You are on page 1of 137

ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.

com บทที่ 1 บทนา

บ ท ที่ 1 บ ทนำ
1.1 ฟิ สิ กส์
วิ ช าวิ ท ยาศาสตร์ (science) คื อ วิ ช าซึ่ งศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ สิ่ งต่ า งๆ ในธรรมชาติ ด้ ว ย
กระบวนการค้นคว้าหาความรู ้ที่มีข้ นั ตอนมีระเบียบแบบแผน
วิชาวิทยาศาสตร์ แบ่งได้เป็ น 2 สาขาหลัก ได้แก่
1. วิทยาศาสตร์ ชีวภาพ เน้นศึกษาเฉพาะส่ วนที่เกี่ยวกับสิ่ งมีชีวติ
2. วิทยาศาสตร์ กายภาพ เน้นศึกษาเกี่ยวกับสิ่ งไม่มีชีวิต แบ่งออกเป็ นอีกหลายแขนง
เช่น ฟิ สิ กส์ เคมี ธรณี วทิ ยา ดาราศาสตร์ เป็ นต้น
วิชาฟิ สิ กส์ (physics) คือ วิชาวิทยาศาสตร์ พื้ นฐานสาขาหนึ่ ง นอกเหนือจากวิชาเคมี และ
ชีววิทยา วิชาฟิ สิ กส์จะศึกษากฎเกณฑ์ของธรรมชาติเฉพาะทางกายภาพ เช่น ศึกษาเรื่ องของคลื่น
แสง เสี ยง ไฟฟ้ า แม่เหล็ก การเคลื่อนที่ มวล แรง พลังงาน โมเมนตัม เป็ นต้น
1. ข้อใดต่อไปนี้เป็ นสาขาหนึ่งของวิชาวิทยาศาสตร์ กายภาพ
1. พฤษศาสตร์ 2. สัตว์ศาสตร์ 3. ดาราศาสตร์ 4. แพทย์ศาสตร์

1.2 ปริมาณกายภาพและหน่ วย
1.2.1 ปริมาณในวิชาฟิ สิ กส์
ปริมาณ (Quantities) ในวิชาฟิ สิ กส์ อาจแบ่ งเป็ นกลุ่มย่ อยได้ ดังนี้
แบ่ งโดยใช้ ลกั ษณะของปริมาณเป็ นเกณฑ์ จะแบ่งได้เป็ น
1. ปริ มาณเวกเตอร์ คือ ปริ มาณที่ตอ้ งบอกทั้งขนาดและทิศทางจึงจะสมบูรณ์ เช่น
การกระจัด แรง โมเมนตัม สนามไฟฟ้ า สนามแม่เหล็ก เป็ นต้น
2. ปริ มาณสเกลาร์ คือ ปริ มาณที่บอกแต่ขนาดอย่างเดี ยวก็สมบูรณ์ ได้ เช่น มวล
พลังงาน เป็ นต้น

1
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 บทนา
แบ่ งโดยใช้ ทมี่ าของปริมาณเป็ นเกณฑ์ จะแบ่งได้เป็ น
1. ปริ ม าณมู ล ฐาน คื อ ปริ ม าณขั้นต้นที่ จาเป็ นต่อการอธิ บ ายปรากฏการณ์ ท าง
ฟิ สิ กส์ มี 7 ปริ มาณ
ปริมาณ หน่ วย สั ญลักษณ์
ความยาว (Length) เมตร m
มวล (Mass) กิโลกรัม kg
เวลา (Time) วินาที s
กระแสไฟฟ้ า (Electric Current) แอมแปร์ A
อุณหภูมิทางเทอร์โมไดนามิก เคลวิน K
ความเข้มของการส่ องสว่าง แคนเดลา cd
ปริ มาณของสาร โมล mol
2. ปริ มาณอนุพทั ธ์ คือ ปริ มาณที่เกิดขึ้นจากการนาปริ มาณมูลฐานมาประกอบเข้า
ด้วยกัน เช่น อัตราเร็ ว (เกิดจากระยะทางหรื อความยาวหารด้วยเวลา) เป็ นต้น
3. ปริ มาณเสริ ม คือ ปริ มาณที่นอกเหนือจากปริ มาณทั้งสองที่ผา่ นมา เช่น มุมของ
รู ปเรขาคณิ ต เป็ นต้น
2. ปริ มาณที่แสดงค่าแต่ขนาดเพียงอย่างเดียวก็ได้ความหมายสมบูรณ์ เรี ยกว่าปริ มาณใด
1. เวกเตอร์ 2. มูลฐาน 3. สเกลาร์ 4. สัมบูรณ์

3. ปริ มาณที่ตอ้ งแสดงค่าทั้งขนาดและทิศทาง จึงจะได้ความหมายสมบูรณ์เรี ยกว่าปริ มาณใด


1. เวกเตอร์ 2. มูลฐาน 3. สเกลาร์ 4. อนุพทั ธ์

2
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 บทนา
4. ปริ มาณใดต่อไปนี้ เป็ นหน่วยฐานทั้งหมด
1. มวล , ความยาว , แรง 2. ระยะทาง , พื้นที่ , ปริ มาตร
3. มวล , กระแสไฟฟ้ า , ปริ มาณของสาร 4. อุณหภูมิ , มุม , พลังงาน

5. หน่วยที่เป็ นมาตรฐานสากลของปริ มาณต่อไปนี้คือหน่วยอะไร ความยาว มวล เวลา


กระแสไฟฟ้ า
1. เซนติเมตร , กิโลกรัม , ชัว่ โมง , แอมแปร์ 2. เมตร , กิโลกรัม , วินาที , แอมแปร์
3. กิโลเมตร , กิโลกรัม , วินาที , แอมแปร์ 4. มิลลิเมตร , กิโลกรัม , วินาที , แอมแปร์

1.2.2 การเปลีย่ นหน่ วย


พิจารณาตัวอย่างต่อไปนี้ สมมุติ
ไม้บรรทัดมีสเกลยาว 1 เมตรดังรู ป
หากแบ่งสเกลยาว 1 เมตร ( m )
ออกเป็ น 100 ช่องๆ เท่ากัน แต่ละช่อง
ย่อยจะเรี ยก 1 เซนติเมตร (cm) ดังนั้น
1 เมตร
1 เซนติเมตร จะมีค่าเท่ากับ 100
หากแบ่งสเกลยาว 1 เมตร ( m )
ออกเป็ น 1,000 ช่องๆ เท่ากัน แต่ละช่อง
ย่อยจะเรี ยก 1 มิลลิเมตร (mm) ดังนั้น
1 มิลลิเมตร จะเท่ากับ 10001 เมตร
หากแบ่งสเกลยาว 1 เมตร ( m )
ออกเป็ น 1,000,000 ช่องๆ เท่ากัน แต่ละ
1 เมตร
ช่องย่อยจะเรี ยก 1 ไมโครเมตร ( m ) ดังนั้น 1 ไมโครเมตร จะเท่ากับ 1000000
3
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 บทนา

หากแบ่งสเกลยาว 1 เมตร ( m ) ออกเป็ น 1,000,000,000 ช่องๆ เท่ากัน แต่ละช่องย่อยจะ


1
เรี ยก 1 นาโนเมตร ( nm ) ดังนั้น 1 นาโนเมตร จะเท่ากับ 1000000000 เมตร
นอกจากความยาวแล้ว ปริ มาณอื่นๆ ก็สามารถแบ่งเป็ นหน่วยต่างๆ นอกเหนือจาก
หน่วยฐานได้เช่นกัน เช่น
มวล 1 กรัม ( g ) จะแบ่งได้เป็ น 100 เซนติกรัม ( cg )
มวล 1 กรัม ( g ) จะแบ่งได้เป็ น 1000 มิลลิกรัม ( mg ) 1g
มวล 1 กรัม ( g ) จะแบ่งได้เป็ น 1,000,000 ไมโครกรัม (g )
มวล 1 กรัม ( g ) จะแบ่งได้เป็ น 1,000,000,000 นาโนกรัม ( ng )
6. ปริ มาณในข้อใดต่อไปนี้ มีขนาดเล็กที่สุด
1. 1 cm 2. 1 mm 3. 1 nm 4. 1 m

7. ปริ มาณในข้อใดต่อไปนี้ มีขนาดใหญ่ที่สุด


1. 8 cg 2. 8 mg 3. 8 ng 4. 8 g

ตัวอย่าง จงเปลี่ยน 834 เซนติเมตร ให้มีหน่วยเป็ นเมตร


วิธีทา วิธีที่ 1 เทียบบัญญัติไตรยางศ์
เนื่องจาก 100 เซนติเมตร มีค่าเท่ากับ 1 เมตร
ดังนั้น 834 เซนติเมตร มีค่าเท่ากับ 1 x100834 เมตร
= 8.34 เมตร
4
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 บทนา
วิธีที่ 2 ใช้ตวั พหุคูณ
ค่ าอุปสรรคใช้ แทนตัวพหุคูณ
ค่ าพหุคูณ
ชื่อ สั ญลักษณ์
เอกซะ (exa) E 1018
เพตะ (peta ) P 1015
เทอรา (tera) T 1012
จิกะ (giga) G 109
* เมกกะ (mega) M 106
* กิโล (killo) k 103
เฮกโต (hecto) h 102
เดซิ (daci) d 10–1
* เซนติ (centi) c 10–2
* มิลลิ (milli) m 10–3
* ไมโคร (micro)  10–6
* นาโน (nano) n 10–9
* พิโค (pico) p 10–12
อัตโต (atto) a 10–18
จะได้วา่ 834 cm ( เปลี่ยน c เป็ น 10–2 ได้โดยตรง เพราะมีค่าเท่ากัน )
= 834 x 10–2 m
= 8.34 m
ดังนั้น 834 เซนติเมตร มีค่าเท่ากับ 8.34 เมตร

ตัวอย่าง จงเปลี่ยน 720 ไมโครกรัม ให้มีหน่วยเป็ นกรัม โดยใช้ตวั พหุ คูณ


วิธีทา 720 g ( เปลี่ยน  เป็ น 10–6 ได้โดยตรง เพราะมีค่าเท่ากัน )
= 720 x 10–6 g
= 7.20 x 10–4 g
ดังนั้น 720 ไมโครกรัม มีค่าเท่ากับ 7.20 x 10–4 กรัม
5
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 บทนา
ตัวอย่าง จงเปลี่ยน 8.25 กิโลเมตร ให้มีหน่วยเป็ นเมตร โดยใช้ตวั พหุ คูณ
วิธีทา 8.25 km ( เปลี่ยน k เป็ น 103 ได้โดยตรง เพราะมีค่าเท่ากัน )
= 8.25 x 103 m
= 8250 m
ดังนั้น 8.25 กิโลเมตร มีค่าเท่ากับ 8250 เมตร

ตัวอย่าง จงเปลี่ยน 4200 เมตร ให้มีหน่วยเป็ นไมโครเมตร โดยใช้ตวั พหุ คูณ


วิธีทา 4200 m ( คูณด้วย 106 x 10–6 เพิม่ เข้าไป )
= 4200 x 106 x 10–6 m
= 4200 x 106 m
= 4.20 x 109 m
ดังนั้น 4200 เมตร มีค่าเท่ากับ 4.20 x 109 ไมโครเมตร
8. 6.23 nm มีคา่ เท่ากับกี่ m
1. 6.23 x 10–3 2. 6.23 x 10–6 3. 6.23 x 10–9 4. 6.23 x 10–12

9. 65.24 mg มีคา่ เท่ากับกี่ g


1. 6.524 x 10–1 2. 6.524 x 10–2 3. 6.524 x 10–3 4. 6.524 x 10–4

6
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 บทนา
10. 55.26 m มีค่าเท่ากับกี่ m
1. 5.526 x 10–3 2. 5.526 x 10–4 3. 5.526 x 10–5 4. 5.526 x 10–6

11. 62.5 pg มีคา่ เท่ากับกี่ g


1. 6.25 x 10–9 2. 6.25 x 10–10 3. 6.25 x 10–11 4. 6.25 x 10–12

12. 425 km มีค่าเท่ากับกี่ m


1. 4.25 x 103 2. 4.25 x 104 3. 4.25 x 105 4. 4.25 x 106

13. 0.042 g มีค่าเท่ากับกี่ g


1. 4.2 x 10–6 2. 4.2 x 10–7 3. 4.2 x 10–8 4. 4.2 x 10–9

7
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 บทนา
14. 0.0659 M มีค่าเท่ากับกี่ 
1. 6.59x104 2. 6.59x105 3. 6.59x106 4. 6.59x107

15. 0.0073 G มีค่าเท่ากับกี่ 


1. 7.3 x 103 2. 7.3 x 104 3. 7.3 x 105 4. 7.3 x 106

16. 720 cm มีค่าเท่ากับกี่ m


1. 72 2. 7.20 3. 0.72 4. 0.072

17. 3.3 x 105 km มีค่าเท่ากับกี่ m


1. 3.3 x 105 2. 3.3 x 106 3. 3.3 x 107 4. 3.3 x 108

8
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 บทนา
18. 4.625 x 105 nA มีค่าเท่ากับกี่ A
1. 4.625 x 10–3 2. 4.625 x 10–4 3. 4.625 x 10–5 4. 4.625 x 10–6

19. 2.55 x10–3 g มีค่าเท่ากับกี่ g


1. 2.55 x 10–6 2. 2.55 x 10–7 3. 2.55 x 10–8 4. 2.55 x 10–9

20. 7.31 m มีคา่ เท่ากับกี่ cm


1. 7.31 x 10–2 2. 7.31 x 10–1 3. 73.1 4. 7.31 x 102

21. 7.23 x 10–5  มีค่าเท่ากับกี่ k


1. 7.23 x 10–2 2. 7.23 x 10–3 3. 7.23 x 10–7 4. 7.23 x 10–8

9
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 บทนา
22. 7.23 x 103 A มีค่าเท่ากับกี่ mA
1. 7.23 x 10–2 2. 7.23 x 10–3 3. 7.23 x 105 4. 7.23 x 106

23. 6500 g มีค่าเท่ากับกี่ kg


1. 0.65 2. 6.5 3. 65 4. 650

24. 5530 A มีค่าเท่ากับกี่ kA


1. 553 2. 55.3 3. 5.53 4. 0.553

25. ความยาว 4.9 นาโนเมตร มีคา่ เท่าไรในหน่วยกิโลเมตร


1. 4.9x10–9 2. 4.9x10–11 3. 4.9x10–12 4. 4.9x10–13

10
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 บทนา
26. จงเปลี่ยนหน่วยมวลโปรตรอน 1.6 x 10–27 กิโลกรัม เป็ นพิโคกรัม
1. 1.6x10–39 2. 1.6x10–36 3. 1.6x10–15 4. 1.6x10–12

27. มวล 100 เมกะกรัม มีคา่ เป็ นกี่ไมโครกรัม


1. 1 x 102 2. 1 x 106 3. 1 x 1012 4. 1 x 1014

28. 1.5 ตารางเซนติเมตร (cm2) มีค่าเท่ากับกี่ตารางเมตร (m2)


1. 1.5 x 10–4 2. 1 x 10–2 3. 1 x 102 4. 1 x 104

29. พื้นที่ 300 ตารางมิลลิเมตร (mm2) คิดเป็ นเท่าไรในหน่วยตารางเมตร (m2)


1. 3.00 x 104 2. 3.00 x 103 3. 3.00 x 10–3 4. 3.00 x 10–4

11
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 บทนา
30. จงเปลี่ยน 4 x 10–8 ลูกบาศก์เซนติเมตร (cm3) ให้เป็ นลูกบาศก์เมตร (m3)
1. 4 x 10–10 2. 4 x 10–12 3. 4 x 10–14 4. 4 x 10–16

31. จงเปลี่ยน 5 x 10–9 ลูกบาศก์เมตร (m3) ให้เป็ นลูกบาศก์เซนติเมตร (cm3)


1. 5 x 10–3 2. 5 x 10–2 3. 5 x 102 4. 4 x 104

32. จงเปลี่ยน 7 ไมโครนิวตัน/ตารางเซนติเมตร เป็ น นิวตัน/ตารางเมตร


1. 7 x 10–3 2. 7 x 10–2 3. 7 x 102 4. 7 x 104

12
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 บทนา
33. จงเปลี่ยน 3 x 1011 ไมโครเมตร/มิลลิวนิ าที ให้เป็ น เมตร/วินาที
1. 3 x 106 2. 3 x 107 3. 3 x 108 4. 3 x 109

34. รถประจาทางคันหนึ่ งวิ่งด้วยความเร็ ว 36 กิ โลเมตรต่อชัว่ โมง อยากทราบว่ารถคันนี้ ว่ิง


ด้วยความเร็ วเท่ากับกี่เมตรต่อวินาที
1. 5 2. 10 3. 15 4. 20

35. ความเร็ วขนาด 1 เมตรต่อวินาที เป็ นเท่าใดในหน่วยกิโลเมตรต่อชัว่ โมง


1
1. 3.6 2. 3.6 3. 3.6 x 103 4. 3.6 x 10–2

13
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 บทนา
36. กาลัง 8.75x107 วัตต์ (W) เมื่อใช้คาอุปสรรคที่เหมาะสมควรเปลี่ยนเป็ น
1. 87.5 MW 2. 87.5 GW 3. 875 kW 4. 875 W

37. ปริ มาณ 8 x 10–7 เมตร เมื่อใช้คาอุปสรรคที่เหมาะสม ควรเปลี่ยนเป็ น


1. 80 mm 2. 8 pm 3. 0.8 m 4. 0.8 nm

38. ถังน้ าสี่ เหลี่ยมก้นถังมีพ้นื ที่ 2 ตารางเมตร สู ง 1 เมตร จะบรรจุน้ าได้มากที่สุดกี่ลิตร


( 1 ลูกบาศก์เมตร = 1000 ลิตร )
1. 20 ลิตร 2. 200 ลิตร 3. 2000 ลิตร 4. 20000 ลิตร

39. น้ า 20 ลิตร เทียบได้เท่าใดในหน่วยลูกบาศก์เมตร ( 1000 ลิตร = 1 ลูกบาศก์เมตร )


1. 2 2. 0.2 3. 0.02 4. 0.002

14
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 บทนา
1.3 เลขนัยสาคัญ
หลักการอ่านค่าที่ได้จากวัดโดยทัว่ ไปนั้น ให้อ่านค่าที่ปรากฏบนสเกลแล้วสามารถเดาค่า
ทศนิยมต่อได้อีก 1 ตาแหน่ง เช่นในรู ป
การอ่านขนาดความยาวของดินสอในรู ปนี้
ต้องอ่านค่าที่มีอยูแ่ ล้วบนสเกลคือ 1.8 cm
แล้วเดาทศนิยมต่อได้อีก 1 ตาแหน่ง ซึ่ ง 1.8
มีค่าประมาณ 0.03 cm รวมแล้วความยาว
ดินสอแท่งนี้ ควรอ่านค่าเป็ น 1.83 cm ( 1.8 มีอยูแ่ ล้วบนสเกล 0.03 ได้มาจากการคาดเดา )
เลขนัยสาคัญ ( Significant ) คือเลขที่ได้จากการอ่านค่าในการวัด ซึ่งจะประกอบด้วย เลขที่
แน่นอน ( เลขที่อยูบ่ นสเกล) และเลขที่ไม่แน่นอน (เลขที่ได้จากการคาดเดา 1 ตัว )
40. จากรู ป ความยาวของแท่งดินสอมีค่าเท่ากับกี่เซนติเมตร
1. 9.4
2. 9.375
3. 9.36
4. 9.3

41. จากรู ป ควรบันทึกความยาวของดินสอเป็ นเท่าใด


1. 5 ซม. 2. 5.0 ซม.
3. 5.00 ซม. 4. ถูกทุกข้อ

15
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 บทนา
1.3.1 หลักในการนับจานวนตัวของเลขนัยสาคัญ
1) เลขที่ไม่ใช่เลข 0 ทุกตัวถือเป็ นเลขนัยสาคัญ
2) เลข 0 ที่อยูห่ น้าจานวนทั้งหมด ไม่ถือเป็ นเลขนัยสาคัญ เช่น 0.00046 มีเลขนัยสาคัญ
2 ตัว คือ 4 และ 6 เท่านั้น
3) เลข 0 ที่อยูก่ ลางจานวน ถือเป็ นเลขนัยสาคัญ เช่น 7.03 มีเลขนัยสาคัญ 3 ตัว คือ 7 ,
0 , 0 และ 3
4) กรณี ที่เขียนจานวนในรู ปทศนิยม 0 ที่อยูข่ า้ งหลัง ถือเป็ นเลขนัยสาคัญ เช่น 8.000
มีเลขนัยสาคัญ 4 ตัว คือ 8 , 0 , 0 และ 0
5) ถ้าเขียนจานวนในรู ปจานวนเต็มธรรมดาไม่มีทศนิยม เลข 0 ที่อยูห่ ลังจานวนไม่ถือ
เป็ นเลขนัยสาคัญ เช่น 1500 มีเลขนัยสาคัญ 2 ตัว คือ เลข 1 กับ 5 เท่านั้น
6) ถ้าเขียนจานวนในรู ป a x 10n ให้นบั จานวนเลขนัยสาคัญของ a เท่านั้นเป็ นคาตอบ
เช่น 5.23 x 1089 มีเลขนัยสาคัญ 3 ตัว คือ 5 , 2 และ 3 เท่านั้น
42(แนว มช) นักเรี ยนคนหนึ่งบันทึกตัวเลขจากการทดลองเป็ น 0.0413 กิโลกรัม , 5.33 x 10–42
เมตร , 36.4 เซนติเมตร และ 2.00 วินาที จานวนเหล่านี้มีเลขนัยสาคัญกี่ตวั
1. 1 ตัว 2. 2 ตัว 3. 3 ตัว 4. 4 ตัว

43. ระยะทางจากกรุ งเทพถึงนราธิวาสเป็ น 1150 กิโลเมตร ท่านคิดว่า 1150 มีเลขนัยสาคัญกี่ตวั


1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

16
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 บทนา
1.3.2 การบวก และลบ เลขนัยสาคัญ
วิธีการ “ ให้ บ วก หรื อ ลบตามปกติ แต่ ผ ลลัพ ธ์ ที่ ไ ด้ต้อ งมี ต าแหน่ ง ทศนิ ย ม เท่ า กับ
ตาแหน่งทศนิยมของจานวนในโจทย์ที่มีตาแหน่งทศนิยมน้อยที่สุด ”
ตัวอย่าง 4.187  มีทศนิยม 3 ตาแหน่ง
+3 . 4  มีทศนิยม 1 ตาแหน่ง
–2 . 3 2  มีทศนิยม 2 ตาแหน่ง
5.267
เนื่องจาก 3.4 ในโจทย์ มีตาแหน่งทศนิ ยมน้อยที่สุดคือ 1 ตาแหน่ง ดังนั้นคาตอบต้องมี
ทศนิยม 1 ตาแหน่งด้วย จึงต้องตอบ 5.3 เท่านั้น
44. จงหาผลลัพธ์ของคาถามต่อไปนี้ ตามหลักเลขนัยสาคัญ 4.37 + 2.1 – 0.002
1. 6 2. 6.5 3. 6.46 4. 6.458

1.3.3 การคูณ และ หาร เลขนัยสาคัญ


วิธีการ “ ให้คู ณ หรื อหารตามปกติ แต่ ผ ลลัพ ธ์ ที่ ได้ตอ้ งมี จานวนตัวของเลขนัยส าคัญ
เท่ากับจานวนตัวเลขนัยสาคัญของโจทย์ที่มีจานวนตัวเลขนัยสาคัญน้อยที่สุด ”
ตัวอย่าง 3.24  มีเลขนัยสาคัญ 3 ตัว
x 2 . 0  มีเลขนัยสาคัญ 2 ตัว
6.4 8 0

เนื่องจาก 2.0 ในโจทย์ มีจานวนตัวเลขนัยสาคัญน้อยที่สุด คือ 2 ตัว ดังนั้นคาตอบ


จะต้องมีเลขนัยสาคัญ 2 ตัวด้วย ข้อนี้ จึงต้องตอบ 6.5 เท่านั้น
17
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 บทนา
45. ห้องเรี ยนห้องหนึ่งกว้าง 3.40 เมตร ยาว 12.71 เมตร ห้องนี้ จะมีพ้ืนที่เท่าไร
1. 43.214 ตารางเมตร 2. 43.2 ตารางเมตร
3. 43.21 ตารางเมตร 4. 43.2140 ตารางเมตร

46. เหล็กแท่งหนึ่งมวล 40.0 กรัม มีปริ มาตร 5.0 ลูกบาศก์เซนติเมตร ถามว่าตัวเลขที่เหมาะ


สมสาหรับค่าความหนาแน่นของเหล็กแท่งนี้ เป็ นกี่กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร
1. 8 2. 8.0 3. 8.00 4. 8.000

47. นักเรี ยนคนหนึ่งใช้เครื่ องวัดวัดเส้นผ่านศูนย์กลางของเหรี ยญบาทได้ 2.59 เซนติเมตร เมื่อ


พิจารณาเลขนัยสาคัญ เขาควรจะบันทึกค่าพื้นที่หน้าตัดดังนี้
1. 5.27065 ตารางเซนติเมตร 2. 5.2707 ตารางเซนติเมตร
3. 5.271 ตารางเซนติเมตร 4. 5.27 ตารางเซนติเมตร

18
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 บทนา
48(แนว มช) มวล 2.00 กิโลกรัม ถูกแบ่งออกเป็ นสี่ ส่วนเท่ากันพอดี แต่ละส่ วนจะมีขนาด
กี่กิโลกรัม
1. 0.5 2. 0.50 3. 0.500 4. 0.5000

6.5 + 1.95 – 0.6


49. จงหาผลลัพธ์ของค่าต่อไปนี้ตามหลักเลขนัยสาคัญ 2.0
1. 4.5 2. 4.6 3. 4.55 4. 4.7

1.4 การวิเคราะห์ ผลการทดลอง


ในการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ น้ ัน เมื่อทาการทดลองเสร็ จแล้วต้องมีการนาผลการทดลอง
ที่ได้มาวิเคราะห์ วิธีการวิเคราะห์ขอ้ มูลวิธีหนึ่งคือการนาผลการทดลองมาการเขียนกราฟแบบ
เส้น ซึ่ งเส้นกราฟที่ได้อาจเป็ นรู ปเส้นตรง พาราโบลา รู ปคลื่น หรื ออื่นๆ ในกรณี ที่กราฟที่ได้
เป็ นรู ปเส้นตรง จะมีค่าที่มีประโยชน์ต่อการศึกษาวิทยาศาสตร์ ค่าหนึ่งคือ ความชันของเส้นตรง

19
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 บทนา
วิธีการหาค่ าความชันเส้ นตรง ( m )
วิธีที่ 1 หาจากสู ตรต่อไปนี้
y y
m = x2  x1 Y
(x2 , y2)
2 1 
เมื่อ m คือ ความชันเส้นตรง
(x1 , y1)
( x1 , y1 ) และ ( x2 , y2 ) เป็ น 
 X
จุด 2 จุดที่เส้นตรงผ่าน
หรื อ m = tan 
เมื่อ  คือ มุมเอียง
คือ มุมที่เส้นตรงเอียงกระทากับแกน + X ในทิศทวนเข็มนาฬิกา
วิธีที่ 2 หาจากสมการเส้นตรง
สมการเส้นตรง คือสมการที่เมื่อนาไปเขียนกราฟจะได้กราฟเป็ นรู ปเส้นตรง
โดยทัว่ ไปแล้วสมการเส้นตรงจะอยูใ่ นรู ป y = m x + c จากสมการเส้นตรงรู ปนี้ จะได้วา่
ความชันเส้นตรง ( m ) = สัมประสิ ทธิ์ ของ x
และ จุดตัดแกน Y จะมีค่า y = c
ตัวอย่าง จงหาความชันของเส้นตรงที่ผา่ นจุด
( 0 , 1 ) และ ( 3 , 7 ) Y
( 3 ,7 )
วิธีทา สมมุติให้ ( x1 , y1 ) = ( 0 , 1 )
และ ( x2 , y2 ) = ( 3 , 7 ) (0,1)
y y
จาก m = x2  x1 = 37  01 = 63 = 2
X
2 1
นัน่ คือเส้นตรงนี้ มีค่าความชันเท่ากับ 2

ตัวอย่าง เส้นตรงเส้นหนึ่งมีความเอียงเป็ นมุม 45o


จะมีความชันเท่าไร Y

วิธีทา โจทย์บอก มุมเอียง (  ) = 45o


จาก m = tan  = tan 45o = 1 45o X
นัน่ คือเส้นตรงนี้ มีค่าความชันเท่ากับ 1

20
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 บทนา
ตัวอย่าง จงหาความชันของเส้นตรงที่มีสมการเป็ น 2 y = 6 x + 16 พร้อมทั้งบอกค่า y ที่จุด
ซึ่งเส้นกราฟตัดแกน Y
วิธีทา จาก 2 y = 6 x + 16 (ต้องเอา 2 หารตลอดเพื่อให้สมั ประสิทธิ์ ของ y เป็ น 1 ก่อน)
2y = 6x + 16
2 2 2 Y
y = 3x + 8
เทียบกับ y = m x + c
จะได้ ความชัน ( m ) = สัมประสิ ทธิ์ x = 3 8
X
และที่จุดตัดแกน Y ค่า y = c = 8
50. จงหาความชันของเส้นตรงที่ผา่ นจุดต่อไปนี้ ตามลาดับ
ก. (0 , 0) , (2 , 6) ข. (3 , 4) , (6 , –5)
ค. (3 , 5) , (4 , 5) ง. (4 , 6) , (4 , 7)
1. 3 , –3 , 0 , หาค่าไม่ได้ 2. –3 , 3 , 0 , หาค่าไม่ได้
3. 0 , –3 , 3 , 0 4. 3 , 3 , 0 , 0

51. เส้นตรงเส้นหนึ่งมีความเอียงเป็ นมุม 60o จะมีความชันเท่าไร


1. 1 2. 0 3. 3 4. 1 / 3

52. จากสมการเส้นตรงต่อไปนี้ เส้นตรงมีความชันเท่าไร


ก. y = 4 x + 6 ข. y = 23 x – 4 ค. 4 y = 8 x – 4
1. 4 , 2/3 , 0 2. 4 , 2/3 , 2
3. 4 , 3/2 , 0 4. 4 , 3/2 , 2

21
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 บทนา
เฉลยติ ว สบำย บทที่ 1 บทนำ

1. ตอบข้ อ 3. 2. ตอบข้ อ 3. 3. ตอบข้ อ 1. 4. ตอบข้ อ 3.


5. ตอบข้ อ 2. 6. ตอบข้ อ 3. 7. ตอบข้ อ 1. 8. ตอบข้ อ 3.
9. ตอบข้ อ 2. 10. ตอบข้ อ 3. 11. ตอบข้ อ 3. 12. ตอบข้ อ 3.
13. ตอบข้ อ 3. 14. ตอบข้ อ 1. 15. ตอบข้ อ 4. 16. ตอบข้ อ 2.
17. ตอบข้ อ 4. 18. ตอบข้ อ 2. 19. ตอบข้ อ 4. 20. ตอบข้ อ 4.
21. ตอบข้ อ 4. 22. ตอบข้ อ 4. 23. ตอบข้ อ 2. 24. ตอบข้ อ 3.
25. ตอบข้ อ 3. 26. ตอบข้ อ 4. 27. ตอบข้ อ 4. 28. ตอบข้ อ 1.
29. ตอบข้ อ 4. 30. ตอบข้ อ 3. 31. ตอบข้ อ 1. 32. ตอบข้ อ 2.
33. ตอบข้ อ 3. 34. ตอบข้ อ 2. 35. ตอบข้ อ 2. 36. ตอบข้ อ 1.
37. ตอบข้ อ 3. 38. ตอบข้ อ 3. 39. ตอบข้ อ 3. 40. ตอบข้ อ 3.
41. ตอบข้ อ 3. 42. ตอบข้ อ 3. 43. ตอบข้ อ 3. 44. ตอบข้ อ 2.
45. ตอบข้ อ 2. 46. ตอบข้ อ 2. 47. ตอบข้ อ 4. 48. ตอบข้ อ 3.
49. ตอบข้ อ 3. 50. ตอบข้ อ 1. 51. ตอบข้ อ 3. 52. ตอบข้ อ 4.



22
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 บทนา

ต ะลุ ยโ จท ย์ ทั่ ว ไป บท ที่ 1 บท นำ


1.1 ฟิ สิ กส์

1.2 ปริมาณกายภาพและหน่ วย
1.2.1 ปริมาณในวิชาฟิ สิ กส์
1. ข้อใดต่อไปนี้เป็ นความแตกต่างของปริ มาณเวกเตอร์ และสเกลาร์
1. ปริ มาณเวกเตอร์ มีทิศทาง แต่สเกลลาร์ ไม่มี
2. ปริ มาณสเกลาร์ มีทิศทาง แต่เวกเตอร์ ไม่มี
3. ปริ มาณเวกเตอร์ มีขนาด แต่สเกลลาร์ ไม่มี
4. ปริ มาณสเกลาร์ มีทิศขนาด แต่เวกเตอร์ ไม่มี

2. ในระบบเอสไอ เวลามีหน่วยเป็ น
1. วินาที 2. นาที 3. ชัว่ โมง 4. ถูกทุกข้อ

3. หน่วย SI ในข้อใดเป็ นหน่วยมูลฐานทั้งหมด


1. แอมแปร์ เคลวิน แคนเดลา โมล 2. เมตร องศาเซลเซียส เรเดียน คูลอมบ์
3. กิโลกรัม โอห์ม ลูเมน พาสคาล 4. วินาที โวลต์ เวเบอร์ ลักซ์

4(มช 42) ข้อใด ไม่ใช่ หน่วยฐานของระบบหน่วยระหว่างชาติ (เอสไอ) ทั้งหมด


1. วินาที โวลต์ แอมแปร์ 2. แคนเดลา ลูเมน เฮนรี่
3. นิวตัน คูลอมบ์ จูล 4. โอห์ม โมล ซีเมนส์

5. ข้อใดต่อไปนี้เป็ นหน่วย อนุพทั ธ์ในระบบ SI


1. แอมแปร์ 2. จูล 3. โมล 4. แคนเดลา

6. หน่วยในข้อใดเป็ นหน่วยเสริ ม
1. เรเดียน 2. เมตร/วินาที 3. เฮิรตซ์ 4. เคลวิน
23
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 บทนา
1.2.2 การเปลีย่ นหน่ วย
7. 8.5 x 105 nA มีค่าเท่ากับกี่ A
1. 8.5 x 10–3 2. 8.5 x 10–4 3. 8.5 x 10–5 4. 8.5 x 10–6

8. 3.68 x10–3 g มีค่าเท่ากับกี่ g


1. 3.68 x 10–6 2. 3.68 x 10–7 3. 3.68 x 10–8 4. 3.68 x 10–9

9. 3.32 x 105  มีค่าเท่ากับกี่ k


1. 3.32 x 102 2. 3.32 x 10–3 3. 3.32 x 10–7 4. 3.32 x 10–8

10. 8.5 x 10–7 A มีค่าเท่ากับกี่ mA


1. 8.5 x 10–4 2. 8.5 x 10–3 3. 8.5 x 104 4. 8.5 x 105

11. ระยะทาง 5 เมกะเมตร มีค่าเท่าใดในหน่วยกิโลเมตร


1. 5 x 102 2. 5 x 103 3. 5 x 106 4. 5 x 109

12. มวล 500 นาโนกรัม มีคา่ เป็ นกี่ไมโครกรัม


1. 0.5 2. 5 x 10–2 3. 5 x 10–3 4. 5 x 10–6

13. ปริ มาณ 4 x 10–7 เมตร เมื่อใช้คาอุปสรรคที่เหมาะสม ควรเปลี่ยนเป็ น


1. 40 mm 2. 4 pm 3. 0.4 m 4. 0.4 nm

14. กาลัง 3.75 x 107 วัตต์ (W) เมื่อใช้คาอุปสรรคที่เหมาะสมควรเปลี่ยนเป็ น


1. 37.5 MW 2. 37.5 GW 3. 375 kW 4. 375 W

15. พลังงาน 3.2 x 1016 จูล มีค่าเท่ากับข้อใด


1. 0.32 เอกซะจูล 2. 32 เพตะจูล 3. 3200 เทอราจูล 4. 320 จิกะจูล

24
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 บทนา
16. แสงสี เหลืองมีความยาวคลื่น 0.000006 m จะมีคา่ เท่ากับค่าใด
1. 0.6 mm 2. 60 pm 3. 6 m 4. 600 nm

17. พื้นที่ 3.0 ตารางมิลลิเมตร คิดเป็ นเท่าไรในหน่วยตารางเมตร


1. 3.0 x 106 2. 3.0 x 103 3. 3.0 x 10–3 4. 3.0 x 10–6

18. พื้นที่ 500 ตารางเซนติเมตร คิดเป็ นกี่ตารางเมตร


1. 5 x 10–2 2. 5 x 10–4 3. 5 x 10–6 4. 5 x 10–8

19. จงเปลี่ยน 4 ไมโครนิวตัน/ตารางเซนติเมตร เป็ นนิวตัน/ตารางเมตร


1. 4 x 10–3 2. 4 x 10–2 3. 4 x 102 4. 4 x 104

20. น้ ามีความหนาแน่น 1 กรัม/ลบ.ซม. จะมีค่าเท่าใดในหน่วยกิโลกรัม / ลบ.เมตร


1. 1 x 10–3 2. 1 x 10–2 3. 1 x 103 4. 1 x 102

21. อัตราเร็ ว 72 กิโลเมตร/ชัว่ โมง มีค่าเท่าใดในหน่วยเมตร/วินาที


1. 10 2. 20 3. 30 4. 40

22. อัตราเร็ ว 25 เมตรต่อวินาที มีค่าเท่าใดในหน่วยกิโลเมตรต่อชัว่ โมง


1. 6.95 2. 50 3. 75 4. 90

23. ปูนซีเมนต์ 1 ตัน เท่ากับข้อใดต่อไปนี้ (1 ตัน คือ 1000 กิโลกรัม)


1. 1 Gg 2. 1 Mg 3. 1 mg 4. 1 g

24. น้ า 10 ลิตร เทียบได้เท่าใดในหน่วยลูกบาศก์เมตร ( 1000 ลิตร = 1 เมตร3 )


1. 10–4 2. 10–3 3. 10–2 4. 10–1

25
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 บทนา
25. ถังน้ าสี่ เหลี่ยมก้นถังมีพ้นื ที่ 1.5 ตารางเมตรสู ง 1.2 เมตร จะบรรจุน้ าได้มากที่สุดกี่ลิตร
1. 180 ลิตร 2. 600 ลิตร 3. 1800 ลิตร 4. 18000 ลิตร

26. หน่วยวัดความยาวของไทยสมัยก่อนคือ คืบ ศอก วา เส้น โดยสองคืบเป็ นหนึ่งศอก , 4 ศอก


เป็ นหนึ่งวา และ 20 วาเป็ นหนึ่งเส้น ปั จจุบนั เทียบหนึ่งวาเป็ นกี่เมตร
1. 2 2. 4 3. 8 4. 16

27. พื้นที่ขนาด 1 ตารางวา จะมีค่าเท่ากับกี่ตารางเมตร


1. 2 2. 4 3. 8 4. 16

28. ที่ดินแปลงหนึ่งกว้าง 5 เมตร ยาว 24 เมตร อยากทราบว่าจะมีพ้ืนที่กี่ตารางวา


1. 16 2. 20 3. 24 4. 30

29. พื้นที่ 100 ตารางวา เรี ยกว่า หนึ่งงาน และ 4 งาน คือพื้นที่ 1 ไร่ พื้นที่หนึ่งไร่ มีกี่
ตารางเมตร
1. 1600 2. 2000 3. 2400 4. 3000
30

30. พื้นที่ 1 ตารางกิโลเมตร มีคา่ กี่ไร่ ( 1 ไร่ มี 1600 ตารางเมตร)


1. 125 2. 250 3. 625 4. 2500

1.3 เลขนัยสาคัญ
31. จากรู ปที่กาหนดให้ ความยาวที่อ่านได้ควรเป็ นข้อใด

1 2 3 4 5 6 7 8 cm
9
1. 2 cm 2. 2.4 cm 3. 2.45 cm 4. 2.455 cm

26
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 บทนา
32. ปริ มาณในข้อใดที่ได้จากการวัดโดยใช้ไม้บรรทัดที่มีความละเอียดถึง 0.1 เซนติเมตร
1. 9 เซนติเมตร 2. 9.0 เซนติเมตร
3. 9.00 เซนติเมตร 4. 9.000 เซนติเมตร

33. เลขนัยสาคัญคืออะไร
1. เลขที่วดั ได้จริ ง ๆ จากเครื่ องมือวัด
2. เลขที่อ่านได้จากเครื่ องมือวัดแบบขีดสเกลรวมกับตัวเลขที่ประมาณอีก 1 ตัว
3. เลขที่ประมาณขึ้นมาในการวัด
4. เลขที่แน่นอนที่อ่านได้ในการวัด

1.3.1 หลักในการนับจานวนตัวของเลขนัยสาคัญ
34. จงพิจารณาปริ มาณต่อไปนี้ขอ้ ใดมีเลขนัยสาคัญ 2 ตัว
1. 20 2. 0.2 3. 0.04 4. 0.010

35. จงบอกจานวนเลขนัยสาคัญของปริ มาณต่อไปนี้ 105 , 0.0020 , 3.5 x 103


1. 3 , 2 และ 2 ตัว 2. 3 , 4 และ 5 ตัว
3. บอกไม่ได้ , 1 และ 4 ตัว 4. 2 , 1 และ 3 ตัว

36. ปริ มาณในข้อใดมีเลขนัยสาคัญ 3 ตัว ทั้งหมด


1. 0.15 , 3.0 x 103 , 151 2. 1.00 , 0.03 , 0.12 x 10–3
3. 10.0 , 100 , 3.06 x 109 4. 0.120 , 4.32 x 10–21 , 168

1.3.2 การบวก และลบ เลขนัยสาคัญ

37. จงหาผลลัพธ์ของคาต่อไปนี้ตามหลักเลขนัยสาคัญ 2.35 + 2.1 – 0.002


1. 4 2. 4.4 3. 4.445 4. 4.448

27
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 บทนา
1.3.3 การคูณ และหาร เลขนัยสาคัญ
104 ) x 3.6
38. จงหาผลลัพธ์ของค่าต่อไปนี้ตามหลักเลขนัยสาคัญ (1.50 x0.25
1. 2.2 x 105 2. 2.16 x 105 3. 2 x 105 4. 2.1600 x 105
4.5 + 3.95 – 0.5
39. จงหาผลลัพธ์ของค่าต่อไปนี้ตามหลักเลขนัยสาคัญ 2.0
1. 5.6 2. 5.65 3. 5.7 4. 5.75

1.4 การวิเคราะห์ ผลการทดลอง


40. จากกราฟที่กาหนดให้ จงหาค่าความชันของกราฟ
1. 14 v (m/s)
2. 12 4
3. 1 2
4. 2 t(s)
0 4 6

41. จากความสัมพันธ์ของปริ มาณ 2 ปริ มาณ เขียนเป็ นสมการได้ว า่ 2x + 3y = 6 เมื่อนาไป


เขียนกราฟระบบพิกดั ฉากจะได้กราฟมีค่าความชันเท่าไร
1. 32 2. 23 3. 23 4. 23

42. จากการทดลองหาอัตราเร็ วของการเคลื่อนที่ s (เมตร)


ของวัตถุหนึ่ง พบว่าระยะทาง ( s ) ที่วตั ถุ
12
เคลื่อนที่ได้ กับเวลา ( t ) ที่วตั ถุใช้ในการ เคลื่อน
มีความสัมพันธ์ดงั กราฟ จงหาอัตราเร็ วของ
การเคลื่อนที่ของวัตถุน้ ี ในหน่วย เมตร/วินาที ( 0 ,0 ) 10 t (วินาที)
( กาหนดให้ s = V t เมื่อ s คือ ระยะทาง ( เมตร )
V คือ อัตราเร็ ว ( เมตร/วินาที )
t คือ เวลา ( วินาที ) )


28
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 1 บทนา
เฉลยตะลุ ย โจทย์ ท วั่ ไป บทที่ 1 บทนำ

1. ตอบข้ อ 1. 2. ตอบข้ อ 1. 3. ตอบข้ อ 1. 4. ตอบข้ อ 3.


5. ตอบข้ อ 2. 6. ตอบข้ อ 1. 7. ตอบข้ อ 2. 8. ตอบข้ อ 4.
9. ตอบข้ อ 1. 10. ตอบข้ อ 1. 11. ตอบข้ อ 2. 12. ตอบข้ อ 1.
13. ตอบข้ อ 3. 14. ตอบข้ อ 1. 15. ตอบข้ อ 2. 16. ตอบข้ อ 3.
17. ตอบข้ อ 4. 18. ตอบข้ อ 1. 19. ตอบข้ อ 2. 20. ตอบข้ อ 3.
21. ตอบข้ อ 2. 22. ตอบข้ อ 4. 23. ตอบข้ อ 2. 24. ตอบข้ อ 3.
25. ตอบข้ อ 3. 26. ตอบข้ อ 1. 27. ตอบข้ อ 2. 28. ตอบข้ อ 4.
29. ตอบข้ อ 1. 30. ตอบข้ อ 3. 31. ตอบข้ อ 3. 32. ตอบข้ อ 3.
33. ตอบข้ อ 2. 34. ตอบข้ อ 4. 35. ตอบข้ อ 1. 36. ตอบข้ อ 4.
37. ตอบข้ อ 2. 38. ตอบข้ อ 1. 39. ตอบข้ อ 1. 40. ตอบข้ อ 2.
41. ตอบข้ อ 1. 42. ตอบ 1.2



29
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง

บทที่ 2 การเคลื่ อ นที่ ใ นแนวเส้ นตรง


2.1 ปริมาณต่ างๆ ของการเคลือ่ นที่
2.1.1 ระยะทาง (distance) และ การกระจัด (displacement )
ระยะทาง (distance) คือ ความยาวตามแนวที่เคลื่อนที่ได้จริ ง มีหน่วยเป็ นเมตร ( m ) เป็ น
ปริ มาณสเกลาร์ เพราะการคิดระยะทางไม่ตอ้ งคานึงถึงทิศทางของการเคลื่อนที่
การกระจั ด (displacement) คื อ ความยาวที่ วดั เป็ นเส้ นตรงจากจุ ดเริ ่ มต้นถึ งจุ ดสุ ดท้าย
ของการเคลื่อนที่ มีหน่วยเป็ นเมตร ( m ) เป็ นปริ มาณเวกเตอร์ เพราะการคิดการกระจัดต้องคิด
ทิศทางจากจุดเริ่ มต้นถึงจุดสุ ดท้ายด้วย
ตัวอย่างเช่น หากวัตถุกอ้ นหนึ่งเคลื่อนที่จาก C
จุด A ไปจุด B แล้วเคลื่อนต่อไปจุด C ในทิศที่ต้ งั ฉาก 3 เมตร
กันดังรู ป จะได้วา่ ความยาวที่เคลื่อนได้จริ งมีค่า 7 เมตร A 4 เมตร B
ซึ่งหาค่าได้จาก 4 เมตร + 3 เมตร ( ไม่ตอ้ งสนใจทิศ ทาง ) ความยาวเช่นนี้เรี ยก ระยะทาง
และเนื่องจากการคิดระยะทางนี้ ไม่ตอ้ งคานึงถึงทิศทาง ดังนั้นระยะทางจึงเป็ นปริ มาณสเกลาร์
จากตัวอย่างเดิม หากเราหาความยาวจากจุดเริ่ มต้น
( A ) ตรงไปยังจุดสุ ดท้าย (C ) โดยใช้ทฤษฎีพีทาโกรัส C
5 เมตร
จะได้วา่ AC2 = 42 + 32 3 เมตร
AC2 = 15 + 9 A 4 เมตร B
AC2 = 25
AC = 5 เมตร
ความยาวจากจุดเริ่ มต้น( A ) ตรงไปยังสุ ดท้าย( C ) นี้ เรี ยก การกระจัด ซึ่ งเป็ นปริ มาณที่มีท้ งั
ขนาดและทิศทาง ดังนั้นการกระจัดจึงเป็ นปริ มาณเวกเตอร์
1. ระยะทาง และการกระจัดของการเคลื่อนที่ต่อไปนี้ มีขนาด
C
เท่ากับกับ กี่เมตร ตามลาดับ
6 เมตร
1. 14 , 8 2. 14 , 10
A 8 เมตร B
3. 8 , 14 4. 10 , 14

1
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
2. ระยะทาง และการกระจัดของการเคลื่อนที่ต่อไปนี้ มีขนาด 2 ม.
เท่ากับ กี่เมตร ตามลาดับ 10 ม.
1. 12 , 8 2. 8 , 10 3. 8 , 12 4. 10 , 8

3. ระยะทาง และการกระจัดของการเคลื่อนที่ต่อไปนี้ มีขนาดเท่ากับกี่เมตร ตามลาดับ


1. 7 , 14 2. 14 , 7
R=7ม.
3. 22 , 14 4. 14 , 22

4. ระยะทาง และการกระจัดของการเคลื่อนที่ต่อไปนี้ มีขนาด


เท่ากับกี่เมตร ตามลาดับ R=7ม.
1. 44 , 7 2. 7 , 44
3. 44 , 0 4. 0 , 44

พิจารณาตัวอย่าง จากรู ป จงวาดรู ปการกระจัดลัพธ์ a 


 b
ของ a และ b ต่อไปนี้

วิธีทา ขั้นแรก ต้องนา a และ b มาเขียนต่อกัน โดย a

นาปลายของ a มาต่อกับจุดเริ่ มต้นของ b ดังรู ป การกระจัดลัพธ์
ขั้น 2 เขียนลูกศรจากจุดเริ่ มต้น a ตรงไปยังจุดสุ ด 
 b
ท้ายของ b ลูกศรที่ได้น้ ีเรี ยกการกระจัดลัพธ์ของ a
  
กับ b หรื อ เวกเตอร์ลพั ธ์ของ a กับ b หรื อ a + b ก็ได้
2
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
 
เพิม่ เติม หากเราทราบขนาดของ a กับ b และมุมระหว่าง a กับ b เราสามารถคานวณหา
ขนาดของเวกเตอร์ลพั ธ์ได้โดยใช้สูตร
ขนาดเวกเตอร์ลพั ธ์ = | a |2  | b |2  2 | a | | b | cos a = 3/
เมื่อ | a | = ขนาดของ a การกระจัดลัพธ์
= 60o
 
| b | = ขนาดของ b  /
  b=4
 = มุมระหว่าง a กับ b เมื่อนาปลาย

ของ a มาต่อกับจุดเริ่ มต้นของ b
 
เช่นหากสมมุติให้ a มีขนาด 3 หน่วย b มีขนาด 4 หน่วย และมุมระหว่าง a กับ b

มีค่า 60o เราจะหาขนาดของเวกเตอร์ลพั ธ์ของ a กับ b ได้ดงั นี้
จาก ขนาดเวกเตอร์ลพั ธ์ = | a |2  | b |2  2 | a | | b | cos
= 32  4 2  2(3)(4) cos60 o
= 9  16  2(3) (4) ( 1 )
2
= 13
ขนาดเวกเตอร์ ลพั ธ์ = 3.61 หน่ วย

5. จากรู ป การกระจัดลัพธ์ของ a และ b a

ดังรู ป ควรเป็ นดังข้อใดต่อไปนี้ b

1. 2. 3. 4.


6. a , b , c เป็ นเวกเตอร์ ดงั รู ป
 c
a b


รู ปใดเป็ นเวกเตอร์ลพั ธ์ของ a  b  c
1. 2. 3. 4.

3
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง

7. a , b , c เป็ นเวกเตอร์ ดงั รู ป
 c
a b


รู ปใดเป็ นเวกเตอร์ลพั ธ์ของ a  b  c
1. 2. 3. 4.

2.1.2 อัตราเร็ว ( speed ) และ ความเร็ว ( velocity )


2.1.2.1 อัตราเร็วเฉลี่ย และความเร็วเฉลีย่
อัตราเร็ วเฉลี่ย คือ อัตราส่ วนของระยะทางที่เคลื่ อนที่ได้ต่อเวลาที่ ใช้ในการเคลื่ อนที่
ตลอดช่วงนั้น มีหน่วยเป็ น เมตรต่อวินาที เป็ นปริ มาณสเกลาร์ เขียนเป็ นสมการจะได้
v = st
เมื่อ v = อัตราเร็ ว ( เมตร/วินาที )
s = ระยะทางที่เคลื่อนที่ได้ ( เมตร )
t = เวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ ( วินาที )
ความเร็วเฉลีย่ คือ อัตราส่ วนของการกระจัดที่เคลื่อนที่ได้ต่อเวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่
ตลอดช่วงนั้น มีหน่วยเป็ นเมตรต่อวินาที เป็ นปริ มาณเวกเตอร์ เขียนเป็ นสมการจะได้
v = dt
เมื่อ v = ความเร็ ว ( เมตร/วินาที )
d = การกระจัด ( เมตร )
t = เวลา ( วินาที )

4
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
8. จงหาอัตราเร็ วเฉลี่ย และความเร็ วเฉลี่ยของการเคลื่อนที่
ตามแผนภาพต่อไปนี้ ในหน่วยเมตรต่อวินาที กาหนด R=7ม.
เวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ท้ งั หมดเท่ากับ 2 วินาที
1. 22 , 14 2. 11 , 7 3. 22 , 0 4. 11 , 0

9. วัตถุหนึ่งเคลื่อนที่จาก A ไป D ผ่าน B , C ซึ่งอยูบ่ นแนวเส้นตรงเดียวกันดังรู ปใช้เวลา


นาน 10 วินาที จงหาอัตราเร็ วเฉลี่ยและความเร็ วเฉลี่ยในหน่วยเมตรต่อวินาที
1. 4.5 , 1.5 20 m
A
2. 9 , 3 15 m B
3. 13.5 , 4.5 C
D
4. 18 , 6 5m 10 m

10. รถยนต์คนั หนึ่งเคลื่อนที่ได้ 30 กิโลเมตร ในครึ่ งชัว่ โมงแรก และเคลื่อนที่ได้ระยะทาง 50


กิโลเมตร ในครึ่ งชัว่ โมงต่อมา อัตราเร็ วเฉลี่ยใน 1 ชัว่ โมงมีค่ากี่กิโลเมตรต่อชัว่ โมง

5
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
11. นายตี๋เคลื่อนที่เป็ นเส้นตรงด้วยอัตราเร็ ว 5 เมตร/วินาที ได้ระยะทาง 100 เมตร แล้วจึงวิ ง่
ต่อด้วยอัตราเร็ ว 10 เมตร/วินาที ได้ระยะทาง 50 เมตร อัตราเร็ วเฉลี่ยมีค่ากี่เมตร/วินาที

2.1.2.2 ความเร็ว ณ.จุดใดจุดหนึ่ง


ความเร็ ว ณ.จุดหนึ่ งๆ อาจหาค่าได้โดยใช้อนุ พนั ธ์ของฟั งก์ชน่ั ซึ่ งนักเรี ยนจะได้เรี ยน
ในวิชาคณิ ตศาสตร์ เรื่ องแคลคูลสั หรื ออาจหาค่าได้จากความชันเส้ นกราฟของการกระจัดกับ
เวลาก็ได้
12. กาหนดกราฟการกระจัดของการเคลื่อนที่หนึ่ง การกระจัด ( m )
เทียบกับเวลาเป็ นดังรู ป จงหาความเร็ ว ณ.จุด
วินาทีที่ 15 ในหน่วย เมตร/วินาที 10 (15 , 10)

(3 , 0 )
15 เวลา ( วินาที )

6
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
2.1.3 อัตราเร่ ง และ ความเร่ ง
อัตราเร่ ง คืออัตราส่ วนของอัตราเร็ วที่เปลี่ ยนไปต่อเวลาที่ใช้ในช่ วงเปลี่ยนอัตราเร็ วนั้น
มีหน่วยเป็ น เมตร/วินาที2 เป็ นปริ มาณสเกลาร์ เขียนเป็ นสมการจะได้
v v
a = 2t 1
เมื่อ a = อัตราเร่ ง ( เมตร/วินาที2 )
v1 = อัตราเร็ วตอนแรก ( เมตร/วินาที )
v2 = อัตราเร็ วตอนหลัง ( เมตร/วินาที )
t = เวลาที่ใช้ในช่วงเปลี่ยนอัตราเร็ ว ( วินาที )
ความเร่ ง คืออัตราส่ วนของความเร็ วที่เปลี่ ยนไปต่อเวลาที่ใช้ในช่ วงเปลี่ ยนความเร็ วนั้น
หน่วยเป็ น เมตร/วินาที2 เป็ นปริ มาณเวกเตอร์ เขียนเป็ นสมการจะได้
v v
a = 2t 1
เมื่อ a = ความเร่ ง ( เมตร/วินาที2 )
v 1 = ความเร็ วตอนแรก ( เมตร/วินาที )
v 2 = ความเร็ วตอนหลัง ( เมตร/วินาที )
t = เวลาที่ใช้ในช่วงเปลี่ยนอัตราเร็ ว ( วินาที )
ควรทราบ ถ้า a เป็ นบวก เรี ยกความเร่ ง จะทาให้ความเร็ ว ( v ) มีค่าเพิ่มมากขึ้น
ถ้า a เป็ นลบ เรี ยกความหน่วง จะทาให้ความเร็ ว ( v ) มีค่าลดลง
ถ้า a = 0 จะทาให้ความเร็ ว ( v ) มีค่าคงที่
13. รถคันหนึ่งวิง่ ด้วยความเร็ ว 10 เมตร/วินาที จนกระทัง่ มีความเร็ ว 15 เมตร/วินาที ใน
เวลา 1.5 วินาที ในแนวเส้นตรง จงหาความเร่ งเฉลี่ยของรถในหน่วยเมตร/วินาที2

7
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
14. ขับจักรยานด้วยอัตราเร็ วดังนี้
อัตราเร็ว (m/s ) 10 8 6 4 2 0
เวลา ( s ) 0 1 2 3 4 5
จงหาอัตราเร่ งในหน่วยเมตร/วินาที2
1. 2 2. 4 3. –2 4. –4

15. ลิฟต์กาลังเคลื่อนที่ข้ ึนด้วยความเร็ วที่ลดลงอย่างสม่าเสมอ ความเร่ งจะมีค่าเป็ นอย่างไร


1. มีค่าเป็ นบวก 2. มีค่าเป็ นลบ 3. มีค่าเป็ นศูนย์ 4. ไม่มีคาตอบที่ถูก

16. เมื่อลากแผ่นกระดาษผ่านเครื่ องเคาะสัญญาณเวลาชนิ ดเคาะ 50 ครั้ งต่อวินาที ปรากฏจุด


บนแถบกระดาษดังรู ป จงหาอัตราเร็ วเฉลี่ยระหว่าง A ถึง B ในหน่วยเมตรต่อวินาที
B
.. . . A . . . . .
8 ซม.

8
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
2.2 สมการสาหรับคานวณหาปริมาณต่ างๆ ของการเคลือ่ นที่ในแนวเส้ นตรงด้ วยความเร่ งคงตัว
สาหรับการคานวณเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงด้วยความเร่ งคงที่น้ นั เราอาจใช้
สมการต่อไปนี้ทาการคานวณ
ถ้าความเร่ งไม่เท่ากับศูนย์ ( a  0 ) ความเร็ วมีการเปลี่ยนแปลง ใช้สมการ
 v = u+at  s = u 2 v  t
 s = u t + 12 a t2  s = v t – 12 a t2
 v2 = u2 + 2 a s
เมื่อ u = ความเร็ วต้น (m/s) , v = ความเร็ วปลาย (m/s)
t = เวลา (s) , a = ความเร่ ง (m/s2) , s = การกระจัด (m)
ถ้าความเร่ งเท่ากับศูนย์ ( a = 0 ) ( ความเร็ วคงที่ ) ใช้สมการ
s = Vt
เมื่อ s = การกระจัด (m) , t = เวลา (s) , V = ความเร็ วซึ่งคงที่ ( m/s )
ตัวอย่าง รถคันหนึ่งเคลื่อนที่ไปด้วยความเร็ ว 2 เมตร/วินาที แล้วเร่ งเครื่ องด้วยความเร่ ง 2
เมตร/วินาที2 ภายในเวลา 20 วินาที จะมีความเร็ วสุ ดท้ายเป็ นกี่เมตรต่อวินาที
วิธีทา ขั้นแรก วิเคราะห์ตวั แปรต่างๆ ที่โจทย์บอก
จะได้วา่ u = 2 m/s , a = 2 m/s2 , t = 20 วินาที , v = ?
ขั้น 2 เลือกสู ตรที่มีตวั แปรที่วเิ คราะห์ไว้ครบทุกตัว แล้วนามาแทนค่า
ข้อนี้ใช้สูตร v = u + a t
v = 2 + (2)(20)
v = 42 เมตร/วินาที
นัน่ คือความเร็ วสุ ดท้ายมีค่าเท่ากับ 42 เมตร/วินาที

ตัวอย่ าง นักเรี ยนคนหนึ่ งขับ รถมอเตอร์ ไซด์ด้วยความเร็ ว 10 เมตร/วินาที ต่อมาเบรกทาให้


ความเร็ วลดลงเหลือ 2 เมตร/วินาที ในเวลา 4 วินาที จงหาระยะทางในช่วงที่เบรกในหน่วย
เป็ นเมตร
1. 10 2. 24 3. 30 4. 40
9
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
วิธีทา ขั้นแรก วิเคราะห์ตวั แปรต่างๆ ที่โจทย์บอก
จะได้วา่ u = 10 m/s , v = 2 m/s , t = 4 วินาที , s = ?
ขั้น 2 เลือกสู ตรที่มีตวั แปรที่วเิ คราะห์ไว้ครบทุกตัว แล้วนามาแทนค่า
ข้อนี้ใช้สูตร s =  u 2 v  t =  10 2 2  4 = 24 เมตร
นัน่ คือระยะทางช่วงที่เบรกมีค่าเท่ากับ 24 เมตร
17. รถคันหนึ่งเคลื่อนที่ไปด้วยความเร็ ว 10 เมตร/วินาที แล้วเร่ งเครื่ องด้วยความเร่ ง 5 เมตร/-
วินาที2 ภายในเวลา 20 วินาที จะมีความเร็ วสุ ดท้ายเป็ นกี่ เมตรต่อวินาที

18. รถคันหนึ่งเคลื่อนที่ไปด้วยความเร็ ว 5 เมตร/วินาที แล้วเร่ งเครื่ องด้วยความเร่ ง 8 เมตร/-


วินาที2 ภายในเวลา 10 วินาที จะมีความเร็ วสุ ดท้ายเป็ นกี่เมตรต่อวินาที

19. น้องบีขบั รถด้วยความเร็ ว 25 เมตร/วินาที เห็นเด็กวิง่ ข้ามถนนจึงเหยียบเบรกทาให้ความเร็ ว


ลดลงเหลือ 5 เมตร/วินาที ในเวลา 2 วินาที จงหาระยะทางในช่วงที่เบรกในหน่วยเป็ นเมตร
1. 10 2. 20 3. 30 4. 40

10
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
20. ถ้าเครื่ องบินต้องใช้เวลาในการเร่ งเครื่ อง 20 วินาที จากหยุดนิ่ง และใช้ระยะทาง 400 เมตร
ก่อนที่จะขึ้นจากทางวิง่ ได้ จงหาอัตราเร็ วของเครื่ องบินขณะที่ข้ึนจากทางวิง่ เท่ากับกี่เมตรต่อ
วินาที

21. รถคันหนึ่งเคลื่อนที่จากหยุดนิ่ง ด้วยความเร่ ง 5 เมตร/วินาที2 ภายในเวลา 2 วินาที จะ


เคลื่อนที่ได้ระยะทางกี่เมตร

22. รถยนต์คนั หนึ่งออกวิง่ จากจุดหยุดนิ่งไปตามถนนตรงด้วยขนาดความเร่ งคงตัว และวิง่ ได้


ไกล 75 เมตร ภายในเวลา 5 วินาที ขนาดของความเร่ งของรถยนต์มีค่ากี่เมตรต่อวินาที2

11
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
23. วัตถุกอ้ นหนึ่ งเคลื่อนไปข้างหน้าด้วยความเร่ ง 10 เมตร/วินาที2 ในเวลา 2 วินาทีต่อมา วัตถุ
เคลื่อนที่ได้ระยะทาง 4 เมตร จะมีความเร็ วปลายเท่าใด
1. 8 m/s 2. 12 m/s 3. 16 m/s 4. 18 m/s

24. รถคันหนึ่งเคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ วต้น 36 กิโลเมตร/ชัว่ โมง ต่อมาเร่ งเครื่ องด้วยความเร่ ง 3


เมตร/วินาที2 จงหาว่าภายในระยะทาง 50 เมตร รถคันนี้ จะมีความเร็ วปลายกี่เมตร/วินาที

25. “ความไว” ของการตอบสนองคนขับรถยนต์คนั หนึ่งเท่ากับ 1/5 วินาที ซึ่งหมายความว่า


ถ้าคนขับรถยนต์คน หนึ่งเห็นสิ่ งของใดอยูข่ า้ งหน้า ช่วงเวลาที่ส้ ันที่สุดที่สมองของเขาจะสัง่
ให้กระทาการอันใดอันหนึ่งตอบสนอง ต่อสิ่ งที่สังเกตเห็น คือ 1/5 วินาที ถ้าขณะที่เขาขับ
รถยนต์ดว้ ยความเร็ วคงตัว 25 เมตรต่อวินาที จงหาว่าจากจุดเวลาที่คนขับเห็นสิ่ งกีดขวางถึง
จุดเริ่ มเหยียบห้ามล้อ รถยนต์ของเขาแล่นได้ระยะทางอย่างน้อยที่สุดกี่เมตร

12
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
26. ชายผูห้ นึ่ งขับรถยนต์เข้าหาสัญญาณไฟจราจรที่สี่แยกแห่ งหนึ่งขณะที่รถยนต์มีความเร็ ว 30
เมตร/วินาที สัญญาณไฟเปลี่ยนจากสี เขียวเป็ นสี เหลือง หากชายผูน้ ้ ันใช้เวลา 1.0 วินาที
ก่อนจะเหยียบเบรกและหากอัตราหน่วงสู งสุ ดของเบรกเป็ น 2 เมตร/วินาที 2 จงหาระยะ
น้อยที่สุดที่รถยนต์อยูห่ ่างจากสัญญาณไฟซึ่ งรถจะหยุดได้ทนั พอดี
1. 30 เมตร 2. 225 เมตร 3. 195 เมตร 4. 255 เมตร

27(แนว En) รถยนต์คนั หนึ่ งวิง่ ด้วยความเร็ วคงที่ 5 เมตรต่อวินาที ขณะที่อยูห่ ่ างสิ่ งกี ดขวาง
เป็ นระยะทาง 30 เมตร คนขับตัดสิ นใจห้ามล้อรถ โดยเสี ยเวลา 1 วินาที ก่อนที่ห้ามล้อ
จะทางาน เมื่อห้ามล้อทางานแล้วรถจะต้องมีความหน่วงเท่าใดจึงจะทาให้รถหยุดพอดีเมื่อ
ถึงสิ่ งกีดขวางนั้น
1. 0.5 m/s2 2. 1.0 m/s2 3. 2.0 m/s2 4. 3.0 m/s2

เกีย่ วกับการเคลือ่ นที่เป็ นเส้ นตรงในแนวดิ่ง


ขณะวัตถุเคลื่อนที่ในแนวดิ่งวัตถุจะถูกแรงดึง
ดูดของโลกดูดเอาไว้ ทาให้เกิดความเร่ งเนื่องจากแรง
โน้มถ่วงในทิศพุง่ ลงสู่ พ้ืนโลก และมีขนาดประมาณ
9.8 เมตร/วินาที2 ความเร่ งนี้นิยมใช้สัญลักษณ์แทน
ด้วย g
13
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
28(มช 49) นักเรี ยนโยนก้อนหิ นขึ้นไปในแนวดิ่งถึงจุดสู งสุ ด 12 เมตร ก้อนหิ นหยุดนิ่ งก่อนตก
ลงมา ณ จุดสู งสุ ดก้อนหิ นมีความเร่ งกี่เมตร/วินาที2
1. 0 2. 9.8 3. 12 4. 19.6

29(แนว มช) วัตถุ A และ B มีมวลเท่ากัน ตกจากที่ สูง 0.5 และ 1.0 เมตร ตามลาดับ ใน
ขณะที่เหรี ยญตกเกือบถึงพื้น ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
1. วัตถุ B มีความเร่ งมากกว่าวัตถุ A
2. วัตถุ B มีความเร่ งน้อยกว่าวัตถุ A
3. วัตถุ B มีความเร่ งเท่ากับวัตถุ A
4. มีขอ้ ที่ไม่ถูกมากกว่า 1 ข้อ

การคานวณเกี่ยวกับการเคลือ่ นทีเ่ ป็ นเส้ นตรงในแนวดิ่งบนผิวโลก ด้ วยความเร็วต้ นในทิศลง


การเคลื่อนที่แบบเส้นตรงในแนวดิ่งบนผิวโลก ด้วยความเร็ วต้นในทิศลง การคานวณ
ยังคงใช้สมการเดิมทั้งหมดได้ แต่มีสิ่งที่ตอ้ งรู ้เพิ่มเติมคือ
1) ให้ใช้ค่าความเร่ ง (a) เป็ น +9.8 เมตร/วินาที2 เพราะความ u
เร่ งนี้มีทิศลงเหมือนกับความเร็ วต้น (u) ของการเคลื่อนที่ a = +9.8 m/s2
2) ความเร็ วปลาย (v) และการกระจัด (s) จะมีค่าเป็ นบวก
เสมอ เพราะมีทิศเหมือนความเร็ วต้น (u) คือมีทิศลงเสมอ
14
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
30. ขว้างลูกบอลลงมาในแนวดิ่งด้วยความเร็ ว 10 เมตร/วินาที ใช้เวลา 3 วินาที จึงจะถึงพื้น
ถามว่าความเร็ วของลูกบอลขณะกระทบพื้นมีค่ากี่เมตร/วินาที
1. 15 2. 25 3. 30 4. 40

31. ปล่อยวัตถุให้ตกลงในแนวดิ่งจากที่สูง 20 เมตร จงหาความเร็ วขณะกระทบพื้น


1. 10 m/s 2. 20 m/s 3. 30 m/s 4. 40 m/s

การคานวณเกี่ยวกับการเคลือ่ นทีเ่ ป็ นเส้ นตรงในแนวดิ่งบนผิวโลก ด้ วยความเร็วต้ นในทิศขึน้


การเคลื่ อนที่แบบเส้นตรงในแนวดิ่ งบนผิวโลก ด้วยความเร็ วต้นในทิ ศขึ้ น การคานวณ
ยังคงใช้สมการเดิมทั้งหมดได้ แต่มีสิ่งที่ตอ้ งรู ้เพิ่มเติมคือ v=0
2
1) ให้ใช้ค่าความเร่ งเป็ น –9.8 เมตร/วินาที เพราะความ
a = –9.8 m/s2
เร่ งนี้มีทิศลงตรงกันข้ามกับความเร็ วต้น ( u ) ของการเคลื่อนที่
u
2) ความเร็ วปลาย (v) และการกระจัด (s)
ถ้ามีค่าเป็ นบวก แสดงว่ามีทิศเหมือนความเร็ วต้น (u) คือมีทิศขึ้น
ถ้ามีค่าเป็ นลบ แสดงว่ามีทิศตรงกันข้ามกับความเร็ วต้น (u) คือมีทิศลง
15
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
32. โยนวัตถุข้ ึนจากพื้นด้วยความเร็ วต้น 30 เมตร/วินาที ผ่านไป 2 วินาที วัตถุจะอยูส่ ู งจาก
พื้นกี่เมตร

33. โยนวัตถุ กอ้ นหนึ่ งขึ้นจากพื้นด้วยความเร็ วต้น 30 เมตร/วินาที ถามว่าขณะที่วตั ถุ กาลัง


ลอยขึ้นด้วยความเร็ ว 20 เมตร/วินาที วัตถุจะอยูส่ ู งจากพื้นกี่เมตร

34. โยนวัตถุข้ ึนจากพื้นด้วยความเร็ วต้น 30 เมตร/วินาที วัตถุจะขึ้นไปถึงจุดสู งสุ ดภายในเวลา


กี่วนิ าที และจุดสู งสุ ดนั้นอยูส่ ู งจากพื้นกี่เมตร
1. 3 วินาที , 45 เมตร 2. 3 วินาที , 90 เมตร
3. 6 วินาที , 45 เมตร 4. 6 วินาที , 90 เมตร

16
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
35. ขว้างก้อนหิ นขึ้นไปในแนวดิ่ งด้วยความเร็ ว 40 เมตร/วินาที กิ นเวลานานเท่าไรก้อนหิ น
จึงอยูส่ ู งจากพื้นดิน 60 เมตร
1. 2 และ 4 วินาที 2. 3 และ 6 วินาที
3. 1 และ 3 วินาที 4. 2 และ 6 วินาที

36. โยนวัตถุ จากพื้นด้วยความเร็ วต้น 20 เมตร/วินาที จงหาความเร็ วเมื่อเวลาผ่านไป 1 และ


5 วินาที ตามลาดับ
1. 10 m/s ทิศขึ้น , 30 m/s ทิศลง 2. 30 m/s ทิศขึ้น , 30 m/s ทิศลง
3. 30 m/s ทิศขึ้น , 60 m/s ทิศลง 4. 60 m/s ทิศขึ้น , 60 m/s ทิศลง

37(แนว En) เด็กคนหนึ่ งโยนพวงกุญแจขึ้ นไปในแนวดิ่ งเพื่อให้เพื่อนที่อยูบ่ นระเบียงสู งขึ้ นไป


และพบว่าเพื่ อนรั บ พวงกุญ แจได้ในเวลา 3 วินาที ต่อมา ถ้าจุ ดที่ รับ สู งกว่าจุ ดที่ โยน 6
เมตร พวงกุญแจถึงมือผูร้ ับด้วยความเร็ วเท่าใด
1. 13 m/s ในทิศขึ้น 2. 13 m/s ในทิศลง
3. 9 m/s ในทิศขึ้น 4. 9 m/s ในทิศลง

17
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
38. โยนก้อนหิ นขึ้นไปในแนวดิ่งจากพื้นดิน ด้วยความเร็ วต้น 20 เมตรต่อวินาที หลังจากที่
โยนไปแล้วเป็ นเวลากี่วนิ าที ก้อนหิ นจึงตกลงมาด้วยความเร็ ว 10 เมตรต่อวินาที

39. โยนวัตถุ จากพื้นด้วยความเร็ วต้น 20 เมตร/วินาที จงหาการกระจัด เมื่ อเวลาผ่านไป 1


และ 5 วินาทีตามลาดับ
1. สู งกว่าจุดเริ่ มต้น 15 เมตร และสู งกว่าจุดเริ่ มต้น 25 เมตร
2. สู งกว่าจุดเริ่ มต้น 15 เมตร และต่ากว่าจุดเริ่ มต้น 25 เมตร
3. ต่ากว่าจุดเริ่ มต้น 15 เมตร และต่ากว่าจุดเริ่ มต้น 25 เมตร
4. ต่ากว่าจุดเริ่ มต้น 15 เมตร และสู งกว่าจุดเริ่ มต้น 25 เมตร

40(แนว มช) เด็กคนหนึ่ งยืนอยูบ่ นหน้าผาแห่ งหนึ่ งเขาขว้างก้อนหิ นขึ้นไปในอากาศในแนวดิ่ ง


ด้วยความเร็ ว 4 เมตร/วินาที หลังจากก้อนหิ นหลุ ดจากมื อเขา 3 วินาที ก็ตกถึ งพื้ นดิ น
ความสู งของหน้าผาแห่งนี้เป็ นเท่าไร
1. 12.0 เมตร 2. 25.0 เมตร 3. 33.0 เมตร 4. 45.0 เมตร

18
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
41(แนว มช) เด็กคนหนึ่งโยนก้อนหิ นขึ้นไปในแนวดิ่งด้วยอัตราเร็ วต้น 10 เมตร/วินาที ก้อนหิ น
ตกถึงพื้นซึ่ งอยูต่ ่ากว่าตาแหน่งมือที่กาลังโยนเป็ นระยะทาง 15 เมตร จงหาว่าก้อนหิ น
เคลื่อนที่อยูใ่ นอากาศเป็ นเวลานานกี่วนิ าที

42. บอลลูนลูกหนึ่งกาลังลอยขึ้นในแนวดิ่งซึ่ งขณะนั้นมีความเร็ ว 20 เมตร/วินาที คนในบอล


ลูนได้ทิ้งก้อนหิ นก้อนหนึ่งลงมา ปรากฏว่าก้อนหิ นกระทบพื้นดินในเวลา 12 วินาที อยาก
ทราบขณะทิง้ ก้อนหิ นบอลลูนอยูส่ ู งจากพื้นดินกี่เมตร

43(แนว En) รถไฟ 2 ขบวน วิ่งเข้าหากันโดยวิ่งในรางเดียวกัน รถขบวนที่ 1 วิ่งด้วยความเร็ ว


10 เมตร/วินาที ส่ วนรถขบวนที่ 2 วิง่ ด้วยความเร็ ว 20 เมตร/วินาที ขณะที่อยูห่ ่างกัน
290 เมตร รถไฟทั้ง 2 ขบวน ต่างเบรกรถและหยุดได้พอดีพร้อมกันโดยห่างกัน 65 เมตร
เวลาที่รถทั้งสองใช้ในการเบรคเป็ นเท่าใด
1. 10 วินาที 2. 15 วินาที 3. 20 วินาที 4. 25 วินาที

19
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
44(แนว En) นาย ก. ยืนอยู่บนดาดฟ้ าตึ กซึ่ งสู งจากพื้ นดิ น 20 เมตร ปล่ อยก้อนหิ นลงไปใน
แนวดิ่ ง ในขณะเดี ยวกันนาย ข. ซึ่ งอยู่ที่พ้ืนดิ นโยนก้อนหิ นขึ้ นไปตรงๆ ด้วยความเร็ ว 20
เมตร/วินาที ก้อนหิ นทั้งสองจะพบกันที่สูงจากพื้นดินกี่เมตร

45. วัตถุชิ้นหนึ่งถูกปล่อยให้ตกลงมาในแนวดิ่ง จงหาระยะทางระหว่างวินาทีที่ 4 ถึงวินาทีที่ 8


1. 320 m 2. 280 m 3. 240 m 4. 200 m

เพิม่ เติม ระยะทางในวินาทีที่ t หมายถึงระยะทางที่เคลื่อนที่ได้ในช่วงเวลาวินาทีที่ t – 1 ถึง


วินาทีที่ t เช่น ระยะทางที่เคลื่อนที่ได้ในวินาทีที่ 5 หมายถึงระยะทางที่เคลื่อนที่ได้ในช่วงเวลา
วินาทีที่ 4 ถึงวินาทีที่ 5 เป็ นต้น ระยะทางในวินาทีที่ t จะสามารถหาค่าได้จากสู ตร
st = u + 12 a (2 t – 1)
เมื่อ st คือระยะทางในวินาทีที่ t ( เมตร ) u คือความเร็ วต้น ( เมตร/วินาที )
a คือความเร่ ง ( เมตร/วินาที2 ) t คือเวลา ( วินาที )
20
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
46. วัตถุชิ้นหนึ่งถูกปล่อยให้ตกลงมาในแนวดิ่งจงหาระยะทางที่เคลื่อนที่ได้ในวินาทีที่ 5
1. 30 เมตร 2. 35 เมตร 3. 40 เมตร 4. 45 เมตร

47(แนว มช) วัตถุ ถูกโยนขึ้ นไปในแนวดิ่งด้วยความเร็ ว 80 เมตรต่อวินาที ระยะทางที่วตั ถุ


เคลื่อนที่ได้ในช่วงวินาทีที่ 1 กับระยะทางที่วตั ถุเคลื่อนที่ได้ในช่วงวินาทีที่ 7 มีค่าแตกต่าง
กันอยูก่ ี่เมตร

48. วัตถุหนึ่งเริ่ มเคลื่อนที่จากจุดหยุดนิ่ง ด้วยความเร่ งคงที่ปรากฏว่าในวินาทีที่ 15 วัตถุเคลื่อนที่


ได้ระยะทาง 58 เมตร จงหาความเร่ งของวัตถุ
1. 1 m/s2 2. 2 m/s2 3. 3 m/s2 4. 4 m/s2

21
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
2.3 กราฟของการเคลือ่ นทีใ่ นแนวเส้ นตรงด้ วยความเร่ งคงที่
2.3.1 กราฟความเร่ ง ความเร็ว และการกระจัด ทีส่ ั มพันธ์ กนั
กราฟชุ ด ที่ 1 กราฟชุ ด นี้ จะแสดงถึ ง การเคลื่ อ นที่ ซ่ ึ งความเร่ ง ( a ) มี ค่ า เป็ น 0 คงที่
ความเร็ ว ( v ) ของการเคลื่อนที่จะคงที่ตลอดเวลา ส่ วนการกระจัด ( s ) จะเพิ่มขึ้นแปรผันตรง
ตามเวลา ( t ) กราฟของการกระจัดเทียบกับเวลาจะเป็ นเส้นตรงสู งขึ้นตามเวลา

ความเร่ ง = 0 ความเร็ วคงที่ การกระจัดเพิ่มขึ้นเป็ นกราฟเส้นตรง


กราฟชุ ด ที่ 2 กราฟชุ ด นี้ จะแสดงถึ ง การเคลื่ อ นที่ ซ่ ึ งความเร่ ง ( a ) มี ค่ า เป็ นบวกคงที่
ความเร็ ว ( v ) ของการเคลื่อนที่จะเพิ่มขึ้นแปรผันตรงกับเวลา กราฟของความเร็ วเทียบกับเวลา
จะเป็ นเส้นตรงสู งขึ้นตามเวลา ส่ วนการกระจัดจะเพิ่มขึ้นเร็ วกว่าการเคลื่อนที่แบบความเร็ วคงที่
กราฟของการกระจัดเทียบกับเวลาจะเป็ นเส้นโค้งพาราโบลาหงาย

ความเร่ งเป็ นบวกคงที่ ความเร็ วเพิ่มเป็ นเส้นตรง การกระจัดเพิ่มขึ้นเป็ นเส้นโค้งพาราโบลา


กราฟชุ ดที่ 3 กราฟชุดนี้ จะแสดงถึงการเคลื่อนที่ซ่ ึ งความเร่ ง ( a ) มีค่าเป็ นลบคงที่
ความเร็ ว ( v ) ของการเคลื่อนที่จะลดลงแปรผกผันกับเวลา กราฟของความเร็ วเทียบกับเวลาจะ
เป็ นเส้นตรงลดลงตามเวลา ส่ วนการกระจัดจะเพิ่มขึ้นน้อยกว่าการเคลื่อนที่แบบความเร็ วคงที่
กราฟของการกระจัดเทียบกับเวลาจะเป็ นเส้นโค้งพาราโบลาตะแคงเปิ ดขวา

ความเร่ งเป็ นลบคงที่ ความเร็ วลดลงเป็ นเส้นตรง การกระจัดเพิ่มเป็ นเส้นโค้งพาราโบลา

22
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
กราฟน่ าสนใจ พิจารณากราฟการกระจัดเทียบกับ
เวลาด้านขวา จะพบว่าการกระจัดมีค่าคงที่คือ 5 เมตร
แสดงว่าวัตถุอยูน่ ิ่งๆ กับที่ ที่ระยะห่างจากจุดเริ่ มต้น 5
เมตร ดังนั้น ความเร็ ว = 0 และ ความเร่ ง = 0
49. ตามรู ปเป็ นกราฟระหว่างการกระจัด – เวลา ช่วงเวลา การขจัด
ข้อใดที่ความเร็ วเป็ นศูนย์
1. 0 t1 , t2 t4 2. t2 , t3 t4
3. 0 t1 , t3 t4 4. 0 t1 , t2 t3
0 t1 t2 t3 t4 เวลา

50. พิจารณาการเคลื่อนที่ของจักรยานคันหนึ่งในแนวเส้นตรง กราฟระหว่างการกระจัด – เวลา


ในข้อใดต่อไปนี้ที่แสดงว่าจักรยานมีความเร็ วคงที่
1. การกระจัด 2. การกระจัด

เวลา 0 เวลา
0
3. การกระจัด 4. การกระจัด

เวลา 0 เวลา
0

23
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
51(แนว A–net) กราฟของอัตราเร็ ว ( v ) กับเวลา ( t ) ของวัตถุ ที่ข้ ึ นอย่างอิ สระในสุ ญญากาศ
ภายใต้แรงโน้มถ่วง ควรเป็ นดังรู ปใด
1. v 2. v

t t
3. v 4. v

t t

52. วัตถุกอ้ นหนึ่งเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงโดย มีกราฟความเร็ ว–


เวลา ดังรู ปดังนั้นกราฟในข้อใดต่อไปนี้ แทนความสัมพันธ์ ระหว่างความเร่ งกับเวลา
ของการเคลื่อนที่น้ ี ได้ถูก
1. ความเร่ ง 2. ความเร่ ง

0 เวลา 0 เวลา

3. ความเร่ ง 4. ความเร่ ง

0 เวลา 0 เวลา

24
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
2.3.2 พืน้ ทีใ่ ต้ กราฟ และ ความชันเส้ นกราฟของกราฟความเร่ ง ความเร็ว และการกระจัด
สาหรับกราฟการกระจัด ( s ) และเวลา ( t ) s
ความชันเส้นกราฟจะมีค่าเท่ากับ ความเร็ ว (v ) ของการเคลื่อนที่
พื้นที่ใต้กราฟ ( พื้นที่ระหว่างเส้นกราฟถึงแกนนอน ) จะไม่เท่า
t
กับปริ มาณใดๆ ทางฟิ สิ กส์ v
สาหรับกราฟการความเร็ว ( v ) และเวลา ( t )
ความชันเส้นกราฟ จะมีค่าเท่ากับ ความเร่ ง (a ) ของการเคลื่อนที่
t
พื้นที่ใต้กราฟ จะมีค่าเท่ากับการกระจัด ( s ) ที่เคลื่อนที่ได้ a
สาหรับกราฟการความเร่ ง ( a ) และเวลา ( t )
ความชันเส้นกราฟ จะไม่เท่ากับปริ มาณใดๆ ทางฟิ สิ กส์ t
พื้นที่ใต้กราฟ จะมีค่าเท่ากับความเร็ วปลาย ลบ ความเร็ วต้น ( v – u )
ตัวอย่าง จากกราฟการเคลื่อนที่ดงั รู ป จงหาการ ความเร็ ว (m/s)
กระจัดของการเคลื่อนที่
2
1. 5 เมตร 2. 10 เมตร
3. 15 เมตร 4. 20 เมตร เวลา (s)
4 5
วิธีทา จาก การกระจัด = พื้นที่ใต้กราฟความเร็ ว-เวลา
การกระจัด = 12 (ฐาน)(สู ง)
การกระจัด = 12 (5)(2)
การกระจัด = 5 เมตร
ตัวอย่าง ข้อที่ผา่ นมา จงหาความเร่ งของการเคลื่อนที่ ณ.วินาทีที่ 4.5
วิธีทา เนื่องจากวินาทีที่ 4.5 อยูใ่ นเส้นกราฟช่วงหลัง
ดังนั้น a = ความชันของกราฟ v , t เส้นหลัง
y2 - y1 ความเร็ ว (m/s)
a = x -x
2 1 2 (4, 2)

a = 05 -- 42
a = – 12 (5, 0)
4 5 เวลา (s)
a = – 2 เมตร/วินาที2
นัน่ คือความเร่ ง ณ.วินาทีที่ 4.5 มีค่า –2 เมตร/วินาที2
25
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
53. รถยนต์คนั หนึ่งเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงได้กราฟ
ระหว่าง ความเร็ ว – เวลา ดังรู ป ถามว่าเมื่อสิ้ น ความเร็ ว (m/s)
30
วินาทีที่ 6 การกระจัดจะเป็ นกี่เมตร 20
10
1. 1190 2. 80 เวลา (s)
1 2 3 45 6
3. 180 4. 90

54. จากข้อที่ผา่ นมา ค่าความเร็ วเฉลี่ยในช่วงเวลา 0 ถึง 6 วินาที เป็ นกี่เมตรต่อวินาที


1. 20 2. 15 3. 10 4. 5

55(En 24) วัตถุอนั หนึ่งเคลื่อนที่โดยมีความเร็ ว


เปลี่ยนแปลงกับเวลาเป็ น sine curve (ดังรู ป)
1 A B
ซึ่ งมีค่าแอมปลิจูดเป็ น 0.3 เมตร/วินาที จง
เวลา (s)
หาระยะที่วตั ถุเคลื่อนไปได้ระหว่าง A กับ B 1 2 3 4
1. 1 เมตร 2. 2 เมตร 3. 3 เมตร 4. 4 เมตร

26
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
56. อนุภาคหนึ่งเคลื่อนที่ได้การกระจัด 150 เมตร โดยมีความเร็ วสู งสุ ด 10 เมตร/วินาที และ
ความเร็ ว v กับเวลา t มีความสัมพันธ์ดงั กราฟ V (m/s)
จงหาเวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่
1. 10 วินาที 2. 20 วินาที 10
3. 30 วินาที 4. 40 วินาที 0 t
t (s)

57. จากกราฟการเคลื่อนที่ดงั รู ป จงหาความเร่ ง ความเร็ ว (m/s)


ณ. วินาทีที่ 9 4
1. –1 m/s2 2. –2 m/s2
3. 1 m/s2 4. 2 m/s2
8 10 เวลา (s)

27
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
58(แนว มช) รถคันหนึ่งวิง่ ออกจากจุดสตาร์ ทไปตาม V (m/s)
ลู่แข่งด้วยอัตราเร็ วดังแสดงในกราฟ จงหาอัตรา
เร่ งของรถขณะวิง่ ออกมาได้ 4 วินาที ในหน่วย 45
เมตรต่อวินาที2 30
t (s)
5 10 14

59(En 31) วัตถุอนั หนึ่งเคลื่อนที่จากนิ่งด้วยความเร่ ง a


a (m/s2)
ที่เวลา t ดังได้แสดงในรู ป จงหาความเร็ วของวัตถุ
2
ที่เวลา 5 วินาที 0 t (s)
1. 2 m/s 2. 1 m/s 1 2 3 4 5
–1
3. 0 m/s 4. –1 m/s

28
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
60. จากกราฟของการเคลื่อนที่ต่อไปนี้ จงหาระยะทาง v (m/s )
และการกระจัดของการเคลื่อนที่ตามลาดับ 10
1. 52 m , 28 m 2. 28 m , 52 m
8 10 t(s)
3. 28 m , 0 m 4. 0 m , 28 m
–12

61. จากข้อที่ผา่ นมา จงหาอัตราเร็ ว และความเร็ วเฉลี่ย ตามลาดับ


1. 5.2 m/s , 2.8 m/s 2. 2.8 m/s , 5.2 m/s
3. 2.8 m/s , 0 m/s 4. 0 m/s , 2.8 m/s

62(มช 29) ในการวิง่ มาราธอน 5000 เมตร ความเร็ ว (เมตร/วินาที)


ถ้านาย ก. วิง่ ด้วยความเร็ วดังแสดงในกราฟ
ด้านข้าง เขาจะถึงเส้นชัยในเวลากี่นาที 30

1. 2.5 2. 2.8 15

3. 3.3 4. 3.8 60 120 เวลา (วินาที)

29
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
2.4 ความเร็วสั มพัทธ์
ความเร็ วสัมพัทธ์ คือความเร็ วของวัตถุเมื่อเปรี ยบเทียบกับจุดอ้างอิงหนึ่งๆ
ตัวอย่างเช่ น สมมุตินาย A วิ่งไปข้างหน้าด้วยความเร็ ว 2 เมตร/วินาที ขณะเดี ยวกันนั้น
นาย B วิ่งอยูข่ า้ งหน้านาย A ไปในทิศเดียวกันด้วยความเร็ ว 5 เมตร/วินาที นาย A จะมองเห็น
นาย B เคลื่อนห่ างออกไปจากนาย A ด้วยความเร็ วเพียง 3 เมตร/วินาที เท่านั้น ความเร็ วที่นาย
A เห็ นนี้ เรี ยกความเร็ วสัมพัทธ์ของนาย B เทียบกับนาย A และในที่น้ ี ถือว่าตัวนาย A เป็ น
จุดอ้างอิง

วิธีการหาค่ าความเร็วสั มพัทธ์


กรณีที่ 1 หากความเร็ ววัตถุมีทิศเดียวกับความเร็ วจุดอ้างอิง
vสัมพัทธ์ของวัตถุ = vวัตถุ – vจุดอ้างอิง
กรณีที่ 2 หากความเร็ ววัตถุมีทิศสวนทางกับความเร็ วจุดอ้างอิง
vสัมพัทธ์ของวัตถุ = vวัตถุ + vจุดอ้างอิง
กรณีที่ 3 หากความเร็ ววัตถุทามุมกับความเร็ วจุดอ้างอิง vอ้างอิง
vวัตถุ
ขั้น 1 ให้กลับทิศทางของความเร็ วจุดอ้างอิง

ขั้น 2 เอาปลายเวกเตอร์ ความเร็ ววัตถุมาต่อ vสัมพัทธ์ของวัตถุ
–vอ้างอิง
กับจุดเริ่ มต้นเวกเตอร์ ความเร็ วจุดอ้างอิง เทียบกับจุดอ้างอิง
ขั้น 3 ใช้สูตร
vสัมพัทธ์ของวัตถุ = vวัตถุ2 + vจุดอ้างอิง2 – 2 vวัตถุ vจุดอ้างอิง cos
เมื่อ
คือ มุมระหว่างเวกเตอร์ vวัตถุ กับ –vจุดอ้างอิง

ตัวอย่าง วัตถุ A มีความเร็ ว 4 เมตร/วินาที วัตถุ B มีความเร็ ว 3 เมตร/วินาที เคลื่อนที่ใน


แนวเส้นตรง จงหาความเร็ วสัมพัทธ์ของวัตถุ A เทียบกับ B เมื่อ
1. วัตถุ A และ B เคลื่อนที่ไปทางทิศตะวันออกเหมือนกัน
2. วัตถุ A เคลื่อนไปทางทิศตะวันออก ส่ วน B เคลื่อนไปทางทิศตะวันตก
3. วัตถุ A เคลื่อนไปทางทิศตะวันออก ส่ วน B เคลื่อนไปทางทิศเหนือ
วิธีทา โจทย์ให้หา ความเร็ วสัมพัทธ์ของวัตถุ A เทียบกับ B
ดังนั้น Vวัตถุ คือ VA และ Vจุดอ้างอิง คือ VB

30
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
1) วัตถุเคลื่อนที่ไปทางเดียวกัน
จาก Vสัมพัทธ์ = Vวัตถุ – Vจุดอ้างอิง
จะได้ Vสัมพัทธ์ = VA – VB
Vสัมพัทธ์ = 4 – 3 VA = 4 m/s VB = 3 m/s
Vสั มพัทธ์ = 1 เมตร/วินาที
2) หาวัตถุเคลื่อนที่สวนทางกัน
จาก Vสัมพัทธ์ = Vวัตถุ + Vจุดอ้างอิง
จะได้ Vสัมพัทธ์ = VA + VB
Vสัมพัทธ์ = 4 + 3 VA = 4 m/s VB = 3 m/s
Vสั มพัทธ์ = 7 เมตร/วินาที
3) หากความเร็ ววัตถุทามุมต่อกัน VA = 4 m/s
ขั้น 1 ต้องกลับทิศความเร็ วจุดอ้างอิง คือ VB
Vสัมพัทธ์ VB = 3 m/s
ซึ่งเดิมมีทิศไปทางเหนือ ให้กลับลงทางใต้
ขั้น 2 นาจุดเริ่ ม VB ต่อกับปลาย VA ดังรู ป
ขั้น 3 ใช้สูตร Vสัมพัทธ์ = Vวัตถุ2 + Vจุดอ้างอิง2 – 2 Vวัตถุ Vจุดอ้างอิง cos
Vสัมพัทธ์ = VA2  VB2  2VA VB cos
= 4 2  32  2(4)(3)cos 90
= 16  9  2(4)(3)(0)
= 25
Vสัมพัทธ์ = 5 เมตร/วินาที
63. วัตถุ A มีความเร็ ว 8 เมตร/วินาที วัตถุ B มีความเร็ ว 6 เมตร/วินาที เคลื่อนที่ในแนวเส้น
ตรง จงหาความเร็ วสัมพัทธ์ของวัตถุ A เทียบกับ B เมื่อวัตถุ A และ B เคลื่อนที่ไปทาง
ทิศตะวันออกเหมือนกัน
1. 2 m/s 2. 10 m/s 3. 12 m/s 4. 14 m/s

31
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
64. วัตถุ A มีความเร็ ว 8 เมตร/วินาที วัตถุ B มีความเร็ ว 6 เมตร/วินาที เคลื่อนที่ในแนวเส้น
ตรง จงหาความเร็ วสัมพัทธ์ของวัตถุ A เทียบกับ B เมื่อวัตถุ A เคลื่อนไปทางทิศตะวันออก
ส่ วน B เคลื่อนไปทางทิศตะวันตก
1. 2 m/s 2. 10 m/s 3. 12 m/s 4. 14 m/s

65. วัตถุ A มีความเร็ ว 8 เมตร/วินาที วัตถุ B มีความเร็ ว 6 เมตร/วินาที เคลื่อนที่ในแนว


เส้นตรง จงหาความเร็ วสัมพัทธ์ของวัตถุ A เทียบกับ B เมื่อวัตถุ A เคลื่อนไปทางทิศ
ตะวันออก ส่ วน B เคลื่อนไปทางทิศเหนือ
1. 2 m/s 2. 10 m/s 3. 12 m/s 4. 14 m/s



32
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง

เฉลยบทที่ 2 การเคลื่ อ นที่ ใ นแนวเส้ น ตรง


1. ตอบข้ อ 2. 2. ตอบข้ อ 1. 3. ตอบข้ อ 3. 4. ตอบข้ อ 3.
5. ตอบข้ อ 2. 6. ตอบข้ อ 2. 7. ตอบข้ อ 3. 8. ตอบข้ อ 2.
9. ตอบข้ อ 1. 10. ตอบ 80 11. ตอบ 6 12. ตอบ 0.83
13. ตอบ 3.3 14. ตอบข้ อ 3. 15. ตอบข้ อ 2. 16. ตอบ 0.8
17. ตอบ 110 18. ตอบ 85 19. ตอบข้ อ 3. 20. ตอบ 40
21. ตอบ 10 22. ตอบ 6 23. ตอบข้ อ 2. 24. ตอบ 20
25. ตอบ 5 26. ตอบข้ อ 4. 27. ตอบข้ อ 1. 28. ตอบข้ อ 2.
29. ตอบข้ อ 4. 30. ตอบข้ อ 4. 31. ตอบข้ อ 2. 32. ตอบ 40
33. ตอบ 25 34. ตอบข้ อ 1. 35. ตอบข้ อ 4. 36. ตอบข้ อ 1.
37. ตอบข้ อ 2. 38. ตอบ 3 39. ตอบข้ อ 2. 40. ตอบข้ อ 3.
41. ตอบ 3 42. ตอบ 480 43. ตอบข้ อ 2. 44. ตอบ 15
45. ตอบข้ อ 3. 46. ตอบข้ อ 4. 47. ตอบ 60 48. ตอบข้ อ 4.
49. ตอบข้ อ 3. 50. ตอบข้ อ 2. 51. ตอบข้ อ 4. 52. ตอบข้ อ 4.
53. ตอบข้ อ 4. 54. ตอบข้ อ 2. 55. ตอบข้ อ 3. 56. ตอบข้ อ 3.
57. ตอบข้ อ 2. 58. ตอบ 9 59. ตอบข้ อ 2. 60. ตอบข้ อ 1.
61. ตอบข้ อ 1. 62. ตอบข้ อ 4. 63. ตอบข้ อ 1. 64. ตอบข้ อ 4.
65. ตอบข้ อ 2.


33
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
ตะลุ ย โจทย์ ท่ วั ไป
บทที่ 2 การเคลื่ อ นที่ ใ นแนวเส้ น ตรง
2.1 ปริมาณต่ างๆ ของการเคลือ่ นที่
2.1.1 ระยะทาง และการกระจัด
1. จงหาระยะทาง และ การกระจัด ของการเคลื่อนที่ตาม 3 ม.
แผนภาพต่อไปนี้วา่ มีขนาดเท่ากับ กี่เมตร ตามลาดับ 7 ม.
1. 10 , 4 2. 14 , 10 3. 4 , 10 4. 10 , 14
2. จงหาระยะทาง และ การกระจัด ของการเคลื่อนที่ตาม
C
แผนภาพต่อไปนี้วา่ มีขนาดเท่ากับกี่เมตร ตามลาดับ 3 เมตร
1. 7 , 5 2. 14 , 10
A 4 เมตร B
3. 5 , 7 4. 10 , 14
3. จงหาระยะทาง และ การกระจัด ของการเคลื่อนที่ตาม
แผนภาพต่อไปนี้วา่ มีขนาดเท่ากับกี่เมตร ตามลาดับ
1. 88 , 0 2. 28 , 0 R=14 ม.

3. 88 , 7 4. 0 , 28
4. สนามวงกลมหนึ่งมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 14 เมตร เด็กคนหนึ่งเดินไปตามขอบสนาม
เมื่อเดินไปจนครบรอบ จะได้ระยะทางและการกระจัดกี่เมตร ตามลาดับ
1. 0 , 44 2. 44 , 0 3. 4 , 10 4. 10 , 14
5. สนามวงกลมหนึ่งมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 14 เมตร เด็กคนหนึ่งเดินไปตามขอบสนาม
เมื่อเดินไปครึ่ งรอบ จะได้ระยะทางและการกระจัดกี่เมตร ตามลาดับ
1. 22 , 14 2. 14 , 11 3. 4 , 10 4. 10 , 14
6. หนูแดงวิง่ รอบสนามกีฬา ซึ่ งมีความยาวรอบสนาม 400 เมตร หนูแดงวิง่ ทั้งหมด 10 รอบ
จงหาระยะทางและการกระจัดที่ได้
1. 400 เมตร , 400 เมตร 2. 400 เมตร , 0
3. 4000 เมตร , 400 เมตร 4. 4000 เมตร , 0

34
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
7. เด็กคนหนึ่งเดินตามเส้นทางครึ่ งวงกลมดังรู ป ระยะทาง
และการกระจัดจาก A ไป B มีค่าเท่าไร ตามลาดับ 10 ม.
1. 10 , 10 เมตร 2. 30 , 15 เมตร A B 5 ม.
3. 47.1 , 10 เมตร 4. 47.1 , 15 เมตร
8. สนามวงกลมหนึ่งมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 14 เมตร เด็กคนหนึ่งเดินไปตามขอบสนาม
เมื่อเดินไปเป็ นระยะ 1 ใน 4 ของรอบ จะได้ระยะทางและการกระจัดกี่เมตร ตามลาดับ
1. 22 , 14 2. 11 , 9.9 3. 14 , 22 4. 9.9 , 11
9. เขาทรายออกวิง่ จากค่ายมวยไปทางตะวันออก 16 กิโลเมตร แล้วเดินต่อไปทางเหนือ 12
กิโลเมตร จงหาการกระจัดของเขาทราย จากค่ายมวยเป็ นกี่กิโลเมตร
1. 4 2. 20 3. 24 4. 28
   
10. กาหนด A , B , C และ D เป็ นเวกเตอร์ที่มีขนาดและทิศทางดังรู ป ข้อความใดถูกต้อง
     
1. A  B  C  D  0 C
   
2. A  B  C  D  
    D B
3. A  B  D  C
    
4. A  B  C  D A

2.1.2 อัตราเร็ว และความเร็ว

11. จงหาอัตราเร็ ว และ ความเร็ ว ในหน่วยเมตร/วินาทีของการเคลื่อน


ที่ตามแผนภาพ กาหนดเวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่ท้ งั หมด 2 วินาที
3m
1. 3.5 , 2.5 2. 2.5 , 3.5
3. 5.5 , 7.5 4. 7.5 , 5.5 4m

12. เรื อเร็ วลาหนึ่งแล่นไปทางทิศเหนื อเป็ นระยะทาง 30 กิโลเมตร ในเวลา 40 นาที หลังจาก
นั้น ก็แล่นไปทางทิศตะวันออกอีก 30 กิโลเมตร ใน 20 นาที อัตราเร็ วเฉลี่ยของเรื อลานี้ คือ
1. 30 2 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง 2. 45 5 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง
3. 60.0 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง 4. 67.5 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง

35
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
13. เรื อเร็ วลาหนึ่งแล่นไปทางทิศเหนื อเป็ นระยะทาง 30 กิโลเมตร ในเวลา 40 นาที หลังจาก
นั้นก็แล่นไปทางทิศตะวันออกอีก 30 กิโลเมตร ใน 20 นาที ความเร็ วของเรื อลานี้ คือ
1. 30 2 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง 2. 45 5 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง
3. 60.0 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง 4. 67.5 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง
14. รัตน์ใจซ้อมวิง่ รอบสนามกีฬาซึ่ งมีความยาวเส้นรอบวง 400 เมตร ครบรอบใช้เวลา 50
วินาที จงหาอัตราเร็ วเฉลี่ย และความเร็ วเฉลี่ยของรัตน์ใจ ในหน่วย เมตร/วินาที ตามลาดับ
1. 8 , 4 2. 8 , 0 3. 16 , 8 4. 16 , 0
15. ตามรู ป A กับ B ใกล้กนั ที่สุด 1000 เมตร ถ้าปั่ นจักรยานตามเส้นทางคดโค้งที่กาหนดให้
จะกินเวลา 100 วินาที ความเร็ วและอัตราเร็ วเป็ นเท่าไร
1. 5 เมตร/วินาที , 5 เมตร/วินาที
2. 10 เมตร/วินาที , 20 เมตร/วินาที
3. 10 เมตร/วินาที , 5 เมตร/วินาที
4. 5 เมตร/วินาที , 10 เมตร/วินาที
16. นาย ก. ขับรถจากหาดใหญ่ไปสงขลาด้วยอัตราเร็ ว 60 กิโลเมตร/ชัว่ โมง ทาธุระที่สงขลา 1
ชัว่ โมง จากนั้นขับรถกลับหาดใหญ่ดว้ ยอัตราเร็ ว 80 กิโลเมตร/ชัว่ โมง ถนนจากหาดใหญ่ถึง
สงขลาเป็ นเส้นตรงยาว 30 กิโลเมตร นาย ก. ขับรถด้วยอัตราเร็ วเฉลี่ยกี่กิโลเมตรต่อชัว่ โมง
1. 0 2. 32.0 3. 46.7 4. 68.6
17. ถ้าเคลื่อนที่จากจุด A ไปยังจุด B ด้วยอัตราเร็ วเฉลี่ย 40 เมตร/วินาที แล้วเคลื่อนที่ยอ้ น
กลับตามเส้นทางเดิมด้วยอัตราเร็ วเฉลี่ย 60 เมตร/วินาที อยากทราบว่าอัตราเร็ วเฉลี่ยตลอด
ทั้งไปและกลับมีค่าเท่าไร
1. 40 m/s 2. 48 m/s 3. 50 m/s 4. 56 m/s
18. จากข้อที่ผา่ นมา
A  B X C Y D

1.2 cm 2.5 cm 6.2 cm 12.0 cm


อัตราเร็ วเฉลี่ยระหว่างจุด A , D เป็ นกี่เมตร/วินาที
1. 0.3 2. 0.6 3. 0.9 4. 1.2
36
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
19. จากข้อที่ผา่ นมา อัตราเร็ วที่จุด B เป็ นกี่เมตร/วินาที
A  B X C Y D

1.2 cm 2.5 cm 6.2 cm 12.0 cm


1. 0.625 2. 0.75 3. 0.90 4. 1.25
20. จากข้อที่ผา่ นมา อัตราเร็ วที่จุด C เป็ นกี่เมตร/วินาที
A  B X C Y D

1.2 cm 2.5 cm 6.2 cm 12.0 cm


1. 0.3 2. 0.6 3. 0.9 4. 1.2
21. จากรู ปเป็ นแถบกระดาษที่ได้จากการทดลองเรื่ อง
      
การตกของวัตถุอย่างอิสระ ระยะระหว่างจุดบน
กระดาษคือค่าอะไรของวัตถุ
1. การกระจัด 2. เวลา 3. ความเร็ ว 4. ความเร่ ง

2.1.3 อัตราเร่ ง และความเร่ ง


22. น้องบีขบั รถด้วยความเร็ ว 25 เมตร/วินาที เห็นเด็กวิง่ ข้ามถนนจึงเหยียบเบรกทาให้ความเร็ ว
ลดลงเหลือ 5 เมตร/วินาที ในเวลา 2 วินาที ขณะเหยียบเบรกรถมีความเร่ งกี่เมตร/วินาที2
1. –10 2. 10 3. –15 4. 15
23. วัต ถุ อนั หนึ่ งเคลื่ อนที่ ด้วยความเร่ ง 10 เมตร/วิน าที 2 จะต้องใช้เวลานานเท่ าไรในการ
เปลี่ยนความเร็ วจาก 20 เมตร/วินาที เป็ น 50 เมตร/วินาที
1. 2 s 2. 3 s 3. 5 s 4. 7 s

37
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
2.2 สมการสาหรับคานวณหาปริมาณต่ างๆ ของการเคลือ่ นทีใ่ นแนวเส้ นตรงด้ วยความเร่ งคงตัว
24. วัตถุหนึ่งเคลื่อนที่ออกจากจุดหยุดนิ่งด้วยความเร่ งคงที่ 4 เมตร/วินาที2 อยากทราบว่าเมื่อ
เวลาผ่านไป 5 วินาที วัตถุจะมีความเร็ วเท่าไร และได้ระยะทางเท่าไร ตอบตามลาดับ
1. 20 , 50 2. 20 , 40 3. 14 , 22 4. 14 , 11
25. รถคันหนึ่งเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงด้วยความเร็ วต้น 10 เมตร/วินาที มีความเร่ งคงที่ 4
เมตร/วินาที2 เมื่อเวลาผ่านไป 10 วินาที วัตถุเคลื่อนที่ได้ทางกีเ่ มตร
26. จรวดลาหนึ่งทะยานขึ้นจากพื้นโลกในแนวดิ่งด้วยความเร่ ง 15 เมตร/วินาที2 เมื่อเวลา
ผ่านไป 60 วินาที จรวดลานี้ จะอยูส่ ู งจากพื้นโลกกี่เมตร
1. 1.9x104 2. 1.2x104 3. 2.7x104 4. 9.4x103
27. จรวดพุง่ ออกจากฐานปล่อยบนพื้นโลกตามแนวดิ่งด้วยความเร่ งคงตัว ภายใน 10 วินาที
จรวดมีความเร็ วเพิ่มขึ้นจนเป็ น 2 กิโลเมตรต่อวินาที จรวดนั้นมีความเร่ งเท่าใดและขณะนั้น
จรวดอยูส่ ู งจากพื้นดินเท่าใด ตอบตามลาดับ
1. 200 , 500 2. 200 , 10000 3. 150 , 250 4. 200 , 1100
28. อนุภาคหนึ่งกาลังเคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ ว 20 เมตร/วินาที เมื่อผ่านไป 5 วินาที ปรากฏว่า
อนุภาคเคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ ว 30 เมตร/วินาที อนุ ภาคเคลื่อนนี้ ที่ได้ระยะทางกี่เมตร
29. น้องบีขบั รถด้วยความเร็ ว 25 เมตร/วินาที เห็นเด็กวิง่ ข้ามถนนจึงเหยียบเบรกทาให้ความ
เร็ วลดลงเหลือ 5 เมตร/วินาที ในเวลา 2 วินาที จงหาว่าระยะทางในช่วงที่เบรกมีค่าเป็ นกี่
เมตร
1. 10 2. 20 3. 30 4. 40
30. รถคันหนึ่งกาลังเคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ ว 72 กิโลเมตร/ชัว่ โมง แล้วเบรกเพื่อให้จอดในเวลา
12 วินาที อยากทราบว่ารถเคลื่อนที่ได้ระยะทางกี่เมตรก่อนหยุด
31. รถยนต์คนั หนึ่ งกาลังแล่นบนถนนด้วยความเร็ ว 72 กิโลเมตร/ชัว่ โมง คนขับเห็นการจรา-
จรติดขัดข้างหน้าจึงเบรก ปรากฏว่าเหลือความเร็ ว 18 กิโลเมตร/ชัว่ โมง ในเวลา 40 วินาที
จงหาระยะทางในหน่วยเป็ นเมตรในช่วงการเบรกนี้

38
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
32. วัตถุเคลื่อนที่ออกไปจากหยุดนิ่งด้วยความเร่ ง 5 เมตร/วินาที2 ในระยะ 10 เมตร จะมี
ความเร็ วปลายกลายเป็ นกี่เมตร/วินาที
33. รถคันหนึ่ งจอดติดไฟแดง พอได้รับสัญญาณไฟเขียวก็เร่ งเครื่ องออกไปด้วยความเร่ งคงที่
พอไปได้ไกล 100 เมตร วัดความเร็ วได้ 72 กิโลเมตร/ชัว่ โมง อยากทราบว่าความเร่ งของ
รถในหน่วยเมตร/วินาที2 มีค่าเป็ นเท่าใด
34. วัตถุ ชิ้นหนึ่ งเคลื่ อนที่ในแนวเส้นตรงด้วยความเร็ วต้น 5 เมตรต่อวินาที โดยมีความเร่ ง
2 เมตร/วินาที2 ขณะที่วตั ถุเคลื่อนที่ได้ระยะทาง 24 เมตร วัตถุเคลื่อนที่มาแล้วกี่วนิ าที

35. ถ้ากฎหมายจากัดความเร็ วของรถยนต์ที่จะวิง่ บนถนนไว้ที่ไม่เกิน 108 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง


และท่านซึ่งเป็ นวิศวกรกาลังขับรถไปโดยไม่ทนั สังเกตหน้าปั ทม์บอกความเร็ วรถ ถูกตารวจ
โบกมือให้จอดรถและแจ้งข้อหาว่าท่านขับรถเร็ วเกินกาหนด โดยตอนที่ท่านเห็นตารวจโบก
มือนั้น ท่านทาการเหยียบเบรกรถทันที ทาให้รถวิง่ ช้าลงด้วยความหน่วงคงที่ 10 m/s2 และ
ปรากฏเป็ นรอยไหม้บนพื้นถนนจากตาแหน่งที่เริ่ มต้นเหยียบเบรกจนรถจอดสนิทเป็ นระยะ
ทาง 45 เมตร ในแนวเส้นตรง ท่านขับรถเร็ วเกินกาหนดหรื อไม่
1. เกินกาหนด 2. เท่ากาหนด 3. น้อยกว่ากาหนด 4. สรุ ปไม่ได้
36. รถยนต์คนั หนึ่งวิง่ ด้วยความเร็ วคงที่ 30 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง เป็ นเวลา 1 นาที แล้วเครื่ อง
ยนต์ดบั จึงทาให้รถวิง่ ต่อไปด้วยความหน่วงคงที่ ระยะเวลาที่ใช้จากขณะที่เครื่ องยนต์ดบั ถึง
เวลาที่รถหยุดนิ่งคือ 30 วินาที จงหาระยะทางทั้งหมดที่รถยนต์เคลื่อน ที่ได้
1. 125 เมตร 2. 625 เมตร 3. 650 เมตร 4. 750 เมตร
37. รถไฟขบวนหนึ่งวิง่ ออกจากหยุดนิ่งที่สถานี ก. ไปด้วยความเร่ ง 4 เมตร/วินาที2 นาน 10
วินาที วิง่ ต่อไปด้วยความเร็ วคงที่เป็ นเวลา 30 วินาที จึงลดความเร็ วลงในอัตรา 8 เมตร/-
วินาที2 จนไปหยุดนิ่งสถานี ข. พอดี ให้หาระยะทางระหว่างสถานี ก. และ ข.
1. 1100 เมตร 2. 1300 เมตร 3. 1500 เมตร 4. 1700 เมตร
38. รถยนต์สีแดงและสี ขาวแล่นคู่กนั มาด้วยความเร็ วคงตัว 10 เมตร/วินาที บนถนนตรง ขณะ
เวลาหนึ่งรถสี แดงเพิ่มอัตราเร็ วอย่างสม่าเสมอด้วยอัตราคงตัว 5 เมตร/(วินาที)2 และขณะ
เดียวกัน รถสี ขาวลดอัตราเร็ วด้วยอัตราคงตัว 5 เมตร/(วินาที)2 จงหาว่าทันทีที่รถสี ขาว
หยุดนิ่ง รถสี แดงอยูห่ น้ารถสี ขาวกี่เมตร
1. 10 2. 20 3. 30 4. 50
39
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
39. รถยนต์และรถไฟเคลื่อนที่คู่ขนานกันไปด้วยความเร็ ว 30 เมตร/วินาที เท่ากัน เมื่อมาถึง
สัญญาณไฟแดงรถยนต์ก็เบรกทาให้เคลื่อนที่ดว้ ยความหน่วง 3 เมตร/(วินาที)2 จนหยุดนิ่ง
และหยุดอยูน่ าน 2.0 วินาที ก่อนจะเคลื่อนที่ต่อไปด้วยความเร่ ง 1.5 เมตร/(วินาที)2 จนมี
ความเร็ วเป็ น 30 เมตร/วินาที เท่ากับความเร็ วของรถไฟ ในขณะนั้นรถยนต์จะอยูห่ ่ างจาก
รถไฟกี่เมตร
40. เมื่อสัญญาณไฟเขียว รถยนต์คนั หนึ่งก็ออกวิง่ จากหยุดนิ่งไปด้วยความเร่ ง 4 เมตร/วินาที2
ในขณะนั้น รถบรรทุกคันหนึ่งก็วง่ิ ผ่านจุดเดียวกันไปด้วยความเร็ วคงที่ 20 เมตร/วินาที จง
หาเวลาที่รถยนต์จึงวิง่ ทันรถบรรทุก และจุดที่ทนั กันนั้นอยูห่ ่างจากสัญญาณไฟเท่าไร
1. 10 วินาที , 200 เมตร 2. 10 วินาที , 90 เมตร
3. 6 วินาที , 200 เมตร 4. 6 วินาที , 200 เมตร
41. รถคันหนึ่งออกจากจุดหยุดนิ่งด้วยความเร่ ง 6 เมตร/วินาที2 พร้อมกันนั้นมีรถ A แล่นผ่าน
จุดเดียวกันไปด้วยความเร็ วคงที่ 30 เมตร/วินาที พุง่ นาหน้ารถคันแรก รถคันแรกจะทันรถ A
ในระยะทางกี่เมตร และในขณะที่ทนั กันรถคันแรกมีความเร็ วกี่เมตรต่อวินาที
1. 300 , 30 2. 300 , 60 3. 400 , 30 4. 450 , 30
42. ขว้างลูกบอลลงมาในแนวดิ่งด้วยความเร็ ว 15 เมตร/วินาที ใช้เวลา 2 วินาที จึงจะถึงพื้น
ถามว่าตาแหน่งที่ขว้างลูกบอลอยูส่ ู งจากพื้นกี่เมตร
1. 10 2. 50 3. 20 4. 30
43. ถ้าขว้างก้อนหิ นก้อนหนึ่งลงไปตรง ๆ ในแนวดิ่งด้วยความเร็ ว 10 เมตร/วินาที จากยอด
หน้าผาชันแห่งหนึ่งซึ่ งสู ง 120 เมตร นานกี่วนิ าที ก้อนหิ นจึงตกถึงพื้นดินข้างล่าง
44. ถ้าขว้างก้อนหิ นก้อนหนึ่งลงไปตรงๆ ในแนวดิ่งด้วยความเร็ ว 10 เมตร/วินาที จากยอด
หน้าผาชันแห่งหนึ่งซึ่ งสู ง 120 เมตร หลังจากขว้างไปแล้ว 2 วินาที จะมีความเร็ วเท่าใด
1. 10 m/s 2. 20 m/s 3. 30 m/s 4. 40 m/s
45. ยิงวัตถุข้ ึนในแนวดิ่ง จากพื้นด้วยความเร็ ว 60 เมตร/วินาที นานเท่าใดวัตถุจึงอยูส่ ู งจากพื้น
100 เมตร ( g = 10 เมตร/วินาที2 )
1. 2 , 17 2. 20 , 14 3. 2 , 15 4. 2 , 10

40
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
46. ถ้าความเร็ วต้นของน้ าที่ฉีดขึ้นในแนวดิ่งมีค่าเท่ากับ 8 เมตร/วินาที จงหาความสู งของน้ า
ที่พุง่ ขึ้นไปในอากาศ
1. 5.0 เมตร 2. 3.2 เมตร 3. 1.5 เมตร 4. 1.0 เมตร
47. เด็กคนหนึ่งขว้างก้อนหิ นขึ้นไปในอากาศตามแนวดิ่งจากหน้าผาแห่งหนึ่งด้วยความเร็ วต้น
20 เมตรต่อวินาที จงหาตาแหน่งของก้อนหิ นจากจุดเริ่ มต้น เมื่อสิ้ นเวลา 1 วินาที
1. สู งกว่าจุดเริ่ มต้น 15 เมตร 2. สู งกว่าจุดเริ่ มต้น 25 เมตร
3. ต่ากว่าจุดเริ่ มต้น 15 เมตร 4. ต่ากว่าจุดเริ่ มต้น 25 เมตร
48. โยนก้อนหิ นขึ้นไปตามแนวดิ่งด้วยความเร็ วต้น 20 เมตร/วินาที ถามว่าโยนขึ้นไปแล้วนาน
5 วินาที ก้อนหิ นจะอยูท่ ี่ใด
1. วัตถุอยูต่ ่ากว่าจุดที่โยน 25 เมตร 2. วัตถุอยูส่ ู งกว่าจุดที่โยน 15 เมตร
3. วัตถุอยูท่ ี่พ้ืน 4. วัตถุอยูต่ ่ากว่าจุดที่โยน 15 เมตร
49. เด็กคนหนึ่งขึ้นไปบนอาคารซึ่ งสู งจากพื้นดิน 25 เมตร ยื่นมือออกนอกอาคารเล็กน้อยแล้ว
โยนก้อนหิ นขึ้นไปในอากาศตรงๆ ด้วยความเร็ วต้น 20 เมตร / วินาที นานเท่าไรหลังจาก
โยนวัตถุจึงจะตกถึงพื้นดิน
1. 2 วินาที 2. 3 วินาที 3. 4 วินาที 4. 5 วินาที
50. ถ้าต้องการโยนเหรี ยญขึ้นในแนวดิ่งให้ตกลงสู่ พ้ืน โดยเหรี ยญอยูใ่ นอากาศนาน 2 วินาที
และพื้นอยูต่ ่ากว่าตาแหน่งมือที่กาลังโยนเป็ นระยะ 60 ซม. จะต้องโยนเหรี ยญด้วยอัตราเร็ ว
เท่าใด ในหน่วยเมตร/วินาที
1. 9.7 2. 10.3 3. 12.5 4. 15.0
51. ยิงปื นจากหน้าผาสู ง ขึ้นไปในแนวดิ่งตรงๆ พบว่าหลังจากยิงไปแล้วนาน 10 วินาที กระ
สุ นปื นจะอยูต่ ่ากว่าจุดที่ยงิ เป็ นระยะ 40 เมตร จงหาค่าความเร็ วต้นของลูกปื นและกระสุ นนี้
ถูกยิงขึ้นไปสู งสุ ดจากจุดยิงเป็ นระยะเท่าไร ตามลาดับ
1. 40 m/s , 100.4 m 2. 46 m/s , 105.8 m
3. 30 m/s , 107.5 m 4. 35 m/s , 110.0 m

41
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
52. โยนวัตถุข้ ึนไปจากระเบียงตึกใบหยกซึ่ งสู ง 60 เมตร ตามแนวดิ่งด้วยอัตราเร็ ว 20 เมตร/-
วินาที วัตถุข้ ึนไปได้สูงสุ ดจากพื้นดินเท่าไร
1. 20 เมตร 2. 60 เมตร
3. 80 เมตร 4. 100 เมตร
53. เด็กคนหนึ่งขว้างก้อนหิ นขึ้นไปในอากาศตามแนวดิ่งจากหน้าผาแห่งหนึ่งด้วยความเร็ วต้น
20 เมตรต่อวินาที จงหาความเร็ วของก้อนหิ นเมื่อสิ้ นเวลา 1 วินาที
1. 10 เมตร/วินาที ในทิศขึ้น 2. 20 เมตร/วินาที ในทิศขึ้น
3. 10 เมตร/วินาที ในทิศลง 4. 20 เมตร/วินาที ในทิศลง
54. บอลลูนกาลังลอยขึ้นด้วยความเร็ ว 5 เมตร/วินาที มีวตั ถุหนึ่งหล่นจากลูกบอลลูนแล้ว
กระทบพื้นด้านล่างในเวลา 10 วินาที ความเร็ วของวัตถุขณะกระทบพื้นมีค่าเท่าไร
1. 80 m/s 2. 85 m/s 3. 90 m/s 4. 95 m/s
55. บอลลูนกาลังลอยขึ้นด้วยความเร็ ว 5 เมตร/วินาที มีวตั ถุหนึ่ งหล่นจากลูกบอลลูนแล้ว
กระทบพื้นด้านล่างในเวลา 10 วินาที ขณะที่วตั ถุเริ่ มหล่นบอลลูนอยูส่ ู งจากพื้นกี่เมตร
1. 300 เมตร 2. 350 เมตร 3. 400 เมตร 4. 450 เมตร
56. ขณะที่บอลลูนลูกหนึ่ งลอยขึ้นตรงๆ ด้วยความเร็ ว 5.0 เมตรต่อวินาที ขณะที่ลูกบอลลูนสู ง
จากพื้นดิน 30 เมตร ผูอ้ ยูใ่ นบอลลูนก็ปล่อยถุงทรายลงมา ถุงทรายจะตกถึงพื้นดินในเวลา
เท่าใดและขณะที่ถึงพื้นดิน ถุงทรายมีความเร็ วเท่าใด
1. 3 วินาที , 25 เมตร/วินาที 2. 3 วินาที , 90 เมตร/วินาที
3. 6 วินาที , 45 เมตร/วินาที 4. 6 วินาที , 90 เมตร/วินาที
57. ลูกบอลลูนลอยขึ้นไปในอากาศด้วยความเร็ วคงที่ 5 เมตรต่อวินาที เมื่อขึ้นไปได้ 30 วินาที
ก็ปล่อยลูกระเบิดลงมานานกี่วนิ าที ลูกระเบิดจึงจะตกถึงพื้น
1. 5 2. 6 3. 3 4. 15 2
58. บอลลูนลอยขึ้นด้วยความเร็ วคงที่ เป็ นเวลา 8 วินาที จึงปล่อยวัตถุให้ตกลงมา ปรากฏว่า
วัตถุจะถึงพื้นนับจากปล่อย 8 วินาที จงหาความเร็ วของบอลลูน
1. 13.33 m/s 2. 16 m/s 3. 20 m/s 4. 68 m/s

42
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
59. บอลลูนลูกหนึ่งกาลังลอยขึ้นตรงๆ ในแนวดิ่งด้วยความเร็ ว 10 เมตร/วินาที ขณะอยูส่ ู งจาก
พื้นดิน 400 เมตร ก็ปล่อยถุงทรายลงมา อยากทราบว่าถุงทรายจะถึงพื้นด้านล่างในกี่วินาที

60. จากข้อที่ผา่ นมา ขณะที่วตั ถุตกถึงพื้น บอลลูนอยูส่ ู งจากพื้นกี่เมตร


61. ขณะที่บอลลูนลูกหนึ่งลอยขึ้นตรงๆ ด้วยความเร็ ว 5 เมตร/วินาที ขณะที่ลูกบอลลูนสู งจาก
พื้นดิน 30 เมตร ผูอ้ ยูใ่ นบอลลูนก็ปล่อยถุงทรายลงมา จุดสู งสุ ดของถุงทรายสู งจากพื้นดิน
เท่าใด
1. 1.25 2. 2.50 3. 31.25 4. 32.50
62. เด็กคนหนึ่งโยนก้อนหิ นก้อนหนึ่งขึ้นไปตรงๆ ด้วยความเร็ ว 20 เมตร/วินาที จากสะพาน
ซึ่ งสู งจากผิวน้ า 25 เมตร ถ้าเขาต้องการจะปล่อยก้อนหิ นอีกก้อนหนึ่งให้ตกถึงผิวน้ าพร้อมๆ
กับก้อนแรกต้องรอเป็ นเวลานานกี่วนิ าทีหลังจากโยนก้อนแรกไปแล้วจึงปล่อยก้อนที่2
63. นักโดดร่ มดิ่งพสุ ธาคนหนึ่ง โดดลงมาจากเครื่ องบินอีก 100 เมตร จะถึงพื้นดินก็กระตุกร่ ม
กางออกจะทาให้เขาเคลื่อนที่ดว้ ยความหน่วง 5.0 เมตร/วินาที2 แล้วถึงพื้นด้วยความเร็ ว 1
เมตร/วินาที ขณะที่เขาโดดเครื่ องบินอยูส่ ู งจากพื้น
1. 140 เมตร 2. 150 เมตร 3. 160 เมตร 4. 170 เมตร
64. วัตถุกอ้ นหนึ่งถูกปล่อยให้ตกลงมาในแนวดิ่งอีกก้อนตกลงมาด้วยความเร็ วต้น 1 เมตร/วินาที
จงหาว่าอีกนานเท่าไรวัตถุท้ งั สองจึงจะอยูห่ ่างกัน 18 เมตร
1. 8 s 2. 10 s 3. 15 s 4. 18 s
65. กระถางต้นไม้ตกจากดาดฟ้ าตึกแถวผ่านหน้าต่างสู ง 1 เมตร ในเวลา 0.2 วินาที ขอบล่าง
ของหน้าต่างนี้ต่าจากยอดตึกเท่าใด
1. 1.0 m 2. 1.2 m 3. 1.8 m 4. 2.2 m
66. หิ นก้อนหนึ่งหลุดลงมาจากยอดตึกสู ง 45 เมตร เมื่อก้อนหิ นผ่านยอดต้นมะม่วงแล้ว 0.5
วินาที ก็ตกถึงพื้นดิน จงหาความสู งของต้นมะม่วง
1. 10.25 เมตร 2. 13.75 เมตร 3. 15.33 เมตร 4. 18.50 เมตร

43
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
67. ปล่อยวัตถุจากดาดฟ้ าตึกสู ง 100 เมตร ในขณะเดียวกันก็ขว้างวัตถุอีกก้อนหนึ่งจากพื้นล่าง
ขึ้นไปด้วยอัตราเร็ ว 50 เมตร/วินาที อยากทราบว่าอีกนานเท่าใดวัตถุท้ งั สองจึงจะพบกัน
และจุดที่พบกันอยูส่ ู งจากพื้นด้านล่างเท่าไร
1. 2 วินาที , 50 เมตร 2. 3 วินาที , 80 เมตร
3. 2 วินาที , 80 เมตร 4. 3 วินาที , 50 เมตร
68. นาย ก. ยืนอยูบ่ นหลังคาตึกซึ่ งสู ง 10 เมตร จากพื้นดิน เขายืน่ มือออกนอกหลังคาแล้วโยน
ก้อนหิ นขึ้นไปในแนวดิ่ งด้วยความเร็ วต้น 10 เมตร/วินาที ขณะเดียวกัน นาย ข. ซึ่ งยืนอยู่
ที่พ้ืนดิ นข้างตึกก็โยนก้อนหิ นอีกลูกหนึ่ งขึ้นไปในแนวดิ่งด้วยความเร็ วต้น 20 เมตร/วินาที
จงหาว่าก้อนหิ นทั้งสองจะชนกันเมื่อเวลาผ่านไปนานเท่าไร และชนกันที่ตาแหน่งเหนื อพื้น
ดินเป็ นระยะเท่าไร
1. 2 วินาที , 10 เมตร 2. 1 วินาที , 15 เมตร
3. 1 วินาที , 10 เมตร 4. 2 วินาที , 5 เมตร
69. วัตถุชิ้นหนึ่งถูกปล่อยให้ตกลงมาในแนวดิ่งจงหาระยะทางที่เคลื่อนที่ได้ในวินาทีที่ 3
1. 10 เมตร 2. 15 เมตร 3. 20 เมตร 4. 25 เมตร
70. อนุภาคอันหนึ่งเคลื่อนที่ดว้ ยความเร่ ง 10 เมตร/วินาที2 ปรากฏว่าในระหว่างวินาทีที่ 11
วัตถุเคลื่อนที่ได้ระยะทาง 195 เมตร ความเร็ วต้นของวัตถุคือ
1. 13.45 m.s–1 2. 30.50 m.s–1 3. 90.00 m.s–1 4. 110 m.s–1
71. รถคันหนึ่งเริ่ มเคลื่อนจากหยุดนิ่ง ด้วยความเร่ งคงที่ ปรากฏว่าในวินาทีที่ 4 รถจะเคลื่อนที่
ได้ระยะทาง 56 เมตร จงหาว่าในวินาทีที่ 10 จะเคลื่อนที่ได้ระยะทางเท่าไร
1. 146 เมตร 2. 148 เมตร 3. 150 เมตร 4. 152 เมตร
72. วัตถุหนึ่งกาลังเคลื่อนที่ดว้ ยความเร่ งคงที่ เมื่อจับเวลาพบว่าในวินาทีที่ 2 จะเคลื่อนที่ได้ 10
เมตร และในวินาทีที่ 4 จะเคลื่อนที่ได้ 15 เมตร จงหาค่าความเร็ วตอนเริ่ มจับเวลาและค่า
ความเร่ งของการเคลื่อนที่
1. 5 m/s , 1 m/s2 2. 5 m/s , 2.5 m/s2
3. 6.25 m/s , 1 m/s2 4. 6.25 m/s , 2.5 m/s2

44
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
73. วัตถุกอ้ นหนึ่งเคลื่อนที่ดว้ ยความเร่ งคงที่ ปรากฏว่าในวินาทีที่ 10 เคลื่อนที่ได้ระยะทาง 48
เมตร และในวินาทีที่ 15 เคลื่อนที่ได้ระยะทาง 68 เมตร จงหาความเร็ วต้น และความเร่ ง
ของการเคลื่อนที่ ตามลาดับ
1. 5 m/s , 2 m/s2 2. 5 m/s , 4 m/s2
3. 10 m/s , 2 m/s2 4. 10 m/s , 4 m/s2
74. ปล่อยวัตถุ A มวล m และวัตถุ B มวล 2m ให้ตกลงมาตรงๆ จากที่สูงแห่งหนึ่งพร้อมกัน
ที่ระยะ 1 เมตร ก่อนกระทบพื้นวัตถุ A มีความเร็ ว V วัตถุ B จะมีความเร็ วเท่าใด
1. V2 2. V 3. 2V 4. 4V
75. ระยะสู งสุ ดที่วตั ถุเคลื่อนที่ข้ ึนตามแนวดิ่งมีค่าขึ้นกับปริ มาณใดบ้าง
1. ความเร็ วต้น 2. ความเร็ วปลาย 3. ความเร่ ง 4. ถูกทุกข้อ

2.3 กราฟของการเคลือ่ นทีใ่ นแนวเส้ นตรงด้ วยความเร่ งคงที่


2.3.1 กราฟความเร่ ง ความเร็ว และการกระจัด ทีส่ ั มพันธ์ กนั
76. กราฟรู ปใด แสดงว่าวัตถุมีความเร็ วคงที่
a a a a

t t t t
1. 2. 3. 4.

77(มช 33) กราฟที่แสดงการเคลื่อนที่ของวัตถุที่มีอตั ราเร่ งคงที่คือ


s V s V

t t t t
1. 2. 3. 4.

78. กราฟรู ปใด แสดงว่าวัตถุมีความเร็ วเพิม่ ขึ้น อย่างสม่าเสมอ


s s s s

t t t t
1. 2. 45 3. 4.
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
79. กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างความเร่ ง a กับเวลา t a
ของการเคลื่อนที่ของวัตถุในแนวเส้นตรงเป็ นดังรู ป
กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างการกระจัด s กับเวลา t t
ของการเคลื่อนที่น้ ี เป็ นดังข้อใด
1. s 2. s 3. s 4. s

t t t t

80. จากการศึกษาการเคลื่อนที่ของวัตถุในแนวเส้นตรง โดยใช้เครื่ องเคาะสัญญาณเวลา ได้จุด


บนแถบกระดาษดังรู ป โดยที่ระยะห่างระหว่างจุดมีช่วงเวลาเท่ากัน
        

กราฟรู ปใดที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างความเร่ งของวัตถุกบั เวลา


1. a 2. a

0 t 0 t
a a
3. 4. 0 t
0 t

2.3.2 พืน้ ทีใ่ ต้ กราฟ และ ความชันเส้ นกราฟของกราฟความเร่ ง ความเร็ว และการกระจัด


81. คากล่าวต่อไปนี้ ข้อใดผิด
1. ความชันของกราฟระหว่างการกระจัด – เวลา คือ ความเร็ ว
2. ความชันของกราฟระหว่างความเร็ ว – เวลา คือ ความเร่ ง
3. ความชันของกราฟระหว่างความเร่ ง – เวลา คือ พลังงานจลน์
4. พื้นที่ใต้กราฟระหว่างความเร็ ว – เวลา คือ การกระจัด

46
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
82. จากกราฟ ระหว่างการกระจัด– เวลา กราฟ การกระจัด
เส้นใด ที่แสดงว่าความเร็ วมีค่ามากที่สุด (4)
(3)
1. เส้นที่ 1 2. เส้นที่ 2 (2)
2. เส้นที่ 3 4. เส้นที่ 4
(1)
 เวลา
83. กราฟระหว่างการกระจัด ( S ) และเวลา (t) ของ ( S )
การเคลื่อนที่หนึ่งเป็ นดังรู ป จงบอกว่ากราฟ
ระหว่างความเร็ ว (V) กับเวลา ( t ) ข้างล่างนี้ รู ปใด 0
 t
เป็ นการเคลื่อนที่เดียวกันกับรู ปบน
 
(V) (V)
1. 2.
0 t 0 t


 (V)
(V)
3. 0 t 4. 0 t

84. จากกราฟ v – t กราฟเส้นใดแสดงการเคลื่อนที่


3 4 2
ของวัตถุดว้ ยความเร่ งมากที่สุด v
1. เส้น 1 2. เส้น 2 1
3. เส้น 3 4. เส้น 4
t
85. จากกราฟการเคลื่อนที่ดงั รู ป จงหาการกระจัด ความเร็ ว (m/s)
ของการเคลื่อนที่
4
1. 10 เมตร 2. 20 เมตร
3. 30 เมตร 4. 40 เมตร เวลา (s)
8 10

47
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
86. จากข้อที่ผา่ นมา จงหาค่าความเร็ วเฉลี่ยของการเคลื่อนที่
1. 1 เมตร/วินาที 2. 2 เมตร/วินาที 3. 3 เมตร/วินาที 4. 4 เมตร/วินาที
87. กราฟของความเร็ วกับเวลาของการเคลื่อนที่ v (เมตร/วินาที)
ของวัตถุเป็ นดังรู ป ระยะทางที่วตั ถุเคลื่อนที่ 4
ได้ท้ งั หมดเป็ นเท่าไร 3
2
1. 65 เมตร 2. 105 เมตร
1
3. 140 เมตร 4. 155 เมตร 0 t (วินาที)
10 20 30 40 50
88. จากกราฟของความเร็ วกับเวลาของการเคลื่อน v (เมตร/วินาที)
ที่ของวัตถุเป็ นดังรู ป ระยะทางที่วตั ถุเคลื่อนที่ 5
ได้ท้ งั หมด 4
1. 105 เมตร 2. 180 เมตร 3
2
3. 120 เมตร 4. 135 เมตร
1
0 t (วินาที)
10 20 30 40 50
89(มช 34) กราฟของอัตราเร็ วกับเวลาของนักวิง่ คนหนึ่งปรากฏดังรู ป จงหาระยะทางที่วิง่ ได้ใน
ช่วงเวลาระหว่างวินาทีที่ 8 ถึงวินาทีที่ 14 V(m/s)
1. 280.00 เมตร 25
17.5
2. 116.25 เมตร 10
3. 82.50 เมตร
4. 45.00 เมตร
90. จากกราฟความเร็ ว– เวลา แสดง 8 11 14 t(s)
v (km/hr)
การเดินทางไปช่วงเวลา A , B
50
C และ D จงหาระยะทางที่ 40
เคลื่อนที่ไปได้ใน 0.5 ชัว่ โมง 30
1. 18.5 กิโลเมตร 20
2. 19.5 กิโลเมตร 10
t(hr)
3. 20.0 กิโลเมตร 0.1 0.2 0.3 0.4 0.5 0.6
4. 40.0 กิโลเมตร A B C D
48
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
91. รถยนต์คนั หนึ่งเคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ วตาม V( m/s)
กราฟที่กาหนดให้ อยากทราบว่าเมื่อสิ้ นสุ ด 50
วินาทีที่ 5 ระยะทาง และ การกระจัดของ
รถยนต์เป็ นเท่าไรในหน่วยเมตร เวลา (s)
1 2 3 4 5 6 7 8
1. 50 , 50 2. 50 , 250 –50
3. 250 , 50 4. 250 , 250
92. จากข้อที่ผ่านมา อยากทราบว่าเมื่อสิ้ นสุ ดวินาทีที่ 5 ความเร็ วเฉลี่ยและอัตราเร็ วเฉลี่ยของ
รถยนต์มีค่าเป็ นกี่เมตร/วินาที
1. 10 , 10 2. 50 , 10 3. 50 , 50 4. 10 , 50
93. จากกราฟที่กาหนดให้เป็ นการเคลื่อนที่ v ( m/s )
ของอนุภาคหนึ่ง โดยมีความเร็ วเปลี่ยน 40

แปลงตามเวลา ระยะทางและการกระจัด 20
t(s)
ที่อนุภาคเคลื่อนที่ได้ใน 50 วินาที มีค่า
กี่เมตร ตามลาดับ –20
10 20 30 40 50

1. 750 , 50
–40
2. 900 , 100
3. 1150 , 50
4. 1300 , 150
94. จากการเคลื่อนที่ซ่ ึงแสดงได้ดว้ ยกราฟ
V( m/s)
ความเร็ ว – เวลา ดังรู ป จงหาขนาด
10
ของการกระจัดและระยะทาง เมื่อสิ้ น
5
วินาทีที่ 8 ตอบตามลาดับ
t (s)
1. 5 , 20 เมตร 2. 10 , 40 เมตร –5 1 2 3 4 5 6 7 8
3. 20 , 40 เมตร 4. 40 , 20 เมตร –10

95. จากข้อที่ผา่ นมา เมื่อสิ้ นวินาทีที่ 8 ความเร็ วและอัตราเร็ วเฉลี่ยมีค่าเป็ นกี่เมตร/วินาที


1. 0 , 1.25 2. 1.25 , 5 3. 0 , 5 4. 5 , 2.5
49
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
96. กราฟระหว่างความเร็ วกับเวลาของการ v (m/s)

เคลื่อนที่ของมวล m เป็ นดังรู ป ความเร่ ง


ของมวล m นี้ เท่ากับกี่เมตร/วินาที2
(8, 6)
(4, 4)

0 t(s)

97. จากการเคลื่อนที่ซ่ ึงแสดงได้ดว้ ยกราฟ V( m/s)


ความเร็ ว–เวลา ดังรู ป จงหาความเร่ ง 10
เฉลี่ยของการเคลื่อนที่ในช่วงเวลา 0 ถึง 5
3 วินาที เป็ นกี่เมตร/วินาที2 t (s)
1. 5 2. +5 –5 1 2 3 4 5 6 7 8
3.  53 4. + 53 –10
V( m/s)
98. จากการเคลื่อนที่ซ่ ึงแสดงได้ดว้ ยกราฟ 10
ความเร็ ว–เวลา ดังรู ปความเร่ งเฉลี่ยของ 5
การเคลื่อนที่ในช่วงเวลา 4.2 ถึง 5.7 t (s)
วินาที เป็ นกี่เมตร/วินาที2 –5 1 2 3 4 5 6 7 8
1. 7 2. 8 –10
3. 9 4. 10
99. จากรู ป กราฟความเร็ วกับเวลาของอนุภาคซึ่ งเคลื่อนไปตามแนวแกน x ความเร่ งเฉลี่ย
ระหว่างช่วงเวลา 10 วินาทีถึง 20 วินาที มีค่าเป็ นกี่เมตร/วินาที2
1. 0 vx ( m/s )
2. –0.8 4
3. 0.4 0 t(s)
10 20 30
4. –0.4 –4

50
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
100. จากกราฟ ความเร่ งของอนุภาคนี้ที่ v (m/s)

เวลา 15 วินาที มีค่ากี่เมตร/วินาที2


40
1. 0 2. 1
20
3. 2 4. 4 t(s)
10 20 30 40 50
–20

–40

101. จากกราฟ ขนาดของความเร่ ง v (m/s)

ของอนุ ภาคนี้ มีค่ามากที่สุดกี่ 40


เมตร/วินาที2 20
t(s)
1. 2 2. 4
10 20 30 40 50
3. 6 4. 8 –20

–40

102. วัตถุเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงด้วยความเร่ ง a a(m/s ) 2


ณ. เวลา t ใดๆ ดังรู ป โดยความเร่ งที่มีทิศไป 3
ทางขวามีเครื่ องหมายบวก ถ้าวัตถุมีความเร็ ว
5 10 15 20
t(s)
ต้น 3.0 เมตร/วินาที วัตถุจะมีความเร็ วเท่าใด
–2
ที่วนิ าทีที่ 20
1. –12 m/s 2. +12 m/s
3. –15 m/s 4. +15 m/s
103(มช 44) จากกราฟดังรู ป ระหว่างขนาดของ v(m/s)

ความเร็ ว และเวลา t ของอนุภาคซึ่งเคลื่อนที่ 40


ในแนวดิ่งภายใต้แรงเสี ยดทาน และน้ าหนัก 20
t(s)
0
ของอนุ ภาค อนุภาคอยูใ่ น อากาศได้นาน 16 4 8 12 16
-20
วินาที จงหาว่าอนุภาคนี้จะเคลื่อนที่ได้ระยะ -40
ทางสู งสุ ดกี่เมตร
1. 80 2. 160 3. 240 4. 320
51
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
104. จากกราฟวัตถุจะขึ้นไปสู งสุ ดเท่าไร v(m/s)
1. 9.50 เมตร 15

2. 10.25 เมตร t(s)

3. 11.25 เมตร 1 2 3

4. 12.50 เมตร –15

105. อนุภาคอันหนึ่งเคลื่อนที่ได้ความสัมพันธ์ระหว่าง v2 กับ s ดังกราฟข้างล่าง จงหา


ความเร่ งของการเคลื่อนที่ v2 (m/s)2
1. 5 m/s2 900
2. 3.5 m/s2
200
3. 2 m/s2
s(m)
4. 1.5 m/s2 0
100
106. การเคลื่อนที่ของอนุภาคอันหนึ่ง เขียนกราฟแสดง v2 (m/s)2
ความสัมพันธ์ระหว่าง v2 กับ s ได้ดงั รู ป ความเร่ ง
400
ของอนุ ภาคนี้มีค่าเท่าไร
1. 4 m/s2 2. –4 m/s2 200
s (m)
3. 2 m/s2 4. –2 m/s2 50 100

107. จากข้อที่ผา่ นมา เวลาที่อนุภาคใช้ในการเคลื่อนที่จาก s = 0 ถึง s = 100 เมตรเท่ากับ


1. 20 วินาที 2. 15 วินาที 3. 10 วินาที 4. 1.5 วินาที



52
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
เฉลยตะลุ ย โจทย์ ท วั่ ไป
บทที่ 2 การเคลื่ อ นที่ ใ นแนวเส้ น ตรง
1. ตอบข้ อ 1. 2. ตอบข้ อ 1. 3. ตอบข้ อ 1. 4. ตอบข้ อ 2.
5. ตอบข้ อ 1. 6. ตอบข้ อ 4. 7. ตอบข้ อ 3. 8. ตอบข้ อ 2.
9. ตอบข้ อ 2. 10. ตอบข้ อ 3. 11. ตอบข้ อ 1. 12. ตอบข้ อ 3.
13. ตอบข้ อ 1. 14. ตอบข้ อ 2. 15. ตอบข้ อ 2. 16. ตอบข้ อ 4.
17. ตอบข้ อ 2. 18. ตอบข้ อ 3. 19. ตอบข้ อ 1. 20. ตอบข้ อ 4.
21. ตอบข้ อ 1. 22. ตอบข้ อ 1. 23. ตอบข้ อ 2. 24. ตอบข้ อ 1.
25. ตอบ 300 26. ตอบข้ อ 3. 27. ตอบข้ อ 2. 28. ตอบ 125
29. ตอบข้ อ 3. 30. ตอบ 120 31. ตอบ 500 32. ตอบ 10
33. ตอบ 2 34. ตอบ 3 35. ตอบข้ อ 2. 36. ตอบข้ อ 2.
37. ตอบข้ อ 3. 38. ตอบข้ อ 2. 39. ตอบ 510 40. ตอบข้ อ 1.
41. ตอบข้ อ 2. 42. ตอบข้ อ 2. 43. ตอบ 4 44. ตอบข้ อ 3.
45. ตอบข้ อ 4. 46 . ตอบข้ อ 2. 47. ตอบ 1. 48. ตอบข้ อ 1.
49. ตอบข้ อ 4. 50 . ตอบข้ อ 1. 51 . ตอบข้ อ 2. 52. ตอบข้ อ 3.
53. ตอบข้ อ 1. 54. ตอบข้ อ 4. 55. ตอบข้ อ 4. 56. ตอบข้ อ 1.
57. ตอบข้ อ 2. 58. ตอบข้ อ 3. 59. ตอบ 10 60. ตอบ 500
61. ตอบข้ อ 3. 62. ตอบ 2.76 63. ตอบข้ อ 2. 64. ตอบข้ อ 4.
65. ตอบข้ อ 3. 66. ตอบข้ อ 2. 67. ตอบข้ อ 3. 68. ตอบข้ อ 2.
69. ตอบข้ อ 4. 70. ตอบข้ อ 3. 71. ตอบข้ อ 4. 72. ตอบข้ อ 4.
73. ตอบข้ อ 4. 74. ตอบข้ อ 2. 75. ตอบข้ อ 1. 76. ตอบข้ อ 1.
77. ตอบข้ อ 2. 78. ตอบข้ อ 3. 79. ตอบข้ อ 2. 80. ตอบข้ อ 3.
81. ตอบข้ อ 3. 82. ตอบข้ อ 4. 83. ตอบข้ อ 1. 84. ตอบข้ อ 4.
85. ตอบข้ อ 2. 86. ตอบข้ อ 2. 87. ตอบข้ อ 3. 88. ตอบข้ อ 2.
89. ตอบข้ อ 2. 90. ตอบข้ อ 1. 91. ตอบข้ อ 3. 92. ตอบข้ อ 4.
93. ตอบข้ อ 3. 94. ตอบข้ อ 2. 95. ตอบข้ อ 2. 96. ตอบ 0.5

53
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
97. ตอบข้ อ 1. 98. ตอบข้ อ 4. 99. ตอบข้ อ 2. 100. ตอบข้ อ 1.
101. ตอบข้ อ 4. 102. ตอบข้ อ 1. 103. ตอบข้ อ 2. 104. ตอบข้ อ 3.
105. ตอบข้ อ 2. 106. ตอบข้ อ 4. 107. ตอบข้ อ 3.


54
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และก ฎก ารเคลื่ อ นที่ ข องนิ วตัน
3.1 มวล
มวล (m) หมายถึงสมบัติตา้ นการเปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ของวัตถุ สมบัติของมวลข้อนี้
อาจเรี ยกอีกอย่างว่า “ ความเฉื่อย ”
ตัวอย่างเช่ น หากเรามีกอ้ นหิ นขนาดใหญ่ (มีมวลมาก) การจะผลักให้ก อ้ นหิ นนี้ เคลื่ อนที่
ต้องใช้แรงผลักมาก ทั้งนี้ เป็ นเพราะก้อนหิ นที่ มีมวลมากนั้นจะมีความสามารถในการต้านการ
เคลื่ อนที่ได้มากนัน่ เอง ในทางกลับกันก้อนหิ นที่มีมวลน้อยก็จะต้านการเคลื่ อนที่ได้น้อย หาก
ต้องการให้เกิดการเคลื่อนที่ก็ใช้แรงเพียงน้อยก็สามารถทาให้เคลื่อนที่ได้
มวลมาก มวลน้ อย

ต้ องใช้ แรงผลักมาก ต้ านการเคลือ่ นทีม่ าก ใช้ แรงน้ อย


ต้ านการเคลือ่ นทีน่ ้ อย
ควรรู้ 1) มวลเป็ นปริ มาณสเกลาร์ มีหน่วยเป็ นกิโลกรัม (kg)
2) มวลเป็ นปริ มาณซึ่งคงที่
1(มช 30) ปริ มาณใดในทางฟิ สิ กส์ที่บอกให้เราทราบว่า วัตถุใดมีความเฉื่ อยมากน้อยเพียงใด
1. แรง 2. น้ าหนัก 3. ความเร่ ง 4. มวล

2(แนว มช) มวลขนาด 10.0 กิ โลกรัม บนโลก เมื่ อนามวลนี้ ไปไว้บนดวงจันทร์ ซ่ ึ งมี ค่า g
เป็ น 1.6 เท่าของโลก มวลนี้จะมีขนาดเป็ นกี่กิโลกรัม
1. 1.6 2. 10.0 3. 16 4. 100.0

3.2 แรง
แรง ( F ) คืออานาจที่พยายามจะทาให้มวลเกิดการเคลื่อนที่ดว้ ยความเร่ ง
ควรรู้ 1) แรงเป็ นปริ มาณเวกเตอร์ เพราะเป็ นปริ มาณที่มีท้ งั ขนาดและทิศทาง
2) แรงใช้หน่วยมาตรฐาน S.I. เป็ น นิวตัน (N)
1
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
3.2.1 การหาแรงลัพธ์
แรงลัพธ์ คือแรงซึ่ งเกิดจากแรงย่อยๆ หลายแรงเข้ามารวมกัน
วิธีการหาค่ าแรงลัพธ์ เมื่อมีแรงย่อย 2 แรง
กรณีที่ 1 หากแรงย่อยมีทิศไปทางเดียวกัน
Fลัพธ์ = F1 + F2
ทิศทางแรงลัพธ์ จะเหมือนแรงย่อยนั้น
กรณีที่ 2 หากแรงย่อยมีทิศตรงกันข้าม
F2 F1
Fลัพธ์ = F1 – F2
ทิศทางแรงลัพธ์ จะเหมือนแรงที่มากกว่า
กรณีที่ 3 หากแรงย่อยมีทิศเอียงทามุมต่อกัน
Fลัพธ์ = F12  F22  2F1F2 cos
F2sin
และ tan α =
F1F2 cos
เมื่อ Fลัพธ์ คือขนาดของแรงลัพธ์ ( นิวตัน )
F1 คือขนาดของแรงย่อยที่ 1 ( นิวตัน )
F2 คือขนาดของแรงย่อยที่ 2 ( นิวตัน )
 คือมุมระหว่างแรง F1 และ F2
α คือมุมระหว่างแรง Fลัพธ์ กับ F1 (ดังรู ป)

ตัวอย่าง แรง 2 แรง ขนาด 4 นิวตัน และ 3 นิวตัน กระทาต่อวัตถุชิ้นหนึ่ง ณ. จุดเดียวกัน


จงหาขนาดของแรงลัพธ์ ถ้าแรงทั้งสองกระทาต่อวัตถุ
ก. ในทิศทางเดียวกัน ข. ในทิศทางตรงกันข้าม ค. ในทิศที่ต้ งั ฉากกัน
วิธีทา ก. แรงย่ อยกระทาต่ อวัตถุในทิศทางเดียวกัน F1= 4 น.
Fลัพธ์ = F1 + F2 = 4 + 3 = 7 นิวตัน F2 = 3 น.

ข. แรงย่อยกระทาต่อวัตถุในทิศทางตรงกันข้าม F1= 4 น. F2= 3 น.


Fลัพธ์ = F1 – F2 = 4 – 3 = 1 นิวตัน

2
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
ค. แรงย่อยกระทาต่อวัตถุในตั้งฉากกัน
Fลัพธ์ = F12  F22  2F1F2 cos F1 = 4 น.
Fลัพธ์ = 4 2  32  2(4)(3) cos90 o (cos 90o = 0)
= 16  9  2(4) (3) (0)  = 90o F2 = 3 น.
= 25
Fลัพธ์ = 5 นิวตัน

3. แรง 2 แรง ขนาด 8 นิวตัน และ 6 นิวตัน กระทาต่อวัตถุชิ้นหนึ่ง ณ จุดเดียวกัน จงหา


ขนาดของแรงลัพธ์ ถ้าแรงทั้งสองกระทาในทิศทางเดียวกันและทิศทางตรงกันข้ามตามลาดับ
1. 10 นิวตัน , 14 นิวตัน 2. 14 นิวตัน , 10 นิวตัน
3. 14 นิวตัน , 2 นิวตัน 4. 2 นิวตัน , 14 นิวตัน

4. แรง 2 แรง ขนาด 8 นิวตัน และ 6 นิวตัน กระทาต่อวัตถุชิ้นหนึ่ง ณ. จุดเดียวกันในทิศ


ตั้งฉากกัน จงหาขนาดของแรงลัพธ์
1. 2 นิวตัน 2. 8 นิวตัน 3. 10 นิวตัน 4. 14 นิวตัน

5. แรง 2 แรง ขนาด 15 นิวตัน และ 20 นิวตัน จะมีแรงลัพธ์มีขนาดมากที่สุดกี่นิวตัน


1. 20 2. 25 3. 30 4. 35

6. จากข้อที่ผา่ นมา แรงลัพธ์ที่มีขนาดน้อยที่สุดมีขนาดกี่นิวตัน


1. 0 2. 5 3. 10 4. 15

3
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
7. จากข้อที่ผา่ นมา ขนาดของแรงลัพธ์ในข้อใดต่อไปนี้เป็ นไปไม่ได้
1. 4 นิวตัน 2. 5 นิวตัน 3. 6 นิวตัน 4. 7 นิวตัน

8(แนว En) เมื่อแรงสองแรงทามุมกันค่าต่างๆ ผลรวมของแรงมีค่าต่ าสุ ด 1 นิ วตัน และมี ค่า


สู งสุ ด 7 นิวตัน ผลรวมของแรงทั้งสองเมื่อกระทาตั้งฉากกันจะมีค่าเท่าใด
1. 3 นิวตัน 2. 4 นิวตัน 3. 5 นิวตัน 4. 5 2 นิวตัน

3.2.2 การแตกแรง
หากมีแรง 1 แรง สมมุติเป็ นแรง F ดังรู ป เรา
สามารถแตกแรงนั้นออกเป็ น 2 แรงย่อย ซึ่ งตั้งฉาก
กันได้ และเมื่อแตกแรงแล้วจะได้วา่
แรงย่อยที่ติดมุม  จะมีค่า F cos 
แรงย่อยที่ไม่ติดมุม  จะมีค่า F sin  (ดังรู ป)
ตัวอย่าง จากรู ป จงทาการแตกแรง ( F ) ที่กาหนด y F = 20 นิวตัน
เพื่อหาขนาดของแรง x และ y
30o x
วิธีทา จากรู ปจะได้วา่
o y = F sin30o F = 20 นิวตัน
แรง x อยูต่ ิดมุม 30 ดังนั้น
x = F cos 30o
30o x = F cos30o
o 3
= 20 cos 30 = 20 ( 2 ) = 10 ( 3 ) นิวตัน
แรง y อยูไ่ ม่ติดมุม 30o ดังนั้น
y = F sin 30o = 20 sin 30o = 20 ( 12 ) = 10 นิวตัน
4
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
9. จากรู ป จงทาการแตกแรงที่กาหนดเพื่อหาขนาดของแรง x และ y ตามลาดับ
1. x = 5 3 N , y = 5 3 N
2. x = 5 N , y = 5 3 N 60o x

3. x = 5 3 N , y = 5 N y
4. x = 5 N , y = 5 N F = 10 N

10. จากรู ป จงทาการแตกแรง ( F ) ที่กาหนดเพื่อหาขนาดของแรง x และ y ตามลาดับ


1. x = 4 2 N , y = 4 N
F=8N y
2. x = 4 N , y = 4 2 N
3. x = 4 2 N , y = 4 2 N 45o
4. x = 4 N , y = 4 N
x

3.2.3 การหาแรงลัพธ์ ของแรงมากกว่า 2 แรงซึ่งทามุมต่ อกัน


11. จากรู ป แรงลัพธ์ที่เกิดจากแรงย่อยทั้ง 3 แรงดังรู ป
จะมีขนาดเท่ากับข้อใดต่อไปนี้ 10 N
1. 2 นิวตัน 8N
2. 6 นิวตัน 45o
3. 8 นิวตัน
2 2N
4. 10 นิวตัน

5
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
3.3 กฎการเคลือ่ นทีข่ องนิวตัน
กฎข้ อที่ 1 กล่าวว่า “ วัตถุจะคงสภาพอยูน่ ิ่ง หรื อสภาพเคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ วคงตัว
ในแนวเส้นตรง นอกจากจะมีแรงลัพธ์ซ่ ึ งมีค่าไม่เป็ นศูนย์มากระทาต่อวัตถุน้ นั ”
กฎข้ อที่ 2 กล่าวว่า “ เมื่อมีแรงลัพธ์ซ่ ึ งมีค่าไม่เป็ นศูนย์ มากระทาต่อวัตถุ จะทาให้
วัตถุเกิดความเร่ งในทิศเดียวกับแรงลัพธ์ที่มากระทา ขนาดของความเร่ งจะแปรผันตรงกับขนาด
ของแรงลัพธ์ และจะแปรผกผันกับมวลของวัตถุ ”
จากกฎข้อนี้จะได้สมการ a = mF
หรื อ F = m a
กฎข้ อที่ 3 กล่าวว่า “ ทุกแรงกริ ยา ( Action Force ) ต้อง
มีแรงปฏิกิริยา ( Reaction Force ) ที่มีขนาดเท่ากัน และทิศ
ตรงกันข้ามเสมอ ”
เขียนเป็ นสมการจะได้ Fกริยา = –Fปฏิกริ ิยา
12(มช 40) เมื่อรถหยุดกะทันหัน ผูโ้ ดยสารจะคะมาไปข้างหน้า ปรากฏการณ์น้ี เป็ นไปตามกฎ
นิวตันข้อที่เท่าใด
1. ข้อ 1 2. ข้อ 2 3. ข้อ 3 4. ทุกข้อ

13. เข็มขัดนิ รภัยและที่พิงศีรษะที่ติดอยูก่ บั เบาะนัง่ ในรถยนต์บางคันมีไว้เพื่อประโยชน์อะไร


1. เพื่อรั้งผูโ้ ดยสารไม่ให้คะมาไปข้างหน้าเวลารถเบรก
2. เพื่อป้ องกันมิให้ผโู ้ ดยสารตกจากเบาะขณะรถเคลื่อนที่
3. เพื่อป้ องกันไม่ให้เบาะล้มไปทางด้านหลังขณะรถเคลื่อนที่
4. ถูกทุกข้อ

14(มช 24) ใช้มา้ ตัวหนึ่งลากรถ แรงที่ทาให้มา้ เคลื่อนที่ไปข้างหน้าคือ


1. แรงที่มา้ กระทาต่อรถ 2. แรงที่รถกระทาต่อม้า
3. แรงที่มา้ กระทาต่อพื้น 4. แรงพื้นกระทาต่อเท้าม้า

6
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
15(มช 32) เมื่อตกต้นไม้ลงมากระทบพื้นจะรู ้สึกเจ็บ เหตุที่เจ็บอธิ บายได้ดว้ ยกฎทางฟิ สิ กส์ขอ้ ใด
1. กฎข้อที่หนึ่งของนิวตัน 2. กฎข้อที่สองของนิวตัน
3. กฎข้อที่สามของนิวตัน 4. กฎแรงดึงดูดระหว่างมวลของนิวตัน

16. ข้อความใดที่ไม่ ถูกต้ อง ตามลักษณะของแรงที่กล่าวถึงในกฎข้อที่ 3 ของนิวตัน


1. ประกอบด้วยแรงสองแรง
2. มีขนาดเท่ากันและมีทิศตรงกันข้าม
3. เป็ นแรงที่ทาให้แรงลัพธ์ที่กระทาต่อวัตถุมีค่าเป็ นศูนย์
4. เป็ นแรงที่กระทาบนวัตถุต่างชนิดกัน

3.4 นา้ หนัก


วัตถุมวล m ใดๆ เมื่ออยูบ่ ริ เวณผิวโลกจะถูกโลกดูดลงทาให้เกิดความเร่ งประมาณ 9.8
เมตรต่อวินาที2 ในทิศลง เรี ยก ความเร่ งเนื่องจากแรงโน้ มถ่ วงโลก ( g )
เราสามารถหาแรงที่โลกดูดวัตถุใดๆ ได้เสมอจาก
F = ma ( แทนค่า a = g )
F = mg
แรงที่โลกดูดวัตถุน้ ี เราจะเรี ยกชื่อเฉพาะว่า น้ าหนัก
นิยมใช้สัญลักษณ์เป็ น W
ดังนั้นจาก F = m g ( แทนค่า F = W )
จะได้ W = m g
เมื่อ W คือน้ าหนัก ( นิวตัน )
m คือมวล ( กิโลกรัม )
g คือความเร่ งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก ( เมตร/วินาที2 )
7
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
ข้ อแตกต่ างระหว่าง นา้ หนัก ( W ) กับ มวล ( m )
นา้ หนัก ( W ) มวล ( m )
1) หน่วยเป็ นนิวตัน ( N ) 1) หน่วยเป็ นกิโลกรัม ( kg )
2) เปลี่ยนแปลงได้ข้ ึนอยูก่ บั ค่า g 2) มีค่าคงที่ เปลี่ยนไม่ได้
3) เป็ นปริ มาณเวกเตอร์ เพราะมีทิศทาง 3) เป็ นปริ มาณสเกลาร์ เพราะไม่มีทิศทาง
17. วัตถุมวล 5 กิโลกรัม เมื่อนาไปวางไว้ที่ข้ วั โลกเหนื อซึ่ งมีค่าความเร่ งเนื่องจากแรงโน้มถ่วง
ของโลกเท่ากับ 9.83 เมตร/วินาที2 วัตถุน้ ีจะมีน้ าหนักกี่นิวตัน

18. สมมติวา่ มีการจาลองมวลที่มาตรฐาน 1 กิโลกรัม จากกรุ งปารี สมาไว้กรุ งเทพฯ มวลและ


น้ าหนักของมวลจาลองนี้ ที่กรุ งเทพฯ แตกต่างกับที่กรุ งปารี สเท่าใด
( ถ้า g ที่กรุ งปารี ส และกรุ งเทพฯ เป็ น 9.81 และ 9.78 เมตร/วินาที 2 ตามลาดับ)
1. 0.03 นิวตัน , 0.3 กิโลกรัม 2. 0.03 นิวตัน , 0 กิโลกรัม
3. 0.03 นิวตัน , 0.03 กิโลกรัม 4. 0 นิวตัน , 0.3 กิโลกรัม

19(En 32) แขวนวัตถุดว้ ยเชือกจากเพดานแรงปฏิกิริยาตามกฎข้อที่ 3 ของนิวตันของแรงซึ่ง


เป็ นน้ าหนักของวัตถุคือ
1. แรงที่เส้นเชือกกระทาต่อเพดาน
2. แรงที่เส้นเชือกกระทาต่อวัตถุ
3. แรงโน้มถ่วงที่วตั ถุกระทาต่อโลก
4. แรงที่วตั ถุกระทาต่อเส้นเชือก

8
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
3.5 การนากฎการเคลือ่ นทีข่ องนิวตันไปใช้
การคานวณเรื่ องที่เกี่ยวกับกฎการเคลื่อนที่ของนิ วตันนั้น สมการที่ใช้คานวณเป็ นหลักคือ
F = ma
เมื่อ F คือแรงลัพธ์ที่กระทาต่อวัตถุ ซึ่ งอยูใ่ นแนวเดียวกับการเคลื่อนที่ ( นิวตัน )
m คือมวลของวัตถุที่ถูกแรงลัพธ์น้ นั กระทา ( กิโลกรัม )
a คือความเร่ งของมวลซึ่ งอยูใ่ นแนวเดียวกับการเคลื่อนที่ ( เมตร/วินาที2)
20. วัตถุกอ้ นหนึ่งเมื่อถูกแรง 50 นิวตัน กระทาจะเคลื่อนที่ดว้ ยความเร่ ง 4 เมตร/วินาที2
อยากทราบว่าวัตถุน้ ีมีมวลกี่กิโลกรัม
1. 2.5 2. 5.0 3. 10.0 4. 12.5

21. แรงขนาด 6 และ 8 นิวตัน กระทาต่อมวล 2 กิโลกรัม ในแนวขนานกับพื้นราบ ถ้าแรง


ทั้งสองตั้งฉากต่อกัน วัตถุจะเคลื่อนที่ดว้ ยความเร่ งเท่าไร
1. 5 m/s2 2. 3 m/s2 3. 2 m/s2 4. 1 m/s2

22. จากรู ปวัตถุ 20 กิโลกรัม และ 10 กิโลกรัม


20 kg a = 2 m/s2
วางติดกันบนพื้นที่ไม่มีแรงเสี ยดทาน ให้หา P 10 kg
Q
แรง P และ Q ในรู ปภาพ
1. P = 40 N , Q = 20 N 2. P = 60 N , Q = 20 N
3. P = 60 N , Q = 40 N 4. P = 60 N , Q = 10 N

9
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
23. จากรู ป วัตถุมวล 30 kg และ 20 kg
ผูกติดกันด้วยเชือก อยูบ่ นพื้นที่ไม่มีแรง T2 T1
30 kg 20 kg
เสี ยดทาน หากความเร่ งของการเคลื่อน
ที่มีค่า 3 m/s2 ให้หาแรง T1 และ T2
1. T1 = 60 N , T2 = 30 N 2. T1 = 150 N , T2 = 60 N
3. T1 = 150 N , T2 = 90 N 4. T1 = 60 N , T2 = 20 N

24(มช 42) จากรู ป มวลขนาด 10 , 8 และ


10 kg 8 kg 6 kg
6 กิโลกรัม วางบนพื้นที่ไม่มีความฝื ด
T1 T2 120 N
ออกแรงขนาด 120 นิวตัน ลากมวลทั้ง
สามไป จงหาว่าขนาดของแรงดึงในเส้น
เชือก T1 และ T2 มีค่ากี่นิวตัน
1. T1 = T2 = 60 2. T1 = T2 = 120
3. T1 = 50 , T2 = 90 4. T1 = 90 , T2 = 50

25. มวล 3 ชิ้น วางอยูบ่ นพื้นที่ไม่มีแรงเสี ยด


T T T
ทาน และถูกดึงด้วยแรง T3 = 30 N อยาก 10 kg 1 20 kg 2 30 kg 3
ทราบว่า T2 / T1 มีค่าเท่ากับเท่าใด

10
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
26. หัวรถจักรคันหนึ่งลากรถพ่วงอีก 2 คัน ถ้าไม่คิดค่าแรงเสี ยดทาน จงหาว่าแรงดึงระหว่าง
หัวรถจักรกับรถพ่วงคันแรกจะมีค่าเป็ นกี่เท่าของแรงดึงระหว่างรถพ่วงคันแรกกับคันที่ 2
1. 13 2. 12 3. 1 4. 2

27. จากรู ป หากวัตถุไถลไปบนพื้นราบอย่างเดียว 80 N


จงหาความเร่ งของการเคลื่อนที่ 60o
5 kg
1. 4 m/s2 2. 8 m/s2
3. 10 m/s2 4. 12 m/s2

28. วางมวล 10 กิโลกรัม ไว้บนกระดานลื่น เมื่อเอียงกระดานทามุม 30o กับแนวราบ มวลจะ


เคลื่อนที่ดว้ ยความเร่ งกี่เมตร/วินาที2
1. 1 2. 3 3. 5 4. 7

11
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
29. นักเรี ยนคนหนึ่งถือเชือกมวลน้อยมาก ซึ่ งปลายข้างหนึ่งผูกติดกับ
เหล็กมวล 1 กิโลกรัม ให้หาแรงดึงเชือก เมื่อดึงเชือกขึ้นด้วย
ความเร่ ง 5 เมตร/วินาที2
1. 5 นิวตัน 2. 10 นิวตัน 3. 15 นิวตัน 4. 20 นิวตัน

30. จากข้อที่ผา่ นมา ให้หาแรงดึงเชื อกเมื่อหย่อนเชือกลงด้วยความเร่ ง 5 เมตร/วินาที2


1. 5 นิวตัน 2. 10 นิวตัน 3. 15 นิวตัน 4. 20 นิวตัน

31. คนหนัก 60 กิโลกรัม ปี นลงจากหน้าผา ถ้าเชื อกทนน้ าหนักได้เพียง 480 นิวตัน เขาต้อง
ปี นลงด้วยความเร่ งอย่างน้อยกี่เมตร/วินาที2 เชือกจึงพอดีไม่ขาด
1. 2 2. 3 3. 4 4. 5

12
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
32. ชายคนหนึ่งมวล 50 กิโลกรัม โหนเชือกดังรู ป ชายคนนี้ จะต้องไต่
เชื อกขึ้ น หรื อลงด้วยความเร่ ง เท่ า ใด เชื อกจึ ง จะมี แ รงตึ ง 600
นิวตัน ถือว่าเชื อกมีมวลน้อยมาก
1. ไต่ข้ ึน , 1 เมตร/วินาที2 2. ไต่ลง , 1 เมตร/วินาที2
3. ไต่ข้ ึน , 2 เมตร/วินาที2 4. ไต่ลง , 2 เมตร/วินาที2

33. ชายคนหนึ่งมวล 50 กิโลกรัม โหนเชือกดังรู ป ชายคนนี้ จะต้องไต่


เชื อกขึ้ น หรื อลงด้วยความเร่ ง เท่ า ใด ถ้า เชื อกทนแรงตึ ง ได้สู ง สุ ด
480 นิ ว ตัน ถื อว่า เชื อกมี ม วลน้อยมาก
1. ขึ้ น , 0.2 เมตร/วินาที 2 2. ลง , 0.2 เมตร/วินาที 2
3. ขึ้น , 0.4 เมตร/วินาที2 4. ลง , 0.4 เมตร/วินาที2

13
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
34. วัตถุมวล 3 kg และ 2 kg ผูกติดกันด้วยเชือก ดังรู ป วัตถุท้ งั สอง
T1
ถูกดึงขึ้นด้วยเชือกอีกเส้นด้วยความเร่ ง 2 m/s2 ในแนวดิ่ง แรง
ดึงเชือกทั้งสองมีค่าเท่าใด 3 kg
1. T1 = 60 N , T2 = 30 N 2. T1 = 60 N , T2 = 24 N T2
3. T1 = 36 N , T2 = 30 N 4. T1 = 36 N , T2 = 24 N
2 kg

35. วัตถุ 2 ชิ้นมวล 7 และ 5 kg ตามลาดับ เชื่อมกันด้วยเชือก 200 N


มวล 4 kg ดังรู ป ถ้ามีแรงฉุ ดวัตถุท้ งั สองขึ้นด้วยแรง 200
7 kg
นิวตัน จงหาความตึงเชือกที่ปลายบน
4 kg
1. 105.5 นิวตัน 2. 107.5 นิวตัน 5 kg
3. 110.5 นิวตัน 4. 112.5 นิวตัน

14
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
36. จากรู ป m1 , m2 มวล 2 และ 0.5 กิโลกรัม
อยูบ่ นพื้นเกลี้ยง 2 kg
ก. ระบบจะเคลื่อนที่ดว้ ยความเร่ งเท่าใด
0.5 kg
ข. เชือกจะมีแรงดึงเชื อกเท่าใด 1 เมตร
ค. ระบบจะมีความเร็ วสู งสุ ดเท่าใด
1. (ก) 2 m/s2 , (ข) 4 N , (ค) 2 m/s 2. (ก) 2 m/s2 , (ข) 4 N , (ค) 4 m/s
3. (ก) 4 m/s2 , (ข) 8 N , (ค) 4 m/s 4. (ก) 4 m/s2 , (ข) 8 N , (ค) 8 m/s

37. จากรู ปวัตถุจะมีความเร่ งเท่าไร และมีความเร่ งมีทิศทางไปทางใด


1. 6.67 m/s2 ลงทางด้านซ้าย
2. 13.34 m/s2 ลงทางด้านซ้าย
2 kg
3. 6.67 m/s2 ลงทางด้านขวา
10 kg
4. 13.34 m/s2 ลงทางด้านขวา

38. จากรู ปข้อที่ผา่ นมาเชื อกจะมีความตึงเท่าใด


1. 33.33 นิวตัน 2. 66.67 นิวตัน 3. 133.34 นิวตัน 4. 16.67 นิวตัน

15
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
ข้ อมูลสาหรับโจทย์ 3 ข้ อถัดไป B
จากรู ปวัตถุ A , B และ C มีมวล 3 , 5
และ 2 กิโลกรัม ตามลาดับ ถ้าถือว่าทุกผิว A C
สัมผัสไม่มีความฝื ด
39. ความเร่ งของวัตถุท้ งั สามมีค่ากี่เมตร/วินาที2
1. 1 2. 1.5 3. 2.0 4. 2.5

40. แรงตึงเชือกที่ผกู ระหว่างวัตถุ A กับวัตถุ B มีคา่ กี่นิวตัน


1. 24 2. 27 3. 30 4. 33

41. แรงตึงเชือกที่ผกู ระหว่างวัตถุ B กับวัตถุ C มีคา่ กี่นิวตัน


1. 18 2. 20 3. 22 4. 24

16
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
42. ชายคนหนึ่ งมวล 50 กิโลกรัม ยืนอยูใ่ นลิฟต์ จงหาแรงที่พ้ืนลิฟต์กระทาต่อชายคนนั้น
เมื่อลิฟต์เริ่ มเคลื่อนที่ข้ ึนด้วยความเร่ ง 1.2 เมตร/วินาที2
1. 440 นิวตัน 2. 460 นิวตัน 3. 500 นิวตัน 4. 560 นิวตัน

43. จากข้อที่ ผ่านมา จงหาแรงที่ พ้ื นลิ ฟ ต์กระทาต่อชายคนนั้น เมื่อลิ ฟต์เริ่ มเคลื่ อนที่ ลงด้วย
ความเร่ ง 1.2 เมตร/วินาที2
1. 440 นิวตัน 2. 460 นิวตัน 3. 500 นิวตัน 4. 560 นิวตัน

44. จากข้อที่ผา่ นมา จงหาแรงที่พ้ืนลิ ฟต์กระทาต่อชายคนนั้น เมื่อลิฟต์เคลื่อนที่ดว้ ยความเร็ ว


สม่าเสมอ 2 เมตร/วินาที
1. 440 นิวตัน 2. 460 นิวตัน 3. 500 นิวตัน 4. 560 นิวตัน

17
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
45(En 27) นายแดงยืนอยูบ่ นตาชัง่ สปริ งในลิฟต์ ถ้าลิฟต์อยูน่ ิ่ งๆ นายแดงอ่านน้ าหนักตัวเองได้
56 กิ โลกรั ม ถ้าลิ ฟ ต์คลื่ อนที่ ลงด้วยความเร่ ง 2 เมตร/วินาที 2 นายแดงจะอ่านน้ าหนัก
ตัวเองจากตาชัง่ ได้กี่กิโลกรัม
1. 40 2. 44.8 3. 50 4. 67.2

46. นักเรี ยนคนหนึ่งมวล 50 กิโลกรัม ยืนอยูบ่ นตาชัง่ ในลิฟต์ที่กาลังเคลื่อนที่ข้ ึนด้วยความเร่ ง


1 เมตร/วินาที 2 ในขณะเดี ยวกันมือของเขาก็ดึงเชื อกที่ แขวนอยู่กบั เพดานลิ ฟต์ ถ้าเชื อกมี
ความตึง 150 นิวตัน เข็มของตาชัง่ สปริ งจะชี้ที่กี่กิโลกรัม

47(En 36) ชายคนหนึ่ งมวล 75 กิ โลกรัม อยูใ่ นลิ ฟต์ กดปุ่ มให้ลิฟต์ลง ลิฟต์เริ่ มลงด้วย
ความเร่ งจนมีความเร็ วคงที่ แล้วเริ่ มลดอัตราเร็ วลงด้วยขนาดของความเร่ ง 1 เมตร/วินาที 2
เพื่อจะหยุดแรงที่ ลิฟต์กระทาต่อชายคนนี้ขณะที่ลิฟต์กาลังจะหยุดเป็ นกี่นิวตัน

18
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
48. ลิฟต์ตวั หนึ่งมีมวล 500 กิโลกรัม บรรทุกสัมภาระมวล 100 กิโลกรัม หากลิฟต์น้ ีเคลื่อน
ที่ข้ ึนด้วยความเร่ งสู งสุ ดได้เพียง 2 เมตร/วินาที2 จงหาแรงดึงสายเคเบิลสู งสุ ดที่กระทา
ต่อลิฟต์น้ ี
1. 6800 นิวตัน 2. 7000 นิวตัน 3. 7200 นิวตัน 4. 7400 นิวตัน

49. ลิฟต์ตวั หนึ่งมีมวล 500 กิโลกรัม เคลื่อนที่ข้ ึนด้วยความเร่ งสู งสุ ดได้เพียง 2 เมตร/วินาที2
หากแรงดึงสายเคเบิลสู งสุ ดที่มีได้มีค่า 8400 นิวตัน จงหาว่าลิฟต์น้ ีสามารถบรรทุกสัมภาระ
ได้มากที่สุดกี่กิโลกรัม

50. ชายคนหนึ่งมีมวล 55 กิโลกรัม นัง่ บนชิงช้ามวล 5 กิโลกรัม ที่


แขวนด้วยเชือกเบาซึ่ งคล้องผ่านรอกเบา และหมุนได้คล่องดังรู ป
เขาค่อยๆ ดึงปลายเชือก เพื่อให้ตวั เขาเองค่อยๆ ขยับสู งขึ้นโดยไม่
มีความเร่ งเขาต้องออกแรงกี่นิวตัน
1. 300 2. 480 3. 550 4. 600

19
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
51. จากข้อที่ผา่ นมาถ้าเขาค่อยๆ ดึงปลายเชือก เพื่อให้ตวั เขาเองค่อยๆ
ขยับสู งขึ้นโดยมีความเร่ ง 1 เมตร/วินาที2 เขาต้องออกแรงกี่นิวตัน
1. 270 2. 300 3. 330 4. 480

52. จากข้อที่ผา่ นมาถ้าเขาค่อยๆ ดึงปลายเชือก เพื่อให้ตวั เขาเองค่อยๆ


ขยับลงโดยมีความเร่ ง 1 เมตร/วินาที2 เขาต้องออกแรงกี่นิวตัน
1. 270 2. 300 3. 330 4. 480

53. วัตถุหนึ่งมวล 0.5 กิโลกรัม กาลังจมลงสู่ กน้ สระน้ าด้วยอัตราเร่ ง 6 เมตร/วินาที2 แรง
เฉลี่ยที่น้ ากระทาต่อวัตถุน้ ีมีค่ากี่นิวตัน
1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

20
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
54. ลูกปื นมวล 40.0 กรัม ถูกยิงออกจากลากล้องปื นด้วยความเร็ ว 300 เมตร/วินาที ทะลุแผ่น
ไม้หนา 4.0 เซนติเมตร ทาให้ความเร็ วของลูกปื นขณะออกจากแผ่นไม้อีกด้านหนึ่ งเท่ากับ
100 เมตร/วินาที ให้หาขนาดแรงเฉลี่ยที่แผ่นไม้กระทาต่อลูกปื น
1. 20000 นิวตัน 2. 40000 นิวตัน 3. 60000 นิวตัน 4. 80000 นิวตัน

55. ลู ก ปื นมวล 0.02 กิ โลกรั ม เคลื่ อ นที่ ด้วยความเร็ ว 400 เมตร/วิน าที วิ่ง เข้าชนใน
แนวตั้งฉากกับต้นไม้แนวราบ ปรากฏว่าเจาะเนื้ อไม้เข้าลึก 0.1 เมตร จึงหยุดนิ่ ง จงหาแรง
ต้านทานการเคลื่อนที่ที่เนื้ อไม้กระทาต่อลูกปื น
1. 8000 นิวตัน 2. 16000 นิวตัน 3. 80000 นิวตัน 4. 160000 นิวตัน

56(มช 34) ลูกปื นมวล 0.002 กิโลกรัม เคลื่อนที่ออกจากลากล้องปื นซึ่งยาว 0.80 เมตร ด้วย
อัตราเร็ ว 400 เมตร/วินาที จงหาแรงที่ดนั ให้ลูกปื นหลุดออกจากลากล้องจะมีค่ากี่นิวตัน

21
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
3.6 แรงเสี ยดทาน
แรงเสี ยดทาน คือแรงที่เกิดจากการเสี ยดสี ระหว่างผิวสัมผัส มีทิศต้านการเคลื่อนที่
ประเภทของแรงเสี ยดทาน
ประเภทที่ 1 แรงเสี ยดทานสถิตย์ ( fs ) คือ แรงเสี ยดทานที่มีตอนวัตถุอยูน่ ิ่งๆ
ควรทราบ 1. แรงเสี ยดทานสถิตจะมีค่าไม่คงที่
จะเพิ่มขึ้นและลดลงตามแรงที่กระทาต่อวัตถุ
2. fs ต่าสุ ด = 0 และ fs สู งสุ ด = s N
เมื่อ fs คือแรงเสี ยดทานสถิตย์ ( นิวตัน )
s คือสัมประสิ ทธิ์ แรงเสี ยดทานสถิตย์
N คือแรงปฏิกิริยาที่พ้ืนดันวัตถุ (นิวตัน) ซึ่ งปกติแล้วหากไม่มีแรงภายนอกมา
กระทาต่อวัตถุเพิม่ เติม แรงดันพื้น ( N ) จะเท่ากับน้ าหนักวัตถุที่กด ( W )
ประเภทที่ 2 แรงเสี ยดทานจลน์ ( fk ) คือแรงเสี ยดทานที่มีตอนวัตถุกาลังเคลื่อนที่
ควรทราบ 1. fk < fs (สู งสุ ด)
2. fk = k N
เมื่อ fk คือแรงเสี ยดทานจลน์ ( นิวตัน )
k คือสัมประสิ ทธิ์ แรงเสี ยดทานจลน์
N คือแรงที่พ้ืนดันวัตถุ ( นิ วตัน ) ซึ่ งปกติแล้วหากไม่มีแรงภายนอกมา กระทา
ต่อวัตถุเพิ่มเติม แรงดันพื้น ( N ) จะเท่ากับน้ าหนักวัตถุที่กด ( W )
57(มช 24) ถ้า N เป็ นแรงปฏิกิริยาที่พ้ืนกระทาต่อวัตถุ และ s เป็ นสัมประสิ ทธิ์ ของความเสี ยด
ทานสถิตระหว่างผิววัตถุและพื้นแรงเสี ยดทานสถิตในขณะที่วตั ถุยงั ไม่เคลื่อนที่จะมีค่า
1. 0 2. sN 3. ระหว่าง 0 และ sN 4. มากกว่า sN

หลักในการคานวณเกี่ยวกับแรงเสี ยดทาน
ขั้นที่ 1 ให้หาแรงเสี ยดทานก่อนโดย
fs = s N ใช้หาแรงเสี ยดทานสถิตย์ (ตอนวัตถุอยูน่ ิ่ง ๆ )
และ fk = k N ใช้หาแรงเสี ยดทานจลน์ (ตอนวัตถุกาลังเคลื่อนที่)
22
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน

เมื่อ fs คือแรงเสี ยดทานสถิตย์ ( นิวตัน )


fk คือแรงเสี ยดทานจลน์ ( นิวตัน )
s คือสัมประสิ ทธิ์ แรงเสี ยดทานสถิตย์
k คือสัมประสิ ทธิ์ แรงเสี ยดทานจลน์
N คือแรงที่พ้ืนดันวัตถุ ( นิ วตัน ) ซึ่ งปกติแล้วหากไม่มีแรงภายนอกมา
กระทาต่อวัตถุเพิ่มเติม แรงดันพื้น ( N ) จะเท่ากับน้ าหนักวัตถุที่กด ( W )
ขั้นที่ 2 กรณี 1 หาก a = 0 (วัตถุอยูน่ ิ่งๆ , ความเร็ วคงที่ , เริ่ มจะเคลื่อนที่ )
ให้ใช้ Fซ้าย = Fขวา
หรื อ Fขึ้น = Fลง
กรณี 2 หาก a  0
ให้ใช้ Fลัพธ์ = m a
เมื่อ F คือแรงลัพธ์ที่กระทาต่อวัตถุ ซึ่ งอยูใ่ นแนวเดียวกับการเคลื่อนที่ ( นิวตัน )
m คือมวลของวัตถุที่ถูกแรงลัพธ์น้ นั กระทา ( กิโลกรัม )
a คือความเร่ งของมวลซึ่ งอยูใ่ นแนวเดียวกับการเคลื่อนที่ ( เมตร/วินาที2)
58. วัตถุมวล 2 กิโลกรัม อยูบ่ นพื้นที่มี ส.ป.ส ความเสี ยดทาน 0.2 จงหาแรงน้อยที่สุดที่จะ
ทาให้วตั ถุเริ่ มเคลื่อนที่
1. 2 นิวตัน 2. 4 นิวตัน 3. 6 นิวตัน 4. 8 นิวตัน

59. F เป็ นแรงซึ่งใช้ในการดึงให้วตั ถุมวล 100 กิโลกรัม


จนเกิดความเร่ ง 2 เมตร/วินาที2 อยากทราบว่า F  = 0.1 100 kg F
มีค่ากี่นิวตัน

23
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
60. มวล 10 และ 15 กิโลกรัม วางบนพื้นฝื ด
ต่อกันด้วยเชือกเบา ออกแรง 300 นิวตัน เชือกเบา
ดึงในแนวราบทาให้ระบบมีความเร่ งคงที่ 10 kg 15 kg 300 N
ถ้าสัมประสิ ทธิ์ ของความเสี ยดทานสถิตมี
ค่า 0.6 และสัมประสิ ทธิ์ ของความเสี ยดทานจลน์มีค่า 0.5 จงหาความเร่ งของระบบ
1. 7 เมตร/วินาที2 2. 5 เมตร/วินาที2
3. 3 เมตร/วินาที2 4. 1 เมตร/วินาที2

61. จากข้อผ่านมา แรงตึงในเส้นเชือก


1. 100 นิวตัน 2. 120 นิวตัน 3. 140 นิวตัน 4. 160 นิวตัน

62. วัตถุ A และ B มีมวล 0.6 และ 0.3 กิโลกรัม ตาม 


ลาดับ วางติดกันบนพื้นราบ ถ้าออกแรงผลัก F เท่า F A B
กับ 15 นิวตัน ดังรู ป สัมประสิ ทธิ์ ความเสี ยดทาน
ระหว่างวัตถุท้ งั สองกับพื้นมีค่า 23 จงหาว่าวัตถุท้ งั
สองจะเคลื่อนที่ไปด้วยความเร่ งเท่าใด
1. 10 m/s2 2. 20 m/s2 3. 30 m/s2 4. 40 m/s2

24
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
63. จากข้อที่ผา่ นมา แรงกระทาระหว่างวัตถุ A และ B มีค่ากี่นิวตัน
1. 3 2. 5 3. 10 4. 15

64. จากรู ป มวล A และ B โยงต่อกันด้วยเชื อกน้ าหนักเบาผ่านรอกที่ไม่มีความฝื ด พื้นโต๊ะ


มีสัมประสิ ทธิ์ ของแรงเสี ยดทานเท่ากับ 0.5 ถ้าเปลี่ยนวัตถุ A เป็ นวัตถุ C ซึ่งมีมวลมากเป็ น
สองเท่าของ A จะหาได้วา่ อัตราเร่ งของระบบ AB ต่างจากระบบ CB เท่าไร ถ้า A = 2 กก.
และ B = 6 กก.
A C

AB CB

B B

1. AB น้อยกว่า CB อยู่ 2.25 m/s2 2. CB น้อยกว่า AB อยู่ 2.25 m/s2


3. AB น้อยกว่า CB อยู่ 0.75 m/s2 4. CB น้อยกว่า AB อยู่ 0.75 m/s2

25
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
65. มวล m วางบนพื้นเอียงซึ่ งทามุม 30o กับแนว
ระดับ ถ้าวัดได้วา่ มวลนั้นไถลลงพื้นเอียงด้วย Vคงที่
ความเร็ วคงที่ สัมประสิ ทธิ์ ความเสี ยดทานจลน์
ระหว่างมวลนั้นกับพื้นจะเป็ นเท่าไร 30o
1. 12 2. 3
3. 1 4. 22
3

66. มวล m วางบนพื้นเอียงซึ่ งทามุม 30o กับ


แนวระดับ ถ้าวัดได้วา่ มวลนั้นไถลลงพื้น a = 1g
8
เอียงด้วยความเร่ ง 18 g สัมประสิ ทธิ์ ความ
เสี ยดทานจลน์ระหว่างมวลกับพื้นมีค่าเท่าไร 300
1. 0.2 2. 0.4
3. 0.5 4. 0.8

26
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
67. วัตถุ 15 2 กิโลกรัม วางบนระนาบเอียงฝื ดทามุม 45o
F
กับแนวราบออกแรง F ดึงวัตถุขนานกับระนาบเอียง ถ้า
สัมประสิ ทธิ์ ของความเสี ยดทานสถิตมีค่า 0.5 จงหาแรง F
ที่พอดี ทาให้วตั ถุขยับลง 45o
1. 75 นิวตัน 2. 150 นิวตัน
3. 175 นิวตัน 4. 225 นิวตัน

68. จากข้อที่ผา่ นมา จงหาแรง F ที่พอดีทาให้วตั ถุขยับขึ้ น


1. 75 นิวตัน 2. 150 นิวตัน 3. 175 นิวตัน 4. 225 นิวตัน

69. จากข้อที่ผา่ นมา จงหาแรง F ที่ทาให้วตั ถุที่ข้ึนด้วยความเร่ ง 5 2 เมตร/วินาที2


1. 75 นิวตัน 2. 150 นิวตัน 3. 225 นิวตัน 4. 375 นิวตัน

27
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
70. วัตถุหนัก 20 นิวตัน แขวนไว้
ด้วยเชือกคล้องผ่านรอกที่ไม่คิด
ความฝื ด ปลายอีกข้างหนึ่งของ 25 N
20 N
เชือกผูกวัตถุหนัก 25 นิวตัน
ซึ่งวางอยูบ่ นพื้นเอียงดังรู ป เมื่อ 30o
ปล่อยไว้อย่างอิสระ ปรากฏว่า
วัตถุที่วางบนพื้นเอียงเคลื่อนที่
ขึ้นพื้นเอียงได้พอดี จงหาสัมประสิ ทธิ์ ความเสี ยดทานสถิตระหว่างพื้นกับวัตถุ
1. 0.34 2. 0.44 3. 0.55 4. 0.65

71. จากรู ป ถ้า ก. มีมวล 40 kg ข. มีมวล


60 kg และพื้นมีสัมประสิ ทธิ์ แรงเสี ยดทาน ก
0.2 จงหาความเร่ งของมวลในหน่วย m/s2
(กาหนด sin 53o = 45 , cos 53o = 35 ) ข
53o
1. 2.80 2. 3.28
3. 4.00 4. 4.20

28
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
72. ระนาบเอียง 2 ระนาบ เอียงทามุม 30o
และ 60o กับระดับระนาบ ทั้งสองนี้บรร
จบกันที่ยอด บนระนาบทั้งสองนี้มีมวล 5 kg 10 kg

5 กิโลกรัม และ 10 กิโลกรัม วางอยูต่ าม


ลาดับ มวลทั้งสองยึดกันด้วยเชือกที่คล้อง 30o 60o
ผ่านรอกที่ยอดของระนาบดังรู ป พื้นเอียง
ทั้งสองมีค่าสัมประสิ ทธิ์ ความเสี ยดทาน
1 / 3 จงหาความเร่ งในการเคลื่อนที่ของวัตถุท้ งั สอง (ในหน่วย เมตร/วินาที2)
1. 0.25 2. 0.36 3. 0.44 4. 0.52

73. วัตถุกอ้ นหนึ่งมวล 2 กิโลกรัม ถูกดันติดกับกาแพงซึ่งอยู่


 
ในแนวดิ่งด้วยแรง F ดังรู ป ข้างล่างนี้ ถ้าสัมประสิ ทธิ์ F
 = 0.1
ความเสี ยดทานระหว่างวัตถุกบั พื้นกาแพงมีค่า 0.1 จงหา

ขนาดของแรง F ที่ทาให้วตั ถุเคลื่อนที่ลงด้วยความเร่ ง
1 เมตร/วินาที2
1. 200 นิวตัน 2. 180 นิวตัน 3. 160 นิวตัน 4. 140 นิวตัน

29
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
74. วัตถุมวล 50 กิโลกรัม ผูกติดกับเชือก ถ้าออกแรงดึง
เพื่อให้วตั ถุน้ ีไถลไปตามพื้นราบ โดยทิศทางของเส้น 50 kg 30o
เชือกทามุม 30o ส.ป.ส แรงเสี ยดทานระหว่างพื้นกับวัตถุ
มีค่า 0.3 ต้องออกแรงดึงเชือกกี่นิวตัน วัตถุจึงจะเริ่ มเคลื่อน
1. 150 2. 147.67 3. 140 4. 137.67

75. หนังสื อเล่มหนึ่งวางอยูบ่ นเบาะรถยนต์ที่กาลังวิง่ ด้วยความเร็ ว 30 เมตร/วินาที ถ้าค่า


สัมประสิ ทธิ์ ความเสี ยดทานระหว่างหนังสื อกับเบาะเท่ากับ 0.25 จงคานวณหาระยะทางสั้น
ที่สุดที่รถหยุดด้วยความเร่ งคงที่โดยหนังสื อบนเบาะไม่ไถล
1. 150 เมตร 2. 160 เมตร 3. 170 เมตร 4. 180 เมตร

30
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
3.7 กฎแรงดึงดูดระหว่ างมวลของนิวตัน
3.7.1 สนามโน้ มถ่ วง
ปกติแล้วมวลหนึ่งก้อนใดๆ จะแผ่แรงดึงดูดมวลอื่นๆ ออก
มารอบตัวอยูต่ ลอดเวลา เราเรี ยกบริ เวณรอบมวลซึ่งปกติจะมีแรง
m
ดึงดูดแผ่ออกมานั้นว่า สนามโน้ มถ่ วง และเมื่อมวล 2 ก้อนอยู่
ห่างกันขนาดหนึ่ง มวลทั้งสองจะมีแรงดึงดูดกันเสมอ
เราสามารถหาแรงดึงดูดระหว่างมวล 2 ก้อนใดๆ ได้เสมอ จาก

Gm1m2
FG =
R2
เมื่อ FG คือ แรงดึงดูดระหว่างมวล (นิวตัน)
m1 , m2 คือ ขนาดของมวลก้อนที่ 1 และ ก้อนที่ 2 ตามลาดับ (กิโลกรัม)
R คือ ระยะห่างระหว่างใจกลางมวลทั้งสอง (เมตร)
G คือ ค่าคงตัวความโน้มถ่วงสากล คือ 6.672 x 10–11 Nm2/kg2
76. ดาว A มีมวล 6 x 1020 กิโลกรัม มียานอวกาศมวล 5 x 102 กิโลกรัม โคจรอยูร่ อบ
เป็ นวงกลมรัศมี 5 x 107 กิโลเมตร ดาว A จะมีแรงดึงดูดยานอวกาศนี้ กี่นิวตัน
1. 4 x 109 2. 8 x 109 3. 4 x 10–9 4. 8 x 10–9

31
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
77. ทรงกลม A เป็ นทรงกลมกลวง ทรงกลม B เป็ นทรงกลมตัน ทรงกลมทั้งสองมีมวลและ
รัศมีเท่ากัน คือ 100 กิโลกรัม และ 0.5 เมตร ตามลาดับ ผิวของทรงกลมทั้งสองอยูห่ ่างกัน
1 เมตร แรงดึงดูดที่กระทาต่อทรงกลม A เนื่องจากทรงกลม B จะมีค่ากี่นิวตัน
1. 6.7x10–7 2. 8.0x10–7 3. 1.7x10–7 4. 0.7x10–7

78. มวล m , 5m และ 9m อยูก่ นั เป็ นระบบดังรู ป


จงหาแรงโน้มถ่วงที่กระทาแก่มวล m m 9m
5m
1. 5 G m22 2. 6 G m22
R R
3. 16G m2 2 4. 4 G m22
R R

3R R

32
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
79. มวล m , 5m และ 9m อยูก่ นั เป็ นระบบดังรู ป
จงหาแรงโน้มถ่วงที่กระทาแก่มวล m m 5m 9m
1. 5 G m22 2. 6 G m22
R R
3. 16G m2 2 4. 4 G m22
R 2R
3R R

80. จากรู ปข้างล่างนี้ จงหาขนาดของแรงดึงดูดระหว่างมวลที่กระทาต่อมวล m1 เนื่องจาก


มวล m2 และมวล m3 ในเทอมของค่าคงตัวโน้มถ่วงสากล G
( กาหนดให้ m1 = 1 กิโลกรัม , m2 = 3 กิโลกรัม และ m3 = 4 กิโลกรัม )
1. 3 G นิวตัน m2
2. 4 G นิวตัน
1 เมตร
3. 5 G นิวตัน m3
m1
4. 6 G นิวตัน 1 เมตร

33
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
3.7.2 ความเร่ งโน้ มถ่ วง ( g ) ณ ตาแหน่ งทีห่ ่ างจากผิวโลก
ค่าความเร่ งเนื่ องจากแรงโน้มถ่วงของโลก ณ.ตาแหน่งหนึ่ งๆ นั้น จะมีคา่ แปรเปลี่ยน
ขึ้นกับระยะห่างจากจุดศูนย์กลางของโลก ( R ) เราสามารถหา g ณ.จุดหนึ่งๆ ได้จาก
g = Gm2
R
เมื่อ g คือความเร่ งเนื่องจากแรงโน้มถ่วง ณ.จุดใดๆ (เมตร/วินาที2)
G คือค่าคงตัวความโน้มถ่วงสากล
= 6.672 x 10–11 นิวตันเมตร2/กิโลกรัม2
m คือมวลโลก (กิโลกรัม)
R คือระยะจากใจกลางโลกถึงจุดที่จะหาค่า g (เมตร)
สมการนี้อาจนาไปใช้คานวณหาค่าความเร่ งเนื่องจากแรงโน้มถ่วง ( g ) ของดวงดาวอื่นๆ ได้ดว้ ย
81. จงหาค่าความเร่ งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก ณ.จุดที่ห่างจากใจกลางโลก 10000 กิโล-
เมตร กาหนดมวลโลก = 6 x 1024 กิโลกรัม
1. 4 m/s2 2. 5 m/s2 3. 6 m/s2 4. 7 m/s2

82. ดาวเทียมดวงหนึ่งถูกส่ งขึ้นไปโคจรห่างจากผิวโลกเป็ น 2 เท่าของรัศมีโลก ดาวเทียมดวง


นี้ จะมีค่าความเร่ งเนื่ องจากสนามความโน้มถ่วงเป็ นเท่าใด ( กาหนด ความเร่ งที่ผิวโลก = g )
1. 19 g 2. 41 g 3. 13 g 4. 12 g

34
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
83(แนว En) ดาวเคราะห์ดวงหนึ่งมีมวลเป็ น 3 เท่าของโลก แต่มีรัศมีเป็ นครึ่ งหนึ่งของโลก จง
หาค่าความเร่ งเนื่ องจากความโน้มถ่วงที่ผวิ ของดาวเคราะห์ดวงนั้น ( ให้ ความเร่ งที่ผิวโลก = g )
1. 41 g 2. 3 g 3. 9 g 4. 12g

84(En 27) ถ้ามวลของดวงจันทร์เป็ น 1/80 เท่าของโลก และรัศมีเป็ น 1/4 เท่าของรัศมีโลก


ให้มวลโลกเป็ น M และรัศมีโลกเป็ น R G เป็ นค่าคงตัวความโน้มถ่วงสากล วัตถุที่ตก
อย่างอิสระบนดวงจันทร์ จะมีความเร่ งเท่าใด ( g คือ ความเร่ งที่ผวิ โลก )
1. 41 g 2. 15 g 3. 16 g 4. 201 g

35
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
85. ดาวเคราะห์ดวงหนึ่ งมีเส้นผ่าศูนย์กลางหนึ่ งในสามของเส้นผ่านศูนย์กลางของโลก และมี
มวลหนึ่งในหกของมวลของโลก ชายผูห้ นึ่งหนัก 500 นิวตัน บนผิวโลก เขาจะหนักเท่าใด
เมื่อขึ้นไปอยูบ่ นดาวเคราะห์ดวงนี้
1. 500 นิวตัน 2. 550 นิวตัน 3. 650 นิวตัน 4. 750 นิวตัน



36
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
เฉลยบทที่ 3 แรง และกฎการเคลือ่ นทีข
่ องนิวตัน
1. ตอบข้ อ 4. 2. ตอบข้ อ 2. 3. ตอบข้ อ 3. 4. ตอบข้ อ 3.
5. ตอบข้ อ 4. 6. ตอบข้ อ 2. 7. ตอบข้ อ 1. 8. ตอบข้ อ 3.
9. ตอบข้ อ 2. 10. ตอบข้ อ 3. 11. ตอบข้ อ 4. 12. ตอบข้ อ 1.
13. ตอบข้ อ 1. 14. ตอบข้ อ 4. 15. ตอบข้ อ 3. 16. ตอบข้ อ 3.
17. ตอบ 49.15 18. ตอบข้ อ 4. 19. ตอบข้ อ 3. 20. ตอบข้ อ 4.
21. ตอบข้ อ 1. 22. ตอบข้ อ 2. 23. ตอบข้ อ 3. 24. ตอบข้ อ 3.
25. ตอบ 3 26. ตอบข้ อ 4. 27. ตอบข้ อ 2. 28. ตอบข้ อ 3.
29. ตอบข้ อ 3. 30. ตอบข้ อ 1. 31. ตอบข้ อ 1. 32. ตอบข้ อ 3.
33. ตอบข้ อ 4. 34. ตอบข้ อ 2. 35. ตอบข้ อ 4. 36. ตอบข้ อ 1.
37. ตอบข้ อ 1. 38. ตอบข้ อ 1. 39. ตอบข้ อ 1. 40. ตอบข้ อ 2.
41. ตอบข้ อ 3. 42. ตอบข้ อ 4. 43. ตอบข้ อ 1. 44. ตอบข้ อ 3.
45. ตอบข้ อ 2. 46. ตอบ 40 47. ตอบ 825 48. ตอบข้ อ 3.
49. ตอบ 200 50. ตอบข้ อ 1. 51. ตอบข้ อ 3. 52. ตอบข้ อ 1.
53. ตอบข้ อ 2. 54. ตอบข้ อ 2. 55. ตอบข้ อ 2. 56. ตอบ 200
57. ตอบข้ อ 3. 58. ตอบข้ อ 2. 59. ตอบ 300 60. ตอบข้ อ 1.
61. ตอบข้ อ 2. 62. ตอบข้ อ 1. 63. ตอบข้ อ 2. 64. ตอบข้ อ 2.
65. ตอบข้ อ 3. 66. ตอบข้ อ 2. 67. ตอบข้ อ 1. 68. ตอบข้ อ 4.
69. ตอบข้ อ 4. 70. ตอบข้ อ 1. 71. ตอบข้ อ 2. 72. ตอบข้ อ 4.
73. ตอบข้ อ 2. 74. ตอบข้ อ 2. 75. ตอบข้ อ 4. 76. ตอบข้ อ 4.
77. ตอบข้ อ 3. 78. ตอบข้ อ 4. 79. ตอบข้ อ 2. 80. ตอบข้ อ 3.
81. ตอบข้ อ 1. 82. ตอบข้ อ 1. 83. ตอบข้ อ 4. 84. ตอบข้ อ 2.
85. ตอบข้ อ 4.



37
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
ตะลุยโจทย์ท่วั ไป
บทที่ 3 แรง และก ฎก ารเคลื่ อ นที่ ข องนิ วตัน
3.1 มวล
1. วัตถุมีมวล 1.0 กิโลกรัม ณ. ตาแหน่งศูนย์สูตร ถ้านาวัตถุน้ ี ไปไว้ที่ข้ วั โลกจะมีขนาดเท่าใด
( กาหนดค่า g ดังนี้ ที่ศูนย์สูตร = 10 m/s2 และที่ข้ วั โลก = 9 m/s2)
1. 0.9 กิโลกรัม 2. 1.0 กิโลกรัม 3. 1.1 กิโลกรัม 4. 1.2 กิโลกรัม
3.2 แรง
3.2.1 การหาแรงลัพธ์
2. แรง 2 แรง ขนาด 4 นิวตัน และ 3 นิ วตัน กระทาต่อวัตถุชิ้นหนึ่ ง ณ จุดเดี ยวกัน จงหา
ขนาดของแรงลัพธ์เป็ นกี่นิวตัน ถ้าแรงทั้งสองกระทาในทิศทางเดียวกัน
3. แรง 2 แรง ขนาด 4 นิ วตัน และ 3 นิ วตัน กระทาต่อวัตถุ ชิ้นหนึ่ ง ณ จุดเดี ยวกัน จงหา
ขนาดของแรงลัพธ์เป็ นกี่นิวตัน ถ้าแรงกระทาในทิศทางตรงกันข้ามกัน
4. แรง 2 แรง ขนาด 3 นิ วตัน และ 4 นิ วตัน กระทาต่อวัตถุ ชิ้นหนึ่ ง ณ จุดเดี ยวกัน จงหา
ขนาดของแรงลัพธ์เป็ นกี่นิวตัน ถ้าแรงทั้งสองตั้งฉากกัน
5. จงหาขนาดแรงลัพธ์ของแรงขนาด 10 นิวตัน เท่ากัน 2 แรง ซึ่งทามุม 120o ซึ่งกันและกัน
1. 5 นิวตัน 2. 10 นิวตัน 3. 15 นิวตัน 4. 20 นิวตัน
6. แรง 2 แรง มีขนาด 5 นิวตัน และ 4 นิวตัน จงหาขนาดของแรงลัพธ์ที่เป็ นไปไม่ ได้
1. 1 นิวตัน 2. 5 นิวตัน 3. 8 นิวตัน 4. 10 นิวตัน

3.2.2 การแตกแรง
3.2.3 การหาแรงลัพธ์ ของแรงมากกว่า 2 แรงซึ่งทามุมต่ อกัน
7. จากรู ป จงหาแรงลัพธ์ 6N
1. 2 นิวตัน
2. 6 นิวตัน 5N 45o
3. 5 นิวตัน
4. 10 นิวตัน 2 2N
38
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
3.3 กฎการเคลือ่ นทีข่ องนิวตัน
8. กฎข้อที่ 1 ของนิวตัน คืออะไร
1. กฎของแรงกิริยา 2. กฎของแรงปฏิกิริยา
3. กฎของมวลสาร 4. กฎของความเฉื่ อย
9. ขณะยิงปื นแรงที่ปืนดันลูกกระสุ น และแรงที่ลูกกระสุ นดันปื นมีขนาดเท่ากัน แต่ทิศตรงกัน
ข้าม เหตุใดลูกกระสุ นจึงเคลื่อนที่ไปได้
1. เพราะแรงกระทาต่อกระสุ นมีเพียงแรงที่ปืนดันกระสุ นเพียงแรงเดียว
2. เพราะแรงปฏิกิริยาคือแรงที่กระสุ นปื นดันปื น ไม่ได้ดนั ตัวกระสุ นปื น
3. เพราะแรงลัพธ์ที่กระทาต่อกระสุ นปื นมิได้มีค่าเป็ นศูนย์
4. ถูกทุกข้อ
10. การที่จรวดเคลื่อนที่ไปข้างหน้าเนื่ องจากก าลังขับของการเผาไหม้เชื้ อเพลิงนั้น เป็ นไปตาม
กฎข้อใด
1. กฎข้อที่หนึ่งของนิวตัน 2. กฎข้อที่สองของนิวตัน
3. กฎข้อที่สามของนิวตัน 4. ไม่มีขอ้ ใดถูก
11. ถ้าจรวดพ่นแก๊สและเชื้อเพลิงที่เผาไหม้ออกไป ทาให้เกิดแรงขับเคลื่อนจรวดคงตัว ความ
เร่ งของจรวดจะเพิ่มขึ้นหรื อลดลง เพราะเหตุใด
1. เพิ่มขึ้น เพราะมวลลดลง 2. เพิ่มขึ้น เพราะแรงขับมีมากขึ้น
3. ลดลง เพราะแรงขับลดลง 4. คงที่ เพราะแรงขับคงที่

3.4 นา้ หนัก


12. วัตถุมวล 5 กิโลกรัม ตกจากตึกสู ง 50 เมตร ขณะลอยในอากาศมีแรงกระทาต่อวัตถุเท่าใด
1. 50 นิวตัน 2. 100 นิวตัน 3. 250 นิวตัน 4. 500 นิวตัน
13. นักบินอวกาศมวล 75 กิโลกรัม ซึ่ งน้ าหนักตัวของเขาบนดาวเคราะห์ดวงหนึ่ง พบว่าหนัก
225 นิวตัน ความเร่ งเนื่องจากแรงดึงดูดของดาวเคราะห์น้ ันเป็ นกี่เมตร/วินาที2
1. 2 2. 3 3. 5 4. 10

39
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
3.5 การนากฎการเคลือ่ นทีข่ องนิวตันไปใช้
14. เชือกเส้นหนึ่งทนแรงดึงได้มากที่สุด 600 นิวตัน นาไปฉุดวัตถุมวล 50 กิโลกรัม ซึ่ งวาง
บนพื้นระดับลื่นในแนวระดับ จะทาให้วตั ถุมีความเร่ งมากที่สุดกี่เมตร/วินาที2
1. 6 2. 8 3. 10 4. 12
15. รถทดลองมวล 15 กิโลกรัม ถูกแรงดึง 30 นิ วตัน จะเคลื่อนที่ดว้ ยความเร่ งเท่าใด และหาก
ตอนแรกมวลนี้ อยูน่ ิ่งๆ ถามว่าเมื่อเวลาผ่านไป 2 วินาที จะเคลื่อนที่ไปได้ไกลกี่เมตร
1. 2 เมตร/วินาที2 , 4 เมตร 2. 5 เมตร/วินาที2 , 10 เมตร
3. 1 เมตร/วินาที2 , 2 เมตร 4. 3 เมตร/วินาที2 , 6 เมตร
16. วัตถุมวล 20 กิโลกรัม วางอยูบ่ นพื้นราบถูกแรง 100 นิวตัน กระทาในแนวขนานกับ
พื้นทาให้วตั ถุเคลื่อนที่ได้ระยะทางเท่าใด ในเวลา 20 วินาที
1. 100 เมตร 2. 500 เมตร 3. 1000 เมตร 4. 2000 เมตร
17. วัตถุมวล 20 กิโลกรัม วางอยูบ่ นพื้นราบถูกแรง 100 นิวตัน กระทาในแนวขนานกับ
พื้นทาให้วตั ถุเคลื่อนที่เมื่อสิ้ นสุ ดวินาทีที่ 20 วัตถุมีความเร็ วกี่เมตร/วินาที
1. 400 2. 300 3. 200 4. 100
18. เด็กชายคนหนึ่งต้องการลากรถมวล 5 กิโลกรัม บรรจุของมวล 45 กิโลกรัม ด้วยแรง 100
นิวตัน ถ้าคิดว่าพื้นและรถไม่มีความฝื ด เด็กคนนี้ จะลากรถไปได้ไกลเท่าใดจากหยุดนิ่งใน
เวลา 2 วินาที
1. 10 เมตร 2. 8 เมตร 3. 4 เมตร 4. 2 เมตร
19. จากรู ปเป็ นกราฟระหว่างความเร็ ว v และเวลา t ใน v (km/s)
การเคลื่อนที่ของวัตถุมวล 5 กิโลกรัม จงหาว่าในการ
12 B
เปลี่ยนตาแหน่งของวัตถุจากจุด A ไปยังจุด B วัตถุน้ี
จะต้องใช้ได้รับแรงจากภายนอกกี่นิวตัน
1. 5 นิวตัน 2. 50 นิวตัน 4 A
0 t (s)
3. 500 นิวตัน 4. 5000 นิวตัน 8

40
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
20. แรงสองแรงมีขนาดเท่ากัน เท่ากับ 3.0 นิวตัน กระทาต่อมวล 6.0 กิโลกรัม จงหาความ
เร่ งของวัตถุเมื่อแรงทั้งสองกระทาในทิศเดียวกัน
1. –1 m/s2 2. 0 m/s2 3. 1 m/s2 4. 2 m/s2
21. แรงสองแรงมี ข นาดเท่ า กัน เท่ ากับ 3.0 นิ ว ตัน กระท าต่ อ มวล 6.0 กิ โ ลกรั ม จงหา
ความเร่ งของวัตถุเมื่อแรงทั้งสองกระทาในทิศตรงกันข้าม
1. –1 m/s2 2. 0 m/s2 3. 1 m/s2 4. 2 m/s2
22. ถ้ามีแรงขนาด 12.0 นิวตัน และ 16.0 นิวตัน กระทาต่อวัตถุซ่ ึ งมีมวล 4.0 กิโลกรัม โดย
แรงทั้งสองกระทาในทิศตั้งฉากซึ่ งกันและกัน วัตถุน้ นั จะเคลื่อนที่ดว้ ยอัตราเร่ งเท่าใด
1. 3.0 m/s2 2. 4.0 m/s2 3. 5.0 m/s2 4. 6.0 m/s2
23. ชายคนหนึ่งลากกระเป๋ ามวล 5 กิโลกรัม ให้เลื่อนไปตามพื้นราบที่ไม่มีความฝื ดด้วยแรง 40
นิวตัน โดยแรงนี้ทามุม 30o กับแนวราบ กระเป๋ าจะเลื่อนไปตามพื้นราบด้วยความเร่ ง เท่าใด
1. 0.50 m/s2 2. 0.85 m/s2 3. 4.00 m/s2 4. 6.93 m/s2
24. แรง 30 นิ วตัน กระทาต่อวัตถุมวลก้อนหนึ่งในทิศทามุม 60o กับพื้นราบ ถ้าวัตถุเคลื่อนที่
ด้วยความเร่ ง 3 เมตร/วินาที2 มวลก้อนนั้นมีค่ากี่กิโลกรัม
1. 4 2. 5 3. 6 4. 8
25. จากรู ป วัตถุมวล m1= 6 กิโลกรัม m2 = 4 กิโลกรัม
วางอยูบ่ นพื้นที่ไม่มีความฝื ด เมื่อออกแรง 40 นิวตัน 40 N m1 m2
กระทาต่อมวล m1 ทาให้มวลทั้งสองเคลื่อนที่ติดกันไป
มวล m1 และ m2 เคลื่อนที่ดว้ ยความเร่ งกี่เมตร/วินาที2
และแรงกระทาระหว่างมวล m1 และ m2 มีค่าเป็ นกี่นิวตัน ตอบตามลาดับ
1. 2 , 8 2. 4 , 16 3. 6 , 32 4. 8 , 40
26. จากรู ปวัตถุมวล 10 กิโลกรัม และ 5 กิโลกรัม
ผูกติดกันด้วยเชือก อยูบ่ นพื้นที่ไม่มีแรงเสี ยดทาน T2 T1
10 kg 5 kg
หากความเร่ งของการเคลื่อนที่มีค่า 2 เมตร/วินาที2
ให้หาแรง T1 และ T2
1. T1 = 60 N , T2 = 30 N 2. T1 = 150 N , T2 = 60 N
3. T1 = 30 N , T2 = 20 N 4. T1 = 60 N , T2 = 20 N
41
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน

27. รถ 2 คัน ผูกติดกันด้วยเชือกที่รับแรง เชือก


1 kg 1 kg
ได้สูงสุ ด 10 นิวตัน โดยไม่ขาด รถแต่
F
ละคันมีมวล 1 กิโลกรัม ค่าสู งสุ ดของ
แรง F ที่จะดึงให้รถทั้งสองคันเคลื่อนที่ไปด้วยกัน โดยเชือกไม่ขาดมีค่าเท่ากับ
1. 10 นิวตัน 2. 15 นิวตัน 3. 20 นิวตัน 4. 25 นิวตัน
28. วัตถุมวล 5.0 และ 10.0 กิโลกรัม ผูกติดกัน
a
ด้วยเชือกเบาดังรู ป วางอยูบ่ นพื้นราบที่ไม่มี
ความฝื ด ให้แรง F ซึ่ งมีค่าคงตัวกระทาต่อ F
5.0 kg 10.0 kg
วัตถุท้ งั สองอยูน่ าน 15 วินาที จนความเร็ วของ
วัตถุเปลี่ยนไป 40 เมตร/วินาที ให้หาค่าแรง
ที่เชือกดึงมวล 5.0 กิโลกรัม ว่ามีค่ากี่นิวตัน
29. มวล 5 กิโลกรัม และ 3 กิโลกรัม ผูก F
5 kg 3 kg
ติดกันด้วยตาชัง่ สปริ งและวางอยูบ่ นพื้น
ราบที่ไม่มีความฝื ด ออกแรง F ในแนวขนานกับพื้นกระทาแก่มวล 3 กิโลกรัม ดังรู ป ทาให้
มวลทั้งสองเคลื่อนที่จากหยุดนิ่ง ถ้าตาชัง่ สปริ งอ่านค่าได้ 20 นิวตัน แรง F มีขนาดกี่นิวตัน
1. 27.5 2. 32.0 3. 52.0 4. 60.0
30. หัวรถจักรมวล 10,000 กิโลกรัม มีแรงฉุ ด 100,000 นิวตัน ลากขบวนรถไฟจานวน 20 ตู้
มีมวลเท่ากันตูล้ ะ 2000 กิโลกรัม จงหาความเร่ งของขบวนรถไฟและแรงฉุ ดระหว่างตูร้ ถไฟ
ที่ 10 และตูท้ ี่ 11
1. 2 เมตร/วินาที2, 50,000 นิวตัน 2. 3 เมตร/วินาที2, 50,000 นิวตัน
3. 2 เมตร/วินาที2, 40,000 นิวตัน 4. 3 เมตร/วินาที2, 30,000 นิวตัน
31. F = 50 N

5 kg
T 2 T 1 o
3 kg 2 kg 37

วัตถุมวล 2, 3 และ 5 กิโลกรัม ผูกติดกันด้วยเชื อกเบาวางบนพื้นที่ไม่มีความฝื ด เมื่อออก


แรง 50 นิวตัน กระทาต่อมวล 2 กิโลกรัม ดังรู ป ผลต่างของแรงดึงในเส้นเชือก ( T1 – T2)
มีขนาดกี่นิวตัน
42
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
32. นักเรี ยนคนหนึ่งถือเชือกมวลน้อยมาก ซึ่ งปลายข้างหนึ่งผูกติดกับ
เหล็กมวล 7 กิโลกรัม ให้หาแรงดึงเชือกในหน่วยนิวตัน เมื่อดึง
เชือกขึ้นด้วยความเร่ ง 2 เมตร/วินาที2
33. นักเรี ยนคนหนึ่งถือเชือกมวลน้อยมาก ซึ่ งปลายข้างหนึ่งผูกติดกับ
เหล็กมวล 7 กิโลกรัม ให้หาแรงดึงเชือกในหน่วยนิวตัน เมื่อ
หย่อนเชื อกลงด้วยความเร่ ง 2 เมตร/วินาที2
34. ทาร์ซานมวล 75 กิโลกรัม เข้าไปอยูใ่ นลิฟต์ แล้วโหนเชื อกโดยขาลอยพ้นพื้น ถ้าขณะนั้น
ลิฟต์กาลังเคลื่อนที่ข้ ึนด้วยความเร่ ง 1.2 เมตร/วินาที2 จงหาแรงตึงเชือก
1. 740 นิวตัน 2. 800 นิวตัน 3. 840 นิวตัน 4. 900 นิวตัน
35. ลิงตัวหนึ่งมวล 10 กิโลกรัม เกาะเชือกซึ่ งแขวนไว้ในแนวดิ่ง โดยลิงอยูส่ ู งจากพื้น 18 เมตร
เมื่อลิงรู ดตัวลงมาตามเชือกจนถึงพื้นด้วยความเร่ งคงที่ในเวลา 3 วินาที ความตึงของเส้น
เชือกขณะที่ลิงรู ดตัวลงมาเท่ากับกี่นิวตัน
1. 40 2. 60 3. 140 4. 160

36. เชือก A ทนแรงดึงได้ 24000 นิวตัน และเชือก B ทนแรง A

ดึงได้ 7000 นิวตัน อยากทราบว่าค่าอัตราเร่ ง (a) สู งสุ ดในการ


1000 kg
ดึงมวลทั้งสองก้อน โดยเชื อกไม่ขาดเป็ นเท่าไร
1. 4 m/s2 2. 5 m/s2
B
a
3. 6 m/s2 4. 7 m/s2 500 kg

37. จากรู ปมวลสองก้อน m1 และ m2 มีขนาด 4 และ 5 กิโลกรัม 


ตามลาดับ ผูกติดกันด้วยเชื อกซึ่ งมีมวล 1 กิโลกรัม และมีแรง F F
ขนาด 120 นิวตัน กระทาต่อวัตถุในแนวดิ่งความเร่ งของระบบมี m1
ค่ากี่เมตร/วินาที2 แรงตึงเชือกที่ปลายบนและแรงตึงเชือกที่ปลาย
ล่างมีค่ากี่นิวตัน ตอบตามลาดับ
1. 1 , 45 , 60 2. 2 , 72 , 60 m2
3. 2 , 70 , 60 4. 1 , 45 , 59

43
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
38. เมื่อใช้แรงฉุด 200 นิ วตัน ดึงวัตถุสามก้อนมวล 2 , 3 , 5 กิ-
200 N
โลกรัม ขึ้นดังรู ป จงหาความตึงเชื อกแต่ละตอนระหว่างมวล
2 kg
และความเร่ งของระบบนี้ ตอบตามลาดับ
T1 นิวตัน
1. T1 = 165 N , T2 = 100 N , a = 15 m/s2
3 kg
2. T1 = 160 N , T2 = 100 N , a = 15 m/s2 T2 นิวตัน
3. T1 = 165 N , T2 = 100 N , a = 12 m/s2 5 kg
4. T1 = 160 N , T2 = 100 N , a = 10 m/s2
39. วัตถุ m1 มีค่า 0.3 kg วางอยูบ่ นโต๊ะที่ไม่มีความฝื ดผูก
ติดกับมวล m2 มีค่า 0.2 kg ด้วยเชือกเบา แล้วคล้อง m1
ผ่านรอกดังรู ป หลังจากมวล m2 เคลื่อนที่เป็ นระยะ
0.5 เมตร อัตราเร็ วของ m2 ขณะนั้นเท่ากับ 2 เมตร/- m2
2
วินาที ความเร่ งของมวล m1 เท่ากับกี่เมตร/วินาที และ
แรงดึงเชือกในเส้นเชือกที่ผกู มวล m1 และ m2 มีค่ากี่นิวตัน ตอบตามลาดับ
1. 1 , 2.2 2. 4 , 2.2 3. 3 , 1.2 4. 4 , 1.2
40. พิจารณาระบบดังในรู ป ก าหนดให้เชื อกไม่มีมวลและพื้นไม่มีความเสี ยดทาน แรงตึงใน
เส้นเชือก T จะมีค่ากี่นิวตัน
5 kg
1. 100
2. 50 a
10 kg
3. 100
3
4. ไม่มีขอ้ ใดถูก
41. มวล 2 และ 8 กิโลกรัม ถูกจัดดังรู ป (A)โดยพื้นโต๊ะ และรอกเกลี้ยง เมื่อจัดใหม่ตามรู ป
(B) อัตราส่ วนของความเร่ งของระบบ A ต่อระบบ B เป็ นเท่าใด
8 kg 2 kg

(A) 2 kg (B) 8 kg

1. 2 2. 4 3. 12 4. 14
44
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
42. ชายคนหนึ่งดึงวัตถุข้ ึนไปบนยอดตึกสู ง 50 เมตร โดยใช้วธิ ี นาเชือกเบาผูกกับวัตถุคล้องกับ
รอกลื่นดังรู ป พบว่าขณะวัตถุข้ ึนไปถึงยอดตึก
จะมีความเร็ ว 20 เมตร/วินาที ถ้าวัตถุมีมวล
25 กิโลกรัม ชายคนนั้นต้องออกแรงดึงเท่าไร
M
1. 50 นิวตัน 2. 150 นิวตัน
3. 250 นิวตัน 4. 350 นิวตัน
43. วัตถุมวล 5 กิโลกรัม และ 15 กิโลกรัม ผูกแขวนอยู่
คนละข้างของเชือกเบาที่คล้องผ่านรอกเบาและหมุนได้
คล่อง ดังรู ป ถ้าขณะเมื่อเริ่ มต้นวัตถุอยูส่ ู งจากพื้น 0.40
เมตร จงหาว่าวัตถุมวล 15 กิโลกรัม จะตกถึงพื้นใน
5 kg 15 kg
เวลากี่วนิ าที
0.4 ม.

44. จากรู ป เป็ นระบบของมวล 3 ก้อน จงหาว่าแรงดึงเชือก


T1 และ T2 แต่ละเส้นมีความตึงเป็ นเท่าไรตอบตามลาดับ
1. T1 = 88.9 N , T2 = 22.2 N T1
2. T1 = 88.9 N , T2 = 30.2 N 6 kg
T2
3. T1 = 70.9 N , T2 = 22.2 N 10 kg
2 kg
4. T1 = 70.9 N , T2 = 30.2 N
45. จากรู ปวัตถุ A และ B ผูกติดกับเครื่ องชัง่ สปริ ง ซึ่ งถือได้วา่ เชื อกและสปริ งเบา ถ้า A
และ B มีมวล 4 และ 6 กิโลกรัม ตามลาดับ เครื่ องชัง่ สปริ งจะอ่านค่าได้เท่าใด

A B

1. 48 นิวตัน 2. 50 นิวตัน 3. 60 นิวตัน 4. 100 นิวตัน

45
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
46. จากรู ปตาชัง่ เบาผูกติดมวล A ซึ่งมีมวลมากกว่ามวล B
ตาชัง่
และ A กำลังเคลื่อนที่ดว้ ยความเร่ ง 2 เมตร/วินาที2 ขณะ
นั้นตาชัง่ อ่านค่าได้ 12 นิวตัน มวล A และ B มีค่ากี่ kg
1. A = 1.5 kg , B = 1 kg A B
2. A = 1.5 kg , B = 10 kg
3. A = 19 kg , B = 1 kg
4. A = 20 kg , B = 10 kg
47. มวล m เท่ากัน 2 ก้อน ผูกที่ปลายของเชือกเบาแล้วนาไป
คล้องกับรอกลื่นดังรู ป แรงตึงในเส้นเชือกจะมีค่าเป็ นเท่าไร
1. mg 2. 2 mg
3. 3 mg 4. 12 mg m m

48. หญิงตุ่มมวล 80 กิโลกรัม ยืนบนตาชัง่ ในลิฟต์ที่กาลังเคลื่อนลงด้วยความเร่ ง 2 เมตร/วินาที2


จงหาตัวเลขที่ปรากฏบนตาชัง่ มีค่ากี่กิโลกรัม
1. 64 2. 72 3. 80 4. 96
49. ชายคนหนึ่ งยืนอยู่บนตาชัง่ ในลิ ฟท์ที่ก าลังวิ่งขึ้ นด้วยอัตราเร่ งขนาดหนึ่ ง ขณะนั้นตาชัง่ ชี้
น้ าหนัก 600 นิ วตัน และพบว่าเมื่อลิฟท์น้ นั วิ่งลงด้วยอัตราเร่ งที่มีขนาดเท่าเดิม (เท่ากับเมื่อ
ตอนวิง่ ขึ้น) ตาชัง่ จะชี้น้ าหนัก 400 นิวตัน จงหามวลของชายคนนี้ ในหน่วยกิโลกรัม
50. ลิฟต์มวล 200 กิโลกรัม เคลื่อนที่ข้ ึนด้วยความเร่ ง 2 เมตร /วินาที2 ถ้าลวดที่แขวนลิฟต์
นี้ทนแรงดึงได้สูงสุ ด 7000 นิวตัน ลิฟต์จะบรรทุกคนได้มากที่สุดกี่คน
( ให้คน 1 คน มีมวลเฉลี่ย 50 kg และ g = 10 m/s2)
1. 7 คน 2. 8 คน 3. 10 คน 4. 14 คน
51. ยอดรักหนัก 65 กิโลกรัม แบกกลองหนัก 20 กิโลกรัม ยืนอยูใ่ นลิ ฟต์ที่กาลังเคลื่อนที่ลง
ถ้าเขาต้องออกแรง แบกกลอง 160 นิ วตัน จงหาอัตราเร่ งของลิ ฟ ต์ว่ามี ค่ากี่ เมตร/วินาที 2
และแรงที่พ้ืนลิฟต์กระทาต่อเท้าของยอดรัก มีค่ากี่นิวตันตอบตามลาดับ
1. 0.5 , 600 2. 2 , 620 3. 2 , 680 4. 4 , 680

46
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
52. ชายคนหนึ่ งมีมวล 55 กิ โลกรัม ยืนอยูบ่ นล้อเลื่อนถูกดึงให้เคลื่อนที่ข้ ึนไปตามพื้นเอียงซึ่ ง
ทามุม 37o กับแนวระดับด้วยความเร่ ง 2 เมตร/วินาที 2 จงหาแรงปฏิ กิ ริยาที่ พ้ืนล้อเลื่ อน
กระทาต่อชายคนนี้ในหน่วยนิวตัน
53. จากรู ป ชายคนหนึ่งมีมวล 80 กิโลกรัม อยูใ่ นห้องมวล 20 กิโลกรัม ถ้าต้องการให้หอ้ ง
เคลื่อนที่ลงด้วยความเร่ งคงที่ 2 เมตร/วินาที2
ชายคนนี้จะต้องออกแรงดึงเชือกเท่าใด
1. 200 นิวตัน
2. 400 นิวตัน
3. 600 นิวตัน
4. 800 นิวตัน
54. วัตถุมวล 20 กิ โลกรัม เคลื่ อนที่มาด้วยความเร็ ว 10 เมตร/วินาที ต้องออกแรงต้านการ
เคลื่ อนที่เท่าใด วัตถุ จึงจะหยุดได้ในเวลา 5 วินาที และวัตถุ เคลื่อนที่ได้ระยะทางเท่าใด
ก่อนหยุด
1. 10 นิวตัน , 15 เมตร 2. 20 นิวตัน , 20 เมตร
3. 30 นิวตัน , 25 เมตร 4. 40 นิวตัน , 25 เมตร
55. ลูกปื นมวล 40 กรัม ถูกยิงออกจากลากล้องปื นด้วยความเร็ ว 300 เมตร/วินาที ทะลุแผ่น
ไม้หนา 4 เซนติเมตร ทาให้อตั ราเร็ วของลู กปื นขณะออกจากแผ่นไม้อีกด้านหนึ่ งเท่ากับ
100 เมตร/วินาที ให้หาแรงเฉลี่ยที่แผ่นไม้กระทาต่อลูกปื นว่ามีค่ากี่นิวตัน
1. –4 x 104 2. 4 x 104 3. –8 x 104 4. 8 x 104

3.6 แรงเสี ยดทาน


56. วัตถุมวล 10 กิโลกรัม อยูบ่ นพื้นที่มี ส.ป.ส ความเสี ยดทาน 0.5 จงหาแรงน้อยที่สุดที่จะ
ทาให้วตั ถุเคลื่อนที่ไปด้วยความเร่ ง 2 เมตร/วินาที2
1. 20 นิวตัน 2. 40 นิวตัน 3. 60 นิวตัน 4. 80 นิวตัน

47
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
57. สมศรี ผลักรถยนต์มวล 1000 กิโลกรัม ในแนวราบจากจุดหยุดนิ่ง ให้เคลื่อนที่จนมีความ
เร็ ว 20 เมตรต่อวินาที ในเวลา 10 วินาที ถ้าพื้นมีค่าสัมประสิ ทธิ์ ของความเสี ยดทาน 0.50
สมศรี ตอ้ งออกแรงกี่นิวตัน
1. 7000 2. 2000 3. 3000 4. 5000
58. แท่งไม้สี่เหลี่ยม A และ B มีมวล 0.3 และ 0.6
F
กิโลกรัมตามลาดับ วางติดกันบนพื้นราบ ถ้าออก B A

แรงผลัก F 15 นิวตัน ดังรู ป ทาให้แท่งไม้ B มี


ความเร่ ง 10 เมตรต่อวินาที2 จงหาสัมประสิ ทธิ์ ความเสี ยดทานจลน์ระหว่างแท่งไม้กบั พื้น
1. 19 2. 16 3. 12 4. 23
59. แท่งเหล็กมวล 60 กิโลกรัม และ 140 กิโลกรัม วางอยูช่ ิดกันบนพื้นราบ ถ้าออกแรง 800
นิวตัน กระทาต่อแท่งเหล็กแท่งแรกในแนวขนานพื้น จงหาว่าแรงที่แท่งเหล็กทั้งสองกระทา
ต่อกันมีค่ากี่นิวตัน ถ้าค่าสัมประสิ ทธิ์ แรงเสี ยดทานจลน์ระหว่างแท่งเหล็กกับพื้นมีค่า 0.25
1. 560 2. 750 3. 800 4. 1260
60. กล่องมวล 2 กิโลกรัม และ 3 กิโลกรัม ถูก
10 N 30 N
แรง 10 นิวตัน และ 30 นิวตัน กระทาตาม 2 kg 3 kg

แนวระดับดังในรู ป ถ้าสัมประสิ ทธิ์ ความ


เสี ยดทานของกล่องกับพื้นเท่ากับ 0.3 แรงที่กล่องมวล 3 กิโลกรัม กระทาต่อกล่องมวล 2
กิโลกรัม เป็ นกี่นิวตัน
1. 18 2. 14 3. 12 4. 10

61. จากรู ปแรง F = 120 นิวตัน ดึงมวล 5 กิโลกรัม ดังรู ป จงหาความเร่ งของมวลทุกก้อน ,
T1 และ T2 เมื่อสัมประสิ ทธิ์ ของความเสี ยดทาน = 0.1 ( ตอบตามลาดับ )

15 kg T1 T2 F
10 kg 5 kg

1. 3 m/s2 , 60 N , 100 N 2. 6 m/s2 , 120 N , 200 N


3. 9 m/s2 , 180 N , 300 N 4. 12 m/s2 , 240 N , 400 N

48
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
62. ถ้าก้อนไม้กอ้ นหนึ่งมีมวล 10 กิโลกรัม ถูกดึงให้เคลื่อนที่ไปบนพื้นไม้ในแนวราบด้วยแรง
ที่สามารถเอาชนะแรงของความเสี ยดทานสถิตได้พอดีเท่านั้น ถ้าค่าสัมประสิ ทธิ์ ความเสี ยด
ทานสถิตและสัมประสิ ทธิ์ ความเสี ยดทานจลน์ระหว่างก้อนไม้กบั พื้นไม้มีค่าเท่ากับ 0.5 และ
0.3 ตามลาดับ ก้อนไม้จะเคลื่อนที่ดว้ ย ( ใช้ค่า g = 10 เมตร/วินาที2 )
1. ความเร็ วคงที่ 2. ความเร่ ง 0.2 เมตร/วินาที2
3. ความเร่ ง 0.5 เมตร/วินาที2 4. ความเร่ ง 2.0 เมตร/วินาที2

63. วัตถุ 3 ก้อนเหมือนกันทุกประการ ถ้าวางดังรู ป


1
จะมีความเร่ ง a เมตร/วินาที2 ถ้าเอามวลก้อน
2
ที่ 1 ออกความเร่ งจะเป็ น 3a เมตร/วินาที2 จง
หาค่า  ระหว่างวัตถุกบั พื้นโต๊ะ
1. 23 2. 13 3. 12 4. 0 3

64. ไม้สี่เหลี่ยมแห่งหนึ่งมีมวล m เท่ากับ 2 กิโลกรัม วางบน


พื้นเอียงทามุม 30o กับแนวราบ ดังรู ป ถ้ากาหนดค่าสัม- m
ประสิ ทธิ์ ของแรงเสี ยดทานเท่ากับ 0.6 จงหาแรงน้อยที่สุด 30o
ที่จะดึงไม้แท่งนี้ข้ ึนไปตามพื้นเอียง
1. 18.4 นิวตัน 2. 20.4 นิวตัน 3. 23.4 นิวตัน 4. 25.3 นิวตัน
65. แท่งไม้สี่เหลี่ยมแท่งหนึ่ งมีมวล 4 กิโลกรัม วางบนพื้นเอียงทามุม 37o กับแนวระดับ
ถ้าสัมประสิ ทธิ์ ของแรงเสี ยดทานระหว่างผิวของแท่งไม้กบั พื้นเอียงเท่ากับ 0.4 จงหาแรง
น้อยที่สุดที่จะดึงแท่งไม้น้ ีข้ ึนไปตามพื้นเอียง
1. 24.0 N 2. 36.8 N 3. 48.6 N 4. 56.2 N
66. วัต ถุ มี น้ าหนั ก 20 นิ ว ตัน วางอยู่ บ นพื้ น เอี ย งซึ่ งเอี ย งท ามุ ม 45o กับ แนวระดับ ถ้ า
สัมประสิ ทธิ์ ความเสี ยดทานจลน์ระหว่าง วัตถุ กบั พื้นเท่ากับ 0.3 แรง F กระทาต่อวัตถุ มี
แนวขนานกับพื้นเอียง จงหาแรงดึงขึ้นว่ามีค่ากี่นิวตันเมื่อวัตถุน้ นั เคลื่อนที่ข้ ึน

49
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
67. วัตถุชิ้นหนึ่งมีมวล 2.0 กิโลกรัม ถูกดึงให้เคลื่อนที่ข้ ึนไปตามพื้นเอียง 30 องศา โดยใช้
เส้นเชือกตามรู ป ถ้าความตึงในเส้นเชือกเป็ น 40 นิวตัน และแรงเสี ยดทานมีขนาด 2.0
นิวตัน ความเร่ งของวัตถุจะมีค่าเป็ นเท่าไร
1. 15 เมตร/วินาที2 40 N
2. 14 เมตร/วินาที2
3. 14 เมตร/วินาที2
30o
4. 24 เมตร/วินาที 2

68. กล่องไม้สี่เหลี่ยมมวล m ไถลลงมาตามพื้นเอียงทามุม


30o กับแนวราบ ค่าสัมประสิ ทธิ์ ความเสี ยดทานระหว่าง m
ผิวกล่องกับพื้นเอียงเท่ากับ 0.2 ความเร่ งของกล่องขณะ
30o
ลงมาตามพื้นเอียงจะเท่ากับเท่าไร
1. 1.73 m/s2 2. 3.27 m/s2 3. 3.5 m/s2 4. 6.73 m/s2
69. มวล m วางบนพื้นเอียงที่ทามุม 30o กับ
พื้นราบ ถูกโยงกับมวล 10 กิโลกรัม ด้วย
เชือกไร้น้ าหนักซึ่ งพาดอยูบ่ นรอกดังรู ป ถ้า m
มวล m กาลังเคลื่อนที่ข้ ึนด้วยความเร่ ง 2.0 10 kg
o
เมตรต่อ(วินาที)2 และสัมประสิ ทธิ์ ความ 30

เสี ยดทานจลน์ระหว่างมวล m กับพื้นเอียง คือ 0.5 มวล m จะใกล้เคียงกับค่าใด


1. 7 kg 2. 9 kg 3. 10 kg 4. 11 kg

70. มวล A 5 กิโลกรัม มวล B 10 กิโลกรัม โยง F


เข้าด้วยกันด้วยเชือกเส้นหนึ่งคล้องผ่านรอกที่
ไม่มีความฝื ด ดังในรู ป ถ้าค่าสัมประสิ ทธิ์ 5 kg
ความเสี ยดทานระหว่างมวลกับพื้นเท่ากับ 0.4 10 kg 30o
ทั้งสองก้อน จงหาค่าแรง F ที่พอดี ดึงมวล
ทั้งระบบขึ้นไปด้วยความเร็ วคงที่ (g = 10 m/s2 , sin 30o = 0.500 , cos 30o = 0.866)
1. 17 นิวตัน 2. 25 นิวตัน 3. 40 นิวตัน 4. 82 นิวตัน

50
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
71. จากรู ป พื้นเอียงและพื้นราบมีสัมประสิ ทธิ์ ของ
ความเสี ยดทานเท่ากับ  ปรากฏว่ามวล 40
กิโลกรัม เคลื่อนที่ลงตามพื้นเอียงด้วยอัตราเร็ ว 40 kg
20 kg 37o
คงที่ จงหาค่า  ( sin37o = 0.6 , cos37o = 0.8 )

72. มวล 1 กก. และ 2 กก. ผูกติดกันด้วยเชื อก


1 กก.
เบา แล้วนาไปคล้องลูกรอกตามรู ป จงหาขนาด
2 กก. F
F ที่ทาให้ความตึงของเชือกเท่ากับ 5 นิวตัน
สัมประสิ ทธิ์ ของแรงเสี ยดทานจลน์ระหว่างมวล
1 กก. กับ มวล 2 กก. และระหว่างมวล 2 กก. กับพื้นเป็ น 0.25
1. 15.0 N 2. 17.5 N 3. 20.0 N 4. 22.5 N
73. กล่องใส่ มวล 2 กิโลกรัม ถูกดึงจากหยุดนิ่งด้วยแรงคงที่
P
ขนาด 22 นิวตัน ในทิศ 60 องศา กับแนวราบให้เคลื่อน
ที่ไปตามพื้นราบจนมีความเร็ ว 2 เมตรต่อวินาที ในเวลา 60 o
0.8 วินาที ถ้าคิดว่าแรงเสี ยดทานคงที่ แรงเสี ยดทานนี้ จะ
มีขนาดกี่นิวตัน
1. 5 N 2. 6 N 3. 11 N 4. 14 N
74. ดึงวัตถุมวล 40 กิโลกรัม ด้วยแรง 500 นิวตัน
วัตถุวางอยูบ่ นพื้นที่มีสัมประสิ ทธิ์ ของความเสี ยด 500 N
ทาน 0.4 ดังรู ป จงหาความเร่ งของวัตถุวา่ มีค่ากี่ 37o
เมตร/วินาที2
75. กล่องหนัก 20 กิโลกรัม พลัดตกลงมาจากรถซึ่ งกาลังแล่นด้วยอัตราเร็ ว 30 เมตรต่อวินาที
ถ้ากล่องใบนั้นไถลไปตามพื้นถนนได้ไกล 40 เมตร จึงหยุดนิ่ ง แรงเสี ยดทานระหว่างกล่อง
กับพื้นถนนเป็ นกี่นิวตัน

51
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
76. รถยนต์คนั หนึ่ งขณะที่ วิ่งด้วยความเร็ ว 72 กิ โลเมตร/ชัว่ โมง เกิ ดเหตุที่ทาให้คนขับต้อง
เหยียบเบรกกะทันหัน สมมติ ว่าการเหยียบเบรกทาให้ลอ้ รถหยุดหมุนทันที จงหาว่าหลัง
จากที่เหยียบเบรกไปแล้ว 2 วินาที ความเร็ วของรถยนต์จะลดลงเหลื อเท่าไร กาหนดให้
สัมประสิ ทธิ์ ความเสี ยดทานระหว่างยางรถยนต์กบั ถนนเท่ากับ 0.5 และ g = 10 m/s2
1. 60 km/h 2. 32 km/h 3. 36 km/h 4. 62 km/h

3.7 กฎแรงดึงดูดระหว่ างมวลของนิวตัน


3.7.1 สนามโน้ มถ่ วง
77. ข้อใดกล่าวถูกต้อง เกี่ยวกับแรงดึงดูดระหว่างมวล
1. แปรโดยตรงกับผลคูณของมวลทั้งสอง 2. แปรผกผันกับกาลังสองของระยะห่าง
3. เป็ นแรงต่างกระทาร่ วมของมวลทั้งสอง 4. ที่กล่าวมาถูกทุกข้อ
78. ดาว ก และ ดาว ข มีมวล 60 x 1024 กิโลกรัม และ 16 x 1027 กิโลกรัม ตามลาดับ ถ้า
ดาวทั้งสองอยูห่ ่างกัน 4 x 109 เมตร จงคานวณหาว่าแรงดึงดูดระหว่างมวลของดาวทั้งสอง
เท่ากับกี่นิวตัน ( ให้ค่าคงตัวของแรงดึงดูดระหว่างมวล = 6.7 x 10–11 N.m2/kg2 )
1. 4.00 x 1024 2. 3.72 x 1025 3. 4.15 x 1022 4. 5.16 x 1021
79. ถ้าระยะห่างระหว่างมวลสองก้อนเพิ่มขึ้นเป็ น 4 เท่าของเดิม แรงดึงดูดระหว่างมวลจะ เป็ น
กี่เท่าของเดิม
1. 161 2. 41 3. 4 4. 16
80. ถ้าระยะห่างระหว่างมวลสองก้อนลดลงเป็ น 41 เท่าของเดิม แรงดึงดูดระหว่างมวลจะเป็ น
กี่เท่าของเดิม
1. 161 2. 41 3. 4 4. 16

3.7.2 ความเร่ งโน้ มถ่ วง ( g ) ณ ตาแหน่ งที่ห่างจากผิวโลก


81. จงหาอัตราส่ วนของแรงโน้มถ่วงที่โลกกระทาต่อยานอวกาศ เมื่ออยูท่ ี่ระดับสู งจากผิวโลก
เป็ นระยะทางเท่ากับครึ่ งหนึ่ งของรัศมี ของโลกต่อแรงโน้มถ่วงที่ โลกกระทาต่อยานอวกาศ
เมื่ออยูบ่ นผิวโลก
1. 12 2. 23 3. 2 4. 49
52
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
82. ถ้ามวลของโลกเพิ่มขึ้นเป็ น 16 เท่าของมวลเดิ ม ขณะที่รัศมีเพิ่มขึ้นเป็ น 2 เท่าของรัศมี
เดิมความเร่ ง g จะมีค่าเปลี่ยนจากเดิมไปเป็ นกี่เมตร/วินาที2
1. 80 2. 2.5 3. 1.25 4. 40
83. โลกมีมวลประมาณ 80 เท่าของมวลดวงจันทร์ และมีรัศมีเป็ น 4 เท่าของดวงจันทร์ จงหา
ความเร่ งที่ผวิ ดวงจันทร์ เป็ นกี่เท่าของความเร่ งที่ผวิ โลก
1. 16 2. 15 3. 41 4. 13
84. เมื่อชัง่ วัตถุที่ระยะห่างจากผิวโลกเป็ นสามเท่าของรัศมีโลก วัตถุจะหนัก 10 นิวตัน ถามว่า
จะชัง่ วัตถุน้ ีที่ผวิ โลกได้หนักกี่นิวตัน
85. นักบินอวกาศหนัก 800 นิ วตัน เมื่อไปอยูบ่ นดาวเคราะห์ดวงหนึ่ง ซึ่ งมีเส้นผ่าศูนย์กลาง
ครึ่ งหนึ่ งของเส้นผ่านศูนย์กลางโลก และมีมวล 15 ของมวลโลก อยากทราบว่านักบินอวกาศ
คนนี้จะหนักเท่าใด เมื่ออยูท่ ี่ผวิ โลก
1. 600 นิวตัน 2. 800 นิวตัน 3. 1000 นิวตัน 4. 1200 นิวตัน
86. นักบินอวกาศชัง่ น้ าหนักตนเองบนดาวเคราะห์ดวงหนึ่งได้ 14 เท่าของน้ าหนักบนผิวโลก
ถ้าดาว เคราะห์น้ ีมีรัศมี 12 เท่าของรัศมีโลก มวลดาวเคราะห์มีค่าเป็ นกี่เท่าของมวลโลก
1. 4 2. 16 3. 14 4. 161



53
ติวสบาย ฟิสิกส์ เล่ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 3 แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
เฉลยตะลุยโจทย์ท่วั ไป
บทที่ 3 แรง และกฎการเคลื่ อ นที่ ข องนิ ว ตัน
1. ตอบข้ อ 2. 2. ตอบ 7 3. ตอบ 1 4. ตอบ 5
5. ตอบข้ อ 2. 6. ตอบข้ อ 4. 7. ตอบข้ อ 3. 8. ตอบข้ อ 4.
9. ตอบข้ อ 4. 10. ตอบข้ อ 3. 11. ตอบข้ อ 1. 12. ตอบข้ อ 1.
13. ตอบข้ อ 2. 14. ตอบข้ อ 4. 15. ตอบข้ อ 1. 16. ตอบข้ อ 3.
17. ตอบข้ อ 4. 18. ตอบข้ อ 3. 19. ตอบข้ อ 4. 20. ตอบข้ อ 3.
21. ตอบข้ อ 2. 22. ตอบข้ อ 3. 23. ตอบข้ อ 4. 24. ตอบข้ อ 2.
25. ตอบข้ อ 2. 26. ตอบข้ อ 3. 27. ตอบข้ อ 3. 28. ตอบ 13.35
29. ตอบข้ อ 2. 30. ตอบข้ อ 3. 31. ตอบ 12 32. ตอบ 84
33. ตอบ 56 34. ตอบข้ อ 3. 35. ตอบข้ อ 2. 36. ตอบข้ อ 1.
37. ตอบข้ อ 2. 38. ตอบข้ อ 4. 39. ตอบข้ อ 4. 40. ตอบข้ อ 3.
41. ตอบข้ อ 4. 42. ตอบข้ อ 4. 43. ตอบ 0.4 44. ตอบข้ อ 1.
45. ตอบข้ อ 1. 46. ตอบข้ อ 1. 47. ตอบข้ อ 1. 48. ตอบข้ อ 1.
49. ตอบ 50 50. ตอบข้ อ 1. 51. ตอบข้ อ 3. 52. ตอบ 616
53. ตอบข้ อ 2. 54. ตอบข้ อ 4. 55. ตอบข้ อ 1. 56. ตอบข้ อ 3.
57. ตอบข้ อ 1. 58. ตอบข้ อ 4. 60. ตอบข้ อ 1. 61. ตอบข้ อ 1.
62. ตอบข้ อ 4. 63. ตอบข้ อ 2. 64. ตอบข้ อ 2. 65. ตอบข้ อ 2.
66. ตอบ 18.38 67. ตอบข้ อ 3. 68. ตอบข้ อ 2. 69. ตอบข้ อ 1.
70. ตอบข้ อ 4. 71. ตอบ 0.46 72. ตอบข้ อ 1. 73. ตอบข้ อ 2.
74. ตอบ 9 75. ตอบ 225 76. ตอบข้ อ 3. 77. ตอบข้ อ 4.
78. ตอบข้ อ 1. 79. ตอบข้ อ 1. 80. ตอบข้ อ 4. 81. ตอบข้ อ 4.
82. ตอบข้ อ 4. 83. ตอบข้ อ 2. 84. ตอบ 160 85. ตอบข้ อ 3.
86. ตอบข้ อ 4.


54

You might also like