You are on page 1of 36

Introduction page 1

บทนํา (หนวย ปริมาณทางฟสิกส และเวกเตอร)


(Units , Physical Quantities and Vectors)
1. ธรรมชาติของฟสิกส
ฟสิกส (Physics) มาจากคําในภาษากรีก ซึ่งมีความหมายวา ธรรมชาติ
วิชาฟสิกส จึงเปนวิชาที่แสวงหาความรูเพื่อความเขาใจธรรมชาติ โดยอาศัยการสังเกตและทดลองเพื่อคนควา
หาความจริงในธรรมชาติ ความรูทางฟสิกสมีผลตอการพัฒนาเทคโนโลยีในปจจุบัน
กฎ (law) เปนสิ่งที่ตั้งขึ้นเพื่อกําหนดความสัมพันธระหวางปริมาณทางฟสิกส ความสัมพันธที่ไดมาจากการ
ทดลองหรือผลการวิเคราะหดวยวิธีทางคณิตศาสตร
หลัก (principle) เปนคําแถลงโดยทั่วไปที่เกี่ยวกับธรรมชาติ เปนสิ่งที่ครอบคลุมความจริงตามธรรมชาติอยาง
กวางขวางหรือกลาวไดวาเปนกติกาที่ธรรมชาติตั้งขึ้น เชื่อวาจริงโดยไมมีพิสูจน
แบบจําลอง (model) เปนระบบที่มีความคลายคลึงหรือตัวแทนระบบในธรรมชาติ นํามาใชเพื่อความสะดวก
หรือเพื่อใหงายในการอธิบายปรากฏการณ
ทฤษฎี (theory) เปนสิ่งที่ตั้งขึ้นโดยการใชหลักหรือกฎ แบบจําลอง และขอสมมติฐานที่เชื่อวาจริง

2. การวัดและการบันทึกผลการวัดปริมาณทางฟสิกส
ฟสิกสเปนวิทยาศาสตรเชิงปริมาณ ซึ่งเกี่ยวของกับการวัด โดยการวัดปริมาณทางฟสิกสตองทราบวาจะวัด
ปริมาณใด มีหนวยอะไรและมีความแมนเทาใด
สมบัติทางฟสิกสของปริมาณที่วัดเรียกวา มิติ (dimension) เมื่อกลาวถึงมิติจะหมายถึงปริมาณชนิดใด โดย
ไมคํานึงถึงระบบของหนวยในการวัด ปริมาณพื้นฐานของการวัด คือ เวลา ความยาวและมวล จะแทนดวยสัญลักษณ
T , L และ M ตามลําดับ ความสําคัญของมิติคือใชตรวจสอบความถูกตองของสมการทางฟสิกส คือถาสมการถูกตองทั้ง
สองขางของสมการจะตองมีมิติเดียวกัน
ตัวอยาง

***ปริมาณที่มีมิติตางชนิดกัน จะนํามาคูณหรือหารกันได แตจะนํามาบวกหรือลบกันไมได ปริมาณที่นํามา


บวกหรือลบกันไดตองมีมิติเหมือนกันเทานั้น***

Pro Physics
Introduction page 2

แนวคิดของปริมาณที่เปนพื้นฐานตองการมาตรฐาน (standard) ของการวัด การกําหนดมาตรฐานขึ้นก็เพื่อให


ปริมาณที่วัดไดสามารถทดลองซ้ําไดโดยไมมีการผันแปร จะทดลองเพื่อตรวจสอบอีกกี่ครั้ง และเมื่อไร ก็จะไดผลที่สอด
คลองกัน มาตรฐานที่กําหนดขึ้นจะตองหามาไดงาย หองปฏิบัติการอื่นๆ ที่ตองการวัดปริมาณเดียวกันจะตองสามารถ
หามาใชไดเชนกัน มาตรฐานดังกลาวจะตองสามารถกําหนด ความแมน (accuracy) และ ความเที่ยง (precision)
ของการวัดไดดวย ที่สําคัญที่สุดคือจะตองเปนมาตรฐานที่ยอมรับกันทั่วไป
2.1 ระบบหนวยระหวางชาติ
หนวย (unit) คือ สเกลที่ใชวัดมิติ
มาตรฐานของหนวยที่ยอมรับเปนมาตรฐานสากลในปจจุบันใหทุกประเทศใชเปนมาตรฐาน คือ หนวย
เอสไอ (SI) (The International System of Units) ประกอบดวยหนวยฐานและหนวยอนุพัทธ

หนวยฐาน (base units) แนวคิดของปริมาณพื้นฐานจะตองเปนสิ่งที่ไมมีนิยามมาจากปริมาณพื้นฐานอื่น แตเปนสิ่งที่


นิยามตามกระบวนการ
ปริมาณพื้นฐาน ชื่อหนวย สัญลักษณ นิยาม
(base quantities) (units) (symbol)
Length 1 เมตร ความยาวที่เทากับระยะทางที่แสงเดินทางใน
ความยาว สุญญากาศในชวงเวลา 1 / 299,792,458 ของวินาที
1 กิโลกรัม เปนคามวลของแพลตินัมอีริเดียมรูปทรงกระบอกซึ่ง
Mass
เก็บรักษาที่สํานักงานนานาชาติดานน้ําหนักและการวัด
มวล ประเทศฝรั่งเศส
1 วินาที เทากับชวงเวลา 9,192,631,770 เทาของคาบการแผ
Time รังสีที่เกิดจากการเปลี่ยนระดับพลังงานของอะตอม
เวลา ซีเซียม-133 ระหวางระดับไฮเปอรไฟนสองระดับพลังงานของ
สถานะพื้น
1 แอมแปร คือ กระแสไฟฟาคงที่ที่ปอนใหกับลวดตัวนําตรง
Electric current สองเสนที่มีความยาวอนันตและมีพื้นที่หนาตัดนอยมากๆ เมื่อ
กระแสไฟฟา ลวดตัวนําทั้งสองวางหางจากกัน 1 เมตรในสุญญากาศ แลวทํา
ใหเกิดแรงขนาด 2 × 10−7 นิวตันตอความยาว 1 เมตร
Thermodynamic 1 เคลวิน มีคาเทากับ 1 / 273.16 ของอุณหภูมิทาง
อุณหพลศาสตรที่จุดน้ําสามสถานะ (Triple point of water)
temperature คือจุดที่อุณหภูมิและความดันของแข็ง ของเหลว และแกสอยูใน
อุณหภูมิทางอุณหพลศาสตร ภาวะสมดุลกัน
1 โมล คือ ปริมาณของสารในระบบที่ประกอบดวย
องคประกอบมูลฐานที่เทียบเทากับจํานวนอะตอมคารบอน 12
Amount of substance
ในปริมาณ 0.012 กิโลกรัม
ปริมาณของสาร (องคประกอบมูลฐานอาจจะเปนอะตอม โมเลกุล ไอออน
อนุภาคอื่นๆหรือกลุมอนุภาค)
1 แคนเดลา คือ ความเขมของการสองสวางในทิศที่กําหนดของ
Luminous intensity แหลงกําเนิดแสงความถี่เดียว 540 × 1012 เฮิรตซและมีความ
ความเขมของการสองสวาง เขมของการแผรังสีในทิศทางดังกลาวเทากับ 1/683 วัตต
ตอสเตอเรเดียน

Pro Physics
Introduction page 3

หนวยอนุพัทธ (derived units) คือ หนวยของปริมาณทางฟสิกสที่ไมใชหนวยฐาน สามารถเขียนไดในพจนของหนวย


ฐาน ในบางครั้งหนวยอนุพัทธมีการตั้งชื่อหนวยใหม เพื่อเปนเกียรติแกบุคคลที่มีผลงานสําคัญทางฟสิกส
ตัวอยางปริมาณในหนวยอนุพัทธบางปริมาณ
ปริมาณอนุพัทธ สมการนิยาม มิติ หนวยเอสไอ ชื่อหนวยใหม

พื้นที่

ปริมาตร

ความหนาแนน

ความเร็ว

ความเรง

แรง

พลังงานจลน

2.2 สัญกรณวิทยาศาสตรและคําอุปสรรคในหนวยเอสไอ
การเขียนคาจํานวนจะพบวาบางครั้งจําเปนตองเขียนเลขจํานวนคาสูงมากๆ หรือ ต่ํามากๆ ซึ่งทําใหตัวเลข
นั้นเขาใจยาก เราสามารถเขียนอยูในรูปกําลังของสิบจะชวยใหเราเขาใจไดดีขึ้นและยังแสดงถึงตัวเลขนัยสําคัญของ
ปริมาณดวยรูปการเขียนก็กระทัดรัด บางครั้งเราเรียกกําลังของสิบวา ระดับขนาด
เชน เลขอาโวกาโดร (Avogadro’s number)
602000000000000000000000 mol-1 เขียนเปน.............................................................
คาคงตัวความโนมถวงสากล
0.0000000000667 N⋅m2/kg2 เขียนเปน............................................................

**หลักการเขียนสัญกรณวิทยาศาสตร มีรูปทั่วไปคือ...................................................................................
(scientific notation)
Pro Physics
Introduction page 4

คําอุปสรรค (prefix)
สําหรับคาที่จําเปนตองใชในยานที่มากหรือนอยกวาปกติ ก็จะเขียนในรูปของคําอุปสรรค (คํานําหนาหนวย)
เพื่อใหเกิดความสะดวกและรวดเร็วในการทําความเขาใจ
อุปสรรคที่ใชในหนวยเอสไอ
Factor prefix Symbol Factor prefix Symbol
1024 10−24
1021 10−21
1018 10−18
1015 10−15
1012 10−12
109 10−9
106 10−6
103 10−3
102 10−2
101 10−1

การแปลงหนวย บางครั้งถาหนวยของปริมาณที่สัมพันธกันมีระดับขนาดไมเทากันเพื่อใหหาความสัมพันธไดจําเปนตอง
มีการแปลงหนวย
ตัวอยาง จงแปลงหนวยตอไปนี้
2 cm ใหมีหนวยเปน m 2 cm ใหมีหนวยเปน mm

2 2
2000 m ใหมีหนวยเปน km 3 mm ใหมีหนวยเปน m

3 3
1 g/cm ใหมีหนวยเปน kg/m 36 km/hr ใหมีหนวยเปน m/s

Pro Physics
Introduction page 5

2.3 ความไมแนนอนในการวัด

Pro Physics
Introduction page 6

เลขนัยสําคัญ คือ ตัวเลขที่ไดจากการวัด ซึ่งสามารถบอกถึงความแมนและความเที่ยงของการวัดนั้นได


ขึ้นอยูกับความละเอียดของเครื่องมือวัดที่ใช

Pro Physics
Introduction page 7

Pro Physics
Introduction page 8

ความคลาดเคลื่อน
ความคลาดเคลื่อนแบงออกเปน 3 ประเภทใหญ ๆ คือ
1. ความคลาดเคลื่อนเชิงบุคคล (Personal Errors)
หมายถึง ความคลาดเคลื่อนที่เกิดจากความสะเพราของเราเอง วิธีแกไขความคลาดเคลื่อนนี้ทําไดโดย
ใชความระมัดระวัง และอานคาพรอมบันทึกซ้ําหลายครั้ง
2. ความคลาดเคลื่อนเชิงระบบ (Systematic Errors)
เปนความคลาดเคลื่อนที่ขึ้นอยูกับเทคนิคการวัดและการใชเครื่องมือ ซึ่งยากตอการตรวจวัด
ความคลาดเคลื่อนประเภทนี้คอนขางสําคัญ ความคลาดเคลื่อนนีไ้ มสามารถทําใหมีคานอยลงโดยการทําการ
ทดลองซ้ําหลาย ๆ ครั้ง แตสามารถลดคาความคลาดเคลื่อนไดจากการทําความเขาใจเกี่ยวกับเครื่องมือ เทคนิค
ที่ใช ปรับเปลี่ยนวิธีการทดลองเปนตน
3. ความคลาดเคลื่อนเชิงสถิติ (Statistical Errors) หรือ ความคลาดเคลื่อนแบบสุม (Random
Errors)
เปนความคลาดเคลื่อนที่ยังเหลืออยูหลังจากถึงแมเราจะแกไขปญหาความคลาดเคลื่อนจากสอง
ประเภทแรกไดแลวก็ตาม อาจเกิดสาเหตุอื่นๆ ที่เราไมอาจรูไดหมด การวัดที่ดีจะทําใหความคลาดเคลื่อนนี้มีคา
นอยและเราสามารถทําใหความคลาดเคลื่อนนี้มีคาต่ําสุดไดโดยการทดลองซ้ําหลายๆ ครั้ง หรือใชวิธีการ
วิเคราะหเชิงสถิติ
**โดยทั่วไปคาความคลาดเคลื่อนของการทดลองควรมีคานอยๆ **

การวิเคราะหความคลาดเคลื่อนและบันทึกความคลาดเคลื่อน

Pro Physics
Introduction page 9

Pro Physics
Introduction page 10

Pro Physics
Introduction page 11

Pro Physics
Introduction page 12

Pro Physics
Introduction page 13

Pro Physics
Introduction page 14

Pro Physics
Introduction page 15

2.4 การวิเคราะหผลการทดลองดวยกราฟเสนตรง

Pro Physics
Introduction page 16

Pro Physics
Introduction page 17

ตัวอยาง เมื่อทดลองวัดความเร็วการเคลื่อนที่ของวัตถุในแนวตรง ที่เวลาตางๆ ไดขอมูลดังแสดงในตาราง ใหใชกราฟ


เพื่อวิเคราะหหาความสัมพันธระหวางความเร็วกับเวลาสําหรับการเคลื่อนที่ของวัตถุนี้
เวลา t (วินาที : s) ความเร็ว v (เมตร/วินาที : m/s)
1 1.30
2 2.22
3 2.61
4 3.03
5 3.89
6 4.51
7 5.04
8 5.90
9 6.32

Pro Physics
Introduction page 18

ตัวอยาง จากการทดลองวัดเวลาการเคลื่อนที่ของวัตถุกับตําแหนงในแนวตรงจากตําแหนงอางอิงเคลื่อนที่ไดผลการ
ทดลองดังตาราง
เวลา t (วินาที : s) ตําแหนง s (เมตร m) t2 (s2)
1 3.5
2 5.5
3 10.1
4 16.5
5 23.1
6 32.9
7 43.0
8 57.1
9 70.2

Pro Physics
Introduction page 19

Pro Physics
Introduction page 20

3. เวกเตอรและคณิตศาสตรสําหรับฟสิกส
อัตราสวนตรีโกณมิติ

ทฤษฎีบทพีทาโกรัส

Pro Physics
Introduction page 21

เวกเตอรหนึ่งหนวย
เวกเตอรหนึ่งหนวย (unit vector) ของเวกเตอรใดๆ คือ เวกเตอรที่มีขนาดหนึ่งหนวย และมีทิศทางเดียวกับ
เวกเตอรน้นั เรานิยมใชเวกเตอรหนึ่งหนวยในการบอกทิศทาง
 
เชน ถา A เปนเวกเตอรที่มีขนาด A และ a เปนเวกเตอรหนึ่งหนวยของ A

A = Aaˆ



A 
นิยาม aˆ = หรือ A = Aaˆ
A
ในระบบพิกัดฉากเราอาศัยเวกเตอรหนึ่งหนวย iˆ, jˆ, kˆ ในการบอกทิศทางในแนวแกน x แกน y และ แกน z
ตามลําดับ

Pro Physics
Introduction page 22

Pro Physics
Introduction page 23

Pro Physics
Introduction page 24

Pro Physics
Introduction page 25

Pro Physics
Introduction page 26

Pro Physics
Introduction page 27

แบบฝกหัดที่ควรทําได
ขอ 1. จงเปลี่ยนหนวยของปริมาณตอไปนี้
1) จงเปลี่ยน 1 km เปนหนวย Mm 5) ระยะทาง 5,600,000,000 m มีคากี่ Mm

2) จงเปลี่ยน 1 km เปนหนวย µm 6) จงเปลี่ยน 20 mm2 เปนหนวย km2

3) จงเปลี่ยน 1 dm3 เปนหนวย cm3 7) จงเปลี่ยน 2 N⋅km เปนหนวย N⋅m

4) จงเปลี่ยน 101.5 MHz เปนหนวย kHz 8) จงเปลี่ยน 10 µC/ms เปนหนวย C/s

Pro Physics
Introduction page 28

ขอ 2. การจัดขอมูลตัวเลขใหอยูในรูป A ×10 n เมื่อ 1 ≤ A < 10


1) ความยาว 32 km จะมีความยาวเทาใดในหนวย m ตอบ =…………………………….
2) กระแสไฟฟา 0.0046 A จะมีคาเทาใดในหนวย nA ตอบ =…………………………….
3) พลังงาน 100 kN⋅m จะมีคาเทาใดในหนวย N⋅cm ตอบ =…………………………….
4) เวลา 180 ms จะมีคาเทาใดในหนวย min ตอบ =…………………………….
5) ปริมาตร 375 cm3 จะมีคาเทาใดในหนวย m3 ตอบ =…………………………….
6) 48260000 สามารถเขียนเปนเลขนัยสําคัญ 4 ตัว อยางไร

ขอ 3. จงอานคาจากเครื่องมือวัดตอไปนี้ พรอมกับตอบคําถาม


1)
อานคาพรอมบอกคาความคลาดเคลื่อน
……………………………………………………………………
จํานวนเลขนัยสําคัญ
……………………………………………………………………

2)
อานคาพรอมบอกคาความคลาดเคลื่อน
……………………………………………………………………
จํานวนเลขนัยสําคัญ
……………………………………………………………………

3)
อานคาพรอมบอกคาความคลาดเคลื่อน
……………………………………………………………………

จํานวนเลขนัยสําคัญ
……………………………………………………………………
4)
อานคาพรอมบอกคาความคลาดเคลื่อน
……………………………………………………………………

จํานวนเลขนัยสําคัญ
……………………………………………………………………

Pro Physics
Introduction page 29

5)
อานคาพรอมบอกคาความคลาดเคลื่อน
……………………………………………………………………

จํานวนเลขนัยสําคัญ
……………………………………………………………………

ขอ 4. จงหาผลลัพธของคําถามตอไปนี้ตามหลักเลขนัยสําคัญ 4.36 + 2.1 – 0.012

ขอ 5. หองหนึ่งกวาง 3.40 เมตร ยาว 12.71 เมตร หองจะมีพื้นที่เทาไร

ขอ 6. ขนมชิ้นหนึ่งมีมวล 2.00 กิโลกรัม ถูกแบงออกเปนสี่สวนเทากันพอดี แตละสวนจะมีมวลกี่กิโลกรัม

Pro Physics
Introduction page 30

ขอ 7. โลหะอะลูมิเนียม มีความหนาแนน 2.70 g/cm3 ขึ้นรูปเปนลูกบาศก ปริมาตร 0.20 cm3 จงคํานวณหา
มวลของโลหะอะลูมิเนียมนี้เปนเทาใด

ขอ 8. ถาวัดดานยาวและกวางของสี่เหลี่ยมผืนผาได 15.30 ± 0.05 cm และ 12.80 ± 0.05 cm ตามลําดับ


อยากทราบวาดานยาว ยาวกวาดานกวางเทาใด

ขอ 9. เชือกเสนหนึ่งยาว 22.24±0.05 cm ถาตัดออกเปน 2 เสน โดยเสนที่หนึ่งยาว 12.2±0.1 cm เชือกอีกเสนหนึ่ง


ยาวเทาใด

Pro Physics
Introduction page 31

ขอ 10. กระดาษรูปสี่เหลี่ยมผืนผา มีดานกวาง 36.02±0.05 cm และมีดานยาว 96.5±0.1 cm แผนกระดาษแผนนี้จะ


มีพื้นที่เปนเทาไร

ขอ 11. กลองใบหนึ่งมีความยาว  = 5.0 ± 0.2 cm ความกวาง b = 4.0 ± 0.1 cm ความสูง h = 8.0 ± 0.2 cm
จงหาปริมาตรของกลองนี้

Pro Physics
Introduction page 32

ขอ 12. การเคลื่อนที่ของวัตถุหนึ่ง มีขอมูลตําแหนงและเวลาดังตาราง ใหนักเรียนเขียนกราฟระหวางตําแหนงและเวลา


โดยกําหนดใหเวลาเปนแกนนอน และตําแหนงเปนแกนตั้ง จงหาความชันของกราฟและระบุหนวยของความชัน

เวลา (วินาที) ตําแหนง (เมตร)


8.0 38
10.0 78
12.0 94
14.0 113
16.0 141
18.0 170
20.0 190
22.0 220

Pro Physics
Introduction page 33

ขอ 13. จากรูป กําหนดใหเวกเตอร A มีขนาด 5 หนวย , เวกเตอร B มีขนาด 8 หนวย , เวกเตอร C มีขนาด 12
หนวย และเวกเตอร D มีขนาด 10 หนวย จงหาเวกเตอรลัพธของเวกเตอรท้งั 4

y

D

A
53
30
 x
C
37 


B

Pro Physics
Introduction page 34

Note.

.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................

Pro Physics
Introduction page 35

Note.

.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................

Pro Physics
Introduction page 36

Note.

.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................

Pro Physics

You might also like