ ากแกวดัชนีหกั เห 23 สูอากาศ จงหามุมตกกระทบที่ทําใหแสงเกิดการ


สะทอนกลับหมดในแกว (sin–1 23 )

91
บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ
19. อากาศ จากรูป แสงเคลื่อนที่จากผลึกใสไปสูของเหลว
แลวเคลือ่ นทีต่ อ ไปยังอากาศ ทําใหเกิดมุมวิกฤต
ของเหลว จงหาดัชนีหกั เหของผลึกใส (2)
60o o
30
ผลึกใส
20. จากรูป แสงเดินทางจากตัวกลางที่ 1 ผานตัวกลาง
C 53o (4) ที่ 2 ตัวกลางที่ 3 ไปสูตัวกลางที่ 4 โดยผานรอย
B (3) ตอตัวกลาง A, B, C ซึ่งขนานกัน จงหาดัชนีหกั เห
(2) ของตัวกลางที่ 1 เทียบกับตัวกลางที่ 4 ( 43 )
A
53o
(1)
21. ปลาตัวหนึ่งวายอยูในน้ําลึก 1 เมตร และมีแมลงวันอีกตัวหนึง่ บินอยูเ หนือน้าํ หาง 1 เมตร
เชนกัน ถาแมลงวันบินอยูเ หนือตัวปลาพอดี อยากทราบวาแมลงวันมองเห็นปลาอยูลึกจากผิว
น้ําเทาไร และปลามองเห็นแมลงวันอยูหางจากผิวน้ําเทาไร ถาดัชนีหกั เหของน้าํ เทากับ
( 43 , 43 เมตร)
22. ชายคนหนึง่ อยูบ นเรือ มองลงตรงๆ ในน้ําเห็นปลาอยูลึกจากผิวน้ํา 27 เซนติเมตร ซึ่งพบวา
ผิดความจริงไป 9 เซนติเมตรจงหาดัชนีหกั เหของน้าํ ( 43 )

23. แทงแกวสี่เหลี่ยมหนา 6 เซนติเมตร มีคา ดัชนีหกั เห 1.5 วางทับกระดาษ อยากทราบวาถา


มองผานแทงแกวนีล้ งไปตรงๆ จะเห็นตัวอักษรบนกระดาษลอยสูงจากกระดาษขึ้นมาเทาไร
(2 cm)
เลนส
24. เลนสนูนความยาวโฟกัส 10 เซนติเมตร เมือ่ วางวัตถุสงู 5 เซนติเมตร ไวหางจากเลนส 15
เซนติเมตรจงหาชนิดตําแหนงและขนาดของภาพ (ภาพจริงอยูหลังเลนส 30 cm,สูง 10 cm)
25. เลนสเวามีความยาวโฟกัส 20 ซม. จะตองวางวัตถุไวทต่ี าํ แหนงใดจึงจะใหภาพมีขนาด 14
เทาของวัตถุ (60 cm)
26.วางวัตถุไวหนาเลนสเวาหางจากเลนส 15 เซนติเมตร เกิดภาพหางจากเลนส 10 เซนติเมตร
จงหาความยาวโฟกัสของเลนสเวา (30 cm)

92
บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ
27. เลนสนูน 2 อัน ความยาวโฟกัสอันละ 10 เซนติเมตร วางหางกัน 35 เซนติเมตร อยูบน
แกนมุขสําคัญเดียวกัน วัตถุสูง 5 เซนติเมตร วางอยูหนาเลนสทั้งสอง และอยูหางจากเลนส
อันใกล 15 เซนติเมตร จงหาตําแหนงชนิดและขนาดของภาพทีเ่ กิดจากแสงหักเหผานเลนส
ทั้งสองแลว (ภาพเสมือนสูง 10 cm อยูห นาเลนส L2 หาง 10 cm)
28. เลนสนูนและเลนสเวาความยาวโฟกัสเทากัน 20 เซนติเมตร วางอยูในแนวแกนมุขสําคัญ
เดียวกันและหางกัน 30 เซนติเมตร วัตถุวางอยูห นาเลนสนนู หาง 40 เซนติเมตร จงหาชนิด
ตําแหนงและกําลังขยายของภาพ (ภาพจริงขยาย 2 เทา หลังเลนสเวา 20 cm)
ทัศนอุปกรณ
29. กลองสองพระอันหนึ่งมีความยาวโฟกัส 5 เซนติเมตร ตองการสองดูพระสมเด็จใหเห็น
ภาพชัดที่สุดตองวางพระหางจากเลนสของกลองสองเทาไร และจะเห็นภาพมีกําลังขยายกี่เทา
(6 เทา)
30. เครื่องฉายสไลด ขนาด 2.5 x 3.5 เซนติเมตร ใหภาพปรากฏชัดเจนบนจอภาพซึง่ หางออกไป
5 เมตร โดยเลนสฉายภาพ มีความยาวโฟกัส 25 เซนติเมตร จะไดภาพมีขนาดขยายเทาไร
และภาพมีพื้นที่เทาไร (ขยาย 19 เทา, พื้นที่ = 3158.75 cm2)

ความสวาง
31. หลอดฟลูออเรสเซนต 1 หลอด ใหอตั ราพลังงานแสงได 2500 ลูเมน จงหาความสวาง
บนโตะพืน้ ที่ 5 ตารางเมตร จากหลอดไฟ 4 หลอดเปนเทาไร (2000 ลักซ)
32. พลังงานแสงเทากับ 1000 ลูเมน เมื่อใชไประยะหนึ่งประสิทธิภาพของหลอดใน การใหพลัง
งานแสงเหลือเพียง 60% ถาตองการฉายภาพใหมีความสวางเฉลี่ยบนจอ 300 ลักซ ภาพที่
ฉายจะมีขนาดใหญมากทีส่ ดุ ไดกต่ี ารางเมตร (2 )
33. หลอดไฟ 64 วัตต มีความเขมแหงการสองสวาง 36 แคนเดลา ถาตองการความสวางบน
โตะอานหนังสือ 144 ลักซ จะตองแขวนหลอดไฟสูงจากโตะเปนระยะกี่เมตร
ก. 0.5 ข. 0.67 ค. 1.5 ง. 2.25 (ขอ ก)
34. เครือ่ งฉายภาพยนตรเครือ่ งหนึง่ ใหความสวางเฉลีย่ บนจอ 300 ลักซ เมื่อฉายที่ระยะหาง
จากจอ 5 เมตร ถาเลือ่ นเครือ่ งฉายไปเปน 2 เทาของระยะเดิม ความสวางบนจอจะเปน
เทาใด ( 75 ลักซ)
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

93
บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ
เฉลยแบบฝ ก หั ด ฟ สิ ก ส บทที่ 14 แสงและทั ศ น อุ ป กรณ (บางข อ )
29. ตอบ 6 เทา
วิธที าํ เมือ่ เห็นภาพชัดทีส่ ดุ แสดงวาระยะภาพ (sℵ) = –25 cm (ภาพเสมือน)
โจทยตอ งการหาระยะวัตถุ (s)
จาก 1f = 1s + 1
sℵ
1s = 1 – 1
f sℵ
1s = 1 + 1
5 25
s = 256 = 4.17 cm
และ m = ssℵ
25
= 4.17
= 6 เทา
ดังนัน้ ตองวางพระหางจากเลนส 4.17 ซม. และเห็นภาพมีกาํ ลังขยาย 6 เทา
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

30. ตอบ 19 เทา , พืน้ ที่ 3158.75 ตารางเซนติเมตร


วิธที าํ ตองการหากําลังขยาย (m) ตองรู sℵ , s จากโจทยรู sℵ = 5 m. ตองหา s กอน
จาก 1 = 1s + 1
f sℵ
1s = 1 – 1
f sℵ
1s = 1 – 1
25 500
1s = 20 Κ 1
500
s = 500
19
จาก m = ssℵ
กําลังขยาย = 500
500 x 19 = 19 เทา
พืน้ ทีภ่ าพทีป่ รากฎบนจอ = (2.5 x 19) x (3.5 x 19)
= 3158.75 cm2
ดังนัน้ ภาพมีขนาดขยาย 19 เทา และภาพมีพน้ื ที่ 3158.75 ตารางเซนติเมตร
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

94
บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
ฟ สิ ก ส บทที่ 15 ไฟฟ า สถิ ต ย
ตอนที่ 1 กฏของคูลอมบ!
กฏแรงดึงดูดระหวางประจุของคูลอมบ
! # เมื่อประจุไฟฟา 2 ตัวอยูห
 า งกันขนาดหนึง่ จะมีแรงกระทําซึ่งกันและกันเสมอ !
! ! หากเปนประจุชนิดเดียวจะมีแรงผลักกัน หากเปนประจุตา งชนิดกันจะมีแรงดึงดูดกัน$!
แรงกระทําที่เกิดหาคาไดจาก
!

KQ1Q2
F =
R2
! ! เมือ่ ! ! ! F = แรงกระทํา (นิวตัน)
K = คาคงที่ของคูลอมบ = 9 x 109 N.m2 /c2! ! !
Q1 , Q2 = ขนาดของประจุตวั ที่ 1 และตัวที่ 2 ตามลําดับ (คูลอมบ)
R = ระยะหางระหวางประจุทั้งสอง (เมตร)
1. จากรูปใหหาแรงกระทําระหวางประจุทั้งสองนี้
วิธที าํ ( 0.01 N )
!

2. ประจุ +5.0 x 10–5 C และ –2.0 x 10–5 C วางอยูหางกัน 1 เมตร จะมีแรงดูดกัน หรือ
ผลักกันกี่นิวตัน ( แรงดูดกัน 9 นิวตัน )
วิธที าํ

! "!
บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
3. ประจุขนาด A คูลอมบ และ 1.0 x 10–5 คูลอมบ วางอยูหางกัน 3 เมตร จะมีแรงกระทํา
ตอกัน 1 นิวตัน จงหาวาประจุ A เปนประจุขนาดกี่คูลอมบ (1.0x10–4 )
วิธที าํ

4. แรงผลักระหวางประจุทเ่ี หมือนกันคูห นึง่ เปน 27 นิวตัน จงหาขนาดของแรงผลักระหวาง


ประจุคนู ้ี ถาระยะหางของประจุเปน 3 เทาของเดิม ( 3 N)
วิธที าํ

5. ประจุคูหนึ่งวางใหหางกันเปน 2 เทาของระยะเดิม แรงกระทําระหวางประจุในตอนหลัง


จะมีคา เปนกีเ่ ทาของตอนแรก ( 1/4 เทา)
วิธที าํ

6. ลูกพิธ 2 ลูกวางหางกัน 8 ซม. จะเกิดแรงผลักกันคาหนึ่ง ถาเพิ่มประจุลูกหนึ่งเปน 2 เทา


และอีกลูกหนึ่งเปน 3 เทา จะตองวางลูกพิธทั้งสองหางกันเทาใด จึงจะเกิดแรงกระทําเทาเดิม
วิธที าํ ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ( 8 6 ซม.)!

! %!
บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
กรณีที่โจทยไมบอกประจุ มาให เราอาจหาคาประจุนั้น ๆ ไดจาก
Q=ne
เมือ่ n = จํานวนอิเลคตรอน
e = ประจุอเิ ลคตรอน 1 ตัว = 1.6 x 10–19 คูลอมบ
7. กอนโลหะ 2 กอน มีระยะหางระหวางจุดศูนยกลางของโลหะทั้งสองเปน 3 เมตร ในกอน
โลหะแตละกอนมีอเิ ล็กตรอนอิสระอยู 1x1015 ตัว จงหาขนาดแรงผลักที่เกิด ( 25.6N )
วิธที าํ

8. กอนทองแดง 2 กอน วางหางกัน 3 เมตร แตละกอนมีอเิ ล็กตรอนอิสระอยู 5 x 1014 ตัว


จงหาขนาดของแรงผลักทีเ่ กิดขึน้ ในหนวยนิวตัน
ก. 1.4 ข. 2.4 ค. 4.4 ง. 6.4 (ขอ ง)
วิธที าํ

9. ทรงกลมเล็ก ๆ 2 อัน เปนกลางทางไฟฟา และวางอยูหางกัน 0.5 เมตร สมมติวา อิเล็กตรอน


3.0 x 10+13 ตัว หลุดออกจากทรงกลมหนึ่งและไปอยูที่อีกทรงกลมหนึ่ง (a) จงหาขนาด
ของแรงที่เกิดกับทรงกลมแตละอัน (b) แรงทีเ่ กิดขึน้ เปนแรงดูดหรือแรงผลัก
วิธที าํ ( เปนแรงดูด 0.83 N )

! &!
บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
10. จากรูป จงหาแรงลัพธที่ B = +1 x 10–5 C!
กระทําตอประจุ B A = +6 x 10–5 C! C = −5 x 10–5 C!
( 1.1 N )
3 ม.! 3 ม.!
วิธที าํ

11. จากรูป จงหาแรงลัพธที่


กระทําตอประจุ B A = −6 x 10–5 C! B = +1x10–5 C! C = −5 x 10–5 C!
( 0.1 N )
3 ม.! 3 ม.!
วิธที าํ

12. ประจุ +5.0 x 10–6 C และ –3.0 x 10–6 C วางอยูหางกัน 20 เซนติเมตร ถานําประจุ
ทดสอบขนาด +1.0 x 10–6 C มาวางไวที่จุดกึ่งกลางระหวางประจุทั้งสองขนาด และมี
ทิศทางของแรงที่กระทําตอประจุทดสอบคือ
ก. 0.72 นิวตัน และมีทิศชี้เขาหาประจุลบ
ข. 1.8 นิวตัน และมีทิศเขาหาประจุบวก
ค. 7.2 นิวตัน และมีทิศเขาหาประจุลบ
ง. 7.2 นิวตัน และมีทิศเขาหาประจุบวก (ขอ ค)
วิธที าํ

! '!
บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
13. จากรูป จงหาแรงลัพธที่กระทําตอประจุ B
C = +3 x 10–5 C!
วิธที าํ (5 N)
3 ม.!
A = −4 x 10–5 C!
B = +1 x 10–4 C!
3 ม.!

14(มช 34) สามเหลี่ยมดานเทารูปหนึ่งมีความยาวดานละ 30 เซนติเมตร และที่แตละมุมของ


สามเหลี่ยมนี้ มีจดุ ประจุ +2 , –2 และ +5 ไมโครคูลอมบ วางอยู อยากทราบวาขนาด
ของแรงไฟฟาบนประจุ +5 ไมโครคูลอมบมีคากี่นิวตัน (1 นิวตัน)!
วิธที าํ

!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

! (!
บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
ตอนที่ 2 สนามไฟฟา
สนามไฟฟา (E) คือ บริเวณรอบ ๆ ประจุซึ่งจะมีแรงทางไฟฟาแผออกมา !
ตลอดเวลา สนามไฟฟาเปนปริมาณเวกเตอร!
ทิศทางของสนามไฟฟา กําหนดวา!
! สําหรับประจุบวก สนามไฟฟามีทิศออกตัวประจุ!
! สําหรับตัวประจุลบ สนามไฟฟามีทิศเขาตัวประจุ!
!
!
! ! !
!

15. ถา +Q และ –Q เปนประจุตน กําเนิดสนามโดยที่ +q และ –q เปนประจุทดสอบ รูปใด


แสดงทิศของ F และ E ไมถูกตอง

ก. ข.
!

ค. ง.
!

! ! จ.! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! (ขอ จ)

ขนาดความเขมสนามไฟฟาหาคาไดจาก!
! ! ! ! ! E = KQ2
R
เมือ่ E คือ ความเขมสนามไฟฟา (N/C , V/m) K = 9 x 109 N. m2 / C2
Q คือ ขนาดของประจุตน เหตุ (C) R คือ ระยะหางจากประจุตน เหตุ (m)
16. จากรูป จงหาวาสนามไฟฟาของประจุ +2x10–3 คูลอมบ Q = +2 x 10–3 C!
ณ.จุด A จะมีความเขมกี่นิวตัน/คูลอมบ และ มีทิศไปทาง A
*!
ซายหรือขวา ( 2x106 N/C ไปทางขวา) 3 ม.!
วิธที าํ

! )!
บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
17. จากรูป จงหาวาสนามไฟฟาของประจุ –4x10–3 คูลอมบ
Q = −4 x 10–3 C!
ณ.จุด A จะมีความเขมกี่นิวตัน/คูลอมบ และ มีทศิ ขึน้ หรือ
1 ม.!
ลง (36x106 N/C มีทิศขึ้น)
*!A
วิธที าํ

18. จากรูปที่กําหนดให จงหาวาสนาม


A = +4 x 10–9 C! B = −3 x 10–9 C!
ไฟฟาลัพธที่จุด X มีขนาดเทาใด X
3 ม.! *!
วิธที าํ ( 7 N/C ) 3 ม.!

19(มช 44) ประจุบวก q1 = 2 ไมโครคูลอมบ วางหางจาก ประจุลบ q2 = –2 ไมโครคูลอมบ


เปนระยะ 6 เมตร สนามไฟฟาที่ตําแหนงกึ่งกลางระหวาง 2 ประจุน้ี ในหนวยของ N/C
มีคาเปนเทาใด
1. –2 x103 2. 0 3. 2 x 103 4. 4 x103 (ขอ 4)
วิธที าํ

! *!
บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
20. จากรูปที่กําหนดให จงหาวาสนามไฟฟาลัพธ A = +4 x 10–9 C!
ทีจ่ ดุ X มีขนาดเทาใด X
3 ม.! *!
วิธที าํ ( 5 N/C )
3 ม.!

B = −3 x 10–9 C!

21. จงหาความเขมสนามไฟฟาที่จุด B ในรูปที่กําหนด +5 µC –3.6 µC


( กําหนด cos 127o = –0.6 ) 8 cm
37o
วิธที าํ (7.26x106 N/C) 6 cm
10 cm
53o
B

22. ประจุ q1 , q2 มีขนาดเทากันอยูหางกัน 0.1 m สนามไฟฟา ณ จุดกึ่งกลางระหวางประจุ


ทั้งสองมีทิศพุงเขาหา q2 และมีขนาด 4.8x104 V/m จงหา q1 , q2 ( ± 6.67x10–9 C)
วิธที าํ

! +!
บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
จุดสะเทิน คือ จุดที่มีคาสนามไฟฟาลัพธมีคาเปนศูนย
โดยทัว่ ไปแลว 1. จุดสะเทินจะ เกิดขึน้ ไดเพียงจุดเดียวเทานัน้
2. หากเปนจุดสะเทินของประจุ 2 ตัว จะเกิดในแนวเสนตรงที่ลากผานประจุทั้งสอง
Eรวม = 0!
และ หากประจุทง้ั สองเปนประจุชนิดเดียวกัน
*!
จุดสะเทินจะอยูร ะหวางกลางประจุทง้ั สอง +Q1! +Q2!
หากประจุทง้ั สองเปนประจุตา งชนิดกัน
Eรวม = 0!
จุดสะเทินจะอยูร อบนอกประจุทง้ั สอง *!
3. จุดสะเทินจะเกิดอยูใกลประจุที่มีคานอยกวา +Q1! − Q 2!
!

23. ประจุไฟฟาขนาด +15 และ –30 หนวย


ประจุวางอยูด งั รูป ตําแหนงใดควรเปนจุดสะเทิน! !

! ! ก. A ข. B ค. C ง. D จ. ไมมีคําตอบถูก (ขอ จ)
ตอบ
24. ตําแหนงที่สนามไฟฟารวมเปนศูนย ซึ่งสนามนั้นเกิดจากประจุ 2 ประจุ
1. เกิดขึน้ ไดเพียงจุดเดียวเทานัน้
2. เกิดอยูใกลประจุที่มีคานอย
3. เกิดในแนวเสนตรงที่ลากผานประจุทั้งสอง (ขอ ก)
ก. ขอ 1 , 2 , 3 ข. ขอ 1 , 2 ค. ขอ 1 , 3 ง. ขอ 2 , 3
ตอบ
25. ประจุไฟฟาขนาด +9 µC ถูกวางไวที่ตําแหนง X = 0 ม. และประจุไฟฟาที่สอง +4 µC
ถูกวางไวที่ตําแหนง X = 1 ม. จุดสะเทินจะอยูหางจากประจุ +9 µC กี่เมตร (0.6 เมตร)
วิธที าํ

! ,!
บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
26(มช 37) วางประจุ +9Q คูลอมบ ทีต่ าํ แหนงจุดกําเนิด (0 , 0) และจุดประจุ –4Q คูลอมบ
ทีต่ าํ แหนง x = 1 เมตร y = 0 จงหาระยะบนแกน x ที่สนามไฟฟาเปนศูนย (3 เมตร)
วิธที าํ

ขนาดของแรงกระทําตอประจุทดสอบหาจาก!
! ! ! ! ! F = qE
เมือ่ F คือ แรงกระทํา (N) q คือ ประจุทดสอบที่ถูกแรงกระทํานั้น (C)
27. กําหนดใหจุด A อยูหางจากประจุ 4 x 10–9 คูลอมบ เปนระยะ 1 เมตร
ก) สนามไฟฟา ณ.จุด A จะมีความเขมกี่นิวตัน/คูลอมบ ( 36 N/C )
ข) หากนําอิเลคตรอน 1 ตัว ไปวางตรงจุด A จงหาแรงกระทําตออิเลคตรอนนี้
( กําหนด ประจุอิเลคตรอน 1 ตัว เทากับ 1.6 x 10–19 คูลอมบ ) (5.76x10–18 N)
ค. จงหาความเรงในการเคลือ่ นทีข่ องอิเลคตรอนนี้
( กําหนด มวลอิเลคตรอน 1 ตัว เทากับ 9.1 x 10–31 กิโลกรัม ) (6.33x1012 m/s2)
วิธที าํ

! "-!
บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
28. กําหนดใหจุด A อยูหางจากประจุ 5 x 10–9 คูลอมบ เปนระยะ 3 เมตร
ก) สนามไฟฟา ณ.จุด A จะมีความเขมกี่นิวตัน/คูลอมบ ( 5 นิวตัน/คูลอมบ )
ข) หากนําอิเลคตรอน 1 ตัว ไปวางตรงจุด A จงหาแรงกระทําตออิเลคตรอนนี้
( กําหนด ประจุอเิ ลคตรอน 1 ตัว เทากับ 1.6 x 10–19 คูลอมบ ) (8 x 10–19 นิวตัน)
วิธที าํ

!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

! ตอนที่ 3 !ศักยไฟฟา!
!!!เราสามารถหาคาศักยไฟฟา ณ. จุดรอบ ๆ ประจุไดจากสมการ!
V = KQ R ! Q! A
!
*!
เมือ่ !!!V !คือ ศักยไฟฟา (โวลต)! R!
! Q คือ ประจุตน เหตุ (คูลอมบ)
R คือ ระยะหางจากประจุตน เหตุ (เมตร)
ขอควรทราบ!
! 1) ศักยไฟฟา เปนปริมาณสเกลลาร มีแตขนาด ไมมีทิศทาง การคํานวณหาศักยไฟฟา !
! ! ตองแทนเครือ่ งหมาย + – ของ ประจุ (Q) ดวยเสมอ
2)
!
! ! เมือ่ ทําการเลือ่ นประจุทดสอบจากจุดหนึง่ ไปสูจ ดุ ทีส่ อง!
! ! จะไดวา! ! V2 – V1 = Wq
! ! เมือ่ !V1 คือ ศักยไฟฟาที่จุดเริ่มตน (โวลต) !!!V2 คือ ศักยไฟฟาที่จุดสุดทาย (โวลต)
W คือ งานที่ใชในการเลื่อนประจุ (จูล) q คือ ประจุทเ่ี คลือ่ นที่ (คูลอมบ)
! ""!
บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
29. จากรูป ประจุ Q มีขนาด –2 x1 0–9 คูลอมบ
ก. จงหาศักยไฟฟาที่จุด A ( –18 V)
! ! ข. จงหาศักยไฟฟาที่จุด B ( –6 V )
ค. หากเลือ่ นประจุขนาด 2 คูลอมบ
จาก B ไป A จะตองทํางานเทาใด ( –24 J) !
วิธที าํ

!
!
30. จากรูป ประจุ Q มีขนาด –5 x1 0–9 คูลอมบ
จงหาศักยไฟฟาที่จุด A และ B ตามลําดับ
! ! 1. −45 , 15!! ! ! ! 2. −30 , −15! ! !
! ! 3. −45 , −15! ! ! ! 4. −30 , 15!! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! (ขอ 3)!
วิธที าํ

31. จากขอที่ผานมา หากเลือ่ นประจุขนาด 2 คูลอมบ จาก B ไป A จะตองทํางานเทาใด


1. 45 2. −45 3. 60 4. −60 (ขอ 4)!
วิธที าํ

! "%!
บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
32(En 32) A และ B เปนจุดทีอ่ ยูห า งจากประจุ 4 x 10–6 คูลอมบ เปนระยะทาง 2 และ
12 เมตร ตามลําดับ ถาตองการเลือ่ นประจุ – 4 คูลอมบ จาก A ไป B ตองใชงานใน
หนวยกิโลจูลเทาใด
1. 8.75 2. 15 3. –35 4. +60 (ขอ 4)
วิธที าํ

33. จุด A อยูหางจากประจุ –2 x 10–10 C เปนระยะ 1 เมตร จงหางานที่ตองทําในการพา


ประจุ 3 x 10–12 C จากที่ไกลมากมาที่จุด A นี้ (–5.4 x10–12 J)
วิธที าํ

34. มีประจุขนาด –4 x 10–10 C จุด A อยูหางจากประจุนี้ 1 เมตร จงหางานที่ตองทําใน


การพาประจุ 2 x 10–12 C จากที่ไกลมากมาที่จุด A นี้ (– 7.2x10–12 J )
วิธที าํ

35. จากขอที่ผานมาจงหางานในการพาประจุ 2 x 10–12 C จากจุด A ไปวาง ณ.จุดซึ่งไกลมาก


วิธที าํ (7.2x 10–12 J)

! "&!
บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
36. ในการนําประจุ 2 x10–4 C จาก infinity เขาหาประจุบวกถึงจุด ๆ หนึง่ ตองสิน้ เปลืองงาน
5 x10–2 จูล จุดนั้นมีศักยไฟฟากี่โวลต
ก. 2.5 x 102 ข. 4 x 10–3 ค. 1 x 10–5 ง. 2.5 x 10–6 (ขอ ก)
วิธที าํ

กรณีทม่ี ศี กั ยไฟฟายอยหลายๆ ตัว หากตองการหาคาศักยไฟฟารวม ใหนําศักยไฟฟายอย


แตละตัวมารวมกันแบบพีชคณิตธรรมดา เพราะศักยไฟฟาเปนปริมาณสเกลารไมใชเวกเตอร
37. จากรูปที่กําหนดให จงหาวาศักยไฟฟารวม A = +4 x 10–9 C!
ทีจ่ ดุ X มีขนาดเทาใด (3 V) X
3 ม.! *!
วิธที าํ
3 ม.!

B = −3 x 10–9 C!

38. จากรูปที่กําหนดให จงหาวา ศักย A = –1 x 10–9 C! B = −5 x 10–9 C!


ไฟฟารวมที่จุด X มีขนาดเทาใด X
3 ม.! *!
วิธที าํ (–18 โวลต) 3 ม.!

! "'!
บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
39. จากรูป A , B และ C มีจดุ ประจุขนาด 3.0 x 10–6 , 1.0 x 10–6 และ –1.0 x 10–6 คูลอมบ
ตามลําดับ เมือ่ AP = 0.6 เมตร , CP = 0.3 เมตร และ •! C
BP = 0.1 เมตร ศักยไฟฟาที่ตําแหนง P มีคาเทาใด
1. 1.05 x 105 โวลต 2. 1.83 x 105 โวลต A •! •!B
P
3. 2.10 x 105 โวลต 4. 3.66x 105 โวลต (ขอ 1 )
วิธที าํ

40. จากขอที่ผานมา หากนําประจุขนาด –1.0 x 10–6 คูลอมบ จากจุดที่ไกลมากมาวางที่จุด P


จะตองทํางานกี่จูล
1. –2.10 2. –1.05 3. –0.105 4. –10.5 (ขอ 3)
วิธที าํ

! "(!
บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
!ตอนที่ 4 สนามไฟฟา และศักยไฟฟารอบตัวนํา!
การคํานวณหาสนามไฟฟา และศักยไฟฟารอบตัวเก็บประจุ
กรณีท่ี 1 หากจุดที่จะคํานวณอยูภายนอก หรืออยูท ผ่ี วิ วัตถุ
ใหใชสมการ E = KQ2 และ V = KQ R
R
เมือ่ R คือ ระยะที่วัดจากจุดศูนยกลางวัตถุถึงจุดที่จะคํานวณ
!
กรณีท่ี 2 หากจุดที่จะคํานวณอยูภายในวัตถุ
Eภายใน = 0
Vภายใน = Vที่ผิววัตถุ

41. ทรงกลมรัศมี 1 เมตร และมีประจุ –5x10–9 C จงหาสนามไฟฟาและศักยไฟฟาที่


ก. ระยะทาง 2 เมตร จากผิวทรงกลม ( 5 N/C , –15V )
ข. ผิวทรงกลม ( 45 N/C , –45V )
1 ม.! 2 ม.!
ค. ระยะ 0.2 เมตร จากจุดศูนยกลางทรงกลม
วิธที าํ ( 0 N/C , –45V )

42. ตัวนําทรงกลมมีรัศมี 10 เซนติเมตร มีประจุกระจายอยางสม่ําเสมอบนผิวตัวนํา ถาสนาม


ไฟฟาทีผ่ วิ ทรงกลมมีคา 5.0 x106 โวลต/เมตร จงหาคาศักยไฟฟาทีผ่ วิ ทรงกลมนี้ (5 x 105 โวลต)
วิธที าํ

! ")!
บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
43(En 42/1) ทรงกลมโลหะกลวงมีรัศมี 20 เซนติเมตร ทําใหมีศักยไฟฟา 10000 โวลต !
! สนามไฟฟาภายนอกทรงกลมบริเวณใกลเคียงผิว จะมีคา เทาใดในหนวยโวลตตอ เซนติเมตร
วิธที าํ ( 500 โวลต / เซนติเมตร )

44. ทรงกลมตัวนํามีประจุ –200 µc รัศมี 50 cm จงหา


ก. ศักยไฟฟาที่ผิวของทรงกลม ( –3.6x106 โวลต )
ข. งานที่ในการพาประจุ –20 µc จาก infinity มาที่ผิวนี้ (72 J)
วิธที าํ

45(มช 32) ถาตองการเคลือ่ นประจุขนาด q คูลอมบ ไปตามผิวนอกของทรงกลมซึ่งมีประจุ Q


อยูภายในจากตําแหนงหนึ่งไปสูอีกตําแหนงหนึ่ง งานที่ใชในการเคลื่อนประจุคือ
ก. KqQ
2 J ข. KqQ
3 J ค. KqQ
4 J ง. 0 J (ขอ ง)
วิธที าํ

46(มช 32) หากมีประจุกระจายอยูบนตัวนําทรงกลมกลวงอยางสม่ําเสมอศักยไฟฟา และสนาม


ไฟฟาภายในจุดศูนยกลางทรงกลมกลวงมีคา (ขอ ข)
ก. ทั้งศักยไฟฟา และสนามไฟฟาเปนศูนย ข. ศักยไฟฟาเทากัน สนามไฟฟาเปนศูนย
ค. ศักยไฟฟาเทากัน และสนามไฟฟาเทากัน! ง. ศักยไฟฟาเปนศูนยสนามไฟฟาเทากัน!
ตอบ
! "*!
บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
ตอนที่ 5 สนามไฟฟาสม่ําเสมอ!
สนามไฟฟาซึง่ อยูร ะหวางกลางขัว้ ไฟฟาบวก-ลบ จะมีคาเทากันทุกจุด จึงเรียก สนามไฟฟาสม่าํ เสมอ
เราหาคาสนามสม่ําเสมอไดจาก E = Vd
เมือ่ E = สนามไฟฟาสม่ําเสมอ (N/C , V/m)
V = ความตางศักยระหวางจุดที่คํานวณ (โวลต)
d = ระยะหางระหวางจุดที่คํานวณ (เมตร)
47. แผนโลหะคูขนาน วางหางกัน 1 มิลลิเมตร ตออยูกับขั้วบวก-ลบของแบตเตอรี่ 1.5 โวลต
สนามไฟฟาระหวางแผนตัวนําคูขนานจะมีคาเทาใด ( 1500 V/m)
วิธที าํ

48(En 41) แผนตัวนําคูข นานเทากัน วางหางกัน 3 มิลลิเมตร ถาตอแผนคูข นานนีเ้ ขากับ


แบตเตอรี่ 9 โวลต สนามไฟฟาระหวางแผนตัวนําคูขนานจะมีคาเทาใด (ขอ 4)
1. 0.027 V–m 2. 27 V–m 3. 3 V/m 4. 3000 V/m
วิธที าํ

49. แผนตัวนําคูข นานเทากัน วางหางกัน 5 เซนติเมตร มีสนามไฟฟาสม่ําเสมอเขม 20 V/m


จะมีคาความตางศักยระหวางขั้วบวกและลบ กี่โวลต (1 โวลต)
วิธที าํ

เงื่อนไขการใชสูตร V = Ed
1. E และ d (การขจัด) ตองอยูใ นแนวขนานกัน
หาก d ตั้งฉากกับ E ตอบ V = 0
หาก d เอียงทํามุมกับ E ตองแตกการขจัด d นั้นใหขนานกับ E กอน
2. ถาการขจัด d มีทิศเดียวกับสนามไฟฟา E ใหใชการขจัด d เปนลบ
ถา d และ E สวนทางกันใช d เปนบวก
! "+!
บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
50. จงหาความตางศักยไฟฟาระหวาง A ไป B ตามกรณีตอ ไปนี้
ก. ข. ค.
0.5 m /! 60o! /!
0.5 m 2m
.! /! .! .!
E=10 V/m E=10 V/m E=10 V/m
วิธที าํ ( ก. 5 โวลต ข. 0 โวลต ค. 10 โวลต )

51. จงหาความตางศักยไฟฟาระหวาง A ไป B ตามกรณีตอ ไปนี้


ก. ข. ค. .!
0.5 m 0.5 m 2m o
.! /! /! .! /!
60 !
E=10 V/m E=10 V/m E=10 V/m
!
วิธที าํ ( ก. 5 โวลต ข. -5 โวลต ค. –10 โวลต )

52. สนามไฟฟาสม่ําเสมอขนาดเทากับ 8 โวลต/เมตร ตําแหนง


0.5 m 0!
A และ B อยูห า ง กัน 0.5 เมตร ดังรูป จงหาความตางศักย .! /!
ไฟฟาระหวาง A ไป B (4 โวลต )
วิธที าํ

! ",!
บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
53. จากขอที่ผานมา หากเลือ่ นประจุขนาด 2 x 10–6 คูลอมบ จากจุด A ไป B จะตอง
ทํางานกี่จูล (8x10–6 จูล)
วิธที าํ

54. จงหางานในการเลือ่ นประจุขนาด 2 x 10–6 คูลอมบ จาก 0!


จุด A ไป B ซึ่งอยูภายใตสนามไฟฟา 8 โวลต/เมตร ดังรูป /! 60o!
วิธที าํ (–16 x 10–6 จูล)
2m
.!

!
55. ถา E เปนสนามไฟฟาสม่ําเสมอมีขนาด 12 โวลต/เมตร ! B
E!
จงหางานที่ใชในการเคลื่อนที่ประจุทดสอบ 3.0 x 10–6 5 ซม.!
คูลอมบ จาก A → B → C (1.8x10–6 จูล) C 5 ซม.!
A
วิธที าํ
!

หากเรานําประจุทดสอบ( q ) ไปวางในสนามไฟฟาสม่ําเสมอ ประจุทดสอบนั้นจะถูก


แรงกระทําแลวทําใหเกิดการเคลื่อนที่ในสนามสม่ําเสมอนั้น
โดย ประจุไฟฟาบวก จะวิ่งไปหาขั้วไฟฟาลบ
และ ประจุไฟฟาลบ จะวิ่งไปหาขั้วไฟฟาบวก
! โปรดสังเกตุวา
แรงกระทําตอประจุบวกจะมีทิศเดียวกับสนามไฟฟา
แรงกระทําตอประจุจะมีทิศตรงกันขามกับสนามไฟฟา!
และ เราสามารถหาขนาดของแรงกระทํานัน้ ไดจาก
F = qE หรือ F = q Vd
! %-!
บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
เมือ่ F คือ แรงทีก่ ระทําตอประจุ q
E = สนามไฟฟาสม่ําเสมอ (N/C , V/m)
V = ความตางศักยระหวางจุดที่คํานวณ (โวลต)
d = ระยะหางระหวางจุดที่คํานวณ (เมตร)
56. ประจุไฟฟาขนาด +1 x 10–6 คูลอมบ อยูในสนามไฟฟาสม่ําเสมอซึ่งมีทิศจากซายไปขวา
และมีความเขม 8 โวลต / เมตร จะถูกแรงกระทําเทาใดและไปทางไหน ( 8x10–6N , ไปทางขวา)
วิธที าํ
!

57(En 32) เมือ่ นําประจุ –2 x 10–6 คูลอมบ เขาไปวางไว ณ จุด ๆ หนึง่ ปรากฏวามีแรง
8 x 10–6 นิวตัน มากระทําตอประจุนี้ในทิศจากซายไปขวา สนามไฟฟาตรงจุดนั้น
1. มีความเขม 4 โวลต/เมตร ทิศจากซายไปขวา
2. มีความเขม 4 โวลต/เมตร ทิศจากขวาไปซาย
3. มีความเขม 0.25 โวลต/เมตร ทิศจากซายไปขวา
4. มีความเขม 0.25 โวลต/เมตร ทิศจากขวาไปซาย (ขอ 2)
วิธที าํ
!

58. เมือ่ นําประจุ 3.6x10–14 คูลอมบ วางในสนามไฟฟาของแผนโลหะสองแผน ซึ่งมีความ


ตางศักย 105 โวลต และอยูหางกัน 0.3 เมตร จะเกิดแรงกระทําตอประจุเทาไร
ก . 1.2x10–9 N ข . 1.2x10–10 N ค. 1.2 x 10–11 N ง. 1.2x10–12 N (ค.)
วิธที าํ
!

! %"!
บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
59(En 35) แผนโลหะขนาน 2 แผน วางหางกันเปนระยะ d และมีประจุไฟฟาชนิดตรงขาม
อิเล็กตรอนทีห่ ลุดจากแผนลบจะวิง่ ดวยความเรง a ไปยังแผนบวก ถาให m และ q เปนมวล
และประจุของอิเล็กตรอนตามลําดับ แผนโลหะทั้งสองมีความตางศักยเทาไร
1. md
q 2. qE
m 3. maq 4. madq (ขอ 4)
วิธที าํ
!

60. ในการทดลองตามแบบของมิลลิแกน พบวาหยดน้าํ มันหยดหนึง่ ลอยนิง่ ไดระหวางแผนโลหะ


ขนาน 2 แผน ซึง่ หางกัน 0.8 เซนติเมตร โดยมีความตางศักยระหวางแผนทําใหเกิดสนาม
12000 โวลตตอ เมตร ถาหยดน้าํ มันมีประจุไฟฟา 8.0 x 10–19 คูลอมบ จะมี น้าํ หนักเทากับ
1 . 7.7 x 10–17 N 2 . 6.4 x 10–19 N
3. 9.6 x 10–19 N 4. 9.6x10–15 N ( 4.)
วิธที าํ
!

61. การทดลองหยดน้ํามันของมิลลิเกน พบวาถาตองการใหหยดน้ํามันซึ่งมีมวล m และอิเล็ก–


ตรอนเกาะติดอยู n ตัว ลอยนิง่ อยูร ะหวางแผนโลหะ 2 แผน ซึ่งวางขนานหางกัน เปนระยะ
ทาง d และมีความตางศักย V ประจุของอิเล็กตรอนที่คํานวณไดจากการทดลองนี้จะมีคาเทาใด
1. mgd
nV 2. mgV
nd 3. nmgd
V 4. nmgV
d (ขอ 1)
วิธที าํ
!

! %%!
บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
ตอนที่ 6 ตัวเก็บประจุ และ การตอตัวเก็บประจุ!
!

! ตัวเก็บประจุ คือ วัสดุที่สามารถเก็บสะสมประจุไฟฟาไวภายในตัวเองได


!! ตัวเก็บประจุ แบบทรงกลม!
! ! ตัวเก็บประจุแบบนี้เราสามารถหาคาความจุประจุไดจาก!
C = Ka หรือ C = QV
เมือ่ C คือ คาความจุประจุ (ฟารัด)
a คือ รัศมีทรงกลม
! K = 9x109 N. m2/c2
Q คือ ประจุที่เก็บสะสม (คูลอมบ)
V คือ ศักยไฟฟาที่ผิว (โวลต)
62. ตัวนําทรงกลมรัศมี 10 เซนติเมตร ความจุประจุของทรงกลมมีคากี่ฟารัด (1.1x10–11 F)
วิธที าํ
!

63. จากโจทยที่ผานมา หากศักยไฟฟาสูงสุดที่ผิวตัวนํามีคาเทากับ 3x102 โวลต ประจุไฟฟา


สูงสุดที่ทรงกลมนี้สามารถเก็บไดมีคากี่ไมโครคูลอมบ (3.3x10–4)
วิธที าํ
!

64(En 41/2) ศักยไฟฟาของตัวนําทรงกลมรัศมี 60 เซนติเมตร มีคาเทากับ 3 x 105 โวลต


ประจุไฟฟาในขอใดที่ตัวนํา ทรงกลมนี้สามารถเก็บได (ขอ 3)
1. 12 µC 2. 18 µC 3. 20 µC 4. 24 µC
วิธที าํ
!

! %&!
บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
ตัวเก็บประจุแบบแผนโลหะคูขนาน
! ! ตัวเก็บประจุแบบนี้เราสามารถหาคาความจุประจุไดจาก!
C = QV
Q คือ ประจุที่ขั้วบวก (คูลอมบ)
V คือ ความตางศักยระหวางขั้วไฟฟา (โวลต)
!

65. ตัวเก็บประจุตวั หนึง่ มีความจุ 0.2 µF ใชงานกับความตางศักย 250 โวลต จะเก็บประจุไว


ไดกี่คูลอมบ (ขอ ง)
ก. 0.5 x 102 ข . 1.25 x 102 ค. 2.5 x 10–5 ง. 5 x10–5
วิธที าํ
!

66. แผนโลหะขนาดหางกัน 0.1 เมตร ใชทําเปนตัวเก็บประจุที่มีคาความจุ 9 นาโนฟารัด ถา


สนามไฟฟาระหวางแผนโลหะมีคา 3 N/C อยากทราบวาตัวเก็บประจุน้ี มีประจุกี่คูลอมบ
ก. 2.7 x 10–4 ข . 2.7 x 10–6 ค. 2.7 x 10–9 ง. 2.7x10–11 (ขอ ค)
วิธที าํ
!

! เราสามารถหา พลังงานไฟฟาที่เก็บสะสมในตัวเก็บประจุแผนโลหะคูขนานไดจาก!
2
U = 12 QV หรือ U = 12 QC หรือ U = 12 CV2
เมือ่ U คือ พลังงานที่เก็บสะสม (จูล)
67. จงหาพลังงานที่สะสมในคาปาซิเตอรที่มีความจุ 2 µF เมือ่ ประจุไฟฟาใหคาปาซิเตอรจน
มีความตางศักย 2 V (4x10–6 จูล)
วิธที าํ
!
! %'!
บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
68. จงหาพลังงานที่สะสมในคาปาซิเตอรที่มีความจุ 2 µF เมือ่ ประจุไฟฟาใหคาปาซิเตอรจน
มีความตางศักย 100 V (10–2 J)
วิธที าํ
!

69(มช 42) ตัวเก็บประจุ 16 ไมโครฟารัด ตอเขากับความตางศักยคาหนึ่ง ทําใหมีพลังงาน


สะสมในตัวเก็บประจุ 0.5 จูล จงหาคาความตางศักยนี้ในหนวยของโวลต
1. 220 2. 150 3. 250 4. 180 (ขอ 3)
วิธที าํ
!

กฏการตอตัวเก็บประจุแบบอนุกรม
1) Qรวม = Q1 = Q2
2) V1 ≠ V2
Q Q
3 ) Vรวม = V1 + V2 V1 = C1 V2 = C 2
1 2
4) C 1 = C1 + C1
รวม 1 2
ตัวอยางที่ 1 จากวงจรดังรูป จงหา
ก. ใหหาคา Cรวม
ข. ใหหาคา Q1 และ Q2
ค. ใหหาคา V1 และ V2
ง. ใหหาคา Vรวม
วิธีทํา ก. จาก C 1 = C1 + C1
รวม 1 2
1 1 1
Cรวม = 4 + 12
1 3+1
Cรวม = 12
Cรวม = 3µ
µF

! %(!
บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
ข. เนือ่ งจาก Q1 = Q2 = Qรวม = 24 µC
Q
V1 = C1 = 24
ค. จาก
µ = 6 โวลต
1 4 µ
Q 24 µ = 2 โวลต
และ V2 = C 2 = 12 µ
2
ง. ใหหาคา Vรวม จาก Vรวม = V1 + V2 = 6 + 2 = 8
Q
Vรวม = Cรวม = 24
หรือ
µ
= 8 โวลต
รวม 3µ
70. จากรูป ก. ใหหาคา Cรวม (2 µF)
ข. ใหหาคา Q1 และ Q2 (18 µC)
ค. ใหหาคา V1 และ V2 ( 6 , 3)
ง. ใหหาคา Vรวม (9 โวลต)
วิธที าํ
!

! %)!
บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
71. จากรูป จงหา Cรวม และ Qรวม (4 µF , 144 µC)
6 µF 12 µF
วิธที าํ
!

Vรวม = 36 โวลต

72. จากขอทีผ่ า นมา จงหาประจุ และ ความตางศักยของ


ตัวเก็บ 6 µF (144 µC , 24 โวลต)
วิธที าํ
!

73. จากขอทีผ่ า นมา จงหาประจุ และ ความตางศักยของ


ตัวเก็บ 12 µF (144 µC , 12 โวลต)
วิธที าํ
!

74. จากขอทีผ่ า นมา จงหาพลังงานไฟฟาของตัวเก็บ 12 µF ( 8.64 x 10–4 จูล)


วิธที าํ
!

! %*!
บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
กฏการตอตัวเก็บประจุแบบขนาน
1) Qรวม ≠ Q1 ≠ Q2
2) Qรวม = Q1 + Q2
3) Vรวม = V1 = V2
4) Cรวม = C1 + C2

ตัวอยางที่ 2 จากวงจรดังรูป จงหา


ก. ใหหาคา Cรวม
ข. ใหหาคา Vรวม
ค. ใหหาคา V1 และ V2
ง. ใหหาคา Q1 และ Q2
วิธที าํ ก. จาก Cรวม = C1 + C2 = 3 + 6 = 9µF
Q
ข. จาก Vรวม = Cรวม = 189µµ = 2 โวลต
รวม
ค. จาก V1 = V2 = Vรวม = 2 โวลต
ง. จาก V = QC
จะได Q = CV
Q1 = C1V1 = (3µ)(2) = 6 µ
Q2 = C2V2 = (6µ)(2) = 12 µ
หรือ อาจทําอีกวิธีดังนี้ ขัน้ แรก สมมุติกระแส Q1 และ Q2 ดังรูป
เนือ่ งจาก V1 = V2
Q1 Q2
C1 = C2
x 18 - x
3µ = 6 µ
2x = 18 – x
x = 6
ดังนัน้ Q1 = x = 6 µ
Q2 = 18 – x = 18 –6 = 12 µ

! %+!
บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
75. จากรูป
ก. ใหหาคา Cรวม (16 µF)
ข. ใหหาคา Vรวม (3 โวลต)
ค. ใหหาคา V1 และ V2 (3 โวลต)
ง. ใหหาคา Q1 และ Q2 ( 12 µ , 36 µ)
วิธที าํ
!

76(มช 39) จากรูป จงหาคาความจุรวม และ


ประจุไฟฟารวมบนตัวเก็บประจุทั้งสอง (ขอ 3)
1. 7 pF , 0.05 pC 2. 1.4 pF , 196 pC
3. 7 pF , 980 pC 4. 1.4 pF , 1960 pC
วิธที าํ
!

! %,!
บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
77. จากรูป จงหาความตางศักยระหวางจุด A กับจุด B
A 2 µF B
และ ประจุไฟฟาในตัวเก็บประจุ 2 µF * *
วิธที าํ ( 36 V , 72 µC)
C* D*
6 µF 3 µF

Vรวม = 36 โวลต

78. จากขอทีผ่ า นมา จงหาความตางศักยระหวางจุด C กับจุด D และ ประจุไฟฟาในตัวเก็บประจุ


6 µF ( 36 V , 72 µC)
วิธที าํ
!

79. จากขอทีผ่ า นมา ความตางศักยของตัวเก็บประจุ 6 µF ( 12 V )


วิธที าํ
!

80. จากขอทีผ่ า นมา พลังงานไฟฟาที่สะสมในตัวเก็บประจุ 6 µF (4.32x10–4 จูล)


วิธที าํ
!

! &-!
บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
81(En 44/1) วงจรไฟฟาประกอบดวยตัวเก็บประจุสามตัวตออยูกับ
ความตางศักย 12 โวลต ดังรูป จงคํานวณหาขนาดของความ
ตางศักยทค่ี รอมตัวเก็บประจุ 3 ไมโครฟารัด และ 6 ไมโครฟารัด
ตามลําดับ (ขอ 4)
1. 12 V และ 12 V 2. 6 V และ 6 V 3. 4 V และ 8 V 4. 8 V และ 4 V
วิธที าํ
!

82(En 42/2) จากรูป เมือ่ กอนปดวงจรตัวเก็บประจุทง้ั สาม


ยังไมมีประจุไฟฟาอยูภายในเลย เมือ่ ปดวงจรและเมือ่
เวลาผานไปนานพอสมควร พลังงานไฟฟาที่สะสมอยู
ในตัวเก็บประจุ C1 มีคาเทาใด (ขอ 1)
1. 4.5 x 10–6 J 2. 6.0 x 10–6 J 3. 9.0 x 10–6 J 4. 18.0 x 10–6 J
วิธที าํ
!

! &"!
บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
83. C1 = 4 ไมโครฟารัด C2 = 6 ไมโครฟารัด
C3 = 6 ไมโครฟารัด C4 = 6 ไมโครฟารัด
ตอตัวเก็บประจุ C1 , C2 , C3 และ C4 ดังรูป จงหา
!
ความจุรวมของตัวเก็บประจุทง้ั หมดในหนวยไมโครฟารัด (6 ไมโครฟารัด)
วิธที าํ
!

กฏเกีย่ วกับการแตะกันของตัวเก็บประจุ
เมือ่ นําตัวเก็บประจุหลาย ตัวมาแตะกัน
1) หลังแตะ ศักยไฟฟาของตัวเก็บประจุทกุ ตัวจะเทากัน
2) ประจุ ( Q ) รวมกอนแตะ = ประจุ ( Q ) รวมหลังแตะ
84. ตัวนําทรงกลมรัศมี a ที่มีประจุ –Q ไปแตะกับตัวนําทรงกลมรัศมี 2 a ที่มีประจุ +4Q
หลังจากแยกออกจากกันแลวตัวนําทรงกลมรัศมี a จะมีประจุเทาใด
1. Q2 2. Q 3. 3Q
2 4. 2Q (ขอ 2)
วิธที าํ
!

! &%!
บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
85. ตัวนําทรงกลมรัศมี a ที่มีประจุ –Q ไปแตะกับตัวนําทรงกลมรัศมี 3a ที่มีประจุ +9Q หลัง
จากแยกออกจากกันแลวตัวนําทรงกลมรัศมี a จะมีประจุเทาใด
1. Q2 2. Q 3. 3Q2 4. 2Q (ขอ 4.)
วิธที าํ
!

86(En 36) ) ตัวเก็บประจุขนาด 50 µF อันหนึง่ มีความตางศักย 16 โวลต เมือ่ นํามาตอ


ขนานกับตัวเก็บประจุขนาด 30 µF ซึ่งแตเดิมไมมีประจุอยูเลย จงหาความตางศักยของ
ตัวเก็บประจุ 30 µF (10 โวลต)
วิธที าํ
!

!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

! &&!
บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
7. ประจุไฟฟา และการเหนี่ยวนําทางไฟฟา
พิจารณาตัวอยางสมมุติ การถูแทงพลาสติกกับผาสักหลาด!
2!
1!ปกติแลวอะตอมในแทงพลาสติก และในผาสักหลาดจะมี! 2!
+ +!
! ! จํานวนอิเลคตรอน (ประจุลบ) เทากับจํานวนโปรตรอน! 2! +++!! 2!
'2! 2! 2!
(ประจุบวก) แตเมือ่ เกิดการเสียดสี จะทําใหเกิดการหมุน! 2! 2!
เวียนของอิเลคตรอนของแทงพลาสติกกับผาสักหลาด ! + +!
2! + +!2!
1!หากแทงพลาสติกไดรับอิเลคตรอนมากกวาที่เสียไป!
! จะทําใหแทงพลาสติกมีประจุสะสมเปนลบ ! −
+ −
1! ประจุที่สะสมตรงนี้เรียกวา ไฟฟาสถิตย ! − + −
! − 3

!! 1! ตอไปหากเรานําแทง พลาสติกที่มีประจุลบสะสม!
อยูน ้ี ไปวางใกลๆ วัตถุเล็กๆ ซึง่ ปกติในวัตถุนน้ั จะมีอเิ ลคตรอน และ โปรตรอนของ!
อะตอมกระจายตัวอยูอยางสม่ําเสมอในปริมาณที่เทากัน แตเมื่อถูกแทงพลาสติกเขาใกล!
ประจุลบบนแทงพลาสติก จะผลักอิเลคตรอนในวัตถุใหเคลือ่ นไปอยูฝ ง ตรงกันขาม !
เหลือประจุบวกในฝงใกลแทงพลาสติก และจะทําใหเกิดแรงดูดระหวางประจุบวกบน!
วัตถุกับลบบนแทงพลาสติก ทําใหวัตถุเคลื่อนที่ เขามาหาแทงพลาสติกใหเห็นได !
1!การจัดเรียงประจุบนวัตถุ เมื่อถูกไฟฟาสถิตยเขาใกล เรียกวาเปนการเหนีย่ วนําทางไฟฟา!

87. จงเติมขอความลงในชองวางตอไปนี้ใหไดใจความที่ถูกตอง และ สมบูรณ


สมมุตินําวัตถุ A มาถูกับผาสักหลาด B แลวปรากฏวา มีอเิ ลคตรอนเคลือ่ นเขามายังแทง
วัตถุ A มากกวาจํานวนอิเลคตรอนทีเ่ คลือ่ นออกจากวัตถุ A เมื่อแยกวัตถุ A ออกจาก
ผาสักหลาด วัตถุ A จะมีประจุสะสมเปน (1) และเมื่อนําวัตถุ A ไปวาง
ใกล ๆ วัตถุเล็ก ๆ จะเกิดการจัดเรียงประจุบนวัตถุนน้ั ดังรูป
/

(2) (3) −−
การจัดเรียงประจุบนวัตถุเล็กๆ หลังจากนํา
วัตถุ A เขาใกล เรียก (4) เติมประจุ + หรือ −!
( 1. ลบ 2. − 3. + 4. การเหนีย่ วนําทางไฟฟา )

! &'!
บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย

1 ! จากตัวอยางสมมุติที่ผานมา หากแทงพลาสติก ! 2!
เสียอิเลคตรอนมากกวาที่ไดรับมา จะทําใหแทง! 2!
+ +!
2! +++!! 2!
พลาสติกมีประจุสะสมเปนบวก ประจุที่สะสม! 2! 2! (2!

ตรงนีเ้ รียกก็วา ไฟฟาสถิตย ! 2! 2!


+ +!
2! + +!2!
1!ตอไปหากเรานําแทงพลาสติกที่มีประจุบวกสะสม!
อยูน ้ี ไปไวใกลวัตถุเล็กๆ ประจุบวกบนพลาสติก!
จะดูดอิเลคตรอนในวัตถุ ใหเคลื่อนไปอยูฝงใกล! +3
แทงพลาสติก เหลือประจุบวกในฝงตรงกันขาม ! + 3 −

3

และจะทําใหเกิดแรงดูดระหวางประจุบวกบนแทง! 3 −
พลาสติกกับลบบนวัตถุ ทําใหวัตถุเคลื่อนที่เขามาหาแทงพลาสติกใหเห็นไดเชนกัน !
1! การจัดเรียงประจุบนวัตถุ เมื่อถูกไฟฟาสถิตยเขาใกล เรียกวาเปนการเหนีย
่ วนําทางไฟฟา!

88. จงเติมขอความลงในชองวางตอไปนี้ใหไดใจความที่ถูกตอง และ สมบูรณ


สมมุตินําวัตถุ A มาถูกับผาสักหลาด B แลวปรากฏวา มีอเิ ลคตรอนเคลือ่ นออกจากแทง
วัตถุ A มากกวาจํานวนอิเลคตรอนทีเ่ คลือ่ นเขามาหาวัตถุ A เมื่อแยกวัตถุ A ออกจาก
ผาสักหลาด วัตถุ A จะมีประจุสะสมเปน (1)
และเมื่อนําวัตถุ A ไปวางใกลๆ วัตถุเล็กๆ จะเกิดการจัดเรียงประจุบนวัตถุนน้ั ดังรูป

/
3
3
+
การจัดเรียงประจุบนวัตถุเล็กๆ หลังจากนํา (2) (3)
วัตถุ A เขาใกล เรียก (4)
เติมประจุ + หรือ −!
( 1. บวก 2. + 3. − 4. การเหนีย่ วนําทางไฟฟา )

89. จากขอทีผ่ า นมาโปรตรอน(ประจุบวก) จะเคลื่อนที่จากวัตถุ A มาหาผาสักหลาด


หรือ เคลื่อนจากผาสักหลาดมาหาวัตถุ A ไดหรือไม เพราะเหตุใด
( ไมได เพราะโปรตรอนมีมวลมาก ( มากกวาอิเลคตรอน 1835 เทา ) การเคลือ่ นทีจ่ งึ ทําไดยาก )

! &(!
บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
90. เมื่อถูแทงแกวดวยผาไหม แทงแกวจะมีประจุไฟฟาเปนบวกเพราะวาสาเหตุใด
1. โปรตรอนบางตัวในไหมถายเทไปแทงแกว
2. อิเล็กตรอนบางตัวหลุดจากแทงแกว และถายเทไปยังผาไหมทําใหเหลือประจุไฟฟา
บวกบนแทงแกวมากกวาประจุไฟฟาลบ
3. ทั้งขอ ก และ ข ถูกตอง
4. ผิดหมดทุกขอ (ขอ 2)
91(มช 32) เมื่อนําแทงพีวีซีที่ถูกับผาสักหลาดแลวไปวางใกล ๆ กับลูกพิธที่เปนกลางทางไฟฟา
จะสังเกตเห็นเหตุการณทเ่ี กิดขึน้ ดังนี้
ก. ลูกพิธจะหยุดนิ่ง
ข. ลูกพิธจะเคลื่อนที่เขาหาแทงพีวีซี
ค. ลูกพิธจะเคลื่อนที่ออกหางจากแทงพีวีซี
ง. ลูกพิธจะเคลื่อนที่เขาหาแทงพีวีซีในตอนแรก แลวจะเคลื่อนที่จากไปภายหลัง (ขอ ข)!
92(มช 36) ทรงกลมโลหะ A และ B วางสัมผัสกันโดยยึดไว
ดวยฉนวน เมื่อนําแทงอิโบไนทซึ่งมีประจุลบเขาใกลทรงกลม
A ดังรูป จะมีประจุไฟฟาชนิดใด เกิดขึ้นที่ตัวนําทรงกลมทั้งสอง
ก. ทรงกลมทั้งสองจะมีประจุบวก
!
ข. ทรงกลมทั้งสองจะมีประจุลบ
ค. ทรงกลม A จะมีประจุบวก และทรงกลม B มีประจุลบ
ง. ทรงกลม A จะมีประจุลบ และทรงกลม B มีประจุบวก
จ. ไมเกิดไฟฟาที่ทรงกลมทั้งสอง (ขอ ค)
93(En 34) โลหะทรงกระบอกยาวปลายมนเปนกลางทาง
ไฟฟาตั้งอยูบนฐานที่เปนฉนวน ถานําประจุบวก
ขนาดเทากันมาใกลปลายทั้งสองขางพรอมกันโดยระยะ
หางจากปลายเทา ๆ กัน ตามลําดับ การกระจายของประจุสวน A สวน B และ C ของ
ทรงกระบอกเปนอยางไร
1. A และ C เปนลบแต B เปนกลาง 2. A และ C เปนกลาง แต B เปนบวก
3. A และ C เปนบวก แต B เปนลบ 4. A และ C เปนลบแต B เปนบวก (ขอ 4)
! &)!
บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
94(มช 31) เมื่อนําสาร ก มาถูกกับสาร ข พบวา สาร ก มีประจุไฟฟาเกิดขึน้ สาร ก ตองเปนสารใด
ก. ตัวนํา ข. ฉนวน ค. กึง่ ตัวนํา ง. โลหะ (ขอ ข)

อิเลคโตรสโคป คือ เครื่องมือใชตรวจหาไฟฟาสถิตย


อิเลคโตรสโคป มี 2 ชนิด คือ
1) อิเลคโตรสโคปแบบลูกพิธ
เปนอิเลคโตรสโคปซึง่ ทําจากเม็ดโฟม ฉาบผิว
เอาไวดวยอลูมิเนียม เมื่อมีวัตถุที่มีไฟฟาสถิตย
เขาใกล จะเกิดการเหนี่ยวนําทางไฟฟาทําให
อิเลคโตรสโคปเอียงเขาหาวัตถุนน้ั

95. จงเติมขอความลงในชองวางตอไปนี้ใหไดใจความที่ถูกตอง และ สมบูรณ

3
− 3
(1) (2) −− (3) (4) +

เติมประจุ + หรือ −! เติมประจุ + หรือ −!


( 1. − 2. + 3. + 4. − )

2) อิเลคโตรสโคปแบบจานโลหะ
มีลักษณะดังรูป เมื่อถูกวัตถุที่มีไฟฟาสถิตยเขาใกลจานโลหะดานบน จะเกิดการเหนีย่ วนํา
ทางไฟฟาทําใหแผนโลหะบาง ๆ ดานลางกางออก

! &*!
บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
96. จงเติมขอความลงในชองวางตอไปนี้ใหไดใจความที่ถูกตอง และ สมบูรณ

−− +
+3

(1) (4)

.! .!
(2) (3) !
(5) (6) !

เติมประจุ + หรือ −! เติมประจ + หรือ −!


( 1. + 2. − 3. − 4. − 5. + 6. + )
!

การตอสายดิน!
พิจารณาการทดลองตอไปนี้!
!
− − −
! − − −
! + + + + + +! + + + + + +!
+ + + + + +!
!
−!
!
−!
! − −−
!
1)! อิเลคตรอนถูกผลักลง 2) ตอสายดิน อิเลคตรอนจะวิง่ 3) ตัดสายดินออก
!
! ขางลางแผนโลหะจะกาง ลงสูพื้นโลกแผนโลหะจะหุบ ไมเปลี่ยนแปลง
!
! + + + +! +− + − + −!
! +! !

! +! +! !
+! +!
! + +! −

!
!4) นําวัตถุทม
่ี ปี ระจุดา นบนออกอิเลคโตร- หากนําวัตถุทม่ี ปี ระจุออกกอนตัดสายดิน อิเลค-
! ตรอนทีพ่ น้ื โลกจะวิง่ ขึน้ มาบนอิเลคโตรสโคป
สโคปจะเหลื
!
อประจุบวกมากกวาลบแผน
โลหะด
! านลางจะกางออก ทําใหเปนกลางทางไฟฟาแผนโลหะจะไมกางออก!

! &+!
บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
97. จงเติมประจุ + หรือ − หรือ 0 หากเปนกลางทางไฟฟา ในตําแหนงที่ 1 − 12
− − −
− − −
(1) ! (4) ! (7) ! (10)

(2) ! (5) ! (8) ! (11)


(3) ! (6) ! (9) ! (12)

( 1. + 2. − 3. − 4. + 5. 0 6. 0 7. + 8. 0 9. 0 10. + 11. + 12. + )

พิจารณาการทดลองตอไปนี้!

3 3 3
3 3 3

− − − − − −! − − − − − −! − − − − − −!
+! ! !

+! +! !
+! !
+! +!
+! − −
+ +! − −
1) อิเลคตรอนถูกดูดขึน้ แผน 2) ตอสายดิน อิเลคตรอนจากพืน้ 3) ตัดสายดินออก
โลหะดานลางจะเหลือบวก โลกจะวิง่ ขึน้ มาอยูบ นแผนโลหะ ไมเปลี่ยนแปลง
และเกิดแรงผลักทําใหกางออก! ดานลาง ทําใหแผนโลหะเปนกลาง
ทางไฟฟาแลวหุบลง

!
− − −!
−! !

+! +! !
+!
− −
− + −! −
4) นําวัตถุทม่ี ปี ระจุดา นบนออกอิเลคตรอน หากนําวัตถุทม่ี ปี ระจุออกกอนตัดสายดิน อิเลค-
ดานบนจะเคลือ่ นลงมาดานลาง ทําใหมลี บ ตรอนบนอิเลคโตรสโคปทีม่ ากเกินไปจะวิง่ ลงพืน้
มากเกินไป แผนโลหะดานลางจะกางออก โลก จนอิเลคโตรสโคปเปนกลาง และจะหุบลง

! &,!
บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
98. จงเติมประจุ + หรือ − หรือ 0 หากเปนกลางทางไฟฟา ในตําแหนงที่ 1 − 12

+3 +3 +3

(1) ! (4) ! (7) ! (10)

(2) ! (5) ! (8) ! (11)


(3) ! (6) ! (9) ! (12)

( 1. − 2. + 3. + 4. − 5. 0 6. 0 7. − 8. 0 9. 0 10. − 11. − 12. − )


99(En 29) ถาตองการใหอเิ ลคโตรสโคปมีประจุบวก ควรมีขน้ั ตอนในการกระทําเปนอยางไร
1. นําวัตถุที่มีประจุบวกเขาใกลจานโลหะของอิเล็กโตรสโคป
2. นําวัตถุที่มีประจุลบเขาใกลจานโลหะของอิเล็กโตรสโคป
3. ตอสายดินกับจานโลหะของอิเล็กโตรสโคป
4. ดึงวัตถุทม่ี ปี ระจุออก
5. ดึงสายดินออก
ก. 1 3 4 5 ข. 1 3 5 4 ค. 2 3 4 5 ง. 2 3 5 4 (ขอ ง)
ตอบ

100(มช 40) วัตถุที่มีประจุเขามาใกลจานโลหะหลังจากนั้น ใชสายไฟที่ปลายขางหนึ่งตอโยงกับ


ตัวนําที่ฝงใตดินชื้น ๆ แลวนําอีกปลายหนึ่งมาแตะจานโลหะดังแสดงในรูป จงเลือกขอที่เกิดขึ้น
1. 2. 3. 4.

(ขอ 2)
! !
ตอบ

!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

! '-!
บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
ฟ สิ ก ส บทที่ 15 ไฟฟ า สถิ ต ย
!

! กฎของคูลอมบ!
1. จงหาระยะหางที่เกิดจากจุดประจุทั้งสองที่มีขนาด +1.0 และ –1.0 ไมโครคูลอมบ และมี
แรงดึงดูดตอกัน 440 นิวตัน (4.5x10–3 ม.)
2. นิวเคลียสของอะตอมฮีเลียมประกอบดวยโปรตอน 2 ตัว ซึ่งอยูหางกันประมาณ 3.0x10–15
เมตร จงหาขนาดของแรงทีเ่ กิดกับโปรตอนแตละตัว
(โปรตรอน 1 ตัว มีประจุ 1.6 x 10–19 คูลอมบ ) (25.6 N)
3. ประจุคหู นึง่ วางใหหา งกันเปนครึง่ หนึง่ ของระยะเดิม แรงกระทําระหวางประจุจะเพิม่ หรือ
ลดจากเดิมเทาไร
ก. เพิ่มขึ้น 12 เทา ข. เพิ่มขึ้น 2 เทา
! ! ค. เพิ่มขึ้น 4 เทา! ! ! ! ! ! ! ง. ลดลง 2 เทา! (ขอ ค)!
4. แรงผลักระหวางประจุทเ่ี หมือนกันคูห นึง่ เปน 3.5 นิวตัน จงหาขนาดของแรงผลักระหวาง
ประจุคนู ้ี ถาระยะหางของประจุเปน 5 เทาของเดิม (0.14 N)
5. เมื่อวางลูกพิธที่มีประจุหางกัน 10.0 เซนติเมตร ปรากฎวามีแรงกระทําตอกัน 10–6 นิวตัน
ถาวางลูกพิธทั้งสองหางกัน 2.0 เซนติเมตร จะมีแรงกระทําระหวางกันเทาใด (2.5x10–5 N)
6. ลูกพิธ 2 ลูกวางหางกัน 8 ซม. จะเกิดแรงผลักกันคาหนึ่ง ถาเพิ่มประจุลูกหนึ่งเปน 2 เทา
และอีกลูกหนึ่งเปน 3 เทา จะตองวางลูกพิธทั้งสองหางกันเทาใด จึงจะเกิดแรงกระทําเทาเดิม
! ! ( วางหางกัน 8 6 !ซม.)!
7. กอนทองแดง 2 กอน วางหางกัน 3 เมตร แตละกอนมีอเิ ล็กตรอนอิสระอยู 5 x 1014 ตัว
จงหาขนาดของแรงผลักทีเ่ กิดขึน้ ในหนวยนิวตัน
ก. 1.4 ข. 2.4 ค. 4.4 ง. 6.4 (ขอ ง)
8. ทรงกลมโลหะลูกเล็ก ๆ เริ่มแรกไมมีประจุสองลูก จะตองมีการถายเทอิเล็กตรอน จํานวน
กี่ตัว จากลูกหนึ่งไปยังอีกลูกหนึ่ง จึงจะทําใหเกิดแรงดึงดูดระหวางทรงกลมทั้งสอง เทากับ
1.0 นิวตัน ขณะที่อยูหางกัน 10 เซนติเมตร
1. 6.59x1010 ตัว 2. 6.59x109 ตัว
3. 6.59x108 ตัว! ! ! ! ! ! ! 4. 6.59x1012 ตัว! (ขอ 4)

! '"!
บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
9. ประจุ q1 = +4 x 10–6 คูลอมบ , q2 = –5 x 10–6 คูลอมบ และ q3 = +6 x 10–6
คูลอมบ วางอยู ดังรูป จงหาแรงทีเ่ กิดขึน้ กับประจุ q2 (0.0281 N)
4m
-– – – – – – – – –2–m– – – –!4!4!4!!4!4!4!4!!
+ +
q1= 4x10–6 C q2 = –5x10–6 C q3 = +6x10–6 C!
10. ประจุไฟฟา 3 ตัว ขนาด +6 ไมโครคูลอมบ
+ 10 µC
+10 ไมโครคูลอมบ และ –8 ไมโครคูลอมบ + – – – – –30– –cm– – – – – – – ! +
วางอยูใ นตําแหนงดังแสดงในรูป จงหาแรง + 6 µC
20 cm
ลัพธที่เกิดขึ้นกับประจุ +10 ไมโครคูลอมบ
(19 นิวตัน) – 8 µC
11. ประจุไฟฟาเทากันวางอยูที่จุด A , B และ C
A
โดยระยะ AB = 2 !56!!7!!BC = 1 cm ถา
แรงไฟฟาที่กระทําตอ C เนือ่ งจาก B เทากับ 2 cm !
1x104 นิวตัน แรงไฟฟาทั้งหมดที่กระทําตอ
C
B มีขนาดเทาใด ( 25 x104 N) 1 cm
12. จากรูป จงหาขนาดของแรงทีก่ ระทําตอ +3 µC +10 µC
ก. 6.75x10–2 N ข. 13.5 N •!
ค. 22.5 N ง. 675 N 2 cm
2 cm
จ. 1350 N (ขอ ง)
+3 µC •! 2 cm •!–10 µC

13. ประจุ +10 ไมโครคูลอมบ , +20 ไมโครคูลอมบ +10 µC +4 µC


+ 80 cm +
และ +4 ไมโครคูลอมบ วางอยูในตําแหนงแสดง 37 o
ดังรูป จงหาแรงลัพธที่ประจุ +20 ไมโครคูลอมบ 60 cm
100 cm
(3.4 N)
+ +20 µC

! '%!
บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
สนามไฟฟา
14. จงหาความเขมสนามไฟฟาที่ระยะ 50 ซม. จากประจุ +10–4 คูลอมบ (3.6x106 N/C ทิศออก)
15. ความเขมสนามไฟฟาที่จุดหางจากประจุ 0.15 เมตร เปน 160 นิวตันตอคูลอมบ ทีจ่ ดุ หาง
จากประจุ 0.45 เมตร จะมีความเขมสนามไฟฟาเทาใด (17.8 N/C)
16. ที่ตําแหนงซึ่งหางจากประจุหนึ่งเปนระยะ 2.0 เซนติเมตร มีขนาดของสนามไฟฟาเปน 105
นิวตันตอคูลอมบ จงหาขนาดของสนามไฟฟาที่หางจากจุดนี้ 1.0 เซนติเมตร (4x105 N/C)
17 (มช 42) วางประจุ 3 x 10–3 คูลอมบ , 2 x 10–3 คูลอมบ
และ –8x10–3 คูลอมบ ทีต่ าํ แหนง A , B และ C ตามลําดับ
จงหาสนามไฟฟาที่ตําแหนง B ในหนวยของนิวตัน/คูลอมบ AB = 3 เมตร , BC = 2 เมตร
1. 21x106 2. 15x106 3. 30x106 4. 42x106 (ขอ 1)
18. ทีต่ าํ แหนง ก , ข และ ค มีประจุเปน 1.0 x 10–7 , !
–1.0 x 10–7 และ –10 x 10–7 คูลอมบ ตามลําดับ 16
จงหาขนาดของสนามไฟฟาตําแหนง ค. เนือ่ งจาก
ประจุทต่ี าํ แหนง ก และ ข (900 N/C)

!
19. จงหาความเขมสนามไฟฟาที่จุด B ในรูปที่กําหนด +5 µC –3.6 µC
( กําหนด cos 127o = cos 53o = 0.6 ) 8 cm
37o
(7.26x106 N/C)
6 cm
10 cm
53o
B
20 (En 38) ประจุ –1 คูลอมบ อยูท จ่ี ดุ A และจุด B ซึ่งอยู
หางกัน 5 เมตร ทีจ่ ดุ C ซึ่งอยูหางจากทั้งจุด A และจุด B
เปนระยะทาง 5 เมตร จะมีขนาดของสนามไฟฟาเทาไร
k k
1. 3 25E N/C 2. 23 ⋅ 25E N/C
2k k
3. 25E N/C 4. 25E N/C (ขอ 1)

! '&!
บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
21. สนามไฟฟาที่ทําใหโปรตอนมวล 1.67x10–27 กิโลกรัม มีประจุ 1.6x10–19 คูลอมบ
เกิดความเรง 2x102 เมตรตอวินาที2 มีคาเทาไร
ก. 2x10–6 N/C ข. 2x10–5 N/C
ค. 2x10–4 N/C ง. 2x10–3 N/C (ขอ ก)
22. ทีจ่ ดุ หางจากประจุตน เหตุ 1.2 m ประจุขนาด 6x10–12 C ถูกแรงกระทํา 6x10–10 N
จงหาคาประจุตน เหตุน้ี (1.6x10–8 C)
23. ที่จุด ๆ หนึง่ ในสนามไฟฟา ปรากฎวาเกิดแรงกระทําตออิเล็กตรอนที่จุดนั้นมีคา 4.8 x 10–14 N
จงหาแรงทีก่ ระทําตอประจุขนาด 9.0 x 10−7 C ทีจ่ ดุ เดียวกันนัน้ (0.27 N)
24. ประจุ q1 , q2 มีขนาดเทากันอยูหางกัน 0.1 m สนามไฟฟา ณ จุดกึ่งกลางระหวางประจุ
ทั้งสองมีทิศพุงเขาหา q2 และมีขนาด 4.8x104 V/m จงหา q1 , q2 ( ± 6.67x10–9 C)

25. ประจุไฟฟาหนึ่ง (+5 µC) ถูกวางไวที่ตําแหนง X = 0 ซ.ม. และประจุไฟฟา ทีส่ อง


(+7 µC) ถูกวางไวที่ตําแหนง X = 100 ซ.ม จะตองวางประจุไฟฟาที่สนาม ไวที่
ตําแหนงใดจึงจะไดรับแรงสุทธิจากสองประจุแรกเทากับศูนย ( x = 45.80 Cm )

26. จุดประจุ +4 x 10–8 คูลอมบ และ +9 x 10–8 คูลอมบ อยูหางกัน 0.5 เมตร จงหาตําแหนง
ตามแนวเสนตรงระหวางจุดประจุทั้งสองที่มีขนาดของสนามไฟฟาเปนศูนย ณ ตําแหนงนัน้
(0.2 เมตร)
27. ประจุสองประจุมีขนาด –16 และ +4 ไมโครคูลอมบ วางอยูในตําแหนงซึ่งหางกัน 3 เมตร
จงหาตําแหนงที่อยูในแนวระหวางประจุทั้งสองที่จะใหเกิดสนามไฟฟาเปนศูนย (3 เมตร)
28. ประจุ +1 x 10–5 คูลอมบ และ –2 x 10–5 คูลอมบ วางอยูหางกัน 10 ซม. จงหาตําแหนง
ของจุดสะเทิน (จุดที่มีความเขมสนามไฟฟาเปนศูนย) (24.14 cm)
29. จุดประจุ 2 จุด อยูหางกัน 0.5 m จุดประจุหนึง่ มีคา +4 x 10–8 C หากสนามไฟฟาเปน
ศูนยอยูระหวางประจุทั้งสอง และหางจากจุดประจุ +4x10–8 C เทากับ 0.2 m คาของอีก
ประจุหนึ่งมีกี่คูลอมบ
ก. 0.9x10–8 ข. 3x10–8 ค. 9x10–8 ง. 30x10–8 (ขอ ค)
!

! ''!
บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
ศักยไฟฟา
30 (En 36) โลหะรูปทรงกลมรัศมี 10 cm มีประจุ 10–9 C
จากรูปจงหางานในการนําโปรตรอน 1 ตัว เคลือ่ นที่
จากจุด B มายังจุด A ดังรูป
1. 2.9x10–18 J 2. 4.3x10–18 J
!
3. 7.2x10–18 J 4. 30x10–18 J (ขอ 2)

31. เมือ่ นําประจุ 0.5 คูลอมบ จาก A ไป B ตองใชงาน 12.5 จูล ศักยไฟฟาที่ A และ B จะ
ตางกันกีโ่ วลต
ก. 25 ข. 12.5 ค. 2.5 ง. 0.25 (ขอ ก)
32. ในการเคลือ่ นประจุ 5 x 10–2 คูลอมบ จาก A ไปยัง B เปนระยะ 10 เมตร ตองใชแรง
เฉลี่ย 2 นิวตัน ความตางศักยระหวาง AB มีคาเทาไร
ก. 4 x 102 V ข. 2.25 x 102 V
ค. 4 x 103 V ง. 2.25 x 103 V (ขอ ก)
33. จุด A อยูหางจากประจุ Q เปนระยะ r มีศักยไฟฟา V เมือ่ นําประจุทดสอบ q
จากระยะอนันตมายังจุด A ตองเปลืองงานเทาไร
ก. Kq
r ข. KQr ค. KQqr ง. KQq (ขอ ค)
r2
34. จุด A อยูหางจากประจุ Q เปนระยะ d มีศักยไฟฟา V เมือ่ นําประจุทดสอบ q จาก
ระยะอนันต (infinity) มายังจุด A จะสิ้นเปลื้องงานไปเทาใด
ก. kg/d ข. KQ/d ค. KQ/qd ง. KQq/d (ขอ ง)
35. จากรูป ถา O เปนจุดที่มีศักยไฟฟาเปนศูนย และอยูในระหวาง A, B แลว BO เทากับ
A O B!
• • • แนว AB
+2 µC –1 µC
ก. 13 AB ข. 12 AB ค. 23 AB ง. AB (ขอ ก)

! '(!
บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
36 (มช 38) ทีต่ าํ แหนง O และ Q มีประจุไฟฟา
3.0x10–6 คูลอมบ และ –1.0 x 10–6 คูลอมบ
ดังรูป OR = QR = 0.4 เมตร และ PR = 0.3
เมตร จงหาความตางศักยระหวาง R และ P
(9000 โวลต) !
37(มช 42 ) สี่เหลี่ยมจัตุรัสมีเสนทะแยงมุมยาว 0.2 เมตร วางประจุ 5 x 10–6 คูลอมบ ,
3 x 10–6 คูลอมบ –4 x 10–6 คูลอมบ และ –2 x 10–6 คูลอมบ ที่มุมทั้งสี่ของรูปสี่เหลี่ยมนี้
จงหาศักยไฟฟาที่จุดศูนยกลางของสี่เหลี่ยมจัตุรัสในหนวยโวลต
1. 18x104 2. 2x104 3. 14x104 4. 9x104 (ขอ 1)
38(มช 32) จุดประจุ 3 จุดประจุ วางอยูที่มุมของสามเหลี่ยมดานเทายาวดานละ 2 cm ทําให
จุดที่เสนมัธยฐานทั้งสามตัดกันมีศักยไฟฟาเปนศูนยหากจุดประจุ 2 ประจุ มีคา +2 ไมโคร–
คูลอมบ และ +4 ไมโครคูลอมบ จงหาคาจุดประจุตัวที่สามในหนวยไมโครคูลอมบ
ก. –8 ข. –6 ค. +6 ง. +8 (ขอ ข)

สนามไฟฟา และ ศักยไฟฟา รอบตัวนํา


39. ทรงกลมรัศมี 1 เมตร และมีประจุ –5x10–9 C จงหาสนามไฟฟาและศักยไฟฟาที่
ก. ระยะทาง 2 เมตร จากผิวทรงกลม ( 5 N/C , –15V )
ข. ผิวทรงกลม ( 45 N/C , –45V )
1 ม.! 2 ม.!
ค. ระยะ 0.2 เมตร จากจุดศูนยกลางทรงกลม
( 0 N/C , –45V )
40. ตัวนําทรงกลม A มี O เปนจุดศูนยกลาง เสนผานศูนยกลาง 2.0 cm เมือ่ ใหประจุ
+8.0 x 10–4 C แกทรงกลม ทรงกลม A ขาดอิเล็กตรอนไปกีอ่ นุภาค
ก. 5.0x105 ข. 2.0x1014 ค. 5.0x1023 ง. 2.0x1032 (ขอ ค)
41. จากขอที่ผานมา ความเขมสนามไฟฟาที่จุด O มีคาเทาไร
ก. 0 ข. 7.2x10–2 V/m ค. 1.8 V/m ง. 7.2 V/m (ขอ ก)
42. ถาตองการใหสนามไฟฟาที่ผิวทรงกลมตัวนําซึ่งมีรัศมี 10 cm มีความเขม 1.3 x 10–3 N/C
มีทิศพุงเขาสูจุดศูนยกลาง จะตองใหอิเล็กตรอนแกทรงกลมเทาใด
ก. 9x103 ข. 9 x 104 ค. 1014 ง. 1015 ! ! ! (ขอ ก)
! ')!
บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
สนามไฟฟาสม่ําเสมอ
43(มช 27) ขนาดของสนามไฟฟาในบริเวณระหวางแผนโลหะที่มีประจุตางชนิดกันจะมีคาอยางไร
ก. ศูนย ข. สม่าํ เสมอตลอดบริเวณ
ค. มากเมื่อเขาใกลแผนประจุบวก ง. มากเมื่อเขาใกลแผนประจุลบ (ขอ ข)
44. จากรูป แผนโลหะ x , y ขนาดใหญตอ อยูก บั ขัว้ แบต 2 cm
เตอรีข่ นาด 120 V และอยูในสูญญากาศ สนามไฟฟา
ในระหวางแผนโลหะทั้งสองเปนเทาใด
ก. 6 V/m ข. 60 V/m
8! 3! 4! 9!
ค. 600 V/m ง. 6000 V/m (ขอ ง)
120 V
45. แผนโลหะขนานวางหางกัน 2 cm ตออยูก บั แบตเตอรีต่ วั หนึง่ ถาความเขมสนามไฟฟา
ระหวางโลหะทั้งสองเปน E เมือ่ เลือ่ นแผนโลหะใหหา งกัน 4 cm ความเขมของสนาม
ไฟฟาระหวางแผนโลหะทั้งสองเปนเทาไร
ก. 4E ข. 2E ค. E ง. E2 (ขอ ง)

46(มช 43) สนามไฟฟาสม่ําเสมอขนาดเทากับ 8 x 106 โวลต/เมตร


ตําแหนง A และ B อยูห า ง กัน 0.5 เมตร ดังรูป จงหาความ
ตางศักยไฟฟาในหนวยเมกกะโวลต (MV) ระหวาง A และ B (4 เมก
47. ประจุขนาด 2.5 ไมโครคูลอมบ ถูกนําไปวางในสนามไฟฟาซึ่งมีทิศอยางสม่ําเสมอในทิศลง
ดวยความเขม 500 N/C จงหาความตางศักยของจุด 2 จุด ทีป่ ระจุเคลือ่ นทีต่ ามแนวตอไปนี้
ก. 2 เมตร ไปทางขวา ( 0 V)
ข. 0.8 เมตร ในทิศลง ( –400 V)
ค. 0.5 เมตร ในทิศขึ้น ( 250 V)
ง. 3 เมตร ทํามุมขึ้นไป 30o กับแนวระดับ ( 750 V)
48(En 35) แผนโลหะขนาน 2 แผนวางหางกัน d ความตางศักย V ถามีอนุภาคประจุ q
มวล m ลอยอยูระหวางแผนทั้งสอง จะมีแรงกระทําตออนุภาคนัน้ เทาใด (ไมคดิ แรงโนมถวง)
1. qV
d 2. qd
V 3. mqd
V 4. mqVd (ขอ 1)

! '*!
บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
49. วัตถุเล็ก ๆ ชิน้ หนึง่ มีประจุ –5 x 10–9 C ถูกนําไปวางที่จุดๆ หนึ่งในสนามไฟฟา ปรากฎวา
มีแรงกระทํา 2.0 x 10–9 N บนวัตถุนน้ั สนามไฟฟาที่จุดนั้นมีคาเทาใด
ก. 0.4 N/C ทิศเดียวกับแรง ข. 0.4 N/C ทิศตรงขามกับแรง
ค. 4.0 N/C ทิศเดียวกับแรง ง. 4.0 N/C ทิศตรงขามกับแรง (ขอ ข)
50. จากรูป จงหาแรงไฟฟาทีก่ ระทําตออิเล็กตรอนทีอ่ ยูใ นระหวางแผนโลหะขนาน AB
ก. 3.0 x 10 –33 N ทิศขึ้น
ข. 5.3 x 10–20 N ทิศขึ้น ! 1
E = 3 ! :;<!
–20
ค. 5.3 x 10 N ทิศลง
ง. 4.8 x 10–19 N ทิศขึ้น (ขอ ข)
51. สนามไฟฟาขนาด 280,000 N/C มีทิศไปทางใต จงหาขนาดและทิศทางของแรงที่กระทํา
ตอประจุ –4.0 µC วางอยูในสนามไฟฟานี้ (ขนาด 1.12 N , ทิศเหนือ)
52. อนุภาคไฟฟาซึ่งมีประจุ –2.0 x 10–9 C ไดรับแรงเนื่องจากสนามไฟฟาสม่ําเสมอ
3.0 x 10–6 N ทิศลง จงหา
ก. สนามไฟฟา ( 1500 N/C)
ข. ขนาดและทิศของแรงทีก่ ระทําตอโปรตอนเมือ่ อยูใ นสนามนี้ ( 2.4x1016 N)
53. แผนตัวนําขนานหางกัน 0.2 เซนติเมตร ทําใหเกิดสนามสม่ําเสมอตามแนวดิ่ง ถาตองการ
ใหอเิ ล็กตรอนมวล 9.1 x 10–31 กิโลกรัม ที่มีประจุ –1.6x10–19 คูลอมบ ลอยอยูนิ่ง ๆ ได
ทีต่ าํ แหนงหนึง่ ระหวางแผนตัวนําขนานนี้ ความตางศักยระหวางตัวนําขนานตองเปนเทาใด
(1.14x10–13 โวลต)
54. หยดน้ํามันหยดหนึ่งมวล 0.02 กรัม ประจุ +q อยูในสนามไฟฟา ความเขม 10 N/C
ปรากฎวาหยดน้ํามันหยุดนิ่งโดยสมดุลกับแรงโนมถวงของโลก จงหาคา q
ก. 2x10–5 C ข. 2x10–4 C ค. 2x10–3 C ง. 2x10–2 C (ขอ ก)
55. หยดน้ํามันมวล 2.88 x 10–14 kg มีประจุไฟฟาทําใหลอยหยุดนิ่งในสนามไฟฟา
3 x 105 N/C ที่มีทิศขึ้นในแนวดิ่ง จงหาคาประจุบนหยดน้ํามัน
ก. 0 ข. 1.6x10–19 C ค. 3.2x10–19 C ง. 9.6x10–19 C (ขอ ง)

! '+!
บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
ตัวเก็บประจุ
56. โลหะทรงกลมรัศมี 10 เซนติเมตร มีความจุไฟฟาเทาใดในหนวย pF (pico farad)
ก. 11 ข. 22 ค. 90 ง. 100 (ขอ ก)
57. ถาศักยไฟฟาสูงสุดของตัวนําทรงกลมรัศมี 30 เซนติเมตร มีคา 9 x 105 โวลต จงคํานวณ
หาปริมาณประจุไฟฟาที่มากที่สุดที่ตัวนําทรงกลมนี้จะสามารถรับได (3x10–5 คูลอมบ)
58. ตัวเก็บประจุหนึ่งสะสมประจุไว 5.3 x 10–5 คูลอมบ เมื่อตอกับความตางศักย 6 โวลต
จงหาประจุที่สะสมในตัวเก็บประจุ ถาตอเขากับความตางศักย 9 โวลต (79 µC)
59. ในการเกิดฟาผาครัง้ หนึง่ ปรากฎวามีประจุถายเทระหวางเมฆและพื้นดิน 40 คูลอมบ และ
ความตางศักยระหวางเมฆกับพื้นดินมีคา 8 x 106 โวลต จงหาพลังงานที่เกิดขึ้นเนื่องจาก
ฟาผาครั้งนี้ (3.2x108 จูล)
59(มช 33) ถาใชตัวตานทาน 10 โอหม ตอครอมตัวเก็บประจุขนาด 2000 ไมโครฟารัด
เพือ่ คายประจุจากคาประจุเริม่ ตน 2 คูลอมบ จนไมมีประจุเหลืออยูเลย จะเกิดความรอน
บนตัวตานทานกีจ่ ลู
ก. 100000 ข. 5000 ค. 2000 ง. 1000 (ขอ ง)
60(En 39) ตัวเก็บประจุ (C) มีประจุทแ่ี ผนบวก และลบ +q0 และ –q0 ตามลําดับ หลังเปด
สวิตซ S ใหมีกระแสในวงจร จะเกิดความรอนใน R เทาไร
1. 0 2. q0C 3. 2 ( q 02 /C ) 4. %" ( q 02 /C ) (ขอ 4)

61. ตัวเก็บประจุแบบโลหะแผนขนาน C1 = 2µF และ C2 = 3µF


ตอกันอยางอนุกรมกับขัว้ ทัง้ สองของแบตเตอรีข่ นาด 10 โวลต
จงหา ก. ประจุไฟฟาบน C1 และ C2 (12 µC , 12 µC )
ข. ความตางศักยบน C1 และ C2 (6 V , 4 V)
!
62. ตัวเก็บประจุขนาด 4.0 µF และ 8.0 µF ตอขนานกัน และตอเขากับความตางศักย 25
โวลต จงหาความจุไฟฟารวมและประจุที่สะสมในตัวเก็บประจุแตละตัว

! ',!
บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
63(มช 43) ตัวเก็บประจุ 3 ตัว C1 มีความจุ 6 ไมโครฟารัด
C2 มีความจุ 12 ไมโครฟารัด และ C3 มีความจุ 8 ไม-
โครฟารัด เมื่อนํามาตอกับความตางศักย 100 โวลต ดังรูป
จงหาพลังงานสะสมที่ตัวเก็บประจุ C3 ในหนวยจูล
1. 8x10–2 2. 4x10–2 3. 8x10–4 4. 4x10–4 (ขอ 2)
64(มช 37) C1 = 4 ไมโครฟารัด C2 = 6 ไมโครฟารัด
C3 = 9 ไมโครฟารัด C4 = 3 ไมโครฟารัด
ตอตัวเก็บประจุ C1, C2, C3 และ C4 ดังรูป และตอเขา
กับความตางศักย 11 โวลต ความจุรวมของตัวเก็บประจุ
ทัง้ หมดจะเปนกีไ่ มโครฟารัด
1. 10.5 2. 7.3 3. 9.2 4. 5.6 (ขอ 4)
65(มช 37) ความตางศักยของตัวเก็บประจุ C4 ขอทีผ่ า นมาจะเปนกีโ่ วลต
1. 3 2. 6 3. 2 4. 4 (ขอ 2)
66(En 37) ตัวเก็บประจุ C1 , C2 และ C3 มีขนาดความจุ 1 , 2
และ 3 ไมโครฟารัด ตามลําดับ กอนนํามาตอกับแบตเตอรี่
ขนาด 2 โวลต ดังรูป ตัวเก็บประจุทั้งสามยังไมมีประจุอยู
ภายในเลย เมื่อปดสวิตซ S เปนเวลานานพอที่จะทําใหอยู
ในสภาพสมดุล พลังงานไฟฟาที่สะสมอยูในตัวเก็บประจุ C2
จะมีขนาดเทาใดในหนวยไมโครจูล (1.44 µJ)

การเหนี่ยวนําทางไฟฟา
67(มช 27) เมื่อนําแทงแกวถูผาไหม จะพบวาวัตถุทั้งสองกลายเปนวัตถุที่มีประจุ การที่วัตถุ
ทั้งสองมีประจุได เนือ่ งจาก
ก. ประจุถูกสรางขึ้น ข. การแยกของประจุ
! ! ค. การเสียดสี ! ! ! ง. แรงที่ถู (ขอ ข)
! (-!
บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
68. ขอใดไมใชคุณสมบัติของประจุไฟฟา
1. ประจุบวกดึงดูดวัตถุที่เปนกลาง 2. ประจุบวกดึงดูดประจุลบ
3. ประจุบวกผลักประจุบวก 4. ประจุลบผลักวัตถุทเ่ี ปนกลาง (ขอ 4)

69. เมือ่ นําวัตถุทเ่ี ปนฉนวนอันหนึง่ เขาใกลอเิ ลคโตรสโคป แบบลูกพิธ ผลที่อาจเปนไปได คือ


! ! ก. ลูกพิธเบนเขาหาวัตถุ! ! ! ! ! ข. ลูกพิธเบนออกจากวัตถุ!
ค. ลูกพิธอยูนิ่ง ๆ ไมเบี่ยงเบน ง. เปนไปไดทุกขอ (ขอ ง)
70(มช 34) เปนทีท่ ราบกันแลววาอิเล็กตรอนในโลหะ สามารถเคลื่อนที่ไดอยางอิสระและมักจะ
พบเสมอวาอิเล็กตรอนจะเคลือ่ นทีม่ าอยูต ามบริเวณผิวของโลหะ เหตุทอ่ี เิ ล็กตรอนไมเคลือ่ น
ที่ตอไปในอากาศ เพือ่ หนีออกจากโลหะเพราะ
ก. อากาศไมเปนตัวนําไฟฟา
ข. อิเล็กตรอนมีพลังงานนอยกวาพลังงานยึดเหนี่ยวของโลหะ
ค. อากาศมีแรงเสียดทานมาก
ง. อิเล็กตรอนถูกอะตอมของโลหะยึดจับไว (ขอ ข)
71(En 33) ในการทําใหวัตถุที่มีประจุไฟฟาเปนลบหรือเปนบวก มีสภาพไฟฟาเปนกลางนั้น
จะตองตอสายดินกับพื้นโลก ทั้งนี้เพราะขอใด
1. โลกมีความตานทานต่ํา 2. โลกมีความจุไฟฟามาก
3. โลกมีสนามไฟฟาต่ํา 4. โลกมีศักยไฟฟาเปนกลาง (ขอ 2)

!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

! ("!
บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย

เฉลยแบบฝกหัด ฟสกิ ส บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย (บางขอ)


15. ตอบ 17.8 นิวตัน/คูลอมบ
วิธที าํ จาก E = kQ2
R
จะได E R2 = kQ
ตอน 1 160 (0.15)2 = kQ → #
ตอน 2 E2 (0.45)2 = kQ! → $
เอา # = $ 160 (0.15)2 = E2 (0.45)2
E2 = 17.78 N/C
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

23. ตอบ 0.27 นิวตัน!


วิธที าํ ! ! ! ! ! ! จาก F= qE
คิด e 4.8x10–14 = (1.6x10–19) ⋅E →#
คิดประจุ F = (9.0x10–7) ⋅E →$
เอา$÷# F !! = (9.0 x 10−7 ) E
4.8x10−14 (1.6 x 10−19 ) E
F = 0.27 นิวตัน
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

29. ตอบขอ ค.!


วิธที าํ !

จากรูป สนามไฟฟาที่ A เปน 0


แสดงวา E1 = E2
KQ = KQ !! ! ! ! ! !
R2 1 R2 2
(4x10- 8 ) = Q
(0.2)2 (0.3)2
Q = 9 x 10–8 C
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

! (%!
บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
33. ตอบขอ ค.
วิธที าํ ตอน 1! จาก! V = KQ
R
VA = KQr
V∝ = KQ = 0
!

ตอน 2 เนือ่ งจากเลือ่ นประจุจาก ∝ ไป A


จึงไดวา จุด ∝ เปนจุดเริม่ ตน ดังนัน้ V1 = V∝ = 0 โวลต
จุด A เปนจุดสุดทาย ดังนัน้ V2 = VA = KQ
จาก V2 – V1 = Wq
KQ – 0 = W
r q
W = KQq r
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

36. ตอบ 9000 โวลต!


วิธที าํ !!
!
!
!
!
! ! ! ! ตอน 1 หาศักยไฟฟารวมที่จุด R
VR = VจากO+ VจากQ
VR = KQ KQ
[ ] [ ]
R O+ R Q
9
VR = 9x10 (3x10
- 6 ) + 9x109(-1x10- 6 )
0.4 0.4
VR = (67.5x103) + (–22.5x103)
VR = 45000
!
!
!
! (&!
บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
ตอน 2 หาศักยไฟฟารวมที่จุด P
VP = VจากO+ VจากQ
VP = KQ KQ
[ ] [ ]
R O+ R Q
9
VP = 9x10 (3x10
- 6 ) + 9x109(-1x10- 6 )
0.5 0.5
VP = (54x103) + (–18x103)
VP = 36000
ตอน 3 หาความตางศักย
VR – VP = 45000 – 36000 = 9000 โวลต
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

37. ตอบขอ 1.
วิธที าํ VA = V1 + V2 + V3 + V4
KQ KQ KQ KQ
= R1 + R2 + R 3 + R4
= KR ( Q1+ Q2 + Q3 + Q4)
= 9x10 9 –6 –6 –6 –6
0.1 (5x10 + 3x10 – 4x10 –2x10 )
= 9x10 9 –6
0.1 (2x10 )
VA = 18 x 104 โวลต
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

38. ตอบขอ ข.
วิธที าํ ! ตามภาพจะเห็นวาจุด A อยูหางจากประจุทั้งสามเทา ๆ กัน
สมมติระยะหางนั้นเปน R
จากโจทยจะไดวา V1 + V2 + V3 = 0
KQ + KQ + KQ
[ ] [ ] [ ]
R 1 R 2 R 3 = 0! !
! ! ! ! ! ! !!2+ Q + 4 = 0
Q = –6 ไมโครคูลอมบ
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

! ('!
บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
40. ตอบขอ ค.
วิธที าํ จาก Q = ne
8 x 104 = n (1.6 x 10–19 )
n = 5.0 x 1023
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

42. ตอบขอ ก.
วิธที าํ จาก E = kQ2
R
Q = E !kR2
-3 2
Q = (1.3x10 9)(0.1 )
9x10
Q = 1.4 x 10–15
จาก Q = nE
1.4x10–15 = n(1.6x10–19)
n = 1.4x10-- 19
15
1.6x10
n = 8.75 x 103
∴ จะตองใชอิเล็กตรอนแกทรงกลม 9 x 103 อนุภาค
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

45. ตอบขอ ง.
วิธที าํ จากV = Ed
V = E1(2) → #
V = E2(4) → $
# / $ E2 = 12 E1
∴ ความเขมของสนามไฟฟาระหวางแผนโลหะทั้งสองคือ E2
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

! ((!
บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
53. ตอบ 1.14x10–13 โวลต
วิธที าํ เขียนรูปแรงทีเ่ กิดกับอิเล็กตรอนในสนามไฟฟา
+
FE
d = 0.2 cm e Q = –1.6 x 10–19 C
E mg

จากรูป FE = mg
q dv = mg
V = mgd q
แทนคา V = 9.1 x 10−31 x 10−x19 0.2 x 10−2
1.6 x 10
V = 1.14 x 10–13 โวลต
∴ ความตางศักยระหวางตัวนําขนาน = 1.14 x 10–13 โวลต
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

58. ตอบ 79 µC
วิธที าํ จาก Q = CV
C = Qv
จะได C = 5.3 x10- 5 = 8.83 x 10–6
6
Q = CV
Q = 8.83 x 10–6 x 3 = 79 x 10–6 C
Q = 79 µC
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

! ()!
บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
59. ตอบขอ ง.
วิธที าํ พลังงานความรอนทีเ่ กิดขึน้ จริง ๆ แลวเปลี่ยนสภาพจากพลังงานไฟฟา ดังนัน้ จึงไดวา
พลังงานความรอน = พลังงานในตัวเก็บประจุ
ΔQ = u
2
ΔQ = 12 qC
ΔQ = (2)2
2(2000 x10- 6 )
ΔQ = 1000 จูล
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

61. ตอบ ก. 12 µC , 12 µC ข. 6 V , 4 V
วิธที าํ ก. Cรวม = 22+33 = 65 = 1.2 =" ! =%!
>" ! >% !
Qรวม = CV = 1.2 x 10 = 12
∴ Q1 และ Q2 เทากับ 12 µF =รวม "-!=!
Q
ข. V1 = C1 = 122 = 6 โวลต
1
Q2 12
V2 = C = 3 = 4 โวลต
2
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

62. ตอบ 100 C , 200 C


วิธที าํ จาก Cรวม = C1 + C2 = 4 + 8 = 12 µF
Q1 = CV = 4(25) = 100 C %(!=!
Q2 = CV = 8(25) = 200 C
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

64. ตอบขอ 4.
จาก 1 1 1 1 11 18
วิธที าํ Cกลาง = 6 + 9 + 3 = 18 ∴ Cกลาง = 11
Cรวม = C1 + Cกลาง = 4 + 18
11 = 5.63 µF
∴ Cรวม = 5.63 F
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

! (*!
บทที่ 15 ไฟฟาสถิตย
66. ตอบ 1.44 ไมโครจูล
จาก 1 1 1
วิธที าํ Cรวมบน = C2 + C3
จะได C 1 = 12 + 13 = 65
รวมบน
∴ Cรวม = 65
และจาก Qบน = CV หา VC2 = Q
C
จะได Qบน = 65 x 2 VC2 = 12 x 1
5 2
Qบน = 125 VC2 = 6
5
จาก U = 12 CV2
จะได U = 12 x 2 x 10–6 x ( 65 )2
U = 10–6 x 36
25
U = 1.44 x 10–6
U = 1.44 µ J
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

! (+!
a
V บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
ฟ สิ ก ส บทที่ 16 ไฟฟ า และแม เ หล็ ก (1)
ตอนที่ 1 กระแสไฟฟา

+ –
+ –
+ –
+ –
+ –
ควรทราบ
1) กระแสไฟฟา เปนเพียงกระแสสมมุติ
2) กระแสไฟฟา ไมใชกระแสอิเลคตรอน
3) กระแสไฟฟาจะไหลสวนทางกับอิเลคตรอน
และกระแสไฟฟาจะไหลทางเดียวกับประจุบวก
และกระแสไฟฟาจะมีทศิ ทางกับสนามไฟฟา (E)

1(มช 40) กําหนดใหสนามไฟฟา (E) มีทิศทางดังรูป การเคลื่อนที่ของอนุภาคที่มีประจุไฟฟา


และ ทิศทางของกระแสไฟฟา ( I ) ทีเ่ กิดขึน้ จะเปนจริงดังรูปในขอใด (ขอ 3)
1. 2.

3. 4.

เราสามารถคํานวณหาปริมาณกระแสไฟฟาไดจากสมการ
I = Qt
เมือ่ Q = ปริมาณประจุไฟฟาทีไ่ หลผานพืน้ ทีห่ นาตัดตัวนํา ณ.จุดหนึง่ ๆ (คูลอมบ)
t = เวลาทีป่ ระจุไฟฟาไหลผานจุดนัน้ ๆ (วินาที)
I = กระแสไฟฟาทีเ่ กิด ( แอมแปร , A)
41
V บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
2. ถาประจุไฟฟาที่ผานลวดตัวนําหนึ่ง ภายในเวลา 2 นาที เทากับ 600 ไมโครคูลอมบ
กระแสไฟฟาที่ไหลผานลวดตัวนํานี้จะมีคากี่แอมแปร ( 5 x 10–6)
วิธที าํ

3. ถาปริมาณประจุไฟฟาที่ผานหลอดไฟใน 1 นาที เทากับ 120 ไมโครคูลอมบ กระแสไฟฟา


ผานหลอดไฟมีคา กีแ่ อมแปร ( 2 x 10–6 )
วิธที าํ

กรณีที่โจทยไมบอกขนาดประจุไฟฟา (Q) มาใหนั้น เราอาจหาคาประจุไฟฟาไดจากสมการ


Q = ne
เมือ่ n = จํานวนอิเลคตรอนทีเ่ คลือ่ นทีผ่ า นพืน้ ทีห่ นาตัดตัวนํา ณ.จุดหนึง่ ๆ
e = 1.6 x 10 –19 C ( คือ ประจุอเิ ลคตรอน 1 ตัว )
4. หากจํานวนอิเลคตรอนทีเ่ คลือ่ นผานพืน้ ทีห่ นาตัดเสนลวดตัวนําหนึง่ เทากับ 5x1020 อนุภาค
ภายในเวลา 2 วินาที จงหาปริมาณกระแสไฟฟาที่เกิดขึ้น (40 แอมแปร)
วิธที าํ

5. ถาตอลวดโลหะเสนหนึ่งกับเซลลไฟฟา แลวพบวามีกระแสไฟฟา ผานลวดเสนนี้ 3.2 A


จงหาจํานวนอิเลคตรอนทีผ่ า นพืน้ ทีภ่ าคตัดขวางลวดในเวลา 5 วินาที (1020 ตัว)
วิธที าํ

เราอาจคํานวณหาปริมาณกระแสไฟฟาไดจากอีกสมการหนึ่ง คือ
I = Nev A
เมือ่ N = ความหนาแนนอิเลคตรอน ( m–3 )
e = 1.6 x 10 –19 C ( คือ ประจุอเิ ลคตรอน 1 ตัว )
v = ความเร็วลอยเลือ่ นของอิเลคตรอน (m /s )
A = พืน้ ทีห่ นาตัดของตัวนํา ( m2)
42
หู
G
V บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
6. ลวดเสนหนึ่งมีพื้นที่หนาตัด 5 ต.ร.มม มี e 1x1028 อนุภาคตอ ล.บ เมตร ถา e เคลือ่ นที่
ดวยความ เร็วลอยเลือ่ น 1 มม/วินาที จงหากระแสที่ไหลในเสนลวด (8 A)
วิธที าํ

7(En 37) ลวดโลหะเสนหนึ่งมีพื้นที่ ภาคตัดขวาง 1 ตารางมิลลิเมตร ถามีกระแสไฟฟาจํานวน


หนึ่งไหลผานลวดนี้ ในเวลา 4 วินาที โดยขนาดความเร็วลอยเลือ่ นของอิเล็กตรอนเทากับ
0.02 เซนติเมตรตอวินาที จงหาปริมาณประจุไฟฟาที่เคลื่อนที่ผานลวดนี้ในเวลาดังกลาว
( ใหความหนาแนนอิเลคตรอนอิสระของโลหะนีเ้ ทากับ 1.0 x 1029 m–3 ) (ขอ 3)
1. 8.00 C 2. 10.2 C 3. 12.8 C 4. 16.0 C
วิธที าํ

ควรทราบเพิม่ เติมวา พื้นที่ใตกราฟกระแสไฟฟา ( I ) กับเวลา ( t ) จะมีขนาดเทากับปริมาณ


ประจุไฟฟา (Q) เสมอ
8(En 41/2) กระแสไฟฟา I ที่ผานเสนลวดโลหะเสนหนึ่ง
สัมพันธกับเวลา T ดังกราฟ จงหาปริมาณประจุไฟ
ฟาทั้งหมดที่ผานพื้นที่หนาตัดของเสนลวดโลหะนี้ ใน
ชวงเวลา 0 ถึง 10 วินาที
1. 5.0 C 2. 6.25 C
3. 7.5 C 4. 8.75 C (ขอ 3)
วิธที าํ

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦

43

V บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
ตอนที่ 2 กฏของโอหม และความตานทาน
กฏของโอหม กลาววา
“ปริมาณกระแสไฟฟาที่ไหลผานตัวนําหนึ่ง ๆ จะแปรผันตรงกับความตางศักย”
เขียนความสัมพันธจะได I ϒ V
I = kV
V = 1k I
V = IR
เมือ่ V = ความตางศักย (โวลต)
I = ปริมาณกระแสไฟฟา (แอมแปร)
R = ความตานทาน (โอหม)
9. จะตองใชความตางศักยเทาใดตอกับตัวตานทาน 1 เมกะโอหม (106 υ) เพือ่ ใหมกี ระแส
ไฟฟาผานตัวตานทาน 1 mA (100 โวลต )
วิธที าํ

10. ลวดความตานทานเสนหนึง่ เมือ่ ตอระหวางความตางศักย 4.0x10–3 โวลต มีกระแสไหล


ผาน 1.0 มิลลิแอมแปร ถาตอระหวางความตางศักย 1.2 โวลต จะมีกระแสผานกีแ่ อมแปร
ก. 0.3 x 10–3 ข. 3.3 x 10–3 ค. 4.8 x 10–3 A ง. 0.3 ( ขอ ง )
วิธที าํ

จาก V = IR
จะได V = I
R
จะเห็นวา หาก R มาก I จะนอย
หาก R นอย I จะมาก
และเกี่ยวกับความตานทานของตัวนําใด ๆ
R ϒ AL
R = ″ AL
44

V บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
เมือ่ R = ความตานทาน (โอหม)
″ = สภาพตานทาน (โอหม . เมตร)
L = ความยาว (เมตร)
A = พืน้ ทีห่ นาตัดของตัวนํา (เมตร2)
11(En 18) หนวยของความตานทานจําเพาะ คือ (ขอ ก)
ก. โอหม . เมตร ข. โอหม ค. โอหมตอเมตร2 ง. โอหมตอเมตร
12. ลวดโลหะชนิดหนึง่ มีสภาพตานทาน 2.0 x 10–8 โอหม . เมตร และ มีพน้ื ทีห่ นาตัด 1.0
ตารางเซนติเมตร ถาตองการใหลวดโลหะนี้มีความตานทาน 1 โอหม จะตองใชลวดยาวกี่เมตร
1. 5.0 x 10–3 2. 2.0 x 10–2 3. 50 4. 5.0 x 107 (ไมมีขอถูก)
วิธที าํ

13(มช 36) ในการทดลองหาคาสภาพตานทานของสารแทงสี่เหลี่ยมผืนผายาว 1 cm และมีพื้นที่


หนาตัด 0.5 ตารางเซนติเมตร ผานกระแสไฟฟา 1 mA ตามแนวความยาวของสารแลววัด
คาความตางศักยระหวางปลายทั้งสองขางของสารซึ่งอานคาได 10–2 โวลต จงหาคาสภาพ
ตานทานของสาร (0.05 โอหม เมตร)
วิธที าํ

14. สายไฟ 2 เสน ทําดวยโลหะ 2 ชนิด เสนแรกมีสภาพความตานทานเปน 5 เทาของเสนที่ 2


ถาความยาวและความตานทานเทากัน อัตราสวนพืน้ ทีห่ นาตัดของเสนที่ 1 ตอเสนที่ 2 คือ
ก. 1 : 3 ข. 2 : 1 ค. 5 : 1 ง. 5 : 2 ( ค.)
วิธที าํ

45

V บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
15. สายไฟ 2 เสน ทําจากโลหะชนิดเดียวกัน เสนทีส่ องมีพน้ื ทีห่ นาตัดเปน 6 เทาของเสน
แรก และมีความยาวเปน 3 เทาของเสนแรก จงหาวาความตานทานของเสนแรกวามีคา เปน
กีเ่ ทาของเสนทีส่ อง (2 เทา)
วิธที าํ

16. ลวดตัวนําขนาดสม่าํ เสมอเสนหนึง่ ยาว 8 เมตร วัดความตานทานได 9 โอหม ถามีลวด


ตัวนําชนิดเดียวกัน แตขนาดเสนผาศูนยกลางเปนครึง่ หนึง่ ของเสนแรก ตองการใหมคี วาม
ตานทาน 18 โอหม จะตองใชลวดยาวกีเ่ มตร (4)
วิธที าํ

17(มช 28) ลวดเหล็กมีเสนผานศูนยกลางเปนสองเทาของลวดทองแดงและมีสภาพตานทานเปน


6 เทาของลวดทองแดง ถาตองการลวดทองแดง และ ลวดเหล็กที่มีความตานทานเทากัน
จะตองมีอตั ราสวนของความยาวของลวดทองแดง ตอลวดเหล็กเทาใด (ขอ ค)
ก. 3 : 1 ข. 1 : 3 ค. 3 : 2 ง. 2 : 3
วิธที าํ

46

V บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
18. ลวดเสนหนึง่ มีความตานทาน 6.0 โอหม เมือ่ นํามารีดใหเสนลวดมีขนาดเล็กลงจนมีความ
ยาวเปนสามเทาของตอนเริม่ ตน ถาคุณสมบัติตางๆ ของสารที่ทําเสนลวดไมเปลี่ยน ความ
ตานทานของเสนลวดตอนสุดทายจะเปนกีโ่ อหม ( ขอ ง. )
ก. 18 ข. 24 ค. 36 ง. 54
วิธที าํ

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦

ตอนที่ 3 พลังงานไฟฟา และ กําลังไฟฟา


สมการที่ใชหาพลังงานไฟฟา
W = QV
W = ItV จาก Q = I t
W = ItIR จาก V = IR
W = I2Rt
W = VR t V จาก I = VR
2
W = VR t
เมือ่ W = พลังงานไฟฟา (จูล) Q = ประจุไฟฟา (คูลอมบ)
V = ความตางศักย (โวลต) I = กระแสไฟฟา (แอมแปร)
t = เวลา (วินาที) R = ความตานทาน (โอหม)
47

V บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)

สมการที่ใชหากําลังไฟฟา
P = Wt
QV
P = t
P = IV
P = I2 R
2
P = VR
เมือ่ P = กําลังไฟฟา (วัตต)
19. ตอหลอดไฟกับความตางศักย 220 V แอมมิเตอรอา นกระแสไฟฟาได 0.1 A จงหาพลัง
งานไฟฟาทีส่ ญ
ู เสียไฟเมือ่ เปดหลอดไฟนี้ 1 นาที ( 1320 จูล)
วิธที าํ

20(มช 28) เตาไฟฟาเตาหนึง่ ประกอบดวยลวดใหความรอนซึง่ มีความทาน 48.4 υ เมือ่ ตอเขา


กับความตางศักยไฟฟา 220 V เปนเวลา 10 นาที จงหาปริมาณความรอนทีเ่ กิดขึน้
ก. 6 x 105 J ข. 6 x 104 J ค. 104 J ง. 103 J (ขอ ก)
วิธที าํ

21. ตอหลอดไฟกับความตางศักย 220 V แอมมิเตอรอา นกระแสไฟฟาได 0.1 A จงหากําลังไฟ


ฟาของหลอดไฟนี้ ( 22 วัตต)
วิธที าํ

48

V บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)

22(En 37) หลอดไฟฟาหลอดแรกมีความตานทาน 4 โอหม ตอกับแบตเตอรี่ 12 โวลต หลอดที่ 2


มีความตานทาน 5 โอหม ตอกับแบตเตอรี่ 15 โวลต กําลังไฟฟาที่หลอดทั้งสองใชตางกันเทาใด
1. 3 W 2. 9 W 3. 11 W 4. 22 W (ขอ 2)
วิธที าํ

23(En 41) เตาไฟฟาขนาด 1200 วัตต เตาอบไมโครเวฟขนาด 900 วัตต และหมอหุงขาวไฟฟา


ขนาด 600 วัตต ถาใชทง้ั สามเครือ่ งกับไฟฟา 220 โวลต พรอมกันจะใชกระแสไฟฟาเทาใด
1. 8 A 2. 10 A 3. 12 A 4. 15 A (ขอ 3)
วิธที าํ

24(มช 43) จงหาสภาพตานทานไฟฟาในหนวยโอหมตอเมตรของลวดยาว 2 เมตร พืน้ ทีห่ นา


ตัด 10–6 ตารางเมตร เมือ่ มีกระแสไฟฟา 1 แอมแปรไหลผาน จะมีอตั ราการเปลีย่ น
แปลง พลังงานไฟฟาเปนพลังงานความรอน 48 มิลลิวัตต (ขอ 4)
1. 2.4 x 10–2 2. 4.8 x 10–4 3. 4.8 x 10–8 4. 2.4 x 10–8
วิธที าํ

25(En 42/2) เครือ่ งกําเนิดไฟฟาเครือ่ งหนึง่ กําลังทํางานดวยอัตรา 88 กิโลวัตต สงกําลังไฟฟา


ผานสายไฟซึง่ มีความตานทาน 0.5 โอหม เปนเวลา 5 วินาที ทีค่ วามตางศักย 22,000 โวลต
จงหาคาพลังงานทีส่ ญ ู เสียไปในรูปความรอนภายในสายไฟ
1. 8 J 2. 20 J 3. 40 J 4. 80 J ( ขอ 3 )
วิธที าํ

49
ฏ V บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
26(มช 38) เครือ่ งกําเนิดไฟฟาเครือ่ งหนึง่ สามารถสงกําลังไฟฟาได 345 กิโลวัตต ใหหาคา
พลังงานทีส่ ญู เสียไปในรูปของความรอนภายในสายไฟ ถาสงกําลังไฟฟาผานสายไฟยาว
500 เมตร ความตานทาน 0.25 โอหม เปนเวลา 20 วินาที ดวยความตางศักย 69 กิโลโวลต
วิธที าํ (125 จูล)

27(En 36) เครือ่ งใชไฟฟาในบานชนิด 100 วัตต 220 โวลต เมือ่ นํามาใชขณะทีไ่ ฟตกเหลือ
200 โวลต เครือ่ งใชไฟฟานัน้ จะใชกาํ ลังไฟฟาเทาใด
1. 78 W 2. 83 W 3. 88 W 4. 93 W (ขอ 2)
วิธที าํ

28. เตารีดไฟฟาขนาด 1,000 วัตตใชกบั ไฟฟา 220 V ถานํามาตอกับไฟ 110 V จะไดกาํ ลัง
ไฟฟาเทาใด
ก. 250 W ข. 500 W ค. 700 W ง. 750 W (ขอ ก)
วิธที าํ

50
g
V บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
29. จากขอทีผ่ า นมา ใชเตารีดนีโ้ ดยถูกตองคือใชกบั ไฟฟา 220 V ตองใหอตั ราความรอนเทาใด
ก. 220 จูล/วินาที ข. 240 จูล/วินาที
ค. 1000 จูล/วินาที ง. 2400 จูล/วินาที (ขอ ค)
วิธที าํ

30(En 38) จะตองใหความตางศักยไฟฟากีโ่ วลต เพือ่ จะทําใหเกิดสนามไฟฟาทีส่ ามารถเรง


อิเล็กตรอนจากหยุดนิง่ ใหมคี วามเร็ว 0.4 x 107 เมตรตอวินาที (45.5 V)
กําหนด ประจุอเิ ลคตรอน = 1.6 x 10–19 C มวลอิเลคตรอน = 9.1 x 10–31 kg
วิธที าํ

31(En 32) ถาตองการเรงอนุภาคมวล 4 x 10–12 กิโลกรัม ทีม่ ปี ระจุ 8 x 10–9 คูลอมบ


จากสภาพหยุดนิง่ ใหมอี ตั ราเร็ว 100 เมตร/วินาที จะตองใชความตางศักยเทาใด
1. 0.025 โวลต 2. 0.4 โวลต 3. 2.5 โวลต 4. 40 โวลต (ขอ 3)
วิธที าํ

51

V บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
ุ หภูมขิ องน้าํ จํานวน 2 กิโลกรัม เปลีย่ นจาก 15oC
32. ถาตัวทําใหเกิดความรอน ทําใหอณ
เปน 21oC ในเวลา 20 นาที จงหากําลังของตัวทําใหเกิดความรอนนี้ (วัตต)
(ความจุความรอนจําเพาะของน้าํ มีคา 4200 จูล/กก.เคลวิน)
ก. 0.6 ข. 42.0 ค. 105.0 ง. 142 (ขอ ข)
วิธที าํ

33. ถาผานกระแสไฟฟาขนาด 15 แอมแปร ความตางศักย 220 โวลต ไปยังกาตมน้าํ ไฟฟา


แบบขดลวด ซึง่ มีนาํ้ บรรจุอยู 500 กรัม จงคํานวณหาเวลาทีใ่ ชในการตมน้าํ ทีอ่ ณ
ุ หภูมติ ง้ั ตน
23oC ใหเดือดทีอ่ ณ
ุ หภูมิ 100oC ถา 70% ของพลังงานไฟฟาใหความรอนกับน้ําโดยตรง
(กําหนดใหความจุความรอนจําเพาะของน้าํ = 4.2 kJ/kg K)
ก. 9 วินาที ข. 17 วินาที ค. 49 วินาที ง. 70 วินาที (ขอ ง)
วิธที าํ

P
สมการที่ใชหาคาไฟฟา คาไฟฟา = ( 1000 ) t (ราคาตอหนวย)
เมือ่ t = เวลา (ชัว่ โมง)
34. เมือ่ เปดหลอดไฟขนาด 100 วัตต เปนเวลานาน 20 ชัว่ โมงตอเนือ่ ง จะตองเสียคาไฟกี่
บาท ( กําหนดคาไฟฟาหนวยละ 2 บาท ) (4)
วิธที าํ

52
V บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
35(มช 37) เครือ่ งทําน้าํ อุน ไฟฟาขนาด 3000 วัตต 220 โวลต ถาอาบน้าํ อุน เปนเวลา 15 นาที
จะเสียคาไฟฟาประมาณ (อัตราคาไฟฟาสําหรับ 5 หนวยแรก เปน 3 บาท/หนวย) (2.25 บาท)
วิธที าํ

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦

ตอนที่ 4 การตอตัวตานทาน
4.1 การตอแบบอนุกรม มีกฏการตอดังนี้
1) Iรวม = I1 = I2
2) V1 ¬ V2
3) Vรวม = V1 + V2
4) Rรวม = R1 + R2
36. จากรูป ก. ใหหาความตานทานรวม (5 ϖ)
ข. ใหหา I1 และ I2 (5 แอมแปร)
ค. ใหหา V1 และ V2 (10 V , 15 V)
ง. ใหหา Vรวม (25 โวลต)
วิธที าํ

53
หุ

V บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
37. จากรูปจงหา กระแสไฟฟารวมของวงจร และ
1ϖ 2ϖ 3ϖ
กระแสไฟฟาทีไ่ หลผานตัวตานทาน 1 ϖ
วิธที าํ ( Iรวม = I1= 3 แอมแปร) V=9V

38. จากขอทีผ่ า นมา จงหาความตางศักยของตัวตานทาน 1 ϖ และ ความตางศักยรวม


วิธที าํ (V1 = 3 โวลต , Vรวม = 18 โวลต)

39. จากรูปจงหา ความตางศักยทค่ี รอม


R1=2ϖ R2=4ϖ
ตัวตานทาน 4 ϖ (16 โวลต)
วิธที าํ V1= 8 V V2= ?

40. จากรูปจงหา ความตางศักยรวมของวงจร


R1=3ϖ R2=8ϖ
วิธที าํ (33 โวลต)
V2= 24 V

41. จากรูปจงหา คาความตานทาน R I รวม = 3 A 2ϖ R


วิธที าํ (4ϖ)
Vรวม = 18 V

54
←V บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
42(มช 41) ถาตองการแบงศักยไฟฟา V โดยใชความตานทาน จะตอง
ใชตวั ตานทาน R1 ขนาดกีโ่ อหม จึงจะไดความตางศักยระหวางจุด
A และ B มีคา เปน 13 V (15 โอหม)
วิธที าํ

4.2 การตอแบบขนาน มีกฏการตอดังนี้


1)
I1 # I2
2)
Iรวม = I1 + I2
3)
Vรวม = V1 = V2
4) 1 1 1
Rรวม = R1 + R2
43. ก. ใหหาความตานทานรวม (2 ϖ)
ข. ใหหา Vรวม (36 โวลต)
ค. ใหหา V1 และ V2 (36 โวลต)
ง. ใหหา I1 และ I2 (12 A , 6 A)
วิธที าํ

55
z
V บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
44. จากรูปจงหา ความตานทานรวม

และ ความตางศักยรวมของวงจร
วิธที าํ (12 โวลต) I รวม = 3 A
12 ϖ

45. กระแสไฟฟา 3.5 แอมแปรไหลผานความตานทาน 3 โอหม และ 4 โอหม ซึง่ ตอกัน


แบบขนานกระแสไฟฟาทีไ่ หลผานความตานทานแตละอันมีคา เทาใด (2 A , 1.5 A)
วิธที าํ

46. จากรูปจงหา หากกระแสทีไ่ หลผานตัวตานทาน 3ϖ


3 ♠ เปน 10 แอมแปร แลวกระแสทีไ่ หลผาน
ตัวตานทาน 6 ♠ จะมีคา กีแ่ อมแปร (5 A)

วิธที าํ

47. จากรูปจงหา หากกระแสทีไ่ หลผานตัวตานทาน 4ϖ


4 ♠ เปน 15 แอมแปร แลวกระแสรวมทีไ่ หล
เขาวงจรทัง้ หมด จะมีคา กีแ่ อมแปร (20 A) I รวม = ?
12 ϖ
วิธที าํ

56
2
V บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
48. ลวดความตานทาน 2 , 3 และ 4 ♠ ตอกันอยาง
ขนาน ถามีกระแสไหลผานลวด 3 ♠ เปน 4
แอมแปร กระแสทัง้ หมดในวงจรเปนเทาไร (13 A)
วิธที าํ

49. จากรูป จงหาความตานทานระหวาง A กับ B


วิธที าํ (6)

50. จากรูป จงหาความตานทานรวม


ระหวาง X กับ Y (8 ϖ)
วิธที าํ

51. นําความตานทานขนาด 1 โอหม จํานวน 20 ตัวมาตอกัน จะตอกันไดความตานทานรวม


มากที่สุด และนอยทีส่ ดุ กีโ่ อหมได (20 ϖ , 0.05 ϖ)
วิธที าํ

57
V บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
52. ลวดความตานทาน 4 เสน ตอกันดังรูป ถา
ความตางศักยระหวางปลายทัง้ สองของความ
ตานทาน 4 โอหม มีคา 8 โวลต จงหากระ
แสทีผ่ า นความตานทานทุกเสน
( I7♠ = 0.8 A , I8♠ = 0.8 A , I10♠ =1.2 A , I4♠ = 2 A)
วิธีทํา

53. กระแสทีไ่ หลผานความตานทาน 1.0 ϖ มีคา เทาใด


I = 0.5 A 16 ♠ 1 ♠

E 8 ♠ 3 ♠
5 ♠ 4 ♠

ก. 0.3 A ข. 0.25 A ค. 0.279 A ง. 0.4 A (ขอ ข)


วิธที าํ

58
คู
E
V บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
54. จากรูปวงจรตอไปนี้ จงหากระแส
R1 = 3 ♠
ทีไ่ หลผาน R2 , R3 , R4 (4 A)
วิธที าํ R2 = 6 ♠ R4 = 6 ♠
60 V
R3 = 6 ♠

55. จากรูปจงหา V1 และ V2 (9 V , 24 V)


R1=3ϖ R2=8ϖ
วิธที าํ

Vรวม= 33 V

59
G
V บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
56. วงจรดังรูป จงหาความตางศักยระหวางจุด a และ b (ก. 6V ข. 4.5 V ค. 6 V)
ก. เมือ่ ไมมตี วั ตานทาน ข. เมือ่ มีตวั ตานทาน 2 k♠ ค. เมือ่ มีตวั ตานทาน 1 M♠
R1=1k♠ R1=1k♠ R1=1k♠
Vin 9V 9V a 9V a
a
Vout R2=2k♠ 2 k♠ R2=2k♠ 1 M♠
R2=2k♠ b b b
ก ข. ค.
วิธีทํา

4.3 วงจรที่มีบางจุดยุบรวมกันได
57. จากรูปตอไปนีจ้ งหาความตานทานรวม 6♠ 3♠ 6♠
ระหวางจุด A กับ B (1.5 โอหม)
C B
A D
วิธีทํา

60

V บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
58. จากรูปตอไปนีจ้ งหาความตานทานรวม 6♠ 3♠ 6♠
ระหวางจุด A กับ B (3.75 โอหม)
C B
A D
วิธีทํา
8♠

59. จากรูปตอไปนีจ้ งหาความตานทานรวม 2♠


A C
ระหวางจุด A กับ B (3 โอหม)
วิธีทํา 1♠
1♠
B D

60. จากรูปตอไปนีจ้ งหาความตานทานรวม 4♠ 2♠


A B
ระหวางจุด A กับ B (1.5 โอหม)
วิธีทํา 4♠ 2♠
3♠
D C

61

V บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
61. จากรูปตอไปนีจ้ งหาความตานทานรวม 1.2 ♠ 5.6 ♠
A C D
ระหวางจุด A กับ B (6 โอหม)
12 ♠ 6♠
วิธีทํา
4♠
B E
F

62. จากรูปทีก่ าํ หนดใหจงหาความตานทาน


1♠ 1♠
รวมระหวางจุด A กับ B (1 โอหม) 1♠ 1♠ B
วิธีทํา b c
1♠ 1♠
a
1♠ d 1♠
f e
A
1♠ 1♠ 1♠ 1♠

62

V บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
4.4 วงจรแบบสมมาตร
63. จงหาความตานทานรวมระหวางจุด
2♠ 2♠
A กับ B ถาตัวตานทานแตละตัว
มีความตานทาน 2 ♠ ( 3 ♠)
วิธีทํา
2♠ 2♠ 2♠ 2♠

A 2♠ 2♠ B
2♠
2♠
2♠
2♠
2♠ 2♠

64. จากวงจรทีก่ าํ หนดใหจงหาความตานทานรวมระหวางจุด x , y (2 R)


2R 2R
R R
R R R R
R R R y
x R
R R
วิธีทํา 2R 2R

63
w
V บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
65. จากรูป จงหาความตานทานรวมระ
หวางจุด x และ y (10 ♠) 20♠
วิธีทํา
5♠ 5♠
6♠ 6♠
x 4♠ y
6♠ 6♠ 5♠
5♠
20♠

4.5 วงจร WHEATSTONE BRIDGE


66. จงหาความตานทานรวมระหวางจุด 100♠ 100♠
A กับ B (100 โอหม)
วิธีทํา A 100♠ B

100♠ 100♠

64
h
V บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
67. จงหาความตานทานรวมระหวางจุด 1♠ 2♠
A กับ B (2.5 โอหม)
วิธีทํา
A 6♠ B

5♠ 10♠

68. จงหาความตานทานรวมระหวางจุด 10♠


A กับ B ( 403 โอหม)
10♠
วิธีทํา C B
A D
20♠
20♠

69. จากรูปจงหาความตานทานรวมระหวางจุด x กับ y (200 โอหม)


200♠
500♠
200♠
x 100♠ 500♠ y
50♠
วิธีทํา
500♠

65
h
V บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
70. จากวงจรในรูป โวลมิเตอรอา นคาไดศนู ย 20♠ R
C
จงหาตัวตานทาน R ในวงจรมีคา กีโ่ อหม
วิธีทํา (6 โอหม)
40♠ 30♠ B
A V
E D
10♠

4.6 วงจร Delta , Wye


71. จงหาความตานทานรวมระหวางจุด A และ B C
จากรูปวงจรทีก่ าํ หนดให (2.6 โอหม) 3♠ 2♠
วิธีทํา
A 5♠ B

2.5♠ 3♠
D

66

V บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
72. จากวงจรดังรูปตัวตานทานทุกตัวมีความตาน
ทานตัวละ 30 โอหม จงหาความตานทานรวม C
ระหวางจุด A และ B ( 100 30♠ 30♠
3 โอหม)
วิธีทํา 30♠

30♠ 30♠ 30♠ 30♠


A B
30♠ F 30♠

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

ตอนที่ 5 แรงเคลือ่ นไฟฟา


แรงเคลือ่ นไฟฟา (E) คือ พลังงานที่ประจุ 1 คูลอมบใชในการเคลื่อนที่จนครบ 1 รอบวงจร
E = I(R+r)
เมือ่ E คือ แรงเคลือ่ นไฟฟา (โวลต)
I คือ ปริมาณกระแสไฟฟา (แอมแปร)
R คือ ความตานทานภายนอกเซลลไฟฟา (โอหม)
r คือ ความตานทานภายในเซลลไฟฟา(โอหม)
67
V
h บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
73. เซลไฟฟาอันหนึง่ มีความตานทานภายใน 2 โอหม เมือ่ ตอกับความตานทาน 8 โอหม
พบวามีกระแสไฟฟาไหล 0.15 แอมแปร แรงเคลือ่ นไฟฟาของเซลไฟฟาอันนีค้ อื ( 1.5 V )
วิธที าํ

74(มช 27) เซลไฟฟาอันหนึง่ มีแรงเคลือ่ นไฟฟา 50 โวลต เมือ่ ตอกับความตานทาน 10 โอหม


พบวามีกระแสไฟฟาไหล 4.5 แอมแปร ความตานทานภายในของเซลไฟฟาอันนีค้ อื
ก. 0 ♠ ข. 0.50 ♠ ค. 1.1 ♠ ง. 5 ♠ (ขอ ค)
วิธที าํ

75(En 36) จงหากระแสไฟฟาทีไ่ หลผาน


แอมมิเตอร (A) ในวงจร (ขอ 3)
1. 0.3 A 2. 0.6 A
3. 1.0 A 4. 1.5 A
วิธที าํ

68

V บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
76. เซลไฟฟาเซลหนึง่ มีแรงเคลือ่ นไฟฟา 2 โวลต ความตานทานภายใน 2♠ ตอเปนวงจร
ดวยลวดความตานทาน 8♠ จงหา
ก. กระแสไฟฟาทีไ่ หลผานวงจร ( 0.2 A)
ข. ความตางศักยทข่ี ว้ั เซล ( 1.6 V)
ค. ความตางศักยภายในเซล ( 0.4 V)
วิธที าํ

77. เมือ่ นําเอาลวดความตานทาน 4 υ ตอเขากับขัว้ แบตเตอรีแ่ รงเคลือ่ นไฟฟา 18 โวลต ความ


ตานทานภายใน 2 υ จะเกิดความตางศักยระหวางขัว้ เซลเทาใด (12 V)
วิธที าํ

78. เมือ่ นําเอาลวดความตานทาน 6 และ 12 υ ตอเขากับขัว้ แบตเตอรีแ่ รงเคลือ่ นไฟฟา 18 V


ความตานทานภายใน 2 υ จะเกิดความตางศักยระหวางขัว้ เซลเทาใด เมือ่ ลวดตานทาน
ทัง้ สองตอกันแบบอนุกรม (16.2 V)
วิธที าํ

69

V บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
79. จากขอทีผ่ า นมา หากตัวตานทาน 6 และ 12 υ เปลีย่ นเปนตอกันแบบขนาน จะเกิดความ
ตางศักยระหวางขัว้ เซลเทาใด (12 V)
วิธที าํ

80. เมือ่ ตอความตานทาน 1 υ เขาระหวางขัว้ เซลลไฟฟาเซลลหนึง่ วัดกระแสไฟฟาได 5


แอมแปร เมือ่ เปลีย่ นความตานทานเปน 7 υ วัดกระแสไฟฟาได 1 แอมแปร เซลลไฟฟา
นีม้ แี รงเคลือ่ นไฟฟาเทาไร ( 7.5 โวลต )
วิธที าํ

81(มช 28) เมือ่ ตอความตานทาน 1♠ เขาระหวางขัว้ เซลลไฟฟาเซลลหนึง่ วัดกระแสไฟฟาได


2 A เมือ่ เปลีย่ นความตานทานเปน 2.5♠ วัดกระแสไฟฟาได 1 A เซลลไฟฟานีม้ แี รง
เคลือ่ นไฟฟาเทาไร
ก. 1.0 V ข. 1.5 V ค. 2.5 V ง. 3.0 V (ขอ ง)
วิธที าํ

70
ะV บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
82(มช 35) ความตานทานตัวหนึง่ ตอกับแบตเตอรี่ ทําใหมกี ระแส 0.6 แอมแปร ไหลผาน
เมือ่ นําความตานทาน 4 โอหม มาตออนุกรมกับความตานทานตัวแรก จะทําใหกระแส
ลดลงไปจากเดิม 0.1 แอมแปร จงหาแรงเคลือ่ นไฟฟาของแบตเตอรี่
ก. 5 โวลต ข. 6 โวลต ค. 12 โวลต ง. 0.48 โวลต (ขอ ค.)
วิธที าํ

83(En 33) เซลไฟฟาหนึง่ เมือ่ เอาลวดความตานทาน 8.5 ♠ ตอระหวางขัว้ ของเซลลจะเกิด


ความตางศักยทข่ี ว้ั ของเซล 2.125 V เมือ่ ทําใหวงจรเปดความตางศักยทข่ี ว้ั เซลเปลีย่ นเปน
2.5 V จงหาความตานทานภายในเซล (1.5 ϖ )
วิธที าํ

84. วงจรไฟฟาดังรูป มีกระแสไฟฟา 4 แอมแปร ผานตัวตานทาน ถาไมคดิ ความตานทาน


ภายในแบตเตอรีจ่ งหา
R = 0.5 โอหม
ก. กระแสไฟฟาทีผ่ า นหลอดไฟ
4 แอมแปร
ข. ความตางศักยระหวางปลายตัวตานทาน 6 โวลต r R1
ค. ความตานทานของหลอดไฟ
หลอดไฟ
ง. พลังงานไฟฟาที่ถูกใชไปใน 10 วินาที
จ. กําลังไฟฟาทีส่ ญ
ู เสียไปในตัวตานทาน
(ก. 4 แอมแปร ข. 2 V ค. 1 โอหม ง. 240 J จ. 8 W)

71
V บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
วิธที าํ

การตอเซลลไฟฟาโดยทั่วไปมี 2 แบบหลัก ๆ ไดแก


1) การตอแบบอนุกรม คือ การตอเซลลไฟฟาใหอยูในสายเดียวกัน
กรณี 1 ตออนุกรมแบบถูกทิศ
Eรวม = E1 + E2
rรวม = r1 + r2

กรณี 2 ตออนุกรมแบบกลับทิศ
Eรวม = E1 – E2
rรวม = r1 + r2
85. จากรูปจงหากระแสทีไ่ หลในวงจร (5 แอมแปร)
วิธที าํ

72
นั
E
V บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
86. จากวงจรทีแ่ สดงตามรูป จงหากระแสในวงจร (ขอ ค)
ก. 0.25 A ข. 0.50 A
ค. 1.00 A ง. 1.50 A
วิธที าํ

87. จากรูป จงหากระแสทีไ่ หลในวงจร (4 แอมแปร)


วิธที าํ

88(En 40) พิจารณาวงจรไฟฟาดังรูป จงหาคา


กระแสไฟฟาทีไ่ หลในวงจร (ขอ 2)
1. 0.25 A 2. 0.50 A
3. 0.75 A 4. 1.00 A
วิธที าํ

73

V บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
2) การตอแบบขนาน คือ การตอเซลลไฟฟาแบบแยกอยูคนละสาย
Eรวม = E และ 1 = r1 + r1
rรวม 1 2

89. จงหา I ทีผ่ า นความตานทาน 2♠ จากรูป (2 A)


วิธที าํ

90. จงหา I ทีผ่ า นความตานทาน 4 ♠


จากรูป (1 A)
วิธีทํา

91. จงหากระแสไฟฟาผานตัวตานทาน a , b และ c


b
ในวงจรไฟฟา ดังรูป a
ให E1 = 3 V Ra = 7 ♠ c
E2 = 3 V Rb = 4 ♠
r1 E1 r2 E2
r1 = 1 ♠ Rc = 12 ♠
r2 = 1 ♠ (0.5 ,0.375 , 0.125 A)
วิธีทํา

74
V บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
92. ไดโอดเปลงแสงตัวหนึง่ จะเปลงแสงเมือ่ มีกระแสไฟฟา 20 มิลลิแอมแปร ผานขณะตอไบ
แอสตรง และความตางศักยระหวางขัว้ 1.7 โวลต ถานําไดโอดตัวนีไ้ ปตอกับแบตเตอรี่ 6
โวลต ทีม่ คี วามตานทานภายในนอยมาก จะตองนําตัวตานทานคาเทาใดมาตออยางไรกับ
วงจรเพือ่ ไมใหไดโอดเสียหาย ( นําความตานทาน 215 โอหม ตออนุกรมกับไดโอด)
วิธีทํา

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

ตอนที่ 6 การหาความตางศักยระหวางเซลล
เราสามารถหาความตางศักยระหวางเซลลไฟฟาใด ๆ ไดจากสมการ
Vab = ϒIR – ϒE
เมือ่ Vab คือ ความตางศักยระหวางจุด a กับจุด b
I คือ กระแสไฟฟาในวงจร
R คือ ความตานทานระหวางจุด a กับ b
E คือ แรงเคลือ่ นไฟฟาระหวางจุด a กับ b
ตองทราบเพิ่มเติม
1. ตองคิดจากจุด a ไปจุด b ตามทิศการไหลของกระแสไฟฟา
2. หาก E มีทศิ ตานกระแสไฟฟา I (คือกระแสเขาขัว้ บวกของเซลล) ตองใช E เปนลบ
หาก E มีทิศเดียวกับกระแสไฟฟา I (คือกระแสเขาขั้วลบของเซลล) ตองใช E เปนบวก
3. Vab = Va – Vb
Vab = –Vba
4. หากเราคิดจนครบรอบวงจร จะไดวา V = 0 จะไดออกมาวา
0 = θIR – θE
ϒE = ϒIR
75
ธึ
EV บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
93. จากวงจรดังรูป จงหาความตางศักย a b
ไฟฟาระหวางจุด b กับ c และระ- 6V 6V 1υ 6υ 12V 2υ
หวางจุด d กับ a (12 , 7.5 โวลต ) 1υ
วิธีทํา 2υ 3υ
d 2V
c
4υ 1υ

94. จากวงจรดังรูป จงหาศักยไฟฟาทีจ่ ดุ 12V 6υ


a b
a,b,c (2.5 , 11 , 9) 1υ
6V 2υ
วิธีทํา 4υ

d 8V
2υ c

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

76
EV บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
ตอนที่ 7 Kirchoft’s Law
กฏของจุด ( Point Rule ) กลาววา “ ทีจ่ ดุ ใดๆ ในวงจรไฟฟาผลรวมของกระแสไฟฟาที่
เขาสูจ ดุ นัน้ ทัง้ หมด จะเทากับผลรวมของกระแสไฟฟาทีไ่ หลออกจากจุดนัน้ ทัง้ หมดเสมอ ”
กฏของวง (Loop Rule ) กลาววา “ ในวงจรไฟฟาทีค่ รบวงจรใดๆ ( วงจรปด ) ผลรวม
ของแรงเคลือ่ นไฟฟาตลอดวงจรนัน้ ๆ จะมีคา เทากับผลรวมของความตางศักยของทุกๆ จุดในวง
จรปดนัน้ ” เขียนเปนสมการจะไดวา ρ E = ρ IR
95. จากวงจรดังรูป จงหากระแสไฟฟาทีผ่ า น 2υ 12V
เซลล 8 โวลต ( 0.5 A) 2υ
วิธีทํา 10V 3υ


8V

96. จากวงจรดังรูปจงคํานวณหากระแสไฟฟา 5V,2υ


ทีผ่ า นตัวตานทาน 2 โอหม ( 1 A)
วิธีทํา 2υ 1υ

2V,1υ

77
a
V บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
97. จากวงจรดังรูป แอมมิเตอรจะอานคาได

เทาไร (4.2 แอมแปร)
1υ 2υ
วิธีทํา A
3V 6V

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

ตอนที่ 8 กัลวานอมิเตอร แอมปมเิ ตอร โวลตมเิ ตอร และโอหมมิเตอร


กัลวานอมิเตอร คือ เครื่องมือใชวัดปริมาณกระแสไฟฟา
1) ตองตอ กัลวานอมิเตอร แบบ...............เขากับตัวตานทานในวงจร
2) ตองนําซันต(R s) มาตอแบบ.................กับกัลวานอมิเตอร เพือ่ ลด
ปริมาณ.....................ทีใ่ หผา นกัลวานอมิเตอรใหมปี ริมาณนอยลง
3) กัลวานอมิเตอร + ซันต เรียกวา ......................ใชวดั กระแสไฟฟา

78
g
V บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
98. แกลแวนอมิเตอรเครือ่ งหนึง่ ความตานทาน RG = 100 โอหม กระแสไฟฟาผานสูงสุด 10
ไมโครแอมแปร ถาตองการกระแสไฟฟา 210 ไมโครแอมแปร ผานตองใช ความตานทาน
Rs ขนาดเทาใดมาตอขนาน (5 ϖ )
วิธที าํ

99(มช 32) แกลแวนอมิเตอรเครือ่ งหนึง่ ความตานทาน RG = 900 โอหม กระแสไฟฟาผาน


สูงสุด 10 ไมโครแอมแปร ถาตองการกระแสไฟฟา 100 ไมโครแอมแปร ผานตองใช
ความตานทาน Rs มีคา เทาไรตออยางไร (ขอ ก)
ก. Rs = 100 โอหม ตอขนานกับแกลแวนอมิเตอร
ข. Rs = 60 โอหม ตอขนานกับแกลแวนอมิเตอร
ค. Rs = 100 โอหม ตออนุกรมกับแกลแวนอมิเตอร
ง. Rs = 90 โอหม ตออนุกรมกับแกลแวนอมิเตอร
วิธที าํ

100(มช 26) แอมปมเิ ตอรวดั กระแสได 1 mA ตองใชความตานทานซันต 10♠ ตอขนานกัล-


วานอมิเตอรซึ่งมีความไว 100 →A คาความตานทานของกัลวานมิเตอร(RG) มีคาเทาใด
ก. 100♠ ข. 90♠ ค. 10♠ ง. 2♠ (ขอ ข)
วิธที าํ

79

V บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
101(En 44/2) แกลแวนอมิเตอรตวั หนึง่ มีความตานทาน 20 โอหม อานไดเต็มสเกลเมือ่ ตอเขา
กับความตางศักย 0.2 โวลต ถาตองการทําใหเปนแอมมิเตอรทอ่ี า นเต็มสเกลได 1 แอมแปร
โดยตอตัวตานทานขนาน (หรือซันต) กับแกลแวนอมิเตอรน้ี ขณะทีแ่ อมมิเตอรอา นไดเต็ม
สเกลกระแสทีผ่ า นซันตมคี า เทาใด
1. 0.01 A 2. 0.10 A 3. 0.90 A ง. 0.99 A (ขอ 4)
วิธที าํ

การวัดความตางศักยไฟฟา
1) ตองตอ กัลวานอมิเตอร แบบ................กับตัวตานทานในวงจร
2) ตองนํามัลติพลายเออร (Rm) ซึ่งมีคามากๆ มาตอแบบ..............
กับกัลวานอมิเตอร เพือ่ ใหกระแสไหลมาหากัลวานอมิเตอร
นอยๆ ทําใหเหลือกระแสไหลผานตัวตานทาน (R) ใกลเคียง
กับกระแสเดิม จะทําใหวดั ความตางศักยไดใกลเคียงความจริง
3) กัลวานอมิเตอร + มัลติพลายเออร เรียกวา ..................... ใชวดั
ความตางศักย
102(มช 27) การดัดแปลงกัลวานอมิเตอรเปนโวลต จะตองนําความตานทานมาตอรวมแบบใด
ก. ซันตและความตานทานมีคา นอย ข. ซันตและความตานทานมีคา มาก
ค. อนุกรมและความตานทานมีคา นอย ง. อนุกรมและความตานทานมีคา มาก (ขอ ง)
103 (มช 37) แกลแวนอมิเตอรเครือ่ งหนึง่ มีความตานทาน 1000 โอหม วัดกระแสไฟฟาสูงสุด
100 ไมโครแอมแปร จงหาขนาดของความตานทานทีน่ าํ มาตอกับแกลแวนอมิเตอรน้ี เพือ่
ดัดแปลงใหเปนโวลตมเิ ตอรทว่ี ดั ความตางศักยสงู สุด 1 โวลต (9000 ϖ)
วิธที าํ

80

V บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
104(มช 44) แกลแวนอมิเตอรเครือ่ งหนึง่ มีความตานทาน 0.2 โอหม กระแสไฟฟาสูงสุดทีไ่ หล
ผานไดมคี า 50 มิลลิแอมแปร ตองหาความตานทานเทาไร (โอหม) มาตอกับแกลแวนอ–
มิเตอรน้ี เพือ่ ใหวดั ความตางศักยไดสงู สุด 100 มิลลิโวลต
1. 0.2 2. 1.8 3. 2 4. 2.4 (ขอ 2)
วิธที าํ

การวัดความตานทาน
โอหมมิเตอร (Ohmmeter) คือ G
เครือ่ งมือทีใ่ ชวดั ความตานทาน สวน E
ประกอบทีส่ าํ คัญของโอหมมิเตอร คือ R0
แกลแวนอมิเตอร ตอกับตัวตานทาน
แปรคา R0 และ เซลลไฟฟา E ดังรูป
x y
Rx

เมือ่ ตองการวัดความตานทาน Rx ใดๆ ใหเอาขัว้ x และ y ไปตอทีป่ ลายตัวตานทานนัน้


ซึง่ จะมีผลใหกระแสไฟฟาผานโอหมมิเตอร ถา Rx มีคา มาก กระแสไฟฟาผานโอหมมิเตอร
มีคา นอย เข็มจะเบนนอย แตถา Rx มีคา นอย กระแสไฟฟาผานโอหมมิเตอรมคี า มาก เข็มจะ
เบนมาก แตถา นําปลาย x และ y แตะกัน ถือวาความตานทานเปนศูนย กระแสไฟฟาจะผาน
โอหมมิเตอรมากทีส่ ดุ เข็มของโอหมมิเตอรจะเบนไดมากทีส่ ดุ ตําแหนงของเข็มขณะนีต้ อ งชี้
ศูนย ดังนัน้ สเกลของโอหมมิเตอร จะกลับกับแอมมิเตอร และโวลตมเิ ตอร
81

V บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
105. โอหมมิเตอรตวั หนึง่ ภายในมีเซลลไฟฟา ซึง่ มีแรงเคลือ่ นไฟฟา 3 โวลต และมีความตาน
ทานภายใน 5 โอหม ตออนุกรมอยูก บั ตัวตานทานแปรคามีความตานทาน 250 โอหม
และแกลแวนอมิเตอรมคี วามตานทาน 45 โอหม
ก. ถาตอปลายทัง้ สองของโอหมมิเตอร กันโดยตรงจะมีกระแสไฟฟาผานแกลแวนอ-
มิเตอรเทาไร (0.01 แอมแปร)
ข. ถาตอปลายทัง้ สองของโอหมมิเตอรเขากับตัวตานทานตัวหนึง่ ปรากฏวามีกระแสไฟ
ฟาผาน 0.005 แอมแปร ตัวตานทานทีต่ อ มีความตานทานเทาไร (300 โอหม)
วิธที าํ

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

ตอนที่ 9 แมเหล็ก และ สนามแมเหล็ก


สมบัตเิ บือ้ งตนของแมเหล็ก
1) แทงแมเหล็ก 1 แทงจะมี 2 ขัว้ คือ ขัว้ เหนือและขัว้ ใตเสมอ
2) ขัว้ แมเหล็กชนิดเดียวกันจะผลักกัน และขัว้ ตางกันจะดูดกันเสมอ
3) บริเวณรอบ ๆ แทงแมเหล็กซึง่ ปกติจะมีแรง
ทางแมเหล็กแผออกมาตลอดเวลา บริเวณ
โดยรอบแทงแมเหล็กนีเ้ รียก สนามแมเหล็ก
สนามแมเหล็กจะเปนปริมาณเวกเตอร ซึง่ ภายนอกแทงแมเหล็ก จะมีทศิ ออกจากขัว้ เหนือ
เขาหาขัว้ ใต และภายในแทงแมเหล็กจะมีทศิ จากขัว้ ใตไปหาขัว้ เหนือ
82

V บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
4) เสนทีเ่ ขียนแทนแรงทีแ่ มเหล็กแผออกมา
เรียก เสนแรงแมเหล็ก
5) จํานวนเสนแรงแมเหล็ก เรียกวา ฟลักซ
แมเหล็ก (∑) ซึง่ มีหนวยเปน เวเบอร

เราสามารถคํานวณหา ฟลักซแมเหล็ก ซึง่ ตกบนพืน้ ทีร่ องรับหนึง่ ไดจากสมการ


 = BA sin ±
เมือ่  = ฟลักซแมเหล็ก (เวเบอร)
B = ความเขมสนามแมเหล็ก (เวเบอร/m2 , เทสลา)
A = พืน้ ที่ (m2 )
± = มุมระหวางสนามเมเหล็กกับพืน้ ทีร่ องรับ

106. จงวาดรูปเสนแรงแมเหล็กตอไปนี้
ใหสมบูรณ N S

107. ฟลักซแมเหล็ก คือ .................................................................... มีหนวยเปน ...................


108. ขดลวดพืน้ ที่ 10 x 10–4 m2 วางอยูใ นบริเวณทีม่ สี นามแมเหล็กขนาดสม่าํ เสมอ 10 เทสลา
จงหาคาฟลักซแมเหล็กทีผ่ า นขดลวด เมือ่ ระนาบของขดลวดทํามุม 90o กับสนามแมเหล็ก
วิธที าํ (10–2)

109. จากขอทีผ่ า นมา จงหาคาฟลักซแมเหล็กทีผ่ า นขดลวด เมือ่ ระนาบของขดลวดทํามุม 30o


กับสนามแมเหล็ก (5x10–3 )
วิธที าํ

83

V บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
110. จากขอทีผ่ า นมา จงหาคาฟลักซแมเหล็กทีผ่ า นขดลวด เมือ่ ระนาบของขดลวดทํามุม 0o
กับสนามแมเหล็ก (0 เวเบอร)
วิธที าํ

111(มช 34) กลองสีเ่ หลีย่ มซึง่ แตละดานมีพน้ื ทีเ่ ทากันหมดเทากับ 0.10 ตารางเมตร วางอยูใ น
สนามแมเหล็กสม่าํ เสมอขนาด 5 เทสลา โดยทีท่ ศิ ทางของสนามแมเหล็กตัง้ ฉากกับระนาบ
ของกลองดานใดดานหนึง่ ฟลักซสนามแมเหล็กทีผ่ า นกลองนีค้ อื (ขอ ข)
ก. 0 Wb ข. 0.5 Wb ค. 1.0 Wb ง. 03 Wb
วิธที าํ

112(En 43/1) ขดลวดของมอเตอรไฟฟามีพน้ื ทีห่ นาตัด 0.4 m2 วางอยูใ นสนามแมเหล็ก 2


เทสลา โดยมีแนวระนาบของขดลวดทํามุม
30o กับสนามแมเหล็กดังรูป จงคํานวณวา
ฟลักซแมเหล็กทีผ่ า นขดลวดเทากับเทาไร
1. 1.0 Weber 2. 0.8 Weber
3. 0.6 Weber 4. 0.4 Weber (ขอ 4)
วิธที าํ

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

84
t
V บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
ตอนที่ 10 แรงกระทําตออนุภาคไฟฟาซึง่ เคลือ่ นทีใ่ นสนามแมเหล็ก
เมือ่ อิเลคตรอนหรือประจุลบใด ๆ เคลือ่ นทีต่ ดั สนามแมเหล็ก จะเกิดแรงกระทําตอประจุ
ไฟฟานัน้ ซึง่ สามารถหาทิศของแรงกระทําตออิเลคตรอนนีไ้ ดโดยใชกฎมือซาย

113(มช 37) ถามีอเิ ลคตรอนวิง่ ตามแนวราบไปทางขวาผานสนามแมเหล็กขนาดสม่าํ เสมอซึง่ มี


ทิศพุง ออกมาตัง้ ฉากกับระนาบของแผนกระดาษ แนวทางการเคลือ่ นทีข่ องอิเลคตรอน คือ
1. วิง่ ในแนวราบตามเดิม
2. เบีย่ งเบนจากแนวเดิมลงขางลาง
3. เบีย่ งเบนพุม ออกมาจากแผนกระดาษตามทิศของสนามแมเหล็ก
4. เบีย่ งเบนจากแนวเดิมขึน้ ขางบน (ขอ 4)
วิธที าํ

85
a
V บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
สําหรับขนาดของแรงทีก่ ระทําตอประจุลบ เราสามารถหาคาไดจากสมการ
F = qv B sin ±
เมือ่ q = ประจุ (คูลอมบ)
V = ความเร็วของประจุนน้ั (m/s)
B = ความเขมสนามไฟฟา (เทสลา)
± = มุมระหวางสนามแมเหล็กกับทิศความเร็ว
114. ประจุไฟฟา –3.2 x10–19 คูลอมบ เคลือ่ นทีด่ ว ยความเร็ว 2.5 x 105 เมตรตอวินาที
ผานเขาไปในบริเวณทีม่ สี นามแมเหล็กขนาด 1.2 เทสลา โดยทิศของความเร็วตัง้ ฉากกับ
ทิศของสนามแมเหล็ก จงหาขนาดของแรงทีก่ ระทําตอประจุไฟฟานี้ (9.6 x 10–14 N )
วิธที าํ

ควรทราบเพิ่มเติมเกี่ยวกับแรงที่สนามแมเหล็กกระทําตอประจุไฟฟา
1) หากประจุบวกเคลือ่ นทีต่ ดั สนามแมเหล็ก ก็จะเกิดแรงกระทํา
ตอประจุบวกนัน้ เชนกันเราสามารถหาขนาดของแรงกระทําได
จากสมการ F = q v B sin ± (เหมือนแรงกระทําตอ e )
และหาทิศของแรงไดโดยใชกฎมือขวา ดังรูป
2) กรณีตอ ไปนี้ แรงกระทํามีคา เปนศูนย
2.1 q = 0 เชนกรณีทน่ี วิ ตรอนเคลือ่ นทีต่ ดั สนามแมเหล็ก
2.2 กรณีความเร็ว (V) มีคา เปนศูนย
2.3 กรณีทป่ี ระจุไฟฟาเคลือ่ นขนานกับทิศสนามแมเหล็ก กรณีน้ี ± = 0o จะได
sin ± = sin 0o = 0 ทําใหแรงกระทํามีคา เปนศูนยเชนกัน

86
r
V บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
3) เมือ่ ประจุไฟฟาถูกแรงกระทําในสนามแมเหล็ก ประจุไฟฟานัน้ จะเคลือ่ นทีเ่ ปนรูปวงกลม
ซึง่ หารัศมีไดจาก
sin±
R = m vqB
หากประจุเคลื่อนที่ตั้งฉากกับสนามแมเหล็ก จะได
R = m v qB sin90o

นัน่ คือ R = mqBv เมือ่ m คือ มวลของประจุนน้ั (kg)


หากประจุเคลื่อนที่เอียงทํามุมกับสนามแมเหล็ก ประจุนน้ั จะเคลือ่ นเปนเกลียวสปริง ดังรูป
115. โปรตอนตัวหนึง่ เขามาในสนามแมเหล็กขนาด 1.5 เทสลา ดวยความเร็ว 2x107 เมตร/วินาที
โปรตอนเปนอนุภาคมีประจุไฟฟา 1.6 x 10–19 คูลอมบ จงคํานวณหาแรงทีส่ นามแมเหล็ก
นีก้ ระทําตอโปรตรอนเมือ่ (ก. 2.4x10–12 N ข. 4.8x10–12 N)
ก) โปรตอนทํามุม 30o กับสนามแมเหล็ก ข) โปรตอนทํามุมฉากกับสนามแมเหล็ก
วิธที าํ

116(En 43/1) โปรตอนจากดวงอาทิตยเคลือ่ นทีล่ งหาผิวโลกในแนวดิง่ บริเวณเสนสูตรศูนยของ


โลก ซึง่ มีสนามแมเหล็กโลกขนานกับผิวโลก โปรตอนจะเบนไปทางทิศใด
1. ทิศเหนือ 2. ทิศตะวันตก 3. ทิศใต 4. ทิศตะวันออก (ขอ 4)
ตอบ

117(มช 27) สนามแมเหล็กจะไมมีผล ตอ


ก. ประจุไฟฟาที่อยูนิ่ง ข. ประจุไฟฟาที่เคลื่อนที่
ค. แมเหล็กถาวรทีอ่ ยูน ง่ิ ง. แมเหล็กถาวรทีเ่ คลือ่ นที่ (ขอ ก)
ตอบ
87

V บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
118(En 34) เมือ่ อิเลกตรอนเคลือ่ นทีผ่ า นบริเวณหนึง่ ซึง่ มีสนามกรณีใดทีค่ วามเร็วของอิเล็ก-
ตรอนไมเปลีย่ นแปลง
1. ขนานกับสนามแมเหล็ก 2. ขนานกับสนามไฟฟา
3. ตั้งฉากกับสนามแมเหล็ก 4. ตั้งฉากกับสนามไฟฟา (ขอ 1)
ตอบ

119(En 41)อนุภาคแอลฟาและอนุภาคบีตาเคลือ่ นทีเ่ ขาไปในแนวขนานกับสนามแมเหล็ก B ที่มี


คาสม่าํ เสมอดังรูป การเคลือ่ นทีใ่ นสนามแมเหล็กของอนุภาคทัง้ สองจะเปนอยางไร
1. เปนเสนตรง
2. เปนวงกลม โดยวิ่งวนคนละทางกัน
3. เปนวงกลม โดยวิ่งวนทางเดียวกัน
4. เปนรูปเกลียว (ขอ 1)
ตอบ

120(มช 31) ยิงอิเล็กตรอนดวยความเร็ว 5.0x107


เมตร/วินาที เขาไปในทิศตั้งฉากกับ B จะมี
แรงกระทําตออิเล็กตรอนดวยขนาดเทาไร ใน
หนวยของนิวตัน (ขอ ก)
ก. 2.8 x 10–14 ข. 0.7 x 10–10
ค 1.0 x 102 ง. 1.8 x 105
วิธที าํ

121(มช 31) จากขอทีผ่ า นมาอิเล็กตรอนจะมีการเคลือ่ นทีอ่ ยางไร (ขอ ค)


ก. หยุดนิง่ กับทีเ่ นือ่ งจากแรงโนมถวง ข. เคลือ่ นทีเ่ ปนรูปพาราโบลา
ค. เคลือ่ นทีเ่ ปนวงกลมในทิศตามเข็มนาฬิกา ง. เคลือ่ นทีเ่ ปนวงกลมในทิศทวนเข็มนาฬิกา
ตอบ
88

V บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
122(มช 31) จากขอทีผ่ า นมารัศมีความโคงของการเคลือ่ นทีข่ องอิเล็กตรอนมีคา กีเ่ มตร (ขอ ง)
ก. 8.31 x 10–55 ข. 3.94 x 10–22 ค. 2.78 x 10–10 ง. 8.13 x 10–2
วิธที าํ

123. อนุภาคดิวเทอรอนเคลือ่ นทีด่ ว ยความเร็ว 9.6 x 106 เมตรตอวินาที ในทิศทางที่ตั้งฉาก


กับสนามแมเหล็กที่มีขนาด 0.4 เทสลา ทําใหอนุภาคดิวเทอรอนเคลือ่ นทีเ่ ปนวงกลม
รัศมี 0.5 เมตร อัตราสวนระหวางประจุตอมวลของอนุภาคดิวเทอรอน จะมีคา กีค่ ลู อมบตอ
กิโลกรัม
1. 2.1 x 10–8 2. 2.1 x 10–6 3. 4.8 x 105 4. 4.8 x 107 (ขอ 4)
วิธที าํ

124. อิเล็กตรอนทีจ่ ดุ A ดังรูป มีความเร็ว(Vo) 107 m/s


จงหา
ก) ขนาดของความเขมสนามแมเหล็กที่ทําให
อิเล็กตรอนเคลือ่ นทีจ่ าก A ไป B
(1.14 x 10–3 เทสลา)
ข) เวลาทีใ่ ชในการเคลือ่ นทีจ่ าก A ไป B
วิธที าํ (1.57 x 10–8 วินาที)

89
รV บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
125. ในเครือ่ งเรงอนุภาคบางแบบ อนุภาคจะถูกทําใหวิ่งเปนวงกลม โดยใชสนามแมเหล็กที่มี
ทิศทางตัง้ ฉากกับแนวทีอ่ นุภาควิง่ ถาสนามแมเหล็กสม่ําเสมอขนาด B เทสลา และอนุภาค
มีมวล m ประจุ q เวลาทีอ่ นุภาควิง่ แตละรอบจะตองเปนกีว่ นิ าที
1. 2mB
°q 2. 2°
qB
m 3. 3qB
°B 4. 2°mqB (ขอ 2)
วิธที าํ

126. อิเล็กตรอนเคลือ่ นทีด่ ว ยความเร็ว 100 เมตร/วินาที เขาไปในสนามแมเหล็ก ซึ่งมีคา 0.1


เทสลา ในแนวตั้งฉากกับสนามแมเหล็กนั้น กินเวลากี่วินาที ทิศทางของการเคลือ่ นทีจ่ งึ จะ
เบนไปจากเดิม 60o กําหนดใหมวลของอิเล็กตรอน = 9x10–31 กิโลกรัม
1. 0.5x10–12 2 6x10–11 3. 7x10–8 4. 8x10–9 (ขอ 2)
วิธที าํ

127. อนุภาคมวล 0.5 กรัม มีประจุไฟฟา –2.5 x 10–8 คูลอมบ เคลือ่ นทีใ่ นแนวระดับดวย
ความเร็วตน 6 x 104 m/s เขาไปในสนามแมเหล็ก แตยงั คงเคลือ่ นทีไ่ ปไดในแนวระดับ
จงหาขนาดของสนามแมเหล็ก (3.33 เทสลา)
วิธที าํ

90
q
V บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
ตอนที่ 11 สนามแมเหล็กทีเ่ กิดจากกระแสไฟฟาไหลในตัวนํา
เออรเสตด นักฟสิกสชาวเดนมารค เปนผูค น พบวา เมือ่ ปลอย
ใหกระแสไฟฟาไหลผานตัวนําจะเกิดสนามแมเหล็กขึ้นรอบ ๆ ตัวนํา
ในทิศทางที่เราสามารถหาได โดยใชกฏมือขวาโดยใหใชมอื ขวาโดย
ใชมือขวากําเสนลวดนั้น และใหชน้ี ว้ิ หัวแมมอื ไปตามทิศของกระแส
จะไดวาทิศของสนามแมเหล็กจะไหลตามทิศสี่ ที่กําขดลวด
สําหรับขนาดของสนามแมเหล็กหาจาก
B = (2x10–7) RI
เมือ่ B = สนามแมเหล็กเหนีย่ วนํารอบลวดโลหะตัวนํา (Tesla)
I = กระแสไฟฟา (A)
R = ระยะหางจากตัวนําถึงจุดที่วัดคาสนาม (m)
โปรดสังเกตุ ทิศของสนามแมเหล็กจะตั้งฉากกับทิศของกระแสไฟฟาเสมอ

128(มช 36) ถามีกระแสไหลในลวดตัวนําเสนตรงดังรูป


จะมีอะไรเกิดขึน้ กับอนุภาคอิเลคตรอน ก. และ ข.
ซึง่ กําลังเคลือ่ นทีข่ นานกับเสนลวดนีด้ ว ยอัตราเร็ว v (ขอ 1)
1. อิเลคตรอน ก และ ข เคลือ่ นทีเ่ ขาหาลวดตัวนํา
2. อิเลคตรอน ก และ ข เคลือ่ นทีอ่ อกจากลวดตัวนํา
3. อิเลคตรอน ก เคลือ่ นทีเ่ ขาหาลวดตัวนํา และ อิเลคตรอน ข เคลือ่ นทีอ่ อกหาง
4. อิเลคตรอน ก เคลื่อนที่ออกหางลวดตัวนํา และ อิเลคตรอน ข เคลื่อนที่เขาหาลวดตัวนํา

129(En42/1) AB เปนสวนของลวดตรงยาวมีกระแส I
จาก A ไป B และมีอเิ ล็กตรอนประจุ –e กําลัง
วิง่ ผานจุด C ดวยความเร็ว v ซึ่งมีทิศขนานกับ
AB ดังรูป ขณะนัน้ อิเล็กตรอนมีความเรงตามขอใด
1. มีความเรงในทิศเขาหาเสน AB 2. มีความเรงในทิศออกจากเสน AB
3. มีความเรงในทิศขนานกับการเคลือ่ นที่ 4. ไมมคี วามเรง (ขอ 2)

91
q
V บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
หากเราปลอยกระแสไฟฟาไหลวนเกลียวขดลวด
จะเกิดสนามแมเหล็กไหลวนรอบเกลียวขดลวดนัน้ ดังแสดง
ในรูป ทิศการไหลวนของสนามแมเหล็กนี้สามารถหาได
โดยใชกฏมือขวา โดยเอามือขวากําขดลวดทัง้ เกลียว และ
ใหนิ้วทั้งสี่วนตามกระแสไฟฟา หากหัวแมมือชี้ไปทางทิศใด สนามแมเหล็กจะวนออกขด
ลวดทางดานนัน้ ลักษณะนี้จะทําใหขดลวดนี้เปนเสมือนแทงแมเหล็กแทงหนึ่ง โดยดานที่
หัวแมมอื ชีไ้ ปจะเปนขัว้ แมเหล็กเหนือ เพราะมีสนามแมเหล็กพุงออกดังกลาว ขดลวดที่มี
กระแสไฟฟาไหลผานแลวกลายเปนเสมือนแทงแมเหล็กเชนนี้ เรียก ขดลวดโซลินอยด
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

ตอนที่ 12 แรงกระทําตอลวดทีม่ กี ระแสไหลผานในสนามแมเหล็ก


หากเรามีเสนลวดวางอยูใ นสนามแมเหล็ก และมี
กระแสไฟฟาไหลผาน จะเกิดแรงกระทําตอเสนลวดนัน้
เราสามารถหาทิศของแรงทีก่ ระทํานัน้ ได โดยใช
กฏมือขวาดังแสดงในรูปภาพ
และหาขนาดของแรงกระทํานั้นไดจากสมการ
F = I L B sin ±
เมือ่ F = แรงกระทําตอเสนลวดนัน้ (N)
I = กระแสที่ไหลผาน (A)
L = ความยาวของขดลวด (m)
± = มุมระหวางทิศกระแสกับสนามแมเหล็ก

130. ลวดเสนหนึ่งยาว 5.0 เซนติเมตร มีกระแสไหล 4


แอมแปร วางอยูในสนามแมเหล็กขนาดสม่ําเสมอ
10–3 เทสลา โดยลวดเอียงทํามุม 30o กับสนามแม
เหล็กดังรูป จงหาขนาดของแรงแมเหล็กทีก่ ระทํา
ตอลวดเสนนี้ ( 1x10–4 นิวตัน)
วิธที าํ

92

V บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
131(มช 36) ลวดเสนหนึ่งยาว 5 เมตร มีกระแสไหลผาน 4 แอมแปร วางอยูในสนามแมเหล็ก
ขนาดสม่ําเสมอ 10–3 เทสลา โดยลวดทํามุมฉากกับสนามแมเหล็กขนาดของแรงที่กระทํา
ตอลวดเปนกีน่ วิ ตัน (0.02 นิวตัน)
วิธที าํ

132. เสนลวดตัวนํายาว 60 เซนติเมตร มีกระแสไฟฟาไหลผาน 10 แอมแปร และทํามุม 30o


กับทิศของสนามแมเหล็กขนาด 1.5 เทสลา จงหา
ก. ขนาดของแรงทีเ่ กิดขึน้ (4.5)
ข. ถามีมวล 9 กิโลกรัม จงหาความเรง (0.5 m/s2)
ค. ในเวลา 2 วินาที จะมีความเร็วเทาใด (1 m/s)
วิธที าํ

133. แทงตัวนํายาว 10 เซนติเมตร มวล 0.05 กิโลกรัม มีกระแสไฟฟาผาน 25 แอมแปร เมือ่


นําไปไวในบริเวณที่มีสนามแมเหล็กขนาดสม่ําเสมอ ปรากฏวาแทงตัวนํานี้สามารถลอยนิ่ง
อยูในสนามแมเหล็ก จงหาวาขนาดของสนามแมเหล็กมีคากี่เทสลา (ขอ 2)
1. 13 2. 15 3. 17 4. 19 5. 111
วิธที าํ

93

V บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
แรงกระทําระหวางลวดตัวนํา 2 เสนที่ขนานกันและมีกระแสไฟฟาไหลผาน
กรณีทม่ี ลี วดตัวนํา 2 เสน ขนานกัน
หากมีกระแสไฟฟาไหลไปในทางตรงกันขาม
ลวดทั้ง 2 จะเกิดแรงผลักกัน
หากมีกระแสไฟฟาไหลไปทางเดียวกัน
ลวดทั้ง 2 จะเกิดแรงดูดกัน
134(En 44/1) สายไฟทีเ่ ดินในอาคารประกอบขึน้ ดวยลวดทองแดง 2 เสน หุมฉนวนและมี
เปลือกหุมให 2 เสน รวมอยูด ว ยกันอีกชัน้ หนึง่ เมื่อมีการใชเครื่องไฟฟาในบาน ลวด 2 เสน
จะมีแรงกระทําตอกันหรือไม และอยางไร
1. ไมมแี รงกระทําตอกัน เพราะมีฉนวนหุมแยกจากกันไมได
2. มีแรงกระทําตอกัน โดยผลักและดูดสลับกันเพราะเปนไฟฟากระแสสลับ
3. มีแรงกระทําตอกันและเปนแรงดูดเขาหากัน
4. มีแรงกระทําตอกันและเปนแรงผลักซึ่งกันและกัน (ขอ 4)

แรงกระทําตอขดลวดทีอ่ ยูใ นสนามแมเหล็ก และมีกระแสไฟฟาไหลผาน


หากเรานําขดลวดไปไวในสนามแมเหล็ก แลวปลอย
กระแสไฟฟาใหเขาไปไหลวนดังรูป จะพบวาแรง
กระทําตอขดลวด 2 ขางจะมีทิศตรงกันขาม จะสง
ผล ทําใหขดลวดนัน้ เกิดการหมุนตัวเราสามารถหา
โมเมนตการหมุนของขดลวดนีไ้ ดจากสมการ
M = N I A B cos ±
เมือ่ M = โมเมนตของแรงคูค วบ (N.m)
N = จํานวนรอบของขดลวด
A = พืน้ ทีข่ องขดลวด (m2)
B = ความเขมสนามแมเหล็ก (เทสลา)
± = มุมระหวางระนาบพืน้ ที่ (A) กับ
สนามแมเหล็ก (B)
94

V บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
ควรจํา 1) โมเมนตสงู สุดเกิดเมือ่ A ขนานกับ B คือ ± = 0o
2) โมเมนตตาํ่ สุดเกิดเมือ่ A ตั้งฉากกับ B คือ ± = 90o
เพราะ M = N I A B cos ±
M = N I A B cos 90o
M = N I A B (0)
M= 0

135. ขดลวดตัวนํารูป พื้นที่ 10 cm2 วางอยูใ นบริเวณทีม่ สี นามแมเหล็ก 5 เทสลา ถาจํานวน


ขดลวดตัวนําเทากับ 400 รอบ จงหาโมเมนตของแรงคูค วบทีเ่ กิดขึน้ เมือ่ ระนาบ ขดลวดทํา
มุม 60o กับแนวสนามแมเหล็ก คาของกระแสที่ผานขดลวดเทากับ 6 แอมแปร (6 N.m)
วิธที าํ

136(มช 36) ขดลวดวงกลมมีพื้นที่หนาตัด 60 ตารางเซนติเมตร มีขดลวดพันอยู 600 รอบ และ


มีกระแสไหลผาน 1 แอมแปร วางไวในสนามแมเหล็กที่มีความเขม 1 เทสลา โมเมนต
สูงสุดของขดลวดจะมีคา กีน่ วิ ตันเมตร (3.6 N.m)
วิธที าํ

95
E
V บทที่ 16 ไฟฟาและแมเหล็ก (1)
มอเตอรกระแสตรง

จากหลักการณของขดลวดหมุนตัวในสนามแมเหล็กทีผ่ า นมา เราอาจนําไปสรางเปน


มอเตอรกระแสตรงได แตอาจมีปญ  หาเบือ้ งตนดังนี้
ปญหาที่ 1 เมื่อขดลวดหมุนไปไดครึ่งรอบสายไฟที่ตอกระแสเขาจะเกิดการไขวกันทําให
กระแสไหลกลับดานกับตอนแรกสงผลใหขดลวดหมุนกลับไปกลับมาดังรูป
วิธีแกคือ ใสวงแหวนครึ่งซีกสัมผัสกับแปลงขดลวดตัวนํา ดังรูป
ปญหาที่ 2 เมือ่ ขดลวดหมุนตัวไป 1/4 รอบ ระนาบพื้นที่จะตั้งฉากกับสนามแมเหล็ก
โมเมนตการหมุนจะมีคาเปน 0 ขดลวดจะหยุดหมุน
วิธีแกคือ ใสขดลวดเพิ่มเขาไปอีกในระนาบตั้งฉากกับขดลวดเดิม ดังรูป
137. ตามรูปมอเตอรจะหมุนอยางไร
ก. จะหมุนกลับไปกลับมาจากตามเข็ม
นาฬิกาแลวทวนเข็มนาฬิกา
ข. จะหมุนกลับไปกลับมา จากทวนเข็ม
นาฬิกาแลวตามเข็มนาฬิกา
ค. หมุนตามเข็มนาฬิกา
ง. หยุดนิง่ (ขอ ข)
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

96
*
V บทที่ 17 ไฟฟาและแมเหล็ก (2)
ฟ สิ ก ส บทที่ 17 ไฟฟ า และแม เ หล็ ก (2)
ตอนที่ 1 กระแสเหนีย่ วนํา
หากเราเคลือ่ นลวดตัวนํา หรือ ขดลวดตัวนํา
ตัดสนามแมเหล็ก หรือเคลื่อนฟลักซแมเหล็กตัด
ขดลวดตัวนําจะทําใหเกิดกระแสไฟฟาไหลในตัว
นํานัน้ เรียกปรากฏการณนี้วาเปน การเหนีย่ วนํา
ทางไฟฟา (electromagnetic induction)
กระแสไฟฟาที่เกิดเรียก กระแสเหนีย่ วนํา
(induced current)
แรงเคลื่อนไฟฟาที่เกิด เรียก แรงเคลื่อนไฟฟา
เหนีย่ วนํา (induced electromotive force)
กรณีลวดเสนตรง เราหาแรงเคลื่อนไฟฟาไดจาก
E = BLv
เมือ่ L = ความยาวเสนลวด (m)
v = ความเร็วในการเคลือ่ นที่ (m/s)
กรณีใชขดลวดหมุนตัดสนามแมเหล็กกระแสไฟ
ฟาที่ไหลออกมาจะมีทิศกลับไปมากลับมา เรียกวา
กระแสไฟฟาสลับ

1. B เปนสนามแมเหล็ก มีทิศพุงตั้งฉากลงใน
!
กระดาษมีขนาด 1.0 เทสลา PQ เปนตัวนําวาง
อยูบ นรางโลหะ TS และ UR โดย PQ เคลือ่ น
ที่ไปทางซายดวยความเร็ว 8 เมตร/วินาที ระ
หวาง S และ R มีความตานทานตออยู 5 โอหม
แรงเคลือ่ นไฟฟาเหนีย่ วนําในตัวนํา PQ มีคา
เทาใดในหนวยของโวลต (3.2)
วิธที าํ
97
8
V บทที่ 17 ไฟฟาและแมเหล็ก (2)
หากเราเคลือ่ นฟลักซแมเหล็กตัดขดลวด ก็จะทําใหเกิดกระแสไหลเวียนในขดลวดนัน้
เชนกัน เราสามารถหาทิศการไหลวนของกระแสไฟฟาทีเ่ กิดไดโดยใชกฏมือซาย ดังนี้
1) ใชมอื ซายกําขดลวดตัวนํา โดยใหนว้ิ หัวแมมอื ชีต้ ามทิศของสนามแมเหล็ก
2) หากฟลักซแมเหล็กทีไ่ หลผานพืน้ ทีข่ ดลวดมีปริมาณเพิม่ ขึน้ กระแสเหนีย่ วนําจะมีทศิ
วนตามนิว้ ทัง้ 4 ทีเ่ หลือ แตหากฟลักซมีปริมาณลดลง กระแสเหนีย่ วนําจะมีทศิ
วนในทิศตรงกันขามกับนิว้ ทัง้ 4

2(มช 31) แทงแมเหล็กเคลือ่ นทีเ่ ขาหาเรือออกจากขดลวดตัวนํา ทําใหมกี ระแสเหนีย่ วนําเกิดขึน้


ในขดลวด อยากทราบวารูปใดถูกตอง (ขอ ง)
ก. ข.

ค. ง.

วิธที าํ

98
V บทที่ 17 ไฟฟาและแมเหล็ก (2)
3(มช 43) เมือ่ มีการเปลีย่ นแปลงสนามแมเหล็ก β B จะทําใหเกิดกระแสเหนีย่ วนําในขดลวด
ถา β B ชีท้ ศิ เดียวกับ B แสดงวาสนามแมเหล็กเพิม่ ขึน้ และถา β B ชีท้ ศิ ตรงขามกับ B
แสดงวาสนามแมเหล็กลดลง จงเลือกขอทีถ่ กู (ขอ 1)
1. 2.

3. 4.

วิธที าํ
แรงเคลื่อนไฟฟาดันกลับ
ในกรณีของมอเตอรกระแสตรงนัน้ เราจะปลอยกระแสไฟฟาไหลเขาไปในขดลวด
ทีอ่ ยูใ นสนามแมเหล็กจะทําใหมอเตอรเกิดการหมุน
ในขณะเดียวกัน การหมุนนีก้ ท็ าํ ใหเกิดกระแสไฟฟา
เหนีย่ วนําและแรงเคลือ่ นไฟฟาเหนีย่ วนํา ซึ่งจะมีทิศ
ตรงกันขามกับแรงเคลือ่ นไฟฟาทีเ่ ราใส (E) จึงเรียก
แรงเคลือ่ นไฟฟาดันกลับ (e)
ดังนัน้ แรงเคลือ่ นไฟฟาลัพธ = E – e
และกระแสไฟฟาทีไ่ หลเขามอเตอร จะหาคาไดจาก
I = ER ΙΚ re
เมือ่ I = กระแสทีไ่ หลเขามอเตอร
E = แรงเคลือ่ นไฟฟาทีใ่ สเขาไป (โวลต )
e = แรงเคลือ่ นไฟฟาดันกลับ (โวลต )
r = ความตานทานภายในของแหลงกําเนิดไฟฟา (โอหม)
R = ความตานทานภายนอกแหลงกําเนิดไฟฟา ( ความตานทานของมอเตอร )
จากสมการนี้ จะเห็นวา ถามอเตอรฝด หรือ ไฟฟาตก จะทําใหมอเตอรหมุนชาลงทําให
แรงเคลือ่ นไฟฟาดันกลับ(e) จะมีคา นอยลง ดังนัน้ แรงเคลือ่ นไฟฟาลัพธ (E – e) จะมีคา
มาก ทําใหกระแสไฟฟา (I) ทีไ่ หลเขามอเตอรมคี า มากกวาทีค่ วรอาจทําใหมอเตอรไหมได
99
ย์
V บทที่ 17 ไฟฟาและแมเหล็ก (2)
4(มช 28) แบตเตอรี่ขนาด 6 V มีความตานทานภายใน 1 υ ตอเขากับมอเตอรกระแสตรง
ซึ่งมีความตานทานของขดลวดของมอเตอรเทากับ 1υ ในขณะทีม่ อเตอรหมุนสามารถวัด
กระแสไฟฟา 0.5 A แรงเคลื่อนไฟฟาดันกลับมอเตอรมีคา
ก. 7.5 V ข. 5.5 V ค. 5.0 V ง. 4.5 V (ขอ ค)
วิธที าํ

5. มอเตอรเครือ่ งหนึง่ ใชกบั แรงเคลือ่ นไฟฟา 12 โวลต ขณะมอเตอรกาํ ลังทํางานจะเกิดแรง


เคลือ่ นไฟฟาตานกลับ 10 โวลต และมีกระแสผานมอเตอร 8 แอมแปร ขดลวดของมอเตอร
มีความตานทานเทาใด (0.25)
วิธที าํ

6(มช 38) ในขณะทีม่ อเตอรหมุนดวยอัตราเร็วคงที่ ขดลวดทีอ่ ยูภ ายในมอเตอรจะมี


1. โมเมนตของแรงคูค วบเปนศูนยคงที่
2. ฟลักซแมเหล็กเปนศูนยคงที่
3. กระแสไฟฟามากกวากระแสไฟฟาทีผ่ า นมอเตอรในขณะเริม่ หมุน
4. แรงเคลือ่ นไฟฟาเหนีย่ วนําเกิดขึน้ ในทิศตรงขามกับแรงเคลือ่ นไฟฟาเดิม (ขอ 4)
7(มช 30) ถามอเตอรติดขัดจนทําใหมอเตอรหยุดหมุนเปนเวลานานจะทําใหมอเตอรไหมเพราะ
ก. มีความเสียดทานเกิดขึน้ ตามจุดหมุนเปน
ข. เกิดแรงเคลือ่ นไฟฟาเหนีย่ วนําซึง่ มีทศิ ตรงกันขามกับแรงเคลือ่ นไฟฟาเดิม
ค. ไมมแี รงเคลือ่ นไฟฟาดันกลับเกิดขึน้
ง. ทําใหฟลักซแมเหล็กทีผ่ า นขดลวดมีการเปลีย่ นแปลง เกิดกระแสเหนีย่ วนําขึน้ เปน
จํานวนมาก (ขอ ค)

100
สิ์

V บทที่ 17 ไฟฟาและแมเหล็ก (2)
วงจรกรองกระแส
วงจรกรองกระแสเปนวงจรทีใ่ ชเปลีย่ นกระแสไฟฟาตรงโดยการนําไดโอดไปตออนุกรม
กับแหลงกําเนิดไฟฟาสลับ ไฟฟาทีผ่ า นไดโอดออกมาจะเปนไฟฟากระแสตรงทีม่ คี า ไมสม่าํ
เสมอวงจรกรองกระแสนี้ อาจดัดเปนประเภทครึง่ คลืน่ หรือเต็มคลืน่ ได
ไดโอดเปนอุปกรณทางไฟฟา ซึ่งยอมใหกระแสไฟฟาผานไดในทิศทางเดียว

และเนือ่ งจากกระแสทีไ่ ดจากเบือ้ งตนยังมีคา ไมสม่าํ เสมอ ในวงจรกรองกระแสจึงตอง


เพิม่ ตัวเก็บประจุเขาไปอีกตัวหนึง่ ดังรูป เพือ่ ทําใหกระแสไฟฟาตรงทีไ่ ดออกมามีคา สม่าํ เสมอ

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

101

V บทที่ 17 ไฟฟาและแมเหล็ก (2)
ตอนที่ 2 หมอแปลงไฟฟา
หมอแปลงไฟฟา คือ เครือ่ งมือทีใ่ ชเปลีย่ นความตางศักย (หรือ แรงเคลือ่ นไฟฟา) ใหมีคาสูงขึ้น
หรือต่าํ ลงตามตองการ หมอแปลงไฟฟามี 2 แบบใหญ ๆ คือ
1. หมอแปลงขึน้ (Set up Tramformer)
ใชเปลีย่ นความตางศักยจากต่าํ เปนสูง
2. หมอแปลงลง (Step down Tranformer)
ใชเปลีย่ นความตางศักยจากสูงเปนต่าํ

สวนประกอบของหมอแปลงไฟฟา
1. แกนเหล็กออน ทําดวยเหล็กออนแผนบาง ๆ หลาย ๆ แผนวางซอนกัน นิยมตัดเปน
สีเ่ หลีย่ มจัตรุ สั กลางกลวงหรือตัดเปนรูปตัว E ทําหนาทีร่ วมเสนแมเหล็กจากขดลวด
2. ขดลวดปฐมภูมิ (Pimarycoil) เปนขดลวดทีป่ ลอยใหกระแสเขา พันอยูท ข่ี าขางหนึง่
ของแกนเหล็ก
3. ขดลวดทุตยิ ภูมิ (Secondary) เปนขดลวดทีส่ ง กระแสไฟฟาออก จะพันอยูท ป่ี ลายอีก
ขางหนึง่ ของแกนเหล็ก
หลักการทํางานของหมอแปลงไฟฟา
เมือ่ ใหแรงเคลือ่ นไฟฟา (E1) ผานไปยังขดลวด
ปฐมภูมิ จะเกิดสนามแมเหล็กวนรอบ ๆ ขดลวด
ปฐมภูมขิ น้ึ และฟลักซแมเหล็กที่เกิดขึ้น จะเหนีย่ ว
นําใหเกิดแรงเคลือ่ นไฟฟา(E 2) ทีข่ ดลวดทุตยิ ภูมิ
ความสัมพันธ ของแรงเคลือ่ นไฟฟาทัง้ สองคือ
E1 N1 V1
E2 = N2 = V2
เมือ่ E1 , E2 = แรงเคลือ่ นไฟฟาของขดลวดปฐมภูมิ และทุติยภูมิ ตามลําดับ
N1 , N2 = จํานวนขดลวดปฐมภูมิ และทุติยภูมิ ตามลําดับ
V1 , V2 = ความตางศักยของขดลวดปฐมภูมิ และ ทุตยิ ภูมิ ตามลําดับ
ขอควรรู 1. หมอแปลงลง จะมีคา E1 > E2 และ V1 > V2 และ N1 > N2
หมอแปลงขึน้ จะมีคา E1 < E2 และ V1 < V2 และ N1 < N2
102
ฏV บทที่ 17 ไฟฟาและแมเหล็ก (2)
2. ถาหมอแปลง มีประสิทธิภาพเต็ม 100% เราจะไดวา
กําลังไฟฟาที่ขดลวดปฐมภูมิ = กําลังไฟฟาที่ขดลวดทุติยภูมิ
P1 = P 2
I1 V1 = I2 V2
8(มช 27) กระแสไฟฟาสลับในขดทุตยิ ภูมขิ องหมอแปลงไฟฟาเกิดขึน้ ไดเนือ่ งจาก
ก. การเปลี่ยนแปลงสนามไฟฟา ข. การเปลีย่ นแปลงสนามแมเหล็ก
ค. แกนเหล็กของหมอแปลงไฟฟา ง. กระแสไฟฟาในขดปฐมภูมิ (ขอ ข)
9(En 44/1) หมอแปลงไฟฟาซึ่งใชไฟฟา 110 โวลต มีขดลวดปฐมภูมิ 80 รอบ ถาตองการให
หมอแปลงนีส้ ามารถจายไฟฟาได 2200 โวลต ขดลวดทุตยิ ภูมติ อ งมีจาํ นวนรอบเทาไร
1. 8000 รอบ 2. 1600 รอบ 3. 2400 รอบ 4. 3200 รอบ (ขอ 2)
วิธที าํ

10(En 42/1) หมอแปลงไฟลงจาก 20000 โวลต เปน 220 โวลต เกิดกําลังในขดลวดทุตยิ ภูมิ
5.4 กิโลวัตต หมอแปลงมีประสิทธิภาพรอยละ 90 กระแสไฟฟาทีผ่ า นขดลวดปฐมภูมมิ คี า เทาใด
1. 0.24 A 2. 0.27 A 3. 0.30 A 4. 0.54 A (ขอ 3)
วิธที าํ

11. เตารีดไฟฟาเครื่องหนึ่งมีความตานทาน 20 โอหม ใชกบั ความตางศักย 110 โวลต แตไฟฟาที่


ใชกนั ตามบานมีความตางศักย 220 โวลต จึงตองใชหมอแปลงไฟฟาชวยเมื่อใชเตารีดเครื่องนี้
ถาหมอแปลงไฟฟามีประสิทธิภาพ 75% จงหาคากระแสไฟฟาที่ไหลผานขดลวดปฐมภูมิ
ก. 2.06 A ข. 3.7 A ค. 2.75 A ง. 11 A
103
Z
V บทที่ 17 ไฟฟาและแมเหล็ก (2)
วิธที าํ

12(En 41/2) หมอแปลงเครือ่ งหนึง่ มีจาํ นวนรอบของขดลวดปฐมภูมติ อ จํานวนรอบของขดลวด


ทุตยิ ภูมเิ ปน 1 : 4 ถามีกระแสและความตางศักยในขดลวดทุตยิ ภูมเิ ทากับ 10 แอมแปร
และ 200 โวลต ตามลําดับ จงหากระแสและความตางศักยในขดลวดปฐมภูมิ
1. 40 A และ 50 V 2. 50 A และ 40 V
3. 40 A และ 40 V 4. 50 A และ 50 V (ขอ 1)
วิธที าํ

13(En 38) หมอแปลงอุดมคติตวั หนึง่ มีจาํ นวน


รอบของขดลวดปฐมภูมเิ ปน 2000 รอบ
และ จํานวนรอบของขดลวดทุตยิ ภูมเิ ปน
1000 รอบ เมือ่ นํามาใชในวงจรดังรูป ขนาด
ของฟวสทใ่ี ชตอ งมีคา อยางนอยทีส่ ดุ เทาไร
1. 2 2. 3 A 3. 5 A 4. 11 A (ขอ 2)
วิธที าํ

104
V บทที่ 17 ไฟฟาและแมเหล็ก (2)
ตอนที่ 3 ลักษณะของไฟฟากระแสสลับ
เครือ่ งกําเนิดไฟฟากระแสสลับซึง่ หมุนขดลวดตัดสนามแมเหล็กดวยอัตราเร็วเชิงมุม
ขนาดหนึง่ จะทําใหเกิดความตางศักย (แรงเคลือ่ นไฟฟา) และกระแสไฟฟาเปลี่ยนแปลงตาม
เวลาดวยอัตราเร็วเชิงมุมเดียวกับอัตราเร็วเชิงมุมการหมุนขดลวด

เราสามารถหาคากระแสสลับ ณ. จุดเวลาใด ๆ ไดจากสมการ


it = im sin•t และ Vt = Vm sin•t
เมือ่ it , Vt = กระแสไฟฟา , ความตางศักยไฟฟา ณ.เวลา t ใด ๆ
im , Vm = กระแสไฟฟา , ความตางศักยไฟฟาสูงสุด
• = อัตราเร็วเชิงมุมการหมุนขดลวด
• = 2° f
f = ความถี่ของไฟฟากระแสสลับ
14. เครือ่ งกําเนิดไฟฟากระแสสลับเครือ่ งหนึง่ ผลิตกระแสไฟฟาไดสงู สุด 20 แอมแปร ความ–
ตางศักยสูงสุด 300 โวลต ความถี่กระแสไฟฟา 50 Hz จงหากระแสไฟฟา และความ
ตางศักย ณ เวลา 600 1 วินาที หลังจากเปดเครือ่ ง (10 A , 150 V)
วิธที าํ

105
ษิ
Se
V บทที่ 17 ไฟฟาและแมเหล็ก (2)
คารากที่สองของกําลังสองเฉลี่ยของกระแสไฟฟาสลับ (Root Mean Square)

คา rms อาจหาไดจากการทดลอง และคา rms ทีไ่ ดจากการทดลองอาจเรียกวา คายังผล


อาจหาไดจากการใชมเิ ตอรวดั และคา rms ทีไ่ ดจากการใชมเิ ตอรวดั อาจเรียกวา คามิเตอร
โดยทัว่ ไปมิเตอรทใ่ี ชวดั กระแสจะออกแบบมาเพือ่ ใชวดั คา rms โดยตรง
ดังนัน้ คาทีไ่ ดจากการใชมเิ ตอรวดั มักเปนคา rms
ความสัมพันธ ระหวางคา rms และคาสูงสุด
Irms = im2 และ Vrms = Vm2
เมือ่ irms = กระแสไฟฟารากทีส่ องของกําลังสองเฉลีย่
im = กระแสไฟฟาสูงสุดของกระแสสลับ
Vrms = ความตางศักยรากทีส่ องของกําลังสองเฉลีย่
vm = ความตางศักยสงู สุดของกระแสสลับ
15(มช 40) ถากลาววาไฟฟาในบานมีความตางศักย 220 โวลต หมายความวาความตางศักยสงู
สุดมีคา กีโ่ วลต (ขอ 4.)
1. 110 2. 220 3. 0.707 x 220 4. 220 2
วิธที าํ

16. แอมมิเตอรกระแสไฟฟาสลับตออนุกรมกับหลอดไฟอานคาได 0.25 แอมแปร และโวลต


มิเตอรไฟสลับตอครอมหลอดไฟอานความตางศักย 110 โวลต จงหากระแสสูงสุด (i0)
ทีไ่ หลผานหลอดไฟและความตางศักยมากสุด (v0) ครอมหลอดไฟ (0.354 A, 155.56 V)
วิธที าํ

106

V บทที่ 17 ไฟฟาและแมเหล็ก (2)
ตอนที่ 4 ตัวตานทาน ตัวเก็บประจุ และขดลวดเหนีย่ วนําในวงจรกระแสสลับ
ตัวตานทานในวงจรไฟฟากระแสสลับ
เมือ่ มีกระแสไฟฟาสลับไหลผานตัวตานทาน
จะเกิดความตางศักยครอมตัวตานทานนัน้
เราสามารถหาคาความตางศักยทเ่ี กิดไดจาก
V = i.R
เมือ่ V คือ ความตางศักยครอมตัวตานทาน
i คือ กระแสไฟฟาทีไ่ หลผานตัวตานทาน
R คือ คาความตานทาน (υ)
Vm = im⌡R
Vrms = irms R
และคากระแส ณ เวลาใดๆ หาคาไดจาก
iR = im sin • t
และ vR = vm sin • t
เมือ่ iR ,VR = กระแสทีไ่ หล และความตางศักยของตัวตานทาน ณ เวลา t ใด ๆ
im , Vm = กระแสทีไ่ หล และความตางศักยสงู สุดของตัวตานทาน

17(En 41/2) ในวงจรไฟฟากระแสสลับดังรูป ถา


โวลตมเิ ตอร V อานคาความตางศักยได 200
V  R = 100 υ
โวลต จงหากระแสสูงสุดทีผ่ า นความตานทาน R
1. 0.70 A 2. 1.41 A
3. 2.0 A 4. 4.8 A (ไมมีคําตอบที่ถูกตอง)
วิธที าํ

107
g
V บทที่ 17 ไฟฟาและแมเหล็ก (2)
ตัวเก็บประจุในวงจรไฟฟากระแสสลับ
เมือ่ มีกระแสไฟฟาสลับไหลผานตัวเก็บประจุ
จะเกิดความตางศักยครอมตัวเก็บประจุนน้ั
เราสามารถหาคาความตางศักยทเ่ี กิดไดจาก
V = i . XC และ XC = •1 C = 2°1 fC
เมือ่ V คือ ความตางศักยครอมตัวเก็บประจุ
i คือ กระแสไฟฟาทีไ่ หลผานตัวเก็บประจุ
Xc คือ คาความตานทานเชิงความจุ (υ)
C คือ คาความจุประจุ (ฟารัด)
f คือ ความถีก่ ระแสไฟฟา (Hz)
Vm = im⌡Xc
Vrms = irms⌡Xc
และคากระแส ณ เวลาใด ๆ หาคาไดจาก
ic = im sin • t และ Vc = Vm sin (• t – 90o)
เมือ่ ic ,Vc = กระแสทีไ่ หล และความตางศักยของตัวเก็บประจุ ณ เวลา t ใด ๆ
im , Vm = กระแสทีไ่ หล และความตางศักยสงู สุดของตัวเก็บประจุ
(• t – 90o) เปนมุมเฟส
18. เมือ่ ตอตัวเก็บประจุอนั มีคา ความตานทานเชิงความจุ 1000 υ เขากับวงจรไฟฟากระแส
สลับ ปรากฏวาเกิดความตางศักยครอมตัวเก็บประจุ 3 โวลต จงหาปริมาณกระแสไฟฟา
ทีไ่ หลผานตัวเก็บประจุนน้ั (3 มิลลิแอมป)
วิธที าํ

108

V บทที่ 17 ไฟฟาและแมเหล็ก (2)
19. ความตางศักยครอมตัวเก็บประจุมคี า เทาใด จึงจะทําใหเกิดกระแสไฟฟา 3.14 mA ในวงจร
ตัว เก็บประจุทม่ี คี วามจุ 0.5 ↑F เมือ่ ความถีข่ องกระแสไฟฟาเปน 1 kHz (1 โวลต)
วิธที าํ

20. ทีค่ วามถีเ่ ทาไรตัวเก็บประจุทม่ี คี า ความจุ 5 มิลลิฟารัด จึงจะมีคา ความตานทานตัวเก็บ


ประจุ 227 υ (100 Hz)
วิธที าํ

ขดลวดเหนี่ยวนําในวงจรไฟฟากระแสสลับ
เมือ่ มีกระแสไฟฟาสลับไหลผานขดลวดเหนีย่ ว
นํา จะเกิดความตางศักยครอมขดลวดเหนีย่ วนํานัน้
เราสามารถหาคาความตางศักยทเ่ี กิดไดจาก
V = i . XL และ XL= •L = 2°fL
เมือ่ V คือ ความตางศักยครอมขดลวดเหนีย่ วนํา
i คือ กระแสไฟฟาทีไ่ หลผานขดลวดเหนีย่ วนํา
XL คือ คาความตานทานเชิงหนีย่ วนํา (υ)
L คือ คาความเหนีย่ วนําของขดลวด (เฮนรี)
f คือ ความถีก่ ระแสไฟฟา (Hz)
Vm = im⌡XL
Vrms = irms⌡XL
109

V บทที่ 17 ไฟฟาและแมเหล็ก (2)
และคากระแส ณ เวลาใด ๆ หาคาไดจาก
iL = im sin • t และ VL = Vm sin (• t + 90o)
เมือ่ iL ,VL = กระแสทีไ่ หล และความตางศักยของขดลวดเหนีย่ วนํา ณ เวลา t ใด ๆ
im , Vm = กระแสทีไ่ หล และความตางศักยสงู สุดของขดลวดเหนีย่ วนํา
(• t + 90o) เปนมุมเฟส
21. ตัวเหนีย่ วนํา 0.07 เฮนรี ตอเปนวงจรกับแหลงกําเนิดไฟฟาสลับ ความตางศักย 220 V
50 Hz จะเกิดกระแสไหลในวงจรเทาไร (10 A)
วิธที าํ

22(มช 42) วงจรไฟฟากระแสสลับความถี่ 50 เฮิรตซ ประกอบดวยตัวตานทาน 20 โอหม


และตัวเหนีย่ วนํา °20 มิลลิเฮนรี มีกระแสผาน 0.2 แอมแปร ความตางศักยระหวางปลาย
ของตัวเหนีย่ วนําจะมีคา กีโ่ วลต (0.4)
วิธที าํ

23(มช 37) วงจรกระแสสลับความถี่ 50 เฮิรตซ ทีม่ ตี วั ตานทานตออนุกรมกับตัวเหนีย่ วนํา


วัดกระแสไฟฟาในวงจรได 0.1 แอมแปร ความตางศักยครอมตัวเหนีย่ วนํา 22 โวลต
คาความเหนีย่ วนําจะเปน (ขอ 2.)
1. 14.4 ไมโครเฮนรี 2. 0.7 เฮนรี 3. 200 เฮนรี 4. 2.2 เฮนรี
วิธที าํ

110
G
V บทที่ 17 ไฟฟาและแมเหล็ก (2)
24(มช 41) วงจรกระแสไฟฟาสลับดังรูป มีกระแส i เปน i = 5 sin 1000 t แอมแปร
วัดความตางศักยระหวางปลายของตัวเหนีย่ วนําได 70.7 โวลต จงหาคาความเหนีย่ วนํา
ของตัวเหนีย่ วนําในหนวยเฮนรี (ขอ 2.)
1. 12 x 10–3 2. 20 x 10–3 3. 28 x 10–3 4. 40 x 10–3
วิธที าํ

25(En 41) สวนประกอบของวงจรไฟฟากระแสสลับตามรูป (ก) มีกระแสที่ผาน และความตาง


ศักยระหวางปลายทัง้ สองสัมพันธกนั ตามรูป (ข)
จงวิเคราะหวา สวนประกอบของวงจรไฟฟานีค้ อื
อะไร
1. ตัวเก็บประจุ
2. ขดลวดเหนีย่ วนํา
3. ตัวตานทาน
4. เปนวงจรผสมของขดลวดเหนีย่ วนําและตัวตานทาน (ขอ 1.)
วิธที าํ
26(มช 44) ตัวเหนีย่ วนํา L = 50 มิลลิเฮนรี่ มีกระแสสลับเปน i เมือ่ i = 3 sin 60 t แอมแปร
จงหาความตางศักยระหวางปลายของตัวเหนีย่ วนํานี้ เมือ่ เวลา t ใด ๆ
1. VL = sin 60 t 2. VL = 150 sin 60 t
3. VL = 150 cos (60t – °2 ) 4. VL = 9 sin (60t + °2 ) (ขอ 4.)
วิธที าํ

111
V บทที่ 17 ไฟฟาและแมเหล็ก (2)

ตอนที่ 5 วงจร RCL และ กําลังไฟฟากระแสสลับ


การตอตัวตานทาน (R) ขดลวดเหนีย่ วนํา (L) และตัวเก็บประจุ (C) แบบอนุกรม
สิง่ ทีค่ วรทราบ
1) iR = iC = iL = iรวม
2) Z = R 2 Ι (X L Κ X C ) 2
3) Vรวม = VR2 Ι (VL Κ VC ) 2
4) Vรวม = iรวม Z
เมือ่ Z คือ ความตานทานเชิงซอน (ความตานทานรวมของวงจร)

27(En 41/2) ในวงจรไฟฟากระแสสลับความถี่ 50 เฮิรต ซ A


XC = 40 υ
ดังรูป ถาโวลตมิเตอร V อานคาความตางศักยได
V  R = 30 υ
200 โวลต แอมมิเตอร A จะอานคากระแสไดกแ่ี อมแปร
วิธที าํ (4 A)

28(En 42/2) ถาวงจรประกอบดวยตัวตานทานขนาด 20 โอหม ขดลวดเหนีย่ วนําทีม่ คี า ความ


ตานทานเชิงเหนีย่ วนํา 30 โอหม และตัวเก็บประจุทม่ี คี า ความตานทานเชิงประจุ 15 โอหม
ตอกันอยางอนุกรมและตอเขากับแหลงกําเนิดไฟฟากระแสสลับ 220 โวลต ความถี่ 50 เฮิรตซ
จงหากระแสในวงจร (ขอ 4.)
1. 2.2 A 2. 4.4 A 3. 6.6 A 4. 8.8 A
วิธที าํ

112
หึ่

V บทที่ 17 ไฟฟาและแมเหล็ก (2)
29(En 38) ขดลวดเหนีย่ วนํา 0.2 เฮนรี่ และ ตัวเก็บประจุ 10 ไมโครฟารัด ตออนุกรมกับ
แหลงกําเนิดไฟฟากระแสสลับทีใ่ หความตางศักยสงู สุด 100 โวลต และความเร็วเชิงมุม
• = 1,000 เรเดียนตอวินาที จงหากระแสทีอ่ า นไดจากแอมมิเตอร (ขอ 4.)
1. 1 A 2. 13 A 3. 2 A 4. 1 A
2
วิธที าํ

30(มช 43) จากวงจรไฟฟากระแสสลับดังรูป คาความตาง R=30υ C=2↑F

ศักย VR ครอมตัวตานทานมีคา เปน VR = 0.15 sin500t VR VC


จงหาคาความตางศักยสูงสุดครอมตัวเก็บประจุ (5 โวลต)
วิธที าํ

113

V บทที่ 17 ไฟฟาและแมเหล็ก (2)
31. จากวงจรไฟฟากระแสสลับดังรูป แหลงกําเนิดไฟ
ฟากระแสสลับมีความถี่ 50 เฮิรตซ ใหคายังผล
ของแรงเคลือ่ นไฟฟา (Vrms) 100 โวลต เมือ่ นํา VR VL
โวลตมเิ ตอรวดั คายังผลของความตางศักยระหวาง

ปลายของความตานทาน (VR) และ ระหวางปลาย
ของตัวเหนีย่ วนํา (VL) ไดคาเทากัน โวลตมเิ ตอรจะอานไดกโ่ี วลต (ขอ 3)
1. 50 2. 100 3. 50 2 4. 100 2
วิธที าํ

ความถีเ่ รโซแนนซ
พิจารณาสมการ Z = R 2 Ι (X L Κ X C ) 2
จะเห็นวา เมือ่ XL = XC คาความตานทานเชิงซอนจะมีคา ต่าํ สุด ทําใหกระแสไฟฟามีคา สูงสุด
จาก XL = XC
2°fL = 1
2° fC
(2°f)2 = 1
LC
2°f = LC 1
f = 1
2° LC
ความถี่ที่ทําใหกระแสไฟฟาในวงจรมีคามากที่สุดนี้เรียก ความถีเ่ รโซแนนซ
114

V บทที่ 17 ไฟฟาและแมเหล็ก (2)

การตอตัวตานทาน (R) ขดลวดเหนีย่ วนํา (L) และตัวเก็บประจุ (C) แบบขนาน


สิง่ ทีค่ วรทราบ
1) VR = VC = VL = Vรวม
2) iรวม = i 2R Ι (i L Κ i C ) 2
3) Z1 = ( R1 ) 2 Ι ( X1 Κ X1 ) 2
L C
4) Vรวม = iรวม Z
เมือ่ Z คือ ความตานทานเชิงซอน (ความตานทานรวมของวงจร)
32. ตัวเก็บประจุความตานทาน 100 โอหม ตัวเหนีย่ วนําความตานทาน
200 โอหม และตัวตานทานขนาด 50 โอหม ตอกันอยางขนานกัน
แลวตอกับแหลงกําเนิดไฟสลับ 200 โวลต , 50 เฮิรตซ จะเกิดกระ
แสไหลในวงจรเทาไร
1. 4 A 2. 17 A 3. 5 A 4. 7 A (ขอ 2.)
วิธที าํ

การหากําลังไฟฟากระแสสลับ
P = i V cos 
เมือ่ P = กําลังไฟฟาของวงจร (วัตต)
i = กระแสรวมในวงจร (แอมแปร)
V = ความตางศักยรวมในวงจร (โวลต)
cos  = R ( เรียก ตัวประกอบกําลัง )
Z
115

V บทที่ 17 ไฟฟาและแมเหล็ก (2)
33(En 44/2) ถาเฟสของกระแสยังผลและความตางศักยยังผลของวงจรไฟ
ฟากระแสสลับเปนดังรูป กําลังไฟฟาเฉลี่ยที่สูญเสียในวงจรนี้มีคาเทาใด
1. 1.8 kW 2. 2.4 kW
3. 3.0 kW 4. 3.5 kW (ขอ 4.)
วิธที าํ

34. แรงดันไฟฟา e = 100sin± โวลต และ กระแสไฟฟา i = 10sin (±–60o) แอมแปร


กําลังไฟฟา P เทากับผลคูณของ e และ i กําลังไฟฟาสูงสุดจะมีคาเทาใด (ขอ 3)
1. 750 วัตต 2. 1000 วัตต 3. 500 วัตต 4. 250 วัตต
วิธที าํ

35. จากรูปวงจรตอไปนี้ กําหนดให V = 2 sin 500t


จงหาความตางเฟสระหวางกระแสไฟฟารวม I กับ R I
ความตางศักยไฟฟารวม V 2υ C1,000 ↑F
V
1. 30o 2. 45o
3. 60o 4. 90o (ขอ 2)
วิธที าํ

พิจารณา P = i V RZ
P = i i Z RZ เนื่องจาก V = i Z
P = i2R เนื่องจาก i = VZ
2
P = ΦVZ Γ R
116
g
V บทที่ 17 ไฟฟาและแมเหล็ก (2)
36. ขดลวดเหนีย่ วนํา 0.03 เฮนรี และตัวตานทาน 40 โอหม ตออนุกรมกับแหลงกําเนิดไฟฟา
กระแสสลับ กระแสไฟฟาของวงจร( i ) มีคาดังสมการ i = 5 sin ( 1000t ) แอมแปร จงหา
กําลังเฉลี่ยของวงจร (500 W)
วิธที าํ

37. ตัวเหนี่ยวนําและตัวตานทานตออนุกรมกันและตอกับแหลงกําเนิดไฟฟากระแสสลับที่มีกระ
แสไฟฟาที่เวลา t (วินาที) ใดๆ i = 4 sin 100 °t ถาวงจรมีความตานทานเชิงเหนีย่ วนํา
20 โอหม และมีความตานทานเชิงซอนของวงจร 25 โอหม กําลังเฉลีย่ ของวงจรเปนกีว่ ตั ต
1. 120 2. 160 3. 200 4. 240 (ขอ 1)
วิธที าํ

117
}
V บทที่ 17 ไฟฟาและแมเหล็ก (2)
38. ขดลวดเหนีย่ วนํา 0.03 เฮนรี และตัวตานทาน 40 โอหม ตออนุกรมกับแหลงกําเนิดไฟฟา
กระแสสลับ ความตางศักยของวงจร( i ) มีคาดังสมการ V = 100 sin (1000t ) โวลต จงหา
กําลังสูงสุดของวงจร (160 วัตต)
วิธที าํ

39(En 39) ขดลวดเหนีย่ วนํา 0.03 เฮนรี และตัวตานทาน 40 โอหม ตออนุกรมกับแหลงกําเนิด


ไฟฟากระแสสลับ กระแสไฟฟาของวงจร ( i ) เปลี่ยนแปลงตามเวลา ( t ) ดังสมการ
i = 5 sin (1000 t) แอมแปร จงหากําลังเฉลี่ยของวงจรและความตางศักยสูงสุดของวงจร
เปนดังขอใด
1. 500 W , 250 V 2. 875 W , 350 V
3. 1000 W , 220 V 4. 1250 W , 250 V (ขอ 1)
วิธที าํ

⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

118

VI บทที่ 18 คลื่นแมเหล็กไฟฟา
บทที่ 18 คลื่ น แม เ หล็ ก ไฟฟ า
! ตอนที่ 1 คลืน่ แมเหล็กไฟฟา!! ! ! ! ! ! ! ! !
ทฤษฎี ของแมกซเวลล กลาววา “สนามแมเหล็กที่มีการเปลี่ยนแปลง สามารถเหนี่ยวนํา
ใหเกิดสนามไฟฟา และสนามไฟฟาที่เปลี่ยนแปลง สามารถทําใหเกิดสนามแมเหล็กได”

ตามทฤษฎีของแมกซเวลล เมื่อมีสนามแมเหล็กที่มีการเปลี่ยนแปลง จะเกิดการเหนีย่ ว


นําระหวางสนามแมเหล็กกับไฟฟาอยางตอเนื่อง สุดทายจะกอเกิดเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟา
1. คลื่นแมเหล็กไฟฟาเกิดจาก....................................................................................................
ขอควรทราบเพิ่มเติมเกี่ยวกับคลื่นแมเหล็กไฟฟา

!
1) สนามไฟฟา สนามแมเหล็ก และทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น จะอยูในทิศที่ตั้งฉากกัน
ตลอดเวลา จึงถือวา คลื่นแมเหล็กไฟฟาเปนคลื่นตามขวาง
2) อิเลคตรอนทีส่ น่ั สะเทือน จะเหนี่ยวนําทําใหเกิดคลื่นแมเหล็กไฟฟารอบแนวการสั่น
ได ตัวอยางเชนอิเลคตรอนในเสนลวดตัวนําที่มีกระแสไฟฟาสลับไหลผาน หรือ อิเลคตรอน
ในวัตถุที่มีอุณหภูมิสูง ๆ หรืออิเลคตรอนทีเ่ ปลีย่ นวงโคจรรอบๆ อะตอม
3) อิเลคตรอนทีเ่ คลือ่ นทีด่ ว ยความเรง จะเหนี่ยวนําใหเกิดคลื่นแมเหล็กไฟฟาไดเชนกัน
4) อิเลคตรอนทีส่ น่ั สะเทือน จะทําใหเกิด
คลื่นแมเหล็กไฟฟารอบแนวการสั่นทุก
ทิศทาง ยกเวนแนวที่ตรงกับการสั่นสะ
เทือน จะไมมีคลื่นแผออกมา
5) คลื่นแมเหล็กไฟฟาทุกชนิด จะเคลือ่ นทีด่ ว ยความเร็วเทากัน คือ 3x108 เมตร/วินาที
6) สนามแมเหล็ก และสนามไฟฟาทุกสนามในคลืน่ แมเหล็กไฟฟา ถือวาเกิดพรอมกันหมด

! "!
Z VI บทที่ 18 คลื่นแมเหล็กไฟฟา
2. ไฟฟากระแสตรงเหนี่ยวนําใหเกิดสนามแมเหล็กได แตไมเกิดคลื่นแมเหล็กไฟฟา
เพราะ.......................................................................................................................................
3. ขอความตอไปนี้ขอใดกลาวถูกตองตามทฤษฎีเกี่ยวกับคลื่นแมเหล็กไฟฟา (ขอ ข.)
1. ขณะประจุเคลือ่ นทีด่ ว ยความเรงหรือความหนวง จะแผคลื่นแมเหล็กไฟฟา
2. เมื่อสนามแมเหล็กเปลี่ยนแปลงจะเหนี่ยวนําใหเกิดสนามไฟฟาโดยรอบยกเวนบริเวณ
นัน้ เปนฉนวน
3. บริเวณรอบตัวนําที่มีกระแสไฟฟาจะเกิดสนามแมเหล็ก
ก. 1 , 2 และ 3 ข. 1 และ 3 ค. 3 เทานัน้ ง. ตอบเปนอยางอืน่
ตอบ
4(มช 38) คลื่นแมเหล็กไฟฟาเกิดจาก
1. กระแสไฟฟาที่มีคาคงที่ไหลจากแบตเตอรี่ผานตัวนําไฟฟาวงจรไฟฟา
2. การเคลือ่ นทีข่ องนิวตรอนดวยความเรง
3. วัตถุที่มีอุณหภูมิสูง
4. การเคลื่อนที่ของประจุไฟฟาดวยความเร็วคงที่ (ขอ 3.)
ตอบ
5(มช 31) ขอใด ไมใช แหลงกําเนิดของคลื่นแมเหล็กไฟฟา (ขอ ง.)
ก. วัตถุมีอุณหภูมิสูง
ข. อะตอมปลดปลอยพลังงาน
ค. อิเล็กตรอนปลดปลอยพลังงาน
ง. อิเล็กตรอนในกระแสไฟฟาตรงปลดปลอยพลังงาน
ตอบ
6(En 33) จงพิจารณาขอความตอไปนี้
ก. อิเลกตรอนเคลือ่ นทีด่ ว ยความเร็วสูง
ข. กลุม อิเลกตรอนเคลือ่ นทีใ่ นตัวนํา
ค. อิเลกตรอนเคลือ่ นทีด่ ว ยความหนวง
เหตุการณที่จะทําใหเกิดคลื่นแมเหล็กไฟฟาคือ
1. ก และ ข 2. ข และ ค 3. ข 4. ค (ขอ 4.)
! #!
9
VI บทที่ 18 คลื่นแมเหล็กไฟฟา
7(มช 32) หากมีประจุเคลื่อนกลับไปมาคูหนึ่งดังรูป
ตามทฤษฎีแมกซเวลล ประจุคูนี้จะแผคลื่นแมเหล็ก
ไฟฟาออกมา แตมีแนวหนึ่งที่ไมมีคลื่นแผออกมา
เลยแนวนัน้ คือ (ขอ ก.)
ก. A ข. B ค. C ง. D
ตอบ

8(มช 33) สนามแมเหล็กที่มาพรอมกับการเคลื่อนที่ของแสงนั้นจะมีทิศทาง


ก. ขนานกับทิศทางของการเคลื่อนที่ของแสง
ข. ขนานกับสนามไฟฟา แตเฟสตางกัน 90 องศา
ค. ตั้งฉากกับทั้งสนามไฟฟาและทิศทางการเคลื่อนที่ของแสง
ง. ตั้งฉากกับสนามไฟฟา แตขนานกับทิศทางการ เคลือ่ นทีข่ องแสง (ขอ ค.)
ตอบ

9(มช 33) จงพิจารณาขอความตอไปนี้ ขอใดไมถูกตอง


ก. การเปลี่ยนแปลงสนามไฟฟาทําใหเกิดสนามแมเหล็ก และ การเปลี่ยนแปลงสนาม
แมเหล็กทําใหเกิดสนามไฟฟา
ข. สนามไฟฟาและสนามแมเหล็กของคลื่นแมเหล็กไฟฟามีเฟสตางกัน 90o
ค. สําหรับคลื่นแมเหล็กไฟฟา สนามไฟฟา และ สนามแมเหล็กมีทิศตั้งฉากซึ่งกัน
และกัน และตั้งฉากกับทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่นดวย
ง. ในตัวกลางเดียวกัน คลื่นแมเหล็กไฟฟาทุกความถี่มี ความเร็วเทากันหมด (ขอ ข.)
ตอบ

!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!

! $!

VI บทที่ 18 คลื่นแมเหล็กไฟฟา
! ตอนที่ 2 สเปกตรัมคลืน่ แมเหล็กไฟฟา! ! ! ! ! ! ! ! ! !
แหลงกําเนิดคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่ใหญที่สุดในจักรวาลนี้ คือ ดวงอาทิตย
คลื่นแมเหล็กไฟฟาที่ออกมาจากดวงอาทิตย จะแบงแยกได 8 ชนิด ดังตารางตอไปนี้
การเรียง การเรียงลําดับ การเรียงลําดับ
สเปกตรัม
ลําดับความถี่ ความยาวคลื่น พลังงาน
รังสีแกมมา มาก นอย มาก
รังสีเอกซ
รังสีอลั ตราไวโอเลต
แสงขาว
รังสีอนิ ฟาเรด
คลืน่ ไมโครเวฟ
คลื่นวิทยุ
ไฟฟากระแสสลับ นอย มาก นอย
อยาลืม คลื่นแมเหล็กไฟฟาทุกสเปกตรัม จะมีความเร็วเทากันหมด คือ 3x108 m/s

10(มช 32) คลื่นแมเหล็กไฟฟาทุกชนิดขณะเคลื่อนที่ในสูญญากาศจะมีสิ่งหนึ่งเทากันเสมอ คือ


ก. ความยาวคลื่น ข. แอมปลิจูด ค. ความถี่ ง. ความเร็ว (ขอ ง.)
ตอบ
!
11(En 42/1) คลืน่ วิทยุไมโครเวฟ และแสงเลเซอร มีความถี่ อยูในชวง 104 −109 เฮิรตซ
108 − 1012 เฮิรตซ และ 1014 เฮิรตซ ตามลําดับ ถาสงคลื่นเหลานี้จากโลกไปยัง
ดาวเทียมดวงหนึง่ ขอตอไปนี้ขอใดถูกตองมากที่สุด
1. คลื่นวิทยุจะใชเวลาในการเคลื่อนที่ไปถึงดาวเทียมนอยที่สุด
2. แสงเลเซอรจะใชเวลาในการเคลื่อนที่ไปถึงดาวเทียมนอยที่สุด
3. คลื่นทั้งสามใชเวลาเดินทางไปถึงดาวเทียมเทากัน
4. หาคําตอบไมไดเพราะไมไดกําหนดคาความยาว คลื่นของคลื่นเหลานี้ (ขอ 3.)
ตอบ

! %!

VI บทที่ 18 คลื่นแมเหล็กไฟฟา
12(มช 33) การแผรังสีคลื่นแมเหล็กไฟฟาตอไปนี้ขอใดมีความยาวคลื่นสั้นที่สุด
ก. รังสีแกมมา ข. แสงทีต่ ามองเห็น
ค. ไมโครเวฟ ง. รังสีอลั ตราไวโอเลต (ขอ ก.)
ตอบ
13. คลื่นแมเหล็กไฟฟาตอไปนี้คลื่นชนิดใดมีพลังงานมากที่สุด
ก. ไมโครเวฟ ข. อินฟราเรด ค. แสง ง. รังสีเอ็กซ (ขอ ง.)
ตอบ

พลังงานของคลื่นแมเหล็กไฟฟา
เราสามารถหาคาพลังงานของคลื่นแมเหล็กไฟฟาไดจากสมการ
E = hf และ E = hC
λ
เมือ่ E = พลังงานของคลื่นแมเหล็กไฟฟา (จูล)
h = คานิจของพลังค = 6.62 x 10–34 J.s
f = ความถี่ (s–1)
λ = ความยาวคลื่น (m)
C = ความเร็วคลื่นแมเหล็กไฟฟา = 3 x 108 m/s
หรือ E = hef และ E = hC

เมือ่ E = พลังงานของคลื่นแมเหล็กไฟฟา หนวยเปน อิเลคตรอนโวลต (eV)
e = 1.6 x 10–19
หมายเหตุ 1eV = 1.6 x 10–19 จูล
14. คลื่นแมเหล็กไฟฟาชนิดหนึ่ง มีความถี่ 1x1014 Hz คลื่นนี้จะมีพลังงานกี่จูล (6.62x10–20)
วิธที าํ

15. จงหาพลังงานของคลื่นแมเหล็กไฟฟาซึ่งมีความยาวคลื่น 600 nm ในหนวยจูล (3.31x10–19)


วิธที าํ

! &!

VI บทที่ 18 คลื่นแมเหล็กไฟฟา
16. คลื่นแมเหล็กไฟฟาที่มีพลังงาน 1.324 x 10–20 จูล จะมีความถี่เทาใด (2x1013 Hz)
วิธที าํ

17(มช 36) จงหาความถี่ในหนวยเฮิรตซของแสงที่โฟตอนมีพลังงานเทากับ 1.5 ev (3.63x1014)


วิธที าํ

!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!

คลื่ น วิ ท ยุ คลื่ น โทรทั ศ น


คลื่นวิทยุมีความถี่อยูในชวง 106–109 เฮิรตช คลื่นวิทยุมี 2 ระบบ ไดแก
1. คลื่นวิทยุระบบ AM มีความถี่ตั้งแต 530–1600 กิโลเฮิรตซ ที่สถานีวิทยุสงออกอากาศ
ในระบบเอเอ็ม เปนการสื่อสารโดยการผสม (modulate) คลื่นเสียงเขากับคลื่นวิทยุ ซึ่งเรียกวา
คลื่นพาหนะ และสัญญาณเสียงจะบังคับใหแอมพลิจูดของคลื่นพาหนะเปลี่ยนแปลงไป

เมื่อคลื่นวิทยุที่ผสมสัญญาณเสียงกระจายออกจากสายอากาศไปยังเครื่องรับวิทยุเครื่องรับ
วิทยุจะทําหนาที่แยกสัญญาณเสียงซึ่งอยูในรูปของสัญญาณไฟฟาออกจากสัญญาณคลื่นวิทยุ
แลวขยายใหมีแอมพลิจูดสูงขึ้น เพื่อสงใหลําโพงแปลงสัญญาณออกมาเปนเสียงที่หูรับฟงได
2. คลื่นวิทยุระบบ FM เปนการผสมสัญญาณเสียงเขากับคลื่นพาหะโดยใหความถี่ของ
คลื่นพาหะเปลี่ยนแปลงสัญญาณเสียง

! '!
น VI บทที่ 18 คลื่นแมเหล็กไฟฟา
การสงคลื่นในระบบ FM ใชชวงความถี่จาก 88–108 เมกะเฮิรตซ ระบบการสงคลื่น
แบบเอเอ็มและเอฟเอ็มตางกันที่วิธีการผสมคลื่น ดังนัน้ เครือ่ งรับวิทยุระบบเอเอ็มกับเอฟเอ็มจึง
ไมสามารถรับคลื่นวิทยุของอีกระบบหนึ่งได
ในการสงกระจายเสียงดวยคลื่นวิทยุระบบเอเอ็ม คลื่นสามารถเดินทางถึงเครื่องรับวิทยุได
สองทาง คือเคลื่อนที่ไปตรงๆในระดับสายตา ซึ่งเรียกวา คลื่นดิน สวนคลื่นที่สะทอนกลับลงมา
จากชัน้ ไอโอโนสเฟยร ซึ่งเรียกวาคลื่นฟา สวนคลื่นวิทยุระบบเอฟเอ็ม ซึ่งมีความถี่สูงจะมีการ
สะทอนทีช่ น้ั ไอโอโนสเฟยรนอ ย ดังนั้นถาตองการสงกระจายเสียงดวยระบบเอฟเอ็มใหครอบ
คลุมพื้นที่ไกลๆ จึงตองมีสถานีถายทอดเปนระยะๆ และผูรับตองตั้งสายอากาศใหสูง ในขณะที่
คลื่นวิทยุเคลื่อนที่ผานสิ่งกีดขวางที่มีขนาดใกลเคียงความยาวคลื่นจะมีการเลี้ยวเบนเกิดขึ้น ทํา
ใหคลื่นวิทยุออมผานไปได แตถาสิ่งกีดขวางมีขนาดใหญมากเชน ภูเขา คลื่นวิทยุที่มีความยาว
คลื่นสั้นจะไมสะทอนออนผานภูเขาไปได ทําใหดา นตรงขามของภูเขาเปนจุดปลอดคลืน่
โลหะมีสมบัติสามารถสะทอนและดูดกลืนคลื่นแมเหล็กไฟฟาไดดี ดังนั้นคลื่นวิทยุจะ
ทะลุผานเขาไปถึงภายในโลหะไดยาก อาจจะสังเกตไดงายเมื่อฟงวิทยุในรถยนต เมือ่ รถยนต
ผานใตสะพานที่มีโครงสรางเปนเหล็ก เสียงวิทยุจะเบาลง หรือเงียบหายไป
ในการสงกระจายเสียง สถานีสงคลื่นวิทยุหนึ่งๆ จะใชคลื่นวิทยุที่มีความถี่คลื่นโดยเฉพาะ
เพราะถาใชคลื่นที่มีความถี่เดียวกัน จะเขาไปในเครือ่ งรับพรอมกัน เสียงจะรบกวนกัน แตถา
สถานีสงวิทยุอยูหางกันมากๆ จนคลื่นวิทยุของสถานีทั้งสองไมสามารถรบกวนกันได สถานีทั้ง
สองอาจใชความถี่เดียวกันได

คลื่นโทรทัศนมีความถี่ประมาณ 108 เฮิรตซ คลื่นแมเหล็กไฟฟาที่มีความถี่สูงขนาดนี้จะ


ไมสะทอนทีช่ น้ั ไอโอโนสเฟยร แตจะทะลุผานชั้นบรรยากาศไปนอกโลก ดังนั้นการสงคลื่น
โทรทัศนไปไกลๆ จะตองใชสถานีถายทอดคลื่นเปนระยะๆ เพื่อรับคลื่นโทรทัศนจากสถานีสง
ซึง่ มาในแนวเสนตรง แลวขยายใหสัญญาณแรงขึ้นกอนที่จะสงไปยังสถานีที่อยูถัดไป เพราะ
สัญญาณเดินทางเปนเสนตรง ดังนั้นสัญญาณจะไปไดไกลสุดเพียงประมาณ 80 กิโลเมตร บนผิว
โลกเทานั้น ทัง้ นีเ้ พราะผิวโลกโคง หรือาจใชคลื่นไมโครเวฟนําสัญญาณจากสถานีสงไปยังดาว
เทียมซึง่ โคจรอยูใ นวงโคจรทีต่ าํ แหนงหยุดนิง่ เมือ่ เทียบกับตําแหนงหนึง่ ๆบนผิวโลก นัน่ คือ
ดาวเทียมมีความเร็วเชิงมุมเดียวกับความเร็วในการหมุนรอบตัวเองของโลกจากนัน้ ดาวเทียมก็จะ
สงคลื่นตอไปยังสถานีรับที่อยูไกลๆได

! (!

VI บทที่ 18 คลื่นแมเหล็กไฟฟา
คลื่นไมโครเวฟ
คลื่นไมโครเวฟมีความถี่ตั้งแต 1x109 เฮิรตซ ถึง 3x1011 เฮิรตซ ปจจุบันเราใชคลื่น
ไมโครเวฟที่มีความถี่ 2400 เมกะเฮิรตซ ในการทําอาหาร เปดปดประตูโรงรถ ถายภาพพื้นผิว
ดาวเคราะห ศึกษากําเนิดของจักรวาล เนื่องจากคลื่นไมโครเวฟสะทอนจากผิวโลหะไดดี ดังนัน้
จึงมีการนําสมบัตินี้ไปใชประโยชน ในการตรวจหาตําแหนงของอากาศยาน ตรวจจับอัตราเร็ว
ของรถยนต ซึ่งอุปกรณดังกลาวเรียกวา เรดาร

รังสีอนิ ฟราเรด
เปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่มีความถี่ในชวง 1011–1014 เฮิรตซ สามารถแบงเปน 3 ชวง
1. อินฟราเรดใกล (0.7–1.5 ไมโครเมตร)
2. อินฟราเรดปานกลาง (1.5–4.0 ไมโครเมตร)
3. อินฟราเรดไกล (4.0–1000 ไมโครเมตร)
วัตถุรอ นจะแผรงั สีอนิ ฟราเรดทีม่ คี วามยาวคลืน่ สัน้ กวา 100 ไมโครเมตร ประสาทสัมผัสทาง
ผิวหนังของมนุษยรับรังสีอินฟราเรดที่มีความยาวคลื่นบางชวงได ฟลมถายรูปบางชนิดสามารถ
ตรวจจับรังสีอนิ ฟราเรดได ตามปกติแลวสิง่ มีชวี ติ ทุกชนิดจะแผรงั สีอนิ ฟราเรดตลอดเวลา และ
รังสีอินฟราเรดสามารถทะลุผานเมฆหมอกที่หนาทึบเกินกวาที่แสงธรรมดาจะผานได นักเทค
โนโลยีจึงอาศัยสมบัตินี้ในการถายภาพพื้นโลกจากดาวเทียม เพื่อศึกษาการแปรสภาพของปาไม
หรือการอพยพเคลือ่ นทีย่ า ยของฝูงสัตวเปนตน รังสีอนิ ฟราเรดมีใชในระบบควบคุมทีเ่ รียกวา
รีโทคอนโทรล (remote control) หรือการควบคุมระยะไกล ซึ่งเปนระบบควบคุมการทํางานของ
เครือ่ งรับโทรทัศนจากระยะไกล เชนทําการปดเปดเครือ่ ง การเปลี่ยนชอง ฯลฯ ในกรณีนี้รังสี
อินฟราเรดจะเปนตัวนําคําสัง่ จากอุปกรณควบคุมไปยังเครือ่ งรับ นอกจากนี้ในทางการทหารก็มี
การนํารังสีอินฟราเรดมาใชควบคุมอาวุธนําวิถีใหเคลื่อนไปยังเปาหมายไดอยางแมนยํา
เทคโนโลยีปจจุบันใชการสงสัญญาณดวยเสนใยนําแสง (optical fiber) และคลื่นที่เปน
พาหะนําสัญญาณคือ รังสีอนิ ฟราเรด เพราะการใชแสงธรรมดานําสัญญาณอาจถูกรบกวนโดย
แสงภายนอกไดงาย!
!
!
!
!
! )!
Et
VI บทที่ 18 คลื่นแมเหล็กไฟฟา
แสง!
แสงมีความถี่โดยประมาณตั้งแต 4x1014 เฮิรตซ ถึง 8x1014 เฮิรตซ ประสาทตาของมนุษย
ไวตอคลื่นแมเหล็กไฟฟาชวงนี้มาก วัตถุที่มีอุณหภูมิสูงมากๆ เชน ไสหลอดไฟฟาที่มีอุณหภูมิ
สูงประมาณ 2500 องศาเซลเซียส หรือผิวดวงอาทิตยทม่ี อี ณ ุ หภูมปิ ระมาณ 6000 องศาเซลเซียส
จะเปลงแสงได สําหรับแสงที่มีความยาวคลื่นประมาณ 700 นาโนเมตร ประสาทตาจะรับรูเ ปน
แสงสีแดง สวนแสงที่มีความยาวคลื่นนอยกวาประสาทตาจะรับรูเปนแสงสีสม เหลือง เขียว
น้าํ เงิน ตามลําดับ จนถึงแสงสีมวง ซึ่งมีความยาวคลื่นประมาณ 400 นาโนเมตร แสงสีตางๆ ที่
กลาวมานี้เมื่อรวมกันดวยปริมาณที่เหมาะสม จะเปนแสงสีขาว
แสงเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาเชนเดียวกับคลื่นวิทยุ ดังนั้นอาจใชแสงเปนคลื่นพาหนะนํา
ขาวสารในการสื่อสารไดเชนเดียวกับการใชคลื่นวิทยุและคลื่นโทรทัศนเปนพาหะนําเสียงและ
ภาพดังกลาวแลว เหตุที่ไมสามารถใชแสงที่เกิดจากวัตถุรอนเปนคลื่นพาหะเพราะวาแสงเหลานี้
มีหลายความถี่และเฟสที่ไมแนนอน ปจจุบนั เรามีเครือ่ งกําเนิดเลเซอร ซึ่งเปนแหลงกําเนิดแสง
อาพันธที่ใหแสงได ไดมีผูทดลองผสมสัญญาณเสียงและภาพกับเลเซอรไดสําเร็จ นอกจากใชสื่อ
สารแลว เลเซอรยังใชในวงการตางๆไดอยางกวางขวาง เชน วงการแพทย ใชในการผาตัดนัยน
ตาเปนตน
เลเซอรเขียนภาษาอังกฤษวา LASER ซึ่งยอมาจาก Light Amplification by Stimulated
Emission of Radiation ที่แปลเปนภาษาไทยไดวา “การขยายสัญญาณแสงโดยการปลอยรังสี
แบบเรงเรา” เพราะแสงเลเซอรเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่ไดจากกระบสนการปลอยรังสีแบบเรง
เรา และสัญญาณแสงถูกขยาย
รังสีอลั ตราไวโอเลต
!

เปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่มีความถี่อยูในชวง 1015 ถึง 1018 เฮิรตซ รังสีอลั ตราไวโอเลต


ทีม่ ใี นธรรมชาติ สวนใหญมาจากดวงอาทิตย และรังสีนี้ทําใหบรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟยรมี
ประจุอสิ ระ และไอออน เพราะรังสีอลั ตราไวโอเลต มีพลังงานสูงพอที่จะทําใหอิเล็กตรอนหลุด
จากโมเลกุลของอากาศพบวา ในไอโอโนสเฟยรมีโมเลกุลหลายชนิด เชน โอโซน ซึ่งสามารถ
กัน้ รังสีอลั ตราไวโอเลตไดดี ตามปกติรังสีอัลตราไวโอเลตไมสามารถทะลุผานสิ่งกีดขวางที่หนา
ได รังสีนส้ี ามารถฆาเชือ้ โรคบางชนิดได ในวงการแพทยจึงใชรังสีอัลตราไวโอเลตในปริมาณ
พอเหมาะรักษาโรคผิวหนังบางชนิด แตถารังสีอัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตยสงลงมาถึงพื้น
! *!
*VI บทที่ 18 คลื่นแมเหล็กไฟฟา
โลกในประเทศใดมากเกินไปประชากรจํานวนมากในประเทศนั้นอาจเปนมะเร็งผิวหนังได
เพราะไดรับรังสีนี้ในปริมาณมากเกินควร

รังสีเอกซ
เปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่มีความถี่อยูในชวง 1017–1021 เฮิรตซ รังสีเอกซ สามารถทะลุ
ผานสิ่งกีดขวางหนาๆ ได ดังนัน้ วงการอุตสาหกรรม จึงใชรงั สีเอ็กซตรวจหารอยราวภายในชิน้
สวนโลหะขนาดใหญ เจาหนาทีด่ า นตรวจก็ใชรงั สีเอ็กซตรวจหาอาวุธปนหรือวัตถุระเบิดใน
กระเปาเดินทางโดยไมตอ งเปดกระเปา โดยอาศัยหลักการวา รังสีเอกซจะถูกขวางกั้นโดย
อะตอมของธาตุหนักไดดีกวาธาตุเบา แพทยจึงใชวิธีฉายรังสีเอกซผานรางกายคน ไปตกบน
ฟลมเพื่อตรวจดูลักษณะผิดปกติของอวัยวะภายในและกระดูก
เมื่อฉายรังสีเอกซที่มีความยาวคลื่นประมาณ 10 นาโนเมตร ซึ่งเปนความยาวคลื่นที่ใกลเคียง
กันกับขนาดของอะตอม และระยะหางระหวางอะตอมของผลึกผานผลึกของโลหะที่จัดเรียงตัว
กันอยางมีระเบียบ จะเกิดปรากฏการณเลี้ยวเบนของรังสีเอกซ เชนเดียวกับเมือ่ แสงผานเกรตติง
ทําใหสามารถคํานวณหาระยะหางระหวางอะตอมและลักษณะการจัดเรียงตัวของอะตอม จึงทํา
ใหทราบโครงสรางของผลึกแตละชนิดได
รังสีแกมมา
รังสีแกมมาเปนคลี่นแมเหล็กไฟฟาที่มีความถี่สูงกวารังสีเอกซ แตเดิมรังสีแกมมาเปนชือ่
เรียกคลื่นแมเหล็กไฟฟาความถี่สูงที่เกิดจากการสลายของนิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสี แตใน
ปจจุบันคลื่นแมเหล็กไฟฟาใด ๆที่มีความถี่สูงกวารังสีเอกซ โดยทั่วไปจะเรียก รังสีแกมมา ทั้ง
นัน้ ปฏิกิริยานิวเคลียรบางปฏิกิริยาปลดปลอยรังสีแกมมา การระเบิดของลูกระเบิดนิวเคลียรก็
ใหรังสีแกมมาปริมาณมาก การมีความถี่สูงทําใหรังสีนี้เปนอันตรายตอสิ่งมีชีวิตทุกชนิด นอก
จากนี้ยังมีรังสีแกมมาที่ไมไดเกิดจากการสลายของธาตุกัมมันตรังสี เชน รังสีแกมมาที่มาจาก
อวกาศและรังสีคอสมิกนอกโลก อนุภาคประจุไฟฟาทีถ่ กู เรงในเครือ่ งเรงอนุภาคก็สามารถให
กําเนิดรังสีแกมมาไดเชนกัน

! "+!

VI บทที่ 18 คลื่นแมเหล็กไฟฟา
! ตอนที่ 3 โพลาไรเซชันของคลืน่ แมเหล็กไฟฟา!
ปกติแลวคลื่นแมเหล็กไฟฟาของแสงทั่วไป จะมีระนาบการเปลี่ยนแปลงสนามไฟฟา (E )
ประกอบกันอยูหลายระนาบ ถาเราสามารถทําใหระนาบของสนามไฟฟา( E) ในคลื่นแมเหล็ก
ไฟฟา เหลือเพียงระนาบเดียวได คลื่นแมเหล็กไฟฟานั้นจะเรียกเปน คลื่นโพลาไรส
สําหรับแสงที่ไมโพลาไรส เราสามารถทําใหโพลาไรสได ซึ่งอาจทําไดหลายวิธีเชน
1. ฉายแสงผานแผนโพลารอยด
แผนโพลารอยดเปนแผนพลาสติกที่มีโมเลกุลของพอลิไวนิลแอลกอฮอล (polyvinyl
alcohol) ฝงอยูในเนื้อพลาสติก และแผนพลาสติกถูกยึดใหโมเลกุลยาวเรียงตัวในแนวขนานกับ
เมือ่ แสงผานแผนโพลารอยด สนามไฟฟาที่มีทิศตั้งฉากกับแนวการเรียงตัวของโมเลกุลจะผาน
แผนโพลารอยดออกไปได สวนสนามไฟฟาที่มีทิศขนานกับแนวการเรียงตัวของโมเลกุลจะถูก
โมเลกุลดูดกลืน ตอไปจะเรียกแนวทีต่ ง้ั ฉากกับแนวการเรียงตัวของโมเลกุลนีว้ า ทิศของโพลา
ไรส
2. ใชการสะทอนแสง เมื่อใหแสงไมโพลาไรสตกกระทบผิววัตถุ เชน แกว น้าํ หรือ
กระเบือ้ ง หากใชมุมตกกระทบที่เหมาะสม แสงที่สะทอนออกมาจะเปนแสงโพลาไรส
มุมที่ทําใหแสงสะทอนเปนแสงโพลาไรส สามารถหาคาไดจากสมการ
tanθB = n ( สมการนีเ้ รียกวา กฏของบรูสเตอร )
เมือ่ n คือ คาดัชนีหักเหของสสารที่แสงตกกระทบ
18. แสงไมโพลาไรสตกกระทบผิววัตถุ โดยทํามุมตกกระทบเทากับ 48 องศา พบวาแสง
สะทอนจากผิววัตถุเปนแสงโพลาไรส ดรรชนีหกั เหของวัตถุนเ้ี ปนเทาใด
วิธที าํ
19. นิลในอากาศ จงคํานวณหามุมบรูสเตอรของนิล ถามุมวิกฤตของนิลเทากับ 34.4 องศา
วิธที าํ
3. โพลาไรเซชันโดยการกระเจิงของแสง
เมื่อแสงอาทิตยผานเขามาในบรรยากาศของโลก แสงจะกระทบโมเลกุลของอากาศหรือ
อนุภาคในบรรยากาศ อิเล็กตรอนในโมเลกุลจะดูดกลืนแสงที่ตกกระทบนั้น และจะปลดปลอย
แสงนั้นออกมาอีกครั้งหนึ่งในทุกทิศทาง ปรากฏการณนี้เรียกวา การกระเจิงของแสง แสงที่
กระเจิงออกมาจะเนแสงโพลาไรส
!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!!! !
! ""!

VI บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
ฟ สิ ก ส บทที่ 19 ฟ สิ ก ส อ ะตอม
!

ตอนที่ 1 การคนพบอิเลคตรอนและโปรตรอน
ทฤษฎีอะตอมของดาลตัน
จากกฎทรงมวลของสาร และกฎสัดสวนทีค่ งทีเ่ ปนพืน้ ฐาน
ดาลตันนักฟสกิ สและนักเคมีชาวอังกฤษตัง้ ทฤษฎีอะตอมขึน้ ในป !
พ.ศ. 2351 ซึง่ มีใจความวา
1) สสารทัง้ หลายประกอบดวยอะตอมซึง่ เปนหนวยทีเ่ ล็กทีส่ ดุ ทีไ่ มสามารถ.........................
2) ธาตุแตละชนิดประกอบดวยอะตอม โดยธาตุชนิดเดียวกันจะมีอะตอมเหมือนกัน สวนธาตุตา ง
ชนิดกันอะตอมจะ...................
3) อะตอมชนิดหนึง่ จะเปลีย่ นแปลงไปเปน..............................ไมได
4) หนวยยอยของสารประกอบคือ โมเลกุล ซึง่ จะประกอบดวยอะตอมของธาตุองคประกอบ !
ในสัดสวนที.่ ...................!
5) ในปฏิกริ ยิ าเคมีใด ๆ อะตอมไมมกี ารสูญหาย และไมสามารถทําให..................... แตอะตอมจะ
เกิดการจัดเรียงตัวกันเปนโมเลกุลใหมเกิดขึน้ เปนสารประกอบ

1. ทฤษฎีอะตอมของดาลตันมีกี่ขอ ปจจุบนั พบวาเปนจริงเพียง 1 ขอ คือ ขอที.่ ......... ซึ่งกลาว


วา............................ ............... ............... ............... ............... ............... ............... .................

2. ทฤษฏีอะตอมของดาลตัน
ขอ 1. ผิดเพราะ.... ............... ............... ............... ............... ............... ............... .................
ขอ 2. ผิดเพราะ.... ............... ............... ............... ............... ............... ............... .................
ขอ 3. ผิดเพราะ.... ............... ............... ............... ............... ............... ............... .................
ขอ 5. ผิดเพราะ.... ............... ............... ............... ............... ............... ............... .................
!

การคนพบอิเล็กตรอน

สมบัติของรังสีคาโทด
1) ทําใหสารเรืองแสงเกิดการเรืองแสงได

! "#!
VI
_ บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
2) เบีย่ งเบนเขาหาขัว้ ไฟฟา..............
แสดงใหรูวามีประจุ!
3) เบีย่ งเบนในสนามแมเหล็กและ ไฟฟาเปน..............! ทอมสันเรียกกอน!
ทิศการเบีย่ งเบนเปนไปตามกฎ............ อนุภาคที่มีประจุ
4) ไมสามารถทะลุ...................... เปนลบนี้วา!
ทีข่ วางกัน้ ! ! ! ! ! ! ! ! ! ! แสดงให ! รวู า ภายในรังสีคาโทด! %%%%&&!
5) หมุน........................... ได ประกอบไปดวย.................!
!
ทอมสันอธิบายสาเหตุการเกิดรังสีคาโทดวา เมื่อโลหะที่เปนขั้วคาโทดไดรับพลังงาน
ไฟฟาที่มีศักยสูง จะทําใหอเิ ล็กตรอนภายในอะตอมโลหะนัน้ หลุดออกมา แลวเคลื่อนที่ไปยังขั้ว
อาโนด (ขั้วบวก) ทอมสันจึงสรุปวา ในอะตอมจะตองมีอเิ ล็กตรอนเปนองคประกอบอยูภ ายใน

3. เมื่อรังสีคาโทดวิ่งผานขั้วไฟฟา จะเบนเขาหาขัว้ .............


เมือ่ รังสีคาโทดวิง่ ผานสนามแมเหล็กจะ...............
เมือ่ รังสีคาโทด พุงชนโลหะบาง ๆ รังสีทะลุไปไดหรือไม.......
เมือ่ รังสีคาโทดพุง ชนกังหัน จะทําใหกังหัน........
4. สมบัติใดของรังสีคาโทดทําใหทราบวา รังสีคาโทดมีประจุเปนลบ .......................................
สมบัติใดของรังสีคาโทดทําใหทราบวา รังสีคาโทดมีประกอบไปดวยกอนอนุภาค ...............
5. ทําไมหลอดรังสีแคโทดจึงตองจัดใหเปนหลอดสุญญากาศหรือเกือบเปนสุญญากาศ
ก. เพื่อใหสามารถมองเห็นลําแสงที่เกิดขึ้นไดชัดเจน
ข. เพือ่ ลดความดันของอากาศในหลอด
ค. เพื่อใหสนามไฟฟาระหวางขั้วหลอดคงที่
ง. เพือ่ ชวยลดความรอนใหกบั ขัว้ ของหลอด
จ. ปองกันไมใหรังสีแคโทดชนกับโมเลกุลของอากาศซึ่งจะทําใหเกิดรังสีไดนอย (ขอ จ.)
6. ถาปรับความตางศักยระหวางขั้วของหลอดรังสีแคโทดใหเพิ่มมากขึ้น จะมีผลตามขอใด
1. จํานวนอนุภาคในลํารังสีแคโทดจะเพิ่มมากขึ้น
2. อนุภาคจะเคลือ่ นทีด่ ว ยความเร็วมากขึน้
3. ความเขมของการสองสวางบริเวณขั้วบวกมากขึ้น
คําตอบคือ (ขอ ง.)
ก. ขอ 1 , 2 , 3 ข. ขอ 1 , 2 ค. ขอ 2 , 3 ง. ขอ 2 เทานัน้
! "$!

VI บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
การทดลองหาคาความเร็วอิเล็กตรอน!

เมื่ออิเล็กตรอนวิ่งตัดสนามแมเหล็กพรอมกับสนามไฟฟา ดังรูป อิเล็กตรอนจะถูกแรง


กระทํา 2 แรง คือ 1) แรงสนามไฟฟาที่มีทิศขึ้น (F = qE)
2) แรงผลักสนามแมเหล็กมีทิศลง (F = qvB)
หากแรงทั้งสองมีคาเทากัน อิเล็กตรอนจะเคลือ่ นเปนเสนตรงอยูใ นแนวระดับ
จะไดวา F ลง = F ขึ้น
qvB = qE เมือ่ v คือ ความเร็วอิเล็กตรอน (m / s)
v= E
B E คือ ความเขมสนามไฟฟา (NC , mV )
v= V เพราะ E = Vd B คือ ความเขมสนามแมเหล็กไฟฟา (เทสลา)
dB
V คือ ความตางศักยที่ใช (โวลต )
D คือ ระยะหางของขัว้ ไฟฟาทีใ่ ชดดู e นัน้ (m)
7. ในการทดลองหาอัตราเร็วอิเลคตรอน ถาใชสนามแมเหล็กความเขม 2x10–3 เทสลา และใช
สนามไฟฟาความเขม 3x104 นิวตัน/คูลอมบ ทําใหรังสีคาโทดเปนเสนตรงพอดี จงหา
ความเร็วของอนุภาครังสีคาโทด (1.5x107 m/s )
วิธที าํ

! "'!
ะVI บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
8. ในการทดลองหาอัตราเร็วอิเลคตรอน ถาใชสนามแมเหล็กความเขม 1x10–3 เทสลา และใช
สนามไฟฟาที่เกิดจากเพลตสองเพลตที่อยูหางกัน 0.01 เมตร และ มีความตางศักย 200 โวลต
ทําใหรังสีคาโทดเปนเสนตรงพอดี จงหาความเร็วของอนุภาครังสีคาโทด (2x107 m/s )
วิธที าํ

9. จงหาความเร็วอิเล็กตรอนที่วิ่งจากหยุดนิ่งผานความตางศักยไฟฟา 1500 โวลต


กําหนด ประจุอเิ ลคตรอน = 1.6 x 10–19 C
มวลอิเลคตรอน = 9.1 x 10–31 kg ( 2.3x107 m/s)
วิธที าํ

10(En 32) ถาตองการเรงอนุภาคมวล 4 x 10–12 กิโลกรัม ที่มีประจุ 8 x 10–9 คูลอมบ


จากสภาพหยุดนิง่ ใหมอี ตั ราเร็ว 100 เมตร/วินาที จะตองใชความตางศักยเทาใด
1. 0.025 โวลต 2. 0.4 โวลต 3. 2.5 โวลต 4. 40 โวลต (ขอ 3)
วิธที าํ

! "(!
ย VI บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
การทดลองหาคาประจุตอมวลของอิเล็กตรอน

เมือ่ อิเล็กตรอนเคลือ่ นทีต่ ดั สนามแมเหล็กดวยความเร็ว จะเคลือ่ นทีโ่ คงเปนรูปวงกลม


จาก R = mv qB
q = v
m BR
เมือ่ q คือ ประจุของอิเล็กตรอน 1 ตัว (C)
v คือ ความเร็วของอิเล็กตรอน (m/s)
R คือ รัศมีวงโคจรอิเล็กตรอน (m)
m คือ มวลอิเล็กตรอน 1 ตัว (kg)
B คือ ความเขมสนามแมเหล็ก (เทสลา)
จากการทดลองของทอมสัน จะได mq ของอิเล็กตรอนมีคา 1.76 x 1011 C/kg
11. เมือ่ ยิงอิเลคตรอนความเร็ว 3x107 m/s พุงเขาตัดตั้งฉากกับสนามแมเหล็กความเขม 0.001
เทสลา ทําใหอเิ ลคตรอนเคลือ่ นเปนวงกลมรัศมี 0.2 เมตร จงหาคาประจุตอ มวลของอิเลค-
ตรอน (1.5x1011 C/kg)
วิธที าํ

12. จงหาความเร็วของ e เมื่อพุงผานสนามไฟฟาเขม 34 x 104 V/m และสนามแมเหล็กมี


ความเขม 2 x 10–3 เทสลา แลวลํา e ยังคงแนวเดิมไว กําหนดใหแรงกระทําซึ่งเกิดจาก
สนามไฟฟา และสนามแมเหล็กอยูในทิศตรงกันขาม
ก. จงหาความเร็วของอิเลคตรอน
ข. จงหารัศมีความโคงของ e เมือ่ e วิ่งตัดสนามไฟฟาออกไป
กําหนด q/m ของ e = 1.76 x 1011 C/kg (17x107 m/s , 0.483 m)

! ")!

VI บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
วิธที าํ

13. ในการทดลองของทอมสัน เพือ่ หาคาอัตราสวนของประจุตอ มวลอนุภาครังสีคาโทด ถาใช


เพียงสนามแมเหล็กเพียงอยางเดียว การเบี่ยงเบนของรังสี มีรศั มีความโคง 0.114 เมตร และ
คาสนามแมเหล็กเทากับ 1 x 10–3 เทสลา ในสนามแมเหล็กเดียวกันถาใชสนามไฟฟาที่เกิดจาก
เพลตสองเพลตที่อยูหางกัน 0.01 เมตร และ มีความตางศักย 200 โวลต ทําใหรังสีเดิมเปน
เสนตรง จงหาคาประจุตอ มวลของอนุภาคของรังสีคาโทด (1.75x1011 C/kg)
วิธที าํ

14. ในการทดลองของทอมสันเพือ่ วัดอัตราสวน q/m ของอนุภาครังสีแคโทด โดยใชสนาม


แมเหล็กสม่ําเสมอขนาด 1.5 x 10–3 เทสลา รัศมีความโคงของอนุภาครังสีแคโทดเทากับ
10 เซนติเมตร แตถาตอแผนโลหะทั้งสองซึ่งมีระยะหางกัน 1 เซนติเมตร เขากับความ
! ตางศักยไฟฟา 390 โวลต จะทําใหอนุภาครังสีแคโทดเคลือ่ นทีเ่ ปนเสนตรง จงหาอัตรา!
! สวน q/m ของอนุภาครังสีแคโทด (1.73x1011 C/kg)!
วิธที าํ

! "*!

VI บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
15(En 43/1) อนุภาคที่มีประจุไฟฟาหลายอนุภาควิ่งผาน บริเวณสนามไฟฟาตัง้ ฉากกับสนามแมเหล็ก!
โดยทิศทีว่ ง่ิ ตัง้ ฉากกับสนามทัง้ สอง อนุภาควิง่ ไปโดยไมเบนจากแนวเดิม จะมีปริมาณใดเทากัน !
! ! 1. ประจุ! ! ! 2. อัตราเร็ว! ! ! 3. มวล! ! 4. อัตราสวนประจุตอ มวล! ! (ขอ 2.)!
วิธที าํ
การคนพบโปรตรอน
Ergen goldstein นักฟสกิ สชาวเยอรมัน ไดทาํ การดัดแปลงหลอดรังสีคาโทด โดยจัดให
ขัว้ คาโทดอยูเ กือบตรงกลางและเจาะรูขว้ั คาโทดไว
เมือ่ ตอความตางศักยสงู เขาไป นอกจากจะมีรังสีคา
แลว ยังจะมีรงั สีอกี ชนิดหนึง่ วิง่ ยอนกลับมาหาขัว้
คาโทด (ขัว้ ลบ) รังสีนจ้ี ะประกอบไปดวยอนุภาคที่
ประจุบวก เรียกรังสีแคแนล(Canal ray) หรือ .............
! ! รังสีนเ้ี กิดจากอะตอมของกาซภายในหลอดถูกชนดวยอนุภาคอิเล็กตรอนทีพ่ งุ มาจากขัว้ คาโทด!
ทําใหอะตอมของกาซอิเล็กตรอนในอะตอมไป แลวกลายเปนอนุภาคทีม่ ปี ระจุ..............อนุภาคนีก้ !็
จะวิง่ เขาหาขัว้ คาโทดอันเปนขัว้ ลบนัน่ เอง!
การทดลองนีท้ าํ ใหเชือ่ วาในอะตอมตองมีอนุภาคไฟฟาบวกอยูด ว ยเรียกอนุภาคบวกนีว้ า .................!
*หากเปลีย่ นชนิดกาซทีบ่ รรจุอยูใ นหลอด แลวทดลองหาคาประจุตอ มวล (q/m) จะพบวาอนุภาครังสี
บวกของกาซแตละชนิดจะมีคา q/m ไมเทากัน ทัง้ นีเ้ พราะกาซแตละชนิดจะมีมวลไมเทากันนัน้ เอง
16. รังสีแคแนลเกิดจาก ............. ......... ......... ......... ......... ......... ......... ......... ......... ......... .......
17. การคนพบรังสีแคแนลทําใหเรารูจ กั อนุภาคมูลฐานในอะตอมตัวหนึง่ คือ ......... .........
18. รังสีแคแนลมีคาประจุตอมวลไมคงที่ เพราะ ......... ......... ......... ......... ......... ......... .............
แบบจําลองอะตอมของทอมสัน
จากการทดลองของทอมสัน, โกลดสไตน และนักวิทยาศาสตรอีกหลายทาน ทําใหเชือ่ วา
ในอะตอมใดๆ จะตองประกอบดวยอนุภาคทีม่ ปี ระจุบวก (โปรตอน) และอนุภาคที่มีประจุลบ
(อิเล็กตรอน) ทอมสันจึงไดเสนอแบบจําลองของอะตอมเอาไววา
“ อะตอมมีลักษณะเปนทรงกลม ประกอบไปดวยโปรตรอน
ซึ่งมีประจุบวก และอิเล็กตรอนซึ่งมีประจุลบกระจายอยูทั่วไป
อยางสม่ําเสมอและในอะตอมที่เปนกลางทางไฟฟาจะมีจํานวน
โปรตรอนเทากับจํานวนอิเล็กตรอน ”
! "+!
z
VI บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
19. จงวาดรูป แบบจําลองอะตอมของดาลตัน แบบจําลองอะตอมของทอมสัน
!
!
!
!
!
!
20. ตามแบบจําลองอะตอมของทอมสัน ขอใดกลาวถูกตอง
1. อะตอมมีลักษณะเปนทรงกลม โดยเนือ้ ของทรงกลมเปนประจุบวกกระจายอยาง
สม่ําเสมอและมีอิเล็กตรอนฝงอยูในเนื้อทรงกลม
2. ปริมาณประจุบวกและปริมาณประจุลบมีจํานวนเทากัน
3. ในสภาพปกติอะตอมเปนกลางทางไฟฟา
4. ถูกทุกขอ (ขอ 4.)
วิธที าํ

การคนพบนิวตรอน
ป พ.ศ. 2473 W.Bothe และ H.Becker
นักเคมีชาวเยอรมันไดทาํ การทดลองใชอนุ
ภาคอัลฟายิ่งแผนโลหะแบริลเลียม ปรากฏ !
วาเกิดรังสีซึ่งไมมีประจุชนิดหนึ่งที่มีอํานาจทะลวงไดดี และรังสีนี้เมื่อชนกับโมเลกุลของพารา
ฟนจะไดโปรตรอนออกมา ตอมาในป พ.ศ. 2475 Jame Chadwich ไดเสนอวารังสีนต้ี อ ง
ประกอบดวยอนุภาคและใหชื่อวา นิวตรอน และไดทําการพิสูจนไดวานิวตรอนไมมีประจุ และ
คํานวณมวลนิวตรอนไดคา ใกลเคียงกับมวลของโปรตรอน
21. จงเติมคําลงในชองวางใหสมบูรณ

รังสี................. รังสีมมี วลใกลกบั ................! อนุภาค................!


มีประจุ................!
แผน................! แผน................!
! ",!
Z
VI บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
ตอนที่ 2 การทดลองของมิลลิแกน!
การทดลองหาคาประจุอิเล็กตรอนของมิลลิแกน (Robert A. Millikan)
จากอุปกรณการทดลองดังรูป เมื่อผานละอองฝอยน้ํามันลงไประหวางขั้วไฟฟา หยดน้ํามัน
เล็ก ๆ บางหยดจะมีประจุบวก บางหยดจะมีประจุลบ พวกที่มีประจุบวกจะตกลงเบื้องลางอยาง
รวดเร็ว บางหยดที่มีประจุเปนลบขนาดเหมาะสม จะลอยอยูนิ่ง ๆ ไดอยางสมดุล

พิจารณาเฉพาะหยดที่อยูนิ่ง ๆ
จาก Fขึ้น = Fลง
qE = mg
neE = mg เพราะ q = ne
ne = mg E
เมือ่ q คือ ประจุรวมทัง้ หมดในหยดน้าํ มัน(C) n คือ จํานวนอิเล็กตรอน
e คือ ประจุอเิ ล็กตรอน 1 ตัว m คือ มวลของหยดน้ํามันทั้งหมด (kg)
E คือ ความเขมสนามไฟฟา (N/C)
จากการทดลองจะได ne = จํานวนเต็ม x 1.6 x 10–19 C
เชน ne = 1 x 1.6 x 10–19 C
ne = 2 x 1.6 x 10–19 C
ne = 3 x 1.6 x 10–19 C
จึงสรุปวา อิเล็กตรอน 1 ตัว มีประจุ 1.6 x 10–19 คูลอมบ สวนจํานวนเต็มคูณอยู ก็คือ
จํานวนอิเล็กตรอนนัน่ เอง
22. หยดน้าํ มันอันมีจาํ นวนอิเลคตรอนมากกวาจํานวนโปรตรอนอยู 5 ตัว มีมวล 1.6x10–15 kg
ลอยแขวนอยูระหวางแผนประจุในเครื่องทดลองของมิลลิแกนซึ่งมีสนามไฟฟาเขม 2x104
โวลตตอ เมตร จงหาประจุของอิเลคตรอน 1 ตัว (1.6x10–19 C)
วิธที าํ

! #-!
2
VI บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
23. หยดน้าํ มันอันมีจาํ นวนอิเลคตรอนมากกวาจํานวนโปรตรอนอยู 10 ตัว มีมวล 1.6x10–15 kg
ลอยแขวนอยูระหวางแผนประจุในเครื่องทดลองของมิลลิแกนซึ่งมีความตางศักย 100 โวลต
ระยะหางระหวางขั้วไฟฟา 1 เซนติเมตร จงหาประจุของอิเลคตรอน 1 ตัว (1.6x10–19 C)
วิธที าํ

24(มช 36) ในการทดลองของมิลลิแกนเมื่อทําใหหยดน้ํามันมวล 1.6 x 10–14 กิโลกรัม ลอย


หยุดนิ่งระหวางแผนโลหะขนานซึ่งวางหางกัน 1 ซม. โดยแผนบนมีศักยไฟฟาสูงกวาแผน
ลางเทากับ 392 โวลต ถาความเรงเนือ่ งจากแรงดึงดูดของโลกเทากับ 9.8 m/s2 และ
อิเลคตรอนมีประจุ 1.6x10–19 คูลอมบ จงคํานวณหาวาหยดน้าํ มันนีม้ อี เิ ลคตรอนแฝงอยูก ต่ี วั
1. 25 2. 50 3. 250 4. 500 (ขอ 1.)
วิธที าํ

25. ในการหยดน้ํามันของมิลลิแกน พบวาถาตองการใหหยดน้ํามันซึ่งมีมวล m และอิเล็กตรอน


เกาะติดอยู n ตัว ลอยนิง่ อยูร ะหวางแผนโลหะ 2 แผน ซึ่งวางขนานหางกันเปนระยะทาง
! d และมีความตางศักย V ประจุของอิเล็กตรอนทีค่ าํ นวณไดจากการทดลองนีจ้ ะมีคา เทาใด
ก. mgd
nV ข. mgV nd ค. nmgd
V ง. nmgV
d (ขอ ก.)
วิธที าํ

! #"!

VI บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
26. หยดน้ํามันมีความหนาแนน 400 กิโลกรัม/ลูกบาศกเมตร มีปริมาตร 2.5x10–12 ลูกบาศก–
เมตร ลอยนิ่งอยูในสนามไฟฟาขนาดสม่ําเสมอ 4x105 นิวตัน/คูลอมบ จงหาขนาดของ
ประจุบนหยดน้ํามัน (2.5x10–14 C)
วิธที าํ

27. ในการทดลองหยดน้ํามันของมิลลิแกนนั้นพบวา เมื่อเพิ่มคาความตางศักยจนถึงคาสูงสุดของ


เครื่องมือแลวไมสามารถทําใหหยดน้ํามันหยุดนิ่งหรือเคลื่อนที่ในทิศตรงขามกับเมื่อยังไมให
คาความตางศักยแสดงวา
1. หยดน้ํามันมีมวลมากเกินไป
2. หยดน้ํามันมีประจุชนิดหนึ่งทําใหแรง เนือ่ งจากสนามไฟฟามีทศิ ทางเดียวกับแรงโนมถวงโลก
3. สนามไฟฟามีคานอยเกินไป
4. ถูกทุกขอ (ขอ 4.)
วิธที าํ
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"" !

ตอนที่ 3 สัญลักษณแทนอะตอม แบบจําลองอะตอมของรัทเทอรฟอรด


แบบจําลองอะตอมของรัทเทอรฟอรด!
หากเปนไปตามแบบจําลองอะตอมของทอมสัน
รังสีเกือบทัง้ หมดตองเบีย่ งเบนการเคลือ่ นที่ เพราะ
เกิดแรงผลักระหวางประจุบวกของรังสีอัลฟา กับ
โปรตรอน และหากรังสีอลั ฟาพุง ชนโปรตรอนจะ
ทําใหโปรตรอนกระเด็นไปเพราะรังสีอลั ฟามีมวล
มากกวา รังสีอัลฟาจะไมสะทอนกลับออกมาเลย
!

! ##!
ยVI บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
ผลการทดลองจริงเปนดังรูป
รัทเทอรฟอรดอธิบายวา
1. จริง ๆ แลวอะตอมจะมีโปรตรอนทัง้ หมดจะรวมตัวกันอยูใ นพืน้ ทีเ่ ล็ก ๆ ตรงกลาง
อะตอมเรียกวา นิวเคลียส สวนอิเล็กตรอนจะอยูร อบนอกนิวเคลียสระหวางนิวเคลียส
กับอิเล็กตรอนจะเปนทีว่ า ง ซึ่งจะกวางมากเมื่อเทียบกับนิวเคลียส รังสีแอลฟา
สวนมากจะผานชองวางนีไ้ ปจึงเคลือ่ นทีเ่ ปนเสนตรง
2. รังสีแอลฟา สวนนอยจะวิ่งเฉี่ยวนิวเคลียส ทําใหเกิดแรงผลักแลวเบี่ยงเบนการเคลื่อนที่
3. รังสีแอลฟาสวนนอยที่สุดจะชนนิวเคลียสตรงๆ แลวรังสีแอลฟาจะสะทอนกลับ เพราะ
มีมวลนอยกวานิวเคลียส ซึง่ มีโปรตรอนรวมอยูภ ายในอยางมากมาย
แบบจําลองอะตอมแบบนี้ เรียก แบบจําลองอะตอมของรัทเทอรฟอรด
28. ถาเชื่อวาอะตอมเปนไปตามแบบจําลองของทอมสัน เมื่อยิงรังสีอัลฟาเขาไปในอะตอมของ
ทองคํา รังสีสวนมากจะเคลื่อนที่ .......................................... ทั้งนี้เพราะเกิดแรงผลักระหวาง
ประจุบวกของอนุภาคอัลฟา กับ ......... ......... .... ในนิวเคลียส
29. จากการทดลองยิงรังสีอัลฟากระทบอะตอมทองคํา พบวารังสีสวนมากจะเคลื่อนที่เปนเสนตรง
เพราะ ............................................................................................................................................
รังสีสวนนอยจะ ............................เพราะ ................ .......... .......... .......... .......... .......... ............
และรังสีสวนนอยที่สุดจะ ..................................เพราะ .......... .......... .......... .......... .......... .........
30(En 36) การที่รัทเทอรฟอรดทําการทดลองยิงอนุภาคแอลฟาไปยังแผนทองคําบางแลว พบวา
โครงสรางของอะตอมไมเปนไปตามแบบของทอมสัน เนือ่ งจากรัทเทอรฟอรดพบวา (ขอ 4.)
1. อนุภาคแอลฟาเกือบทั้งหมดเบนไปจากแนวเดิมเปนมุมใดๆ และบางทีมีการสะทอนกลับ
2. อนุภาคแอลฟาเบนไปจากแนวเดิมทุกทิศทางเทา ๆ กัน
3. อนุภาคแอลฟาทั้งหมดวิ่งทะลุผาน แผนทองไปในแนวเกือบเปนเสนตรง
4. อนุภาคแอลฟาบางสวนเบนไปจากแนวเดิมเปนมุมใดๆ ทัง้ ทีส่ ว นใหญผา นไปในแนวตรง
31. ตามแบบจําลองอะตอมของรัทเทอรฟอรด ขอใดกลาวถูกตอง
1. อะตอมมีลกั ษณะเปนทรงกลม มีนวิ เคลียสอยูท จ่ี ดุ ศูนยกลาง มีอเิ ล็กตรอนเคลือ่ นอยูร อบๆ
นิวเคลียส
2. ภายในนิวเคลียสจะมีอนุภาคทีม่ ปี ระจุไฟฟาบวกรวมกันอยู

! #$!
รVI บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
3. เนือ้ ทีส่ ว นใหญภายในอะตอมเปนทีว่ า งเปลา
4. เมือ่ ยิงอนุภาคแอลฟาเขาไปในอะตอมของทองคํา อนุภาคแอลฟาไมมโี อกาสทีจ่ ะ
สัมผัสนิวเคลียสเลยเพราะจะเกิดการเบีย่ งเบนออกจากนิวเคลียส
5. ถูกทุกขอ (ขอ 5.)
32. จงวาดรูปแบบจําลองอะตอมของ
ดาลตัน ทอมสัน รัทเทอรฟอรด
!
!
!
33(En 42/1) ถายิงอนุภาคแอลฟาเขาไปในนิวเคลียสของ
โลหะทางเดินของอนุภาคแอลฟาทีเ่ ปนไปได คือ
1. ก และ ง เทานัน้ 2. ข และ ค เทานัน้
3. ก , ค และ ง เทานัน้ 4. ก, ข , ค และ ง (ขอ 1.)
วิธที าํ
34. มีอนุภาคแอลฟาวิง่ ตรงเขาสูน วิ เคลียสของอะตอมทองคํา อนุภาคแอลฟาจะหยุดนิ่งก็ตอ
เมือ่ อนุภาคนัน้ (ขอ 4.)
1. มีพลังงานรวมเปนศูนย 2. กระทบผิวนิวเคลียส
3. กระทบกับอิเล็กตรอนในชัน้ ใดชัน้ หนึง่ 4. มีพลังงานศักยเทากับพลังงานจลนเดิม
วิธที าํ
35(En 39) รังสีแอลฟาเคลื่อนที่เฉียดนิวเคลียสของทองคํา พลังงานจลนของรังสีแอลฟา
ณ. ตําแหนงที่เขาใกลนิวเคลียสของทองคํามากที่สุดมีคา (ขอ 1.)
1. ศูนย 2. มากทีส่ ดุ 3. เทาเดิม 4. นอยทีส่ ดุ
วิธที าํ
36. อนุภาคแอลฟาถูกเรงดวยความตางศักยกี่โวลต เมื่อวิ่งตรงไปยังนิวเคลียสของทองคํา (79Au )
ไดมากที่สุด 7.9 x 10–15 เมตร (1.44x107 โวลต)
วิธที าํ

! #'!
ze
VI บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
ตอนที่ 4 แบบจําลองอะตอมของโบร (1)
! !

โบร ไดเสนอแบบจําลองอะตอมของไฮโดรเจนขึ้นมาโดยนําแนวคิดเรื่องควอนตัมของพลังงาน
ของพลังคมาใชกบั แบบจําลองอะตอมของรัทเทอรฟอรด พรอมทัง้ เสนอสมมติฐานขึน้ ใหม 2 ขอ คือ!
! ! 1. อิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่เปนวงกลมรอบนิวเคลียสจะมีวงโคจรบางวงที่อิเล็กตรอนไมแผ!
รังสีคลื่นแมเหล็กไฟฟาออกมา ในวงโคจรดังกลาวอิเล็กตรอนจะมีโมเมนตัมเชิงมุม (L)
คงตัว และโมเมนตัมเชิงมุมนี้มีคาเปนจํานวนเต็มเทาของคาตัวมูลฐานคาหนึ่งคือ h
h
(อานวา เอซบาร) ซึ่งมีคาเทากับ 2π
ดังนั้น สําหรับอิเล็กตรอนมวล m ทีเ่ คลือ่ นทีร่ อบนิวเคลียสในวงโคจรรัศมี r
โดยมีอัตราเร็วเชิงเสน v ตามสมมติฐานขอนี้จะไดวา
L = mvr = n h
เมือ่ n เปนเลขจํานวนเต็มบวก 1, 2, 3, .... ในที่นี้เรียกวา เลขควอนตัม ของวงโคจร
2. อิเล็กตรอนจะรับหรือปลอยพลังงานออกมา เมือ่ มีการเปลีย่ นวงโคจรตามขอ 1.
พลังงานที่อิเล็กตรอนรับหรือปลอยออกมาจะอยูในรูปคลื่นแมเหล็กไฟฟา
รายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับทฤษฎีอะตอมของโบร
1. สูตรหารัศมีวงโคจรของอิเลคตรอนในอะตอมไฮโดรเจน
rn = h 2 2 n 2
mke
= (1.05x10−34 )2 n2
(9.1x10−31 )(9x109 )(1.6x10−19 )2
rn = 5.3 x 10–11 n2
เมือ่ rn คือ รัศมีวงโคจรที่ n (เมตร)
h = 2π h = 6.6x10−34 = 1.05 x 10–34 J.s

m คือ มวลของอิเล็กตรอน = 9.1 x 10–31 kg
k = 9 x 109 N/m2 / c2
e = ประจุอเิ ล็กตรอน = 1.6 x 10–19 C
n คือ ลําดับของวงโคจร
37(มช 34) รัศมีวงโคจรที่สองจากในสุดของอะตอมไฮโดรเจนมีคาเทากับ..................เมตร
วิธที าํ

! #(!

VI บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
38(En 41) ในแบบจําลองอะตอมไฮโดรเจนของโบรรัศมี วงโคจรของอิเล็กตรอนในสถานะ
n = 4 เปนกีเ่ ทาของรัศมีวงโคจรในสถานะ n = 1 (16 เทา)
วิธที าํ

2. สูตรหาพลังงานของอิเล็กตรอนในวงโคจรตางๆ ของอะตอมไฮโดรเจน
เนือ่ งจาก พลังงานรวมของอิเลคตรอน = พลังงานศักยไฟฟา + พลังงานจลนของอิเล็คตรอน
En = – k e 2 + 1 k e2
r 2 r
n n
En = – 1 k e2
เมือ่ rn = h 2 2 n 2
2 r mke
n
En = – 1 mk 2 e 4
2 n2 h 2
E1
หรือ En =
n2
เพราะ – 12 mk 2 e 4 = – 12 (9.1x10 - 19 )(9x10 9 ) 2 (1.6x10 - 19 ) 4
h2 (1.05x10 - 34 ) 2
= –21.76x10–19 จูล
= –13.6 อิเลคตรอนโวลต
พลังงานจํานวนนีค้ อื พลังงานรวมของอิเลคตรอนซึง่ อยูใ นวงโคจรที่ 1 เรียก E1
E
สรุปไดวา En = 21
n
เมือ่ En คือ พลังงานอิเล็กตรอนในวงโคจรที่ n (อิเล็กตรอนโวลต , eV)
E1 คือ พลังงานของอิเล็กตรอนไฮโดรเจนในวงโคจรที่ 1 คือ –13.6 eV
** พลังงาน (En) มีคาเปนลบ มีความหมายวา อิเล็กตรอนถูกนิวเคลียสยึดไว **
! #)!

VI บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
39. จากทฤษฏีอะตอมของโบร
พลังงานของอิเลคตรอนของไฮโดรเจนในวงโคจรที่ 4 (E4) = …………………………………
พลังงานของอิเลคตรอนของไฮโดรเจนในวงโคจรที่ 3 (E3) = …………………………………
พลังงานของอิเลคตรอนของไฮโดรเจนในวงโคจรที่ 2 (E2) = …………………………………
พลังงานของอิเลคตรอนของไฮโดรเจนในวงโคจรที่ 1 (E1) = …………………………………

สถานะพื้น (ground state), สถานะกระตุน (excited state)


หากเราคํานวณหาพลังงานของอิเล็กตรอน
อะตอมไฮโดรเจนในแตละวงโคจรจะไดดงั รูป
จะเห็นวาในวงโคจรที่ 1 (ในสุด) อิเล็กตรอน
จะมีพลังงานต่ําสุดและชั้นนอกถัดๆ ออกไป
อิเล็กตรอนจะมีพลังงานสูงขึ้นตามลําดับ
ปกติอเิ ล็กตรอนชอบทีจ่ ะอยูว งโคจรในสุด
อันเปนชั้นที่มีพลังงานต่ําสุด จะทําใหเกิดความ
เสถียรภาพมากที่สุด เรียกสภาวะนี้วา สภาวะพื้น
(ground State) !
หากอิเล็กตรอนไดรบั พลังงานจะเคลือ่ นไป
อยูในวงโคจรที่สูงกวาเดิมสภาวะเชนนี้เรียก
สภาวะกระตุน (excited state)
สภาวะถูกกระตุนเปนสภาวะไมเสถียรอิเล็กตรอนจะคายพลังงาน ซึ่งมีมากเกินไปทิ้งแลว
เคลื่อนลงมาอยูในชั้นที่ต่ํากวาพลังงานที่คายออกมานั้น จะอยูในรูปคลื่นแมเหล็กไฟฟา

40. ปกติแลวอิเลคตรอนจะอยูใ นวงโคจรทีม่ พี ลังงานต่าํ สุด เรียกภาวะนี้วา .............................


41. หากอิเลคตรอนดูดพลังงาน จะเคลื่อนจากชั้น..............ไปสูชั้น........... ภาวะทีอ่ เิ ลคตรอน
มีพลังงานมากกวาปกติเชนนี้เรียก .....................................
42. หากอิเลคตรอนจะเคลือ่ นทีจ่ ากชัน้ บน ลงมาสูชั้นที่ต่ํากวา อิเลคตรอนจะตอง....................
43. พลังงานทีอ่ เิ ลคตรอนคายออกมาจะอยูใ นรูปของ....................................

! #*!

VI บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
สเปกตรัมของอะตอมไฮโดรเจน

44. จงเติมคําลงในชองวางตอไปนี้ใหถูกตองและสมบูรณ
( เกีย่ วกับการเปลีย่ นวงโคจรของอิเลคตรอนในอะตอมไฮโดรเจน )
การเคลื่อน e คลื่นแมเหล็กไฟฟา อนุกรม
บน → 1 ............................... ..............
6 → 2 ...............................
5 → 2 ............................... ..............
4 → 2 ...............................
3 → 2 ...............................
บน → 3 ............................... ..............
บน → 4 ............................... ..............
บน → 5 ............................... ..............
45. อนุกรมของเสนสเปกตรัมชุดใด ที่ปลดปลอยพลังงานโฟตอนเปนอัลตราไวโอเลต
ก. อนุกรมไลมาน ข. อนุกรมบาลมเมอร
ค. อนุกรมพาสเซน ง. อนุกรมแบรกเกต (ขอ ก.)
!

! #+!

VI บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
46. อนุกรมของเสนสเปกตรัมชุดแบรกเกตใหพลังงานในระดับรังสีใด (ขอ ข.)
ก. อัลตราไวโอเลต ข. อินฟาเรด ค. รังสีเอกซ ง. แสงที่ตาสัมผัสได
47. สเปกตรัมของอะตอมไฮโดรเจนชุดใดทีต่ ามองเห็นได (ขอ ข.)
ก. ชุดไลมาน ข. ชุดบาลมเมอร ค. ชุดพาสเซน ง. ชุดฟุนต
48. สเปคตรัมทีไ่ ดจากอะตอมของธาตุตา ง ๆ จะ
ก. เหมือนกันสําหรับธาตุทุกธาตุ
ข. จะแสดงคุณสมบัติเฉพาะของแตละธาตุ
ค. จะไดเปนแถบสวางเสมอ
ง. ไดเปนเสนมืดเสมอ (ขอ ข.)
49(มช 32) ภาพของอะตอมจากทฤษฎีของเบอร (Bohr) คือ
! ! ก. อิเล็กตรอนจะวิง่ วนรอบนิวเคลียสในวงโคจรบางวงโดยไมแผคลืน่ แมเหล็กไฟฟาออกมา
ข. อิเล็กตรอนรอบ ๆ นิวเคลียสเปนเสมือนกลุม หมอกทีห่ อ หุม นิวเคลียสอยูท ใ่ี ดมีหมอกหนา
แนนมากจะมีโอกาสพบอิเล็กตรอน ณ. ทีน่ น้ั มาก!
ค. อิเล็กตรอนวิง่ วนรอบนิวเคลียสดวยระยะหางจากนิวเคลียสมาก เมือ่ เทียบกับขนาดนิวเคลียส
ง. อิเล็กตรอนทีอ่ ยูร อบนิวเคลียสมีสมบัตคิ ลืน่ นิง่ (ขอ ก.)
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

ตอนที่ 5 แบบจําลองอะตอมของโบร (2)


!

การคํานวณหาพลังงาน ความถี่ ความยาวคลื่น แมเหล็กไฟฟา


ΔE = Ef – Ei เมือ่ ΔE คือพลังงานที่เปลี่ยนแปลง (eV)
⏐ΔE ⏐ = hfe หากมีคาบวกจะเปนการดูดพลังงาน
หรือ ⏐ΔE ⏐ = 6.6x10−−1934 f หากมีคาลบจะเปนการคายพลังงาน
1.6x10
⏐ΔE ⏐ = 4.125 x 10–15 f Ef คือ พลังงาน e ในวงโคจรสุดทาย
⏐ΔE ⏐ = hc Ei คือ พลังงาน e ในวงโคจรเริม่ ตน

−34 )(3x108 )
⏐ΔE ⏐ = (6.6x10 −19 h คือ คาคงที่ของพลังค = 6.6 x 10–34 J.s
(1.6x10 ) λ

! #,!

VI บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
⏐ΔE ⏐ = 1237.5x10 9 −
f คือ ความถี่คลื่นแมเหล็กไฟฟา (Hz)
λ
e คือ ประจุอเิ ล็กตรอน 1 ตัว = 1.6 x 10–19 C
c คือ ความเร็วคลื่นแมเหล็กไฟฟา = 3x108 m/s
λ คือ ความยาวคลื่น (m)
1 =R 1-1 เมือ่ R คือ คาคงตัวของริดเบอรก = 1.097 x 107 m–1
λ n 2f n 2i
nf คือ ลําดับชั้นสุดทาย
ni คือ ลําดับชัน้ เริม่ ตน!
50. จงหาพลังงานของอิเลคตรอนของไฮโดรเจนในวงโคจรที่ 4 (E4) = ……………………..
และพลังงานของอิเลคตรอนของไฮโดรเจนในวงโคจรที่ 2 (E2) = ……………………..
วิธที าํ

51. จากขอที่ผานมา หากอิเลคตรอนเคลือ่ นจากชัน้ ที่ 4 มาสูชั้นที่ 2 จะคายพลังงานออกมา


กีอ่ เิ ลคตรอนโวลต ( 2.55 eV )
วิธที าํ

52(En 40) พลังงานต่าํ สุดของอิเล็กตรอนในอะตอมไฮโดรเจนคือ –13.6 อิเล็กตรอนโวลต ถา


อิเล็กตรอนเปลี่ยนสถานะจาก n = 3 ไปสูสถานะ n = 2 จะใหแสงที่มีพลังงานควอนตัมเทาใด
1. 1.51 eV 2. 1.89 eV 3. 3.40 eV 4. 4.91 eV (ขอ 2.)
วิธที าํ

53. จากขอที่ผานมา พลังงานที่คายออกมา จะมีความยาวชวงคลื่นเทาใด (651.3 nm)


วิธที าํ

! $-!
ยVI บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
54. ถาอะตอมเปลี่ยนระดับพลังงานเดิมจาก E3 มายัง E1 จะปลดปลอยโฟตอนที่มีพลังงาน
เทาใด และความยาวชวงคลื่นมีคาเทาใด (12. 09 eV, 1.02x10–7 m)
วิธที าํ

55(En 41/2) ตามทฤษฎีอะตอมของโบรระดับพลังงานของอะตอมไฮโดรเจนต่าํ สุดเทากับ


–13.6 อิเล็กตรอนโวลต ถาอะตอมไฮโดรเจนถูกกระตุนไปอยูที่ระดับพลังงานสูงขึ้น และ
กลับสูสถานะพื้นที่มีพลังงานต่ําสุดโดยการปลอยโฟตอนออกมาดวยพลังงาน 10.20 อิเล็ก–
ตรอนโวลต แสดงวาอะตอมไฮโดรเจนถูกกระตุนไปที่ระดับพลังงานที่ n เทากับเทาใด
1. 2 2. 4 3. 8 4. 16 (ขอ 1.)
วิธที าํ

56. ในการกระตุน ใหอะตอมไฮโดรเจนทีร่ ะดับพลังงานต่าํ สุด(–13.6 eV) ไปอยูที่ระดับพลังงาน


กระตุน ที่ 3 ตองใหโฟตอนที่มีพลังงานเทาไร
1. 0.85 eV 2. 1.51 eV 3. 12.09 eV 4. 12.75 eV (ขอ 3.)
วิธที าํ

! $"!

VI บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
57(En 34) สมมติวาแผนภาพแสดงระดับพลังงานของอะตอม
ชนิดหนึง่ เปน ดังรูป ใหหาคาความยาวคลื่นของคลื่นแมเหล็ก
ไฟฟาทีจ่ ะทําใหอะตอมในสถานะพืน้ ฐานแตกตัวเปนไอออน
.! !
ไดพอดี
1. 62 nm 2. 100 nm 3. 210 nm 4. 310 nm (ขอ 1.)
วิธที าํ

58. ในการเคลือ่ นยายอิเลคตรอนของอะตอมของไฮโดรเจนจากวงโคจรที่ 4 ลงสูวงโคจรที่


ต่ํากวาสเปกตรัมเสนที่มีความยาวคลื่นสั้นที่สุดจะมีพลังงานเทาใด
1. 0.66 eV 2. 0.85 eV 3. 10.20 eV 4. 12.75 eV (ขอ 4.)
วิธที าํ

59(มช 33) จงคํานวณหาความยาวคลื่นยาวที่สุด และสัน้ ทีส่ ดุ ในอนุกรมไลแมนของไฮโดรเจน


สเปคตรัม (ตอบในหนวยอังสตรอม) (ขอ ข.)
ก. 1215 , 952 ข. 1215 , 912 ค. 1415 , 912 ง. 1415 , 952
วิธที าํ

! $#!

VI บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
60. จงหาความยาวคลื่นที่ยาวที่สุดในอนุกรมไลมาน เมือ่ กําหนดให k เปนคานิจของริดเบอรก
1. 1k 2. k 3. 3k4 4. 3k4 (ขอ 4.)
วิธที าํ

61(En 42/2) อะตอมไฮโดรเจนเปลีย่ นระดับพลังงานจาก n = 2 ไป n = 1 ความยาวคลื่นของ


แสงที่ปลอยออกมาเปนกี่เทาของในกรณีที่เปลี่ยนระดับพลังงานจาก n = 4 ถึง n = 2
1. 14 เทา 2. 12 เทา 3. 2 เทา 4. 4 เทา (ขอ 1.)
วิธที าํ

62. ในชวงระดับพลังงานต่าํ สุดสามระดับแรกของอะตอมไฮโดรเจน คลื่นแมเหล็กไฟฟาที่ตรวจ


พบจะอยูในชุดความถี่ที่เรียกวา (ขอ 1.)
1. ชุดไลมาน และ ชุดบาลเมอร 2. ชุดไลมาน และชุดพาสเซน
3. ชุดบาลเมอร และชุดพาสเซน 4. ชุดไลมาน ชุดบาลเมอร และชุดพาสเซน
วิธที าํ
63(มช 45) ถาใชอนุภาคอิเล็กตรอนพลังงาน 19.5 x 10–19 จูล ยิงใสอะตอมไฮโดรเจนจะ
กระตุนใหเกิดสิ่งใด (ขอ 2.)
1. เสนสเปกตรัมทุกเสนนับตัง้ แตอนุกรมบัลเมอรขน้ึ ไป
2. เสนสเปกตรัมของอนุกรมไลมาน 2 เสน และของอนุกรมบัลเมอร 1 เสน
3. เสนสเปกตรัมของอนุกรมไลมาน 2 เสน และของอนุกรมบัลเมอร 2 เสน
4. เสนสเปกตรัมของอนุกรมบัลเมอร 1 เสน และของอนุกรมพาสเซน 2 เสน
วิธที าํ
! $$!
Tg
VI บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
ตอนที่ 6 รังสีเอ็กซ การทดลองของพลังคและเฮิรตซ
หลอดรังสีเอกซ (X – rays tube)
หลอดรังสีเอ็กซเปนเครื่องมือผลิตรังสีเอ็กซมีสวนประกอบสําคัญ ดังรูป ขั้วไฟฟา C จะ
ถูกทําใหรอน โดยผานกระแสไฟฟาจาก
ความตางศักย V1 อิเล็กตรอนซึง่ หลุด
จากขั้วไฟฟา C (แคโทด) จะถูกเรงใหมี
ความเร็วสูง โดยสนามไฟฟาจากความ
ตางศักย Vo ซึ่งมีคาสูง และชนเปาโล
หะ A (แอโนด) ทําใหเกิดรังสีเอ็กซขึ้น
!
สเปกตรัมของรังสีเอ็กซ
สเปกตรัมของรังสีเอ็กซ มี 2 แบบ !
1) สเปกตรัมแบบตอเนือ่ ง (continuous X - ray) ในหลอดรังสีเอ็กซ อิเล็กตรอนทีว่ ง่ิ เขาชน
กับอะตอมของเปาอิเล็กตรอนจะสูญเสียพลังงานจลน โดยแผคลื่นแมเหล็กไฟฟาในรูป
รังสีเอ็กซออกมาเปนผลใหตัวมันเองเคลื่อนที่ชาลง เนือ่ งจากจํานวนอิเล็กตรอนทีช่ น
เปามีมากมายและแตละตัวมีการสูญเสียพลังงานคาตางๆ กัน ดังนัน้ รังสีเอ็กซทแ่ี ผออก
มาจะมีสเปกตรัมแบบตอเนือ่ งอิเล็กตรอนบางตัวอาจชนกับอะตอมของเปาโดยตรงและ
หยุดลงทันที ในการนี้พลังงานจลนทั้งหมดของอิเล็กตรอนจะเปลี่ยนเปนพลังงานคลื่น
แมเหล็กไฟฟา ซึ่งอยูในรูปรังสีเอ็กซที่มีความถี่สูงสุด (fmax) เนื่องจากพลังงานมีคาสูงสุด
ไดจากการผานความตางศักย Vo
การคํานวณหาความถี่สูงสุดของรังสีเอ็กซ
เนือ่ งจากอิเล็กตรอน จะเปลี่ยนพลังงานไฟฟาเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟา (รังสีเอ็กซ)
จึงไดวา W = E คลื่นแมเหล็กไฟฟา
eV = hf
หรือ eV = hc
λ
เมือ่ e คือ ประจุอเิ ล็กตรอน (1.6 x 10–19 C)
V คือ ความตางศักยทใ่ี ชเรงอิเล็กตรอน(โวลต)
! $'!

VI บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
h คือ คานิจของพลังค = 6.6 x 10–34 J.s
f คือ ความถี่สูงสุดรังสีเอกซ (Hz)
c คือ ความเร็วคลื่นแมเหล็กไฟฟา = 3 x 108 m/s
λ คือ ความยาวคลื่นนอยที่สุดรังสีเอกซ (m)
2) สเปกตรัมแบบเสน (characteristic X – rays) เกิดจากอิเล็กตรอน ที่ถูกเรงจนมีพลังงาน
สูงมากจะสามารถผานเขาชนกับอิเล็กตรอนในวงโคจรชัน้ ในของอะตอม ทําให
อิเล็กตรอนดังกลาวหลุดไปอิเล็กตรอนในวงโคจรถัดออกมา ซึ่งมีระดับพลังงานสูงกวา
วงโคจรชั้นในจึงโดดเขาแทนที่พรอมกับปลอยพลังงานสวนเกินออกมาในรูปรังสีเอ็กซ
การเปลีย่ นแปลงในอะตอมเชนนีเ้ ปนในทํานองเดียวกับการเกิดสเปกตรัมของอะตอม
ไฮโดรเจน รังสีเอ็กซที่เกิดขึ้นจะมีความยาว
คลื่นเปนคาเฉพาะ และจะแตกตางกันไป
ตามชนิดของโลหะที่ใชทําเปา ดังนั้นสเปก
ตรัมสวนนี้จึงมีลักษณะเปนเสน ซึ่งปรากฏ-
การณนี้สนับสนุนทฤษฎีของโบรในแงที่วา
อะตอมมีระดับพลังงานเปนชั้น ๆ
64. ในหลอดผลิตรังสีเอ็กซ ถาใชความตางศักยเรง e 20,000 โวลต จงหาความถี่ของรังสีเอ็กซ
วิธที ํา (4. 83x1018 Hz)

65. ในการผลิตรังสีเอ็กซโดยใหอเิ ล็กตรอนหยุด ทันทีเมื่อชนเปาปรากฎวาไดรังสีเอ็กซมีความ


ยาวคลื่น 0.124 นาโนเมตร จงหาความตางศักยที่ใชตอกับหลอดรังสีเอ็กซ (9980 โวลต)
วิธที าํ

66. เมือ่ ตอหลอดรังสีเอ็กซ เขากับความตางศักย 20 กิโลโวลต จงหา


ก. ความเร็วของอิเล็กตรอนตัวทีเ่ ร็วทีส่ ดุ ทีม่ าถึงแอโนด (เปา) ถาอิเล็กตรอนเริม่ ตน
ดวยความเร็วเปนศูนย (8.43x107 m/s)
ข. ความยาวคลื่นนอยที่สุดในสเปกตรัมของรังสีเอ็กซ (61.9 pm)
! $(!
.
VI บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
วิธที าํ

67(มช 27) จงเลือกขอความทีถ่ กู ตอง


1. รังสีเอ็กซเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่มีความถี่สูงมากและเปนสเปกตรัมตอเนื่อง
2. รังสีเอ็กซเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่มีสเปกตรัมตอเนื่องซึ่งคาความถี่สูงสุดขึ้นกับชนิด
ของโลหะ ที่ใชทําเปาและยังมีสเปกตรัมเสนดวย
3. รังสีเอ็กซเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่มีสเปกตรัมเสนซึ่งเกิดจากการปลอยพลังงานของ
อิเลกตรอนของอะตอม เมือ่ อิเลกตรอนนัน้ เปลีย่ นวงโคจรจากทีม่ รี ะดับพลังงานต่าํ ไป
สูวงโคจรที่มีระดับพลังงานสูงและยังมีสเปกตรัมตอเนื่องดวย
4. ไมมีขอใดถูก (ขอ 3.)
วิธที าํ
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

สรุปผลการทดลองของพลังคและเฮิรตซ

! $)!

VI บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
ความไมสมบูรณของทฤษฎีอะตอมโบร
ถึงแมวา ทฤษฎีของโบรจะสามารถอธิบาย
1. การเกิดสเปกตรัมของอะตอมไฮโดรเจนไดดี
2. การจัดตัวของอิเล็กตรอนในอะตอมของธาตุไฮโดรเจน
3. คาพลังงานทีท่ าํ ใหอะตอมทีม่ อี เิ ล็กตรอนเพียงตัวเดียวแตกตัวเปนอิออนได
แตทฤษฎีของโบรไมสามารถอธิบาย
1. การเกิดสเปกตรัมของอะตอมอืน่ ๆ
2. วาทําไมอะตอมทีอ่ ยูใ นบริเวณทีม่ สี นามแมเหล็ก ใหสเปกตรัมทีผ่ ดิ ไปจากเดิม
คือ สเปกตรัมหนึง่ ๆ แยกออกเปนหลายเสน
3. คาความเขมของแสงของเสนสเปกตรัมวาทําไมมีความเขมไมเทากัน
4. ทําไม L = mvr = nh
68(En 36) ตามการทดลองของฟรังกและเฮิรตซ ขอสรุปใดไมจริง
1. อิเลกตรอนทีม่ พี ลังงานนอยกวา 4.9 eV จะมีการชนแบบยืดหยุน กับอะตอมของไอปรอท
2. อิเลกตรอนทีม่ พี ลังงานมากกวา 4.9 eV จะสูญเสียพลังงานสวนหนึง่ ใหกบั อะตอมของ
ไอปรอท
3. อะตอมของไอปรอทมีคา พลังงาน ระดับพืน้ เทากับ 4.9 eV
4. อะตอมของไอปรอทมีคา พลังงานเปนชัน้ ๆ ไมตอ เนือ่ ง (ขอ 3.)
วิธที าํ

69. ในการทดลองของฟรังคและเฮิรตซ ถาเราใช หลอดทดลองทีบ่ รรจุไฮโดรเจนแทนหลอด


ทีบ่ รรจุไอปรอท จะตองใหพลังงานแกอิเลคตรอนนอยที่สุดเทาใด จึงจะทําใหรับพลังงานนั้น
(ใหระดับพลังงานในหนวย eV ของอิเลคตรอนในอะตอมไฮโดรเจนเรียงจากวงในสุดเปน
–13.59 , –3.40 , –1.51 , ....0 ตามลําดับ) (10.19 eV)
วิธที าํ

-
! $*!
*
VI บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
70(En 44/1) อิเล็กตรอนตัวหนึง่ ถูกเรงดวยความตางศักย 13.2 โวลต เขาชนกับอะตอมไฮโดร–
เจน ที่อยูในสถานะพื้น การชนครัง้ นีจ้ ะสามารถทําใหอะตอมไฮโดรเจนอยูใ นระดับพลังงาน
สูงสุดในระดับ n เทาใด (พลังงานสถานะพื้นของไฮโดรเจน = –13.6 eV)
1. n = 7 2. n = 6 3. n = 5 4. n = 4 (ขอ 3.)
วิธที าํ

71(En 43/2) ในการทดลองของแฟรงค-เฮิรตซ ถาใชแกสไฮโดรเจนแทนไอปรอท และใช


ความตางศักยเรงอิเล็กตรอนเทากับ 10.3 โวลต แกสไฮโดรเจนจะปลอยคลื่นแมเหล็กไฟฟา
ไดมากที่สุดกี่ความถี่ (ถากําหนดใหสถานะพื้นของอะตอมไฮโดรเจนมีพลังงาน 13.6
อิเล็กตรอนโวลต หรือ 21.76 x 10–19 จูล)
1. 1 ความถี่ 2. 2 ความถี่ 3. 3 ความถี่ 4. 4 ความถี่ (ขอ 1.)
วิธที าํ

72. การทดลองของฟรังคและเฮิรตซใหผลสรุปที่สําคัญขอใด
1. อิเล็กตรอนชนอะตอมแบบยืดหยุน เปนสวนใหญ
2. อิเล็กตรอนชนกับอะตอมแบบไมยืดหยุน
3. อะตอมมีระดับพลังงานเปนชั้น ๆ
4. กระแสไฟฟาผานแกสที่มีความดันต่ํา (ขอ 3.)
วิธที าํ
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

! $+!

VI บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
ตอนที่ 7 ปรากฏการณโฟโตอิเลคทริก (1)
ปรากฏการณโฟโตอิเล็กทริก
เมือ่ จัดหลอดสุญญากาศดังรูป แลวใชแสง
ตกกระทบใสขั้วคาโทด เมือ่ อิเล็กตรอนของอะ
ตอมในขั้วคาโทดไดรับพลังงานแสงจํานวนมาก
พอ ก็จะหลุดออกจากอะตอมแลวเคลื่อนที่พุงเขา
หาขัว้ อาโนด แลวเกิดกระแสไฟฟาไหลในวงจร
! ! ปรากฏการณนี้เรียก ปรากฏการณ................................ (photoelectric effect)
ตัวอิเล็กตรอนทีห่ ลุดออกมาจากคาโทด เรียก .................................. (photo electron)
73. ปรากฏการณโฟโตอิเลคทริก คือ ........................................................................................
โฟโตอิเลคตรอน คือ ............... ............... ............... ............... ............... ............... ........
74. โฟโตอิเล็กตรอน คือ อิเล็กตรอนชนิดใด
ก. อิเล็กตรอนทีม่ ปี ระจุมากกวาอิเล็กตรอนธรรมดา
ข. อิเล็กตรอนทีท่ าํ ปฏิกิริยากับฟลมถายรูป
ค. อิเล็กตรอนที่หลุดจากผิวโลหะโดยการฉายแสง
ง. อิเล็กตรอนทีม่ ปี ระจุเปนบวก
จ. อิเล็กตรอนที่มีอยูในลําแสง (ขอ ค.)
วิธที าํ
ขอตองทราบเกีย่ วกับปรากฏการณโฟโตอิเล็กทริก
1. เมื่อใหพลังงานแสงแกอิเล็กทริก ในขัว้
คาโทดอิเล็กตรอนจะเสียพลังงานปริมาณหนึง่
เทากับพลังงานที่โลหะใชยึดอิเล็กตรอนไว พลัง
งานนีเ้ รียก พลังงานยึดเหนี่ยวหรือ.....................
(Work function) แทนดวยสัญลักษณ W
และพลังงานสวนที่เหลือก็จะเปลี่ยนเปนพลังงานจลนของอิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่ออกไป
จึงไดวา Eแสง = W + Ek ของอิเล็กตรอน

! $,!
Z
VI บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
75. ถาฉายแสงอันมีพลังงาน 8 อิเลคตรอนโวลต ตกกระทบโลหะอันมีพลังงานยึดเหนี่ยว 3.7
อิเลคตรอนโวลต อิเลคตรอนที่หลุดออกมาจะมีพลังงานจลนสูงสุดเทาใด (4.3 eV)
วิธที าํ

76. ถาฉายแสงอันมีพลังงาน 6 อิเลคตรอนโวลต ตกกระทบโลหะอันมีพลังงานยึดเหนี่ยว 7.2


อิเลคตรอนโวลต อิเลคตรอนที่หลุดออกมาจะมีพลังงานจลนสูงสุดเทาใด
วิธที าํ

2. หากเราใหแสงที่มีความถี่ต่ํา จะทําให
พลังงานแสงมีคานอย (เพราะ E = hf) และ
หากพลังงานแสงนี้มีคานอยกวาพลังงานยึด
เหนีย่ ว (W) อิเล็กตรอนจะไมหลุดออกมา
จึงตองเพิ่มความถี่ (f) แสงใหมากขึ้นจนกระ
ทั่งพลังงานมีคาอยางนอยเทากับพลังงานยึดเหนี่ยวอิเล็กตรอนจึงจะหลุดออกมาไดความถี่
แสงตรงนี้ เรียก ความถี่............. ( fo) และความยาวคลื่นตรงนี้เรียก ความยาวคลื่นขีดเริ่ม (λo)
77. หากฉายแสงอันมีความถี่เทากับความถี่ขีดเริ่ม ตกกระทบโลหะ สิ่งที่จะเกิด คือ
1. พลังงานแสงจะมีคาเทากับ.......... .......... .......... .......... .......... .......... ..........
2. อิเลคตรอนจะหลุดออกจากอะตอมโลหะหรือไม .......... .......... .......... .......
3. อิเลคตรอนที่หลุดออกมาจะมีพลังงานจลนเทากับ .......... .......... .......... .......
78. ความถีข่ ดี เริม่ หรือความถีต่ ดั ขาดของแสงทีใ่ ชในปรากฎการณโฟโตอิเล็กตริก คืออะไร
ก. ความถี่ของแสงที่ทําใหเกิดโฟตอนสูงสุด
ข. ความถีข่ องแสงทีไ่ มทาํ ใหเกิดโฟโตอิเล็กตรอน
ค. ความถี่ที่ทําใหโฟตอนมีพลังงานเทากับพลังงานยึดเหนี่ยว
ง. ความถี่ที่พอดี ทําใหอเิ ล็กตรอนหลุดจากโลหะ
จ. ขอ ค , ง. ถูก (ขอ จ.)
! '-!
W
VI บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
79. ถาโฟตอนของแสง ทีใ่ หกบั โลหะมีคา เทากับพลังงานยึดเหนีย่ วของโลหะนัน้ จะเกิดผลตามขอใด
ก. พอดีทาํ ใหเกิดโฟโตอิเล็กตรอน ข. พลังงานจลนของโฟโตอิเล็กตรอนเปนศูนย
ค. ไมมีกระแสไฟฟาในวงจร ง. ถูกทุกขอ (ขอ ง.)
3. หากตองการทดลองหาพลังงานจลนของ
อิเล็กตรอนใหตอความตางศักยที่เหมาะสม โดยตอ
ขัว้ ลบเขากับอาโนด ขั้วบวกเขากับคาโทด ดังรูป
เมื่อใชความตางศักยเหมาะสม อิเล็กตรอนอันมีประ
จุลบ เมื่อเขาใกลขั้วลบ จะเกิดแรงตานทําใหอเิ ล็ก
ตรอนหยุดนิ่งแลวจะเปลี่ยนพลังงานจลนใหกลายเปนพลังงานศักยไฟฟา ความตางศักยที่ใช
หยุดอิเล็กตรอน เรียก ความตางศักย................... (Vo)
จึงไดวา Ek = Ep เมือ่ Ek คือ พลังงานจลนของอิเล็กตรอน(จูล)
Ek = q V e คือ ประจุอเิ ล็กตรอน (1.6 x 10–19 C)
Ek = e Vo Vo คือ ความตางศักยหยุดยั้ง (โวลต)
80. จากการทดลองปรากฏการณโฟโตอิเลคทริก
หากใชความตางศักยเทากับความตางศักยหยุดยั้ง อิเลคตรอนจะ.........................................
หากใชความตางศักยมากกวาความตางศักยหยุดยั้ง อิเลคตรอนจะ.......................................
หากใชความตางศักยนอยกวาความตางศักยหยุดยั้ง อิเลคตรอนจะ.......................................
4. พลังงานจลนของอิเล็กตรอน (Ek) จะแปรผันตรงกับ พลังงานแสง , ความถี่แสง
และจะแปรผกผันกับ พลังงานยึดเหนี่ยว (W)
เพราะ Eแสง = Ek + W
Eแสง – W = Ek
hf – W = Ek
5. พลังงานยึดเหนี่ยว (W) จึงขึ้นกับชนิดของโลหะที่นํามาใชเปนคาโทดและไม
เกี่ยวกับขนาดของโลหะขั้วคาโทดนั้น
6. จํานวนโฟโตอิเล็กตรอน จะแปรผันตรงกับความเขมแสง
จํานวน e α ความเขมแสง

! '"!

VI บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
81. ขอความตอไปนี้ เปนจริง หรือ เท็จ
1. เมื่อใชแสงความถี่สูงขึ้น (และสูงกวาความถี่ขีดเริ่ม) ตกกระทบคาโทด โฟโต-
อิเล็กตรอนจะมีพลังงานจลนมากขึ้น
2. หากใชแสงที่มีความเขมสูงตกกระทบคาโทด หากเกิดโฟโตอิเล็กทริก จํานวน
โฟโตอิเล็กตรอนจะมีมาก
3. หากใชแสงที่มีความถี่สูง พลังงานแสงมากๆ จะทําใหจํานวนโฟโตอิเล็กตรอนมีมาก
4. หากใชแสงที่มีความเขมสูงตกกระทบคาโทด โฟโตอิเล็กตรอนจะมีพลังงานจลนสูง
5. หากใชแสงหนึ่งแลวไมเกิดโฟโตอิเล็กทริก หากตองใหเกิดโฟโตอิเล็กทริกตอง
เพิ่มความเขมแสง
82. พลังงานยึดเหนี่ยว (work function) ของโลหะ คือ (ขอ ง.)
ก. พลังงานยึดเกาะระหวางอะตอม ข. พลังงานที่โฟตอนใหกับโลหะ
ค. พลังงานสูงสุดของโฟโตอิเล็กตรอน ง. พลังงานระหวางอะตอมกับอิเล็กตรอน
วิธที าํ
83. พลังงานยึดเหนี่ยวของโลหะจะมีคามากหรือนอยขึ้นอยูกับ
ก. ขนาดของโลหะ ข. ชนิดของโลหะ
ค. ความถี่ของแสงที่ใช ง. ความเขมของแสงที่ใช (ขอ ข.)
วิธที าํ
84. พลังงานจลนสูงสุดของโฟโตอิเล็กตรอนมีคาตามขอใด
ก. เทากับพลังงานของโฟตอนที่ใหกับโลหะ
ข. เทากับพลังงานยึดเหนี่ยวของโลหะนั้น
ค. เทากับผลตางพลังงานของโฟตอนกับพลังงานยึดเหนี่ยว
ง. เทากับผลบวกพลังงานของโฟตอนและพลังงานยึดเหนี่ยว (ขอ ค.)
วิธีทํา
85(มช 34) พลังงานจลนสงู สุดของโฟโตอิเล็กตรอนนัน้
ก. ไมขึ้นกับความเขมของแสงที่มาตกกระทบ
ข. ขึ้นกับกําลังหนึ่งของความเขมของแสงที่มาตกกระทบ
ค. ขึ้นกับกําลังสองของความเขมของแสงที่มาตกกระทบ
ง. ขึ้นกับรากที่สองของความเขมของแสงที่มาตกกระทบ (ขอ ก.)
! '#!
VI บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
86. ผลที่ไดจากการศึกษาปรากฎการณโฟโตอิเล็กตริก สรุปไดดังนี้ (ขอ ค.)
1. โฟโตอิเล็กตรอนเกิดขึน้ เมือ่ แสงทีต่ กกระทบมีความถีส่ งู กวาความถีข่ ดี เริม่
2. ถาแสงที่มีความถี่สูงกวาความถี่ขีดเริ่มจํานวนโฟโตอิเล็กตรอนจะเปนสัดสวนโดยตรง
กับความเขมแสง
3. พลังงานสูงสุดของอิเล็กตรอน เพิ่มขึ้นเปนสัดสวนกับความถี่ที่เพิ่ม
4. พลังงานสูงสุดของอิเล็กตรอนยอมเทากับผลบวกของพลังงานโฟตอนกับพลังงานยึดเหนีย่ ว
ก. ขอ 1, 2 ข. ขอ 1, 3 ค. ขอ 1, 2, 3 ง. ขอ 1, 2, 3, 4
วิธที าํ
87. ในปรากฎการณโฟโตอิเล็กตริก เมื่อแสงที่มีความถี่สูงกวาความถี่ขีดเริ่มตกกระทบผิวโลหะ
ถาเพิ่มความเขมของแสงขึ้นเปน 2 เทา พลังงานของโฟโตอิเล็กตรอนจะเปนเทาไร
ก. พลังงานและจํานวนอิเล็กตรอนเทาเดิม
ข. พลังงานเพิ่มขึ้นเปน 2 เทา และจํานวนอิเล็กตรอนเทาเดิม
ค. พลังงานเทาเดิมแตจาํ นวนอิเล็กตรอนเพิม่ เปน 2 เทา
ง. พลังงานเทาเดิมแตจาํ นวนอิเล็กตรอนเพิม่ เปน 4 เทา (ขอ ค.)
วิธที าํ
สูตรการคํานวณเกี่ยวกับโฟโตอิเล็กตริก
Eแสง = W + Vo เมือ่ Eแสง = พลังงานแสง (eV)
hfe = W + V W = พลังงานยึดเหนี่ยว , ฟงกชั่นงาน (eV)
o
hc = W + V Vo = พลังงานจลนของโฟโตอิเล็กตรอน (eV)
eλ o
Vo = ความตางศักยหยุดยั้ง (โวลต)
h = คานิจของพลังค (6.6 x 10–34 J.s)
f = ความถี่แสง (Hz)
e = ประจุอิเลคตรอน (1.6 x 10–19 C)
c = ความเร็วแสง (3 x 108 m/s)
hf λ = ความยาวคลื่นแสง (m)
พิเศษ e0 = w
hc = w! เมื่อ f0 = ความถี่ขีดเริ่ม (Hz)
eλ 0 λ0 = ความยาวคลืน่ ขีดเริม่ (m)
! '$!
พึ

VI บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
88(En 32) โลหะแมกนีเซียมมีพลังงานยึดเหนี่ยวอิเลกตรอน 3.79 eV ถูกฉายดวยแสง uv ซึ่งมี
ความยาวคลื่น 300 nm โฟโตอิเลกตรอนที่หลุดออกมาจะมีพลังงานจลนมากที่สุดกี่ eV (0.35)
วิธที าํ

89(En 43/1) กําหนดใหฟงกชันงานของโลหะชนิดหนึ่งเปน 4.80 eV จะตองฉายแสงที่มีความ


ยาวคลื่น เทาใดในหนวยนาโนเนตร จึงจะทําใหอเิ ล็กตรอนหลุดขัว้ คาโทดทีท่ าํ จากโลหะ
ดังกลาวแลวสามารถไปถึงขั้วอาโนดไดพอดี เมื่อศักยไฟฟาที่อาโนดต่ํากวาคาโทดเทากับ
1.80 โวลต (188.50)
วิธที าํ

90(มช 33) อนุภาคโฟตอนตัวหนึง่ มีความยาวคลืน่ 600 อังสตรอม(10–10) วิง่ เขาชนอะตอม


ของไฮโดรเจน พบวามีอเิ ล็กตรอนถูกปลดปลอยออกจากอะตอมของไฮโดรเจน ถาพลังงาน
ไอออนไนเซชัน่ ของอะตอมไฮโดรเจนเปน 13.6 อิเล็กตรอนโวลต ถามวาอิเล็กตรอนดัง
กลาวมีพลังงานจลนเทาใด (ขอ ข.)
ก. 5.3 eV ข. 7.1 eV ค. 7.6 eV ง. 8.4 eV
วิธที าํ

91(En 38) โฟตอนตัวหนึ่งตกกระทบผิวแพลทินัมซึ่งมีคา ฟงกชันงาน 5.6 eV ทําใหอิเล็ก–


ตรอนหลุดจากผิวออกมาดวยพลังงานจลนสูงสุด 1.2 eV ถาเราใหโฟตอนตัวเดียวกันนีไ้ ป
ตกกระทบผิวเงินซึ่งมีคาฟงกชันงาน 4.7 eV จะตองใหความตางศักยกี่โวลต เพื่อที่จะทํา
ใหอเิ ล็กตรอนทีห่ ลุดจากผิวหยุด (ขอ 1.)
1. 2.1 V 2. 4.4 V 3. 6.8 V 4. 11.5 V
วิธที าํ

! ''!

VI บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
92. กําหนดใหคาพลังงานยึดเหนี่ยวของแผนทองแดงเทากับ 4.2 อิเล็กตรอนโวลต ตองฉาย
แสงที่มีความยาวคลื่นเทาใดจึงเกิดปรากฏการณโฟโตอิเล็กทริก (294.6 nm)
วิธที าํ

93(มช 34) สําหรับผิวโลหะหนึ่งพบวา ความยาวคลื่นขีดเริ่มของแสงสําหรับผิวโลหะนี้มีคา


เทากับ 3.1 x 10–7 เมตร ดังนั้นความตางศักยไฟฟาหยุดยั้ง เมื่อแสงมีความยาวคลื่น
2.0 x 10–7 เมตร มาตกกระทบมีคาเทากับ……โวลต (2.2 โวลต)
วิธที าํ

94(En 40) ในการศึกษาปรากฏการณโฟโตอิเล็กทริกของ 45!!สูงสุด!


โลหะชนิดหนึง่ ไดกราฟความสัมพันธระหวางพลังงาน
จลนสูงสุดของโฟโตอิเล็กตรอนกับความถี่ของคลื่น
"'
แมเหล็กไฟฟาที่ตกกระทบผิวโลหะดังรูป ถาใหคลื่น -! #! '! )! /0"- !123!
แมเหล็กไฟฟาความถี่ 6x1014 เฮิรตซ ตกกระทบผิวโลหะนีจ้ ะตองใชความตางศักยหยุดยัง้ เทาใด
1. 0.42 V 2. 0.83 V 3. 1.65 V 4. 2.50 V (ขอ 3.)
วิธที าํ

! '(!

VI บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
95(En 33) วัตถุ A มีคาพลังงานยึดเหนี่ยว 3.3 eV วัตถุ B มีคาความถี่ขีดเริ่มเปน 4x1014 Hz
แสงความถี่เดียวกันตกกระทบผิววัตถุ A และ B จะทําใหโฟโตอิเลกตรอนจากวัตถุ A มี
พลังงานจลนสูงสุดเทากับ 1.2 eV อยากทราบวาพลังงานจลนสงู สุดของโฟโตอิเลกตรอน
จากวัตถุ B จะเปนกี่ eV (2.85 eV)
วิธที าํ

!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

ตอนที่ 8 โฟตอน และสมมติฐานของเดอบรอยล


จากผลการทดลองจริง ๆ ของโฟโตอิเล็กตริก
หากใชแสงที่มีความถี่ต่ํา มีพลังงานนอยกวาพลังงาน
ยึดเหนี่ยวตกกระทบใสคาโทด อิเล็กตรอนจะไมหลุด
ออกมา และเมื่อเพิ่มความเขมแสงใหมากขึ้น อิเล็กตรอน
ก็ไมหลุดอยูดี เพราะพลังงานไมเกี่ยวกับความเขม
!
แมความเขมจะมากขึ้น แตพลังงานของแสงจะยังคงเทาเดิม
ความเปนจริงตรงนี้จะขัดแยงกับทฤษฎีคลื่นแมเหล็กไฟฟา เพราะหากแสงเปนคลื่นแมเหล็ก
ไฟฟา เมื่อความเขมแสงมากขึ้น ความเขมสนามแมเหล็กกับสนามไฟฟาจะมากดวย ซึ่งจะ
ทําใหพลังงานแสงมีมาก เมื่อตกกระทบคาโทด ควรทําใหอเิ ล็กตรอนหลุดได จะเห็นวา
ขัดแยงกับความเปนจริงของโฟโตอิเล็กทริก ดังนัน้ ความเชือ่ ทีว่ า แสงเปนคลื่นแมเหล็ก
ไฟฟาจึงไมสมบูรณ
96. ตามความเชื่อที่วาแสงเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟา หากเพิ่มความเขมแสง จะเกิดโฟโตอิเลค
ทริกไดหรือไม ........................... เพราะ.......... .......... .......... .......... .......... .......... .......... ....
! ')!

VI บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
97. จากการทดลองจริงเกีย่ วกับปรากฏการณโฟโตอิเลคทริก เมื่อฉายแสงที่มีพลังงานนอย
แลวไมเกิดโฟโตอิเลคตรอน หากเพิม่ ความเขมแสงแลวจะเกิดโฟโตอิเลคตรอนหรือไม........
ดังนั้นความเชื่อที่วาแสงเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาจึงไมสมบูรณ
โฟตอน
ไอนสไตน (Albert Einstein) ไดเสนอแนวความคิดวา
1. แสงมีลักษณะเปนกลุมกอนของพลังงานที่เรียกวา
ควอนตัมของพลังงาน หรือโฟตอน (photon)
2. โฟตอน 1 ตัว จะมีพลังงานเทากับ hf !
3. เมือ่ โฟตอนพุง ชนอิเล็กตรอนจะชนกันแบบ 1 – 1 และ โฟตอนจะถายทอดพลังงาน
ทัง้ หมดแกอเิ ล็กตรอน
ดังนัน้ หากโฟตอนมีความถีต่ าํ่ พลังงานนอย ก็จะไมสามารถทําใหอิเล็กตรอนหลุดออกมา
ไดแมจะเพิม่ จํานวนโฟตอน (ความเขมแสง) ใหมากขึ้น แตพลังงานแตละกอนไมเพิ่ม ก็ไม
ทําใหอเิ ล็กตรอนหลุดออกมาได
98. ตามความเชื่อของ Albert Einstein แสงจะมีลักษณะดังนี้
1. ............ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........
2. ............ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........
3. ............ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........
99(En 31) ในการทดลองผานแสงสีแดง (ความยาวคลื่น 0.66 ไมโครเมตร) จํานวน 2x1022
โฟตอน เขาไปในน้าํ *" กิโลกรัม ถาสมมติวาน้ําดูดกลืนพลังงานจากแสงไวได 50 เปอร
เซนต จงหาวาอุณหภูมิของน้ําที่เปลี่ยน (ให ความจุความรอนจําเพาะของน้ํา = 4.2 kJ/kg.K)
1. 3oC 2. 4oC 3. 5oC 4. 10oC (ขอ 3.)
วิธที าํ

! '*!
d
VI บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
100(มช 42) หลอดไฟฟาชนิดพิเศษหลอดหนึง่ ใหแสงที่มี ความยาวคลืน่ คาเดียวคือ 663 นาโน–
เมตร โดยหลอดนีม้ ี คากําลัง 60 วัตต และมีประสิทธิภาพในการเปลี่ยนพลังงานไฟฟาเปน
แสงสวางเทากับ 90% พบวาอายุการใชงานของหลอดนี้คือ 500 ชัว่ โมง ถาตลอดอายุการ
ใชงานมีโฟตอนออกมา A x 1024 ตัว จงหาคา A (324)
วิธที าํ

101. ตาสามารถรับรูแสงสีเหลือง ความยาวคลื่น 550 nm และมีความเขมต่ําสุดประมาณ


10 watt จํานวนโฟตอนทีก่ ระทบตาใน 1 วินาที มีคา เทาไร (ขอ ก.)
ก. 2.8 x 1019 ข. 3.2 x 1019 ค. 3.6 x 1019 ง. 4.2 x 1019
วิธที าํ

ปรากฎการณคอมปตัน
คอมปตนั (Arthur H. Compton) และดีบาย (Peter Debye) ทําการทดลองฉายรังสีเอกซ ไปที่
แทงกราไฟต ปรากฎวามีอเิ ล็กตรอน และรังสีเอกซกระเจิงออกมาดังรูป
จะพบวา ความยาวคลื่น และพลังงานของ
รังสีเอ็กซทก่ี ระเจิงออกมา จะแปรผันตามมุม
ทีก่ ระเจิง ซึง่ เปนไปตามกฎอนุรกั ษพลังงาน
และ กฎอนุรกั ษโมเมนตัม แสดงวาการชนระ
หวางโฟตอนของรังสีเอกซกบั อิเล็กตรอนในแทงกราไฟตเปนการชนกันของอนุภาค !

! '+!

VI บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
การทดลองของคอมปตนั นี้ สนับสนุนแนวคิดของไอนสไตลที่วา คลื่นแมเหล็กไฟฟา
สามารถประพฤติตัวเปนอนุภาคได
102. ตามปรากฏการณคอมตัน เมือ่ ยิง.....................................ตกกระทบแทงกราไฟต ปรากฏ
วาจะมี.................................และ.................................. กระเจิงออกมา จึงเชื่อวารังสีเอ็กซ
แสดงคุณสมบัตเิ ปนกอนอนุภาคได
สมมติฐานของเดอบรอยล
จาก P = mc และ E = mc2
m = E2
c
P = F2 c และ E = hc
c λ
P = (hc )2c
λc
P= h
λ
สมการนี้แสดงวา โมเมนตัมของโฟตอนขึน้ อยูก บั ความยาวคลืน่ ของโฟตอน
และ λ = Ph
λ = mv h และ λ= h
2mE k
สมการนี้ แสดงวา “ อนุภาคทีม่ มี วล m เคลือ่ นทีด่ ว ยความเร็ว v สามารถแสดงสมบัติ
เปนคลื่นซึ่งมีความยาวเทากับ λ ได ” ตรงนีเ้ รียก สมมุตฐิ านของเดอบรอยล และ λ นีเ้ รียก
ความยาวคลื่นของเดอบรอยล (De Broglic wavelength)
หลังจากที่เดอบรอยล เสนอความคิดของเขาแลว ไดมีนักฟสิกสหลายทานพยายาม
ทดสอบความเปนไปไดของสมมติฐานดังกลาว โดยคิดวาถาอนุภาคมีสมบัติของคลื่น อนุภาคก็
นาจะแสดงสมบัติการแทรกสอด และการเลี้ยวเบนได เชนเดียวกับคลื่นทั่วไป
ในป พ.ศ. 2468 เดวิสสัน (Clinton J. Davission) และ เจอรเมอร (Lester A. Germer)
ไดทดลองยิงอิเล็กตรอนไปกระทบผลึกของนิกเกิล ปรากฎวาอิเล็กตรอนทีส่ ะทอนออกมาแสดง
สมบัติการแทรกสอด และเลี้ยวเบนเหมือนแสงได และเมื่อทําใหลําอิเล็กตรอน ผานขอบตัว
กําบังเสนตรง ปรากฎวาอิเล็กตรอน แสดงสมบัติการเลี้ยวเบนกอนแลวไปแทรกสอดกับบน
ฟลมที่อยูดานหลังคลายการเลี้ยวเบนของรังสีเอ็กซ
! ',!

VI บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
ในป พ.ศ. 2469 จีพี ทอมสัน (George P. Thomson) ทดลองยิงอิเล็กตรอนความเร็วสูง
ผานแผนโลหะบาง ๆ เชน อะลูมิเนียม เงิน และทองคํา ปรากฎวาอิเล็กตรอนเลีย้ วเบนผานแผน
โลหะไปแทรกสอดบนฟลม เชนเดียวกับรังสีเอ็กซ
จากที่กลาวมาจะเห็นวา คลื่นแสดงสมบัติของอนุภาคได และอนุภาคก็แสดงสมบัติของ
คลื่นได สมบัติดังกลาวนี้เรียกวา ทวิภาพของคลื่นและอนุภาค (duality of wave and particle)
103. รถยนตคนั หนึง่ มีมวล 1000 กิโลกรัม แลนดวยความเร็ว 72 กิโลเมตรตอชัว่ โมง ถาคิดวา
รถยนตคันนี้เปนคลื่นจะมีความยาวคลื่น เดอ บรอยล เทาใด
(คานิจของพลังคเทากับ 6.6 x 10–34 จูล. วินาที)
1. 0.92 x 10–38 เมตร 2. 3.3 x 10–38 เมตร
3. 0.33 x 10–38 เมตร 4. 1.1 x 10–38 เมตร (ขอ 2.)
วิธที าํ

104(En 39) ความยาวคลืน่ เดอบรอยลของอิเล็กตรอนเทากับ 0.10 nm พลังงานจลนของ


อิเล็กตรอนมีคา เทาไร (ขอ 1.)
1. 2.4x10–17 J 2. 4.8x10–17 J 3. 2.0x10–16 J 4. 1.0x10–15 J
วิธที าํ

105. จงหาความยาวคลืน่ ของอิเล็กตรอน ซึ่งเคลื่อนที่ดวยพลังงานจลน 5 อิเล็กตรอนโวลต


1. 0.55 nm 2. 0.85 nm 3. 0.95 nm 4. 1.10 nm (ขอ 1.)
วิธที าํ

! (-!
EVI บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
106(En 33) อนุภาคมวล m มีพลังงานจลนเพิ่มขึ้นเปน 4 เทาของพลังงานจลนเดิม ความยาว
คลืน่ เดอบรอยลของอนุภาคนีใ้ นครัง้ หลัง จะเปนกีเ่ ทาของความยาวคลืน่ เดอบรอยลครัง้ แรก
1. 12 เทา 2. 2 เทา 3. 4 เทา 4. 8 เทา (ขอ 1.)
วิธที าํ

107(มช 43) ถาอัตราสวนความยาวคลืน่ เดอบรอยลของอิเล็กตรอนตออนุภาค A เปน 4000


อัตราสวนพลังงานจลนของอิเล็กตรอนตออนุภาค A จะเปนเทาใด (ขอ 4.)
กําหนด มวลของอิเล็กตรอน = 0.0005 u ; มวลของอนุภาค A = 1.0000 u
1. 1/1000 2. 1/2000 3. 1/4000 4. 1/8000
วิธที าํ

108. อนุภาคมีประจุไฟฟา q มวล m ถูกเรงจากสภาพนิ่งดวยสนามไฟฟาสม่ําเสมอความตาง–


ศักย V จะประพฤติตัวเปนคลื่นมีความยาวคลื่นเทาไร (ขอ 3.)
1. λ = h 2. λ = 2qVm h 3. λ = h h2
4. λ = 2qVm
2qVm
วิธที าํ

! ("!

VI บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
109(En 44/1) อิเล็กตรอนตัวหนึง่ จะตองเคลือ่ นทีด่ ว ยอัตราเร็วเทาใดในหนวยเมตรตอวินาที จึง
จะมีโมเมนตัมเปนหนึง่ ในสิบของโมเมนตัมของโฟตอนของแสงความถี่ 4.5 x 1014 เฮิรตซ
(ใหใชมวลของอิเล็กตรอน = 9.0 x 10–31 กิโลกรัม) (110 m/s)
วิธที าํ

110(En 43/2) ลําแสงเลเซอรความยาวคลื่น 660 นาโนเมตร ตกกระทบตั้งฉากกับพื้นผิวที่สามารถ


ดูดกลืนแสงไดโดยสมบูรณ ถากําหนดใหมีจํานวนโฟตอนตกกระทบพื้นผิว ดังกลาว
ดวยอัตรา 1020 อนุภาค/วินาที แรงทีล่ าํ แสงเลเซอรกระทําตอพืน้ ผิวเปนเทาใด (ขอ 3.)
1. 10–16 N 2. 10–8 N 3. 10–7 N 4. 10–6 N
วิธที าํ

เดอบรอยส ใชทฤษฎีของเขาอธิบายสมมติฐานของโบรที่วา อิเล็กตรอนทีว่ ง่ิ วนรอบ


นิวเคลียสโดยไมแผคลื่นแมเหล็กไฟฟาจะมีโมเมนตัมเชิงมุม mvr เทากับ nh โดยโบร
ไมสามารถพิสูจนไดวาทําไมถึงเปนเชนนั้น แต เดอบรอยล อธิบายวา การทีอ่ เิ ล็กตรอนใน
อะตอมไมมีการแผคลื่นแมเหล็กไฟฟาก็เนื่องจาก “อิเล็กตรอนทีว่ ง่ิ วนรอบนิวเคลียสจะแสดง
สมบัติของคลื่นนิ่ง ซึ่งเปนไปได เมือ่ ความยาวของเสนรอบวงมีคา เปนจํานวนเทาของความยาว
คลืน่ ของอิเล็กตรอน” นัน่ คือ
2 π r = nλ
ดังนัน้ 2 π r = n (mv h)
หรือ mvr = n 2 hπ
!
จะไดวา mvr = nh
! (#!

VI บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
ซึง่ จะเห็นไดวา ตรงกับสมมติฐานขอหนึง่ ของโบร ยอมแสดงวาทฤษฎีทวิภาพของคลื่นและ
อนุภาคของ เดอบรอยส เปนจริง
111. จากทฤษฎีของ เดอ บรอยล เสนรอบวงของวงโคจรของอิเล็กตรอนรอบนิวเคลียสมีคา เปนเทาไร
1. คานิจของพลังคหารดวยความยาวคลืน่ ของอิเล็กตรอน
2. คานิจของพลังคคณ
ู ดวยเลขจํานวนเต็มหารดวย 2
3. ความยาวคลืน่ ของอิเล็กตรอนคูณดวยเลขจํานวนเต็ม
4. ความยาวคลืน่ ของอิเล็กตรอนหารดวยความเร็วของแสง (ขอ 3.)
วิธที าํ

112(En 44/2) ถาอิเล็กตรอนรอบนิวเคลียสของอะตอมไฮโดรเจนเปนคลืน่ นิง่ ของคลืน่ เดอบรอยล


ในระดับพลังงานชั้นที่สองของอะตอม จะมีจํานวนปฎิบัพรอบนิวเคลียสกี่ปฎิบัพ (ขอ 3.)
1. 1 2. 2 3. 4 4. 8
วิธที าํ

!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

ตอนที่ 9 หลักความไมแนนอนของไฮเซนเบิรก
เนือ่ งจากอิเลคตรอนจะเคลือ่ นทีต่ ลอดเวลา จึงทําใหเราไมสามารถวัดตําแหนงทีแ่ นนอน
ของทีอ่ ยูข องอิเลคตรอนได และหากทําใหอิเลคตรอนหยุดนิ่งก็อาจทําใหสามารถวัดตําแหนง
ไดแมนยํามากขึ้น แตก็จะไมสามารถวัดคาโมเมนตัมที่แมนยําได ไฮเซนเบิรกจึงกลาววา
เราไมสามารถวัดตําแหนง และ โมเมนตัมของอิเลคตรอนใหไดคา ทีแ่ มนยําพรอมกัน และความ
ไมแนนอนของการวัดตําแหนงกับความไมแนนอนของโมเมนตัม จะสัมพันธกันดังสมการ
(Δx )( Δp ) > h
เมือ่ Δx = ความไมแนนอนของตําแหนง
Δp = ความไมแนนอนของโมเมนตัม = m Δv

! ($!
@
VI บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
113. อนุภาคอัลฟามวล 6.7x10–27 kg เคลือ่ นทีด่ ว ยความเร็ว 6.0x106 เมตร/วินาที ถาความ
ไมแนนอนของการวัดความเร็วเปน 0.5x106 เมตร/วินาที ความไมแนนอนของตําแหนง
อนุภาคอัลฟาเปนเทาใด กําหนดใหมวลอนุภาคมีคา 6.7x10–27 kg คงตัว (3.1x10–14 m)
วิธที าํ

!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

ตอนที่ 10 แสงเลเชอร และ สารกึ่งตัวนํา


เลเซอร (Laser) ในภาษาอังกฤษไดจากการนําอักษรแรกของคํา Light Amplification by
Stimulated Emission of Radiation มารวมกัน ปจจุบันนี้สามารถจะทําใหกําเนิดแสงเลเซอรได
หลายวิธี เชน ใชของแข็งที่เปนผลึก แกส ของเหลว หรือสารกึง่ ตัวนํา และนําไปใชงานได
หลากหลายรูปแบบ อยางไรก็ตามเลเซอรทุกชนิดก็ทํางานดวยหลักการเชนเดียวกัน และบาง
กรณีใชเลเซอรเปนแหลงกําเนิดแสง
หลักการเกิดเลเซอรอาจอธิบายไดโดยใชแบบจําลองพลังงานที่มีสามสถานะ (Three level
Model) ดังนี้ เมือ่ เลเซอรทาํ งานอิเล็กตรอนในอะตอมจากสถานะพืน้ (1) ถูกกระตุนโดยพลัง
งานภายนอก เชน แสง ไฟฟา ใหมีพลังงานสูงขึ้น ไปยังสถานะถูกกระตุนที่ไมเสถียร (3) ดัง
นัน้ เมือ่ อิเล็กตรอนไปอยูท ส่ี ถานะ (3) ชั่วขณะมันจะปลดปลอยพลังงานออกมาในรูปของแสง
ธรรมดาที่ไมใชแสงอาพันธ เมือ่ อิเล็กตรอนสูญเสียพลังงาน มันจะตกลงมาอยูที่สถานะถูก
กระตุนกึ่งเสถียร (2) (meta – stable state) อิเล็กตรอนจะอยูสถานะนี้ไดนานพอประมาณ ซึ่ง
เปนลักษณะสําคัญของสถานะที่ทําใหเกิดเลเซอร
3. สถานะถูกกระตุน

2. สถานะถูกกระตุนกึ่งเสถียร
67869:;! <=>4?!

1. สถานะพื้น
รูปแสดงสถานะทัง้ สามทีเ่ กีย่ วของกับการทํางานของเลเซอร
! ('!

VI บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
เมือ่ อิเล็กตรอนจากสถานะ (2) กลับมาที่สถานะพื้น (1) มันจะปลดปลอยพลังงานออกมา
ในรูปของแสง กลไกในเครื่องเลเซอรที่ประกอบดวยกระจกพิเศษ 2 บาน ( บานหนึ่งสะทอน
100% อีกบานสะทอนไมถงึ 100% แตใหทะลุผานไดบาง) จะสะทอนแสงกลับไปมาในเครื่อง
ทําใหอะตอมตัวอื่นที่อยูในสถานะ (2) ปลดปลอยแสงออกมาเสริมแสงเดิมที่ไปกระตุนทําใหได
แสงในทิศเดียวกันที่มีความเขมสูง เปนแสงอาพันธที่มีความถี่เดียวและเฟสตรงกัน นั่นคือแสง
เลเซอร
สารกึ่งตัวนํา คือ สารที่สามารถนําไฟฟาไดในบางเหตุการณ ซึ่งมีกลไกการนําไฟฟาสามารถ
อธิบายไดดังนี้
พลังงาน
C n=2
.@.ABC!!BDE!

V n=1
ก. ระดับพลังงานในของแข็ง ข. ระดับพลังงานในอะตอมเดี่ยว

ในกรณีของธาตุอะตอมเดีย่ ว เชน แกสไฮโดรเจน (เปนแกสที่อุณหภูมิ 25o C) ระดับ


พลังงานจะเปนดังรูป ก. สวนของแข็งที่เปนโลหะและอโลหะจะมีระดับพลังงานเปนแถบ
(energy band) ดังรูป ข แถบที่มีอิเล็กตรอนเต็มจะมีพลังงานต่ํากวาเรียกวาแถบวาเลนซ (valence
band) เปนแถบที่ไมนําไฟฟา สําหรับแถบพลังงานที่อยูสูงขึ้นไปเรียกวาแถบนําไฟฟา
(conduction band)
ตัวนํา (conductor) จะมีอเิ ล็กตรอนเต็มในแถบวาเลนซ และมีอิเล็กตรอนอยูบางในแถบ
นําไฟฟา เมื่อใหสนามไฟฟาก็จะเกิดการนําไฟฟาขึ้น
ฉนวน (insulator) จะมีอเิ ล็กตรอนเต็มในแถบวาเลนซ และไมมอี เิ ล็กตรอนอยูใ นแถบนํา
ไฟฟา มีชองวางระหวางแถบพลังงาน (energy gap) ทั้งสอง ชองวางนี้จะกวางมากจนเมื่อให
พลังงานไฟฟา (ในรูปของศักยไฟฟา) หรือพลังงานความรอน หรือพลังงานแสง ก็ไมสามารถทํา
ใหอิเล็กตรอนในชั้นแถบวาเลนซ ถูกกระตุนขึ้นมาที่แถบนําไฟฟา จึงไมมีการนําไฟฟา

! ((!

VI บทที่ 19 ฟสิกสอะตอม
กึ่งตัวนํา (semiconductor) จะมีอิเล็กตรอนเต็มแถบวาเลนซคลายฉนวนแตมีชองวางพลัง!
งานเหนือแถบนัน้ คอนขางแคบ ทีอ่ ณ ุ หภูมปิ กติ พลังงานความรอน สามารถกระตุน อิเล็กตรอน!
จํานวนหนึ่งซึ่งไมมากนักที่กระโดดขามชองวางไปอยูแถบนําไฟฟาที่อยูถัดขึ้นไป อิเล็กตรอน
เหลานีเ้ องทีเ่ ปนตัวพาหะ (carrier) ของไฟฟาและทําใหนําไฟฟาไดบาง ทําใหความตานทาน
ไมสูงมากนักและนับเปนสารกลุมกึ่งตัวนํา สารกึง่ ตัวนําบางชนิดสามารถกระตุน อิเล็กตรอนจาก
แถบวาเลนซใหขึ้นไปแถบนําไฟฟาไดดวยแสง และสามารถนํามาใชเปนประเภท LDR (Light
Dependent Resistance) หรือเปนตัวรับรู (sensor) แสง
ในทางปฎิบัติจะมีการใชฉนวน เชน ยาง พลาสติก ทําที่หุมสายไฟฟาทําจากโลหะ ซึ่งเปน
ตัวนําไฟฟา สวนตัวตานทานที่ใชในวงจรไฟฟาและวงจรอิเล็กทรอนิกสนั้นจะมีคาความตาน
ทานไฟฟาอยูระหวางตัวนํากับฉนวน คือมีคา ตัง้ แต 1 โอหม ถึง 100 เมกะโอหม

!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

! ()!
VI บทที่ 20 ฟสิกสนิวเคลียร
ฟ สิ ก ส บทที่ 20 ฟ สิ ก ส นิ ว เคลี ย ร
!
ปูพน้ื ฐานการเขียนสัญลักษณแทนอะตอมเบือ้ งตน
อนุภาค ประจุ (C) ตัวแทน มวล (kg) มวล (amu)
โปรตรอน (p) +1.6 x 10–19 +1 1.672 x 10–27 1.007285
อิเล็กตรอน (e) –1.6 x 20 –19 –1 9.108 x 10 –31 0.000549
0 1.674 x 10–27
นิวตรอน (n) 0 1.008665
หมายเหตุ 1 amu = 1.66 x 10–27 kg
สัญลักษณแทน
เลขมวล (A) = จํานวน p + จํานวน n
4 = จํานวนนิวคลีออน
2 He !
! เลขอะตอม (Z) = จํานวน p

1. จากรูปอะตอมของธาตุชนิดนีม้ เี ลขมวล และเลขอะตอมเทาใด


1. 7 , 2 2. 5 , 3
3. 5 , 2 4. 3 , 3 (ขอ 3)
!
วิธที าํ
!
2. ขอใดหมายถึงนิวคลีออน (Nucleon)
1. อิเล็กตรอน + โปรตรอน 2. นิวตรอน + อิเล็กตรอน
3. นิวเคลียส + อิเล็กตรอน 4. นิวตรอน + โปรตรอน (ขอ 4.)
วิธที าํ
!
3. ดีบกุ มีเลขอะตอม = 50 และ เลขมวล 120 จะมีจาํ นวนนิวคลีออนเทาไร
ก. 50 ข. 70 ค. 120 ง. 170 (ขอ ค.)
วิธที าํ
!
!

! "#!
ผ้

VI บทที่ 20 ฟสิกสนิวเคลียร
ควรทราบ 1. เลขอะตอม = จํานวนโปรตรอน = ลําดับของธาตุในตารางธาตุ
ดังนัน้ หากทราบเลขอะตอมจะบอกไดวาเปนธาตุอะไร
2. อะตอมปกติ จํานวน p = จํานวน e
หากอะตอมปกติรบั e เพิม่ เขาตัว จะมีประจุรวมเปนลบ
หากอะตอมปกติเสีย e ออกไป จะมีประจุรวมเปนบวก
สัญลักษณแทน
เลขมวล (A)
4 ?! บอกประจุ (K)
2 He !
เลขอะตอม (Z)
3. สูตรตอไปนีใ้ ชหาจํานวน p , n , e
จากสัญลักษณอะตอม
จํานวน p = Z
จํานวน n = A – Z
จํานวน e = Z – K
!

4. คําชี้แจง ใชตารางตอไปนีต้ อบคําถาม


อะตอม จํานวนโปรตรอน จํานวนนิวตรอน จํานวนอิเล็กตรอน
A 9 7 9
B 9 8 9
C 9 9 9
D 9 9 9
อะตอมใดเปนอะตอมของธาตุเดียวกัน (ขอ 4.)
1. A และ B 2. B และ C 3. C และ D 4. A , B , C และ D
! "$!

VI บทที่ 20 ฟสิกสนิวเคลียร
5. จงหาจํานวนโปรตรอน นิวตรอน และ อิเล็กตรอน จากสัญลักษณของอะตอมตอไปนี้
40 Ar
1. 18 P =……… N = ………… e = ………….
39 K
2. 19 P =……… N = ………… e = ………….
235 U
3. 92 P =……… N = ………… e = ………….
31 P 3 -
4. 15 P =……… N = ………… e = ………….
6. จงหาจํานวนโปรตรอน นิวตรอน และอิเล็กตรอน จากสัญลักษณของอะตอมตอไปนี้
1. 83
36 Kr P =……… N = ………… e = ………….
232 Th
2. 90 P =……… N = ………… e = ………….
3. 17
8 O
2− P =……… N = ………… e = ………….!
35 Cl1−
4. 17 P =……… N = ………… e = ………….!
5. 94 Be 2+ P =……… N = ………… e = ………….
7. อะตอมของ 84 210 Po
ก. มีจาํ นวนนิวคลีออน = 210 จํานวนนิวตรอน = 84
ข. มีจาํ นวนอิเล็กตรอน = 84 จํานวนนิวตรอน = 126
ค. มีจาํ นวนอิเล็กตรอน = 126 จํานวนโปรตรอน = 84
ง. มีจาํ นวนนิวคลีออน = 210 จํานวนอิเล็กตรอน = 126 (ขอ ข.)
วิธที าํ
!
8. ธาตุ A มีจาํ นวนอิเล็กตรอน และนิวตรอนเทากัน 13 และ 14 ตามลําดับ ธาตุ A มีเลข
อะตอม และเลขมวลเทาไร
1. 14 , 27 2. 13 , 14 3. 13 , 27 4. 27 , 13 (ขอ 3.)
วิธที าํ
!
9(มช 32) อะตอมของธาตุ 78Pt196 และ 79Au197 จะมีจาํ นวนอะไรเทากัน
ก. นิวคลีออน ข. นิวตรอน ค. โปรตรอน ง. อิเล็กตรอน (ขอ ข.)
วิธที าํ
!
! "%!
G
VI บทที่ 20 ฟสิกสนิวเคลียร
!!!ตอนที่ 1 กัมมันตภาพรังสี!
กัมมันตภาพรังสี
กัมมันตภาพรังสี เปนปรากฏการณทน่ี วิ เคลียส
ของโอโซโทปทีไ่ มเสถียรเกิดการปรับตัวเพือ่ ใหมี
เสถียรภาพโดยการปลอยอนุภาคบางชนิด หรือ
!
! พลังงานออกมาในรูปของรังสี และ ธาตุทม่ี สี มบัตใิ นการแผรงั สีไดเองนีเ้ รียกวา ธาตุกมั มันตรังสี!
10. ปรากฏการณกัมมันตภาพรังสี คือ .......... .......... .......... .......... .......... .......... .......... ..........
ธาตุกัมมันตรังสี คือ.......... .......... .......... .......... .......... .......... .......... .......... .......... ........
รังสีที่คายออกมาจากธาตุกัมมันตรังสี เมื่อนําไปแยกในสนามแมเหล็กจะแยกได 3 ชนิด คือ
1. รังสีแอลฟา (Alpha particte , α)
เปนนิวเคลียสของอะตอมของธาตุฮเี ลียม มีมวลเทากับ 4 และมีประจุไฟฟา +2 เขียน
สัญลักษณจึงได 42 He โดยทั่วไปรังสีมีพลังงาน 4 –10 MeV
เนือ่ งจาก มีมวล............
ทําใหตัวกลางแตกตัว............
อัลฟาจะเสียพลังงาน............
!
ทําใหอํานาจในการเคลื่อนทะลุทะลวง............. (เคลือ่ นได 3 – 5 Cm ในอากาศ)
รังสีแอลฟา อาจเรียกชือ่ วา อนุภาคแอลฟา
11. รังสีอัลฟา มีมวล = ……….. มีประจุ = .............
เนือ่ งจากมีมวลมาก → ทําใหตวั กลางแตกตัวได.......... → เสียพลังงาน........... → ทะลุทลวงได.......
2. รังสีบีตา (Beta paticle , β)
เปนลําของอิเลคตรอนที่มีพลังงานสูงในชวงประมาณ 0.025 – 3.5 MeV เขียนเปน
สัญลักษณจะได 0-1 e
เนือ่ งจากมีมวล............ → ทําใหตวั กลางแตกตัว.............. → เสียพลังงาน..........
→ ทําใหอํานาจในการเคลื่อนที.่ .........กวาอัลฟา
นอกจากนี้รังสีบีตายังเบี่ยงเบนในสนามแมเหล็กไดมากกวารังสีแอลฟา เพราะอัตราเร็ว
ของการเคลื่อนที่สูงกวาอัลฟา
! &'!
}VI บทที่ 20 ฟสิกสนิวเคลียร
ตองทราบ 1) เมือ่ นิวตรอนใหนวิ เคลียสเกิดการแตกตัว จะใหอเิ ลคตรอนออกมา กลาย
เปนรังสีบตี า ออกมานอกนิวเคลียส และยังจะใหโปรตรอนเหลืออยูใ นนิวเคลียสอีก
1 ตัว ทําใหนิวเคลียสมีโปรตรอนมากขึ้นแลวเปลี่ยนเปนนิวเคลียสของธาตุชนิดอื่น
2) เนือ่ งจากอิเลคตรอนทีอ่ อกมาจากนิวเคลียส มีมวลนอย ดังนัน้ มวลของ
นิวเคลียสจึงคงเดิม
12. รังสีบตี า มีมวล = ……….. มีประจุ = .............
เนือ่ งจากมีมวลนอย → ทําใหตวั กลางแตกตัวได.........→ เสียพลังงาน.........→ ทะลุทลวงได.......
13. รังสีบตี า คือ อิเลคตรอนทีห่ ลุดออกมาจากนิวเคลียส เกิดจากการสลายตัวของ...................
14. เมือ่ นิวตรอนสลายตัว นอกจากไดอเิ ลคตรอนออกมาเปนรังสีบตี าแลว ยังจะได................
15. เมื่อนิวเคลียสคายรังสีบีตาออกมาแลว นิวเคลียสจะเกิดการเปลี่ยนแปลงชนิดของธาตุ
เพราะจํานวน......................จะเพิ่มขึ้น 1 ตัว
16. เมื่อนิวเคลียสคายรังสีบีตาออกมา จํานวนนิวตรอนจะลดลงไป 1 ตัว แตจาํ นวนโปรตรอน
จะเพิ่มขึ้น 1 ตัว จึงทําให.................ของนิวเคลียสคงเดิม
3. รังสีแกมมา (Gamma Rays γ)
เปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาชนิดหนึ่ง จึงเปนกลางทางไฟฟา เกิดจากการเปลี่ยนแปลงระดับ
พลังงานของนิวเคลียส เพราะนิวเคลียสที่เกิดใหมในกัมมันตภาพรังสีนั้น จะอยูในภาวะ
Excited Stated และ เมื่อนิวเคลียสลดระดับพลังงานลงมาอยูใน Ground Stated จะคายพลัง
งานออกมาเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟา ในระดับของรังสีแกมมานัน่ เอง เนื่องจากรังสีแกมมามี
พลังงานสูงมากคือ ปริมาณ 0.04 – 3.2 MeV และทําใหเกิดการแตกตัวเปนอิออนของตัว
กลางที่ผานนอยมาก ดังนัน้ Gamma Rays จึงมีอํานาจในการทะลุผานสูงมาก
17. รังสีที่คายออกมาจากนิวเคลียสของธาตุกัมมันตรัวสีมี 3 ชนิด คือ อัลฟา , บีตา , แกมมา
จงเรียงลําดับรังสี จากมวลมากไปนอย ................................................ ........ ........ ..............
จงเรียงลําดับจากความสามารถทําใหตัวกลางแตกตัวจากมากไปนอย........ ........ ........ ..........
จงเรียงลําดับอัตราการสูญเสียพลังงานจากมากไปนอย........ ........ ........ ........ ........ ........ ......
จงเรียงลําดับอํานาจในการทะลุทะลวงจากมากไปนอย........ ........ ........ ........ ........ ........ ......
จงเรียงลําดับพลังงานรังสีจากมากไปนอย........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........
! &(!

VI บทที่ 20 ฟสิกสนิวเคลียร
18. การแผรังสีชนิดใดที่มิไดมีแหลงกําเนิดจากนิวเคลียส
ก. แอลฟา ข. เบตา ค. แกมมา ง. รังสีเอกซ (ขอ ง.)
วิธที าํ
!

19. รังสีตอ ไปนี้ รังสีใดมีประจุไฟฟา


1. รังสีเอกซ 2. รังสีแอลฟา 3. รังสีแกมมา 4. รังสีเบตา 5. รังสีคาโธด
คําตอบที่ถูกตองคือ (ขอ ง.)
ก. ขอ 1, 2, 3 ข. ขอ 2, 3, 4 ค. ขอ 3, 4, 5 ง. ขอ 2, 4, 5
วิธที าํ
!

20. การเรียงรังสีจากสารกัมมันตรังสี โดยคุณสมบัติการทะลุทะลวงจากมากไปนอยคือ


ก. แอลฟา เบตา แกมมา ข. แกมมา เบตา แอลฟา
ค. เบตา แอลฟา แกมมา ง. เบตา แกมมา แอลฟา (ขอ ข.)
วิธที าํ
!

21. รังสีที่เบี่ยงเบนในสนามแมเหล็กไดมากที่สุดคือ
ก. แอลฟา ข. เบตา ค. แกมมา ง. รังสีเอกซ (ขอ ข.)
วิธที าํ
!

22(มช 35) ถาใหรังสีบีตา แกมมา และแอลฟา เคลือ่ นทีอ่ ยูใ นน้าํ และ รังสีบีตาทั้งสามชนิดมี
พลังงานเทากัน เราจะพบวารังสีบีตาเคลื่อนที่ไดระยะทาง (ขอ ง.)
ก. สั้นที่สุด ข. ไกลที่สุด
ค. ไกลกวาแกมมาแตใกลกวาแอลฟา ง. ไกลกวาแอลฟาแตใกลกวาแกมมา
วิธที าํ
!

23. อนุภาคแอลฟามีพลังงานโดยเฉลี่ยสูงกวาอนุภาคเบตา และรังสีแกมมาแตเหตุใดจึงมี


อํานาจในการทะลุทะลวงไดนอยกวา (ขอ ก.)
ก. อนุภาคสูญเสียพลังงานเร็ว ข. อนุภาคแอลฟามีมวลมาก
ค. อนุภาคแอลฟามีประจุมาก ง. อนุภาคแอลฟามีขนาดโต
วิธที าํ
!

! &)!

VI บทที่ 20 ฟสิกสนิวเคลียร
24(มช 38) กระบวนการที่เกิดขึ้นในนิวเคลียส ซึ่งมีลักษณะ คลายกับการปลอยแสงของอะตอม
ที่อยูในสถานะกระตุน คือกระบวนการใด (ขอ 1.)
1. การแผรงั สีแกมมา 2. การปลอยอนุภาคบีตา
3. การปลอยอนุภาคอัลฟา 4. การปลอยอนุภาคนิวตรอน
วิธที าํ
!
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

ตอนที่ 2 สมการนิวเคลียร
แนะนําใหทราบถึงสัญลักษณบางอยาง
รังสีอัลฟา = α = 42 He รังสีบตี า = β = 0-1 e
รังสีแกมมา = γ โปรตรอน = p = 11 H
นิวตรอน = n = 10 n โพซิตรอน = e+ = 10 e
ดิวเทอรอน = 12 H ตริตรอน = 3
1H
238 U สลายตัวใหรังสีอัลฟาออกมา จงเขียนสมการแสดงการแตกตัวนี้
!

ตัวอยางที่ 1 กําหนด 92
วิธที าํ สมการเบื้องตนอยางงาย
ตัวเริม่ ตน → ตัวเกิดใหม + รังสีที่คาย
238 234 4
92 U → 90 Th + 2 He
! ! ในสมการนี้ ทุกตัวแสดงถึงนิวเคลียสของอะตอม สมการนี้จึงเรียกสมการนิวเคลียร!
!

! หลักในการเขียนสมการนิวเคลียร!
! 1) ผลรวมเลขมวล (เลขบน) กอนปฏิกิริยาและ ผลรวมเลขมวลหลังปฏิกริ ยิ า ตองมีคาเทากัน!
! 2) ผลรวมเลขอะตอม (เลขลาง) กอนปฏิกิริยา และ ผลรวมเลขอะตอมหลังปฏิกิริยาตอง!
! ! มีคาเทากัน
ตัวอยางที่ 2 กําหนด 86 222 Rn สลายตัวใหรังสีอัลฟาออกมา จงเขียนสมการแสดงการแตกตัว
วิธที าํ สมการเบื้องตนอยางงาย
ตัวเริม่ ตน → ตัวเกิดใหม + รังสีที่คาย
222 218 4
!
86 Rn → 84 Po + 2 He
!
!

! &*!
@
VI บทที่ 20 ฟสิกสนิวเคลียร
ตัวอยางที่ 3 กําหนด 83 210 Bi สลายตัวใหรังสีบีตาออกมา จงเขียนสมการแสดงการแตกตัวนี้
วิธที าํ สมการเบื้องตนอยางงาย
ตัวเริม่ ตน → ตัวเกิดใหม + รังสีที่คาย
210 210 0
! 83 Bi → 84 Po + -1 e
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""
!

ตัวอยางที่ 4 กําหนด 90 234 Th สลายตัวใหรังสีบีตา และแกมมา ออกมา จงเขียนสมการแสดง


การแตกตัวนี้
วิธที าํ สมการเบื้องตนอยางงาย
ตัวเริม่ ตน → ตัวเกิดใหม + รังสีที่คาย
234 234 0
90 Th → 91 Pa + -1 e + γ
214 Bi) สลายใหรังสีบีตาลบ นิวเคลียสของธาตุใหมคือขอใด
25(En 41) เมื่อบิสมัท–214 (83
210 Pb
1. 82 210 Bi
2. 83 3. 85214 At 214 Po
4. 84 (ขอ 4.)
วิธที าํ
!

26(มช 36) จากปฎิกิริยาตอไปนี้ 79Au197 + 1H2 → x + 2He4


นิวเคลียส X จะมีจาํ นวนโปรตรอนและนิวตรอนอยางไร (ขอ 1.)
1. โปรตอน 78 ตัว นิวตรอน 117 ตัว 2. โปรตอน 78 ตัว นิวตรอน 195 ตัว
3. โปรตอน 117 ตัว นิวตรอน 195 ตัว 4. โปรตอน 195 ตัว นิวตรอน 78 ตัว
วิธที าํ
!

27(มช 34) ไอโซโทปกัมมันตรังสี 11Na24 สามารถผลิตไดจากปฎิกิริยา


13Al27 + x → 11Na24 + 2He4
ในสมการนี้อนุภาค X คือ (ขอ ก.)
ก. นิวตรอน ข. โปรตรอน ค. โปสิตรอน ง. อิเล็กตรอน
วิธที าํ
!

28(En 42/1) จากปฏิกิริยานิวเคลียร 14 1 15


7 N + 1 H → 7 N + x X คืออนุภาคใด (ขอ 4.)
1. นิวตรอน 2. อิเล็กตรอน 3. โปรตรอน 4. โพซิตรอน
!

! &+!

VI บทที่ 20 ฟสิกสนิวเคลียร
29(มช 35) นิวเคลียส 84Po216 สลายตัวไปเปนนิวเคลียส 82Pb212 จะใหรงั สีหรืออนุภาค
ชนิดใดออกมา
ก. แกมมา ข. บีตา ค. นิวตรอน ง. แอลฟา (ขอ ง.)
วิธที าํ
!

30(En 38) จากธาตุไอโซโทปของยูเรเนียม 92238 U สลายตัวแบบอนุกรมได อนุกรมแอลฟา


รวม 8 ตัว และ อนุภาคบีตาลบ รวม 6 ตัว และไดไอโซโทปของธาตุใหมอกี 1 ตัว
อยากทราบวาไอโซโทปของธาตุใหมมีเลขมวล และเลขอะตอมตรงกับขอใด (ขอ 4.)
! ! 1. 91 , 234 2. 92 , 206 3. 234 , 91 4. 206 , 82
วิธที าํ
!

31(En 36) นิวเคลียส )('


สลายตัวสูไอโซโทปเสถียร ตามลําดับดังนี้
$) !"
βγ
210 Pb → β αγ
82 x → y →z
จํานวนนิวตรอนในไอโซโทปเสถียร Z เปนเทาไร (124 ตัว)
วิธที าํ
!

32(มช 40) จากการสลายตัวของ 88 226 Ra ตามแผนภาพ


ขางลางนี้ A ควรจะเปนอะตอมของขอใด
214 Po
1. 84 2. 85218 At

3. 81218 Ti 4. 83214 Bi (ขอ 4.)

33(En 44/1) จากรูปเปนแผนภาพแสดงบางสวนของอนุกรมการสลายของนิวเคลียสธาตุหนัก


ในที่นี้นิวเคลียส ก. สลายเปนนิวเคลียส ข. และ นิวเคลียส ข. สลายเปนนิวเคลียส ค. ในระ
หวางการสลายตัวจากนิวเคลียส ก→ข→ค
จะปลอยอนุภาคเรียงลําดับไดดังนี้
1. อนุภาคแอลฟา และอนุภาคบีตาบวก
2. อนุภาคบีตาลบ และอนุภาคแอลฟา
3. อนุภาคบีตาบวก และ อนุภาคแอลฟา
4. อนุภาคแอลฟา และอนุภาคบีตาลบ (ขอ 4.)
! &"!

VI บทที่ 20 ฟสิกสนิวเคลียร
34(มช 43) จากภาพอนุกรมการสลายตัวของ 238U ดังรูปดานลาง ถา 222Rn สลายตัวได
210Po จะมีอนุภาค แอลฟาและ
บีตาถูกปลอยออกมาเทาใด
1. มีอนุภาคบีตา 3 ตัว และ
อนุภาคแอลฟา 3 ตัว
2. มีอนุภาคบีตา 3 ตัว และ
อนุภาคแอลฟา 4 ตัว
3. มีอนุภาคบีตา 4 ตัว และ
อนุภาคแอลฟา 3 ตัว
4. มีอนุภาคบีตา 4 ตัว และ !
อนุภาคแอลฟา 4 ตัว (ขอ 3.)
วิธที าํ
!

35. จงหาจํานวนอนุภาคแอลฟา ( 42 He ) และอนุภาคบีตา ( 0-1 e ) จากอนุกรมการสลายตัวของ


นิวเคลียสตอไปนี้ 90232 Th → 208 Pb (6α
α , 4ββ)
82
วิธที าํ
!
!

36. จงหาจํานวนอนุภาคแอลฟา ( 42 He ) และอนุภาคบีตา ( 0-1 e ) จากอนุกรมการสลายตัวของ


237 Np → 209 Bi
นิวเคลียสตอไปนี้ 93 (7α
α , 4ββ)
83
วิธที าํ
!
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

ตอนที่ 3 การสลายตัวของนิวเคลียส
เมื่อนิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสีสลายตัวไป จํานวนที่เหลืออยูยอมมีคาลดลง !

! เราสามารถหาปริมาณที่เหลือไดเสมอ โดยอาศัยสมการดังนี!้
−t
N = No . 2 T หรือ N = N0 e −λ t
−t
m = mo . 2 T หรือ m = m0 e −λ t
−t
A = Ao . 2 T หรือ A = A0 e −λ t
!

! &&!

VI บทที่ 20 ฟสิกสนิวเคลียร
! เมือ่ No = จํานวนนิวเคลียสของธาตุกมั มันตรังสีเริม่ แรกทีพ่ จิ ารณา (t = 0)
N = จํานวนนิวเคลียสที่เหลืออยูเมื่อเวลาผานไป t
Ao = กัมมันตภาพขณะเริ่มตน (t = 0)
A = กัมมันตภาพเมื่อเวลา t ใด ๆ นับจากเริม่ ตน
mo = มวลขณะเริ่มตน (t = 0)
m = มวลเวลาผานไป t
e = 2.7182818
T = ครึง่ ชีวติ T = In2 = 0.693
λ λ
λ = คาคงตัวการสลาย
37. ธาตุกัมมันตรังสีชนิดหนึ่ง มีเวลาครึ่งชีวิต 10 วัน ถาเก็บธาตุนั้น จํานวน 24x1018 อะตอม
ไว 30 วัน จะเหลือธาตุนน้ั กีอ่ ะตอม (3 x 1018)
วิธที าํ
!
!
!
!
!
!
!
!
38(มช 44) สารกัมมันตรังสีชนิดหนึง่ ขณะเริม่ ตน (t = 0) มีกัมมันตภาพ 12800 เบ็กเคอเรล
มีครึง่ ชีวติ 6 วัน อยากทราบวาเวลาผานไปเทาใด กัมมันตภาพของสารนี้จะลดลงเหลือ
1600 เบ็กเคอเรล (ขอ 2.)
1. 12 วัน 2. 18 วัน 3. 21 วัน 4. 24 วัน
วิธที าํ
!
!
!
!
!
!
!
!
! &#!

VI บทที่ 20 ฟสิกสนิวเคลียร
39. ทิ้งน้ํายาซึ่งเปนสารกัมมันตรังสีไวเปนเวลานาน วัดกัมมันตภาพได 4200 ครัง้ /วินาที
ถาน้ํายานี้เปนของใหม จะวัดกัมมันตรังสีได 16800 ครัง้ /วินาที ถาชวงครึ่งชีวิตของสาร
ในน้ํายานี้เปน 8 วัน จงหาวาทิ้งน้ํายาไวเปนเวลานานเทาใด (16 วัน)
วิธที าํ
!
!
!
!
!
!
40(มช 35) ไอโซโทปกัมมันตรังสีชนิดหนึง่ มีคา ครึง่ ชีวติ 30 นาที อยากทราบวาจะตองใช
เวลากี่นาที จึงจะมีปริมาณลดลงเหลือเพียง 1/10 ของปริมาณเมือ่ ตอนเริม่ ตน (100 นาที)
วิธที าํ
!
!
!
!
!
!
41. เศษไมโบราณเมื่อนําไปวัดกัมมันตภาพจะได 12.5 ตอนาที ของคารบอน –14 แตไมชนิด
เดียวกัน ซึ่งมีชีวิตและอบแหงแลวเปนปริมาณเทากันวัดได 100 ตอนาที อยากทราบวา เศษ
ไมโบราณไดตายมากี่ปแลว กําหนดเวลาครึง่ ชีวติ ของ 14 C เทากับ 5600 ป (16800 นาที)
วิธที าํ
!
!
!
!
!
!
!
42(En 43/2) สารกัมมันตรังสีโคบอลต –60 สลายตัวใหรังสีเบตา และรังสีแกมมา โดยมีครึง่
ชีวิต 5.30 ป จงหาเปอรเซ็นตของสารกัมมันตรังสีทเ่ี หลือยูเ มือ่ เวลาผานไป 15.9 ป
1. 6.25 % 2. 12.5 % 3. 18.75 % 4. 25 % (ขอ 2.)
วิธที าํ
!
! &$!

VI บทที่ 20 ฟสิกสนิวเคลียร
43(En 41/2) ในการทดลองวัดปริมาณรังสีจากธาตุ
กัมมันตรังสีชนิดหนึง่ เมื่อเขียนกราฟแสดงความ
สัมพันธระหวางมวล ของ ธาตุกัมมันตรังสีที่เวลา
ผานไป t ใดๆ กับเวลาที่ผานไป t จะไดผลดัง
รูป แสดงวาที่เวลาผานไป 8 ชัว่ โมง นับจาก
ตอนตนธาตุกัมมันตรังสีนี้จะเหลืออยูกี่มิลลิกรัม
1. 6.25 mg 2. 3.13 mg 3. 1.56 mg 4. 0.78 mg (ขอ 1.)
วิธที าํ
!
!
!
!
!
!
!
44(En 34) ไอโอดีน –131 มีคาคงตัวของการสลายเทากับ 0.087 ตอวัน ถามีไอโอดีน –131
อยู 10 กรัม ตอนเริม่ ตนเมือ่ เวลาผานไป 24 วัน จะมีไอโอดีน –131 เหลืออยูเ ทาไร
(กําหนดให In2 = 0.693) (ขอ 2.)
1. 0.63 กรัม 2. 1.25 กรัม 3. 2.50 กรัม 4. 5.00 กรัม
วิธที าํ
!
!
!
!
!
!
!
45(มช 37) คาคงตัวของการสลายของธาตุกมั มันตรังสีซง่ึ เริม่ ตนมีจาํ นวนอะตอม 24 x 1018
อะตอม เมือ่ เวลาผานไป 90 วัน จะเหลือ 3 x 1018 อะตอม คือขอใด (ขอ 3.)
1. 0.069/วัน 2. 0.035 /วัน 3. 0.023 / วัน 4. 0.017 / วัน
วิธที าํ
!
!
!
! &%!

VI บทที่ 20 ฟสิกสนิวเคลียร
46(มช 42) สารกัมมันตรังสี A มีคา กัมมันตภาพในตอนเริม่ ตนอยู 1.28 คูรี ขณะที่สารกัมมัน–
ตรังสี B มีคากัมมันตภาพอยู 160 มิลลิคูรี เมือ่ เวลาผานไป 36 ชัว่ โมง สารทั้ง 2 เหลือ
คากัมมันตภาพอยู 20 มิลลิคูรี เทากัน จงหาอัตราสวนของคาคงทีข่ องการสลายของสาร A
ตอสาร B (λA /λB ) (ขอ 3.)
1. 0.5 2. 1 3. 2 4. 4
วิธที าํ
!
!
!
!
!
!
!
คากัมมันตภาพ (A)
คากัมมันตภาพ คือ อัตราการสลายตัว ณ เวลาหนึง่ (นิวเคลียสตอวินาที , Bq)
A = dNdt
คากัมมันตภาพ อาจใชหนวยเปนนิวเคลียสตอวินาที เรียกอีกอยางหนึง่ Bq หรือ
อาจใช หนวยเปน คูรี (Ci)
1 Ci = 3x1010 Bq
เราอาจหาคากัมมันตภาพ (A) ไดจากสมการ
A = λN
เมือ่ A = กัมมันตภาพ (นิวเคลียสตอวินาที , ฺBq)
λ = คาคงตัวการสลาย (ตอวินาที)
N = จํานวนนิวเคลียส ณ. เวลานั้น ๆ (นิวเคลียส)
47(En 44/2) ธาตุกมั มันตรังสีจาํ นวนหนึง่ มีกัมมันตภาพ 1 ไมโครคูรี และมีครึ่งชีวิตเทากับ
1000 วินาที จํานวนนิวเคลียสกัมมันตรังสีขณะนั้นเปนเทาใด (1 คูรี = 3.7x1010 Bq )
1. 3.7x107 2. 5.3 x107 3. 3.7x109 4. 5.3x109 (ขอ 2.)
วิธที าํ
!

! #'!

VI บทที่ 20 ฟสิกสนิวเคลียร
48(En42/2)(En 43/1) ถาธาตุ x มีจาํ นวนอะตอมเปน 2 เทาของธาตุ y แตมีกัมมันตภาพเปน
3 เทาของธาตุ y ครึง่ ชีวติ ของธาตุ x จะเปนกีเ่ ทาของธาตุ y
1. 16 เทา 2. 23 เทา 3. 23 เทา 4. 6 เทา (ขอ 2.)
วิธที าํ
!
!
!
!
!
!
!
!
!
!
!
49. ธาตุกัมมันตรังสีชนิดหนึ่งครึ่งชีวิต 15 วัน และเริม่ ตนของธาตุนม้ี กี มั มันตภาพ 10 ไมโครคูรี
จํานวนอนุภาคที่ปลดปลอยออกมาใน 1 วินาที เปนเทาใด เมื่อทิ้งธาตุนี้ไวเปนเวลา 30 วัน
(กําหนด 1 คูรี = 3.7x1010 s–1) (9.25x 104 นิวเคลียส)
วิธที าํ
!
!
!
!
!
!
!
!
!
50(มช 38) คนไขคนหนึง่ ตองการไดรบั รังสีแกมมาจากโคบอลด–60 แตปริมาณรังสีแกมมาที่
ใชมีมากเกินไปนําแผนตะกั่วมากั้น จะตองใชแผนตะกั่ว 3 แผนมากั้น จึงจะไดปริมาณรังสี
แกมมาที่พอดี ถาตะกั่ว 1 แผน สามารถกั้นรังสีแกมมามาไมใหผานมาได 90 เปอรเซ็นต
อยากทราบวาปริมาณรังสีแกมมาทีอ่ อกมาไดพอดีจะคิดเปนกีเ่ ปอรเซ็นตของปริมาณเดิม
1. 0.01% 2. 0.1 % 3. 3% 4. 30% (ขอ 2.)
วิธที าํ
!

! #(!
VI บทที่ 20 ฟสิกสนิวเคลียร
51(En 35) คาคงที่ของการสลายตัวของธาตุธอเรียม–232 เทากับ 1.6x10–18 ตอวินาที ธาตุ
นัน้ จํานวน 464 กรัม จะสลายตัวกี่ลานอะตอมตอวินาที (1.92 ลานอะตอม/วินาที)
วิธที าํ
!
!
!
!
!

52(En 43/2) ในการทดลองทอดลูกเตาเพื่อเปรียบเทียบกับการสลายตัวของนิวเคลียสกัมมันตรังสี


นักเรียนคนหนึง่ ใชลกู เตา 6 หนา จํานวน 600 ลูก โดยแตมสีไวหนึ่งหนาทุกลูก และหยิบ
ลูกที่ขึ้นหนาสีออกทุกครั้งที่ทอด จงประมาณวาหลังจากการทอดลูกเตาครั้งที่ 3 เมือ่ หยิบ
ลูกที่ขึ้นหนาสีออกแลว นาจะเหลือลูกเตากี่ลูก
1. 250 ลูก 2. 300 ลูก 3. 350 ลูก 4. 400 ลูก (ขอ 4)
วิธที าํ
!
!
!
!
!

53(En 41) ในการทดลองอุปมาอุปไมยการทอดลูกเตากับการสลายของธาตุกมั มันตรังสี โดยการโยน


ลูกเตาแลวคัดหนาทีไ่ มแตมสีออกไป ถาลูกเตามี 6 หนา มีหนาทีแ่ ตมสี 2 หนา และมีจาํ นวน
90 ลูก จงหาวาถาทําการโยนลูกเตาทัง้ หมด 2 ครั้ง โดยสถิตจิ ะเหลือจํานวนลูกเตาเทาใด
1. 10 ลูก 2. 30 ลูก 3. 40 ลูก 4. 56 ลูก (ขอ 1)
วิธที าํ
!
!
!
!
!
!
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

! #)!
ฮุ

VI บทที่ 20 ฟสิกสนิวเคลียร
ตอนที่ 4 แรงนิวเคลียร และพลังงานยึดเหนี่ยว
รัศมีนวิ เคลียส
เราสามารถหารัศมีนิวเคลียสของอะตอมธาตุใ ด ๆ ไดจากสมการ
1
R = r0 A 3
เมือ่ ro ≈ (1.2 x 10 –15) – (1.5 x 10–15) เมตร
A = เลขมวล
54. จงหารัศมีของนิวเคลียส 64 30 Zn กําหนด ro = 1.2x10 –15 เมตร (4.8 x 10–15)
วิธที าํ
!
!
!
55(En 33) ถารัศมีนิวเคลียสธาตุไฮโดรเจนเปน 1.4x10 –15 เมตร รัศมีนิวเคลียสของธาตุ 27Al
จะเปน กี่เมตร
1. 4.2x10–15 เมตร 2. 5.6x10–15 เมตร
3. 12.6x10–15 เมตร 4. 27x10–15 เมตร (ขอ 1.)
วิธที าํ
!
!
!
!
56. ธาตุไอโซโทปของ 224 28
88 Ra จะมีรศั มีเปนกีเ่ ทาของธาตุไอโซโทปของ 11 Na
1. 2 เทา 2. 3 เทา 3. 4 เทา 4. 5 เทา (ขอ 1.)
วิธที าํ
!
!
!
!
!
!
!
!

! #*!

VI บทที่ 20 ฟสิกสนิวเคลียร
แรงนิวเคลียร
แรงทีเ่ กีย่ วของกับนิวคลีออนในนิวเคลียส
1) แรงผลักระหวางประจุไฟฟา (มีคามาก)
2) แรงดึงดูดระหวางมวล (มีคา นอย)
3) แรงนิวเคลียร คอยผูกมัดนิวคลีออนตาง ๆ เอาไวมิใหฟุง
กระจายออกมานอกนิวเคลียส (มีคามหาศาล เมื่อเทียบกับ
แรงผลักประจุ)

ลักษณะของแรงนิวเคลียร
1) เปนแรงดึงดูดระยะสัน้
2) ไมเกี่ยวกับชนิดของประจุ
3) มีคามากกวาแรงผลักระหวางประจุไฟฟา
!

57(มช 33) ขอตอไปนีข้ อ ใดอธิบายธรรมชาติของแรงนิวเคลียรไดถกู ตองทีส่ ดุ


ก. แรงนิวเคลียรเปนแรงระยะสัน้ , ดึงดูด , ขึ้นอยูกับระยะทางกําลังสองผกผันและไม
ขึ้นกับชนิดประจุไฟฟา
ข. แรงนิวเคลียรเปนแรงระยะสัน้ , ดึงดูด , ขึ้นอยูกับระยะทางกําลังสองผกผันและขึ้น
กับชนิดประจุไฟฟา
ค. แรงนิวเคลียรเปนแรงระยะยาว , ดึงดูด , ขึ้นอยูกับชนิดของประจุไฟฟา และขนาด
ใหญกวาแรงโนมถวงมาก
ง. แรงนิวเคลียรเปนแรงระยะสัน้ , ดึงดูด , ไมขึ้นอยูกับชนิดประจุไฟฟา และขนาด
ใหญกวาแรงไฟฟามาก (ขอ ง.)
วิธที าํ
!
!
!
!
!
!
!
!
! #+!

VI บทที่ 20 ฟสิกสนิวเคลียร
พลังงานยึดเหนีย่ ว (binding energy , B E.)
คือพลังงานที่ใชในการยึดเหนี่ยวนิวคลีออนทั้งหมดเอาไวดวยกัน พลังงานยึดเหนี่ยวเกิด
จากมวลทีพ่ รองไปของนิวคลีออน เมือ่ นิวคลีออนเหลานัน้ เขาไปอยูใ นนิวเคลียส เราสามารถหา
คาพลังงานยึดเหนี่ยวไดจาก
มวล p = 1.007276 u
B. E = m.c2 มวล n = 1.008665 u
!
เมือ่ m = มวลพรอง (kg) มวล p+n = 2.015941 u
= มวลรวมของทุกนิวคลีออน – มวลนิวเคลียส
1u = 1.66 x 10–27 kg มวลเมื่ออยูในนิวเคลียส
c = ความเร็วแสง = 3 x 108 m/s = 2.013553 u
B.E. = พลังงาน (จูล) !

B.E = 931 m มวลที่หายไป = มวลพรอง


เมือ่ B.E. = พลังงาน (MeV) = 2.015941 – 2.013553
m = มวลพรอง (u) = 0.002388 u
931 คือ พลังงานของมวล 1 u 1 MeV = 1.6x10–13 จูล

58. กําหนด มวลของโปรตรอน = 1.007825 u


มวลของนิวตรอน = 1.008665 u
และเมือ่ โปรตรอนกับนิวตรอนกันรวมอยูใ นนิวเคลียสของดิวเทอรอนจะมีมวลรวมเทากับ
2.013553 จงหาพลังงานยึดเหนี่ยวทั้งหมด และพลังงานยึดเหนีย่ วตอนิวคลีออน
วิธที าํ ( 2.22 MeV , 1.11 MeV )

! #"!

VI บทที่ 20 ฟสิกสนิวเคลียร
59(มช 34) นิวเคลียส 10Ne20 มีมวลอะตอม 19.992434 จะมีพลังงานยึดเหนีย่ วตอนิวคลีออน
กี่ MeV กําหนดมวลนิวตรอน 1 ตัว = 1.008665 amu
มวลโปรตรอน 1 ตัว = 1.007825 amu
ก. 160.652 ข. 16.065 ค. 8.033 ง. 5.335 (ขอ ค.)
วิธที าํ

60(En 34) ธาตุตริเดียมซึง่ มีเลขอะตอมเปน 1 เลขมวลเปน 3 และมวลอะตอม 3.016049 u มี


คาพลังงานยึดเหนีย่ วตอนิวคลีออนเทากับเทาใดในหนวย MeV (ทศนิยม 2 ตําแหนง)
กําหนด มวลอะตอมของไฮโดรเจน = 1.007825 u
มวลของนิวตรอน = 1.008665 u
และ 1u = 930 MeV (2.82 MeV)
วิธที าํ

!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

ตอนที่ 5 ปฏิกิริยานิวเคลียร
ปฏิกิริยานิวเคลียร คือ กระบวนการทีน่ วิ เคลียสเกิดการเปลีย่ นแปลงองคประกอบ หรือ ระดับพลังงาน
การเขียนรูป X (a, b) Y
14 N + 4 He → 17 1
7 2 8 O + 1H
เปา! ตัวชนเปา! ตัวเกิดใหม! ตัวคายหลังชน!
สมการนี้ อาจเขียนเปน 14 17 14
7 N (α!,!-) 8 O อานวา ปฏิกริ ยิ าอัลฟาโปรตรอนของ 7 N
! #&!

VI บทที่ 20 ฟสิกสนิวเคลียร

ดังนัน้ ปฏิกิริยา X + a →!!!Y + b


อาจเขียนเปน X (a , b) Y อานวาปฏิกิริยา a , b ของ X
เมือ่ X = นิวเคลียสที่ใชเปนเปา a = อนุภาคที่ใชยิงเขาไปชนเปา
Y = นิวเคลียสของธาตุใหม b = อนุภาคที่ปลดปลอยออกมาหลังชน

61. พิจารณาสมการนิวเคลียรดังนี้
27 4 30 + H1
13 Al + 2 He 14 Si 1
ก. ปฏิกิริยานี้เขียนแบบยอไดอยางไร ข. ปฏิกิริยานี้มีชื่อเรียกวาอยางไร
วิธที าํ
!
!
!
62. จงเขียนสมการปฏิกิริยานิวเคลียรตอไปนี้
ก. 73 Li (α , n) 105 B ข. 94 Be (p , α ) 63 Li
วิธที าํ
!
!
!
!
63. จงเขียนสมการปฏิกิริยานิวเคลียรตอไปนี้
23 Na (d , p) 24 Na
ก. 11 27 Al (!n!, γ ) 28 Al
ข. 13
11 13
วิธที าํ
!
!
!
!
64(En 35) ปฏิกิริยานิวเคลียร 198 197
80 Hg (!n!, Y ) 79 Au ถามวา Y คืออนุภาคอะไร
1. ดิวเทอรอน 2. อนุภาคแอลฟา 3. โปรตอน 4. ทริทอน (ขอ 1.)
วิธที าํ
!
!
!

! ##!
G
VI บทที่ 20 ฟสิกสนิวเคลียร
การหาพลังงานเกีย่ วกับปฏิกริ ยิ านิวเคลียร เงื่อนไขการใชสมการนี้
1. หาจากมวลที่เปลี่ยน (Δm) ใชสมการ 1. หาก ΔE เปนบวก แสดงวาปฏิกิริยาเปน
ΔE = 931 . Δm แบบคายพลังงาน เกิดเมื่อ *มวลรวมหลัง
ปฏิกริ ยิ ามีคา นอยกวามวลรวมกอนปฏิกริ ยิ า
Δm = มวลกอน – มวลหลัง
2. หาก ΔE เปนลบ แสดงวาปฏิกิริยาเปน
2. หาจากพลังงานยึดเหนี่ยวของนิวเคลียส (B.E) แบบดูดพลังงาน เกิดเมื่อ *มวลรวมหลัง
ใชสมการ ΔE = BEกอน – BEหลัง ปฏิกริ ยิ ามีคา มากกวามวลรวมกอนปฏิกริ ยิ า
3. การใชคา B.E. ของนิวเคลียสมาคํานวณ
ตองใชคา B.E. มาเปนลบ
ในการสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี ปฏิกิริยาที่ไดเปนปฏิกิริยาคายพลังงานทั้งหมด
พลังงานที่ปลอยออกมาจากปฏิกิริยานิวเคลียร เรียกวา พลังงานนิวเคลียร (nuclear energy)
ซึ่งพลังงานนี้อาจอยูในรูปพลังงานจลนของอนุภาคหรือในรูปคลื่นแมเหล็กไฟฟาก็ได
65(มช 36) พลังงานนิวเคลียรที่เกิดจากปฏิกิริยานิวเคลียรที่กําหนดใหนี้จะมีคากี่ MeV
X + a → Y + b ในที่นี้ (9.31 MeV)
X มีมวล 196.966600 u Y มีมวล 194.968008 u
a มีมวล 2.014012 u b มีมวล 4.002604 u
และ มวล 1.0 u = 931 MeV
วิธที าํ
!
!
!
!
66. ในการยิงนิวตรอนเขาชนอลูมเิ นียม 13 27 Al เพื่อใหเกิดปฏิกิริยา 27 Al (n . p) 27 Mg
13 12
เราจะตองใชนวิ ตรอนซึง่ มีพลังงานจลนอยางนอยเทาใด กําหนดใหมวลอะตอมของ
27 27
13 Al = 26.981535 12 Mg = 26.984346
1 H = 1.007825 1 n = 1.008665 (1.84 MeV)
1 0
วิธที าํ
!
!
!
!
! #$!

VI บทที่ 20 ฟสิกสนิวเคลียร
67. จากปฏิกิริยานิวเคลียร 4 He + 9 Be → 12 C + 1 n
2 4 6 0
จงหาพลังงานและบอกดวยวาเปนปฏิกิริยาประเภทใด กําหนด B.E ของ 42 He , 94 Be ,
12 C คือ 28.3 MeV , 58.1 MeV และ 92.1 MeV ตามลําดับ (5.7 MeV)
6
วิธที าํ
!
!
!
!
!
!
!
!
68. จงหาพลังงานที่ใชในการแยกนิวเคลียส 10 20 Ne ออกมาเปนแอลฟา 2 อนุภาค และ 12 C
6
1 นิวเคลียส กําหนดใหพลังงานที่ยึดเหนี่ยวตอนิวคลีออนในนิวเคลียสของ 10 Ne , 42 He
20
และ 126 C เปน 8.03 , 7.07 และ 7.68 MeV ตามลําดับ (11.88 MeV)
วิธที าํ
!
!
!
!
!
!
!
!
69. ในการเกิดปฏิกิริยา 42 He + 42 He → 11 H + 73 Li
พบวาตองใชพลังงาน 17.2 MeV ถาพลังงานยึดเหนี่ยวของนิวเคลียส 73 Li = –39.2 MeV
จงหาพลังงานยึดเหนี่ยวของนิวเคลียส 42 He (28.2 MeV)
วิธที าํ
!
!
!
!
!
!
!

! #%!

VI บทที่ 20 ฟสิกสนิวเคลียร
235 U ทําใหเกิดฟชชัน ไดพลังงานทั้งสิ้น
70. ในการทดลองระเบิดนิวเคลียรลูกหนึ่งใช 92
9.0 x 1012 จูล หลังจากการระเบิดมวลที่หายไปทั้งสิ้นกี่กิโลกรัม (10–4)
วิธที าํ
!
!
!
!
!
!
!
ฟชชัน คือ ปฏิกิริยานิวเคลียรที่เกิดจากนิวเคลียสของธาตุหนักเกิดการแตกตัวออกเปน 2
สวนที่มีขนาดใกลเคียงกันจะทําใหไดนิวเคลียสใหม ซึ่งมีพลังยึดเหนี่ยวตอนิวคลีออนเพิ่มขึ้น
ตัวอยางปฏิกิริยาที่เกิดจากการยิงนิวตรอนเขาไปในนิวเคลียสของยูเรเนียม ดังสมการ
92u235 + on1 → 56Ba141 + 36Kr92 + 3on1 + พลังงาน
นักเรียนจะเห็นวาผลของปฏิกิริยานี้ จะไดนิวเคลียสใหม 2 ตัว ตัวหนึง่ มีเลขอะตอมอยู
ระหวาง 30 ถึง 63 และอีกตัวอยูระหวาง 72 ถึง 158 และปฏิกิริยานี้ยังใหพลังงานออกมา
อยางมหาศาล และใหนวิ ตรอนอีก 3 ตัว ซึ่งถานิวตรอนเหลานี้มีพลังงานสูงพอ ก็จะวิ่งเขาชน
นิวเคลียสของยูเรเนียมอะตอมตอๆ ไป กอใหเกิดปฏิกริ ยิ าอยางตอเนือ่ งทีเ่ รียกวา ปฏิกิริยาลูกโซ
เฟรมี เปนนักวิทยาศาสตรคนแรกที่สามารถควบคุมอัตราการเกิดปฏิกิริยาลูกโซใหสม่ําเสมอได
โดยใชเครือ่ งมือทีเ่ รียกวา เครือ่ งปฏิกรณนวิ เคลียร ซึง่ ควบคุมอัตราการเกิดฟงชันโดยการควบ
คุมจํานวนนิวตรอนทีเ่ กิดขึน้
ฟวชัน คือ ปฏิกิริยาที่เกิดจากการรวมตัวกันของธาตุเบา 2 ธาตุ แลวยังผลใหเกิดธาตุซึ่ง
หนักกวาและมีการปลดปลอยพลังงานนิวเคลียรออกมาดวย
ตัวอยางเชน 41H1 → 2He4 + 2 1 e 0 + 26 MeV
จะเห็นวาปฏิกิริยานี้เกิดจาก 1H1 4 ตัว รวมกันเปน 2He4 1 ตัว แลวมีการปลอยอนุภาค
ที่มีประจุบวกและมีมวลใกลเคียงกับอิเลคตรอน เรียกวา โพชิตรอนอีก 1 ตัว ปฏิกิริยานี้มีการ
ปลดปลอยพลังงานออกมากมายเชนกัน ปฏิกิริยานี้เปนปฏิกิริยาที่เกิดบนดวงอาทิตย หรือ บน
ดาวฤกษ ที่มีพลังงานสูงทั้งหลาย สําหรับบนโลกเราปฏิกิริยาฟวชันสามารถทําใหเกิดขึ้นไดใน
หองปฏิบัติการ
! $'!

VI บทที่ 20 ฟสิกสนิวเคลียร

1H2 +1H2 → 1H3 + 1H1 + 4 MeV


1H2 + 1H2 → 1H3 + 0n1 + 3.2 MeV
71(มช 40) จากการคํานวณพบวาในน้ําทะเล 1 ลิตร ประกอบดวยโมเลกุลของน้าํ จํานวน
3.3 x 1023 โมเลกุล และพบวาในทุก ๆ 6600 โมเลกุล ของน้าํ นีจ้ ะมีดวิ ทีเรียมอยู 1 อะตอม
เมือ่ นําดิวทีเรียมทัง้ หมดทีม่ อี ยูใ นน้าํ 1 ลิตรนี้ มาหลอมละลายเปนปฏิกิริยาฟวชันดังสมการ
2 2 3
1 H + 1 H → 2 He + n + 3.3 MeV
จะมีพลังงานปลดปลอยออกมาทั้งหมดกี่เมกกะจูล (MJ)
1. 0.48 2. 6.6 3. 13.2 4. 26.4 (ขอ 3.)
วิธที าํ
!
!
!
!
!
!
!
!
!
72. ในการทําปฏิกิริยาฟวชั่นโดยใชดิวเทอรอน ( )( H) พบวามีปฏิกิริยาดังนี้
2 2 3 1
1 H + 1 H → 1 H + 1 H + 4 MeV
2 3 4 1
1 H + 1 H → 2 He + 0 n + 17.6 MeV
อยากทราบวาถาในน้ําทะเลมีดิวเทอเรียมประมาณ 5x1018 อะตอม ถานํามาทําใหเกิด
ฟวชันทั้งหมดจะไดพลังงานเทาใด (3.6 x 1019 MeV)
วิธที าํ
!
!
!
!
!
!
!
!
!
! $(!

VI บทที่ 20 ฟสิกสนิวเคลียร
73(En 41) ปฏิกิริยาฟชชันของธาตุชนิดหนึ่ง ใหมวลรวมของธาตุหลังเกิดปฏิกิริยาลดลง 0.025 u
จงคํานวณวาจะตองเกิดฟชชันกีค่ รัง้ ตอวินาที จึงจะทําใหกําลังงาน 930 วัตต
กําหนดให 1 u = 930 MeV และ 1 MeV = 1.6x10–13 J
1. 2.5 x 1014 ครัง้ 2. 5.0 x 1014 ครัง้
3. 7.5 x 1014 ครัง้ 4. 1.0 x 1015 ครัง้ (ขอ 1.)
วิธที าํ
!
!
!
!
!
!
!
!
!
!
74. วัตถุที่ใชเปนเชื้อเพลิงปรมาณูในปจจุบัน นอกจาก U – 235 แลว ยังมี (ขอ ค.)
ก. U – 238 ข. Au – 198 ค. Pu – 239 ง. Na – 34
วิธที าํ
75(มช 37) ขอความตอไปนี้ ขอความใดถูก
1. เครื่องปฏิกรณนิวเคลียรที่ใชผลิตไฟฟาในปจจุบัน ไดพลังงานจากฟวชันไปทําใหน้ํา
กลายเปนไอ ไอน้าํ ไปหมุนกังหัน ทําใหเครื่องกําเนิดไฟฟาผลิตกระแสไฟฟาออกมา
2. เครื่องปฏิกรณนิวเคลียรที่ใชผลิตไฟฟาในปจจุบันได พลังงานจากปฏิกิริยาที่
นิวเคลียสของธาตุหนักแตกตัวออกเปน 2 สวนขนาดใกลเคียงกัน และปฏิกิริยาลูกโซ
3. เครื่องปฏิกรณนิวเคลียรจะสามารถทํางานไดตลอดไป เนื่องจากปฏิกิริยานิวเคลียรที่
เกิดขึ้น จึงไมตอ งมีการเติมแทงเชือ้ เพลิง!
! ! 4. ถาแทงเชื้อเพลิงในเครื่องปฏิกรณนิวเคลียรคือ U – 235 แลวที่เกิดขึ้นหลัง
! ! ! ปฏิกิริยานิวเคลียรเปนสารเสถียรไมอันตราย!! ! ! ! ! ! ! ! ! ! (ขอ 2.)!
วิธที าํ
!
!
!
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

! $)!
E
VI บทที่ 20 ฟสิกสนิวเคลียร
แบบฝ ก หั ด ฟ สิ ก ส บทที่ 20 ฟ สิ ก ส นิ ว เคลี ย ร
กัมมันตภาพรังสี
1(En 36) พิจารณาขอความตอไปนี้สําหรับรังสีแอลฟา บีตา และ แกมมา
ก. มีความสามารถในการทําใหกาซแตกตัว เปนไอออนไดดกี วา
ข. ตองใชวัสดุที่มีความหนามากในการกั้นรังสี
ค. เมือ่ เคลือ่ นทีผ่ า นบริเวณทีม่ สี นามแมเหล็กแนวการเคลือ่ นทีเ่ ปนแนวโคง
ง. อัตราสวนระหวางประจุตอมวลมีคามากที่สุด
ขอความใดเปนสมบัติของรังสีบีตา
1. ก และ ง 2. ก และ ค 3. ข และ ง 4. ค และ ง (ขอ 4)
2(En 39) ธาตุ A สลายเปนธาตุ B โดยปลอยรังสีบีตา ลบออกมาธาตุทั้งสองจะมีจํานวนใดเทากัน
1. นิวตรอน 2. โปรตอน
3. ผลรวมของนิวตรอนและโปรตอน 4. ผลตางของนิวตรอนและโปรตอน (ขอ 3)

สมการนิวเคลียร
238 U เมื่อสลายให
3(En 43/1) ในการสลายตัวตอ ๆ กันของธาตุกัมมันตรังสี โดยเริม่ จาก 92
อนุภาคทัง้ หมดเปน 2α , 2β– และ 2γ จะทําใหไดนวิ เคลียสใหมมจี าํ นวนโปรตอน
และจํานวนนิวตรอนเทาใด
1. จํานวนโปรตอน 88 จํานวนนิวตรอน 140
2. จํานวนโปรตอน 90 จํานวนนิวตรอน 140
3. จํานวนโปรตอน 88 จํานวนนิวตรอน 142
4. จํานวนโปรตอน 90 จํานวนนิวตรอน 142 (ขอ 2)

4(มช 32) X+ อนุภาคนิวตรอน → Y+ อนุภาคแอลฟา


Z+อนุภาคบีตา
ถา Z ในปฎิกิริยานิวเคลียรนี้มีเลขมวลเปน 2 เทาของเลขอะตอมนิวเคลียสของธาตุ X คือ
ก. 14Si31 ข. 15P31 ค. 16S31 ง. 17Cl31 (ขอ ข)

! $*!

VI บทที่ 20 ฟสิกสนิวเคลียร
5. จงหาจํานวนอนุภาคแอลฟา ( 42 He ) และอนุภาคบีตา ( 0-1 e ) จากอนุกรมการสลายตัวของ
238 U → 206 Pb
นิวเคลียสตอไปนี้ 92 (8α
α, 6β
β)
82
6. จงหาจํานวนอนุภาคแอลฟา ( 42 He ) และอนุภาคบีตา ( 0-1 e ) จากอนุกรมการสลายตัวของ
235 U → 207 Pb
นิวเคลียสตอไปนี้ 92 (7α
α, 4β
β)
82

การสลายตัวของนิวเคลียส
7. ธาตุกัมมันตรังสีชนิดหนึ่ง มีเวลาครึ่งชีวิต 5 วัน ถาเก็บธาตุนั้น จํานวน 64x1018 อะตอม
ไว 15 วัน จะเหลือธาตุนน้ั กีอ่ ะตอม ( 8x1018)
8. ทิ้งน้ํายาซึ่งเปนสารกัมมันตรังสีไวเปนเวลานาน วัดกัมมันตภาพได 4200 ครัง้ /วินาที
ถาน้ํายานี้เปนของใหม จะวัดกัมมันตรังสีได 16800 ครัง้ /วินาที ถาชวงครึ่งชีวิตของสาร
ในน้ํายานี้เปน 2 วัน จงหาวาทิ้งน้ํายาไวเปนเวลานานเทาใด (4 วัน)
9. สารกัมมันตรังสีจาํ นวนหนึง่ เมือ่ ทิง้ ไว 2 ชัว่ โมง ปรากฏวาสลายไป 16 15 เทาของของเดิม
จงหาคานิจของการสลายตัวของสารนี้ (1.386/ชัว่ โมง)

10(En 31) ไอโซโทปของโซเดียม (24 11 Na ) มีครึง่ ชีวติ 15 ชัว่ โมง จงหาวาเวลาผานไป


75 ชัว่ โมง นิวเคลียสของไอโซโทปนี้จะสลายไปแลวประมาณกี่เปอรเซ็นตของจํานวนที่
ตัง้ ตน ถาตอนเริม่ แรกนิวเคลียสของไอโซโทปนีม้ คี า 5 คูรี
1. 75 % 2. 87.5 % 3. 94 % 4. 97 % (ขอ 4)
11(มช 32) สารกัมมันตรังสีชนิดหนึ่งมีคานิจของการสลายตัว 0.077 ตอป จะตองใชเวลานาน
เทาไร จึงจะมีมวลลดลงจาก 40 กรัม เหลือเพียง 2.5 กรัม
ก. 3 ป ข. 13 ป ค. 36 ป ง. 45 ป (ขอ ค)
12(มช 31) ธาตุชนิดหนึ่งมีมวล 10 กรัม ใชเวลา 20 วัน จึงจะมีมวลเหลืออยู 2.5 กรัม
คานิจของการสลายตัวมีคาเปน
ก. 0.069 ตอวัน ข. 0.035 ตอวัน
ค. 0.054 ตอวัน ง. 0.015 ตอวัน (ขอ ก)

! $+!
6
VI บทที่ 20 ฟสิกสนิวเคลียร
13(En 35) คาคงที่ของการสลายตัวของธาตุธอเรียม–232 เทากับ 1.6x10–18 ตอวินาที ธาตุ
นัน้ จํานวน 464 กรัม จะสลายตัวกี่ลานอะตอมตอวินาที (1.92 ลานอะตอม/วินาที)
14(En 43/2) ในการทดลองทอดลูกเตาเพื่อเปรียบเทียบกับการสลายตัวของนิวเคลียสกัมมันตรังสี
นักเรียนคนหนึง่ ใชลกู เตา 6 หนา จํานวน 600 ลูก โดยแตมสีไวหนึ่งหนาทุกลูก และหยิบ
ลูกที่ขึ้นหนาสีออกทุกครั้งที่ทอด จงประมาณวาหลังจากการทอดลูกเตาครั้งที่ 3 เมือ่ หยิบ
ลูกที่ขึ้นหนาสีออกแลว นาจะเหลือลูกเตากี่ลูก
1. 250 ลูก 2. 300 ลูก 3. 350 ลูก 4. 400 ลูก (ขอ 4)
15(En 41) ในการทดลองอุปมาอุปไมยการทอดลูกเตากับการสลายของธาตุกมั มันตรังสี โดยการโยน
ลูกเตาแลวคัดหนาทีไ่ มแตมสีออกไป ถาลูกเตามี 6 หนา มีหนาทีแ่ ตมสี 2 หนา และมีจาํ นวน
90 ลูก จงหาวาถาทําการโยนลูกเตาทัง้ หมด 2 ครั้ง โดยสถิตจิ ะเหลือจํานวนลูกเตาเทาใด
1. 10 ลูก 2. 30 ลูก 3. 40 ลูก 4. 56 ลูก (ขอ 1)
16(En42/2) ในการทอดลูกเตา 6 หนาที่มีการแตมสี 1 หนาเหมือนกันทุกลูก จํานวน 180 ลูก
ถาทอดแลวทําการคัดลูกเตาที่มีหนาแตมสีหงายขึ้นออกไปถาทําการทอด 2 ครัง้ โดยเฉลีย่ จะ
คัดลูกเตาออกกี่ลูก
1. 60 ลูก 2. 55 ลูก 3. 30 ลูก 4. 25 ลูก (ขอ 2)

แรงนิวเคลียร และพลังงานยึดเหนี่ยว
17. ธาตุไอโซโทปของ 224 28
88 Ra จะมีรศั มีเปนกีเ่ ทาของธาตุไอโซโทปของ 11 Na
1. 2 เทา 2. 3 เทา 3. 4 เทา 4. 5 เทา (ขอ 1.)
18(En 34) จงหาเลขมวลของนิวเคลียสซึ่งมีรัศมีเปน 23 เทาของนิวเคลียส 27
13 Al
1. 8 2. 9 3. 16 4. 18 (ขอ 1)
19(มช 34) นิวเคลียส 10Ne20 มีมวลอะตอม 19.992434 จะมีพลังงานยึดเหนีย่ วตอนิวคลีออน
กี่ MeV กําหนดมวลนิวตรอน 1 ตัว = 1.008665 amu
มวลโปรตรอน 1 ตัว = 1.007825 amu
ก. 160.652 ข. 16.065 ค. 8.033 ง. 5.335 (ขอ ค.)

! $"!

VI บทที่ 20 ฟสิกสนิวเคลียร
20(En 34) ธาตุตริเดียมซึง่ มีเลขอะตอมเปน 1 เลขมวลเปน 3 และมวลอะตอม 3.016049 u มี
คาพลังงานยึดเหนีย่ วตอนิวคลีออนเทากับเทาใดในหนวย MeV (ทศนิยม 2 ตําแหนง)
กําหนด มวลอะตอมของไฮโดรเจน = 1.007825 u
มวลของนิวตรอน = 1.008665 u
และ 1u = 930 MeV (2.82 MeV)

ปฏิกิริยานิวเคลียร
21. พิจารณาสมการนิวเคลียรดังนี้
14 N + 4 He → 17 1
7 2 8 O + 1H
ก. ปฏิกิริยานี้เขียนแบบยอไดอยางไร ข. ปฏิกิริยานี้มีชื่อเรียกวาอยางไร
22. จงเขียนสมการปฏิกิริยานิวเคลียรตอไปนี้
ก. 73 Li (α , n) 105 B ข. 94 Be (p , α ) 63 Li
23. ในปฎิกิริยา (n , γ) ของนิวเคลียส 47Ag109 นิวเคลียสที่เกิดใหมมีเลขมวลเทาใด ( 110 )
24(มช 36) พลังงานนิวเคลียรที่เกิดจากปฏิกิริยานิวเคลียรที่กําหนดใหนี้จะมีคากี่ MeV
X + a → Y + b ในที่นี้ ( 9.31 MeV)
X มีมวล 196.966600 u Y มีมวล 194.968008 u
a มีมวล 2.014012 u b มีมวล 4.002604 u
และ มวล 1.0 u = 931 MeV
4 He + 9 Be → 12 C + 1 n
!

25. จากปฏิกิริยานิวเคลียร 2 4 6 0
จงหาพลังงานและบอกดวยวาเปนปฏิกิริยาประเภทใด กําหนด B.E ของ 42 He , 94 Be ,
12 C คือ 28.3 MeV , 58.1 MeV และ 92.1 MeV ตามลําดับ (5.7 MeV)
6
! ! !
!!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!"!""

! $&!

You might also like