You are on page 1of 18

เตรียมสอบ PAT 2 2558 ส่วนของฟิ สิกส์ -1- www.focus-physics.

com

บทที่ 13 แสงเชิงฟิ สิกส์


การแทรกสอดแสง

ในแนวปฏิบัพ (An) (แถบสว่าง)


S1P  S2 P  n

d sin   n
dx

nD
ในแนวบัพ (Nn) (แถบมืด)
 1
S1P  S 2 P   n  
 2
 1
d sin    n  
 2
dx

 1
 n  D
 2

เมื่อ  = ความยาวคลื่น x = ระยะจากแนวกลางถึงแถบ


n = ลาดับที่ของแถบสว่างหรื อแถบมืด สว่าง หรื อ แถบมืดที่ n
d = ความห่างช่องสลิต D =L= ระยะจากสลิตถึงฉากรับ

1. เมื่อฉายแสงที่มคี วามยาวคลืน่ 500 nm ตกตังฉากบนช่


้ องแคบคูห่ นึง่ ซึง่ ห่างกัน 0.1 mm
จงหาว่าแถบสว่างลาดับที่ 20 จะเอียงทามุมกับแถบสว่างกลางกี่องศา (sin 6o = 0.1) (6o)
d sin   n
0.1  10 3 sin   20  500  10 9
1
sin    0.1
10
  sin 1 0.1
เตรียมสอบ PAT 2 2558 ส่วนของฟิ สิกส์ -2- www.focus-physics.com

2. ช่องแคบคูห่ นึง่ ห่างกัน 0.1 mm เมื่อฉายแสงความยาวคลืน่ 600 nm ตกตังฉากบนช่


้ อง
แคบ แถบสว่างลาดับที่ 4 บนฉากที่หา่ งออกไป 80 cm จะอยูห่ า่ งจากแนวกลางเท่าใด
วิธีทา
x
d   n
L
 x 
0.1  10 3    4  600  10
9

 0.8 
x  1.92  10 2 m
3(En 42/1) เมื่อใช้ แสงที่มคี วามยาวคลืน่ 5.0x10–7 เมตร ตกตังฉากกั
้ บสลิตคูเ่ กิดภาพ
การแทรกสอดบนฉากที่อยูห่ า่ งออกไป 1.2 เมตร ถ้ าระยะห่างระหว่างสลิตคูเ่ ท่ากับ
0.1 มิลลิเมตร แถบสว่าง 2 แถบที่ติดกันอยูห่ า่ งกันกี่มิลลิเมตร ( 6 mm)
L
5  10 7  1.2
x    6mm
d 0.1 10 3
4(En 43/1) ให้ แสงที่มีความยาวคลืน่ 500 นาโนเมตร ผ่านสลิตคูใ่ นแนวตังฉาก ้ เกิดลวดลายการ
แทรกสอดบนฉากที่อยูห่ า่ งจากสลิต 1.5 เมตร วัดระยะระหว่างกึง่ กลางของแถบสว่าง 2 แถบที่
ถัดกันได้ 5 มิลลิเมตร สลิตคูน่ ี ้มีระยะห่างระหว่างช่องสลิตเท่าใดในหน่วยมิลลิเมตร (0.15 mm)
L
x 
d
500  10 9  1.5
5  10 3 
d
9
500 10 1.5
d  0.15mm
5 103

5. [ข้ อสอบเข้ ามหาวิทยาลัย / PAT 2 มี.ค. 2554 ]


นักเรี ยนคนหนึง่ ทาการทดลองการแทรกสอดของยัง ถ้ าแสงทีใ่ ช้ มคี วามยาวคลืน่ 650 นาโนเมตร และระยะระหว่าง
ช่องแคบคูก่ บั ฉากเป็ น 2.0 เมตร วัดระยะห่างของแถบสว่างจากแนวกลางบนฉากได้ ผลดังรูป ช่องแคบคูท่ ี่ใช้ มี
ระยะห่างระหว่างช่องเป็ นกี่มิลลิเมตร
4.0 cm

( )

1. 0.13 2. 0.26  3. 0.33 4. 0.65


เตรียมสอบ PAT 2 2558 ส่วนของฟิ สิกส์ -3- www.focus-physics.com

x
d   n ตรงกลางไม่นบั ดังนัน้ n  8
L
 4 102 
  8  650 10 
9
d
 2 
8  650 10 9 
d
2 10 2
d  2600 107 m  0.26mm

6. [ข้ อสอบเข้ ามหาวิทยาลัย / PAT 2 พ.ย. 2557 ]


ในการทดลองการแทรกสอดจากสลิตคูข่ องยัง เมื่อใช้ แสงทีม่ ีความยาวคลืน่ ค่าหนึง่ สังเกตเห็น
แถบสว่าง – แถบมืดบนฉาก หากเปลีย่ นมาใช้ แสงที่มคี วามถี่ลดลง แถบสว่างลาดับที่ 3 ที่ปรากฏ
บนฉากจะเป็ นอย่างไร
1.อยูห่ า่ งจากแถบสว่างกลางมากขึ ้น
2.อยูห่ า่ งจากแถบสว่างกลางน้ อยลง
3.อยูห่ า่ งจากแถบสว่างกลางเท่าเดิม
4.อยูห่ า่ งจากแถบสว่างกลางเท่าเดิม แต่ความกว้ างมากขึ ้น
x
เฉลย 4) จากสูตร d   n c  f
L
dx 1
n   
 L f
ความถี่มากความยาวคลื่นน้ อย ความถี่น้อยความยาวคลื่นมาก
7(En 41) แสงขาวตกตังฉากกั
้ บเกรตติง สเปกตรัมลาดับที่ 3 ของแสงสีมว่ งตรงกับสเปกตรัม
ลาดับที่ 2 ของแสงสีแดง ถ้ าความยาวคลืน่ ของแสงสีมว่ งเป็ น 440 นาโนเมตร ความยาว
คลืน่ ของแสงสีแดงเป็ นกี่นาโนเมตร ( 660 mm)
n11  n 2 2
3440  22
2  660nm
เตรียมสอบ PAT 2 2558 ส่วนของฟิ สิกส์ -4- www.focus-physics.com

8. [ข้ อสอบเข้ ามหาวิทยาลัย / PAT 2 มี.ค. 2552 ]


เมื่อแสงแดดผ่านแผ่นเกรตติง ภาพที่ปรากฏบนฉากรับภาพจะเป็ นอย่างไร

1.

2.

3. 

4.

เฉลย 3)

แสงแดดเป็ นแสงขาวประกอบด้ วยสเปกตรัมต่อเนื่องของแสงสีมว่ งถึงสีแดง เมื่อผ่าน


แผ่นเกรตติงจะเกิดการเลี ้ยวเบนแยกสี โดยสีมว่ ง  สัน้ จะมีมมุ เบีย่ งเบนน้ อยที่สดุ
สมการของแถบสว่างอันดับที่ n ของแสดงความยาวคลืน่  คือ d sin   n
ซึง่ สังเกตว่าอันดับของสเปกตรัมชุดเดียวกัน  สัน้ จะมีมมุ  เล็กกว่า  ยาว
เตรียมสอบ PAT 2 2558 ส่วนของฟิ สิกส์ -5- www.focus-physics.com

9. [ข้ อสอบเข้ ามหาวิทยาลัย / PAT 2 ก.ค. 2552 ]


สมบัติใดของแสงเลเซอร์ ที่ทาให้ ผลการเลี ้ยวเบนด้ วยแผ่นเกรตติง ปรากฏภาพการเลี ้ยวเบนได้ ชดั เจน
1. มีความถี่ใกล้ เคียงความถี่เดียว 2. มีลาแสงที่แคบและไม่บานออกเหมือนแสงทัว่ ไป
3. มีความเข้ มสูงมาก 4. มีการเลี ้ยวเบนได้ ดีกว่าแสงประเภทอื่น
เฉลย 1) มีความถี่ใกล้ เคียงความถี่เดียว
การเลี ้ยวเบนของเกรตติงเป็ นไปตามสมการ d sin   n
ดังนัน้ ถ้ ามีแสงหลายความยาวคลืน่ จะมีการรบกวนกันเกิดเป็ นแถบสเปกตรัม
แต่แสงเลเซอร์ มีความถี่เดียว จึงเห็นการเลี ้ยวเบนเฉพาะความถี่นนอย่ั ้ างชัดเจน

10. เมื่อให้ แสงความยาวคลืน่ 1 และ 2 ผ่านสลิตคูซ่ งึ่ ห่างกัน d พบว่าแถบมืดที่ 4 ของ


แสงความยาวคลืน่ 1 เกิดขึ ้นที่เดียวกับแถบมืดที่ 5 ของแสงความยาวคลืน่ 2 อัตราส่วน
1
ของ มีคา่ เท่าใด (9/ 7)
2
n1  0.51  n 2  0.52
4  0.51  5  0.52
3.51  4.52
1 4.5 9
 
 2 3.5 7
11(มช 31) เกรตติ ้งมี 2000 เส้ นต่อเซนติเมตร ถ้ าฉายแสงความยาวคลืน่ ขนาดหนึง่ ไปยัง
เกรตติ ้งนี ้ แถบสว่างทีเ่ กิดขึ ้นแถบแรกบนจอจะอยูห่ า่ งจากแนวกลางเป็ นมุม 30 องศา
แสงนันมี
้ ความยาวคลืน่ เท่าใดในหน่วยนาโนเมตร
ก. 1.5 x 10–6 ข. 2.5 x 10–6 ค. 1.5 x 103 ง. 2.5 x 103
d sin   n
10 2
sin 30 0  1
2000
10 2  1 
   1
2000  2 
  2.5 103
เตรียมสอบ PAT 2 2558 ส่วนของฟิ สิกส์ -6- www.focus-physics.com

12(En 36) จากการทดลองเพื่อศึกษาสเปกตรัมของก๊ าซไฮโดรเจน โดยใช้ เกรตติงซึง่ มีจานวนช่อง/เซนติเมตรเท่ากับ


4500 ดังรูป พบว่าเมื่อระยะ D เท่ากับ1 เมตร จะมีแถบสว่างสีเดียวกันบนไม้ เมตรห่างจากจุด O ทังทางด้
้ านซ้ ายและ
ขวาเท่ากันคือ 0.3 เมตรจงหาว่าแถบสว่างนัน้ มีความยาวคลืน่ ประมาณ
x
d   n
L

10 2  0.3 
   1
4500  1 
  667 nm

13. ฉายแสงที่มีความยาวคลืน่ 500 นาโนเมตร ลงบนเกรตติงที่มจี านวนเส้ น 5000 เส้ นต่อ


เซนติเมตรระหว่างมุม  = 0o ถึง  = 90o จะมีตาแหน่งสว่างได้ กี่ตาแหน่ง ( 3 )
d sin   n
10 2
sin 90  n500  10 9
5000
10 2
n 4 ระหว่างจะตอบแค่ 3 เท่านัน้
5000  500  10  9

14(มช 36) แสงความยาวคลืน่ 500 นาโนเมตร พุง่ ผ่านเกรตติงพบว่าแนวแถบสว่างแถบที่ 4


ทามุมกับแนวแถบสว่างตรงกลางเท่ากับ 30 องศา จงหาจานวนช่องสลิตต่อเซนติเมตร
ของเกรตติงนี ้
1. 2000 2. 200 3. 3333 4. 2500 ( ข้ อ 4.)
d sin   n
d sin 30  4  500 10 9
1 1 9
   2000 10
N2
1
N  2500
2  200 10 9
เตรียมสอบ PAT 2 2558 ส่วนของฟิ สิกส์ -7- www.focus-physics.com

15. [ข้ อสอบเข้ ามหาวิทยาลัย / PAT 2 มี.ค. 2556 ]


ฉายแสงความยาวคลืน่ 650 นาโนเมตรผ่านเกรตติงที่มีจานวน 2,000 เส้ นต่อเซนติเมตร จะสังเกตเห็น
แถบสว่างปรากฎบนฉากที่อยูไ่ กลออกไปกี่แถบ (รวมแถบสว่าวกลางด้ วย)
1. 8 2. 14
3. 15 4. 17
d sin   n
102
2000

sin 90  n 650 109 
102 1
n

2000  650 109 
103
n  7.70
2  65
n7

ซ้ าย  กลาง  ขวา  7  1  7  15
เตรียมสอบ PAT 2 2558 ส่วนของฟิ สิกส์ -8- www.focus-physics.com

การเลีย้ วเบนแสง

การเลี้ยวเบนของคลื่นใด ๆ จะเกิดได้ดีก็ต่อเมื่อความกว้างของช่องแคบมี
ขนาดเล็กกว่าความยาวคลื่น (  )สาหรับคลื่นแสง หากความกว้าง
ช่องแคบมีขนาดใหญ่กว่าความยาวคลื่นจะทาให้เกิดแนวมืด เรี ยกแนวบัพ (N)
สมการเกี่ยวกับการเลี้ยวเบน

เมื่อ  = ความยาวคลื่น
n = ลาดับที่ของแถบมืด
d = ความกว้างของช่องสลิตเดี่ยว
x = ระยะจากแนวกลางถึงแถบมืดที่ n
D = ระยะจากสลิตถึงฉากรับ

เมื่อ  = ความยาวคลื่น
n = ลาดับที่ของแถบมืด d = ความกว้างของช่องสลิตเดี่ยว
x = ระยะจากแนวกลางถึงแถบมืดที่ n D = ระยะจากสลิตถึงฉากรับ

16. [ข้ อสอบเข้ ามหาวิทยาลัย / PAT 2 ต.ค. 2552 ]


ถ้ าทาการทดลองการเลี ้ยวเบนของแสงผ่านสลิตเดี่ยวในน ้าเปรี ยบเทียบกับที่ทดลองในอากาศ
ข้ อใดถูก
1. ระยะห่างระหว่างแถบมืดบนฉากมีคา่ มากขึ ้น
2. สีของแถบสว่างบนฉากเปลีย่ นแปลงไป
3. แถบสว่างกลางมีความกว้ างเพิ่มขึ ้น
4. ผลที่ได้ ไม่แตกต่างกัน
เฉลย ไม่ มีคาตอบ
ในนา้ ความยาวคลื่นของแสงมีค่าสัน้ ลง
0
w 
n
เมื่อ 0 คือ ความยาวคลืน่ แสงในอากาศ
เตรียมสอบ PAT 2 2558 ส่วนของฟิ สิกส์ -9- www.focus-physics.com

w คือ ความยาวคลืน่ แสงในน ้า


n คือ ดัชนีหกั เหของน ้า
การเลีย้ วเบนผ่ านช่ องแคบเดี่ยวที่มีความกว้ าง a สมการของแถบมืด คือ
 n  n  1
dsin 
n
sin   
d
n 0 sin  0
ดังนัน้ ในน ้า sin   
d n n
เนื่องจากในน ้า n  1 ดังนัน้ ค่า sin  ในน ้า จะน้ อยกว่า sin  อากาศ
ดังนัน้ แถบสว่างกลางจะแคบลง ระยะห่างระหว่างแถบมืดบนฉากจะลดลง สีของแถบ
สว่างบนฉากจะคงเดิม

17. [ข้ อสอบเข้ ามหาวิทยาลัย / PAT 2 ก.ค. 2553 ]


ฮีเลียม-นีออนเลเซอร์ ให้ แสงทีม่ คี วามยาวคลืน่ 630 นาโนเมตร เมื่อฉายผ่านสลิตเดี่ยวที่กว้ าง 200 ไมโครเมตร จะ
เกิดริว้ การเลี ้ยวเบนบนฉากที่อยูห่ า่ งจากสลิตเป็ นระยะ 2.0 เมตร ความกว้ างของแถบสว่างที่เกิดขึ ้นบนฉากนี ้เป็ นกี่
มิลลิเมตร
1. 0.63 2. 1.26
3. 6.30 4. 12.6
x
d  n
D
 200 10  x2  1  630 10 
6 9

1  630 10   2


9

x
 200 10  6

1  630 10   2


9

x
 200 10  6

x  6.3103
ความกว้ างของแถบสว่างที่เกิดขึ ้นบนฉากนี ้เป็ นกี่มิลลิเมตร 2x  2  6.3103  12.6 103  12.6mm
เตรียมสอบ PAT 2 2558 ส่วนของฟิ สิกส์ - 10 - www.focus-physics.com

18. [ข้ อสอบเข้ ามหาวิทยาลัย / PAT 2 มี.ค. 2555 ]


พิจารณาการแทรกสอดจากช่องแคบคู่ ดังรูป

สูตร S1Q  S2Q  dsin   n ใช้ สาหรับพยากรณ์ตาแหน่งแถบสว่างของการแทรกสอดจากช่องแคบคู่ สูตรนี ้


จะให้ ผลที่ผิดพลาดในกรณีใด
1. d  
2. I  10d
3. แหล่งกาเนิดแสงเป็ นแสงกระพริ บ
4. แสงที่ใช้ เป็ นแสงสีเดียวแต่เป็ นชนิดโพลาไรส์เชิงเส้ น
เฉลย 1) d < λ ∴ สูตรจะผิดพลาด ถ้ า d < λ

19. ฉายแสงผ่านสลิตเดีย่ วทาให้ เกิดแนวมืดแถบแรกเบนไปจากแนวกลางเป็ นมุม 30o


กาหนดความยาวคลืน่ 650 nm จงหาความกว้ างของช่องสลิต ( 1.3  m)
d sin   n
d sin 30 0  1 650 10 9
1
d    1  650  10 9
2
d  1300 10 9  1.3 10 6 m
เตรียมสอบ PAT 2 2558 ส่วนของฟิ สิกส์ - 11 - www.focus-physics.com

20(En 42/2) ใช้ แสงมีความยาวคลืน่ 400 นาโนเมตร ตก


ตังฉากผ่
้ านสลิตเดีย่ วที่มคี วามกว้ างของช่องเท่ากับ 50
ไมโครเมตร จากการสังเกตภาพเลี ้ยวเบนบนฉาก พบ
ว่าแถบมืดแถบแรกอยูห่ า่ งจากกึง่ กลางแถบสว่างกลาง
6.0 มิลลิเมตร ระยะระหว่างสลิตเดี่ยวกับฉากเป็ นเท่า
ใดในหน่วยเซนติเมตร (75)
x
d    n
L
 6 103 
50 106    1 400 10
9

 L 
50 106  6 103
L 9
 75 102 m
400 10

21. ใช้ แสงความยาวคลืน่ 600 นาโนเมตร ฉายผ่านสลิตเดีย่ วเกิดแถบมืด – สว่าง บนฉากห่าง


ออกไป 3 เมตร ระยะห่าง ระหว่างจุดทีม่ ืดที่สดุ สองข้ างของแถบสว่างที่กว้ างที่สดุ เป็ น
้ างเท่าใด (2.4x10–4 เมตร)
1.5 เซนติเมตร สลิตนันกว้
x
d    n
L
 1.5  10 2 
d    1  600  10 9
 3 
3  600  10 9
d 2
 1.2  10 4 m
1.5  10

22. แสงสีเดียวความยาวคลืน่ 550 นาโนเมตร เคลือ่ นที่ผา่ นช่องแคบซึง่ กว้ าง 0.5 มิลลิเมตร
แล้ วเกิดแถบการแทรกสอดบนฉาก ซึง่ ห่างจากช่องแคบ 1 เมตร แถบมืดทังสองข้ ้ างของ
–3
แถบสว่างตรงกลางจะอยูห่ า่ งกันประมาณเท่าใด (2.24x10 เมตร)
x
d    n
L
 x
0.5  10 3    1  550  10 9
1
1  550  10 9
x 3
 1.1  10 3 m
0.5  10
เตรียมสอบ PAT 2 2558 ส่วนของฟิ สิกส์ - 12 - www.focus-physics.com

23. สลิตเดี่ยววางห่างจากฉาก 60 cm ใช้ แสงความยาวคลืน่ 600 nm ทาให้ เกิดแถบการเลี ้ยว


เบนขึ ้นที่ฉากวัดความกว้ างแถบสว่างอันกลางได้ 0.7 cm จงหาความกว้ างช่องสลิต
วิธีทา
x
d    n
L
 0.35  10 2 
d  2 
  1 600  10 9
 60  10 
60  10 2  600  10 9
d 2
 1.03  10 4 m
0.35  10
24(En 33) ต้ องการให้ ตาแหน่งริว้ มืดแรกของลวดลายจากการเลี ้ยวเบนของสลิตเดีย่ วตรงกับ
ตาแหน่งมืดที่ 5 ของริ ว้ ลวดลายจากการแทรกสอดของสลิตคูร่ ะยะระหว่างสลิตคูต่ ้ องเป็ น
กี่เท่าของความกว้ างของสลิต
1. 5 2. 2 7 3. 2 9 4. 211 (ข้ อ 3.)
d1 n1

d2 n 2  0.5
d1 1

d2 5  0.5
d1 1

d2 4.5
d2 9

d1 2

25(En 40) ถ้ าต้ องการให้ ตาแหน่งมืดแรกของการเลี ้ยวเบนผ่านสลิตเดียวเกิดตรงกับตาแหน่งมืด


ที่สามของริว้ จากการแทรกสอดของสลิตคู่ อยากทราบว่าจะต้ องให้ ระยะห่างระหว่างช่อง
สลิตคูเ่ ป็ นกี่เท่าของความกว้ างของสลิตเดี่ยว
1. 23 2. 25 3. 2 7 4. 2 9 (ข้ อ 2.)
d1 n1

d2 n2  0.5
d1 1

d2 3  0.5
d1 1

d2 2.5
d2 5

d1 2
เตรียมสอบ PAT 2 2558 ส่วนของฟิ สิกส์ - 13 - www.focus-physics.com

การแทรกสอดของแสง
1. เมื่อฉายแสงความยาวคลืน่ 500 นาโนเมตร ลงบนสลิตคู่ ซึง่ มีระยะห่างระหว่างสลิตเป็ น 10
ไมโครเมตร อยากทราบว่าจุดที่เกิดการแทรกสอดแบบเสริ มกันจุดที่ 2 จะเบนไปจากแนวที่
ฉายแสงเป็ นมุมเท่าใด
d sin   n
10 10 6 sin   2  500 10 9
1
sin    0 .1
10
  sin 1 0.1

2. สลิดคูห่ า่ งกัน 1 ไมโครเมตร มีแสงความยาวคลืน่ 550 นาโนเมตร ผ่านในแนวตังฉาก



จงหามุมที่แถบมืดแรกเบนออกจากแนวกลาง
d sin   n
110 6 sin   1 550 10 9
1  550  10 9
sin    0.1
10 6
  sin 1 0.1

3. ช่องแคบคูม่ ีระยะห่างระหว่างช่อง 0.1 มิลลิเมตร เมื่อฉายแสงความยาวคลืน่ 600 นาโนเมตร


ผ่านช่องแคบคู่ ปรากฏว่าแถบสว่างลาดับที่สองบนฉากที่หา่ งออกไป 80 เซนติเมตร จะอยู่
ห่างจากแนวกลางเท่าไร
x
d    n
 L
 x 
0.1  10 3    2  600  10
9

 0.8 
x  9.6 10 3 m
เตรียมสอบ PAT 2 2558 ส่วนของฟิ สิกส์ - 14 - www.focus-physics.com

4. สลิตคูห่ า่ งกัน 0.03 มิลลิเมตร วางห่างจากฉาก 2 เมตร เมื่อฉายแสงผ่านสลิต ปรากฏว่า


แถบสว่างลาดับที่ 5 อยูห่ า่ งจากแถบกลาง 14 เซนติเมตร ความยาวคลืน่ ของแสงเป็ นกี่
นาโนเมตร
x
d    n
 L
 14  10 2 
0.03  10 3    5
 2 
  420 10 9 m

5. สลิตคูม่ ีระยะห่างระหว่างช่องสลิตเท่ากับ 0.40 มิลลิเมตร เมื่อส่องด้ วยแสงสีเดียวและเป็ น


แสงอาพันธ์ในแนวตังฉาก้ ปรากฏริ ว้ การแทรกสอดบนฉากที่อยูห่ า่ งจากสลิต 2.50 เมตร
วัดระยะระหว่างแถบสว่างลาดับถัดกันได้ เท่ากับ 3.50 มิลลิเมตร แสงนี ้มีความยาวคลืน่ กี่
นาโนเมตร
L
x 
d
xd 3.5  10 3  0.4  10 3
   560nm
L 2.5

6. แสงสีหนึง่ เมื่อผ่านช่องแคบคูซ่ ึ่งอยูห่ า่ งกัน 0.5 มิลลิเมตร ปรากฏว่าแถบสว่างที่ 4 และที่ 6


อยูห่ า่ งกัน 2 มิลลิเมตร บนฉาก ซึง่ อยูห่ า่ งจากช่องแคบคู่ 1 เมตร จงหาความยาวคลืน่ ของแสงนี ้
L
x 
d
xd 0.5  10 3  1  10 3
   500nm
L 1
7. จากการทดลองเรื่ องการแทรกสอดของแสงโดยใช้ สลิตคูพ่ บว่าระยะระหว่างริ ว้ สว่างที่อยูต่ ดิ
กันเท่ากับ 0.329 มิลลิเมตร ระยะระหว่างช่องสลิตเท่ากับ 0.5 มิลลิเมตร และระยะห่าง
ระหว่างสลิตคูก่ บั ฉากเท่ากับ 40 เซนติเมตร จงหาความยาวคลืน่ ของแสงในหน่วยเมตร

L
x 
d
xd 0.329 103  0.5 103
  2
 4.11107 m
L 40 10
เตรียมสอบ PAT 2 2558 ส่วนของฟิ สิกส์ - 15 - www.focus-physics.com

8. เมื่อใช้ แสงสีแดงความยาวคลืน่ 650 นาโนเมตร ตกตังฉากกั


้ บสลิตคู่ เกิดภาพแทรกสอดบน
ฉาก โดยแถบสว่าง 2 แถบติดกันอยูห่ า่ งกัน 0.25 มิลลิเมตร แต่ถ้าใช้ แสงสีมว่ งความยาว
คลืน่ 400 นาโนเมตร ตกตังฉากกั
้ บสลิตคูด่ งั กล่าว แถบสว่าง 2 แถบติดกันจะห่างกันกี่มิลลิเมตร
x1 1

x 2  2
0.25 650

x2 400
0.25  400
x 2   0.15
650
9. ฉายแสงสองค่าความถี่ผา่ นตังฉากกั
้ บสลิตคูไ่ ปยังฉากปรากฏว่าลาดับที่ 2 ของแสงที่มคี วาม
ยาวคลืน่ 750 nm. ซ้ อนอยูก่ บั ลาดับที่ 3 ของแสงสีหนึง่ แล้ วแสงสีนนจะมี
ั ้ ความยาวคลืน่ กี่
นาโนเมตร
n11  n2 2
2750  32
2  500nm
10. ในการทดลองเรื่ องการแทรกสอดของแสง โดยใช้ สลิตคู่ สาหรับแสงสีเดียว A และแสงสี
เดียว B พบว่า แถบมืดที่ 5 นับจากแถบสว่างกลางออกไปด้ านข้ างของแสง A ตกทับแถบ
สว่างอันดับที่ 4 ของแสง B พอดี จะหาค่าอัตราส่วนของความยาวคลืน่ แสง A ต่อความยาว
คลืน่ แสง B n1  0.51  n2 2
5  0.51  42
4.51  42
1 4 8
 
 2 4.5 9
11. ฉายแสง A และ B ให้ ผา่ นช่องสลิตคูข่ นานกันไปบนฉากที่อยูห่ า่ งออกไประยะหนึง่
ปรากฏว่าริว้ มืดที่สขี่ องแสง A อยูซ่ ้ อนพอดีกบั ริ ว้ สว่างที่ห้าของแสง B ถ้ าแสง A มีความ
ยาวคลืน่ 5.8x10 -7เมตร แสง B จะมีความยาวคลืน่ เท่าใดในหน่วยของเมตร
n1  0.51  n2 2
4  0.55.8  10 7  52
4.5  5.8  10 7  52
2  4.06  10 7 m
เตรียมสอบ PAT 2 2558 ส่วนของฟิ สิกส์ - 16 - www.focus-physics.com

12. เกรตติงมี 10,000 เส้ นต่อเซนติเมตร ถ้ าฉายแสงความยาวคลืน่  ตกตังฉากกั


้ บเกรตติง
แถบสว่างที่เกิดขึ ้นแถบแรกบนจอ จะอยูห่ า่ งจากแนวกลางเป็ นมุม 30o ค่า  มีคา่ เท่าใด
d sin   n
2
10
sin 30 0  1
10000
10 2  1 
    500nm
10000  2 

13. เกรตติงอันหนึง่ ชนิด 4000 ช่อง/เซนติเมตร ถ้ าให้ แสงมีความยาวคลืน่ 600 นาโนเมตร


ส่องผ่านจะเห็นแถบสว่างบนฉากทังหมดกี
้ ่แถบ (9 แถบ)
d sin   n
10 2
10000

sin 90 0  n 600  10 9 
10 2
n 4
4000  600  10 9
ซ้ าย  กลาง  ขวา  4  1  4  9
14. เกรตติงชนิด 6000 เส้ น/เซนติเมตร มีแสงตกผ่านทาให้ เกิดแถบที่สองเบนทามุม 37o กับ
แถบสว่างกลาง ถ้ าระยะห่างจากเกรตติงไปยังฉากเท่ากับ 60 เซนติเมตร จงหาความยาวคลืน่
(500 nm) d sin   n
10 2
sin 37 0  2
6000
10 2  3 
    500nm
6000  2  5 

15. ใช้ แสงที่มคี วามยาวคลืน่ 500 นาโนเมตร ส่องผ่านเกรตติงอันหนึง่ ทาให้ แถบสว่างที่ 2


เบนไปเป็ นมุม 30o จากแนวกลาง จงหาจานวนช่อง/เซนติเมตร ของเกรตติงนี ้ (5000)
d sin   n
10 2
sin 30 0  2
N
10 2 1
N 9    5000
500  10  2  2 
เตรียมสอบ PAT 2 2558 ส่วนของฟิ สิกส์ - 17 - www.focus-physics.com

16. แสงความช่วงคลืน่ 600 นาโนเมตร พุง่ ผ่านเกรตติง พบว่าแนวแถบสว่างที่ 4 ทามุมกับแนว


แถบสว่างตรงกลางเท่ากับ 37 องศา จงหาจานวนช่องต่อมิลลิเมตรของเกรตติงทีใ่ ช้ นี ้
d sin   n
3
10
sin 37 0  2
N
10 3 3
N 9    250
600  10  4  5 

17. เมื่อให้ แสงมีความยาวคลืน่ 640 นาโนเมตร ผ่านช่องแคบเดีย่ ว และต้ องการให้ แถบมืดแรก


เบนจากแนวกลาง 30o จงหาความกว้ างของช่องแคบนี ้
d sin   n
d sin 30 0  1 640  10 9
1
d    1  640  10 9
2
d  1.28  10 6 m
18. แสงความยาวคลืน่ 600 นาโนเมตร และ 400 นาโนเมตร ตกกระทบช่องสลิตเดีย่ วทีม่ ีความ
กว้ าง 10 ไมโครเมตรขอบของแถบสว่างกลาง 2 แถบจากคลืน่ ทังสองที
้ ่เกิดขึ ้นบนฉากที่อยู่
ห่างออกไป 1 เมตร จะห่างกันกี่เซนติเมตร (2)
L 1
x   n11  n 22   6  2  600  1 400 109  2 102 m  2cm
d 10 

19. แสงมีความยาวคลืน่ 500 นาโนเมตร ตกตังฉากกั


้ บสลิตเดีย่ วที่มคี วามกว้ าง 2 ไมโครเมตร
ปรากฏภาพ ช่องแคบที่ระยะห่างออกไป 10 เซนติเมตร จงหาความกว้ างของแถบสว่างตรง
กลางที่เกิดขึ ้น (2.5 cm)
x
d    n
 L
 x 
2  10 6  2 
 1  500  10 9
 10  10 
500  10 9  10  10 2
x  2.5cm
2  10 6
เตรียมสอบ PAT 2 2558 ส่วนของฟิ สิกส์ - 18 - www.focus-physics.com

20. เมื่อฉายแสงความยาวคลืน่ 600 นาโนเมตร ตกตังฉากกั


้ บสลิตเดี่ยว จะปรากฏภาพการ
แทรกสอดบนฉากที่หา่ งออกไปจากสลิต 1.5 เมตร และแถบสว่างกลางกว้ าง 2 เซนติเมตร
จงหาความกว้ างของสลิตนี ้ในหน่วยไมโครเมตร (90)
x
d    n
 L
 1 10 2 
d    1 600  10 9
 1.5 
600  10 9  1.5
d 2
 90  10 6
1  10

You might also like