You are on page 1of 28

เอกสารประกอบการเรี ยนวิชา ว30204 ฟิ สิ กส์เพิ่มเติม 5 ชื่อ………………………….…………………………ชั้น ม.6/….

เลขที่……

ฟิ สิ กส์ นิวเคลียร์
ฟิ สิกส์ นิวเคลียร์ เป็ นการศึกษาสมบัติของนิวเคลียสและกระบวน การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวข้องกับนิวเคลียสที่เรี ยกว่า ปฏิกิริยานิวเคลียร์
นิวเคลียส ประกอบด้วยอนุภาคมูลฐาน คือ โปรตอน (proton) และนิวตรอน (neutron)
นิวคลีออน (Nucleon) คือ อนุภาคที่เป็ นองค์ประกอบของนิวเคลียส = p + n
โจทย์ฝึกประสบการณ์

1. จานวนอิเล็กตรอนในนิวเคลียส 27
13𝐴𝑙 คือ

2. ดีบุกมีเลขอะตอม = 50 และเลขมวล 120 จะมีจานวนนิวคลีออนเท่าไร


3. ถ้ารัศมีของนิวเคลียสของธาตุไฮโดรเจนเป็ น 1.4x10-15 m รัศมีนิวเคลียสของธาตุ 27
13𝐴𝑙 จะเป็ นกี่เมตร

4. ธาตุไอโซโทปของ 224 28
88𝑅𝑎 จะมีรัศมีเป็ นกี่เท่าของธาตุไอโซโทปของ 11𝑁𝑎

5. จงหาเลขอะตอมของนิวเคลียสหนึ่งซึ่งประกอบด้วยจานวนโปรตอนเท่ากับจานวนนิวตรอน และนิวเคลียสนี้มีรัศมีเป็ น 2/3


เท่าของนิวเคลียสของ 27
13𝐴𝑙

6. อนุภาคโปรตอนวิ่งชนนิวเคลียสของ 115𝐵 ทาให้เกิดนิวเคลียสตัวใหม่คือ 116𝐶 กับอนุภาคอีกตัวหนึ่ง อนุภาคตัวนั้น คือ

7. เมื่อนิวเคลียส 216 212


84𝑃𝑜 สลายตัวไปเป็ นนิ วเคลียส 82𝑃𝑏 จะทาให้รังสี หรื ออนุ ภาคชนิ ดใดออกมา

8. ในการสลายตัวต่อๆกันของธาตุกมั มันตรังสี โดยเริ่ มจาก 238


92𝑈 เมื่อสลาย ให้อนุภาคทั้งหมดเป็ น 2α , 2β , 2γ จะทาให้
ได้นิวเคลียสใหม่ที่มีจานวนโปรตอนและจานวนอิเล็กตรอนเท่าใด
เอกสารประกอบการเรี ยนวิชา ว30204 ฟิ สิ กส์เพิ่มเติม 5 ชื่อ………………………….…………………………ชั้น ม.6/….เลขที่……

ฟิ สิ กส์ นิวเคลียร์ (PART2)


โจทย์ฝึกประสบการณ์
1. ธาตุกมั มันตรังสี จานวนหนึ่ง มีกมั มันตภาพ 1 ไมโครคูรี และมีครึ่ งชีวิตเท่ากับ 1,000 วินาที จานวนนิวเคลียสกัมมันตรังสี
ขณะนั้นเป็ นเท่าใด (1 คูรี เท่ากับ 3.7x1010 เบ็กเคอเรล)

1
2. นิวเคลียสหนึ่งใช้เวลาในการสลายตัวคิดเป็ นตัวเลขได้เท่ากับ เมื่อ λ คือค่าคงที่ของการสลายตัว จงหาอัตราส่วนระหว่าง
𝜆
เวลาครึ่ งชีวิตต่อเวลาที่ใช้ในการสลายตัวนี้

15
3. สารกัมมันตรังสี จานวนหนึ่ง เมื่อทิ้งไว้ 2 ชัว่ โมง ปรากฏว่าสลายตัวไปจานวน เท่าของของเดิม จงหาเวลาครึ่ งชีวิตของ
16
สารนี้

4. ไอโซโทปของโซเดียม ( 24
11𝑁𝑎 ) มีครึ่ งชีวิต 15 ชัว่ โมง จงหาว่าเวลาผ่านไป 75 ชัว่ โมง นิ วเคลียสของไอโซโทปนี้ จะ
สลายตัวไปแล้วประมาณกี่เปอร์ เซ็นต์ของจานวนที่ต้ งั ต้น ถ้าตอนเริ่ มแรกนิวเคลียสของไอโซโทปนี้มีค่า 5 คูรี

5. สารกัมมันตรังสี X มีครึ่ งชีวิต TX มีจานวนนิวเคลียสเริ่ มต้น N0 สารกัมมันตรังสี y มีครึ่ งชีวิต Ty มีจานวนนิวเคลียสเริ่ มต้น
2N0 ถ้า TX > Ty จงหาเวลาที่สารกัมมันตรังสี ท้ งั สองเหลือจานวนนิวเคลียสเท่ากัน
6. ธาตุไอโอดีน 131 ซึ่งมีครึ่ งชีวิต 8 วัน อยูจ่ านวน 1 กรัม ขะใช้เวลานานเท่าใดจึงจะเหลือธาตุดงั กล่าวเพียง 0.125 กรัม

7. สารกัมมันตรังสี โคบอลต์-60 สลายตัวให้รังสี บีตาและรังสี แกมมา โดยมีครึ่ งชีวิต 5.30 ปี จงหาเปอร์เซ็นต์ของสาร


กัมมันตรังสี ที่เหลืออยูเ่ มื่อเวลาผ่านไป 15.9 ปี

8. ในการทดลองอุปมาอุปไมยการทอดลูกเต๋ ากับการสลายตัวของนิวเคลียสกัมมันตรังสี นักเรี ยนคนหนึ่งใช้ลูกเต๋ าหลายหน้า


ชนิดเดียวกัน จานวน 200 ลูก ซึ่งมีหน้าที่แต้มสี ไว้หน้าหนึ่ง นามาทดลองโดยการทดลองทอดแล้วคัดลูกที่หงายหน้า แต้มสี
ออก ได้ผลออกมาดังกราฟ อยากทราบว่าลูกเต๋ าชุดนี้ เป็ นชนิดลูกเต๋ ากี่หน้า

9. ในการทดลองลูกเต๋ า 6 หน้า ที่มีการแต้มสี 1 หน้า เหมือนกันทุกลูก จานวน 180 ลูก ถ้าทอดแล้วทาการคัดลูกเต๋ าที่มีหน้าสี
หงายขึ้นออกไป ถ้าทาการทอด 2 ครั้ง โดยเฉลี่ยจะคัดลูกเต๋ าออกกี่ลูก
เอกสารประกอบการเรี ยนวิชา ว30205 ฟิ สิ กส์เพิ่มเติม 5 ชื่อ………………………….…………………………ชั้น ม.6/….เลขที่……

ฟิ สิ กส์ นิวเคลียร์ (PART3)


เอกสารประกอบการเรี ยนวิชา ว30205 ฟิ สิ กส์เพิ่มเติม 5 ชื่อ………………………….…………………………ชั้น ม.6/….เลขที่……

ฟิ สิ กส์ นิวเคลียร์ (PART3)


โจทย์ฝึกประสบการณ์
1. อนุภาคโปรตอน 1 2
1𝐻 และดิวเทอรอน 1𝐻 ถูกเร่ งด้วยความต่างศักย์เท่ากัน ผ่านเข้าไปในสนามแม่เหล็กในทิศทางตั้งฉาก
ถ้าโปรตอนมีวิถีโคจรเป็ นเส้นโค้งรัศมี a วิถีโคจรของดิวเทอรอนมีเส้นผ่านศูนย์กลางตามข้อใด
1. 2√2a 2. √2a 3. a 4. 4a

197
80𝐻𝑔 (n,y) 79𝐴𝑢 ถามว่า y คืออนุ ภาคใด
2. ปฏิกิริยานิวเคลียร์ 198

3. พลังงานที่ถูกปลดปล่อยออกมาจากปฏิกิริยาฟิ วชันของนิวเคลียสของธาตุดิวเทอเรี ยม 2 ตัวจะมีค่ากี่ลา้ นอิเล็กตรอนโวลต์


กาหนดมวล 2 4
1𝐻 = 2.014102 u มวล 2𝐻𝑒= 4.002603 u

4. จากปฏิกิริยานิ วเคลียร์ 10 1
5𝐵 + 0𝑛 → 73𝐿𝑖 + 42𝐻𝑒 พบว่ามีพลังงานเกิดขึ้น 2.79 MeV จงหามวลของ Li ใน
หน่ ว ย u (ก าหนดให้ม วลโบรอน-10 = 10.01294 u มวลของนิ ว ตรอน = 1.00866 u และ มวลของฮี เ ลี ย ม-4 = 4.00260 u
เทียบเท่ากับพลังงาน 930 MeV)
5. นิวเคลียสกัมมันตรังสี X มีเลขมวลเท่ากับ 200 มีค่าพลังงานยึดเหนี่ยว/นิวคลีออนประมาณ 7 MeV เกิดการแตกตัวเป็ น 2
ส่วนเท่าๆกัน แต่ละส่วนมีเลขมวลเท่ากับ 100 และมีค่าพลังงานยึดเหนี่ยว/นิวคลีออน ประมาณ 8 MeV จงหาพลังงานที่ถูก
ปล่อยออกมาในการแตกตัวของนิวเคลียส X หนึ่งตัว

6. กระบวนการฟิ วชันบนดวงอาทิตย์ ทาให้ได้พลังงานออกมา 3.90x1027 J/s ซึ่งโลกเราได้รับพลังงานมหาศาลนี้ส่วนหนึ่ง


อยากทราบว่ามวลของดวงอาทิตย์ลดลงในอัตราเท่าใด

7. ปฏิกิริยาต่อไปนี้ ข้อใดให้พลังงานต่อมวลน้อยที่สุด

8. คนไข้คนหนึ่ งต้องการได้รับรังสี แกมมาจากโคบอลต์ -60 แต่ปริ มาณรังสี แกมมาที่ใช้มีมากเกินไปจึงนาแผ่นตะกัว่ มากั้น


และต้องใช้แผ่นตะกัว่ 3 แผ่นมากั้น จึงจะได้ปริ มาณรังสี แกมมาที่พอดี ถ้าตะกัว่ 1 แผ่น สามารถกั้นรังสี แกมมามาไม่ให้ผา่ นได้
90% อยากทราบว่าปริ มาณรังสี แกมมาที่ออกมาได้พอดีจะคิดเป็ นกี่เปอร์ เซ็นต์ของปริ มาณเดิม
เอกสารประกอบการเรี ยนวิชา ว30205 ฟิ สิ กส์เพิ่มเติม 5 ชื่อ………………………….…………………………ชั้น ม.6/….เลขที่……
เอกสารประกอบการเรี ยนวิชา ว30205 ฟิ สิ กส์เพิ่มเติม 5 ชื่อ………………………….…………………………ชั้น ม.6/….เลขที่……

ฟิ สิ กส์ อนุภาค
ที่ผา่ นมาโปรตอน อิเล็กตรอน และนิวตรอนเป็ นองค์ประกอบของอะตอมแต่ต่อมานักฟิ สิ กส์ได้คน้ พบอนุภาคชนิดอืน่ ๆอีก
จานวนมากโดยอาศัยเครื่ องมือที่สาคัญคือ ................................................ และ ......................................................
การค้นพบอนุภาคมูลฐาน
1. การค้นพบปฏิยานุภาค
ปฏิยานุภาค คือ ..........................................................................................................
เช่น การค้นพบอนุภาค ................... ซึ่งเป็ นปฏิยานุภาคของ ......................
(ค้นพบโดย คาร์ล แอนเดอร์สันด้วยเครื่ องตรวจวัดอนุภาคแบบห้องหมอก (Cloud Chamber))
ข้อสังเกต นี้ได้นาไปสู่แนวคิดที่วา่ ..........................................................................................................................
การประลัย (Annihilation) คือ .................................................................................................................................
ปฏิยานุภาคของอิเล็กตรอน คือ ....................................
ปฏิยานุภาคของโปรตอน คือ ........................................
ปฏิยานุภาคของนิวตรอน คือ .......................................

2. การค้นพบมีซอนและมิวออน
ฮิเดกิ ยุกะวะ เสนอแนวคิดว่า .................................................................................................................................
การค้นพบมีซอนและมิวออนมาจากทาการศึกษารังสี คอสมิกพลังงานสู งจากอวกาศ
มีซอน คือ ..............................................................................................................................................................
(ค้นพบโดยคณะนักฟิ สิกส์ชาวอังกฤษจากการใช้แผ่นฟิ ลม์ บันทึกรอยทางของอนุภาค)
มิวออน คือ ..............................................................................................................................................................
(ค้นพบโดยคณะนักฟิ สิกส์ชาวสหรัฐอเมริ กา)

3. การค้นพบนิวทริโน
เกิดจากความไม่สมดุลของพลังงานก่อนและหลังการสลายให้บีตา ซึ่งพลังงานส่วนหนึ่งที่หายไปน่าจะมีอนุภาคชนิด ใหม่นาพาออกไปโดย
อนุภาคนี้ตอ้ งมี...................... และ ..................... โดยค้นพบ ..................................................................................................................... ที่มี
ทั้งหมด 3 ชนิดคือ ..........................................................................................................................................................
(การค้นพบนิวทริ โนมีความท้าทายมากเพราะนิวทริ โนมีปฏิกิริยากับสสารอื่นน้อยมาก ภายหลังใช้เวลากว่า 26 ปี ในท้ายที่สุดคณะนักฟิ สิ กส์
ชาวสหรัฐอเมริ กาได้ยืนยันการค้นพบนิวทริ โนจากการใช้ถงั ขนาดใหญ่บรรจุผสมแคดเมียมคลอไรด์ติดตั้งไว้ใกล้ๆเครื่ องปฏิกรณ์นิวเคลียร์
ที่มีไอโซโทปกัมมันตรังสี สลายให้นิวทริ โนจานวนมากพอ)

4. การค้นพบควาร์ ก
ภายหลัง การค้น พบอนุ ภ าคจ านวนมาก นัก ฟิ สิ ก ส์ ไ ด้พ ยายามจัด หมวดหมู่ โดยนายมัว ร์ เ รย์ เกลล์ - มานน์ ได้จ าแนกภายใต้รู ป แบบ
......................... ซึ่ งได้นาไปสู่ การค้นพบอนุภาคใหม่ที่ทานายไว้ในระบบ โดยนาไปสู่ การหาอนุ ภาคมูล ฐานชนิ ดใหม่ภายในโปรตอนและ
นิวตรอน ซึ่ งได้ให้ชื่อว่า .........................… จากการทดลองโดยใช้เครื่ องเร่ งอนุภาคแนวตรง โดย ...................................................... พบว่า
............................................................................................................... สรุ ปได้ว่าโปรตอนและนิ วตรอนประกอบไปด้วยอนุ ภาคที่เล็กกว่า
จานวน 3 อนุภาคคือ .............................................. ภายหลังศึกษาเพิ่มเติม มีหลักฐานใหม่ที่ไม่สามารถอธิบายได้ดว้ ย 3 อนุภาคข้างต้น ได้คน้ พบ
เพิ่มเติมอีก 3 ชนิดคือ ................................................................................... ซึ่ งค้นพบได้จากการทดลองใช้เครื่ องเร่ งอนุภาคและเครื่ องตรวจวัด
อนุภาคที่มีสมรรถนะสู งมากยิ่งขึ้น

แบบจาลองมาตรฐาน

จากการจาแนกแล้วนั้น แบบจาลองได้ประกอบด้วยทฤษฎีกลศาสตร์ควอนตัม ทฤษฎีสัมพันธภาพและแนวคิดต่างๆที่เกี่ยวข้องได้อธิบาย


เกี่ยวกับอนุภาคมูลฐานคือ.....................................................................................................

โปรตอน : .......................................................

นิวตรอน : .......................................................

ในส่วนของมีซอน เป็ นอนุภาคสสารที่ประกอบด้วยควาร์กและแอนติควาร์กที่มีการแลกเปลี่ยนกลูออนกันทาให้ ยึดเหนี่ยวกันไว้โดย

ไพออน+ : .......................................................

ไพออน- : .......................................................

อีกหนึ่งตัวอย่างคาอธิบายพฤติกรรมโดยอ้างอิงแบบจาลองมาตรฐานของอนุภาคมูลฐานนี้คือปฏิกิริยาสลายให้บีตา โดยแบบจาลองบอกว่า
บีตาที่เกิดขึ้นมาจากการที่

1. ..................................................................................................................................................................

2. ..................................................................................................................................................................

อย่างไรก็ดีแบบจาลองมาตรฐานยังไม่สามารถตอบคาถามหลายๆข้อเช่น เหตุใดจานวนสสารและปฏิสสารไม่เท่ากัน หรื อ สสารมืด (Dark


matter) จึงทาให้กาแล็กซีมีการเคลื่อนที่อย่างที่อยูม่ ีองค์ประกอบอะไรบ้าง
เครื่ องเร่ งอนุภาค (Particle Accelerator)

เครื่ องเร่ งอนุภาค (particle accelerator) คือเครื่ องมือชนิดหนึ่งที่อาศัยสนามแม่เหล็กไฟฟ้าในการเร่ งให้อนุภาคที่มีประจุ


เคลื่อนที่ไปจนกระทัง่ มีความเร็ วสู ง โดยให้เคลื่อนที่อยูภ่ ายในท่อที่เตรี ยมเอาไว้ การชนจะเกิดขึ้นที่อนุภาคภายในอะตอม และ
มีรังสี นิวเคลียร์ หลายชนิดเกิดขึ้นมา

หลักการทางานของเครื่ องเร่ งอนุภาค


เครื่ องเร่ งอนุภาคที่ใกล้ตวั ของเราที่สุด คือ จอภาพของโทรทัศน์ หรื อหน้าจอคอมพิวเตอร์ที่ใช้หลอดรังสี คาโทด
(cathode ray tube ,CRT)

หลอด CRT ทาให้อนุภาคของอิเล็กตรอนจากขั้วลบเร่ งความเร็ วสู งขึ้น และเปลี่ยนทิศทางด้วยขั้วแม่เหล็กไฟฟ้า ใน


หลอดสุญญากาศ แล้วเขาชนโมเลกุลของสารเรื องแสง (phosphor) บนจอภาพ การชนแต่ละครั้งทาให้เกิดจุดของแสงขึ้นมา
บนจอโทรทัศน์ หรื อจอคอมพิวเตอร์
เครื่ องเร่ งอนุภาค มีการทางานในลักษณะเดียวกัน ต่างกันตรงที่มีขนาดใหญ่กว่า และพลังงานสูงกว่ากันมาก (ใกล้กบั
ความเร็ วแสง) การชนจะเกิดขึ้นที่อนุภาคภายในอะตอม และมีรังสี นิวเคลียร์หลายชนิดเกิดขึ้นมา
ภาพถ่ ายจากด้ านบนแสดงเครื่ องเร่ งอนุภาคแนวตรงสแตนฟอร์ ดที่ค้นพบควาร์ ก

ภาพด้ านบนของเครื่ องเร่ งอนุภาคแบบวงกลมที่ Fermi National Accelerator Laboratory (Fermilab) ในรัฐ Illinois
ซึ่งมีพื้นที่ 10 ตารางไมล์ หรื อ 25.6 ตารางกิโลเมตร
ภาพที่สร้ างจากคอมพิวเตอร์ แสดงเหตุการณ์ ที่โปรตอนมาชนกันที่พลังงานสู งทาให้ เกิดอนุภาคชนิดต่ างๆจานวนมาก

ประโยชน์ จากการค้ นคว้ าวิจัยด้ านฟิ สิ กส์ อนุภาค

ด้านการแพทย์
1. การใช้เครื่ องถ่ายภาพรังสี ระนาบด้วยการปล่อยโพซิตรอน หรื อเครื่ อง PET (Positron Emission Tomography) ในการ
ตรวจวินิจฉัยโรคมะเร็ง
2. การใช้โปรตอนพลังงานสูงในการรักษาโรคมะเร็ง(การบาบัดด้วยโปรตอน)

ด้ านอุตสาหกรรม
1. การผลิตชิปคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ มีการใช้เครื่ องเร่ งอนุภาคเร่ งให้ไอออนมีพลังงานเหมาะสม
สาหรับการฝังลงไปในเนื้ อของสารกึ่งตัวนาทาให้ได้ชิปที่มีประสิ ทธิภาพและราคาต่าลง
2. การเชื่อมโลหะด้วยลาอิเล็กตรอนจากเครื่ องเร่ งอนุภาคสาหรับงานที่ตอ้ งการความปราณีต เป็ นพิเศษ
3. การใช้ลาแสงความเข้มสูงที่เรี ยกว่า แสงซินโครตรอน ซึ่งได้จากการเร่ งอิเล็กตรอนในเครื่ องเร่ งอนุภาค นาไปใช้ศึกษา
โครงสร้างของแผ่นเหล็กหรื อพอลิเมอร์เพื่อการปรับปรุ งคุณภาพวัสดุสาหรับใช้ในทางอุตสาหกรรม

ด้านการรักษาความปลอดภัย
- ในสนามบิน ท่าเรื อ หรื อชายแดน มีการติดตั้งระบบสร้างภาพจากรังสี เอกซ์เพื่อตรวจหาวัตถุอนั ตรายหรื อสิ่ งของต้องห้าม
ในกระเป๋ า หรื อตูส้ ิ นค้า ซึ่งรังสี เอกซ์น้ ีสร้างมาจากการเร่ งอิเล็กตรอนมีพลังงานพอเหมาะและเข้าไปชนกับเป้าโลหะ เมื่อรังสี
เอกซ์ผา่ นวัตถุแต่ละชนิดก็จะถูกดูดกลืนไว้ในปริ มาณที่แตกต่างกัน และเมื่อใช้เครื่ องตรวจวัดรังสี ก็จะสามารถจาแนกชนิด
ของวัสดุได้

You might also like