You are on page 1of 170

บทที่ 26

ฟิสิกส์นิวเคลียร์ ปรั บ ปรุ ง ล่ า สุ ด 19 พ.ค. 65

Part 1 นิวเคลียสและการดุลสมการนิวเคลียร์ 1
Part 2 การคำนวณการสลายตัวกัมมันตรังสี 46
Part 3 พลังงานนิวเคลียร์ 121

หากพบจุดที่สงสัยว่าจะพิมพ์ผิด โปรดแจ้งมาที่เพจ Tonsonphysics


เพื่อให้ช่วยตรวจสอบความถูกต้องของเอกสาร

จัดทำเพื่อการศึกษาเท่านั้น ไม่อนุญาตให้นำไปใช้งานต่อในเชิงพาณิชย์
หากพบการซื้อขายเอกสารชุดนี้ โปรดแจ้งที่ Facebook page: Tonsonphysics
รวมข้อสอบ ม.ปลาย
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ Part 1

สมบัติของนิวเคลียส
แนวที่ ๑ : ประจุและมวลของนิวเคลียส

1. (O-Net 2549) คาร์บอนเป็นธาตุที่เป็นส่วนสำคัญของสิ่งมีชีวิต สัญลักษณ์นิวเคลียร์ 12


6 C แสดงว่า
นิวเคลียสของคาร์บอนนี้มีอนุภาคตามข้อใด
ก. โปรตอน 12 ตัว นิวตรอน 6 ตัว
ข. โปรตอน 6 ตัว นิวตรอน 12 ตัว
ค. โปรตอน 6 ตัว อิเล็กตรอน 6 ตัว
ง. โปรตอน 6 ตัว นิวตรอน 6 ตัว

2. (O-Net 2550) อนุภาคใดในนิวเคลียส 236


92 U และ 234
Th
90 ที่มีจำนวนเท่ากัน
ก. โปรตอน ข. อิเล็กตรอน
ค. นิวตรอน ง. นิวคลีออน

3. (O-Net 2550) ในธรรมชาติ ธาตุคาร์บอนมี 3 ไอโซโทป คือ 126 C 13


6 C และ 146 C ข้อใดต่อไปนี้ถูก
ก. แต่ละไอโซโทปมีจำนวนอิเล็กตรอนต่างกัน
ข. แต่ละไอโซโทปมีจำนวนโปรตอนต่างกัน
ค. แต่ละไอโซโทปมีจำนวนนิวตรอนต่างกัน
ง. แต่ละไอโซโทปมีจำนวนโปรตอนเท่ากับจำนวนนิวตรอน

4. (O-Net 2549, O-Net 2552) ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับไอโซโทปสองไอโซโทปของธาตุชนิดเดียวกัน


ก. มีจำนวนนิวคลีออนเท่ากัน
ข. มีเลขมวลเท่ากัน
ค. มีเลขอะตอมเท่ากัน
ง. มีจำนวนนิวตรอนเท่ากัน

1
5. (O-Net 2554) ธาตุที่มีสัญลักษณ์นิวเคลียร์ 40
19 K มักถูกเรียกชื่อย่อว่าอะไร
ก. โปแตสเซียม-19
ข. โปแตสเซียม-21
ค. โปแตสเซียม-40
ง. โปแตสเซียม-59

6. (Ent 22) จำนวนนิวตรอนในนิวเคลียส 27


13 Al คือ
ก. 13 ข. 14 ค. 27 ง. 40

7. (BMAT 2016) Nickel has an atomic number of 28. The mass numbers of four of its
isotopes are 58, 60, 61 and 62.
Below are three statements about these isotopes of nickel.
(1) All of them have the same chemical properties.
(2) All of them have nuclei containing 28 protons.
(3) One of them has a nucleus that contains 62 neutrons.

Which statement(s) is/are correct?


A. 1 only B. 2 only
C. 3 only D. 1 and 2 only
E. 1 and 3 only F. 2 and 3 only
G. 1, 2 and 3 H. none of them

2
แนวที่ ๒ : การทดลองและสมมติฐานเพื่อหาขนาดของนิวเคลียส

8. (Ent 39) รังสีแอลฟาเคลื่อนที่เฉียดนิวเคลียสของทองคำ พลังงานจลน์ของรังสีแอลฟา ณ ตำแหน่งที่เข้า


ใกล้นิวเคลียสของทองคำมากที่สุด มีค่า
ก. ศูนย์ ข. มากที่สุด ค. เท่าเดิม ง. น้อยที่สุด

9. (Ent ต.ค. 41) อนุภาคพลังงานจลน์เท่ากันในข้อใดที่วิ่งเข้าใกล้นิวเคลียสของยูเรเนียมแล้วมีโอกาส


เบี่ยงเบนไปจากแนวเดิมน้อยที่สุด
ก. โปรตอน ข. แอลฟา
ค. อิเล็กตรอน ง. นิวตรอน

3
10. (Ent 38) ธาตุไอโซโทปของ 22488 Ra จะมีรัศมีเป็นกี่เท่าของธาตุไอโซโทปของ 28
11 Na
ก. 2 เท่า ข. 3 เท่า ค. 4 เท่า ง. 5 เท่า

11. (Ent 33) ถ้ารัศมีนิวเคลียสของธาตุไฮโดรเจนเท่ากับ 1.4 10−15 เมตร รัศมีนิวเคลียสของธาตุ 27


Al จะ
เป็นกี่เมตร
ก. 4.2 10−15 เมตร ข. 5.6 10−15 เมตร
ค. 12.6 10−15 เมตร ง. 27 10−15 เมตร

12. (Ent 21) ถ้ารัศมีของนิวเคลียสของไฮโดรเจนเท่ากับ 1.2 10−15 เมตร รัศมีของนิวเคลียสของ 64


30 Zn จะ
เป็นเท่าไร

13. (Ent มี.ค. 46) รัศมีนิวเคลียสของ 238


U มีค่าประมาณเป็นกี่เท่าของรัศมีนิวเคลียสของ 4 He
ก. 4 ข. 8 ค. 16 ง. 60

4
14. (Ent 25) จงหาเลขอะตอมของนิวเคลียสหนึ่งซึ่งประกอบด้วยจำนวนโปรตอนเท่ากับจำนวนนิวตรอน และ
2
นิวเคลียสนี้มีรัศมีเป็น เท่าของนิวเคลียสของ 27
13 Al
3
ก. 2 ข. 4 ค. 8 ง. 9 จ. 18

2
15. (Ent 34) จงหามวลของนิวเคลียสซึ่งมีรัศมีเป็น เท่าของนิวเคลียส 27
13 Al
3
ก. 8 ข. 9 ค. 16 ง. 18

5
แรงนิวเคลียร์
16. (O-Net 2557) ข้อใดมิใช่สมบัติของแรงนิวเคลียร์
ก. เกิดขึ้นภายในนิวเคลียสเท่านั้น
ข. เป็นแรงดึงดูดระหว่างอนุภาคภายในนิวเคลียส
ค. เป็นแรงดึงดูดที่ทำให้อิเล็กตรอนโคจรรอบนิวเคลียส
ง. เป็นแรงดึงดูดระหว่างคู่นิวตรอน
จ. เป็นแรงดึงดูดระหว่างนิวคลีออน

17. (O-Net 2561) ข้อความใดเป็นเหตุผลหลักที่ทำให้โปรตอนหลายตัวสามารถอยู่ใกล้กันภายในนิวเคลียสได้


ก. นิวตรอนซึ่งมีประจุลบ สร้างแรงไฟฟ้าดีงดูดโปรตอน อนุภาคทั้งสองจึงดึงดูดกันและอยู่รวมกันที่
นิวเคลียส
ข. แรงดึงดูดทางแม่เหล็กระหว่างโปรตอนมีขนาดมากกว่าแรงผลักทางไฟฟ้า จึงทำให้โปรตอนดึงดูดกัน
และอยู่รวมกันที่นิวเคลียส
ค. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างนิวคลีออนมีขนาดมากกว่าแรงผลักทางไฟฟ้า ทำให้โปรตอนและนิวตรอนยึด
เหนี่ยวกันและอยู่รวมกันที่นิวเคลียส
ง. เกิดการสลายของนิวเคลียสที่ให้อนุภาคบีตา อนุภาคบีตาจึงสร้างแรงไฟฟ้าดึงดูดต่อโปรตอน ส่งผลให้
โปรตอนอยู่ใกล้กันในนิวเคลียสได้
จ. โปรตอนแต่ละตัวมีประจุไฟฟ้าชนิดเดียวกัน จึงสร้างแรงไฟฟ้าดึงดูดเข้าหากันในระยะห่างที่เหมาะสม
โปรตอนและนิวตรอนจึงยึดเหนี่ยวกันและอยู่รวมกันที่นิวเคลียส

18. (O-Net 2559) ถ้าในธรรมชาติไม่มีแรงนิวเคลียร์ เหตุการณ์ใดต่อไปนี้น่าจะเป็นไปได้มากที่สุด


ก. เกิดเฉพาะธาตุไฮโดรเจน ( 11 H )
ข. เกิดเฉพาะธาตุไฮโดรเจน ( 11 H ) และฮีเลียม ( 42 He )
ค. ธาตุสูญเสียอิเล็กตรอนวงนอกสุด
ง. ธาตุทุกตัวจะปล่อยกัมมันตรังสี
จ. นิวเคลียสจะมีเฉพาะโปรตอน ไม่มีนิวตรอน

6
19. (O-Net 2560) แรงแบบใดที่เหนี่ยวรั้งให้โปรตอนอยู่ด้วยกันได้ในนิวเคลียสของอะตอม
ก. แรงไฟฟ้า
ข. แรงแม่เหล็ก
ค. แรงโน้มถ่วง
ง. แรงนิวเคลียร์แบบอ่อน (weak force)
จ. แรงนิวเคลียร์แบบเข้ม (strong force)

20. (O-Net 2563) ถ้าสมมติให้อนาคตแรงนิวเคลียร์หายไปจากธรรมชาติ “ทุกอะตอมจะไม่สามารถคงสภาพ


อะตอมได้”
คำกล่าวข้างต้น ถูกต้องตามหลักการของแรงในธรรมชาติหรือไม่ เพราะเหตุใด
ก. ถูกต้อง เพราะจะไม่มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโปรตอนและนิวเคลียสที่ทำให้มีนิวเคลียส
ข. ถูกต้อง เพราะจะไม่มีแรงที่ทำหน้าที่ดึงดูดระหว่างนิวตรอนกับอิเล็กตรอนที่อยู่รอบๆ
ค. ไม่ถูกต้อง เพราะยังมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างนิวคลีออนที่ทำให้มีนิวเคลียส
ง. ไม่ถูกต้อง เพราะยังมีแรงไฟฟ้าระหว่างโปรตอนกับอิเล็กตรอนที่อยู่รอบๆ ให้คงสภาพอะตอมได้
จ. ไม่ถูกต้อง เพราะยังมีแรงโน้มถ่วงกระทำระหว่างโปรตอน นิวตรอนและอิเล็กตรอน ให้คงสภาพอะตอม
ได้

7
รังสีแอลฟา เบตา แกมมา
แนวที่ ๑ : สมบัติของรังสีแอลฟา เบตา แกมมา

21. (O-Net 2554) ข้อใดเป็นสมบัติของรังสีแอลฟา


ก. เป็นอิเล็กตรอน ข. เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ค. เป็นนิวเคลียสของอะตอมฮีเลียม ง. เป็นโปรตอน

22. (Ent 22) อนุภาคแอลฟาประกอบด้วย


ก. 2 โปรตอน ข. 2 โปรตอน กับ 2 อิเล็กตรอน
ค. 2 โปรตอน กับ 2 นิวตรอน ง. 4 โปรตอน

23. (O-Net 2560) สนามแม่เหล็กสามารถเบนรังสีใด


ก. แอลฟา ( ) ข. บีตา (  )
ค. แกมมา (  ) ง. แอลฟา ( ) กับ บีตา (  )
จ. แอลฟา ( ) กับ แกมมา (  )

24. (O-Net 2550) อนุภาคแอลฟา อนุภาคบีตา รังสีแกมมา เมื่อเคลื่อนที่ในสนามแม่เหล็ก ข้อใดไม่เกิดการ


เบน
ก. อนุภาคแอลฟา ข. อนุภาคบีตา
ค. รังสีแกมมา ง. อนุภาคแอลฟาและบีตา

25. (O-Net 2553) ถ้ารังสีแกมมาพุ่งเข้าไปในบริเวณที่มีสนามแม่เหล็กซึ่งมีทิศตั้งฉากกับการเคลื่อนที่ของรังสี


ภายในสนามแม่เหล็กดังกล่าว รังสีแกมมามีแนวทางการเคลื่อนที่เป็นไปตามข้อใด
ก. เบนไปด้านข้าง ข. เคลื่อนที่เป็นวงกลม
ค. เคลื่อนที่ในแนวทางเดิม ง. ย้อนกลับทางเดิม

8
26. (Ent 18) จงเรียงอำนาจทะลุทะลวงของรังสี  รังสี  และรังสี  ตามลำดับจากน้อยไปมาก

27. (Ent 30) รังสีแอลฟามีอำนาจในการทะลุผ่านน้อยกว่ารังสีชนิดอื่นที่ออกมาจากธาตุกัมมันตรังสีเนื่องจาก


ก. รังสีแอลฟามีพลังงานน้อยกว่ารังสีชนิดอื่น
ข. รังสีแอลฟามีคุณสมบัติในการทำให้สารที่รังสีผ่านแตกตัวเป็นไอออนได้ดี
ค. รังสีแอลฟาไม่มีประจุไฟฟ้า
ง. ถูกทั้งข้อ ก และข้อ ข

28. (O-Net 2549) รังสีในข้อใดที่มีอำนาจในการทะลุทะลวงผ่านเนื้อสารได้น้อยที่สุด


ก. รังสีแอลฟา ข. รังสีบีตา
ค. รังสีแกมมา ง. รังสีเอกซ์

9
29. (O-Net 2551) ข้อความใดต่อไปนี้ถูกต้องเกี่ยวกับรังสีแอลฟา รังสีบีตาและรังสีแกมมา
ก. รังสีแอลฟามีประจุ +4
ข. รังสีแอลฟามีมวลมากที่สุดและอำนาจการทะลุทะลวงผ่านสูงที่สุด
ค. รังสีบีตามีมวลน้อยที่สุดและอำนาจการทะลุทะลวงผ่านต่ำที่สุด
ง. รังสีแกมมามีอำนาจทะลุทะลวงสูงที่สุด

30. (Ent 36) พิจารณาข้อความต่อไปนี้ สำหรับรังสีแอลฟา บีตา แกมมา


(๑) มีความสามารถในการทำให้แก๊สแตกตัวเป็นไอออนได้ดีกว่า
(๒) ต้องใช้วัสดุที่มีความหนามากในการกั้นรังสี
(๓) เมื่อเคลื่อนที่ผ่านบริเวณที่มีสนามแม่เหล็กแนวการเคลื่อนที่เป็นเส้นโค้ง
(๔) อัตราส่วนระหว่างประจุต่อมวลมีค่ามากที่สุด
ข้อความใดเป็นสมบัติของรังสีบีตา
ก. (๑) และ (๒) ข. (๑) และ (๓) ค. (๒) และ (๔) ง. (๓) และ (๔)

31. (A-Net 2551) การจะตรวจหาว่ารังสีนิวเคลียร์เป็นแบบแอลฟา หรือบีตา หรือแกมมา จะต้องใช้อุปกรณ์


แบบใดร่วมกับเครื่องตรวจจับกัมมันตรังสี
ก. เครื่องกำเนิดแสงเลเซอร์
ข. แผ่นโพลารอยด์สองแผ่น
ค. เกรตติงชนิด 500 เส้นต่อมิลลิเมตรขึ้นไป
ง. แผ่นตะกั่ว แผ่นอะลูมิเนียม และแผ่นกระดาษ

10
แนวที่ ๒ : ปริมาณรังสีที่ต้องการ

32. (Ent 32) ตะกั่วหนา 1 มิลลิเมตร สามารถกั้นรังสีแกมมาได้ 90% ถ้าใช้ตะกั่วหนา 3 มิลลิเมตร รังสี
แกมมาจะทะลุออกไปได้กี่เปอร์เซ็นต์
ก. 30 ข. 3.3 ค. 3.0 ง. 0.1

33. (Ent 38) คนไข้คนหนึ่งต้องการได้รับรังสีแกมมาจากโคบอลต์-60 แต่ปริมาณรังสีแกมมาที่ใช้มีมากเกินไป


จึงนำแผ่นตะกั่วมากั้น จะต้องใช้แผ่นตะกั่ว 3 แผ่นมากั้น จึงจะได้ปริมาณรังสีแกมมาที่พอดี ถ้าตะกั่ว 1
แผ่นสามารถกั้นรังสีแกมมาไม่ให้ผ่านได้ 90% อยากทราบว่าปริมาณรังสีแกมมาที่ออกมาได้พอดีจะคิด
เป็นกี่เปอร์เซ็นต์ของปริมาณเดิม
ก. 0.01% ข. 0.1% ค. 3% ง. 30%

11
34. (Ent 27) แผ่นตะกั่วเนื้อแน่นหนา 15 เซนติเมตร เมื่อนำไปกั้นรังสีแกมมา สามารถลดปริมาณรังสีลงได้
70% ถ้านำแผ่นตะกั่วแบบเนื้อพรุน ซึ่งมีความหนาแน่นเพียงครึ่งเดียวของแบบเนื้อแน่น และมีความ
หนา 0.5 เซนติเมตรมาหลายๆ แผ่น เพื่อกั้นรังสีแกมมาดังกล่าวให้ลดปริมาณลง 70% เช่นกัน จะต้อง
ใช้แผ่นตะกั่วเนื้อพรุนกี่แผ่น
ก. 15 แผ่น ข. 30 แผ่น ค. 45 แผ่น ง. 60 แผ่น

12
35. (BMAT 2012) Students investigate a radioactive source. They place a detector close to a
radioactive source and take 5 readings over 5 minutes. They then place a thin sheet of
paper between the detector and the source, and again observe the counts over 5
minutes. Lastly they replace the paper sheet with an aluminium one and observe the
counts over 5 minutes. Their results are shown below:

What type(s) of radiation is being given off by the source?


A.  only B.  only
C.  only D.  and 
E.  and  F.  and 

13
การดุลสมการนิวเคลียร์
แนวที่ ๑ : หลักการดุลเลขนิวคลีออน

36. (PAT2 ต.ค. 55) ข้อใดแสดงปฏิกิริยาการสลายของ 40


19 K เป็น 40
20 Ca ได้ถูกต้อง
ก. 4019 K → 4020 Ca + n
ข. 4019 K → 4020 Ca + 
ค. 4019 K → 4020 Ca + e− + อนุภาคที่ตรวจวัดไม่พบ
ง. 4019 K → 4020 Ca + e+ + อนุภาคที่ตรวจวัดไม่พบ

37. (O-Net 2550) นิวเคลียสของเรเดียม-226 ( 22688 Ra ) มีการสลายโดยการปล่อยอนุภาคแอลฟา 1 ตัว


และรังสีแกมมาออกมา จะทำให้ 22688 Ra กลายเป็นธาตุใด
ก. 21884 Po ข. 22286 Rn
ค. 23090Th ง. 23492 U

38. (Ent เม.ย. 41) เมื่อบิสมัท-214 ( 21483 Bi ) สลายตัวให้รังสีบีตาลบ นิวเคลียสของธาตุใหม่คือข้อใด


ก. 21082 Pb ข. 21083 Bi ค. 21485 At ง. 21484 Po

14
39. (PAT2 ธ.ค. 54) อนุภาค X ในปฏิกิริยานิวเคลียร์ n + 235
92 U → 56 Ba + 36 Kr + X
141 92
คืออะไร
ก. 31 H ข. 10e 3 อนุภาค
ค. 11 H 3 อนุภาค ง. n 3 อนุภาค

40. (กสพท. 2556) ปฏิกิริยาข้างล่างนี้แสดงการแตกตัวของยูเรเนียม-235 หลังจากการจับอนุภาคนิวตรอน


92 U + 0 n → Xe + 38 Sr + 2 0 n + พลังงาน
235 1 94 1

จงเติมเลขอะตอมและมวลอะตอมให้สมบูรณ์สำหรับธาตุ Xe
ก. 14154 Xe ข. 14053 Xe ค. 13954 Xe ง. 13953 Xe จ. 14054 Xe

41. (กสพท. 2562) พิจารณาสมการ 11


5 B + 11 H → 48 Be + (...)
ธาตุในวงเล็บเป็นธาตุในข้อใด
ก. 11 H ข. 31 H ค. 3
2 He ง. 4
2 He จ. 5
3 Li

42. (มช. 2552) ข้อใดคืออนุภาคในวงเล็บ ที่เกิดจากการสลายตัวของนิวเคลียสต่อไปนี้ 137 N → 136 C + ( )


ก. +10 e ข. −10e ค. 11 H ง. 01n

43. (Ent 19) ค่า A และ Z ของธาตุ X ในสมการต่อไปนี้เป็นเท่าใด ( n คือ นิวตรอน)


. n + 23592 U → 142
56 Ba + Z X + 3n .
A

15
44. (O-Net 2562) พิจารณาการสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสีต่อไปนี้
. 23994 Pu → 23592 U + 42 X .
กำหนดให้ 23994 Pu มีครึ่งชีวิตเท่ากับ 24,120 ปี และ 42 X คือ อนุภาคหรือรังสีที่ได้จากการสลาย
ข้อความใดกล่าวถูกต้อง
ก. 23994 Pu อยู่ในสถานะกระตุ้น
ข. 23994 Pu สลายให้กัมมันตรังสีทุกๆ 24,120 ปี
ค. 42 X เป็นนิวเคลียสของไฮโดรเจน
ง. 42 X เบี่ยงเบนในสนามแม่เหล็ก
จ. 42 X เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

45. (Ent 25) ปฏิกิริยานิวเคลียร์ต่อไปนี้ X ในปฏิกิริยาใดที่เป็นธาตุชนิดเดียวกับธาตุก่อนทำปฏิกิริยา


ก. 5828 Ni ( p, n ) X ข. 1531 P ( d , p ) X
ค. 2713 Al ( d ,  ) X ง. 2713 Al ( n,  ) X
จ. 23 He ( ,  ) X

16
46. (Ent 34) ปฏิกิริยานิวเคลียร์ต่อไปนี้สมการใดบ้างที่ผิด
(๑) 147 N ( , p ) 178 O (๒) 23992 U → 23993 Np + −10e
(๓) 147 N + 42 He + 1.19 MeV → 178 O + 11 H (๔) 19678 Pt + 01n → 19678 Pt + 
คำตอบ คือ
ก. (๑) (๒) และ (๓) ข. (๒) และ (๔) ค. (๔) เท่านั้น ง. คำตอบเป็นอย่างอื่น

47. (กสพท 2557) สามสมการข้างล่างนี้แสดงปฏิกิริยานิวเคลียร์ชุดหนึ่งซึ่งเป็นแหล่งพลังงานของดาวฤกษ์


เช่น ดวงอาทิตย์
1 H + 1 H → 1 H + e + + พลังงาน
1 1 2 +

1 H + 1 H → 2 He +  + พลังงาน
1 2 3

2 He + 2 He → + 2 He + 1 H + 1 H + พลังงาน
3 3 4 1 1

ซึง่ e+ , ,  เป็น โพสิตรอน นิวตริโน และรังสีแกมมา ตามลำดับ ทั้งสามสมการนี้สมการเขียนรวมเป็น


สมการเดียว:
4 11 H → (.......) + 2e+ + 2 + 2 + พลังงาน
จงหาปริมาณในวงเล็บ (.......)
ก. 21 H ข. 31 H ค. 23 He
ง. 42 He จ. 11 H + 31 H

17
48. (BMAT 2006) In stars four protons, p , are fused together to form helium, 4 He , with a
mass of four units, by the following processes.
. 2 p → 2 H + e+ .
. 2 2 H + p → 3 He .
. 2 3 He → 4 He + 2 p .
Which one of the following shows the overall change that has taken place when 4 He is
formed?
( e+ is a positively charged electron, n is a neutron, 2 H is a hydrogen of mass two and
3
He is helium of mass three.)
A. 1 p → 1n + e+
B. 2 p → 2n + 2e+
C. 3 p → 3n + 3e+
D. 4 p → 4n + 4e+

18
แนวที่ ๒ : ตัวเลือกไม่เป็นสัญลักษณ์นิวเคลียร์

49. (O-Net 2561) พิจารณาการสลายตัวของนิวเคลียส ดังสมการต่อไปนี้


(1) 6528 Ni* → 6528 Ni + X
(2) 14460 Nd → 14058 Ce + Y
(3) 1228 Mg → 2813 Al + Z
กำหนดให้ X Y และ Z คือ อนุภาคหรือรังสีที่ได้จากการสลาย
จากข้อมูล การเรียงลำดับความสามารถในการเคลื่อนที่ทะลุผ่านสิ่งกีดขวางของอนุภาค X Y และ Z
ตามข้อใดที่เรียงจากต่ำที่สุดไปสูงที่สุดได้ถูกต้อง
ก. X Z Y ข. Y Z X
ค. Y X Z ง. Z X Y
จ. Z Y X

50. (Ent 39) ธาตุ A สลายเป็นธาตุ B โดยปล่อยรังสีบีตาลบออกมา ธาตุทั้งสองจะมีจำนวนใดเท่ากัน


ก. นิวตรอน ข. โปรตอน
ค. ผลรวมของนิวตรอนและโปรตอน ง. ผลต่างของนิวตรอนและโปรตอน

51. (O-Net 2551) นิวเคลียสของเรเดียม-226 มีการสลายดังสมการข้างล่าง X คืออะไร


. 22688 Ra → 22286 Rn + X .
ก. รังสีแกมมา ข. อนุภาคบีตา
ค. อนุภาคนิวตรอน ง. อนุภาคแอลฟา

19
52. (Ent มี.ค. 42) จากปฏิกิริยานิวเคลียร์
. 147 N + 11 H → 157 N + X .
X คืออนุภาคใด
ก. นิวตรอน ข. อิเล็กตรอน
ค. โปรตอน ง. โพสิตรอน

53. (O-Net 2556) X ในปฏิกิริยานิวเคลียร์ 147 N + 21 H → 157 N + X คืออะไร


ก. รังสีแกมมา ข. อนุภาคนิวตรอน
ค. อนุภาคโปรตอน ง. อนุภาคแอลฟา
จ. อนุภาคบีตา

54. (PAT2 ก.พ. 63) X ในปฏิกิริยานิวเคลียร์ 7


3 Li + 11 H → 63 Li + X นี้คืออะไร
ก. แอลฟา ข. บีตา
ค. แกมมา ง. นิวตรอน
จ. ดิวเทอรอน

55. (Ent มี.ค. 48) สำหรับปฏิกิริยา 21 H + 21 H → 23 He + X + 3.3 MeV X แทนอนุภาคใด


ก. อิเล็กตรอน ข. โพสิตรอน ค. โปรตอน ง. นิวตรอน

20
56. (กสพท. 2563) ข้างล่างนี้เป็นปฏิกิริยานิวเคลียร์แบบหนึ่งที่เกิดในบริเวณศูนย์กลางของดวงอาทิตย์
2 He + 2 He → 2 He + 2 ... + พลังงาน
3 3 4

อนุภาคในวงเล็บปีกกา ... คือข้อใด


ก. โพซิตรอน ข. อิเล็กตรอน
ค. นิวตรอน ง. 21 H
จ. 11 H

57. (BMAT 2005) One type of fission of 23892 U gives 9538 Sr and 13954 Xe as the main products. What
else would be given off in the fission reaction?
A. two protons B. two neutrons
C. four protons D. four neutrons

58. (Ent 22) อนุภาคโปรตอนวิ่งชนนิวเคลียสของ 11


5 B ทำให้เกิดนิวเคลียสตัวใหม่คือ 116 C กับอนุภาคตัว
หนึ่ง อนุภาคตัวนั้นคือ
ก. โปรตอน ข. นิวตรอน ค. อิเล็กตรอน ง. แกมมา

59. (สสวท. รอบที่ 1 ก.ค. 49) ในอนาคตเราอาจผลิตไฟฟ้าจากปฏิกิริยาฟิวชัน (fusion) ดังสมการนี้


1 H + 2 He → 2 He + X + (พลังงานจลน์ 18.3 MeV )
2 3 4

X ในสมการนี้แทนอะไร

60. (Ent 18) ในสมการ 115 Be + 42 He → X + 147 N X คืออะไร

21
61. (Ent มี.ค. 46) จากปฏิกิริยานิวเคลียร์ 2
1 H + X → 24 He + n X ควรเป็นอนุภาคใด
ก. อิเล็กตรอน ข. โปรตอน
ค. ดิวเทอรอน ง. ทริทอน

62. (กสพท. 2558) ในปฏิกิริยาฟิวชันนี้ ถ้า Y คือนิวตรอน คืออะไร


X

1 H + X → 2 He + Y + (17.6 MeV )
2 4

ก. โปรตอน ข. อิเล็กตรอน ค. ทริเทียม


ง. ดิวเทอเรียม จ. แอลฟา

63. (กสพท. 2561) ปฏิกิริยานิวเคลียร์ซึ่งนำมาซึ่งการค้นพบอนุภาคนิวตรอน โดย Chadwick เมื่อปี


ค.ศ.1932 คือ 94 Be + X → 126 C + 01n
อนุภาค X คือข้อใด
ก. โปรตอน ข. แอลฟา
ค. นิวเคลียสของดิวเทอเรียม ( 21 H ) ง. นิวตรอน
จ. นิวเคลียสของตริเตียม ( 31 H )

22
64. (กสพท. 2559) ในปฏิกิริยานิวเคลียร์ข้างล่างนี้ X คืออนุภาคใด (  เป็น โฟตอนของรังสีแกมมา
พลังงานสูง)
. 2 H +  → 1H + X .
ก. โปรตอน ข. นิวตรอน ค. โพสิตรอน
ง. อิเล็กตรอน จ. นิวตริโน

65. (กสพท. 2560) นิวตรอนอิสระ จะสลายตัวด้วยเวลาครึ่งชีวิตประมาณ 12 นาที ดังนี้


นิวตรอน ( n ) → โปรตอน ( p ) + (อนุภาค X ) + ปฏินิวตริโน ( )
อนุภาค X คือข้อใด
ก. อิเล็กตรอน ข. โพสิตรอน
ค. โฟตอนของรังสีแกมมา ง. นิวตริโน
จ. ปฏินิวตรอน

23
66. (Ent 35) ปฏิกิริยานิวเคลียร์ 19880 Hg ( n, y ) 19779 Au ถามว่า y คืออนุภาคใด
ก. ดิวเทอรอน ข. อนุภาคแอลฟา
ค. โปรตอน ง. ทริทอน

67. (สสวท. รอบที่ 1 ก.ค. 48) นิวตรอนอิสระเป็นอนุภาคไม่เสถียร จะสลายตัวไปดังสมการ


. 01n → +11 p + −10e +  .
 เป็นอนุภาคอะไร

24
68. (ม.อ. 52, ม.อ. 54) ธาตุ 21482 Pb สลายตัวเป็น 21483 Bi แล้วเปล่งรังสี A และรังสี B เคลื่อนที่ผ่าน
สนามแม่เหล็ก ดังรูป รังสี A และรังสี B อาจมีเส้นทางการเคลื่อนที่เป็นดังข้อใด (สัญลักษณ์ · แสดงทิศ
สนามแม่เหล็กพุ่งออกจากกระดาษ)

ก. ก และ ข ข. ก และ ค ค. ข และ ค ง. ค และ ง

25
69. (PAT2 ก.พ. 62) ภาพข้างล่างนี้แสดงถึงปฏิกิริยาลูกโซ่โปรตอน-โปรตอน (p-p chain) ซึ่งเป็นปฏิกิริยา
การรวมตัวของไฮโดรเจน จนกลายเป็นฮีเลียมที่เกิดขึ้นภายในดาวฤกษ์

(ภาพจาก หนังสือรายวิชาเพิ่มเติม โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ เล่ม 3 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น


พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ของสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) หน้า 37)

ปฏิกิริยานี้ไม่มีสิ่งใดเกิดขึ้น
ก. นิวทริโน ข. โปรตอน
ค. ดิวทีเรียม ง. รังสีแกมมา
จ. อิเล็กตรอน

26
แนวที่ ๓ : ดูการเปลี่ยนแปลงของนิวเคลียส

70. (O-Net 2551) ในการสลายตัวของ 146 C นิวเคลียสของคาร์บอน-14 ปล่อยอิเล็กตรอนออกหนึ่งตัว


นิวเคลียสใหม่จะมีประจุเป็นกี่เท่าของประจุโปรตอน
ก. 5 ข. 7 ค. 13 ง. 15

71. (O-Net 2557) เมื่อธาตุกัมมันตรังสีสลายตัวให้อิเล็กตรอน 1 ตัว ธาตุนั้นจะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร


ก. มีเลขมวลเพิ่มขึ้น
ข. มีเลขมวลลดลง
ค. มีเลขอะตอมเพิ่มขึ้น
ง. มีเลขอะตอมลดลง
จ. มีจำนวนนิวตรอนเพิ่มขึ้น

27
72. (O-Net 2559) เมื่อสารกัมมันตรังสีสลายตัวให้อนุภาคบีตา 2 ตัว นิวเคลียสของสารดังกล่าวจะมีเลขมวล
และเลขอะตอมเปลี่ยนไปอย่างไร
ก. เลขมวลเพิ่มขึ้น 2 เลขอะตอมเท่าเดิม
ข. เลขมวลเท่าเดิม เลขอะตอมลดลง 2
ค. เลขมวลเท่าเดิม เลขอะตอมเพิ่มขึ้น 2
ง. เลขมวลลดลง 2 เลขอะตอมเท่าเดิม
จ. เลขมวลลดลง 2 เลขอะตอมลดลง 2

73. (Ent 24) ผลบวกของเลขมวลและเลขอะตอมของธาตุกัมมันตรังสี X มีค่าเท่ากับ 3.5 เท่า ของเลข


อะตอมของมัน และเมื่อธาตุนี้สลายตัวกลายเป็นธาตุ Y และอนุภาคแอลฟา ปรากฏว่าผลต่างของเลข
มวลและเลขอะตอมของธาตุ Y มีค่าเท่ากับ 127 จงหาว่าธาตุ X คือธาตุอะไร
ก. 21084 Po ข. 21586 Rn ค. 22088 Ra ง. 22590Th

28
74. (พื้นฐานวิศวะ มี.ค. 46) ข้อความใดไม่ถูกต้อง
ก. นิวเคลียสธาตุ a เมื่อสลายให้รังสีแกมมาแล้ว จะทำให้นิวเคลียสธาตุนั้นเป็นนิวเคลียสเดิม แต่ระดับ
พลังงานของนิวเคลียสจะลดลง
ข. การแผ่รังสีเบตา จะทำให้ได้ธาตุใหม่เกิดขึ้น และมีเลขมวลคงเดิม แต่จะมีประจุไฟฟ้าเพิ่มขึ้น 1e
ค. การแผ่รังสีแอลฟา จะทำให้ได้ธาตุใหม่เกิดขึ้นและมีมวลน้อยลงกว่าเดิม แต่จะมีประจุไฟฟ้าลดลง 2e
ง. รังสีแกมมาสามารถทำให้แก๊สแตกตัวเป็นอิออนได้ดี

75. (BMAT 2008) Here are four statements about radioactivity:


(1) A beta particle is an electron that is emitted from the outermost electron shell
of an atom.
(2) A beta particle is emitted from the nucleus of the atom when a proton changes
into an electron.
(3) A beta particle is emitted from the nucleus of the atom when a neutron changes
into an electron.
(4) After a beta particle is emitted the mass number of the nucleus of the atom is
unchanged.
Which statement(s) is/are true?
A. 1 only B. 2 only
C. 3 only D. 4 only
E. 1 and 2 F. 3 and 4

29
แนวที่ ๔ : สลายตัวหลายครั้ง แบบบอกสมการมาให้

76. (Ent 22) ยูเรเนียม-238 ( 23892 U ) สลายตัวให้อนุภาคแอลฟา ซึ่งนิวเคลียสที่เกิดขึ้นสลายตัวต่อไปให้


อนุภาคเบต้ากับแกมมา เลขอะตอมและเลขมวลของนิวเคลียสที่เกิดขึ้นครั้งหลังสุดนี้คือ
ก. Z = 91 และ A = 234 ข. Z = 90 และ A = 234
ค. Z = 91 และ A = 233 ง. Z = 90 และ A = 233

77. (Ent 36) นิวเคลียส 210


82 Pb สลายตัวสู่ไอโซโทปเสถียรตามลำดับดังนี้
210
82 Pb ⎯⎯→
 ,
X ⎯⎯

→ Y ⎯⎯→
 ,
Z
จำนวนนิวตรอนในไอโซโทปเสถียร Z เป็นเท่าไร

78. (Ent มี.ค. 44) จากรูปเป็นแผนภาพแสดงบางส่วนของอนุกรมการสลายตัวของนิวเคลียสธาตุหนัก ในที่นี้


นิวเคลียส ก สลายตัวเป็นนิวเคลียส ข และนิวเคลียส ข สลายเป็นนิวเคลียส ค ในระหว่างการสลายตัว
จากนิวเคลียส ก → ข → ค จะปล่อยอนุภาคเรียงลำดับได้ดังนี้
ก. อนุภาคแอลฟา และอนุภาคบีตาบวก
ข. อนุภาคบีตาลบ และอนุภาคแอลฟา
ค. อนุภาคบีตาบวก และอนุภาคแอลฟา
ง. อนุภาคแอลฟา และอนุภาคบีตาลบ

30
79. (BMAT 2004) Nuclide P decays by emission of ionising radiation to produce nuclide Q .
This new nuclide then decays by further emission into nuclide R . The process is shown
below, with the appropriate mass numbers (nucleon numbers) and atomic numbers
(proton numbers).
. ZA P → Z +A1 Q → Z −X1 R .
Which line in the table shows the type of particle emitted at each stage, and the value
of X ?

First decay Second decay Value X


A. alpha alpha . A.
B. alpha alpha . A− 2 .
C. alpha beta . A− 4 .
D. beta beta . A.
E. beta alpha . A− 2 .
F. beta alpha . A− 4 .

31
80. (BMAT 2012) Nuclide N
R X is an unstable isotope which decays in two stages into nuclide
Z as shown:
. NR X → R−P2Y → QP Z .
What are the values of P and Q ?

.P. .Q .
A. . N − 4 . . R + 1.
B. . N − 4 . . R −1 .
C. . N − 4 . . R−2.
D. . N . . R −1 .
E. . N . . R−2.
F. . N . . R−4.

32
81. (BMAT 2015) Part of a radioactivity decay series is represented below. It involves the
change of a nucleus M into a nucleus N by the emission of a beta-particle, followed
by a further change into a nucleus Q by the emission of an alpha particle. Four quantities
V , W , X and Y are shown.

. WV M ⎯⎯
 
→ X N ⎯⎯ →YQ.

What are the expressions for X and Y ?

.X. .Y .
A. .W − 2 . .V − 4 .
B. .W − 2 . .V − 2 .
C. .W − 2 . .V .
D. .W . .V − 3 .
E. .W . .V − 2 .
F. .W +1. .V − 3 .
G. .W +1. .V − 4 .
H. .W +1. .V .

33
82. (BMAT 2017) Uranium-238 is a naturally-occurring alpha emitter. It can be used in the
manufacture of the isotope plutonium-239, during which it is bombarded by neutrons.

The process of converting a nucleus of uranium-238 to a nucleus of plutonium-239 is a


three-stage sequence of nuclear reactions.
What is this sequence? (Atomic numbers: uranium = 92; plutonium = 94)

1st stage 2nd stage 3rd stage


A. emission of an  particle emission of an  particle absorption of a neutron
B. emission of an  particle absorption of a neutron emission of an  particle
C. emission of an  particle emission of an  particle absorption of a neutron
D. emission of an  particle absorption of a neutron emission of an  particle
E. absorption of a neutron emission of an  particle emission of an  particle
F. absorption of a neutron emission of an  particle emission of an  particle

34
แนวที่ ๕ : สลายตัวหลายครั้ง แบบให้จำนวนอนุภาคมาให้

83. (Ent 38, Ent 28) จากธาตุไอโซโทปของยูเรเนียม 23892 U สลายตัวแบบอนุกรมได้อนุกรมแอลฟารวม 8


ตัว และอนุภาคบีตาลบรวม 6 ตัว และได้ไอโซโทปของธาตุใหม่อีก 1 ตัว อยากทราบว่าไอโซโทปของ
ธาตุใหม่มีเลขมวลและเลขอะตอมตรงกับข้อใด
ก. 91, 234 ข. 92, 206 ค. 234, 91 ง. 206, 82

84. (Ent มี.ค. 43) ในการสลายตัวต่อๆ กันของธาตุกัมมันตรังสี โดยเริ่มจาก 23892 U เมื่อสลายให้อนุภาค


ทั้งหมดเป็น 2 , 2 − และ 2 จะทำให้ได้นิวเคลียสใหม่ มีจำนวนโปรตอนและจำนวนนิวตรอนเท่าใด
ก. จำนวนโปรตอน 88 จำนวนนิวตรอน 140
ข. จำนวนโปรตอน 90 จำนวนนิวตรอน 140
ค. จำนวนโปรตอน 88 จำนวนนิวตรอน 142
ง. จำนวนโปรตอน 90 จำนวนนิวตรอน 142

85. (มช. 2556) ในการสลายตัวของ 23892 U ได้อนุภาคบีตารวม 2 ตัว อนุภาคแอลฟ่ารวม 4 ตัว และแกมมา 4
ตัว จะทำให้ได้นิวเคลียสใหม่ที่มีจำนวนโปรตอนและนิวตรอนเท่าใดตามลำดับ
ก. 88, 148 ข. 86, 148 ค. 88, 136 ง. 86, 136

86. (Ent 21) 23992 U สลายตัวให้แอลฟา 1 อนุภาค และเบตา 2 อนุภาค จะได้ธาตุใหม่ที่มีเลขมวลและเลข


อะตอมเป็นเท่าไร

35
87. (BMAT 2010) When radioactive isotopes decay, they sometimes have to go through a
succession of disintegrations to reach a stable isotope. These are called decay chains, and
involve the successive emission of numerous  and/or  particles.

One such isotope is radon-219 ( 21986 Rn ) , which goes through a chain in which three 
particles and two  particles are emitted before reaching a stable isotope.

What are the atomic and mass numbers of the resulting stable isotope?

Atomic number Mass number


A. . 80 . . 207 .
B. . 80 . . 211 .
C. . 82 . . 207 .
D. . 82 . . 215 .
E. . 85 . . 211 .
F. . 85 . . 219 .
G. . 86 . . 215 .
H. . 86 . . 219 .

88. (BMAT 2020) Thorium-232 ( 23290Th ) is an unstable nuclide that decays through a sequence
of radioactive emissions to form a stable nuclide of lead.

All of the emissions during this sequence are either alpha or beta (  − ) particles.

One of the intermediate nuclides, reached after four alpha and two beta decays, is a
nuclide of an element labelled X .

What is the symbol for this nuclide of X ?


A. 21480 X B. 21680 X C. 216
84 X D. 216
88 X
E. 22484 X F. 22488 X G. 224
90 X H. 228
88 X

36
89. (Ent 26) ธาตุ X รวมตัวกับอนุภาคแอลฟากลายเป็นธาตุกัมมันตรังสี Y ซึ่งสลายตัวให้รังสีบีตา แล้วตัวมัน
กลายเป็นธาตุ Z ถ้าเลขมวลของธาตุ Z มีค่าเป็น 2 เท่าของเลขอะตอมของมัน ธาตุ X ดังกล่าวคือธาตุใด
ข้อใด
ก. 2958 Cu ข. 6230 Zn ค. 6531 Ga ง. 3268 Ge

37
แนวที่ ๖ : สลายตัวหลายครั้ง แบบหาจำนวนอนุภาคที่เกิดขึ้น

90. (EJU-1 2017) Nihonium ( Nh ) is a new synthetic element with an atomic number of 113,
whose synthesis was first confirmed in Japan. Experiments have shown that one Nh
nucleus changes into one mendelevium ( Md , atomic number: 101) nucleus after
undergoing several  decays. During the change, only  decays occur.
How many  particles are emitted in the process whereby one Nh nucleus changes into
one Md nucleus? From (a)-(g) below choose the correct answer.
(a) 2 (b) 3 (c) 4 (d) 5
(e) 6 (f) 7 (g) 8

38
91. (ทุนญี่ปุ่น 2006) The atomic nucleus 23892 U decays by  and  and changes atomic and
mass numbers. What is the final stable nucleus after these decay processes?
(a) 20882 Pb (b) 20983 Bi (c) 20682 Pb (d) 20782 Pb

39
92. (PAT2 มี.ค. 59) 23892 U สลายตัวอย่างต่อเนื่อง โดยแผ่รังสีแอลฟาและเบตาจนได้ 206
82 Pb ปริมาณ 
และ  เป็นอย่างไร
ก. อนุภาค  มากกว่าอนุภาค  2 อนุภาค
ข. อนุภาค  มากกว่าอนุภาค  3 อนุภาค
ค. อนุภาค  มากกว่าอนุภาค  10 อนุภาค
ง. อนุภาค  มากกว่าอนุภาค  6 อนุภาค
จ. อนุภาค  มากกว่าอนุภาค  18 อนุภาค

40
93. (BMAT 2018) The radioactive isotope plutonium-244 becomes radon-220 after a
succession of decays. The atomic number of plutonium is 94 and the atomic number of
radon is 86 .
How many alpha particles and how many beta particles are emitted altogether during the
decay of one nucleus of plutonium-244 to radon-220?

Alpha particles Beta particles


A. .6 . .2.
B. .6 . .4.
C. .8 . .8 .
D. . 12 . .4.
E. . 12 . . 16 .

94. (EJU-2 2017) A nucleus X with mass number A and atomic number Z is expressed as
Z X . Unstable nucleus 90Th undergoes  -decay a times and  -decay b times to
A 230

become stable 20682 Pb .

What is the set of values for ( a, b ) ? From (a)-(f) below choose the correct answer.
(a) ( 5,3) (b) ( 5, 4 ) (c) ( 5,5)
(d) ( 6,3) (e) ( 6, 4 ) (f) ( 6,5)

41
พลังงานยึดเหนี่ยวในนิวเคลียส
95. (PAT2 มี.ค. 56) นิวเคลียสของฮีเลียมประกอบด้วยโปรตอน 2 อนุภาคและนิวตรอน 2 อนุภาค ถ้าให้
mHe , mp และ mn แทน มวลของนิวเคลียสฮีเลียม มวลโปรตอน และมวลนิวตรอน ตามลำดับ ข้อใดถูก
ก. mHe  2mp + 2mn
ข. mHe = 2mp + 2mn
ค. mHe  2mp + 2mn
ง. mHe = 2mp + 2mn + 2me เมื่อ me คือ มวลของอิเล็กตรอน

42
96. (PAT2 ต.ค. 59) กำหนดให้
มวลอะตอมของทริเทียม = 3.016049 u
มวลอะตอมของไฮโดรเจน = 1.007825 u
มวลของโปรตอน = 1.007276 u
มวลของนิวตรอน = 1.008665 u
มวลของอิเล็กตรอน = 0.000549 u
มวล 1 u = 1.660540 10−27 kg = 931 MeV/c2
พลังงานยึดเหนี่ยวในนิวเคลียสของทริเทียมมีค่าใกล้เคียงค่าใด
ก. 0.009 MeV ข. 1 MeV ค. 8 MeV
ง. 2,808 MeV จ. 2,816 MeV

97. (Ent 34) ธาตุทริเทียมซึ่งมีเลขอะตอมเป็น 1 เลขมวลเป็น 3 และมวลอะตอมเท่ากับ 3.016049 u มี


พลังงานยึดเหนี่ยวต่อนิวคลีออนเท่ากับเท่าใดในหน่วย MeV (ทศนิยม 2 ตำแหน่ง)
กำหนดให้ มวลอะตอมของไฮโดรเจน = 1.007825 u
มวลของนิวตรอน = 1.008665 u
และ 1 u = 930 MeV

43
98. (PAT2 มี.ค. 57) จากข้อมูลต่อไปนี้

ธาตุ/อนุภาค มวล ( u )
ไฮโดรเจน . 1.007825 .
ฮีเลียม-4 . 4.002604 .
นิวตรอน . 1.008665 .
โปรตอน . 1.007276 .

พลังงานยึดเหนี่ยวต่อนิวคลีออนของ 4
2 He ในหน่วย MeV เป็นเท่าใด กำหนดให้มวล 1 u เทียบเท่ากับ
พลังงาน 931 MeV
ก. 6.8 ข. 7.1 ค. 27.3 ง. 28.3

99. (Ent 30) ถ้านิวเคลียสของธาตุ A มีมวล 4.0020 u และนิวเคลียสของธาตุ A นี้ประกอบขึ้นด้วยโปรตอน


และนิวตรอนอย่างละ 2 ตัว (มวลของโปรตอน = 1.0073 u , มวลของนิวตรอน = 1.0087 u , มวล 1 u
เทียบเท่ากับพลังงาน 930 MeV ) พลังงานยึดเหนี่ยวต่อนิวคลีออนของธาตุ A มีค่า
ก. 2 MeV ข. 7 MeV ค. 14 MeV ง. 28 MeV

100. (ทุนคิง 2560) ถ้านิวเคลียสของธาตุ A มีมวล 3.0160 u ประกอบด้วยโปรตอน 2 ตัวและนิวตรอน 1


ตัว จงแสดงวิธีทำเพื่อคำนวณหาพลังงานยึดเหนี่ยวต่อนิวคลีออนของธาตุ A ในหน่วยของ MeV
(กำหนดให้ มวลของโปรตอนเท่ากับ 1.0073 u , มวลของนิวตรอนเท่ากับ 1.0087 u , มวล 1 u
เทียบเท่ากับพลังงาน 930 MeV )

44
101. (Ent 21) ค่าพลังงานยึดเหนี่ยวของการที่แต่ละนิวคลีออนหลุดออกไปจากนิวเคลียส เริ่มต้นจาก
นิวเคลียสของ 42 He มีดังนี้
2 He เป็น 2 He
4 3
20.50 MeV

2 He เป็น 1 H 5.44 MeV และ


3 2

1 H เป็น 1 H
2 1
2.18 MeV
(๑) จงหาว่านิวคลีออนอะไรบ้างที่หลุดออกมาเรียงมาตามลำดับ เริ่มจาก 42 He จนถึง 11 H
(๒) จงหาว่าค่าพลังงานยึดเหนี่ยวของนิวเคลียสของ 42 He

45
รวมข้อสอบ ม.ปลาย
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ Part 2

การสลายตัวกัมมันตรังสีและครึ่งชีวิต
แนวที่ ๑.๑ : ครึ่งชีวิตทีล่ งตัวพอดี แบบหาปริมาณสาร

1. (A-Net 2551) หลังจากเวลาผ่านไป n เท่าของครึ่งชีวิต จำนวนนิวเคลียสกัมมันตรังสีจะเหลืออยู่เท่าใด


ของจำนวนตั้งต้น
n n
1 1 1 1
ก.   ข.   ค. ง.
2 n 2n n

2. (Ent ต.ค. 43) สารกัมมันตรังสีโคบอลต์-60 สลายตัวให้รังสีเบตาและรังสีแกมมา โดยมีครึ่งชีวิต 5.30 ปี


จงหาเปอร์เซ็นต์ของสารกัมมันตรังสีที่เหลืออยู่เมื่อเวลาผ่านไป 15.9 ปี
ก. 6.25% ข. 12.5%
ค. 18.75% ง. 25%

46
3. (A-Net 2549) สารกัมมันตรังสีเรเดียม-226 สลายตัวให้อนุภาคแอลฟาและแกมมาโดยมีครึ่งชีวิต 1, 620
ปี ถ้าเริ่มต้นมีเรเดียมนี้อยู่ 200 ไมโครกรัม ถามว่าเมื่อเวลาผ่านไป 4,860 ปี จะเหลือเรเดียม-226 นี้อยู่
กี่ไมโครกรัม
ก. 67 μg ข. 50 μg
ค. 25 μg ง. 20 μg

4. (มช. 2552) กำหนดให้นิวเคลียส 22286 Rn มีค่าครึ่งชีวิต 4 วัน ถ้ามี 222


86 Rn เริ่มต้นอยู่ 16 กรัม เมื่อเวลา
ผ่านไป 12 วัน จะเหลืออยู่กี่กรัม

5. (Ent 18) ธาตุบิสมัธกัมมันตรังสีมีเวลาครึ่งชีวิต 5 วัน ถ้ามีสารนี้อยู่ 1 กรัม หลังจากเก็บไว้ 15 วัน จะ


เหลือบิสมัธเท่าใด

6. (Ent 19) ธาตุกัมมันตรังสีชนิดหนึ่งมีเวลาครึ่งชีวิต 10 วัน ถ้าเก็บธาตุนั้นจำนวน 24 1018 อะตอม ไว้


30 วัน จะเหลือธาตุนั้นกี่อะตอม

47
7. (Ent 23) ปล่อยให้ธาตุกัมมันตรังสี A จำนวน 1 หน่วย สลายอยู่เป็นเวลานาน 2 เท่าของเวลาครึ่งชีวิตไป
เป็นธาตุ B ซึ่งเสถียร อยากทราบว่าจะมีธาตุ B เกิดขึ้นมาเป็นจำนวนเท่าไร จากการสลายของ A ในช่วง
เวลานั้น

8. (Ent 31) ไอโซโทปของโซเดียม ( 2411 Na ) มีครึ่งชีวิต 15 ชั่วโมง จงหาว่าเวลาผ่านไป 75 ชั่วโมง


นิวเคลียสของไอโซโทปนี้ จะสลายไปแล้วประมาณกี่เปอร์เซ็นต์ของจำนวนที่ตั้งต้น ถ้าตอนเริ่มแรก
นิวเคลียสของไอโซโทปนี้มีค่า 5 คูรี่
ก. 75% ข. 87.5% ค. 94% ง. 97%

9. (Ent 21) ครึ่งชีวิตของ 198 Au เท่ากับ 2.7 วัน จงหาจำนวนของธาตุทองที่สลายตัวไปว่าเป็นกี่เท่าของ


จำนวนเดิม เมื่อทิ้งธาตุทองนี้ไว้ 5.4 วัน

48
แนวที่ ๑.๒ : ครึ่งชีวิตทีล่ งตัวพอดี แบบหาเวลาที่ใช้สลายตัว

10. (EJU-2 2016) Uranium 235 ( 235 U ) undergoes radioactive decay with a half-life of
7.0 108 years.

How many years would it take for the number of atomic nuclei in a given quantity of
1
235
U to decrease to of its original number? From (a)-(d) below choose answer.
1024
(a) 5.6 109 years (b) 6.3 109 years
(c) 7.0 109 years (d) 7.7 109 years

11. (O-Net 2553) ธาตุกัมมันตรังสีธรรมชาติ X มีครึ่งชีวิตเท่ากับ 5, 000 ปี นักธรณีวิทยาค้นพบซากของ


สัตว์โบราณที่มีปริมาณธาตุกัมมันตรังสี X เหลืออยู่เพียง 6.25% ของปริมาณเริ่มต้น สัตว์โบราณนี้มี
ชีวิตโดยประมาณเมื่อกี่ปีมาแล้ว
ก. 10, 000 ปี ข. 15, 000 ปี
ค. 20, 000 ปี ง. 25, 000 ปี

12. (Ent 29) ในการหาอายุของวัตถุโบราณชิ้นหนึ่ง โดยการวัดปริมาณของคาร์บอน-14 ซึ่งมีครึ่งชีวิต 5,570


1
ปี พบว่า ปริมาณของคาร์บอน-14 ที่เหลืออยู่ในปัจจุบันเท่ากับ เท่าของปริมาณที่มีอยู่ในตอนแรก
8
วัตถุโบราณชิ้นนี้มีอายุเท่าใด
ก. 11,140 ปี ข. 16, 710 ปี ค. 22, 280 ปี ง. 44,560 ปี

49
13. (O-Net 2551) ไอโซโทปกัมมันตรังสีของาตุไอโอดีน-128 มีครึ่งชีวิต 25 นาที ถ้ามีไอโอดีน-128 ทั้งหมด
256 กรัม จะใช้เวลาเท่าไรจึงจะเหลือไอโอดีน-128 อยู่ 32 กรัม
ก. 50 นาที ข. 1 ชั่วโมง 15 นาที
ค. 1 ชั่วโมง 40 นาที ง. 3 ชั่วโมง 20 นาที

14. (PAT3 มี.ค. 59) กากเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ประกอบด้วยยูเรเนียม-238 ปริมาณ 640 g หากครึ่งชีวิตของ


สารนี้คือ 4.5 109 ปี จะต้องใช้เวลาอย่างน้อยกี่ปีเพื่อให้สารนี้เหลืออยู่ 5 g
ก. 9 109 ปี ข. 13.5 109 ปี
ค. 27.0 109 ปี ง. 31.5 109 ปี
จ. 63.0 109 ปี

50
15. (O-Net 2549) ไอโอดีน-128 มีค่าครึ่งชีวิต 25 นาที ถ้าเริ่มต้นมีไอโอดีน-128 อยู่ 400 มิลลิกรัม
ไอโอดีน-128 จะลดลงเหลือ 100 มิลลิกรัม เมื่อเวลาผ่านไปกี่นาที

16. (Ent 30) ธาตุไอโอดีน–126 มีครึ่งชีวิต 12 วัน นาย ข ได้รับธาตุไอโอดีน–126 เข้าไปในร่างกาย 16 กรัม
เป็นเวลานานกี่วัน ไอโอดีน–126 ในร่างกายของนาย ข จึงจะลดลงเหลือ 2 กรัม
ก. 12 วัน ข. 24 วัน ค. 36 วัน ง. 48 วัน

17. (มช. 2556) นาย ก ได้รับไอโอดีน-131 เข้าไปในร่างกาย 2 กรัม เป็นเวลานานกี่วัน ไอโอดีน-131 จึงจะ
ลดลงเหลือ 0.25 กรัม (กำหนดให้ ครึ่งชีวิตของไอโอดีน-131 มีค่าเท่ากับ 8 วัน)

51
18. (PAT2 ก.ค. 52) ธาตุกัมมันตรังสีชนิดหนึ่งมีจำนวนนิวเคลียสเริ่มต้นเท่ากับ N0 มีค่าครึ่งชีวิตเท่ากับ T1/2
3N 0
เมื่อเวลาผ่านไปนานเท่าใดสารนี้จึงจะสลายตัวไป
4
T1/2 3T1/2 T1/2 ln ( 3 / 4 )
ก. ข. ค. 2T1/2 ง.
4 4 ln 2

52
แนวที่ ๑.๓ : ครึ่งชีวิตทีล่ งตัวพอดี แบบหาครึ่งชีวิต

19. (O-Net 2551) พิจารณาข้อมูลการสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี M N O และ P ดังตารางต่อไปนี้

ธาตุ มวลเริ่มต้น ( g ) ระยะเวลาที่ปล่อยทิ้งไว้ (วัน) มวลที่เหลือ ( g )


M . 40 . . 32 . . 2.5 .
N . 30 . . 60 . . 1.875 .
O . 16 . . 36 . . 0.25 .
P .2. . 100 . . 0.125 .

ธาตุใดมีครึ่งชีวิตน้อยที่สุด
ก. M ข. N ค. O ง. P

20. (PAT2 ต.ค. 55) ธาตุกัมมันตรังสี A สลายตัวเป็น B ถ้าปริมาณ 7/8 ของ A สลายตัวไปในเวลา 15
นาที ค่าครึ่งชีวิตของ A เป็นกี่นาที
ก. 3.75 ข. 5 ค. 7 ง. 10

53
14
21. (O-Net 2555) ธาตุกัมมันตรังสีจำนวนหนึ่งสลายตัวไป เท่าของของเดิมภายในเวลา 6 ชั่วโมง ธาตุนี้
16
มีค่าครึ่งชีวิตกี่ชั่วโมง
ก. 1 ข. 2 ค. 3 ง. 4 จ. 5

15
22. (Ent 22) สารกัมมันตรังสีจำนวนหนึ่ง เมื่อตั้งทิ้งไว้ 2 ชั่วโมง ปรากฏว่าสลายตัวไปจำนวน เท่า
16
ของเดิม จงหาเวลาครึ่งชีวิตของสารนี้
ก. 7.5 นาที ข. 15 นาที ค. 30 นาที ง. 64 นาที

23. (O-Net 2563) เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2563 พบสารกัมมันตรังสีชนิดหนึ่ง 8, 000 มิลลิกรัม ต่อมา วันที่ 5
มกราคม 2563 มีสารกัมมันตรังสีชนิดนี้ เหลืออยู่เพียง 500 มิลลิกรัม

จากข้อมูล สารกัมมันตรังสีดังกล่าวมีค่าครึ่งชีวิตเท่าใด และวันที่ 7 มกราคม 2563 จะเหลือสาร


กัมมันตรังสีเท่าใด

สารกัมมันตรังสี
ครึ่งชีวิต (ชั่วโมง)
ณ วันที่ 7 มกราคม 2563 ( mg )
ก. . 24 . . 62.5 .
ข. . 24 . . 125.0 .
ค. . 24 . . 250.0 .
ง. . 30 . . 125.0 .
จ. . 30 . . 250.0 .

54
แนวที่ ๑.๔ : ครึ่งชีวิตทีล่ งตัวพอดี แบบให้อัตราการสลายตัวมาให้
dN
24. (มช. 2553) กัมมันตภาพรังสี ( A) ของธาตุกัมมันตรังสี มีนิยามว่า A= โดยที่ N (t ) คือ จำนวน
dt
นิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสีที่มีอยู่ในขณะเวลา t ใดๆ เมื่อให้ N0 คือ จำนวนนิวเคลียสเริ่มต้น และให้
A0 คือ กัมมันตรังสีเริ่มต้นในขณะที่ธาตุกัมมันตรังสีนี้ยังมีจำนวนนิวเคลียสเป็น N0 ตัว จงหาว่า
กัมมันตภาพ ณ เวลาครึ่งชีวิตของธาตุกัมมันตรังสีมีค่าเป็นกี่เท่าของค่า A0 (ตอบเป็นทศนิยมสอง
ตำแหน่ง)

55
25. (Ent ต.ค. 46) สารกัมมันตรังสีชนิดหนึ่งมีค่ากัมมันตภาพ 256 คูรี พบว่าเวลาผ่านไป 6 นาที
กัมมันตภาพลดลงเหลือ 32 คูรี จงหาค่าครึ่งชีวิตและค่ากัมมันตภาพที่เหลืออยู่หลังจากเวลาผ่านไปอีก
8 นาที
ก. 2 นาที 2 คูรี ข. 2 นาที 30 คูรี
ค. 4 นาที 8 คูรี ง. 4 นาที 24 คูรี

26. (Ent ต.ค. 47) สารกัมมันตรังสีชิ้นหนึ่ง มีกัมมันตภาพ 6.4 1012 เบคเคอเรล 12 ชั่วโมงต่อมา
กัมมันตภาพลดลงเหลือ 1.0 1011 เบคเคอเรล สารนี้มีเวลาครึ่งชีวิตกี่ชั่วโมง

56
27. (ทุนคิง 2550) ถ้าปล่อยให้ไอโซโทปกัมมันตรังสีที่ผลิตขึ้นสลายตัวนาน 5 นาที จะมีมวลเหลืออยู่ 0.5
กรัม เมื่อนำไอโซโทปไปวัดกัมมันตภาพรังสีที่เกิดขึ้น พบว่าอัตราการนับจะลดลงเหลือ 1 ใน 4 ของค่า
เริ่มนับในเวลา 2 นาที จงหาว่ามวลเริ่มต้นของไอโซโทปกัมมันตรังสีดังกล่าวมีกี่กรัม

57
แนวที่ ๒ : ค่าคงที่การสลายตัว

28. (PAT3 ต.ค. 58) สารกัมมันตรังสี จะมีคุณสมบัติในการสลายตัวไปตามสมการ N = N0e−t เมื่อ


N คือ ปริมาณของสารกัมมันตรังสีที่เวลาใดๆ ( t = t )
N0 คือ ปริมาณของสารกัมมันตรังสีตั้งต้นที่เวลา t = 0
 คือ ค่าคงที่การสลายตัว (Decay Constant) ของสารกัมมันตรังสี
t คือ เวลาใดๆ มีหน่วยเป็นวินาที
หากพบว่าธาตุเรเดียม-226  88 Ra 226  มีค่า  = 1.4 10−11 s−1 จงหาค่าครึ่งชีวิตของเรเดียม
ก. 1,570 ปี ข. 1,575 ปี
ค. 1,580 ปี ง. 1,585 ปี
จ. 1,590 ปี

29. (Ent 40) ธาตุ A มีค่าคงตัวการสลาย  จะมีค่าครึ่งชีวิตดังข้อใด


ก. e−  /2 ข. e−  /2
ln 2
ค.  ln 2 ง.

58
30. (Ent 34) ไอโอดีน-131 มีค่าคงตัวของการสลายเท่ากับ 0.087 ต่อวัน ถ้ามีไอโอดีน-131 อยู่ 10 กรัม
ตอนเริ่มต้นเมื่อเวลาผ่านไป 24 วัน จะมีไอโอดีน-131 เหลืออยู่เท่าใด (กำหนดให้ ln 2 = 0.693 )
ก. 0.63 กรัม ข. 1.25 กรัม ค. 2.50 กรัม ง. 5.00 กรัม

31. (PAT3 ต.ค. 59) สารกัมมันตรังสีจะเกิดการสลาย (Decay) ไปตามสมการ Exponential Function


N = N0e− t เมื่อ N คือ น้ำหนักของสารกัมมันตรังสีที่เวลา t , N0 คือ น้ำหนักของสารกัมมันตรังสี
เมื่อเวลา t = 0 และ  คือ ค่าคงที่การสลาย (Decay Constant) หากสารกัมมันตรังสี ( n ) มีค่าครึ่ง
ชีวิต (Half-Life) 2 ปี แล้วค่าคงที่ของการสลาย  มีค่าเท่าใด
กำหนดให้ ln 2 = 0.693
ก. 0.1500 ปี-1 ข. 0.3020 ปี-1
ค. 0.3465 ปี-1 ง. 0.5000 ปี-1
จ. 0.6930 ปี-1

59
32. (พื้นฐานวิศวะ มี.ค. 42) ไม้ชิ้นหนึ่งมี C −14 ที่มีอยู่ในธรรมชาติ ค่าครึ่งชีวิต ( t1/2 ) ของ C −14
เท่ากับ 5730 ปี อัตราการสลายตัวของ C −14 แปรตามปริมาณของ C −14 ที่มีอยู่ในขณะนั้น ข้อ
ใดไม่เป็นความจริง
dN
ก. อัตราการสลายตัว =− = − kN เมื่อ N = ปริมาณ C − 14 ที่เวลา t ใดๆ และ k = ค่าคงที่
dt
การสลายตัว
ln 2
ข. k=
5730
ค. N = N0e− kt ; N0 = ปริมาณ C − 14 ที่เวลาเริ่มต้น
ง. ปริมาณ C − 14 จะลดลงเป็นศูนย์เมื่อเวลาผ่านไป 10460 ปี

60
แนวที่ ๓.๑ : ครึ่งชีวิตที่ไม่ลงตัว แบบหาปริมาณสาร

33. (O-Net 2556) ธาตุกัมมันตรังสีมวล M กิโลกรัม มีครึ่งชีวิต 28 ปี เมื่อเวลาผ่านไป 35 ปี มีธาตุนี้


เหลืออยู่เท่ากับ m กิโลกรัม ข้อสรุปใดถูกต้อง
ก. 0.50M  m  M
ข. 0.25M  m  0.50M
ค. 0.125M  m  0.250M
ง. 0.0625M  m  0.1250M
จ. 0.03125M  m  0.06250M

61
1
34. (กสพท. 2559) เมื่อเวลาผ่านไปเท่ากับ ของเวลาครึ่งชีวิต จะเหลือจำนวนนิวเคลียสกัมมันตรังสีอยู่กี่
2
เปอร์เซ็นต์ของค่าตั้งต้น
ก. 13 ข. 25 ค. 61
ง. 71 จ. 75

35. (PAT2 มี.ค. 52) ธาตุกัมมันตรังสีชนิดหนึ่งมีจำนวนนิวเคลียสเริ่มต้นเท่ากับ N0 เมื่อเวลาผ่านไป


ครึ่งหนึ่งของครึ่งชีวิต จะมีจำนวนนิวเคลียสเหลืออยู่เท่าใด
N0 N0 3N 0 7 N0
ก. ข. ค. ง.
4 2 4 8

62
36. (PAT2 มี.ค. 64) ในทางการแพทย์มีการนำไอโซโทปไอโอดีน-131 (I-131) มาใช้ในการรักษาผู้ป่วยมะเร็ง
ต่อมไทรอยด์ โดย I-131 จะสลายให้รังสีบีตา

เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลแห่งหนึ่งสั่งซื้อ I-131 มาจากต่างประเทศซึ่งมีกัมมันตภาพ 100 มิลลิคูรี และใช้


เวลาเดินทางมาถึงประเทศไทย 60 ชั่วโมง และนำมาเก็บไว้ที่กรุงเทพมหานครอีก 24 ชั่วโมง แล้วจึง
ขนส่งต่อจากกรุงเทพมหานครไปยังโรงพยาบาลแห่งหนึ่งในจังหวัดแม่ฮ่องสอน โดยรถที่ใช้ในการขนส่งขับ
ด้วยอัตราเร็วเฉลี่ย 70 กิโลเมตรต่อชั่วโมง รวมระยะทาง 840 กิโลเมตร
กำหนดให้ 1 คูรี = 3.7 1010 เบ็กเคอเรล
ครึ่งชีวิตของ I-131 มีค่า 8 วัน
เมื่อไอโซโทปไอโอดีน-131 มาถึงโรงพยาบาลแห่งนี้ จะเหลือกัมมันตภาพกี่เบ็กเคอเรล
ก. 1.9110−12 ข. 70.7 10−3
ค. 2.61109 ง. 2.98 109
จ. 3.54 109

63
37. (ทุนคิง 2562, Serway) พิจารณาธาตุกัมมันตรังสีชนิดหนึ่งซึ่งมีค่าคงที่การสลายตัวเท่ากับ  ช่วงเวลา
ครึ่งชีวิตเท่ากับ T1/2 และจำนวนนิวคลีออนเริ่มต้น (ที่เวลา t = 0 s ) เท่ากับ N0 ถ้าหากจำนวน
นิวคลีออนที่สลายตัวไปในช่วงครึ่งชีวิตช่วงครึ่งแรกมีค่าเท่ากับ N1 และจำนวนนิวคลีออนสลายตัว
ไปในช่วงครึ่งชีวิตช่วงครึ่งหลังเท่ากับ N2 จงหาค่าของ N1 / N2

38. (ทุนคิง 2558) สารกัมมันตรังสีชนิดหนึ่ง เมื่อเวลาผ่านไป 2 นาที มีอัตราการสลายตัว เท่ากับ


27 counts/s และเมื่อเวลาผ่านไป 32 นาที มีอัตราการสลายตัวเท่ากับ 3 counts/s จงคำนวณหา
อัตราการสลายตัวของสารนี้เมื่อเวลาผ่านไป 1 ชั่วโมง
(กำหนดให้ ln 2 = 0.693 , ln 3 = 1.100 , e2 = 7.38 )

64
39. (PAT3 มี.ค. 57) ธาตุกัมมันตรังสีชนิดหนึ่งมีครึ่งชีวิตเท่ากับ 13.3 วัน ถ้าเริ่มต้นมีธาตุกัมมันตรังสีอยู่
10 กรัม เมื่อเวลาผ่านไป 20 วัน จงคำนวณหาว่า จะมีธาตุกัมมันตรังสีเหลืออยู่ประมาณเท่าใด
กำหนดให้ ln 2 = 0.693 ค่า e = 2.718 และ m = m0e−t
โดย  คือ ค่าคงตัวการสลาย m คือ มวล ณ เวลา t
m0 คือ มวลเริ่มต้น และ t คือ เวลา
ก. 2.1 กรัม ข. 2.5 กรัม
ค. 2.7 กรัม ง. 3.7 กรัม
จ. 4.7 กรัม

40. (PAT2 เม.ย. 57) สารกัมมันตรังสีชนิดหนึ่งมีค่าครึ่งชีวิต 100 วินาที ถ้าเริ่มต้นมีสารชนิดนี้จำนวน


100 กรัม เมื่อเวลาผ่านไป 250 วินาที จะเหลือสารชนิดนี้ประมาณกี่กรัม
ก. 23.5 ข. 19.8 ค. 17.7 ง. 14.3

41. (ม.อ. 50) ธาตุไอโอดีน-131 ปริมาณ m กรัม มีครึ่งชีวิต 9 วัน เมื่อเวลาผ่านไป 12 วัน จะมีธาตุนี้
เหลืออยู่เป็นปริมาณกี่กรัม
m −0.231 m −2.08
ก. e ข. 2me−0.231 ค. e ง. 2me −2.08
2 2

65
42. (ทุนคิง 2564 + Serway) Free neutrons have a characteristic half-life of 10.4 min . What
fraction of a group of free neutrons with kinetic energy 0.0400 eV decays before traveling
a distance of 10.0 km ?

66
43. (ทุนคิง 2561) สารกัมมันตรังสีชนิดหนึ่งมีครึ่งชีวิต 40 วัน นาย ก. ได้รับไว้ในร่างกาย 10 กรัม และ
นาย ข. ได้รับไว้ 40 กรัม โดยนาย ข. ได้รับก่อนนาย ก. 10 วัน หลังจากนาย ก. ได้รับสารกัมมันตรังสี
ผ่านไป 30 วัน พบว่ามีเหลือในร่างกายนาย ก. เท่ากับ m1 กรัม เหลือในร่างกายนาย ข. เท่ากับ m2
m 
กรัม จงแสดงวิธีการคำนวณเพื่อหาค่าของ ln  1  กำหนดให้ ln 2 = 0.693 , ln 3 = 1.098
 m2 

67
แนวที่ ๓.๒ : ครึ่งชีวิตที่ไม่ลงตัว แบบหาเวลาที่ใช้สลายตัว

44. (Ent มี.ค. 45) ต้องใช้เวลานานประมาณเท่าใด ธาตุกัมมันตรังสีที่มีค่าครึ่งชีวิตเท่ากับ 30 ปี จึงจะมี


ปริมาณเหลือเพียงร้อยละ 10 ของของเดิม
ก. 80 ปี ข. 100 ปี ค. 120 ปี ง. 240 ปี

45. (PAT2 ก.พ. 61) สารกัมมันตรังสีชนิดหนึ่งมีค่าครึ่งชีวิต 15 นาที ช่วงเวลาที่ใช้ในการสลายตั้งแต่เหลือ


สาร 70% จนกระทั่งเหลือ 34% ของปริมาณตั้งต้น เป็นเวลาประมาณกี่นาที กำหนด ln 2 = 0.693
ln 3 = 1.099 , ln 7 = 1.946 , ln8 = 2.079 , ln10 = 2.303 , ln 34 = 3.526
ก. 8 ข. 16 ค. 24 ง. 32 จ. 40

68
46. (PAT2 ก.พ. 62) เมื่อนำหัววัดรังสีแบบไกเกอร์ไปเข้าใกล้ธาตุกัมมันตรังสีชนิดหนึ่ง พบว่าสามารถนับ
สัญญาณทีร่ ังสีทำให้แก๊สแตกตัวเป็นไอออนได้ 600 ครั้งใน 1 นาที ถ้าหลังจากผ่านไป 24 ชั่วโมง การ
วัดซ้ำแบบเดิมได้สัญญาณเพียง 500 ครั้งใน 1 นาที ธาตุกัมมันตรังสีดังกล่าวมีค่าครึ่งชีวิตประมาณ
เท่าใดในหน่วยชั่วโมง ( ln 2 = 0.693 , ln 5 = 1.609 , ln 6 = 1.792 )
ก. 48 ข. 72 ค. 82 ง. 91 จ. 131

47. (PAT2 มี.ค. 57) สารกัมมันตรังสีชนิดหนึ่งปลดปล่อยรังสีที่อัตรา 2, 000 ครั้งต่อนาที เมื่อเวลาผ่านไป


1 ปี อัตราลดลงเหลือ 1,800 ครั้งต่อนาที สารนี้มีครึ่งชีวิตประมาณกี่ปี
ก. 0.1 ข. 0.7 ค. 5.0 ง. 6.7

48. (ทุนคิง 2557) สารกัมมันตรังสีชนิดหนึ่งมีค่ากัมมันตภาพ 1440 คูรี เมื่อเวลาผ่านไป 1 ชั่วโมง 30


นาที กัมมันตภาพลดลงเหลือ 90 คูรี จงแสดงวิธีทำเพื่อคำนวณว่าสารนี้มีค่าครึ่งชีวิตกี่นาที

69
แนวที่ ๓.๓ : ครึ่งชีวิตที่ไม่ลงตัว แบบให้ตารางการวัดค่ามาให้

49. (Ent 37) ในการทดลองศึกษาสมบัติของสารกัมมันตรังสี โดยตรวจนับกัมมันตภาพ ได้ผลการทดลองดัง


ข้อมูลในตาราง จงประมาณหากัมมันตภาพที่นับได้ต่อนาที เมื่อทำการนับที่เวลาหลังจากเริ่มต้น 45
ชั่วโมง

เวลานับจากเริ่มต้น (ชั่วโมง) .0 . .5. . 10 . . 15 . . 20 . . 25 .


กัมมันตภาพที่นับได้ (ต่อนาที) . 10, 050 . . 7, 080 . . 4,980 . . 3,535 . . 2,510 . . 1, 765 .

ก. 1, 250 ข. 880 ค. 525 ง. 440

70
50. (PAT2 พ.ย. 57) ในบริเวณหนึ่งพบว่าวัดกัมมันตรังสีในช่วง 15 วันได้ดังตาราง เพื่อความปลอดภัย
จะต้องรอให้มีกัมมันตภาพไม่เกิน 120 เบ็กเคอเรล จึงจะเข้าไปสำรวจบริเวณดังกล่าวได้ อยากทราบว่า
จะต้องรอให้ผ่านไปอย่างน้อยที่สุดกี่วัน

วันที่ .0 . .2. .5. . 10 . . 15 .


กัมมันตภาพ ( Bq ) . 1000 . . 795 . . 560 . . 317 . . 178 .

ก. 17 ข. 19
ค. 21 ง. 23

71
แนวที่ ๔ : ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณสารกับอัตราการสลายตัว

51. (Ent 40) ถ้า 22688 Ra จำนวน N นิวเคลียส มีกัมมันตภาพ A มิลลิคูรี ค่าคงตัวการสลายต่อวินาทีคือ
ข้อใด (กำหนดให้ 1 คูรีเท่ากับการสลาย 3.7 1010 ต่อวินาที)
A A N N
ก. 3.7 107 ข. ค. 3.7 107 ง.
N 3.7 107 N A 3.7 107 A

52. (Ent 25) ค่าคงที่ของการสลายตัว (decay constant) ของ 23290Th เท่ากับ 1.6 10−18 (วินาที)-1
ถ้ามี 23290Th อยู่ 1 กิโลกรัม ให้หาอัตราการสลายตัวเป็นอะตอมต่อวินาที ( N A = 6 1023 /mol )
ก. 4.1103 อะตอมต่อวินาที ข. 9.6 105 อะตอมต่อวินาที
ค. 4.1106 อะตอมต่อวินาที ง. 9.6 108 อะตอมต่อวินาที
จ. 2.2 1011 อะตอมต่อวินาที

53. (Ent 35) ค่าคงที่การสลายตัวของทอเรียม-232 เท่ากับ 1.6 10−18 ต่อวินาที ธาตุนั้นจำนวน 464
กรัม จะสลายตัวกี่ล้านอะตอมต่อวินาที

72
54. (กสพท. 2564) ถ้าเริ่มต้นมีเรเดียม-221 จำนวน 1.85 109 นิวเคลียส ซึ่งมีกัมมันตภาพ 1 มิลลิคูรี ต้อง
ใช้เวลาประมาณกี่วินาที จำนวนนิวเคลียสของเรเดียม-221 จึงจะลดลงเหลือครึ่งหนึ่งของจำนวนเริ่มต้น

กำหนดให้ กัมมันตภาพ 1 คูรี เท่ากับอัตราการสลายของนิวเคลียสจำนวน 3.7 1010 นิวเคลียสต่อ


วินาที
ก. 3.73 10−10 ข. 1.38 10−2
ค. 2.00 10−2 ง. 3.45 101
จ. 1.28 109

55. (ทุนคิง 2551) จงหากัมมันตภาพของ 222


86 Rn ที่มีปริมาณ 1 มิลลิกรัม ถ้าเวลาครึ่งชีวิตเท่ากับ 3.8 วัน
และ N A = 6 1023 อะตอมต่อโมล

73
56. (Ent ต.ค. 44) ธาตุกัมมันตรังสีจำนวนหนึ่ง มีกัมมันตภาพ 1 ไมโครคูรี และมีครึ่งชีวิตเท่ากับ 1, 000
วินาที จำนวนนิวเคลียสกัมมันตรังสีขณะนั้นเป็นเท่าใด ( 1 คูรี เท่ากับ 3.7 1010 เบเคอเรล)
ก. 3.7 107 ข. 5.3 107 ค. 3.7 109 ง. 5.3 109

57. (PAT2 ก.พ. 63) สารกัมมันตรังสีชนิดหนึ่งมีค่าครึ่งชีวิต 2 นาที ถ้า ณ ขณะนี้วัดกัมมันตภาพได้ 4


มิลลิกูรี เมื่อเวลาผ่านไป 1 นาที สารกัมมันตรังสีนี้จะเหลืออยู่ประมาณกี่อะตอม
กำหนดให้ ln 2  0.7 และ 2  1.4
ก. 7 107 ข. 3 108
ค. 9 109 ง. 2 1010
จ. 5 1010

74
58. (Ent ต.ค. 42, Ent มี.ค. 43) ถ้าธาตุ X มีจำนวนอะตอมเป็น 2 เท่าของธาตุ Y แต่มีกัมมันตภาพเป็น
3 เท่าของธาตุ Y ครึ่งชีวิตของธาตุ X จะเป็นกี่เท่าของธาตุ Y
1 2
ก. เท่า ข. เท่า
6 3
3
ค. เท่า ง. 6 เท่า
2

59. (Ent 24) ธาตุกัมมันตรังสีมีเวลาครึ่งชีวิตนานเป็น 2 เท่าของเวลาครึ่งชีวิตของธาตุกัมมันตรังสี B ถ้า A


และ B ต่างก็มีกัมมันตภาพ (Activity) เท่ากัน จงหาอัตราส่วนของจำนวนอะตอมของ A : B
1 1
ก. ข. 2 ค. ง. 4
2 4

60. (มช. 2555) ไอโซโทป X มีจำนวนและอัตราการสลายตัวมากกว่าไอโซโทป Y อยู่ 3 เท่า และ 4 เท่า


ตามลำดับ ครึ่งชีวิตของไอโซโทป X จะเป็นกี่เท่าของไอโซโทป Y
3 4
ก. ข. ค. 7 ง. 12
4 3

75
แนวที่ ๕ : เปรียบเทียบครึ่งชีวิตของธาตุสองธาตุ

61. (O-Net 2561) กำหนดให้ ไอโซโทปกัมมันตรังสี A มีครึ่งชีวิตเท่ากับ 4 วัน


ไอโซโทปกัมมันตรังสี B มีครึ่งชีวิตเท่ากับ 12 วัน
ถ้าในตอนเริ่มต้น ไอโซโทปทั้งสองมีปริมาณเท่ากัน เมื่อเวลาผ่านไป 12 วัน ปริมาณของไอโซโทป B ที่
เหลือ เป็นกี่เท่าของไอโซโทป A ที่เหลือ
ก. 16 เท่า ข. 8 เท่า
ค. 4 เท่า ง. 3 เท่า
จ. 0.5 เท่า

76
62. (Ent มี.ค. 48) ณ เวลาหนึ่ง ธาตุกัมมันตรังสี A มีกัมมันตภาพ A0 ในขณะที่ธาตุกัมมันตรังสี B มี
กัมมันตภาพ B0 ถ้าค่าคงที่การสลายตัวของธาตุ A เป็น a และของธาตุ B เป็น b เวลาผ่านไปอีก
นานเท่าใด กัมมันตภาพของธาตุทั้งสองจึงเท่ากัน
A0 − B0 A0 − B0
ก. ข.
a −b b−a
ln A0 − ln B0 ln A0 − ln B0
ค. ง.
a −b b−a

77
63. (กสพท. 2555) นิวเคลียสกัมมันตรังสีชนิด A มีจำนวนตั้งต้นเป็น 100 เท่าของจำนวนนิวเคลียส
กัมมันตรังสีชนิด B โดยที่ A มีเวลาครึ่งชีวิตเป็น T และ B มีเวลาครึ่งชีวิตเป็น 2T อีกนานเท่าไร
จำนวนนิวเคลียสกัมมันตรังสี A กับ B จึงจะเท่ากันพอดี
ก. ( 2log10 2) T ข. ( 2log 2 10 ) T
4T
ค. ง. ( 4log10 2) T
0.693
จ. ( 4log 2 10 ) T

78
64. (กสพท. 2557) สารกัมมันตรังสี A มีเวลาครึ่งชีวิต TA มีจำนวนตั้งต้น N0 ส่วนสารกัมมันตรังสี B มี
จำนวนตั้งต้น 2N0 มีเวลาครึ่งชีวิต TB ที่เวลาเท่าใดสารทั้งสองนี้จึงเหลือปริมาณเท่ากันพอดี (กำหนด
ว่า TB  TA )
TATB
ก. TA + TB ข. TA − TB ค.
TA − TB
TATB TA + TB
ง. จ.
TA + TB 2

79
65. (สอวน. รอบพิเศษ ม.ค. 52) ไอโซโทปกัมมันตรังสี A และ B มีเวลาครึ่งชีวิตเป็น 1000 และ 5000
1
ล้านปี ตามลำดับ ปัจจุบันในโลกมีปริมาณของ A เป็น เท่าของ B จงหาอายุของโลก ถ้าหากว่าเมื่อ
16
ตอนที่โลกก่อตัวขึ้นนั้นปริมาณของ A กับ B เท่ากัน
[ตัวเลขที่ใช้เป็นการสมมุติเพื่อไม่ต้องใช้เครื่องคิดเลข!]

80
แนวที่ ๖ : เปรียบเทียบครึ่งชีวิตกับสัดส่วนอื่นๆชีวิต

66. (กสพท. 2556) สารกัมมันตรังสีที่มีเวลาครึ่งชีวิต T1 และปริมาณตั้งต้น N0 จะเหลืออยู่ที่เวลา t ใดๆ


2
1
 1  T1 1
เท่ากับ N = N0   2 แต่ถ้าเราใช้ T1 ในความหมายว่าเมื่อเวลาผ่านไป T1 จะเหลือสารเพียง
2 8 8 8
T1
ของปริมาณเมื่อตอนต้นของช่วง จงหาค่า 8

T1
2

1
ก. ข. 2 ค. 3 ง. 4 จ. 8
2

81
67. (สอวน. ม.4 ส.ค. 58)

82
แนวที่ ๗ : Background radiation

68. (BMAT 2003) In an experiment concerning radioactive decay, the count rate of radiation
5 cm from a source X was measured as 140 counts per minute. 12 minutes later, with
the detector in the same position, the count rate was measured as 35 counts per minute.
Background radiation was recorded as 20 counts per minute.
Calculate the half-life of source X. (Give your answer in minutes.)

83
69. (BMAT 2007) A detector of radioactivity shows background radiation to be 20 counts per
minute with no radioactive sources nearby. A radioactive source which emits alpha
particles and beta particles is brought very close to the detector and the detector reading
increases to 280 counts per minute. A sheet of paper is then placed between the source
and the detector, and the detector reading drops to 60 counts per minute.

How many counts per minute were caused by alpha particles and by beta particles from
the source?

84
70. (BMAT 2013) Two radioactive sources X and Y have half-lives of 4.8 hours and 8.0 hours
respectively. Both decay directly to form only stable isotopes.

The activity of a sample of the source X was measured by a detector as 320 counts per
minute, and simultaneously the radioactivity of a sample of the source Y was measured
as 480 counts per minute. Immediately after the measurements, the two samples were
combined.
What was the count rate when the activity of the combination of X and Y was measured
24 hours later?

[Assume that all reading in this question have been corrected for background radiation.]
A. 25 counts per minute B. 50 counts per minute
C. 55 counts per minute D. 70 counts per minute
E. 100 counts per minute F. 140 counts per minute

85
แนวที่ ๘ : พิจารณาปริมาณนิวเคลียสของผลิตภัณฑ์ด้วย

71. (PAT2 ต.ค. 55) วัตถุก้อนหนึ่งประกอบด้วยยูเรเนียม-238 บริสุทธิ์เท่านั้น ก้อนดังกล่าวมีมวลเริ่มต้น 10


กรัม เมื่อเวลาผ่านไปสองเท่าของค่าครึ่งชีวิต มวลของก้อนวัตถุดังกล่าวเป็นเท่าใด
ก. ศูนย์ ข. น้อยกว่า 2.5 กรัม
ค. 2.5 กรัม ง. มากกว่า 2.5 กรัม

86
72. (BMAT 2006) A particular radioisotope X with a half-life of 4 years decays into the stable
isotope Y.
At a particular time, a sample contains 32 1020 atoms of nuclide X and 4 1020 atoms
of nuclide Y.
How many atoms of nuclide Y will be present in the sample 8 years later?
A. 11020 B. 4 1020
C. 8 1020 D. 16 1020
E. 24 1020 F. 28 1020

87
73. (สสวท. รอบที่ 1 ก.ค. 47) เมื่อเวลาเริ่มต้น ( t = 0) มีแต่ธาตุ A เพียงอย่างเดียว ธาตุ A สลายตัวให้ธาตุ
B ซึ่งเสถียรด้วยเวลาครึ่งชีวิต T จงหาอัตราส่วนของธาตุ B ต่อธาตุ A ที่เวลา t ใดๆ

88
74. (กสพท. 2563) นิวเคลียสของธาตุ X สลายตัวด้วยเวลาครึ่งชีวิตเท่ากับ T ไปเป็นนิวเคลียสของธาตุ Y
ซึ่งเสถียร เมื่อเริ่มต้นไม่มีธาตุ Y อยู่เลย จะต้องรอนานเท่าไรจึงจะมีจำนวนนิวเคลียสของ Y เป็น 7 เท่า
ของจำนวนนิวเคลียสของ X
3 5
ก. T ข. T ค. 3T ง. 5T จ. 7T
2 2

75. (PAT3 มี.ค. 54) การสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสียูเรเนียม-238 มีอัตราการสลายตัวอย่างช้าๆ ไปเป็น


ตะกั่ว ซึ่งการสลายตัวนี้เป็นปฏิกิริยาอันดับหนึ่ง มีครึ่งชีวิต 9.2 105 ปี ถ้ามียูเรเนียม-238 บริสุทธิ์อยู่
จำนวนหนึ่ง จงหาว่าต้องใช้เวลากี่ล้านปี เพื่อให้เกิดการสลายตัวจนมีอัตราส่วนของยูเรเนียมต่อตะกั่ว
เท่ากับ 1: 3

89
76. (PAT2 ก.ค. 53) ธาตุกัมมันตรังสี A สลายตัวเป็นธาตุ B ซึ่งเสถียรโดยมีครึ่งชีวิตเป็น T จะต้องใช้
เวลานานเท่าใด ธาตุ B จึงจะมีจำนวนเป็น 2 เท่าของธาตุ A
ก. T ข. T ln 3
ln 2
ค. T ln 3 ง. T ln 2
2

77. (มช. 2553) นักวิทยาศาสตร์ตรวจวัดปริมาณไอโซโทปทังสเตน–182 จากตัวอย่างสสารในดาวหาง โดย


ไอโซโทปดังกล่าวสลายตัวมาจากไอโซโทปฮาฟเนียม–182 ซึ่งมีครึ่งชีวิตเท่ากับ 8.9 106 ปี ถ้า
นักวิทยาศาสตร์ ตรวจสอบพบว่า อัตราส่วนทังสเตน–182 ต่อฮาฟเนียม–182 เท่ากับ 87.5% ดาวหาง
ดวงนี้น่าจะมีอายุประมาณกี่ล้านปี

90
78. (BMAT 2010) In a laboratory experiment, protactinium-234 undergoes radioactive decay
by  -emission into uranium-234.
The table below describes how the mass of uranium-234 present in the sample varies
with time from the start of the experiment:

Using the information in the table, approximately what is the half-life of protactinium 234?
A. 1.2 minutes B. 2.4 minutes
C. 6.0 minutes D. 9.6 minutes
E. 10.8 minutes F. 12.0 minutes

91
แนวที่ ๙ : การคำนวณสมการเคมี

79. (สสวท. รอบที่ 1 ก.ค. 50) ธาตุโพโลเนียม-210 สลายตัวดังสมการ


. 21084 Po → 20682 Pb + 24 He .
ถ้าเดิมมีธาตุโพโลเนียมอยู่ 2 มิลลิกรัมในภาชนะเปิด เมื่อเวลาผ่านไปเท่ากับเวลาครึ่งชีวิตของโพโลเนียม
แล้วนำภาชนะนี้ไปชั่งอีกครั้งจะพบว่ามวลลดลงจากเดิมเท่าใด

80. (A-Net 2550) ธาตุโพโลเนียม-210 สลายตัวด้วยครึ่งชีวิต 138 วันให้ตะกั่วและอนุภาคแอลฟาซึ่งเสถียร


ดังสมการ
. 21084 Po → 20682 Pb + 24 He .
ถ้าเดิมมีธาตุโพโลเนียมอยู่ 8 10−4 โมล เมื่อทิ้งไว้นาน 276 วัน จะเกิดแก๊สฮีเลียมขึ้นกี่มิลลิกรัม
ก. 1.2 mg ข. 1.6 mg ค. 2.4 mg ง. 4.8 mg

92
81. (สสวท. รอบที่ 1 มิ.ย. 46) U − 238 สลายตัวให้ Th − 234 และ He − 4 โดยมีเวลาครึ่งชีวิต
4.5 109 ปี ถ้าในตอนเริ่มต้นมีธาตุ U − 238 อยู่ 2.5 โมล ในเวลา 1 ปีต่อมาจะได้แก๊สฮีเลียมจากการ
สลายตัวนี้จำนวนกี่อะตอม
(กำหนดให้ e−t  1 − t และเลขอโวกาโดร N A = 6.02 1023 mol−1 )

93
แนวที่ ๑๐ : สมดุลการสลายตัว

82. (Ent 25) ในการเปลี่ยนสภาพของนิวเคลียสธาตุกัมมันตรังสี X ไปเป็นธาตุกัมมันตรังสี Y พบว่าขณะที่ธาตุ


ทั้งสองอยู่ในสภาพสมดุล อะตอมของธาตุ X มีค่าเป็น 3 106 เท่าของอะตอมของธาตุ Y ถ้าครึ่งชีวิตของ
ธาตุ Y เท่ากับ 1, 600 ปี จงหาครึ่งชีวิตของธาตุ X
ก. 5.4 10−4 ปี ข. 1.9 103 ปี
ค. 3.3 109 ปี ง. 4.5 109 ปี
จ. 4.8 109 ปี

94
แนวที่ ๑๑ : การคำนวณหาอายุวัตถุโบราณ

83. (O-Net 2555) ปริมาณที่สำคัญของการหาอายุซากฟอสซิลโบราณด้วย C-14 คืออะไร


ก. มวล C-14 ที่สลายตัวไป
ข. มวล C-14 ที่เหลืออยู่
ค. ผลต่างระหว่างมวล C-14 ที่เหลืออยู่ กับมวล C-12 ที่เหลืออยู่
ง. อัตราส่วนมวล C-14 ที่สลายตัวไปต่อมวล C-12 ที่สลายตัวไป
จ. อัตราส่วนมวล C-14 ที่เหลืออยู่ต่อมวล C-12 ที่เหลืออยู่

84. (O-Net 2556) หลักการสำคัญของการหาอายุซากฟอสซิลโบราณด้วย C-14 คืออะไร


ก. เมื่อสิ่งมีชีวิตตายลง ปริมาณ C-12 จะลดลงเรื่อยๆ
ข. เมื่อสิ่งมีชีวิตตายลง ปริมาณ C-14 จะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ
ค. เมื่อสิ่งมีชีวิตตายลง อัตราส่วนมวล C-14 ต่อ C-12 จะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ
ง. เมื่อสิ่งมีชีวิตตายลง อัตราส่วนมวล C-14 ต่อ C-12 จะคงเดิม
จ. เมื่อสิ่งมีชีวิตตายลง อัตราส่วนมวล C-14 ต่อ C-12 จะลดลงเรื่อยๆ

85. (Ent 32) เมื่อนำซากไม้โบราณ 6 กรัม มาวัดปริมาณรังสี ปรากฏว่ามีกัมมันตภาพเท่ากับไม้ที่มีชีวิต 2


กรัม ถ้าครึ่งชีวิตของ C-14 เป็น 5, 600 ปี แสดงว่าซากไม้มีอายุ
ก. เกิน 16,800 ปี ข. อยู่ระหว่าง 11, 200 − 16,800 ปี
ค. อยู่ระหว่าง 5, 600 − 11, 200 ปี ง. ไม่เกิน 5, 600 ปี

95
86. (Ent 20) ในการหาอายุของไวโอลีนเก่าแก่คันหนึ่ง พบว่าอัตราส่วนของ 14 C : 12 C มีอยู่เพียง 12.5%
ของอัตราส่วน 14 C : 12 C ในไม้ที่มีชีวิตอยู่ ไวโอลีนคันนี้มีอายุกี่ปี (กำหนดเวลาครึ่งชีวิตของ
14
C = 5570 ปี)

87. (ม.อ. 55) ซากไม้โบราณมีคาร์บอน-14 เหลืออยู่ 70.7% จากปริมาณเริ่มต้น ซากไม้นี้มีอายุกี่ปี


กำหนดให้คาร์บอน-14 มีครึ่งชีวิต 6, 000 ปี และ 2−0.5 = 0.707
ก. 2000 ข. 2500 ค. 3000 ง. 3500

88. (O-Net 2549) นักโบราณคดีตรวจพบเรือไม้โบราณลำหนึ่งว่ามีอัตราส่วนของปริมาณ C-14 ต่อ C-12


เป็น 25% ของอัตราส่วนสำหรับสิ่งที่ยังมีชีวิต สันนิษฐานได้ว่าซากเรือนี้มีอายุประมาณกี่ปี กำหนดให้
ครึ่งชีวิตของ C-14 เป็น 5, 730 ปี
ก. 2,865 ปี ข. 5, 730 ปี
ค. 11, 460 ปี ง. 22,920 ปี

96
89. (Ent 27) ปริมาณคาร์บอน-14 ในกระดูกโบราณชิ้นหนึ่ง มีอยู่เพียง 25% ของปริมาณคาร์บอน-14 ใน
กระดูกชนิดเดียวกับของสัตว์ที่เพิ่งเสียชีวิตใหม่ๆ และในการปฏิวัติอุตสาหกรรมทำให้กัมมันตภาพจำเพาะ
(specific activity) ของคาร์บอน-14 ในสภาพแวดล้อมปัจจุบันลดลงจากปกติ 3% ถ้าครึ่งชีวิตของ
คาร์บอน-14 เท่ากับ 5,570 ปี กระดูกโบราณชิ้นนั้นจะมีอายุเท่าไร
ก. 5,570 ปี ข. น้อยกว่า 11,140 ปี
ค. 11,140 ปี ง. มากกว่า 5,570 ปี

97
90. (BMAT 2018) The radioactive isotope carbon-14 is found in living material in small
quantities. There are approximately 1000 carbon-14 atoms for every 1015 carbon-12
atoms. Whilst the material is still living this ratio remains constant, because even though
the carbon-14 is decaying, it is being constantly replenished. When the material dies the
carbon-14 decays and is not replaced. The half-life of carbon-14 is about 6000 years.

In a bone the ratio of carbon-14 to carbon-12 atoms is found to be 100 :1015 .


Which of the following is the closest estimate of the age of the bone?
A. 60 years B. 600 years
C. 1000 years D. 10000 years
E. 20000 years F. 30000 years
G. 50000 years H. 60000 years

98
91. (BMAT 2005) A sample of rock contains 235 U and 207 Pb in the proportion one part 235 U
to seven parts 207 Pb . It is known that 235 U decays to 207 Pb with a half life of 7.1108
years. The maximum possible age of the rock is:
A. 1.99 109 years B. 2.13 109 years
C. 4.97 109 years D. 5.68 109 years

99
92. (Young & Freedman) Before 1900 the activity per unit mass of atmospheric carbon due to
the presence of averaged about 0.255 Bq per gram of carbon.
(a) What fraction of carbon atoms were
(b) In analyzing an archaeological specimen containing 500 mg of carbon, you observe
174 decays in one hour. What is the age of the specimen, assuming that its activity
per unit mass of carbon when it died was that average value of the air?

100
แนวที่ ๑๒ : กราฟการสลายตัว

93. (Ent ต.ค. 41) ในการทดลองวัดปริมาณรังสีจากธาตุกัมมันตรังสีชนิดหนึ่ง เมื่อเขียนกราฟแสดงความ


สัมพันธ์ระหว่างมวลของธาตุกัมมันตรังสีที่เวลาผ่านไป t ใดๆ กับเวลาที่ผ่านไป t จะได้ผลดังรูป แสดง
ว่าที่เวลาผ่านไป 8 ชั่วโมงนับจากตอนต้น ธาตุกัมมันตรังสีนี้จะเหลืออยู่กี่มิลลิกรัม

ก. 6.25 mg ข. 3.13 mg ค. 1.56 mg ง. 0.78 mg

101
94. (O-Net 2564) สารกัมมันตรังสี X มวล 100 กรัม เกิดการสลาย ดังกราฟ

จากข้อมูล ถ้าเริ่มต้นมีสารกัมมันตรังสี X มวล 2000 กรัม และเมื่อเวลาผ่านไป พบว่า สารกัมมันตรังสี


X สลายไป 1875 กรัม สารกัมมันตรังสี X ใช้เวลาในการสลายกี่วัน
ก. 10 วัน ข. 19 วัน
ค. 40 วัน ง. 60 วัน
จ. 80 วัน

102
95. (PAT2 มี.ค. 53) สารกัมมันตรังสีชนิดหนึ่งมีความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณสารกับเวลาดังรูป

ถ้าโรงพยาบาลแห่งหนึ่งต้องการใช้สารจำนวนนี้จำนวน 10 กรัม จะต้องให้ห้องปฏิบัติการนิวเคลียร์


สังเคราะห์สารนี้ปริมาณกี่กรัมจึงจะพอดีใช้ ถ้าการขนส่งจากห้องปฏิบัติการไปยังโรงพยาบาลแห่งนี้ใช้
เวลา 1 วัน
ก. 40 ข. 80
ค. 120 ง. 160

103
96. (ม.อ. 52) ก้อนธาตุกัมมันตรังสีสลายตัวดังกราฟ เมื่อเริ่มต้น จำนวนนิวเคลียสกัมมันตรังสี ( N ) มี
ปริมาณ 1010 นิวเคลียส เวลาผ่านไป 30 ปี ก้อนธาตุจะเปล่งกัมมันตรังสี ( A) กี่เบ็กเคอเรล
(1 เบ็กเคอเรล คือ อัตราการสลายตัว 1 นิวเคลียสต่อวินาที)

ก. 1.16 106 ข. 2.31106


ค. 1.16 108 ง. 2.31108

104
97. (Ent มี.ค. 47) ในการทดลองวัดการสลายตัวของ
สารกัมมันตรังสี ปรากฏว่าได้กราฟแสดงความ
สัมพันธ์ระหว่างกัมมันตรังสีที่นับได้ (ต่อวินาที) กับ
เวลาเป็นชั่วโมง ดังรูป จงหาว่าในตอนแรกมี
จำนวนนิวเคลียสของสารกัมมันตรังสีอยู่เท่าใด
ก. 1.4 103 ข. 8.3 104
ค. 3.5 106 ง. 5.0 106

105
98. (O-Net 2560) สารกัมมันตรังสี A สลายตัวดังแสดงในกราฟ และตามสมการ A → B + อนุภาค 

ในช่วงเวลา 30 ถึง 50 วินาที มีอนุภาค  ถูกปล่อยออกมาเป็นจำนวนรวมกี่อนุภาค


ก. 0 ข. 2.5 105
ค. 5.0 105 ง. 7.5 105
จ. 10.0 105

106
99. (ม.อ. 51) ธาตุกัมมันตรังสี 3 ก้อน สลายตัวดังกราฟ เมื่อเวลาผ่านไป 1.5 ปี ก้อนที่ปล่อยกัมมันตรังสีแรง
ที่สุดเมื่อเริ่มต้น จะเหลือจำนวนนิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสีกี่นิวเคลียส

ก. 6.25 103 ข. 1.25 104


ค. 3.50 104 ง. 7.07 104

107
100. (ม.อ. 58) ธาตุกัมมันตรังสี A มีเวลาครึ่งชีวิตน้อยกว่า B และเวลาครึ่งชีวิตของ B น้อยกว่า C ที่เวลา
เริ่มต้น จำนวนนิวเคลียสของธาตุทั้งสามเท่ากัน กราฟใดแสดงความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนนิวเคลียสที่
สลายไป ( N ) กับเวลา ( t ) ได้ถูกต้อง
ก. ข.

ค. ง.

108

101. (Ent 33) สารกัมมันตรังสี A, B และ C สลายให้รังสีแกมมาด้วยค่าคงที่การสลายเป็น , และ 2
2
ตามลำดับ จากกราฟการสลายตัวดังรูป จะสรุปได้ว่า

(๑) กราฟ 1, 2 และ 3 เป็นกราฟแสดงการสลายตัวของ A, B


และ C ตามลำดับ
(๒) ครึ่งชีวิตของ C น้อยกว่า B และน้อยกว่า A
(๓) ครึ่งชีวิตของ A มากกว่า B แต่น้อยกว่า C
(๔) ปริมาณของสารที่เหลือของ A จะมากกว่า C แต่น้อยกว่า
B เมื่อเวลาผ่านไปเท่ากัน
ข้อความที่ถูกต้องคือ
ก. (๑) และ (๓) ข. (๒) และ (๔) ค. (๓) เท่านั้น ง. (๔) เท่านั้น

109
102. (BMAT 2008) A radioactive isotope X decays into the stable isotope Y with a half-life of
20 s . Which graph correctly shows how the mass ( m ) of Y present in an initially pure
sample of X varies with time ( t ) ?

110
103. (BMAT 2009) It is known that a radioactive source emits a single type of radiation.
Detectors are placed in the two positions shown. The graph shows how the readings
change over time.

Which type of radiation does the source emit, and what is its half-life?

Type of radiation Half-life (hours)


A. Alpha . 2.40 .
B. Alpha . 2.76 .
C. Beta . 2.40 .
D. Beta . 2.76 .
E. Gamma . 2.40 .
F. Gamma . 2.76 .

111
แนวที่ ๑๓ : การสลายตัวหลายต่อ

104. (กสพท. 2562) ธาตุกัมมันตรังสี A สลายไปเป็นธาตุกัมมันตรังสี B ซึ่งสลายต่อไปเป็นธาตุ C ที่


เสถียรตามสมการ A → B → C โดยที่จำนวนนิวเคลียสตั้งต้นของ A เป็น N0 และของ B และ
C เป็นศูนย์ ดังแสดงในกราฟ
จงจับคู่กราฟ ① , ② , ③ กับธาตุที่ถูกต้องตามลำดับ

ก. A, B, C ข. A, C, B ค. B, A, C
ง. B, C, A จ. C, B, A

112
105. (กสพท. 2558) สารกัมมันตรังสี A มีปริมาณตั้งต้น N0 ค่อยๆ สลายไปเป็น B ซึ่งสลายต่อไปเป็น C อีก
ต่อหนึ่ง ในที่สุดหลังจากเวลาผ่านไปนานเป็นอนันต์ จะมีสาร C อยู่เป็นปริมาณเท่าไร (กำหนดว่า
ปริมาณสาร C ตั้งต้นเป็น N0C )

N0
ก. N0C ข. N0 ค. N 0C +
2
ง. N 0C + N 0 จ. 1 ( N 0C + N 0 )
2

106. (สอวน. ม.5 ส.ค. 47)

สารกัมมันตรังสี A สลายด้วยค่าคงที่ของการสลาย A ไปเป็นสารกัมมันตรังสี B ซึ่งสลายต่อด้วย


ค่าคงที่ของการสลาย B จงเขียนกราฟบรรยายการสลายของ A และกราฟที่บรรยายการเปลี่ยนแปลง
ของ B ตั้งแต่เวลาตั้งต้นไปจนใกล้อนันต์

113
แนวที่ ๑๔ : สมบัติเกี่ยวกับการสลายตัวเชิงกัมมันตรังสี

107. (O-Net 2551) อัตราการสลายตัวของกลุ่มนิวเคลียสกัมมันตรังสี A ขึ้นกับอะไร


ก. อุณหภูมิ ข. ความดัน
ค. ปริมาตร ง. จำนวนนิวเคลียส A ที่มีอยู่

108. (O-Net 2554) ถ้าธาตุ A เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่มีครึ่งชีวิตยาวกกว่าธาตุ B โดยทั้งสองธาตุปล่อย


กัมมันตภาพรังสีชนิดเดียวกันและมีปริมาณเริ่มต้นเท่ากัน ข้อใดสรุปถูกต้อง
ก. อัตราการสลายตัวของ A สูงกว่า และ A มีปริมาณรังสีที่วัดได้เมื่อเริ่มทดลองสูงกว่า
ข. อัตราการสลายตัวของ A สูงกว่า และ B มีปริมาณรังสีที่วัดได้เมื่อเริ่มทดลองสูงกว่า
ค. อัตราการสลายตัวของ B สูงกว่า และ A มีปริมาณรังสีที่วัดได้เมื่อเริ่มทดลองสูงกว่า
ง. อัตราการสลายตัวของ B สูงกว่า และ B มีปริมาณรังสีที่วัดได้เมื่อเริ่มทดลองสูงกว่า

109. (PAT2 มี.ค. 55) ถ้าต้องการคำนวณหาค่ากัมมันตภาพของธาตุกัมมันตรังสีชนิดหนึ่ง เราต้องใช้กี่ปริมาณ


จากตัวเลือกที่กำหนดให้ต่อไปนี้
(๑) ค่าคงตัวการสลาย
(๒) เวลาที่ผ่านไปนับตั้งแต่เริ่มพิจารณา
(๓) ชนิดของกัมมันตรังสีที่ปลดปล่อยออกมา
(๔) จำนวนนิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสีที่มีอยู่ ณ ขณะนั้น
ก. 1 ข. 2 ค. 3 ง. 4

114
แนวที่ ๑๕ : การอุปมาการทอดลูกเต๋ากับการสลายตัวเชิงกัมมันตรังสี

110. (O-Net 2550) กิจกรรมการศึกษาที่เปรียบการสลายกัมมันตรังสีกับการทอดลูกเต๋านั้น จำนวนลูกเต๋าที่


ถูกคัดออกเทียบได้กับปริมาณใด
ก. เวลาครึ่งชีวิต
ข. จำนวนนิวเคลียสตั้งต้น
ค. จำนวนนิวเคลียสที่เหลืออยู่
ง. จำนวนนิวเคลียสที่สลาย

111. (O-Net 2558) ในกิจกรรมการทอดลูกเต๋า 6 หน้า เพื่อจำลองสถานการณ์การสลายตัวของธาตุ


กัมมันตรังสี นักเรียนทำการแต้มสีเพียงหนึ่งหน้าทอดลูกเต๋า และคัดลูกที่หงายหน้าที่แต้มสีออก ทำซ้ำๆ
เช่นนี้ไปเรื่อยๆ ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง
ก. ทุกลูกมีโอกาสถูกคัดออกด้วยความน่าจะเป็นเท่าๆกัน
ข. ทุกลูกเป็นอิสระต่อกัน
ค. จำนวนครั้งที่ทอดจนกระทั่งเหลือจำนวนลูกเต๋าเป็นครึ่งหนึ่งของจำนวนเริ่มต้นเทียบได้กับค่าครึ่งชีวิต
ง. ทุกลูกจะต้องถูกแต้มสีหน้าที่มีตัวเลขเดียวกัน
จ. การทอดแต่ละครั้งจะเหลือจำนวนลูกเต๋าประมาณ 5 ใน 6 ของจำนวนลูกเต๋าก่อนทอย

115
112. (PAT2 มี.ค. 65) นักเรียนศึกษาการจำลองการสลายของนิวเคลียสกัมมันตรังสีและค่าครึ่งชีวิต โดยจัด
ชุดการทดลอง 3 ชุดแตกต่างกัน ดังนี้
ชุดการทดลองที่ 1: จำนวนเริ่มต้นของลูกเต๋าคือ 50 ลูก และจำนวนหน้าที่แต้มสีคือ 2 หน้า
ชุดการทดลองที่ 2: จำนวนเริ่มต้นของลูกเต๋าคือ 50 ลูก และจำนวนหน้าที่แต้มสีคือ 4 หน้า
ชุดการทดลองที่ 3: จำนวนเริ่มต้นของลูกเต๋าคือ 100 ลูก และจำนวนหน้าที่แต้มสีคือ 4 หน้า
ในแต่ละชุดการทดลองจะทอดลูกเต๋าพร้อมกันทั้งหมด แล้วคัดลูกเต๋าที่หงายหน้าที่แต้มสีออก บันทึก
จำนวนลูกเต๋าที่เหลืออยู่กับจำนวนครั้งที่ทอด โดยทำซ้ำหลาย ๆ ครั้ง แล้วนำข้อมูลมาเขียนกราฟ พร้อม
กับลากเส้นแนวโน้ม แต่นักเรียนลืมระบุว่าเส้นแนวโน้มแต่ละเส้นแทนชุดการทดลองใด จึงระบุเป็น A B
และ C ดังนี้

กำหนดให้
จำนวนลูกเต๋าที่เหลืออยู่เทียบได้กับจำนวนนิวเคลียสที่เหลืออยู่
และจำนวนครั้งที่ทอดลูกเต๋าเทียบได้กับเวลา

จากข้อมูล ข้อสรุปใดถูกต้อง

เส้นแนวโน้มที่แสดง เส้นแนวโน้มที่แสดง เส้นแนวโน้มที่มีอัตราการสลายของ


ข้อมูลชุดการทดลองที่ 1 ข้อมูลชุดการทดลองที่ 2 นิวเคลียส ณ เวลาเริ่มต้นน้อยที่สุด
ก. B C A
ข. B C B
ค. B C C
ง. C B A
จ. C B B

116
113. (Ent 36) ลูกเต๋า 16 หน้า แต้มสีไว้ที่หน้าหนึ่งจำนวน 100 ลูก นำมาทอดและคัดลูกที่หงายหน้าแต้มสี
ออก ทอดกี่ครั้งจึงจะเหลือลูกเต๋า 50 ลูก
ก. 8 ครั้ง ข. 9 ครั้ง ค. 10 ครั้ง ง. 11 ครั้ง

114. (Ent เม.ย. 41) ในการทดลองอุปมาอุปมัยการทดลองลูกเต๋ากับการสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี โดย


การโยนลูกเต๋าและคัดหน้าที่ไม่แต้มสีออกไป ถ้าลูกเต๋ามี 6 หน้า มีหน้าที่แต้มสี 2 หน้า และมีจำนวน
90 ลูก จงหาว่าถ้าทำการโยนลูกเต๋าทั้งหมด 2 ครั้ง โดยสถิติจะเหลือจำนวนลูกเต๋าเท่าใด
ก. 10 ลูก ข. 30 ลูก ค. 40 ลูก ง. 56 ลูก

117
115. (PAT2 มี.ค. 54) ลูกเต๋าชุด A มี 6 หน้า แต้มสีไว้เพียง 1 หน้า มีทั้งหมด 600 ลูก ลูกเต๋าชุด B มี 6
หน้า แต้มสีไว้ 2 หน้า ในการทอดแต่ละครั้งจะหยิบลูกเต๋าที่ขึ้นหน้าที่แต้มสีออก สำหรับการทอด
ลูกเต๋าครั้งแรก ถ้าต้องการให้จำนวนลูกเต๋าที่ถูกหยิบออกทั้งสองชุดเท่ากัน จะต้องใช้ลูกเต๋าชุด B กี่ลูก
ก. 150 ข. 300 ค. 750 ง. 1200

116. (PAT2 ต.ค. 52) ลูกเต๋าพิเศษมี 14 หน้า แต่ละหน้ามีหมายเลข 1 ถึง 14 เขียนไว้ เริ่มต้นโยนลูกเต๋านี้
จำนวน 1, 000 ลูก พร้อมกัน และคัดลูกที่ออกเลข 1 ออกไป แล้วนำลูกเต๋าที่เหลือมาโยนใหม่ และคัด
ออกโดยใช้เกณฑ์เดิม ค่าครึ่งชีวิตของลูกเต๋าจะมีค่าเท่าใด
ln 2 ln 2
ก. 13ln 2 ข. 14ln 2 ค. ง.
14 13

118
117. (Ent 35) ในการทดลองอุปมาอุปมัยการทอดลูกเต๋ากับการสลายตัวของนิวเคลียสกัมมันตรังสี นักเรียน
คนหนึ่งใช้ลูกเต๋าหลายหน้าชนิดเดียวกัน จำนวน 200 ลูก ซึ่งมีหน้าที่แต้มสีไว้หน้าหนึ่ง นำมาทดลอง
โดยการทอดแล้วคัดลูกที่หงายหน้าซึ่งแต้มสีออกได้ผลออกมาดังกราฟ

อยากทราบว่าลูกเต๋าชุดนี้เป็นชนิดลูกเต๋ากี่หน้า
ก. 12 หน้า ข. 16 หน้า ค. 18 หน้า ง. 24 หน้า

119
118. (PAT2 ต.ค. 53) หากเปรียบเทียบการทอดลูกเต๋ากับการสลายของนิวเคลียสกัมมันตรังสี เมื่อเขียน
กราฟความสัมพันธ์ระหว่างค่าคงตัวการสลาย (แกนตั้ง) กับจำนวนหน้าที่แต้มสีของลูกเต๋า (แกนนอน)
เป็นดังข้อใด
ก. เป็นกราฟเส้นตรงที่มีความชันเป็นลบ
ข. เป็นกราฟเส้นตรงที่มีความชันเป็นบวก
ค. เป็นกราฟเอกซ์โพเนนเชียลที่มีความชันเป็นลบ
ง. เป็นกราฟเอกซ์โพเนนเชียลที่มีความชันเป็นบวก

120
รวมข้อสอบ ม.ปลาย
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ Part 3

พลังงานจากปฏิกิริยานิวเคลียร์
แนวที่ ๑ : ถามคอนเซ็ปต์เกี่ยวกับพลังงานจากปฏิกิริยานิวเคลียร์

1. (Ent มี.ค. 44) ถ้าพบว่าปฏิกิริยานิวเคลียร์ X ( a, b ) Y เป็นปฏิกิริยาที่มีมวลรวมหลังปฏิกิริยามากกว่า


มวลรวมก่อนปฏิกิริยา เมื่อประมาณว่านิวเคลียส X และ Y มีพลังงานจลน์น้อยมาก ข้อใดสรุปไม่
ถูกต้อง
ก. ปฏิกิริยานี้เป็นปฏิกิริยาดูดพลังงาน
ข. อนุภาค a มีพลังงานจลน์มากกว่าอนุภาค b
ค. ปฏิกิริยานี้ไม่สามารถเกิดขึ้นเอง
ง. ถ้าอนุภาค a และ b ไม่มีพลังงานยึดเหนี่ยว นิวเคลียส Y จะมีพลังงานยึดเหนี่ยวมากกว่า
นิวเคลียส X

2. (Ent 29) ถ้าผลต่างของมวลก่อนเกิดปฏิกิริยาและหลังเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ปฏิกิริยาหนึ่ง มีค่าเป็นลบ


แสดงว่าปฏิกิริยานั้น
ก. สามารถเกิดขึ้นได้เอง
ข. ไม่สามารถเกิดขึ้นได้โดยเด็ดขาด
ค. เป็นปฏิกิริยาที่ปลดปล่อยพลังงานออกมา
ง. อาจเกิดขึ้นได้หากได้รับพลังงานจากภายนอก

121
3. (O-Net 2564) ปฏิกิริยานิวเคลียร์หนึ่งเกิดโดยนิวเคลียสตั้งต้น 2 นิวเคลียส รวมตัวกันกลายเป็น
นิวเคลียสของฮีเลียม ( 42 He ) พร้อมกับปลดปล่อยโปรตอน ( 11 H ) จำนวน 2 อนุภาค และพลังงาน
( 0.001M ) c 2
เมื่อ M คือ มวลรวมของนิวเคลียสหลังเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์
c คือ อัตราเร็วของแสงในสุญญากาศ

ข้อใดแสดงสมการที่สอดคล้องกับปฏิกิริยาข้างต้น และมวลรวมของนิวเคลียสก่อนเกิดปฏิกิริยาได้ถูกต้อง

สมการของปฏิกิริยา มวลรวมก่อนเกิดปฏิกิริยา
ก. 2
1 H + 23 He → 24 He + 2 ( 11 H ) . 0.999M .
ข. 2
1 H + 23 He → 24 He + 2 ( 11 H ) . 1.001M .
ค. 3
2 He + 23 He → 42 He + 2 ( 11 H ) . 0.999M .
ง. 3
2 He + 23 He → 42 He + 2 ( 11 H ) . 1.001M .
จ. 3
3 He + 42 He → 42 He + 2 ( 11 H ) . 0.999M .

122
แนวที่ ๒ : คำนวณหาพลังงานจากปฏิกิริยานิวเคลียร์

4. (O-Net 2555) จากสมการปฏิกิริยานิวเคลียร์ 73 Li + 11 H → 2 42 He พบว่า เมื่อใช้มวลของ 7


3 Li และ
1 H รวมกันเท่ากับ 8,123 กิโลกรัม จะได้ 2 He มวลรวมทั้งสิ้น 8, 000 กิโลกรัม
1 4

ก. คายพลังงาน 1.111016 จูล ข. ดูดพลังงาน 1.111016 จูล


ค. คายพลังงาน 7.311017 จูล ง. ดูดพลังงาน 7.20 1017 จูล
จ. คายพลังงาน 7.20 1017 จูล

5. (O-Net 2560) นิวตรอนอิสระจะสลายตัว ดังสมการ


n → p + e + 
(นิวตรอน) (โปรตอน) (อิเล็กตรอน) (ปฏินิวตริโน)
กำหนดให้มวลที่สมมูลกับพลังงาน ดังนี้
n = 939.57 MeV .
p = 938.27 MeV .
e = 0.51 MeV .
 มีค่าน้อยมากๆ
ปฏิกิริยานี้ปลดปล่อยพลังงานออกมาเท่าใดในหน่วย MeV
ก. 0.51 ข. 0.79 ค. 1.30 ง. 18.1 จ. 1878.35

123
6. (PAT2 ต.ค. 58) ปฏิกิริยานิวเคลียร์ 115 B + 11 H → 3 42 He เป็นปฏิกิริยาดูดหรือคายพลังงานกี่เมกะ
อิเล็กตรอนโวลต์ กำหนดให้
m ( 115 B ) = 11.009305 u
m ( 11 H ) = 1.007825 u
m ( 42 He ) = 4.00260 u
และ 1 u = 931.5 MeV / c 2
ก. คายพลังงาน 0.009 ข. ดูดพลังงาน 0.009
ค. คายพลังงาน 8.7 ง. ดูดพลังงาน 8.7
จ. คายพลังงาน 7, 465.5

124
7. (Ent มี.ค. 47) ในปฏิกิริยา 73 Li ( p,  ) 42 He ถ้ามวลของ 73 Li 42 He และ 11 H เป็น 7.01600 u ,
4.00260 u และ 1.00794 u ตามลำดับ พลังงานที่เกี่ยวข้องในปฏิกิริยานี้เป็นตามข้อใด (กำหนดให้
1 u = 930 MeV )
ก. ดูดพลังงาน 8.6 MeV ข. คายพลังงาน 8.6 MeV
ค. ดูดพลังงาน 17.4 MeV ง. คายพลังงาน 17.4 MeV

8. (Ent มี.ค. 46) ในปฏิกิริยานิวเคลียร์ 73 Li ( p,  ) 42 He จะคายหรือดูดกลืนพลังงานเป็นจำนวนเท่าใด


(กำหนดให้ มวลของลิเธียม-7 เท่ากับ 7.0160 u มวลของโปรตอน เท่ากับ 1.0078 u มวลอนุภาค
แอลฟา เท่ากับ 4.0026 u และมวล 1 u เทียบเท่ากับพลังงาน 930 MeV )
ก. คาย 17 MeV ข. คาย 4 MeV
ค. ดูดกลืน 17 MeV ง. ดูดกลืน 4 MeV

9. (Ent 18) มวลอะตอมของธาตุ 1 H , 7 Li และ 4 He คือ 1.0080 amu , 7.0160 amu และ
4.0026 amu ( 1 amu = 931 MeV ) จงหาพลังงานในหน่วย MeV (เลขนัยสำคัญ 3 ตัว) ที่จะ
ปลดปล่อยออกเนื่องจากปฏิกิริยาต่อไปนี้ 11 H + 73 Li → 42 He + 42 He

10. (มช. 2559) เมื่อกำหนดให้หน่วยมวลอะตอม (amu) ของ 23892 U , 42 He และ 23490Th มีค่าเท่ากับ
238.0508 , 4.0026 และ 234.0436 ตามลำดับ พลังงานที่ปลดปล่อยออกจากการสลายให้อนุภาค
แอลฟาตามสมการ 23892 U → 42 He + 23490Th เป็นเท่าใดในหน่วยกิโลอิเล็กตรอนโวลต์

125
11. (PAT2 มี.ค. 58) ปรากฏการณ์นิวเคลียร์ฟิวชันที่มนุษย์พยายามสร้าง คือการหลอมรวมดิวทิเรียมและ
ทริเทียมเพื่อให้กลายเป็นนิวเคลียสของฮีเลียมและนิวตรอน พลังงานที่ได้ต่อปฏิกิริยามีค่าประมาณเท่าใด
ในหน่วย MeV กำหนดให้ 1 u = 931.5 MeV / c 2

อนุภาค 1
1 H 2
1 H 3
1 H 3
2 He 4
2 He 1
0 n
มวลอะตอม ( u ) 1.007825 2.014102 3.016049 3.016029 4.002603 1.008665

ก. 0.0189 ข. 17.6 ค. 937 ง. 1,853

12. (PAT2 มี.ค. 52) จากปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชัน 21 H + 31 H → X + n


กำหนดให้ มวลของ p = 1.0078 u มวลของ n = 1.0087 u
มวลของ  = 4.0026 u มวลของ 21 H = 2.0141 u
มวลของ 31 H = 3.0160 u มวลของ 25 He = 5.0123 u
และ 1 u = 930 MeV / c 2
จงพิจารณาว่า X ในปฏิกิริยานี้คืออะไร และมีการปลดปล่อยพลังงานจำนวนเท่าใด
ก.  และ 1.94 10−16 MeV
ข.  และ 17.5 MeV
ค. 25 He และ 1.02 10−14 MeV
ง. 25 He และ 922 MeV

13. (Ent 19) ถ้าสามารถทำให้ 63 Li ซึ่งมี 7% ในธรรมชาติ เกิดปฏิกิริยาฟิชชันดังสมการต่อไปนี้ จะได้


พลังงานเท่าใดต่อปฏิกิริยา 63 Li + 63 Li → 126 C
กำหนดให้มวลอะตอม 63 Li = 6.0151 amu , 126 C = 12.000 amu
และค่า mc 2 ของ 1 amu = 930 MeV

126
14. (มช. 2554) นักวิทยาศาสตร์มีแผนการจะสร้างเตาปฏิกรณ์นิวเคลียร์แบบฟิวชัน โดยใช้ดิวเทอเรียมซึ่ง
สกัดได้จากน้ำทะเล โดยปฏิกิริยาหนึ่งที่เกิดขึ้นจากการหลอมรวมดิวเทอเรียมเป็นดังนี้
. 21 H + 21 H → 31 H + 11 H .
แต่ดิวเทอเรียมจะมีโอกาสเกิดปฏิกิริยานี้เพียง 50% ส่วนดิวเทอเรียมที่เหลือจะเกิดปฏิกิริยาอื่น เมื่อใช้
ดิวเทอเรียมที่สกัดไว้ 1 กิโลกรัมเป็นเชื้อเพลิงในปฏิกิริยา เฉพาะปฏิกิริยานี้จะเกิดเป็นพลังงาน
A1026 MeV จงหาค่า A
กำหนดให้ มวลอะตอมไฮโดรเจน เป็น 1.007825u
มวลอะตอมดิเทอเรียม เป็น 2.014102u = 2 g/mol
มวลอะตอมตริเทียม เป็น 3.016050u
เลขอะโวกาโดร เป็น 6 10−23 mol−1
พลังงานที่เทียบกับมวล 1 u = 900 MeV / c 2

127
15. (Ent 32) จะต้องใช้พลังงานต่ำสุดกี่ MeV เพื่อแยกโปรตอน 1 ตัวออกจาก 126 C

ไอโซโทป มวลอะตอม ( u )
.n. . 1.0087 .
. 11 H . . 1.0078 .
. 115 B . . 11.0093 .
. 116 C . . 11.0114 .
. 126 C . . 12.0000 .
. 137 N . . 13.0057 .

ก. 17.9 ข. 15.9 ค. 7.7 ง. 1.9

128
16. (PAT2 มี.ค. 54) พลังงานที่ปลดปล่อยออกมาจากการสลายให้รังสีบีตาของ 146 C มีค่ากี่เมกะอิเล็กตรอน
โวลต์ กำหนดให้
มวลอะตอมของไอโซโทปต่างๆ
11
C (11.011433u ) 12
C (12.000000u ) 13
C (13.003355u ) 14
C (14.003242u )
13
N (13.005379u ) 14
N (14.003074u ) 15
N (15.000109u )
15
O (15.003065u ) 16
O (15.994915u ) 18
O (17.999159u )
มวลอิเล็กตรอน 0.000549u
กำหนดให้ใช้ 1 u = 930 MeV / c 2

129
17. (Ent ต.ค. 45) จากปฏิกิริยานิวเคลียร์ 105 B + 01n → 73 Li + 24 He พบว่ามีพลังงานเกิดขึ้น 2.79 MeV
จงหามวลของ Li ในหน่วย u (กำหนด มวลของโบรอน-10 เท่ากับ 10.01294 u มวลของนิวตรอน
เท่ากับ 1.00866 u และมวลของฮีเลียม-4 เท่ากับ 4.00260 u และมวล 1 u เทียบเท่ากับพลังงาน
930 MeV )
ก. 7.00000 u ข. 7.01600 u
ค. 7.02000 u ง. 7.03100 u

130
18. (Ent 33) ปฏิกิริยานิวเคลียร์ดังสมการทั้งสองต่อไปนี้
196
78 Pt + 21 H → 197
79 Au + 0 n + QA
1
………………. (A)
2 He + 7 N → 8 O + 1 H + QB
4 14 17 1
………………. (B)
ได้พลังงานนิวเคลียร์ QA = 3.57 MeV และ QB = −1.19 MeV ถ้าปฏิกิริยานิวเคลียร์ของสมการ
(A) และ (B) ต่างก็เกิดขึ้นเป็นจำนวน 10 ครั้ง เท่ากัน สมการใดจะให้การเปลี่ยนแปลงของมวลเพิ่มขึ้น
และเพิ่มขึ้นเป็นปริมาณเท่าใด (กำหนดให้ 1 u = 931 MeV )
ก. สมการ (A) , 0.210 u ข. สมการ (A) , 0.038 u
ค. สมการ (B) , 0.120 u ง. สมการ (B) , 0.013 u

131
19. (Ent 26) 3215 P → 3216 S + 
กำหนดค่ามวลของ 3215 P = 31.9841u
32
16 S = 31.9833u
 = 0.00054u หรือ 9 10−31 kg
และกำหนดให้ 1 eV = 1.6 10−19 J , 1 u = 930 MeV
ถ้าพลังงานที่เกิดขึ้นทั้งหมดถูกสะสมให้อนุภาคบีตา และไม่คิดผลของสัมพัทธภาพ (relativistic effect)
อนุภาคบีตาจะมีความเร็วเท่าใด
ก. 2.2 107 m/s ข. 2.9 108 m/s
ค. 2.3 106 m/s ง. 3 108 m/s

20. (Ent 24) จากสมการ 62 He → 63 Li +  และกำหนดมวลของไอโซโทปต่างๆ ดังนี้


1 H = 1.00278 u , 0 n = 1.00867 u , 2 He = 6.00247 u , 3 Li = 6.01702 u ,   0.00
1 1 6 6

จงหาพลังงานของอนุภาค 
ก. 1.8 MeV ข. 2.7 MeV ค. 3.2 MeV ง. 4.3 MeV

132
21. (Ent 37) พิจารณาปฏิกิริยานิวเคลียร์
. 94 Be + 42 He → 126 C + 01n .
ถ้าอนุภาคแอลฟามีพลังงานจลน์ 10 MeV นิวตรอนจะมีพลังงานจลน์ประมาณเท่าไร
กำหนดให้ มวลอะตอมของ 94 Be = 9.012186 u
4
2 He = 4.002604 u
12
6 C = 12.000000 u
มวลของนิวตรอน = 1.008665 u
และมวล 1 u เทียบเท่ากับพลังงาน 931 MeV
ก. 4.3 MeV ข. 5.7 MeV ค. 10.0 MeV ง. 15.7 MeV

133
22. (Ent 27) จากสมการ 23592 U + 01 n → 14158 Ce + 9234 Se + 3 01 n + 200 MeV
กำหนดมวลของ 23592 U = 235.0439 u
92 U = 233.1120 u .
233

58 Ce = 140.9535 u .
141

34 Se = 91.8582 u .
92

0 n = 1.0087 u .
1

และ 1 u = 931 MeV


ถ้ารวมนิวเคลียสของ Ce −141 และ Se − 92 เข้าเป็นนิวเคลียสเดียวกันจะต้องใช้พลังงานเท่าใด
ก. 200 MeV ข. 240 MeV ค. 280 MeV ง. 320 MeV

134
23. (มช. 2552) พิจารณาปฏิกิริยานิวเคลียร์ต่อไปนี้ ที่อิเล็กตรอนชนกับโพซิตรอนแล้วสลายตัวได้โฟตอน
(  ) −10e + +10e → 2 โฟตอนแต่ละตัวที่ได้มีพลังงานเท่าใด (กำหนดให้ มวลของอิเล็กตรอนเท่ากับ
0.0005 u )
ก. 2.7 10−22 จูล ข. 4.05 10−13 จูล
ค. 0.465 เมกะอิเล็กตรอนโวลต์ ง. 0.930 เมกะอิเล็กตรอนโวลต์

24. (Ent 27) จากปฏิกิริยาการรวมของอนุภาคโพสิตรอนพลังงาน 0.4 MeV และอนุภาคอิเล็กตรอนที่มี


พลังงานต่ำมากๆ ปรากฏว่าเกิดรังสีแกมมาที่มีพลังงานเท่ากัน 2 ตัว พลังงานของรังสีแกมมาแต่ละตัว
เป็นเท่าใด (มวลของอิเล็กตรอน 0.00055 u )
ก. 0.20 MeV ข. 0.31 MeV ค. 0.51 MeV ง. 0.71 MeV

135
25. (ทุนคิง 2563) พิจารณาปฏิกิริยานิวเคลียร์ต่อไปนี้
. 94 Be + n → 104 Be + y Q = 6.812 MeV
. 94 Be + y → 48 Be + n Q = −1.665 MeV
จงคำนวณหามวลของ 8 Be และ 10 Be ในหน่วย u เมื่อกำหนดข้อมูลที่จำเป็นให้ดังตารางต่อไปนี้

เลขอะตอม Z ชนิดของธาตุ สัญลักษณ์เคมี เลขมวล A มวลอะตอมในธรรมชาติ


. −1. Electron . e− . .0 . . 0.000549 .
.0 . Neutron .n. . 1. . 1.008665 .
.4. Beryllium . Be . .7 . . 7.016930 .
.8 . . 8.005305 .
.9. . 9.012182 .

136
26. (ทุนคิง 2552) ถ้าพลังงานไฟฟ้าที่ต้องใช้กับยานอวกาศเป็น 20 วัตต์ โดยที่พลังงานส่วนนี้ได้มาโดยการ
เปลี่ยนรูปมาจากพลังงานการสลายตัวทางนิวเคลียร์ ซึ่งประสิทธิภาพในการเปลี่ยนรูปเป็น 5% จากการ
สลายตัวในแอลฟาของ 238 Pu มีครึ่งชีวิต 89 ปี พลังงานของอนุภาคแอลฟาคือ 5.5 MeV
จงคำนวณหากัมมันตภาพและมวลของ 238 Pu
กำหนดค่าคงที่
. c = 3 108 m/s
. h = 6.63 10−34 J  s
. k = 9 109 N  m2 /C2
. 1 Ci = 3.7 1010 dps
. 1 dps = 2.7 10−11 Ci
. q = 1.6 10−19 C

137
แนวที่ ๓ : พลังงานต่อมวล

27. (Ent 35) ปฏิกิริยาฟิวชันเกิดในดวงอาทิตย์ได้พลังงานมากมายดังนี้


4 11 H → 42 He + 2 +10 e + พลังงาน
จงหาพลังงานที่ได้จากไฮโดรเจนมวล 1 กิโลกรัม ที่เกิดปฏิกิริยานี้
กำหนดให้ มวลอะตอมไฮโดรเจน = 1.00782 u = 1 gm/mol
มวลอะตอมของฮีเลียม = 4.00260 u
มวลอะตอมของอิเล็กตรอนและโพสิตรอน = 0.00055 u
N A = 6.0 1023 /mol ให้ใช้ค่า 1 u = 900 MeV
ก. 3.6 1024 MeV ข. 14 1024 MeV
ค. 3.6 1027 MeV ง. 14 1027 MeV

138
28. (Ent 25) พลังงานจากปฏิกิริยาต่อไปนี้ ข้อใดให้พลังงานต่อมวลมากที่สุด
ก. 411 H → 42 He + 2 +10e + 26.8 MeV
ข. 21 H + 31 H → 42 He + 01n + 17.6 MeV
ค. 2713 Al + 01n → 2813 Al +  + 7.7 MeV
ง. 21 H + 21 H → 23 He + 01n + 3.2 MeV
จ. 23592 U + 01n → 14192 Ba + 3692 Kr + 3 01n + 200 MeV

29. (Ent 31) ปฏิกิริยาต่อไปนี้ ข้อใดให้พลังงานต่อมวลมากที่สุด


ก. 411 H → 42 He + 2 +10e + 26.8 MeV
ข. 23592 U + 01n → 14192 Ba + 3692 Kr + 3 01n + 200 MeV
ค. 73 Li + 11 H → 24 He + 24 He + 17.3 MeV
ง. 23 He + 21 H → 24 He + 11 H + 18.3 MeV

139
แนวที่ ๔ : หาพลังงานที่ได้จากปฏิกิริยา แบบใช้พลังงานยึดเหนี่ยวนิวเคลียส

30. (Ent 25) จงหาพลังงานที่ใช้ในการแยกนิวเคลียส 2010 Ne ออกเป็นแอลฟา 2 อนุภาค และ 126 C 1


นิวเคลียส กำหนดให้พลังงานยึดเหนี่ยวต่อนิวคลีออนในนิวเคลียสของ 2010 Ne , 42 He และ 126 C เป็น
8.03 , 7.07 และ 7.68 MeV ตามลำดับ
ก. −6.72 MeV ข. 5.94 MeV
ค. 6.72 MeV ง. 11.88 MeV
จ. 40.16 MeV

31. (Ent ต.ค. 43) ถ้าพลังงานยึดเหนี่ยวต่อนิวคลีออนของ C12 และ C13 เท่ากับ 7.7 และ 7.5 MeV
ต่อนิวคลีออน ตามลำดับ จงหาพลังงานอย่างน้อยในหน่วย MeV ที่ต้องใช้ในการดึงนิวตรอนตัวหนึ่ง
ออกจาก C13

140
32. (มช. 2554) การแตกตัวของนิวเคลียสหนึ่งมีปฏิกิริยาเกิดขึ้นดังสมการ 210a X → 99bY + dc Z
ถ้าพลังงานยึดเหนี่ยวต่อนิวคลีออนของ 210a X, 99bY, dc Z เท่ากับ 7.2, 8.0 และ 8.0 เมกะอิเล็กตรอน
โวลต์ ( MeV ) ตามลำดับ พลังงานที่ทำให้เกิดการแตกตัวในหนึ่งปฏิกิริยานี้จะมีคา่ กี่ MeV
ก. 152 ข. 161 ค. 168 ง. 176

141
33. (Ent 37) นิวเคลียสกัมมันตรังสี X มีเลขมวลเท่ากับ 200 มีค่าพลังงานยึดเหนี่ยว/นิวคลีออน ประมาณ
7 MeV เกิดการแตกตัวเป็น 2 ส่วนเท่าๆกัน แต่ละส่วนมีเลขมวลเท่ากับ 100 และมีค่าพลังงานยึด
เหนี่ยว/นิวคลีออนประมาณ 8 MeV จงหาพลังงานที่ถูกปล่อยออกมาในการแตกตัวของนิวเคลียส X
หนึ่งตัว
ก. 200 MeV ข. 1, 400 MeV ค. 1, 600 MeV ง. 3, 000 MeV

142
ฟิวชันและฟิชชัน
แนวที่ ๑ : จำแนกปฏิกิริยาฟิวชันและฟิชชัน

34. (O-Net 2556)


ปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่ 1 73 Li + 11 H → 24 He + 24 He + 17.34 MeV
ปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่ 2 21 H + 21 H → 23 He + 01n + 3.3 MeV
ข้อสรุปใดถูกต้อง
ก. ทั้งสองปฏิกิริยาเป็นแบบฟิวชัน คายพลังงาน
ข. ทั้งสองปฏิกิริยาเป็นแบบฟิวชัน ดูดพลังงาน
ค. ทั้งสองปฏิกิริยาเป็นแบบฟิชชัน คายพลังงาน
ง. ทั้งสองปฏิกิริยาเป็นแบบฟิชชัน ดูดพลังงาน
จ. ปฏิกิริยาที่ 1 เป็นแบบฟิวชัน ปฏิกิริยาที่ 2 เป็บแบบฟิวชัน ทั้งสองปฏิกิริยาคายพลังงาน

35. (O-Net 2561) พิจารณาปฏิกิริยานิวเคลียร์ต่อไปนี้


(๑) 11 H + 21 H → 23 He + X
(๒) 01n + 23592 U → 14156 Ba + 3692 Kr + 3Y
กำหนดให้ X และ Y คือ อนุภาคหรือรังสีที่ได้จากปฏิกิริยานิวเคลียร์
ข้อความใดกล่าวถูกต้อง
ก. ปฏิกิริยานิวเคลียร์ (๑) เป็นนิวเคลียร์ฟิชชัน
ข. ปฏิกิริยานิวเคลียร์ (๒) เป็นนิวเคลียร์ฟิวชัน
ค. X เป็นกลางทางไฟฟ้า
ง. Y มีประจุไฟฟ้าเป็นลบ
จ. X หรือ Y อาจเบี่ยงเบนเมื่อเคลี่อนที่ผ่านสนามแม่เหล็ก

143
36. (ม.อ. 56) ข้อใดเป็นปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิชชัน
ก. 147 N + 42 He → 178 O + 11 H
ข. 23892 U + 01n → 23992 O + 
ค. 23592 U + 01n → 13957 La + 4295 Mo + 2 ( 01n ) + 7 ( −10e )
ง. 23290Th → 20882 Pb + 6 ( 24 He ) + 4 ( −10e )

37. (O-Net 2562) พิจารณาปฏิกิริยานิวเคลียร์ต่อไปนี้


(๑) 01n + 23592 U → 14054 Xe + 9438 Sr + 2 ( 01a )
(๒) 42 He + 147 N → 178 O + 11b
กำหนดให้ a และ b คือ อนุภาคที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริยานิวเคลียร์
จากข้อมูล อนุภาคใดมีประจุไฟฟ้า และปฏิกิริยานิวเคลียร์ใดเป็นนิวเคลียร์ฟิชชัน

อนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า ปฏิกิริยาที่เป็นนิวเคลียร์ฟิชชัน
ก. .a. (๒)
ข. .b . (๑)
ค. .b . (๒)
ง. a และ b (๑)
จ. a และ b (๒)

144
แนวที่ ๒ : จำแนกฟิชชันและฟิวชัน และหาพลังงานที่ได้จากปฏิกิริยา

38. (Ent 26) ถ้าความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานยึดเหนี่ยวในนิวเคลียส และเลขมวลของธาตุเป็นดังรูปที่ให้


ดวงอาทิตย์ซึ่งเป็นกลุ่มแก๊สไฮโดรเจนจะเกิดพลังงานจำนวนมหาศาลโดยวิธีใดต่อไปนี้หรือไม่

ก. โดยฟิวชัน ข. โดยฟิชชัน
ค. โดยการเผาไหม้ ง. ไม่ผลิต

145
39. (O-Net 2561) พิจารณาปฏิกิริยานิวเคลียร์ต่อไปนี้
. 23 He + 23 He → 42 He + 11 H + 11 H .
ปฏิกิริยานิวเคลียร์ข้างต้นเป็นปฏิกิริยาประเภทใด และให้พลังงานนิวเคลียร์เท่าใด
กำหนดให้
มวลอะตอมรวมก่อนและหลังเกิดปฏิกิริยา เท่ากับ M1 และ M 2 ตามลำดับ โดยที่ M1  M 2
c คือ อัตราเร็วของแสงในสุญญากาศ
ก. นิวเคลียร์ฟิวชัน ให้พลังงาน ( M1 − M 2 ) c 2
ข. นิวเคลียร์ฟิวชัน ให้พลังงาน ( M1 + M 2 ) c 2
ค. นิวเคลียร์ฟิวชัน ให้พลังงาน ( 1 2 )
M −M
c2
ง. นิวเคลียร์ฟิชชัน ให้พลังงาน ( M1 − M 2 ) c 2
จ. นิวเคลียร์ฟิชชัน ให้พลังงาน ( 1 2 2 )
M −M
c

40. (O-Net 2563) พิจารณาปฏิกิริยานิวเคลียร์ต่อไปนี้


. 94 Be + 42 He → 126 C + 01 X .
กำหนดให้ มวลรวมของนิวเคลียสก่อนเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ เท่ากับ 21.6110−27 กิโลกรัม
มวลรวมของนิวเคลียสหลังเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ เท่ากับ 21.60 10−27 กิโลกรัม
อัตราเร็วของแสงในสุญญากาศ เท่ากับ 3 108 เมตรต่อวินาที
ข้อความใดกล่าวถูกต้อง
ก. 01 X มีมวลเป็นศูนย์
ข. 01 X มีประจุไฟฟ้าบวก
ค. ปฏิกิริยานิวเคลียร์นี้เป็นนิวเคลียร์ฟิชชัน
ง. พลังงานที่ได้จากปฏิกิริยานิวเคลียร์ เท่ากับ 9 10−13 จูล
จ. มวลรวมของนิวเคลียสหลังเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ มีค่าลดลง 0.01 กิโลกรัม

146
41. (กสพท. 2565) ปฏิกิริยานิวเคลียร์หนึ่ง เขียนแทนได้ด้วยสมการ
. 168 O + 168 O → 1428 Si + 42 He .

กำหนดให้ มวล 1 u เทียบเท่ากับพลังงาน 932 เมกะอิเล็กตรอนโวลต์


mO เป็นมวลของออกซิเจนในหน่วย u
mHe เป็นมวลของฮีเลียมในหน่วย u
E เป็นพลังงานที่ได้จากปฏิกิริยานิวเคลียร์นี้ในหน่วยเมกะอิเล็กตรอนโวลต์

ปฏิกิริยานิวเคลียร์นี้ เป็นปฏิกิริยานิวเคลียร์ชนิดใด และ มวลในหน่วย u ของซิลิคอนมีค่าเท่าใด


E
ก. ฟิชชัน และ 2mO + mHe − 932E ข. ฟิชชัน และ 2mO − mHe −
932
E
ค. ฟิชชัน และ 2mO − mHe − 932E ง. ฟิวชัน และ 2mO − mHe −
932
จ. ฟิวชัน และ 2mO − mHe − 932E

147
42. (O-Net 2562) พิจารณาปฏิกิริยานิวเคลียร์ต่อไปนี้ ซึ่งเกิดเมื่อนิวเคลียสของธาตุ X และธาตุ Y รวมกัน
กลายเป็นนิวเคลียสของฮีเลียมและรังสีแกมมา ดังสมการ
. ZA11 X + AZ22Y → 23 He + 00 .
กำหนดให้
• มวลอะตอมรวมก่อนเกิดปฏิกิริยามากกว่าหลังเกิดปฏิกิริยา เท่ากับ m
• c คือ อัตราเร็วของแสงในสุญญากาศ
ถ้า A1 และ A2 มีค่าไม่เกิน 2 แล้วปฏิกิริยานิวเคลียร์นี้เป็นประเภทใด และให้พลังงานเท่าใด

ประเภทของปฏิกิริยานิวเคลียร์ พลังงานที่ให้
ก. ฟิชชัน ( m ) c 2
ข. ฟิชชัน ( m ) c−2
ค. ฟิวชัน ( m ) c 2
ง. ฟิวชัน ( m ) c
จ. ฟิวชัน ( m ) c−2

148
43. (PAT2 ก.พ. 61) ในปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชันของไฮโดรเจนเป็นฮีเลียม พบว่า มีส่วนพร่องมวล 0.029 u
พลังงานที่ปลดปล่อยต่อนิวคลีออนของการเกิดปฏิกิริยานี้เป็นกี่เมกะอิเล็กตรอนโวลต์ กำหนดให้มวล 1 u
เทียบกับพลังงานประมาณ 930 MeV
ก. 3.4 ข. 6.7 ค. 9.0 ง. 13 จ. 27

149
แนวที่ ๓ : ถามสมบัติเฉพาะของนิวเคลียร์ฟิวชัน

44. (O-Net 2551) ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชัน (fusion)


ก. เกิดที่อุณหภูมิต่ำ
ข. ไม่สามารถทำให้เกิดบนโลกได้
ค. เกิดจากนิวเคลียสของธาตุเบาหลอมรวมกันเป็นธาตุหนัก
ง. เกิดจากการที่นิวเคลียสของธาตุหนักแตกตัวออกเป็นธาตุเบา

45. (O-Net 2552) ธาตุหรือไอโซโทปในข้อใดที่ไม่มสี ่วนเกี่ยวข้องในปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชันที่เกิดขึ้นที่ดวง


อาทิตย์
ก. ไฮโดรเจน ข. ดิวเทอเรียม
ค. ทริเทียม ง. ฮีเลียม

46. (O-Net 2560) พลังงานที่ปลดปล่อยออกมาจากแกนกลางดาวฤกษ์มีต้นตอมาจากปฏิกิริยาใดเป็นหลัก


ก. C + O2 → CO2 ข. 2H2 + O2 → 2H2O
ค. −10e + +10e →  +  ง. 11 H + 11 H → 21 H + +10e +
จ. 411 H → 42 He + 2 +10e + 2

47. (O-Net 2558) ความพยายามที่จะหลอมรวมนิวเคลียสของดิวเทอเรียมและทริเทียมเพื่อให้เกิดปฏิกิริยา


นิวเคลียร์ฟิวชันเป็นไปได้ยาก เพราะเหตุใด
ก. มีแรงนิวเคลียร์ที่ผลักนิวเคลียสทั้งสองไว้ให้ห่างออกจากกัน
ข. มีแรงนิวเคลียร์ที่ดูดนิวเคลียสทั้งสองเข้าหากัน แต่ไม่เพียงพอ
ค. แรงผลักทางไฟฟ้ามีค่าสูงมาก
ง. แรงผลักทางไฟฟ้าและแรงนิวเคลียร์หักล้างกัน ทำให้ไม่เกิดแรงดึงดูดระหว่างนิวเคลียส
จ. แรงผลักทางไฟฟ้าและแรงนิวเคลียร์ต่างก็ผลักอนุภาคทั้งสองออกจากกัน

48. (O-Net 2559) เหตุใดปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชันจึงเกิดขึ้นที่อุณหภูมิสูงมากกว่าล้านองศาเซลเซียส


ก. เพื่อเอาชนะแรงผลักระหว่างนิวเคลียส
ข. เพื่อให้เชื้อเพลิงนิวเคลียร์เผาไหม้กับออกซิเจนอย่างสมบูรณ์
ค. เพื่อให้ได้พลังงานความร้อนที่มาก ซึ่งนำมาผลิตกระแสไฟฟ้าได้มาก
ง. เพื่อให้นิวเคลียสของดิวเทอเรียมสลายตัวได้
จ. เพื่อให้ยูเรเนียมสามารถหลอมรวมกันได้ง่ายขึ้น

150
แนวที่ ๔ : ถามสมบัติเฉพาะของนิวเคลียร์ฟิชชัน

49. (O-Net 2557) ในปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิชชัน การเกิดปฏิกิริยาลูกโซ่เกิดขึ้นจากอนุภาคใดเป็นหลัก


ก. นิวตรอน ข. โปรตอน
ค. แอลฟา ง. อิเล็กตรอน
จ. ไฮโดรเจน

50. (O-Net 2558) ข้อใดคือความหมายของปฏิกิริยาลูกโซ่ในปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิชชัน


ก. ยูเรเนียม-235 มีการจัดเรียงตัวแบบลูกโซ่
ข. ยูเรเนียม-235 สลายตัวแล้วให้ยูเรเนียม-235 ตัวใหม่
ค. อนุภาคนิวตรอนจากฟิชชันอันหนึ่งสามารถทำให้เกิดฟิชชันอันใหม่ได้
ง. อนุภาคนิวตรอนจากฟิชชันอันหนึ่งไปกระตุ้นอนุภาคนิวตรอนจากฟิชชันอีกอันหนึ่งได้
จ. อนุภาคนิวตรอนและยูเรเนียม-235 มีการจัดเรียงเป็นสายยาวคล้ายโซ่ และถูกตัดขาดเป็นท่อนๆ ใน
ปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิชชัน

51. (พสวท. ม.ต้น) การเกิดปฏิกิริยาฟิชชัน เกิดขึ้นได้อย่างไร


ก. การรวมตัวของธาตุเบาแล้วปล่อยพลังงาน
ข. การยิงอนุภาคนิวตรอนของธาตุเบาให้รวมตัว
ค. การยิงอนุภาคนิวตรอนเข้าไปชนนิวเคลียสของธาตุหนักให้รวมตัว
ง. การยิงอนุภาคนิวตรอนเข้าไปชนนิวเคลียสของธาตุหนักให้แตกตัว

151
52. (BMAT 2014) When a particular nucleus of uranium-235 undergoes the process of nuclear
fission, it absorbs a neutron and then splits into a nucleus of barium and a nucleus of
krypton, as well as releasing further neutrons.

Which one of the rows of the table below gives the correct number of neutrons released
and the isotopes of barium and krypton produced by this nuclear reaction?

Number of neutrons Mass number of barium Mass number of krypton


released isotope produced isotope produced
A. .2. . 141. . 92 .
B. .2. . 142 . . 94 .
C. .3. . 140 . . 92 .
D. .3. . 140 . . 94 .
E. .3. . 141. . 92 .
F. .3. . 142 . . 94 .

152
53. (EJU-1 2021) Atomic nucleus 235
92 U absorbs a neutron and undergoes nuclear fission into
54 Xe and 38 Sr .
140 94

How many neutrons are released in this nuclear fission reaction? From (a)-(e) below
choose the correct answer.
(a) 0 (b) 1 (c) 2 (d) 3 (e) 4

54. (มช. 2553) จงพิจารณาปฏิกิริยานิวเคลียร์ต่อไปนี้


. 23592 U + 01n → 14156 Ba + 9236 Kr + X .
ผลิตภัณฑ์ X คืออะไร
ก. โพซิตรอน 3 ตัว ข. โปรตรอน 3 ตัว
ค. นิวตรอน 3 ตัว ง. ทริทอน ( 31 H ) 1 ตัว

55. (ทุนญี่ปุ่น 2007) In the fission process of a 23892 U nucleus, several neutrons are emitted.
When 14456 Ba and 8936 Kr are produced in the fission, how many neutrons are emitted?
(a) 1 (b) 2 (c) 3 (d) 4 (e) 5

56. (Ent 19) คำตอบของข้อ (๑)-(๔) ให้เลือกจาก ก. ข. ค. และ ง. ต่อไปนี้


ก. อิเล็กตรอน ข. โปรตอน ค. นิวตรอน ง. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
(๑) รังสีแกมมาคืออะไร
(๒) X ในสมการนี้คืออะไร 42 He + 94 Be → 126 C + X
(๓) อนุภาคที่จะทำให้นิวเคลียสของยูเรเนียมเกิดฟิชชันคืออะไร
(๔) อนุภาคซึ่งได้จากการเปลี่ยน 14 C ไปเป็น 14 N คืออะไร

153
57. (BMAT 2015) Below are three statements about radioactivity or nuclear energy.
(1) Neutrons emitted in nuclear fission can cause further fission.
(2) The half-life of a radioactive substance is half the time taken for all its nuclei to
decay.
(3) The process that produces heat and light in the Sun is called nuclear fission.
Which of these statements is/are correct?
A. 1 only B. 2 only
C. 3 only D. 1 and 2 only
E. 1 and 3 only F. 2 and 3 only
G. 1, 2 and 3 H. none of them

154
แนวที่ ๕ : ถามเกี่ยวกับอัตราส่วนความเร็วของนิวเคลียสลูก

58. (B-PAT2 ต.ค. 51) การเกิดฟิชชันของยูเรเนียมที่อยู่นิ่ง ทำให้เกิดการแตกตัวของนิวเคลียสออกเป็น 2


ส่วนที่มีเลขมวลเท่ากับ A1 และ A2 อัตราส่วนระหว่างพลังงานจลน์ของนิวเคลียส A1 ต่อ A2 มีค่า
เท่าใด
2 2
A1 A2  A1   A2 
ก. ข. ค.   ง.  
A2 A1  A2   A1 

59. (ทุนญี่ปุ่น 2008) In the  decay of a 23892 U nucleus, what is the ratio, v / V , of the speed
v of the emitted  particle to the speed V of the daughter nucleus?
(a) 58.5 (b) 118 (c) 58.5 (d) 118 (e) 1

155
แนวที่ ๖ : คำนวณพลังงานที่ได้จากปฏิกิริยาฟิชชัน

60. (PAT2 มี.ค. 52) ถ้าต้องการให้หลอดไฟขนาด 100 วัตต์ 1 ดวงสว่างเป็นเวลา 1 วัน โดยใช้พลังงาน
จากปฏิกิริยาฟิชชัน โดยที่การเกิดฟิชชันแต่ละครั้งให้พลังงาน 200 เมกะอิเล็กตรอนโวลต์ และ
ประสิทธิภาพในการเปลี่ยนพลังงานนิวเคลียร์เป็นพลังงานไฟฟ้าเท่ากับ 30% จะต้องใช้ยูเรเนียม-235
กี่มิลลิกรัม
ก. 0.038 ข. 0.096 ค. 0.11 ง. 0.35

156
61. (Ent 38) โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนแห่งหนึ่งเผาน้ำมันเตา 1 ตันได้ความร้อน 1.5 ล้านกิโลแคลอรี
อยากทราบว่าจะต้องใช้ยูเรเนียม-235 กี่มิลลิกรัม ในปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิชชันจึงจะได้ความร้อนที่มี
ปริมาณเท่ากับความร้อนที่เกิดจากน้ำมันเตานี้ สมมติว่ามวลของยูเรเนียม-235 หายไป 0.1% ของมวล
เดิมในปฏิกิริยา (กำหนดให้ 1 กิโลแคลอรี = 4.2 กิโลจูล)
ก. 14 มิลลิกรัม ข. 42 มิลลิกรัม ค. 70 มิลลิกรัม ง. 140 มิลลิกรัม

62. (Ent 31) สมมติว่าการผลิตไฟฟ้าโดยการเผาถ่านหินจำนวน 1 กิโลกรัม ให้ความร้อน 4, 000 กิโล


แคลอรี จงหาปริมาณถ่านหินที่ต้องใช้เพื่อให้ความร้อนที่เกิดขึ้นมีปริมาณเท่ากับความร้อนที่เกิดจากมวล
ที่หายไปของยูเรเนียม-235 จากปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิชชัน จำนวน 1.4 กรัม (กำหนด 1 กิโลแคลอรี
= 4.2 กิโลจูล และ 1 ตัน = 1000 กก.)
ก. 150 ตัน ข. 1,500 ตัน ค. 3, 000 ตัน ง. 7,500 ตัน

157
63. (Ent เม.ย. 41) ปฏิกิริยาฟิชชันของธาตุชนิดหนึ่ง ให้มวลรวมของธาตุ หลังเกิดปฏิกิริยาลดลง 0.025 u
จงคำนวณว่าจะต้องเกิดฟิชชันกี่ครั้งต่อวินาที จึงจะทำให้กำลังงาน 930 วัตต์
กำหนดให้ 1 u = 930 MeV และ 1 MeV = 1.6 10−19 J
ก. 2.5 1014 ครั้ง ข. 5.0 1014 ครั้ง ค. 7.5 1014 ครั้ง ง. 1.0 1015 ครั้ง

64. (ทุนคิง 2549) ระเบิดปรมาณูมีพลังงานประมาณเทียบเท่าระเบิด TNT 2.0 104 ตัน ถ้า 1 ตันของ
ระเบิด TNT เทียบได้กับพลังงาน 3.8 109 จูล จงคำนวณจำนวนนิวเคลียสของ U − 235 ที่ใช้ในการ
เกิดปฏิกิริยามวลของ U − 235 ที่ใช้ไป และมวลที่หายไปเนื่องจากการระเบิด

158
65. (ทุนคิง 2548) พบว่าความเข้มของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากดวงอาทิตย์ที่บรรยากาศสูงๆ ของโลก เท่ากับ
1400 วัตต์ต่อตารางเมตร ถ้าโลกอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ 150 ล้านเมตร จงหาว่าใน 1 วินาที ดวง
อาทิตย์สูญเสียมวลไปเนื่องจากปฏิกิริยานิวเคลียร์เท่าใด

159
66. (TEDET ม.3 2562) รูป (A) และ (B) แสดงการใช้พลังงานนิวเคลียร์สองกรณี

ข้อใดบ้างไม่ถูกต้อง
ก. (A) แสดงปฏิกิริยาฟิชชัน (B) แสดงปฏิกิริยาฟิวชัน
ข. ธาตุที่ใช้ใน (A) ไม่มีปัญหาการขาดแคลน และให้พลังงานต่อหน่วยมวลปริมาณมาก
ค. ไม่ใช่เรื่องง่ายที่จะนำ (B) ไปใช้งานจริง เนื่องจากจะต้องทำให้อยู่ในสถานะพลาสมาอุณหภูมิสูงที่มี
ความร้อนมากกว่า 100 ล้านองศาเซลเซียส
ง. (B) นิวเคลียสของอะตอมหนักอย่างไฮโดรเจนจะแตกตัวเป็นนิวเคลียสของอะตอมเบาอย่างฮีเลียม
จ. (B) ให้พลังงานมากกว่า (A)

160
แนวที่ ๗ : ถามเกี่ยวกับโรงไฟฟ้านิวเคลียร์

67. (O-Net 2554) เหตุใดโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ในปัจจุบันจึงต้องสร้างใกล้แหล่งน้ำธรรมชาติ


ก. เพื่อให้มีน้ำเพียงพอต่อการดับไฟ กรณีไฟไหม้เตาปฏิกรณ์ปรมาณู
ข. ใช้น้ำปริมาณมากในการถ่ายเทความร้อนจากเตาปฏิกรณ์ไปยังกังหันไอน้ำ
ค. ใช้น้ำปริมาณมากในการทำให้เกิดปฏิกิริยาลูกโซ่ของปฏิกิริยานิวเคลียร์
ง. ต้องใช้นิวตรอนจำนวนมากจากน้ำในการเริ่มปฏิกิริยานิวเคลียร์

68. (พสวท. ม.ต้น) โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ใช้พลังงานที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในข้อใด


ก. การรวมตัวของนิวเคลียสของไฮโดรเจน
ข. การเปลี่ยนแปลงของอะตอมของธาตุกัมมันตรังสี
ค. การยิงอนุภาคนิวตรอนเข้าไปในที่นิวเคลียสของอะตอมขนาดใหญ่
ง. การรวมนิวเคลียสของอะตอมขนาดเล็กเป็นนิวเคลียสของอะตอมขนาดใหญ่

69. (Ent 24) จากปฏิกิริยาฟิชชันของธาตุต่างๆ ตามสมการข้างล่างนี้


A + n → Y + Z + 210 MeV .
B + n → Y + Z + n + 200 MeV .
C + n → Y + Z + 2n + 190 MeV .
D + n → Y + Z + 3n − 180 MeV .
Y , Z คือนิวเคลียสที่ได้จากฟิชชัน n คืออนุภาคนิวตรอน ท่านคิดว่าธาตุใดมีคุณสมบัติเหมาะสมที่สุด
ที่จะเป็นวัสดุเชื้อเพลิงนิวเคลียร์เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์
ก. A ข. B ค. C ง. D

161
70. (O-Net 2560) แท่งควบคุมจำนวนนิวตรอนในแกนของเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ทำจากโลหะใด
ก. ตะกั่ว ข. ทองแดง
ค. ยูเรเนียม ง. แคดเมียม
จ. พลูโตเนียม

71. (O-Net 2560) ข้อใดเป็นเชื้อเพลิงที่ใช้ในเตาปฏิกรณ์ปรมาณู (มี 2 คำตอบ)


ก. ถ่านหิน ข. แก๊สมีเทน
ค. ตะกั่ว-206 ง. ยูเรเนียม-235
จ. คาร์บอน-12 ฉ. พลูโตเนียม-239

72. (BMAT 2011) Which one of the following statements about nuclear physics is true?
A. The process of emission of a gamma ray from a nucleus is called nuclear fission.
B. The half life of a radioactive substance is half the time taken for its nuclei to decay.
C. The number of neutrons in a nucleus is its atomic number (proton number) minus
its mass number.
D. The process used in nuclear power stations is nuclear fusion.
E. When a nucleus emits a beta particle, there is no change in the number of particles
it contains.
F. When a nucleus emits an alpha particle, one of its neutrons becomes a proton plus
an electron.

162
73. (O-Net 2565) แผนภาพแสดงส่วนผลิตไอน้ำของเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ ประกอบด้วยแท่งเชื้อเพลิง
แท่งควบคุม และมีการใช้น้ำซึ่งเมื่อได้รับความร้อนจะเปลี่ยนเป็นไอน้ำ

แท่งเชื้อเพลิงที่ใช้เป็นยูเรเนียม-235 ซึ่งเป็นไปตามปฏิกิริยานิวเคลียร์
56 Ba + 36 Kr + 3 ( 0 n )
U + 01n → 141
235 92 1
92

จากแผนภาพและข้อมูล ข้อความต่อไปนี้ถูกต้องใช่หรือไม่

ข้อความ ใช่ หรือ ไม่ใช่


(๑) ปฏิกิริยานิวเคลียร์ที่เกิดขึ้นเป็นแบบฟิชชัน ซึ่งอาศัยการจับนิวตรอนของ ใช่ / ไม่ใช่
นิวเคลียสขนาดใหญ่ เช่น ยูเรเนียม
(๒) แท่งควบคุมปล่อยอนุภาคนิวตรอน เพื่อเป็นการเริ่มปฏิกิริยานิวเคลียร์ ใช่ / ไม่ใช่
(๓) ไอน้ำที่เกิดขึ้นใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้า ใช่ / ไม่ใช่

163
ประโยชน์และข้อควรระวังของธาตุกัมมันตรังสี
แนวที่ ๑ : ประโยชน์ของรังสี

74. (O-Net 2550) รังสีใดที่นิยมใช้ในการอาบรังสีผลไม้


ก. รังสีเอกซ์ ข. รังสีแกมมา
ค. รังสีบีตา ง. รังสีแอลฟา

75. (O-Net 2552) รังสีในข้อใดใช้สำหรับฆ่าเชื้อโรคในเครื่องมือทางการแพทย์


ก. รังสีแกมมา ข. รังสีบีตา
ค. รังสีอินฟราเรด ง. รังสีแอลฟา

76. (O-Net 2562) หนูออมศึกษาแนวทางพัฒนาธุรกิจค้าขายผลไม้ของครอบครัว เธอพบข้อมูลใน


อินเทอร์เน็ตกล่าวว่า
“การยืดอายุของการเก็บรักษาผลผลิตทางการเกษตรด้วยการฉายรังสี เพื่อทำลายเชื้อจุลินทรีย์ แมลง
และไข่แมลง มักใช้รังสีแกมมาซึ่งได้จากการสลายของโคบอลต์-60”
หนูออมสนใจเกี่ยวกับการสลายดังกล่าว จึงค้นหาข้อมูลเพิ่มเติมและพบว่า การสลายของโคบอลต์-60
ประกอบด้วยการสลายย่อย 2 ลำดับ คือ
ลำดับที่ 1 โคบอลต์-60 สลายเป็น นิกเกิล-60 ในสถานะถูกกระตุ้น
ลำดับที่ 2 นิกเกิล-60 ในสถานะถูกกระตุ้น สลายเป็น นิกเกิล-60 ในสถานะพื้น
จากข้อมูลข้างต้น พิจารณาข้อความต่อไปนี้
(๑) โคบอลต์-60 เป็นไอโซโทปของโคบอลต์ที่ไม่เสถียร
(๒) หลังจากนิวเคลียสต้นกำเนิดสลายให้รังสีแกมมา นิวเคลียสใหม่จะมีจำนวนโปรตอนลดลง
1 ตัว
(๓) รังสีที่ใช้ฉายให้แก่ผลไม้ได้จากการสลายลำดับที่ 1
ข้อความใดกล่าวถูกต้อง
ก. (๑) เท่านั้น ข. (๒) เท่านั้น
ค. (๑) และ (๓) ง. (๒) และ (๓)
จ. (๑) (๒) และ (๓)

164
แนวที่ ๒ : ประโยชน์ของธาตุกัมมันตรังสี

77. (O-Net 2550) เกี่ยวกับธาตุกัมมันตรังสี ข้อใดถูก


ก. ครึ่งชีวิตของไอโอดีน-131 เท่ากับ 8.1 วัน หมายความว่า ไอโอดีน-131 20 g จะสลายตัวครึ่งหนึ่ง
ในเวลา 8.1 วัน ส่วนอีกครี่งหนึ่งจะสลายตัวหมดในเวลา 8.1 วันต่อมา
ข. อุตสาหกรรมอัญมณีใช้รังสีแกมมาเพื่อเปลี่ยนสีและรูปร่างของอัญมณี
ค. รังสีแกมมาจากโคบอลต์-60 สามารถทำลายแบคทีเรีย จึงใช้ในการถนอมอาหาร
ง. อัตราการแผ่รังสีของธาตุกัมมันตรังสีขึ้นอยู่กับอุณหภูมิและความดัน

78. (O-Net 2551) ธาตุกัมมันตรังสีใดที่ใช้ในการคำนวณหาอายุของวัตถุโบราณ คือ


ก. I-131 ข. Co-60
ค. C-14 ง. P-32

79. (O-Net 2553) ในทางการแพทย์ ไอโอดีน-131 นำมาใช้เพื่อวัตถุประสงค์ตามข้อใด


ก. ตรวจการไหลเวียนของโลหิตในร่างกาย
ข. ตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์
ค. รักษาโรคมะเร็ง
ง. รักษาเนื้องอกในสมอง

80. (O-Net 2557) ข้อใดไม่ใช่การใช้ประโยชน์จากกัมมันตภาพรังสี


ก. การใช้ไอโอดีน-131 ในการถ่ายภาพต่อมไทรอยด์
ข. การฉายรังสีแกมมาที่ได้จากโคบอลต์-60 เพื่อรักษาโรคมะเร็ง
ค. การตรวจหารังสีจากวัตถุระเบิดที่ฝังตัวอยู่ในดิน
ง. การหาอายุวัตถุโบราณด้วยคาร์บอน-14
จ. การฉายรังสีแกมมาเพื่อทำให้แมลงวันผลไม้เป็นหมัน

165
81. (O-Net 2559) ข้อใดจับคู่ความสัมพันธ์ระหว่างสารกัมมันตรังสีและประโยชน์ไม่ถูกต้อง
ก. โคบอลต์-60 ทำลายเซลล์มะเร็ง
ข. ไอโอดีน-123 ตรวจสอบความผิดปกติของต่อมน้ำเหลือง
ค. ฟอสฟอรัส-32 หาอัตราการดูดซึมปุ๋ยของต้นไม้
ง. คาร์บอน-14 หาอายุของวัตถุโบราณ
จ. โพแทสเซียม-40 หาอายุของหิน

82. (PAT3 พ.ย. 57) ข้อใดถูกต้อง


ก. ระเบิดนิวเคลียร์ในสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นปฏิกิริยาฟิวชัน
ข. แหล่งพลังงานของโลกได้รับจากดวงอาทิตย์ ซึ่งพลังงานดวงอาทิตย์เกิดจากการเผาไหม้ของกลุ่มแก๊ส
ร้อน
ค. เราไม่สามารถมองเห็นรังสีอินฟราเรด เพราะมีความยาวคลื่นสั้นเกินกว่าดวงตามนุษย์จะสามารถ
มองเห็นได้
ง. นาโนเทคโนโลยี คือเทคโนโลยีที่เกิดขึ้นที่อุณหภูมิต่ำ
จ. คาร์บอน-14 ใช้ในการตรวจหาอายุวัตถุโบราณ

83. (BMAT 2007) The position of cobalt in the periodic table is as follows:

Cobalt 60 is a radioactive isotope that decays with the emission of beta and gamma
radiation. A beam of radiation from a cobalt 60 source is directed towards a malignant
tumour in a patient’s abdomen.
Which of the following is/are correct when cobalt 60 is used in this way?
(1) The cobalt ( 27 Co ) is being converted into nickel ( 28 Ni ) as it decays.
(2) The tumour is attacked by the gamma radiation.
(3) The radiation attacks only the malignant cells.
A. 1 only B. 2 only
C. 3 only D. 1 and 2
E. 2 and 3 F. 1 and 3

166
84. (มช. 2559) ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์ของสารกัมมันตรังสี
ก. สามารถใช้รังสีแกมมาจากไอโอดีน-131 เพื่อรักษาโรคมะเร็ง
ข. สามารถใช้ปริมาณคาร์บอน-14 เพื่อหาอายุของวัตถุโบราณโดยเทียบสัดส่วนกับปริมาณคาร์บอน-12
ค. สามารถใช้ฟอสฟอรัส-32 เพื่อศึกษาอัตราการดูดซึมปุ๋ยของต้นไม้ จากการตรวจวัดการแผ่รังสีของปุ๋บ
ที่ใบ
ง. สามารถใช้รังสีแกมมาจากโคบอลต์-60 เพื่อเปลี่ยนสีพลอยโดยการทำให้ตำแหน่งของอิเล็กตรอน
เปลี่ยนไป

167
แนวที่ ๓ : อันตรายและการป้องกันจากกัมมันตภาพรังสี

85. (PAT3 มี.ค. 56) เหตุการณ์โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ระเบิดที่ประเทศญี่ปุ่นทำให้เกิดการแพร่กระจายของสาร


กัมมันตภาพรังสีหลายชนิด อยากทราบว่าสารกัมมันตภาพรังสีตัวใดที่มีผลกระทบต่อการทำงานของต่อม
ไทรอยด์
ก. I-131 ข. Cs-135
ค. C-12 ง. Fr-12
จ. R-134A

86. (O-Net 2549) ข้อใดต่อไปนี้เป็นการกำจัดกากกัมมันตภาพรังสีที่ดีที่สุด


ก. เร่งให้เกิดการสลายตัวเร็วขึ้นโดยใช้ความดันสูงมากๆ
ข. เผาให้สลายตัวที่อุณหภูมิสูง
ค. ใช้ปฏิกิริยาเคมีเปลี่ยนให้เป็นสารประกอบอื่น
ง. ใช้คอนกรีตตรึงให้แน่นแล้วฝังกลบใต้ภูเขา

87. (O-Net 2550) เครื่องหมายดังรูปแทนอะไร

ก. เครื่องกำเนิดไฟฟ้าโดยกังหันลม
ข. การเตือนว่ามีอันตรายจากกัมมันตภาพรังสี
ค. การเตือนว่ามีอันตรายจากสารเคมี
ง. เครื่องกำเนิดไฟฟ้าโดยเซลล์แสงอาทิตย์

168
88. (PAT3 ต.ค. 59) สัญลักษณ์ต่อไปนี้เป็นเครื่องหมายเตือนเรื่องอะไร
ก. อันตรายจากรังสี
ข. อันตรายต่อสิ่งแวดล้อม
ค. อันตรายจากความเป็นพิษ
ง. อันตรายจากการกัดกร่อน
จ. อันตรายเนื่องจากเป็นที่อับอากาศ

169

You might also like