You are on page 1of 46

การทดสอบโดยไม่ทาลาย

Non-Destructive Testing
Suranaree University of Technology
Department of Mechanical Engineering
Dr. Teetut Dolwichai
1
การทดสอบโดยไม่ทาลาย
(Non-Destructive Testing)

เ ป็ น ก ารท ด สอ บ คุ ณ สม บั ติ ส ม รร ถภ าพ แ ล ะ
ตรวจสอบว่ามีความบกพร่องเกิดขึ้นในวัสดุหรือ
โครงสร้างหรือไม่ โดยไม่ก่อให้ เกิดความเสี ยหาย
ต่ อ รูป ร่ า ง ขนาด หรื อ สมบัติ ข องชิ้ น ทดสอบแต่
อย่างใด
การทดสอบจะใช้ หลักการของสมบัติทางฟิสิกส์ เช่ น
แสง รังสี ไฟฟ้ า แม่เหล็ก อัลตราโซนิก เป็ นต้น
2
วัตถุประสงค์
1. เพื่อเพิ่มความเชื่อมันและคุ
่ ณภาพ
ของผลิตภัณฑ์
2. เพื่อให้เกิดการปรับปรุงกระบวนการ
ผลิต
3. เพื่อลดต้นทุนการผลิต ในการ
ทดสอบแบบทาลาย
4. อื่นๆ เช่น เพื่อตอบสนองความ
ต้องการของลูกค้า
3
ประเภทของการทดสอบ
แบ่งได้เป็ น 2 ประเภท คือ
1. การตรวจสอบความบกพร่องภายใน เช่น
 X-ray
 Ultrasonic
2. การตรวจสอบความบกพร่องภายนอก เช่น
 Liquid penetration
 Eddy current
 Magnetic particle 4
 Introductionto NDT
http:www.ndt-ed.org

 Website บทเรียนศึกษาด้วยตัวเอง
http://onlineshowcase.tafensw.edu.au/ndt/_common
/indx_accessible.htm

5
1.1 X-ray Radiographic
 เป็ นการตรวจสอบว่ามีรโู พรงภายในชิ้นงานหรือไม่
 หลักการ การผ่านได้ของรังสี เอกซ์ในวัตถุทึบแสง
ซึ่ ง มี ห ลัก การเดี ย วกัน กับ การใช้ X-ray ในทาง
การแพทย์
 ภาพ X-ray ที่ได้จะมีขนาดเท่าของจริง
 บริเวณที่ เป็ นโพรง แสงผ่านได้มากกว่า จะให้สีเข้ม
กว่า
6
 X-ray เป็ นคลี่นแม่เหล็กไฟฟ้ าที่ มีความถี่สงู จะ
สามารถแทรกซึมโลหะและวัสดุทึบแสงได้
 ค่าพลังงานของรังสี X จะประมาณ 50 ถึง 106
electron volt (eV, 1 eV = 1.602 x 10-19 J)
 การสร้างรังสี X ทาได้โดยการยิงกระทบแผ่น
โลหะ ด้วยลาอิเลคตรอนที่มีความถี่สงู ภายใน
X-ray tube
7
Anode Cathode

Tungsten
Vacuum filament ชิ้นงาน
tube
Tungsten
target

X-rays
Tube to film
distance

Sample

void
Film ฟิล์ม X-ray
8
Exposed film
ความเข้มของสีที่ปรากฏบนแผ่นฟิล์มจะขึน้ อยู่กบั
1. ความหนาของชิ้นงาน

2. พลังงานของรังสีที่ใช้

3. ค่ า สั ม ประสิ ทธ์ ิ การดู ด กลื น พลั ง งานของ


ชิ้นงาน
4. คุณภาพของฟิล์มที่ใช้ เป็ นต้น

9
ความลึกของการทดสอบโดยใช้ X-ray tubes ของเหล็กกล้า

Tube voltage (kV) Penetration ability (mm)


150 up to 25
250 up to 70
400 up to 100
1000 5-140
10
บทเรียน online
 Viewing and Interpretation of Radiographs

http://onlineshowcase.tafensw.edu.au/ndt/co
ntent/radiographic/task8/accessible.htm

11
1.2 Ultrasonic test
 ธรรมชาติ ข องคลื่ น เสี ย งจะมี ส มบัติ ยื ด หยุ่ น (Elastic
waves) สามารถผ่านได้ทงั ้ ในของเหลว และ ของแข็ง
 คลื่นอัลตราโซนิก เป็ นคลื่นเสี ยงความถี่สูงกว่ า 20,000
Hz ซึ่งหูมนุษย์ไม่สามารถได้ยินได้
 การวัดจะใช้หลักการสะท้อนกลับของคลื่นในเนื้ อวัสดุ

 ความถี่ ที่ ใ ช้ ใ นการทดสอบ ประมาณ 0.5 MHz ถึ ง 20


MHz
12
Ultrasonic wave
เมื่อคลื่นอัลตราโซนิกเกิดการสะท้อน จะเกิดคลื่นสะท้อนอยู่ 2 ลักษณะ
คือ
1. คลื่นตามยาว (Longitudinal wave) อนุภาคตัวกลางจะเคลื่อนที่
ขนานกับทิศของคลื่น, ในน้าและอากาศ จะมีเฉพาะคลื่นตามยาว
ทิศของคลื่น
2. คลื่นตามขวาง (Transverse wave) อนุภาคตัวกลางจะเคลื่อนที่ ตงั ้
ฉากกับทิศของคลื่น จะมีเฉพาะในของแข็ง

ทิศของคลื่น
13
คลื่นตามยาว (Longitudinal wave)

คลื่นตามขวาง (Transverse wave)

14
 คลื่นอัลตราโซนิก จะผ่านได้ในวัสดุ แต่ จะผ่านได้น้อย
ในอากาศ
Medium Longitude Velocity, Wavelengths (mm)
(m/s) for 1.25 MHz
Air (15C) 330 0.26
Water 1430 1.14
Oil 1740 1.39
Aluminium 6190 4.95
Copper 4600 3.68
Steel 5810 4.65
Polyethylene 2340 1.8715
 อัต ราของการเกิ ด คลื่ น , ความยาวคลื่ น และ การ
สะท้ อ นกลับ ของคลื่ น จะขึ้ น อยู่ ก ับ สมบัติ ข องวัส ดุ
ต่อไปนี้
1. The modulus of elasticity, E
2. The density, 
ความเร็วคลื่นในของแข็งตามยาว, Vc จะมีค่าเท่ากับ
1
 E (1  )  2
VC   
 (1  )(1  2 )  
 คือ Poisson’s ratio 16
การสะท้อนกลับของคลื่น “Refraction”
การวัด: ใช้หลักการการสะท้อนกลับของคลื่นตามขวาง โดยที่ L= 90

คลื่นตกกระทบ คลื่นสะท้อน Snell’s Law


sin e1 sin e 2

1 V1 V2
ตัวกลาง 1
ผิวสะท้อน
ตัวกลาง 2 L
คลื่นหักเหตามยาว
2
คลื่นหักเหตามขวาง
17
ส่วนประกอบของหัววัด
Housing
Socket

Matching
Damping- element
back
Protecting
Crystal face

ใช้ผลึกของวัสดุ Piezoelectric เช่น Quartz เป็ น Transducer


ซึ่งสามารถเปลี่ยนการสันสะเทื
่ อนทางไฟฟ้ าเป็ นการสันสะเทื
่ อนทางกล
เกิดเป็ นคลื่นในความถี่ที่ต้องการ
18
 หัวตรวจวัดจะมีตวั เดียวหรือ 2 ตัวก็ได้ ขึน้ กับความหนา และ
ความสามารถในการเข้าถึงของชิ้นงาน

ส่ง-รับ ส่ง
Defect

รับ

19
S =ct/2
s = sound path [mm]
c = sound velocity [km/s]
S t = time of flight (ms)

20
No Flaw
Transmitter Transmitter Transmitter

Work piece Work piece Work piece


probe probe probe

1 2 3
Back wall echo
21
Flaw Detection
Flaw Flaw

Work piece Work piece

probe probe

22
Elliptical defect

Micro-porosity

Angled defect

23
Angle probe

24
บทเรียน online

 Fundamentals of Ultrasonic Imaging and


Flaw Detection

http://zone.ni.com/devzone/cda/tut/p/id/3
368

25
2.1 Liquid Penetrant Inspection
ใช้ ตรวจสอบรอยร้าวเล็กๆที่ ผิวชิ้นงานที่ มองด้ วยตาเปล่ าไม่เห็น
แต่ความลึกของรอยตาหนิไม่สามารถทราบได้
รอยร้าวที่มกั เกิดที่ผิว เช่น
• รอยร้าวจากอุณหภูมิ
• รอยร้าวจากการเจียรไน
• รูอากาศ
• รอยร้าวจากความเครียด เป็ นต้น
26
วิธีการ
1. ทาความสะอาดผิวชิ้นงาน 1. ทาสารละลายแทรกซึม
2. ใช้ ของเหลวทาให้ ทวผ ั ่ ิ วหน้ าให้
ซึ ม ลงใปในรอยแยก ทิ้ ง ไว้ ส ัก
ระยะ 3-20 นาที 2. ล้างส่วนเกินออก
3. ขจัด ส่ ว นที่ อ ยู่ เ ฉพาะผิ ว หน้ า
ออกไป
4. ใช้ ส ารละลายอี ก ชนิ ดหนึ่ งดู ด 3. สารละลายถูกดูดซับ
ของเหลวที่ ซึมลงใปในรอยแยก ขึน้ มาที่ผิวด้วยสารตัวที่ 1
ออกมา ท าให้ ม องเห็น ได้ ด้ ว ย
ตาเปล่า
4. มองเห็นรอยแยก27ด้วยตาเปล่า
• The penetrant used is often loaded with a fluorescent
dye and the inspection is done under UV light to increase
test sensitivity.

28
29
What are the advantages and disadvantages of penetrant examination in
non-destructive examination?

 ชิ้นงานไม่ถกู ทาลาย  ไม่สามารถทราบความลึก


ของรอยร้าวได้
 ทาได้ง่าย สะดวก
 ไม่สามารถตรวจสอบ
รวดเร็ว
บริเวณที่เข้าไม่ถึงได้
 สามารถทาให้มองเห็น
 สารเคมีอาจเสื่อม
ด้วยตาเปล่า
ประสิทธิภาพได้
 เทคนิคไม่ซบ ั ซ้อน
 ประหยัด
30
What are the principles of penetrant examination in non-
destructive examination?

31
2.2 Magnetic Particle Inspection
 เป็ นการทดสอบเพื่อหารอยร้าวบริเวณผิวของ
ชิ้นงาน โดยใช้หลักการของแม่เหล็ก
Magnetic lines
of flux

32
Magnetic field Magnetic particles
lines
S N
N S

crack

33
34
วิธีการทดสอบ
1. เหนี่ ยวนาให้วสั ดุที่จะทดสอบมีสนามแม่เหล็ก
2. จากนัน ้ จึงใช้ผงเหล็กเคลือบสีเรืองแสงโปรยลงบน
ผิวชิ้นงาน
3. บริเวณรอยร้าว รอยแตก จะทาให้การไหลของ
แม่เหล็กขัดข้อง หรือความเป็ นแม่เหล็กอ่อนตัวลง
ผงโลหะก็จะรวมตัวกันบริเวณรอยแยกนัน้ และจะ
สามารถมองเห็นได้ภายใต้แสงสว่าง
35
Magnetic
particle
indication

Before After
36
2.3 Eddy current testing
 หลักการของการเกิด electromagnetic field (สนามแม่เหล็ก
ไฟฟ้ า)
 จุดบกพร่องต่ างๆ เช่ น รอยร้าว และสารเจือปน จะมีค่า
electrical conductivity ต่างไปจากเนื้ อโลหะ และจะทาให้เกิด
การเปลี่ยนแปลงของ electromagnetic field
 สามารถตรวจ รอยตาหนิได้ ทงั ้ บริเวณผิว และภายในผิวที่ ลึก
ไม่เกิน 5 mm

37
Coil's
Coil magnetic field

Eddy current's
magnetic field

Eddy
currents

Conductive
material
38
วิธีการทดสอบ
1. เมื่อนาขดลวดเมื่อมีกระแสไฟฟ้ าไหลผ่าน มาวาง
ใกล้ชิ้นงานที่ เป็ นเหล็ก ขดลวดจะเหนี่ ยวนาเกิด
สนามแม่ เ หล็ ก และเกิ ดกระแสไหลวนเป็ น
วงรอบๆ
2. ถ้าหากวงของกระแสเกิดการเบี่ยงเบนก็จะทราบ
ได้ ว่ า มี ร อยบกพร่ อ งที่ ผิ ว ที่ เ ป็ นตัว ขัด ขวางการ
ไหลของกระแส 39
Eddy current solenoid coil

Excitation coil
Specimen

Crack

Eddy current

Magnetic field Difference receive coil


40
Pancake-type coil

Magnetic
field
Eddy current

Specimen

41
การประยุกต์ใช้งานของ NDT
 ทดสอบวัตถุดิบ เช่น ในงาน forging, casting
Extrusion เป็ นต้น
 ทดสอบในระหว่างกระบวนการผลิต เช่น ในงาน
machining, welding, grinding, heat treating เป็ นต้น
 ทดสอบในระหว่างการใช้งาน เพื่อทดสอบหา
cracking, corrosion, Erosion/wear และ heat
damage เป็ นต้น

42
ตัวอย่างการประยุกต์การใช้งาน
• Power plants ในโรงงานไฟฟ้ า จะมีกาหนดปิดเพื่อ
ตรวจสอบเป็ นระยะ
ตัวอย่างการตรวจสอบ เช่น จะทาการตรวจสอบหาความ
เสียหายที่เกิดจากการกัดกร่อนของเครื่องแลกเปลี่ยน
ความร้อน (Heat exchanger) ด้วยวิธี Eddy current

43
• การตรวจสอบสายเคเบิล จะทดสอบด้วย visual
inspection และ Electromagnetic เพื่อระบุการเกิด
รอยร้ายของลวดเคเบิล หรืออุปกรณ์ ที่ใช้ในการยก

44
การตรวจสอบความหนา
ของผนัง ถังบรรจุน้ามัน
ที่อาจจะบางลงเนื่ องจาก
การกัดกร่อน จะใช้
หุ่นยนต์ขนาดเล็กที่ปีน
กาแพงได้พร้อมติดตัง้
หัววัดคลื่นอัลตราโซนิก

45
Due date

46

You might also like