You are on page 1of 14

>> รายวิชา ฟิสกิ ส์ 1 << ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 4

บทที่ 1 ธรรมชาติและพัฒนาการทางฟิสกิ ส์

1. ธรรมชาติทางฟิ สิ กส์
- วิทยาศาสตร์ แขนงต่ าง ๆ
วิทยาศาสตร์ ( Science ) หมายถึง การศึกษาหาความจริ งเกี่ยวกับ ปรากฏการณ์ธรรมชาติ
รอบๆตัวเรา ทั้งที่มีชีวติ และไม่มีชีวติ อย่างมีข้นั ตอนและระเบียบแบบแผน วิทยาศาสตร์แบ่งออกได้ดงั นี้

…………………… ………………
………………
……
……
………………
วิทยาศาสตร์บริ สุทธิ์ ……

…………………… ………………
วิทยาศาสตร์ ……………. ………………
……
……………. …… เคมี
………………
……………. ………………
……
วิทยาศาสตร์ประยุกต์ ……………. ………………
……
……………. ……
…………….
1. วิทยาศาสตร์ บริสุทธิ์ ( pure science ) หรื อ วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ ( natural science ) เป็ น
การศึกษาหาความจริ งใหม่ๆ เกี่ยวกับปรากฏการณ์ธรรมชาติ เพือ่ นาไปสู่กฎเกณฑ์และทฤษฎีต่างๆทาง
วิทยาศาสตร์ เช่น กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน กฎของโอห์ม ทฤษฎีสมั พัทธภาพของของไอน์สไตน์ ทฤษฎี
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์ เป็ นต้น วิทยาศาสตร์บริ สุทธิ์แบ่งออกเป็ น 2 สาขาคือ
ก. วิทยาศาสตร์กายภาพ ( physical science ) ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับสิ่งไม่มีชีวติ เช่น ฟิ สิกส์ เคมี
ดาราศาสตร์ ธรณี วทิ ยา เป็ นต้น
ข. วิทยาศาสตร์ชีวภาพ ( biological science ) ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับสิ่งมีชีวติ เช่น พฤกษศาสตร์
สัตวศาสตร์ เป็ นต้น
2. วิทยาศาสตร์ ประยุกต์ ( applied science ) เป็ นการนาความรู ้จากกฎเกณฑ์หรื อทฤษฎีของ
วิทยาศาสตร์บริ สุทธิ์ มาประยุกต์เป็ นหลักการทางเทคโนโลยี เพือ่ นาไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่สงั คม เช่น
วิศวกรรมศาสตร์ แพทยศาสตร์ สถาปั ตยกรรมศาสตร์ เป็ นต้น

เข้าเรียน 1
ฟิสิกส์ By ครูโน้ต Scan >>
>> รายวิชา ฟิสกิ ส์ 1 << ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 4
บทที่ 1 ธรรมชาติและพัฒนาการทางฟิสกิ ส์

- ฟิ สิ กส์ (Physics)
ฟิ สิกส์ เป็ นคาที่มาจากภาษากรี ก ซึ่งมีความหมายว่า.........................................................................
ดังนั้น ฟิ สิกส์ จึงเป็ นวิชาทีศ่ ึกษาเกี่ยวกับ...................................................... เช่น...................................
........................................................................................................................................................
- การค้นคว้ าหาความรู้ ทางฟิ สิ กส์ แบ่งได้เป็ น 2 แนวทางคือ
แนวทางที่ 1 การสังเกต การทดลองและเก็บ รวบรวมข้อ มู ล มาวิเคราะห์ เพื่อ สรุ ป เป็ นแนวคิ ด
หลักการ หรื อกฎ เช่น การสังเกตและบันทึกข้อมูลของบราห์ เกี่ยวกับตาแหน่ งต่างๆ ของดาวเคราะห์ ทาให้
เคปเลอร์ นาข้อมูลมาสรุ ปเป็ น กฎของเคปเลอร์
แนวทางที่ 2 การสร้างแบบจาลองทางความคิดเพื่อสรุ ปเป็ นทฤษฎี เช่น แมกซ์เวลล์ ได้นาความรู ้
เกี่ยวกับไฟฟ้าและแม่เหล็กมาสรุ ปเป็ นสมการของแมกซ์เวลล์ และสร้างแบบจาลองทางความคิด และเสนอ
เป็ น ทฤษฎีคลื่นแม่ เหล็กไฟฟ้ าของแมกซ์ เวลล์
การบ้ านให้ นักเรี ยนสื บค้นข้ อมูลเกี่ยวกับพัฒนาการทางฟิ สิ กส์ และสรุปองค์วามรู้ ลงในกรอบด้ านล่ าง

2. การวัดและการบันทึกผลการวัดปริมาณทางฟิ สิ กส์

2.1 ระบบหน่ วยระหว่ างชาติ


ในสมัยก่อนหน่วยที่ใช้สาหรับวัดปริ มาณต่างๆ มีหลายระบบ เช่น ระบบอังกฤษ ระบบเมตริ ก
และระบบของไทย ทาให้ไม่เป็ นมาตรฐานเดียวกัน ดังนั้นปั จจุบนั หลายๆประเทศ รวมทั้งประเทศไทย
ด้วยได้ใช้หน่วยสากลที่เรี ยกว่า ระบบหน่วยระหว่างชาติ ( The Internation System of Unit ) เรี ยกย่อว่า
ระบบเอสไอ ( SI Units ) ซึ่งประกอบด้วยหน่วยฐาน และหน่วยอนุพทั ธ์ ดังนี้

เข้าเรียน 2
ฟิสิกส์ By ครูโน้ต Scan >>
>> รายวิชา ฟิสกิ ส์ 1 << ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 4
บทที่ 1 ธรรมชาติและพัฒนาการทางฟิสกิ ส์

1. หน่วยฐาน ( base unit ) เป็ นปริ มาณหลักของระบบหน่วยระหว่างชาติ มี 7 ปริ มาณ ดังนี้


ปริ มาณฐาน ชื่อหน่วย สัญลักษณ์
ความยาว

มวล

เวลา

กระแสไฟฟ้า

อุณหภูมิอุณหพลวัต

ปริ มาณสาร

ความเข้มของการส่องสว่าง
2. หน่วยอนุพทั ธ์ ( derived unit ) เป็ นปริ มาณที่ได้จากปริ มาณฐานตั้งแต่ 2 ปริ มาณขึ้นไปมา
สัมพันธ์กนั ดังตัวอย่างต่อไปนี้
เทียบเป็ นหน่ วยฐาน
ปริ มาณอนุพทั ธ์ ชื่อหน่วย สัญลักษณ์
และอนุพทั ธ์อื่น
ความเร็ว
ความเร่ ง

แรง

งาน พลังงาน

กาลัง

ความดัน

ความถี่
3. หน่วยเสริ ม คือ ปริ มาณที่นอกเหนือจากปริ มาณทั้งสองที่ผา่ นมา เช่น มุมของรู ปเรขาคณิ ต องศา
เรเดียน สตอเดียน เป็ นต้น

เข้าเรียน 3
ฟิสิกส์ By ครูโน้ต Scan >>
>> รายวิชา ฟิสกิ ส์ 1 << ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 4
บทที่ 1 ธรรมชาติและพัฒนาการทางฟิสกิ ส์

สนุกคิด
1. ปริ มาณใดต่อไปนี้เป็ นหน่วยฐานทั้งหมด
1. มวล , ความยาว , แรง 2. ระยะทาง , พื้นที่ , ปริ มาตร
3. มวล , กระแสไฟฟ้า , ปริ มาณของสาร 4. อุณหภูมิ , มุม , พลังงาน
2. ระบบหน่วยระหว่างชาติ ( หน่วยเอสไอ ) ได้กาหนดหน่วยของเวลาตามข้อใด
1. ชัว่ โมง 2. วินาที 3. นาที 4. ถูกทุกข้อ
3.หน่วย SI ในข้อใดเป็ นหน่วยมูลฐานทั้งหมด
1. แอมแปร์ เคลวิน แคนเดลา โมล 2. เมตร องศาเซลเซี ยส เรเดียน คูลอมบ์
3. กิโลกรัม โอห์ม ลูเมน พาสคาล 4. วินาที โวลต์ เวเบอร์ ลักซ์
4.ข้อใด ไม่ใช่ หน่วยฐานของระบบหน่วยระหว่างชาติ (เอสไอ) ทั้งหมด
1. วินาที โวลต์ แอมแปร์ 2. แคนเดลา ลูเมน เฮนรี่
3. นิวตัน คูลอมบ์ จูล 4. โอห์ม โมล ซีเมนส์

2.2 คานาหน้ าหน่ วย


คานาหน้าหน่วย คือ คาที่ใช้เติมหน้าหน่วย SI เพือ่ ทาให้หน่วย SI ใหญ่ข้ นึ หรื อเล็กลง ดัง
แสดงในตาราง
คาอุปสรรค สัญลักษณ์ ตัวพหุคูณ คาอุปสรรค สัญลักษณ์ ตัวพหุคูณ
เทอรา พิโค
จิกะ นาโน
เมกะ ไมโคร
กิโล มิลลิ
เฮกโต เซนติ
เดคา เดซิ

2.3. การบันทึกปริมาณที่มีค่ามากหรื อน้ อย


ผลที่ได้จากการวัดปริ มาณทางวิทยาศาสตร์ บางครั้งมีค่ามากกว่าหรื อน้อยกว่า 1 มากๆทาให้เกิด
ความยุง่ ยากในการนาไปใช้งาน ดังนั้น การบันทึกปริ มาณดังกล่าว เพือ่ ให้เกิดความสะดวกในการนาไปใช้
สามารถทาได้ 2 วิธี คือ

เข้าเรียน 4
ฟิสิกส์ By ครูโน้ต Scan >>
>> รายวิชา ฟิสกิ ส์ 1 << ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 4
บทที่ 1 ธรรมชาติและพัฒนาการทางฟิสกิ ส์

2.3.1 เขียนให้ อยู่ในรูปของจานวนเต็มหนึ่งตาแหน่ ง ตามด้ วยเลขทศนิยม แล้ วคูณด้ วยเลขสิ บ


ยกกาลังบวกหรือลบ ดังนี้ จานวนเต็ม 1 ตาแหน่ง เท่ากับจานวนตัวเลขหลังจุด
หรือตัวเลขระหว่างจุด
n
A x10
เราเรี ยกว่า สั ญกรณ์ทางวิทยาศาสตร์
เมื่อ 1  A  10 และ n = จานวนเต็ม

สนุกคิด
9.จงเขียนปริ มาณต่อไปนี้ในรู ปเลขยกกาลัง
ก. 360,000,000 เมตร =………………………
ข. 6,539,000 กิโลเมตร =………………………
ค. 0.00048 กิโลกรัม =………………………
ง. 0.00127 วินาที =………………………
จ. 154,000,000 เมตร =………………………
ฉ. 8,139,000 กิโลเมตร =………………………
ช. 0.000237 กิโลกรัม =………………………
ซ. 0.00007 วินาที =………………………
10.จงเขียนปริ มาณต่อไปนี้ โดยใช้คาอุปสรรค
ก. ความยาว 12 กิโลเมตร ให้มีหน่วยเป็ น เมตร

ข. มวล 0.00035 เมกะกรัม ให้มีหน่วยเป็ น กรัม

11. ให้เติมคาตอบที่ถูกต้องลงในช่องว่างต่อไปนี้
1) 7.2 cm = ……..……....m 2) 6.524 mg = ……..……....g

เข้าเรียน 5
ฟิสิกส์ By ครูโน้ต Scan >>
>> รายวิชา ฟิสกิ ส์ 1 << ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 4
บทที่ 1 ธรรมชาติและพัฒนาการทางฟิสกิ ส์

3) 6.23 nm = ……..……....m 4) 55.26 μm = ……..……m

5) 62.5 pg = ……..……....g 6) 425 km = ……..……....m

7) 0.042 ng = ……..……..g 8) 0.0659 M = …....…….

9) 0.0073 G = ……..……. 10) 3.3 x 103 km = ……..…...m

11) 7.23 x 10–5  = …………………..k 12) 7.23 x 103 A = …………………..mA

13) 6.5 x 105 g = …………………..kg 14) 7.31 x 10–5 m = …………………..Cm

12.จงเปลี่ยน 834 เซนติเมตร ให้มีหน่วยเป็ นเมตร

13.จงเปลี่ยน 720 ไมโครกรัม ให้มีหน่วยเป็ นกรัม

เข้าเรียน 6
ฟิสิกส์ By ครูโน้ต Scan >>
>> รายวิชา ฟิสกิ ส์ 1 << ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 4
บทที่ 1 ธรรมชาติและพัฒนาการทางฟิสกิ ส์

14. มวล 34 กิโลกรัม มีคา่ เท่าใดในหน่วยไมโครกรัม


ก. 3.4 x 1010 g ข. 3.4 x 109 g ค. 3.4 x 108 g ง. 3.4 x 107 g

15. ปริ มาตร 17 ลูกบาศก์เดซิเมตร เท่ากับกี่ลูกบาศก์เมตร


ก. 1.7 x 10- 6 m3 ข. 1.7 x 10- 4 m3 ค. 1.7 x 10- 3 m3 ง. 1.7 x 10- 1 m3

16. รถยนต์คนั หนึ่งวิง่ ด้วยอัตราเร็ว 54 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง เท่ากับกี่เมตรต่อวินาที


ก. 10 m/s ข. 15 m /s ค. 20 m /s ง. 25 m /s

17. รถยนต์คนั หนึ่งวิง่ ด้วยอัตราเร็ว 36 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง เท่ากับกี่เมตรต่อวินาที


ก. 10 m/s ข. 15 m /s ค. 20 m /s ง. 25 m /s

18.รถประจาทางคันหนึ่งวิง่ ด้วยความเร็ว 72 km/hr รถคันนี้วงิ่ ด้วยความเร็ วเท่ากับกี่เมตรต่อวินาที

19. 1.5 ตารางเซนติเมตร (cm2) มีค่าเท่ากับกี่ตารางเมตร (m2)


1. 1.5 x 10–4 2. 1 x 10–2 3. 1 x 102 4. 1 x 104

เข้าเรียน 7
ฟิสิกส์ By ครูโน้ต Scan >>
>> รายวิชา ฟิสกิ ส์ 1 << ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 4
บทที่ 1 ธรรมชาติและพัฒนาการทางฟิสกิ ส์

20. พื้นที่ 300 ตารางมิลลิเมตร (mm2) คิดเป็ นเท่าไรในหน่วยตารางเมตร (m2)


1. 3.00 x 104 2. 3.00 x 103 3. 3.00 x 10–3 4. 3.00 x 10–4

21. จงเปลี่ยน 4 x 10–12 ตารางเซนติเมตร ให้เป็ นตารางกิโลเมตร

22. น้ ามีความหนาแน่น 1 กรัม/ลบ.ซม. จะมีค่าเท่าใดในหน่วยกิโลกรัม / ลบ.เมตร

23.วัตถุหนึ่งมีความหนาแน่น 0.004 kg/m3 วัตถุน้ ีจะมีความหนาแน่นกี่ g/cm3

3. การทดลองในวิชาฟิ สิ กส์
สิ่งที่สาคัญประการหนึ่งในการทดลองคือการบันทึกข้อมูลตามความเป็ นจริ ง การบันทึกข้อมูลนั้นมี
ได้ 2 ลักษณะ คือ การบันทึกข้อมู ลเชิ งคุ ณ ภาพ ( บอกถึ งลักษณะ และคุ ณ สมบัติต่างๆที่สังเกตได้จาการ
ทดลอง ) และการบันทึกข้อมูลเชิงปริ มาณ ( บอกถึง จานวนมากน้อยในลักษณะเป็ นตัวเลข )
ในการที่น้ ีจะกล่าวถึงการบันทึกตัวเลขที่ได้จากเครื่ องมือต่างๆในการทดลอง ดังนี้

เข้าเรียน 8
ฟิสิกส์ By ครูโน้ต Scan >>
>> รายวิชา ฟิสกิ ส์ 1 << ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 4
บทที่ 1 ธรรมชาติและพัฒนาการทางฟิสกิ ส์

3.1. การอ่ านข้ อมูลที่ได้ จากการวัด


หลักการอ่านค่าที่ได้จากวัดโดยทัว่ ไปนั้น ให้อ่านค่าที่ปรากฏบนสเกลแล้วสามารถเดาค่าทศนิยมต่อ
ได้อีก 1 ตาแหน่งเช่นในรู ปการอ่านขนาดความยาวของดินสอใน
รู ปนี้ตอ้ งอ่านค่าทีม่ ีอยูแ่ ล้วบนสเกลคือ …………. แล้วเดาทศนิยม
ต่อได้อีก 1 ตาแหน่ง ซึ้งมีค่าประมาณ …….. cm รวมแล้วความ
ยาวดินสอแท่งนี้ควรอ่านค่าเป็ น ……….. cm ( ............. มีอยูแ่ ล้ว
บนสเกล ........... ได้มาจากการคาดเดา )

สนุกคิด
24.จากรู ป ความยาวของแท่งดินสอมีค่าเท่ากับกี่
เซนติเมตร
1. 9.4 2. 9.375
3. 9.36 4. 9.3

25.จากรู ป ควรบันทึกความยาวของดินสอเป็ นเท่าใด


1. 5 ซม. 2. 5.0 ซม.
3. 5.00 ซม 4. ถูกทุกข้อ
26. การอ่านค่าจากเวอร์เนียร์และไมโครมิเตอร์

ค่าที่อ่านได้

เข้าเรียน 9
ฟิสิกส์ By ครูโน้ต Scan >>
>> รายวิชา ฟิสกิ ส์ 1 << ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 4
บทที่ 1 ธรรมชาติและพัฒนาการทางฟิสกิ ส์

ค่าที่อ่านได้

ค่าที่อ่านได้

ค่าที่อ่านได้

ค่าที่อ่านได้

เข้าเรียน 10
ฟิสิกส์ By ครูโน้ต Scan >>
>> รายวิชา ฟิสกิ ส์ 1 << ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 4
บทที่ 1 ธรรมชาติและพัฒนาการทางฟิสกิ ส์

ค่าที่อ่านได้

3.2. เลขนัยสาคัญ
คือ ตัวเลขที่ได้จากการวัดโดยใช้เครื่ องมือที่เป็ นสเกล โดยเลขทุกตัวที่บนั ทึกจะมีความหมายส่ วน
ความสาคัญของตัวเลขจะไม่เท่ากัน ดังนั้นเลขทุกตัวจึงมี นัยสาคัญ ตามความเหมาะสม
เช่ น วัดความยาวของไม้ท่อ นหนึ่ งได้ยาว 121.54 เซนติเมตร เลข 121.5 เป็ นตัวเลขที่วดั ได้จริ ง
ส่วน 0.04 เป็ นตัวเลขที่ประมาณขึ้นมา เราเรี ยกตัวเลข 121.54 นี้ วา่ เลขนัยสาคัญ และมีจานวนเลขนัยสาคัญ
5 ตัว
หลักการพิจารณาจานวนเลขนัยสาคัญ
1. เลขทุกตัว ถือเป็ นเลขที่มีนยั สาคัญ
ยกเว้น 1. เลข 0 ( ศูนย์ ) ที่ต่อท้ายเลขจานวนเต็มจะนับหรื อไม่นบั ขึ้นอยูก่ บั ความละเอียด
ของเครื่ องมือวัด เช่น 120 ( มีเลขนัยสาคัญ 2 หรื อ 3 ตัว ) , 200 ( มีเลขนัยสาคัญ 1 หรื อ 3 ตัว )
2. เลข 0 ( ศูนย์ ) ที่หน้าตัวเลข เช่น 0.02 ( มีเลขนัยสาคัญ 1 ตัว )
2. เลข 0 ( ศูนย์ ) ทีอ่ ยูร่ ะหว่างตัวเลขถือเป็ นเลขนัยสาคัญ เช่น 1.02 ( 3 ตัว ) , 10006 ( 5 ตัว )
3. เลข 0 ( ศูนย์ ) ที่อยูท่ า้ ยแต่อยูใ่ นรู ปเลขทศนิยม ถือว่าเป็ นเลขนัยสาคัญ เช่น 1.200 ( 4 ตัว )
4. เลข 10 ที่อยูใ่ นรู ปยกกาลัง ไม่เป็ นเลขนัยสาคัญ เช่น 1.20 x105 ( 3 ตัว )

การบันทึกตัวเลขจากการคานวณ
1. การบวกลบเลขนัยสาคัญ โดยบวก-ลบตัวเลขตามปกติก่อน เมื่อได้ผลลัพธ์ ให้ตอบเป็ นตัวเลขที่
มีจานวนทศนิยมเท่ากับจานวนที่ทศนิยมน้อยที่สุด
เช่น 12.03 + 152.246 + 2.7 = 166.976 คาตอบ คือ 167.0
2. การคูณหารเลขนัยสาคัญ โดยคูณหารตัวเลขตามปกติก่อน เมื่อได้ผลลัพธ์ ให้ตอบเป็ นตัวเลขที่
มี จานวนเลขนัยสาคัญ เท่ากับ ตัวเลขที่นยั สาคัญน้อยที่สุดที่คูณหารกัน
เช่น 54.62 x2.5 = 136.550 = 1.36x102 คาตอบ คือ 1.4 x 102

เข้าเรียน 11
ฟิสิกส์ By ครูโน้ต Scan >>
>> รายวิชา ฟิสกิ ส์ 1 << ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 4
บทที่ 1 ธรรมชาติและพัฒนาการทางฟิสกิ ส์

สนุกคิด
26. ตัวเลขต่อไปนี้มีจานวนเลขนัยสาคัญกี่ตวั
0.0825 กิโลกรัม มีเลขนัยสาคัญ…………….ตัว
650 x10- 2 เมตร มีเลขนัยสาคัญ…………….ตัว
20.5 เซนติเมตร มีเลขนัยสาคัญ…………….ตัว
8.00 วินาที มีเลขนัยสาคัญ…………….ตัว
200 ลูกบาศก์เซนติเมตร มีเลขนัยสาคัญ…………….ตัว
27. จงหาผลลัพธ์ของคาถามต่อไปนี้ตามหลักเลขนัยสาคัญ 4.36 + 2.1 – 0.002
1. 6 2. 6.5 3. 6.46 4. 6.458

28. ห้องหนึ่งกว้าง 3.40 เมตร ยาว 12.71 เมตร ห้องจะมีพ้นื ที่เท่าไร


1. 43.214 ตารางเมตร 2. 43.2 ตารางเมตร
3. 43.21 ตารางเมตร 4. 43.2140 ตารางเมตร

29. นักเรี ยนคนหนึ่งใช้เครื่ องวัด วัดเส้นผ่านศูนย์กลางของเหรี ยญบาทได้ 2.59 เซนติเมตร เมื่อพิจารณาเลข


นัยสาคัญ เขาควรจะบันทึกค่าพื้นที่หน้าตัดดังนี้
1. 5.27065 ตารางเซนติเมตร 2. 5.2707 ตารางเซนติเมตร
3. 5.271 ตารางเซนติเมตร 4. 5.27 ตารางเซนติเมตร

30. ขนมชิ้นหนึ่งมีมวล 2.00 กิโลกรัม ถูกแบ่งออกเป็ นสี่ส่วนเท่ากันพอดี แต่ละส่วนจะมีมวลกี่กิโลกรัม


1. 0.5 2. 0.50 3. 0.500 4. 0.5000

31. ห้องหนึ่งกว้าง 3.00 เมตร ยาว 12.00 เมตร ห้องจะมีพ้นื ที่เท่าไร

32.นักเรี ยนคนหนึ่งวัดเส้นผ่านศูนย์กลางของวงกลมวงหนึ่งได้ 5.27 เซนติเมตร เขาควรจะบันทึกรัศมีวงกลม


วงนี้เป็ นกี่เซนติเมตร
1. 3 2. 2.6 3. 2.64 4. 2.635

เข้าเรียน 12
ฟิสิกส์ By ครูโน้ต Scan >>
>> รายวิชา ฟิสกิ ส์ 1 << ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 4
บทที่ 1 ธรรมชาติและพัฒนาการทางฟิสกิ ส์

33. ผลลัพธ์ 16.74 +5.1 มีจานวนเลขนัยสาคัญเท่ากับตัวเลขในข้อใด


1. -3.14 2. 0.003 3. 99.99 4. 270.00

4. กราฟในวิชาฟิ สิ กส์
กราฟที่มกั พบในวิชาฟิ สิกส์ส่วนใหญ่ได้แก่ กราฟเส้นตรง และกราฟเส้นโค้ง ( กราฟพาราโบลา ,
กราฟไฮเปอร์โบลา )
4.1 กราฟเส้ นตรง เป็ นกราฟที่แสดงความสัมพันธ์เชิงเส้นของค่า ในแกน X และ แกน Y คือ X และ
Y มีกาลังหนึ่งทั้งคู่ เช่น

( X2 , Y2 )

( X1 , Y1 )

ความสัมพันธ์ของแกน X และ Y จะมี ความหมายในการแปลข้อมู ล โดยส่ วนที่สาคัญ ของกราฟ
อย่างหนึ่ง คือ ความชัน และพืน้ ที่ใต้กราฟ
จากสมการ กราฟเส้นตรง y = mx + c
y -y
เมื่อ m คือ ความชัน ( m = tan , m = 2 1 )
x 2 - x1
c เป็ นค่าคงตัว ตัดที่แกน y

สนุกคิด
34.วัตถุหนึ่งเคลื่อนที่ดว้ ยความเร่ งคงที่ โดยมีความสัมพันธ์ระว่างความเร็วและเวลา ดังนี้ v = 2t + 6
จงเขียนกราฟ และคานวณหาความชันและพื้นที่ใต้กราฟในช่วงวินาทีที่ 0 - 4

เข้าเรียน 13
ฟิสิกส์ By ครูโน้ต Scan >>
>> รายวิชา ฟิสกิ ส์ 1 << ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 4
บทที่ 1 ธรรมชาติและพัฒนาการทางฟิสกิ ส์

35. จากรู ปจงหาความชันของกราฟและพื้นที่ใต้กราฟ

4.2 กราฟพาราโบลา เป็ นกราฟที่แสดงความสัมพันธ์ของปริ มาณหนึ่ งเป็ นสัดส่ วนโดยตรงกับอีก


ปริ มาณหนึ่งยกกาลังสอง เช่น
สมการกราฟพาราโบลา y = mx2 y = mx2
สมการในวิชาฟิ สิกส์ที่เกี่ยวข้อง
1. ……………………
2. ……………………
1 2
จงเขียนกราฟความสัมพันธ์ระหว่าง Ek กับ v จากสมการ E k  mv เมื่อวัตถุมีมวล 2 กิโลกรัม
2

4.3 กราฟไฮเปอร์ โบลา เป็ นกราฟที่แสดงความสัมพันธ์ในลักษณะที่ปริ มาณหนึ่ งแปรผกผันกับ


อีกค่าหนึ่ง โดยปริ มาณทั้งสองมีกาลังหนึ่งทั้งคู่ เช่น
k
สมการกราฟไฮเปอร์โบลา xy = k หรื อ y =
x
สมการในวิชาฟิ สิกส์ที่เกี่ยวข้อง
……………………

จงเขียนกราฟความสัมพันธ์ระหว่าง P กับ V จากสมการ PV = k เมื่อ k มีค่าเท่ากับ 1

เข้าเรียน 14
ฟิสิกส์ By ครูโน้ต Scan >>

You might also like