You are on page 1of 616

1

คู่มือสอบปลัดอำเภอ 2564
ควำมรู้ในหลักวิชำทำงกำรเมือง กำรปกครองและกำรบริหำรรำชกำร
1. กำรปกครองระบอบประชำธิปไตยของไทย เริ่มต้นขึ้นในรัชสมัยใด
ก. รัชกำลที่ 7
ข. รัชกำลที่ 4
ค.รัชกำลที่ 5
ง. รัชกำลที่ 6
ตอบ ก. รัชกำลที่ 7
กำรปฏิวัติสยำม พ.ศ. 2475 เป็นจุดเปลี่ยนสำคัญของประวัติศำสตร์ไทยในช่วง
คริสต์ศตวรรษที่ 20 เหตุกำรณ์ดังกล่ำวเกิดขึ้นเมื่อวันที่ 24 มิถุนำยน พ.ศ. 2475 ซึ่งมีผลทำให้
รำชอำณำจักรสยำมเปลี่ยนรูปแบบประเทศจำกระบอบสมบูรณำญำสิทธิรำชย์ไปเป็นรำชำธิปไตย
ภำยใต้รัฐธรรมนูญ และเปลี่ยนรูปแบบกำรปกครองไปเป็นระบอบประชำธิปไตยแบบรัฐสภำ
เกิดขึ้นจำกคณะนำยทหำรและพลเรือนที่ประกอบกัน เรียกตนเองว่ำ "คณะรำษฎร" โดยเป็นผล
พวงจำกกำรเปลี่ยนแปลงทำงประวัติศำสตร์โลก ตลอดจนกำรเปลี่ยนแปลงทำงสังคมและกำรเมือง
ภำยในประเทศ กำรปฏิวัติดังกล่ำวทำให้ประเทศสยำมมีรัฐธรรมนูญฉบับแรกพระบำทสมเด็จพระ
มงกุฏเกล้ำเจ้ำอยู่หัวทรงปฏิรูปประเทศให้ทันสมัยในหลำยด้ำน แต่กำรปฏิรูปรัฐธรรมนูญกลับ
เป็นไปอย่ำงเชื่องช้ำซึ่งสร้ำงควำมไม่พอใจในหมู่พวกหัวก้ำวหน้ำและเสรีนิยม ในปี พ.ศ. 2454 ได้
เกิดกบฏ ร.ศ. 130 ซึ่งดำเนินกำรโดยคณะนำยทหำรหนุ่ม เป้ำหมำยของคณะคือเปลี่ยนแปลง
รูปแบบกำรปกครองและล้มล้ำงระบอบเก่ำและแทนที่ด้วยระบบรัฐธรรมนูญตะวันตกที่ทันสมัย
และอำจต้องกำรยกพระบรมวงศำนุวงศ์พระองค์อื่นเป็นพระมหำกษัตริย์แทนด้วย อำจกล่ำวได้ว่ำ
กบฏ ร.ศ. 130 เป็นแรงขับดันให้คณะรำษฎรปฏิวัติ โดยภำยหลังยึดอำนำจแล้ว พระยำพหลพล
พยุหเสนำได้เชิญผู้นำกำรกบฏ ร.ศ. 130 ไปพบและกล่ำวกับขุนทวยหำญพิทักษ์ (เหล็ง ศรีจันทร์)
ว่ำ "ถ้ำไม่มีคณะคุณ ก็เห็นจะไม่มีคณะผม" และหลวงประดิษฐ์มนูธรรมก็ได้กล่ำวในโอกำสเดียวกัน
ว่ำ "พวกผมถือว่ำกำรปฏิวัติครั้งนี้เป็นกำรกระทำต่อเนื่องจำกกำรกระทำเมื่อ ร.ศ. 130" กำร
ปฏิวัติดังกล่ำวล้มเหลวและผู้ก่อกำรถูกจำคุก นับแต่นั้นพระบำทสมเด็จพระมงกุฎเกล้ำเจ้ำอยู่หัว
ทรงเลิกควำมพยำยำมส่วนใหญ่ในกำรปฏิรูปรัฐธรรมนูญและทรงปกครองประเทศต่อไปภำยใต้
ระบอบสมบูรณำญำสิทธิรำช โดยมีข้อยกเว้นบ้ำงที่โปรดฯ แต่งตั้งสำมัญชนบำงคนสู่สภำองคมนตรี
และรัฐบำล

2. กำรใช้อำนำจของเผด็จกำรแบบอำนำจนิยม มักใช้ในลักษณะใด
ก. รัฐธรรมนูญ
ข. คำสั่งคณะปฏิวัติ
ค. อุดมกำรณ์ทำงกำรเมืองแบบเผด็จกำร
ง. กำลังของกองทัพควบคุม
2

ตอบ ค. อุดมกำรณ์ทำงกำรเมืองแบบเผด็จกำร
อำนำจนิยม (อังกฤษ: authoritarianism) เป็นรูปแบบกำรจัดระเบียบทำงสังคมซึ่งมี
ลักษณะของกำรอ่อนน้อมต่ออำนำจหน้ำที่ ตำมปกติมักตรงข้ำมกับปัจเจกนิยมและอิสระนิยม
ในทำงกำรเมือง รัฐบำลอำนำจเป็นรัฐบำลซึ่งอำนำจหน้ำที่ทำงกำรเมืองกระจุกตัวอยู่กับ
นักกำรเมืองกลุ่มเล็ก
อำนำจนิยม เป็นระบอบกำรเมืองที่มีฐำนอยู่บนอุดมกำรณ์ทำงกำรเมืองแบบเผด็จกำรชนิด
ที่ผู้ปกครองสำมำรถใช้อำนำจเบ็ดเสร็จเด็ดขำดเหนือรัฐ หรือกลุ่มคนใดๆ ในกำรดำรงไว้ซึ่ง
เป้ำหมำยสูงสุด คือ กำรรักษำอำนำจของตน (Kurian, 2011: 103) โดยมักจะไม่คำนึงถึงสิทธิ
เสรีภำพของประชำชน ปิดกั้นกำรแสดงควำมคิดเห็นที่เป็นปฏิปักษ์กับผู้นำ ควบคุมสื่อมวลชน
ผูกขำดกำรใช้อำนำจและจำกัดกำรตรวจสอบ

3.ประเทศไทยมีรูปแบบกำรปกครองแบบรัฐสภำคล้ำยคลึงกับประเทศใด
ก.อังกฤษ ญี่ปุ่น
ข. อินเดีย ฝรั่งเศส
ค. ญี่ปุ่น อินโดนีเซีย
ง. ซำอุดิอำระเบีย สหรัฐอเมริกำ
ตอบ ก.อังกฤษ ญีป่ ุ่น
รูปแบบของกำรปกครองระบอบประชำธิปไตย
ในประเทศประชำธิปไตยนั้น ไม่ได้มีรูปแบบกำรปกครองเหมือนๆ กันทั้งหมด
นักวิชำกำรได้พยำยำมเสนอหลักเกณฑ์ต่ำงๆ ที่อำจใช้แบ่งรูปแบบกำรปกครองของประเทศ
ประชำธิปไตยมำกมำยด้วยกัน สรุปได้เป็น 2 หลักเกณฑ์ ดังนี้
หลักประมุขของประเทศ แบ่งรูปแบบประชำธิปไตยได้ 2 ลักษณะคือ
1) มีพระมหำกษัตริย์เป็นประมุข พระมหำกษัตริย์จะทรงใช้อำนำจอธิปไตย ซึ่งเป็นของปวงชน
โดยใช้องค์กรแยกกันเป็น 3 ทำงคือ ทรงใช้อำนำจนิติบัญญัติโดยผ่ำนทำงรัฐสภำ อำนำจบริหำร
โดยผ่ำนทำงคณะรัฐมนตรี และอำนำจตุลำกำรโดยผ่ำนทำงศำล ส่วนองค์พระมหำกษัตริย์จะทรง
เป็นกลำงในทำงกำรเมือง เช่น ไทย อังกฤษ ญี่ปุ่น กัมพูชำ ซำอุดีอำระเบีย เลโซโท โมร็อกโก
เบลเยียม ลิกเตนสไตน์ ตองกำ ซำมัว เป็นต้น
2) มีประธำนำธิบดีเป็นประมุข ผู้ดำรงตำแหน่งประธำนำธิบดีมำจำกกำรเลือกตั้งของ
ประชำชน เช่น โครเอเชีย เบลำรุส ตุรกี อำร์เมเนีย สหรัฐอเมริกำ สหรัฐอำหรับเอมิเรตส์
อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ อินเดีย

4. ข้อดีของกำรปกครองระบอบประชำธิปไตย คือข้อใด
ก. กำรเลือกตั้งแต่ละครั้งต้องเสียค่ำใช้จ่ำยสูง
ข. ประชำชนทุกคนมีสิทธิแห่งควำมเป็นคนเหมือนกัน
3

ค. กำรดำเนินส่วนใหญ่ล่ำช้ำเพรำะมีหลำยขั้นตอน
ง. กำรจัดสรรทรัพยำกรตรงกับควำมต้องกำรของทุกคน
ตอบ ข. ประชำชนทุกคนมีสิทธิแห่งควำมเป็นคนเหมือนกัน
ข้อดีและข้อเสียของประชำธิปไตย
ข้อดี
1.ประชำชนมีสิทธิ เสรีภำพและเสมอภำค ประชำชนทุกคนมีสิทธิแห่งควำมเป็นคน
เหมือนกันไม่ว่ำยำกดีมีจน เช่น สิทธิในร่ำงกำย สิทธิในทรัพย์สิน ทุกคนมีเสรีภำพในกำรกระทำ
ใดๆ ได้หำกเสรีภำพนั้นไม่ละเมิดสิทธิเสรีภำพของผู้อื่น เช่น เสรีภำพในกำรนับถือศำสนำ เสรีภำพ
ในกำรพูด กำรเขียน กำรวิพำกษ์วิจำรณ์ และทุกคนมีควำมเสมอภำค หรือเท่ำเทียมกันที่จะได้รับ
กำรคุ้มครองโดยกฎหมำย มีควำมเสมอภำคในกำรประกอบอำชีพ เป็นต้น
2.ประชำชนปกครองตนเอง ประชำชนสำมำรถเลือกตัวแทนไปใช้อำนำจนิติบัญญัติ
ในกำรออกกฎหมำยมำใช้ปกครองตนเอง และเป็นรัฐบำลเพื่อใช้อำนำจบริหำร ซึ่งสำมำรถ
สนองตอบควำมต้องกำรของประชำชนส่วนรวมได้ดี เพรำะผู้บริหำรที่เป็นตัวแทนของปวงชนย่อมรู้
ควำมต้องกำรของประชำชนได้ดี
3.ประเทศมีควำมเจริญมั่นคง กำรมีส่วนร่วมในกำรปกครองตนเองทำให้ประชำชนมี
ควำมพร้อมเพรียงในกำรปฏิบัติตำมกฎ และระเบียบที่ตนกำหนดขึ้นมำยอมรับในคณะผู้บริหำรที่
ตนเลือกขึ้นมำและประชำชนไม่มีควำมรู้ต่อต้ำน ทำให้ประเทศมีควำมสงบสุขเจริญก้ำวหน้ำและ
มั่นคง
ข้อเสีย
1.ดำเนินกำรยำก ระบอบประชำธิปไตยเป็นหลักกำรปกครองที่ดี แต่กำรที่จัดสรร
ผลประโยชน์ตรงกับควำมต้องกำรประชำชนทุกคนย่อมทำไม่ได้ นอกจำกนั้นยังเป็นกำรยำกที่จะให้
ประชำชนทุกคนมีควำมรู้ควำมเข้ำใจและปฏิบัติตำมสิทธิ เสรีภำพทุกประกำร ทั้งนี้เพรำะวิสัยของ
มนุษย์ย่อมมีควำมเห็นแก่ตัว เห็นแก่ได้ กำรดำเนินชีวิตของมนุษย์ในสังคมจึงมีกำรกระทบกระทั่ง
และละเมิดสิทธิเสรีภำพของผู้อื่นได้
2.เสียค่ำใช้จ่ำยสูง กำรปกครองระบอบประชำธิปไตย จำเป็นต้องให้ประชำชนไปใช้
สิทธิเลือกตั้งผู้แทน เพื่อให้ปฏิบัติหน้ำที่แทนตน กำรเลือกตั้งในแต่ละระดับต่ำงต้องเสียค่ำใช้จ่ำย
มำก ทั่งงบประมำณดำเนินงำนชองทำงรำชกำรและค่ำใช้จ่ำยของผู้สมัครรับเลือกตั้ง
3.มีควำมล่ำช้ำในกำรตัดสินใจ กำรตัดสินใจในระบอบประชำธิปไตยต้องใช้เสียงส่วน
ใหญ่ โดยผ่ำนขั้นตอนกำรอภิปรำย แสดงเหตุผลและมติที่มีเหตุผลเป็นที่ยอมรับของสมำชิกส่วน
ใหญ่ จึงต้องดำเนินตำมขั้นตอนทำให้เกิดควำมล่ำช้ำ เช่น กำรตรำกฎหมำย ต้องดำเนินกำร
ตำมลำดับขั้นตอนของวำระ อำจใช้เวลำเป็นสัปดำห์เป็นเดือน หรือบำงฉบับต้องใช้เวลำเป็นปี จึง
จะตรำออกมำเป็นกฎหมำยได้
4

5. ข้อใดเป็นรูปแบบกำรปกครองโดยคนส่วนมำก
ก. กำรปกครองแบบคณำธิปไตย
ข. กำรปกครองแบบคอมมิวนิสต์
ค. กำรปกครองระบอบประชำธิปไตย
ง. กำรปกครองแบบสมบูรณำญำสิทธิรำชย์
ตอบ ค. กำรปกครองระบอบประชำธิปไตย
ประชำธิปไตย (อังกฤษ: democracy) เป็นระบอบกำรปกครองแบบหนึ่งซึ่งพลเมืองเป็น
เจ้ำของอำนำจอธิปไตยและเลือกผู้ปกครองซึ่งทำหน้ำที่ออกกฎหมำย โดยพลเมืองอำจใช้อำนำจ
ของตนด้วยตนเองหรือผ่ำนผู้แทนที่เลือกไปใช้อำนำจแทนก็ได้ กำรตัดสินว่ำผู้ใดเป็นพลเมืองบ้ำง
และกำรแบ่งปันอำนำจในหมู่พลเมืองเป็นอย่ำงไรนั้นมีกำรเปลี่ยนแปลงตำมเวลำและแต่ละ
ประเทศเปลี่ยนแปลงในอัตรำไม่เท่ำกัน นอกจำกกำรเลือกตั้งแล้ว ควำมคิดที่เป็นรำกฐำนของ
ประชำธิปไตย ได้แก่ เสรีภำพในกำรชุมนุมและกำรพูด กำรไม่แบ่งแยกและควำมเสมอภำค สิทธิ
พลเมือง ควำมยินยอม สิทธิในกำรมีชีวิตและสิทธิฝ่ำยข้ำงน้อย นอกจำกนี้ ประชำธิปไตยยังทำให้
ทุกฝ่ำยตระหนักถึงผลประโยชน์ของตนและแบ่งอำนำจจำกกลุ่มคนมำเป็นชุดกฎเกณฑ์แทน

6. หลักกำรอำนำจอธิปไตยเป็นของปวงชน หมำยถึงอะไร
ก. ประชำชนเป็นเจ้ำของอำนำจสูงสุดของรัฐ
ข. ประชำชนกระทำอย่ำงใดได้แต่ต้องไม่ละเมิดสิทธิผู้อื่น
ค. ประชำชนทุกคนเข้ำถึงทรัพยำกรของสังคมอย่ำงเท่ำเทียมกัน
ง. ประชำชนย่อมถือเสียงข้ำงมำกเป็นเกณฑ์ในกำรตัดสินทำงเลือก
ตอบ ก. ประชำชนเป็นเจ้ำของอำนำจสูงสุดของรัฐ
อำนำจอธิปไตยของปวงชน (Sovereignty of the People or Popular Sovereignty)
หมำยถึงแนวคิดที่ว่ำแหล่งที่มำของอำนำจสูงสุดของรัฐ หรือ อำนำจอธิปไตยมีที่มำจำกพลเมือง
ทุกๆคนภำยในรัฐ จึงทำให้บำงครั้งแนวคิดนี้ถูกเรียกว่ำอธิปไตยของมหำชน (popular
sovereignty) ซึ่งก็มีควำมหมำยในลักษณะเดียวกัน เพียงแต่เน้นให้เห็นถึงรำกฐำนของอำนำจ
อธิปไตยที่มีควำมโยงใยกับประชำชนจำนวนมำกในสังคมในระบอบประชำธิปไตย หรือ ก็คือ
แนวคิดที่ว่ำ “อำนำจเป็นของปวงประชำมหำชน” (power belongs to the people) (Kurian,
2011: 1580-1581)[1]ประชำชนเป็นเจ้ำของอำนำจสูงสุดของรัฐ

7. ข้อดีของกำรปกครองแบบเผด็จกำร คือข้อใด
ก. จัดสรรทรัพยำกรอย่ำงมีประสิทธิภำพ
ข. ปรำบคอร์รับชันได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ
ค. สำมำรถตัดสินใจดำเนินกำรได้อย่ำงรวดเร็ว
ง. ออกกฎหมำยได้เหมำะสมกับสิทธิของประชำชน
5

ตอบ ค. สำมำรถตัดสินใจดำเนินกำรได้อย่ำงรวดเร็ว
ข้อดี
1. รัฐบำลสำมำรถตัดสินใจทำกำรอย่ำงใดอย่ำงหนึ่งได้รวดเร็วกว่ำรัฐบำลระบอบ
ประชำธิปไตย เช่น สำมำรถออกกฎหมำยมำบังคับใช้เพื่อวัตถุประสงค์อย่ำงใดอย่ำงหนึ่งโดยไม่ต้อง
ขอควำมเห็นชอบจำกเสียงข้ำงมำกในรัฐสภำ ช่วยให้กำรปกครองมีประสิทธิภำพและสร้ำงควำม
เจริญก้ำวหน้ำในด้ำนต่ำง ๆ เพรำะเป็นกำรรวมอำนำจสำมำรถสั่งกำรได้อย่ำงรวดเร็ว
2. กำรแก้ปัญหำบำงอย่ำงมีประสิทธิผลกว่ำระบอบประชำธิปไตย เช่น สั่งกำรปรำบกำร
จลำจล กำรก่ออำชญำกรรม และกำรก่อกำรร้ำยต่ำง ๆ ได้อย่ำงเด็ดขำดมำกกว่ำ โดยไม่ต้องเกรง
ว่ำจะเกินอำนำจทีก่ ฎหมำยให้ไว้ เนื่องจำกศำลในระบอบเผด็จกำรไม่มีควำมเป็นอิสระในกำร
พิจำรณำคดีเหมือนในระบอบประชำธิปไตย
ข้อเสีย
1. เป็นกำรปกครองโดยบุคคลเดียวหรือกลุ่มเดียว ย่อมจะมีกำรผิดพลำดและใช้อำนำจเพื่อ
ประโยชน์ส่วนตนและพวกพ้องได้โดยไม่มีใครรู้หรือกล้ำคัดค้ำน เกิดกำรทุจริตต่อรำษฎรได้ง่ำย
2. มีกำรใช้อำนำจเผด็จกำร กดขี่และลิดรอนสิทธิเสรีภำพ รวมทั้งประทุษร้ำยต่อชีวิตของ
คนหรือกลุ่มคนที่ไม่เห็นด้วยกับกลุ่มผู้ปกครองเป็นกำรละเมิดสิทธิเสรีภำพของประชำชน
3. ประชำชนส่วนใหญ่ที่ถูกกดขี่และขำดสิทธิเสรีภำพ ย่อมจะไม่สนับสนุนนโยบำยของ
รัฐบำลอย่ำงเต็มที่และอำจพยำยำมต่อต้ำนอย่ำงลับ ๆ ทำให้เกิดควำมไม่สงบภำยในประเทศซึ่ง
เป็นผลจำกควำมไม่พอใจของประชำชนที่ถูกกดขี่ข่มเหงและลิดรอกสิทธิเสรีภำพด้ำนต่ำง ๆ
4. กำรพัฒนำประเทศในด้ำนต่ำง ๆ จะเป็นไปด้วยควำมยำกลำบำก เพรำะจะถูกกีดกัน
จำกประเทศต่ำง ๆ ทั่วโลก ทั้งด้ำนกำรเมือง เศรษฐกิจ สังคม ทำให้เกิดควำมโดดเดี่ยว ซึ่งเป็นกำร
นำประเทศให้เกิดควำมล้ำหลังได้

8. คุณลักษณะประกำรหนึ่งของนักประชำธิปไตย คือ
ก. รู้สึกยอมรับฟังควำมคิดเห็นของบุคคลอื่น
ข. ยึดมั่นในหลักของอำวุโส
ค. นิยมกำรแก้ปัญหำแบบตำต่อตำ ฟันต่อฟัน
ง. ถ้ำเห็นว่ำกฎหมำยไม่ให้ควำมเป็นธรรมก็จะฝ่ำฝืนทันที
ตอบ ก. รู้สึกยอมรับฟังควำมคิดเห็นของบุคคลอื่น
ของนักประชำธิปไตยหรอผู้มีวิถีชีวิตแบบประชำธิปไตย มีดังนี้
1. เคำรพเหตุผลมำกกว่ำบุคคล เช่น ไม่ยึดมั่นตัวบุคคล ไม่ยึดมั่นในระบบอำวุโส ยอมรับ
ในหลักกำรของเสียงข้ำงมำก ฯลฯ
2. รู้จักประนีประนอม เช่น รู้จักยอมรับฟังควำมคิดเห็นของผู้อื่น ไม่ยึดมั่นในควำมคิดของ
ตนเองเป็นหลัก นิยมกำรแก้ปัญหำด้วยสันติวิธี ไม่นิยมควำมรุนแรง ฯลฯ
6

3. มีระเบียบวินัย เช่น ถ้ำเห็นว่ำกฎหมำยไม่ให้ควำมเป็นธรรมก็ต้องหำทำงเรียกร้องให้มี


กำรแก้ไข ไม่ใช่ฝ่ำฝืนหรือไม่ยอมรับ ฯลฯ
4. มีควำมรับผิดชอบต่อส่วนรวม เช่น คอยวิพำกษ์วิจำรณ์และตรวจสอบรัฐบำล กำรรู้จัก
ตอบแทนบุญคุณของสังคม ฯลฯ

9. ในระบบรัฐสภำของไทย รัฐธรรมนูญส่วนใหญ่กำหนดให้ผู้ลงนำมรับสนองพระบรมรำชโองกำร
โปรดเกล้ำฯ แต่งตั้งรัฐมนตรีคือผู้ใด
ก. ประธำนรัฐสภำ
ข. ประธำนสภำผู้แทนรำษฎร
ค. ประธำนวุฒิสภำ
ง. นำยกรัฐมนตรี
ตอบ ง. นำยกรัฐมนตรี
ในระบบรัฐสภำของไทย รัฐธรรมนูญส่วนใหญ่กำหนดให้ผู้ลงนำมรับสนองพระบรมรำช
โองกำรแต่งตั้งรัฐมนตรี ได้แก่ นำยกรัฐมนตรี ส่วนผู้ลงนำมรับสนองพระบรมรำชโองกำรแต่งตั้ง
นำยกรัฐมนตรี ได้แก่ ประธำนสภำผู้แทนรำษฎร

10.ข้อใดคือข้ำรำชกำรกำรเมือง
ก. มีวำระในกำรดำรงตำแหน่ง
ข. เป็นข้ำรำชกำรประจำ
ค. เป็นฝ่ำยนำนโยบำยไปปฏิบัติ
ง. ถูกเฉพำะข้อ ก. กับ ข.
ตอบ ก. มีวำระในกำรดำรงตำแหน่ง
ข้ำรำชกำรกำรเมือง คือ บุคคลซึ่งรับรำชกำรในตำแหน่งที่รับผิดชอบเกี่ยวกับนโยบำยเป็น
ฝ่ำยกำหนดนโยบำยเกี่ยวกับกำรบริหำรประเทศ และคอยควบคุมฝ่ำยข้ำรำชกำรประจำให้ปฏิบัติ
ตำมนโยบำยที่วำงไว้โดยข้ำรำชกำรกำรเมืองเข้ำดำรงตำแหน่งตำมวิถีทำงทำงกำรเมือง และออก
จำกตำแหน่งตำมวำระหรือมีวำระในกำรดำรงตำแหน่ง ข้ำรำชกำรกำรเมืองส่วนใหญ่กฎหมำยไม่ได้
กำหนดให้ต้องสังกัดพรรคกำรเมืองไม่เพียงบำงตำแหน่งเท่ำนั้นที่ต้องสังกัดพรรคกำรเมือง เช่น
นำยกรัฐมนตรี (ต้องมำจำก ส.ส. ที่ต้องสังกัดพรรคกำรเมือง) ฯลฯ

11. กำรกำหนดโครงสร้ำงเทศบำลของไทยในปัจจุบันมีลักษณะและรูปแบบใด
ก. รัฐสภำ
ข. ประธำนำธิบดี
ค. แบบผสมรัฐสภำและประธำนำธิบดี
ง. แบบมีสภำ
7

ตอบ ข.ประธำนำธิบดี
กำรกำหนดโครงสร้ำงกำรจัดองค์กำรและกำรบริหำรเทศบำลของไทยในปัจจุบันมีลักษณะ
เป็นแบบประธำนำธิบดี (Presidential system) คือ มีนำยกเทศมนตรีและสมำชิกสภำเทศบำลมำ
จำกกำรเลือกตั้งโดยตรงของประชำชน โดยใช้หลักกำรแบ่งแยกอำนำจ (Separation) ตำมแบบ
ประธำนำธิบดีของสหรัฐอเมริกำ

12. แนวคิดในกำรจัดระบบรำชกำรในสมัยรัตนโกสินทร์ได้นำแบบอย่ำงมำจำกที่ใดของโลก
ก. สหรัฐอเมริกำ
ข. ยุโรป
ค. ญี่ปุ่น
ง. เกำหลีใต้
ตอบ ข. ยุโรป
แนวคิดในกำรจัดระบบรำชกำรของไทยในสมัยรัตนโกสินทร์ (ตั้งแต่สมัยรัชกำลที่ 5 จนถึง
ปัจจุบัน) ได้นำแบบอย่ำงมำจำกยุโรป โดยมีหลักหรือลักษณะในกำรจัดองค์กำรและกำรบริหำร
ดังนี้
1. มีกำรจัดหน่วยรำชกำรเป็นระดับ โดยมีสำยงำนอำนำจหน้ำที่และกำรบังคับบัญชำเป็น
ระดับเชื่อมโยงจำกบนสู่ล่ำง
2. ยึดถือกฎหมำยระเบียบข้อบังคับเป็นหลักปฏิบัติ โดยมีจุดประสงค์เพื่อให้งำนเป็น
ระเบียบแบบแผนเดียวกัน
3. มีกำรแบ่งงำนกันทำตำมควำมชำนำญ หรือพยำยำมแบ่งงำนเป็นสัดส่วนกัน
4. มีกำรคัดเลือกบุคคลเข้ำรับรำชกำรตำมระบบคุณธรรม

13. องค์กรปกครองท้องถิ่นใดเก่ำแก่ที่สุด
ก. เมืองพัทยำ
ข. เทศบำล
ค. องค์กำรบริหำรส่วนตำบล
ง. องค์กำรบริหำรส่วนจังหวัด
ตอบ ข. เทศบำล
องค์กรปกครองท้องถิ่นของไทยในปัจจุบันมี 5 รูปแบบ คือ เทศบำล องค์กำรบริหำรส่วน
จังหวัด องค์กำรบริหำรส่วนตำบล กรุงเทพมหำนคร และเมืองพัทยำ ทั้งนี้เทศบำลถือเป็นองค์กร
ปกครองท้องถิ่นที่เก่ำแก่ที่สุด (แต่เดิมสุขำภิบำลถือเป็นองค์กรปกครองท้องถิ่นที่เก่ำแก่ที่สุด แต่
ปัจจุบันได้ยกฐำนะเป็นเทศบำลตำบลหมดแล้ว)
8

14. กำรนำกฎหมำยมำบังคับใช้เพื่อให้เกิดประโยชน์สุขแก่ประชำชน เป็นอำนำจของ


ก. ฝ่ำยนิติบัญญัติ
ข. ฝ่ำยบริหำร
ค. ฝ่ำยตุลำกำร
ง. ฝ่ำยทหำร
ตอบ ข. ฝ่ำยบริหำร
อำนำจบริหำร (บริหำรบัญญัติ) คือ อำนำจในกำรน1ำกฎหมำยมำบังคับใช้ (บังคับให้
เป็นไปตำมกฎหมำย) เพื่อให้เกิดประโยชน์สุขแก่ประชำชน เป็นอำนำจในกำรบริหำรประเทศตำม
กฎหมำย ซึ่งดำเนินกำรโดยผู้ปกครองหรือรัฐบำล (คณะรัฐมนตรี) ที่ใช้อำนำจในกำรบริหำร
ปกครองบ้ำนเมือง ถือเป็นอำนำจที่นี้ผลกระทบต่อประชำชนโดยรวมมำกที่สุด

15. กำรตรวจสอบที่ฝ่ำยบริหำรนำมำใช้ในกำรควบคุมฝ่ำยนิติบัญญัติ เรียกว่ำ


ก. กระบวนกำรถอดถอน (Impeachment)
ข. กำรยับยั้งร่ำงพระรำชบัญญัติ
ค. กำรยุบสภำ
ง. กำรเปิดอภิปรำยทั่วไปเพื่อลงมติไม่ไว้วำงใจ
ตอบ ค. กำรยุบสภำ
กำรตรวจสอบที่ฝ่ำยบริหำรหรือรัฐบำลนำมำใช้ในกำรควบคุมฝ่ำยนิติบัญญัติ หรือสภำ
ผู้แทนรำษฎร เรียกว่ำ “กำรยุบสภำ” และในขณะเดียวกันฝ่ำยนิติบัญญัติก็มีเครื่องมือตรวจสอบที่
นำมำใช้ในกำรควบคุมฝ่ำยบริหำรเพื่อเป็นกำรดุลอำนำจกัน เรียกว่ำ “กำรเปิดอภิปรำยทั่วไปเพื่อ
ลงมติไม่ไว้วำงใจ”

16. ศำลใดต่อไปนี้ที่มีกำรแบ่งออกเป็น 3 ชั้น คือ ศำลชั้นต้น ศำลอุทธรณ์ ศำลฎีกำ


ก. ศำลยุติธรรม
ข. ศำลปกครอง
ค. ศำลรัฐธรรมนูญ
ง. ศำลทหำร
ตอบ ก. ศำลยุติธรรม
ศำลยุติธรรม แบ่งออกเป็น 3 ชั้น คือ
1. ศำลชั้นต้น เป็นศำลที่รับฟ้องในตอนที่เริ่มคดี เช่น ศำลแพ่ง ศำลอำญำ ศำลแขวง ฯลฯ
2. ศำลอุทธรณ์ เป็นศำลชั้นกลำง แบ่งเป็นศำลอุทธรณ์ กลำงและศำลอุทธรณ์ภำค (มี 3 ภำค)
3. ศำลฎีกำ เป็นศำลสูงสุด มีอยู่ศำลเดียว ตั้งอยู่ในกรุงเทพฯ
9

17. กรณีของ 4 จังหวัดภำคใต้ที่มีประชำชนนับถือศำสนำอิสลำมเป็นจำนวนมำก หำกเกิดกำร


ขัดแย้งขึ้นระหว่ำงบุคคลที่เป็นมุสลิม ทั้งโจทก์และจำเลยจะต้องปฏิบัติตำมข้อใด
ก. ใช้กฎหมำยยุติธรรมของไทย ใช้ผู้พิพำกษำที่นับถือศำสนำอิสลำม
ข. ใช้กฎหมำยยุติธรรมของไทย ใช้ผู้พิพำกษำปกติ
ค. ใช้กฎหมำยอิสลำม ใช้ผู้พิพำกษำที่เรียกว่ำดะโต๊ะยุติธรรม
ง. ใช้กฎหมำยอิสลำม ใช้ผู้พิพำกษำปกติ
ตอบ ค. ใช้กฎหมำยอิสลำม ใช้ผู้พิพำกษำที่เรียกว่ำดะโต๊ะยุติธรรม
ในเขต 4 จังหวัดภำคใต้ คือ สตูล ยะลำ ปัตตำนี และนรำธิวำส ซึ่งประชำชนส่วนใหญ่กว่ำ
80% นับถือศำสนำอิสลำม หำกเกิดกำรขัดแย้งขึ้นในระหว่ำงชำวมุสลิมด้วยกันในคดีแพ่งเกี่ยวกับ
ครอบครัวและมรดก ทั้งโจทก์และจำเลยจะต้องใช้กฎหมำยอิสลำมมำบังคับคดีและผู้พิพำกษำที่ทำ
หน้ำที่วินิจฉัยคดี คือ ดะโต๊ะยุติธรรม

18.เงินตรำที่ใช้ในสมัยสุโขทัยมีกำรเรียกตรงกับข้อใดต่อไปนี้
ก. เงินพดด้วงหัวบำกรำชสีห์
ข. เงินพดด้วงขำบำกรำชคช
ค. เงินพดด้วงขำบำกนำครำช
ง. เงินพดด้วงขำบำก
ตอบ ง. เงินพดด้วงขำบำก
เงินตรำที่ถูกนำมำใช้ในสมัยสุโขทัย เรียกว่ำ เงินพดด้วงขำบำก ซึ่งมีลักษณะคล้ำยเงินพด
ด้วงของสมัยอยุธยำ เพียงแต่ตรงปลำยที่งอเข้ำจรดกันนั้นแหลมกว่ำ และไม่มีรอยไม้ค้อนเห็นชัด
เหมือนสมัยอยุธยำ กับมีรอยบำกสองข้ำงตรงส่วนที่งอนั้นเป็นรอยลึก

19. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ตรงกับสำเหตุแห่งควำมเสื่อมที่เกิดขึ้นในสมัยกรุงศรีอยุธยำ
ก. ควำมไม่มั่นคงของในกรมมเหสีหลวง
ข. ควำมไม่มั่นคงของสถำบันพระมหำกษัตริย์
ค. ทหำรเสื่อมศรัทธำในพระสงฆ์และวังนอก
ง. กำรขำดควำมมัง่ คั่ง
ตอบ ข. ควำมไม่มั่นคงของสถำบันพระมหำกษัตริย์
สำเหตุแห่งควำมเสื่อมที่เกิดขึ้นในสมัยกรุงศรีอยุธยำ มีดังนี้
1. ควำมไม่มั่นคงของสถำบันพระมหำกษัตริย์
2. ควำมขัดแย้งภำยในชนชั้นผู้ปกครองระหว่ำงรำชวงศ์ด้วยกัน ระหว่ำงขุนนำงกับกษัตริย์
ระหว่ำงขุนนำงกับรำชวงศ์ และระหว่ำงขุนนำงกับขุนนำง
3. ข้ำศึกมีควำมเข้มแข็งมำกกว่ำ
4. ระบบกำรปกครองขำดประสิทธิภำพ
10

5. กองทัพที่จัดไปตั้งรับพม่ำมีจำนวนน้อย

20. บุคคลใดต่อไปนี้ที่เกี่ยวข้องกับกำรรัฐประหำรในช่วงปี พ.ศ. 2490


ก. พันโทผิน ชุณหะวัณ
ข พลเอกสุจินดำ ครำประยูร
ค. พลเอกสะพรั่ง กัลยำณมิตร
ง. พันเอกสฤษดิ์ กิตติขจร
ตอบ ก. พันโทผิน ชุณหะวัณ
รัฐธรรมนูญฉบับที่ถูกยกเลิกโดยกำรรัฐประหำรที่นำโดยคณะนำยทหำรเป็นฉบับแรกคือ
รัฐธรรมนูญฯ 2489 ทั้งนี้เมือ่ ค้นที่ 8 พฤศจิกำยน 2490 คณะนำยทหำรบกที่นำโดยพลโทผิน
ชุณหะวัณ ได้ทำกำรรัฐประหำรและยกเลิกรัฐธรรมนูญฯ 2489 โดยอ้ำงเหตุผลว่ำกำรดำเนินงำน
ของรัฐบำลและรัฐสภำตำมรัฐธรรมนูญฯ 2489 แก้ไขภำวะวิกฤติของบ้ำนเมืองในขณะนั้นไม่ได้

22. เมืองทดลองประชำธิปไตย ในสมัยรัชกำลที่ 6 มีชื่อเรียกโดยทั่วไปว่ำอะไร


ก. ดุสิตสุขี
ข. ดุสิตธำนี
ค. ดุสิตสมัย
ง. ดุสิตรำชธำนี
ตอบ ข. ดุสิตธำนี
รัชกำลที่ 6 ได้ทรงตั้งเมืองสมมุติ “ดุสิตธำนี” ขึ้นในบริเวณวังพญำไท เพื่อจำลองรูปแบบ
กำรปกครองในระบอบประชำธิปไตยขึ้นใช้ในเมืองสมมุตินั้น โดยโปรดให้มี “ธรรมนูญกำรปกครอง
แบบนครำภิบำล” ซึ่งเปรียบเสมือนรัฐธรรมนูญของเมือง กำหนดให้มีพรรคกำรเมือง 2 พรรคมี
กำรเลือกตั้งนครำภิบำลหรือนำยกเทศมนตรี และมีสภำกำรเมืองแบบประเทศประชำธิปไตย

23. ในสมัยอยุธยำมีกำรแบ่งชนชั้นอย่ำงเด่นชัด 3 ชนชั้น คือ


ก. ชนชั้นสูง ชนชั้นกลำง ชนชั้นล่ำง
ข. ชนชั้นสูง ชนชั้นกลำง ชนชั้นต่ำ
ค. ชนชั้นกษัตริย์ พระรำชวงศ์ ขุนนำง
ง. ชนชั้นกษัตริย์ ชนชั้นขุนนำง ชนชั้นไพร่
ตอบ ง. ชนชั้นกษัตริย์ ชนชั้นขุนนำง ชนชั้นไพร่
ในสมัยอยุธยำมีกำรแบ่งชนชั้นอย่ำงเด่นชัด 3 ชนชั้น คือ
1. ชนชั้นกษัตริย์ พระรำชวงศ์ และขุนนำงระดับสูง
2. ชนชั้นผู้ดี ผู้มีฐำนะ และขุนนำง ซึ่งมีศักดินำ 400 ไร่ขึ้นไป
3. ชนชั้นไพร่ ทำส และผู้ถือศักดินำต่ำกว่ำ 400 ไร่
11

24. ระบอบสมบูรณำญำสิทธิรำชย์ถูกยกเลิกใช้ในสมัยรัชกำลที่เท่ำใด
ก. รัชกำลที่ 3
ข. รัชกำลที่ 4
ค. รัชกำลที่ 5
ง. รัชกำลที่ 7
ตอบ ง. รัชกำลที่ 7
เมื่อวันที่ 24 มิถุนำยน 2475 คณะรำษฎรอันประกอบด้วยทหำรบกทหำรเรือ และพล
เรือน ภำยใต้กำรนำของ พ.อ.พระยำพหลพลพยุหเสนำ ได้ร่วมกันลงมือทำกำรปฏิวัติเพื่อยึด
อำนำจกำรปกครองจำกรัชกำลที่ 7 ซึ่งถือเป็นกำรปฏิบัติที่แท้จริงเพียงครั้งเดียวและเป็นกำร
เปลี่ยนแปลงกำรปกครองครั้งสำคัญที่สุดในประวัติศำสตร์กำรเมืองไทย เพรำะเป็นกำรล้มเลิก
ระบอบกำรปกครองแบบสมบูรณญำสิทธิรำชย์มำเป็นระบอบกำรปกครองแบบประชำธิปไตยใน
ระบบรัฐสภำ

25. เหตุกำรณ์พฤษภำทมิฬ ตรงกับข้อใดต่อไปนี้


ก. ชนชั้นล่ำง
ข. ชนชั้นสูง
ค. ชนชั้นกลำง
ง. ชนชั้นต่ำ
ตอบ ค. ชนชั้นกลำง
เดือนพฤษภำคม 2535 ประชำชนโดยเฉพำะ “ชนชั้นกลำง” ได้คัดค้ำนกำรเข้ำรับอำนำจ
ของพลเอกสุจินดำ ครำประยูร นำยกรัฐมนตรีที่ไม่ได้มำจำกกำรเลือกตั้งก่อให้เกิดกำรประท้วง
และรัฐบำลต้องใช้กำลังเข้ำปรำบปรำมอย่ำงรุนแรงจนกลำยเป็นเหตุกำรณ์ทำงกำรเมืองที่เรียกว่ำ
“พฤษภำทมิฬ” โดยเรียกกลุ่มผู้ชุมนุมประท้วงว่ำ “ม๊อบมือถือ”

26.คำที่นิยมใช้อ้ำงเพื่อโจมตีทำงกำรเมืองไทยที่ผ่ำนมำในอดีต
ก. อนำคิตส์
ข. คอมมิวนิสต์
ค. ฟำสซิสต์
ง. ยิว
ตอบ ข. คอมมิวนิสต์
คำที่ผู้มีอำนำจในอดีตมักนิยมใช้อ้ำงเพื่อโจมตีทำงกำรเมืองต่อผู้คัดค้ำนหรือฝ่ำยตรงกัน
ข้ำม ได้แก่ มีกำรกระทำอันเป็นคอมมิวนิสต์
12

27. คณะรักษำควำมสงบเรียบร้อยแห่งชำติ (รสช.) เกี่ยวข้องกับนำยกรัฐมนตรีของไทยท่ำนใด


ก. พลเอกอำทิตย์ กำลังเอก
ข. พลเอกเปรม ติณสูลำนนท์
ค. พลเอกสุจินดำ ครำประยูร
ง. พลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันท์
ตอบ ค. พลเอกสุจินดำ ครำประยูร
คณะรัฐประหำรที่นำโดยพลเอกสุนทร คงสมพงษ์ ผู้บัญชำกำรทหำรสูงสุดพลเอกสุจินดำ
ครำประยูร ผู้บัญชำกำรทหำรบก (นำยกรัฐมนตรีคนที่ 19) รวมทั้งผู้บัญชำกำรทหำรเรือและ
ทหำรอำกำศ ในนำมคณะรักษำควำมสงบเรียบร้อยแห่งชำติ (รสช.) ได้เข้ำยึดอำนำจจำกรัฐบำลพล
เอกชำติชำย ชุณหะวัณ เมื่อวันที่ 23 กุมภำพันธ์ 2534

28. “กำรปฏิรูป” ตรงกับข้อใดต่อไปนี้


ก. Reform
ข. Exchange
ค. Change
ง. Coup d’état
ตอบ ก. Reform
Reform หมำยถึง กำรปฏิรูป (กำรเปลี่ยนแปลงหรือกำรปรับปรุงแก้ไขอย่ำงค่อยเป็นค่อย
ไป) เช่น กำรปฏิรูปกำรเมือง (Political Reform) กำรปฏิรูปสังคม (Social Reform) กำรปฏิรูป
ที่ดิน (Land Reform) เป็นต้น

29. ควำมเชื่อใดต่อไปนี้ที่อำจจัดได้ว่ำเป็นควำมเชื่อที่อยู่ในอุดมกำรณ์ประชำธิปไตย
ก. คนเรำเกิดมำไม่เท่ำเทียมกัน แล้วจะมำเรียกร้องควำมเท่ำเทียมกันไปทำไม
ข. ควรให้คนฉลำดเป็นผู้ปกครองบ้ำนเมือง
ค. คนเรำทุกคนต่ำงมีเหตุผล แต่จะอ้ำงเหตุผลเพื่อประโยชน์ส่วนตนมำกกว่ำส่วนรวม
ง. ทุกคนสำมำรถปกครองตัวเองได้
ตอบ ง. ทุกคนสำมำรถปกครองตัวเองได้
อุดมกำรณ์ประชำธิปไตยยึดหลักกำรสำคัญในเรื่องควำมเสมอภำค สิทธิและเสรีภำพ และ
กำรเคำรพในศักดิ์ศรีของมนุษย์ โดยมีควำมเชื่อว่ำคนทุกคนมีควำมเท่ำเทียมกัน มีเสรีภำพที่จะ
กระทำกำรใด ๆ ได้ตำมที่ตนปรำรถนำภำยใต้แวดวงของกฎหมำย และทุกคนมีควำมสำมำรถใน
กำรปกครองตนเอง
13

30. ข้อใดที่ไม่ใช่เป็นสิทธิและเสรีภำพในระบอบประชำธิปไตย
ก. เสรีภำพในกำรพูด เขียนตำมที่อยำกจะทำ
ข. เสรีภำพในกำรนับถือศำสนำ
ค. สิทธิในทรัพย์สิน
ง. สิทธิในที่อยู่อำศัย
ตอบ ก. เสรีภำพในกำรพูด เขียนตำมที่อยำกจะทำ
สิทธิและเสรีภำพในระบอบประชำธิปไตย มีดังนี้
1. เสรีภำพในกำรพูด กำรพิมพ์ (กำรเขียน) และกำรโฆษณำ (หำกไม่ขัดกฎหมำยหรือไม่
ละเมิดสิทธิของผู้อื่นก็สำมำรถกระทำได้)
2. เสรีภำพในกำรนับถือศำสนำ
3. เสรีภำพในกำรสมำคมหรือรวมกลุ่ม
4. สิทธิในทรัพย์สิน
5. สิทธิที่จะได้รับกำรคุ้มครองตำมกฎหมำย
6. สิทธิ์ในบุคคล เช่น เสรีภำพในร่ำงกำย สิทธิในกำรประกอบอำชีพที่ถูกกฎหมำย สิทธิใน
กำรเลือกถิ่นที่อยู่อำศัย ฯลฯ

31. ข้อใดที่ถูกต้องเกี่ยวกับกำรเลือกตั้งที่แท้จริง
ก. ไม่มีกำรเลือกตั้งในระบบเผด็จกำร
ข. ที่สุดมีกำรเลือกตั้ง ที่นั่นเป็นประชำธิปไตย
ค. ไม่จำเป็นต้องให้ผู้สมัครโฆษณำแนวนโยบำยก็ได้
ง. จะต้องมีกำรลงคะแนนแบบลับ
ตอบ ง. จะต้องมีกำรลงคะแนนแบบลับ
กำรเลือกตั้งที่แท้จริงตำมระบอบประชำธิปไตยนั้นจะต้องมีหลักประกันสำหรับผู้สมัครรับ
เลือกตั้งและผู้ใช้สิทธิเลือกตั้ง โดยผู้สมัครจะต้องสำมำรถโฆษณำหำเสียงแนวนโยบำยของตนได้
อย่ำงเสร็จโดยไม่ถูกกลั่นแกล้ง และผู้มีสิทธิเลือกตั้งจะต้องสำมำรถเลือกผู้สมัครได้อย่ำงเสรีจริง ๆ
คือจะต้องเป็นกำรลงคะแนนเสียงเลือกตั้งแบบลับ (Secret Ballot)

32. ข้อควำมใดมีควำมเป็นประชำธิปไตยมำกที่สุด
ก.ไม่มีรัฐก็ไม่มีประชำชน
ข.ประชำชนคือรัฐ
ค.รัฐเพื่อประชำชน
ง.ประชำชนเพื่อรัฐ
ตอบ ข.ประชำชนคือรัฐ
14

รัฐ (state) หมำยถึง ชุมชนทำงกำรเมืองที่ประชำชนอำศัยอยู่ร่วมกัน โดยมีดินแดนที่


แน่นอน มีรัฐบำลเดียวกัน เป็นชุมชนที่มีอำนำจอธิปไตย
คำว่ำ รัฐ มีควำมหมำยแตกต่ำงไปจำกคำว่ำ ชำติ คือ รัฐจะเน้นควำมผูกพันทำงกำรเมือง
ส่วนคำว่ำชำติ หมำยถึง ประชำชนที่มีเชื้อชำติ ภำษำ ศำสนำเดียวกัน และมีขนบธรรมเนียม
ประเพณีร่วมกันองค์ประกอบของรัฐองค์ประกอบของรัฐแต่ละส่วนมีควำมสำคัญทั้งสิ้น ถ้ำขำด
อย่ำงใดอย่ำงหนึ่งก็ไม่อำจเป็นรัฐอยู่ได้
1. ประชำกร ทุกรัฐต้องมีประชำกรอำศัยอยู่จึงจะเป็นรัฐได้ จำนวนประชำกรจะมำกหรือน้อยก็ได้
ส่วนหนึ่งทำหน้ำที่เป็น ผู้ใช้อำนำจปกครอง อีกส่วนนึ่งทำหน้ำที่เป็นประชำกรของประเทศ ปัจจุบัน
นี้ ประเทศที่มีประชำกรมำกที่สุดในโลก คือ ประเทศจีน และประเทศที่มีประชำกรน้อยที่สุดในโลก
คือ ประเทศนำอูรู ประชำกรในรัฐแบ่งออกได้เป็น
1.1 ประชำกร ได้แก่ ผู้ที่มีสัญชำติของรัฐซึ่งมีสิทธิและหน้ำที่อย่ำงเต็มที่ในฐำนะที่เป็น
สมำชิกของรัฐ
1.2 คนต่ำงด้ำว หมำยถึง ชำวต่ำงประเทศที่มำอำศัยอยู่ในรัฐ โดยไม่มีสัญชำติของรัฐที่ตน
อำศัยอยู่
2. ดินแดน ทุกรัฐต้องมีดินแดน ซึ่งประกอบด้วย แผ่นดิน น่ำนฟ้ำน่ำนน้ำซึ่งจะต้องมีอำณำเขตที่
แน่นอนสำหรับน่ำนน้ำรัฐชำยฝั่งมีสิทธิกำหนดควำมกว้ำงของทะเลอำณำเขตได้ไม่เกิน 12 ไมล์
ทะเล
3. รัฐบำล รัฐบำลหมำยถึงองค์กำรและคณะบุคคลซึ่งใช้อำนำจในกำรปกครองประเทศอย่ำงเป็น
อิสระไม่ขึ้นแก่รัฐบำลของรัฐอื่นใดหรือหน่วยงำนซึ่งนำเอำควำมต้องกำรของรัฐไปกำหนดและ
บังคับกำรให้เป็นไปตำมนั้น ไม่มีรัฐใดที่จะอยู่ได้โดยปรำศจำกรัฐบำลรัฐบำลเป็นผู้ทำหน้ำที่
คุ้มครองรักษำควำมสงบภำยใน ป้องกันกำรรุกรำนจำกภำยนอก
4. อธิปไตย อำนำจอธิปไตย หมำยถึง กำรมีอำนำจสูงสุดในกำรปกครองประเทศ
ประเภทของรัฐ เรำสำมำรถแบ่งประเภทของรัฐได้ 2 แบบ คือ
1. รัฐเดี่ยว (unitary state)
รัฐเดี่ยว คือ รัฐที่จำกัดอำนำจทำงกำรเมืองให้รัฐบำลกลำงเพียงอย่ำงเดียวรัฐบำล
กลำงทำหน้ำที่บริหำรประเทศและออกกฎหมำย ประเทศที่มีรัฐแบบรัฐเดี่ยวได้แก่ ญี่ปุ่น ไทย
ฟิลิปปินส์ และอังกฤษ
2.รัฐรวม (composite state)
รัฐรวม คือ รัฐที่กำหนดให้มีรัฐบำล 2 ระดับในรัฐ คือ รัฐบำลกลำง มีอำนำจดูแล
เกี่ยวกับ กำรป้องกันประเทศ กำรเงิน กำรคลัง ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงประเทศ รัฐบำลท้องถิ่น มี
อำนำจเกี่ยวข้องกับท้องถิ่นโดยเฉพำะ เช่น กำรศึกษำ กำรสำธำรณสุข กำรรักษำควำมสงบ
เรียบร้อย รัฐรวมจะเป็นกำรรวมตัวของรัฐในรูปแบบสหพันธรัฐ (federal state)
15

33.ระบบกำรปกครองแบบประชำธิปไตยของอังกฤษมีลักษณะเด่นตำมข้อใด
ก.ให้อำนำจสูงสุดแก่รัฐสภำ
ข.มีพระมหำกษัตริย์เป็นประมุข
ค.พระมหำกษัตริย์ทรงอยู่ภำยใต้รัฐธรรมนูญ
ง.ใช้ระบบสองสภำและมีพรรคกำรเมืองสองพรรค
ตอบ ก.ให้อำนำจสูงสุดแก่รัฐสภำ
อำนำจสูงสุดหรืออธิปไตยเป็นของรัฐสภำ หมำยควำมว่ำ รัฐสภำมีสิทธิที่จะออกกฎหมำย
หรือยกเลิกกฎหมำยใดๆ ก็ได้ และไม่มีผู้ใดในอังกฤษที่จะเพิกเฉย หรือละเมิดต่อกฎหมำยของ
รัฐสภำ หลักของอำนำจสูงสุดของรัฐสภำนี้หมำยควำมว่ำ ในระบบกำรปกครองของอังกฤษ
อธิปไตยอยู่ที่องค์กรรัฐสภำอันประกอบด้วย สภำขุนนำง สภำผู้แทน และพระมหำกษัตริย์ ฉะนั้น
แม้ว่ำจะมีกำรแบ่งหน้ำที่กันทำ คือ คณะรัฐมนตรีในฐำนะเป็นคณะรัฐบำลของพระมหำกษัตริย์ทำ
หน้ำที่บริหำร แต่อำนำจสูงสุดอยู่ที่รัฐสภำ ซึ่งสำมำรถควบคุมกำรปฏิบัติงำนของคณะรัฐมนตรี
ตลอดจนสำมำรถทำหน้ำที่เป็นศำลสูงสุดด้วย กำรทำหน้ำที่เป็นศำลสูงนั้นเป็นบทบำทในส่วนของ
สภำขุนนำง (House of Lords)
รัฐธรรมนูญอังกฤษนั้นจึงไม่ได้แบ่งแยกอำนำจอธิปไตย แต่เป็นกำรแบ่งบทบำทหน้ำที่
ฉะนั้นจึงมีกระบวนกำร รวมอำนำจไว้ที่รัฐสภำ (Fusion of Power) แต่ก็มีสำยสัมพันธ์เชื่อมโยง
กันที่เรียกว่ำ Organic Link โดยสถำบันรัฐสภำกำรที่รัฐสภำอังกฤษวิวัฒนำกำรในรูปนี้ เป็นเรื่อง
ของเหตุกำรณ์ในประวัติศำสตร์มิได้มีควำมจงใจจะให้เกิดระบอบประชำธิปไตยแต่อย่ำงใด อำนำจ
ของรัฐสภำมีเพิ่มขึ้นจำกเดิมเป็นเพียงให้ควำมร่วมมือในกำรเพิ่มภำษีของพระมหำกษัตริย์ ต่อมำ
กลำยเป็นผู้ให้ควำมเห็นชอบ ต่อมำอีกรัฐสภำก็เริ่มมีอำนำจในด้ำนออกกฎหมำย ซึ่งเริ่มต้นเป็นกำร
ตรำกฎหมำย เพื่อแก้ไขขจัดข้อเดือดร้อนของประชำชนเท่ำนั้น ต่อมำขยำยไปเป็นอำนำจนิติ
บัญญัติทั่วไป
ส่วนตำแหน่งนำยกรัฐมนตรี มำจำกำรที่พระเจ้ำยอร์จที่ 1 (George I) แห่งรำชวงศ์
Hannover ซึ่งทรงได้รบั กำรเชิญให้มำปกครองประเทศอังกฤษในช่วง ค.ศ.1715 ซึ่งรำชวงศ์นี้มำ
จำกเยอรมันนี พระองค์จึงทรงไม่เข้ำใจภำษำอังกฤษ ได้ทรงมอบหมำยงำนกำรประชุมสภำ
เสนำบดีให้แก่ เซอร์โรเบิร์ต วอลโปล ทำหน้ำที่เป็นประธำน นี้คือจุดกำเนิดของตำแหน่ง
นำยกรัฐมนตรี ซึ่งตอนนั้น เซอร์โรเบิร์ต วอลโปล ได้รับสมญำนำมภำยหลังว่ำ “Primus Inter
Pares” หรือ First among Equals คือ ผู้อันดับ 1 ในจำนวนผู้ที่เท่ำกัน นั้นคือตำแหน่ง Prime
Minister ซึ่งเป็นชื่อเรียกสมัยต่อมำ ในกำรคัดเลือกรัฐมนตรีก็คัดเลือกจำกบุคคลที่จะได้รับเสียง
สนับส่วนใหญ่จำกรัฐสภำ นี้คือจุดเริ่มต้นระบบคณะรัฐมนตรี ซึ่งเปรียบเสมือนคณะกรรมกำรของ
รัฐสภำที่สมำชิกเลือกขึ้นมำ เพื่อทูลเกล้ำ ให้พระมหำกษัตริย์แต่งตั้ง
ผลของกำรปฏิบัติดังกล่ำว ได้กลำยเป็นธรรมเนียมปฏิบัติในสมัยต่อๆ มำ สมัยนี้ธรรมเนียม
ปฏิบัติจะกำหนดให้พระมหำกษัตริย์แต่งตั้งบุคคลที่เป็นหัวหน้ำพรรคที่ได้รับเสียงข้ำงมำกในรัฐสภำ
16

และเมื่อนำยกรัฐมนตรีคนไหนไม่ได้รับควำมไว้วำงใจจำกรัฐสภำ ก็จะต้องเชิญหัวหน้ำ ฝ่ำยค้ำน ซึ่ง


ได้รับเสียงส่วนมำกเข้ำจัดตั้งรัฐบำลแทน และรัฐบำลต้องรับผิดชอบร่วมกันต่อนโยบำย หำกผู้ใดไม่
เห็นชอบด้วยกับนโยบำย ต้องลำออก ขณะเดียวกันก็วิพำกษ์วิจำรณ์นโยบำยของคณะรัฐมนตรี
ไม่ได้ ขนบธรรมเนียมนี้ค่อยๆ วิวัฒนำกำรมำจำกภำคปฏิบัติ ซึ่งเมื่อมีรัฐมนตรีท่ำนหนึ่งยึดถือ
ปฏิบัติ ท่ำนอื่นๆ ในภำยหลังก็ปฏิบัติตำม

34.ข้อใดเป็นกำรดำเนินกำรตำมแบบประชำธิปไตยโดยตรง
ก.กำรออกเสียงลงประชำมติ
ข.กำรให้ประชำชนเลือกตั้งนำยกรัฐมนตรี
ค.กำรเลือกตั้งสมำชิกสภำองค์กำรบริหำรส่วนตำบล
ง.กำรสมัครเข้ำรับกำรเลือกตั้งเป็นสมำชิกสภำผู้แทนรำษฎรด้วยตนเอง
ตอบ ก.กำรออกเสียงลงประชำมติ
กำรออกเสียงประชำมติ (อังกฤษ: referendum) คือ กำรนำร่ำงกฎหมำย ร่ำงรัฐธรรมนูญ
และนโยบำยที่สำคัญของประเทศ ไปผ่ำนกำรตัดสินเพื่อแสดงควำมเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบโดย
ประชำชนผู้เป็นเจ้ำของอำนำจอธิปไตย นับเป็นกำรเปิดโอกำสให้ประชำชนได้มีส่วนร่วมในกำร
ตัดสินใจต่อแนวทำงกำรปกครองประเทศ และถือเป็นประชำธิปไตยทำงตรงแบบหนึ่งซึ่งประชำชน
มีส่วนมีเสียงโดยตรงในกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน

35.ข้อใดเป็นอำนำจหน้ำที่ของพนักงำนอัยกำร
ก.ฟ้องคดีอำญำที่ผู้เสียหำยร้องขอ
ข.ฟ้องคดีอำญำและเป็นทนำยโจทย์หรือทนำยจำเลยให้ส่วนรำชกำรในคดีแพ่ง
ค.ฟ้องคดีอำญำที่พนักงำนสอบสวนส่งสำนวนมำให้ฟ้อง
ง.เป็นที่ปรึกษำกำหมำยของรัฐบำล
ตอบ ข.ฟ้องคดีอำญำและเป็นทนำยโจทย์หรือทนำยจำเลยให้ส่วนรำชกำรในคดีแพ่ง
อำนำจหน้ำที่โดยทั่วไปของพนักงำนอัยกำร
เมื่อกล่ำวถึงอัยกำรแล้วประชำชนส่วนใหญ่จะไม่ทรำบถึงอำนำจหน้ำที่ของอัยกำรอย่ำง
ถูกต้องแท้จริงจะทรำบแต่เพียงว่ำอัยกำรมีหน้ำที่ฟ้องผู้ต้องหำในคดีอำญำเท่ำนั้นโดยมักจะพูดกัน
ว่ำอัยกำรมีมีหน้ำที่เอำคนเข้ำคุกซึ่งเป็นควำมเข้ำใจที่ไม่ถูกต้องเพรำะไม่มีกฎหมำยฉบับใดให้
อำนำจอัยกำรเอำคนเข้ำคุก ดังนั้น จึงต้องเผยแพร่ให้ประชำชนโดยทั่วไปรู้และเข้ำใจถึงอำนำจ
หน้ำที่ของอัยกำรที่กฎหมำยกำหนดไว้ซึ่งพอจะสรุปได้ ดังนี้
๑.อำนำจหน้ำที่ในกำรอำนวยควำมยุติธรรม ได้แก่ กำรบริหำรงำนยุติธรรมในส่วนฝ่ำย
บริหำรของรัฐเพื่อให้เกิดควำมสงบเรียบร้อยและปลอดภัยในชีวิตร่ำงกำยและทรัพย์สินโดยอัยกำร
จะเป็นผู้พิจำรณำพยำนหลักฐำนในสำนวนกำรสอบสวนที่พนักงำนสอบสวนเสนอมำแล้ววินิจฉัยสั่ง
17

คดีตลอดทั้งดำเนินคดีอำญำทำงศำลในฐำนะทนำยแผ่นดินตำมที่ประมวลกฎหมำยวิธีพิจำรณำ
ควำมอำญำและกฎหมำยอื่นๆบัญญัติไว้ว่ำเป็นอำนำจหน้ำที่ของอัยกำร
๒. อำนำจหน้ำที่ในกำรรักษำผลประโยชน์ของรัฐได้แก่ กำรพิจำรณำให้คำปรึกษำทำงด้ำน
กฎหมำยแก่ส่วนรำชกำรและหน่วยงำนของรัฐตรวจร่ำงสัญญำ ตอบข้อหำรือตลอดจนทั้งกำร
ดำเนินคดีในศำลในฐำนะทนำยควำมของแผ่นดินแทนรัฐบำลหน่วยงำนของรัฐที่เป็นนิติบุคคลที่
ตั้งขึ้นโดยพระรำชบัญญัตหิ รือพระรำชกฤษฎีกำ
๓.อำนำจหน้ำที่ในกำรคุ้มครองสิทธิและช่วยเหลือทำงกฎหมำย ได้แก่ กำรคุ้มครองสิทธิ
และรักษำผลประโยชน์ของประชำชนที่กฎหมำยกำหนดไว้ให้เป็นอำนำจหน้ำที่ของอัยกำร เช่น ใน
คดีแพ่งให้อำนำจอัยกำรเข้ำไปคุ้มครองสิทธิของบุคคลไร้ควำมสำมำรถ คนเสมือนไร้ควำมสำมำรถ
คนสำบสูญกำรร้องขอให้ศำลตั้งผู้จัดกำรมรดก กำรให้ควำมช่วยเหลือทำงอรรถคดี โดยจัดกำร
ทนำยอำสำให้ตลอดทั้งกำรเผยแพร่ควำมรู้ทำงกฎหมำยแก่ประชำชนทั่วไป
อำนำจหน้ำที่ตำมพระรำชบัญญัติอัยกำร
อำนำจหน้ำที่ของพนักงำนอัยกำรตำมพระรำชบัญญัติอัยกำร พ.ศ.๒๔๙๘
๑. ดำเนินคดีอำญำตำมที่กำหนดไว้ในประมวลกฎหมำยวิธีพิจำรณำควำมอำญำ
๒. ในคดีแพ่งมีอำนำจดำเนินคดีแพ่งแทนรัฐบำล
๓.แก้ต่ำงคดีแพ่งหรือคดีอำญำในกรณีที่เจ้ำพนักงำนถูกฟ้องในเรื่องกำรที่ได้กระทำไปตำม
หน้ำที่หรือรำษฎรผู้หนึ่งผู้ใดถูกฟ้องเนื่องจำกกำรที่ได้กระทำตำมคำสั่งของเจ้ำพนักงำนซึ่งได้สั่งกำร
โดยชอบด้วยกฎหมำยหรือเข้ำร่วมกับเจ้ำพนักงำนกระทำกำรในหน้ำที่รำชกำร
๔.ว่ำต่ำงหรือแก้ต่ำงคดีแพ่งให้เทศบำลหรือสุขำภิบำล แต่ต้องมิใช่เป็นคดีที่พิพำทกับ
รัฐบำล
๕. ว่ำต่ำงหรือแก้ต่ำงคดีแพ่งให้นิติบุคคลซึ่งได้มีพระรำชบัญญัติหรือพระรำชกฤษฎีกำได้
ตั้งขึ้นแต่ต้องมิใช่คดีที่พิพำทกับรัฐบำล
๖. เป็นโจทก์ในคดีที่รำษฎรผู้หนึ่งผู้ใดฟ้องเองไม่ได้เพรำะมีกฎหมำยห้ำมไว้เช่น ผู้ใดจะฟ้อง
บุพกำรีของตนเป็นคดีแพ่งหรือคดีอำญำไม่ได้ แต่เมื่อผู้นั้นร้องขอพนักงำนอัยกำรมีอำนำจเป็น
โจทก์ฟ้องแทนได้
๗. ในคดีที่บุคคลใดถูกลงโทษเนื่องจำกกำรกระทำอันละเมิดต่ออำนำจศำลถ้ำศำลอุทธรณ์มี
คำสั่งให้ปล่อยตัวผู้นั้นไป เมื่ออัยกำรเห็นสมควรจะฎีกำก็ได้
๘. ในกรณีที่บุคคลใดผิดสัญญำประกันที่ทำไว้ต่อศำลอัยกำรมีหน้ำที่ดำเนินคดีในกำรบังคับ
ให้เป็นไปตำมสัญญำ
อำนำจหน้ำที่ตำมประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์
๑. ร้องขอให้ศำลสั่งให้คนวิกลจริตเป็นคนไร้ควำมสำมำรถและร้องขอให้ศำลเพิกถอน
คำสั่งให้เป็นคนไร้ควำมสำมำรถ
18

๒. ร้องขอให้ศำลสั่งให้บุคคลซึ่งมีจิตฟั่นเฟือนหรือกำยพิกำรและไม่สำมำรถประกอบหน้ำที่
กำรงำนของตนเองเป็นคนเสมือนไร้ควำมสำมำรถและร้องขอให้ศำลเพิกถอนคำสั่งที่ได้สั่งให้เป็น
คนเสมือนไร้ควำมสำมำรถ

๓. ร้องขอให้ศำลสั่งกำรให้ทำไปพลำงก่อนตำมที่จำเป็นเพื่อจัดกำรทรัพย์สินของบุคคลที่
ไปจำกภูมิลำเนำหรือถิ่นที่อยู่
๔.ร้องขอให้ศำลสั่งตัวแทนรับมอบอำนำจทั่วไปจัดทำบัญชีทรัพย์สินของผู้ไม่อยู่ หรือขอให้
ศำลสั่งให้ผู้จัดกำรหำประกันหรือแจ้งรำยทรัพย์สินหรือถอดถอนผู้จัดกำรหรือตั้งผู้อื่นแทนต่อไป
เมื่อมีเหตุอันสมควร
๕. ร้องขอให้ศำลสั่งให้ผู้ที่ไปจำกภูมิลำเนำหรือถิ่นที่อยู่เป็นคนสำบสูญและร้องขอให้ศำล
สั่งเพิกถอนคำสั่งให้เป็นคนสำบสูญ
๖. ร้องขอให้ศำลแต่งตั้งผู้จัดกำรชั่วครำวในกรณีที่ผู้จัดกำรนิติบุคคลว่ำงลงและถ้ำทิ้ง
ตำแหน่งว่ำงไว้จะเกิดควำมเสียหำย
๗. ร้องขอให้ศำลแต่งตั้งผู้แทนเฉพำะกำรในกรณีผู้จัดกำรนิติบุคคลมีประโยชน์ได้เสียหรือ
เป็นปฏิปักษ์กับนิติบุคคล
๘. ดำเนินกำรในฐำนะเป็นผู้ขอจัดตั้งมูลนิธิต่อไปในกรณีที่ผู้ตั้งมูลนิธิตำยเสียก่อนที่นำย
ทะเบียนจะรับจดทะเบียนมูลนิธิ
๙. ร้องขอให้ศำลถอนถอนกรรมกำรหรือคณะกรรมกำรมูลนิธิและแต่งตั้งคนใหม่แทนใน
กรณีที่กรรมกำรหรือคณะกรรมกำรจัดกำรผิดพลำดเสื่อมเสีย
๑๐.ร้องขอให้ศำลสั่งเลิกมูลนิธิและแต่งตั้งผู้ชำระบัญชี
๑๑. ร้องขอให้ศำลสั่งจัดกำรทรัพย์สินของมูลนิธิที่สิ้นสุดลงให้แก่นิติบุคคลซึ่งมี
วัตถุประสงค์ใกล้ชิดกับวัตถุประสงค์เดิมของมูลนิธินั้น
๑๒.ร้องขอให้ศำลตั้งผู้ชำระบัญชีของห้ำงหุ้นส่วนบริษัทที่เลิกกันเพรำะเหตุอื่นนอกจำก
ล้มละลำยโดยไม่มีผู้ชำระบัญชีตำมข้อสัญญำหรือข้อบังคับของห้ำงหุ้นส่วนบริษัทนั้น
๑๓. ร้องขอให้ศำลสั่งเพิกถอนมติของสมำคมที่ลงมติโดยฝ่ำฝืนข้อบังคับหรือกฎหมำย
๑๔. ขอให้ศำลตั้งผู้ชำระบัญชีกรณีที่มีกำรเกิดสมำคมและไม่มีผู้ชำระบัญชี
๑๕. ร้องขอให้ศำลตั้งผู้อื่นนอกจำกสำมีหรือภริยำเป็นผู้อภิบำลหรือผู้พิทักษ์กรณีที่มีเหตุ
สำคัญ
๑๖.ร้องขอให้ศำลพิพำกษำว่ำกำรสมรสเป็นโมฆะ
๑๗. ให้พนักงำนอัยกำรดำเนินคดีแทนเด็กเมื่อศำลส่งคำร้องมำให้ในกรณีที่มีกำรฟ้องคดี
ไม่รับเด็กเป็นบุตร
๑๘. เด็กอำจร้องขอให้พนักงำนอัยกำรยกคดีขึ้นว่ำกล่ำวปฏิเสธควำมเป็นบุตรที่ชอบด้วย
กฎหมำย
๑๙.ร้องขอให้ศำลสั่งถอนอำนำจปกครอง
19

๒๐.ร้องขอให้ศำลตั้งผู้ปกครองและร้องขอให้พิสูจน์ว่ำบุคคลที่ศำลตั้งให้เป็นผู้ปกครองเป็น
ผู้ต้องห้ำมตำมประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์
มำตรำ ๑๕๘๗ เพื่อให้ศำลพิพำกษำเพิกถอนคำสั่งตั้งผู้ปกครองและมีคำสั่งเกี่ยวกับผู้ปกครองต่อไป
ตำมที่เห็น
สมควร
๒๑. ร้องขอให้ศำลสั่งให้ผู้ปกครองหำประกันอันสมควรในกำรจัดกำรทรัพย์สินหรือแถลง
ถึงควำมเป็นอยู่ของทรัพย์สินของผู้อยู่ในควำมปกครอง
๒๒.ร้องขอให้ศำลถอนผู้ปกครอง
๒๓. ต้องขอต่อศำลให้มีคำสั่งอนุญำตให้มีกำรรับบุตรบุญธรรมและเลิกรับบุตรบุญธรรม
๒๔.ฟ้องคดีแทนบุตรบุญธรรมเกี่ยวกับกำรขอเลิกรับบุตรบุญธรรม
๒๕. ร้องขอให้ศำลตั้งผู้ปกครอง
ผู้อนุบำล หรือผู้พิทักษ์ ในกรณีมีมรดกตกทอดแก่ผู้เยำว์หรือบุคคลวิกลจริต
๒๖. ร้องขอให้รัฐบำลให้อำนำจจัดตั้งมูลนิธิเมื่อพินัยกรรมกำหนดไว้
๒๗. ร้องขอให้ศำลจัดสรรทรัพย์สินที่กำหนดไว้ในพินัยกรรมให้จัดตั้งมูลนิธิให้แก่นิติบุคคล
ในเมื่อมูลนิธินั้นจัดตั้งขึ้นไม่ได้ตำมวัตถุประสงค์
๒๘.ร้องขอให้ศำลตั้งผู้จัดกำรมรดกในกรณีที่เจ้ำมรดกตำยและทำยำทโดยธรรมหรือผู้รับ
พินัยกรรมได้สูญหำยไปหรืออยู่นอกรำชอำณำจักรหรือเป็นผู้เยำว์หรือผู้จัดกำรมรดกหรือทำยำทไม่
สำมำรถหรือไม่เต็มใจจะจัดกำรหรือมีเหตุขัดข้องในกำรจัดกำรมรดกหรือในกำรจัดกำรหรือในกำร
แบ่งปันทรัพย์มรดกหรือข้อกำหนดพินัยกรรมตั้งผู้จัดกำรมรดกไม่มีผลบังคับ
๒๙.เป็นโจทก์ฟ้องคดีที่กฎหมำยห้ำมมิให้รำษฎรฟ้อง เช่น ตำมประมวลกฎหมำยแพ่งและ
พำณิชย์มำตรำ ๑๕๖๒ ห้ำมมิให้ฟ้องบุพกำรีของตนเป็นคดีแพ่งหรือคดีอำญำแต่เมื่อผู้นั้นหรือญำติ
สนิทร้องขอพนักงำนอัยกำรจะยกคดีขึ้นว่ำกล่ำวก็ได้
๓๐.ร้องขอให้ศำลสั่งให้ผู้จัดกำรมรดกหำประกันอันสมควรในกำรจัดกำรทรัพย์สินของ
ทำยำทตลอดจนกำรมอบคืนทรัพย์สินนั้น และแถลงถึงควำมเป็นอยู่แห่งทรัพย์สินของทำยำท
อำนำจหน้ำที่ตำมประมวลกฎหมำยอำญำ
๑. ร้องขอให้ศำลกำหนดโทษแก่ผู้กระทำควำมผิดเสียใหม่ในกรณีที่กฎหมำยที่บัญญัติใน
ภำยหลังเป็นคุณแก่ผู้กระทำควำมผิด
๒.ร้องขอต่อศำลให้สั่งยกเลิกวิธีกำรเพื่อควำมปลอดภัยหรือกำหนดวิธีกำรเพื่อควำม
ปลอดภัยที่เป็นคุณมำกกว่ำวิธีกำรเพื่อควำมปลอดภัยเดิม เมื่อปรำกฎว่ำมีบทบัญญัติของกฎหมำย
ที่บัญญัติในภำยหลังเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขที่จะสั่งให้มีกำรบังคับวิธีกำรเพื่อควำมปลอดภัยซึ่งเป็นผล
ไม่อำจนำมำใช้บังคับแก่ผู้ที่จะต้องถูกบังคับตำมวิธีกำรเพื่อควำมปลอดภัยหรือนำมำใช้บังคับได้ แต่
กำรใช้บังคับวิธีกำรเพื่อควำมปลอดภัยตำมบทบัญญัติของกฎหมำยที่บัญญัติในภำยหลังเป็นคุณ
กว่ำ
20

๓.ร้องขอให้ศำลสั่งเพิกถอนหรืองดกำรใช้บังคับวิธีกำรเพื่อควำมปลอดภัยแก่ผู้ถูกบังคับใช้
วิธีกำรเพื่อควำมปลอดภัยไว้ชั่วครำว ในกรณีที่พฤติกำรณ์เกี่ยวกับกำรใช้บังคับนั้นได้เปลี่ยนแปลง
ไปจำกเดิม

๔. ร้องขอให้ศำลเปลี่ยนโทษกักขังเป็นโทษจำคุก
๕. ฟ้องขอให้กักกันในกรณีที่ผู้กระทำควำมผิดได้กระทำควำมผิดติดนิสยั ทั้งนี้เพื่อควบคุม
ผู้กระทำควำมผิดติดนิสัยไว้ในเขตกำหนด เพื่อป้องกันกำรกระทำควำมผิด เพื่อดัดนิสัยและฝึกหัด
อำชีพ
๖.เสนอให้ศำลทำทัณฑ์บนบุคคลซึ่งปรำกฏว่ำจะก่อเหตุร้ำยให้เกิดภยันตรำยแก่บุคคลหรือ
ทรัพย์สินของบุคคลอืน่ หรือบุคคลซึ่งถูกฟ้องเป็นคดีแต่ศำลไม่ลงโทษผู้ถูกฟ้องถ้ำมีเหตุอันควรเชื่อ
ว่ำผู้ถูกฟ้องน่ำจะก่อเหตุร้ำยให้เกิดอันตรำยแก่บุคคลหรือทรัพย์สินของผู้อื่นเพื่อให้ศำลสั่งให้บุคคล
นั้น ทำทัณฑ์บนว่ำจะไม่ก่อเหตุดังกล่ำว
๗. มีคำขอต่อศำลขอให้แก้ไขเพิ่มเติมหรือเพิกถอนหรือกำหนดเงื่อนไขที่ยังมิได้กำหนด
เกี่ยวกับกำรคุมประพฤติผู้กระทำควำมผิดซึ่งศำลพิพำกษำว่ำมีควำมผิดแต่รอกำรกำหนดโทษไว้
หรือกำหนดโทษแต่รอกำรลงโทษไว้
๘. แถลงให้ศำลทรำบว่ำผู้ที่ได้รับกำรรอกำรลงโทษหรือตำมคำพิพำกษำรอกำรกำหนด
โทษไม่ปฏิบัติตำมเงื่อนไขคุมควำมประพฤติดังที่ศำลกำหนดเพื่อศำลจะได้ตักเตือนหรือกำหนดโทษ
หรือลงโทษที่รอไว้
๙. เสนอให้ศำลเปลี่ยนแปลงแก้ไขคำสั่งที่ใช้วิธีกำรสำหรับเด็กหรือออกคำสั่งใหม่ในกรณีที่
เห็นว่ำพฤติกำรณ์ที่เกี่ยวกับคำสั่งนั้นได้เปลี่ยนแปลงไป
อำนำจหน้ำที่ตำมประมวลกฎหมำยวิธีพิจำรณำควำมอำญำ
เป็นอำนำจหน้ำที่เกี่ยวกับกำรดำเนินคดีอำญำซึ่งบัญญัติไว้ในพระรำชบัญญัติพนักงำน
อัยกำร พ.ศ.๒๔๙๘ มำตรำ ๑๑(๑) ว่ำในคดีอำญำมีอำนำจหน้ำที่ตำมประมวลกฎหมำยวิธี
พิจำรณำควำมอำญำและตำมกฎหมำยอื่นซึ่งบัญญัติว่ำเป็นหน้ำที่ของสำนักงำนอัยกำรสูงสุด หรือ
พนักงำนอัยกำรอำนำจหน้ำที่ในกำรดำเนินคดีอำญำเป็นอำนำจหน้ำที่ของพนักงำนอัยกำรซึ่งถือได้
ว่ำมีส่วนร่วมในกำรป้องกันและปรำบปรำมกำรก่ออำชญำกรรมอย่ำงหนึ่ง อันได้แก่ กำรตรวจ
วินิจฉัยสำนวนกำรสอบสวนและกำรดำเนินคดีในศำลซึ่งจะเริ่มต้นตั้งแต่ได้รับสำนวนกำรสอบสวน
จำกพนักงำนสอบสวน โดยสำนวนกำรสอบสวนดังกล่ำวพนักงำนสอบสวนจะเป็นผู้ดำเนินกำร
จัดทำขึ้นทั้งหมดโดยอัยกำรมิได้เข้ำไปเกี่ยวข้องเลยเมื่ออัยกำรได้รับสำนวนกำรสอบสวนจำก
พนักงำนสอบสวนแล้วอัยกำรมีอำนำจหน้ำที่ในกำรตรวจสอบวินิจฉัยสำนวนกำรสอบสวน และทำ
ควำมเห็นอย่ำงใดอย่ำงหนึ่งดังต่อไปนี้
๑. ถ้ำเป็นสำนวนกำรสอบสวนที่ไม่รู้ตัวผู้กระทำควำมผิด อัยกำรมีอำนำจสั่งให้พนักงำน
สอบสวนงดกำรสอบสวนหรือดำเนินกำรสอบสวนต่อไปก็ได้
21

๒. ถ้ำเป็นสำนวนกำรสอบสวนที่รู้ตัวว่ำใครเป็นผู้กระทำควำมผิดไม่ว่ำจะจับตัวผู้ต้องหำได้
หรือไม่และพนักงำนสอบสวนจะมีควำมเห็นสั่งฟ้องหรือไม่ก็ตำมอัยกำรมีอำนำจที่จะสั่งสำนวนกำร
สอบสวนได้ดังนี้
ก. เมื่ออัยกำรพิจำรณำเห็นว่ำข้อเท็จจริงในสำนวนกำรสอบสวนยังไม่ชัดเจนพอก็มีอำนำจ
สั่งให้พนักงำนสอบสวนดำเนินกำรสอบสวนเพิ่มเติมหรือให้ส่งพยำนมำพบอัยกำรเพื่อซักถำมก็ได้
ข. ถ้ำอัยกำรพิจำรณำแล้วเห็นว่ำพยำนหลักฐำนในสำนวนกำรสอบสวนไม่หนักแน่นเพียง
พอที่จะรับฟังได้ว่ำผู้ต้องหำเป็นผู้กระทำควำมผิดหรือกำรกระทำของผู้ต้องหำไม่เป็นควำมผิดต่อ
กฎหมำย อัยกำรมีอำนำจที่จะสั่งไม่ฟ้องผู้ต้องหำ ถ้ำกรณีที่คดีขำด อำยุควำมหรือผู้เสียหำยถอนคำ
ร้องทุกข์ในคดีอำญำที่เป็นควำมผิดอันยอมควำมได้ อัยกำรมีอำนำจสั่งยุติกำรดำเนินคดีได้
ค. ถ้ำอัยกำรพิจำรณำแล้วเห็นว่ำพยำนหลักฐำนในสำนวนกำรสอบสวนรับฟังได้ว่ำ
ผู้ต้องหำเป็นผู้กระทำควำมผิดจริงอัยกำรมี อำนำจสั่งฟ้องผู้ต้องหำ โดยทำคำฟ้องยื่นฟ้องผู้ต้องหำ
ต่อศำลซึ่งภำยหลังจำกถูกฟ้องต่อศำลแล้วผู้ต้องหำจะถูกเรียกว่ำจำเลย ในกรณี ที่จำเลยให้กำร
ปฏิเสธว่ำไม่ได้กระทำควำมผิดหรือจำเลยให้กำรรับสำรภำพแต่คดีดังกล่ำวมีอัตรำโทษตำม
กฎหมำยให้จำคุกอย่ำงต่ำตั้งแต่ห้ำปีขึ้นไป อัยกำรมีหน้ำที่จะต้องนำพยำนหลักฐำนเข้ำสืบเพื่อ
พิสูจน์ควำมผิดของจำเลยต่อไป เมื่อศำลพิจำรณำและมีคำพิพำกษำในคดีนั้นอย่ำงใดแล้ว อัยกำร
ไม่เห็นพ้องด้วยกับคำพิพำกษำดังกล่ำวก็มีอำนำจที่จะอุทธรณ์ หรือฎีกำได้ เว้นแต่จะเข้ำกรณี
กฎหมำยห้ำมอุทธรณ์หรือฎีกำ

ง. ถ้ำอัยกำรพิจำรณำสำนวนกำรสอบสวนแล้วเห็นว่ำ คดีนั้นเป็นควำมผิดซึ่งสำมำรถทำ
กำรเปรียบเทียบปรับได้ เช่น ควำมผิดลหุโทษ อัยกำรมีอำนำจสั่งให้พนักงำนสอบสวนพยำยำม
เปรียบเทียบปรับคดีนั้นหรือจะสั่งให้พนักงำนสอบสวนอื่นที่มีอำนำจดำเนินกำรเปรียบเทียบให้ได้
อำนำจหน้ำที่อย่ำงอื่นของอัยกำรในกำรดำเนินคดีอำญำ
- ยื่นคำร้องขอเข้ำร่วมเป็นโจทก์กับผู้เสียหำยในคดีใดๆก่อนคดีเสร็จเด็ดขำดในคดีอำญำที่
ไม่ใช่ควำมผิดต่อส่วนตัว
- ยื่นฟ้องคดีที่ผู้เสียหำยได้ยื่นฟ้องคดีไว้แล้วแต่ถอนฟ้องคดีนั้นเสีย เว้นแต่เป็นคดีอำญำ
ควำมผิดต่อส่วนตัว
- ฟ้องเรียกทรัพย์สินหรือรำคำแทนผู้เสียหำยในคดีอำญำที่ผู้เสียหำยมีสิทธิที่จะเรียกร้อง
ทรัพย์สินหรือรำคำที่เขำสูญเสียไปเนื่องจำก กำรกระทำควำมผิดอำญำในฐำนต่ำงๆอันได้แก่ ลัก
ทรัพย์ วิ่งรำวทรัพย์ ชิงทรัพย์ ปล้นทรัพย์ โจรสลัด กรรโชกทรัพย์ ฉ้อโกงทรัพย์ ยักยอกทรัพย์
หรือรับของโจร โดยเมื่ออัยกำรยื่นฟ้องคดีอำญำต่อศำลจะมีคำขอรวมไปกับคำฟ้องหรือจะยื่นคำ
ร้องขอในระยะเวลำใดๆ ระหว่ำงคดีอยู่ในกำรพิจำรณำของศำลชั้นต้น
- ยื่นคำร้องขอให้ศำลออกหมำยขังผู้ต้องหำ
- ยื่นคำร้องต่อศำลขอให้ปล่อยคนที่ถูกควบคุมหรือขังโดยผิดกฎหมำยหรือถูกจำคุกผิดจำก
คำพิพำกษำของศำล
22

- คัดค้ำนกำรให้ประกันตัวผู้ต้องหำหรือจำเลยที่ต้องหำหรือถูกฟ้องในควำมผิดที่มีอัตรำ
โทษจำคุกอย่ำงสูงเกิน ๑๐ ปี
- แจ้งคำสั่งเด็ดขำดไม่ฟ้องคดีให้ผู้ต้องหำและผู้ร้องทุกข์ทรำบ ถ้ำผู้ต้องหำถูกควบคุมหรือ
ขังอยู่ให้ปล่อยตัวไปหรือขอให้ศำลปล่อยไปแล้วแต่กรณี
- เข้ำร่วมกำรชันสูตรพลิกศพกับพนักงำนสอบสวน เจ้ำหน้ำที่ฝ่ำยปกครอง และแพทย์ใน
กรณีที่มีกำรตำยเกิดขึ้นโดยกำรกระทำของเจ้ำพนักงำนซึ่งอ้ำงว่ำปฏิบัติรำชกำรตำมหน้ำที่หรือตำย
ในระหว่ำงอยู่ในควำมควบคุมของเจ้ำพนักงำนซึ่งอ้ำงว่ำปฏิบัติรำชกำรตำมหน้ำที่

36.ข้อควำมใดที่แสดงว่ำสังคมไทยมีลักษณะเป็นสังคมชนบท
ก.คนไทยประมำณสำมในสี่ของประเทศประกอบอำชีพทำงเกษตรกรรม
ข.ควำมแตกต่ำงทำงสังคมระหว่ำงคนไทยด้วยกันยังมีน้อย
ค.คนไทยเน้นควำมสัมพันธ์แบบปฐมภูมิมำกกว่ำทุติยภูมิ
ง.สถำบันครอบครัวและศำสนำยังมีควำมสำคัญสำหรับคนไทยอยู่
ตอบ ก.คนไทยประมำณสำมในสี่ของประเทศประกอบอำชีพทำงเกษตรกรรม
สังคมชนบท
ชุมชนชนบท เป็นเขตพื้นที่ที่พ้นจำกตัวเมืองออกไป หรืออำจเป็นพื้นที่ที่อยู่นอกเขต
เทศบำล เป็นเขตที่มีควำมเจริญทำงด้ำนวัตถุน้อย มีกำรรวมกลุ่มอย่ำงไม่เป็นทำงกำร ประชำกร
ส่วนใหญ่ประกอบอำชีพเกษตรกรรม ประมง เลี้ยงสัตว์ หน่วยทำงสังคมของชุมชนชนบท
หมำยถึง หมู่บ้ำน ซึ่งหมู่บ้ำนหมู่หนึ่งอำจมีจำนวนประชำกรประมำณ 20 ครัวเรือน ถึง 100
ครัวเรือนก็ได้
ลักษณะทั่วไปของสังคมชนบท
สังคมไทยำเป็นสังคมเกษตรเพรำะประชำกรส่วนใหญ่ของประเทศประกอบอำชีพทำงกำร
เกษตร ดังนั้นสังคมชนบทจึงจัดได้ว่ำ เป็นโครงสร้ำงที่สำคัญที่สุดของสังคมไทย ลักษณะทั่วไป
ของสังคมชนบทจะมีลักษณะ ดังนี้
(1) ครอบครัวเป็นหน่วยสำคัญของเศรษฐกิจ เป็นทั้งหน่วยกำรผลิตและหน่วยบริโภค
สิ่งของเครื่องใช้และอำหำรจะผลิตขึ้นใช้เอง และยังมีดภำระหน้ำที่อื่น ๆ เช่น ถ่ำยทอดควำมรู้
ทำงอำชีพ อบรมสั่งสอนเรื่องคุณธรรมให้แก่สมำชิกในครอบครัว เป็นต้น
(2) สมำชิกของครอบครัวมีควำมสัมพันธ์กันอย่ำงแน่นแฟ้น สมำชิกในชุมชนจะให้
ควำมสำคัญในเรื่องควำมเป็นมิตรต่อเพื่อนบ้ำน มีกำรติดต่อกันแบบเป็นกันเอง เอื้อเฟื้อและ
จริงใจต่อกัน
(3) ลักษณะของครอบครัวเป็นแบบครอบครัวขยำย สมำชิกประกอบด้วยหลำย ๆ
ครอบครัว ซึ่งเป็นเครือญำติกัน มำอยู่รวมในครัวเรือนเดียวกันหรือบริเวณใกล้เคียงกัน
23

(4) วัดเป็นสถำนที่สำคัญในกำรประกอบกิจกรรมต่ำง ๆ ทำงศำสนำเป็นแหล่งสำคัญใน


กำรให้กำรศึกษำและอบรมบ่มนิสัยแก่ประชำชน ค่ำนิยมในเรื่องคุณควำมดีทำงศำสนำเป็นตัว
ควบคุมควำมประพฤติของคนในชุมชน
(5) ชำวชนบทส่วนใหญ่ยึดมั่นอยู่กันประเพณีเดิมเป็นอย่ำงดี ไม่ค่อยยอมรับกำร
เปลี่ยนแปลง
(6) ชำวชนบทจะพึ่งสิ่งแวดล้อมทำงธรรมชำติ และอยู่ใกล้ชิดกับธรรมชำติ ทำให้ผูกพัน
กับควำมเชื่อในสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ไสยศำสตร์ โชคลำง หรือสิ่งที่อยู่เหนือธรรมชำติ
(7) ชำวชนบทส่วนใหญ่จะยึดมั่นในหลักธรรมคำสอนทำงศำสนำและเข้ำร่วมพิธีกรรมต่ำง
ๆ อย่ำงพร้อมเพรียงกัน เช่น งำนบวช งำนศพ และงำนบุญต่ำง ๆ
(8) ควำมหนำแน่นของประชำกรต่อพื้นที่ต่ำมำก เมื่อเทียกับควำมหนำแน่นของประชำก

37.ชุมชนทำงกำรเมืองใดที่มีลักษณะเป็นรัฐ
ก.ฮ่องกง
ข.แคชเมียร์
ค.แคลิฟอร์เนีย
ง.มำเลเซีย
ตอบ ง.มำเลเซีย
รัฐ (state) หมำยถึง ชุมชนทำงกำรเมืองที่ประชำชนอำศัยอยู่ร่วมกัน โดยมีดินแดนที่
แน่นอน มีรัฐบำลเดียวกัน เป็นชุมชนที่มีอำนำจอธิปไตย

38.พระบำทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ำเจ้ำอยู่หัว ได้ทรงเริ่มวำงรำกฐำนกำรปกครองระบอบ
ประชำธิปไตยแบบเป็นขั้นตอนและค่อยเป็นค่อยไปโดยวิธีกำรใด
ก.ทรงจัดตั้งสภำปกครองท้องถิ่น
ข.ทรงจัดตั้งคณะที่ปรึกษำรำชกำรแผ่นดิน
ค.ทรงจัดตั้งคณะที่ปรึกษำรำชกำรแผ่นดินและองคมนตรีสภำ
ง.ทรงจัดตั้งคณะที่ปรึกษำสูงสุดและคณะที่ปรึกษำรัฐบำล
ตอบ ข.ทรงจัดตั้งคณะที่ปรึกษำรำชกำรแผ่นดิน

39.กฎหมำยจำรีตประเพณี หมำยถึงอะไร
ก.กฎเกณฑ์จำรีตประเพณีท้องถิ่นที่ยอมรับกันเฉพำะท้องถิ่นนั้น
ข.กฎหมำยที่ไม่ได้บัญญัติไว้เป็นลำนลักษณ์อักษรแต่ประชำชนยึดถือปฏิบัติเป็นกฎหมำย
ค.กฎเกณฑ์จำรีตประเพณีระหว่ำงประเทศที่สหประชำชำติประมวลเป็นกฎหมำย
ง.จำรีตประเพณีที่ปฏิบัติมำนำนและประมวลเป็นกฎหมำยลำยลักษณ์อักษรแล้ว
ตอบ ง.จำรีตประเพณีที่ปฏิบัติมำนำนและประมวลเป็นกฎหมำยลำยลักษณ์อักษรแล้ว
24

40.ข้อใดเป็นนิติบุคคลตำมกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์
ก.สมำคม
ข.สำนักสงฆ์
ค.เรือเดินสมุทร
ง.คอนโดมิเนียม
ตอบ ข.สำนักสงฆ์

41.ข้อใดเป็นปัญหำทำงด้ำนตัวบทกฎหมำยในเรื่องกำรใช้และกำรบังคับใช้กฎหมำยในสังคมไทย
ก.ขำดควำมสนใจจำกประชำชน
ข.ขำดควำมเลื่อมใสจำกประชำชน
ค.ขำดกำรเผยแพร่กฎหมำยให้ประชำชนทรำบ
ง.ขำดควำมร่วมมือระหว่ำงประชำชนกับเจ้ำพนักงำน
ตอบ ค.ขำดกำรเผยแพร่กฎหมำยให้ประชำชนทรำบ

42.ควำมหมำยทั่วไปของกฎหมำยคือข้อใด
ก.ข้อบังคับของรัฐ
ข.บรรทัดฐำนในสังคม
ค.จำรีตประเพณี
ง.บรรทัดฐำนที่ศำลใช้ในกำรตัดสินคดี
ตอบ ก.ข้อบังคับของรัฐ

43.ข้อใดแสดงให้เห็นถึงผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในกระบวนกำรยุติธรรมทำงอำญำ
ก.ผู้เสียหำย ศำล เจ้ำพนักงำนบังคับคดี
ข.พนักงำนสอบสวน พนักงำนอัยกำร เจ้ำพนักงำนคุมประพฤติ
ค.พนักงำนอัยกำร ศำล เจ้ำพนักงำนบังคับคดี
ง.พนักงำนสอบสวน พนักงำนอัยกำร เจ้ำพนักงำนพิทักษ์ทรัพย์
ตอบ ข.พนักงำนสอบสวน พนักงำนอัยกำร เจ้ำพนักงำนคุมประพฤติ

44.เพรำะเหตุใดรัฐจึงจัดกำรศึกษำแบบให้เปล่ำในระดับประถมศึกษำ
ก.เพื่อคุ้มครองสิทธิของประชำชน
ข.เพื่อให้บริกำรแก่ประชำชน
ค.เพื่อบังคับให้ประชำชนทำหน้ำที่
ง.เพื่อให้เกิดควำมเสมอภำคแก่ประชำชน
ตอบ ก.เพื่อคุ้มครองสิทธิของประชำชน
25

45.กำรจัดระเบียบบริหำรรำชกำรส่วนภูมิภำค ทำให้เกิดผลดีอย่ำงไร
ก.ประชำชนมีโอกำสปกครองตนเองมำกขึ้น
ข.ประชำชนได้รับบริกำรจำกรัฐบำลเร็วขึ้น
ค.ประชำชนมีส่วนร่วมในกำรพัฒนำประเทศมำกขึ้น
ง.สนองควำมต้องกำรของประชำชนได้อย่ำงเต็มที่
ตอบ ข.ประชำชนได้รับบริกำรจำกรัฐบำลเร็วขึ้น

46.กิจกรรมใดเป็นกำรเริ่มวำงรำกฐำนกำรปกครองแบบประชำธิปไตยในประเทศไทย
ก.กำรจัดตั้งรัฐมนตรี
ข.กำรจัดตั้งสุขำภิบำล
ค.กำรเลิกทำส
ง.กำรจัดตั้งเมืองดุสิตธำนี
ตอบ ข.กำรจัดตั้งสุขำภิบำล

47.ข้อใดไม่ใช่สำเหตุของกำรเปลี่ยนแปลงกำรปกครอง พ.ศ. 2475


ก.กำรตื่นตัวทำงกำรเมืองของชนชั้นกลำง
ข.พระบรมวงศำนุวงศ์ทรงได้รับกำรศึกษำสมัยใหม่จำกประเทศในยุโรปมำกขึ้น
ค.วิธีกำรของรัฐบำลในกำรลดรำยจ่ำยที่ไม่จำเป็นของประเทศเพื่อแก้ปัญหำทำงเศรษฐกิจ
ง.เกิดกำรขัดแย้งแตกแยกกันในด้ำนควำมคิดเห็นเกี่ยวกับกำรปรับปรุงกองทัพระหว่ำงกลุ่ม
ผู้มีอำนำจ
ตอบ ข.พระบรมวงศำนุวงศ์ทรงได้รับกำรศึกษำสมัยใหม่จำกประเทศในยุโรปมำกขึ้น

48.รัฐบำลในข้อใดมีลักษณะใกล้เคียงกับรัฐบำลแบบอภิชนำธิปไตยมำกที่สุด
ก.รัฐบำล ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปรำโมช พ.ศ. 2518
ข.รัฐบำล พลเอกชำติชำย ชุณหะวัณ พ.ศ. 2531
ค.รัฐบำล นำยอำนันท์ ปันยำรชุน พ.ศ. 2534
ง.รัฐบำล พลเอกสุจินดำ ครำประยูร พ.ศ. 2535
ตอบ ค.รัฐบำล นำยอำนันท์ ปันยำรชุน พ.ศ. 2534

49.มีผู้กล่ำวว่ำ กำรเลือกตั้งสมำชิกผู้แทนรำษฎรในประเทศไทย เท่ำที่ผ่ำนมำนั้นประชำชนไม่มี


สิทธิเท่ำเทียมกันในกำรเลือกตั้ง เหตุผลตำมข้อใดเหมำะสมที่จะนำมำสนับสนุนประเด็นนี้มำกที่สุด
ก.มีกำรทุจริตในกำรนับบัตรลงคะแนน
ข.มีกำรซื้อสิทธิ์ขำยเสียงเป็นจำนวนมำก
ค.ไม่ได้ใช้ระบบหนึ่งคนหนึ่งเสียง
26

ง.ไม่ได้กำหนดให้กำรเลือกตั้งเป็นหน้ำที่ของประชำชน
ตอบ ค.ไม่ได้ใช้ระบบหนึ่งคนหนึ่งเสียง

50.ข้อใดเป็นกฎหมำย
ก.ข้อบังคับของรัฐสภำ
ข.มติคณะรัฐมนตรี
ค.ข้อบังคับของบริษัทจำกัด
ง.ข้อบังคับของสุขำภิบำล
ตอบ ง.ข้อบังคับของสุขำภิบำล

51.ผู้ใดไม่มีสิทธิ์เลือกตั้งตำมรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พ.ศ. 2540


ก.ผู้บรรลุนิติภำวะซึ่งมีสัญชำติไทยและขณะเดียวกันก็ถือสัญชำติอื่นอยู่ด้วย
ข.ผู้เยำว์ผู้มีสัญชำติไทย และมีอำยุไม่ต่ำกว่ำสิบแปดปีบริบูรณ์ในวันที่ 1 มกรำคม ของปีที่
มีกำรเลือกตั้ง
ค.ผู้เยำว์อำยุสิบเจ็ดปีบริบูรณ์ ซึ่งมีสัญชำติไทยและบรรลุนิติภำวะด้วยกำรสมรส
ง.ผู้มีสัญชำติไทย และมีอำยุไม่ต่ำกว่ำยี่สิบปีบริบูรณ์ แต่หูหนวกตำบอด ไม่สำมำรถอ่ำน
และเขียนหนังสือได้
ตอบ ค.ผู้เยำว์อำยุสิบเจ็ดปีบริบูรณ์ ซึ่งมีสัญชำติไทยและบรรลุนิติภำวะด้วยกำรสมรส

52.กำรนั่งพับเพียบเปิบข้ำวด้วยมือ กับกำรนั่งยองๆ พุ้ยข้ำวด้วยตะเกียบแสดงถึงสิ่งใด


ก.เอกลักษณ์ทำงวัฒนธรรม
ข.กระบวนกำรทำงวัฒนธรรม
ค.ควำมขัดแย้งทำงวัฒนธรรม
ง.กำรกระจำยทำงวัฒนธรรม
ตอบ ก.เอกลักษณ์ทำงวัฒนธรรม

53.วัฒนธรรมส่วนใดกำหนดและชี้นำพฤติกรรมของคนในสังคมโดยตรง
ก.โลกทัศน์
ข.ค่ำนิยม
ค.วิถีประชำ
ง.กฎหมำย
ตอบ ง.กฎหมำย
27

54.สถำบันทำงสังคมใดทำหน้ำที่กำหนดสถำนภำพของบุคคลในสังคม
ก.ครอบครัว
ข.กำรศึกษำ
ค.เศรษฐกิจ
ง.กำรเมืองกำรปกครอง
ตอบ ก.ครอบครัว

55.กำรเสนอข่ำวเปิดโปงกำรกระทำผิดของบุคคลต่ำงๆ ตำมหน้ำหนังสือพิมพ์ และทำงโทรทัศน์


เป็นกลไกกำรจัดระเบียบทำงสังคมแบบใด
ก.วิถีประชำ
ข.บทบำท
ค.หน้ำที่
ง.กำรขัดเกลำทำงสังคม
ตอบ ง.กำรขัดเกลำทำงสังคม

56.ค่ำนิยมในสังคมไทยข้อใดสมควรได้รับกำรแก้ไขเพื่อกำรพัฒนำประเทศให้เจริญก้ำวหน้ำ
ก.ฝนทั่งให้เป็นเข็ม
ข.ตนเป็นทีพ่ ึ่งแห่งตน
ค.คนล่วงทุกข์ได้ด้วยควำมเพียร
ง.ชีวิตเป็นไปตำมกรรมที่ทำไว้
ตอบ ง.ชีวิตเป็นไปตำมกรรมที่ทำไว้

57.ข้อใดเป็นวิธีกำรแก้ปัญหำสังคมได้ดีที่สุด
ก.จัดตั้งหน่วยงำนสำหรับแก้ไขปัญหำต่ำงๆ เป็นกำรเฉพำะ
ข.ออกกฎหมำยให้เข้มงวดและชำระโทษอย่ำงเด็ดขำด
ค.กำหนดวิธีกำรแก้ปัญหำให้รัดกุมและมีประสิทธิภำพ
ง.ปลูกฝังจิตสำนึกและควำมรับผิดชอบด้วยกำรให้กำรศึกษำและอบรม
ตอบ ง.ปลูกฝังจิตสำนึกและควำมรับผิดชอบด้วยกำรให้กำรศึกษำและอบรม

58.ระบอบกำรปกครองในโลกปัจจุบัน มีกี่แบบ อะไรบ้ำง


ก. 2 รูปแบบ - ประชำธิปไตย, สังคมนิยม
ข. 2 รูปแบบ - ประชำธิปไตย, เผด็จกำร
ค. 2 รูปแบบ - ประชำธิปไตย, รัฐสภำ
ง. 3 รูปแบบ - ประชำธิปไตย, อำนำจนิยม, สังคมนิยม
28

ตอบ ข. 2 รูปแบบ - ประชำธิปไตย, เผด็จกำร


59. ข้อใด คือแนวคิดที่สำคัญที่สุดของระบอบประชำธิปไตย
ก.อำนำจสูงสุดในกำรปกครองเป็นของชนชั้นปกครอง
ข..ส่งเสริมให้ประชำชนมีส่วนร่วมในกำรแสดงควำมคิดเห็นเพียงด้ำนเดียว
ค.เชื่อผู้นำ ชำติพ้นภัย
ง.อำนำจสูงสุดในกำรปกครองเป็นของประชำชน
ตอบ ง.อำนำจสูงสุดในกำรปกครองเป็นของประชำชน

60. กำรปกครองระบอบประชำธิปไตยในระบบรัฐสภำ มีใครเป็นประมุขฝ่ำยบริหำร


ก.นำยกรัฐมนตรี
ข.ประธำนรัฐสภำ
ค.ประธำนำธิบดี
ง.พระมหำกษัตริย์
ตอบ ก.นำยกรัฐมนตรี

61. รัฐสภำมีหน้ำที่อย่ำงไรตำมระบอบประชำธิปไตยในระบบรัฐสภำ
ก.ออกกฎหมำยต่ำง ๆ เพียงอย่ำงเดียว
ข.ออกกฎหมำย ตรวจสอบกำรทำงำน และตัดสินคดีควำมเกี่ยวกับรำชกำร
ค.ตรวจสอบกำรทำงำนของประธำนำธิบดีเพียงอย่ำงเดียว
ง.ตัดสินคดีควำมเกี่ยวกับรำชกำรเพียงอย่ำงเดียว
ตอบ ก.ออกกฎหมำยต่ำง ๆ เพียงอย่ำงเดียว

62. เพรำะเหตุใด ในกำรปกครองระบอบประชำธิปไตยในระบบประธำนำธิบดี รัฐบำลส่วนใหญ่


สำมำรถดำรงตำแหน่งจนครบวำระได้
ก. รัฐสภำมีกำรเปลี่ยนนโยบำยอยู่ตลอดเวลำ เพื่อให้ทันต่อสถำนกำรณ์โลก
ข. ฝ่ำยนิติบัญญัติไมมีสิทธิในกำรอภิปรำยไม่ไว้วำงใจประธำนำธิบดี เว้นแต่มีควำมผิด
ร้ำยแรง
ค.ประชำชนมีกำรเชื่อถือในตัวประธำนำธิบดีสูงมำก จนแทบไม่มีกำรออกมำชุมนุมเลย
ง.ไม่มีศำลที่ตัดสินคดีควำมของรัฐบำลโดยเฉพำะ ทำให้คดีควำมของรัฐบำลตัดสินได้ยำก
ต้องใช้เวลำนำนจนรัฐบำลครบวำระไปเสียก่อน
ตอบ ข. ฝ่ำยนิติบัญญัติไมมีสิทธิในกำรอภิปรำยไม่ไว้วำงใจประธำนำธิบดี เว้นแต่มีควำมผิดร้ำยแรง
29

63. ระบอบประชำธิปไตยในระบบกึ่งประธำนำธิบดีกึ่งรัฐสภำ ประธำนำธิบดีอยู่ในฐำนะใด?


ก.ประมุขของรัฐและประมุขฝ่ำยบริหำร
ข.ประมุขฝ่ำยบริหำร
ค.ประธำนรัฐสภำ
ง.ประมุขของรัฐ
ตอบ ก.

64. โดยทั่วไปแล้ว รัฐสภำจะมำจำกสิ่งใด


ก.กำรเลือกตั้งจำกประชำชน
ข.กำรแต่งตั้งจำกประมุขของรัฐ (พระมหำกษัตริย์/ประธำนำธิบดี)
ค.กำรแต่งตั้งจำกคณะรัฐมนตรี
ง.กำรแต่งตั้งจำกประมุขฝ่ำยบริหำร (ประธำนำธิบดี/นำยกรัฐมนตรี)
ตอบ ก.กำรเลือกตั้งจำกประชำชน

65. ระบอบเผด็จกำร แบ่งได้เป็นกี่รูปแบบ อะไรบ้ำง


ก. 3 รูปแบบ - สมบูรณำญำสิทธิรำชย์, อำนำจนิยม, เบ็ดเสร็จ
ข. 2 รูปแบบ - อำนำจนิยม, เบ็ดเสร็จ
ค. 2 รูปแบบ - อำนำจนิยม, สังคมนิยม
ง. 3 รูปแบบ - อำนำจนิยม, สังคมนิยม, เบ็ดเสร็จ
ตอบ ข. 2 รูปแบบ - อำนำจนิยม, เบ็ดเสร็จ

66. ข้อใดไม่ใช่หลักของระบอบกำรปกครองแบบเผด็จกำรแบบเบ็ดเสร็จ
ก. ประชำชนไม่มีสิทธิเสรีภำพ
ข. มีควำมเชื่อว่ำกำรใช้ควำมรุนแรงเด็ดขำดเป็นสิ่งที่ถูกต้อง
ค. สื่อมวลชนสำมำรถวิจำรณ์กำรทำงำนของผู้นำได้ แต่ต้องอยู่ภำยในกรอกกฎหมำย
ง. มีพรรคกำรเมืองพรรคเดียว
ตอบ ค. สื่อมวลชนสำมำรถวิจำรณ์กำรทำงำนของผู้นำได้ แต่ต้องอยู่ภำยในกรอกกฎหมำย

67. คำคมที่ถือเป็นหลักสำคัญของระบอบเผด็จกำรแบบฟำสซิสต์ คือข้อใด


ก. สำมัคคีคือพลัง ร่วมกันพัฒนำชำติ
ข. ถ้ำเชื่อผู้นำ ชำติไม่แตกสลำย
ค. สังคมจะอยู่ได้ ถ้ำประชำชนร่วมกันใส่ใจบ้ำนเมือง
ง. ปัญหำทุกอย่ำงมีทำงแก้ เพียงแค่ฟังท่ำนผู้นำ
ตอบ ข. ถ้ำเชื่อผู้นำ ชำติไม่แตกสลำย
30

68. ปัจจุบันกระแสโลกสำกลให้กำรยอมรับกำรปกครองระบอบใด ว่ำเป็นกำรปกครองที่ดีและ


เหมำะสมที่สุด
ก.เผด็จกำรแบบเบ็ดเสร็จ
ข.ประชำธิปไตย
ค.เผด็จกำรแบบอำนำจนิยม
ง.สังคมนิยม
ตอบ ข.ประชำธิปไตย

69. คนกลุ่มใด ถือได้ว่ำมีบทบำทสำคัญของกำรปกครองระบอบเผด็จกำร


ก.พระมหำกษัตริย์
ข.คณะรัฐมนตรี
ค.กองทัพ
ง.ประธำนำธิบดี
ตอบ ค.กองทัพ

70. กำรปกครองแบบรัฐรวม หรือสหพันธรัฐ คือกำรปกครองในข้อใด


ก.ประเทศที่มีรัฐบำลเพียงแห่งเดียว
ข.มีผู้นำประเทศเป็นกลุ่ม
ค.ประมุขของประเทศมำจำกกำรเลือกตั้ง
ง.ประเทศที่ประกอบด้วยรัฐตั้งแต่ 2 แห่งขึ้นไป
ตอบ ง.ประเทศที่ประกอบด้วยรัฐตั้งแต่ 2 แห่งขึ้นไป

71. ข้อใดมิใช่วัตถุประสงค์กำรปฏิรูประบบรำชกำรของไทย
ก. มีกฎหมำยบังคับใช้ได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ
ข. มีระบบกำรทำงำนที่มีประสิทธิภำพ
ค. มีกำรใช้ทรัพยำกรอย่ำงมีประสิทธิภำพ
ง. มีบุคลำกรที่มีประสิทธิภำพ
ตอบ ก. มีกฎหมำยบังคับใช้ได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ

72 . “แนวทำงที่รัฐบำลกำหนดว่ำจะทำหรือไม่ทำ และได้มีกำรปฏิบัติให้เป็นไปตำมนั้น ตลอดจน


มีกำรติดตำมและประเมินผลกำรปฏิบัติในสิ่งนั้นๆ ด้วย” หมำยถึงอะไร
ก. กำรบริหำร
ข. นโยบำยสำธำรณะ
ค. กระบวนกำรวำงแผน
31

ง. กำรพัฒนำ
ตอบ ข. นโยบำยสำธำรณะ

73. กำรบริหำรต้องมีลักษณะอย่ำงไร
ก. ต้องมีเป้ ำหมำยหรือวัตถุประสงค์
ข. ต้องใช้ปจั จัยต่ำงๆ เช่น คน เงิน และวัสดุอุปกรณ์
ค. มีกำรดำเนินกำรอย่ำงเป็นกระบวนกำร
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ

74. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับกระบวนกำรบริหำร POSDCORB


ก. P – Planning กำรวำงแผน
ข. O – Organizing กำรจัดองค์กำร
ค. D – Directing กำรอำนวยกำร
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ

75. ข้อใดมิใช่ทรัพยำกรที่ใช้ในกำรบริหำร
ก. เงิน
ข. คน
ค. สถำนที่
ง. กำรจัดกำร
ตอบ ค. สถำนที่

76. ข้อใดมิใช่หลักกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองและสังคมที่ดี
ก. หลักคุณธรรม
ข. หลักควำมโปร่งใส
ค. หลักควำมคุ้มค่ำ
ง. หลักเอกภำพ
ตอบ ง. หลักเอกภำพ

77. กำรปฏิรูประบบรำชกำร คืออะไร


ก. กำรแก้ไขระบบรำชกำร
ข. กำรปรับปรุงเปลี่ยนแปลงระบบรำชกำร
32

ค. กำรปรับปรุงเปลี่ยนแปลงข้ำรำชกำร
ง. กำรจัดองค์กรในกระทรวงต่ำงๆ
ตอบ ข. กำรปรับปรุงเปลี่ยนแปลงระบบรำชกำร

78. ข้อใดมิใช่จุดมุ่งหมำยสูงสุดของกำรปฏิรูประบบรำชกำร
ก. ประชำชนคนไทยมีคุณภำพชีวิตที่ดี
ข. สังคมไทยมีเสถียรภำพ
ค. ลดปัญหำกำรทำงำนที่ซ้ำซ้อนของหน่วยงำนรำชกำร
ง. ไม่มีข้อถูก
ตอบ ค. ลดปัญหำกำรทำงำนที่ซ้ำซ้อนของหน่วยงำนรำชกำร

79. “นโยบำยสำธำรณะเป็นผลมำจำกสถำบันปกครองของรัฐ” หมำยถึง ทฤษฎีที่เกี่ยวกับ


นโยบำยสำธำรณะทฤษฎีใด
ก. ทฤษฎีสถำบัน
ข. ทฤษฎีกลุ่ม
ค. ทฤษฎีระบบ
ง. ทฤษฎีชนชั้นนำ
ตอบ ก. ทฤษฎีสถำบัน

80. ขั้นตอนแรกของกำรวำงแผนคืออะไร
ก. พิจำรณำถึงควำมจำเป็นที่จะต้องวำงแผน
ข. กำหนดวัตถุประสงค์ของแผนอย่ำงชัดเจน
ค. กำหนดเค้ำโครงของแผนอย่ำงชัดเจน
ง. ขออนุมัติในหลักกำร
ตอบ ก. พิจำรณำถึงควำมจำเป็นที่จะต้องวำงแผน

81. ข้อใดเป็นปัญหำของกำรวำงแผน
ก. เสียค่ำใช้จ่ำยสูงและนำนเกินไป
ข. ขำดผู้มีควำมรู้ควำมสำมำรถที่แท้จริง
ค. นักบริหำรมักไม่ให้ควำมสำคัญต่อกำรวำงแผน
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
33

82. ขั้นตอนแรกของกำรบริหำรโครงกำร คือข้อใด


ก. กำรวำงแผน
ข. ปฏิบัติตำมแผน
ค. ติดตำมประเมินผล
ง. สรุปผล
ตอบ ก. กำรวำงแผน

83. ข้อใดกล่ำวถูกต้องเกี่ยวกับกำรบริหำรกำรพัฒนำ
ก. เป็นระบบกำรบริหำรที่มีเป้ ำหมำยที่แน่นอน เพื่อก่อให้เกิดกำรพัฒนำ
ข. มีควำมเจริญก้ำวหน้ำทำงเศรษฐกิจ สังคม และกำรเมือง
ค. เพื่อสนองพื้นฐำนกำรพัฒนำสังคมและประเทศโดยส่วนรวม
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ

84. ข้อใดไม่ใช่กำรบริหำรงำนบุคคล
ก. กำรบรรจุแต่งตั้ง
ข. กำรบังคับบัญชำ
ค. กำรประเมินผล
ง. กำรให้พ้นจำกงำน
ตอบ ข. กำรบังคับบัญชำ

85. ข้อใดเป็นคุณลักษณะของนักบริหำรกำรพัฒนำ
ก. เป็นผู้มีควำมรู้ ควำมสำมำรถ และชำนำญงำน
ข. เป็นผู้มีควำมคิดริเริ่มสร้ำงสรรค์
ค. เป็นผู้มีควำมสำมำรถในกำรวำงแผนและปฏิบัติตำมแผน
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ

86. กำรกำหนดเงินเดือนต้องคำนึงถึงสิ่งใด
ก. ค่ำของงำน
ข. ค่ำครองชีพ
ค. อัตรำเงินเดือนเปรียบเทียบกับหน่วยงำนอื่น
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
34

87. ผู้นำประเภทใดเป็นแบบอย่ำงที่ดีที่สุดในกำรเป็นผู้นำ
ก. ผู้นำแบบเสรีนิยม
ข. ผู้นำแบบประชำธิปไตย
ค. ผู้นำแบบอัตนิยม
ง. ผู้นำแบบปณิธำน
ตอบ ข. ผู้นำแบบประชำธิปไตย

88. ประโยชน์ของกำรติดต่อสื่อสำรคืออะไร
ก. ช่วยให้กำรวินิจฉัยสั่งกำรดำเนินไปด้วยควำมรวมเร็ว
ข. ช่วยให้เกิดกำรประวำนงำนที่ดี
ค. สำมำรถแก้ข้อมูลและข่ำวสำรไว้เป็นหลักฐำนในกำรปฏิบัติงำน
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง. ถูกทุกข้อ

89. กำรเมือง มีควำมหมำยในทำงรัฐศำสตร์ตำมข้อใด


ก. กำรแข่งขันเพื่อประโยชน์ของประชำชน
ข. กำรแข่งขันเพื่อกำรแสวงหำอำนำจ
ค. กำรแข่งขันเพื่อประชำธิปไตย
ง. กำรแข่งขันเพื่อบำบัดทุกข์บำรุงสุข
ตอบ ข. กำรแข่งขันเพื่อกำรแสวงหำอำนำจ

90. กำรปกครองมีควำมหมำยในทำงรัฐศำสตร์ตำมข้อใด
ก. กำรวำงระเบียบกฎหมำยเพื่อบังคับใช้ในสังคม
ข. กำรนำกฎหมำย กฎ ระเบียบ มำบังคับใช้เพื่อให้สังคมสงบสุข
ค. กำรบริหำรวำงระเบียบกฎเกณฑ์สำหรับสังคม
ง. กำรลงโทษผู้ฝ่ำฝืนต่อกฎหมำย กฎ ระเบียบของสังคม
ตอบ ค. กำรบริหำรวำงระเบียบกฎเกณฑ์สำหรับสังคม
35

ควำมรูท้ ั่วไปเกี่ยวกับสภำพแวดล้อมปัจจุบันทำงกำรเมือง เศรษฐกิจ สังคมสิ่งแวดล้อม สำธำรณสุข


ของประเทศไทยและของต่ำงประเทศ
1. กำรประชุมรัฐมนตรีท่องเที่ยวอำเซียน และกำรประชุมที่เกี่ยวข้อง ผ่ำนระบบกำรประชุม
ทำงไกล ครั้งที่ เท่ำไร
ตอบ = ครั้งที่ 24

2. กำรเตรียมกำรด้ำนงบประมำณสำหรับกำรเป็นเจ้ำภำพกำรประชุมผู้นำบิมสเทค และ กำร


ประชุมที่เกี่ยวข้องในปี 2564 ครั้งที่ เท่ำไร
ตอบ = ครั้งที่ 6

3. คณะรัฐมนตรีรับทรำบตำมที่กระทรวงยุติธรรม (ยธ.) เสนอ รำยงำนผลกำรดำเนินงำน ตำม


แผนปฏิบัติกำรด้ำนกำรป้องกันและปรำบปรำมยำเสพติด พ.ศ. 2563 ซึ่งคณะรัฐมนตรีได้มีมติ
เมื่อวันที่ เท่ำไร
ตอบ = วันที่ 3 พฤศจิกำยน 2563

4. กำรแต่งตั้งกรรมกำรผู้ช่วยรัฐมนตรี มีว่ำอย่ำงไร
ตอบ = คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตำมที่สำนักเลขำธิกำรนำยกรัฐมนตรีเสนอแต่งตั้ง นำยดิสทัต
คำประกอบ เป็นกรรมกำรผู้ช่วยรัฐมนตรี โดยให้มีผลตั้งแต่วันที่นำยกรัฐมนตรีลงนำมในประกำศ
แต่งตั้ง

5. กำรแต่งตั้งข้ำรำชกำรพลเรือนสำมัญให้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชำกำรระดับทรงคุณวุฒิ
(กระทรวงสำธำรณสุข) มีว่ำอย่ำงไร
ตอบ = คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติตำมที่รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงสำธำรณสุขเสนอแต่งตั้ง นำง
กำญจนำ คูณรังษีสมบูรณ์ นำยแพทย์เชี่ยวชำญ (ด้ำนเวชกรรม สำขำเวชศำสตร์ป้องกัน แขนง
สุขภำพจิตชุมชน) กลุ่มงำนกำรแพทย์ กลุ่มบริกำรทำงกำรแพทย์ สถำบันพัฒนำกำรเด็กรำช
นครินทร์ กรมสุขภำพจิต ให้ดำรงตำแหน่ง นำยแพทย์ทรงคุณวุฒิ (ด้ำนเวชกรรม สำขำเวชศำสตร์
ป้องกัน แขนงสุขภำพจิตชุมชน) กรมสุขภำพจิต กระทรวงสำธำรณสุข ตั้งแต่วันที่ 25 กันยำยน
2563 ซึ่งเป็นวันที่มีคุณสมบัติครบถ้วนสมบูรณ์ ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ทรงพระกรุณำโปรดเกล้ำโปรด
กระหม่อมแต่งตั้งเป็นต้นไป

6. นำยไชยำ พรหมำ ส.ส.หนองบัวลำภู พรรคเพื่อไทย (พท.) กล่ำวในกำรพิจำรณำญัตติขอเปิด


อภิปรำยไม่ไว้วำงใจรัฐมนตรีเป็นรำยบุคคลว่ำ ผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศเกิดขึ้น
ต่อเนื่องมำ กี่ปี
ตอบ = 7 ปี
36

7. ภำรกิจไปดำวอังคำรครั้งแรกของจีน
สำธำรณรัฐประชำชนจีนกำลังก้ำวเข้ำสู่กำรเป็นผู้นำในด้ำนอวกำศ กับกำรส่งยำนเทียนเวิ่น-1
(Tianwen-1) ไปพร้อมกับจรวดลองมำร์ช-5 (Long March-5) เมื่อวันที่ 23 กรกฎำคม 2020
โดยที่ไม่ได้พึ่งพำประเทศอื่นเป็นครั้งแรก และคำดว่ำยำนจะลงจอดบนพื้นผิวดำวอังคำร ประมำณ
ช่วงเดือนกุมภำพันธ์ปีนี้
นับเป็นอีกขั้นของควำมสำเร็จของกำรไปดำวอังคำรของจีน หำกภำรกิจสำเร็จ จีนจะกลำยเป็น
ประเทศที่ 3 ทีส่ ำมำรถส่งยำนลงจอดดำวอังคำรได้ และจะเป็นชำติแรกที่ได้สำรวจดำวอังคำร โดย
กำรส่งยำนอวกำศในครั้งนี้มีเป้ำหมำยเพื่อเก็บข้อมูลทำงวิทยำศำสตร์ จึงต้องลุ้นกันต่อไปว่ำ ยำน
เทียนเวิ่น-1 จะสำมำรถลงจอดบนดำวเครำะห์นี้และสร้ำงปรำกฏกำรณ์ใหม่ให้กับโลกได้หรือไม่

8. อียิปต์เปิดพิพิธภัณฑ์ทำงประวัติศำสตร์ที่ใหญ่ที่สุดในโลก
เรียกได้ว่ำกำรระบำดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ได้ส่งผลกระทบเป็นวงกว้ำง และนั่นก็ทำให้พิพิธภัณฑ์
ทำงโบรำณคดีที่ใหญ่ที่สุดในโลก The Grand Egyptian Museum ประเทศอียิปต์ ที่มีแพลนจะ
เปิดให้เข้ำชมในปี 2020 ต้องเลื่อนออกไป โดยคำดกำรณ์ว่ำจะเปิดให้เข้ำชมในช่วงครึ่งหลังของปี
นี้ควำมยิ่งใหญ่ที่รอให้ผู้คนไปสัมผัสภำยในพื้นที่ 490,000 ตำรำงเมตร อยู่ห่ำงจำกมหำพีระมิดกี
ซำเพียง 2 กิโลเมตร ที่นี่จะเป็นที่รวบรวมโบรำณวัตถุยุคอียิปต์โบรำณ รวมถึงโบรำณวัตถุอื่น ๆ ที่
ไม่เคยจัดแสดงที่ไหนมำก่อนกว่ำ 5,400 ชิ้น โดยกำรสร้ำงพิพิธภัณฑ์ได้ริเริ่มตั้งแต่ปี 2002 ด้วย
มูลค่ำโครงกำรรำว 1,000 ล้ำนดอลลำร์สหรัฐ

9. ประชุมสภำผู้แทนรำษฎร ได้ลงมติในกำรอภิปรำยไม่ไว้วำงใจรัฐมนตรีเป็นรำยบุคคล รวม


ทั้งหมด 10 คนในวันนี้ ซึ่งผลกำรลงมติพบว่ำนำยกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีอีก กี่คน
ตอบ = 9 คน

10. รัฐมนตรีที่ได้รับคะแนนไว้วำงใจน้อยสุด คือ นำยณัฎฐพล ทีปสุวรรณ รมว.ศึกษำธิกำร ส่วน


รัฐมนตรีที่ได้คะแนนไว้วำงใจมำกสุด คือใคร
ตอบ = คือนำยอนุทิน ชำญวีรกูล รองนำยกรัฐมนตรี และรมว.สำธำรณสุข

11. แนวร่วมธรรมศำสตร์และกำรชุมนุม ประกำศนัดหมำยมวลชนร่วมงำน "อภิปรำยไม่ไว้วำงใจ


นอกสภำ" ในวันที่เท่ำไร
ตอบ = วันเสำร์ที่ 20 กุมภำพันธ์ 2564 เวลำ 15:00 น. เป็นต้นไป

12. พล.ต.ต.สหรัฐ ศักดิ์ศิลปชัย ปฏิบัติรำชกำรแทนผู้บัญชำกำรตำรวจนครบำล ได้สั่งกำรให้จัด


กำลังเจ้ำหน้ำที่ตำรวจชุดควบคุมฝูงชน จำนวน กี่กองร้อย
ตอบ = 12 กองร้อย
37

13. กลุ่มใดคือผู้ที่จะได้รับเงินเยียวยำในโครงกำร “ม.33 เรำรักกัน”


ตอบ = กลุ่มผู้ประกันตน มำตรำ 33

14. วงเงินที่จะได้รับในโครงกำร “ม.33 เรำรักกัน”คนละเท่ำไหร่


ตอบ = คนละ 4,000 บำท จ่ำยสัปดำห์ละ 1,000 บำท

15. ครม.อนุมัติหลักกำรร่ำงกฎกระทรวงใดเกี่ยวกับป้ำยทะเบียนรถ
ตอบ = กำหนดแผ่นป้ำยทะเบียนรูปแบบพิเศษ ให้มีตัวอักษรมำกกว่ำ 2 ตัว หรือตัวอักษรผสม
สระหรือวรรณยุกต์หรือตัวเลขได้

16. โครงกำร “เรำชนะ” เปิดจุดลงทะเบียนที่ใดเพิ่มเติม สำหรับกลุ่มผู้ไม่มีสมำร์ทโฟน


ตอบ = ธนำคำรออมสิน ธนำคำรเพื่อกำรเกษตรและสหกรณ์กำรเกษตร (ธ.ก.ส.) และ
ธนำคำรกรุงไทย

17. คุณสมบัติผู้ได้รับสิทธิโครงกำร “ม33เรำรักกัน” ต้องเป็นอย่ำงไร


ตอบ = -สัญชำติไทย
-เป็นผู้ประกันตน ม33 หรือเคยเป็นผู้ประกันตนมำตรำ 33 เมื่อวันที่ 19 ม.ค. 64
-ไม่เป็นผู้ถือบัตรสวัสดิกำรแห่งรัฐ กับฐำนข้อมูลกระทรวงกำรคลัง
-ไม่เป็นผู้ได้รับสิทธิเรำชนะกับฐำนข้อมูลกระทรวงกำรคลัง
-ไม่เป็นผู้มีบัญชีเงินฝำกรวมทุกบัญชีเกิน 500,000 บำท (ณ วันที่ 31 ธ.ค. 2563)

18. โครงกำร “เรำชนะ” เปิดจุดลงทะเบียนเพิ่มเติมธนำคำรใดบ้ำง สำหรับกลุ่มผู้ไม่มีสมำร์ทโฟน


ตอบ = -ธนำคำรออมสิน
-ธนำคำรเพื่อกำรเกษตรและสหกรณ์กำรเกษตร (ธ.ก.ส.)
-ธนำคำรกรุงไทย

19. ประเทศแรกที่ได้รับวัคซีนต้ำนโควิด-19 ผ่ำนโครงกำร COVAX จำนวน 600,000 โดสคือ


ประเทศใด
ตอบ = กำนำ

20. IOC มอบทุนสนับสนุนนักกีฬำผู้ลี้ภัยจำนวนกี่คนเตรียมลงแข่งขันโตเกียว โอลิมปิกในปีนี้


ตอบ = 55 คน
38

21. ประเทศไทยมีวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 อยู่ในประเทศแล้ว 317,600 โดส เป็นวัคซีนมำ


จำกที่ใด
ตอบ = Sinovac และAstraZeneca

22. ธนำคำรเพื่อกำรเกษตรและสหกรณ์กำรเกษตร (ธ.ก.ส.) ทยอยโอนเงินในโครงกำรสนับสนุน


ค่ำบริหำรจัดกำรและพัฒนำคุณภำพผลผลิตเกษตรกรผู้ปลูกข้ำว ปีกำรผลิต 2563/64 ให้แก่ผู้ใด
ในอัตรำไร่ละ 500 บำท
ตอบ = เกษตรกรที่ขึ้นทะเบียนผู้ปลูกข้ำว ปีกำรผลิต 2563/64 รอบที่ 1 กับกรมส่งเสริม
กำรเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

23. ภำครัฐออกมำตรกำรช่วยเหลือด้วยกำรลดค่ำไฟฟ้ำ และค่ำน้ำประปำ ในช่วงเดือนใดเพื่อลด


ภำระค่ำใช้จ่ำยต่ำง ๆเนื่องจำกสถำนกำรณ์กำรแพร่ระบำดของโควิด 19
ตอบ = เดือนกุมภำพันธ์-มีนำคม 2564

24. ผู้ใช้ไฟฟ้ำบ้ำนอยู่อำศัย ประเภท 1.1 (กำรไฟฟ้ำนครหลวง) และ 1.1.1 (กำรไฟฟ้ำส่วน


ภูมิภำค) คือ ผู้ใช้ไฟฟ้ำที่ติดตั้งมิเตอร์ไม่เกิน 5 แอมป์ และมีหน่วยกำรใช้ไฟฟ้ำไม่เกิน 150
หน่วย/เดือน จะได้รับส่วนลดคือเท่ำไหร่
ตอบ = ใช้ไฟฟรี 90 หน่วยแรก (รวมค่ำบริกำร) โดยให้เป็นส่วนลดค่ำไฟฟ้ำก่อนกำรคำนวณ
ภำษีมูลค่ำเพิ่ม ในเดือนกุมภำพันธ์ และมีนำคม 2564 และตั้งแต่หน่วยที่ 91 เป็นต้นไป คิดค่ำไฟ
ตำมปกติ

25. กลุ่ม REDEM นัดหมำยเดินขบวนขับไล่เผด็จกำร ในวันที่ เท่ำไร


ตอบ= วันที่ 28 กุมภำพันธ์ 2564 รวมตัว 15.00 เป็นต้น

26. กลุ่ม REDEM นัดหมำยเดินขบวนขับไล่เผด็จกำร โดย เดินขบวน จำก"อนุสำวรีย์ชัย" ไป ที่


ใด
ตอบ= ไป "บ้ำนพักหลวงประยุทธ์" (ค่ำยกรมทหำรรำบที่ 1 มหำดเล็กรักษำพระองค์ ใน
พระบำทสมเด็จพระวชิรเกล้ำเจ้ำอยู่หัว) ผ่ำนกำรโหวตเลือกใน

27. นำยชวน หลีกภัย ประธำนรัฐสภำ กล่ำวถึงกำรประชุมร่วมรัฐสภำ ในกำรพิจำรณำร่ำง


รัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมวันที่ 24-25 ก.พ.นี้ คำดว่ำจะใช้เวลำถึงวันที่เท่ำไร
ตอบ= 25 ก.พ. 64
39

28. ปชป.พร้อมผลักดันร่ำงแก้ไขรัฐธรรมนูญให้ผ่ำนวำระ กี่อย่ำง


ตอบ= 3 อย่ำงเต็มที่

29. ศูนย์เอรำวัณ กรุงเทพมหำนคร (กทม.) จำกเหตุกำรณ์ชุมนุมของกลุ่มเยำวชนปลดแอกและ


แนวร่วมในนำม REDEM (Restart Democracy)
ที่บริเวณหน้ำกรมทหำรรำบที่ 1 มหำดเล็กรักษำพระองค์ฯ (ร.1 พัน 1 รอ.) เมื่อวันที่ 28 กพ
2564 มีผู้ได้รับบำดเจ็บ กี่รำย และ เสียชีวิต กี่รำย
ตอบ = มีผู้ได้รับบำดเจ็บ 32 รำย และเสียชีวิต 1 รำย

30. โรงแรมเซ็นทำรำแกรนด์มิรำจบีชรีสอร์ท พัทยำ คว้ำรำงวัล 25 โรงแรมยอดนิยมสำหรับ


ครอบครัวที่ดีที่สุด จำกผลโหวตเว็บไซต์ดังทริปแอดไวเซอร์ ปีใด
ตอบ = ปี 2563

31. กกต. เผยได้รับเรื่องร้องคัดค้ำนกำรเลือกตั้งเทศบำลแล้ว 392 เรื่องแบ่งเป็น เท่ำไร


ตอบ 1.กำรเลือกตั้งเทศบำลตำบล จำนวน 267 เรื่อง
2.กำรเลือกตั้งเทศบำลเมือง จำนวน 101 เรื่อง
3.กำรเลือกตั้งเทศบำลนคร จำนวน 24 เรื่อง

32.เรื่องคัดค้ำนและสำนวนกำรเลือกตั้งเทศบำลตำมฐำนควำมผิดมำกที่สุด 3 ลำดับได้ แก่อะไร


ตอบ = 1.ฐำนควำมผิดหลอกลวง บังคับ ขู่เข็ญ ช้อิทธิพลคุกคำม ใส่ร้ำยด้วยควำมเท็จ หรือจูงใจ
ให้เข้ำใจผิดในคะแนนนิยมของผู้สมัครใด ตำมมำตรำ 65 (5) จำนวน 130 เรื่อง
2.ฐำนควำมผิดจัดทำ ให้ เสนอให้ สัญญำว่ำจะให้ หรือจัดเตรียมเพื่อจะให้ ทรัพย์สินหรือ
ผลประโยชน์อื่นใดอันอำจคำนวณเป็นเงินได้แก่ผู้ใด ตำมมำตรำ 65 (1) จำนวน 102 เรื่อง
3.ฐำนควำมผิดให้ เสนอให้ หรือสัญญำว่ำจะให้เงิน ทรัพย์สิน หรือประโยชน์อื่นใด ไม่ว่ำจะ
โดยตรง หรือโดยอ้อมแก่ชมุ ชน สมำคม มูลนิธิ วัดหรือศำสนสถำนอื่น สถำนศึกษำ สถำน
สงเครำะห์ หรือสถำบันอื่นใด ตำมมำตรำ 65 (2) จำนวน 43 เรื่อง

33. คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบในหลักกำรกำรให้สิทธิขั้นพื้นฐำนด้ำนสำธำรณสุข (สิทธิฯ) กับ


บุคคลที่มีปัญหำสถำนะและสิทธิเด็กและบุคคลที่เรียนอยู่ในสถำนศึกษำ ครั้งที่เท่ำไร
ตอบ =ครั้งที่ 2

34. นำยวิษณุ เครืองำม รองนำยกรัฐมนตรี กล่ำวถึงกรณีที่พรรคพลังประชำรัฐเตรียมยื่นญัตติขอ


แก้ไขรัฐธรรมนูญเป็นรำยมำตรำในกี่ประเด็น
ตอบ = 5 ประเด็น 13 มำตรำ
40

35. คณะกรรมกำรกำกับหลักทรัพย์และตลำดหลักทรัพย์ของจีน (CSRC) ได้ประกำศอนุมัติให้


บริษัทเอกชน ของจีน กี่แห่ง
ตอบ = 4 แห่ง

36. นำยไพบูลย์ นิติตะวัน ส.ส.บัญชีรำยชื่อ ในฐำนะรองหัวหน้ำพรรคพลังประชำรัฐ (พปชร.)


แถลงควำมพร้อมแก้ไขรัฐธรรมนูญแบบรำยมำตรำ รวมทั้งสิ้น 5 ประเด็น มำตรำ
ตอบ = 13 มำตรำ

37. กำรปรับปรุงองค์ประกอบของคณะกรรมกำรแห่งชำติว่ำด้วยมำตรฐำนเทคนิคทำงไฟฟ้ำ
ระหว่ำงประเทศสรุปว่ำอย่ำงไร
ตอบ = คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตำมที่กระทรวงอุตสำหกรรม (อก.) เสนอกำรปรับปรุง
องค์ประกอบของกรรมกำรในคณะกรรมกำรแห่งชำติว่ำด้วยมำตรฐำนเทคนิคทำงไฟฟ้ำระหว่ำง
ประเทศ โดยขอเปลี่ยนแปลงตำแหน่งในคณะกรรมกำรดังกล่ำว จำกเดิม ?ผู้แทน บริษัท ทีโอที
จำกัด (มหำชน) และ ผู้แทน บริษัท กสท โทรคมนำคม จำกัด (มหำชน)? เป็น ?ผู้แทน บริษัท
โทรคมนำคมแห่งชำติ จำกัด (มหำชน)? ทั้งนี้ องค์ประกอบอื่นและอำนำจหน้ำที่คงเดิม ทั้งนี้ ตั้งแต่
วันที่ 7 เมษำยน 2564 เป็นต้นไป

38. กำรแต่งตั้งข้ำรำชกำรพลเรือนสำมัญให้ดำรงตำแหน่งประเภทบริหำรระดับสูง (กระทรวงกำร


ต่ำงประเทศ) สรุปว่ำอย่ำงไร
ตอบ = คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติตำมที่รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงกำรต่ำงประเทศเสนอแต่งตั้ง
ข้ำรำชกำร พลเรือนสำมัญ สังกัดกระทรวงกำรต่ำงประเทศ ให้ดำรงตำแหน่งประเภทบริหำร
ระดับสูง จำนวน 2 รำย เพื่อทดแทนตำแหน่งที่ว่ำง

39. แต่งตั้งผู้ว่ำกำรกำรประปำส่วนภูมิภำค สรุปว่ำอย่ำงไร


ตอบ = คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตำมที่กระทรวงมหำดไทยเสนอกำรแต่งตั้ง นำยสมบูรณ์ สุนันท
พงศ์ศักดิ์ เป็นผู้ว่ำกำรกำรประปำส่วนภูมิภำค โดยให้ได้รับค่ำตอบแทนคงที่ในปีแรกอัตรำเดือนละ
250,000 บำท ทั้งนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่ลงนำมในสัญญำจ้ำงเป็นต้นไป แต่ไม่ก่อนวันที่
คณะรัฐมนตรีมีมติ

40. กำรแต่งตั้งข้ำรำชกำรกำรเมือง (กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมสรุปว่ำอย่ำงไร


ตอบ = คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตำมที่กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมเสนอกำรแต่งตั้ง
นำยเอกสิทธิ์ คุณำนันทกุล เป็นข้ำรำชกำรกำรเมือง ตำแหน่งเลขำนุกำรรัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวง
ดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 7 เมษำยน 2564 เป็นต้นไป
41

41. คณะรัฐมนตรีรับทรำบตำมที่สำนักงำนสภำพัฒนำกำรเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ (สศช.)


เสนอกรอบแผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ ฉบับที่ เท่ำไร
ตอบ = ฉบับที่ 13

42.คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบผลกำรพิจำรณำของคณะกรรมกำรกลั่นกรองกำรใช้จ่ำยเงินกู้ ใน
ครำวประชุมครั้งที่ 11/2564 และครั้งที่ 12/2564 เมื่อวันที่ เท่ำไร
ตอบ = 2 เมษำยน 2564 และวันที่ 16 เมษำยน 2564

43. กำรแต่งตั้งข้ำรำชกำรกำรเมือง (กระทรวงศึกษำธิกำร)คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตำมที่


กระทรวงศึกษำธิกำรเสนอแต่งตั้งข้ำรำชกำรกำรเมือง จำนวน 4 รำย คือใคร
ตอบ = นำยสุทธิชัย จรูญเนตร ดำรงตำแหน่งที่ปรึกษำรัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงศึกษำธิกำร
นำยณรงค์ ดูดิง ดำรงตำแหน่งที่ปรึกษำรัฐมนตรีช่วยว่ำกำรกระทรวงศึกษำธิกำร [รัฐมนตรีช่วยว่ำ
กำรกระทรวงศึกษำธิกำร (คุณหญิงกัลยำ โสภณพนิช)]
นำงสำวอรพินทร์ เพชรทัต ดำรงตำแหน่งเลขำนุกำรรัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงศึกษำธิกำร
นำงเจิมมำศ จึงเลิศศิริ ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยเลขำนุกำรรัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงศึกษำธิกำร [ปฏิบัติ
หน้ำที่เลขำนุกำรรัฐมนตรีช่วยว่ำกำรกระทรวงศึกษำธิกำร (คุณหญิงกัลยำ โสภณพนิช)]

44. กรณีเลือกตั้งใหม่ตำมมำตรำ 110 ผู้สมัครสมำชิกสภำเทศบำลสมัครรับเลือกตั้งมำกกว่ำ


จำนวนที่จะพึงมีในเขตกำรเลือกตั้งนั้น แต่ผู้สมัครรับเลือกตั้งบำงคนไม่ได้รับคะแนนมำกกว่ำ
คะแนนเสียงที่ไม่เลือกผู้ใด จำนวน 3 แห่ง ได้แก่แห่งไหนบ้ำง
ตอบ = 1.กำรเลือกตั้งสมำชิกสภำเทศบำลเมืองมหำสำรคำม เขตเลือกตั้งที่ 1 อำเภอเมือง
มหำสำรคำม จังหวัดมหำสำรคำม จำนวน 4 คน
2.กำรเลือกตั้งสมำชิกสภำเทศบำลตำบลขำมเรียง เขตเลือกตั้งที่ 1 อำเภอกันทรวิชัย
จังหวัดมหำสำรคำม จำนวน 5 คน
3.กำรเลือกตั้งสมำชิกสภำเทศบำลตำบลท่ำสุด เขตเลือกตั้งที่ 1 อำเภอเมืองเชียงรำย
จังหวัดเชียงรำย จำนวน 6 คน

45. คณะครุศำสตร์อุตสำหกรรม มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้ำพระนครเหนือ (มจพ.)


กำหนดจัดประชุมวิชำกำรครุศำสตร์อุตสำหกรรมระดับชำติ ครั้งที่เท่ำไร
ตอบ= ครั้งที่ 13

46. รัฐบำลให้สัญญำจะฉีดวัคซีนอย่ำงน้อย 60-100 ล้ำนโดส ภำยในสิ้นปี เริ่มตั้งแต่ ใด


ตอบ = เดือน มิถุนำยนนี้เป็นต้นไป
42

47. แนวทำงกำรดำเนินงำนของ กสทช.ด้ำนโทรคมนำคมปี 2564 กำรส่งเสริมสนับสนุนกำร


ประยุกต์ใช้เทคโนโลยี 5G เป็น 1 ใน 4 แนวทำง จะเป็นกำรเตรียมควำมพร้อมในกำรนำคลื่น
ควำมถี่ย่ำน 3500 เมกะเฮิรตซ์ จำนวน 300 เมกะเฮิรตซ์ มำประมูล หำกสำนักงำน กสทช.
ดำเนินกำรหลักเกณฑ์ต่ำงๆ เช่น กำรศึกษำจำนวนคลื่นควำมถี่ที่ต้องใช้เป็นแนวป้องกันกำรรบกวน
ของคลื่นควำมถี่ (กำร์ดแบนด์) รวมถึงกำรศึกษำกรอบวงเงินชดเชยเยียวยำคลื่นควำมถี่ สำหรับ
ผู้ใช้จำนดำวเทียมระบบซีแบนด์ (จำนดำ) จำนวนกี่ล้ำนรำย
ตอบ = จำนวนกว่ำ 10 ล้ำนรำย

48. ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชำติยุโรป 2020 หรือฟุตบอลยูโร 2020 ต้องเลื่อนจัดกำรแข่งขัน


เนื่องจำกกำรระบำดของโควิด-19 เช่นเดียวกับหลำย ๆ งำน มำลงล็อกในวันที่เท่ำไร
ตอบ = วันที่ 11 มิถุนำยน-11 กรกฎำคม 2021

49. กำรแต่งตั้งข้ำรำชกำรกำรเมือง (กระทรวงพำณิชย์) คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตำมที่


กระทรวงพำณิชย์เสนอแต่งตั้งข้ำรำชกำรกำรเมือง จำนวน 2 รำย คือ
ตอบ = 1. นำยอภิชำติ สุภำแพ่ง ให้ดำรงตำแหน่งที่ปรึกษำรัฐมนตรีช่วยว่ำกำรกระทรวงพำณิชย์
นำยธีระชำติ ปำงวิรุฬรักษ์ ให้ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยเลขำนุกำรรัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงพำณิชย์
ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 27 เมษำยน 2564 เป็นต้นไป

50. ประเทศใดเริ่มให้ประชำชนทยอยเลิกสวมหน้ำกำกอนำมัยในพื้นที่สำธำรณะ
ตอบ = อิสรำเอล

51. ซีพีทุ่มงบเท่ำไหร่ในกำรเสริมกำลัง รพ.สนำม สู้โควิด-19 รอบใหม่


ตอบ = งบ 200 ล้ำนบำท

52. พื้นที่ควบคุมสูงสุด (พื้นที่สีแดง) เนื่องจำกสถำนกำรณ์โควิดมีจังหวัดใดบ้ำง


ตอบ = กรุงเทพมหำนคร, เชียงใหม่, ชลบุรี, สมุทรปรำกำร, ประจวบคีรีขันธ์, สมุทรสำคร,
ปทุมธำนี, นครปฐม, ภูเก็ต, นครรำชสีมำ, นนทบุรี, สงขลำ, ตำก, อุดรธำนี, สุพรรณบุรี, สระแก้ว,
ระยอง และขอนแก่น

53. กำรแข่งขันโตเกียว โอลิมปิก ปี 2020 ยืนยันว่ำจะไม่มีกำรยกเลิกกำรแข่งขันโอลิมปิกที่


กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น ระหว่ำงวันที่เท่ำใด
ตอบ = วันที่ 23 กรกฎำคม – 8 สิงหำคม
43

54. บริษัท แอสตร้ำเซนเนก้ำ ได้จัดส่งข้อมูลกระบวนกำรผลิต กำรควบคุมคุณภำพกำรผลิตของ


วัคซีนโควิด-19 ของสถำนที่ผลิต บริษัท สยำมไบโอไซเอนซ์ จำกัด ต่อ อย. เมื่อวันที่เท่ำใด
ตอบ = เมื่อวันที่ 9 เมษำยน และ 19 เมษำยน 2564

55. Double Mutant คืออะไร


ตอบ = เชื้อไวรัสโควิด-19 ในสำยพันธุ์อินเดียที่พบใหม่นี้ เรียกว่ำ B.1.617 ซึ่งมีกำรกลำยพันธุ์ 2
ตำแหน่ง คือ E484Q และ L452R หรือพูดง่ำย ๆ คือ เชื้อนี้ มีกำรกลำยพันธุ์ใน 2 จุดด้วยกัน ซึ่ง
ก่อนหน้ำนี้ที่มีกำรรำยงำนเชื้อกลำยพันธุ์ในสำยพันธุ์อังกฤษ บรำซิล แอฟริกำใต้ หรือแม้กระทั่งใน
ฟิลิปปินส์ เป็นพบกำรกลำยพันธุ์เพียงจุดเดียวเท่ำนั้น

56.กำรพบเชื้อกลำยพันธุ์ 2 ตำแหน่งหรือ Double mutant เกิดขึ้น โดยพบครั้งแรกที่ประเทศใด


ตอบ = อินเดีย

57. ทำไมเรำถึงต้องกลัวกำรกลำยพันธุ์
ตอบ = ในทุกครั้งของกำรกลำยพันธุ์ของเชื้อ จะมีกำรเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นโดยจะส่งผลกระทบต่อ
– ควำมสำมำรถในกำรแพร่กระจำย
– ควำมรุนแรงของโรค
– ควำมสำมำรถในกำรหลบเลี่ยงภูมคุ้มกัน ซึ่งส่งผลต่อประสิทธิภำพของวัคซีน

58. ผู้ใดทำหน้ำที่ภำยในศูนย์ประสำนงำนของสำยด่วน 1668


ตอบ = กรมกำรแพทย์ กระทรวงสำธำรณสุข อำสำสมัคร

59.มำตรกำรลงโทษใด ในกำรไม่สวมหน้ำกำกอนำมัยหรือหน้ำกำกผ้ำก่อนออกจำกบ้ำน
ตอบ = ฝ่ำฝืนโทษปรับไม่เกิน 20,000 บำท

60. Olympic Virtual Series กำรแข่งขันเกมของโอลิมปิก เริ่มต้นด้วยเกมกีฬำกี่ชนิดและ


อะไรบ้ำง
ตอบ = 5 ชนิดแรกประกอบไปด้วยเบสบอล, จักรยำน, พำยเรือ, เรือใบ และมอเตอร์สปอร์ต

61. กำรแข่งขันเกมของโอลิมปิก Olympic Virtual Series เริ่มต้นในวันที่เท่ำใด


ตอบ = วันที่ 13 พฤษภำคม

62.พระรำชพิธีรำชำภิเษกสมรสรัชกำลที่ 9 ตรงกับวันที่เท่ำใด
ตอบ = 28 เมษำยน 2493
44

63.ครม. โอนอำนำจให้นำยกรัฐมนตรีเป็นกำรชั่วครำวจำนวนกี่ฉบับเพื่อให้กำรแก้ไขสถำนกำรณ์
กำรแพร่ระบำดของโรคติดเชื้อโควิด-19 เป็นไปอย่ำงมีประสิทธิภำพ
ตอบ = จำนวน 31 ฉบับ

64. กระทรวงศึกษำธิกำรเลื่อนเปิดภำคเรียนที่ 1/2564 จำก 17 พ.ค. เป็นวันที่เท่ำใดเนื่องจำก


สถำนกำรณ์โควิด-19
ตอบ = 14 มิถุนำยน 2564

65. ประเทศไทยได้รับเลือกตั้งให้เป็นสมำชิกสภำบริหำรของ ITU ครั้งแรกเมื่อปี 2516 และ


ได้รับเลือกตั้งให้เป็นสมำชิกสภำบริหำรติดต่อกันมำ 10 สมัย (ปี 2516 ? 2564) โดยครั้งล่ำสุด
(สมัยที่ 10) ได้มี กำรเลือกตั้งในระหว่ำงกำรประชุมใหญ่ผู้แทนผู้มีอำนำจเต็ม ปี 2561 ณ นคร
ดูไบ สหรัฐอำหรับเอมิเรตส์ ซึ่งมีวำระกำรดำรงตำแหน่งระหว่ำงปี พ.ศ. 2562 ? 2565 (ค.ศ.
2019 ? 2022)

66. กำรแต่งตั้งข้ำรำชกำรพลเรือนสำมัญให้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชำกำรระดับทรงคุณวุฒิ
(กระทรวงกำรคลัง) สรุป ว่ำอย่ำงไร
ตอบ = คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติตำมที่รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงกำรคลังเสนอแต่งตั้ง นำงสำววิลำ
วัลย์ วีระกุล รองอธิบดีกรมธนำรักษ์ ให้ดำรงตำแหน่ง ที่ปรึกษำด้ำนพัฒนำอสังหำริมทรัพย์
(นักวิเครำะห์นโยบำยและแผนทรงคุณวุฒิ) กรมธนำรักษ์ กระทรวงกำรคลัง ตั้งแต่วันที่ 18
กันยำยน 2563 ซึ่งเป็นวันที่มีคุณสมบัติครบถ้วนสมบูรณ์ ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ทรงพระกรุณำโปรด
เกล้ำโปรดกระหม่อมแต่งตัง้ เป็นต้นไป

67. คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติตำมที่กระทรวงมหำดไทยเสนอแต่งตั้งข้ำรำชกำรสังกัด
กระทรวงมหำดไทยให้ดำรงตำแหน่งประเภทบริหำร ระดับสูง จำนวน 4 รำย คือ
ตอบ = 1. ให้นำยพุฒิพงศ์ ศิริมำตย์
2. ให้นำยวิเชียร จันทรโณทัย
3. ให้นำยกอบชัย บุญอรณะ
4. ให้นำยโชคดี อมรวัฒน์

68. ให้กรรมกำรผู้ช่วยรัฐมนตรีคงอยู่ปฏิบัติหน้ำที่ต่ออีกหนึ่งวำระ มีว่ำอย่ำงไร


ตอบ = คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตำมที่สำนักเลขำธิกำรนำยกรัฐมนตรีเสนอให้ นำยประพนธ์ ตั้ง
ศรีเกียรติกุล กรรมกำรผู้ช่วยรัฐมนตรี ซึ่งจะครบวำระกำรดำรงตำแหน่งหนึ่งปี ในวันที่ 23 มีนำคม
2564 คงอยู่ปฏิบัติหน้ำที่ต่ออีกหนึ่งวำระ ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 24 มีนำคม 2564 ซึ่งนำยกรัฐมนตรี
ได้เห็นชอบแล้ว
45

69. กำรเป็นเจ้ำภำพจัดกำรประชุมรัฐมนตรีสำรนิเทศอำเซียน ครั้งที่ 15 กำรประชุมรัฐมนตรี


สำรนิเทศอำเซียนกับประเทศคู่เจรจำ+3 ครั้งที่เท่ำไร
ตอบ = ครั้งที่ 6

70. คณะรัฐมนตรีรับทรำบผลกำรประชุมรัฐมนตรีหุ้นส่วนลุ่มน้ำโขง-สหรัฐอเมริกำ (สหรัฐฯ) ครั้ง


ที่เท่ำไร
ตอบ = ครั้งที่ 1

71. มติคณะกรรมกำรนโยบำยพลังงำนแห่งชำติ ครั้งที่ 3/2563 ครั้งที่ เท่ำไร


ตอบ = ครั้งที่ 152

72. วัคซีนโควิด-19 ควำมหวังของมวลมนุษยชำติ มีวัคซีนที่ได้รับกำรอนุมัติให้ใช้แล้วทั้งหมด 6


ตัว ได้แก่
ตอบ = 1. BioNTech/Pfizer
2. Oxford/AstraZeneca
3. Moderna
4. Gamaleya
5. Serum Institute of India
6. Sinopharm

73. สำธำรณรัฐประชำชนจีนกำลังก้ำวเข้ำสู่กำรเป็นผู้นำในด้ำนอวกำศ กับกำรส่งยำนเทียนเวิ่น-1


(Tianwen-1) ไปพร้อมกับจรวดลองมำร์ช-5 (Long March-5)เมื่อวันที่เท่ำไร
ตอบ = เมื่อวันที่ 23 กรกฎำคม 2020

74. อียิปต์เปิดพิพิธภัณฑ์ทำงประวัติศำสตร์ที่ใหญ่ที่สุดในโลก คืออะไร


ตอบ = เรียกได้ว่ำกำรระบำดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ได้ส่งผลกระทบเป็นวงกว้ำง และนั่นก็ทำให้
พิพิธภัณฑ์ทำงโบรำณคดีที่ใหญ่ที่สุดในโลก The Grand Egyptian Museum ประเทศอียิปต์ ที่มี
แพลนจะเปิดให้เข้ำชมในปี 2020 ต้องเลื่อนออกไป โดยคำดกำรณ์ว่ำจะเปิดให้เข้ำชมในช่วงครึ่ง
หลังของปีนี้ควำมยิ่งใหญ่ที่รอให้ผู้คนไปสัมผัสภำยในพื้นที่ 490,000 ตำรำงเมตร อยู่ห่ำงจำกมหำ
พีระมิดกีซำเพียง 2 กิโลเมตร ที่นี่จะเป็นที่รวบรวมโบรำณวัตถุยุคอียิปต์โบรำณ รวมถึงโบรำณวัตถุ
อื่น ๆ ที่ไม่เคยจัดแสดงที่ไหนมำก่อนกว่ำ 5,400 ชิ้น โดยกำรสร้ำงพิพิธภัณฑ์ได้ริเริ่มตั้งแต่ปี
2002 ด้วยมูลค่ำโครงกำรรำว 1,000 ล้ำนดอลลำร์สหรัฐ
46

75. มหกรรมกีฬำระดับโลกที่ 4 ปีจะมีครั้ง ที่เรำเรียกกันสั้น ๆ ว่ำ “กีฬำโอลิมปิก” มีกำหนด


จัดกำรแข่งขันในโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น เมื่อปีที่แล้ว ก็ไม่วำยที่ต้องเลื่อนเพรำะโควิด-19 โดยได้
กำหนดช่วงเวลำแข่งขันใหม่เป็นวันที่เท่ำไร
ตอบ = วันที่ 23 กรกฎำคม-8 สิงหำคม 2021

76. ในปี 2021 นี้ องค์กำรบริหำรกำรบินและอวกำศแห่งชำติ หรือองค์กำรนำซำ (NASA) ของ


สหรัฐ จะส่งยำนอวกำศขึ้นไปสำรวจดวงจันทร์อีกครั้ง ในโครงกำรที่ชื่อว่ำ Artemis ซึ่งเป็นครั้งแรก
ในรอบเกือบ กี่ปี
ตอบ = 50 ปี หลังจำกกำรส่งยำน Apollo 17 ไปดวงจันทร์เมื่อปี 1972

77. หอสังเกตกำรณ์ดำรำศำสตร์ เวรำ ซี. รูบิน (Vera C. Rubin Observatory) ตั้งอยู่บนจุดที่สูง


ที่สุดของภูเขำ Cerro Pachon ทำงตอนเหนือของประเทศชิลี เริ่มสร้ำงตั้งแต่ปี 2015 และคำด
ว่ำจะเปิดใช้งำนในปีนี้ หอดูดำวนี้มีควำมสูงถึง กี่เมตร
ตอบ = 2,682 เมตร

78. ปลัดยุติธรรม สั่งย้ำย ผบ.เรือนจำกลำงคลองเปรม ไปปฏิบัติรำชกำรประจำกรมรำชทัณฑ์ ปม


เผำหน้ำเรือนจำ พร้อมตั้งรองอธิบดีกรมรำชทัณฑ์ ปฏิบัติรำชกำรในหน้ำที่แทน เมื่อวันที่เท่ำไร
ตอบ = วันพฤหัสบดีที่ 4 มีนำคม 2564

79. “เรำชนะ” เปิดรำยชื่อ 5 จังหวัด ยอดกำรใช้จ่ำยวงเงินสิทธิสูงสุด มีจังหวัดอะไรบ้ำง


ตอบ = 1. กรุงเทพมหำนคร
2. ชลบุรี
3. เชียงใหม่
4. นครรำชสีมำ
5. สงขลำ

80. โครงกำร “เรำชนะ” ที่ปัจจุบันมีจำนวนผู้ได้รับสิทธิแล้วกว่ำ 29,900,000 คน แบ่ง


ออกเป็น 2 กลุ่ม คือกลุ่มใด
ตอบ = 1. กลุ่มผู้ถือบัตรสวัสดิกำรแห่งรัฐ กว่ำ 13,700,000 คน ได้มีกำรใช้จ่ำยตั้งแต่วันที่ 5
ก.พ. 64 เป็นต้นมำ มียอดใช้จ่ำยรวม 33,084 ล้ำนบำท
2. กลุ่มผู้ใช้แอปฯ เป๋ำตัง (โครงกำรเรำเที่ยวด้วยกันและคนละครึ่ง) และกลุ่มที่ไม่ได้อยู่ในระบบ
ฐำนข้อมูลของแอปฯ เป๋ำตัง มีจำนวนมำกกว่ำ 16,200,000 คน มีกำรใช้จ่ำยวงเงินสิทธิ์ตั้งแต่
วันที่ 18 ก.พ. 64 เป็นต้นมำ มียอดใช้จ่ำยรวม 35,939 ล้ำนบำท
47

81. ผลกำรประชุมคณะอนุกรรมำธิกำรด้ำนกำรค้ำและควำมร่วมมือทำงเศรษฐกิจไทย-สหพันธรัฐ
รัสเซีย ครั้งที่เท่ำไร
ตอบ = ครั้งที่ 4

82. กำรแต่งตั้งข้ำรำชกำรพลเรือนสำมัญให้ดำรงตำแหน่งประเภทบริหำรระดับสูง (สำนัก


นำยกรัฐมนตรี) คืออะไร
ตอบ = คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติตำมที่สำนักข่ำวกรองแห่งชำติเสนอแต่งตั้งข้ำรำชกำรพลเรือน
สำมัญ สังกัดสำนักข่ำวกรองแห่งชำติ สำนักนำยกรัฐมนตรี ให้ดำรงตำแหน่งประเภทบริหำร
ระดับสูง จำนวน 2 รำย เพื่อทดแทนตำแหน่งที่ว่ำง
ที่มำ: ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชำ (นำยกรัฐมนตรี) วันที่ 16 มีนำคม
2564

83. ขอควำมเห็นชอบกำรแต่งตั้งผู้อำนวยกำรสถำบันมำตรวิทยำแห่งชำติ คือ


ตอบ = คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบกำรแต่งตั้ง นำงอัจฉรำ เจริญสุข ให้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยกำร
สถำบันมำตรวิทยำแห่งชำติ เป็นวำระที่สอง (ตำมมติคณะกรรมกำรมำตรวิทยำแห่งชำติ ครั้งที่
1/2564 เมื่อวันที่ 11 กุมภำพันธ์ 2564) ตำมที่กระทรวงกำรอุดมศึกษำ วิทยำศำสตร์ วิจัยและ
นวัตกรรมเสนอ โดยให้มีผลตั้งแต่วันที่ลงนำมในสัญญำจ้ำงเป็นต้นไป แต่ไม่ก่อนวันที่คณะรัฐมนตรี
มีมติ ที่มำ: ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชำ (นำยกรัฐมนตรี) วันที่ 16
มีนำคม 2564

84. คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตำมที่สำนักเลขำธิกำรนำยกรัฐมนตรีเสนอกำรแต่งตั้งบุคคลให้
ดำรงตำแหน่งข้ำรำชกำรกำรเมือง ตำแหน่งประจำสำนักเลขำธิกำรนำยกรัฐมนตรี จำนวน 3 รำย
มีใครบ้ำง
ตอบ = 1. นำยอมร มีมะโน
2. นำยภูวิช ปัญญำสิทธิ์
3. นำยสมชำย สำโรวำท
ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 16 มีนำคม 2564 เป็นต้นไป
ที่มำ: ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชำ (นำยกรัฐมนตรี) วันที่ 16 มีนำคม
2564

85. กำรแต่งตั้งกรรมกำรผู้ช่วยรัฐมนตรี มีว่ำอย่ำงไร


ตอบ = คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตำมที่สำนักเลขำธิกำรนำยกรัฐมนตรีเสนอกำรแต่งตั้ง พลตรี
นพรัตน์ แป้นแก้ว เป็นกรรมกำรผู้ช่วยรัฐมนตรี โดยให้มีผลตั้งแต่วันที่นำยกรัฐมนตรีลงนำมใน
48

ประกำศแต่งตั้ง ที่มำ: ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชำ (นำยกรัฐมนตรี) วันที่


16 มีนำคม 2564

86. กำรมอบหมำยและมอบอำนำจให้กำกับกำรบริหำรรำชกำรและสั่งและ ปฏิบัติรำชกำรแทน


นำยกรัฐมนตรี มีว่ำอย่ำงไร
ตอบ = 1.2.1 สำนักงำนทรัพยำกรน้ำแห่งชำติ
1.2.2 สำนักงำนคณะกรรมกำรนโยบำยที่ดินแห่งชำติ?
ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 15 มีนำคม พ.ศ. 2564 เป็นต้นไป
ที่มำ: ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชำ (นำยกรัฐมนตรี) วันที่ 16 มีนำคม
2564

87. คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติตำมที่สำนักข่ำวกรองแห่งชำติเสนอแต่งตั้งข้ำรำชกำรพลเรือนสำมัญ
สังกัดสำนักข่ำวกรองแห่งชำติ สำนักนำยกรัฐมนตรี ให้ดำรงตำแหน่งประเภทบริหำรระดับสูง
จำนวน 2 รำย เพื่อทดแทนตำแหน่งที่ว่ำง ได้แก่ใครบ้ำง
ตอบ= 1. นำยฐนัตถ์ สุวรรณำนนท์ ที่ปรึกษำด้ำนกำรพัฒนำระบบงำนกำรข่ำว (นักกำรข่ำว
ทรงคุณวุฒิ) กลุ่มงำนที่ปรึกษำ ดำรงตำแหน่ง รองผู้อำนวยกำรสำนักข่ำวกรองแห่งชำติ
2. นำยรุ่งศักดิ์ ปิยะรัตน์ ที่ปรึกษำด้ำนกำรต่อต้ำนกำรก่อกำรร้ำยและอำชญำกรรมข้ำม
ชำติ (นักกำรข่ำวทรงคุณวุฒิ) กลุ่มงำนที่ปรึกษำ ดำรงตำแหน่ง รองผู้อำนวยกำรสำนักข่ำวกรอง
แห่งชำติทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ทรงพระกรุณำโปรดเกล้ำโปรดกระหม่อมแต่งตั้งเป็นต้นไป

88. กำรปล่อยตัว สรยุทธ สุทัศนะจินดำ อดีตผู้ประกำศข่ำวคงเหลือโทษจำคุกเท่ำใด


ตอบ = เหลือโทษจำคุก 2 ปี 4 เดือน 14 วัน

89. สรยุทธ สุทัศนะจินดำต้องติดอุปกรณ์ EM เป็นระยะเวลำเท่ำใด


ตอบ = 14 เดือน

90. พล.อ. ประยุทธ์ จันทร์โอชำ นำยกรัฐมนตรีได้ฉีดวัคซีน AstraZeneca เมื่อวันที่เท่ำใด


ตอบ = 16 มีนำคม 2564

91. เมื่อวันที่15 มีนำคม 2564 ประชำชนชำวออสเตรเลียพร้อมใจกันเข้ำร่วมกำรเดินขบวน


March 4 Justice เพื่อเรียกร้องเรื่องใด
ตอบ = เพื่อประท้วงและเรียกร้องควำมเป็นธรรมให้แก่ผู้หญิงที่ถูกคุกคำมทำงเพศ
49

92. ประเทศใดเป็นประเทศหรือภูมิภำคแรกที่ครอง 5 อันดับแรกของกำรจัดอันดับมหำวิทยำลัย


ยอดเยี่ยมจำกประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม่ (Emerging Economies University Rankings)
ประจำปี 2021
ตอบ = ประเทศจีน

93. ครม.ได้มีกำรเสนอให้เมนูใดขึ้นทะเบียนเป็นมรดกทำงวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ ตำมอนุสัญญำ


ว่ำด้วยกำรสงวนรักษำมรดกวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ ปี ค.ศ. 2003
ตอบ = เมนูต้มยำกุ้ง

94. สมเด็จพระเจ้ำลูกเธอ เจ้ำฟ้ำสิริวัณณวรี นำรีรัตนรำชกัญญำ ทรงรับกำรฉีดวัคซีนป้องกันโรค


โควิด-19 ของบริษัทใด
ตอบ = บริษัท แอสตรำเซเนกำ

95. ครม. ด้พิจำรณำ ต่ออำยุ พ.ร.ก.ฉุกเฉิน เป็นครั้งที่ 11 ออกไปอีก 2 เดือน จนถึงวันที่เท่ำใด


ตอบ = วันที่ 31 พฤษภำคม 2564

96. รัฐบำลจะเยียวยำกลุ่มข้ำรำชกำรที่มีรำยได้น้อย ซึ่งเป็นกลุ่มสุดท้ำย โดยจะเป็นลักษณะช่วย


ลดค่ำครองชีพ โดยจะใช้ชื่อโครงกำรว่ำอย่ำงไร
ตอบ = เรำผูกพัน

97. เกิดเหตุเรือใดเกยขวำงคลองสุเอซในอียิปต์ หลังเดินทำงออกจำกท่ำเรือในจีนและกำลังมุ่ง


หน้ำสู่เนเธอร์แลนด์
ตอบ = เรือบรรทุกสินค้ำ Ever Given

98. วันปิดไฟเพื่อโลก (Earth Hour)ตรงกับวันที่เท่ำไร


ตอบ = 27 มีนำคม

99. เมื่อวันที่ 29 มีนำคมเกิดไฟป่ำไหม้หนักบนภูเขำที่ใดในประเทศไทย


ตอบ = อำเภอสะเมิง เชียงใหม่

100. ศูนย์บริหำรสถำนกำรณ์เศรษฐกิจจำกผลกระทบจำกกำรระบำดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนำ
2019 (ศบศ.) และคณะรัฐมนตรี (ครม.) อนุมัติให้ผ่อนคลำยมำตรกำรควบคุมกำรระบำดของโค
วิด-19 คือ กำรกักตัว และเดินทำงเข้ำประเทศไทย เพื่อฟื้นฟูภำคกำรท่องเที่ยว ระยะแรกเริ่ม
เมื่อใด
50

ตอบ = เริ่ม 1 เม.ย. นักท่องเที่ยวต่ำงชำติที่ได้รับวัคซีนและใบรับรองกำรฉีดวัคซีน เดินทำงไปยังจ.


ภูเก็ต กระบี่ พังงำ พัทยำ เชียงใหม่ สำมำรถกักตัว 7 วัน จำกเดิม 14 วัน

101. วันที่ 30 มี.ค.64 นำยธนำธร จึงรุ่งเรืองกิจ ประธำนคณะก้ำวหน้ำ เดินทำงมำรับทรำบข้อ


กล่ำวหำ ณ สน.นำงเลิ้ง ม.112 และ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์กรณีใด
ตอบ = กรณีไลฟ์สดวิจำรณ์เรื่องวัคซีนโควิด-19

102. คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบต่อร่ำงถ้อยแถลงกำรประชุมระดับรัฐมนตรีบิมสเทค ครั้งที่เท่ำไร


ตอบ = ครัง้ ที่ 17

103. กำรประชุม สภำรัฐมนตรีสมำคมแห่งมหำสมุทรอินเดีย ครั้งที่เท่ำไร


ตอบ = ครั้งที่ 20

104. รัฐมนตรีท่องเที่ยวอำเซียน ครั้งที่ 24 รัฐมนตรีท่องเที่ยวอำเซียนบวกสำม (สำธำรณรัฐ


ประชำชนจีน ญี่ปุ่นและสำธำรณรัฐเกำหลี) ครั้งที่เท่ำไร
ตอบ = ครั้งที่ 20

105. คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบในหลักกำรกำรให้สิทธิขั้นพื้นฐำนด้ำนสำธำรณสุข (สิทธิฯ) กับ


บุคคลที่มีปัญหำสถำนะและสิทธิเด็กและบุคคลที่เรียนอยู่ในสถำนศึกษำ ครั้งที่เท่ำไร
ตอบ = ครั้งที่ 2

106. กำรประชุมรัฐมนตรีท่องเที่ยวอำเซียน และกำรประชุมที่เกี่ยวข้อง ผ่ำนระบบกำรประชุม


ทำงไกล ครั้งที่ เท่ำไร
ตอบ = ครั้งที่ 24

107. กำรเตรียมกำรด้ำนงบประมำณสำหรับกำรเป็นเจ้ำภำพกำรประชุมผู้นำบิมสเทค และ กำร


ประชุมที่เกี่ยวข้องในปี 2564 ครั้งที่ เท่ำไร
ตอบ = ครั้งที่ 6
108. คณะรัฐมนตรีรับทรำบตำมที่กระทรวงยุติธรรม (ยธ.) เสนอ รำยงำนผลกำรดำเนินงำน ตำม
แผนปฏิบัติกำรด้ำนกำรป้องกันและปรำบปรำมยำเสพติด พ.ศ. 2563 ซึ่งคณะรัฐนตรีได้มีมติเมื่อ
วันที่ เท่ำไร
ตอบ = วันที่ 3 พฤศจิกำยน 2563
51

109. กำรแต่งตั้งกรรมกำรผู้ช่วยรัฐมนตรี มีว่ำอย่ำงไร


ตอบ = คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตำมที่สำนักเลขำธิกำรนำยกรัฐมนตรีเสนอแต่งตั้ง นำยดิสทัต
คำประกอบ เป็นกรรมกำรผู้ช่วยรัฐมนตรี โดยให้มีผลตั้งแต่วันที่นำยกรัฐมนตรีลงนำมในประกำศ
แต่งตั้ง

110. กำรแต่งตั้งข้ำรำชกำรพลเรือนสำมัญให้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชำกำรระดับทรงคุณวุฒิ
(กระทรวงสำธำรณสุข) มีว่ำอย่ำงไร
ตอบ = คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติตำมที่รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงสำธำรณสุขเสนอแต่งตั้ง นำง
กำญจนำ คูณรังษีสมบูรณ์ นำยแพทย์เชี่ยวชำญ (ด้ำนเวชกรรม สำขำเวชศำสตร์ป้องกัน แขนง
สุขภำพจิตชุมชน) กลุ่มงำนกำรแพทย์ กลุ่มบริกำรทำงกำรแพทย์ สถำบันพัฒนำกำรเด็กรำช
นครินทร์ กรมสุขภำพจิต ให้ดำรงตำแหน่ง นำยแพทย์ทรงคุณวุฒิ (ด้ำนเวชกรรม สำขำเวชศำสตร์
ป้องกัน แขนงสุขภำพจิตชุมชน) กรมสุขภำพจิต กระทรวงสำธำรณสุข ตั้งแต่วันที่ 25 กันยำยน
2563 ซึ่งเป็นวันที่มีคุณสมบัติครบถ้วนสมบูรณ์ ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ทรงพระกรุณำโปรดเกล้ำโปรด
กระหม่อมแต่งตั้งเป็นต้นไป

111. นำยไชยำ พรหมำ ส.ส.หนองบัวลำภู พรรคเพื่อไทย (พท.) กล่ำวในกำรพิจำรณำญัตติขอ


เปิดอภิปรำยไม่ไว้วำงใจรัฐมนตรีเป็นรำยบุคคลว่ำ ผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศ
เกิดขึ้นต่อเนื่องมำ กี่ปี
ตอบ = 7 ปี

112. ภำรกิจไปดำวอังคำรครั้งแรกของจีน
สำธำรณรัฐประชำชนจีนกำลังก้ำวเข้ำสู่กำรเป็นผู้นำในด้ำนอวกำศ กับกำรส่งยำนเทียนเวิ่น-1
(Tianwen-1) ไปพร้อมกับจรวดลองมำร์ช-5 (Long March-5) เมื่อวันที่ 23 กรกฎำคม 2020
โดยที่ไม่ได้พึ่งพำประเทศอื่นเป็นครั้งแรก และคำดว่ำยำนจะลงจอดบนพื้นผิวดำวอังคำร ประมำณ
ช่วงเดือนกุมภำพันธ์ปีนี้นับเป็นอีกขั้นของควำมสำเร็จของกำรไปดำวอังคำรของจีน หำกภำรกิจ
สำเร็จ จีนจะกลำยเป็นประเทศที่ 3 ที่สำมำรถส่งยำนลงจอดดำวอังคำรได้ และจะเป็นชำติแรกที่
ได้สำรวจดำวอังคำร โดยกำรส่งยำนอวกำศในครั้งนี้มีเป้ำหมำยเพื่อเก็บข้อมูลทำงวิทยำศำสตร์ จึง
ต้องลุ้นกันต่อไปว่ำ ยำนเทียนเวิ่น-1 จะสำมำรถลงจอดบนดำวเครำะห์นี้และสร้ำงปรำกฏกำรณ์
ใหม่ให้กับโลกได้หรือไม่

113 . อียิปต์เปิดพิพิธภัณฑ์ทำงประวัติศำสตร์ที่ใหญ่ที่สุดในโลก
เรียกได้ว่ำกำรระบำดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ได้ส่งผลกระทบเป็นวงกว้ำง และนั่นก็ทำให้พิพิธภัณฑ์
ทำงโบรำณคดีที่ใหญ่ที่สุดในโลก The Grand Egyptian Museum ประเทศอียิปต์ ที่มีแพลนจะ
เปิดให้เข้ำชมในปี 2020 ต้องเลื่อนออกไป โดยคำดกำรณ์ว่ำจะเปิดให้เข้ำชมในช่วงครึ่งหลังของปี
52

นี้ควำมยิ่งใหญ่ที่รอให้ผู้คนไปสัมผัสภำยในพื้นที่ 490,000 ตำรำงเมตร อยู่ห่ำงจำกมหำพีระมิดกี


ซำเพียง 2 กิโลเมตร ที่นี่จะเป็นที่รวบรวมโบรำณวัตถุยุคอียิปต์โบรำณ รวมถึงโบรำณวัตถุอื่น ๆ ที่
ไม่เคยจัดแสดงที่ไหนมำก่อนกว่ำ 5,400 ชิ้น โดยกำรสร้ำงพิพิธภัณฑ์ได้ริเริ่มตั้งแต่ปี 2002 ด้วย
มูลค่ำโครงกำรรำว 1,000 ล้ำนดอลลำร์สหรัฐ

114. ประชุมสภำผู้แทนรำษฎร ได้ลงมติในกำรอภิปรำยไม่ไว้วำงใจรัฐมนตรีเป็นรำยบุคคล รวม


ทั้งหมด 10 คนในวันนี้ ซึ่งผลกำรลงมติพบว่ำนำยกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีอีก กี่คน
ตอบ = 9 คน

115. รัฐมนตรีที่ได้รับคะแนนไว้วำงใจน้อยสุด คือ นำยณัฎฐพล ทีปสุวรรณ รมว.ศึกษำธิกำร ส่วน


รัฐมนตรีที่ได้คะแนนไว้วำงใจมำกสุด คือใคร
ตอบ = คือนำยอนุทิน ชำญวีรกูล รองนำยกรัฐมนตรี และรมว.สำธำรณสุข

116. แนวร่วมธรรมศำสตร์และกำรชุมนุม ประกำศนัดหมำยมวลชนร่วมงำน "อภิปรำยไม่


ไว้วำงใจนอกสภำ" ในวันที่เท่ำไร
ตอบ = วันเสำร์ที่ 20 กุมภำพันธ์ 2564 เวลำ 15:00 น. เป็นต้นไป

117. พล.ต.ต.สหรัฐ ศักดิ์ศิลปชัย ปฏิบัติรำชกำรแทนผู้บัญชำกำรตำรวจนครบำล ได้สั่งกำรให้จัด


กำลังเจ้ำหน้ำที่ตำรวจชุดควบคุมฝูงชน จำนวน กี่กองร้อย
ตอบ = 12 กองร้อย

118. กลุ่มใดคือผู้ที่จะได้รับเงินเยียวยำในโครงกำร “ม.33 เรำรักกัน”


ตอบ = กลุ่มผู้ประกันตน มำตรำ 33

119. วงเงินที่จะได้รับในโครงกำร “ม.33 เรำรักกัน”คนละเท่ำไหร่


ตอบ = คนละ 4,000 บำท จ่ำยสัปดำห์ละ 1,000 บำท

120. ครม.อนุมัติหลักกำรร่ำงกฎกระทรวงใดเกี่ยวกับป้ำยทะเบียนรถ
ตอบ = กำหนดแผ่นป้ำยทะเบียนรูปแบบพิเศษ ให้มีตัวอักษรมำกกว่ำ 2 ตัว หรือตัวอักษรผสม
สระหรือวรรณยุกต์หรือตัวเลขได้
121. โครงกำร “เรำชนะ” เปิดจุดลงทะเบียนที่ใดเพิ่มเติม สำหรับกลุ่มผู้ไม่มีสมำร์ทโฟน
ตอบ = ธนำคำรออมสิน ธนำคำรเพื่อกำรเกษตรและสหกรณ์กำรเกษตร (ธ.ก.ส.) และ
ธนำคำรกรุงไทย
53

122. คุณสมบัติผู้ได้รับสิทธิโครงกำร “ม33เรำรักกัน” ต้องเป็นอย่ำงไร


ตอบ = -สัญชำติไทย
-เป็นผู้ประกันตน ม33 หรือเคยเป็นผู้ประกันตนมำตรำ 33 เมื่อวันที่ 19 ม.ค. 64
-ไม่เป็นผู้ถือบัตรสวัสดิกำรแห่งรัฐ กับฐำนข้อมูลกระทรวงกำรคลัง
-ไม่เป็นผู้ได้รับสิทธิเรำชนะกับฐำนข้อมูลกระทรวงกำรคลัง
-ไม่เป็นผู้มีบัญชีเงินฝำกรวมทุกบัญชีเกิน 500,000 บำท (ณ วันที่ 31 ธ.ค. 2563)

123. โครงกำร“เรำชนะ”เปิดจุดลงทะเบียนเพิ่มเติมธนำคำรใดบ้ำง สำหรับกลุ่มผู้ไม่มีสมำร์ทโฟน


ตอบ = -ธนำคำรออมสิน
-ธนำคำรเพื่อกำรเกษตรและสหกรณ์กำรเกษตร (ธ.ก.ส.)
-ธนำคำรกรุงไทย

124. ประเทศแรกที่ได้รับวัคซีนต้ำนโควิด-19 ผ่ำนโครงกำร COVAX จำนวน 600,000 โดสคือ


ประเทศใด
ตอบ = กำนำ

125. IOC มอบทุนสนับสนุนนักกีฬำผู้ลี้ภัยจำนวนกี่คนเตรียมลงแข่งขันโตเกียว โอลิมปิกในปีนี้


ตอบ = 55 คน

126. ประเทศไทยมีวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 อยู่ในประเทศแล้ว 317,600 โดส เป็นวัคซีนมำ


จำกที่ใด
ตอบ = Sinovac และAstraZeneca

127. ธนำคำรเพื่อกำรเกษตรและสหกรณ์กำรเกษตร (ธ.ก.ส.) ทยอยโอนเงินในโครงกำรสนับสนุน


ค่ำบริหำรจัดกำรและพัฒนำคุณภำพผลผลิตเกษตรกรผู้ปลูกข้ำว ปีกำรผลิต 2563/64 ให้แก่ผู้ใด
ในอัตรำไร่ละ 500 บำท
ตอบ = เกษตรกรที่ขึ้นทะเบียนผู้ปลูกข้ำว ปีกำรผลิต 2563/64 รอบที่ 1 กับกรมส่งเสริม
กำรเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

128. ภำครัฐออกมำตรกำรช่วยเหลือด้วยกำรลดค่ำไฟฟ้ำ และค่ำน้ำประปำ ในช่วงเดือนใดเพื่อลด


ภำระค่ำใช้จ่ำยต่ำง ๆเนื่องจำกสถำนกำรณ์กำรแพร่ระบำดของโควิด 19
ตอบ = เดือนกุมภำพันธ์-มีนำคม 2564
54

129. ผู้ใช้ไฟฟ้ำบ้ำนอยู่อำศัย ประเภท 1.1 (กำรไฟฟ้ำนครหลวง) และ 1.1.1 (กำรไฟฟ้ำส่วน


ภูมิภำค) คือ ผู้ใช้ไฟฟ้ำที่ติดตั้งมิเตอร์ไม่เกิน 5 แอมป์ และมีหน่วยกำรใช้ไฟฟ้ำไม่เกิน 150
หน่วย/เดือน จะได้รับส่วนลดคือเท่ำไหร่
ตอบ = ใช้ไฟฟรี 90 หน่วยแรก (รวมค่ำบริกำร) โดยให้เป็นส่วนลดค่ำไฟฟ้ำก่อนกำรคำนวณ
ภำษีมูลค่ำเพิ่ม ในเดือนกุมภำพันธ์ และมีนำคม 2564 และตั้งแต่หน่วยที่ 91 เป็นต้นไป คิดค่ำไฟ
ตำมปกติ

130. กลุ่ม REDEM นัดหมำยเดินขบวนขับไล่เผด็จกำร ในวันที่ เท่ำไร


ตอบ= วันที่ 28 กุมภำพันธ์ 2564 รวมตัว 15.00 เป็นต้น

131. กลุ่ม REDEM นัดหมำยเดินขบวนขับไล่เผด็จกำร โดย เดินขบวน จำก"อนุสำวรีย์ชัย" ไป ที่


ใด
ตอบ= ไป "บ้ำนพักหลวงประยุทธ์" (ค่ำยกรมทหำรรำบที่ 1 มหำดเล็กรักษำพระองค์ ใน
พระบำทสมเด็จพระวชิรเกล้ำเจ้ำอยู่หัว) ผ่ำนกำรโหวตเลือกใน

132. นำยชวน หลีกภัย ประธำนรัฐสภำ กล่ำวถึงกำรประชุมร่วมรัฐสภำ ในกำรพิจำรณำร่ำง


รัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมวันที่ 24-25 ก.พ.นี้ คำดว่ำจะใช้เวลำถึงวันที่เท่ำไร
ตอบ= 25 ก.พ. 64

133. ปชป.พร้อมผลักดันร่ำงแก้ไขรัฐธรรมนูญให้ผ่ำนวำระ กี่อย่ำง


ตอบ= 3 อย่ำงเต็มที่

134. ศูนย์เอรำวัณ กรุงเทพมหำนคร (กทม.) จำกเหตุกำรณ์ชุมนุมของกลุ่มเยำวชนปลดแอกและ


แนวร่วมในนำม REDEM (Restart Democracy)
ที่บริเวณหน้ำกรมทหำรรำบที่ 1 มหำดเล็กรักษำพระองค์ฯ (ร.1 พัน 1 รอ.) เมื่อวันที่ 28 กพ
2564 มีผู้ได้รับบำดเจ็บ กี่รำย และ เสียชีวิต กี่รำย
ตอบ = มีผู้ได้รับบำดเจ็บ 32 รำย และเสียชีวิต 1 รำย

135. โรงแรมเซ็นทำรำแกรนด์มิรำจบีชรีสอร์ท พัทยำ คว้ำรำงวัล 25 โรงแรมยอดนิยมสำหรับ


ครอบครัวที่ดีที่สุด จำกผลโหวตเว็บไซต์ดังทริปแอดไวเซอร์ ปีใด
ตอบ = ปี 2563
55

วิสัยทัศน์ พันธกิจโครงสร้ำงอำนำจหน้ำที่และภำรกิจของกรมกำรปกครองและกระทรวงมหำดไทย
แผนยุทธศำสตร์กรมกำรปกครอง พ.ศ. 2560 – 2564
วิสัยทัศน์ (Vision)
กำรบริหำรรำชกำรในระดับพื้นที่มีควำมเข้มแข็ง เพื่อควำมมั่นคงและกำรพัฒนำอย่ำงยั่งยืน
ค่ำนิยม (Core Value)
บำบัดทุกข์ บำรุงสุข
พันธกิจ (Mission)
1. บูรณำกำรกำรบริหำรรำชกำร กำรปกครองท้องที่ อำนวยควำมเป็นธรรม กำรรักษำ
ควำมสงบเรียบร้อยและควำมมั่นคงภำยในทุกระดับในพื้นที่ ให้สอดคล้องกับควำมต้องกำรของ
ประชำชน นโยบำยรัฐบำล กำรพัฒนำประเทศ และกรอบควำมร่วมมือระหว่ำงประเทศ
2. ปกป้องเทิดทูนสถำบันหลักของชำติและกำรเสริมสร้ำงควำมปรองดองสมำนฉันท์ใน
ระดับพื้นที่ให้มีควำมเข้มแข็งและมีศักยภำพ
3. อำนวยกำรบังคับใช้กฎหมำยในด้ำนกำรรักษำควำมสงบเรียบร้อยและควำมมั่นคง
ภำยใน กำรอำนวยควำมเป็นธรรมในภำรกิจกรมกำรปกครอง
4. บริกำรประชำชนด้ำนงำนทะเบียนรำษฎร บัตรประจำตัวประชำชน ทะเบียนทั่วไปและ
ทะเบียนอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับกำรรักษำควำมสงบเรียบร้อยและควำมมั่นคงภำยใน
5. บริหำรจัดกำรระบบเทคโนโลยีกำรปฏิบัติงำน กำรบริกำร และพัฒนำระบบฐำนข้อมูล
กลำง ให้มีคุณภำพ เพื่อกำรใช้ประโยชน์ร่วมกันอย่ำงบูรณำกำรของภำครัฐและภำคเอกชน รวมถึง
กำรเชื่อมโยง ฐำนข้อมูลระหว่ำงประเทศ
6. พัฒนำองค์กรให้มีสมรรถนะสูง บนฐำนธรรมำภิบำล
7. ส่งเสริมบทบำทหน้ำที่ของฝ่ำยปกครองในกำรประสำนงำน สนับสนุนและกำร
ตรวจสอบ กำกับดูแลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและส่วนรำชกำรระดับภูมิภำค
ประเด็นยุทธศำสตร์ (Strategic Issues)
1. กำรพัฒนำและเพิ่มประสิทธิภำพกำรบริหำรจัดกำรแบบบูรณำกำรในระดับพื้นที่ให้มี
ควำมเข้มแข็ง
2. กำรรักษำควำมสงบเรียบร้อยและอำนวยควำมเป็นธรรมให้สังคมสงบสุข
3. กำรเสริมสร้ำงควำมมั่นคงภำยในทุกระดับในพื้นที่ให้เข้มแข็ง มีเอกภำพ
4. กำรพัฒนำระบบบริกำรและข้อมูลบุคคลให้ทันสมัย มีคุณภำพ เพื่อควำมมั่นคงและกำร
พัฒนำประเทศ
5. กำรบริหำรจัดกำรสู่ควำมเป็นเลิศ ยึดหลักธรรมำภิบำล และพัฒนำบุคลำกรให้มี
สมรรถนะสูง
56

กระทรวงมหำดไทย
วิสัยทัศน์
“ประชำชนมีรำกฐำนกำรดำรงชีวิตและพัฒนำสู่อนำคตได้อย่ำงมั่นคงและสมดุลตำมหลักปรัชญำ
ของเศรษฐกิจพอเพียง”
รำกฐำนกำรดำรงชีวิต
– ดูแลประชำชนทุกช่วงชีวิตตั้งแต่เกิดจนตำย
– ลดควำมยำกจน
– เข้ำถึงบริกำรภำครัฐ
พัฒนำสู่อนำคต
– พัฒนำสู่ Thailand 4.0 และ S Curve
– ส่งเสริมเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล
– ส่งเสริมกำรพัฒนำภำค เมือง และพื้นที่เศรษฐกิจ
มั่นคง
– มั่นคงจำกสำธำรณภัย
– มั่นคงในพื้นที่จังหวัดชำยแดนภำคใต้
– มั่นคงในกำรถือกรรมสิทธิ์ที่ดิน
– มั่นคงในกำรรักษำควำมสงบเรียบร้อยและรับมืออภัยคุกคำม รูปแบบใหม่ เช่น ยำเสพ
ติด แรงงำนต่ำงด้ำว กำรค้ำมนุษย์ เป็นต้น
สมดุล
– สมดุลระหว่ำงคนกับคน
– สมดุลระหว่ำงคนกับธรรมชำติ
– สมดุลด้ำนสิ่งแวดล้อม
หลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง
– คำนึงถึงควำมพอประมำณ ควำมมีเหตุผล และกำรมีภูมิคุ้มกันที่ดี ในตัวภำยใต้เงื่อนไข
กำรใช้ควำมรู้ควบคู่กับกำรมีคุณธรรมเป็น พื้นฐำนในกำรตัดสินใจและกำรกระทำ
พันธกิจ
1. รักษำควำมสงบเรียบร้อย ควำมปลอดภัย และควำมมั่นคงภำยใน
2. เสริมสร้ำงควำมเข้มแข็งของชุมชนและเศรษฐกิจฐำนรำก
3. ส่งเสริมกำรพัฒนำเมืองและโครงสร้ำงพื้นฐำน
4. ส่งเสริมและสนับสนุนกำรบริหำรรำชกำรในระดับพื้นที่
57

ควำมรู้เกี่ยวกับกำรวำงแผนเชิงกลยุทธ์ กำรจัดทำแผนยุทธศำสตร์ แผนงำนและโครงกำร กำร


ติดตำมและประเมิลผล กำรบริหำรเชิงกลยุทธ์ เทคนิคและเครื่องมือกำรบริหำร กำรบริหำรงำน
ภำครัฐแนวใหม่ และกำรบริหำรองค์กร
1. กำรวำงแผนเชิงกลยุทธ์ คือ
ตอบ กำรวำงแผนที่มีกำรกำหนดวิสัยทัศน์ มีกำรกำหนดเป้ำหมำยระยะยำวที่แน่ชัด มีกำร
วิเครำะห์อนำคตและคิดเชิงกำรแข่งขันที่ต้องกำรระบบกำรทำงำนที่มีควำมสำมำรถในกำรปรับตัว
สูง

2. กำรวำงแผนกลยุทธ์มีควำมสำคัญอย่ำงไร
ตอบ 1. ช่วยให้หน่วยงำนพัฒนำตนเองได้ทันกับสภำพกำรเปลี่ยนแปลงได้อย่ำงเหมำะสม
2.กำรวำงแผนกลยุทธ์ เป็นรูปแบบกำรวำงแผนที่ช่วยให้หน่วยงำนภำครัฐในทุกระดับ มี
ควำมเป็นตัวเองมำกขึ้น รับผิดชอบต่อควำมสำเร็จและควำมล้มเหลวของตนเองมำกขึ้น ทั้งนี้
เพรำะกำรวำงแผนกลยุทธ์เป็นกำรวำงแผนขององค์กำร โดยองค์กำรและเพื่อองค์กำรไม่ใช่เป็นกำร
วำงแผนที่ต้องกระทำตำมที่หน่วยเหนือสั่งกำร
3.กำรวำงแผนกลยุทธ์ เป็นรูปแบบกำรวำงแผนที่สอดรับกับกำรกระจำยอำนำจ ซึ่งเป็น
กระแสหลักในกำรบริหำรภำครัฐในปัจจุบัน และสอดคล้องกับที่สำนักงำนคณะกรรมกำร
ข้ำรำชกำรพลเรือน ได้เตรียมออกระเบียบกำหนดให้หน่วยงำนภำครัฐทุกระดับมีกำรจัดทำแผนกล
ยุทธ์ใช้เป็นเครื่องมือ ในกำรพัฒนำงำนสู่มิติใหม่ของกำรปฏิรูประบบรำชกำร
4. กำรวำงแผนกลยุทธ์ เป็นเงื่อนไขหนึ่งของกำรจัดทำระบบงบประมำณแบบมุ่งเน้น
ผลงำน (PerformanceBase Budgeting) ซึ่งสำนักงบประมำณกำหนดให้ส่วนรำชกำรและ
หน่วยงำนในสังกัด จัดทำก่อนที่จะกระจำยอำนำจด้ำนงบประมำณโดยกำรจัดสรรงบประมำณเป็น
เงินก้อนลงไปให้หน่วยงำน
5. กำรวำงแผนกลยุทธ์ เป็นกำรวำงแผนที่ให้ควำมสำคัญต่อกำรกำหนด “กลยุทธ์” ที่ได้มำ
จำกกำรคิดวิเครำะห์แบบใหม่ ๆ ที่ไม่ผูกติดอยู่กับปัญหำเก่ำในอดีตไม่เอำข้อจำกัดทำงด้ำน
ทรัพยำกร และงบประมำณมำเป็นข้ออ้ำง ดังนั้น กำรวำงแผนกลยุทธ์จึงเป็นกำรวำงแผนแบบท้ำ
ทำยควำมสำมำรถ เป็นรูปแบบกำรวำงแผนที่ช่วยให้เกิดกำรริเริ่มสร้ำงสรรค์ทำงเลือกใหม่ได้ด้วย
ตนเอง จึงเป็นกำรวำงแผนพัฒนำที่ยั่งยืน

3. ข้อแตกต่ำงระหว่ำงกำรวำงแผนกลยุทธ์ กับกำรวำงแผนทั่วไปคือ
ตอบ กำรวำงแผนกลยุทธ์ เป็นกำรวำงแผนเพื่อนำองค์กำรไปสู่ภำพลักษณ์ใหม่ ก้ำวสู่วิสัยทัศน์
ที่ต้องกำรในอนำคต กำรวำงแผนกลยุทธ์จึงเป็นกำรวำงแผนในภำพรวมขององค์กำรทุกกลยุทธ์ที่
กำหนดขึ้นเป็นปัจจัยที่ชี้อนำคตขององค์กำรนั้น ส่วน กำรวำงแผนทั่วไป เป็นกำรวำงแผนเพื่อ
แก้ปัญหำ กำรป้องกันปัญหำ หรือกำรพัฒนำผลผลิตขององค์กำร ดังนั้น กำรวำงแผนทั่วไปจึงมี
58

จุดมุ่งหมำยเพียงเพื่อกำรให้ได้แนวทำงในกำรดำเนินงำนที่ทำให้งำนโครงกำรขององค์กำรบรรลุผล
สำเร็จอย่ำงมีประสิทธิภำพเท่ำนั้น

4. ขั้นตอนของกำรวำงแผนกลยุทธ์มีกี่ขั้นตอน
ตอบ 9 ขั้นตอน

5. ขั้นตอนแรกของกำรวำงแผนกลยุทธ์คือ
ตอบ กำรวิเครำะห์ภำรกิจหรือพันธกิจ (Mission Analysis)

6. SWOT Analysis คืออะไร


ตอบ กำรวิเครำะห์สภำพองค์กำร หรือหน่วยงำนในปัจจุบัน เพื่อค้นหำจุดแข็ง จุดเด่น จุดด้อย
หรือสิ่งที่อำจเป็นปัญหำสำคัญในกำรดำเนินงำนสู่สภำพที่ต้องกำรในอนำคต

7. ภำพในอนำคตขององค์กรที่ผู้นำและสมำชิกทุกคนร่วมกันวำดฝันหรือจินตนำกำรขึ้น เป็นกำร
ตัดสินใจเกี่ยวกับกำรกำหนดทิศทำงธุรกิจ เป็นกำรตัดสินใจที่เกี่ยวข้องกับกำรอยู่รอดทำงธุรกิจ
เรียกว่ำอะไร
ตอบ วิสัยทัศน์ (Vision)

8. เพรำะเหตุใดองค์กรจึงต้องมีกำรกำหนดวิสัยทัศน์
ตอบ 1. วิสัยทัศน์สร้ำงพลังให้กับองค์กร
2. วิสัยทัศน์ทำให้ได้เปรียบในกำรแข่งขัน

9. วิสัยทัศน์ทำให้เกิดกำรเปลี่ยนแปลงวิสัยทัศน์
กระบวนกำรสร้ำงวิสัยทัศน์มีอะไรบ้ำง
ตอบ 1.กำรระบุวัตถุประสงค์ให้ชัดเจน
2. กำรระบุภำรกิจให้ชัดเจน (Mission)
3. กำรวิเครำะห์องค์กร
4. กำรสร้ำงวิสัยทัศน์

10.ลักษณะของวิสัยทัศน์จะต้องคำนึงถึงอะไรบ้ำง
ตอบ ภำรกิจและหน่วยงำนที่รับผิดชอบ ควำมเตะตำประชำชน และสำมำรถปลุกระดม
เจ้ำหน้ำที่ให้เกิดควำมคิดควำมฝัน แรงจูงใจที่ดี และร่วมกันทำงำน
ลักษณะของวิสัยทัศน์ต้อง : จูงใจ ระดมควำมคิด ระดมพลังใจ ปลุกเร้ำ
59

11. จุดมุ่งหมำยพื้นฐำนซึ่งแสดงเหตุผลหรืออธิบำยว่ำทำไมองค์กรจึงถือกำเนิดขึ้นมำหรือดำรงอยู่
เป็นหลักกำรทีใ่ ช้เป็นแนวทำงในกำรตัดสินใจกำหนดเป้ำหมำย วัตถุประสงค์ และยุทธศำสตร์
เรียกว่ำ
ตอบ พันธกิจ

12. สภำพควำมสำเร็จของกำรดำเนินงำนในขั้นตอนสุดท้ำยของแต่ละยุทธศำสตร์ เรียกว่ำ


ตอบ เป้ำประสงค์

13. คุณลักษณะของเป้ำประสงค์ระยะยำวที่ดี คือ


ตอบ 1. กำรต้องสำมำรถวัดได้หรือตรวจนับได้
2. กำรพิจำรณำถึงควำมเป็นไปได้หรือโอกำสที่จะทำให้สำเร็จผลได้
3. กำรต้องมีควำมคล่องตัวหรือปรับตัวได้
4. กำรต้องให้ควำมสอดคล้องเข้ำกันได้กับแผนงำนอื่น ๆ

14. กลยุทธ์ คือ


ตอบ กำรตัดสินใจที่สัมพันธ์กับกำรคำดกำรณ์กำรเปลี่ยนแปลงของสภำพแวดล้อม เป็นกำร
ตัดสินใจบนฐำนของสมมติฐำนกำรปรับตัวให้เข้ำกับกำรเปลี่ยนแปลงของสภำพแวดล้อมในอนำคต

15. กำรบริหำรเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management) หมำยถึง


ตอบ กำรบริหำรหรือกำรจัดกำรธุรกิจในลักษณะที่มีกำรวิเครำะห์กำรเปลี่ยนแปลงของ
สภำพแวดล้อมทำงเศรษฐกิจ สังคม และธุรกิจ ทั้งในระยะสั้นและระยะยำว

16. วิธีกำรจัดทำแผนกลยุทธ์ที่มีประสิทธิภำพต้องทำอย่ำงไร
ตอบ กำรจัดทำแผนกลยุทธ์ที่มีประสิทธิภำพ จะสำมำรถทำได้โดยวิธีกำรจัดประชุม
คณะกรรมกำรวำงแผนของเจ้ำหน้ำที่ฝ่ำยบริหำร ทั้งนี้โดยต้องให้เป็นกำรประชุมที่มีจำนวนครั้ง
มำกพอ และลักษณะกำรประชุมจะต้องเปิดกว้ำงโดยมีกำรขยำยขอบเขตทั่วถึงทุกจุดงำนที่มี
ควำมสำคัญ พร้อมกับต้องเป็นกำรประชุมที่มีคุณภำพ ที่ผู้บริหำรทุกคนต่ำงก็ทุ่มเทเอำใจใส่ใน
ผลสำเร็จต่ำง ๆ ที่จะทำได้ด้วย ในกำรจัดประชุมวำงแผนนี้ จะมีกำรจัดกำรประชุมเพื่อพิจำรณำ
ส่วนประกอบของกำรวำงแผนแต่ละส่วนหรือหลำยส่วนรวมกันได้ ทั้งนี้สำหรับจำนวนครั้งของกำร
ประชุมจะมีมำกครั้งเพียงใดนั้น ย่อมขึ้นอยู่กับควำมยำกง่ำยของแผนงำนที่ต้องพิจำรณำ
60

17. กำรวำงแผน หมำยถึง


ตอบ กระบวนกำรวิเครำะห์และกำรตัดสินใจของผูบ้ ริหำรที่กำหนดวิธีกำรไว้ล่วงหน้ำ
อย่ำงเป็นระบบเพื่อใช้เป็นแนวทำงปฏิบัติให้บรรลุผลตำมเป้ำหมำยและวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้
อย่ำงมีประสิทธิภำพโดยนำเอำข้อมูลข่ำวสำร ( Information )ในอดีตมำกำหนดหรือพยำกรณ์
อนำคต

18. องค์ประกอบของกำรวำงแผน ได้แก่อะไรบ้ำง


ตอบ 1. กำรกำหนดจุดหมำยปลำยทำง (Ends) ที่ต้องกำรบรรลุ
2.วิธีกำรและกระบวนกำร (Means and Process)
3.ทรัพยำกร (Resources) และค่ำใช้จ่ำย (Cost)
4.กำรนำแผนไปปฏิบัติ (Implementation)
5.กำรประเมินผลแผน (Evaluation)

19. กำรแบ่งระดับของกำรวำงแผนตำมลักษณะของกำรบริหำรงำนในองค์กำร สำมำรถแบ่ง


ออกเป็นกี่ระดับ ได้แก่อะไรบ้ำง
ตอบ 3 ระดับ คือ
1. กำรวำงแผนระดับนโยบำย ( Policy Planning )
2. กำรวำงแผนกลยุทธ์ ( Strategic Planning )
3. แผนปฏิบัติกำร หรือแผนดำเนินงำน ( Operation Plan )

20. กำรวำงแผนแบบใดที่เป็นแผนระดับสูงสุดขององค์กำร มักจะระบุแนวทำงอย่ำงกว้ำงๆ


ตอบ กำรวำงแผนระดับนโยบำย ( Policy Planning )

21. กำรวำงแผนแบบใดเป็นกำรวำงแผนหลอมรวมครอบคลุมกิจกรรมทั้งหมดขององค์กำร ซึ่งเป็น


แผนงำนใหญ่ขององค์กำร มักจะเป็นแผนระยะยำว 5 – 10 ปี
ตอบ กำรวำงแผนกลยุทธ์ ( Strategic Planning )

22. กำรวำงแผนแบบใดเป็นกำรวำงแผนที่กำหนดจุดมุ่งหมำยระยะสั้น ระยะเวลำ ไม่เกิน 1 ปี


ตอบ แผนปฏิบัติกำร หรือแผนดำเนินงำน ( Operation Plan )

23. แผนปฏิบัติกำร แบ่งออกเป็นกี่ประเภท ได้แก่อะไรบ้ำง


ตอบ 2 ประเภท คือ แผนใช้ประจำ ( Standing Plans ) และแผนใช้เฉพำะครั้ง ( Single.use
Plans )
61

24. กำรวำงแผนงำนหรือโครงกำร (Project) เป็นกำรวำงแผนแบบใด


ตอบ ระดับปฏิบัติกำร เพรำะ เป็นกำรดำเนินงำนอย่ำงต่อเนื่อง มีกำรกำหนดวัตถุประสงค์ที่
ชัดเจน มีผู้รับผิดชอบ มีทรัพยำกรที่เหมำะสมและมีระยะเวลำเริ่มต้นและสิ้นสุดของกิจกรรม

25. องค์ประกอบของแผนปฏิบัติกำรจะต้องประกอบด้วยอะไร
ตอบ วัตถุประสงค์ เป้ำหมำย กิจกรรม ขั้นตอนกำรปฏิบัติ งบประมำณ ผู้รับผิดชอบ
ในกำรดำเนินงำน

26. โครงกำร (Project) หมำยถึง


ตอบ แผนงำนย่อยที่ประกอบด้วยกิจกรรมหลำยกิจกรรม ระบุรำยละเอียดชัดเจน อำทิ
วัตถุประสงค์ เป้ำหมำย ระยะเวลำที่ดำเนินกำร พื้นที่ในกำรดำเนินงำน ผู้รับผิดชอบ วิธีกำรหรือ
ขั้นตอนในกำรดำเนินงำน งบประมำณที่ใช้ในกำรดำเนินงำน ตลอดจนผลผลิตหรือผลลัพธ์ที่คำดว่ำ
จะได้รับ

27.จุดมุ่งหมำยในกำรวำงแผนโครงกำร ได้แก่
ตอบ 1. เพื่อดำเนินงำนตำมนโยบำย แผนงำน ที่รัฐบำลหรือหน่วยงำนกำหนดไว้
2.เพื่อแก้ไขปัญหำและข้อขัดข้องที่เกิดขึ้นในองค์กำรหรือสังคมและสนองตอบต่อ ควำม
ต้องกำร
3.ขององค์กำรและประชำชน
4.เพื่อพัฒนำงำนในองค์กำรและสังคม
5.เพื่อแสวงหำโอกำสและสิ่งใหม่

28. ขั้นตอนกำรวำงแผนโครงกำรในกำรปฏิบัติงำน ได้แก่


ตอบ 1. ขั้นกำรกำหนดโครงกำร
2. ขั้นกำรจัดทำรำยละเอียดของโครงกำร
3. ขั้นกำรดำเนินงำนตำมโครงกำร
4. กำรติดตำมประเมินผลโครงกำร

29. ขั้นตอนแรกของกำรวำงแผนโครงกำรในกำรปฏิบัติงำนคือขั้นตอนใด
ตอบ ขั้นกำรกำหนดโครงกำร

30. ควำมหมำยของกำรประเมินผล คือ


ตอบ กำรเปรียบเทียบผลกำรปฏิบัติงำนกับเป้ำหมำยหลังสิ้นสุดกำรปฏิบัติงำนแล้ว เพื่อให้ทรำบ
ถึงควำมก้ำวหน้ำ ควำมสำเร็จหรือควำมล้มเหลวของโครงกำร
62

31. จุดมุ่งหมำยของกำรประเมินผลโครงกำร คือ


ตอบ 1. เพื่อสนับสนุนหรือยกเลิก
2. เพื่อทรำบถึงควำมก้ำวหน้ำของกำรปฏิบัติงำนตำมโครงกำร
3. เพื่อปรับปรุงงำน
4. เพื่อศึกษำทำงเลือก (Alternative) ที่เหมำะสม
5. เพื่อขยำยผล

แนวคิดและกำรใช้เครื่องมือกำรจัดกำรในองค์กำรภำครัฐ
กำรบริหำรองค์กำรภำครัฐในปัจจุบันมีควำมสลับซับซ้อนกว่ำในอดีตค่อนข้ำงมำก อัน
เนื่องมำจำกปัจจัยทั้งภำยในและภำยนอกองค์กำร เช่น แรงกดดันเรื่องกำรจัดกำรต้นทุน ข้อจำกัด
ในเรื่องคุณภำพกำรบริกำร กระบวนกำรทำงำนและกำรบริหำรที่ล่ำช้ำ ปัญหำควำมไม่โปร่งใสใน
กำรทำงำน ควำมหลำกหลำยของควำมต้องกำรของผู้ใช้บริกำร ควำมรุนแรงในกำรแข่งขัน กระแส
ควำมนิยมของเครื่องมือกำรจัดกำร ควำมต้องกำรได้รับกำรยอมรับจำกสำธำรณชนหรือองค์กำร
อื่น กำรผลักดันจำกหน่วยงำนกลำงภำครัฐในกำรใช้เครื่องมือกำรจัดกำร
ตลอดจนนโยบำยของรัฐบำลที่ต้องกำรปรับปรุงองค์กำรภำครัฐให้มีกำรทำงำนได้อย่ำงมี
ประสิทธิภำพและประสิทธิผลมำกยิ่งขึ้นประกอบกับกระแสแนวคิดกำรจัดกำรภำครัฐแนวใหม่
(New Public Management–NPM) ที่ได้แพร่หลำยในหลำยประเทศ ปัจจัยต่ำง ๆ เหล่ำนี้จึงทำ
ให้องค์กำรภำครัฐได้มีกำรนำเครื่องมือกำรจัดกำร (Management Tools) ต่ำง ๆ มำใช้ใน
องค์กำรภำครัฐเพื่อปรับปรุงกำรดำเนินงำนที่ผ่ำนมำองค์กำรภำครัฐได้ใช้ทรัพยำกรทั้งด้ำนทุน
เวลำ และกำลังคนเป็นอย่ำงมำกในกำรนำเครื่องมือกำรจัดกำรมำใช้เพื่อมุ่งเสริมองค์กำรภำครัฐให้
มีกำรบริกำรประชำชนและองค์กำรอื่น ๆ ให้ดีขึ้น สอดรับกับกำรเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมต่ำง
ๆ และในอนำคตองค์กำรเหล่ำนี้ยังจะต้องเตรียมรับกับเครื่องมือกำรจัดกำรใหม่ ๆ ที่จะมีเพิ่มขึ้น
อีก
ควำมหมำยเครื่องมือกำรจัดกำร
Donnelly et al (1992: 5) ให้คำจำกัดควำมของกำรจัดกำรว่ำ หมำยถึง กระบวนกำรที่
บุคคลหรือกลุ่มบุคคลดำเนินกำรเพื่อประสำนกิจกรรมของบุคคลอื่นให้บรรลุผลสำเร็จในสิ่งที่บุคคล
คนเดียวไม่สำมำรถกระทำได้โดยลำพัง
Peter Drucker ได้ให้ควำมหมำยกำรจัดกำรว่ำ หมำยถึง “กำรนำควำมคิดมำใช้แทนกำรใช้
กำลังและกล้ำมเนื้อ กำรนำควำมรู้มำใช้แทนกำรใช้นิสัยควำมเคยชินและควำมเชื่อ และกำรใช้
ควำมร่วมมือแทนกำรใช้กำลังบังคับ” (Quatationspage, 2007)
ควำมหมำยเครื่องมือกำรจัดกำร
Robbins & Coulter (2003: 6) ได้ให้ควำมหมำยกำรจัดกำรว่ำหมำยถึง กระบวนกำรใน
กำรประสำนกิจกรรมกำรทำงำนเพื่อให้งำนสำเร็จลงได้อย่ำงมีประสิทธิภำพและประสิทธิผลโดย
อำศัยกำรทำงำนร่วมกับหรือโดยบุคคลอื่น (The process of coordinating work activities so
63

that they are completed efficiently and effectively with and through other
people.)
ควำมหมำยเครื่องมือกำรจัดกำร
รำชบัณฑิตยสถำนของประเทศไทย (2546: 261) ได้ให้ควำมหมำยของ คำว่ำ “จัดกำร”
ว่ำหมำยถึง สั่งงำน ควบคุมงำน หรือกำรดำเนินงำน
ส่วนควำมหมำยของคำว่ำ “เครื่องมือ” รำชบัณฑิตยสถำน (2546: 261) ได้ให้
ควำมหมำยว่ำ หมำยถึง สิ่งของสำหรับใช้ในกำรงำน ส่วน Chappell & Kacelnik (2004) ได้ให้
ควำมหมำยของคำว่ำ เครื่องมือ (Tool) คือ สิ่งที่ช่วยในกำรอำนวยควำมสะดวกและสร้ำงควำม
ได้เปรียบในกำรทำงำนและพจนำนุกรมออนไลน์เอนคำร์ตำ (Encarta, 2007) ให้ควำมหมำย
เครื่องมือว่ำคือสิ่งที่ออกแบบมำเพื่อใช้งำนเฉพำะอย่ำง
เครื่องมือกำรจัดกำรหมำยถึง แนวคิดวิธีกำรหรือสิ่งที่ช่วยอำนวยควำมสะดวกในกำร
ประสำนกิจกรรมในกำรทำงำน โดยอำศัยควำมคิด ควำมรู้ และควำมร่วมมือของบุคคลอื่น
แนวคิดเรื่องกำรจัดกำรได้มีพัฒนำกำรมำนำนแล้ว นับตั้งแต่กำรสร้ำง ปิรำมิดในอียิปต์
เมื่อประมำณ 2,700 ปีก่อนคริสต์ศักรำช ซึ่งได้ใช้แนวคิดกำรจัดกำรในกำรระดมคนจำนวนมำก
ให้ทำงำนที่ยิ่งใหญ่ได้ รำว 400 ปีก่อนคริสต์ศักรำช ซุนหวู่ได้เขียนหนังสือเรื่องศิลปะของสงครำม
(The Art of War) ซึ่งกล่ำวถึงหลักของกำรเป็นผู้นำ ในปี ค.ศ. 1513 แม็คเคียเวลลี
(Machiavelli) เขียนหนังสือเรื่อง The Prince เกี่ยวกับเทคนิคของผู้นำในกำรปกครองและในปี
ค.ศ. 1776 อดัม สมิธ (Adam Smith) ได้เขียนหนังสือเรื่องควำมมั่งคั่งแห่งรัฐ (The Wealth of
Nations) และได้นำเสนอเรื่องหลักกำรแบ่งงำนกันทำ (Division of Labor) ซึ่งเป็นแนวคิดที่
สำคัญในกำรจัดโครงสร้ำงองค์กำรซึ่งมีอิทธิพลต่อนักคิดหลำยท่ำน (Gomez-Mejia, Balkin &
Cardy, 2005)
อย่ำงไรก็ตำมทฤษฎีกำรจัดกำรได้เริ่มขึ้นอย่ำงเป็นระบบเมื่อประมำณทศวรรษที่ 1900
และพัฒนำต่อเนื่องมำจนถึงปัจจุบัน เครื่องมือกำรจัดกำรได้รับกำรประยุกต์เพื่อรองรับแนวคิดหรือ
ทฤษฎีกำรจัดกำร และทำให้กำรประยุกต์แนวคิดกำรจัดกำรไปสู่กำรปฏิบัติได้ง่ำยขึ้น นักวิชำกำร
ได้แบ่งประเภทเครื่องมือกำรจัดกำรหลำยแบบ เช่น สตีเวนและคณะ (Steven et al., 2003) ได้
จำแนกเครื่องมือกำรจัดกำร 56 ชนิด โดยพิจำรณำจำกจุดเน้นของเครื่องมือเหล่ำนั้น เกณฑ์ที่ใช้
แบ่งประเภทเครื่องมือกำรจัดกำร ได้แก่ กลยุทธ์ องค์กำร กระบวนกำรหลัก (Primary Process)
กระบวนกำรตำมหน้ำที่ (Functional Processes) และคนและพฤติกรรม (People and
Behavior)ส่วนเทิร์นเนอร์ (Turner, 2003) ได้จำแนกเครื่องมือกำรจัดกำร 94 ชนิดโดย
พิจำรณำจำกกระบวนกำรที่ใช้ในเครื่องมือกำรจัดกำรแต่ละชนิด ได้แก่ กำรวิเครำะห์ ควำมคิด
สร้ำงสรรค์ กำรแก้ปัญหำ กำรติดต่อสื่อสำร กำรวำงแผนโครงกำร กำรปรับปรุงประสิทธิภำพ กำร
ปรับปรุงภำยนอก กำรขำยและกำรตลำด กำรอภิปรำย และกลยุทธ์ อย่ำงไรก็ตำมเกณฑ์ของเทิร์น
เนอร์ได้รวบรวมเครื่องมือกำรจัดกำรไว้ค่อนข้ำงจะครอบคลุมและช่วยทำให้ทรำบว่ำเครื่องมือแต่
64

ละชนิดมีกระบวนกำรช่วยในเรื่องอะไรบ้ำง แต่เนื่องจำกเกณฑ์เหล่ำนี้มีค่อนข้ำงมำกเกินไป จึงทำ


ให้ยุ่งยำกต่อกำรประยุกต์ใช้
หำกจัดประเภทของเครื่องมือกำรจัดกำรโดยอิงกับแนวคิดกำรจัดทฤษฎีองค์กำรตำม
แนวคิดของสก๊อตต์ (Scott, 2003) และได้จัดประเภทเครื่องมือกำรจัดกำรเป็น 4 กลุ่มแนวคิด
โดยแต่ละกลุ่มจำแนกตำมระดับของกำรวิเครำะห์ (Level of Analysis) หรือระดับกำรใช้งำนแบ่ง
ได้เป็น 3 ระดับ คือระดับองค์กำร (Organization) ระดับกลุ่ม (Group) และระดับปัจเจกบุคคล
(Individual) ดังนี้
1) แนวคิดกำรจัดกำรแบบเหตุผลนิยมระบบปิด เกิดขึ้นในช่วงทศวรรษที่ 1900-1930
แนวคิดกำรจัดกำรแบบเหตุผลนิยมระบบปิดที่สำคัญ คือ แนวคิดกำรจัดกำรแบบวิทยำศำสตร์
(Scientific Management) ซึ่งเป็นกำรจัดกำรที่อำศัยข้อเท็จจริง ไม่ใช้กำรคำดเดำ และรวมถึง
กำรศึกษำเกี่ยวกับเวลำและกำรเคลื่อนไหว (Time and Motion Study) เพื่อหำวิธีกำรทำงำนที่มี
กำรเคลื่อนไหวร่ำงกำยให้น้อยที่สุด โดยใช้เวลำน้อยที่สุด เพื่อให้กำรทำงำนเกิดประสิทธิภำพสูงสุด
นอกจำกนี้ยังรวมถึงทฤษฎีกำรบริหำร (Administrative Theories) ซึ่งเน้นหน้ำที่ของผู้บริหำร
หรือกำรบริหำร และทฤษฎีระบบรำชกำร (Bureaucracy) กล่ำวถึงลักษณะโครงสร้ำงองค์กำรที่มี
กำรแบ่งงำนกันทำ มีกำรกำหนดหน้ำที่ควำมรับผิดชอบ มีกฎระเบียบ ไม่นำควำมสัมพันธ์ส่วนตัว
มำใช้เน้นควำมเป็นเลิศในด้ำนกำรทำงำน แนวคิดทั้งสำมนี้เป็นพื้นฐำนขององค์กำรแบบเครื่องจักร
ซึ่งให้ควำมสำคัญกับประสิทธิภำพในกำรทำงำน และกำรควบคุมมำก แต่ถูกวิจำรณ์ว่ำแนวคิดนี้ได้
ละเลยควำมสำคัญของมนุษย์ (Organization without Man) เมื่อพิจำรณำจำกระดับของกำร
วิเครำะห์ พบว่ำแนวคิดกำรจัดกำรแบบวิทยำศำสตร์จัดเป็นเครื่องมือกำรจัดกำรระดับบุคคล ส่วน
ทฤษฎีกำรบริหำรและระบบรำชกำรจัดอยู่ในระดับองค์กำร (Scott, 2003; Narayanan &
Nath, 1993)
2) แนวคิดกำรจัดกำรแบบมนุษยนิยมระบบปิด แนวคิดนี้ได้พัฒนำต่อเนื่องจำกยุคแรก คือ
เกิดขึ้นในทศวรรษที่ 1930 โดยทฤษฎีกำรจัดกำรได้ปรับเปลี่ยนมำให้ควำมสำคัญกับมนุษย์มำก
ขึ้น โดยเริ่มจำกกำรทดลองที่ ฮอร์โธรน (Hawthrone Studies) ซึ่งทำให้มีกำรสนใจเรื่องอำรมณ์
ควำมรู้สึกและทัศนคติของคนมำกขึ้นว่ำมีควำมสัมพันธ์กับประสิทธิภำพของงำนอย่ำงไร แนวคิด
สำคัญที่เกิดขึ้นในยุคนี้ ได้แก่ แนวคิดมนุษยสัมพันธ์ (Human Relations) แนวคิดทรัพยำกร
มนุษย์ (Human Resources) ซึ่งรวมถึงทฤษฎีแรงจูงใจต่ำงๆ ทฤษฎี X ทฤษฎี Y แนวคิด
ทรัพยำกรมนุษย์จัดเป็นกำรวิเครำะห์ทั้งในระดับกลุ่มและระดับบุคคล ส่วนแนวคิดมนุษยสัมพันธ์
จัดอยู่ในระดับบุคคล (Scott, 2003)
3) แนวคิดกำรจัดกำรแบบเหตุผลนิยมระบบเปิด แนวคิดกำรจัดกำรแบบนี้เกิดขึ้นหลัง
แนวคิดเรื่องมนุษยสัมพันธ์ คือรำวช่วงทศวรรษที่ 1950 โดยมีฐำนคติว่ำเทคนิคด้ำนคณิตศำสตร์
สำมำรถช่วยปรับปรุงกำรตัดสินใจและกำรแก้ปัญหำได้ ดังนั้นจึงมีกำรนำเทคนิคด้ำนคณิตศำสตร์
มำใช้แก้ปัญหำทำงกำรบริกำร เช่น เทคนิคในกำรพยำกรณ์ (Mathematical Forecasting) ตัว
แบบคณิตศำสตร์เพื่อใช้ในกำรควบคุมสินค้ำคงคลัง (Inventory Modeling)กำรสร้ำงแบบจำลอง
65

(Simulation) เป็นกำรสร้ำงตัวแบบปัญหำซึ่งมีวิธีกำรแก้ไขในหลำย ๆ วิธีภำยใต้ฐำนคติที่ต่ำงกัน


นอกจำกนี้ยังมีกำรตัดสินใจโดยใช้หลักเกณฑ์ทำงเศรษฐศำสตร์ เช่น ต้นทุน รำยรับ ผลตอบแทน
ต่อกำรลงทุน ในยุคนี้จึงจัดได้ว่ำมีกำรนำกำรจัดกำรเชิงปริมำณ (Quantitative Approach to
Management) มำใช้
นอกจำกนี้ในช่วงประมำณ 1960 ได้มีกำรตระหนักว่ำไม่มีทฤษฎีหรือวิธีกำรใดที่สำมำรถ
ประยุกต์ใช้ได้กับทุกสถำนกำรณ์ ดังนั้นแนวคิดของกำรจัดกำรแบบนี้ คือ กำรคิดอย่ำงเป็นระบบ
(Systems Thinking) ระบบเปิด (Open Systems) กำรคิดตำมสถำนกำรณ์ (Contingency
Thinking) แนวคิดนี้ยังครอบคลุมถึงเครื่องมือกำรจัดกำรอื่น ๆ ด้วยที่มีแนวคิดสอดคล้องกัน เช่น
กำรวำงแผนกลยุทธ์ รีเอ็นจิเนียริ่ง ต้นทุนกิจกรรม กรอบงบประมำณรำยจ่ำยล่วงหน้ำระยะปำน
กลำง (Medium-Term Expenditure Framework-MTEF)กำรวิเครำะห์มูลค่ำเพิ่มทำงเศรษฐกิจ
(Economic Value-Added Analysis-EVA) และกำรจัดหำทำงอิเล็กทรอนิกส์และเมื่อพิจำรณำ
ระดับกำรวิเครำะห์แล้วพบว่ำกำรนำกำรคำนวณเชิงปริมำณมำใช้ในกำรบริหำร กำรวำงแผนกล
ยุทธ์ กำรจัดกำรตำมสถำนกำรณ์ รีเอ็นจิเนียริ่ง MTEF และ EVA เป็นเครื่องมือที่มีระดับกำร
วิเครำะห์ในระดับองค์กำร ส่วนกำรวิเครำะห์ต้นทุนกิจกรรม และกำรจัดหำทำงอิเล็กทรอนิกส์เป็น
กำรวิเครำะห์ระดับกลุ่ม
4) แนวคิดกำรจัดกำรแบบมนุษยนิยมระบบเปิด ในยุคนี้มีกำรผสมผสำนแนวคิดที่ให้
ควำมสำคัญกับมนุษย์และสิ่งแวดล้อม ในยุคนี้มีกำรจัดกำรใหม่ ๆ เกิดขึ้นมำกมำย อำทิ Balanced
Scorecard, Learning Organization, Knowledge Management, TQM, PMQA, Core
Competencies
เครื่องมือกำรจัดกำรตำมแนวคิดนี้มีกำรวิเครำะห์ทั้งสำมระดับ กล่ำวคือเครื่องมือกำร
จัดกำรที่ใช้ในระดับองค์กำร ได้แก่ Learning Organization, Knowledge-based
Organization, TQM, BSC, PMQA, CRM, Six Sigma, Supply Chain Management ส่วน
เครื่องมือกำรจัดกำรที่ใช้ในระดับกลุ่ม ได้แก่ BSC, Core Competencies, Organization
Learning ส่วนเครื่องมือกำรจัดกำรที่ใช้ในระดับบุคคล ได้แก่ BSC, Core Competencies,
Organization Learning, Knowledge Management และ e-Learning
เครื่องมือกำรจัดกำรของประเทศไทย
รัฐบำลชุดต่ำง ๆ ได้มีกำรกำหนดนโยบำยในกำรปรับปรุงรำชกำรมำอย่ำงต่อเนื่อง ใน
แผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ ฉบับที่ 1-2 ได้มุ่งให้ควำมสำคัญกับโครงสร้ำงพื้นฐำนและ
ด้ำนเกษตรกรรม ในแผนพัฒนำ ฯ ฉบับที่ 3 ได้มีกำรกำหนดให้มีกำรปรับปรุงระบบกำรทำงำน
ของรัฐวิสำหกิจ แผนพัฒนำ ฯ ฉบับที่ 5 ได้มีเนื้อหำเกี่ยวกับกำรปฏิรูประบบกำรบริหำรงำนพัฒนำ
ของรัฐเพื่อให้เกิดควำมสอดคล้องกับโครงสร้ำงทำงเศรษฐกิจและสังคมที่มีควำมทันสมัยมำกยิ่งขึ้น
สำหรับแผนพัฒนำ ฯ ฉบับที่ 6 ได้มีส่วนเกี่ยวข้องกับกำรนำเครื่องมือกำรจัดกำรมำใช้ในภำครัฐ
อย่ำงชัดเจนและเป็นรูปธรรมมำกขึ้น โดยมีกำรระบุไว้ในแผนว่ำ “ปรับเครื่องมือกำรบริหำรที่รัฐมี
อยู่ให้มีประสิทธิภำพมำกยิ่งขึ้น โดยเฉพำะกลไกกำรประชำสัมพันธ์เพื่อกำรพัฒนำ และลดปัญหำ
66

อุปสรรคกำรพัฒนำอันเกิดจำกกฎระเบียบต่ำง ๆ ของภำครำชกำร ...กำรปรับปรุงขั้นตอนกำร


ให้บริกำรให้รวดเร็วและมีประสิทธิภำพมำกยิ่งขึ้น...มอบหมำยให้องค์กรกลำงเป็นผู้รับผิดชอบใน
กำรติดตำมดูแลให้หน่วยรำชกำรต่ำง ๆ มีแผนปฏิบัติกำรในกำรปรับปรุงคุณภำพกำรให้บริกำร”
ในแผนพัฒนำ ฯ ฉบับที่ 7 ได้มีกำรลดขนำดหน่วยงำนภำครัฐปรับโครงสร้ำงเงินเดือน มีกำรใช้
มำตรกำรจ้ำงเหมำเข้ำมำใช้ในองค์กำรภำครัฐ ส่วนแผนพัฒนำ ฯ ฉบับที่ 8 ได้กำหนดกำรแปลง
แผนไปสู่กำรปฏิบัติเพื่อเพิ่มประสิทธิภำพกำรทำงำน มุ่งเน้นให้เกิดกำรเรียนรู้และเสริมสร้ำง
ควำมสำมำรถร่วมกันทุกขั้นตอน รวมถึงกำรกำหนดแนวทำง ขั้นตอนกำรทำงำน และตัวชี้วัด
ควำมสำเร็จร่วมกันทุกองค์กำรทั้งในส่วนของภำครัฐภำคเอกชน และภำคประชำชน
ในแผนพัฒนำ ฯ ฉบับที่ 9 ได้กล่ำวถึงกำรสร้ำงระบบบริหำรจัดกำรที่ดีในสังคมไทย แนวทำงทั้งใน
ส่วนของโครงสร้ำงและระบบกำรทำงำน ระบบงบประมำณ ปรับปรุงระบบกฎหมำย ระบบข้อมูล
สำรสนเทศ และวัฒนธรรมในกำรทำงำนที่สร้ำงสรรค์แก่ประชำชน รวมถึงได้มีกำรกำหนดพระรำช
กฤษฎีกำรองรับกำรบริหำรรำชกำรให้สัมฤทธิ์ผลด้วย
ส่วนในแผนพัฒนำ ฯ ฉบับที่ 10 ได้อัญเชิญ “ปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง” มำเป็นแนว
ปฏิบัติ มีกำรบริหำรจัดกำรองค์ควำมรู้อย่ำงเป็นระบบ รวมถึงกำรนำเทคโนโลยีมำปรับใช้กับ
สังคมไทยอย่ำงเหมำะสม
ที่ผ่ำนมำ องค์กำรภำครัฐในประเทศไทยได้พยำยำมพัฒนำเครื่องมือกำรจัดกำรเพื่อให้มี
ควำมสอดคล้องกับบริบทของประเทศ และประหยัดค่ำใช้จ่ำยของภำครัฐ ตัวอย่ำงเช่น ระบบ
มำตรฐำนสำกลของประเทศไทยด้ำน กำรจัดกำรและสัมฤทธิ์ผลของงำนภำครัฐ
(Thailand International Public Sector Standard Management System and
Outcomes–P.S.O.) โดยสำนักงำนคณะกรรมกำรข้ำรำชกำรพลเรือน เป็นผู้รับผิดชอบ
นอกจำกนี้ยังมี รำงวัลคุณภำพแห่งชำติของประเทศไทย (Thailand Quality Award-TQA)
ซึ่งมีเกณฑ์เช่นเดียวกับรำงวัลคุณภำพของประเทศสหรัฐอเมริกำ (Malcom Baldrige National
Quality Award-MBNQA) รำงวัลนี้เริ่มต้นเมื่อ พ.ศ. 2539โดยมีสถำบันเพิ่มผลผลิตแห่งชำติเป็น
หน่วยงำนหลักในกำรประสำนงำนและผลักดันให้องค์กำรต่ำง ๆนำเกณฑ์รำงวัลคุณภำพไปใช้
(สำนักเลขำนุกำรคณะกรรมกำรรำงวัลคุณภำพแห่งชำติ, 2547) และกำรพัฒนำคุณภำพกำร
บริหำรจัดกำรภำครัฐ (Public Sector Management Quality Award-PMQA) ซึ่งสำนักงำน
ก.พ.ร. ได้นำหลักเกณฑ์ของรำงวัล MBNQA ของประเทศสหรัฐอเมริกำมำใช้กับระบบรำชกำรไทย
โดยร่วมกับสถำบันเพิ่มผลผลิตแห่งชำติในกำรจัดทำเกณฑ์ และจัดอบรมผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อเป็นที่
ปรึกษำและผู้ตรวจประเมินภำยนอก
หน่วยงำนที่เกีย่ วข้องในกำรนำเครื่องมือกำรจัดกำรมำใช้ในองค์กำรภำครัฐ
หน่วยงำนที่มีบทบำทสำคัญในกำรผลักดันให้องค์กำรภำครัฐนำเครื่องมือกำรจัดกำรไปใช้ ซึ่ง
ประกอบด้วยหน่วยงำน อำทิ สำนักงำนคณะกรรมพัฒนำระบบรำชกำร (สำนักงำน ก.พ.ร.)
สำนักงำนคณะกรรมกำรข้ำรำชกำรพลเรือน(สำนักงำน ก.พ.) สำนักงบประมำณ กรมบัญชีกลำง
สำนักงำนคณะกรรมกำรนโยบำยรัฐวิสำหกิจ (สคร.) ที่มำ : รศ.ดร.ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์
67

กำรบริหำรงำนภำครัฐแนวใหม่และกำรบริหำรองค์กร
ควำมหมำยของกำรบริหำรงำนภำครัฐแนวใหม่
กำรบริหำรงำนภำครัฐแนวใหม่ (New Public Management) คือ กำรปรับเปลี่ยนกำร
บริหำรจัดกำรภำครัฐโดยนำหลักกำรเพิ่มประสิทธิภำพของระบบรำชกำรและกำรแสวงหำ
ประสิทธิภำพในกำรปฏิบัติรำชกำรที่มุ่งสู่ควำมเป็นเลิศ โดยกำรนำเอำแนวทำงหรือวิธีกำร
บริหำรงำนของภำคเอกชนมำปรับใช้กับกำรบริหำรงำนภำครัฐ เช่น กำรบริหำรงำนแบบมุ่งเน้น
ผลสัมฤทธิ์ กำรบริหำรงำนแบบมืออำชีพ กำรคำนึงถึงหลักควำมคุ้มค่ำ กำรจัดกำรโครงสร้ำงที่
กะทัดรัดและแนวรำบ กำรเปิดโอกำสให้เอกชนเข้ำมำแข่งขันกำรให้บริกำรสำธำรณะ กำรให้
ควำมสำคัญต่อค่ำนิยม จรรยำบรรณวิชำชีพ คุณธรรมและจริยธรรม ตลอดทั้งกำรมุ่งเน้นกำร
ให้บริกำรแก่ประชำชนโดยคำนึงถึงคุณภำพเป็นสำคัญ เหตุผลที่ต้องนำแนวคิดกำรบริหำรงำน
ภำครัฐแนวใหม่มำใช้
1.กระแสโลกำภิวัตน์ ส่งผลให้สภำพแวดล้อมทั้งภำยในและภำยนอกประเทศเปลี่ยนแปลง
ไปอย่ำงรวดเร็วจึงมีควำมจำเป็นอย่ำงยิ่งสำหรับองค์กรทั้งภำครัฐและเอกชน ที่ต้องเพิ่มศักยภำพ
และควำมยืดหยุ่นในกำรปรับเปลี่ยนเพื่อตอบสนองควำมต้องกำรของระบบที่เปลี่ยนแปลงไป
2.ระบบรำชกำรไทยมีปัญหำที่สำคัญคือ ควำมเสื่อมถอยของระบบรำชกำร และขำดธรร
มำภิบำล ถ้ำภำครัฐไม่ปรับเปลี่ยนและพัฒนำกำรบริหำรจัดกำรของภำครัฐเพื่อไปสู่องค์กรสมัยใหม่
โดยยึดหลักธรรมำภิบำล ก็จะส่งผลบั่นทอนควำมสำมำรถในกำรแข่งขันของประเทศ ทั้งยังเป็น
อุปสรรคต่อกำรพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมในอนำคตด้วย
ดังนั้นกำรบริหำรจัดกำรภำครัฐแนวใหม่( New Public Management) จึงเป็นแนวคิด
พื้นฐำนของกำรบริหำรจัดกำรภำครัฐซึ่งจะนำไปสู่กำรเปลี่ยนแปลงระบบต่ำง ๆ ของภำครัฐและ
ยุทธศำสตร์ด้ำนต่ำง ๆ ที่เป็นรูปธรรม มีแนวทำงในกำรบริหำรจัดกำรดังนี้
1.กำรให้บริกำรที่มีคุณภำพแก่ประชำชน
2.ลดกำรควบคุมจำกส่วนกลำงและเพิ่มอิสระในกำรบริหำรให้แก่หน่วยงำน
3.กำรกำหนด กำรวัด และกำรให้รำงวัลแก่ผลกำรดำเนินงำนทั้งในระดับองค์กร และระดับ
บุคคล
4.กำรสร้ำงระบบสนับสนุนทั้งในด้ำนบุคลำกร (เช่น กำรฝึกอบรม ระบบค่ำตอบแทนและ
ระบบคุณธรรม) เทคโนโลยี เพื่อช่วยให้หน่วยงำนสำมำรถทำงำนได้อย่ำงบรรลุวัตถุประสงค์
5.กำรเปิดกว้ำงต่อแนวคิดในเรื่องของกำรแข่งขัน ทั้งกำรแข่งขันระหว่ำงหน่วยงำนของรัฐ
ด้วยกัน และระหว่ำงหน่วยงำนของรัฐกับหน่วยงำนของภำคเอกชน ในขณะเดียวกันภำครัฐก็หันมำ
ทบทวนตัวเองว่ำสิ่งใดควรทำเองและสิ่งใดควรปล่อยให้เอกชนทำ
แนวคิดกำรบริหำรจัดกำรภำครัฐแนวใหม่
หลักใหญ่ของกำรจัดกำรภำครัฐแนวใหม่ คือ กำรเปลี่ยนระบบรำชกำรที่เน้นระเบียบและ
ขั้นตอนไปสู่กำรบริหำรแบบใหม่ซึ่งเน้นผลสำเร็จและควำมรับผิดชอบ รวมทั้งใช้เทคนิคและวิธีกำร
ของเอกชนมำปรับปรุงกำรทำงำน
68

Hood เห็นว่ำสิ่งที่เรียกว่ำ “กำรจัดกำรภำครัฐแนวใหม่” มีหลักสำคัญ 7 ประกำร คือ


1.จัดกำรโดยนักวิชำชีพที่ชำนำญกำร (Hands-on professional management)
หมำยถึง ให้ผู้จัดกำรมืออำชีพได้จัดกำรด้วยตัวเอง ด้วยควำมชำนำญ โปร่งใส และมีควำมสำมำรถ
ในกำรใช้ดุลพินิจ เหตุผลก็เพรำะเมื่อผิดชอบต่อหน้ำที่ที่ได้รับมอบหมำยแล้ว ก็จะเกิดควำม
รับผิดชอบต่อกำรตรวจสอบจำกภำยนอก
2.มีมำตรฐำนและกำรวัดผลงำนที่ชัดเจน (Explicit standards and measures of
performance) ภำครัฐจึงต้องมีจุดมุ่งหมำยและเป้ำหมำยของผลงำน และกำรตรวจสอบจะมีได้ก็
ต้องมีจุดมุ่งหมำยที่ชัดเจน
3.เน้นกำรควบคุมผลผลิตที่มำกขึ้น (Greater emphasis on output controls) กำรใช้
ทรัพยำกรต้องเป็นไปตำมผลงำนที่วัดได้ เพรำะเน้นผลสำเร็จมำกกว่ำระเบียบวิธี
4.แยกหน่วยงำนภำครัฐออกเป็นหน่วยย่อยๆ (Shift to disaggregation of units in the
public sector) กำรแยกหน่วยงำนใหญ่ออกเป็นหน่วยงำนย่อยๆ ตำมลักษณะสินค้ำและบริกำรที่
ผลิต ให้เงินสนับสนุนแยกกัน และติดต่อกันอย่ำงเป็นอิสระ
5.เปลี่ยนภำครัฐให้แข่งขันกันมำกขึ้น (Shift to greater competition in the public
sector) เป็นกำรเปลี่ยนวิธีทำงำนไปเป็นกำรจ้ำงเหมำและประมูล เหตุผลก็เพื่อให้ฝ่ำยที่เป็น
ปรปักษ์กัน (rivalry) เป็นกุญแจสำคัญที่จะทำให้ต้นทุนต่ำและมำตรฐำนสูงขึ้น
6.เน้นกำรจัดกำรตำมแบบภำคเอกชน (Stress on private sector styles of
management practice) เปลี่ยนวิธีกำรแบบข้ำรำชกำรไปเป็นกำรยืดหยุ่นในกำรจ้ำงและให้
รำงวัล
7.เน้นกำรใช้ทรัพยำกรอย่ำงมีวินัยและประหยัด (Stress on greater discipline and
parsimony in resource use) วิธีนี้อำจทำได้ เช่น กำรตัดค่ำใช้จ่ำย เพิ่มวินัยกำรทำงำน หยุดยั้ง
กำรเรียกร้องของสหภำพแรงงำน จำกัดต้นทุนกำรปฏิบัติ เหตุผลก็เพรำะต้องกำรตรวจสอบควำม
ต้องกำรใช้ทรัพยำกรของภำครัฐ และ “ทำงำนมำกขึ้นโดยใช้ทรัพยำกรน้อยลง” (do more with
less)
รูปแบบกำรนำกำรบริหำรจัดกำรภำครัฐแนวใหม่มำใช้ในระบบรำชกำรไทย
1.พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2545 เหตุผลในกำร
ตรำพระรำชบัญญัตินี้คือ เพื่อเป็นกำรปรับปรุงระบบบริหำรรำชกำรเพื่อให้สำมำรถปฏิบัติงำน
ตอบสนองต่อกำรพัฒนำประเทศและกำรให้บริกำรแก่ประชำชนได้อย่ำงมีประสิทธิภำพยิ่งขึ้นโดย
กำหนดให้กำรบริหำรรำชกำรแนวทำงใหม่ต้องมีกำร กำหนดนโยบำย เป้ำหมำย และแผนกำร
ปฏิบัติงำนเพื่อให้สำมำรถประเมินผลกำรปฏิบัติรำชกำรในแต่ละระดับได้อย่ำงชัดเจน มีกรอบกำร
บริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดีเป็นแนวทำงในกำรกำกับกำรกำหนดนโยบำยและกำรปฏิบัติรำชกำร
และเพื่อให้กระทรวงสำมำรถจัดกำรบริหำรงำนให้เป็นไป ตำมเป้ำหมำยได้ จึงกำหนดให้มีรปู แบบ
กำรบริหำรใหม่ โดยกระทรวงสำมำรถแยกส่วนรำชกำรจัดตั้งเป็นหน่วยงำนตำมภำระหน้ำที่
เพื่อให้เกิดควำมคล่องตัวและสอดคล้องกับเป้ำหมำยของงำนที่จะต้องปฏิบัติและกำหนดให้มีกลุ่ม
69

ภำรกิจของส่วนรำชกำรต่ำง ๆ ที่มีงำนสัมพันธ์กัน เพื่อที่จะสำมำรถกำหนดเป้ำหมำยกำรทำงำน


ร่วมกันได้ และมีผู้รับผิดชอบกำกับกำรบริหำรงำนของกลุ่มภำรกิจนั้นโดยตรงเพื่อให้งำนเป็นไป
อย่ำงมีประสิทธิภำพและรวดเร็ว รวมทั้งให้มีกำรประสำนกำรปฏิบัติงำน และกำรใช้งบประมำณ
เพื่อที่จะให้กำรบริหำรงำนของทุกส่วนรำชกำรบรรลุเป้ำหมำย ของกระทรวงได้อย่ำงมี
ประสิทธิภำพและลดควำมซ้ำซ้อน มีกำรมอบหมำยงำนเพื่อลดขั้นตอนกำรปฏิบัติรำชกำร และ
สมควรกำหนดกำรบริหำรรำชกำรในต่ำงประเทศให้เหมำะสมกับลักษณะกำรปฏิบัติหน้ำที่และ
สำมำรถปฏิบัติกำรได้อย่ำงรวดเร็วและมีเอกภำพ โดยมีหัวหน้ำคณะผู้แทนเป็นผู้รับผิดชอบในกำร
บริหำรรำชกำร นอกจำกนี้ สมควรให้มีคณะกรรมกำรพัฒนำระบบรำชกำรเพื่อเป็นหน่วยงำนที่
รับผิดชอบในกำรดูแลกำรจัดส่วนรำชกำรและกำรปรับปรุงระบบกำรทำงำนของภำครำชกำรให้มี
กำรจัดระบบรำชกำรอย่ำงมีประสิทธิภำพต่อไป
ใน มำตรำ 3/1 ได้กำหนดให้กำรพัฒนำระบบรำชกำรต้องสอดคล้องกับกำรเปลี่ยนแปลง
ทำงเศรษฐกิจ กำรเมือง สังคม ควำมต้องกำรของประชำชนและทันต่อกำรบริหำรรำชกำรตำม
พระรำชบัญญัตินี้ต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชำชน เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภำรกิจของรัฐ ควำม
มีประสิทธิภำพ ควำมคุ้มค่ำในเชิงภำรกิจแห่งรัฐ กำรลดขั้นตอนกำรปฏิบัติงำน กำรลดภำรกิจและ
ยุบเลิกหน่วยงำนที่ไม่จำเป็น กำรกระจำยภำรกิจและทรัพยำกรให้แก่ท้องถิ่น กำรกระจำยอำนำจ
ตัดสินใจ กำรอำนวยควำมสะดวกและกำรตอบสนองควำมต้องกำรของประชำชน ทั้งนี้ โดยมี
ผู้รับผิดชอบต่อผลของงำน
กำรจัดสรรงบประมำณ และกำรบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ำดำรงตำแหน่งหรือปฏิบัติหน้ำที่
ต้องคำนึงถึงหลักกำรตำมวรรคหนึ่ง
ในกำรปฏิบัติหน้ำที่ของส่วนรำชกำร ต้องใช้วิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี โดยเฉพำะ
อย่ำงยิ่งให้คำนึงถึงควำมรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงำน กำรมีส่วนร่วมของประชำชน กำรเปิดเผย
ข้อมูล กำรติดตำมตรวจสอบและประเมินผลกำรปฏิบัติงำน
2.พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.2546 ได้
กำหนด ขอบเขต แบบแผน วิธีปฏิบัติรำชกำร เพื่อเป็นไปตำมหลักกำรบริหำรภำครัฐแนวใหม่ ดังนี้
1) เกิดประโยชน์สุขของประชำชน
2) เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภำรกิจของรัฐ
3) มีประสิทธิภำพและเกิดควำมคุ้มค่ำในเชิงภำรกิจของรัฐ
4) ไม่มีขั้นตอนกำรปฏิบัติงำนเกินควำมจำเป็น
5) มีกำรปรับปรุงภำรกิจของส่วนรำชกำรให้ทันต่อเหตุกำรณ์
6) ประชำชนได้รับกำรอำนวยควำมสะดวก และได้รับกำรตอบสนองควำม
7) มีกำรประเมินผลกำรปฏิบัติงำนอย่ำงสม่ำเสมอ ซึ่งได้แก่ กำรตรวจสอบและวัดผลกำร
ปฏิบัติงำน เพื่อให้เกิดระบบกำรควบคุมตนเอง
70

3.แผนยุทธศำสตร์กำรพัฒนำระบบรำชกำร พ.ศ.2546 - 2550 ได้กำหนดเป้ำประสงค์หลักของ


กำรพัฒนำระบบรำชกำรไทย 4 ประกำร
1) พัฒนำคุณภำพกำรให้บริกำรประชำชนที่ดีขึ้น
2) ปรับบทบำท ภำรกิจ และขนำดให้มีควำมเหมำะสม
3) ยกระดับขีดควำมสำมำรถและมำตรฐำนกำรทำงำนให้อยู่ในระดับสูงเทียบเท่ำเกณฑ์
สำกล
4) ตอบสนองต่อกำรบริหำรปกครองในระบอบประชำธิปไตย
โดยกำหนดยุทธศำสตร์ 7 ด้ำนเพื่อให้กำรบริหำรรำชกำรเป็นไปอย่ำงมีประสิทธิภำพ ดังนี้
ยุทธศำสตร์ 1 กำรปรับเปลี่ยนกระบวนกำรและวิธีกำรทำงำน ประกอบด้วย 9 มำตรกำร
ยุทธศำสตร์ 2 กำรปรับปรุงโครงสร้ำงกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน ประกอบด้วย 4 มำตรกำร
ยุทธศำสตร์ 3 กำรรื้อปรับระบบกำรเงินและกำรงบประมำณ ประกอบด้วย 8 มำตรกำร
ยุทธศำสตร์ 4 กำรสร้ำงระบบบริหำรงำนบุคคลและค่ำตอบแทนใหม่ ประกอบด้วย 7 มำตรกำร
ยุทธศำสตร์ 5 กำรปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม และค่ำนิยม ประกอบด้วย 4 มำตรกำร
ยุทธศำสตร์ 6 กำรเสริมสร้ำงระบบรำชกำรให้ทันสมัย ประกอบด้วย 4 มำตรกำร
ยุทธศำสตร์ 7 กำรเปิดระบบรำชกำรให้ประชำชนเข้ำมำมีส่วนร่วม ประกอบด้วย 6 มำตรกำร
4.กำรประเมินผลกำรปฏิบัติรำชกำรตำมคำรับรองกำรปฏิบัติรำชกำรของส่วนรำชกำร: KPI (Key
Performance Indicators) โดยให้มีกำรประเมินกำรปฏิบัติรำชกำร ใน 2 องค์ประกอบ ตำม
หนังสือสำนักงำนก.พ. ที่ นร 1012/ว 20 ลงวันที่ 3 กันยำยน 2552 เรื่อง หลักเกณฑ์และ
วิธีกำรประเมินผลกำรปฏิบัติรำชกำรของข้ำรำชกำรพลเรือนสำมัญ และหนังสือสำนักงำน ก.พ. ที่
นร 100/ว 27 ลงวันที่ 29 กันยำยน 2552 เรื่อง มำตรฐำนและแนวทำงกำหนดควำมรู้
ควำมสำมำรถ ทักษะ และสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับตำแหน่งข้ำรำชกำรพลเรือนสำมัญ คือ
1) ผลสัมฤทธิ์ของกำรปฏิบัติรำชกำร
2) พฤติกรรมกำรปฏิบัติรำชกำรหรือสมรรถนะ
5. กำรบริหำรรำชกำรแบบบูรณำกำร (CEO) ซึ่งมีลักษณะสำคัญคือ
1) เป็นระบบบริหำรจัดกำรในแนวรำบ (Horizontal Management) ที่ใช้กำรบูรณำกำร
กำรทำงำนของทุกภำคส่วนในพื้นที่ในลักษณะ “พื้นที่ – พันธกิจ – กำรมีส่วนร่วม” (Area –
Functional – Participation: A–F–P) ในทุกขั้นตอนของกำรทำงำน เพื่อสร้ำงควำมเป็นหุ้นส่วน
ทำงกำรพัฒนำ (Partnership) ในระดับจังหวัด ตลอดจนเพื่อสร้ำงกำรทำงำนในลักษณะเครือข่ำย
(Networking)
2) เป็นระบบบริหำรจัดกำรที่มีเป้ำหมำยที่กำรตอบสนองควำมต้องกำรของประชำชน
ผู้ใช้บริกำร (Customer Driven) ด้วยระบบงำนที่มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ของงำน (Result – based)
ด้วยมำตรฐำนผลงำนขั้นสูง (High Performance Output)
3) เป็นระบบบริหำรจัดกำรที่อยู่ภำยใต้กรอบของบทบัญญัติและเจตนำรมณ์ของ
รัฐธรรมนูญ และโครงสร้ำงกำรจัดระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดินในปัจจุบัน รวมทั้งหลักกำรกำร
71

บริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองและสังคมที่ดี (Good Governance) แต่ได้รับกำรสนับสนุนทรัพยำกร


ทำงกำรบริหำร ที่จำเป็นเพื่อเพิ่มประสิทธิภำพในกำรทำงำน
ที่มำ : สถำบันพระปกเกล้ำ

แนวข้อสอบยุทธศำสตร์ชำติ 20 ปี
1. พระรำชบัญญัติกำรจัดทำยุทธศำสตร์ชำติ พ.ศ. 2560 ประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำเมื่อใด
ก. 31 กรกฎำคม 2560
ข. 1 สิงหำคม 2560
ค. 2 สิงหำคมคม2560
ง. 3 สิงหำคม 2560
2. พระรำชบัญญัติกำรจัดทำยุทธศำสตร์ชำติ พ.ศ. 2560 มีผลบังคับใช้เมื่อใด
ก. 31 กรกฎำคม 2560
ข. 1 สิงหำคม 2560
ค. 2 สิงหำคมคม2560
ง. 3 สิงหำคม 2560
3. เป้ำหมำยให้มียุทธศำสตร์ชำติไม่สอดคล้องตำมข้อใด
ก. กำรพัฒนำอย่ำงยั่งยืน
ข. ยึดหลักธรรมำภิบำล
ค. กำรสำมัคคีปรองดอง
ง. ประชำชนมีส่วนร่วมในกำรแสดงควำมคิดเห็น
4. กำรประกำศใช้ยุทธศำสตร์ชำติให้ประกำศเป็นไปตำมข้อใด
ก. พระรำชบัญญัติ
ข. ประกำศกระทรวง
ค. ประกำศพระบรมรำชโองกำร
ง. ถูกทั้งข้อ ข และ ค
5. กำรกำหนดนโยบำยแผนกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน ของ ค.ร.ม. ก่อนจะเข้ำบริหำรรำชกำร
แผ่นดิน กำรจัดทำแผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ จะต้องสอดคล้องกับข้อใด
ก. แผนบริหำรรำชกำรแผ่นดิน
ข. แผนพัฒนำสังคมแห่งชำติ
ค. แผนแม่บทแห่งชำติ
ง. แผนยุทธศำสตร์ชำติ
6. ยุทธศำสตร์ชำติในพระรำชบัญญัติกำรจัดทำยุทธศำสตร์ชำติพ.ศ.2560 อย่ำงน้อยต้อง
ประกอบด้วยอะไร
ก. วิสัยทัศน์กำรพัฒนำประเทศ
72

ข. เป้ำหมำยกำรพัฒนำประเทศระยะยำว
ค. ยุทธศำสตร์ด้ำนต่ำงๆ
ง. ถูกทุกข้อ
7.เป้ำหมำยข้อใดไม่สอดคล้องกับกำรพัฒนำประเทศระยะยำว
ก. เป้ำหมำยด้ำนควำมมั่นคงของประเทศด้ำนควำมเป็นอยู่ของประชำชน
ข.กำรสร้ำงควำมปรองดองของคนในชำติ
ค. บทบำทของรัฐที่ที่มีต่อประชำชน
ง. กำรสร้ำงควำมสงบผำสุก
8.กำรจัดทำยุทธศำสตร์ชำติและควำมจำเป็นในกำรพัฒนำประเทศต้องสอดคล้องกับข้อใด
ก. หลักธรรมำภิบำล
ข. หลักทศพิทรำชธรรม
ค.หลักเศรษฐกิจพอเพียง
ง. หลักคุณธรรม
9. ร่ำงยุทธศำสตร์ชำติที่ได้รับควำมเห็นชอบแล้วให้นำยกรัฐมนตรีทูลเกล้ำทูลกระหม่อมถวำยให้
พระมหำกษัตริย์มีพระบรมรำชโองกำรประกำศใช้ภำยในกี่วัน
ก. 15 วัน
ข.20 วัน
ค. 30 วัน
ง. 45 วัน
10. ให้คณะกรรมกำรยุทธศำสตร์ชำติจัดให้มีกำรทบทวนยุทธศำสตร์ชำติทุกๆกี่ปี
ก. 2 ปี
ข. 3 ปี
ค. 4 ปี
ง. 5 ปี
11. ประธำนคณะกรรมกำรยุทธศำสตร์ชำติหมำยถึงข้อใด
ก. ประธำนสภำผู้แทนรำษฎร
ข. ประธำนรัฐสภำ
ค. นำยกรัฐมนตรี
ง. รองนำยกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีที่นำยกรัฐมนตรีมอบหมำย
12. กรรมกำรผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมกำรยุทธศำสตร์ชำติมีคุณสมบัติตำมข้อใด
ก. อำยุไม่เกิน 60 ปี
ข. อำยุไม่เกิน 65 ปี
ค. อำยุไม่เกิน 75 ปี
ง. อำยุไม่เกิน 80 ปี
73

13. กรรมกำรผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมกำรยุทธศำสตร์ชำติมีจำนวนไม่เกินกี่คน
ก. 12 คน ข. 15 คน
ค. 17 คน ง. 18 คน
14. เลขำนุกำรในคณะกรรมกำรยุทธศำสตร์ชำติคือใคร
ก. เลขำธิกำรคณะกรรมกำรเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ
ข. เลขำธิกำรสภำควำมมั่นคงแห่งชำติ
ค. เลขำธิกำรคณะกรรมกำรข้ำรำชกำรพลเรือน
ง. เลขำธิกำรสภำกำรศึกษำแห่งชำติ
15. คณะกรรมกำรผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมกำรยุทธศำสตร์ชำติมีวำระกำรดำรงตำแหน่งกี่ปี
ก. 4 ปี ข. 5 ปี
ค. 6 ปี ง. 7 ปี
16. คณะกรรมกำรจัดทำยุทธศำสตร์ชำติที่มำจำกผู้ทรงคุณวุฒิแต่ละด้ำนมีจำนวนไม่เกินกี่คน
ก. 15 คน ข. 16 คน
ค. 17 คน ง. 18 คน
17.สำนักงำนเลขำนุกำรคณะกรรมกำรจัดทำยุทธศำสตร์ชำติหน่วยงำนใดเป็นผู้รับผิดชอบ
ก. สำนักงำนคณะกรรมกำรเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ
ข. สำนักงำนสภำควำมมั่นคงแห่งชำติ
ค. สำนักงำนคณะกรรมกำรข้ำรำชกำรพลเรือน
ง. สำนักงำนเลขำธิกำรสภำกำรศึกษำแห่งชำติ
18.ยุทธศำสตร์ชำติมีระยะเวลำใช้บังคับกี่ปี
ก. 10 ปี ข. 15 ปี
ค. 20 ปี ง. 25 ปี
19. ยุทธศำสตร์ชำติมีระยะเวลำสิ้นสุดในพ.ศ.ใด
ก. พ.ศ. 2569
ข. พ.ศ. 2579
ค. พ.ศ. 2580
ง. พ.ศ. 2581
20. ยุทธศำสตร์ชำติถูกเขียนลงในรัฐธรรมนูญ ฉบับ พ.ศ. 2560 อยู่ในมำตรำใด
ก. มำตรำ 45
ข. มำตรำ 56
ค. มำตรำ 65
ง. มำตรำ 75
21. กฎหมำยในกำรจัดทำยุทธศำสตร์ชำติตรงกับข้อใด
ก. พระรำชบัญญัติ
74

ข. พระรำชกำหนด
ค. กฤษฎีกำ
ง. กฎกระทรวง
22. ส่วนหนึ่งของวิสัยทัศน์ในยุทธศำสตร์ชำติ “ ประเทศมีควำมมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ” ข้อใดไม่
สอดคล้องกับควำมหมำยของ “ ควำมมั่นคง ”
ก. กำรมีควำมปลอดภัย
ข. ประเทศมีควำมมั่นคงในเอกรำชและอธิปไตย
ค. สังคมมีควำมปรองดองและสำมัคคี
ง.ประเทศไทยเป็นมหำอำนำจทำงกำรศึกษำ
23. ส่วนหนึ่งของวิสัยทัศน์ในยุทธศำสตร์ชำติ “ ประเทศมีควำมมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ” ข้อใดไม่
สอดคล้องกับควำมหมำยของ “ ควำมมั่งคั่ง ”
ก. ประเทศไทยมีกำรขยำยตัวทำงทำงเศรษฐกิจอย่ำงต่อเนื่อง
ข. เศรษฐกิจมีควำมสำมำรถในกำรแข่งขันสูง
ค. ควำมสำมำรถในทุนที่จะสำมำรถสร้ำงกำรพัฒนำอย่ำงต่อเนื่อง
ง. ประเทศไทยเป็นมหำอำนำจทำงเศรษฐกิจ
24. ส่วนหนึ่งของวิสัยทัศน์ในยุทธศำสตร์ชำติ “ ประเทศมีควำมมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ” ข้อใดไม่
สอดคล้องกับควำมหมำยของ “ ควำมยั่งยืน ”
ก. กำรพัฒนำที่สำมำรถสร้ำงควำมเจริญ
ข. กำรผลิตและกำรบริโภคเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
ค. มุ่งประโยชน์ส่วนรวมอย่ำงยั่งยืน
ง. ประชำชนอยู่ดีมีสุข
25. พระรำชบัญญัติกำรจัดทำยุทธศำสตร์ชำติ พ.ศ. 2560 จัดเป็นแผนประเภทใด เพื่อให้กำร
พัฒนำประเทศบรรลุเป้ำหมำยที่รัฐบำลกำหนดไว้
ก. แผนพัฒนำ
ข. แผนปฏิบัติกำร
ค.แผนแม่บท
ง. แผนยุทธศำสตร์
26. กรอบที่ใช้ในกำรจัดทำแผนต่ำงๆให้สอดคล้องและบูรณำกำรเพื่อก่อให้เกิดเป็นพลังผลักดัน
ไปสู่เป้ำหมำยในกำรพัฒนำประเทศตรงกับข้อใด
ก. แผนและขั้นตอนกำรปฏิรูปประเทศ
ข. แผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ
ค. แผนปฏิบัติกำร
ง. แผนยุทธศำสตร์ชำติ
75

27.กำรกำหนดนโยบำยกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดินของคณะรัฐมนตรีก่อนที่จะเข้ำมำบริหำร
รำชกำรแผ่นดิน กำรจัดทำแผนต่ำงๆรวมตลอดกำรจัดทำงบประมำณรำยจ่ำยประจำปี
งบประมำณต้องสอดคล้องกับแผนประเภทใด
ก. แผนและขั้นตอนกำรปฏิรูปประเทศ
ข. แผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ
ค. แผนปฏิบัติกำร
ง. แผนยุทธศำสตร์ชำติ
28.กำรพัฒนำประเทศในระยะยำวอย่ำงน้อยต้องมีเป้ำหมำยสำคัญระบุไว้ในแผนยุทธศำสตร์ชำติ
ข้อใดไม่สอดคล้องกับเป้ำหมำยในระยะยำว
ก. เป้ำหมำยควำมมั่นคงของประเทศชำติ
ข. ด้ำนคุณภำพและควำมเป็นอยู่ของประชำชน
ค. ด้ำนกำรศึกษำ
ง. ด้ำนบทบำทของรัฐที่มีต่อประชำชน
29.กำรจัดทำยุทธศำสตร์ชำติต้องคำนึงถึงผลประโยชน์แห่งชำติ ควำมต้องกำรและควำมจำเป็นใน
กำรพัฒนำประเทศให้สอดคล้องยุทธศำสตร์ข้อใดไม่สอดคล้อง
ก. หลักปรัชญำเศรษฐกิจพอเพียง
ข.กำรพัฒนำที่ยั่งยืนตำมหลักธรรมำภิบำล
ค. แผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ
ง. เป้ำหมำยกำรปฏิรูปประเทศตำมที่รัฐธรรมนูญบัญญัติ
30. ข้อใดมิใช่กรรมกำรโดยตำแหน่งของคณะกรรมกำรยุทธศำสตร์ชำติ
ก. ปลัดกระทรวงกลำโหม
ข.ผู้บัญชำกำรทหำรบก
ค. เลขำธิกำรคณะกรรมกำรพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ
ง. ประธำนสภำหอกำรค้ำแห่งประเทศไทย

เฉลย แนวข้อสอบยุทธศำสตร์ชำติ
1.ก 2.ข 3.ค 4.ค 5.ง 6.ง 7.ง 8.ค 9.ข 10.ง
11.ค 12.ค 13.ค 14.ข 15.ข 16.ค 17.ก 18.ค 19.ข 20.ค
21.ก 22.ง 23.ง 24.ง 25.ค 26.ง 27.ข 28.ค 29.ค 30.ค
76

แผนกำรปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรุง)
รำชกิจจำนุเบกษำ เมื่อวันที่ 25 กุมภำพันธ์ 2564 เผยแพร่ประกำศสำนักนำยกรัฐมนตรี
เรื่อง กำรประกำศแผนกำรปฏิรูปประเทศ (ฉบับปรับปรุง) ซึ่งคณะรัฐมนตรีเห็นชอบแล้ว
แผนกำรปฏิรูปประเทศ 13 ด้ำน คือ ด้ำนกำรเมือง ด้ำนกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน ด้ำน
กฎหมำย ด้ำนกระบวนกำรยุติธรรม ด้ำนเศรษฐกิจ ด้ำนทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม ด้ำน
สำธำรณสุข ด้ำนสื่อสำรมวลชน เทคโนโลยีสำรสนเทศ ด้ำนสังคม ด้ำนพลังงำน ด้ำนกำรป้องกัน
และปรำบปรำมกำรทุจริตและประพฤติมิชอบ ด้ำนกำรศึกษำ และด้ำนวัฒนธรรม กีฬำ แรงงำน
และกำรพัฒนำทรัพยำกรมนุษย์
สำหรับด้ำนกำรศึกษำ (อยู่ในหน้ำ 293-323) กำหนดเป้ำหมำยเพื่อให้ผู้เรียนทุกกลุ่มวัย
ได้รับกำรศึกษำที่มีคุณภำพตำมมำตรฐำน มีทักษะที่จำเป็นของโลกอนำคต สำมำรถแก้ปัญหำ
ปรับตัว สื่อสำร และทำงำนร่วมกับผู้อื่นได้อย่ำงมีประสิทธิผล มีวินัย มีนิสัยใฝ่เรียนรู้อย่ำงต่อเนื่อง
ตลอดชีวิต และเป็นพลเมืองที่รู้สิทธิและหน้ำที่ มีควำมรับผิดชอบ มีจิตสำธำรณะ มีควำมรักและ
ควำมภำคภูมิใจในควำมเป็นไทย
โดยมีวัตถุประสงค์ที่สำคัญ 3 ด้ำน คือ ลดควำมเหลื่อมล้ำ ยกระดับคุณภำพ และเพิ่มขีด
ควำมสำมำรถในกำรแข่งขัน
77

แผนกำรปฏิรูปประเทศด้ำนกำรศึกษำ ฉบับปรับปรุงนี้ มุ่งเน้นกิจกรรมปฏิรูปที่จะส่งผลให้เกิดกำร


เปลี่ยนแปลงของภำคกำรศึกษำที่จะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อผู้เรียน ประชำชนอย่ำงมีนัยสำคัญ 5
กิจกรรม คือ
-กิจกรรมปฏิรูปที่ 1 กำรสร้ำงโอกำสและควำมเสมอภำคทำงกำรศึกษำตั้งแต่ระดับปฐมวัย
-กิจกรรมปฏิรูปที่ 2 กำรพัฒนำกำรจัดกำรเรียนกำรสอนสู่กำรเรียนรู้ฐำนสมรรถนะ เพื่อตอบสนอง
กำรเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21
-กิจกรรมปฏิรูปที่ 3 กำรปฏิรูปกลไกและระบบกำรผลิตและพัฒนำครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำ
ให้มีคุณภำพมำตรฐำน
-กิจกรรมปฏิรูปที่ 4 กำรจัดอำชีวศึกษำระบบทวิภำคีและระบบอื่นๆ ที่เน้นกำรฝึกปฏิบัติอย่ำงเต็ม
รูปแบบ นำไปสู่กำรจ้ำงงำนและกำรสร้ำงงำน
-กิจกรรมปฏิรูปที่ 5 กำรปฏิรูปบทบำทกำรวิจัยและระบบธรรมำภิบำลของสถำบันอุดมศึกษำเพื่อ
สนับสนุนกำรพัฒนำประเทศไทยออกจำกกับดักรำยได้ปำนกลำงอย่ำงยั่งยืน

มีประเด็นที่น่ำสนใจในส่วนของ กิจกรรมปฏิรูปที่ 3 “ปรับเปลี่ยนกำรบริหำรทรัพยำกร


บุคคลภำครัฐสู่ระบบเปิด เพื่อให้ได้มำและรักษำไว้ซึ่งคนเก่ง ดีและมีควำมสำมำรถอย่ำงคล่องตัว
ตำมหลักคุณธรรม” (หน้ำ 41-43) โดยสำนักงำนคณะกรรมกำรข้ำรำชกำรพลเรือน จะเป็น
78

หน่วยงำนรับผิดชอบหลักในกำรดำเนินงำนร่วมกับหน่วยงำนอื่นที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพำะสำนักงำน
คณะกรรมกำรพัฒนำระบบรำชกำร สำนักงบประมำณ กรมบัญชีกลำง สำนักงำนพัฒนำรัฐบำล
ดิจิทัล สถำบันคุณวุฒิวิชำชีพ และองค์กรกลำงบริหำรงำนบุคคลต่ำง ๆ เป็นอย่ำงน้อยในกำร
ดำเนินกำร ในช่วง 2 ปี (พ.ศ.2564-2565) จำนวน 9 ขั้นตอนและวิธีกำรดำเนินกำรปฏิรูป ดังนี้
1. เปลี่ยนระบบกำรทำงำนด้ำนบริหำรทรัพยำกรบุคคลเป็นระบบดิจิทัลเต็มรูปแบบ เพื่อ
กำรสรรหำคนดี คนเก่ง เข้ำสู่ตำแหน่งสำคัญได้ทันกำรณ์ และปรับบทบำทกำรบริหำรทรัพยำกร
บุคคลไปสู่งำนเชิงกลยุทธ์ขององค์กร เพื่อกำรใช้ประโยชน์ทรัพยำกรบุคคลได้เต็มศักยภำพ
สอดคล้องกับแผนยุทธศำสตร์ขององค์กร
2. ดำเนินกำรจัดทำเอกสำรอธิบำยบทบำทหน้ำที่ของตำแหน่งระดับสูงที่สำคัญ (Role
Clarification) ทั้งตำแหน่งทำงกำรเมืองและฝ่ำยประจำ โดยเปิดเผยต่อสำธำรณะเพื่อควำม
โปร่งใส และสอบยันควำมรับผิดชอบได้อย่ำงชัดเจน
3. ขยำยอำยุเกษียณรำชกำรสำหรับเจ้ำหน้ำที่ของรัฐตำแหน่งต่ำง ๆ ยกเว้นผู้ดำรง
ตำแหน่งนักบริหำร และตำแหน่งที่ต้องใช้สมรรถภำพทำงกำยในกำรปฏิบัติหน้ำที่ จำกอำยุ 60 ปี
เป็น 63 ปี ตั้งแต่ปีงบประมำณ พ.ศ.2565 และขยำยอำยุเกษียณเป็น 65 ปี ตั้งแต่ปีงบประมำณ
พ.ศ.2575
4. สำรวจอัตรำเงินเดือนและรำยได้รวมของเจ้ำหน้ำที่ของรัฐ ในกลุ่มตำแหน่งและสำยงำน
ต่ำง ๆ ในส่วนรำชกำรและองค์กรภำครัฐทั้งหมด เพื่อวิเครำะห์เปรียบเทียบอัตรำเงินเดือนและ
รำยได้จริงของเจ้ำหน้ำที่รัฐที่ทำงำนในลักษณะที่มีหน้ำที่ควำมรับผิดชอบใกล้เคียงกัน เพื่อให้กำร
จัดทำโครงสร้ำงเงินเดือน และผลประโยชน์ตอบแทนอื่น ได้มำตรฐำน และเกิดควำมเป็นธรรม
ระหว่ำงเจ้ำหน้ำที่ของรัฐภำยในระบบ และเทียบเคียงได้ในตลำดแรงงำนของประเทศ
5. ปรับปรุงระบบกำรบริหำรทรัพยำกรบุคคลภำครัฐ อำทิ ระบบนักเรียนทุนรัฐบำล ระบบ
กำรสรรหำและกำรคัดเลือกบุคคล ระบบตำแหน่ง ระบบกำรประเมินบุคคลเข้ำสู่ตำแหน่ง ระบบ
โอนย้ำยบุคคล ระบบกำรประเมินผลกำรปฏิบัติงำนและกำรเลื่อนเงินเดือน ระบบวินัยและกำร
ลงโทษ เพื่อให้กำรบริหำรคนในภำครัฐมีควำมคล่องตัว มีประสิทธิภำพ นำไปสู่กำรหมุนเวียน
สับเปลี่ยน ถ่ำยเทกำลังคนภำยในภำครัฐได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ
6. ปรับปรุงหลักเกณฑ์เกี่ยวกับกำรให้ข้ำรำชกำรไปปฏิบัติงำนที่หน่วยงำนอื่น เพื่อเพิ่มพูน
ประสิทธิภำพทั้งในและต่ำงประเทศ (Secondment) ได้คล่องตัวมำกขึ้น และส่งเสริมสนับสนุน
กำรบรรจุบุคคลที่มีควำมชำนำญสูงจำกนอกระบบรำชกำรเข้ำสู่ระบบรำชกำร (Lateral Entry)
รวมทั้งสร้ำงระบบและกลไกสำหรับกำรสับเปลี่ยนหมุนเวียน และผ่องถ่ำยบุคลำกรระหว่ำง
หน่วยงำนของรัฐกับหน่วยงำนในภำคส่วนอื่น
ให้มีควำมคล่องตัว
7. พัฒนำระบบกำรจ้ำงงำนรูปแบบใหม่ในภำครัฐ เพื่อให้มีกำลังคนที่มีควำมรู้
ควำมสำมำรถเฉพำะ ปฏิบัติงำนในภำรกิจที่มีกำหนดระยะเวลำที่แน่นอนและชัดเจน สอดรับกับ
79

กำรทำงำนรูปแบบใหม่ที่ไม่จำเป็นต้องมีจ้ำงงำนตลอดชีพ (Non-career Employment) เพื่อให้


สำมำรถสรรหำบุคลำกรได้ทันกำรณ์
8. พัฒนำควำมรู้และทักษะของบุคลำกรภำครัฐเพื่อรองรับกำรทำงำนภำยใต้ภำวะชีวิตวิถี
ใหม่ (New Normal) อำทิ ทักษะดิจิทัล ทักษะกำรวิเครำะห์ข้อมูล รวมถึงสร้ำงและพัฒนำกรอบ
ควำมคิด (Mindset) ให้กับบุคลำกรภำครัฐทุกระดับพร้อมรับกำรเปลี่ยนแปลง
9. มีบทบัญญัติเกี่ยวกับกำรจัดระเบียบบริหำรทรัพยำกรบุคคลภำครัฐ ไว้เป็นส่วนเฉพำะ
ในพระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน (ในส่วนที่ 5) โดยให้มีสภำทรัพยำกรบุคคล
ภำครัฐ รับผิดชอบในกำรวำงยุทธศำสตร์กำรบริหำรเจ้ำหน้ำที่ของรัฐในภำพรวมตำมระบบ
คุณธรรม ทั้งในด้ำนมำตรฐำนควำมรับผิดชอบต่อตำแหน่งหน้ำที่และสังคม มำตรฐำนในกำรสรรหำ
กำรแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง และกำรพ้นจำกตำแหน่ง มำตรฐำนกำรพัฒนำและรักษำเจ้ำหน้ำที่
ของรัฐที่มีสมรรถนะและควำมสำมำรถสูงไว้ในระบบ มำตรฐำนกำรกำหนดเงินเดือนและประโยชน์
ตอบแทนอื่น ๆ ในกำรทำงำน มำตรฐำนควำมประพฤติ วินัย และจรรยำบรรณ กำรลงโทษ รวมทั้ง
พฤติกรรมที่พึงประสงค์ของเจ้ำหน้ำที่ของรัฐ ทั้งนี้ เพื่อธำรงไว้ซึ่งคุณภำพและคุณธรรมของ
เจ้ำหน้ำที่ของรัฐ เพื่อควำมเชื่อถือและไว้วำงใจของประชำชนต่อกำรปฏิบัติหน้ำที่ของเจ้ำหน้ำที่
ของรัฐโดยรวม
ที่มำ รำชกิจจำนุเบกษำ

แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหำดไทยว่ำด้วยกำรจัดทำแผนและประสำนแผนพัฒนำพื้นที่ใน
ระดับอำเภอและตำบล พ.ศ. 2562
1.กำรจัดทำแผนและประสำนแผนพัฒนำในระดับพื้นที่หมู่บ้ำน ชุมชน ตำบล และอำเภอ ให้เกิด
ควำมเชื่อมโยงสอดคล้องกับทิศทำงกำรพัฒนำในระดับจังหวัด กลุ่มจังหวัด ภำค และประเทศ ไป
ในทิศทำงเดียวกันได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ เกิดควำมคุ้มค่ำ นำไปสู่สิ่งใด
ก.ควำมมั่นคง ข.มั่งคั่ง
ค.ยั่งยืน ง.ถูกทุกข้อ
2.ระเบียบกระทรวงมหำดไทยว่ำด้วยกำรจัดทำแผนและประสำนแผนพัฒนำพื้นที่ในระดับอำเภอ
และตำบล พ.ศ. 2562 ออกระเบียบโดยอำศัยอำนำจใด
ก. มำตรำ ๒๐ แห่งพระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และใน
ฐำนะที่รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทยรักษำกำรตำมมำตรำ 6 แห่งพระรำชบัญญัติ องค์กำร
บริหำรส่วนจังหวัด พ.ศ. ๒๕๔๐
ข. มำตรำ 77 แห่งพระรำชบัญญัติเทศบำล พ.ศ. ๒๔๙๖
ค.มำตรำ 5 แห่งพระรำชบัญญัติสภำตำบลและองค์กำรบริหำรส่วนตำบล พ.ศ. ๒๕๓๗
และมำตรำ 6 แห่งพระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรเมืองพัทยำ พ.ศ. ๒๕๔๒
ง.ถูกทุกข้อ
80

3.ระเบียบกระทรวงมหำดไทยว่ำด้วยกำรจัดทำแผนและประสำนแผนพัฒนำพื้นที่ในระดับอำเภอ
และตำบล พ.ศ. 2562 ผู้ใดเป็นคนออกระเบียบ
ก.รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทย
ข.รองนำยกรัฐมนตรี
ค.นำยรัฐมนตรี
ง.รัฐมนตรีประจำสำนักนำยกรัฐมนตรี
4.ระเบียบกระทรวงมหำดไทยว่ำด้วยกำรจัดทำแผนและประสำนแผนพัฒนำพื้นที่ในระดับอำเภอ
และตำบล พ.ศ. 2562 บังคับใช่เมื่อใด
ก.พ้นสำมสิบวันหลังประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำ
ข.วันถัดจำกวันประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำ
ค.วันประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำ
ง.พ้นเจ็ดวันหลังประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำ
5.แผนพัฒนำหมู่บ้ำน แผนชุมชน แผนพัฒนำ ตำบล แผนพัฒนำท้องถิ่น แผนพัฒนำอำเภอ และ
แผนพัฒนำของส่วนรำชกำรหรือหน่วยงำนอื่น ที่ดำเนินกำรในพื้นที่อำเภอ หมำยควำมว่ำอะไร
ก.แผนพัฒนำในระดับท้องถิ่น
ข.แผนพัฒนำในระดับชุมชน
ค.แผนพัฒนำในระดับพื้นที่
ง.แผนพัฒนำในระดับพื้นฐำน
6.กำรจัดทำแผน และประสำนแผนพัฒนำหมู่บ้ำน แผนชุมชน แผนพัฒนำตำบล แผนพัฒนำ
ท้องถิ่น แผนพัฒนำอำเภอ และแผนพัฒนำของส่วนรำชกำรหรือหน่วยงำนอื่น รวมทั้งองค์กร
ภำคเอกชนและประชำชน ที่ดำเนินกำรในพื้นที่ให้มีควำมเชื่อมโยงและสอดคล้องในทุกระดับเป็น
แผนเดียวกัน เพื่อให้สะท้อนปัญหำ และควำมต้องกำรของประชำชนในพื้นที่ และสอดคล้องกับ
แนวทำงตำมแผนพัฒนำจังหวัด แผนพัฒนำ กลุ่มจังหวัด และแผนพัฒนำภำค ที่เป็นกำรบูรณำกำร
กำรทำงำนของทุกหน่วยงำนในพื้นที่ หมำยควำมว่ำอย่ำงไร
ก. กำรจัดทำแผนและประสำนแผนพัฒนำในระดับท้องถิ่น
ข.กำรจัดทำแผนและประสำนแผนพัฒนำในระดับชุมชน
ค.กำรจัดทำแผนและประสำนแผนพัฒนำในระดับพื้นฐำน
ง.กำรจัดทำแผนและประสำนแผนพัฒนำในระดับพื้นที่
7. “หมู่บ้ำน” หมำยควำมว่ำ
ก.หมู่บ้ำนตำมกฎหมำยว่ำด้วยลักษณะปกครองท้องที่
ข.หมู่บ้ำนตำมระเบียบกระทรวงมหำดไทย
ค.หมู่บ้ำนตำมกฎหมำยว่ำด้วยลักษณะท้องที่อำเภอ
ง.หมู่บ้ำนตำมกฎหมำยว่ำด้วยลักษณะหมู่บ้ำน
81

8. “ชุมชน” หมำยควำมว่ำ
ก. ชุมชนที่ไม่มีตำแหน่งกำนัน ผู้ใหญ่บ้ำน
ข. อยู่ในพื้นที่ควำมรับผิดชอบ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ค. กำรรวมกลุ่มของบ้ำนเรือน
ง. ก. และ ข. ถูกต้อง
9. “องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น” หมำยควำมว่ำ
ก. องค์กำรบริหำรส่วนจังหวัด เทศบำล องค์กำรบริหำรส่วนตำบล และรำชกำรส่วน
ท้องถิ่นอื่นตำมที่มีกฎหมำยกำหนดแต่ไม่รวมถึง กรุงเทพมหำนคร เมืองพัทยำ
ข.องค์กำรบริหำรส่วนจังหวัด เทศบำล องค์กำรบริหำรส่วนตำบล เมืองพัทยำ และรำชกำร
ส่วนท้องถิ่นอื่นตำมที่มีกฎหมำยกำหนดแต่ไม่รวมถึง กรุงเทพมหำนคร
ค.องค์กำรบริหำรส่วนจังหวัด เทศบำล องค์กำรบริหำรส่วนตำบล เมืองพัทยำ
กรุงเทพมหำนคร และรำชกำรส่วนท้องถิ่นอื่นตำมที่มีกฎหมำยกำหนด
ง.องค์กำรบริหำรส่วนจังหวัด องค์กำรบริหำรส่วนตำบล เมืองพัทยำ และรำชกำรส่วน
ท้องถิ่นอื่นตำมที่มีกฎหมำยกำหนดแต่ไม่รวมถึง กรุงเทพมหำนคร
10. “คณะกรรมกำรชุมชน” หมำยควำมว่ำ
ก.คณะกรรมกำรของชุมชนที่อยู่ในพื้นที่ควำมรับผิดชอบ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ในเขตเทศบำลและเมืองพัทยำ
ข.คณะกรรมกำรของชุมชนที่อยู่ในพื้นที่ควำมรับผิดชอบ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ในเขตกรุงเทพมหำนคร
ค. คณะกรรมกำรของชุมชนที่อยู่ในพื้นที่ควำมรับผิดชอบ
ง.คณะกรรมกำรของชุมชนที่อยู่ในพื้นที่ควำมรับผิดชอบ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
11. คณะกรรมกำรหมู่บ้ำนตำมกฎหมำยว่ำด้วยลักษณะ ปกครองท้องที่ และคณะกรรมกำรกลำง
หมู่บ้ำนอำสำพัฒนำและป้องกันตนเองตำมกฎหมำยว่ำด้วย จัดระเบียบบริหำรหมู่บ้ำนอำสำพัฒนำ
และป้องกันตนเอง หมำยถึงข้อใด
ก.คณะกรรมกำรหมู่บ้ำน
ข.คณะกรรมกำรชุมชน
ค.คณะกรรมกำรตำบล
ง.คณะกรรมกำรอำเภอ
12.แผนพัฒนำที่รวบรวมรำยกำรโครงกำรและแผนงำนต่ำงๆ ของอำเภอที่สะท้อนถึงปัญหำและ
ควำมต้องกำรของประชำชน ตลอดจนควำมต้องกำรของทุกภำคส่วน ในพื้นที่อำเภอโดย
แผนพัฒนำอำเภอจำเป็นต้องจัดทำเพื่อให้เป็นเครื่องมือในกำรดำเนินงำนตำมวัตถุประสงค์ และทิศ
ทำงกำรพัฒนำของอำเภอในอนำคตหมำยถึงข้อใด
ก.แผนพัฒนำอำเภอ
ข.แผนพัฒนำชุมชน
82

ค.แผนพัฒนำจังหวัด
ง.แผนพัฒนำท้องที่
13.รำยกำรเกี่ยวกับโครงกำรและแผนงำนต่ำงๆ ที่จำเป็นต้องดำเนินกำรในพื้นที่อำเภอในแต่ละ
ปีงบประมำณที่ระบุถึงปัญหำและควำมต้องกำรของ ประชำชนในพื้นที่อำเภอและเป็นไป
ตำมลำดับควำมสำคัญ ที่มำจำกแผนพัฒนำหมู่บ้ำน แผนชุมชน แผนพัฒนำตำบล แผนพัฒนำ
ท้องถิ่น และแผนของส่วนรำชกำรหรือหน่วยงำนอื่น ที่ดำเนินกำรในพื้นที่ โดยจัดกลุ่มของปัญหำ
และควำมต้องกำรออกเป็นหมวดหมู่และส่งไปยังจังหวัดหรือหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง เพื่อประกอบ
กำรจัดทำแผนพัฒนำจังหวัดและแผนปฏิบัติรำชกำรประจำปีของจังหวัดหรือแผนปฏิบัติ รำชกำร
ประจำปีของส่วนรำชกำร หมำยถึงข้อใด
ก.แผนควำมต้องกำรระดับชุมชน
ข.แผนควำมต้องกำรระดับจังหวัด
ค.แผนควำมต้องกำรระดับอำเภอ
ง.แผนควำมต้องกำรระดับท้องที่
14.แผนพัฒนำที่รวบรวมรำยกำรแผนงำนหรือโครงกำร หรือกิจกรรม ที่จำเป็นต้องทำเพื่อกำร
พัฒนำแก้ไขปัญหำและควำมต้องกำรของประชำชนในพื้นที่ระดับตำบล ที่มำจำกแผนพัฒนำ
หมู่บ้ำน แผนชุมชน แผนพัฒนำท้องถิ่น และแผนของส่วนรำชกำรหรือหน่วยงำนอื่น ที่ดำเนินกำร
ในพื้นที่ หมำยถึงข้อใด
ก.แผนพัฒนำอำเภอ
ข.แผนพัฒนำชุมชน
ค.แผนพัฒนำตำบล
ง.แผนพัฒนำท้องที่
15.แผนพัฒนำที่กำหนดแผนงำนหรือโครงกำร หรือกิจกรรม ที่มำจำกกระบวนกำรเรียนรู้เพื่อ
จัดกำรตนเองที่คณะกรรมกำรหมู่บ้ำนและประชำชนในหมู่บ้ำนร่วมคิด วิเครำะห์ปัญหำ ศักยภำพ
ควำมพร้อมของหมู่บ้ำน ภำยใต้เวทีประชำคมหมู่บ้ำน และข้อมูลที่คน ในหมู่บ้ำนจัดเก็บ รวมถึง
ข้อมูลจำกแผนชนิดต่ำง ๆ ที่มีอยู่ในหมู่บ้ำน ไม่ว่ำจะเป็นแผนที่ส่วนรำชกำร หน่วยงำน องค์กร
ต่ำง ๆ ให้กำรสนับสนุน หรือจัดทำขึ้น เพื่อรวบรวมให้เป็นกรอบแนวทำงกำรป้องกัน แก้ไขปัญหำ
และพัฒนำหมู่บ้ำนให้สอดคล้องกับปัญหำและควำมต้องกำรที่แท้จริงของหมู่บ้ำน หมำยถึงข้อใด
ก.แผนพัฒนำอำเภอ
ข.แผนพัฒนำชุมชน
ค.แผนพัฒนำตำบล
ง.แผนพัฒนำหมู่บ้ำน
83

16.กำรจัดทำเวทีประชำคมร่วมกัน ระหว่ำงประชำชน คณะกรรมกำรหมู่บ้ำน คณะกรรมกำร


ชุมชน และส่วนรำชกำรหรือหน่วยงำนอื่น ที่ดำเนินกำรในพื้นที่ เพื่อรวบรวม วิเครำะห์ปัญหำ และ
ควำมต้องกำรของประชำชนในพื้นที่ เพื่อใช้ ประกอบกำรจัดทำแผนพัฒนำหมู่บ้ำน แผนพัฒนำ
ท้องถิ่น และแผนของส่วนรำชกำรหรือหน่วยงำนอื่น ที่ดำเนินกำรในพื้นที่ หมำยถึงข้อใด
ก.กำรจัดทำเวทีประชำคมชุมชน
ข.กำรจัดทำเวทีประชำคมตำบลและชุมชน
ค.กำรจัดทำเวทีประชำคมหมู่บ้ำน
ง.กำรจัดทำเวทีประชำคมหมู่บ้ำนและชุมชน
17.ใครรักษำกำรตำมระเบียบกระทรวงมหำดไทยว่ำด้วยกำรจัดทำแผนและประสำนแผนพัฒนำ
พื้นที่ในระดับอำเภอและตำบล พ.ศ. 2562
ก.รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทย
ข.ปลัดกระทรวงมหำดไทย
ค.นำยรัฐมนตรี
ง.รัฐมนตรีประจำสำนักนำยกรัฐมนตรี
18.จัดทำเวทีประชำคมหมู่บ้ำนและชุมชน เพื่ออะไร
ก. เพื่อรวบรวมข้อมูลปัญหำควำมต้องกำรต่ำง ๆ ของหมู่บ้ำนและชุมชน ทั้งในด้ำน
เศรษฐกิจ สังคมและคุณภำพชีวิต ทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม
ข.ควำมมั่นคงและควำมสงบเรียบร้อย
ค.กำรบริหำรจัดกำร หรืออื่น ๆ
ง. ถูกทุกข้อ
19. ให้ใครดำเนินกำรพัฒนำศักยภำพ คณะกรรมกำรหมู่บ้ำน และคณะกรรมกำรชุมชน หรือ
หน่วยงำนอื่นที่เกี่ยวข้องในกำรบูรณำกำร และประสำนงำนในกำรจัดทำแผนพัฒนำหมู่บ้ำนและ
แผนชุมชน
ก.ให้นำยอำเภอ
ข.ผู้บริหำรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ค.ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด
ง. ถูกทั้ง ก. และ ข.
20.เพื่อให้เกิดกำรบูรณำกำรในกำรจัดทำแผนพัฒนำหมู่บ้ำนและแผนชุมชน ให้ใคร เป็นหน่วยงำน
หลักร่วมกันในกำรจัดทำแผนพัฒนำหมู่บ้ำนและแผนชุมชน
ก.อำเภอ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ข.จังหวัด และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ค.ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดและนำยก อบจ.
ง.อำเภอ และ ตำบล
84

21.หน่วยงำนใดสนับสนุนในกำรจัดทำแผนพัฒนำหมู่บ้ำน และแผนชุมชน
ก.สำนักงำนอำเภอ
ข.สำนักงำนพัฒนำชุมชนอำเภอ
ค.สำนักงำนพัฒนำชุมชน
ง.สำนักงำนพัฒนำอำเภอ
22.ในตำบลหนึ่ง ให้มีคณะกรรมกำรบริหำรงำนตำบลแบบบูรณำกำร ขึ้นคณะหนึ่ง เรียกโดยย่อ
ว่ำ อะไร
ก. ก.บ.ล.
ข.ก.บ.ต.
ค.กบต.
ง.ก.บต.
23. คณะกรรมกำรบริหำรงำนตำบลแบบบูรณำกำร ผู้ใดเป็นประธำน
ก.ปลัดอำเภอผู้รับผิดชอบประจำตำบลที่นำยอำเภอมอบหมำย
ข ปลัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในตำบล
ค. กำนัน
ง.นำยอำเภอ
24.กำรจัดทำแผนและประสำนแผนพัฒนำอำเภอ ในอำเภอหนึ่ง ให้มีคณะกรรมกำรบริหำรงำน
อำเภอแบบบูรณำกำร ขึ้นคณะหนึ่ง เรียกโดยย่อว่ำ
ก. ก.บ.อ.
ข. กบอ.
ค. ก.บอ.
ง. กบ.อ.
25.จัดทำแผนปฏิบัติงำนประจำปีของอำเภอ โดยรวบรวมโครงกำรหรือกิจกรรมของส่วนรำชกำร
รัฐวิสำหกิจในสังกัดกระทรวงมหำดไทย องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้รับกำรจัดสรรงบประมำณ
รำยจ่ำยประจำปีที่ต้องดำเนินกำรในพื้นที่อำเภอ และรำยงำนให้ใครทรำบ
ก.ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด
ข.คณะกรรมกำรบริหำรงำนจังหวัด
ค คณะกรรมกำรจังหวัด
ง.ปลัดจังหวัด
26.แผนพัฒนำอำเภอ และแผนควำมต้องกำรระดับอำเภอ เสนอผู้ใดเห็นชอบ
ก.ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด
ข.คณะกรรมกำรบริหำรงำนจังหวัด
ค คณะกรรมกำรจังหวัด
ง.ปลัดจังหวัด
85

27.เพื่อให้เกิดกำรบูรณำกำรและประสำนแผนพัฒนำในระดับพื้นที่ ให้ดำเนินกำร ตำมแนวทำง


ตำมข้อใด
ก. จัดทำเวทีประชำคม เพื่อให้ทุกภำคส่วนมีส่วนร่วมในกำรระดมควำมคิดเห็นของประชำ
ชน เพื่อให้ได้มำซึ่งปัญหำ และควำมต้องกำรจำกประชำชนในพื้นที่
ข. ให้มีกำรประสำนแผนในระดับพื้นที่ โดยกำรรวบรวมและจัดลำดับควำมสำคัญของ
ปัญหำ และควำมต้องกำรของประชำชนในพื้นที่ ผ่ำนกลไกกำรจัดทำแผนพัฒนำหมู่บ้ำน แผน
ชุมชน แผนพัฒนำตำบล แผนพัฒนำท้องถิ่น และแผนควำมต้องกำรระดับอำเภอ เพื่อให้แผนมี
ควำมเชื่อมโยง สอดคล้องกันในทุกระดับเป็นแผนเดียวกัน
ค. ในกรณีแผนงำนหรือโครงกำร หรือพื้นที่ มีควำมซ้ำซ้อนกันในกำรจัดทำแผนระดับ
อำเภอ กับแผนพัฒนำท้องถิ่น ให้หำรือร่วมกันระหว่ำงคณะกรรมกำรบริหำรงำนอำเภอแบบ
บูรณำกำรกับองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นที่เกี่ยวข้อง
ง.ถูกทุกข้อ
28.ผู้ใดมีหน้ำที่กำกับดูแล และให้คำแนะนำในกำรประสำนแผนพัฒนำหมู่บ้ำน แผนชุมชน
แผนพัฒนำตำบล แผนพัฒนำท้องถิ่น แผนพัฒนำอำเภอ ที่ดำเนินกำรในพื้นที่อำเภอ เพื่อให้กำร
ดำเนินกำรตำมระเบียบนี้เกิดผลสัมฤทธิ์
ก.ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด
ข.คณะกรรมกำรบริหำรงำนจังหวัด
ค คณะกรรมกำรจังหวัด
ง.นำยอำเภอ
29.เพื่อให้กำรประสำนแผนพัฒนำในระดับพื้นที่เกิดผลสัมฤทธิ์ ให้ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด มีอำนำจ
หน้ำที่กำกับดูแล และให้คำแนะนำที่เป็นประโยชน์ตำมหลักเกณฑ์ ข้อใด
ก. บูรณำกำรกำรจัดทำแผนพัฒนำในระดับพื้นที่กับทุกภำคส่วน และสอดคล้องเชื่อมโยง
กับ แผนพัฒนำจังหวัด
ข. ประเมินประสิทธิภำพ ประสิทธิผล และผลกระทบ ที่เกิดขึ้นจำกกำรประสำน
แผนพัฒนำ ในระดับพื้นที่
ค.พิจำรณำให้หน่วยงำนใดเป็นผู้ดำเนินกำร ในกรณีที่มีควำมซ้ำซ้อนกันในเรื่องงบประมำณ
ระยะเวลำดำเนินกำร ผู้ดำเนินกำร หรือโครงกำร
ง.ถูกทุกข้อ
30.ใครกำกับดูแล และให้คำแนะนำเพื่อให้องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินกำรจัดทำ
แผนพัฒนำท้องถิ่นและกำรประสำนแผนพัฒนำท้องถิ่นให้สอดคล้อง กับแผนพัฒนำในระดับ
จังหวัด เพื่อให้เป็นไปตำมกฎหมำย กฎหมำยว่ำด้วยกำรจัดตั้งองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น และ
กฎหมำยว่ำด้วยกำรกำหนดแผนและขั้นตอนกำรกระจำยอำนำจให้แก่องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น
ก.ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด
ข.นำยอำเภอ
86

ค.ปลัดอำเภอ
ง. ก. และ ข. ถูกต้อง
31.หน่วยงำนใดติดตำมและประเมินผลคุณภำพแผนพัฒนำหมู่บ้ำน แผนชุมชน แผนพัฒนำตำบล
แผนพัฒนำท้องถิ่น และแผนพัฒนำอำเภอ เป็นประจำทุกปี เพื่อปรับปรุงคุณภำพ ให้สอดคล้องกับ
ควำมต้องกำรและปัญหำของประชำชนในพื้นที่
ก.สำนักงำนปลัดกระทรวงมหำดไทย
ข.กรมกำรปกครอง กรมกำรพัฒนำชุมชน
ค.กรมส่งเสริมกำรปกครองท้องถิ่น
ง.ถูกทุกข้อ

เฉลยแนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหำดไทยว่ำด้วยกำรจัดทำแผนและประสำนแผนพัฒนำพื้นที่
ในระดับอำเภอและตำบล พ.ศ. 2562
1.ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
กำหนดให้ภำครัฐบริหำรงำนแบบบูรณำกำรโดยมียุทธศำสตร์ชำติเป็นเป้ำหมำย และ
เชื่อมโยงกำรพัฒนำในทุกระดับ ทุกประเด็น ทุกภำรกิจ ทุกพื้นที่ จึงสมควรกำหนดแนวทำง เพื่อ
บูรณำกำรในกำรจัดทำแผนและประสำนแผนพัฒนำในระดับพื้นที่หมู่บ้ำน ชุมชน ตำบล และ
อำเภอ ให้เกิดควำมเชื่อมโยงสอดคล้องกับทิศทำงกำรพัฒนำในระดับจังหวัด กลุ่มจังหวัด ภำค
และประเทศ ไปในทิศทำงเดียวกันได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ เกิดควำมคุ้มค่ำ นำไปสู่ควำมมั่นคง มั่ง
คั่ง และยั่งยืน

2.ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
อำศัยอำนำจตำมควำมในมำตรำ ๒๐ แห่งพระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน
พ.ศ. 2534 และในฐำนะที่รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทยรักษำกำรตำมมำตรำ 6 แห่ง
พระรำชบัญญัติ องค์กำรบริหำรส่วนจังหวัด พ.ศ. ๒๕๔๐ มำตรำ 77 แห่งพระรำชบัญญัติเทศบำล
พ.ศ. ๒๔๙๖ มำตรำ 5 แห่งพระรำชบัญญัติสภำตำบลและองค์กำรบริหำรส่วนตำบล พ.ศ. ๒๕๓๗
และมำตรำ 6 แห่งพระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรเมืองพัทยำ พ.ศ. ๒๕๔๒
รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทย จึงออกระเบียบไว้

3.ตอบ ก.รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทย
อำศัยอำนำจตำมควำมในมำตรำ ๒๐ แห่งพระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน
พ.ศ. 2534 และในฐำนะที่รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทยรักษำกำรตำมมำตรำ 6 แห่ง
พระรำชบัญญัติ องค์กำรบริหำรส่วนจังหวัด พ.ศ. ๒๕๔๐ มำตรำ 77 แห่งพระรำชบัญญัติเทศบำล
พ.ศ. ๒๔๙๖ มำตรำ 5 แห่งพระรำชบัญญัติสภำตำบลและองค์กำรบริหำรส่วนตำบล พ.ศ. ๒๕๓๗
87

และมำตรำ 6 แห่งพระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรเมืองพัทยำ พ.ศ. ๒๕๔๒


รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทย จึงออกระเบียบไว้

4.ตอบ ข.
ข้อ ๒ ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจำกวันประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำเป็นต้นไป

5.ตอบ ค.แผนพัฒนำในระดับพื้นที่
“แผนพัฒนำในระดับพื้นที่” หมำยควำมว่ำ แผนพัฒนำหมู่บ้ำน แผนชุมชน แผนพัฒนำ
ตำบล แผนพัฒนำท้องถิ่น แผนพัฒนำอำเภอ และแผนพัฒนำของส่วนรำชกำรหรือหน่วยงำนอื่น ที่
ดำเนินกำรในพื้นที่อำเภอ

6. ตอบ ง.กำรจัดทำแผนและประสำนแผนพัฒนำในระดับพื้นที่
กำรจัดทำแผนและประสำนแผนพัฒนำในระดับพื้นที่” หมำยควำมว่ำ กำรจัดทำแผน และ
ประสำนแผนพัฒนำหมู่บ้ำน แผนชุมชน แผนพัฒนำตำบล แผนพัฒนำท้องถิ่น แผนพัฒนำอำเภอ
และแผนพัฒนำของส่วนรำชกำรหรือหน่วยงำนอื่น รวมทั้งองค์กรภำคเอกชนและประชำชน ที่
ดำเนินกำรในพื้นที่ให้มีควำมเชื่อมโยงและสอดคล้องในทุกระดับเป็นแผนเดียวกัน เพื่อให้สะท้อน
ปัญหำ และควำมต้องกำรของประชำชนในพื้นที่ และสอดคล้องกับแนวทำงตำมแผนพัฒนำจังหวัด
แผนพัฒนำ กลุม่ จังหวัด และแผนพัฒนำภำค ที่เป็นกำรบูรณำกำรกำรทำงำนของทุกหน่วยงำนใน
พื้นที่

7. ตอบ ก.
“หมู่บ้ำน” หมำยควำมว่ำ หมู่บ้ำนตำมกฎหมำยว่ำด้วยลักษณะปกครองท้องที่

8. ตอบ ง. ก. และ ข. ถูกต้อง


“ชุมชน” หมำยควำมว่ำ ชุมชนที่ไม่มีตำแหน่งกำนัน ผู้ใหญ่บ้ำน และอยู่ในพื้นที่ควำม
รับผิดชอบ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

9. ตอบ ข.องค์กำรบริหำรส่วนจังหวัด เทศบำล องค์กำรบริหำรส่วนตำบล เมืองพัทยำ และ


รำชกำรส่วนท้องถิ่นอื่นตำมที่มีกฎหมำยกำหนดแต่ไม่รวมถึง กรุงเทพมหำนคร

10. ตอบ ก.คณะกรรมกำรของชุมชนที่อยู่ในพื้นที่ควำมรับผิดชอบ ขององค์กรปกครองส่วน


ท้องถิ่นในเขตเทศบำลและเมืองพัทยำ
88

11.ตอบ ก.คณะกรรมกำรหมู่บ้ำน
“คณะกรรมกำรหมู่บ้ำน” หมำยควำมว่ำ คณะกรรมกำรหมู่บ้ำนตำมกฎหมำยว่ำด้วย
ลักษณะ ปกครองท้องที่ และคณะกรรมกำรกลำงหมู่บ้ำนอำสำพัฒนำและป้องกันตนเองตำม
กฎหมำยว่ำด้วย จัดระเบียบบริหำรหมู่บ้ำนอำสำพัฒนำและป้องกันตนเอง

12.ตอบ ก. แผนพัฒนำอำเภอ

13.ตอบ ค.แผนควำมต้องกำรระดับอำเภอ

14.ตอบ ค.แผนพัฒนำตำบล

15.ตอบ ง.แผนพัฒนำหมู่บ้ำน

16.ตอบ ง.กำรจัดทำเวทีประชำคมหมู่บ้ำนและชุมชน

17. ตอบ ข.ปลัดกระทรวงมหำดไทย

18. ตอบ ง. ถูกทุกข้อ


จัดทำเวทีประชำคมหมู่บ้ำนและชุมชน เพื่อรวบรวมข้อมูลปัญหำควำมต้องกำรต่ำง ๆ ของ
หมู่บ้ำนและชุมชน ทั้งในด้ำนเศรษฐกิจ สังคมและคุณภำพชีวิต ทรัพยำกรธรรมชำติและ
สิ่งแวดล้อม ควำมมั่นคงและควำมสงบเรียบร้อย และกำรบริหำรจัดกำร หรืออื่น ๆ

19. ตอบ ง. ถูกทั้ง ก. และ ข.


ข้อ7 ให้นำยอำเภอและผู้บริหำรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินกำรพัฒนำศักยภำพ
คณะกรรมกำรหมู่บ้ำน และคณะกรรมกำรชุมชน หรือหน่วยงำนอื่นที่เกี่ยวข้องในกำรบูรณำกำร
และประสำนงำนในกำรจัดทำแผนพัฒนำหมู่บ้ำนและแผนชุมชน

20. ตอบ .ก.อำเภอ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

21. ตอบ ข.สำนักงำนพัฒนำชุมชนอำเภอ

22. ตอบ ข.ก.บ.ต.


89

23.ตอบ ก. ก.ปลัดอำเภอผู้รับผิดชอบประจำตำบลที่นำยอำเภอมอบหมำย
ข้อ9 ในตำบลหนึ่ง ให้มีคณะกรรมกำรบริหำรงำนตำบลแบบบูรณำกำร ขึ้นคณะหนึ่ง
เรียกโดยย่อว่ำ ก.บ.ต. โดยประกอบด้วย
(1) ปลัดอำเภอผู้รับผิดชอบประจำตำบลที่นำยอำเภอมอบหมำย ประธำนกรรมกำร
(2) ปลัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในตำบล กรรมกำร
(3) ข้ำรำชกำรที่ปฏิบัติงำนในตำบลที่นำยอำเภอแต่งตั้งจำนวนไม่เกินสำมคน กรรมกำร
(4) กำนัน ผู้ใหญ่บ้ำนในตำบล กรรมกำร
(5) ผู้ทรงคุณวุฒิที่นำยอำเภอแต่งตั้งจำนวนไม่เกินห้ำคน กรรมกำร
(6) พัฒนำกรผู้รับผิดชอบตำบล กรรมกำรและเลขำนุกำร ในกำรแต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิตำม (5)
ให้คำนึงถึงผู้มีควำมรู้ควำมสำมำรถเกี่ยวกับกำรพัฒนำ ชุมชนในระดับตำบล หรือมีประสบกำรณ์
ในกำรจัดทำแผนพัฒนำในระดับตำบล องค์ประชุมและกำรประชุมของ ก.บ.ต. ให้นำหมวด 5
คณะกรรมกำรที่มีอำนำจดำเนินกำร พิจำรณำทำงปกครองตำมกฎหมำยว่ำด้วยวิธีปฏิบัติรำชกำร
ทำงปกครอง มำใช้บังคับโดยอนุโลม

24.ตอบ ก. ก.บ.อ.
ข้อ 12 ในอำเภอหนึ่ง ให้มีคณะกรรมกำรบริหำรงำนอำเภอแบบบูรณำกำร ขึ้นคณะหนึ่ง
เรียกโดยย่อว่ำ ก.บ.อ. โดยประกอบด้วย
(1) นำยอำเภอ ประธำนกรรมกำร
(2) ปลัดอำเภอหัวหน้ำกลุ่มงำนหรือปลัดอำเภอ รองประธำนกรรมกำร หัวหน้ำฝ่ำยบริหำรงำน
ปกครอง
(3) พัฒนำกำรอำเภอ กรรมกำร
(4) ท้องถิ่นอำเภอ กรรมกำร
(5) หัวหน้ำส่วนรำชกำร รัฐวิสำหกิจ หรือหน่วยงำนอื่นของรัฐ ในระดับอำเภอ กรรมกำร ที่
นำยอำเภอแต่งตั้งจำนวนไม่เกินสิบสองคน
(6) ผู้แทนผู้บริหำรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในอำเภอซึ่งคัดเลือกกันเอง กรรมกำร ประเภทละ
หนึ่งคน ยกเว้นองค์กำรบริหำรส่วนจังหวัด และเมืองพัทยำ
(7) ผู้ทรงคุณวุฒิที่นำยอำเภอแต่งตั้งจำนวนไม่เกินห้ำคน กรรมกำร
(8) ปลัดอำเภอผู้รับผิดชอบสำนักงำนอำเภอ กรรมกำรและเลขำนุกำร
(9) ข้ำรำชกำรสำนักงำนส่งเสริมกำรปกครองท้องถิ่นจังหวัด กรรมกำรและผู้ช่วยเลขำนุกำร ที่
ท้องถิ่นจังหวัดมอบหมำยจำนวนหนึ่งคน
(10) ข้ำรำชกำรในสำนักงำนพัฒนำชุมชนอำเภอ กรรมกำรและผู้ช่วยเลขำนุกำร ที่นำยอำเภอ
แต่งตั้งจำนวนหนึ่งคน กรรมกำรตำม (5) (6) และ (7) มีวำระอยู่ในตำแหน่งครำวละห้ำปี
ในกำรแต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิตำม (7) ให้นำยอำเภอแต่งตั้งโดยคำนึงถึงผู้ที่มีควำมรู้ควำมสำมำรถ
เกี่ยวกับกำรพัฒนำระดับอำเภอ ด้ำนกำรศึกษำ หรือมีประสบกำรณ์ในกำรจัดทำแผนพัฒนำอำเภอ
90

รวมทั้งด้ำนภำคประชำสังคมและเอกชน องค์ประชุมและกำรประชุมของ ก.บ.อ. ให้นำหมวด 5


คณะกรรมกำรที่มีอำนำจดำเนินกำร พิจำรณำทำงปกครองตำมกฎหมำยว่ำด้วยวิธีปฏิบัติรำชกำร
ทำงปกครอง มำใช้บังคับโดยอนุโลม

25.ข.คณะกรรมกำรบริหำรงำนจังหวัด
จัดทำแผนปฏิบัติงำนประจำปีของอำเภอ โดยรวบรวมโครงกำรหรือกิจกรรมของส่วน
รำชกำร รัฐวิสำหกิจในสังกัดกระทรวงมหำดไทย องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้รับกำรจัดสรร
งบประมำณ รำยจ่ำยประจำปีที่ต้องดำเนินกำรในพื้นที่อำเภอ และรำยงำนให้ คณะกรรมกำร
บริหำรงำนจังหวัด แบบบูรณำกำร (ก.บ.จ.) ทรำบ

26 ตอบ ก.ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด
ข้อ 14 ให้ ก.บ.อ. นำกรอบทิศทำงกำรพัฒนำอำเภอและยุทธศำสตร์กำรพัฒนำจังหวัด มำ
เป็นแนวทำงในกำรจัดทำแผนพัฒนำอำเภอ และแผนควำมต้องกำรระดับอำเภอ โดยกำหนดให้
แผนพัฒนำอำเภอมีระยะเวลำสอดคล้องกับห้วงเวลำของแผนพัฒนำจังหวัด
กำรกำหนดโครงร่ำงแผนพัฒนำอำเภอ และแผนควำมต้องกำรระดับอำเภอ ให้เป็นไปตำมที่
กระทรวงมหำดไทยกำหนด
ข้อ 15 ให้ ก.บ.อ. นำแผนพัฒนำอำเภอ ตำมข้อ 14 เสนอผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดพิจำรณำ
ให้ควำมเห็นชอบ เมื่อผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดให้ควำมเห็นชอบแผนพัฒนำอำเภอตำมวรรคหนึ่งแล้ว ให้
ก.บ.อ. ประกำศใช้แผนพัฒนำอำเภอและจัดส่งแผนพัฒนำอำเภอให้หน่วยงำนรำชกำรและ
รัฐวิสำหกิจ รวมทั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่ เพื่อให้ทุกภำคส่วนนำไปใช้เป็นแนวทำงใน
กำรพัฒนำพื้นที่ ระดับอำเภอในทิศทำงกำรพัฒนำอำเภอเดียวกัน

27. ตอบ ง.ถูกทุกข้อ


ข้อ 21 เพื่อให้เกิดกำรบูรณำกำรและประสำนแผนพัฒนำในระดับพื้นที่ ให้ดำเนินกำร
ตำมแนวทำง ดังนี้
(๑) จัดทำเวทีประชำคม เพื่อให้ทุกภำคส่วนมีส่วนร่วมในกำรระดมควำมคิดเห็นของประชำชน
เพื่อให้ได้มำซึ่งปัญหำ และควำมต้องกำรจำกประชำชนในพื้นที่
(๒) ให้มีกำรประสำนแผนในระดับพื้นที่ โดยกำรรวบรวมและจัดลำดับควำมสำคัญของปัญหำ และ
ควำมต้องกำรของประชำชนในพื้นที่ ผ่ำนกลไกกำรจัดทำแผนพัฒนำหมู่บ้ำน แผนชุมชน
แผนพัฒนำตำบล แผนพัฒนำท้องถิ่น และแผนควำมต้องกำรระดับอำเภอ เพื่อให้แผนมีควำม
เชื่อมโยง สอดคล้องกันในทุกระดับเป็นแผนเดียวกัน
(๓) ในกรณีแผนงำนหรือโครงกำร หรือพื้นที่ มีควำมซ้ำซ้อนกันในกำรจัดทำแผนระดับอำเภอ กับ
แผนพัฒนำท้องถิ่น ให้หำรือร่วมกันระหว่ำงคณะกรรมกำรบริหำรงำนอำเภอแบบบูรณำกำรกับ
องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นที่เกี่ยวข้อง
91

(4) บูรณำกำรกำรงบประมำณ และประสำนควำมร่วมมือเพื่อขอรับกำรสนับสนุนงบประมำณ ให้


เป็นไปตำมแผนพัฒนำในระดับพื้นที่ โดยกำรแสวงหำควำมร่วมมือ และกำรบูรณำกำรจำกทุกภำค
ส่วน

28.ตอบ ง.นำยอำเภอ
ข้อ28 ให้นำยอำเภอมีหน้ำที่กำกับดูแล และให้คำแนะนำในกำรประสำนแผนพัฒนำ
หมู่บ้ำน แผนชุมชน แผนพัฒนำตำบล แผนพัฒนำท้องถิ่น แผนพัฒนำอำเภอ ที่ดำเนินกำรในพื้นที่
อำเภอ เพื่อให้กำรดำเนินกำรตำมระเบียบนี้เกิดผลสัมฤทธิ์

29. ตอบ ง.ถูกทุกข้อ


เพื่อให้กำรประสำนแผนพัฒนำในระดับพื้นที่เกิดผลสัมฤทธิ์ ให้ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด มี
อำนำจหน้ำที่กำกับดูแล และให้คำแนะนำที่เป็นประโยชน์ตำมหลักเกณฑ์ ดังนี้
(1) บูรณำกำรกำรจัดทำแผนพัฒนำในระดับพื้นที่กับทุกภำคส่วน และสอดคล้องเชื่อมโยงกับ
แผนพัฒนำจังหวัด
(2) ประเมินประสิทธิภำพ ประสิทธิผล และผลกระทบ ที่เกิดขึ้นจำกกำรประสำนแผนพัฒนำ ใน
ระดับพื้นที่
(3) กำรมีส่วนร่วมของประชำชน และกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี
(4) พิจำรณำให้หน่วยงำนใดเป็นผู้ดำเนินกำร ในกรณีที่มีควำมซ้ำซ้อนกันในเรื่องงบประมำณ
ระยะเวลำดำเนินกำร ผู้ดำเนินกำร หรือโครงกำร

30 ตอบ ง. ก. และ ข. ถูกต้อง


ข้อ 30 ให้ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดและนำยอำเภอกำกับดูแล และให้คำแนะนำเพื่อให้องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินกำรจัดทำแผนพัฒนำท้องถิ่นและกำรประสำนแผนพัฒนำท้องถิ่นให้
สอดคล้อง กับแผนพัฒนำในระดับจังหวัด เพื่อให้เป็นไปตำมกฎหมำย กฎหมำยว่ำด้วยกำรจัดตั้ง
องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น และกฎหมำยว่ำด้วยกำรกำหนดแผนและขั้นตอนกำรกระจำยอำนำจ
ให้แก่องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น

31. ตอบ ง.ถูกทุกข้อ


ข้อ 31 ให้สำนักงำนปลัดกระทรวงมหำดไทย ร่วมกับกรมกำรปกครอง กรมกำรพัฒนำ
ชุมชน และกรมส่งเสริมกำรปกครองท้องถิ่น ติดตำมและประเมินผลคุณภำพแผนพัฒนำหมู่บ้ำน
แผนชุมชน แผนพัฒนำตำบล แผนพัฒนำท้องถิ่น และแผนพัฒนำอำเภอ เป็นประจำทุกปี เพื่อ
ปรับปรุงคุณภำพ ให้สอดคล้องกับควำมต้องกำรและปัญหำของประชำชนในพื้นที่
92

นโยบำยรัฐบำล
1. กำรปกป้องและเชิดชูสถำบันพระมหำกษัตริย์
โดยจะใช้มำตรกำรทำงกฎหมำยมำตรกำรทำงสังคมจิตวิทยำ และมำตรกำรทำง
ระบบสื่อสำรและเทคโนโลยีสำรสนเทศในกำรดำเนินกำรกับผู้คะนองปำก ย่ำมใจหรือประสงค์ร้ำย
มุ่งสั่นคลอนสถำบันหลักของชำติ โดยไม่คำนึงถึงควำมรู้สึกและควำมผูกพันภักดีของคนอีกเป็น
จำนวนมำก ตลอดจนเผยแพร่ควำมรู้ควำมเข้ำใจที่ถูกต้องและเป็นจริงเกี่ยวกับสถำบัน
พระมหำกษัตริย์และพระรำชกรณียกิจเพื่อประชำชน ทั้งจะสนับสนุนโครงกำรทั้งหลำยอันเนื่องมำ
จำกพระรำชดำริ ตลอดจนเร่งขยำยผลตำมโครงกำรและแบบอย่ำงที่ทรงวำงรำกฐำนไว้ให้
แพร่หลำยและเกิดประโยชน์ในวงกว้ำง
2. กำรรักษำควำมมัน่ คงของรัฐและกำรต่ำงประเทศ
2.1 ในระยะเร่งด่วน รัฐบำลได้ให้ควำมสำคัญต่อกำรเตรียมพร้อมสู่ประชำคมกำรเมือง
และควำมมั่นคงอำเซียนในกิจกำร 5 ด้ำน ประกอบด้วย
- กำรบริหำรจัดกำรชำยแดน
- กำรสร้ำงควำมมั่นคงทำงทะเล
- กำรแก้ไขปัญหำอำชญำกรรมข้ำมชำติ
- กำรสร้ำงควำมไว้วำงใจกับประเทศเพื่อนบ้ำน
- กำรเสริมสร้ำงในกำรปฏิบัติกำรทำงกำรทหำรร่วมกันของอำเซียน โดยเน้นควำมร่วมมือ
เพื่อป้องกัน แก้ไขข้อพิพำทต่ำง ๆ รวมถึงกำรแก้ไขปัญหำเส้นเขตแดนโดยใช้กลไกระดับทวิภำคี
และพหุภำคี
2.2 เร่งแก้ไขปัญหำกำรใช้ควำมรุนแรงในจังหวัดชำยแดนภำคใต้ โดยนำยุทธศำสตร์
เข้ำใจ เข้ำถึง และพัฒนำมำใช้ตำมแนวทำงกัลยำณมิตรแบบสันติวิธี พร้อมส่งเสริมกำรพูดคุยสันติ
สุขกับผู้มีควำมคิดเห็นต่ำงจำกรัฐ และสร้ำงควำมเชื่อมั่นในกระบวนกำรยุติธรรมตำมหลักนิติธรรม
และหลักสิทธิมนุษยชนโดยไม่เลือกปฏิบัติ ควบคู่กับกำรพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมที่สอดคล้องกับ
ควำมต้องกำรของประชำชนในพื้นที่ ทั้งจะเพิ่มระดับปฏิสัมพันธ์กับต่ำงประเทศ และองค์กำร
ระหว่ำงประเทศที่อำจช่วยคลี่คลำยปัญหำได้
2.3 พัฒนำและเสริมสร้ำงของกองทัพและระบบป้องกันประเทศให้ทันสมัย มีควำม
พร้อมในกำรรักษำอธิปไตย และผลประโยชน์ของชำติ ปลอดพ้นจำกกำรคุกคำมทุกรูปแบบ
ส่งเสริมและพัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี เพื่อนำไปสู่กำรพึ่งพำตนเองในกำรผลิตอำวุธ
ยุทโธปกรณ์ รวมถึงกำรบูรณำกำรควำมร่วมมือระหว่ำงภำครัฐกับภำคเอกชนในอุตสำหกรรม
ป้องกันประเทศได้
2.4 เสริมสร้ำงควำมสัมพันธ์อันดีกับนำนำประเทศบนหลักกำรที่ว่ำนโยบำยกำร
ต่ำงประเทศเป็นส่วนประกอบสำคัญของนโยบำยองค์รวมทั้งหมดในกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน ไม่
ว่ำในด้ำนกำรเมือง เศรษฐกิจ หรือสังคม โดยจะนำกลไกทำงกำรทูตแบบบูรณำกำรมำใช้ให้เกิด
ประโยชน์สูงสุดแก่ประชำชนทั้งทำงตรงและทำงอ้อม
93

3. กำรลดควำมเหลื่อมล้ำของสังคม และกำรสร้ำงโอกำสกำรเข้ำถึงบริกำรของรัฐ
3.1 ในระยะเฉพำะหน้ำ จะเร่งสร้ำงโอกำส อำชีพ และกำรมีรำยได้ที่มั่นคงแก่ผู้ที่เข้ำสู่
ตลำดแรงงำน โดยให้แรงงำนทั้งระบบมีโอกำสเข้ำถึงกำรเรียนรู้และพัฒนำทักษะฝีมือแรงงำนใน
ทุกระดับอย่ำงมีมำตรฐำน
3.2 ป้องกันและแก้ไขปัญหำกำรค้ำมนุษย์ รวมถึงปัญหำผู้หลบหนีเข้ำเมือง กำรทำรุณ
กรรมต่อแรงงำนข้ำมชำติ กำรท่องเที่ยวที่เน้นบริกำรทำงเพศและเด็ก และปัญหำคนขอทำน ด้วย
กำรปรับปรุงกฎหมำยข้อบังคับที่จำเป็นและเพิ่มควำมเข้มงวดในกำรระวังตรวจสอบ
3.3 ในระยะต่อไป จะพัฒนำระบบกำรคุ้มครองทำงสังคม ระบบกำรออมและระบบ
สวัสดิกำรชุมชนให้มีประสิทธิภำพและมีควำมยั่งยืนมำกยิ่งขึ้น รวมทั้งกำรดูแลให้มีระบบกำรกู้ยืมที่
เป็นธรรมและกำรสงเครำะห์ผู้ยำกไร้อัตภำพ พัฒนำศักยภำพ คุ้มครองและพิทักษ์สิทธิจัด
สวัสดิกำรช่วยเหลือและพัฒนำคุณภำพชีวิตของผู้ด้อยโอกำส ผู้พิกำร ผู้สูงอำยุ สตรีและเด็ก
3.4 เตรียมควำมพร้อมเข้ำสู่สังคมผู้สูงอำยุ เพื่อส่งเสริมคุณภำพชีวิตและกำรมีเงินหรือ
กิจกรรมที่เหมำะสม เพื่อสร้ำงสรรค์และไม่ก่อภำระต่อสังคมในอนำคต โดยจัดเตรียมระบบกำร
ดูแลในบ้ำน สถำนพักฟื้น และโรงพยำบำล ที่เป็นควำมร่วมมือของภำครัฐ ภำคเอกชน ชุมชน และ
ครอบครัว รวมทั้งพัฒนำระบบกำรเงินกำรคลังสำหรับกำรดูแลผู้สูงอำยุ
3.5 เตรียมควำมพร้อมเข้ำสู่สังคมที่มีควำมหลำกหลำย
3.6 จัดระเบียบสังคม สร้ำงมำตรฐำนด้ำนคุณธรรม จริยธรรม และธรรมำภิบำลให้แก่
เจ้ำหน้ำที่ของรัฐและประชำชนทั่วไป โดยใช้ค่ำนิยมหลัก 12 ประกำร ตำมนโยบำยของคณะรักษำ
ควำมสงบแห่งชำติที่ได้ประกำศไว้แล้ว
3.7 แก้ปัญหำกำรไร้ที่ดินทำกินของเกษตรกรและกำรรุกล้ำเขตป่ำสงวน โดยกำรกระจำย
สิทธิกำรถือครองให้แก่ผู้ที่อยู่ในพื้นที่ที่ไม่ได้รุกล้ำ และออกมำตรกำรป้องกันกำรเปลี่ยนมือไปอยู่ใน
ครอบครองของผู้ที่มิใช่เกษตรกร ใช้เทคโนโลยีดำวเทียมสำรวจและวิธีกำรแผนที่ที่ทันสมัย แก้ไข
ปัญหำเขตที่ดินทับซ้อนและแนวเขตพื้นที่ป่ำที่ไม่ชัดเจน
4. กำรศึกษำและเรียนรู้ กำรทะนุบำรุงศำสนำ ศิลปะและวัฒนธรรม
4.1 จัดให้มีกำรปฏิรูปกำรศึกษำและกำรเรียนรู้ โดยให้ควำมสำคัญทั้งกำรศึกษำในระบบ
และกำรศึกษำทำงเลือกไปพร้อมกัน เพื่อสร้ำงคุณภำพของคนไทยให้สำมำรถเรียนรู้ พัฒนำตนได้
เต็มตำมศักยภำพ เพื่อลดควำมเหลื่อมล้ำ และพัฒนำกำลังคนให้เป็นที่ต้องกำรเหมำะสมกับพื้นที่
ทั้งในด้ำนกำรเกษตร อุตสำหกรรม และธุรกิจบริกำร
4.2 ในระยะเฉพำะหน้ำ จะปรับเปลี่ยนกำรจัดสรรงบประมำณสนับสนุนกำรศึกษำให้
สอดคล้องกับควำมจำเป็นของผู้เรียนและลักษณะพื้นที่ของสถำนศึกษำ จัดระบบกำรสนับสนุนให้
เยำวชนและประชำชนทั่วไปมีสิทธิเลือกรับบริกำรกำรศึกษำทั้งในระบบโรงเรียนและนอกโรงเรียน
โดยอำจจะพิจำรณำจัดให้มีคูปองกำรศึกษำเป็นแนวทำงหนึ่ง
94

4.3 ให้องค์กรภำคประชำสังคม ภำคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และประชำชน


ทั่วไปมีโอกำสร่วมจัดกำรศึกษำที่มีคุณภำพและทั่วถึง และร่วมในกำรปฏิรูปกำรศึกษำและกำร
เรียนรู้
4.4 พัฒนำระบบกำรผลิตและพัฒนำครูที่มีคุณภำพและมีจิตวิญญำณของควำมเป็นครู
เน้นครูผู้สอนให้มีวุฒิตรงตำมวิชำที่สอน นำเทคโนโลยีสำรสนเทศและเครื่องมือที่เหมำะสมมำใช้ใน
กำรเรียนกำรสอนเพื่อเป็นเครื่องมือช่วยครูหรือเพื่อกำรเรียนรู้ด้วยตัวเอง
4.5 ทะนุบำรุงและอุปถัมภ์พระพุทธศำสนำและศำสนำอื่น ๆ สนับสนุนให้องค์กรทำง
ศำสนำมีบทบำทสำคัญในกำรปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ตลอดจนพัฒนำคุณภำพชีวิต สร้ำงสันติ
สุขและควำมปรองดองสมำนฉันท์ในสังคมไทยอย่ำงยั่งยืน
5. กำรยกระดับคุณภำพบริกำรด้ำนสำธำรณสุขและสุขภำพของประชำชน
5.1 วำงรำกฐำนให้ระบบหลักประกันสุขภำพให้มีควำมครอบคลุมประชำกรในทุกภำค
ส่วนอย่ำงมีคุณภำพโดยไม่มีควำมเหลื่อมล้ำของคุณภำพบริกำรในแต่ละระบบ และบูรณำกำร
ข้อมูลระหว่ำงทุกระบบหลักประกันสุขภำพ
5.2 พัฒนำระบบบริหำรสุขภำพ โดยเน้นกำรป้องกันโรคมำกกว่ำรอให้ป่วยแล้วจึงมำ
รักษำ สร้ำงกลไกจัดกำรสุขภำพในระดับเขตแทนกำรกระจุกตัวอยู่ที่ส่วนกลำง ปรับระบบกำรจ้ำง
งำน กำรกระจำยบุคลำกรและทรัพยำกรสำธำรณสุขให้เหมำะสมกับท้องถิ่น
5.3 ประสำนกำรทำงำนระหว่ำงภำคส่วนต่ำง ๆ ในสังคม เพื่อป้องกันและแก้ปัญหำกำร
ตั้งครรภ์ในวัยรุ่น และปัญหำด้ำนกำรแพทย์และจริยธรรมของกำรอุ้มบุญ กำรปลูกถ่ำยอวัยวะ
และสเต็มเซลล์ โดยจัดให้มีมำตรกำรและกฎหมำยที่รัดกุม
6. กำรเพิ่มศักยภำพทำงเศรษฐกิจของประเทศ
รัฐบำลจะดำเนินนโยบำยเศรษฐกิจเป็น 3 ระยะ คือ ระยะเร่งด่วนที่ต้องดำเนินกำรทันที
ระยะต่อไปที่ต้องแก้ไขปัญหำพื้นฐำนที่ค้ำงคำอยู่ และระยะยำวที่ต้องวำงรำกฐำนเพื่อควำม
เจริญเติบโตอย่ำงต่อเนื่อง ดังนี้
6.1 ในระยะเร่งด่วน เร่งจ่ำยงบลงทุนของปีงบประมำณ พ.ศ. 2557 ที่ยังค้ำงอยู่ก่อนที่
จะพ้นกำหนดภำยในสิ้นปีนี้
6.2 สำนต่อนโยบำยงบประมำณกระตุ้นเศรษฐกิจตำมที่คณะรักษำควำมสงบแห่งชำติที่
ได้จัดทำไว้ โดยนำหลักกำรสำคัญของกำรจัดทำงบประมำณรำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ พ.ศ.
2559 ที่ให้ควำมสำคัญในกำรบูรณำกำรงบประมำณ และควำมพร้อมในกำรดำเนินงำนร่วมนำ
แหล่งเงินอื่นมำประกอบกำรพิจำรณำด้วย ทบทวนภำรกิจที่มีลักษณะไม่ยั่งยืนหรือสร้ำงภำระหนี้
สำธำรณะของประเทศเกินควำมจำเป็น และแสดงรำยกำรลงทุนในระดับจังหวัดเพื่อควำมโปร่งใส
เป็นธรรมและไม่เลือกปฏิบัติ
95

6.3 กระตุ้นกำรลงทุนด้ำยกำรเร่งพิจำรณำโครงกำรลงทุนที่มีประสิทธิภำพ ซึ่งนักลงทุน


ยื่นขออนุมัติส่งเสริมกำรลงทุนไว้แล้วให้เสร็จสิ้นโดยเร็ว และนำโครงกำรลงทุนในโครงสร้ำงพื้นฐำน
ประเภทที่มีผลตอบแทนดี
6.4 ดูแลเกษตรให้มีรำยได้ที่เหมำะสมด้วยวิธีกำรต่ำง ๆ เช่น ลดตุ้นกำรผลิต กำร
ช่วยเหลือในเรือ่ งปัจจัยกำรผลิตอย่ำงทั่วถึง
6.5 ลดอุปสรรคในกำรส่งออกเพื่อให้เกิดควำมคล่องตัว เช่น ปรับปรุงวิธีกำรตรวจรับรอง
มำตรฐำนสินค้ำและมำตรฐำนกำรผลิตระดับไร่นำ เป็นต้น
6.6 ชักจูงให้นักท่องเที่ยวต่ำงชำติเข้ำมำเที่ยวในประเทศไทย โดยพิจำรณำมำตรกำรลด
ผลกระทบจำกกำรประกำศใช้กฎอัยกำรศึกในบำงพื้นที่ที่มีต่อกำรท่องเที่ยวในโอกำสแรกที่จะทำได้
6.7 ในระยะยำวต่อไป ประสำนนโยบำยกำรเงินและกำรคลังให้สอดคล้องกันเพื่อ
สนับสนุนกำรฟื้นตัวของเศรษฐกิจพร้อมกับกำรรักษำเสถียรภำพของรำคำอย่ำงเหมำะสม
6.8 แก้ปัญหำน้ำท่วมในฤดูฝนและปัญหำขำดแคลนน้ำในบำงพื้นที่และบำงฤดูกำล โดย
ระดมควำมคิดเห็นเพื่อหำทำงออกไม่ให้เกิดน้ำท่วมรุนแรงดังเช่นปี 2554 ส่วนภำวะภัยแล้งนั้น
รัฐบำลจะเร่งดำเนินกำรสร้ำงแหล่งน้ำขนำดเล็กให้กระจำยครอบคลุม ซึ่งจะสำมำรถทำได้ในเวลำ
ประมำณ 1 ปี
6.9 ปฏิรูปโครงสร้ำงรำคำเชื้อเพลิงประเภทต่ำง ๆ ให้สอดคล้องกับต้นทุนและให้มีภำระ
ภำษีที่เหมำะสมระหว่ำงน้ำมันต่ำงชนิดและผู้ใช้ต่ำงประเภท รวมถึงกำรดำเนินกำรให้มีกำรสำรวจ
และผลิตก๊ำซธรรมชำติและน้ำมันดิบรอบใหม่ทั้งในทะเลและบนบก และดำเนินกำรให้มีกำรสร้ำง
โรงไฟฟ้ำเพิม่ ขึ้นโดยหน่วยงำนของรัฐและเอกชน ด้วยวิธีกำรเปิดเผย โปร่งใส และเป็นมิตรต่อ
สภำวะแวดล้อม พร้อมกับร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้ำนในกำรพัฒนำพลังงำน
6.10 ปรับปรุงวิธีกำรจัดเก็บภำษีให้จัดเก็บอย่ำงครบถ้วน โดยปรับปรุงโครงสร้ำงภำษีให้
คงภำษีเงินได้ไว้ในระดับปัจจุบัน ทั้งบุคคลธรรมดำและนิติบุคคล แต่ปรับปรุงโครงสร้ำงอัตรำภำษี
ทำงด้ำนกำรค้ำและขยำยรำกฐำนกำรจัดเก็บภำษีประเภทใหม่ ซึ่งจะจัดเก็บจำกทรัพย์สิน เช่น
ภำษีมรดก ภำษีจำกที่ดินและสิ่งปลูกสร้ำง โดยให้มีผลกระทบต่อผู้มีรำยได้น้อยให้น้อยที่สุด
รวมทั้งปรับปรุงกำรลดหย่อนภำษีเงินได้ให้เกิดประโยชน์แก่ผู้มีรำยได้น้อย และยกเลิก
กำรยกเว้นภำษีประเภทที่เอื้อประโยชน์เฉพำะผู้ที่มีฐำนะกำรเงินดี เพื่อให้เกิดควำมเป็นธรรมมำก
ขึ้น
6.11 บริหำรจัดกำรหนี้ภำครัฐที่เกิดขึ้นในช่วงรัฐบำลที่ผ่ำนมำ ซึ่งจำนวนสูงมำกกว่ำ
700,000 ล้ำนบำท และเป็นภำระงบประมำณใน 5 ปีข้ำงหน้ำ อันจะทำให้เหลืองบประมำณเพื่อ
กำรลงทุนพัฒนำประเทศน้อยลง โดยประมวลหนี้เหล่ำนี้ให้ครบถ้วน หำแหล่งเงินระยะยำวมำ
สะสำงหนี้ทั้งหมด และยืดระยะเวลำชำระคืนให้นำนที่สุดเพื่อลดภำระของงบประมำณในอนำคต
6.12 ในระยะยำว พัฒนำโครงสร้ำงพื้นฐำน
96

- ด้ำนกำรขนส่งและคมนำคมทำงบก โดยเริ่มโครงกำรรถไฟฟ้ำขนส่งมวลชนใน กทม.


และรถไฟฟ้ำเชื่อม กทม. กับเมืองบริวำรเพิ่มเติมเพื่อลดเวลำในกำรเดินทำงของประชำชน เพื่อตั้ง
ฐำนให้รัฐบำลต่อไปทำได้ทันที
- ด้ำนคมนำคมทำงอำกำศ โดยปรับปรุงท่ำอำกำศยำนสุวรรณภูมิระยะที่ 2 ท่ำอำกำศ
ยำนดอนเมือง และท่ำอำกำศยำนในภูมิภำค เพื่อให้สำมำรถรองรับปริมำณกำรจรำจรทำงอำกำศ
ได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ
- ด้ำนกำรคมนำคมทำงน้ำ โดยพัฒนำกำรขนส่งสินค้ำทำงลำน้ำชำยฝั่งทะเล เพื่อลด
ต้นทุนระบบโลจิสติกส์ของประเทศ เริ่มจำกกำรพัฒนำท่ำเรือแหลมฉบัง ท่ำเรือชำยฝั่งอ่ำวไทยและ
อันดำมัน ตลอดจนผลักดันให้ท่ำเรือในลำน้ำเจ้ำพระยำและป่ำสักมีกำรใช้ประโยชน์ในกำรขนส่ง
สินค้ำภำยในประเทศและเชื่อมโยงกับท่ำเรือแหลมฉบัง รวมทั้งกำรขุดลอกร่องน้ำลึก
6.13 ปรับโครงสร้ำงกำรบริหำรจัดกำรในสำขำขนส่งที่มีกำรแยกบทบำทและภำรกิจของ
หน่วยงำนในระดับนโยบำย หน่วยงำนกำกับดูแล และหน่วยปฏิบัติที่ชัดเจน และจัดตั้งหน่วยงำน
กำกับดูแลระบบรำง เพื่อทำหน้ำที่กำหนดมำตรฐำนกำรให้บริกำรและควำมปลอดภัย โครงสร้ำง
อัตรำค่ำบริกำรที่เป็นธรรม กำรลงทุน กำรบำรุงรักษำและกำรบริหำรจัดกำร ซึ่งจะช่วยสนับสนุน
กำรพัฒนำระบบรำงให้เป็นโครงข่ำยหลักของประเทศ
6.14 พัฒนำและปรับปรุงระบบบริหำรจัดกำรของรัฐวิสำหกิจให้มีประสิทธิภำพ กำหนด
เป้ำหมำยและมำตรกำรที่จะแก้ไขปัญหำและฟื้นฟูกจิ กำร ตลอดจนพิจำรณำควำมจำเป็นในกำรคง
บทบำทกำรเป็นรัฐวิสำหกิจแต่ละแห่งให้สอดคล้องกับสถำนกำรณ์ปัจจุบัน
6.15 ในด้ำนเกษตรกรรม ดำเนินกำรใน 2 เรื่องใหญ่ คือ กำรปรับโครงสร้ำงกำรผลิต
สินค้ำเกษตรให้สอดคล้องกับควำมต้องกำรด้วยวิธีกำรต่ำง ๆ
6.16 ในด้ำนอุตสำหกรรม ส่งเสริมกำรพัฒนำอุตสำหกรรมที่สอดคล้องกับศักยภำพ
พื้นฐำนของประเทศ อำทิ ส่งเสริมและพัฒนำอุตสำหกรรมเกษตรแปรรูป ส่งเสริมอุตสำหกรรมที่ใช้
เทคโนโลยีขั้นสูง ส่งเสริมอุตสำหกรรมที่ใช้กำรออกแบบและสร้ำงสรรค์ เป็นต้น
6.17 เพิ่มขีดควำมสำมำรถของผู้ประกอบกำรวิสำหกิจขนำดกลำงและขนำดย่อมให้
เข้มแข็ง สำมำรถแข่งขันได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ
6.18 ส่งเสริมภำคเศรษฐกิจดิจิทัลและวำงรำกฐำนของเศรษฐกิจดิจิทัลให้เริ่มขับเคลื่อน
ได้อย่ำงจริงจัง ซึ่งจะทำให้ทุกภำคเศรษฐกิจก้ำวหน้ำไปได้ทันโลกและสำมำรถแข่งขันในโลก
สมัยใหม่ได้
7. กำรส่งเสริมบทบำทและกำรใช้โอกำสในประชำคมอำเซียน
- เร่งพัฒนำควำมเชื่อมโยงด้ำนกำรขนส่งภำยในอนุภูมิภำคและภูมิอำเซียน โดยเร่ง
ขับเคลื่อนตำมแผนงำนกำรพัฒนำควำมร่วมมือทำงเศรษฐกิจในอนุภูมิภำคลุ่มแม่น้ำโขง 6 ประเทศ
(GMS) แผนควำมร่วมมือทำงเศรษฐกิจอิระวดี-เจ้ำพระยำ-แม่โขง (ACMECS) แผนควำมร่วมมือ
แห่งอ่ำวเบงกอลสำหรับควำมร่วมมือหลำกหลำยสำขำวิชำกำรและเศรษฐกิจ (BIMSTEC) และแผน
แม่บทควำมเชื่อมโยงในอำเซียน
97

- พัฒนำเขตเศรษฐกิจพิเศษ โดยเริ่มจำกกำรพัฒนำด่ำนกำรค้ำชำยแดนและโครงข่ำยกำร
คมนำคมขนส่งบริเวณประตูกำรค้ำหลักของประเทศเพื่อรองรับกำรเชื่อมโยงกระบวนกำรผลิตและ
กำรลงทุนข้ำมแดน พัฒนำระบบ National Single Window (NSW) โดยระยะแรกให้ควำมสำคัญ
กับด่ำนชำยแดนที่สำคัญ 6 ด่ำน ได้แก่ ปำดังเบซำร์ สะเดำ อรัญประเทศ แม่สอด บ้ำนคลองลึก
และบ้ำนคลองใหญ่
8. กำรพัฒนำและส่งเสริมกำรใช้ประโยชน์จำกวิทยำศำสตร์ เทคโนโลยี กำรวิจัย และพัฒนำ และ
นวัตกรรม
8.1 สนับสนุนกำรเพิ่มค่ำใช้จ่ำยในกำรวิจัยและพัฒนำของประเทศเพื่อมุ่งเป้ำหมำยให้ไม่
ต่ำกว่ำ 1% ของรำยได้ประชำชำติ และมีสัดส่วนรัฐต่อเอกชน 30:70 ตำมแผนพัฒนำเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชำติ เพื่อให้ประเทศมีควำมสำมำรถในกำรแข่งขัน
8.2 ส่งเสริมให้โครงกำรลงทุนขนำดใหญ่ของประเทศ เช่น ด้ำนพลังงำนสะอำด ระบบ
รำง ยำนยนต์ ไฟฟ้ำ กำรจัดกำรน้ำและขยะ ใช้ประโยชน์จำกผลกำรศึกษำวิจัย และพัฒนำและ
นวัตกรรมของไทยตำมควำมเหมำะสม ในกรณีที่จำเป็นจะต้องซื้อวัสดุอุปกรณ์หรือเทคโนโลยีจำก
ต่ำงประเทศ จะให้มีเงื่อนไขกำรถ่ำยทอดเทคโนโลยีเพื่อให้สำมำรถพึ่งตนเองได้ในอนำคตด้วย
9. กำรรักษำควำมมั่นคงของฐำนทรัพยำกร และกำรสร้ำงสมดุลระหว่ำงกำรอนุรักษ์ กับกำรใช้
ประโยชน์อย่ำงยั่งยืน
9.1 ในระยะเฉพำะหน้ำ เร่งปกป้องและฟื้นฟูพื้นที่อนุรักษ์ ทรัพยำกรป่ำไม้และสัตว์ป่ำ
โดยให้ควำมสำคัญในกำรแก้ไขปัญหำกำรบุกรุกที่ดินของรัฐ พร้อมส่งเสริมกำรปลูกไม้มีค่ำทำง
เศรษฐกิจในพื้นที่เอกชน เพื่อลดแรงกดดันในกำรตัดไม้จำกป่ำธรรมชำติ
9.2 ในระยะต่อไป พัฒนำระบบบริหำรจัดกำรที่ดินและแก้ไขกำรบุกรุกที่ดินของรัฐ โดย
ยึดแนวพระรำชดำริที่ให้ประชำชนสำมำรถอยู่ร่วมกับป่ำได้ เช่น กำรกำหนดเขตป่ำชุมชนให้ชัดเจน
9.3 บริหำรจัดกำรทรัพยำกรน้ำของประเทศให้เป็นเอกภำพในทุกมิติทั้งเชิงปริมำณและ
คุณภำพ จัดให้มีแผนบริหำรน้ำของประเทศ เพื่อให้กำรจัดทำแผนงำนไม่เกิดควำมซ้ำซ้อนมีควำม
เชื่อมโยงกันอย่ำงเป็นระบบ
9.4 เร่งรัดกำรควบคุมมลพิษทำงอำกำศ ขยะ และน้ำเสีย ที่เกิดจำกกำรผลิตและบริโภค
ในพื้นที่ใดที่สำมำรถจัดกำรขยะมูลฝอยด้วยกำรแปรรูปเป็นพลังงำนก็จะสนับสนุนให้ดำเนินกำร
ส่วนขยะอุตสำหกรรมนั้นจะวำงระเบียบมำตรกำรเป็นพิเศษ โดยกำหนดให้ทิ้งในบ่อขยะ
อุตสำหกรรมที่สร้ำงขึ้นแบบมีมำตรฐำน และพัฒนำระบบตรวจสอบไม่ให้มีกำรลักลอบทิ้งขยะติด
เชื้อ และใช้มำตรกำรทำงกฎหมำยและกำรบังคับใช้กฎหมำยอย่ำงเด็ดขำด
10. กำรส่งเสริมกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดินที่มีธรรมำภิบำล และกำรป้องกันปรำบปรำมกำรทุจริต
และประพฤติมิชอบในภำครัฐ
98

10.1 จัดระบบอัตรำกำลังและปรับปรุงค่ำตอบแทนบุคลำกรภำครัฐให้เหมำะสมและเป็น
ธรรม ยึดหลักกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี เพื่อสร้ำงควำมเชื่อมั่นวำงใจในระบบรำชกำร ลด
ต้นทุนดำเนินกำรของภำคธุรกิจเพิ่มศักยภำพในกำรแข่งขันกับนำนำประเทศ กำรรักษำบุคลำกร
ภำครัฐที่มีประสิทธิภำพไว้ในระบบรำชกำร โดยจะดำเนินกำรตั้งแต่ระยะเฉพำะหน้ำไปตำมลำดับ
ควำมจำเป็นและตำมที่กฎหมำยเอื้อให้สำมำรถดำเนินกำรได้
10.2 ในระยะแรก กระจำยอำนำจเพื่อให้ประชำชนสำมำรถเข้ำถึงบริหำรสำธำรณะได้
รวดเร็ว ทั้งจะวำงมำตรกำรทำงกฎหมำย มิให้เจ้ำหน้ำที่หลีกเลี่ยง ประวิงเวลำ หรือใช้อำนำจโดยมิ
ชอบก่อให้เกิดกำรทุจริต หรือสร้ำงควำมเสียหำยแก่ประชำชนโดยเฉพำะนักลงทุน
ส่วนในระยะเฉพำะหน้ำ จะเน้นกำรปรับปรุงหน่วยงำนให้บริกำรด้ำนกำรทำธุรกิจ กำร
ลงทุน และด้ำนบริกำรสำธำรณะในชีวิตประจำวันเป็นสำคัญ
10.3 เสริมสร้ำงระบบคุณธรรมในกำรแต่งตั้งและโยกย้ำยบุคลำกรภำครัฐ วำงมำตรกำร
ป้องกันกำรแทรกแซงจำกนักกำรเมือง และส่งเสริมให้มีกำรนำระบบพิทักษ์คุณธรรมมำใช้ในกำร
บริหำรงำนบุคคลของเจ้ำหน้ำที่ฝ่ำยต่ำง ๆ
10.4 ปรับปรุงและจัดให้มีกฎหมำยที่ครอบคลุมกำรป้องกันและปรำบปรำมกำรทุจริต
และกำรมีผลประโยชน์ทับซ้อนในภำครัฐทุกระดับ โดยถือว่ำเรื่องนี้เป็นวำระสำคัญเร่งด่วนแห่งชำติ
และเป็นเรื่องที่ต้องแทรกอยู่ในกำรปฏิรูปทุกด้ำน
11. กำรปรับปรุงกฎหมำยและกระบวนกำรยุติธรรม
11.1 ในระยะเฉพำะหน้ำ จะเร่งปรับปรุงประมวลกฎหมำยหลักของประเทศและ
กฎหมำยอื่น ๆ ที่ล้ำสมัย ไม่เป็นธรรม ไม่สอดคล้องกับควำมตกลงระหว่ำงประเทศ และเป็น
อุปสรรคต่อกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน โดยจะใช้กลไกของหน่วยงำนเดิมที่มีอยู่ และระดม
ผู้ทรงคุณวุฒิมำเป็นคณะกรรมกำรที่จะจัดตั้งขึ้นเฉพำะกิจเป็นผู้เร่งดำเนินกำร
11.2 ในระยะต่อไป จะจัดตั้งองค์กรปฏิรูปกระบวนกำรยุติธรรมที่ปรำศจำกำรแทรกแซง
ของรัฐ
กระทรวงมหำดไทย
พลเอก อนุพงษ์ เผ่ำจินดำ รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทย เปิดเผยว่ำ จำกกำรที่ตนเอง
ได้มอบแนวทำงปฏิบัติรำชกำรตำมนโยบำยรัฐบำลให้แก่ผู้บริหำรระดับสูงของกระทรวงมหำดไทย
และผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดทั่วประเทศ อีกทั้งได้ตรวจเยี่ยมกรม/รัฐวิสำหกิจในสังกัดส่วนหนึ่งแล้วนั้น
เพื่อให้กำรดำเนินกำรตำมนโยบำยดังกล่ำวและข้อสั่งกำรของนำยกรัฐมนตรีเห็นผลเป็นรูปธรรม
โดยเร็วและมีควำมยั่งยืน กระทรวงมหำดไทยจึงได้กำหนดกลุ่มโครงกำรเน้นหนักซึ่งจะให้
ควำมสำคัญเป็นพิเศษในเชิงผลสัมฤทธิ์ 8 โครงกำรด้วยกัน คือ
1) โครงกำร “ตำมรอยเท้ำพ่อ” เน้นหนักกำรเทิดทูนสถำบันหลัก ยึดถือและปฏิบัติตำม
ยุทธศำสตร์พระรำชทำน เข้ำใจ เข้ำถึง พัฒนำ ปรัชญำเศรษฐกิจพอเพียง และขยำยผลโครงกำร
พระรำชดำริ
99

2) โครงกำร “คนไทยรักกัน” เน้นกำรสร้ำงควำมปรองดองสมำนฉันท์ เสริมสร้ำงควำมรัก


ควำมสำมัคคีของคนในชำติ และส่งเสริมกำรอยู่ร่วมกันอย่ำงสันติสุขบนควำมหลำกหลำยทำง
ควำมคิดควำมเชื่อ
3) โครงกำร “เมืองสวยน้ำใส” เน้นเรื่องกำรรักษำควำมสะอำด ควำมเป็นระเบียบ
เรียบร้อยภำยในชุมชน เส้นทำงกำรคมนำคม แหล่งท่องเที่ยว แม่น้ำลำคลอง กำรอนุรักษ์
ทรัพยำกรธรรมชำติ และกำรดำเนินกำรด้ำนผังเมือง
4) โครงกำร “เมืองไทยน่ำอยู่” เน้นหนักเรื่องกำรสร้ำงควำมปลอดภัยแก่ประชำชนและ
นักท่องเที่ยว กำรจัดระเบียบสังคม ลดอบำยมุข ร่วมกับหน่วยงำนที่เกี่ยวข้องแก้ปัญหำกำรแพร่
ระบำดของยำเสพติด กำรค้ำมนุษย์และแรงงำนเด็ก รวมทั้งกำรจัดกำรภัยพิบัติและสนับสนุนกำร
แก้ไขปัญหำ/พัฒนำจังหวัดชำยแดนภำคใต้
5) โครงกำร “ดำรงธรรม ดำรงไทย” เน้นหนักเรื่องกำรเพิ่มขีดควำมสำมำรถของศูนย์ดำรง
ธรรม พัฒนำประสิทธิภำพหน่วยงำนในสังกัดในกำรให้บริกำร อำนวยควำมเป็นธรรมและแก้ไข
ปัญหำควำมเดือดร้อนของประชำชน
6) โครงกำร “มหำดไทย ใสสะอำด” เน้นเรื่องกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดีตำมหลักธรร
มำภิบำล ป้องกันปรำบปรำมกำรทุจริต สร้ำงควำมโปร่งใสในกำรปฏิบัติรำชกำร
7) โครงกำร “ลดควำมเหลื่อมล้ำ แบ่งปันควำมสุข” เน้นกำรส่งเสริมเศรษฐกิจฐำนรำก แก้ปัญหำ
หนี้สินนอกระบบ ควำมยำกจนระดับครัวเรือน พัฒนำคุณภำพชีวิตและขยำยโอกำสคนยำกจนใน
กำรเข้ำถึงทรัพยำกรและกำรให้บริกำรของรัฐ
8) โครงกำร “เรียนรู้ค่ำนิยมไทย ก้ำวไกลสู่อนำคต” เน้นเรื่องกำรใช้กระบวนกำรเรียนรู้ขัด
เกลำทำงสังคมในกำรปลูกฝังค่ำนิยมหลัก 12 ประกำร รวมทั้งกำรพัฒนำคน และเตรียมควำม
พร้อมในกำรเข้ำสู่ประชำคมอำเซียน
รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทย กล่ำวด้วยว่ำ ขณะนี้ได้มอบหมำยให้กรม/รัฐวิสำหกิจ
ในสังกัด และทุกจังหวัดบูรณำกำรกับทุกหน่วยที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งภำคเอกชนและภำคประชำชน
จัดทำแผนปฏิบัติกำร (Roadmap) ระยะเวลำ 1 ปี เพื่อขับเคลื่อนโครงกำรเน้นหนักเหล่ำนี้อย่ำง
เป็นรูปธรรม โดยจะมีระบบกำรติดตำมประเมินผลในเชิงผลสัมฤทธิ์อย่ำงต่อเนื่องและเข้มข้น
เพื่อให้โครงกำรต่ำง ๆ มีควำมคุ้มค่ำและเกิดประโยชน์ต่อพี่น้องประชำชนมำกที่สุด ทั้งในเรื่องที่
จำเป็นเร่งด่วน และเป็นกำรวำงรำกฐำนให้แก่ประเทศในระยะยำว
100

แนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พ.ศ. 2560


1. กำรจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในรูปแบบต่ำงๆให้คำนึงถึงข้อต่อไปนี้ ข้อใดกล่ำวไม่
ถูกต้อง
ก) จำนวนและควำมหนำแน่นของประชำกร
ข) เจตนำรมณ์ของประชำชนในท้องถิ่น
ค) พื้นที่ที่ต้องรับผิดชอบ
ง) ประสิทธิภำพในกำรบริหำรจัดกำร
2. รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พ.ศ. 2560 มีกี่มำตรำ
ก) 48 มำตรำ
ข) 276 มำตรำ
ค) 279 มำตรำ
ง) 297 มำตรำ
3. รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พ.ศ. 2560 หมวดที่เกี่ยวกับกำรปกครองส่วนท้องถิ่น มีกี่
มำตรำ
ก) 3 มำตรำ
ข) 5 มำตรำ
ค) 6 มำตรำ
ง) 9 มำตรำ
4. บทเฉพำะกำลของรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พ.ศ. 2560 มีกี่มำตรำ
ก) 10 มำตรำ
ข) 12 มำตรำ
ค) 16 มำตรำ
ง) 18 มำตรำ
5. ประเทศไทยปกครองในระบอบใด
ก) ระบอบประชำธิปไตยอันมี รัฐสภำ คณะรัฐมนตรี และศำล
ข) ระบอบประชำธิปไตยแบบรัฐสภำ
ค) ระบอบประชำธิปไตยอันมีพระมหำกษัตริย์ทรงเป็นประมุข
ง) ระบอบประชำธิปไตยอันมีพระมหำกษัตริย์ผู้ทรงใช้อำนำจ
6. หน้ำที่ของรัฐ ข้อใดกล่ำวถูกต้อง
ก) รัฐต้องส่งเสริมและจัดกำรศึกษำให้บุคคลไม่น้อยกว่ำสิบสองปี โดยไม่เก็บค่ำใช้จ่ำย
ข) รัฐต้องดำเนินกำรให้ทุกคนได้รับกำรศึกษำเป็นเวลำสิบสองปี ตั้งแต่ก่อนวัยเรียนจนจบ
กำรศึกษำขั้นพื้นฐำนอย่ำงมีคุณภำพโดยไม่เก็บค่ำใช้จ่ำย
ค) รัฐต้องจัดกำรศึกษำให้บุคคลมีสิทธิได้รับกำรศึกษำโดยเท่ำเทียมเสมอกันไม่น้อยกว่ำสิบ
สองปี
101

ง) รัฐต้องจัดกำรศึกษำภำคบังคับไม่น้อยกว่ำเก้ำปีสำหรับเด็กทุกคน จนสำเร็จกำรศึกษำ
มัธยมศึกษำตอนต้นโดยไม่เก็บค่ำใช้จ่ำย
7. สภำผูแ้ ทนรำษฎรประกอบด้วย สมำชิกซึ่งมำจำกกำรเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตั้งจำนวนกี่คน
ก) 80 คน ข) 150 คน
ค) 250 คน ง) 350 คน
8. สภำผู้แทนรำษฎรประกอบด้วย สมำชิกซึ่งมำจำกบัญชีรำยชื่อของพรรคกำรเมืองจำนวนกี่คน
ก) 80 คน ข) 100 คน
ค) 150 คน ง) 200 คน
9. กำรกำหนดจำนวนสมำชิกสภำผู้แทนรำษฎรที่แต่ละจังหวัดจะพึงมีและกำรแบ่งเขตเลือกตั้ง ให้
ใช้จำนวนรำษฎรทั้งประเทศตำมหลักฐำนกำรทะเบียนรำษฎรที่ประกำศตำมข้อใด
ก) ในเดือนมกรำคมของปีที่มีกำรเลือกตั้ง
ข) ในเดือนธันวำคมก่อนปีที่มีกำรเลือกตั้ง
ค) ในปีสุดท้ำยก่อนปีที่มีกำรเลือกตั้ง
ง) ในก่อนสำมเดือนแรกของวันที่มีเลือกตั้ง
10. ในกำรเลือกตั้งทั่วไป ให้พรรคกำรเมืองที่ส่งผู้สมัครรับเลือกตั้งแจ้งรำยชื่อบุคคลซึ่งพรรค
กำรเมืองนั้นมีมติว่ำจะเสนอให้สภำผู้แทนรำษฎรเพื่อพิจำรณำให้ควำมเห็นชอบแต่งตั้งเป็น
นำยกรัฐมนตรี ตำมข้อใด ต่อคณะกรรมกำรกำรเลือกตั้งก่อนปิดกำรรับสมัครรับเลือกตั้ง
ก) หนึ่งรำยชื่อ ข) สองรำยชื่อ
ค) สำมรำยชื่อ ง) ไม่เกินสำมรำยชื่อ
11. รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พ.ศ. 2560 มีผลใช้บังคับเมื่อใด
ก) 7 สิงหำคม พ.ศ. 2559 ข) 1 เมษำยน พ.ศ. 2560
ค) 2 เมษำยน พ.ศ. 2560 ง) 6 เมษำยน พ.ศ. 2560
12. ตำแหน่งใดเป็นผู้รับสนองพระรำชโองกำรรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พ.ศ. 2560
ก) นำยกรัฐมนตรี ข) ประธำนสภำนิติบัญญัติแห่งชำติ
ค) หัวหน้ำรักษำควำมสงบแห่งชำติ ง) ประธำนศำลรัฐธรรมนูญ
13. ประเทศไทยเป็นรำชอำณำจักรอันเดียวกัน ข้อใดกล่ำวถูกต้อง
ก) แบ่งกำรปกครองเป็นภำค
ข) จะแบ่งแยกมิได้
ค) แบ่งกำรปกครองเป็นส่วนกลำง ส่วนภูมิภำค ส่วนท้องถิ่น
ง) กำรปกครองสำมฝ่ำย ฝ่ำยบริหำร ฝ่ำยนิติบัญญัติ ฝ่ำยตุลำกำร
14. อำนำจอธิปไตยเป็นของใคร
ก) คณะรัฐมนตรี ข) นำยกรัฐมนตรี
ค) พระมหำกษัตริย์ ง) ปวงชนชำวไทย
102

15. รัฐสภำ คณะรัฐมนตรี ศำล องค์กรอิสระ และหน่วยงำนของรัฐ ต้องปฏิบัติหน้ำที่ให้เป็นไป


ตำมรัฐธรรมนูญ กฎหมำย และหลักใด
ก) หลักกำรมีควำมคุ้มค่ำ ข) หลักควำมโปร่งใส ตรวจสอบได้
ค) หลักคุณธรรม ง) หลักนิติธรรม
16. รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พ.ศ. 2560 เป็นรัฐธรรมนูญฉบับที่เท่ำไหร่
ก) 16 ข) 18
ค) 19 ง) 20
17. พระมหำกษัตริย์ทรงใช้อำนำจผ่ำนข้อต่อไปนี้ ข้อใดกล่ำวไม่ถูกต้อง
ก) ปวงชนชำวไทย ข) รัฐสภำ
ค) คณะรัฐมนตรี ง) ศำล
18. ตำแหน่งใด เป็นผู้รับสนองพระบรมรำชโองกำรแต่งตั้งประธำนองค์มนตรี
ก) นำยกรัฐมนตรี ข) หัวหน้ำรักษำควำมสงบแห่งชำติ
ค) เลขำธิกำรคณะรัฐมนตรี ง) ประธำนรัฐสภำ
19. ตำแหน่งใด เป็นผู้รับสนองพระบรมรำชโองกำรแต่งตั้งองค์มนตรี
ก) นำยกรัฐมนตรี ข) หัวหน้ำรักษำควำมสงบแห่งชำติ
ค) ประธำนรัฐสภำ ง) ประธำนองค์มนตรี
20. รัฐธรรมแห่งรำชอำณำจักรไทย พ.ศ. 2560 มีรำยละเอียดหมวดและมำตรำตำมข้อใด
ก) 15 หมวด 276 มำตรำ ข) 15 หมวด 279 มำตรำ
ค 16 หมวด 276 มำตรำ ง) 16 หมวด 279 มำตรำ
21. พระมหำกษัตริย์ทรงเลือกและทรงแต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิเป็นประธำนองค์มนตรีหนึ่งคนองค์
มนตรีอื่นอีกเท่ำใดประกอบเป็นคณะองค์มนตรี
ก) 17 คน ข) ไม่เกิน 17 คน
ค) 18 คน ง) ไม่เกิน 18 คน
22. ใครต่อไปนี้ มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมำชิกสภำผู้แทนรำษฎร
ก) นำยทอมแปลงสัญชำติมำเป็นสัญชำติไทยมำแล้ว 5 ปี
ข) นำยโจ้โก้ เป็นสมำชิกพรรคกำรเมืองไทยรุ้งเป็นเวลำติดต่อกันหกสิบวันนับถึงวันเลือกตั้ง
ค) นำยสันชัยเป็นเจ้ำของกิจกำรหนังสือพิมพ์
ง) นำยคงทนมีอำยุสำมสิบปีบริบูรณ์ในวันเลือกตั้ง
23. ข้อใดกล่ำวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับวุฒิสภำ
ก) วุฒิสภำประกอบด้วยสมำชิกจำนวนสองร้อยคน
ข) สมำชิกวุฒิสภำต้องมีสัญชำติโดยกำรเกิด
ค) กำรเลือกตั้งสมำชิกวุฒิสภำให้ตรำเป็นพระรำชบัญญัติ
ง) สมำชิกวุฒิสภำต้องอำยุไม่ต่ำกว่ำสี่สิบปีในวันสมัครรับเลือก
103

24. กำรแต่งตั้งและกำรให้ข้ำรำชกำรในพระองค์และสหุรำชองค์รักษ์ พ้นจำกตำแหน่งให้เป็นไป


ตำมข้อใด
ก) พระรำชบัญญัติ ข) พระรำชกฤษฎีกำ
ค) พระรำชกำหนด ง) พระรำชอัธยำศัย
25. กำรจัดระเบียบรำชกำรและกำรบริหำรงำนบุคคลของรำชกำรในพระองค์ ให้เป็นไปตำมพระ
รำชอัธยำศัยตำมที่บัญญัติไว้ในกฎหมำยใด
ก) พระรำชบัญญัติ ข) พระรำชกำหนด
ค) พระรำชกฤษฎีกำ ง) มติคณะรัฐมนตรี
26. ในเมื่อพระมหำกษัตริย์จะไม่ประทับอยู่ในรำชอำณำจักร หรือจะทรงบริหำรพระรำชภำระ
ไม่ได้ด้วยเหตุใดก็ตำม จะได้ทรงแต่งตั้งผู้ใดผู้หนึ่งเป็นผู้สำเร็จรำชกำรแทนพระองค์ และให้
ตำแหน่งใด เป็นผู้รับสนองพระบรมรำชโองกำร
ก) นำยกรัฐมนตรี ข) หัวหน้ำรักษำควำมสงบแห่งชำติ
ค) ประธำนรัฐสภำ ง) ประธำนสภำนิติบัญญัติแห่งชำติ
27. คณะกรรมกำรตรวจเงินแผ่นดิน ประกอบด้วยกรรมกำรจำนวนกี่คน
ก) 3 คน ข) 5 คน
ค) 7 คน ง) 9 คน
28. กรรมกำรตรวจเงินแผ่นดิน มีวำระดำรงตำแหน่งกี่ปี นับแต่วันที่พระมหำกษัตริย์ทรงแต่งตั้ง
และให้ดำรงตำแหน่งได้เพียงวำระเดียว
ก) 4 ปี ข) 5 ปี
ค) 6 ปี ง) 7 ปี
29. คณะกรรมกำรป้องกันและปรำบปรำมกำรทุจริตแห่งชำติ ประกอบด้วยกรรมกำรจำนวนกี่คน
ก) 5 คน ข) 7 คน
ค) 9 คน ง) 10 คน
30. กรรมกำรป้องกันและปรำบปรำมกำรทุจริตแห่งชำติ มีวำระกำรดำรงตำแหน่งกี่ปี นับแต่วันที่
พระมหำกษัตริย์ทรงแต่งตั้ง และให้ดำรงตำแหน่งได้เพียงวำระเดียว
ก) 2 ปี ข) 4 ปี
ค) 5 ปี ง) 7 ปี
31. คณะกรรมกำรป้องกันและปรำบปรำมกำรทุจริตแห่งชำติ ซึ่งพระมหำกษัตริย์แต่งตั้งตำม
คำแนะนำของใคร จำกผู้ซึ่งได้รับกำรสรรหำโดยคณะกรรมกำรสรรหำ
ก) นำยกรัฐมนตรี ข) คณะรัฐมนตรี
ค) คณะรักษำควำมสงบแห่งชำติ ค) วุฒิสภำ
104

32. ผู้ตรวจกำรแผ่นดินมีจำนวนกี่คน ซึ่งพระมหำกษัตริย์ทรงแต่งตั้งตำมคำแนะของใคร จำกผู้ซึ่ง


ได้รับกำรสรรหำโดยคณะกรรมกำรสรรหำ
ก) สำมคน / คณะรัฐมนตรี ข) สำมคน / วุฒิสภำ
ค) ไม่เกินสำมคน / วุฒิสภำ ง) ห้ำคน / วุฒิสภำ
33. ผู้ตรวจกำรแผ่นดินมีวำระกำรดำรงตำแหน่งกี่ปี นับแต่วันที่พระมหำกษัตริย์ทรงแต่งตั้ง และ
ให้ดำรงตำแหน่งตำมข้อใด
ก) 4 ปี / วำระเดียว ข) 5 ปี / วำระเดียว
ค) 7 ปี / ไม่เกินสองวำระ ง) 7 ปี / วำระเดียว
34. คณะกรรมกำรกำรเลือกตั้งประกอบด้วยกรรมกำรจำนวนกี่คน
ก) 4 คน ข) 5 คน
ค) 6 คน ง) 7 คน
35. คณะกรรมกำรกำรเลือกตั้ง ซึ่งพระมหำกษัตริย์ทรงแต่งตั้งตำมคำแนะนำของใคร
ก) นำยกรัฐมนตรี ข) รัฐสภำ
ค) สภำผู้แทนรำษฎร ง) วุฒิสภำ
36. กรรมกำรกำรเลือกตั้ง มีวำระกำรดำรงตำแหน่งกี่ปี นับแต่วันที่พระมหำกษัตริย์ทรงแต่งตั้ง
และให้ดำรงตำแหน่งได้ตำมข้อใด
ก) 4 ปี / วำระเดียว ข) 5 ปี / วำระเดียว
ค) 7 ปี / วำระเดียว ง) 7 ปี / ไม่เกินสองวำระ
37. คณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติประกอบด้วยกรรมกำรกี่คน
ก) 5 คน ข) 7 คน
ค) ไม่เกิน 7 คน ง) 9 คน
38. คณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ ซึ่งพระมหำกษัตริย์ทรงแต่งตั้งตำมคำแนะนำของใคร
จำกผู้ซึ่งได้รับกำรสรรหำ
ก) นำยกรัฐมนตรี ข) คณะรัฐมนตรี
ค) คณะรักษำควำมสงบแห่งชำติ ง) วุฒิสภำ
39. กรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ มีวำระกำรดำรงตำแหน่งกี่ปี นับแต่วันที่พระมหำกษัตริย์ทรง
แต่งตั้ง และให้ดำรงตำแหน่งได้ตำมข้อใด
ก) 4 ปี / วำระเดียว ข) 5 ปี / วำระเดียว
ค) 7 ปี / วำระเดียว ง) 7 ปี / ไม่เกินสองวำระ
40. ผู้ดำรงตำแหน่งในองค์กรอิสระ ต้องมีอำยุเท่ำใด
ก) สำมสิบห้ำปีบริบูรณ์
ข) ไม่ต่ำกว่ำสำมสิบห้ำปี แต่ไม่เกินเจ็ดสิบปี
ค) ไม่ต่ำกว่ำสี่สิบปี แต่ไม่เกินเจ็ดสิบปี
ง) ไม่ต่ำกว่ำสี่สิบห้ำปี แต่ไม่เกินเจ็ดสิบปี
105

41. ให้ข้อใดต่อไปนี้ และองค์กรอิสระร่วมกันกำหนดมำตรฐำนทำงจริยธรรมขึ้นใช้บังคับแก่ตุลำ


กำรศำลรัฐธรรมนูญและผู้ดำรงตำแหน่งในองค์กรอิสระรวมทั้งผู้ว่ำกำรตรวจเงินแผ่นดินและ
หัวหน้ำหน่วยงำนธุรกำรของศำลรัฐธรรมนูญและองค์กรอิสระ
ก) คณะรัฐมนตรี ข) นำยกรัฐมนตรี
ค) วุฒิสภำ ง) ศำลรัฐธรรมนูญ
42. ศำลรัฐธรรมนูญประกอบด้วยตุลำกำรศำลรัฐธรรมนูญจำนวนกี่คน
ก) 5 คน ข) 7 คน
ค) ไม่เกิน 7 คน ง) 9 คน
43. ตุลำกำรศำลรัฐธรรมนูญต้องมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้ ข้อใดกล่ำวไม่ถูกต้อง
ก) มีสัญชำติไทย
ข) มีอำยุไม่ต่ำกว่ำสี่สิบห้ำปีแต่ไม่ถึงหกสิบแปดปีในวันที่ได้รับกำรคัดเลือก หรือวันสมัคร
เข้ำรับกำรสรรหำ
ค) สำเร็จกำรศึกษำไม่ต่ำกว่ำปริญญำตรีหรือเทียบเท่ำ
ง) มีควำมซื่อสัตย์สุจริตเป็นที่ประจักษ์
44. เกี่ยวกับกำรใช้อำนำจทำงปกครองตำมกฎหมำยหรือเนื่องจำกกำรดำเนินกิจกำรทำงปกครอง
เป็นอำนำจของศำลใดในกำรพิจำณำพิพำกษำคดีดังกล่ำว
ก) ศำลทหำร ข) ศำลรัฐธรรมนูญ
ค) ศำลยุติธรรม ง) ศำลปกครอง
45. บทกฎหมำย พระรำชหัตถเลขำ และพระบรมรำชโองกำรอันเกี่ยวกับรำชกำรแผ่นดิน ต้องมี
ใครลงนำมรับสนองพระบรมรำชโองกำร เว้นแต่ที่มีบัญญัติไว้อย่ำงอื่นในรัฐธรรมนูญ
ก) นำยกรัฐมนตรี ข) หัวหน้ำรักษำควำมสงบแห่งชำติ
ค) ประธำนรัฐสภำ ค) รัฐมนตรี
46. หนังสือสัญญำใดมีบทเปลี่ยนแปลงอำณำเขตไทย หรือเขตพื้นที่นอกอำณำเขต ซึ่งประเทศ
ไทยมีสิทธิอธิปไตยหรือมีเขตอำนำจตำมหนังสือสัญญำหรือตำมกฎหมำยระหว่ำงประเทศ หรือ
จะต้องออกพระรำชบัญญัติเพื่อให้กำรเป็นไปตำมหนังสือสัญญำ และหนังสือสัญญำอื่น ที่อำจมี
ผลกระทบต่อควำมมั่นคงทำงเศรษฐกิจ สังคม หรือกำรค้ำหรือกำรลงทุนของประเทศอย่ำง
กว้ำงขวำง ต้องได้รับควำมเห็นชอบของใคร
ก) นำยกรัฐมนตรี ข) คณะรักษำควำมสงบแห่งชำติ
ค) คณะรัฐมนตรี ง) รัฐสภำ
47. ในกรณีที่มีควำมจำเป็นต้องมีกฎหมำยเกี่ยวด้วยภำษีอำกร หรือเงินตรำซึ่งจะต้องได้รับกำร
พิจำรณำโดยด่วนและลับเพื่อรักษำประโยชน์ของแผ่นดิน พระมหำกษัตริย์จะทรงตรำกฎหมำยใด
ให้ใช้บังคับ
ก) พระรำชบัญญัติ ข) พระรำชกฤษฎีกำ
ค) พระรำชกำหนด ง) ประกำศสำนักนำยกรัฐมนตรี
106

48. พระมหำกษัตริย์ทรงไว้ซึ่งพระรำชอำนำจในกำรให้รัฐมนตรี พ้นจำกควำมเป็นรัฐมนตรีตำมที่


ใครถวำยคำแนะนำ
ก) คณะรัฐมนตรี ข) หัวหน้ำรักษำควำมสงบแห่งชำติ
ค) คณะรักษำควำมสงบแห่งชำติ ง) นำยกรัฐมนตรี
49. ถ้ำสภำผู้แทนรำษฎรและวุฒิสภำอนุมัติพระรำชกำหนดนั้น หรือถ้ำวุฒิสภำไม่อนุมัติและสภำ
ผู้แทนรำษฎรยืนยันกำรอนุมัติด้วยคะแนนเสียงเท่ำใด ของจำนวนสมำชิกทั้งหมดเท่ำที่มีอยู่ของ
สภำผู้แทนรำษฎร ให้พระรำชกำหนดนั้นมีผลใช้บังคับเป็นพระรำชบัญญัติต่อไป
ก) กึ่งหนึ่ง ข) มำกกว่ำกึ่งหนึ่ง
ค) สองในสำม ง) ไม่น้อยกว่ำสองในสำม
50. พระมหำกษัตริย์ทรงแต่งตั้งนำยกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีอื่นอีกเท่ำใด ประกอบเป็น
คณะรัฐมนตรี มีหน้ำที่บริหำรรำชกำรแผ่นดินตำมหลัก ควำมรับผิดชอบร่วมกัน
ก) 34 คน ข) 35 คน
ค) ไม่เกิน 35 คน ง) 36 คน
51. ให้ใครเป็นผู้ลงนำมรับสนองพระบรมรำชโองกำรแต่งตั้งนำยกรัฐมนตรี
ก) ประธำนองค์มนตรี ข) ประธำนสภำนิติบัญญัติแห่งชำติ
ค) ประธำนวุฒิสภำ ง) ประธำนสภำผู้แทนรำษฎร
52. นำยกรัฐมนตรีจะดำรงตำแหน่งรวมกันแล้วตำมข้อใด ทั้งนี้ ไม่ว่ำจะเป็นกำรดำรงตำแหน่ง
ติดต่อกันหรือไม่ แต่มิให้นบั รวมระยะเวลำในระหว่ำงที่อยู่ปฏิบัติหน้ำที่ต่อไปหลังพ้นจำกตำแหน่ง
ก) เกินสองวำระมิได้ ข) เกินห้ำปีมิได้
ค) แปดปีมิได้ ง) เกินแปดปีมิได้
53. กำรเสนอชื่อบุคคลซึ่งสมควรได้รับแต่งตั้งเป็นนำยกรัฐมนตรี ต้องมีสมำชิกรับรองเท่ำใด ของ
จำนวนสมำชิกทั้งหมดเท่ำที่มีอยู่ของสภำผู้แทนรำษฎร
ก) กึ่งหนึ่ง ข) เกินกึ่งหนึ่ง
ค) สำมในห้ำ ง) ไม่น้อยกว่ำหนึ่งในสิบ
54. รัฐมนตรีต้องมีคุณสมบัติดังนี้ ข้อใดกล่ำวไม่ถูกต้อง
ก) มีสัญชำติไทยโดยกำรเกิด
ข) มีอำยุไม่ต่ำกว่ำสำมสิบห้ำปีบริบูรณ์
ค) สำเร็จกำรศึกษำไม่ต่ำกว่ำปริญญำตรีหรือเทียบเท่ำ
ง) มีควำมซื่อสัตย์สุจริตเป็นที่ประจักษ์
55. วุฒิสภำจำนวนเท่ำใด ของจำนวนสมำชิก ทั้งหมดเท่ำที่มีอยู่ของวุฒิสภำ มีสิทธิเข้ำชื่อขอเปิด
อภิปรำยทั่วไปในวุฒิสภำเพื่อให้คณะรัฐมนตรี แถลงข้อเท็จจริงหรือชี้แจงปัญหำสำคัญเกี่ยวกับกำร
บริหำรรำชกำรแผ่นดินโดยไม่มีกำรลงมติ
ก) กึ่งหนึ่ง ข) เกินกึ่งหนึ่ง
ค) สองในสำม ง) ไม่น้อยกว่ำหนึ่งในสำม
107

56. ร่ำงพระรำชบัญญัติงบประมำณรำยจ่ำยประจำปีงบประมำณ ร่ำงพระรำชบัญญัติงบประมำณ


รำยจ่ำยเพิ่มเติม และร่ำงพระรำชบัญญัติโอนงบประมำณรำยจ่ำย สภำผู้แทนรำษฎรจะต้อง
พิจำรณำให้แล้วเสร็จตำมข้อใด นับแต่วันที่ร่ำงพระรำชบัญญัติดังกล่ำวมำถึงสภำผู้แทนรำษฎร
ก) 90 วัน ข) ภำยใน 90 วัน
ค) 105 วัน ง) ภำยใน 105 วัน
57. พระมหำกษัตริย์ทรงไว้ซึ่งพระรำชอำนำจในกำรประกำศสงครำม เมื่อได้รับควำมเห็นชอบของ
รัฐสภำ และมติให้ควำมเห็นชอบของรัฐสภำต้องมีคะแนนเสียงเท่ำใดของจำนวนสมำชิกทั้งหมด
เท่ำที่มีอยู่ของทั้งสองสภำ
ก) กึ่งหนึ่ง ข) เกินกึ่งหนึ่ง
ค) สำมในห้ำ ง) ไม่น้อยกว่ำสองในสำม
58. รัฐสภำ คณะรัฐมนตรี ศำล องค์กรอิสระ และหน่วยงำนของรัฐต้องปฏิบัติหน้ำที่ให้เป็นตำม
ข้อต่อไปนี้ ข้อใดกล่ำวไม่ถกู ต้อง
ก) เพื่อประโยชน์ส่วนรวมของประเทศชำติ ข) เพื่อควำมผำสุกของประชำชนโดยรวม
ค) ตำมรัฐธรรมนูญ กฎหมำย ง) หลักธรรมำภิบำล
59. ผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมำชิกสภำผู้แทนรำษฎร ต้องมีอำยุตำมข้อใด
ก) อำยุไม่ต่ำกว่ำสิบแปดปีนับถึงวันสมัครรับเลือกตั้ง
ข) อำยุไม่ต่ำกว่ำยี่สิบห้ำปีบริบริบูรณ์
ค) อำยุไม่ต่ำกว่ำยี่สิบห้ำปีนับถึงวันสมัครรับเลือกตั้ง
ง) อำยุไม่ต่ำกว่ำยี่สิบห้ำปีนับถึงวันเลือกตั้ง
60. ผู้ที่ได้รับกำรคัดเลือกหรือสรรหำเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งตุลำกำรศำลรัฐธรรมนูญต้อง
ได้รับควำมเห็นชอบจำกใคร
ก) นำยกรัฐมนตรี
ข) คณะรัฐมนตรี
ค) รัฐสภำ
ง) วุฒิสภำ
61. เงินประจำตำแหน่งและประโยชน์ตอบแทนอย่ำงอื่นขององค์มนตรี ประธำนและรอง
ประธำนสภำผู้แทนรำษฎร ประธำนและรองประธำนวุฒิสภำ ผู้นำฝ่ำยค้ำนในสภำผู้แทนรำษฎร
สมำชิกสภำผู้แทนรำษฎร และสมำชิกวุฒิสภำ ให้กำหนดโดยกฎหมำยใด
ก) พระรำชบัญญัติ
ข) พระรำชกำหนด
ค) พระรำชกฤษฎีกำ
ง) กฎกระทรวง
108

62. รัฐมนตรีต้องไม่เป็นหุ้นส่วนหรือผู้ถือหุ้นในห้ำงหุ้นส่วนหรือบริษัท หรือไม่คงไว้ซึ่งควำมเป็น


หุ้นส่วนหรือผู้ถือหุ้นส่วนหรือบริษัทต่อไปตำมจำนวนที่กฎหมำยบัญญัติและต้องไม่เป็นลูกจ้ำงของ
บุคคลใด ในกรณีที่รัฐมนตรีผู้นั้นประสงค์จะได้รับประโยชน์จำกกรณีตำมดังกล่ำวต่อไป ให้แจ้ง
ประธำนกรรมกำรป้องกันและปรำบปรำมกำรทุจริตแห่งชำติทรำบภำยในกี่วัน นับแต่วันที่รับ
แต่งตั้ง และให้โอนหุ้นในห้ำงหุ้นส่วนหรือบริษัทดังกล่ำวให้แก่นิติบุคคลซึ่งจัดกำรทรัพย์สิน เพื่อ
ประโยชน์ของผู้อื่น ทั้งนี้ตำมที่กฎหมำยบัญญัติ
ก) 7 วัน ข) 15 วัน ค) 30 วัน ง) 30 วัน
63. ในกรณีที่พระมหำกษัตริย์มิได้ทรงแต่งตั้งผู้สำเร็จรำชกำรแทนพระองค์ตำมมำตรำ 16 หรือใน
กรณีที่พระมหำกษัตริย์ไม่สำมำรถทรงแต่งตั้งผู้สำเร็จรำชกำรแทนพระองค์ เพรำะยังไม่ทรงบรรลุ
นิติภำวะหรือเพรำะเหตุอื่น ให้คณะองค์มนตรีเสนอชื่อผู้ใดผู้หนึ่งซึ่งสมควรดำรงตำแหน่งผู้สำเร็จ
รำชกำรแทนพระองค์ต่อรัฐสภำเพื่อขอควำมเห็นชอบ เมื่อรัฐสภำให้ควำมเห็นชอบแล้วให้ใคร
ประกำศในพระปรมำภิไธยพระมหำกษัตริย์ แต่งตั้งผู้นั้นเป็นผู้สำเร็จรำชกำรแทนพระองค์
ก) นำยกรัฐมนตรี ข) ประธำนรัฐสภำ
ค) ประธำนวุฒิสภำ ง) หัวหน้ำรักษำควำมสงบแห่งชำติ
64. ให้ใครเป็นผู้ลงนำมรับสนองพระบรมรำชโองกำรแต่งตั้งประธำนองค์มนตรีหรือให้ประธำน
องค์มนตรีพ้นจำกตำแหน่ง
ก) นำยกรัฐมนตรี ข) ประธำนรัฐสภำ
ค) ประธำนวุฒิสภำ ง) หัวหน้ำรักษำควำมสงบแห่งชำติ
65. ร่ำงพระรำชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญและร่ำงพระรำชบัญญัติ จะตรำขึ้นเป็นกฎหมำยได้ก็
แต่โดยคำแนะนำและยินยอมของข้อใด
ก) นำยกรัฐมนตรี ข) รัฐสภำ
ค) คณะรักษำควำมสงบแห่งชำติ ง) สภำผู้แทนรำษฎร
66. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับโครงสร้ำงของศำลปกครอง
ก. ศำลปกครองมี 1 ชั้นศำล คือ ศำลปกครองสูงสุด
ข. ศำลปกครองมี 2 ชั้นศำล คือ ศำลปกครองสูงสุด และศำลปกครองชั้นต้น
ค. ศำลปกครองมี 3 ชั้นศำล คือ ศำลปกครองสูงสุด ศำลปกครองกลำง และศำลปกครอง
ชั้นต้น
ง. ศำลปกครองมี 4 ชั้นศำล คือ ศำลปกครองสูงสุด ศำลฎีกำ ศำลปกครองกลำง และศำล
ปกครองชั้นต้น
109

เฉลยแนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พ.ศ. 2560


1.ง 2.ค 3.ค 4.ง 5.ค 6.ข 7.ง 8.ค 9.ค 10.ง
11.ง 12.ก 13.ข 14.ง 15.ง 16.ง 17.ก 18.ง 19.ง 20.ง
21.ง 22.ง 23.ค 24.ง 25.ค 26.ค 27ค 28.ง 29.ค 30.ง
31.ค 32.ข 33.ง 34.ง 35.ง 36.ค 37.ข 38.ง 39.ค 40.ง
41.ง 42.ง 43.ก 44.ง 45 ง. 46.ง 47.ค 48.ง 49.ข 50.ค
51.ง 52.ง 53.ง 54.ข 55.ง 56.ง 57.ง 58.ง 59.ง 60.ง
61.ค 62.ง 63.ข 64.ข 65.ข 66.ข

แนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พ.ศ. 2560 ชุด 2


1. กำรยุบสภำผู้แทนรำษฎรให้กระทำได้โดยออกเป็นกฎหมำยใด
ก. พระรำชบัญญัติ
ข. พระรำชกฤษฎีกำ
ค. พระรำชกำหนด
ง. กฎกระทรวง
2. สภำผู้แทนรำษฎรมีรองประธำนสภำจำนวนกี่คน
ก. 1 คน
ข. 2 คน
ค. 1 คนหรือ 2 คน
ง. 3 คน
3. ผู้ใดเป็นคนแต่งตั้งประธำนสภำผู้แทนรำษฎร
ก. พระมหำกษัตริย์
ข. ประธำนวุฒิสภำ
ค. นำยกรัฐมนตรี
ง. เป็นโดยตำแหน่งไม่มีกำรแต่งตั้ง
4. กำรประชุมสภำผู้แทนรำษฎรและกำรประชุมวุฒิสภำต้องมีสมำชิกมำประชุมไม่น้อยกว่ำเท่ำใด
ของแต่ละสภำจึงจะเป็นองค์ประชุม
ก. ไม่น้อยกว่ำ 1 / 3
ข. ไม่น้อยกว่ำกึ่งหนึ่ง
ค. ไม่น้อยกว่ำ 2 / 3
ง. ไม่น้อยกวำ 3 / 4
110

5. ให้ประชุมครั้งแรกภำยในกี่วันนับแต่วันเลือกตั้งสมำชิกสภำผู้แทนรำษฎร
ก. 15 วัน ข. 30 วัน ค. 45 วัน ง. 60 วัน
6. สมัยประชุมสำมัญของรัฐสภำสมัยหนึ่ง ๆ ให้มีกำหนดเวลำกี่วัน
ก. 90 วัน ข. 120 วัน ค. 150 วัน ง. ไม่จำกัดเวลำ
7. ผู้ใดเป็นผู้เรียกเปิดประชุมรัฐสภำและปิดประชุม
ก. พระมหำกษัตริย์ ข. ประธำนวุฒิสภำ
ค. นำยกรัฐมนตรี ง. ประธำนสภำผู้แทนรำษฎร
8. กำรเรียกประชุม กำรขยำยเวลำประชุม และกำรปิดประชุมรัฐสภำ ให้ออกเป็นกฎหมำยใด
ก. พระรำชบัญญัติ ข. พระรำชกฤษฎีกำ ค. พระรำชกำหนด ง. กฎกระทรวง
9. กำรขอเปิดประชุมสมัยวิสำมัญให้สมำชิกสภำผู้แทนรำษฎรเข้ำชื่อร้องขอไม่น้อยกว่ำเท่ำใด
ก. กึ่งหนึ่ง ข. 1 ใน 3 ค. 2 ใน 3 ง. 3 ใน 4
10. ใครเสนอร่ำงพระรำชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญได้
ก. คณะรัฐมนตรี
ข. ส.ส. จำนวนไม่น้อยกว่ำ 1 ใน 10
ค. ศำลรัฐธรรมนูญ ศำลฎีกำ หรือองค์กรอิสระตำมรัฐธรรมนูญ
ง. ถูกทุกข้อ
11. ก่อนนำร่ำงพระรำชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญให้ส่งศำลรัฐธรรมนูญพิจำรณำควำมชอบ
ภำยในกี่วัน
ก. 15 วัน ข. 30 วัน
ค. 45 วัน ง. 60 วัน
12. กำรเสนอร่ำงพระรำชบัญญัติต้องให้ผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวนไม่น้อยกว่ำกี่คนเข้ำชื่อ
ก. 10,000 คน ข. 20,000 คน
ค. 25,000 คน ง. 50,000 คน
13. ผู้เสนอร่ำงพระรำชบัญญัติข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. คณะรัฐมนตรี
ข. ส.ส. จำนวนไม่น้อยกว่ำ 10 คน
ค. ศำลหรือองค์กรอิสระตำมรัฐธรรมนูญ
ง. ผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวนไม่น้อยกว่ำ 10,000 คน
14. ผู้ใดเป็นคนแต่งตั้งนำยกรัฐมนตรีและรัฐมนตรี
ก. พระมหำกษัตริย์ ข. ประธำนวุฒิสภำ
ค. ประธำนศำลฎีกำ ง. ประธำนสภำผู้แทนรำษฎร
15. คณะรัฐมนตรีประกอบด้วยนำยกรัฐมนตรี 1 คน และรัฐมนตรีอีกไม่เกินกี่คน
ก. 32 คน ข. 35 คน
ค. 38 คน ง. 40 คน
111

16. นำยกรัฐมนตรีจะดำรงตำแหน่งติดต่อกันเกินกว่ำกี่ปีไม่ได้
ก. 4 ปี ข. 6 ปี
ค. 8 ปี ง. 12 ปี
17. สภำผู้แทนรำษฎรต้องให้ควำมเห็นชอบบุคคลซึ่งสมควรได้รับกำรแต่งตั้งเป็นนำยกรัฐมนตรีให้
แล้วเสร็จภำยในกี่วันนับแต่วันประชุมรัฐสภำครั้งแรก
ก. 15 วัน ข. 30 วัน
ค. 45 วัน ง. 60 วัน
18. ข้อใดไม่ใช่คุณสมบัติของนำยกรัฐมนตรี
ก. มีสัญชำติไทยโดยกำรเกิด
ข.เป็นสมำชิกวุฒิสภำ
ค. มีอำยุไม่ต่ำกว่ำสำมสิบห้ำปีบริบูรณ์
ง. สำเร็จกำรศึกษำไม่ต่ำกว่ำปริญญำตรีหรือเทียบเท่ำ
19. ก่อนที่คณะรัฐมนตรีที่จะเข้ำบริหำรรำชกำรแผ่นดินต้องแถลงนโยบำยต่อรัฐสภำภำยในกี่วัน
ก. 15 วัน ข. 30 วัน
ค. 45 วัน ง. 60 วัน
20. ใครเป็นผู้ลงนำมรับสนองพระบรมรำชโองกำรแต่งตั้งนำยกรัฐมนตรี
ก. พระมหำกษัตริย์ ข. ประธำนวุฒิสภำ
ค. นำยกรัฐมนตรี ง. ประธำนสภำผู้แทนรำษฎร
21. บุคคลใดทรงไว้ซึ่งอำนำจในกำรประกำศสงครำม ประกำศใช้และเลิกใช้กฎอัยกำรศึก และ
ตรำพระรำชกฤษฎีกำ
ก. พระมหำกษัตริย์ ข. ประธำนวุฒิสภำ
ค. นำยกรัฐมนตรี ง. ประธำนสภำผู้แทนรำษฎร
22. ใครเป็นผู้ลงนำมรับสนองพระบรมรำชโองกำร บทกฎหมำย พระรำชหัตถเลขำ และพระบรม
รำชโองกำรอันเกี่ยวกับรำชกำรแผ่นดิน
ก. ประธำนวุฒิสภำ ข. พระมหำกษัตริย์
ค. นำยกรัฐมนตรี ง. รัฐมนตรี
23. เงินประจำตำแหน่งและประโยชน์ตอบแทนอย่ำงอื่นขององคมนตรี ประธำนและรอง
ประธำนสภำผู้แทนรำษฎรประธำนและรองประธำนวุฒิสภำ ให้กำหนดโดยกฎหมำยใด
ก. พระรำชบัญญัติ ข. พระรำชกฤษฎีกำ
ค. พระรำชกำหนด ง. กฎกระทรวง
24. กำรพิจำรณำพิพำกษำอรรถคดีเป็นอำนำจของหน่วยงำนใด
ก. ศำล ข. สำนักนำยกรัฐมนตรี
ค. สำนักงำนกฤษฎีกำ ง. ถูกทุกข้อ
112

25. ส.ส. จำนวนไม่น้อยกว่ำเท่ำใดมีสิทธิเข้ำชื่อเสนอญัตติ อภิปรำยทั่วไป เพื่อลงมติไม่ไว้วำงใจ


นำยกรัฐมนตรี
ก. 1 ใน 3 ข. 1 ใน 4
ค. 1 ใน 5 ง. 1 ใน
26. ส.ส. จำนวนไม่น้อยกว่ำเท่ำใดมีสิทธิเข้ำชื่อเสนอญัตติ อภิปรำยทั่วไป เพื่อลงมติไม่ไว้วำงใจ
รัฐมนตรีเป็นรำยบุคคล
ก. 1 ใน 3 ข. 1 ใน 4
ค. 1 ใน 5 ง. 1 ใน 6
27. ส.ว. จำนวนไม่น้อยกว่ำเท่ำใดมีสิทธิเข้ำชื่อขอเปิดอภิปรำยทั่วไป เพื่อให้คณะรัฐมนตรีแถลง
ข้อเท็จจริง หรือชี้แจงปัญหำเกี่ยวกับกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดินโดยไม่มีกำรลงมติ
ก. 1 ใน 3 ข. 1 ใน 4
ค. 1 ใน 5 ง. 1 ใน 6
28. ประชำชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวนไม่น้อยกว่ำกี่คน มีสิทธิเข้ำชื่อร้องขอให้ถอดถอน ผู้ดำรง
ตำแหน่งนำยกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีที่ร่ำรวยผิดปกติ
ก. 10,000 คน ข. 20,000 คน
ค. 30,000 คน ง. 40,000 คน

เฉลยข้อสอบ รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย 2550


1. ข. พระรำชกฤษฎีกำ
2. ค. 1 คนหรือ 2 คน
3. ก. พระมหำกษัตริย์
4. ข. ไม่น้อยกว่ำกึ่งหนึ่ง
5. ข. 30 วัน
6. ข. 120 วัน
7. ก. พระมหำกษัตริย์
8. ข. พระรำชกฤษฎีกำ
9. ข. 1 ใน 3
10. ง. ถูกทุกข้อ
11. ข. 30 วัน
12. ก. 10,000 คน
13. ข. ส.ส. จำนวนไม่น้อยกว่ำ 10 คน
14. ก. พระมหำกษัตริย์
15. ข. 35 คน
113

16. ค. 8 ปี
17. ข. 30 วัน
18. ข. เป็นสมำชิกวุฒิสภำ
19. ก. 15 วัน
20. ง. ประธำนสภำผู้แทนรำษฎร
21. ก. พระมหำกษัตริย์
22. ง. รัฐมนตรี
23. ข. พระรำชกฤษฎีกำ
24. ก. ศำล
25. ค. 1 ใน 5
26. ง. 1 ใน 6
27. ก. 1 ใน 3
28. ก. 20,000 คน

แนวข้อสอบ : พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534และแก้ไขเพิ่มเติม


(ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2553
1. กำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน ของประเทศไทย ใช้หลักกำรในข้อใด
ก. รวมอำนำจ ข.กระจำยอำนำจ
ค. แบ่งอำนำจ ง. ถูกทุกข้อ
2. ข้อใดเป็นหลักกำรในกำรบริหำรรำชกำรตำม พ.ร.บ. ระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ.
2534 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
ก. เพื่อกระจำยอำนำจตัดสินใจ
ข. เพื่อลดภำรกิจและยุบเลิกหน่วยงำนที่ไมจำเป็น
ค. เพื่อประโยชน์สุขของประชำชน
ง. ถูกทุกข้อ
3. พ.ร.บ. ระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534 ได้ว่ำงแนวทำงกำรจัดสรรงบประมำณและ
กำรบรรจุแต่งตั้ง บุคคลเข้ำดำรงตำแหน่ง หรือปฏิบัติหน้ำที่ตำม พ.ร.บ. จะต้องเป็นไปตำม
หลักกำรใด
ก. ควำมเทำเทียมกัน
ข. ควำมเสมอภำค
ค. ควำมมีประสิทธิภำพ
ง. ถูกทุกข้อ
114

4. กำรจัดระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน มีรูปแบบใด
ก. กระทรวง ทบวง กรม
ข. ส่วนกลำง ส่วนภูมิภำค ส่วนท้องถิ่น
ค. จังหวัด อำเภอ กิ่งอำเภอ ตำบล หมู่บ้ำน
ง. ถูกทุกข้อ
5. กำรกำหนดตำแหน่งและอัตรำเงินเดือน ของส่วนรำชกำรต่ำง ๆ ตำม พ.ร.บ. ระเบียบบริหำร
รำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534 จะต้องคำนึงถึงอะไร
ก. ประสิทธิภำพของบุคคล
ข. ภำรกิจที่รับผิดชอบมีควำมสำคัญเพียงใด
ค. คุณภำพและปริมำณของส่วนรำชกำรนั้น ๆ
ง. ถูกทุกข้อ
6. ข้อใดเป็นกำรบริหำรรำชกำรส่วนกลำง
ก. ทบวง
ข. กระทรวง
ค. ส่วนรำชกำรที่ชื่อเรียกอย่ำงอื่นมีฐำนะเป็นกรม แต่ไมได้สังกัดกระทรวงหรือทบวง
ง. ถูกทุกข้อ
7. ส่วนรำชกำรใด มีฐำนะเป็นนิติบุคคล
ก. สำนักนำยกรัฐมนตรี
ข. ทบวง ซึ่งสังกัดสำนักนำยกรัฐมนตรี
ค. กรมสงเสริมกำรปกครองท้องถิ่น
ง. ถูกทุกข้อ
8. กำรจัดกำรจัดตั้ง กำรรวม กำรโอน กระทรวง ทบวง กรม จะต้องตรำเป็นกฎหมำยในลำดับใด
ก. กฎกระทรวง
ข. พระรำชกฤษฎีกำ
ค. พระรำชกำหนด
ง. พระรำชบัญญัติ
9. ข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. กำรโอนส่วนรำชกำรเข้ำด้วยกันถ้ำไม่มีกำรกำหนดตำแหน่งหรืออัตรำกำลังของส่วน
รำชกำรหรือลูกจ้ำงเพิ่มขึ้นให้ตรำเป็นพระรำชกฤษฎีกำ
ข. กำรเปลี่ยนชื่อส่วนรำชกำรที่มีฐำนะเป็นกรมให้ตรำเป็นพระรำชกฤษฎีกำ
ค. ให้สำนักงำนข้ำรำชกำรพลเรือน และสำนักงำนพัฒนำระบบรำชกำรมีหน้ำที่กำร
ตรวจสอบดูแลมิให้ส่วนรำชกำรที่มีพระรำชกฤษฎีกำให้รวมหรือโอนเข้ำด้วยกัน กำหนดตำแหน่ง
หรืออัตรำกำลังของข้ำรำชกำรหรือลูกจ้ำงเพิ่มจนกว่ำจะครบสำมปีนับแต่วันที่พระรำชกฤษฎีกำมี
ผลบังคับใช้
115

ง. ทุกข้อกล่ำวถูกต้อง
10. หน่วยงำนใดมีหน้ำที่ในกำรตรวจสอบดูแล ส่วนรำชกำรที่จัดตั้งขึ้นใหม่_มิให้มีกำรกำหนด
ตำแหน่งหรืออัตรำกำลังของข้ำรำชกำรหรือลูกจ้ำงเพิ่มขึ้นจนกว่ำจะครบสำมปี
ก. สำนักงำนพัฒนำระบบรำชกำร และสำนักงบประมำณ
ข. สำนักงำนคณะกรรมกำรข้ำรำชกำรพลเรือน และสำนักงบประมำณ
ค. สำนักงำนคณะกรรมกำรข้ำรำชกำรพลเรือน และสำนักงำนพัฒนำระบบรำชกำร
ง. สำนักงบประมำณ และสำนักงำนพัฒนำระบบรำชกำร
11. หำกกรมส่งเสริมกำรปกครองท้องถิ่น จะเปลี่ยนชื่อเป็นกรมท้องถิ่นจะต้องตรำเป็น
กฎหมำยใด
ก. พระรำชบัญญัติ ข. กฎกระทรวง
ค. พระรำชกำหนด ง. พระรำชกฤษฎีกำ
12. กรณีที่กรมส่งเสริมกำรปกครองท้องถิ่น หมดควำมจำเป็น หำกต้องกำรที่จะยุบกรมดังกล่ำว
จะต้องตรำเป็นกฎหมำยใด
ก. พระรำชบัญญัติ ข. กฎกระทรวง
ค. พระรำชกำหนด ง. พระรำชกฤษฎีกำ
13. กำรแบ่งส่วนรำชกำรภำยในกรม จะต้องตรำเป็นกฎหมำยข้อใด
ก. พระรำชบัญญัติ ข. กฎกระทรวง
ค. พระรำชกำหนด ง. พระรำชกฤษฎีกำ
14. ข้อใดกล่ำวผิดเกี่ยวกับกำรยุบเลิกกรม
ก. ตรำเป็นพระรำชกฤษฎีกำ
ข. ให้งบประมำณรำยจ่ำยที่เหลืออยู่ของกรมนั้นตกเป็นงบกลำง
ค. ทรัพย์สินอื่นของกรมนั้นให้โอนแก่ส่วนรำชกำรอื่นตำมที่กำหนดไว้ในกฏกระทรวง
ง. ข้อ ข.และข้อ ค.
15. หน่วยงำนใด มีหน้ำที่เสนอควำมเห็นต่อคณะรัฐมนตรี ให้แบ่งส่วนรำชกำรภำยในของกรม
ส่งเสริมกำรปกครองท้องถิ่น
ก. สำนักงำนคณะกรรมกำรข้ำรำชกำรพลเรือนและสำนักงบประมำณ
ข. สำนักนำยกรัฐมนตรี
ค. คณะกรรมกำรข้ำรำชกำรพลเรือน
ง. สำนักงำนรัฐมนตรี
16. บุคคลใดเป็นผู้รับผิดชอบในกำรกำหนดนโยบำยเป้ำหมำย และผลสัมฤทธิ์ของงำนในสำนัก
นำยกรัฐมนตรี
ก. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทย ข. รองนำยกรัฐมนตรี
ค. รัฐมนตรีประจำสำนักนำยกรัฐมนตรี ง. นำยกรัฐมนตรี
116

17. กรณีที่นำยกรัฐมนตรีตำย ขำดคุณสมบัติ ต้องคำพิพำกษำให้จำคุก หรือศำลรัฐธรรมนูญ


วินิจฉัยว่ำควำมเป็นรัฐมนตรีของนำยกสิ้นสุดลงในระหว่ำงที่รอคณะรัฐมนตรีชุดใหม่เข้ำมำรับ
หน้ำทีน่ ั้น คณะรัฐมนตรีชุดเดิมจะต้องทำอย่ำงไร
ก. มอบหมำยให้รัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งรักษำรำชกำรแทนนำยกรัฐมนตรี
ข. มอบหมำยให้รัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งปฏิบัติรำชกำรแทนนำยกรัฐมนตรี
ค. มอบหมำยให้รองนำยกรัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งปฏิบัติหน้ำที่แทนนำยกรัฐมนตรีแล้วแต่
กรณี
ง. มอบหมำยให้รองนำยกรัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งปฏิบัติหน้ำที่แทนนำยกรัฐมนตรี
18. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับอำนำจนำยกรัฐมนตรีในฐำนะหัวหน้ำรัฐบำล กำหนดไว้ในมำตรำใดและ
มีกี่ข้อ
ก. มำตรำ 9 จำนวน 11 ข้อ
ข. มำตรำ 11 จำนวน 8 ข้อ
ค. มำตรำ 10 จำนวน 10 ข้อ
ง. มำตรำ 11 จำนวน 9 ข้อ
19. ข้อใดกล่ำวผิดเกี่ยวกับอำนำจหน้ำที่ของนำยกรัฐมนตรีในฐำนะผู้นำรัฐบำล
ก. สั่งให้รำชกำรส่วนกลำงรำยงำนกำรปฏิบัติรำชกำร
ข. สั่งให้รำชกำรส่วนท้องถิ่นรำยงำนกำรปฏิบัติรำชกำร
ค. สั่งให้รำชกำรส่วนภูมิภำคชี้แจงแสดงควำมคิดเห็น
ง. สั่งสอบสวนข้อเท็จจริงเกี่ยวกับกำรปฏิบัติรำชกำรของรำชกำรส่วนท้องถิ่น
20. นำยกรัฐมนตรีสำมำรถยังยั้งกำรปฏิบัติรำชกำรของหน่วยงำนรำชกำรใดบ้ำง หำกหน่วยงำน
รำชกำรนั้น ปฏิบัติรำชกำรขัดต่อนโยบำยของรัฐบำล
ก. รำชกำรส่วนท้องถิ่น ข. รำชกำรส่วนภูมิภำค
ค. รำชกำรส่วนกลำง ง. ถูกทุกข้อ
21. นำยกรัฐมนตรีสำมำรถยับยั้งกำรปฏิบัติรำชกำรของส่วนรำชกำรท้องถิ่นได้ในกรณีใด
ก. สำมำรถยับยั้งได้ถ้ำรำชกำรส่วนท้องถิ่นตำมหลักกำรปกครองประเทศ
ข. กรณีที่รำชกำรส่วนท้องถิ่นปฏิบัติรำชกำรขัดตอนโยบำยหรือมติของคณะรัฐมนตรี
ค. ยับยั้งได้หำกรำชกำรส่วนท้องถิ่นกระทำกำรก่อให้เกิดควำมเสียหำยต่อรำชกำร
ง. ถูกทุกข้อ
22. ข้อใดมิได้เป็นอำนำจของนำยกรัฐมนตรี
ก. มีอำนำจบังคับบัญชำปลัดกระทรวงกลำโหม
ข. มีอำนำจบังคับบัญชำปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรี
ค. มีอำนำจบังคับบัญชำผู้ว่ำกำรไฟฟ้ำสวนภูมิภำค
ง. ถูกทุกข้อ
117

23. ข้อใดกล่ำวไม่ถูกต้อง
ก. นำยกรัฐมนตรีมีอำนำจสั่งให้ข้ำรำชกำรกรมสงเสริมกำรปกครองท้องถิ่นมำปฏิบัติ
รำชกำรสำนักนำยกรัฐมนตรี โดยให้ขำดจำกอัตรำเงินเดือนทำงสังกัดเดิม
ข. นำยกรัฐมนตรีมีอำนำจสั่งให้ข้ำรำชกำรกระทรวงมหำดไทย มำปฏิบัติรำชกำรสำนัก
นำยกรัฐมนตรี โดยอัตรำเงินเดือนไมขำดจำกทำงสังกัดเดิม
ค. แต่งตั้งอธิบดีกรมทำงหลวงชนบทไปดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมกำรปกครองโดยอนุมัติ
คณะรัฐมนตรี
ง. แต่งตั้งอธิบดีกรมส่งเสริมกำรปกครองท้องถิ่น ไปดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมกำรปกครอง
โดยให้รับเงินเดือนจำกกรมกำรปกครอง
24. ระเบียบปฏิบัติรำชกำรที่นำยกรัฐมนตรีได้ว่ำงขึ้น เพื่อกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน เป็นไปโดย
รวดเร็วและมีประสิทธิภำพตำมระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน กำหนดให้มีผลใช้บังคับเมื่อใด
ก. ประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำแล้ว
ข. มีผลบังคับใช้ตำมวันที่ระบุไว้ในระเบียบ และได้ประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำแล้ว
ค. มีผลบังคับใช้ทันทีที่นำยกรัฐมนตรีในฐำนะหัวหน้ำรัฐบำลลงนำมในคำสั่ง
ง. เมื่อคณะรัฐมนตรีให้ควำมเห็นชอบแล้ว
25. บุคคลตำมข้อใด เป็นข้ำรำชกำรเมือง
ก. เลขำธิกำรนำยกรัฐมนตรี
ข. รองเลขำธิกำรนำยกรัฐมนตรีฝ่ำยบริหำร
ค. รองเลขำธิกำรนำยกรัฐมนตรีฝ่ำยกำรเมือง
ง. ถูกเฉพำะข้อ ก. และข้อ ข.
26. สำนักเลขำธิกำรนำยกรัฐมนตรี มีอำนำจหน้ำที่ในเรื่องใด
ก. รำชกำรทำงกำรเมือง ข. รำชกำรในสภำผู้แทนรำษฎร
ค. รำชกำรของรัฐสภำ ง. ถูกเฉพำะข้อ ก. และ ข้อ ค.
27. บุคคลตำมข้อใดต่อไปนี้อำจเป็นข้ำรำชกำรพลเรือนสำมัญ
ก. เลขำธิกำรคณะรัฐมนตรี ข. รองเลขำธิกำรคณะรัฐมนตรี
ค. ผูช้ ่วยเลขำธิกำรคณะรัฐมนตรี ง. ถูกทุกข้อ
28. ข้อใดมิใช้อำนำจของปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรี
ก. รับผิดชอบควบคุมรำชกำรประจำในสำนักนำยกรัฐมนตรี
ข. รับผิดชอบกำหนดแนวทำงและแผนปฏิบัติรำชกำรของสำนักนำยกรัฐมนตรี
ค. เป็นผู้บังคับบัญชำข้ำรำชกำรในสำนักงำนปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรี
ง. เป็นผู้บังคับบัญชำข้ำรำชกำรสูงสุดของส่วนรำชกำรในสำนักนำยกรัฐมนตรียกเว้น
ข้ำรำชกำรของสวนรำชกำรซึ่งหัวหน้ำส่วนรำชกำรขึ้นตรงตอนำยกรัฐมนตรี
118

29. ตำแหน่งใดระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน มิได้กำหนดไว้


ก. ผู้ช่วยเลขำธิกำรนำยกรัฐมนตรี
ข. ผู้ช่วยเลขำธิกำรคณะรัฐมนตรี
ค. ผู้ช่วยปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรี
ง. ผู้ช่วยปลัดกระทรวง
30. คณะกรมกำรจังหวัดประกอบด้วย .........................เป็นประธำน รองผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดหนึ่ง
คนตำมที่ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดมอบหมำย ปลัดจังหวัด อัยกำรจังหวัดซึ่งเป็นหัวหน้ำที่ทำกำรอัยกำร
จังหวัด ผู้บังคับกำรตำรวจภูธรจังหวัด และหัวหน้ำส่วนรำชกำรประจำ จังหวัดจำกกระทรวงและ
ทบวงต่ำงๆ เว้นแต่กระทรวงมหำดไทยซึ่งประจำอยู่ในจังหวัด กระทรวง หรือทบวงละหนึ่งคน เป็น
กรมกำรจังหวัดและหัวหน้ำสำนักงำนจังหวัดเป็นกรมกำรจังหวัดและเลขำนุกำร
ก. รัฐมนตรีกระทรวงมหำดไทย ข. ปลัดกระทรวงมหำดไทย
ค. อธิบดีกรมกำรปกครอง ง. ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด
31. กำรจัดตั้งสำนักนโยบำยและแผน เป็นส่วนรำชกำรภำยในกระทรวง จะสำมำรถกระทำได้โดย
วิธีใด
ก. ออกเป็นกฎกระทรวง
ข. ตรำเป็นพระรำชกฤษฎีกำ
ค. ออกเป็นพระรำชกำหนด
ง. ออกเป็นระเบียบบริหำรรำชกำรโดยอนุมัติคณะรัฐมนตรี
32. กำรจัดระเบียบรำชกำรของกระทรวง ตำม พ.ร.บ. ระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน(ฉบับที่ 5)
พ.ศ. 2545ตำแหน่งใดไม่ได้ถูกกำหนดไว้
ก. ผู้ช่วยเลขำนุกำรรัฐมนตรี
ข. ผู้ช่วยปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรี
ค. หัวหน้ำสำนักงำนรัฐมนตรี
ง. ผู้ช่วยปลัดกระทรวง
33. กำรกำหนดในส่วนรำชกำรระดับกรมตั้งแต่สองกรมขึ้นไป อยู่ภำยใต้กลุ่มภำรกิจเดียวกัน
สำมำรถกระทำได้โดยอำศัยกฎหมำยใด
ก. พระรำชกฤษฎีกำ ข. กฎกระทรวง
ค. มติคณะรัฐมนตรี ง. เป็นไปตำมกฎหมำยว่ำด้วยกำรปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม
34. ในกำรกำหนดให้ส่วนรำชกำรระดับกรมตั้งแต่สองกรมขึ้นไปอยู่ในกลุ่มภำรกิจเดียวกันนั้น
หัวหน้ำกลุ่มภำรกิจรับผิดชอบรำชกำรและบังคับบัญชำข้ำรำชกำร จะต้องเป็นผู้ดำรงตำแหน่งใด
ก. รองปลัดกระทรวง ข. ผู้ช่วยปลัดกระทรวง
ค. อธิบดี ง. ถูกทุกข้อ
119

35. กำรปฏิบัติรำชกำรของ หัวหน้ำกลุ่มภำรกิจ ขึ้นตรงต่อบุคคลใด


ก. รัฐมนตรี
ข. ปลัดกระทรวง
ค. รองปลัดกระทรวง
ง. รัฐมนตรีหรือปลัดกระทรวงก็ได้ แล้วแต่จะกำหนดไว้ในกฎกระทรวง
36. บุคคลที่มีหน้ำที่ในกำรวำงแผนและประสำนกิจกรรมให้มีกำรใช้ทรัพยำกรของส่วนรำชกำร
ต่ำงๆ ในกระทรวงร่วมกัน เพื่อให้เกิดประสิทธิภำพ ตำมมติและเป้ำหมำยของกระทรวง ได้แก่
ก. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวง ข. นำยกรัฐมนตรี
ค. รัฐมนตรีช่วยว่ำกำรกระทรวง ง. หัวหน้ำกลุ่มภำรกิจ
37. ตำม พ.ร.บ. ระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 หำกกระทรวงใดมิได้จัด
ให้มีกลุ่มภำรกิจ และปริมำณงำนมำก จะสำมำรถมีรองปลัดกระทรวงได้กี่คน
ก. 1 ข. 2 คน
ค. 3 คน ง. 4 คน
38. ในกรณีที่ไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงหรือมีแต่ไม่อำจปฏิบัติรำชกำรได้ ให้
........................เป็นผู้รักษำรำชกำรแทน ถ้ำมีรัฐมนตรีช่วยว่ำกำรกระทรวงหลำยคน ให้
คณะรัฐมนตรีมอบหมำยให้รัฐมนตรีช่วยว่ำกำรกระทรวงคนใดคนหนึ่งเป็นผู้รักษำรำชกำรแทน ถ้ำ
ไม่_มีผู้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่ำกำรกระทรวงหรือมีแต่ไม่อำจปฏิบัติรำชกำรได้ ให้
คณะรัฐมนตรีมอบหมำยให้.............................เป็นผู้รักษำรำชกำรแทน
ก. รัฐมนตรีชวยว่ำกำรกระทรวง/รัฐมนตรีคนใดคนหนึ่ง
ข. รัฐมนตรีคนใดคนหนึ่ง/รองนำยกรัฐมนตรีคนใดคนหนึ่ง
ค. รัฐมนตรีชวยว่ำกำรกระทรวง/รัฐมนตรีประจำสำนักนำยกรัฐมนตรี
ง.. รองนำยกรัฐมนตรี/รัฐมนตรีคนใดคนหนึ่ง
39. ให้มีคณะกรรมกำรพัฒนำระบบรำชกำรคณะหนึ่ง เรียกโดยย่อว่ำ“ก.พ.ร.” ประกอบด้วย
......................ใครเป็นประธำน รัฐมนตรีหนึ่งคนที่นำยกรัฐมนตรีกำหนดเป็นรองประธำน ผู้ซึ่ง
คณะกรรมกำรกำรกระจำยอำนำจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมอบหมำยหนึ่งคน และ
กรรมกำรผู้ทรงคุณวุฒิไม่เกินสิบคน ซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งจำกผู้มีควำมรู้ควำมเชี่ยวชำญใน
ทำงด้ำนนิติศำสตร์ เศรษฐศำสตร์รัฐศำสตร์ กำรบริหำรรัฐกิจ กำรบริหำรธุรกิจ กำรเงินกำรคลัง
จิตวิทยำองค์กำร และสังคมวิทยำอย่ำงน้อยด้ำนละหนึ่งคน
ก. นำยกรัฐมนตรีหรือรองนำยกรัฐมนตรีที่นำยกรัฐมนตรีมอบหมำยเป็นประธำน
ข. นำยกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีที่นำยกรัฐมนตรีมอบหมำยเป็นประธำน
ค. รองนำยกรัฐมนตรีที่คณะรัฐมนตรีเห็นชอบให้ประธำน
ง. ถูกทุกข้อ
120

40. กรรมกำรผู้ทรงคุณวุฒิของก.พ.ร. มีวำระกำรดำรงตำแหน่งครำวละ.............ปี ผู้ซึ่งพ้นจำก


ตำแหน่งแล้วอำจได้รับแต่งตั้งอีกได้แต่ไม่เกิน.........ติดต่อกัน
ก. 2 ปี /สองวำระ ข. 3 ปี /สองวำระ
ค. 4 ปี /สองวำระ ง. 5 ปี /สองวำระ
41. ในกำรจัดระเบียบรำชกำรของกระทรวง ส่วนรำชกำรใดอำจมีหรือไม่มีก็ได้
ก. สำนักงำนปลัดกระทรวง ข. สำนักนำยกรัฐมนตรี
ค. กรม ง. แผนก
42. สำนักงำนรัฐมนตรีมีอำนำจหน้ำที่เกี่ยวกับเรื่องใด
ก. รำชกำรทั่วไปของกระทรวง
ข. รำชกำรทำงเมือง
ค. รำชกำรที่มิได้กำหนดให้เป็นหน้ำที่ของกรมหนึ่งกรมใดโดยเฉพำะ
ง. ถูกทุกข้อ
43. สำนักงำนรัฐมนตรีมำจำกชื่อเดิมของหน่วยงำนใด
ก. สำนักเลขำธิกำรรัฐมนตรี ข. สำนักปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรี
ค. สำนักงำนเลขำนุกำรรัฐมนตรี ง. สำนักเลขำธิกำรนำยกรัฐมนตรี
44. ใครเป็นผู้บังคับบัญชำข้ำรำชกำรและรับผิดชอบในกำรปฏิบัติรำชกำรของกรมให้เกิด
ผลสัมฤทธิ์และเป็นไปตำมเป้ำหมำย แนวทำง และแผนกำรปฏิบัติรำชกำรของกระทรวง
ก. ปลัดกระทรวง ข. รองปลัดกระทรวง
ค. อธิบดี ง. ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด
45. สำนักงำนเลขำนุกำรกรมมีอำนำจหน้ำที่เกี่ยวกับรำชกำรทั่วไปของกรม และรำชกำรที่มิได้
แยกให้เป็นหน้ำที่ของกองหรือส่วนรำชกำรใดโดยเฉพำะมี……………………เป็นผู้บังคับบัญชำ
ข้ำรำชกำร และรับผิดชอบในกำรปฏิบัติรำชกำรของสำนักงำนเลขำนุกำรกรม
ก. อธิบดี ข. ผู้อำนวยกำร
ค. หัวหน้ำแผนก ง. เลขำนุกำรกรม
46. กระทรวง ทบวง กรมใดมีเหตุพิเศษ จะแบ่งท้องที่ออกเป็นเขตเพื่อให้มีหัวหน้ำส่วนรำชกำร
ประจำเขตแล้วแต่จะเรียกชื่อเพื่อปฏิบัติงำนทำงวิชำกำร ต้องตรำเป็นกฎหมำยใด
ก. พระรำชบัญญัติ ข. พระรำชกำหนด
ค. กฎกระทรวง ง. พระรำชกฤษฎีกำ
47. กำรมอบอำนำจในกำรสั่ง กำรอนุญำต กำรอนุมัติ กำรปฏิบัติรำชกำรหรือกำรดำเนินกำรอื่นที่
ผู้ดำรงตำแหน่งใดจะพึงปฏิบัติหรือดำเนินกำรตำมกฎหมำย กฎ ระเบียบ ประกำศ หรือคำสั่งใด
หรือมติของคณะรัฐมนตรีในเรื่องใด กำรมอบอำนำจให้ทำเป็นอะไร
ก. คำสั่งด้วยวำจำ
ข. หนังสือ
ค. ทำเป็นคำสั่งและประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำ
121

ง. ขออนุมัติคณะรัฐมนตรีก่อน แล้วทำเป็นคำสั่ง
48. ให้หน่วยบริกำรรูปแบบพิเศษ มีหน้ำที่ปฏิบัติงำนให้กับส่วนรำชกำรตำมภำรกิจที่จัดตั้งหน่วย
บริกำรรูปแบบพิเศษนั้นเป็นหลัก และสนับสนุนภำรกิจอื่นของส่วนรำชกำรดังกล่ำวตำมที่ได้รับ
มอบหมำย และอำจให้บริกำรแก่ส่วนรำชกำรอื่น หน่วยงำนของรัฐหรือเอกชน แต่ต้องไม่
กระทบกระเทือนต่อภำรกิจอันเป็นวัตถุประสงค์แห่งกำรจัดตั้ง ให้รำยได้ของหน่วยบริกำรรูปแบบ
พิเศษเป็นรำยได้ที่...............................
ก. ไม่ต้องนำสงคลังตำมกฎหมำยว่ำด้วยวิธีกำรงบประมำณและกฎหมำยว่ำด้วยเงินคงคลัง
ข. ต้องนำสงคลังตำมกฎหมำยว่ำด้วยวิธีกำรงบประมำณและกฎหมำยว่ำด้วยเงินคงคลัง
ค. ไม่ต้องนำส่งสำนักงบประมำณตำมกฎหมำยว่ำด้วยวิธีกำรงบประมำณและกฎหมำยว่ำ
ด้วยเงินคงคลัง
ง. ต้องนำส่งสำนักงบประมำณตำมกฎหมำยว่ำด้วยวิธีกำรงบประมำณและกฎหมำยว่ำด้วย
เงินคงคลัง
49. ในกรณีที่นำยกรัฐมนตรีไม่อำจปฏิบัติรำชกำรได้ ให้รองนำยกรัฐมนตรีเป็นผู้รักษำรำชกำร
แทน ถ้ำมีรองนำยกรัฐมนตรีหลำยคน ให้........................มอบหมำยให้รองนำยกรัฐมนตรีคนใดคน
หนึ่งเป็นผู้รักษำรำชกำรแทน ถ้ำไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งรองนำยกรัฐมนตรีหรือมีแต่ไม่อำจปฏิบัติ
รำชกำรได้ ให้คณะรัฐมนตรีมอบหมำยให้รัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งเป็นผู้รักษำรำชกำรแทน
ก. นำยกรัฐมนตรีประชุมมอบหมำย ข. รองนำยกรัฐมนตรี
ค. ขอควำมเห็นชอบคณะรัฐมนตรี ง. คณะรัฐมนตรี
50. กำรจัดระเบียบบริหำรรำชกำรส่วนภูมิภำค ประกอบด้วย
ก. จังหวัด อำเภอ กิ่งอำเภอ ตำบล
ข. จังหวัด อำเภอ ตำบล หมู่บ้ำน
ค. จังหวัด อำเภอ
ง. จังหวัด อำเภอ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
51. ให้รวมท้องที่หลำยๆ อำเภอตั้งขึ้นเป็นจังหวัดมีฐำนะเป็น.......................กำรตั้ง ยุบ และ
เปลี่ยนแปลงเขตจังหวัด ให้ตรำเป็น................................
ก. สวนภูมิภำค / พระรำชบัญญัติ
ข. นิติบุคคล / พระรำชบัญญัติ
ค. สวนภูมิภำค / พระรำชกฤษฎีกำ
ง. นิติบุคคล / พระรำชกฤษฎีกำ
52. ข้อใดไม่ใช่อำนำจของจังหวัดภำยในเขตจังหวัด ดังต่อไปนี้
ก. นำภำรกิจของรัฐและนโยบำยของรัฐบำลไปปฏิบัติให้เกิดผลสัมฤทธิ์
ข. ดูแลให้มีกำรปฏิบัติและบังคับกำรให้เป็นไปตำมกฎหมำย เพื่อให้เกิดควำมสงบเรียบร้อย
และเป็นธรรมในสังคม
122

ค. จัดให้มีกำรบริกำรภำครัฐเพื่อให้ประชำชนสำมำรถเข้ำถึงได้อย่ำงเสมอ รวดเร็วและมี
คุณภำพ
ง. สงเสริมกำรพัฒนำสตรี เด็กและเยำวชน ผู้สูงอำยุและพิกำร
53. ข้อใดเป็นอำนำจของผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด
ก. บริหำรรำชกำรตำมกฎหมำย ระเบียบแบบแผนของทำงรำชกำร และตำมแผนพัฒนำ
จังหวัด
ข. บริหำรรำชกำรตำมที่คณะรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม มอบหมำยหรือตำมที่
นำยกรัฐมนตรีสั่งกำรในฐำนะหัวหน้ำรัฐบำล
ค. บริหำรรำชกำรตำมคำแนะนำและคำชี้แจงของผู้ตรวจรำชกำรกระทรวงในเมื่อไมขัดต่อ
กฎหมำยระเบียบ ข้อบังคับ หรือคำสั่งของกระทรวง ทบวง กรม มติของคณะรัฐมนตรีหรือกำรสั่ง
กำรของนำยกรัฐมนตรี
ง. ถูกทุกข้อ
54. ใครเป็นผู้บังคับบัญชำในสำนักงำนจังหวัด
ก. ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด
ข. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทย
ค. เสมียนจังหวัด
ง. หัวหน้ำสำนักงำนจังหวัด
55. ในจังหวัดหนึ่งให้มีหน่วยรำชกำรบริหำรรองจำกจังหวัดเรียกว่ำอำเภอ กำรตั้ง ยุบ และเปลี่ยน
เขตอำเภอให้ตรำเป็น…………………………………
ก. พระรำชบัญญัติ
ข. ระเบียบกระทรวงมหำดไทย
ค. พระรำชกฤษฎีกำ
ง. พระรำชกำหนด
56. ข้อใดไม่ใช่อำนำจของนำยอำเภอ
ก. บริหำรรำชกำรตำมกฎหมำยและระเบียบแบบแผนของทำงรำชกำร ถ้ำกฎหมำยใดมิได้
บัญญัติว่ำกำรปฏิบัติตำมกฎหมำยนั้นเป็นหน้ำที่ของผู้ใดโดยเฉพำะ ให้เป็นหน้ำที่ของนำยอำเภอที่
จะต้องรักษำกำรให้เป็นไปตำมกฎหมำยนั้นด้วย
ข. บริหำรรำชกำรตำมที่คณะรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม มอบหมำยหรือตำมที่
นำยกรัฐมนตรีสั่งกำรในฐำนะหัวหน้ำรัฐบำล
ค. ควบคุมดูแลกำรบริหำรรำชกำรส่วนท้องถิ่นในอำเภอตำมกฎหมำย
ง. บรรจุ แต่งตั้ง ให้บำเหน็จ และลงโทษข้ำรำชกำรส่วนภูมิภำค
123

57.กำรจัดระเบียบบริหำรรำชกำรส่วนท้องถิ่น ดังนี้
(1)องค์กำรบริหำรส่วนจังหวัด
(2)เทศบำล
(3) …………………….
(4)รำชกำรส่วนท้องถิ่นอื่นตำมที่มีกฎหมำยกำหนด
ก. องค์กำรบริหำรส่วนตำบล ข. สภำนครเทศบำล
ค. เมืองพัทยำ ง. สุขำภิบำล
58. ให้มีคณะกรรมกำรพัฒนำระบบรำชกำรคณะหนึ่ง เรียกโดยย่อว่ำ“ก.พ.ร.” ประกอบด้วย
นำยกรัฐมนตรีหรือรองนำยกรัฐมนตรีที่นำยกรัฐมนตรีมอบหมำยเป็นประธำน รัฐมนตรีหนึ่งคนที่
นำยกรัฐมนตรีกำหนดเป็นรองประธำน ผู้ซึ่งคณะกรรมกำรกำรกระจำยอำนำจให้แก่องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นมอบหมำยหนึ่งคน และกรรมกำรผู้ทรงคุณวุฒิไม่เกินสิบคน ซึ่งคณะรัฐมนตรี
แต่งตั้งจำกผู้มีควำมรู้ควำมเชี่ยวชำญในทำงด้ำนนิติศำสตร์ เศรษฐศำสตร์ รัฐศำสตร์ กำรบริหำร
รัฐกิจ กำรบริหำรธุรกิจ กำรเงินกำรคลัง จิตวิทยำองค์กำร และสังคมวิทยำอย่ำงน้อยด้ำนละหนึ่ง
คน ในกรณีที่มีควำมจำเป็นเพื่อให้กำรปฏิบัติงำนบรรลุผล คณะรัฐมนตรีจะกำหนดให้กรรมกำร
ผู้ทรงคุณวุฒิไม่น้อยกว่ำสำมคนแต่ไม่เกินห้ำคนต้องทำงำนเต็มเวลำก็ได้ เลขำธิกำร ก.พ.ร.เป็น
กรรมกำรและเลขำนุกำรโดยตำแหน่ง ปัจจุบันใครเป็นเลขำธิกำร ก.พ.ร.
ก. นำยบวรศักดิ์ อุวรรณโณ
ข. นำยวิษณุ เครืองำม
ค. นำยโภคิน พลกุล
ง. นำงสำวอ้อนฟ้ำ เวชชำชีวะ
59. เมื่อตำแหน่งกรรมกำรผู้ทรงคุณวุฒิของ ก.พ.ร. ว่ำงลงก่อนวำระ ให้ดำ เนินกำรแต่งตั้ง
กรรมกำรผู้ทรงคุณวุฒิภำยใน............... เว้นแต่วำระของกรรมกำรผู้ทรงคุณวุฒิเหลือไม่ถึงหนึ่งร้อย
แปดสิบวันจะไม่
ก. 15 วัน ข. 45 วัน ค. 60 วัน ง. 70 วัน
60. กำรประชุม ก.พ.ร. ต้องมีกรรมกำรมำประชุม....................ของจำนวนกรรมกำรทั้งหมดเท่ำที่
มีอยู่ จึงจะเป็นองค์ประชุม
ก. ไมน้อยกว่ำกึ่งหนึ่ง ไมรวมผู้ทรงคุณวุฒิที่ทำงำนไมเต็มเวลำ
ข. ไมน้อยกว่ำกึ่งหนึ่ง ไมว่ำผู้ทรงคุณวุฒิที่ทำงำนเต็มเวลำหรือไม
ค. ไมน้อยกว่ำกึ่งหนึ่ง
ง. สำมในสี่ของกรรมกำรทั้งหมด
61. สำนักงำนคณะกรรมกำรพัฒนำระบบรำชกำร เป็นส่วนรำชกำรใด
ก. สำนักนำยกรัฐมนตรี ข. สำนักปลัดนำยกรัฐมนตรี
ค. สำนักงำนข้ำรำชกำรพลเรือน ง. ไมมีข้อใดถูก
124

62. ข้อใดไม่ใช่อำนำจหน้ำที่ ของ ก.พ.ร.


ก. เสนอแนะและให้คำปรึกษำแก่นำยกรัฐมนตรีเกี่ยวกับนโยบำยและยุทธศำสตร์กำร
บริหำรทรัพยำกรบุคคลภำครัฐในด้ำนมำตรฐำนคำตอบแทน กำรบริหำรและกำรพัฒนำทรัพยำกร
บุคคล รวมตลอดทั้งกำรว่ำงแผนกำลังคนและด้ำนอื่น ๆ เพื่อให้ส่วนรำชกำรใช้เป็นแนวทำงในกำร
ดำเนินกำร
ข. เสนอแนะและให้คำปรึกษำแกหน่วยงำนอื่นของรัฐที่มิได้อยู่ในกำกับของรำชกำรฝ่ำย
บริหำรตำมที่หน่วยงำนดังกล่ำวร้องขอ
ค. ดำเนินกำรให้มีกำรชี้แจงทำควำมเข้ำใจแก่ส่วนรำชกำรและเจ้ำหน้ำที่ที่เกี่ยวข้องและ
ประชำชนทั่วไปรวมตลอดทั้งกำรฝึกอบรม
ง. ถูกทุกข้อ

เฉลย แนวข้อสอบ : พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534


และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2553
1.ตอบ “ข้อ ง. ถูกทุกข้อ”
อธิบำยรำชกำรแผ่นดิน นั้น ที่ประเทศตำง ๆ ทั่วโลกนิยมใช้ มีอยู่ 3 หลักกำรด้วยกัน คือ
1. หลักกำรรวมอำนำจ (Centralization)
2. หลักกำรแบ่งอำนำจ (Deconcentralization)
3. หลักกำรกระจำยอำนำจ (Decentralization)
1.กำรรวมอำนำจ เป็นหลักกำรปกครองที่รวมอำนำจที่สำคัญไว้ในส่วนกลำง อำนำจดังกล่ำว ได้แก่
กำรวินิจฉัยสั่งกำรและกำรบังคับบัญชำ ซึ่งผลในกำรสั่งกำรจะมีอำนำจครอบคลุมทั่วประเทศ ทำ
ให้เกิดระเบียบบริหำรรำชกำรส่วนกลำง หรือรัฐบำลกลำง ซึ่งมีอำนำจสูงสุดในกำรปกครอง
ประเทศลักษณะสำคัญของกำรรวมอำนำจ มี 5 ประกำร คือ
1. กำลังทหำรและตำรวจขึ้นอยู่กับส่วนกลำง
2. กำรวินิจฉัยสั่งกำรขึ้นอยู่กับส่วนกลำง
3. มีกำรบังคับบัญชำตำมลำดับชั้น
4. ส่วนกลำงเป็นผู้กำหนดนโยบำยในกำรปกครองประเทศ
5. อำนำจในกำรต่ำงประเทศ ส่วนกลำงเป็นผู้กำหนด
ข้อดีของหลักกำรรวมอำนำจ
1. ทำให้เกิดควำมมั่นคง
2. ทำให้เกิดกำรประหยัด
3. สำมำรถบริกำรประชำชนโดยเสมอหน้ำ
4. ทำให้เกิดเอกภำพ (Unity) ในทำงปกครอง
ข้อเสียของหลักกำรรวมอำนำจ
1.ไม่สำมำรถดำเนินกิจกำรทุกอย่ำงให้ได้ผลดีทั่วท้องที่ได้ในขณะเดียวกัน
125

2.ทำให้เกิดควำมล่ำช้ำในกำรวินิจฉัยสั่งกำร
3.ไม่สอดคล้องกับระบอบประชำธิปไตย
4.ไม่อำจสนองควำมต้องกำรของแต่ละท้องถิ่นได้อย่ำงแท้จริง
2.กำรแบ่งอำนำจ หมำยถึงกำรบริหำรรำชกำร ที่สวนกลำงได้จัดแบ่งอำนำจในกำรวินิจฉัยสั่งกำร
บำงส่วน หรือบำงขั้นตอนไปให้เจ้ำหน้ำที่ที่เป็นตัวแทนของหน่วยงำนของตน ซึ่งออกไปประจำอยู่
ในเขตกำรปกครองต่ำง ๆ ของประเทศให้วินิจฉัยสั่งกำรได้เองตำมระเบียบแบบแผนที่ส่วนกลำง
กำหนดไว้ กำรแบ่งอำนำจทำให้เกิดระเบียบบริหำรรำชกำรส่วนภูมิภำค
ลักษณะสำคัญของกำรแบ่งอำนำจ
1.ต้องมีรำชกำรบริหำรส่วนกลำง
2.ต้องมีเจ้ำหน้ำที่เป็นตัวแทนของส่วนกลำง
3.ส่วนกลำงแบ่งอำนำจให้สวนภูมิภำค
ข้อดีของกำรแบ่งอำนำจ
1.เป็นก้ำวแรกที่จะนำไปสูกำรกระจำยอำนำจ
2. ทำให้สวนกลำงกับสวนท้องถิ่นมีกำรประสำนงำนกันดี
3. ทำให้กำรปฏิบัติรำชกำรรวดเร็วยิ่งขึ้น
4. มีประโยชน์สำหรับประเทศที่ประชำชนยังขำดสำนึกในกำรปกครองตนเอง
ข้อเสียของกำรแบ่งอำนำจ
1. เป็นอุปสรรคในกำรพัฒนำระบอบประชำธิปไตย
2. ก่อให้เกิดควำมล่ำช้ำ
3.ก่อให้เกิดควำมไม่เป็นธรรมแก่ท้องถิ่น
3. กำรกระจำยอำนำจ หมำยถึง กำรโอนอำนำจในทำงกำรปกครองจำกส่วนกลำงบำงอย่ำง ไปให้
ประชำชนในท้องถิ่นดำเนินกำรเอง โดยมีอิสระพอสมควร ภำยใต้บทบัญญัติของกฎหมำย กำร
กระจำยอำนำจทำให้เกิดระเบียบบริหำรรำชกำรสวนท้องถิ่น
ลักษณะสำคัญของกำรกระจำยอำนำจ
1. เป็นองค์กรที่มีฐำนะเป็นนิติบุคคล
2. มีสภำและผู้บริหำรระดับท้องถิ่น
3. มีอิสระในกำรปกครองตนเอง (อยู่ภำยในขอบเขตที่กฎหมำยกำหนด)
4. มีงบประมำณและรำยได้ของตนเอง
5. มีเจ้ำหน้ำที่ปฏิบัติงำนของตนเอง
อนึ่ง หน่วยกำรปกครองสวนท้องถิ่น มิได้เป็นหน่วยภำยใต้บังคับบัญชำของส่วนกลำงเหมือนกำร
ปกครองส่วนภูมิภำค
ข้อดีของหลักกำรกระจำยอำนำจ
1. สำมำรถสนองควำมต้องกำรของท้องถิ่นได้ดียิ่งขึ้น
2. เป็นกำรแบ่งเบำภำระของส่วนกลำง
126

3. กระตุ้นให้ประชำชนเข้ำมำมีสวนรวมทำงกำรเมือง
ข้อเสียของหลักกำรกระจำยอำนำจ
1.อำจเป็นภัยต่อเอกภำพทำงกำรปกครองและควำมมั่นคงของประเทศ
2.ทำให้รำษฎรเพ็งเล็งเห็นประโยชน์ของท้องถิ่นสำคัญกว่ำส่วนรวม
3.เจ้ำหน้ำที่ที่ได้รับกำรเลือกตั้งอำจใช้อำนำจหน้ำที่โดยไม่เหมำะสม
4. ยอมทำให้เกิดควำมสิ้นเปลืองมำกกว่ำ

2.ตอบ “ข้อ ง. ถูกทุกข้อ”


อธิบำยตำม พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับ
ที่ 8) พ.ศ. 2553
มำตรำ 3/1 กำรบริหำรรำชกำรตำมพระรำชบัญญัตินี้ต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของ
ประชำชน เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภำรกิจของรัฐ ควำมมีประสิทธิภำพ ควำมคุ้มค่ำในเชิงภำรกิจแหงรัฐ
กำรลดขั้นตอนกำรปฏิบัติงำนกำรลดภำรกิจและยุบเลิกหน่วยงำนที่ไมจำเป็น กำรกระจำยภำรกิจ
และทรัพยำกรให้แก่ท้องถิ่น กำรกระจำยอำนำจตัดสินใจ กำรอำนวยควำมสะดวก และกำร
ตอบสนองควำมต้องกำรของประชำชน ทั้งนี้ โดยมีผู้รับผิดชอบต่อผลของงำนกำรจัดสรร
งบประมำณ และกำรบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ำดำรงตำแหน่งหรือปฏิบัติหน้ำที่ต้องคำนึงถึง
หลักกำรตำมวรรคหนึ่งในกำรปฏิบัติหน้ำที่ของส่วนรำชกำร ต้องใช้วิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมือง
ที่ดีโดยเฉพำะอย่ำงยิ่งให้คำนึงถึงควำมรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงำน กำรมีสวนรวมของประชำชน
กำรเปิดเผยข้อมูล กำรติดตำมตรวจสอบและประเมินผลกำรปฏิบัติงำน ทั้งนี้ ตำมควำมเหมำะสม
ของแต่ละภำรกิจเพื่อประโยชน์ในกำรดำเนินกำรให้เป็นไปตำมมำตรำนี้ จะตรำพระรำชกฤษฎีกำ
กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีกำรในกำรปฏิบัติรำชกำรและกำรสั่งกำรให้ส่วนรำชกำรและข้ำรำชกำร
ปฏิบัติก็ได้

3.ตอบ “ข้อ ง. ควำมมีประสิทธิภำพ”


อธิบำยตำม พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับ
ที่ 8) พ.ศ. 2553
มำตรำ 3/1 กำรบริหำรรำชกำรตำมพระรำชบัญญัตินี้ต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของ
ประชำชน เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภำรกิจของรัฐ ควำมมีประสิทธิภำพ ควำมคุ้มค่ำในเชิงภำรกิจแหงรัฐ
กำรลดขั้นตอนกำรปฏิบัติงำนกำรลดภำรกิจและยุบเลิกหน่วยงำนที่ไมจำเป็น กำรกระจำยภำรกิจ
และทรัพยำกรให้แก่ท้องถิ่น กำรกระจำยอำนำจตัดสินใจ กำรอำนวยควำมสะดวก และกำร
ตอบสนองควำมต้องกำรของประชำชน ทั้งนี้ โดยมีผู้รับผิดชอบต่อผลของงำนกำรจัดสรร
งบประมำณ และกำรบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ำดำรงตำแหน่งหรือปฏิบัติหน้ำที่ต้องคำนึงถึง
หลักกำรตำมวรรคหนึ่งในกำรปฏิบัติหน้ำที่ของส่วนรำชกำร ต้องใช้วิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมือง
ที่ดีโดยเฉพำะอย่ำงยิ่งให้คำนึงถึงควำมรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงำน กำรมีส่วนร่วมของประชำชน
127

กำรเปิดเผยข้อมูล กำรติดตำมตรวจสอบและประเมินผลกำรปฏิบัติงำน ทั้งนี้ ตำมควำมเหมำะสม


ของแต่ละภำรกิจเพื่อประโยชน์ในกำรดำเนินกำรให้เป็นไปตำมมำตรำนี้ จะตรำพระรำชกฤษฎีกำ
กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีกำรในกำรปฏิบัติรำชกำรและกำรสั่งกำรให้ส่วนรำชกำรและข้ำรำชกำร
ปฏิบัติก็ได้

4.ตอบ “ข้อ ข. ส่วนกลำง ส่วนภูมิภำค ส่วนท้องถิ่น”


อธิบำยตำม พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับ
ที่ 8) พ.ศ. 2553

มำตรำ 4 ให้จัดระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน ดังนี้


(1) ระเบียบบริหำรรำชกำรส่วนกลำง
(2) ระเบียบบริหำรรำชกำรส่วนภูมิภำค
(3) ระเบียบบริหำรรำชกำรส่วนท้องถิ่น

5.ตอบ “ข้อ ค. คุณภำพและปริมำณของส่วนรำชกำรนั้น ๆ”


อธิบำยตำม พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับ
ที่ 8) พ.ศ. 2553
มำตรำ 5 กำรแบ่งรำชกำรออกเป็นสวนตำงๆ ตำมที่บัญญัติไว้ในพระรำชบัญญัตินี้ ให้
กำหนดตำแหน่งและอัตรำเงินเดือนโดยคำนึงถึงคุณภำพและปริมำณงำนของส่วนรำชกำรนั้นๆ ไว้
ด้วยกำรบรรจุและกำรแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่งหน้ำที่รำชกำรตำงๆ ให้เป็นไปตำมกฎหมำย

6.ตอบ “ข้อ ง. ถูกทุกข้อ”


อธิบำยตำม พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับ
ที่ 8) พ.ศ. 2553
มำตรำ 7 ให้จัดระเบียบบริหำรรำชกำรส่วนกลำง ดังนี้
(1) สำนักนำยกรัฐมนตรี
(2) กระทรวง หรือทบวงซึ่งมีฐำนะเทียบเทำกระทรวง
(3) ทบวง ซึ่งสังกัดสำนักนำยกรัฐมนตรีหรือกระทรวง
(4) กรม หรือส่วนรำชกำรที่เรียกชื่ออย่ำงอื่นและมีฐำนะเป็นกรม ซึ่งสังกัด
หรือไม่สังกัดสำนักนำยกรัฐมนตรี กระทรวงหรือทบวงสำนักนำยกรัฐมนตรีมีฐำนะเป็นกระทรวง
ส่วนรำชกำรตำม (1) (2) (3) และ (4) มีฐำนะเป็นนิติบุคคล
128

7.ตอบ “ข้อ ง. ถูกทุกข้อ”


อธิบำยตำม พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับ
ที่ 8) พ.ศ. 2553
มำตรำ 7 ให้จัดระเบียบบริหำรรำชกำรส่วนกลำง ดังนี้
(1) สำนักนำยกรัฐมนตรี
(2) กระทรวง หรือทบวงซึ่งมีฐำนะเทียบเท่ำกระทรวง
(3) ทบวง ซึ่งสังกัดสำนักนำยกรัฐมนตรีหรือกระทรวง
(4) กรม หรือส่วนรำชกำรที่เรียกชื่ออย่ำงอื่นและมีฐำนะเป็นกรม ซึ่งสังกัดหรือไมสังกัดสำนัก
นำยกรัฐมนตรี กระทรวงหรือทบวง
สำนักนำยกรัฐมนตรีมีฐำนะเป็นกระทรวง
ส่วนรำชกำรตำม (1) (2) (3) และ (4) มีฐำนะเป็นนิติบุคคล

8.ตอบ “ข้อ ง. พระรำชบัญญัต”ิ


อธิบำยตำม พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับ
ที่ 8) พ.ศ. 2553
มำตรำ 8 กำรจัดตั้ง กำรรวม หรือกำรโอนส่วนรำชกำรตำมมำตรำ 7 ให้ตรำเป็น
พระรำชบัญญัติกำรจัดตั้งทบวงโดยให้สังกัดสำนักนำยกรัฐมนตรีหรือกระทรวง ให้ระบุกำรสังกัดไว้
ในพระรำชบัญญัติด้วยกำรจัดตั้งกรมหรือส่วนรำชกำรที่เรียกชื่ออย่ำงอื่นและมีฐำนะเป็นกรม ซึ่งไม่
สังกัดสำนักนำยกรัฐมนตรีกระทรวง หรือทบวง ให้ระบุกำรไม่สังกัดไว้ในพระรำชบัญญัติด้วย
มำตรำ 7 ให้จัดระเบียบบริหำรรำชกำรส่วนกลำง ดังนี้
(1) สำนักนำยกรัฐมนตรี
(2) กระทรวง หรือทบวงซึ่งมีฐำนะเทียบเทำกระทรวง
(3) ทบวง ซึ่งสังกัดสำนักนำยกรัฐมนตรีหรือกระทรวง
(4) กรม หรือส่วนรำชกำรที่เรียกชื่ออย่ำงอื่นและมีฐำนะเป็นกรม ซึ่งสังกัดหรือไม่สังกัดสำนัก
นำยกรัฐมนตรี กระทรวงหรือทบวง
สำนักนำยกรัฐมนตรีมีฐำนะเป็นกระทรวง
ส่วนรำชกำรตำม (1) (2) (3) และ (4) มีฐำนะเป็นนิติบุคคล

9.ตอบ “ข้อ ค. ให้สำนักงำนข้ำรำชกำรพลเรือน และสำนักงำนพัฒนำระบบรำชกำรมีหน้ำที่กำร


ตรวจสอบดูแลมิให้ส่วนรำชกำรที่มีพระรำชกฤษฎีกำให้รวมหรือโอนเข้ำด้วยกัน กำหนดตำแหน่ง
หรืออัตรำกำลังของข้ำรำชกำรหรือลูกจ้ำงเพิ่มจนกว่ำจะครบสำมปีนับแต่วันที่พระรำชกฤษฎีกำมี
ผลบังคับใช้”อธิบำยตำม พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไข
เพิ่มเติม(ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2553
129

มำตรำ 8 ทวิ กำรรวมหรือกำรโอนส่วนรำชกำรตำมมำตรำ ๗ ไม่ว่ำจะมีผลเป็นกำรจัดตั้ง


ส่วนรำชกำรขึ้นใหม่หรือไม่ ถ้ำไม่มีกำรกำหนดตำแหน่งหรืออัตรำของข้ำรำชกำรหรือลูกจ้ำงเพิ่มขึ้น
ให้ตรำเป็นพระรำชกฤษฎีกำพระรำชกฤษฎีกำตำมวรรคหนึ่ง ให้ระบุอำนำจหน้ำที่ของส่วนรำชกำร
กำรโอนอำนำจหน้ำที่ตำมบทบัญญัติแหงกฎหมำย ซึ่งส่วนรำชกำรหรือเจ้ำพนักงำนที่มีอยู่เดิม กำร
โอนข้ำรำชกำรและลูกจ้ำง งบประมำณรำยจ่ำย รวมทั้งทรัพย์สินและหนี้สินเอำไว้ด้วย แล้วแต่กรณี
ให้สำนักงำนคณะกรรมกำรข้ำรำชกำรพลเรือนและสำนักงบประมำณมีหน้ำที่ตรวจสอบดูแลมิให้มี
กำรกำหนดตำแหน่งหรืออัตรำของข้ำรำชกำรหรือลูกจ้ำงของส่วนรำชกำรที่จัดตั้งขึ้นใหม่ หรือที่ถูก
รวมหรือโอนไปตำมวรรคหนึ่ง เพิ่มขึ้นจนกว่ำจะครบกำหนดสำมปีนับแต่วันที่พระรำชกฤษฎีกำ
ตำมวรรคหนึ่งมีผลใช้บังคับ
มำตรำ 8 ตรี กำรเปลี่ยนชื่อส่วนรำชกำรตำมมำตรำ 7 ให้ตรำเป็นพระรำชกฤษฎีกำ และ
ในกรณีที่ชื่อตำแหน่งของข้ำรำชกำรในส่วนรำชกำรนั้นเปลี่ยนไปให้ระบุกำรเปลี่ยนชื่อไว้ในพระรำช
กฤษฎีกำด้วยบทบัญญัติแห่งกฎหมำย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ เทศบัญญัติหรือข้อบัญญัติท้องถิ่นอืน่
ประกำศ หรือคำสั่งใดที่อ้ำงถึงส่วนรำชกำรหรือตำแหน่งของข้ำรำชกำรที่ได้ถูกเปลี่ยนชื่อตำมวรรค
หนึ่ง ให้ถือว่ำบทบัญญัติแห่งกฎหมำย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ เทศบัญญัติหรือข้อบัญญัติท้องถิ่นอื่น
ประกำศหรือคำสั่งนั้นอ้ำงถึงส่วนรำชกำรหรือตำแหน่งของข้ำรำชกำรที่ได้เปลี่ยนชื่อนั้น
มำตรำ 8 จัตวำ กำรยุบส่วนรำชกำรตำมมำตรำ 7 ให้ตรำเป็นพระรำชกฤษฎีกำ
เมื่อมีพระรำชกฤษฎีกำยุบส่วนรำชกำรตำมวรรคหนึ่งแล้ว ให้งบประมำณรำยจ่ำยที่เหลืออยู่ของ
ส่วนรำชกำรนั้นเป็นอันระงับไป สำหรับทรัพย์สินอื่นของส่วนรำชกำรนั้นให้โอนให้แกส่วนรำชกำร
อื่นหรือหน่วยงำนอื่นของรัฐ ตำมที่รัฐมนตรีซึ่งเป็นผู้รักษำกำรตำมพระรำชกฤษฎีกำตำมวรรคหนึ่ง
กำหนดโดยควำมเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี สำหรับวิธีกำรจัดกำรกิจกำร สิทธิและหนี้สินของส่วน
รำชกำรนั้นให้เป็นไปตำมที่กำหนดในพระรำชกฤษฎีกำข้ำรำชกำรหรือลูกจ้ำงซึ่งต้องพ้นจำก
รำชกำรเพรำะเหตุยุบตำแหน่ง อันเนื่องมำแต่กำรยุบส่วนรำชกำรตำมวรรคหนึ่ง นอกเหนือจำก
สิทธิประโยชน์ที่พึงได้รับตำมกฎหมำยหรือระเบียบข้อบังคับอื่นแล้ว ให้ข้ำรำชกำรหรือลูกจ้ำงได้รับ
เงินชดเชยตำมหลักเกณฑ์และวิธีกำรที่กำหนดในพระรำชกฤษฎีกำตำมวรรคหนึ่งด้วยในกรณีที่ส่วน
รำชกำร รัฐวิสำหกิจหรือหน่วยงำนอื่นของรัฐประสงค์จะรับโอนข้ำรำชกำรหรือลูกจ้ำงตำมวรรค
สำมก็ให้กระทำได้โดยมิให้ถือว่ำข้ำรำชกำรหรือลูกจ้ำงผู้นั้นได้พ้นจำกรำชกำรตำมวรรคสำม แต่
ทั้งนี้ต้องกระทำภำยในสำมสิบวันนับแต่พระรำชกฤษฎีกำตำมวรรคหนึ่งมีผลใช้บังคับ
มำตรำ 7 ให้จัดระเบียบบริหำรรำชกำรส่วนกลำง ดังนี้
(1) สำนักนำยกรัฐมนตรี
(2) กระทรวง หรือทบวงซึ่งมีฐำนะเทียบเท่ำกระทรวง
(3) ทบวง ซึ่งสังกัดสำนักนำยกรัฐมนตรีหรือกระทรวง
(4) กรม หรือส่วนรำชกำรที่เรียกชื่ออย่ำงอื่นและมีฐำนะเป็นกรม ซึ่งสังกัดหรือไม่สังกัดสำนัก
นำยกรัฐมนตรี กระทรวงหรือทบวง
สำนักนำยกรัฐมนตรีมีฐำนะเป็นกระทรวง
130

ส่วนรำชกำรตำม (1) (2) (3) และ (4) มีฐำนะเป็นนิติบุคคล

10.ตอบ “ข้อ ข. สำนักงำนคณะกรรมกำรข้ำรำชกำรพลเรือน และสำนักงบประมำณ”


อธิบำยตำม พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับ
ที่ 8) พ.ศ. 2553
มำตรำ 8 ทวิ กำรรวมหรือกำรโอนส่วนรำชกำรตำมมำตรำ ๗ ไม่ว่ำจะมีผลเป็นกำรจัดตั้ง
ส่วนรำชกำรขึ้นใหม่หรือไม่ ถ้ำไม่มีกำรกำหนดตำแหน่งหรืออัตรำของข้ำรำชกำรหรือลูกจ้ำงเพิ่มขึ้น
ให้ตรำเป็นพระรำชกฤษฎีกำพระรำชกฤษฎีกำตำมวรรคหนึ่ง ให้ระบุอำนำจหน้ำที่ของส่วนรำชกำร
กำรโอนอำนำจหน้ำที่ตำมบทบัญญัติแหงกฎหมำย ซึ่งส่วนรำชกำรหรือเจ้ำพนักงำนที่มีอยู่เดิม กำร
โอนข้ำรำชกำรและลูกจ้ำง งบประมำณรำยจ่ำย รวมทั้งทรัพย์สินและหนี้สินเอำไว้ด้วย แล้วแต่กรณี
ให้สำนักงำนคณะกรรมกำรข้ำรำชกำรพลเรือนและสำนักงบประมำณมีหน้ำที่ตรวจสอบดูแลมิให้มี
กำรกำหนดตำแหน่งหรืออัตรำของข้ำรำชกำรหรือลูกจ้ำงของส่วนรำชกำรที่จัดตั้งขึ้นใหม่ หรือที่ถูก
รวมหรือโอนไปตำมวรรคหนึ่ง เพิ่มขึ้นจนกว่ำจะครบกำหนดสำมปีนับแต่วันที่พระรำชกฤษฎีกำ
ตำมวรรคหนึ่งมีผลใช้บังคับ

11.ตอบ “ข้อ ง. พระรำชกฤษฎีกำ”


อธิบำยตำม พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับ
ที่ 8) พ.ศ. 2553
มำตรำ 8 ตรี กำรเปลี่ยนชื่อส่วนรำชกำรตำมมำตรำ 7 ให้ตรำเป็นพระรำชกฤษฎีกำ และ
ในกรณีที่ชื่อตำแหน่งของข้ำรำชกำรในส่วนรำชกำรนั้นเปลี่ยนไปให้ระบุกำรเปลี่ยนชื่อไว้ในพระรำช
กฤษฎีกำด้วยบทบัญญัติแหงกฎหมำย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ เทศบัญญัติหรือข้อบัญญัติท้องถิ่นอื่น
ประกำศ หรือคำสั่งใดที่อ้ำงถึงส่วนรำชกำรหรือตำแหน่งของข้ำรำชกำรที่ได้ถูกเปลี่ยนชื่อตำมวรรค
หนึ่ง ให้ถือว่ำบทบัญญัติแห่งกฎหมำย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ เทศบัญญัติหรือข้อบัญญัติท้องถิ่นอื่น
ประกำศหรือคำสั่งนั้นอ้ำงถึงส่วนรำชกำรหรือตำแหน่งของข้ำรำชกำรที่ได้เปลี่ยนชื่อนั้น
มำตรำ 7 ให้จัดระเบียบบริหำรรำชกำรส่วนกลำง ดังนี้
(1) สำนักนำยกรัฐมนตรี
(2) กระทรวง หรือทบวงซึ่งมีฐำนะเทียบเทำกระทรวง
(3) ทบวง ซึ่งสังกัดสำนักนำยกรัฐมนตรีหรือกระทรวง
(4) กรม หรือส่วนรำชกำรที่เรียกชื่ออย่ำงอื่นและมีฐำนะเป็นกรม ซึ่งสังกัดหรือไมสังกัดสำนัก
นำยกรัฐมนตรี กระทรวงหรือทบวงสำนักนำยกรัฐมนตรีมีฐำนะเป็นกระทรวง
ส่วนรำชกำรตำม (1) (2) (3) และ (4) มีฐำนะเป็นนิติบุคคล
131

12.ตอบ “ข้อ ง. พระรำชกฤษฎีกำ”


อธิบำยตำม พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับ
ที่ 8) พ.ศ. 2553
มำตรำ 8 จัตวำ กำรยุบส่วนรำชกำรตำมมำตรำ 7 ให้ตรำเป็นพระรำชกฤษฎีกำ
เมื่อมีพระรำชกฤษฎีกำยุบส่วนรำชกำรตำมวรรคหนึ่งแล้ว ให้งบประมำณรำยจ่ำยที่เหลืออยู่ของ
ส่วนรำชกำรนั้นเป็นอันระงับไป สำหรับทรัพย์สินอื่นของส่วนรำชกำรนั้นให้โอนให้แกส่วนรำชกำร
อื่นหรือหน่วยงำนอื่นของรัฐ ตำมที่รัฐมนตรีซึ่งเป็นผู้รักษำกำรตำมพระรำชกฤษฎีกำตำมวรรคหนึ่ง
กำหนดโดยควำมเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี สำหรับวิธีกำรจัดกำรกิจกำร สิทธิและหนี้สินของส่วน
รำชกำรนั้นให้เป็นไปตำมที่กำหนดในพระรำชกฤษฎีกำข้ำรำชกำรหรือลูกจ้ำงซึ่งต้องพ้นจำก
รำชกำรเพรำะเหตุยุบตำแหน่ง อันเนื่องมำแต่กำรยุบส่วนรำชกำรตำมวรรคหนึ่ง นอกเหนือจำก
สิทธิประโยชน์ที่พึงได้รับตำมกฎหมำยหรือระเบียบข้อบังคับอื่นแล้ว ให้ข้ำรำชกำรหรือลูกจ้ำงได้รับ
เงินชดเชยตำมหลักเกณฑ์และวิธีกำรที่กำหนดในพระรำชกฤษฎีกำตำมวรรคหนึ่งด้วยในกรณีที่ส่วน
รำชกำร รัฐวิสำหกิจหรือหน่วยงำนอื่นของรัฐประสงค์จะรับโอนข้ำรำชกำรหรือลูกจ้ำงตำมวรรค
สำมก็ให้กระทำได้โดยมิให้ถือว่ำข้ำรำชกำรหรือลูกจ้ำงผู้นั้นได้พ้นจำกรำชกำรตำมวรรคสำม แต่
ทั้งนี้ต้องกระทำภำยในสำมสิบวันนับแต่พระรำชกฤษฎีกำตำมวรรคหนึ่งมีผลใช้บังคับ
มำตรำ 7 ให้จัดระเบียบบริหำรรำชกำรส่วนกลำง ดังนี้
(1) สำนักนำยกรัฐมนตรี
(2) กระทรวง หรือทบวงซึ่งมีฐำนะเทียบเทำกระทรวง
(3) ทบวง ซึ่งสังกัดสำนักนำยกรัฐมนตรีหรือกระทรวง
(4) กรม หรือส่วนรำชกำรที่เรียกชื่ออย่ำงอื่นและมีฐำนะเป็นกรม ซึ่งสังกัดหรือไม่สังกัดสำนัก
นำยกรัฐมนตรี กระทรวงหรือทบวงสำนักนำยกรัฐมนตรีมีฐำนะเป็นกระทรวง
ส่วนรำชกำรตำม (1) (2) (3) และ (4) มีฐำนะเป็นนิติบุคคล

13.ตอบ “ข้อ ข. กฎกระทรวง”


อธิบำยตำม พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับ
ที่ 8) พ.ศ. 2553
มำตรำ 8 ฉ กำรแบ่งส่วนรำชกำรภำยในสำนักงำนรัฐมนตรี กรม หรือส่วนรำชกำรที่
เรียกชื่ออย่ำงอื่นและมีฐำนะเป็นกรม ให้ออกเป็นกฎกระทรวงและให้ระบุอำนำจหน้ำที่ของแต่ละ
ส่วนรำชกำรไว้ในกฎกระทรวงด้วยให้รัฐมนตรีเจ้ำสังกัดของส่วนรำชกำรตำมวรรคหนึ่งเป็นผู้ออก
กฎกระทรวงแบ่งส่วนรำชกำรดังกล่ำวกฎกระทรวงนั้นเมื่อได้ประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำแล้วให้
ใช้บังคับได้
132

14.ตอบ “ข้อ ข. ให้งบประมำณรำยจ่ำยที่เหลืออยู่ของกรมนั้นตกเป็นงบกลำง”


อธิบำยตำม พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับ
ที่ 8) พ.ศ. 2553
มำตรำ 8 จัตวำ กำรยุบส่วนรำชกำรตำมมำตรำ ๗ ให้ตรำเป็นพระรำชกฤษฎีกำ
เมื่อมีพระรำชกฤษฎีกำยุบส่วนรำชกำรตำมวรรคหนึ่งแล้ว ให้งบประมำณรำยจ่ำยที่เหลืออยู่ของ
ส่วนรำชกำรนั้นเป็นอันระงับไป สำหรับทรัพย์สินอื่นของส่วนรำชกำรนั้นให้โอนให้แกส่วนรำชกำร
อื่นหรือหน่วยงำนอื่นของรัฐ ตำมที่รัฐมนตรีซึ่งเป็นผู้รักษำกำรตำมพระรำชกฤษฎีกำตำมวรรคหนึ่ง
กำหนดโดยควำมเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี สำหรับวิธีกำรจัดกำรกิจกำร สิทธิและหนี้สินของส่วน
รำชกำรนั้นให้เป็นไปตำมที่กำหนดในพระรำชกฤษฎีกำข้ำรำชกำรหรือลูกจ้ำงซึ่งต้องพ้นจำก
รำชกำรเพรำะเหตุยุบตำแหน่ง อันเนื่องมำแต่กำรยุบส่วนรำชกำรตำม
วรรคหนึ่ง นอกเหนือจำกสิทธิประโยชน์ที่พึงได้รับตำมกฎหมำยหรือระเบียบข้อบังคับอื่นแล้ว ให้
ข้ำรำชกำรหรือลูกจ้ำงได้รับเงินชดเชยตำมหลักเกณฑ์และวิธีกำรที่กำหนดในพระรำชกฤษฎีกำตำม
วรรคหนึ่งด้วยในกรณีที่ส่วนรำชกำร รัฐวิสำหกิจหรือหน่วยงำนอื่นของรัฐประสงค์จะรับโอน
ข้ำรำชกำรหรือลูกจ้ำงตำมวรรคสำมก็ให้กระทำได้โดยมิให้ถือว่ำข้ำรำชกำรหรือลูกจ้ำงผู้นั้นได้พ้น
จำกรำชกำรตำมวรรคสำม แต่ทั้งนี้ต้องกระทำภำยในสำมสิบวันนับแต่พระรำชกฤษฎีกำตำมวรรค
หนึง่ มีผลใช้บงั คับ

15. ตอบ “ข้อ ก


อธิบำยตำม พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับ
ที่ 8) พ.ศ. 2553
มำตรำ 8 สัตต ให้สำนักงำนคณะกรรมกำรข้ำรำชกำรพลเรือนและสำนักงบประมำณ
รวมกันเสนอควำมเห็นต่อคณะรัฐมนตรีในกำรแบ่งส่วนรำชกำรภำยในและในกำรกำหนดอำนำจ
หน้ำที่ของแต่ละส่วนรำชกำรตำมมำตรำ 8 ฉ ในกำรเสนอควำมเห็นดังกล่ำวให้สำนักงำน
คณะกรรมกำรข้ำรำชกำรพลเรือนจัดอัตรำกำลัง และสำนักงบประมำณจัดสรรเงินงบประมำณให้
สอดคล้องเสนอไปในครำวเดียวกัน
มำตรำ 8 ฉ กำรแบ่งส่วนรำชกำรภำยในสำนักงำนรัฐมนตรี กรม หรือส่วนรำชกำรที่
เรียกชื่ออย่ำงอื่นและมีฐำนะเป็นกรม ให้ออกเป็นกฎกระทรวงและให้ระบุอำนำจหน้ำที่ของแต่ละ
ส่วนรำชกำรไว้ในกฎกระทรวงด้วยให้รัฐมนตรีเจ้ำสังกัดของส่วนรำชกำรตำมวรรคหนึ่งเป็นผู้ออก
กฎกระทรวงแบ่งส่วนรำชกำรดังกล่ำวกฎกระทรวงนั้นเมื่อได้ประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำแล้วให้
ใช้บังคับได้

16.ตอบ “ข้อ ง.นำยกรัฐมนตรี”


อธิบำยตำม พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับ
ที่ 8) พ.ศ. 2553
133

มำตรำ 10 สำนักนำยกรัฐมนตรีมีอำนำจหน้ำที่ตำมที่กำหนดไว้ในกฎหมำยว่ำด้วยกำร
ปรับปรุงกระทรวงทบวง กรมสำนักนำยกรัฐมนตรีมีนำยกรัฐมนตรีเป็นผู้บังคับบัญชำข้ำรำชกำร
และรับผิดชอบในกำรกำหนดนโยบำยเป้ำหมำย และผลสัมฤทธิ์ของงำนในสำนักนำยกรัฐมนตรีให้
สอดคล้องกับนโยบำยที่คณะรัฐมนตรีแถลงไว้ต่อรัฐสภำหรือที่คณะรัฐมนตรีกำหนดหรืออนุมัติ โดย
จะให้มีรองนำยกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีประจำสำนักนำยกรัฐมนตรีเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติรำชกำร
ก็ได้ในกรณีที่มีรองนำยกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีประจำสำนักนำยกรัฐมนตรีหรือมีทั้งรอง
นำยกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีประจำสำนักนำยกรัฐมนตรี กำรสั่งและกำรปฏิบัติรำชกำรของรอง
นำยกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีประจำสำนักนำยกรัฐมนตรีให้เป็นไปตำมที่นำยกรัฐมนตรีมอบหมำยใน
ระหว่ำงที่คณะรัฐมนตรีต้องอยู่ในตำแหน่งเพื่อปฏิบัติหน้ำที่ต่อไปจนกว่ำคณะรัฐมนตรีที่ตั้งขึ้นใหม่
จะเข้ำรับหน้ำที่เพรำะนำยกรัฐมนตรีตำย ขำดคุณสมบัติ ต้องคำพิพำกษำให้จำคุก สภำ
ผู้แทนรำษฎรมีมติไม่ไว้วำงใจ
ศำลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่ำควำมเป็นรัฐมนตรีของนำยกรัฐมนตรีสิ้นสุดลง หรือวุฒิสภำมีมติให้ถอด
ถอนจำกตำแหน่งให้คณะรัฐมนตรีมอบหมำยให้รองนำยกรัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งเป็นผู้ปฏิบัติหน้ำที่
แทนนำยกรัฐมนตรี ถ้ำไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งรองนำยกรัฐมนตรีหรือมีแต่ไมอำจปฏิบัติรำชกำรได้ ให้
คณะรัฐมนตรีมอบหมำยให้รัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งเป็นผู้ปฏิบัติหน้ำที่แทน
ในระหว่ำงที่คณะรัฐมนตรีต้องอยู่ในตำแหน่งเพื่อปฏิบัติหน้ำที่ต่อไปจนกว่ำคณะรัฐมนตรีที่ตั้งขึ้น
ใหม่จะเข้ำรับหน้ำที่ ให้คณะรัฐมนตรีดังกล่ำวอำนวยควำมสะดวกให้หัวหน้ำส่วนรำชกำรตำงๆ
ดำเนินกำรใดๆ เทำที่จำเป็น เพื่อรับแนวทำงกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน จำกนำยกรัฐมนตรีคนใหม่
มำเตรียมกำรดำเนินกำรได้

17.ตอบ “ข้อ ง. มอบหมำยให้รองนำยกรัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งปฏิบัติหน้ำที่แทนนำยกรัฐมนตรี”


อธิบำยตำม พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับ
ที่ 8) พ.ศ. 2553
มำตรำ 10 สำนักนำยกรัฐมนตรีมีอำนำจหน้ำที่ตำมที่กำหนดไว้ในกฎหมำยว่ำด้วยกำร
ปรับปรุงกระทรวงทบวง กรมสำนักนำยกรัฐมนตรีมีนำยกรัฐมนตรีเป็นผู้บังคับบัญชำข้ำรำชกำร
และรับผิดชอบในกำรกำหนดนโยบำยเป้ำหมำย และผลสัมฤทธิ์ของงำนในสำนักนำยกรัฐมนตรีให้
สอดคล้องกับนโยบำยที่คณะรัฐมนตรีแถลงไว้ต่อรัฐสภำหรือที่คณะรัฐมนตรีกำหนดหรืออนุมัติ โดย
จะให้มีรองนำยกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีประจำสำนักนำยกรัฐมนตรีเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติรำชกำร
ก็ได้ในกรณีที่มีรองนำยกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีประจำสำนักนำยกรัฐมนตรีหรือมีทั้งรอง
นำยกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีประจำสำนักนำยกรัฐมนตรี กำรสั่งและกำรปฏิบัติรำชกำรของรอง
นำยกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีประจำสำนักนำยกรัฐมนตรีให้เป็นไปตำมที่นำยกรัฐมนตรีมอบหมำยใน
ระหว่ำงที่คณะรัฐมนตรีต้องอยู่ในตำแหน่งเพื่อปฏิบัติหน้ำที่ต่อไปจนกว่ำคณะรัฐมนตรีที่ตั้งขึ้นใหม่
จะเข้ำรับหน้ำที่เพรำะนำยกรัฐมนตรีตำย ขำดคุณสมบัติ ต้องคำพิพำกษำให้จำคุก สภำ
ผู้แทนรำษฎรมีมติไมไว้วำงใจศำลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่ำควำมเป็นรัฐมนตรีของนำยกรัฐมนตรีสิ้นสุด
134

ลง หรือวุฒิสภำมีมติให้ถอดถอนจำกตำแหน่งให้คณะรัฐมนตรีมอบหมำยให้รองนำยกรัฐมนตรีคน
ใดคนหนึ่งเป็นผู้ปฏิบัติหน้ำที่แทนนำยกรัฐมนตรี ถ้ำไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งรองนำยกรัฐมนตรีหรือมี
แต่ไมอำจปฏิบัติรำชกำรได้ ให้คณะรัฐมนตรีมอบหมำยให้รัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งเป็นผู้ปฏิบัติหน้ำที่
แทนในระหว่ำงที่คณะรัฐมนตรีต้องอยู่ในตำแหน่งเพื่อปฏิบัติหน้ำที่ต่อไปจนกว่ำคณะรัฐมนตรีที่ตั้ง
ขึ้นใหม่จะ
เข้ำรับหน้ำที่ ให้คณะรัฐมนตรีดังกล่ำวอำนวยควำมสะดวกให้หัวหน้ำส่วนรำชกำรตำงๆ ดำเนินกำร
ใดๆ เทำที่จำเป็น เพื่อรับแนวทำงกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน จำกนำยกรัฐมนตรีคนใหม่มำ
เตรียมกำรดำเนินกำรได้

18.ตอบ “ข้อ ง. มำตรำ 11 จำนวน 9 ข้อ”


อธิบำยตำม พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับ
ที่ 8) พ.ศ. 2553

มำตรำ 11 นำยกรัฐมนตรีในฐำนะหัวหน้ำรัฐบำลมีอำนำจหน้ำที่ ดังนี้


(1) กำกับโดยทั่วไปซึ่งกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน เพื่อกำรนี้จะสั่งให้รำชกำรส่วนกลำง รำชกำร
ส่วนภูมิภำค และส่วนรำชกำรซึ่งมีหน้ำที่ควบคุมรำชกำรส่วนท้องถิ่น ชี้แจง แสดงควำมคิดเห็น ทำ
รำยงำนเกี่ยวกับกำรปฏิบัติรำชกำร ในกรณีจำเป็นจะยับยั้งกำรปฏิบัติรำชกำรใดๆ ที่ขัดตอนโยบำย
หรือมติของคณะรัฐมนตรีก็ได้และมีอำนำจสั่งสอบสวนข้อเท็จจริงเกี่ยวกับกำรปฏิบัติรำชกำรของ
รำชกำรส่วนกลำง รำชกำรส่วนภูมิภำค และรำชกำรส่วนท้องถิ่น
(2) มอบหมำยให้รองนำยกรัฐมนตรีกำกับกำรบริหำรรำชกำรของกระทรวง หรือทบวงหนึ่งหรือ
หลำยกระทรวงหรือทบวง
(3) บังคับบัญชำข้ำรำชกำรฝ่ำยบริหำรทุกตำแหน่งซึ่งสังกัดกระทรวง ทบวง กรม และส่วนรำชกำร
ที่เรียกชื่ออย่ำงอื่นที่มีฐำนะเป็นกรม
(4) สั่งให้ข้ำรำชกำรซึ่งสังกัดกระทรวง ทบวง กรมหนึ่งมำปฏิบัติรำชกำรสำนักนำยกรัฐมนตรี โดย
จะให้ขำดจำกอัตรำเงินเดือนทำงสังกัดเดิมหรือไมก็ได้ ในกรณีที่ให้ขำดจำกอัตรำเงินเดือนทำง
สังกัดเดิม ให้ได้รับเงินเดือนในสำนักนำยกรัฐมนตรีในระดับ และขั้นที่ไมสูงกว่ำเดิม
(5) แต่งตั้งข้ำรำชกำรซึ่งสังกัดกระทรวง ทบวง กรมหนึ่งไปดำรงตำแหน่งของอีกกระทรวง ทบวง
กรมหนึ่งโดยให้ได้รับเงินเดือนจำกกระทรวง ทบวง กรมเดิม ในกรณีเชนว่ำนี้ให้ข้ำรำชกำรซึ่งได้รับ
แต่งตั้งมีฐำนะเสมือนเป็นข้ำรำชกำรสังกัดกระทรวง ทบวง กรม ซึ่งตนมำดำรงตำแหน่งนั้นทุก
ประกำร แต่ถ้ำเป็นกำรแต่งตั้งข้ำรำชกำรตั้งแต่ตำแหน่งอธิบดีหรือเทียบเทำขึ้นไปต้องได้รับอนุมัติ
จำกคณะรัฐมนตรี
(6) แต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิเป็นประธำนที่ปรึกษำ ที่ปรึกษำ หรือคณะที่ปรึกษำของนำยกรัฐมนตรี
หรือเป็นคณะกรรมกำรเพื่อปฏิบัติรำชกำรใดๆ และกำหนดอัตรำเบี้ยประชุมหรือคำตอบแทนให้แก
ผู้ซึ่งได้รับแต่งตั้ง
135

(7) แต่งตั้งข้ำรำชกำรกำรเมืองให้ปฏิบัติรำชกำรในสำนักนำยกรัฐมนตรี
(8) ว่ำงระเบียบปฏิบัติรำชกำร เพื่อให้กำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน เป็นไปโดยรวดเร็วและมี
ประสิทธิภำพเท่ำที่ไม่ขัดหรือแย้งกับพระรำชบัญญัตินี้หรือกฎหมำยอื่น
(9) ดำเนินกำรอื่นๆ ในกำรปฏิบัติตำมนโยบำยระเบียบตำม (8) เมื่อคณะรัฐมนตรีให้ควำม
เห็นชอบแล้ว ให้ใช้บังคับได้

19.ตอบ “ข้อ ข. สั่งให้รำชกำรส่วนท้องถิ่นรำยงำนกำรปฏิบัติรำชกำร”


อธิบำยตำม พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับ
ที่ 8) พ.ศ. 2553
มำตรำ 11 นำยกรัฐมนตรีในฐำนะหัวหน้ำรัฐบำลมีอำนำจหน้ำที่ ดังนี้
(1) กำกับโดยทั่วไปซึ่งกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน เพื่อกำรนี้จะสั่งให้รำชกำรส่วนกลำง รำชกำร
ส่วนภูมิภำค และส่วนรำชกำรซึ่งมีหน้ำที่ควบคุมรำชกำรส่วนท้องถิ่น ชี้แจง แสดงควำมคิดเห็น ทำ
รำยงำนเกี่ยวกับกำรปฏิบัติรำชกำร ในกรณีจำเป็นจะยับยั้งกำรปฏิบัติรำชกำรใดๆ ที่ขัดตอนโยบำย
หรือมติของคณะรัฐมนตรีก็ได้และมีอำนำจสั่งสอบสวนข้อเท็จจริงเกี่ยวกับกำรปฏิบัติรำชกำรของ
รำชกำรส่วนกลำง รำชกำรส่วนภูมิภำค และรำชกำรส่วนท้องถิ่น
(2) มอบหมำยให้รองนำยกรัฐมนตรีกำกับกำรบริหำรรำชกำรของกระทรวง หรือทบวงหนึ่งหรือ
หลำยกระทรวงหรือทบวง
(3) บังคับบัญชำข้ำรำชกำรฝ่ำยบริหำรทุกตำแหน่งซึ่งสังกัดกระทรวง ทบวง กรม และส่วนรำชกำร
ที่เรียกชื่ออย่ำงอื่นที่มีฐำนะเป็นกรม
(4) สั่งให้ข้ำรำชกำรซึ่งสังกัดกระทรวง ทบวง กรมหนึ่งมำปฏิบัติรำชกำรสำนักนำยกรัฐมนตรี โดย
จะให้ขำดจำกอัตรำเงินเดือนทำงสังกัดเดิมหรือไมก็ได้ ในกรณีที่ให้ขำดจำกอัตรำเงินเดือนทำง
สังกัดเดิม ให้ได้รับเงินเดือนในสำนักนำยกรัฐมนตรีในระดับ และขั้นที่ไมสูงกว่ำเดิม
(5) แต่งตั้งข้ำรำชกำรซึ่งสังกัดกระทรวง ทบวง กรมหนึ่งไปดำรงตำแหน่งของอีกกระทรวง ทบวง
กรมหนึ่งโดยให้ได้รับเงินเดือนจำกกระทรวง ทบวง กรมเดิม ในกรณีเชนว่ำนี้ให้ข้ำรำชกำรซึ่งได้รับ
แต่งตั้งมีฐำนะเสมือนเป็นข้ำรำชกำรสังกัดกระทรวง ทบวง กรม ซึ่งตนมำดำรงตำแหน่งนั้นทุก
ประกำร แต่ถ้ำเป็นกำรแต่งตั้งข้ำรำชกำรตั้งแต่ตำแหน่งอธิบดีหรือเทียบเทำขึ้นไปต้องได้รับอนุมัติ
จำกคณะรัฐมนตรี
(6) แต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิเป็นประธำนที่ปรึกษำ ที่ปรึกษำ หรือคณะที่ปรึกษำของนำยกรัฐมนตรี
หรือเป็นคณะกรรมกำรเพื่อปฏิบัติรำชกำรใดๆ และกำหนดอัตรำเบี้ยประชุมหรือคำตอบแทนให้แก
ผู้ซึ่งได้รับแต่งตั้ง
(7) แต่งตั้งข้ำรำชกำรกำรเมืองให้ปฏิบัติรำชกำรในสำนักนำยกรัฐมนตรี
(8) ว่ำงระเบียบปฏิบัติรำชกำร เพื่อให้กำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน เป็นไปโดยรวดเร็วและมี
ประสิทธิภำพเท่ำที่ไม่ขัดหรือแย้งกับพระรำชบัญญัตินี้หรือกฎหมำยอื่น
(9) ดำเนินกำรอื่นๆ ในกำรปฏิบัติตำมนโยบำย
136

ระเบียบตำม (8) เมื่อคณะรัฐมนตรีให้ควำมเห็นชอบแล้ว ให้ใช้บังคับได้

20. ตอบ “ข้อ ง. ถูกทุกข้อ”


อธิบำยตำม พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับ
ที่ 8) พ.ศ. 2553
มำตรำ 11 นำยกรัฐมนตรีในฐำนะหัวหน้ำรัฐบำลมีอำนำจหน้ำที่ ดังนี้
(1) กำกับโดยทั่วไปซึ่งกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน เพื่อกำรนี้จะสั่งให้รำชกำรส่วนกลำง รำชกำร
ส่วนภูมิภำค และส่วนรำชกำรซึ่งมีหน้ำที่ควบคุมรำชกำรส่วนท้องถิ่น ชี้แจง แสดงควำมคิดเห็น ทำ
รำยงำนเกี่ยวกับกำรปฏิบัติรำชกำร ในกรณีจำเป็นจะยับยั้งกำรปฏิบัติรำชกำรใดๆ ที่ขัดตอนโยบำย
หรือมติของคณะรัฐมนตรีก็ได้และมีอำนำจสั่งสอบสวนข้อเท็จจริงเกี่ยวกับกำรปฏิบัติรำชกำรของ
รำชกำรส่วนกลำง รำชกำรส่วนภูมิภำค และรำชกำรส่วนท้องถิ่น
(2) มอบหมำยให้รองนำยกรัฐมนตรีกำกับกำรบริหำรรำชกำรของกระทรวง หรือทบวงหนึ่งหรือ
หลำยกระทรวงหรือทบวง
(3) บังคับบัญชำข้ำรำชกำรฝ่ำยบริหำรทุกตำแหน่งซึ่งสังกัดกระทรวง ทบวง กรม และส่วนรำชกำร
ที่เรียกชื่ออย่ำงอื่นที่มีฐำนะเป็นกรม
(4) สั่งให้ข้ำรำชกำรซึ่งสังกัดกระทรวง ทบวง กรมหนึ่งมำปฏิบัติรำชกำรสำนักนำยกรัฐมนตรี โดย
จะให้ขำดจำกอัตรำเงินเดือนทำงสังกัดเดิมหรือไมก็ได้ ในกรณีที่ให้ขำดจำกอัตรำเงินเดือนทำง
สังกัดเดิม ให้ได้รับเงินเดือนในสำนักนำยกรัฐมนตรีในระดับ และขั้นที่ไมสูงกว่ำเดิม
(5) แต่งตั้งข้ำรำชกำรซึ่งสังกัดกระทรวง ทบวง กรมหนึ่งไปดำรงตำแหน่งของอีกกระทรวง ทบวง
กรมหนึ่งโดยให้ได้รับเงินเดือนจำกกระทรวง ทบวง กรมเดิม ในกรณีเชนว่ำนี้ให้ข้ำรำชกำรซึ่งได้รับ
แต่งตั้งมีฐำนะเสมือนเป็นข้ำรำชกำรสังกัดกระทรวง ทบวง กรม ซึ่งตนมำดำรงตำแหน่งนั้นทุก
ประกำร แต่ถ้ำเป็นกำรแต่งตั้งข้ำรำชกำรตั้งแต่ตำแหน่งอธิบดีหรือเทียบเทำขึ้นไปต้องได้รับอนุมัติ
จำกคณะรัฐมนตรี
(6) แต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิเป็นประธำนที่ปรึกษำ ที่ปรึกษำ หรือคณะที่ปรึกษำของนำยกรัฐมนตรี
หรือเป็นคณะกรรมกำรเพื่อปฏิบัติรำชกำรใดๆ และกำหนดอัตรำเบี้ยประชุมหรือคำตอบแทนให้แก
ผู้ซึ่งได้รับแต่งตั้ง
(7) แต่งตั้งข้ำรำชกำรกำรเมืองให้ปฏิบัติรำชกำรในสำนักนำยกรัฐมนตรี
(8) ว่ำงระเบียบปฏิบัติรำชกำร เพื่อให้กำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน เป็นไปโดยรวดเร็วและมี
ประสิทธิภำพเท่ำที่ไมขัดหรือแย้งกับพระรำชบัญญัตินี้หรือกฎหมำยอื่น
(9) ดำเนินกำรอื่นๆ ในกำรปฏิบัติตำมนโยบำย
ระเบียบตำม (8) เมือ่ คณะรัฐมนตรีให้ควำมเห็นชอบแล้ว ให้ใช้บังคับได้
137

21.ตอบ “ข้อ ข. กรณีที่รำชกำรส่วนท้องถิ่นปฏิบัติรำชกำรขัดตอนโยบำยหรือมติของ


คณะรัฐมนตรี”
อธิบำยตำม พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับ
ที่ 8) พ.ศ. 2553
มำตรำ 11 นำยกรัฐมนตรีในฐำนะหัวหน้ำรัฐบำลมีอำนำจหน้ำที่ ดังนี้
(1) กำกับโดยทั่วไปซึ่งกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน เพื่อกำรนี้จะสั่งให้รำชกำรส่วนกลำง รำชกำร
ส่วนภูมิภำค และส่วนรำชกำรซึ่งมีหน้ำที่ควบคุมรำชกำรส่วนท้องถิ่น ชี้แจง แสดงควำมคิดเห็น ทำ
รำยงำนเกี่ยวกับกำรปฏิบัติรำชกำร ในกรณีจำเป็นจะยับยั้งกำรปฏิบัติรำชกำรใดๆ ที่ขัดต่อนโยบำย
หรือมติของคณะรัฐมนตรีก็ได้และมีอำนำจสั่งสอบสวนข้อเท็จจริงเกี่ยวกับกำรปฏิบัติรำชกำรของ
รำชกำรส่วนกลำง รำชกำรส่วนภูมิภำค และรำชกำรส่วนท้องถิ่น
(2) มอบหมำยให้รองนำยกรัฐมนตรีกำกับกำรบริหำรรำชกำรของกระทรวง หรือทบวงหนึ่งหรือ
หลำยกระทรวงหรือทบวง
(3) บังคับบัญชำข้ำรำชกำรฝ่ำยบริหำรทุกตำแหน่งซึ่งสังกัดกระทรวง ทบวง กรม และส่วนรำชกำร
ที่เรียกชื่ออย่ำงอื่นที่มีฐำนะเป็นกรม
(4) สั่งให้ข้ำรำชกำรซึ่งสังกัดกระทรวง ทบวง กรมหนึ่งมำปฏิบัติรำชกำรสำนักนำยกรัฐมนตรี โดย
จะให้ขำดจำกอัตรำเงินเดือนทำงสังกัดเดิมหรือไมก็ได้ ในกรณีที่ให้ขำดจำกอัตรำเงินเดือนทำง
สังกัดเดิม ให้ได้รับเงินเดือนในสำนักนำยกรัฐมนตรีในระดับ และขั้นที่ไม่สูงกว่ำเดิม
(5) แต่งตั้งข้ำรำชกำรซึ่งสังกัดกระทรวง ทบวง กรมหนึ่งไปดำรงตำแหน่งของอีกกระทรวง ทบวง
กรมหนึ่งโดยให้ได้รับเงินเดือนจำกกระทรวง ทบวง กรมเดิม ในกรณีเชนว่ำนี้ให้ข้ำรำชกำรซึ่งได้รับ
แต่งตั้งมีฐำนะเสมือนเป็นข้ำรำชกำรสังกัดกระทรวง ทบวง กรม ซึ่งตนมำดำรงตำแหน่งนั้นทุก
ประกำร แต่ถ้ำเป็นกำรแต่งตั้งข้ำรำชกำรตั้งแต่ตำแหน่งอธิบดีหรือเทียบเทำขึ้นไปต้องได้รับอนุมัติ
จำกคณะรัฐมนตรี
(6) แต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิเป็นประธำนที่ปรึกษำ ที่ปรึกษำ หรือคณะที่ปรึกษำของนำยกรัฐมนตรี
หรือเป็นคณะกรรมกำรเพื่อปฏิบัติรำชกำรใดๆ และกำหนดอัตรำเบี้ยประชุมหรือคำตอบแทนให้แก่
ผู้ซึ่งได้รับแต่งตั้ง
(7) แต่งตั้งข้ำรำชกำรกำรเมืองให้ปฏิบัติรำชกำรในสำนักนำยกรัฐมนตรี
(8) วำงระเบียบปฏิบัติรำชกำร เพื่อให้กำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน เป็นไปโดยรวดเร็วและมี
ประสิทธิภำพเท่ำที่ไม่ขัดหรือแย้งกับพระรำชบัญญัตินี้หรือกฎหมำยอื่น
(9) ดำเนินกำรอื่นๆ ในกำรปฏิบัติตำมนโยบำยระเบียบตำม (8) เมื่อคณะรัฐมนตรีให้ควำม
เห็นชอบแล้ว ให้ใช้บังคับได้

22.ตอบ “ข้อ ค. มีอำนำจบังคับบัญชำผู้ว่ำกำรไฟฟ้ำสวนภูมิภำค ”


อธิบำยตำม พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับ
ที่ 8) พ.ศ. 2553
138

มำตรำ 11 นำยกรัฐมนตรีในฐำนะหัวหน้ำรัฐบำลมีอำนำจหน้ำที่ ดังนี้


(1) กำกับโดยทั่วไปซึ่งกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน เพื่อกำรนี้จะสั่งให้รำชกำรส่วนกลำง รำชกำร
ส่วนภูมิภำค และส่วนรำชกำรซึ่งมีหน้ำที่ควบคุมรำชกำรส่วนท้องถิ่น ชี้แจง แสดงควำมคิดเห็น ทำ
รำยงำนเกี่ยวกับกำรปฏิบัติรำชกำร ในกรณีจำเป็นจะยับยั้งกำรปฏิบัติรำชกำรใดๆ ที่ขัดตอนโยบำย
หรือมติของคณะรัฐมนตรีก็ได้และมีอำนำจสั่งสอบสวนข้อเท็จจริงเกี่ยวกับกำรปฏิบัติรำชกำรของ
รำชกำรส่วนกลำง รำชกำรส่วนภูมิภำค และรำชกำรส่วนท้องถิ่น
(2) มอบหมำยให้รองนำยกรัฐมนตรีกำกับกำรบริหำรรำชกำรของกระทรวง หรือทบวงหนึ่งหรือ
หลำยกระทรวงหรือทบวง
(3) บังคับบัญชำข้ำรำชกำรฝ่ำยบริหำรทุกตำแหน่งซึ่งสังกัดกระทรวง ทบวง กรม และส่วนรำชกำร
ที่เรียกชื่ออย่ำงอื่นที่มีฐำนะเป็นกรม
(4) สั่งให้ข้ำรำชกำรซึ่งสังกัดกระทรวง ทบวง กรมหนึ่งมำปฏิบัติรำชกำรสำนักนำยกรัฐมนตรี โดย
จะให้ขำดจำกอัตรำเงินเดือนทำงสังกัดเดิมหรือไมก็ได้ ในกรณีที่ให้ขำดจำกอัตรำเงินเดือนทำง
สังกัดเดิม ให้ได้รับเงินเดือนในสำนักนำยกรัฐมนตรีในระดับ และขั้นที่ไม่สูงกว่ำเดิม
(5) แต่งตั้งข้ำรำชกำรซึ่งสังกัดกระทรวง ทบวง กรมหนึ่งไปดำรงตำแหน่งของอีกกระทรวง ทบวง
กรมหนึ่งโดยให้ได้รับเงินเดือนจำกกระทรวง ทบวง กรมเดิม ในกรณีเช่นว่ำนี้ให้ข้ำรำชกำรซึ่งได้รับ
แต่งตั้งมีฐำนะเสมือนเป็นข้ำรำชกำรสังกัดกระทรวง ทบวง กรม ซึ่งตนมำดำรงตำแหน่งนั้นทุก
ประกำร แต่ถ้ำเป็นกำรแต่งตั้งข้ำรำชกำรตั้งแต่ตำแหน่งอธิบดีหรือเทียบเทำขึ้นไปต้องได้รับอนุมัติ
จำกคณะรัฐมนตรี
(6) แต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิเป็นประธำนที่ปรึกษำ ที่ปรึกษำ หรือคณะที่ปรึกษำของนำยกรัฐมนตรี
หรือเป็นคณะกรรมกำรเพื่อปฏิบัติรำชกำรใดๆ และกำหนดอัตรำเบี้ยประชุมหรือคำตอบแทนให้แก
ผู้ซึ่งได้รับแต่งตั้ง
(7) แต่งตั้งข้ำรำชกำรกำรเมืองให้ปฏิบัติรำชกำรในสำนักนำยกรัฐมนตรี
(8) ว่ำงระเบียบปฏิบัติรำชกำร เพื่อให้กำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน เป็นไปโดยรวดเร็วและมี
ประสิทธิภำพ
เท่ำที่ไม่ขัดหรือแย้งกับพระรำชบัญญัตินี้หรือกฎหมำยอื่น
(9) ดำเนินกำรอื่นๆ ในกำรปฏิบัติตำมนโยบำย
ระเบียบตำม (8) เมื่อคณะรัฐมนตรีให้ควำมเห็นชอบแล้ว ให้ใช้บังคับได้

23.ตอบ “ข้อ ง. แต่งตั้งรองอธิบดีกรมส่งเสริมกำรปกครองท้องถิ่น ไปดำรงตำแหน่งอธิบดี


กรมกำรปกครอง โดยให้รับเงินเดือนจำกกรมกำรปกครอง”
อธิบำยตำม พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับ
ที่ 8) พ.ศ. 2553
มำตรำ 11 นำยกรัฐมนตรีในฐำนะหัวหน้ำรัฐบำลมีอำนำจหน้ำที่ ดังนี้
139

(1) กำกับโดยทั่วไปซึ่งกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน เพื่อกำรนี้จะสั่งให้รำชกำรส่วนกลำง รำชกำร


ส่วนภูมิภำค และส่วนรำชกำรซึ่งมีหน้ำที่ควบคุมรำชกำรส่วนท้องถิ่น ชี้แจง แสดงควำมคิดเห็น ทำ
รำยงำนเกี่ยวกับกำรปฏิบัติรำชกำร ในกรณีจำเป็นจะยับยั้งกำรปฏิบัติรำชกำรใดๆ ที่ขัดตอนโยบำย
หรือมติของคณะรัฐมนตรีก็ได้และมีอำนำจสั่งสอบสวนข้อเท็จจริงเกี่ยวกับกำรปฏิบัติรำชกำรของ
รำชกำรส่วนกลำง รำชกำรส่วนภูมิภำค และรำชกำรส่วนท้องถิ่น
(2) มอบหมำยให้รองนำยกรัฐมนตรีกำกับกำรบริหำรรำชกำรของกระทรวง หรือทบวงหนึ่งหรือ
หลำยกระทรวงหรือทบวง
(3) บังคับบัญชำข้ำรำชกำรฝ่ำยบริหำรทุกตำแหน่งซึ่งสังกัดกระทรวง ทบวง กรม และส่วนรำชกำร
ที่เรียกชื่ออย่ำงอื่นที่มีฐำนะเป็นกรม
(4) สั่งให้ข้ำรำชกำรซึ่งสังกัดกระทรวง ทบวง กรมหนึ่งมำปฏิบัติรำชกำรสำนักนำยกรัฐมนตรี โดย
จะให้ขำดจำกอัตรำเงินเดือนทำงสังกัดเดิมหรือไม่ก็ได้ ในกรณีที่ให้ขำดจำกอัตรำเงินเดือนทำง
สังกัดเดิม ให้ได้รับเงินเดือนในสำนักนำยกรัฐมนตรีในระดับ และขั้นที่ไม่สูงกว่ำเดิม
(5) แต่งตั้งข้ำรำชกำรซึ่งสังกัดกระทรวง ทบวง กรมหนึ่งไปดำรงตำแหน่งของอีกกระทรวง ทบวง
กรมหนึ่งโดยให้ได้รับเงินเดือนจำกกระทรวง ทบวง กรมเดิม ในกรณีเชนว่ำนี้ให้ข้ำรำชกำรซึ่งได้รับ
แต่งตั้งมีฐำนะเสมือนเป็นข้ำรำชกำรสังกัดกระทรวง ทบวง กรม ซึ่งตนมำดำรงตำแหน่งนั้นทุก
ประกำร แต่ถ้ำเป็นกำรแต่งตั้งข้ำรำชกำรตั้งแต่ตำแหน่งอธิบดีหรือเทียบเท่ำขึ้นไปต้องได้รับอนุมัติ
จำกคณะรัฐมนตรี
(6) แต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิเป็นประธำนที่ปรึกษำ ที่ปรึกษำ หรือคณะที่ปรึกษำของนำยกรัฐมนตรี
หรือเป็นคณะกรรมกำรเพื่อปฏิบัติรำชกำรใดๆ และกำหนดอัตรำเบี้ยประชุมหรือคำตอบแทนให้แก่
ผู้ซึ่งได้รับแต่งตั้ง
(7) แต่งตั้งข้ำรำชกำรกำรเมืองให้ปฏิบัติรำชกำรในสำนักนำยกรัฐมนตรี
(8) ว่ำงระเบียบปฏิบัติรำชกำร เพื่อให้กำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน เป็นไปโดยรวดเร็วและมี
ประสิทธิภำพเท่ำที่ไม่ขัดหรือแย้งกับพระรำชบัญญัตินี้หรือกฎหมำยอื่น
(9) ดำเนินกำรอื่นๆ ในกำรปฏิบัติตำมนโยบำย
ระเบียบตำม (8) เมื่อคณะรัฐมนตรีให้ควำมเห็นชอบแล้ว ให้ใช้บังคับได้
24.ตอบ “ข้อ ง. เมื่อคณะรัฐมนตรีให้ควำมเห็นชอบแล้ว”
อธิบำยตำม พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับ
ที่ 8) พ.ศ. 2553
มำตรำ 11 นำยกรัฐมนตรีในฐำนะหัวหน้ำรัฐบำลมีอำนำจหน้ำที่ ดังนี้
(1) กำกับโดยทั่วไปซึ่งกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน เพื่อกำรนี้จะสั่งให้รำชกำรส่วนกลำง รำชกำร
ส่วนภูมิภำค และส่วนรำชกำรซึ่งมีหน้ำที่ควบคุมรำชกำรส่วนท้องถิ่น ชี้แจง แสดงควำมคิดเห็น ทำ
รำยงำนเกี่ยวกับกำรปฏิบัติรำชกำร ในกรณีจำเป็นจะยับยั้งกำรปฏิบัติรำชกำรใดๆ ที่ขัดตอนโยบำย
หรือมติของคณะรัฐมนตรีก็ได้และมีอำนำจสั่งสอบสวนข้อเท็จจริงเกี่ยวกับกำรปฏิบัติรำชกำรของ
รำชกำรส่วนกลำง รำชกำรส่วนภูมิภำค และรำชกำรส่วนท้องถิ่น
140

(2) มอบหมำยให้รองนำยกรัฐมนตรีกำกับกำรบริหำรรำชกำรของกระทรวง หรือทบวงหนึ่งหรือ


หลำยกระทรวงหรือทบวง
(3) บังคับบัญชำข้ำรำชกำรฝ่ำยบริหำรทุกตำแหน่งซึ่งสังกัดกระทรวง ทบวง กรม และส่วนรำชกำร
ที่เรียกชื่ออย่ำงอื่นที่มีฐำนะเป็นกรม
(4) สั่งให้ข้ำรำชกำรซึ่งสังกัดกระทรวง ทบวง กรมหนึ่งมำปฏิบัติรำชกำรสำนักนำยกรัฐมนตรี โดย
จะให้ขำดจำกอัตรำเงินเดือนทำงสังกัดเดิมหรือไม่ก็ได้ ในกรณีที่ให้ขำดจำกอัตรำเงินเดือนทำง
สังกัดเดิม ให้ได้รับเงินเดือนในสำนักนำยกรัฐมนตรีในระดับ และขั้นที่ไม่สูงกว่ำเดิม
(5) แต่งตั้งข้ำรำชกำรซึ่งสังกัดกระทรวง ทบวง กรมหนึ่งไปดำรงตำแหน่งของอีกกระทรวง ทบวง
กรมหนึ่งโดยให้ได้รับเงินเดือนจำกกระทรวง ทบวง กรมเดิม ในกรณีเช่นว่ำนี้ให้ข้ำรำชกำรซึ่งได้รับ
แต่งตั้งมีฐำนะเสมือนเป็นข้ำรำชกำรสังกัดกระทรวง ทบวง กรม ซึ่งตนมำดำรงตำแหน่งนั้นทุก
ประกำร แต่ถ้ำเป็นกำรแต่งตั้งข้ำรำชกำรตั้งแต่ตำแหน่งอธิบดีหรือเทียบเทำขึ้นไปต้องได้รับอนุมัติ
จำกคณะรัฐมนตรี
(6) แต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิเป็นประธำนที่ปรึกษำ ที่ปรึกษำ หรือคณะที่ปรึกษำของนำยกรัฐมนตรี
หรือเป็นคณะกรรมกำรเพื่อปฏิบัติรำชกำรใดๆ และกำหนดอัตรำเบี้ยประชุมหรือคำตอบแทนให้แก
ผู้ซึ่งได้รับแต่งตั้ง
(7) แต่งตั้งข้ำรำชกำรกำรเมืองให้ปฏิบัติรำชกำรในสำนักนำยกรัฐมนตรี
(8) ว่ำงระเบียบปฏิบัติรำชกำร เพื่อให้กำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน เป็นไปโดยรวดเร็วและมี
ประสิทธิภำพเท่ำที่ไม่ขัดหรือแย้งกับพระรำชบัญญัตินี้หรือกฎหมำยอื่น
(9) ดำเนินกำรอื่นๆ ในกำรปฏิบัติตำมนโยบำย
ระเบียบตำม (8) เมื่อคณะรัฐมนตรีให้ควำมเห็นชอบแล้ว ให้ใช้บังคับได้

25.ตอบ “ข้อ ง. ถูกเฉพำะข้อ ก. และข้อ ค.”


อธิบำยตำม พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับ
ที่ 8) พ.ศ. 2553
มำตรำ 13 สำนักเลขำธิกำรนำยกรัฐมนตรี มีอำนำจหน้ำที่เกี่ยวกับรำชกำรทำงกำรเมือง มี
เลขำธิกำรนำยกรัฐมนตรีเป็นผู้บังคับบัญชำข้ำรำชกำร และรับผิดชอบในกำรปฏิบัติรำชกำรขึ้นตรง
ต่อนำยกรัฐมนตรี และให้มีรองเลขำธิกำรนำยกรัฐมนตรีฝ่ำยกำรเมืองและรองเลขำธิกำร
นำยกรัฐมนตรีฝ่ำยบริหำร เป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติรำชกำรและจะให้มีผู้ช่วยเลขำธิกำร
นำยกรัฐมนตรี เป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติรำชกำรด้วยก็ได้ให้เลขำธิกำรนำยกรัฐมนตรีและรอง
เลขำธิกำรนำยกรัฐมนตรีฝ่ำยกำรเมือง เป็นข้ำรำชกำรกำรเมือง และให้รองเลขำธิกำร
นำยกรัฐมนตรีฝ่ำยบริหำร และผู้ช่วยเลขำธิกำรนำยกรัฐมนตรี เป็นข้ำรำชกำรพลเรือนสำมัญ
141

26.ตอบ “ข้อ ก. รำชกำรทำงกำรเมือง”


อธิบำยตำม พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับ
ที่ 8) พ.ศ. 2553
มำตรำ 13 สำนักเลขำธิกำรนำยกรัฐมนตรี มีอำนำจหน้ำที่เกี่ยวกับรำชกำรทำงกำรเมือง มี
เลขำธิกำรนำยกรัฐมนตรีเป็นผู้บังคับบัญชำข้ำรำชกำร และรับผิดชอบในกำรปฏิบัติรำชกำรขึ้นตรง
ตอนำยกรัฐมนตรี และให้มีรองเลขำธิกำรนำยกรัฐมนตรีฝ่ำยกำรเมืองและรองเลขำธิกำร
นำยกรัฐมนตรีฝ่ำยบริหำร เป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติรำชกำรและจะให้มีผู้ช่วยเลขำธิกำร
นำยกรัฐมนตรี เป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติรำชกำรด้วยก็ได้ให้เลขำธิกำรนำยกรัฐมนตรีและรอง
เลขำธิกำรนำยกรัฐมนตรีฝ่ำยกำรเมือง เป็นข้ำรำชกำรกำรเมือง และให้รองเลขำธิกำร
นำยกรัฐมนตรีฝ่ำยบริหำร และผู้ช่วยเลขำธิกำรนำยกรัฐมนตรี เป็นข้ำรำชกำรพลเรือนสำมัญ

27.ตอบ “ข้อ ง. ถูกทุกข้อ”


อธิบำยตำม พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับ
ที่ 8) พ.ศ. 2553
มำตรำ 14 สำนักเลขำธิกำรคณะรัฐมนตรีมีอำนำจหน้ำที่เกี่ยวกับรำชกำรของ
คณะรัฐมนตรี รัฐสภำ และรำชกำรในพระองค์ มีเลขำธิกำรคณะรัฐมนตรีเป็นผู้บังคับบัญชำ
ข้ำรำชกำร และรับผิดชอบในกำรปฏิบัติรำชกำรขึ้นตรงตอนำยกรัฐมนตรี และให้มีรองเลขำธิกำร
คณะรัฐมนตรีเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติรำชกำร และจะให้มีผู้ช่วยเลขำธิกำรคณะรัฐมนตรีเป็นผู้ช่วย
สั่งและปฏิบัติรำชกำรด้วยก็ได้ให้เลขำธิกำรคณะรัฐมนตรี รองเลขำธิกำรคณะรัฐมนตรี และผู้ช่วย
เลขำธิกำรคณะรัฐมนตรี เป็นข้ำรำชกำรพลเรือนสำมัญ
28.ตอบ “ข้อ ง. เป็นผู้บังคับบัญชำข้ำรำชกำรสูงสุดของส่วนรำชกำรในสำนักนำยกรัฐมนตรี
ยกเว้นข้ำรำชกำรของสวนรำชกำรซึ่งหัวหน้ำส่วนรำชกำรขึ้นตรงต่อนำยกรัฐมนตรี”
อธิบำยตำม พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับ
ที่ 8) พ.ศ. 2553
มำตรำ 16 สำนักนำยกรัฐมนตรี นอกจำกมีนำยกรัฐมนตรี รองนำยกรัฐมนตรีและ
รัฐมนตรีประจำสำนักนำยกรัฐมนตรี ให้มีปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรีคนหนึ่งมีอำนำจหน้ำที่ดังนี้
(1) รับผิดชอบควบคุมรำชกำรประจำในสำนักนำยกรัฐมนตรี กำหนดแนวทำงและแผนกำรปฏิบัติ
รำชกำรของสำนักนำยกรัฐมนตรี และลำดับควำมสำคัญของแผนกำรปฏิบัติรำชกำรประจำปีของ
ส่วนรำชกำรในสำนักนำยกรัฐมนตรีให้เป็นไปตำมนโยบำยที่นำยกรัฐมนตรีกำหนดรวมทั้งกำกับ
เร่งรัด ติดตำมและประเมินผลกำรปฏิบัติรำชกำรของส่วนรำชกำรในสำนักนำยกรัฐมนตรี
(2) เป็นผู้บังคับบัญชำข้ำรำชกำรของส่วนรำชกำรในสำนักนำยกรัฐมนตรีรองจำกนำยกรัฐมนตรี
รองนำยกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีประจำสำนักนำยกรัฐมนตรี ยกเว้นข้ำรำชกำรของส่วนรำชกำรซึ่ง
หัวหน้ำส่วนรำชกำรขึ้นตรงต่อนำยกรัฐมนตรี
142

(3) เป็นผู้บังคับบัญชำข้ำรำชกำรในสำนักงำนปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรีและรับผิดชอบในกำร
ปฏิบัติรำชกำรของสำนักงำนปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรีในกำรปฏิบัติรำชกำรของปลัดสำนัก
นำยกรัฐมนตรีตำมวรรคหนึ่ง ให้มีรองปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรีเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติรำชกำร
และจะให้มีผู้ช่วยปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรีเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติรำชกำรด้วยก็ได้
ในกรณีที่มีรองปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรีหรือผู้ช่วยปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรีหรือมีทั้งรองปลัด
สำนักนำยกรัฐมนตรีและผู้ช่วยปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรี ให้รองปลัดสำ นักนำยกรัฐมนตรีหรือ
ผู้ช่วยปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรีเป็นผู้บังคับบัญชำข้ำรำชกำรและรับผิดชอบในกำรปฏิบัติรำชกำร
รองจำกปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรีให้ปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรี รองปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรี และ
ผู้ช่วยปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรี เป็นข้ำรำชกำรพลเรือนสำมัญ และให้รองปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรี
ผู้ช่วยปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรี และผู้ดำรงตำแหน่งที่เรียกชื่ออย่ำงอื่นในสำนักงำนปลัดสำนัก
นำยกรัฐมนตรี มีอำนำจหน้ำที่ตำมที่ปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรี
กำหนดหรือมอบหมำยให้นำควำมในมำตรำ 19/1 มำใช้บังคับแกรำชกำรของสำนักนำยกรัฐมนตรี
ในสวนที่เกี่ยวกับสำนักงำนปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรีและส่วนรำชกำรที่มิได้ขึ้นตรงต่อ
นำยกรัฐมนตรีด้วยโดยอนุโลม
มำตรำ 19/1 ให้ปลัดกระทรวง หัวหน้ำกลุ่มภำรกิจและหัวหน้ำส่วนรำชกำรตั้งแต่ระดับ
กรมขึ้นไปวำงแผนและประสำนกิจกรรมให้มีกำรใช้ทรัพยำกรของส่วนรำชกำรตำงๆ ในกระทรวง
รวมกันเพื่อให้เกิดประสิทธิภำพ ควำมคุ้มค่ำ และบรรลุเป้ำหมำยของกระทรวง
เพื่อประโยชน์ในกำรดำเนินกำรตำมวรรคหนึ่ง หัวหน้ำส่วนรำชกำรและหัวหน้ำกลุ่มภำรกิจ
ดังกล่ำวจะมีมติให้นำงบประมำณที่แต่ละส่วนรำชกำรได้รับจัดสรรมำดำเนินกำรและใช้จ่ำยรวมกัน
ก็ได้

29.ตอบ “ข้อ ง. ผู้ช่วยปลัดกระทรวง”


อธิบำยตำม พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับ
ที่ 8) พ.ศ. 2553
มำตรำ 13 สำนักเลขำธิกำรนำยกรัฐมนตรี มีอำนำจหน้ำที่เกี่ยวกับรำชกำรทำงกำรเมือง มี
เลขำธิกำรนำยกรัฐมนตรีเป็นผู้บังคับบัญชำข้ำรำชกำร และรับผิดชอบในกำรปฏิบัติรำชกำรขึ้นตรง
ต่อนำยกรัฐมนตรี และให้มีรองเลขำธิกำรนำยกรัฐมนตรีฝ่ำยกำรเมืองและรองเลขำธิกำร
นำยกรัฐมนตรีฝ่ำยบริหำร เป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติรำชกำรและจะให้มีผู้ช่วยเลขำธิกำร
นำยกรัฐมนตรี เป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติรำชกำรด้วยก็ได้ให้เลขำธิกำรนำยกรัฐมนตรีและรอง
เลขำธิกำรนำยกรัฐมนตรีฝ่ำยกำรเมือง เป็นข้ำรำชกำรกำรเมือง และให้รองเลขำธิกำร
นำยกรัฐมนตรีฝ่ำยบริหำร และผู้ช่วยเลขำธิกำรนำยกรัฐมนตรี เป็นข้ำรำชกำรพลเรือนสำมัญ
มำตรำ 14 สำนักเลขำธิกำรคณะรัฐมนตรีมีอำนำจหน้ำที่เกี่ยวกับรำชกำรของ
คณะรัฐมนตรี รัฐสภำ และรำชกำรในพระองค์ มีเลขำธิกำรคณะรัฐมนตรีเป็นผู้บังคับบัญชำ
ข้ำรำชกำร และรับผิดชอบในกำรปฏิบัติรำชกำรขึ้นตรงต่อนำยกรัฐมนตรี และให้มีรองเลขำธิกำร
143

คณะรัฐมนตรีเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติรำชกำร และจะให้มีผู้ช่วยเลขำธิกำรคณะรัฐมนตรีเป็นผู้ช่วย
สั่งและปฏิบัติรำชกำรด้วยก็ได้ให้เลขำธิกำรคณะรัฐมนตรี รองเลขำธิกำรคณะรัฐมนตรี และผู้ช่วย
เลขำธิกำรคณะรัฐมนตรี เป็นข้ำรำชกำรพลเรือนสำมัญ
มำตรำ 16 สำนักนำยกรัฐมนตรี นอกจำกมีนำยกรัฐมนตรี รองนำยกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีประจำ
สำนักนำยกรัฐมนตรี ให้มีปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรีคนหนึ่งมีอำนำจหน้ำที่ดังนี้
(๑) รับผิดชอบควบคุมรำชกำรประจำในสำนักนำยกรัฐมนตรี กำหนดแนวทำงและแผนกำรปฏิบัติ
รำชกำรของสำนักนำยกรัฐมนตรี และลำดับควำมสำคัญของแผนกำรปฏิบัติรำชกำรประจำปีของ
ส่วนรำชกำรในสำนักนำยกรัฐมนตรีให้เป็นไปตำมนโยบำยที่นำยกรัฐมนตรีกำหนดรวมทั้งกำกับ
เร่งรัด ติดตำมและประเมินผลกำรปฏิบัติรำชกำรของส่วนรำชกำรในสำนักนำยกรัฐมนตรี
(๒) เป็นผู้บังคับบัญชำข้ำรำชกำรของส่วนรำชกำรในสำนักนำยกรัฐมนตรีรองจำกนำยกรัฐมนตรี
รองนำยกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีประจำสำนักนำยกรัฐมนตรี ยกเว้นข้ำรำชกำรของส่วนรำชกำรซึ่ง
หัวหน้ำส่วนรำชกำรขึ้นตรงตอนำยกรัฐมนตรี
(๓) เป็นผู้บังคับบัญชำข้ำรำชกำรในสำนักงำนปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรีและรับผิดชอบในกำร
ปฏิบัติรำชกำรของสำนักงำนปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรีในกำรปฏิบัติรำชกำรของปลัดสำนัก
นำยกรัฐมนตรีตำมวรรคหนึ่ง ให้มีรองปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรีเป็น
ผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติรำชกำร และจะให้มีผู้ช่วยปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรีเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติ
รำชกำรด้วยก็ได้ในกรณีที่มีรองปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรีหรือผู้ช่วยปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรีหรือมี
ทั้งรองปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรีและผู้ช่วยปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรี ให้รองปลัดสำ นัก
นำยกรัฐมนตรีหรือผู้ช่วยปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรีเป็นผู้บังคับบัญชำข้ำรำชกำรและรับผิดชอบใน
กำรปฏิบัติรำชกำรรองจำกปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรีให้ปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรี รองปลัดสำนัก
นำยกรัฐมนตรี และผู้ช่วยปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรี เป็นข้ำรำชกำรพลเรือนสำมัญ และให้รองปลัด
สำนักนำยกรัฐมนตรี ผู้ช่วยปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรี และผู้ดำรงตำแหน่งที่เรียกชื่ออย่ำงอื่นใน
สำนักงำนปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรี มีอำนำจหน้ำที่ตำมที่ปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรี
กำหนดหรือมอบหมำยให้นำควำมในมำตรำ 19/1 มำใช้บังคับแกรำชกำรของสำนักนำยกรัฐมนตรี
ในสวนที่เกี่ยวกับสำนักงำนปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรีและส่วนรำชกำรที่มิได้ขึ้นตรงตอ
นำยกรัฐมนตรีด้วยโดยอนุโลม
มำตรำ 21 ในกระทรวงให้มีปลัดกระทรวงคนหนึ่งมีอำนำจหน้ำที่ ดังนี้
(1) รับผิดชอบควบคุมรำชกำรประจำในกระทรวง แปลงนโยบำยเป็นแนวทำงและแผนกำรปฏิบัติ
รำชกำรกำกับกำรทำงำนของส่วนรำชกำรในกระทรวงให้เกิดผลสัมฤทธิ์ และประสำนกำร
ปฏิบัติงำนของส่วนรำชกำรในกระทรวงให้มีเอกภำพสอดคล้องกัน รวมทั้งเร่งรัดติดตำม และ
ประเมินผลกำรปฏิบัติรำชกำรของส่วนรำชกำรในกระทรวง
(2) เป็นผู้บังคับบัญชำข้ำรำชกำรของส่วนรำชกำรในกระทรวงรองจำกรัฐมนตรี
(3) เป็นผู้บังคับบัญชำข้ำรำชกำรในสำนักงำนปลัดกระทรวง และรับผิดชอบในกำรปฏิบัติรำชกำร
ของสำนักงำนปลัดกระทรวงในกำรปฏิบัติรำชกำรของปลัดกระทรวงตำมวรรคหนึ่ง จะให้มีรอง
144

ปลัดกระทรวงคนหนึ่งเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติรำชกำรตำมที่ปลัดกระทรวงมอบหมำยก็ได้ภำยใน
กระทรวงจะออกกฎกระทรวงกำหนดให้ส่วนรำชกำรระดับกรมตั้งแต่สองส่วนรำชกำรขึ้นไปอยู่
ภำยใต้กลุ่มภำรกิจเดียวกันก็ได้ โดยให้แต่ละกลุ่มภำรกิจมีผู้ดำรงตำแหน่งไมต่ำกว่ำอธิบดีคนหนึ่ง
เป็นหัวหน้ำกลุ่มภำรกิจรับผิดชอบรำชกำรและบังคับบัญชำข้ำรำชกำรของส่วนรำชกำรในกลุ่ม
ภำรกิจนั้น โดยปฏิบัติรำชกำรขึ้นตรงต่อปลัดกระทรวงหรือขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีตำมที่กำหนดโดย
กฎกระทรวง และในกรณีที่ขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีต้องรำยงำนผลกำรดำเนินงำนต่อปลัดกระทรวง
ตำมที่กำหนดโดยกฎกระทรวงในกลุ่มภำรกิจเดียวกัน หัวหน้ำกลุ่มภำรกิจอำจกำหนดให้ส่วน
รำชกำรของส่วนรำชกำรระดับกรมแห่งหนึ่งปฏิบัติงำนที่เกี่ยวกับสำรบรรณ บุคลำกร กำรเงิน กำร
พัสดุ หรือกำรบริหำรงำนทั่วไปให้แกส่วนรำชกำรแหงอื่นภำยใต้กลุ่มภำรกิจเดียวกันก็ได้กระทรวง
ใดมิได้จัดให้มีกลุ่มภำรกิจ และมีปริมำณงำนมำก จะให้มีรองปลัดกระทรวงเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติ
รำชกำรเพิ่มขึ้นเป็นสองคนก็ได้
ในกรณีที่กระทรวงใดมีกำรจัดกลุ่มภำรกิจ จะให้มีรองปลัดกระทรวงเพิ่มขึ้นเป็นหัวหน้ำกลุ่มภำรกิจ
ก็ได้และให้อำนำจหน้ำที่ของปลัดกระทรวงที่เกี่ยวกับรำชกำรของส่วนรำชกำรในกลุ่มภำรกิจเป็น
อำนำจหน้ำที่ของหัวหน้ำกลุ่มภำรกิจนั้น ทั้งนี้ เว้นแต่จะมีกฎกระทรวงกำหนดไว้เป็นอย่ำงอื่น
กระทรวงใดมีภำรกิจเพิ่มขึ้น และมีควำมจำเป็นอย่ำงยิ่งต้องมีรองปลัดกระทรวงมำกกว่ำที่กำหนด
ไว้ในวรรคห้ำหรือวรรคหก คณะกรรมกำรข้ำรำชกำรพลเรือน และคณะกรรมกำรพัฒนำระบบ
รำชกำรจะรวมกันอนุมัติให้กระทรวงนั้นมีรองปลัดกระทรวงเพิ่มขึ้นเป็นกรณีพิเศษโดยจะกำหนด
เงื่อนไขหรือเงื่อนเวลำไว้ด้วยหรือไมก็ได้ในกำรดำเนินกำรตำมวรรคเจ็ด ให้คณะกรรมกำรพัฒนำ
ระบบรำชกำรจัดให้มีกำรประชุมพิจำรณำรวมกันโดยกรรมกำรแต่ละฝ่ำยจะต้องมำประชุมไมน้อย
กว่ำกึ่งหนึ่งจึงจะเป็นองค์ประชุม และในกำรออกเสียงลงมติจะต้องได้คะแนนเสียงของกรรมกำร
แต่ละฝ่ำยเกินกว่ำกึ่งหนึ่งของกรรมกำรฝ่ำยดังกล่ำวที่มำประชุม แล้วให้นำมติดังกล่ำวเสนอ
คณะรัฐมนตรีพิจำรณำต่อไป

30.ตอบ “ข้อ ง. ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด”


อธิบำยตำม พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับ
ที่ 8) พ.ศ. 2553
มำตรำ 53 ในจังหวัดหนึ่งให้มีคณะกรมกำรจังหวัด ทำหน้ำที่เป็นที่ปรึกษำของผู้ว่ำรำชกำร
จังหวัดในกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน ในจังหวัดนั้น กับปฏิบัติหน้ำที่อื่นตำมที่กฎหมำยหรือมติของ
คณะรัฐมนตรีกำหนดคณะกรมกำรจังหวัดประกอบด้วย ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดเป็นประธำน รองผู้ว่ำ
รำชกำรจังหวัดหนึ่งคนตำมที่ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดมอบหมำย ปลัดจังหวัด อัยกำรจังหวัดซึ่งเป็นหัว
หน้ำที่ทำกำรอัยกำรจังหวัด ผู้บังคับกำรตำรวจภูธรจังหวัด และหัวหน้ำส่วนรำชกำรประจำจังหวัด
จำกกระทรวงและทบวงตำงๆ เว้นแต่กระทรวงมหำดไทยซึ่งประจำอยู่ในจังหวัด กระทรวง หรือ
ทบวงละหนึ่งคน เป็นกรมกำรจังหวัดและหัวหน้ำสำนักงำนจังหวัดเป็นกรมกำรจังหวัดและ
เลขำนุกำรถ้ำกระทรวงหรือทบวงมีหัวหน้ำส่วนรำชกำรประจำจังหวัดซึ่งกรมตำงๆ ในกระทรวง
145

หรือทบวงนั้นส่งมำประจำอยู่ในจังหวัดมำกกว่ำหนึ่งคน ให้ปลัดกระทรวงหรือปลัดทบวงกำหนดให้
หัวหน้ำส่วนรำชกำรประจำจังหวัดหนึ่งคนเป็นผู้แทนของกระทรวงหรือทบวงในคณะกรมกำร
จังหวัดในกำรปฏิบัติหน้ำที่ตำมวรรคหนึ่ง เมื่อผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดเห็นสมควรจะแต่งตั้งให้หัวหน้ำ
ส่วนรำชกำรประจำจังหวัดซึ่งปฏิบัติหน้ำที่ในรำชกำรส่วนภูมิภำคคนหนึ่งหรือหลำยคนเป็น
กรมกำรจังหวัดเพิ่มขึ้นเฉพำะกำรปฏิบัติหน้ำที่ใดหน้ำที่หนึ่งก็ได้

31.ตอบ “ข้อ ข. ตรำเป็นพระรำชกฤษฎีกำ”


อธิบำยตำม พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับ
ที่ 8) พ.ศ. 2553
มำตรำ 18 ให้จัดระเบียบรำชกำรของกระทรวง ดังนี้
(1) สำนักงำนรัฐมนตรี
(2) สำนักงำนปลัดกระทรวง
(3) กรม หรือส่วนรำชกำรที่เรียกชื่ออย่ำงอื่น เว้นแต่บำงกระทรวงเห็นว่ำไมมีควำมจำเป็นจะไม่
แยกส่วนรำชกำรตั้งขึ้นเป็นกรมก็ได้ให้ส่วนรำชกำรตำม (2) และส่วนรำชกำรที่เรียกชื่ออย่ำงอื่น
ตำม (3) มีฐำนะเป็นกรมกระทรวงใดมีควำมจำเป็นจะต้องมีส่วนรำชกำรเพื่อทำหน้ำที่จัดทำ
นโยบำยและแผน กำกับ เร่งรัด และติดตำมนโยบำยและแผนกำรปฏิบัติรำชกำรของกระทรวง จะ
จัดระเบียบบริหำรรำชกำรโดยอนุมัติคณะรัฐมนตรีเพื่อให้มีสำนักนโยบำยและแผนเป็นส่วน
รำชกำรภำยใน ขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงก็ได้ในกระทรวงจะตรำพระรำชกฤษฎีกำจัดตั้ง
ส่วนรำชกำรเพื่อรับผิดชอบภำระหน้ำที่ใดโดยเฉพำะซึ่งไมมีฐำนะเป็นกรมแต่มีผู้บังคับบัญชำของ
ส่วนรำชกำรดังกล่ำวเป็นอธิบดีหรือตำแหน่งที่เรียกชื่ออย่ำงอื่นที่มีฐำนะเป็นอธิบดีก็ได้ ในกรณี
เช่นนั้นให้อธิบดีหรือผู้ดำรงตำแหน่งที่เรียกชื่ออย่ำงอื่นดังกล่ำวมีอำนำจหน้ำที่สำหรับส่วนรำชกำร
นั้นเชนเดียวกับอธิบดี ตำมที่กำหนดในพระรำชกฤษฎีกำ และให้คณะอนุกรรมกำรสำมัญประจำ
กระทรวงทำหน้ำที่คณะอนุกรรมกำรสำมัญประจำกรม สำหรับส่วนรำชกำรนั้นกำรตรำพระรำช
กฤษฎีกำตำมวรรคสี่ให้กระทำได้ในกรณีเป็นกำรยุบ รวม หรือโอนกรมในกระทรวงใดมำจัดตั้งเป็น
ส่วนรำชกำรตำมวรรคสี่ในกระทรวงนั้นหรือกระทรวงอื่น โดยไมมีกำรกำหนดตำแหน่งหรืออัตรำ
ของข้ำรำชกำรหรือลูกจ้ำงเพิ่มขึ้น และให้นำควำมในมำตรำ 8 ทวิ และมำตรำ 8 เบญจ มำใช้
บังคับโดยอนุโลมกำรแต่งตั้งอธิบดีหรือผู้ดำรงตำแหน่งที่เรียกชื่ออย่ำงอื่นของส่วนรำชกำรตำม
วรรคสี่ ให้รัฐมนตรี เจ้ำสังกัดเป็นผู้นำเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจำรณำอนุมัติ และให้ผู้ดำรง
ตำแหน่งดังกล่ำวเป็นผู้ดำรงตำแหน่งระดับสูงตำมกฎหมำยประกอบรัฐธรรมนูญว่ำด้วยกำรปองกัน
และปรำบปรำมกำรทุจริตก่อนที่คณะรัฐมนตรีจะให้ควำมเห็นชอบในรำงพระรำชกฤษฎีกำจัดตั้ง
ส่วนรำชกำรตำมวรรคสี่ของกระทรวงใด ให้นำยกรัฐมนตรีสงรำงพระรำชกฤษฎีกำดังกล่ำวต่อสภำ
ผู้แทนรำษฎรและวุฒิสภำเพื่อทรำบให้นำควำมในวรรคสี่ วรรคห้ำ วรรคหก และวรรคเจ็ด มำใช้
บังคับกับสำนักนำยกรัฐมนตรีและทบวงตำมหมวด 3 โดยอนุโลม
146

32.ตอบ “ข้อ ค. หัวหน้ำสำนักงำนรัฐมนตรี”


อธิบำยตำม พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับ
ที่ 8) พ.ศ. 2553
มำตรำ 29 สำนักงำนรัฐมนตรีมีอำนำจหน้ำที่เกี่ยวกับรำชกำรทำงกำรเมือง มีเลขำนุกำร
รัฐมนตรีซึ่งเป็นข้ำรำชกำรกำรเมืองเป็นผู้บังคับบัญชำข้ำรำชกำร และรับผิดชอบในกำรปฏิบัติ
รำชกำรของสำนักงำนรัฐมนตรีขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีว่ำกำรทบวง และจัดให้มีผู้ช่วยเลขำนุกำร
รัฐมนตรี ซึ่งเป็นข้ำรำชกำรกำรเมืองคนหนึ่งหรือหลำยคน
เป็นผู้ช่วยสั่งหรือปฏิบัติรำชกำรแทนเลขำนุกำรรัฐมนตรีก็ได้
มำตรำ 22 สำนักงำนรัฐมนตรีมีอำนำจหน้ำที่เกี่ยวกับรำชกำรทำงกำรเมือง มีเลขำนุกำร
รัฐมนตรีซึ่งเป็นข้ำรำชกำรกำรเมืองเป็นผู้บังคับบัญชำข้ำรำชกำร และรับผิดชอบในกำรปฏิบัติ
รำชกำรของสำนักงำนรัฐมนตรีขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวง และจะให้มีผู้ช่วยเลขำนุกำร
รัฐมนตรีซึ่งเป็นข้ำรำชกำรกำรเมืองคนหนึ่งหรือหลำยคนเป็นผู้ช่วยสั่งหรือปฏิบัติรำชกำรแทน
เลขำนุกำรรัฐมนตรีก็ได้
มำตรำ 16 สำนักนำยกรัฐมนตรี นอกจำกมีนำยกรัฐมนตรี รองนำยกรัฐมนตรีและ
รัฐมนตรีประจำสำนักนำยกรัฐมนตรี ให้มีปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรีคนหนึ่งมีอำนำจหน้ำที่ดังนี้
(1) รับผิดชอบควบคุมรำชกำรประจำในสำนักนำยกรัฐมนตรี กำหนดแนวทำงและแผนกำรปฏิบัติ
รำชกำรของสำนักนำยกรัฐมนตรี และลำดับควำมสำคัญของแผนกำรปฏิบัติรำชกำรประจำปีของ
ส่วนรำชกำรในสำนักนำยกรัฐมนตรีให้เป็นไปตำมนโยบำยที่นำยกรัฐมนตรีกำหนดรวมทั้งกำกับ
เร่งรัด ติดตำมและประเมินผลกำรปฏิบัติรำชกำรของส่วนรำชกำรในสำนักนำยกรัฐมนตรี
(2) เป็นผู้บังคับบัญชำข้ำรำชกำรของส่วนรำชกำรในสำนักนำยกรัฐมนตรีรองจำกนำยกรัฐมนตรี
รองนำยกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีประจำสำนักนำยกรัฐมนตรี ยกเว้นข้ำรำชกำรของส่วนรำชกำรซึ่ง
หัวหน้ำส่วนรำชกำรขึ้นตรงตอนำยกรัฐมนตรี
(3) เป็นผู้บังคับบัญชำข้ำรำชกำรในสำนักงำนปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรีและรับผิดชอบในกำร
ปฏิบัติรำชกำรของสำนักงำนปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรีในกำรปฏิบัติรำชกำรของปลัดสำนัก
นำยกรัฐมนตรีตำมวรรคหนึ่ง ให้มีรองปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรีเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติรำชกำร
และจะให้มีผู้ช่วยปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรีเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติรำชกำรด้วยก็ได้
ในกรณีที่มีรองปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรีหรือผู้ช่วยปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรีหรือมีทั้งรองปลัด
สำนักนำยกรัฐมนตรีและผู้ช่วยปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรี ให้รองปลัดสำ นักนำยกรัฐมนตรีหรือ
ผู้ช่วยปลัดสำ นักนำยกรัฐมนตรีเป็นผู้บังคับบัญชำข้ำรำชกำรและรับผิดชอบในกำรปฏิบัติรำชกำร
รองจำกปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรีให้ปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรี รองปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรี และ
ผู้ช่วยปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรี เป็นข้ำรำชกำรพลเรือนสำมัญ และให้รองปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรี
ผู้ช่วยปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรี และผู้ดำรงตำแหน่งที่เรียกชื่ออย่ำงอื่นในสำนักงำนปลัดสำนัก
นำยกรัฐมนตรี มีอำนำจหน้ำที่ตำมที่ปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรี
147

กำหนดหรือมอบหมำยให้นำควำมในมำตรำ 19/1 มำใช้บังคับแกรำชกำรของสำนักนำยกรัฐมนตรี


ในสวนที่เกี่ยวกับสำนักงำนปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรีและส่วนรำชกำรที่มิได้ขึ้นตรงตอ
นำยกรัฐมนตรีด้วยโดยอนุโลม

33.ตอบ “ข้อ ข. กฎกระทรวง”


อธิบำยตำม พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับ
ที่ 8) พ.ศ. 2553
มำตรำ 21 ในกระทรวงให้มีปลัดกระทรวงคนหนึ่งมีอำนำจหน้ำที่ ดังนี้
(1) รับผิดชอบควบคุมรำชกำรประจำในกระทรวง แปลงนโยบำยเป็นแนวทำงและแผนกำรปฏิบัติ
รำชกำรกำกับกำรทำงำนของส่วนรำชกำรในกระทรวงให้เกิดผลสัมฤทธิ์ และประสำนกำร
ปฏิบัติงำนของส่วนรำชกำรในกระทรวงให้มีเอกภำพสอดคล้องกัน รวมทั้งเร่งรัดติดตำม และ
ประเมินผลกำรปฏิบัติรำชกำรของส่วนรำชกำรในกระทรวง
(2) เป็นผู้บังคับบัญชำข้ำรำชกำรของส่วนรำชกำรในกระทรวงรองจำกรัฐมนตรี
(3) เป็นผู้บังคับบัญชำข้ำรำชกำรในสำนักงำนปลัดกระทรวง และรับผิดชอบในกำรปฏิบัติรำชกำร
ของสำนักงำนปลัดกระทรวงในกำรปฏิบัติรำชกำรของปลัดกระทรวงตำมวรรคหนึ่ง จะให้มีรอง
ปลัดกระทรวงคนหนึ่งเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติรำชกำรตำมที่ปลัดกระทรวงมอบหมำยก็ได้ภำยใน
กระทรวงจะออกกฎกระทรวงกำหนดให้ส่วนรำชกำรระดับกรมตั้งแต่สองส่วนรำชกำรขึ้นไปอยู่
ภำยใต้กลุ่มภำรกิจเดียวกันก็ได้ โดยให้แต่ละกลุ่มภำรกิจมีผู้ดำรงตำแหน่งไมต่ำกว่ำอธิบดีคนหนึ่ง
เป็นหัวหน้ำกลุ่มภำรกิจรับผิดชอบรำชกำรและบังคับบัญชำข้ำรำชกำรของส่วนรำชกำรในกลุ่ม
ภำรกิจนั้น โดยปฏิบัติรำชกำรขึ้นตรงต่อปลัดกระทรวงหรือขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีตำมที่กำหนดโดย
กฎกระทรวง และในกรณีที่ขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีต้องรำยงำนผลกำรดำเนินงำนต่อปลัดกระทรวง
ตำมที่กำหนดโดยกฎกระทรวงในกลุ่มภำรกิจเดียวกัน หัวหน้ำกลุ่มภำรกิจอำจกำหนดให้ส่วน
รำชกำรของส่วนรำชกำรระดับกรมแห่งหนึ่งปฏิบัติงำนที่เกี่ยวกับสำรบรรณ บุคลำกร กำรเงิน กำร
พัสดุ หรือกำรบริหำรงำนทั่วไปให้แกส่วนรำชกำรแหงอื่นภำยใต้กลุ่มภำรกิจเดียวกันก็ได้กระทรวง
ใดมิได้จัดให้มีกลุ่มภำรกิจ และมีปริมำณงำนมำก จะให้มีรองปลัดกระทรวงเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติ
รำชกำรเพิ่มขึ้นเป็นสองคนก็ได้
ในกรณีที่กระทรวงใดมีกำรจัดกลุ่มภำรกิจ จะให้มีรองปลัดกระทรวงเพิ่มขึ้นเป็นหัวหน้ำกลุ่มภำรกิจ
ก็ได้และให้อำนำจหน้ำที่ของปลัดกระทรวงที่เกี่ยวกับรำชกำรของส่วนรำชกำรในกลุ่มภำรกิจเป็น
อำนำจหน้ำที่ของหัวหน้ำกลุ่มภำรกิจนั้น ทั้งนี้ เว้นแต่จะมีกฎกระทรวงกำหนดไว้เป็นอย่ำงอื่น
กระทรวงใดมีภำรกิจเพิ่มขึ้น และมีควำมจำเป็นอย่ำงยิ่งต้องมีรองปลัดกระทรวงมำกกว่ำที่กำหนด
ไว้ในวรรคห้ำหรือวรรคหก คณะกรรมกำรข้ำรำชกำรพลเรือน และคณะกรรมกำรพัฒนำระบบ
รำชกำรจะรวมกันอนุมัติให้กระทรวงนั้นมีรองปลัดกระทรวงเพิ่มขึ้นเป็นกรณีพิเศษโดยจะกำหนด
เงื่อนไขหรือเงื่อนเวลำไว้ด้วยหรือไมก็ได้ในกำรดำเนินกำรตำมวรรคเจ็ด ให้คณะกรรมกำรพัฒนำ
ระบบรำชกำรจัดให้มีกำรประชุมพิจำรณำรวมกัน
148

โดยกรรมกำรแต่ละฝ่ำยจะต้องมำประชุมไมน้อยกว่ำกึ่งหนึ่งจึงจะเป็นองค์ประชุม และในกำรออก
เสียงลงมติจะต้องได้คะแนนเสียงของกรรมกำรแต่ละฝ่ำยเกินกว่ำกึ่งหนึ่งของกรรมกำรฝ่ำยดังกล่ำว
ที่มำประชุม แล้วให้นำมติดังกล่ำวเสนอคณะรัฐมนตรีพิจำรณำต่อไป

34.ตอบ “ข้อ ค. อธิบดี”


อธิบำยตำม พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับ
ที่ 8) พ.ศ. 2553
มำตรำ 21 ในกระทรวงให้มีปลัดกระทรวงคนหนึ่งมีอำนำจหน้ำที่ ดังนี้
(1) รับผิดชอบควบคุมรำชกำรประจำในกระทรวง แปลงนโยบำยเป็นแนวทำงและแผนกำรปฏิบัติ
รำชกำรกำกับกำรทำงำนของส่วนรำชกำรในกระทรวงให้เกิดผลสัมฤทธิ์ และประสำนกำร
ปฏิบัติงำนของส่วนรำชกำรในกระทรวงให้มีเอกภำพสอดคล้องกัน รวมทั้งเร่งรัดติดตำม และ
ประเมินผลกำรปฏิบัติรำชกำรของส่วนรำชกำรในกระทรวง
(2) เป็นผู้บังคับบัญชำข้ำรำชกำรของส่วนรำชกำรในกระทรวงรองจำกรัฐมนตรี
(3) เป็นผู้บังคับบัญชำข้ำรำชกำรในสำนักงำนปลัดกระทรวง และรับผิดชอบในกำรปฏิบัติรำชกำร
ของสำนักงำนปลัดกระทรวงในกำรปฏิบัติรำชกำรของปลัดกระทรวงตำมวรรคหนึ่ง จะให้มีรอง
ปลัดกระทรวงคนหนึ่งเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติรำชกำรตำมที่ปลัดกระทรวงมอบหมำยก็ได้ภำยใน
กระทรวงจะออกกฎกระทรวงกำหนดให้ส่วนรำชกำรระดับกรมตั้งแต่สองส่วนรำชกำรขึ้นไปอยู่
ภำยใต้กลุ่มภำรกิจเดียวกันก็ได้ โดยให้แต่ละกลุ่มภำรกิจมีผู้ดำรงตำแหน่งไมต่ำกว่ำอธิบดีคนหนึ่ง
เป็นหัวหน้ำกลุ่มภำรกิจรับผิดชอบรำชกำรและบังคับบัญชำข้ำรำชกำรของส่วนรำชกำรในกลุ่ม
ภำรกิจนั้น โดยปฏิบัติรำชกำรขึ้นตรงต่อปลัดกระทรวงหรือขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีตำมที่กำหนดโดย
กฎกระทรวง และในกรณีที่ขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีต้องรำยงำนผลกำรดำเนินงำนต่อปลัดกระทรวง
ตำมที่กำหนดโดยกฎกระทรวงในกลุ่มภำรกิจเดียวกัน หัวหน้ำกลุ่มภำรกิจอำจกำหนดให้ส่วน
รำชกำรของส่วนรำชกำรระดับกรมแห่งหนึ่งปฏิบัติงำนที่เกี่ยวกับสำรบรรณ บุคลำกร กำรเงิน กำร
พัสดุ หรือกำรบริหำรงำนทั่วไปให้แกส่วนรำชกำรแหงอื่นภำยใต้กลุ่มภำรกิจเดียวกันก็ได้กระทรวง
ใดมิได้จัดให้มีกลุ่มภำรกิจ และมีปริมำณงำนมำก จะให้มีรองปลัดกระทรวงเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติ
รำชกำรเพิ่มขึ้นเป็นสองคนก็ได้ ในกรณีที่กระทรวงใดมีกำรจัดกลุ่มภำรกิจ จะให้มีรอง
ปลัดกระทรวงเพิ่มขึ้นเป็นหัวหน้ำกลุ่มภำรกิจก็ได้และให้อำนำจหน้ำที่ของปลัดกระทรวงที่เกี่ยวกับ
รำชกำรของส่วนรำชกำรในกลุ่มภำรกิจเป็นอำนำจหน้ำที่ของหัวหน้ำกลุ่มภำรกิจนั้น ทั้งนี้ เว้นแต่
จะมีกฎกระทรวงกำหนดไว้เป็นอย่ำงอื่นกระทรวงใดมีภำรกิจเพิ่มขึ้น และมีควำมจำเป็นอย่ำงยิ่ง
ต้องมีรองปลัดกระทรวงมำกกว่ำที่กำหนดไว้ในวรรคห้ำหรือวรรคหก คณะกรรมกำรข้ำรำชกำรพล
เรือน และคณะกรรมกำรพัฒนำระบบรำชกำรจะรวมกันอนุมัติให้กระทรวงนั้นมีรองปลัดกระทรวง
เพิ่มขึ้นเป็นกรณีพิเศษโดยจะกำหนดเงื่อนไขหรือเงื่อนเวลำไว้ด้วยหรือไมก็ได้ในกำรดำเนินกำรตำม
วรรคเจ็ด ให้คณะกรรมกำรพัฒนำระบบรำชกำรจัดให้มีกำรประชุมพิจำรณำรวมกันโดยกรรมกำร
แต่ละฝ่ำยจะต้องมำประชุมไมน้อยกว่ำกึ่งหนึ่งจึงจะเป็นองค์ประชุม และในกำรออกเสียงลงมติ
149

จะต้องได้คะแนนเสียงของกรรมกำรแต่ละฝ่ำยเกินกว่ำกึ่งหนึ่งของกรรมกำรฝ่ำยดังกล่ำวที่มำ
ประชุม แล้วให้นำมติดังกล่ำวเสนอคณะรัฐมนตรีพิจำรณำต่อไป

35.ตอบ “ข้อ ง. รัฐมนตรีหรือปลัดกระทรวงก็ได้ แล้วแต่จะกำหนดไว้ในกฎกระทรวง”


อธิบำยตำม พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับ
ที่ 8) พ.ศ. 2553
มำตรำ 21 ในกระทรวงให้มีปลัดกระทรวงคนหนึ่งมีอำนำจหน้ำที่ ดังนี้
(1) รับผิดชอบควบคุมรำชกำรประจำในกระทรวง แปลงนโยบำยเป็นแนวทำงและ
แผนกำรปฏิบัติรำชกำรกำกับกำรทำงำนของส่วนรำชกำรในกระทรวงให้เกิดผลสัมฤทธิ์ และ
ประสำนกำรปฏิบัติงำนของส่วนรำชกำรในกระทรวงให้มีเอกภำพสอดคล้องกัน รวมทั้งเร่งรัด
ติดตำม และประเมินผลกำรปฏิบัติรำชกำรของส่วนรำชกำรในกระทรวง
(2) เป็นผู้บังคับบัญชำข้ำรำชกำรของส่วนรำชกำรในกระทรวงรองจำกรัฐมนตรี
(3) เป็นผู้บังคับบัญชำข้ำรำชกำรในสำนักงำนปลัดกระทรวง และรับผิดชอบในกำร
ปฏิบัติรำชกำรของสำนักงำนปลัดกระทรวงในกำรปฏิบัติรำชกำรของปลัดกระทรวงตำมวรรคหนึ่ง
จะให้มีรองปลัดกระทรวงคนหนึ่งเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติรำชกำรตำมที่ปลัดกระทรวงมอบหมำยก็
ได้ภำยในกระทรวงจะออกกฎกระทรวงกำหนดให้ส่วนรำชกำรระดับกรมตั้งแต่สองส่วนรำชกำรขึ้น
ไปอยู่ภำยใต้กลุ่มภำรกิจเดียวกันก็ได้ โดยให้แต่ละกลุม่ ภำรกิจมีผู้ดำรงตำแหน่งไมต่ำกว่ำอธิบดีคน
หนึ่งเป็นหัวหน้ำกลุ่มภำรกิจรับผิดชอบรำชกำรและบังคับบัญชำข้ำรำชกำรของส่วนรำชกำรในกลุ่ม
ภำรกิจนั้น โดยปฏิบัติรำชกำรขึ้นตรงต่อปลัดกระทรวงหรือขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีตำมที่กำหนดโดย
กฎกระทรวง และในกรณีที่ขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีต้องรำยงำนผลกำรดำเนินงำนต่อปลัดกระทรวง
ตำมที่กำหนดโดยกฎกระทรวงในกลุ่มภำรกิจเดียวกัน หัวหน้ำกลุ่มภำรกิจอำจกำหนดให้ส่วน
รำชกำรของส่วนรำชกำรระดับกรมแห่งหนึ่งปฏิบัติงำนที่เกี่ยวกับสำรบรรณ บุคลำกร กำรเงิน กำร
พัสดุ หรือกำรบริหำรงำนทั่วไปให้แกส่วนรำชกำรแหงอื่นภำยใต้กลุ่มภำรกิจเดียวกันก็ได้กระทรวง
ใดมิได้จัดให้มีกลุ่มภำรกิจ และมีปริมำณงำนมำก จะให้มีรองปลัดกระทรวงเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติ
รำชกำรเพิ่มขึ้นเป็นสองคนก็ได้ในกรณีที่กระทรวงใดมีกำรจัดกลุ่มภำรกิจ จะให้มีรอง
ปลัดกระทรวงเพิ่มขึ้นเป็นหัวหน้ำกลุ่มภำรกิจก็ได้และให้อำนำจหน้ำที่ของปลัดกระทรวงที่เกี่ยวกับ
รำชกำรของส่วนรำชกำรในกลุ่มภำรกิจเป็นอำนำจหน้ำที่ของหัวหน้ำกลุ่มภำรกิจนั้น ทั้งนี้ เว้นแต่
จะมีกฎกระทรวงกำหนดไว้เป็นอย่ำงอื่นกระทรวงใดมีภำรกิจเพิ่มขึ้น และมีควำมจำเป็นอย่ำงยิ่ง
ต้องมีรองปลัดกระทรวงมำกกว่ำที่กำหนดไว้ในวรรคห้ำหรือวรรคหก คณะกรรมกำรข้ำรำชกำรพล
เรือน และคณะกรรมกำรพัฒนำระบบรำชกำรจะรวมกันอนุมัติให้กระทรวงนั้นมีรองปลัดกระทรวง
เพิ่มขึ้นเป็นกรณีพิเศษโดยจะกำหนดเงื่อนไขหรือเงื่อนเวลำไว้ด้วยหรือไมก็ได้ในกำรดำเนินกำรตำม
วรรคเจ็ด ให้คณะกรรมกำรพัฒนำระบบรำชกำรจัดให้มีกำรประชุมพิจำรณำรวมกันโดยกรรมกำร
แต่ละฝ่ำยจะต้องมำประชุมไมน้อยกว่ำกึ่งหนึ่งจึงจะเป็นองค์ประชุม และในกำรออกเสียงลงมติ
150

จะต้องได้คะแนนเสียงของกรรมกำรแต่ละฝ่ำยเกินกว่ำกึ่งหนึ่งของกรรมกำรฝ่ำยดังกล่ำวที่มำ
ประชุม แล้วให้นำมติดังกล่ำวเสนอคณะรัฐมนตรีพิจำรณำต่อไป

36.ตอบ “ข้อ ข. ปลัดกระทรวง”


อธิบำยตำม พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับ
ที่ 8) พ.ศ. 2553
มำตรำ 19/1 ให้ปลัดกระทรวง หัวหน้ำกลุ่มภำรกิจและหัวหน้ำส่วนรำชกำรตั้งแต่ระดับ
กรมขึ้นไปวำงแผนและประสำนกิจกรรมให้มีกำรใช้ทรัพยำกรของส่วนรำชกำรตำงๆ ในกระทรวง
รวมกันเพื่อให้เกิดประสิทธิภำพ ควำมคุ้มค่ำ และบรรลุเป้ำหมำยของกระทรวง
เพื่อประโยชน์ในกำรดำเนินกำรตำมวรรคหนึ่ง หัวหน้ำส่วนรำชกำรและหัวหน้ำกลุ่มภำรกิจ
ดังกล่ำวจะมี

37.ตอบ “ข้อ ข. 2 คน”


อธิบำยตำม พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับ
ที่ 8) พ.ศ. 2553
มำตรำ 21 ในกระทรวงให้มีปลัดกระทรวงคนหนึ่งมีอำนำจหน้ำที่ ดังนี้
(1) รับผิดชอบควบคุมรำชกำรประจำในกระทรวง แปลงนโยบำยเป็นแนวทำงและแผนกำรปฏิบัติ
รำชกำรกำกับกำรทำงำนของส่วนรำชกำรในกระทรวงให้เกิดผลสัมฤทธิ์ และประสำนกำร
ปฏิบัติงำนของส่วนรำชกำรในกระทรวงให้มีเอกภำพสอดคล้องกัน รวมทั้งเร่งรัดติดตำม และ
ประเมินผลกำรปฏิบัติรำชกำรของส่วนรำชกำรในกระทรวง
(2) เป็นผู้บังคับบัญชำข้ำรำชกำรของส่วนรำชกำรในกระทรวงรองจำกรัฐมนตรี
(3) เป็นผู้บังคับบัญชำข้ำรำชกำรในสำนักงำนปลัดกระทรวง และรับผิดชอบในกำรปฏิบัติรำชกำร
ของสำนักงำนปลัดกระทรวงในกำรปฏิบัติรำชกำรของปลัดกระทรวงตำมวรรคหนึ่ง จะให้มีรอง
ปลัดกระทรวงคนหนึ่งเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติรำชกำรตำมที่ปลัดกระทรวงมอบหมำยก็ได้ภำยใน
กระทรวงจะออกกฎกระทรวงกำหนดให้ส่วนรำชกำรระดับกรมตั้งแต่สองส่วนรำชกำรขึ้นไปอยู่
ภำยใต้กลุ่มภำรกิจเดียวกันก็ได้ โดยให้แต่ละกลุ่มภำรกิจมีผู้ดำรงตำแหน่งไมต่ำกว่ำอธิบดีคนหนึ่ง
เป็นหัวหน้ำกลุ่มภำรกิจรับผิดชอบรำชกำรและบังคับบัญชำข้ำรำชกำรของส่วนรำชกำรในกลุ่ม
ภำรกิจนั้น โดยปฏิบัติรำชกำรขึ้นตรงต่อปลัดกระทรวงหรือขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีตำมที่กำหนดโดย
กฎกระทรวง และในกรณีที่ขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีต้องรำยงำนผลกำรดำเนินงำนต่อปลัดกระทรวง
ตำมที่กำหนดโดยกฎกระทรวงในกลุ่มภำรกิจเดียวกัน หัวหน้ำกลุ่มภำรกิจอำจกำหนดให้ส่วน
รำชกำรของส่วนรำชกำรระดับกรมแห่งหนึ่งปฏิบัติงำนที่เกี่ยวกับสำรบรรณ บุคลำกร กำรเงิน กำร
พัสดุ หรือกำรบริหำรงำนทั่วไปให้แกส่วนรำชกำรแหงอื่นภำยใต้กลุ่มภำรกิจเดียวกันก็ได้กระทรวง
ใดมิได้จัดให้มีกลุ่มภำรกิจ และมีปริมำณงำนมำก จะให้มีรองปลัดกระทรวงเป็นผู้ช่วยสั่งและปฏิบัติ
รำชกำรเพิ่มขึ้นเป็นสองคนก็ได้
151

ในกรณีที่กระทรวงใดมีกำรจัดกลุ่มภำรกิจ จะให้มีรองปลัดกระทรวงเพิ่มขึ้นเป็นหัวหน้ำ
กลุ่มภำรกิจก็ได้และให้อำนำจหน้ำที่ของปลัดกระทรวงที่เกี่ยวกับรำชกำรของส่วนรำชกำรในกลุ่ม
ภำรกิจเป็นอำนำจหน้ำที่ของหัวหน้ำกลุ่มภำรกิจนั้น ทั้งนี้ เว้นแต่จะมีกฎกระทรวงกำหนดไว้เป็น
อย่ำงอื่นกระทรวงใดมีภำรกิจเพิ่มขึ้น และมีควำมจำเป็นอย่ำงยิ่งต้องมีรองปลัดกระทรวงมำกกว่ำที่
กำหนดไว้ในวรรคห้ำหรือวรรคหก คณะกรรมกำรข้ำรำชกำรพลเรือน และคณะกรรมกำรพัฒนำ
ระบบรำชกำรจะรวมกันอนุมัติให้กระทรวงนั้นมีรองปลัดกระทรวงเพิ่มขึ้นเป็นกรณีพิเศษโดยจะ
กำหนดเงื่อนไขหรือเงื่อนเวลำไว้ด้วยหรือไมก็ได้ในกำรดำเนินกำรตำมวรรคเจ็ด ให้คณะกรรมกำร
พัฒนำระบบรำชกำรจัดให้มีกำรประชุมพิจำรณำรวมกันโดยกรรมกำรแต่ละฝ่ำยจะต้องมำประชุม
ไมน้อยกว่ำกึ่งหนึ่งจึงจะเป็นองค์ประชุม และในกำรออกเสียงลงมติจะต้องได้คะแนนเสียงของ
กรรมกำรแต่ละฝ่ำยเกินกว่ำกึ่งหนึ่งของกรรมกำรฝ่ำยดังกล่ำวที่มำประชุม แล้วให้นำมติดังกล่ำว
เสนอคณะรัฐมนตรีพิจำรณำต่อไป

38.ตอบ “ข้อ ก.รัฐมนตรีชวยว่ำกำรกระทรวง/รัฐมนตรีคนใดคนหนึ่ง”


อธิบำยตำม พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับ
ที่ 8) พ.ศ. 2553
มำตรำ 42 ในกรณีที่ไมมีผู้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงหรือมีแต่ไมอำจปฏิบัติ
รำชกำรได้ ให้รัฐมนตรีชวยว่ำกำรกระทรวงเป็นผู้รักษำรำชกำรแทน ถ้ำมีรัฐมนตรีชวยว่ำกำร
กระทรวงหลำยคน ให้คณะรัฐมนตรีมอบหมำยให้รัฐมนตรีชวยว่ำกำรกระทรวงคนใดคนหนึ่งเป็น
ผู้รักษำรำชกำรแทน ถ้ำไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีชวยว่ำกำรกระทรวงหรือมีแต่ไมอำจปฏิบัติ
รำชกำรได้ ให้คณะรัฐมนตรีมอบหมำยให้รัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งเป็นผู้รักษำรำชกำรแทนให้นำควำม
ในวรรคหนึ่งมำใช้บังคับแกรัฐมนตรีว่ำกำรทบวงด้วยโดยอนุโลม

39.ตอบ “ข้อ ก. นำยกรัฐมนตรีหรือรองนำยกรัฐมนตรีที่นำยกรัฐมนตรีมอบหมำยเป็นประธำน”


อธิบำยตำม พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับ
ที่ 8) พ.ศ. 2553
มำตรำ 71/1 ให้มีคณะกรรมกำรพัฒนำระบบรำชกำรคณะหนึ่ง เรียกโดยย่อว่ำ “ก.พ.ร.”
ประกอบด้วยนำยกรัฐมนตรีหรือรองนำยกรัฐมนตรีที่นำยกรัฐมนตรีมอบหมำยเป็นประธำน
รัฐมนตรีหนึ่งคนที่นำยกรัฐมนตรีกำหนดเป็นรองประธำน ผู้ซึ่งคณะกรรมกำรกำรกระจำยอำนำจ
ให้แกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมอบหมำยหนึ่งคน และกรรมกำรผู้ทรงคุณวุฒิไมเกินสิบคน ซึ่ง
คณะรัฐมนตรีแต่งตั้งจำกผู้มีควำมรู้ควำมเชี่ยวชำญในทำงด้ำน
นิติศำสตร์ เศรษฐศำสตร์ รัฐศำสตร์ กำรบริหำรรัฐกิจ กำรบริหำรธุรกิจ กำรเงินกำรคลัง จิตวิทยำ
องค์กำร และสังคมวิทยำอย่ำงน้อยด้ำนละหนึ่งคน
ในกรณีที่มีควำมจำเป็นเพื่อให้กำรปฏิบัติงำนบรรลุผล คณะรัฐมนตรีจะกำหนดให้กรรมกำร
ผู้ทรงคุณวุฒิไม่น้อยกว่ำสำมคนแต่ไมเกินห้ำคนต้องทำงำนเต็มเวลำก็ได้เลขำธิกำร ก.พ.ร. เป็น
152

กรรมกำรและเลขำนุกำรโดยตำแหน่งกำรแต่งตั้งกรรมกำรผู้ทรงคุณวุฒิ ให้คณะรัฐมนตรีพิจำรณำ
จำกรำยชื่อบุคคลที่ได้รับกำรเสนอโดยวิธีกำรสรรหำ ทั้งนี้ ตำมหลักเกณฑ์และวิธีกำรสรรหำที่
คณะรัฐมนตรีกำหนด

40.ตอบ “ข้อ ก. 4 ปี /สองวำระ”


อธิบำยตำม พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับ
ที่ 8) พ.ศ. 2553
มำตรำ 71/3 กรรมกำรผู้ทรงคุณวุฒิมีวำระกำรดำรงตำแหน่งครำวละสี่ปี ผู้ซึ่งพ้นจำก
ตำแหน่งแล้ว อำจได้รับแต่งตั้งอีกได้แต่ไมเกินสองวำระติดต่อกันในกรณีที่กรรมกำรผู้ทรงคุณวุฒิ
พ้นจำกตำแหน่งตำมวำระ แต่ยังมิได้แต่งตั้งกรรมกำรผู้ทรงคุณวุฒิใหม่ ให้
กรรมกำรผู้ทรงคุณวุฒินั้นปฏิบัติหน้ำที่ไปก่อนจนกว่ำจะได้แต่งตั้งกรรมกำรผู้ทรงคุณวุฒิใหม่

41.ตอบ “ข้อ ค. กรม”


อธิบำยตำม พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับ
ที่ 8) พ.ศ. 2553
มำตรำ 17 ให้จัดระเบียบรำชกำรของกระทรวง ดังนี้
(1) สำนักงำนรัฐมนตรี
(2) สำนักงำนปลัดกระทรวง
(3) กรม หรือส่วนรำชกำรที่เรียกชื่ออย่ำงอื่น เว้นแต่บำงกระทรวงเห็นว่ำไมมีควำมจำเป็นจะไม่
แยกส่วนรำชกำรตั้งขึ้นเป็นกรมก็ได้ให้ส่วนรำชกำรตำม (2) และส่วนรำชกำรที่เรียกชื่ออย่ำงอื่น
ตำม (3) มีฐำนะเป็นกรมกระทรวงใดมีควำมจำเป็นจะต้องมีส่วนรำชกำรเพื่อทำหน้ำที่จัดทำ
นโยบำยและแผน กำกับ เร่งรัด และติดตำมนโยบำยและแผนกำรปฏิบัติรำชกำรของกระทรวง จะ
จัดระเบียบบริหำรรำชกำรโดยอนุมัติคณะรัฐมนตรีเพื่อให้มีสำนักนโยบำยและแผนเป็นส่วน
รำชกำรภำยใน ขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงก็ได้ในกระทรวงจะตรำพระรำชกฤษฎีกำจัดตั้ง
ส่วนรำชกำรเพื่อรับผิดชอบภำระหน้ำที่ใดโดยเฉพำะซึ่งไมมีฐำนะเป็นกรมแต่มีผู้บังคับบัญชำของ
ส่วนรำชกำรดังกล่ำวเป็นอธิบดีหรือตำแหน่งที่เรียกชื่ออย่ำงอื่นที่มีฐำนะเป็นอธิบดีก็ได้ ในกรณีเชน
นั้นให้อธิบดีหรือผู้ดำรงตำแหน่งที่เรียกชื่ออย่ำงอื่นดังกล่ำวมีอำนำจหน้ำที่สำหรับส่วนรำชกำรนั้น
เชนเดียวกับอธิบดี ตำมที่กำหนดในพระรำชกฤษฎีกำ และให้คณะอนุกรรมกำรสำมัญประจำ
กระทรวงทำหน้ำที่คณะอนุกรรมกำรสำมัญประจำกรม สำหรับส่วนรำชกำรนั้นกำรตรำพระรำช
กฤษฎีกำตำมวรรคสี่ให้กระทำได้ในกรณีเป็นกำรยุบ รวม หรือโอนกรมในกระทรวงใดมำจัดตั้งเป็น
ส่วนรำชกำรตำมวรรคสี่ในกระทรวงนั้นหรือกระทรวงอื่น โดยไมมีกำรกำหนดตำแหน่งหรืออัตรำ
ของข้ำรำชกำรหรือลูกจ้ำงเพิ่มขึ้น และให้นำควำมในมำตรำ 8 ทวิ และมำตรำ 8 เบญจ มำใช้
บังคับโดยอนุโลมกำรแต่งตั้งอธิบดีหรือผู้ดำรงตำแหน่งที่เรียกชื่ออย่ำงอื่นของส่วนรำชกำรตำม
วรรคสี่ ให้รัฐมนตรี เจ้ำสังกัดเป็นผู้นำเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจำรณำอนุมัติ และให้ผู้ดำรง
153

ตำแหน่งดังกล่ำวเป็นผู้ดำรงตำแหน่งระดับสูงตำมกฎหมำยประกอบรัฐธรรมนูญว่ำด้วยกำรปองกัน
และปรำบปรำมกำรทุจริตก่อนที่คณะรัฐมนตรีจะให้ควำมเห็นชอบในรำงพระรำชกฤษฎีกำจัดตั้ง
ส่วนรำชกำรตำมวรรคสี่ของ
กระทรวงใด ให้นำยกรัฐมนตรีสงรำงพระรำชกฤษฎีกำดังกล่ำวต่อสภำผู้แทนรำษฎรและวุฒิสภำ
เพื่อทรำบให้นำควำมในวรรคสี่ วรรคห้ำ วรรคหก และวรรคเจ็ด มำใช้บังคับกับสำนัก
นำยกรัฐมนตรีและทบวงตำมหมวด 3 โดยอนุโลม
มำตรำ 7 ให้จัดระเบียบบริหำรรำชกำรส่วนกลำง ดังนี้
(1) สำนักนำยกรัฐมนตรี
(2) กระทรวง หรือทบวงซึ่งมีฐำนะเทียบเทำกระทรวง
(3) ทบวง ซึ่งสังกัดสำนักนำยกรัฐมนตรีหรือกระทรวง
(4) กรม หรือส่วนรำชกำรที่เรียกชื่ออย่ำงอื่นและมีฐำนะเป็นกรม ซึ่งสังกัดหรือไมสังกัดสำนัก
นำยกรัฐมนตรี กระทรวงหรือทบวง
สำนักนำยกรัฐมนตรีมีฐำนะเป็นกระทรวงส่วนรำชกำรตำม (1) (2) (3) และ (4) มีฐำนะเป็นนิติ
บุคคล

42.ตอบ “ข้อ ข. รำชกำรทำงเมือง”


อธิบำยตำม พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับ
ที่ 8) พ.ศ. 2553
มำตรำ 22 สำนักงำนรัฐมนตรีมีอำนำจหน้ำที่เกี่ยวกับรำชกำรทำงกำรเมือง มีเลขำนุกำร
รัฐมนตรีซึ่งเป็นข้ำรำชกำรกำรเมืองเป็นผู้บังคับบัญชำข้ำรำชกำร และรับผิดชอบในกำรปฏิบัติ
รำชกำรของสำนักงำนรัฐมนตรีขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวง และจะให้มีผู้ช่วยเลขำนุกำร
รัฐมนตรีซึ่งเป็นข้ำรำชกำรกำรเมืองคนหนึ่งหรือหลำยคนเป็นผู้ช่วยสั่งหรือปฏิบัติรำชกำรแทน
เลขำนุกำรรัฐมนตรีก็ได้

43.ตอบ “ข้อ ค. สำนักงำนเลขำนุกำรรัฐมนตรี”


อธิบำยตำม พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับ
ที่ 8) พ.ศ. 2553
มำตรำ 22 สำนักงำนรัฐมนตรีมีอำนำจหน้ำที่เกี่ยวกับรำชกำรทำงกำรเมือง มีเลขำนุกำร
รัฐมนตรีซึ่งเป็นข้ำรำชกำรกำรเมืองเป็นผู้บังคับบัญชำข้ำรำชกำร และรับผิดชอบในกำรปฏิบัติ
รำชกำรของสำนักงำนรัฐมนตรีขึ้น
ตรงต่อรัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวง และจะให้มีผู้ช่วยเลขำนุกำรรัฐมนตรีซึ่งเป็นข้ำรำชกำรกำรเมือง
คนหนึ่งหรือหลำยคนเป็นผู้ช่วยสั่งหรือปฏิบัติรำชกำรแทนเลขำนุกำรรัฐมนตรีก็ได้
154

44.ตอบ “ข้อ ค. อธิบดี”


อธิบำยตำม พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับ
ที่ 8) พ.ศ. 2553
มำตรำ 32 กรมมีอำนำจหน้ำที่เกี่ยวกับรำชกำรของกระทรวงตำมที่กำหนดในกฎกระทรวง
แบ่งส่วนรำชกำรของกรม หรือตำมกฎหมำยว่ำด้วยอำนำจหน้ำที่ของกรมนั้นในกรมหนึ่งมีอธิบดีคน
หนึ่งเป็นผู้บังคับบัญชำข้ำรำชกำรและรับผิดชอบในกำรปฏิบัติรำชกำรของกรมให้เกิดผลสัมฤทธิ์
และเป็นไปตำมเป้ำหมำย แนวทำง และแผนกำรปฏิบัติรำชกำรของกระทรวงและในกรณีที่มี
กฎหมำยอื่นกำหนดอำนำจหน้ำที่ของอธิบดีไว้เป็นกำรเฉพำะ กำรใช้อำนำจและกำรปฏิบัติหน้ำที่
ตำมกฎหมำยดังกล่ำวให้คำนึงถึงนโยบำยที่คณะรัฐมนตรีแถลงไว้ต่อรัฐสภำหรือที่คณะรัฐมนตรี
กำหนดหรืออนุมัติ และนโยบำยแนวทำง และแผนกำรปฏิบัติรำชกำรของกระทรวงด้วย

45.ตอบ “ข้อ ง. เลขำนุกำรกรม”


อธิบำยตำม พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับ
ที่ 8) พ.ศ. 2553
มำตรำ 33 สำนักงำนเลขำนุกำรกรมมีอำนำจหน้ำที่เกี่ยวกับรำชกำรทั่วไปของกรม และ
รำชกำรที่มิได้แยกให้เป็นหน้ำที่ของกองหรือส่วนรำชกำรใดโดยเฉพำะมีเลขำนุกำรกรมเป็น
ผู้บังคับบัญชำข้ำรำชกำร และรับผิดชอบในกำรปฏิบัติรำชกำรของสำนักงำนเลขำนุกำรกรม

46.ตอบ “ข้อ ง. พระรำชกฤษฎีกำ”


อธิบำยตำม พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับ
ที่ 8) พ.ศ. 2553
มำตรำ 34 กระทรวง ทบวง กรมใดมีเหตุพิเศษ จะตรำพระรำชกฤษฎีกำแบ่งท้องที่
ออกเป็นเขตเพื่อให้มีหัวหน้ำส่วนรำชกำรประจำเขตแล้วแต่จะเรียกชื่อเพื่อปฏิบัติงำนทำงวิชำกำรก็
ได้หัวหน้ำส่วนรำชกำรประจำเขตมีอำนำจหน้ำที่เป็นผู้รับนโยบำยและคำสั่งจำกกระทรวง ทบวง
กรม มำปฏิบัติงำนทำงวิชำกำร และเป็นผู้บังคับบัญชำข้ำรำชกำรประจำสำนักงำนเขตซึ่งสังกัด
กระทรวง ทบวง กรมนั้น

47.ตอบ “ข้อ ข. หนังสือ”


อธิบำยตำม พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับ
ที่ 8) พ.ศ. 2553
มำตรำ 38 อำนำจในกำรสั่ง กำรอนุญำต กำรอนุมัติ กำรปฏิบัติรำชกำรหรือกำร
ดำเนินกำรอื่นที่ผู้ดำรงตำแหน่งใดจะพึงปฏิบัติหรือดำเนินกำรตำมกฎหมำย กฎ ระเบียบ ประกำศ
หรือคำสั่งใด หรือมติของคณะรัฐมนตรีในเรื่องใด ถ้ำกฎหมำย กฎ ระเบียบ ประกำศ หรือคำสั่งนั้น
155

หรือมติของคณะรัฐมนตรีในเรื่องนั้นมิได้กำหนดเรื่องกำรมอบอำนำจไว้เป็นอย่ำงอื่น หรือมิได้ห้ำม
เรื่องกำรมอบอำนำจไว้ ผู้ดำรงตำแหน่งนั้นอำจมอบอำนำจให้ผู้ดำรง
ตำแหน่งอื่นในส่วนรำชกำรเดียวกันหรือส่วนรำชกำรอื่น หรือผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดเป็นผู้ปฏิบัติ
รำชกำรแทนได้ ทั้งนี้ตำมหลักเกณฑ์ที่กำหนดในพระรำชกฤษฎีกำ
พระรำชกฤษฎีกำตำมวรรคหนึ่งอำจกำหนดให้มีกำรมอบอำนำจในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
ตลอดจนกำรมอบอำนำจให้ทำนิติกรรมสัญญำ ฟ้องคดีและดำเนินคดี หรือกำหนดหลักเกณฑ์
วิธีกำร หรือเงื่อนไขในกำรมอบอำนำจหรือที่ผู้รับมอบอำนำจต้องปฏิบัติก็ได้ควำมในวรรคหนึ่งมิให้
ใช้บังคับกับอำนำจในกำรอนุญำตตำมกฎหมำยที่บัญญัติให้ต้องออกใบอนุญำตหรือที่บัญญัติผู้มี
อำนำจอนุญำตไว้เป็นกำรเฉพำะ ในกรณีเชนนั้นให้ผู้ดำรงตำแหน่งซึ่งมีอำนำจตำมกฎหมำย
ดังกล่ำวมีอำนำจมอบอำนำจให้ข้ำรำชกำรซึ่งเป็นผู้ใต้บังคับบัญชำและผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดได้ตำมที่
เห็นสมควร หรือตำมที่คณะรัฐมนตรีกำหนดในกรณีมอบอำนำจให้ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด ให้ผู้ว่ำ
รำชกำรจังหวัดมีอำนำจมอบอำนำจได้ต่อไปตำมหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่ผู้มอบอำนำจกำหนดใน
กรณีตำมวรรคสำม เพื่อประโยชน์ในกำรอำนวยควำมสะดวกแกประชำชนจะตรำพระรำชกฤษฎีกำ
กำหนดรำยชื่อกฎหมำยที่ผู้ดำรงตำแหน่งซึ่งมีอำนำจตำมกฎหมำยดังกล่ำวอำจมอบอำนำจตำม
วรรคหนึ่งตำมหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่กำหนดในพระรำชกฤษฎีกำดังกล่ำวก็ได้กำรมอบอำนำจให้
ทำเป็นหนังสือ

48.ตอบ “ก. ไมต้องนำสงคลังตำมกฎหมำยว่ำด้วยวิธีกำรงบประมำณและกฎหมำยว่ำด้วยเงินคง


คลัง”
อธิบำยตำม พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับ
ที่ 8) พ.ศ. 2553
มำตรำ 40/1 ในกำรปฏิบัติรำชกำรของส่วนรำชกำรภำยในกรม ถ้ำกำรปฏิบัติรำชกำรใด
ของส่วนรำชกำรนั้นมีลักษณะเป็นงำนกำรให้บริกำรหรือมีกำรให้บริกำรเกี่ยวเนื่องอยู่ด้วยและหำก
แยกกำรบริหำรออกเป็นหน่วยบริกำรรูปแบบพิเศษจะบรรลุเป้ำหมำยตำมมำตรำ ๓/๑ ยิ่งขึ้น ส่วน
รำชกำรดังกล่ำวโดยควำมเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีจะแยกกำรปฏิบัติรำชกำรในเรื่องนั้น ไปจัดตั้ง
เป็นหน่วยบริกำรรูปแบบพิเศษ ซึ่งมิใช่เป็นส่วนรำชกำรหรือรัฐวิสำหกิจแต่อยู่ในกำกับของส่วน
รำชกำรดังกล่ำวก็ได้ ทั้งนี้ ให้เป็นไปตำมระเบียบสำนักนำยกรัฐมนตรีระเบียบสำนักนำยกรัฐมนตรี
ตำมวรรคหนึ่งอย่ำงน้อยให้กำหนดรำยละเอียดเกี่ยวกับกำรจัดตั้งกำรมอบอำนำจให้ปฏิบัติรำชกำร
แทน วิธีกำรบริหำรงำน กำรดำเนินกำรด้ำนทรัพย์สิน กำรกำกับดูแลสิทธิประโยชน์ของบุคลำกร
และกำรยุบเลิกไว้ด้วยให้หน่วยบริกำรรูปแบบพิเศษ มีหน้ำที่ปฏิบัติงำนให้กับส่วนรำชกำรตำม
ภำรกิจที่จัดตั้งหน่วยบริกำรรูปแบบพิเศษนั้นเป็นหลัก และสนับสนุนภำรกิจอื่นของส่วนรำชกำร
ดังกล่ำวตำมที่ได้รับมอบหมำย และอำจให้บริกำรแกส่วนรำชกำรอื่น หน่วยงำนของรัฐหรือเอกชน
แต่ต้องไมกระทบกระเทือนต่อภำรกิจอันเป็น
156

วัตถุประสงค์แหงกำรจัดตั้งให้รำยได้ของหน่วยบริกำรรูปแบบพิเศษเป็นรำยได้ที่ไมต้องนำสงคลัง
ตำมกฎหมำยว่ำด้วยวิธีกำรงบประมำณและกฎหมำยว่ำด้วยเงินคงคลัง

49.ตอบ “ข้อ ง. คณะรัฐมนตรี”


อธิบำยตำม พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับ
ที่ 8) พ.ศ. 2553
มำตรำ 41 ในกรณีที่นำยกรัฐมนตรีไมอำจปฏิบัติรำชกำรได้ ให้รองนำยกรัฐมนตรีเป็น
ผู้รักษำรำชกำรแทนถ้ำมีรองนำยกรัฐมนตรีหลำยคน ให้คณะรัฐมนตรีมอบหมำยให้รอง
นำยกรัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งเป็นผู้รักษำรำชกำรแทน ถ้ำไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งรองนำยกรัฐมนตรีหรือ
มีแต่ไมอำจปฏิบัติรำชกำรได้ ให้คณะรัฐมนตรีมอบหมำยให้รัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งเป็นผู้รักษำ
รำชกำรแทน

50.ตอบ “ค. จังหวัด อำเภอ”


อธิบำยตำม พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับ
ที่ 8) พ.ศ. 2553
มำตรำ 51 ให้จัดระเบียบบริหำรรำชกำรส่วนภูมิภำค ดังนี้
(1) จังหวัด
(2) อำเภอ

51.ตอบ “ข้อ ข. นิติบุคคล / พระรำชบัญญัติ”


อธิบำยตำม พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับ
ที่ 8) พ.ศ. 2553
มำตรำ 52 ให้รวมท้องที่หลำยๆ อำเภอตั้งขึ้นเป็นจังหวัดมีฐำนะเป็นนิติบุคคล กำรตั้ง ยุบ
และเปลี่ยนแปลงเขตจังหวัด ให้ตรำเป็นพระรำชบัญญัติเพื่อประโยชน์ในกำรบริหำรงำนแบบ
บูรณำกำรในจังหวัดหรือกลุ่มจังหวัด ให้จังหวัดหรือกลุ่มจังหวัดยื่นคำขอจัดตั้งงบประมำณได้ ทั้งนี้
ตำมหลักเกณฑ์ วิธีกำร และเงื่อนไขที่กำหนดในพระรำชกฤษฎีกำ ในกรณีนี้ให้ถือว่ำจังหวัดหรือ
กลุ่มจังหวัดเป็นส่วนรำชกำรตำมกฎหมำยว่ำด้วยวิธีกำรงบประมำณ

52.ตอบ “ตอบ ข้อ ง. ส่งเสริมกำรพัฒนำสตรี เด็กและเยำวชน ผู้สูงอำยุและพิกำร”


อธิบำยตำม พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับ
ที่ 8) พ.ศ. 2553
มำตรำ 52/1 ให้จังหวัดมีอำนำจภำยในเขตจังหวัด ดังต่อไปนี้
(1) นำภำรกิจของรัฐและนโยบำยของรัฐบำลไปปฏิบัติให้เกิดผลสัมฤทธิ์
157

(2) ดูแลให้มีกำรปฏิบัติและบังคับกำรให้เป็นไปตำมกฎหมำย เพื่อให้เกิดควำมสงบ


เรียบร้อยและเป็นธรรมในสังคม
(3) จัดให้มีกำรคุ้มครอง ปองกัน สงเสริม และชวยเหลือประชำชนและชุมชนที่
ด้อยโอกำสเพื่อให้ได้รับควำมเป็นธรรมทั้งด้ำนเศรษฐกิจและสังคมในกำรดำรงชีวิต่อย่ำงพอเพียง
(4) จัดให้มีกำรบริกำรภำครัฐเพื่อให้ประชำชนสำมำรถเข้ำถึงได้อย่ำงเสมอ รวดเร็ว
และมีคุณภำพ
(5) จัดให้มีกำรสงเสริม อุดหนุน และสนับสนุนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อให้
สำมำรถดำเนินกำรตำมอำนำจและหน้ำที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และให้มีขีด
ควำมสำมำรถพร้อมที่จะดำเนินกำรตำมภำรกิจที่ได้รับกำรถ่ำยโอนจำกกระทรวง ทบวง กรม
(6) ปฏิบัติหน้ำที่อื่นตำมที่คณะรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงำนอื่น
ของรัฐมอบหมำย หรือที่มีกฎหมำยกำหนด
เพื่อประโยชน์ในกำรปฏิบัติหน้ำที่ของจังหวัดตำมวรรคหนึ่ง ให้เป็นหน้ำที่ของส่วนรำชกำรและ
หน่วยงำนของรัฐที่ประจำอยู่ในเขตจังหวัดที่จะต้องปฏิบัติให้สอดคล้องและเป็นไปตำมแผนพัฒนำ
จังหวัดตำมมำตรำ 53/1
มำตรำ 53/1 ให้จังหวัดจัดทำแผนพัฒนำจังหวัดให้สอดคล้องกับแนวทำงกำรพัฒนำ
เศรษฐกิจและสังคมในระดับชำติ และควำมต้องกำรของประชำชนในท้องถิ่นในจังหวัด
ในกำรจัดทำแผนพัฒนำจังหวัดตำมวรรคหนึ่ง ให้ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดจัดให้มีกำรประชุม
ปรึกษำหำรือรวมกันระหว่ำงหัวหน้ำส่วนรำชกำรที่มีสถำนที่ตั้งทำกำรอยู่ในจังหวัดไมว่ำจะเป็น
รำชกำรบริหำรสวนภูมิภำคหรือรำชกำรบริหำรสวนกลำงและผู้บริหำรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ทั้งหมดในจังหวัดรวมทั้งผู้แทนภำคประชำสังคมและผู้แทนภำคธุรกิจเอกชน
กำรจัดทำแผนพัฒนำจังหวัดตำมวรรคหนึ่ง จำนวนและวิธีกำรสรรหำผู้แทนภำคประชำสังคมและ
ผู้แทนภำคธุรกิจเอกชนตำมวรรคสอง ให้เป็นไปตำมหลักเกณฑ์และวิธีกำรที่กำหนดในพระรำช
กฤษฎีกำเมื่อประกำศใช้แผนพัฒนำจังหวัดแล้ว กำรจัดทำแผนพัฒนำท้องถิ่นขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นและกำรดำเนินกิจกำรของส่วนรำชกำรและหน่วยงำนอื่นของรัฐทั้งปวงที่กระทำใน
พื้นที่จังหวัดต้องสอดคล้องกับแผนพัฒนำจังหวัดดังกล่ำว

53.ตอบ “ตอบ ข้อ ง. ถูกทุกข้อ”


อธิบำยตำม พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับ
ที่ 8) พ.ศ. 2553
มำตรำ 57 ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดมีอำนำจและหน้ำที่ดังนี้
(1) บริหำรรำชกำรตำมกฎหมำย ระเบียบแบบแผนของทำงรำชกำร และตำม
แผนพัฒนำจังหวัด
(2) บริหำรรำชกำรตำมที่คณะรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม มอบหมำยหรือ
ตำมที่นำยกรัฐมนตรีสั่งกำรในฐำนะหัวหน้ำรัฐบำล
158

(3) บริหำรรำชกำรตำมคำแนะนำและคำชี้แจงของผูต้ รวจรำชกำรกระทรวงในเมื่อ


ไมขัดต่อกฎหมำยระเบียบ ข้อบังคับ หรือคำสั่งของกระทรวง ทบวง กรม มติของคณะรัฐมนตรี
หรือกำรสั่งกำรของนำยกรัฐมนตรี
(4) กำกับดูแลกำรปฏิบัติรำชกำรอันมิใช่รำชกำรส่วนภูมิภำคของข้ำรำชกำรซึ่ง
ประจำอยู่ในจังหวัดนั้นยกเว้นข้ำรำชกำรทหำร ข้ำรำชกำรฝ่ำยตุลำกำร ข้ำรำชกำรฝ่ำยอัยกำร
ข้ำรำชกำรพลเรือนในมหำวิทยำลัยข้ำรำชกำรในสำนักงำนตรวจเงินแผ่นดิน และข้ำรำชกำรครู ให้
ปฏิบัติรำชกำรให้เป็นไปตำมกฎหมำย ระเบียบข้อบังคับหรือคำสั่งของกระทรวง ทบวง กรม หรือ
มติของคณะรัฐมนตรี หรือกำรสั่งกำรของนำยกรัฐมนตรี หรือยับยั้งกำรกระทำใดๆ ของข้ำรำชกำร
ในจังหวัดที่ขัดต่อกฎหมำย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือคำสั่งของกระทรวง ทบวงกรมมติของ
คณะรัฐมนตรี หรือกำรสั่งกำรของนำยกรัฐมนตรีไว้ชั่วครำวแล้วรำยงำนกระทรวง ทบวง กรม ที่
เกี่ยวข้อง
(5) ประสำนงำนและรวมมือกับข้ำรำชกำรทหำร ข้ำรำชกำรฝ่ำยตุลำกำร
ข้ำรำชกำรฝ่ำยอัยกำร ข้ำรำชกำรพลเรือนในมหำวิทยำลัย ข้ำรำชกำรในสำนักงำนตรวจเงิน
แผ่นดิน และข้ำรำชกำรครู ผู้ตรวจรำชกำรและหัวหน้ำ
ส่วนรำชกำรในระดับเขตหรือภำค ในกำรพัฒนำจังหวัดหรือป้องกันภัยพิบัติสำธำรณะ
(6) เสนองบประมำณต่อกระทรวงที่เกี่ยวข้อง หรือเสนอขอจัดตั้งงบประมำณต่อสำนัก
งบประมำณตำม
มำตรำ 52 วรรคสำม และรำยงำนให้กระทรวงมหำดไทยทรำบ
(7) กำกับดูแลกำรบริหำรรำชกำรส่วนท้องถิ่นตำมกฎหมำย
(8) กำกับกำรปฏิบัติหน้ำที่ของพนักงำนองค์กำรของรัฐบำลหรือรัฐวิสำหกิจ ในกำร
นี้ให้มีอำนำจทำรำยงำนหรือแสดงควำมคิดเห็นเกี่ยวกับกำรดำเนินงำนขององค์กำรของรัฐบำลหรือ
รัฐวิสำหกิจต่อรัฐมนตรีเจ้ำสังกัดองค์กำรของรัฐบำลหรือรัฐวิสำหกิจ
(9) บรรจุ แต่งตั้ง ให้บำเหน็จ และลงโทษข้ำรำชกำรส่วนภูมิภำคในจังหวัดตำมกฎหมำย
และตำมที่ปลัดกระทรวง ปลัดทบวง หรืออธิบดีมอบหมำย

54.ตอบ “ตอบ ข้อ ง. หัวหน้ำสำนักงำนจังหวัด”


อธิบำยตำม พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับ
ที่ 8) พ.ศ. 2553
มำตรำ 60 ให้แบ่งส่วนรำชกำรของจังหวัดดังนี้
(1) สำนักงำนจังหวัด มีหน้ำที่เกี่ยวกับรำชกำรทั่วไปและกำรว่ำงแผนพัฒนำจังหวัด
ของจังหวัดนั้นมีหัวหน้ำสำนักงำนจังหวัดเป็นผู้บังคับบัญชำข้ำรำชกำร และรับผิดชอบในกำร
ปฏิบัติรำชกำรของสำนักงำนจังหวัด
159

(2) ส่วนตำงๆ ซึ่งกระทรวง ทบวง กรม ได้ตั้งขึ้น มีหน้ำที่เกี่ยวกับรำชกำรของ


กระทรวง ทบวง กรมนั้นๆ มีหัวหน้ำส่วนรำชกำรประจำจังหวัดนั้นๆ เป็นผู้ปกครองบังคับบัญชำ
รับผิดชอบ

55.ตอบ “ค.พระรำชกฤษฎีกำ ”
อธิบำยตำม พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับ
ที่ 8) พ.ศ. 2553
มำตรำ 61 ในจังหวัดหนึ่งให้มีหน่วยรำชกำรบริหำรรองจำกจังหวัดเรียกว่ำอำเภอ
กำรตั้ง ยุบ และเปลี่ยนเขตอำเภอ ให้ตรำเป็นพระรำชกฤษฎีกำ

56.ตอบ “ข้อ ง. บรรจุ แต่งตั้ง ให้บำเหน็จ และลงโทษข้ำรำชกำรส่วนภูมิภำค”


อธิบำยตำม พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับ
ที่ 8) พ.ศ. 2553
มำตรำ 65 นำยอำเภอมีอำนำจและหน้ำที่ดังนี้
(1) บริหำรรำชกำรตำมกฎหมำยและระเบียบแบบแผนของทำงรำชกำร ถ้ำ
กฎหมำยใดมิได้บัญญัติว่ำกำรปฏิบัติตำมกฎหมำยนั้นเป็นหน้ำที่ของผู้ใดโดยเฉพำะ ให้เป็นหน้ำที่
ของนำยอำเภอที่จะต้องรักษำกำรให้เป็นไปตำมกฎหมำยนั้นด้วย
(2) บริหำรรำชกำรตำมที่คณะรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม มอบหมำยหรือ
ตำมที่นำยกรัฐมนตรีสั่งกำรในฐำนะหัวหน้ำรัฐบำล
(3) บริหำรรำชกำรตำมคำแนะนำและคำชี้แจงของผูว้ ่ำรำชกำรจังหวัดและผู้มี
หน้ำที่ตรวจกำรอื่นซึ่งคณะรัฐมนตรี นำยกรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม และผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด
มอบหมำย ในเมื่อไมขัดต่อกฎหมำยระเบียบ ข้อบังคับ หรือคำสั่งของกระทรวง ทบวง กรม มติ
ของคณะรัฐมนตรี หรือกำรสั่งกำรของนำยกรัฐมนตรี
(4) ควบคุมดูแลกำรบริหำรรำชกำรส่วนท้องถิ่นในอำเภอตำมกฎหมำย

57.ตอบ “ข้อ ง. สุขำภิบำล”


อธิบำยตำม พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับ
ที่ 8) พ.ศ. 2553
มำตรำ 70 ให้จัดระเบียบบริหำรรำชกำรส่วนท้องถิ่น ดังนี้
(1) องค์กำรบริหำรสวนจังหวัด
(2) เทศบำล
(3) สุขำภิบำล
(4) รำชกำรส่วนท้องถิ่นอื่นตำมที่มีกฎหมำยกำหนด
160

58.ตอบ “ข้อ ง. นำงสำวอ้อนฟ้ำ เวชชำชีวะ


อธิบำยตำม จำกเว็บไซต_ opdc.go.th
สำนักงำนคณะกรรมกำรพัฒนำระบบรำชกำร เป็นส่วนรำชกำรไทยประเภทกรม สังกัดสำ นัก
นำยกรัฐมนตรี มีหน้ำที่ริเริ่ม ผลักดัน และเสนอแนะนโยบำยต่อคณะรัฐมนตรีในเรื่องที่เป็น
ประโยชน์ต่อกำรปฏิบัติรำชกำร และกำรพัฒนำระบบรำชกำร ผ่ำนกลไกต่ำง ๆ (ก.พ.ร. อ.ก.พ.ร.
คตป.) เพื่อให้เกิด กำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี (Good Governance) เพื่อประโยชน์สุขของ
ประชำชน ตำมมำตรำ 3/1 ของพระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ.
2545 หน่วยงำนทั้งของรัฐและรัฐวิสำหกิจ
กำรริเริ่ม ผลักดัน และเสนอแนะนโยบำยต่อคณะรัฐมนตรี ในเรื่องที่เป็นประโยชน์ต่อกำรปฏิบัติ
รำชกำรและกำรพัฒนำระบบรำชกำร ผ่ำนกลไกต่ำง ๆ เพื่อให้เกิดกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี
(Good Governance)เพื่อประโยชน์สุขของประชำชน ตำมมำตรำ 3/1 ของพระรำชบัญญัติ
ระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน (ฉบับที่ 5)พ.ศ. 2545 โดย “กำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี”
นั้น เป็นหลักในกำรพัฒนำระบบรำชกำร ที่เริ่มจำกแนวคิดในกำรเปลี่ยนแปลงกำรบริหำรรำชกำร
จำกระบบเดิมที่มีรัฐบำลและระบบรำชกำรเป็นตัวนำ มำเป็นกำรบริหำรรำชกำรที่ต้อง
ประกอบด้วยกลไก 3 สวนที่ทำหน้ำที่ขับเคลื่อนบ้ำนเมือง ได้แก ภำครัฐ ภำคประชำชน และภำค
ประชำสังคม ในกำรดำเนินนโยบำยตำง ๆ นั้น จะต้องหำควำมสมดุลและควำมพอดีของกลไกทั้ง
3 สวนด้วย จึงทำให้กำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองในปัจจุบัน จึงเปลี่ยนจำกคำว่ำ “Government”
ไปสู “Governance” และเมื่อเป็น Governance แล้ว ก็ต้องเป็น Governance ที่ดีด้วย ทั้งใน
มุมมองของภำครัฐ ภำคประชำชน และภำคประชำสังคม ซึ่งกลไกทั้ง 3 สวนนั้นตำงก็มองกำร
บริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ “ดี” ที่แตกตำงกันไปตำมปรัชญำและมุมมองของตนดังนั้น จึงได้มีกำร
นำแนวควำมคิดเรื่องกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี ในมุมมองตำง ๆ มำใสไว้ในกฎหมำยแม่บท
ของกำรปฏิรูประบบรำชกำร นั่นคือ พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน (ฉบับที่ 5)
พ.ศ. 2545 ในมำตรำ 3/1 และถ่ำยทอดออกมำเป็น พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และ
วิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 โดยนำแนวคิดเรื่องกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี
ในพระรำชบัญญัติดังกล่ำว มำขยำยควำมและรำยละเอียดในมำตรำตำง ๆ ของพระรำชกฤษฎีกำฯ
เป็นหลักเกณฑ์ให้ส่วนรำชกำรดำเนินกำรนอกจำกพระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน
(ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 และ พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำร
บ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 แล้วในกำรดำเนินงำนของสำนักงำน ก.พ.ร. ยังได้ยึดหลักและแนวทำง
ตำมแผนยุทธศำสตร์กำรพัฒนำระบบรำชกำรไทย พ.ศ. 2546 - 2550 ควบคูกันไปด้วย

59.ตอบ “ข้อ ก. 30 วัน”


อธิบำยตำม พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม
(ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2553
161

มำตรำ 71/5 ในกรณีที่กรรมกำรผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจำกตำแหน่งก่อนวำระและยังมิได้แต่งตั้ง


กรรมกำรผู้ทรงคุณวุฒิแทนตำแหน่งที่ว่ำง ให้กรรมกำรที่เหลืออยู่ปฏิบัติหน้ำที่ต่อไปได้
เมื่อตำแหน่งกรรมกำรผู้ทรงคุณวุฒิว่ำงลงก่อนวำระ ให้ดำเนินกำรแต่งตั้งกรรมกำรผู้ทรงคุณวุฒิ
ภำยในสำมสิบวัน เว้นแต่วำระของกรรมกำรผู้ทรงคุณวุฒิเหลือไมถึงหนึ่งร้อยแปดสิบวันจะไม
แต่งตั้งกรรมกำรผู้ทรงคุณวุฒิก็ได้

60.ตอบ “ข้อ ข. ไมน้อยกว่ำกึ่งหนึ่ง ไมว่ำผู้ทรงคุณวุฒิที่ทำงำนเต็มเวลำหรือไม”


อธิบำยตำม พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม
(ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2553
มำตรำ 71/7 กำรประชุม ก.พ.ร. ต้องมีกรรมกำรมำประชุมไมน้อยกว่ำกึ่งหนึ่งของจำนวน
กรรมกำรทั้งหมดเท่ำที่มีอยู่ จึงจะเป็นองค์ประชุม ไมว่ำกรรมกำรดังกล่ำวจะเป็นกรรมกำร
ผู้ทรงคุณวุฒิที่ทำงำนเต็มเวลำหรือไมในกำรประชุม ก.พ.ร. ถ้ำประธำนไมอยู่ในที่ประชุมหรือไม
อำจปฏิบัติหน้ำที่ได้ ให้รองประธำนปฏิบัติหน้ำที่แทน ในกรณีที่ไมมีรองประธำนหรือมีแต่ไมอำจ
ปฏิบัติหน้ำที่ได้ ให้กรรมกำรที่มำประชุมเลือกกรรมกำรคนหนึ่งทำหน้ำที่เป็นประธำนในที่ประชุม
กำรวินิจฉัยชี้ขำดให้ถือเสียงข้ำงมำก กรรมกำรคนหนึ่งให้มีเสียงหนึ่งในกำรลงคะแนน ถ้ำมีคะแนน
เสียงเท่ำกัน ให้ประธำนในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ขำด

61.ตอบ “ข้อ ก. สำนักนำยกรัฐมนตรี”


อธิบำยตำม พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติม
(ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2553
มำตรำ 71/9 ให้มีสำนักงำนคณะกรรมกำรพัฒนำระบบรำชกำร เป็นส่วนรำชกำรในสำนัก
นำยกรัฐมนตรีทำหน้ำที่รับผิดชอบงำนธุรกำรของ ก.พ.ร. และหน้ำที่อื่นตำมที่กฎหมำยหรือ ก.พ.ร.
กำหนด โดยมีเลขำธิกำร ก.พ.ร. ซึ่งเป็นข้ำรำชกำรพลเรือนสำมัญเป็ผู้บังคับบัญชำข้ำรำชกำรและ
ลูกจ้ำงของสำนักงำนคณะกรรมกำรพัฒนำระบบรำชกำร และรับผิดชอบกำรปฏิบัติรำชกำรขึ้นตรง
ตอนำยกรัฐมนตรี

62.ตอบ “ข้อ ก. เสนอแนะและให้คำปรึกษำแกคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับนโยบำยและยุทธศำสตร์


กำรบริหำรทรัพยำกรบุคคลภำครัฐในด้ำนมำตรฐำนคำตอบแทน กำรบริหำรและกำรพัฒนำ
ทรัพยำกรบุคคล รวมตลอดทั้งกำรว่ำงแผนกำลังคนและด้ำนอื่น ๆ เพื่อให้ส่วนรำชกำรใช้เป็น
แนวทำงในกำรดำเนินกำร”อธิบำยตำม พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน
พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิม่ เติม (ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2553
มำตรำ 71/10 ก.พ.ร. มีอำนำจหน้ำที่ ดังต่อไปนี้
(1) เสนอแนะและให้คำปรึกษำแกคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับกำรพัฒนำระบบรำชกำร
และงำนของรัฐอย่ำงอื่นซึ่งรวมถึงโครงสร้ำงระบบรำชกำร ระบบงบประมำณ ระบบบุคลำกร
162

มำตรฐำนทำงคุณธรรมและจริยธรรมค่ำตอบแทน และวิธีปฏิบัติรำชกำรอื่น ให้เป็นไปตำมมำตรำ


๓/๑ โดยจะเสนอแนะให้มีกำรกำหนดเป้ำหมำยยุทธศำสตร์ และมำตรกำรก็ได้
(2) เสนอแนะและให้คำปรึกษำแกหน่วยงำนอื่นของรัฐที่มิได้อยู่ในกำกับของ
รำชกำรฝ่ำยบริหำรตำมที่หน่วยงำนดังกล่ำวร้องขอ
(3) รำยงำนต่อคณะรัฐมนตรีในกรณีที่มีกำรดำเนินกำรขัดหรือไมสอดคล้องกับ
หลักเกณฑ์ที่กำหนดในมำตรำ 3/1
(4) เสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อกำหนดหลักเกณฑ์และมำตรฐำนในกำรจัดตั้ง กำร
รวม กำรโอน กำรยุบเลิกกำรกำหนดชื่อ กำรเปลี่ยนชื่อ กำรกำหนดอำนำจหน้ำที่ และกำรแบ่งส่วน
รำชกำรภำยในของส่วนรำชกำรที่เป็นกระทรวง ทบวง กรม หรือส่วนรำชกำรอื่น
(5) เสนอควำมเห็นต่อคณะรัฐมนตรีในกำรตรำพระรำชกฤษฎีกำ และกฎที่ออก
ตำมพระรำชบัญญัตินี้
(6) ดำเนินกำรให้มีกำรชี้แจงทำควำมเข้ำใจแกส่วนรำชกำรและเจ้ำหน้ำที่ที่
เกี่ยวข้องและประชำชนทั่วไปรวมตลอดทั้งกำรฝึกอบรม
(7) ติดตำม ประเมินผล และแนะนำเพื่อให้มีกำรปฏิบัติตำมพระรำชบัญญัตินี้ และ
รำยงำนต่อคณะรัฐมนตรีพร้อมทั้งข้อเสนอแนะ
(8) ตีควำมและวินิจฉัยปัญหำที่เกิดขึ้นจำกกำรใช้บังคับพระรำชบัญญัตินี้ หรือ
กฎหมำยว่ำด้วยกำรปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม รวมตลอดทั้งกำหนดแนวทำงปฏิบัติ ในกรณีที่
เป็นปัญหำ มติของคณะกรรมกำรตำมข้อนี้ เมื่อได้รับควำมเห็นชอบจำกคณะรัฐมนตรีแล้ว ให้ใช้
บังคับได้ตำมกฎหมำย
(9) เรียกให้เจ้ำหน้ำที่หรือบุคคลอื่นใดมำชี้แจงหรือแสดงควำมเห็นประกอบกำร
พิจำรณำ
(10) จัดทำรำยงำนประจำปีเกี่ยวกับกำรพัฒนำและจัดระบบรำชกำรและงำนของ
รัฐอย่ำงอื่นเสนอต่อคณะรัฐมนตรี เพื่อเสนอต่อสภำผู้แทนรำษฎรและวุฒิสภำ
(11) แต่งตั้งคณะกรรมกำร คณะอนุกรรมกำร หรือคณะทำงำน เพื่อปฏิบัติหน้ำที่
ตำงๆ ตำมที่มอบหมำยและจะกำหนดอัตรำเบี้ยประชุมหรือคำตอบแทนอื่นด้วยก็ได้
(12) ปฏิบัติหน้ำที่อื่นตำมที่กำหนดในพระรำชบัญญัตินี้หรือตำมที่คณะรัฐมนตรี
มอบหมำย
163

แนวข้อสอบพระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน
1.ข้อใดเป็นหลักกำรในกำรบริหำรรำชกำรตำม พรบ. ระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534
และที่แก้ไขเพิ่มเติม
ก. เพื่อประโยชน์สุขของประชำชน
ข. เพื่อลดภำรกิจและยุบเลิกหน่วยงำนที่ไม่จำเป็น
ค. เพื่อกระจำยอำนำจตัดสินใจ
ง. ข้อ ก. และ ข.
จ. ข้อ ก. , และ ค. ถูก
2.พ.ร.บ. ระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ 2534 ได้วำงแนวทำงกำรจัดสรรงบประมำณและ
กำร บรรจุแต่งตั้งบุคคลเข้ำดำรงตำแหน่ง หรือปฏิบัติหน้ำที่ตำม พ.ร.บ. จะต้องเป็นไปตำม
หลักกำรใด
ก. ควำมยุติธรรม
ข. ควำมเสมอภำค
ค. ควำมเท่ำเทียมกัน
ง. ควำมมีประสิทธิภำพ
จ. ถูกทุกข้อ
3.กำรจัดระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดินมีรูปแบบใด
ก. กระทรวง ทบวง กรม
ข. จังหวัด อำเภอ
ค. จังหวัด อำเภอ กิ่งอำเภอ ตำบล หมู่บ้ำน
ง. ส่วนกลำง ส่วนภูมิภำค ส่วนท้องถิ่น
จ. ก และ ข
4.กำรกำหนดตำแหน่งและอัตรำเงินเดือน ของส่วนรำชกำรต่ำง ๆ ตำม พ.ร.บ. ระเบียบบริหำร
รำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534 จะต้องคำนึงถึง
ก. ภำรกิจที่รับผิดชอบ
ข. ประสิทธิภำพของส่วนรำชกำร
ค. คุณภำพและปริมำณของส่วนรำชกำรนั้น ๆ
ง. ก และ ค
จ. ถูกทุกข้อ
5.ข้อใดเป็นกำรบริหำรรำชกำรส่วนกลำง
ก. กระทรวง
ข. ทบวง
ค. ส่วนรำชกำรทีช่ ื่อเรียกอย่ำงอื่นมีฐำนะเป็นกรม แต่ไม่ได้สังกัดกระทรวงหรือทบวง
ง. ข้อ ก. และ ข. ถูก
164

จ. ถูกทุกข้อ
6.ส่วนรำชกำรใด ไม่มีฐำนะเป็นนิติบุคคล
ก. สำนักนำยกรัฐมนตรี
ข. ทบวง ซึ่งสังกัดสำนักนำยกรัฐมนตรี
ค. กรมซึ่งไม่สังกัดกระทรวง
ง. ข้อ ก. และข้อ ค. แล้วแต่กรณี
จ. ทุกข้อมีฐำนะเป็นนิติบุคคล
7.โดยทั่วไปกำรจัดกำรจัดตั้ง กำรรวม กำรโอน กระทรวง ทบวง กรม จะต้องตรำเป็นกฎหมำยใน
ลำดับใด
ก. พระรำชบัญญัติ
ข. พระรำชกำหนด
ค. พระรำชกฤษฎีกำ
ง. กฎกระทรวง
จ. ระเบียบกระทรวง
8.ข้อใดผิด
ก. กำรโอนส่วนรำชกำรเข้ำด้วยกันถ้ำไม่มีกำรกำหนดตำแหน่งหรืออัตรำกำลังของส่วน
รำชกำรหรือลูกจ้ำงเพิ่มขึ้นให้ตรำเป็นพระรำชกฤษฎีกำ
ข. ให้สำนักงำนข้ำรำชกำรพลเรือน และสำนักงำนพัฒนำระบบรำชกำรมีหน้ำที่กำร
ตรวจสอบดูแลมิให้ส่วนรำชกำรที่มีพระรำชกฤษฎีกำให้รวมหรือโอนเข้ำด้วยกัน กำหนดตำแหน่ง
หรือ อัตรำกำลังของข้ำรำชกำรหรือลูกจ้ำงเพิ่มจนกว่ำจะครบสำมปีนับแต่วันที่พระรำชกฤษฎีกำมี
ผล บังคับใช้
ค. กำรเปลี่ยนชื่อส่วนรำชกำรที่มีฐำนะเป็นกรมให้ตรำเป็นพระรำชกฤษฎีกำ ง. กำรยุบส่วน
รำชกำรที่มีฐำนะเป็นกระทรวงให้ตรำเป็นพระรำชกฤษฎีกำ
จ. ข้อ ข. และ ง.
9.หน่วยงำนใดมีหน้ำที่ในกำรตรวจสอบดูแล ส่วนรำชกำรที่จัดตั้งขึ้นใหม่ มิให้มีกำรกำหนด
ตำแหน่ง หรือ อัตรำกำลังของข้ำรำชกำรหรือลูกจ้ำงเพิ่มขึ้นจนกว่ำจะครบสำมปี
ก. สำนักงำนพัฒนำระบบรำชกำร
ข. สำนักงำนคณะกรรมกำรข้ำรำชกำรพลเรือน
ค. สำนักงบประมำณ
ง. ข้อ ก. ข. และ ค.
จ. ข้อ ข. และ ค.
165

10.หำกกรมกำรปกครอง จะเปลี่ยนชื่อเป็นกรมกำรควำมมั่นคงภำยใน จะต้องตรำเป็นกฎหมำยใด


ก. พระรำชบัญญัติ
ข. พระรำชกฤษฎีกำ
ค. พระรำชกำหนด
ง. กฎกระทรวง
จ. ระเบียบกระทรวง
11.กรณีที่กรมส่งเสริมกำรปกครองท้องถิ่น หมดควำมจำเป็น หำกต้องกำรที่จะยุบกรมดังกล่ำว
จะต้องตรำเป็น กฎหมำยใด
ก. พระรำชบัญญัติๆ
ข. พระรำชกฤษฎีกำ
ค. พระรำชกำหนด
ง. กฎกระทรวง
จ. ระเบียบกระทรวง
12.กำรแบ่งส่วนรำชกำรภำยในกรม จะต้องตรำเป็นกฎหมำยข้อใด
ก. พระรำชบัญญัติ
ข. พระรำชกฤษฎีกำ
ค. พระรำชกำหนด
ง. กฎกระทรวง
จ. ระเบียบกระทรวง
13.ข้อใดกล่ำวผิดเกี่ยวกับกำรยุบเลิกกรม
ก. จัดทำเป็นพระรำชกฤษฎีกำ
ข. ให้งบประมำณรำยจ่ำยที่เหลืออยู่ของกรมนั้นตกเป็นงบกลำง
ค. ทรัพย์สินอื่นของกรมนั้นให้โอนแก่ส่วนรำชกำรอื่นตำมที่กำหนดไว้ในพระรำชกฤษฎีกำ
ง. ข้ำรำชกำรหรือลูกจ้ำงซึ่งต้องพ้นจำกรำชกำรเพรำะเหตุยุบตำแหน่งให้ได้รับเงินชดเชย
จ. ข้อ ข. และ ค.
14.หน่วยงำนใดมีหน้ำที่เสนอควำมเห็นต่อคณะรัฐมนตรี ให้แบ่งส่วนรำชกำรภำยในของกรมกำร
ปกครอง
ก. สำนักงำนคณะกรรมกำรข้ำรำชกำรพลเรือน
ข. กระทรวงมหำดไทย
ค. สำนักงำนพัฒนำระบบรำชกำร
ง. สำนักงบประมำณ
จ. ข้อ ก. และ ข.
166

15.บุคคลใดเป็นผู้รับผิดชอบในกำรกำหนดนโยบำยเป้ำหมำย และผลสำฤทธิ์ของงำนในสำนัก
นำยกรัฐมนตรี
ก. นำยกรัฐมนตรี
ข. ปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรี
ค. รัฐมนตรีประจำสำนักนำยกรัฐมนตรี
ง. ข้อ ก. และ ข. ถูก
จ. ข้อ ก. ข. และ ค. ถูก
16.ในกรณีที่นำยกรัฐมนตรีตำย ขำดคุณสมบัติ ต้องคำพิพำกษำให้จำคุก หรือศำลรัฐธรรมนูญ
วินิจฉัย ว่ำควำมเป็นรัฐมนตรีของนำยกสิ้นสุดลงในระหว่ำงที่รอคณะรัฐมนตรีชุดใหม่เข้ำมำรับ
หน้ำที่นั้น คณะรัฐมนตรีชุดเดิม จะต้องทำอย่ำงไร
ก. มอบหมำยให้รองนำยกรัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งรักษำรำชกำรแทนนำยกรัฐมนตรี
ข. มอบหมำยให้รองนำยกรัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งปฏิบัติหน้ำที่แทนนำยกรัฐมนตรี
ค. มอบหมำยให้รองนำยกรัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งปฏิบัติรำชกำรแทนนำยกรัฐมนตรี
ง. มอบหมำยให้รองนำยกรัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งปฏิบัติหน้ำที่แทนนำยกรัฐมนตรีแล้วแต่
กรณี
จ. มอบหมำยให้รองนำยกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งปฏิบัติรำชกำรแทนแล้วแต่
กรณี
17.อำนำจนำยกรัฐมนตรีในฐำนะหัวหน้ำรัฐบำล กำหนดไว้ในมำตรำใดและมีกี่ข้อ
ก. ม. 8 11 ข้อ
ข. ม. 11 ข้อ
ค. ม.10 10 ข้อ
ง. ม.11 9 ข้อ
จ. ม.11 11 ข้อ
18.ข้อใดกล่ำวผิดเกี่ยวกับอำนำจหน้ำที่ของนำยกรัฐมนตรีในฐำนะหัวหน้ำรัฐบำล
ก. สั่งให้รำชกำรส่วนกลำงรำยงำนกำรปฏิบัติรำชกำร
ข. สั่งให้รำชกำรส่วนภูมิภำคชี้แจงแสดงควำมคิดเห็น
ค. สั่งให้รำชกำรส่วนท้องถิ่นรำยงำนกำรปฏิบัติรำชกำร
ง. สั่งสอบสวนข้อเท็จจริงเกี่ยวกับกำรปฏิบัติรำชกำรของรำชกำรส่วนท้องถิ่น
จ. ข้อ ค. และ ข้อ ง. กล่ำวผิด
19.กรณีจำเป็นนำยกรัฐมนตรีสำมำรถยังยั้งกำรปฏิบัติรำชกำรของหน่วยงำนใดบ้ำง หำก
หน่วยงำน นั้น ปฏิบัติรำชกำรขัดต่อนโยบำยของรัฐบำล
ก. รำชกำรส่วนกลำง
ข. รำชกำรส่วนภูมิภำค
ค. รำชกำรส่วนท้องถิ่น
167

ง. เฉพำะข้อ ก. และ ข.
จ. ยับยั้งได้ทั้ง ก. ข. และ ค.
20.นำยกรัฐมนตรีสำมำรถยับยั้งกำรปฏิบัติรำชกำรของส่วนรำชกำรท้องถิ่นได้ในกรณีใด
ก. ไม่สำมำรถยับยั้งเป็นอิสระของรำชกำรส่วนท้องถิ่นตำมหลักกำรปกครองตนเอง
ข. ยับยั้งได้หำกรำชกำรส่วนท้องถิ่นกระทำกำรก่อให้เกิดควำมเสียหำยต่อท้องถิ่น
ค. กรณีที่รำชกำรส่วนท้องถิ่นปฏิบัติรำชกำรต่อนโยบำยหรือมติของคณะรัฐมนตรี
ง. ข้อ ข. และ ค.
จ. ข้อ ก. และ ค.
21.ข้อใดมิได้เป็นอำนำจกำรบังคับของนำยกรัฐมนตรี
ก. มีอำนำจบังคับบัญชำปลัดกระทรวงมหำดไทย
ข. มีอำนำจบังคับบัญชำปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรี
ค. มีอำนำจบังคับบัญชำผู้ว่ำกำรไฟฟ้ำส่วนภูมิภำค
ง. ข้อ ก. และ ค. ถูก
จ. ไม่มีข้อถูก
22.ข้อใดผิด
ก. นำยกรัฐมนตรีมีอำนำจสั่งให้ข้ำรำชกำรกรมกำรปกครองมำปฏิบัติรำชกำรสำนัก
นำยกรัฐมนตรี โดยให้ขำดจำกอัตรำเงินเดือนทำงสังกัดเดิม
ข. นำยกรัฐมนตรีมีอำนำจสั่งให้ข้ำรำชกำรกระทรวงคมนำคม มำปฏิบัติรำชกำรสำนัก
นำยกรัฐมนตรี โดยอัตรำเงินเดือนไม่ขำดจำกทำงสังกัดเดิม
ค. แต่งตั้งรองอธิบดีกรมส่งเสริมกำรปกครองท้องถิ่น ไปดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมกำร
ปกครอง โดยให้รับเงินเดือนจำกกรมกำรปกครอง
ง. แต่งตั้งอธิบดีกรมทำงหลวงชนบทไปดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมกำรปกครองโดยอนุมัติ
คณะรัฐมนตรี
จ. ไม่มีข้อใดผิด
23.ระเบียบปฏิบัติรำชกำรที่นำยกรัฐมนตรีได้วำงขึ้น เพื่อกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดินเป็นไปโดย
รวดเร็วและมีประสิทธิภำพตำมระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดินกำหนดให้มีผลใช้บังคับเมื่อใด
ก. ประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำแล้ว
ข. เมื่อคณะรัฐมนตรีให้ควำมเห็นชอบแล้ว
ค. มีผลบังคับใช้ทันทีที่นำยกรัฐมนตรีในฐำนะหัวหน้ำรัฐบำลลงนำมในคำสั่ง
ง. มีผลบังคับตำมที่ระบุไว้ในระเบียบ
จ. มีผลบังคับใช้ตำมวันที่ระบุไว้ในระเบียบ และได้ประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำแล้ว
24.บุคคลตำมข้อใด เป็นข้ำรำชกำรเมือง
ก. เลขำธิกำรนำยกรัฐมนตรี
ข. รองเลขำธิกำรนำยกรัฐมนตรีฝ่ำยบริหำร
168

ค. รองเลขำธิกำรนำยกรัฐมนตรีฝ่ำยกำรเมือง
ง. ข้อ ก. และ ค. ถูก
จ. ข้อ ก ข และ ค
25.สำนักเลขำธิกำรนำยกรัฐมนตรี มีอำนำจหน้ำที่ในเรื่องใด
ก. รำชกำรทำงกำรเมือง
ข. รำชกำรของรัฐสภำ
ค. รำชกำรในพระองค์
ง. ข้อ ข. และ ค. ถูก
จ. ถูกทุกข้อ
26.บุคคลตำมข้อใดต่อไปนี้อำจเป็นข้ำรำชกำรกำรเมืองหรือข้ำรำชกำรพลเรือนสำมัญก็ได้
ก. เลขำธิกำรคณะรัฐมนตรี
ข. รองเลขำธิกำรคณะรัฐมนตรี
ค. ผู้ช่วยเลขำธิกำรคณะรัฐมนตรี
ง. ข้อ ข. และ ค.
จ. ไม่มีข้อใดถูก
27.ข้อใดมิใช่อำนำจของปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรี
ก. รับผิดชอบควบคุมรำชกำรประจำในสำนักนำยกรัฐมนตรี
ข. รับผิดชอบกำหนดแนวทำงและแผนปฏิบัติรำชกำรของสำนักนำยกรัฐมนตรี
ค. เป็นผู้บังคับบัญชำข้ำรำชกำรสูงสุดของส่วนรำชกำรในสำนักนำยกรัฐมนตรียกเว้น
ข้ำรำชกำรของ ส่วนรำชกำรซึ่งหัวหน้ำส่วนรำชกำรขึ้นตรงต่อนำยกรัฐมนตรี
ง. เป็นผู้บังคับบัญชำข้ำรำชกำรในสำนักงำนปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรี
จ. ทุกข้อเป็นอำนำจของปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรี
28.ตำแหน่งใดระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดินมิได้กำหนดไว้
ก. ผูช้ ่วยเลขำธิกำรนำยกรัฐมนตรี
ข. ผู้ช่วยปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรี
ค. ผู้ช่วยเลขำธิกำรคณะรัฐมนตรี
ง. ผู้ช่วยปลัดกระทรวง
จ. ข้อ ข. และ ง.
29.ส่วนรำชกำรใดต่อไปนี้ ตำมระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดินไม่มีฐำนะเป็นนิติบุคคล
ก. สำนักนำยกรัฐมนตรี
ข. สำนักงำนปลัดกระทรวง
ค. สำนักงำนเลขำนุกำรรัฐมนตรี
ง. ข้อ ก. และ ข.
จ. ข้อ ก. และ ค.
169

30.กำรจัดตั้งสำนักนโยบำยและแผน เป็นส่วนรำชกำรภำยในกระทรวง จะสำมำรถกระทำได้โดย


วิธี ใด
ก. ตรำเป็นพระรำชกฤษฎีกำ
ข. ออกเป็นกฎกระทรวง
ค. ออกเป็นพระรำชกำหนดคณะรัฐมนตรี
ง. ออกเป็นระเบียบบริหำรรำชกำรโดยอนุมัติ
จ. โดยคำสั่งรัฐมนตรีเจ้ำสังกัด
31.กำรจัดระเบียบรำชกำรของกระทรวง ตำม พ.ร.บ. ระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน(ฉบับที่ 5)
พ.ศ. 2545 ตำแหน่งใดไม่ได้ถูกกำหนดไว้
ก. ผู้ช่วยเลขำนุกำรรัฐมนตรี
ข. ผู้ช่วยปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรี
ค. ผูช้ ่วยปลัดกระทรวง
ง. หัวหน้ำสำนักงำนรัฐมนตรี
จ. ข้อ ค. และ ง.
32.กำรกำหนดในส่วนรำชกำรระดับกรมตั้งแต่สองกรมขึ้นไป อยู่ภำยใต้กลุ่มภำรกิจเดียวกัน
สำมำรถ กระทำได้โดยอำศัยกฎหมำยใด
ก. พระรำชกฤษฎีกำ
ข. ระเบียบกระทรวง
ค. มติคณะรัฐมนตรี
ง. กฎกระทรวง
จ. เป็นไปตำมกฎหมำยว่ำด้วยกำรปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม
33.ในกำรกำหนดให้ส่วนรำชกำรระดับกรมตั้งแต่สองกรมขึ้นไปอยู่ในกลุ่มภำรกิจเดียวกันนั้น
หัวหน้ำ กลุ่มภำรกิจรับผิดชอบรำชกำรและบังคับบัญชำข้ำรำชกำร จะต้องเป็นผู้ดำรงตำแหน่งใด
ก. รองปลัดกระทรวง
ข. อธิบดี
ค. ผู้ช่วยปลัดกระทรวง
ง. ข้อ ก. และ ข.
จ. ถูกทุกข้อ
34.กำรปฏิบัติรำชกำรของ หัวหน้ำกลุ่มภำรกิจ ขึ้นตรงต่อบุคคลใด
ก. รัฐมนตรี
ข. ปลัดกระทรวง
ค. รองปลัดกระทรวง
ง. รัฐมนตรีหรือปลัดกระทรวงก็ได้ แล้วแต่จะกำหนดไว้ในกฎกระทรวง
จ. เฉพำะข้อ ข. และ ค. เท่ำนั้น
170

35.บุคคลที่มีหน้ำที่ในกำรวำงแผนและประสำนกิจกรรมให้มีกำรใช้ทรัพยำกรของส่วนรำชกำรต่ำง
ๆ ในกระทรวงร่วมกัน เพื่อให้เกิดประสิทธิภำพ ตำมมติและเป้ำหมำยของกระทรวง ได้แก่
ก. รัฐมนตรี
ข. ปลัดกระทรวง
ค. หัวหน้ำกลุ่มภำรกิจ
ง. หัวหน้ำส่วนรำชกำรระดับกรม
จ. ข้อ ข. ค. และ ง.
36.ตำมพ.ร.บ. ระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 หำกกระทรวงใดมิได้จัด
ให้มี กลุ่มภำรกิจ และปริมำณงำนมำก จะสำมำรถมีรองปลัดกระทรวงได้กี่คน
ก. 1 คน
ข. 2 คน
ค. 3 คน
ง. 4 คน
จ. เป็นไปตำมที่คณะกรรมกำรข้ำรำชกำรพลเรือนและคณะกรรมกำรพัฒนำระบบรำชกำร
ร่วมกันอนุมัติ
37.กระทรวงใดมีกำรแบ่งกลุ่มภำรกิจ
ก. กระทรวงกำรท่องเที่ยวและกีฬำ
ข. กระทรวงพัฒนำสังคมและควำมมั่นคงของมนุษย์
ค. กระทรวงพลังงำน
ง. กระทรวงเทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสื่อสำร
จ. ไม่มีข้อถูก
38.กระทรวงมหำดไทยมีกลุ่มภำรกิจ ดังนี้ข้อใดมิใช่
ก. ด้ำนกิจกำรควำมมั่นคงภำยใน
ข. ด้ำนพัฒนำเมืองและส่งเสริมกำรปกครองท้องถิ่น
ค. ด้ำนพัฒนำชุมชนและและส่งเสริมกำรปกครองท้องถิ่น
ง. ด้ำนสำธำรณภัยและพัฒนำเมือง
จ. ข้อ ข. และ ง
39.กลุ่มภำรกิจของกระทรวงมหำดไทยมีกำรบังคับบัญชำในลักษณะใด
ก. ทุกกลุ่มภำรกิจปฏิบัติรำชกำรขึ้นตรงต่อรัฐมนตรี
ข. ทุกกลุ่มภำรกิจปฏิบัติรำชกำรขึ้นตรงต่อปลัดกระทรวงแต่ให้รำยงำนโดยตรงต่อรัฐมนตรี
อีกต่อหนึ่งด้วย
ค. ทุกกลุ่มภำรกิจปฏิบัติรำชกำรขึ้นตรงต่อปลัดกระทรวงเว้นแต่ด้ำนกิจกำรควำมมั่นคง
ภำยในขึ้นตรงต่อรัฐมนตรี
171

ง. ทุกกลุ่มภำรกิจปฏิบัติรำชกำรขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีเว้นแต่ด้ำนกิจกำรควำมมั่นคงภำยใน
ขึ้น ตรงต่อปลัดกระทรวง
จ. ผิดทุกข้อ
40.ในกำรจัดระเบียบรำชกำรของกระทรวง ส่วนรำชกำรใดอำจมีหรือไม่มีก็ได้
ก. สำนักนำยกรัฐมนตรี
ข. สำนักงำนปลัดกระทรวง
ค. กรม
ง. ข้อ ก. และ ข.
จ. ต้องมีหมดทั้งข้อ ก. และ ค.
41.สำนักงำนรัฐมนตรีมีอำนำจหน้ำที่เกี่ยวกับเรื่องใด
ก. รำชกำรทำงเมือง
ข. รำชกำรทั่วไปของกระทรวง
ค. รำชกำรที่มิได้กำหนดให้เป็นหน้ำที่ของกรมหนึ่งกรมใดโดยเฉพำะ
ง. ข้อ ก. และ ข.
จ. ข้อ ก. และ ค.
42.ข้อใดมิใช่อำนำจหน้ำที่ของสำนักงำนปลัดกระทรวง
ก. รำชกำรทำงเมือง
ข. รำชกำรทั่วไปของกระทรวง
ค. รำชกำรที่มิได้กำหนดให้เป็นหน้ำที่ของกรมหนึ่งกรมใดโดยเฉพำะ
ง. เร่งรัดกำรปฏิบัติรำชกำรของส่วนรำชกำรในกระทรวง
จ. ก และ ง

43.ในกำรจัดระเบียบรำชกำรในกรม โดยทั่วไปส่วนรำชกำรใด จะต้องถูกกำหนดไว้เสมอ


ก. สำนักงำนเลขำนุกำรกรม
ข. กอง
ค. ส่วนรำชกำรที่มีฐำนะเทียบกอง
ง. ข้อ ก. และ ข.
จ. ถูกทุกข้อ
44.กรณีที่มีกฎหมำยอื่นกำหนดหน้ำที่ของอธิบดีไว้เป็นกำรเฉพำะ กำรใช้อำนำจและกำรปฏิบัติ
หน้ำที่ ตำมกฎหมำยดังกล่ำว อธิบดีจะต้องคำนึงถึง...
ก. นโยบำยที่คณะรัฐมนตรีได้แถลงไว้ต่อรัฐสภำ
ข. นโยบำยที่คณะรัฐมนตรีกำหนดหรืออนุมัติ
ค. นโยบำย แนวทำง และแผนกำรปฏิบัติของกระทรวง
ง. ก และ ค
172

จ. ข้อ ก ข และ ค
45.กระทรวงใดมีเหตุพิเศษ ต้องกำรแบ่งท้องที่ออกเป็นเขต และให้มีหัวหน้ำส่วนรำชกำรประจำ
เขต สำมำรถทำได้โดยอำศัยกฎหมำยใด
ก. พระรำชบัญญัติ
ข. ระเบียบสำนักนำยกรัฐมนตรี
ค. พระรำชกฤษฎีกำ
ง. กฎกระทรวง
จ. มติคณะรัฐมนตรี
46.กำรที่กรมใด จะต้องแบ่งท้องที่ออกเป็นเขตและให้มีหัวหน้ำส่วนรำชกำรประจำเขต มี
วัตถุประสงค์ในกำรแบ่งอย่ำงใด
ก. เพื่อปฏิบัติทำงกำรเงิน
ข. เพื่อปฏิบัติงำนวิชำกำร
. เพื่อปฏิบัติงำนตรวจสอบ
ง. เพื่อปฏิบัติงำนกำรวิจัย
จ. ข้อ ข. และ ค.
47.กำรแบ่งท้องที่ออกเป็นเขตเพื่อให้มีหัวหน้ำส่วนรำชกำรประจำเขตปฏิบัติงำนทำงวิชำกำรไม่
บังคับ ใช้แก่ส่วนรำชกำรใดต่อไปนี้
ก. กระทรวงต่ำงประเทศ
ข. สำนักงำนตำรวจแห่งชำติ
ค. สำนักงำนอัยกำรสูงสุด
ง. ข้อ ข. และ ค.
จ. ถูกทุกข้อ
48.กำรที่กระทรวง ทบวง กรมใด จะกำหนดให้มีผู้ตรวจรำชกำรของกระทรวง ทบวง กรม ต้อง
พิจำรณำจำกสิ่งใด
ก. ลักษณะงำนที่มีกำรตรวจสอบ
ข. สภำพและประมำณของงำน
ค. ภำรกิจที่รับผิดชอบ
ง. ข้อ ข. และ ค.
จ. ถูกทุกข้อ
49.ตำมกฎหมำยว่ำด้วยระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน กำรมอบอำนำจในกำรปฏิบัติรำชกำร
แทน นำยกรัฐมนตรีข้อใดถูก (ยกเลิกแล้ว)
ก. นำยกรัฐมนตรีมอบอำนำจให้รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทย
ข. นำยกรัฐมนตรีมอบอำนำจให้ปลัดกระทรวง
ค. นำยกรัฐมนตรีมอบอำนำจให้รัฐมนตรีประจำสำนักนำยกรัฐมนตรี
173

ง. ข้อ ก. และ ค. ถูก


จ. ถูกทุกข้อ
50.ตำมกฎหมำยระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน กำรมอบอำนำจในกำรปฏิบัติรำชกำรแทนข้อใด
ไม่ ถูกต้อง
ก. ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดมอบอำนำจให้ส่วนรำชกำรประจำอำเภอ
ข. ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดมอบอำนำจให้หัวหน้ำส่วนรำชกำรประจำกิ่งอำเภอ
ค. หัวหน้ำส่วนรำชกำรประจำจังหวัดมอบอำนำจให้นำยอำเภอ
ง. ข้อ ข. และ ค. ไม่ถูกต้อง
จ. ข้อ ก, ข และ ค. ไม่ถูกต้อง
51.ข้อใดกล่ำวผิดเกี่ยวกับกำรมอบอำนำจให้ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดได้ (ยกเลิกแล้ว)
ก. นำยกรัฐมนตรี
ข. รัฐมนตรีที่มิใช่รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทย
ค. ปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรี
ง. ปลัดกระทรวงศึกษำธิกำร
จ. ก และ ค
52.ข้อใดกล่ำวผิดเกี่ยวกับกำรมอบอำนำจ(ยกเลิกแล้ว)
ก. หัวหน้ำส่วนรำชกำรจังหวัดมอบอำนำจให้นำยอำเภอ
ข. นำยอำเภออำจมอบอำนำจให้หัวหน้ำส่วนรำชกำรประจำอำเภอ
ค. หัวหน้ำส่วนรำชกำรจังหวัดมอบอำนำจให้หัวหน้ำส่วนรำชกำรประจำกิ่งอำเภอ
ง. ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดมอบอำนำจให้หัวหน้ำส่วนรำชกำรประจำกิ่งอำเภอ
จ. ข้อ ก. และ ง.
53.ข้อใดกล่ำวผิดเกี่ยวกับกำรมอบอำนำจของผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด
ก. กำรมอบอำนำจต้องทำเป็นหนังสือ
ข. ถ้ำอำนำจที่ได้รับมอบมำจำกผู้อื่นผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดจะมอบอำนำจต่อมิได้เว้นแต่มอบ
อำนำจให้รองผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด
ค. ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดเมื่อรับมอบอำนำจมำแล้วจะมอบอำนำจให้แก่หัวหน้ำส่วนรำชกำร
ประจำจังหวัดต้องได้รับควำมเห็นชอบจำกผู้รับมอบอำนำจชั้นต้นก่อน
ง. ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดสำมำรถมอบอำนำจให้หัวหน้ำส่วนรำชกำรประจำอำเภอได้
จ. ไม่มีข้อผิด
54.เมื่อรัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทย มอบอำนำจให้ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด ปฏิบัติรำชกำรแทน
แล้ว หำกผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดมอบอำนำจดังกล่ำวให้ปลัดจังหวัดปฏิบัติรำชกำรแทน จะต้องทำ
อย่ำงไร
ก. สำมำรถมอบอำนำจได้ทันที
ข. มอบอำนำจแล้วรำยงำนให้รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทยทรำบ
174

ค. ไม่สำมำรถมอบได้เพรำะเป็นอำนำจเฉพำะตัว
ง. ขอควำมเห็นชอบจำกรัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทยก่อน เมื่อได้รับควำมเห็นชอบ
แล้วจึงสำมำรถทำกำรมอบอำนำจได้
จ. ผิดทุกข้อ
55.ข้อใดกล่ำวผิดเกี่ยวกับกำรมอบอำนำจตำมพระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน
(ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2550
ก. ผู้มีอำนำจมอบอำนำจให้ผู้ดำรงตำแหน่งอื่นได้เฉพำะในส่วนรำชกำรเดียวกันเว้นแต่มอบ
อำนำจให้ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด
ข. กำหนดหลักเกณฑ์มอบอำนำจไว้ในพระรำชกฤษฎีกำ
ค. อำนำจในกำรออกใบอนุญำตที่กฎหมำยกำหนดไว้เป็นกำรเฉพำะอำจมอบอำนำจให้
เฉพำะรำชกำรซึ่งเป็นผู้ใต้บังคับบัญชำและผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดเท่ำนั้น
ง. วำงหลักกำรสนับสนุนให้มีกำรมอบอำนำจกว้ำงขวำงขึ้นเพื่อเน้นกำรบริกำรประชำชนให้
มีควำมสะดวกและรวดเร็ว
จ. ผู้มอบอำนำจพิจำรณำถึงกำรอำนวยควำมสะดวกแก่ประชำชน ควำมรวดเร็วในกำร
ปฏิบัติรำชกำร กำรกระจำยควำมรับผิดชอบตำมสภำพตำแหน่ง
56.เมื่อมีกำรมอบอำนำจในกำรปฏิบัติรำชกำรแทนให้แก่บุคคลใดแล้วผู้มอบอำนำจนั้น ยังคง
หน้ำที่อย่ำงไร
ก. ยังคงมีอำนำจอยู่เช่นเดิมและแก้ไขกำรปฏิบัติรำชกำรของผู้รับมอบอำนำจได้
ข. มีหน้ำที่กำกับติดตำมผลกำรปฏิบัติรำชกำรของผู้รับมอบอำนำจ
ค. มีอำนำจแนะนำและแก้ไขกำรปฏิบัติรำชกำรของผู้รับมอบอำนำจได้
ง. ข้อ ข. และ ค. ถูก
จ. ก ข และ ค
57.กำรรักษำรำชกำรแทนข้อใดถูก
ก. กรณีที่นำยกรัฐมนตรีไม่อำจปฏิบัติรำชกำรแทนได้และไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งรอง
นำยกรัฐมนตรีให้รัฐมนตรีประจำสำนักนำยกรัฐมนตรีเป็นผู้รักษำรำชกำรแทน
ข. กรณีนำยกรัฐมนตรีไม่อำจปฏิบัติรำชกำรได้ให้คณะรัฐมนตรีมอบอำนำจให้รัฐมนตรีคน
ใดคนหนึ่งเป็นผู้รักษำรำชกำรแทน
ค. กรณีที่นำยกรัฐมนตรีไม่อำจปฏิบัติรำชกำรได้และมีรองนำยกรัฐมนตรีหลำยคนให้
นำยกรัฐมนตรีมอบหมำยให้รองนำยกรัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งเป็นผู้รักษำรำชกำรแทน
ง. กรณีที่นำยกรัฐมนตรีไม่อำจปฏิบัติรำชกำรได้และมีรองนำยกรัฐมนตรีหลำยคนได้ให้
คณะรัฐมนตรีมอบหมำยให้รองนำยกรัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งเป็นผู้รักษำรำชกำรแทน
จ. กรณีที่ไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งนำยกรัฐมนตรีและมีรองนำยกรัฐมนตรีหลำยคนได้ให้
คณะรัฐมนตรีมอบหมำยให้รองนำยกรัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งเป็นผู้รักษำรำชกำรแทน
175

58. ในกรณีที่รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงไม่อำจปฏิบัติรำชกำรแทนได้...........ข้อใดกล่ำวถูกต้อง
ก. ให้รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงแต่งตั้งรัฐมนตรีช่วยว่ำกำรกระทรวงคนใดคนหนึ่งเป็น
ผู้รักษำ รำชกำรแทน
ข. ถ้ำไม่มีรัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงให้ปลัดกระทรวงเป็นผู้รักษำรำชกำรแทน
ค. ถ้ำมีรัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงหลำยคนให้นำยกรัฐมนตรีมอบหมำยให้รัฐมนตรีช่วยว่ำ
กำร กระทรวงคนใดคนหนึ่งเป็นผู้รักษำรำชกำรแทน
ง. ถ้ำไม่มีรัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงให้คณะรัฐมนตรีมอบหมำยให้รัฐมนตรีคนใดคนหนึ่งเป็น
ผู้รักษำรำชกำรแทน
จ. ข้อ ค. และ ง.
59.กรณีที่ปลัดกระทรวงไม่อำจปฏิบัติรำชกำรแทนได้และไม่มีรองปลัดกระทรวงหรือมีแต่ไม่อำจ
ปฏิบัติรำชกำร ได้ ข้อใดกล่ำวถูกต้องเกี่ยวกับกำรรักษำรำชกำรแทนปลัดกระทรวง
ก. ให้รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงแต่งตั้งอธิบดีหรือผู้ดำรงตำแหน่งเทียบเท่ำเป็นผู้รักษำ
รำชกำรแทน
ข. ให้รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงแต่งตั้งข้ำรำชกำรในกระทรวงซึ่งดำรงตำแหน่งไม่ต่ำกว่ำ
ผู้อำนวยกำรกองหรือเทียบเท่ำเป็นผู้รักษำรำชกำรแทน
ค. ให้ปลัดกระทรวงแต่งตั้งข้ำรำชกำรในกระทรวงซึ่งดำรงตำแหน่งไม่ต่ำกว่ำอธิบดีหรือ
เทียบเท่ำเป็นผู้รักษำรำชกำรแทน
ง. ก และ ค แล้วแต่กรณี
60.ในกรณีที่ไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งเลขำนุกำรรัฐมนตรี หรือมีไม่อำจปฏิบัติรำชกำรได้ใครจะเป็น
ผู้รักษำ รำชกำร แทน ข้อใดกล่ำวถูกต้อง
ก. ผู้ช่วยเลขำนุกำรรัฐมนตรีผู้มีควำมอำวุโส
ข. ผู้ช่วยเลขำนุกำรรัฐมนตรีที่รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงมอบหมำย
ค. หัวหน้ำสำนักงำนรัฐมนตรีกรณีที่ไม่มีผู้ช่วยเลขำนุกำรรัฐมนตรี
ง. ถ้ำไม่มีผู้ช่วยเลขำนุกำรรัฐมนตรีให้รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงแต่งตั้งข้ำรำชกำรกำรเมือง
คนหนึ่งเป็นผู้รักษำรำชกำรแทน
จ. ข้อ ข. และ ง.
61.ในกรณีที่ไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งรองปลัดกระทรวง หรือมีแต่ไม่อำจปฏิบัติรำชกำรได้ใครจะเป็น
ผู้รักษำรำชกำรแทน ข้อใดกล่ำวถูกต้อง
ก. พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดินมิได้บัญญัติกรณีดังกล่ำวนี้ไว้
ข. ปลัดกระทรวงจะแต่งตั้งข้ำรำชกำรในกระทรวงซึ่งดำรงตำแหน่งไม่ต่ำกว่ำอธิบดีหรือ
เทียบเท่ำเป็นผู้รักษำรำชกำรแทน
ค. ปลัดกระทรวงแต่งตั้งข้ำรำชกำรในกระทรวงซึ่งดำรงตำแหน่งไม่ต่ำกว่ำผู้นวยกำรกอง
หรือเทียบเท่ำเป็นผู้รกั ษำรำชกำรแทน
176

ง. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงจะแต่งตั้งข้ำรำชกำรในกระทรวงซึ่งดำรงตำแหน่งไม่ต่ำกว่ำ
อธิบดีหรือเทียบเท่ำเป็นผู้รักษำรำชกำรแทน
จ. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงจะแต่งตั้งข้ำรำชกำรในกระทรวงซึ่งดำรงตำแหน่งไม่ต่ำกว่ำผู้
นวยกำรกองหรือเทียบเท่ำเป็นผู้รักษำรำชกำรแทน
62.ข้อใดกล่ำวผิดเกี่ยวกับกำรรักษำรำชกำรแทน อธิบดี
ก. กรณีที่มีรองอธิบดีหลำยคนให้ปลัดกระทรวงแต่งตั้งรองอธิบดีคนใดคนหนึ่งเป็นผู้รักษำ
รำชกำรแทน
ข. ถ้ำไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งรองอธิบดีหรือมีแต่ไม่อำจปฏิบัติรำชกำรได้ให้ปลัดกระทรวง
แต่งตั้งข้ำรำชกำรในกระทรวงซึ่งดำรงตำแหน่งเทียบเท่ำรองอธิบดีหรือข้ำรำชกำรตั้งแต่หัวหน้ำกอง
หรือเทียบเท่ำขึ้นไปเป็นผู้รักษำกำรแทน
ค. ถ้ำรัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงเห็นสมควรเพื่อควำมเหมำะสมแก่กำรรับผิดชอบกำรปฏิบัติ
รำชกำรในกรมนั้นรัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงจะแต่งตัง้ ข้ำรำชกำรคนใดคนหนึ่งซึ่งดำรงตำแหน่งไม่ต่
ำ กว่ำรองอธิบดีหรือเทียบเท่ำเป็นผู้รักษำรำชกำรแทน
ง. ข้อ ก. และ ข.
จ. ข้อ ข. และ ค. ผิด
63.กำรรักษำรำชกำรแทนตำม พ.ร.บ. ระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534 ไม่ใช้บังคับ
แก่ส่วนรำชกำรใด
ก. กระทรวงศึกษำธิกำร
ข. กระทรวงกำรคลัง
ค. สำนักงำนตำรวจแห่งชำติ
ง. กระทรวงกลำโหม
จ. ค และ ง
64.กรณีเลขำนุกำรกรมกำรปกครอง ไม่สำมำรถปฏิบัติรำชกำรได้ หำกต้องกำรที่จะแต่งตั้ง
ผู้รักษำ รำชกำรแทนเลขำนุกำรปกครองจะต้องทำอย่ำงไร
ก. เลขำนุกำรกรมกำรปกครองออกคำสั่งแต่งตั้งหัวหน้ำฝ่ำยคนใดคนหนึ่งเป็นผู้รักษำ
รำชกำรแทน
ข. อธิบดีออกคำสั่งแต่งตั้งหัวหน้ำฝ่ำยคนใดคนหนึ่งเป็นผู้รักษำรำชกำรแทน
ค. อธิบดีออกคำสั่งแต่งตั้งข้ำรำชกำรในกรมคนใดคนหนึ่งซึ่งดำรงตำแหน่งไม่ต่ำกว่ำหัวหน้ำ
กองหรือเทียบเท่ำเป็นผู้รักษำรำชกำรแทน
ง. ข้อ ข. และ ค. ถูก
จ. ผิดทุกข้อ
177

65.ข้อใดกล่ำวเกี่ยวกับเรื่องกำรรักษำรำชกำรแทนถูกต้อง
ก. ผู้รักษำรำชกำรแทนมีอำนำจหน้ำที่เช่นเดียวกับผู้ซึ่งตนแทน
ข. กรณีที่ผู้ดำรงตำแหน่งใดมอบอำนำจให้ผู้ดำรงตำแหน่งอื่นปฏิบัติรำชกำรแทน ให้ผู้ที่
ปฏิบัติรำชกำรแทนมีหน้ำที่เช่นเดียวกับผู้ซึ่งมอบอำนำจ
ค. กรณีที่มีกฎหมำยอื่นแต่งตั้งให้ผู้ดำรงตำแหน่งเป็นกรรมกำรหรือให้มีอำนำจหน้ำที่อย่ำง
ใด ผู้รักษำรำชกำรแทนย่อมมีอำนำจหน้ำที่เป็นกรรมกำรหรือมีอำนำจหน้ำที่เช่นเดียวกับผู้ดำรง
ตำแหน่งนั้น
ง. เฉพำะข้อ ก. และ ข. ถูก
จ. ข้อ ก. ถึง ค. ถูก
66."หัวหน้ำคณะผู้แทน" ตำม พ.ร.บ. ระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และที่แก้ไข
เพิ่มเติม (ฉบับที่ 5) 2545 โดยทั่วไปเป็นข้ำรำชกำรสังกัดส่วนรำชกำรใด
ก. สำนักนำยกรัฐมนตรี ข. กระทรวงกำรต่ำงประเทศ
ค. กระทรวงกลำโหม ง. กระทรวงใดก็ได้ที่ได้รับแต่งตั้งจำกนำยกรัฐมนตรี
จ. กระทรวงพำณิชย์
67.กรณีที่ปลัดกระทรวงมหำดไทย จะมอบอำนำจเรื่องใดเรื่องหนึ่งให้หัวหน้ำคณะผู้แทนในกำร
บริหำรรำชกำร ใน ต่ำงประเทศ ตำม พ.ร.บ. ระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และที่
แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 จะต้องทำอย่ำงไร
ก. ทำหนังสือให้คณะรัฐมนตรีทรำบ
ข. แจ้งเรื่องมอบอำนำจให้หัวหน้ำคณะผู้แทนทรำบโดยตรง
ค. ขออนุมัติรัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทยก่อนที่จะทำกำรมอบอำนำจ
ง. แจ้งเรื่องกำรมอบอำนำจดังกล่ำวผ่ำนกระทรวงต่ำงประเทศ
จ. ไม่มีข้อใดถูก
68.กำรจัดระเบียบบริหำรรำชกำรส่วนภูมิภำค เป็นไปตำมข้อใด
ก. จังหวัด อำเภอ
ข. ส่วนกลำง ส่วนภูมิภำค ส่วนท้องถิ่น
ค. จังหวัด อำเภอ ตำบล หมู่บ้ำน
ง. จังหวัด อำเภอ กิ่งอำเภอ
จ. ไม่มีข้อใดถูก
69.จังหวัดสุรินทร์ มีพื้นที่ 10,000 ตำรำงเมตร หำกต้องกำรจะแบ่งเขตพื้นที่ ของบำงอำเภอ
จำนวน 1,000 ตำรำงเมตร ให้เป็นของจังหวัดบุรีรัมย์ จะต้องทำอย่ำงไร
ก. ทำเป็นคำสั่งของกระทรวงมหำดไทย
ข. ตรำเป็นพระรำชกฤษฎีกำ
ค. ตรำเป็นพระรำชกำหนด
ง. ตรำเป็นพระรำชบัญญัติ
178

จ. ออกเป็นกฎกระทรวง
70. หน่วยงำนใดสำมำรถยื่นคำขอจัดตั้งงบประมำณได้ตำมกฎหมำยว่ำด้วยวิธีกำรและ
งบประมำณ
ก. จังหวัด ข. กลุ่มจังหวัด ค. อำเภอ ง. ก และ ข จ. ถูกทุกข้อ
71.ในกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดินของจังหวัดใด ใครมีหน้ำที่เป็นที่ปรึกษำของผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด
ก. สมำชิกสภำผู้แทนรำษฎรในจังหวัด
ข. สภำจังหวัด
ค. คณะกรรมกำรจังหวัด
ง. คณะกรรมกำรธรรมภิบำลจังหวัด
จ. ค และ ง
72.ตำมพระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2550 กำหนดให้จังหวัดมีอำนำจกี่
ข้อ
ก. 6 ข้อ ข. 7 ข้อ ค. 8 ข้อ ง. ข้อ 9
จ. 5 ข้อ
73. ข้อใดกล่ำวผิดเกี่ยวกับคณะกรรมกำรจังหวัด
ก. หัวหน้ำส่วนรำชกำรประจำจังหวัดจำกกระทรวงต่ำงๆกระทรวงละหนึ่งคนเป็นกรมกำร
จังหวัด
ข. ถ้ำกระทรวงใดมีหัวหน้ำส่วนรำชกำรประจำจังหวัดมำกกว่ำหนึ่งคนให้ผู้ว่ำรำชกำร
จังหวัดมอบหมำยให้หัวหน้ำส่วนรำชกำรจังหวัดคนหนึ่งเป็นผู้แทนในคณะกรรมกำรจังหวัด
ค. ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดเห็นสมควรจะแต่งตั้งให้หัวหน้ำส่วนรำชกำรประจำจังหวัดซึ่งปฏิบัติ
หน้ำที่ในรำชกำร ส่วนภูมิภำคคนหนึ่งหรือหลำยคนเป็นกรมกำรจังหวัดเพิ่มขึ้นเฉพำะกำรปฏิบัติ
หน้ำที่ด้ำนใดด้ำนหนึ่งก็ได้
ง. มีหน้ำที่ให้ควำมเห็นชอบแผนพัฒนำจังหวัด
จ. ข และ ง กล่ำวผิด
74.ข้อใดเป็นอำนำจหน้ำที่ของคณะกรรมกำรจังหวัด
ก. ให้ควำมเห็นชอบในกำรจัดทำแผนพัฒนำจังหวัด
ข. ทำหน้ำที่เป็นที่ปรึกษำของผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด
ค. ปฏิบัติหน้ำที่อื่นตำมที่กฎหมำยหรือมติของคณะรัฐมนตรีกำหนด
ง. ถูกเฉพำะข้อ ข. และ ค.
จ. ก ข และ ค
75.หัวหน้ำสำนักงำนจังหวัดมีตำแหน่งใดในคณะกรมกำรจังหวัด
ก. เลขำนุกำร
ข. กรมกำรจังหวัด
ค. เป็นตำมที่ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดมอบหมำย
179

ง. ข้อ ก. และ ข. ถูก


จ. ถูกทุกข้อ
76.ใครเป็นประธำนกรมกำรจังหวัด
ก. ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด
ข. รองผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดที่ผู้ว่ำรำชกำรมอบหมำย
ค. ปลัดจังหวัด
ง. นำยกองค์กำรบริหำรส่วนจังหวัด
จ. ผิดทุกข้อ
77. กรณีที่กระทรวงใดมีหัวหน้ำส่วนรำชกำรประจำจังหวัดซึ่งกรมต่ำง ๆ ในกระทรวงนั้นส่งมำ
ประจำอยู่จังหวัด มำกกว่ำหนึ่งคน ใครเป็นผู้มีอำนำจกำหนดให้หัวหน้ำส่วนรำชกำรคนหนึ่งเป็น
ผู้แทนของกระทรวงในคณะกรมกำรจังหวัด
ก. ปลัดกระทรวง
ข. ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด
ค. รัฐมนตรีเจ้ำกระทรวง
ง. หัวหน้ำส่วนรำชกำรตกลงกันเอง
จ. ผิดทุกข้อ
78.ข้อใดกล่ำวผิดเกี่ยวกับกำรบริหำรรำชกำรจังหวัด
ก. ปลัดจังหวัดเป็นผู้รักษำรำชกำรแทนผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดรองจำกผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด
ข. ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดเป็นหัวหน้ำบังคับบัญชำบรรดำข้ำรำชกำรฝ่ำยบริหำร
ค. กำรเปลี่ยนแปลงเขตจังหวัดให้ตรำเป็นพระรำชบัญญัติ
ง. จะให้มีผู้ช่วยผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดเป็นผู้ช่วยผู้สั่งกำรและปฏิบัติรำชกำรแทนผู้ว่ำรำชกำร
จังหวัดก็ได้
จ. ฐำนะของปลัดจังหวัดตำมกฎหมำยเป็นผู้ทำหน้ำที่เป็นผู้ช่วยเหลือ ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด
มิใช่ผู้ช่วยสั่ง
79.กรณีที่ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดไม่อำจปฏิบัติรำชกำรได้ หำกมีรองผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด อยู่ 2 คน
ใคร เป็นผู้มีอำนำจแต่งตั้งรองผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดคนใดคนหนึ่งเป็นผู้รักษำรำชกำรแทน
ก. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทย ข. ปลัดกระทรวงมหำดไทย
ค. ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด
ง. ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดแต่งตั้งโดยขอควำมเห็นชอบจำกปลัดกระทรวงมหำดไทย
จ. ไม่มีใครแต่งตั้งเป็นโดยตำแหน่งโดยรองผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดที่มีควำมอำวุโสตำมระเบียบ
แบบแผนของทำงรำชกำร
80.ตำมพระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534 ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดมีอำนำจ
กี่ข้อ
ก. 8 ข. 9 ค. 10 ง. 11 จ. 12
180

81.ข้อใดไม่ใช่อำนำจหน้ำที่ของผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด
ก. ยับยั้งกำรกระทำใด ๆ ของข้ำรำชกำรพลเรือนในมหำวิทยำลัยไว้ชั่วครำว แล้วรำยงำน
กระทรวงศึกษำธิกำร
ข. ประสำนงำนและร่วมมือกับข้ำรำชกำรทหำรในกำรพัฒนำจังหวัด
ค. เสนอขอจัดตั้งงบประมำณจังหวัดและรำยงำนให้กระทรวงมหำดไทยทรำบ
ง. กำกับกำรปฏิบัติหน้ำที่ของพนักงำนองค์กรรัฐบำลหรือรัฐวิสำหกิจ
จ. ควบคุมกำรบริหำรรำชกำรส่วนท้องถิ่นตำมกฎหมำย
82.กรณีที่ส่วนรำชกำรใด ต้องกำรให้ข้ำรำชกำรในสังกัดมีอำนำจหน้ำที่ในกำรบริหำรรำชกำรส่วน
ภูมิภำคเช่นเดียวกับผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด จะต้องทำอย่ำงไร
ก. ออกพระรำชบัญญัติ ข. ออกพระรำชฎีกำ
ค. ออกเป็นมติคณะรัฐมนตรี ง. ออกระเบียบกระทรวง
จ. ออกกฎกระทรวง
83.ข้อใดเป็นกำรแบ่งส่วนรำชกำรจังหวัด
ก. จังหวัด อำเภอ ข. จังหวัด อำเภอ รำชกำรส่วนท้องถิ่น
ค. สำนักงำนจังหวัด ส่วนรำชกำรต่ำง ๆ ซึ่งกระทรวง ทบวง กรม ได้ตั้งขึ้นมีหน้ำที่เกี่ยวกับ
รำชกำรของกระทรวง ทบวง กรมนั้น
ง. ข้อ ก. และ ค. ถูก จ. ข้อ ก. และ ข. ถูก
84.ข้อใดเป็นหน้ำที่ของสำนักงำนจังหวัด
ก. งำนเลขำนุกำรผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด ข. รำชกำรทั่วไป
ค. กำรวำงแผนพัฒนำจังหวัด ง. ข้อ ข. และ ค. ถูก
จ. ถูกทุกข้อ
85.ข้อใดเป็นอำนำจหน้ำที่ของอำเภอที่เพิ่มเติมไปจำกอำนำจหน้ำที่ของจังหวัดตำม
พระรำชบัญญัติ ระเบียบ บริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2550
ก. ส่งเสริม สนับสนุน และจัดให้มีศูนย์บริกำรร่วม
ข. ประสำนงำนกับองค์กำรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อร่วมมือกับชุมชนในกำรด ำเนินงำนให้
มี แผนชุมชน
ค. ประสำนงำนกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและประนีประนอมข้อพิพำทระหว่ำงเพื่อให้
เกิดควำมสงบเรียบร้อยในสังคม
ง. ก และ ค จ. ก ข และ ค
86.ข้อใดกล่ำวผิดเกี่ยวกับกำรไกล่เกลี่ยและประนีประนอมข้อพิพำทของประชำชนตำมระเบียบ
บริหำรรำชกำรแผ่นดิน
ก. นำยอำเภอเป็นหน้ำที่ไกล่เกลี่ยและประนอมข้อพิพำทคู่กรณีฝ่ำยใดฝ่ำยหนึ่งมีภูมิลำเนำ
อยู่ในอำเภอ
181

ข. มีคณะบุคคลผู้ทำหน้ำที่ไกล่เกลี่ยประนอมข้อพิพำทโดยควำมเห็นชอบจำก
คณะกรรมกำรจังหวัด ซึ่งคัดจำกบุคคลที่มีควำมรู้หรือประสบกำรณ์เหมำะสม
ค. เป็นข้อพิพำททำงแพ่งเกี่ยวกับที่ดินและมรดกโดยไม่จำกัดคุณสมทรัพย์
ง. ผู้เป็นประธำนคณะบุคคลทำหน้ำที่ไกล่เกลี่ยและประนอมข้อพิพำทได้แก่นำยอำเภอ
พนักงำนอัยกำรประจำจังหวัดหรือปลัดอำเภอ
จ. ก และ ค
87.ข้อใดกล่ำวผิดเกี่ยวกับกำรไกล่เกลี่ยและประนอมข้อพิพำทของประชำชนตำมระเบียบบริหำร
รำชกำรแผ่นดิน
ก. ข้อพิพำทเกี่ยวกับทำงแพ่งกับที่ดินมรดก และข้อพิพำททำงแพ่งอื่นที่มีทุนทรัพย์ไม่เกิน
สองแสนบำท
ข. แยกระบบกำรไกล่เกลี่ยข้อพิพำทในทำงแพ่งและในทำงอำญำออกจำกกันอย่ำงชัดเจน
ค. ในทำงอำญำต้องเป็นคดีอันยอมควำมกันได้เว้นแต่เป็นคดีเกี่ยวกับเพศ เด็กและเยำวชน
ง. อำยุควำมฟ้องร้องสะดุดหยุดลงนับแต่วันที่ยื่นข้อพิพำทเว้นแต่ในทำงอำญำอำยุควำม
ร้อง ทุกข์ให้เริ่มนับใหม่นับแต่วันที่จำหน่ำยข้อพิพำท
จ. ข้อตกลงตำมสัญญำประนีประนอมยอมควำมมีผลเช่นเดียวกับคำชี้ของอนุญำโตตุลำกำร
88.อำเภอ ก. ไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งนำยอำเภอเนื่องจำกนำยอำเภอคนเดิมย้ำยไปดำรงตำแหน่งที่
อำเภอ ข. กรณีนี้หำกต้องกำรที่จะให้มีกำรแต่งตั้งผู้รักษำรำชกำรแทนนำยอำเภอจะต้องทำอย่ำงไร
ก. ให้ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดแต่งตั้งปลัดอำเภอ หรือหัวหน้ำส่วนรำชกำรประจำอำเภอ มีผู้
อำวุโส ตำมระเบียบแบบแผนของทำงรำชกำรเป็นผู้รักษำรำชกำรแทน
ข. ให้ปลัดอำเภอหรือหัวหน้ำส่วนรำชกำรประจำอำเภอผู้มีอำวุโสตำมระเบียบแบบแผน
ของ ทำงรำชกำรเป็นผู้รักษำรำชกำรแทน
ค. ให้นำยอำเภอคนเดิมแต่งตั้งผู้รักษำรำชกำรแทนก่อนที่จะเดินทำงไปรับตำแหน่งใหม่ ง.
ปลัดอำเภอผู้มีควำมอำวุโสเป็นผู้รักษำรำชกำรแทน
จ. ไม่มีข้อถูก
89.กำรยุบ และเปลี่ยนเขตอำเภอ ให้จัดทำโดย...................?
ก. พระรำชบัญญัติ ข. พระรำชกฤษฎีกำ
ค. ระเบียบกระทรวงมหำดไทย ง. ประกำศกระทรวงมหำดไทย
จ. กฎกระทรวง
90.บุคคลต่อไปนี้ กฎหมำยมิได้กำหนดต้องให้สังกัดกระทรวงมหำดไทย
ก. นำยอำเภอ
ข. ผู้ช่วยผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด
ค. ปลัดจังหวัด
ง. หัวหน้ำสำนักจังหวัด
จ. ข้อ ค. และ ง.
182

เฉลยพระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534


1. จ 30. ง 59. ก 88. ก
2. ง 31. จ 60. ข 89. ข
3. ง 32. จ 61. ค 90. จ
4. ค 33. ง 62. ข
5. จ 34. ง 63. ง
6. ก 35. จ 64. ค
7. ก 36. ข 65. จ
8. ข 37. จ 66. ข
9. จ 38. ข 67. ง
10. ข 39. ก 68. ก
11. ข 40. ค 69. ง
12. ง 41. ก 70. ง
13. จ 42. ก 71. ค
14. จ 43. ก 72. จ
15. ก 44. จ 73. จ
16. ง 45. ค 74. ข
17. ง 46. ข 75. ง
18. ค 47. ค 76. ก
19. จ 48. ข 77. ก
20. ค 49. ค 78. ก
21. ค 50. ง 79. ข
22. ค 51. ก 80. ข
23. ข 52. ก 81. ก
24. ง 53. จ 82. ก
25. ง 54. ง 83. ค
26. จ 55. ก 84. ง
27. ค 56. ง 85. จ
28. ง 57. ง 86. ก
29. ก 58. ง 87. ค
183

แนวข้อสอบ พ.ร.บ. ระเบียบข้ำรำชกำรพลเรือน พ.ศ. 2551 และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 3


พ.ศ. 2562
1. ข้อใดไม่ใช่ คุณสมบัติทั่วไปของผู้ที่จะเข้ำรับรำชกำรเป็นข้ำรำชกำรพลเรือน
ก. มีอำยุไม่ต่ำกว่ำยี่สิบปี
ข. มีสัญชำติไทย
ค. เป็นผู้เลื่อมใสในกำรปกครองระบอบประชำธิปไตยอันมีพระมหำกษัตริย์ทรงเป็นประมุข
ด้วยควำมบริสุทธิ์ใจ
ง. ไม่เป็นผู้ดำรงตำแหน่งทำงกำรเมือง
2. ข้ำรำชกำรพลเรือนสำมัญต้องรักษำจรรยำข้ำรำชกำรตำมที่ส่วนรำชกำรกำหนดไว้โดยมุ่ง
ประสงค์ให้เป็นข้ำรำชกำรที่ดี มีเกียรติและศักดิ์ศรีควำมเป็นข้ำรำชกำร โดยเฉพำะในเรื่อง
ดังต่อไปนี้ ข้อใดไม่ใช่
ก. กำรปฏิบัติหน้ำที่ด้วยกำรรักษำควำมสำมัคีคี
ข. กำรมุ่งผลสัมฤทธิ์ของงำน
ค. ควำมซื่อสัตย์สุจริตและควำมรับผิดชอบ
ง. กำรยึดมั่นและยืนหยัดทำในสิ่งที่ถูกต้อง
3. ระดับตำแหน่งข้ำรำชกำรพลเรือนสำมัญ มีดังต่อไปนี้ ข้อใดผิด
ก. ตำแหน่งประเภทวิชำกำร ระดับทรงคุณวุฒิ
ข. ตำแหน่งประเภทวิชำกำร ระดับชำนำญกำรพิเศษ
ค. ตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับชำนำญงำน
ง. ตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติกำร
4. ก.พ. ใครเป็นประธำน
ก. รัฐมนตรีเจ้ำสังกัด
ข. ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด
ค. อธิบดี
ง. นำยกรัฐมนตรี หรือรองนำยกรัฐมนตรีที่นำยกรัฐมนตรีมอบหมำย
5. ข้อใดกล่ำวไม่ถูกต้อง
ก. พ.ร.บ. ระเบียบข้ำรำชกำรพลเรือน พ.ศ.2551 ประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำ วันที่
25 มกรำคม 2551
ข. ก.พ. มีอำนำจแต่งตั้งคณะอนุกรรมกำรวิสำมัญ เรียกโดยย่อว่ำ “อ.ก.พ. วิสำมัญ” เพื่อ
ทำกำรใด ๆ แทนได้
ค. ให้มีคณะอนุกรรมกำรสำมัญ เรียกโดยย่อว่ำ “อ.ก.พ. สำมัญ”เพื่อเป็นองค์กรบริหำร
ทรัพยำกรบุคคลในส่วนรำชกำรต่ำง ๆ ดังนี้
ง. ให้มีคณะกรรมกำรพิทักษ์ระบบคุณธรรมคณะหนึ่ง เรียกโดยย่อว่ำ “ก.พ.ค.”
ประกอบด้วยกรรมกำรจำนวนเจ็ดคนซึ่งนำยกรัฐมนตรีแต่งตั้ง
184

6. ข้อใดไม่ใช่วัตถุประสงค์ของกำรจัดระเบียบข้ำรำชกำรพลเรือน
ก. ควำมมีประสิทธิภำพ
ข. ผลสัมฤทธิ์ต่อภำรกิจของรัฐ
ค. ควำมมีระเบียบวินัย
ง. ควำมคุ้มค่ำ
7. กรรมกำร ในคณะกรรมกำรพิทักษ์ระบบคุณธรรม มีวำระกำรดำรงตำแหน่ง นับแต่วันที่ทรง
พระกรุณำโปรดเกล้ำฯ แต่งตั้ง
ก. 4 ปี
ข. 3 ปี
ค. 6 ปี
ง. 5 ปี
8. ข้อใดไม่ใช่ ระดับตำแหน่งข้ำรำชกำรพลเรือนสำมัญ
ก. ตำแหน่งประเภทอำนวยกำร ระดับสูง
ข. ตำแหน่งประเภทวิชำกำร ระดับเชี่ยวชำญ
ค. ตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับชำนำญกำร
ง. ตำแหน่งประเภทบริหำร ระดับต้น
9.ให้มีกรรมผู้ทรงคุณวุฒิ ใน ก.พ. ซึ่งมีผลงำนเป็นที่ประจักษ์ด้ำนต่ำงๆ จำนวนเท่ำใด
ก. ไม่น้อยกว่ำ 3 คน แต่ไม่เกิน 5 คน
ข. ไม่น้อยกว่ำ 4 คน แต่ไม่เกิน 6 คน
ค. ไม่น้อยกว่ำ 5 คน แต่ไม่เกิน 7 คน
ง. ไม่น้อยกว่ำ 6 คน แต่ไม่เกิน 8 คน
10. อ.ก.พ. กระทรวง ใครเป็นประธำน
ก. นำยกรัฐมนตรี หรือรองนำยกรัฐมนตรีที่นำยกรัฐมนตรีมอบหมำย
ข. ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด
ค. รัฐมนตรีเจ้ำสังกัด
ง. อธิบดี
11. มำตรำ 39 วันเวลำทำงำน วันหยุดรำชกำรตำมประเพณี วันหยุดรำชกำรประจำปี และกำร
ลำหยุดรำชกำรของข้ำรำชกำรพลเรือน ให้เป็นไปตำมข้อใด
ก. ตำมที่คณะรัฐมนตรีกำหนด
ข. ตำมที่กระทรวงกำรคลังกำหนด
ค. ตำมที่คณะรัฐมนตรีประกำศ
ง. ตำมที่สำนักนำยกรัฐมนตรีกำหนด
185

12. ก.พ. ย่อมำจำกข้อใด


ก. สำนักงำนคณะกรรมกำรพลเรือน
ข. คณะกรรมกำรพลเรือน
ค. คณะกรรมกำรข้ำรำชกำรพลเรือน
ง. สำนักงำนคณะกรรมกำรข้ำรำชกำรพลเรือน
13. ข้ำรำชกำรพลเรือนมี 2 ประเภท อะไรบ้ำง
ก. ข้ำรำชกำรพลเรือนสำมัญ / ข้ำรำชกำรกำรเมือง
ข. ข้ำรำชกำรพลเรือนสำมัญ / และข้ำรำชกำรอื่นในกระทรวง กรมฝ่ำยพลเรือน
ค. ข้ำรำชกำรพลเรือนสำมัญ / ข้ำรำชกำรพลเรือนในพระองค์
ง. ข้ำรำชกำรพลเรือนสำมัญ / ข้ำรำชกำรพลเรือนวิสำมัญ
14. ข้อใดคือควำมหมำยของ “ข้ำรำชกำรฝ่ำยพลเรือน”
ก. ข้ำรำชกำรพลเรือน และข้ำรำชกำรอื่นในกระทรวง กรมฝ่ำยพลเรือน ตำมกฎหมำยว่ำ
ด้วยระเบียบข้ำรำชกำรประเภทนั้น
ข. ข้ำรำชกำรพลเรือน และข้ำรำชกำรอื่นในกระทรวง ทบวง กรม ตำมกฎหมำยว่ำด้วย
ระเบียบข้ำรำชกำรประเภทนั้น
ค. ข้ำรำชกำรพลเรือน และข้ำรำชกำรอื่นในกระทรวง ทบวง กรมฝ่ำยพลเรือน ตำม
กฎหมำยว่ำด้วยระเบียบข้ำรำชกำรประเภทนั้น
ง. ข้ำรำชกำรพลเรือน
15. พ.ร.บ. ระเบียบข้ำรำชกำรพลเรือน พ.ศ.2551 มีกี่หมวด กี่มำตรำ
ก. 5 ลักษณะ 12 หมวด 139 มำตรำ 1 บทเฉพำะกำร
ข. 5 ลักษณะ 11 หมวด 139 มำตรำ 1 บทเฉพำะกำร
ค. 4 ลักษณะ 11 หมวด 139 มำตรำ 1 บทเฉพำะกำร
ง. 4 ลักษณะ 12 หมวด 139 มำตรำ 1 บทเฉพำะกำร
16. ระดับตำแหน่งข้ำรำชกำรพลเรือนสำมัญ มีดังต่อไปนี้ ข้อใดผิด
ก. ตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับอำวุโส
ข. ตำแหน่งประเภทวิชำกำร ระดับทรงคุณวุฒิ
ค. ตำแหน่งประเภทอำนวยกำร ระดับเชี่ยวชำญ
ง. ตำแหน่งประเภทบริหำร ระดับต้น
17. โทษทำงวินัยมี 5 สถำน ข้อใดไม่ใช่
ก. ให้ออก
ข. ตัดเงินเดือน
ค. ภำคทัณฑ์
ง. ปลดออก
186

18. กำรสอบแข่งขัน กำรขึ้นบัญชีผู้สอบแข่งขันได้ และรำยละเอียดเกี่ยวกับกำรสอบแข่งขันให้


เป็นไปตำมข้อใด
ก. ตำมหลักเกณฑ์ที่ ก.พ. กำหนด
ข. ตำมหลักเกณฑ์ วิธีกำร และเงื่อนไขที่ ก.พ. กำหนด
ค. ตำมระเบียบที่ ก.พ. กำหนด
ง. ตำมกำหนดในกฎ ก.พ.
19. กำรจัดระเบียบข้ำรำชกำรพลเรือนสำมัญตำมพระรำชบัญญัตินี้ ให้คำนึงถึงระบบคุณธรรม
ดังต่อไปนี้ ข้อใดไม่ใช่
ก. กำรรับบุคคลเพื่อบรรจุเข้ำรับรำชกำรและแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งต้องคำนึงถึงควำมรู้
ควำมสำมำรถของบุคคล ควำมเสมอภำค ควำมเป็นธรรม และประโยชน์ของทำงรำชกำร
ข. กำรบริหำรทรัพยำกรบุคคล ต้องคำนึงถึงผลสัมฤทธิ์และประสิทธิภำพขององค์กรและ
ลักษณะของงำน โดยไม่เลือกปฏิบัติอย่ำงไม่เป็นธรรม
ค. กำรบริหำรทรัพยำกรบุคคลต้องพิจำรณำอุดมทำงกำรเมืองของรัฐบำลประกอบเพื่อ
ควำมคล่องตัวในกำรบริหำรจัดกำร
ง. กำรพิจำรณำควำมดีควำมชอบ ต้องเป็นไปอย่ำงเป็นธรรมโดยพิจำรณำจำกผลงำน
ศักยภำพ และควำมประพฤติ
20. ให้มีสำนักงำนคณะกรรมกำรข้ำรำชกำรพลเรือน เรียกโดยย่อว่ำ “สำนักงำน ก.พ.” โดยมี
เลขำธิกำร ก.พ. เป็นผู้บังคับบัญชำข้ำรำชกำรและบริหำรรำชกำรของสำนักงำน ก.พ. ขึ้นตรงต่อ
ใคร
ก. นำยกรัฐมนตรี
ข. ปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรี
ค. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทย
ง. รัฐมนตรีประจำสำนักนำยกรัฐมนตรี
21. กรรมกำรใน ก.พ. ซึ่งทรงพระกรุณำโปรดเกล้ำ ฯ แต่งตั้งให้อยู่ในตำแหน่งได้ครำวละกี่ปี
ก. 4 ปี
ข. 3 ปี
ค. 5 ปี
ง. 2 ปี
22. ให้มีคณะอนุกรรมกำรสำมัญ เรียกโดยย่อว่ำ “อ.ก.พ. สำมัญ” เพื่อเป็นองค์กรบริหำร
ทรัพยำกรบุคคลในส่วนรำชกำรต่ำง ๆ ข้อใดไม่ใช่
ก อ.ก.พ. จังหวัด
ข. อ.ก.พ. กระทรวง
ค. อ.ก.พ. กรม
ง. อ.ก.พ. กอง
187

23. ตำแหน่งใด ไม่ใช่กรรมกำรโดยตำแหน่ง ใน ก.พ.


ก. ผูอ้ ำนวยกำรสำนักงบประมำณ
ข. ปลัดกระทรวงกำรคลัง
ค. อธิบดีกรมบัญชีกลำง
ง. เลขำธิกำรคณะกรรมกำรพัฒนำกำรเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ
24. สำนักงำน ก.พ. มีอำนำจหน้ำที่ดังต่อไปนี้ ข้อใดไม่ใช่
ก. กำหนดนโยบำยและออกระเบียบเกี่ยวกับทุนเล่ำเรียนหลวงและทุนของรัฐบำล
ข. พัฒนำ ส่งเสริม วิเครำะห์วิจัยเกี่ยวกับนโยบำย ยุทธศำสตร์ ระบบ หลักเกณฑ์ วิธีกำร
และมำตรฐำนด้ำนกำรบริหำรทรัพยำกรบุคคลของข้ำรำชกำรพลเรือน
ค. ออกกฎ ก.พ. และระเบียบเกี่ยวกับกำรบริหำรทรัพยำกรบุคคล
ง.พิจำรณำจัดระบบทะเบียนประวัติและแก้ไขทะเบียนประวัติเกี่ยวกับวัน เดือน ปีเกิด
และกำรควบคุมเกษียณอำยุของข้ำรำชกำรพลเรือน
25. ข้อใดไม่ใช่มอี ำนำจหน้ำที่ของสำนักงำน ก.พ.
ก. ติดตำมและประเมินผลกำรบริหำรทรัพยำกรบุคคลของข้ำรำชกำรพลเรือน
ข. พัฒนำ ส่งเสริม วิเครำะห์ วิจัยเกี่ยวกับนโยบำย ยุทธศำสตร์ ระบบ หลักเกณฑ์ วิธีกำร
และ มำตรฐำนด้ำนกำรบริหำรทรัพยำกรบุคคลของข้ำรำชกำรพลเรือน
ค. เป็นศูนย์กลำงข้อมูลทรัพยำกรบุคคลภำคประชำชน
ง. ดำเนินกำรเกี่ยวกับแผนกำลังคนของข้ำรำชกำรพลเรือน
26.ข้อใดไม่ใช่ตำแหน่งของข้ำรำชกำรพลเรือนสำมัญ
ก. ตำแหน่งประเภทวิชำกำร
ข. ตำแหน่งประเภทบริหำรระดับสูง
ค. ตำแหน่งประเภทอำนวยกำร
ง. ตำแหน่งประเภทบริหำร
27. ให้มี “คณะกรรมกำรพิทักษ์ระบบคุณธรรม” คณะหนึ่ง เรียกโดยย่อว่ำ ….
ก. ก.ท.ค.
ข. ก.ท.ธ.
ค. ก.พ.ธ.
ง. ก.พ.ค.
28.ให้มีกรรมผู้ทรงคุณวุฒิ ใน ก.พ. ซึ่งมีผลงำนเป็นที่ประจักษ์ด้ำนต่ำงๆ ข้อใดไม่ใช่
ก. ด้ำนกฎหมำย
ข. ด้ำนกำรบริหำรและกำรจัดกำร
ค. ด้ำนกำรเมืองกำรปกครอง
ง. ด้ำนกำรบริหำรทรัพยำกรบุคคล
188

29. ให้มี “คณะกรรมกำรพิทักษ์ระบบคุณธรรม” จำนวนกี่คน


ก. 9 คน
ข. 7 คน
ค. 11 คน
ง. 13 คน
30.พ.ร.บ. ระเบียบข้ำรำชกำรพลเรือน พ.ศ.2551 มีผลบังคับใช้ วันที่เท่ำใด
ก. 25 มกรำคม 2551
ข. 26 มกรำคม 2551
ค. 23 มกรำคม 2551
ง. 24 มกรำคม 2551
31. เมื่อมีกำรกล่ำวหำหรือมีกรณีเป็นที่สงสัยว่ำข้ำรำชกำรพลเรือนสำมัญผู้ใดกระทำผิดวินัย ให้
ดำเนินกำรตำมข้อใด
ก. ให้ผู้บังคับบัญชำมีหน้ำที่ต้องรำยงำนให้ผู้บังคับบัญชำซึ่งมีอำนำจสั่งบรรจุตำมมำตรำ
57 ทรำบโดยเร็ว
ข. ให้ผู้บังคับบัญชำแต่งตั้งคณะกรรมกำรสอบสวน
ค. ให้ผู้บังคับบัญชำสอบสวนด้วยตนเองก่อน
ง. ให้ผู้บังคับบัญชำสั่งลงโทษตำมควรแก่กรณีโดยไม่ตั้งคณะกรรมกำรสอบสวนก็ได้
32. ก.พ. มีอำนำจหน้ำที่ดังต่อไปนี้ ข้อใดไม่ใช่
ก. กำหนดอัตรำค่ำธรรมเนียมในกำรปฏิบัติกำรเกี่ยวกับกำรบริหำรทรัพยำกรบุคคล
ข. พัฒนำ ส่งเสริม วิเครำะห์วิจัยเกี่ยวกับนโยบำย ยุทธศำสตร์ ระบบ หลักเกณฑ์ วิธีกำร
และ มำตรฐำนด้ำนกำรบริหำรทรัพยำกรบุคคลของข้ำรำชกำรพลเรือน
ค. ออกกฎ ก.พ. และระเบียบเกี่ยวกับกำรบริหำรทรัพยำกรบุคคล
ง. พิจำรณำจัดระบบทะเบียนประวัติและแก้ไขทะเบียนประวัติเกี่ยวกับวัน เดือน ปีเกิด
และกำรควบคุมเกษียณอำยุของข้ำรำชกำรพลเรือน
33. ก.พ. มีอำนำจแต่งตั้งคณะอนุกรรมกำร เพื่อทำกำรใด ๆ แทนได้ เรียกโดยย่อว่ำ…
ก. อ.ก.พ. สำมัญ
ข. อ.ก.พ. วิสำมัญ
ค. อ.ก.พ. กระทรวง
ง. อ.ก.พ. กรม
34. ระดับตำแหน่งข้ำรำชกำรพลเรือนสำมัญ มีกี่ประเภท
ก. 4 ประเภท
ข. 3 ประเภท
ค. 5 ประเภท
ง. 2 ประเภท
189

35. อ.ก.พ. กรม ใครเป็นประธำน


ก. นำยกรัฐมนตรี หรือรองนำยกรัฐมนตรีที่นำยกรัฐมนตรีมอบหมำย
ข. รัฐมนตรีเจ้ำสังกัด
ค. อธิบดี
ง. ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด
36. ข้อใดไม่ใช่เหตุผลในกำรประกำศใช้ พ.ร.บ. ระเบียบข้ำรำชกำรพลเรือน พ.ศ. 2551
ก. เพื่อให้กำรบริหำรทรัพยำกรบุคคลภำครัฐสอดคล้องกับทิศทำงกำรบริหำรรำชกำร
ข. เพื่อกำหนดภำรกิจของคณะกรรมกำรข้ำรำชกำรพลเรือนและสำนักงำนคณะกรรมกำร
ข้ำรำชกำรพลเรือน
ค. เพื่อเอกภำพทำงด้ำนนโยบำยบริหำรงำนของมีคณะกรรมกำรข้ำรำชกำรพลเรือน
ง. กระจำยอำนำจ กำรบริหำรทรัพยำกรบุคคลภำครัฐให้ส่วนรำชกำรเจ้ำสังกัดดำเนินกำร
มำกขึ้น
37. ข้ำรำชกำรพลเรือนสำมัญต้องกระทำกำรอันเป็นข้อปฏิบัติดังต่อไปนี้ ข้อใดไม่ใช่
ก. ต้องรักษำควำมลับของทำงรำชกำรและผู้บังคับบัญชำ
ข. ต้องต้อนรับ ให้ควำมสะดวก ให้ควำมเป็นธรรม และให้กำรสงเครำะห์แก่ประชำชนผู้
ติดต่อรำชกำรเกี่ยวกับหน้ำที่ของตน
ค. ต้องสุภำพเรียบร้อย รักษำควำมสำมัคคีและต้องช่วยเหลือกันในกำรปฏิบัติรำชกำร
ระหว่ำงข้ำรำชกำรด้วยกันและผู้ร่วมปฏิบัติรำชกำร
ง. ต้องอุทิศเวลำของตนให้แก่รำชกำร จะละทิ้งหรือทอดทิ้งหน้ำที่รำชกำรมิได้
38. พ.ร.บ. ระเบียบข้ำรำชกำรพลเรือน พ.ศ.2551 ใครเป็นผู้รักษำกำร
ก. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทย
ข. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงกลำโหม
ค. ปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรี
ง. นำยกรัฐมนตรี
39.“อธิบดี” หมำยถึงข้อใด
ก. หัวหน้ำส่วนรำชกำรระดับกรมหรือเทียบเท่ำกรม
ข. หัวหน้ำส่วนรำชกำรระดับทบวงหรือเทียบเท่ำทบวง
ค. หัวหน้ำส่วนรำชกำรระดับสูง
ง. หัวหน้ำส่วนรำชกำรระดับกองหรือเทียบเท่ำกอง
40. อ.ก.พ. จังหวัด ใครเป็นประธำน
ก. รัฐมนตรีเจ้ำสังกัด
ข. นำยกรัฐมนตรี หรือรองนำยกรัฐมนตรีที่นำยกรัฐมนตรีมอบหมำย
ค. อธิบดี
ง. ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด
190

41. ข้อใดคือควำมหมำยของ “ข้ำรำชกำรพลเรือน”


ก. บุคคลซึ่งได้รับบรรจุและแต่งตั้งตำมพระรำชบัญญัตินี้ให้รับรำชกำรโดยได้รับเงินเดือน
จำกเงินงบประมำณในกระทรวง กรมฝ่ำยพลเรือน
ข. บุคคลซึ่งได้รับบรรจุและแต่งตั้งตำมพระรำชบัญญัตินี้ให้รับรำชกำรโดยได้รับเงินเดือน
จำกเงินงบประมำณในกระทรวง ทบวง กรมฝ่ำยพลเรือน
ค. บุคคลซึ่งได้รับบรรจุและแต่งตั้งตำมพระรำชบัญญัตินี้ให้รับรำชกำรโดยได้รับเงินเดือน
จำกเงินงบประมำณแผ่นดิน
ง. บุคคลซึ่งได้รับบรรจุและแต่งตั้งตำมพระรำชบัญญัตินี้ให้รับรำชกำรโดยได้รับเงินเดือน
จำกเงินงบประมำณในกระทรวง ทบวง กรม
42.ข้ำรำชกำรพลเรือนสำมัญต้องกระทำกำรในข้อใดเป็นลำดับแรก
ก. ปฏิบัติหน้ำที่ด้วยควำมซื่อสัตย์ สุจริต เที่ยงธรรม
ข. ปฏิบัติตำมกฎหมำย ระเบียบมติคณะรัฐมนตรี นโยบำยแบบแผนของทำงรำชกำร
ค. ต้องรักษำควำมลับของทำงรำชกำร
ง. ต้องอุทิศเวลำให้แก่รำชกำร จะละทิ้งหรือทอดทิ้งมิได้
43. กำรจ่ำยเงินเดือนและเงินประจำตำแหน่งให้ข้ำรำชกำรพลเรือนให้เป็นไปตำมข้อใด
ก. ระเบียบที่ ก.พ. กำหนดโดยควำมเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี
ข. ระเบียบที่ ก.พ. กำหนดโดยควำมเห็นชอบของรัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงกำรคลัง
ค. ระเบียบที่ ก.พ. กำหนดโดยควำมเห็นชอบของกระทรวงกำรคลัง
ง. ระเบียบที่ ก.พ. กำหนดโดยควำมเห็นชอบของรัฐมนตรีประจำสำนักนำยกรัฐมนตรี
44. ข้ำรำชกำรพลเรือนสำมัญผู้ใดถึงแก่ควำมตำย เนื่องจำกกำรปฏิบัติหน้ำที่รำชกำรให้
ผู้บังคับบัญชำพิจำรณำเลื่อนเงินเดือนให้ผู้นั้นเป็นกรณีพิเศษเพื่อประโยชน์ในกำรคำนวณบำเหน็จ
บำนำญ หรือให้ได้รับสิทธิประโยชน์อื่นตำมข้อใด
ก. ตำมกำหนดในกฎ ก.พ.
ข. ตำมระเบียบที่ ก.พ. กำหนด
ค. ตำมระเบียบที่คณะรัฐมนตรีกำหนด
ง. ตำมหลักเกณฑ์ที่ ก.พ. กำหนด
45. ข้อใด ไม่ใช่ “ลักษณะ” ตำม พ.ร.บ. ระเบียบข้ำรำชกำรพลเรือน พ.ศ.2551
ก. คณะกรรมกำรข้ำรำชกำรพลเรือน
ข. คณะกรรมกำรข้ำรำชกำรพลเรือนสำมัญ
ค. ข้ำรำชกำรพลเรือนในพระองค์
ง. คณะกรรมกำรพิทักษ์ระบบคุณธรรม
191

46. ข้ำรำชกำรพลเรือนที่ถูกให้ออกจำกรำชกำรให้อุทธรณ์ต่อ ก.พ.ค. ภำยในกี่วัน นับแต่วันทรำบ


หรือถือว่ำทรำบคำสั่ง
ก. 30 วัน
ข. 60 วัน
ค. 90 วัน
ง. 45 วัน
47.“กระทรวง” หมำยควำมรวมถึง…………..
ก. ทบวงและกรม
ข. สำนักนำยกรัฐมนตรีและกรม
ค. กรมและกอง
ง. สำนักนำยกรัฐมนตรีและทบวง
48.กำรพิจำรณำวินิจฉัยอุทธรณ์ ให้ดำเนินกำรให้แล้วเสร็จภำยในกี่วัน นับแต่วันที่ได้รับอุทธรณ์
ก. 90 วัน
ข. 180 วัน
ค. 60 วัน
ง. 120 วัน
49. ข้อใดไม่ได้เป็น “อ.ก.พ. สำมัญ”
ก. อ.ก.พ. กรม
ข. อ.ก.พ. ทบวง
ค. อ.ก.พ. จังหวัด
ง. อ.ก.พ. กระทรวง
50.กำรร้องทุกข์ที่เกิดจำกหัวหน้ำส่วนรำชกำรระดับกรมที่ขึ้นตรงต่อนำยกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรี
ปลัดกระทรวง ให้ร้องทุกข์ต่อข้อใด
ก. อ.ก.พ.ค.
ข. อ.ก.พ.กรม
ค. อ.ก.พ.กระทรวง
ง. ก.พ.ค.
เฉลยแนวข้อสอบ พ.ร.บ. ระเบียบข้ำรำชกำรพลเรือน พ.ศ. 2551 และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่
3 พ.ศ. 2562
1.ก 2.ก 3.ง 4.ง 5.ง 6.ค 7.ค 8.ค 9.ค 10.ค
11.ก 12.ค 13.ค 14.ก 15.ข 16.ค 17.ก 18.ข 19.ค 20.ก
21.ข 22.ง 23.ค 24.ข 25.ค 26.ข 27.ง 28.ค 29.ข 30.ข
31.ก 32.ข 33.ข 34.ก 35.ค 36.ค 37.ก 38.ง 39.ก 40.ง
41.ก 42.ก 43.ก. 44.ค 45.ข 46.ก 47.ง 48.ง 49.ข 50.ง
192

แนวข้อสอบพระรำชบัญญัติวิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครอง
1. พระรำชบัญญัติวิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครอง มิให้บังคับใช้ แก่ข้อใด
ก. รัฐสภำและคณะรัฐมนตรี
ข. องค์กรที่ใช้อำนำจตำมรัฐธรรมนูญโดยเฉพำะ
ค. กำรพิจำรณำของนำยกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีในงำนทำงนโยบำยโดยตรง
ง. ถูกทุกข้อ
2. กำรเตรียมกำรและกำรดำเนินกำรของเจ้ำหน้ำที่เพื่อจัดให้มีคำสั่งทำงปกครองหรือกฎและ
รวมถึงกำรดำเนินกำรใดๆในทำงปกครอง เป็นควำมหมำยของข้อใด
ก. วิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครอง
ข. กำรปฏิบัติรำชกำรทำงปกครอง
ค. วิธีกำรปฏิบัติรำชกำรทำงปกครอง
ง. ไม่มีข้อถูก
3. กำรเตรียมกำรและกำรดำเนินกำรของเจ้ำหน้ำที่เพื่อจัดให้มีคำสั่งทำงปกครองเป็นควำมหมำย
ของข้อใด
ก. ขั้นตอนกำรพิจำรณำทำงปกครอง
ข. กำรพิจำรณำทำงปกครอง
ค. เตรียมกำรพิจำรณำทำงกำรปกครอง
ง. ดำเนินกำรพิจำรณำทำงกำรปกครอง
4. กำรใช้อำนำจตำมกฎหมำยของเจ้ำหน้ำที่ที่มีผลเป็นกำรสร้ำงนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่ำงบุคคลในอัน
ที่จะก่อ เปลี่ยนแปลงโอนสงวนระงับหรือมีผลกระทบต่อสถำนภำพของสิทธิ์หรือหน้ำที่ของบุคคล
ไม่ว่ำจะเป็นกำรถำวรหรือชั่วครำวเช่นกำรสั่งกำรกำรอนุญำตกำรอนุมัติกำรวินิจฉัยอุทธรณ์กำร
รับรองและกำรรับจดทะเบียนแต่ไม่หมำยรวมควำมถึงอะไร
ก. กำรขึ้นทะเบียน
ข. กำรออกกฎ
ค. กำรลงโทษ
ง. ไม่มีข้อถูก

5. พระรำชกฤษฎีกำกฎกระทรวงประกำศกระทรวงข้อบัญญัติท้องถิ่นระเบียบข้อบังคับหรือ
บทบัญญัติอื่นที่มีผลบังคับเป็นกำรทั่วไปโดยไม่มุ่งหมำยให้ใช้บังคับแก่กรณีใดหรือบุคคลใดเป็นกำร
เฉพำะ เป็นควำมหมำยของคำว่ำ
ก.ระเบียบ
ข.กฎ
ค.กฎหมำย
ง.ข้อบังคับ
193

6. คณะกรรมกำรที่จัดตั้งขึ้นตำมกฎหมำยที่มีกำรจัดองค์กรและวิธีพิจำรณำสำหรับกำรวินิจฉัยชี้
ขำดสิทธิและหน้ำที่ตำมกฎหมำยเป็นควำมหมำยของคณะกรรมกำรใด
ก. คณะกรรมกำรวินิจฉัยข้อพิพำท
ข. คณะกรรมกำร กรรมำธิกำรวินิจฉัยข้อพิพำท
ค. คณะกรรมกำรวิเครำะห์ และวินิจฉัยข้อพิพำท
ง. คณะกรรมกำร สั่งกำรทำงข้อพิพำท
7. บุคคลคณะบุคคลหรือนิติบุคคลซึ่งใช้อำนำจหรือได้รับมอบให้ใช้อำนำจทำงปกครองของรัฐใน
กำรดำเนินกำรอย่ำงหนึ่งอย่ำงใดตำมกฎหมำยไม่ว่ำจะเป็นกำรจัดตั้งขึ้นตำมระบบรำชกำร
รัฐวิสำหกิจหรือกิจกำรอื่นของรัฐหรือไม่ก็ตำมเป็นควำมหมำยของข้อใด
ก. เจ้ำพนักงำน
ข. พนักงำนเจ้ำหน้ำที่
ค. เจ้ำหน้ำที่
ง. ข้ำรำชกำร
8. ผู้ยื่นคำขอหรือผู้คัดค้ำนคำขอผู้อยู่ในบังคับหรือจะอยู่ในบังคับของคำสั่งทำงปกครองและผู้ซึ่งได้
เข้ำมำในกระบวนกำรพิจำรณำทำงปกครองเนื่องจำกสิทธิ์ของผู้นั้นจะถูกกระทบกระเทือนจำกผล
ของคำสั่งทำงปกครองเป็นควำมหมำยของ ข้อใด
ก. คู่พิพำท
ข. คู่กรณี
ค. ผู้ต้องคำสั่งทำงปกครอง
ง. ผู้เสียประโยชน์
9. ผู้ใดรักษำกำรตำมพระรำชบัญญัตินี้
ก. รัฐมนตรีประจำสำนักนำยกรัฐมนตรี
ข. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทย
ค. นำยกรัฐมนตรี
ง. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงกลำโหม
10. ผู้รักษำกำร ตำมพระรำชบัญญัตินี้มีอำนำจในกำรออก ................ เพื่อปฏิบัติ กำรตำม
พระรำชบัญญัติ นี้
ก. กฎกระทรวงและคำสั่ง
ข. กฎกระทรวงและประกำศ
ค. ประกำศและคำสั่ง
ง.ไม่มีข้อถูก
11. คณะกรรมกำรวิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครอง ให้ใครเป็นผู้แต่งตั้งประธำนกรรมกำรและ
กรรมกำรผู้ทรงคุณวุฒิ
ก. นำยกรัฐมนตรี
194

ข. รัฐสภำ
ค. คณะรัฐมนตรี
ง. ถูกทุกข้อ
12. ผู้ใด แต่งตั้งเลขำนุกำรและผู้ช่วยเลขำนุกำร คณะกรรมกำรวิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครอง
ก. ประธำน คณะกรรมกำรวิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครอง
ข. เลขำธิกำรคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ
ค. นำยกรัฐมนตรี
ง. ไม่มีข้อถูก
13. สำนักงำนคณะกรรมกำรใดทำหน้ำที่เป็นสำนักงำนเลขำนุกำรของคณะกรรมกำรวิธีกำรปฏิบัติ
รำชกำรทำงปกครอง
ก. สำนักงำนคณะกรรมกำรข้ำรำชกำรพลเรือน
ข. สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ
ค. สำนักงำนเลขำนุกำรนำยกรัฐมนตรี
ง. สำนักงำน คณะรัฐมนตรี

14. เจ้ำหน้ำที่ดังต่อไปนี้จะทำกำรพิจำรณำทำงปกครองไม่ได้คือข้อใด
ก. เป็นญำติของคู่กรณี
ข. เป็นคู่กรณีเอง
ค. เป็นเจ้ำหนี้หรือลูกหนี้หรือเป็นนำยจ้ำงของคู่กรณี
ง.ถูกทุกข้อ
15. ถ้ำปรำกฏภำยหลังว่ำเจ้ำหน้ำที่หรือคณะกรรมกำรในคณะกรรมกำรที่มีอำนำจพิจำรณำทำง
ปกครองใดขำดคุณสมบัติ หรือ มีลักษณะต้องห้ำมหรือกำรแต่งตั้งไม่ชอบด้วยกฎหมำยอันเป็นเหตุ
ให้ผู้นั้น ผลจำกตำแหน่งกำรพ้นจำกตำแหน่งนั้น มีผลทำให้
ก. กำรพ้นจำกตำแหน่งเช่นว่ำนั้นไม่กระทบกระเทือนถึงกำรณ์ใดที่ผู้นั้นได้ปฏิบัติตำม
อำนำจหน้ำที่
ข. กำรพ้นจำกตำแหน่งเช่นว่ำนั้นให้ถือว่ำกำรปฏิบัติหน้ำที่ที่แล้วมำเป็นกำรปฏิบัติหน้ำที่
โดยมิชอบด้วยกฎหมำย
ค. กำรพ้นจำกตำแหน่งเช่นว่ำนั้น มีผลทำให้ คำสั่งหรือประกำศที่ออกโดยบุคคลนั้นไม่มีผล
บังคับใช้อีกต่อไป
ง. ไม่มีข้อถูก
16. ผู้มีอำนำจกำกับควบคุม รัฐมนตรีนั้นคือผู้ใด
ก. คณะรัฐมนตรี
ข. รัฐสภำ
ค. นำยกรัฐมนตรี
195

ง. ถูกทุกข้อ
17. คู่กรณีในกำรพิจำรณำทำงปกครองได้ตำมขอบเขตของตนถูกกระทบกระเทือนหรืออำจถูก
กระทบกระเทือนโดยมิอำจหลีกเลี่ยงได้ คือ ผู้ใด
ก. บุคคลธรรมดำ
ข. คณะบุคคล
ค.นิติบุคคล
ง.ถูกทุกข้อ
18. ผู้ใดไม่สำมำรถกระทำกำรในกระบวนกำรพิจำรณำทำงปกครองได้
ก. ผู้ซึ่งไม่บรรลุนิติภำวะ
ข. นิติบุคคล
ค. คณะบุคคล
ง. ไม่มีข้อถูก
19. ในกำรพิจำรณำทำงปกครองที่คู่กรณีต้องมำปรำกฏตัวต่อเจ้ำหน้ำที่คู่กรณีมีสิทธิ์นำ
ทนำยควำมหรือที่ปรึกษำของตนเข้ำมำในกำรพิจำรณำทำงปกครองได้ด้ำนใดที่ทนำยควำมหรือที่
ปรึกษำได้ทำลงต่อหน้ำคู่กรณีให้ถือว่ำเป็นกำรกระทำของคู่กรณีเว้นแต่ข้อใด
ก. คู่กรณีจะได้คัดค้ำนเสียแต่ในขณะนั้น
ข. คู่กรณีคัดค้ำนไม่เห็นด้วยควำมเห็นของ ทนำยหรือที่ปรึกษำ
ค. คู่กรณีคัดค้ำนทนำยที่ได้รับกำรแต่งตั้งมำแทน
ง. ไม่มีข้อถูก
20. หำกปรำกฏว่ำผู้ได้รับกำรแต่งตั้งให้กระทำกำรแทนผู้ใดไม่ทรำบข้อเท็จจริงในเรื่องนั้นเพียงพอ
หรือมีเหตุไม่ควรไว้วำงใจในควำมสำมำรถของบุคคลดังกล่ำวให้เจ้ำหน้ำที่แจ้งให้คู่กรณีทรำบ โดย
..........
ก.ทำงโทรศัพท์
ข.อย่ำงรวดเร็ว
ค.ไม่ชักช้ำ
ง.ทันที
21. ควำมตำยของคู่กรณีเป็นเหตุ ให้กำรแต่งตั้งให้กระทำแทนไม่สิ้นสุดลงหรือไม่
ก. ผู้กระทำแทนที่ได้รับกำรแต่งตั้ง สิ้นสุดหน้ำที่ลง
ข. ผู้กระทำแทนที่ได้รับกำรแต่งตั้งไม่สิ้นสุดหน้ำที่
ค. ผู้กระทำแทนที่ได้รับกำรแต่งตั้งต้องได้รับกำรแต่งตั้ง จำก ทำยำท
ง. ผู้กระทำแทน สิ้นสุดหน้ำที่ลง และให้ทำยำทเป็นผู้กระทำแทนต่อ
196

22. เมื่อคู่กรณีแต่งตั้งผู้กระทำแทน ถึงแก่ควำมตำย ผู้ใดเป็นผู้ถอนกำรแต่งตั้ง ผู้แทนคู่กรณี


ก. ทำยำท
ข. เจ้ำพนักงำน
ค. ผู้สืบสิทธิตำมกฎหมำยของคู่กรณี
ง. ผู้รับมรดกสิทธิ์
23. เอกสำรที่ยื่นต่อเจ้ำหน้ำที่ให้จัดทำเป็นภำษำ ......
ก. ภำษำไทย
ข. ถ้ำเป็นภำษำต่ำงประเทศคู่กรณีต้องทำคำแปลเป็นภำษำไทยที่มีกำรรับรองถูกต้อง
ภำยในระยะเวลำที่เจ้ำหน้ำที่ตำรวจ
ค. เจ้ำหน้ำที่ยอมรับเอกสำรที่จัดทำขึ้นเป็นภำษำต่ำงประเทศ
ง. ถูกทุกข้อ
24. กำรรับรองควำมถูกต้องของคำแปลเป็นภำษำไทยหรือกำรยอมรับเอกสำรที่ทำขึ้นเป็น
ภำษำต่ำงประเทศให้เป็นไปตำม.............
ก.หลักเกณฑ์ของเจ้ำหน้ำที่
ข. ระเบียบงำนสำรบรรณ
ค. ตำมหลักเกณฑ์และวิธีกำรที่กำหนดในกฎกระทรวง
ง. ถูกทุกข้อ
29. ในกรณีที่คำสั่งทำงปกครองเป็นคำสั่งด้วยวำจำผู้รับคำสั่งนั้นร้องขอและกำรร้องขอได้กระทำ
โดยมีเหตุอันสมควรภำยในกี่วันนับตั้งแต่วันที่มีคำสั่งดังกล่ำวเจ้ำหน้ำที่ผู้ออกคำสั่งต้องยืนยันคำสั่ง
เป็นหนังสือ
ก.3 วัน
ข.5 วัน
ค.7 วัน
ง.15 วัน
30. คำสั่งทำงปกครองที่ทำเป็นหนังสือและกำรยืนยันคำสั่งทำงปกครองเป็นหนังสือต้องจัดให้มี
เหตุผลไว้ด้วยและเหตุผลนั้นอย่ำงน้อยต้องประกอบด้วยอะไร ข้อใดไม่เป็นเหตุผล
ก. ข้อเท็จจริงอันเป็นสำระสำคัญ
ข. ข้อกฎหมำยที่อ้ำงอิง
ค. ข้อพิจำรณำและข้อสนับสนุนในกำรใช้ดุลพินิจ
ง. พยำนหลักฐำนในกำรสนับสนุนคำสั่ง
31. กำรออกคำสั่งทำงปกครองเป็นหนังสือในเรื่องใดหำกมิได้มีกฎหมำยหรือกฎกำหนดระยะเวลำ
ในกำรออกคำสั่งทำงปกครองในเรื่องนั้นไว้เป็นประกำรอื่นให้เจ้ำหน้ำที่ออกคำสั่งทำงปกครองให้
แล้วเสร็จภำยในกี่วันนับแต่วันที่เจ้ำหน้ำที่ได้รับคำขอและเอกสำรถูกต้องครบถ้วน
ก.15 วัน
197

ข.30 วัน
ค.45 วัน
ง.60 วัน
32. ในกำรใช้มำตรกำรบังคับทำงปกครองแก่บุคคลใดหำกบุคคลนั้นถึงแก่ควำมตำยให้ดำเนินกำร
บังคับทำงปกครองต่อไปได้แก่ ผู้ใด
ก. ทำยำทผู้รับมรดก
ข. ผู้จัดกำรมรดก
ค. ถูกทั้ง ก. ข.
ง. ไม่มีข้อถูก
33. ในกรณีที่เจ้ำหน้ำที่มีคำสั่งทำงปกครอง ที่กำหนดให้ชำระเงินถ้ำถึงกำหนดแล้วไม่มีกำรชำระ
โดยถูกต้องครบถ้วนให้เจ้ำหน้ำที่ผู้ทำคำสั่งทำงปกครองมีหนังสือเตือน ให้ผู้นั้นชำระภำยใน
ระยะเวลำที่กำหนดแต่ไม่น้อยกว่ำกี่วัน
ก.5 วัน
ข.7 วัน
ค.9 วัน
ง.15 วัน
34. เมื่อมีคำสั่งเป็นหนังสือ เตือน ทำงปกครองให้ไปชำระเงิน ถ้ำไม่ได้บัตรตำมคำเตือนเจ้ำหน้ำที่
มีมำตรกำรบังคับทำงกำรปกครองโดย
ก. นำกำลังเจ้ำหน้ำที่ควบคุมตัว เพื่อดำเนินคดี
ข. ยึดหรืออำยัดทรัพย์สินผู้นั้น
ค. นำทรัพย์สินที่ยึดหรืออำยัดทรัพย์สินผู้นั้นไปขำยทอดตลำดเพื่อชำระเงินให้ครบถ้วน
ง. ถูกทั้ง ข. และ ค.
35. หน่วยงำนของรัฐที่ออกคำสั่งให้ชำระเงินต้องดำเนินกำรยึดหรืออำยัดทรัพย์สินภำยในกี่ปีนับ
แต่วันที่คำสั่งทำงปกครอง ที่กำหนดให้ชำระเป็นที่สุด
ก. 10 ปี
ข. 12 ปี
ค. 13 ปี
ง. ไม่มีข้อถูก
36. คำสั่งทำงปกครองที่กำหนดให้ชำระเงินเป็นที่สิ้นสุดในกรณีใด
ก. ไม่มีกำรอุทธรณ์คำสั่งต่อเจ้ำหน้ำที่ฝ่ำยปกครองภำยในระยะเวลำอุทธรณ์
ข. เจ้ำหน้ำที่ผู้มีอำนำจพิจำรณำอุทธรณ์มีคำวินิจฉัยอุทธรณ์และไม่มีกำรฟ้องคดีต่อศำล
ภำยในระยะเวลำกำรฟ้องคดี
ค. ศำลมีคำสั่งหรือคำพิพำกษำยกฟ้องหรือเพิกถอนคำสั่งบำงส่วนและคดีถึงที่สิ้นสุดแล้ว
ง. ถูกทุกข้อ
198

37. จะยึดหรืออำยัดทรัพย์สินเพิ่มเติมอีกนิดได้ในกรณีใด
ก. ศำลมี คำสั่งหรือมีคำพิพำกษำยกฟ้อง
ข. เพิกถอนคำสั่ง บำงส่วน
ค. คดีถึงที่สิ้นสุดแล้ว
ง.ถูกทุกข้อ
38. หน่วยงำนของรัฐที่ออกคำสั่งให้ชำระเงินหมำยถึง
ก. พนักงำนเจ้ำหนี้
ข. เจ้ำหนี้ตำมคำพิพำกษำ
ค. หน่วยงำนเจ้ำหนี้
ง. ไม่มีข้อถูก
39. ผู้ที่อยู่ในขั้นตอนและวิธีกำรเกี่ยวกับกำรยึด กำรอำยัดและกำรขำยทอดตลำดทรัพย์สิน อยู่
ในบังคับของมำตรกำรบังคับทำงปกครองหมำยถึง
ก. ลูกหนี้ของหน่วยงำนรัฐ
ข. ลูกหนี้ของ รำชกำร
ค. ผู้ต้องชำระหนี้ของหน่วยงำนรัฐ
ง. ลูกหนี้ตำมคำพิพำกษำ
40. เจ้ำพนักงำน บังคับคดี ตำมขั้นตอนและวิธีกำรเกี่ยวกับกำรยึดและอำยัดกำรขำยทอดตลำด
ทรัพย์สิน หมำยถึงข้อใด
ก. เจ้ำพนักงำนปกครอง
ข. เจ้ำพนักงำนทำงกำรบังคับปกครอง
ค. เจ้ำพนักงำนบังคับทำงปกครอง
ง. เจ้ำพนักงำนบังคับคดีทำงปกครอง
41. สำรใดไม่อยู่ในภำยใต้บังคับ กำรโต้แย้งหรือกำรใช้สิทธิ์ทำงศำลเกี่ยวกับกำรยึดกำรอำยัดและ
กำรขำยทอดตลำดทรัพย์สินโดยผู้อยู่ในบังคับของมำตรกำรบังคับทำงปกครองรวมทั้ง
บุคคลภำยนอก ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเกี่ยวกับทรัพย์สินที่ถูกยึดหรืออำยัด
ก. ศำลปกครอง
ข. ศำลแรงงำน
ค. ศำลภำษีอำกร
ง. ศำลเยำวชนและครอบครัว
42. ค่ำปรับที่เจ้ำหน้ำที่ส่งให้ผู้ที่ฝ่ำฝืนหรือไม่ปฏิบัติ ตำมคำสั่งทำงปกครองที่กำหนดให้กระทำ
หรือละเว้นกำรกระทำ ชำระเป็นรำยวันไปจนกว่ำจะยุติกำรฝ่ำฝืนคำสั่งหรือได้มีกำรปฏิบัติตำม
คำสั่งแล้วไม่ว่ำจะเป็นค่ำปรับที่กำหนดโดยพระรำชบัญญัตินี้หรือโดยกฎหมำยอื่นหมำยควำมคือข้อ
ใด
ก. ค่ำปรับบังคับกำร
199

ข. ค่ำปรับละเมิดคำสั่งปกครอง
ค. ค่ำปรับทำงปกครอง
ง. ค่ำปรับ เพื่อชำระกำรละเมิดทำงปกครอง

43. ผู้อยู่ในบังคับของคำสั่งทำงปกครองของเจ้ำที่ ผู้ฝ่ำฝืนไม่ปฏิบัติตำม ต้องชดใช้ค่ำใช้จ่ำยและ


เงินเพิ่มรำยวันอัตรำร้อยละ เท่ำใดต่อปีของค่ำใช้จ่ำยดังกล่ำว แก่หน่วยงำนของรัฐที่เจ้ำหน้ำที่นั้น
สังกัด
ก.ร้อยละ 10
ข.ร้อยละ 15
ค.ร้อยละ 20
ง.ร้อยละ 25
44. ผู้อยู่ในบังคับของคำสั่งทำงปกครองของเจ้ำหน้ำที่ผู้ฝ่ำฝืนไม่ปฏิบัติตำม ผู้นั้นให้มีกำรชำระ
ค่ำปรับบังคับกำรตำมจำนวนที่สมควรแก่เหตุแต่ต้องไม่เกินกี่บำทต่อวัน
ก.10,000 บำท
ข.20,000 บำท
ค.30,000บำท
ง.4.50,000บำท
45. ก่อนใช้มำตรกำรบังคับทำงปกครองเจ้ำหน้ำที่จะต้อง ทำอย่ำงไร ถูกต้องที่สุด
ก. มีคำเตือนเป็นหนังสือ ให้มีกำรกระทำหรือละเว้นกำรกระทำ
ข. มีคำเตือนเป็นวำจำให้มีกำรกระทำหรือละเว้นกำรกระทำ
ค. ไม่ต้องแนบคำสั่งทำงปกครอง ไปกับหนังสือเตือน
ง. แนบคำสั่งทำงปกครองไปกลับ คำเตือนเป็นหนังสือก็ได้
46. กำรแจ้งเป็นหนังสือให้บุคคลนำไปส่ง ถ้ำผู้รับไม่ยอมรับหรือขณะนำไปส่งไม่มีผู้รับและหำกได้
ส่งให้กับบุคคลใดซึ่งบรรลุนิติภำวะที่อยู่หรือทำงำนในสถำนที่นั้นหรือในกรณีที่ผู้นั้นไม่ยอมรับต้อง
ทำอย่ำงไร
ก. ประกำศ ณ หน่วยงำนที่บังคับทำงปกครองเป็นเวลำ 15 วันหรือว่ำ ผู้นั้นรับทรำบ
ข. วำงหนังสือปิดหนังสือนั้นไว้ในที่ซึ่งเห็นได้ง่ำย ณ สถำนที่แห่งนั้นต่อหน้ำเจ้ำพนักงำน
ตำมที่กำหนดไว้ในกฎกระทรวงที่ไปเป็นพยำนก็ถือว่ำได้รับแจ้งแล้ว
ค. มอบหนังสือแก่ ผู้นำชุมชนเพื่อปิดไว้ในบอร์ด เป็นเวลำ 15 วัน ประชำคมหมู่บ้ำนถือว่ำ
ผู้นั้นรับทรำบแล้ว
ง. นำคำสั่งทำงปกครองลงบันทึกประจำวันเมื่อพ้น 15 วันแล้วถือว่ำผู้นั้นรับทรำบ
200

เฉลย
1.ง 2.ก 3.ข 4.ข 5.ข 6.ก 7.ค 8.ง 9.ค 10.ข
11.ค 12.ข 13.ข 14.ง 15.ก 16.ค 17.ง 18.ก 19.ก 20.ค
21.ข 12.ค 13.ง 24.ค 25.ง 26.ง 27.ค 28.ง 29.ค 30.ง
31.ข 32.ค 33.ข 34.ง 35.ก 36.ง 37.ง 38.ข 39.ง 40.ค
41.ก 42.ก 43.ง 44.ง 45.ง 46.ข

ชุดที่ 2 แนวข้อสอบพระรำชบัญญัติวิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครอง
1. ควำมในข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. นำยกรัฐมนตรีเป็นผู้รักษำกำรตำมกฎหมำยนี้
ข. นำยกรัฐมนตรีมีอำนำจออกกฎกระทรวงและประกำศ
ค. นำยกรัฐมนตรีมีอำนำจแต่งตั้งกรรมกำรผู้ทรงคุณวุฒิ
ง. ข้อ ก. ข. และ ค. ไม่ถูกต้อง
2. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับพระรำชบัญญัตินี้
ก. ผู้รับสนองพระบรมรำชโองกำร คือ นำยบรรหำร ศิลปอำชำ นำยกรัฐมนตรี
ข. ตรำขึ้นโดยคำแนะนำและยินยอมของรัฐสภำ
ค. ตรำขึ้นโดยสภำนิติบัญญัติแห่งชำติในยุครัฐประหำร
ง. พระรำชบัญญัตินี้เรียกว่ำ "พระรำชบัญญัติวิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครอง พ.ศ. 2539"
3. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับพระรำชบัญญัติฉบับนี้
ก. ไม่มีกำรแก้ไข
ข. พระรำชบัญญัติวิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครอง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2557
ค. พระรำชบัญญัติวิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครอง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2560
ง. พระรำชบัญญัติวิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครอง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2561
4. หน่วยงำนใดทำหน้ำที่เป็นสำนักงำนเลขำนุกำรคณะกรรมกำรวิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครอง
ก. สำนักงำนคณะกรรมกำรวิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครอง
ข. สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ
ค. สำนักงำนอัยกำรสูงสุด
ง. สำนักงำนเลขำธิกำรคณะรัฐมนตรี
5. ข้อใดไม่ใช่อำนำจหน้ำที่ของคณะกรรมกำรวิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครอง
ก. ดำเนินกำรตำมที่นำยกรัฐมนตรีมอบหมำย
ข. ให้คำปรึกษำแก่เจ้ำหน้ำที่เกี่ยวกับกำรปฏิบัติตำมพระรำชบัญญัตินี้
ค. ให้คำแนะนะเกี่ยวกับกำรดำเนินงำนของเจ้ำหน้ำที่
ง. เสนอแนะกำรออกระเบียบตำมพระรำชบัญญัตินี้
201

6. เกี่ยวกับวำระดำรงตำแหน่งในข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. ประธำนกรรมกำรมีวำระดำรงตำแหน่ง 4 ปี
ข. กรรมกำรผู้ทรงคุณวุฒิมีวำระดำรงตำแหน่ง 3 ปี
ค. ประธำนกรรมกำรพ้นจำกตำแหน่งเมื่อคณะรัฐมนตรีมีมติให้ออก
ง. กรรมกำรผู้ทรงคุณวุฒิพ้นจำกตำแหน่งเมื่อต้องคำพิพำกษำถึงที่สุดให้จำคุก
7. พระรำชบัญญัตินี้ใช้บังคับแก่กรณีใด
ก. กำรดำเนินงำนตำมกระบวนกำรยุติธรรมทำงอำญำ
ข. ระยะเวลำอุทธรณ์ตำมกฎหมำยควบคุมอำคำร
ค. วิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครอง
ง. กำรดำเนินกิจกำรขององค์กำรทำงศำสนำ
8. ข้อใดมิใช่บทบำทสำคัญของเลขำธิกำรคณะกรรมกำรกฤษฎีกำตำมกฎหมำยนี้
ก. ร่วมพิจำรณำกับคณะกรรมกำรวิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครอง
ข. ให้คำแนะนำกำรปรับปรุงปฏิบัติรำชกำรทำงปกครอง
ค. สนับสนุนฝ่ำยเลขำนุกำรคณะกรรมกำรวิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครอง
ง. รับผิดชอบงำนประชุมของคณะกรรมกำรวิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครอง
9. ข้อใดคือควำมหมำยของคำสั่งทำงปกครอง
ก. กำรใช้อำนำจของเจ้ำหน้ำที่ เช่น กำรออกกฎ
ข. กำรใช้อำนำจตำมกฎหมำยของเจ้ำหน้ำที่ เช่น กำรไม่อนุญำต
ค. กำรใช้อำนำจของเจ้ำหน้ำที่ เช่น คำสั่งวำงแผนพัฒนำเศรษฐกิจ
ง. กำรออกคำสั่งของเจ้ำหน้ำที่ตำมสัญญำก่อสร้ำง
10. ข้อใดคือควำมหมำยของวิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครอง
ก. กำรเตรียมกำรและกำรดำเนินกำรของเจ้ำหน้ำที่
ข. มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดให้มีคำสั่งทำงปกครองหรือกฎ
ค. รวมถึงกำรดำเนินกำรใดๆ ในทำงปกครองตำมพระรำชบัญญัตินี้ด้วย
ง. ถูกทุกข้อ
11. เกี่ยวกับคณะกรรมกำรวิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครอง ข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. ประธำนกรรมกำร แต่งตั้งโดยคณะรัฐมนตรีจำกผู้ดำรงตำแหน่งทำงกำรเมือง
ข. กรรมกำรผู้ทรงคุณวุฒ มีจำนวนไม่น้อยกว่ำ 5 คน แต่ไม่เกิน 9 คน
ค. ปลัดกระทรวงมหำดไทย เป็นกรรมกำรโดยตำแหน่ง
ง. เลขำธิกำรคณะรัฐมนตรี เป็นกรรมกำรโดยตำแหน่ง
12. กรรมกำรผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมกำรวิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครอง ไม่จำเป็นต้องมีควำม
เชี่ยวชำญด้ำนใด
ก. นิติศำสตร์
ข. รัฐศำสตร์
202

ค. ศึกษำศำสตร์
ง. บริหำรรำชกำรแผ่นดิน
13. ข้อบัญญัติท้องถิ่นที่มีผลบังคับเป็นกำรทั่วไป ไม่มุ่งหมำยให้ใช้แก่กรณีใดหรือบุคคลใดเป็นกำร
เฉพำะ จัดอยู่ในควำมหมำยของเรื่องใด
ก. คำสั่งทำงปกครอง
ข. กฎ
ค. พระรำชกฤษฎีกำ
ง. ประกำศกระทรวง
14. กำรปฏิบัติกำรตำมพระรำชบัญญัตินี้จำเป็นจะต้องออกกฎกระทรวงและประกำศ ซึ่งอยู่ใน
อำนำจหน้ำที่ของบุคคลในข้อใด
ก. นำยกรัฐมนตรี
ข. รัฐมนตรีประจำสำนักนำยกรัฐมนตรี
ค. ปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรี
ง. เลขำธิกำรคณะรัฐมนตรี
15. ผู้จะอยู่ในบังคับของคำสั่งทำงปกครอง เนื่องจำกสิทธิจะถูกกระทบกระเทือน คือผู้ใด
ก. เจ้ำหน้ำที่
ข. ผู้มีส่วนได้เสีย
ค. คู่กรณี
ง. คู่กรณีผู้มีส่วนได้เสีย
16. กำรดำเนินกำรยกเว้นไม่ให้นำพระรำชบัญญัตินี้มำใช้บังคับ จะต้อง
ก. ให้คณะกรรมกำรวิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครองออกประกำศกำหนด
ข. ตรำพระรำชกำหนดตำมข้อเสนอของคณะกรรมกำรวิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครอง
ค. ให้คณะกรรมกำรวิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครองออกกฎ
ง. ตรำพระรำชกฤษฎีกำตำมข้อเสนอของคณะกรรมกำรวิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครอง
17. พระรำชบัญญัติฉบับนี้ ไม่ใช้บังคับกับ
ก. กำรดำเนินงำนของเจ้ำหน้ำที่ในกระบวนกำรบังคับคดี
ข. กำรดำเนินงำนของเจ้ำหน้ำที่ในกระบวนกำรวำงทรัพย์
ค. กำรดำเนินงำนของเจ้ำหน้ำที่ในกระบวนกำรพิจำรณำคดี
ง. ถูกทุกข้อ
18. ข้อใดถูกต้องที่สุด
ก. ขั้นตอนกำรอุทธรณ์ต้องเป็นไปตำมพระรำชบัญญัตินี้ เพรำะเป็นหลักเกณฑ์ที่ประกัน
ควำมเป็นธรรมและมีมำตรฐำนในกำรปฏิบัติรำชกำร
ข. ระยะเวลำกำรอุทธรณ์ต้องเป็นไปตำมกฎหมำยเฉพำะกำหนด
203

ค. ขั้นตอนและระยะเวลำกำรอุทธรณ์ต้องเป็นไปตำมพระรำชบัญญัตินี้ เพรำะเป็น
หลักเกณฑ์ที่ประกันควำมเป็นธรรมและมีมำตรฐำนในกำรปฏิบัติรำชกำร
ง. ขั้นตอนและระยะเวลำกำรอุทธรณ์ต้องเป็นไปตำมกฎหมำยเฉพำะกำหนด
19. วันใช้บังคับพระรำชบัญญัติวิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครอง พ.ศ. 2539 ข้อใดถูกต้องที่สุด
ก. วันประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำ
ข. วันถัดจำกวันประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำ
ค. วันพ้นกำหนด 180 วัน นับแต่วันประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำ
ง. วันพ้นกำหนด 180 วัน นับแต่วันถัดจำกวันประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำ
20. วันใช้บังคับตำมข้อ 19 ตรงกับวันใด
ก. 14 พฤศจิกำยน 2539
ข. 15 พฤศจิกำยน 2539
ค. 14 พฤษภำคม 2540
ง. 15 พฤษภำคม 2540
เฉลย
1.ตอบ ค. (ดูมำตรำ 7 วรรคสอง)
2.ตอบ ค. (ดูคำปรำรภ)
3.ตอบ ข. (พระรำชบัญญัติวิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครอง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2557 ประกำศในรำช
กิจจำนุเบกษำ เล่ม 131 ตอนที่ 89 ก วันที่ 30 ธันวำคม 2557)
4.ตอบ ข. (ดูมำตรำ 10)
5.ตอบ ง. (ดูมำตรำ 11 (4) เสนอแนะกำรตรำพระรำชกฤษฎีกำ ออกกฎกระทรวง/ประกำศ)
6.ตอบ ก. (ดูมำตรำ 8 และมำตรำ 76)
7.ตอบ ค. (ดูมำตรำ 3 และมำตรำ 4)
8.ตอบ ข. (ดูมำตรำ 4 มำตรำ 10 มำตรำ 11)
9.ตอบ ข. (ดูมำตรำ 5)
10.ตอบ ง. (ดูมำตรำ 5)
11.ตอบ ก. (ดูมำตรำ 7)
12.ตอบ ค. (ดูมำตรำ 7)
13.ตอบ ข. (ดูมำตรำ 5)
14.ตอบ ก. (ดูมำตรำ 6)
15.ตอบ ค. (ดูมำตรำ 5)
16.ตอบ ง. (ดูมำตรำ 4 วรรคท้ำย)
17.ตอบ ง. (ดูมำตรำ 4 (4))
18.ตอบ ง. (ดูมำตรำ 3)
19.ตอบ ง. (ดูมำตรำ 2)
204

20.ตอบ ค. (ประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำเมื่อวันที่ 14 พฤศจิกำยน 2539 และมีผลใช้บังคับ


เมื่อวันที่ 14 พฤษภำคม 2540 เป็นต้นไป ซึ่งเป็นวันที่พ้นกำหนด 180 วัน นับแต่วันถัดจำกวัน
ประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำ)

ชุดที่ 3 แนวข้อสอบพระรำชบัญญัติวิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครอง
1. พระรำชบัญญัติวิธีปฏิบัติวิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครอง ไม่ใช่บังคับองค์กรหรือหน่วยรำชกำร
ตำมข้อใด
ก. รัฐสภำและคณะรัฐมนตรี
ข. กำรดำเนินงำนตำมกระบวนกำรยุติธรรมทำงอำญำ
ค. กำรดำเนินกิจกำรทำงศำสนำ
ง. ถูกทุกข้อ
2. ข้อใดเป็นคำสั่งทำงปกครอง
ก. คำสั่งของเจ้ำหน้ำที่ซึ่งใช้อำนำจตำมกฎหมำยในกำรสั่งและมีผลกระทบต่อสถำนภำพ
ของสิทธิหรือหน้ำที่ของบุคคล
ข. กำรอนุญำตหรือไม่อนุญำตอันก่อให้เกิดสิทธิหรือระงับซึ่งสิทธิของบุคคล
ค. กำรวินิจฉัยของเจ้ำหน้ำที่อันมีผลกระทบต่อสถำนภำพของสิทธิหรือหน้ำที่ของบุคคล
ง. ถูกทุกข้อ
3. คำว่ำ "กฎ" ตำมพระรำชบัญญัติวิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครอง หมำยถึงข้อใด
ก. พระรำชกฤษฎีกำ
ข. กฎกระทรวง
ค. ประกำศกระทรวง และข้อบังคับท้องถิ่น
ง. ถูกทุกข้อ
4. บุคคลตำมข้อใดเป็นผู้รักษำกำรตำมพระรำชบัญญัตินี้
ก. นำยกรัฐมนตรี
ข. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทย
ค. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงยุติธรรม
ง. อธิบดีกรมกำรปกครอง
5. บุคคลตำมข้อใดเป็นประธำนในคณะกรรมกำรวิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครอง
ก. นำยกรัฐมนตรี
ข. รัฐมนตรีประจำสำนักนำยกรัฐมนตรี
ค. ปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรี
ง. บุคคลซึ่งรัฐมนตรีแต่งตัง้
205

6. ผู้ดำรงตำแหน่งประธำนในคณะกรรมกำรวิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครอง ต้องเป็นบุคคลตำมข้อ
ใด
ก. เป็นผู้ดำรงตำแหน่งทำงกำรเมือง
ข. ต้องเป็นผู้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวง
ค. ต้องเป็นผู้มีควำมเชี่ยวชำญในทำงนิติศำสตร์ รัฐประศำสนศำสตร์ รัฐศำสตร์
สังคมศำสตร์ บริหำรรำชกำรแผ่นดิน
ง. ต้องอำยุไม่เกิน 50 ปีบริบูรณ์
7. ผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมกำรวิธีกำรปฏิบัติรำชกำรทำงปกครอง กำหนดจำนวนไว้ตำมข้อใด
ก. ไม่น้อยกว่ำ 3 คน แต่ไม่เกิน 5 คน
ข. ไม่น้อยกว่ำ 5 คน แต่ไม่เกิน 7 คน
ค. ไม่น้อยกว่ำ 5 คน แต่ไม่เกิน 9 คน
ง. ไม่น้อยกว่ำ 7 คน แต่ไม่เกิน 9 คน
8. บุคคลข้อใดที่ทำตำมหน้ำที่เลขำนุกำรในคณะกรรมกำรวิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครอง
ก. เลขำธิกำรคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ
ข. เลขำธิกำรคณะรัฐมนตรี
ค. ข้ำรำชกำรของสำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำที่เลขำธิกำรคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ
แต่งตั้ง
ง. ข้ำรำชกำรของสำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำที่เลขำธิกำรคณะรัฐมนตรีแต่งตั้ง
9. กรรมกำรในคณะกรรมกำรวิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครองที่คณะรัฐมนตรีแต่งตั้งมีวำระกำรดำรง
ตำแหน่ง ครำวละกี่ปี
ก. 2 ปี
ข. 3 ปี
ค. 4 ปี
ง. 5 ปี
10. หน่วยงำนที่ทำหน้ำที่สำนักงำนเลขำนุกำรของคณะกรรมกำรวิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครอง
คือหน่วยงำนในข้อใด
ก. สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ
ข. สำนักงำนคณะกรรมกำรรัฐมนตรี
ค. สำนักงำนคณะกรรมกำรข้ำรำชกำรพลเรือน
ง. กรมกำรปกครอง
206

11. ข้อใดไม่ใช่อำนำจหน้ำที่ของคณะกรรมกำรวิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครอง
ก. สอดส่องดูแลและให้คำแนะนำเกี่ยวกับกำรดำเนินงำนของเจ้ำหน้ำที่ในกำรปฏิบัติตำม
พระรำชบัญญัตินี้
ข. เสนอแนะในกำรตรำพระรำชกฤษฎีกำและกำรออกกฎกระทรวงหรือประกำศตำม
พระรำชบัญญัตินี้
ค. พิจำรณำคดีทำงกำรปกครอง
ง. จัดทำรำยงำนเกี่ยวกับกำรปฏิบัติตำมพระรำชบัญญัตินี้เสนอนำยกรัฐมนตรี
12. เจ้ำหน้ำที่ตำมข้อใดทำกำรพิจำรณำทำงปกครองได้
ก. เป็นคู่กรณีในคดี
ข. เป็นเจ้ำหนี้หรือลูกหนี้ หรือเป็นนำยจ้ำงของคู่กรณี
ค. เป็นผู้บังคับบัญชำของคู่กรณี
ง. เป็นผู้บังคับบัญชำของคู่กรณีในคดี
13. บุคคลตำมข้อใดเป็นคู่กรณีในกำรพิจำรณำปกครองได้
ก. บุคคลธรรมดำ
ข. คณะบุคคล
ค. นิติบุคคล
ง. ถูกทุกข้อ
14. บุคคลตำมข้อใดเป็นตัวแทนร่วมของคู่กรณี ในกรณีที่มีคู่กรณีเกิน 50 คนยื่นคำขออย่ำง
เดียวกันได้
ก. บุคคลธรรมดำ
ข. คณะบุคคล
ค. นิติบุคคล
ง. ถูกทุกข้อ
15. กรณีที่คำขอหรือคำแถลงของคู่กรณีในกำรพิจำรณำทำงปกครอง มีข้อบกพร่องอันเกิดจำก
ควำมไม่รู้ของคู่กรณี เจ้ำหน้ำที่จะดำเนินกำรตำมข้อใด
ก. ให้จำหน่ำยเรื่องออกกำรพิจำรณำ
ข. ให้เจ้ำหน้ำที่แนะนำให้คู่กรณีแก้ไขเพิ่มเติมให้ถูกต้อง
ค. ให้เจ้ำหน้ำที่แก้ไขให้ถูกต้อง
ง. ให้พิจำรณำไปตำมข้อเท็จจริงเพียงเท่ำที่มีอยู่
16. ในกำรพิจำรณำทำงปกครอง เจ้ำหน้ำที่สำมำรถดำเนินกำรได้ตำมข้อใด
ก. สำมำรถตรวจสอบข้อเท็จจริงตำมควำมเหมำะสม
ข. ไม่ผูกพันอยู่กับคำขอของคู่กรณี
ค. ไม่ต้องผูกพันกับพยำนหลักฐำนของคู่กรณี
ง. ถูกทุกข้อ
207

17. ในกำรจัดพิจำรณำพยำนหลักฐำนเพื่อพิสูจน์ข้อเท็จจริง เจ้ำหน้ำที่มีอำนำจดำเนินกำรตำมข้อ


ใด
ก. แสวงหำพยำนหลักฐำนทุกอย่ำงที่เกี่ยวข้อง
ข. ขอให้ผู้ครอบครองเอกสำรส่งเอกสำรที่เกี่ยวข้อง
ค. ออกไปตรวจสถำนที่
ง. ถูกทุกข้อ
18. กำรดำเนินกำรของเจ้ำหน้ำที่ตำมข้อใดไม่ถูกต้องในกรณีที่คำสั่งทำงกำรปกครองจะกระทบถึง
สิทธิของคู่กรณี
ก. เจ้ำหน้ำที่ให้คู่กรณีมีโอกำสได้ทรำบข้อเท็จจริง และมีโอกำสโต้แย้งแสดงพยำนหลักฐำน
ของตน
ข. เจ้ำหน้ำที่ไม่ให้โอกำสคู่กรณีทรำบข้อเท็จจริงเนื่องจำกเป็นมำตรกำรบังคับทำงกำร
ปกครอง
ค. เจ้ำหน้ำที่ให้โอกำสคู่กรณีโต้แย้งพยำนหลักฐำนถึงแม้ว่ำจะก่อให้เกิดผลเสียหำยอย่ำง
ร้ำยต่อประโยชน์ สำธำรณะ
ง. เจ้ำหน้ำที่ไม่ให้โอกำสคู่กรณีได้ทรำบข้อเท็จจริงเนื่องจำกจะทำให้ระยะเวลำที่กฎหมำย
กำหนดไว้ในกำรทำ คำสั่งทำงปกครองต้องล่ำช้ำออกไป
19. คู่กรณีมีสิทธิขอตรวจดูเอกสำรที่จำเป็นต้องรู้เพื่อกำรโต้แย้งสิทธิหรือชี้แจงหรือป้องกันสิทธิ
ของตนได้ กำรขอ ดังกล่ำวไม่รวมถึงกำรขอในข้อใด
ก. ขอตรวจดูเอกสำรต้นร่ำงคำวินิจฉัย ในขณะที่ยังไม่ได้ทำคำสั่งทำงปกครอง
ข. ขอสำเนำเอกสำรที่เป็นพยำนหลักฐำนทั้งหมด
ค. ขอดูหลักฐำนที่เจ้ำหน้ำที่เก็บรักษำไว้
ง. มีสิทธิขอดูได้ทุกกรณี
20. รูปแบบคำสั่งทำงกำรปกครองในข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. ทำเป็นหนังสือ
ข. เป็นคำสั่งด้วยวำจำก็ได้
ค. สั่งทำงจดหมำยอิเล็คทรอนิกส์
ง. คำสั่งทำงปกครองอำจใช้รูปแบบได้ทั้งข้อ ก , ข และข้อ ค
21. ในกรณีคำสั่งทำงปกครองเป็นคำสั่งด้วยวำจำ ถ้ำผู้รับสั่งร้องขอภำยในกี่วันนับแต่วันมีคำสั่ง
เจ้ำหน้ำที่ต้องยืนยันคำสั่งนั้นเป็นหนังสือ
ก. 3 วัน
ข. 5 วัน
ค. 7 วัน
ง. 15 วัน
208

22. เหตุผลที่ต้องจัดให้มีไว้ในคำสั่งทำงปกครองที่ทำเป็นหนังสือ คือข้อใด


ก. ข้อเท็จจริงอันเป็นสำระสำคัญ
ข. กฎหมำยที่ใช้อ้ำงอิง
ค. ข้อพิจำรณำและข้อสนับสนุนในกำรใช้ดุลยพินิจ
ง. ต้องมีเหตุผลทั้งในข้อ ก ข และ ค
23. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับกำรอุทธรณ์คำสั่งทำงปกครอง
ก. ให้คู่กรณีอุทธรณ์คำสั่งทำงปกครองต่อเจ้ำหน้ำที่ทำคำสั่งภำยใน 15 วันนับแต่วันที่
ได้รบั แจ้งคำสั่ง
ข. กำรอุทธรณ์คำสั่งทำงปกครองสำมำรถอุทธรณ์ด้วยวำจำได้
ค. กำรอุทธรณ์ไม่เป็นเหตุให้ทุเลำกำรบังคับตำมคำสั่งทำงปกครอง
ง. เจ้ำหน้ำที่ต้องพิจำรณำคำอุทธรณ์และแจ้งผู้อุทธรณ์ภำยในไม่เกิน 30 วันนับแต่วันที่
ได้รับกำรอุทธรณ์
24. ในกำรพิจำรณำอุทธรณ์ เจ้ำหน้ำที่มีอำนำจพิจำรณำในประเด็นตำมข้อใด
ก. พิจำรณำในประเด็นปัญหำข้อเท็จจริง
ข. พิจำรณำประเด็นปัญหำข้อกฎหมำย
ค. พิจำรณำควำมเหมำะสมของกำรทำคำสั่งทำงกำรปกครอง
ง. ถูกทุกข้อ
25. กำรเพิกถอนคำสั่งทำงกำรปกครองที่มีลักษณะเป็นกำรให้ประโยชน์ต้องกระทำภำยในกี่วันนับ
แต่ได้รู้ถึงเหตุ
ที่จะให้เพิกถอนคำสั่งทำงกำรปกครองนั้น
ก. 30 วัน
ข. 60 วัน
ค. 90 วัน
ง. 120 วัน
26. เมื่อคู่กรณีมีคำขอ เจ้ำหน้ำที่อำจเพิกถอนหรือแก้ไขเพิ่มเติมคำสั่งทำงปกครองที่พ้นกำหนด
อุทธรณ์
ก. มีพยำนหลักฐำนใหม่อันอำจทำให้ข้อเท็จจริงที่ฟังเป็นข้อยุติแล้วนั้นเปลี่ยนแปลงไปใน
สำระสำคัญ
ข. คู่กรณีที่แท้จริงไม่ได้เข้ำมำในกระบวนกำรพิจำรณำทำงปกครองหรือได้เข้ำมำใน
กระบวนกำร
ค. เจ้ำหน้ำที่ไม่มีอำนำจที่จะทำคำสั่งทำงกำรปกครอง
ง. ถูกทุกข้อ
209

27. คำสั่งทำงปกครองที่กำหนดใช้ชำระเงิน ถ้ำถึงกำหนดแล้วไม่มีกำรชำระโดยถูกต้องครบถ้วน


ให้เจ้ำหน้ำที่มีหนังสือเตือนให้ชำระภำยในเวลำที่กำหนด โดยจะต้องให้มีเวลำไม่น้อยกว่ำกี่วัน
ก. 7 วัน
ข. 15 วัน
ค. 30 วัน
ง. 45 วัน
28. คำสั่งทำงปกครองที่กำหนดให้ละเว้นกำรกระทำ ถ้ำผู้อยู่ในบังคับของคำสั่งฝ่ำฝืน เจ้ำหน้ำที่
อำจบังคับให้ไป ชำระค่ำปรับทำงปกครองได้ โดยจำนวนเงินที่กำหนดต้องไม่เกินอัตรำตำมข้อใด
ก. 500 บำทต่อวัน
ข. 1,000 บำทต่อวัน
ค. 2,000 บำทต่อวัน
ง. 20,000 บำทต่อวัน
29. ก่อนใช้มำตรกำรบังคับทำงปกครอง เจ้ำหน้ำที่จะต้องมีคำเตือนเป็นหนังสือให้มีกำรกระทำ
หรือละเว้นกำร กระทำตำมคำสั่งทำงปกครองภำยในระยะเวลำที่กำหนด คำเตือนดังกล่ำวจะต้อง
ระบุตำมข้อใด
ก. มำตรกำรบังคับทำงกำรปกครองที่จะใช้
ข. ค่ำใช้จ่ำยในกำรที่เจ้ำหน้ำที่เข้ำดำเนินกำรด้วยตนเอง
ค. จำนวนค่ำปรับทำงปกครอง
ง. ถูกทุกข้อ
30. กำรแจ้งคำสั่งทำงปกครองโดยวิธีส่งทำงไปรษณีย์ตอบรับ ให้ถือว่ำได้รับแจ้งเมื่อครบ
กำหนดเวลำตำมข้อใด
ก. 5 วันนับแต่ส่งสำหรับกรณีภำยในประเทศ หรือ 7 วันนับแต่วันที่ส่งสำหรับกรณีส่งไป
ยังต่ำงประเทศ
ข. 7 วันนับแต่วันส่งสำหรับกรณีภำยในประเทศ หรือ 15 วันนับแต่วันส่งสำหรับกรณี
ส่งไปยังต่ำงประเทศ
ค. 15 วันนับแต่วันส่งสำหรับกรณีภำยในประเทศ หรือ 30 วันนับแต่วันส่งสำหรับกรณี
ส่งไปยังต่ำงประเทศ
ง. 20 วันนับแต่วันส่งสำหรับกรณีภำยในประเทศ หรือ 45 วันนับแต่วันส่งสำหรับกรณี
ส่งไปยังต่ำงประเทศ
เฉลยแนวข้อสอบพระรำชบัญญัติวิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครอง
1. ง 2. ง 3. ง 4. ก 5. ง 6. ค 7. ค 8. ค
9. ข 10. ก 11. ค 12. ค 13. ง 14. ก 15. ข 16. ง
17. ง 18. ค 19. ก 20. ง 21. ค 22. ง 23. ข 24. ง
25. ค 26. ง 27. ก 28. ง 29. ง 30. ข
210

ชุดที่ 4 แนวข้อสอบพระรำชบัญญัติวิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครอง
1.ผู้ที่จะทำกำรพิจำรณำทำงปกครองไม่ได้คือข้อใด
ก. เป็นคู่กรณีเอง
ข. เป็นคู่หมั้นของคู่กรณี
ค. เป็นญำติของคู่กรณี
ง. ถูกทุกข้อ
2.ที่ประชุมมีมติให้กรรมกำรผู้ถูกคัดค้ำนปฏิบัติหน้ำที่ต่อไป ต้องมีคะแนนเสียงเท่ำใดของกรรมกำร
ที่ไม่ถูกคัดค้ำน ก็ให้กรรมกำรผู้นั้นปฏิบัติหน้ำที่ต่อไปได้
ก. ไม่น้อยกว่ำกึ่งหนึ่ง
ข. ไม่น้อยกว่ำหนึ่งในสำม
ค. ไม่น้อยกว่ำสองในสำม
ง. ไม่น้อยกว่ำสำมในสี่
3.ในกรณีที่มีกำรยื่นคำขอหลำยคำขอนั้นมีข้อควำมทำนองเดียวกัน สำมำรถที่จะระบุบุคคลใด
เป็นตัวแทนร่วมได้ ในกรณีเช่นนี้ต้องมีผู้ลงชื่อร่วมเกินกว่ำกี่คน
ก. เกินสำมสิบคน
ข. เกินห้ำสิบคน
ค. เกินห้ำร้อยคน
ง. เกินหนึ่งพันคน
4.คำสั่งทำงปกครองของคณะกรรมกำรนั้น คู่กรณีมีสิทธิโต้แย้งต่อคณะกรรมกำรวินิจฉัยร้องทุกข์
ได้ภำยในกี่วันนับแต่วันได้รับแจ้งคำสั่ง
ก. 30 วัน
ข. 60 วัน
ค. 90 วัน
ง. 120 วัน
5.ผู้ที่ได้รับผลกระทบจำกกำรเพิกถอนคำสั่งทำงปกครอง มีสิทธิได้รับค่ำทดแทนควำมเสียหำย ซึ่ง
ต้องรอค่ำทดแทนภำยในระยะเวลำใด นับแต่ได้รับแจ้งกำรเพิกถอน
ก. 30 วัน
ข. 60 วัน
ค. 120 วัน
ง. 180 วัน
6.คำสั่งทำงปกครองที่กำหนดให้กระทำ แล้วผู้อยู่ในบังคับของคำสั่งทำงปกครองฝ่ำฝืนหรือไม่
ปฏิบัติตำม เจ้ำหน้ำที่จะดำเนินกำรด้วยตัวเองและต้องชดใช้เงินเพิ่มให้แก่เจ้ำหน้ำที่ร้อยละเท่ำใด
ต่อปี
ก. ร้อยละห้ำ
211

ข. ร้อยละสิบ
ค. ร้อยละสิบห้ำ
ง. ร้อยละยี่สิบห้ำ
7.จำกข้อข้ำงต้น อำจมีกำรชำระค่ำปรับทำงปกครองในอัตรำไม่เกินเท่ำใดต่อวัน
ก. 5,000 บำท/วัน
ข. 10,000 บำท/วัน
ค. 15,000 บำท/วัน
ง. 20,000 บำท/วัน
8.กำรแจ้งคำสั่งทำงปกครองโดยวิธีส่งทำงไปรษณีย์ตอบรับ ให้ถือว่ำได้รับแจ้งเมื่อครบกำหนดกี่วัน
นับแต่วันส่ง ทั้งในกรณีภำยในประเทศและต่ำงประเทศ
ก. 3 วัน, 7 วัน ข. 5 วัน, 7 วัน
ค. 7 วัน, 15 วัน ง. 15 วัน, 30 วัน
9.ในกำรนัดกำรประชุมนั้น ต้องแจ้งให้คณะกรรมกำรทุกคนทรำบล่วงหน้ำไม่น้อยกว่ำกี่วัน
ก. ไม่น้อยกว่ำสำมวัน
ข. ไม่น้อยกว่ำห้ำวัน
ค. ไม่น้อยกว่ำเจ็ดวัน
ง. ไม่น้อยกว่ำสิบห้ำวัน
10.ผู้รับสนองพระบรมรำชโองกำรใน พรบ. วิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครอง พ.ศ.2539 ฉบับนี้คือ
ใคร
ก. นำยอำนันท์ ปันยำรชุน
ข. นำยบรรหำร ศิลปอำชำ
ค. นำยสมัคร สุนทรเวช
ง. พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร
212

เฉลย พระรำชบัญญัติวิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครอง ชุด4


1.ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
เจ้ำหน้ำที่ดังต่อไปนี้จะทำกำรพิจำรณำทำงปกครองไม่ได้
(1) เป็นคู่กรณีเอง
(2) เป็นคู่หมั่นหรือคู่สมรสของคู่กรณี
(3) เป็นญำติของคู่กรณี คือ เป็นบุพกำรีหรือผู้สืบสันดำนไม่ว่ำชั้นใด ๆ หรือเป็นพี่น้องหรือ
ลูกพี่ลูกน้องนับได้เพียงภำยในสำมชั้น หรือเป็นญำติเกี่ยวพันทำงแต่งงำนนับได้เพียงสองชั้น
(4) เป็นหรือเคยเป็นผู้แทนโดยชอบธรรมหรือผู้พิทักษ์หรือผู้แทนหรือตัวแทนของคู่กรณี
(5) เป็นเจ้ำหนี้หรือลูกหนี้ หรือเป็นนำยจ้ำงของคู่กรณี
(6) กรณีอื่นตำมที่กำหนดในกฎกระทรวง
(พรบ.วิธีปฏิบัติฯ มำตรำ 13)

2. ตอบ ค. ไม่น้อยกว่ำสองในสำม
ถ้ำที่ประชุมมีมติให้กรรมกำรผู้ถูกคัดค้ำนปฏิบัติหน้ำที่ต่อไปด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่ำสองใน
สำมของกรรมกำรที่ไม่ถูกคัดค้ำน ก็ให้กรรมกำรผู้นั้นปฏิบัติหน้ำที่ต่อไปได้ มติดังกล่ำวให้กระทำ
โดยวิธีลงคะแนนลับให้เป็นที่สุด (พรบ.วิธีปฏิบัติฯ มำตรำ 15)

3.ตอบ ข. เกินห้ำสิบคน
ในกรณีที่มีกำรยื่นคำขอโดยมีผู้ลงชื่อร่วมกันเกินห้ำสิบคนหรือมีคู่กรณีเกินห้ำสิบคนยื่นคำขอที่มี
ข้อควำมอย่ำงเดียวกันหรือทำนองเดียวกัน ถ้ำในคำขอมีกำรระบุให้บุคคลใดเป็นตัวแทนของบุคคล
ดังกล่ำวหรือมีข้อควำมเป็นปริยำยให้เข้ำใจได้เช่นนั้น ให้ถือว่ำผู้ที่ถูกระบุชื่อดังกล่ำวเป็นตัวแทน
ร่วมของคู่กรณีเหล่ำนั้น (พรบ.วิธีปฏิบัติฯ มำตรำ 25)

4.ตอบ ค. 90 วัน
คำสั่งทำงปกครองของบรรดำคณะกรรมกำรต่ำง ๆ ไม่ว่ำจะจัดตั้งขึ้นตำมกฎหมำยหรือไม่ ให้คู่กรณี
มีสิทธิโต้แย้งต่อคณะกรรมกำรวินิจฉัยร้องทุกข์ตำมกฎหมำยว่ำด้วยคณะกรรมกำรกฤษฎีกำได้ทั้ง
ปัญหำข้อเท็จจริงและข้อกฎหมำย ภำยในเก้ำสิบวันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งคำสั่งนั้น แต่ถ้ำ
คณะกรรมกำรดังกล่ำวเป็นคณะกรรมกำรวินิจฉัยข้อพิพำท
สิทธิกำรอุทธรณ์และกำหนดเวลำอุทธรณ์ให้เป็นไปตำมที่บัญญัติในกฎหมำยว่ำด้วยคณะกรรมกำร
กฤษฎีกำ (พรบ.วิธีปฏิบัติฯ มำตรำ 48)

5.ตอบ ง. 180 วัน


คำสั่งทำงปกครองที่ไม่ชอบด้วยกฎหมำย อำจถูกเพิกถอนทั้งหมดหรือบำงส่วนได้ แต่ผู้ได้รับ
ผลกระทบจำกกำรเพิกถอนคำสั่งทำงปกครองดังกล่ำวมีสิทธิได้รับค่ำทดแทนควำมเสียหำย
213

เนื่องจำกควำมเชื่อโดยสุจริตในควำมคงอยู่ของคำสั่งทำงปกครองได้ แต่ต้องร้องขอค่ำทดแทน
ภำยในหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่ได้รับแจ้งให้ทรำบถึงกำรเพิกถอนนั้น (พรบ.วิธีปฏิบัติฯ มำตรำ
52)

6.ตอบ ง. ร้อยละยี่สิบห้ำ
คำสั่งทำงปกครองที่กำหนดให้กระทำหรือละเว้นกระทำ ถ้ำผู้อยู่ในบังคับของคำสั่งทำงปกครองฝ่ำ
ฝืนหรือไม่ปฏิบัติตำมเจ้ำหน้ำที่อำจใช้มำตรกำรบังคับทำงปกครอง เจ้ำหน้ำที่เข้ำดำเนินกำรด้วย
ตนเองหรือมอบหมำยให้บุคคลอื่นกระทำกำรแทน โดยผู้อยู่ในบังคับของคำสั่งทำงปกครองจะต้อง
ชดใช้ค่ำใช้จ่ำยและเงินเพิ่มในอัตรำร้อยละยี่สิบห้ำต่อปีของค่ำใช้จ่ำยดังกล่ำวแก่เจ้ำหน้ำที่ (พรบ.
วิธีปฏิบัติฯ มำตรำ 58)

7. ตอบ ง. 20,000 บำท/วัน


คำสั่งทำงปกครองที่กำหนดให้กระทำหรือละเว้นกระทำ ถ้ำผู้อยู่ในบังคับของคำสั่งทำงปกครองฝ่ำ
ฝืนหรือไม่ปฏิบัติตำมเจ้ำหน้ำที่อำจใช้มำตรกำรบังคับทำงปกครอง ให้มีกำรชำระค่ำปรับทำง
ปกครองตำมจำนวนที่สมควรแก่เหตุแต่ต้องไม่เกินสองหมื่นบำทต่อวัน (พรบ.วิธีปฏิบัติฯ มำตรำ
58)

8.ตอบ ค. 7 วัน, 15 วัน


กำรแจ้งโดยวิธีส่งทำงไปรษณีย์ตอบรับให้ถือว่ำได้รับแจ้งเมื่อครบกำหนดเจ็ดวันนับแต่วันส่งสำหรับ
กรณีภำยในประเทศหรือเมื่อครบกำหนดสิบห้ำวันนับแต่วันส่งสำหรับกรณีส่งไปยังต่ำงประเทศ
เว้นแต่จะมีกำรพิสูจน์ได้ว่ำไม่มีกำรได้รับหรือได้รับก่อนหรือหลังจำกวันนั้น (พรบ.วิธีปฏิบัติฯ
มำตรำ 71)

9.ตอบ ก. ไม่น้อยกว่ำสำมวัน
กำรนัดประชุมต้องทำเป็นหนังสือและแจ้งให้กรรมกำรทุกคนทรำบล่วงหน้ำไม่น้อยกว่ำสำมวัน เว้น
แต่กรรมกำรนั้นจะได้ทรำบกำรบอกนัดในที่ประชุมแล้ว กรณีดังกล่ำวนี้จะทำหนังสือแจ้งนัดเฉพำะ
กรรมกำรที่ไม่ได้มำประชุมก็ได้ (พรบ.วิธีปฏิบัติฯ มำตรำ 80)

10.ตอบ ข. นำยบรรหำร ศิลปอำชำ


ผู้รับสนองพระบรมรำชโองกำร นำยบรรหำร ศิลปะอำชำ นำยกรัฐมนตรี
214

ชุดที่ 5 แนวข้อสอบพระรำชบัญญัติวิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครอง
1. พระรำชบัญญัติวิธีปฏิบัติวิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครอง ไม่ใช่บังคับองค์กรหรือหน่วยรำชกำร
ตำมข้อใด
ก. รัฐสภำและคณะรัฐมนตรี
ข. กำรดำเนินงำนตำมกระบวนกำรยุติธรรมทำงอำญำ
ค. กำรดำเนินกิจกำรทำงศำสนำ
ง. ถูกทุกข้อ
2. กฎหมำยวิธีปฏิบัติรำชกำรปกครองใช้บังคับในกรณีใด
ก. กำรพิจำรณำของนำยกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีในงำนทำงนโยบำยโดยตรง
ข. รัฐสภำและคณะรัฐมนตรี
ค. กำรพิจำรณำพิพำกษำคดีของศำล
ง. ไม่มีข้อใดถูก
3. ข้อใดเป็นคำสั่งทำงปกครอง
ก. คำสั่งของเจ้ำหน้ำที่ซึ่งใช้อำนำจตำมกฎหมำยในกำรสั่งและมีผลกระทบต่อสถำนภำพ
ของสิทธิหรือหน้ำที่ของบุคคล
ข. กำรอนุญำตหรือไม่อนุญำตอันก่อให้เกิดสิทธิหรือระงับซึ่งสิทธิของบุคคล
ค. กำรวินิจฉัยของเจ้ำหน้ำที่อันมีผลกระทบต่อสถำนภำพของสิทธิหรือหน้ำที่ของบุคคล
ง. ถูกทุกข้อ
4. คำสั่งทำงปกครอง หมำยควำมว่ำ กำรใช้อำนำจตำมกฏหมำยของเจ้ำหน้ำที่ที่มีผลเป็นกำรสร้ำง
นิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่ำงบุคคลในอันที่จะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน ระงับหรือมีผลกระทบต่อ
สถำนภำพของสิทธิหรือหน้ำที่ของบุคคล ฯ ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่คำสั่งทำงปกครอง
ก. กำรสั่งกำร
ข. กำรอนุญำต
ค. กำรวินิจฉัยอุทธรณ์
ง. กำรออกกฎ
5. กรณีใดเป็น "คำสั่งทำงกำรปกครอง"
ก. ประกำศของรำชกำรกำหนดว่ำกำรยื่นขอต่อใบอนุญำต โรงงำนต้องส่งรำยงำน
วิเครำะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมด้วย
ข. คำสั่งของผู้อำนวยกำรธนำคำรออมสิน สั่งซื้อหุ้นสำมัญเพิ่มทุนของธนำคำรพำณิชย์
แห่งหนึ่ง
ค. ไฟจรำจร (เขียว แดง) ที่สี่แยกแห่งหนึ่ง
ง. รำยงำนผลกำรสอบวินัยข้ำรำชกำรผู้หนึ่งที่คณะกรรมกำรกำรสอบสวนวินัยเสนอต่อ
อธิบดี
215

6. คำว่ำ "กฎ" ตำมพระรำชบัญญัติวิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครอง หมำยถึงข้อใด


ก. พระรำชกฤษฎีกำ
ข. กฎกระทรวง
ค. ประกำศกระทรวง และข้อบังคับท้องถิ่น
ง. ถูกทุกข้อ
7. ข้อใดต่อไปนี้หมำยควำมว่ำ “กฎ”ตำมพระรำชบัญญัติ วิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครอง พ.ศ.
2539
ก. พระรำชกฤษฎีกำ
ข. กฎกระทรวง
ค. ประกำศกระทรวง
ง. ทุกข้อ
8. บุคคลตำมข้อใดเป็นผู้รักษำกำรตำมพระรำชบัญญัตินี้
ก. นำยกรัฐมนตรี
ข. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทย
ค. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงยุติธรรม
ง. อธิบดีกรมกำรปกครอง
9. บุคคลตำมข้อใดเป็นประธำนในคณะกรรมกำรวิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครอง
ก. นำยกรัฐมนตรี
ข. รัฐมนตรีประจำสำนักนำยกรัฐมนตรี
ค. ปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรี
ง. บุคคลซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้ง
10. ผู้ดำรงตำแหน่งประธำนในคณะกรรมกำรวิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครอง ต้องเป็นบุคคลตำม
ข้อใด
ก. เป็นผู้ดำรงตำแหน่งทำงกำรเมือง
ข. ต้องเป็นผู้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวง
ค. ต้องเป็นผู้มีควำมเชี่ยวชำญในทำงนิติศำสตร์ รัฐประศำสนศำสตร์ รัฐศำสตร์
สังคมศำสตร์ บริหำรรำชกำรแผ่นดิน
ง. ต้องอำยุไม่เกิน 50 ปีบริบูรณ์
11. ผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมกำรวิธีกำรปฏิบัติรำชกำรทำงปกครอง กำหนดจำนวนไว้ตำมข้อใด
ก. ไม่น้อยกว่ำ 3 คน แต่ไม่เกิน 5 คน
ข. ไม่น้อยกว่ำ 5 คน แต่ไม่เกิน 7 คน
ค. ไม่น้อยกว่ำ 5 คน แต่ไม่เกิน 9 คน
ง. ไม่น้อยกว่ำ 7 คน แต่ไม่เกิน 9 คน
216

12. บุคคลข้อใดที่ทำตำมหน้ำที่เลขำนุกำรในคณะกรรมกำรวิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครอง
ก. เลขำธิกำรคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ
ข. เลขำธิกำรคณะรัฐมนตรี
ค. ข้ำรำชกำรของสำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำที่เลขำธิกำรคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ
แต่งตั้ง
ง. ข้ำรำชกำรของสำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำที่เลขำธิกำรคณะรัฐมนตรีแต่งตั้ง
13. หน่วยงำนที่ทำหน้ำที่สำนักงำนเลขำนุกำรของคณะกรรมกำรวิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครอง
คือหน่วยงำนในข้อใด
ก. สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ
ข. สำนักงำนคณะกรรมกำรรัฐมนตรี
ค. สำนักงำนคณะกรรมกำรข้ำรำชกำรพลเรือน
ง. กรมกำรปกครอง
14. กรรมกำรในคณะกรรมกำรวิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครองที่คณะรัฐมนตรีแต่งตั้งมีวำระกำร
ดำรงตำแหน่ง ครำวละกี่ปี
ก. 2 ปี
ข. 3 ปี
ค. 4 ปี
ง. 5 ปี
15. ข้อใดไม่ใช่อำนำจหน้ำที่ของคณะกรรมกำรวิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครอง
ก. สอดส่องดูแลและให้คำแนะนำเกี่ยวกับกำรดำเนินงำนของเจ้ำหน้ำที่ในกำรปฏิบัติตำม
พระรำชบัญญัตินี้
ข. เสนอแนะในกำรตรำพระรำชกฤษฎีกำและกำรออกกฎกระทรวงหรือประกำศตำม
พระรำชบัญญัตินี้
ค. พิจำรณำคดีทำงกำรปกครอง
ง. จัดทำรำยงำนเกี่ยวกับกำรปฏิบัติตำมพระรำชบัญญัตินี้เสนอนำยกรัฐมนตรี
16. เจ้ำหน้ำที่ตำมข้อใดทำกำรพิจำรณำทำงปกครองได้
ก. เป็นคู่กรณีในคดี
ข. เป็นเจ้ำหนี้หรือลูกหนี้ หรือเป็นนำยจ้ำงของคู่กรณี
ค. เป็นผู้บังคับบัญชำของคู่กรณี
ง. เป็นผู้บงั คับบัญชำของคู่กรณีในคดี
17. เจ้ำหน้ำที่ในข้อใดที่จะทำกำรพิจำรณำทำงปกครองไม่ได้
ก. เป็นคู่หมั้นของคู่กรณี
ข. เป็นญำติของคู่กรณี
ค. เป็นนำยจ้ำงของคู่กรณี
217

ง. ทุกข้อที่กล่ำวมำจะทำกำรพิจำรณำทำงปกครองไม่ได้
18. กรณีใดที่เจ้ำหน้ำที่ทำกำรพิจำรณำทำงกำรปกครองได้
ก. เป็นคู่กรณีเอง
ข. เป็นเพื่อนของคู่สมรส
ค. เป็นคู่หมั้นหรือคู่สมรสของคู่กรณี
ง. เป็นเจ้ำหนี้หรือลูกหนี้ของคู่กรณี
19. บุคคลตำมข้อใดเป็นคู่กรณีในกำรพิจำรณำปกครองได้
ก. บุคคลธรรมดำ
ข. คณะบุคคล
ค. นิติบุคคล
ง. ถูกทุกข้อ
20. บุคคลตำมข้อใดเป็นตัวแทนร่วมของคู่กรณี ในกรณีที่มีคู่กรณีเกิน 50 คนยื่นคำขออย่ำง
เดียวกันได้
ก. บุคคลธรรมดำ
ข. คณะบุคคล
ค. นิติบุคคล
ง. ถูกทุกข้อ
21. ในกรณีที่มีคู่กรณีเกินห้ำสิบคนยื่นคำขอให้มีคำสั่งทำงปกครองในเรื่องเดียวกัน โดยไม่มีกำร
กำหนดให้บุคคลใด เป็นตัวแทนร่วมของตน ให้เจ้ำหน้ำที่ในเรื่องนั้นแต่งตั้งบุคคล ดังข้อใดเป็น
ตัวแทนร่วมของบุคคลดังกล่ำว
ก แต่งตั้งบุคคลที่คู่กรณีคัดเลือกเป็นตัวแทนร่วม
ข แต่งตั้งบุคคลที่คู่กรณีแต่งตั้งขึ้นเป็นตัวแทนร่วม
ค แต่งตั้งคู่กรณีฝ่ำยข้ำงมำกเห็นชอบเป็นตัวแทนร่วม
ง แต่งตั้งคู่กรณีที่ได้รับผลกระทบมำกที่สุดเป็นตัวแทนร่วม
22. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับ เอกสำรที่จะใช้พิจำรณำกำรปกครอง
ก. ต้องเป็นภำษำไทยเท่ำนั้น
ข. ถ้ำเป็นเอกสำรที่เป็นภำษำต่ำงประเทศต้องมีคำแปลภำษำไทยและมีกำรรับรองที่ถูกต้อง
ค. เป็นภำษำไทยหรือภำษำต่ำงประเทศก็ได้
ง. ต้องเป็นภำษำไทยและต่ำงประเทศ
23. กรณีที่คำขอหรือคำแถลงของคู่กรณีในกำรพิจำรณำทำงปกครอง มีข้อบกพร่องอันเกิดจำก
ควำมไม่รู้ของคู่กรณี เจ้ำหน้ำที่จะดำเนินกำรตำมข้อใด
ก. ให้จำหน่ำยเรื่องออกกำรพิจำรณำ
ข. ให้เจ้ำหน้ำที่แนะนำให้คู่กรณีแก้ไขเพิ่มเติมให้ถูกต้อง
ค. ให้เจ้ำหน้ำที่แก้ไขให้ถูกต้อง
218

ง. ให้พิจำรณำไปตำมข้อเท็จจริงเพียงเท่ำที่มีอยู่
24. ในกำรพิจำรณำทำงปกครอง เจ้ำหน้ำที่สำมำรถดำเนินกำรได้ตำมข้อใด
ก. สำมำรถตรวจสอบข้อเท็จจริงตำมควำมเหมำะสม
ข. ไม่ผูกพันอยู่กับคำขอของคู่กรณี
ค. ไม่ต้องผูกพันกับพยำนหลักฐำนของคู่กรณี
ง. ถูกทุกข้อ
25. ในกำรจัดพิจำรณำพยำนหลักฐำนเพื่อพิสูจน์ข้อเท็จจริง เจ้ำหน้ำที่มีอำนำจดำเนินกำรตำมข้อ
ใด
ก. แสวงหำพยำนหลักฐำนทุกอย่ำงที่เกี่ยวข้อง
ข. ขอให้ผู้ครอบครองเอกสำรส่งเอกสำรที่เกี่ยวข้อง
ค. ออกไปตรวจสถำนที่
ง. ถูกทุกข้อ
26. กำรดำเนินกำรของเจ้ำหน้ำที่ตำมข้อใดไม่ถูกต้องในกรณีที่คำสั่งทำงกำรปกครองจะกระทบถึง
สิทธิของคู่กรณี
ก. เจ้ำหน้ำที่ให้คู่กรณีมีโอกำสได้ทรำบข้อเท็จจริง และมีโอกำสโต้แย้งแสดงพยำนหลักฐำน
ของตน
ข. เจ้ำหน้ำที่ไม่ให้โอกำสคู่กรณีทรำบข้อเท็จจริงเนื่องจำกเป็นมำตรกำรบังคับทำงกำร
ปกครอง
ค. เจ้ำหน้ำที่ให้โอกำสคู่กรณีโต้แย้งพยำนหลักฐำนถึงแม้ว่ำจะก่อให้เกิดผลเสียหำยอย่ำง
ร้ำยต่อประโยชน์ สำธำรณะ
ง. เจ้ำหน้ำที่ไม่ให้โอกำสคู่กรณีได้ทรำบข้อเท็จจริงเนื่องจำกจะทำให้ระยะเวลำที่กฎหมำย
กำหนดไว้ในกำรทำคำสั่งทำงปกครองต้องล่ำช้ำออกไป
27. คู่กรณีมีสิทธิขอตรวจดูเอกสำรที่จำเป็นต้องรู้เพื่อกำรโต้แย้งสิทธิหรือชี้แจงหรือป้องกันสิทธิ
ของตนได้ กำรขอดังกล่ำวไม่รวมถึงกำรขอในข้อใด
ก. ขอตรวจดูเอกสำรต้นร่ำงคำวินิจฉัย ในขณะที่ยังไม่ได้ทำคำสั่งทำงปกครอง
ข. ขอสำเนำเอกสำรที่เป็นพยำนหลักฐำนทั้งหมด
ค. ขอดูหลักฐำนที่เจ้ำหน้ำที่เก็บรักษำไว้
ง. มีสิทธิขอดูได้ทุกกรณี
28. รูปแบบคำสั่งทำงกำรปกครองในข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. ทำเป็นหนังสือ
ข. เป็นคำสั่งด้วยวำจำก็ได้
ค. สั่งทำงจดหมำยอิเล็กทรอนิกส์
ง. คำสั่งทำงปกครองอำจใช้รูปแบบได้ทั้งข้อ ก , ข และข้อ ค
219

29. ข้อใดเป็นรูปแบบของคำสั่งกำรปกครอง
ก. สื่อควำมต่ำง ๆ ที่ชัดเจนเพียงพอที่จะเข้ำใจได้
ข. วำจำ
ค. หนังสือ
ง. เป็นทุกข้อ
30. ในกรณีคำสั่งทำงปกครองเป็นคำสั่งด้วยวำจำ ถ้ำผู้รับสั่งร้องขอภำยในกี่วันนับแต่วันมีคำสั่ง
เจ้ำหน้ำที่ต้องยืนยันคำสั่งนั้นเป็นหนังสือ
ก. 3 วัน ข. 5 วัน ค. 7 วัน ง. 15 วัน
31. เหตุผลที่ต้องจัดให้มีไว้ในคำสั่งทำงปกครองที่ทำเป็นหนังสือ คือข้อใด
ก. ข้อเท็จจริงอันเป็นสำระสำคัญ
ข. กฎหมำยที่ใช้อ้ำงอิง
ค. ข้อพิจำรณำและข้อสนับสนุนในกำรใช้ดุลยพินิจ
ง. ต้องมีเหตุผลทั้งในข้อ ก ข และ ค
32. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับกำรอุทธรณ์คำสั่งทำงปกครอง
ก. ให้คู่กรณีอุทธรณ์คำสั่งทำงปกครองต่อเจ้ำหน้ำที่ทำคำสั่งภำยใน 15 วันนับแต่วันที่
ได้รับแจ้งคำสั่ง
ข. กำรอุทธรณ์คำสั่งทำงปกครองสำมำรถอุทธรณ์ด้วยวำจำได้
ค. กำรอุทธรณ์ไม่เป็นเหตุให้ทุเลำกำรบังคับตำมคำสั่งทำงปกครอง
ง. เจ้ำหน้ำที่ต้องพิจำรณำคำอุทธรณ์และแจ้งผู้อุทธรณ์ภำยในไม่เกิน 30 วันนับแต่วันที่
ได้รับกำรอุทธรณ์
33. กำรอุทธรณ์คำสั่งทำงปกครอง กรณีคำสั่งใดไม่ออกโดยรัฐมนตรีและไม่มีกฎหมำยกำหนด
ขั้นตอนกำรอุทธรณ์ ฯให้คู่กรณีอุทธรณ์คำสั่งทำงปกครอง ยื่นอุทธรณ์ต่อเจ้ำหน้ำที่ผู้ทำคำสั่งนั้น
ภำยในกี่วัน
ก. 15 วัน ข. 30 วัน ค. 60 วัน ง. 90 วัน
34. กรณีทั่วไป คู่กรณีอำจอุทธรณ์คำสั่งทำงกำรปกครองได้ภำยใน
ก. 7 วัน ข. 15 วัน ค. 30 วัน ง. 1 ปี
35. ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด มีคำสั่งให้นำยแดงกรรมกำรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแห่งหนึ่ง พ้นจำก
ตำแหน่ง นำยแดงต้องกำรอุทธรณ์ จะยื่นอุทธรณ์ต่อใคร Act.
ก. ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดที่ออกคำสั่งนั้น
ข. ปลัดกระทรวงมหำดไทย
ค. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทย
ง. ศำลปกครอง
220

36. ในกำรพิจำรณำอุทธรณ์ เจ้ำหน้ำที่มีอำนำจพิจำรณำในประเด็นตำมข้อใด


ก. พิจำรณำในประเด็นปัญหำข้อเท็จจริง
ข. พิจำรณำประเด็นปัญหำข้อกฎหมำย
ค. พิจำรณำควำมเหมำะสมของกำรทำคำสั่งทำงกำรปกครอง
ง. ถูกทุกข้อ
37. กำรเพิกถอนคำสั่งทำงกำรปกครองที่มีลักษณะเป็นกำรให้ประโยชน์ต้องกระทำภำยในกี่วันนับ
แต่ได้รู้ถึงเหตุที่จะให้เพิกถอนคำสั่งทำงกำรปกครองนั้น
ก. 30 วัน
ข. 60 วัน
ค. 90 วัน
ง. 120 วัน
38. กำรเพิกถอนคำสั่งทำงปกครองที่มีลักษณะกำรให้ประโยชน์ต้องกระทำภำยในกี่วัน
ก. 15 วัน
ข. 30 วัน
ค. 60 วัน
ง. 90 วัน
39. เมื่อคูก่ รณีมีคำขอ เจ้ำหน้ำที่อำจเพิกถอนหรือแก้ไขเพิ่มเติมคำสั่งทำงปกครองที่พ้นกำหนด
อุทธรณ์
ก. มีพยำนหลักฐำนใหม่อันอำจทำให้ข้อเท็จจริงที่ฟังเป็นข้อยุติแล้วนั้นเปลี่ยนแปลงไปใน
สำระสำคัญ
ข. คู่กรณีที่แท้จริงไม่ได้เข้ำมำในกระบวนกำรพิจำรณำทำงปกครองหรือได้เข้ำมำใน
กระบวนกำร
ค. เจ้ำหน้ำที่ไม่มีอำนำจที่จะทำคำสั่งทำงกำรปกครอง
ง. ถูกทุกข้อ
40. คำสั่งทำงปกครองที่กำหนดใช้ชำระเงิน ถ้ำถึงกำหนดแล้วไม่มีกำรชำระโดยถูกต้องครบถ้วน
ให้เจ้ำหน้ำที่มีหนังสือเตือนให้ชำระภำยในเวลำที่กำหนด โดยจะต้องให้มีเวลำไม่น้อยกว่ำกี่วัน
ก. 7 วัน ข. 15 วัน ค. 30 วัน ง. 45 วัน
41. คำสั่งทำงปกครองที่กำหนดให้ผู้ใดชำระเงิน ถ้ำถึงกำหนดแล้วไม่มีกำรชำระโดยถูกต้อง
ครบถ้วน ให้เจ้ำหน้ำที่มีหนังสือเตือนให้ผู้นั้นชำระภำยในระยะเวลำที่กำหนด แต่ต้องไม่น้อยกว่ำกี่
วัน.. ซึ่งถ้ำไม่มีกำรปฏิบัติตำม คำเตือน เจ้ำหน้ำที่อำจใช้มำตรกำรบังคับทำงปกครองโดยยึดหรือ
อำยัดทรัพย์สิน...ฯ
ก. 90 วัน ข. 30 วัน ค. 15 วัน ง. 7 วัน
221

42. คำสั่งทำงปกครองที่กำหนดให้ละเว้นกำรกระทำ ถ้ำผู้อยู่ในบังคับของคำสั่งฝ่ำฝืน เจ้ำหน้ำที่


อำจบังคับให้ไป ชำระค่ำปรับทำงปกครองได้ โดยจำนวนเงินที่กำหนดต้องไม่เกินอัตรำตำมข้อใด
ก. 500 บำทต่อวัน
ข. 1,000 บำทต่อวัน
ค. 2,000 บำทต่อวัน
ง. 20,000 บำทต่อวัน
43. ก่อนใช้มำตรกำรบังคับทำงปกครอง เจ้ำหน้ำที่จะต้องมีคำเตือนเป็นหนังสือให้มีกำรกระทำ
หรือละเว้นกำร กระทำตำมคำสั่งทำงปกครองภำยในระยะเวลำที่กำหนด คำเตือนดังกล่ำวจะต้อง
ระบุตำมข้อใด
ก. มำตรกำรบังคับทำงกำรปกครองที่จะใช้
ข. ค่ำใช้จ่ำยในกำรที่เจ้ำหน้ำที่เข้ำดำเนินกำรด้วยตนเอง
ค. จำนวนค่ำปรับทำงปกครอง
ง. ถูกทุกข้อ
44. กำรแจ้งคำสั่งทำงปกครองโดยวิธีส่งทำงไปรษณีย์ตอบรับ ให้ถือว่ำได้รับแจ้งเมื่อครบ
กำหนดเวลำตำมข้อใด
ก. 5 วันนับแต่ส่งสำหรับกรณีภำยในประเทศ หรือ 7 วันนับแต่วันที่ส่งสำหรับกรณีส่งไป
ยังต่ำงประเทศ
ข. 7 วันนับแต่วันส่งสำหรับกรณีภำยในประเทศ หรือ 15 วันนับแต่วันส่งสำหรับกรณี
ส่งไปยังต่ำงประเทศ
ค. 15 วันนับแต่วันส่งสำหรับกรณีภำยในประเทศ หรือ 30 วันนับแต่วันส่งสำหรับกรณี
ส่งไปยังต่ำงประเทศ
ง. 20 วันนับแต่วันส่งสำหรับกรณีภำยในประเทศ หรือ 45 วันนับแต่วันส่งสำหรับกรณี
ส่งไปยังต่ำงประเทศ
45. คำสั่งทำงปกครองอำจทำเป็นหนังสือหรือวำจำหรือโดยกำรสื่อควำมหมำยในรูปแบบอื่นก็ได้
แต่ต้องมีข้อควำมหรือควำมหมำยที่ชัดเจนเพียงพอที่จะเข้ำใจได้ ข้อใดถูกต้องที่สุดเกี่ยวกับคำสั่ง
ทำงปกครองที่ทำเป็นหนังสือ
ก ต้องระบุวัน เดือนและ ปีที่ทำคำสั่ง
ข ชื่อและตำแหน่งของเจ้ำหน้ำที่ผู้ทำคำสั่ง
ค ลำยมือชื่อของเจ้ำหน้ำที่ผู้ทำคำสั่ง
ง ถูกทุกข้อ
46. คำสั่งทำงปกครองให้มีผลใช้ยันต่อบุคคลตั้งแต่เมื่อใด
ก. ผู้นั้นได้รับแจ้งเป็นต้นไป
ข. วันที่ออกคำสั่งทำงปกครอง
ค. วันที่ระบุในคำสั่งทำงปกครอง
222

ง. วันที่ผู้นั้นเซนต์รับคำสั่งทำงปกครอง
47. ผู้ได้รับผลกระทบจำกกำรเพิกถอนคำสั่งทำงปกครองที่ไม่ชอบด้วยกฎหมำย มีสิทธิได้รับค่ำ
ทดแทนควำมเสียหำย เนื่องจำกควำมเชื่อโดยสุจริตในควำมคงอยู่ของคำสั่งทำงปกครองได้ ต้อง
ร้องขอค่ำทดแทนดังกล่ำวได้ภำยในกี่วัน นับแต่ได้รับแจ้งให้ทรำบถึงกำรเพิกถอนนั้น
ก. 1 ปี
ข. 180
ค. 120
ง 90
48. กรณีใดที่คำสั่งทำงกำรปกครอง ไม่สมบูรณ์
ก. ออกคำสั่งโดยยังไม่มีผู้ยื่นคำขอ
ข. คำสั่งที่ต้องกำรได้รับควำมเห็นชอบจำกเจ้ำหน้ำอื่นก่อน
ค. พิจำรณำโดยไม่รับฟังคู่กรณี
ง. ทุกข้อ
49. คำสั่งทำงกำรปกครองที่อำจอุทธรณ์โต้งแย้งได้ ถ้ำไม่มีกำรระบุระยะเวลำในกำรอุทธรณ์ไว้
ระยะเวลำในกำร อุทธรณ์เริ่มนับแต่วันที่ได้รับทรำบคำสั่งทำงกำรปกครอง ภำยใน
ก. 7 วัน ข. 15 วัน ค. 30 วัน ง. 1 ปี
50. คำสั่งทำงกำรปกครองที่อำจอุทธรณ์ต่อไปได้ แต่เจ้ำหน้ำที่ที่มิได้แจ้งสิทธิ์กำรอุทธรณ์ และ
ระยะเวลำอุทธรณ์ไว้ ในคำสั่งดังกล่ำว จะมีผลอย่ำงไร Act.
ก. คำสั่งนั้นเป็นโมฆะ
ข. คำสั่งนั้นไม่สมบูรณ์
ค. ต้องดำเนินกำรออกคำสั่งใหม่ให้ถูกต้อง
ง. ระยะเวลำอุทธรณ์เริ่มนับใหม่ นับแต่ได้แจ้งสิทธิดังกล่ำว
51. เจ้ำหน้ำที่ได้ออกคำสั่งไม่อนุญำตให้ก่อสร้ำงอำคำรตำมคำขอของเอกชนรำยหนึ่ง ต่อมำเจ้ำ
หน้ำนั้นเห็นว่ำ คำสั่งที่ไม่อนุญำตของตนไม่ถูกต้อง เพรำะควำมเข้ำใจผิดของตนเอง เจ้ำหน้ำผู้นั้น
จะแก้ไขคำสั่งของตนได้ หรือไม่
ก. ไม่ได้ ต้องให้ผู้บังบัญชำสั่งจึงจะแก้ไขได้
ข. ไม่ได้ ถ้ำเขำไม่อุทธรณ์
ค. ไม่ได้ แม้เขำจะอุทธรณ์ก็ต้องให้ผู้มีอำนำจพิจำรณำสั่งอุทธรณ์แก้ไข
ง. ได้เสมอ ถ้ำเห็นว่ำไม่ถูกต้อง
เฉลย พระรำชบัญญัติวิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครอง ชุด 5
1.ตอบ ง. มำตรำ ๔ พระรำชบัญญัตินี้ มิให้ ใช้บังคับแก่
(๑) รัฐสภำและคณะรัฐมนตรี
(๒) องค์กรที่ใช้อำนำจตำมรัฐธรรมนูญโดยเฉพำะ
(๓) กำรพิจำรณำของนำยกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีในงำนทำงนโยบำยโดยตรง
223

(๔) กำรพิจำรณำพิพำกษำคดีของศำลและกำรดำเนินงำนของเจ้ำหน้ำที่ในกระบวนกำร
พิจำรณำคดี กำรบังคับคดี และกำรวำงทรัพย์
(๕) กำรพิจำรณำวินิจฉัยเรื่องร้องทุกข์และกำรสั่งกำรตำมกฎหมำยว่ำด้วยคณะกรรมกำร
กฤษฎีกำ
(๖) กำรดำเนินงำนเกี่ยวกับนโยบำยกำรต่ำงประเทศ
(๗) กำรดำเนินงำนเกี่ยวกับรำชกำรทหำรหรือเจ้ำหน้ำที่ซึ่งปฏิบัติหน้ำที่ทำงยุทธกำร
ร่วมกับทหำรในกำรป้องกันและรักษำควำมมั่นคงของรำชอำณำจักรจำกภัยคุกคำมทั้งภำยนอก
และภำยในประเทศ
(๘) กำรดำเนินงำนตำมกระบวนกำรยุติธรรมทำงอำญำ
(๙) กำรดำเนินกิจกำรขององค์กำรทำงศำสนำ
กำรยกเว้นไม่ให้นำบทบัญญัติแห่งพระรำชบัญญัตินมี้ ำใช้บังคับแก่กำรดำเนินกิจกำรใดหรือกับ
หน่วยงำนใดนอกจำกที่กำหนดไว้ในวรรคหนึ่ง ให้ตรำเป็นพระรำชกฤษฎีกำตำมข้อเสนอของ
คณะกรรมกำรวิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครอง

2.ตอบ ง.

3.ตอบ ง. “คำสั่งทำงปกครอง” หมำยควำมว่ำ


(๑) กำรใช้อำนำจตำมกฎหมำยของเจ้ำหน้ำที่ที่มีผลเป็นกำรสร้ำงนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่ำง
บุคคลในอันที่จะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน ระงับ หรือมีผลกระทบต่อสถำนภำพของสิทธิหรือ
หน้ำที่ของบุคคล ไม่ว่ำจะเป็นกำรถำวรหรือชั่วครำว เช่น กำรสั่งกำร กำรอนุญำต กำรอนุมัติ กำร
วินิจฉัยอุทธรณ์ กำรรับรอง และกำรรับจดทะเบียน แต่ไม่หมำยควำมรวมถึงกำรออกกฎ

4.ตอบ ง.จำกข้อ2.

5.ตอบ ก. จำกข้อ2.

6. ตอบ ง. (๒) กำรอื่นที่กำหนดในกฎกระทรวง


“กฎ” หมำยควำมว่ำ พระรำชกฤษฎีกำ กฎกระทรวง ประกำศกระทรวง ข้อบัญญัติ
ท้องถิ่น ระเบียบ ข้อบังคับ หรือบทบัญญัติอื่นที่มีผลบังคับเป็นกำรทั่วไป โดยไม่มุ่งหมำยให้ใช้
บังคับแก่กรณีใดหรือบุคคลใดเป็นกำรเฉพำะ
ไม่รวมพระรำชบัญญัติ

7.ตอบ. ง.
224

8.ตอบ ก. มำตรำ ๖ ให้นำยกรัฐมนตรีรักษำกำรตำมพระรำชบัญญัตินี้ และให้มีอำนำจออก


กฎกระทรวงและประกำศ เพื่อปฏิบัติกำรตำมพระรำชบัญญัตินี้

9.ตอบ ง. มำตรำ ๗ ให้มีคณะกรรมกำรคณะหนึ่งเรียกว่ำ “คณะกรรมกำรวิธีปฏิบัติรำชกำรทำง


ปกครอง” ประกอบด้วยประธำนกรรมกำรคนหนึ่ง ปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรี ปลัดกระทรวง
มหำดไทย เลขำธิกำรคณะรัฐมนตรี เลขำธิกำรคณะกรรมกำรข้ำรำชกำรพลเรือน เลขำธิกำร
คณะกรรมกำรกฤษฎีกำและผู้ทรงคุณวุฒิอีกไม่น้อยกว่ำห้ำคนแต่ไม่เกินเก้ำคนเป็นกรรมกำร
ให้คณะรัฐมนตรีแต่งตั้งประธำนกรรมกำรและกรรมกำรผู้ทรงคุณวุฒิ โดยแต่งตัง้ จำกผู้ซึ่งมีควำม
เชี่ยวชำญในทำงนิติศำสตร์ รัฐประศำสนศำสตร์ รัฐศำสตร์ สังคมศำสตร์ หรือกำรบริหำรรำชกำร
แผ่นดิน แต่ผู้นั้นต้องไม่เป็นผู้ดำรงตำแหน่งทำงกำรเมือง
ให้เลขำธิกำรคณะกรรมกำรกฤษฎีกำแต่งตั้งข้ำรำชกำรของสำนักงำนคณะกรรมกำร
กฤษฎีกำเป็นเลขำนุกำรและผู้ช่วยเลขำนุกำร

10.ตอบ ค. มำตรำ 7 จำกข้อ 9.

11.ตอบ ค. จำกข้อ 9.

12.ตอบ. ค.

13.ตอบ. ก.

14.ตอบ ข. มำตรำ ๘ ให้กรรมกำรซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งมีวำระดำรงตำแหน่งครำวละสำมปี


กรรมกำรซึ่งพ้นจำกตำแหน่งอำจได้รับแต่งตั้งอีกได้
ในกรณีที่กรรมกำรพ้นจำกตำแหน่งตำมวำระ แต่ยังมิได้แต่งตั้งกรรมกำรใหม่ ให้กรรมกำร
นั้นปฏิบัติหน้ำที่ไปพลำงก่อนจนกว่ำจะได้แต่งตั้งกรรมกำรใหม่

15.ตอบ ค. มำตรำ ๑๑ คณะกรรมกำรวิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครองมีอำนำจหน้ำที่ ดังต่อไปนี้


(๑) สอดส่องดูแลและให้คำแนะนำเกี่ยวกับกำรดำเนินงำนของเจ้ำหน้ำที่ในกำรปฏิบัติตำม
พระรำชบัญญัตินี้
(๒) ให้คำปรึกษำแก่เจ้ำหน้ำที่เกี่ยวกับกำรปฏิบัติตำมพระรำชบัญญัตินี้ ตำมที่บุคคล
ดังกล่ำวร้องขอ ทั้งนี้ ตำมหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมกำรวิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครองกำหนด
(๓) มีหนังสือเรียกให้เจ้ำหน้ำที่หรือบุคคลอื่นใดมำชี้แจงหรือแสดงควำมเห็นประกอบกำร
พิจำรณำได้
225

(๔) เสนอแนะในกำรตรำพระรำชกฤษฎีกำและกำรออกกฎกระทรวงหรือประกำศตำม
พระรำชบัญญัตินี้
(๕) จัดทำรำยงำนเกี่ยวกับกำรปฏิบัติตำมพระรำชบัญญัตินี้เสนอคณะรัฐมนตรีเป็นครั้ง
ครำวตำมควำมเหมำะสมแต่อย่ำงน้อยปีละหนึ่งครั้ง เพื่อพัฒนำและปรับปรุงกำรปฏิบัติรำชกำร
ทำงปกครองให้เป็นไปโดยมีควำมเป็นธรรมและมีประสิทธิภำพยิ่งขึ้น
(๖) เรื่องอื่นตำมที่คณะรัฐมนตรีหรือนำยกรัฐมนตรีมอบหมำย

16.ตอบ ค. มำตรำ ๑๓ เจ้ำหน้ำที่ดังต่อไปนี้จะทำกำรพิจำรณำทำงปกครองไม่ได้


(๑) เป็นคู่กรณีเอง
(๒) เป็นคู่หมั้นหรือคู่สมรสของคู่กรณี
(๓) เป็นญำติของคู่กรณี คือ เป็นบุพกำรีหรือผู้สืบสันดำนไม่ว่ำชั้นใด ๆ หรือเป็นพี่น้องหรือ
ลูกพี่ลูกน้องนับได้เพียงภำยในสำมชั้น หรือเป็นญำติเกี่ยวพันทำงแต่งงำนนับได้เพียงสองชั้น
(๔) เป็นหรือเคยเป็นผู้แทนโดยชอบธรรมหรือผู้พิทักษ์หรือผู้แทนหรือตัวแทนของคู่กรณี
(๕) เป็นเจ้ำหนี้หรือลูกหนี้ หรือเป็นนำยจ้ำงของคู่กรณี
(๖) กรณีอื่นตำมที่กำหนดในกฎกระทรวง

17.ตอบ . ง

18.ตอบ .ข

19ตอบ ง.มำตรำ ๒๑ บุคคลธรรมดำ คณะบุคคล หรือนิติบุคคล อำจเป็นคู่กรณีในกำรพิจำรณำ


ทำงปกครองได้ตำมขอบเขตที่สิทธิของตนถูกกระทบกระเทือนหรืออำจถูกกระทบกระเทือนโดยมิ
อำจหลีกเลี่ยงได้

20.ตอบ ก. มำตรำ ๒๕ ในกรณีที่มีกำรยื่นคำขอโดยมีผู้ลงชื่อร่วมกันเกินห้ำสิบคนหรือมีคู่กรณีเกิน


ห้ำสิบคนยื่นคำขอที่มีข้อควำมอย่ำงเดียวกันหรือทำนองเดียวกัน ถ้ำในคำขอมีกำรระบุให้บุคคลใด
เป็นตัวแทนของบุคคลดังกล่ำวหรือมีข้อควำมเป็นปริยำยให้เข้ำใจได้เช่นนั้น ให้ถือว่ำผู้ที่ถูกระบุชื่อ
ดังกล่ำวเป็นตัวแทนร่วมของคู่กรณีเหล่ำนั้น
ในกรณีที่มีคู่กรณีเกินห้ำสิบคนยื่นคำขอให้มีคำสั่งทำงปกครองในเรื่องเดียวกัน โดยไม่มีกำร
กำหนดให้บุคคลใดเป็นตัวแทนร่วมของตนตำมวรรคหนึ่ง ให้เจ้ำหน้ำที่ในเรื่องนั้นแต่งตั้งบุคคลที่
คู่กรณีฝ่ำยข้ำงมำกเห็นชอบเป็นตัวแทนร่วมของบุคคลดังกล่ำว ในกรณีนี้ให้นำมำตรำ ๒๔ วรรค
สอง และวรรคสำม มำใช้บังคับโดยอนุโลม
ตัวแทนร่วมตำมวรรคหนึ่งหรือวรรคสองต้องเป็นบุคคลธรรมดำ
226

คู่กรณีจะบอกเลิกกำรให้ตัวแทนร่วมดำเนินกำรแทนตนเมื่อใดก็ได้แต่ต้องมีหนังสือแจ้งให้เจ้ำหน้ำที่
ทรำบและดำเนินกำรใด ๆ ในกระบวนกำรพิจำรณำทำงปกครองต่อไปด้วยตนเอง
ตัวแทนร่วมจะบอกเลิกกำรเป็นตัวแทนเมื่อใดก็ได้ แต่ต้องมีหนังสือแจ้งให้เจ้ำหน้ำที่ทรำบกับต้อง
แจ้งให้คู่กรณีทุกรำยทรำบด้วย

21.ตอบ. ค.

22.ตอบ ค. มำตรำ ๒๖ เอกสำรที่ยื่นต่อเจ้ำหน้ำที่ให้จัดทำเป็นภำษำไทย ถ้ำเป็นเอกสำรที่ทำขึ้น


เป็นภำษำต่ำงประเทศ ให้คู่กรณีจัดทำคำแปลเป็นภำษำไทยที่มีกำรรับรองควำมถูกต้องมำให้
ภำยในระยะเวลำที่เจ้ำหน้ำที่กำหนด ในกรณีนี้ให้ถือว่ำเอกสำรดังกล่ำวได้ยื่นต่อเจ้ำหน้ำที่ในวันที่
เจ้ำหน้ำที่ได้รับคำแปลนั้น เว้นแต่เจ้ำหน้ำที่จะยอมรับเอกสำรที่ทำขึ้นเป็นภำษำต่ำงประเทศ และ
ในกรณีนี้ให้ถือว่ำวันที่ได้ยื่นเอกสำรฉบับที่ทำขึ้นเป็นภำษำต่ำงประเทศเป็นวันที่เจ้ำหน้ำที่ได้รับ
เอกสำรดังกล่ำว
กำรรับรองควำมถูกต้องของคำแปลเป็นภำษำไทยหรือกำรยอมรับเอกสำรที่ทำขึ้นเป็น
ภำษำต่ำงประเทศ ให้เป็นไปตำมหลักเกณฑ์และวิธีกำรที่กำหนดในกฎกระทรวง

23.ตอบ ข. มำตรำ ๒๗ ให้เจ้ำหน้ำที่แจ้งสิทธิและหน้ำที่ในกระบวนกำรพิจำรณำทำงปกครองให้


คู่กรณีทรำบตำมควำมจำเป็นแก่กรณี
ถ้ำคำขอหรือคำแถลงมีข้อบกพร่องหรือมีข้อควำมที่อ่ำนไม่เข้ำใจหรือผิดหลงอันเห็นได้ชัด
ว่ำเกิดจำกควำมไม่รู้หรือควำมเลินเล่อของคู่กรณี ให้เจ้ำหน้ำที่แนะนำให้คู่กรณีแก้ไขเพิ่มเติมให้
ถูกต้อง

24.ตอบ. ง.มำตรำ ๒๘ ในกำรพิจำรณำทำงปกครอง เจ้ำหน้ำที่อำจตรวจสอบข้อเท็จจริงได้ตำม


ควำมเหมำะสมในเรื่องนั้น ๆ โดยไม่ต้องผูกพันอยู่กับคำขอหรือพยำนหลักฐำนของคู่กรณี

25.ตอบ. ง.มำตรำ ๒๙ เจ้ำหน้ำที่ต้องพิจำรณำพยำนหลักฐำนที่ตนเห็นว่ำจำเป็นแก่กำรพิสูจน์


ข้อเท็จจริง ในกำรนี้ ให้รวมถึงกำรดำเนินกำรดังต่อไปนี้
(๑) แสวงหำพยำนหลักฐำนทุกอย่ำงที่เกี่ยวข้อง
(๒) รับฟังพยำนหลักฐำน คำชี้แจง หรือควำมเห็นของคู่กรณีหรือของพยำนบุคคลหรือ
พยำนผู้เชี่ยวชำญที่คู่กรณีกล่ำวอ้ำง เว้นแต่เจ้ำหน้ำที่เห็นว่ำเป็นกำรกล่ำวอ้ำงที่ไม่จำเป็นฟุ่มเฟือย
หรือเพื่อประวิงเวลำ
(๓) ขอข้อเท็จจริงหรือควำมเห็นจำกคู่กรณี พยำนบุคคล หรือพยำนผู้เชี่ยวชำญ
(๔) ขอให้ผู้ครอบครองเอกสำรส่งเอกสำรที่เกี่ยวข้อง
(๕) ออกไปตรวจสถำนที่
227

คู่กรณีต้องให้ควำมร่วมมือกับเจ้ำหน้ำที่ในกำรพิสูจน์ข้อเท็จจริง และมีหน้ำที่แจ้ง
พยำนหลักฐำนที่ตนทรำบแก่เจ้ำหน้ำที่
พยำนหรือพยำนผู้เชี่ยวชำญที่เจ้ำหน้ำที่เรียกมำให้ถ้อยคำหรือทำควำมเห็นมีสิทธิได้รับค่ำ
ป่วยกำรตำมหลักเกณฑ์และวิธีกำรที่กำหนดในกฎกระทรวง

26.ตอบ ข.มำตรำ ๓๐ ในกรณีที่คำสั่งทำงปกครองอำจกระทบถึงสิทธิของคู่กรณี เจ้ำหน้ำที่ต้องให้


คู่กรณีมีโอกำสที่จะได้ทรำบข้อเท็จจริงอย่ำงเพียงพอและมีโอกำสได้โต้แย้งและแสดง
พยำนหลักฐำนของตน
ควำมในวรรคหนึ่งมิให้นำมำใช้บังคับในกรณีดังต่อไปนี้ เว้นแต่เจ้ำหน้ำที่จะเห็นสมควร
ปฏิบัติเป็นอย่ำงอื่น
(๑) เมื่อมีควำมจำเป็นรีบด่วนหำกปล่อยให้เนิ่นช้ำไปจะก่อให้เกิดควำมเสียหำยอย่ำง
ร้ำยแรงแก่ผู้หนึ่งผู้ใดหรือจะกระทบต่อประโยชน์สำธำรณะ
(๒) เมื่อจะมีผลทำให้ระยะเวลำที่กฎหมำยหรือกฎกำหนดไว้ในกำรทำคำสั่งทำงปกครอง
ต้องล่ำช้ำออกไป
(๓) เมื่อเป็นข้อเท็จจริงที่คู่กรณีนั้นเองได้ให้ไว้ในคำขอ คำให้กำรหรือคำแถลง
(๔) เมื่อโดยสภำพเห็นได้ชัดในตัวว่ำกำรให้โอกำสดังกล่ำวไม่อำจกระทำได้
(๕) เมื่อเป็นมำตรกำรบังคับทำงปกครอง
(๖) กรณีอื่นตำมที่กำหนดในกฎกระทรวง
ห้ำมมิให้เจ้ำหน้ำที่ให้โอกำสตำมวรรคหนึ่ง ถ้ำจะก่อให้เกิดผลเสียหำยอย่ำงร้ำยแรงต่อประโยชน์
สำธำรณะ

27.ตอบ ก . มำตรำ ๓๑ คู่กรณีมีสิทธิขอตรวจดูเอกสำรที่จำเป็นต้องรู้เพื่อกำรโต้แย้งหรือชี้แจง


หรือป้องกันสิทธิของตนได้ แต่ถ้ำยังไม่ได้ทำคำสั่งทำงปกครองในเรื่องนั้น คู่กรณีไม่มีสิทธิขอตรวจดู
เอกสำรอันเป็นต้นร่ำงคำวินิจฉัย
กำรตรวจดูเอกสำร ค่ำใช้จ่ำยในกำรตรวจดูเอกสำร หรือกำรจัดทำสำเนำเอกสำรให้เป็นไป
ตำมหลักเกณฑ์และวิธีกำรที่กำหนดในกฎกระทรวง
มำตรำ ๓๒ เจ้ำหน้ำที่อำจไม่อนุญำตให้ตรวจดูเอกสำรหรือพยำนหลักฐำนได้ ถ้ำเป็นกรณีที่
ต้องรักษำไว้เป็นควำมลับ

28.ตอบ ง.มำตรำ ๓๔ คำสั่งทำงปกครองอำจทำเป็นหนังสือ หรือ วำจำ หรือโดยกำรสื่อ


ควำมหมำยในรูปแบบอืน่ ก็ได้ แต่ต้องมีข้อควำมหรือควำมหมำยที่ชัดเจนเพียงพอที่จะเข้ำใจได้

29.ตอบ ง.
228

30.ตอบ ค. มำตรำ ๓๕ ในกรณีที่คำสั่งทำงปกครองเป็นคำสั่งด้วยวำจำ ถ้ำผู้รับคำสั่งนั้นร้องขอ


และกำรร้องขอได้กระทำโดยมีเหตุอันสมควรภำยในเจ็ดวันนับแต่วันที่มีคำสั่งดังกล่ำว เจ้ำหน้ำที่ผู้
ออกคำสั่งต้องยืนยันคำสั่งนั้นเป็นหนังสือ

31.ตอบ ง.มำตรำ ๓๗ คำสั่งทำงปกครองที่ทำเป็นหนังสือและกำรยืนยันคำสั่งทำงปกครองเป็น


หนังสือต้องจัดให้มีเหตุผลไว้ด้วย และเหตุผลนั้นอย่ำงน้อยต้องประกอบด้วย
(๑) ข้อเท็จจริงอันเป็นสำระสำคัญ
(๒) ข้อกฎหมำยที่อ้ำงอิง
(๓) ข้อพิจำรณำและข้อสนับสนุนในกำรใช้ดุลพินิจ
นำยกรัฐมนตรีหรือผู้ซึ่งนำยกรัฐมนตรีมอบหมำยอำจประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำ
กำหนดให้คำสั่งทำงปกครองกรณีหนึ่งกรณีใดต้องระบุเหตุผลไว้ในคำสั่งนั้นเองหรือใน
เอกสำรแนบท้ำยคำสั่งนั้นก็ได้
บทบัญญัติตำมวรรคหนึ่งไม่ใช้บังคับกับกรณีดังต่อไปนี้
(๑) เป็นกรณีที่มีผลตรงตำมคำขอและไม่กระทบสิทธิและหน้ำที่ของบุคคลอื่น
(๒) เหตุผลนั้นเป็นที่รู้กันอยู่แล้วโดยไม่จำต้องระบุอีก
(๓) เป็นกรณีที่ต้องรักษำไว้เป็นควำมลับตำมมำตรำ ๓๒
(๔) เป็นกำรออกคำสั่งทำงปกครองด้วยวำจำหรือเป็นกรณีเร่งด่วนแต่ต้องให้เหตุผลเป็น
ลำยลักษณ์อักษรในเวลำอันควรหำกผู้อยู่ในบังคับของคำสั่งนั้นร้องขอ

32.ตอบ ข. มำตรำ ๔๔ ภำยใต้บังคับมำตรำ ๔๘ ในกรณีที่คำสั่งทำงปกครองใดไม่ได้ออกโดย


รัฐมนตรีและไม่มีกฎหมำยกำหนดขั้นตอนอุทธรณ์ภำยในฝ่ำยปกครองไว้เป็นกำรเฉพำะ ให้คู่กรณี
อุทธรณ์คำสั่งทำงปกครองนั้นโดยยื่นต่อเจ้ำหน้ำที่ผู้ทำคำสั่งทำงปกครองภำยในสิบห้ำวันนับแต่
วันที่ตนได้รับแจ้งคำสั่งดังกล่ำว
คำอุทธรณ์ต้องทำเป็นหนังสือโดยระบุข้อโต้แย้งและข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมำยที่อ้ำงอิง
ประกอบด้วย
กำรอุทธรณ์ไม่เป็นเหตุให้ทุเลำกำรบังคับตำมคำสั่งทำงปกครอง เว้นแต่จะมีกำรสั่งให้ทุเลำ
กำรบังคับตำมมำตรำ ๕๖ วรรคหนึ่ง
มำตรำ ๔๕ ให้เจ้ำหน้ำที่ตำมมำตรำ ๔๔ วรรคหนึ่ง พิจำรณำคำอุทธรณ์และแจ้งผู้อุทธรณ์
โดยไม่ชักช้ำ แต่ต้องไม่เกินสำมสิบวันนับแต่วันที่ได้รับอุทธรณ์ ในกรณีที่เห็นด้วยกับคำอุทธรณ์ไม่
ว่ำทั้งหมดหรือบำงส่วนก็ให้ดำเนินกำรเปลี่ยนแปลงคำสั่งทำงปกครองตำมควำมเห็นของตนภำยใน
กำหนดเวลำดังกล่ำวด้วย

33.ตอบ ก.
229

34.ตอบ ข.

35.ตอบ ก.

36.ตอบ ง. มำตรำ ๔๖ ในกำรพิจำรณำอุทธรณ์ ให้เจ้ำหน้ำที่พิจำรณำทบทวนคำสั่งทำงปกครอง


ได้ไม่ว่ำจะเป็นปัญหำข้อเท็จจริง ข้อกฎหมำย หรือควำมเหมำะสมของกำรทำคำสั่งทำงปกครอง
และอำจมีคำสั่งเพิกถอนคำสั่งทำงปกครองเดิมหรือเปลี่ยนแปลงคำสั่งนั้นไปในทำงใด ทั้งนี้ ไม่ว่ำจะ
เป็นกำรเพิ่มภำระหรือลดภำระหรือใช้ดุลพินิจแทนในเรื่องควำมเหมำะสมของกำรทำคำสั่งทำง
ปกครองหรือมีข้อกำหนดเป็นเงื่อนไขอย่ำงไรก็ได้

37.ตอบ ค.มำตรำ ๔๙ เจ้ำหน้ำที่หรือผู้บังคับบัญชำของเจ้ำหน้ำที่อำจเพิกถอนคำสั่งทำงปกครอง


ได้ตำมหลักเกณฑ์ในมำตรำ ๕๑ มำตรำ ๕๒ และมำตรำ ๕๓ ไม่ว่ำจะพ้นขั้นตอนกำรกำหนดให้
อุทธรณ์หรือให้โต้แย้งตำมกฎหมำยนี้หรือกฎหมำยอื่นมำแล้วหรือไม่
กำรเพิกถอนคำสั่งทำงปกครองที่มีลักษณะเป็นกำรให้ประโยชน์ต้องกระทำภำยในเก้ำสิบวันนับแต่
ได้รู้ถึงเหตุที่จะให้เพิกถอนคำสั่งทำงปกครองนั้น เว้นแต่คำสั่งทำงปกครองจะได้ทำขึ้นเพรำะกำร
แสดงข้อควำมอันเป็นเท็จหรือปกปิดข้อควำมจริงซึ่งควรบอกให้แจ้งหรือกำรข่มขู่หรือกำรชักจูงใจ
โดยกำรให้ทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดที่มิชอบด้วยกฎหมำย

38.ตอบ ง.
39.ตอบ ง.มำตรำ ๕๔ เมื่อคู่กรณีมีคำขอ เจ้ำหน้ำที่อำจเพิกถอนหรือแก้ไขเพิ่มเติมคำสั่งทำง
ปกครองที่พ้นกำหนดอุทธรณ์ตำมส่วนที่ ๕ ได้ในกรณีดังต่อไปนี้
(๑) มีพยำนหลักฐำนใหม่ อันอำจทำให้ข้อเท็จจริงที่ฟังเป็นยุติแล้วนั้นเปลี่ยนแปลงไปใน
สำระสำคัญ
(๒) คู่กรณีที่แท้จริงมิได้เข้ำมำในกระบวนกำรพิจำรณำทำงปกครองหรือได้เข้ำมำใน
กระบวนกำรพิจำรณำครั้งก่อนแล้วแต่ถูกตัดโอกำสโดยไม่เป็นธรรมในกำรมีส่วนร่วมใน
กระบวนกำรพิจำรณำทำงปกครอง
(๓) เจ้ำหน้ำที่ไม่มีอำนำจที่จะทำคำสั่งทำงปกครองในเรื่องนั้น
(๔) ถ้ำคำสั่งทำงปกครองได้ออกโดยอำศัยข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมำยใดและต่อมำ
ข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมำยนั้นเปลี่ยนแปลงไปในสำระสำคัญในทำงที่จะเป็นประโยชน์แก่คู่กรณี
กำรยื่นคำขอตำมวรรคหนึ่ง (๑) (๒) หรือ (๓) ให้กระทำได้เฉพำะเมื่อคู่กรณีไม่อำจทรำบถึงเหตุนั้น
ในกำรพิจำรณำครั้งที่แล้วมำก่อนโดยไม่ใช่ควำมผิดของผู้นั้น
กำรยื่นคำขอให้พิจำรณำใหม่ต้องกระทำภำยในเก้ำสิบวันนับแต่ผู้นั้นได้รู้ถึงเหตุซึ่งอำจ
ขอให้พิจำรณำใหม่ได้
230

40.ตอบ ก.มำตรำ ๕๗ คำสั่งทำงปกครองที่กำหนดให้ผู้ใดชำระเงิน ถ้ำถึงกำหนดแล้วไม่มีกำร


ชำระโดยถูกต้องครบถ้วน ให้เจ้ำหน้ำที่มีหนังสือเตือนให้ผู้นั้นชำระภำยในระยะเวลำที่กำหนดแต่
ต้องไม่น้อยกว่ำเจ็ดวัน ถ้ำไม่มีกำรปฏิบัติตำมคำเตือน เจ้ำหน้ำที่อำจใช้มำตรกำรบังคับทำง
ปกครองโดยยึดหรืออำยัดทรัพย์สินของผู้นั้นและขำยทอดตลำดเพื่อชำระเงินให้ครบถ้วน
วิธีกำรยึด กำรอำยัดและกำรขำยทอดตลำดทรัพย์สินให้ปฏิบัติตำมประมวลกฎหมำยวิธีพิจำรณำ
ควำมแพ่งโดยอนุโลม ส่วนผู้มีอำนำจสั่งยึดหรืออำยัดหรือขำยทอดตลำดให้เป็นไปตำมที่กำหนดใน
กฎกระทรวง

41.ตอบ ง.

42.ตอบ ง.มำตรำ ๕๘ คำสั่งทำงปกครองที่กำหนดให้กระทำหรือละเว้นกระทำ ถ้ำผู้อยู่ในบังคับ


ของคำสั่งทำงปกครองฝ่ำฝืนหรือไม่ปฏิบัติตำม เจ้ำหน้ำที่อำจใช้มำตรกำรบังคับทำงปกครองอย่ำง
หนึ่งอย่ำงใด ดังต่อไปนี้
(๑) เจ้ำหน้ำที่เข้ำดำเนินกำรด้วยตนเองหรือมอบหมำยให้บุคคลอื่นกระทำกำรแทนโดยผู้
อยู่ในบังคับของคำสั่งทำงปกครองจะต้องชดใช้ค่ำใช้จ่ำยและเงินเพิ่มในอัตรำร้อยละยี่สิบห้ำต่อปี
ของค่ำใช้จ่ำยดังกล่ำวแก่เจ้ำหน้ำที่
(๒) ให้มีกำรชำระค่ำปรับทำงปกครองตำมจำนวนที่สมควรแก่เหตุแต่ต้องไม่เกินสองหมื่น
บำทต่อวัน
เจ้ำหน้ำที่ระดับใดมีอำนำจกำหนดค่ำปรับทำงปกครองจำนวนเท่ำใดสำหรับในกรณีใด ให้
เป็นไปตำมที่กำหนดในกฎกระทรวง
ในกรณีที่มีควำมจำเป็นที่จะต้องบังคับกำรโดยเร่งด่วนเพื่อป้องกันมิให้มีกำรกระทำที่ขัดต่อ
กฎหมำยที่มีโทษทำงอำญำหรือมิให้เกิดควำมเสียหำยต่อประโยชน์สำธำรณะ เจ้ำหน้ำที่อำจใช้
มำตรกำรบังคับทำงปกครองโดยไม่ต้องออกคำสั่งทำงปกครองให้กระทำหรือละเว้นกระทำก่อนก็
ได้ แต่ทั้งนี้ต้องกระทำโดยสมควรแก่เหตุและภำยในขอบเขตอำนำจหน้ำที่ของตน

43.ตอบ ง.มำตรำ ๕๙ ก่อนใช้มำตรกำรบังคับทำงปกครองตำมมำตรำ ๕๘ เจ้ำหน้ำที่จะต้องมีคำ


เตือนเป็นหนังสือให้มีกำรกระทำหรือละเว้นกระทำตำมคำสั่งทำงปกครองภำยในระยะเวลำที่
กำหนดตำมสมควรแก่กรณี คำเตือนดังกล่ำวจะกำหนดไปพร้อมกับคำสั่งทำงปกครองก็ได้
คำเตือนนั้นจะต้องระบุ
(๑) มำตรกำรบังคับทำงปกครองที่จะใช้ให้ชัดแจ้ง แต่จะกำหนดมำกกว่ำหนึ่งมำตรกำรใน
ครำวเดียวกันไม่ได้
(๒) ค่ำใช้จ่ำยในกำรที่เจ้ำหน้ำที่เข้ำดำเนินกำรด้วยตนเองหรือมอบหมำยให้บุคคลอื่น
กระทำกำรแทน หรือจำนวนค่ำปรับทำงปกครองแล้วแต่กรณี
231

กำรกำหนดค่ำใช้จ่ำยในคำเตือน ไม่เป็นกำรตัดสิทธิที่จะเรียกค่ำใช้จ่ำยเพิ่มขึ้น หำกจะต้อง


เสียค่ำใช้จ่ำยจริงมำกกว่ำที่ได้กำหนดไว้

44.ตอบ ค. มำตรำ ๗๑ กำรแจ้งโดยวิธีส่งทำงไปรษณีย์ตอบรับให้ถือว่ำได้รับแจ้งเมื่อครบกำหนด


เจ็ดวันนับแต่วันส่งสำหรับกรณีภำยในประเทศหรือเมื่อครบกำหนดสิบห้ำวันนับแต่วันส่งสำหรับ
กรณีส่งไปยังต่ำงประเทศ เว้นแต่จะมีกำรพิสูจน์ได้ว่ำไม่มีกำรได้รับหรือได้รับก่อนหรือหลังจำกวัน
นั้น

45.ตอบ ง.มำตรำ ๓๖ คำสั่งทำงปกครองที่ทำเป็นหนังสืออย่ำงน้อยต้องระบุ วัน เดือนและปีที่ทำ


คำสั่ง ชื่อและตำแหน่งของเจ้ำหน้ำที่ผู้ทำคำสั่ง พร้อมทั้งมีลำยมือชื่อของเจ้ำหน้ำที่ผู้ทำคำสั่งนั้น

46.ตอบ ก .มำตรำ ๔๒ คำสั่งทำงปกครองให้มีผลใช้ยันต่อบุคคลตั้งแต่ขณะที่ผู้นั้นได้รับแจ้งเป็น


ต้นไป

47.ตอบ ข .มำตรำ ๕๒ คำสั่งทำงปกครองที่ไม่ชอบด้วยกฎหมำยและไม่อยู่ในบังคับของมำตรำ


๕๑ อำจถูกเพิกถอนทัง้ หมดหรือบำงส่วนได้ แต่ผู้ได้รับผลกระทบจำกกำรเพิกถอนคำสั่งทำง
ปกครองดังกล่ำวมีสิทธิได้รับค่ำทดแทนควำมเสียหำยเนื่องจำกควำมเชื่อโดยสุจริตในควำมคงอยู่
ของคำสั่งทำงปกครองได้ และให้นำควำมในมำตรำ ๕๑ วรรคหนึ่ง วรรคสอง และวรรคสำม มำใช้
บังคับโดยอนุโลม แต่ต้องร้องขอค่ำทดแทนภำยในหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่ได้รับแจ้งให้ทรำบถึง
กำรเพิกถอนนั้นค่ำทดแทนควำมเสียหำยตำมมำตรำนี้จะต้องไม่สูงกว่ำประโยชน์ที่ผู้นั้นอำจได้รับ
หำกคำสั่งทำงปกครองดังกล่ำวไม่ถูกเพิกถอน

48.ตอบ ง. มำตรำ ๔๑ คำสั่งทำงปกครองที่ออกโดยกำรฝ่ำฝืนหรือไม่ปฏิบัติตำมหลักเกณฑ์


ดังต่อไปนี้ ไม่เป็นเหตุให้คำสั่งทำงปกครองนั้นไม่สมบูรณ์
(๑) กำรออกคำสั่งทำงปกครองโดยยังไม่มีผู้ยื่นคำขอในกรณีที่เจ้ำหน้ำที่จะดำเนินกำรเอง
ไม่ได้นอกจำกจะมีผู้ยื่นคำขอ ถ้ำต่อมำในภำยหลังได้มีกำรยื่นคำขอเช่นนั้นแล้ว
(๒) คำสั่งทำงปกครองที่ต้องจัดให้มีเหตุผลตำมมำตรำ ๓๗ วรรคหนึ่ง ถ้ำได้มีกำรจัดให้มี
เหตุผลดังกล่ำวในภำยหลัง
(๓) กำรรับฟังคู่กรณีที่จำเป็นต้องกระทำได้ดำเนินกำรมำโดยไม่สมบูรณ์ ถ้ำได้มีกำรรับฟัง
ให้สมบูรณ์ในภำยหลัง
(๔) คำสั่งทำงปกครองที่ต้องให้เจ้ำหน้ำที่อื่นให้ควำมเห็นชอบก่อน ถ้ำเจ้ำหน้ำที่นั้นได้ให้
ควำมเห็นชอบในภำยหลัง
เมื่อมีกำรดำเนินกำรตำมวรรคหนึ่ง (๑) (๒) (๓) หรือ (๔) แล้ว และเจ้ำหน้ำที่ผู้มีคำสั่งทำง
ปกครองประสงค์ให้ผลเป็นไปตำมคำสั่งเดิมให้เจ้ำหน้ำที่ผู้นั้นบันทึกข้อเท็จจริงและควำมประสงค์
232

ของตนไว้ในหรือแนบไว้กับคำสั่งเดิมและต้องมีหนังสือแจ้งควำมประสงค์ของตนให้คู่กรณีทรำบ
ด้วย
กรณีตำม (๒) (๓) และ (๔) จะต้องกระทำก่อนสิ้นสุดกระบวนกำรพิจำรณำอุทธรณ์ตำม
ส่วนที่ ๕ ของหมวดนี้ หรือตำมกฎหมำยเฉพำะว่ำด้วยกำรนั้น หรือถ้ำเป็นกรณีที่ไม่ต้องมีกำร
อุทธรณ์ดังกล่ำวก็ต้องก่อนมีกำรนำคำสั่งทำงปกครองไปสู่กำรพิจำรณำของผู้มีอำนำจพิจำรณำ
วินิจฉัยควำมถูกต้องของคำสั่งทำงปกครองนั้น

49.ตอบ ง. มำตรำ ๔๐ คำสั่งทำงปกครองที่อำจอุทธรณ์หรือโต้แย้งต่อไปได้ให้ระบุกรณีที่อำจ


อุทธรณ์หรือโต้แย้ง กำรยื่นคำอุทธรณ์หรือคำโต้แย้ง และระยะเวลำสำหรับกำรอุทธรณ์หรือกำร
โต้แย้งดังกล่ำวไว้ด้วย
ในกรณีทมี่ ีกำรฝ่ำฝืนบทบัญญัติตำมวรรคหนึ่ง ให้ระยะเวลำสำหรับกำรอุทธรณ์หรือกำร
โต้แย้งเริ่มนับใหม่ตั้งแต่วันที่ได้รับแจ้งหลักเกณฑ์ตำมวรรคหนึ่ง แต่ถ้ำไม่มีกำรแจ้งใหม่และ
ระยะเวลำดังกล่ำวมีระยะเวลำสั้นกว่ำหนึ่งปี ให้ขยำยเป็นหนึ่งปีนับแต่วันที่ได้รับคำสั่งทำงปกครอง

50.ตอบ ง.

51.ตอบ ง.มำตรำ ๔๓ คำสั่งทำงปกครองที่มีข้อผิดพลำดเล็กน้อยหรือผิดหลงเล็กน้อยนั้น


เจ้ำหน้ำที่อำจแก้ไขเพิ่มเติมได้เสมอ
ในกำรแก้ไขเพิ่มเติมคำสั่งทำงปกครองตำมวรรคหนึ่งให้แจ้งให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทรำบตำมควร
แก่กรณี ในกำรนี้เจ้ำหน้ำที่อำจเรียกให้ผู้ที่เกี่ยวข้องจัดส่งคำสั่งทำงปกครอง เอกสำรหรือวัตถุอื่นใด
ที่ได้จัดทำขึ้นเนื่องในกำรมีคำสั่งทำงปกครองดังกล่ำวมำเพื่อกำรแก้ไขเพิ่มเติมได้
233

แนวข้อสอบพระรำชบัญญัติควำมรับผิดทำงละเมิดของเจ้ำหน้ำที่ พ.ศ. ๒๕๓๙


ก.ข้อใด คือเป้ำหมำยหลักของ พระรำชบัญญัติควำมรับผิดทำงละเมิดของเจ้ำหน้ำที่ พ.ศ. ๒๕๓๙
ก. เพื่อรักษำผลประโยชน์ของหน่วยงำนของรัฐ
ข. เพื่อรักษำผลประโยชน์ของผู้เสียหำย อันเกิดจำกกระกระทำจำกหน่วยงำนของรัฐ
ค. ควำมเป็นธรรมแก่เจ้ำหน้ำที่ผู้ปฏิบัติงำน ในหน่วยงำนของรัฐ
ง. เพื่อสร้ำงขวัญและกำลังใจ ให้แก่เจ้ำหน้ำที่ผู้ปฏิบัติงำน ในหน่วยงำนของรัฐ
ข."นำย ส. พนักงำนขับรถ และ นำย ป. ลูกจ้ำงประจำตำแหน่งคนงำน ของหน่วยงำนของรัฐแห่ง
หนึ่ง ออกปฏิบัติงำนด้วยกัน นำย ส. ได้ขับรถพลิกคว่ำ ทำให้บุคคลทั้งสองได้รับบำดเจ็บ และ
รถยนต์ของทำงรำชกำรได้รับควำมเสียหำย" กรณีนี้ ข้อใดมีควำมเป็นไปได้ มำกที่สุด
ก. นำย ส. ฟ้องค่ำเสียหำยจำกหน่วยงำนของรัฐได้
ข. นำย ป. ฟ้องค่ำเสียหำยจำกหน่วยงำนของรัฐได้
ค. หน่วยงำนของรัฐ ให้นำย ส. ชดใช้ค่ำเสียหำย
ง. ข้อ 1 และ ข้อ 2
ค. "นำย ส. เป็นลูกจ้ำงตำแหน่งพนักงำนขับรถ ของหน่วยงำนของรัฐแห่งหนึ่ง ได้รับคำสั่งให้ขับรถ
ไปสถำนที่แห่งหนึ่ง ขณะขับรถยนต์มำตำมถนนตำมปกติ มีผู้ขับขี่รถจักรยำนยนต์ออกจำกซอย
ด้ำนซ้ำยมือตัดหน้ำในระยะกระชั้นชิดมำก นำย ส. จึงหักหลบโดยไม่มีโอกำสได้ทันคิดหรือ
ตัดสินใจว่ำควรจะหักหลบไปทำงใดได้โดยปลอดภัย จึงไปชนรถยนต์ของ นำย ก. ที่สวนทำงมำ"
ในกรณีนี้ ข้อใด มีควำมเป็นไปได้มำกที่สุด
ก. นำย ก. ฟ้องเรียกค่ำเสียหำย จำก นำย ส.
ข. หน่วยงำนที่นำย ส. สังกัด ต้องชดใช้ค่ำเสียหำยให้แก่ นำย ก.
ค. นำย ก. เรียกร้องค่ำเสียหำย จำกผู้ขับขี่รถจักรยำนยนต์
ง. นำย ส. และ ผู้ขับขี่รถจักรยำนยนต์ ต้องชดใช้ค่ำเสียหำยให้แก่ นำย ก.
ง. เมื่อเกิดควำมเสียหำยแก่หน่วยงำนของรัฐแห่งใด และหัวหน้ำหน่วยงำนของรัฐแห่งนั้นมีเหตุอัน
ควรเชื่อว่ำเกิดจำกกำรกระทำของเจ้ำหน้ำที่ของหน่วยงำนของรัฐแห่งนั้น ให้หัวหน้ำหน่วยงำนของ
รัฐดังกล่ำวแต่งตั้งคณะกรรมกำรสอบข้อเท็จจริงควำมรับผิดทำงละเมิดขึ้นคณะหนึ่งโดยไม่ชักช้ำ
เพื่อพิจำรณำเสนอควำมเห็นเกี่ยวกับผู้ต้องรับผิดและจำนวนค่ำสินไหมทดแทนที่ผู้นั้นต้องชดใช้"
คณะกรรมกำรข้ำงต้น มีจำนวนกี่คน
ก. จำนวนไม่เกิน 5 คน
ข. จำนวนไม่เกิน 7 คน
ค. จำนวน 3-7 คน
ง. จำนวน 5-10 คน
234

5.ในกรณีที่กำรละเมิดเกิดจำกเจ้ำหน้ำที่ ซึ่งไม่ได้สังกัดหน่วยงำนของรัฐแห่งใด หน่วยงำนใดจะ


เป็นผู้รับผิดชอบชดใช้ค่ำเสียหำย
ก. กระทรวงมหำดไทย
ข. กระทรวงกำรคลัง
ค. สำนักนำยกรัฐมนตรี
ง. กรมบัญชีกลำง
6." นำย ส. พนักงำนขับรถของหน่วยงำนของรัฐแห่งหนึ่ง ได้รับคำสั่งให้ขับรถพำคณะเจ้ำหน้ำที่ไป
ยังสถำนที่แห่งหนึ่ง ขณะขับรถ นำย ส. ขับรถเร็วเกินอัตรำที่กฎหมำยกำหนด และขับรถประมำท
หวำดเสียว ในที่สุดเกิดอุบัติเหตุชนรถจักรยำนยนต์ ของนำง ย. ทำให้รถจักรยำนยนต์เสียหำย "
ก. นำง ย. ต้องฟ้องเรียกค่ำเสียหำย จำก นำย ส.
ข. หน่วยงำนที่ นำย ส. สังกัด ต้องรับผิดชอบต่อควำมเสียหำย ของ นำง ย.
ค. หน่วยงำนที่ นำย ส. สังกัด ไม่มีสิทธิไล่เบี้ย นำย ส.
ง. นำย ส. ไม่ต้องรับผิดชอบ เพรำะเป็นกำรปฏิบัติงำนในหน้ำที่รำชกำร
7."เจ้ำหน้ำที่สำธำรณสุขได้รับคำสั่งให้เข้ำไปฉีดพ่นไซเพอร์เมทรินเพื่อกำจัดยุงในพื้นที่ที่รับผิดชอบ
เจ้ำหน้ำที่สำธำรณสุขเห็นว่ำบ้ำนหลังหนึ่งในชุมชน เป็นแหล่งเพำะพันธุ์ยุงลำย จึงได้เข้ำไปฉีดพ่น
ไซเพอร์เมทริน ในบ้ำนดังกล่ำว เพื่อกำจัดแหล่งเพำะพันธุ์ของยุง แต่ไปก่อให้เกิดควำมเสียหำยแก่
ทรัพย์สิน ที่อยู่ในบ้ำนหลังนั้น" ในกรณีนี้ ใครเป็นผู้รับผิดชอบในควำมเสียหำย ที่เกิดจำกกำร
ละเมิดของเจ้ำหน้ำที่
ก. หน่วยงำนที่เจ้ำหน้ำที่สำธำรณสุขสังกัด
ข. เจ้ำหน้ำที่สำธำรณสุข ผู้ฉีดพ่นยำ
ค. เจ้ำของบ้ำน เพรำะเป็นแหล่งเพำะพันธุ์ยุงลำย
ง. ไม่มีใครต้องรับผิดชอบ ถือเป็นอุบัติเหตุในกำรปฏิบัติรำชกำร
8."เจ้ำหน้ำที่ของหน่วยงำนรัฐแห่งหนึ่ง ออกตรวจพื้นที่ ขณะรับประทำนอำหำรกลำงวันใน
ร้ำนอำหำรแห่งหนึ่ง เกิดไปทะเลำะวิวำทกับวัยรุ่นในร้ำนอำหำร ทำให้ทรัพย์สินของร้ำนเสียหำย "
ในกรณีนี้ ใครจะเป็นผู้รับผิดชอบต่อกำรละเมิดของเจ้ำหน้ำที่ ตำม พ.ร.บ. ควำมรับผิดทำงละเมิด
ของเจ้ำหน้ำที่ พ.ศ. ๒๕๓๙
ก. หน่วยงำนรัฐแห่งนั้น เพรำะกำรละเมิดเกิดขึ้น ในขณะปฏิบัติหน้ำที่
ข. เจ้ำหน้ำที่
ค. วัยรุ่นคู่กรณี
ง. ข้อ 2 และ ข้อ 3
235

9.ในกรณีที่ ศำลพิพำกษำยกฟ้อง เพรำะเหตุที่หน่วยงำนของรัฐหรือเจ้ำหน้ำที่ที่ถูกฟ้องมิใช่ผู้ต้อง


รับผิด แต่ทั้งนี้ยังมีเจ้ำหน้ำที่มีส่วนร่วม ซึ่ง ยังไม่ได้ถูกเรียกเข้ำมำในคดี อีกจำนวนหนึ่ง
ผู้เสียหำยสำมำรถฟ้องคดีดังกล่ำวใหม่ได้ภำยในเวลำกี่ เดือน นับแต่ศำลพิพำกษำถึงที่สุด
ก. ภำยในเวลำ 5 เดือน
ข. ภำยในเวลำ 6 เดือน
ค. ภำยในเวลำ 9 เดือน
ง. ภำยในเวลำ 12 เดือน
10.เมื่อได้รับคำขอจำกผู้เสียหำยที่ถูกกระทำละเมิดจำก เจ้ำหน้ำที่ในกำรปฏิบัติหน้ำที่ หน่วยงำน
ของรัฐ ต้องดำเนินกำรพิจำรณำทุกขั้นตอนให้แล้วเสร็จ ภำยในกี่วัน
ก. 60 วัน
ข. 90 วัน
ค. 120 วัน
ง. 180 วัน
11.ข้อใดกล่ำวได้ถูกต้อง
ก. หน่วยงำนของรัฐ ต้องรับผิดต่อผู้เสียหำยในผลแห่งละเมิด ที่เจ้ำหน้ำที่ของตนได้กระทำ
ข. หน่วยงำนของรัฐ ต้องรับผิดต่อผู้เสียหำยในผลแห่งละเมิด ที่เจ้ำหน้ำที่ของตนได้กระทำ
ในกำรปฏิบัติหน้ำที่
ค. หน่วยงำนของรัฐ สำมำรถฟ้องไล่เบี้ยเอำค่ำเสียหำยจำกเจ้ำหน้ำที่ ที่กระทำผิดทำง
ละเมิดได้
ง. ในกรณีที่ เจ้ำหน้ำที่หลำยคน มีส่วนร่วมกันกระทำผิดทำงละเมิด ให้นำหลักเรื่องลูกหนี้
ร่วม ในระบบกฎหมำยแพ่ง มำใช้บังคับ
12.ทำไม พระรำชบัญญัติควำมรับผิดทำงละเมิดของเจ้ำหน้ำที่ พ.ศ. 2539 จึงไม่ให้นำหลักเรื่อง
ลูกหนี้ร่วมมำบังคับใช้
ก. เพรำะเป็นกำรไม่ยุติธรรมแก่เจ้ำหน้ำที่
ข. เพรำะต้องกำรให้ผู้เสียหำยได้รับค่ำเสียหำยเต็มจำนวน
ค. เพรำะให้ควำมสำคัญแก่ผู้เสียหำยซึ่งเกิดจำกควำมผิดทำงละเมิดของเจ้ำหน้ำที่
ง. เพรำะหลักเรื่องลูกหนี้ร่วม อยู่ในประมวลกฎหมำยแพ่ง และพำณิชย์
ข้อ 13. ข้อใดกล่ำวไม่ถูกต้องตำม พระรำชบัญญัติควำมผิดทำงละเมิดของเจ้ำหน้ำที่ พ.ศ. 2539
ก. กำรกระทำที่เกิดจำกกำรปฏิบัติหน้ำที่โดยตรง เจ้ำหน้ำที่ไม่ต้องรับผิดทำงละเมิด
ข. ถ้ำควำมผิดเกิดจำกหลำยคนร่วมกระทำกำรละเมิด ให้รับผิดชอบเฉพำะส่วนของตน
เท่ำนั้น
ค. ให้นำหลักลูกหนี้ร่วม ตำมประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์ มำบังคับใช้ ในกรณี
เจ้ำหน้ำที่หลำยคน มีส่วนร่วมกระทำควำมผิดทำงละเมิดได้
ง. คนไทยส่วนมำกไม่ออกกำลังกำยอย่ำงสม่ำเสมอ
236

14.ข้อใดกล่ำว ไม่ถูกต้อง กรณีเจ้ำหน้ำที่ในหน่วยงำนของรัฐ กระทำละเมิดต่อบุคคลภำยนอก


ก. หน่วยงำนของรัฐจะต้องรับผิดชอบต่อผู้เสียหำยทุกกรณี
ข. หน่วยงำนของรัฐจะต้องรับผิดขอบต่อผู้เสียหำย เฉพำะในกรณีที่เป็นกำรกระทำในกำร
ปฏิบัติหน้ำที่
ค. ถ้ำเป็นกำรกระทำในกำรปฏิบัติหน้ำที่ ให้ผู้เสียหำยฟ้องหน่วยงำนของรัฐโดยตรง
ง. ถ้ำกำรกระทำนั้นไม่ใช่กำรปฏิบัติหน้ำที่ ผู้เสียหำยจะฟ้องหน่วยงำนของรัฐไม่ได้
15.กรณีทหี่ น่วยงำนของรัฐ ได้ชดใช้ค่ำสินไหมทดแทนจำกกำรระทำละเมิดของเจ้ำหน้ำที่ แก่
ผู้เสียหำยไปแล้ว และพิจำรณำว่ำ เจ้ำหน้ำที่ได้ปฏิบัติหน้ำที่โดยประมำทเลินเล่ออย่ำงร้ำยแรง ใน
กรณีนี้ หน่วยงำนจะต้องดำเนินกำรไล่เบี้ยจำกเจ้ำหน้ำที่ มีอำยุควำม กี่ปี
ก. อำยุควำม 1 ปี
ข. อำยุควำม 2 ปี
ค. อำยุควำม 3 ปี
ง. อำยุควำม 4 ปี
16.นำย ส. ตำแหน่งพนักงำนขับรถ ได้รับคำสั่งให้นำรถไปปฏิบัติรำชกำร ขณะขับรถตำมปกติเกิด
อุบัติเหตุ ทำให้รถของ นำง ข. เสียหำย นำย ส. ได้จ่ำยค่ำสินไหมทดแทนให้แก่ นำง ข.
ในกรณีนี้ สิทธิที่ นำย ส. จะเรียกร้องให้ หน่วยงำน จ่ำยค่ำสินไหมทดแทน ให้แก่ตน มีอำยุควำม กี่
ปี
ก. อำยุควำม 3 ปี
ข. อำยุควำม 2 ปี
ค. อำยุควำม 1 ปี
ง. อำยุควำม 4 ปี
17.ในกรณีที่ผู้เสียหำย ไม่พอใจผลกำรวินิจฉัยของหน่วยงำนของรัฐ เกี่ยวกับคำขอให้หน่วยงำน
พิจำรณำชดใช้ค่ำสินไหมทดแทน ผู้เสียหำยต้องร้องทุกข์ต่อคณะกรรมกำรวินิจฉัยร้องทุกข์ ภำยใน
กี่วัน
ก. สำมสิบวัน
ข. สี่สิบห้ำวัน
ค. เก้ำสิบวัน
ง. หนึ่งร้อยยี่สิบวัน
18.ผู้เสียหำยจำกกำรละเมิดของเจ้ำหน้ำที่ มีสิทธิในกำรเรียกร้องให้หน่วยงำนชดใช้ ได้อย่ำงไร
บ้ำง
ก. ฟ้องคดีต่อศำล
ข. ยื่นคำขอต่อหน่วยงำนของรัฐ ให้ชดใช้ค่ำสินไหมทดแทน
ค. ยื่นหนังสือร้องทุกข์ต่อ คณะกรรมกำรวินิจฉัยร้องทุกข์ ตำมกฎหมำยว่ำด้วย
คณะกรรมกำรกฤษฎีกำ
237

ง. ข้อ 1 หรือ ข้อ 2


19.พนักงำนขับรถของหน่วยงำนของรัฐแห่งหนึ่ง นำรถไปใช้ปฏิบัติหน้ำที่รำชกำร แต่รถอยู่ใน
สภำพไม่เหมำะสม มีกำรแจ้งซ่อมหลำยครั้ง แต่หน่วยงำนไม่มีงบประมำณจัดซ่อม ขณะนำรถไปใช้
ปฏิบัติหน้ำที่ เกิดอุบัติเหตุเนื่องมำจำกกำรกระทำโดยประมำทเลินเล่ออย่ำงร้ำยแรง ของพนักงำน
ขับรถ ทำให้เกิดควำมเสียหำยแก่ทรัพย์สินของเอกชน ในกรณีนี้ ข้อใดถูกต้องที่สุด
ก. พนักงำนขับรถต้องชดใช้ค่ำเสียหำยทั้งหมด เนื่องมำจำกกำรกระทำโดยประมำท
เลินเล่ออย่ำงร้ำยแรง
ข. หน่วยงำนต้องชดใช้ค่ำเสียหำยให้แก่เอกชน และไล่เบี้ยเอำกับพนักงำนขับรถทั้งหมด
ค. หน่วยงำนชดใช้ค่ำเสียหำยให้แก่เอกชน และไล่เบี้ยเอำกับพนักงำนขับรถ โดยพนักงำน
ขับรถไม่ต้องจ่ำยเต็มจำนวน
ง. หน่วยงำนต้องชดใช้ค่ำเสียหำยทั้งหมดให้แก่เอกชน จะไล่เบี้ยเอำกับพนักงำนขับรถ
ไม่ได้
20."เมื่อเกิดควำมเสียหำยแก่หน่วยงำนของรัฐแห่งใด และหัวหน้ำหน่วยงำนของรัฐแห่งนั้นมีเหตุ
อันควรเชื่อว่ำ เกิดจำกกำรกระทำของเจ้ำหน้ำที่ของหน่วยงำนของรัฐแห่งนั้น ให้หัวหน้ำหน่วยงำน
ของรัฐดังกล่ำว แต่งตั้งคณะกรรมกำรสอบข้อเท็จจริง ควำมรับผิดทำงละเมิดขึ้นคณะหนึ่ง"
คณะกรรมกำรชุดนี้ ประกอบด้วยใครบ้ำง
ก. เจ้ำหน้ำที่ของหน่วยงำนของรัฐแห่งนั้น
ข. เจ้ำหน้ำที่ของหน่วยงำนของรัฐแห่งอื่น
ค. ผู้เชี่ยวชำญ ในสำขำที่เกี่ยวข้อง
ง. ข้อ 1 และ/หรือ ข้อ 2
21.ข้อใด กล่ำวได้ถูกต้อง
ก. ในกรณีที่หน่วยงำนของรัฐ มีสิทธิไล่เบี้ยเอำกับเจ้ำหน้ำที่ ไม่สำมำรถไล่เบี้ยได้เต็ม
จำนวน
ข. เมื่อเกิดควำมเสียหำยขึ้น หน่วยงำนของรัฐ จะรับภำระชดใช้ค่ำสินไหมทดแทน แก่ผู้
ได้รับควำมเสียหำย ตำมผลกำรวินิจฉัย ของกรรมกำรสอบสวน
ค. สำหรับในกรณีที่กำรละเมิดมิได้เกิดขึ้นในกำรปฏิบัติหน้ำที่ ควำมรับผิดอันเนื่องมำจำก
กำรละเมิดเป็นไปตำมที่บัญญัติอยู่ในประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์
ง. ในกรณีที่กำรละเมิดเกิดจำกเจ้ำหน้ำที่หลำยคนก็ จะใช้หลักกฎหมำยเรื่องลูกหนี้ร่วม
ตำมกฎหมำยแพ่งมำใช้บังคับก็ได้
22. องค์ประกอบของ "กำรละเมิด" ตำมมำตรำ ๔๒๐ แห่งประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์ มีกี่
องค์ประกอบ
ก. มี 2 องค์ประกอบ ข. มี 3 องค์ประกอบ
ค. มี 4 องค์ประกอบ ง. มี 5 องค์ประกอบ
238

23. กรณีที่ผู้เสียหำยถูกกระทำละเมิดจำก เจ้ำหน้ำที่ในกำรปฏิบัติหน้ำที่ และใช้สิทธิร้องขอให้


หน่วยงำนของรัฐชดใช้ค่ำสินไหมทดแทน เมื่อหน่วยงำนของรัฐ ได้รับเรื่องแล้ว สิ่งแรกที่จะต้อง
ดำเนินกำร คืออะไร
ก. ออกใบรับคำขอให้แก่ผู้ยื่นคำขอ
ข. แต่งตั้งกรรมกำรสอบสวนข้อเท็จจริง
ค. ผู้บริหำรเรียกเจ้ำหน้ำที่ผู้กระทำละเมิดเข้ำพบ
ง. ผู้บริหำรดำเนินกำรไกล่เกลี่ยข้อพิพำท
24. นำย เอ ลูกจ้ำงประจำ ตำแหน่งพนักงำนขับรถยนต์ของเทศบำลบี ปฏิบัติหน้ำที่ขับรถเก็บ
ขยะมูลฝอยด้วยควำมประมำทชนท้ำยรถยนต์ของนำย ซี ทำให้รถยนต์ของนำย ซี เสียหำย จำก
ข้อเท็จจริงดังกล่ำว ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง
ก. นำย เอ เป็นเจ้ำหน้ำที่ของรัฐ
ข. กำรกระทำของนำย เอ เป็นกำรปฏิบัติหน้ำที่ตำมกฎหมำยในกำรให้บริกำรสำธำรณะ
เกี่ยวกับกำรรักษำควำมสะอำด
ค. เทศบำลบี เป็นหน่วยงำนของรัฐ ที่ต้องรับผิดต่อผู้เสียหำยในผลแห่งละเมิดที่ นำย เอ ได้
กระทำไปในกำรปฏิบัติหน้ำที่
ง. นำยซี มีอำนำจฟ้องเทศบำลบี ต่อศำลปกครอง
25.กำรกำหนดหน่วยงำนอื่นของรัฐให้เป็นหน่วยงำนของรัฐ ตำมพระรำชบัญญัติควำมรับผิดทำง
ละเมิดของเจ้ำหน้ำที่ พ.ศ. 2539 ต้องออกเป็นกฎหมำยใด
ก. พระรำชบัญญัติ
ข. พระรำชกฤษฎีกำ
ค. พระรำชกำหนด
ง. กฎกระทรวง
26. ข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. กำรกระทำโดยจงใจ คือ รู้สำนึกถึงกำรกระทำว่ำจะก่อให้เกิดควำมเสียหำยต่อบุคคลอื่น
ข. กำรกระทำโดยประมำทเลินเล่ออย่ำงร้ำยแรง คือ ไม่มีเจตนำ แต่พึงคำดหมำยได้ว่ำอำจ
ก่อให้เกิดควำมเสียหำยขึ้น และหำกใช้ควำมระมัดระวังเพียงเล็กน้อย ก็อำจป้องกันมิให้เกิดควำม
เสียหำยได้ แต่ไม่ได้ใช้ควำมระมัดระวังเลย
ค. ผู้เสียหำยซึ่งไม่พอใจกับจำนวนค่ำสินไหมทดแทนที่หน่วยงำนของรัฐวินิจฉัย ต้องฟ้อง
คดีต่อศำลปกครอง
ง. เหตุละเมิดอันเกิดจำกกำรกระทำของเจ้ำหน้ำที่หลำยคน ไม่ให้นำหลักลูกหนี้ร่วมตำม
ประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์มำใช้บังคับกับเจ้ำหน้ำที่
239

27. กำรขยำยอำยุควำมฟ้องผู้ที่ต้องรับผิดซึ่งมิได้ถูกเรียกเข้ำมำในคดี มีระยะเวลำใด


ก. 3 เดือน นับแต่วันที่คำพิพำกษำถึงที่สุด
ข. 90 วัน นับแต่วันที่คำพิพำกษำถึงที่สุด
ค. 6 เดือน นับแต่วันที่คำพิพำกษำถึงที่สุด
ง. 180 วัน นับแต่วันที่คำพิพำกษำถึงที่สุด

ตัวเลือกต่อไปนี้ ตอบคำถำมข้อ 28 - 30
ก. วันที่ 14 พฤศจิกำยน 2539
ข. วันที่ 15 พฤศจิกำยน 2539
ค. วันที่ 14 พฤศจิกำยน 2540
ง. ไม่มีข้อใดถูกต้อง

28. วันใช้บังคับพระรำชบัญญัติควำมรับผิดทำงละเมิดของเจ้ำหน้ำที่ พ.ศ. 2539

29. วันประกำศระเบียบสำนักนำยกรัฐมนตรีว่ำด้วยหลักเกณฑ์กำรปฏิบัติเกี่ยวกับควำมรับผิดทำง
ละเมิดของเจ้ำหน้ำที่ พ.ศ. 2539 ในรำชกิจจำนุเบกษำ

30. วันใช้บังคับระเบียบสำนักนำยกรัฐมนตรีว่ำด้วยหลักเกณฑ์กำรปฏิบัติเกี่ยวกับควำมรับผิดทำง
ละเมิดของเจ้ำหน้ำที่ พ.ศ. 2539

31. ผู้เสียหำยมีสิทธิฟ้องคดีต่อผู้ใดในกรณีเจ้ำหน้ำที่ได้กระทำละเมิดในกำรปฏิบัติหน้ำที่
ก. หน่วยงำนของรัฐ
ข. เจ้ำหน้ำที่
ค. กรมบัญชีกลำง
ง. หน่วยงำนตำมพระรำชกฤษฎีกำ
32. กรณีหน่วยงำนของรัฐได้ใช้ค่ำสินไหมทดแทนแก่ผู้เสียหำยแล้ว สิทธิไล่เบี้ยของหน่วยงำนของ
รัฐมีกำหนดเวลำตำมข้อใด
ก. 1 ปี นับแต่ได้ใช้ค่ำสินไหมทดแทนแก่ผู้เสียหำย
ข. 1 ปี นับแต่มีคำสั่งตำมควำมเห็นของกระทรวงกำรคลัง
ค. 2 ปี นับแต่หน่วยงำนของรัฐทรำบเหตุ
ง. 2 ปี นับแต่กระทรวงกำรคลังแจ้งผลกำรพิจำรณำ
240

33. กำรคิดดอกเบี้ยกรณีผู้เสียหำยยื่นคำขอให้หน่วยงำนของรัฐชดใช้ค่ำสินไหมทดแทน ข้อใด


ถูกต้อง
ก. ตำมอัตรำดอกเบี้ยผิดนัด นับแต่วันทำละเมิดจนถึงวันที่หน่วยงำนของรัฐได้รับคำขอ
ข. ตำมอัตรำดอกเบี้ยผิดนัด นับแต่วันทำละเมิดจนถึงวันที่ชำระค่ำสินไหมทดแทน
ค. ตำมอัตรำดอกเบี้ยที่กฎหมำยกำหนด นับแต่วันที่หน่วยงำนของรัฐได้รับคำขอ
ง. ตำมอัตรำดอกเบี้ยที่กฎหมำยกำหนด นับแต่วันที่หน่วยงำนของรัฐได้รับคำขอจนถึงคดี
ถึงที่สุด
34. ผู้แต่งตั้งคณะกรรมกำรสอบข้อเท็จจริงควำมรับผิดทำงละเมิด ต้องส่งสำนวนกำรสอบสวนให้
กระทรวงกำรคลังพิจำรณำภำยในเวลำกี่วัน
ก. 7 วัน
ข. 15 วัน
ค. 30 วัน
ง. 60 วัน
35. หน่วยงำนของรัฐต้องพิจำรณำคำขอของผู้เสียหำยที่ขอให้ชดใช้ค่ำสินไหมทดแทนให้แล้วเสร็จ
ภำยในกำหนดกี่วัน
ก. 30 วัน
ข. 60 วัน
ค. 120 วัน
ง. 180 วัน
36.จำกข้อ 35 หำกพิจำรณำไม่เสร็จตำมกำหนดดังกล่ำว ต้องขออนุมัติขยำยระยะเวลำต่อใคร
ก. หัวหน้ำหน่วยงำนของรัฐ
ข. หัวหน้ำส่วนรำชกำร
ค. รัฐมนตรี
ง. กระทรวงกำรคลัง
37. จำกข้อ 36 บุคคลดังกล่ำวมีอำนำจอนุมัติให้ขยำยระยะเวลำได้ไม่เกินเท่ำกี่วัน
ก. 60 วัน ข. 120 วัน
ค. 180 วัน ง. 240 วัน
38. ควำมเสียหำยที่เกิดขึ้นกับทรัพย์สินของหน่วยงำนของรัฐไม่เกินจำนวนครั้งละเท่ำใด ที่ไม่ต้อง
รำยงำนควำมรับผิดทำงละเมิดให้กระทรวงกำรคลังตรวจสอบ
ก. 200,000 บำท
ข. 500,000 บำท
ค. 1,000,000 บำท
ง. 10,000,000 บำท
241

เฉลย พระรำชบัญญัติควำมรับผิดทำงละเมิดของเจ้ำหน้ำที่ พ.ศ. 2539


1. ตอบ ค. ควำมเป็นธรรมแก่เจ้ำหน้ำที่ผู้ปฏิบัติงำน ในหน่วยงำนของรัฐ
หมำยเหตุ:- เหตุผลในกำรประกำศใช้พระรำชบัญญัติฉบับนี้ คือ กำรที่เจ้ำหน้ำที่ ดำเนิน
กิจกำรต่ำง ๆ ของ หน่วยงำนของรัฐนั้น หำได้เป็นไป เพื่อประโยชน์อันเป็นกำรเฉพำะตัวไม่ กำร
ปล่อยให้ควำมรับผิดทำงละเมิด ของเจ้ำหน้ำที่ ในกรณีที่ปฏิบัติงำนในหน้ำที่ และเกิดควำม
เสียหำยแก่เอกชน เป็นไปตำมหลักกฎหมำยเอกชนตำม ประมวลกฎหมำยแพ่ง และพำณิชย์ จึง
เป็นกำรไม่เหมำะสมก่อให้เกิดควำมข้ำใจผิดว่ำ เจ้ำหน้ำที่ จะต้องรับผิดในกำรกระทำต่ำง ๆ เป็น
กำรเฉพำะตัวเสมอไป เมื่อกำรที่ทำไป ทำให้หน่วยงำนของรัฐ ต้องรับผิดต่อบุคคลภำยนอกเพียงใด
ก็จะมีกำรฟ้อง ไล่เบี้ยเอำจำกเจ้ำหน้ำที่เต็มจำนวนนั้น ทั้งที่บำงกรณี เกิดขึ้นโดยควำมไม่ตั้งใจ หรือ
ควำมผิดพลำด เพียงเล็กน้อย ในกำรปฏิบัติหน้ำที่ นอกจำกนั้น ยังมีกำรนำหลักเรื่องลูกหนี้ร่วม ใน
ระบบกฎหมำยแพ่ง มำใช้บังคับ ให้เจ้ำหน้ำที่ ต้องร่วมรับผิดในกำรกระทำ ของเจ้ำหน้ำที่ผู้อื่นด้วย
ซึ่งระบบนั้น มุ่งหมำยแต่จะได้เงินครบโดย ไม่คำนึงถึงควำมเป็นธรรม ที่จะมีต่อแต่ละคน กรณีเป็น
กำรก่อให้เกิด ควำมไม่เป็นธรรม แก่เจ้ำหน้ำที่ และยังเป็นกำร บั่นทอนกำลังขวัญ ในกำรทำงำน
ของเจ้ำหน้ำที่ด้วย จนบำงครั้งกลำยเป็นปัญหำ ในกำรบริหำร เพรำะเจ้ำหน้ำที่ ไม่กล้ำตัดสินใจ
ดำเนินงำนเท่ำที่ควร เพรำะเกรงควำมรับผิดชอบ ที่จะเกิดแก่ตน อนึ่ง กำรให้คุณให้โทษแก่
เจ้ำหน้ำที่ เพื่อควบคุมกำรทำงำน ของเจ้ำหน้ำที่ ยังมีวิธีกำรในกำรบริหำรงำนบุคคล และกำร
ดำเนินกำรทำงวินัย กำกับดูแล อีกส่วนหนึ่ง อันเป็นหลักประกัน มิให้เจ้ำหน้ำที่ทำกำรใด ๆ โดยไม่
รอบคอบอยู่แล้ว ดังนั้น จึงสมควร กำหนดให้เจ้ำหน้ำที่ ต้องรับผิดทำงละเมิดในกำรปฏิบัติงำนใน
หน้ำที่ เฉพำะเมื่อเป็นกำรจงใจกระทำ เพื่อกำรเฉพำะตัว หรือจงใจให้เกิดควำมเสียหำย หรือ
ประมำทเลินเล่ออย่ำงร้ำยแรง เท่ำนั้น และให้แบ่งแยกควำมรับผิดของ แต่ละคน มิให้นำหลัก
ลูกหนีร้ ่วม มำใช้บังคับ ทั้งนี้ เพื่อให้เกิดควำมเป็นธรรม และเพิ่มพูนประสิทธิภำพ ในกำร
ปฏิบัติงำนของรัฐ จึงจำเป็นต้องตรำพระรำชบัญญัตินี้
ควำมเป็นธรรม ที่กล่ำวถึง คือ ควำมเป็นธรรมแก่เจ้ำหน้ำที่ เพรำะถ้ำไม่มี พระรำชบัญญัติ
ฉบับนี้ เจ้ำหน้ำที่ที่ถูกฟ้อง จะต้องไปใช้กฎหมำยแพ่งและพำณิชย์ ซึ่งไม่เป็นธรรม เพรำะ
เจ้ำหน้ำที่ไม่ได้ปฏิบัติงำนของตน แต่ปฏิบัติงำนในนำมของรัฐ นอกจำกนี้ เรื่อง ลูกหนี้ร่วม ก็เป็น
กำรให้ควำมเป็นธรรมแก่เจ้ำหน้ำที่ เพรำะไม่เหมำรวม แต่ให้คิดแยกส่วนเป็นคน ๆ ไป

2. ตอบ ค. หน่วยงำนของรัฐ ให้นำย ส. ชดใช้ค่ำเสียหำย


นำย ป. ไม่ได้มีส่วนร่วมในกำรกระทำละเมิดและเป็นผู้ที่ได้รับควำมเสียหำยจำกกำรกระทำ
ละเมิดของ นำย ส. นำย ป. จึงเป็นผู้เสียหำย จึงมีสิทธิเรียกร้องให้หน่วยงำนที่ นำย ส. สังกัดชดใช้
ค่ำสินไหมทดแทนจำกกำรถูกกระทำละเมิดโดยเจ้ำหน้ำที่ คือ นำย ส. ได้
กรณี นำย ส. ต้องพิจำรณำว่ำ ขับรถโดยประมำทเลินเล่ออย่ำงร้ำยแรง หรือไม่ ขับรถถูก
กฎจรำจรหรือไม่ ถ้ำเป็นกำรกระทำที่ประมำทเลินเล่ออย่ำงร้ำยแรง นำย ส. ต้องรับผิดชอบใน
เรื่องค่ำเสียหำยด้วย
242

3. ตอบ ข. หน่วยงำนที่นำย ส. สังกัด ต้องชดใช้ค่ำเสียหำยให้แก่ นำย ก.


กรณีนี้ ถือว่ำ นำย ส. ปฏิบัติหน้ำที่ทำงรำชกำร และเป็นเหตุสุดวิสัย ไม่ได้เกิดจำกควำม
ประมำทเลินเล่อ จึงไม่ต้องรับผิดเรื่องค่ำเสียหำย แต่หน่วยงำนที่ นำย ส. สังกัด ต้องรับผิดชอบ
ค่ำเสียหำย

4. ตอบ ก. จำนวนไม่เกิน 5 คน
ข้อ 8 ตำม ระเบียบสำนักนำยกรัฐมนตรี ว่ำด้วยหลักเกณฑ์กำรปฏิบัติเกี่ยวกับควำมรับผิด
ทำงละเมิดของเจ้ำหน้ำที่ พ.ศ. 2539 มีดังนี้
เมื่อเกิดควำมเสียหำยแก่หน่วยงำนของรัฐแห่งใด และหัวหน้ำหน่วยงำนของรัฐแห่งนั้นมี
เหตุอันควรเชื่อว่ำเกิดจำกกำรกระทำของเจ้ำหน้ำที่ของหน่วยงำนของรัฐแห่งนั้น ให้หัวหน้ำ
หน่วยงำนของรัฐดังกล่ำวแต่งตั้งคณะกรรมกำรสอบข้อเท็จจริงควำมรับผิดทำงละเมิดขึ้นคณะหนึ่ง
โดยไม่ชักช้ำ เพื่อพิจำรณำเสนอควำมเห็นเกี่ยวกับผู้ต้องรับผิดและจำนวนค่ำสินไหมทดแทนที่ผู้นั้น
ต้องชดใช้
คณะกรรมกำรตำมวรรคหนึ่ง ให้มีจำนวนไม่เกินห้ำคน โดยแต่งตั้งจำกเจ้ำหน้ำที่ของ
หน่วยงำนของรัฐแห่งนัน้ หรือหน่วยงำนของรัฐอื่นตำมที่เห็นสมควร

5. ตอบ ข. กระทรวงกำรคลัง
มำตรำ ๕ หน่วยงำนของรัฐ ต้องรับผิดต่อผู้เสียหำยในผลแห่งละเมิด ที่เจ้ำหน้ำที่ของตนได้
กระทำในกำรปฏิบัติหน้ำที่ ในกรณีนี้ ผู้เสียหำยอำจฟ้องหน่วยงำนของรัฐดังกล่ำว ได้โดยตรง แต่
จะฟ้องเจ้ำหน้ำที่ไม่ได้
ถ้ำกำรละเมิด เกิดจำกเจ้ำหน้ำที่ ซึ่งไม่ได้สังกัดหน่วยงำนของรัฐแห่งใด ให้ถือว่ำ
กระทรวงกำรคลัง เป็นหน่วยงำนของรัฐ ที่ต้องรับผิดตำมวรรคหนึ่ง

6. ตอบ ข. หน่วยงำนที่ นำย ส. สังกัด ต้องรับผิดชอบต่อควำมเสียหำย ของ นำง ย.


มำตรำ ๕ หน่วยงำนของรัฐ ต้องรับผิดต่อผู้เสียหำยในผลแห่งละเมิด ที่เจ้ำหน้ำที่ของตน
ได้กระทำในกำรปฏิบัติหน้ำที่ในกรณีนี้ ผู้เสียหำยอำจฟ้องหน่วยงำนของรัฐดังกล่ำว ได้โดยตรง แต่
จะฟ้องเจ้ำหน้ำที่ไม่ได้
มำตรำ ๘ ในกรณีที่หน่วยงำนของรัฐ ต้องรับผิดใช้ค่ำสินไหมทดแทนแก่ผู้เสียหำย เพื่อกำร
ละเมิดของ เจ้ำหน้ำที่ ให้หน่วยงำนของรัฐ มีสิทธิเรียกให้เจ้ำหน้ำที่ ผู้ทำละเมิด ชดใช้ค่ำสินไหม
ทดแทนดังกล่ำว แก่หน่วยงำนของ รัฐได้ ถ้ำเจ้ำหน้ำที่ได้กระทำกำรนั้นไปด้วยควำมจงใจ หรือ
ประมำทเลินเล่ออย่ำงร้ำยแรง
ในกรณีนี้ ถือว่ำ นำย ส. ได้กระทำกำรในหน้ำที่ หน่วยงำนที่ นำย ส. สังกัด จึงต้องรับผิด
ต่อผู้เสียหำยในผลแห่งละเมิด ของ นำย ส. คือ ต้องจ่ำยค่ำเสียหำย ให้แก่ นำง ย. แต่ นำย ส.
กระทำไปด้วยควำมประมำท เลินเล่อ อีกทั้งยังขับรถเร็วอย่ำงผิดกฎหมำย ดังนั้น หน่วยงำน จึงมี
243

สิทธิ์ที่จะให้ นำย ส. ชดใช้ค่ำเสียหำย ตำมมำตรำ 8 แต่จะให้ชดใช้เท่ำไร ต้องพิจำรณำระดับควำม


ร้ำยแรงแห่งกำรกระทำอีกครั้ง เช่น เหตุผลที่ทำให้ต้องขับรถเร็ว สภำพท้องถนน และอื่น ๆ เป็น
ต้น

7. ตอบ ก. หน่วยงำนที่เจ้ำหน้ำที่สำธำรณสุขสังกัด
มำตรำ ๕ หน่วยงำนของรัฐ ต้องรับผิดต่อผู้เสียหำยในผลแห่งละเมิด ที่เจ้ำหน้ำที่ของตน
ได้กระทำในกำรปฏิบัติหน้ำที่ในกรณีนี้ ผู้เสียหำยอำจฟ้องหน่วยงำนของรัฐดังกล่ำว ได้โดยตรง แต่
จะฟ้องเจ้ำหน้ำที่ไม่ได้
ในกรณีนี้ เป็นกำรปฏิบัติหน้ำที่รำชกำรตำมปกติ และไม่มีหลักฐำน ข้อมูลว่ำ เจ้ำหน้ำที่ได้
กระทำให้เกิดควำมเสียหำย ด้วยควำมจงใจ หรือ ประมำทเลินเล่ออย่ำงร้ำยแรง หน่วยงำนจึงต้อง
รับผิดชอบ

8. ตอบ ข. เจ้ำหน้ำที่
กรณีนี้ แม้กำรกระทำละเมิดจะเกิดขึ้นระหว่ำงกำรปฏิบัติหน้ำที่ แต่ก็มิได้เป็นไปเพื่อ
ประโยชน์ของทำงรำชกำร หำกแต่เป็นไปเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ส่วนตัว จึงถือไม่ได้ว่ำ กำรกระทำ
ละเมิดดังกล่ำวเป็นกำรกระทำละเมิดในกำรปฏิบัติหน้ำที่ดังหน่วยงำนจึงไม่ต้องรับผิดชอบ
มำตรำ ๖ ถ้ำกำรกระทำละเมิดของเจ้ำหน้ำที่ มิใช่กำรกระทำในกำรปฏิบัติหน้ำที่ เจ้ำหน้ำที่ต้อง
รับผิด ในกำรนั้นเป็นกำรเฉพำะตัว ในกรณีนี้ ผู้เสียหำยอำจฟ้องเจ้ำหน้ำที่ได้โดยตรง แต่จะฟ้อง
หน่วยงำนของรัฐไม่ได้
กรณีของวัยรุ่น ไม่ถือว่ำ วัยรุ่น เป็นเจ้ำหน้ำที่ ตำม พ.ร.บ. ควำมรับผิดทำงละเมิดของ
เจ้ำหน้ำที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ จึงไม่อยู่ในขอบข่ำยของกฎหมำยนี้

9. ตอบ ข. ภำยในเวลำ 6 เดือน


มำตรำ ๗ ในคดีที่ผู้เสียหำยฟ้องหน่วยงำนของรัฐ ถ้ำหน่วยงำนของรัฐเห็นว่ำ เป็นเรื่องที่
เจ้ำหน้ำที่ต้องรับผิด หรือต้องร่วมรับผิด หรือในคดีที่ผู้เสียหำยฟ้องเจ้ำหน้ำที่ ถ้ำเจ้ำหน้ำที่เห็นว่ำ
เป็นเรื่องที่หน่วยงำนของรัฐต้องรับผิด หรือต้องร่วมรับผิด หน่วยงำนของรัฐ หรือเจ้ำหน้ำที่ดังกล่ำว
มีสิทธิขอให้ศำลที่พิจำรณำคดีนั้นอยู่ เรียกเจ้ำหน้ำที่ หรือหน่วยงำนของรัฐ แล้วแต่กรณี เข้ำมำเป็น
คู่ควำมในคดี
ถ้ำศำลพิพำกษำยกฟ้องเพรำะเหตุที่หน่วยงำนของรัฐหรือเจ้ำหน้ำที่ ที่ถูกฟ้องมิใช่ผู้ต้องรับ
ผิด ให้ขยำยอำยุควำมฟ้องร้องผู้ที่ต้องรับผิด ซึ่งมิได้ถกู เรียกเข้ำมำในคดี ออกไปถึงหกเดือน นับแต่
วันที่คำพิพำกษำนั้นถึงที่สุด

10. ตอบ ง. 180 วัน


244

หน่วยงำนของรัฐจะต้องรีบดำเนินกำรพิจำรณำคำขอของผู้เสียหำย โดยเร็ว ซึ่งขั้นตอนและ


วิธีกำรพิจำรณำคำขอของผู้เสียหำยนั้น เป็นไปตำมระเบียบสำนัก นำยกรัฐมนตรีว่ำด้วยหลักเกณฑ์
กำรปฏิบัติเกี่ยวกับควำมรับผิดทำงละเมิดของเจ้ำหน้ำที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ โดยหน่วยงำนของรัฐต้อง
พิจำรณำทุกขั้นตอนให้แล้วเสร็จอย่ำงช้ำภำยใน ๑๘๐ วัน นับแต่รับคำขอจำกผู้เสียหำย แต่ถ้ำไม่
อำจพิจำรณำให้เสร็จตำมเวลำดังกล่ำวหน่วยงำนของรัฐอำจ ขอขยำยเวลำกำรพิจำรณำออกไปอีก
ได้ แต่รัฐมนตรีจะขยำยให้ได้ไม่เกิน ๑๘๐ วัน

11. ตอบ ข. หน่วยงำนของรัฐ ต้องรับผิดต่อผู้เสียหำยในผลแห่งละเมิด ที่เจ้ำหน้ำที่ของตนได้


กระทำในกำรปฏิบัติหน้ำที่
ข้อ ก. ไม่ถูกต้องทั้งหมด กล่ำวคือ ถ้ำไม่ได้ทำในขณะปฎิบัติหน้ำที่ เจ้ำหน้ำที่ก็ต้อง
รับผิดชอบในกำรกระทำของตน ตำม มำตรำ 6 ที่กล่ำวว่ำ
"ถ้ำกำรกระทำละเมิดของเจ้ำหน้ำที่ มิใช่กำรกระทำในกำรปฏิบัติหน้ำที่ เจ้ำหน้ำที่ต้องรับผิด ใน
กำรนั้นเป็นกำรเฉพำะตัว ในกรณีนี้ ผู้เสียหำยอำจฟ้องเจ้ำหน้ำที่ได้โดยตรง แต่จะฟ้องหน่วยงำน
ของรัฐไม่ได้ "
ข้อ ข. ถูกต้อง ตำมมำตรำ 5 ซึ่งกล่ำวว่ำ
"หน่วยงำนของรัฐ ต้องรับผิดต่อผู้เสียหำยในผลแห่งละเมิด ที่เจ้ำหน้ำที่ของตนได้กระทำในกำร
ปฏิบัติหน้ำที่ ในกรณีนี้ ผู้เสียหำยอำจฟ้องหน่วยงำนของรัฐดังกล่ำว ได้โดยตรง แต่จะฟ้อง
เจ้ำหน้ำที่ไม่ได้ "
ข้อ ค. ไม่ถูกต้องทั้งหมด เพรำะถ้ำเป็นกรณีที่ เจ้ำหน้ำที่กระทำตำมหน้ำที่ ไม่ได้กระทำ
ด้วยควำมจงใจ หรือ ประมำท เลินเล่อ อย่ำงร้ำยแรง ซึ่งถ้ำเป็นในลักษณะนี้ หน่วยงำนของรัฐจะ
ฟ้องไล่เบี้ยเอำจำกเจ้ำหน้ำที่ไม่ได้
มำตรำ 8 ในกรณีที่หน่วยงำนของรัฐ ต้องรับผิดใช้ค่ำสินไหมทดแทนแก่ผู้เสียหำย เพื่อ
กำรละเมิดของ เจ้ำหน้ำที่ ให้หน่วยงำนของรัฐ มีสิทธิเรียกให้เจ้ำหน้ำที่ ผู้ทำละเมิด ชดใช้ค่ำ
สินไหมทดแทนดังกล่ำว แก่หน่วยงำนของ รัฐได้ ถ้ำเจ้ำหน้ำที่ได้กระทำกำรนั้นไปด้วยควำมจงใจ
หรือประมำทเลินเล่ออย่ำงร้ำยแรง
ข้อ ง. ไม่ถูกต้อง เพรำะ มำตรำ 8 ของพระรำชบัญญัตินี้ กำหนดไม่ให้นำหลักเรื่องลูกหนี้ร่วมมำใช้
บังคับ
มำตรำ 8 ในกรณีที่กำรละเมิด เกิดจำกเจ้ำหน้ำที่หลำยคน มิให้นำหลักเรื่องลูกหนี้ร่วม มำ
ใช้บังคับ และเจ้ำหน้ำที่ แต่ละคน ต้องรับผิดใช้ค่ำสินไหมทดแทน เฉพำะส่วนของตนเท่ำนั้น

12.ตอบ ก. เพรำะเป็นกำรไม่ยุติธรรมแก่เจ้ำหน้ำที่
ดูเหตุผลได้จำก หมำยเหตุ ของ พระรำชบัญญัติ
หมำยเหตุ:- นอกจำกนั้น ยังมีกำรนำหลักเรื่องลูกหนี้ร่วม ในระบบกฎหมำยแพ่ง มำใช้บังคับ ให้
เจ้ำหน้ำที่ ต้องร่วมรับผิดในกำรกระทำ ของเจ้ำหน้ำที่ผู้อื่นด้วย ซึ่งระบบนั้น มุ่งหมำยแต่จะได้เงิน
245

ครบโดย ไม่คำนึงถึงควำมเป็นธรรม ที่จะมีต่อแต่ละคน กรณีเป็นกำรก่อให้เกิด ควำมไม่เป็นธรรม


แก่เจ้ำหน้ำที่

13. ตอบ ก. กำรกระทำที่เกิดจำกกำรปฏิบัติหน้ำที่โดยตรง เจ้ำหน้ำที่ไม่ต้องรับผิดทำงละเมิด


ข้อ ก. ถูกต้อง แต่ต้องไม่ใช่กำรกระทำที่จงใจ หรือประมำทเลินเล่ออย่ำงร้ำยแรง (มำตรำ
5 และ มำตรำ 8)
ข้อ ข. ถูกต้อง ตำมมำตรำ 8
ข้อ ค. ถูกต้อง ถ้ำเจ้ำหน้ำที่ได้กระทำกำรนั้นไปด้วยควำมจงใจ หรือประมำทเลินเล่ออย่ำง
ร้ำยแรง ตำมมำตรำ 8
ข้อ ง. ไม่ถูก เพรำะ มำตรำ 8 ระบุไว้อย่ำงชัดเจนว่ำ "... ในกรณีที่กำรละเมิด เกิดจำก
เจ้ำหน้ำที่หลำยคน มิให้นำหลักเรื่องลูกหนี้ร่วม มำใช้บังคับ และเจ้ำหน้ำที่ แต่ละคน ต้องรับผิดใช้
ค่ำสินไหมทดแทน เฉพำะส่วนของตนเท่ำนั้น ..."

14. ตอบ ก. หน่วยงำนของรัฐจะต้องรับผิดชอบต่อผู้เสียหำยทุกกรณี


ข้อ ก. ไม่ถูกเพรำะ ถ้ำเป็นกำรกระทำที่ เจ้ำหน้ำที่กระทำโดยไม่ใช่กำรปฏิบัติหน้ำที่
รำชกำร หน่วยงำนก็ไม่ต้องรับผิดชอบ ตำมมำตรำ 6
มำตรำ 6 ถ้ำกำรกระทำละเมิดของเจ้ำหน้ำที่ มิใช่กำรกระทำในกำรปฏิบัติหน้ำที่ เจ้ำหน้ำที่ต้อง
รับผิด ในกำรนั้นเป็นกำรเฉพำะตัว ในกรณีนี้ ผู้เสียหำยอำจฟ้องเจ้ำหน้ำที่ได้โดยตรง แต่จะฟ้อง
หน่วยงำนของรัฐไม่ได้

15. ตอบ ก. อำยุควำม 1 ปี


มำตรำ 9 ถ้ำหน่วยงำนของรัฐ หรือเจ้ำหน้ำที่ได้ใช้ค่ำสินไหมทดแทนแก่ผู้เสียหำย สิทธิที่
จะเรียกให้อีกฝ่ำยหนึ่ง ชดใช้ค่ำสินไหมทดแทนแก่ตน ให้มีกำหนดอำยุควำมหนึ่งปี นับแต่วันที่
หน่วยงำนของรัฐ หรือเจ้ำหน้ำที่ ได้ใช้ค่ำสินไหมทดแทนนั้นแก่ผู้เสียหำย

16. ตอบ ค. อำยุควำม 1 ปี


มำตรำ 9 ถ้ำหน่วยงำนของรัฐ หรือเจ้ำหน้ำที่ได้ใช้ค่ำสินไหมทดแทนแก่ผู้เสียหำย สิทธิที่
จะเรียกให้อีกฝ่ำยหนึ่ง ชดใช้ค่ำสินไหมทดแทนแก่ตน ให้มีกำหนดอำยุควำมหนึ่งปี นับแต่วันที่
หน่วยงำนของรัฐ หรือเจ้ำหน้ำที่ ได้ใช้ค่ำสินไหมทดแทนนั้นแก่ผู้เสียหำย

17. ตอบ ค. เก้ำสิบวัน


มำตรำ 11 ในกรณีที่ผู้เสียหำยเห็นว่ำ หน่วยงำนของรัฐ ต้องรับผิดตำมมำตรำ ๕
ผู้เสียหำยจะยื่นคำขอ ต่อหน่วยงำนของรัฐ ให้พิจำรณำชดใช้ค่ำสินไหมทดแทน สำหรับควำม
เสียหำยที่เกิดแก่ตนก็ได้ ในกำรนี้ หน่วยงำนของรัฐ ต้องออกใบรับคำขอให้ไว้ เป็นหลักฐำน และ
246

พิจำรณำคำขอนั้นโดยไม่ชักช้ำ เมื่อหน่วยงำน ของรัฐมีคำสั่งเช่นใดแล้ว หำกผู้เสียหำย ยังไม่พอใจ


ในผลกำรวินิจฉัย ของหน่วยงำนของรัฐ ก็ให้มีสิทธิร้องทุกข์ต่อ คณะกรรมกำรวินิจฉัยร้องทุกข์ ตำม
กฎหมำยว่ำด้วยคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ ได้ ภำยในเก้ำสิบวัน นับแต่วันที่ตนได้รับแจ้งผลกำร
วินิจฉัย

18. ตอบ ก. ฟ้องคดีต่อศำล


มำตรำ 5 กำหนดให้ผู้เสียหำย อำจฟ้องหน่วยงำนของรัฐได้
มำตรำ 11 ผู้เสียหำยมีสิทธิ ยื่นคำร้องขอให้หน่วยงำนชดใช้ค่ำสินไหมทดแทนได้โดยตรง

19. ตอบ ค. หน่วยงำนชดใช้ค่ำเสียหำยให้แก่เอกชน และไล่เบี้ยเอำกับพนักงำนขับรถ โดย


พนักงำนขับรถไม่ต้องจ่ำยเต็มจำนวน
มำตรำ 8 ในกรณีที่หน่วยงำนของรัฐ ต้องรับผิดใช้ค่ำสินไหมทดแทนแก่ผู้เสียหำย เพื่อกำร
ละเมิดของ เจ้ำหน้ำที่ ให้หน่วยงำนของรัฐ มีสิทธิเรียกให้เจ้ำหน้ำที่ ผู้ทำละเมิด ชดใช้ค่ำสินไหม
ทดแทนดังกล่ำว แก่หน่วยงำนของ รัฐได้ ถ้ำเจ้ำหน้ำที่ได้กระทำกำรนั้นไปด้วยควำมจงใจ หรือ
ประมำทเลินเล่ออย่ำงร้ำยแรง
สิทธิเรียกให้ชดใช้ค่ำสินไหมทดแทน ตำมวรรคหนึ่ง จะมีได้เพียงใด ให้คำนึงถึงระดับควำม
ร้ำยแรงแห่งกำร กระทำ และควำมเป็นธรรมในแต่ละกรณี เป็นเกณฑ์ โดยมิต้องให้ใช้เต็มจำนวน
ของควำมเสียหำย ก็ได้
ถ้ำกำรละเมิด เกิดจำกควำมผิด หรือควำมบกพร่องของหน่วยงำนของรัฐ หรือระบบกำร
ดำเนินงำน ส่วนรวม ให้หักส่วนแห่งควำมรับผิดดังกล่ำวออกด้วย
ดังนั้น จึงสรุปว่ำ ในกรณีนี้ หน่วยงำน ก็ต้องรับผิดในระบบของตนที่ไม่ได้ทำรถให้อยู่ในสภำพ
สมบูรณ์ พนักงำนขับรถ จึงไม่ต้องจ่ำยเต็มจำนวน

20. ตอบง. ข้อ 1 และ/หรือ ข้อ 2


ข้อ 8 ตำมระเบียบสำนักนำยกรัฐมนตรีว่ำด้วยหลักเกณฑ์กำรปฏิบัติเกี่ยวกับควำมรับผิดทำง
ละเมิดของเจ้ำหน้ำที่ พ.ศ. 2539
เมื่อเกิดควำมเสียหำยแก่หน่วยงำนของรัฐแห่งใด และหัวหน้ำหน่วยงำนของรัฐแห่งนั้นมี
เหตุอันควรเชื่อว่ำ เกิดจำกกำรกระทำของเจ้ำหน้ำที่ของหน่วยงำนของรัฐแห่งนั้น ให้หัวหน้ำ
หน่วยงำนของรัฐดังกล่ำว แต่งตั้งคณะกรรมกำรสอบข้อเท็จจริง ควำมรับผิดทำงละเมิดขึ้นคณะ
หนึ่ง โดยไม่ชักช้ำ เพื่อพิจำรณำเสนอควำมเห็นเกี่ยวกับผู้ต้องรับผิด และจำนวนค่ำสินไหมทดแทน
ที่ผู้นั้นต้องชดใช้
คณะกรรมกำรตำมวรรคหนึ่ง ให้มีจำนวนไม่เกินห้ำคน โดยแต่งตั้งจำกเจ้ำหน้ำที่ของ
หน่วยงำนของรัฐแห่งนั้น หรือหน่วยงำนของรัฐอื่นตำมที่เห็นสมควร
247

21. ตอบ ค. สำหรับในกรณีที่กำรละเมิดมิได้เกิดขึ้นในกำรปฏิบัติหน้ำที่ ควำมรับผิดอันเนื่องมำ


จำกกำรละเมิดเป็นไปตำมที่บัญญัติอยู่ในประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์
ข้อ ก. ผิด เพรำะในกรณีที่หน่วยงำนของรัฐ มีสิทธิไล่เบี้ยเอำกับเจ้ำหน้ำที่ อำจจะไล่เบี้ยได้
เต็มจำนวน หรือไม่เต็มจำนวน ก็ได้ ตำมมำตรำ 8
"สิทธิเรียกให้ชดใช้ค่ำสินไหมทดแทน ตำมวรรคหนึ่ง จะมีได้เพียงใด ให้คำนึงถึงระดับควำมร้ำยแรง
แห่งกำร กระทำ และควำมเป็นธรรมในแต่ละกรณี เป็นเกณฑ์ โดยมิต้องให้ใช้เต็มจำนวนของควำม
เสียหำย ก็ได้
ถ้ำกำรละเมิด เกิดจำกควำมผิด หรือควำมบกพร่องของหน่วยงำนของรัฐ หรือระบบกำร
ดำเนินงำน ส่วนรวม ให้หักส่วนแห่งควำมรับผิดดังกล่ำวออกด้วย "
ข้อ ข. ผิด เพรำะ เมื่อเกิดควำมเสียหำยขึ้น หน่วยงำนของรัฐจะรับภำระชดใช้ค่ำสินไหม
ทดแทนแก่ผู้ได้รับควำมเสียหำยไปก่อน แต่หน่วยงำนของรัฐอำจจะมีสิทธิไล่เบี้ยเอำกับเจ้ำหน้ำที่
ในภำยหลังได้ ขึ้นอยู่กับว่ำ กำรว่ำละเมิดนั้นได้เกิดขึน้ จำกกำรกระทำโดยจงใจหรือประมำท
เลินเล่ออย่ำงร้ำยแรงของเจ้ำหน้ำที่ผู้นั้นหรือไม่
ข้อ ค. ถูกต้องแล้ว ตำมมำตรำ 6
"มำตรำ 6 ถ้ำกำรกระทำละเมิดของเจ้ำหน้ำที่ มิใช่กำรกระทำในกำรปฏิบัติหน้ำที่
เจ้ำหน้ำที่ต้องรับผิด ในกำรนั้นเป็นกำรเฉพำะตัว ในกรณีนี้ ผู้เสียหำยอำจฟ้องเจ้ำหน้ำที่ได้โดยตรง
แต่จะฟ้องหน่วยงำนของรัฐไม่ได้ "
ข้อ ง. ไม่ถูก เพรำะ มำตรำ 8 ระบุไว้ชัดเจน ว่ำไม่ให้นำหลักเรื่องลูกหนี้ร่วมมำใช้บังคับ
มำตรำ 8 ในกรณีที่กำรละเมิด เกิดจำกเจ้ำหน้ำที่หลำยคน มิให้นำหลักเรื่องลูกหนี้ร่วม
มำใช้บังคับ และเจ้ำหน้ำที่ แต่ละคน ต้องรับผิดใช้ค่ำสินไหมทดแทน เฉพำะส่วนของตนเท่ำนั้น

22. ตอบ ค. มี 4 องค์ประกอบ


กำรกระทำละเมิดในพระรำชบัญญัติควำมรับผิดทำงละเมิดของเจ้ำหน้ำที่ พ.ศ. ๒๕๓๙
เป็นไปตำมมำตรำ ๔๒๐ แห่งประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์ซึ่งบัญญัติว่ำ
"ผู้ใดจงใจหรือประมำทเลินเล่อทำต่อบุคคลอื่น โดยผิดกฎหมำยให้เขำเสียหำยถึงแก่ชีวิตก็ดี แก่
ร่ำงกำยก็ดี อนำมัยก็ดี เสรีภำพก็ดี ทรัพย์สินหรือสิทธิอย่ำงหนึ่งอย่ำงใดก็ดี ท่ำนว่ำผู้นั้น ทำละเมิด
จำต้องใช้ค่ำสินไหมทดแทนเพื่อกำรนั้น"
ซึ่งแยกองค์ประกอบได้ดังนี้
(๑) มีกำรกระทำ หมำยถึง กำรเคลื่อนไหวร่ำงกำยโดยรู้สำนึกในกำร เคลื่อนไหวนั้น และ
อยู่ในบังคับของจิตใจผู้กระทำ และรวมถึงกำรงดเว้นกำรกระทำที่ตนมี หน้ำที่ตำมกฎหมำยที่ต้อง
กระทำ และกำรงดเว้นนั้นเป็นเหตุให้เกิดควำมเสียหำยขึ้น
(๒) โดยจงใจหรือประมำทเลินเล่อ
- โดยจงใจ หมำยถึง รู้สำนึกถึงผลหรือควำมเสียหำยจำกกำรกระทำของตน
248

- โดยประมำทเลินเล่อ หมำยถึง เป็นกำรกระทำโดยปรำศจำกควำม ระมัดระวัง ซึ่งบุคคลในภำวะ


เช่นนั้นจำต้องมี โดยต้องเปรียบเทียบกับบุคคลที่ต้องมีควำม ระมัดระวังตำมพฤติกำรณ์ และตำม
ฐำนะในสังคมเช่นเดียวกับผู้กระทำควำมเสียหำย
(๓) โดยผิดกฎหมำย เป็นกำรกระทำโดยไม่มีอำนำจหรือไม่มีสิทธิหรือ โดยมิชอบด้วย
กฎหมำย (unlawful) และรวมควำมถึงกำรใช้อำนำจที่มีอยู่เกินส่วนหรือใช้ อำนำจตำมกฎหมำย
เพื่อกลั่นแกล้งผู้อื่น
(๔) เกิดควำมเสียหำยแก่บุคคลอื่น
- ควำมเสียหำยนั้นจะเป็นควำมเสียหำยที่เกิดแก่ชีวิต ร่ำงกำย อนำมัย เสรีภำพ ทรัพย์สิน หรือ
สิทธิอย่ำงหนึ่งอย่ำงใดก็ได้ แต่ต้องเป็นควำมเสียหำยที่แน่นอน ไม่ว่ำจะเกิดขึ้นแล้วในปัจจุบันหรือ
จะเกิดขึ้นในอนำคตก็จะต้องเป็นควำมเสียหำยที่จะเกิดขึ้น อย่ำงแน่นอน
- ควำมเสียหำยจะต้องเกิดจำกผลโดยตรงของผู้กระทำด้วย

23. ตอบ ก. ออกใบรับคำขอให้แก่ผู้ยื่นคำขอ


มำตรำ ๑๑ มีหลักกำรสรุปได้ว่ำ กรณีที่ผู้เสียหำยถูกกระทำละเมิดจำก เจ้ำหน้ำที่ในกำร
ปฏิบัติหน้ำที่ นอกจำกสิทธิที่ผู้เสียหำยจะนำคดีฟ้องร้องต่อศำลแล้ว ผู้เสียหำย อำจใช้สิทธิร้อง
ขอให้หน่วยงำนของรัฐชดใช้ค่ำสินไหมทดแทนได้โดยตรง
เมื่อหน่วยงำนของรัฐ ได้รับเรื่องแล้วจะต้องปฏิบัติตำมขั้นตอนและวิธีกำร ตำมตำม
ระเบียบสำนัก นำยกรัฐมนตรีว่ำด้วยหลักเกณฑ์กำรปฏิบัติเกี่ยวกับควำมรับผิดทำงละเมิดของ
เจ้ำหน้ำที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ ดังนี้
(๑) ออกใบรับคำขอให้แก่ผู้ยื่นคำขอ เพื่อเป็นหลักฐำนว่ำผู้เสียหำยได้ยื่น คำขอวันและปีใด
(๒) หน่วยงำนของรัฐจะต้องรีบดำเนินกำรพิจำรณำคำขอของผู้เสียหำย โดยเร็ว ซึ่งขั้นตอน
และวิธีกำรพิจำรณำคำขอของผู้เสียหำยนั้น เป็นไปตำมระเบียบสำนัก นำยกรัฐมนตรีว่ำด้วย
หลักเกณฑ์กำรปฏิบัติเกี่ยวกับควำมรับผิดทำงละเมิดของเจ้ำหน้ำที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ โดยหน่วยงำน
ของรัฐต้องพิจำรณำทุกขั้นตอนให้แล้วเสร็จอย่ำงช้ำภำยใน ๑๘๐ วัน นับแต่รับคำขอจำกผู้เสียหำย
แต่ถ้ำไม่อำจพิจำรณำให้เสร็จตำมเวลำดังกล่ำวหน่วยงำนของรัฐอำจ ขอขยำยเวลำกำรพิจำรณำ
ออกไปอีกได้ แต่รัฐมนตรีจะขยำยให้ได้ไม่เกิน ๑๘๐ วัน
(๓) ออกคำสั่งแจ้งผลกำรพิจำรณำ เมื่อหน่วยงำนของรัฐที่ได้รับคำขอได้ ดำเนินกำร
พิจำรณำคำขอตำมหลักเกณฑ์ของระเบียบสำนักนำยกรัฐมนตรีฯแล้วต้องจัดทำ คำสั่งแจ้งให้
ผู้เสียหำยที่มีคำขอทรำบ ซึ่งคำสั่งแจ้งผลกำรพิจำรณำดังกล่ำวต้องปฏิบัติตำมแบบ กำรจัดทำคำสั่ง
ในทำงปกครอง
(๔) กรณีที่ผู้เสียหำยไม่พอใจในผลกำรพิจำรณำ ผู้เสียหำยสำมำรถนำคดี ขึ้นฟ้องร้องต่อ
ศำล ซึ่งจะเป็นศำลปกครองหรือศำลยุติธรรมย่อมเป็นไปตำมมำตรำ ๑๐๖ แห่งพระรำชบัญญัติ
จัดตั้งศำลปกครองและวิธีพิจำรณำคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒
249

24. ตอบ ง. แม้มำตรำ 14 พ.ร.บ.ควำมรับผิดทำงละเมิดฯ บัญญัติให้ฟ้องคดีตอ่ ศำลปกครอง แต่


เนื่องจำกกำรขับรถเก็บขยะมูลฝอย เป็นกำรละเมิดจำกกำรปฏิบัติหน้ำที่ธรรมดำทั่วไป กำรละเมิด
ไม่ได้เกิดจำกกำรใช้อำนำจตำมกฎหมำยที่จะอยู่ในอำนำจของศำลปกครอง ตำมมำตรำ 9 วรรค
หนึ่ง (3) ประกอบกับมำตรำ 106 พ.ร.บ.จัดตั้งศำลปกครองและวิธีพิจำรณำคดีปกครอง พ.ศ.
2542 คดีดังกล่ำวจึงอยู่ในอำนำจของศำลยุติธรรม (เทียบเคียงคำสั่งศำลปกครองสูงสุดที่
278/2549)

25. ตอบ ข. มำตรำ 4 "หน่วยงำนของรัฐ" ...ให้หมำยควำมรวมถึง หน่วยงำนอื่นของรัฐที่มีพระ


รำชกฤษฎีกำกำหนดให้เป็นหน่วยงำนของรัฐตำมพระรำชบัญญัตินี้ด้วย

26. ตอบ ค. ผู้เสียหำยมีสิทธิฟ้องคดีต่อศำลปกครองหรือศำลยุติธรรม แล้วแต่กรณี

27. ตอบ ค. มำตรำ 7 วรรคสอง ถ้ำศำลพิพำกษำยกฟ้อง เพรำะเหตุที่หน่วยงำนของรัฐหรือ


เจ้ำหน้ำที่ที่ถูกฟ้องมิใช่ผู้ต้องรับผิด ให้ขยำยอำยุควำมฟ้องร้องผู้ที่ต้องรับผิดซึ่งมิได้ถูกเรียกเข้ำมำ
ในคดีออกไปถึง 6 เดือน นับแต่วันที่คำพิพำกษำนั้นถึงที่สุด

28. ตอบ ข. 15 พฤศจิกำยน 2539 พระรำชบัญญัติดังกล่ำว ประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำเมื่อ


วันที่ 14 พฤศจิกำยน 2539 ซึ่งมำตรำ 2 บัญญัติให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจำกวันประกำศฯ เป็น
ต้นไป

29. ตอบ ข. 15 พฤศจิกำยน 2539 ระเบียบสำนักนำยกรัฐมนตรีดังกล่ำว ประกำศในรำชกิจจำ


นุเบกษำเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกำยน 2539
ข้อ 7 ตอบ ง. ระเบียบสำนักนำยกรัฐมนตรีดังกล่ำว ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 16 พฤศจิกำยน 2539
เป็นต้นไป

30 ตอบ ก. มำตรำ 5 วรรคหนึ่ง ต้องฟ้องหน่วยงำนของรัฐ จะฟ้องเจ้ำหน้ำที่ไม่ได้

31. 9 ตอบ ก. มำตรำ 9 สิทธิไล่เบี้ยมีกำหนด 1 ปี นับแต่วันที่ได้ใช้ค่ำสินไหมทดแทนแก่


ผู้เสียหำย

32. ตอบ ข. ข้อ 34 วรรคสอง แห่งระเบียบสำนักนำยกรัฐมนตรีว่ำด้วยหลักเกณฑ์กำรปฏิบัติ


เกี่ยวกับควำมรับผิดทำงละเมิดของเจ้ำหน้ำที่ พ.ศ. 2539 ให้คิดดอกเบี้ยตำมอัตรำดอกเบี้ยผิดนัด
นับแต่วันทำละเมิดจนถึงวันที่ชำระค่ำสินไหมทดแทน
250

33. ตอบ ก. 7 วัน ตำมข้อ 17 วรรคสอง แห่งระเบียบสำนักนำยกรัฐมนตรีว่ำด้วยหลักเกณฑ์กำร


ปฏิบัติเกี่ยวกับควำมรับผิดทำงละเมิดของเจ้ำหน้ำที่ พ.ศ. 2539

34. ตอบ ง. 180 วัน ตำมมำตรำ 11 วรรคสอง "ให้หน่วยงำนของรัฐพิจำรณำคำขอที่ได้รับ.. ให้


แล้วเสร็จภำยใน 180 วัน หำกเรื่องใดที่ไม่อำจพิจำรณำได้ทันในกำหนดนั้น จะต้องรำยงำนปัญหำ
และอุปสรรคให้รัฐมนตรีเจ้ำสังกัดหรือกำกับหรือควบคุมดูแลหน่วยงำนของรัฐแห่งนั้นทรำบ และ
ขออนุมัติขยำยระยะเวลำออกไปได้ แต่รัฐมนตรีดังกล่ำวจะพิจำรณำอนุมัติให้ขยำยระยะเวลำให้อีก
ได้ไม่เกิน 180 วัน

35. ตอบ ค. รัฐมนตรี ตำมมำตรำ 11 วรรคสอง ดังกล่ำว

36. ตอบ ค. 180 วัน ตำมมำตรำ 11 วรรคสอง ดังกล่ำว

37. ตอบ ค. 1,000,000 บำท ตำมข้อ 5.1 ของประกำศกระทรวงกำรคลัง เรื่อง ควำมรับผิด


ทำงละเมิดของเจ้ำหน้ำที่ที่ไม่ต้องรำยงำนให้กระทรวงกำรคลังตรวจสอบ พ.ศ. 2562
251

แนวข้อสอบ พระรำชบัญญัติข้อมูลข่ำวสำรของทำงรำชกำร พ.ศ. 2540


1. พระรำชบัญญัติข้อมูลข่ำวสำรของทำงรำชกำร มีผลบังคับเมื่อใด ข้อใดกล่ำวไม่ถูกต้อง
ก. วันถัดจำกวันประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำ
ข. วันที่ 11 กันยำยน 2540
ค. เมื่อพ้นกำหนดเก้ำสิบวันนับแต่วันประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำ
ง. ข้อ ก. และข้อ ข.
2. ข้อใดเป็นเหตุผลในกำรประกำศใช้พระรำชบัญญัติข้อมูลข่ำวสำรของทำงรำชกำร ข้อใดกล่ำวไม่
ถูกต้อง
ก. ให้ประชำชนมีโอกำสรับรู้ข้อมูลข่ำวสำรเกี่ยวกับกำรดำเนินกำรต่ำงๆของรัฐ
ข. รับรองสิทธิของประชำชนในกำรเข้ำถึงข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำร
ค. ข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำรทั้งหมด หรือส่วนใหญ่สำมำรถเปิดเผยได้ ภำยใต้หลักกำร
ที่ว่ำ “เปิดเผยเป็น หลัก ปกปิดเป็นข้อยกเว้น”
ง. ประชำชนต้องเข้ำถึงข้อมูลข่ำวสำรของทำงรำชกำรได้ทุกกรณีไม่มีข้อยกเว้น
3. ข้อใด เป็นข้อมูลข่ำวสำร
ก. แฟ้มข้อมูลรำยงำนของนำยประสพดี
ข. ภำพถ่ำย ฟิล์มของนำยบัญชำ
ค. กำรบันทึกภำพเสียงโดยเครื่องคอมพิวเตอร์ของนำยอำทิตย์
ง. ถูกทุกข้อ
4. ข้อใด เป็นควำมหมำยของข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำร ข้อใดกล่ำวไม่ถูกต้อง
ก. ข้อมูลข่ำวสำรที่อยู่ในควำมครอบครองของอำเภอ
ข. ข้อมูลข่ำวสำรที่อยู่ในกำรควบคุมดูแลของจังหวัด
ค. ข้อมูลข่ำวสำรในกำรครอบครองและควบคุมไม่ว่ำเป็นข้อมูลเกี่ยวกับข่ำวสำรเกี่ยวกับ
เอกชน
ง. ไม่มีข้อใดกล่ำวไม่ถูกต้อง
5. หน่วยงำนของรัฐ ข้อใดกล่ำวไม่ถูกต้อง
ก. จังหวัด อำเภอ
ข. อบจ. เมืองพัทยำ เทศบำล อบต.
ค. รำชกำรส่วนกลำง รำชกำรส่วนภูมิภำค รำชกำรส่วนท้องถิ่น รัฐวิสำหกิจ ส่วนรำชกำร
สังกัดรัฐสภำ
ง. ศำลเฉพำะในส่วนที่เกี่ยวกับกำรพิจำรณำพิพำกษำคดี
6. ข้อมูลข่ำวสำรส่วนบุคคล หมำยควำมว่ำ ข้อใดกล่ำวไม่ถูกต้อง
ก. ประวัติกำรมีภรรยำน้อยของนำยอำทิตย์
ข. ประวัติกำรทำงำนของนำยสุดที่รัก
ค. ประวัติกำรตำยของนำยทองดี
252

ง. หมำยเลขบัตรประจำตัวประชำชนของนำยจุงเบย
7. ควำมหมำยของคนต่ำงด้ำว ข้อใดกล่ำวไม่ถูกต้อง
ก. ถ้ำผู้จัดกำรหรือกรรมกำร สมำชิกของบริษัทหรือห้ำงหุ้นส่วนเกินกึ่งหนึ่งเป็นของคนต่ำง
ด้ำว ไม่ให้ถือว่ำ เป็นคนต่ำงด้ำว
ข. สมำคมลำมำมีสมำชิกเกินกึ่งหนึ่งเป็นคนต่ำงด้ำว
ค. มูลนิธิใส่ใจมีวัตถุประสงค์เพื่อประโยชน์ของคนต่ำงด้ำว
ง. นำยลองจีทไี่ ม่มีสัญชำติไทยและไม่มีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย
8. ตำแหน่งเป็นผู้รักษำกำรตำมพระรำชบัญญัตินี้ และมีอำนำจออกฎกระทรวงเพื่อปฎิบัติตำม
พระรำชบัญญัติ นี้
ก. นำยจุงเบยเป็นนำยกรัฐมนตรี
ข. นำงโอเคเป็นรัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทย
ค. นำยสุดยอดเป็นรองนำยกรัฐมนตรีที่ได้รับมอบหมำย
ง. นำยโปรโมชั่นเป็นรัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงยุติธรรม
9. กฎกระทรวงเพื่อปฎิบัติตำมพระรำชบัญญัติข้อมูลข่ำวสำรของทำงรำชกำร พ.ศ. 2540มีผล
บังคับเมื่อใด
ก. วันถัดจำกวันประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำ
ข. เมื่อประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำแล้วให้ใช้บังคับได้
ค. ผ่ำนควำมเห็นชอบจำกคณะรัฐมนตรี
ง. มีผลบังคับใช้ทันที
10. สำนักงำนคณะกรรมกำรข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำรจัดตั้งอยู่ในหน่วยงำนใด
ก. สำนักนำยกรัฐมนตรี
ข. สำนักปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรี
ค. สำนักงำนปลัดกระทรวงมหำดไทย
ง. สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ
11. สำนักงำนคณะกรรมกำรข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำร มีหน้ำที่ปฎิบัติงำนดังนี้ ข้อใดกล่ำว
ถูกต้อง
ก. เกี่ยวกับงำนวิชำกำรและธุรกำรให้แก่คณะกรรมกำรและคณะกรรมกำรวินิจฉัยกำร
เปิดเผยข้อมูลข่ำวสำร
ข. สอดส่องดูแลและให้คำแนะนำเกี่ยวกับกำรดำเนินงำนของเจ้ำหน้ำที่ของรัฐและ
หน่วยงำนของรัฐ
ค. ประสำนงำนกับหน่วยงำนของรัฐ
ง. ให้คำปรึกษำแก่เอกชนเกี่ยวกับกำรปฏิบัติตำมพระรำชบัญญัตินี้
253

12. พระรำชบัญญัติข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำร พ.ศ. 2540 กำหนดหลักกำรสำคัญเกี่ยวกับข้อมูล


ข่ำวสำรของ ทำงรำชกำรที่อยู่ในควำมครอบครองของหน่วยงำนของรัฐไว้อย่ำงไร
ก. ปกปิดเป็นหลัก เปิดเผยเป็นข้อยกเว้น
ข. เปิดเผยเป็นหลัก ปกปิดเป็นข้อยกเว้น
ค. เปิดเผยบ้ำง ปกปิดบ้ำงตำมควำมเหมำะสม
ง. เปิดเผยบ้ำง ขึ้นอยู่กับหัวหน้ำหน่วยงำน
13. ข้อมูลข่ำวสำรประเภทใดบ้ำง ที่หน่วยงำนของรัฐต้องนำไปลงพิมพ์ในรำชกิจจำนุเบกษำ ข้อใด
กล่ำวไม่ ถูกต้อง
ก. โครงสร้ำงและกำรจัดองค์กรในกำรดำเนินงำน
ข. แผนงำน โครงกำร และงบประมำณรำยจ่ำยประจำปีของปีที่กำลังดำเนินกำร
ค. สรุปอำนำจหน้ำที่ที่สำคัญและวิธีกำรดำเนินงำน
ง. กฎ มติคณะรัฐมนตรี ข้อบังคับ คำสั่ง หนังสือเวียน ระเบียบ แบบแผน นโยบำย หรือ
กำรตีควำม ทั้งนี้ เฉพำะที่จัดให้มีขึ้นโดยมีสภำพอย่ำงกฎ เพื่อให้มีผลเป็นกำรทั่วไปต่อเอกชนที่
เกี่ยวข้อง
14. ตำมพระรำชบัญญัติข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำร พ.ศ. 2540 กำหนดให้ข้อมูลข่ำวสำรที่ต้อง
เปิดเผยเป็น กำรทั่วไป โดยพิมพ์ในรำชกิจจำนุเบกษำ คือข้อมูลประเภทใด
ก. คู่มือหรือคำสั่งเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติงำนของเจ้ำหน้ำที่ของรัฐ ซึ่งมีผลกระทบถึงสิทธิหน้ำที่
ของเอกชน
ข. กฎ มติคณะรัฐมนตรี ข้อบังคับ คำสั่ง หนังสือเวียน ระเบียบที่มีสภำพอย่ำงกฎ
ค. สัญญำสัมปทำน
ง. ผลกำรพิจำรณำ หรือคำวินิจฉัยที่มีผลโดยตรงต่อเอกชน
15. ข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำรในข้อใดที่ประชำชนสำมำรถเข้ำตรวจดูได้
ก. นโยบำย และแผนงำนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ข. โครงกำร และงบประมำณรำยจ่ำยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ค. สัญญำร่วมทุนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับเอกชนในกำรจัดบริกำรสำธำรณะ
ง. ถูกทุกข้อ
16. ข้อใดไม่ใช่ข้อมูลข่ำวสำรส่วนบุคคล
ก. ประวัติอำชญำกรรมของนำยเอ
ข. ประวัติสุขภำพของนำยบี
ค. ฐำนะทำงกำรเงินของนำยซี
ง. ข้อมูลเกี่ยวกับรัฐบำลปัจจุบัน
17. ข้อใดไม่ใช่ข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำร
ก. ประวัติกำรสมรสของนำยมี
ข. ประวัติสถิติสำมะโนครัวของประชำกร
254

ค. ข้อมูลทะเบียนรำษฎรของอำเภอ
ง. ประวัติพนักงำนบริษัท
18. บุคคลย่อมมีสิทธิเข้ำตรวจดู ขอสำเนำหรือขอสำเนำที่มีคำรับรองถูกต้องของข้อมูลข่ำวสำร
ข้อใดกล่ำว ไม่ถูกต้อง
ก. บุคคลไม่ว่ำจะมีส่วนได้เสียเกี่ยวข้องหรือไม่ก็ตำม
ข. คนต่ำงด้ำวจะมีสิทธินั้น ให้เป็นตำมที่กำหนดในกฎกระทรวง
ค. ในกำรนี้ให้คำนึงถึงกำรช่วยเหลือผู้มีรำยได้น้อยประกอบด้วย
ง. ต้องเป็นบุคคลมีส่วนได้เสียและเกี่ยวข้องเท่ำนั้น
19. ข้อใดกล่ำวถูกต้องเกี่ยวกับข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำร
ก. ข่ำว ควำมรู้ต่ำงๆที่คนอ่ำนได้
ข. ข้อมูลข่ำวสำรเกี่ยวกับสิ่งเฉพำะบุคคล เช่น กำรศึกษำ ประวัติสุขภำพ
ค. ภำพวำด แผนที่ ภำพถ่ำยต่ำงๆ ซึ่งบอกควำมหมำย
ง. ข้อมูลข่ำวสำรที่อยู่ในควำมรับผิดชอบหรือกำรครอบครองของรำชกำร
20. หน่วยงำนไม่ใช่หน่วยงำนของรัฐที่อยู่ในบังคับของพระรำชบัญญัติข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำร
ก. รัฐวิสำหกิจ เช่น กำรไฟฟ้ำ
ข. ส่วนรำชกำรสังกัดรัฐสภำ
ค. หน่วยงำนอิสระของรัฐ เช่น สำนักงำนตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.)
ง. ศำลที่เกี่ยวกับกำรพิจำรณำพิพำกษำคดี
21. คนต่ำงด้ำว จะมีสิทธิเข้ำตรวจดู ขอสำเนำหรือขอสำเนำที่มีคำรับรองถูกต้องของข้อมูล
ข่ำวสำรให้เป็น ตำมกฎหมำยใด
ก. กฎกระทรวงออกโดยนำยกรัฐมนตรี
ข. กฎกระทรวงออกโดยคณะกรรมกำรข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำร
ค. กฎกระทรวงออกโดยรัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทย
ง. ระเบียบกระทรวงมหำดไทย
22. ถ้ำมีบุคคลใด ขอข้อมูลข่ำวสำรอื่นใดของรำชกำรและคำขอของผู้นั้นระบุขอ้ มูลข่ำวสำรที่
ต้องกำรใน ลักษณะที่อำจเข้ำใจได้ตำมสมควร ข้อใดกล่ำวไม่ถูกต้อง
ก. ให้บุคคลนั้นร้องขอต่อคณะกรรมกำรวินิจฉัยกำรเปิดเผยข้อมูลข่ำวสำรก่อน
ข. ให้หน่วยงำนของรัฐผู้รับผิดชอบจัดหำข้อมูลข่ำวสำรนั้น
ค. จัดหำข้อมูลข่ำวสำรนั้นให้แก่ผู้ขอภำยในเวลำอันสมควร
ง. จัดหำข้อมูลข่ำวสำรนั้นภำยในเวลำอันสมควรเว้นแต่ผู้นั้นขอจำนวนมำกหรือบ่อยครั้ง
โดยไม่มีเหตุผลอัน สมควร
23. ข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำรใด มีสภำพที่อำจบุบสลำยง่ำย ข้อใดกล่ำวไม่ถูกต้อง
ก. หน่วยงำนของรัฐอำจขอขยำยเวลำในกำรจัดหำให้ในสภำพอย่ำงหนึ่งอย่ำงใดเพื่อให้เกิด
ควำมเสียหำยแก่ข้อมูล ข่ำวสำรนั้นก็ได้
255

ข. หน่วยงำนของรัฐจะจัดทำสำเนำให้ในสภำพอย่ำงหนึ่งอย่ำงใดเพื่อมิให้เกิดควำมเสียหำย
แก่ข้อมูลข่ำวสำรนั้นก็ได้
ค. เป็นกำรแปรสภำพเป็นเอกสำรจำกข้อมูลข่ำวสำรที่บันทึกไว้ในระบบบันทึกภำพหรือ
เสียง ระบบ คอมพิวเตอร์ หรือระบบอื่นใด
ง. หำกเป็นกำรจัดทำ วิเครำะห์ จำแนก รวบรวม หรือจัดให้มีขึ้นใหม่ ห้ำมไม่ให้หน่วยงำน
ของรัฐจัดหำให้
24. หน่วยงำนของรัฐจะจัดหำข้อมูลข่ำวสำรข้อมูลข่ำวนั้นให้ก็ได้ หำกเห็นว่ำผู้ขอนั้น
ก. มิใช่แสวงหำผลประโยชน์ทำงกำรค้ำ
ข. เป็นเรื่องจำเป็น เพื่อปกป้องสิทธิเสรีภำพสำหรับผู้นั้น
ค. เป็นเรื่องที่จะเป็นประโยชน์แก่สำธำรณะ
ง. ถูกทุกข้อ
25. แม้ว่ำข้อมูลข่ำวสำรที่ขอจะอยู่ในควำมควบคุมดูแลของหน่วยงำนหรืออยู่ในครอบครองของ
หน่วยงำนของ รัฐอื่นก็ตำม ข้อใดกล่ำวไม่ถูกต้อง
ก. ให้หน่วยงำนของรัฐที่รับคำขอให้คำแนะนำกับผู้ยื่นคำขอข้อมูลข่ำวสำร
ข. ให้คำแนะนำเพื่อไปยื่นขอต่อหน่วยงำนของรัฐที่ควบคุมดูแลข้อมูลข่ำวสำรนั้นโดยไม่
ชักช้ำ
ค. ถ้ำหน่วยงำนผู้รับคำขอเห็นว่ำข้อมูลข่ำวสำรจัดทำโดยหน่วยงำนของรัฐแห่งอื่น และได้
ระบุห้ำมกำร เปิดเผยไว้ ให้ส่งคำขอนั้นให้หน่วยงำนของรัฐผู้จัดทำข้อมูลข่ำวสำรนั้นพิจำรณำเพื่อมี
คำสั่งต่อไป
ง. หน่วยงำนผู้รับคำขอต้องปฎิเสธทันทีกรณีไม่อยู่ในควำมควบคุมของหน่วยงำนตน
26. ผู้ใดเห็นว่ำหน่วยงำนรัฐไม่จัดพิมพ์ข้อมูลข่ำวสำร หรือปฎิบัติหน้ำที่ล่ำช้ำ หรือเห็นว่ำตนไม่ได้
รับควำม สะดวกโดยไม่เหตุอันสมควร ผู้นั้นมีสิทธิร้องเรียนต่อใคร
ก. นำยกรัฐมนตรี
ข. หัวหน้ำหน่วยงำนนั้น
ค. คณะกรรมกำรวินิจฉัยกำรเปิดเผยข้อมูลข่ำวสร
ง. คณะกรรมกำรข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำร
27. ในกรณีที่มีกำรร้องเรียนต่อคณะกรรมกำร คณะกรรมกำรต้องพิจำรณำให้แล้วเสร็จภำยในกี่
วัน
ก. 15 วัน ข. 30 วัน ค. 45 วัน ง. 60 วัน
28. ในคณะกรรมกำรพิจำรณำไม่เสร็จ กรณีจำเป็นที่มีเหตุจำเป็นให้ขยำยเวลำออกไปได้ แต่ต้อง
แสดงเหตุแ รวมเวลำทั้งหมดแล้วต้องไม่เกินกี่วัน
ก. 15 วัน ข. 30 วัน ค. 45 วัน ง. 60 วัน
256

29. ข้อมูลข่ำวสำรรำชกำรใด ที่หน่วยงำนของรัฐหรือเจ้ำหน้ำที่ของรัฐอำจมีคำสั่งมิให้เปิดเผยก็ได้


ข้อใดกล่ำว ไม่ถูกต้อง
ก. กำรเปิดเผยจะก่อให้เกิดควำมเสียหำยต่อควำมมั่นคงของประเทศ ควำมสัมพันธ์ระหว่ำง
ประเทศ หรือ ควำมมั่นคงในทำงเศรษฐกิจหรือกำรคลังของประเทศ
ข. กำรเปิดเผยจะก่อให้เกิดกำรบังคับใช้กฎหมำยเสื่อมประสิทธิภำพ หรือไม่อำจสำเร็จตำม
วัตถุประสงค์ได้ ไม่ว่ำจะเกี่ยวกับกำรฟ้องคดี กำรป้องกัน กำรปรำบปรำม กำรทดสอบ กำร
ตรวจสอบ หรือกำรรู้แหล่งที่มำ ของข้อมูลข่ำวสำรหรือไม่ก็ตำม
ค. รำยงำนกำรแพทย์หรือข้อมูลข่ำวสำรส่วนบุคคลซึ่งกำรเปิดเผยจะเป็นกำรรุกีำสิ ล้ ทธิ
ส่วนบุคคลโดยไม่ สมควร
ง. ข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำรที่ก่อให้เกิดควำมเสียหำยต่อสถำบันพระมหำกษัตริย์
30. ในกรณีที่เจ้ำหน้ำที่ของรัฐมีคำสั่งมิให้เปิดเผยข้อมูลข่ำวสำรใด ผู้ยื่นคำขออำจอุทธรณ์ต่อใคร
ก. คณะกรรรมกำรวินิจฉัยกำรเปิดเผยข้อมูลข่ำวสำร
ข. คณะกรรมกำรข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำร
ค. หัวหน้ำหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง
ง. นำยกรัฐมนตรี
31. ในกรณีที่เจ้ำหน้ำที่ของรัฐมีคำสั่งมิให้เปิดเผยข้อมูลข่ำวสำรใด ผู้ยื่นคำขออำจอุทธรณ์ภำยในกี่
วัน
ก. 15 วัน ข. 30 วัน ค. 45 วัน ง. 60 วัน
32. ในกรณีที่เจ้ำหน้ำที่ของรัฐเห็นว่ำ กำรเปิดเผยข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำรใด อำจกระทบถึง
ประโยชน์ได้เสีย ของผู้ใด ให้เจ้ำหน้ำที่ของรัฐแจ้งให้ผู้นั้นเสนอคำคัดค้ำนภำยในเวลำที่กำหนด ซึ่ง
ต้องไม่น้อยกว่ำกี่วันนับแต่ วันที่ได้รับแจ้ง
ก. 15 วัน ข. 30 วัน ค. 45 วัน ง. 60 วัน
33.ในกรณีที่เจ้ำหน้ำที่ของรัฐมีคำสั่งมิให้เปิดเผยข้อมูลข่ำวสำรใด หรือมีคำสั่งไม่รับฟังคำคัดค้ำน
ของผู้มี ประโยชน์ได้เสีย ผู้นั้นอำจอุทธรณ์นับแต่วันวันที่รับแจ้งคำสั่งนั้น โดยยื่นคำอุทธรณ์ต่อใคร
ก. คณะกรรรมกำรวินิจฉัยกำรเปิดเผยข้อมูลข่ำวสำร
ข. คณะกรรรมกำรข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำร
ค. หัวหน้ำหน่วยงำนกำกับดูแลข้อมูล
ง. นำยกรัฐมนตรี
34.กำรพิจำรณำเกี่ยวกับข้อมูลข่ำวสำรที่มีคำสั่งมิให้เปิดเผยนั้นไม่ว่ำจะเป็นกำรพิจำรณำของ
คณะกรรมกำร คณะกรรมกำรวินิจฉัยกำรเปิดเผยข้อมูลข่ำวสำรหรือศำลก็ตำม ข้อใดกล่ำวไม่
ถูกต้อง
ก. ต้องดำเนินกำรพิจำรณำโดยมิให้ข้อมูลข่ำวสำรนั้นเปิดเผยบุคคลอื่น
ข. มิให้ข้อมูลข่ำวสำรนั้นเปิดเผยบุคคลอื่นที่จำเป็นแก่กำรพิจำณำ
ค. ในกรณีจำเป็นจะพิจำรณำลับหลังคู่กรณีหรือคู่ควำมฝ่ำยใดก็ได้
257

ง. ต้องพิจำรณำอย่ำงเปิดเผยโดยให้คู่ควำมทั้งสองฝ่ำยรับทรำบด้วย
35. กำรเปิดเผยข้อมูลข่ำวสำรใดแม้จะเข้ำข่ำยต้องมีควำมรับผิดชอบตำมกฎหมำยใด ให้ถือว่ำ
เจ้ำหน้ำที่ของ รัฐไม่ต้องรับผิดหำกเป็นกำรกระทำโดยสุจริต ข้อใดกล่ำวไม่ถูกต้อง
ก. เจ้ำหน้ำที่ของรัฐได้ดำเนินกำรโดยถูกต้องตำมระเบียบ
ข. เจ้ำหน้ำที่ของรัฐในระดับตำมกำหนดในกฎกระทรวงมีคำสั่งเปิดเผยเป็นกำรทั่วไป
ค. เฉพำะแก่บุคคลใดเพื่อประโยชน์อันสำคัญยิ่งกว่ำที่เกี่ยวกับประโยชน์สำธำรณะ หรือ
ชีวติ ร่ำงกำย สุขภำพ หรือประโยชน์อื่นของบุคคล
ง. กำรเปิดเผยข้อมูลข่ำวสำรตำมข้ำงต้น ให้หน่วยงำนของรัฐพ้นจำกควำมรับผิดตำม
กฎหมำยหำกจะมีใน กรณีดังกล่ำว
36. เพื่อประโยชน์แห่งหมวดนี้ “บุคคล” หมำยควำมว่ำพระรำชบัญญัติข้อมูลข่ำวสำรของทำง
รำชกำร พ.ศ. 2540 ตำมข้อใดกล่ำวไม่ถูกต้อง
ก. บุคคลธรรมดำที่มีสัญชำติไทย
ข. บุคคลธรรมดำที่ไม่มีสัญชำติไทยแต่มีถิ่นอยู่ในประเทศไทย
ค. บุคคลธรรมดำที่ได้เสียภำษีตำมกฎหมำย
ง. ไม่มีข้อกล่ำวไม่ถูกต้อง
37.หน่วยงำนของรัฐต้องปฏิบัติเกี่ยวกับกำรจัดระบบข้อมูลข่ำวสำรส่วนบุคคลดังต่อไปนี้ ข้อใด
กล่ำวไม่ถูกต้อง
ก. ต้องจัดให้มีระบบข้อมูลข่ำวสำรส่วนบุคคลเพียงเท่ำที่เกี่ยวข้องและจำเป็นเพื่อกำร
ดำเนินงำนของ หน่วยงำนของรัฐให้สำเร็จตำมวัตถุประสงค์เท่ำนั้น
ข. หน่วยงำนของรัฐต้องแจ้งเจ้ำของข้อมูลทรำบล่วงหน้ำ ลักษณะกำรใช้ข้อมูลตำมปกติ
และกรณีที่ขอข้อมูล นั้นเป็นกรณีที่อำจใช้ข้อมูลได้โดยสมัครใจเท่ำนั้น กฎหมำยบังคับมิได้
ค. พยำยำมเก็บข้อมูลข่ำวสำรโดยตรงจำกเจ้ำของข้อมูล โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งในกรณีที่จะ
กระทบถึงประโยชน์ ได้เสียโดยตรงของบุคคลนั้น
ง. ตรวจสอบแก้ไขข้อมูลข่ำวสำรส่วนบุคคลในควำมรับผิดชอบให้ถูกต้องอยู่เสมอ
38. หน่วยงำนของรัฐจะเปิดเผยข้อมูลข่ำวสำรส่วนบุคคลที่อยู่ในควำมควบคุมดูแลของตนต่อ
หน่วยงำนของรัฐ แห่งอื่นหรือผู้อื่น โดยปรำศจำกควำมยินยอมเป็นหนังสือของเจ้ำของข้อมูลที่ให้
ไว้ล่วงหน้ำหรือขณะนั้นมิได้ เว้นแต่เป็นกำรเปิดเผยดังนี้ ข้อใดกล่ำวไม่ถูกต้อง
ก. เปิดเผยต่อเจ้ำหน้ำที่ของรัฐเพื่อกำรป้องกันกำรฝ่ำฝืนหรือไม่ปฏิบัติตำมกฎหมำย กำร
สืบสวน กำร สอบสวน หรือกำรฟ้องคดี ไม่ว่ำเป็นคดีประเภทใดก็ตำม
ข. บริษัทสำยสืบในกำรสืบหำข้อมูลส่วนบุคคลที่เกี่ยวข้อง
ค. เป็นกำรให้ซึ่งจำเป็นเพื่อกำรป้องกันหรือระงับอันตรำยต่อชีวิตหรือสุขภำพของบุคคล
ง. ต่อหน่วยงำนของรัฐที่ทำงำนด้ำนกำรวำงแผนหรือกำรสถิติหรือสำมะโนต่ำงๆ
258

39.ข้อมูลใด ที่หน่วยงำนรัฐอำจมีคำสั่งมิให้เปิดเผยก็ได้
ก. กำรบังคับใช้กฎหมำยเสื่อประสิทธิภำพได้ถ้ำเปิดเผย
ข. รำยงำนกำรแพทย์หรือข้อมูลข่ำวสำรส่วนบุคคลซึ่งอำจก่อให้เกิดกำรรุกีำสิ ล้ ทธิส่วน
บุคคล
ค. สิ่งพิมพ์ที่ต้องพิมพ์อ้ำงอิงในรำชกิจจำนุเบกษำ
ง. ถูกเฉพำะข้อ ก. และข้อ ข.
40.ข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำรที่อำจก่อให้เกิดควำมเสียหำยต่อสถำบันพระมหำกษัตริย์จะเปิดเผย
ได้ เพื่อ คัดเลือกไว้ให้ประชำชนได้ศึกษำค้นคว้ำ เมื่อครบกี่ปี
ก. 20 ปี ข. 30 ปี ค. 70 ปี ง. 75 ปี
41.กำรเปิดเผยจะก่อให้เกิดควำมเสียหำต่อควำมมั่นคงของประเทศ ควำมสัมพันธ์ระหว่ำง
ประเทศ หรือควำม มั่นคงในทำงเศรษฐกิจหรือกำรคลังประเทศ เพื่อคัดเลือกไว้ให้ประชำชนได้
ศึกษำค้นคว้ำ เมือ่ ครบกี่ปี
ก. 20 ปี ข. 30 ปี ค. 70 ปี ง. 75 ปี
42. ข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำรที่หน่วยงำนของรัฐ ไม่ประสงค์จะเก็บรักษำหรือมีอำยุครบกำหนด
นับแต่วันที่ เสร็จสิ้นกำรจัดให้มีข้อมูลข่ำวสำรนั้น ให้หน่วยงำนของรัฐส่งมอบให้หน่วยงำนใด หรือ
หน่วยงำนอื่นของรัฐ ตำมกำหนดในพระรำชกฤษฎีกำ เพื่อคัดเลือกไว้ให้ประชำชนได้ศึกษำค้นคว้ำ
ก. สำนักหอสมุดแห่งชำติ กรมศิลปำกร
ข. สำนักหอจดหมำยเหตุแห่งชำติ กรมศิลปำกร
ค. สำนักวรรณกรรมและประวัติศำสตร์ กรมศิลปำกร
ง. สำนักพิพิธภัณฑสถำนแห่งชำติ กรมศิลปำกร
43. ถ้ำหน่วยงำนของรัฐไม่เปิดเผยข้อมูลข่ำวสำร ประชำชนผู้ได้รับผลกระทบต่อกำรกระทำ
ดังกล่ำวมีสิทธิ ดำเนินกำรอย่ำงไร
ก. ร้องเรียนต่อคณะกรรมกำรข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำร และอุทธรณ์ต่อคณะกรรมกำร
ข้อมูลข่ำวสำรของ รำชกำร
ข. ร้องเรียนต่อคณะกรรมกำรข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำร และอุทธรณ์ต่อคณะกรรมกำร
วินิจฉัยกำรเปิดเผย ข้อมูลข่ำวสำร
ค. ร้องเรียนต่อหน่วยงำน และฟ้องต่อศำลปกครอง
ง. ร้องเรียนต่อคณะกรรมกำรข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำร และอุทธรณ์ต่อนำยกรัฐมนตรี
44. ข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. ข้อมูลข่ำวสำร หมำยควำมรวมถึง สิ่งที่สื่อควำมหมำยให้รู้เรื่องรำว ข้อมูล ด้วยกำร
บันทึกโดยเครื่อง คอมพิวเตอร์
ข. ข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำร หมำยควำมรวมถึง ข้อมูลข่ำวสำรเกี่ยวกับเอกชนที่อยู่ใน
ควำมครอบครองของ รัฐ
259

ค. ข้อมูลข่ำวสำรส่วนบุคคลหมำยควำมถึงข้อมูลข่ำวสำรเกี่ยวกับสิ่งเฉพำะตัวของบุคคลที่
อยู่ในควำม ครอบครองของรัฐ
ง. เจ้ำหน้ำที่ของรัฐหมำยถึงผู้ปฏิบัติงำนให้แก่หน่วยงำนของรัฐ
45. หน่วยงำนของรัฐต้องส่งข้อมูลข่ำวสำรประเภทใด ลงพิมพ์ในรำชกิจจำนุเบกษำ
ก. โครงสร้ำง และกำรจัดองค์กำรในกำรดำเนินงำนของหน่วยงำนของรัฐ
ข. รำยชื่อ ข้ำรำชกำร พนักงำน ลูกจ้ำงในหน่วยงำนของรัฐ
ค. คำสั่งเกี่ยวกับกำรปฏิบัติงำนภำยในส่วนรำชกำร
ง. งบประมำณรำยจ่ำยประจำปีของปีที่กำลังดำเนินกำรของหน่วยงำนของรัฐ
46. ข้อใดไม่ใช่ข่ำวสำรประเภทที่หน่วยงำนของรัฐต้องจัดไว้ให้ประชำชนเข้ำตรวจดูได้
ก. ผลกำรพิจำรณำของหน่วยงำนของรัฐที่มีผลโดยตรงต่อเอกชน
ข. สรุปอำนำจหน้ำที่ที่สำคัญและวิธีกำรดำเนินงำน
ค. มติคณะรัฐมนตรี หรือมติคณะกรรมกำรแต่งตั้งโดยกฎหมำย
ง. แผนงำน โครงกำรและงบประมำณรำยจ่ำยประจำปีของปีที่กำลังดำเนินกำร

47. ข้อใดไม่ใช่หน้ำที่ของหน่วยงำนของรัฐ ในกำรปฏิบัติตำมพระรำชบัญญัติข้อมูลข่ำวสำรของ


รำชกำร
ก. ส่งข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำรลงพิมพ์ในรำชกิจจำนุเบกษำ
ข. จัดข้อมูลข่ำวสำรไว้ให้ประชำชนตรวจดู
ค. จัดหำข้อมูลข่ำวสำรให้แก่ผู้ขอในเวลำอันสมควร
ง. จัดทำสำเนำและรับรองข้อมูลข่ำวสำรให้กับประชำชนทุกครั้งตำมประสงค์ที่ขอ
48. ข้อใดเป็นข่ำวสำรที่กำหนดว่ำห้ำมเปิดเผย เว้นแต่จะครบเจ็ดสิบห้ำปี
ก. ข่ำวสำรที่กำรเปิดเผยจะก่อให้เกิดควำมเสียหำยต่อควำมมั่นคงของประเทศ
ข. ข่ำวสำรที่กำรเปิดเผยจะก่อให้เกิดควำมเสียหำยต่อควำมสัมพันธ์ระหว่ำงประเทศ
ค. ข่ำวสำรที่อำจให้เกิดควำมเสียหำยต่อสถำบันพระมหำกษัตริย์
ง. ถูกทุกข้อ
49. ข้อใดเป็นข่ำวสำรที่หน่วยงำนของรัฐอำจมีคำสั่งมิให้เปิดเผย ข้อใดกล่ำวไม่ถูกต้อง
ก. ข่ำวสำรที่อำจก่อให้เกิดควำมเสียหำยต่อสถำบันพระมหำกษัตริย์
ข. ข่ำวสำรที่กำรเปิดเผยจะก่อให้เกิดอันตรำยต่อชีวิตหรือควำมปลอดภัยของบุคคลใด
บุคคลหนึ่ง
ค. ข่ำวสำรที่กำรเปิดเผยจะก่อให้เกิดควำมเสียหำยต่อควำมสัมพันธ์ระหว่ำงประเทศ
ง. ถูกเฉพำะข้อ ข และ ค
50. กรณีที่มีกำรคัดค้ำนคำสั่งเปิดเผยข้อมูล และเจ้ำหน้ำที่ของรัฐมีคำสั่งไม่รับฟ้องคำคัดค้ำน
เจ้ำหน้ำที่ของรัฐ จะเปิดเผยข้อมูลข่ำวสำรนั้นได้เมื่อใด
ก. เปิดเผยได้ทันที
260

ข. เปิดเผยเมื่อได้ล่วงพ้นกำหนดระยะเวลำอุทธรณ์
ค. เปิดเผยได้เมื่อล่วงพ้น 30 วันไปแล้ว
ง. เปิดเผยเมื่อได้ล่วงพ้น 45 วันไปแล้ว
51. กำรอุทธรณ์คำสั่งมิให้เปิดเผยข้อมูลข่ำวสำร ต้องอุทธรณ์ต่อใคร
ก. ศำลปกครอง
ข. คณะกรรมกำรข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำร
ค. คณะกรรมกำรวินิจฉัยกำรเปิดเผยข้อมูลข่ำวสำร
ง. ศำลอุทธรณ์
52.ข้อใดเป็นกำรออกระเบียบเพื่อยกเว้นกำรบังคับใช้เกี่ยวกับหลักเกณฑ์กำรเปิดเผยข้อมูล
ข่ำวสำรของ รำชกำรที่ถูกต้องที่สุด
ก. สำนักข่ำวกรองแห่งชำติเป็นผู้ออกระเบียบ
ข. สำนักงำนสภำควำมมั่นคงแห่งชำติเป็นผู้ออกระเบียบ
ค. หน่วยงำนของรัฐอำจออกระเบียบ โดยควำมเห็นชอบของคณะกรรมกำรข้อมูลข่ำวสำร
ของรำชกำร
ง. ถูกทุกข้อ

53. ข้อใดเป็นกำรวำงระบบข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำรที่ถูกต้อง ข้อใดกล่ำวผิด


ก. ตรวจสอบและแก้ไขข้อมูลข่ำวสำรส่วนบุคคลในควำมรับผิดชอบให้ถูกต้องอยู่เสมอ
ข. จัดให้มีระบบรักษำควำมปลอดภัยให้แก่ข้อมูลข่ำวสำรส่วนบุคคล
ค. จัดให้มีกำรลงพิมพ์ในรำชกิจจำนุเบกษำ
ง. ตรวจสอบแก้ไขข้อมูลข่ำวสำรส่วนบุคคลในควำมรับผิดชอบให้ถูกต้องเป็นประจำทุกปี
54. ผู้ขอข้อมูลมีสิทธิร้องเรียนต่อคณะกรรมกำรในกรณีหน่วยงำนของรัฐไม่ปฏิบัติตำมกฎหมำยใน
ข้อใดกล่ำว ไม่ถูกต้อง
ก. ไม่จัดข้อมูลข่ำวสำรไว้ให้ประชำชนดู
ข. ปฏิบัติหน้ำที่ล่ำช้ำ
ค. ไม่อำนวยควำมสะดวกโดยไม่มีเหตุอันควร
ง. ไม่จัดทำกรณีต้อง จัดทำวิเครำะห์ จำแนก รวบรวม หรือจัดให้มีขึ้นใหม่
55. กรณีคณะกรรมกำรได้รับข้อร้องเรียนไม่ปฏิบัติตำมพระรำชบัญญัติข้อมูลข่ำวสำร ของ
รำชกำรของ หน่วยงำนของรัฐ คณะกรรมกำรต้องพิจำรณำให้แล้วเสร็จภำยในกี่วัน
ก. 15 วัน ข. 30 วัน ค. 45 วัน ง. 60 วัน
56. ข้อใดไม่ถูกต้อง เกี่ยวกับกำรปฏิบัติงำนหน่วยงำนของรัฐในกำรเปิดเผยข้อมูลข่ำวสำรส่วน
บุคคล ที่อยู่ใน ควำมควบคุมดูแลของหน่วยงำนของรัฐ
ก. กำรเปิดเผยต้องได้รับควำมยินยอมจำกเจ้ำของข้อมูลซึ่งได้ให้ไว้ล่วงหน้ำ
ข. กำรเปิดเผยต้องได้รับควำมยินยอมจำกเจ้ำของข้อมูลในเวลำที่จะเปิดเผย
261

ค. หน่วยงำนของรัฐมีอำนำจเปิดเผยข้อมูลที่อยู่ในควำมควบคุมดูแลได้ทุกรณีไม่จำเป็นต้อง
ได้รับควำมยินยอม
ง. ถูกเฉพำะข้อ ก และ ข
57. กรณีหน่วยงำนของรัฐไม่แก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อมูลให้ตรงตำมคำขอของเจ้ำของข้อมูล เจ้ำของ
ข้อมูลมีสิทธิ อุทธรณ์ต่อใครภำยในระยะเวลำเท่ำใด
ก. อุทธรณ์ต่อคณะกรรมกำรวินิจฉัยกำรเปิดเผยข้อมูลข่ำวสำร ภำยใน 15 วัน
ข. อุทธรณ์ต่อคณะกรรมกำรวินิจฉัยกำรเปิดเผยข้อมูลข่ำวสำร ภำยใน 30 วัน
ค. อุทธรณ์ต่อคณะกรรมกำรข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำร ภำยใน 30 วัน
ง. อุทธรณ์ต่อคณะกรรมกำรรับเรื่องรำวร้องทุกข์ ภำยใน 30 วัน
58. หน่วยงำนที่มีหน้ำที่เก็บรักษำเอกสำรประวัติศำสตร์ตำมพระรำชบัญญัตินี้ คือ บุคคลในข้อใด
ก. พิพิธภัณฑ์
ข. หอจดหมำยแห่งชำติ
ค. กรมสำรสนเทศ
ง. สำนักงำนคณะกรรมกำรข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำร
59. ตำแหน่งใดเป็นประธำนคณะกรรมกำรข้อมูลข่ำวสำร ตำมที่กำหนดในพระรำชบัญญัตินี้
ก. นำยจุงเบยดำรงตำแหน่งนำยกรัฐมนตรี.
ข. นำยโดดเด่นรัฐมนตรีซึ่งนำยกรัฐมนตรีมอบหมำย
ค. นำยแน่นหนำรัฐมนตรีประจำสำนักนำยกรัฐมนตรี
ง. นำงแน่นอกรัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงเทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสื่อสำร
60. ตำแหน่งใดต่อไปนี้ ไม่ได้เป็นกรรมกำรในคณะกรรมกำรข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำร ตำมที่
กำหนดใน พระรำชบัญญัตินี้
ก. นำยชงมำปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรี นำยปรำบภัยปลัดกระทรวงกลำโหม นำยโคนม
ปลัดกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ นำยคงเดชปลัดกระทรวงมหำดไทย
ข. นำยกำรดีเป็นผู้อำนวยกำรสำนักงบประมำณ นำยสุดลับผู้อำนวยกำรสำนักข่ำวกรอง
แห่งชำติ และนำยชง ดีเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร นำยรับรู้ปลัดกระทรวงกำรต่ำงประเทศ
ค. นำยหนักแน่นเลขำธิกำรสภำควำมมั่นคงแห่งชำติ นำยเรียนดีเลขำธิกำรข้ำรำชกำรพล
เรือน นำยตีควำม เลขำธิกำรคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ
ง. นำยใส่ใจปลัดกระทรวงพำณิชย์ นำยยอดเยี่ยมปลัดกระทรวงยุติธรรม นำยเอิกเกริก
ปลัดกระทรวง กระทรวงเทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสื่อสำร
61. ข้อใดไม่ใช่อำนำจหน้ำที่ของคณะกรรมกำรข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำร
ก. สอดส่องกำรดูแลกำรดำเนินงำนของหน่วยงำนของรัฐในกำรปฏิบัติตำมพระรำชบัญญัติ
ข. ให้คำแนะนำเกี่ยวกับกำรดำเนินงำนของหน่วยงำนของรัฐในกำรปฏิบัติกำรตำม
พระรำชบัญญัติ
262

ค. ให้คำปรึกษำแก่เจ้ำหน้ำที่ของรัฐหรือหน่วยงำนของรัฐเกี่ยวกับกำรปฎิบัติตำม
พระรำชบัญญัตินี้ ตำมที่ได้ รับคำขอ
ง. กำหนดหลักเกณฑ์กำรเปิดเผยข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำร
62. กรรมกำรผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมกำรข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำร มีวำระกำรดำรงตำแหน่ง
ครำวละกี่ปี ข้อใดกล่ำวถูกต้องที่สุด
ก. 2 ปี นับแต่วันที่รับแต่งตั้ง
ข. 3 ปี นับแต่วันที่รับแต่งตั้ง
ค. 3 ปี นับแต่วันที่รับแต่งตั้ง อำจได้รับแต่งตั้งใหม่ได้
ง. 4 ปี นับแต่วันที่รับแต่งตั้ง อำจได้รับแต่งตั้งใหม่ได้
63. ใครเป็นผู้แต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมกำรข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำร
ก. ประธำนคณะกรรมกำรข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำร
ข. นำยกรัฐมนตรี
ค. รัฐมนตรีซึ่งนำยกรัฐมนตรีมอบหมำย
ง. คณะรัฐมนตรี
64. กรรมกำรในคณะกรรมกำรข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำร มีจำนวนทั้งสิ้นกี่คน
ก. 19 คน
ข. 21 คน
ค. 23 คน
ง. 25 คน
65. กรรมกำรในคณะกรรมกำรข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำร รวมกับเลขำนุกำรและ
ผู้ช่วยเลขำนุกำร รวมเป็นกี่ คนทั้งหมด
ก. 20 คน
ข. 24 คน
ค. 25 คน
ง. 26 คน
66. ใครเป็นผู้แต่งตั้งข้ำรำชกำรของสำนักปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรีเป็นเลขำนุกำรและและ
ผู้ช่วยเลขำนุกำร
ก. นำยกรัฐมนตรี
ข. รัฐมนตรีซึ่งนำยกรัฐมนตรีมอบหมำย
ค. คณะรัฐมนตรี
ง. ปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรี
263

67. คำสั่งขยำยเวลำไม่เปิดเผยข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำรของหน่วยงำนของรัฐมีกำหนดครำวละ
เกินกี่ปี ไม่ได้
ก. 2 ปี
ข. 3 ปี
ค. 4 ปี
ง. 5 ปี
68. กรณีที่หน่วยงำนของรัฐปฏิเสธว่ำไม่มีข้อมูลข่ำวสำรตำมที่มีคำขอ ถ้ำผู้ขอไม่เชื่อว่ำเป็นควำม
จริงควร ดำเนินกำรอย่ำงไร
ก. ร้องเรียนต่อคณะกรรมกำรข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำรเพื่อให้ตรวจสอบ
ข. ร้องเรียนต่อคณะกรรมกำรวินิจฉัยกำรเปิดเผยข้อมูลข่ำวสำรเพื่อให้ตรวจสอบ
ค. ยื่นคำร้องต่อศำลเพื่อให้ศำลมีคำสั่ง
ง. ถูกทุกข้อ
69. กำรแต่งตั้งคณะกรรมกำรวินิจฉัยกำรเปิดเผยข้อมูลข่ำวสำร ต้องดำเนินกำรอย่ำงไร
ก. นำยกรัฐมนตรีเป็นผู้ใช้อำนำจในกำรแต่งตั้ง
ข. คณะรัฐมนตรีแต่งตั้งตำมข้อเสนอของคณะกรรมกำรข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำร
ค. คณะกรรมกำรข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำรเป็นผู้มีอำนำจแต่งตั้ง
ง. เลือกตั้งคณะกรรมกำรในคณะกรรมกำรข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำร
70. อำนำจหน้ำที่ของคณะกรรมกำรวินิจฉัยกำรเปิดเผยข้อมูลข่ำวสำร ข้อใดกล่ำวไม่ถูกต้อง
ก. วินิจฉัยอุทธรณ์คำสั่งมิให้เปิดเผยข้อมูลข่ำวสำร
ข. วินิจฉัยอุทธรณ์คำสั่งไม่รับฟังคำคัดค้ำนกำรเปิดเผยข้อมูลข่ำวสำร
ค. วินิจฉัยอุทธรณ์คำสั่งไม่ให้แก้ไขเปลี่ยนแปลงหรือลบข้อมูลข่ำวสำรส่วนบุคคล
ง. เสนอแนะในกำรตรำพระรำชกฤษฎีกำและกำรออกกฎกระทรวงหรือระเบียบของคณะ
รัฐมนตรำ พระรำชบัญญัตินี้
71. คณะกรรมกำรวินิจฉัยกำรเปิดเผยข้อมูลข่ำวสำร แต่ละคณะจะต้องมีกรรมำกำรไม่น้อยกว่ำกี่
คน
ก. 3 คน
ข. 5 คน
ค. 7 คน
ง. 9 คน
72. กำรส่งคำอุทธรณ์ จำกคณะกรรมกำรข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำรไปยังคณะกรรมกำรวินิจฉัย
กำรเปิดเผย ข้อมูลข่ำวสำรเพื่อพิจำรณำ จะต้องทำภำยในกี่วันนับแต่วันที่คณะกรรมกำรข้อมูล
ข่ำวสำรของรำชกำรได้รับ อุทธรณ์
ก. 3 วัน
ข. 5 วัน
264

ค. 7 วัน
ง. 15 วัน
73. กำรไม่ปฏิบัติตำมคำสั่งของคณะกรรมกำรข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำร ที่สั่งให้เรียกบุคคลมำให้
ถ้อยคำหรือ ส่งให้ส่งพยำนหลักฐำน มีโทษเพียงใด
ก. โทษทั้งจำทั้งปรับ
ข. โทษปรับสถำนเดียวไม่มีโทษจำคุก
ค. มีโทษจำคุกสถำนเดียว ไม่มีโทษปรับ
ง. ไม่มีโทษทำงอำญำ
74. ผู้ใดฝ่ำฝืนหรือไม่ปฏิบัติตำมข้อจำกัดหรือเงื่อนไขที่เจ้ำหน้ำที่ของรัฐกำหนดตำม
พระรำชบัญญัติข้อมูล ข่ำวสำรของทำงรำชกำร พ.ศ. 2540 มีโทษอย่ำงไร
ก. ต้องระวำงโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบำท
ข. ต้องระวำงโทษจำคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบำท
ค. ต้องระวำงโทษจำคุกไม่เกินสำมปี หรือปรับไม่เกินสำมหมื่นบำท
ง. ต้องระวำงโทษจำคุกไม่เกินสี่ปี หรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบำท
75. ใครเป็นผู้รับสนองพระบรมรำชโองกำร พระรำชบัญญัติข้อมูลข่ำวสำรของทำงรำชกำร พ.ศ.
2540
ก. พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ
ข. นำยชวน หลีกภัย
ค. ค.นำยบรรหำร ศิลปอำชำ
ง. ตำรวจโททักษิณ ชินวัตร
76. สำนักงำนคณะกรรมกำรข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำรมีชื่อย่อว่ำอะไร
ก. สขร.
ข. สขม.
ค. สขก.
ง. สขช.
77. พระรำชบัญญัติข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำร พ.ศ. 2540 บังคับใช้เมื่อพ้นกำหนดกี่วัน
ก. ถัดจำกวัดประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำ
ข. 90 วัน
ค. 120 วัน
ง. 180 วัน
78. พระรำชบัญญัติข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำร พ.ศ. 2540 บังคับใช้วันที่
ก. 9 มกรำคม 2540
ข. 9 ธันวำคม 2539
ค. 9 ธันวำคม 2540
265

ง. 10 ธันวำคม 2540
79. ข้อมูลข่ำวสำรคือ
ก. สิ่งที่สื่อควำมหมำยให้รู้เรื่องรำวข้อเท็จจริงข้อมูล หรือสิ่งใด ๆ
ข. กำรสื่อสำรถึงกัน
ค. ข่ำวที่นักข่ำวนำเสนอ
ง. ถูกทุกข้อ
80. ข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำรคือ
ก. ข้อมูลข่ำวสำรที่อยู่ในควำมครอบครองหรือควบคุมดูแลของหน่วยงำนของรัฐ
ข. ข้อมูลข่ำวสำรที่อยู่ในควำมครอบครองหรือควบคุมดูแลของเอกชน
ค. ข้อมูลข่ำวสำรที่อยู่ในควำมครอบครองหรือควบคุมดูแลของรัฐและเอกชน
ง. ข้อมูลข่ำวสำรที่อยู่ในควำมครอบครองหรือควบคุมดูแลของมูลนิธิ
81. ข้อใดคือควำมหมำของคนต่ำงด้ำว
ก. บุคคลธรรมดำที่มีสัญชำติไทย แต่ไม่มีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย
ข. บุคคลธรรมดำที่ไม่มีสัญชำติไทย แต่มีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย
ค. บุคคลธรรมดำที่มีสัญชำติไทย และมีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย
ง. บุคคลธรรมดำที่ไม่มีสัญชำติไทย และไม่มีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย
82. ข้อใดต่อไปนี้ถือว่ำเป็นคนต่ำงด้ำว
ก. บริษัทชุมชนของเรำจำกัดมีคนต่ำงด้ำวถือหุ้นไม่เกินกึ่งหนึ่ง
ข. สมำคมรักไทยมีสมำชิกทั้งหมด 988 คน เป็นคนต่ำงด้ำว 450 คน
ค. มูลนิธิไก่ชนไทยที่มีวัตถุประสงค์เพื่อประโยชน์ของคนต่ำงด้ำว
ง. สมำคมสู้เพื่อแผ่นดิน ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อประโยชน์ของคนไทย
83. ข้อใดไม่ใช่หน้ำที่ของสำนักงำนคณะกรรมกำรข้อมูลข่ำวสำร
ก. ปฏิบัติงำนเกี่ยวกับงำนวิชำกำรและธุรกำรให้แก่ คณะกรรมกำร
ข. ให้คำปรึกษำแก่เอกชนในกำรปฏิบัติตำม พ.ร.บ. นี้
ค. ประสำนงำนกับหน่วยงำนของรัฐ
ง. ให้คำปรึกษำแก่หน่วยงำนรัฐในกำรปฏิบัติตำม พ.ร.บ. นี้
84. ข้อมูลข่ำวสำรตำมข้อใดต้องลงพิมพ์ในรำชกิจจำนุเบกษำ
ก. โครงสร้ำงและกำรจัดองค์กรในกำรดำเนินงำน
ข. สรุปอำนำจหน้ำที่ที่สำคับและวิธีดำเนินงำน
ค. สถำนที่ติดต่อเพื่อของรับข้อมูลข่ำวสำร
ง. ถูกทุกข้อ
85. ข้อมูลข่ำวสำรตำมข้อใดต้องจัดไว้ให้ประชำชนได้เข้ำตรวจดู
ก. ผลกำรพิจำรณำหรือคำวินิจฉัยที่มีผลโดยตรงต่อเอกชน
ข. แผนงำน โครงกำร งบประมำณรำยจ่ำยปะจำปี
266

ค. สัญญำสัมปทำนที่เป็นกำรผูกขำดตัดตอน
ง. ถูกทุกข้อ
86. ผู้ใดเห็นว่ำหน่วยงำนของรัฐไม่จัดข้อมูลข่ำวสำรให้ประชำชนได้เข้ำตรวจดูสำมำรร้องเรียนต่อ
หน่วยงำนใด
ก. คณะกรรมกำรข้อมูลข่ำวสำรของทำงรำชกำร
ข. คณะกรรมกำรวินิจฉัยข้อมูลข่ำวสำรของทำงรำชกำร
ค. ศำลปกครอง
ง. คตส.
87. เมื่อมีกำรร้องเรียนว่ำหน่วยงำนของรัฐไม่จัดข้อมูลข่ำวสำรให้ประชำชนได้เข้ำตรวจดูให้
คณะกรรมกำร พิจำรณำให้แล้วเสร็จภำยในกี่วัน
ก. 15 วัน
ข. 30 วัน
ค. 60 วัน
ง. 90 วัน
88. กรณีมีเหตุจำเป็นคณะกรรมกำรไม่สำมำรถพิจำรณำให้แล้วเสร็จภำยในเวลำ ให้ขยำยเวลำ
ออกไปได้ แต่ ต้องแสดงเหตุผลและรวมเวลำทั้งหมดแล้วต้องไม่เกินกี่วัน
ก. 15 วัน
ข. 30 วัน
ค. 60 วัน
ง. 90 วัน
89. ข้อมูลข่ำวสำรตำมข้อใดจะเปิดเผยมิได้
ก. ข้อมูลข่ำวสำรที่อำจก่อให้เกิดควำมเสียหำยต่อสถำบันพระมหำกษัตริย์
ข. มติคณะรัฐมนตรี
ค. รำยงำนแพทย์
ง. ข้อมูลส่วนตัว
90. ข้อมูลข่ำวสำรข้อใดที่หน่วยงำนของรัฐอำจมีคำสั่งมิให้เปิดเผย
ก. ข้อมูลข่ำวสำรที่อำจก่อให้เกิดควำมเสียหำยต่อควำมมั่นคงของประเทศ
ข. กำรเปิดเผยอำจทำให้กำรบังคับใช้กฎหมำยเสื่อมประสิทธิภำพ
ค. กำรเปิดเผยอำจก่อให้เกิดอันตรำยต่อชีวิต
ง. ถูกทุกข้อ
91. เจ้ำหน้ำที่ของรัฐเห็นว่ำกำรเปิดเผยข้อมูลข่ำวสำรอำจกระทบกับส่วนได้เสียของผู้ใด ให้
เจ้ำหน้ำที่แจ้งให้ผู้ นั้นคัดค้ำนภำยในกี่วัน
ก. 15 วัน
ข. 30 วัน
267

ค. 45 วัน
ง. 60 วัน
92. ถ้ำเจ้ำหน้ำที่มีคำสั่งมิให้เปิดเผยข้อมูลข่ำวสำรผู้นั้นอำจอุทธรณ์ต่อคณะกรรมวินิจฉัยกำร
เปิดเผยข้อมูล ข่ำวสำรภำยในกี่วัน
ก. 15 วัน
ข. 30 วัน
ค. 45 วัน
ง. 60 วัน
93. ถ้ำเจ้ำหน้ำที่มีคำสั่งไม่รับฟังคำคัดค้ำนของผู้มีประโยชน์ได้เสียผู้นั้น อำจอุทธรณ์ต่อคณะกรรม
วินิจฉัยกำร เปิดเผยข้อมูลข่ำวสำรภำยในกี่วัน
ก. 15 วัน
ข. 30 วัน
ค. 45 วัน
ง. 60 วัน
94. “บุคคล” ในควำมหมำยข้อใดถูกต้อง
ก. บุคคลธรรมดำที่ไม่มีสัญชำติไทย
ข. บุคลธรรมดำที่มีสัญชำติไทย
ค. บุคคลที่ไม่มีสัญชำติไทย และไม่มีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย
ง. ถูกทุกข้อ
95. หน่วยงำนของรัฐจะเปิดเผยข้อมูลข่ำวสำรส่วนบุคคลได้ในกรณีใด
ก. ได้โดยไม่ต้องได้ควำมยินยอม
ข. ไม่ได้เลยไม่ว่ำกรณีใดๆ
ค. ถ้ำได้รับควำมยินยอมเป็นหนังสือไว้ล่วงหน้ำ
ง. ได้ถ้ำบุคคลที่เกี่ยวข้องยินยอม
96. หน่วยงำนของรัฐจะเปิดเผยข้อมูลข่ำวสำรส่วนบุคคลโดยไม่ต้องได้รับควำมยินยอมได้ในกรณี
ใดบ้ำง
ก. ต่อหน่วยงำยของรัฐด้ำนกำรวำงแผน
ข. เป็นกำรให้เพื่อประโยชน์ในกำรศึกษำวิจัย
ค. ต่อจดหมำยเหตุแห่งชำติ กรมศิลปำกร
ง. ถูกทุกข้อ
97. ผู้ใดเห็นว่ำข้อมูลข่ำวสำรส่วนบุคคลเกี่ยวกับตนไม่ถูกต้องให้ ยืนคำร้องเพื่อขอแก้ไขต่อ
หน่วยงำนใด ก. คณะกรรมกำรข้อมูลข่ำวสำรของทำงรำชกำร
ข. คณะกรรมกำรวินิจฉัยกำรเปิดเผยข้อมูลข่ำวสำร
ค. หน่วยงำนของรัฐที่ควบคุมดูแลข้อมูลข่ำวสำร
268

ง. ถูกทุกข้อ
98. ผู้ใดเห็นว่ำข้อมูลข่ำวสำรส่วนบุคคลเกี่ยวกับตนไม่ถูกต้องให้ ยืนคำร้องเพื่อขอแก่ไข
เปลี่ยนแปลง ถ้ำ หน่วยงำนของรัฐไม่แก่ไข เปลี่ยนแปลง ให้อุทธรณ์ต่อใคร
ก. คณะกรรมกำรข้อมูลข่ำวสำรของทำงรำชกำร
ข. คณะกรรมกำรวินิจฉัยกำรเปิดเผยข้อมูลข่ำวสำร
ค. หน่วยงำนของรัฐที่ควบคุมดูแล
ง. ศำลปกครอง

99. ผู้ใดเห็นว่ำข้อมูลข่ำวสำรส่วนบุคคลเกี่ยวกับตนไม่ถูกต้องให้ ยืนคำร้องเพื่อขอแก่ไข


เปลี่ยนแปลง ถ้ำ หน่วยงำนของรัฐไม่แก่ไข เปลี่ยนแปลง ให้อุทธรณ์ต่อคณะกรรมกำรดังกล่ำว
ภำยในกี่วัน
ก. 15 วัน
ข. 30 วัน
ค. 45 วัน
ง. 60 วัน
100. ข้อมูลข่ำวสำรที่ไม่ประสงค์จะเก็บรักษำ หรือมีอำยุครบกำหนดให้ส่งมอบให้แก่หน่วยงำน
ใด
ก. สภำวัฒนธรรมแห่งชำติ
ข. หอจดหมำยเหตุแห่งชำติ กรมศิลปำกร
ค. กระทรวงวัฒนธรรม
ง. กรมกำรศำสนำ
101. ข้อมูลข่ำวสำรที่อำจก่อให้เกิดควำมเสียหำยต่อสถำบันพระมหำกษัตริย์ จะจัดให้ประชำชน
ได้ศึกษำ ค้นคว้ำเมื่อมีอำยุครบกี่ปี
ก. 60 ปี
ข. 75 ปี
ค. 80 ปี
ง. 100 ปีขึ้นไป
102. ข้อมูลที่อำจจะก่อให้เกิดควำมเสียหำยต่อควำมมั่นคงขอประเทศ จะจัดให้ประชำชนได้
ศึกษำค้นคว้ำเมื่อ มีอำยุครบกี่ปี
ก. 20 ปี
ข. 25 ปี
ค. 35 ปี
ง. 75 ปีขึ้นไป
269

103. รำยงำนแพทย์ซึ่งกำรเปิดเผยจะเป็นกำรรุกล้ำสิทธิส่วนบุคคลโดยไม่สมควร จะจัดให้


ประชำชนได้ศึกษำ ค้นคว้ำเมื่อมีอำยุครบกี่ปี
ก. 20 ปี
ข. 25 ปี
ค. 35 ปี
ง. 75 ปีขึ้นไป
104. หน่วยงำนของรัฐเห็นว่ำข้อมูลข่ำวสำรใดไม่สมควรเปิดเผย ให้ขยำยเวลำได้ไม่เกินครำวละกี่
ปี
ก. 2 ปี
ข. 3 ปี
ค. 5 ปี
ง. 7 ปี
105. บุคคลใดไม่ได้เป็นคณะกรรมกำรข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำร
ก. ปลัดกระทรวงมหำดไทย
ข. ปลัดกระทรวงกำรต่ำงประเทศ
ค. ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ง. ปลัดกระทรวงยุติธรรม
106. ใครเป็นผู้แต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมกำรข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำร
ก. คณะรัฐมนตรี
ข. รัฐสภำ
ค. นำยกรัฐมนตรี
ง. พระมหำกษัตริย์
107. ผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมกำรข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำรมีทั้งหมดกี่คน
ก. 6 คน
ข. 9 คน
ค. 12 คน
ง. 15 คน
108. ใครเป็นเลขำนุกำรคณะกรรมกำรข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำร
ก. ปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรี
ข. บุคคลที่ปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรีแต่งตั้ง
ค. เลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร
ง. บุคคลที่นำยกรัฐมนตรีแต่งตั้ง
270

109. ปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรีแต่งตั้งผู้ช่วยเลขำนุกำรได้กี่คน
ก. 1 คน ข. 2 คน
ค. 3 คน ง. 4 คน
110. ผู้ทรงคุณวุฒิที่เป็นคณะกรรมกำรข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำร มีวำระในกำรดำรงตำแหน่ง
ครำวละกี่ปี
ก. 3 ปี นับแต่วันที่ได้รับกำรสรรหำ
ข. 3 ปี นับแต่วันที่ได้รับกำรแต่งตั้ง
ค. 4 ปี นับแต่วันที่ได้รับกำรสรรหำ
ง. 4 ปี นับแต่วันที่ได้รับกำรแต่งตั้ง
111. กำรพ้นจำกตำแหน่งของผู้ทรงคุณวุฒิในข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. ตำย
ข. คณะรัฐมนตรีให้ออกเพรำะมีควำมประพฤติเสื่อมเสีย
ค.ลำออก
ง.นำยกรัฐมนตรีให้ออกเพรำะมีควำมบกพร่อง
112. ใครเป็นผู้แต่งตั้งคณะกรรมกำรวินิจฉัยกำรเปิดเผยข้อมูลข่ำวสำร
ก. คณะรัฐมนตรี
ข. รัฐสภำ
ค. นำยกรัฐมนตรี
ง. พระมหำกษัตริย์
113. ข้อใดไม่ใช่ควำมรู้ควำมเชี่ยวชำญของคณะกรรมกำรวินิจฉัยกำรเปิดเผยข้อมูลข่ำวสำร
ก. ควำมมั่นคงของประเทศ
ข. เศรษฐกิจและกำรคลังของประเทศ
ค. กำรบริหำรประเทศ
ง. กำรบังคับใช้กฎหมำย
114. ให้คณะกรรมกำรข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำรส่งคำอุทธรณ์ให้คณะกรรมกำรวินิจฉัยกำร
เปิดเผยข้อมูล ข่ำวสำรภำยในกี่วัน นับแต่ที่ได้รับคำอุทธรณ์
ก. 7 วัน ข. 12 วัน ค. 15 วัน ง. 30 วัน
115. ผู้ใดไม่ปฏิบัติตำมคำสั่งของคณะกรรมกำร (ตำมมำตรำ 32) ไม่มำให้ถ้อยคำ ส่งวัตถุเอกสำร
หรือ พยำนหลักฐำน ต้องระวำงโทษตำมข้อใด
ก. จำคุกไม่เกิน 3 เดือน ปรับไม่เกิน 5,000 บำท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ข. จำคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 5,000 บำท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ค. จำคุกไม่เกิน 3 เดือน ปรับไม่เกิน 20,000 บำท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ง. จำคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 15,000 บำท หรือทั้งจำทั้งปรับ
271

116. ผู้ใดฝ่ำฝืนหรือไม่ปฏิบัติตำมข้อจำกัดหรือเงือนไขที่เจ้ำหน้ำที่ของรัฐกำหนด (ตำมมำตรำ


20) ต้องระวำง โทษตำมข้อใด
ก. จำคุกไม่เกิน 1 เดือน ปรับไม่เกิน 20,000 บำท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ข. จำคุกไม่เกิน 1 ปี ปรับไม่เกิน 20,000 บำท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ค. จำคุกไม่เกิน 10 ปี ปรับไม่เกิน 20,000 บำท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ง. จำคุกไม่เกิน 10 ปี ปรับไม่เกิน 200,000 บำท หรือทั้งจำทั้งปรับ
117. ค่ำธรรมเนียมในกำรทำขอทำสำเนำจำกหน่วยงำนของรัฐข้อใดไม่ถูกต้อง (ออกตำม
ประกำศ)
ก. เอ 4 หน้ำละไม่เกิน 1 บำท
ข. บี 4 หน้ำละไม่เกิน 2 บำท
ค. กระดำษพิมพ์เขียวเอ 2 หน้ำละไม่เกิน 8 บำท
ง. กระดำษพิมพ์เขียวเอ 1 หน้ำละไม่เกิน 20 บำท
118. กฎหมำยใดถ้ำไม่ขัดหรือแย้งกับ พ.ร.บ. ข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำร พ.ศ. 2540 ให้บังคับใช้
ต่อไป
ก. ระเบียบว่ำด้วยกำรักษำควำมปลอดภัยแห่งชำติ พ.ศ. 2517
ข. ระเบียบว่ำด้วยกำรรักษำควำมลับของทำงรำชกำร พ.ศ. 2544
ค. พระรำชบัญญัติวิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครอง พ.ศ. 2539
ง. พระรำชบัญญัติควำมรับผิดทำงละเมิดของเจ้ำหน้ำที่ พ.ศ. 2539
119. พระรำชบัญญัติ ข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำร พ.ศ. 2540 มีกี่หมวด
ก. 5 หมวด และบทเฉพำะกำล
ข. 6 หมวด และบทเฉพำะกำล
ค. 7 หมวด และบทเฉพำะกำล
ง. 8 หมวด และบทเฉพำะกำล

120. พระรำชบัญญัติ ข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำร พ.ศ. 2540 มีกี่มำตรำ


ก. 40 มำตรำ
ข. 41 มำตรำ
ค. 43 มำตรำ
ง. 45 มำตรำ
121. ข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำร คืออะไร
ก. ข้อมูลข่ำวสำรที่อยู่ในควำมครอบครองของหน่วยงำนของรัฐ
ข. ข้อมูลข่ำวสำรที่อยู่ควบคุมดูแลของหน่วยงำนของรัฐ
ค. ข้อมูลข่ำวสำรเกี่ยวกับกำรดำเนินงำนของรัฐ
ง. ถูกทุกข้อ
272

122. ข้อใดไม่ใช่ควำมหมำยของหน่วยงำนของรัฐ
ก. รำชกำรส่วนกลำง รำชกำรส่วนภูมิภำค รำชกำรส่วนท้องถิ่น
ข. ศำลในส่วนที่เกี่ยวกับกำรพิจำรณำพิพำกษำคดี
ค. รัฐวิสำหกิจ ส่วนรำชกำรสังกัดรัฐสภำ
ง. องค์กรควบคุมกำรประกอบวิชำชีพ หน่วยงำนอิสระของรัฐ
123.ผู้ใดเป็นผู้รักษำกำรตำมพระรำชบัญญัติข้อมูลข่ำวสำรของทำงรำชกำร พ.ศ.2540
ก. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงยุติธรรม
ข. รัฐมนตรีประจำสำนักนำยกรัฐมนตรี
ค. นำยกรัฐมนตรี
ง. ปลัดกระทรวงมหำดไทย
124. หน่วยงำนของรัฐต้องส่งข้อมูลข่ำวสำรใดไปลงพิมพ์ในรำชกิจจำนุเบกษำ
ก.โครงสร้ำงและกำรจัดองค์กรในกำรดำเนินงำน
ข. มติคณะรัฐมนตรี ข้อบังคับ คำสั่ง หนังสือเวียน
ค. สรุปอำนำจหน้ำที่ที่สำคัญและวิธีดำเนินงำน
ง. ถูกทุกข้อ
125.กฎ ระเบียบ คำสั่ง มติคณะรัฐมนตรี ถ้ำยังไม่ได้ลงพิมพ์ในรำชกิจจำนุเบกษำ จะมีผล
อย่ำงไร
ก. นำมำบังคับในทำงที่ไม่เป็นคุณแก่ผู้ใดไม่ได้
ข. เป็นโมฆะ
ค. เป็นโมฆียะ
ง. ไม่มีผลบังคับในทำงกฎหมำย
126.บุคคลใดมีสิทธิเข้ำตรวจดู ขอสำเนำหรือขอสำเนำที่มีคำรับรองถูกต้องของข้อมูลข่ำวสำรได้
ก. บุคคลที่มีส่วนได้เสียเกี่ยวข้อง
ข. บุคคลที่ไม่มีส่วนได้เสีย
ค. คนต่ำงด้ำว
ง. ถูกทุกข้อ
127. ข้อมูลข่ำวสำรที่หน่วยงำนของรัฐจัดให้แก่ผู้ขอต้องเป็นข้อมูลข่ำวสำรประเภทใด
ก. อยู่ในสภำพพร้อมที่จะให้ได้
ข. ต้องนำไปจัดทำวิเครำะห์ จำแนก หรือรวบรวมก่อน
ค. ต้องจัดขึ้นมำใหม่ โดยไม่สอดคล้องกับอำนำจหน้ำที่ตำมปกติของหน่วยงำนของรัฐ
ง. ไม่มีข้อถูก
128. เมื่อมีกำรร้องเรียนเกี่ยวกับหน่วยงำนของรัฐไม่จัดหำข้อมูลข่ำวสำรจะต้องร้องเรียนต่อใคร
ก. ปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรี
ข. คณะกรรมกำรข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำร
273

ค. คณะกรรมกำรวินิจฉัยกำรเปิดเผยข้อมูลข่ำวสำร
ง. ประธำนรัฐสภำ
129. ในกรณีเจ้ำหน้ำที่ของรัฐมีคำสั่งมิให้เปิดเผยข้อมูลข่ำวสำร ผู้ขอจะอุทธรณ์ต่อใคร
ก. ปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรี
ข. คณะกรรมกำรข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำร
ค. คณะกรรมกำรวินิจฉัยกำรเปิดเผยข้อมูลข่ำวสำร
ง. ประธำนรัฐสภำ
130. กำรยื่นอุทธรณ์คำสั่งของเจ้ำหน้ำที่ของรัฐที่มิให้เปิดเผยข้อมูลข่ำวสำร ต้องอุทธรณ์ภำยใน
กำหนดเวลำเท่ำใด
ก. 15 วัน นับแต่วันยื่นคำขอ
ข. 15 วัน นับแต่วันที่ได้รับแจ้งคำสั่ง
ค. 30 วัน นับแต่วันยื่นคำขอ
ง. 30 วัน นับแต่วันที่ได้รับแจ้งคำสั่ง
131. คณะกรรมกำรวินิจฉัยกำรเปิดเผยข้อมูลข่ำวสำร คณะหนึ่ง ต้องมีไม่น้อยกว่ำกี่คน
ก. 3 คน
ข. 5 คน
ค. 7 คน
ง. 9 คน
132. ผู้ใดมิได้เป็นคณะกรรมกำรข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำร
ก. ปลัดกระทรวงกลำโหม
ข. ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ค. ปลัดกระทรวงกำรคลัง
ง. ปลัดกระทรวงศึกษำธิกำร
133. ข้อมูลข่ำวสำรที่ไม่ต้องเปิดเผยตำมมำตรำ 14 มีกำหนดเวลำครบกี่ปีหำกหน่วยงำนของรัฐ
จะส่งข้อมูลข่ำวสำรมอบให้แก่หอจดหมำยเหตุแห่งชำติ
ก. 50 ปี
ข. 75 ปี
ค. 100 ปี
ง. ไม่มีกำหนดเวลำ
134. ข้อมูลข่ำวสำรที่หน่วยงำนของรัฐอำจมีคำสั่งมิให้เปิดเผยตำมมำตรำ 15 มีกำหนดเวลำ
ครบกี่ปีหำกหน่วยงำนของรัฐจะส่งข้อมูลข่ำวสำรมอบให้แก่หอจดหมำยเหตุแห่งชำติ
ก. 10 ปี
ข. 15 ปี
ค. 20 ปี
274

ง. 25 ปี
135.ข้อมูลข่ำวสำรส่วนบุคคล ข้อใดกล่ำวไม่ถูกต้อง
ก. เปิดเผยเพื่อประโยชน์ในกำรศึกษำวิจัย โดยระบุชื่อหรือส่วนที่ทำให้รู้ว่ำเป็นข้อมูล
ข่ำวสำรส่วนบุคคลที่เกี่ยวกับบุคคลใด
ข. เปิดเผยได้ เมื่อได้รับควำมยินยอมเป็นหนังสือของเจ้ำของข้อมูลที่ให้ไว้ล่วงหน้ำ
ค. เปิดเผยต่อเจ้ำหน้ำที่ของรัฐ เพื่อกำรป้องกันกำรฝ่ำผืนหรือไม่ปฏิบัติตำมกฎหมำย
ง. เปิดเผยต่อเจ้ำหน้ำที่ของรัฐในหน่วยงำนของตน เพื่อกำรนำไปใช้ตำมอำนำจหน้ำที่ของ
หน่วยงำนของรัฐแห่งนั้น
275

เฉลย แนวข้อสอบ พระรำชบัญญัติข้อมูลข่ำวสำรของทำงรำชกำร พ.ศ.2540


ข้อ 1 ง. ข้อ 31 ก. ข้อ 61 ง. ข้อ 91 ก.
ข้อ 2 ง. ข้อ 32 ก. ข้อ 62 ค. ข้อ 92 ก.
ข้อ 3 ง. ข้อ 33 ก. ข้อ 63 ง. ข้อ 93 ก.
ข้อ 4 ง. ข้อ 34 ง. ข้อ 64 ค. ข้อ 94 ข.
ข้อ 5 ง. ข้อ 35 ง. ข้อ 65 ง. ข้อ 95 ค.
ข้อ 6 ก. ข้อ 36 ค. ข้อ 66 ง. ข้อ 96 ง.
ข้อ 7 ก. ข้อ 37 ข. ข้อ 67 ง. ข้อ 97 ค.
ข้อ 8 ก. ข้อ 38 ข. ข้อ 68 ง. ข้อ 98 ข.
ข้อ 9 ข. ข้อ 39 ง. ข้อ 69 ข. ข้อ 99 ข.
ข้อ 10 ข. ข้อ 40 ง. ข้อ 70 ง. ข้อ 100 ข.
ข้อ 11 ข. ข้อ 41 ก. ข้อ 71 ก. ข้อ 101 ข.
ข้อ 12 ข. ข้อ 42 ข. ข้อ 72 ค. ข้อ 102 ก.
ข้อ 13 ข. ข้อ 43 ข. ข้อ 73 ก. ข้อ 103 ก.
ข้อ 14 ข. ข้อ 44 ค. ข้อ 74 ก. ข้อ 104 ค.
ข้อ 15 ง. ข้อ 45 ก. ข้อ 75 ก. ข้อ 105 ง.
ข้อ 16 ง. ข้อ 46 ข. ข้อ 76 ก. ข้อ 106 ก.
ข้อ 17 ง. ข้อ 47 ง. ข้อ 77 ข. ข้อ 107 ข.
ข้อ 18 ง. ข้อ 48 ค. ข้อ 78 ค. ข้อ 108 ข.
ข้อ 19 ง. ข้อ 49 ก. ข้อ 79 ก. ข้อ 109 ข.
ข้อ 20 ง. ข้อ 50 ข. ข้อ 80 ก. ข้อ 110 ข.
ข้อ 21 ก. ข้อ 51 ค. ข้อ 81 ง. ข้อ 111 ง.
ข้อ 22 ก. ข้อ 52 ค. ข้อ 82 ค. ข้อ 112 ก.
ข้อ 23 ง. ข้อ 53 ง. ข้อ 83 ง. ข้อ 113 ค.
ข้อ 24 ง. ข้อ 54 ง. ข้อ 84 ง. ข้อ 114 ก.
ข้อ 25 ง. ข้อ 55 ข. ข้อ 85 ง. ข้อ 115 ก.
ข้อ 26 ง. ข้อ 56 ค. ข้อ 86 ก. ข้อ 116 ข.
ข้อ 27 ข. ข้อ 57 ข. ข้อ 87 ข. ข้อ 117 ง.
ข้อ 28 ง. ข้อ 58 ข. ข้อ 88 ค. ข้อ 118 ก.
ข้อ 29 ง. ข้อ 59 ข. ข้อ 89 ก. ข้อ 119 ค.
ข้อ 30 ก. ข้อ 60 ง. ข้อ 90 ง. ข้อ 120 ค.
ข้อ121. ง. ข้อ122. ข. ข้อ123. ค. ข้อ124. ง. ข้อ125. ก.
ข้อ126. ง. ข้อ127. ก. ข้อ128. ข. ข้อ129. ค. ข้อ130 ข.
ข้อ131. ก. ข้อ132. ง. ข้อ133. ข. ข้อ134. ค. ข้อ135. ก.
276

แนวข้อสอบพระรำชบัญญัติมำตรฐำนทำงจริยธรรม พ.ศ. 2562


ข้อ 1. พระรำชบัญญัติมำตรฐำนทำงจริยธรรม พ.ศ. 2562 มีวัตถุประสงค์ตำมข้อใด
ก. กำหนดมำตรฐำนทำงจริยธรรมของสังคมไทย
ข. ใช้เป็นหลักสำคัญในกำรจัดทำประมวลจริยธรรมของหน่วยงำนของรัฐ
ค. เป็นกลไกตรวจสอบกำรรักษำมำตรฐำนทำงจริยธรรม
ง. ป้องกันกำรทุจริตและประพฤติมิชอบในวงรำชกำร
ข้อ 2. หน่วยงำนของรัฐใดที่ไม่อยู่ภำยใต้บังคับพระรำชบัญญัติมำตรฐำนทำงจริยธรรม พ.ศ.
2562
ก. สำนักงำนเลขำธิกำร
ข. สำนักงำนเลขำธิกำรสภำกำรศึกษำ
ค. สำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร
ง. กรมกำรขนส่งทำงรำง
ข้อ 3. พ.ร.บ.มำตรฐำนทำงจริยธรรม พ.ศ. 2562 กำหนดให้มำตรฐำนทำงจริยธรรมจะต้องมี
หลักเกณฑ์กำรประพฤติปฏิบัติอย่ำงมีคุณธรรมของเจ้ำหน้ำที่ของรัฐ กี่ประกำร
ก. 3 ประกำร
ข. 5 ประกำร
ค. 7 ประกำร
ง. 9 ประกำร
ข้อ 4. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับ เลขำธิกำร ก.พ.
ก. เป็นกรรมกำรและเลขำนุกำร คณะกรรมกำรมำตรฐำนทำงจริยธรรม
ข. เป็นรองประธำนกรรมกำรมำตรฐำนทำงจริยธรรม
ค. ปฏิบัติงำนธุรกำรของคณะกรรมกำรมำตรฐำนทำงจริยธรรม
ง. มีอำยุไม่ต่ำกว่ำสี่สิบห้ำปี
ข้อ 5. ข้อใดกล่ำวผิดเกี่ยวกับ พ.ร.บ.มำตรฐำนทำงจริยธรรม พ.ศ. 2562
ก. องค์กรกลำงบริหำรงำนบุคคลขององค์กรอิสระ ไม่ต้องนำมำตรฐำนทำงจริยธรรมไปใช้
ประกอบกำรจัดทำประมวลจริยธรรม
ข. หน่วยงำนธุรกำรของศำลมิใช่หน่วยงำนของรัฐ
ค. กรรมกำรผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมกำรมำตรฐำนทำงจริยธรรมต้องมีอำยุไม่ต่ำกว่ำ 45
ปี
ง. สภำกลำโหมมีหน้ำที่จัดทำประมวลจริยธรรมสำหรับข้ำรำชกำรทหำรและข้ำรำชกำรพล
เรือนกลำโหม
277

ข้อ 6. โดยทั่วไปคณะกรรมกำรมำตรฐำนทำงจริยธรรมจะต้องทบทวนมำตรฐำนทำงจริยธรรม
เมื่อใด
ก. ทุก 2 ปี
ข. ทุก 3 ปี
ค. ทุก 4 ปี
ง. ทุก 5 ปี
ข้อ 7. ข้อใดมิใช่กรรมกำรมำตรฐำนทำงจริยธรรมโดยตำแหน่ง
ก. ผู้แทนคณะกรรมกำรข้ำรำชกำรพลเรือน
ข. ผู้แทนคณะกรรมกำรข้ำรำชกำรพลเรือนในสถำบันอุดมศึกษำ
ค. ผูแ้ ทนคณะกรรมกำรข้ำรำชกำรครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำ
ง. ผู้แทนคณะกรรมกำรข้ำรำชกำรตำรวจ
ข้อ 8. มำตรฐำนทำงจริยธรรมคือหลักเกณฑ์กำรประพฤติปฏิบัติอย่ำงมีคุณธรรมของเจ้ำหน้ำที่ของ
รัฐ ยกเว้นข้อใด
ก. กล้ำกระทำในสิ่งที่ถูกต้องชอบธรรม
ข. แสวงหำควำมรู้ตลอดเวลำ
ค. ดำรงตนเป็นแบบอย่ำงที่ดี
ง. มีจิตสำธำรณะ
ข้อ 9. คณะกรรมกำรมำตรฐำนทำงจริยธรรมมีหน้ำที่และอำนำจตำม พ.ร.บ.มำตรฐำนทำง
จริยธรรม พ.ศ. 2562 ยกเว้นข้อใด
ก. ให้คำปรึกษำเกี่ยวกับยุทธศำสตร์ด้ำนมำตรฐำนทำงจริยธรรมต่อคณะรัฐมนตรี
ข. ปฏิบัติหน้ำที่อื่นตำมที่คณะรัฐมนตรีมอบหมำย
ค. ตรวจสอบรำยงำนประจำปีของหน่วยงำนของรัฐ
ง. จัดทำประมวลจริยธรรม
ข้อ 10. หน่วยงำนของรัฐต้องดำเนินกำรในเรื่องใด เพื่อเป็นกำรรักษำจริยธรรมของเจ้ำหน้ำที่ของ
รัฐ
ก. กำหนดให้มีผู้รับผิดชอบเกี่ยวกับกำรรักษำจริยธรรมประจำหน่วยงำนของรัฐ
ข. ให้ควำมรู้แก่ประชำชนอย่ำงเท่ำเทียมและเสมอภำค
ค. จัดทำประมวลจริยธรรมให้สอดคล้องตำมยุทธศำสตร์ชำติ
ง. กำกับดูแลกำรดำเนินกระบวนกำรรักษำจริยธรรม
ข้อ 11. พระรำชบัญญัติมำตรฐำนทำงจริยธรรม พ.ศ. 2562 มีผลใช้บังคับตั้งแต่เมื่อใด
ก. วันที่ 16 เมษำยน 2562
ข. วันที่ 17 เมษำยน 2562
ค. วันที่ 18 เมษำยน 2562
ง. วันที่ 19 เมษำยน 2562
278

ข้อ 12. กำรจัดหลักสูตรกำรฝึกอบรมและเผยแพร่ควำมเข้ำใจเพื่อให้เจ้ำหน้ำที่ของรัฐมีพฤติกรรม


ทำงจริยธรรมเป็นแบบอย่ำงที่ดี เป็นหน้ำที่ของผู้ใด
ก. เจ้ำหน้ำที่ของรัฐ
ข. ผู้บังคับบัญชำ
ค. หน่วยงำนของรัฐ
ง. องค์กรกลำงบริหำรงำนบุคคล
ข้อ 13. กรรมกำรผู้ทรงคุณวุฒิ ใน ก.ม.จ. พ้นจำกตำแหน่งตำมข้อใด
ก. กระทำควำมผิดโดยประมำทและถูกศำลพิพำกษำถึงที่สุดให้จำคุก
ข. เป็นที่ปรึกษำพรรคกำรเมือง
ค. คณะรัฐมนตรีมีมติให้ออก
ง. ครบวำระกำรดำรงตำแหน่งสี่ปี
ข้อ 14. กำรดำเนินกำรข้อใดถูกต้อง หำกปรำกฏว่ำกำรจัดทำประมวลจริยธรรมไม่สอดคล้องกับ
มำตรฐำนทำงจริยธรรม
ก. คณะกรรมกำรมำตรฐำนทำงจริยธรรมเสนอรำยงำนต่อคณะรัฐมนตรี
ข. คณะกรรมกำรมำตรฐำนทำงจริยธรรมแจ้งองค์กรกลำงบริหำรงำนบุคคลดำเนินกำร
แก้ไขให้ถูกต้อง
ค. คณะกรรมกำรมำตรฐำนทำงจริยธรรมออกคำสั่งให้มีกำรแก้ไขให้ถูกต้อง
ง. คณะกรรมกำรมำตรฐำนทำงจริยธรรมเสนอรำยงำนต่อรัฐสภำเพื่อใช้มำตรกำรด้ำน
งบประมำณ
ข้อ 15. คณะกรรมกำรมำตรฐำนทำงจริยธรรมมีหน้ำที่กำกับ ติดตำมและประเมินผลกำร
ดำเนินกำรตำมมำตรฐำนทำงจริยธรรม ที่ถูกที่สุดคือข้อใด
ก. ให้หน่วยงำนของรัฐจัดให้มีกำรประเมินพฤติกรรมทำงจริยธรรมสำหรับเจ้ำหน้ำที่ของรัฐ
ข. จัดทำรำยงำนประจำปีของหน่วยงำนของรัฐ
ค. วินิจฉัยปัญหำที่เกิดจำกกำรใช้บังคับ พ.ร.บ.มำตรฐำนทำงจริยธรรม พ.ศ. 2562
ง. กำหนดแนวทำงกำรบังคับใช้ประมวลจริยธรรมสำหรับเจ้ำหน้ำที่ของรัฐ
ข้อ 16. คณะกรรมกำรมำตรฐำนทำงจริยธรรม เรียกโดยย่อว่ำ
ก. กมจ. ข. กม.จ. ค. ก.ม.จ. ง. ก.มจ.
ข้อ 17. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับกรรมกำรผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมกำรมำตรฐำนทำงจริยธรรม
ก. คณะรัฐมนตรีแต่งตั้งไม่เกิน 5 คน
ข. คณะรัฐมนตรีแต่งตั้งไม่เกิน 7 คน
ค. นำยกรัฐมนตรีแต่งตั้งไม่เกิน 5 คน
ง. นำยกรัฐมนตรีแต่งตั้งไม่เกิน 7 คน
279

ข้อ 18. ผู้รักษำกำรตำมพระรำชบัญญัติมำตรฐำนทำงจริยธรรม พ.ศ. 2562


ก. ประธำนกรรมกำรพิทักษ์ระบบคุณธรรม
ข. ประธำนกรรมกำรข้ำรำชกำรพลเรือน
ค. นำยกรัฐมนตรี
ง. อธิบดีกรมกำรศำสนำ
ข้อ 19. จริยธรรม ตรงกับคำในภำษำอังกฤษข้อใด
ก. Ethic
ข. Morality
ค. Occupation
ง. Integrity
ข้อ 20. ข้อใดมิใช่กลไกหลักในกำรขับเคลื่อน พ.ร.บ.มำตรฐำนทำงจริยธรรม พ.ศ. 2562
ก. มำตรฐำนทำงจริยธรรมและประมวลจริยธรรม
ข. แนวนโยบำยพื้นฐำน
ค. คณะกรรมกำรมำตรฐำนทำงจริยธรรม
ง. กำรรักษำจริยธรรมของเจ้ำหน้ำที่ของรัฐ
เฉลยพ.ร.บ.มำตรฐำนทำงจริยธรรม พ.ศ. 2562
ข้อ 1. ตอบ ข. เนื่องจำกรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย มำตรำ 76 วรรคสำม บัญญัติให้รัฐจัด
ให้มีมำตรฐำนทำงจริยธรรม เพื่อให้หน่วยงำนของรัฐใช้เป็นหลักในกำรกำหนดประมวลจริยธรรม
สำหรับเจ้ำหน้ำที่ของรัฐในหน่วยงำนนั้นๆ ซึ่งจะต้องไม่ต่ำกว่ำมำตรฐำนทำงจริยธรรมดังกล่ำว

ข้อ 2. ตอบ ค. มำตรำ 3 บัญญัติให้หน่วยงำนธุรกำรของรัฐสภำไม่อยู่ในควำมหมำยของหน่วยงำน


ของรัฐ ซึ่งสำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎรเป็นหน่วยงำนธุรกำร สังกัดรัฐสภำ มีอิสระในกำร
บริหำรงำนบุคคล งบประมำณ และดำเนินกำรอื่นตำมพระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรฝ่ำย
รัฐสภำ พ.ศ. 2554

ข้อ 3. ตอบ ค. มำตรำ 5 หลักเกณฑ์กำรประพฤติปฏิบัติอย่ำงมีคุณธรรมของเจ้ำหน้ำที่ของรัฐ 7


ประกำร

ข้อ 4. ตอบ ก. ดูมำตรำ 8 วรรคสอง

ข้อ 5. ตอบ ก. มำตรำ 7 แม้หน่วยงำนธุรกำรขององค์กรอิสระจะมิใช่หน่วยงำนของรัฐตำมพ.ร.บ.


มำตรฐำนทำงจริยธรรม พ.ศ. 2562 แต่มำตรำ 7 แห่งพ.ร.บ.ดังกล่ำว บัญญัติให้นำมำตรฐำนทำง
จริยธรรมตำมพ.ร.บ.นี้ ไปใช้ประกอบกำรพิจำรณำจัดทำประมวลจริยธรรมของเจ้ำหน้ำที่ของรัฐที่
280

อยู่ในควำมรับผิดชอบด้วย เพื่อให้กำรจัดทำประมวลจริยธรรมในภำครัฐมีมำตรฐำนทำงจริยธรรม
ในระดับเดียวกัน

ข้อ 6. ตอบ ง. ดูมำตรำ 15 โดยทั่วไปต้องทบทวนทุก 5 ปี เว้นแต่กรณีที่มีควำมจำเป็นหรือ


สถำนกำรณ์เปลี่ยนแปลงไป จะทบทวนเร็วกว่ำนั้นก็ได้

ข้อ 7. ตอบ ก. ดูมำตรำ 8 (2) (3)

ข้อ 8. ตอบ ข. ดูมำตรำ 5 (3) (4) (7)

ข้อ 9. ตอบ ง. ดูมำตรำ 13 (1) (5) (7) สำหรับกำรจัดทำประมวลจริยธรรมเป็นหน้ำที่ขององค์กร


กลำงบริหำรงำนบุคคลของหน่วยงำนของรัฐ

ข้อ 10. ตอบ ก. ดูมำตรำ 19 (1)

ข้อ 11. ตอบ ข. มำตรำ 2 บัญญัติให้ พ.ร.บ.นี้ ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจำกวันประกำศในรำชกิจจำ


นุเบกษำเป็นต้นไป ซึ่งประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำ เล่ม 136/ตอนที่ 50 ก/หน้ำ 1/16
เมษำยน 2562 จึงมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 17 เมษำยน 2562 เป็นต้นไป

ข้อ 1ข. ตอบ ง. ดูมำตรำ 20


ข้อ 13. ตอบ ข. ดูมำตรำ 9 (6)
ข้อ 14. ตอบ ข. ดูมำตรำ 14 วรรคท้ำย
ข้อ 15. ตอบ ก. ดูมำตรำ 13 (4)
ข้อ 16. ตอบ ค. ดูมำตรำ 8
ข้อ 17. ตอบ ค. ดูมำตรำ 8 (4)
ข้อ 18. ตอบ ค. นำยกรัฐมนตรี ดูมำตรำ 4
ข้อ 19. ตอบ ก. Ethic
ข้อ 20. ตอบ ข. พ.ร.บ.นี้ จัดหมวดหมู่ออกเป็น 3 หมวด ซึ่งเป็นกลไกหลักในกำรขับเคลื่อน
มำตรฐำนทำงจริยธรรม
281

แนวข้อสอบพระรำชบัญญัติมำตรฐำนทำงจริยธรรม พ.ศ. 2562 ชุด 2.


1. พระรำชบัญญัติมำตรฐำนทำงจริยธรรม พ.ศ. 2562 มีวัตถุประสงค์ตำมข้อใด
ก. กำหนดมำตรฐำนทำงจริยธรรมของสังคมไทย
ข. ป้องกันกำรทุจริตและประพฤติมิชอบในทำงรำชกำร
ค. เป็นกลไกตรวจสอบกำรรักษำมำตรฐำนทำงจริยธรรม
ง. ใช้เป็นหลักสำคัญในกำรจัดทำประมวลจริยธรรมของหน่วยงำนของรัฐ
2. หน่วยงำนของรัฐใดที่ไม่อยู่ภำยใต้บังคับพระรำชบัญญัติมำตรฐำนทำงจริยธรรม พ.ศ. 2562
ก. สำนักงำนเลขำธิกำร
ข. สำนักงำนเลขำธิกำรสภำกำรศึกษำ
ค. กรมกำรขนส่งทำงบก
ง. สำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร
3. พระรำชบัญญัติมำตรฐำนทำงจริยธรรม พ.ศ. 2562 กำหนดให้มำตรฐำนทำงจริยธรรม จะต้อง
มีหลักเกณฑ์กำร ประพฤติปฏิบัติอย่ำงมีคุณธรรมของเจ้ำหน้ำที่ของรัฐ กี่ประกำร
ก. 9 ประกำร
ข. 3 ประกำร
ค. 7 ประกำร
ง. 5 ประกำร
4. ข้อใดถูกต้อง ที่สอดคล้องกับ เลขำธิกำร ก.พ.
ก. เป็นกรรมกำรและเลขำนุกำรคณะกรรมกำรมำตรฐำนทำงจริยธรรม
ข. เป็นกรรมกำรโดยตำแหน่งในคณะกรรมกำรมำตรฐำนทำงจริยธรรม
ค. ปฏิบัติงำนธุรกำรของคณะกรรมกำรมำตรฐำนทำงจริยธรรม
ง. มีอำยุไม่ต่ำกว่ำ 35 ปี
5. ข้อใด ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับ พระรำชบัญญัติมำตรฐำนทำงจริยธรรม พ.ศ. 2562
ก. องค์กรกลำงบริหำรงำนบุคคลขององค์กรอิสระ ไม่ต้องนำมำตรฐำนทำงจริยธรรมไปใช้
ประกอบกำร จัดทำประมวลจริยธรรม
ข. หน่วยงำนธุรกำรของศำล มิใช่หน่วยงำนของรัฐ
ค. กรรมกำรผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมกำรมำตรฐำนทำงจริยธรรม จะต้องมีอำยุไม่ต่ำกว่ำ
45 ปี
ง. สภำกลำโหมมีหน้ำที่จัดทำประมวลจริยธรรมสำหรับข้ำรำชกำรทหำร และ ข้ำรำชกำร
พลเรือน กลำโหม
282

6. โดยทั่วไปคณะกรรมกำรมำตรฐำนทำงจริยธรรมจะต้องทบทวนมำตรฐำนทำงจริยธรรม ในทุกกี่
ปี
ก. ทุก 2 ปี
ข. ทุก 3 ปี
ค. ทุก 4 ปี
ง. ทุก 5 ปี

7. ข้อใด ไม่ใช่ กรรมกำรมำตรฐำนทำงจริยธรรมโดยตำแหน่ง


ก. ผู้แทนคณะกรรมกำรข้ำรำชกำรตำรวจ
ข. ผู้แทนคณะกรรมกำรข้ำรำชกำรครูและบุคลำกรทำงกำรศึกษำ
ค. ผู้แทนคณะกรรมกำรข้ำรำชกำรพลเรือนในสถำบันอุดมศึกษำ
ง. ผู้แทนคณะกรรมกำรข้ำรำชกำรพลเรือน
8. มำตรฐำนทำงจริยธรรม คือหลักเกณฑ์กำรประพฤติปฏิบัติอย่ำงมีคุณธรรมของ เจ้ำหน้ำที่ของ
รัฐ ยกเว้นข้อใด
ก. กล้ำกระทำในสิ่งที่ถูกต้องชอบธรรม
ข. ดำรงตนเป็นแบบอย่ำงที่ดี
ค. แสวงหำควำมรู้ตลอดชีวิต
ง. มีจิตสำธำรณะ
9. ข้อใด ไม่ใช่ อำนำจและหน้ำที่ของคณะกรรมกำรมำตรฐำนทำงจริยธรรม ตำมพระรำชบัญญัติ
มำตรฐำนทำงจริยธรรม พ.ศ. 2562
ก. ให้คำปรึกษำเกี่ยวกับยุทธศำสตร์ด้ำนมำตรฐำนทำงจริยธรรมต่อคณะรัฐมนตรี
ข. ปฏิบัติหน้ำที่อื่นตำมที่คณะรัฐมนตรีมอบหมำย
ค. ตรวจสอบรำยงำนประจำปีของหน่วยงำนของรัฐ
ง. จัดทำประมวลจริยธรรม
10. หน่วยงำนของรัฐต้องดำเนินกำรในเรื่องใด เพื่อเป็นกำรรักษำจริยธรรมของเจ้ำหน้ำที่ ของ
รัฐ
ก. กำกับ ดูแลกำรดำเนินกระบวนกำรรักษำจริยธรรม
ข. ให้ควำมรู้แก่ประชำชนอย่ำงเท่ำเทียมและเสมอภำค
ค. จัดทำประมวลจริยธรรมให้สอดคล้องตำมยุทธศำสตร์ชำติ
ง. กำหนดให้ผู้รับผิดชอบเกี่ยวกับกำรรักษำจริยธรรมประจำหน่วยงำนของรัฐ
11. พระรำชบัญญัติมำตรฐำนทำงจริยธรรม พ.ศ. 2562 มีผลใช้บังคับตั้งแต่เมื่อใด
ก. วันที่ 16 เมษำยน พ.ศ. 2562
ข. วันที่ 17 เมษำยน พ.ศ. 2562
ค. วันที่ 18 เมษำยน พ.ศ. 2562
283

ง. วันที่ 19 เมษำยน พ.ศ. 2562


12.กำรจัดหลักสูตรกำรฝึกอบรมและเผยแพร่ควำมเข้ำใจเพื่อให้เจ้ำหน้ำที่ของรัฐ มีพฤติกรรมทำง
จริยธรรม เป็นแบบอย่ำงที่ดี เป็นหน้ำที่ในข้อใด
ก. ผู้บังคับบัญชำ
ข. เจ้ำหน้ำที่ของรัฐ
ค. หน่วยงำนของรัฐ
ง. องค์กรกลำงบริหำรงำนบุคคล
13. กรรมกำรผู้ทรงคุณวุฒิ ในคณะกรรมกำรมำตรฐำนจริยธรรม (ก.ม.จ.) พ้นจำกตำแหน่งในข้อ
ใด
ก. คณะรัฐมนตรีมีมติให้ออก
ข. เป็นเจ้ำหน้ำที่ในพรรคกำรเมือง
ค. ครบวำระในกำรดำรงตำแหน่ง 4 ปี
ง. กระทำควำมผิดโดยประมำทและถูกศำลพิพำกษำถึงที่สุดให้จำคุก
14. กำรดำเนินกำรตำมข้อใดถูกต้อง หำกปรำกฏว่ำกำรจัดทำประมวลจริยธรรม ไม่สอดคล้องกับ
มำตรฐำนทำงจริยธรรม
ก. คณะกรรมกำรมำตรฐำนทำงจริยธรรมเสนอรำยงำนต่อคณะรัฐมนตรี
ข. คณะกรรมกำรมำตรฐำนทำงจริยธรรมแจ้งองค์กรกลำงบริหำรงำนบุคคล
ดำเนินกำร แก้ไขให้ถูกต้อง
ค. คณะกรรมกำรมำตรฐำนทำงจริยธรรมออกคำสั่งให้มีกำรแก้ไขให้ถูกต้อง
ง. คณะกรรมกำรมำตรฐำนทำงจริยธรรมเสนอรำยงำนต่อรัฐสภำเพื่อใช้มำตรกำร ด้ำน
งบประมำณ
15. คณะกรรมกำรมำตรฐำนทำงจริยธรรม (ก.ม.จ.) มีหน้ำที่กำกับ ติดตำม และ ประเมินผลกำร
ดำเนินกำรตำมมำตรฐำนทำงจริยธรรม ที่ถูกต้องที่สุดคือข้อใด
ก. ให้หน่วยงำนของรัฐจัดให้มีกำรประเมินพฤติกรรมทำงจริยธรรมสำหรับเจ้ำหน้ำที่ ของ
รัฐ
ข. จัดทำรำยงำนประจำปีของหน่วยงำนของรัฐ
ค. วินิจฉัยปัญหำที่เกิดจำกกำรใช้บังคับพระรำชบัญญัติมำตรฐำนทำงจริยธรรม พ.ศ.
2562
ง. กำหนดแนวทำงกำรบังคับใช้ประมวลจริยธรรมสำหรับเจ้ำหน้ำที่ของรัฐ
16. คณะกรรมกำรมำตรฐำนทำงจริยธรรม เรียกโดยย่อว่ำ
ก. กมจ.
ข. กม.จ.
ค. ก.ม.จ.
ง. ก.มจ.
284

17. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับกรรมกำรผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมกำรมำตรฐำนทำงจริยธรรม
ก. คณะรัฐมนตรีแต่งตั้งไม่เกิน 5 คน
ข. คณะรัฐมนตรีแต่งตั้งไม่เกิน 7 คน
ค. นำยกรัฐมนตรีแต่งตั้งไม่เกิน 5 คน
ง. นำยกรัฐมนตรีแต่งตั้งไม่เกิน 7 คน
18. ผู้รักษำกำรตำมพระรำชบัญญัติมำตรฐำนทำงจริยธรรม พ.ศ. 2562
ก. ประธำนกรรมกำรพิทักษ์ระบบคุณธรรม
ข. ประธำนกรรมกำรข้ำรำชกำรพลเรือน
ค. นำยกรัฐมนตรี
ง. อธิบดีกรมกำรศำสนำ
19. จริยธรรม ตรงกับคำในภำษำอังกฤษข้อใด
ก. Ethic
ข. Integrity
ค. Morality
ง. Occupation
20. ข้อใด ไม่สอดคล้อง กลไกหลักในกำรขับเคลื่อนพระรำชบัญญัติมำตรฐำนทำง จริยธรรม พ.ศ.
2562
ก. แนวนโยบำยพื้นฐำน
ข. คณะกรรมกำรมำตรฐำนทำงจริยธรรม
ค. กำรรักษำจริยธรรมของเจ้ำหน้ำที่ของรัฐ
ง. มำตรฐำนทำงจริยธรรมและประมวลจริยธรรม
285

เฉลยแนวข้อสอบพระรำชบัญญัติมำตรฐำนทำงจริยธรรม พ.ศ. 2562 ชุด 2.


ข้อ เฉลย ข้อ เฉลย

1 ง 11 ข

2 ง 12 ง

3 ค 13 ข

4 ก 14 ข

5 ก 15 ก

6 ง 16 ค

7 ง 17 ค

8 ค 18 ค

9 ง 19 ก

10 ง 20 ก
286

แนวข้อสอบพระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.2546
แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2562) ชุด 1.
1. พระรำชกฤษฎีกำรว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 ได้
ตรำขึ้นตำมกฎหมำยใด
ก. รัฐธรรมนูญแหงรำชอำณำจักรไทยและพระรำชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม
ข. รัฐธรรมนูญแหงรำชอำณำจักรไทยและพระรำชบัญญัติข้ำรำชกำรพลเรือน
ค. รัฐธรรมนูญแหงรำชอำณำจักรไทยและพระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน
ง. พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน และพระรำชบัญญัติวิธีปฎิบัติรำชกำร
ทำงปกครอง
2. ในทำงปฏิบัติรำชกำรส่วนใด จะปฏิบัติเมื่อใดต้องมีเงื่อนไขอย่ำงไร ใครเป็นผู้กำหนดให้ปฏิบัติ
ตำมพระรำชกฤษฎีกำนี้
ก. คณะรัฐมนตรี ข.นำยกรัฐมนตรี
ค. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงนั้น ง.ถูกทุกข้อ
3. หน่วยงำนใดมีหน้ำที่ให้ข้อเสนอแนะ (คณะรัฐมนตรี) ก่อนปฏิบัติตำมพระรำชกฤษฎีกำในกำรที่
จะให้ส่วนรำชกำรปฏิบัติเมื่อใด และจะมีต้องมีเงื่อนไขอย่ำงใด
ก. สำนักงบประมำณ ข.คณะกรรมกำรพัฒนำระบบรำชกำร
ค. ก.พ. ง. สำนักนำยกรัฐมนตรี
4. คำว่ำ“ส่วนรำชกำร” ตำมควำมหมำยพระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำร
กิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 นั้นให้ควำมหมำยถึงส่วนรำชกำรตำมกฎหมำยใด
ก. ตำมกฎหมำยว่ำด้วยกำรปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม
ข. ตำมกฎหมำยระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน
ค. ตำมกฎหมำยรัฐธรรมนูญ และกฎหมำยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ง. ถูกทุกข้อ
5. กำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดีนั้น จะต้องบริหำรรำชกำรให้บรรลุเป้ำหมำยทั้งหมดกี่ประกำร
ข้อใดกล่ำวถูกต้อง
ก. 5 ประกำร
ข. 6 ประกำร
ค. 7 ประกำร
ง. ขึ้นอยู่มติคณะรัฐมนตรีหรือนโยบำยรัฐบำล
6. กำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดีนั้น เป้ำหมำยสูงสุดคือข้อใด
ก. ไมมีขั้นตอนกำรปฏิบัติงำนเกินควำมจำเป็น
ข. มีกำรปรับปรุงภำรกิจของส่วนรำชกำรให้ทันต่อสถำนกำรณ์
ค. ประชำชนได้รับกำรอำนวยควำมสะดวกและได้รบั กำรตอบสนองค์วำมต้องกำร
287

ง. เกิดประโยชน์สุขของประชำชน
7. กำรบริหำรรำชกำรเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขของประชำชน หมำยถึงกำรปฏิบัติรำชกำรที่มี
เป้ำหมำยตำมข้อใด
ก. เกิดควำมผำสุกและควำมเป็นอยู่ที่ดีของประชำชน
ข. เกิดควำมสงบและปลอดภัยของสังคมสวนรวม
ค. เกิดประโยชน์สูงสุดของประเทศ
ง. ถูกทุกข้อ
8. ในกำรบริหำรรำชกำรเพื่อประโยชน์สุขของประชำชน ส่วนรำชกำรจะต้องดำเนินกำรโดยถือ
อะไรเป็นศูนย์กลำงในกำรบริกำรจำกรัฐ
ก. นโยบำยประเทศ ข. สังคมและชุมชน
ค. ผู้นำและประชำชน ง. ประชำชน
9. ในกำรกำหนดภำรกิจของรัฐและส่วนรำชกำรจะต้องเป็นไปเพื่อวัตถุประสงค์ควำมสุขของ
ประชำชนและสอดคล้องตำมข้อใด
ก. สอดคล้องกับยุทธศำสตร์และวิสัยทัศน์กำรพัฒนำประเทศ
ข. สอดคล้องกับแผนพัฒนำเศรษฐกิจสังคมแหงชำติ
ค. สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญแหงรำชอำณำจักรไทยและที่ ก.พ.ร.กำหนด
ง. สอดคล้องกับแนวนโยบำยแหงรัฐและนโยบำยของคณะรัฐมนตรี
10. ในกำรบริหำรรำชกำรเพื่อประโยชน์สุขของประชำชนนั้น ส่วนรำชกำรจะต้องมีแนวทำงใน
กำรบริหำรรำชกำรกี่ข้อ
ก. 5 ข้อ ข. 6 ข้อ ค. 7 ข้อ ง. แล้วแต่ ก.พ.ร. กำหนด
11. ส่วนรำชกำรใด ที่จะดำเนินกำรให้เกิดประโยชน์สูงสุดของประชำชนนั้น จะต้องมีกำรกำหนด
แนวทำงกำรบริหำรรำชกำรตำมข้อใด เป็นอันดับแรก
ก. ศึกษำปัญหำและอุปสรรคก่อนกำรดำเนินกำรแล้วปรับปรุงโดยเร็ว
ข. จะต้องมีกำรศึกษำวิเครำะห์ผลดีผลเสียให้ครบทุกด้ำนที่กระทบต่อประชำชน
ค. กำหนดภำรกิจของรัฐและส่วนรำชกำรให้สอดคล้องกับแนวนโยบำยแหงรัฐและนโยบำย
ของคณะรัฐมนตรี
ง. ถูกทุกข้อ
12. ก่อนดำเนินกำร ส่วนรำชกำรต้องดำเนินกำรอย่ำงไร
ก. จัดให้มีกำรศึกษำ วิเครำะห์ผลดีและผลเสียให้ครบทุกด้ำน
ข. กำหนดขั้นตอนกำรดำเนินกำรที่โปร่งใส มีกลไกตรวจสอบกำรดำเนินกำรในแต่ละ
ขั้นตอน
ค. ในกรณีที่ภำรกิจใด จะมีผลกระทบต่อประชำชน ต้องดำเนินกำรรับฟังควำมคิดเห็นหรือ
ชี้แจงทำควำมเข้ำใจ เพื่อให้ประชำชนตระหนักถึงผลประโยชน์ที่สวนรวมจะได้รับจำกภำรกิจนั้น
ง. ถูกทุกข้อ
288

13. ในทำงปฏิบัติ หำกมีกรณีที่เกิดปัญหำและอุปสรรคจำกดำเนินกำรให้ส่วนรำชกำรปฏิบัติ


อย่ำงไรก่อน
ก. แจ้งก.พ.ร. ทรำบ
ข. แจ้งผู้บังคับบัญชำทรำบ เพื่อเสนอกำรแก้ไขปัญหำและอุปสรรค
ค. แก้ไขปัญหำและอุปสรรคนั้นโดยเร็ว
ง. แจ้งให้ส่วนรำชกำรที่เกี่ยวข้องให้ทรำบปัญหำ
14.ในกรณีที่ปัญหำหรืออุปสรรคนั้นเกิดขึ้นจำกส่วนรำชกำรอื่นหรือระเบียบข้อบังคับที่ออกโดย
ส่วนรำชกำรอื่นให้ดำเนินกำรอย่ำงไร
ก. แจ้งก.พ.ร. ทรำบ เพื่อดำเนินกำรแก้ไขปรับปรุงโดยเร็วต่อไป
ข. แจ้งให้คณะรัฐมนตรีทรำบ เพือ่ ดำเนินกำรแก้ไขปรับปรุงโดยเร็วต่อไป
ค. แจ้งกระทรวงต้นสังกัดทรำบ เพื่อดำเนินกำรแก้ไขปรับปรุงโดยเร็วต่อไป
ง. แจ้งให้ส่วนรำชกำรที่เกี่ยวข้องทรำบ เพื่อดำเนินกำรแก้ไขปรับปรุงโดยเร็วต่อไป
15. ในกำรบริหำรรำชกำรเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภำรกิจของรัฐ ส่วนรำชกำรจะต้องปฏิบัติ
ภำรกิจนั้น จะต้องดำเนินกำรตำมข้อใด เป็นอันดับแรก
ก. กำหนดภำรกิจกำรบริหำรรำชกำรให้สอดคล้องกับแนวนโยบำยของรัฐ
ข. จัดให้มีกำรติดตำมประเมินผลกำรปฏิบัติตำมภำรกิจหลักเกณฑ์และวิธีที่ส่วนรำชกำร
กำหนดขึ้น
ค. รับฟังควำมคิดเห็นและควำมพึงพอใจของประชำชนผู้รับบริกำรมำศึกษำวิเครำะห์แล้ว
กำหนดภำรกิจ
ง. จัดทำแผนปฏิบัติกำรไว้เป็นกำรล่วงหน้ำ โดยมีรำยละเอียดของขั้นตอน ระยะเวลำและ
งบประมำณ ตลอดจนเป้ำหมำย ผลสัมฤทธิ์ และตัวชี้วัดควำมสำเร็จของภำรกิจ

16. “กำรปรับปรุงภำรกิจของส่วนรำชกำร” บัญญัติไว้ในหมวดใดของพระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วย


หลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.2546
ก. หมวด 3
ข. หมวด 4
ค. หมวด 5
ง. หมวด 6
17. หมวด 1 ของพระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี
พ.ศ.2546บัญญัติไว้ด้วยเรื่องใด
ก. บทเบ็ดเตล็ด
ข. กำรบริหำรรำชกำรเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภำรกิจของรัฐ
ค. กำรบริหำรรำชกำรเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขของประชำชน
ง. กำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี
289

18. เหตุผลในกำรประกำศใช้พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำร
บ้ำนเมืองทีดี พ.ศ.2546 คืออะไร
ก. เพื่อให้กำรปฏิบัติงำนของส่วนรำชกำรตอบสนองต่อกำรพัฒนำประเทศ
ข. มีกำรปฏิรูประบบรำชกำร
ค. เพื่อให้กำรบริกำรแกประชำชนได้อย่ำงมีประสิทธิภำพยิ่งขึ้น
ง. ถูกทุกข้อ
19. พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองทีดี พ.ศ.2546 มีผล
บังคับใช้เมื่อใด
ก. วันที่ 9 ตุลำคม 2546
ข. วันที่ 10 ตุลำคม 2546
ค. วันถัดจำกวันประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำ
ง. ถูกทั้ง ข. และ ข้อ ค.
20. หน่วยงำนใดที่มีหน้ำที่ดูแลและให้ควำมช่วยเหลือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในกำรจัดทำ
หลักเกณฑ์กำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี
ก. สำนักนำยกรัฐมนตรี ข. กระทรวงมหำดไทย
ค. คณะรัฐมนตรี ง. ก.พ.ร.
21.หน่วยงำนใดต่อไปนี้ ต้องจัดให้มีหลักเกณฑ์กำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี ตำมพระรำช
กฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.2546
ก. องค์กำรปกครองส่วนท้องถิ่น ข. องค์กรมหำชน
ค. รัฐวิสำหกิจ ง. ถูกทุกข้อ
22.หน่วยงำนใด มีอำนำจเสนอคณะรัฐมนตรีจัดสรรเงินเพิ่มพิเศษหรือจัดสรรเงินรำงวัลกำรเพิ่ม
ประสิทธิภำพให้แก่ส่วนรำชกำร
ก. ส่วนรำชกำรที่ปฏิบัติงำน ข. คณะผู้ประเมินอิสระ
ค. คณะรัฐมนตรี ง. ก.พ.ร.
23. ผู้มีอำนำจในส่วนรำชกำร จัดให้มีกำรประเมินผลกำรปฏิบัติรำชกำรของส่วนรำชกำรเกี่ยวกับ
ผลสัมฤทธิ์ของภำรกิจ คุณภำพกำรให้บริกำร ควำมพึงพอใจของประชำชนผู้รับบริกำรควำมคุ้มค่ำ
ในภำรกิจ คือใคร
ก องค์กำรปกครองส่วนท้องถิ่น
ข. องค์กรมหำชน
ค. รัฐวิสำหกิจ
ง. ถูกทุกข้อ
24.ส่วนรำชกำรต้องจัดให้มีกำรเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องใดบ้ำง
ก. งบประมำณรำยจ่ำยแต่ละปี
ข. กำรจัดซื้อจัดจ้ำงที่จะดำเนินกำรในปีงบประมำณนั้น
290

ค. สัญญำใด ๆ ที่ได้มีกำรอนุมัติให้จัดซื้อหรือจัดจ้ำงแล้ว
ง. ถูกทุกข้อ
25.กำรอำนวยควำมสะดวกและควำมรวดเร็วแก่ประชำชนในกำรติดต่อกับส่วนรำชกำร ทุกแห่ง
ส่วนรำชกำรใดต้องจัดให้มีระบบ สำรสนเทศกลำงขึ้น
ก. กระทรวง ทบวง กรม
ข. จังหวัด อำเภอ
ค. กระทรวงเทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสื่อสำร
ง. ถูกทั้งข้อ ก และ ข
26. ส่วนรำชกำรใด ได้รับกำรติดต่อสอบถำมเป็นหนังสือจำกประชำชนหรือจำกส่วนรำชกำร
ด้วยกัน มีหน้ำที่ต้องตอบคำถำมหรือแจ้งกำรดำเนินกำรให้ทรำบภำยในกี่วัน
ก. 5 วัน ข. 10 วัน ค. 15 วัน ง. 20 วัน
27.ผู้มีหน้ำที่แจ้งให้ประชำชนที่มำติดต่อได้ทรำบในครั้งแรกที่มำติดต่อและตรวจสอบว่ำเอกสำร
หลักฐำนที่จำเป็นนั้นประชำชนได้ยื่นมำครบถ้วนหรือไม่คือใคร
ก. ส่วนรำชกำรที่เกี่ยวข้อง
ข. ปลัดกระทรวง
ค. อธิบดีหรือผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด
ง. เจ้ำหน้ำที่ศูนย์บริกำรรวม
28. ผู้มีหน้ำที่จัดให้ส่วนรำชกำรภำยในกระทรวงจัดตั้งศูนย์บริกำรร่วม เพื่ออำนวยควำมสะดวก
แก่ประชำชนในกำรที่จะต้องปฏิบัติตำมกฎหมำย คือใคร
ก. ปลัดกระทรวง
ข. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวง
ค. รัฐมนตรีชวยว่ำกำรกระทรวง
ง. ถูกทุกข้อ
29. กรณีผู้บังคับบัญชำสั่งรำชกำรด้วยว่ำจำ ผู้รับคำสั่งจะต้องปฏิบัติอย่ำงไร
ก. รีบปฏิบัติรำชกำรตำมคำสั่ง
ข. บันทึกคำสั่งด้วยว่ำจำเป็นลำยลักษณ์อักษร
ค. แจ้งให้ผู้บังคับบัญชำสั่งกำรเป็นลำยลักษณ์อักษร
ง. ถูกทั้ง ข และ ค
30.พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.2546
กำหนดเรื่องกำรสั่งรำชกำรได้อย่ำงไร
ก. ปกติให้กระทำเป็นลำยลักษณ์อักษร
ข. กรณีมีควำมจำเป็นที่ไมอำจสั่งเป็นลำยลักษณ์อักษรในขณะนั้น จะสั่งรำชกำรด้วยว่ำจำก็
ได้
ค. สั่งรำชกำรด้วยว่ำจำหรือลำยลักษณ์อักษรก็ได้แล้วแต่ควำมสะดวกของผู้บังคับบัญชำ
291

ง. ถูกทั้ง ก และ ข
31. กำรจัดซื้อจัดจ้ำง ให้ส่วนรำชกำรดำเนินโดยเปิดเผยและเที่ยงธรรม โดยพิจำรณำถึงอะไรบ้ำง
ก. ประโยชน์และผลเสียทำงสังคม
ข. ภำระต่อประชำชน คุณภำพ วัตถุประสงค์ที่จะใช้
ค. รำคำ และประโยชน์ระยะยำวของส่วนรำชกำร
ง. ถูกทุกข้อ
32. หน่วยงำนใดมีหน้ำที่จัดให้มีกำรประเมินควำมคุ้มค่ำในกำรปฏิบัติภำรกิจของรัฐที่ส่วนรำชกำร
ดำเนินกำรอยู่เพื่อรำยงำนคณะรัฐมนตรี
ก. สำนักงำนคณะกรรมกำรพัฒนำกำรเศรษฐกิจและสังคมแหงชำติ
ข. สำนักงบประมำณ
ค. กรมบัญชีกลำง
ง. ถูกทั้ง ก และ ข
33. ส่วนรำชกำรต้องคำนวณรำยจ่ำยต่อหน่วยของงำนบริกำรสำธำรณะที่อยู่ในควำมรับผิดชอบ
รำยงำนต่อหน่วยงำนใด
ก. สำนักงบประมำณ
ข. ก.พ.ร.
ค. กรมบัญชีกลำง
ง. ถูกทุกข้อ
34. หน่วยงำนใดที่มีหน้ำที่กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีกำรในกำรจัดทำบัญชีต้นทุนในงำนบริกำร
สำธำรณะให้ส่วนรำชกำรปฏิบัติ
ก. สำนักงบประมำณ
ข. คณะรัฐมนตรี
ค. กรมบัญชีกลำง
ง. กระทรวงกำรคลัง
35. หน่วยงำนใดมีหน้ำที่กำหนดแนวทำงกำรจัดทำแผนปฏิบัติรำชกำร
ก. สำนักงบประมำณ
ข. ก.พ.ร.
ค. คณะรัฐมนตรี
ง. ถูกทั้งข้อ ก และ ข
36. ก.พ.ร. หมำยถึงหน่วยงำนใด
ก. คณะกรรมกำรข้ำรำชกำรพลเรือน
ข. คณะกรรมกำรพัฒนำระบบรำชกำร
ค. กองพัฒนำรำชกำร
ง. กรมพัฒนำระบบรำชกำร
292

37. ข้อใดไม่ใช่ “ส่วนรำชกำร “ตำมควำมหมำยใน พรฏ. ว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำร


กิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.2546
ก. กระทรวง
ข. ทบวง
ค. กรม
ง. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
38. ข้อใดไม่ใช่เป้ำหมำยในกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี
ก. เกิดประโยชน์สุขของประชำชน
ข. เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภำรกิจของรัฐ
ค. ภำพพจน์ที่ดีในสำยตำต่ำงประเทศ
ง. มีกำรประเมินผลกำรปฏิบัติรำชกำรอย่ำงสม่ำเสมอ
39. กำรบริกำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี ได้แก่ กำรบริหำรรำชกำรเพื่อบรรลุเป้ำหมำยกี่ข้อ
ก. 5 ข้อ ข. 6 ข้อ ค. 7 ข้อ ง. 8 ข้อ
40. ข้อใดไม่ใช่ควำมหมำยของกำรบริหำรรำชกำรเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขของประชำชน
ก. ควำมผำสุกและควำมเป็นอยู่ที่ดีของประชำชน
ข. ควำมสงบและควำมปลอดภัยของสังคมสวนรวม
ค. ประโยชน์สูงสุดของประเทศ
ง. ขวัญและกำลังใจข้ำรำชกำร
41. ข้อใดไม่ใช่ กำรบริหำรรำชกำรโดยถือประชำชนเป็นศูนย์กลำง
ก. ก่อนดำเนินกำรส่วนรำชกำรต้องจัดให้มีกำรศึกษำวิเครำะห์ผลดีผลเสีย
ข. กำรปฏิบัติภำรกิจของส่วนรำชกำรต้องเป็นไปโดยซื่อสัตย์สุจริต
ค. รับฟังควำมคิดเห็นและควำมพึงพอใจของสังคมโดยสวนรวม
ง. ต้องรำยงำนผลกำรปฏิบัติต่อรัฐสภำอย่ำงน้อยปีละ 1 ครั้ง
42. เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภำรกิจของรัฐ ให้ส่วนรำชกำร
ก. ปรึกษำหำรือกัน
ข. บริหำรรำชกำรแบบบูรณำกำรรวมกัน
ค. ประสำนแผนกัน
ง. สัมมนำรวมกัน
43. กำรบริหำรแบบบูรณำกำรร่วมกันมุ่งให้เกิด
ก. ประโยชน์สุขของประชำชน
ข. ผลสัมฤทธิ์ต่อภำรกิจของรัฐ
ค. ประสิทธิภำพและควำมคุ้มค่ำในเชิงภำรกิจของรัฐ
ง. ไมมีขั้นตอนกำรปฏิบัติงำนเกินควำมจำเป็น
293

44.กำรจัดทำแผนกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน ต้องเสนอต่อ ครม. ภำยในกี่วันนับตั้งแต่วันที่ ครม.


แถลงนโยบำยต่อรัฐสภำ
ก. 45 วัน
ข. 60 วัน
ค. 90 วัน
ง. 120 วัน
45. ในกำรจัดทำแผนกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน ให้จัดทำเป็นแผนกี่ปี
ก. 1 ปี
ข. 2 ปี
ค. 4 ปี
ง. 5 ปี
46. เมื่อมีกำรประกำศใช้บังคับแผนบริหำรรำชกำรแผ่นดิน แล้ว ให้ สำนักงำนคณะกรรมกำร
กฤษฎีกำและสำนักเลขำธิกำรนำยกรัฐมนตรีร่วมกันพิจำรณำจัดทำแผน
ก. นิติรัฐ
ข. นิติบัญญัติ
ค. พัฒนำกฎหมำย
ง. นิติธรรม
47. ในกำรจัดทำแผนปฏิบัติรำชกำรประจำปีของส่วนรำชกำรให้จัดทำทุก..............
ก. ปีงบประมำณ
ข. ปีปฏิทิน
ค. 6 เดือน
ง. 3 เดือน
48. ในกรณีที่ส่วนรำชกำรได้เสนอแผนปฏิบัติรำชกำรในภำรกิจใด ได้รับควำมเห็นชอบจำก
รัฐมนตรีให้หน่วยงำนใดจัดสรรงบประมำณ
ก. สำนักงบประมำณจัดสรรงบประมำณสำหรับภำรกิจนั้น
ข. กระทรวงกำรคลังจัดสรรงบประมำณสำหรับภำรกิจนั้น
ค. กรมบัญชีกลำงจัดสรรงบประมำณสำหรับภำรกิจนั้น
ง. ถูกทุกข้อ
49. ให้ส่วนรำชกำรจัดทำ...................ในงำนบริกำรสำธำรณะแต่ละประเภทขึ้น ตำมหลักเกณฑ์
และวิธีกำรที่กรมบัญชีกลำงกำหนด
ก. ต้นทุน
ข. บัญชี
ค. บัญชีต้นทุน
ง. บัญชีทุน
294

50. ในกำรกระจำยอำนำจกำรตัดสินใจ มุ่งผลเรื่องใด


ก. กำรบริหำรแบบมีสวนรวม
ข. เกิดขวัญและกำลังใจในกำรทำงำน
ค. กำรทำงำนเป็นทีม
ง. ควำมสะดวกและรวดเร็วในกำรบริกำรประชำชน
51. ในกระทรวงหนึ่ง ให้เป็นหน้ำที่ของปลัดกระทรวงที่จะต้องให้ส่วนรำชกำรภำยในกระทรวง
รับผิดชอบปฏิบัติงำนเกี่ยวกับกำรบริกำรประชำชนร่วมกันจัดตั้ง
ก. ศูนย์ประสำนรำชกำร
ข. ศูนย์บริกำรรวม
ค. ศูนย์รับเรื่อง
ง. ศูนย์บริกำรประชำชน
52.กรณีใด มิใช้ กรณีที่มีควำมจำเป็นอย่ำงยิ่งที่กำรปฏิบัติรำชกำร ต้องกำหนดเป็นควำมลับได้
เท่ำที่จำเป็น
ก. ควำมมั่นคงของประเทศ / เศรษฐกิจ
ข. ควำมมั่นคงของรัฐ
ค. กำรรักษำควำมสงบเรียบร้อยของประชำชน
ง. กำรคุ้มครองสิทธิสวนบุคคล
53. ข้อใดไม่ใช่ ให้ส่วนรำชกำรจัดให้มีคณะกรรมกำรประเมินอิสระ ดำเนินกำรประเมินผลกำร
ปฏิบัติรำชกำรของส่วนรำชกำรเกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์ ดังต่อไปนี้
ก. ภำรกิจคุณภำพกำรให้บริกำร
ข. ควำมพึงพอใจของประชำชนผู้รับบริกำร
ค. ควำมคุ้มค่ำในภำรกิจ
ง. ควำมพึงพอใจของข้ำรำชกำร
54. เพื่อประโยชน์ในกำรปฏิบัติรำชกำร ให้เกิดผลสัมฤทธิ์ ก.พ.ร. อำจเสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อ
กำหนดมำตรกำรกำกับกำรปฏิบัติรำชกำร โดยวิธีกำรใด
ก. จัดทำควำมตกลงเป็นลำยลักษณ์อักษร
ข. กำรประเมินคุณภำพ
ค. กำรตรวจสอบภำยใน
ง. กำรประเมินตนเอง
55. เมื่อสิ้นปีงบประมำณส่วนรำชกำรต้องจัดทำรำยงำนแสดงผลสัมฤทธิ์ของแผนปฏิบัติรำชกำร
เสนอต่อผู้ใด
ก. กระทรวงกำรคลัง
ข. สำนักงบประมำณ
ค. คณะรัฐมนตรี
295

ง. กรมบัญชีกลำง
56. ส่วนรำชกำรมีหน้ำที่จัดทำแผนปฏิบัติรำชกำรประจำปีในแต่ละปีงบประมำณเสนอต่อผู้ใด
เพื่อให้ควำมเห็นชอบ
ก. รัฐมนตรี
ข. คณะรัฐมนตรี
ค. ปลัดกระทรวง
ง. อธิบดี
57. แผนนิติบัญญัติเป็นแผนเกี่ยวกับเรื่องใด
ก. กฎหมำยที่จะต้องจัดให้มีขึ้นใหม่
ข. กฎหมำยที่ต้องมีกำรแก้ไขเพิ่มเติม
ค. กฎหมำยที่ต้องยกเลิก
ง. ถูกทุกข้อ
58. เมื่อมีกำรประกำศใช้บังคับแผนกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน แล้ว ใครเป็นผู้มีอำนำจจัดทำแผน
นิติบัญญัติ
ก. คณะกรรมกำรกฤษฎีกำ
ข. สำนักเลขำธิกำรนำยกรัฐมนตรี
ค. คณะรัฐมนตรี
ง. ถูกทั้ง ก และ ข
60. แผนกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน เมื่อได้รับควำมเห็นชอบแล้ว มีผลผูกพันใครบ้ำง
ก. คณะรัฐมนตรี
ข. รัฐมนตรี
ค. ส่วนรำชกำร
ง. ถูกทุกข้อ
61. ผู้มีอำนำจให้ควำมเห็นชอบแผนกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน คือใคร
ก. คณะรัฐมนตรี
ข. สำนักเลขำธิกำรคณะรัฐมนตรี
ค. สำนักงบประมำณ
ง. ถูกทุกข้อ
62. เมื่อคณะรัฐมนตรี ได้แถลงนโยบำยต่อรัฐสภำพแล้ว ส่วนรำชกำรใด มีหน้ำที่จัดทำแผนกำร
บริหำรรำชกำรแผ่นดิน เสนอคณะรัฐมนตรีภำยใน 90 วัน
ก. สำนักเลขำธิกำรคณะรัฐมนตรีและสำนักเลขำธิกำรนำยกรัฐมนตรี
ข. สำนักงำนคณะกรรมกำรพัฒนำกำรและเศรษฐกิจและสังคมแหงชำติ
ค. สำนักงบประมำณ
ง. ถูกทุกข้อ
296

63. ผู้มีอำนำจเสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อกำหนดมำตรฐำนกำกับกำรปฏิบัติรำชกำรคือใคร
ก. ส่วนรำชกำรทุกส่วนรำชกำร
ข. ก.พ.ร.
ค. คณะรัฐมนตรี
ง. ถูกทั้งข้อ ข และ ค.
64. ผู้รับสนองพระบรมรำชโองกำรพระรำชกฤษฎีกำ ว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำร
บ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 คือใคร
ก. นำยชวน หลีกภัย ข. พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ
ค. พันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร ง. นำยบรรหำร ศิลปอำชำ

เฉลย พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.2546แก้ไข


เพิ่มเติม ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2562) ชุด 1.
1.ตอบ “ข้อ ค. รัฐธรรมนูญแหงรำชอำณำจักรไทยและพระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำร
แผนดิน”อธิบำยตำม พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี
พ.ศ.2546พระบำทสมเด็จพระปรมินทรมหำภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมรำชโองกำรโปรดเกล้ำฯ
ให้ประกำศว่ำโดยที่เป็นกำรสมควรกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดีอำศัย
อำนำจตำมควำมในมำตรำ 221 ของรัฐธรรมนูญแหงรำชอำณำจักรไทยประกอบกับมำตรำ 3/1
และมำตรำ 71/10 (5) แหงพระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534 ซึ่ง
แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 จึงทรง
พระกรุณำโปรดเกล้ำฯให้ตรำพระรำชกฤษฎำขึ้นไว้

2.ตอบ “ข้อ ก. คณะรัฐมนตรี”


อธิบำยตำม พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.2546
มำตรำ 3 กำรปฏิบัติตำมพระรำชกฤษฎีกำนี้ในเรื่องใดสมควรที่ส่วนรำชกำรใดจะปฏิบัติ
เมื่อใด และจะต้องมีเงื่อนไขอย่ำงใด ให้เป็นไปตำมที่คณะรัฐมนตรีกำหนด ฯ

3.ตอบ “ข้อ ข. คณะกรรมกำรพัฒนำระบบรำชกำร”


อธิบำยตำม พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.2546
มำตรำ 3 กำรปฏิบัติตำมพระรำชกฤษฎีกำนี้ในเรื่องใดสมควรที่ส่วนรำชกำรใดจะปฏิบัติ
เมื่อใด และจะต้องมีเงื่อนไขอย่ำงใด ให้เป็นไปตำมที่คณะรัฐมนตรีกำหนดตำมข้อเสนอแนะของ
ก.พ.ร.

4.ตอบ “ข้อ ก. ตำมกฎหมำยว่ำด้วยกำรปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม”


297

อธิบำยตำม พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.2546


มำตรำ 4 ในพระรำชกฤษฎีกำนี้“ส่วนรำชกำร” หมำยควำมว่ำ ส่วนรำชกำรตำมกฎหมำย
ว่ำด้วยกำรปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม และ
หน่วยงำนอื่นของรัฐที่อยู่ในกำกับของรำชกำรฝ่ำยบริหำร แต่ไมรวมถึงองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

5.ตอบ “ข้อ ค. 7 ประกำร”


อธิบำยตำม พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.2546
มำตรำ 6 กำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี ได้แก กำรบริหำรรำชกำรเพื่อบรรลุเป้ำหมำย
ดังต่อไปนี้
1. เกิดประโยชน์สุขของประชำชน
2. เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภำรกิจของรัฐ
3. มีประสิทธิภำพและเกิดควำมคุ้มค่ำในเชิงภำรกิจของรัฐ
4. ไมมีขั้นตอนกำรปฏิบัติงำนเกินควำมจำเป็น
5. มีกำรปรับปรุงภำรกิจของส่วนรำชกำรให้ทันต่อสถำนกำรณ_
6. ประชำชนได้รับกำรอำนวยควำมสะดวกและได้รบั กำรตอบสนองค์วำมต้องกำร
7. มีกำรประเมินผลกำรปฏิบัติรำชกำรอย่ำงสม่ำเสมอ

6.ตอบ “ข้อ ง. เกิดประโยชน์สุขของประชำชน”


อธิบำยตำม พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.2546
มำตรำ 6 กำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี ได้แก กำรบริหำรรำชกำรเพื่อบรรลุเป้ำหมำย
ดังต่อไปนี้
1. เกิดประโยชน์สุขของประชำชน
2. เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภำรกิจของรัฐ
3. มีประสิทธิภำพและเกิดควำมคุ้มค่ำในเชิงภำรกิจของรัฐ
4. ไมมีขั้นตอนกำรปฏิบัติงำนเกินควำมจำเป็น
5. มีกำรปรับปรุงภำรกิจของส่วนรำชกำรให้ทันต่อสถำนกำรณ์
6. ประชำชนได้รับกำรอำนวยควำมสะดวกและได้รบั กำรตอบสนองค์วำมต้องกำร
7. มีกำรประเมินผลกำรปฏิบัติรำชกำรอย่ำงสม่ำเสมอ
7.ตอบ “ข้อ ง. ถูกทุกข้อ”
อธิบำยตำม พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.2546
มำตรำ 7 กำรบริหำรรำชกำรเพื่อประโยชน์สุขของประชำชน หมำยถึงกำรปฏิบัติรำชกำรที่
มีเป้ำหมำยเพื่อให้เกิดควำมผำสุกและควำมเป็นอยู่ที่ดีของประชำชน ควำมสงบและปลอดภัยของ
สังคมสวนรวม ตลอดจนประโยชน์สูงสุดของประเทศ
298

8.ตอบ “ข้อ ง. ประชำชน”


อธิบำยตำม พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.2546
มำตรำ 8 ในกำรบริหำรรำชกำรเพื่อประโยชน์สุขของประชำชน ส่วนรำชกำรจะต้อง
ดำเนินกำรโดยถือว่ำประชำชนเป็นศูนย์กลำงที่จะได้รับบริกำรจำกรัฐ และจะต้องมีแนวทำงกำร
บริหำรรำชกำร ฯ

9.ตอบ “ข้อง. สอดคล้องกับแนวนโยบำยแหงรัฐและนโยบำยของคณะรัฐมนตรี”


อธิบำยตำม พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.2546
มำตรำ 8 ในกำรบริหำรรำชกำรเพื่อประโยชน์สุขของประชำชน ส่วนรำชกำรจะต้อง
ดำเนินกำรโดยถือว่ำประชำชนเป็นศูนย์กลำงที่จะได้รับบริกำรจำกรัฐ และจะต้องมีแนวทำงกำร
บริหำรรำชกำรดังต่อไปนี้
(1) กำรกำหนดภำรกิจของรัฐและส่วนรำชกำรต้องเป็นไปเพื่อวัตถุประสงค์ตำมมำตรำ 7 และ
สอดคล้องกับแนวทำงนโยบำยแหงรัฐและนโยบำยของคณะรัฐมนตรีที่แถลงต่อรัฐสภำ
(2) กำรปฏิบัติภำรกิจของส่วนรำชกำรต้องเป็นโดยซื่อสัตย์สุจริต สำมำรถตรวจได้ และมุ่งให้เกิด
ประโยชน์สุขแกประชำชนทั้งในระดับประเทศและท้องถิ่น
(3) ก่อนดำเนินกำร ส่วนรำชกำรต้องจัดให้มีกำรศึกษำวิเครำะห์ผลดีและผลเสียให้ครบถ้วนทุก
ด้ำน กำหนดขั้นตอนกำรดำเนินกำรที่โปรงใส มีกลไกตรวจสอบกำรดำเนินกำรในแต่ละขั้นตอน ใน
กรณีที่ภำรกิจใดจะมีผลกระทบต่อประชำชน ส่วนรำชกำรต้องดำเนินกำรรับฟังควำมคิดเห็นของ
ประชำชนหรือชี้แจงทำควำมเข้ำใจเพื่อให้ประชำชนได้ตระหนักถึงประโยชน์ที่สวนรวมจะได้รับ
ภำรกิจนั้น
(4) ให้เป็นหน้ำที่ของข้ำรำชกำรที่จะต้องคอยรับฟังควำมคิดเห็นและควำมพึงพอใจของสังคม
โดยรวมและประชำชนผู้รับบริกำร เพื่อปรับปรุงหรือเสนอแนะต่อผู้บังคับบัญชำ เพื่อให้มีกำร
ปรับปรุงวิธีปฎิบัติรำชกำรให้เหมำะสม
(5) ในกรณีที่เกิดปัญหำและอุปสรรคจำกกำรดำเนินกำร ให้ส่วนรำชกำรดำเนินกำรแก้ไขปัญหำ
และอุปสรรคนั้นโดยเร็ว ในกรณีที่ปัญหำหรืออุปสรรคนั้นเกิดขึ้นจำกส่วนรำชกำรอื่นหรือระเบียบ
ข้อบังคับที่ออกโดยส่วนรำชกำรอื่น ให้ส่วนรำชกำรแจ้งให้ส่วนรำชกำรที่เกี่ยวข้องทรำบ เพื่อ
ดำเนินกำรแก้ไขปรับปรุงโดยเร็วต่อไปและแจ้งให้ ก.พ.ร.ทรำบด้วยกำรดำเนินกำรตำมวรรคหนึ่ง
ให้ส่วนรำชกำรกำหนดวิธีปฏิบัติให้เหมำะสมกับภำรกิจแต่ละเรื่องทั้งนี้ ก.พ.ร. จะกำหนดแนว
ทำงกำรดำเนินกำรทั่วไปให้ส่วนรำชกำรปฎิบัติให้เป็นไปตำมมำตรำนี้ด้วยก็ได้

10.ตอบ “ข้อ ก. 5 ข้อ”


อธิบำยตำม พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.2546
299

มำตรำ 8 ในกำรบริหำรรำชกำรเพื่อประโยชน์สุขของประชำชน ส่วนรำชกำรจะต้อง


ดำเนินกำรโดยถือว่ำประชำชนเป็นศูนย์กลำงที่จะได้รับบริกำรจำกรัฐ และจะต้องมีแนวทำงกำร
บริหำรรำชกำรดังต่อไปนี้
(1) กำรกำหนดภำรกิจของรัฐและส่วนรำชกำรต้องเป็นไปเพื่อวัตถุประสงค์ตำมมำตรำ 7 และ
สอดคล้องกับแนวทำงนโยบำยแหงรัฐและนโยบำยของคณะรัฐมนตรีที่แถลงต่อรัฐสภำ
(2) กำรปฏิบัติภำรกิจของส่วนรำชกำรต้องเป็นโดยซื่อสัตย์สุจริต สำมำรถตรวจได้ และมุ่งให้เกิด
ประโยชน์สุขแกประชำชนทั้งในระดับประเทศและท้องถิ่น
(3) ก่อนดำเนินกำร ส่วนรำชกำรต้องจัดให้มีกำรศึกษำวิเครำะห์ผลดีและผลเสียให้ครบถ้วนทุก
ด้ำน กำหนดขั้นตอนกำรดำเนินกำรที่โปรงใส มีกลไกตรวจสอบกำรดำเนินกำรในแต่ละขั้นตอน ใน
กรณีที่ภำรกิจใดจะมีผลกระทบต่อประชำชน ส่วนรำชกำรต้องดำเนินกำรรับฟังควำมคิดเห็นของ
ประชำชนหรือชี้แจงทำควำมเข้ำใจเพื่อให้ประชำชนได้ตระหนักถึงประโยชน์ที่สวนรวมจะได้รับ
ภำรกิจนั้น
(4) ให้เป็นหน้ำที่ของข้ำรำชกำรที่จะต้องคอยรับฟังควำมคิดเห็นและควำมพึงพอใจของสังคม
โดยรวมและประชำชนผู้รับบริกำร เพื่อปรับปรุงหรือเสนอแนะต่อผู้บังคับบัญชำ เพื่อให้มีกำร
ปรับปรุงวิธีปฎิบัติรำชกำรให้เหมำะสม
(5) ในกรณีที่เกิดปัญหำและอุปสรรคจำกกำรดำเนินกำร ให้ส่วนรำชกำรดำเนินกำรแก้ไขปัญหำ
และอุปสรรคนั้นโดยเร็ว ในกรณีที่ปัญหำหรืออุปสรรคนั้นเกิดขึ้นจำกส่วนรำชกำรอื่นหรือระเบียบ
ข้อบังคับที่ออกโดยส่วนรำชกำรอื่น ให้ส่วนรำชกำรแจ้งให้ส่วนรำชกำรที่เกี่ยวข้องทรำบ เพื่อ
ดำเนินกำรแก้ไขปรับปรุงโดยเร็วต่อไปและแจงให้ ก.พ.ร.ทรำบด้วยกำรดำเนินกำรตำมวรรคหนึ่ง
ให้ส่วนรำชกำรกำหนดวิธีปฏิบัติให้เหมำะสมกับภำรกิจแต่ละเรื่องทั้งนี้ ก.พ.ร. จะกำหนดแนว
ทำงกำรดำเนินกำรทั่วไปให้ส่วนรำชกำรปฎิบัติให้เป็นไปตำมมำตรำนี้ด้วยก็ได้

11.ตอบ “ข้อ ค. กำหนดภำรกิจของรัฐและส่วนรำชกำรให้สอดคล้องกับแนวนโยบำยแหงรัฐและ


นโยบำยของคณะรัฐมนตรี
อธิบำยตำม พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.2546
มำตรำ 8 ในกำรบริหำรรำชกำรเพื่อประโยชน์สุขของประชำชน ส่วนรำชกำรจะต้อง
ดำเนินกำรโดยถือว่ำประชำชนเป็นศูนย์กลำงที่จะได้รับบริกำรจำกรัฐ และจะต้องมีแนวทำงกำร
บริหำรรำชกำรดังต่อไปนี้
(1) กำรกำหนดภำรกิจของรัฐและส่วนรำชกำรต้องเป็นไปเพื่อวัตถุประสงค์ตำมมำตรำ 7 และ
สอดคล้องกับแนวทำงนโยบำยแหงรัฐและนโยบำยของคณะรัฐมนตรีที่แถลงต่อรัฐสภำ
(2) กำรปฏิบัติภำรกิจของส่วนรำชกำรต้องเป็นโดยซื่อสัตย์สุจริต สำมำรถตรวจได้ และมุ่งให้เกิด
ประโยชน์สุขแกประชำชนทั้งในระดับประเทศและท้องถิ่น
(3) ก่อนดำเนินกำร ส่วนรำชกำรต้องจัดให้มีกำรศึกษำวิเครำะห์ผลดีและผลเสียให้ครบถ้วนทุก
ด้ำน กำหนดขั้นตอนกำรดำเนินกำรที่โปรงใส มีกลไกตรวจสอบกำรดำเนินกำรในแต่ละขั้นตอน ใน
300

กรณีที่ภำรกิจใดจะมีผลกระทบต่อประชำชน ส่วนรำชกำรต้องดำเนินกำรรับฟังควำมคิดเห็นของ
ประชำชนหรือชี้แจงทำควำมเข้ำใจเพื่อให้ประชำชนได้ตระหนักถึงประโยชน์ที่สวนรวมจะได้รับ
ภำรกิจนั้น
(4) ให้เป็นหน้ำที่ของข้ำรำชกำรที่จะต้องคอยรับฟังควำมคิดเห็นและควำมพึงพอใจของสังคม
โดยรวมและประชำชนผู้รับบริกำร เพื่อปรับปรุงหรือเสนอแนะต่อผู้บังคับบัญชำ เพื่อให้มีกำร
ปรับปรุงวิธีปฎิบัติรำชกำรให้เหมำะสม
(5) ในกรณีที่เกิดปัญหำและอุปสรรคจำกกำรดำเนินกำร ให้ส่วนรำชกำรดำเนินกำรแก้ไขปัญหำ
และอุปสรรคนั้นโดยเร็ว ในกรณีที่ปัญหำหรืออุปสรรคนั้นเกิดขึ้นจำกส่วนรำชกำรอื่นหรือระเบียบ
ข้อบังคับที่ออกโดยส่วนรำชกำรอื่น ให้ส่วนรำชกำรแจ้งให้ส่วนรำชกำรที่เกี่ยวข้องทรำบ เพื่อ
ดำเนินกำรแก้ไขปรับปรุงโดยเร็วต่อไปและแจ้งให้ ก.พ.ร.ทรำบด้วยกำรดำเนินกำรตำมวรรคหนึ่ง
ให้ส่วนรำชกำรกำหนดวิธีปฏิบัติให้เหมำะสมกับภำรกิจแต่ละเรื่องทั้งนี้ ก.พ.ร. จะกำหนดแนว
ทำงกำรดำเนินกำรทั่วไปให้ส่วนรำชกำรปฎิบัติให้เป็นไปตำมมำตรำนี้ด้วยก็ได้

12.ตอบ “ข้อ ง. ถูกทุกข้อ”


อธิบำยตำม พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.2546
มำตรำ 8 ในกำรบริหำรรำชกำรเพื่อประโยชน์สุขของประชำชน ส่วนรำชกำรจะต้อง
ดำเนินกำรโดยถือว่ำประชำชนเป็นศูนย์กลำงที่จะได้รับบริกำรจำกรัฐ และจะต้องมีแนวทำงกำร
บริหำรรำชกำรดังต่อไปนี้
(1) กำรกำหนดภำรกิจของรัฐและส่วนรำชกำรต้องเป็นไปเพื่อวัตถุประสงค์ตำมมำตรำ 7 และ
สอดคล้องกับแนวทำงนโยบำยแหงรัฐและนโยบำยของคณะรัฐมนตรีที่แถลงต่อรัฐสภำ
(2) กำรปฏิบัติภำรกิจของส่วนรำชกำรต้องเป็นโดยซื่อสัตย์สุจริต สำมำรถตรวจได้ และมุ่งให้เกิด
ประโยชน์สุขแกประชำชนทั้งในระดับประเทศและท้องถิ่น
(3) ก่อนดำเนินกำร ส่วนรำชกำรต้องจัดให้มีกำรศึกษำวิเครำะห์ผลดีและผลเสียให้ครบถ้วนทุก
ด้ำนกำหนดขั้นตอนกำรดำเนินกำรที่โปรงใส มีกลไกตรวจสอบกำรดำเนินกำรในแต่ละขั้นตอน ใน
กรณีที่ภำรกิจใดจะมีผลกระทบต่อประชำชน ส่วนรำชกำรต้องดำเนินกำรรับฟังควำมคิดเห็นของ
ประชำชนหรือชี้แจงทำควำมเข้ำใจเพื่อให้ประชำชนได้ตระหนักถึงประโยชน์ที่สวนรวมจะได้รับ
ภำรกิจนั้น
(4) ให้เป็นหน้ำที่ของข้ำรำชกำรที่จะต้องคอยรับฟังควำมคิดเห็นและควำมพึงพอใจของสังคม
โดยรวมและประชำชนผู้รับบริกำร เพื่อปรับปรุงหรือเสนอแนะต่อผู้บังคับบัญชำ เพื่อให้มีกำร
ปรับปรุงวิธีปฎิบัติรำชกำรให้เหมำะสม
(5) ในกรณีที่เกิดปัญหำและอุปสรรคจำกกำรดำเนินกำร ให้ส่วนรำชกำรดำเนินกำรแก้ไขปัญหำ
และอุปสรรคนั้นโดยเร็ว ในกรณีที่ปัญหำหรืออุปสรรคนั้นเกิดขึ้นจำกส่วนรำชกำรอื่นหรือระเบียบ
ข้อบังคับที่ออกโดยส่วนรำชกำรอื่น ให้ส่วนรำชกำรแจ้งให้ส่วนรำชกำรที่เกี่ยวข้องทรำบ เพื่อ
ดำเนินกำรแก้ไขปรับปรุงโดยเร็วต่อไป
301

และแจ้งให้ ก.พ.ร.ทรำบด้วย
กำรดำเนินกำรตำมวรรคหนึ่ง ให้ส่วนรำชกำรกำหนดวิธีปฏิบัติให้เหมำะสมกับภำรกิจแต่ละ
เรื่องทั้งนี้ ก.พ.ร. จะกำหนดแนวทำงกำรดำเนินกำรทั่วไปให้ส่วนรำชกำรปฏิบัติให้เป็นไปตำม
มำตรำนี้ด้วยก็ได้

13.ตอบ “ข้อ ค. แก้ไขปัญหำและอุปสรรคนั้นโดยเร็ว”


อธิบำยตำม พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.2546
มำตรำ 8 ในกำรบริหำรรำชกำรเพื่อประโยชน์สุขของประชำชน ส่วนรำชกำรจะต้อง
ดำเนินกำรโดยถือว่ำประชำชนเป็นศูนย์กลำงที่จะได้รับบริกำรจำกรัฐ และจะต้องมีแนวทำงกำร
บริหำรรำชกำรดังต่อไปนี้
(1) กำรกำหนดภำรกิจของรัฐและส่วนรำชกำรต้องเป็นไปเพื่อวัตถุประสงค์ตำมมำตรำ 7 และ
สอดคล้องกับแนวทำงนโยบำยแหงรัฐและนโยบำยของคณะรัฐมนตรีที่แถลงต่อรัฐสภำ
(2) กำรปฏิบัติภำรกิจของส่วนรำชกำรต้องเป็นโดยซื่อสัตย์สุจริต สำมำรถตรวจได้ และมุ่งให้เกิด
ประโยชน์สุขแกประชำชนทั้งในระดับประเทศและท้องถิ่น
(3) ก่อนดำเนินกำร ส่วนรำชกำรต้องจัดให้มีกำรศึกษำวิเครำะห์ผลดีและผลเสียให้ครบถ้วนทุก
ด้ำนกำหนดขั้นตอนกำรดำเนินกำรที่โปรงใส มีกลไกตรวจสอบกำรดำเนินกำรในแต่ละขั้นตอน ใน
กรณีที่ภำรกิจใดจะมีผลกระทบต่อประชำชน ส่วนรำชกำรต้องดำเนินกำรรับฟังควำมคิดเห็นของ
ประชำชนหรือชี้แจงทำควำมเข้ำใจเพื่อให้ประชำชนได้ตระหนักถึงประโยชน์ที่สวนรวมจะได้รับ
ภำรกิจนั้น
(4) ให้เป็นหน้ำที่ของข้ำรำชกำรที่จะต้องคอยรับฟังควำมคิดเห็นและควำมพึงพอใจของสังคม
โดยรวมและประชำชนผู้รับบริกำร เพื่อปรับปรุงหรือเสนอแนะต่อผู้บังคับบัญชำ เพื่อให้มีกำร
ปรับปรุงวิธีปฎิบัติรำชกำรให้เหมำะสม
(5) ในกรณีที่เกิดปัญหำและอุปสรรคจำกกำรดำเนินกำร ให้ส่วนรำชกำรดำเนินกำรแก้ไขปัญหำ
และอุปสรรคนั้นโดยเร็ว ในกรณีที่ปัญหำหรืออุปสรรคนั้นเกิดขึ้นจำกส่วนรำชกำรอื่นหรือระเบียบ
ข้อบังคับที่ออกโดยส่วนรำชกำรอื่น ให้ส่วนรำชกำรแจ้งให้ส่วนรำชกำรที่เกี่ยวข้องทรำบ เพื่อ
ดำเนินกำรแก้ไขปรับปรุงโดยเร็วต่อไปและแจ้งให้ ก.พ.ร.ทรำบด้วยกำรดำเนินกำรตำมวรรคหนึ่ง
ให้ส่วนรำชกำรกำหนดวิธีปฏิบัติให้เหมำะสมกับภำรกิจแต่ละเรื่องทั้งนี้ ก.พ.ร. จะกำหนดแนว
ทำงกำรดำเนินกำรทั่วไปให้ส่วนรำชกำรปฎิบัติให้เป็นไปตำมมำตรำนี้ด้วยก็ได้

14.ตอบ “ข้อ ง .แจ้งให้ส่วนรำชกำรที่เกี่ยวข้องทรำบ เพื่อดำเนินกำรแก้ไขปรับปรุงโดยเร็วต่อไป


อธิบำยตำม พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.2546
มำตรำ 8 ในกำรบริหำรรำชกำรเพื่อประโยชน์สุขของประชำชน ส่วนรำชกำรจะต้อง
ดำเนินกำรโดยถือว่ำประชำชนเป็นศูนย์กลำงที่จะได้รับบริกำรจำกรัฐ และจะต้องมีแนวทำงกำร
บริหำรรำชกำรดังต่อไปนี้
302

(1) กำรกำหนดภำรกิจของรัฐและส่วนรำชกำรต้องเป็นไปเพื่อวัตถุประสงค์ตำมมำตรำ 7 และ


สอดคล้องกับแนวทำงนโยบำยแหงรัฐและนโยบำยของคณะรัฐมนตรีที่แถลงต่อรัฐสภำ
(2) กำรปฏิบัติภำรกิจของส่วนรำชกำรต้องเป็นโดยซื่อสัตย์สุจริต สำมำรถตรวจได้ และมุ่งให้เกิด
ประโยชน์สุขแกประชำชนทั้งในระดับประเทศและท้องถิ่น
(3) ก่อนดำเนินกำร ส่วนรำชกำรต้องจัดให้มีกำรศึกษำวิเครำะห์ผลดีและผลเสียให้ครบถ้วนทุก
ด้ำนกำหนดขั้นตอนกำรดำเนินกำรที่โปรงใส มีกลไกตรวจสอบกำรดำเนินกำรในแต่ละขั้นตอน ใน
กรณีที่ภำรกิจใดจะมีผลกระทบต่อประชำชน ส่วนรำชกำรต้องดำเนินกำรรับฟังควำมคิดเห็นของ
ประชำชนหรือชี้แจงทำควำมเข้ำใจเพื่อให้ประชำชนได้ตระหนักถึงประโยชน์ที่สวนรวมจะได้รับ
ภำรกิจนั้น
(4) ให้เป็นหน้ำที่ของข้ำรำชกำรที่จะต้องคอยรับฟังควำมคิดเห็นและควำมพึงพอใจของสังคม
โดยรวมและประชำชนผู้รับบริกำร เพื่อปรับปรุงหรือเสนอแนะต่อผู้บังคับบัญชำ เพือ่ ให้มีกำร
ปรับปรุงวิธีปฎิบัติรำชกำรให้เหมำะสม
(5) ในกรณีที่เกิดปัญหำและอุปสรรคจำกกำรดำเนินกำร ให้ส่วนรำชกำรดำเนินกำรแก้ไขปัญหำ
และอุปสรรคนั้นโดยเร็ว ในกรณีที่ปัญหำหรืออุปสรรคนั้นเกิดขึ้นจำกส่วนรำชกำรอื่นหรือระเบียบ
ข้อบังคับที่ออกโดยส่วนรำชกำรอื่น ให้ส่วนรำชกำรแจ้งให้ส่วนรำชกำรที่เกี่ยวข้องทรำบ เพื่อ
ดำเนินกำรแก้ไขปรับปรุงโดยเร็วต่อไปและแจ้งให้ ก.พ.ร.ทรำบด้วยกำรดำเนินกำรตำมวรรคหนึ่ง
ให้ส่วนรำชกำรกำหนดวิธีปฏิบัติให้เหมำะสมกับภำรกิจแต่ละเรื่องทั้งนี้ ก.พ.ร. จะกำหนดแนว
ทำงกำรดำเนินกำรทั่วไปให้ส่วนรำชกำรปฎิบัติให้เป็นไปตำมมำตรำนี้ด้วยก็ได้

15.ตอบ “ข้อ ง. จัดทำแผนปฏิบัติกำรไว้เป็นกำรล่วงหน้ำ โดยมีรำยละเอียดของขั้นตอน


ระยะเวลำและงบประมำณตลอดจนเป้ำหมำย ผลสัมฤทธิ์ และตัวชี้วัดควำมสำเร็จของภำรกิจ
อธิบำยตำม พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.2546
มำตรำ 9 กำรบริหำรรำชกำรเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภำรกิจของรัฐ ให้ส่วนรำชกำรปฏิบัติ
ดังนี้
(1) ก่อนดำเนินกำรภำรกิจใด ส่วนรำชกำรต้องจัดทำแผนปฏิบัติรำชกำรไว้เป็นกำรล่วงหน้ำ
(2) กำรกำหนดแผนปฏิบัติรำชกำรของส่วนรำชกำร (1) ต้องมีรำยละเอียดของขั้นตอน ระยะเวลำ
และงบประมำณที่จะต้องใช้ในกำรดำเนินกำรของแต่ละขั้นตอน เป้ำหมำยของภำรกิจ ผลสัมฤทธิ์
ของภำรกิจและตัวชี้วัดควำมสำเร็จของภำรกิจ
(3) ส่วนรำชกำรต้องจัดให้มีกำรติดตำมและประเมินผลกำรปฏิบัติตำมแผนปฏิบัติรำชกำร ตำม
หลักเกณฑ์และวิธีกำรที่ส่วนรำชกำรกำหนดขึ้น ซึ่งต้องสอดคล้องกับมำตรฐำนที่ ก.พ.ร.กำหนด
(4) ในกรณีที่กำรปฏิบัติภำรกิจ หรือกำรปฏิบัติตำมแผนปฏิบัติรำชกำรเกิดผลกระทบต่อ
ประชำชน ให้เป็นหน้ำที่ของส่วนรำชกำรที่จะต้องดำเนินกำรแก้ไขหรือบรรเทำผลกระทบนั้น หรือ
เปลี่ยนแผนปฏิบัติรำชกำรให้เหมำะสม
303

16. ตอบ “ข้อ ง. หมวด 6”


อธิบำยตำม พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.2546
หมวด 6 กำรปรับปรุงภำรกิจของส่วนรำชกำร

17.ตอบ “ข้อ ง. กำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี”


อธิบำยตำม พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.2546
หมวด 1 กำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี

18.ตอบ “ข้อ ง. ถูกทุกข้อ”


อธิบำยตำม พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.2546
หมำยเหตุ :- เหตุผลในกำรประกำศใช้พระรำชกฤษฎีกำฉบับนี้ คือ โดยที่มีกำรปฏิรูประบบรำชกำร
เพื่อให้กำรปฏิบัติงำนของส่วนรำชกำรตอบสนองต่อกำรพัฒนำประเทศ และให้บริกำรแก
ประชำชนได้อย่ำงมีประสิทธิภำพยิ่งขึ้น ซึ่งกำรบริหำรรำชกำรและกำรปฏิบัติหน้ำที่ของส่วน
รำชกำรนี้ ต้องใช้วิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดีเพื่อให้บริหำรรำชกำรแผนดินเป็นไปเพื่อ
ประโยชน์สุขของประชำชน เกิดผลสัมฤทธิต์ ่อภำรกิจของรัฐ มีประสิทธิภำพ เกิดควำมคุ้มค่ำในเชิง
ภำรกิจของรัฐ ลดขั้นตอนกำรปฏิบัติงำนที่เกินควำมจำเป็น และประชำชนได้รบั กำรอำนวยควำม
สะดวกและได้รับกำรตอบสนองค์วำมต้องกำร รวมทั้งมีกำรประเมินผลกำรปฎิบัติรำชกำรอย่ำง
สม่ำเสมอ และเนื่องจำกมำตรำ 7/1 แห่งพระรำชบัญญัติบริหำรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 25345
บัญญัติให้กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีกำรในกำรปฏิบัติรำชกำร และกำรสั่งกำรให้ส่วนรำชกำรและ
ข้ำรำชกำรปฏิบัติรำชกำรเพื่อให้กำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี กระทำโดยตรำเป็นพระรำชกฤษฏี
กำ จึงจำเป็นต้องพระรำชกฤษฎีนี้

19.ตอบ “ข้อง. ถูกทั้ง ข. และ ข้อ ค.”


อธิบำยตำม พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.2546
มำตรำ 2 พระรำชกฤษฎีกำนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจำกวันประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำ
เป็นต้นไป (ประกำศรำชกิจจำนุเบกษำ เล่ม 120 ตอนที่ 100 ก วันที่ 9 ตุลำคม 2546)ดังนั้น มี
ผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 10 ตุลำคม 2546 เป็นต้นไป

20.ตอบ “ข้อ ข. กระทรวงมหำดไทย”


อธิบำยตำม พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.2546
มำตรำ 52 ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดทำหลักเกณฑ์กำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี
ตำมแนวทำงของพระรำชกฤษฎีกำนี้ โดยอย่ำงน้อยต้องมีหลักเกณฑ์เกี่ยวกับกำรลดขั้นตอนกำร
ปฏิบัติงำน และกำรอำนวยควำมสะดวกและกำรตอบสนองค์วำมต้องกำรของประชำชนที่
304

สอดคล้องกับบทบัญญัติในหมวด 5 และหมวด 7ให้เป็นหน้ำที่ของกระทรวงมหำดไทยดูแลและให้


ควำมชวยเหลือ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในกำรจัดทำ
หลักเกณฑ์ตำมวรรคหนึ่ง

21.ตอบ “ข้อ ง. ถูกทุกข้อ”


อธิบำยตำม พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.2546
มำตรำ 52 ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดทำหลักเกณฑ์กำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี
ตำมแนวทำงของพระรำชกฤษฎีกำนี้ โดยอย่ำงน้อยต้องมีหลักเกณฑ์เกี่ยวกับกำรลดขั้นตอนกำร
ปฏิบัติงำน และกำรอำนวยควำมสะดวกและกำรตอบสนองค์วำมต้องกำรของประชำชนที่
สอดคล้องกับบทบัญญัติในหมวด 5 และหมวด 7ให้เป็นหน้ำที่ของกระทรวงมหำดไทยดูแลและให้
ควำมชวยเหลือ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในกำรจัดทำหลักเกณฑ์ตำมวรรคหนึ่ง
มำตรำ 53 ให้องค์กำรมหำชนและรัฐวิสำหกิจ จัดให้มีหลักเกณฑ์กำรบริหำรกิจกำร
บ้ำนเมืองที่ดีตำมแนวทำงของพระรำชกฤษฎีกำนี้ในกรณีที่ ก.พ.ร. เห็นว่ำองค์กำรมหำชนหรือ
รัฐวิสำหกิจใดไมจัดให้มีหลักเกณฑ์ตำมวรรคหนึ่ง หรือมีแต่ไมสอดคล้องกับพระรำชกฤษฎีกำนี้ ให้
แจ้งรัฐมนตรีซึ่งมีหน้ำที่กำกับดูแลองค์กำรมหำชนหรือรัฐวิสำหกิจ เพื่อพิจำรณำสั่งกำรให้องค์กำร
มหำชนหรือรัฐวิสำหกิจนั้นดำเนินกำรให้ถูกต้องต่อไป

22.ตอบ “ข้อ ง. ก.พ.ร.”


อธิบำยตำม พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.2546
มำตรำ 48 ในกรณีที่ส่วนรำชกำรใดดำเนินกำรให้บริกำรที่มีคุณภำพและเป็นไปตำม
เป้ำหมำยที่กำหนดรวมทั้งเป็นที่พึงพอใจแกประชำชน ให้ ก.พ.ร.เสนอคณะรัฐมนตรีจัดสรรเงินเพิ่ม
พิเศษเป็นบำเหน็จควำมชอบแกส่วนรำชกำร หรือให้ส่วนรำชกำรใช้เงินงบประมำณเหลือจ่ำยของ
ส่วนรำชกำรนั้น เพื่อนำไปใช้ในกำรปรับปรุงกำรปฏิบัติงำนของส่วนรำชกำรหรือจัดสรรเป็นรำงวัล
ให้ข้ำรำชกำรในสังกัด ทั้งนี้ ตำมหลักเกณฑ์และวิธีกำรที่ ก.พ.ร.กำหนดโดยควำมเห็นชอบของ
คณะรัฐมนตรี
มำตรำ 49 เมื่อส่วนรำชกำรใดได้ดำเนินงำนไปตำมเป้ำหมำย สำมำรถเพิ่มผลงำน และ
ผลสัมฤทธิโ์ ดยไมเป็นกำรเพิ่มคำใช้จ่ำยและคุ้มค่ำต่อภำรกิจของรัฐ หรือสำมำรถดำเนินกำรตำม
แผนกำรลดคำใช้จ่ำยต่อหน่วยได้ตำมหลักเกณฑ์ที่ ก.พ.ร. กำหนด ให้ ก.พ.ร. เสนอคณะรัฐมนตรี
จัดสรรเงินรำงวัลกำรเพิ่มประสิทธิภำพให้แกส่วนรำชกำรนั้น หรือให้ส่วนรำชกำรใช้เงิน
งบประมำณเหลือจ่ำยของส่วนรำชกำรนั้น เพื่อนำไปใช้ในกำรปรับปรุงกำรปฏิบัติงำนของส่วน
รำชกำรหรือจัดสรรเป็นรำงวัลให้ข้ำรำชกำรในสังกัด ทั้งนี้ ตำมหลักเกณฑ์และวิธีกำรที่ ก.พ.ร.
กำหนดโดยควำมเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี
305

23.ตอบ “ข้อ ง. ถูกทุกข้อ”


อธิบำยตำม พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.2546
มำตรำ 9 กำรบริหำรรำชกำรเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภำรกิจของรัฐ ให้ส่วนรำชกำรปฏิบัติ
ดังต่อไปนี้
(1) ก่อนจะดำเนินกำรตำมภำรกิจใด ส่วนรำชกำรต้องจัดทำแผนปฏิบัติรำชกำรไว้เป็นกำร
ล่วงหน้ำ
(2) กำรกำหนดแผนปฏิบัติรำชกำรของส่วนรำชกำรตำม(1)ต้องมีรำยละเอียดของขั้นตอน
ระยะเวลำและงบประมำณที่จะต้องใช้ในกำรดำเนินกำรของแต่ละขั้นตอนเป้ำหมำยของภำรกิจ
ผลสัมฤทธิ์ของภำรกิจ และตัวชี้วัดควำมสำเร็จของภำรกิจ
(3) ส่วนรำชกำรต้องจัดให้มีกำรติดตำมและประเมินผลกำรปฏิบัติ ตำมแผนปฏิบัติรำชกำรตำม
หลักเกณฑ์และวิธีกำรที่ส่วนรำชกำรกำหนดขึ้น ซึ่งต้องสอดคล้องกับมำตรฐำนที่ ก.พ.ร. กำหนด
(4) ในกรณีที่กำรปฏิบัติภำรกิจ หรือกำรปฏิบัติตำมแผนปฏิบัติรำชกำรเกิดผลกระทบต่อประชำชน
ให้เป็นหน้ำที่ของส่วนรำชกำรที่จะต้องดำเนินกำรแก้ไขหรือบรรเทำผลกระทบนั้น หรือเปลี่ยน
แผนปฏิบัติรำชกำรให้เหมำะสม
มำตรำ 45 นอกจำกกำรจัดให้มีกำรประเมินผลตำม มำตรำ 9 (3)แล้วให้ส่วนรำชกำรจัด
ให้มีคณะผู้ประเมินอิสระดำเนินกำรประเมินผลกำรปฏิบัติรำชกำรของส่วนรำชกำรเกี่ยวกับ
ผลสัมฤทธิ์ของภำรกิจ คุณภำพกำรให้บริกำร ควำมพึงพอใจของประชำชนผู้รับบริกำร ควำมคุ้มค่ำ
ในภำรกิจ ทั้งนี้ ตำมหลักเกณฑ์ วิธีกำร และระยะเวลำที่ ก.พ.ร.กำหนด
24.ตอบ “ข้อ ง. ถูกทุกข้อ”
อธิบำยตำม พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.2546
มำตรำ 44 ส่วนรำชกำรต้องจัดให้มีกำรเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับงบประมำณรำยจ่ำยแต่ละปี
รำยกำรเกี่ยวกับกำรจัดซื้อหรือจัดจ้ำงที่จะดำเนินกำรในปีงบประมำณนั้น และสัญญำใด ๆ ที่ได้มี
กำรอนุมัติให้จัดซื้อหรือจัดจ้ำงแล้ว ให้ประชำชนสำมำรถขอดูหรือตรวจสอบได้ ณ สถำนที่ทำกำร
ของส่วนรำชกำร และระบบเครือขำยสำรสนเทศของส่วนรำชกำร ทั้งนี้ กำรเปิดเผยข้อมูลดังกล่ำว
ต้องไมกอให้เกิดควำมได้เปรียบหรือเสียเปรียบหรือควำมเสียหำยแกบุคคลใดในกำรจัดซื้อหรือจัด
จ้ำงในกำรจัดทำสัญญำจัดซื้อหรือจัดจ้ำง ห้ำมมิให้มีข้อควำมหรือข้อตกลงห้ำมมิให้เปิดเผย
ข้อควำมหรือข้อตกลงในสัญญำดังกล่ำว เว้นแต่ข้อมูลดังกล่ำวเป็นข้อมูลที่อยู่ภำยใต้บังคับกฎหมำย
กฎ ระเบียบ หรือข้อบังคับที่เกี่ยวกับกำรคุ้มครองค์วำมลับทำงรำชกำรหรือในสวนที่เป็นควำมลับ
ทำงกำรค้ำ

25.ตอบ “ข้อ ค. กระทรวงเทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสื่อสำร”


อธิบำยตำม พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.2546
มำตรำ 40 เพื่ออำนวยควำมสะดวกและควำมรวดเร็วแกประชำชนในกำรติดต่อกับส่วน
รำชกำรทุกแหงให้กระทรวงเทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสื่อสำรจัดให้มีระบบเครือขำย
306

สำรสนเทศกลำงขึ้นในกรณีที่ส่วนรำชกำรใดไมอำจจัดให้มีระบบเครือขำยสำรสนเทศของส่วน
รำชกำรได้ อำจร้องขอให้กระทรวงเทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสื่อสำรดำเนินกำรจัดทำระบบ
เครือขำยสำรสนเทศของส่วนรำชกำรดังกล่ำวก็ได้ ในกำรนี้กระทรวงเทคโนโลยีสำรสนเทศและกำร
สื่อสำรจะขอให้ส่วนรำชกำรให้ควำมช่วยเหลือด้ำนบุคลำกรคำใช้จ่ำยและข้อมูลในกำรดำเนินกำรก็
ได้

26.ตอบ “ข้อ ค. 15 วัน”


อธิบำยตำม พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.2546
มำตรำ 38 เมื่อส่วนรำชกำรใดได้รับกำรติดต่อสอบถำมเป็นหนังสือจำกประชำชน หรือ
จำกส่วนรำชกำรด้วยกันเกี่ยวกับงำนที่อยู่ในอำนำจหน้ำที่ของส่วนรำชกำรนั้น ให้เป็นหน้ำที่ของ
ส่วนรำชกำรนั้นที่จะต้องตอบคำถำม
หรือแจ้งกำรดำเนินกำรให้ทรำบภำยในสิบห้ำวันหรือภำยในกำหนดเวลำที่กำหนดไว้ตำม มำตรำ
37
มำตรำ 37 ในกำรปฏิบัติรำชกำรที่เกี่ยวข้องกับกำรบริกำรประชำชนหรือติดต่อ
ประสำนงำนระหว่ำงส่วนรำชกำรด้วยกัน ให้ส่วนรำชกำรกำหนดระยะเวลำแล้วเสร็จของงำนแต่ละ
งำน และประกำศให้ประชำชนและข้ำรำชกำรทรำบเป็นกำรทั่วไป ส่วนรำชกำรใดมิได้กำหนด
ระยะเวลำแล้วเสร็จของงำนใด และ ก.พ.ร. พิจำรณำเห็นว่ำงำนนั้นมีลักษณะที่สำมำรถกำหนด
ระยะเวลำแล้วเสร็จได้ หรือส่วนรำชกำรได้กำหนดระยะเวลำแล้วเสร็จไว้แต่ ก.พ.ร. เห็นว่ำเป็น
ระยะเวลำที่ลำช้ำเกินสมควร ก.พ.ร. จะกำหนดเวลำแล้วเสร็จให้ส่วนรำชกำรนั้นต้องปฏิบัติก็
ได้ให้เป็นหน้ำที่ของผู้บังคับบัญชำที่จะต้องตรวจสอบ ให้ข้ำรำชกำรปฏิบัติงำนให้แล้วเสร็จตำม
กำหนดเวลำตำมวรรคหนึ่ง

27.ตอบ “ข้อ ง. เจ้ำหน้ำที่ศูนย์บริกำรรวม”


อธิบำยตำม พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.2546
มำตรำ 31 ในศูนย์บริกำรรวมตำม มำตรำ 30 ให้จัดให้มีเจ้ำหน้ำที่รับเรื่องรำวตำง ๆ และ
ดำเนินกำรส่งต่อให้เจ้ำหน้ำที่ของส่วนรำชกำรที่เกี่ยวข้องเพื่อดำเนินกำรต่อไป โดยให้มีข้อมูลและ
เอกสำรที่เกี่ยวข้องกับอำนำจหน้ำที่ของทุกส่วนรำชกำรในกระทรวง รวมทั้งแบบคำขอตำง ๆ ไว้ให้
พร้อมที่จะบริกำรประชำชนได้ ณ ศูนย์บริกำรรวมให้เป็นหน้ำที่ส่วนรำชกำรที่เกี่ยวข้องที่จะต้อง
จัดพิมพ์รำยละเอียดของเอกสำรหลักฐำน ที่ประชำชนจะต้องจัดหำมำในกำรขออนุมัติหรือขอ
อนุญำตในแต่ละเรื่องมอบให้แกเจ้ำหน้ำที่ของศูนย์บริกำรรวม และให้เป็น
หน้ำที่ของเจ้ำหน้ำที่ศูนย์บริกำรรวมที่จะต้องแจ้งให้ประชำชนที่มำติดต่อได้ทรำบในครั้งแรที่มำ
ติดต่อ และตรวจสอบว่ำเอกสำรหลักฐำนที่จำเป็นดังกล่ำวนั้นประชำชนได้ยื่นมำครบถ้วนหรือไม
พร้อมทั้งแจ้งให้ทรำบถึงระยะเวลำที่จะต้องใช้ดำเนินกำรในเรื่องนั้นในกำรยื่นคำร้องหรือคำขอต่อ
307

ศูนย์บริกำรรวมตำม มำตรำ 30 ให้ถือว่ำเป็นกำรยื่นต่อส่วนรำชกำรที่เกี่ยวข้องทั้งหมดตำมที่ระบุ


ไว้ในกฎหมำยหรือกฎแล้ว
ในกำรดำเนินกำรตำมวรรคหนึ่ง หำกมีปัญหำ หรืออุปสรรคในกำรปฏิบัติรำชกำรให้เป็นไป
ตำมหลักเกณฑ์และวิธีกำรที่กำหนดในกฎหมำยหรือกฎในเรื่องใด ให้ส่วนรำชกำรที่เกี่ยวข้องแจ้งให้
ก.พ.ร. ทรำบ เพื่อดำเนินกำรเสนอคณะรัฐมนตรีให้มีกำรปรับปรุงหลักเกณฑ์และวิธีกำรตำม
กฎหมำยหรือกฎนั้นต่อไป
มำตรำ 30 ในกระทรวงหนึ่ง ให้เป็นหน้ำที่ของปลัดกระทรวงที่จะต้องจัดให้ส่วนรำชกำร
ภำยใน กระทรวงที่รับผิดชอบปฏิบัติงำนเกี่ยวกับกำรบริกำรประชำชนรวมกันจัดตั้งศูนย์บริกำร
รวม เพื่ออำนวยควำมสะดวกแกประชำชนในกำรที่จะต้องปฏิบัติตำมกฎหมำยหรือกฎอื่นใด ทั้งนี้
เพื่อให้ประชำชนสำมำรถติดต่อสอบถำม ขอทรำบข้อมูล ขออนุญำต หรือขออนุมัติในเรื่องใด ๆ ที่
เป็นอำนำจหน้ำที่ของส่วนรำชกำรในกระทรวงเดียวกัน โดยติดต่อเจ้ำหน้ำที่ ณ ศูนย์บริกำรรวม
เพียงแห่งเดียว

28.ตอบ “ข้อ ก. ปลัดกระทรวง”


อธิบำยตำม พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.2546
มำตรำ 30 ในกระทรวงหนึ่ง ให้เป็นหน้ำที่ของปลัดกระทรวงที่จะต้องจัดให้ส่วนรำชกำร
ภำยใน กระทรวงที่รับผิดชอบปฏิบัติงำนเกี่ยวกับกำรบริกำรประชำชนรวมกันจัดตั้งศูนย์บริกำร
รวม เพื่ออำนวยควำมสะดวกแก่ประชำชนในกำรที่จะต้องปฏิบัติตำมกฎหมำยหรือกฎอื่นใด ทั้งนี้
เพื่อให้ประชำชนสำมำรถติดต่อสอบถำม ขอทรำบข้อมูล ขออนุญำต หรือขออนุมัติในเรื่องใด ๆ ที่
เป็นอำนำจหน้ำที่ของส่วนรำชกำรในกระทรวงเดียวกัน โดยติดต่อเจ้ำหน้ำที่ ณ ศูนย์บริกำรรวม
เพียงแหงเดียว

29.ตอบ “ข้อ ข. บันทึกคำสั่งด้วยว่ำจำเป็นลำยลักษณ์อักษร”


อธิบำยตำม พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.2546
มำตรำ 26 กำรสั่งรำชกำรโดยปกติให้กระทำเป็นลำยลักษณ์อักษร เว้นแต่ในกรณีที่
ผู้บังคับบัญชำมีควำมจำเป็นที่ไมอำจสั่งเป็นลำยลักษณ์อักษรในขณะนั้น จะสั่งรำชกำรด้วยว่ำจำก็
ได้ แต่ให้ผู้รับคำสั่งนั้นบันทึกคำสั่งด้วยว่ำจำไว้เป็นลำยลักษณ์อักษรและเมื่อได้ปฏิบัติรำชกำรตำม
คำสั่งดังกล่ำวแล้วให้บันทึกรำยงำนให้ผู้สั่งรำชกำรทรำบในบันทึกให้อ้ำงอิงคำสั่งด้วยว่ำจำไว้ด้วย

30.ตอบ “ข้อง.ถูกทั้ง ก และ ข”


อธิบำยตำม พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.2546
มำตรำ 26 กำรสั่งรำชกำรโดยปกติให้กระทำเป็นลำยลักษณ์อักษร เว้นแต่ในกรณีที่
ผู้บังคับบัญชำมีควำมจำเป็นที่ไมอำจสั่งเป็นลำยลักษณ์อักษรในขณะนั้น จะสั่งรำชกำรด้วยว่ำจำก็
308

ได้ แต่ให้ผู้รับคำสั่งนั้นบันทึกคำสั่งด้วยว่ำจำไว้เป็นลำยลักษณ์อักษรและเมื่อได้ปฏิบัติรำชกำรตำม
คำสั่งดังกล่ำวแล้วให้บันทึกรำยงำนให้ผู้สั่งรำชกำรทรำบในบันทึกให้อ้ำงอิงคำสั่งด้วยว่ำจำไว้ด้วย

31.ตอบ “ข้อ ง. ถูกทุกข้อ”


อธิบำยตำม พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.2546
มำตรำ 23 ในกำรจัดซื้อหรือจัดจ้ำง ให้ส่วนรำชกำรดำเนินกำรโดยเปิดเผยและเที่ยงธรรม
โดยพิจำรณำถึงประโยชน์และผลเสียทำงสังคม ภำระต่อประชำชน คุณภำพ วัตถุประสงค์ ที่จะใช้
รำคำ และประโยชน์ระยะยำวของส่วนรำชกำรที่จะได้รับประกอบกัน
ในกรณีที่วัตถุประสงค์ในกำรใช้เป็นเหตุให้ต้องคำนึงถึงคุณภำพ และกำรดูแลรักษำเป็นสำคัญ ให้
สำมำรถกระทำได้โดยไมต้องถือรำคำต่ำสุดในกำรเสนอซื้อหรือจ้ำงเสมอไปให้ส่วนรำชกำรที่มี
หน้ำทีด่ ูแล ระเบียบเกี่ยวกับกำรพัสดุปรับปรุงระเบียบที่เกี่ยวข้องเพื่อให้ส่วนรำชกำรดำเนินกำร
ตำมวรรคหนึ่งและวรรคสองได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ

32.ตอบ “ข้อ ง. ถูกทั้ง ก และ ข”


อธิบำยตำม พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.2546
มำตรำ 22 ให้สำนักงำนคณะกรรมกำรพัฒนำกำรเศรษฐกิจและสังคมแหงชำติ และสำนัก
งบประมำณรวมกันจัดให้มีกำรประเมินควำมคุ้มค่ำในกำรปฏิบัติภำรกิจของรัฐที่ส่วนรำชกำร
ดำเนินกำรอยู่เพื่อรำยงำนคณะรัฐมนตรีสำหรับเป็นแนวทำงในกำรพิจำรณำว่ำภำรกิจใดสมควรจะ
ได้ดำเนินกำรต่อไปหรือยุบเลิก และเพื่อประโยชน์ในกำรจัดตั้งงบประมำณของส่วนรำชกำรในปี
ต่อไปทั้งนี้ตำมระยะเวลำที่คณะรัฐมนตรีกำหนดในกำรประเมินควำมคุ้มค่ำตำมวรรคหนึ่ง ให้
คำนึงถึงประเภทและสภำพของแต่ละภำรกิจ ควำมเป็นไปได้ของภำรกิจหรือโครงกำรที่ดำเนินกำร
ประโยชน์ที่รัฐและประชำชนจะพึงได้และรำยจ่ำยที่ต้องเสียไปก่อนและหลังที่ส่วนรำชกำร
ดำเนินกำรด้วยควำมคุ้มค่ำตำมมำตรำนี้ ให้หมำยควำมถึงประโยชน์หรือผลเสียทำงสังคม และ
ประโยชน์หรือผลเสียอื่น ซึ่งไมอำจคำนวณเป็นตัวเงินได้ด้วย

33.ตอบ “ข้อง. ถูกทุกข้อ”


อธิบำยตำม พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.2546
มำตรำ 21 ให้ส่วนรำชกำรจัดทำบัญชีต้นทุนในงำนบริกำรสำธำรณะแต่ละประเภทขึ้น
ตำมหลักเกณฑ์และวิธีกำรที่กรมบัญชีกลำงกำหนดให้ส่วนรำชกำรคำนวณรำยจ่ำยต่อหน่วยของ
งำนบริกำรสำธำรณะ ที่อยู่ในควำมรับผิดชอบของส่วนรำชกำรนั้น ตำมระยะเวลำที่กรมบัญชีกลำง
กำหนด และรำยงำนให้สำนักงบประมำณ กรมบัญชีกลำง และ ก.พ.ร.
309

ทรำบในกรณีที่รำยจ่ำยต่อหน่วยของงำนบริกำรสำธำรณะใดของส่วนรำชกำรใดสูงกว่ำ รำยจ่ำยต่อ
หน่วยของงำนบริกำรสำธำรณะประเภทและคุณภำพเดียวกันหรือคล้ำยคลึงกันของส่วนรำชกำรอื่น
ให้ส่วนรำชกำรนั้นจัดทำแผนกำรลดรำยจ่ำยต่อหน่วยของงำนบริกำรสำธำรณะดังกล่ำวเสนอสำนัก
งบประมำณ กรมบัญชีกลำง และ ก.พ.ร.ทรำบ และถ้ำมิได้มีข้อทักท้วงประกำรใดภำยในสิบห้ำวัน
ก็ให้ส่วนรำชกำรดังกล่ำวถือปฏิบัติ ตำมแผนกำรลด
รำยจ่ำยนั้นต่อไปได้

34.ตอบ “ข้อ ค. กรมบัญชีกลำง”


อธิบำยตำม พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.2546
มำตรำ 21 ให้ส่วนรำชกำรจัดทำบัญชีต้นทุนในงำนบริกำรสำธำรณะแต่ละประเภทขึ้น
ตำมหลักเกณฑ์และวิธีกำรที่กรมบัญชีกลำงกำหนดให้ส่วนรำชกำรคำนวณรำยจ่ำยต่อหน่วยของ
งำนบริกำรสำธำรณะ ที่อยู่ในควำมรับผิดชอบของส่วนรำชกำรนั้น ตำมระยะเวลำที่กรมบัญชีกลำง
กำหนด และรำยงำนให้สำนักงบประมำณ กรมบัญชีกลำง และ ก.พ.ร.ทรำบในกรณีที่รำยจ่ำยต่อ
หน่วยของงำนบริกำรสำธำรณะใดของส่วนรำชกำรใดสูงกว่ำ รำยจ่ำยต่อหน่วยของงำนบริกำร
สำธำรณะประเภทและคุณภำพเดียวกันหรือคล้ำยคลึงกันของส่วนรำชกำรอื่น ให้สว่ นรำชกำรนั้น
จัดทำแผนกำรลดรำยจ่ำยต่อหน่วยของงำนบริกำรสำธำรณะดังกล่ำวเสนอสำนักงบประมำณ
กรมบัญชีกลำง และ ก.พ.ร.ทรำบ และถ้ำมิได้มีข้อทักท้วงประกำรใดภำยในสิบห้ำวันก็ให้ส่วน
รำชกำรดังกล่ำวถือปฏิบัติ ตำมแผนกำรลดรำยจ่ำยนั้นต่อไปได้

35.ตอบ “ข้อง. ถูกทั้งข้อ ก และ ข”


อธิบำยตำม พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.2546
มำตรำ 17 ในกรณีที่กฎหมำยว่ำด้วยวิธีกำรงบประมำณกำหนดให้ ส่วนรำชกำรต้องจัดทำ
แผนปฏิบัติรำชกำรเพื่อขอรับงบประมำณ ให้สำนักงบประมำณและ ก.พ.ร. รวมกันกำหนดแนว
ทำงกำรจัดทำแผนปฏิบัติรำชกำรตำมมำตรำ 16 ให้สำมำรถใช้ได้กับแผนปฏิบัติรำชกำรที่ ต้อง
จัดทำตำมกฎหมำยว่ำด้วยวิธีกำรงบประมำณทั้งนี้ เพื่อมิให้เพิ่มภำระงำนในกำรจัดทำแผนจนเกิน
สมควร
มำตรำ 16 ให้ส่วนรำชกำรจัดทำแผนปฏิบัติรำชกำรของส่วนรำชกำรนั้น โดยจัดทำเป็น
แผนสี่ปี ซึ่งจะต้องสอดคล้องกับแผนกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน ตำม มำตรำ 13ในแต่ละ
ปีงบประมำณ ให้ส่วนรำชกำรจัดทำแผนปฏิบัติรำชกำรประจำปี โดยให้ระบุสำระสำคัญเกี่ยวกับ
นโยบำยกำรปฏิบัติรำชกำรของส่วนรำชกำร เป้ำหมำยและผลสัมฤทธิ์ของงำน รวมทั้งประมำณ
กำรรำยได้และรำยจ่ำยและทรัพยำกรอื่นที่จะต้องใช้เสนอต่อรัฐมนตรีเพื่อให้ควำมเห็นชอบ
เมื่อรัฐมนตรีให้ควำมเห็นชอบแผนปฏิบัติรำชกำรของส่วนรำชกำรใดตำมวรรคสองแล้วให้สำ นัก
งบประมำณดำเนินกำรจัดสรรงบประมำณเพื่อปฏิบัติงำนให้บรรลุผลสำเร็จในแต่ละภำรกิจ ตำม
แผนปฏิบัติรำชกำรดังกล่ำว
310

ในกรณีที่ส่วนรำชกำรมิได้เสนอแผนปฏิบัติรำชกำรในภำรกิจใด หรือภำรกิจใดไมได้รับ
ควำมเห็นชอบจำกรัฐมนตรีมิให้สำนักงบประมำณจัดสรรงบประมำณสำหรับภำรกิจนั้น
เมื่อสิ้นปีงบประมำณให้ส่วนรำชกำรจัดทำรำยงำน แสดงผลสัมฤทธิ์ของแผนปฏิบัติรำชกำร
ประจำปีเสนอต่อคณะรัฐมนตรี
มำตรำ 13 ให้คณะรัฐมนตรีจัดให้มีแผนกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน ตลอดระยะเวลำกำร
บริหำรรำชกำรของคณะรัฐมนตรีเมื่อคณะรัฐมนตรีได้แถลงนโยบำยต่อรัฐสภำแล้ว ให้สำนัก
เลขำธิกำร คณะรัฐมนตรี สำนักเลขำธิกำรนำยกรัฐมนตรี สำนักงำนคณะกรรมกำรพัฒนำกำร
เศรษฐกิจและสังคมแหงชำติ และสำนักงบประมำณ รวมกันจัดทำแผนกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน
เสนอคณะรัฐมนตรีพิจำรณำภำยในเก้ำสิบวันนับแต่วันที่คณะรัฐมนตรีแถลงนโยบำยต่อรัฐสภำเมื่อ
คณะรัฐมนตรีให้ควำมเห็นชอบในแผนกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน ตำมวรรคหนึ่งแล้ว ให้มีผล
ผูกพันคณะรัฐมนตรี รัฐมนตรี และส่วนรำชกำร ที่จะต้องดำเนินกำรจัดทำภำรกิจให้เป็นไปตำม
แผนกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน นั้น

36.ตอบ “ข้อ ข. คณะกรรมกำรพัฒนำระบบรำชกำร”


อธิบำยตำม จำกเว็บไซต์ opdc.go.th ข้อมูล ณ วันที่ 8 มีนำคม 2556
สำ นักงำนคณะกรรมกำรพัฒนำระบบรำชกำร เป็นส่วนรำชกำรไทยประเภทกรม สังกัดสำ นัก
นำยกรัฐมนตรี มีหน้ำที่ริเริ่ม ผลักดัน และเสนอแนะนโยบำยต่อคณะรัฐมนตรีในเรื่องที่เป็น
ประโยชน์ต่อกำรปฏิบัติรำชกำร และกำรพัฒนำระบบรำชกำร ผ่ำนกลไกตำง ๆ (ก.พ.ร. อ.ก.พ.ร.
คตป.) เพื่อให้เกิด กำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี (Good Governance) เพื่อประโยชน์สุขของ
ประชำชน ตำมมำตรำ 3/1 ของพระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ.
2545 หน่วยงำนทั้งของรัฐและรัฐวิสำหกิจกำรริเริ่ม ผลักดัน และเสนอแนะนโยบำยต่อ
คณะรัฐมนตรี ในเรื่องที่เป็นประโยชน์ต่อกำรปฏิบัติรำชกำรและกำรพัฒนำระบบรำชกำร ผ่ำน
กลไกต่ำง ๆ เพื่อให้เกิดกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี (Good Governance)เพื่อประโยชน์สุข
ของประชำชน ตำมมำตรำ 3/1 ของพระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน (ฉบับที่ 5)
พ.ศ. 2545 โดย “กำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี” นั้น เป็นหลักในกำรพัฒนำระบบรำชกำร ที่
เริ่มจำกแนวคิดในกำรเปลี่ยนแปลงกำรบริหำรรำชกำร จำกระบบเดิมที่มีรัฐบำลและระบบรำชกำร
เป็นตัวนำ มำเป็นกำรบริหำรรำชกำรที่ต้องประกอบด้วยกลไก 3 สวนที่ทำหน้ำที่ขับเคลื่อน
บ้ำนเมือง ได้แก ภำครัฐ ภำคประชำชน และภำคประชำสังคม ในกำรดำเนินนโยบำยตำง ๆ นั้น
จะต้องหำควำมสมดุลและควำมพอดีของกลไกทั้ง 3 สวนด้วย จึงทำให้กำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมือง
ในปัจจุบัน จึงเปลี่ยนจำกคำว่ำ “Government” ไปสู่ “Governance” และเมื่อเป็น
Governance แล้ว ก็ต้องเป็น Governance ที่ดีด้วย ทั้งในมุมมองของภำครัฐ ภำคประชำชน
และภำคประชำสังคม ซึ่งกลไกทั้ง 3 สวนนั้นตำงก็มองกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ “ดี” ที่
แตกต่ำงกันไปตำมปรัชญำและมุมมองของตน ดังนั้น จึงได้มีกำรนำแนวควำมคิดเรื่องกำรบริหำร
กิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี ในมุมมองตำง ๆ มำใสไว้ในกฎหมำยแม่บทของกำรปฏิรูประบบรำชกำร นั่น
311

คือ พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน (ฉบับที่ 5)พ.ศ. 2545 ในมำตรำ 3/1 และ


ถ่ำยทอดออกมำเป็น พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี
พ.ศ. 2546 โดยนำแนวคิดเรื่องกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดีในพระรำชบัญญัติดังกล่ำว มำ
ขยำยควำมและลงรำยละเอียดในมำตรำตำง ๆ ของพระรำชกฤษฎีกำฯ เป็นหลักเกณฑ์ให้ส่วน
รำชกำรดำเนินกำรนอกจำกพระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ.
2545 และ พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.
2546 แล้วในกำรดำเนินงำนของสำนักงำน ก.พ.ร. ยังได้ยึดหลักและแนวทำงตำมแผนยุทธศำสตร์
กำรพัฒนำระบบรำชกำรไทย พ.ศ. 2546 - 2550 ควบคูกันไปด้วย

37.ตอบ “ข้อ ง. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น”


อธิบำยตำม พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.2546
มำตรำ 4 ในพระรำชกฤษฎีกำนี้
"ส่วนรำชกำร" หมำยควำมว่ำ ส่วนรำชกำรตำมกฎหมำยว่ำด้วยกำรปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม
และหน่วยงำนอื่นของรัฐที่อยู่ในกำกับของรำชกำรฝ่ำยบริหำร แต่ไมรวมถึงองค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่น

38.ตอบ “ข้อ ค. ภำพพจน์ที่ดีในสำยตำต่ำงประเทศ”


อธิบำยตำม พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.2546
มำตรำ 6 กำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี ได้แก กำรบริหำรรำชกำรเพื่อบรรลุเป้ำหมำย
ดังต่อไปนี้
(1) เกิดประโยชน์สุขของประชำชน
(2) เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภำรกิจของรัฐ
(3) มีประสิทธิภำพและเกิดควำมคุ้มค่ำในเชิงภำรกิจของรัฐ
(4) ไมมีขั้นตอนกำรปฏิบัตงิ ำนเกินควำมจำเป็น
(5) มีกำรปรับปรุงภำรกิจของส่วนรำชกำรให้ทันต่อสถำนกำรณ์
(6) ประชำชนได้รับกำรอำนวยควำมสะดวกและได้รบั กำรตอบสนองค์วำมต้องกำร
(7) มีกำรประเมินผลกำรปฏิบัติรำชกำรอย่ำงสม่ำเสมอ

39.ตอบ “ข้อ ค. 7 ข้อ”


อธิบำยตำม พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.2546
มำตรำ 6 กำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี ได้แก กำรบริหำรรำชกำรเพื่อบรรลุเป้ำหมำย
ดังต่อไปนี้
(1) เกิดประโยชน์สุขของประชำชน
(2) เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภำรกิจของรัฐ
312

(3) มีประสิทธิภำพและเกิดควำมคุ้มค่ำในเชิงภำรกิจของรัฐ
(4) ไมมีขั้นตอนกำรปฏิบัตงิ ำนเกินควำมจำเป็น
(5) มีกำรปรับปรุงภำรกิจของส่วนรำชกำรให้ทันต่อสถำนกำรณ์
(6) ประชำชนได้รับกำรอำนวยควำมสะดวกและได้รบั กำรตอบสนองค์วำมต้องกำร
(7) มีกำรประเมินผลกำรปฏิบัติรำชกำรอย่ำงสม่ำเสมอ

40.ตอบ “ข้อ ง. ขวัญและกำลังใจข้ำรำชกำร”


อธิบำยตำม พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.2546
มำตรำ 7 กำรบริหำรรำชกำรเพื่อประโยชน์สุขของประชำชน หมำยถึง กำรปฏิบัติรำชกำร
ที่มีเป้ำหมำยเพื่อให้เกิดควำมผำสุกและควำมเป็นอยู่ที่ดีของประชำชนควำมสงบ และปลอดภัยของ
สังคมสวนรวม ตลอดจนประโยชน์สูงสุดของประเทศ

41.ตอบ “ข้อ ง. ต้องรำยงำนผลกำรปฏิบัติต่อรัฐสภำอย่ำงน้อยปีละ 1 ครั้ง”


อธิบำยตำม พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.2546
มำตรำ 8 ในกำรบริหำรรำชกำรเพื่อประโยชน์สุขของประชำชน ส่วนรำชกำรจะต้อง
ดำเนินกำรโดยถือว่ำประชำชนเป็นศูนย์กลำงที่จะได้รับกำรบริกำรจำกรัฐและจะต้องมีแนวทำงกำร
บริหำรรำชกำรดังต่อไปนี้
(1) กำรกำหนดภำรกิจของรัฐและส่วนรำชกำรต้องเป็นไปเพื่อวัตถุประสงค์ตำม มำตรำ 7 และ
สอดคล้องกับแนวนโยบำยแหงรัฐและนโยบำยของคณะรัฐมนตรีที่แถลงต่อรัฐสภำ
(2) กำรปฏิบัติภำรกิจของส่วนรำชกำรต้องเป็นไปโดยซื่อสัตย์สุจริต สำมำรถตรวจสอบได้ และมุ่ง
ให้เกิดประโยชน์สุขแกประชำชนทั้งในระดับประเทศและท้องถิ่น
(3) ก่อนเริ่มดำเนินกำรส่วนรำชกำรต้องจัด ให้มีกำรศึกษำวิเครำะห์ผลดีและผลเสียให้ครบถ้วนทุก
ด้ำนกำหนดขั้นตอนกำรดำเนินกำรที่โปร่งใส มีกลไกตรวจสอบกำรดำเนินกำรในแต่ละขั้นตอน ใน
กรณีที่ภำรกิจใดจะมีผลกระทบต่อประชำชน ส่วนรำชกำรต้องดำเนินกำรรับฟังควำมคิดเห็นของ
ประชำชน หรือชี้แจงทำควำมเข้ำใจเพื่อให้ประชำชนได้ตระหนักถึงประโยชน์ที่สวนรวมจะได้รับ
จำกภำรกิจนั้น
(4) ให้เป็นหน้ำที่ของข้ำรำชกำรที่จะต้องคอยรับฟังควำมคิดเห็น และควำมพึงพอใจของสังคม
โดยรวมและประชำชนผู้รับบริกำร เพื่อปรับปรุงหรือเสนอแนะต่อผู้บังคับบัญชำ เพื่อให้มีกำร
ปรับปรุงวิธีปฏิบัติรำชกำรให้เหมำะสม
(5) ในกรณีที่เกิดปัญหำและอุปสรรคจำกกำรดำเนินกำร ให้ส่วนรำชกำรดำเนินกำร แก้ไขปัญหำ
และอุปสรรคนั้นโดยเร็ว ในกรณีที่ปัญหำหรืออุปสรรคนั้นเกิดขึ้นจำกส่วนรำชกำรอื่น หรือระเบียบ
ข้อบังคับที่ออกโดยส่วนรำชกำรอื่น ให้ส่วนรำชกำรแจ้งให้ส่วนรำชกำรที่เกี่ยวข้องทรำบ เพื่อ
ดำเนินกำรแก้ไขปรับปรุงโดยเร็วต่อไปและให้แจ้งก.พ.ร.ทรำบด้วยกำรดำเนินกำรตำมวรรคหนึ่ง ให้
313

ส่วนรำชกำรกำหนดวิธีปฏิบัติให้เหมำะสมกับภำรกิจแต่ละเรื่อง ทั้งนี้ ก.พ.ร. จะกำหนดแนว


ทำงกำรดำเนินกำรทั่วไปให้ส่วนรำชกำรปฏิบัติให้เป็นไปตำมมำตรำนี้ด้วยก็ได้
มำตรำ 7 กำรบริหำรรำชกำรเพื่อประโยชน์สุขของประชำชน หมำยถึง กำรปฏิบัติรำชกำร
ที่มีเป้ำหมำยเพื่อให้เกิดควำมผำสุกและควำมเป็นอยู่ที่ดีของประชำชนควำมสงบและปลอดภัยของ
สังคมสวนรวม ตลอดจนประโยชน์สูงสุดของประเทศ
42.ตอบ “ข้อ ข. บริหำรรำชกำรแบบบูรณำกำรรวมกัน”
อธิบำยตำม พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.2546
มำตรำ 10 ในกรณีที่ภำรกิจใดมีควำมเกี่ยวข้องกับหลำยส่วนรำชกำรหรือเป็นภำรกิจที่
ใกล้เคียงหรือต่อเนื่องกัน ให้ส่วนรำชกำรที่เกี่ยวข้องนั้นกำหนดแนวทำงกำรปฏิบัติรำชกำรเพื่อให้
เกิด กำรบริหำรรำชกำรแบบบูรณำกำรรวมกันโดยมุ่งให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภำรกิจของรัฐ
ให้ส่วนรำชกำรมีหน้ำที่สนับสนุนกำรปฏิบัติรำชกำรของผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด หรือหัวหน้ำคณะ
ผู้แทนในต่ำงประเทศ เพื่อให้กำรบริหำรรำชกำรแบบบูรณำกำรในจังหวัดหรือในต่ำงประเทศ
แล้วแต่กรณีสำมำรถใช้อำนำจตำมกฎหมำยได้ครบถ้วนตำมควำมจำเป็นและบริหำรรำชกำรได้
อย่ำงมีประสิทธิภำพ

43.ตอบ “ข้อ ข. ผลสัมฤทธิ์ต่อภำรกิจของรัฐ”


อธิบำยตำม พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.2546
มำตรำ 10 ในกรณีที่ภำรกิจใดมีควำมเกี่ยวข้องกับหลำยส่วนรำชกำรหรือเป็นภำรกิจที่
ใกล้เคียงหรือต่อเนื่องกัน ให้ส่วนรำชกำรที่เกี่ยวข้องนั้นกำหนดแนวทำงกำรปฏิบัติรำชกำรเพื่อให้
เกิด กำรบริหำรรำชกำรแบบบูรณำกำรรวมกันโดยมุ่งให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภำรกิจของรัฐ
ให้ส่วนรำชกำรมีหน้ำที่สนับสนุนกำรปฏิบัติรำชกำรของผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด หรือหัวหน้ำคณะ
ผู้แทนในต่ำงประเทศ เพื่อให้กำรบริหำรรำชกำรแบบบูรณำกำรในจังหวัดหรือในต่ำงประเทศ
แล้วแต่กรณีสำมำรถใช้อำนำจตำมกฎหมำยได้ครบถ้วนตำมควำมจำเป็นและบริหำรรำชกำรได้
อย่ำงมีประสิทธิภำพ

44.ตอบ “ข้อ ค. 90 วัน”


อธิบำยตำม พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.2546
มำตรำ 13 ให้คณะรัฐมนตรีจัดให้มีแผนกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน ตลอดระยะเวลำกำร
บริหำรรำชกำรของคณะรัฐมนตรีเมื่อคณะรัฐมนตรีได้แถลงนโยบำยต่อรัฐสภำแล้ว ให้สำนัก
เลขำธิกำรคณะรัฐมนตรี สำนักเลขำธิกำรนำยกรัฐมนตรี สำนักงำนคณะกรรมกำรพัฒนำกำร
เศรษฐกิจและสังคมแหงชำติ และสำนักงบประมำณ ร่วมกันจัดทำแผนกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน
เสนอคณะรัฐมนตรีพิจำรณำภำยในเก้ำสิบวันนับแต่วันที่คณะรัฐมนตรีแถลงนโยบำยต่อรัฐสภำเมื่อ
คณะรัฐมนตรีให้ควำมเห็นชอบในแผนกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน ตำมวรรคหนึ่งแล้ว ให้มีผล
314

ผูกพันคณะรัฐมนตรี รัฐมนตรี และส่วนรำชกำร ที่จะต้องดำเนินกำรจัดทำภำรกิจให้เป็นไปตำม


แผนกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน นั้น

45.ตอบ “ข้อ ค. 4 ปี”


อธิบำยตำม พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.2546
มำตรำ 14 ในกำรจัดทำแผนกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน ตำม มำตรำ 13 ให้จัดทำเป็น
แผนสี่ปี โดยนำนโยบำยของรัฐบำลที่แถลงต่อรัฐสภำมำพิจำรณำดำเนินกำรให้สอดคล้องกับ
แนวนโยบำยพื้นฐำนแหงรัฐ ตำมบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแหงรำชอำณำจักรไทย และ
แผนพัฒนำประเทศด้ำนตำง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ อย่ำงน้อยจะต้องมีสำระสำคัญเกี่ยวกับกำร
กำหนดเป้ำหมำยและผลสัมฤทธิ์ของงำน ส่วนรำชกำรหรือบุคคลที่จะรับผิดชอบในแต่ละภำรกิจ
ประมำณกำรรำยได้ และรำยจ่ำยและทรัพยำกรตำง ๆ ที่จะต้องใช้ระยะเวลำกำรดำเนินกำร และ
กำรติดตำมประเมินผล
มำตรำ 13 ให้คณะรัฐมนตรีจัดให้มีแผนกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน ตลอดระยะเวลำกำร
บริหำรรำชกำรของคณะรัฐมนตรีเมื่อคณะรัฐมนตรีได้แถลงนโยบำยต่อรัฐสภำแล้ว ให้สำนัก
เลขำธิกำรคณะรัฐมนตรี สำนักเลขำธิกำรนำยกรัฐมนตรี สำนักงำนคณะกรรมกำรพัฒนำกำร
เศรษฐกิจและสังคมแหงชำติ และสำนักงบประมำณ รวมกันจัดทำแผนกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน
เสนอคณะรัฐมนตรีพิจำรณำภำยในเก้ำสิบวันนับแต่วันที่คณะรัฐมนตรีแถลง
นโยบำยต่อรัฐสภำเมื่อคณะรัฐมนตรีให้ควำมเห็นชอบในแผนกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน ตำม
วรรคหนึ่งแล้ว ให้มีผลผูกพันคณะรัฐมนตรี รัฐมนตรี และส่วนรำชกำร ที่จะต้องดำเนินกำรจัดทำ
ภำรกิจให้เป็นไปตำมแผนกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน นั้น

46.ตอบ “ข้อ ข. นิติบัญญัติ”


อธิบำยตำม พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.2546
มำตรำ 15 เมื่อมีกำรประกำศใช้บังคับแผนกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน แล้ว ให้สำนักงำน
คณะกรรมกำรกฤษฎีกำและสำนักเลขำธิกำรนำยกรัฐมนตรีรวมกันพิจำรณำจัดทำแผนนิติบัญญัติ
โดยมีรำยละเอียดเกี่ยวกับกฎหมำยที่จะต้องจัดให้มีขึ้นใหม่หรือกฎหมำยที่ต้องมีกำรแก้ไขเพิ่มเติม
หรือยกเลิกให้สอดคล้องกับแผนกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน ส่วนรำชกำรผู้รับผิดชอบและ
ระยะเวลำที่ต้องดำเนินกำรแผนนิติบัญญัตินั้นเมื่อคณะรัฐมนตรีเห็นชอบ ตำมที่สำนักงำน
คณะกรรมกำรกฤษฎีกำและสำนักเลขำธิกำรนำยกรัฐมนตรีเสนอแล้วให้มีผลผูกพันส่วนรำชกำรที่
เกี่ยวข้องที่จะต้องปฏิบัติให้เป็นไปตำมนั้นในกรณีที่เห็นสมควร สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ
อำจเสนอต่อคณะรัฐมนตรี เพื่อกำหนดหลักเกณฑ์กำรจัดทำแผนนิติบัญญัติเพื่อให้เกิดควำมรวมมือ
ในกำรปฏิบัติงำนก็ได้
315

47.ตอบ “ข้อ ก. ปีงบประมำณ”


อธิบำยตำม พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.2546
มำตรำ 16 ให้ส่วนรำชกำรจัดทำแผนปฏิบัติรำชกำรของส่วนรำชกำรนั้น โดยจัดทำเป็น
แผนสี่ปี ซึ่งจะต้องสอดคล้องกับแผนกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน ตำม มำตรำ 13
ในแต่ละปีงบประมำณ ให้ส่วนรำชกำรจัดทำแผนปฏิบัติรำชกำรประจำปี โดยให้ระบุสำระสำคัญ
เกี่ยวกับนโยบำยกำรปฏิบัติรำชกำรของส่วนรำชกำร เป้ำหมำยและผลสัมฤทธิ์ของงำน รวมทั้ง
ประมำณกำรรำยได้และรำยจ่ำยและทรัพยำกรอื่นที่จะต้องใช้เสนอต่อรัฐมนตรีเพื่อให้ควำม
เห็นชอบเมื่อรัฐมนตรีให้ควำมเห็นชอบแผนปฏิบัติรำชกำรของส่วนรำชกำรใดตำมวรรคสองแล้วให้
สำ นักงบประมำณดำเนินกำรจัดสรรงบประมำณเพื่อปฏิบัติงำนให้บรรลุผลสำเร็จในแต่ละภำรกิจ
ตำมแผนปฏิบัติรำชกำรดังกล่ำวในกรณีที่ส่วนรำชกำรมิได้เสนอแผนปฏิบัติรำชกำรในภำรกิจใด
หรือภำรกิจใดไมได้รับควำมเห็นชอบจำกรัฐมนตรีมิให้สำนักงบประมำณจัดสรรงบประมำณสำหรับ
ภำรกิจนั้นเมื่อสิ้นปีงบประมำณให้ส่วนรำชกำรจัดทำรำยงำน แสดงผลสัมฤทธิ์ของแผนปฏิบัติ
รำชกำรประจำปีเสนอต่อคณะรัฐมนตรี

48.ตอบ “ข้อ ก. สำนักงบประมำณจัดสรรงบประมำณสำหรับภำรกิจนั้น”


อธิบำยตำม พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.2546
มำตรำ 16 ให้ส่วนรำชกำรจัดทำแผนปฏิบัติรำชกำรของส่วนรำชกำรนั้น โดยจัดทำเป็น
แผนสี่ปี ซึ่งจะต้องสอดคล้องกับแผนกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน ตำม มำตรำ 13
ในแต่ละปีงบประมำณ ให้ส่วนรำชกำรจัดทำแผนปฏิบัติรำชกำรประจำปี โดยให้ระบุสำระสำคัญ
เกี่ยวกับนโยบำยกำรปฏิบัติรำชกำรของส่วนรำชกำร เป้ำหมำยและผลสัมฤทธิ์ของงำน รวมทั้ง
ประมำณกำรรำยได้และรำยจ่ำยและทรัพยำกรอื่นที่จะต้องใช้เสนอต่อรัฐมนตรีเพื่อให้ควำม
เห็นชอบเมื่อรัฐมนตรีให้ควำมเห็นชอบแผนปฏิบัติรำชกำรของส่วนรำชกำรใดตำมวรรคสองแล้วให้
สำ นักงบประมำณดำเนินกำรจัดสรรงบประมำณเพื่อปฏิบัติงำนให้บรรลุผลสำเร็จในแต่ละภำรกิจ
ตำมแผนปฏิบัติรำชกำรดังกล่ำว
ในกรณีที่ส่วนรำชกำรมิได้เสนอแผนปฏิบัติรำชกำรในภำรกิจใด หรือภำรกิจใดไมได้รับ
ควำมเห็นชอบจำกรัฐมนตรีมิให้สำนักงบประมำณจัดสรรงบประมำณสำหรับภำรกิจนั้น
เมื่อสิ้นปีงบประมำณให้ส่วนรำชกำรจัดทำรำยงำน แสดงผลสัมฤทธิ์ของแผนปฏิบัติรำชกำร
ประจำปีเสนอต่อคณะรัฐมนตรี

49.ตอบ “ข้อ ค. บัญชีต้นทุน”


อธิบำยตำม พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.2546
มำตรำ 21 ให้ส่วนรำชกำรจัดทำบัญชีต้นทุนในงำนบริกำรสำธำรณะแต่ละประเภทขึ้น
ตำมหลักเกณฑ์และวิธีกำรที่กรมบัญชีกลำงกำหนด
316

ให้ส่วนรำชกำรคำนวณรำยจ่ำยต่อหน่วยของงำนบริกำรสำธำรณะที่อยู่ในควำมรับผิดชอบของส่วน
รำชกำรนั้น ตำมระยะเวลำที่กรมบัญชีกลำงกำหนด และรำยงำนให้สำนักงบประมำณ
กรมบัญชีกลำง และ ก.พ.ร. ทรำบในกรณีที่รำยจ่ำยต่อหน่วยของงำนบริกำรสำธำรณะใดของส่วน
รำชกำรใดสูงกว่ำ รำยจ่ำยต่อหน่วยของงำนบริกำรสำธำรณะประเภทและคุณภำพเดียวกันหรือ
คล้ำยคลึงกันของส่วนรำชกำรอื่น ให้ส่วนรำชกำรนั้นจัดทำแผนกำรลดรำยจ่ำยต่อหน่วยของงำน
บริกำรสำธำรณะดังกล่ำวเสนอสำนักงบประมำณ กรมบัญชีกลำง และ ก.พ.ร.
ทรำบ และถ้ำมิได้มีข้อทักท้วงประกำรใดภำยในสิบห้ำวันก็ให้ส่วนรำชกำรดังกล่ำวถือปฏิบัติ ตำม
แผนกำรลดรำยจ่ำยนั้นต่อไปได้

50.ตอบ “ข้อ ง. ควำมสะดวกและรวดเร็วในกำรบริกำรประชำชน”


อธิบำยตำม พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.2546
มำตรำ 27 ให้ส่วนรำชกำรจัดให้มีกำรกระจำยอำนำจกำรตัดสินใจเกี่ยวกับกำรสั่ง กำร
อนุญำต กำรอนุมัติกำรปฏิบัติรำชกำร หรือกำรดำเนินกำรอื่นใดของผู้ดำรงตำแหน่งใดให้แกผู้ดำรง
ตำแหน่งที่มีหน้ำที่รับผิดชอบในกำรดำเนินกำรในเรื่องนั้นโดยตรง เพื่อให้เกิดควำมรวดเร็วและลด
ขั้นตอนกำรปฏิบัติรำชกำร ทั้งนี้ ในกำรกระจำยอำนำจกำรตัดสินใจดังกล่ำวต้องมุ่งผลให้เกิดควำม
สะดวกและรวดเร็วในกำรบริกำรประชำชนเมื่อได้มีกำรกระจำยอำนำจกำรตัดสินใจตำมวรรคหนึ่ง
แล้ว ให้ส่วนรำชกำรกำหนด หลักเกณฑ์กำรควบคุมติดตำม และกำกับดูแลกำรใช้อำนำจและควำม
รับผิดชอบของผู้รับมอบอำนำจและผู้มอบอำนำจไว้ด้วย หลักเกณฑ์ดังกล่ำวต้องไมสร้ำงขั้นตอน
หรือกำรกลั่นกรองงำนที่ไมจำเป็นในกำรปฏิบัติงำนของข้ำรำชกำร ในกำรนี้ หำกสำมำรถใช้
เทคโนโลยีสำรสนเทศหรือโทรคมนำคมแล้วจะเป็นกำรลดขั้นตอน เพิ่มประสิทธิภำพและประหยัด
ค่ำใช้จ่ำย รวมทั้งไมเกิดผลเสียหำยแกรำชกำร ให้ส่วนรำชกำรดำเนินกำรให้ข้ำรำชกำรใช้
เทคโนโลยีสำรสนเทศหรือโทรคมนำคมตำมควำมเหมำะสมและกำลังเงินงบประมำณเมื่อส่วน
รำชกำรใดได้มีกำรกระจำยอำนำจกำรตัดสินใจตำมวรรคหนึ่ง หรือได้มีกำรใช้เทคโนโลยีสำรสนเทศ
หรือโทรคมนำคมตำมวรรคสองแล้ว ให้ส่วนรำชกำรนั้นเผยแพรให้ประชำชนทรำบเป็นกำรทั่วไป

51.ตอบ “ข้อ ข. ศูนย์บริกำรรวม”


อธิบำยตำม พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.2546
มำตรำ 30 ในกระทรวงหนึ่ง ให้เป็นหน้ำทีข่ องปลัดกระทรวงที่จะต้องจัดให้ส่วนรำชกำร
ภำยใน กระทรวงที่รับผิดชอบปฏิบัติงำนเกี่ยวกับกำรบริกำรประชำชนรวมกันจัดตั้งศูนย์บริกำร
รวม เพื่ออำนวยควำมสะดวกแกประชำชนในกำรที่จะต้องปฏิบัติตำมกฎหมำยหรือกฎอื่นใด ทั้งนี้
เพื่อให้ประชำชนสำมำรถติดต่อสอบถำม ขอทรำบข้อมูล ขออนุญำต หรือขออนุมัติในเรื่องใด ๆ ที่
เป็นอำนำจหน้ำที่ของส่วนรำชกำรในกระทรวงเดียวกันโดยติดต่อเจ้ำหน้ำที่ ณ ศูนย์บริกำรรวม
เพียงแหงเดียว
317

52.ตอบ “ข้อ ข. ควำมมั่นคงของรัฐ”


อธิบำยตำม พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.2546
มำตรำ 43 กำรปฏิบัติรำชกำรในเรื่องใด ๆ โดยปกติให้ถือว่ำเป็นเรื่องเปิดเผย เว้นแต่กรณี
มีควำมจำเป็นอย่ำงยิ่งเพื่อประโยชน์ในกำรรักษำควำมมั่นคงของประเทศควำมมั่นคงทำงเศรษฐกิจ
กำรรักษำควำมสงบเรียบร้อยของประชำชนหรือกำรคุ้มครองสิทธิสวนบุคคลจึงให้กำหนดเป็น
ควำมลับได้เทำที่จำเป็น

53.ตอบ “ข้อง. ควำมพึงพอใจของข้ำรำชกำร”


อธิบำยตำม พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.2546
มำตรำ 43 กำรปฏิบัติรำชกำรในเรื่องใด ๆ โดยปกติให้ถือว่ำเป็นเรื่องเปิดเผย เว้นแต่กรณี
มีควำมจำเป็นอย่ำงยิ่งเพื่อประโยชน์ในกำรรักษำควำมมั่นคงของประเทศควำมมั่นคงทำงเศรษฐกิจ
กำรรักษำควำมสงบเรียบร้อยของประชำชนหรือกำรคุ้มครองสิทธิสวนบุคคลจึงให้กำหนดเป็น
ควำมลับได้เทำที่จำเป็น

54.ตอบ “ข้อ ก. จัดทำควำมตกลงเป็นลำยลักษณ์อักษร”


อธิบำยตำม พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.2546
มำตรำ 12 เพื่อประโยชน์ในกำรปฏิบัติรำชกำรให้เกิดผลสัมฤทธิ์ ก.พ.ร. อำจเสนอต่อ
คณะรัฐมนตรีเพื่อกำหนดมำตรกำรกำกับกำรปฏิบัติรำชกำร โดยวิธีกำรจัดทำควำมตกลงเป็นลำย
ลักษณ์อักษร หรือโดยวิธีกำรอื่นใดเพื่อแสดงควำมรับผิดชอบในกำรปฏิบัติรำชกำร

55.ตอบ “ข้อ ค. คณะรัฐมนตรี”


อธิบำยตำม พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.2546
มำตรำ 16 ให้ส่วนรำชกำรจัดทำแผนปฏิบัติรำชกำรของส่วนรำชกำรนั้น โดยจัดทำเป็น
แผนสี่ปี ซึ่งจะต้องสอดคล้องกับแผนกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน ตำม มำตรำ 13
ในแต่ละปีงบประมำณ ให้ส่วนรำชกำรจัดทำแผนปฏิบัติรำชกำรประจำปี โดยให้ระบุสำระสำคัญ
เกี่ยวกับนโยบำยกำรปฏิบัติรำชกำรของส่วนรำชกำร เป้ำหมำยและผลสัมฤทธิ์ของงำน รวมทั้ง
ประมำณกำรรำยได้และรำยจ่ำยและทรัพยำกรอื่นที่จะต้องใช้เสนอต่อรัฐมนตรีเพื่อให้ควำม
เห็นชอบเมื่อรัฐมนตรีให้ควำมเห็นชอบแผนปฏิบัติรำชกำรของส่วนรำชกำรใดตำมวรรคสองแล้วให้
สำ นักงบประมำณดำเนินกำรจัดสรรงบประมำณเพื่อปฏิบัติงำนให้บรรลุผลสำเร็จในแต่ละภำรกิจ
ตำมแผนปฏิบัติรำชกำรดังกล่ำว
ในกรณีที่ส่วนรำชกำรมิได้เสนอแผนปฏิบัติรำชกำรในภำรกิจใด หรือภำรกิจใดไมได้รับ
ควำมเห็นชอบจำกรัฐมนตรีมิให้สำนักงบประมำณจัดสรรงบประมำณสำหรับภำรกิจนั้น
เมื่อสิ้นปีงบประมำณให้ส่วนรำชกำรจัดทำรำยงำน แสดงผลสัมฤทธิ์ของแผนปฏิบัติรำชกำร
ประจำปีเสนอต่อคณะรัฐมนตรี
318

มำตรำ 13 ให้คณะรัฐมนตรีจัดให้มีแผนกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน ตลอดระยะเวลำกำร


บริหำรรำชกำรของคณะรัฐมนตรีเมื่อคณะรัฐมนตรีได้แถลงนโยบำยต่อรัฐสภำแล้ว ให้สำนัก
เลขำธิกำรคณะรัฐมนตรี สำนักเลขำธิกำรนำยกรัฐมนตรี สำนักงำนคณะกรรมกำรพัฒนำกำร
เศรษฐกิจและสังคมแหงชำติ และสำนักงบประมำณ รวมกันจัดทำแผนกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน
เสนอคณะรัฐมนตรีพิจำรณำภำยในเก้ำสิบวันนับแต่วันที่คณะรัฐมนตรีแถลง
นโยบำยต่อรัฐสภำเมื่อคณะรัฐมนตรีให้ควำมเห็นชอบในแผนกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน ตำม
วรรคหนึ่งแล้ว ให้มีผลผูกพันคณะรัฐมนตรี รัฐมนตรี และส่วนรำชกำร ที่จะต้องดำเนินกำรจัดทำ
ภำรกิจให้เป็นไปตำมแผนกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน นั้น

56.ตอบ “ข้อ ก. รัฐมนตรี”


อธิบำยตำม พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.2546
มำตรำ 16 ให้ส่วนรำชกำรจัดทำแผนปฏิบัติรำชกำรของส่วนรำชกำรนั้น โดยจัดทำเป็น
แผนสี่ปี ซึ่งจะต้องสอดคล้องกับแผนกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน ตำม มำตรำ 13
ในแต่ละปีงบประมำณ ให้ส่วนรำชกำรจัดทำแผนปฏิบัติรำชกำรประจำปี โดยให้ระบุสำระสำคัญ
เกี่ยวกับนโยบำยกำรปฏิบัติรำชกำรของส่วนรำชกำร เป้ำหมำยและผลสัมฤทธิ์ของงำน รวมทั้ง
ประมำณกำรรำยได้และรำยจ่ำยและทรัพยำกรอื่นที่จะต้องใช้เสนอต่อรัฐมนตรีเพื่อให้ควำม
เห็นชอบเมื่อรัฐมนตรีให้ควำมเห็นชอบแผนปฏิบัติรำชกำรของส่วนรำชกำรใดตำมวรรคสองแล้วให้
สำ นักงบประมำณดำเนินกำรจัดสรรงบประมำณเพื่อปฏิบัติงำนให้บรรลุผลสำเร็จในแต่ละภำรกิจ
ตำมแผนปฏิบัติรำชกำรดังกล่ำว
ในกรณีที่ส่วนรำชกำรมิได้เสนอแผนปฏิบัติรำชกำรในภำรกิจใด หรือภำรกิจใดไมได้รับ
ควำมเห็นชอบจำกรัฐมนตรีมิให้สำนักงบประมำณจัดสรรงบประมำณสำหรับภำรกิจนั้น
เมื่อสิ้นปีงบประมำณให้ส่วนรำชกำรจัดทำรำยงำน แสดงผลสัมฤทธิ์ของแผนปฏิบัติรำชกำร
ประจำปีเสนอต่อคณะรัฐมนตรี
มำตรำ 13 ให้คณะรัฐมนตรีจัดให้มีแผนกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน ตลอดระยะเวลำกำร
บริหำรรำชกำรของคณะรัฐมนตรีเมื่อคณะรัฐมนตรีได้แถลงนโยบำยต่อรัฐสภำแล้ว ให้สำนัก
เลขำธิกำรคณะรัฐมนตรี สำนักเลขำธิกำรนำยกรัฐมนตรี สำนักงำนคณะกรรมกำรพัฒนำกำร
เศรษฐกิจและสังคมแหงชำติ และสำนักงบประมำณ รวมกันจัดทำแผนกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน
เสนอคณะรัฐมนตรีพิจำรณำภำยในเก้ำสิบวันนับแต่วันที่คณะรัฐมนตรีแถลง
นโยบำยต่อรัฐสภำเมื่อคณะรัฐมนตรีให้ควำมเห็นชอบในแผนกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน ตำม
วรรคหนึ่งแล้ว ให้มีผลผูกพันคณะรัฐมนตรี รัฐมนตรี และส่วนรำชกำร ที่จะต้องดำเนินกำรจัดทำ
ภำรกิจให้เป็นไปตำมแผนกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน นั้น

57.ตอบ “ข้อ ง. ถูกทุกข้อ”


อธิบำยตำม พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.2546
319

มำตรำ 15 เมื่อมีกำรประกำศใช้บังคับแผนกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน แล้ว ให้สำนักงำน


คณะกรรมกำรกฤษฎีกำและสำนักเลขำธิกำรนำยกรัฐมนตรีรวมกันพิจำรณำจัดทำแผนนิติบัญญัติ
โดยมีรำยละเอียดเกี่ยวกับกฎหมำยที่จะต้องจัดให้มีขึ้นใหม่หรือกฎหมำยที่ต้องมีกำรแก้ไขเพิ่มเติม
หรือยกเลิกให้สอดคล้องกับแผนกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน ส่วนรำชกำรผู้รับผิดชอบ และ
ระยะเวลำที่ต้องดำเนินกำรแผนนิติบัญญัตินั้นเมื่อคณะรัฐมนตรีเห็นชอบ ตำมที่สำนักงำน
คณะกรรมกำรกฤษฎีกำและสำนักเลขำธิกำรนำยกรัฐมนตรีเสนอแล้ว ให้มีผลผูกพันส่วนรำชกำรที่
เกี่ยวข้องที่จะต้องปฏิบัติให้เป็นไปตำมนั้น
ในกรณีที่เห็นสมควร สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำอำจเสนอต่อคณะรัฐมนตรี เพื่อ
กำหนดหลักเกณฑ์กำรจัดทำแผนนิติบัญญัติเพื่อให้เกิดควำมรวมมือในกำรปฏิบัติงำนก็ได้

58.ตอบ “ข้อง. ถูกทัง้ ก และ ข”


อธิบำยตำม พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.2546
มำตรำ 15 เมื่อมีกำรประกำศใช้บังคับแผนกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน แล้ว ให้สำนักงำน
คณะกรรมกำรกฤษฎีกำและสำนักเลขำธิกำรนำยกรัฐมนตรีรวมกันพิจำรณำจัดทำแผนนิติบัญญัติ
โดยมีรำยละเอียดเกี่ยวกับกฎหมำยที่จะต้องจัดให้มีขึ้นใหม่หรือกฎหมำยที่ต้องมีกำรแก้ไขเพิ่มเติม
หรือยกเลิกให้สอดคล้องกับแผนกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน ส่วนรำชกำรผู้รับผิดชอบ และ
ระยะเวลำที่ต้องดำเนินกำรแผนนิติบัญญัตินั้นเมื่อคณะรัฐมนตรีเห็นชอบ ตำมที่สำนักงำน
คณะกรรมกำรกฤษฎีกำและสำนักเลขำธิกำรนำยกรัฐมนตรีเสนอแล้ว ให้มีผลผูกพันส่วนรำชกำรที่
เกี่ยวข้องที่จะต้องปฏิบัติให้เป็นไปตำมนั้น
ในกรณีที่เห็นสมควร สำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำอำจเสนอต่อคณะรัฐมนตรี เพื่อ
กำหนดหลักเกณฑ์กำรจัดทำแผนนิติบัญญัติเพื่อให้เกิดควำมรวมมือในกำรปฏิบัติงำนก็ได้

59.ตอบ “ข้อ ก. 4 ปี”


อธิบำยตำม พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.2546
มำตรำ 14 ในกำรจัดทำแผนกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน ตำม มำตรำ 13 ให้จัดทำเป็น
แผนสี่ปี โดยนำนโยบำยของรัฐบำลที่แถลงต่อรัฐสภำมำพิจำรณำดำเนินกำรให้สอดคล้องกับ
แนวนโยบำยพื้นฐำนแหงรัฐ ตำมบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแหงรำชอำณำจักรไทย และ
แผนพัฒนำประเทศด้ำนตำง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ อย่ำงน้อยจะต้องมีสำระสำคัญเกี่ยวกับกำร
กำหนดเป้ำหมำยและผลสัมฤทธิ์ของงำน ส่วนรำชกำรหรือบุคคลที่จะรับผิดชอบในแต่ละภำรกิจ
ประมำณกำรรำยได้ และรำยจ่ำยและทรัพยำกรตำง ๆ ที่จะต้องใช้ระยะเวลำกำรดำเนินกำร และ
กำรติดตำมประเมินผล
มำตรำ 13 ให้คณะรัฐมนตรีจัดให้มีแผนกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน ตลอดระยะเวลำกำร
บริหำรรำชกำรของคณะรัฐมนตรีเมื่อคณะรัฐมนตรีได้แถลงนโยบำยต่อรัฐสภำแล้ว ให้สำนัก
เลขำธิกำรคณะรัฐมนตรี สำนักเลขำธิกำรนำยกรัฐมนตรี สำนักงำนคณะกรรมกำรพัฒนำกำร
320

เศรษฐกิจและสังคมแหงชำติ และสำนักงบประมำณ รวมกันจัดทำแผนกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน


เสนอคณะรัฐมนตรีพิจำรณำภำยในเก้ำสิบวันนับแต่วันที่คณะรัฐมนตรีแถลงนโยบำยต่อรัฐสภำเมื่อ
คณะรัฐมนตรีให้ควำมเห็นชอบในแผนกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน ตำมวรรคหนึ่งแล้ว ให้มีผล
ผูกพันคณะรัฐมนตรี รัฐมนตรี และส่วนรำชกำร ที่จะต้องดำเนินกำรจัดทำภำรกิจให้เป็นไปตำม
แผนกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน นั้น

60.ตอบ “ข้อ ง. ถูกทุกข้อ”


อธิบำยตำม พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.2546
มำตรำ 13 ให้คณะรัฐมนตรีจัดให้มีแผนกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน ตลอดระยะเวลำกำร
บริหำรรำชกำรของคณะรัฐมนตรีเมื่อคณะรัฐมนตรีได้แถลงนโยบำยต่อรัฐสภำแล้ว ให้สำนัก
เลขำธิกำรคณะรัฐมนตรี สำนักเลขำธิกำรนำยกรัฐมนตรี สำนักงำนคณะกรรมกำรพัฒนำกำร
เศรษฐกิจและสังคมแหงชำติ และสำนักงบประมำณ รวมกันจัดทำแผนกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน
เสนอคณะรัฐมนตรีพิจำรณำภำยในเก้ำสิบวันนับแต่วันที่คณะรัฐมนตรีแถลง
นโยบำยต่อรัฐสภำเมื่อคณะรัฐมนตรีให้ควำมเห็นชอบในแผนกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน ตำม
วรรคหนึ่งแล้ว ให้มีผลผูกพันคณะรัฐมนตรี รัฐมนตรี และส่วนรำชกำร ทีจ่ ะต้องดำเนินกำรจัดทำ
ภำรกิจให้เป็นไปตำมแผนกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน นั้น

61.ตอบ “ข้อ ก. คณะรัฐมนตรี”


อธิบำยตำม พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.2546
มำตรำ 13 ให้คณะรัฐมนตรีจัดให้มีแผนกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน ตลอดระยะเวลำกำร
บริหำรรำชกำรของคณะรัฐมนตรีเมื่อคณะรัฐมนตรีได้แถลงนโยบำยต่อรัฐสภำแล้ว ให้สำนัก
เลขำธิกำรคณะรัฐมนตรี สำนักเลขำธิกำรนำยกรัฐมนตรี สำนักงำนคณะกรรมกำรพัฒนำกำร
เศรษฐกิจและสังคมแหงชำติ และสำนักงบประมำณ รวมกันจัดทำแผนกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน
เสนอคณะรัฐมนตรีพิจำรณำภำยในเก้ำสิบวันนับแต่วันที่คณะรัฐมนตรีแถลง
นโยบำยต่อรัฐสภำเมื่อคณะรัฐมนตรีให้ควำมเห็นชอบในแผนกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน ตำม
วรรคหนึ่งแล้ว ให้มีผลผูกพันคณะรัฐมนตรี รัฐมนตรี และส่วนรำชกำร ที่จะต้องดำเนินกำรจัดทำ
ภำรกิจให้เป็นไปตำมแผนกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน นั้น

62.ตอบ “ข้อง. ถูกทุกข้อ”


อธิบำยตำม พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.2546
มำตรำ 13 ให้คณะรัฐมนตรีจัดให้มีแผนกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน ตลอดระยะเวลำกำร
บริหำรรำชกำรของคณะรัฐมนตรีเมื่อคณะรัฐมนตรีได้แถลงนโยบำยต่อรัฐสภำแล้ว ให้สำนัก
เลขำธิกำรคณะรัฐมนตรี สำนักเลขำธิกำรนำยกรัฐมนตรี สำนักงำนคณะกรรมกำรพัฒนำกำร
321

เศรษฐกิจและสังคมแหงชำติ และสำนักงบประมำณ รวมกันจัดทำแผนกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน


เสนอคณะรัฐมนตรีพิจำรณำภำยในเก้ำสิบวันนับแต่วันที่คณะรัฐมนตรีแถลง
นโยบำยต่อรัฐสภำเมื่อคณะรัฐมนตรีให้ควำมเห็นชอบในแผนกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน ตำม
วรรคหนึ่งแล้ว ให้มีผลผูกพันคณะรัฐมนตรี รัฐมนตรี และส่วนรำชกำร ที่จะต้องดำเนินกำรจัดทำ
ภำรกิจให้เป็นไปตำมแผนกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน นั้น

63.ตอบ “ข้อ ข. ก.พ.ร.”


อธิบำยตำม พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.2546
มำตรำ 12 เพื่อประโยชน์ในกำรปฏิบัติรำชกำรให้เกิดผลสัมฤทธิ์ ก.พ.ร. อำจเสนอต่อ
คณะรัฐมนตรีเพื่อกำหนดมำตรกำรกำกับกำรปฏิบัติรำชกำร โดยวิธีกำรจัดทำควำมตกลงเป็นลำย
ลักษณ์อักษร หรือโดยวิธีกำรอื่นใดเพื่อแสดงควำมรับผิดชอบในกำรปฏิบัติรำชกำร

64.ตอบ “ข้อ ค. พันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร”


อธิบำยตำม พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.2546
ผู้รับสนองพระบรมรำชโองกำร
พันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร
นำยกรัฐมนตรี
322

แนวข้อสอบ พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.


2546 แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2562) ชุด 2.
ข้อ 1. ส่วนรำชกำรต่ำงๆ จะต้องจัดทำบัญชีต้นทุนในงำนบริกำรสำธำรณะ เพื่อให้บรรลุ
วัตถุประสงค์กำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดีในเรื่องใด
ก. เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภำรกิจของรัฐ
ข. เพื่อให้มีประสิทธิภำพและเกิดควำมคุ้มค่ำในเชิงภำรกิจของรัฐ
ค. เพื่อลดขั้นตอนกำรปฏิบัติงำน
ง. เพื่อปรับปรุงภำรกิจของส่วนรำชกำร
ข้อ 2. แผนปฏิบัติรำชกำรของส่วนรำชกำรมีระยะเวลำกี่ปีตำมกฎหมำยใหม่
ก. 1 ปี
ข. 3 ปี
ค. 5 ปี
ง. 7 ปี
ข้อ 3. แผนปฏิบัติรำชกำรตำมข้อ 2. มีห้วงระยะเวลำตำมข้อใด
ก. ปีงบประมำณ พ.ศ. 2562
ข. ปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 ถึงปีงบประมำณ พ.ศ. 2565
ค. ปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 ถึงปีงบประมำณ พ.ศ. 2567
ง. ปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 ถึงปีงบประมำณ พ.ศ. 2569
ข้อ 4. กำรปฏิบัติรำชกำรที่มีเป้ำหมำยเพื่อให้เกิดควำมผำสุกและควำมเป็นอยู่ที่ดีของประชำชน
ควำมสงบและปลอดภัยของสังคมส่วนรวม ตลอดจนประโยชน์สูงสุดของประเทศ เป็นควำมหมำย
ตำมข้อใด
ก. ประชำชนได้รับกำรอำนวยควำมสะดวกและได้รบั ตอบสนองควำมต้องกำร
ข. ประชำชนเป็นศูนย์กลำง
ค. กำรบริหำรรำชกำรเพื่อประโยชน์สุขของประชำชน
ง. กำรบริหำรรำชกำรแบบบูรณำกำร
ข้อ 5. พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี (ฉบับที่ 2) พ.ศ.
2562 มีผลใช้บังคับตั้งแต่เมื่อใด
ก. วันที่ 1 พฤษภำคม 2562
ข. วันที่ 1 มิถุนำยน 2562
ค. วันที่ 1 กรกฎำคม 2562
ง. วันที่ 1 สิงหำคม 2562
ข้อ 6. ส่วนรำชกำรจะต้องเสนอแผนปฏิบัติรำชกำรประจำปีให้บุคคลใดให้ควำมเห็นชอบ
ก. ปลัดกระทรวง
ข. รัฐมนตรี
323

ค. สำนักงบประมำณ
ง. คณะรัฐมนตรี
ข้อ 7. กรณีตำมข้อใดซึ่งสำนักงบประมำณมีอำนำจพิจำรณำไม่จัดสรรงบประมำณให้แก่ส่วน
รำชกำร
ก. ส่วนรำชกำรมิได้จัดทำแผนปฏิบัติรำชกำร
ข. ส่วนรำชกำรมิได้เสนอแผนปฏิบัติรำชกำร
ค. รัฐมนตรีไม่เห็นชอบกับภำรกิจที่ส่วนรำชกำรเสนอ
ง. ถูกทุกข้อ
ข้อ 8. รำยงำนแสดงผลสัมฤทธิ์ของแผนปฏิบัติรำชกำรประจำปีจะต้องเสนอต่อบุคคลใด
ก. รัฐมนตรี
ข. คณะรัฐมนตรี
ค. ก.พ.ร.
ง. นำยกรัฐมนตรี
ข้อ 9. กรณีนำยกรัฐมนตรีคนใหม่สั่งกำรให้ส่วนรำชกำรสรุปผลกำรปฏิบัติรำชกำรและให้ข้อมูลต่อ
นำยกรัฐมนตรีนั้น มีวัตถุประสงค์ตำมข้อใด
ก. ตรวจสอบ
ข. ถ่วงดุล
ค. กำกับดูแล
ง. กำหนดนโยบำย
ข้อ 10. บุคคลใดรักษำกำรตำมพระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำร
บ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ. 2546
ก. นำยกรัฐมนตรี
ข. รัฐมนตรี
ค. เลขำธิกำร ก.พ.ร.
ง. ผู้อำนวยกำรสำนักงบประมำณ
ข้อ 11. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับกำรสั่งรำชกำร
ก. โดยปกติทำเป็นคำสั่ง
ข. โดยปกติสั่งรำชกำรด้วยวำจำ
ค. โดยปกติทำเป็นลำยลักษณ์อักษร
ง. โดยปกติสั่งด้วยวำจำหรือลำยลักษณ์อักษรก็ได้
ข้อ 12. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับควำมคุ้มค่ำในเชิงภำรกิจของรัฐ
ก. กำรประเมินควำมคุ้มค่ำให้คำนึงถึงประโยชน์ที่ประชำชนจะพึงได้รับ
ข. ประโยชน์ทำงสังคมซึ่งไม่อำจคำนวณเป็นตัวเงินได้ย่อมมิใช่ควำมคุ้มค่ำ
ค. ในกำรจัดซื้อจัดจ้ำงส่วนรำชกำรไม่ต้องถือรำคำต่ำสุดเสมอไป
324

ง. กรณีที่ส่วนรำชกำรไม่ต้องถือรำคำต่ำสุดในกำรจัดซื้อจัดจ้ำงโดยต้องคำนึงถึง
วัตถุประสงค์กำรใช้งำนเป็นสำคัญ
ข้อ 13. กรณีส่วนรำชกำรจะปฏิบัติภำรกิจใดจะต้องได้รับอนุญำตจำกส่วนรำชกำรอื่นตำม
กฎหมำยนั้น ส่วนรำชกำรที่มีอำนำจอนุญำตจะต้องแจ้งผลกำรพิจำรณำภำยในกี่วัน
ก. 7 วัน
ข. 15 วัน
ค. 30 วัน
ง. 60 วัน
ข้อ 14. จำกคำถำมในข้อ 13 กรณีเรื่องใดกฎหมำยกำหนดขั้นตอนกำรปฏิบัติซึ่งจะต้องใช้
ระยะเวลำเกินกว่ำนั้น จะต้องดำเนินกำรอย่ำงไร
ก. ส่วนรำชกำรที่มีอำนำจอนุญำต จะต้องประกำศกำหนดระยะเวลำกำรพิจำรณำ
ข. ส่วนรำชกำรที่มีอำนำจอนุญำต จะต้องลดเวลำกำรพิจำรณำลง
ค. ไม่ต้องประกำศกำหนดหรือลดเวลำกำรพิจำรณำแต่อย่ำงใด เพรำะระยะเวลำจะต้องยึด
ตำมกฎหมำยเป็นหลัก
ง. ไม่มีข้อใดถูกต้อง
ข้อ 15. จำกข้อ 13 และข้อ 14 กรณีส่วนรำชกำรที่มีอำนำจอนุญำต ไม่ได้ดำเนินกำรให้เสร็จจน
เกิดควำมเสียหำยขึ้น บทสันนิษฐำนของกฎหมำยคือข้อใด
ก. ให้ถือว่ำข้ำรำชกำรที่เกี่ยวข้องประมำทเลินเล่อ
ข. ให้ถือว่ำหัวหน้ำส่วนรำชกำรประมำทเลินเล่ออย่ำงร้ำยแรง
ค. ให้ถือว่ำหัวหน้ำส่วนรำชกำรประมำทเลินเล่อ
ง. ข้อ ก. และ ค. ถูกต้อง
ข้อ 16. กำรดำเนินกำรโดยถือว่ำประชำชนเป็นศูนย์กลำงที่จะได้รับกำรบริกำรจำกรัฐ เป็น
เป้ำหมำยกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดีด้ำนใด
ก. ประชำชนได้รับกำรอำนวยควำมสะดวก
ข. ประชำชนได้รับกำรตอบสนองควำมต้องกำร
ค. ทั้งข้อ ก. และ ข.
ง. เกิดประโยชน์สุขของประชำชน
ข้อ 17. พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 มี
ผลใช้บังคับตั้งแต่เมื่อใด
ก. วันที่ 9 ตุลำคม 2546
ข. วันที่ 10 ตุลำคม 2546
ค. วันที่ 9 ตุลำคม 2547
ง. วันที่ 10 ตุลำคม 2547
325

ข้อ 18. หน่วยงำนใด ถือเป็นส่วนรำชกำรตำมพระรำชกฤษฎีกำนี้


ก. หน่วยงำนในกำกับของกระทรวง
ข. รัฐวิสำหกิจที่จัดตั้งตำมพระรำชบัญญัติ
ค. รัฐวิสำหกิจที่จัดตั้งตำมพระรำชกฤษฎีกำ
ง. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ข้อ 19. "กำรกำหนดเป้ำหมำย แผนกำรทำงำน ระยะเวลำแล้วเสร็จ งบประมำณ และเผยแพร่ให้
ทรำบทั่วกัน" ถือเป็นหลักเกณฑ์กำรบริหำรรำชกำรเกี่ยวกับเรื่องใด
ก. ประโยชน์สุด
ข. อำนวยควำมสะดวก
ค. ผลสัมฤทธิ์
ง. ประสิทธิภำพ
ข้อ 20. ผู้ใดมีหน้ำที่จัดให้มีศูนย์บริกำรร่วมในกระทรวง
ก. ปลัดกระทรวง
ข. หัวหน้ำกลุ่มภำรกิจ
ค. ผู้ตรวจรำชกำรกระทรวง
ง. ผู้ตรวจรำชกำรกรม
ข้อ 21. กำรกระจำยอำนำจกำรตัดสินใจเกี่ยวกับกำรอนุญำต อนุมัติ กำรปฏิบัติรำชกำร จัดอยู่ใน
เป้ำหมำยใด
ก. ประโยชน์สุขของประชำชน
ข. ไม่มีขั้นตอนกำรปฏิบัติงำนเกินควำมจำเป็น
ค. ประชำชนได้รับกำรตอบสนองควำมต้องกำร
ง. มีกำรปรับปรุงภำรกิจของส่วนรำชกำรให้ทันต่อสถำนกำรณ์
ข้อ 22. กำรกระจำยอำนำจกำรตัดสินใจตำมข้อ 21 มิได้มุ่งผลในด้ำนใด
ก. สะดวก
ข. รวดเร็ว
ค. คุ้มค่ำ
ง. ไม่มีข้อถูก
ข้อ 23. กำรยกเลิก ปรับปรุง หรือเปลี่ยนแปลงภำรกิจเป็นอำนำจของบุคคลใดให้ควำมเห็นชอบ
ก. ก.พ.ร.
ข. รมต.
ค. ครม.
ง. กพ.
326

ข้อ 24. เหตุผลและควำมจำเป็นในข้อใดที่ใช้ประกอบกำรจัดตั้งส่วนรำชกำรที่มีภำรกิจลักษณะ


เดียวกันกับส่วนรำชกำรที่มีกำรยุบ เลิก โอน หรือรวมส่วนรำชกำรไปแล้วขึ้นใหม่
ก. รักษำควำมมั่นคงของรัฐ
ข. รักษำควำมมั่นคงของเศรษฐกิจ
ค. รักษำผลประโยชน์ส่วนรวมของประชำชน
ง. ถูกทุกข้อ
ข้อ25. จำกข้อ 24 จะต้องได้รับควำมเห็นชอบจำกบุคคลใด
ก. ก.พ.ร.
ข. สำนักงบประมำณ
ค. รัฐมนตรี
ง. คณะรัฐมนตรี
ข้อ 26. บทบัญญัติตำมพระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี
พ.ศ. 2546 แบ่งออกเป็นกี่หมวด
ก. 7 หมวด
ข. 8 หมวด
ค. 9 หมวด
ง. 10 หมวด
ข้อ 27. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับศูนย์บริกำรร่วม
ก. กำรยื่นคำร้องต่อศูนย์บริกำรร่วม ถือว่ำเป็นกำรยื่นต่อส่วนรำชกำรที่เกี่ยวข้องตำม
กฎหมำยแล้ว
ข. ให้ประชำชนติดต่อเจ้ำหน้ำที่เพียงแห่งเดียว
ค. มีเจ้ำหน้ำที่รับเรื่องรำวและส่งต่อหน่วยงำนที่เกี่ยวข้องดำเนินกำรต่อไป
ง. ถูกทุกข้อ
ข้อ 28. กรณีส่วนรำชกำรที่ได้รับกำรเสนอแนะให้ดำเนินกำรแก้ไข ปรับปรุง หรือยกเลิกกฎหมำย
ไม่เห็นด้วยกับคำเสนอแนะ จะต้องเสนอเรื่องให้บุคคลใดพิจำรณำวินิจฉัย
ก. คณะกรรมกำรพัฒนำกฎหมำย
ข. คณะกรรมกำรกฤษฎีกำ
ค. คณะกรรมกำรปฏิรูปกฎหมำย
ง. คณะรัฐมนตรี
ข้อ 29. กรณีส่วนรำชกำรมิได้กำหนดระยะเวลำแล้วเสร็จของงำนใดไว้ หรือกำหนดไว้แต่เป็น
ระยะเวลำที่ล่ำช้ำเกินสมควร กฎหมำยให้อำนำจบุคคลสำมำรถกำหนดเวลำแล้วเสร็จให้ส่วน
รำชกำรนั้นปฏิบัติได้
ก. กพ.
ข. กพค.
327

ค. ก.พ.ร.
ง. ครม.
ข้อ 30. ส่วนรำชกำรมีหน้ำที่ตอบคำถำมหรือแจ้งกำรดำเนินกำรตำมที่ได้รับกำรติดต่อสอบถำม
เป็นหนังสือจำกประชำชน ภำยในกี่วัน
ก. 7 วัน
ข. 15 วัน
ค. 30 วัน
ง. 60 วัน
ข้อ 31. ข้อยกเว้นในข้อใด ถือเป็นกำรปฏิบัติรำชกำร
ก. คุ้มครองสิทธิส่วนบุคคล
ข. รักษำควำมสงบเรียบร้อยของประชำชน
ค. รักษำควำมมั่นคงทำงเศรษฐกิจ
ง. ถูกทุกข้อ
ข้อ 32. ปัจจัยใดอำจทำให้ส่วนรำชกำรได้รับกำรจัดสรรเงินเพิ่มพิเศษเป็นบำเหน็จควำมชอบ
ก. ให้บริกำรที่มีคุณภำพ
ข. สร้ำงควำมเป็นธรรมแก่ประชำชน
ค. บูรณำกำรกำรทำงำน
ง. ประหยัดรำยจ่ำยได้สูงสุด
ข้อ 33. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องจัดทำหลักเกณฑ์กำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดีตำม
แนวทำงพระรำชกฤษฎีกำนี้ในเรื่องใด
ก. กำรลดขั้นตอนกำรปฏิบัติงำน
ข. เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภำรกิจของรัฐ
ค. เกิดประโยชน์สุขของประชำชน
ง. เกิดควำมคุ้มค่ำในเชิงภำรกิจของรัฐ
ข้อ 34. จำกข้อ 33 บุคคลใดมีหน้ำที่ดูแลให้ควำมช่วยเหลือในกำรจัดทำหลักเกณฑ์ดังกล่ำว
ก. กรมส่งเสริมกำรปกครองท้องถิ่น
ข. กระทรวงมหำดไทย
ค. ก.พ.ร.
ง. ครม.
ข้อ 35. แพลตฟอร์มดิจิทัลกลำงเพื่อบริกำรประชำชนขับเคลื่อนโดยองค์กรใด
ก. สำนักงำนพัฒนำธุรกรรมทำงอิเล็กทรอนิกส์ (องค์กำรมหำชน)
ข. สำนักงำนส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล
ค. สำนักงำนพัฒนำรัฐบำลดิจิทัล (องค์กำรมหำชน)
ง. สำนักงำนคณะกรรมกำรดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ
328

เฉลยพระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี แลแก้ไขเพิ่มเติม
(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562
ข้อ 1 ตอบ ข. กำรจัดทำบัญชีต้นทุนในงำนบริกำรสำธำรณะ กำหนดไว้ในมำตรำ 21 หมวด 4
กำรบริหำรรำชกำรอย่ำงมีประสิทธิภำพและเกิดควำมคุ้มค่ำในเชิงภำรกิจของรัฐ

2 ตอบ ข. พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี (ฉบับที่ 2)


พ.ศ. 2562 มำตรำ 9 กำหนดว่ำ ในวำระเริ่มแรก กำรจัดทำแผนปฏิบัติรำชกำรของส่วนรำชกำร
5 ปี ให้จัดทำเป็นแผน 3 ปี โดยมีห้วงระยะเวลำตั้งแต่ปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 ถึง
ปีงบประมำณ พ.ศ. 2565

ข้อ 3. ตอบ ข. พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี (ฉบับที่


2) พ.ศ. 2562 มำตรำ 9 กำหนดว่ำ ในวำระเริ่มแรก กำรจัดทำแผนปฏิบัติรำชกำรของส่วน
รำชกำร 5 ปี ให้จัดทำเป็นแผน 3 ปี โดยมีห้วงระยะเวลำตั้งแต่ปีงบประมำณ พ.ศ. 2563 ถึง
ปีงบประมำณ พ.ศ. 2565

ข้อ 4. ตอบ ค. ดูมำตรำ 7

ข้อ 5. ตอบ ก. พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี (ฉบับที่


2) พ.ศ. 2562 ประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำ เล่ม 136/ตอนที่ 56 ก/หน้ำ 253/30 เมษำยน
2562 โดยมำตรำ 2 กำหนดให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจำกวันประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำเป็นต้น
ไป

ข้อ 6. ตอบ ข. รัฐมนตรี ตำมมำตรำ 16 วรรคสอง

ข้อ 7. ตอบ ง. ถูกทุกข้อ ตำมมำตรำ 16 วรรคสำม

ข้อ 8. ตอบ ข. คณะรัฐมนตรี ตำมมำตรำ 16 วรรคท้ำย

ข้อ 9. ตอบ ง. มำตรำ 19 เพื่อนำยกรัฐมนตรีคนใหม่จะได้ใช้เป็นข้อมูลในกำรพิจำรณำกำหนด


นโยบำยกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดินต่อไป

ข้อ 10. ตอบ ก. นำยกรัฐมนตรี ตำมมำตรำ 5

ข้อ 11. ตอบ ค. โดยปกติทำเป็นลำยลักษณ์อักษร ตำมมำตรำ 26


329

ข้อ 12. ตอบ ข. ควำมคุ้มค่ำ รวมถึงกรณีที่ไม่อำจคำนวณเป็นตัวเงินได้ด้วย ตำมมำตรำ 22 วรรค


ท้ำย

ข้อ 13. ตอบ ข. 15 วัน ตำมมำตรำ 24 วรรคหนึ่ง

ข้อ 14. ตอบ ก. ต้องประกำศกำหนดระยะเวลำกำรพิจำรณำไว้ให้ส่วนรำชกำรอื่นทรำบ ตำม


มำตรำ 24 วรรคสอง

ข้อ 15. ตอบ ข. ให้ถือว่ำ หัวหน้ำส่วนรำชกำรประมำทเลินเล่ออย่ำงร้ำยแรง ตำมมำตรำ 24


วรรคท้ำย

ข้อ 16. ตอบ ง. กำรบริหำรรำชกำรเพื่อประโยชน์สุขของประชำชน ตำมมำตรำ 8 วรรคหนึ่ง

ข้อ 17. ตอบ ข. วันที่ 10 ตุลำคม 2546 ตำมมำตรำ 2


ข้อ 18. ตอบ ก. ตำมมำตรำ 4 "ส่วนรำชกำร"
ข้อ 19. ตอบ ง. กำรบริหำรรำชกำรอย่ำงมีประสิทธิภำพ ตำมมำตรำ 20
ข้อ 20. ตอบ ก. ปลัดกระทรวง ตำมมำตรำ 30
ข้อ 21. ตอบ ข. ตำมมำตรำ 27
ข้อ 22. ตอบ ค. ตำมมำตรำ 27 วรรคหนึ่ง
ข้อ 23. ตอบ ค. ครม. ตำมมำตรำ 33 วรรคสำม
ข้อ 24. ตอบ ง. ตำมมำตรำ 34
ข้อ 25. ตอบ ก. ก.พ.ร. ตำมมำตรำ 34
ข้อ 26. ตอบ ค. 9 หมวด
ข้อ 27. ตอบ ง. ตำมมำตรำ 30 และมำตรำ 31
ข้อ 28. ตอบ ง. คณะรัฐมนตรี ตำมมำตรำ 36 วรรคท้ำย
ข้อ 29. ตอบ ค. ก.พ.ร. ตำมมำตรำ 37 วรรคหนึ่ง
ข้อ 30. ตอบ ข. 15 วัน ตำมมำตรำ 38
ข้อ 31. ตอบ ง. ถูกทุกข้อ ตำมมำตรำ 43
ข้อ 32. ตอบ ก. ให้บริกำรที่มีคุณภำพ ตำมมำตรำ 48
ข้อ 33. ตอบ ก. ลดขั้นตอนกำรปฏิบัติงำน ตำมมำตรำ 52 วรรคหนึ่ง
ข้อ 34. ตอบ ข. กระทรวงมหำดไทย ตำมมำตรำ 52 วรรคท้ำย
ข้อ 35. ตอบ ค. สำนักงำนพัฒนำรัฐบำลดิจิทัล (องค์กำรมหำชน) ตำมมำตรำ 29 วรรคท้ำย
ประกอบกับมำตรำ 10 แห่งพระรำชกฤษฎีกำฯ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2562)
ข้อสอบพระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และ วิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.2546
330

แนวข้อสอบ พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.


2546 แก้ไขเพิ่มเติมถึง ฉบับที่ 2 2562 ชุดที่ 3.
1. พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 มีกี่
หมวด กี่มำตรำ
1. 9 หมวด 53 มำตรำ 2. 8 หมวด 52 มำตรำ
3. 9 หมวด 54 มำตรำ 4. 8 หมวด 54 มำตรำ
2. พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 ให้ไว้
ณ วันที่เท่ำใด
1. 9 มกรำคม 2546 2. 9 ตุลำคม 2546
3. 9 กุมภำพันธ์ 2546 4. 9 พฤศจิกำยน 2546
3. พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 นี้ใช้
บังคับ ตั้งแต่
1. วันที่ประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำ
2. ก่อนวันประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำ
3. วันถัดจำกวันประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำ
4. ไม่มีข้อใดถูก
4. กำรปฏิบัติตำมพระรำชกฤษฎีกำนี้ จะปฏิบัติเมื่อใด และต้องมีเงื่อนไขอย่ำงใด ให้เป็นไปตำมที่
ผู้ใด กำหนด
1. เลขำธิกำรรัฐมนตรีกำหนด
2. เลขำธิกำรคณะรัฐมนตรีกำหนด
3. นำยกรัฐมนตรีกำหนด
4. คณะรัฐมนตรีกำหนด
5. กำรปฏิบัติตำมพระรำชกฤษฎีกำนี้จะปฏิบัติเมื่อใด และต้องมีเงื่อนไขอย่ำงใด ให้เป็นไปตำมที่
ผู้ใด เสนอ
1. ก.พ.ร. 2. ครม. 3. กกต. 4. พ.ต.ท.
6. ตำมพระรำชกฤษฎีกำนี้ คำว่ำ “ส่วนรำชกำร” หมำยถึง
1. ส่วนรำชกำรตำมกฎหมำยว่ำด้วยกำรปรับปรุง กระทรวง ทบวง กรม
2. หน่วยงำนอื่นของรัฐที่อยู่ในกำกับของส่วนรำชกำรฝ่ำยบริหำร
3. ถูกทั้งข้อ 1. และ 2.
4. ไม่มีข้อใดถูก
7. ตำมพระรำชกฤษฎีนี้ คำว่ำ “ส่วนรำชกำร” ไม่รวมถึง
1. องค์กำรบริหำรส่วนจังหวัด
2. กำรปกครองส่วนภูมิภำค
3. กำรปกครองส่วนกลำง
331

4. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
8. ตำมพระรำชกฤษฎีกำนี้ คำว่ำ “รัฐวิสำหกิจ” หมำยควำมว่ำ อย่ำงไร
1. รัฐวิสำหกิจที่จัดตั้งขึ้นโดยพระรำชบัญญัติ
2. รัฐวิสำหกิจที่จัดตั้งขึ้นโดยพระรำชกฤษฎีกำ
3. รัฐวิสำหกิจที่จัดตั้งขึ้นโดยกฎกระทรวง
4. ถูกหมดทั้ง 1. และ 2.
9. ตำมพระรำชกฤษฎีกำนี้ คำว่ำ “ข้ำรำชกำร” ตำมพระรำชกฤษฎีกำนี้หมำยควำมรวมถึงใครบ้ำง
1. พนักงำน
2. ลูกจ้ำง
3. ผู้ปฏิบัติงำนในส่วนรำชกำร
4. ถูกทุกข้อ
10. ใครเป็นผู้รักษำกำรตำมพระรำชกฤษฎีกำนี้
1. นำยกรัฐมนตรี
2. รองนำยกรัฐมนตรี
3. คณะรัฐมนตรี
4. ปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรี
11. ข้อใดเป็นกำรบริหำรเพื่อบรรลุเป้ำหมำยของกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี
1. เกิดประโยชน์สุขของประชำชน
2. เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภำรกิจของรัฐ
3. มีประสิทธิภำพและเกิดควำมคุ้มค่ำในเชิงภำรกิจของรัฐ
4. ถูกหมดถูกข้อ
12. กำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดีได้แก่กำรบริหำรรำชกำรเพื่อบรรลุเป้ำหมำยดังข้อใด
1. ไม่มีขั้นตอนกำรปฏิบัติงำนเกินควำมจำเป็น
2. มีกำรปรับปรุงภำรกิจของส่วนรำชกำรให้ทันต่อสถำนกำรณ์
3. ประชำชนได้รับกำรอำนวยควำมสะดวกและกำรได้รับกำรตอบสนองควำมต้องกำร
4. ถูกหมดทุกข้อ
13. กำรบริหำรรำชกำรเพื่อประโยชน์สุขของประชำชน หมำยถึงข้อใด
1. กำรปฏิบัติรำชกำรที่มีเป้ำหมำยเพื่อให้เกิดควำมผำสุกของประชำชน
2. กำรปฏิบัติรำชกำรที่มีเป้ำหมำยเพื่อให้เกิดควำมเป็นอยู่ที่ดีของประชำชน
3. กำรปฏิบัติรำชกำรที่มีเป้ำหมำยเพื่อให้เกิดควำมสงบและปลอดภัยของสังคมส่วนรวม
4. ถูกทุกข้อ
14. กำรบริหำรรำชกำรเพื่อประโยชน์สุขของประชำชน ส่วนรำชกำรจะดำเนินกำรโดยถือว่ำ
ประชำชนเป็นเช่นใด
1. ประชำชนเป็นมิตรกับส่วนรำชกำร
332

2. ส่วนรำชกำรเป็นศูนย์กลำงของประชำชนในด้ำนกำรใช้อำนำจ
3. ประชำชนเป็นศูนย์กลำงในกำรได้รับกำรบริกำรจำกภำครัฐ
4. ถูกหมดทุกข้อ
15. กำรกำหนดภำรกิจของรัฐและส่วนรำชกำรต้องเป็นไปเพื่ออะไร
1. เพื่อประโยชน์สุขของประชำชน
2. เพื่อประโยชน์สุขของข้ำรำชกำร
3. เพื่อประโยชน์สุขของหน่วยงำนรำชกำร
4. ถูกหมดทุกข้อ
16. กำรกำหนดภำรกิจของรัฐและส่วนรำชกำรต้องเป็นไปเพื่ออะไร
1. เพื่อประโยชน์สุขของประชำชน
2. เพื่อให้สอดคล้องกับแนวนโยบำยแห่งรัฐ
3. เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบำยของคณะรัฐมนตรีที่แถลงต่อรัฐสภำ
4. ถูกหมดทุกข้อ
17. กำรปฏิบัติภำรกิจของส่วนรำชกำรต้องเป็นไปโดยข้อใด
1. ควำมซื่อสัตย์ สุจริต
2. สำมำรถตรวจสอบได้
3. เกิดประโยชน์สุขแก่ประชำชน
4. ถูกหมดทุกข้อ
18. ข้ำรำชกำรมีหน้ำที่ต้องคอยรับฟัง ควำมคิดเห็นและควำมพึงพอใจของสังคมโดยรวมเพื่ออะไร
1. เพื่อปรับปรุงหรือเสนอแนะต่อผู้บังคับบัญชำ
2. เพื่อให้มีกำรปรับปรุงวิธีกำรปฏิบัติรำชกำรให้เหมำะสม
3. ถูกทั้งข้อ 1. และ 2.
4. ไม่มีข้อใดถูก
19. ในกรณีที่เกิดปัญหำ และอุปสรรค จำกกำรดำเนินกำร ส่วนรำชกำรต้องดำเนินกำรอย่ำงไร
1. แก้ไขปัญหำและอุปสรรคนั้นโดยเร็ว
2. แก้ไขปัญหำตำมแผนของส่วนรำชกำรนั้น
3. รีบทำหนังสือปรึกษำ ก.พ.ร.
4. รีบท ำหนังสือปรึกษำคณะรัฐมนตรี
20. ส่วนรำชกำรต้องดำเนินกำรแก้ไขปัญหำ และอุปสรรคนั้นแล้วต้องแจ้งให้ใครทรำบ
1. ครม.
2. รมต.
3. ปปช.
4. ก.พ.ร.
333

21. กรณีที่ส่วนรำชกำรกำหนดวิธีกำรปฏิบัติให้เหมำะสมกับภำรกิจแต่ละเรื่อง ให้ผู้ใดเป็นผู้


กำหนดแนวทำงกำรดำเนินกำรทั่วไป
1. ครม.
2. รมต.
3. บ.ข.ส.
4. ก.พ.ร.
22. กำรกำหนดภำรกิจของรัฐและส่วนรำชกำร ให้สอดคล้องกับแนวนโยบำยของรัฐ เป็นกำร
บริหำร รำชกำรแบบใด
1. เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภำรกิจของรัฐ
2. เกิดประโยชน์สุขของประชำชน
3. มีประสิทธิภำพและเกิดควำมคุ้มค่ำในเชิงภำรกิจของรัฐ
4. เพื่อลดขั้นตอนกำรปฏิบัติงำน
23. ในกำรบริหำรรำชกำร ก่อนจะดำเนินกำรสิ่งใด ส่วนรำชกำรต้องดำเนินกำรตำมข้อใด
1. แจ้งให้ประชำชนทรำบก่อนเสมอ
2. โฆษณำประชำสัมพันธ์ให้ประชำชนทรำบ
3. วิเครำะห์ผลกำรปฏิบัติล่วงหน้ำไว้ก่อน
4. จัดทำแผนปฏิบัติรำชกำรไว้เป็นกำรล่วงหน้ำ
24. กำรกำหนดแผนปฏิบัติรำชกำรต้องมีรำยละเอียดใดบ้ำง
1. ระยะเวลำและงบประมำณ
2. ผลสัมฤทธิ์ของภำรกิจ
3. ตัวชี้วัดควำมสำเร็จของภำรกิจ
4. ถูกทุกข้อ
25. ส่วนรำชกำรต้องจัดให้มีกำรติดตำมและประเมินผลกำรปฏิบัติตำมแผนปฏิบัติรำชกำรตำม
หลักเกณฑ์ และวิธีกำรที่ส่วนรำชกำรกำหนดขึ้นต้องสอดคล้องกับมำตรฐำนที่ใครกำหนด
1. ครม. 2. รมต. 3. ปปป. 4. ก.พ.ร
26. ในกรณีที่กำรปฏิบัติภำรกิจของรำชกำร เกิดผลกระทบต่อประชำชนเป็นหน้ำที่ของผู้ใดต้อง
ดำเนินกำรแก้ไข
1. ส่วนรำชกำร 2. หัวหน้ำส่วนรำชกำร
3. เจ้ำหน้ำที่ทุกคนที่เกี่ยวข้อง 4. ก.พ.ร.
27. ให้ส่วนรำชกำรมีหน้ำที่สนับสนุนกำรปฏิบัติรำชกำรของผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดหรือหัวหน้ำคณะ
ผู้แทนในต่ำงประเทศ เพื่ออะไร
1. เพื่อให้กำรบูรณำกำรงำนต่ำงๆ ในจังหวัดหรือในต่ำงประเทศ สำมำรถยืนยันตำม
แนวทำง เศรษฐกิจพอเพียง
334

2. เพื่อให้จังหวัดหรือในต่ำงประเทศแล้วแต่กรณี สำมำรถใช้ติดต่อกับประชำชนได้โดยตรง
โดยใช้อำนำจตำมกฎหมำยได้ครบถ้วน
3. เพื่อให้กำรบริหำรรำชกำรแบบบูรณำกำรในจังหวัดหรือในต่ำงประเทศ แล้วแต่กรณี
สำมำรถใช้อำนำจตำมกฎหมำยได้ครบถ้วนตำมควำมจำเป็นและบริหำรรำชกำรได้อย่ำงมี
ประสิทธิภำพ
4. เพื่อให้ประชำชนทั้งในและต่ำงประเทศสำมำรถใช้อำนำจตำมกฎหมำยได้ครบถ้วนตำม
ควำมจำเป็นและบริหำรรำชกำรได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ
28. ส่วนรำชกำรมีหน้ำที่พัฒนำควำมรู้เพื่อให้มีลักษณะเป็นองค์กำรแห่งกำรเรียนรู้อย่ำงสม่ำเสมอ
โดยปฏิบัติอย่ำงไร
1. ต้องสำมำรถรับรู้ข่ำวสำรอย่ำงถูกต้องรวดเร็ว
2. ส่งเสริมและพัฒนำควำมรู้ควำมสำมำรถ
3. สร้ำงวิสัยและปรับเปลี่ยนทัศนคติของข้ำรำชกำรในสังกัด
4. ถูกทุกข้อ
29. เพื่อประโยชน์ในกำรปฏิบัติรำชกำรให้เกิดสัมฤทธิ์ ผู้ใดอำจเสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อกำหนด
มำตรกำรกำกับกำรปฏิบัติรำชกำร
1. ส่วนรำชกำร
2. รมต.
3. ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด
4. ก.พ.ร.
30. เพื่อประโยชน์ในกำรปฏิบัติรำชกำรให้เกิดผลสัมฤทธิ์ ก.พ.ร. อำจเสนอต่อใคร เพื่อกำหนด
มำตรกำรกำกับกำรปฏิบัติรำชกำร
1. ครม.
2. รมต.
3. รัฐสภำ
4. วุฒิสภำ
31. คณะรัฐมนตรีจัดให้มีแผนกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน ตลอดระยะเวลำกำรบริหำรรำชกำรของ
คณะรัฐมนตรี เมื่อคณะรัฐมนตรีได้แถลงนโยบำยต่อรัฐสภำแล้วหน่วยงำนใดมีหน้ำที่จัดทำแผนกำร
บริหำรรำชกำรแผ่นดิน เสนอคณะรัฐมนตรี
1. สำนักเลขำธิกำรคณะรัฐมนตรีสำนักเลขำธิกำรนำยกรัฐมนตรี
2. สำนักงำนคณะกรรมกำรพัฒนำกำรเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ
3. สำนักงบประมำณ
4. ถูกทุกข้อ
335

32. หน่วยงำนดังกล่ำวในข้อ 31. จำเป็นต้องเสนอคณะรัฐมนตรีพิจำรณำภำยในกี่วัน


1. 30 วันนับแต่วันที่คณะรัฐมนตรีแถลงนโยบำยต่อรัฐสภำ
2. 60 วันนับแต่วันที่คณะรัฐมนตรีแถลงนโยบำยต่อรัฐสภำ
3. 90 วันวันนับแต่วันที่คณะรัฐมนตรีแถลงนโยบำยต่อรัฐสภำ
4. 120 วันนับแต่วันที่คณะรัฐมนตรีแถลงนโยบำยต่อรัฐสภำ
33. ผลจำกข้อ 32. เมื่อคณะรัฐมนตรีให้ควำมเห็นชอบในแผนกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดินตำมข้อ
32. แล้วจักมีผลกำรใด
1. มีผลถือว่ำเสร็จสิ้นตำมแผนกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดินทุกประกำร
2. มีผลผูกพันคณะรัฐมนตรี รัฐมนตรีสิ้นสุดกำรดำเนินกำรตำมแผนกำรบริหำรรำชกำร
แผ่นดินนั้น
3. มีผลผูกพันคณะรัฐมนตรี รัฐมนตรี และส่วนรำชกำร ที่จะต้องดำเนินกำรจัดทำภำรกิจ
ให้ เป็นไปตำมแผนกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดินนั้น
4. มีผลผูกพันกับรัฐมนตรี และส่วนรำชกำรที่จะต้องดำเนินกำรจัดทำภำรกิจให้เป็นไปตำม
แผนกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดินนั้น
34. เมื่อคณะรัฐมนตรีได้แถลงนโยบำยต่อรัฐสภำแล้ว ส่วนรำชกำรใด ต้องจัดทำแผนกำรบริหำร
รำชกำรแผ่นดิน
1. สำนักเลขำธิกำรคณะรัฐมนตรี และสำนักเลขำธิกำรนำยกรัฐมนตรี
2. สำนักงำนคณะกรรมกำรพัฒนำกำรเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ
3. สำนักงบประมำณ
4. ถูกทุกข้อ
35. เมื่อคณะรัฐมนตรีได้แถลงนโยบำยต่อรัฐสภำแล้ว ส่วนรำชกำรต้องจัดทำแผนกำรบริหำร
รำชกำร แผ่นดิน เสนอคณะรัฐมนตรีพิจำรณำภำยในกี่วัน
1. 80 วัน 2. 90 วัน 3. 100 วัน 4. 120 วัน
36. ตำมข้อ 35. เสนอคณะรัฐมนตรีพิจำรณำภำยในกำหนดเวลำนับจำกวันใด
1. วันที่ประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำ
2. วันถัดจำกวันประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำ
3. วันที่คณะรัฐมนตรีแถลงนโยบำยต่อรัฐสภำ
4. ถูกทุกข้อ
37. เมื่อรัฐมนตรีให้ควำมเห็นชอบในแผนกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน ให้มีผลผูกพันกับใครบ้ำง
1. ครม. 2. รมต. 3. ส่วนรำชกำร 4. ถูกทุกข้อ
38. จำกกำรจัดทำแผนกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดินตำมมำตรำ 13 ให้จัดทำป็นแผนกำหนดกี่ปี
1. 3 ปี 2. 4 ปี 3. 5 ปี 4. 6 ปี
336

39. เมื่อมีกำรประกำศใช้บังคับแผนกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดินแล้ว หน่วยงำนใดต้องพิจำรณำ


จัดทำ แผนนิติบัญญัติ
1. ส ำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ
2. สำนักเลขำธิกำรนำยกรัฐมนตรี
3. ทั้ง 1. และ 2. ร่วมกันพิจำรณำจัดทำแผนนิติบัญญัติ
4. ไม่มีข้อใดถูก
40. แผนนิติบัญญัติ ตำมข้อ 39. มีรำยละเอียดอะไรบ้ำง
1. มีรำยละเอียดเกี่ยวกับกฎหมำยที่จะต้องจัดให้มีขึ้นใหม่
2. มีรำยละเอียดเกี่ยวกับกฎหมำยที่ต้องมีกำรแก้ไขเพิ่มเติม
3. มีรำยละเอียดเกี่ยวกับกฎหมำยที่ยกเลิกให้สอดคล้องกับแผนกำรบริหำรรำชกำร
แผ่นดิน ส่วนรำชกำรผู้รับผิดชอบและระยะเวลำที่ต้องดำเนินกำร
4. ถูกทุกข้อ
แนวข้อสอบ พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ.
2546 แก้ไขเพิ่มเติมถึง ฉบับที่ 2 2562 ชุดที่ 3.
1. ตอบ 1 9 หมวด 53 มำตรำ
2. ตอบ 2 9 ตุลำคม 2546
3. ตอบ 3 วันถัดจำกวันประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำ
4. ตอบ 4 คณะรัฐมนตรีกำหนด
5. ตอบ 1 ก.พ.ร. (มำตรำ 3)
6. ตอบ 3 ถูกทั้ง 1. และ 2. (มำตรำ 4)
7. ตอบ 4 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (มำตรำ 4)
8. ตอบ 4 ถูกหมดทั้ง 1 และ 2 (มำตรำ 4)
9. ตอบ 4 ถูกทุกข้อ (มำตรำ 4)
10. ตอบ 1 นำยกรัฐมนตรี (มำตรำ 5)
11. ตอบ 4 ถูกหมดทุกข้อ (หมวดที่ 1 มำตรำ 6)
12. ตอบ 4 ถูกหมดทุกข้อ (หมวดที่ 1 มำตรำ 6)
13. ตอบ 4 ถูกหมดทุกข้อ (หมวดที่ 2 มำตรำ 7)
14. ตอบ 3 ประชำชนเป็นศูนย์กลำงในกำรได้รับบริกำรจำกภำครัฐ (หมวดที่ 2 มำตรำ
15. ตอบ 1 เพื่อประโยชน์สุขของประชำชน (หมวดที่ 2 มำตรำ 8(1))
16. ตอบ 4 ถูกหมดทุกข้อ (หมวดที่ 2 มำตรำ 8 (1))
17. ตอบ 4 ถูกหมดทุกข้อ (หมวดที่ 2 มำตรำ 8 (2))
18. ตอบ 3 ถูกทั้งข้อ 1 และ 2 (หมวดที่ 2 มำตรำ 8 (4)
19. ตอบ 1 แก้ไขปัญหำและอุปสรรคนั้นโดยเร็ว (หมวดที่ 2 มำตรำ 8(5)) 20. ตอบ4 ก.พ.ร.
(หมวดที่ 2 มำตรำ 8 (5))
337

21. ตอบ 4 ก.พ.ร. (หมวดที่ 2 มำตรำ 8 วรรคสุดท้ำย)


22. ตอบ 2 เกิดประโยชน์สุขของประชำชน (หมวดที่ 2 มำตรำ 8(1)
23. ตอบ 4 จัดทำแผนปฏิบัติรำชกำรไว้เป็นกำรล่วงหน้ำ (หมวดที่ 3 มำตรำ 9(1)) 24. ตอบ4
ถูกทุกข้อ (หมวดที่ 3 มำตรำ 9 (2))
25. ตอบ 4 ก.พ.ร. (หมวดที่ 3 มำตรำ 9 (3))
26. ตอบ 1 ส่วนรำชกำร (หมวดที่ 3 มำตรำ 9 (4))
27. ตอบ 3 (มำตรำ 10 วรรค 2)
28. ตอบ 4 ถูกทุกข้อ (หมวดที่ 3 มำตรำ 11)
29. ตอบ 4 ก.พ.ร. (หมวดที่ 3 มำตรำ 12)
30. ตอบ 1 ครม. (หมวดที่ 3 มำตรำ 12)
31. ตอบ 4 ทุกข้อที่กล่ำวมำต้องร่วมกันจัดทำแผน เสนอคณะรัฐมนตรี (หมวดที่ 3 มำตรำ 13)
32. ตอบ 3 90 วันนับแต่วันที่คณะรัฐมนตรีแถลงนโยบำยต่อรัฐสภำ (หมวดที่ 3 มำตรำ 13 ว.
2)
33. ตอบ 3 (หมวดที่ 3 มำตรำ 13 ว.3)
34. ตอบ 4 ถูกทุกข้อ (หมวดที่ 3 มำตรำ 13 วรรค 2)
35. ตอบ 2 90 วัน (หมวดที่ 3 มำตรำ 13 วรรค 2)
36. ตอบ 3 วันที่คณะรัฐมนตรีแถลงนโยบำยต่อรัฐสภำ (หมวดที่ 3 มำตรำ 13 วรรค 2)
37. ตอบ 4 ถูกทุกข้อ (หมวดที่ 3 มำตรำ 13 วรรค 3)
38. ตอบ 2 4 ปี (หมวดที่ 3 มำตรำ 14)
39. ตอบ 3 ทั้ง 1. และ 2. ร่วมกันพิจำรณำจัดทำแผนฯ (หมวดที่ 3 มำตรำ 15)
40. ตอบ 4 ถูกทุกข้อ (หมวดที่ 3 มำตรำ 15)
338

แนวข้อสอบพระรำชบัญญัติกำรจัดซื้อจัดจ้ำงและบริหำรพัสดุภำครัฐ พ.ศ. 2560 และระเบียบ


กระทรวงกำรคลังว่ำด้วยกำรจัดซื้อจัดจ้ำงและกำรบริหำรพัสดุภำครัฐ พ.ศ. 2560 และ
กฎกระทรวงและอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
1. พระรำชบัญญัติกำรจัดซื้อจัดจ้ำงและบริหำรพัสดุภำครัฐ พ.ศ.2560 มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันใด
ก. 23 กุมภำพันธ์ 2560
ข. 24 กุมภำพันธ์ 2560
ค. 25 กุมภำพันธ์ 2560
ง. 23 สิงหำคม 2560
จ. 24 สิงหำคม 2560
2. ข้อใดไม่ใช่ควำมหมำยของพัสดุโดยตรงตำม พระรำชบัญญัติกำรจัดซื้อจัดจ้ำงและบริหำรพัสดุ
ภำครัฐ พ.ศ.2560
ก. วัสดุ
ข. สินค้ำ
ค. งำนบริกำร
ง. งำนก่อสร้ำง
จ. ไม่มีข้อใดกล่ำวไม่ถูกต้อง
3. พระรำชบัญญัติกำรจัดซื้อจัดจ้ำงและบริหำรพัสดุภำครัฐ พ.ศ.2560 ตรำขึ้นไว้โดยข้อใด
ก. คำแนะนำและยินยอมของคณะรัฐมนตรี
ข. คำแนะนำและยินยอมของคณะรักษำควำมสงบแห่งชำติ
ค. คำแนะนำของคณะรัฐมนตรีและยินยอมของสภำนิติบัญญัติแห่งชำติ
ง. คำแนะนำและยินยอมของรัฐสภำ
จ. คำแนะนำและยินยอมของสภำนิติบัญญัติแห่งชำติ
4. รำคำกลำง หมำยควำมว่ำ รำคำเพื่อให้เป็นฐำนสำหรับเปรียบเทียบรำคำที่ผู้ยื่นข้อเสนอได้ยื่น
เสนอไว้ซึ่งสำมำรถจัดซื้อ จัดจ้ำงได้จริง ตำมลำดับ ข้อใดเป็นลำดับแรกตำมพระรำชบัญญัติกำร
จัดซื้อจัดจ้ำงและบริหำรพัสดุภำครัฐ พ.ศ.2560
ก. รำคำที่เคยซื้อ หรือ จ้ำงครั้ง หลังสุดภำยในระยะเวลำสองปีงบประมำณ
ข. รำคำที่ได้มำจำกกำรสืบรำคำจำกท้องตลำด
ค.รำคำที่ได้มำจำกกำรสืบรำคำจำกรำคำประเมิล
ง. รำคำที่ได้มำจำกฐำนข้อมูลรำคำอ้ำงอิงของพัสดุที่กรมบัญชีกลำงจัดทำ
จ. รำคำที่ได้มำจำกกำรคำนวณตำมหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมกำรรำคำกลำงกำหนด
5. “กำรบริหำรพัสดุ” หมำยควำมว่ำตำมข้อใดต่อไปนี้ ข้อใดกล่ำวไม่ถูกต้องตำมพระรำชบัญญัติ
กำรจัดซื้อ จัดจ้ำงและบริหำรพัสดุภำครัฐ พ.ศ. 2560
ก. กำรจำหน่ำยพัสดุ
ข. กำรตรวจสอบ กำรทำลำยพัสดุ
339

ค. กำรบำรุงรักษำ
ง. กำรเก็บ กำรบันทึก
จ. กำรเบิกจ่ำย กำรยืม
6. ตำแหน่งใดเป็นผู้รักษำกำรตำมพระรำชบัญญัติกำรจัดซื้อจัดจ้ำงและบริหำรพัสดุภำครัฐ พ.ศ.
2560
ก. นำยกรัฐมนตรี
ข. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทย
ค. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงกำรคลัง
ง. ปลัดกระทรวงมหำดไทย
จ. ข้อ ก. ข. และข้อ ค.
7. เพื่อให้กำรปฏิบัติเกี่ยวกับกำรจัดซื้อจัดจ้ำงและกำรบริหำรพัสดุ โดยใช้เงินงบประมำณเป็นไป
ตำมข้อต่อไปนี้ ให้หน่วยงำนของรัฐปฏิบัติตำมแนวทำงพระรำชบัญญัติกำรจัดซื้อจัดจ้ำงและกำร
บริหำรพัสดุภำครัฐ พ.ศ. 2560 กฎกระทรวง และประกำศที่ออกตำมควำมในพระรำชบัญญัตินี้
ข้อใดกล่ำวไม่ถูกต้อง
ก. ป้องกันปัญหำกำรทุจริต
ข. เกิดควำมคุ้มค่ำต่อภำรกิจของรัฐ
ค. เป็นไปอย่ำงมีประสิทธิภำพ
ง. เพื่อให้เกิดกำรมีส่วนร่วมของประชำชน
จ. ไม่มีข้อใดกล่ำวไม่ถูกต้อง
8. พระรำชบัญญัติกำรจัดซื้อจัดจ้ำงและกำรบริหำรพัสดุภำครัฐ พ.ศ. 2560 มิให้ใช้บังคับแก่ข้อ
ใดต่อไปนี้ ข้อใดกล่ำวไม่ถูกต้อง
ก. กำรจัดซื้อจัดจ้ำงของสถำบันอุดมศึกษำหรือสถำนพยำบำลที่หน่วยงำนของรัฐ โดยใช้
เงินบริจำครวมทั้งดอกผลของเงินบริจำค โดยไม่ใช้เงินบริจำคนั้นร่วมกับงบประมำณ
ข. กำรจัดซื้อจัดจ้ำงโดยใช้เงินกู้หรือเงินช่วยเหลือจำกรัฐบำลต่ำงประเทศ
ค. กำรจัดซื้อจัดจ้ำงของรัฐวิสำหกิจที่เกี่ยวกับกำรพำณิชย์โดยตรง
ง. กำรจัดซื้อ จัดจัดจ้ำงขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เกี่ยวกับกำรพำณิชย์โดยตรง
จ. กำรจัดซ้อจัดจ้ำงยุทโธปกรณ์ และกำรบริกำรที่เกี่ยวกับควำมมั่นคงของชำติ
9. กำรจัดซื้อจัดจ้ำง ที่ได้รับยกเว้น มิให้นำพระรำชบัญญัติกำรจัดซื้อจัดจ้ำงและกำรบริหำรพัสดุ
ภำครัฐ พ.ศ. 2560 มำใช้บังคับต้องเป็นไปตำมหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมกำรตำมข้อใด ประกำศ
กำหนดในรำชกิจจำนุเบกษำ
ก. คณะกรรมกำรควำมร่วมมือป้องกันกำรทุจริต
ข. คณะกรรมกำรพิจำรณำอุทธรณ์และข้อร้องเรียน
ค. คณะกรรมกำรนโยบำยกำรจัดซื้อจัดจ้ำงและกำรบริหำรภำครัฐ
ง. คณะกรรมกำรวินิจฉัยปัญหำกำรจัดซื้อจัดจ้ำงและกำรบริหำรภำครัฐ
340

จ. คณะกรรมกำรรำคำกลำงและขึ้นทะเบียนผู้ประกอบกำร
10. กำรจัดซื้อจัดจ้ำงและกำรบริหำรพัสดุของหน่วยงำน ต้องก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่
หน่วยงำนของรัฐ แต่ต้องสอดคล้องกับหลักกำรต่อไปนี้ ข้อใดกล่ำวไม่ถูกต้องตำมพระรำชบัญญัติ
กำรจัดซื้อจัดจ้ำงและกำรบริหำรพัสดุภำครัฐ พ.ศ. 2560
ก. ตรวจสอบได้
ข. มีประสิทธิภำพและประสิทธิผล
ค. โปร่งใส
ง. มีส่วนร่วมของประชำชน
จ. คุ้มค่ำ
11. ผู้ใดเป็นเจ้ำหน้ำที่ หรือเป็นผู้มีอำนำจหน้ำที่ดำเนินกำรเกี่ยวกับกำรจัดซื้อจัดจ้ำงหรือกำร
บริหำรพัสดุปฏิบัติหรือละเว้นกำรปฏิบัติหน้ำที่โดยมิชอบ เพื่อให้เกิดควำมเสียหำยแก่ผู้หนึ่งผู้ใด
หรือโดยทุจริต ต้องระวำงโทษตำมข้อใด ตำมพระรำชบัญญัติกำรจัดซื้อจัดจ้ำงและกำรบริหำรพัสดุ
ภำครัฐพ.ศ. 2560
ก. จำคุกตั้งแต่หนึ่งปีถึงห้ำปี หรือ ปรับตั้งแต่สองหมื่นบำทถึงสองแสนบำท
ข. จำคุกตั้งแต่หนึ่งปีถึงห้ำปี หรือ ปรับตั้งแต่สองหมืน่ บำทถึงสองแสนบำท หรือ ทั้งจำทั้ง
ปรับ
ค. จำคุกตั้งแต่หนึ่งปีถึงสิบปี หรือ ปรับตั้งแต่สองหมืน่ บำทถึงสองแสนบำท
ง. จำคุกตั้งแต่หนึ่งปีถึงสิบปี หรือ ปรับตั้งแต่สองหมืน่ บำทถึงสองแสนบำท หรือ ทั้งจำทั้ง
ปรับ
จ. จำคุกตั้งแต่หนึ่งปีถึงสิบปี หรือ ปรับตั้งแต่สองหมืน่ บำทถึงห้ำแสนบำท หรือ ทั้งจำทั้ง
ปรับ
12. หน่วยงำนของรัฐต้องทำสัญญำตำมแบที่คณะกรรมกำรนโยบำยกำหนดโดยควำมเห็นชอบของ
ข้อใดต่อไปนี้
ก. นำยกรัฐมนตรี
ข. สำนักงำนอัยกำรสูงสุด
ค. กรมบัญชีกลำง
ง. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงกำรคลัง
จ. กระทรวงกำรคลัง
13. พัสดุ ข้อกล่ำวถูกต้องตำมพระรำชบัญญัติกำรจัดซื้อจัดจ้ำงและบริหำรพัสดุภำครัฐ พ.ศ.
2560
ก. งำนก่อสร้ำง
ข. งำนจ้ำงออกแบบหรือควบคุมงำนก่อสร้ำง
ค. สินค้ำและงำนบริกำร
ง. งำนจ้ำงที่ปรึกษำ
341

จ. ถูกทุกข้อ
14. กำรบริหำรพัสดุ ข้อใดกล่ำวไม่ถูกต้องตำมพระรำชบัญญัติกำรจัดซื้อจัดจ้ำงและบริหำรพัสดุ
ภำครัฐ พ.ศ.2560 (มำตรำ 4)
ก. กำรยืม
ข. กำรเก็บ
ค. กำรบำรุงรักษำ
ง. กำรจำหน่ำยพัสดุ
จ. กำรซื้อ
15. กำรจัดซื้อจัดจ้ำง ข้อใดกล่ำวไม่ถูกต้องตำมพระรำชบัญญัติกำรจัดซื้อจัดจ้ำงและบริหำรพัสดุ
ภำครัฐ พ.ศ.2560
ก. จ้ำง
ข. ให้เช่ำ
ค. ซื้อ
ง. แลกเปลี่ยน
จ. เช่ำ
16. ตำแหน่งใด เป็นประธำนกรรมกำรของคณะกรรมกำรนโยบำยจัดซื้อจัดจ้ำงและกำรบริหำร
พัสดุภำครัฐ (มำตรำ 20 (1)
ก. นำยกรัฐมนตรี
ข. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงคลัง
ค. รัฐมนตรีว่ำกำระทรวงมหำดไทย
ง. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงกำรคลังหรือรัฐมนตรีช่วยว่ำกำรกระทรวงกำรคลังซึ่ง
นำยกรัฐมนตรีมอบหมำย
จ. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงกำรคลังหรือรัฐมนตรีช่วยว่ำกำรกระทรวงกำรคลังซึ่ง
รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงคลังมอบหมำย
17. กำรที่หน่วยงำนของรัฐเชิญชวนผู้ประกอบกำรที่มีคุณสมบัติตรงตำมเงื่อนไขที่หน่วยงำนของ
รัฐกำหนดรำยใดรำยหนึ่งให้เข้ำยื่นข้อเสนอ หรือให้เข้ำมำเจรจำต่อรองรำคำ จะต้องใช้วิธีกำร
จัดซื้อจัดจ้ำงตำมข้อใด
ก. วิธีคัดเลือก
ข. วิธีคัดเลือกทั่วไป
ค. วิธีเฉพำะเจำะจง
ง. วิธีประกำศเชิญชวนทั่วไป
จ. วิธีตกลงรำคำ
342

18. ตำแหน่งใดเป็นประธำนกรรมกำรของคณะกรรมกำรรำคำกลำงและขึ้นทะเบียน
ผู้ประกอบกำร
ก. อธิบดีกรมส่งเสริมกำรปกครองท้องถิ่น
ข. ผู้อำนวยกำรสำนักประมำณ
ค. อธิบดีกรมบัญชีกลำง
ง. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงกำรคลัง
จ. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทย
19. ตำแหน่งใดเป็นประธำนกรรมกำรของคณะกรรมกำรวินิจฉัยปัญหำกำรจัดซื้อจัดจ้ำงและกำร
บริหำรพัสดุภำครัฐ
ก. อธิบดีกรมส่งเสริมกำรปกครองท้องถิ่น
ข. ปลัดกระทรวงกำรคลัง
ค. อธิบดีกรมบัญชีกลำง
ง. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงกำรคลัง
จ. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทย
20. คณะกรรมกำรวินิจฉัยปัญหำกำรจัดซื้อจัดจ้ำงและกำรบริหำรพัสดุภำครัฐ จัดทำรำยงำน
เกี่ยวกับปัญหำและอุปสรรคในกำรจัดซื้อจัดจ้ำงและกำรบริหำรพัสดุเสนอต่อข้อใด อย่ำงน้อยปีละ
หนึ่งครั้ง
ก. นำยกรัฐมนตรี
ข. คณะรัฐมนตรี
ค. คณะกรมกำรควำมร่วมมือป้องกันกำรทุจริต
ง. คณะกรรมกำรนโยบำย
จ. คณะกรรมกำรพิจำรณำอุทธรณ์
21. กรรมกำรผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมกำรวินิจฉัยปัญหำกำรจัดซื้อจัดจ้ำงและกำรบริหำรพัสดุ
ภำครัฐ มีจำนวนกี่คน (มำตรำ 27)
ก. ไม่น้อยกว่ำ 3 คน แต่ไม่เกิน 5 คน
ข. ไม่น้อยกว่ำ 3 คน แต่ไม่เกิน 7 คน
ค. ไม่น้อยกว่ำ 5 แต่ไม่เกิน 7 คน
ง. ไม่น้อยกว่ำ 5 คน แต่ไม่เกิน 9 คน
จ. ไม่น้อยกว่ำ 7 คนแต่ไม่เกิน 9 คน
22. กรรมกำรผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมกำรวินิจฉัยปัญหำกำรจัดซื้อจัดจ้ำงและกำรบริหำรพัสดุ
ภำครัฐ ใครเป็นผู้แต่งตั้ง (มำตรำ 27)
ก. นำยกรัฐมนตรี
ข. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงกำรคลัง
ค. อธิบดีกรมบัญชีกลำง
343

ง. ปลัดกระทรวงกำรคลัง
จ. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทย
23. กรรมกำรผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมกำรวินิจฉัยปัญหำกำรจัดซื้อจัดจ้ำงและกำรบริหำรพัสดุ
ภำครัฐ เป็นผู้มีควำมรู้ควำมเชี่ยวชำญ และประสบกำรณ์ด้ำนใดต่อไปนี้ ข้อใดกล่ำวไม่ถูกต้อง
(มำตรำ27)
ก. ด้ำนสถำปัตยกรรม
ข. ด้ำนวิทยำศำสตร์ และเทคโนโลยี
ค. ด้ำนนิติศำสตร์
ง. ด้ำนกำรคลัง ด้ำนบริหำรจัดกำร
จ. ด้ำนวิศวกรรม
24. ให้ใคร มอบหมำยข้ำรำชกำรของหน่วยงำนนั้นคนหนึ่งเป็นกรรมกำรและเลขำนุกำรและอีก
สองคนเป็นผู้ช่วยเลขำนุกำรของคณะกรรมกำรวินิจฉัยปัญหำกำรจัดซื้อจัดจ้ำงและกำรบริหำรพัสดุ
ภำครัฐ(มำตรำ 27 วรรคท้ำย)
ก. อธิบดีกรมส่งเสริมกำรปกครองท้องถิ่น
ข. นำยกรัฐมนตรี
ค. อธิบดีกรมบัญชีกลำง
ง. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงกำรคลัง
จ. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทย
25) คณะกรรมกำรวินิจฉัยปัญหำกำรจัดซื้อจัดจ้ำงและกำรบริหำรพัสดุภำครัฐ มีอำนำจหน้ำที่ดังนี้
ข้อใดกล่ำวไม่ถูกต้อง (มำตรำ 29)
ก. จัดทำรำยงำนเกี่ยวกับปัญหำและอุปสรรคในกำรจัดซื้อจัดจ้ำงและกำรบริหำรพัสดุเสนอ
คณะกรรมกำรนโยบำยอย่ำงน้อยปีละหนึ่งครั้ง
ข. ยกเว้นหรือผ่อนผันกำรไม่ปฏิบัติตำมกฎกระทรวงหรือระเบียบที่ออกตำมควำมใน
พระรำชบัญญัติกำรจัดซื้อจัดจ้ำงและบริหำรพัสดุภำครัฐ พ.ศ.2560
ค. เสนอแนะแนวทำงกำรปรับปรุงแก้ไขปัญหำเกี่ยวกับกำรจัดซื้อจัดจ้ำงและกำรบริหำร
พัสดุต่อคณะกรรมกำรนโยบำย
ง. เสนอควำมเห็นต่อรัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงกำรคลังในกำรพิจำรณำสั่งให้ผู้ยื่นข้อเสนอ
หรือคู่สัญญำเป็นผู้ทิ้งงำน และกำรเพิกถอนรำยชื่อ ผู้ทิ้งงำน
จ. ให้คำปรึกษำแนะนำแก่เจ้ำหน้ำที่หรือหน่วยงำนของรัฐเกี่ยวกับกำรปฏิบัติตำม
พระรำชบัญญัติกำรจัดซื้อจัดจ้ำงและบริหำรพัสดุภำครัฐ พ.ศ.2560
344

26) ถ้ำหน่วยงำนของรัฐมีข้อหำรือ เพื่อให้กำรจัดซื้อจัดจ้ำงเป็นไปโดยควำมเรียบร้อยและไม่


ก่อให้เกิดควำมเสียหำยต่อหน่วยงำนของรัฐ ในกรณีที่หน่วยงำนของรัฐได้ทำกำรจัดซื้อจัดจ้ำง
ขั้นตอนหนึ่งขั้นตอนใดผิดพลำด ให้คณะกรรมกำรวินิจฉัยปัญหำกำรจัดซื้อจัดจ้ำงและกำรบริหำร
พัสดุภำครัฐพิจำรณำให้แล้วเสร็จภำยในกี่วัน นับแต่วันที่ได้รับข้อหำรือ (มำตรำ 29)
ก. 7 วัน
ข. 15 วัน
ค. 30 วัน
ง. 60 วัน
จ. 90 วัน
27) ใครเป็นประธำนกรรมกำรของคณะกรรมกำรรำคำกลำงและขึ้นทะเบียนผู้ประกอบกำร
(มำตรำ32)
ก. นำยกรัฐมนตรี
ข. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงกำรคลัง
ค. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทย
ง. อธิบดีกรมส่งเสริมกำรปกครองท้องถิ่น
จ. อธิบดีกรมบัญชีกลำง
28) กรรมกำรโดยตำแหน่งของคณะกรรมกำรรำคำกลำงและขึ้นทะเบียนผู้ประกอบกำร ข้อใด
กล่ำวไม่ถูกต้อง (มำตรำ 32)
ก. ผู้แทนสำนักงำนกำรตรวจเงินแผ่นดิน
ข. ผู้แทนกรมชลประทำน
ค. ผู้แทนกระทรวงมหำดไทย
ง. ผู้แทนกระทรวงกลำโหม
จ. ผู้แทนกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
29) กรรมกำรผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมกำรรำคำกลำงและขึ้นทะเบียนผู้ประกอบกำร มีจำนวน
ตำมข้อใด (มำตรำ 32)
ก. ไม่น้อยกว่ำห้ำคนแต่ไม่เกินเจ็ดคน
ข. ไม่น้อยกว่ำห้ำคนแต่ไม่เกินเก้ำคน
ค. ไม่น้อยกว่ำเจ็ดคนแต่ไม่เกินเก้ำคน
ง. ไม่น้อยกว่ำเจ็ดคนแต่ไม่เกินสิบเอ็ดคน
จ. ไม่น้อยกว่ำเจ็ดคนแต่ไม่เกินสิบสองคน
30)ใครผู้เป็นผู้แต่งตั้งกรรมกำรผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมกำรรำคำกลำงและขึ้นทะเบียน
ผู้ประกอบกำร
ก. นำยกรัฐมนตรี
ข. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงกำรคลัง
345

ค. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทย
ง. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงพำณิชย์
จ. ปลัดกระทรวงกำรคลัง
31) กรรมกำรผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมกำรรำคำกลำงและขึ้นทะเบียนผู้ประกอบกำร ให้แต่งตั้ง
จำกข้อใดกล่ำวไม่ถูกต้อง (มำตรำ 32 (3)
ก. สภำอุตสำหกรรม
ข. สภำสถำปนิก
ค. สภำทนำยควำม
ง. สภำหอกำรค้ำแห่งประเทศไทย
จ. ผูม้ ีควำมรู้เชี่ยวชำญหรือ ประสบกำรณ์ในด้ำนพัสดุ
32) ให้ใครมอบหมำยข้ำรำชกำรของหน่วยงำนคนหนึ่งเป็นกรรมกำรและเลขนุกำรและอีกสองคน
เป็นผู้ช่วยเลขำนุกำรของคณะกรรมกำรรำคำกลำงและขึ้นทะเบียนผู้ประกอบกำร
ก. นำยกรัฐมนตรี
ข. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงกำรคลัง
ค. รัฐมนตรีมนตรีว่ำกระทรวงมหำดไทย
ง. อธิบดีกรมส่งเสริมกำรปกครองท้องถิ่น
จ. ผู้อธิบดีกรมบัญชีกลำง
33) คณะกรรมกำรรำคำกลำงและขึ้นทะเบียนผู้ประกอบกำร มีหน้ำที่ดังนี้ ข้อใดกล่ำวไม่ถูกต้อง
(มำตรำ 34)
ก. ออกประกำศกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีกำร และเงื่อนไขในกำรขึ้นทะเบียนผู้ประกอบกำรที่
มีสิทธิเป็นผู้ยื่นข้อเสนอต่อหน่วยงำนของรัฐ
ข. ตีควำมและวินิจฉัยปัญหำข้อหำรือเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีกำรกำหนดรำคำกลำง
ค. พิจำณำข้อร้องเรียนกรณีที่เห็นว่ำหน่วยงำนของรัฐมิได้ปฏิบัติให้เป็นไปตำมหลักเกณฑ์
และวิธีกำรกำหนดรำคำกลำง
ง. จัดทำรำยงำนเกี่ยวกับปัญหำและอุปสรรคในกำรดำเนินกำรกำหนดรำคำกลำงของ
หน่วยงำนของรัฐและกำรขึ้นทะเบียนผู้ประกอบกำรที่มีสิทธิเป็นผู้ยื่นข้อเสนอต่อหน่วยงำนของรัฐ
เสนอคณะรัฐมนตรีอย่ำงน้อยปีละหนึง่ ครั้ง
จ. ยกเว้นหรือผ่อนผันกรณีที่ไม่สำมำรถปฏิบัติตำมรำยละเอียดของหลักเกณฑ์และวิธีกำร
กำหนดรำคำกลำง ตำมประกำศกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีกำรกำหนดรำคำกลำง
34) คณะกรรมกำรรำคำกลำงและขึ้นทะเบียนผู้ประกอบกำร ต้องพิจำรณำทบทวนหลักเกณฑ์
และวิธีกำรกำหนดรำคำกลำงอย่ำงน้อยตำมข้อใด (มำตรำ 35)
ก. สำมเดือนต่อครั้ง
ข. หกเดือนต่อครั้ง
ค. สี่เดือนต่อ ครั้ง
346

ง. ปีละหนึง่ ครั้ง
จ. ปีละสองครั้ง
35) คณะกรรมกำรรำคำกลำงและขึ้นทะเบียนผู้ประกอบกำร มีอำนำจแต่งตั้งคณะกรรมกำรเพื่อ
ทำกำรใดๆแทนได้ ทั้งนี้ให้แต่งตั้งตำมควำมเชี่ยวชำญในแต่ละประเภทของพัสดุต่อไปนี้ ข้อใดกล่ำว
ไม่ถูกต้อง (มำตรำ 36)
ก. พัสดุที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีสำรสนเทศ
ข. ยำ
ค. ยำและเวชภัณฑ์
ง. งำนก่อสร้ำง
จ. งำนรับเหมำก่อสร้ำง
36) คณะกรรมกำรควำมร่วมมือป้องกันกำรทุจริต ตำแหน่งใดเป็นประธำนกรรมกำร (มำตรำ 37)
ก. นำยกรัฐมนตรี
ข. เลขำธิกำรคณะกรรมกำรป้องกันและปรำบปรำมกำรทุจริตแห่งชำติ
ค. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงกำรคลัง
ง. ปลัดกระทรวงกำรคลัง
จ. อธิบดีกรมบัญชีกลำง
37) ตำแหน่งใด ไม่ได้เป็นกรรมกำรโดยตำแหน่งของคณะกรรมกำรควำมร่วมมือป้องกันกำรทุจริต
(มำตรำ 37 (2)
ก. ผู้แทนสำนักงำนคณะกรรมกำรป้องกันและปรำบปรำมกำรทุจริตแห่งชำติ
ข. ผู้แทนสำนักงำนอัยกำรสูงสุด
ค. ผู้แทนสำนักงำนคณะกรรมกำรนโยบำยรัฐวิสำหกิจ
ง. ผู้แทนกรมบัญชีกลำง
จ. ผู้แทนสำนักงำนคณะกรรมกำรกฤษฎีกำ
38) กรรมกำรผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมกำรควำมร่วมมือป้องกันกำรทุจริต มีจำนวนตำมข้อใด
(ตำม 37 (3)
ก. ไม่น้อยกว่ำห้ำคนแต่ไม่เกินเจ็ดคน
ข. ไม่น้อยกว่ำห้ำคนแต่ไม่เกินเก้ำคน
ค. ไม่น้อยกว่ำเจ็ดคนแต่ไม่เกินเก้ำคน
ง. ไม่น้อยกว่ำห้ำคนแต่ไม่เกินสิบเอ็ดคน
จ. ไม่น้อยกว่ำเจ็ดคนแต่ไม่เกินสิบเอ็ดคน
39) ใครเป็นผู้แต่งตั้ง กรรมกำรผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมกำรควำมร่วมมือป้องกันกำรทุจริต
(มำตรำ 37 (3)
ก. นำยกรัฐมนตรี
ข. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงกำรคลัง
347

ค. ปลัดกระทรวงกำรคลัง
ง. อธิบดีกรมบัญชีกลำง
จ. ปลัดกระทรวงมหำดไทย
40) ให้ใครมอบหมำยข้ำรำชกำรของหน่วยงำนนั้น คนหนึ่งเป็นกรรมกำรและเลขำนุกำรและอีก
สองคนเป็นผู้ช่วยเลขำนุกำรของคณะกรรมกำรควำมร่วมมือป้องกันกำรทุจริต (มำตรำ 37 วรรค
ท้ำย)
ก. นำยกรัฐมนตรี
ข. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงกำรคลัง
ค. ปลัดกระทรวงกำรคลัง
ง. อธิบดีกรมบัญชีกลำง
จ. ปลัดกระทรวงมหำดไทย
41) คณะกรรมกำรควำมร่วมมือป้องกันกำรทุจริต มีตัวย่อว่ำอย่ำงไร (มำตรำ 39)
ก. ก.ค.ท.
ข. ค.ร.ท.
ค. ค.ป.จ.
ง. ค.ป.ท.
จ. ค.ค.ป.
42) คณะกรรมกำรควำมร่วมมือป้องกันกำรทุจริต มีอำนำจหน้ำที่ต่อไปนี้ ข้อใดกล่ำวไม่ถูกต้อง
ก. พิจำรณำข้อร้องเรียนกรณีที่เห็นว่ำหน่วยงำนของรัฐมิได้ปฏิบัติให้เป็นไปตำมแนวทำง
และวิธีกำรในดำเนินงำนโครงกำรควำมร่วมมือป้องกันกำรทุจริตในกำรจัดซื้อจัดจ้ำงภำครัฐ
ข. กำหนดแบบของข้อตกลงคุณธรรมและแบบรำยงำนของผู้สังเกตกำรณ์
ค. กำหนดแนวทำงและวิธีกำรในกำรดำเนินงำนโครงกำรควำมร่วมมือป้องกันกำรทุจริตใน
กำรจัดซื้อจัดจ้ำงภำครัฐ
ง. จัดทำรำยงำนผลกำรประเมินโครงกำรกำรจัดซื้อจัดจ้ำงที่เข้ำร่วมโครงกำรควำมร่วมมือ
ป้องกันกำรทุจริตในกำรจัดซื้อจัดจ้ำงภำครัฐเสนอคณะรัฐมนตรีอย่ำงน้อยปีละหนึ่งครั้ง
จ. คัดเลือกโครงกำรกำรจัดซื้อจัดจ้ำงเพื่อเข้ำร่วมโครงกำรควำมร่วมมือป้องกันกำรทุจริต
ในกำรจัดซื้อจัดจ้ำงภำครัฐ
43) กำรประชุมคณะกรรมกำรควำมร่วมมือป้องกันกำรทุจริต ต้องมีกรรมกำรมำประชุมตำมข้อใด
จึงจะเป็นประชุม (มำตรำ 40 และมำตรำ 25)
ก. เกินกึ่งหนึง่ ของจำนวนกรรมกำรทั้งหมด
ข. กึ่งหนึง่ ของจำนวนกรรมกำรทั้งหมด
ค. ไม่น้อยกว่ำกึ่งหนึง่ ของจำนวนกรรมกำรทั้งหมด
ง. ไม่น้อยกว่ำเก้ำคน
จ. กฎหมำยไม่ได้กำหนด
348

44) คณะกรรมกำรพิจำรณำอุทธรณ์และข้อร้องเรียน ตำแหน่งใดเป็นประธำนกรรมกำร


(มำตรำ 41)
ก. นำยกรัฐมนตรี
ข. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงกำรคลัง
ค. ปลัดกระทรวงกำรคลัง
ง. ปลัดกระทรวงมหำดไทย
จ. อธิบดีกรมส่งเสริมกำรปกครองท้องถิ่น
45) คณะกรรมกำรพิจำรณำอุทธรณ์และข้อร้องเรียน ตำแหน่งใดไม่ได้เป็นกรรมกำรโดยตำแหน่ง
(มำตรำ 41 (2)
ก. ผู้แทนสำนักงำนกำรตรวจเงินแผ่นดิน
ข. ผู้แทนกรมส่งเสริมกำรปกครองท้องถิ่น
ค. ผู้แทนกรมบัญชีกลำง
ง. ผู้แทนสำนักงำนปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรี
จ. ผู้แทนสำนักงำนคณะกรรมกำรนโยบำยรัฐวิสำหกิจ
46) กรรมกำรผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมกำรพิจำรณำอุทธรณ์และข้อร้องเรียน ใครเป็นผู้แต่งตั้ง
(มำตรำ 41 (3)
ก. คณะรัฐมนตรี
ข. นำยกรัฐมนตรี
ค. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทย
ง. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงกำรคลัง
จ. ปลัดกระทรวงกำรคลัง
47) กรรมกำรผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมกำรพิจำรณำอุทธรณ์และข้อร้องเรียน มีจำนวนตำมข้อ
ใด(มำตรำ 41 (3)
ก. ไม่น้อยกว่ำห้ำคนแต่ไม่เกินเก้ำคน
ข. ไม่น้อยกว่ำห้ำคนแต่ไม่เกินเจ็ดคน
ค. ไม่น้อยกว่ำห้ำคนแต่ไม่เกินสิบเอ็ดคน
ง. ไม่น้อยกว่ำเจ็ดคนแต่ไม่เกินสิบเอ็ดคน
จ. ไม่น้อยกว่ำเก้ำคนแต่ไม่เกินสิบเอ็ดคน
48) กรรมกำรผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมกำรพิจำรณำอุทธรณ์และข้อร้องเรียน แต่งตั้งจำกข้อใด
ต่อไปนี้ ข้อใดกล่ำวไม่ถูกต้อง (มำตรำ 41 (3)
ก. สภำสถำปนิก
ข. สภำหอกำรค้ำแห่งประเทศไทย
ค. ผู้มีควำมรู้ ควำมเชี่ยวชำญหรือประสบกำรณ์ด้ำนกฎหมำย
ง. ผู้มีควำมรู้ ควำมเชี่ยวชำญหรือประสบกำรณ์ด้ำนกำรคลัง
349

จ. สภำอุตสำหกรรมแห่งประเทศไทย
49) กรรมกำรผู้ทรงคุณวุฒิของคณะกรรมกำรพิจำรณำอุทธรณ์และข้อร้องเรียน แต่งตั้งจำกข้อใด
ต่อไปนี้ ข้อใดกล่ำวถูกต้อง (มำตรำ 41 (3)
ก. สภำสถำปนิก สภำวิศวกร สภำหอกำรค้ำแห่งประเทศไทย สภำอุตสำหกรรมแห่ง
ประเทศไทย สมำคมอุตสำหกรรมยำนยนต์ไทย
ข. ผู้มีควำมรู้ ควำมเชี่ยวชำญหรือประสบกำรณ์ด้ำนวิศวกรรม กำรบริหำรจัดกำร
กำรตลำด
ค. ผู้มีควำมรู้ ควำมเชี่ยวชำญหรือประสบกำรณ์ด้ำนวิศวกรรม สถำปัตยกรรม กำรเกษตร
ง. ผูม้ ีควำมรู้ ควำมเชี่ยวชำญหรือประสบกำรณ์ด้ำนวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี กำร
บริหำรจัดกำรกำรเงิน สถำปัตยกรรม
จ. สภำอุตสำหกรรมแห่งประเทศไทย สภำหอกำรค้ำแห่งประเทศไทย สภำทนำยควำม
50) ให้ใคร เป็นผู้มอบหมำยข้ำรำชกำรของหน่วยงำนคนหนึ่งเป็นกรรมกำรและเลขำนุกำรและอีก
สองคนเป็นผู้ช่วยเลขำนุกำรของคณะกรรมกำรพิจำรณำอุทธรณ์และข้อร้องเรียน (มำตรำ 41
วรรคท้ำย)
ก. นำยกรัฐมนตรี
ข. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงกำรคลัง
ค. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทย
ง. อธิบดีกรมบัญชีกลำง
จ. ปลัดกระทรวงกำรคลัง
51) คณะกรรมกำรพิจำรณำอุทธรณ์และข้อร้องเรียน มีอำนำจหน้ำที่ดังนี้ ข้อใดกล่ำวไม่ถูกต้อง
(มำตรำ 43)
ก. พิจำรณำข้อร้องเรียนกรณีที่เห็นว่ำหน่วยงำนของรัฐมิได้ปฏิบัติให้เป็นไปตำมแนวทำง
ของพระรำชบัญญัติกำรจัดซื้อจัดจ้ำงและบริหำรพัสดุภำครัฐ พ.ศ.2560
ข. พิจำรณำและวินิจฉัยอุทธรณ์ตำมมำตรำ 119
ค ปฏิบัติหน้ำที่อื่นตำมที่กำหนดในพระรำชบัญญัติกำรจัดซื้อจัดจ้ำงและบริหำรพัสดุภำครัฐ
พ.ศ.2560หรือตำมที่คณะกรรมกำรนโยบำย รัฐมนตรี นำยกรัฐมนตรี หรือคณะรัฐมนตรี
มอบหมำย
ง. จัดทำรำยงำนเกี่ยวกับปัญหำและอุปสรรคในกำรดำเนินกำรพิจำรณำอุทธรณ์และข้อ
ร้องเรียนเสนอคณะกรรมกำรนโยบำยอย่ำงน้อยปีละหนึง่ ครั้ง
จ. ไม่มีข้อใดกล่ำวไม่ถูกต้อง

52) ให้หน่วยงำนใด มีหน้ำที่ในกำรดูแลและพัฒนำระบบกำรจัดซื้อจัดจ้ำงผ่ำนระบบ


อิเล็กทรอนิกส์และกำรประกำศเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับกำรจัดซื้อจัดจ้ำงในระบบเครือข่ำย
สำรสนเทศของกรมบัญชีกลำง เพื่อสำธำรณชนสำมำรถเข้ำตรวจดูได้ (มำตรำ 46)
350

ก. กระทรวงกำรคลัง
ข. สำนักงบประมำณ
ค. สำนักนำยกรัฐมนตรี
ง. กรมบัญชีกลำง
จ. กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
53) ให้หน่วยงำนใด มีหน้ำที่จัดทำฐำนข้อมูลรำคำอ้ำงอิงของพัสดุ เพื่อให้หน่วยงำนของรัฐใช้เป็น
ข้อมูลประกอบกำรจัดซื้อจัดจ้ำงพัสดุนั้น และให้เผยแพร่ข้อมูลดังกล่ำวในระบบเครือข่ำย
สำรสนเทศ(มำตรำ 47)
ก. สำนักนำยกรัฐมนตรี
ข. กรมบัญชีกลำง
ค. กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
ง. กระทรวงกำรคลัง
จ. สำนักงบประมำณ
54) ให้หน่วยงำนที่มีหน้ำที่จัดทำฐำนข้อมูลรำคำอ้ำงอิงของพัสดุ เพื่อให้หน่วยงำนของรัฐใช้เป็น
ข้อมูลประกอบกำรจัดซื้อจัดจ้ำงพัสดุนั้น และให้เผยแพร่ข้อมูลดังกล่ำวในระบบเครือข่ำย
สำรสนเทศ โดยต้องปรับปรุงฐำนข้อมูลอย่ำงไร (มำตรำ 47 วรรคท้ำย)
ก. ทุกเดือน
ข. สำมเดือนครั้ง
ค. หกเดือนครั้ง
ง. อย่ำงน้อยปีละหนึง่ ครั้ง
จ. อย่ำงน้อยปีละสองครั้ง
55) ให้หน่วยงำนใด มีหน้ำที่รวบรวม วิเครำะห์ และประเมินผลกำรปฏิบัติงำนตำม
พระรำชบัญญัติกำรจัดซื้อจัดจ้ำงและบริหำรพัสดุภำครัฐ พ.ศ. 2560 และจัดทำรำยงำนเกี่ยวกับ
ปัญหำและอุปสรรคในกำรดำเนินกำรพร้อมข้อเสนอแนะเพื่อพัฒนำและปรับปรุงประสิทธิภำพกำร
จัดซื้อจัดจ้ำงและกำรบริหำรกำรพัสดุภำครัฐเสนอคณะกรรมกำรนโยบำยอย่ำงน้อยตำมข้อใด
(มำตรำ 48)
ก. สำนักงบประมำณ / ปีละหนึง่ ครั้ง
ข. กระทรวงกำรคลัง / ปีละหนึง่ ครั้ง
ค. กรมบัญชีกลำง / ปีละหนึง่ ครั้ง
ง. กรมบัญชีกลำง / ปีละสองครั้ง
จ. กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม /ปีละหนึ่งครั้ง
351

56) ให้หน่วยงำนใด มีหน้ำที่ในกำรกำหนดและจัดให้มีหลักสูตรกำรฝึกอบรมเพื่อส่งเสริมและ


พัฒนำเจ้ำหน้ำที่ให้มีควำมรู้และควำมเชี่ยวชำญเกี่ยวกับกำรจัดซื้อจัดจ้ำงและกำรบริหำรพัสดุ
ภำครัฐตำมหลักวิชำชีพและตำมพระรำชบัญญัติกำรจัดซื้อจัดจ้ำงและบริหำรพัสดุภำครัฐ พ.ศ.
2560 (มำตรำ 49)
ก. สำนักงบประมำณ
ข. กระทรวงกำรคลัง
ค. กรมบัญชีกลำง
ง. กระทรวงมหำดไทย
จ. กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
57) ให้หน่วยงำนใดมีหน้ำที่ปฏิบัติงำนธุรกำร งำนประชุม งำนวิชำกำร กำรศึกษำหำข้อมูล และ
กิจกำรต่ำงๆ ที่เกี่ยวข้องให้แก่คณะกรรมกำรนโยบำย คณะกรรมกำรวินิจฉัย คณะกรรมกำรรำคำ
กลำง คณะกรรม ค.ป.ท. คณะกรรมกำรพิจำรณำอุทธรณ์ และคณะอนุกรรมกำรที่แต่งตั้งโดย
คณะกรรมกำรดังกล่ำว รวมทั้งให้มีอำนำจหน้ำที่อื่นตำมที่กำหนดในพระรำชบัญญัติกำรจัดซื้อจัด
จ้ำงและบริหำรพัสดุภำครัฐ พ.ศ. 2560 (มำตรำ 50)
ก. กระทรวงมหำดไทย
ข. สำนักนำยกรัฐมนตรี
ค. สำนักงบประมำณ
ง. กระทรวงกำรคลัง
จ. กรมบัญชีกลำง
58) กำรขึ้นทะเบียนผู้ประกอบกำร ให้ใครมีอำนำจประกำศกำหนดในรำชกิจจำนุเบกษำให้งำน
ก่อสร้ำงในสำขำใด เป็นงำนก่อสร้ำงที่ผู้ประกอบกำรงำนก่อสร้ำงในสำขำนั้นจะเข้ำร่วมเป็นผู้ยื่น
ข้อเสนอต่อหน่วยงำนของรัฐได้ ผู้ประกอบกำรงำนก่อสร้ำงในสำขำนั้นต้องเป็นผู้ที่ได้ขึ้นทะเบียนไว้
กับหน่วยงำนใด (มำตรำ 51)
ก. คณะกรรมกำรนโยบำย / กระทรวงกำรคลัง
ข. คณะกรรมกำรนโยบำย / กรมบัญชีกลำง
ค. คณะกรรมกำรพิจำรณำอุทธรณ์ / กรมบัญชีกลำง
ง. คณะกรรมกำรรำคำกลำง / กระทรวงกำรคลัง
จ. คณะกรรมกำรรำคำกลำง / กรมบัญชีกลำง
59) คุณสมบัติและลักษณะต้องห้ำมของผู้ประกอบกำรที่มีสิทธิขอขึ้นทะเบียน กำรตรวจสอบ
คุณสมบัติและลักษณะต้องห้ำมหรือกำรตรวจติดตำม กำรเพิกถอนรำยชื่อออกจำกทะเบียน และ
อัตรำค่ำธรรมเนียมกำรขอขึ้นทะเบียน รวมทั้งหลักเกณฑ์และวิธีกำรอุทธรณ์และกำรพิจำรณำ
อุทธรณ์ในกรณีที่กรมบัญชีกลำงไม่ขึ้นทะเบียนให้ผู้ประกอบกำร ให้เป็นไปตำมที่กำหนดใน
กฎหมำยใด (มำตรำ 53 วรรคท้ำย)
ก. มติคณะรัฐมนตรี
352

ข. พระรำชบัญญัติ
ค. พระรำชกำหนด
ง. พระรำชกฤษฎีกำ
จ. กฎกระทรวง
60) กำรจัดซื้อจัดจ้ำงพัสดุอำจกระทำได้โดยมีกี่วิธี (มำตรำ 55)
ก. 2 วิธี
ข. 3 วิธี
ค. 4 วิธี
ง. 5 วิธี
จ. 6 วิธี
61) กำรที่ที่หน่วยงำนของรัฐเชิญชวนผู้ประกอบกำรที่มีคุณสมบัติตรงตำมเงื่อนไขที่หน่วยงำนของ
รัฐกำหนดรำยใดรำยหนึ่งให้เข้ำยื่นข้อเสนอ หรือให้เข้ำมำเจรจำต่อรองรำคำรวมทั้งกำรจัดซื้อจัด
จ้ำงพัสดุกับผู้ประกอบกำรโดยตรงในวงเงินเล็กน้อยตำมที่กำหนดในกฎกระทรวง หมำยถึงกำร
จัดซื้อจัดจ้ำงพัสดุวิธีใด (มำตรำ 55 (3)
ก. วิธีคัดเลือก
ข. วิธีประกำศเชิญชวนทั่วไป
ค. วิธีกรณีพิเศษ
ง. วิธีตกลงรำคำ
จ. วิธีเฉพำะเจำะจง
62) กำรที่หน่วยงำนของรัฐเชิญชวนผู้ประกอบกำรทั่วไปที่มีคุณสมบัติตรงตำมเงื่อนไขที่หน่วยงำน
ของรัฐกำหนดให้เข้ำยื่นข้อเสนอ หมำยถึงกำรจัดซื้อจัดจ้ำงพัสดุวิธีใด (มำตรำ 55 (1)
ก. วิธีคัดเลือก
ข. วิธีประกำศเชิญชวนทั่วไป
ค. วิธีกรณีพิเศษ
ง. วิธีตกลงรำคำ
จ. วิธีเฉพำะเจำะจง
63) กำรที่หน่วยงำนของรัฐเชิญชวนเฉพำะผู้ประกอบกำรที่มีคุณสมบัติตรงตำมเงื่อนไขที่
หน่วยงำนของรัฐกำหนดซึ่งต้องไม่น้อยกว่ำสำมรำยให้เข้ำยื่นข้อเสนอ เว้นแต่ในงำนนั้นมี
ผู้ประกอบกำรที่มีคุณสมบัติตรงตำมที่กำหนดน้อยกว่ำสำมรำย หมำยถึงกำรจัดซื้อจัดจ้ำงพัสดุวิธี
ใด (มำตรำ 55 (2)
ก. วิธีคัดเลือก
ข. วิธีประกำศเชิญชวนทั่วไป
ค. วิธีกรณีพิเศษ
ง. วิธีตกลงรำคำ
353

จ. วิธีเฉพำะเจำะจง
64) กำรจัดซื้อจัดจ้ำงพัสดุ ให้หน่วยงำนของรัฐเลือกใช้วิธีประกำศเชิญชวนทั่วไปก่อน เว้นแต่กรณี
ดังต่อไปนี้ ให้ใช้วิธคี ัดเลือก ข้อใดกล่ำวไม่ถูกต้อง (มำตรำ 56)
ก. เป็นพัสดุที่ใช้ในรำชกำรลับ หรือเป็นงำนที่ต้องปกปิดเป็นควำมลับของหน่วยงำนของรัฐ
หรือที่เกี่ยวกับควำมมั่นคงของประเทศ
ข. เป็นพัสดุที่โดยลักษณะของกำรใช้งำน หรือมีข้อจำกัดทำงเทคนิคที่จำเป็นต้องระบุยี่ห้อ
เป็นกำรเฉพำะ
ค. มีควำมจำเป็นเร่งด่วนที่ต้องใช้พัสดุนั้นอันเนื่องมำจำกเกิดเหตุกำรณ์ที่ไม่อำจคำดหมำย
ได้ ซึ่งหำกใช้วิธีประกำศเชิญชวนทั่วไปจะทำให้ไม่ทันต่อควำมต้องกำรใช้พัสดุ
ง. กรณีอื่นตำมที่กำหนดในพระรำชกฤษฎีกำ
จ. เป็นงำนจ้ำงซ่อมพัสดุที่จำเป็นต้องถอดตรวจ ให้ทรำบควำมชำรุดเสียหำยก่อน จึงจะ
ประมำณกำรซ่อมได้
65) กำรจัดซื้อจัดจ้ำงพัสดุ วิธีเฉพำะเจำะจง ข้อใดกล่ำวถูกต้อง (มำตรำ 56 (2)
ก. พัสดุที่ต้องกำรจัดซื้อจัดจ้ำงมีคุณลักษณะเป็นพิเศษหรือซับซ้อนหรือต้องผลิตจำหน่ำย
ก่อสร้ำง หรือให้บริกำรโดยเฉพำะผู้ประกอบกำรที่มีฝีมือโดยเฉพำะ
ข. เป็นพัสดุทโี่ ดยลักษณะของกำรใช้งำน หรือมีข้อจำกัดทำงเทคนิคที่จำเป็นต้องระบุยี่ห้อ
เป็นกำรเฉพำะ
ค. มีจำเป็นเร่งด่วนที่ต้องใช้พัสดุนั้นอันเนื่องมำจำกเกิดเหตุกำรณ์ที่ไม่อำจคำดหมำยได้ ซึ่ง
หำกใช้วิธีประกำศเชิญชวนทั่วไปจะทำให้ไม่ทันต่อควำมต้องกำรใช้พัสดุ
ง. เป็นพัสดุที่จะขำยทอดตลำดโดยหน่วยงำนของรัฐ องค์กำรระหว่ำงประเทศหรือ
หน่วยงำนต่ำงประเทศ
จ. เป็นงำนจ้ำงซ่อมพัสดุที่จำเป็นต้องถอดตรวจ ให้ทรำบควำมชำรุดเสียหำยก่อน จึงจะ
ประมำณกำรซ่อมได้
66) กำรจัดซื้อจัดจ้ำงพัสดุ วิธีเฉพำะเจำะจง ข้อใดกล่ำวไม่ถูกต้อง (มำตรำ 65 (2)
ก. พัสดุที่จะทำกำรจัดซื้อจัดจ้ำงเป็นพัสดุที่เกี่ยวพันกับพัสดุที่ได้ทำกำรจัดซื้อจัดจ้ำงไว้ก่อน
แล้ว และมีควำมจำเป็นต้องทำกำรจัดซื้อจัดจ้ำงเพิ่มเติมเพื่อควำมสมบูรณ์หรือ ต่อเนื่องในกำรใช้
พัสดุนั้น
ข. กำรจัดซื้อจัดจ้ำงพัสดุที่มีกำรผลิต จำหน่ำย ก่อสร้ำง หรือให้บริกำรทั่วไป และมีวงเงิน
ในกำรจัดซื้อจัดจ้ำงครั้งหนึ่งไม่เกินวงเงินตำมที่กำหนดในกฎกระทรวง
ค. มีควำมจำเป็นต้องใช้พัสดุนั้นโดยฉุกเฉิน เนื่องจำกเกิดอุบัติภัยหรือภัยธรรมชำติหรือเกิด
โรคติดต่ออันตรำยตำมกฎหมำยว่ำด้วยโรคติดต่อ และกำรจัดซื้อจัดจ้ำงโดยวิธีประกำศเชิญชวน
ทั่วไป หรือวิธีคัดเลือกอำจก่อให้เกิดควำมล่ำช้ำและอำจทำให้เกิดควำมเสียหำยอย่ำงร้ำยแรง
ง. เป็นพัสดุที่เป็นที่ดิน หรือ สิ่งปลูกสร้ำงซึ่งจำเป็นต้องซื้อ เฉพำะแห่ง
354

จ. เป็นพัสดุที่ใช้ในรำชกำรลับ หรือเป็นงำนที่ต้องปกปิดเป็นควำมลับของหน่วยงำนของรัฐ
หรือที่เกี่ยวกับควำมมั่นคงของประเทศ
67) เพื่อประโยชน์ของภำครัฐโดยรวม หน่วยงำนของรัฐแห่งหนึ่งแห่งใด อำจทำกำรจัดซื้อจัดจ้ำง
พัสดุให้กับหน่วยงำนของรัฐแห่งอื่นๆ ก็ได้ ตำมกรอบข้อตกลงระหว่ำงหน่วยงำนของรัฐผู้ทำกำรซื้อ
จัดจ้ำงกับคูส่ ัญญำ ต้องคำนึงถึง เรื่องใด ทั้งนี้ให้เป็นตำมระเบียบที่รัฐมนตรีกำหนด (มำตรำ 58
วรรคท้ำย)
ก. ประสิทธิภำพและควำมคุ้มค่ำ
ข. โปร่งใสและตรวจสอบได้
ค. คุ้มค่ำและโปร่งใส
ง. ควำมคุ้มค่ำและวัตถุประสงค์ในกำรใช้งำนเป็นสำคัญ
จ. คุ้มค่ำ โปร่งใส ประสิทธิภำพและประสิทธิผล และตรวจสอบได้
68) ในกำรจัดซื้อจัดจ้ำงพัสดุแต่ละครั้ง ให้ผู้มอี ำนำจแต่งตั้งผู้รับผิดชอบกำรจัดซื้อจัดจ้ำงนั้น ซึ่งจะ
กระทำโดยคณะกรรมกำรกำรจัดซื้อจัดจ้ำงหรือเจ้ำหน้ำที่คนใดคนหนึ่งก็ได้ โดยค่ำตอบแทน
ผู้รับผิดชอบกำรจัดซื้อจัดจ้ำงดังกล่ำว ให้เป็นไปตำมที่หน่วยงำนกำหนด (มำตรำ 61 วรรคท้ำย)
ก. กรมบัญชีกลำง
ข. กระทรวงกำรคลัง
ค. สำนักนำยกรัฐมนตรี
ง. สำนักงบประมำณ
จ. กระทรวงมหำดไทย
69) กำรจัดซื้อจัดจ้ำงตำมวิธีประกำศเชิญชวนทั่วไป ให้หน่วยงำนของรัฐจัดทำประกำศ และ
เอกสำรเชิญชวนให้ทรำบเป็นกำรทั่วไปว่ำหน่วยงำนของรัฐจะดำเนินกำรในกำรจัดซื้อจัดจ้ำงพัสดุ
ใด วัน เวลำ สถำนที่ยนื่ ข้อเสนอ และเงื่อนไขอื่นๆ ให้ประกำศเผยแพร่ในระบบเครือข่ำย
สำรสนเทศของกรมบัญชีกลำงและของหน่วยงำนของรัฐตำมวิธีกำรที่หน่วยงำนใดกำหนด (มำตรำ
62 วรรคสอง)
ก. กรมบัญชีกลำง
ข. กระทรวงกำรคลัง
ค. สำนักนำยกรัฐมนตรี
ง. สำนักงบประมำณ
จ. กระทรวงมหำดไทย
70) ผู้ประกอบกำรตำมที่คณะกรรมกำรรำคำกลำงประกำศกำหนด จะเข้ำยื่นข้อเสนอในกำร
จัดซื้อจัดจัดจ้ำงของหน่วยงำนของรัฐ อย่ำงน้อยต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ำม
ดังต่อไปนี้ ข้อใดกล่ำวไม่ถกู ต้อง (มำตรำ 64)
ก. ไม่เป็นบุคคลซึ่งถูกแจ้งเวียนชื่อ ให้เป็นผู้ทิ้งงำนของหน่วยงำนของรัฐ
ข. ไม่เป็นบุคคลซึ่งอยู่ระหว่ำงถูกระงับกำรยื่นข้อเสนอหรือทำสัญญำกับหน่วยงำนของรัฐ
355

ค. พึ่งขึ้นทะเบียนกับกรมบัญชีกลำง
ง. ไม่เป็นบุคคลล้มละลำย
จ. มีควำมสำมำรถตำมกฎหมำย
71) ในกำรพิจำรณำคัดเลือกข้อเสนอโดยวิธีประกำศเชิญชวนทั่วไป และวิธีคัดเลือก ให้หน่วยงำน
ของรัฐดำเนินกำรโดยพิจำรณำถึงประโยชน์ของหน่วยงำนของรัฐ และวัตถุประสงค์ของกำรใช้งำน
เป็นสำคัญ โดยให้คำนึงถึงเกณฑ์รำคำและพิจำรณำเกณฑ์อื่นประกอบด้วย ดังต่อไปนี้ ข้อใดกล่ำว
ไม่ถูกต้อง (มำตรำ 65)
ก. กำรประเมินผลกำรปฏิบัติงำนของผู้ประกอบกำร
ข. พัสดุที่รัฐต้องกำรส่งเสริมหรือสนับสนุน
ค. บริกำรหลังกำรขำย
ง. จำนวนผู้ประกอบกำรที่ดำเนินกำร
จ. ต้นทุนของพัสดุนั้นตลอดอำยุกำรใช้งำน
72) พัสดุที่รัฐต้องส่งเสริมหรือสนับสนุน ให้เป็นไปตำมที่กำหนดในกฎกระทรวง ซึ่งอย่ำงน้อยต้อง
ส่งเสริมหรือสนับสนุนพัสดุดังนี้ ข้อใดกล่ำวไม่ถูกต้อง (มำตรำ 65)
ก. อนุรักษ์พลังงำน
ข. อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
ค. สร้ำงนวัตกรรม
ง. หำง่ำยได้ในท้องถิ่น
จ. ไม่มีข้อใดกล่ำวไม่ถูกต้อง
73) ก่อนลงนำมในสัญญำ หน่วยงำนของรัฐอำจประกำศยกเลิกกำรจัดซื้อจัดจ้ำงที่ได้ดำเนินกำรไป
แล้วในกรณีใดได้บ้ำง (มำตรำ 67)
ก. มีกำรสมยอมกันกับผู้ยื่นข้อเสนอรำยอื่นหรือเจ้ำหน้ำที่ในกำรเสนอรำคำ
ข. มีส่วนได้เสียกับผู้ยื่นข้อเสนอรำยอื่น
ค. มีกำรกระทำที่เข้ำลักษณะผู้ยื่นข้อเสนอที่ชนะกำรจัดซื้อจัดจ้ำงหรือที่ได้รับกำรคัดเลือก
มีผลประโยชน์ร่วมกัน
ง. หน่วยงำนของรัฐนั้นไม่ได้รับกำรจัดสรรเงินงบประมำณที่จะใช้ในกำรจัดซื้อจัดจ้ำง
จ. ถูกทุกข้อ
74) งำนจ้ำงที่ปรึกษำอำจกระทำได้โดยวิธีต่อไปนี้ ข้อใดกล่ำวไม่ถูกต้อง (มำตรำ 69)
ก. วิธีคัดเลือก
ข. วิธีประกำศเชิญชวนทั่วไป
ค. วิธีเฉพำะเจำะจง
ง. วิธีตกลงรำคำ
จ. ข้อ ก. และข้อ ง.
356

75) งำนจ้ำงที่ปรึกษำโดยวิธีเฉพำะเจำะจง ให้กระทำได้ในกรณีดังต่อไปนี้ ข้อใดกล่ำวไม่ถูกต้อง


(มำตรำ 70 (3) ประกอบกฎกระทรวง รำชกิจจำนุเบกษำ เล่ม 134 ตอนที่ 86 ก ลว. 23 ส.ค.
2560)
ก. เป็นงำนจ้ำงที่มีที่ปรึกษำในงำนที่จะจ้ำงนั้นหลำยรำย
ข. เป็นงำนที่มีควำมจำเป็นเร่งด่วนหรือที่เกี่ยวกับควำมมั่นคงของชำติ หำกล่ำช้ำจะ
เสียหำยแก่หน่วยงำนของรัฐหรือควำมมั่นคงของชำติ
ค. เป็นงำนที่มีควำมจำเป็นต้องให้ที่ปรึกษำรำยเดิมทำต่อจำกงำนที่ได้ทำไว้แล้ว เนื่องจำก
เหตุผลทำงเทคนิค
ง. งำนจ้ำงที่ปรึกษำที่มีวงเงินค่ำจ้ำงครั้ง หนึง่ ไม่เกิน 500,000 บำท
จ. งำนจ้ำงที่มีที่ปรึกษำในงำนที่จะจ้ำงนั้นจำนวนจำกัดและมีวงเงินค่ำจ้ำงครั้งหนึ่งไม่เกิน
5,000,000 บำท
76) รำยละเอียดของวิธีกำรจัดซื้อจัดจ้ำงสำหรับงำนจ้ำงที่ปรึกษำในหมวด 7 งำนจ้ำงที่ปรึกษำ
ด้วยวิธีกำรทำงอิเล็กทรอนิกส์ในระบบเครือข่ำยสำรสนเทศของกรมบัญชีกลำง ให้เป็นไปตำม
ระเบียบที่ใครกำหนด (มำตรำ 71 ประกอบมำตรำ 4 และ 5)
ก. นำยกรัฐมนตรี
ข. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทย
ค. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงกำรคลัง
ง. อธิบดีกรมบัญชีกลำง
จ. ปลัดกระทรวงกำรคลัง
77) ในกำรพิจำรณำคัดเลือกข้อเสนอ ให้หน่วยงำนของรัฐดำเนินกำรโดยคำนึงถึงควำมคุ้มค่ำ และ
วัตถุประสงค์ของำนจ้ำงที่ปรึกษำเป็นสำคัญ โดยให้พิจำรณำเกณฑ์ด้ำนคุณภำพ ดังต่อไปนี้ ข้อใด
กล่ำวไม่ถูกต้อง (มำตรำ 75)
ก. ข้อเสนอด้ำนกำรเงิน
ข. ข้อเสนอด้ำนกฎหมำย
ค. จำนวนบุคลำกรที่ร่วมงำน
ง. ผลงำนและประกำรณ์ของที่ปรึกษำ
จ. ประเภทของที่ปรึกษำที่รัฐต้องกำรส่งเสริมหรือสนับสนุน
78) งำนจ้ำงออกแบบหรือควบคุมงำนก่อสร้ำงอำจกระทำได้โดยมีกี่วิธี (มำตรำ 79)
ก. 2 วิธี
ข. 3 วิธี
ค. 4 วิธี
ง. 5 วิธี
จ. 6 วิธี
357

79) งำนจ้ำงออกแบบหรือควบคุมงำนก่อสร้ำงอำจกระทำได้โดยมีวิธีอะไรบ้ำง (มำตรำ 79)


ก. วิธีประกวดแบบ วิธีเฉพำะเจำะจง วิธีคัดเลือกกรณีพิเศษ
ข. วิธีประกำศเชิญชวนทั่วไป วิธีคัดเลือก วิธีเฉพำะเจำะจง
ค. วิธีคัดเลือก วิธีประกำศเชิญชวนทั่วไป วิธีประกวดแบบ
ง. วิธีเฉพำะเจำะจง วิธีประกวดแบบ วิธีคัดเลือก วิธีประกวดเชิญชวนทั่วไป
จ. วิธีประกวดเชิญชวนทั่วไป วิธีคัดเลือก วิธีเฉพำะเจำะจง วิธีประกวดออกแบบ
80) งำนจ้ำงออกแบบหรือควบคุมงำนก่อสร้ำง วิธีใดให้ใช้กับงำนจ้ำงออกแบบหรือควบคุมงำน
ก่อสร้ำงที่มีลักษณะไม่ซับซ้อน (มำตรำ 80)
ก. วิธีประกวดแบบ
ข. วิธีประกำศเชิญชวนทั่วไป
ค. วิธีคัดเลือก
ง. วิธีเฉพำะเจำะจง
จ. วิธีประกวดออกแบบ
81) งำนจ้ำงออกแบบหรือ ควบคุมงำนก่อสร้ำง ที่ใช้วิธีคัดเลือก ข้อใดกล่ำวถูกต้อง (มำตรำ 79)
ก. เป็นงำนจ้ำงที่มีลักษณะซับซ้อนหรือซับซ้อนมำก
ข. ใช้วิธีประกำศเชิญชวนทั่วไปแล้ว แต่ไม่มีผู้ยื่นข้อเสนอ หรือข้อเสนอนั้นไม่ได้รับกำร
คัดเลือก
ค. เป็นงำนเกี่ยวกับกำรออกแบบหรือใช้ควำมคิด เช่น รูปแบบสิ่งก่อสร้ำง ซึ่งหน่วยงำน
ของรัฐ ไม่มีข้อมูลเพียงพอที่จะกำหนดรำยละเอียดเบื้องต้นได้
ง. เป็นงำนจ้ำงออกแบบหรือควบคุมงำนก่อสร้ำงที่หน่วยงำนของรัฐเชิญชวนผู้ให้บริกำรที่มี
คุณสมบัติตรงตำมเงื่อนไขที่หน่วยงำนของรัฐกำหนดไม่น้อยกว่ำสำมรำยให้เข้ำยื่นข้อเสนอ
จ. ถูกทุกข้อ
82) ในกรณีที่กำรจัดซื้อจัดจ้ำงมีวงเงินเล็กน้อยเท่ำใด จะแต่งตั้งบุคคลหนึ่งบุคคลใดเป็นผู้ตรวจรับ
พัสดุก็ได้ (กฎกระทรวง รำชกิจจำนุเบกษำ เล่ม 134 ตอนที่ 86 ก ลว. 23 ส.ค. 2560)
ก. 10,000 บำท
ข. 20,000 บำท
ค. 100,000 บำท
ง. ไม่เกิน 100,000 บำท
จ. 500,000 บำท
358

83) ในกรณีที่กำรจัดซื้อจัดจ้ำงมีวงเงินเล็กน้อยเท่ำใด จะไม่ทำข้อตกลงเป็นหนังสือไว้ต่อกันก็ได้


แต่ต้องมีหลักฐำนในกำรจัดซื้อจัดจ้ำงนั้น (กฎกระทรวง รำชกิจจำนุเบกษำ เล่ม 134 ตอนที่ 86
ก ลว. 23 ส.ค. 2560)
ก. 10,000 บำท
ข. 20,000 บำท
ค. 100,000 บำท
ง. ไม่เกิน 100,000 บำท
จ. 500,000 บำท
84) งำนจ้ำงออกแบบหรือ ควบคุมงำนก่อสร้ำงที่มีวงเงิน งบประมำณค่ำก่อสร้ำงครั้งหนึ่งเท่ำใด
ให้ใช้วิธีเฉพำะเจำะจง (กฎกระทรวง รำชกิจจำนุเบกษำ เล่ม 134 ตอนที่ 86 ก ลว. 23 ส.ค.
2560)
ก. 100,000 บำท
ข. ไม่เกิน 100,000 บำท
ค. 500,000 บำท
ง. ไม่เกิน 500,000 บำท
จ. ไม่เกิน 5,000,000 บำท
85) งำนจ้ำงที่ปรึกษำ ให้ใช้วิธเี ฉพำะเจำะจง งำนจ้ำงที่มีที่ปรึกษำในงำนที่จะจ้ำงนั้นจำนวนจำกัด
และมีวงเงินค่ำจ้ำงครั้งหนึ่งเท่ำใด (กฎกระทรวง รำชกิจจำนุเบกษำ เล่ม 134 ตอนที่ 86 ก ลว.
23 ส.ค.2560)
ก. 100,000 บำท
ข. ไม่เกิน 100,000 บำท
ค. 500,000 บำท
ง. ไม่เกิน 500,000 บำท
จ. ไม่เกิน 5,000,000 บำท
86) งำนจ้ำงที่ปรึกษำ ให้ใช้วิธีเฉพำะเจำะจง งำนจ้ำงที่มีที่ปรึกษำครั้งหนึ่งเท่ำใด (กฎกระทรวง
รำชกิจจำนุเบกษำ เล่ม 134 ตอนที่ 86 ก ลว. 23 ส.ค. 2560)
ก. 100,000 บำท
ข. ไม่เกิน 100,000 บำท
ค. 500,000 บำท
ง. ไม่เกิน 500,000 บำท
จ. ไม่เกิน 5,000,000 บำท
87) กำรจัดซื้อจัดจ้ำงสินค้ำ งำนบริกำร หรืองำนก่อสร้ำง ที่มีกำรผลิต จำหน่ำย ก่อสร้ำง หรือ
ให้บริกำรทั่วไป และมีวงเงินในกำรจัดซื้อจัดจ้ำงครั้งหนึ่งเท่ำใด ให้ใช้วิธีเฉพำะเจำะจง
(กฎกระทรวงรำชกิจจำนุเบกษำ เล่ม 134 ตอนที่ 86 ก ลว. 23 ส.ค. 2560)
359

ก. 100,000 บำท
ข. ไม่เกิน 100,000 บำท
ค. 500,000 บำท
ง. ไม่เกิน 500,000 บำท
จ. ไม่เกิน 5,000,000 บำท
88) กำรออกกฎกระทรวง กำหนดวงเงินกำรจัดซื้อจัดจ้ำงพัสดุโดยวิธีเฉพำะเจำะจง วงเงินกำร
จัดซื้อจัดจ้ำงที่ไม่ทำข้อตกลงเป็นหนังสือ และวงเงินกำรจัดซื้อจัดจ้ำงในกำรแต่งตั้งผู้ตรวจรับพัสดุ
เป็นอำนำจของใคร (มำตรำ 5)
ก. อธิบดีกรมบัญชีกลำง
ข. ปลัดกระทรวงกำรคลัง
ค. ปลัดกระทรวงมหำดไทย
ง. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงกำรคลัง
จ. นำยกรัฐมนตรี

89) วิธีเฉพำะเจำะจง เป็นงำนจ้ำงออกแบบหรือควบคุมงำนก่อสร้ำงที่หน่วยงำนของรัฐเลือกจ้ำงผู้


ให้บริกำรรำยใดรำยหนึ่งซึ่งเคยทรำบหรือเคยเห็นควำมสำมำรถแล้ว ตำมที่คณะกรรมกำร
ดำเนินงำนจ้ำงออกแบบหรือควบคุมก่อสร้ำงโดยวิธีเฉพำะเจำะจงได้พิจำรณำข้อเสนอแนะ ทั้งนี้ให้
กระทำได้ในกรณีดังต่อไปนี้ ข้อใดกล่ำวไม่ถูกต้อง (มำตรำ 82 ประกอบกฎกระทรวง รำชกิจจำ
นุเบกษำ เล่ม 134ตอนที่ 86 ก ลว. 23 ส.ค. 2560)
ก. เป็นงำนที่จำเป็นต้องให้ผู้บริกำรรำยเดิมทำต่อจำกงำนที่ทำไว้แล้ว เนื่องจำกเหตุผลทำง
เทคนิค
ข. งำนออกแบบหรือควบคุมงำนก่อสร้ำงที่มีวงเงินงบประมำณค่ำก่อสร้ำงครั้งหนึ่งไม่เกิน
5,000,000 บำท
ค. เป็นงำนเกี่ยวกับกำรออกแบบหรือใช้ควำมคิด เช่น รูปแบบสิ่งก่อสร้ำง ซึ่งหน่วยงำน
ของรัฐไม่มีข้อมูลเพียงพอที่จะกำหนดรำยละเอียดเบื้องต้นได้
ง. เป็นงำนที่มีควำมจำเป็นเร่งด่วนหรือเกี่ยวกับควำมมั่นคงของชำติ หำกล่ำช้ำจะเสียหำย
แก่หน่วยงำนของรัฐหรือควำมมั่นคงของชำติ
จ. ไม่มีข้อใดกล่ำวไม่ถูกต้อง
90) งำนจ้ำงอออกแบบหรือควบคุมงำนก่อสร้ำงวิธีใด ที่เป็นงำนจ้ำงออกแบบหรือควบคุมงำน
ก่อสร้ำงที่หน่วยงำนของรัฐเชิญชวนผู้ให้บริกำรที่มีคุณสมบัติตรงตำมเงื่อนไขที่หน่วยงำนของรัฐ
กำหนดให้เข้ำยื่นข้อเสนอเพื่อออกแบบงำนก่อสร้ำงที่มีลักษณะพิเศษ เป็นที่เชิดชูคุณค่ำทำงด้ำน
ศิลปกรรมหรือสถำปัตยกรรมของชำติ หรืองำนอื่นตำมกำหนดในกฎกระทรวง (มำตรำ 83)
ก. วิธีประกวดแบบ
ข. วิธีเฉพำะเจำะจง
360

ค. วิธีประกำศเชิญชวนทั่วไป
ง. วิธีประกวดออกแบบ
จ. วิธีตกลงรำคำ
91) รำยละเอียดของวิธีกำรจัดซื้อจัดจ้ำงสำหรับงำนจ้ำงออกแบบหรือควบคุมงำนก่อสร้ำงใน
หมวด 8 งำนจ้ำงออกแบบหรือควบคุมงำนก่อสร้ำง ด้วยวิธีกำรทำงอิเล็กทรอนิกส์ในระบบ
เครือข่ำยสำรสนเทศของกรมบัญชีกลำง ให้เป็นไปตำมระเบียบที่ใครกำหนด (มำตรำ 85)
ก. นำยกรัฐมนตรี
ข. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงกำรคลัง
ค. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทย
ง. ปลัดกระทรวงกำรคลัง
จ. อธิบดีกรมบัญชีกลำง
92) งำนอำคำร งำนสถำปัตยกรรมภำยใน งำนภูมิสถำปัตยกรรม ที่ต้องใช้ควำมประณีต ควำม
ชำนำญ มีประโยชน์ใช้สอยที่ซับซ้อน มีลักษณะกำรก่อสร้ำงที่ซับซ้อน มีกฎเกณฑ์ควบคุมเฉพำะ
หรือมีกำรใช้งำนหลำกหลำย เช่น อำคำรมหำวิทยำลัย อำคำรเรียนรวม หอสมุด หอประชุม
อำคำรพัก อำศัยรวม สนำมกีฬำ สถำนกัก หอพัก โรงเรียน ศำลำประชำคม อำคำรสำนักงำน
อำคำรสูง อำคำรขนำดใหญ่พิเศษ สถำบันระดับสูงของรัฐ สถำบันกำรเงิน โรงแรม โรงภำพยนตร์
โรงมหรสพ ห้ำงสรรพสินค้ำ ศูนย์ประชุม ศูนย์แสดงสินค้ำและนิทรรศกำร สถำนีขนส่งต่ำงๆ
อำคำรศูนย์กำรค้ำสถำนบริกำรและนันทนำกำร สโมสร สวนสนุก สวนสำธำรณะ ภูมิทัศน์ชุมชน
ภูมิทัศน์บริเวณอำคำรสำธำรณะ โครงกำรจัดสรรที่ดิน หรือนิคมอุตสำหกรรม เป็นลักษณะของงำน
สถำปัตยกรรม ตำมข้อใด (มำตรำ 90 ประกอบกฎกระทรวง รำชกิจจำนุเบกษำ เล่ม 134 ตอนที่
86 ลว 23 ส.ค. 2560)
ก. ซับซ้อนมำก
ข. ซับซ้อน
ค. ไม่ซับซ้อน
ง. สลับซับซ้อน
จ. มั่นคง ซับซ้อน
93) งำนอำคำร งำนสถำปัตยกรรมภำยใน งำนภูมิสถำปัตยกรรม ที่มีแบบแผนวิจิตรต้องใช้
ประณีตชั้นสูง ใช้เทคโนโลยีชั้นสูง ควำมชำนำญเฉพำะด้ำน มีควำมสลับซับซ้อนหรือมีผู้ใช้สอย
จำนวนมำกเป็นลักษณะพิเศษเชิดชูคุณค่ำทำงด้ำนสถำปัตยกรรม ศิลปกรรม วัฒนธรรม หรือ
ธรรมชำติ เช่นพิพิธภัณฑ์ อำคำรทำงศำสนำ ศำลำกลำงจังหวัด โรงพยำบำล อำคำรห้องปฏิบัติกำร
อำคำรที่มีควำมสลับซับซ้อน สนำมบิน อนุสำวรีย์ รัฐสภำ ศูนย์วัฒนธรรม อำคำรอนุรักษ์ สถำนทูต
อำคำรเก็บวัสดุที่เสี่ยงอันตรำยหรือเสี่ยงต่อสุขภำพ งำนสถำปัตยกรรมภำยในของบ้ำนพักอำศัย
ภูมิทัศน์ในพื้นที่อนุรักษ์ ภูมิทัศน์ในอำคำร สวนหลังคำ สวนพฤกษศำสตร์ สวนสมุนไพร สวนสัตว์
สวนสำธำรณะกลำงเมือง หรืองำนปรับปรุงอำคำรหรือภูมิทัศน์ในบริเวณที่มีกำรใช้สอยหรือสิ่งปลูก
361

สร้ำงอยู่เดิม เป็นลักษณะของงำนสถำปัตยกรรม ตำมข้อใด (มำตรำ 90 ประกอบกฎกระทรวง


รำชกิจจำนุเบกษำ เล่ม134 ตอนที่ 86 ลว 23 ส.ค. 2560)
ก. ซับซ้อนมำก
ข. ซับซ้อน
ค. ไม่ซับซ้อน
ง. สลับซับซ้อน
จ. มั่นคง ซับซ้อน
94) งำนอำคำร งำนสถำปัตยกรรมภำยใน งำนภูมิสถำปัตยกรรม มีลักษณะเรียบง่ำย เป็น
มำตรฐำนทั่วไป เช่น โรงเก็บพัสดุ คลังสินค้ำ อำคำรจอดรถยนต์ ตลำด ร้ำนค้ำ ศูนย์อำหำร โชว์รูม
อำคำรประเภทบ้ำนที่อยู่อำศัยหรือสำนักงำนขนำดเล็ก สวนสำธำรณะชำนเมือง งำนภูมิทัศน์ถนน
หรือเส้นทำงคมนำคม สวนเกษตร สวนประดับ หรือสวนหย่อม เป็นลักษณะของงำน
สถำปัตยกรรม ตำมข้อใด (มำตรำ 90 ประกอบกฎกระทรวง รำชกิจจำนุเบกษำ เล่ม 134 ตอนที่
86 ลว 23 ส.ค. 2560)
ก. ซับซ้อนมำก
ข. ซับซ้อน
ค. ไม่ซับซ้อน
ง. สลับซับซ้อน
จ. มั่นคง ซับซ้อน
95) รำยละเอียดวิธีกำรและขั้นตอนงำนจ้ำงออกแบบหรือควบคุมงำนก่อสร้ำงที่ไม่ได้บัญญัติไว้ใน
หมวด 8 งำนจ้ำงออกแบบหรือควบคุมงำนก่อสร้ำง ให้เป็นไปตำมระเบียบที่ใครกำหนด (มำตรำ
92)
ก. นำยกรัฐมนตรี
ข. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงกำรคลัง
ค. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทย
ง. ปลัดกระทรวงกำรคลัง
จ. อธิบดีกรมบัญชีกลำง
96) หน่วยงำนรัฐต้องทำสัญญำตำมแบบที่คณะกรรมกำรนโยบำยกำหนด โดยควำมเห็นชอบของ
ข้อใด ทั้งนี้แบบสัญญำนั้นให้ประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำด้วย (มำตรำ 93)
ก. สำนักนำยกรัฐมนตรี
ข. กระทรวงกำรคลัง
ค. กระทรวงมหำดไทย
ง. สำนักงำนอัยกำรสูงสุด
จ. กรมบัญชีกลำง
362

97) ในกรณีจำเป็นต้องทำสัญญำเป็นภำษำต่ำงประเทศ ให้ทำเป็นภำษำอังกฤษและต้องจัดทำ


ข้อสรุปสำระสำคัญแห่งสัญญำเป็นภำษำไทยตำมหลักเกณฑ์ที่ข้อใด ประกำศกำหนดในรำชกิจจำ
นุเบกษำ(มำตรำ 93 วรรคสี่)
ก. คณะกรรมกำรพิจำรณำอุทธรณ์และข้อร้องเรียน
ข. คณะกรรมกำรรำคำกลำงและขึ้นทะเบียนผู้ประกอบกำร
ค. คณะกรรมกำรวินิจฉัยปัญหำกำรจัดซื้อจัดจ้ำงและกำรบริหำรพัสดุภำครัฐ
ง. คณะกรรมกำรนโยบำยกำรจัดซื้อจัดจ้ำงและกำรบริหำรพัสดุภำครัฐ
จ. คณะกรรมกำรว่ำด้วยกำรพัสดุด้วยวิธีกำรทำงอิเล็กทรอนิกส์
98) ในกรณีที่หน่วยงำนของรัฐไม่ได้ทำสัญญำตำมแบบสัญญำ หน่วยงำนของรัฐไม่แก้ไขสัญญำ
ตำมควำมเห็นของหน่วยงำนตำมกฎหมำย หรือคู่สัญญำไม่ตกลงหรือยินยอมให้แก้ไขสัญญำตำม
ควำมเห็นของหน่วยงำนตำมกฎหมำย หำกข้อสัญญำที่แตกต่ำงจำกแบบสัญญำหรือข้อสัญญำที่ไม่
แก้ไขเป็นส่วนที่เป็นสำระสำคัญหรือเป็นกรณีผิดพลำดอย่ำงร้ำยแรง ให้ถือว่ำสัญญำนั้นเป็นตำมข้อ
ใด (มำตรำ 93 วรรคท้ำย)
ก. สมบูรณ์
ข. โมฆียะ
ค. โมฆะ
ง. สมบูรณ์บำงส่วน
จ. สมบูรณ์หำกยินยอมทั้งสองฝ่ำย
99) สัญญำที่ทำในรำชอำณำจักรต้องมีข้อตกลงในกำรห้ำมคู่สัญญำไปจ้ำงช่วงให้ผู้อื่นทำอีกทอด
หนึ่งไม่ว่ำทั้งหมดหรือแต่บำงส่วน เว้นแต่กำรจ้ำงช่วงแต่บำงส่วนที่ได้รับอนุญำตจำกหน่วยงำนของ
รัฐที่เป็นคู่สัญญำแล้ว ถ้ำคู่สัญญำไปจ้ำงช่วงโดยฝ่ำฝืนข้อตกลงดังกล่ำว ต้องกำหนดให้มีค่ำปรับ
สำหรับกำรฝ่ำฝืนข้อตกลงนั้นเท่ำใด ของวงเงิน ของงำนที่จ้ำงตำมสัญญำ (มำตรำ 95)
ก. ร้อยละหนึ่ง
ข. ร้อยละสอง
ค. ร้อยละสิบ
ง. ไม่น้อยกว่ำร้อยละสิบ
จ. ไม่น้อยกว่ำร้อยยี่สิบ
100) หน่วยงำนของรัฐอำจจัดทำข้อตกลงเป็นหนังสือโดย ไม่ทำตำมแบบสัญญำ กรณีที่คู่สัญญำ
สำมำรถส่งมอบพัสดุได้ครบถ้วนตำมข้อใด นับตั้งแต่วันถัดจำกวันทำข้อตกลงเป็นหนังสือ (มำตรำ
96(3)
ก. ภำยในหนึง่ วันทำกำร
ข. ภำยในสำมวันทำกำร
ค. ภำยในห้ำวันทำกำร
ง. ภำยในเจ็ดวันทำกำร
363

จ. ภำยในสิบห้ำวันทำกำร
101) สัญญำหรือข้อตกลงเป็นหนังสือที่ลงนำมแล้วจะแก้ไขไม่ได้ เว้นแต่ในกรณีดังต่อไปนี้ให้อยู่ใน
ดุลพินิจของผู้มีอำนำจที่จะพิจำรณำอนุมัติให้แก้ไขได้ ข้อใดกล่ำวไม่ถูกต้อง (มำตรำ 97, 93)
ก. เป็นกำรแก้ไขตำมควำมเห็นของสำนักงำนอัยกำรสูงสุด
ข. เป็นกำรแก้ไขเพื่อประโยชน์แก่หน่วยงำนของรัฐหรือประโยชน์สำธำรณะ
ค. ในกรณีที่มีควำมจำเป็นต้องแก้ไขสัญญำหรือข้อตกลง หำกกำรแก้ไขนั้นไม่ทำให้
หน่วยงำนของรัฐเสียประโยชน์
ง. ข้อ ก. และ ข้อ ข.
จ. ไม่มีข้อใดกล่ำวไม่ถูกต้อง
102) ผู้รับผิดชอบกำรบริหำรสัญญำหรือข้อตกลงและกำรตรวจรับพัสดุ ซึ่งไม่ใช่ผู้ที่ได้รับแต่งตั้ง
ให้
ดำรงตำแหน่งที่ปฏิบัติงำนเกี่ยวกับกำรจัดซื้อจัดจ้ำงหรือกำรบริหำรพัสดุให้ได้รับค่ำตอบแทนตำมที่
หน่วยงำนใดกำหนด (มำตรำ 100 วรรคท้ำย)
ก. สำนักนำยกรัฐมนตรี
ข. กระทรวงมหำดไทย
ค. กระทรวงกำรคลัง
ง. กรมบัญชีกลำง
จ. กรมส่งเสริมกำรปกครองท้องถิ่น
103) กำรงดหรือลดค่ำปรับให้แก่คู่สัญญำ หรือกำรขยำยเวลำทำกำรตำมสัญญำหรือข้อตกลง ให้
อยู่ในดุลพินิจของผู้มีอำนำจที่จะพิจำรณำได้ตำมจำนวนวันที่มีเหตุเกิดขึ้นจริง เฉพำะในกรณี
ดังต่อไปนี้ข้อใดกล่ำวไม่ถูกต้อง (มำตรำ 102)
ก. เหตุสุดวิสัย
ข. เหตุเกิดจำกพฤติกำรณ์อันหนึ่ง อันใดที่คู่สัญญำต้องรับผิดตำมกฎหมำย
ค. เหตุเกิดจำกควำมผิดหรือควำมบกพร่องของหน่วยงำนของรัฐ
ง. ข้อ ก. และข้อ ค.
จ. ไม่มีข้อใดกล่ำวไม่ถูกต้อง
104) กำรตกลงกับคู่สัญญำที่จะบอกเลิกสัญญำหรือข้อตกลง ให้ผู้มีอำนำจพิจำรณำได้เฉพำะใน
กรณีที่เป็นประโยชน์แก่หน่วยงำนของรัฐโดยตรงหรือตำมข้อใด หรือเพื่อแก้ไขข้อเสียเปรียบของ
หน่วยงำนของรัฐในกำรที่จะปฏิบัติตำมสัญญำหรือ ข้อตกลงนั้นต่อไป (มำตรำ 103 วรรคท้ำย)
ก. เพื่อควำมคุ้มค่ำ
ข. เพื่อควำมโปร่งใส
ค. เพื่อประสิทธิภำพและประสิทธิผล
ง. เพื่อประโยชน์สำธำรณะ
จ. ข้อ ก. ข. และข้อ ค.
364

105) เพื่อประโยชน์ของหน่วยงำนของรัฐ ในกำรพิจำรณำคัดเลือกผู้ยื่นข้อเสนอที่จะเข้ำมำเป็น


คู่สัญญำกับหน่วยงำนของรัฐให้เป็นไปอย่ำงข้อใด ให้หน่วยงำนของรัฐประเมินผลกำรปฏิบัติงำน
ของผู้ประกอบกำรที่เข้ำร่วมกำรจัดซื้อจัดจ้ำงกับหน่วยงำนของรัฐ (มำตรำ 106)
ก. มีควำมคุ้มค่ำ
ข. มีควำมโปร่งใส
ค. มีประสิทธิภำพและประสิทธิผล
ง. มีประสิทธิภำพ
จ. ข้อ ก. ข. และข้อ ค.
106) ในกรณีที่ปรำกฏว่ำผู้ยื่นข้อเสนอหรือคู่สัญญำของหน่วยงำนของรัฐกระทำกำรดังต่อไปนี้
โดยไม่มีเหตุผลอันสมควร ให้ถือว่ำผู้ยื่นข้อเสนอหรือคู่สัญญำนั้นกระทำกำรอันมีลักษณะเป็นกำร
ทิ้งงำน ข้อใดกล่ำวไม่ถูกต้อง (มำตรำ 109 ประกอบมำตรำ 88)
ก. เมื่อปรำกฏว่ำผลกำรปฏิบัติตำมสัญญำของที่ปรึกษำหรือผู้ให้บริกำรงำนจ้ำงออกแบบ
หรือควบคุมงำนก่อสร้ำงมีข้อบกพร่อง ผิดพลำด หรือก่อให้เกิดควำมเสียหำยแก่หน่วยงำนของรัฐ
อย่ำงร้ำยแรง
ข. เป็นผู้ยื่นข้อเสนอที่ได้รับกำรคัดเลือกแล้วไม่ยอมไปทำสัญญำหรือข้อตกลงเป็นหนังสือ
กับหน่วยงำนของรัฐภำยในเวลำที่กำหนด
ค. เมื่อปรำกฏว่ำผู้ให้บริกำรงำนจ้ำงออกแบบหรือควบคุมงำนก่อสร้ำงหรือผู้ประกอบกำร
งำนก่อสร้ำงที่เป็นคู่สัญญำกับหน่วยงำนของรัฐ เป็นผู้มีส่วนได้เสียกับผู้ประกอบกำรงำนก่อสร้ำงใน
งำนั้น
ง. คู่สัญญำของหน่วยงำนของรัฐหรือผู้รับจ้ำงช่วงที่หน่วยงำนของรัฐอนุญำตให้รับช่วงงำน
ได้ ไม่ปฏิบัติตำมสัญญำหรือข้อตกลงเป็นหนังสือนั้น
จ. ไม่มีข้อใดกล่ำวไม่ถูกต้อง
107) ให้ตำแหน่งใด เป็นผู้มีอำนำจสั่งให้ผู้ยื่นข้อเสนอหรือคู่สัญญำเป็นผู้ทิ้งงำน และให้แจ้งเวียน
รำยชื่อผู้ทิ้งงำนให้หน่วยงำนของรัฐทรำบ กับแจ้งเวียนในระบบเครือข่ำยสำรสนเทศของ
กรมบัญชีกลำงรวมทั้งแจ้งให้ผู้ทิ้งงำนทรำบด้วย ในกรณีที่นิติบุคคลเป็นผู้ทิ้งงำน ถ้ำกำรกระทำ
ดังกล่ำวเกิดจำกหุ้นส่วนผู้จัดกำร กรรมกำรผู้จัดกำร ผู้บริหำร หรือผู้มีอำนำจในกำรดำเนินงำนใน
กิจกำรของนิติบุคคลนั้น ให้สั่งให้บุคคลดังกล่ำวเป็นผู้ทิ้งงำนด้วย (มำตรำ109)
ก. นำยกรัฐมนตรี
ข. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงกำรคลัง
ค. ปลัดกระทรวงกำรคลัง
ง. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทย
จ. อธิบดีกรมบัญชีกลำง
108) ผู้ที่ถูกสั่งให้เป็นผู้ทิ้งงำน อำจร้องขอให้ได้รับกำรเพิกถอนกำรเป็นผู้ทิ้งงำนได้ โดยอย่ำงน้อย
365

ต้องเป็นไปตำมหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้ ข้อใดกล่ำวไม่ถูกต้อง (มำตรำ 110)


ก. มีกำรชำระภำษีโดยถูกต้องกฎหมำย
ข. เป็นผูด้ ำรงตำแหน่งกำรเมือง
ค. เป็นผู้ที่มีฐำนะกำรเงินมั่นคง
ง. ได้พ้นกำหนดระยะเวลำกำรแจ้งเวียนรำยชื่อให้เป็นผู้ทิ้งงำนตำมระเบียบที่รัฐมนตรี
กำหนด
จ. ข้อ ข. และข้อ ค.
109) ให้หน่วยงำนของรัฐจัดให้มีกำรควบคุมและดูแลพัสดุที่อยู่ในควำมครอบครองให้มีกำรใช้และ
กำรบริหำรพัสดุที่เป็นตำมข้อใด (มำตรำ 112)
ก. คุ้มค่ำ โปร่งใส
ข. มีประสิทธิภำพและประสิทธิผล
ค. ตรวจสอบได้
ง. เหมำะสม คุ้มค่ำ และเกิดประโยชน์ต่อหน่วยงำนของรัฐมำกที่สุด
จ. ข้อ ก. ข. และข้อ ค.
110) กำรเก็บ กำรบันทึก กำรเบิกจ่ำย กำรยืม กำรตรวจสอบ กำรบำรุงรักษำ และกำรจำหน่ำย
พัสดุให้เป็นไปตำมระเบียบที่ใครกำหนด (มำตรำ 113)
ก. นำยกรัฐมนตรี
ข. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทย
ค. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงกำรคลัง
ง. ปลัดกระทรวงกำรคลัง
จ. อธิบดีกรมบัญชีกลำง
111) ผู้ซึ่งได้ยื่นข้อเสนอเพื่อทำกำรจัดซื้อจัดจ้ำงพัสดุกับหน่วยงำนของรัฐมีสิทธิอย่ำงไร เกี่ยวกับ
กำรจัดซื้อจัดจ้ำงพัสดุ ในกรณีที่เห็นว่ำหน่วยงำนของรัฐมิได้ปฏิบัติให้เป็นไปตำมหลักเกณฑ์และ
วิธีกำรทีก่ ำหนดในพระรำชบัญญัติกำรจัดซื้อจัดจ้ำงและบริหำรพัสดุภำครัฐ พ.ศ. 2560 (มำตรำ
114)
ก. ร้องเรียน
ข. ร้องทุกข์
ค. อุทธรณ์
ง. ประท้วง
จ. คัดค้ำน
366

112) ผู้ใดเป็นผู้ใช้หรือ สนับสนุนเจ้ำหน้ำที่หรือผู้มีอำนำจหน้ำที่ในกำรดำเนินกำรเกี่ยวกับกำร


จัดซื้อจัดจ้ำงหรือกำรบริหำรพัสดุ ปฏิบัติหรือละเว้นกำรปฏิบัติหน้ำที่ในกำรจัดซื้อจัดจ้ำงหรือกำร
บริหำรพัสดุโดยมิชอบ เพื่อให้เกิดควำมเสียหำย ต้องระวำงโทษตำมข้อใด (มำตรำ 120)
ก. จำคุกตั้งแต่หนึ่งปีถึงสองปี หรือ ปรับตั้งแต่หนึ่งหมืน่ บำทถึงสองแสนบำท หรือ ทั้งจำทั้งปรับ
ข. จำคุกตั้งแต่สองปีถึงห้ำปี หรือ ปรับตั้งแต่หนึ่งหมืน่ บำทถึงสองแสนบำท หรือ ทั้งจำทั้งปรับ
ค. จำคุกตั้งแต่หนึ่งปีถึงหกปี หรือ ปรับตั้งแต่หนึ่งหมืน่ บำทถึงสองแสนบำท หรือ ทั้งจำทั้งปรับ
ง. จำคุกตั้งแต่หนึ่งปีถึงสิบปี หรือ ปรับตั้งแต่สองหมืน่ บำทถึงสองแสนบำท หรือ ทั้งจำทั้งปรับ
จ. จำคุกตั้งแต่หนึ่งปีถึงสิบปี หรือ ปรับตั้งแต่หนึ่งสองบำทถึงหนึง่ แสนบำท หรือ ทั้งจำทั้งปรับ
113) ในกรณีที่มีเหตุบอกเลิกสัญญำหรือข้อตกลงต่อไปนี้ ให้อยู่ดุลพินิจของผู้มีอำนำจที่จะบอก
เลิกสัญญำหรือข้อตกลงกับคู่สัญญำ ข้อใดกล่ำวไม่ถูกต้อง (มำตรำ 103)
ก. เหตุอื่นตำมระเบียบที่นำยกรัฐมนตรีกำหนด
ข. เหตุตำมที่กฎหมำยกำหนด
ค. เหตุอันเชื่อได้ว่ำผู้ขำยหรือผู้รับจ้ำงไม่สำมำรถส่งมอบงำนหรือทำงำนให้แล้วเสร็จได้
ภำยในระยะทีก่ ำหนด
ง. เหตุอื่น ตำมที่กำหนดไว้ในพระรำชบัญญัติกำรจัดซื้อจัดจ้ำงและบริหำรพัสดุภำครัฐ
พ.ศ. 2560 หรือในสัญญำหรือข้อตกลง
จ. ไม่มีข้อใดกล่ำวไม่ถูกต้อง
114) ผู้ใดเป็นเจ้ำหน้ำที่หรือเป็นผู้มีอำนำจหน้ำที่ในกำรดำเนินกำรเกี่ยวกับกำรจัดซื้อจัดจ้ำงหรือ
กำรบริหำรพัสดุ ปฏิบัติหรือละเว้นกำรปฏิบัติหน้ำที่ในกำรจัดซื้อจัดจ้ำงหรือกำรบริหำรพัสดุตำม
พระรำชบัญญัติกำรจัดซื้อจัดจ้ำงและบริหำรพัสดุภำครัฐ พ.ศ. 2560 (มำตรำ 120)
ก. จำคุกตั้งแต่หนึ่งปีถึงสองปี หรือ ปรับตั้งแต่หนึ่งหมืน่ บำทถึงสองแสนบำท หรือ ทั้งจำทั้งปรับ
ข. จำคุกตั้งแต่สองปีถึงห้ำปี หรือ ปรับตั้งแต่หนึ่งหมืน่ บำทถึงสองแสนบำท หรือ ทัง้ จำทั้งปรับ
ค. จำคุกตั้งแต่หนึ่งปีถึงหกปี หรือ ปรับตั้งแต่หนึง่ หมื่น บำทถึงสองแสนบำท หรือ ทั้งจำทั้งปรับ
ง. จำคุกตั้งแต่หนึ่งปีถึงสิบปี หรือ ปรับตั้งแต่หนึ่งหมืน่ บำทถึงหนึง่ แสนบำท หรือ ทั้งจำทั้งปรับ
จ. จำคุกตั้งแต่หนึ่งปีถึงสิบปี หรือ ปรับตั้งแต่สองหมืน่ บำทถึงสองแสนบำท หรือ ทั้งจำทั้ง
ปรับ
115) ให้ผู้มีสิทธิอุทธรณ์ยื่นอุทธรณ์ต่อหน่วยงำนของรัฐนั้นภำยในกี่วัน ทำกำรนับแต่วันประกำศ
ผลกำรจัดซื้อจัดจ้ำงในระบบเครือข่ำยสำรสนเทศของกรมบัญชีกลำง (มำตรำ 117)
ก. 3 วัน
ข. 5 วัน
ค. 7 วัน
ง. 15 วัน
จ. 30 วัน
367

116) ให้หน่วยงำนของรัฐพิจำรณำและวินิจฉัยอุทธรณ์ให้แล้วเสร็จภำยในกี่วัน ทำกำรนับแต่วันที่


ได้รับอุทธรณ์ ในกรณีที่เห็นด้วยกับอุทธรณ์ก็ให้ดำเนินกำรตำมควำมเห็นนั้นภำยในกำหนดเวลำ
ดังกล่ำว (มำตรำ 118)
ก. 3 วัน
ข. 5 วัน
ค. 7 วัน
ง. 15 วัน
จ. 30 วัน
117) ให้กรณีที่หน่วยงำนของรัฐไม่เห็นด้วยกับอุทธรณ์ ไม่ว่ำทั้งหมดหรือบำงส่วนให้เร่งรำยงำน
ควำมเห็นพร้อมเหตุผลไปยังคณะกรรมกำรพิจำรณำอุทธรณ์และข้อร้องเรียน ภำยในกี่วัน ทำกำร
นับแต่วันที่ครบกำหนดเวลำ
ก. 3 วัน
ข. 5 วัน
ค. 7 วัน
ง. 15 วัน
จ. 30 วัน
118) เมื่อได้รับรำยงำนควำมเห็นพร้อมเหตุผลในกรณีหน่วยงำนรัฐไม่เห็นด้วยกับอุทธรณ์ ให้
คณะกรรมกำรพิจำรณำอุทธรณ์และข้อร้องเรียน พิจำรณำอุทธรณ์ให้แล้วเสร็จภำยในกี่วัน นับแต่
วันที่ได้รับรำยงำนดังกล่ำว (มำตรำ 119)
ก. 3 วัน
ข. 5 วัน
ค. 7 วัน
ง. 15 วัน
จ. 30 วัน
119) เมื่อได้รับรำยงำนควำมเห็นพร้อมเหตุผลในกรณีหน่วยงำนรัฐไม่เห็นด้วยกับอุทธรณ์ ให้
คณะกรรมกำรพิจำรณำอุทธรณ์และข้อร้องเรียนพิจำรณำอุทธรณ์ให้แล้วเสร็จภำยในเวลำที่
กฎหมำยกำหนด หำกเรื่องใดไม่อำจพิจำรณำได้ทันในกำหนดนั้น ให้คณะกรรมกำรพิจำรณำ
อุทธรณ์และข้อร้องเรียนขยำยระยะเวลำออกไปได้กี่ครั้ง ครั้งละเท่ำใด นับแต่วันที่ครบกำหนดเวลำ
ดังกล่ำว และแจ้งให้ผู้อุทธรณ์และผู้ชนะกำรจัดซื้อจัดจ้ำงหรือผู้ได้รับกำรคัดเลือกทรำบ (มำตรำ
119)
ก. 1 ครั้ง / 7 วัน
ข. 2 ครั้ง / 15 วัน
ค. ไม่เกิน 2 ครั้ง / 15 วัน
ง. ไม่เกิน 2 ครั้ง / ไม่เกิน 15 วัน
368

จ. ไม่เกิน 2 ครั้ง / ไม่เกิน 30 วัน


120) ผู้อุทธรณ์ผู้ใดไม่พอใจคำวินิจฉัยของคณะกรรมกำรพิจำรณำอุทธรณ์ หรือคณะกรรมกำร
พิจำรณำอุทธรณ์ยังพิจำรณำไม่แล้วเสร็จให้ยุติเรื่อง และเห็นว่ำหน่วยงำนของรัฐต้องรับผิดชดใช้
ค่ำเสียหำย ผู้นั้นมีสิทธิฟ้องคดีต่อหน่วยงำนใด เพื่อเรียกให้หน่วยงำนของรัฐชดใช้ค่ำเสียหำยได้ แต่
กำรฟ้องคดีดังกล่ำวไม่มีผลกระทบต่อกำรจัดซื้อจัดจ้ำงที่หน่วยงำนของรัฐได้ลงนำมในสัญญำจัดซื้อ
จัดจ้ำงนั้นแล้ว (มำตรำ 119 วรรคท้ำย)
ก. คณะรัฐมนตรี
ข. นำยกรัฐมนตรี
ค. คณะกรรมกำรนโยบำยกำรจัดซื้อจัดจ้ำงและกำรบริหำรพัสดุภำครัฐ
ง. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงกำรคลัง
จ. ศำล
121) ผู้ใดเป็นผู้รับสนองพระรำชโองกำรพระรำชบัญญัติกำรจัดซื้อจัดจ้ำงและบริหำรพัสดุภำครัฐ
พ.ศ.2560
ก. นำยสมคิด จำตุศรีพิทักษ์
ข. นำยวิสุทธิ์ ศรีสุพรรณ
ค. พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชำ
ง. นำยประสงค์ พูนธเนศ
จ. นำงสำวสุทธิรัตน์ รัตนโชติ
122) เหตุผลในกำรประกำศใช้พระรำชบัญญัติกำรจัดซื้อจัดจ้ำงและบริหำรพัสดุภำครัฐ พ.ศ.
2560ข้อใดกล่ำวไม่ถูกต้อง (ดูตรงหมำยเหตุ)
ก. เพื่อให้เป็นไปตำมหลักธรรมำภิบำล
ข. โดยมุ่งเน้นกำรเปิดเผยข้อมูลต่อสำธำรณชนให้มำกที่สุด เพื่อให้เกิดควำมโปร่งใสและ
เปิดโอกำสให้มีกำรแข่งขันอย่ำงเป็นธรรม
ค. เพื่อให้กำรดำเนินกำรจัดซื้อจัดจ้ำงและกำรบริหำรพัสดุภำครัฐมีกรอบกำรปฏิบัติงำนที่
เป็นมำตรฐำนเดียวกัน
ง. มีกำรส่งเสริมให้ภำคประชำชนมีส่วนร่วมในกำรตรวจสอบกำรจัดซื้อจัดจ้ำงภำครัฐซึ่ง
เป็นมำตรกำรหนึง่ เพื่อป้องกันปัญหำกำรทุจริตและประพฤติมิชอบในกำรจัดซื้อจัดจ้ำงภำครัฐ
จ. เปิดโอกำสให้ผู้ประกอบกำรแข่งขันอย่ำงเป็นธรรมและเท่ำเทียมกัน
123) ตำแหน่งใดเป็นผู้วำงระเบียบกระทรวงกำรคลังว่ำด้วยกำรจัดซื้อจัดจ้ำงและกำรบริหำรพัสดุ
ภำครัฐ พ.ศ. 2560 (บทนำ)
ก. นำยกรัฐมนตรี
ข. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทย
ค. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงกำรคลัง
ง. ปลัดกระทรวงกำรคลัง
369

จ. อธิบดีกรมบัญชีกลำง
124) ตำแหน่งใดเป็นผู้รักษำกำรตำมระเบียบกระทรวงกำรคลังว่ำด้วยกำรจัดซื้อจัดจ้ำงและกำร
บริหำรพัสดุภำครัฐ พ.ศ. 2560 (ข้อ 3)
ก. นำยกรัฐมนตรี
ข. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทย
ค. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงกำรคลัง
ง. ปลัดกระทรวงกำรคลัง
จ. อธิบดีกรมบัญชีกลำง
125) ข้อใดกล่ำวถึงหัวหน้ำหน้ำหน่วยงำนของรัฐ หมำยควำมว่ำ ผู้ดำรงตำแหน่งในหน่วยงำนของ
รัฐดังต่อไปนี้ ข้อใดไม่ถูกต้อง ตำมระเบียบกระทรวงกำรคลังว่ำด้วยกำรจัดซื้อจัดจ้ำงและกำร
บริหำรพัสดุภำครัฐ พ.ศ. 2560 (ข้อ 4)
ก. องค์กรอิสระ หมำยถึง เลขำธิกำรคณะกรรมกำรป้องกันและปรำบปรำมทุจริตแห่งชำติ
ผู้ว่ำกำรตรวจเงินแผ่นดิน เลขำธิกำรคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ เลขำธิกำรสำนักงำน
ผู้ตรวจกำรแผ่นดินเลขำธิกำรคณะกรรมกำรกำรเลือกตั้ง อธิบดีอัยกำรสำนักงำนคณะกรรมกำร
อัยกำร
ข. รำชกำรส่วนท้องถิ่น หมำยถึง นำยกองค์กำรบริหำรส่วนจังหวัด นำยกเทศมนตรี นำยก
องค์กำรบริหำรส่วนตำบล ผู้ว่ำรำชกำรกรุงเทพมหำนคร นำยกเมืองพัทยำ หรือผู้ดำรงตำแหน่งที่
เรียกชื่ออย่ำงอื่นที่มีฐำนะเทียบเท่ำ
ค. รำชกำรส่วนกลำง หมำยถึง อธิบดี หรือหัวหน้ำส่วนรำชกำรที่เรียกชื่ออย่ำงอื่นและมี
ฐำนะเป็นนิติบุคคล
ง. รำชกำรส่วนภูมิภำค หมำย ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด
จ. หน่วยงำนสังกัดรัฐสภำหรือในกำกับของรัฐสภำ หมำยถึง เลขำธิกำรวุฒิสภำ เลขำธิกำร
สภำผู้แทนรำษฎร เลขำธิกำรสถำบันพระปกเกล้ำ เลขำธิกำรสำนักงำนสภำพัฒนำกำรเมือง
126) ระเบียบกระทรวงกำรคลังว่ำด้วยกำรจัดซื้อจัดจ้ำงและกำรบริหำรพัสดุภำครัฐ พ.ศ. 2560
มีผลบังคับเมื่อใด (รำชกิจจำนุเบกษำ ตอนพิเศษ 210 ง )
ก. วันถัดจำกวันประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำเป็นต้นไป
ข. วันที่ 23 สิงหำคม 2560
ค. วันที่ 24 สิงหำคม 2560
ง. ข้อ ก. และข้อ ข.
จ. ข้อ ก. และข้อ ค.
127) ผู้มีผลประโยชน์ร่วมกัน หมำยควำมว่ำ ข้อใดกล่ำวไม่ถูกต้องตำมระเบียบกระทรวงกำรคลัง
ว่ำด้วยกำรจัดซื้อจัดจ้ำงและกำรบริหำรพัสดุภำครัฐ พ.ศ. 2560 (ข้อ 4)
370

ก. บุคคลธรรมดำที่เข้ำเสนอรำคำหรือ เข้ำยื่นข้อเสนอในกำรจัดซื้อ จัดจ้ำงต่อ หน่วยงำน


รัฐใด เป็นผู้มีส่วนได้เสียทำงตรงในกิจกำรของบุคคลธรรมดำที่เข้ำเสนอรำคำหรือยื่นข้อเสนอต่อ
หน่วยงำนของรัฐนั้นในครำวเดียวกัน
ข. นิติบุคคลที่เข้ำเสนอรำคำหรือเข้ำยื่นข้อเสนอในกำรจัดซื้อจัดจ้ำงต่อหน่วยงำนรัฐใด
เป็นผู้มีส่วนได้เสียทำงตรงในกิจกำรของนิติบุคคลที่เข้ำเสนอรำคำหรือยื่นข้อเสนอต่อหน่วยงำน
ของรัฐนั้นในครำวเดียวกัน
ค. ส่วนรำชกำรที่เข้ำเสนอรำคำหรือเข้ำยื่นข้อเสนอในกำรจัดซื้อจัดจ้ำงต่อหน่วยงำนรัฐใด
เป็นผู้มีส่วนได้เสียทำงตรงในกิจกำรของส่วนรำชกำรที่เข้ำเสนอรำคำหรือยื่นข้อเสนอต่อหน่วยงำน
ของรัฐนั้นในครำวเดียวกัน
ง. ข้อ ก. และข้อ ข.
จ. ไม่มีข้อใดกล่ำวไม่ถูกต้อง
128) กำรมีส่วนได้เสียในกิจกำรของบุคคลหรือนิติบุคคล ได้แก่กำรที่บุคคลหรือนิติบุคคลดังกล่ำว
มีควำมสัมพันธ์กันในลักษณะดังต่อไปนี้ ข้อใดกล่ำวไม่ถูกต้องตำมระเบียบกระทรวงกำรคลังว่ำด้วย
กำรจัดซื้อ จัดจ้ำงและกำรบริหำรพัสดุภำครัฐ พ.ศ. 2560 (ข้อ 4)
ก. มีควำมสัมพันธ์กันในเชิงบริหำร
ข. มีควำมสัมพันธ์กันในเชิงทุน
ค. มีควำมสัมพันธ์กันในเชิงร่วมงำน
ง. มีควำมสัมพันธ์กันในเชิงไขว้กันระหว่ำงเชิงบริหำรและเชิงทุน
จ. ไม่มีข้อใดกล่ำวไม่ถูกต้อง
129) ระบบข้อมูลสินค้ำ (Electronic Catalog : e - catalog) หมำยควำมว่ำ ข้อมูลรำยละเอียด
ของสินค้ำที่ผู้ประกอบกำรได้ลงทะเบียนไว้ในระบบจัดซื้อจัดจ้ำงภำครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์
(Electronic Government Procurement : e - GP) โดยแสดงรำยละเอียดของสินค้ำ พร้อมคำ
บรรยำยประกอบตำมที่หน่วยงำนใดกำหนด และให้หมำยควำมรวมถึงงำนบริกำรหรืองำนจ้ำงตำม
ประเภทที่กำหนดด้วยตำมระเบียบกระทรวงกำรคลังว่ำด้วยกำรจัดซื้อจัดจ้ำงและกำรบริหำรพัสดุ
ภำครัฐ พ.ศ. 2560(ข้อ 4)
ก. กระทรวงกำรคลัง ข. กระทรวงพำณิชย์
ค. กรมบัญชีกลำง ง. สำนักงบประมำณ
จ. กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
130) ในกรณีที่มีเหตุอันควรสงสัยว่ำประธำนกรรมกำรหรือกรรมกำรในคณะกรรมกำรนโยบำย
คณะกรรมกำรวินิจฉัย คณะกรรมกำรรำคำกลำง คณะกรรมกำร ค.ป.ท. และคณะกรรมกำร
พิจำรณำอุทธรณ์มีส่วนได้เสียโดยตรงหรือโดยอ้อมในเรื่องซึ่งที่ประชุมพิจำรณำหรือไม่ ให้พิจำรณำ
ตำมหลักเกณฑ์ทกี่ ำหนดในกฎหมำยใด ตำมระเบียบกระทรวงกำรคลังว่ำด้วยกำรจัดซื้อจัดจ้ำงและ
กำรบริหำรพัสดุภำครัฐ พ.ศ. 2560 (ข้อ 5)
ก. พระรำชบัญญัติควำมรับผิดทำงละเมิดของเจ้ำหน้ำที่ พ.ศ. 2539
371

ข. พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ. 2546


ค. พระรำชบัญญัติข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำร พ.ศ. 2540
ง. พระรำชบัญญัติวิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครอง พ.ศ. 2539
จ. พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534
131) ผู้ถือ หุ้นรำยใหญ่ ให้หมำยควำมว่ำ ผู้ถือหุ้นซึ่งถือตำมข้อใด ในกิจกำรนั้นหรือในอัตรำอื่น
ตำมที่ผู้รักษำกำรตำมระเบียบเห็นสมควรประกำศกำหนดสำหรับกิจกำรบำงประเภทหรือบำง
ขนำด ตำมระเบียบกระทรวงกำรคลังว่ำด้วยกำรจัดซื้อจัดจ้ำงและกำรบริหำรพัสดุภำครัฐ พ.ศ.
2560 (ข้อ 4)
ก. ร้อยละยี่สิบห้ำ
ข. ร้อยละสำมสิบ
ค. เกินกว่ำร้อยละยี่สิบห้ำ
ง. ร้อยละห้ำสิบ
จ. เกินกว่ำร้อยละห้ำสิบ
132) ผู้มีอำนำจดำเนินกำรตำมระเบียบกระทรวงกำรคลังว่ำด้วยกำรจัดซื้อจัดจ้ำงและกำรบริหำร
พัสดุภำครัฐ พ.ศ. 2560 ได้ผู้ซึ่งดำรงตำแหน่งเป็นหัวหน้ำหน่วยงำนของรัฐ เว้นแต่
กระทรวงกลำโหมหรือหน่วยงำนอื่นที่ผู้รักษำกำรตำมระเบียบประกำศกำหนดให้หน่วยงำนของรัฐ
นั้นสำมำรถกำหนดหน่วยงำนระดับใด ผู้บังคับบัญชำชั้นใด ตำแหน่งใด มีอำนำจดำเนินกำรตำม
ระเบียบนี้ก็ให้กระทำได้และเมื่อได้กำหนดเป็นประกำรใดแล้ว ให้แจ้งผู้รักษำกำรตำมระเบียบและ
หน่วยงำนใดทรำบด้วย (ข้อ6)
ก. กระทรวงกำรคลัง
ข. กรมบัญชีกลำง
ค. สำนักงบประมำณ
ง. สำนักงำนกำรตรวจเงินแผ่นดิน
จ. สำนักนำยกรัฐมนตรี
133) ผู้จัดกำร หุ้นส่วนผู้จัดกำร กรรมกำรผู้จัดกำร ผู้บริหำรหรือผู้มีอำนำจในกำรดำเนินงำนงำน
ในกิจกำรของบุคคลธรรมดำ หรือของนิติบุคคลรำยหนึ่งเป็นหุ้นส่วนในห้ำงหุ้นส่วนสำมัญหรือห้ำง
หุ้นส่วนจำกัด หรือเป็นผู้ถือหุ้นรำยใหญ่ ในบริษัทจำกัดหรือบริษัทมหำชนจำกัดอีกรำยหนึ่งหรือ
หลำยรำย ที่เข้ำเสนอรำคำหรือยื่นข้อเสนอต่อหน่วยงำนของรัฐนั้นในครำวเดียวกัน หรือในนัย
กลับกัน เป็นควำมสัมพันธ์กันในลักษณะตำมข้อใด ตำมระเบียบกระทรวงกำรคลังว่ำด้วยกำรจัดซื้อ
จัดจ้ำงและกำรบริหำรพัสดุภำครัฐ พ.ศ. 2560 (ข้อ 4)
ก. เชิงบริหำร ข. เชิงทุน
ค. ไขว้กันระหว่ำงเชิงบริหำรและเชิงทุน
ง. เชิงกำรทำงำนเป็นทีม
จ. ข้อ ก. และข้อ ง.
372

134) ผู้รับมอบอำนำจมีหน้ำที่ต้องรับมอบอำนำจนั้น และจะมอบอำนำจนั้นให้แก่ผู้ดำรงตำแหน่ง


อื่นต่อไปไม่ได้ เว้นแต่กำรมอบอำนำจให้แก่ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดอำจมอบอำนำจ
นั้นต่อไปได้ในกรณีดังต่อไปนี้ ให้ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดแจ้งให้ผู้มอบอำนำจชั้นต้นทรำบด้วย ข้อใด
กล่ำวไม่ถูกต้อง ตำมระเบียบกระทรวงกำรคลัง ว่ำด้วยกำรจัดซื้อจัดจ้ำงและกำรบริหำรพัสดุ
ภำครัฐ พ.ศ.2560 (ข้อ 7 (1) ก.
ก. มอบอำนำจให้รองผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด
ข. มอบอำนำจให้ผู้ช่วยผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด
ค. มอบอำนำจให้หัวหน้ำส่วนรำชกำรประจังหวัด
ง. มอบอำนำจให้หัวหน้ำสำนักงำนจังหวัด
จ. มอบอำนำจให้ปลัดจังหวัด
135) กำรมอบอำนำจและกำรมอบอำนำจต่อตำมระเบียบหรือคำสั่งของกระทรวงใด หรือของ
หน่วยงำนของรัฐอื่นที่รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงกำรคลังประกำศกำหนดให้หน่วยงำนรัฐนั้นสำมำรถ
กำหนดหน่วยงำนระดับใด ผู้บังคับบัญชำชั้นใด ตำแหน่งใด มีอำนำจดำเนินกำรตำมระเบียบ
กระทรวงกำรคลัง ว่ำด้วยกำรจัดซื้อจัดจ้ำงและกำรบริหำรพัสดุภำครัฐ พ.ศ. 2560 ก็ให้กระทำได้
(ข้อ 7 (2)
ก. กระทรวงกำรคลัง
ข. กระทรวงพำณิชย์
ค. กระทรวงมหำดไทย
ง. กระทรวงกลำโหม
จ. กระทรวงศึกษำธิกำร
136) ในกรณีที่มีกฎหมำยกำหนด เรื่องกำรมอบอำนำจและกำรมอบอำนำจต่อไว้เป็นกำรเฉพำะก็
ให้เป็นไปตำมกฎหมำยว่ำด้วยกำรนั้น เพื่อควำมคล่องตัวในกำรจัดซื้อจัดจ้ำง ให้หน่วยงำนของรัฐ
มอบอำนำจในกำรสั่งกำรและดำเนินกำรจัดซื้อจัดจ้ำงให้แก่ผู้ดำรงตำแหน่งรองลงไปเป็นลำดับ ให้
ผู้มอบอำนำจส่งสำเนำหลักฐำนกำรมอบอำนำจให้แก่หน่วยงำนใดทรำบทุกครั้ง ตำมระเบียบ
กระทรวงกำรคลัง ว่ำด้วยกำรจัดซื้อจัดจ้ำงและกำรบริหำรพัสดุภำครัฐ พ.ศ. 2560 (ข้อ 7 (2)
ก. กระทรวงกำรคลัง ข. กรมบัญชีกลำง
ค. สำนักนำยกรัฐมนตรี ง. สำนักงบประมำณ
จ. สำนักงำนกำรตรวจเงินแผ่นดิน
137) กำรดำเนินกำรจัดซื้อจัดจ้ำงและกำรบริหำรพัสดุ ตำมระเบียบกระทรวงกำรคลัง ว่ำด้วยกำร
จัดซื้อจัดจ้ำงและกำรบริหำรพัสดุภำครัฐ พ.ศ. 2560 ด้วยวิธีกำรทำงอิเล็กทรอนิกส์ ให้หน่วยงำน
ของรัฐดำเนินกำรในระบบเครือข่ำยของหน่วยงำนใด ผ่ำนทำงระบบจัดซื้อจัดจ้ำงภำครัฐด้วย
อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Government Procurement : e - GP) (ข้อ 9)
ก. กระทรวงกำรคลัง
ข. กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
373

ค. กรมบัญชีกลำง
ง. สำนักงบประมำณ
จ. สำนักงำนกำรตรวจเงินแผ่นดิน
138) ให้หน่วยงำนใดจัดทำแนวทำงปฏิบัติในกำรดำเนินกำรจัดซื้อจัดจ้ำงผ่ำนระบบจัดซื้อจัดจ้ำง
ด้วยอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้หน่วยงำนของรัฐและผู้ประกอบกำรใช้เป็นแนวทำงปฏิบัติตำมระเบียบ
กระทรวงกำรคลัง ว่ำด้วยกำรจัดซื้อจัดจ้ำงและกำรบริหำรพัสดุภำครัฐ พ.ศ. 2560 (ข้อ 10)
ก. กระทรวงกำรคลัง
ข. กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
ค. กรมบัญชีกลำง
ง. สำนักงบประมำณ
จ. สำนักงำนกำรตรวจเงินแผ่นดิน
139) เมื่อหน่วยงำนของรัฐได้รับควำมเห็นชอบวงเงินงบประมำณที่จะใช้ในกำรจัดซื้อจัดจ้ำงจำก
หน่วยงำนที่เกี่ยวข้องหรือผู้มีอำนำจในกำรพิจำรณำงบประมำณแล้วให้เจ้ำหน้ำที่หรือผู้ที่ได้รับ
มอบหมำยในกำรปฏิบัติงำนนั้น ดำเนินกำรอย่ำงไร เสนอหัวหน้ำหน่วยงำนของรัฐ เพื่อขอควำม
เห็นชอบตำมระเบียบกระทรวงกำรคลัง ว่ำด้วยกำรจัดซื้อจัดจ้ำงและกำรบริหำรพัสดุภำครัฐ พ.ศ.
2560 (ข้อ 11)
ก. จัดทำแผนกำรจัดซื้อ จัดจ้ำงประจำเดือน
ข. จัดทำแผนกำรจัดซื้อ จัดจ้ำงรำยไตรมำส
ค. จัดทำแผนกำรจัดซื้อ จัดจ้ำงประจำปี
ง. จัดทำแผนดำเนินงำนประจำปี
จ. จัดทำแผนดำเนินงำนประจำเดือน
140) (1) ชื่อโครงกำรที่จะจัดซื้อจัดจ้ำง (2) วงเงินที่จะจัดซื้อจัดจ้ำงโดยประมำณ (3) ระยะเวลำ
ที่คำดว่ำจะจัดซื้อจัดจ้ำง (4) รำยกำรอื่นตำมที่กรมบัญชีกลำงกำหนด หมำยถึงรำยกำรของข้อใด
ตำมระเบียบกระทรวงกำรคลัง ว่ำด้วยกำรจัดซื้อจัดจ้ำงและกำรบริหำรพัสดุภำครัฐ พ.ศ. 2560
(ข้อ 11)
ก. แผนกำรจัดซื้อจัดจ้ำงประจำเดือน
ข. แผนกำรจัดซื้อ จัดจ้ำงรำยไตรมำส
ค. แผนกำรจัดซื้อ จัดจ้ำงประจำปี
ง. แผนดำเนินงำนประจำปี
จ. แผนดำเนินงำนประจำเดือน
141) ในกำรซื้อหรือจ้ำงแต่ละวิธี นอกจำกกำรซื้อที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้ำง ให้เจ้ำหน้ำที่จัดทำ
รำยงำนขอซื้อหรือขอจ้ำงเสนอหัวหน้ำหน่วยงำนของรัฐเพื่อขอควำมเห็นชอบ โดยเสนอผ่ำน
หัวหน้ำเจ้ำหน้ำที่ตำมรำยกำรดังต่อไปนี้ ข้อใดกล่ำวไม่ถูกต้อง ตำมระเบียบกระทรวงกำรคลัง ว่ำ
ด้วยกำรจัดซื้อจัดจ้ำงและกำรบริหำรพัสดุภำครัฐ พ.ศ. 2560 (ข้อ 22)
374

ก. ขอบเขตของงำนหรือรำยละเอียดคุณลักษณะเฉพำะของพัสดุหรือแบบรูปรำยกำรงำน
ก่อสร้ำงที่จะซื้อหรือจ้ำง แล้วแต่กรณี
ข. เหตุผลและควำมจำเป็นที่ต้องซื้อ หรือ จ้ำง
ค. วงเงินที่จะซื้อหรือจ้ำง โดยให้ระบุวงเงินงบประมำณ ถ้ำไม่มีวงเงินดังกล่ำวให้ระบุวงเงิน
ที่ประมำณว่ำจะซื้อ หรือ จ้ำงในครั้งนั้น
ง. รำคำตำมท้องตลำดของพัสดุที่จะซื้อ หรือ จ้ำง
จ. วิธีที่จะซื้อ หรือ จ้ำงและเหตุผลที่ต้องกำรซื้อ หรือจ้ำงโดยวิธีนั้น
142) ในกำรดำเนินกำรซื้อ หรือ จ้ำงแต่ละครั้ง ให้หัวหน้ำหน่วยงำนของรัฐแต่งตั้งคณะกรรมกำร
ซื้อหรือจ้ำงขึ้น เพื่อปฏิบัติกำรตำมระเบียบกระทรวงกำรคลัง ว่ำด้วยกำรจัดซื้อจัดจ้ำงและกำร
บริหำรพัสดุภำครัฐ พ.ศ. 2560 พร้อมกับกำหนดระยะในกำรพิจำรณำของคณะกรรมกำรแล้วแต่
กรณีคณะกรรมกำรข้อใดไม่ได้กล่ำวถึง (ข้อ 25)
ก. คณะกรรมกำรซื้อหรือจ้ำงโดยวิธีเฉพำะเจำะจง
ข. คณะกรรมกำรตรวจรับงำนก่อสร้ำง
ค. คณะกรรมกำรพิจำรณำผลกำรสอบรำคำ
ง. คณะกรรมกำรพิจำรณำผลกำรประกวดรำคำอิเล็กทรอนิกส์
จ. คณะกรรมกำรซื้อหรือจ้ำงโดยวิธีเฉพำะเจำะจง
143) คณะกรรมกำรซื้อหรือจ้ำง ตำมระเบียบกระทรวงกำรคลัง ว่ำด้วยกำรจัดซื้อจัดจ้ำงและกำร
บริหำรพัสดุภำครัฐ พ.ศ. 2560 ประกอบด้วยประธำนกรรมกำร และกรรมกำรเท่ำใด ซึ่งแต่งตั้ง
จำกข้ำรำชกำร ลูกจ้ำประจำ พนักงำนรำชกำร พนักงำนมหำวิทยำลัย พนักงำนรำชกำร พนักงำน
มหำวิทยำลัย พนักงำนของรัฐ หรือพนักงำนของหน่วยงำนของรัฐที่เรียกชื่ออย่ำงอื่น โดยให้
คำนึงถึงลักษณะหน้ำที่ควำมรับผิดชอบของผู้ที่ได้รับแต่งตั้งเป็นสำคัญ (ข้อ 26)
ก. 1 คน
ข. ไม่เกิน 2 คน
ค. 2 คน
ง. อย่ำงน้อย 2 คน
จ. อย่ำงน้อย 3 คน
144) กำรประชุมของคณะกรรมกำรซื้อหรือจ้ำง ต้องมีกรรมกำรมำประชุมเท่ำใด ของกรรมกำร
ทั้งหมด ให้ประธำนกรรมกำรและกรรมกำรแต่ละคนมีเสียงหนึ่งในกำรลงมติ โดยประธำน
กรรมกำรต้องอยู่ด้วยทุกครั้งในกำรประชุม หำกประธำนกรรมกำรไม่สำมำรถปฏิบัติหน้ำที่ ได้ให้
หัวหน้ำหน่วยงำนของรัฐแต่งตั้งประธำนกรรมกำรคนใหม่เป็นประธำนกรรมกำรแทน (ข้อ 27)
ก. กึ่งหนึง่
ข. เกินกึ่งหนึง่
ค. ไม่น้อยกว่ำกึ่งหนึง่
ง. สองในสำม
375

จ. กฎหมำยมิได้กำหนด
145) มติคณะกรรมกำรซื้อหรือจ้ำงให้ถือเสียงข้ำงมำก ถ้ำคะแนนเสียงเท่ำกันให้ประธำน
กรรมกำรออกเสียงเพิ่มขึ้น อีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ขำด เว้นแต่คณะกรรมกำรใด ให้ถือมติเอกฉันท์
(ข้อ 27 ว 2)
ก. คณะกรรมซื้อ หรือ จ้ำงโดยวิธีเฉพำะเจำะจง
ข. คณะกรรมกำรพิจำรณำผลกำรสอบรำคำ
ค. คณะกรรมกำรพิจำรณำผลกำรประกวดรำคำอิเล็กทรอนิกส์
ง. คณะกรรมกำรซื้อ หรือ จ้ำงโดยวิธีคัดเลือก
จ. คณะกรรมกำรตรวจรับพัสดุ
146) ประธำนกรรมกำรและกรรมกำรของคณะกรรมกำรซื้อหรือจ้ำง จะต้องไม่เป็นผู้มีส่วนได้เสีย
กับผู้ยื่นข้อเสนอหรือคู่สัญญำในกำรซื้อหรือจ้ำงครั้งนั้น ทั้งนี้กำรมีส่วนได้เสียในเรื่องซึ่งที่ประชุม
พิจำณำของประธำนกรรมกำรและกรรมกำรให้เป็นไปตำมกฎหมำยตำมข้อใด (ข้อ 27 วรรคสี่)
ก. พระรำชบัญญัติควำมรับผิดทำงละเมิดของเจ้ำหน้ำที่ พ.ศ. 2539
ข. พระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ. 2546
ค. พระรำชบัญญัติวิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครอง พ.ศ. 2539
ง. พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน พ.ศ. 2534
จ. รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พ.ศ. 2560
147) กำรซื้อ หรือ จ้ำง กระทำได้กี่วิธี (ข้อ 28)
ก. 2 วิธี
ข. 3 วิธี
ค. 4 วิธี
ง. 5 วิธี
จ. 6 วิธี
148) กำรซื้อ หรือ จ้ำง กระทำได้กี่วิธี โดยวิธีใดบ้ำง (ข้อ 28)
ก. 2 วิธี วิธีคัดเลือก วิธีตกลงรำคำ
ข. 3 วิธี วิธีเฉพำะเจำะจง วิธีประกวดรำคำ วิธีประกำศเชิญชวนทั่วไป
ค. 3 วิธี วิธีคัดเลือก วิธีเฉพำะเจำะจง วิธีประกวดเชิญชวนทั่วไป
ง. 4 วิธี วิธีประกำศเชิญชวนทั่วไป วิธีคัดเลือก วิธีเฉพำะเจำะจง วิธีประกวดรำคำ
อิเล็กทรอนิกส์
จ. 6 วิธี วิธีประกำศเชิญชวนทั่วไป วิธีคัดเลือก วิธีเฉพำะเจำะจง วิธีตลำดอิเล็กทรอนิกส์
วิธีประกวดรำคำอิเล็กทรอนิกส์ วิธีสอบรำคำ
376

149) กำรซื้อ หรือ จ้ำงโดยวิธีประกวดเชิญชวนทั่วไป กระทำได้กี่วิธี (ข้อ 29)


ก. 2 วิธี
ข. 3 วิธี
ค. 4 วิธี
ง. 5 วิธี
จ. 6 วิธี
150) กำรซื้อ หรือ จ้ำงโดยวิธีประกวดเชิญชวนทั่วไป กระทำได้กี่วิธี วิธีใดบ้ำง (ข้อ 29)
ก. 2 วิธี วิธีเฉพำะเจำะจง วิธีสอบรำคำ
ข. 3 วิธี วิธีตลำดอิเล็กทรอนิกส์ วิธีคัดเลือก วิธีสอบรำคำ
ค. 3 วิธี วิธีสอบรำคำ วิธีประกวดรำคำอิเล็กทรอนิกส์ วิธีตลำดอิเล็กทรอนิกส์
ง. 4 วิธี วิธีตลำดอิเล็กทรอนิกส์ วิธีประกวดรำคำอิเล็กทรอนิกส์ วิธีสอบรำคำ วิธี
เฉพำะเจำะจง
จ. 6 วิธี วิธีประกำศเชิญชวนทั่วไป วิธีคัดเลือก วิธีเฉพำะเจำะจง วิธีตลำดอิเล็กทรอนิกส์
วิธีประกวดรำคำอิเล็กทรอนิกส์ วิธีสอบรำคำ
151) วิธีตลำดอิเล็กทรอนิกส์ (e-market) คือ กำรซื้อหรือจ้ำงที่มีรำยละเอียดคุณลักษณะเฉพำะ
ของพัสดุที่ไม่ซับซ้อนหรือเป็นสินค้ำหรืองำนบริกำรที่มีมำตรฐำน และได้กำหนดไว้ในระบบข้อมูล
สินค้ำ(e-catalog) โดยให้ดำเนินกำรในระบบตลำดอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Market : e -
market) ตำมวิธีกำรที่หน่วยงำนใดกำหนด (ข้อ 30)
ก. กระทรวงกำรคลัง
ข. กรมบัญชีกลำง
ค. สำนักงบประมำณ
ง. กระทรวงมหำดไทย
จ. กระทรวงพำณิชย์
152) วิธีตลำดอิเล็กทรอนิกส์ (e-market) คือ กำรซื้อหรือจ้ำงที่มีรำยละเอียดคุณลักษณะเฉพำะ
ของพัสดุที่ไม่ซับซ้อนหรือเป็นสินค้ำหรืองำนบริกำรที่มีมำตรฐำน และได้กำหนดไว้ในระบบข้อมูล
สินค้ำ(e-catalog) โดยให้ดำเนินกำรในระบบตลำดอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Market : e -
market) ซึ่งสำมำรถกระทำได้กี่ลักษณะ (ข้อ 30)
ก. 1 ลักษณะ
ข. 2 ลักษณะ
ค. 3 ลักษณะ
ง. 4 ลักษณะ
จ. 5 ลักษณะ
153) วิธีตลำดอิเล็กทรอนิกส์ (e-market) คือ กำรซื้อหรือจ้ำงที่มีรำยละเอียดคุณลักษณะเฉพำะ
ของพัสดุที่ไม่ซับซ้อนหรือเป็นสินค้ำหรืองำนบริกำรที่มีมำตรฐำน และได้กำหนดไว้ในระบบข้อมูล
377

สินค้ำ(e-catalog) โดยให้ดำเนินกำรในระบบตลำดอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Market : e -


market) ซึ่งสำมำรถกระทำได้ดังนี้ ข้อใดกล่ำวถูกต้อง (ข้อ 30)
ก. กำรเสนอรำคำโดยกำรประมูลอิเล็กทรอนิกส์ คือ กำรซื้อหรือ กำรจ้ำงครั้งหนึ่ง มีวงเงิน
เกิน 5,000,000 บำท
ข. กำรเสนอรำคำโดยใบเสนอรำคำ คือ กำรซื้อหรือกำรจ้ำงครั้งหนึ่งซึ่งมีวงเกิน 500,000
บำท แต่ไม่เกิน 5,000,000 บำท
ค. กำรเสนอรำคำโดยกำรประมูลอิเล็กทรอนิกส์ คือ กำรซื้อหรือกำรจ้ำงครั้งหนึ่ง มีวงเงิน
เกิน 500,000 บำท
ง. ข้อ ก. และ ข้อ ข.
จ. ข้อ ข. และ ข้อ ค.
154) วิธีประกวดรำคำอิเล็กทรอนิกส์ (e-bidding) คือ กำรซื้อหรือจ้ำงครั้งหนึ่งซึ่งมีวงเงินเท่ำใด
(ข้อ 30)
ก. 100,000 บำท
ข. เกิน 100,000 บำท
ค. 500,000 บำท
ง. เกิน 500,000 บำท
จ. เกิน 50,000,000 บำท
155) วิธีประกวดรำคำอิเล็กทรอนิกส์ (e-bidding) คือ กำรซื้อหรือจ้ำงครั้งหนึ่งและเป็นสินค้ำ
หรืองำนบริกำรที่ไม่ได้กำหนดรำยละเอียดคุณลักษณะเฉพำะของพัสดุไว้ในระบบข้อมูลสินค้ำ (e-
catalog)โดยให้ดำเนินกำรในระบบประกวดรำคำอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Bidding : e-
bidding) ตำมวิธีกำรที่หน่วยงำนใดกำหนด
ก. กระทรวงกำรคลัง
ข. สำนักนำยกรัฐมนตรี
ค. สำนักงำนงบประมำณ
ง. กรมบัญชีกลำง
จ. กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
156) ในกำรซื้อหรือจ้ำงครั้งเดียวกัน ห้ำมแต่งตั้งผู้เป็นกรรมกำรต่อไปนี้ ข้อใดกล่ำวไม่ถูก ต้อง
เป็นกรรมกำรตรวจรับพัสดุ ตำมระเบียบกระทรวงกำรคลัง ว่ำด้วยกำรจัดซื้อจัดจ้ำงและกำร
บริหำรพัสดุภำครัฐ พ.ศ. 2560 (ข้อ 26)
ก. กรรมกำรซื้อจ้ำงโดยวิธีคัดเลือก
ข. กรรมกำรพิจำรณำผลกำรประกวดรำคำอิเล็กทรอนิกส์
ค. กรรมกำรพิจำรณำผลกำรสอบรำคำ
ง. กรรมกำรซื้อหรือจ้ำงโดยวิธีเฉพำะเจำะจง
จ. ไม่มีข้อใดกล่ำวไม่ถูกต้อง
378

เฉลยแนวข้อสอบพระรำชบัญญัติกำรจัดซื้อจัดจ้ำงและบริหำรพัสดุภำครัฐ พ.ศ. 2560 และ


ระเบียบกระทรวงกำรคลังว่ำด้วยกำรจัดซื้อจัดจ้ำงและกำรบริหำรพัสดุภำครัฐ พ.ศ. 2560 และ
กฎกระทรวงและอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
ข้อ 1 ตอบ ง. 23 สิงหำคม 2560
ข้อ 2 ตอบ ก. วัสดุ
ข้อ 3 ตอบ จ. คำแนะนำและยินยอมของสภำนิติบัญญัติแห่งชำติ
ข้อ 4 ตอบ จ. รำคำที่ได้มำจำกกำรคำนวณตำมหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมกำรรำคำกลำงกำหนด
ข้อ 5 ตอบ ข. กำรตรวจสอบ กำรทำลำยพัสดุ
ข้อ 6 ตอบ ค. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงกำรคลัง
ข้อ 7 ตอบ ง. เพื่อให้เกิดกำรมีส่วนร่วมของประชำชน
ข้อ 8 ตอบ ง. กำรจัดซื้อจัดจ้ำงขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เกี่ยวกับกำรพำณิชย์โดยตรง
ข้อ 9 ตอบ ง. คณะกรรมกำรวินิจฉัยปัญหำวินิจฉัยปัญหำกำรจัดซื้อจัดจ้ำงและกำรบริหำรภำครัฐ
ข้อ 10 ตอบ ง. มีส่วนร่วมของประชำชน
ข้อ 11 ตอบ ง. จำคุกตั้งแต่หนึ่งปีถึงสิบปี หรือปรับตั้งแต่สองหมื่นบำทถึงสองแสนบำท หรือทั้งจำ
ทั้งปรับ
ข้อ 12 ตอบ ข. สำนักงำนอัยกำรสูงสุด
ข้อ 13 ตอบ จ. ถูกทุกข้อ
ข้อ 14 ตอบ จ. กำรซื้อ
ข้อ 15 ตอบ ข. ให้เช่ำ
ข้อ 16 ตอบ จ. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงกำรคลังหรือรัฐมนตรีช่วยว่ำกำรกระทรวงกำรคลังซึ่ง
รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงคลังมอบหมำย
ข้อ 17 ตอบ ค. วิธีเฉพำะเจำะจง
ข้อ 18 ตอบ ค. อธิบดีกรมบัญชีกลำง
ข้อ 19 ตอบ ข. ปลัดกระทรวงกำรปลัด
ข้อ 20 ตอบ ง. คณะกรรมกำรนโยบำย
ข้อ 21 ตอบ ค. ไม่น้อยกว่ำ 5 แต่ไม่เกิน 7 คน
ข้อ 22 ตอบ ง. ปลัดกระทรวงกำรคลัง
379

ข้อ 23 ตอบ ค. ด้ำนนิติศำสตร์


ข้อ 24 ตอบ ค. อธิบดีกรมบัญชีกลำง
ข้อ 25 ตอบ ง. เสนอควำมเห็นต่อรัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงกำรคลังในกำรพิจำรณำสั่งให้ผู้ยื่น
ข้อเสนอหรือ คู่สัญญำเป็นผู้ทิ้งงำน และกำรเพิกถอนรำยชื่อ ผูท้ ิ้งงำน
ข้อ 26 ตอบ ค. 30 วัน
ข้อ 27 ตอบ จ. อธิบดีกรมบัญชีกลำง
ข้อ 28 ตอบ ค. ผู้แทนกระทรวงมหำดไทย
ข้อ 29 ตอบ ง. ไม่น้อยกว่ำเจ็ดคนแต่ไม่เกินสิบเอ็ดคน
ข้อ 30 ตอบ จ. ปลัดกระทรวงกำรคลัง
ข้อ 31 ตอบ ค. สภำทนำยควำม
ข้อ 32 ตอบ จ. ผู้อธิบดีกรมบัญชีกลำง
ข้อ 33 ตอบ ง. จัดทำรำยงำนเกี่ยวกับปัญหำและอุปสรรคในกำรดำเนินกำรกำหนดรำคำกลำงของ
หน่วยงำนของรัฐ และกำรขึ้นทะเบียนผู้ประกอบกำรที่มีสิทธิเป็นผู้ยื่นข้อเสนอต่อ
หน่วยงำนของรัฐเสนอคณะรัฐมนตรีอย่ำงน้อยปีละหนึง่ ครั้ง
ข้อ 34 ตอบ ง. ปีละหนึง่ ครัง้
ข้อ 35 ตอบ จ. งำนรับเหมำก่อสร้ำง
ข้อ 36 ตอบ ง. ปลัดกระทรวงกำรคลัง
ข้อ 37 ตอบ ง. ผู้แทนกรมบัญชีกลำง
ข้อ 38 ตอบ ก. ไม่น้อยกว่ำห้ำคนแต่ไม่เกินเจ็ดคน
ข้อ 39 ตอบ ค. ปลัดกระทรวงกำรคลัง
ข้อ 40 ตอบ ง. อธิบดีกรมบัญชีกลำง
ข้อ 41 ตอบ ง. ค.ป.ท.
ข้อ 42 ตอบ ง. จัดทำรำยงำนผลกำรประเมินโครงกำรกำรจัดซื้อจัดจ้ำงที่เข้ำร่วมโครงกำรควำม
ร่วมมือป้องกันกำรทุจริตในกำรจัดซื้อจัดจ้ำงภำครัฐเสนอคณะรัฐมนตรีอย่ำงน้อยปีละหนึง่ ครั้ง
ข้อ 43 ตอบ ค. ไม่น้อยกว่ำกึ่งหนึง่ ของจำนวนกรรมกำรทั้งหมด
ข้อ 44 ตอบ ค. ปลัดกระทรวงกำรคลัง
ข้อ 45 ตอบ ค. ผู้แทนกรมบัญชีกลำง
ข้อ 46 ตอบ จ. ปลัดกระทรวงกำรคลัง
ข้อ 47 ตอบ ข. ไม่น้อยกว่ำห้ำคนแต่ไม่เกินเจ็ดคน
ข้อ 48 ตอบ ค. ผู้มีควำมรู้ ควำมเชี่ยวชำญหรือประสบกำรณ์ด้ำนกฎหมำ
ข้อ 49 ตอบ ง. ผู้มีควำมรู้ ควำมเชี่ยวชำญหรือประสบกำรณ์ด้ำนวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี กำร
บริหำรจัดกำรกำรเงิน สถำปัตยกรรม
ข้อ 50 ตอบ ง. อธิบดีกรมบัญชีกลำง
380

ข้อ 51 ตอบ ค. ปฏิบัติหน้ำที่อื่นตำมที่กำหนดในพระรำชบัญญัติกำรจัดซื้อจัดจ้ำงและกำรบริหำร


พัสดุภำครัฐ พงศ. 2560 หรือตำมที่คณะกรรมกำรนโยบำย รัฐมนตรี นำยกรัฐมนตรี หรือ
คณะรัฐมนตรีมอบหมำย
ข้อ 52 ตอบ ง. กรมบัญชีกลำง
ข้อ 53 ตอบ ข. กรมบัญชีกลำง
ข้อ 54 ตอบ จ. อย่ำงน้อยปีละสองครั้ง
ข้อ 55 ตอบ ค. กรมบัญชีกลำง / ปีละหนึง่ ครั้ง
ข้อ 56 ตอบ ค. กรมบัญชีกลำง
ข้อ 57 ตอบ จ. กรมบัญชีกลำง
ข้อ 58 ตอบ จ. คณะกรรมกำรรำคำกลำง / กรมบัญชีกลำง
ข้อ 59 ตอบ จ. กฎกระทรวง
ข้อ 60 ตอบ ข. 3 วิธี
ข้อ 61 ตอบ จ. วิธีเฉพำะเจำะจง
ข้อ 62 ตอบ ข. วิธีประกำศเชิญชวนทั่วไป
ข้อ 63 ตอบ ก. วิธีคัดเลือก
ข้อ 64 ตอบ ง. กรณีอื่นตำมที่กำหนดในพระรำชกฤษฎีกำ
ข้อ 65 ตอบ ง. เป็นพัสดุที่จะขำยทอดตลำดโดยหน่วยงำนของรัฐ องค์กำรระหว่ำงประเทศหรือ
หน่วยงำนต่ำงประเทศ
ข้อ 66 ตอบ จ. เป็นพัสดุที่ใช้ในรำชกำรลับ หรือเป็นงำนที่ต้องปกปิดเป็นควำมลับของหน่วยงำน
ของรัฐหรือที่เกี่ยวกับควำมมั่นคงของประเทศ
ข้อ 67 ตอบ ง. ควำมคุ้มค่ำและวัตถุประสงค์ในกำรใช้งำนเป็นสำคัญ
ข้อ 68 ตอบ ข. กระทรวงกำรคลัง
ข้อ 69 ตอบ ก. กรมบัญชีกลำง
ข้อ 70 ตอบ ค. พึ่งขึ้นทะเบียนกับกรมบัญชีกลำง
ข้อ 71 ตอบ ง. จำนวนผู้ประกอบกำรที่ดำเนินกำร
ข้อ 72 ตอบ ง. หำง่ำยได้ในท้องถิ่น
ข้อ 73 ตอบ จ. ถูกทุกข้อ
ข้อ 74 ตอบ ง. วิธีตกลำงรำคำ
ข้อ 75 ตอบ ก. เป็นงำนจ้ำงที่มีที่ปรึกษำในงำนที่จะจ้ำงนั้นหลำยรำย
ข้อ 76 ตอบ ค. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงกำรคลัง
ข้อ 77 ตอบ ข. ข้อเสนอด้ำนกฎหมำย
ข้อ 78 ตอบ ค. 4 วิธี
ข้อ 79 ตอบ ง. วิธีเฉพำะเจำะจง วิธีประกวดแบบ วิธีคัดเลือก วิธีประกวดเชิญชวนทั่วไป
ข้อ 80 ตอบ ข. วิธีประกวดเชิญชวนทั่วไป
381

ข้อ 81 ตอบ จ. ถูกทุกข้อ


ข้อ 82 ตอบ ง. ไม่เกิน 100,000 บำท
ข้อ 83 ตอบ ง. ไม่เกิน 100,000 บำท
ข้อ 84 ตอบ จ. ไม่เกิน 5,000,000 บำท
ข้อ 85 ตอบ จ. ไม่เกิน 5,000,000 บำท
ข้อ 86 ตอบ ง. ไม่เกิน 500,000 บำท
ข้อ 87 ตอบ ง. ไม่เกิน 500,000 บำท
ข้อ 88 ตอบ ง. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงกำรคลัง
ข้อ 89 ตอบ ค. เป็นงำนเกี่ยวกับกำรออกแบบหรือใช้ควำมคิด เช่น รูปแบบสิ่งก่อสร้ำง ซึ่ง
หน่วยงำนของรัฐไม่มีขอ้ มูลเพียงพอที่จะกำหนดรำยละเอียดเบื้องต้นได้
ข้อ 90 ตอบ ก. วิธีประกวดแบบ
ข้อ 91 ตอบ ข. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงกำรคลัง
ข้อ 92 ตอบ ข. ซับซ้อน
ข้อ 93 ตอบ ก. ซับซ้อนมำก
ข้อ 94 ตอบ ค. ไม่ซับซ้อน
ข้อ 95 ตอบ ข. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงกำรคลัง
ข้อ 96 ตอบ ง. สำนักงำนอัยกำรสูงสุด
ข้อ 97 ตอบ ง. คณะกรรมกำรนโยบำยกำรจัดซื้อจัดจ้ำงและกำรบริหำรพัสดุภำครัฐ
ข้อ 98 ตอบ ค. โมฆะ
ข้อ 99 ตอบ ง. ไม่น้องกว่ำร้อยละสิบ
ข้อ 100 ตอบ ค. ภำยในห้ำวันทำกำร
ข้อ 101 ตอบ จ. ไม่มีข้อใดกล่ำวไม่ถูกต้อง
ข้อ 102 ตอบ ก. กระทรวงกำรคลัง
ข้อ 103 ตอบ ข. เหตุเกิดจำกพฤติกำรณ์อันหนึง่ อันใดที่คู่สัญญำต้องรับผิดตำมกฎมำย
ข้อ 104 ตอบ ง. เพื่อประโยชน์สำธำรณะ
ข้อ 105 ตอบ ง. มีประสิทธิภำพ
ข้อ 106 ตอบ จ. ไม่มีข้อใดกล่ำวไม่ถูกต้อง
ข้อ 107 ตอบ ค. ปลัดกระทรวงกำรคลัง
ข้อ 108 ตอบ ข. เป็นผูด้ ำรงตำแหน่งกำรเมือง
ข้อ 109 ตอบ ง. เหมำะสม คุ้มค่ำ และเกิดประโยชน์ต่อหน่วยงำนของรัฐมำกที่สุด
ข้อ 110 ตอบ ค. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงกำรคลัง
ข้อ 111 ตอบ ค. อุทธรณ์
ข้อ 112 ตอบ ง. จำคุกตั้งแต่หนึ่งปีถึงสิบปี หรือปรับตั้งแต่สองหมื่นบำทถึงสองแสนบำท หรือทั้ง
จำทั้งปรับ
382

ข้อ 113 ตอบ ก. เหตุอื่นตำมระเบียบที่นำยกรัฐมนตรีกำหนด


ข้อ 114 ตอบ จ. จำคุกตั้งแต่หนึ่งปีถึงสิบปี หรือปรับตั้งแต่สองหมื่นบำทถึงสองแสนบำท หรือทั้ง
จำทั้งปรับ
ข้อ 115 ตอบ ค. 7 วัน
ข้อ 116 ตอบ ค. 7 วัน
ข้อ 117 ตอบ ก. 3 วัน
ข้อ 118 ตอบ จ. 30 วัน
ข้อ 119 ตอบ ง. ไม่เกิน 2 ครั้ง / ไม่เกิน 15 วัน
ข้อ 120 ตอบ จ. ศำล
ข้อ 121 ตอบ ค. พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชำ
ข้อ 122 ตอบ จ. เปิดโอกำสให้ผู้ประกอบกำรแข่งขันอย่ำงเป็นธรรมและเท่ำเทียมกัน
ข้อ 123 ตอบ ค. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงกำรคลัง
ข้อ 124 ตอบ ค. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงกำรคลัง
ข้อ 125 ตอบ ก. องค์กรอิสระ หมำยถึง เลขำธิกำรคณะกรรมกำรป้องกันและปรำบปรำมทุจริต
แห่งชำติ ผู้ว่ำกำรตรวจเงินแผ่นดิน เลขำธิกำรคณะกรรมกำรสิทธิมนุษยชนแห่งชำติ
เลขำธิกำรสำนักงำนผู้ตรวจกำรแผ่นดิน เลขำธิกำรคณะกรรมกำรกำรเลือกตั้ง อธิบดี
อัยกำรสำนักงำนคณะกรรมกำรอัยกำร
ข้อ 126 ตอบ จ. ข้อ ก. และ ข้อ ค.
ข้อ 127 ตอบ ค. ส่วนรำชกำรที่เข้ำเสนอรำคำหรือเข้ำยื่นข้อเสนอในกำรจัดซื้อจัดจ้ำงต่อ
หน่วยงำนรัฐใด
เป็นผู้มีส่วนได้เสียทำงตรงในกิจกำรของส่วนรำชกำรที่เข้ำเสนอรำคำหรือยื่นข้อเสนอ
ต่อหน่วยงำนของรัฐนั้นในครำวเดียวกัน
ข้อ 128 ตอบ ค. มีควำมสัมพันธ์กันในเชิงร่วมงำน
ข้อ 129 ตอบ ค. กรมบัญชีกลำง
ข้อ 130 ตอบ ง. พระรำชบัญญัติวิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครอง พ.ศ. 2539
ข้อ 131 ตอบ ค. เกินกว่ำร้อยละยี่สิบห้ำ
ข้อ 132 ตอบ ง. สำนักงำนกำรตรวจเงินแผ่นดิน
ข้อ 133 ตอบ ค. ไขว้กันระหว่ำงเชิงบริหำรและเชิงทุน
ข้อ 134 ตอบ ง. มอบอำนำจให้หัวหน้ำสำนักงำนจังหวัด
ข้อ 135 ตอบ ง. กระทรวงกลำโหม
ข้อ 136 ตอบ จ. สำนักงำนกำรตรวจเงินแผ่นดิน
ข้อ 137 ตอบ ค. กรมบัญชีกลำง
ข้อ 138 ตอบ ค. กรมบัญชีกลำง
ข้อ 139 ตอบ ค. จัดทำแผนกำรจัดซื้อ จัดจ้ำงประจำปี
383

ข้อ 140 ตอบ ค. จัดทำแผนกำรจัดซื้อจัดจ้ำงประจำปี


ข้อ 141 ตอบ ง. รำคำตำมตลำดของพัสดุที่จะซื้อ หรือ จ้ำง
ข้อ 142 ตอบ ข. คณะกรรมกำรตรวจรับงำนก่อสร้ำง
ข้อ 143 ตอบ ง. อย่ำงน้อย 2 คน
ข้อ 144 ตอบ ง. กรรมกำรซื้อหรือจ้ำงโดยวิธีเฉพำะเจำะจง
ข้อ 145 ตอบ จ. คณะกรรมกำรตรวจรับพัสดุ
ข้อ 146 ตอบ ค. พระรำชบัญญัติวิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครอง พ.ศ. 2539
ข้อ 147 ตอบ ข. 3 วิธี
ข้อ 148 ตอบ ค. 3 วิธี วิธีคัดเลือก วิธีเฉพำะเจำะจง วิธีประกวดเชิญชวนทั่วไป
ข้อ 149 ตอบ ข. 3 วิธี
ข้อ 150 ตอบ ค. 3 วิธี วิธีสอบรำคำ วิธีประกวดรำคำอิเล็กทรอนิกส์ วิธีตลำดอิเล็กทรอนิกส์
ข้อ 151 ตอบ ข. กรมบัญชีกลำง
ข้อ 152 ตอบ ข. 2 ลักษณะ
ข้อ 153 ตอบ ง. ข้อ ก. และข้อ ข.
ข้อ 154 ตอบ ง. เกิน 500,000 บำท
ข้อ 155 ตอบ ง. กรมบัญชีกลำง
ข้อ 156 ตอบ ค. ไม่น้อยกว่ำกึ่งหนึง่
384

แนวข้อสอบพระรำชบัญญัติวิธีกำรงบประมำณ พ.ศ. 2561


ข้อ 1. พระรำชบัญญัติวิธีกำรงบประมำณ พ.ศ. 2561 มีผลใช้บังคับตั้งแต่เมื่อใด
1. วันที่ 11 พฤศจิกำยน 2561 เป็นต้นไป
2. วันที่ 12 พฤศจิกำยน 2561 เป็นต้นไป
3. วันที่ 13 พฤศจิกำยน 2561 เป็นต้นไป
4. วันที่ 14 พฤศจิกำยน 2561 เป็นต้นไป
ข้อ 2. พระรำชบัญญัติวิธีกำรงบประมำณ พ.ศ. 2561 ไม่ได้ยกเลิกกฎหมำยฉบับใด
1. พระรำชบัญญัติวิธีกำรงบประมำณ พ.ศ. 2502
2. พระรำชบัญญัติวิธีกำรงบประมำณ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2511
3. พระรำชบัญญัติวิธีกำรงบประมำณ (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2544
4. ประกำศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 203 ลงวันที่ 31 สิงหำคม 2515
ข้อ 3. ข้อใดไม่ถูกต้อง
1. นำยกรัฐมนตรีมีอำนำจออกกฎเพื่อปฏิบัติกำรตำมพระรำชบัญญัติวิธีกำรงบประมำณ
พ.ศ. 2561
2. นำยกรัฐมนตรีเป็นผู้รักษำกำรตำมพระรำชบัญญัติวิธีกำรงบประมำณ พ.ศ. 2561
3. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงกำรคลังเป็นผู้รักษำกำรตำมพระรำชบัญญัติวิธีกำรงบประมำณ
พ.ศ. 2561
4. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงกำรคลังมีหน้ำที่ควบคุมกำรใช้จ่ำยงบประมำณให้เป็นไปอย่ำง
โปร่งใสและตรวจสอบได้
ข้อ 4. พระรำชบัญญัติวิธีกำรงบประมำณ พ.ศ. 2561 บัญญัติให้กำรบริหำรงบประมำณรำยจ่ำย
ต้องสอดคล้องตำมกฎหมำยใด
1. พระรำชบัญญัติวิธีกำรงบประมำณ พ.ศ. 2502
2. พระรำชบัญญัติวิธีกำรงบประมำณ พ.ศ. 2502 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
3. พระรำชบัญญัติเงินคงคลัง พ.ศ. 2491
4. พระรำชบัญญัติวินัยกำรเงินกำรคลังของรัฐ พ.ศ. 2561
ข้อ 5. กรณีประมำณกำรรำยรับประเภทรำยได้ตำมที่มีกฎหมำยให้อำนำจจัดเก็บเป็นจำนวนต่ำ
กว่ำงบประมำณรำยจ่ำยทั้งสิ้น ต้องดำเนินกำรอย่ำงไรจึงจะถูกต้อง
1. แถลงวิธีหำเงินส่วนที่เกินดุลต่อรัฐสภำ
2. แถลงวิธีจัดกำรส่วนที่ขำดดุลต่อรัฐสภำ
3. แถลงวิธีหำเงินส่วนที่ขำดดุล
4. แถลงวิธีจัดกำรส่วนที่เกินดุล
385

ข้อ 6. ข้อใดมิใช่กำรจำแนกประเภทงบประมำณรำยจ่ำย
1. งบประมำณรำยจ่ำยงบกลำง
2. งบประมำณรำยจ่ำยเพื่อชดใช้เงินทุนสำรองจ่ำย
3. งบประมำณรำยจ่ำยเพิ่มเติม
4. งบประมำณรำยจ่ำยบูรณำกำร
ข้อ 7. จำนวนเงินอย่ำงสูงที่อนุญำตให้จ่ำยหรือให้ก่อหนี้ผูกพันได้ตำมวัตถุประสงค์และภำยใน
ระยะเวลำที่กำหนดไว้ในกฎหมำยว่ำด้วยงบประมำณรำยจ่ำย เป็นควำมหมำยของข้อใด
1. งบประมำณรำยจ่ำย
2. งบประมำณรำยจ่ำยข้ำมปี
3. งบประมำณเหลื่อมปี
4. งบประมำณจัดสรร
ข้อ 8. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับงบประมำณรำยจ่ำยบูรณำกำร
1. แผนงำนบูรณำกำรได้รับอนุมัติจำกคณะรัฐมนตรี
2. ใช้สำหรับกล่ีมจังหวัดเพื่อบูรณำกำรตำมนโยบำยรัฐบำล
3. มีหน่วยรับงบประมำณตั้งแต่ 2 หน่วยงำนขึ้นไปร่วมกันรับผิดชอบ
4. งบประมำณรำยจ่ำยที่ตั้งไว้สำหรับแผนงำนบูรณำกำรที่สอดคล้องกับยุทธศำสตร์ชำติ
ข้ อ 9. ผู้ อ ำนวยกำรตำมบทนิ ย ำมศั พ ท์ แ ห่ ง พระรำชบั ญ ญั ติ วิ ธี ก ำรงบประมำณ พ.ศ. 2561
หมำยถึงใคร
1. ผู้อำนวยกำรสำนักบูรณำกำรและยุทธศำสตร์ชำติ
2. ผู้อำนวยกำรสำนักงำนคณะกรรมกำรเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ
3. ผู้อำนวยกำรสำนักงบประมำณ
4. ผู้อำนวยกำรสำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง
ข้อ 10. กรณีตำมข้อใดไม่สำมำรถดำเนินกำรโอนงบประมำณรำยจ่ำยได้
1. ตรำพระรำชกฤษฎีกำโอนส่วนรำชกำรเข้ำด้วยกัน
2. โอนงบประมำณรำยจ่ำยบูรณำกำรภำยใต้แผนงำนบูรณำกำรเดียวกัน
3. โอนงบประมำณรำยจ่ำยงบกลำง
4. โอนงบประมำณรำยจ่ำยบุคคลกรภำยใต้แผนงำนบุคลำกรภำครัฐ
ข้อ 11. งบประมำณรำยจ่ำยที่ตั้งไว้เพื่อจัดสรรให้แก่หน่วยรับงบประมำณใช้จ่ำย โดยแยกต่ำงหำก
จำกงบประมำณรำยจ่ำยของหน่วยรับงบประมำณ และให้มีรำยกำรเงินสำรองจ่ำยเพื่อกรณีฉุกเฉิน
หรือจำเป็นด้วย คือควำมหมำยในข้อใด
1. งบประมำณรำยจ่ำยบูรณำกำร
2. งบประมำณรำยจ่ำยข้ำมปี
3. งบประมำณรำยจ่ำยงบกลำง
4. งบประมำณรำยจ่ำยบุคลำกร
386

ข้อ 12. ข้อ ใดมิใช่ ควำมรับ ผิ ดของเจ้ ำ หน้ ำ ที่ ของรัฐ กรณี จ่ ำยเงิ นหรื อก่ อ หนี้ผู ก พัน โดยฝ่ ำ ฝื น
พระรำชบัญญัติวิธีกำรงบประมำณ พ.ศ. 2561 หรือระเบียบที่ออกตำมพระรำชบัญญัตินี้
1. ควำมรับผิดทำงอำญำ
2. ควำมรับผิดทำงวินัย
3. ต้องชดใช้เงินคืนหน่วยงำน
4. ถูกขึ้นบัญชีแบล็คลิส
ข้อ 13. เงินทุนสำรองจ่ำย มีจำนวนเท่ำใด
1. ห้ำสิบล้ำนบำท
2. ห้ำร้อยล้ำนบำท
3. ห้ำพันล้ำนบำท
4. ห้ำหมื่นล้ำนบำท
ข้อ 14. จำกตัวเลือกในข้อ 13. เมื่อได้จ่ำยไปแล้ว จะต้องดำเนินกำรอย่ำงไร
1. ขออนุมัติคณะรัฐมนตรี
2. ตั้งงบประมำณรำยจ่ำยเพื่อชดใช้
3. แถลงวิธีจัดกำรเงิน
4. นำไปชดใช้คืนเงินงบประมำณรำยจ่ำยงบกลำง
ข้อ 15. กำรรำยงำนกำรรับจ่ำยเงินงบประมำณประจำปีที่สิ้นสุดและเงินทุนสำรองจ่ำย จะต้อง
ประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำภำยในระยะเวลำใดนับแต่สิ้นปีงบประมำณ
1. 30 วัน
2. 60 วัน
3. 90 วัน
4. 120 วัน
ข้อ 16. หน่วยงำนของรัฐที่ขอรับหรือได้รับจัดสรรงบประมำณรำยจ่ำย และให้หมำยควำมรวมถึง
สภำกำชำดไทยด้วย คือควำมหมำยของคำใด
1. ส่วนรำชกำร
2. รัฐวิสำหกิจ
3. หน่วยงำนของรัฐ
4. หน่วยรับงบประมำณ
ข้ อ 17. กำรขยำยเวลำขอเบิ ก เงิ น จำกคลั ง ในกรณี ที่ ไ ม่ ส ำมำรถเบิ ก เงิ น จำกคลั ง ได้ ภ ำยใน
ปีงบประมำณ สำมำรถดำเนินกำรได้ต่อเมื่อ
1. ได้ก่อหนี้ผูกพันไว้ก่อนสิ้นปีงบประมำณ และมีกำรกันเงินไว้ตำมระเบียบ
2. ได้ก่อหนี้ผูกพันไว้ก่อนสิ้นปีงบประมำณ และไม่ได้กันเงินไว้ตำมระเบียบ
3. ได้ก่อหนี้ผูกพันไว้ก่อนสิ้นปีงบประมำณ และมีเงินเหลือจ่ำยเพียงพอ
4. ได้ก่อหนี้ผูกพันไว้ก่อนสิ้นปีงบประมำณ และมีควำมจำเป็นเร่งด่วน
387

ข้อ 18. จำกข้อ 17. เมื่อได้ขยำยเวลำขอเบิกเงินจำกคลังแล้ว ให้ขยำยออกไปได้อีกเท่ำไรเมื่อมี


ควำมจำเป็น
1. ไม่เกิน 3 เดือน ของปีงบประมำณถัดไป
2. ไม่เกิน 6 เดือน ของปีงบประมำณถัดไป
3. ไม่เกิน 9 เดือน ของปีงบประมำณถัดไป
4. ให้กระทรวงกำรคลังเป็นผู้วินิจฉัย
ข้อ 19. จำกคำตอบในข้อ 18. หำกมีควำมจำเป็นต้องขอเบิกเงินจำกคลังภำยหลังเวลำดังกล่ำว
ต้องดำเนินกำรอย่ำงไร
1. ขอทำควำมตกลงกับกระทรวงกำรคลัง เพื่อขอขยำยเวลำออกไปได้อีกไม่เกิน 6 เดือน
2. ขอทำควำมตกลงกับสำนักงบประมำณและกระทรวงกำรคลัง เพื่อขอขยำยเวลำออกไป
ได้อีกไม่เกิน 3 เดือน
3. ขอทำควำมตกลงกับสำนักงบประมำณและกระทรวงกำรคลัง เพื่อขอขยำยเวลำออกไป
ได้อีกไม่เกิน 6 เดือน
4. ขอทำควำมตกลงกับสำนักงบประมำณ กระทรวงกำรคลังและคณะรัฐมนตรี เพื่อขอ
ขยำยเวลำออกไปได้อีกไม่เกิน 6 เดือน
ข้อ 20. บทบัญญัติในส่วนกำรรำยงำนแห่งพระรำชบัญญัติวิธีกำรงบประมำณ พ.ศ. 2561 จัดอยู่
ในหมวดใด
1. หมวดกำรควบคุมงบประมำณ
2. หมวดกำรบริหำรงบประมำณรำยจ่ำย
3. หมวดกำรประเมินผลและกำรรำยงำน
4. หมวดกำรรำยงำนติดตำมผล
ข้อ 21. คำชี้แจงเกี่ยวกับงบประมำณรำยจ่ำยที่ขอตั้ง พระรำชบัญญัติวิธีกำรงบประมำณ พ.ศ.
2561 กำหนดให้ทำคำชี้แจงในเรื่องใดเพิ่มเติม
1. แสดงผลสัมฤทธิ์ ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ และควำมสอดคล้องกับยุทธศำสตร์ชำติ
2. ประมำณกำรรำยรับ
3. ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงรำยรับ และงบประมำณรำยจ่ำยที่ขอตั้ง
4. สถำนะเงินนอกงบประมำณและแผนกำรใช้จ่ำย
ข้อ 22. กำรเสนองบประมำณประจำปีต่อรัฐสภำ ต้องดำเนินกำรก่อนวันเริ่มปีงบประมำณอย่ำง
น้อยกี่วัน
1. 2 เดือน
2. 3 เดือน
3. 4 เดือน
4. 5 เดือน
388

ข้อ 23. หำกหน่วยรับงบประมำณจะต้องมีกำรก่อหนี้ผูกพันงบประมำณมำกกว่ำ 1 ปีงบประมำณ


ซึ่ ง มี ว งเงิ น ตั้ ง แต่ 1,000 ล้ ำ นบำท ขึ้ น ไป จะต้ อ งด ำเนิ น กำรอย่ ำ งไรจึ ง จะเป็ น ไปตำม
พระรำชบัญญัติวิธีกำรงบประมำณ พ.ศ. 2561
1. รัฐมนตรีเจ้ำสังกัดเสนอผู้อำนวยกำรสำนักงบประมำณตั้งงบประมำณ
2. รัฐมนตรีเจ้ำสังกัดเสนอผู้อำนวยกำรสำนักงบประมำณเพื่อเสนอคณะรัฐมนตรีอนุมัติ
3. หน่วยรับงบประมำณเสนอผู้อำนวยกำรสำนักงบประมำณเพื่อเสนอคณะรัฐมนตรีอนุมัติ
4. หน่ ว ยรั บ งบประมำณเสนอคณะรั ฐ มนตรี อ นุ มั ติ ก่ อ นยื่ น ค ำขอตั้ ง งบประมำณต่ อ
ผู้อำนวยกำรสำนักงำนประมำณ
ข้อ 24. หน่วยงำนหลักในกำรจัดทำงบประมำณประจำปี คือหน่วยงำนใด
1. หน่วยงำนของรัฐที่เสนอตั้งงบประมำณ
2. กระทรวงกำรคลัง
3. สำนักงำนคณะกรรมกำรพัฒนำกำรเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ
4. สำนักงำนงบประมำณ
ข้อ 25. ปีงบประมำณ 2563 มีระยะเวลำตำมตัวเลือกในข้อใด
1. 1 ตุลำคม 2563 ถึง 30 กันยำยน 2564
2. 1 ตุลำคม 2562 ถึง 30 กันยำยน 2563
3. 1 ตุลำคม 2562 ถึง 30 กันยำยน 2564
4. 1 ตุลำคม 2563 ถึง 30 กันยำยน 2562
ข้อ 26. พนักงำนเจ้ำหน้ำที่ที่ผู้อำนวยกำรสำนักงบประมำณมอบหมำย ถือเป็นเจ้ำพนักงำนตำม
กฎหมำยใด
1. พระรำชบัญญัติวิธีกำรงบประมำณ พ.ศ. 2561
2. ระเบียบว่ำด้วยกำรรักษำควำมลับของทำงรำชกำร พ.ศ. 2544
3. ประมวลกฎหมำยอำญำ
4. ประมวลกฎหมำยวิธีพิจำรณำควำมอำญำ
ข้อ 27. พนักงำนเจ้ำหน้ำที่ตำมข้อ 26. มีหน้ำที่และอำนำจดำเนินกำรต่ำงๆ เพื่อปฏิบัติกำรตำม
พระรำชบัญญัติวิธีกำรงบประมำณ พ.ศ. 2561 ยกเว้นข้อใด
1. เข้ำตรวจสรรพสมุดของหน่วยรับงบประมำณ
2. เรียกให้หน่วยรับงบประมำณชี้แจงข้อเท็จจริง
3. ตรวจเอกสำรหลักฐำนของหน่วยรับงบประมำณ
4. ตรวจบัญชีของหน่วยรับงบประมำณ
ข้อ 28. รัฐมนตรีเจ้ำสังกัดหรือกำกับควบคุมหน่วยรับงบประมำณ มีหน้ำที่รับผิดชอบในกำรยื่นคำ
ขอตั้งงบประมำณรำยจ่ำยของหน่วยรับงบประมำณต่อใคร
1. ผู้อำนวยกำรสำนักงบประมำณ
2. สำนักงบประมำณ
389

3. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงกำรคลัง
4. คณะรัฐมนตรี
ข้อ 29. กำรให้ใช้งบประมำณรำยจ่ำยประจำปีงบประมำณที่ล่วงแล้วไปพลำงก่อน จะกระทำได้ใน
กรณีใด
1. คณะรัฐมนตรีบริหำรกำรงบประมำณผิดพลำด
2. รัฐสภำไม่รับกฎหมำยไว้พิจำรณำ
3. มีควำมจำเป็นในสถำนกำรณ์ฉุกเฉิน
4. พระรำชบัญญัติงบประมำณรำยจ่ำยประจำปีออกใช้ไม่ทันปีงบประมำณใหม่
ข้ อ 30. ข้ อ ใดถู ก ต้ อ งเกี่ ย วกั บ หลั ก เกณฑ์ แ ละเงื่ อ นไขกำรใช้ ง บประมำณรำยจ่ ำ ยประจ ำปี
งบประมำณที่ล่วงแล้วไปพลำงก่อน
1. ผู้อำนวยกำรสำนักงบประมำณกำหนด โดยได้รับอนุมัติจำกคณะรัฐมนตรี
2. ผู้อำนวยกำรสำนักงบประมำณกำหนด โดยได้รับอนุมัติจำกนำยกรัฐมนตรี
3. ผู้อำนวยกำรสำนักงบประมำณกำหนด โดยได้รับอนุมัติจำกกระทรวงกำรคลัง
4. ผู้อำนวยกำรสำนักงบประมำณกำหนด
ข้อ 31. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีกำรจัดทำงบประมำณรำยจ่ำยข้ำมปี
1. ผู้อำนวยกำรสำนักงบประมำณกำหนด โดยได้รับควำมเห็นชอบจำกคณะรัฐมนตรี
2. ผู้อำนวยกำรสำนักงบประมำณกำหนด โดยได้รับควำมเห็นชอบจำกนำยกรัฐมนตรี
3.ผู้อำนวยกำรสำนักงบประมำณกำหนด โดยได้รับควำมเห็นชอบจำกกระทรวงกำรคลัง
4.ผู้อำนวยกำรสำนักงบประมำณกำหนด
ข้อ 32. กำรกำหนดกรอบประมำณกำรรำยจ่ำย ประมำณกำรรำยรับ และฐำนะกำรคลังของ
รัฐบำล ต้องทำล่วงหน้ำเป็นระยะเวลำเท่ำใด
1. ไม่น้อยกว่ำ 1 ปี
2. ไม่น้อยกว่ำ 3 ปี
3. ไม่น้อยกว่ำ 5 ปี
4. ไม่น้อยกว่ำ 7 ปี
ข้อ 33. กรณีกลุ่มจังหวัด ผู้ใดมีหน้ำที่รวบรวมคำขอตั้งงบประมำณรำยจ่ำยยื่นต่อรัฐมนตรีเจ้ำ
สังกัดเพื่อเสนอผู้อำนวยกำรสำนักงบประมำณ
1. รองผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด
2. ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด
3. ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดที่เป็นหัวหน้ำกลุ่มจังหวัด
4. ปลัดกระทรวงมหำดไทย
390

ข้อ 34. กำรขอตั้งงบประมำณรำยจ่ำยของศำลยุติธรรม จะต้องยื่นคำขอตั้งงบประมำณรำยจ่ำย


ต่อใคร
1. นำยกรัฐมนตรี
2. คณะรัฐมนตรี
3. สภำผู้แทนรำษฎร
4. รัฐสภำ
ข้ อ 35. ระบบกำรติ ด ตำมและประเมิ น ผลกำรด ำเนิ น งำนตำมแผนกำรใช้ จ่ ำ ยงบประมำณ
ประกอบด้วยระบบใดบ้ำง
1. ติดตำมและประเมินผลประจำปี
2. ติดตำมและประเมินผลแผนงำนยุทธศำสตร์ชำติ
3. ติดตำมและประเมินผลก่อนจัดสรรงบประมำณ และหลังกำรใช้จ่ำยงบประมำณ
4. ติดตำมและประเมินผลก่อนจัดสรรงบประมำณ ระหว่ำงและหลังกำรใช้จ่ำยงบประมำณ
ข้อ 36. พระรำชบั ญ ญัติ วิ ธี ก ำรงบประมำณ พ.ศ. 2561 กำหนดว่ ำ ภำยใน 5 ปี นั บ แต่ วั น ที่
พระรำชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้มีกำรปรับปรุงหรือแก้ไขเพิ่มเติมเรื่องใด
1. บทนิยำมคำว่ำ "รัฐวิสำหกิจ"
2. ทบทวนควำมเหมำะสมของกฎหมำย
3. ปรับปรุงยุทธศำสตร์กำรจัดสรรงบประมำณ
4. ปรับปรุงขั้นตอนกำรยื่นคำขอตั้งงบประมำณ
ข้อ 37. กำรโอนหรือนำงบประมำณรำยจ่ำยไปใช้ในแผนงำนหรือรำยกำรอื่นจะกระทำมิได้ เว้นแต่
ได้รับอนุมัติจำกใคร
1. คณะรัฐมนตรี
2. นำยกรัฐมนตรี
3. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงกำรคลัง
4. ผู้อำนวยกำรสำนักงบประมำณ
ข้อ 38. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะยื่นคำขอตั้งงบประมำณรำยจ่ำยต่อใคร
1. ผู้บริหำรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
2. อธิบดีกรมส่งเสริมกำรปกครองท้องถิ่น
3. ปลัดกระทรวงมหำดไทย
4. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทย
ข้ อ 39. ข้ อ ผู ก พั น ที่ จ ะต้ อ งจ่ ำ ยเป็ น สิ่ ง ของอั น เกิ ด จำกกำรจ้ ำ งโดยใช้ เ ครดิ ต อยู่ ใ นข่ ำ ยตำม
ควำมหมำยในข้อใด
1. หนี้
2. เงินจัดสรร
3. เงินชดใช้
391

4. เงินคงคลัง
ข้อ 40. บุคคลใดไม่อยู่ในข่ำยต้องรับผิดชดใช้เงินคืนหน่วยรับงบประมำณที่ได้จ่ำยไปโดยฝ่ำฝืน
พระรำชบัญญัติวิธีกำรงบประมำณ พ.ศ. 2561
1. นำย ก. เจตนำก่ อ หนี้ ผู ก พั น โดยฝ่ ำ ฝื น ระเบี ย บที่ อ อกตำมพระรำชบั ญ ญั ติ วิ ธี ก ำร
งบประมำณ พ.ศ. 2561
2. นำย ข. ยินยอมให้นำย ก. กระทำกำรตำมตัวเลือกในข้อ 1.
3. นำย ค. ทักท้วงคำสั่งของนำย ก. และนำย ข. ในกำรกระทำตำมตัวเลือกในข้อ 1.
4. นำย ง. ผู้รับจ้ำงซึ่งได้รับประโยชน์ตำมสัญญำผู ก พันดังกล่ำวทรำบกำรกระทำตำม
ตัวเลือกในข้อ 1.
ข้อ 41. ผู้รับสนองพระรำชโองกำรพระรำชบัญญัติวิธีกำรงบประมำณ พ.ศ. 2561 คือผู้ใด
1. พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชำ หัวหน้ำคณะรักษำควำมสงบแห่งชำติ
2. พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชำ นำยกรัฐมนตรี
3. พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชำ หัวหน้ำคณะรักษำควำมสงบแห่งชำติ และนำยกรัฐมนตรี
4. นำยพรเพชร วิชิตชลชัย ประธำนสภำนิติบัญญัติแห่งชำติ
ข้อ 42. กระทรวงกำรคลังมีหน้ำที่นำเงินทุนสำรองจ่ำยตำมมำตรำ 29 ทวิ แห่งพระรำชบัญญัติ
วิธีกำรงบประมำณ พ.ศ. 2502 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโอยพระรำชบัญญัติวิธีกำรงบประมำณ (ฉบับที่
2) พ.ศ. 2503 ส่งคลังให้แล้วเสร็จภำยในกี่วันนับแต่วันที่พระรำชบัญญัติวิธีกำรงบประมำณ พ.ศ.
2561 ใช้บังคับ
1. 30 วัน
2. 45 วัน
3. 60 วัน
4. 90 วัน
ข้อ 43. กำรจัดสรรงบประมำณอุดหนุน สำหรับกำรดำเนิ นกำรทั่วไปขององค์กรปกครองส่ว น
ท้องถิ่น ต้องคำนึงถึงเรื่องใด
1. สอดคล้องกับนโยบำยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
2. สอดคล้องกับนโยบำยกำรเลือกตั้งท้องถิ่น
3. สอดคล้องตำมกฎหมำยว่ำด้วยกำรกำหนดแผนและขั้นตอนกำรกระจำยอำนำจให้แก่
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
4. สอดคล้องตำมยุทธศำสตร์ชำติ
ข้อ 44. หน่วยรับงบประมำณต้องรำยงำนผลกำรใช้จ่ำยงบประมำณ และผลกำรปฏิบัติงำนต่อ
ผู้อำนวยกำรสำนักงบประมำณอย่ำงไร
1. ภำยใน 30 วัน นับแต่วันสิ้นปีงบประมำณ เพื่อผู้อำนวยกำรสำนักงบประมำณจัดทำ
รำยงำนเสนอคณะรัฐมนตรีภำยใน 60 วัน นับแต่วันสิ้นปีงบประมำณ
392

2. ภำยใน 45 วัน นับแต่วันสิ้นปีงบประมำณ เพื่อ ผู้อำนวยกำรสำนักงบประมำณจัดทำ


รำยงำนเสนอคณะรัฐมนตรีภำยใน 90 วัน นับแต่วันสิ้นปีงบประมำณ
3. ภำยใน 60 วัน นับแต่วันสิ้นปีงบประมำณ เพื่อผู้อำนวยกำรสำนักงบประมำณจัดทำ
รำยงำนเสนอคณะรัฐมนตรีภำยใน 90 วัน นับแต่วันสิ้นปีงบประมำณ
4. ภำยใน 60 วัน นับแต่วันสิ้นปีงบประมำณ เพื่อผู้อำนวยกำรสำนักงบประมำณจัดทำ
รำยงำนเสนอคณะรัฐมนตรีภำยใน 120 วัน นับแต่วันสิ้นปีงบประมำณ
ข้อ 45. ขั้นตอนใดถูกต้องในกำรเสนองบประมำณประจำปี
1. ผู้อำนวยกำรสำนักงบประมำณและรัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงกำรคลังเสนอคณะรัฐมนตรี
เพื่อเสนอรัฐสภำ
2. ผู้ อ ำนวยกำรส ำนั ก งบประมำณและรั ฐ มนตรี ว่ ำ กำรกระทรวงกำรคลั ง เสนอ
นำยกรัฐมนตรีเพื่อเสนอรัฐสภำ
3. ผู้อำนวยกำรสำนักงบประมำณเสนอนำยกรัฐมนตรีเพื่อคณะรัฐมนตรีเสนอรัฐสภำ
4. ผู้อำนวยกำรสำนักงบประมำณเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อเสนอรัฐสภำ
ข้อ 46. ผู้อำนวยกำรสำนักงบประมำณต้องดำเนินกำรในข้อใด หำกกำรประเมินผลสัมฤทธิ์กำรใช้
จ่ำยงบประมำณรำยจ่ำยของหน่วยรับงบประมำณไม่ได้ตำมเป้ำหมำยหรือตัวชี้วัดที่กำหนด
1. เสนอแนะกำรปรับปรุงแก้ไข
2. เสนอแนะกำรปรับปรุงแก้ไข และรำยงำนรัฐมนตรีเจ้ำสังกัดทรำบ
3. เสนอแนะกำรปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ข รำยงำนรั ฐ มนตรี เ จ้ ำ สั ง กั ด ทรำบ และพิ จ ำรณำตั ด
งบประมำณในปีงบประมำณถัดไป
4. รำยงำนรัฐมนตรีเจ้ำสังกัดเพื่อสั่งกำรตำมที่เห็นสมควร
ข้อ 47. ข้อใดคือวัตถุประสงค์ในกำรกำหนดยุทธศำสตร์กำรจัดสรรงบประมำณรำยจ่ำยประจำปี
1. เพื่อให้หน่วยรับงบประมำณใช้เป็นแนวทำงในกำรจัดทำคำขอตั้งงบประมำณรำยจ่ำย
ประจำปี
2. เพื่อเป็นกรอบประมำณกำรรำยจ่ำย
3. เพื่อกำหนดระยะเวลำของเงินจัดสรร
4. เพื่อให้เกิดประสิทธิภำพในกำรใช้จ่ำยงบประมำณ
ข้อ 48. เมื่อกำหนดนโยบำยงบประมำณประจำปี ประมำณกำรรำยได้ วงเงินงบประมำณรำยจ่ำย
และวิธีกำรชดเชยกำรขำดดุลหรือกำรจัดกำรกรณีประมำณกำรรำยได้สูงกว่ำวงเงินงบประมำณ
เสร็จแล้ว ผู้อำนวยกำรสำนักงบประมำณต้องเสนอขอควำมเห็นชอบต่อใคร
1. นำยกรัฐมนตรี
2. คณะรัฐมนตรี
3. คณะรักษำควำมสงบแห่งชำติ
4. กระทรวงกำรคลัง
393

ข้ อ 49. กรณีที่ ค ำดว่ ำ จะใช้ ง บประมำณรำยจ่ ำ ยให้ เสร็ จ ทั น ภำยในปี ง บประมำณไม่ ไ ด้ ต้ อ ง


ดำเนินกำรในข้อใด
1. จัดทำงบประมำณรำยจ่ำยงบกลำง
2. จัดทำงบประมำณรำยจ่ำยเพิ่มเติม
3. จัดทำงบประมำณรำยจ่ำยข้ำมปี
4. จัดทำงบประมำณรำยจ่ำยของหน่วยรับงบประมำณ
ข้อ 50. กำรเปรียบเทียบรำยรับรำยจ่ำยเพื่อประกอบกำรเสนอของบประมำณจะต้องพิจำรณำใน
ข้อใด
1. ขำดดุล-สมดุล-เกินดุล
2. ขำดดุล-เกินดุล
3. ปีที่ล่วงมำแล้ว-ปีปัจจุบัน-ปีที่ขอตั้งงบประมำณ
4. ปีที่ล่วงมำแล้ว-ปีที่ขอตั้งงบประมำณ
ข้ อ 51. ตำมบทเฉพำะกำล ก ำหนดว่ ำ กรณี ที่ มี ก ำรจั ด สรรงบประมำณรำยจ่ ำ ยปร ะจ ำปี
งบประมำณ พ.ศ. 2561 ประเภทงบกลำง ให้ดำเนินกำรตำมพระรำชบัญญัติวิธีกำรงบประมำณ
พ.ศ. 2502 และที่แก้ไขเพิ่มเติม โดยให้ก่อหนี้ผูกพันให้แล้วเสร็จภำยในวันที่ 30 กันยำยน 2562
และดำเนินกำรเบิกจ่ำยให้แล้วเสร็จภำยในกำหนดใด
1. 29 ธันวำคม 2562
2. 30 ธันวำคม 2562
3. 31 ธันวำคม 2562
4. 30 กันยำยน 2563
ข้อ 52. กำรโอนหรือนำงบประมำณรำยจ่ำยไปใช้ในแผนงำนหรือรำยกำรอื่นที่มีผลเป็นกำรเพิ่ม
รำยจ่ำยประเภทเงินรำชกำรลับ หรือเป็นแผนงำนหรือโครงกำรใหม่ ต้องได้รับอนุมัติจำกใครจึงจะ
ดำเนินกำรได้
1. รัฐสภำ
2. คณะรัฐมนตรี
3. นำยกรัฐมนตรี
4. ผู้อำนวยกำรสำนักงบประมำณ
ข้อ 53. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับงบประมำณรำยจ่ำยบูรณำกำร
1. กำรจัดทำแผนงำนบูรณำกำร ต้องประหยัด รวดเร็ว ลดควำมซ้ำซ้อน
2. กำรจัดทำแผนงำนบูรณำกำร ต้องสำมำรถวัดผลสัมฤทธิ์ได้
3. กำรจัดทำแผนงำนบูรณำกำรเมื่อคณะรัฐมนตรีอนุ มัติแล้ว กำรจัดทำงบประมำรำยจ่ำย
ต้องเป็นไปตำมหลักเกณฑ์และวิธีกำรที่ผู้อำนวยกำรสำนักงบประมำณกำหนด
4. กำรจัดทำแผนงำนบูรณำกำร ต้องผนวกไว้ในงบกลำงเพื่อประสิทธิภำพ
394

ข้อ 54. หลักกำรใช้จ่ำยงบประมำณที่กำหนดไว้ในพระรำชบัญญัติวิธีกำรงบประมำณ พ.ศ. 2561


คือข้อใด
1. ต้องเป็นไปตำมยุทธศำสตร์ชำติ
2. ต้องเป็นไปตำมแผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ
3. ต้องคำนึงถึงควำมผำสุกของประชำชน
4. ต้องเป็นไปอย่ำงมีประสิทธิภำพสูงสุดเพื่อประโยชน์ของประเทศชำติและประชำชน
ข้อ 55. ผู้ใดมีหน้ำที่รับผิดชอบในกำรกำกับหรือควบคุมกำรใช้จ่ำยงบประมำณขององค์กรอิสระ
ตำมรัฐธรรมนูญ
1. ผู้บริหำรระดับสูงของหน่วยงำน
2. ประธำนรัฐสภำ
3. ผู้รักษำกำรตำมกฎหมำยว่ำด้วยองค์กรอิสระนั้นๆ
4. คณะกรรมกำรตำมกฎหมำยว่ำด้วยองค์กรอิสระนั้นๆ
395

เฉลย แนวข้อสอบพระรำชบัญญัติวิธีกำรงบประมำณ พ.ศ. 2561


ข้อ 1. ตอบ 2. มำตรำ 2 พระรำชบัญ ญัติ นี้ใ ช้บั งคับ ตั้ง แต่ วัน ถัด จำกวั นประกำศในรำชกิ จจำ
นุเบกษำเป็นต้นไป ซึ่งประกำศรำชกิจจำนุเบกษำเมื่อวันที่ 11 พฤศจิกำยน 2561 จึงใช้บังคับ
ตั้งแต่วันถัดไป
ข้อ 2. ตอบ 3. พระรำชบัญญัติวิธีกำรงบประมำณ (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2543 คือฉบับที่ถูกยกเลิก
ส่วนพระรำชบัญญัติวิธีกำรงบประมำณ (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2544 ไม่มีอยู่จริง
ข้อ 3. ตอบ 1. มำตรำ 5 นำยกรัฐมนตรีมีอำนำจออกระเบียบเพื่อปฏิบัติกำรตำมพระรำชบัญญัติ
นี้
ข้อ 4. ตอบ 4. มำตรำ 6 กำหนดให้กำรบริหำรงบประมำณรำยจ่ำยต้องสอดคล้องตำมกฎหมำยว่ำ
ด้วยวินัยกำรเงินกำรคลังของรัฐ คือ พระรำชบัญญัติวินัยกำรเงินกำรคลังของรัฐ พ.ศ. 2561
ข้อ 5. ตอบ 3. มำตรำ 11 เสนองบประมำณขำดดุล ต้องแถลงวิธีหำเงินส่วนที่ขำดดุลต่อรัฐสภำ
ข้อ 6. ตอบ 3. กำรจำแนกประเภทของงบประมำณรำยจ่ำยประจำปีหรืองบประมำณรำยจ่ำย
เพิ่มเติม เป็นไปตำมมำตรำ 14
ข้อ 7. ตอบ 1. นิยำมคำว่ำ "งบประมำณรำยจ่ำย"
ข้อ 8. ตอบ 2. มำตรำ 16
ข้อ 9. ตอบ 3. นิยำมคำว่ำ "ผู้อำนวยกำร" หมำยควำมว่ำ ผู้อำนวยกำรสำนักงบประมำณ
ข้อ 10. ตอบ 3. มำตรำ 35 โดยหลักจะโอนหรือนำไปใช้สำหรับหน่วยงำนอื่นไม่ได้ แต่มีข้อยกเว้น
ตำมที่กำหนดในมำตรำ 35
ข้อ 11. ตอบ 3. มำตรำ 15 งบประมำณรำยจ่ำยงบกลำง
ข้อ 12. ตอบ 4. มำตรำ 52 ต้องรับผิดชดใช้เงินคืน ตลอดจนค่ำสินไหมทดแทนให้แก่หน่วยงำน
ข้อ 13. ตอบ 4. มำตรำ 45 ห้ำหมื่นล้ำนบำท
ข้อ 14. ตอบ 2. มำตรำ 45 เมื่อได้จ่ำยเงินไปแล้ว ให้ตั้งงบประมำณรำยจ่ำยเพื่อชดใช้ในกฎหมำย
ว่ำด้วยงบประมำณรำยจ่ำยเพื่อสมทบเงินทุนนั้นไว้จ่ำยต่อไปในโอกำสแรก
ข้อ 15. ตอบ 2. มำตรำ 49 ภำยใน 60 วัน
ข้อ 16. ตอบ 4. นิยำมคำว่ำ "หน่วยรับงบประมำณ"
ข้อ 17. ตอบ 1. มำตรำ 43 วรรคสอง ขยำยเวลำขอเบิกเงินจำกคลังได้เฉพำะกรณีหน่วยงำนได้
ก่อหนี้ผูกพันไว้ก่อนสิ้นปีงบประมำณ และได้มีกำรกันเงินไว้ตำมระเบียบแล้ว
ข้อ 18. ตอบ 2. มำตรำ 43 วรรคท้ำย ไม่เกิน 6 เดือนของปีงบประมำณถัดไป
ข้อ 19. ตอบ 1. มำตรำ 43 วรรคท้ำย ขอทำควำมตกลงกับกระทรวงกำรคลังเพื่อขอขยำยเวลำ
ออกไปได้อีกไม่เกิน 6 เดือน
ข้อ 20. ตอบ 3. หมวด 7 กำรประเมินผลและกำรรำยงำน แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ 1
กำรประเมินผล และส่วนที่ 2 กำรรำยงำน
ข้อ 21. ตอบ 1. มำตรำ 10 (4)
ข้อ 22. ตอบ 2. 3 เดือน
396

ข้อ 23. ตอบ 4. มำตรำ 26 ต้องเสนอคณะรัฐมนตรีพิจำรณำอนุมัติก่อนยื่นคำขอตั้งงบประมำณ


รำยจ่ำยต่อผู้อำนวยกำรสำนักงบประมำณ
ข้ อ 24. ตอบ 4. มำตรำ 24 ส ำนั ก งบประมำณเป็ น หน่ ว ยงำนหลั ก ในกำรจั ด ทำงบประมำณ
ประจำปี
ข้อ 25. ตอบ 2. ดูนิยำม "ปีงบประมำณ"
ข้อ 26. ตอบ 3. มำตรำ 22 ประมวลกฎหมำยอำญำ
ข้อ 27. ตอบ 2. มำตรำ 21 อำนำจเรียกให้หน่วยรับงบประมำณชี้แจงข้อเท็จจริงเป็นอำนำจของ
ผู้อำนวยกำรสำนักงบประมำณ
ข้อ 28. ตอบ 1. มำตรำ 25 วรรคหนึ่ง ยื่นต่อผู้อำนวยกำรสำนักงบประมำณ
ข้อ 29. ตอบ 4. มำตรำ 12 กรณีที่พระรำชบัญญัติงบประมำณรำยจ่ำยประจำปีออกใช้ไม่ทัน
ปีงบประมำณใหม่ ให้ใช้งบประมำณรำยจ่ำยประจำปีงบประมำณที่ล่วงแล้วไปพลำงก่อน
ข้อ 30. ตอบ 2. มำตรำ 12 ผู้อำนวยกำรสำนักงบประมำณกำหนดหลักเกณฑ์และเงื่อนไขโดย
ได้รับอนุมัติจำกนำยกรัฐมนตรี
ข้อ 31. ตอบ 1. มำตรำ 18 วรรคท้ำย ผู้อำนวยกำรสำนักงบประมำณกำหนดหลักเกณฑ์และ
วิธีกำรในกำรจัดทำงบประมำณรำยจ่ำยข้ำมปี โดยได้รับควำมเห็นชอบจำกคณะรัฐมนตรี
ข้อ 32. ตอบ 2. มำตรำ 24 (3) ล่วงหน้ำไม่น้อยกว่ำ 3 ปี
ข้อ 33. ตอบ 3. มำตรำ 27 ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดที่เป็นหัวหน้ำกลุ่มจังหวัดเป็นผู้ทำหน้ำที่ดังกล่ำว
ข้อ 34. ตอบ 2. มำตรำ 28 วรรคหนึ่ง ยื่นคำขอตั้งงบประมำณรำยจ่ำยต่อคณะรัฐมนตรี
ข้อ 35. ตอบ 4. มำตรำ 46 ระบบกำรติดตำมและประเมินผลจะต้องติดตำมและประเมินผลก่อน
กำรจัดสรรงบประมำณ ระหว่ำงกำรใช้จ่ำย และภำยหลังกำรใช้จ่ำยงบประมำณ
ข้อ 36. ตอบ 1. มำตรำ 53 วรรคท้ำย ให้ดำเนินกำรปรับปรุ งหรือแก้ไขเพิ่มเติมบทนิยำมคำว่ำ
"รัฐวิสำหกิจ"
ข้อ 37. ตอบ 4. มำตรำ 36 ต้องได้รับอนุมัติจำกผู้อำนวยกำรสำนักงบประมำณ
ข้ อ 38. ตอบ 4. มำตรำ 29 ยื่ น ค ำขอต่ อ รั ฐ มนตรี ว่ ำ กำรกระทรวงมหำดไทยเพื่ อ เสนอต่ อ
ผู้อำนวยกำรสำนักงบประมำณ
ข้อ 39. ตอบ 1. นิยำม "หนี้" หมำยควำมว่ำ ข้อผูกพันที่จะต้องจ่ำยหรืออำจจะต้องจ่ำย เป็นเงิน
สิ่งของหรือบริกำร ไม่ว่ำจะเป็นข้อผูกพันอันเกิดจำกกำรกู้ยืม กำรค้ำประกัน กำรซื้อ หรือกำรจ้ำง
โดยใช้เครดิตหรือจำกกำรอื่นใด
ข้อ 40. ตอบ 3. มำตรำ 52 วรรคท้ำย เจ้ำหน้ำที่ของรัฐซึ่งได้ทักท้วงคำสั่งของผู้บังคับบัญชำ หรือ
ได้บันทึกข้อโต้แย้งไว้เป็นหนังสือว่ำกำรที่จะปฏิบัติตำมคำสั่งนั้นอำจไม่ชอบด้วยกฎหมำยหรือ
ระเบียบ ไม่ต้องรับผิดชดใช้เงินคืนให้แก่หน่วยรับงบประมำณ
ข้อ 41. ตอบ 2. พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชำ ผู้รับสนองพระรำชโองกำร ในฐำนะนำยกรัฐมนตรี
ข้อ 42. ตอบ 1. มำตรำ 61 ภำยใน 30 วัน นับแต่วันที่พระรำชบัญญัติวิธีกำรงบประมำณ พ.ศ.
2561 ใช้บังคับ
397

ข้อ 43. ตอบ 3. มำตรำ 29 วรรคท้ำย ต้องสอดคล้องตำมกฎหมำยว่ำด้วยกำรกำหนดแผนและ


ขั้นตอนกำรกระจำยอำนำจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ข้ อ 44. ตอบ 2. มำตรำ 50 หน่ ว ยรั บ งบประมำณรำยงำนผลภำยใน 45 วั น นั บ แต่ วั น สิ้ น
ปีงบประมำณ เพื่อผู้อำนวยกำรสำนักงบประมำณจัดทำรำยงำนเสนอต่อคณะรัฐมนตรีภำยใน 90
วัน นับแต่วันสิ้นปีงบประมำณ
ข้อ 45. ตอบ 3. มำตรำ 20
ข้อ 46. ตอบ 2. มำตรำ 48 ทำข้อเสนอแนะกำรปรับปรุงแก้ไข และรำยงำนรัฐมนตรีเจ้ำสังกัด
เพื่อทรำบ
ข้ อ 47. ตอบ 1. มำตรำ 19 (1) ผู้ อ ำนวยกำรส ำนั ก งบประมำณมี ห น้ ำ ที่ แ ละอ ำนำจก ำหนด
ยุทธศำสตร์กำรจัดสรรงบประมำณรำยจ่ำยประจำปี โดยควำมเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี เพื่อให้
หน่วยรับงบประมำณใช้เป็นแนวทำงในกำรจัดทำคำขอตั้งงบประมำณรำยจ่ำยประจำปี
ข้อ 48. ตอบ 2. มำตรำ 24 วรรคท้ำย เสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจำรณำให้ควำมเห็นชอบ
ข้อ 49. ตอบ 3. มำตรำ 18 จัดทำงบประมำณรำยจ่ำยข้ำมปี
ข้อ 50. ตอบ 3. มำตรำ 10 (2) รำยรับรำยจ่ำยเปรียบเทียบระหว่ำงปีที่ล่วงมำแล้ว ปีปัจจุบัน
และปีที่ขอตั้งงบประมำณรำยจ่ำย
ข้อ 51. ตอบ 4. มำตรำ 57 เบิกจ่ำยให้แล้วเสร็จภำยในวันที่ 30 กันยำยน 2563
ข้อ 52. ตอบ 2. มำตรำ 36 ต้องได้รับอนุมัติจำกคณะรัฐมนตรี
ข้อ 53. ตอบ 4. มำตรำ 31 และมำตรำ 32
ข้อ 54. ตอบ 4. มำตรำ 7 ต้องมีประสิทธิภำพสูงสุดเพื่อประโยชน์ของประเทศชำติและประชำชน
เป็นสำคัญ
ข้อ 55. ตอบ 3. มำตรำ 38 วรรคท้ำย ผู้รักษำกำรตำมกฎหมำย มีหน้ ำที่รับผิดชอบในกำรกำกับ
หรือควบคุมกำรใช้จ่ำยงบประมำณของหน่วยรับงบประมำณ
398

แนวข้อสอบ พ.ร.บ.วินัยกำรเงินกำรคลังของรัฐ พ.ศ.2561


ข้อ 1 ข้อใดมิใช่หลักกำรของรัฐในกำรดำเนินนโยบำยกำรคลัง ตำมพระรำชบัญญัติวินัยกำรเงิน
กำรคลังของรัฐ พ.ศ.2561
ก. หลักเศรษฐกิจฐำนรำก
ข. หลักกำรรักษำเสถียรภำพทำงเศรษฐกิจ
ค. หลักกำรพัฒนำทำงเศรษฐกิจอย่ำงยั่งยืน
ง. หลักควำมเป็นธรรมในสังคม
ข้อ 2 สัดส่วนหนี้สำธำรณะต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศเพื่อใช้เป็นกรอบในกำรบริหำรหนี้
สำธำรณะเป็นไปตำมข้อใด
ก. ไม่เกินร้อยละ 5
ข. ไม่เกินร้อยละ 10
ค. ไม่เกินร้อยละ 35
ง. ไม่เกินร้อยละ 60
ข้อ 3 กฎหมำยว่ำด้วยวินัยกำรเงินกำรคลังของรัฐกำหนดหลักกำรห้ำมเสนอกฎหมำยที่ให้จัดเก็บ
ภำษี อ ำกรหรื อ ค่ ำ ธรรมเนี ย มเพิ่ ม ขึ้ น จำกที่ ก ำหนดไว้ ใ นกฎหมำยเพื่ อ กำรน ำไปใช้ จ่ ำ ยตำม
วัตถุประสงค์หรือเพื่อกำรหนึ่งกำรใดเป็นกำรเฉพำะเจำะจง ยกเว้นข้อใด
ก. เป็นไปตำมควำมต้องกำรของชุมชน
ข. เพื่อเป็นรำยได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ค. มีเหตุจำเป็นหรือเหตุฉุกเฉินที่มิอำจหลีกเลี่ยงได้
ง. สอดคล้องกับยุทธศำสตร์ชำติ
ข้อ 4 หน่วยงำนของรัฐจะต้องนำแผนกำรคลังระยะปำนกลำงที่คณะรัฐมนตรีเห็นชอบแล้วไปใช้
ประกอบกำรพิจำรณำในเรื่องต่อไปนี้ ยกเว้นข้อใด
ก. กำรจัดเก็บหรือหำรำยได้
ข. กำรจัดสรรงบประมำณรำยจ่ำย
ค. กำรจัดทำงบประมำณ
ง. กำรก่อหนี้ของหน่วยงำนของรัฐ
ข้อ 5 กำรสั่งลงโทษทำงปกครองกรณีกระทำผิดวินัยกำรเงินกำรคลังของรัฐตำมที่กำหนดไว้ใน
พระรำชบัญญัติวินัยกำรเงินกำรคลังของรัฐ พ.ศ. 2561 จะต้องดำเนินกำรตำมกฎหมำยใด
ก. กฎหมำยประกอบรัฐธรรมนูญว่ำด้วยกำรตรวจเงินแผ่นดิน
ข. กฎหมำยประกอบรัฐธรรมนูญว่ำด้วยกำรป้องกันและปรำบปรำมกำรทุจริต
ค. กฎหมำยวิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครอง
ง. กฎหมำยวิธีกำรงบประมำณ
399

ข้อ 6 หน่วยงำนใดมีหน้ำที่กำหนดมำตรฐำนกำรบัญชีภำครัฐและนโยบำยกำรบัญชีภำครัฐ
ก. กระทรวงกำรคลัง
ข. กรมบัญชีกลำง
ค. สำนักงำนกำรตรวจเงินแผ่นดิน
ง. คณะกรรมกำรตรวจเงินแผ่นดิน
ข้อ 7 กระทรวงกำรคลั งต้อ งจัด ทำรำยงำนกำรเงิน แผ่ นดิน ประจำปี งบประมำณและจัดส่ งให้
สำนักงำนกำรตรวจเงินแผ่นดินตรวจสอบภำยในระยะเวลำตำมข้อใด
ก. 60 วัน นับแต่วันสิ้นปีงบประมำณ
ข. 90 วัน นับแต่วันสิ้นปีงบประมำณ
ค. 120 วัน นับแต่วันสิ้นปีงบประมำณ
ง. 180 วัน นับแต่วันสิ้นปีงบประมำณ
ข้อ 8 จำกข้อ 7 สำนักงำนกำรตรวจเงินแผ่นดินจะต้องจัดทำรำยงำนผลกำรตรวจสอบรำยงำน
กำรเงินแผ่นดินประจำปีงบประมำณให้แล้วเสร็จภำยในระยะเวลำใด
ก. 90 วัน นับแต่วันสิ้นปีงบประมำณ
ข. 120 วัน นับแต่วันสิ้นปีงบประมำณ
ค. 150 วัน นับแต่วันสิ้นปีงบประมำณ
ง. 180 วัน นับแต่วันสิ้นปีงบประมำณ
ข้อ 9 หน่วยงำนใดปฏิบัติหน้ำที่เป็นหน่วยงำนธุรกำรของคณะกรรมกำรนโยบำยกำรเงิน กำรคลัง
ของรัฐ
ก. สำนักงำนบริหำรหนี้สำธำรณะ
ข. สำนักงำนปลัดกระทรวงกำรคลัง
ค. สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง
ง. กรมบัญชีกลำง
ข้อ 10 แผนกำรคลังระยะปำนกลำงมีระยะเวลำเท่ำใด
ก. ไม่น้อยกว่ำ 2 ปี
ข. ไม่น้อยกว่ำ 3 ปี
ค. ไม่น้อยกว่ำ 4 ปี
ง. ไม่น้อยกว่ำ 5 ปี
ข้อ 11 ข้อใดกล่ำวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับกำรเสนอกฎหมำยว่ำด้วยงบประมำณรำยจ่ำยประจำปี
ก. ต้องเป็นไปตำมกฎหมำยว่ำด้วยวิธีกำรงบประมำณ
ข. ต้องแสดงผลสัมฤทธิ์หรือประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับจำกกำรจ่ำยเงิน
ค. ต้องตรำกฎหมำยให้เสร็จก่อนวันเริ่มปีงบประมำณเท่ำนั้น
ง. ต้องสอดคล้องกับยุทธศำสตร์ชำติ
400

ข้อ 12 พระรำชบัญญัติวินัยกำรเงินกำรคลังของรัฐ พ.ศ.2561 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่เมื่อใด


ก. 19 เมษำยน 2561
ข. 20 เมษำยน 2561
ค. 19 เมษำยน 2562
ง. 20 เมษำยน 2562
ข้อ 13 ตำมตัว เลื อกต่ อไปนี้เป็นองค์ ประกอบคณะกรรมกำรนโยบำยกำรเงิน กำรคลั งของรัฐ
ยกเว้นข้อใด
ก. เลขำธิกำรคณะกรรมกำรพัฒนำกำรเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ
ข. ผู้อำนวยกำรสำนักงบประมำณ
ค. ผู้ว่ำกำรธนำคำรแห่งประเทศไทย
ง. ผู้อำนวยกำรสำนักงำนบริหำรหนี้สำธำรณะ
ข้อ 14 กำรยกเว้นหรือกำรลดภำษีอำกรจะกระทำได้ต้องอำศัยอำนำจตำมกฎหมำยที่ให้อำนำจ
จัดเก็บภำษีอำกร โดยจะต้องคำนึงถึงปัจจัยต่ำงๆ ยกเว้นข้อใด
ก. ควำมเสมอภำค
ข. ไม่เลือกปฏิบัติ
ค. กำรบริหำรควำมเสี่ยง
ง. ควำมมั่นคงทำงเศรษฐกิจ
ข้อ 15 ข้อใดถูกต้องตำมหลักเกณฑ์กำรตั้งงบประมำณรำยจ่ำยประจำปี
ก. รำยจ่ำยบุคลำกรของรัฐต้องตั้งให้เกิดควำมคล่องตัว
ข. รำยจ่ำยลงทุนต้องไม่น้อยกว่ำวงเงินส่วนที่ขำดดุลของงบประมำณประจำปี
ค. รำยจ่ำยเพื่อกำรชำระหนี้ภำครัฐซึ่งเป็นหนี้สำธำรณะที่กระทรวงกำรคลังกู้ต้องตั้งชำระ
คืนต้นเงินกู้ไม่น้อยกว่ำร้อยละหนึ่ง
ง. รำยจ่ำยงบกลำง รำยกำรเงินสำรองจ่ำยเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจำเป็นต้องตั้งตำมนโยบำย
รัฐบำล
ข้อ 16 กรณีที่ไม่ได้จ่ำยเงินที่ขอเบิกจำกคลังหรือจ่ำยไม่หมด จะต้องดำเนินกำรอย่ำงไร
ก. หน่วยงำนของรัฐผู้เบิกต้องดำเนินกำรแปลงงบประมำณโดยไม่ชักช้ำ
ข. หน่วยงำนของรัฐผู้เบิกต้องนำส่งคืนคลังโดยไม่ชักช้ำ
ค. หน่วยงำนของรัฐผู้รับตรวจต้องเร่งดำเนินกำรเบิกจ่ำย
ง. หน่วยงำนของรัฐผู้รับตรวจต้องรำยงำนกำรดำเนินกำรต่อกระทรวงกำรคลัง
ข้อ 17 หน่วยงำนใดมีหน้ำที่จัดทำบัญชีทรัพย์สินของแผ่นดิน
ก. กรมธนำรักษ์
ข. สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง
ค. สำนักงำนทรัพย์สินของแผ่นดิน
ง. กระทรวงกำรคลัง
401

ข้อ 18 กำรกู้เงินของรัฐบำล ต้องปฏิบัติตำมบทบัญญัติตำมกฎหมำยใดโดยเคร่งครัด


ก. กฎหมำยว่ำด้วยกำรบริหำรหนี้สำธำรณะ
ข. กฎหมำยว่ำด้วยเงินคงคลัง
ค. กฎหมำยว่ำด้วยกำรจัดซื้อจัดจ้ำงและกำรบริหำรพัสดุภำครัฐ
ง. กฎหมำยว่ำด้วยวิธีกำรงบประมำณ
ข้อ 19 ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับรำยงำนควำมเสี่ยงทำงกำรคลังประจำปี
ก. ต้องแสดงผลกำรประเมินควำมเสี่ยงที่คำดว่ำจะเกิดขึ้นจำกผลกระทบของเศรษฐกิจมห
ภำค
ข. ต้องมีข้อมูลผลกำรดำเนินงำนของหน่วยงำนของรัฐที่อำจก่อให้เกิดภำระทำงกำรคลัง
ของรัฐบำล
ค. ต้องนำเสนอคณะกรรมกำรนโยบำยกำรเงินกำรคลังของรัฐเพื่อประกอบกำรพิจำรณำ
จัดทำแผนกำรคลังระยะปำนกลำง
ง. ต้องเสนอคณะรัฐมนตรีภำยในสองร้อยสิบวันนับแต่วันสิ้นปีงบประมำณ
ข้อ 20 กำรเบิกเงินชดใช้เงินทดรองรำชกำรที่ส่วนรำชกำรได้จ่ำยเงินทดรองรำชกำรไปแล้ว จะต้อง
ดำเนินกำรอย่ำงไร
ก. ให้เบิกโดยเร็ว
ข. ให้เบิกโดยด่วนที่สุด
ค. ให้เบิกตำมควำมเหมำะสม
ง. ให้เบิกในโอกำสแรกที่กระทำได้
402

เฉลยแนวข้อสอบ พ.ร.บ.วินัยกำรเงินกำรคลังของรัฐ พ.ศ.2561


ข้อ 1 ตอบ ก. ดูมำตรำ 6 รัฐต้องดำเนินนโยบำยกำรคลังฯ ตำมหลักกำรรักษำเสถียรภำพและกำร
พัฒนำทำงเศรษฐกิจอย่ำงยั่งยืน และหลักควำมเป็นธรรมในสังคม
ข้อ 2 ตอบ ง. มำตรำ 50 (1) กำหนดให้คณะกรรมกำรประกำศกำหนดสัดส่วนหนี้สำธำรณะต่อ
ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศเพื่อใช้เป็นกรอบในกำรบริหำรหนี้สำธำรณะ ซึ่งคณะกรรมกำรได้มี
ประกำศคณะกรรมกำรนโยบำยกำรเงิน กำรคลั งของรั ฐ เรื่ อง กำหนดกรอบในกำรบริ หำรหนี้
สำธำรณะ พ.ศ. 2561 กำหนดสัดส่วนดังกล่ำวต้องไม่เกินร้อยละ 60
ข้อ 3 ตอบ ข. ดูมำตรำ 26 กำหนดข้อยกเว้นให้มีกำรเสนอกฎหมำยที่เป็นกำรจัดเก็บภำษีอำกร
หรือค่ำธรรมเนียมเพิ่มขึ้นเพื่อเป็นรำยได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้
ข้ อ 4 ตอบ ข. ดู ม ำตรำ 16 ก ำหนดให้ ห น่ ว ยงำนของรั ฐ น ำแผนกำรคลั ง ระยะปำนกลำงที่
คณะรัฐมนตรีให้ควำมเห็นชอบแล้ว มำใช้ประกอบกำรพิจำรณำในกำรจัดเก็บหรือหำรำยได้ กำร
จัดทำงบประมำณ และกำรก่อหนี้ของหน่วยงำนของรัฐ
ข้อ 5 ตอบ ก. ดูมำตรำ 80 กฎหมำยประกอบรัฐธรรมนูญว่ำด้วยกำรตรวจเงินแผ่นดิน
ข้อ 6 ตอบ ก. ดูมำตรำ 68 กำหนดให้กระทรวงกำรคลังกำหนดมำตรฐำนกำรบัญชีภำครัฐและ
นโยบำยกำรบัญชีภำครัฐ
ข้อ 7 ตอบ ข. ดู มำตรำ 75 วรรคหนึ่ง ต้ อ งจั ด ส่ ง ให้ ต รวจสอบภำยใน 90 วัน นั บ แต่ วั น สิ้ น
ปีงบประมำณ
ข้อ 8 ตอบ ง. ดูมำตรำ 75 วรรคสอง ภำยใน 180 วัน นับแต่วันสิ้นปีงบประมำณ
ข้อ 9 ตอบ ค. ดูมำตรำ 10 วรรคท้ำย กำหนดให้สำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลังปฏิบั ติหน้ำที่เป็น
หน่วยงำนธุรกำรของคณะกรรมกำรนโยบำยกำรเงินกำรคลังของรัฐ
ข้อ 10 ตอบ ข. ดูมำตรำ 13 วรรคท้ำย ให้แผนกำรคลังระยะปำนกลำงมีระยะเวลำไม่น้อยกว่ำ 3
ปี
ข้อ 11 ตอบ ค. ดูมำตรำ 18 โดยหลักทั่วไป กำหนดให้กำรตรำกฎหมำยว่ำด้วยงบประมำณ
รำยจ่ำยประจำปีต้องดำเนินกำรให้ แล้วเสร็จก่อนวันเริ่มปีงบประมำณ ยกเว้นจะมีเหตุจำเป็นหรือ
เหตุฉุกเฉินที่มิอำจหลีกเลี่ยงได้
ข้อ 12 ตอบ ข. พระรำชบัญญัติ ฉบับนี้ ประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำเมื่อวั นที่ 19 เมษำยน
2561 ซึ่งมำตรำ 2 บัญญัติให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจำกวันประกำศฯ เป็นต้นไป คือ วันที่ 20
เมษำยน 2561
ข้อ 13 ตอบ ง. ดูมำตรำ 10 วรรคหนึ่ง องค์ประกอบของคณะกรรมกำรนโยบำยกำรเงินกำรคลัง
ของรัฐ ประกอบด้วย
1. นำยกรัฐมนตรี เป็นประธำนกรรมกำร
2. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงกำรคลัง เป็นรองประธำนกรรมกำร
3. ปลัดกระทรวงกำรคลัง เป็นกรรมกำร
4. เลขำธิกำรคณะกรรมกำรพัฒนำกำรเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ เป็นกรรมกำร
403

5. ผู้อำนวยกำรสำนักงบประมำณ เป็นกรรมกำร
6. ผู้ว่ำกำรธนำคำรแห่งประเทศไทย เป็นกรรมกำร
ผู้อำนวยกำรสำนักงำนเศรษฐกิจกำรคลัง เป็นเลขำนุกำร
ข้อ 14 ตอบ ค. ดูมำตรำ 32 วรรคหนึ่ง กำรยกเว้ นหรือกำรลดภำษีอำกรจะกระทำได้ก็แต่โดย
อำศัยอำนำจตำมกฎหมำยที่ให้อำนำจจัดเก็บภำษีอำกร โดยต้องพิจำรณำถึงควำมเป็นธรรม ควำม
เสมอภำค และกำรไม่เลือกปฏิบัติ รวมทั้งกำรพัฒนำและสนับสนุนเสถียรภำพและควำมมั่นคงทำง
เศรษฐกิจและสังคม
ข้อ 15 ตอบ ข. ดูมำตรำ 20 (1) หลักเกณฑ์กำรตั้งงบประมำณรำยจ่ำยลงทุน ต้องมีจำนวนไม่
น้อยกว่ำร้อยละ 20 ของงบประมำณรำยจ่ำยประจำปี และต้องไม่น้อยกว่ำวงเงินส่วนที่ขำดดุล
ของงบประมำณประจำปี
ข้อ 16 ตอบ ข. ดูมำตรำ 40 กำหนดให้หน่วยงำนของรัฐผู้เบิกนำส่งคืนคลังโดยไม่ชักช้ำ
ข้อ 17 ตอบ ง. ดูมำตรำ 45 วรรคสอง บัญญั ติให้กระทรวงกำรคลังมีหน้ำที่จัดทำบัญชีทรัพย์สิน
ของแผ่นดินตำมประเภทและลักษณะแห่งทรัพย์สิน
ข้อ 18 ตอบ ก. ดูมำตรำ 52 วรรคหนึ่ง ต้องปฏิบัติตำมกฎหมำยว่ำด้วยกำรบริหำรหนี้สำธำรณะ
โดยเคร่งครัด
ข้อ 19 ตอบ ง. ดูมำตรำ 78
ข้อ 20 ตอบ ง. ดูมำตรำ 41 วรรคสอง บัญญัติให้ ส่วนรำชกำรที่จ่ำยเงินทดรองรำชกำรแล้ว เบิก
เงินชดใช้เงินทดรองรำชกำรที่ได้จ่ำยไปนั้นในโอกำสแรกที่กระทำได้
404

แนวข้อสอบ : ระเบียบสำนักนำยกรัฐมนตรีว่ำด้วยงำนสำรบรรณ พ.ศ. 2526 แก้ไขเพิ่มเติมถึง


ฉบับที่ 4 พ.ศ. 2564
1. ข้อควำมใดเป็นควำมหมำยของงำนสำรบรรณตำมระเบียบนี้
ก. กำรเก็บรักษำ กำรยืม กำรทำลำย
ข. กำรรับ กำรส่ง
ค. กำรจัดทำ
ง. ถูกทุกข้อ
2. หนังสือรำชกำรตำมระเบียบสำนักนำยกรัฐมนตรีว่ำด้วยงำนสำรบรรณมีกี่ชนิด
ก. 4 ชนิด
ข. 6 ชนิด
ค. 8 ชนิด
ง. 10 ชนิด
3. หนังสือติดต่อรำชกำรที่เป็นแบบพิธีได้แก่ หนังสือชนิดใด
ก. หนังสือสั่งกำร
ข. หนังสือภำยใน
ค. หนังสือภำยนอก
ง. หนังสือประทับตรำ
4. ส่วนรำชกำรเจ้ำของเรื่อง ถ้ำออกหนังสืออยู่ในระดับกระทรวงให้ลงชื่อส่วนรำชกำรระดับใด ลง
ไปด้วย
ก. ส่วนรำชกำรเจ้ำของเรื่อง
ข. ระดับกรมและกอง
ค. ระดับหน่วยงำน
ง. ไม่มีข้อใดถูก
5. ข้อใดไม่ใช้หนังสือประทับตรำ
ก. กำรเตือนเรื่องที่ค้ำง
ข. กำรขอรำยละเอียดเพิ่มเติม
ค. กำรแจ้งผลงำนให้ผู้เกี่ยวข้องทรำบ
ง. ตอบรับทรำบเกี่ยวกับกำรเงินที่สำคัญ
6. ข้อใดที่สอดคล้องกับหนังสือสั่งกำร
ก. คำสั่ง
ข. ระเบียบ
ค. ข้อบังคับ
ง. ถูกทุกข้อ
405

7. หนังสือประชำสัมพันธ์มีกี่ชนิด
ก. 3 ชนิด
ข. 4 ชนิด
ค. 5 ชนิด
ง. 6 ชนิด
8. ข้อใด เป็นหนังสือประชำสัมพันธ์
ก. คำสั่ง
ข. ระเบียบ
ค. ประกำศ
ง. ข้อบังคับ
9. หนังสือรับรองกำรรำยงำนบันทึกประชุม และหนังสืออื่นจัดอยู่ในหนังสือชนิดใด
ก. หนังสือภำยใน
ข. หนังสือสั่งกำร
ค. หนังสือประชำสัมพันธ์
ง. หนังสือที่เจ้ำหน้ำที่จัดทำขึ้น
10. หนังสือรำชกำรที่มีคำว่ำ “ด่วนมำก” ผู้มีหน้ำที่จะต้องปฏิบัติอย่ำงไร
ก. ปฏิบัติโดยเร็ว
ข. ปฏิบัติโดยเร็วกว่ำปกติ
ค. ปฏิบัติโดยเอำใจใส่เป็นพิเศษ
ง. ปฏิบัติตำมกำหนดเวลำในหนังสือ
11. ผู้มีอำนำจอนุญำตให้บุคคลภำยนอกยืมดูหรือคัดลอกหนังสือรำชกำรต้องเป็นข้ำรำชกำรที่
ดำรงตำแหน่งใดขึ้นไป
ก. หัวหน้ำฝ่ำย
ข. หัวหน้ำกอง
ค. หัวหน้ำแผนก
ง. ปลัดกระทรวง
12. เลขประจำของส่วนรำชกำรประกอบด้วยเลขกี่ตัว
ก. 4 ตัว
ข. 5 ตัว
ค. 6 ตัว
ง. 7 ตัว
406

13. หนังสือรำชกำรประเภทใด ที่ต้องเก็บรักษำไว้เป็นหลักฐำนของทำงรำชกำรตลอดไป


ก. หนังสือที่เกี่ยวกับประวัติศำสตร์
ข. หนังสือที่เกี่ยวกับสถิติหลักฐำน
ค. หนังสือที่ต้องใช้ตรวจสอบ
ง. ถูกทุกข้อ
14. ถ้ำท่ำนมีหนังสือถึงสมเด็จพระสังฆรำช ท่ำนจะใช้คำขึ้นต้นว่ำอย่ำงไร
ก. ทูล
ข. นมัสกำร
ค. กรำบทูล
ง. ขอประทำนกรำบทูล
15. คำลงท้ำยในหนังสือนิมนต์พระรำชำคณะใช้อย่ำงไร
ก. แล้วแต่จะโปรด
ข. ขอมนัสกำรด้วยควำมเคำรพ
ค. นมัสกำรด้วยควำมเคำรพอย่ำงยิ่ง
ง. ขอนมัสกำรด้วยควำมเคำรพอย่ำงสูง
16. ข้อใด มิใช่หนังสือรำชกำร
ก. หนังสือภำยนอก หนังสือภำยใน
ข. หนังสือประทับตรำ หนังสือสั่งกำร
ค. หนังสือประชำสัมพันธ์ หนังสือเจ้ำหน้ำที่ทำขึ้น
ง.หนังสือที่รับไว้เป็นหลักฐำนในรำชกำรหนังสือส่วนตัว
17. ข้อใดเป็นหนังสือภำยนอก
ก. หนังสือที่ส่วนรำชกำรมีถึงหน่วยงำนอื่นใด ที่มิใช่ส่วนรำชกำร
ข. หนังสือที่ส่วนรำชกำรมีถึงบุคคลภำยนอก
ค. หนังสือติดต่อรำชกำรที่เป็นแบบพิธี
ง. ถูกทุกข้อ
18. ถ้ำท่ำนจะมีหนังสือถึงท่ำนนำยกรัฐมนตรี ท่ำนจะใช้คำลงท้ำยอย่ำงไร
ก. ขอแสดงควำมนับถือ
ข. ขอแสดงควำมนับถืออย่ำงยิ่ง
ค. ขอแสดงควำมนับถือเป็นอย่ำงสูง
ง. ขอแสดงควำมนับถืออย่ำงสูงยิ่ง
19. หนังสือที่เจ้ำหน้ำที่ทำขึ้นหรือรับไว้เป็นหลักฐำนในรำชกำรมีกี่ชนิด
ก. 2 ชนิด
ข. 3 ชนิด
ค. 4 ชนิด
407

ง. 5 ชนิด
20. ต่อไปนี้ เป็นหนังสือที่เจ้ำหน้ำที่ทำขึ้นหรือรับไว้เป็นหลักฐำนในรำชกำร ยกเว้นข้อใด
ก. ข่ำว
ข. บันทึก
ค. หนังสือรับรอง
ง. รำยงำนกำรประชุม
21. หนังสือประเภทใดให้เจ้ำหน้ำที่ปฏิบัติในทันทีที่ได้รับหนังสือนั้น
ก. หนังสือด่วน
ข. หนังสือเวียน
ค. หนังสือด่วนมำก
ง. หนังสือด่วนที่สุด
22. กรณีที่ได้รับหนังสือต่อไปนี้พร้อมกันให้ปฏิบัติหนังสือประเภทใดก่อน
ก. ด่วนภำยในเวลำที่กำหนด
ข. ด่วนที่สุด
ค. ด่วนมำก
ง. ด่วน
23. กำรปฏิบัติในกำรระบุชั้นควำมเร็วใช้อักษรสีอะไร
ก. สีดำ
ข. สีแดง
ค. สีน้ำเงิน
ง. สีเขียวเข้ม
24. ระเบียบว่ำด้วยกำรรักษำควำมปลอดภัยแห่งชำติ พ.ศ. 2517 ได้กำหนดชั้นควำมลับออกเป็น
กี่ชั้น
ก. 2 ชั้น
ข. 3 ชั้น
ค. 4 ชั้น
ง. 5 ชั้น
25. ข้อใดมิใช่ชั้นควำมลับของระเบียบว่ำด้วยกำรรักษำควำมปลอดภัยแห่งชำติ
ก. ลับ
ข. ลับมำก
ค. ลับที่สุด
ง. ลับเฉพำะ
408

26. เอกสำรในข้อใดจะต้องบรรจุซองหรือห่อสองชั้นอย่ำงมั่นคง ซองหรือห่อชั้นนอกต้องทึบแสง


ก. เอกสำรชั้นลับที่สุด
ข. เอกสำรชั้นลับมำก
ค. เอกสำรชั้นลับ
ง. เอกสำรชั้นปกปิด
27. หนังสือรำชกำรภำษำอังกฤษกี่ประเภท
ก. 2 ประเภท
ข. 3 ประเภท
ค. 4 ประเภท
ง. 5 ประเภท
28. หนังสือรำชกำรภำษำอังกฤษที่ต้องลงชื่อ มี 3 ชนิด ยกเว้นข้อใด
ก. หนังสือกลำง
ข. หนังสือรำชกำรภำยใน
ค. หนังสือรำชกำรที่เป็นแบบพิธี
ง. หนังสือรำชกำรที่ไม่เป็นแบบพิธี
29. กำรทำสำเนำหนังสือ โดยปกติใช้ทำสำเนำคู่ฉบับไว้อย่ำงน้อยกี่ชุด
ก. 2 ชุด
ข. 3 ชุด
ค. 4 ชุด
ง. แล้วแต่ตกลงกัน
30. กำรทำสำเนำในข้อใด ต้องมีผู้รับรองสำเนำว่ำ “สำเนำถูกต้อง”
ก. กำรทำสำเนำโดยคัดจำกต้นฉบับ
ข. กำรทำสำเนำโดยลอกจำกต้นฉบับ
ค. กำรทำสำเนำโดยถ่ำยจำกต้นฉบับด้วยเครื่องถ่ำยภำพ
ง.ถูกทุกข้อ
31. รำยละเอียดของบัตรตรวจค้นมีดังต่อไปนี้ ยกเว้นข้อใด
ก. เรื่อง รหัส เลขทะเบียนรับ
ข. เลขทะเบียนส่ง หมำยเหตุ
ค. รำยกำร ปฏิบัติ
ง. ที่ ลงวันที่
32. กำรจ่ำหน้ำซองหนังสือ ได้กำหนดกำรจ่ำหน้ำซองไว้โดยแบ่งซองเป็นกี่ส่วน
ก. 9 ส่วน
ข. 8 ส่วน
ค. 7 ส่วน
409

ง. 6 ส่วน
33. จำกข้อ 32 ส่วนบนด้ำนซ้ำยของซองสำหรับทำอะไร
ก. เป็นตรำครุฑ
ข.พิมพ์คำขึ้นต้น
ค. กรอกรหัสประจำส่วนรำชกำร
ง. พิมพ์ชอ่ื ส่วนรำชกำรทีอ่ อกหนังสือ
34. วิธีกำรเก็บหนังสือแบ่งออกได้เป็นกี่ลักษณะ
ก. 5 ลักษณะ
ข. 4 ลักษณะ
ค. 3 ลักษณะ
ง. 2 ลักษณะ
35. วิธีกำรเก็บหนังสือมีดังนี้ ยกเว้นข้อใด
ก. กำรเก็บระหว่ำงปฏิบัติ
ข. กำรเก็บเมื่อปฏิบัติเสร็จแล้ว
ค. กำรเก็บไว้เพื่อใช้ค้นคว้ำต่อไป
ง. กำรเก็บไว้เพื่อใช้ในกำรตรวจสอบ
36. กำรประทับตรำกำหนดเก็บหนังสือคำว่ำ “ห้ำมทำลำย”ใช้หมึกสีอะไร
ก. สีดำ
ข. สีแดง
ค. สีเขียว
ง. สีน้ำเงิน
37. กำรประทับตรำกำหนดเก็บหนังสือคำว่ำ “เก็บถึง พ.ศ. .....” ใช้หมึกสีอะไร
ก. สีดำ
ข. สีแดง
ค. สีเขียว
ง. สีน้ำเงิน
38. ระเบียบงำนสำรบรรณ ได้กำหนดอำยุกำรเก็บหนังสือไว้ว่ำ โดยปกติให้เก็บหนังสือต่ำงๆไว้ไม่
น้อยกว่ำกี่ปี
ก. 5 ปี
ข. 10 ปี
ค. 1 ปี
ง. 25 ปี
410

39. จำกข้อ 38 ยกเว้น หนังสือที่เป็นเรื่องธรรมดำสำมัญ ซึ่งไม่มีควำมสำคัญ และเป็นเรื่องที่


เกิดขึ้นเป็นประจำเมื่อดำเนินกำรแล้วเสร็จให้เก็บไว้ไม่น้อยกว่ำกี่ปี
ก. 1 ปี
ข. 3 ปี
ค. 5 ปี
ง. 10 ปี
40. จำกข้อ 38 ยกเว้น หนังสือที่ได้ปฏิบัติงำนแล้ว และเป็นคู่สำเนำที่มีต้นเรื่องจะค้นได้จำกที่อื่น
ให้เก็บไว้ไม่น้อยกว่ำกี่ปี
ก. 1 ปี
ข. 3 ปี
ค. 5 ปี
ง. 10 ปี
41. ข้อใด คือ กำรกำหนดมำตรกำรในกำรรักษำหนังสือ
ก. ระมัดระวังรักษำหนังสือให้อยู่ในสภำพใช้รำชกำรได้ทุกโอกำส
ข. หำกชำรุดเสียหำยรีบซ่อมให้ใช้รำชกำรได้เหมือนเดิม
ค. หำกเกิดกำรสูญหำยต้องหำสำเนำมำแทน
ง. ถูกทุกข้อ
42. ภำยในกี่วัน หลังจำกวันสิ้นปีปฏิทินให้เจ้ำหน้ำที่ผู้รับผิดชอบในกำรเก็บหนังสือสำรวจหนังสือ
ที่ครบอำยุกำรเก็บในปีนั้น แล้วจัดทำบัญชีหนังสือขอทำลำย
ก. ภำยใน 30 วัน
ข. ภำยใน 60 วัน
ค. ภำยใน 90 วัน
ง. ภำยใน 120 วัน
43. คำรำชำศัพท์ว่ำ “ดัชนี” คำสำมัญคือข้อใด
ก. นิ้วชี้
ข. นิ้วนำง
ค. นิ้วก้อย
ง. นิ้วกลำง
44. คำรำชำศัพท์ว่ำ “พระปรำษณี” คำสำมัญคือข้อใด
ก. ข้อเท้ำ
ข. ฝ่ำเท้ำ
ค. สันเท้ำ
ง. หลังเท้ำ
411

45. คำในข้อใดมีควำมหมำยว่ำ “ตำย”


ก. ถึงพิรำลัย
ข. ถึงอสัญกรรม
ค. ถึงแก่มรณภำพ
ง. ถูกทุกข้อ
46. หนังสือที่ระบุชั้นควำมเร็วด้วยตัวอักษรแดงดังต่อไปนี้ ข้อใดต้องปฏิบัติให้เร็วกว่ำปกติ
ก. ด่วน
ข. ด่วนมำก
ค. ด่วนที่สุด
ง. ต้องปฏิบัติให้เร็วกว่ำปกติทุกข้อ
47. กำรยืมหนังสือระหว่ำงส่วนรำชกำร ผู้ยืมและผู้อนุญำตให้ยืมต้องเป็นหัวหน้ำส่วนรำชกำร
ระดับใดขึ้นไป
ก. ปลัดกระทรวง
ข. หัวหน้ำแผนก
ค. หัวหน้ำกอง
ง. หัวหน้ำฝ่ำย
48. หนังสือรำชกำรในข้อใด โดยปกติให้ใช้กระดำษบันทึกข้อควำม
ก. คำสั่ง
ข. บันทึก
ค. ระเบียบ
ง. ข้อบังคับ
49. ข้อควำมใดมีควำมสอดคล้องกับรำยงำนกำรประชุมมำกที่สุด
ก. กำรบันทึกควำมคิดเห็นของผู้มำประชุม
ข. กำรบันทึกควำมควำมคิดเห็นของผู้เข้ำร่วมประชุม
ค. บันทึกมติของที่ประชุมไว้เป็นหลักฐำน
ง. ถูกทุกข้อ
50. ระเบี ยบสำนัก นำยกรัฐมนตรีว่ ำด้ วยงำนสำรบรรณ พ.ศ. 2526 มี ผ ลบั งคั บใช้ตั้ งแต่วั น ที่
เท่ำใด
ก. วันที่ 1 มิถุนำยน 2526
ข. วันที่ 2 มิถุนำยน 2526
ค. วันที่ 3 มิถุนำยน 2526
ง. วันที่ 4 มิถุนำยน 2526
412

51.เมื่อได้รับหนังสือด้วยระบบสำรบรรณอิเล็กทรอนิกส์แล้ว ระบบสำรบรรณอิเล็กทรอนิกส์
จะต้องสำมำรถดำเนินกำรตำมข้อใด
ก. ออกเลขที่ทะเบียนรับและบันทึกลงในทะเบียนหนังสือรับตำมลำดับติดต่อกัน
ไปตลอดปีปฏิทิน
ข. ส่งผลกำรรับหนังสือกลับไปยังผู้ส่งและจัดส่งให้ผู้รับภำยในหน่วยงำนต่อไป
ค. ระบบสำรบรรณอิเล็กทรอนิกส์จะต้องสำมำรถเก็บรักษำหนังสือที่มีกำรรับส่งโดยใช้
ระบบสำรบรรณอิเล็กทรอนิกส์หรือหนังสือที่นำเข้ำภำยหลังได้ และสำมำรถแสดงข้อมูลเกี่ยวกับ
กำรปฏิบัติของหนังสือได้
ง.ถูกทุกข้อ
52.เมื่อได้ส่งหนังสือด้วยระบบสำรบรรณอิเล็กทรอนิกส์แล้ว ส่วนรำชกำรผู้ส่งต้อ งจัดส่งหนังสือ
เป็นเอกสำรอีกหรือไม่ โดยระบบสำรบรรณอิเล็กทรอนิกส์ต้องสำมำรถแสดงผลโดยอัตโนมัติใน
ระบบของผู้ส่งกรณีที่ไม่สำมำรถส่งหนังสือไปยังผู้รับได้ และผู้ส่งต้องตรวจผลกำรส่งทุกครั้งเพื่อ
ยืนยันว่ำหนังสือได้จัดส่งไปยังผู้รับเรียบร้อยแล้ว
ก. ไม่ต้องส่ง
ข. ส่งหนังสืออีก 2ฉบับ
ค. ส่งหนังสืออีก 3 ฉบับ
ง. ส่งสำเนำและตัวจริง
53 เพื่อเป็นกำรอำนวยควำมสะดวกให้แก่ประชำชนและกำรปฏิบัติงำนสำรบรรณอิเล็กทรอนิกส์
ของเจ้ ำหน้ำที่ของรัฐ ให้ ผู้ใด รวบรวมที่อยู่ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์กลำงของหน่วยงำนของรัฐ
ทั้งหมดเพื่อเผยแพร่ในทีเ่ ดียวกับที่อยู่ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์กลำงของส่วนรำชกำร
ก. สำนักเทคโนโลยีสำรสนเทศ
ข. สำนักงำนพัฒนำรัฐบำลดิจิทัล
ค.สำนักเทคโนโลยีสำรสนเทศกลำง
ง. สำนักนำยกรัฐมรตรี

เฉลยแนวข้อสอบ : ระเบียบสำนักนำยกรัฐมนตรีว่ำด้วยงำนสำรบรรณ พ.ศ. 2526 แก้ไขเพิ่มเติม


ถึงฉบับที่ 4 พ.ศ. 2564
1.ตอบ ข้อ ง. ถูกทุกข้อ
2.ตอบ ข้อ ข. 6 ชนิด
3.ตอบ ข้อ ค. หนังสือภำยนอก
4.ตอบ ข้อ ข. ระดับกรมและกอง
5.ตอบ ข้อ ง. ตอบรับทรำบเกี่ยวกับกำรเงินที่สำคัญ
6.ตอบ ข้อ ง. ถูกทุกข้อ
413

7.ตอบ ข้อ ก. 3 ชนิด


8.ตอบ ข้อ ค. ประกำศ
9.ตอบ ข้อ ง. หนังสือที่เจ้ำที่จัดทำขึ้น
10.ตอบ ข้อ ก. ปฏิบัติโดยเร็ว
11.ตอบ ข้อ ข. หัวหน้ำกอง
12.ตอบ ข้อ ก. 4 ตัว
13.ตอบ ข้อ ง. ถูกทุกข้อ
14.ตอบ ข้อ ค. กรำบทูล
15.ตอบ ข้อ ง. ขอมนัสกำรด้วยควำมเคำรพอย่ำงสูง
16.ตอบ ข้อ ง. หนังสือที่รับไว้เป็นหลักฐำนในรำชกำร หนังสือส่วนตัว
17.ตอบ ข้อ ง. ถูกทุกข้อ
18.ตอบ ข้อ ข. ขอแสดงควำมนับถืออย่ำงยิ่ง
19.ตอบ ข้อ ค. 4 ชนิด
20.ตอบ ข้อ ก. ข่ำว
21.ตอบ ข้อ ง. หนังสือด่วนที่สุด
22.ตอบ ข้อ ก. ด่วนภำยในเวลำที่กำหนด
23.ตอบ ข้อ ข. สีแดง
24.ตอบ ข้อ ค. 4 ชั้น
25.ตอบ ข้อ ง. ลับเฉพำะ
26.ตอบ ข้อ ค. เอกสำรชั้นลับ
27.ตอบ ข้อ ก. 2 ประเภท
28.ตอบ ข้อ ข. หนังสือรำชกำรภำยใน
29.ตอบ ข้อ ข. 2 ชุด
30.ตอบ ข้อ ง. ถูกทุกข้อ
31.ตอบ ข้อ ข. เลขทะเบียนส่ง หมำยเหตุ
32.ตอบ ข้อ ก. 9 ส่วน
33.ตอบ ข้อ ก. เป็นตรำครุฑ
34.ตอบ ข้อ ค. 3 ลักษณะ
35.ตอบ ข้อ ค. กำรเก็บไว้เพื่อค้นคว้ำต่อไป
36.ตอบ ข้อ ข. สีแดง
37.ตอบ ข้อ ง. สีน้ำเงิน
38.ตอบ ข้อ ข. 10 ปี
39.ตอบ ข้อ ก. 1 ปี
40.ตอบ ข้อ ค. 5 ปี
414

41.ตอบ ข้อ ง. ถูกทุกข้อ


42.ตอบ ข้อ ข. ภำยใน 60 วัน
43.ตอบ ข้อ ก. นิ้วชี้
44.ตอบ ข้อ ค. สันเท้ำ
45.ตอบ ข้อ ง. ถูกทุกข้อ
46.ตอบ ข้อ ง. ต้องปฏิบัติให้เร็วกว่ำปกติทุกข้อ
47.ตอบ ข้อ ค. หัวหน้ำกอง
48.ตอบ ข้อ ข. บันทึก
49.ตอบ ข้อ ง. ถูกทุกข้อ
50.ตอบ ข้อ ก. วันที่ 1 มิถุนำยน 2526
51.ตอบ ข้อ ง.
52.ตอบ ข้อ ก.
53.ตอบ ข้อ ข.
415

แนวข้อสอบระเบียบว่ำด้วยกำรรักษำควำมลับของทำงรำชกำร พ.ศ. 2544


1.คณะรัฐมนตรีมีมติให้วำงระเบียบว่ำด้วยกำรรักษำควำมลับของทำงรำชกำร พ.ศ. 2544 โดย
อำศัยกฎหมำยข้อใด
ก.ระเบียบสำนักนำยกรัฐมนตรีว่ำด้วยงำนสำรบรรณ พ.ศ. 2526 ข้อ 28
ข.พระรำชบัญญัติข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำร พ.ศ. 2540 มำตรำ 16 และมำตรำ 26
ค.รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พ.ศ. 2540 มำตรำ 58 และมำตรำ 29
ง.ข้อ ก. และ ข้อ ข. ถูกต้อง
จ.ข้อ ข. และ ข้อ ค. ถูกต้อง
2.ผู้รักษำกำรตำมระเบียบว่ำด้วยกำรรักษำควำมลับของทำงรำชกำร พ.ศ. 2544 คือ
ก.ปลัดสำนักนำยกรัฐมนตรี
ข.ปลัดกระทรวงกลำโหม
ค.ปลัดกระทรวงมหำดไทย
ง.นำยกรัฐมนตรี
จ.ข้อ ก ข้อ ข และข้อ ค ถูกต้อง
3.ข้อมูลข่ำวสำรลับหมำยควำมว่ำ
ก.ข้อมูลข่ำวสำรที่มีคำสั่งไม่ให้เปิดเผย
ข.ข้อมูลข่ำวสำรที่อยู่ในควำมครอบครองและควบคุมดูแลของรัฐ
ค.ข้อมูลข่ำวสำรที่เกี่ยวกับเอกชนแต่อยู่ในควำมครอบครองของรัฐ
ง.ข้อ ก และข้อ ข ถูกต้อง
จ.ข้อ ข และข้อ ค ถูกต้อง
4.หัวหน้ำหน่วยงำนของรัฐข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. ปลัดกระทรวงมหำดไทย
ข. ปลัดจังหวัด
ค. นำยกเทศมนตรี
ง. ผู้ว่ำกำรไฟฟ้ำแห่งประเทศไทย
จ. ประธำนสภำตำบล
5.ชั้นควำมลับของข้อมูลข่ำวสำรลับแบ่งประเภทชั้นคือ
ก.แบ่ง 4 ชั้น คือ ลับที่สุด ลับมำก ลับ ปกปิด
ข.แบ่ง 4 ชั้น คือ ลับที่สุด ลับมำก ลับ ลับเฉพำะ
ค.แบ่ง 3 ชั้น คือ ลับที่สุด ลับมำก ลับ
ง.แบ่ง 3 ชั้น คือ ลับสุดยอด ลับมำก ลับ
จ.ไม่มีข้อใดถูกต้อง
416

6.ข้อมูลข่ำวสำรลับซึ่งหำกเปิดเผยทั้งหมดหรือเพียงบำงส่วนจะทำให้เกิดควำมเสียหำยแก่
ประโยชน์แห่งรัฐอย่ำงร้ำยแรงคือ
ก.ชั้นควำมลับที่สุด
ข.ชั้นควำมลับมำก
ค.ชั้นควำมลับ
ง.ชั้นควำมลับเฉพำะ
จ.ชั้นควำมลับสุดยอด
7.ใครเป็นผูม้ ีอำนำจกำหนดชั้นควำมลับ
ก.เจ้ำหน้ำที่ที่เกี่ยวข้อง
ข.นำยทะเบียนข้อมูลข่ำวสำร
ค.นำยตำรวจยศร้อยตรีขึ้นไป
ง.ปลัดจังหวัด
จ.ประธำนสภำตำบล
8.หำกท่ำนได้รับมอบหมำยให้ปฏิบัติกำรแสดงชั้นควำมลับ จะดำเนินกำรอย่ำงไร
ก.แสดงชั้นควำมลับลงเอกสำรกลำงหน้ำกระดำษบนและล่ำงทุกหน้ำกระดำษด้วยหมึกสี
แดง
ข.แสดงชั้นควำมลับลงแผนที่หรือภำพเขียนกลำงหน้ำกระดำษด้ำนบนและด้ำนล่ำงทุกหน้ำ
ด้วยหมึกสีน้ำเงิน
ค.แสดงชั้นควำมลับลงที่ต้นและปลำยม้วนฟิล์มหรือจำนบันทึกด้วยหมึกสีแดง
ง.ข้อ ก และข้อ ค ถูกต้อง
จ. ถูกทุกข้อ
9.ข้อใดกล่ำวได้ถูกต้อง
ก.กำรปรับชั้นควำมลับต้องให้ผู้มีอำนำจกำหนดชั้นควำมลับของหน่วยงำนเจ้ำของเรื่อง
ข.กำรแก้ไขควำมลับให้ขีดฆ่ำเครื่องหมำยแสดงชั้นควำมลับเดิมหรือลบออกแล้วแสดง
เครื่องหมำยชั้นควำมลับที่กำหนดใหม่ใกล้ชั้นควำมลับเดิม
ค.ข้อมูลข่ำวสำรที่มีคำวินิจฉัยให้เปิดเผยโดยให้มีเงื่อนไขหรือข้อจำกัดใดให้ถือว่ำยกเลิกชั้น
ควำมลับนั้นแล้ว
ง.ข้อ ก ข้อ ข และข้อ ค ถูกต้อง
จ.ข้อ ก และข้อ ค ถูกต้อง
10.ผู้ที่มีหน้ำที่ควบคุมและรับผิดชอบกำรดำเนินกำรเกี่ยวกับข้อมูลข่ำวสำร
ก.หัวหน้ำส่วนรำชกำร
ข.ผู้ที่ได้รับมอบหมำยหน้ำที่กำหนดชั้นควำมลับ
ค.นำยทะเบียนข้อมูลข่ำวสำรลับ
ง.รองนำยทะเบียนข้อมูลข่ำวสำรลับที่ได้รับมอบหมำย
417

จ.ไม่มีข้อใดถูกต้อง
11.ข้อใดกล่ำวได้ถูกต้อง
ก.กำรส่งข้อมูลข่ำวสำรลับภำยในบริเวณหน่วยงำนเดียวกันทุกชั้นควำมลับ ต้องบรรจุซอง
ทึบแสงมั่นคงข้อข้อมูลข่ำวสำรลับนั้น
ข.กำรส่งข้อมูลข่ำวสำรลับออกนอกบริเวณหน่วยงำน ต้องบรรจุซองทึบแสงสองชั้นอย่ำง
มั่นคงระบุชั้นควำมลับให้ชัดเจนทั้งด้ำนหน้ำและด้ำนล่ำง
ค.กำรส่งข้อมูลข่ำวสำรลับทั้งภำยในและส่งออกนอกประเทศจะส่งทำงโทรคมนำคมก็ได้ถ้ำ
หัวหน้ำหน่วยงำนของรัฐอนุญำต
ง.ข้อ ข และข้อ ค ถูกต้อง
จ. ข้อ ก ข้อ ข และข้อ ค ถูกต้อง
12.ข้อใดกล่ำวไม่ถูกต้อง
ก.กำรยืมข้อมูลข่ำวสำรลับจะต้องได้รับอนุญำตจำกหน่วยงำนเจ้ำของเรื่องนั้นก่อน
ข.ชั้นควำมลับที่สุดจะเสี่ยงต่อกำรรั่วไหลให้หัวหน้ำหน่อยงำนของรัฐชั้นควำมลับสั่งทำลำย
ได้
ค.ชั้นควำมลับชั้นลับทำลำยได้ต้องส่งหอจดหมำยเหตุแห่งชำติ พิจำรณำก่อนจึงมีคำสั่ง
ทำลำยได้
ง.คณะกรรมกำรกำรทำลำยข้อมูลข่ำวสำรลับประกอบกรรมกำรไม่เกิน 3 คน
จ.กำรเปิดเผยข้อมูลข่ำวสำรลับใดให้กระทำได้เมื่อมีคำสั่งให้เปิดเผยโดยไม่มีเงื่อนไข

เฉลย แนวข้อสอบระเบียบว่ำด้วยกำรรักษำควำมลับของทำงรำชกำร พ.ศ. 2544


1.ตอบ จ
2.ตอบ ง
3.ตอบ ง
4.ตอบ ข
5.ตอบ ค
6.ตอบ ข
7.ตอบ จ
8.ตอบ จ
9.ตอบ จ
10.ตอบ ค
11.ตอบ ค
12.ตอบ ข
418

แนวข้อสอบระเบียบว่ำด้วยกำรรักษำควำมลับของทำงรำชกำร พ.ศ. 2544 ชุด 2


1.กำรปรับชั้นควำมลับหมำยควำมว่ำอย่ำงไร
ก.กำรลดหรือเพิ่มชั้นควำมลับของข้อมูลข่ำวสำรลับ
ข.กำรยกเลิกชั้นควำมลับของข้อมูลข่ำวสำรลับ
ค.กำรเปลี่ยนแปลงข้อมูลข่ำวสำรลับ
ง.ถูกทั้ง 1 และ 2
2.องค์กำรรักษำควำมปลอดภัยฝ่ำยพลเรือนตำมระเบียบเกี่ยวกับกำรรักษำควำมลับทำงรำชกำร
คือหน่วยงำนใด
ก.สำนักข่ำวกรองแห่งชำติ สำนักนำยกรัฐมนตรี
ข.ศูนย์รักษำควำมปลอดภัย กองบัญชำกำรทหำรสูงสุด
ค.กระทรวงกลำโหม
ง.กองบัญชำกำรตำรวจแห่งชำติ
3.องค์กำรรักษำควำมปลอดภัยฝ่ำยทหำรตำมระเบียบเกี่ยวกับกำรรักษำควำมลับทำงรำชกำรคือ
หน่วยงำนใด
ก.สำนักข่ำวกรองแห่งชำติ สำนักนำยกรัฐมนตรี
ข.ศูนย์รักษำควำมปลอดภัย กองบัญชำกำรทหำรสูงสุด
ค.กระทรวงกลำโหม
ง.กองบัญชำกำรตำรวจแห่งชำติ
4.ข้อใดไม่ใช่ระดับชั้นควำมลับของข้อมูลข่ำวสำรลับ
ก.ลับที่สุด
ข.ลับมำก
ค.ลับ
ง.ลับเฉพำะ
5.ข้อมูลข่ำวสำรลับซึ่งหำกเปิดเผยทั้งหมดหรือเพียงบำงส่วนจะก่อให้เกิดควำมเสียหำยแก่
ประโยชน์แห่งรัฐอย่ำงร้ำยแรงหมำยถึงระดับชั้นควำมลับใด
ก.ลับที่สุด
ข.ลับมำก
ค.ลับ
ง.ปกปิด
6.เครื่องหมำยแสดงชั้นควำมลับให้ใช้ตัวอักษรสีอะไร
ก.สีน้ำเงิน
ข.สีแดง
ค.สีอื่นที่สำมำรถมองเห็นได้เด่นและชัดเจน
ง.ถูกทั้ง 2 และ 3
419

7.ข้อมูลข่ำวสำรที่มีสภำพเป็นเอกสำรให้แสดงชั้นควำมลับที่ส่วนใดของกระดำษ
ก.กลำงหน้ำกระดำษด้ำนบน
ข.กลำงหน้ำกระดำษด้ำนล่ำง
ค.กึ่งกลำงหน้ำกระดำษ
ง.ถูกทั้ง 1 และ 2
8.หัวหน้ำหน่วยงำนของรัฐแต่งตั้งเจ้ำหน้ำที่ควบคุมและรับผิดชอบกำรดำเนินกำรเกี่ยวกับข้อมูล
ข่ำวสำรลับขึ้นภำยในหน่วยงำนที่ตนรับผิดชอบเรียกว่ำอะไร
ก.เจ้ำหน้ำที่ข้อมูลข่ำวสำรลับ
ข.นำยทะเบียนข้อมูลข่ำวสำรลับ
ค.เจ้ำหน้ำที่ปฏิบัติกำรข้อมูลข่ำวสำรลับ
ง.นักวิชำกำรข้อมูลข่ำวสำรลับ
9นำยทะเบียนข้อมูลข่ำวสำรลับอย่ำงน้อยต้องจัดให้มีทะเบียนข้อมูลข่ำวสำรลับประกอบด้วยตำม
ข้อใด
ก.ทะเบียนส่ง
ข.ทะเบียนรับ
ค.ทะเบียนควบคุมข้อมูลข่ำวสำรลับ
ง.ถูกทุกข้อ
10.กำรส่งข้อมูลข่ำวสำรลับออกนอกบริเวณหน่วยงำนต้องบรรจุอย่ำงไร
ก.บรรจุซองหรือภำชนะทึบแสงอย่ำงมั่นคง
ข.บรรจุซองหรือภำชนะทึบแสงสองชั้นอย่ำงมั่นคง
ค.บรรจุด้วยซองสีน้ำตำลอย่ำงมั่นคง
ง.บรรจุด้วยซองสีขำวอย่ำงมั่นคง
11.กรณีที่จะสั่งทำลำยข้อมูลข่ำวสำรลับชั้นลับที่สุดต้องส่งให้หน่วยงำนใดพิจำรณำก่อนว่ำไม่มี
คุณค่ำในกำรเก็บรักษำ
ก.หอจดหมำยเหตุแห่งชำติ
ข.สำนักข่ำวกรองแห่งชำติ
ค.ศูนย์รักษำควำมปลอดภัย กองบัญชำกำรทหำรสูงสุด
ง.กองบัญชำกำรตำรวจแห่งชำติ
12ในกำรสั่งทำลำยข้อมูลข่ำวสำรลับให้จัดทำใบรับรองกำรทำลำยข้อมูลข่ำวสำรลับด้วย ใบรับรอง
กำรทำลำยให้เก็บรักษำไว้เป็นหลักฐำนไม่น้อยกว่ำกี่ปี
ก.1 ปี
ข.2 ปี
ค.5 ปี
ง.10 ปี
420

เฉลย แนวข้อสอบระเบียบว่ำด้วยกำรรักษำควำมลับของทำงรำชกำร พ.ศ. 2544 ชุด 2


1.ตอบ ง. ถูกทั้ง 1 และ 2
คำอธิบำย “กำรปรับชั้นควำมลับ” หมำยควำมว่ำ กำรลดหรือเพิ่มชั้นควำมลับของข้อมูล
ข่ำวสำรลับและให้หมำยควำมรวมถึงกำรยกเลิกชั้นควำมลับของข้อมูลข่ำวสำรลับนั้นด้วย
2.ตอบ ก. สำนักข่ำวกรองแห่งชำติ สำนักนำยกรัฐมนตรี
3.ตอบ ข. ศูนย์รักษำควำมปลอดภัย กองบัญชำกำรทหำรสูงสุด
4.ตอบ ง. ลับเฉพำะ
5.ตอบ ข. ลับมำก
คำอธิบำย ลับที่สุด หมำยควำมถึง ข้อมูลข่ำวสำรลับซึ่งหำกเปิดเผยทั้งหมดหรือเพียง
บำงส่วนจะก่อให้เกิดควำมเสียหำยแก่ประโยชน์แห่งรัฐอย่ำงร้ำยแรงที่สุด
ลับมำก หมำยควำมถึง ข้อมูลข่ำวสำรลับซึ่งหำกเปิดเผยทั้งหมดหรือเพียงบำงส่วนจะ
ก่อให้เกิดควำมเสียหำยแก่ประโยชน์แห่งรัฐอย่ำงร้ำยแรง
ลับ หมำยควำมถึง ข้อมูลข่ำวสำรลับซึ่งหำกเปิดเผยทั้งหมดหรือเพียงบำงส่วนจะก่อให้เกิด
ควำมเสียหำยแก่ประโยชน์แห่งรัฐ
6.ตอบ ง. ถูกทั้ง ข และ ค
คำอธิบำย เครื่องหมำยแสดงชั้นควำมลับให้ใช้ตัวอักษรตำมชั้นควำมลับที่ขนำดใหญ่กว่ำ
ตัวอักษรธรรมดำ โดยใช้สีแดงหรือสีอื่นที่สำมำรถมองเห็นได้เด่นและชัดเจน
7.ตอบ ง. ถูกทั้ง ก และ ข
คำอธิบำย ข้อมูลข่ำวสำรที่มีสภำพเป็นเอกสำรให้แสดงชั้นควำมลับที่กลำงหน้ำกระดำษทั้ง
ด้ำนบนและด้ำนล่ำงของทุกหน้ำเอกสำรนั้น
8.ตอบ ข. นำยทะเบียนข้อมูลข่ำวสำรลับ
คำอธิบำย หัวหน้ำหน่วยงำนของรัฐแต่งตั้งเจ้ำหน้ำที่ควบคุมและรับผิดชอบกำรดำเนินกำร
เกี่ยวกับข้อมูลข่ำวสำรลับขึ้นภำยในหน่วยงำนที่ตนรับผิดชอบเรียกว่ำ “นำยทะเบียนข้อมูล
ข่ำวสำรลับ” และจะแต่งตัง้ ผู้ช่วยนำยทะเบียนข้อมูลข่ำวสำรลับตำมควำมเหมำะสมด้วยก็ได้ ให้
ผู้ช่วยนำยทะเบียนข้อมูลข่ำวสำรลับมีอำนำจหน้ำที่ปฏิบัติกำรแทนนำยทะเบียนข้อมูลข่ำวสำรลับ
ตำมที่ได้รับมอบหมำย
9.ตอบ ง. ถูกทุกข้อ
คำอธิบำย นำยทะเบียนข้อมูลข่ำวสำรลับอย่ำงน้อยต้องจัดให้มีทะเบียนข้อมูลข่ำวสำรลับ
ประกอบด้วย ทะเบียนรับ ทะเบียนส่ง และทะเบียนควบคุมข้อมูลข่ำวสำรลับ แยกต่ำงหำกจำก
ทะเบียนงำนสำรบรรณตำมปกติของหน่วยงำนของรัฐ
10.ตอบ ข. บรรจุซองหรือภำชนะทึบแสงสองชั้นอย่ำงมั่นคง
11.ตอบ ก. หอจดหมำยเหตุแห่งชำติ
คำอธิบำย ในกรณีที่กำรเก็บรักษำข้อมูลข่ำวสำรลับชั้นลับที่สุด จะเสี่ยงต่อกำรรั่วไหลอันจะ
ก่อให้เกิดอันตรำยแก่ประโยชน์แห่งรัฐ หัวหน้ำหน่วยงำนของรัฐจะพิจำรณำสั่งทำลำยข้อมูล
421

ข่ำวสำรลับชั้นลับที่สุดนั้นได้ หำกพิจำรณำเห็นว่ำมีควำมจำเป็นอย่ำงยิ่งที่จะต้องทำลำย นอกจำก


กรณีข้ำงต้นจะสั่งทำลำยได้ต่อเมื่อได้ส่งข้อมูลสำรลับให้หอจดหมำยเหตุแห่งชำติพิจำรณำก่อนว่ำ
ไม่มีคุณค่ำในกำรเก็บรักษำ
12.ตอบ ก. 1 ปี
คำอธิบำย ในกำรสั่งทำลำยข้อมูลข่ำวสำรลับ ให้หัวหน้ำหน่วยงำนของรัฐแต่งตั้ง
คณะกรรมกำรทำลำยข้อมูลข่ำวสำรลับเสร็จแล้ว ให้จดแจ้งกำรทำลำยไว้ในทะเบียนควบคุมข้อมูล
ข่ำวสำรลับและจัดทำใบรับรองกำรทำลำยข้อมูลข่ำวสำรลับด้วย ใบรับรองกำรทำลำยให้เก็บรักษำ
ไว้เป็นหลักฐำนไม่น้อยกว่ำหนึ่งปี แบบใบรับรองกำรทำลำยข้อมูลข่ำวสำรลับให้เป็นไปตำมที่
นำยกรัฐมนตรีกำหนดโดยประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำ

เก็งข้อสอบ ระเบียบว่ำด้วยกำรรักษำควำมลับของทำงรำชกำร พ.ศ.2544


1.ระเบียบนี้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดกี่วัน
- 120 วันนับแต่วันประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำ

2.ใครเป็นผู้รักษำกำรตำมระเบียบนี้
- นำยกรัฐมนตรี

3.ประกำศ ณ วันที่เท่ำใด
- 23 กุมภำพันธ์ 2544

4.คำสั่งไม่ให้เปิดเผยและอยู่ในควำมครอบครองหรือควบคุมดูแลของหน่วยงำนของรัฐ ไม่ว่ำจะ
เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับกำรดำเนินงำนของรัฐหรือที่เกี่ยวกับเอกชน ซึ่งมีกำรกำหนดให้มีชั้นควำมลับ
คือควำมหมำยของอะไร
- "ข้อมูลข่ำวสำรลับ"

5.กำรดำเนินงำนของรัฐที่เกี่ยวกับประโยชน์สำธำรณะหรือประโยชน์ของเอกชนประกอบกัน ไม่ว่ำ
จะเป็นเรื่องควำมมั่นคงของรัฐที่เกี่ยวกับกำรเมืองภำยในประเทศหรือระหว่ำงประเทศ กำรป้องกัน
ประเทศ เศรษฐกิจ สังคม วิทยำศำสตร์ เทคโนโลยี กำรพลังงำน และสิ่งแวดล้อม คือควำมหมำย
ของอะไร
- "ประโยชน์แห่งรัฐ"

6."หัวหน้ำหน่วยงำนของรัฐ" หมำยควำมว่ำอะไร
- (1) หน.ส่วนฯ ที่มีฐำนะเป็นนิติบุคคล ; ปลัด.กห., กรมรำชองครักษ์, บก.สูงสุด, ทบ., ทร., ทอ.
422

(2) ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด ; สำหรับส่วนภูมิภำค


(3) ผู้ว่ำรำชกำรกรุงเทพฯ, นำยกองค์กำรบริหำรส่วนจังหวัด, นำยกเทศมนตรี, ประธำนสภำ
ตำบล ฯลฯ
(4) ผู้บริหำรกิจกำรของรัฐวิสำหกิจหรือหน่วยงำนอื่นของรัฐ

7."กำรปรับชั้นควำมลับ" หมำยควำมว่ำอย่ำงไร
- กำรลด หรือ เพิ่ม ชั้นควำมลับของข้อมูลข่ำวสำรลับและหมำยควำมถึง กำรยกเลิก ชั้นควำมลับ
ของข้อมูลข่ำวสำรลับ

8.นำยกรัฐมนตรีจัดให้มีกำรทบทวนกำรปฏิบัติตำมระเบียบนี้และพิจำรณำแก้ไขเพิ่มเติมระเบียบนี้
เท่ำใด
- ทุก 5 ปี เป็นอย่ำงน้อย

9.องค์กำรักษำควำมปลอดภัย เป็นฝ่ำยพลเรือน คือหน่วยใด


- สำนักข่ำวกรองแห่งชำติ สำนักนำยกรัฐมนตรี

10.องค์กำรักษำควำมปลอดภัย เป็นฝ่ำยทหำร คือหน่วยใด


- ศูนย์รักษำควำมปลอดภัย กองบัญชำกำรทหำรสูงสุด

11.ชั้นควำมลับของข้อมูลข่ำวสำรลับ แบ่งออกเป็นกี่ชั้น
- แบ่งออกเป็น 3 ชั้น (1) ลับที่สุด (Top Secret) ; เสียหำยแก่ประโยชน์แห่งรัฐอย่ำงร้ำยแรงที่สุด
(2) ลับมำก (Secret) ; เสียหำยแก่ประโยชน์แห่งรัฐอย่ำงร้ำยแรง
(3) ลับ (Confidential) ; เสียหำยแก่ประโยชน์แห่งรัฐ

12.ผู้ที่มีหน้ำทีรับผิดชอบกำหนดชั้นควำมลับพร้อมทั้งให้เหตุผลประกอบกำรกำหนดชั้นควำมลับ
คือผู้ใด
- หน.หน่วยงำนของรัฐ

13.องค์ประกอบ กำรกำหนดข้อมูลข่ำวสำรลับอยู่ในชั้นควำมลับใด มีกี่ข้อ


- มี 6 ข้อ (1) ควำมสำคัญของเนื้อหำ
(2) แหล่งที่มำของข้อมูลข่ำวสำร
(3) วิธีกำรนำไปใช้ประโยชน์
(4) จำนวนบุคคลที่ควรรับทรำบ
(5) ผลกระทบหำกมีกำรเปิดเผย
423

(6) หน่วยงำนของรัฐที่รับผิดชอบในฐำนะเจ้ำของเรื่องหรือผู้อนุมัติ

14.เครื่องหมำยแสดงชั้นควำมลับใช้ตัวอักษรอย่ำงไร
- ขนำดใหญ่กว่ำตัวอักษรธรรมดำ ใช้ สีแดง หรือ สีอื่น ที่มองเห็นได้เด่นและชัดเจน

15.ข้อมูลข่ำวสำรที่เป็นเอกสำร ให้แสดงชั้นควำมลับอย่ำงไร
- กลำงหน้ำกระดำษ ทั้ง ด้ำนบน และ ด้ำนล่ำง ทุกหน้ำเอกสำร

16.ข้อมูลข่ำวสำรที่เป็น จำนบันทึก แถบบันทึก ฟิล์ม แผนผัง และ สำเนำสิ่งของดังกล่ำว ให้แสดง


ชั้นควำมลับอย่ำงไร
- ไว้ที่ ต้น และ ปลำย ม้วนฟิล์ม หรือ ต้น และ ปลำย ของข้อมูลข่ำวสำร หรือ บนวัสดุ หรือ บน
ภำชนะที่บรรจุ หรือ เก็บในกล่อง หรือ หีบห่อ มีเครื่องหมำยแสดงชั้นควำมลับ

17.ผู้แต่งตั้ง "นำยทะเบียนข้อมูลข่ำวสำรลับ" คือใคร


- หน.หน่วยงำนของรัฐ

18.หน้ำที่ "นำยทะเบียนข้อมูลข่ำวสำรลับ" มีกี่ข้อ อะไรบ้ำง


- มี 5 ข้อ (1) ดำเนินกำรทำงทะเบียนข้อมูลข่ำวสำรลับให้เป็นไปตำมฯ
(2) เก็บรักษำแบบเอกสำรต่ำง ๆ ซึ่งกรอกข้อควำมแล้วตำมฯ และบรรดำข้อมูลข่ำวสำร
ลับที่อยู่ในควำมคุมดูแลไว้ในที่ปลอดภัย
(3) เก็บรักษำบัญชีลำยมือชื่อนำยทะเบียนข้อมูลข่ำวสำรลับและผู้ช่วยฯ ที่ติดต่อเป็น
ประจำ
(4) ประสำนงำนกับผู้ควบคุมทะเบียนควำมไว้วำงใจตำมที่กำหนดในระเบียบว่ำด้วยกำร
รักษำควำมปลอดภัยแห่งชำติเพื่อกำหนดตัวบุคคลที่จะเข้ำถึงชั้นควำมลับตำมควำมเหมำะสมและ
ควำมรับผิดชอบ
(5) ปฏิบัติงำนอื่นที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลข่ำวสำรลับตำมที่กำหนดไว้ในระเบียบนี้

19.ทะเบียนข้อมูลข่ำวสำรลับประกอบด้วยอะไรบ้ำง
- ทะเบียนรับ, ทะเบียนส่ง, ทะเบียนควบคุมข้อมูลข่ำวสำรลับ

20.ทะเบียนข้อมูลข่ำวสำรลับให้ถือว่ำ
- เป็นข้อมูลข่ำวสำรลับด้วย
424

21.ผู้ใดแต่งตั้ง "คณะกรรมกำรตรวจสอบ"
- หน.หน่วยงำนของรัฐ

22."คณะกรรมกำรตรวจสอบ" ประกอบด้วย
- ประธำน = นำยทะเบียนข้อมูลข่ำวสำรลับ
กรรมกำร ไม่น้อยกว่ำ 2 คน = จนท.อื่น
- ตรวจสอบอย่ำงน้อย ทุก 6 เดือน

23.เมื่อสงสัยว่ำมีกำรละเมิดกำรรักษำควำมลับของข้อมูลข่ำวสำรลับ ดำเนินกำรอย่ำงไร
- หน.หน่วยงำนของรัฐ แต่งตั้ง คณะกรรมกำรสอบสวน โดยไม่ชักช้ำ (ต้องเป็นผู้ซึ่งมิใช่
คณะกรรมกำรตรวจสอบ)

24.ข้อมูลข่ำวสำรที่แสดงในเอกสำร
(1) ชื่อหน่วยงำนเจ้ำของ
(2) เลขที่ชุด
(3) จำนวนชุดทั้งหมด
(4) เลขที่หน้ำ
(5) ชื่อหน่วยงำนย่อย

25.กำรสำเนำและกำรแปล ต้องบันทึกสิ่งใด
- จำนวนชุด ยศ ชื่อ ตำแหน่งของผู้ดำเนินกำร และ ชื่อหน่วยงำนของรัฐที่จัดทำไว้

26.ไม่ต้องมีเครื่องหมำยแสดงชั้นควำมลับใด ๆ กับสิ่งใด
- บนซองหรือภำชนะชั้นนอก

27.ห้ำมระบุชั้นควำมลับและชื่อเรื่องไว้ในสิ่งใด
- ใบตอบลับ

28.ใครเป็นผู้กำหนดแบบใบตอบรับ ทะเบียนรับ ฯลฯ


- นำยกรัฐมนตรี

29.กำรยืมข้อมูลข่ำวสำรลับ ต้องได้รับอนุญำตจำกใคร
- หน่วยงำนเจ้ำของเรื่อง
425

30.คณะกรรมกำรทำลำยข้อมูลข่ำวสำรลับ ประกอบด้วย
- ประธำน = นำยทะเบียนข้อมูลข่ำวสำรลับ
กรรมกำร ไม่น้อยกว่ำ 2 คน = จนท.ที่เกี่ยวข้อง

31.ใบรับรองกำรทำลำยให้เก็บรักษำไว้เป็นหลักฐำนกี่ปี
- ไม่น้อยกว่ำ 1 ปี

32.เอกสำรลับชั้นปกปิด ให้ถือว่ำ
- มีชั้นควำมลับอยู่ในชั้น ลับ

33.ข้อมูลสำรใดที่ได้จัดทำมำแล้วเกินกี่ปี ให้ถือว่ำชั้นควำมลับเป็นอันยกเลิก
- เกิน 20 ปี (ภำยใน 6 เดือน นับแต่วันที่ระเบียบนี้ใช้บังคับ)
426

แนวข้อสอบกฎหมำยทั่วไป 120 ข้อพร้อมอธิบำยเฉลย


1. ระบบกฎหมำยใดที่ค ำพิพ ำกษำของศำสนำเป็ นที่ ม ำของกฎหมำย และศำลจะไม่ บั งคั บ ใช้
กฎหมำยลำยลักษณ์อักษรที่มีถ้อยคำไม่ชัดเจนหรือเคลือบแคลงสงสัย
ก. ระบบคอมมอน ลอว์ (Commom Law)
ข. ระบบซีวิล ลอว์ (Civil Law)
ค. ระบบประมวลกฎหมำย (Code Law)
ง. ระบบกฎหมำยลำยลักษณ์อักษร (Written Law)
2. กฎหมำยโรมันเป็นรำกฐำนของระบบกฎหมำยใด
ก. ระบบกฎหมำยจำรีตประเพณี
ข. ระบบกฎหมำยไม่เป็นลำยลักษณ์อักษร
ค. ระบบคอนมอน ลอว์ (Common Law)
ง. ระบบซีวิล ลอว์ (Civil Law)
3. นัก กฎหมำยชำวต่ ำงประเทศชำติ ใดมี บ ทบำทในกำรจัด ทำร่ ำ งประมวลกฎหมำยแพ่ ง และ
พำณิชย์ของประเทศไทย
ก. ประเทศฝรั่งเศส
ข. ประเทศเยอรมัน
ค. ประเทศอิตำลี
ง. ประเทศญี่ปุ่น
4. ระบบกฎหมำยใดศำลปฏิเสธที่ จ ะไม่น ำจำรี ตประเพณีท้องถิ่ นมำใช้ ใ นกำรอุ ดช่ อ งว่ ำ งแห่ ง
กฎหมำย
ก. ระบบคอมมอน ลอว์ (Common Law)
ข. ระบบซีวิล ลอว์ (Civil Law)
ค. ระบบประมวลกฎหมำย (Code Law)
ง. ระบบกฎหมำยลำยลักษณ์อักษร (Written Law)
5. วิวัฒนำกำรของกฎหมำยยุค ใดที่ศีล ธรรมและจำรีตประเพณีไม่ ได้แยกกันเด็ ดขำด หำกแต่
กฎหมำยศีลธรรม และจำรีตประเพณีเป็นเรื่องเดียวกัน
ก. ยุดกฎหมำยประเพณี
ข. ยุคกฎหมำยชำวบ้ำน
ค. ยุคกฎหมำยของนักกฎหมำย
ง. ยุคกฎหมำยเทคนิค
427

6. ข้อใดไม่ใช่กำรมีส่วนร่วมของผู้มีสิทธิเลือกตั้งในเขตองค์กำรบริหำรส่วนตำบล
ก. กำรทำประชำมติขับไล่นำยกองค์กำรบริหำรส่วนตำบล
ข. กำรเข้ำชื่อเสนอร่ำงข้อบัญญัติตำบล
ค. กำรเข้ำชื่อถอดถอนนำยกองค์กำรบริหำรส่วนตำบล
ง. กำรเลือกตั้งสมำชิกสภำองค์กำรบริหำรส่วนตำบ]
7. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับพระรำชบัญญัติ
ก. ใช้กำหนดงบประมำณของแผ่นดินเท่ำนั้น
ข. เป็นกฎหมำยนิติบัญญัติโดยแท้
ค. มีผลบังคับใช้เมื่อผ่ำนควำมเห็นของรัฐสภำ
ง. มีเนื้อหำใดก็ได้
8. ผู้ลงนำมสนองพระบรมรำชโองกำรในพระรำชบัญญัติ ได้แก่
ก. นำยกรัฐมนตรี
ข. ประธำนรัฐสภำ
ค. ประธำนองคมนตรี
ง. ประธำนวุฒิสภำ
9. เรื่องใดต้องตรำเป็นพระรำชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ
ก. คณะกรรมกำรป้องกันและปรำบปรำมกำรทุจริตภำครัฐ
ข. ศำลรัฐธรรมนูญ
ค. กำรเข้ำชื่อเสนอร่ำงกฎหมำย
ง. กำรเสนอขอประชำมติ
10. กฎหมำยใดแม้พระมหำกษัตริย์จะทรงลงประปรมำภิไธยแล้วแต่รัฐสภำอำจไม่อนุมัติให้ใช้มีผล
บังคับต่อไปได้
ก. พระรำชบัญญัติ
ข. พระรำชกำหนด
ค. พระรำชกฤษฎีกำ
ง. พระบรมรำชโองกำร
11. ข้อใดเป็นกฎหมำยตำมแบบพิธี
ก. พระรำชบัญญัติ
ข. พระรำชกำหนด
ค. พระรำชกฤษฎีกำ
ง. ถูกทุกข้อ
428

12. ประเทศไทยรับหลักระบบกฎหมำยคอมมอน ลอว์ จำกประเทศอังกฤษอย่ำงไร


ก. เนื่องจำกมีนักกฎหมำยที่จบกำรศึกษำจำกประเทศอังกฤษเป็นจำนวนมำก
ข. ศำลไทยนำมำปรับใช้ในกำรพิจำรณำพิพำกษำคดี
ค. เป็นกฎหมำยต้นแบบที่ใช้ในกำรร่ำงประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์
ง. ควำมจำเป็นเพื่อให้ประเทศไทยพ้นจำกกำรตกเป็นอำณำนิคมของประเทศอังกฤษ
13. ข้อใดถูกต้องในกำรเรียงอัตรำโทษตำมประมวลกฎหมำยอำญำจำกสูงสุดไปเบำสุด
ก. จำคุก ปรับ ริบทรัพย์สิน
ข. กักขัง ริบทรัพย์สิน ปรับ
ค. ริบทรัพย์สิน กักขัง ปรับ
ง. ปรับ ริบทรัพย์สิน กักขัง
14. ข้อใดเป็นเหตุผลสำคัญเกี่ยวกับที่มำของหลักกฎหมำยเรื่องอำยุควำม
ก. เป็นกฎหมำยที่เกิดจำกกำรประพฤติปฏิบัติเป็นเวลำนำน
ข. เป็นเหตุผลที่เกิดจำกกำรประพฤติปฏิบัติขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหำที่เกิดขึ้น
ค. เป็นกฎหมำยที่ดีของบรรพบุรุษ
ง. เป็นกฎหมำยที่เกิดขึ้นโดยใช้เหตุผลทำงกฎหมำย
15. เหตุผลสำคัญที่นักกฎหมำยมีบทบำทกำรสร้ำงหลักกฎหมำยในยุควิวัฒนำกำรกฎหมำยของ
นักกฎหมำย
ก. ไม่มีจำรีตประเพณีมำปรับใช้ได้
ข. จำรีตประเพณีที่ใช้บังคับไม่เหมำะสม
ค. จำรีตประเพณีที่ใช้บังคับอยู่ล้ำสมัย
ง. ถูกทุกข้อ
16. องค์กรที่ไม่สำมำรถริเริ่มกำรเสนอร่ำงพระรำชบัญญัติได้
ก. ประธำนองค์กรอิสระตำมรัฐธรรมนูญฯ
ข. คณะรัฐมนตรี
ค. นำยกรัฐมนตรี
ง. สมำชิกสภำผู้แทนรำษฎรไม่น้อยกว่ำ 20 คน
17. ข้อใดเป็นสภำพบังคับในทำงกฎหมำยแพ่ง
ก. ปรับ
ข. ริบทรัพย์สินของกลำง
ค. กักขังแทนค่ำปรับ
ง. ค่ำสินไหมทดแทน
429

18. กำรตรำกฎหมำยลำดับรองของฝ่ำยบริหำรต้องอำศัยอำนำจจำกที่ใด
ก. พระรำชบัญญัติ
ข. พระรำชกฤษฎีกำ
ค. ประกำศกระทรวง
ง. กฎกระทรวง
19. ถ้ำหำหลักกฎหมำยทั่วไปในตัวบทลำยลักษณ์อักษรมำปรับแก่ คดีไม่ได้ ศำลจะหำกฎหมำย
จำกที่ไหนมำตัดสิน
ก. ศำลจะปฏิเสธไม่พิจำรณำคดีได้
ข. ศำลจะยกประโยชน์แห่งควำมสงสัยให้จำเลย
ค. ศำลนำหลักควำมยุติธรรมตำมธรรมชำติมำพิจำรณำคดีได้
ง. ศำลจะสั่งจำหน่ำยคดีออกจำกสำรบบควำม
20. กำรกระทำโดยอำศัยข้อใดอำจยกเว้นควำมรับผิดทำงอำญำได้
ก. จำรีตประเพณีที่ยอมรับให้ทำได้
ข. หลักป้องกันตำมกฎหมำยอำญำ
ค. หลักเอกสิทธิ์สมำชิกรัฐสภำตำมรัฐธรรมนูญ
ง. ถูกทุกข้อ
21. ผู้พิพำกษำในศำลประเทศอังกฤษใช้กฎหมำยใดในกำรวินิจฉัยคดี
ก. กฎหมำยโรมัน
ข. คำพิพำกษำของศำลที่เป็นบรรทัดฐำน
ค. กฎหมำยสิบสองโต๊ะ
ง. ประมวลกฎหมำยของพระเจ้ำจัสติเนียน
22. ลักษณะประมวลกฎหมำยแพ่งของประเทศฝรั่งเศสเหมือนกับประมวลกฎหมำยกฎหมำยแพ่ง
ของพระเจ้ำจัสติเนียนแห่งกรุงโรมหรือไม่ เพรำะเหตุใด
ก. มีลักษณะเหมือนกัน เพรำะใช้ชื่อประมวลกฎหมำยเหมือนกัน
ข. มีลักษณะเหมือนกัน เพรำะเป็นกฎหมำยแพ่งเหมือนกัน
ค. มีลักษณะไม่เหมือนกัน เพรำะไม่มีกำรจัดแบ่งโครงสร้ำงเนื้อหำเป็นหมวดหมู่
ง. มีลักษณะไม่เหมือนกัน เพรำะระบบกฎหมำยต่ำงกัน
23. กำรที่นักศึกษำต้องเสียค่ำปรับเนื่องจำกขับรถฝ่ำสัญญำณไฟแดง ดังนี้
ก. เป็นควำมผิดอำญำที่เป็นควำมผิดศีลธรรมด้วย
ข. เป็นควำมผิดอำญำในทำงเทคนิค
ค. เป็นควำมผิดอำญำที่ผิดทั้งศีลธรรมและผิดเพรำะกฎหมำยห้ำม
ง. ไม่เป็นควำมผิดอำญำใดๆ
430

24. ถ้ำพิเครำะห์บทบัญญัติในมำตรำ 369 ที่บัญญัติว่ำ “ในสัญญำต่ำงตอบแทนนั้น คู่สัญญำ


ฝ่ำยหนึ่งจะไม่ยอมชำระหนี้จนกว่ำอีกฝ่ำยจะชำระหนี้หรือขอปฏิบัติกำรชำระหนี้ก็ได้...” ท่ำนจะได้
หลักกฎหมำยเรื่องใดจำกบทบัญญัติในมำตรำ 369
ก. หลักปฏิเสธไม่ต้องผูกพันตำมสัญญำ
ข. หลักบุคคลต้องปฏิบัติตำมสัญญำ
ค. หลักคุ้มครองบุคคลที่สำมผู้กระทำโดยสุจริต
ง. หลักควำมเป็นเพื่อนบ้ำนที่ดี
25. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับศีลธรรม
ก. เป็นกฎเกณฑ์ที่ควบคุมเฉพำะควำมประพฤติภำยนอกของมนุษย์
ข. กำรฝ่ำฝืนกฎเกณฑ์มีสภำพบังคับจริงจังในปัจจุบัน
ค. ศีลธรรมเป็นเพียงแต่คิดในทำงที่ไม่ชอบก็ผิดแล้ว
ง. เป็นกฎเกณฑ์ของชนชั้นใดชนชั้นหนึ่งเท่ำนั้น
26. ตำมบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2550 กำรตรำพระรำชกำหนดเรื่องใดที่ต้องกระทำ
โดยด่วนและลับ
ก. ป้องปัดภัยพิบัติสำธำรณะ
ข. ควำมปลอดภัยของประเทศ
ค. ภำษีอำกร
ง. ถูกทุกข้อ
27. ข้อใดเป็นบ่อเกิดของกฎหมำย
ก. กำรครอบครองปรปักษ์
ข. หลักควำมไม่รู้กฎหมำยไม่เป็นข้อแก้ตัว
ค. หลักควำมยินยอมไม่เป็นละเมิด
ง. ถูกทุกข้อ
28. ข้อใดถูกต้อง
ก. ระบบซีวิล ลอว์ จะตีควำมกฎหมำยตำมตัวอักษรโดยเคร่งครัด
ข. ระบบซีวิล ลอว์ ถือเป็นคำพิพำกษำเป็นบ่อเกิดของกฎหมำยลำดับแรก
ค. ระบบคอมมอน ลอว์ ศำลจะเป็นผู้สร้ำงหลักกฎหมำย
ง. ระบบคอมมอน ลอว์ คำพิพำกษำเป็นเพียงคำอธิบำยกำรใช้กฎหมำย
29. หลักกฎหมำยใดที่ขัดกับศีลธรรม
ก. กำรพยำยำมฆ่ำตัวตำยไม่เป็นควำมรับผิดทำงอำญำ
ข. กำรที่สำมีลักทรัพย์ภริยำ มีควำมผิดฐำนลักทรัพย์
ค. กำรเบิกควำมเท็จเพื่อให้ตนเองพ้นจำกควำมรับผิด มีควำมผิดฐำนเบิกควำมเท็จ
ง. แม่ขโมยนมผงเพื่อให้ลูกกินเนื่องจำกตนไม่มีเงิน มีควำมผิดฐำนลักทรัพย์
431

30. กรณีใดไม่อำจเป็นทำยำทผู้รับพินัยกรรมได้
ก. คนสวนของเจ้ำมรดก
ข. ภริยำนอกกฎหมำยของเจ้ำมรดก
ค. ทวดของเจ้ำมรดก
ง. ชมรมคนรักรำ
31. กรณีใดที่ไม่สำมำรถเป็นทำยำทโดยธรรมได้
ก. ผู้รับบุตรบุญธรรม
ข. คู่สมรสที่ชอบด้วยกฎหมำย
ค. บุตรนอกกฎหมำยที่บิดำรับรองแล้ว
ง. พี่คนละแม่แต่พ่อเดียวกันกับเจ้ำมรดก
32. นำยดำอยู่กินกับนำงแดง มีบุตรคือ นำยดิน และนำยดอน ซึ่งนำยดำได้ให้บุตรทั้งสองใช้
นำมสกุลต่อมำนำยดอนตำย เช่นนี้บุคคลใดมีสิทธิรับมรดก
ก. นำยดำและนำงแดง
ข. นำงแดงและนำยดอน
ค. นำยดอน
ง. นำงแดง
33. นำยดำอยู่กินกับนำงแดง มีบุตรคือ นำยดิน และนำยดอน ซึ่งนำยดำได้ให้บุตรทั้งสองใช้
นำมสกุล ต่อมำนำงแดงตำย เช่นนี้บุคคลใดมีสิทธิรับมรดก
ก. นำยดำ
ข. นำยดินและนำยดอน
ค. นำยดอน
ง. นำงแดง
34. นำยดำอยู่กินกับนำงแดง มีบุตรคือ นำยดิน และนำยดอน ซึ่งนำยดำได้ให้บุตรทั้งสองใช้
นำมสกุล ต่อมำนำยดำตำย เช่นนี้บุคคลใดมีสิทธิรับมรดก
ก. นำงแดง
ข. นำยดินและนำยดอน และนำงแดง
ค. นำยดินและนำยดอน
ง. แผ่นดิน
35. ข้อใดต่อไปนี้มิใช่ทรัพย์
ก. จักรยำน
ข. สิทธิบัตร
ค. นำฬิกำ
ง. ตุ๊กตำหมี
432

36. สิ่งใดต่อไปนี้เป็นสังหำริมทรัพย์ชนิดพิเศษ
ก. ยำนอวกำศ
ข. เรือแจว
ค. รถยนต์
ง. แพที่ใช้อยู่อำศัย
37. เงินปันผลจำกบริษัท คือ
ก. ดอกผลธรรมดำ
ข. ดอกผลนิตินัย
ค. เป็นทั้งดอกผลธรรมดำและดอกผลนิตินัย
ง. ไม่ใช่ดอกผล
38. ข้อใดถูกต้องที่สุด
ก. ดอกผลธรรมดำบำงประเภทสำมำรถทดแทนดอกผลนิตินัยได้
ข. ทรัพย์บำงประเภทสำมำรถเป็นได้ทั้งอสังหำริมทรัพย์และสังหำริมทรัพย์
ค. เจ้ำของทรัพย์สินย่อมมีสิทธิได้ดอกผลแห่งทรัพย์สินนั้น
ง. ถูกทุกข้อ
39. บ้ำนทรงไทยที่ซื้อขำยกันโดยซื้อเป็นส่วนๆไปประกอบในที่ดินอีกแห่ง คือ
ก. อสังหำริมทรัพย์
ข. อุปกรณ์
ค. ส่วนควบ
ง. สังหำริมทรัพย์
40. กำรได้มำซึ่งกรรมสิทธิ์โดยทำงนิติกรรม คือ
ก. กำรครอบครองปรปักษ์
ข. สัญญำเช่ำซื้อ
ค. กำรแย่งสิทธิครอบครอง
ง. คำพิพำกษำของศำล
41. ข้อใดต่อไปนี้มิใช่ทรัพยสิทธิ
ก. สิทธิครอบครอง
ข. ภำระติดพันในอสังหำริมทรัพย์
ค. กรรมสิทธิ์
ง. ส่วนควบ
433

42. บิดำมำรดำของเด็กชำยดำ ประสบอุบัติเหตุถึงแก่ควำมตำย ยำยของเด็กชำยดำต้องกำรจะ


ร้องขอให้ศำลสั่งให้เป็นผู้ปกครองของเด็กชำยดำ จะต้องขอต่อศำล
ก. ศำลปกครอง
ข. ศำลรัฐธรรมนูญ
ค. ศำลแพ่ง
ง. ศำลเยำวชนและครอบครัว
43. ผู้เสียหำยที่มีสิทธิขอรับค่ำตอบแทนควำมเสียหำย จะต้องเป็นผู้เสียหำยในประเภทควำมผิด
ก. ลักทรัพย์ วิง่ รำวทรัพย์
ข. ยักยอก ฉ้อโกง
ค. ถูกข่มขืนกระทำชำเรำ
ง. ปลอมแปลงเอกสำร
44. ผู้กระทำควำมผิดคดีอำญำที่ถูกฟ้องต่อศำลเยำวชนและครอบครัว จะต้องมีอำยุในวันที่กระทำ
ควำมผิด
ก. ไม่เกิน 15 ปี
ข. ไม่เกิน 17 ปี
ค. ไม่ถึง 18 ปี
ง. ไม่ถึง 20 ปี
45. สำมีทำร้ำยภริยำ ตำมกฎหมำย
ก. ไม่มีควำมผิด
ข. มีควำมผิดแต่ไม่ต้องรับโทษ
ค. มีควำมผิดแต่ศำลลงโทษน้อย
ง. ไม่มีข้อใดถูก
46. โจรลอบปีนเข้ำบ้ำนนำยเอก ภริยำนำยเอกร้องให้คนช่วย โจรจึงเงื้อมีดจะฟัน นำยเอกจึงใช้
ปืนยิงถูกโจรถึงแก่ควำมตำย ดังนี้
ก. นำยเอกกระทำด้วยควำมจำเป็น มีควำมผิดแต่ไม่ต้องรับโทษ
ข. นำยเอกกระทำโดยบันดำลโทสะ ศำลลงโทษน้อย
ค. นำยเอกกระทำกำรป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมำย ไม่มีควำมผิด
ง. ถูกทุกข้อ
47. นำยโก๋ยุสุนัขของตนให้กัดนำงสำวแจ๋วจนบำดเจ็บ ดังนี้นำยโก๋ต้องรับผิดทำงอำญำในฐำน
ก. ประมำทเป็นเหตุให้ผู้อื่นบำดเจ็บ
ข. เจตนำทำร้ำยร่ำงกำยผู้อื่น
ค. ไม่มีควำมผิดเพรำะเป็นกำรกระทำของสุนัข
ง. ทำร้ำยร่ำงกำยโดยไม่เจตนำ
434

48. นำยเอกขับรถยนต์โดยประมำทเป็นเหตุให้ทับลูกสุนัขของนำงสำวจุ๋มจิ๋มตำย ดังนี้นำยเอกต้อง


รับผิดทำงอำญำ
ก. ประมำทเป็นเหตุให้ทรัพย์ผู้อื่นเสียหำย
ข. เจตนำทำให้ทรัพย์ผู้อื่นเสียหำย
ค. ไม่มีควำมผิดทำงอำญำ
ง. ผิดทุกข้อ
49. นำยโก๋เดินผ่ำนรั้วบ้ำนนำยเก่ง สุนัขในบ้ำนของนำยเก่งส่งเสียงเห่ำ นำยโก๋รำคำญใช้ปืนยิง
สุนัขของนำยเก่งตำย นำยโก๋ต้องรับผิดทำงอำญำในควำมผิด
ก. ไม่มีควำมผิดเพรำะกฎหมำยมิได้บัญญัติในควำมผิดฐำนฆ่ำสุนัขผู้อื่น
ข. ทำให้เสียทรัพย์
ค. ประมำททำให้ทรัพย์ผู้อื่นเสียหำย
ง. ผิดทุกข้อ
50. นำยเอกเลี้ยงสุนัขตัวโตไม่ดูแลให้ดี ปล่อยให้หลุดออกจำกประตูรั้วบ้ำนไปที่ถนนสำธำรณะ
สุนัขกัดแมวของ ด.ญ.ตุ๊กตำตำย ดังนี้นำยเอกต้องรับผิดทำงอำญำ
ก. เจตนำทำให้ผู้อื่นเสียทรัพย์
ข. ประมำททำให้ทรัพย์ผู้อื่นเสียหำย
ค. ไม่มีควำมผิด
ง. มีควำมผิดแต่ยอมควำมได้
51. ข้อใดเป็นกำรพยำยำมกระทำควำมผิดซึ่งไม่สำมำรถบรรลุผลได้อย่ำงแน่แท้
ก. ดำใช้ปืนไม่มีลูกกระสุนยิงขำวให้ตกใจกลัว
ข. ดำใช้ปืนยิงขำวได้รับบำดเจ็บเล็กน้อย
ค. ดำยิงขำวแต่ลืมใส่ลูกกระสุน ขำวจึงไม่ได้รับอันตรำย
ง. ดำยิงขำว แต่ขำวพุ่งหลบ ขำวจึงไม่ได้รับอันตรำย
52. นำยยิ้มจ้ำงมือปืนไปยิงนำยเอกให้ตำย มือปืนรับเงินแล้วได้เอำยำพิษไปลอบให้นำยเอกกิน
แล้วตำย ดังนี้นำยยิ้ม
ก. ไม่มีควำมผิดเพรำะไม่ได้ใช้ให้วำงยำพิษ
ข. มีควำมผิดเป็นผู้ใช้รับโทษ 1 ใน 3
ค. เป็นผู้ใช้รับโทษเสมือนตัวกำร
ง. เป็นผู้สนับสนุน
435

53. นำยโหดชวนนำยเลวไปฆ่ำนำยดี นำยเลวไม่มีปืนแต่ได้ร่วมกับนำยโหด เมื่อนำยโหดยิงนำยดี


ตำยแล้ว นำยเลวก็หลบหนีไปพร้อมกับนำยโหด ดังนี้นำยเลวต้องรับผิดร่วมกับนำยโหดในฐำนะ
เป็น
ก. ผู้สนับสนุน
ข. ผู้ใช้
ค. ตัวกำร
ง. ไม่มีควำมผิดเพรำะไม่ได้ยิง
54. นำยโก๋ดื่มสุรำเข้ำไปจนเมำแล้วนึกสนุก ใช้ปืนยิงเข้ำไปในรถยนต์ที่แล่นผ่ำนมำ ลูกกระสุนปืน
ถูกนำยเฮงถึงแก่ควำมตำย ดังนี้นำยโก๋มีควำมผิด
ก. ฆ่ำคนตำยโดยไม่เจตนำ
ข. ฆ่ำคนตำยโดยเจตนำ
ค. ฆ่ำคนตำยโดยประมำท
ง. มีควำมผิดแต่ได้รับลดโทษเพรำะกระทำขณะเมำสุรำ
55. นำงสำวติ๊นำเลี้ยงสุนัขตัวโตไม่ดูแลให้ดี สุนัขหลุดจำกประตูรั้วบ้ำนออกไปกัด ด.ญ.ตุ้ยนุ้ยถึง
แก่ควำมตำย ดังนี้นำงสำวติ๊นำต้องรับผิดฐำน
ก. ไม่มีควำมผิดเพรำะไม่ได้ยุสุนัข
ข. ฆ่ำ ด.ญ.ตุ้ยนุ้ยตำยโดยเจตนำ
ค. ฆ่ำ ด.ญ.ตุ้ยนุ้ยโดยไม่ได้เจตนำ
ง. กระทำโดยประมำทเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ควำมตำย
56. นำยบกเรียนวิชำอยู่ยงคงกระพัน ยิงไม่ออก ฟันไม่เข้ำ แล้วจิตใจฮึกเหิม ได้ท้ำให้นำยเด่น
ทดลองฟันตนนำยเด่นรับคำท้ำใช้มีดฟันนำยบกคอขำดถึงแก่ควำมตำย ดังนี้นำยเด่น
ก. ไม่มีควำมผิดเพรำะนำยบกยอมให้ฟัน
ข. มีควำมผิดฐำนฆ่ำคนตำยโดยไม่เจตนำ
ค. มีควำมผิดฐำนฆ่ำคนตำยโดยเจตนำเล็งเห็นผล
ง. ฆ่ำคนตำยโดยประมำท
57. โทษทำงอำญำที่หนักที่สุด
ก. กักกัน ข. กักขัง
ค. ปรับ 1 แสนบำท ง. ริบทรัพย์สิน
58. หลักเกณฑ์ตีควำมกฎหมำยอำญำ
ก. ตีควำมตำมตัวอักษรและเจตนำรมณ์
ข. ตีควำมตำมเจตนำรมณ์
ค. ตีควำมตำมตัวอักษรโดยเคร่งครัด
ง. ตีควำมขยำยควำมลงโทษจำเลยได้
436

59. ควำมผิดต่อส่วนตัว หรือควำมผิดอันยอมควำมได้


ก. พนักงำนอัยกำรฟ้องคดีไม่ได้ต้องให้ผู้เสียหำยฟ้องเอง
ข. ผู้เสียหำยฟ้องคดีเองไม่ได้ ต้องให้พนักงำนอัยกำรฟ้องให้
ค. พนักงำนสอบสวนจะสอบสวนได้ต่อเมื่อผู้เสียหำยร้องทุกข์
ง. รำษฎรฟ้องคดีส่วนตัว ศำลไม่ต้องไต่สวนมูลฟ้อง
60. นำยดอย อำยุ 18 ปี หมั้นกับ น.ส.กิ๊ก อำยุ 16 ปี โดยบิดำและมำรดำของ น.ส.กิ๊ก ให้ควำม
ยินยอม เช่นนี้กำรหมั้นของ น.ส.กิ๊กกับนำยดอยจะมีผลทำงกฎหมำยอย่ำงไร
ก. สมบูรณ์
ข. โมฆียะ
ค. โมฆะ
ง. ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของศำล
61. นำยชำญ อำยุ 30 ปี ต้องกำรหมั้นกับ น.ส.ดำว อำยุ 25 ปี แต่กลับหมั้นกับ น.ส.เดือน คู่
แฝดของ น.ส.ดำว โดยสำคัญผิด เช่นนี้กำรหมั้นนั้นจะมีผลทำงกฎหมำยอย่ำงไร
ก. สมบูรณ์
ข. โมฆียะ
ค. โมฆะ
ง. ขึ้นกับดุลยพินิจของศำล
62. น.ส.สวยหมั้นกับนำยโดม โดยนำยโดมมอบแหวนเพชรให้ในเวลำทำสัญญำหมั้น ต่อมำ น.ส.
สวยกลับไม่ยอมสมรส เช่นนี้นำยโดมจะทำอย่ำงไรได้บ้ำง
ก. ฟ้องบังคับให้ น.ส.สวยสมรสกับตน
ข. ฟ้องเรียกเบี้ยปรับ
ค. ฟ้องเรียกของหมั้นคืน
ง. ถูกทั้ง 2 และ 3
63. นำยขิมตกลงจะไปหมั้นกับ น.ส.แคน แต่ก่อนถึงวั นหมั้น น.ส.แคนได้ขอให้นำยขิมส่งมอบ
ทองคำแท่งทั้งหมดที่เตรียมไว้เป็นของหมั้นแก่ตนก่อน ต่อมำอีกวันในเวลำทำสัญญำหมั้น จึงไม่มี
ของหมั้นส่งมอบ เช่นนี้ หำกต่อมำ น.ส.แคนไม่ทำกำรสมรสกับนำยขิม นำยขิมจะทำอย่ำงไร
ก. เรียกทองคำแท่งคืนทั้งหมด
ข. เรียกทองคำแท่งคืนได้ครึ่งหนึ่ง
ค. เรียกทองคำแท่งคืน พร้อมเบี้ยปรับ
ง. เรียกทองคำแท่งคืนไม่ได้เลย
64. นำยชัน อำยุ 40 ปี ผู้รับบุตรบุญธรรมจดทะเบียนสมรสกับ น.ส.ยิ้ม อำยุ 25 ปี บุตรบุญ
ธรรมของตนเช่นนี้กำรสมรสนั้นมีผลทำงกฎหมำยอย่ำงไร
ก. สมบูรณ์ ข. โมฆียะ
ค. โมฆะ ง. ขึ้นกับดุลยพินิจของศำล
437

65. นำยดำลุงเขยของ น.ส.น้ำ เมื่อป้ำของ น.ส.น้ำตำย นำยดำจึงมำจดทะเบียนสมรสกับ น.ส.น้ำ


เช่นนี้กำรสมรสนั้นมีผลทำงกฎหมำยอย่ำงไร
ก. สมบูรณ์
ข. โมฆียะ
ค. โมฆะ
ง. ขึ้นกับดุลยพินิจของศำล
66. น.ส.อิ่ม อำยุ 18 ปี ซึ่งได้จดทะเบียนไปเป็นบุตรบุญธรรมของนำยไก่ ได้สมรสกับนำยแผน
อำยุ 25 ปี โดยนำยไก่มิได้ให้ควำมยินยอม แต่บิดำมำรดำของ น.ส.อิ่มยินยอม เช่นนี้กำรสมรสนั้น
มีผลทำงกฎหมำยอย่ำงไร
ก. สมบูรณ์
ข. โมฆียะ
ค. โมฆะ
ง. ขึ้นกับดุลยพินิจของศำล
67. กรณีใดไม่เป็นเหตุให้กำรสมรสสิ้นสุดลง
ก. คู่สมรสฝ่ำยหนึ่งสำบสูญ
ข. คู่สมรสฝ่ำยหนึ่งป่วยตำย
ค. คู่สมรสจดทะเบียนหย่ำ
ง. ศำลพิพำกษำเพิกถอนกำรสมรสเพรำะถูกข่มขู่
68. กรณีใดต่อไปนี้ไม่เป็นสินสมรส
ก. เงินเดือนของคู่สมรส
ข. เงินถูกรำงวัลสลำกกำชำดของคู่สมรสฝ่ำยหนึ่ง
ค. ดอกเบี้ยเงินฝำกในธนำคำรที่คู่สมรสมีก่อนสมรส
ง. ถูกทั้งข้อ 1 และ 2
69. กรณีใดต่อไปนี้ไม่เป็นมรดกตกทอดแก่ทำยำท
ก. หนี้เงินกู้ที่เจ้ำมรดกทำขึ้น
ข. สัญญำหมั้นที่เจ้ำมรดกทำไว้
ค. เจ้ำมรดกเป็นเจ้ำของลิขสิทธิ์งำนเขียน
ง. เจ้ำมรดกถูกรำงวัลสลำกกำชำดแต่ตำยก่อนขึ้นรำงวัล
70. กำรยุบสภำผู้แทนรำษฎรต้องทำเป็น
ก. พระรำชบัญญัติ
ข. พระรำชกำหนด
ค. พระรำชกฤษฎีกำ
ง. คำสั่งนำยกรัฐมนตรี
438

71. รำชอำณำจักร หมำยถึง ทะเลอันห่ำงจำกฝั่งที่เป็นดินแดนของประเทศไทย ไม่เกิน


ก. 10 ไมล์ทะเล
ข. 12 ไมล์ทะเล
ค. 20 ไมล์ทะเล
ง. 50 ไมล์ทะเล
72. ข้อใดที่อยู่ในอำนำจศำลไทยที่จะพิจำรณำพิพำกษำได้
ก. นำยขะแมร์ชำวเขมรปลอมแปลงเงินไทยที่ประเทศลำว
ข. นำยโซกับพวกชำวโซมำเลียปล้นเรือสินค้ำในทะเลหลวง
ค. นำยขะแมร์ชำวเขมรฆ่ำคนไทยตำยที่ประเทศกัมพูชำ
ง. ถูกทุกข้อ
73. นำยหนุ่มไม่ทรำบว่ำตนเกิดเมื่อใดทรำบแต่เพียงปีเกิดคือปี พ.ศ. 2530 ดังนี้ตำมกฎหมำยถือ
ว่ำนำยหนุ่มเกิดเมื่อใด
ก. 1 มกรำคม 2530
ข. 1 มิถุนำยน 2530
ค. ณ วันที่นำยหนุ่มแจ้งต่อนำยอำเภอท้องที่
ง. วันไหนก็ได้แล้วแต่นำยหนุ่มจะเลือก
74. ข้อใดถือสิ้นเป็นสภำพบุคคล
ก. กำรสำบสูญ
ข. จิตฟั่นเฟือน
ค. ต้องคำพิพำกษำถึงที่สุดให้จำคุก
ง. พิกำร
75. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับทำรกในครรภ์มำรดำ
ก. มีสภำพบุคคลแล้ว
ข. มีสิทธิรับมรดกถ้ำคลอดแล้วอยู่รอดเป็นทำรก
ค. ไม่มีสภำพบุคคล
ง. ผิดทุกข้อ
76. สภำพบุคคลเริ่มต้นเมื่อใด
ก. นำงแดงแท้งบุตรขณะตั้งครรภ์
ข. นำงเหลืองตั้งครรภ์บุตรเป็นเวลำ 5 เดือนแล้ว
ค. นำงเขียวคลอดบุตรแล้วโดยที่หมอยังมิได้ตัดสำยสะดือทำรก
ง. นำงดำไปตรวจครรภ์แล้วทรำบว่ำบุตรเป็นเพศชำยก่อนที่จะถึงกำหนดคลอด 1 เดือน
439

77. ข้อใดถูกต้องที่สุด
ก. ทำรกในครรภ์มำรดำถือเป็นทำยำทแล้ว
ข. สภำพบุคคลเริ่มแต่เมื่อคลอด
ค. เมื่อทำรกคลอดแล้วปรำกฏว่ำมีกำรเคลื่อนไหวร่ำงกำย เช่นนี้ ทำรกมีสภำพบุคคล
ง. เมื่อทำรกคลอดแล้วต้องมีกำรหำยใจอย่ำงน้อย 1 ชั่วโมง จึงจะถือว่ำมีสภำพบุคคล
78. ข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. บุคคลใดถูกศำลสั่งให้เป็นคนสำบสูญแล้วกฎหมำยนั้นถือว่ำบุคคลนั้นถึงแก่ควำมตำย
ข. เมื่อบุคคลใดถูกศำลสั่งให้เป็นคนสำบสูญ มรดกของบุคคลนั้นตกทอดถึงทำยำท
ค. เมื่อบุคคลใดถูกศำลสั่งให้เป็นคนสำบสูญ ทำให้กำรสมรสขำดจำกกัน
ง. กำรเป็นคนสำบสูญ ศำลอำจมีกำรเพิกถอนคำสั่งสำบสูญได้
79. ข้อใดเป็นชื่อที่ไม่ได้รับกำรคุ้มครองตำมกฎหมำย
ก. ชื่อฉำยำ
ข. นำมปำกกำ
ค. ชื่อเล่น
ง. ชื่อสกุล
80. บุคคลธรรมดำที่กฎหมำยกำหนดภูมิลำเนำ ได้แก่
ก. ผู้เยำว์
ข. คนตำบอด
ค. บุคคลเสมือนไร้ควำมสำมำรถ
ง. บุคคลวิกลจริต
81.นิติกรรมข้อใดเป็นโมฆะ
ก. สมหญิง อำยุ 9 ปี ตกลงทำสัญญำประกันชีวิตกับนำยสมชำยตัวแทนประกันภัย
ข. น.ส.แดง อำยุ 20 ปี ทำสัญญำยอมรับเป็นภริยำน้อยของนำยดำ
ค. วำสนำ อำย 10 ปี ตกลงทำสัญญำให้รถยนต์ของตนกับดวงดี อำยุ 13 ปี
ง. นำงหนึ่งตกลงซื้อขำยรถยนต์ของตนกับนำงสองโดยไม่ได้ทำสัญญำ
82. บุคคลวิกลจริตทำนิติกรรมโดยที่คู่กรณีอีกฝ่ำยหนึ่งไม่รู้ว่ำวิกลจริต นิติกรรมจะมีผล
ก. โมฆะ ข. โมฆียะ
ค. สมบูรณ์ ง. ไม่สมบูรณ์
83. บุคคลตำมข้อใดยังไม่บรรลุนิติภำวะ
ก. อำยุ 17 ปีบริบูรณ์และสมรสโดยชอบด้วยกฎหมำย
ข. อำยุ 18 ปีบริบูรณ์
ค. อำยุ 16 ปี ทำกำรสมรสโดยศำลอนุญำต
ง. ไม่บรรลุนิติภำวะทุกข้อ
440

84. คนไร้ควำมสำมำรถทำนิติกรรมข้อใดได้ หำกผู้อนุบำลยินยอม


ก. นิติกรรมที่เป็นกำรเฉพำะตัว
ข. นิติกรรมที่เกี่ยวกับสังหำริมทรัพย์
ค. นิติกรรมที่ได้ไปซึ่งสิทธิ
ง. ทำนิติกรรมใดๆก็ไม่ได้ทั้งสิ้น
85. คนไร้ควำมสำมำรถต้องอยู่ในควำมดูแลของใครตำมกฎหมำย
ก. ผู้พิทักษ์
ข. ผู้อนุบำล
ค. ผู้ปกครอง
ง. ผู้แทนโดยชอบธรรม
86. คนเสมือนไร้ควำมสำมำรถต้องอยู่ในควำมดูแลของใครตำมกฎหมำย
ก. ผู้พิทักษ์
ข. ผู้อนุบำล
ค. ผู้ปกครอง
ง. ผู้แทนโดยชอบธรรม
87. ผู้เยำว์ต้องอยู่ในควำมดูแลของใครตำมกฎหมำย
ก. ผู้พิทักษ์
ข. ผู้อนุบำล
ค. ผู้แทนโดยชอบธรรม
ง. ผิดทุกข้อ
88. ผู้ใดมิใช่ “ผู้หย่อนควำมสำมำรถ” ตำมกฎหมำย
ก. ชำยมีภริยำ
ข. นำยแดงอำยุ 18 ปี
ค. คนเสมือนไร้ควำมสำมำรถ
ง. คนไร้ควำมสำมำรถ
89. นำยมด อำยุ 18 ปี ไม่สำมำรถทำนิติกรรมใดได้เองบ้ำง
ก. ทำนิติกรรมที่เป็นกำรเฉพำะตัว
ข. ทำนิติกรรมที่หลุดพ้นจำกหน้ำที่โดยปรำศจำกเงื่อนไข
ค. ทำนิติกรรมทีเ่ กี่ยวกับอสังหำริมทรัพย์
ง. ทำนิติกรรมที่สมควรต่อฐำนำนุรูปและจำเป็นต่อกำรดำรงเลี้ยงชีพ
90. ข้อใดที่คนเสมือนไร้ควำมสำมำรถ ทำนิติกรรมได้ด้วยตนเอง
ก. จำนอง ข. กู้ยืมเงิน
ค. ให้กู้ยืมเงิน ง. เช่ำบ้ำนอยู่อำศัยเป็นระยะเวลำ 1 ปี
441

91. ผู้ปกครองของผู้เยำว์มีได้ในกรณี
ก. ผู้เยำว์ไม่มีบิดำมำรดำ
ข. บิดำมำรดำถูกถอนอำนำจกำรปกครอง
ค. บิดำมำรดำหย่ำขำดจำกกัน
ง. ถูกเฉพำะข้อ 1 และ 2
92. ผู้ที่ไม่มีสิทธิเข้ำทำสัญญำก่อนิติสัมพันธ์
ก. มูลนิธิเด็กดี
ข. บริษัทรักษำควำมปลอดภัย
ค. นำยแดง อำยุ 21 ปี
ง. ชมรมค่ำยอำสำพัฒนำ
93. ข้อใดไม่ใช่นิติกรรม
ก. กำรซื้อน้ำดื่มที่ร้ำนขำยของ
ข. กำรขอยืมเงินเพื่อน
ค. กำรนำเงินดอลลำร์ไปแลกเป็นเงินบำท
ง. กำรเล่นพนันฟุตบอล
94. นิติกรรมที่เป็นโมฆียะ คือ
ก. นิติกรรมที่มีผลเป็นอันสูญเปล่ำเมื่อถูกบอกล้ำง
ข. นิติกรรมที่มีผลเป็นอันสูญเปล่ำเมื่อถูกให้สัตยำบัน
ค. นิติกรรมที่มีผลสมบูรณ์ตำมกฎหมำย
ง. นิติกรรมที่ทำไม่ถูกต้องตำมแบบพิธีที่กฎหมำยกำหนด
95. สำเหตุที่ทำให้นิติกรรมเป็นโมฆะ ได้แก่
ก. ไม่เป็นไปตำมแบบที่กฎหมำยกำหนด
ข. เกิดจำกกำรข่มขู่
ค. เกิดจำกกำรสำคัญผิดในคุณสมบัติของบุคคล
ง. ถูกทุกข้อ
96. ข้อใดเป็นนิติกรรมที่มีสมบูรณ์
ก. นำยเอจ้ำงนำยบีให้ไปทำร้ำยร่ำงกำยนำยซี
ข. นำยเอกซื้อแหวนเพชรปลอมโดยถูกหลอกว่ำเป็นเพชรจริง
ค. นำยหนึ่งขับรถชนรถของนำยสองจึงต้องชดใช้ค่ำเสียหำยแก่นำยสอง
ง. นำยตรีเกรงใจนำยโทเพรำะเป็นญำติผู้ใหญ่จึงจำใจขำยรถยนต์ของตนให้แก่นำยโท
97. ข้อใดทำให้สิทธิระงับ
ก. ขำดตัวผู้ทรงสิทธิ ข. กำรชำระหนี้ตำมกำหนด
ค. กำรสูญสิ้นวัตถุแห่งสิทธิ ง. ถูกทุกข้อ
442

98. ข้อใดมิใช่นิติเหตุ
ก. กำรเกิด
ข. กำรตำย
ค. กำรให้
ง. กำรละเมิด
99. กำรกระทำที่เป็นโมฆียะจะมีผล คือ
ก. ให้สัตยำบันได้
ข. กำรกล่ำวอ้ำงไม่กำหนดระยะเวลำ
ค. บอกล้ำงไม่ได้
ง. ผู้มีส่วนได้เสียทุกคนกล่ำวอ้ำงได้
100. นิติกรรมที่เป็นโมฆะ หมำยถึงนิติกรรมที่
ก. ตกเป็นอันเสียเปล่ำใช้บังคับไม่ได้เสมือนหนึ่งมิได้มีอะไรเกิดขึ้นเลย
ข. ตกเป็นอันเสียเปล่ำใช้บังคับไม่ได้ แต่อำจได้รับสัตยำบันให้กลับสมบูรณ์ได้
ค. มีผลในกฎหมำยผูกพันกัน แต่อำจถูกกล่ำวอ้ำงได้
ง. มีผลในกฎหมำยผูกพันกัน แต่อำจถูกบอกล้ำงได้
101. กำรแสดงเจตนำทำนิติกรรม ทำได้โดย
ก. เป็นลำยลักษณ์อักษร ข. โดยวำจำ
ค. โดยกิริยำอำกำร ง. ถูกทุกข้อ
102. สิทธิ หมำยถึง
ก. กำรที่บุคคลทุกคนต้องปฏิบัติตำมที่กฎหมำยกำหนด
ข. หน้ำที่ที่ทุกคนต้องปฏิบัติตำม
ค. ประโยชน์ที่กฎหมำยรับรองคุ้มครองให้
ง. ถูกทุกข้อ
103. ข้อใดมีลักษณะเป็น กฎเกณฑ์ (Norm) ของรัฐที่ใช้ควบคุมควำมประพฤติของมนุษย์
ก. กำรรณรงค์ให้ผู้ขับรถเมื่อเกิดอำกำรง่วงไม่ควรขับรถ
ข. กำรขอควำมร่วมมือให้สถำนบันเทิงงดจำหน่ำยสุรำทุกวันพระ
ค. กำรวำงแผนรำยได้เพื่อให้คำนวณอัตรำกำรเสียภำษีน้อย
ง. กำรปรับสถำนบันเทิงที่ฝำ่ ฝืนไม่ยอมปิดตำมเวลำที่กำหนด
104. ข้อใดมิใช่คุณสมบัติผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมำชิกสภำผู้แทนรำษฎร
ก. มีสัญชำติไทยโดยกำรเกิด
ข. ไม่สังกัดพรรคกำรเมือง
ค. จบกำรศึกษำระดับปริญญำตรี
ง. ถูกเฉพำะข้อ 2 และ 3
443

105. ข้อใดมิใช่คุณสมบัติผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมำชิกวุฒิสภำ
ก. มีสัญชำติไทย
ข. สังกัดพรรคกำรเมือง
ค. จบกำรศึกษำระดับปริญญำตรีขึ้นไป
ง. อำยุไม่ต่ำกว่ำ 40 ปีบริบูรณ์
106. รัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2550 แก้ไขปรับปรุงใหม่ให้สภำผู้แทนรำษฎรมีจำนวนสมำชิกแบบ
แบ่งเขตเลือกตั้งจำนวน
ก. 350 คน
ข. 375 คน
ค. 400 คน
ง. 450 คน
107. ข้อใดเป็นหลักกำรสำคัญในกำรพิจำรณำคดีปกครอง
ก. ต้องฟังควำมทุกฝ่ำย
ข. ใช้ระบบไต่สวน
ค. ศำลต้องให้เหตุผลประกอบคำพิพำกษำหรือคำสั่ง
ง. ถูกทุกข้อ
108. ข้อใดมิใช่สำระสำคัญของกฎหมำยอำญำ
ก. ไม่มีกฎหมำย ไม่มีควำมผิด ไม่มีโทษ
ข. กฎหมำยอำญำย้อนหลังลงโทษไม่ได้
ค. ตีควำมกฎหมำยขยำยควำมลงโทษได้
ง. ถูกทุกข้อ
109. ข้อใดเป็นลักษณะของกฎหมำยเอกชน
ก. วิธีกำรต้องอำศัยควำมสมัครใจ
ข. วัตถุประสงค์เพื่อประโยชน์ส่วนตน
ค. เนื้อหำใช้กับเอกชนเฉพำะรำย
ง. ถูกทุกข้อ
110. ผู้เสียหำย หมำยถึง
ก. ผู้ที่ถูกฟ้องคดีอำญำต่อศำลว่ำกระทำควำมผิดฐำนใดฐำนหนึ่ง
ข. ผู้ที่ศำลพิพำกษำให้ชดใช้ค่ำเสียหำย
ค. ผู้ที่กระทำควำมผิด
ง. ไม่มีข้อใดถูก
111. ข้อใดมิใช่สำขำย่อยในกฎหมำยมหำชน
ก. รัฐธรรมนูญ ข. กฎหมำยมรดก
ค. กฎหมำยครอบครัว ง. ถูกเฉพำะข้อ 2 และ 3
444

112. ข้อใดคือลักษณะสำคัญของกำรกระจำยอำนำจทำงปกครอง
ก. มีกำรแยกหน่วยงำนเป็นองค์กรนิติบุคคล
ข. มีอิสระที่จะดำเนินกำรตำมอำนำจหน้ำที่
ค. มีกำรเลือกตั้งผู้บริหำรของตนเอง
ง. ถูกทุกข้อ
113. ผู้สืบสันดำนที่มีสิทธิรับมรดกในฐำนะทำยำทโดยธรรม ได้แก่
ก. บุตรนอกกฎหมำยที่บิดำให้ใช้นำมสกุล
ข. บุตรบุญธรรมได้จดทะเบียน
ค. บุตรที่เกิดจำกบิดำและมำรดำที่ได้จดทะเบียนสมรส
ง. ถูกทุกข้อ
114. คนเสมื อ นไร้ค วำมสำมำรถท ำพิ นั ย กรรมโดยไม่ ไ ด้ รั บ ควำมยิ น ยอมจำกผู้ พิ ทัก ษ์ เช่ น นี้
พินัยกรรมจะมีผลทำงกฎหมำยอย่ำงไร
ก. สมบูรณ์
ข. ตกเป็นโมฆียะ
ค. ตกเป็นโมฆะ
ง. จะสมบูรณ์หำกได้รับอนุญำตจำกศำลด้วย
115. คดีอุทลุม คือ คดีลักษณะใด
ก. คดีที่ห้ำมมิให้หลำนฟ้องลุงเป็นคดีอำญำ
ข. คดีที่ห้ำมมิให้คู่สมรสฟ้องกันเป็นคดีอำญำ
ค. คดีที่ห้ำมมิให้หลำนฟ้องร้องยำยเป็นคดีแพ่ง
ง. คดีที่ห้ำมมิให้หลำนฟ้องร้องอำเป็นคดีแพ่ง
116. เหตุใดประเทศไทยจึงจำต้องพัฒนำระบบกฎหมำยในสมัยรัชกำลที่ 5
ก. มีกำรกบฏบวรเดช
ข. มีกำรเปลี่ยนแปลงระบอบกำรปกครอง
ค. ชำวต่ำงชำติขอสงวนสิทธิสภำพนอกอำณำเขต
ง. ถูกทุกข้อ
117. นำยดำและนำงแดงร่วมกันดำเนินกิจกำรร้ำนเสริมสวยตั้งแต่ก่อนจดทะเบียนสมรส โดยนำย
ดำลงทุน 100,000 บำท และนำงแดงลงทุน 200,000 บำท ตั้งแต่ก่อนจดทะเบียนสมรสและ
เมื่อจดทะเบียนสมรสก็ยังคงร่วมกันลงทุนตลอดมำ เช่นนี้กิจกำรร้ำนเสริมสวยถือว่ำเป็นทรัพย์
ลักษณะใด
ก. สินส่วนตัว
ข. สินสมรส
ค. สินบริคณห์
ง. สินน้ำใจ
445

118. กรณีใดต่อไปนี้ที่คู่สมรสไม่ต้องจัดกำรร่วมกัน
ก. กำรขำยอสังหำริมทรัพย์
ข. ให้กู้ยืมเงิน
ค. กำรทำพินัยกรรม
ง. ขำยฝำก
119. นำยเหลืองจดทะเบียนสมรสกับนำงศรี โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้นำงศรีมีสิทธิได้รับบำเหน็จ
ตกทอดโดยไม่ได้อยู่กินกัน เช่นนี้กำรสมรสนั้นจะมีผลทำงกฎหมำยอย่ำงใด
ก. โมฆะ
ข. โมฆียะ
ค. สมบูรณ์
ง. ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของศำล
120. นำงแดงจดทะเบียนสมรสกับนำยหนึ่ง ต่อมำได้จดทะเบียนสมรสกับนำยสอง ต่อมำนำงแดง
ตั้งครรภ์และคลอดบุตร คือ ด.ญ.พลอย เช่นนี้ ด.ญ.พลอยเป็นบุตรที่ชอบด้วยกฎหมำยของบุคคล
ใด
ก. นำงแดงและนำยหนึ่ง
ข. นำงแดง
ค. นำงแดงและนำยสอง
ง. นำงแดง นำยสอง และนำยหนึ่ง
446

เฉลยแนวข้อสอบกฎหมำยทั่วไป
1. ตอบ 1 ระบบกฎหมำยคอมมอน ลอว์ หรือระบบกฎหมำยที่ไม่เป็นลำยลักษณ์อักษร เป็น
กฎหมำยที่เกิดจำกจำรีตประเพณีและคำพิพำกษำของศำล กล่ำวคือ เมื่อมีคดีใดเกิดขั้น และศำล
ได้พิพำกษำคดีนั้นไปแล้ว คำพิพำกษำของศำลย่อมถือเป็นบรรทัดฐำนในกำรใช้วินิจฉัยคดีที่เกิดขึ้น
อย่ ำ งเดี ย วกั น ได้ ในภำยหลั ง อี ก แต่ ทั้ง นี้ ค งมี บ ำงเรื่ อ งที่ ไ ด้ มี ก ำรบั ญ ญั ติ ก ฎหมำยเอำไว้ ซึ่ ง ถ้ ำ
กฎหมำยนั้นบัญญัติไว้โดยชัดแจ้ง ศำลก็ต้องนำมำบังคับใช้แก่คดี แต่ถ้ำกฎหมำยลำยลักษณ์อักษร
นั้นมีถ้อยคำที่ไม่ชัดเจน หรือเคลือบแคลงสงสัย ศำลจะไม่นำมำบังคับใช้

2. ตอบ 4 ระบบกฎหมำยซีวิล ลอว์ หรือระบบกฎหมำยลำยลักษณ์อักษรเป็นระบบกฎหมำยที่


ได้รับอิทธิพลมำจำกกฎหมำยโรมัน เนื่องมำจำกในสมัยพระเจ้ำจัสติเนียนแห่งกรุงโรม (สมัยโรมัน)
ได้ทรงรวบรวมเอำกฎหมำยประเพณีซึ่งบันทึ กไว้ในกฎหมำยสิบสองโต๊ะและหลักกฎหมำยของนัก
นิติศำสตร์ นำมำบันทึกไว้ในประมวลกฎหมำยของพระเจ้ำจัสติเนียน ซึ่งถือเป็นรำกฐำนในกำร
จัดทำประมวลกฎหมำยของกฎหมำยระบบซีวิล วอล์

3. ตอบ 1 ประเทศไทยรับหลักกฎหมำยและหลักปฏิบัติของอังกฤษเข้ำมำใช้บังคับในรัชสมัย
รัชกำลที่ 5 จนถึงปลำยรัชกำลที่ 6 จึงได้มีกำรเปลี่ยนแปลงในระบบของกฎหมำยไทย โดยรัฐได้
ตัดสินใจทำประมวลกฎหมำยขึ้นคือประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์ บรรพที่ 1 และบรรพที่ 2
ซึ่งร่ำงโดยที่ปรึกษำกฎหมำยชำวฝรั่งเศสและได้ประกำศใช้เป็นเวลำ 2 ปี จึงได้มีกำรเปลี่ยนแปลง
อีกครั้งหนึ่ง โดยเปลี่ยนจำกกำรใช้ประมวลกฎหมำยตำมอย่ำงประมวลกฎหมำยแพ่งฝรั่งเศสมำใช้
ประมวลกฎหมำยแบบเยอรมัน

4. ตอบ 1 กำรที่ศำลนำจำรีตประเพณีแห่งท้องถิ่นมำใช้ในกำรอุดช่องว่ำงแห่งกฎหมำยนั้นเป็นวิธี
อุด ช่ องว่ ำงแห่ง กฎหมำยตำมประมวลกฎหมำยแพ่ ง และพำณิช ย์ม ำตรำ 4 วรรคสอง ซึ่ง เป็ น
กฎหมำยที่ใช้อยู่ในประเทศไทย และเป็นประเทศที่ใช้กฎหมำยซีวิล ลอว์ ส่วนในกฎหมำยระบบ
คอมมอน ลอว์นั้น ศำลจะไม่นำจำรีตประเพณีแห่งท้องถิ่นมำใช้ในกำรอุดช่องว่ำงแห่งกฎหมำย
เนื่องจำกระบบนี้ไม่นำหลักกำรเทียบเคียงกฎหมำยหรือนำจำรีตประเพณีแห่งท้องถิ่นมำใช้ในกรณี
ที่ไม่มีกฎหมำยบัญญัติไว้ แต่จะตีควำมตำมตัวอักษรโดยเคร่งครัด

5.ตอบ 2 ยุคกฎหมำยชำวบ้ำน เป็นยุคที่กฎหมำยมีลักษณะเป็นกฎเกณฑ์ควบคุมควำมประพฤติ


ที่ออกมำในรูปของขนบธรรมเนียมจำรีตประเพณีที่มีอยู่ในควำมรู้สึกนึกคิดของประชำชนโดยทั่วไป
ซึ่งมีวิวัฒนำกำรมำจำกศีลธรรมหรือควำมรู้สึกผิ ดชอบชั่วดีของมนุษย์ว่ำถ้ำไม่ปฏิบัติตำมแล้วจะ
รู้สึกว่ำเป็นควำมผิด ดังนั้นในยุคนี้มนุษย์จึงยังไม่สำมำรถแยกได้ว่ำศีลธรรม ขนบธรรมเนียมจำรีต
447

ประเพณี และกฎหมำยแตกต่ำงกันอย่ำงไร กล่ำวคือ กฎหมำย ศีลธรรม และจำรีตประเพณี ยังคง


เป็นเรื่องเดียวกันนั่นเอง

6. ตอบ 1 รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2550 มำตรำ 286 ประชำชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งในองค์กรปกครอง


ส่วนท้องถิ่นมีสิทธิเข้ำชื่อร้องขอต่อประธำนสภำท้องถิ่นเพื่อให้สภำท้องถิ่นพิจำรณำออกข้อบัญญัติ
ท้องถิ่นได้, มำตรำ 285 ประชำชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีสิทธิเข้ำชื่อ
ร้องขอให้มีกำรลงคะแนนเสียงถอดถอนสมำชิกสภำท้องถิ่น คณะผู้บริหำรท้องถิ่นหรือผู้บริหำร
ท้องถิ่น ผู้นั้นพ้นจำกตำแหน่ง, มำตรำ 165 กำรทำประชำมติที่เกี่ยวกับตัวบุคคลหรือคณะบุคคล
จะกระทำมิได้และมำตรำ 72 บุคคลมีหน้ำที่ไปใช้สิทธิเลือกตั้ง

7.ตอบ 2 พระรำชบัญญัติ เป็นกฎหมำยที่บัญญัติขึ้นโดยผ่ำนนิติบัญญัติ (รัฐสภำ) ซึ่งถือว่ำเป็น


กฎหมำยนิติบัญญัติโดยแท้ โดยผู้ที่มีอำนำจตรำ คือ พระมหำกษัตริย์ และมีนำยกรัฐมำตรีเป็นผู้ลง
นำมสนองพระบรมรำชโองกำร ซึ่งเนื้อหำของพระรำชบัญญัตินั้นจะกำหนดเนื้อหำในเรื่องใดก็ได้
แต่ต้องไม่ขัดหรือแย้งกับบทบั ญญัติแห่งรัฐธรรมนูญและมีผลใช้บังคับเมื่อประกำศให้ประชำชน
ทรำบแล้วในรำชกิจจำนุเบกษำ

8. ตอบ 1 ดูคำอธิบำยข้อ 7 ประกอบ

9. ตอบ 4 รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2550 มำตรำ 138 บัญญัติว่ำ “ให้มีพระรำชบัญญัติประกอบ


รัฐธรรมนูญ ดังต่อไปนี้ ...ง. พระรำชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่ำด้วยกำรออกเสียงประชำมติ ”
และมำตรำ 165 วรรคแรกและวรรคท้ำยบัญญัติว่ำ “ประชำชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งย่อมมีสิทธิออก
เสียงประชำมติ... หลักเกณฑ์และวิธีกำรออกเสียงประชำมติให้เป็นไปตำมพระรำชบัญญัติประกอบ
รั ฐธรรมนู ญ ว่ ำด้ ว ยกำรออกเสี ย งประชำมติ . ..” (ส ำหรั บ ข้ อ ก. ข. และ ค. นั้ น มี บั ญ ญั ติ ไ ว้ ใ น
รัฐธรรมนูญโดยตรงแล้ว)

10. ตอบ 2 หน้ำ 32-33,76 พระรำชกำหนด คือ กฎหมำยที่พระมหำกษัตริย์ทรงตรำขึ้นตำม


คำแนะนำของคณะรัฐมนตรี จึงถือเป็นกฎหมำยที่บัญญัติขึ้นโดยฝ่ำยบริหำร โดยผู้เสนอร่ำงคือ
รัฐมนตรีผู้รักษำกำรตำมพระรำชกำหนดนั้น ซึ่งกำรตรำพระรำชกำหนดนั้น จะต้องมีเงื่อนไขในกำร
ตรำ กล่ำวคือ จะต้องเป็นกรณีที่มีควำมจำเป็นรีบด่วนในอันจะรักษำควำมปลอดภัยและควำม
มั่นคงของประเทศ ดัง นั้น จึง ต้องนำขึ้น ทูบ เกล้ำฯ ให้พ ระมหำกษั ตริ ย์ทรงลงปรมำภิ ไธย และ
ประกำศใช้บังคับเป็นกฎหมำยชั่วครำวก่อน จนกว่ำจะผ่ำนควำมเห็นชอบจำกรัฐสภำจึงจะทำให้
พระรำชกำหนดนั้นมีผลใช้บังคับเสมือนเป็นพระรำชบัญญัติต่อไป แต่ถ้ำรัฐสภำไม่อนุมัติให้พระรำช
กำหนดนั้นตกไปแต่ไม่กระทบกระเทือนกิจกำรที่ได้เป็นไปในระหว่ำงที่ใช้พระรำชกำหนดนั้น
448

11. ตอบ 4 กฎหมำยตำมแบบพิธี คือ กฎหมำยที่ออกมำโดยวิธีบัญญัติกฎหมำย ทั้งนี้โดยมิได้


ค ำนึ ง ถึ ง ว่ ำ กฎหมำยนั้ น จะเข้ ำ ถึ ง ลั ก ษณะเป็ น กฎหมำยตำมเนื้ อ ควำมหรื อ ไม่ ซึ่ ง ก็ ไ ด้ แ ก่
พระรำชบัญญัติ พระรำชกำหนด พระรำชกฤษฎีกำ และกฎหมำยกระทรวงต่ำงๆที่มิได้บัญญัติ
ขึ้นมำเพื่อควบคุมควำมประพฤติของมนุษย์ และไม่ได้กำหนดโทษไว้ เช่น พ.ร.บ. งบประมำณ
รำยจ่ำยประจำปี เป็นต้น

12. ตอบ 1 เนื่องมำจำกในสมัยรัชกำรที่ 5 มีนักกฎหมำยของไทยไปศึกษำต่อและจบกำรศึกษำ


จำกประเทศอังกฤษเป็นจำนวนมำก ซึ่งหนึ่งในนั้นก็คือ พระเจ้ำบรมวงศ์เธอกรมหลวงรำชบุรีดิเรก
ฤทธิ์ (พระบิดำแห่งกฎหมำยไทย) ซึ่งพระองค์ได้ทรงนำเอำหลักกฎหมำยคอมมอน ลอว์ จำก
ประเทศอังกฤษมำใช้สอนและนิพนธ์สำหรับตำรำกฎหมำยขึ้นมำกมำยรวมทั้งทรงวำงรำกฐำนกำร
ปฏิรูประบบกฎหมำยไทยด้วย

13. ตอบ 1 สภำพบังคับของกฎหมำยนั้น ถ้ำเป็นกฎหมำยอำญำ สภำพบังคับก็คือโทษนั่นเอง


ซึ่งเรียงจำกหนักที่สุดไปเบำที่สุด ได้แก่ 1. ประหำรชีวิต 2. จำคุก 3.กักขัง 4.ปรับ และ 5. ริบ
ทรัพย์สิน ส่วนสภำพบังคับในทำงกฎหมำยแพ่ง ได้แก่ กำรชดใช้ค่ำสินไหมทดแทน หรือควำมเป็น
โมฆะกรรม หรือโมฆียกรรม ซึ่งเป็นสภำพบังคับที่เป็นผลร้ำย ส่วนสภำพบังคับที่เป็นผลดี เช่น กำร
ได้รับลดหย่อนภำษี เป็นต้น

14. ตอบ 4 เนื่อ งจำกกฎหมำยในยุ ค แรกคือ กฎหมำยชำวบ้ ำนหรื อ กฎหมำยประเพณีมี ไ ม่


เพียงพอ ดังนั้นนักกฎหมำยซึ่งเกิดขึ้นในยุคที่ 2 (ยุคนักกฎหมำย) จึงได้สร้ำงหลักกฎหมำยขึ้นมำ
เพื่อเสริมกับกฎหมำยประเพณี ซึ่งหลักกฎหมำยของนักกฎหมำยนี้จะเกิดจำกกำรปรุงแต่งเหตุผล
ในทำงกฎหมำยที่ เกิ ด จำกควำมคิ ด ในทำงกฎหมำยของตน เรี ย กว่ ำ ใช้ เหตุ ผ ลทำงกฎหมำย
(Juristic Reason) ดังนั้นกำรจะทำควำมเข้ำใจจึงต้องอำศัยกำรศึกษำค้นคว้ำและเรียนรู้เท่ำนั้น ซึ่ง
กฎหมำยของนักกฎหมำยดังกล่ำวที่ยังมีใช้อยู่ในปัจจุบัน ได้แก่ เรื่องสิทธิเรียกร้องขำดอำยุควำม
เรื่องกำรครอบครองปรปักษ์ เป็นต้น

15. ตอบ 4 เนื่องจำกสังคมมนุษย์มีขนำดใหญ่ขึ้น เจริญขึ้นและมีกำรพัฒนำไปมำกพอสมควร ข้อ


พิพำทจึงเกิดขึ้นมำกตำมไปด้วย ดังนั้นกำรที่จะนำกฎหมำยประเพณีหรือกฎหมำยชำวบ้ำนมำปรับ
ใช้ จึง ไม่ เหมำะสม ไม่ พอใช้ บัง คับ กับ ชีวิ ตในสั งคมที่ เจริญ แล้ วกฎหมำยของนัก กฎหมำยจึง ถู ก
พัฒนำขึ้นมำเพื่อตอบสนองควำมต้องกำรของสังคม และเพื่อแก้ไขปัญหำที่เกิดในคดีซับซ้อน ทำให้
เกิดกฎเกณฑ์ขึ้นใหม่เป็นกำรเสริมกฎเกณฑ์เก่ำ
449

16. ตอบ 3 รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2550 มำตรำ 142,163 ร่ำงพระรำชบัญญัติจะเสนอได้ก็แต่


โดย ก. คณะรัฐมนตรี ข. สมำชิกสภำผู้แทนรำษฎรจำนวนไม่น้อยกว่ำ 20 คน ค. ศำลหรือองค์กร
อิสระตำมรัฐธรรมนูญเฉพำะกฎหมำยที่เกี่ยวกับกำรจัดองค์กรและกฎหมำยที่ประธำนศำลและ
ประธำนองค์กรนั้นเป็นผู้รักษำกำร ง. ผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวนไม่น้อยกว่ำ 10,000 คนเข้ำชื่อร้อง
ขอต่อประธำนรัฐสภำเพื่อให้รัฐสภำพิจำรณำร่ำงพระรำชบัญญัติตำมที่กำหนดไว้ในหมวด 3 สิทธิ
และเสรีภำพของชนชำวไทย และหมวด 5 แนวนโยบำยพื้นฐำนแห่งรัฐได้ ถ้ำร่ำงพระรำชบัญญัติซึ่ง
มีผู้เสนอตำม ข. ค. หรือ ง. เป็นร่ำงพระรำชบัญญัติเกี่ยวด้วยกำรเงินจะเสนอได้ก็ต่อเมื่อมีค ำ
รับรองของนำยกรัฐมนตรี

17. ตอบ 4 ดูคำอธิบำยข้อ 13.ประกอบ

18. ตอบ 1 กฎหมำยลำดั บ รองของฝ่ ำ ยบริ ห ำร เช่น พระรำชกฤษฎีก ำ กฎกระทรวง หรือ


ประกำศกระทรวงนั้ น สำมำรถตรำขึ้ น ได้ ก็ โ ดยอำศั ย อ ำนำจตำมกฎหมำยแม่ บ ทซึ่ ง ได้ แ ก่
พระรำชบัญญัติ หรือพระรำชกำหนด

19. ตอบ 3 ในกรณีที่หำหลักกฎหมำยทั่วไปมำปรับแก่คดีไม่ได้ ศำลจะปฏิเสธไม่พิจำรณำคดี


ไม่ได้ ในกรณีเช่นนี้ ศำลต้องหำหลักกฎหมำยทั่วไปจำกหลักควำมยุติธรรมตำมธรรมชำติมำปรับแก่
คดี ซึ่งได้แก่ ควำมเป็นธรรมหรือควำมรู้สึกผิดชอบชั่วดีที่อยู่ในจิตใจของมนุษย์ และจำกหลัก
เหตุผลของเรื่อง

20. ตอบ 4 แม้ว่ำกำรกระทำจะเข้ำลักษณะเป็นควำมผิดตำมประมวลกฎหมำยอำญำหรือตำม


พระรำชบัญญัติอื่น แต่ถ้ำมีกฎหมำยลำยลักษณ์อักษรหรือกฎหมำยจำรีตประเพณีในกระทำกำร
นั้นๆ ได้แล้ว กำรกระทำนั้นก็ไม่เป็นควำมผิดต่อกฎหมำยอำญำ เช่น กำรชกมวยแม้จะทำให้คู่ชก
บำดเจ็บหรือตำยก็ไม่เป็นควำมผิด (ป.อ. มำตรำ 68) หรือหลักเอำเอกสิทธิ์ของสมำชิกรัฐสภำตำม
รัฐธรรมนูญฯมำตรำ 130 เป็นต้น

21. ตอบ 2 กฎหมำยคอมมอน ลอว์ (กฎหมำยไม่เป็นลำยลักษณ์อักษร) เป็นกฎหมำยที่ถือเอำคำ


พิพำกษำของศำลเป็นตัวบทกฎหมำย ดังนั้นบ่อเกิดของกฎหมำยในระบบนี้จึงมำจำกคำพิพำกษำ
ของศำล ซึ่งประเทศที่นิยมใช้กฎหมำยระบบนี้ได้แก่ ประเทศอังกฤษ และเครือจักรภพอังกฤษ (ดู
คำอธิบำยข้อ 1. ประกอบ
450

22. ตอบ 3 ประมวลกฎหมำยแพ่งของประเทศฝรั่งเศสนั้นจัดทำขึ้นโดยแบ่งโครงสร้ำงเนื้อหำเป็น


หมวดหมู่ เป็นเรื่องๆอย่ำงเป็นระบบ ซึ่งต่ำงกับประมวลกฎหมำยแพ่งของพระเจ้ำจัสติเนียนแห่ง
กรุงโรม ซึ่งถือแม้จะเป็นต้นกำเนิดของระบบกฎหมำยซีวิล ลอว์ แต่มีลักษณะเป็นกำรรวบรวมเอำ
กฎหมำยต่ ำงๆมำบั น ทึ ก ไว้ ใ นประมวลกฎหมำยเดี ย วกั น เท่ ำ นั้ น โดยมิ ไ ด้ แ บ่ ง เนื้ อ หำออกเป็ น
หมวดหมู่หรือเป็นเรื่องๆแต่อย่ำงใด

23. ตอบ 2 ควำมผิดทำงเทคนิค (Technical Offence) คือ ควำมผิดอำญำที่ไม่ผิดศีลธรรมแต่ผิด


เพรำะกฎหมำยห้ำม ซึ่งกฎหมำยดังกล่ ำว คือกฎหมำยเทคนิคที่เกิดขึ้นในยุคกฎหมำยเทคนิค เช่น
กฎหมำยจรำจร กฎหมำยป่ำไม้ กฎหมำยเกี่ยวกับบัตรประชำชน เป็นต้น (กำรขับรถฝ่ำสัญญำณไฟ
แดงถือเป็นกำรฝ่ำฝืนกฎหมำยจรำจร)

24. ตอบ 2 บทบัญญัติของมำตรำ 369 เป็นบทบัญญัติของกฎหมำยที่บัญญัติขึ้นโดยอำศัยหลัก


ว่ำ “บุคคลต้องปฏิบัติตำมสัญญำ” ซึ่งเกิดจำกหลักศีลธรรมที่ว่ำ “เมื่อพูดให้สัญญำแล้วต้องรักษำ
คำพูด” (กรณีหลักปฏิเสธไม่ต้องผูกพันตำมสัญญำนั้นจะต้องเกิดจำกพฤติกำรณ์หรือเหตุกำรณ์ที่
เปลี่ยนแปลงไป เช่น กำรชำระหนี้กลำยเป็นพ้นวิสัย เป็นต้น

25. ตอบ 3 ศีลธรรม คือ ควำมรู้สึกภำยในจิตใจของมนุษย์ว่ำกำรกระทำอย่ำงไรเป็นกำรกระทำที่


ถูกหรือผิด ดังนั้นศีลธรรมจึงเป็นกฎเกณฑ์ที่ควบคุมควำมประพฤติภำยในจิตใจมนุษย์ ซึ่งจะต่ำงกับ
กฎหมำยเพรำะกฎหมำยจะกำหนดควำมประพฤติภำยนอกของมนุษย์ที่แสดงออกมำให้เห็น แค่
ศีลธรรมเป็นเพียงแต่คิดในทำงที่ไม่ชอบก็ผิดศีลธรรมแล้ว

26. ตอบ 3 พระรำชกำหนด มี 2 ประเภท ได้แก่


1.พระรำชกำหนดทั่วไป เป็นกรณีที่ตรำพระรำชกำหนดเพื่อประโยชน์ในอันที่จะรักษำ
ควำมปลอดภัยของประเทศ ควำมปลอดภัยสำธำรณะ ควำมมั่นคงทำงเศรษฐกิจ หรือป้องปัดภัย
พิบัติสำธำรณะ และให้ตรำได้เฉพำะเมื่อคณะรัฐมนตรีเห็น ว่ำเป็นกรณีฉุกเฉินที่มีควำมจำเป็น
รีบด่วนอันมิอำจจะหลีกเลี่ยงได้ (รัฐธรรมนูญฯ 2550 มำตรำ 184)
2. พระรำชกำหนดเกี่ยวด้วยภำษีและเงินตรำ เกี่ยวกับภำษีอำกรหรือเงินตรำ ซึ่งต้อง
พิจำรณำโดยด่วนและลับเพื่อรักษำประโยชน์ของแผ่นดินในระหว่ำงสมัยประชุมสภำเท่ำนั้น (รัฐ
ธรรมนูญฯ 2550 มำตรำ 186)

27. ตอบ 4 หลักกฎหมำยทั่วไปเป็นบ่อเกิดหรือมีที่มำอีกประกำรหนึ่งของกฎหมำยโดยหลัก


กฎหมำยทั่วไปอำจเป็นหลักกฎหมำยดั้งเดิม ซึ่งเขียนเป็นสุภำษิตกฎหมำยภำษำละตินหรือเป็น
หลักกฎหมำยที่แฝงอยู่ในบทกฎหมำยต่ำงๆ เช่น หลักควำมไม่รู้กฎหมำยไม่เป็นข้อแก้ตัว หลัก
ควำมยินยอมไม่เป็นละเมิด เป็นต้น
451

28. ตอบ 3 ตำมหลักของระบบกฎหมำยคอมมอน ลอว์ นั้น


1. ถ้ำมีหลักกฎหมำยซึ่งเป็นหลักกฎเกณฑ์ทั่วไปอยู่แล้ว ศำลหรือผู้พิพำกษำเป็นแต่เพียงผู้
แสดงหลักเกณฑ์นั้นๆแล้วนำมำปรับแก่คดีเท่ำนั้น และ
2. ถ้ำไม่มีหลักกฎหมำยดังกล่ำว ก็ให้ศำลหรือผู้พิพำกษำเป็นผู้สร้ำงหลักกฎหมำยขึ้นโดย
คำพิ พำกษำและค ำพิ พ ำกษำของศำลดัง กล่ำ วถือ เป็น บรรทั ดฐำนของศำลต่อ ๆมำ ซึ่ง เรีย กว่ ำ
“Judge Made Law”

29. ตอบ 4 กฎหมำยกับศีลธรรมนั้นถึงแม้จะมีอิทธิพลต่อกันมำก เช่น กำรที่มีศีลธรรมสูง ย่อม


เป็นที่เชื่อได้ว่ำไม่เคยทำกำรฝ่ำฝืนกฎหมำย แต่บำงครั้งกฎหมำยกับศีลธรรมก็อำจขัดกันได้ เช่น
แม่ขโมยนมผงเพื่อให้ลูกกินเนื่องจำกตนไม่มีเงิน ถือว่ำถูกศีลธรรมแต่ผิดกฎหมำยฐำนลักทรัพย์
เป็นต้น

30. ตอบ 4 ทำยำทที่มีสิทธิรับมรดกในฐำนะทำยำทผู้รับพินัยกรรมนั้นกฎหมำยมิได้กำหนดว่ำ


จะต้องเป็นใคร แต่มีเงื่อนไขที่สำคัญคือ จะต้องเป็นบุคคลตำมกฎหมำย(บุคคลธรรมดำและนิติ
บุค คล) เท่ำนั้ น และต้อ งไม่ ใช่ บุ คคลที่ ก ฎหมำยห้ำ มมิ ใ ห้เป็น ผู้ รับ พิ นัย กรรม ซึ่ง ได้แ ก่ ผู้ เขี ย น
พินัยกรรม พยำน รวมทั้งคู่สมรสของบุคคลดังกล่ำวด้วย (ชมรมคนรักรำมไม่มีสภำพเป็นนิติบุคคล)

31. ตอบ 1 ตำม ป.พ.พ. มำตรำ 1629 ทำยำทโดยธรรมที่มีสิทธิรับมรดกมี 2 ประเภท คือ


ทำยำทโดยธรรมที่เป็นญำติและทำยำทโดยธรรมที่เป็นคู่สมรส ซึ่งทำยำทโดยธรรมที่เป็นญำติมี 6
ลำดับ ได้แก่ 1. ผู้สืบสันดำน (รวมถึงบุตรนอกกฎหมำยที่บิดำรับรองแล้วและบุตรบุญธรรมด้วย)
2. บิดำมำรดำ (ไม่รวมถึงผู้รับบุตรบุญธรรม ซึ่งกฎหมำยไม่ถือเป็นทำยำทโดยธรรมในลำดับที่ 2
ของบุตรบุญธรรมและไม่มีสิทธิรับมรดกของเจ้ำมรดกซึ่งเป็นบุตรบุญธรรมของตน) 3. พี่น้องร่วม
บิดำมำรดำเดียวกัน 4. พี่น้องร่วมบิดำหรือมำรดำเดียวกัน 5. ปู่ ย่ำ ตำ ยำย 6. ลุง ป้ำ น้ำ อำ

32. ตอบ 4 เมื่อนำยดอนตำยจะมีทำยำทโดยธรรมอยู่ 2 คน คือ นำงแดงซึ่งเป็นมำรดำโดยชอบ


ธรรมตำมกฎหมำย และเป็นทำยำทในลำดับที่ 2 ส่วนนำยดินเป็นทำยำทในลำดับที่ 3 จึงไม่มีสิทธิ
รับมรดกตำม ป.พ.พ. มำตรำ 1630 ซึ่งมีหลักว่ำ ทำยำทโดยธรรมในลำดับก่อนจะตัดทำยำทโดย
ธรรมในลำดับหลัง ดังนั้นนำงแดงจึงมีสิทธิรับมรดกของนำยดอนแต่เพียงผู้เดียว สำหรับนำยดำนั้น
เป็นบิดำที่ไม่ชอบด้วยกฎหมำยของนำยดอน จึงไม่ใช่ทำยำทโดยธรรมและไม่มีสิทธิรับมรดก (ดู
คำอธิบำยข้อ 31.ประกอบ)

33. ตอบ 2 เมื่อนำงแดงตำยจะมีทำยำทโดยธรรมอยู่ 2 คน คือ นำยดินและนำยดอน ซึ่ง เป็น


บุตรที่ชอบด้วยกฎหมำย และเป็นทำยำทในลำดับที่ 1 นำยดินและนำยดอนจึงมีสิทธิรับมรดก
452

สำหรับนำยดำนั้นเป็นคู่สมรสที่ไม่ชอบด้วยกฎหมำยของนำงแดง จึงไม่ใช่ทำยำทโดยธรรมและไม่มี
สิทธิรับมรดก (ดูคำอธิบำยข้อ 31.ประกอบ)

34. ตอบ 3 เมื่อนำยดำตำยจะมีทำยำทโดยธรรมอยู่ 2 คน คือ นำยดินและนำยดอน ซึ่งเป็น


บุตรนอกกฎหมำยที่นำยดำรับรองแล้ว (ให้ใช้นำมสกุล) และถือเป็นทำยำทในลำดับที่ 1 นำยดิน
และนำยดอนจึงมีสิทธิรับมรดก สำหรับนำงแดงนั้นเป็นคู่สมรสที่ไม่ชอบด้วยกฎหมำยของนำยดำ
จึงไม่ใช่ทำยำทโดยธรรมและไม่มีสิทธิรับมรดก (ดูคำอธิบำยข้อ 31.ประกอบ)

35. ตอบ 2 “ทรัพย์” หมำยถึง วัตถุมีรูปร่ำง ซึ่งอำจมีรำคำและอำจถือเอำได้ เช่น จักรยำน


นำฬิกำ ตุ๊กตำหมี ฯลฯ ส่วน “ทรัพย์สิน” หมำยถึง ทรัพย์ และวัตถุไม่มีรูปร่ำงซึ่งอำจมีรำคำและ
อำจถือเอำได้ เช่น พลังงำนปรมำณู แก๊ส กรรมสิทธิ์ ลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร ฯลฯ

36. ตอบ 4 สั ง หำริม ทรั พ ย์ ช นิ ด พิ เศษ คื อ ทรั พ ย์ อื่ น นอกจำกอสั ง หำริ ม ทรั พ ย์ ซึ่ ง กฎหมำย
กำหนดให้เป็นทรัพย์ในลักษณะพิเศษกว่ำสังหำริมทรัพย์ทั่วไป กล่ำวคือ เวลำจะจำหน่ำยจ่ำยโอน
จะต้องทำเป็นหนังสือและจดทะเบียนต่อพนักงำนเจ้ำหน้ำที่ด้วย ซึ่งได้แก่ เรือที่มีระวำงตั้งแต่ 5
ต้นขึ้นไป แพที่ใช้อยู่อำศัย และสัตว์พำหนะ คือ ช้ำง ม้ำ โค กระบือ ลำ ล่อ

37. ตอบ 2 “ดอกผลนิตินัย” เป็นดอกผลที่มิได้เกิดขึ้นตำมธรรมชำติจำกตัวของแม่ทรัพย์แต่เป็น


ทรัพย์หรือประโยชน์อย่ำงอื่นที่ได้มำเป็นครั้งครำวแก่เจ้ำของทรัพย์จำกผู้อื่น เพื่อกำรที่ได้ใช้ทรั พย์
นั้น และสำมำรถคำนวณและถือเอำได้เป็นรำยวันหรือตำมระยะเวลำที่กำหนดไว้ เช่น ดอกเบี้ย ค่ำ
เช่ำ เงินปันผลหรือประโยชน์ในกำรให้เข้ำไปทำกินในที่ดิน

38. ตอบ 3 ตำม ป.พ.พ. มำตรำ 1336 บั ญ ญั ติ ว่ ำ “ภำยในบั ง คั บ แห่ ง กฎหมำยเจ้ ำ ของ
ทรัพย์สินมีสิทธิใช้สอยและจำหน่ำยทรัพย์สินของตนและได้ซึ่งดอกผลแห่งทรัพย์สินนั้น...”

39. ตอบ 4 ทรัพย์ใดแม้จะเป็นอสังหำริมทรัพย์แต่ก็อำจจะโอนกันในรูปสังหำริมทรัพย์ก็ได้ เช่น


บ้ำนทรงไทยที่ซื้อขำยกันเป็นส่วนๆ ไม่ถือว่ำเป็นกำรซื้อขำยทรัพย์อันติดอยู่กับที่ดินจึงไม่เป็นกำร
ซื้อขำยอสังหำริมทรัพย์ แต่เป็นกำรซื้อขำยทรัพย์ในสภำพของสังหำริมทรัพย์ทั่วไป

40. ตอบ 2 กำรได้มำซึ่งกรรมสิทธิ์มี 2 กรณี คือ


1. กำรได้มำโดยทำงนิติกรรม เช่น กำรซื้อขำย เช่ำซื้อ แลกเปลี่ยน ให้ เป็นต้น และ
2. กำรได้มำโดยทำงอื่นนอกจำกนิติกรรม เช่น กำรได้มำโดยกำรครอบครองปรปักษ์ โดยพิพำกษำ
ของศำล โดยอำศัยหลักส่วนควบ หรือโดยทำงมรดก เป็นต้น
453

41. ตอบ 4 ทรัพยสิทธิ คือ สิทธิที่มีวัตถุแห่งสิทธิเป็นทรัพย์สิน หรือสิทธิที่มีอยู่เหนือทรัพย์สิน


โดยตรง เช่น กรรมสิทธิ์ สิทธิครอบครอง ภำระจำยอม สิทธิอำศัย สิทธิเก็บกิน สิทธิเหนือพื้นดิน
ภำระติดพันในอสังหำริมทรัพย์ สิทธิจำนอง สิทธิจำนำ สิทธิยึดหน่วง ลิขสิทธิ์ สิทธิในเครื่องหมำย
กำรค้ำ เป็นต้น (ส่วนควบถือเป็นส่วนประกอบของทรัพย์)

42. ตอบ 4 ศำลเยำวชนและครอบครัว คือ ศำลที่มีอำนำจพิจำรณำพิพำกษำหรือมีคำสั่งในคดีที่


เกี่ยวกับเด็กและเยำวชน (บุคคลที่มีอำยุเกิน 7 ปีแต่ยังไม่ถึง 18 ปีบริบูรณ์) โดยเฉพำะทั้งทำงแพ่ง
และทำงอำญำ เช่น
- คดีครอบครัว ได้แก่ คดีแพ่งที่ฟ้องหรือร้องขอต่อศำล หรือกำรกระทำใดๆในทำงศำลเกี่ยวกับ
ผู้เยำว์หรือครอบครัวแล้วแต่กรณีซึ่งจะต้องบังคับตำม ป.พ.พ. เช่น กำรขอตั้งผู้ปกครองผู้เยำว์ใน
กรณีที่บิดำมำรดำของผู้เยำว์ถึงแก่กรรม เป็นต้น
- คดีอำญำ ที่มีข้อหำว่ำเด็กหรือเยำวชนกระทำผิด

43. ตอบ 3 ตำม พ.ร.บ. ค่ ำตอบแทนผู้ เสี ย หำยและค่ ำ ทดแทนและค่ ำ ใช้ จ่ ำ ยแก่ จ ำเลยใน
คดีอ ำญำ พ.ศ.2544 มำตรำ 17 ได้บัญ ญัติ ว่ำ ควำมผิด ที่ก ระทำต่อ ผู้เสี ยหำย อันอำจขอรับ
ค่ำตอบแทนได้ต้องเป็นควำมผิดตำมประมวลกฎหมำยอำญำ ได้แก่
1. ควำมผิดเกี่ยวกับเพศ 2. ควำมผิดต่อชีวิต 3. ควำมผิดต่อร่ำงกำย 4. ควำมผิดฐำนทำให้
แท้งลูก และ 5. ควำมผิดฐำนทอดทิ้งเด็ก คนป่วยเจ็บ และคนชรำ

44. ตอบ 3 ดูคำอธิบำยข้อ 42.ประกอบ

45. ตอบ 4 ควำมผิดฐำนทำร้ำยร่ำงกำยตำมประมวลกฎหมำยอำญำ มำตรำ 295 เป็นควำมผิด


ที่ไม่ อำจยอมควำมได้ ไม่ ว่ำผู้ใดกระทำต่ อผู้ ใด ส ำหรับ กำรกระทำระหว่ำ งสำมีกั บภริย ำ หรือ
ระหว่ำงผู้บุพกำรีกับผู้สืบสันดำน ซึ่งเป็นควำมผิดแต่กฎหมำยยกเว้นโทษให้ หรือลดหย่อนโทษให้
หรือให้ยอมควำมได้นั้น จะต้องเป็นกำรกระทำควำมผิดฐำนใดฐำนหนึ่งเฉพำะที่กฎหมำยกำหนดไว้
เท่ำนั้น เช่น ควำมผิดฐำนหลักทรัพย์ ยักยอกทรัพย์ หรือทำให้เสียทรัพย์ เป็นต้น

46. ตอบ 3 กำรกระทำของนำยเอก เป็นกำรกระทำเพื่อป้องกันสิทธิของผู้อื่น คือ ภริยำให้พ้น


ภยันตรำยซึ่งเกิดจำกกำรประทุษร้ำยอันละเมิดต่อกฎหมำย และเป็นภยันตรำยที่ ใกล้จะถึง เมื่อได้
กระทำไปพอสมควรแก่เหตุ ถือว่ำกำรกระทำนั้นเป็นกำรป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมำยผู้กระทำไม่
มีควำมผิด (ป.อ. มำตรำ 68)

47. ตอบ 2 กำรกระทำของนำยโก๋ ถือว่ำมีเจตนำทำร้ำยร่ำงกำยนำงสำวแจ๋วโดยอำศัยสุนัขเป็น


เครื่องมือ นำยโก๋จึงมีควำมผิดฐำนเจตนำทำร้ำยร่ำงกำยผู้อื่น
454

48. ตอบ 3 กำรกระทำของนำยเอกเป็นควำมผิดในทำงแพ่งฐำนละเมิดเท่ำนั้น ไม่เป็นควำมผิด


ทำงอำญำ เพรำะกำรกระทำให้บุคคลอื่นเสียหำยแก่ทรัพย์สินและจะเป็นควำมผิดฐำนทำให้เสีย
ทรัพย์นั้นต้องเป็นกำรกระทำโดยเจตนำเท่ำนั้น ถ้ำเป็นกำรกระทำโดยประมำทแล้วกฎหมำยอำญำ
ไม่ได้บัญญัติไว้เป็นควำมผิดแต่อย่ำงใด

49. ตอบ 2 กำรกระทำของนำยโก๋เป็นกำรกระทำโดยเจตนำเพื่อให้บุคคลอื่นเสียหำยซึ่งทรัพย์สิน


จึงมีควำมผิดฐำนทำให้เสียทรัพย์ (ขอให้เปรียบเทียบกับข้อเท็จจริงในข้อ 48. ซึ่งจะต่ำงกัน)

50. ตอบ 3 กำรที่สุนัขของนำยเอกไปกัดแมวของ ด.ญ.ตุ๊กตำตำย ถือว่ำเป็นกำรกระทำโดย


ประมำทของนำยเอกที่ไม่ดูแลสุนัขให้ดี แต่นำยเอกก็ไม่มีควำมผิดทำงอำญำฐำนประมำททำให้
ผู้อื่นเสียทรัพย์ เพรำะกำรกระทำโดยประมำททำให้บุคคลอื่นเสียหำยแก่ทรัพย์สินนั้นกฎหมำย
อำญำไม่ได้บัญญัติไว้ว่ำเป็นควำมผิด ดังนั้นนำยเอกมีควำมผิด เฉพำะในทำงแพ่งฐำนละเมิดเท่ำนั้น
(ดูคำอธิบำยข้อ 48.ประกอบ)

51. ตอบ 3 กำรพยำยำมกระทำควำมผิดซึ่งไม่สำมำรถบรรลุผลได้อย่ำงแน่แท้ เป็นกำรกระทำ


ควำมผิดที่ได้กระทำไปตลอดแล้ว แต่กำรกระทำนั้นไม่สำมำรถบรรลุผลได้อย่ำงแน่นอน ซึ่งอำจจะ
เป็นเพรำะเหตุปัจจัยซึ่งใช้ในกำรกระทำ (เช่น ใช้ปืนที่ไม่มีลูกยิงโดยเจตนำฆ่ำ เป็นต้น) หรือเหตุ
แห่งวัตถุ ที่มุ่งหมำยกระทำต่อก็ไ ด้ (ขอให้สังเกตว่ำ ข้อ ก. ดำไม่มีเจตนำฆ่ำขำว ควำมผิดฐำน
พยำยำมจึงไม่เกิดขึ้น)

52. ตอบ 3 กำรที่นำยยิ้มจ้ำงมือปืนให้ไปยิงนำยเอก แค่มือปืนได้เอำยำพิษไปลอบให้นำยเอก


กินแล้วตำย ย่อมถือว่ำควำมผิดนั้นได้กระทำลงตำมที่ได้มีกำรใช้แล้ว ดังนั้นนำยยิ้มซึ่งเป็นผู้ใช้ให้
กระทำควำมผิดต้องรับโทษเสมือนตัวกำร

53. ตอบ 3 ควำมผิดฐำนตัวกำร คือควำมผิดที่ได้เกิดขึ้นโดยกำรกระทำของบุคคลตั้งแต่ 2 คน


ขึ้นไป โดยกำรร่วมมือร่วมใจกันกระทำควำมผิด และต่ำงรู้สึกถึงกำรกระทำของกันและกัน ซึ่ง
กฎหมำยให้ถือว่ำผู้ร่วมกันกระทำผิดเป็นตัวกำร และต้องระวำงโทษตำมที่กฎหมำยได้กำหนดไว้
สำหรับควำมผิดนั้น

54. ตอบ 2 กำรกระทำของนำยโก๋เป็นกำรกระทำโดยเจตนำโดยหลักย่อมเล็งเห็นผล คือไม่ได้


ประสงค์ต่อผลของกำรกระทำ แต่โดยลักษณะของกำรกระทำย่อมเล็งเห็นได้ว่ำกำรกระทำของตน
จะเกิดผลขึ้นอย่ำงไร คือย่อมเล็งเห็นผลได้ว่ำต้องมีคนถูกลูกกระสุนปืนตำย ดังนั้นนำยโก๋จึงมี
ควำมผิดฐำนฆ่ำคนตำยโดยเจตนำ
455

55. ตอบ 4 กำรที่นำงสำวติ๊นำเลี้ยงสุนัขตัวโตแล้วไม่ดูแลให้ดีนั้น ถือว่ำนำงสำวติ๊นำกระทำโดย


ประมำท กล่ำวคือเป็นกำรกระทำควำมผิดซึ่งผู้กระทำนั้นมิได้เจตนำ แต่กระทำโดยปรำศจำกควำม
ระมัดระวัง ซึ่งบุคคลในภำวะเช่นนั้นจักต้องมีตำมวิสัย และพฤติกำรณ์ และผู้กระทำอำจใช้ควำมระ
มัดเช่นว่ำนั้นได้ แต่หำได้ใช้ให้เพียงพอไม่ ดังนั้นนำงสำวติ๊นำจึงต้องรับผิดฐำนกระทำโดยประมำท
เป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ควำมตำย

56. ตอบ 3 กำรกระทำของนำยเด่น ถือว่ำเป็นกำรกระทำโดยรู้สำนึกและแม้จะไม่ได้ประสงค์ต่อ


ผลของกำรกระทำ แต่โดยลักษณะของกำรกระทำ ย่อมเล็งเห็นผลได้ว่ำกำรกระทำของตนจะ
เกิดผลขึ้น คือ นำยบกคอขำดถึงแก่ควำมตำย ดังนั้นกำรกระทำของนำยเด่นจึงมีควำมผิดฐำนฆ่ำ
คนตำยโดยเจตนำเล็งเห็นผล

57. ตอบ 2 ดูคำอธิบำยข้อ 13.ประกอบ

58. ตอบ 3 กฎหมำยอำญำเป็นกฎหมำยพิเศษ กำรตีควำมจึงมีหลักเกณฑ์ที่แตกต่ำงกับกฎหมำย


ทั่วไป คือ 1. ต้องตีควำมตำมตัวอักษรโดยเคร่งครัด 2. จะตีควำมหมำยในทำงขยำยควำมให้เป็น
กำรลงโทษหรือเพิ่มโทษผู้กระทำให้หนักขึ้นไม่ได้ และ 3. ในกรณีเป็นที่สงสัย ศำลต้องตีควำมให้
เป็นผลดีแก่ผู้ต้องหำว่ำไม่ได้กระทำควำมผิด

59. ตอบ 3 ควำมผิดต่อส่วนตัว หรือควำมผิดอันยอมควำมได้ หมำยถึง ควำมผิดที่ไม่กระทบ


ควำมสงบของรัฐ และมีกฎหมำยบัญญัติไว้โดยชัดแจ้งว่ำเป็นควำมผิดต่อส่วนตัว เช่น ควำมผิดฐำน
หมิ่นประมำท เป็นต้น ซึ่งในกรณีที่เป็นควำมผิดต่อส่วนตัวนั้น พนักงำนสอบสวนจะสอบสวนได้ก็
ต่อเมื่อผู้เสียหำยได้ร้องทุกข์ตำมระเบียบแล้ว

60. ตอบ 3 กฎหมำยได้กำหนดหลักเกณฑ์ในเรื่องอำยุของชำยและหญิงที่ตะทำกำรหมั้นไว้ว่ำ จะ


หมั้นกันได้ชำยและหญิงจะต้ องมีอำยุ 17 ปีบริบูรณ์แล้ว หำกฝ่ำฝืน กำรหมั้นนั้นจะตกเป็นโมฆะ
(ป.พ.พ. มำตรำ 1435) แม้ผู้แทนโดยชอบธรรมจะให้ควำมยินยอมก็ตำม

61. ตอบ 2 เงื่อนไขที่จะทำให้กำรสมรสตกเป็นโมฆียะ (กำรสมรสมิอำจสมบูรณ์) มี 5 ประกำร


คือ 1. ชำยและหญิงมีอำยุไม่ครบ 17 ปีบริบูรณ์
2. ผู้เยำว์ทำกำรสมรสโดยมิได้รับควำมยินยอมจำกบิดำมำรดำ หรือผู้ปกครอง
3. กำรสมรสโดยสำคัญผิดตัวคู่สมรส
4. สมรสโดยถูกกลฉ้อฉล
5. กำรสมรสเพรำะถูกข่มขู่ (ในเรื่องกำรหมั้นนั้นมิได้บัญญัติในเรื่องกำรสำคัญผิดตัวคู่หมั้น
ไว้ จึงต้องนำบทบัญญัติในส่วนของกำรสมรสมำบังคับใช้)
456

62. ตอบ 3 ถ้ำคู่หมั้นฝ่ำยใดผิดสัญญำหมั้น อีกฝ่ำยหนึ่งจะฟ้องบังคับเพื่อให้มีกำรสมรสหรือ


เรียกเบี้ยปรับไม่ได้ มีสิทธิก็แต่เฉพำะเรียกค่ำทดแทนเนื่องจำกมีกำรผิดสัญญำหมั้นเท่ำนั้น และ
หำกหญิงเป็นฝ่ำยผิดสัญญำหมั้นก็จะต้องคืนของหมั้นให้แก่ฝ่ำยชำยด้วย

63. ตอบ 1 กำรหมั้นย่อมสมบูรณ์เมื่อฝ่ำยชำยได้ส่งมอบหรือโอนทรัพย์สินอันเป็นของหมั้นให้แก่


หญิงเพื่อเป็นหลักฐำนว่ำจะสมรสกับหญิงนั้น กล่ำวคือ สัญญำหมั้นย่อมสมบูรณ์ในวันที่มีกำรส่ง
มอบหรือโอนทรัพย์สินอันเป็นของหมั้นแล้ว แม้จะคนละวันกับวันหมั้นก็ตำม และหำกฝ่ำยหญิ งผิด
สัญญำหมั้นก็ต้องคืนของหมั้นให้แก่ฝ่ำยชำย

64. ตอบ 1 ผู้รับบุตรบุญธรรมจะสมรสกับบุตรบุญธรรมไม่ได้ ในกรณีที่มีกำรฝ่ำฝืน ให้ถือว่ำกำร


รับบุตรบุญธรรมเป็นอันยกเลิกไป แต่กำรสมรสยังมีผลสมบูรณ์

65. ตอบ 1 เงื่อนไขที่จะทำให้กำรสมรสตกเป็นโมฆะ มี 4 ประกำร คือ


1. สมรสกับบุคคลวิกลจริต หรือคนไร้ควำมสำมำรถตำมคำสั่งศำล
2. สมรสกับญำติสืบสำยโลหิตโดยตรงขึ้นไปลงมำ หรือกับพี่น้องร่วมบิดำหรือมำรดำเดียวกัน
3. สมรสโดยปรำศจำกควำมยินยอมของชำยหญิงคู่สมรส และ
4. สมรสในขณะที่ตนมีคู่สมรสที่ชอบด้วยกฎหมำยอยู่แล้วหรือที่เรียกว่ำ สมรสซ้อน
(ลุงเขยไม่ถือว่ำเป็นญำติสืบสำยโลหิตโดยตรงหรือลงมำแต่อย่ำงใด และกรณีไม่เป็นสมรสซ้อน
เพรำะกำรสมรสครั้งแรกย่อมสิ้นสุดลงแล้วเนื่องจำกควำมตำยของคู่สมรส)

66. ตอบ 2 กรณีที่ผู้เยำว์เป็นบุตรบุญธรรมของบุคคลใด เมื่อจะทำกำรสมรสก็ต้องได้รับควำม


ยินยอมจำกผู้รับบุตรบุญธรรมนั้น มิฉะนั้นกำรสมรสจะเป็นโมฆียะ เพรำะนับตั้งแต่ผู้เยำว์ไปเป็น
บุตรบุญธรรม อ ำนำจปกครองของบิดำมำรดำย่อมหมดไป ผู้ รับบุตรบุ ญธรรมจะต้องเป็นผู้ใช้
อำนำจปกครองแทน (ดูคำอธิบำยข้อ 61.ประกอบ)

67. ตอบ 1 เหตุที่จะทำให้กำรสมรสสิ้นสุดลง มีได้ 3 กรณี คือ


1. คู่สมรสฝ่ำยใดฝ่ำยหนึ่งตำย
2. โดยกำรหย่ำ และ
3. ศำลพิพำกษำเพิกถอนกำรสมรส (กำรที่คู่สมรสฝ่ำยหนึ่งสำบสูญเป็นเพียงเหตุฟ้องหย่ำเท่ำนั้น)

68. ตอบ 3 หน้ำ 163 สินสมรส ได้แก่


1. ทรัพย์สินที่คู่สมรสได้มำระหว่ำงสมรส เช่น เงินเดือนหรือรำงวัลที่ได้จำกกำรถูกลอตเตอรี่
2. ทรั พย์ สิน ที่ฝ่ ำยใดฝ่ำยหนึ่ง ได้ ม ำระหว่ำ งสมรสโดยพินั ยกรรมหรื อกำรให้ เป็ นหนัง สือ เมื่ อ มี
พินัยกรรมหรือหนังสือยกให้ระบุว่ำให้เป็นสินสมรส
457

3. ดอกผลของสินส่วนตัว ซึ่งเกิดมีขึ้นเมื่อมีกำรสมรส เช่น ลูกหมูซึ่งแม่หมูตกลูกเมื่อสมรสแล้ว


(ดอกเบี้ยเงินฝำกแม้จะเป็นดอกผลของสินส่วนตัว แต่ได้มำก่อนสมรสจึงไม่เป็นสินสมรสแต่เป็นสิน
ส่วนตัว)

69. ตอบ 2 “มรดก” หมำยถึง ทรัพย์สินทุกชนิดของผู้ตำยตลอดทั้งสิทธิ หน้ำที่ และควำมรับ


ชอบต่ำงๆด้วย เว้นแต่ ตำมกฎหมำยหรือว่ำโดยสภำพแล้วเป็นกำรเฉพำะตัวของผู้ตำยโดยแท้
(สิทธิตำมสัญญำหมั้น เป็นสิทธิเฉพำะตัวของผู้ตำย)70. ตอบ 3 ตำมรัฐธรรมนูญ กำรตรำพระ
รำชกฤษฎีกำของพระมหำกษัตริย์โดยคำแนะนำของคณะรัฐมนตรีนั้นจะเกิดขึ้นใน 3 กรณี คือ
1. รัฐธรรมนูญกำหนดให้ตรำขึ้นในกิจกำรที่สำคัญอันเกี่ยวกับฝ่ำยบริหำรและนิติบัญญัติ เช่น พระ
รำชกฤษฎีกำเรียกประชุมรัฐสภำ, พระรำชกฤษฎีกำยุบสภำผู้แทนรำษฎร หรือพระรำชกฤษฎีกำให้
มีกำรเลือกตั้งสมำชิกสภำผู้แทนรำษฎร ฯลฯ 2. โดยอำศัยอำนำจตำมรัฐธรรมนูญฯ มำตรำ 196
(เรื่องเงินประจำตำแหน่ง บำเหน็จบำนำญและประโยชน์ตอบแทน) 3. โดยอำศัยอำนำจตำม
กฎหมำยแม่บท (พระรำชบัญญัติหรือพระรำชกำหนด) ที่ให้อำนำจตรำพระรำชกฤษฎีกำได้

71. ตอบ 2 รำชอำณำจักรไทย หมำยถึง 1.พื้นดินและพื้นน้ำซึ่งอยู่ในอำณำเขตประเทศไทย


2. ทะเลอันเป็นอ่ำวไทย 3. ทะเลอันห่ำงจำกฝั่งที่เป็นดินแดนของประเทศไทยไม่เกิน 12 ไมล์
ทะเล 4. อำกำศเหนือ 1.,2. และ 3.

72. ตอบ 4 ประมวลกฎหมำยอำญำ มำตรำ 7 ได้บัญญัติให้อำนำจแก่ศำลไทยที่จะพิจำรณำ


พิพำกษำคดีที่แม้จะได้กระทำนอกรำชอำณำจักร และผู้กระทำควำมผิดจะมีสัญชำติใดก็ตำม ได้แก่
1. ควำมผิดเกี่ยวกับควำมมั่นคงแห่งรำชอำณำจักร
2. ควำมผิดเกี่ยวกับกำรปลอม และกำรแปลงเหรียญกษำปณ์ ธนบัตรหรือสิ่งอื่นใด
3. ควำมผิดฐำนชิงทรัพย์ และปล้นทรัพย์ ซึ่งได้กระทำในทะเลหลวง
และตำมประมวลกฎหมำยอำญำ มำตรำ 8 ได้บัญญัติให้ศำลไทยมีอำนำจพิจำรณำพิพำกษำคดี
เกี่ยวกับควำมผิดที่เกิดขึ้นนอกรำชอำณำจักรได้ ถ้ำผู้กระทำควำมผิดเป็นคนไทย หรือผู้กระทำ
ควำมผิดเป็นคนต่ำงด้ำว แต่รัฐบำลไทยหรือคนไทยเป็นผู้เสียหำย และผู้เสียหำยได้ร้องขอให้ลงโทษ

73. ตอบ 1 ในกรณีที่ไม่รู้ว่ำบุคคลเกิดวันใด เดือนใด แต่รู้ปีเกิด ให้ว่ำถือว่ำบุคคลนั้นได้เกิดวันต้น


ปี ซึ่งเป็นปีที่บุคคลนั้นเกิด ในกรณีที่เกิดก่อนวันที่ 18 ตุลำคม 2483 ให้ถือเอำ วันที 1 เมษำยน
เป็นวันต้นปี หำกเกิดภำยหลังจำกนั้นให้ถือเอำวันที่ 1 มกรำคม เป็นวันต้นปี ดังนั้นกำรที่นำยหนุ่ม
ไม่รู้ว่ำเกิดเมื่อใดทรำบแต่เกิดปี พ.ศ. 2530 ดังนี้ตำมกฎหมำยถือว่ำนำยหนุ่มเกิดเมื่อวันที่ 1
มกรำคม 2530
458

74. ตอบ 1 สภำพบุคคลของบุคคลธรรมดำย่อมสิ้นสุดลงเมื่ อตำย ซึ่งกำรตำยนั้นมีได้ 2 กรณี


คือ 1. ตำยธรรมดำ และ 2. ตำยโดยผลของกฎหมำย คือ เมื่อบุคคลนั้นได้ถูกศำลสั่งให้เป็นคน
สำบสูญ

75. ตอบ 1 สภำพบุคคลย่อมเริ่มแต่คลอดแล้วอยู่รอดเป็นทำรก (โดยจะตัดสำยสะดือหรือไม่ไม่


สำคัญ) ซึ่งกำรอยู่รอดเป็นทำรกนั้น อำจจะดูที่กำรเต้นของหัวใจ กำรเคลื่อนไหวของร่ำงกำย หรือดู
ที่กำรหำยใจ ซึ่งกำรหำยใจนั้นไม่จำกัดว่ำจะมีระยะเวลำเท่ำใด ดังนั้นทำรกที่ยังอยู่ในครรภ์มำรดำ
จึงยังไม่มีสภำพบุคคล แต่ทำรกในครรภ์มำรดำอำจมีสิทธิต่ำงๆได้ เช่น สิทธิในกำรรับมรดก ถ้ำหำก
ว่ำภำยหลังได้คลอดแล้วอยู่รอดเป็นทำรก

76. ตอบ 3 ดูคำอธิบำยข้อ 75.ประกอบ

77. ตอบ 3 ทำรกในครรภ์ ม ำรดำยั ง ไม่ มี ส ภำพบุ ค คล จึ ง ไม่ อ ำจเป็ น ทำยำทได้ เพรำะตำม
กฎหมำยกำรเป็นทำยำทนั้น (ไม่ว่ำจะเป็นทำยำทโดยธรรมหรือทำยำทในฐำนะผู้รับพินัยกรรม)
จะต้องมีสภำพบุคคลอยู่ในเวลำที่เจ้ำมรดกถึงแก่ควำมตำยด้วย (ดูคำอธิบำยข้อ 75.ประกอบ)

78. ตอบ 3 หน้ ำ 146 ในกรณีที่ศำลมี คำสั่ งให้บุค คลใดเป็น คนสำบสูญแล้ว จะมี ผลตำม
กฎหมำยคือ 1. คู่สมรสอีกฝ่ำยหนึ่งฟ้องหย่ำได้ (แต่ไม่ทำให้กำรสมรสสิ้นสุดลง)
2. ถือเป็นกำรสิ้นสุดอำนำจปกครองบุตร
3. มรดกของบุคคลนั้นตกทอดแก่ทำยำท
4. ถื อ เสมื อ นว่ ำบุ ค คลนั้ น สิ้ น สภำพบุ ค คลหรื อ ถึ ง แก่ ค วำมตำย อย่ ำ งไรก็ ต ำมหำกคน
สำบสูญยังมีชีวิตอยู่หรือตำยในเวลำอื่นผิดไปจำกเวลำที่กฎหมำยสันนิษฐำนไว้ ศำลก็อำจเพิกถอน
คำสั่งให้เป็นคนสำบสูญได้

79. ตอบ 3 นอกจำกกฎหมำยจะให้กำรคุ้มครองชื่อสกุล (ชื่อตัว ชื่อรอง ชื่อสกุล) แล้ว ยังให้


กำรคุ้มครองไปถึงชื่ออื่นๆ เช่น ชื่อฉำยำ นำมแฝง ชื่อนิติบุคคล ชื่อกำรค้ำ ชื่อย่อสำหรับโทรเลข
รวมทั้งนำมปำกกำด้วย

80. ตอบ 1 บุคคลที่กฎหมำยกำหนดภูมิลำเนำให้ ได้แก่


1. ผู้เยำว์
2. คนไร้ควำมสำมำรถ
3. สำมีและภริยำ
4. ข้ำรำชกำร
5. ผู้ที่ถูกจำคุกตำมคำพิพำกษำถึงที่สุดของศำล
459

81.ตอบ 2 นิติกรรมใดก็ตำมที่มีวัตถุประสงค์เป็นกำรต้องห้ำมชัดแจ้งโดยกฎหมำยเป็นกำรพ้น
วิสัย หรือเป็นกำรขัดต่อควำมสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชำชน นิติกรรมนั้นจะตกเป็น
โมฆะ (ป.พ.พ. มำตรำ 150) เช่น นิติกรรมที่มีผลกระทบต่อควำมสงบของสังคม หรือควำมมั่นคง
ของสถำบัน ครอบครัว เป็ นต้ น ( ข้อ ข. เป็ นนิ ติ กรรมที่ มี วัต ถุ ประสงค์ ขัด ต่ อศี ล ธรรมอั น ดีข อง
ประชำชน)

82. ตอบ 3 บุคคลวิกลจริตซึ่งศำลยังมิได้สั่งให้เป็นคนไร้ควำมสำมำรถ ทำนิติกรรมใดๆมีผล


สมบูรณ์ เว้นแต่จะเป็นโมฆียะก็ต่อเมื่อได้ทำในขณะวิกลจริต และคู่กรณีอีกฝ่ำยหนึ่งได้รู้แล้วว่ำผู้ทำ
เป็นคนวิกลจริต

83. ตอบ 2 บุคคลย่อมพ้นจำกภำวะผู้เยำว์และบรรลุนิติภำวะเมื่อมีอำยุครบ 20 ปีบริบูรณ์ (ป.


พ.พ. มำตรำ 19) แต่อย่ำงไรก็ตำมผู้เยำว์อำจจะบรรลุนิติภำวะก่อนนั้นได้ หำกทำกำรสมรสและ
กำรสมรสนั้นได้ทำตำมบทบัญญัติมำตรำ 1448 คือ สมรสเมื่อชำยและหญิงมีอำยุครบ 17 ปี
บริบูรณ์แล้ว หรืออำยุน้อยกว่ำ 17 ปี แต่ศำลอนุญำตให้ทำกำรสมรสได้

84. ตอบ 4 คนไร้ควำมสำมำรถทำนิติกรรมใดๆนิติกรรมนั้นจะตกเป็นโมฆียะทั้งสิ้นไม่ว่ำจะได้


ทำนิติกรรมในขณะจริตวิกลหรือไม่ก็ตำม หรือได้ทำนิติกรรมโดยผู้อนุบำลจะได้ยินยอมหรือไม่ก็
ตำม นิติกรรมที่เกี่ยวกับคนไร้ควำมสำมำรถต้องให้ผู้อนุบำลทำแทน เว้นแต่พินัยกรรมซึ่งผู้อนุบำล
ไม่อำจทำแทนได้ เพรำะกำรทำพินัยกรรมเป็นสิทธิเฉพำะตัว ดังนั้นพินัยกรรมที่คนไร้ควำมสำมำรถ
ได้ทำขึ้น หรือให้ผู้อนุบำลทำแทนย่อมตกเป็นโมฆะ
85. ตอบ 2 บุคคลที่ศำลสั่งให้เป็นคนไร้ควำมสำมำรถ กฎหมำยกำหนดให้อยู่ในควำมดูแลของ
“ผู้อนุบำล” ซึ่งเป็นบุคคลที่ศำลตั้งขึ้นมำเพื่อให้ดูแลจัดกำรทรัพย์สินของคนไร้ควำมสำมำรถนั้น
เนื่องจำกบุคคลไร้ควำมสำมำรถไม่อำจทำนิติกรรมใดๆได้ จะต้องให้ผู้อนุบำลทำแทน

86. ตอบ 1 เมื่อศำลได้สั่งให้บุคคลใดเป็นคนเสมือนไร้ควำมสำมำรถ กฎหมำยกำหนดให้บุคคล


นั้ น จะต้ อ งอยู่ ในควำมดู แ ลของ “ผู้ พิ ทัก ษ์ ” ซึ่ ง กำรทำนิ ติ ก รรมบำงประเภทของคนเสมื อ นไร้
ควำมสำมำรถตำม ป.พ.พ. มำตรำ 34 จะต้องได้รับควำมยินยอมจำกผู้พิทักษ์ก่อน มิฉะนั้น จะตก
เป็นโมฆียะ

87. ตอบ 3 เนื่องจำกผู้เยำว์เป็นบุคคลผู้อ่อนอำยุ อ่อนประสบกำรณ์ และขำดกำรควบคุมสภำพ


จิตใจ ไม่อำจจัดกำรกิจกำรได้อย่ำงรอบคอบ กฎหมำยจึงให้ควำมคุ้มครองโดยกำหนดให้ผู้เยำว์
จะต้องอยู่ในควำมดูแลของ “ผู้แทนโดยชอบธรรม” กล่ำวคือ หำกผู้เยำว์จะทำนิติกรรมใดๆจะต้อง
ได้รับควำมยินยอมจำกผู้แทนโดยชอบธรรมก่อน มิฉะนั้นจะตกเป็นโมฆียะ เว้นแต่นิติกรรมบำง
ประเภทที่ผู้เยำว์สำมำรถทำได้เองโดยลำพัง
460

88. ตอบ 1 ผู้หย่อนควำมสำมำรถ คือ บุคคลบำงประเภทที่กฎหมำยได้จำกัดหรือตัดทอน


ควำมสำมำรถในกำรใช้สิทธิ ซึ่งมี 4 ประเภท คือ
1. ผู้เยำว์
2. คนไร้ควำมสำมำรถ
3. คนเสมือนไร้ควำมสำมำรถ
4. บุคคลวิกลจริต

89. ตอบ 3 นิติกรรมที่ผู้เยำว์สำมำรถทำได้เอง ได้แก่


1. นิติกรรมที่ทำให้ผู้เยำว์ได้ซึ่งสิทธิ หรือหลุดพ้นจำกหน้ำที่ เช่น กำรทำนิติกรรมรับกำรให้
โดยปรำศจำกเงื่อนไขหรือคำภำระติดพัน
2. นิติกรรมที่ผู้เยำว์ต้องทำเองเฉพำะตัว เช่น กำรจดทะเบียนรับรองบุตร
3. นิติกรรมที่ สมแก่ฐำนำนุ รูปและจำเป็น ในกำรด ำรงชีวิต ตำมสมควร เช่น ซื้ออำหำร
รับประทำน ซื้อสมุดดินสอ เครื่องเรียน และปัจจัยสี่
4. ผู้เยำว์อำจทำพินัยกรรมได้เมื่ออำยุครบ 15 ปีบริบูรณ์ พินัยกรรมซึ่งบุคคลที่มีอำยุยังไม่
ครบ 15 ปีบริบูรณ์ขึ้นนั้น เป็นโมฆะ

90. ตอบ 4 คนเสมือนไร้ควำมสำมำรถ โดยหลักแล้วสำมำรถทำนิติกรรมใดๆได้สมบูรณ์โดย


ลำพังตนเอง เว้นแต่นิติกรรมที่สำคัญบำงอย่ำงต้องได้รับควำมยินจำกผู้พิทักษ์ก่อนมิฉะนั้นจะตก
เป็นโมฆียะ เช่น กำรนำทรัพย์สินไปลงทุน กำรกู้หรือให้กู้ยืมเงิน กำรค้ำประกัน จำนอง หรือกำร
เช่ำหรือให้เช่ำสังหำริมทรัพย์มีกำหนดเวลำเกิน 6 เดือน หรืออสังหำริมทรัพย์มีกำหนดเวลำเกิน 3
ปี (บ้ำนเป็นอสังหำริมทรัพย์)

91. ตอบ 4 ผู้ปกครองของผู้เยำว์ซึ่ง จะเป็นผู้แทนโดยชอบธรรม จะมีได้ใน 2 กรณีคือ 1.


ผู้เยำว์ไม่มีบิดำมำรดำ (กรณีบิดำมำรดำตำยหรือไม่ปรำกฏบิดำมำรดำ) 2. บิดำมำรดำถูกถอน
อำนำจปกครอง

92. ตอบ 4 ผู้ที่มีสิทธิเข้ำทำนิติกรรมหรือสัญญำเพื่อก่อให้เกิดนิติสัมพันธ์ขึ้นนั้นจะต้องเป็นบุคคล


ตำมกฎหมำย ซึ่งอำจจะเป็นบุคคลธรรมดำ (ที่กฎหมำยมิได้จำกัดควำมสำมำรถไว้) หรืออำจเป็น
นิติบุคคล เช่น บริษัทจำกัด มูลนิธิ สมำคม เป็นต้น (ชมรมค่ำยอำสำพัฒนำไม่ใช่นิติบุคคลจึงไม่มี
สิทธิเข้ำทำสัญญำก่อนิติสัมพันธ์)

93. ตอบ 4 นิติกรรม หมำยถึง กำรใดๆอันทำลงโดยชอบด้วยกฎหมำยและด้ วยใจสมัครมุ่ง


โดยตรงต่อกำรผูกนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่ำงบุคคลเพื่อก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรือระงับซึ่งสิทธิ
461

เช่น กำรซื้อของ กำรกู้ยืมเงิน กำรน้ำเงินตรำต่ำงประเทศไปแลกเป็นเงินไทย เป็นต้น (กำรเล่นกำร


พนันเป็นกำรกระทำที่ไม่ชอบด้วยกฎหมำยย่อมไม่ถือเป็นนิติกรรม)

94. ตอบ 1 นิติกรรมที่เป็นโมฆียะ เป็นนิติกรรมที่เมื่อทำขึ้นมำแล้วจะมีผลใช้บังคับกันได้ตำม


กฎหมำย จนกว่ำจะมีกำรบอกล้ำงให้ตกเป็นโมฆะซึ่งจะทำให้นิติกรรมนั้นเป็นอันสูญเปล่ำหรืออำจ
มีกำรให้สัตยำบันเพื่อให้นิติกรรมนั้นมีผลใช้บังคับได้อย่ำงสมบูรณ์ (ส่วนนิติกรรมที่เ ป็นโมฆะ เป็น
นิติกรรมซึ่งเมื่อได้ทำขึ้นมำแล้วจะมีผลเสียเปล่ำใช้บังคับกันไม่ได้เสมือนหนึ่งมิได้ทำนิติกรรมนั้น
ขึ้นมำเลย และจะให้สัตยำบันก็ไม่ได้)

95. ตอบ 1 เหตุที่ทำให้นิติกรรมตกเป็นโมฆะ ได้แก่


1. นิติกรรมที่มีวัตถุประสงค์เป็นกำรต้องห้ำมชัดแจ้งโดยกฎหมำย เป็นกำรพ้นวิสัย หรือเป็นกำรขัด
ต่อควำมสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชำชน
2. นิติกรรมที่ทำขึ้นไม่ถูกต้องตำมแบบที่กฎหมำยบังคับไว้
3. นิติกรรมที่บกพร่องเกี่ยวกับกำรแสดงเจตนำ เช่น นิติกรรมที่เกิดขึ้นจำกกำรแสดงเจตนำลวง
หรือเกิดจำกกำรแสดงเจตนำโดยสำคัญผิดในสิ่งซึ่งเป็นสำระสำคัญแห่งนิติกรรม เป็นต้น

96. ตอบ 4 กำรที่นำยตรีได้ขำยรถยนต์ให้แก่นำยโทเพรำะเกรงใจที่นำยโทเป็นญำติผู้ใหญ่นั้น ถือ


ว่ำเป็นกำรทำนิติกรรมเพรำะควำมนับถือยำเกรง ซึ่งตำมกฎหมำยไม่ถือว่ำเป็นกำรข่มขู่ที่จะทำให้
นิติกรรมเป็นโมฆียะ ดังนั้นนิติกรรมซื้อขำยระหว่ำงนำยตรีและนำยโทจึงมีผลสมบูรณ์

97. ตอบ 4 สิทธิอำจจะระงับได้ด้วยเหตุต่อไปนี้ คือ


1. กำรขำดตัวผู้ทรงสิทธิ
2. กำรระงับแห่งหนี้ เช่น กำรชำระหนี้ กำรปลดหนี้ เป็นต้น
3. กำรสิ้นวัตถุแห่งสิทธิ
4. กำรระงับแห่งสิทธิโดยบทบัญญัติแห่งกฎหมำย

98. ตอบ 3 นิติเหตุ หรือเหตุที่ก่อให้เกิดผลทำงกฎหมำย โดยอำจจะเป็นเหตุที่เกิดจำกพฤติกำรณ์


ตำมธรรมชำติ เช่น กำรเกิด กำรตำย หรืออำจจะเป็นเหตุที่เกิดจำกกำรกระทำของบุคคลโดย
ปรำศจำกเจตนำมุ่งผลในทำงกฎหมำย ได้แก่ กำรจัดกำรงำนนอกคำสั่ง ลำภมิควรได้และละเมิด
หรืออำจจะเป็นเหตุที่ได้มำตำม ป.พ.พ. ลักษณะทรัพย์และทรัพย์สิน เช่น กำรได้กรรมสิทธิ์โดย
หลักส่วนควบ เป็นต้น (กำรให้เป็นนิติกรรม)

99. ตอบ 1 ดูคำอธิบำยข้อ 94.ประกอบ


462

100. ตอบ 1 ดูคำอธิบำยข้อ 94.ประกอบ

101. ตอบ 4 ในกำรแสดงเจตนำทำนิติกรรมนั้น อำจเป็น กำรแสดงเจตนำโดยชัด แจ้ง คื อ


กระทำด้วยวำจำ หรือเป็นลำยลักษณ์อักษร หรือด้วยกิริยำอำกำรอย่ำงใดอย่ำงหนึ่ง หรือเป็นกำร
แสดงเจตนำโดยปริยำย หรือในบำงกรณีอำจเป็นกำรแสดงเจตนำโดยกำรนิ่งก็ได้

102. ตอบ 3 สิทธิ คือ ประโยชน์ที่กฎหมำยรับรองและคุ้มครองให้ แบ่งออกเป็น


1. สิทธิในตัวบุคคล เช่น สิทธิในร่ำงกำย อนำมัย ชื่อเสียง ควำมคิดเห็น
2. สิทธิในทรัพย์สิน เช่น ทรัพยสิทธิ สิทธิเรียกร้องให้ชำระหนี้
3. สิทธิในครอบครัว เช่น สิทธิในกำรรับมรดก
4. สิทธิในทำงกำรเมือง เช่น สิทธิเลือกตั้ง

103. ตอบ 4 กรณีที่จะถือว่ำเป็นกฎเกณฑ์ (Norm) นั้นจะต้องเป็นข้อบังคับที่เป็นมำตรฐำนที่


ใช้วัดและใช้กำหนดควำมประพฤติของสมำชิกของสังคมได้ว่ำถูกหรือผิด ให้กระทำกำรได้หรือห้ำม
กระทำกำร ซึ่งหำกผู้ใดฝ่ำฝืนไม่ยอมปฏิบัติตำมกฎเกณฑ์ที่กำหนดไว้ถือเป็นสิ่งที่ผิดและจะถูก
ลงโทษ เช่น ผู้มีเงินได้ต้องเสียภำษีให้รัฐบำล หรือห้ำมเปิดสถำนบันเทิงเกินเวลำที่กำหนด เป็นต้น

104. ตอบ 4 รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2550 มำตรำ 101 ได้กำหนดคุณสมบัติของผู้มีสิทธิสมัคร


รับเลือกตั้งเป็นสมำชิกสภำผู้แทนรำษฎรไว้ เช่น
1. มีสัญชำติไทยโดยกำรเกิด
2. มีอำยุไม่ต่ำกว่ำ 25 ปีบริบูรณ์ในวันเลือกตั้ง
3. เป็นสมำชิกพรรคกำรเมืองใดพรรคกำรเมืองหนึ่งแต่เพียงพรรคเดียว... แต่ไม่ได้กำหนดไว้ว่ำผู้
นั้นจะต้องจบกำรศึกษำระดับปริญญำตรีแต่อย่ำงใด

105. ตอบ 2 รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2550 มำตรำ 115 กำหนดคุณสมบัติของผู้มีสิทธิสมัครรับ


เลือกตั้งเป็นสมำชิกวุฒิสภำไว้ดังนี้
1. มีสัญชำติไทยโดยกำรเกิด
2. มีอำยุไม่ต่ำกว่ำ 40 ปีบริบูรณ์
3. สำเร็จกำรศึกษำไม่ต่ำกว่ำปริญญำตรีหรือเทียบเท่ำ
4. ไม่เป็นสมำชิกหรือผู้ดำรงตำแหน่งใดในพรรคกำรเมือง
5. ไม่เป็นสมำชิกสภำผู้แทนรำษฎรหรือสมำชิกสภำท้องถิ่นหรือผู้บริหำรท้องถิ่น
6. ไม่เป็นบุพกำรี คู่สมรส หรือบุตรของผู้ดำรงตำแหน่งสมำชิกผู้แทนรำษฎร
463

106. ตอบ 2 รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2550 มำตรำ 93 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 1) พ.ศ. 2554
กำหนดให้มีสมำชิกผู้แทนรำษฎรแบบแบ่งเขต 375 คน และแบบบัญชีรำยชื่อ 125 คน รวม
ทั้งสิ้น 500 คน

107. ตอบ 4 ในกำรพิจำรณำคดีปกครองนั้นมีหลักกำรสำคัญได้แก่


1. กำรพิจำรณำคดีต้องเปิดเผย
2. ต้องฟังควำมทุกฝ่ำย
3. ศำลต้องให้เหตุผลประกอบคำพิพำกษำหรือคำสั่ง
4. ไม่เน้นระบบกล่ำวหำ แต่เน้นระบบไต่สวน ซึ่งเป็นระบบที่ให้ผู้พิพำกษำมีบทบำทในกำรแสวงหำ
ควำมจริงแห่งคดี

108. ตอบ 3 สำระสำคัญทำงกฎหมำยอำญำ ได้แก่


1. ต้องมีกฎหมำยบัญญัติว่ำกำรกระทำใดเป็นควำมผิด และกำหนดโทษสำหรับควำมผิด
นั้นๆไว้ด้วย
2. ต้องเป็นกฎหมำยซึ่งมีผลบังคับใช้อยู่ในขณะซึ่งเกิดกำรกระทำนั้น
3. ต้ อ งไม่ มี ผ ลย้ อ นหลั ง ไปลงโทษหรื อ เพิ่ ม โทษบุ ค คลให้ ห นั ก ขึ้ น เป็ น อั น ขำด แต่ อ ำจ
ย้อนหลังเป็นคุณแก่ผู้กระทำผิดได้
4. ต้องตีควำมตำมตัวอักษรโดยเคร่งครัด และจะตีควำมในทำงขยำยควำมให้เป็นกำร
ลงโทษหรือเพิ่มโทษผู้กระทำให้หนักขึ้นไม่ได้

109. ตอบ 4 กฎหมำยเอกชน เป็นกฎหมำยที่ใช้กับนิติสัมพันธ์ที่ต้องอำศัยควำมสมัครใจของผู้


ก่อนิติสัมพันธ์ทั้ง 2 ฝ่ำย เนื่องจำกยึดถือหลักควำมเสมอภำคและเท่ำเทียมกัน โดยเอกชนสำมำรถ
ตกลงผูกพันกันเป็นอย่ำงอื่นนอกเหนือกฎหมำยเอกชนบัญญัติไว้ได้ แต่ต้องไม่ขัดต่อควำมสงบ
เรียบร้อยและศีลธรรมอันดีของประชำชน ทำให้กฎหมำยเอกชนมีลักษณะเป็นกฎเกณฑ์เฉพำะ
เรื่องที่สร้ำงขึ้นเพื่อใช้กับบุคคลเฉพำะรำย และมีวัตถุประสงค์เพื่อประโยชน์ส่วนตน

110. ตอบ 4 ประมวลกฎหมำยวิธีพิจำรณำควำมอำญำมำตรำ 2ง. “ผู้เสียหำย” หมำยควำมถึง


บุคคลที่ได้รับควำมเสียหำยเนื่องจำกกำรกระทำผิดฐำนใดฐำนหนึ่ง รวมทั้งบุคคลอื่นที่มีอำนำจ
จัดกำรแทนได้ดังบัญญัติไว้ในมำตรำ 4,5 และ 6

111. ตอบ 4 กฎหมำยมหำชน คือ กฎหมำยที่กำหนดควำมสัมพันธ์ระหว่ำงรัฐหรือหน่วยงำน


ของรัฐกับรำษฎร หรือระหว่ำงหน่วยงำนของรัฐด้วยกันเอง เช่น กฎหมำยรัฐธรรมนูญ กฎหมำย
ปกครอง กฎหมำยอำญำ ฯลฯ ส่วนกฎหมำยเอกชน เป็นกฎหมำยที่กำหนดสิทธิหน้ำที่ระหว่ำง
464

เอกชนในฐำนะเท่ำเที ย มกั น เช่น กฎหมำยแพ่ง กฎหมำยพำณิชย์ กฎหมำยแรงงำน เป็น ต้ น


(กฎหมำยมรดกและกฎหมำยครอบครัวเป็นกฎหมำยแพ่ง)

112. ตอบ 4 ลักษณะสำคัญของกำรกระจำยอำนำจทำงปกครอง คือ


1. มีกำรแยกหน่วยงำนออกไปเป็นองค์กรนิติบุคคลอิสระจำกองค์กรของรำชกำรบริหำรส่วนกลำง
2. องค์กรของรำชกำรบริหำรส่วนท้องถิ่นจะประกอบด้วยผู้บริหำรหรือเจ้ำหน้ำที่ซึ่งได้รับเลือกตั้ง
จำกรำษฎรในท้องถิ่น
3. องค์กรตำมหลักกำรกระจำยอำนำจทำงปกครองมีอำนำจด้วยตนเอง คือ มีควำมอิสระที่จะ
ดำเนินกิจกำรตำมอำนำจหน้ำที่ได้เองโดยไม่ต้องรับคำสั่งหรืออยู่ใต้บังคับจำกรำชกำรส่วนกลำง มี
งบประมำณและเจ้ำหน้ำที่เป็นของตนเอง

113. ตอบ 4 ผู้สืบสันดำนที่มีสิทธิรับมรดกในฐำนะทำยำทโดยธรรม ได้แก่ บุตร หลำน เหลน


ลื้อ ของเจ้ำมรดก ซึ่งทำยำทชั้นบุตรที่จะมีสิทธิรับมรดกนั้นหมำยถึงบุคคล 3 ประเภท คือ
1. บุตรที่ชอบด้วยกฎหมำย คือ บุตรที่เกิดจำกบิดำมำรดำที่จดทะเบียนสมรสกัน
2. บุตรนอกกฎหมำยที่บิดำรับรองโดยพฤติกำรณ์ เช่น ให้ใช้นำมสกุล แจ้งเกิดในสูติบัตรว่ำเป็น
บิดำ เป็นต้น
3. บุตรบุญธรรมที่ได้จดทะเบียนตำมกฎหมำยแล้ว

114. ตอบ 1 คนเสมื อ นไร้ค วำมสำมำรถท ำพิ นั ย กรรมได้ ส มบู ร ณ์โ ดยล ำพั ง ตนเอง เพรำะ
พินัยกรรมที่คนเสมือนไร้ควำมสำมำรถได้ทำขึ้นนั้น ไม่มีกฎหมำยบัญญัติห้ำม หรือวำงเงื่อนไขไว้แต่
อย่ำงใด

115. ตอบ 3 ประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์มำตรำ 1562 ผู้ใดจะฟ้องบุพกำรีของตนเป็น


คดีแพ่งหรือคดีอำญำมิได้ หำกฟ้องจะถือว่ำเป็นคดีอุทลุม ซึ่งบุพกำรีของตนก็คือ บิดำ มำรดำ ปู่
ย่ำ ตำ ยำย ทวด นั่นเอง (อำ ลุง และคู่สมรสไม่ใช่บุพกำรี)

116. ตอบ 3 ในสมัยรัชกำลที่ 4 ประเทศตะวันตกไม่พอใจกฎหมำยไทย และเริ่มใช้อิทธิพล


ก่อตั้งสิทธิสภำพนอกอำณำเขต โดยตั้งศำลของตนเองขึ้นในประเทศไทย ทำให้ประเทศไทยต้อง
พยำยำมหำทำงแก้ ซึ่งมีอยู่ทำงเดียว คือ ต้องปรับปรุงระบบกฎหมำยและกำรศำลไทยให้อยู่ใน
ระดับที่ต่ำงประเทศยอมรับ ในสมัยรัชกำลที่ 5 จึงได้จัดให้มีกำรปรับปรุงกฎหมำยหรือปฏิรูป
กฎหมำยและกำรศำลไทยขึ้นจนประสบควำมสำเร็จ
465

117. ตอบ 1 สินส่วนตัว ได้แก่


1. ทรัพย์สินที่ฝ่ำยใดฝ่ำยหนึ่งมีอยู่ก่อนสมรส กล่ำวคือ ทรัพย์สินทุกชนิดที่ชำยหญิงมีอยู่หรือได้มำ
ก่อนวันจดทะเบียนสมรส
2. ทรัพย์สินที่เป็นเครื่องมือใช้สอยส่วนตัว เครื่องแต่งกำย หรือเครื่องประดับกำยตำมควรแก่ฐำนะ
หรือเครื่องมือเครื่องใช้จำเป็นในกำรประกอบอำชีพหรือวิชำชีพของคู่สมรสฝ่ำยใดฝ่ำยหนึ่ง
3. ทรัพย์สินที่ฝ่ำยใดฝ่ำยหนึ่งได้มำระหว่ำงสมรสโดยกำรรับมรดก หรือโดยกำรให้โดยเสน่หำ
(กิจกำรร้ำนเสริมสวยดำเนินมำตั้งแต่ก่อนจดทะเบียนสมรสจึงเป็นสินส่วนตัวของทั้งนำยดำและ
นำงแดงตำมสัดส่วนของเงินลงทุน)

118. ตอบ 3 นิติกรรมบำงประเภทที่เกี่ยวกับสินสมรสนั้นกฎหมำยกำหนดให้คู่สมรสจะต้อง


จัดกำรร่วมกันได้หรือได้รับควำมยินยอมจำกอีกฝ่ำยหนึ่งก่อน ตำม ป.พ.พ. มำตรำ 1476 เช่น
กำรขำยฝำกหรือขำยฝำกอสังหำริมทรัพย์ กำรให้กู้ยืมเงิน เป็นต้น ส่วนนิติกรรมอื่นนอกเหนือจำก
ที่ ป.พ.พ. มำตรำ 1476 กำหนดไว้ คู่สมรสก็ไม่จำเป็นต้องจัดกำรร่วมกันหรือต้องได้รับควำม
ยินยอมจำกอีกฝ่ำยหนึ่งก่อนแต่อย่ำงใด เช่น กำรทำพินัยกรรม กำรโอนสิทธิกำรเช่ำ เป็นต้น

119. ตอบ 1 กำรจดทะเบียนสมรสกันหลอกๆ โดยไม่มีเจตนำที่จะอยู่กินกันฉันสำมีภริยำ เช่น


จะทะเบียนเพื่อให้คู่สมรสมีสิทธิได้รับบำเหน็จตกทอด หรือจดทะเบียนเพื่อให้สัญชำติย่อมถือว่ำ
เป็ น กำรสมรสโดยปรำศจำกควำมยิ น ยอมของคู่ ส มรส กำรสมรสนั้ น ย่ อ มมี ผ ลเป็ น โมฆะ (ดู
คำอธิบำยข้อ 65.ประกอบ)

120. ตอบ 3 บุตรย่อมเป็นบุตรที่ชอบธรรมของมำรดำเสมอ และในกรณีที่ชำยหรือหญิงสมรส


ฝ่ำฝืน ป.พ.พ. มำตรำ 1452 (สมรสซ้อน) เด็กที่เกิดมำกฎหมำยให้สันนิษฐำนไว้ก่อนว่ำเป็นบุตรที่
ชอบด้วยกฎหมำยของชำยผู้เป็นสำมีซึ่งได้จดทะเบียนครั้งหลัง (ป.พ.พ. มำตรำ 1538)
466

แนวข้อสอบกฎหมำยอำญำ
1. นำยเอต้องกำรฆ่ำนำยบีจึงยกปืนจ้องเล็งไปยังนำยบี ซึ่งนำยเอไม่ทรำบว่ ำปืนนั้นไม่มีลูกกระสุน
บรรจุอยู่แต่ก่อนที่จะลั่นไกยิงนำยเอคิดได้ว่ำหำกถูกจับอำจได้รับโทษประหำรชีวิต เนื่องจำกนำยบี
เป็นเจ้ำพนักงำนอยู่ระหว่ำงกำรปฏิบัติหน้ำที่จึงเปลี่ยนใจไม่ ยิง ดังนี้นำยเอจะมีควำมผิดฐำนใด
หรือไม่
ก. ไม่ต้องรับผิดชอบเพรำะเป็นกำรยังยั้ง
ข. ไม่ต้องรับผิดชอบเพรำะอำวุธที่ใช้ไม่อำจกระทำควำมผิดได้
ค. ผิดฐำนพยำยำมฆ่ำซึ่งไม่สำมำรถบรรลุผลได้อย่ำงแน่แท้ แต่ไม่ต้องรับโทษเพรำะเป็น
กำรยับยั้ง
ง. ผิดฐำนพยำยำมฆ่ำเพรำะเป็นเหตุบังเอิญ
เฉลย ข้อ ค.
กำรที่ผู้กระทำควำมผิดไม่รู้ว่ำปืนของตนไม่มีกระสุนจึงยกปืนขึ้นเล็ง ถือว่ำเป็นกำรพยำยำม
กระทำควำมผิดที่ไม่สำมำรถบรรลุผลได้อย่ำงแน่แท้ เพรำะปัจจัยที่ใช้ในกำรกระทำควำมผิด
กำรที่เปลี่ยนใจไม่ยิงนั้น เป็นกำรยับยั้งโดยสมัครใจ ม.82 ผู้กระทำไม่ต้องรับโทษสำหรับกำร
พยำยำมกระทำควำมผิดนั้น แต่ผู้กระทำยังมีควำมผิดตำม ม. 392 ทำให้ผู้อื่นตกใจกลัวซึ่งเป็น
ควำมผิดสำเร็จแล้ว
มำตรำ 392 ผู้ใดทำให้ผู้อื่นเกิดควำมกลัว หรือควำมตกใจ โดยกำรขู่เข็ญ ต้องระวำงโทษ
จำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบำท หรือทั้งจำทั้งปรับ
2. นำยดำเป็นเจ้ำของสวนแตงโม ได้ล้อมรั้วลวดหนำมและปล่อยกระแสไฟฟ้ำไว้ รอบสวนของตน
ในคืนหนึ่งเด็กชำยแดงได้แอบเข้ำไปในสวนเพื่อลักแตงโมไปขำย และได้สัมผัสถูกลวดหนำมเห็น
เหตุให้ถึงแก่ควำมตำย กำรกระทำของนำยดำเป็นควำมผิดฐำนใดหรือไม่
ก. ไม่มีควำมผิดเพรำะไม่มีเจตนำ
ข. ผิดฐำนฆ่ำผู้อื่นตำยโดยไม่เจตนำ แต่เป็นกำรกระทำจำเป็นที่เกินสมควรแก่เหตุ
ค. ผิดฐำนฆ่ำผู้อื่นตำยโดยไม่เจตนำ แต่เป็นกำรป้องกันเกินสมควรแก่เหตุ
ง. ผิดฐำนฆ่ำผู้อื่นตำยโดยไม่เจตนำ แต่เป็นกำรป้องกันพอสมควรแก่เหตุ
เฉลย ข้อ ค.
ฎ.6490/2548 แม้ขณะเกิดเหตุผู้ตำยจะเข้ำไปในบริเวณบ่อปลำกัดของจำเลยเพื่อลัก
ปลำกัด ซึ่งถ้ำจำเลยพบเห็นจำเลยย่อมมีสิทธิทำร้ำยผู้ตำยพอสมควรแก่เหตุเพื่อป้องกัน ทรัพย์สิน
ของตนได้ แต่กระแสไฟฟ้ำที่จำเลยปล่อยผ่ำนเส้นลวดที่ล้อมรอบบ่อปลำกัดย่อมเป็นอันตรำย
ร้ำยแรงโดยสภำพซึ่งสำมำรถทำให้ผู้อื่นถึงแก่ควำมตำยได้ ส่วนทรัพย์สินของจำเลยย่อมไม่เป็น
สัดส่วนกัน เมื่อผู้ตำยถูกกระแสไฟฟ้ำที่จำเลยปล่อยผ่ำนเส้นลวดดังกล่ำวดูดถึงแก่ควำมตำย กำร
กระทำของจำเลยจึงเป็นกำรป้องกันสิทธิของตนเกินสมควรกว่ำเหตุตำม ป.อ. มำตรำ 69
467

3. นำยเอกถูกนำยโทจับตัวมำเรียกค่ำไถ่และถูกกักขังอยู่ในห้องพักนำน 3 เดือน โดยในระหว่ำง


เวลำดังกล่ำวได้ถูกนำยโททำร้ำยร่ำงกำยและทรมำนอย่ำงทำรุณ วันหนึ่งขณะที่นำยเอกตัดสินใจ
หนีโดยกระโดดออกจำกห้องพักเป็นเหตุให้ถึงแก่ ควำมตำย ดังนี้นำยโทจะต้องรับผิดต่อควำมตำย
ของนำยเอกหรือไม่
ก. ไม่ต้องรับผิดเพรำะไม่อำจคำดหมำยได้ว่ำ นำยเอกจะกระโดดออกจำกห้องพักจนถึงแก่
ควำมตำย
ข. ไม่ต้องรับผิดชอบ เพรำะเป็นเหตุแทรกแซงที่วิญญูชนไม่สำมำรถคำดหมำยได้
ค. ต้องรับผิด เพรำะเล็งเห็นผลว่ำวันหนึ่งนำยเอกจะกระโดดลงไปถึงแก่ควำมตำย
ง. ต้องรับผิด เพรำะกำรกระโดดนั้นเป็นผลโดยตรงจำกกำรกระทำของนำยโท
เฉลย ข้อ ง.
ฎ.4904/2548 ผู้ตำยและผู้เสียหำยทั้งสำมถูกกักขังและถูกทำร้ ำยร่ำงกำยในลักษณะ
กำร ทรมำนอยู่ในห้องพักที่เกิดเหตุเป็นระยะเวลำเกิน 3 เดือน โดยไม่มีหนทำงหลบหนีเลี่ยงให้พ้น
จำกกำรทรมำนหรือขอควำมช่วยเหลือจำกผู้อื่น ได้ เห็นว่ำผู้เสียหำยทั้งสำมและผู้ตำยต้องตกอยู่ใน
สภำพถูกบีบคั้นทำรุณทั้งร่ำง กำยและจิตใจอย่ำงรุนแรงติดต่อกันเป็นเวลำนำน กำรที่ผู้ตำยตัดสิน
ในกระโดดจำกห้ อ งพั ก เพื่ อฆ่ ำตั วตำยนั้ นอำจเป็น เพรำะผู้ ต ำย มี สภำพจิ ตใจที่ เปรำะบำงกว่ ำ
ผู้เสียหำยอื่น และไม่อำจทนทุกข์ทรมำนได้เท่ำกับผู้เสียหำยอื่นจึงได้ตัดสินใจกระทำเช่นนั้น เพื่อให้
พ้นจำกกำรต้องทนทุกข์ทรมำน พฤติกำรณ์ฟังได้ว่ำกำรตำยของผู้ตำยมีสำเหตุโดยตรงมำจำกกำร
ทรมำนโดยทำรุณโหด ร้ำย

4. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถือว่ำเป็นควำมผิดฐำนลักทรัพย์สำเร็จ
ก. นำยดินแอบจูนคลื่นสัญญำณโทรศัพท์มือถือของนำยน้ำ และใช้โทรออก โดยตนไม่ได้
เสียค่ำใช้จ่ำยในกำรโทร
ข. นำยฟ้ำและพวกร่วมกันไล่ต้องวัวของนำยลมขึ้นไปบนรถของตนเพื่อนำไปขำย วัวกำลัง
ขึ้นไปบนรถได้ครึ่งตัว นำยลมมำพบเสียก่อน
ค. นำยนิลล้วงมือเข้ำไปในกระเป๋ำกำงเกงของนำยขำวขณะยืนอยู่บนรถเมล์เพื่อขโมย เงิน
นำยขำวรู้สึกตัวเอำ มือไปจับกระเป๋ำถูกมือนำยนิลที่กุมธนบัตรอยู่ ทำให้เงินร่วงลงพื้น
ง. นำยเอ นำยบี และนำยซี ร่วมกันลักรถยนต์ของนำยดี โดยนำยเอกำลัง ต่อสำยไฟฟ้ำให้
เครื่องยนต์ติด ส่วนนำยบีและนำยซีช่วยกันเข็นรถเพื่อให้เครื่องรถยนต์ติด รถเคลื่อนไป 1 เมตรแต่
เครื่องยนต์ไม่ติด นำยดีมำพบเสียก่อน
เฉลย ข้อ ข.
มำตรำ 334 ผู้ใดเอำทรัพย์ของผู้อื่น หรือที่ผู้อื่นเป็นเจ้ำของรวมอยู่ด้วยไปโดยทุจริต ผู้นั้น
กระทำควำมผิดฐำนลักทรัพย์ ต้องระวำงโทษจำคุกไม่เกินสำมปี และปรับไม่เกินหกพันบำท
ฎ.5354/2539 จำเลยนำโทรศัพท์มือถือมำปรับจูนและก๊อปปี้คลื่นสัญญำณโทรศัพท์ของ
ผู้ เสี ย หำย แล้ ว ใช้ รับ ส่ ง วิ ทยุ ค มนำคมโดยไม่ ไ ด้ รั บ อนุ ญ ำตเป็ น เพี ย งกำรแย่ ง ใช้ ค ลื่ น สั ญ ญำณ
468

โทรศัพท์ของผู้เสียหำยโดยไม่มีสิทธิ มิใช่เป็นกำรเอำทรัพย์ของผู้อื่นไปโดยทุจริต ไม่เป็นควำมผิด


ฐำนลักทรัพย์ แม้จำเลยให้กำรรับสำรภำพ ก็ต้องพิพำกษำยกฟ้อง
ฎ.7053/2545 สุกรตัวเกิดเหตุมีน้ำหนักเกือบ 200 กิโลกรัม ไม่สำมำรถอุ้มหรือจับไป
ได้โดยง่ำยทั้งวัดเจ้ ำของสุกรก็ไม่ได้กักขัง แต่ปล่อยให้มีอิสระไปไหนมำไหนได้ ขณะที่นำยดำบ
ตำรวจ อ. เข้ำจับกุมจำเลยที่ 1 และที่ 3 ถึงที่ 5 กำลังช่วยกันดึงและผลักดันสุกรให้เข้ำไปในซอง
บรรจุ สุกรยังไม่ได้เข้ำไปในซองทั้งตัว กำรกระทำไม่ได้นำขึ้นรถ จำเลยที่ 1 และที่ 3 ถึงที่ 5 ยังไม่
อยูใ่ นฐำนะที่สำมำรถจะนำสุกรไปได้ กำรกระทำของจำเลยที่ 1 และที่ 3 ถึงที่ 5 จึงยังไม่บรรลุผล
คงเป็นควำมผิดฐำนพยำยำมลักทรัพย์โดยใช้ยำนพำหนะเท่ำนั้น
ฎ.1682/2500 จำเลยลักทรัพย์โดยวิธีล้วงกระเป๋ำ จำเลยแกะกระดุมเปิดฝำกระเป๋ำ
กำงเกงเอำธนบัตรออกมำนอกกระเป๋ำ แล้วพอดีเจ้ ำทรัพย์รู้ตัวใช้มือตบกระเป๋ำบังเอิญไปถูกมือ
จำเลยซึ่งกำลังกุม ธนบัตรอยู่ ธนบัตรร่วงหล่นจำกมือจำเลยลงไปที่เท้ำเจ้ำทรัพย์ ดังนี้เป็นควำมผิด
ฐำนลักทรัพย์สำเร็จแล้วไม่เป็นควำมผิดฐำนพยำยำม
ฎ.1403/2510 คนร้ำย 3 คน ร่วมกันลักรถยนต์จี๊ป โดยคนหนึ่งทำหน้ำที่ขับรถกำลั งต่อ
สำยไฟให้เครื่องยนต์ติด อีกสองคนช่วยกันเข็นรถเพื่อให้เครื่องยนต์ติด รถเคลื่อนไป 3 เมตร แต่
เครื่องยนต์ไม่ติด และเจ้ำพนักงำนตำรวจพบกำรกระทำผิดเสียก่อน ดังนี้ถือได้ว่ำคนร้ำยนำรถยนต์
เคลื่อนที่ไปแล้ว พ้นขั้นพยำยำมเป็นควำมสำเร็จ

5. นำยม้ำได้ว่ำจ้ำงนำยลำให้ไปฆ่ำนำยปลำซึ่งเป็นผู้สมัครสมำชิกสภำผู้แทนรำษฎร ในเขตเลือกตั้ง
เดียวกัน โดยมีนำยปูซึ่งเป็นหัวคะแนนของนำยม้ำเป็นผู้จัดหำอำวุธปืนมำให้นำยลำไปใช้ใน กำรฆ่ำ
นำยปลำ ในขณะที่นำยปลำผ่ำนมำนั้น นำยลำซึ่งได้ไปแอบดักซุ่มอยู่ข้ำงทำงได้ชักปืนเพื่อที่จะยิง
นำยปลำ เห็นว่ำนำยปลำเป็นอดีตสมำชิกสภำผู้แทนรำษฎรที่มีผลงำนดี ไม่เคยมีเรื่องเสื่อมเสีย
และทำเพื่อประโยชน์บ้ำยเมือง นำยลำจึงเกิดควำมสงสำรและเปลี่ยนใจไม่ยิง ดังนี้นำยลำจะมี
ควำมผิดอำญำฐำนใดหรือไม่
ก. กำรกระทำของนำยลำยัง อยู่ใ นขั้ นตระเตรี ยมกำร และได้ รับประโยชน์จ ำก ม. 82
เพรำะเป็นกำร ยับยั้ง จึงไม่มีควำมผิดฐำนพยำยำมฆ่ำ
ข. ไม่ มี ค วำมผิ ด เพรำะกำรกระทำของนำยลำยั ง อยู่ ใ นขั้ น ตระเตรี ย มกำร และได้ รั บ
ประโยชน์จำก ม.82 เพรำะเป็นกำรยับยั้ง
ค. ผิดฐำนพยำยำมฆ่ำโดยไตร่ตรองไว้ก่อน แต่เป็นกำรกลับใจเสียเองตำม ม.82
ง. ผิดฐำนพยำยำมฆ่ำโดยไตร่ตรองไว้ก่อน แต่เป็นกำรยับยั้งเสียเองตำม ม. 82
เฉลย ข้อ ก.
กำรที่นำยลำได้ดักซุ่มยิงนำยปลำ เมื่อนำยปลำผ่ำนมำนำยลำเพียงแต่ชักอำวุธปืนออกจำก
เอวเพื่อที่จะยิงเท่ำนั้น แต่ยังไม่ได้ยกปืนขึ้นเล็งไปที่นำยปลำ กำรกระทำของนำยลำจึงอยู่ในขั้น
ตระเตรียมกำรไม่ถึงขั้นลงมือกระทำควำมผิด กำรที่จะเป็นควำมผิดได้นำยลำต้องยกปืนขึ้นเล็งแล้ว
จึงถือว่ำเป็นกำรพยำยำมกระทำควำมผิดซึ่งกระทำไปไม่ตลอดและกำรที่นำยลำตัดสินใจไม่ยิง
469

เพรำะเห็นว่ำนำยปลำเป็นอดีตสมำชิกผู้แทนรำษฎรที่มีผลงำนดี ไม่เคยมีเรื่องเสื่อมเสีย และทำเพื่อ


ประโยชน์บ้ำนเมือง จึงเกิดควำมสงสำรและเปลี่ยนใจนั้น ไม่ถือเป็นกำรยับยั้งตำม ม. 82 เพรำะ
กำรยับยั้งเสียเองจะมีได้เฉพำะเมื่อนำยลำได้กระทำถึงขั้นที่เป็นกำรลง มือกระทำควำมผิดแล้ว
กรณีนี้จึงเป็นกำรกระทำโดยไม่ตลอดเท่ำนั้น
มำตรำ 82 ผู้ใดพยำยำมกระทำควำมผิด หำกยับยั้งเสียเองไม่กระทำกำรให้ตลอดหรือกลับ
ใจแก้ไขไม่ให้กำรกระทำนั้น บรรลุผล ผู้นั้นไม่ต้องรับโทษสำหรับกำรพยำยำมกระทำควำมผิดนั้น
แต่ถ้ำกำรที่ได้กระทำไปแล้วต้องตำมบทกฎหมำยที่บัญญัติเป็นควำมผิด ผู้นั้นต้องรับโทษสำหรับ
ควำมผิดนั้นๆ
ฎ. 1647/2512 จ ำเลยมำพบผู้ เ สี ย หำยที่ บ่ อ น้ ำผู้ เ สี ย หำยพู ด กั บ จ ำเลยเรื่ อ งท ำร้ ำ ย
หลำนชำยผู้ เสี ย หำยซึ่ ง เป็ น ใบ้ จ ำเลยไม่ พ อใจผู้ เสี ย หำยและพู ด ว่ ำ เดี๋ ย วยิ ง ผู้ เสี ย หำยท้ ำ ให้
ผู้เสียหำยแย่งไปได้ กำรที่จำเลยชักปืนออกมำเป็นเพียงเตรียมกำรเอำปืนออกมำเท่ำนั้นยังไม่ถึงขั้น
ลงมือกำรที่จำเลยเพียงแต่ควักปืนยังไม่พ้นจำกเอวจำเลยอำจทำท่ำขู่ก็ได้ พฤติกำรณ์ยังไม่พอฟัง
จำเลยมีเจตนำจะฆ่ำ กำรกระทำของจำเลยจึงยังไม่เป็นพยำยำมกระทำควำมผิดตำมประมวล
กฎหมำยอำญำ มำตรำ 80

6. จำกข้อเท็จจริงตำมข้อ 5. กำรกระทำของนำยม้ำเป็นควำมผิดฐำนใด
ก. ไม่ผิดฐำนเป็นผู้ใช้ เพรำะไม่ถือว่ำเป็นกำรก่อให้เกิดกำรกระทำผิด
ข. ไม่ผิดฐำนเป็นผู้ใช้ เพรำะผู้ถูกใช้ยังไม่ได้ลงมือกระทำควำมผิด จึงไม่ต้องรับโทษ
ค. ผิดฐำนเป็นผู้ใช้ แต่รับโทษในขั้นพยำยำมกระทำควำมผิดฐำนฆ่ำผู้อื่นโดยไตร่รองไว้ก่อน
ตำม ม. 289ง.
ง. ผิดฐำนเป็นผู้ใช้ แต่รับโทษหนึ่งในสำมของควำมผิดฐำนฆ่ำผู้อื่นโดยไตร่ตรองไว้ก่อน ตำม
ม. 289ง.
เฉลย ข้อ ง.
กำรที่นำยม้ำจ้ำงนำยลำไปฆ่ำนำยปลำ เป็นกำรก่อให้ผู้อื่นกระทำควำมผิดฐำนฆ่ำผู้อื่นโดย
ไตร่รองไว้ก่อนแต่กำร กระทำของนำยลำยังอยู่ในขั้นตอนตระเตรียมกำร ยังไม่ถึงขั้นลงมือกระทำ
ควำมผิดตำมที่นำยใช้ นำยม้ำจึงต้องรับโทษเพียง 1 ใน 3 ของโทษ จำกกำรกระทำควำมผิดฐำน
ฆ่ำผู้อื่นผู้อื่นโดยไตร่ตรองไว้ก่อน ตำม ม.289 ง.
มำตรำ 84 วรรค 2 ถ้ำผู้ถูกใช้ได้กระทำควำมผิดนั้น ผู้ใช้ต้องรับโทษเสมือนเป็นตัวกำร ถ้ำ
ควำมผิดมิได้กระทำลง ไม่ว่ำจะเป็นเพรำะถูกใช้ไม่ยอมกระทำ ยังไม่ได้กระทำหรือเหตุอื่นใด ผู้ใช้
ต้องระวำงโทษเพียงหนึ่งในสำมของโทษที่กำหนดไว้สำหรับควำมผิดนั้น

7. จำกข้อเท็จจริงตำมข้อ 5. นำยปูจะมีควำมผิดฐำนใดหรือไม่
ก. ไม่มีควำมผิดในฐำนผู้สนับสนุน เพรำะนำยลำยังไม่ได้ลงมือกระทำควำมผิด
470

ข. ไม่มีควำมผิดในฐำนผู้สนับสนุน เพรำะผู้ลงมือกระทำควำมผิดยังไม่ได้รับประโยชน์จำก
กำรสนับสนุน
ค. ผิดฐำนเป็นผู้สนับสนุน เพรำะถือว่ำเป็นกำรช่วยเหลือหรือให้ควำมสะดวกแล้ว
ง. ผิดฐำนเป็นผู้สนับสนุน เพรำะเมื่อนำปืนให้นำยลำถือว่ำเป็นกำรสนับสนุนโดยทันที
เฉลย ข้อ ก.
แม้นำยปูจะจัดหำอำวุธปืนมำให้นำยลำนั้นจะเป็นกำรช่วยเหลือหรือให้ควำมสะดวก นำย
ลำก่ อ นกำรกระทำควำมผิ ด ก็ ต ำม แต่ ก็ ยั ง ไม่ ถือ ว่ ำ นำยปู เป็ น ผู้ ส นั บ สนุน เพรำะกำรที่ จ ะเป็ น
ผู้สนับสนุนได้นั้นจะต้องเป็นกำรช่วยเหลือหรือให้ควำม สะดวกในกำรที่ผู้อื่นกระทำควำมผิด ซึ่งผู้
ลงมือจะต้องกระทำกำรถึงขั้นที่จะเป็นควำมผิดแล้ว ฉะนั้น เมื่อนำยลำยังไม่ได้ยกปืนขึ้นเล็ง ยังไม่
ถือว่ำเป็นกำรกระทำควำมผิดโดยไม่ตลอด กำรที่นำยลำเพียงแต่ชักปืนเท่ำนั้น ถือว่ำยังไม่ถึงขั้นลง
มือกระทำควำมผิดและยังอยู่ในขั้นตระเตรียมกำร ดังนั้น นำยปูจึงไม่เป็นผู้สนับสนุน
มำตรำ 86 ผู้ใดกระทำด้วยประกำรใดๆ อันเป็นกำรช่วยเหลือ หรือให้ควำมสะดวกในกำรที่ผู้อื่น
กระทำควำมผิดก่อนหรือขณะกระทำควำมผิด แม้ผู้กระทำควำมผิดจะมิได้รู้ถึงกำรช่วยเหลือหรือ
ให้ควำมสะดวกนั้นก็ตำม ผู้นั้นเป็นผู้สนับสนุนกำรกระทำควำมผิด ต้องระวำงโทษสองในสำมส่วน
ของโทษที่กำหนดไว้สำหรับควำมผิดที่สนับสนุนนั้น

8. นำยดำแอบทรำบมำว่ำในวันพรุ่งนี้นำยแดง นำยขำว และนำยแสด ซึ่งร่วมกันวำงแผนจะมำ


ปล้นทรัพย์ที่บ้ำนของตนเองในคืนเกิดเหตุจึงได้ไปหลบ ซ่อนอยู่ในตู้เสื้อผ้ำส่วนนำยแดง นำยขำว
และนำยแรสได้แอบเข้ำมำในบ้ำนและเอำทรัพย์ ขณะที่กำลังจะออกจำกบ้ำนนำยดำนั้น นำยม่วง
ได้ขับรถจักรยำนยนต์ผ่ำนมำเห็นจึงตะโกนว่ำ “ขโมย ขโมย” นำยแสดจึงใช้ปืนยิงนำยม่วงแต่
กระสุนพลำดไป หลังจำกนั้นนำยดำได้ยิงปืนขึ้นและพูดว่ำ “ถ้ำไม่วำงทรัพย์ลงจะยิงให้ตำย” ทั้ง
สำมคนเกิดควำมกลัวจึงวำงทรัพย์แล้ววิ่งหนีไป ดังนี้กำรกระทำของทั้งสำมคนเป็นควำมผิดฐำนใด
ก. ผิดฐำนลักทรัพย์
ข. ผิดฐำนพยำยำมลักทรัพย์
ค. ผิดฐำนปล้นทรัพย์
ง. ผิดฐำนพยำยำมปล้นทรัพย์
เฉลย ข้อ ค.
แม้ว่ำกำรใช้กำลังประทุษร้ำยมิได้กระทำต่อเจ้ำของทรัพย์หรือผู้ครอบครอง ทรัพย์อยู่
ดังนั้น ขณะที่ทั้งสำมกำลังจะออกจำกบ้ำนของนำยดำ ได้ใช้ปืนยิงนำยม่วง ซึ่งไม่ใช่เจ้ำของหรือผู้
ครอบครองทรัพย์ เป็นกำรใช้กำลังประทุษร้ำย ดังนั้น จึงเป็นกำรลักทรัพย์โดยใช้กำลังประทุษร้ำย
อันเป็นควำมผิดฐำนชิงทรัพย์ เมื่อร่วมกันกระทำควำมผิดสำมคนขึ้นไปจึงเป็นควำมผิดฐำนปล้น
ทรัพย์
กำรที่ผู้กระทำควำมผิดทั้งสำมคนได้วำงทรัพย์แล้ววิ่งหนีไปนั้น ไม่ใช่พยำยำมกระทำควำมผิด
เพรำะเป็นควำมผิดสำเร็จนับแต่พำทรัพย์นั้นเคลื่อนที่
471

9. นำยเอก นำยโท และนำยตรี ได้ร่วมกันวำงแผนที่จะหลอกเอำทรัพย์สินของนำยจัตวำซึ่งเป็น


บุคคลร่ำรวย ในวันเกิดเหตุนำยหนึ่งได้ออกอุบำยว่ำวันนี้เป็นวันเกิดของตนจึงได้ชวนจัตวำ มำกิน
เบียร์ที่บ้ำน โดยให้นำยจัตวำดื่มเบียร์ผสมยำสลบ เป็นเหตุให้นำยจัตวำไม่รู้สึกตัวและทั้งสำมได้เอำ
ทรัพย์ของนำยจัตวำติดตัวมำ ไป ดังนั้นกำรกระทำดังกล่ำวของนำยเอกนำยโท และนำยตรีเป็น
ควำมผิดฐำนใดหรือไม่
ก. ผิดฐำนลักทรัพย์โดยใช้กลอุบำย
ข. ผิดฐำนฉ้อโกง
ค. ผิดฐำนปล้นทรัพย์
ง. ผิดฐำนลักทรัพย์โดยร่วมกันกระทำควำมผิดตั้งแต่สำมคนขึ้นไป
เฉลย ข้อ ค.
กำรที่ทั้งสำมให้นำยจัตวำดื่มเบียร์ผสมยำสลบ ถือว่ำเป็นกำรใช้กำลังประทุษร้ำย เพื่อ
สะดวกแก่กำรลักทรัพย์หรือพำทรัพย์นั้นไป เมื่อร่วมกันตั้งแต่สำมคนขึ้นไปจึงเป็นควำมผิดฐำน
ปล้นทรัพย์
ฎ. 3562/2537 จ ำเลยทั้ ง สำมร่ ว มกั น ใช้ ย ำนอนหลั บ ผสมลงในเครื่ อ งดื่ ม เบี ย ร์ ใ ห้
ผู้เสีย หำยดื่ ม จนไม่ รู้สึ กตั ว หลั บ ไป แล้ ว ปลดเอเครื่ องประดั บของผู้ เสีย หำยไป ดัง นั้ น จึ งเป็ น
ควำมผิดฐำนปล้นทรัพย์

10. นำยดำ นำยแดง และนำยขำวได้ร่วมกันวำงแผนจะไปลักทรัพย์ที่บ้ำนนำยม่วง ในคืนเกิดเหตุ


ขณะที่เข้ำไปลักทรัพย์จนได้ทรัพย์ไปจนเป็นที่พอใจแล้วและทั้ง สำมกำลังจะออกจำกบ้ำนไปนั้น
สุนัขของนำยเหลืองได้เห่ำขึ้นและจะวิ่งเข้ำมำกัดนำยแดง นำยขำวจึงใช้อำวุธปืน ยิงสุนัขจนถึงแก่
ควำมตำยแล้ววิ่งหนีไป ดังนี้ กำรกระทำของบุคคลทั้งสำมจะเป็นควำมผิดฐำนใดหรือไม่
ก. ผิดฐำนลักทรัพย์ในเวลำกลำงคืน
ข. ผิดฐำนชิงทรัพย์
ค. ผิดฐำนปล้นทรัพย์
ง. ผิดฐำนวิ่งรำวทรัพย์
เฉลย ข้อ ก.
กำรไปเอำทรัพย์นั้น ไม่ได้หมำยควำมว่ำทั้งสำมคนได้ใช้กำลังประทุษร้ำยหรือขู่เข็ญว่ำจะใช้
กำลัง ประทุษร้ำยแก่เจ้ำของสุนัข จึงไม่เป็นควำมผิดฐำนปล้นทรัพย์ แต่กำรที่ใช้ปืนยิงสุนัขตำยนี้
บุคคลทั้งสำมย่อมเป็นตัวกำรในควำมรับผิดฐำนทำให้เสียทรัพย์
มำตรำ 83 ในกรณีควำมผิดใดเกิดขึ้นโดยกำรกระทำของบุคคลตั้งแต่สองคนขึ้นไปผู้ที่ได้ ร่วม
กระทำควำมผิดด้วยกันนั้นเป็นตัวกำร ต้องระวำงโทษตำมที่กฎหมำยกำหนดไว้สำหรับควำมผิดนั้น
472

มำตรำ 358 ผู้ใดทำให้เสียหำย ทำลำย ทำให้เสื่อมค่ำ หรือทำให้ไร้ประโยชน์ ซึ่งทรัพย์ของผู้อื่น


หรือผู้อื่นเป็นเจ้ำของรวมอยู่ด้วย ผู้นั้นกระทำควำมผิดฐำนทำให้เสียทรัพย์ต้องระวำงโทษจำคุกไม่
เกินสำมปี หรือปรับไม่เกินหกพันบำท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ฎ.375/2533 เมื่อข้อเท็จจริงได้ควำมจริงว่ำ จำเลยที่ 1 กับพวกอีก 2 คนเข้ำไปในบ้ำน
และพยำยำมลักทรัพย์ของผู้เสียหำย แล้วพวกของจำเลยดังกล่ำวได้ใช้กำลังประทุษร้ำยผู้เสียหำย
จนได้รับอันตรำยแก่ กำยเพื่อสะดวกในกำรลักทรัพย์หรือพำทรัพย์ไปแต่ไม่สำมำรถทำทรัพย์นั้นไป
ได้ เพรำะมีผู้มำพบเห็นเสียก่อน ดังนี้กำรที่พวกของจำเลยที่ 1 ใช้กำลังประทุษร้ ำยผู้เสียหำย
ดังกล่ำวจึงมิได้นอกเหนือควำมมุ่งหมำยหรือ เจตนำของจำเลยที่ 1 แต่อย่ำงใดกำรกระทำของ
จำเลยที่ 1 กับพวกจึงเป็นควำมผิดตำม ป.อ. มำตรำ 340 วรรคแรก 80

แนวข้อสอบประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์
ข้อที่ 1. ข้อใดต่อไปนี้กล่ำวถูกต้องที่สุด
ก. เมื่อไม่มีกฎหมำยที่ยกขึ้นปรับแก่คดีได้ ให้วินิจฉัยคดีนั้นตำมจำรีตประเพณีแห่งท้องถิ่น
ข. เมื่อไม่มีกฎหมำยที่ยกขึ้นปรับแก่คดีได้ ให้วินิจฉัยคดีนั้นตำมจำรีตประเพณีแห่งท้องถิ่น
ถ้ำไม่มีจำรีตประเพณีแห่งท้องถิ่น ให้วินิจฉัยคดีโดยอำศัยเทียบบทกฎหมำยที่ใกล้เคียงอย่ำงยิ่ง
ค. เมื่อไม่มีกฎหมำยที่ยกขึ้นปรับแก่คดีได้ ให้วินิจฉัยคดีนั้นตำมจำรีตประเพณีแห่งท้องถิ่น
ถ้ำไม่มีจำรีตประเพณีแห่งท้องถิ่น ให้วินิจฉัยคดีโดยอำศัยเทียบบทกฎหมำยที่ใกล้เคียงอย่ำงยิ่ง
และถ้ำบทกฎหมำยเช่นนั้นไม่มีให้วินิจฉัยตำมหลักกฎหมำยทั่วไป
ง. ในกรณี ไ ม่ มี ก ฎหมำยมำปรั บ ใช้ แ ก่ ค ดี ไ ด้ ศ ำลสำมำรถใช้ ดุ ล ยพิ นิ จ ในกำรรั บ ฟั ง
พยำนหลักฐำนต่ำง ๆ ที่คู่ควำมนำมำสืบได้
เฉลย ค. เหตุผล ตำมประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์ มำตรำ 4 วรรคสอง บัญญัติไว้ว่ำ “เมื่อ
ไม่มีบทกฎหมำยที่จะยกมำปรับคดีได้ ให้วินิจฉัยคดีนั้นตำมจำรีตประเพณีแห่งท้องถิ่น ถ้ำไม่มีจำรีต
ประเพณีเช่นว่ำนั้น ให้วินิจฉัยคดีอำศัยเทียบบทกฎหมำยที่ใกล้เคียงอย่ำงยิ่ง และถ้ำบทกฎหมำย
เช่นนั้นก็ไม่มีด้วย ให้วินิจฉัยตำมหลักกฎหมำยทั่วไป”

ข้อที่ 2. ในกำรชำระหนี้บุคคลทุกคนต้องกระทำเช่นใด
ก. ต้องกระทำโดยสุจริต
ข. ต้องกระทำโดยคำนึงถึงสิทธิ
ค. ต้องกระทำโดยคำนึงถึงหน้ำที่
ง. ต้องกระทำโดยซื่อสัตย์
เฉลย ก. เหตุผล ตำมประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์ มำตรำ 5 บัญญัติไว้ว่ำ “ในกำรใช้สิทธิ
แห่งตนก็ดี ในกำรชำระหนี้ก็ดี บุคคลทุกคนต้องกระทำโดยสุจริต”
473

ข้อที่ 3. ในกรณีที่จะต้องเสียดอกเบี้ยให้แก่กันและมิได้กำหนดอั ตรำดอกเบี้ยไว้ในสัญญำให้ใช้


อัตรำร้อยละเท่ำใดต่อปี
ก. ร้อยละ 5 ต่อปี
ข. ร้อยละ 7.5 ต่อปี
ค. กว่ำร้อยละ 7.5 ต่อปี
ง. น้อยกว่ำร้อยละ 7.5 ต่อปี
เฉลย ข. เหตุผล ตำมประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์ มำตรำ 7 บัญญัติไว้ว่ำ “ถ้ำจะต้องเสีย
ดอกเบี้ยแก่กันและมิได้กำหนดอัตรำดอกเบี้ยไว้โดยนิติกรรมหรือโดยบทกฎหมำยอันชัดแจ้ง ให้ใช้
อัตรำร้อยละเจ็ดครึ่งต่อปี”

ข้อที่ 4. เมื่อควำมข้อใดข้อหนึ่งในเอกสำรอำจตีควำมได้สองนัย ข้อใดต่อไปนี้กล่ำวถูกต้อง


ก. ให้ถือตำมนัยที่ทำให้เป็นผลบังคับได้
ข. ให้ถือตำมนัยที่จะทำให้ไร้ผล
ค. ให้ถือตำมนัยที่จะทำให้สมบูรณ์
ง. ให้ถือตำมนัยที่ทำให้เป็นโมฆียะ
เฉลย ก. เหตุผล ตำมประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์ มำตรำ 10 บัญญัติไว้ว่ำ “เมื่อควำมข้อใด
ข้อหนึ่งในเอกสำรอำจตีควำมได้สองนัย นัยไหนจะทำให้เป็นผลบังคับได้ให้ถือเอำตำมนัยนั้นดีกว่ำ
ที่จะถือเอำนัยที่ไร้ผล”

ข้อที่ 5. ในกรณีที่จำนวนเงินในเอกสำรแสดงไว้ทั้งตัวอักษรและตัวเลขถ้ำอักษรและตัวเลขไม่
ตรงกัน ข้อใดต่อไปนี้กล่ำวถูกต้อง
ก. ให้ถือเอำจำนวนเงินที่เป็นตัวอักษร
ข. ให้ถือเอำจำนวนเงินที่เป็นตัวเลข
ค. ให้ถือเอำจำนวนเงินที่เป็นตัวอักษรหรือตัวเลขก็ได้
ง. ข้อ ก. และ ข. ถูก
เฉลย ก. เหตุผล ตำมประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์ มำตรำ 12 บัญญัติไว้ว่ำ “ในกรณีที่
จำนวนเงินหรือปริมำณในเอกสำรแสดงไว้ทั้งตัวอักษรและตัวเลข ถ้ำตัวอักษรกับตัวเลขไม่ตรงกัน
และมิอำจหยั่ง ทรำบเจตนำอันแท้จริงได้ ให้ถือเอำจ ำนวนเงินหรื อปริมำณที่เป็ นตัวอักษรเป็ น
ประมำณ”

ข้อที่ 6. สภำพบุคคลเริ่มต้นเมื่อใด
ก. ตั้งแต่เริ่มคลอด
ข. ตั้งแต่เริ่มคลอดแล้วอยู่รอดเป็นทำรก
ค. ตั้งแต่ตั้งครรภ์
474

ง. ก. และ ข. ถูกต้อง
เฉลย ข. เหตุผล ตำมประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์ มำตรำ 15 วรรคหนึ่ง บัญญัติไว้ว่ำ
“สภำพบุคคลย่อมเริ่มแต่เมื่อคลอดแล้วอยู่รอดเป็นทำรกและสิ้นสุดลงเมื่อตำย”

ข้อที่ 7. ในกรณีบุคคลหลำยคนตำยเพรำะเหตุน้ำท่วมและไม่อำจทรำบว่ำผู้ใดตำยก่อนหรือตำย
หลัง ข้อใดต่อไปนี้กล่ำวถูกต้อง
ก. ให้ถือว่ำตำยพร้อมกัน
ข. ให้ถือเรียงตำมอำยุ
ค. ญำติของผู้นั้นชอบที่จะร้องขอต่อศำลให้สั่งว่ำตำยเมื่อไหร่
ง. ไม่มีข้อใดถูก
เฉลย ก. เหตุผล ตำมประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์ มำตรำ 17 บัญญัติไว้ว่ำ “ในกรณีบุคคล
หลำยคนตำยในเหตุภยันตรำยร่วมกัน ถ้ำเป็นกำรพ้นวิสัยที่จะกำหนดได้ว่ำคนไหนตำยก่อนหลัง ให้
ถือว่ำตำยพร้อมกัน”

ข้อที่ 8. บุคคลย่อมพ้นจำกภำวะผู้เยำว์และบรรลุนิติภำวะเมื่อใด
ก. อำยุ 15 ปี บริบูรณ์
ข. อำยุ 17 ปี บริบูรณ์เมื่อทำกำรสมรส
ค. อำยุ 20 ปี บริบูรณ์
ง. ข้อ ข. และ ค. ถูก
เฉลย ง. เหตุผล ตำมประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์ มำตรำ 19 บัญญัติไว้ว่ำ “บุคคลย่อมพ้น
จำกภำวะผู้เยำว์และบรรลุนิติภำวะเมื่อมีอำยุยี่สิบปีบริบูรณ์”
มำตรำ 20 บัญญัติไว้ว่ำ “ผู้เยำว์ย่อมบรรลุนิติภำวะเมื่อทำกำรสมรส หำกกำรสมรสนั้นได้ทำตำม
บทบัญญัติมำตรำ 1448”
มำตรำ 1448 บัญญัติไว้ว่ำ “กำรสมรสจะทำได้ต่อเมื่อชำยและหญิงมีอำยุสิบเจ็ดปีบริบูรณ์แล้ว
แต่ในกรณีที่มีเหตุอันสมควร ศำลอำจอนุญำตให้ทำกำรสมรสก่อนนั้นได้”

ข้อที่ 9. ผู้เยำว์สำมำรถทำพินัยกรรมได้เมื่ออำยุเท่ำใด
ก. 15 ปี บริบูรณ์
ข. 17 ปี บริบูรณ์
ค. 18 ปี บริบูรณ์
ง. 20 ปี บริบูรณ์
เฉลย ก. เหตุผล ตำมประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์ มำตรำ 25 บัญญัติไว้ว่ำ “ผู้เยำว์อำจทำ
พินัยกรรมได้เมื่ออำยุสิบห้ำปีบริบูรณ์”
475

ข้อที่ 10. พินัยกรรมที่บุคคลอำยุยังไม่ครบ 15 ปี บริบูรณ์ ผลจะเป็นอย่ำงไร


ก. เป็นโมฆียะ
ข. เป็นโมฆะ
ค. ผลไม่สมบูรณ์
ง. ไม่มีข้อใดถูก
เฉลย ข. เหตุผล ตำมประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์ มำตรำ 1703 บัญญัติไว้ว่ำ “พินัยกรรม
ที่บุคคลอำยุยังไม่ครบ 15 ปี บริบูรณ์ ผลเป็นโมฆะ”

ข้อที่ 11. บุคคลซึ่งศำลสั่งให้เป็นคนไร้ควำมสำมำรถต้องจัดให้อยู่ในควำมดูแลของผู้ใด


ก. ผู้แทนเฉพำะคดี
ข. ผู้พิทักษ์
ค. ผู้ปกครอง
ง. ผู้อนุบำล
เฉลย ง. เหตุผล ตำมประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์ มำตรำ 28 วรรคสอง บัญญัติไว้ว่ำ
“บุคคลซึ่งศำลได้สั่งให้เป็นคนไร้ควำมสำมำรถตำมวรรคหนึ่ง ต้องจัดให้อยู่ในควำมอนุบำล กำร
แต่งตั้งผู้อนุบำล อำนำจหน้ำที่ของผู้อนุบำลและกำรสิ้นสุดของควำมเป็นผู้อนุบำล ให้เป็นไปตำม
บทบัญญัติบรรพ 5 แห่งประมวลกฎหมำยนี้”

ข้อที่ 12. บุคคลซึ่งศำลสั่งให้เป็นบุคคลไร้ควำมสำมำรถกระทำนิติกรรมผลจะเป็นเช่นไร


ก. เป็นโมฆียะ
ข. เป็นโมฆะ
ค. ผลไม่สมบูรณ์
ง. ไม่มีข้อใดถูก
เฉลย ก. เหตุผล ตำมประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์ มำตรำ 29 บัญญัติไว้ว่ำ “กำรใด ๆ อัน
บุคคลซึ่งศำลสั่งให้เป็นคนไร้ควำมสำมำรถได้กระทำลง กำรนั้นเป็นโมฆียะ”

ข้อที่ 13. บุคคลซึ่งศำลสั่งให้เป็นคนเสมือนไร้ควำมสำมำรถต้องจัดอยู่ในควำมดูแลของผู้ใด


ก. ผู้แทนเฉพำะคดี
ข. ผู้พิทักษ์
ค. ผู้ปกครอง
ง. ผู้อนุบำล
เฉลย ข. เหตุผล ตำมประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์ มำตรำ 32 วรรคสอง บัญญัติไว้ว่ำ
“บุคคลซึ่งศำลได้สั่งให้เป็นคนเสมือนไร้ควำมสำมำรถตำมวรรคหนึ่ง ต้องจัดให้อยู่ในควำมพิทักษ์
กำรแต่งตั้งผู้พิทักษ์ ให้เป็นไปตำมบทบัญญัติบรรพ 5 แห่งประมวลกฎหมำยนี้”
476

ข้อที่ 14. ภูมิลำเนำของผู้ถูกจำคุกตำมคำพิพำกษำถึงที่สุดคือที่ใด


ก. ถิ่นบุคคลนั้นมีที่อยู่อันเป็นสถำนที่อยู่เป็นแหล่งสำคัญ
ข. ถิ่นที่อยู่ตำมทะเบียนรำษฎร์
ค. เรือนจำ
ง. ไม่มีข้อใดถูก
เฉลย ค. เหตุผล ตำมประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์ มำตรำ 47 บัญญัติไว้ว่ำ “ภูมิลำเนำ
ของผู้ที่ถู กจ ำคุก ตำมค ำพิ พ ำกษำถึ ง ที่สุ ด ของศำลหรือ ตำมค ำสั่ ง โดยชอบด้ว ยกฎหมำย ได้ แ ก่
เรือนจำหรือทัณฑสถำนที่ถูกจำคุกอยู่ จนกว่ำจะได้รับกำรปล่อยตัว”
ข้อที่ 15. กำรสมรสสิ้นสุดเมื่อใด
ก. กำรหย่ำ
ข. ศำลพิพำกษำให้หย่ำ
ค. คู่สมรสฝ่ำยใดฝ่ำยหนึ่งตำย
ง. ถูกทุกข้อ
เฉลย ง. เหตุผล ตำมประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์ มำตรำ 1501 บัญญัติไว้ว่ำ “กำรสมรส
ย่อมสิ้นสุดลงด้วยควำมตำย กำรหย่ำหรือศำลพิพำกษำให้เพิกถอน ”

ข้อที่ 16. บุคคลที่ทำกำรหมั้นได้ต้องอำยุเท่ำใด


ก. 15 ปี บริบูรณ์
ข. 17 ปี บริบูรณ์
ค. 18 ปี บริบูรณ์
ง. 20 ปี บริบูรณ์
เฉลย ข. เหตุผล ตำมประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์ มำตรำ 1435 บัญญัติไว้ว่ำ “กำรหมั้น
จะทำได้ต่อเมื่อชำยและหญิงมีอำยุสิบเจ็ดปีบริบูรณ์แล้ว
กำรหมั้นที่ฝ่ำฝืนบทบัญญัติวรรคหนึ่งเป็นโมฆะ”

ข้อที่ 17. ในกรณีที่บุคคลทำกำรหมั้นโดยอำยุยังไม่ครบ 17 ปีบริบูรณ์ ผลจะเป็นอย่ำงไร


ก. เป็นโมฆียะ
ข. เป็นโมฆะ
ค. ผลไม่สมบูรณ์
ง. ไม่มีข้อใดถูก
เฉลย ข. เหตุผล ประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์ มำตรำ 1435 บัญญัติไว้ว่ำ “กำรหมั้นจะทำ
ได้ต่อเมื่อชำยและหญิงมีอำยุสิบเจ็ดปีบริบูรณ์แล้ว
กำรหมั้นที่ฝ่ำฝืนบทบัญญัติวรรคหนึ่งเป็นโมฆะ”
477

ข้อที่ 18. ผู้เยำว์ที่อำยุ 17 ปีบริบูรณ์ ทำกำรหมั้นโดยไม่ได้รับกำรยินยอมจำกบิดำมำรดำผลจะ


เป็นอย่ำงไร
ก. เป็นโมฆียะ
ข. เป็นโมฆะ
ค. ผลไม่สมบูรณ์
ง. ไม่มีข้อใดถูก
เฉลย ก. เหตุผล ตำมประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์ มำตรำ 1436 บัญญัติไว้ว่ำ “ผู้เยำว์จะ
ทำกำรหมั้นได้ต้องได้รับควำมยินยอมของบุคคลดังต่อไปนี้
ก. บิดำและมำรดำ ในกรณีที่มีทั้งบิดำมำรดำ
ข. บิดำหรือมำรดำ ในกรณีที่มำรดำหรือบิดำตำยหรือถูกถอนอำนำจปกครองหรือไม่อยู่ใน
สภำพหรือฐำนะที่อ ำจให้ควำมยินยอม หรือโดยพฤติกำรณ์ผู้เยำว์ไม่อำจขอควำมยินยอมจำก
มำรดำหรือบิดำได้
ค. ผู้รับบุตรบุญธรรม ในกรณีที่ผู้เยำว์เป็นบุตรบุญธรรม
ง. ผู้ปกครอง ในกรณีที่ไม่มีบุคคลซึ่งอำจให้ควำมยินยอมตำม ก. ข. และ ค. หรือมีแต่บุคคล
ดังกล่ำวถูกถอนอำนำจปกครอง
กำรหมั้นที่ผู้เยำว์ทำโดยปรำศจำกควำมยินยอมดังกล่ำวเป็นโมฆียะ”

ข้อที่ 19. ข้อใดต่อไปนี้ที่คนเสมือนไร้ควำมสำมำรถกระทำลง โดยไม่ต้องได้รับควำมยินยอมจำกผู้


พิทักษ์
ก. นำทรัพย์สินไปลงทุน
ข. ให้เช่ำสังหำริมทรัพย์เกินกว่ำ 6 เดือน
ค. ให้เช่ำอสังหำริมทรัพย์เป็นเวลำ 3 ปี
ง. กู้ยืมเงิน
เฉลย ค. เหตุผล ตำมประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์ มำตรำ 34 วรรคหนึ่ง บัญญัติไว้ว่ ำ
“มำตรำ 34 คนเสมือนไร้ควำมสำมำรถนั้น ต้องได้รับควำมยินยอมของผู้พิทักษ์ก่อนแล้วจึงจะทำ
กำรอย่ำงหนึ่งอย่ำงใดดังต่อไปนี้ได้
ก. นำทรัพย์สินไปลงทุน
ข. รับคืนทรัพย์สินที่ไปลงทุน ต้นเงินหรือทุนอย่ำงอื่น
ค. กู้ยืมหรือให้กู้ยืมเงิน ยืมหรือให้ยืมสังหำริมทรัพย์อันมีค่ำ
ง. รับประกันโดยประกำรใด ๆ อันมีผลให้ตนต้องถูกบังคับชำระหนี้
(5) เช่ ำ หรื อ ให้ เช่ำสั งหำริม ทรัพ ย์ มีก ำหนดระยะเวลำเกิน กว่ ำ หกเดื อนหรือ อสัง หำริ ม ทรั พ ย์ มี
กำหนดระยะเวลำเกินกว่ำสำมปี
(6) ให้โดยเสน่หำ เว้นแต่กำรให้ที่พอควรแก่ฐำนำนุรูป เพื่อกำรกุศล กำรสังคม หรือตำมหน้ำที่
ธรรมจรรยำ
478

(7) รับกำรให้โดยเสน่หำที่มีเงื่อนไขหรือค่ำภำระติดพัน หรือไม่รับกำรให้โดยเสน่หำ ทำกำรอย่ำง


หนึ่งอย่ำงใดเพื่อจะได้มำหรือปล่อยไปซึ่งสิทธิในอสังหำริมทรัพย์หรือในสังหำริมทรัพย์อันมีค่ำ
(9) ก่อสร้ำงหรือดัดแปลงโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้ำงอย่ำงอื่น หรือซ่อมแซมอย่ำงใหญ่
(10) เสนอคดีต่อศำลหรือดำเนินกระบวนพิจำรณำใด ๆ เว้นแต่กำรร้องของตำมมำตรำ 35 หรือ
กำรร้องขอถอนผู้พทิ ักษ์
(11) ประนีประนอมยอมควำมหรือมอบข้อพิพำทให้อนุญำโตตุลำกำรวินิจฉัย”

ข้อที่ 20. ถ้ำบุคคลใดได้ไปจำกภูมิลำเนำหรือถิ่นที่อยู่ และไม่มีใครรู้แน่ว่ำบุคคลนั้นยังมีชีวิตอยู่


หรือไม่ พนักงำนอัยกำรร้องขอ ศำลจะสั่งให้บุคคลนั้นเป็นคนสำบสูญได้ เมื่อระยะเวลำได้ผ่ำนไปกี่
ปี
ก. 1 ปี
ข. 2 ปี
ค. 4 ปี
ง. 5 ปี
เฉลย ง. เหตุผล ตำมประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์ มำตรำ 61 บัญญัติไว้ว่ำ “ถ้ำบุคคลใดได้
ไปจำกภูมิลำเนำหรือถิ่นที่อยู่ และไม่มีใครรู้แน่ว่ำบุคคลนั้นยังมีชีวิตอยู่หรือไม่ตลอดระยะเวลำห้ำปี
เมื่อผู้มีส่วนได้เสียหรือพนักงำนอัยกำรร้องขอ ศำลจะสั่งให้บุคคลนั้นเป็นคนสำบสูญก็ได้
ระยะเวลำตำมวรรคหนึ่งให้ลดเหลือสองปี
ก. นับแต่วันที่กำรรบหรือสงครำมสิ้นสุดลง ถ้ำบุคคลนั้นอยู่ในกำรรบหรือสงครำม และ
หำยไปในกำรรบหรือสงครำมดังกล่ำว
ข. นับแต่วันที่ยำนพำหนะที่บุคคลนั้นเดินทำง อับปำง ถูกทำลำยหรือสูญหำยไป
ค. นับแต่วันที่เหตุอันตรำยแก่ชีวิตนอกจำกที่ระบุไว้ใน ก. หรือ ข. ได้ผ่ำนพ้นไป ถ้ำบุคคล
นั้นตกอยู่ในอันตรำยเช่นว่ำนั้น”
479

แนวข้อสอบกฎหมำยวิธีพิจำรณำควำมแพ่ง
1. สมชำยขำยสร้อยเพชรให้แก่สมศัก ดิ์บนอำกำศยำนสัญชำติไทย ขณะบินอยู่เหนือประเทศพม่ำ
ซึ่งกำลังมุ่งไปประเทศจีน ต่อมำสมชำยผิดสัญญำไม่ส่งมอบสร้อยเพชรให้ แก่สมศักดิ์ เช่นนี้สมศักดิ์
จะฟ้องร้องบังคับให้สมชำย
ปฏิบัติตำมสัญญำได้ที่ศำลใด
ก. ศำลแพ่ง ประเทศไทย
ข. ศำลแพ่ง ประเทศพม่ำ
ค. ศำลแพ่ง ประเทศจีน
ง. ถูกทุกข้อ
2. ฟิล์มมีภูมิลำเนำอยู่ในกรุงเทพฯ แต่ไม่ได้ทำงำนที่จังหวัดเชียงใหม่เป็นเวลำมำกกว่ำ 2 ปี และ
ปัจจุบันได้ย้ำยไปทำงำนที่จังหวัดระยอง หำกต่อต้องกำรยื่นฟ้องฟิล์มเรื่องผิดสัญญำกู้ยืมเงินต่อ
จะต้องยื่นคำฟ้องต่อศำลแพ่งจังหวัดใด
ก. กรุงเทพมหำนคร
ข. เชียงใหม่
ค. ระยอง
ง. ถูกทุกข้อ
3. มะขำมมีภูมิลำเนำอยู่ในกรุงเทพฯ ไม่ส่งมอบที่ดินซึ่งอยู่ในจังหวัดอ่ำงทองที่ทำสัญญำซื้อขำย
ให้แก่กระถิน ซึ่งมีภูมิลำเนำอยู่ที่สระบุรี เช่นนี้ กระถินจะต้องยื่นฟ้องมะขำมต่อศำลใด
ก. กรุงเทพมหำนคร
ข. อ่ำงทอง
ค. สระบุรี
ง. ข้อ ก. และ ข. ถูก
4. คดีแพ่งเรื่องหนึ่ง ศำลชั้นต้นพิพำกษำให้จำเลยชำระเงินแก่โจทก์ จำเลยไม่ชำระหนี้ตำมคำ
พิพำกษำ โจทก์ขอให้ศำลชั้นต้นออกหมำยบังคับคดี และนำเจ้ำพนักงำนบังคับคดี สำนักงำนบังคับ
คดีจังหวัดปทุมธำนี ยึดที่ดินของจำเลยเพื่อขำยทอดตลำดนำเงินมำชำระหนี้แก่โจทก์ ผู้ร้องยื่นคำ
ร้องว่ำ ผู้ร้องเป็นเจ้ำหนี้ของจำเลยตำมคำพิพำกษำ จำเลยไม่มีทรัพย์สินที่ผู้ร้องจะนำยึดมำบังคับ
ชำระหนี้ได้ เนื่องจำกเจ้ำหนี้อื่นรวมทั้งโจทก์ยึดไว้หมดแล้ว ขอให้มีคำสั่งให้ผู้ร้องเข้ำเฉลี่ยทรัพย์สิน
หรือเงินที่ได้จำกกำรขำยทอดตลำดทรัพย์สินของจำเลย โจทก์ยื่นคำคัดค้ำนว่ำ ผู้ร้องยื่นคำร้อง
เฉลี่ยทรัพย์ต่อศำลชั้นต้นเป็นกำรไม่ชอบ เนื่องจำกศำลชั้นต้นเป็นศำลที่มีคำพิพำกษำหรือศำลที่อก
หมำยบังคับคดีเท่ำนั้น มิใช่ศำลที่ออกหมำยบังคับให้ยึดหรืออำยัดทรัพย์สิน ศำลที่ออกหมำยบังคับ
ให้ ยึ ด หรื อ อำยั ด ทรั พ ย์ สิ น ศำลที่ อ อกหมำยบั ง คั บ ให้ ยึ ด หรื อ อำยั ด ทรั พ ย์ สิ น คื อ ศำลจั ง หวั ด
ปทุมธำนี ซึ่งเป็นศำลที่ทรัพย์สินตั้งอยู่ในเขตศำล ผู้ร้องต้องยื่นคำร้องขอเฉลี่ยทรัพย์ต่อศำลใด
ก. ศำลที่มีอำนำจในกำรบังคับคดี
ข. ศำลที่พิจำรณำชี้ขำดตัดสินคดีในชั้นต้น
480

ค. ศำลที่บังคับคดีแทน
ง.ข้อ ก. และ ข. ถูก
5. ศำลจังหวัดเชียงใหม่ซึ่งเป็นศำลที่ได้พิจำรณำชี้ขำดตัดสินคดีออกหมำยบังคับคดีส่งไปให้ศำล
จั ง หวั ด นครรำชสี ม ำบั ง คั บ คดี แ ทน และเจ้ ำ พนั ก งำนบั ง คั บ คดี ส ำนั ก งำนบั ง คั บ คดี จั ง หวั ด
นครรำชสีมำได้ยึดที่ดินโฉนดเลขที่968 และ 969 ของจำเลยออกขำยทอดตลำด ผู้ร้องยื่นคำร้อง
ต่อศำลจังหวัดนครรำชสีมำว่ำ ที่ดิน ที่เจ้ำพนักงำนบังคับคดียึดไว้ทั้ง 2 แปลง ติดจำนองอยู่กับผู้
ร้อง และผู้ร้องเป็นเจ้ำหนี้ตำมคำพิพำกษำของจำเลย ซึ่งพิพำกษำให้จำเลยชำระเงินให้แก่ผู้ร้อง
ขอให้ศ ำลอนุ ญำตให้ ผู้ร้องได้รับช ำระหนี้จำกเงิน ที่ข ำยทอดตลำดก่อนเจ้ ำหนี้อื่ น ศำลจัง หวั ด
นครรำชสีมำบังคับคดีแทนศำลจังหวัดเชียงใหม่ มิใช่ศำลที่ได้พิจำรณำและชี้ขำดตัดสินในชั้นต้น จึง
ให้ยกคำร้อง ค่ำคำร้องเป็นพับให้ผู้ร้องไปดำเนินกำรที่ศำลที่มีอำนำจ ผู้ร้องอุทธรณ์ว่ำประมวล
กฎหมำยวิธีพิจำรณำควำมแพ่ง มำตรำ289 บัญญัติเพียงว่ำให้ยื่นคำร้องต่อศำลที่ออกหมำยบังคับ
คดี มิได้จำกัดว่ำจะต้องกระทำเฉพำะต่อศำลที่ได้วินิจฉัยชี้ขำดในชั้นต้น เช่นนี้ ผู้ร้องต้องยื่นคำร้อง
ต่อศำลใด จึงจะชอบด้วยกฎหมำย
ก. ศำลจังหวัดนครรำชสีมำ
ข. ศำลจังหวัดเชียงใหม่
ค. ศำลใดก็ได้
ง. ไม่มีข้อถูก
6. โจทก์ฟ้ องขอให้บังคับจำเลยรื้อถอนสิ่งปลูกสร้ำงออกไปจำกที่ดินพิ พำท จำเลยให้กำรศำล
ชั้นต้นพิพำกษำให้ขับ ไล่จำเลย จำเลยอุทธรณ์ จำเลยถึงแก่ควำมตำยขณะคดีอยู่ในระหว่ำงกำร
พิจำรณำของศำลอุทธรณ์ นำงมีซึ่งเป็นภรรยำของจำเลยและเป็นผู้จัดกำรมรดกของจำเลยยื่นคำ
ร้องขอเข้ำมำเป็นคู่ควำมแทนที่จำเลย ศำลชั้นต้นมีคำสั่งอนุญำตให้ผู้ร้องเข้ำมำเป็นคู่ควำมแทนที่
จำเลยผู้มรณะได้ ศำลอุทธรณ์พิพำกษำยืน จำเลยฎีกำดังนี้ กระบวนกำรพิจำรณำศำลชั้นต้นและ
ศำลอุทธรณ์ชอบด้วยกฎหมำยหรือไม่
ก. ชอบทั้ง 2 ศำล
ข. ศำลชั้นต้นชอบ แต่ศำลอุทธรณ์ไม่ชอบ
ค. ศำลชั้นต้นไม่ชอบ แต่ศำลอุทธรณ์ชอบ
ง. ไม่ชอบทั้ง 2 ศำลเลย
7. โจทก์ฟ้องขอให้บังคับคดีชำระเงินให้แก่โจทก์ จำเลยให้กำรว่ำไม่ได้เป็นหนี้โจทก์ตำมฟ้องคดี
โจทก์ขำกอำยุควำม ระหว่ำงพิจำรณำที่จำเลยยื่นคำร้องขอให้ศำลวินิจฉัยชี้ขำดเบื้องต้นในปัญหำ
ข้อกฎหมำยว่ำคดีโจทก์ขำดอำยุควำมแล้ว ศำลชั้นต้นเห็นว่ำคดีพอวินิจฉัยได้แล้ว จึงให้งดสืบพยำน
โจทก์และจำเลย แล้ววินิจฉัยว่ำคดีโจทก์ขำดอำยุ
ควำม พิพำกษำยกฟ้อง โจทก์อุทธรณ์ ศำลอุทธรณ์วินิจฉัยว่ำ คำให้กำรจำเลยมิได้แสดงเหตุแห่ง
กำรขำดอำยุควำม คดีไม่มีประเด็นเรื่องอำยุควำม พิพำกษำยกคำพิพำกษำศำลชั้นต้น ให้ศำล
ชั้นต้นดำเนินกระบวนพิจำรณำต่อไปแล้วมีคำพิพำกษำใหม่ตำมรูปคดี ศำลชั้นต้นดำเนินกระบวน
481

พิจำรณำใหม่ก่อนสืบพยำน จำเลยยื่นคำร้องขอแก้ไขคำให้ กำรว่ำคดีโจทก์ขำดอำยุควำมและฟ้ อง


โจทก์เคลือบคลุม ศำลชั้นต้นวินิจฉัยว่ำคดีโจทก์ขำดอำยุควำม พิพำกษำยกฟ้องโจทก์อุทธรณ์ ศำล
อุทธรณ์พิพำกษำยืน ทั้ง 2 ศำลพิพำกษำหรือไม่
ก. ไม่ชอบ เพรำะเรื่องอำยุควำมเป็นอันยุติตำมคำพิพำกษำศำลอุทธรณ์แล้ว
ข. ไม่ชอบ เพรำะเป็นกำรดำเนินกระบวนพิจำรณำซ้ำ
ค. ชอบ เพรำะศำลจะมีคำสั่งอนุญำตให้จำเลยแก้ไขคำให้กำรเกี่ยวกับประเด็นเรื่องอำยุ
ควำมได้เสมอ
ง. ข้อ ก และ ข. ถูก
8. โจทก์ฟ้องขอให้บังคับจำเลยชำระหนี้เ งินกู้และบังคับจำนอง จำเลยขำดนัดยื่นคำให้กำรผู้ร้อง
สอดยื่นคำร้องขอเข้ำเป็นจำเลยร่วม อ้ำงว่ำเป็นภริยำของจำเลยและอยู่ร่วมกับจำเลย เป็นผู้มีส่วน
ได้เสียตำมกฎหมำยในผลแห่งคดี ศำลชั้นต้นไม่อนุญำตให้ผู้ร้องสอดเข้ำมำเป็นจำเลยร่วม แล้ว
พิพำกษำให้จำเลยชำระเงินกู้ ผู้ร้องสอดอุทธรณ์ขอให้เพิกถอนคำสั่งของศำลชั้นต้น และอนุญำตให้
ผู้ร้องสอดเข้ำเป็นจำเลยร่วมแล้วให้ศำลชั้นต้นดำเนินกระบวนพิจำรณำและมีคำพิพำกษำใหม่ศำล
อุทธรณ์พิพำกษำยืน ผู้ร้องสอดฎีกำ ศำลฎีกำจะพิพำกษำคดีนี้อย่ำงไร
ก. อนุญำตให้เข้ำเป็นจำเลยร่วม เพื่อประโยชน์แห่งควำมยุติธรรม
ข. ไม่อนุญำต เนื่องจำกผู้ร้องสอดไม่มีส่วนได้เสียตำมกฎหมำยในผลแห่งคดี
ค. ไม่อนุญำต เนื่องจำกจำเลยขำดนัดยื่นคำให้กำร ผู้ร้องสอดย่อมไม่มีสิทธิในกำรต่อสู้คดี
เช่นเดียวกับจำเลยซึ่งขำดนัด
ง. ข้อ ข. และ ค. ถูก
9. โจทก์ฟ้องว่ำ โจทก์ทำสัญญำเช่ำที่ดินรำชพั สดุกับกระทรวงกำรคลัง แต่โจทก์ไม่สำมำรถเข้ำ
ครอบครองใช้ประโยชน์ที่ดินที่เช่ำได้ เพรำะจำเลยครอบครองอำศัยอยู่ในบ้ำนซึ่งปลูกในที่ดินที่เช่ำ
โจทก์แข้งให้จำเลยรื้อถอนบ้ำนออกไปแล้ว จำเลยเพิกเฉย ขอให้บังคับจำเลยรื้อถอนบ้ำนออกไป
จำกที่ดินดังกล่ำวโจทก์ยื่นคำร้องขอให้ศำลชั้นต้นเรียกกระทรวงกำรคลังเข้ำมำเป็นโจทก์ร่วม ศำล
ชั้นต้น มีคำสั่งอนุญำตจำเลยให้กำรว่ำ ฟ้องโจทก์เป็นฟ้องซ้ำ ศำลชั้นต้นยกฟ้องโจทก์โดยได้รับฟัง
ข้อเท็จจริงว่ำ คดีก่อนโจทก์จำเลยเป็นคู่ควำมรำยเดียวกันและคดีก่อนถึงที่สุด โดยศำลอุทธรณ์
พิพำกษำยกฟ้องโจทก์โดยอ้ำงเหตุว่ำโจทก์เป็นผู้เช่ำที่ดินคนใหม่โดยเพิ่งไปขอเช่ำและทำสัญญำเช่ำ
ซึ่งที่ดินที่เช่ำดังกล่ำวมีจำเลยเข้ำอำศัยอยู่ก่อนแล้ว โจทก์จึงมีเพียงสิทธิกำรเช่ำเท่ำนั้น โดยยังไม่ได้
ครอบครองใช้ประโยชน์ที่เช่ำดังกล่ำว เมื่อโจทก์มิใช่เจ้ำของที่ดิน โจทก์จึงไม่มีสิทธิฟ้องขับไล่จำเลย
ซึ่งเป็นผู้อำศัยอยู่ก่อนได้แต่ลำพัง โดยไม่เรียกผู้ให้เช่ำมำเป็นโจทก์ร่วม ทั้งห้องแถวพิพำทมิได้เป็น
ของโจทก์ โจทก์จึงไม่มีอำนำจฟ้อง จำเลยอุทธรณ์โดยผู้พิพำกษำที่ได้นั่งพิจำรณำคดีในศำล
ชั้นต้นรับรองว่ำมีเหตุสมควรที่จะอุทธรณ์ให้ข้อเท็จจริงได้ศำลอุทธรณ์พิพำกษำยืน จำเลยฎีกำ โดย
ผู้พิพำกษำที่ได้นั่งพิจำณำคดีในศำลชั้นต้นรับรองว่ำมีเหตุสมควรที่จะฎีกำในข้อเท็จจริงได้
ก. ชอบ เพรำะโจทก์มีสิทธิเพียงกำรเช่ำเท่ำนั้น ยังไม่ได้ครอบครองใช้ประโยชน์จำกที่เช่ำ
ข. ชอบ เพรำะโจทก์ไม่มีอำนำจฟ้อง
482

ค. ไม่ชอบ เพรำะเป็นฟ้องซ้ำ
ง. ข้อ ก. และ ข. ถูก
10. โจทก์ฟ้องฟ้องว่ำ โจทก์ทำสัญญำจำนองที่ดินโฉนดเลขที่ 905 ไว้ให้แก่จำเลยเพื่อประกันหนี้
เงินกู้และส่งมอบโฉนดที่ดินดังกล่ำวไว้แก่จำเลย ต่อมำจำเลยได้ ฟ้องโจทก์ให้ชำระหนี้เงินกู้และ
บังคับจำนองต่อศำลแพ่งหมำยเลยดำที่ 9104/2525 ศำลมีคำพิพำกษำเมื่อวันที่ 1 ธันวำคม
2525 ตำมคดีแพ่งหมำยเลขแดงที่ 13360/2525 คดีถึงที่สุด จำเลยไม่ได้ยื่นคำขอออกหมำย
บังคับคดี เกินกว่ำ 10 ปี ต่อมำเมื่อวันที่ 15 มีนำคม 2542 โจทก์ขอชำระหนี้ตำมสัญญำจำนอง
พร้อมดอกเบี้ย แต่จำเลยปฏิเสธ โจทก์จึงนำเงินไปวำงที่สำนักงำนวำงทรัพย์กลำง กรมบังคับคดี
ขอให้บังคับจำเลยส่งมอบโฉนดที่ดินดังกล่ำว พร้อมจดทะเบียนถอนจำนองที่ดินคืนโจทก์ และรับ
เงินที่สำนักงำนวำงทรัพย์กลำง หำกไม่ปฏิบัติตำมให้ถือเอำคำพิพำกษำของศำลแทนกำรแสดง
เจตนำของจำเลย จำเลยให้กำรว่ำ คำฟ้องของโจทก์เป็นฟ้องซ้ำขอให้ยกฟ้อง ศำลชั้นต้นพิจำรณำ
อย่ำงไร
ก. เป็นฟ้องซ้ำ เพรำะคดีมีประเด็นเดียวกัน
ข. เป็นฟ้องซ้ำ เพรำะคู่ควำมเดียวกัน
ค. ไม่ฟ้องซ้ำ เพรำะระยะเวลำในกำรบังคับคดีได้ล่วงพ้นไปแล้ว
ง. ไม่มีข้อถูก

เฉลยแนวข้อสอบกฎหมำยวิธีพิจำรณำควำมแพ่ง
1.ง 2.ก 3.ง 4.ง 5.ข 6.ง 7.ง 8.ง 9.ง 10.ค
483

แนวข้อสอบกฎหมำยวิธีพิจำรณำควำมอำญำ
1. ในคดีอำณำซึ่งผู้เสียหำยเป็นผู้เยำว์ ศำลอำจตั้งผู้กระทำกำรฟ้องคดีแทนผู้เยำว์ โดยเรียกบุคคล
ดังกล่ำวว่ำอย่ำงไร
ก. ผู้แทนโดยชอบธรรม
ข. ผู้แทนเฉพำะคดี
ค. ผู้รับมอบอำนำจ
ง. ผู้พิทักษ์
2. นำยแดงน้อย ถูกวัยรุ่นทำร้ำยจนถึงแก่ควำมตำย ถำมว่ำใครมีอำนำจฟ้องคดีอำญำแทนนำย
แดงน้อยได้
ก. นำยเขียว บิดำที่แท้จริง
ข. นำยแดงต้อย บุตรโดยชอบด้วยกฎหมำย
ค. นำงจำปำ ภริยำโดยชอบด้วยกฎหมำย
ง. ถูกทุกข้อ
3. ใครมีอำนำจฟ้องคดีอำญำต่อศำล
ก. พนักงำนอัยกำร
ข. พนักงำนสอบสวน
ค. ผู้เสียหำย
ง. ข้อ ก. และ ค. ถูก
4. ผู้เสียหำยสำมำรถยื่นคำร้องขอเข้ำร่วมเป็นโจทก์กับพนักงำนอัยกำรได้ในระยะเวลำใด
ก. ระยะเวลำใดก็ได้ ระหว่ำงพิจำรณำก่อนศำลชั้นต้นพิพำกษำ
ข. ภำยใน 7 วัน นับแต่พนักงำนอัยกำรยื่นคำฟ้อง
ค. ภำยใน 15 วัน นับแต่พนักงำนอัยกำรยื่นคำให้กำร
ง. ระยะเวลำใดก็ได้แต่ต้องก่อนคดีสิ้นสุด
5. นำงอิ่มได้ยื่น ฟ้องคดีอำญำคดีหนึ่ง หลังจำกยื่นคำให้กำรแล้ว นำงอิ่ม ตำยลง ถำมว่ำใครมี
อำนำจดำเนินคดีแทนนำงอิ่มต่อไปได้
ก. นำยหัว บุตรชอบด้วยกฎหมำย
ข. นำงดำ มำรดำ
ค. นำยกระจ่ำง สำมีชอบด้วยกฎหมำย
ง. ถูกทุกข้อ
6. คนร้ำยลักทรัพย์ที่จังหวัดน่ำน หนีไปกบดำนอยู่ที่จังหวัดเชียงใหม่ ละถูกจับตัวได้ที่จังหวัดสตูล
ถำมว่ำพนักงำนสอบสวนผู้รับผิดชอบคือพนักงำนสอบสวนข้อใด
ก. จังหวัดน่ำน
ข. จังหวัดเชียงใหม่
ค. จังหวัดสตูล
484

ง. ทุกข้อเป็นพนักงำนสอบสวนผู้รับผิดชอบทั้งหมด
7. กรณีใดหำกจำเลยไม่มีทนำยควำม แม่ไม่ต้องกำรทนำยควำม ศำลจะต้องตั้งทนำยควำมให้
ก. คดีที่มีอัตรำโทษประหำรชีวิต
ข. คดีที่มีอัตรำโทษจำคุก
ค. คดีที่จำเลยอำยุไม่เกิน 18 ปี ในวันที่ถูกฟ้องต่อศำล
ง. ถูกทุกข้อ
8. ข้อใดเป็นสิทธิของผู้ต้องหำที่ถูกควบคุมหรือขัง
ก. พบและปรึกษำผู้ที่จะเป็นทนำยควำมสองต่อสอง
ข. ได้รับกำรเยี่ยมตำมสมควร
ค. ได้รับกำรรักษำพยำบำลเมื่อเกิดกำรเจ็บป่วย
ง. ถูกทุกข้อ
9. กำรถอนฟ้องคดีอำญำจะต้องยืน่ คำร้องขอเวลำใด
ก. ภำยใน 15 วัน หลังยื่นคำให้กำร
ข. เวลำใดก่อนมีคำ พิพำกษำของศำลชั้นต้น
ค. เวลำใดก่อนคดีถึงที่สุด
ง. เวลำใดก่อนมีคำพิพำกษำของศำลฎีกำ
10. ในคดีที่มีโทษปรับสถำนเดียว กรณีใดที่คดีอำญำจะเลิกกันได้
ก. เมื่อผู้กระทำผิดเสียค่ำปรับในอัตรำอย่ำงสูงแก่เจ้ำหน้ำที่ก่อนศำลพิจำรณำ
ข. เมื่อผู้ต้องหำชำระค่ำปรับตำมที่พนักงำนสอบสวนได้เปรียบเทียบแล้ว
ค. เมื่อผู้ต้องหำชำระค่ำปรับตำมที่นำยตำรวจตั้งแต่ตำแหน่งสำรวัตรขึ้นไปได้เปรียบเทียบ
แล้ว
ง. ถูกทุกข้อ
11. บุคคลผู้ถูกกล่ำวหำได้กระทำควำมผิด แต่ยังมิได้ถูกฟ้องต่อศำลคือบุคคลข้อใด
ก. จำเลย
ข. ผู้ต้องหำ
ค. ผู้เสียหำย
ง. ไม่มีข้อใดถูก
12. บุคคลอื่นที่มอี ำนำจจัดกำรแทนผู้เสียหำยไม่มีอำนำจจัดกำรตำมข้อใดได้
ก. ร้องทุกข์
ข. เป็นโจทก์ฟ้องคดี
ค. ถอนฟ้องคดี
ง. ยอมควำมในคดีควำมผิดต่อแผ่นดิน
485

13. ศำลยกฟ้องเพรำะขำดองค์ประกอบควำมผิด โจทก์ฟ้องใหม่ได้หรือไม่


ก. ไม่ได้ เพรำะถือว่ำมีคำพิพำกษำเสร็จเด็ดขำดในควำมผิดแล้ว
ข. ได้ เพรำะไม่ถือว่ำมีคำพิพำกษำเสร็จเด็ดขำดในควำมผิดแล้วแต่อย่ำงใด
ค. ได้ เพรำะถือว่ำเป็นกำรฟ้องที่ไม่สมบูรณ์
ง. ไม่มีข้อใดถูก
14. จำเลยใช้ไม้ตีห นึ่งและสองในเวลำติ ดต่อกัน โจทก์ ฟ้ องและศำลลงโทษจำเลยฐำนทำร้ำย
ร่ำงกำยหนึ่งโจทก์จะมำฟ้องจำเลยฐำนทำร้ำยร่ำงกำยสองได้หรือไม่
ก. ได้ เพรำะผู้เสียหำยคนละคนกัน
ข. ได้ เพรำะต่ำงหรรมต่ำงวำระกัน
ค. ไม่ได้ เพรำะสิทธินำคดีอำญำมำฟ้องระงับแล้ว
ง. ไม่ได้ เพรำะเป็นกำรกระทำกรรมเดียวกัน
15. ศำลยกฟ้องเพรำะโจทก์ไม่มีพยำนมำสืบพิสูจน์ควำมผิดของจำเลย เมื่อโจทก์หำพยำนได้แล้ว
จะมำฟ้องอีกได้หรือไม่
ก. ได้ เพรำะถือว่ำยังไม่มีกำรพิจำรณำคดีเลย
ข. ไม่ได้ เพรำะถือว่ำได้มีคำพิพำกษำเสร็จเด็ดขำดในควำมผิดนั้นแล้ว
ค. ได้ เพรำะยังไม่ถือว่ำศำลได้พิสูจน์ควำมผิดของจำเลย
ง. ถูกทั้ง ก. และ ค.
16. ศำลยกฟ้องเพรำะคำฟ้องไม่ได้ระบุเวลำและสถำนที่ซึ่งจำเลยกระทำควำมผิดจะฟ้องใหม่ได้
หรือไม่
ก. ได้ เพรำะถือไม่ได้ส่ำเป็นกำรฟ้องซ้ำ
ข. ได้ เพรำะศำลยังไม่ได้พิพำกษำในควำมผิด ที่ได้ฟอ้ ง
ค. ไม่ได้ เพรำะเป็นฟ้องซ้ำ
ง. ไม่ได้ เพรำะโจทก์ไม่ได้ระมัดระวังเอง
17. บุคคลผู้เข้ำร่วมถำมปำกคำในข้อใดอำจถูกร้องขอให้เปลี่ยนตัวได้
ก. อัยกำร
ข. นักจิตวิทยำ
ค. นักสังคมสงเครำะห์
ง. ถูกทุกข้อ
18. ศำลพิพำกษำยกฟ้องโดยวินิจฉัยว่ำโจทก์ไม่มีอำนำจฟ้อง เพรำะมิได้บรรยำยให้แจ้งชัดถึง
อำนำจฟ้องของโจทก์ดังนี้ ฟ้องใหม่ได้หรือไม่
ก. ไม่ได้ ถือเป็นห้องซ้ำ
ข. ได้ เพรำะศำลยังไม่ได้วินิจฉัยควำมผิดซึ่งได้ฟ้อง
ค. ไม่ได้ เพรำะถือว่ำวิทธินำคดีอำญำมำฟ้องระงับ
ง. ไม่มีข้อใดถูก
486

19. ผู้เสียหำยฟ้องจำเลยว่ำทำร้ำยร่ำงกำย ต่อมำอัยกำรฟ้องผู้เสียหำยและจำเลยว่ำต่ำงทำร้ำยซึ่ง


กันและกัน ศำลพิพำกษำลงโทษจำเลยตำมฟ้องของอัยกำร ดังนี้
ก. ฟ้องของผู้เสียหำยถือว่ำมีคำพิพำกษำเสร็จเด็ดขำดแล้ว
ข. สิทธินำคดีอำญำของผู้เสียหำยมำฟ้องย่อมระงับ
ค. ถูกทั้ง ก. และ ข.
ง. ฟ้องของผู้เสียหำยไม่เป็นฟ้องซ้ำและโจทก์เป็นคนละคนกัน
20. ศำลชั้นต้นพิพำกษำว่ำจำเลยมีควำมผิดฐำนข่มขืนกระทำชำเรำตำมมำตรฐำน 276 วรรคแรก
ลงโทษจำคุกจำเลย3 ปี คดีอยู่ระหว่ำงอุทธรณ์ผู้เสียหำยถึงถอนคำร้องทุกข์ ดังนี้ จำเลยจะต้อง
ได้รับโทษอย่ำงไร
ก. จำคุก 3 ปี ตำมคำพิพำกษำของศำลชั้นต้น
ข. คดีอยู่ระหว่ำงอุทธรณ์จะถอนคำร้องทุกข์ไม่ได้
ค. คำพิพำกษำศำลชั้นต้นระงับไปจำเลยไม่ต้องรับโทษ
ง. ต้องรับโทษตำมคำพิพำกษำของศำลอุทธรณ์
21. นำยเอ ใช้ปืนของกลำงยิงต่อสู้เจ้ำพนักงำนตำรวจ แต่ถูกเจ้ำพนักงำนตำรวจยิงถึงแก่ควำม
ตำย ดังนี้ ศำลจะสั่งริบปืนของกลำงได้หรือไม่
ก. ได้ เพรำะเป็นอำวุธที่ใช้ในกำรกระทำควำมผิด
ข. ไม่ได้ เพรำะโทษของผู้ตำยย่อมระงับไป
ค. ได้ เพรำะเป็นปืนไม่มีทะเบียน
ง. ไม่ได้ เพรำะไม่ทรำบว่ำเจ้ำของที่แท้จริงเป็นใคร
22. ศำลจังหวัดยกฟ้องเพรำะคดีไม่อยู่ในเขตอำนำจศำลเพรำะคดีที่อยู่ในเขตอำเภอของศำลแขวง
จึงไม่ได้รับฟ้องดังนี้ โจทก์จะฟ้องต่อศำลแขวงได้อีกหรือไม่
ก. ได้ เพรำะยังไม่ได้มีกำรวินิจฉัยควำมผิดจำเลย
ข. ไม่ได้ ถือเป็นฟ้องซ้ำ
ค. ไม่ได้ถือเป็นฟ้องซ้อน
ง. ไม่มีข้อใดถูก

เฉลยแนวข้อสอบกฎหมำยวิธีพิจำรณำควำมอำญำ
1.ข 2.ง 3.ง 4.ก 5.ง 6.ค 7.ก 8.ง 9.ข 10.ก
11.ข 12.ง 13.ก 14.ข 15.ข 16.ค 17.ง 18.ข 19.ค 20.ค
21.ข 22.ก
487

แนวข้อสอบกฎหมำยว่ำด้วยลักษณะปกครองท้องที่ กฎหมำยและระเบี ยบข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับ


กำนัน ผู้ใหญ่บ้ำน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้ำน สำรวัตรกำนัน แพทย์ประจำตำบลและคณะกรรมกำรหมู่บ้ำน
กำรสนับสนุนกำรเลือกตั้ง กำรบริหำรจัดกำรแนวเขตกำรกครองและพื้นที่สำธำรณะประโยชน์
1. อำเภอชั้นพิเศษมีกี่อำเภอ
ตอบ มี 17 อำเภอ คือ อำเภอเมืองขอนแก่น อำเภอเมืองชลบุรี อำเภอเมืองเชียงรำย อำเภอเมือง
เชียงใหม่ อำเภอเมืองนครปฐม อำเภอเมืองนครรำชสีมำ อำเภอเมืองนครศรีธรรมรำช อำเภอเมือง
นนทบุรี อำเภอเมืองพิษณุโลก อำเภอเมืองภูเก็ต อำเภอเมืองระยอง อำเภอเมืองลำปำง อำเภอ
เมืองสมุทรปรำกำร อำเภอเมืองสุรำษฎร์ธำนี อำเภอเมืองอุดรธำนี อำเภอเมืองอุบลรำชธำนี และ
อำเภอหำดใหญ่

2. ประเทศไทยมีกี่จังหวัด อำเภอ
ตอบ 76 จังหวัด 878 อำเภอ

3. พ.ร.บ.ลักษณะปกครองท้องที่ 2457 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่เท่ำไร พ.ศ. อะไร


ตอบ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2552) อัพเดท 31/5/2564

4. หมู่บ้ำนตำม พ.ร.บ.ลักษณะปกครองท้องที่ 2457 ประกอบด้วยกี่บ้ำนกี่คน


ตอบ 5 บ้ำน 200 คน

5. เมื่ อ สุ ข ำฯ ยกฐำนะเป็ น เทศบำล หมู่ บ้ ำ นที่ อ ยู่ น อกเขตเทศบำลมี บ้ ำ นและคนไม่ ค รบ


องค์ประกอบตำมกฎหมำยต้องยุบหรือยกเลิกหรือไม่
ตอบ ไม่ต้อง

6. กำรแยกหมู่บ้ำนตำมหลักเกณฑ์ปี 2539 มีอย่ำงไร


ตอบ หลักเกณฑ์กำรจัดตั้งหมู่บ้ำน (ทำเป็นประกำศจังหวัด)
ก.กรณีเป็นชุมชนหนำแน่น
1.มีรำษฎรไม่น้อยกว่ำ 1,200 คนขึ้นไป หรือจำนวน 240 บ้ำนขึ้นไป
2.มีแยกหมู่บ้ำนใหม่แล้ว หมู่บ้ำนใหม่ต้องมีรำษฎรไม่น้อยกว่ำ 600 คน หรือมีจำนวน
บ้ำนไม่น้อยกว่ำ 120 บ้ำน
3.ต้องได้รับควำมเห็นชอบจำกคณะกรรมกำรหมู่บ้ำน สภำตำบลหรือสภำองค์กำรบริหำร
ส่วนตำบล หัวหน้ำส่วนรำชกำรประจำอำเภอ
ข.กรณีเป็นชุมชนห่ำงไกล
1.มีรำษฎรไม่น้อยกว่ำ 600 คนขึ้นไป หรือจำนวน 120 บ้ำนขึ้นไป
488

2.มีแยกหมู่บ้ำนใหม่แล้ว หมู่บ้ำนใหม่ต้องมีรำษฎรไม่น้อยกว่ำ 200 คน หรือมีจำนวน


บ้ำนไม่น้อยกว่ำ 40 บ้ำน
3.ชุมชนใหม่ห่ำงจำกชุมชนเดิมไม่น้อยกว่ำ 6 กิโลเมตร
4.ต้องได้รับควำมเห็นชอบจำกคณะกรรมกำรหมู่บ้ำน สภำตำบลหรือสภำองค์กำรบริหำร
ส่วนตำบล หัวหน้ำส่วนรำชกำรประจำอำเภอ

7. คุณสมบัติกำรสมัครเป็นผู้ใหญ่บ้ำนตำมที่แก้ไขใหม่ฉบับที่ 10 (2542) มีกำรเปลี่ยนแปลงจำก


เดิมอย่ำงไร (ม.12)
ตอบ ลำออกและลงสมัครได้เลย

8. คุณสมบัติของผู้เลือกผู้ใหญ่บ้ำนมีกำรเปลี่ยนแปลงจำกเดิมอย่ำงไร
ตอบ อำยุ 18 ปีบริบูรณ์ ในวันที่ 1 มกรำคมของปีที่มีกำรเลือกตั้ง

9. กรณีบ้ำนที่ไม่มีผู้จบชั้นประถมจะเป็นผู้ใหญ่บ้ำน ปัจจุบันใครเป็นผู้ยกเว้น โดยได้รับมอบอำนำจ


จำกใคร
ตอบ ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดโดยอนุมัติของ รมว.มท.

10. โครงสร้ำงคณะกรรมกำรสภำตำบลประกอบด้วยใครบ้ำง
ตอบ กำนันท้องที่ ผญบ.ทุกหมู่บ้ำน แพทย์ ครูประชำบำล 1 คน กก.ผู้ทรงคุณวุฒิหมู่บ้ำนละ 1
คน นอภ.คัดเลือกรำยงำน ผวจ.ออกหนังสือสำคัญ วำระ 5 ปี หำกว่ำงลงเลือกภำยใน 60 วัน ให้
กำนันเรียกประชุมเดือนละ 1 ครั้ง

11. กรมกำรอำเภอประกอบด้วยใครบ้ำง
ตอบ พนักงำนปกครองคณะหนึ่งเรียกว่ำกรมกำรอำเภอ ประกอบด้วย นำยอำเภอ ปลัดอำเภอ
และสมุห์บัญชีอำเภอ

12. ระเบียบข้อบังคับอะไรที่ใช้เลือกกำนัน ผู้ใหญ่บ้ำน


ตอบ ระเบียบ มท.ว่ำด้วยกำรเลือกกำนัน พ.ศ. 2524 ส่วนผู้ใหญ่บ้ำน ใช้ข้อบังคับกระทรวง
มหำดไทยว่ำด้วยกำรเลือกผู้ใหญ่บ้ำน พ.ศ. 2535

13. พ.ร.บ.ยกฐำนะเป็นสุขำภิบำล (2542) ม.13กำหนดอำนำจหน้ำที่ของผู้ใหญ่บ้ำนไว้อย่ำงไร


มีระยะเวลำเท่ำไร
ตอบ มีอำนำจหน้ำที่คงเดิม ไปอีก 5 ปี นับแต่วันบังคับใช้ พ.ร.บ.ยกฐำนะฯ
489

14. กรณีตำแหน่งกำนัน ผู้ใหญ่บ้ำนว่ำงลงต้องเลือกภำยในกี่วัน


ตอบ กำนัน 60 วัน ผู้ใหญ่บ้ำน 15 วัน

15. ผู้ใหญ่บ้ำนในหมู่บ้ำนว่ำงลงรำษฎรที่บ้ำนอยู่ในเขตเทศบำลมีสิทธิเลือกผู้ใหญ่บ้ำนหรือไม่
ตอบ ไม่มีสิทธิ

16. ผู้ที่บ้ำนอยู่ในเขตเทศบำลมีสิทธิสมัครผู้ใหญ่บ้ำนได้หรือไม่
ตอบ ไม่มีสิทธิ

17. ผู้ที่บ้ำนอยู่นอกเขตเทศบำลมีสิทธิสมัครผู้ใหญ่บ้ำนได้หรือไม่
ตอบ ได้

18. รำษฎรที่บ้ำนอยู่ในเขตเทศบำลมีสิทธิเลือกกำนันได้หรือไม่
ตอบ ได้

19. ผู้ใหญ่บ้ำนที่อยู่ในเขตเทศบำลมีสิทธิสมัครเป็นกำนันได้หรือไม่
ตอบ ถ้ำอยู่ในเขตเทศบำลทั้งหมดไม่มีสิทธิ

20. ผู้ใหญ่บ้ำนที่มีพื้นที่บำงส่วนอยู่ในเขตเทศบำลมีสิทธิสมัครเป็นกำนันได้หรือไม่
ตอบ มีสิทธิ

21. ที่สำธำรณะหมำยถึงอะไร
ตอบ ทรัพย์สินทุกชนิด ของแผ่นดิน ซึ่งใช้เพื่อสำธำรณประโยชน์หรือสงวนไว้เพื่อใช้ประโยชน์
ร่วมกัน เป็นสำธำรณสมบัติของแผ่นดิน พร้อมทั้งได้แบ่งประเภทสำธำรณสมบัติของแผ่นดินไว้ 3
ประเภทคือ
1)ที่ดินรกร้ำงว่ำงเปล่ำ และที่ดินซึ่งมีผู้เวนคืนหรือทอดทิ้ง กลับมำเป็นของแผ่นดินโดยประกำรอื่น
ๆ ตำมกฎหมำยที่ดิน
2)ทรัพย์สินสำหรับพลเมืองใช้ร่วมกัน เป็นต้นว่ำ ที่ชำยตลิ่ง ทำงน้ำ ทำงหลวง ทะเลสำบ
3)ทรัพย์สินใช้เพื่อประโยชน์ของแผ่นดินโดยเฉพำะ

22. ที่รำชพัสดุหมำยถึงอะไร
ตอบ ทรัพย์สินใช้เพื่อประโยชน์ของแผ่นดินโดยเฉพำะ ที่อยู่ในควำมดูแลของกรมธนำรักษ์
490

23. ที่สำธำรณะประจำตำบลหมำยถึงอะไร มีกี่ไร่


ตอบ ทรัพย์สินสำหรับพลเมืองใช้ร่วมกัน จำนวน 50 ไร่

24. ที่สำธำรณะประจำหมู่บ้ำนหมำยถึงอะไร มีกี่ไร่


ตอบ ทรัพย์สินสำหรับพลเมืองใช้ร่วมกัน จำนวน 25 ไร่

25. ผู้มีอำนำจดูแลที่สำธำรณะคือใคร
ตอบ 1)ที่ดินรกร้ำงว่ำงเปล่ำ และที่ดิน ซึ่งมีผู้ เวนคืน หรือทอดทิ้ง กลับมำเป็นของแผ่น ดินโดย
ประกำรอื่น ๆ ตำมกฎหมำยที่ดิน - กรมที่ดิน
2)ทรัพย์สินสำหรับพลเมืองใช้ร่วมกัน เป็นต้นว่ำ ที่ชำยตลิ่ง ทำงน้ำ ทำงหลวง ทะเลสำบ – หลำย
หน่วยงำนตำมที่ กม.บัญญัติไว้

26. ผู้มีอำนำจดูแลที่รำชพัสดุคือใคร
ตอบ กรมธนำรักษ์

27. อำนำจหน้ำที่ของคณะกรมกำรหมู่บ้ำนตำมระเบียบข้อบังคับ มท.


ตอบ เสนอข้อแนะนำ และให้คำปรึกษำต่อผู้ใหญ่บ้ำน

28. อำนำจหน้ำที่ของคณะกรรมกำรหมู่บ้ำนในกำรประนีประนอมมีอะไร ตำมระเบียบใด


ตอบ ข้อบังคับ มท. ว่ำด้วยกำรปฏิบัติงำนประนีประนอมข้อพิพำทของคระกรรมกำรหมู่บ้ำน พ.ศ.
2530

29. ยุทธศำสตร์และยุทธวิธีเศรษฐกิจชุมชนพึ่งตนเอง ตำมโครงกำรอันเนื่องมำจำกพระรำชดำริ


แบบพอเพียงเฉลิมพระเกียรติมีอะไรบ้ำง
ตอบ กลยุทธ์ 7 ประกำร แนวทำงปฏิบัติ 9 ประกำร

30. กำรประชำคมมีหลักกำรอย่ำงไรตำมที่กระทรวงมหำดไทยกำหนด
ตอบ เป็นกำรรวมตัวของสมำชิกในชุมชน เพื่อร่วมกันทำกิจกรรมต่ำง ๆ ของชุมชนด้วยตนเอง

31. ตัวชี้วัดในกำรพัฒนำคุณภำพชีวิตของประชำชน ให้สำมำรถดำรงอยู่ได้อย่ำงมีคุณภำพ


ตอบ จปฐ.8
491

32. หลักเกณฑ์กำรจัดตั้งตำบล ตำมมติของคณะรัฐมนตรี 14 พฤษภำคม 2539


ตอบ หลักเกณฑ์กำรจัดตั้งตำบล (ทำเป็นประกำศกระทรวงมหำดไทย)
ก.กรณีเป็นชุมชนหนำแน่น
1.มีรำษฎรไม่น้อยกว่ำ 4,800 คนขึ้นไป
2.มีหมู่บ้ำนไม่น้อยกว่ำ 8หมู่บ้ำน
3.ต้องได้รับควำมเห็นชอบจำกสภำตำบลหรือสภำองค์กำรบริหำรส่วนตำบล หัวหน้ำส่วน
รำชกำรประจำอำเภอ
ข.กรณีเป็นชุมชนห่ำงไกล
1.มีรำษฎรไม่น้อยกว่ำ 3,600 คนขึ้นไป
2.มีหมู่บ้ำนไม่น้อยกว่ำ 6 หมู่บ้ำน
3.ชุมชนใหม่ห่ำงจำกชุมชนเดิมไม่น้อยกว่ำ 6 กิโลเมตร
4.ต้องได้รับควำมเห็นชอบจำกสภำตำบลหรือสภำองค์กำรบริหำรส่วนตำบล หัวหน้ำส่วน
รำชกำรประจำอำเภอ

33. หลักเกณฑ์กำรจัดตั้งหมู่บ้ำน ตำมมติของคณะรัฐมนตรี 14 พฤษภำคม 2539


ตอบ หลักเกณฑ์กำรจัดตั้งหมู่บ้ำน (ทำเป็นประกำศจังหวัด)
ก.กรณีเป็นชุมชนหนำแน่น
1.มีรำษฎรไม่น้อยกว่ำ 1,200 คนขึ้นไป หรือจำนวน 240 บ้ำนขึ้นไป
2.มีแยกหมู่บ้ำนใหม่แล้ว หมู่บ้ำนใหม่ต้องมีรำษฎรไม่น้อยกว่ำ 600 คน หรือมีจำนวน
บ้ำนไม่น้อยกว่ำ 120 บ้ำน
3.ต้องได้รับควำมเห็นชอบจำกคณะกรรมกำรหมู่บ้ำน สภำตำบลหรือสภำองค์กำรบริหำร
ส่วนตำบล หัวหน้ำส่วนรำชกำรประจำอำเภอ
ข.กรณีเป็นชุมชนห่ำงไกล
1.มีรำษฎรไม่น้อยกว่ำ 600 คนขึ้นไป หรือจำนวน 120 บ้ำนขึ้นไป
2.มีแยกหมู่บ้ำนใหม่แล้ว หมู่บ้ำนใหม่ต้องมีรำษฎรไม่น้อยกว่ำ 200 คน หรือมีจำนวน
บ้ำนไม่น้อยกว่ำ 40 บ้ำน
3.ชุมชนใหม่ห่ำงจำกชุมชนเดิมไม่น้อยกว่ำ 6 กิโลเมตร
4.ต้องได้รับควำมเห็นชอบจำกคณะกรรมกำรหมู่บ้ำน สภำตำบลหรือสภำองค์กำรบริหำร
ส่วนตำบล หัวหน้ำส่วนรำชกำรประจำอำเภอ

34. อัตรำส่วนของแผนที่แนวเขตปกครองตำบล ที่เป็นมำตรฐำน คือ


ตอบ 1 : 50,000
492

35. เขตปกครองของอำเภอตำมกฎหมำย ดูได้จำกหลักฐำนใด


ตอบ ในประกำศตั้งตำบล (ประกำศกระทรวงมหำดไทย เรื่อง ตั้งตำบล)

36. ผู้ปกครองหมู่บ้ำนชั่วครำวตำม พ.ร.บ.ลักษณะปกครองท้องที่ พ.ศ. 2475 เรียกว่ำ


ตอบ ว่ำที่ผู้ใหญ่บ้ำน
หมู่บ้ำนชั่วครำว ให้แต่งตั้งว่ำที่ผู้ใหญ่บ้ำน และ หรือว่ำที่กำนัน โดย ผวจ.เป็นผู้แต่งตั้ง กำหนด
เดือนเริม่ – เดือนจบ

37. กำรพัฒนำแบบสมดุลตำมอุดมกำรณ์แผ่นดินธรรมแผ่นดินทอง คือ


ตอบ จิตใจ-เศรษฐกิจ-สังคม
สำระสำคัญของอุดมกำรณ์ มีขอบเขตในกำรพัฒนำคน พัฒนำหมู่บ้ำนชนบท พัฒนำชุมชน และ
กำรพัฒนำสังคม ดังนั้นอุดมกำรณ์นี้เน้นดุลยภำพ ของกำรพัฒนำจิตใจ โดยใช้หลักศำสนธรรม
พัฒนำสังคม โดยใช้หลักประชำธิปไตย และพัฒนำเศรษฐกิจ โดยใช้กำรรวมกลุ่ม (สหกรณ์)

38.โรงพยำบำล ห้องแถว บ้ำนเช่ำ เรือจำ แพ ถือว่ำเป็น บ้ำน ตำม พ.ร.บ.ลักษณะปกครองท้องที่


พ.ศ. 2457 หรือไม่
ตอบ โรงพยำบำลไม่เป็น แต่ห้องแถว บ้ำนเช่ำ เรือชำ และ แพ เป็นต้น

39. ผู้ที่จะสมัครเป็นผู้ใหญ่บ้ำน ต้องมีภูมิลำเนำหรือถิ่นที่อยู่เป็นประจำ และมีชื่ออยู่ในทะเบียน


บ้ำนในหมู่บ้ำนนั้น ติดต่อกันมำ จนถึงวันเลือกผู้ใหญ่บ้ำน
ตอบ 1 ปี

40. ผู้ใหญ่บ้ำนอำจขอลำบวช โดยได้รับอนุญำตจำกใคร


ตอบ ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด

41. ถ้ำผู้ใหญ่บ้ำนจะทำกำรในหน้ำที่ไม่ได้ ในครั้งหนึ่งครำวหนึ่งให้มอบหน้ำที่ให้แก่


ตอบ ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้ำนฝ่ำยปกครองคนใดคนหนึ่ง

42. พ.ร.บ.ลักษณะปกครองท้องที่ พ.ศ. 2457 ประกำศใช้ในสมัยรัชกำลใด


ตอบ รัชกำลที่ 5

43. ผู้ได้รับรำงวัลผู้ใหญ่บ้ำนยอดเยี่ยม จะได้รับรำงวัลเป็น


ตอบ อำวุธปืนพร้อมแหนบทองคำ
493

44. กรณีที่ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดมีคำสั่งให้พ้นจำกตำแหน่งกำนัน จะต้องพ้นจำกตำแหน่งผู้ใหญ่บ้ำน


ด้วยหรือไม่
ตอบ ไม่ต้อง

45.แพทย์ประจำตำบลมำจำก
ตอบ กำรประชุมร่วมกันของกำนัน ผู้ใหญ่บ้ำนในตำบลนั้น เลือกผู้ที่มีคุณสมบัติเหมำะสมกับกำร
เป็นแพทย์ประจำตำบล

46. กำนันผู้ใหญ่บ้ำนจะต้องได้รับเลือกจำกใคร
ตอบ ประชำชนในท้องที่ เป็นผู้เลือกโดยตรง ด้วยวิธีลับหรือเปิดเผยก็ได้ (กม.เลือกโดยเปิดเผยหรือ
ลับก็ได้)

47.กำนันผู้ใหญ่บ้ำนจะพ้นตำแหน่งตำมปกติเมื่อ
ตอบ กรณีได้รับเลือกก่อนวันที่ 7 ก.ค. 2535 อยู่จนครบหกสิบปีบริบูรณ์ กรณีได้รั บเลือกตั้งแต่
วันที่ 7 ก.ค. 2535 มีวำระ 5 ปี นับจำกวันเลือกตั้ง

47. ลำดับกฎหมำยที่ใช้ในกำรจัดตั้งหมู่บ้ำน แตกต่ำงกับกำรจัดตั้งประเภทอื่นอย่ำงไร


ตอบ กำรตั้งหมู่บ้ำน ใช้ประกำศจังหวัด ส่วนที่เหลืออันได้แก่ หมู่บ้ำน อพป. ตำบล อบต. กิ่งอำเภอ
ใช้ประกำศกระทรวงมหำดไทย

48. หลักเกณฑ์กำรจัดตั้งอำเภอตำมที่คณะรัฐมนตรีกำหนดจะต้องเป็นกิ่งอำเภอมำแล้วไม่น้อย
กว่ำกี่ปี ในกรณีปกติ
ตอบ 5 ปี

49. หลักเกณฑ์กำรจัดตั้งกิ่งอำเภอตำมที่คณะรัฐมนตรีกำหนด ต้องมีจำนวนประชำชนเท่ำไหร่


ตอบ 30,000 คน

50. กำรจัดระเบียบบริหำรของสภำตำบลเป็นไปตำมกฎหมำยใด
ตอบ พ.ร.บ.สภำตำบลและองค์กำรบริหำรส่วนตำบล พ.ศ. 2537

51. ข้อใดไม่เป็นเหตุให้กำนันต้องพ้นจำกตำแหน่งผู้ใหญ่บ้ำน
ตอบ ตำบลถูกยุบ
494

52. ข้อใดกำหนดวิธีกำรปฏิบัติเกี่ยวกับกำรเลือกตั้งกรรมกำรหมู่บ้ำนผู้ทรงคุณวุฒิ
ตอบ ข้อบังคับ มท. ว่ำด้วยกำรเลือกตั้งกรรมกำรหมู่บ้ำนผู้ทรงคุณวุฒิ พ.ศ. 2533

53. ใครไม่ได้เป็นคณะกรรมกำรหมู่บ้ำน
ตอบ ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้ำนฝ่ำยรักษำควำมสงบ

54. ในตำบลหนึ่งซึ่งมีอยู่ 10 หมู่บ้ำน จะมีสมำชิกสภำตำบลจำนวนกี่คน


ตอบ 21 คน (ผู้ใหญ่/กำนัน 10 คน ผู้ทรงคุณวุฒิ 10 คน แพทย์ประจำตำบล 1 คน)

55. ในหมู่บ้ำนหนึ่งจะมีผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้ำนฝ่ำยปกครองได้กี่คน
ตอบ มีได้ 2 คน หำกมำกกว่ำ 2 คน ต้องขออนุมัติกระทรวงมหำดไทย

56. กำรยกพื้นควำมรู้ของผู้สมัครรับเลือกเป็นผู้ใหญ่บ้ำน จะต้องดำเนินกำรอย่ำงไรจึงจะมีผล


สมบูรณ์
ตอบ ขออนุมัติรัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทยและประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำ

57. ในกำรเลือกตั้งผู้ใหญ่บ้ำน หมู่บ้ำนหนึ่ง ปรำกฏว่ำมีรำษฎรมำใช้สิทธิเพียงร้อยละ 10 ของผู้มี


สิทธิและปรำกฏว่ำ รำษฎรที่มำใช้สิทธิเลือก นำย ก. 75 คะแนน เลือกนำย ข. 76 คะแนน ถือว่ำ
ตอบ นำย ข. ได้รับเลือกเป็นผู้ใหญ่บ้ำน

58. นำยกนกได้รับเลือกเป็นผู้ใหญ่บ้ำนเมื่อวันที่ 1 มกรำคม 2535 นำยกนกจะต้องออกจำก


ตำแหน่งตำมวำระเมื่อใด
ตอบ อยู่ในตำแหน่งจนอำยุ 60 ปีบริบูรณ์

59.ผู้มีอำนำจสั่งให้ผู้ใหญ่บ้ำนออกจำกตำแหน่งกรณีเมื่อได้สอบสวนเห็นว่ำบกพร่องในทำงควำม
ประพฤติ หรือควำมสำมำรถไม่เหมำะสมกับตำแหน่ง
ตอบ ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด

60.ใครเป็นผู้คัดเลือกผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้ำนฝ่ำยปกครอง และฝ่ำยรักษำควำมสงบ
ตอบ ผู้ใหญ่บ้ำนแลกำนันท้องที่

61.กำรที่ต้องเลือกผู้ใหญ่บ้ำนขึ้นใหม่อำศัยเหตุประกำรใด
ตอบ ผู้ใหญ่บ้ำนว่ำงลง หรือตั้งหมู่บ้ำนขึ้นใหม่
495

62.ผู้ปกครองหมู่บ้ำนชั่วครำวตำม พ.ร.บ.ลักษณะปกครองท้องที่ พ.ศ. 2457 เรียกว่ำ


ตอบ ว่ำที่ผู้ใหญ่บ้ำน

63. คณะกรรมกำรหมู่บ้ำนมีอำนำจหน้ำที่อย่ำงไร
ตอบ เป็นที่ปรึกษำผู้ใหญ่บ้ำน

64. คณะกรรมกำรหมู่บ้ำนประกอบด้วยกรรมกำร 2 ประเภท คือ กรรมกำรโดยตำแหน่งและ


กรรมกำรโดยกำรเลือกตั้ง ผู้เป็นกรรมกำรโดยตำแหน่งคือ
ตอบ ผู้ใหญ่บ้ำนและผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้ำนฝ่ำยปกครอง

65. กฎหมำยกำหนดให้ผู้ใดมีอำนำจในกำรใช้อำวุธปืนของทำงรำชกำรในกำรรักษำควำมสงบ
เรียบร้อยของหมู่บ้ำนได้
ตอบ ผู้ใหญ่บ้ำน และผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้ำนฝ่ำยรักษำควำมสงบ

66. ผู้มีสิทธิรับเลือกเป็นกำนัน คือ


ตอบ ผูใ้ หญ่บ้ำนในตำบลนั้น

67. กำรเลือกตั้งผู้ใหญ่บ้ำนให้ใช้วิธีแบบเปิดเผยหรือโดยลับ ส่วนกำรเลือกตั้งกำนันใช้วิธีใด


ตอบ วิธีลับ

68. กำรเลือกกำนันแทนตำแหน่งที่ว่ำงมีขึ้นภำยในกำหนด 60 วัน นับแต่วันที่


ตอบ นำยอำเภอทรำบกำรว่ำง

69. กำนันไม่อำจทำหน้ำที่ได้เป็นกำรชั่วครำวให้
ตอบ มอบผู้ใหญ่บ้ำนคนใดคนหนึ่งในตำบลทำกำรแทน

70. ถ้ำกำนันมีควำมประสงค์ที่จะเปลี่ยนสำรวัตรกำนัน จะต้องได้รับควำมเห็นชอบจำกใคร


ตอบ ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด

71. พ.ร.บ.ลักษณะปกครองท้องที่ พ.ศ. 2457 ได้กำหนดโทษทำงวินัยไว้เฉพำะ


ตอบ กำนัน ผู้ใหญ่บ้ำน แพทย์ประจำตำบล และผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้ำน

72. เมื่อกำนันอยู่ในหมู่บ้ำนใด หมู่บ้ำนนั้น


ตอบ ไม่ต้องเลือกผู้ใหญ่บ้ำนขึ้นอีก เพรำะกำนันทำหน้ำที่ผู้ใหญ่บ้ำนด้วย
496

73. ผู้ที่จะเป็นสำรวัตรกำนัน ต้อง


ตอบ ได้รับกำรแต่งตั้งโดยกำรคัดเลือกของกำนัน และผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดมีหนังสือแต่งตั้ง

74. ผู้ที่จะเป็นผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้ำน
ตอบ กำนัน ผู้ใหญ่บ้ำนคัดเลือกร่วมกัน แล้วเสนอนำยอำเภอแต่งตั้ง

75. กำรจัดตั้งหมู่บ้ำนชั่วครำว อำจกระทำได้โดยเหตุไร


ตอบ รำษฎรไปชุมนุมทำกำรหำเลี้ยงชีพแต่ในบำงฤดู

76. โดยทั่วไปนำยอำเภอมีอำนำจลงโทษกำนัน ผู้ใหญ่บ้ำนอย่ำงไร


ตอบ ลดขั้นเงินเดือนหนึ่งอันดับ ตัดเงินเดือน และลงโทษภำคทัณฑ์ ตลอดจนพักหน้ำที่กรณีถูก
ฟ้องคดีอำญำ ต้องหำว่ำทำผิดวินัยอย่ำงร้ำยแรง ส่วน ผวจ.มีอำนำจเทียบเท่ำหัวหน้ำกอง

77. คณะกรรมกำรต่ำง ๆ ในหมู่บ้ำน อพป.มีกี่คณะ


ตอบ มี 7 คณะ คือ พัฒนำ ปกครอง ป้องกันและรักษำควำมสงบเรียบร้อย คลัง สำธำรณสุข
กำรศึกษำและวัฒนธรรม และคณะกรรมกำรสวัสดิกำรและสังคม

78. เขตกำรปกครองของอำเภอตำมกฎหมำยดูได้จำกหลักฐำนใด
ตอบ ประกำศกระทรวงมหำดไทย เรื่องกำรตั้งตำบล

79. กรรมกำรอิสลำมประจำมัสยิดในตำแหน่ง คอเต็บ สำมำรถสมัครเป็นผู้ใหญ่บ้ำนได้หรือไม่


ตอบ ได้ เพรำะ อิหม่ำม คอเต็บ บิหลั่น ไม่ใช่นักบวช
อิหม่ำม ผู้นำศำสนำประจำมัสยิด คอเต็บ ผู้แสดงธรรมประจำมัสยิด
บิหลั่น ผู้ประกำศเชิญชวนให้มุสลิมปฏิบัติศำสนกิจตำมเวลำ

80. กำรขอใช้ที่ดินสำธำรณะประจำหมู่บ้ำนจะต้องได้รับอนุมัติจำก
ตอบ นำยอำเภอ โดยส่วนกลำงเป็นอำนำจของกรมกำรปกครอง

81. อำเภอจัดตั้งขึ้นอย่ำงไร มีใครเป็นหัวหน้ำผู้ปกครองบังคับบัญชำ


ตอบ อำเภอเป็นหน่วยรำชกำรบริหำรส่วนภูมิภำครองลงมำจำกจังหวัด โดยรวบรวมหลำย ๆ
ตำบล เข้ำเป็นอำเภอ
อำเภอมิได้มีฐำนะนิติบุคคล
กำรจัดตั้ง กำรยุบ หรือกำรเปลี่ยนแปลงเขตอำเภอ จะต้องกระทำโดยออกเป็น พระรำชกฤษฎีกำ
497

นำยอำเภอสังกัดกระทรวงมหำดไทย
บรรดำอำนำจและหน้ำที่เกี่ยวกับรำชกำรของกรมกำรอำเภอหรือนำยอำเภอ ให้โอนไปเป็นอำนำจ
และหน้ำที่ของนำยอำเภอ
และให้มีปลัดอำเภอและหัวหน้ำส่วนรำชกำรประจำอำเภอ ซึ่งกระทรวง ทบวง กรม ต่ำง ๆ ส่งมำ
ประจำให้ปฏิบัติหน้ำที่เป็นผู้ช่วยเหลือนำยอำเภอ และมีอำนำจบังคับบัญชำข้ำรำชกำรฝ่ำยบริหำร
ส่วนภูมิภำค ซึ่งสังกัดกระทรวง ทบวง กรมนั้น ในอำเภอนั้น

82. นำยอำเภอมีอำนำจและหน้ำที่อย่ำงไรบ้ำง ให้อธิบำย


ตอบ 1)ภำรกิจ หน้ำที่ ในฐำนะเป็นผู้ปกครอง และอำนวยบริกำรให้แก่ประชำชน
2)อำนำจหน้ำที่ตำมกฎหมำยว่ำด้วยกำรจัดระเบียบบริหำรรำชกำรแผ่นดิน
มำตรำ 65 นำยอำเภอมีอำนำจหน้ำที่ ดังนี้
1.บริหำรรำชกำรตำมกฎหมำย และระเบียบแบบแผนของทำงรำชกำร ถ้ำกฎหมำยใดมิได้
บัญญัติว่ำกำรปฏิบัติตำมกฎหมำยนั้นเป็นหน้ำที่ของผู้ใดโดยเฉพำะ ให้เป็นหน้ำที่ของนำยอำเภอที่
จะต้องรักษำกำรให้เป็นไปตำมกฎหมำยนั้นด้วย
2.บริ ห ำรรำชกำรตำมที่ คณะรั ฐ มนตรี กระทรวง ทบ กรม มอบหมำย หรื อ ตำมที่
นำยกรัฐมนตรีสั่งกำรในฐำนะหัวหน้ำรัฐบำล
3.บริหำรรำชกำรตำมคำแนะนำและคำชี้แจงของผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด และผู้มีหน้ำที่ตรวจ
กำรอื่ น ในเมื่ อ ไม่ ขั ด ต่ อ กฎหมำย ระเบี ย บ ฯลฯ มติ ข องคณะรั ฐ มนตรี หรื อ กำรสั่ ง กำรของ
นำยกรัฐมนตรี
4.ควบคุมดูแลกำรบริหำรรำชกำรส่วนท้องถิ่นในอำเภอตำมกฎหมำย
3)อำนำจหน้ำที่ตำมกฎหมำยว่ำด้วยลักษณะปกครองท้องที่
-ปกครองท้องที่ -ป้องกันภยันตรำยของรำษฎรและรักษำควำมสงบในท้องที่
-กำรเกี่ยวกับคดีแพ่งและคดีอำญำ -ป้องกันโรคร้ำย
-บำรุงกำรทำนำ ค้ำขำย ป่ำไม้ ทำงไปมำต่อกัน -บำรุงกำรศึกษำ -กำรเก็บภำษีอำกร -หน้ำที่
เบ็ดเตล็ดอื่น
4)อำนำจหน้ำที่ตำมกฎหมำยว่ำด้วยกำรปกครองท้องถิ่น
5)อำนำจหน้ำที่ตำมกฎหมำยเกี่ยวกับทะเบียนและบัตร ในฐำนะเป็นนำยทะเบียนอำเภอ
6)อำนำจหน้ำที่ตำมกฎหมำยวิธีพิจำรณำควำมอำญำ ให้นำยอำเภอเป็นพนักงำนฝ่ำยปกครอง
ตำรวจชั้นผู้ใหญ่ พนักงำนสอบสวน และหัวหน้ำพนักงำนสอบสวนฝ่ำยปกครองอำเภอ เป็นต้น
7)อำนำจหน้ำที่ตำมกฎหมำยว่ำด้วยกำรเลือกตั้งทุกระดับ
8)อำนำจหน้ำที่ตำมกฎหมำยว่ำด้วยกำรกระทำอันเป็นคอมมิวนิสต์
9)อ ำนำจหน้ ำ ที่ ต ำมกฎหมำยว่ ำ ด้ ว ยกำรป้ อ งกั น ภั ย ฝ่ ำ ยพลเรื อ น นำยอ ำเภอด ำรงต ำแหน่ ง
ผู้อำนวยกำรป้องกันภัยฝ่ำยพลเรือน
10)อำนำจหน้ำที่ตำมกฎหมำยว่ำด้วยกำรอำสำรักษำดินแดน (ผบ.ร้อย อส.อ.)
498

11)อำนำจหน้ำที่ตำมกฎหมำยเกี่ยวกับกำรปฏิบัติหน้ำที่ของกระทรวง ทบวง กรมต่ำง ๆ


เนื่องจำกนำยอำเภอมีอำนำจหน้ำที่ และควำมรับผิดชอบสูงมำก ฉะนั้น นำยอำเภอจะต้องเป็นนัก
บริหำรกำรพัฒนำ นักบำบัดทุกข์ บำรุงสุข นักบริหำรงำนของทุกกระทรวง ทบวง กรม นักประสำน
งำน นักกฎหมำย เป็นต้น โดยจะต้องมีแผนพัฒนำอำเภอเป็นเครื่องมือในกำรควบคุมงำน อย่ำง
แน่นอนและต่อเนื่องด้วย

83.ศัพท์ว่ำ บ้ำน ซึ่งกล่ำวในพระรำชบัญญัตินี้ คือ


ตอบ บ้ำนนั้น หมำยควำมว่ำ เรือนหลังเดียวก็ตำม หลำยหลังก็ตำม ซึ่งอยู่ในเขตที่มีเจ้ำของเป็น
อิสระส่วน 1 นับในพระรำชบัญญัตินี้ว่ำ บ้ำน 1 ห้องแถวและแพ หรือเรือชำซึ่งจอดประจำอยู่ที่ใด
ถ้ำมีเจ้ำของหรือผู้เช่ำครอบครองเป็นอิสระต่ำงหำกห้อง 1 หลัง 1 ลำ 1 หรือหมู่ 1 ในเจ้ำของ
หรือผู้เช่ำคน 1 นั้น ก็นับว่ำบ้ำน 1 เหมือนกัน
ผู้ใหญ่บ้ำนมีอำนำจหน้ำที่อย่ำงไร
ตอบ ผู้ใหญ่บ้ำนมีอำนำจหน้ำที่ปกครองบรรดำรำษฎรที่อยู่ในเขตหมู่บ้ำน มำตรำ 10
** มำตรำ 10 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระรำชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่ (ฉบับที่ 2) พุทธศักรำช
2486

84. ผู้มีสิทธิจะได้รับคัดเลือกเป็นผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้ำนฝ่ำยปกครองหรือผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้ำนฝ่ำยรักษำ
ควำมสงบ ต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ำมตำมมำตรำใด
ตอบ มำตรำ 12 มำตรำ 16
** มำตรำ 16 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระรำชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่ (ฉบับที่ 12) พ.ศ.2552

85.เมื่อมีกำรคัดเลือกผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้ำนฝ่ำยปกครองหรือผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้ำนฝ่ำยรักษำควำมสงบแล้ว
ต้องทำอย่ำงไร
ตอบ มำตรำ ๑๗ เมื่อผู้ใดได้รับคัดเลือกเป็นผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้ำนฝ่ำยปกครองหรือผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้ำน
ฝ่ำยรักษำควำมสงบ ให้กำนันรำยงำนไปยังนำยอำเภอเพื่อออกหนังสือสำคัญไว้เป็นหลักฐำน และ
ให้ถือว่ำผู้นั้นเป็นผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้ำนฝ่ำยปกครองหรือผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้ำนฝ่ำยรักษำควำมสงบตั้งแต่วันที่
นำยอำเภอออกหนังสือสำคัญ

86.ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้ำนฝ่ำยปกครองและผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้ำนฝ่ำยรักษำควำมสงบอยู่ในตำแหน่งครำวละ
กี่ปี
ตอบ ครำวละห้ำปี มำตรำ 18
499

87.กำรคัดเลือกกรรมกำรตำบลผู้ทรงคุณวุฒิขึ้นแทนตำแหน่งที่ว่ำง ให้กระทำภำยในกี่วันนับแต่
วันที่ตำแหน่งนั้นว่ำง
ตอบ ภำยในหกสิบวัน ถ้ำตำแหน่งนั้นว่ำงลงก่อนถึงกำหนดออกตำมวำระไม่เกินหนึ่งร้อยแปดสิบ
วัน จะไม่คัดเลือกขึ้นแทนก็ได้
**มำตรำ 29 ทวิ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระรำชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2510

88.ในกำรประชุมคณะกรรมกำรตำบลต้องมีกรรมกำรตำบลมำประชุมเท่ำใดจึงจะเป็นองค์ประชุม
ตอบ ต้องไม่น้อยกว่ำกึ่งจำนวน ให้กำนันเป็นประธำน กำรวินิจฉัยชี้ขำดให้ถือเสียงข้ำงมำก ถ้ำ
คะแนนเสียงเท่ำกัน ให้ประธำนออกเสียงอีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงชี้ขำด มำตรำ 29 ตรี
**มำตรำ 29 ตรี แก้ไ ขเพิ่ม เติ มโดยพระรำชบัญ ญัติ ลัก ษณะปกครองท้ องที่ (ฉบับ ที่ 4) พ.ศ.
2510

89. ในตำบล 1 ให้มีสำรวัตรสำหรั บเป็นผู้ช่วยและรับใช้สอยของกำนัน จำนวนกี่คน และต้อง


ได้รับควำมเห็นชอบจำกผู้ใด
ตอบ 2 คน ต้องได้รับควำมเห็นชอบของผู้ว่ำรำชกำรเมืองด้วยจึงเป็นได้ มำตรำ 44

90. ในตำบล 1 จะมีแพทย์ประจำตำบลได้อย่ำงไร


ตอบ ให้กำนันและผู้ใหญ่บ้ำนประชุมพร้อมกันเลือกผู้ที่มี ควำมรู้ในวิชำแพทย์ เป็นแพทย์ประจำ
ตำบลคน 1สำหรับจัดกำรป้องกันควำมไข้เจ็บของรำษฎรในตำบลนั้น

91.บรรดำข้ำรำชกำรซึ่งมีสังกัดทำรำชกำรอยู่ในที่ว่ำกำรอำเภอ นำยอำเภอมีอำนำจที่จะให้ลำได้
ครำวละไม่เกินกี่วัน
ตอบ 15 วัน

แนวข้อสอบถำมตอบ ชุดที่ 2
๑. พ.ร.บ.ลักษณะปกครองท้องที่ ฉบับแรกที่รัชกำลที่ ๕ ทรงตรำไว้มีใน พ.ศ. ใด
= ๒๔๔๐
๒. พ.ร.บ.ลักษณะปกครองท้องที่ พ.ศ.๒๔๕๗ ในกำรประเทศใช้ครั้งแรกไม่ใช้บังคับกับพื้นที่ใด
= ไม่ใช่ใช้บังคับกับกรุงเทพฯ ชั้นใน
๓. สถำนที่ที่ไม่ใช่ “บ้ำน” ตำม พ.ร.บ.ลักษณะปกครองท้องที่ พ.ศ.๒๔๕๗ คือ
= วัด, โรงพยำบำล, โรงทหำร, โรงเรียน, เรือนจำ, ที่ทำกำรไปรษณีย์, สถำนีรถไฟ และ
สถำนที่ต่ำง ๆ
ของรัฐบำล ซึ่งอยู่ในควำมปกครองของหัวหน้ำในที่นั้นไม่ถือว่ำเป็น “บ้ำน” ตำม พ.ร.บ.นี้ แต่ห้อง
แถวที่มีคนอยู่อำศัยและแพที่จอดประจำและมีคนอยู่อำศัยถือว่ำเป็น “บ้ำน” ตำม พ.ร.บ.นี้
500

๔. คำว่ำ “เจ้ำบ้ำน” ตำม พ.ร.บ.ลักษณะปกครองท้องที่ พ.ศ.๒๔๕๗ หมำยถึง


= ผู้ อ ยู่ ป กครองบ้ ำ นในฐำนะเจ้ ำ ของบ้ ำ น หรื อ ผู้ ป กครองบ้ ำ นในฐำนะผู้ อ ำศั ย หรื อ
ผู้ปกครองบ้ำนในฐำนะผู้เช่ำอยู่ถือเป็นเจ้ำบ้ำนตำม พ.ร.บ.นี้
๕. กำรจัดตั้งหมู่บ้ำนตำม พ.ร.บ.ลักษณะปกครองท้องที่ พ.ศ.๒๔๕๗ กำหนดให้มีบ้ำนจำนวน
เท่ำใดจึงจะจัดตั้งหมู่บ้ำนได้
= จะต้องมีคนจำนวนประมำณรำว ๒๐๐ คน หรือมีบ้ำนไม่ต่ำกว่ำ ๕ บ้ำน จึงจะจัดตั้ง
หมู่บ้ำนได้
๖. หมู่บ้ำนใดที่จำเป็นต้องมีผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้ำนมำกกว่ำ ๒ คน จะต้องขออนุมัติจำกใคร
= พ.ร.บ.นี้กำหนดให้หมู่บ้ำนหนึ่งมีผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้ำนฝ่ำยปกครองได้หมู่บ้ำนละ ๒ คน แต่
หำกหมู่บ้ำนใดมีควำมจำเป็นต้องมีมำกกว่ำ ๒ คน ให้ขออนุมัติต่อกระทรวงมหำดไทย
๗. ใครเป็นผู้กำหนดว่ำหมู่บ้ำนใดสมควรจะมีผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้ำนฝ่ำยรักษำควำมสงบ
= ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดเห็นสมควรว่ำหมู่บ้ำนใดจะให้มีผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้ำนฝ่ำยรักษำควำมสงบ
ก็ให้มีได้
๘. ผู้กำหนดจำนวนผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้ำนฝ่ำยรักษำควำมสงบของแต่ละหมู่บ้ำนว่ำควรมีจำนวนเท่ำใด
= ให้กระทรวงมหำดไทยเป็นผู้กำหนดว่ำสมควรจะมีจำนวนเท่ำใด
๙. คุณสมบัติของรำษฎรผู้มีสิทธิเลือกผู้ใหญ่บ้ำน คือ
= (๑) มีสัญชำติไทยและมีอำยุไม่ต่ำกว่ำสิบแปดปีบริบูรณ์ในวันที่ ๑ มกรำคม ของปีที่มีกำร
เลือก
(๒) ไม่เป็นภิกษุ สำมเณร นักพรต หรือนักบวช
(๓) ไม่เป็นคนวิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ
(๔) มีภูมิลำเนำหรือถิ่นที่อยู่ประจำ และมีชื่อในทะเบียนบ้ำนตำมกฎหมำยว่ำด้วยกำร
ทะเบียนรำษฎรในหมู่บ้ำนนั้นติดต่อกันมำแล้วไม่น้อยกว่ำสำมเดือนจนถึงวันเลือก

๑๐. คุณสมบัติของผู้ที่จะสมัครวันเลือกเป็นผู้ใหญ่บ้ำน คือ


= ๑) มีสัญชำติไทยโดยกำรเกิด
๒) มีภูมิลำเนำ หรือถิ่นที่อยู่เป็นประจำ และมีชื่อในทะเบียนบ้ำนติดต่อกันมำแล้วไม่
น้อยกว่ำ ๒ ปี จนถึงวันเลือก
๓) มีอำยุไม่ต่ำกว่ำ ๒๕ ปีบริบูรณ์ในวันรับเลือก
๔) ระวังถูกหลอกนำคำตอบที่ผิดมำเป็นตัวเลือก เช่น มีสัญชำติไทยเพียงอย่ำงเดียวไม่มี
โดยกำรเกิดด้วย หรืออำยุ ๒๕ ปีบริบูรณ์นับถึงวันสมัครไม่ใช่นับถึงวันเลือก

๑๑. กำรยกเว้นคุณสมบัติเรื่องฟื้นควำมรูข้ องผู้ใหญ่บ้ำนกระทำได้โดย


= ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดขออนุมัติต่อรัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทยแจ้งประกำศในรำช
กิจจำนุเบกษำ
501

๑๒. กำรเลือกผู้ใหญ่บ้ำนใช้กำรเลือกรูปแบบใด
= ๑) สำมำรถกระทำได้วิธีเดียว คือ วิธีลับตำม พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ ๑๑ พ.ศ.
๒๕๕๑
๒) ระวังถูกหลอกกฎหมำยเก่ำใช้ได้ ๒ วิธี คือวิธีลับ และเปิดเผย
๑๓. ผู้ใดเป็นผู้แต่งตั้งคณะกรรมกำรตรวจสอบคุณสมบัติและลักษณะต้องห้ำมของผู้สมัครรับเลือก
เป็นผู้ใหญ่บ้ำน
= นำยอำเภอ
๑๔. ผู้ใดเป็นผู้แต่งตั้งผู้ใหญ่บ้ำน
= นำยอำเภอ
๑๕. ผู้ใดเป็นผู้ออกหนังสือสำคัญในกำรเป็นผู้ใหญ่บ้ำนให้แก่ผู้ได้รับเลือกเป็นผู้ใหญ่บ้ำน
= ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด
๑๖. ผู้สมัครที่ได้รับเลือกเป็นผู้ใหญ่บ้ำนจะถือว่ำเป็นผู้ใหญ่บ้ำนนับตั้งแต่วันใด
= วันที่นำยอำเภอมีคำสั่งแต่งตั้งแต่ระวังถู กหลอกเนื่องจำกกฎหมำยเก่ำเป็นผู้ใหญ่บ้ำน
ตั้งแต่วันที่รำษฎรเลือก
๑๗. กรณีมีกำรคัดค้ำนว่ำกำรเลือกผู้ใหญ่บ้ำนไม่สุจริตใครเป็นผู้มีอำนำจดำเนินกำรสอบสวนเรื่อง
ดังกล่ำว
= นำยอำเภอเป็น ผู้ดำเนิ นกำรสอบสวน ซึ่งหำกผลกำรสอบสวนเป็น จริ งตำมที่มี กำร
คัดค้ำนให้นำยอำเภอรำยงำนผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด และให้ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดส่งให้พ้นจำกตำแหน่ง
โดยเร็ว ทั้งนี้ภำยใน ๙๐ วันนับแต่วันที่นำยอำเภอมีคำสั่งแต่งตั้ง
๑๘. เหตุที่ทำให้ผู้ใหญ่บ้ำนต้องพ้นจำกตำแหน่ง คือ
= ๑) ไปเสียจำกหมู่บ้ำนที่ตนปกครองติดต่อกันเกิน ๓ เดือนโดยไม่ได้รับอนุญำตจำก
นำยอำเภอ
๒) ขำดกำรประชุมประจำเดือนของกำนัน ผู้ใหญ่บ้ำน ที่นำยอำเภอเรียกประชุม ๓ ครั้ง
ติดต่อกันโดยไม่มีเหตุผลอันควร
๓) ไม่ผ่ำนกำรประเมินผลกำรปฏิบัติหน้ำที่
๔) หมู่บ้ำนที่ปกครองถูกยุบ
๑๙. กรณีที่มีผลให้ผใู้ หญ่บ้ำนต้องพ้นจำกตำแหน่งทันทีหรือจะมีผลโดยผลกฎหมำยทันที
= ๑) อำยุครบ ๖๐ ปี
๒) ตำย
๓) แต่กำรลำออกจะมีผลก็ต่อเมื่อได้รับกำรอนุญำตจำกผู้มีอำนำจก่อน
๒๐. ผู้ใหญ่บ้ำนลำบวชต้องได้รับกำรอนุญำตจำกผู้ใด
= ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด
502

๒๑. กรณีที่ผู้ใหญ่บ้ำนขอลำออกจำกตำแหน่งนั้นจะต้องได้รับกำรอนุญำตจำกใครจึงจะมีผลให้
ผู้ใหญ่บ้ำนพ้นจำกตำแหน่ง
= นำยอำเภอ
๒๒. ผู้ใดเป็นผู้มีอำนำจสั่งให้ผู้ใหญ่บ้ำนพ้นจำกตำแหน่งกรณีที่ผู้ใหญ่บ้ำนประพฤติตนไม่เหมำะสม
กับตำแหน่ง
= ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดสั่งให้ผู้ใหญ่บ้ำนพ้นจำกตำแหน่งหำกนำยอำเภอสอบสวนแล้วเห็นว่ำ
บกพร่องในหน้ำที่หรือประพฤติตนไม่เหมำะสมกับตำแหน่ง
๒๓. ผู้ใดเป็นผู้คัดเลือกผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้ำนฝ่ำยรักษำควำมสงบ
= กำนัน และผู้ใหญ่บ้ำนร่วมกันคัดเลือกผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้ำนฝ่ำยปกครองและฝ่ำยรักษำควำม
สงบ
๒๔. ผู้ใดเป็นผู้ออกหนังสือสำคัญกำรเป็นผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้ำน
= นำยอำเภอ
๒๕. เมื่อมีกำรคัดเลือกผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้ำนเสร็จสิ้นแล้วผู้ใดเป็นผู้รำยงำนต่อนำยอำเภอเพื่อให้ออก
หนังสือสำคัญในกำรเป็นผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้ำน
= กำนัน
๒๖. ตำแหน่งผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้ำนให้ถือว่ำวันเริ่มต้นในกำรเป็นผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้ำนเริ่มตั้งแต่วันใด
= วันที่นำยอำเภอออกหนังสือสำคัญ
๒๗. หำกหมู่บ้ำนใดไม่มีผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้ำนฝ่ำยรักษำควำมสงบจะสำมำรถแต่งตั้งผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้ำน
ฝ่ำยปกครองเป็นผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้ำนฝ่ำยรักษำควำมสงบควบอีกตำแหน่งหนึ่งได้หรือไม่
= ได้โดยให้ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดแต่งตั้ง
๒๘. เหตุที่ทำให้ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้ำนต้องออกจำกตำแหน่ง คือ
= เป็นเช่นเดียวกับเหตุที่ผู้ใหญ่บ้ำนต้องออกจำกตำแหน่ง เช่น หมู่บ้ำนที่ปกครองถูกยุบ
หรือผู้ใหญ่บ้ำนตำย
๒๙. กำรเลือกผู้ใหญ่บ้ำนใหม่เกิดขึ้นได้ในกรณีใด
= มีอยู่ ๒ กรณี คือ มีกำรตั้งหมู่บ้ำนใหม่และตำแหน่งผู้ใหญ่บ้ำนว่ำงลง
๓๐. กรณีที่ตำแหน่งผู้ใหญ่บ้ำนว่ำงลง จะต้องทำกำรเลือกผู้ใหญ่บ้ำนแทนตำแหน่งที่ว่ำงภำยในกี่
วัน
= ๓๐ วัน
๓๑. กรณีที่มีเหตุจำเป็นทำให้ไม่อำจเลือกผู้ใหญ่บ้ำนแทนตำแหน่งที่ว่ำงภำยในระยะเวลำ ๓๐ วัน
ผู้ใดเป็นผู้มีอำนำจสั่งขยำยเวลำในกำรเลือกได้
= ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด
๓๒. อำนำจของผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดในกำรสั่งขยำยระยะเวลำกำรเลือกผู้ใหญ่บ้ำนออกไปเมื่อมีเหตุ
จำเป็นนั้นสำมำรถขยำยระยะเวลำได้เท่ำใด
= เท่ำที่จำเป็น
503

๓๓. กรณีที่ตำแหน่งผู้ใหญ่บ้ำนว่ำงลง และยังไม่อำจจัดให้มีกำรเลือกผู้ใหญ่บ้ำนได้หำกผู้ว่ำรำชกำร


จังหวัดต้องกำรให้หมู่บ้ำนนั้นมีผู้ปกครอง ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดสำมำรถดำเนินกำรอย่ำงไร
= ๑) แต่งตั้งผู้ใหญ่บ้ำนในตำบลนั้นคนหนึ่งรักษำกำรแทนผู้ใหญ่บ้ำน
๒) แต่งตั้งบุคคลผู้มีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ำมรักษำกำรผู้ใหญ่บ้ำน
๓๔. กรณีผู้ใหญ่บ้ำนคนใดจะทำกำรในหน้ำที่ไม่ได้ในครำวใด ผู้ใหญ่บ้ำนคนดังกล่ำวสำมำรถมอบ
หน้ำที่ให้บุคคลใด
= ๑) กำหนดให้ผู้ใหญ่บ้ำนมอบหน้ำที่ให้ได้เฉพำะผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้ำนฝ่ำยปกครองเท่ำนั้นและ
ใช้คำว่ำรักษำกำรแทน
๒) ระหว่ำงถูกหลอกกรณีมอบให้ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้ำนฝ่ำยรักษำควำมสงบและใช้คำว่ำทำ
กำรแทน
๓๕. กรณีที่ผู้ใหญ่บ้ำนมอบหน้ำที่ให้แก่ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้ำนครั้งหนึ่งครั้งใดจะต้องทำอย่ำงไร
= รำยงำนให้กำนันทรำบ
๓๖. กรณีผู้ใหญ่บ้ำนมอบหน้ำที่ให้ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้ำนเกินกี่วันต้องรำยงำนให้นำยอำเภอทรำบด้วย
= ๑๕ วันโดยให้กำนันเป็นผู้รำยงำน
๓๗. “หมู่บ้ำนชั่วครำว” คือหมู่บ้ำนประเภทใด
= หมู่บ้ำนที่จัดตั้งขึ้นเมื่อควำมสะดวกแก่กำรปกครองสำหรับท้องที่ที่รำษฎรไปตั้งชุมชนทำ
มำหำเลี้ยงชีพในบำงฤดู และรำษฎรที่ไปตั้งอยู่นั้น มีจำนวนมำกพอสมควรที่จะจัดตั้งหมู่บ้ำนได้
๓๘. บุคคลใดเป็นผู้จัดให้มีกำรประชุมเพื่อเลือกว่ำที่ผู้ใหญ่บ้ำน
= นำยอำเภอ
๓๙. ใครเป็นผู้แต่งตั้งว่ำที่ผู้ใหญ่บ้ำน
= ผู้วำ่ รำชกำรจังหวัด
๔๐. ควำมหมำยของ “ว่ำที่กำนัน” และจะมีกำรเลือกตั้งได้ต้องได้รับควำมเห็นชอบจำกใคร
= หมู่บ้ำนชั่วครำวให้ขึ้นอยู่กับกำนันแห่งท้องที่ แต่หำกท้องที่ดังกล่ำวเป็นต้องที่ป่ำเปลี่ยว
ห่ำงไกลจำกกำนัน และเมื่อมีคนไปตั้งอยู่มำกหำกผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดเห็นว่ำจำเป็นจะต้องมีกำนัน
ขึ้นต่ำงหำกก็ให้ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดเลือกและตั้งว่ำที่กำนันได้
๔๑. อำนำจและหน้ำที่ของผู้ใหญ่บ้ำน คือ
= ๑) อำนวยควำมเป็นธรรมและดูแลรักษำควำมสงบเรียบร้อยให้แก่รำษฎรในหมู่บ้ำน
๒) สร้ำงควำมสมำนฉันท์ และควำมสำมัคคีให้เกิดขึ้นในหมู่บ้ำน
๓) ควบคุมดูแลรำษฎรในหมู่บ้ำนให้ปฏิบัติให้เป็นไปตำมกฎหมำย
๔) ปฏิบัติตำมคำสั่งของกำนันหรือทำงรำชกำร
๕) รำยงำนเหตุกำรณ์ที่ไม่ปกติ ซึ่งเกิดขึ้นในหมู่บ้ำนให้กำนันทรำบพร้อมทั้งรำยงำนต่อ
นำยอำเภอด้วย
๔๒. หน้ำที่ของผู้ใหญ่บ้ำนในกำรจัดให้มีกำรประชุมรำษฎร และคณะกรรมกำรหมู่บ้ำนนั้นอย่ำง
น้อยต้องจัดให้มีกำรประชุมเดือนละกี่ครั้ง
504

= ๑ ครั้ง
๔๓. เมื่อผู้ใหญ่บ้ำนทรำบข่ำวว่ำมีก ำรกระทำผิด กฎหมำยเกิดขึ้ นในหมู่ บ้ำนของตนจะต้องทำ
อย่ำงไร
= แจ้งให้กำนันทรำบ
๔๔. บุคคลใดบ้ำงเป็นกรรมกำรหมู่บ้ำนโดยตำแหน่ง
= ๑) ผู้ใหญ่บ้ำน, ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้ำน และผู้นำหรือผู้แทนกลุ่มหรือองค์กรในหมู่บ้ำน
๒) โดยผู้ ใหญ่ บ้ ำนเป็น ประธำน, ผู้ช่ ว ยผู้ ใ หญ่ บ้ ำน, สมำชิก สภำองค์ ก รปกครองส่ ว น
ท้องถิ่น ที่มี ภูมิล ำเนำในหมู่บ้ ำน และผู้ นำหรื อผู้แ ทนกลุ่ มหรื อองค์ กรในหมู่บ้ ำนเป็น กรรมกำร
หมู่บ้ำนโดยตำแหน่ง
๓) มีกรรมกำรหมู่บ้ำนผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งรำษฎรในหมู่บ้ำนเลือกจำนวนไม่น้อยกว่ำ ๒ คน
แต่ไม่เกิน ๑๐ คน
๔๕. ผู้ใดเป็นผู้แต่งตั้งกรรมกำรผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมกำรหมู่บ้ำน
= นำยอำเภอ
๔๖. กรรมกำรผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมกำรหมู่บ้ำนมีคุณสมบัติอย่ำงไร
= เช่นเดียวกับรำษฎรผู้มีสิทธิเลือกผู้ใหญ่บ้ำน
๔๗. กำรจัดตั้งตำบลตำม พ.ร.บ.ลักษณะปกครองท้องที่จะต้องมีหมู่บ้ำนจำนวนเท่ำใด
= ๒๐ หมู่บ้ำน
๔๘. ผู้ใดเป็นประธำนประชุมผู้ใหญ่บ้ำนในตำบลเพื่อปรึกษำหำรือคัดเลือกกำนัน
= นำยอำเภอ
๔๙. กำรประชุมผู้ใหญ่บ้ำนเพื่อคัดเลือกกำนันจะต้องมีผู้ใหญ่บ้ำนเข้ำร่วมประชุมเท่ำใดจึงจะถือ
เป็นองค์ประชุม
= ไม่น้อยกว่ำกึ่งหนึ่งของจำนวน ผู้ใหญ่บ้ำนทั้งหมดที่มีอยู่ในตำบล
๕๐. เมื่อตำแหน่งกำนันว่ำงลงจะต้องคัดเลือกกำนันใหม่ภำยในกี่วัน
= ภำยใน ๔๕ วันนับแต่วันที่นำยอำเภอได้ทรำบกำรว่ำงนั้น
๕๑. หำกจำเป็นไม่อำจจัดให้มีกำรเลือกกำนันแทนตำแหน่งที่ว่ำงได้ภำยในระยะเวลำที่กำหนดผู้ใด
มีอำนำจสั่งให้ขยำยเวลำเลือกออกไปได้เท่ำที่จำเป็น
= ผูว้ ่ำรำชกำรจังหวัด
๕๒. กำรออกจำกตำแหน่งกำนัน ที่ไม่มีผลให้ต้องออกจำกตำแหน่งผู้ใหญ่บ้ำนด้วย
= ๑) ได้รับอนุญำตให้ลำออกจำกกำนัน
๒) ตำบลถูกยุบ
๓) ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดสั่งให้ออกจำกตำแหน่งกำนัน เนื่องจำกบกพร่องในทำงประพฤติ
หรือควำมสำมำรถไม่พอกับตำแหน่ง
๕๓. กรณีกำนันไม่สำมำรถทำหน้ำที่ได้ และได้มอบอำนำจหน้ำที่ให้กับผู้ใหญ่บ้ำนกำรมอบอำนำจ
หน้ำที่ดังกล่ำวเรียกว่ำอย่ำงไร
505

= ทำกำรแทนไม่ใช่รักษำรำชกำรแทน เหมือนกำรมอบอำนำจของผู้ใหญ่บ้ำน
๕๔. กรณีกำนันมอบอำนำจหน้ำที่ให้ผู้ใหญ่บ้ำนทำกำรแทนจะต้องทำอย่ำงไร
= แจ้งให้ผู้ใหญ่บ้ำนทั้งหลำยในตำบลทรำบรวมทั้งแจ้งให้นำยอำเภอทรำบด้วย
๕๕. ใครเป็นผู้เลือกแพทย์ประจำตำบล
= กำนันและผู้ใหญ่บ้ำนในตำบลประชุมพร้อมกันเลือกแพทย์ประจำตำบล
๕๖. ผู้ใดเป็นผู้แต่งตั้งแพทย์ประจำตำบล
= ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด
๕๗. สำรวัตรกำนันมีได้จำนวนกี่คน
= ๒ คน
๕๘. กำรคัดเลือกสำรวัตรกำนันมีวิธีกำรคัดเลือกอย่ำงไร
= กำนันเป็นผู้คัดเลือก แต่ต้องได้รับควำมเห็นชอบจำกผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดด้วยจึงจะเป็นได้
๕๙. กำรที่จะให้แพทย์ประจำตำบลคนหนึ่งรับผิดชอบ ๒ ตำบล สำมำรถทำได้หรือไม่
= ได้ถ้ำผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดเห็นสมควร
๖๐. หน้ำที่ของแพทย์ประจำตำบล คือ
= ๑) ช่วยกำนันจัดกำรรักษำควำมสงบเรียบร้อยในตำบล
๒) คอยตรวจตรำควำมเจ็บไข้ของรำษฎรในตำบล
๓) กำรป้องกันโรคภัยในตำบล
๖๑. กำรประชุมคณะกรรมกำรหมู่บ้ำนจะต้องมีกำรประชุมปีละกี่ครั้ง
= ผู้ใหญ่บ้ำนเป็นผู้เรียกประชุมคณะกรรมกำรหมู่บ้ำนตำมครั้งครำวที่เห็นสมควรหรือเมื่อ
มีกรรมกำรไม่น้อยกว่ำกึ่งหนึ่งรองขอแต่เมื่อรวมปีหนึ่งแล้วจะต้องมีประชุมไม่น้อยกว่ำ ๖ ครั้ง
๖๒. กำนันมีอำนำจลงโทษทำงวินัยต่อผู้ใหญ่บ้ำนสถำนใดบ้ำง
= ภำคทัณฑ์
๖๓. ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดมีอำนำจลงโทษกำนัน ผู้ใหญ่บ้ำนสถำนใดบ้ำง
= มีอำนำจลงโทษทุกสถำน
๖๔. กรณีผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดลงโทษไล่ออก หำกกำนัน ผู้ใหญ่บ้ำนเห็นว่ำจนไม่ได้รับควำมเป็น
ธรรมจะต้องทำอย่ำงไร
= ร้องทุกข์ต่อกระทรวงมหำดไทย
๖๕. กรณีกำนัน ผู้ใหญ่บ้ำน ถูกลงโทษไล่ออก และเห็นว่ำตนไม่ได้รับควำมเป็นธรรมจะต้องยื่น
หนังสือร้องทุกข์ต่อนำยอำเภอภำยในกี่วัน
= ๑๕ วันนับแต่วันที่รับทรำบคำสั่ง
๖๖. ผู้ใดมีหน้ำที่ดูแลรักษำและคุ้มครองป้องกันที่ดินอันเป็นสำธำรณสมบัติของแผ่นดินตำม พ.ร.บ.
ลักษณะปกครองท้องที่ พ.ศ.๒๔๕๒ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ ๑๑ พ.ศ.๒๕๕๑
= ๑) นำยอำเภอมีหน้ำที่ร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
506

๒) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หมำยถึงเทศบำล และอบต.ที่จะต้องมีหน้ำที่ร่วมกับ


นำยอำเภอซึ่งขึ้นอยู่กับว่ำที่สำธำรณะนั้นอยู่ในเขตรับผิดชอบของหน่วยใด
๖๗. โรคตำมประกำศกระทรวงมหำดไทย ที่กำหนดให้บุคคลที่เป็นโรคดังกล่ำวมีลักษณะต้องห้ำม
ในกำรสมัครรับเลือกเป็นผู้ใหญ่บ้ำน
= โรคเรื้อน, วัณโรคในระยะอันตรำย, วัณโรคตำมส่วนต่ำง ๆ ของร่ ำงกำย, โรคพิษสุรำ
เรื้อรัง, โรคลำไส้อักเสบเรื้อรัง, โรคผิวหนังเรื้อรังเป็นที่น่ำรังเกียจแก่ผู้อื่น

๖๘. ผู้ใหญ่บ้ำนที่ได้รับเลือกเป็นผู้ใหญ่บ้ำนตั้งแต่วันที่ ๖ เมษำยน ๒๕๕๑ เป็นต้นไป จะมีวำระกำร


ดำรงตำแหน่งกี่ปี
= ๑) จนอำยุครบ ๖๐ ปี เว้นแต่จะมีเหตุใ ห้พ้นจำกตำแหน่งตำมที่กฎหมำยกำหนดก่อน
อำยุครบ ๖๐ ปี
๒) เดิมผู้ใหญ่บ้ำนมีวำระกำรดำรงตำแหน่ง ๕ ปี ตำมกฎหมำยว่ำแต่ พ.ร.บ.ลักษณะ
ปกครองท้องที่ แก้ไขใหม่ฉบับที่ ๑๑ พ.ศ. ๒๕๕๑ ได้ยกเลิกไป
๖๙. ในสมัยรัชกำลที่ ๕ ได้มีกำรทดลองตั้งกำนันและผู้ใหญ่บ้ำนขึ้นปกครองตำบล, หมู่บ้ำนครั้ง
แรกที่ใด
= ๑) อำเภอบำงปะอิน จ.พระนครศรีอยุธยำในปี พ.ศ.๒๔๓๕ โดยทรงมอบหมำยให้หลวง
เทศำวิตร วิจำรณ์(เส็ง วิริยศิริ) ทดลองตั้งกำนันผู้ใหญ่บ้ำนดังกล่ำว
๒) ซึ่งในสมัย ร.๕ ได้มีกำรประกำศใช้ พ.ร.บ.ลักษณะปกครองท้องที่ ร.ศ. ๑๑๖ (พ.ศ.
๒๔๔๐) เป็นฉบับแรก
๗๐. ปัจจุบัน พ.ร.บ.ลักษณะปกครองท้องที่ได้มีกำรแก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับใด
= ฉบับที่ ๑๑ พ.ศ.๒๕๑๑
๗๑. ผู้ใหญ่บ้ำนและผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้ำนรวมทั้งกำนันได้รับเงินเดือนอย่ำงไร
= ๑) กำนันผู้ใหญ่บ้ำนได้รับเงินเดือน แต่มิใช่เงินงบประมำณจำกประเภทเงินเดือน
๒) ส่วนผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้ำนได้รับเงินตอบแทนตำมที่กระทรวงมหำดไทยกำหนด
๗๒. ผู้ที่จะได้รับเลือกเป็นผู้ใหญ่บ้ำนหำกเป็นผู้เคยต้องรับโทษจำคุกโดยคำพิพำกษำถึงที่สุดเว้นแต่
เป็นโทษสำหรับควำมผิดที่ได้กระทำโดยประมำท หรือควำมผิดลหุ โทษผู้นั้นจะต้องพ้นโทษมำแล้ว
เป็นเวลำกี่ปี
= ๑๐ ปีนับแต่วันพ้นโทษ
๗๓. ผู้ที่จะได้รับเลือกเป็นผู้ใหญ่บ้ำนจะต้องมีพื้นควำมรู้ระดับใด
= ไม่ต่ำกว่ำกำรศึกษำภำคบังคับหรือที่กระทรวงศึกษำธิกำรเทียบไม่ต่ำกว่ำกำรศึกษำภำค
บังคับ
๗๔. ผู้ช่วยผู้ใหญ่บำ้ นฝ่ำยปกครองและฝ่ำยรักษำควำมสงบอยู่ในตำแหน่งครำวละกี่ปี
= ๕ ปี
507

๗๕. ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้ำนฝ่ำยปกครองมีอำนำจหน้ำที่อย่ำงไร
= ๑) ช่ว ยเหลื อผู้ใหญ่บ้ำนปฏิบัติกิ จกำรตำมอ ำนำจหน้ำที่ข องผู้ใ หญ่บ้ำ นเท่ำ ที่ได้รับ
มอบหมำยจำกผู้ใหญ่บ้ำนให้กระทำ
๒) เสนอข้อแนะนำและให้คำปรึกษำต่อผู้ใหญ่ในกิจกำรที่ผู้ใหญ่บ้ำนมีอำนำจหน้ำที่
๗๖. ค่ำใช้จ่ำยในกำรจัดประชุมคณะกรรมกำรหมู่บ้ำนให้กระทรวงมหำดไทยจ่ำยเป็นเงินอุดหนุน
ตำมหลักเกณฑ์ที่กระทรวงมหำดไทยกำหนดโดยควำมเห็นชอบของหน่วยงำนใด
= กระทรวงกำรคลัง
๗๗. ในกำรปฏิบัติหน้ำที่เกี่ยวกับกำรรักษำควำมสงบเรียบร้อยให้ผู้ใดใช้อำวุธปืนของทำงรำชกำร
ได้
= ผู้ใหญ่บ้ำนและผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้ำนฝ่ำยรักษำควำมสงบ
๗๘. คณะกรรมกำรตำบลมีหน้ำที่อย่ำงไร
= เสนอข้อแนะนำและให้คำปรึกษำต่อกำนันเกี่ยวกับกิจกำรที่จะปฏิบั ติตำมอำนำจหน้ำที่
ของกำนัน
๗๙. คณะกรรมกำรตำบลประกอบด้วยใครบ้ำง
= ๑) กำนันท้องที่, ผู้ใหญ่บ้ำนทุกหมู่บ้ำน และแพทย์ประจำตำบลเป็นกรรมกำรประจำ
ตำบลโดยตำแหน่ง
๒) ครูประชำบำลในตำบล ๑ คนกรรมกำรหมู่บ้ำนผู้ทรงคุณวุฒิหมู่บ้ำนละ ๑ คนเป็น
กรรมกำรตำบลผู้ทรงคุณวุฒิ
๘๐. ผู้ใดเป็นผู้คัดเลือกและเป็นผู้ออกหนังสือสำคัญกำรเป็นกรรมกำรตำบลผู้ทรงคุณวุฒิ
= ๑) นำยอำเภอเป็นผู้คัดเลือก, ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดเป็นผู้ออกหนังสือสำคัญ
๒) และให้ถือว่ำเป็นกรรมกำรตำบลผู้ทรงคุณวุฒิตั้งแต่วันที่ผู้ว่ ำรำชกำรจังหวัดออก
หนังสือสำคัญ
๓) เป็นได้ครำวละ ๕ ปี
๘๑. เมื่อตำแหน่งกรรมกำรตำบลผู้ทรงคุณวุฒิว่ำงลงให้มีกำรคัดเลือกขึ้นแทนตำแหน่งที่ว่ำงภำยใน
กี่วัน
= ภำยใน ๖๐ วันนับแต่วันที่ตำแหน่งนั้นว่ำง
๘๒. วินัยและโทษผิดวินัยของกำนัน , ผู้ใหญ่บ้ำน และแพทย์ประจำตำบลให้ใช้กฎหมำยใดโดย
อนุโลม
= กฎหมำยว่ำด้วยระเบียบข้ำรำชกำรพลเรือน
๘๓. พ.ร.บ.ลักษณะปกครองท้องที่แก้ไขเพิ่มเติมฉบับใดที่เปิดโอกำสให้สตรีเป็นผู้ใหญ่บ้ำนได้
= ฉบับที่ ๖ พ.ศ.๒๕๒๕
๘๔. กำรจัดตั้งหมู่บ้ำนและตำบลตำมมติคณะรัฐมนตรีมีกี่กรณี
= ๒ กรณี คือ ๑)กรณีเป็นชุมชนหนำแน่น ๒) กรณีเป็นชุมชนห่ำงไกล
508

๘๕. กำรจัดตั้งหมู่บ้ำนตำมมติคณะรัฐมนตรีในกรณีเป็นชุมชนหนำแน่นก่อนที่จะแยกหมู่บ้ำนใหม่
ชุมชนเดิมต้องมีจำนวนรำษฎรไม่น้อยกว่ำ........คนหรือมีจำนวนบ้ำนไม่น้อยกว่ำ...............บ้ำน
= ๑,๒๐๐ / ๒๔๐
๘๖. จำกข้อ ๘๕ เมื่อแยกหมู่บ้ำนใหม่แล้ว หมู่บ้ำนใหม่จะต้องมีจำนวนรำษฎรไม่น้อยกว่ำ........คน
หรือมีจำนวนบ้ำนไม่น้อยกว่ำ............บ้ำน
= ๖๐๐ / ๑๒๐
๘๗. กำรจัดตั้งหมู่บ้ำนตำมมติคณะรัฐมนตรีในกรณีเป็นชุมชนห่ำงไกลก่อนที่ จะแยกหมู่บ้ำนใหม่
ชุมชนเดิมต้องมีจำนวนรำษฎรไม่น้อยกว่ำ..........คนหรือมีจำนวนบ้ำนไม่น้อยกว่ำ.............บ้ำน
= ๖๐๐ / ๑๒๐
๘๘. จำกข้อ ๘๗ เมื่อแยกหมู่บ้ำนใหม่แล้วหมู่บ้ำนใหม่จะต้องมีจำนวนรำษฎรไม่น้อยกว่ำ........คน
หรือมีจำนวนบ้ำนไม่น้อยกว่ำ..........บ้ำน
= ๒๐๐ / ๔๐
๘๙. กำรจัดตั้งหมู่บ้ำนตำมมติคณะรัฐมนตรีในกรณีชุมชนห่ำงไกลเมื่อแยกหมู่บ้ำนใหม่แล้วชุมชน
ใหม่ต้องห่ำงชุมชนเดิมไม่น้อยกว่ำกี่กิโลเมตร
= ไม่น้อยกว่ำ ๖ กิโลเมตร
๙๐. กำรจัดตั้งตำบลตำมมติคณะรัฐมนตรีในกรณีเป็นชุมชนหนำแน่นต้องมีจำนวนรำษฎรไม่น้อย
กว่ำ.........คน หรือมีจำนวนหมู่บ้ำนไม่น้อยกว่ำ.............หมู่บ้ำน
= ๔,๘๐๐ / ๘
๙๑. กำรจัดตั้งตำบลตำมมติคณะรัฐมนตรีในกรณีเป็นชุมชนห่ำงไกลต้องมีจำนวนรำษฎรไม่น้อย
กว่ำ......คน หรือมีจำนวนหมู่บ้ำนไม่น้อยกว่ำ........หมู่บ้ำน
= ๓,๖๐๐ / ๖
๙๒. พ.ร.บ.ลักษณะปกครองท้องที่ฉบับที่ ๑๑ ประเทศในรำชกิจจำนุเบกษำเมื่อใด และมีผลใช้
บังคับเมื่อใด
= ประกำศในรำชกิจจำนุเบกษำเมื่อวันที่ ๕ กุมภำพันธ์ ๒๕๕๑ มีผลใช้บังคับเมื่อพ้น
กำหนด ๖๐ วันนับแต่วันประกำศฯ คือวันที่ ๖ เมษำยน ๒๕๕๑
๙๓. ผู้ใหญ่บ้ำนจะต้องได้รับกำรประเมินผลกำรปฏิบัติหน้ำที่ซึ่งต้องทำอย่ำงน้อยกี่ปีต่อครั้ง
= ทุก ๕ ปีนับแต่วันที่ได้รับกำรแต่งตั้ง
๙๔. ผู้ใหญ่บ้ำนของหมู่บ้ำนชั่วครำวเรียกว่ำอะไร
= ว่ำที่ผู้ใหญ่บ้ำน
๙๕. ผู้มีหน้ำที่ช่วยเหลือนำยอำเภอในกำรปฏิบัติหน้ำที่และเป็นหัวหน้ำรำษฎรในหมู่บ้ำนของตน
= ผู้ใหญ่บ้ำน
๙๖. องค์กรใดเป็นองค์กรหลักที่รับผิดชอบในกำรบูรณำกำรจัดทำแผนพัฒนำหมู่บ้ำนและบริหำร
จัดกำรกิจกรรมที่ดำเนินงำนในหมู่บ้ำนร่วมกับองค์กรอื่นทุกภำคส่วน
= คณะกรรมกำรหมู่บ้ำน
509

๙๗. นำยอำเภอมีอำนำจลงโทษทำงวินัย กำนัน, ผู้ใหญ่บ้ำน และแพทย์ประจำตำบลสถำนใด


= ๑) ลดอันดับเงินเดือนไม่เกินหนึ่งอันดับ
๒) ตัดเงินเดือนโดยเทียบในฐำนะเป็นผู้บังคับบัญชำชั้นหัวหน้ำแผนกกับผู้กระทำผิดชั้น
เสมียนพนักงำน
๓) ลงโทษภำคทัณฑ์
๙๘. ส่วนกำรดำเนินกำรทำงวินัยกับผู้ใหญ่บ้ำนกฎหมำยให้นำมำใช้บังคับกับผู้ใดโดยอนุโลม
= ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้ำนฝ่ำยปกครองและฝ่ำยรักษำควำมสงบ
๙๙. เมื่อนำยอำเภอได้รับคำร้องทุกข์ของกำนันผู้ใหญ่บ้ำนแล้วให้เสนอต่อไปยังผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด
และกระทรวงมหำดไทยตำมลำดับภำยในกี่วัน
= ภำยใน ๑๕ วันนับแต่วันได้รับคำร้องทุกข์
๑๐๐. นำยอำเภอและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไม่มีอำนำจใช้หรือยินยอมให้บุคคลอื่นใช้ที่ดินอัน
เป็นสำธำรณสมบัติของแผ่นดินที่ประชำชนใช้ประโยชน์ร่วมกันเว้นแต่จะได้รับควำมเห็นชอบจำก
ผูใ้ ด
= ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด
510

แนวข้อสอบควำมรู้เกี่ยวกับงำนทะเบียนรำษฎร งำนสัญชำติ งำนบัตรประจำตัวประชำชนงำน


ทะเบียนชื่อบุคคลและกำรใช้คำนำหน้ำ งำนทะเบียนครอบครัว และงำนทะเบียนพินัยกรรม
1. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับงำนทะเบียนรำษฎร
ก. เป็นงำนเกี่ยวกับกำรจัดทำบันทึกรำยกำรข้อมูลทะเบียนรำษฎร
ข. เมื่อมีคนเกิดก็จัดทำทะเบียนคนเกิด และบันทึกรำยกำรคนลงในทะเบียนบ้ำน
ค. เมื่อมีคนตำยก็จัดทะเบียนคนตำยและจำหน่ำยออกจำกทะเบียนบ้ำน
ง. ถูกทุกข้อ
2. ข้อใดเป็นเป้ำหมำยของงำนทะเบียนรำษฎร
ก. เพือ่ เป็นหลักฐำนในกำรพิสูจน์ตัวบุคคล
ข. เพื่อสะดวกในกำรรวบรวมข้อมูลประชำกร
ค. เพื่อคุ้มครองรักษำสิทธิและอำนวยควำมสะดวกแก่กำรใช้สิทธิของประชำชน
ง. ถูกทุกข้อ
3. สำนักทะเบียนกลำงมีใครเป็นผู้อำนวยกำรทะเบียน
ก. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทย
ข. ปลัดกระทรวงมหำดไทย
ค. อธิบดีกรมกำรปกครอง
ง. ผู้อำนวยกำรเขต
4. ใครเป็นนำยทะเบียนจังหวัด
ก. ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด
ข. ปลัดจังหวัด
ค. นำยกเทศมนตรี
ง. นำยอำเภอ
5. ใครเป็นนำยทะเบียนกรุงเทพมหำนคร
ก. ผู้ว่ำรำชกำรกรุงเทพมหำนคร
ข. ปลัดกรุงเทพมหำนคร
ค. อธิบดีกรมกำรปกครอง
ง. ไม่มีข้อถูก
6. ใครเป็นนำยทะเบียนอำเภอ
ก. นำยอำเภอ
ข. ปลัดอำเภอผู้เป็นหัวหน้ำประจำกิ่งอำเภอ
ค. ปลัดอำเภอ
ง. ข้อ ก. และ ข. ถูก
511

7. ใครเป็นนำยทะเบียนท้องถิ่น
ก. ปลัดเทศบำล
ข. ผู้อำนวยกำรเขต
ค. ปลัดเมืองพัทยำ
ง. ถูกทุกข้อ
8. ข้อมูลใดมิใช่ข้อมูลทะเบียนประวัติรำษฎร
ก. ชื่อสกุล
ข. ศำสนำ
ค. สถำนะสมรส
ง. รำยได้
9. เด็กในสภำพแรกเกิดหรือเด็กอ่อน หมำยถึง เด็กเกิดใหม่ที่มีอำยุไม่เกินกี่วัน
ก. 15 วัน
ข. 25 วัน
ค. 28 วัน
ง. 30 วัน
10. กำรสร้ำงบ้ำนใหม่เจ้ำบ้ำนต้องแจ้งต่อนำยทะเบียนภำยในกี่วัน
ก. 10วัน
ข. 15 วัน
ค. 30 วัน
ง. 60 วัน
11. นำยทะเบียนต้องกำหนดเลขหมำยประจำบ้ำนให้แก่บ้ำนที่อยู่นอกเขตเทศบำลภำยในกี่วัน
ก. 10 วัน
ข. 15 วัน
ค. 30 วัน
ง. 60 วัน
12. กำรรื้อบ้ำนซึ่งมีเลขประจำบ้ำนโดยไม่ประสงค์จะปลูกบ้ำนในที่ดินนั้นอีกต้องแจ้งต่อนำย
ทะเบียนภำยในกี่วัน
ก. 10 วัน
ข. 15 วัน
ค. 30 วัน
ง. 60 วัน
13. ทะเบียนบ้ำนแบบใดใช้ลงรำยกำรของคนที่มีสัญชำติไทย
ก. ท.ร. 10
ข. ท.ร. 12
512

ค. ท.ร. 13
ง. ท.ร. 14
14. ทะเบียนบ้ำนแบบใดใช้ลงรำยกำรทะเบียนของคนที่เข้ำเมืองโดยชอบด้วยกฎหมำยแต่อยู่ใน
ลักษณะชั่วครำว
ก. ท.ร. 10
ข. ท.ร. 12
ค. ท.ร. 13
ง. ท.ร. 14
15. กำรย้ำยแพที่อยู่อำศัยไปอยู่ประจำที่อื่น เจ้ำบ้ำนต้องแจ้งกำรย้ำยออกนับแต่วันครบกำหนดกี่
วัน
ก. 90 วัน
ข. 120วัน
ค. 180วัน
ง. 210วัน
16. คนเกิดในบ้ำนต้องแจ้งนำยทะเบียนท้องที่ภำยในเวลำใด
ก. 24 ชั่วโมง
ข. 7วัน
ค. 15วัน
ง. 30วัน
17. เมื่อพบเด็กอ่อนถูกทิ้งจะต้องนำเด็กส่งและแจ้งต่อใคร
ก. พนักงำนฝ่ำยปกครอง
ข. ตำรวจ
ค. เจ้ำหน้ำที่ประชำสงเครำะห์
ง. ถูกทุกข้อ
18. คนตำยในบ้ำนต้องแจ้งนำยทะเบียนภำยในเวลำเท่ำใด
ก. 24 ชั่วโมง
ข. 48 ชั่วโมง
ค. 3 วัน
ง. 5 วัน
19. คนตำยนอกบ้ำนผู้พบศพต้องแจ้งต่อนำยทะเบียนภำยในเวลำเท่ำใด
ก. 24 ชั่วโมง
ข. 48 ชั่วโมง
ค. 3 วัน
ง. 5 วัน
513

20. ตำมข้อ 19. หำกท้องที่กำรคมนำคมไม่สะดวก อำจขยำยเวลำกำรแจ้งออกไม่ได้ไม่เกินกี่วัน


ก. 3 วัน
ข. 7 วัน
ค. 10 วัน
ง. 15 วัน
21. กำรตำยกรณีใดยังไม่สำมำรถออกมรณบัตรให้ได้
ก. กำรตำยโดยโรคติดต่ออันตรำย
ข. กำรตำยโดยยังไม่ทรำบว่ำผู้ตำยเป็นใคร
ค. กำรตำยโดยมีเหตุเชื่อว่ำมีกำรตำย แต่ยังไม่พบศพ
ง. ถูกทุกข้อ
22. กำรย้ำยออกเจ้ำบ้ำนต้องแจ้งย้ำยภำยในกี่วัน
ก. 24 ชั่วโมง
ข. 7 วัน
ค. 15 วัน
ง. 30 วัน
23. กำรแจ้งย้ำยปลำยทำงต้องแจ้งย้ำยภำยในกี่วัน
ก. 24 ชั่วโมง
ข. 7 วัน
ค. 15 วัน
ง. 30 วัน
24. เมื่อบุคคลใดในทะเบียนบ้ำนย้ำยออกไปอยู่ที่อื่นเกิน 180 วัน และไม่ทรำบว่ำไปอยู่ที่ใด เจ้ำ
บ้ำนต้องแจ้งต่อนำยทะเบียนภำยในกี่วัน
ก. 24 ชั่วโมง
ข. 7 วัน
ค. 15 วัน
ง. 30 วัน
25. กำรเพิ่มชื่อคนสัญชำติไทยที่ไม่มีชื่อหรือรำยกำรบุคคลในทะเบียนบ้ำนเป็นอำนำจอนุมัติของ
ใคร
ก. ปลัดอำเภอ
ข. นำยอำเภอ
ค. ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด
ง. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทย
514

26. กำรจำหน่ำยชื่อตำมข้อใดเป็นอำนำจของนำยทะเบียนอำเภอ
ก. บุคคลมีชื่อและรำยกำรบุคคลในทะเบียนบ้ำนเกินกว่ำ 1 แห่ง
ข. สำนักทะเบียนกลำงสั่งกำรเฉพำะรำยให้จำหน่ำยชื่อและรำยบุคคล
ค. เจ้ำบ้ำนแจ้งว่ำบุคคลที่มีชื่อและรำยกำรบุคคลในทะเบียนบ้ำนได้ตำยแล้วและยังไม่ได้
จำหน่ำยชื่อออก
ง. ถูกทุกข้อ
27. ข้อใดเป็นอำนำจของนำยทะเบียนอำเภอในกำรแก้ไขเปลี่ยนแปลงรำยกำรในเอกสำรกำร
ทะเบียนรำษฎร
ก. ขอแก้ไขเปลี่ยนแปลงรำยกำรในเอกสำรกำรทะเบียนรำษฎรโดยมีเอกสำรรำชกำร
ข. ขอแก้ไขเปลี่ยนแปลงรำยกำรในเอกสำรกำรทะเบียนรำษฎรรำยกำรสัญชำติ
ค. สำนักทะเบียนกลำงตรวจพบข้อผิดพลำดและสั่งให้แก้ไขให้ถูกต้อง
ง. ถูกทุกข้อ
28. ผู้มีส่วนได้เสียที่สำมำรถขอคัดหรือรับรองสำเนำรำยกำรทะเบียนรำษฎรได้แก่ใคร
ก. เจ้ำบ้ำน
ข. ผู้มีชื่อหรือรำยกำรบุคคลปรำกฏในเอกสำรที่จะขอคัด
ค. บุคคลหรือนิติบุคคลที่มีส่วนได้เสียเกี่ยวกับเอกสำร
ง. ถูกทุกข้อ
29. ข้อใดกล่ำวถูกต้องเกี่ยวกับกำรเปรียบเทียบคดีควำมผิดเกี่ยวกับทะเบียนรำษฎร
ก. นำยทะเบียนอำเภอ/นำยทะเบียนท้องถิ่น เป็นผู้มีอำนำจเปรียบเทียบ
ข. ผู้ต้องหำยินยอมให้เปรียบเทียบปรับได้
ค. หำกผู้ต้องหำไม่ยินยอมให้เปรียบเทียบปรับ ให้แจ้งพนักงำนสอบสวนดำเนินคดี
ง. ถูกทุกข้อ
30. ใครเป็นนำยทะเบียนประจำสำนักทะเบียนจังหวัด
ก. ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด
ข. อธิบดีกรมกำรปกครอง
ค. ปลัดกรุงเทพมหำนคร
ง. ปลัดกระทรวงมหำดไทย
31. ข้อมูลประเภทใดของบุคคลที่จัดเก็บไว้ในข้อมูลทะเบียนประวัติรำษฎรได้
ก. รำยได้
ข. วุฒิกำรศึกษำ
ค. กำรชำระภำษี
ง. ประวัติอำชญำกรรม
515

32. เจ้ำบ้ำนตำมกฎหมำยทะเบียนรำษฎรคือใคร
ก. เจ้ำของบ้ำน
ข. ผู้มีหน้ำที่ดูแลบ้ำน
ค. ผู้เป็นหัวหน้ำครอบครัว
ง. ผู้เป็นหัวหน้ำครอบครองบ้ำน
33. เมื่อมีคนเกิดในบ้ำน ต้องแจ้งต่อนำยทะเบียนภำยในเวลำเท่ำใด
ก. 12 ชั่วโมง นับแต่เวลำเกิด
ข. 24ชั่วโมง นับแต่เวลำเกิด
ค. 3 วัน นับแต่เวลำเกิด
ง. 5 วัน นับแต่เวลำเกิด
34. เมื่อมีคนตำยในบ้ำน ใครมีหน้ำที่แจ้งต่อนำยทะเบียน
ก. เจ้ำบ้ำน
ข. ทำยำทของผู้ตำย
ค. บุพกำรีของผู้ตำย
ง. บิดำ มำรดำของผู้ตำย
35. เมื่อผู้อยู่ในบ้ำนย้ำยที่อยู่ออกจำกบ้ำน ต้ องแจ้งกำรย้ำยออกต่อนำยทะเบียนภำยในเวลำกี่วัน
นับแต่วันที่อยู่ในบ้ำนย้ำยออก
ก. 3 วัน
ข. 5 วัน
ค. 7 วัน
ง. 15 วัน
36. นำย ก. มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้ำนฉบับหนึ่ง ดังนี้ ตำมกฎหมำยทะเบียนรำษฎร นำย ก. ต้อง
สันนิษฐำนตำมข้อใด
ก. เกิด ณ ที่นั้น
ข. เป็นเจ้ำบ้ำน
ค. เป็นเจ้ำของบ้ำน
ง. อยู่และมีภูมิลำเนำ ณ ที่นั้น
37. ในกำรสำรวจตรวจสอบทะเบีย นรำษฎรเพื่ อประโยชน์ข องกำรทะเบีย นรำษฎรนั้น นำย
ทะเบียนหรือผู้ที่นำยทะเบียนมอบหมำยมี อำนำจเข้ ำไปในบ้ำ นเพื่อสำรวจตรวจสอบทะเบีย น
รำษฎรเท่ำที่จำเป็นได้ ในระหว่ำงเวลำใด
ก. 9.00 – 12.00 นำฬิกำ
ข. 9.00 – 16.30นำฬิกำ
ค. 13.00 – 16.30นำฬิกำ
ง. พระอำทิตย์ขึ้นและพระอำทิตย์ตก
516

38. กำรที่ผู้มีหน้ำที่ไม่แจ้งเกิดต่อนำยทะเบียนเมื่อมีคนเกิดในบ้ำน ต้องระวำงโทษตำมข้อใด


ก. จำคุกไม่เกิน 1 เดือน
ข. จำคุกไม่เกิน 6เดือน
ค. ปรับไม่เกิน 500 บำท
ง. ปรับไม่เกิน 1,000 บำท
39. ควำมผิดที่มีโทษอย่ำงไร นำยทะเบียนจึงมีอำนำจเปรียบเทียบได้
ก. ปรับอย่ำงเดียว
ข. จำคุกอย่ำงเดียว
ค. จำคุกอย่ำงเดียวไม่เกิน 1 เดือน
ง. ปรับอย่ำงเดียวไม่เกิน 500 บำท
40. ใครเป็นนำยทะเบียนประจำสำนักทะเบียนกลำง
ก. ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด
ข. อธิบดีกรมกำรปกครอง
ค. ปลัดกรุงเทพมหำนคร
ง. ปลัดกระทรวงมหำดไทย
41. ข้อมูลประเภทใดของบุคคลที่ไม่อำจจัดเก็บไว้ในข้อมูลทะเบียนประวัติรำษฎรได้
ก. ชื่อคู่สมรส
ข. วุฒิกำรศึกษำ
ค. วัน เดือน ปี เกิด
ง. ประวัติอำชญำกรรม
42. ในกรณีที่ไม่ปรำกฏเจ้ำบ้ำน กฎหมำยกำรทะเบียนรำษฎรให้ถือว่ำใครเป็นเจ้ำบ้ำน
ก. ผู้มีหน้ำที่ดูแลบ้ำน
ข. ผู้อำวุโสสูงสุดในบ้ำน
ค. ญำติสนิทที่สุดในบ้ำน
ง. คู่สมรสหรือบิดำ มำรดำของเจ้ำบ้ำน
43. เมื่อมีคนเกิดในบ้ำนใครมีหน้ำที่ต้องแจ้งต่อนำยทะเบียน
ก. ญำติ
ข. เจ้ำบ้ำน
ค. บิดำ มำรดำ
ง. ข้อ ข. และ ค. ถูก
44. เมื่อมีคนตำยในบ้ำน ต้องแจ้งต่อนำยทะเบียนภำยในเวลำเท่ำใด
ก. 12 ชั่วโมง นับแต่เวลำตำย
ข. 24 ชั่วโมง นับแต่เวลำตำย
ค. 3 วัน นับแต่เวลำตำย
517

ง. 5 วัน นับแต่เวลำตำย
45. นำยทะเบียนจะรับแจ้งกำรย้ำยออกจำกบ้ำนเฉพำะกรณีบุคคลตำมข้อใด
ก. บุคคลที่มีบัตรประจำตัวประชำชน
ข. บุคคลที่มีชื่อและรำยกำรตำมทะเบียนบ้ำน
ค. บุคคลที่มีชื่อและรำยกำรตำมทะเบียนบ้ำนกลำง
ง. ข้อ ข. และ ค. ถูก
46. ทะเบียนบ้ำนเป็นเอกสำรที่แสดงถึงอะไร
ก. เลขประจำบ้ำน
ข. ลักษณะของบ้ำน
ค. บุคคลที่อยู่ในบ้ำน
ง. ข้อ ก. และ ค. ถูก
47. กำรสำรวจตรวจสอบทะเบียนรำษฎรเพื่อประโยชน์ของกำรทะเบียนรำษฎรนั้น ต้องตรำเป็น
อะไร
ก. กฎกระทรวง
ข. พระรำชบัญญัติ
ค. พระรำชกำหนด
ง. พระรำชกฤษฎีกำ
48. กำรที่ผู้มีหน้ำที่ไม่แจ้งตำยต่อนำยทะเบียนเมื่อมีคนตำยในบ้ำน ต้องระวำงโทษตำมข้อใด
ก. จำคุกไม่เกิน 1 เดือน
ข. จำคุกไม่เกิน 6 เดือน
ค. ปรับไม่เกิน 500 บำท
ง. ปรับไม่เกิน 1,000 บำท
49. ควำมผิดที่มีอัตรำโทษตำมข้อใด นำยทะเบียนมีอำนำจเปรียบเทียบได้
ก. จำคุกไม่เกิน 1 เดือน
ข. จำคุกไม่เกิน 6 เดือน
ค. ปรับไม่เกิน 500 บำท
ง. จำคุกไม่เกิน 1 เดือนและปรับไม่เกิน 500 บำท
50. คนเกิดนอกบ้ำนต้องแจ้งต่อนำยทะเบียนแห่งท้องที่ภำยในกี่วัน
ก. 24 ชั่วโมง
ข. 7 วัน
ค. 15 วัน
ง. 30 วัน
51. ข้อใดกล่ำวถูกต้องเกี่ยวกับบัตรประจำตัวประชำชน
ก. เป็นเอกสำรที่ทำงรำชกำรออกให้เฉพำะบุคคลสัญชำติไทย
518

ข. ออกให้แก่ผู้มีอำยุตั้งแต่ 15 – 70 ปีบริบูรณ์
ค. เพื่อใช้พิสูจน์ทรำบตัวบุคคล
ง. ถูกทุกข้อ
52. ข้อใดเป็นอำนำจหน้ำที่ของนำยอำเภอเกี่ยวกับงำนด้ำนบัตรประจำตัวประชำชน
ก. พิจำรณำอนุมัติกำรขอมีบัตรใหม่
ข. เปรียบเทียบควำมผิดเกี่ยวกับบัตรประจำตัวประชำชนที่มีโทษปรับสถำนเดียว
ค. เป็นเจ้ำพนักงำนตรวจบัตร
ง. ถูกทุกข้อ
53. บุคคลตำมข้อใดได้รับยกเว้นไม่ต้องขอมีบัตรประจำตัวประชำชน
ก. องคมนตรี
ข. ข้ำรำชกำรพลเรือน
ค. ข้ำรำชกำรครู
ง. ถูกทุกข้อ
54. จำกข้อ 681. หำกพ้นสภำพจำกกำรได้รับกำรยกเว้น บุคคลเหล่ำนั้นจะต้องยื่นคำขอมีบัตร
ประจำตัวประชำชนภำยในกี่วัน
ก. 30วัน
ข. 45วัน
ค. 60วัน
ง. 90วัน
55. เหตุของกำรขอมีบัตรประจำตัวประชำชนใหม่คือข้อใด
ก. บัตรหำย
ข. กำรมีบัตรครั้งแรก
ค. บัตรชำรุด
ง. เปลี่ยนชื่อตัวและชื่อสกุลใหม่
56. เหตุของกำรขอเปลี่ยนบัตรประจำตัวประชำชนคือข้อใด
ก. บัตรหำย
ข. กำรมีบัตรครั้งแรก
ค. บัตรชำรุด
ง. เปลี่ยนชื่อตัวและชื่อสกุลใหม่
57. กำรขอมีบัตรประจำตัวประชำชนใหม่ต้องยื่นคำขอภำยในกี่วัน
ก. 30วัน
ข. 45 วัน
ค. 60 วัน
ง. 90วัน
519

58. อำยุกำรใช้บัตรประจำตัวประชำชนมีกี่ปี
ก. 4 ปี
ข. 5 ปี
ค. 6 ปี
ง. 7 ปี
59. ผู้ขอมีบัตรประจำตัวประชำชนที่มีอำยุเท่ำใด ที่ในบัตรจะระบุข้อควำมวันหมดอำยุว่ำ “ใช้ได้
ตลอดชีพ”โดยไม่ต้องขอมีบัตรใหม่อีก
ก. 60 ปี ขึ้นไป
ข. 64 ปี ขึ้นไป
ค. 65 ปี ขึ้นไป
ง. 70 ปี ขึ้นไป
60. ชื่อตัว หมำยควำมว่ำอย่ำงไร
ก. ชื่อประจำบุคคล
ข. ชือ่ ประกอบถัดจำกชื่อตัว
ค. ชื่อประจำวงศ์สกุล
ง. ไม่มีข้อถูก
61. ชื่อรอง หมำยควำมว่ำอย่ำงไร
ก. ชื่อประจำบุคคล
ข. ชื่อประกอบถัดจำกชื่อตัว
ค. ชื่อประจำวงศ์สกุล
ง. ไม่มีข้อถูก
62. ชื่อสกุล หมำยควำมว่ำอย่ำงไร
ก. ชื่อประจำบุคคล
ข. ชื่อประกอบถัดจำกชื่อตัว
ค. ชื่อประจำวงศ์สกุล
ง. ไม่มีข้อถูก
63. ข้อใดกล่ำวถูกต้องเกี่ยวกับชื่อตัว
ก. ต้องไม่พ้องหรือมุ่งหมำยให้คล้ำยกับพระปรมำภิไธย
ข. ต้องไม่มีคำหรือควำมหมำยหยำบคำย
ค. ต้องมีพยัญชนะไม่เกินกว่ำ 10 พยัญชนะ
ง. ข้อ ก. และ ข. ถูก
64. ชื่อสกุลต้องมีพยัญชนะไม่เกินกว่ำกี่พยัญชนะ
ก. 10 พยัญชนะ
ข. 12 พยัญชนะ
520

ค. 15 พยัญชนะ
ง. 20 พยัญชนะ
65. นำยทนงศักีด์ สมรสกับ นำงสำวศรีประไพ จะต้องใช้ชื่อสกุลอย่ำงไร
ก. ใช้ชื่อสกุลของนำยทนงศักีเพีด์ ยงอย่ำงเดียว
ข. ต่ำงฝ่ำยต่ำงใช้ชื่อสกุลเดิมของตน
ค. แล้วแต่ 2 ฝ่ำยจะตกลงกัน
ง. ข้อ ข. และ ค. ถูก
66. นำยดียิ่ง ยื่นคำขอตั้งชื่อสกุลใหม่ แต่นำยทะเบียนสั่งไม่รับจดทะเบียนชื่อสกุล นำยดียิ่ง มีสิทธิ
อุทธรณ์คำสั่งของนำยทะเบียนแต่รัฐมนตรีภำยในกี่วัน
ก. 7วัน
ข. 15วัน
ค. 30 วัน
ง. 60วัน
67. กำรออกหนังสือสำคัญแสดงกำรเปลี่ยนชื่อตัว ต้องเสียค่ำธรรมเนียมฉบับละกี่บำท
ก. 50 บำท
ข. 100 บำท
ค. 200 บำท
ง. 500 บำท
68. กำรออกหนังสือสำคัญแสดงกำรรับจดทะเบียนตั้งชื่อสกุล ต้องเสียค่ำธรรมเนียมฉบับละกี่บำท
ก. 50 บำท
ข. 100 บำท
ค. 200 บำท
ง. 500 บำท
69. กำรออกหนังสือสำคัญแสดงกำรรับจดทะเบี ยนเปลี่ยนชื่อสกุล เพรำะเหตุสมรสและเป็นกำร
เปลี่ยนแปลงครั้งแรกภำยหลังจดทะเบียนสมรส ต้องเสียค่ำธรรมเนียมฉบับละกี่บำท
ก. 50 บำท
ข. 100 บำท
ค. 200 บำท
ง. ไม่ต้องเสียค่ำธรรมเนียม
70. ใครที่ไม่ต้องขอมีบัตรประจำตัวประชำชน
ก. นำยไก่ มีสัญชำติไทยอำยุ 15 ปีบริบูรณ์
ข. นำยไข่ มีสัญชำติไทยอำยุ 60ปีบริบูรณ์
ค. นำยขวด มีสัญชำติไทยอำยุ 70 ปีบริบูรณ์
ง. ข้อ ข. และ ค. ถูก
521

71. งำนทะเบียนหมำยถึงข้อใด
ก. กำรจดบันทึกรำยกำรไว้
ข. เพื่อควำมสมบูรณ์ของกฎหมำย
ค. เพื่อเป็นหลักฐำน
ง. ถูกทุกข้อ
72. ข้อใดเป็นควำมสำคัญของงำนทะเบียนด้ำนกำรปกครอง
ก. ใช้ในกำรจัดตั้งจังหวัด อำเภอ หรือกำรปกครองส่วนท้องถิ่น
ข. ใช้ในกำรส่งเสริมอำชีพรำษฎร
ค. ใช้ในกำรเคลื่อนย้ำยประชำกร
ง. ถูกทุกข้อ
73. ข้อใดเป็นงำนทะเบียนทั่วไปอยู่ในควำมรับผิดชอบของกรมกำรปกครอง
ก. ทะเบียนอำวุธปืน
ข. ทะเบียนนิติกรรม
ค. ทะเบียนสุสำนและฌำปนสถำน
ง. ถูกทุกข้อ
74. ข้อใดเป็นควำมสำคัญของงำนทะเบียนด้ำนกำรพัฒนำเศรษฐกิจและสังคม
ก. ใช้เป็นหลักกำรวำงแผนพัฒนำธุรกิจอุตสำหกรรมต่ำงๆ
ข. ใช้ในกำรจัดตั้งจังหวัด อำเภอ หรือกำรปกครองส่วนท้องถิ่น
ค. ใช้เป็นกำรแยกตัวบุคคลต่ำงด้ำวออกจำกคนสัญชำติไทย
ง. ใช้ในกำรจัดสรรงบประมำณ
75. พินัยกรรมมีกี่แบบ
ก. 2 แบบ
ข. 3 แบบ
ค. 4 แบบ
ง. 5 แบบ
76. อำเภอมีหน้ำที่เกี่ยวข้องกับพินัยกรรมกี่แบบ
ก. 2 แบบ
ข. 3 แบบ
ค. 4 แบบ
ง. 5 แบบ
77. ข้อใดกล่ำวถูกต้องเกี่ยวกับพินัยกรรมแบบทำเป็นเอกสำรฝ่ำยเมือง
ก. ต้องมีพยำน 2 คน
ข. ให้นำยอำเภอลงลำยมือชื่อ วันเดือนปี แล้วประทับตรำตำแหน่งไว้เป็นสำคัญ
ค. ไม่จำเป็นต้องทำในที่ว่ำกำรอำเภอ
522

ง. ถูกทุกข้อ
78. กำรลงลำยมือชื่อควบรอยผนึกซองพินัยกรรมเป็นขั้นตอนกำรทำพินัยกรรมแบบใด
ก. พินัยกรรมแบบเอกสำรฝ่ำยเมือง
ข. พินัยกรรมแบบธรรมดำ
ค. พินัยกรรมทำเป็นเอกสำรลับ
ง. พินัยกรรมเขียนเองทั้งฉบับ
79. เมื่อมีพฤติกำรณ์พิเศษซึ่งบุคคลใดไม่สำมำรถทำพินัยกรรมแบบอื่นที่กฎหมำยกำหนดไว้ได้
จะต้องทำพินัยกรรมแบบใด
ก. พินัยกรรมแบบเอกสำรฝ่ำยเมือง
ข. พินัยกรรมแบบธรรมดำ
ค. พินัยกรรมทำเป็นเอกสำรลับ
ง. พินัยกรรมเขียนเองทั้งฉบับ
80. กำรตัดทำยำทโดยธรรมมิให้รับมรดกมีกี่วิธี
ก. 1 วิธี
ข. 2 วิธี
ค. 3 วิธี
ง. 4 วิธี
81. แบบพิมพ์ที่ใช้ในกำรปฏิบัติงำนทะเบียนพินัยกรรมมีทั้งหมดกี่แบบ
ก. 5 แบบ
ข. 6 แบบ
ค. 8 แบบ
ง. 10 แบบ
82. กำรสละมรดกทำได้กี่วิธี
ก. 1 วิธี
ข. 2 วิธี
ค. 3 วิธี
ง. 4 วิธี
83. ทะเบียนชื่อบุคคลไม่หมำยถึงชื่อในข้อใด
ก. ชื่อตัว
ข. ชื่อเล่น
ค. ชื่อรอง
ง. ชื่อสกุล
523

84. แบบพิมพ์ที่ใช้ในกำรปฏิบัติงำนทะเบียนชื่อบุคคลมีกี่แบบ
ก. 3 แบบ
ข. 4แบบ
ค. 5แบบ
ง. 6แบบ
85. บุคคลตำมข้อใดเป็นนำยทะเบียนชื่อบุคคล
ก. ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด
ข. นำยอำเภอ
ค. ปลัดอำเภอผู้เป็นหัวหน้ำประจำกิ่งอำเภอ
ง. ถูกทุกข้อ
86.สิ ทธิ ใ นสั ญ ชำติ ไ ทยซึ่ ง รั ฐไทยก ำหนดเงื่ อ นไขขึ้ น ในกฎหมำยว่ ำ ด้ ว ยสั ญ ชำติ มี กี่ ห ลั ก กำร
อะไรบ้ำง
ก. 2 หลักกำร คือ กำรได้สัญชำติไทยโดยกำรเกิด และ กำรได้สัญชำติไทยภำยหลังกำร
เกิด
ข. 2 หลักกำร คือ กำรได้สัญชำติไทยโดยกำรเกิดโดยหลักสืบสำยโลหิต และ กำรได้
สัญชำติไทยโดยกำรเกิดโดยหลักดินแดน
ค.2 หลักกำร คือ กำรได้สัญชำติไทยภำยหลังกำรเกิด และ กำรได้สัญชำติไทยโดยกำร
แปลงสัญชำติ
ง. 2 หลักกำร คือ กำรได้สัญชำติไทยโดยกำรเกิด และ กำรได้สัญชำติไทยโดยกำรสมรส
87. ข้อใด ไม่ใช่ สิทธิในสัญชำติไทยภำยหลังกำรเกิด
ก. สัญชำติไทยโดยกำรสมรส
ข. สัญชำติไทยโดยกำรแปลงสัญชำติ
ค. สัญชำติไทยโดยหลักสืบสำยโลหิต
ง. เป็นสิทธิในสัญชำติไทยภำยหลังกำรเกิดทุกข้อ
88.สัญ ชำติไ ทยภำยหลั ง กำรเกิด สำมำรถแบ่ ง ได้ เป็น 2 กรณี คื อ สั ญ ชำติ ไ ทยโดยกำรสมรส
(Marriage) และ สัญชำติไทยโดยกำรแปลงสัญชำติ (Naturalization)ข้อใดเป็นสิทธิในสัญชำติไทย
ภำยหลังกำรเกิด
ก. สัญชำติไทยโดยกำรสมรส สัญชำติไทยโดยกำรเกิดโดยหลักดินแดน
ข. สัญชำติไทยโดยกำรเกิดโดยหลักสืบสำยโลหิต สัญชำติไทยโดยกำรแปลงสัญชำติ
ค. สัญชำติไทยโดยกำรสมรส สัญชำติไทยโดยกำรแปลงสัญชำติ
ง. สัญชำติไทยโดยกำรแปลงสัญชำติ สัญชำติไทยโดยกำรเกิดโดยหลักสืบสำยโลหิต
89. ข้อใดเป็นสิทธิในสัญชำติไทยโดยกำรเกิด
ก. สัญชำติไทยโดยกำรสมรส สัญชำติไทยโดยกำรเกิดโดยหลักดินแดน
ข. สัญชำติไทยโดยกำรเกิดโดยหลักสืบสำยโลหิต สัญชำติไทยโดยกำรแปลงสัญชำติ
524

ค. สัญชำติไทยโดยกำรสมรส สัญชำติไทยโดยกำรแปลงสัญชำติ
ง. สัญชำติไทยโดยกำรเกิดโดยหลักสืบสำยโลหิต สัญชำติไทยโดยกำรเกิดโดยหลักดินแดน
90. ข้อใดเป็นข้อเท็จจริงที่ใช้ในกำรพิสูจน์ว่ำบุคคลนั้นมีสิทธิในสัญชำติไทยโดยกำรแปลงสัญชำติ
ภำยใต้กฎหมำยว่ำด้วยสัญชำติฉบับปัจจุบัน
ก. กำรพิ สู จ น์ ว่ ำ บุ ค คลนั้ น เป็ น คนต่ ำ งด้ ำ วที่ บ รรลุ นิ ติ ภ ำวะและมี ค วำมกลมกลื น กั บ
สังคมไทยแล้ว
ข. กำรพิสูจน์ว่ำบุคคลนั้นคนต่ำงด้ำวที่บรรลุนิติภำวะและทำคุณประโยชน์ให้แก่ประเทศ
ไทย
ค. กำรพิสูจน์ถึงกำรมีอำชีพเป็นหลักฐำน
ง. ถูกทุกข้อ
91. จำกข้อ90 ข้อใดไม่ถูกต้องในกำรพิสูจน์ว่ำบุคคลนั้นมีสิทธิในสัญชำติไทยโดยกำรแปลง
สัญชำติภำยใต้กฎหมำยว่ำด้วยสัญชำติฉบับปัจจุบัน
ก. กำรพิสูจน์ถึงกำรมีควำมรู้ภำษำไทยตำมที่กำหนดในกฎกระทรวง
ข. กำรพิสูจน์ถึงควำมประพฤติดี
ค. กำรพิสูจน์ถึงกำรภูมิลำเนำในประเทศไทยต่อเนื่องไม่น้อยกว่ำ 3 ปี
ง. กำรพิสูจน์ถึงกำรภูมิลำเนำในประเทศไทยต่อเนื่องไม่น้อยกว่ำ 5 ปี
92. ข้อเท็จจริงใดที่ต้องถูกพิสูจน์ให้เห็นถึงเงื่อนไขที่จะทำให้หญิงต่ำงด้ำวมีสิทธิในสัญชำติไทยโดย
กำรสมรสภำยใต้กฎหมำยว่ำด้วยสัญชำติในปัจจุบัน
ก. กำรมีสัญชำติไทยของสำมี
ข. กำรเป็นภรรยำที่ถูกต้องตำมกฎหมำยของสำมีสัญชำติไทยในขณะที่ร้องขอสัญชำติ
ค. กำรพิสูจน์ถึงกำรมีควำมรู้ภำษำไทยตำมที่กำหนดในกฎกระทรวง
ง. ถูกทั้ง ก และ ข
93. แนวคิดในเรื่องวิธีกำรพิสูจน์สิทธิในสัญชำติไทยของประเทศไทยปรำกฏอยู่ในกฎหมำยใด
ก. กฎหมำยว่ำด้วยลักษณะพยำน
ข. กฎหมำยคนเข้ำเมือง
ค. กฎหมำยว่ำด้วยกำรทะเบียนรำษฎร
ง. ถูกทุกข้อ
94. ตำมหลักกำรของกฎหมำยว่ำด้วยลักษณะพยำน ได้กำหนดพยำนที่สำมำรถนำมำใช้ในกำร
พิสูจน์สิทธิในสัญชำติ มีกี่ประเภท
ก. 4 ประเภท
ข. 3 ประเภท
ค. 2 ประเภท
ง. 5 ประเภท
525

95. จำกข้อ 94 ข้อใด ไม่ใช่ ประเภทของลักษณะพยำนที่สำมำรถนำมำใช้ในกำรพิสูจน์สิทธิใน


สัญชำติ
ก. พยำนเอกสำร
ข. พยำนผู้เชี่ยวชำญ
ค. พยำนผู้ชำนำญ
ง. พยำนวัตถุ

เฉลยแนวข้อสอบควำมรู้เกี่ยวกับงำนทะเบียนรำษฎร งำนสัญชำติ งำนบัตรประจำตัวประชำชน


งำนทะเบียนชื่อบุคคลและกำรใช้คำนำหน้ำ งำนทะเบียนครอบครัว และงำนทะเบียนพินัยกรรม
1.ง 2.ง 3.ค 4.ก 5.ข 6.ง 7.ง 8.ง 9.ค 10.ข
11.ค 12.ข 13.ง 14.ค 15.ค 16.ค 17.ง 18.ก 19.ก 20.ข
21.ง 22.ค 23.ค 24.ง 25.ข 26.ง 27.ง 28.ง 29.ง 30.ก
31.ข 32.ง 33.ก 34.ค 35.ง 36.ง 37.ง 38.ค 39.ก 40.ข
41.ง 42.ก 43.ง 44.ค 45.ง 46.ง 47.ง 48.ค 49.ค 50.ค
51.ง 52.ง 53.ง 54.ค 55.ก 56.ง 57.ค 58.ค 59.ข 60.ก
61.ข 62.ค 63.ง 64.ก 65.ง 66.ค 67.ข 68.ค 69.ง 70.ง
71.ง 72.ง 73.ง 74.ก 75.ง 76.ข 77.ง 78.ค 79.ก 80.ข
81.ค 82.ข 83.ข 84.ค 85.ง 86.ก 87.ค 88.ค 89.ง 90.ง
91.ง 92.ง 93.ง 94.ก 95.ค
526

แนวข้อสอบงำนอำวุธปืน เครื่องกระสุนปืน วัตถุระเบิด ดอกไม้เพลิงและสิ่งเทียมอำวุธปืน งำน


กำรพนัน งำนควบคุมกำรเรี่ยไร งำนควบคุมกำรขำยทอดตลำดและค้ำของเก่ำ งำนโรงรับจำนำ
งำนโรงแรมและงำนสถำนบริกำร
1. ข้อใดเป็นควำมหมำยของมูลนิธิ
ก. ทรัพย์สินที่จัดสรรไว้โดยเฉพำะสำหรับวัตถุประสงค์เพื่อกำรกุศลสำธำรณะ
ข. โดยมิได้มุ่งหมำยหำผลประโยชน์มำแบ่งปันกัน
ค. ได้จดทะเบียนตำมประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์แล้ว
ง. ถูกทุกข้อ
2. มูลนิธิต้องมีค่ำทรัพย์สินในกำรขอจดทะเบียนจัดตั้งมูลนิธิไม่ต่ำกว่ำเท่ำใด
ก. 500,000 บำท
ข. 1,000,000 บำท
ค. 2,000,000 บำท
ง. 5,000,000 บำท
2. แบบพิมพ์ที่ใช้ในกำรปฏิบัติงำนทะเบียนมูลนิธิมีกี่แบบ
ก. 1แบบ
ข. 2แบบ
ค. 3แบบ
ง. 4แบบ
3. นำยทะเบียนมูลนิธิในเขตกรุงเทพมหำนครคือใคร
ก. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทย
ข. ปลัดกระทรวงมหำดไทย
ค. ผู้อำนวยกำรเขต
ง. อธิบดีกรมกำรปกครอง
4. ในเขตกรุงเทพมหำนครใครเป็นผู้แต่งตั้งและถอดถอนผู้จัดกำรปกครองศำลเจ้ำ
ก. อธิบดีกรมตำรวจ
ข. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทย
ค. อธิบดีกรมกำรปกครอง
ง. ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด
5. รำยได้ของศำลเจ้ำมำจำกอะไร
ก. จำกกำรให้เช่ำที่ดินของศำลเจ้ำ
ข. จำกกำรให้เช่ำอำคำรของศำลเจ้ำ
ค. จำกกำรดำเนินงำนของศำลเจ้ำ
ง. ถูกทุกข้อ
527

6. นำยอำเภอจะต้องรวบรวมเงินรำยได้ของศำลเจ้ำส่งจังหวัดเดือนละ 1 ครั้ง ซึ่งจังหวัด จะเก็บ


รักษำเงินไว้ได้ไม่เกินกี่บำท
ก. 5,000 บำท
ข. 10,000 บำท
ค. 20,000 บำท
ง. 50,000 บำท
7. กำรใช้จ่ำยเงินของศำลเจ้ำจะใช้จ่ำยได้ในกรณีใด
ก. กำรบูรณะซ่อมแซมศำลเจ้ำ
ข. ประโยชน์ต่อกิจกำรของศำลเจ้ำ
ค. กำรบรรเทำทุกข์แก่ผู้ประสบสำธำรณภัย
ง. ถูกทุกข้อ
8. ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดมีอำนำจสั่งจ่ำยเงินเพื่อกิจกำรของศำลเจ้ำได้ไม่เกินกี่บำท
ก. 1,000 บำท
ข. 2,000 บำท
ค. 3,000 บำท
ง. 5,000 บำท
9. แบบพิมพ์ที่ใช้ในกำรปฏิบัติงำนทะเบียนศำลเจ้ำมีกี่แบบ
ก. 2 แบบ
ข. 3 แบบ
ค. 4 แบบ
ง. 5 แบบ
10. ข้อใดไม่ใช่สัตว์พำหนะที่จะต้องทำตั๋วรูปพรรณตำมพระรำชบัญญัติสัตว์พำหนะ พ.ศ. 2482
ก. ช้ำง
ข. อูฐ
ค. กระบือ
ง. ล่อ
11. ในเดือนใดของทุกปี นำยทะเบียนจะต้องประกำศให้รำษฎรนำสัตว์พำหนะไปจดทะเบียนทำ
ตั๋วรูปพรรณ
ก. มกรำคม
ข. กุมภำพันธ์
ค. มีนำคม
ง. เมษำยน
528

12. เรือขนำดใดที่จะต้องจดทะเบียนกำรทำนิติกรรมต่อเจ้ำหน้ำที่ฝ่ำยปกครอง
ก. เรือกำปั่น หรือเรือที่มีระวำงตั้งแต่ 6-20 ตัน
ข. เรือลำน้ำที่ใช้เรือกลขนำดตั้งแต่ 6-50 ตัน
ค. เรือกลขนำดตั้งแต่ 5-10 ตัน
ง. ถูกทุกข้อ
13. กำรย้ำยสัตว์พำหนะจะต้องไปแจ้งต่อนำยทะเบียนท้องที่ใหม่ภำยในกี่วัน
ก. 3 วัน
ข. 15 วัน
ค. 30 วัน
ง. 60 วัน
14. แบบพิมพ์ที่ใช้ในกำรปฏิบัติงำนของทะเบียนสัตว์พำหนะมีกี่แบบ
ก. 15 แบบ
ข. 20 แบบ
ค. 21 แบบ
ง. 23 แบบ
15. นำยทะเบียนสัตว์พำหนะคือใคร
ก. นำยอำเภอ
ข. กำนัน
ค. ปลัดอำเภอผู้เป็นหัวหน้ำประจำกิ่งอำเภอ
ง. ข้อ ก. และ ค. ถูก
16. แบบพิมพ์ที่ใช้ในกำรปฏิบัติงำนทะเบียนมัสยิดอิสลำมมีกี่แบบ
ก. 1 แบบ
ข. 2 แบบ
ค. 3 แบบ
ง. 4 แบบ
17. ใครสำมำรถยื่นคำร้องขอจดทะเบียนจัดตั้งมัสยิดได้
ก. อิหม่ำม
ข. คอเต็บ
ค. บิหลั่น
ง. ถูกทุกข้อ
18. พนักงำนเจ้ำหน้ำที่ตำมพระรำชบัญญัติมัสยิดอิสลำม พ.ศ. 2490 หมำยถึงใคร
ก. ผู้ใหญ่บ้ำน
ข. กำนัน
ค. อิหม่ำม
529

ง. ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด
19. ใครไม่ใช่คณะกรรมกำรสอดส่องพฤติกำรณ์ของสมำคม
ก. ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด
ข. ปลัดจังหวัด
ค. อัยกำรจังหวัด
ง. ผู้กำกับกำรตำรวจจังหวัด
20. สมำคมหมำยถึงอะไร
ก. กำรรวมตัวของกลุ่มบุคคลเพื่อกระทำกำรใดๆเป็นต่อเนื่อง
ข. กำรกระทำนั้นต้องไม่ใช่เป็นกำรหำกำไร หรือหำรำยได้
ค. ต้องจดทะเยนเป็นนิติบุคคล
ง. ถูกทุกข้อ
21. หน่วยงำนที่รับผิดชอบทะเบียนสมำคมคือหน่วยงำนใด
ก. สำนักงำนตำรวจแห่งชำติ
ข. กรมกำรปกครอง
ค. กระทรวงมหำดไทย
ง. ข้อ ก. และ ข. ถูก
22. แบบพิมพ์ที่ใช้ในกำรปฏิบัติงำนทะเบียนสมำคมมีกี่แบบ
ก. 1 แบบ
ข. 2 แบบ
ค. 3 แบบ
ง. 4 แบบ
23. กำรได้รับอนุญำตให้ดำเนินกำรสุสำนและฌำปนสถำนผู้ได้รับอนุญำตจะได้รับอนุญำตครั้งละกี่
ปี
ก. 1 ปี
ข. 2 ปี
ค. 3 ปี
ง. 4 ปี
24. หำกไม่ได้รับอนุญำตให้ดำเนินกำรสุสำนและฌำปนสถำนสำมำรถอุทธรณ์ต่อรัฐมนตรีได้
ภำยในกี่วัน
ก. 15 วัน
ข. 30 วัน
ค. 45 วัน
ง. 60 วัน
530

25. งำนทะเบียนมีวัตถุประสงค์ที่สำคัญคืออะไร
ก. เพื่อเป็นเอกสำรทำงกฎหมำย
ข. เพื่อเป็นข้อมูลทำงสถิติ
ค. เพื่อรักษำสิทธิ์และหน้ำที่ของรำษฎร
ง. ถูกทุกข้อ
26. ข้อใดมิใช่สว่ นของอำวุธปืน
ก. ลูกกระสุน
ข. ลำกล้อง
ค. เครื่องลูกเลื่อน
ง. ซองกระสุน
27. ผู้ใดมิใช่เจ้ำพนักงำนที่มีอำนำจออกหนังสืออนุญำตให้ย้ำยวัตถุระเบิด
ก. ผู้บัญชำกำรตำรวจแห่งชำติ
ข. ปลัดกระทรวงมหำดไทย
ค. ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด
ง. นำยอำเภอ
28. ข้อใดกล่ำวถูกต้อง
ก. กระสุนโดดปืนยำวทุกชนิด อนุญำตให้นำเข้ำได้ครำวละไม่เกิน 200 นัด
ข. กระสุนปืนพกทุกชนิด อนุญำตให้นำเข้ำได้ครำวละไม่เกิน 50 นัด
ค. กระสุนปืนลูกซองแบ่งเป็น 5 ขนำด
ง. ไม่มีข้อใดถูก
29. ทะเบียนอำวุธปืนหมำยควำมรวมถึงข้อใด
ก. วัตถุระเบิด
ข. ดอกไม้เพลิง
ค. สิ่งเทียมอำวุธปืน
ง. ถูกทุกข้อ
30. ร้ำนอำวุธปืนจะมีอำวุธปืนสั้นสำหรับกำรค้ำหมุนเวียนทดแทนกันได้ไม่เกินกี่กระบอก
ก. ไม่เกินใบอนุญำตละ 30 กระบอก
ข. ไม่เกินใบอนุญำตละ 40 กระบอก
ค. ไม่เกินใบอนุญำตละ 50 กระบอก
ง. ไม่เกินใบอนุญำตละ 100 กระบอก
31. ทะเบียนอำวุธปืนไม่หมำยควำมรวมถึงข้อใด
ก. อำวุธปืนที่ใช้ในรำชกำรทหำร
ข. อำวุธปืนที่ใช้ในรำชกำรตำรวจ
ค. ดอกไม้เพลิงหลังสัญญำณประจำเรือเดินทะเล
531

ง. ถูกทุกข้อ
32. กรณีที่ขออนุญำตมีอำวุธปืนติดตัวทั่วรำชอำณำจักรใครเป็นผู้อนุญำต
ก. ผู้บัญชำกำรตำรวจแห่งชำติ
ข. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทย
ค. อธิบดีกรมกำรปกครอง
ง. ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด
33. แบบพิมพ์ในกำรปฏิบัติงำนของทะเบียนอำวุธปืนมีกี่แบบ
ก. 7 แบบ
ข. 12 แบบ
ค. 14 แบบ
ง. 15 แบบ
34. นำยทะเบียนจะออกใบอนุญำตให้บุคคลทำวัตถุระเบิดได้หรือไม่
ก. ไม่ได้ เว้นแต่เพื่อควำมสงบเรียบร้อยของประชำชน
ข. ได้ โดยได้รับอนุมัติจำกผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด
ค. ไม่ได้ เว้นแต่มีเหตุอันสมควร
ง. ได้ โดยได้รับอนุมัติจำกรัฐมนตรี
35. จุดประสงค์ในกำรออกใบอนุญำตให้มีอำวุธปืนคือข้อใด
ก. เพื่อรักษำควำมสงบเรียบร้อย
ข. ป้องกันตัวหรือกำรกีฬำ
ค. เพื่อล่ำสัตว์เท่ำนั้น
ง. เพื่อควำมปลอดภัยของตนเองและบุคคลภำยนอก
36. กำรขออนุญำตมีและใช้อำวุธปืนและเครื่องกระสุนปืนของบุคคลทั่วไป ผู้ขอต้องมีชื่ออยู่ใน
ทะเบียนบ้ำนที่นำไปประกอบกำรขออนุญำตไม่น้อยกว่ำกี่เดือน
ก. ไม่น้อยกว่ำ 6 เดือน
ข. ไม่น้อยกว่ำ 5 เดือน
ค. ไม่น้อยกว่ำ 4 เดือน
ง. ไม่น้อยกว่ำ 3 เดือน
37. ใบอนุญำตให้ค้ำดอกไม้เพลิงมีอำยุใช้ได้กี่ปี
ก. 1 ปี
ข. 2 ปี
ค. 3 ปี
ง. ใช้ได้ตลอดไปจนกว่ำจะเปลี่ยนแปลง
532

38. ในเขตกรุงเทพมหำนครใครเป็นนำยทะเบียนตำมพระรำชบัญญัติอำวุธปืน เครื่องกระสุนปืน


วัตถุระเบิดดอกไม้เพลิง และสิ่งเทียมอำวุธปืนนี้
ก. ปลัดกรุงเทพมหำนคร
ข. เจ้ำพนักงำนตำรวจยศร้อยตำรวจตรีขึ้นไป
ค. สัสดี
ง. ผู้บังคับกำรกองทะเบียน
39. ในจังหวัดอื่นนอกจำกกรุงเทพมหำนครใครเป็นนำยทะเบียน
ก. ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด
ข. ผู้กำกับกำรสถำนีตำรวจ
ค. นำยอำเภอ
ง. ปลัดจังหวัด
40. ใครเป็นผู้มีอำนำจแต่งตั้งนำยทะเบียนตำมพระรำชบัญญัติอำวุธปืน เครื่องกระสุนปืน วัตถุ
ระเบิด ดอกไม้เพลิงและสิ่งเทียมอำวุธปืนนี้
ก. นำยกรัฐมนตรี
ข. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทย
ค. รัฐมนตรีผู้ได้รับมอบหมำยจำกนำยกรัฐมนตรี
ง. ผู้บญั ชำกำรตำรวจแห่งชำติ
41. รั ฐ มนตรี ว่ ำ กำรกระทรวงมหำดไทยไม่ มี อ ำนำจออกกฎกระทรวงในเรื่ อ งใด ตำม
พระรำชบัญญัติอำวุธปืน เครื่องกระสุนปืน วัตถุระเบิด ดอกไม้เพลิง และสิ่งเทียมอำวุธปืนนี้
ก. จำกัดชนิด และจำนวนอำวุธปืนของกระทรวงกำรคลัง
ข. จำกัดชนิดและจำนวนอำวุธปืนของกระทรวงกลำโหม
ค. วำงระเบียบกำรออกใบอนุญำต
ง. กำหนดอัตรำค่ำธรรมเนียม
42. ถ้ำอำวุธปืนที่ได้รับอนุญำตสูญหำยจะต้องดำเนินกำรอย่ำงไร
ก. นำปืนกระบอกใหม่มำขอจดทะเบียน
ข. แจ้งควำมต่อเจ้ำหน้ำที่ตำรวจเพื่อขอออกใบอนุญำตใหม่
ค. สำมำรถนำปืนกระบอกใหม่มำใช้ได้ เนื่องจำกมีใบอนุญำตเดิมอยู่แล้ว
ง. ส่งมอบใบอนุญำตต่อนำยทะเบียน
43. อำวุธปืนที่นำเข้ำเมื่อได้รับมอบไปจำกพนักงำนศุลกำกรแล้วจะต้องไปขอใบอนุญำตต่อนำย
ทะเบียนภำยในกี่วัน
ก. 7 วัน
ข. 10 วัน
ค. 15วัน
ง. 30 วัน
533

44. ข้อใดมิใช่วัตถุประสงค์ของพระรำชบัญญัติอำวุธปืนฯ พ.ศ. 2490


ก. เพื่อลดปริมำณกำรมีและกำรใช้อำวุธปืน
ข. เพื่อให้ประชำชนผู้ให้ควำมร่วมมือกับทำงรำชกำรสำมำรถใช้อำวุธบำงประเภทได้
ค. เพื่อแก้ไขโทษที่ใช้ลงแก่ผู้กระทำควำมผิดให้เหมำะสมกับสถำนกำรณ์
ง. เพื่อกำหนดควำมหมำยของอำวุธที่ใช้ในสงครำมให้มีควำมชัดเจนยิ่งขึ้น
45. ตำมพระรำชบัญญัติอำวุธปืนฯ พ.ศ. 2490 มิให้ใช้ข้อบังคับกับอำวุธปืนและเครื่องกระสุน
ประจำสิ่งใด ซึ่งได้แสดงและให้พนักงำนศุลกำกรตรวจแล้ว
ก. รถไฟ
ข. เรือเดินทะเล
ค. อำกำศยำน
ง. ถูกทุกข้อ
46. ส่วนของอำวุธปืนตำมข้อใดให้ถือว่ำเป็นอำวุธปืน
ก. ลำกล้อง
ข. เครื่องลูกเลื่อน
ค. เครื่องลั่นไก
ง. ถูกทุกข้อ
47. กำรพำอำวุธปืนติดตัวเข้ำไปในที่ใดไม่เป็นควำมผิดตำมพระรำชบัญญัติอำวุธปืนฯ พ.ศ. 2490
มำตรำ 8 ทวิ วรรคหนึ่ง
ก. ในเมือง
ข. ในหมู่บ้ำน
ค. ในเขตที่ดินของตนเอง
ง. ข้อ ก. และ ข. ถูก
48. ข้อใดมิใช่วัตถุประสงค์ของกำรใช้อำวุธปืนที่จะออกใบอนุญำตให้ได้ตำมพระรำชบัญญัติอำวุธ
ปืนฯ พ.ศ. 2490 มำตรำ 9
ก. ใช้ยิงสัตว์
ข. ใช้ในกำรศึกษำ
ค. ใช้ในกำรกีฬำ
ง. ข้อ ก. และ ข. ถูก
49. กำรออกใบอนุญำตให้มีอำวุธปืนเพื่อเก็บนั้น จะต้องอยู่ภำยใต้เงื่อนไขประกำรใด
ก. ประสิทธิภำพทำลำยน้อย
ข. เป็นอำวุธปืนแบบพ้นสมัย
ค. เป็นอำวุธปืนที่ใช้ในกำรแข่งขันกีฬำ
ง. ข้อ ก. และ ข. ถูก
534

50. ใบอนุญำตให้ซื้ออำวุธปืนหรือเครื่องกระสุนปืนมีอำยุเท่ำใดนับแต่วันออก
ก. 1 เดือน
ข. 2 เดือน
ค. 3 เดือน
ง. 6 เดือน
51. กรณีนำเข้ำวัตถุระเบิดสำหรั บกำรค้ำ หำกผู้นำเข้ำไม่นำใบอนุญำตให้มีและใช้มำรับเอำไป
ภำยในกำหนดเวลำ
เท่ำใด ให้วัตถุระเบิดนั้นตกเป็นของแผ่นดิน
ก. 3 เดือน
ข. 6 เดือน
ค. 1 ปี
ง. 2 ปี
52. ข้อใดถือเป็นกำรโอนอำวุธปืนตำมพระรำชบัญญัติอำวุธปืนฯ พ.ศ. 2490 มำตรำ 59
ก. จำนำ
ข. ให้เช่ำ
ค. แลกเปลี่ยน
ง. ข้อ ก. และ ข. ถูก
53. กรณีใบอนุญำตสูญหำย ผู้รับใบอนุญำตต้องยื่นคำขอรับใบแทนอนุญำตต่อนำยทะเบียนท้องที่
ภำยในเวลำ
ก. 30 วัน
ข. 15 วัน
ค. 10 วัน
ง. 7 วัน
54. ข้อ ใดมิใช่วัตถุประสงค์ของพระรำชบัญญัติอำวุธปืนฯ พ.ศ. 2490
ก. เพื่อจัดระเบียบกำรมีและกำรใช้อำวุธปืน
ข. เพื่อเพิ่มอัตรำโทษให้สูงขึ้นโดยไม่ต้องใช้ดุลพินิจ
ค. เพื่อให้รัฐวิสำหกิจต่ำงๆ สำมำรถมีและใช้อำวุธปืนได้ตำมควำมเหมำะสม
ง. เพื่อรักษำควำมสงบสุขและลดจำนวนควำมรุนแรงในกำรก่ออำชญำกรรม
55. ตำมพระรำชบัญญัติอำวุธปืนฯ พ.ศ. 2490 มิให้ใช้ ข้อบังคับกับดอกไม้เพลิงสัญญำณประจำ
สิ่งใด
ก. สนำมบิน
ข. อำกำศยำน
ค. เรือเดินทะเล
ง. ถูกทุกข้อ
535

56. ดอกไม้เพลิงหมำยรวมถึงข้อใด
ก. พลุ
ข. ประทัดไฟ
ค. ประทัดลม
ง. ถูกทุกข้อ
57. กำรพำอำวุธปืนติดตัวเข้ำไปในที่ใดไม่เป็นควำมผิดตำมพระรำชบัญญัติอำวุธปืนฯ พ.ศ. 2490
มำตรำ 8 ทวิวรรคหนึ่ง
ก. ในเมือง
ข. ในหมู่บ้ำน
ค. ในเขตทีด่ ินของตนเอง
ง. ข้อ ก. และ ข. ถูก
58. ข้อใดมิใช่วัตถุประสงค์ของกำรใช้อำวุธปืนที่จะออกใบอนุญำตให้ได้ตำมพระรำชบัญญัติอำวุธ
ปืนฯ พ.ศ. 2490 มำตรำ 9
ก. ใช้ในกำรวิจัย
ข. ใช้ในกำรกีฬำ
ค. ใช้ในกำรป้องกันตัว
ง. ข้อ ก. และ ข. ถูก
59. กำรออกใบอนุญำตให้มีอำวุธปืนเพื่อเก็บนั้น จะต้องอยู่ภำยใต้เงื่อนไขประกำรใด
ก. ใช้ในกำรกีฬำ
ข. เป็นอำวุธปืนล้ำสมัย
ค. อำวุธปืนซึ่งได้รับเป็นรำงวัลจำกกำรแข่งขันยิงปืนในทำงรำชกำร
ง. ข้อ ก. และ ข. ถูก
60. ใบอนุญำตสั่งหรือนำเข้ำอำวุธปืนหรือเครื่องกระสุนปืนมีอำยุเท่ำใดนับแต่วันออก
ก. 1 เดือน
ข. 3เดือน
ค. 6เดือน
ง. 1 ปี
61. กรณีสั่งวัตถุระเบิดที่มิใช่สำหรับกำรค้ำ หำกผู้นำเข้ำไม่ทำใบอนุญำตให้มีและใช้มำรับเอำไป
ภำยในกำหนดเวลำเท่ำใด ให้วัตถุระเบิดนั้นตกเป็นของแผ่นดิน
ก. 30 วัน
ข. 60 วัน
ค. 1 เดือน
ง. 1 ปี
536

62. ข้อใดถือเป็นกำรโอนวัตถุระเบิดตำมพระรำชบัญญัติอำวุธปืนฯ พ.ศ. 2490 มำตรำ 59


ก. ซื้อขำย
ข. จำนำ
ค. ให้เช่ำ
ง. ข้อ ก. และ ข. ถูก
63. กรณีใบแทนอนุญำตที่สูญหำยได้คืนในภำยหลัง ผู้รับใบอนุญำตต้องส่งคื นใบแทนแก่นำย
ทะเบียนท้องที่ภำยในเวลำเท่ำใด
ก. 30 วัน
ข. 15 วัน
ค. 10 วัน
ง. 7 วัน
64. กำรขออนุญำตมีปืนเพื่อกำรยิงสัตว์เจ้ำหน้ำที่จะอนุญำตเป็นปืนชนิดใด
ก. ปืนกล
ข. ปืนยำว
ค. ปืนเล็กสั้น
ง. ปืนยิงเร็ว
65. กรณีที่รัฐบำลเห็นว่ำสถำนที่ใดสมควรจะอนุญ ำตให้มีกำรเล่นพนันได้ก็จะต้องอนุญำตโดย
ออกเป็นกฎหมำยตำมข้อใด
ก. พระรำชกำหนด
ข. พระรำชกฤษฎีกำ
ค. กฎกระทรวง
ง. ระเบียบกระทรวง
66. ผู้ใดอยู่ในวงเล่นกำรพนัน ให้สันนิษฐำนไว้ก่อนว่ำผู้นั้นเล่นด้วย ยกเว้นข้อใด
ก. ผู้นั้นเพียงแต่ดูกำรเล่นในงำนรื่นเริงสำธำรณะ
ข. ผู้นั้นเพียงแต่ดูกำรเล่นในงำนนักขัตฤกษ์
ค. ผู้นั้นเพียงแต่ดูกำรเล่นในที่สำธำรณสถำน
ง. ถูกทุกข้อ
67. บุคคลอำยุต่ำกว่ำกี่ปีที่ห้ำมมิให้เข้ำไปเล่นกำรพนัน
ก. 17 ปี
ข. 18 ปี
ค. 20 ปี
ง.25 ปี
537

68. กำรพนันตำมข้อใด ที่จะต้องส่งสลำกกำรเล่นให้เจ้ำพนักงำนผู้ออกใบอนุญำตประทับตรำ


เสียก่อน จึงจะนำออกจำหน่ำยได้
ก. สลำกกินรวบ
ข. สลำกกินแบ่ง
ค. สวีป
ง. ถูกทุกข้อ
69. ข้อใดกล่ำวถูกต้อง
ก. กำรพนันไม่ก่อให้เกิดหนี้
ข. กำรพนันจะทวงคืนไม่ได้
ค. กำรพนันไม่สำมำรถหำมูลหนี้อย่ำงหนึ่งอย่ำงใดได้
ง. ถูกทุกข้อ
70. ข้อใดที่ผู้ยืมไม่ต้องใช้เงินคืน
ก. นำยแดงยืมเงินนำยขำวไปซื้อสลำกกินแบ่ง
ข. นำยทรงยืมเงินนำยต้อมไปเพื่อนำไปเล่นมวยที่เวทีรำชดำเนิน
ค. นำยกิตยืมเงินนำงสำวนิดไปเล่นมวยตู้
ง. นำยหนึ่งยืมเงินนำยเอกไปเพื่อเล่นม้ำที่สนำมม้ำนำงเลิ้ง
71. นำยแดงเป็นเจ้ำหนี้พนันบอลของนำยเขียว ดังนี้
ก. นำยเขียวต้องใช้เงินคืนให้แก่นำยแดง
ข. นำยเขียวต้องใช้เงินคืนให้แก่นำยแดงเมื่อถูกทวงถำม
ค. นำยเขียวไม่ต้องใช้เงินคืนให้แก่นำยแดง
ง. นำยเขียวไม่ต้องใช้เงินคืนให้แก่นำยแดงแต่ต้องได้รับควำมยินยอมจำกนำยแดง
72. ข้อใดกล่ำวถูกต้อง
ก. เงินที่ให้ยืมแก่บุคคลที่กำลังเล่นกำรพนันไม่ถือว่ำเป็นเงินที่ใช้เล่นกำรพนัน
ข. เงินที่ให้ยืมแก่บุคคลที่กำลังเล่นกำรพนันถือว่ำเป็นเงินที่ใช้เล่นกำรพนัน
ค. เงินที่ให้ยืมแก่บุคคลที่กำลังเล่นกำรพนันผู้ยืมต้องนำมำใช้คืน
ง. เงินที่ให้ยืมแก่บุคคลที่กำลังเล่นกำรพนันให้สันนิษฐำนไว้ก่อนว่ำเป็นเงินที่ให้ยืมไปเพื่อ
เล่นกำรพนัน
73. ข้อใดกล่ำวถูกต้องเกี่ยวกับกำรพนัน
ก. เป็นสิ่งที่อยู่กับมนุษย์มำตั้งแต่บรรพกำล
ข. เป็นสิ่งที่อยู่คู่กับสังคมไทยมำนำน
ค. แต่เดิมบ่อนพนันเป็นสิ่งที่ถูกต้องตำมกฎหมำย
ง. ถูกทุกข้อ
74. กำรพนันตำมข้อใดมีผลผูกพันธ์ผู้พนันทั้ง 2 ฝ่ำย
ก. มวยตู้
538

ข. ปลำกัด
ค. ไพ่ป๊อก
ง. สลำกกินแบ่ง
75. กำรพนันตำมบัญชีใดที่ห้ำมมิให้อนุญำตจัดให้มีหรือเข้ำเล่น
ก. บัญชี ก.
ข. บัญชี ข.
ค. บัญชี ค.
ง. บัญชี ง.
76. ข้อใดกล่ำวถูกต้องเกี่ยวกับกำรพนันตำมข้อ 790.
ก. เป็นกำรพนัน
ข. ไม่เป็นสิ่งที่มอมเมำประชำชนมำกนัก
ค. ไม่ส่งผลกระทบต่อสังคม
ง. ต้องมีกฎหมำยให้เล่นได้
77. กำรพนันตำมบัญชีใดที่จะพนันกันได้เมื่อมีใบอนุญำตให้จัดมีขึ้น
ก. บัญชี ก.
ข. บัญชี ข.
ค. บัญชี ค.
ง. บัญชี ง.
78. ข้อใดมิใช่กำรพนันตำมบัญชี ข.
ก. วิ่งวัวคน
ข. โยนห่วง
ค. ยิงเป้ำ
ง. ไฮโลว์
79. ข้อใดเป็นกำรพนันอื่นใดนอกจำกกำรเล่นพนันตำมบัญชี ก. และบัญชี ข.
ก. บิลเลียด
ข. ฟุตบอลโต๊ะ
ค. สลำกกินแบ่ง
ง. ว่ำยน้ำพนันกัน
80. สลำกที่จำหน่ำยแก่ผู้ถือเพื่อรับสิ่งของเป็นรำงวัลในกำรเสี่ยงโชค โดยผู้จำหน่ำยรวมเงินค่ำ
สลำกไว้ทั้งหมด มีชื่อเรียกตำมข้อใด
ก. สลำกกินแบ่ง
ข. สลำกกินรวบ
ค. สลำกเอกชน
ง. สวีป
539

81. บทสันนิษฐำนตำมกฎหมำยกำรพนันเกี่ยวกับผู้จัดให้มีกำรพนันคือข้อใด
ก. จัดเพื่อควำมบันเทิง
ข. จัดเพื่อรอกำรขออนุญำตจำกเจ้ำพนักงำน
ค. จัดเพื่อผลประโยชน์แห่งตน
ง. จัดเพื่อผู้เข้ำเล่นพนัน
82. บทสันนิษฐำนตำมกฎหมำยกำรพนันสำหรับผู้อยู่ในวงกำรเล่นพนันคือข้อใด
ก. เป็นผู้เล่นพนัน
ข. เป็นผู้จัดให้มีกำรเล่น
ค. เป็นพยำน
ง. พนันเอำเงิน
83. สิ่งใดที่สำมำรถริบได้เมื่อมีกำรจับได้ในวงกำรเล่นพนัน
ก. เครื่องมือในกำรเล่นพนัน
ข. ประกำศเกี่ยวกับกำรเล่นพนัน
ค. เอกสำรเกี่ยวกับกำรเล่นพนัน
ง. ถูกทุกข้อ
84. ข้อใดกล่ำวถูกต้องเกี่ยวกับกำรพนัน
ก. พนันกันได้เฉพำะเงินเท่ำนั้น
ข. พนันกันได้เฉพำะสิ่งอื่นนอกจำกเงินเท่ำนั้น
ค. เป็นกำรเล่นเสี่ยงโชค
ง. ไม่มีโทษทำงอำญำ
85. ข้อใดเป็นกำรเล่นตำมบัญชี ก.
ก. หวย ก. ข.
ข. โปปั่น
ค. ถั่ว
ง. ถูกทุกข้อ
86. ประเทศไทยเคยมีกำรอนุญำตจัดตั้งสถำนคำสิโนขึ้นที่ใด
ก. หำดใหญ่
ข. หัวหิน
ค. เบตง
ง. ขอนแก่น
87. กำรพนันตำมบัญชี ข. ต้องมีกฎหมำยในข้อใดจึงจะจัดขึ้นได้โดยไม่ต้องมีใบอนุญำต
ก. รัฐธรรมนูญ
ข. พระรำชบัญญัติ
ค. พระรำชกำหนด
540

ง. กฎกระทรวง
88. ข้อใดเป็นกำรพนันตำมบัญชี ข.
ก. ชกมวย
ข. ชี้รูป
ค. ตกเบ็ด
ง. ถูกทุกข้อ
89. ข้อใดเป็นกำรพนันอื่นใดนอกจำกกำรเล่นพนันตำมบัญชี ก. และบัญชี ข.
ก. สล็อตแมชชีน
ข. ปั่นแปะ
ค. พนันทำยฟุตบอล
ง. ไพ่สำมใบ
90. สลำกที่จัดให้มีขึ้นเพื่อขำยให้แก่ผู้เล่นเป็นกำรเสี่ยงโชค โดยมีกำรให้รำงวัลที่แบ่งเป็นหลำย
รำงวัลแก่ผู้เล่นซึ่งถือสลำกเลขหมำยรำงวัลนี้ออกตำมวิธีกำรที่กำหนดมีชื่อเรียกตำมข้อใด
ก. สลำกกินแบ่ง
ข. สลำกกินรวบ
ค. สลำกเอกชน
ง. สวีป
91. บทสันนิษฐำนตำมกฎหมำยกำรพนันสำหรับผู้เข้ำเล่นอยู่ด้วยคือข้อใด
ก. เป็นพยำน
ข. เป็นผู้จัดให้มีกำรเล่น
ค. เพือ่ พนันเอำเงินหรือทรัพย์สิน
ง. เป็นผู้บริสุทธิ์
92. ผู้ที่ไม่อยู่ในบทสันนิษฐำนว่ำอยู่ในวงกำรเล่นพนันเป็นผู้เล่นพนันคือข้อใด
ก. ดูแลกำรเล่นในงำนรื่นเริงสำธำรณะ
ข. ดูกำรเล่นในงำนนักขัตฤกษ์
ค. ดูกำรเล่นในที่สำธำรณะสถำน
ง. ถูกทุกข้อ
93. เครื่องมือที่ใช้ในกำรเล่นพนัน ใครมีอำนำจริบได้ตำมกฎหมำย
ก. ตำรวจ
ข. กรมกำรอำเภอ
ค. ศำล
ง. ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด
94. สินบนนำจับ ที่ศำลจะจ่ำยให้แก่ผู้นำจับกำรเล่นพนัน คืออัตรำใด
ก. 1 ใน 3 ของจำนวนเงินค่ำปรับ
541

ข. 2 ใน 3 ของจำนวนเงินค่ำปรับ
ค. กึ่งหนึ่งของจำนวนเงินค่ำปรับ
ง. 3 ใน 5 ของจำนวนเงินค่ำปรับ
95. กำรเรี่ยไรตำมข้อใดต้องห้ำมตำมพระรำชบัญญัติควบคุมกำรเรี่ยไร พ.ศ.2487
ก. เรี่ยไรเพื่อรวบรวมทรัพย์สินมำให้หรือชดใช้แก่จำเลย เพื่อใช้เป็นค่ำปรับ
ข. เรี่ยไรจัดหำยุทธภัณฑ์ให้แก่ต่ำงประเทศ
ค. เรี่ยไรอันอำจเป็นเหตุกระทบกระเทือนอย่ำงรุนแรงถึงทำงสัมพันธ์ไมตรีกับต่ำงประเทศ
ง. ถูกทุกข้อ
96. บุคคลตำมข้อใดมิใช่คณะกรรมกำรควบคุมกำรเรี่ยไร
ก. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทย
ข. ปลัดกระทรวงมหำดไทย
ค. ผู้แทนกระทรวงกำรคลัง
ง. ผู้แทน กระทรวงศึกษำธิกำร
97. กำรเรี่ยไรตำมข้อใด จะจัดให้มีขึ้นได้ต่อเมื่อได้รับอนุญำตจำกพนักงำนเจ้ำหน้ำที่แล้ว
ก. กำรเรี่ยไรในถนนหลวง
ข. กำรเรี่ยไรโดยกำรโฆษณำด้วยสิ่งพิมพ์
ค. กำรเรี่ยไรโดยกำรโฆษณำด้วยวิทยุกระจำยเสียง
ง. ถูกทุกข้อ
98. จำกข้อ 812.กำรเรี่ยไร ตำมข้อใดที่ไม่ต้องรับอนุญำตจำกพนักงำนเจ้ำหน้ำที่
ก. กำรเรี่ยไรซึ่งได้รับอนุญำตจำกคณะกรรมกำรควบคุมกำรเรี่ยไร
ข. กำรเรี่ยไรเพื่อกุศลสงเครำะห์ในโอกำสนี้บุคคลชุมชนกับประกอบศำสนกิจ
ค. กำรเรี่ยไร โดยขำยสิ่งของในงำนออกร้ำน
ง. ถูกทุกข้อ
99. ข้อใดไม่ใช่เงื่อนไขที่คณะกรรมกำรควบคุมกำรเรี่ยไรกำหนดเพื่อจะอนุญำตหรือไม่อนุญำตให้
มีกำรเรี่ยไร
ก. จำนวนเงินอย่ำงสูงที่ให้เรี่ยไรได้
ข. วัตถุประสงค์ของกำรเรี่ยไร
ค. กำหนดระยะเวลำกำรเรี่ยไร
ง. ใช้เก็บรักษำและทำบัญชีเงิน
100. กรณีพนักงำนเจ้ำหน้ำที่มีคำสั่งไม่อนุญำตให้มีกำรเรี่ยไรจะต้องแจ้งให้ผู้ขอรับอนุญำตทรำบ
ภำยในกี่วัน
ก. 7 วัน
ข. 10 วัน
ค. 15 วัน
542

ง. 30 วัน
101. บุคคลตำมข้อใดไม่ต้องห้ำมมิให้อนุญำตให้จัดให้มีกำรเรี่ยไร
ก. นำยสม อำยุ 20 ปี บริบูรณ์
ข. นำยสำถูกศำลสั่งให้เป็นคนเสมือนไร้ควำมสำมำรถ
ค. นำงสำยเคยต้องโทษฐำนลักทรัพย์ และพ้นโทษมำแล้วยังไม่เกิน 5 ปี
ง. ถูกทุกข้อ
102. ผู้ขออนุญำตมีสิทธิอุทธรณ์คำสั่งไม่อนุญำตตำมข้อ 182 ได้ภำยในกี่วัน
ก. 7 วัน
ข. 10 วัน
ค. 15 วัน
ง. 30 วัน
103. ใครรักษำกำรตำมพระรำชบัญญัติควบคุมกำรเรี่ยไร พ.ศ.2487 นี้
ก. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทย
ข. ปลัดกระทรวงมหำดไทย
ค. ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด
ง. นำยอำเภอ
104. กำรเรี่ยไรซึ่งอ้ำงว่ำเพื่อประโยชน์แก่สำธำรณะประโยชน์จะจัดให้มีได้เมื่อได้รับอนุญำตจำก
ใคร
ก. คณะกรรมกำรควบคุมกำรเรี่ยไร
ข. ปลัดกระทรวงมหำดไทย
ค. ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด
ง. นำยอำเภอ
105. ใครปฏิบัติถูกต้องที่สุดในกำรยื่นขออนุญำตกำรขำยทอดตลำดและค้ำของเกำกรณีผู้ยื่นอยู่
ต่ำงจังหวัด
ก. สุธรรมยื่นขออนุญำตที่ที่ว่ำกำรอำเภอที่จะดำเนินกำรขำยทอดตลำดและค้ำของเก่ำ
ข. สุทัศน์ยื่นขออนุญำตที่ที่ว่ำกำรกิ่งอำเภอที่จะดำเนินกำรขำยทอดตลำด และค้ำของเก่ำ
ค. ทั้งสุธรรมและสุทัศน์ปฏิบัติถูกต้องแล้ว
ง. สุธรรมปฏิบัติถูกต้องแต่สุทัศน์ปฏิบัติไม่ถูกต้อง
106. กำรค้ำของเก่ำหมำยควำมรวมถึงข้อใด
ก. กำรค้ำโบรำณวัตถุหรือศิลปวัตถุ
ข. กำรค้ำเพชร พลอย ทอง นำค เงิน หรืออัญมณี
ค. กำรขำยของที่หลุดจำกโรงรับจำนำ
ง. ถูกทุกข้อ
543

107. กำรยื่นขอจดทะเบียนกำรขำยทอดตลำดและค้ำของเก่ำในกรุงเทพมหำนครให้ยื่นที่ใด
ก. ศำลำว่ำกำรกรุงเทพมหำนคร
ข. สำนักงำนเขตที่จะดำเนินกำรขำยทอดตลำด และค้ำของเก่ำ
ค. กองบัญชำกำรตำรวจสอบสวนกลำง
ง. สถำนีตำรวจนครบำลในพื้นที่ที่จะดำเนินกำรขำยทอดตลำดและค้ำของเก่ำ
108. “กำรขำยทรัพย์สินโดยเปิดเผยต่อมหำชนด้วยวิธีกำรให้โอกำสแก่ผู้ซื้อประเมินรำคำ ผู้ใดให้
รำคำสูงก็มีสิทธิซื้อทรัพย์สินนั้นได้” หมำยถึงอะไร
ก. กำรซื้อขำย
ข. กำรขำยทอดตลำด
ค. กำรประมูล
ง. กำรประกวดรำคำ
109. กรณีที่ไม่ออกใบอนุญำตกำรขำยทอดตลำดและค้ำของเก่ำให้สำมำรถอุทธรณ์ต่อรัฐมนตรี
ภำยในกี่วัน
ก. 3 วัน
ข. 10 วัน
ค. 15 วัน
ง. 30 วัน
110. ข้อใดมิใช่เอกสำรประกอบกำรขออนุญำตจดทะเบียนกำรขำยทอดตลำดและค้ำของเก่ำ
ก. ทะเบียนสมรส
ข. สำเนำทะเบียนบ้ำน
ค. รูปถ่ำย
ง. ทะเบียนพำณิชย์
111. เอกสำรกำรขออนุญำตจดทะเบียนกำรขำยทอดตลำดและค้ำของเก่ำมีกี่อย่ำง
ก. 5 อย่ำง
ข. 6 อย่ำง
ค. 7 อย่ำง
ง. 8 อย่ำง
112. บุคคลตำมข้อใดที่มีคุณสมบัติที่สำมำรถขออนุญำตจดทะเบียนกำรค้ำของเก่ำได้
ก. นำยตุ้มอำยุ 18 ปี บริบูรณ์
ข. นำยทรงฤทธิ์มีควำมรู้ภำษำไทยพออ่ำนออกเขียนได้
ค. นำงสำวนิดมีควำมรู้ในเรื่องของเก่ำเป็นอย่ำงดี
ง. นำงสำวนกมีทุนทรัพย์ในกำรดำเนินกำร
113. ข้อใดกล่ำวถูกต้อง
ก. นิติบุคคลจะขออนุญำตจดทะเบียนกำรค้ำของเก่ำไม่ได้
544

ข. นิติบุคคลสำมำรถขออนุญำตจดทะเบียนกำรค้ำของเก่ำได้ทุกกรณี
ค. นิติบุคคลขออนุญำตจดทะเบียนกำรค้ำของเก่ำได้เมื่อได้รับอนุญำตจำกผู้ว่ำรำชกำร
จังหวัด
ง. นิติบุคคลขออนุญำตจดทะเบียนกำรค้ำของเก่ำได้โดยผู้ยื่นต้องเป็นผู้มีอำนำจทำกำรแทน
นิติบุคคล
114. อัตรำค่ำธรรมเนียมใบอนุญำตกำรขำยทอดตลำดเป็นไปตำมข้อใด
ก. ปีละ 5,000 บำท
ข. ปีละ 10,000 บำท
ค. ปีละ 15,000 บำท
ง. ปีละ 20,000 บำท
115. กำรค้ำของเก่ำมีกี่ประเภท
ก.2 ประเภท
ข. 3 ประเภท
ค. 4 ประเภท
ง. 5 ประเภท
116. กำรค้ำของเก่ำประเภทรถยนต์ต้องเสียค่ำธรรมเนียมในอัตรำเท่ำไร
ก. ปีละ 12,500 บำท
ข. ปีละ 10,000 บำท
ค. ปีละ 7,500 บำท
ง. ปีละ 5,000 บำท
117. ข้อใดกล่ำวถูกต้อง
ก. กำรค้ำของเก่ำจะทำหลำยประเภทไม่ได้
ข. กำรค้ำของเก่ำหลำยประเภทให้เรียกเก็บค่ำธรรมเนียมในประเภทที่สูงกว่ำเพียงประเภท
เดียว
ค. กำรค้ำของเก่ำหลำยประเภทให้เรียกเก็บค่ำธรรมเนียมทุกประเภท
ง. ไม่มีข้อใดถูก

118. ข้อใดไม่ใช่วัตถุประสงค์ของกำรก่อตั้งสมำคม
ก. หำรำยได้มำช่วยเหลือคนตำบอด
ข. หำรำยได้มำแบ่งปันให้กับสมำชิกของสมำคม
ค. เพื่อช่วยเหลือนักกีฬำโอลิมปิกไทย
ง. นำที่ดินของสมำคมไปสร้ำงศูนย์กำรค้ำ
119. ข้อใดเป็นชื่อของสมำคมที่ถูกต้อง
ก. สมำคมวิศวกรและสถำปนิก
545

ข. สมำคมผู้ค้ำทองแท่ง
ค. ปทุมทองสมำคม
ง. ถูกทุกข้อ
120. บุคคลใดเป็นผู้แทนของสมำคมในกิจกำรอันเกี่ยวกับบุคคลภำยนอก
ก. คณะกรรมกำรสมำคม
ข. กรรมกำรของสมำคม
ค. สมำชิกของสมำคม
ง. ประธำนคณะกรรมกำรของสมำคม
121. หำกมีกำรเลิกสมำคม เมื่อได้มีกำรชำระบัญชีกันเสร็จแล้ว ถ้ำมีทรัพย์สินเหลืออยู่ต้องจัดกำร
ทรัพย์สินอย่ำงไร
ก. แบ่งทรัพย์สินให้แก่สมำชิกสมำคม
ข. โอนทรัพย์สินให้แก่สมำคมหรือมูลนิธิหรือนิติบุคคลที่มีวัตถุประสงค์เกี่ยวกับสำธำรณ
กุศล ตำมที่ข้อบังคับของสมำคมระบุไว้
ค. ให้คณะกรรมกำรของสมำคมจัดกำรทรัพย์สิน
ง. แบ่งทรัพย์สินให้คณะกรรมกำรของสมำคม
122. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับมูลนิธิ
ก. มูลนิธิแสวงหำประโยชน์เพื่อนำมำเป็นเงินทุนสำหรับใช้ในกำรดำเนินงำนได้
ข. ต้องจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล
ค. ชื่อของมูลนิธิต้องประกอบด้วยคำว่ำ “มูลนิธ”ิ
ง. คณะกรรมกำรของมูลนิธิต้องประกอบด้วย บุคคลอย่ำงน้อย 5 คน
123. เมื่อมีกำรแต่งตั้งกรรมกำรของมูลนิธิขึ้นใหม่ทั้งชุดมูลนิธิจะต้องนำไปจดทะเบียนภำยในกี่วัน
ก. ภำยใน 7 วัน นับแต่วันที่มีกำรแต่งตั้ง
ข. ภำยใน 15วัน นับแต่วันที่มีกำรแต่งตั้ง
ค. ภำยใน 30วัน นับแต่วันที่มีกำรแต่งตั้ง
ง. ภำยใน 60วัน นับแต่วันที่มีกำรแต่งตั้ง
124. ข้อใดที่นำยทะเบียน พนักงำนอัยกำร หรือผู้มีส่วนได้เสียคนหนึ่งคนใดอำจร้องขอต่อศำลให้
มีคำสั่งถอดถอนกรรมกำรของมูลนิธิทั้งคณะได้
ก. คณะกรรมกำรดำเนินกิจกำรของมูลนิธิผิดพลำดเสื่อมเสียต่อมูลนิธิ
ข. คณะกรรมกำรดำเนินกิจกำรฝ่ำฝืนกฎหมำยหรือข้อบังคับของมูลนิธิ
ค. คณะกรรมกำรเป็น ผู้มี ฐำนะหรื อควำมประพฤติไ ม่เหมำะสมในกำรดำเนิน กำรตำม
วัตถุประสงค์ของมูลนิธิ
ง. ถูกทุกข้อ
125. กำรเรี่ยไรในข้อใดที่พระรำชบัญญัติควบคุมกำรเรี่ยไร พ.ศ.2487 อนุญำตให้ดำเนินกำร
ก. ญำติจำเลยหำเงินเรี่ยไรเพื่อนำมำให้จำเลยใช้เป็นค่ำปรับ
546

ข. เพื่อหำเงินเรี่ยไรเพื่อนำทรัพย์สินมำให้จำเลยใช้เป็นค่ำปรับ
ค. เรี่ยไรเพื่อจัดหำยุทธภัณฑ์ให้แก่มิตรประเทศ
ง. เรี่ยไรเพื่อจัดหำยุทธภัณฑ์ให้แก่ประเทศที่เป็นศัตรู
226. กำรเรี่ย ไรซึ่งอ้ำงว่ำเพื่อประโยชน์แก่รำชกำร เทศบำล หรือสำธำรณประโยชน์ ต้องขอ
อนุญำตจำกพนักงำนเจ้ำหน้ำที่หรือไม่
ก. ไม่ต้องขออนุญำต ถ้ำประชำชนเป็นผู้จัดกำรให้มีกำรเรี่ยไร
ข. ไม่ต้องขออนุญำต เพรำะเป็นกำรเรี่ยไรเพื่อกุศลสงเครำะห์
ค. ไม่ต้องขออนุญำต ถ้ำกระทรวงทบวง หรือกรมเป็นผู้จัดให้มีกำรเรี่ยไร
ง. ต้องขออนุญำต ถ้ำเรี่ยไรในสถำนที่สำธำรณะ
127. บุคคลใดบ้ำงที่ไม่มีสิทธิทำกำรเรี่ยไร
ก. บุคคลอำยุ 15 ปี
ข. บุคคลที่มีพฤติกรรมใช้จ่ำยเงินเสเพลเป็นอำจิณ
ค. บุคคลเป็นโรคติดต่อที่น่ำรังเกียจ
ง. ถูกทุกข้อ
128. กำรนำที่ ดิน ของสมำคมไปสร้ำงศูน ย์ก ำรค้ ำ เป็น กำรขัด ต่อวั ตถุ ประสงค์ของกำรก่ อตั้ ง
สมำคมหรือไม่
ก. ไม่ขัด ถ้ำนำรำยได้มำใช้เป็นค่ำใช้จ่ำยสำหรับกำรดำเนินกิจกำรของสมำคม
ข. ไม่ขัด เพรำะไม่ใช่กิจกำรที่ผิดกฎหมำย
ค. ขัด เพรำะเป็นกำรแสวงหำกำไร
ง. ขัด ถ้ำไม่ได้ระบุไว้ตอนจดทะเบียน
129. ข้อใดไม่ใช่รำยกำรในข้อบังคับของสมำคม
ก. ชื่อสมำคม
ข. วัตถุประสงค์ของสมำคม
ค. ที่ตั้งสำนักงำนใหญ่ และที่ตั้งสำนักงำนสำขำทั้งปวง
ง. ไม่มีข้อใดถูก
130. บุคคลใดเป็นผู้ดำเนินกิจกำรของสมำคม
ก. คณะกรรมกำรของสมำคม
ข. กรรกำรของสมำคม
ค. สมำชิกของสมำคม
ง. ประธำนคณะกรรมกำรของสมำคม
131. ผู้ร้องขอเพิกถอนมติของที่ประชุมใหญ่จะต้องมำร้องขอต่อศำลภำยในระยะเวลำใด
ก. ภำยใน 1 เดือน นับแต่วันที่ที่ประชุมใหญ่ลงมติ
ข. ภำยใน 2 เดือน นับแต่วันที่ที่ประชุมใหญ่ลงมติ
ค. ภำยใน 3 เดือน นับแต่วันที่ที่ประชุมใหญ่ลงมติ
547

ง. ภำยใน 4 เดือน นับแต่วันที่ที่ประชุมใหญ่ลงมติ


132. ข้อใดเป็นกำรปฏิบัติไม่ถูกต้องในกำรจัดตั้งมูลนิธิขณะที่ผู้ขอยังมีชีวิต
ก. เจ้ำของทรัพย์สินจะเป็นบุคคลใดก็ได้ไม่จำเป็นต้องเป็นผู้ขอจดทะเบียนเพียงคนเดียว
เท่ำนั้น
ข. ผู้ขอจัดตั้งมูลนิธิต้องยื่นคำขอเป็นหนังสื อต่อนำยทะเบียนแห่งท้องที่ที่สำนักงำนใหญ่
ของมูลนิธิจะตั้งขึ้น
ค. หำกผู้ขอจัดตั้งมูลนิธิมีควำมประสงค์ที่จะขอถอนกำรจัดตั้งมูลนิธิ ผู้ขอจัดตั้งมูลนิธิต้อง
ทำเป็นหนังสือยื่นต่อนำยทะเบียนก่อนที่นำยทะเบียนรับจดทะเบียนมูลนิธิ
ง. ในกรณีที่นำยทะเบียนยังไม่ได้รับจดทะเบียนมูลนิธิ หำกผู้ขอจัดจัดตั้งมูลนิธิถึงแก่ควำม
ตำยเสียก่อน ให้คำขอจัดตั้งมูลนิธิที่ผู้ตำยได้ยื่นไว้เป็นอันยกเลิกไป
133. นำยตรวจต้องตรวจตรำควบคุมดูแลผู้ประกอบใบอนุญำตขำยทอดตลำดหรือค้ำของเก่ำ
เดือนละกี่ครั้ง
ก. 1 ครั้ง
ข. 2 ครั้ง
ค. 3 ครั้ง
ง. 4 ครัง้
134. กำรเรี่ยไรในข้อ ใดที่พระรำชบัญญัติควบคุมกำรเรี่ยไร พ.ศ. 2487 อนุญำตได้ดำเนินกำรได้
ก. ญำติจำเลยหำเงินเรี่ยไรเพื่อนำมำให้จำเลยใช้เป็นค่ำปรับ
ข. เรี่ยไรเงินเพื่อนำเงินไปให้กับขบวนกำรโจรก่อกำรร้ำย
ค. เรี่ยไรเพื่อนำเงินไปสนับสนุนพวกผู้ก่อกำรร้ำยของประเทศเพื่อนบ้ำน
ง. เรี่ยไรเพื่อจัดหำยุทธภัณฑ์ให้แก่มิตรประเทศ
135. ข้อ ใดเป็นกำรเรี่ยไรที่ต้องมีกำรขออนุญำตจำกทำงรำชกำร
ก. กระทรวงมหำดไทยเป็นผู้จัดให้มีกำรเรี่ยไรเพื่อประโยชน์แก่ทำงรำชกำร
ข. กำรเรี่ยไรกลำง 4 แยกในถนนเพชรเกษม
ค. กำรเรี่ยไรคนสัญจรไปมำในถนนส่วนบุคคล
ง. กำรเรี่ยไรเพื่อนำเงินไปซ่อมแซมโบสถ์โดยโฆษณำด้วยเครื่องขยำยเสียงในวันเข้ำพรรษำ
136. บุคคลใดที่ร้องขอต่อศำลให้มีคำสั่งถอดถอนกรรมกำรของมูลนิธิทั้งคณะได้
ก. นำยทะเบียน
ข. พนักงำนอัยกำร
ค. ผู้มีส่วนได้เสีย
ง. ถูกทุกข้อ
137. บุคคลใดบ้ำงที่มสี ิทธิทำกำรเรี่ยไร
ก. บุคคลอำยุ 17 ปี
ข. บุคคลผู้มีจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ
548

ค. บุคคลเป็นโรคติดต่อที่น่ำรังเกียจ
ง. บุคคลผู้เคยต้องโทษฐำนลักทรัพย์ และพ้นโทษมำแล้ว 3 ปี
138. คณะกรรมกำรของมูลนิธิประกอบด้วยบุคคลกี่คน
ก. อย่ำงน้อย 2 คน
ข. อย่ำงน้อย 3 คน
ค. อย่ำงน้อย 4 คน
ง. อย่ำงน้อย 5 คน
139. โรงรับจำนำ หมำยควำมว่ำ อย่ำงไร
ก. สถำนที่รับจำนำซึ่งประกอบกำรรับจำนำสิ่งของเป็นประกันหนี้เงินกู้เป็นปกติธุระ
ข. หนี้แต่ละรำยมีจำนวนเงินไม่เกิน 100,000 บำท
ค. มีข้อตกลงหรือเข้ำใจ โดยตรงหรือโดยปริยำยว่ำ จะได้ไถ่คืนภำยหลังด้วย
ง. ถูกทุกข้อ
140. บุคคลในข้อ ใดไม่ใช่คณะกรรมกำรควบคุมโรงรับจำนวน
ก. อธิบดีกรมตำรวจ
ข. อธิบดีกำรค้ำภำยใน
ค. อธิบดีอัยกำร
ง. อธิบดีกำรปกครอง
141. ผู้ขออนุญำตตั้งโรงรับจำนวนต้องมีอำยุไม่ต่ำกว่ำกี่ปี
ก. 18 ปี
ข. 20 ปี
ค. 25 ปี
ง. 30 ปี
412. กรณีคณะกรรมกำรกำรควบคุมโรงรับจำนำไม่อนุญำตให้ผู้ขออนุญำตตั้งโรงรับจำนำ ผู้ขอ
อนุญำตมีสิทธิอุทธรณ์ต่อรัฐมนตรีภำยในกี่วัน
ก. 7 วัน
ข. 15 วัน
ค. 30 วัน
ง. 45 วัน
143. คณะกรรมกำรควบคุมโรงรับจำนำ มีหน้ำที่ใด
ก. กำหนดท้องที่อนุญำตให้ตั้งโรงรับจำนำ
ข. กำหนดจำนวนโรงรับจำนำในท้องที่ที่เห็นสมควร
ค. พิจำรณำคำขออนุญำตตั้งโรงรับจำนำ
ง. ถูกทุกข้อ
549

144. ถ้ำผู้รับจำนำเป็นนิติบุคคล หำกมีกำรเปลี่ยนแปลงกรรมกำรจะต้องแจ้งให้เจ้ำพนักงำนผู้


ออกใบอนุญำตทรำบภำยในกี่วัน
ก. 7 วัน
ข. 15 วัน
ค. 30 วัน
ง. 45 วัน
145. กรณีเงินต้นไม่เกิน 2,000 บำท ผู้รับจำนำจะเรียกดอกเบี้ยได้ไม่เกินร้อยละเท่ำใด
ก. ร้อยละ 1 ต่อเดือน
ข. ร้อยละ 1.25 ต่อเดือน
ค. ร้อยละ 2 ต่อเดือน
ง. ร้อยละ 2.25 ต่อเดือน
146. ผูร้ ับจำนำ ห้ำมรับจำนำ จำกบุคคลตำมข้อ ใด
ก. เด็กอำยุต่ำกว่ำ 15 ปี
ข. พระภิกษุสำมเณร
ค. แม่ชี
ง. ก และ ข ถูก
147. กรณีที่ผู้จำนำขำดส่งดอกเบี้ยเป็นเวลำเท่ำใด ทรัพย์นั้นจึงจะหลุดเป็นสิทธิแก่ผู้รับจำนำ
ก. กว่ำ 3 เดือน
ข. กว่ำ 4 เดือน
ค. กว่ำ 5 เดือน
ง. กว่ำ 6 เดือน
148. ผู้รับจำนำต้องคืนทรัพย์จำนำให้แก่เจ้ำของโดยจะเรียกให้เจ้ำของชำระหนี้ที่เกิดจำกกำร รับ
จำนำนั้นไม่ได้ในกรณีใด
ก. รับจำนำสิ่งของที่เห็นได้ว่ำเป็นของที่ใช้ในรำชกำร
ข. รับจำนำสิ่งของที่ได้รับแจ้งว่ำเป็นของหำย
ค. รับจำนำสิ่งของโดยรู้ว่ำทรัพย์นั้นได้มำโดยกำรกระทำผิด
ง. ถูกทุกข้อ
149. ข้อ ใดมิใช่ค่ำอุปกรณ์ของกำรจำนำ
ก. ต้นเงิน
ข. ดอกเบี้ย
ค. ค่ำสินไหมทดแทนในกำรไม่ชำระหนี้
ง. ค่ำฤชำธรรมเนียมในกำรบังคับจำนำ
150. ข้อใดกล่ำวถูกต้องเกี่ยวกับทรัพย์สินที่จำนำ
ก. ผู้รับจำนำต้องเป็นผู้เก็บรักษำทรัพย์สินที่จำนำเท่ำนั้น
550

ข. ผู้จำนำต้องเป็นผู้เก็บรักษำทรัพย์สินที่จำนำเท่ำนั้น
ค. คู่สัญญำจำนำตกลงกันให้บุคคลภำยนอกเป็นผู้เก็บรักษำทรัพย์สินที่จำนำได้
ง. ไม่มีข้อใดถูก
151. ทรัพย์สินข้อ ใดจะจำนำ ไม่ได้
ก. สัตว์พำหนะ
ข. เรือกลไฟ
ค. ที่ดิน
ง. รถยนต์
152. ข้อใดกล่ำวถูกต้องในเรื่องกำรจำนำ
ก. ต้องทำเป็นหนังสือ
ข. จะตกลงกันด้วยวำจำก็ได้
ค. ต้องมีกำรส่งมอบทรัพย์สินที่จำนำกัน
ง. ถูกทั้งข้อ ข. และ ค.
153. ในกรณีที่ผู้รับจำนำทำให้ทรัพย์สินที่จำนำเสียหำยหรือบุบสลำย ผู้จำนำจะฟ้องเรียกค่ำ
สินไหมทดแทนในกรณีดังกล่ำวภำยในระยะเวลำตำมข้อใด
ก. ภำยใน 1 เดือน นับแต่วันส่งคืน
ข. ภำยใน 3 เดือน นับแต่วันส่งคืน
ค. ภำยใน 6 เดือน นับแต่วัน ส่งคืน
ง. ภำยใน 1 ปี นับแต่วันส่งคืน
154. ข้อใดกล่ำวถูกต้องในเรื่องกำรบังคับจำนำ
ก. ผู้รับจำนำต้องบอกกล่ำวเป็นหนังสือไปยังผู้จำนำ
ข. ผู้รับจำนำต้องบอกกล่ำวด้วยวำจำไปยังผู้จำนำ
ค. ผู้จำนำต้องบอกกล่ำวเป็นหนังสือไปยังผู้รับนำจำ
ง. ผู้จำนำต้องบอกกล่ำวด้วยวำจำไปยังผู้รับจำนำ
155. ถ้ำผู้จำนำไม่ยอมชำระหนี้ผู้รับจำนำจะต้องดำเนินกำรอย่ำงไร
ก. แจ้งควำมต่อเจ้ำหน้ำที่ตำรวจ
ข. ยื่นฟ้องต่อศำล
ค. เอำทรัพย์สินจำนำออกขำยทอดตลำด
ง. ถูกทุกข้อ
156. ข้อ ใดไม่ใช่วัตถุประสงค์ของพระรำชบัญญัติโรงรับจำนำ พ.ศ. 2505
ก. เพื่อจำแนกประเภทของโรงรับจำนำให้ชัดเจน
ข. เพื่อควบคุมกำรประกอบกิจกำรโรงรับจำนำให้มีมำตรฐำน
ค. เพื่อควบคุมมิให้โรงรับจำนำเป็นแหล่งรับของโจร
ง. เพื่อคุ้มครองผู้รับจำนำไม่ให้ถูกเอำรัดเอำเปรียบ
551

157. กำรประกอบธุรกิจโรงรับจำนำนั้น ต้องรับจำนำแต่ละรำยไม่เกินเท่ำใด


ก. 100,000 บำท
ข. 200,000 บำท
ค. 300,000 บำท
ง. 500,000 บำท
158. ข้อ ใดเป็นอำนำจและหน้ำที่ของคณะกรรมกำรควบคุมโรงรับจำนำ
ก. กำหนดโรงรับจำนำในท้องที่ที่เห็นสมควร
ข. กำหนดหลักเกณฑ์ในกำรตีรำคำทรัพย์ที่จำนำ
ค. กำหนดจำนวนเงินสูงสุดในกำรรับจำนำแต่ละรำย
ง. ข้อ ก. และ ข. ถูก
159. สถำนที่ตั้งโรงรับจำนำที่ขออนุญำตต้องมีระยะตำมทำงเดินถึงกันใกล้ที่สุดห่ำงจำกโรงรับ
จำนำที่ได้รับอนุญำต
ให้ตั้งอยู่แล้วไม่น้อยกว่ำเท่ำใด
ก. 200 เมตร
ข. 300 เมตร
ค. 400 เมตร
ง. 500 เมตร
160. ข้อ ใดมิใช่คุณสมบัติของผู้ขออนุญำต
ก. ไม่เป็นบุคคลล้มละลำย
ข. ไม่เป็นบุคคลวิกลจริต
ค. มีอำยุไม่ต่ำกว่ำ 25 ปี บริบูรณ์
ง. ไม่เคยถูกเพิกถอนใบอนุญำตตั้งโรงรับจำนำ
161. ผู้รับจำนำต้องจัดให้มีห้องนิรภัยขนำดไม่ต่ำกว่ำเท่ำใด
ก. 4 ตำรำงเมตร
ข. 8 ตำรำงเมตร
ค. 12 ตำรำงเมตร
ง. 16 ตำรำงเมตร
162. กรณีเงินต้นไม่เกิน 2,000 บำท กฎหมำยกำหนดให้เรียกดอกเบี้ยไม่เกินเท่ำใด
ก. ร้อยละ 1.00 ต่อเดือน
ข. ร้อยละ 1.25 ต่อเดือน
ค. ร้อยละ 1.50 ต่อเดือน
ง. ร้อยละ 2.00 ต่อเดือน
163. ผู้รับจำนำต้องกรอกรำยกำรทรัพย์จำนำในที่ใด
ก. ต้นขั้วตั๋วจำนำ
552

ข. ปลำยขั้วตั๋วจำนำ
ค. บันทึกควบคุมรำยกำรทรัพย์ที่จำนำ
ง. ข้อ ก. และ ข. ถูก
164. ผู้รับจำนำต้องคืนทรัพย์จำนำแก่เจ้ำของโดยจะเรียกให้เจ้ำของชำระหนี้ที่เกิดจำกกำรรับ
จำนำทรัพย์นั้นไม่ได้ในกรณีใด
ก. ได้รับจำนำศิลปวัตถุ
ข. ได้รับจำนำของที่มีตำหนิรูปพรรณคล้ำยของหำยที่ได้รับแจ้งไว้
ค. ได้รับจำนำของซึ่งมีตำหนิรูปพรรณคล้ำยโบรำณวัตถุ
ง. ข้อ ก. และ ข. ถูก
165. กรณีไม่มีผู้ขอรับเป็นผู้รับจำนำแทนผู้รับจำนำที่ตำยจนล่วงเลยกำหนดเท่ำใด เป็นเหตุให้เลิก
กิจกำรโรงรับจำนำ
ก. 15 วัน
ข. 30 วัน
ค. 60 วัน
ง. 90 วัน
166. ข้อ ใดเป็นวัตถุประสงค์ของพระรำชบัญญัติโรงรับจำนำ พ.ศ. 2505
ก. เพื่อมิให้โรงรับจำนำเป็นแหล่งฟอกเงิน
ข. เพื่อกำหนดวงเงินรับจำนำให้เหมำะสม
ค. เพื่อจำกัดปริมำณโรงรับจำนำให้เหมำะสม
ง. ถูกทุกข้อ
167. กำรรับหรือซื้อสิ่งของโดยจ่ำยเงินให้สำหรับสิ่งของนั้นเป็นปกติธุระ แต่ละรำยมีจำนวนไม่
เกินเท่ำใด
ก. 50,000 บำท
ข. 100,000 บำท
ค. 200,000 บำท
ง. ถูกทุกข้อ
168. ข้อใดเป็นอำนำจหน้ำที่ของคณะกรรมกำรกำรควบคุมโรงรับจำนำ
ก. กำหนดหลักเกณฑ์ในกำรตีรำคำทรัพย์ที่จำนำ
ข. กำหนดท้องที่ที่จะอนุญำตให้ตั้งโรงรับจำนำ
ค. กำหนดจำนวนเงินสูงสุดในกำรรับจำนำแต่ละรำย
ง. ข้อ ก. และ ข. ถูก
169. กำรว่ำประมูลตั้งโรงรับจำนำให้กำหนดระยะเวลำครำวหนึ่งกี่ปี
ก. 2 ปี
ข. 3 ปี
553

ค. 4 ปี
ง. 5 ปี
170. ข้อ ใดมิใช่คุณสมบัติของผู้ขออนุญำตตั้งโรงรับจำนำ
ก. มีอำยุต่ำกว่ำ 20 ปี
ข. ไม่เป็นบุคคลจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ
ค. ไม่เคยได้รับใบอนุญำตตั้งโรงรับจำนำในเขตท้องที่เดียวกันมำก่อน
ง. ไม่เคยต้องโทษจำคุก เว้นแต่ควำมผิดลหุโทษหรือควำมผิดโดยประมำท
171. ผู้รับจำนำต้องจัดให้มีห้องนิรภัยโดยมีด้ำนใดด้ำนหนึ่งไม่ต่ำกว่ำเท่ำใด
ก. 1 เมตร
ข. 2 เมตร
ค. 3 เมตร
ง. 4 เมตร
172. เงินส่วนที่เกิน 2,000 บำท กฎหมำยกำหนดให้เรียกดอกเบี้ยได้ไม่เกินเท่ำใด
ก. ร้อยละ 0.50 ต่อเดือน
ข. ร้อยละ 0.75 ต่อเดือน
ค. ร้อยละ 1.00 ต่อเดือน
ง. ร้อยละ 1.25 ต่อเดือน
173. เมื่อมีเหตุอันควรสงสัยว่ำสิ่งของที่มีผู้มำจำนำเป็นสิ่งที่มีผู้ได้มำโดยกระทำควำมผิด ผู้รับ
จำนำต้องแจ้งพนักงำนปกครองหรือตำรวจท้องที่ในกำหนดเวลำใด
ก. ทันที
ข. โดยเร็ว
ค. ภำยใน 30 นำที
ง. ภำยใน 60 นำที
174. ผู้รับจำนำต้องคืนทรัพย์ที่จำนำแก่เจ้ำของ โดยจะเรียกให้เจ้ำของชำระหนี้ที่เกิดจำกกำรรับ
จำนำทรัพย์นั้นไม่ได้ในกรณีใด
ก. ได้รับจำนำศิลปวัตถุทำงศำสนำ
ข. ได้รับจำนำของซึ่งมีตำหนิรูปพรรณคล้ำยของมีค่ำควรเมือง
ค. ได้รับจำนำโดยมิได้จดแจ้งรำยกำรที่เกี่ยวกับบัตรประชำชนของผู้รับจำนำ
ง. ข้อ ก. และ ข. ถูก
175. กรณีผู้รับจำนำประสงค์จะเลิกกิจกำรรับจำนำจะต้องแจ้งเป็นหนังสือให้เจ้ำพนักงำนผู้ออก
ใบอนุญำตทรำบก่อนเลิกกิจกำรไม่น้อยกว่ำเท่ำใด
ก. 3 วัน
ข. 7 วัน
ค. 10 วัน
554

ง. 15 วัน
176. โรงแรม หมำยควำมว่ำอย่ำงไร
ก. สถำนที่พักจัดตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ในทำงธุรกิจ
ข. ให้บริกำรที่พักชั่วครำวสำหรับคนเดินทำง
ค. มีค่ำตอบแทน
ง. ถูกทุกข้อ
177. ใครเป็นประธำนคณะกรรมกำรส่งเสริมและกำกับธุรกิจโรงแรม
ก. ปลัดกระทรวงมหำดไทย
ข. อธิบดีกรมกำรปกครอง
ค. อธิบดีกรมส่งเสริมกำรปกครองท้องถิ่น
ง. อธิบดีกรมโยธำธิกำรและผังเมือง
178. ผูใ้ ดเป็นพนักงำนเจ้ำหน้ำที่ตำมพระรำชบัญญัติโรงแรม
ก. ข้ำรำชกำรตำรวจตั้งแต่ชั้นสัญญำบัตรขึ้นไป
ข. ข้ำรำชกำรพลเรือนตั้งแต่ระดับ 3 ขึ้นไป
ค. พนักงำนส่วนท้องถิ่นตั้งแต่ระดับ 3 ขึ้นไป
ง. ถูกทุกข้อ
179. นำยทะเบียนต้องมีหนังสือแจ้งกำรลำออกใบอนุญำต หรือไม่ออกใบอนุญำตให้ผู้ขอรับ
ใบอนุญำตทรำบภำยในกี่วัน
ก. 15 วัน
ข. 30 วัน
ค. 45 วัน
ง. 60 วัน
180. คณะกรรมกำรส่งเสริมและกำกับธุรกิจโรงแรมมีหน้ำที่อย่ำงไร
ก. ให้คำแนะนำแก่รัฐมนตรีในกำรออกกฎกระทรวง
ข. พิจำรณำวินิจฉัยอุทธรณ์คำสั่งของนำยทะเบียน
ค. เสนอแผนและมำตรกำรต่ำงๆ เกี่ยวกับกำรส่งเสริมและกำรกำกับดูแลธุรกิจโรงแรม
ง. ถูกทุกข้อ
181. ผู้ขอรับใบอนุญำตประกอบธุรกิจโรงแรมต้องมีอำยุไม่ต่ำกว่ำกี่ปี
ก. 18 ปีบริบูรณ์
ข. 20 ปีบริบูรณ์
ค. 25 ปีบริบูรณ์
ง. 30 ปี บริบูรณ์
182. ข้อใดกล่ำวถูกต้องเกี่ยวกับชื่อโรงแรม
ก. ต้องเป็นอักษรไทยที่มองเห็นได้ชัดเจน
555

ข. จะมีอักษรต่ำงประเทศกำกับไว้ท้ำย หรือใต้ชื่ออักษรไทยด้วยก็ได้
ค. ไม่ซ้ำหรือพ้องกับชื่อโรงแรมอื่นที่ได้รับอนุญำตได้แล้ว
ง. ถูกทุกข้อ
183. ห้ำมผู้ประกอบธุรกิจโรงแรมดำเนินกำรใด เว้นแต่จะได้รับอนุญำตจำกนำยทะเบียน
ก. เปลี่ยนแปลงประเภทของโรงแรม
ข. เพิ่มหรือลดจำนวนห้องพักอันมีผลกระทบถึงโครงสร้ำงของโรงแรม
ค. เปลี่ยนชื่อโรงแรม
ง. ถูกทุกข้อ
184. ใบอนุญำตประกอบธุรกิจโรงแรมฉบับหนึ่งมีอำยุกี่ปี
ก. 4 ปี
ข. 5 ปี
ค. 7 ปี
ง. 10 ปี
185. กรณีใบอนุญำตประกอบธุรกิจโรงแรมสูญหำยต้องยื่น คำขอรับใบแทนใบอนุญำตจำกนำย
ทะเบียนภำยในกี่วัน
ก. 7 วัน
ข. 15 วัน
ค. 30 วัน
ง. 60 วัน
186. ผู้ประกอบธุรกิจโรงแรมประสงค์จะเลิกกิจกำรต้องแจ้งให้นำยทะเบียนทรำบล่วงหน้ำไม่น้อย
กว่ำกี่วัน
ก. 7 วัน
ข. 15 วัน
ค. 30 วัน
ง. 45 วัน
187. ผู้จัดกำรโรงแรมต้องมีอำยุไม่ต่ำกว่ำเท่ำใด
ก. 20 ปีบริบูรณ์
ข. 25 ปีบริบูรณ์
ค. 30 ปีบริบูรณ์
ง. 35 ปี บริบูรณ์
188. ให้ผู้ประกอบธุรกิจโรงแรมและผู้จัดกำรมีหน้ำที่และควำมรับผิดชอบร่วมกันในเรื่องใด
ก. จัดให้มีป้ำยชื่อโรงแรม
ข. จัดให้มีกำรแสดงใบอนุญำตไว้ในที่เปิดเผยเห็นได้ง่ำย
ค. จัดให้มีเอกสำรแสดงอัตรำค่ำที่พักไว้ในที่เปิดเผยเห็นได้ง่ำย
556

ง. ถูกทุกข้อ
189. ผู้จัดกำรปฏิเสธไม่รับบุคคลเข้ำพักโรงแรมได้ในกรณีใด
ก. มีเหตุอันควรเชื่อได้ว่ำบุคคลนั้นไม่สำมำรถจ่ำยค่ำห้องพักได้
ข. มีเหตุอันควรสงสัยได้ว่ำบุคคลนั้นจะเข้ำไปหลบซ่อน มั่วสุมในโรงแรม
ค. มีเหตุอันควรเชื่อได้ว่ำบุคคลนั้นเป็นโรคติดต่ออันตรำย
ง. ถูกทุกข้อ
190. ห้ำมผู้เข้ำพักอำยุต่ำกว่ำเท่ำใดเข้ำพักตำมลำพัง
ก. 18 ปีบริบูรณ์
ข. 15 ปีบริบูรณ์
ค. 17 ปีบริบูรณ์
ง. 18 ปีบริบูรณ์
191. กรณีที่ผู้ประกอบธุรกิจโรงแรมไม่ปฏิ บัติ ตำมค ำสั่ง ของนำยทะเบีย น ให้ นำยทะเบี ยนมี
หนังสือแจ้งให้บุคคลดังกล่ำวปฏิบัติให้ถูกต้องภำยในกำหนด แต่ต้องไม่เกินกี่วัน
ก. 15 วัน
ข. 30 วัน
ค. 45 วัน
ง. 60 วัน
192. ผู้ขอรับใบอนุญำตประกอบธุรกิจโรงแรมซึ่งนำยทะเบียนไม่ต่ออำยุใบอนุญำตให้ ผู้ขอรับ
ใบอนุญำตมีสทิ ธิอุทธรณ์คำสั่งต่อคณะกรรมกำรภำยในกี่วัน
ก. 15 วัน
ข. 30 วัน
ค. 45 วัน
ง. 60 วัน
193. กรณีที่โรงแรมได้รับควำมเสียหำยเนื่องจำกเหตุอัคคีภัย จะต้องแจ้งนำยทะเบียนทรำบ
ภำยในกี่วัน
ก. 7 วัน
ข. 15 วัน
ค. 30 วัน
ง. 45 วัน
194. ในกรณีที่ผู้ประกอบธุรกิจโรงแรมถึงแก่ควำมตำย ทำยำทต้องยื่นคำขอต่อนำยทะเบียนเพื่อ
ขอรับโอนใบอนุญำต
ภำยในกี่วัน
ก. 90 วัน
ข. 120 วัน
557

ค. 180 วัน
ง. 240 วัน
195. หำกผู้ประกอบธุรกิจโรงแรมยื่นคำขอต่ออำยุใบอนุญำตได้ทันกำหนดเวลำ แต่ได้มำยื่นคำขอ
ต่ออำยุใบอนุญำตภำยใน 60 วัน นับแต่วันที่ ใบอนุญำตสิ้นอำยุ จะต้องเสียค่ำปรับเพิ่มอีกร้อยละ
เท่ำใด
ก. ร้อยละ 5
ข. ร้อยละ 10
ค. ร้อยละ 15
ง. ร้อยละ 20
196. ข้อใดมิใช่วัตถุประสงค์ของพระรำชบัญญัติโรงแรม พ.ศ. 2547
ก. เพื่อรักษำสุขลักษณะ
ข. เพื่อมิให้เป็นแหล่งประกอบอำชญำกรรม
ค. เพื่อยกระดับมำตรฐำนกำรประกอบธุรกิจโรงแรม
ง. เพื่อควบคุมอัตรำกำรคิดค่ำห้องพักหรือค่ำบริกำรให้เหมำะสม
197. สถำนที่พักมีจำนวนห้องและจำนวนผู้พัก รวมทั้งหมดไม่เกินเท่ำใดไม่ถือว่ำเป็นโรงแรม
ก. จำนวนห้องพักไม่เกิน 2 ห้อง และจำนวนผู้พักไม่เกิน 10 คน
ข. จำนวนห้องพักไม่เกิน 4 ห้อง และจำนวนผู้พักไม่เกิน 20 คน
ค. จำนวนห้องพักไม่เกิน 6 ห้อง และจำนวนผู้พักไม่เกิน 30 คน
ง. จำนวนห้องพักไม่เกิน 8 ห้อง และจำนวนผู้พักไม่เกิน 40 คน
198. รัฐมนตรีผู้รักษำกำรตำมพระรำชบัญญัติโรงแรม พ.ศ. 2547 คือผู้ใด
ก. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทย
ข. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงสำธำรณสุข
ค. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงกำรท่องเที่ยวและกำรกีฬำ
ง. ข้อ ก. และ ข. ถูก
199. โรงแรมที่ให้บริกำรเฉพำะห้องพักเป็นโรงแรมประเภทใด
ก. โรงแรมประเภท 1
ข. โรงแรมประเภท 2
ค. โรงแรมประเภท 3
ง. โรงแรมประเภท 4
200. โรงแรมประเภทหนึ่ง จะต้องมีห้องพักไม่เกินกี่ห้อง
ก. 20 ห้อง
ข. 30 ห้อง
ค. 40 ห้อง
ง. 50 ห้อง
558

201. โรงแรมที่ตั้งอยู่ในท้องที่ที่ไม่กฎหมำยว่ำด้วยกำรควบคุมอำคำรใช้บังคับนั้น บ่อเกรอะและ


บ่อซึมของอำคำรสำหรับใช้เป็นโรงแรมต้องอยู่ห่ำงจำกแหล่งน้ำสำธำรณะไม่น้อยกว่ำเท่ำใด
ก. 5 เมตร
ข. 10 เมตร
ค. 15 เมตร
ง. 20 เมตร
202. ข้อใดมิใช่คุณสมบัติของผู้ขอใบอนุญำตประกอบธุรกิจโรงแรม
ก. ไม่เป็นคนไร้ควำมสำมำรถ
ข. ไม่เคยถูกเพิกถอนใบอนุญำต
ค. มีอำยุไม่ต่ำกว่ำ 18 ปี บริบูรณ์
ง. ไม่เคยต้องคำพิพำกษำถึงที่สุดในควำมผิดเกี่ยวกับเพศ
203. ผูจ้ ัดกำรมีสิทธิปฏิเสธบุคคลที่ประสงค์จะเข้ำพักได้ในกรณีใด
ก. มีเหตุผลอันควรเชื่อว่ำบุคคลนั้นเป็นโรคติดต่ออันตรำย
ข. มีเหตุผลอันควรเชื่อว่ำบุคคลนั้นจะได้กระทำควำมผิดในโรงแรม
ค. มีเหตุผลอันควรเชื่อว่ำบุคคลนั้นไม่สำมำรถจ่ำยค่ำห้องพักได้
ง. ถูกทุกข้อ
204. ใบอนุญำตประกอบธุรกิจโรงแรมมีอำยุเท่ำใด
ก. 2 ปี
ข. 3 ปี
ค. 5 ปี
ง. 10 ปี
205. ในกำรปฏิบัติหน้ำที่ พนักงำนเจ้ำหน้ำที่ต้องแสดงสิ่งใดต่อบุคคลที่เกี่ยวข้อง
ก. บัตรประจำตัวพนักงำนเจ้ำหน้ำที่
ข. หนังสือมอบอำนำจจำกนำยทะเบียน
ค. บัตรประจำตัวประชำชน
ง. ข้อ ก. และ ข. ถูก
206. ข้อใดมิใช่วัตถุประสงค์ของพระรำชบัญญัติโรงแรม พ.ศ. 2547
ก. เพื่อจัดระเบียบกิจกำรโรงแรม
ข. เพื่อจำกัดปริมำณโรงแรมขนำดเล็ก
ค. เพื่อรักษำคุณภำพสิ่งแวดล้อม
ง. เพื่อมิให้แหล่งมั่วสุมของอำชญำกร
207. ข้อใดอยู่ในควำมหมำยคำว่ำ “โรงแรม”
ก. สถำนที่พักให้บริกำรที่พักอำศัยชั่วครำวโดยมีค่ำตอบแทน
ข. สถำนที่พักให้บริหำรที่พักอำศัยโดยคิดค่ำบริกำรเป็นรำยเดือน
559

ค. สถำนที่พักให้บริกำรที่พักชั่วครำวของรัฐวิสำหกิจโดยมิได้หำผลกำไร
ง. ข้อ ก. และ ข. ถูก
208. บทกำหนดโทษตำมพระรำชบัญญัติโรงแรม พ.ศ. 2547 มีประกำรใดบ้ำง
ก. โทษจำคุก
ข. โทษปรับทำงอำญำ
ค. โทษปรับทำงปกครอง
ง. ถูกทุกข้อ
209. โรงแรมที่ให้บริกำรห้องพักและห้องอำหำร หรือสถำนที่สำหรับบริกำรอำหำรหรือสถำนที่
สำหรับประกอบอำหำร เป็นโรงแรมประเภทใด
ก. โรงแรมประเภท 1
ข. โรงแรมประเภท 2
ค. โรงแรมประเภท 3
ง. โรงแรมประเภท 4
210. โรงแรมประเภท 1 ทุกห้องต้องมีพื้นที่ใช้สอยไม่น้อยกว่ำเท่ำใด
ก. 8 ตำรำงเมตร
ข. 10 ตำรำงเมตร
ค. 15 ตำรำงเมตร
ง. 20 ตำรำงเมตร
211. โรงแรมที่ตั้งอยู่ในห้องที่ที่ไม่กฎหมำยว่ำด้วยกำรควบคุมอำหำรใช้บังคับนั้น ต้องมีช่องทำง
เดินภำยในอำคำรกว้ำงไม่น้อยกว่ำเท่ำใด
ก. 10.00 เมตร
ข. 1.20 เมตร
ค. 1.50 เมตร
ง. 2.00 เมตร
212. ข้อใดมิใช่คุณสมบัติของผู้ขอใบอนุญำตประกอบธุรกิจโรงแรม
ก. มีภูมิลำเนำอยู่ในประเทศไทย
ข. ไม่เป็นคนเสมือนไร้ควำมสำมำรถ
ค. ไม่เป็นบุคคลล้มละลำย
ง. เป็นผู้มีสัญชำติไทย
213. ผู้จัดกำรมีสิทธิปฏิเสธบุคคลที่ประสงค์จะเข้ำพักได้ในกรณีใด
ก. มีเหตุผลอันควรเชื่อว่ำเคยถูกจำคุกมำก่อน
ข. มีเหตุผลอันควรเชื่อว่ำเป็นคู่แข่งเข้ำมำศึกษำวิธีกำรประกอบธุรกิจ
ค. มีเหตุผลอันควรเชื่อว่ำเป็นโรคติดต่อตำมกฎหมำย
ง. ข้อ ก. และ ข. ถูก
560

214. ข้อใดมิใช่ลักษณะต้องห้ำมในกำรตั้งชื่อโรงแรม
ก. ไม่มีควำมหมำยหยำบคำย
ข. ไม่ซ้ำกับชื่อโรงแรมอื่น
ค. ไม่พ้องกับพระปรมำภิไธย
ง. ไม่ใช่ภำษำต่ำงประเทศ
215. กำรเข้ำไปตรวจสอบในกรณีใด พนักงำนเจ้ำหน้ำที่จะกระทำต่อไปนอกเวลำทำกำรของ
โรงแรมได้
ก. กำรตรวจสอบใกล้จะเสร็จสิ้น
ข. มีเหตุอันควรสงสัยว่ำถ้ำช้ำไปจะมีกำรแก้ไขเอกสำร
ค. เป็นวันสุดท้ำยของกำรตรวจสอบประจำปี
ง. ข้อ ก. และ ข. ถูก
216. ข้อใดหมำยถึง สถำนบริกำร
ก. สถำนเต้นรำ รำวง
ข. สถำนที่ที่มีอำหำร สุรำ น้ำชำ หรือเครื่องดื่มอย่ำงอื่นจำหน่ำย
ค. สถำนอำบน้ำ นวด หรืออบตัว
ง. ถูกทุกข้อ
217. สถำนที่ขออนุญำตตั้งเป็นสถำนบริกำรจะต้องไม่
ก. ไม่อยู่ใกล้ชิด สถำนปฏิบัติพิธีกรรมทำงศำสนำ สถำนศึกษำ
ข. ไม่อยู่ในย่ำนที่ประชำชนอยู่อำศัยอันจะก่อควำมเดือนร้อนรำคำญ
ค. มีอำกำศถ่ำยเทสะดวก
ง. ถูกทุกข้อ
218. กำรกำหนดเขตท้องที่เพื่อกำรอนุญำตหรือได้อนุญำตให้ตั้งสถำนบริกำร กระทำได้โดยกำร
ตรำเป็น
ก. พระรำชบัญญัติ
ข. พระรำชกำหนด
ค. พระรำชกฤษฎีกำ
ง. กฎกระทรวง
219. ผู้ขออนุญำตตั้งสถำนบริกำรต้องมีอำยุไม่ต่ำกว่ำกี่ปี
ก. 18 ปีบริบูรณ์
ข. 20 ปีบริบูรณ์
ค. 25 ปีบริบูรณ์
ง. 30 ปีบริบูรณ์
220. พนักงำนเจ้ำหน้ำที่ต้องพิจำรณำคำขออนุญำตตั้งสถำนบริกำรภำยในกี่วัน
ก. 30 วัน
561

ข. 60 วัน
ค. 90 วัน
ง. 120 วัน
221. กรณีที่พนักงำนเจ้ำหน้ำที่ไม่ออกใบอนุญำตให้ ผู้ขอออกใบอนุญำตในจังหวัดอื่นนอกจำก
กรุงเทพมหำนครต้องอุทธรณ์ต่อใคร
ก. นำยอำเภอ
ข. ผู้วำ่ รำชกำรจังหวัด
ค. ปลัดกระทรวงมหำไทย
ง. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทย
222. ผู้เข้ำทำงำนสถำนบริกำรต้องมีอำยุไม่ต่ำกว่ำกี่ปี
ก. 17 ปีบริบูรณ์
ข. 18 ปีบริบูรณ์
ค. 20 ปีบริบูรณ์
ง. 22 ปีบริบูรณ์
223. ผู้เข้ำใช้บริกำรในสถำนบริหำรต้องมีอำยุไม่ต่ำกว่ำกี่ปี
ก. 15 ปีบริบูรณ์
ข. 17 ปีบริบูรณ์
ค. 18 ปีบริบูรณ์
ง. 20 ปีบริบูรณ์
224. ผู้อำนำจพิจำรณำอุทธรณ์คำสั่งพักใช้ใบอนุญำตต้องพิจำรณำให้แล้วเสร็จภำยในกี่วัน
ก. 15 วัน
ข. 30 วัน
ค. 45 วัน
ง. 60 วัน
225. กำรขอใบอนุญำตตั้งสถำนบริกำรต้องเสียค่ำธรรมเนียมฉบับละเท่ำใด
ก. 1,000 บำท
ข. 5,000 บำท
ค. 10,000 บำท
ง. 50,000 บำท
226. กรณีที่สถำนบริกำรไม่จัดทำประวัติของพนักงำนอำจถูกสั่งพักใช้ใบอนุญำตครั้งละไม่เกินกี่
วัน
ก. 5 วัน
ข. 10 วัน
ค. 15 วัน
562

ง. 30 วัน
227. กรณีที่ผู้รับอนุญำตตั้งสถำนบริกำรจะอุทธรณ์คำสั่งพักใช้ใบอนุญำตต้องอุทธรณ์ภำยในกี่วัน
ก. 5 วัน
ข. 10 วัน
ค. 15 วัน
ง. 30 วัน
228. กรณีที่ใบอนุญำตให้ตั้งสถำนบริกำรสูญหำนต้องยื่นคำขอใยแทนภำยในกี่วัน
ก. 7 วัน
ข. 15 วัน
ค. 30 วัน
ง. 60 วัน
229. กรณีที่สถำนที่ที่ขออนุญำตตั้งสถำนบริกำรเป็นของผู้อื่น สำมำรถขออนุญำตได้หรือไม่
ก. ไม่ได้
ข. ได้ แต่ต้องมีหนังสือแสดงควำมยินยอมจำกเจ้ำของสถำนที่
ค. ได้ แต่เจ้ำของสถำนที่ต้องแสดงตนและลงลำยมือชื่อต่อหน้ำนำยทะเบียน
ง. ไม่มีข้อใดถูก
230. กรณีที่บัตรประวัติพนักงำนสูญหำยจะต้องจัดทำใหม่ภำยในกี่วัน
ก. 3 วัน
ข. 7 วัน
ค. 10 วัน
ง. 15 วัน
231. สถำนบริกำรเป็นสถำนที่ที่ตั้งขึ้นเพื่อกำรใด
ก. สังคม
ข. กำรค้ำ
ค. บันเทิง
ง. พักผ่อน
232. สถำนที่ตำมข้อใดเป็นสถำนบริกำร
ก. ร้ำนคำรำโอเกะ
ข. สถำนอำบ อบ นวด
ค. สถำนที่เต้นรำซึ่งมีคู่บริกำร
ง. ถูกทุกข้อ
233. กำรออใบอนุญำตให้ตั้งสถำนบริกำรต้องคำนึงถึงประวัติด้ำนใดของผู้ขออนุญำต
ก. กำรเงิน
ข. กำรค้ำขำย
563

ค. กำรกระทำควำมผิด
ง. กำรทำประโยชน์แก่สังคม
234. กำรขอใบอนุญำตให้ตั้งสถำนบริกำรในต่ำงจังหวัดต้องยื่นต่อใคร
ก. นำยอำเภอ
ข. ปลัดจังหวัด
ค. นำยกเทศมนตรี
ง. ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด
235. ใครเป็นผู้มีอำนำจในกำรต่อใบอนุญำตให้ตั้งสถำนบริกำรในต่ำงจังหวัด
ก. ปลัดจังหวัด
ข. นำยกเทศมนตรี
ค. ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด
ง. ผู้กำกับสถำนีตำรวจ
236. กำรอุทธรณ์คำสั่งไม่ออกใบอนุญำตให้ตั้งสถำนบริกำรต้องกระทำภำยในกี่วัน นับแต่วันได้รับ
หนังสือพนักงำนเจ้ำหน้ำที่แจ้งกำรไม่อนุญำต
ก. 15 วัน
ข. 30 วัน
ค. 45 วัน
ง. 60 วัน
237. ในกรณีที่พนั ก งำนเจ้ ำหน้ ำที่ สั่ ง พั ก ใช้ ใ บอนุ ญำตให้ ตั้ งสถำนบริ ก ำรในต่ ำ งจั ง หวั ด ผู้ รับ
อนุญำตมีสิทธิอุทธรณ์ต่อใคร
ก. ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด
ข. อธิบดีกรมกำรปกครอง
ค. ปลัดกระทรวงมหำดไทย
ง. ผู้บัญชำกำรตำรวจแห่งชำติ
238. กำรต่อเติมสถำนบริกำรทำได้เมื่อใด
ก. ทำได้เลย
ข. ได้จดทะเบียนต่อเจ้ำหน้ำที่
ค. ได้แจ้งเป็นหนังสือจำกเจ้ำหน้ำที่
ง. ได้รับอนุญำตเป็นหนังสือจำกเจ้ำหน้ำที่
239. ห้ำมผู้รับอนุญำตให้ตั้งสถำนบริกำรรับผู้มีอำยุต่ำกว่ำกี่ปี เข้ำทำงำนในสถำนบริกำร
ก. 15 ปี
ข. 16 ปี
ค. 17 ปี
ง. 18 ปี
564

240. ผู้รับอนุญำตให้ตั้งสถำนบริกำรซึ่งฝ่ำฝืนตำมข้อ 9. ต้องระวำงโทษจำคุกกี่เดือน


ก. 1 เดือน
ข. 2 เดือน
ค. 3 เดือน
ง. ไม่มีข้อใดถูก
241. สถำนบริกำรจะตั้งขึ้นเมื่อใด
ก. ได้รับใบอนุญำต
ข. จดทะเบียนกำรค้ำ
ค. มีผู้ดำเนินกำรตั้งแต่ 7 คน
ง. ทำทะเบียนประวัติพนักงำน
242. สถำนที่ตำมข้อใดไม่ใช่สถำนบริกำร
ก. ร้ำนคำรำโอเกะ
ข. สถำนอำบ อบ นวด
ค. สถำนที่เต้นรำซึ่งไม่มีคู่บริกำร
ง. ร้ำนขำยอำหำร สุรำ ซึ่งไม่มีผู้บำเรอสำหรับปรนนิบัติ
243. กำรออกใบอนุญำตให้ตั้งสถำนบริกำรต้องคำนึงถึงประวัติด้ำนใดของผู้ขออนุญำต
ก. สังคม
ข. กำรเมือง
ค. เศรษฐกิจ
ง. กำรกระทำควำมผิด
244. กำรขอใบอนุญำตให้ตั้งสถำนบริกำรในกรุงเทพมหำนครต้องยื่นต่อใคร
ก. ผู้อำนวยกำรเขต
ข. ปลัดกรุงเทพมหำนคร
ค. ผู้บัญชำกำรตำรวจแห่งชำติ
ง. ผู้กำกับสถำนีตำรวจนครบำล
245. ใครเป็นผู้มีอำนำจในกำรต่อใบอนุญำตให้ตั้งสถำนบริกำรในกรุงเทพมหำนคร
ก. ปลัดกรุงเทพมหำนคร
ข. ผู้บัญชำกำรตำรวจแห่งชำติ
ค. ผู้บัญชำกำรตำรวจนครบำล
ง. ผู้ว่ำรำชกำรกรุงเทพมหำนคร
246. กำรอุทธรณ์คำสั่งไม่ต่ออำยุใบอนุญำตให้ตั้งสถำนบริกำรต้องกระทำภำยในเวลำกี่วัน นับแต่
วันได้รับหนังสือพนักงำนเจ้ำหน้ำที่แจ้งกำรไม่ต่ออำยุใบอนุญำต
ก. 15 วัน
ข. 30 วัน
565

ค. 45 วัน
ง. 60 วัน
247. ในกรณีที่พนักงำนเจ้ำหน้ำที่สั่งพักใช้ใบอนุญำตให้ตั้งสถำนบริกำรในกรุงเทพมหำนครผู้รับ
อนุญำตให้ตั้งสถำนบริกำรมีสิทธิอุทธรณ์ต่อใคร
ก. อธิบดีกรมกำรปกครอง
ข. ปลัดกระทรวงมหำดไทย
ค. ผู้บัญชำกำรตำรวจแห่งชำติ
ง. ผู้ว่ำรำชกำรกรุงเทพมหำนคร
248. กำรย้ำยสถำนบริกำรทำได้เมื่อ
ก. ทำได้เลย
ข. ได้จดทะเบียนต่อเจ้ำหน้ำที่
ค. ได้แจ้งเป็นหนังสือจำกเจ้ำหน้ำที่
ง. ได้รับอนุญำตเป็นหนังสือจำกเจ้ำหน้ำที่
249. ห้ำมผู้รับอนุญำตตั้งสถำนบริกำรอนุญำตให้ผู้มีอำยุต่ำกว่ำกี่ปี ซึ่งไม่ได้ทำงำนในสถำนบริกำร
นั้นเข้ำไปสถำนบริกำรระหว่ำงเวลำทำกำร
ก. 16 ปี
ข. 18 ปี
ค. 19 ปี
ง. 20 ปี
250. ผู้รับอนุญำตให้ตั้งสถำนบริกำรซึ่งฝ่ำฝืนตำมข้อ 19. ต้องระวำงโทษปรับไม่เกินเท่ำใด
ก. 20,000 บำท
ข. 30,000 บำท
ค. 40,000 บำท
ง. 50,000 บำท
251. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับขั้นตอนกำรโอนกรรมสิทธิ์สัตว์พำหนะ
ก. ผู้โอนและผู้รับโอนนำสัตว์พำหนะและตั๋วรูปพรรณไปยังนำยทะเบียนท้องที่
ข. นำยทะเบียนบันทึกข้อควำมกำรโอนกรรมสิทธิ์ไว้หลังต้นขั้วตั๋วรูปพรรณและทะเบียน
ค. มอบตั๋วรูปพรรณให้ผู้รับโอน
ง. ถูกทุกข้อ
252. แบบพิมพ์ที่ใช้ในกำรปฏิบัติงำนทะเบียนมูลนิธิมีกี่แบบ
ก. 1แบบ
ข. 2แบบ
ค. 3แบบ
ง. 4แบบ
566

เฉลยแนวข้อสอบงำนอำวุธปืน เครื่องกระสุนปืน วัตถุระเบิด ดอกไม้เพลิงและสิ่งเทียมอำวุธปืน


งำนกำรพนัน งำนควบคุมกำรเรี่ยไร งำนควบคุมกำรขำยทอดตลำดและค้ำของเก่ำ งำนโรงรับจำนำ
งำนโรงแรมและงำนสถำนบริกำร
1.ง 2.ก 3.ข 4.ค 5.ง 6.ก
7.ง 8.ค 9.ข 10.ข 11.ข 12.ง
13.ก 14.ค 15.ง 16.ง 17.ง 18.ง
19.ก 20.ง 21.ง 22.ข 23.ค 24.ข
25.ง 26.ก 27.ก 28.ข 29.ง 30.ก
31.ง 32.ก 33.ค 34.ง 35.ข 36.ก
37.ก 38.ง 39.ค 40.ข 41.ข 42.ง
43.ง 44.ก 45.ง 46.ง 47.ค 48.ข
49.ข 50.ง 51.ง 52.ค 53.ก 54.ข
55.ง 56.ง 57.ค 58.ก 59.ค 60.ง
61.ง 62.ก 63.ข 64.ข 65.ข 66.ง
67.ค 68.ง 69.ง 70.ค 71.ค 72.ง
73.ง 74.ง 75.ก 76.ง 77.ข 78.ง
79.ง 80.ข 81.ค 82.ก 83.ง 84.ค
85.ง 86.ข 87.ง 88.ง 89.ค 90.ก
91.ค 92.ง 93.ค 94.ค 95.ง 96.ก
97.ง 98.ง 99.ข 100.ข 101.ก 102.ค
103.ก 104.ก 105.ค 106.ง 107.ค 108.ข
109.ข 110.ก 111.ค 112.ข 113.ง 114.ค
115.ค 116.ค 117.ข 118.ข 119.ง 120.ก
121.ข 122.ง 123.ค 124.ง 125.ก 136.ค
127.ง 128.ก 129.ง 130.ก 131.ก 132.ง
133.ก 134.ก 135.ข 136.ง 137.ก 138.ข
139.ง 140.ข 141.ข 142.ค 143.ง 144.ข
145.ค 146.ง 147.ข 148.ง 149.ก 150.ค
151.ค 152.ง 153.ค 154.ก 155.ค 156.ก
157.ก 158.ก 159.ง 160.ค 161.ง 162.ง
163.ง 164.ข 165.ข 166.ง 167.ข 168.ข
169.ง 170.ค 171.ง 172.ง 173.ก 174.ค
175.ข 176.ง 177.ก 178.ง 179.ข 180.ง
181.ข 182.ง 183.ง 184.ข 185.ค 186.ข
567

187.ก 188.ง 189.ง 190.ง 191.ข 192.ก


193.ข 194.ค 195.ง 196.ง 197.ข 198.ก
199.ก 200.ง 201.ข 202.ค 203.ง 204.ค
205.ง 206.ข 207.ก 208.ง 209.ข 210.ก
211.ค 212.ง 213.ค 214.ง 215.ง 216.ง
217.ง 218.ค 219.ข 220.ค 221.ค 222.ข
223.ง 224.ก 225.ง 226.ง 227.ค 228.ข
229.ข 230.ข 231.ข 232.ง 233.ค 234.ก
235.ค 236.ข 237.ค 238.ง 239.ง 240.ง
241.ก 242.ง 243.ง 244.ง 245.ค 246.ข
247.ค 248.ง 249.ง 250.ง 251.ง 252.ค

ควำมรู้เกี่ยวกับกำรอำนวยควำมเป็นธรรมให้แก่ประชำชน กำรสืบสวนสอบสวนคดีอำญำในควำม
รับผิดชอบของฝ่ำยปกครอง กำรรักษำควำมสงบเรียบร้อย ควำมมั่นคงภำยในและ กำรจัดระเบียบ
สังคม ในหน้ำที่ของกรมกำรปกครอง ควำมรู้เกี่ยวกับกำรอำนวยควำมเป็นธรรมให้แก่ประชำชน
กำรไกล่เกลี่ยประนีประนอมข้อพิพำท
1. หลักเกณฑ์กำรประนีประนอมข้อพิพำทของคณะกรรมกำรหมู่บ้ำนคืออะไร
ก. เป็นข้อพิพำทเกี่ยวกับควำมแพ่งและควำมอำญำที่เป็นควำมผิดอันยอมควำมได้
ข. คู่กรณีตกลงให้คณะกรรมกำรหมู่บ้ำนประนีประนอมข้อพิพำท
ค. ข้อพิพำทเกิดขึ้นในหมู่บ้ำน
ง. ถูกทุกข้อ
2. กำรประนีประนอมข้อพิพำทของคณะกรรมกำรหมู่บ้ำนมีบุคคลตำมข้อใดให้คำปรึกษำ
ก. นำยอำเภอ
ข. นำยตำรวจชั้นสัญญำบัตร
ค. พนักงำนอัยกำร
ง. ถูกทุกข้อ
3. นำยอำเภอมีอำนำจเปรียบเทียบควำมแพ่งในคดีที่มีทุนทรัพย์ไม่เกินเท่ำใด
ก. 5,000 บำท
ข. 10,000 บำท
ค. 20,000 บำท
ง. 50,000 บำท
568

4. กำรสอบสวนคดีที่กำนัน ผู้ใหญ่บ้ำน ต้องหำคดีอำญำเพรำะไม่กระทำตำมหน้ำที่ พนักงำน


สอบสวนต้องแจ้งให้ใครทรำบ
ก. อธิบดีกรมกำรปกครอง
ข. ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด
ค. นำยอำเภอ
ง. ข้อ ข. และ ค. ถูก
5. ฝ่ำยปกครองในฐำนะอนุญำโตตุลำกำรชี้ขำดข้อพิพำทระหว่ำงคู่กรณีมีหลักเกณฑ์อย่ำงไร
ก. คู่กรณีสมัครใจตั้งอนุญำโตตุลำกำรชี้ขำดข้อพิพำท
ข. มีสัญญำอนุญำโตตุลำกำร
ค. ผู้ได้รับแต่งตั้งต้องสมัครใจทำหน้ำที่อนุญำโตตุลำกำร
ง. ถูกทุกข้อ
6. คดีอำญำตำมกฎหมำยใดที่พนักงำนสอบสวนฝ่ำยปกครองทำกำรสอบสวนได้
ก. กฎหมำยว่ำด้วยภำษีบำรุงท้องที่
ข. กฎหมำยว่ำด้วยสำธำรณสุข
ค. กฎหมำยว่ำด้วยกำรประถมศึกษำ
ง. ถูกทุกข้อ
7. กำรออกหมำยจับ เจ้ำพนักงำนต้องสอบสวนพยำนหลักฐำนให้เพียงพอที่จะเชื่อว่ำผู้ต้องหำได้
กระทำผิด เว้นแต่คดีตำมข้อใด
. คดีควำมผิดลหุโทษ
ข. คดีควำมผิดทำงกฎหมำยว่ำด้วยกำรจรำจรทำงบก
ค. คดีที่มีโทษปรับสถำนเดียว ไม่เกิน 2,000 บำท
ง. ถูกทุกข้อ
8. พนักงำนสอบสวนผู้ทำกำรสอบสวนมีอำนำจสั่งปล่อยชั่วครำวในคดีที่มีอัตรำโทษจำคุกอย่ำงสูง
ไม่เกินเท่ำใด
ก. 6 เดือน
ข. 1 ปี
ค. 3 ปี
ง. 5 ปี
9. ใครมีอำนำจเปรียบเทียบและสอบสวนคดีและละเมิดทศบัญญัติ
ก. นำยกเทศมนตรี
ข. ปลัดเทศบำล
ค. เทศมนตรี
ง. ถูกทุกข้อ
569

10. เมื่ อ เปรี ย บเที ย บคดี ล ะเมิ ด ข้ อ บั ญ ญั ติ จั ง หวั ด แล้ ว พนั ก งำนสอบสวนต้ อ งส่ ง ส ำนวน
เปรียบเทียบไปยังอัยกำร หำกอัยกำรไม่มีคำสั่งเป็นอย่ำงอื่นภำยในกำหนดใดถือว่ำเห็นชอบ
ก. 15 วัน
ข. 1 เดือน
ค. 3 เดือน
ง. 6 เดือน
11. หำกมีกำรตำเกิดขึ้นโดยกำรกระทำของเจ้ำพนักงำน ซึ่งอ้ำงว่ำปฏิบัติกำรตำมหน้ำที่บุคคลใด
ไม่ต้องเข้ำร่วมชันสูตรพลิกศพ
ก. พนักงำนอัยกำร
ข. ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด
ค. แพทย์
ง. พนักงำนสอบสวน
12. แพทย์ที่จะใช้ในกำรชันสูตรพลิกศพจะต้องเป็นแพทย์ตำมข้อใดเป็นลำดับแรก
ก. แพทย์ทำงนิติเวชศำสตร์
ข. แพทย์ประจำโรงพยำบำลของรัฐ
ค. แพทย์ประจำโรงพยำบำลเอกชน
ง. แพทย์ประจำสำนักงำนสำธำรณสุขจังหวัด
13. หำกพนักงำนสอบสวนทำสำนวนที่มีกำรชันสูตรพลิกศพแล้วส่งพนักงำนอัยกำรไม่ทันสำมำรถ
ขยำยระยะเวลำออกไปได้ไม่เกินกี่ครั้ง
ก. 1 ครั้ง ข. 2 ครั้ง
ค. 3 ครั้ง ง. 4 ครั้ง
14. หำกพนักงำนอัยกำรไม่สำมำรถยื่นคำร้องต่อศำลเพื่อให้ทำกำรไต่สวนสำนวนชันสูตรพลิกศพ
ได้ทันสำมำรถขยำยระยะเวลำออกไปได้ไม่เกินกี่ครั้ง
ก. 1 ครั้ง ข. 2 ครั้ง
ค. 3 ครั้ง ง. 4 ครั้ง
15. กำรแจ้งกำหนดวันนัดไต่สวนสำนวนชันสูตรพลิกศพต้องแจ้งญำติของผู้ตำยให้ทรำบก่อนวัน
นัดไม่น้อยกว่ำกี่วัน
ก. 3 วัน ข. 7 วัน
ค. 15 วัน ง. 30 วัน

เฉลย
1.ง 2.ง 3.ค 4.ง 5.ง 6.ง 7.ง 8.ก 9.ง 10.ข
11.ข 12.ก 13.ข 14.ข 15.ค
570

กำรรักษำควำมสงบเรียบร้อย ควำมมั่นคงภำยในและกำรจัดระเบียบสังคมในหน้ำที่ของกรมกำร
ปกครอง ควำมรู้เกี่ยวกับกิจกำรกองรักษำดินแดน
1. สมำชิกกองอำสำรักษำดินแดนมีกี่ประเภท
ก. 2 ประเภท
ข. 3 ประเภท
ค. 4 ประเภท
ง. 5 ประเภท
2. ข้อใดกล่ำวถูกต้องเกี่ยวกับกิจกำรอำสำสมัครรักษำดินแดน
ก. จัดตั้งขึ้นตำมพระรำชบัญญัติกองอำสำสมัครรักษำดินแดน พ.ศ. 2497
ข. จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 10 กุมภำพันธ์ พ.ศ. 2497
ค. ตั้งขึ้นเพื่อให้มีกำลังสำรองไว้ช่วยเหลือประชำชนพึ่งยำมปกติและยำมสงครำม
ง. ถูกทุกข้อ
3. กำรดำเนินงำนกองอำสำสมัครรักษำดินแดนอยู่ภำยใต้หน่วยงำนใด
ก. สภำควำมมั่นคงแห่งชำติ
ข. คณะกรรมกำรกลำงกองอำสำสมัครรักษำดินแดน
ค. กระทรวงกลำโหม
ง. ข้อ ก. และ ข. ถูก
4. ผู้บัญชำกำรอำสำสมัครรักษำดินแดนคือใคร
ก. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงมหำดไทย
ข. รัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงกลำโหม
ค. อธิบดีกรมกำรปกครอง
ง. ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด
5. ข้อใดเป็นภำรกิจตำมพระรำชบัญญัติกองอำสำสมัครรักษำดินแดน
ก. บรรเทำภัยที่เกิดจำกธรรมชำติและกำรกระทำของข้ำศึก
ข. รักษำควำมสงบในทรัพย์ร่วมกับพนักงำนฝ่ำยปกครอง หรือตำรวจ
ค. เป็นกำลังสำรองส่วนหนึ่งพร้อมเพิ่มเติม สนับสนุนกำลังทหำรเมื่อจำเป็น
ง. ถูกทุกข้อ
6. ยศผู้บังคับบัญชำสมำชิกอำสำสมัครรักษำดินแดนข้อใดใหญ่ที่สุด
ก. นำยกองใหญ่
ข. นำยกองเอก
ค. นำยหมวดเอก
ง. นำยหมู่ใหญ่
7. ยศสำหรับสมำชิกอำสำสมัครรักษำดินแดนมีกี่ชั้น
ก. 2 ชั้น
571

ข. 3 ชั้น
ค. 4 ชั้น
ง. 5 ชั้น
8. อำสำสมัครป้องกันภัยฝ่ำยพลเรือนมีวัตถุประสงค์อย่ำงไร
ก. เพื่อให้ประชำชนมีควำมรู้ควำมเข้ำใจเกี่ยวกับกำรป้องกันและบรรเทำภัยต่ำงๆ
ข. เพื่อให้ประชำชนมีส่วนช่วยเหลือมิให้เกิดควำมไม่สงบเรียบร้อยขึ้นในบ้ำนเมือง
ค. เพื่อให้ประชำชนสำมำรถป้องกันตนเองส่วนรวมและประเทศชำติได้
ง. ถูกทุกข้อ
9. ผู้ที่จะเข้ำรับกำรฝึกอบรม อปพร. ต้องมีอำยุไม่ต่ำกว่ำกี่ปี
ก. 15 ปีบริบูรณ์
ข. 17 ปีบริบูรณ์
ค. 18 ปีบริบูรณ์
ง. 20 ปีบริบูรณ์
10. หน้ำที่ของ อปพร. คืออะไร
ก. จัดเตรียมกำรป้องกันสำธำรณภัยต่ำงๆ ที่จะเกิดขึ้นในพื้นที่
ข. สนับสนุนกำลังเจ้ำหน้ำที่ในกำรระงับและบรรเทำภัยในเขตพื้นที่
ค. สงค์เครำะห์ผู้ประสบภัย สำรวจควำมเสียหำยในพื้นที่
ง. ถูกทุกข้อ
11. กำรป้องกันภัยฝ่ำยเรือน กำรป้องกันและบรรเทำอันตรำยหรือควำมเสียหำย อันเนื่องมำจำก
ภัยประเภทใด
ก. สำธำรณภัย
ข. ภัยทำงอำกำศ
ค. กำรก่อวินำศกรรม
ง. ถูกทุกข้อ
12. ข้อใดหมำยถึงสำธำรณภัย
ก. อัคคีภัย
ข. วำตภัย
ค. อุทกภัย
ง. ถูกทุกข้อ
13. ข้อใดเป็นอำนำจหน้ำที่ของคณะกรรมกำรป้องกันภัยฝ่ำยพลเรือนแห่งชำติ
ก. กำหนดนโยบำยเกี่ยวกับกำรป้องกันฝ่ำยพลเรือน
ข. วำงแผนหลักในกำรป้องกันภัยฝ่ำยเรือน
ค. กำหนดวิธีกำรตรวจสอบ ติดตำม ประเมินผลตำมแผนป้องกันภัยฝ่ำยพลเรือน
ง. ถูกทุกข้อ
572

14. ใครเป็นเลขำธิกำรป้องกันภัยฝ่ำยเรือน
ก. อธิบดีป้องกันภัยและบรรเทำสำธำรณภัย
ข. อธิบดีกรมกำรปกครอง
ค. ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัด
ง. ไม่มีข้อถูก
15. ผู้ใดฝ่ำฝืนหรือไม่ปฏิบัติตำมคำสั่งของคณะกรรมกำรป้องกันฝ่ำยพลเรือนแห่งชำติ ต้องระวำง
โทษจำคุกอย่ำงไร
ก. ไม่เกิน 1 เดือน
ข. ไม่เกิน 3 เดือน
ค. ไม่เกิน 6 เดือน
ง. ไม่เกิน 1 ปี
16. สมำชิกหน่วยอำสำสมัครมีหน้ำที่อย่ำงไร
ก. ปฏิบัติตำมคำสั่งของผู้อำนวยกำรป้องกันภัยฝ่ำยพลเรือนในกำรป้องกันภัยฝ่ำยพลเรือน
ข. ปฏิบัติตำม ข้อบังคับ และระเบียบกระทรวงมหำดไทยว่ำด้วยอำสำสมัครป้องกันภัยฝ่ำย
พลเรือน
ค. เป็นผู้ช่วยของเจ้ำหน้ำที่ตำรวจ
ง. ข้อ ก. และ ข. ถูก
17. ในกำรเตรียมกำรป้องกันภัยฝ่ำยพลเรือน ผู้อำนวยกำรป้องกันภัยฝ่ำยพลเรือนในเขตท้องที่ที่
รับผิดชอบมีอำนำจหน้ำที่อย่ำงไร
ก. สำรวจสถำนที่ วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ เพื่อใช้ในกำรป้องกันภัยฝ่ำยพลเรือน
ข. จัดให้มีวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ ในกำรป้องกันภัยฝ่ำยพลเรือนได้ตำมควำม
จำเป็น
ค. จัดให้มีกำรอบรมและดำเนินกำรฝึกซ้อมกำรป้องกันภัยฝ่ำยพลเรือน
ง. ถูกทุกข้อ
18. ผู้ใดมีหน้ำที่ประจำในกำรใช้เครื่องมือสื่อสำร ฝ่ำฝืนหรือไม่ปฏิบัติตำมคำสั่งต้องระวำงโทษ
จำคุกอย่ำงไร
ก. ไม่เกิน 1 เดือน
ข. ไม่เกิน 3 เดือน
ค. ไม่เกิน 6 เดือน
ง. ไม่เกิน 1 ปี
19. เมื่อมีคำสั่งอพยพประชำชนออกจำกพื้นที่อันตรำย ผู้ใดฝ่ำฝืนไม่ปฏิบัติตำมต้องระวำงโทษ
อย่ำงไร
ก. จำคุกไม่เกิน 1 เดือน
ข. ปรับไม่เกิน 1,000 บำท
573

ค. ปรับไม่เกิน 2,000 บำท


ง. ข้อ ก. และ ข. ถูก
20. ผู้ใดอวดอ้ำง หรือนำเอำชื่อของหน่วยงำนป้องกันภัยฝ่ำยพลเรือนไปใช้ในกิจกำรใดๆ เพื่อหำ
ประโยชน์ให้แก่ตน ต้องระวำงโทษอย่ำงไร
ก. จำคุกไม่เกิน 1 ปี
ข. ปรับไม่เกิน 4,000 บำท
ค. ทั้งจำทั้งปรับ
ง. ถูกทุกข้อ
เฉลย
1.ข 2.ง 3.ข 4.ก 5.ง 6.ก 7.ก 8.ข 9. ข 10.ง
11.ง 12.ง 13.ง 14.ก 15.ก 16.ง 17.ง 18.ค. 19.ง. 20.ง
574

แนวข้อสอบควำมรู้ด้ำนภำษำอังกฤษ
Grammar ไวยกรณ์
1. If I ………… harder, I would have passed the exam.
1. studied
2. had studied
3. wold study
4. wera studying
ตอบข้อ 2. เพรำะ : had studied เป็นเรื่อง conditional sentences ประเภท past unreal

2. The roof needs ………… because it leaks whenever it rains.


1. to mend
2. mended
3. mending
4. mend
ตอบข้อ 3. เพรำะ : mending

3. “Do you mean John”


“Yes, he ………… a note to me yesterday.”
1. had written
2. wrote
3. writtes
4. was written
ตอบข้อ 2. เพรำะ : เห็น yesterday ก็เป็น present simple ธรรมดำs

3. When he was young, he ………… to collect stamps.


1. was using
2. had used
3. used
4. was used
ตอบข้อ 3. เพรำะ : เคย ให้ใช้ used to

4. A : Did he answer the letter?


B : AS soon as he ………… it, he ………… down to answer it.
1. reads, sits
575

2. read, sat
3. has read, is sitting
4. had read, sat
ตอบข้อ 2. เพรำะ : read, sat.

5. “When did the rain stop?” “It ………… before we went out.”
1. had stopped
2. was stopping
3. was stopped
4. was being stopped
ตอบข้อ 1. เพรำะ : had stopped เหตุกำรณ์ที่เกิดขึ้นก่อนในอดีตที่มีสองเหตุกำรณ์ ให้ใช้ had =
v.3

6. “What will happen tonight ?”


“All the people ………… stay home tonight.”
1. has to
2. will to
3. have to
4. will
ตอบข้อ 3. เพรำะ : have to

7. I plan to tour Europe next year. By April 2 0 2 0 , I ………… up enough money for
the trip.
1. save
2. have saved
3. will have saved
4. will be saving
ตอบข้อ 3. เพรำะ : will have saved

8. The meeting ………… next week.


1. is holding
2. is to holding
3. is being held
4. isn’t be holding
576

ตอบข้อ 3. เพรำะ : is being held กำลังถูกจัด ใช้ be + being + v.3

9. “Why does he have to work very hard ?”


“So that he ………… to buy a new car.”
1. is able
2. has been able
3. was able
4. will be able
ตอบข้อ 4. เพรำะ : will be able

10. When your brother ………… he will be very tired.


1. arrived
2. will arrive
3. arrives
4. is arriving
ตอบข้อ 3. เพรำะ : arrives ประโยค when และ as soon as จะ + ด้วย simple ธรรมดำ จะ
เป็นในรูปอดีตหรือปัจจุบันก็ได้ ส่วนอีกประโยคจะมี จะ (will, would + 1)

11. Up to now, the data for the research ………… collected yet.
1. has not been
2. have not been
3. had not
4. had not been
ตอบข้อ 2. เพรำะ : เห็น up to now ซึ่งหมำยถึง จวบจนกระทั่งบัดนี้ นั่นคือ จำกอดีตจนถึง
ปัจจุบัน ก็ต้องตอบ present perfect

1 2 . Each time the star singer finishes a song, everybody in the audience …………
loudly.
1. applauds
2. applaud
3. applauded
4. have applauded
ตอบข้อ 1. เพรำะ : applauds = ผู้ฟังก็ต้องปรบมือ
577

13. They ………… breakfast at seven o’clock.


1. have not
2. don’t have
3. have no
4. haven’t
ตอบข้อ 2. เพรำะ : ไม่ได้กินข้ำวเช้ำ คำว่ำไม่ได้กิน ใช้ don’t have

14. I’ve been in Bangkok ………… .


1. two months ago
2. for two months
3. since two months
4. for two months ago
ตอบข้อ 2. เพรำะ : ในโจทย์มี ‘ve been ก็ต้องตอบ for two months เป็น present perfect
อย่ำตอบข้อ 4. เพรำะมีคำว่ำ ago จะเป็น past tense

15. I ………… many stories but nobody ………… to read them.


1. wrote, wanting
2. write, wanted
3. have written, wants
4. writing, wanting
ตอบข้อ 3. เพรำะ : ให้ตอบ present perfect have written คู่กับปัจจุบันไปเลย คือ wants

16. I ………… that story before.


1. hear
2. had heard
3. am hearing
4. have heard
ตอบข้อ 4. เพรำะ : have heard เคยได้ยินเรื่องนั้นมำก่อน มักใช้ present prefect

17. I read the newspaper while David ………… ready to leave.


1. gets
2. got
3. was getting
4. had got
578

ตอบข้อ 2. เพรำะ : เป็นเรื่องในอดีต เนื่ องจำกเกิดขึ้นมำแล้ว ดังนั้นคือ got ส่วนข้อ 3. กำลัง


พร้อม หรือข้อ 4. ได้เกิดขึ้นก่อนแล้วแบบ had + v.3

18. By the end of this year, all the students ………… their lessons.
1. will finish
2. will be finished
3. will have finished
4. will have been finished
ตอบข้อ 3. เพรำะ : will have finished มีตัวบอกเวลำคือ By the end of this year เป็นเรื่อง
tense จะเสร็จสิ้นกำรเรียน แสดงถึงระยะเวลำในกำรเรียนในอดีต
19. The car that ………… by that mechanic is mine.
1. has repaired
2. is being repaired
3. will have repaired
4. will being repaired
ตอบข้ อ 2. เพรำะ : is being repaired เป็น เรื่ อง tense รถที่ กำลัง จะถูก ทำ ต้ องใช้ passive
voice เนื่องจำกเป็นกำรเน้นกำรถูกกระทำ

20. On Wan Pra, many people ………… to the temple.


1. go
2. want
3. gone
4. going
ตอบข้อ 1. เพรำะ : ในวันพระทุกคนก็ต้องไปวัด เป็นประเพณี เป็นเรื่องจริง ต้องตอบ present
simple ธรรมดำ คือ goมำก

21. It ………… every day so far this week.


1. has been raining
2. rained
3. is raining
4. rains
ตอบข้อ 1. เพรำะ : ประโยคนี้ เป็น กำรเน้ นมำกๆ ทุก วันตั้ งแต่ อำทิตย์ นี้ ก็ ต้อ งตอบ present
perfect continuous
579

22. In Thailand the weather ………… normally cold in December.


1. was
2. is
3. is going to be
4. will be
ตอบข้อ 2. เพรำะ : เป็นเรื่องจริงว่ำเดือนธันวำคมก็ต้องหนำว เป็น present simple tense

23. I have heard a lot about the new mayor, but i ………… .
1. not ever meet him
2. never have meet him
3. have never met him
4. not ever met him
ตอบข้อ 3. เพรำะ : have never met him เป็นเรื่อง tense เป็นกำรบอกปฏิเสธของ present
perfect tense โดยใช้ never ไม่จำเป็นต้อง not เนื่องจำก never มีควำมหมำยเป็นปฏิเสธโดย
ควำมหมำยอยู่แล้ว

24. Don’t take any medicine that ………… prescribed.


1. did not
2. was not
3. has not been
4. is not being
ตอบข้ อ 3. เพรำะ : has not been เป็ น เรื่ อ ง tense สมควรใช้ present perfect tense
เนื่องจำกเป็นกำรกระทำจำกอดีต และยังคงส่งผลถึงปัจจุบัน

25. June ………… the first party in her life tomorrow night.
1. gives
2. is giving
3. has given
4. gave
ตอบข้ อ 2. เพรำะ : is giving เป็ น เรื่อ ง tense เหตุ ก ำรณ์ ใ นอนำคตที่ มี เ วลำบอกไว้ แ น่ น อน
สำมำรถใช้ present continuous tense จำกในประโยคที่มีกำรบอกเวลำตรง tomorrow night
580

26.You’d better stay at home if you don’t pay attention to your subjects, ………… ?
1. hadn’t you
2. wouldn’t you
3. had you
4. would you
ตอบข้อ 1. เพรำะ : hadn’t you ตอบเป็น question tag เนื่องจำกด้ำนหน้ำเป็นประโยคบอก
เล่ำที่มำจำก You had better ดังนั้นด้ำนหลังต้องเป็นปฏิเสธ

27. That is a good movie, ………… ?


1. do you
2. isn’t it
3. is she
4. isn’t she
ตอบข้อ 2. เพรำะ : isn’t it เป็นเรื่อง question tag ที่เป็น that is บอกเล่ำก็จะเป็นปฏิเสธ

28. None of us know his name, ………… ?


1. do we
2. don’t we
3. do they
4. don’t they
ตอบข้อ 1. เพรำะ : do we เนื่องจำกโจทก์เป็นปฏิเสธ None of us ดังนั้น tag จึงเป็นบอกเล่ำ

29. Let me ask him to accompany you, ………… ?


1. shall I
2. will you
3. shall we
4. will he
ตอบข้อ 3. เพรำะ : shall we เป็นเรื่อง question tag เนื่องจำกประโยคหลักเป็นกำรชักชวนที่
ขึ้นต้นด้วย Let ประโยค tag ต้องเป็น shall we เสมอ

30. The supervisor said no one was qualified for the job, ………… ?
1. did he
2. was he
3. didn’t he
581

4. wasn’t he
ตอบข้อ 3. เพรำะ : didn’t he เป็นเรื่อง question tag เนื่องจำกประโยคหลักเป็น past simple
tense ในรูปแบบบอกเล่ำ เพรำะฉะนั้น tag จะใช้ did เข้ำมำช่วยในรูปปฏิเสธ

31. I don’t think the children have gone to bed, ………… ?


1. do I
2. don’t
3. have they
4. haven’t they
ตอบข้อ 3. เพรำะ : have they เป็นเรื่อง question tag เนื่องจำกประโยคหลักเป็นปฏิเสธ และ
children เป็นประธำนของประโยค ดังนั้น tag ควรเป็นบอกเล่ำ และใช้สรรพนำม thay

32. She used to be our teacher, ………… ?


1. used she
2. did she
3. didn’t she
4. wasn’t she
ตอบข้อ 3. เพรำะ : didn’t she เป็นเรื่อง question tag เนื่องจำกประโยคหลักเป็นประโยคบอก
เล่ำใน past simple tense ดังนั้น tag ต้องเป็นปฏิเสธ

33. The doctors could not save the patient. They ………… if he ………… to the hospital
earlier.
1. could have saved, was brought
2. could, had been brought
3. could have saved him, had brought
4. could have saved him, had been brought
ตอบข้ อ 4. เพรำะ : could have saved him, had been brought เป็ น เรื่ อ ง conditional
sentences ประเภท present unreal

34. I didn’t see Mr. Black at the clun. If he had been there, I ………… him.
1. would meet
2. could meet
3. will have meet
4. would have met
582

ตอบข้ อ 4. เพรำะ : would have met เป็ น เรื่ อ ง conditional sentences ประเภท past
unreal

35. If I ………… your advice, I would have passed the exam.


1. took
2. take
3. would take
4. had taken
ตอบข้อ 4. เพรำะ : had taken เป็นเรื่อง conditional sentences ประเภท past unreal

36. Christ : Jane, Are you coming with me to the football game!.
Jane : I won’t go unless you ………… up tomorrow.
1. call
2. will call
3. would
4. shall call
ตอบข้อ 1. เพรำะ : call เป็นเรื่อง conditional sentences ประเภท future possible

37. If only I ………… him to the hospital in time, he would not have died.
1. would bring
2. broght
3. had brought
4. bring
ตอบข้อ 3. เพรำะ : had brought เป็นเรื่อง conditional sentences ประเภท past unreal

38. If I had not told her the bad news, she ………… .
1. shall not have been so upset like that
2. must not have been so upset like that
3. would not have been so upset like that
4. should not have been so upset like that
ตอบข้ อ 3. เพรำะ : would not have been so upset like that เป็ น เรื่ อ ง conditional
sentences ประเภท past unreal
583

39. I will call you as soon as I ………… .


1. arrive
2. arrives
3. was arriving
4. will arrive
ตอบข้อ 1. เพรำะ : arrive โครงสร้ำง as soon as และ When เป็น s. + v. จะไม่เป็นลักษณะ
continuous หรือ s. + will, would + v.1

40. We will have to ………… strictly to meet expenses this month.


1. economy
2. economize
3. economist
4. economical
ตอบข้อ 2. เพรำะ : economize ตำแหน่งขำด v. จึงต้องตอบข้อ 2 เพรำะเป็น v.

41. The missing document was ………… in an empty office.


1. discover
2. discovery
3. discovered
4. discovering
ตอบข้อ 3. เพรำะ : discovered = ถูกค้นพบ เป็น passive คือ v. to be + v.3

42. If you need any help filling out the forms, ………… somebody at the front desk
for assistance.
1. to ask
2. asking
3. asks
4. ask
ตอบข้อ 4. เพรำะ : If ในกรณีขอร้อง ให้เริ่มต้นด้วย v. ในประโยคหลัก คือ ask

43. We will need to think ………… in order to find a good solution to this problem.
1. creatively
2. creative
3. created
584

4. creator
ตอบข้อ 1. เพรำะ : creatively ในประโยคนี้ขำด adv. ขยำย think ที่เป็น v.

44. This office is expensive, but it’s ………… than our old office.
1. space
2. spacious
3. more spacious
4. the most spacious

ตอบข้อ 3. เพรำะ : more spacious เห็น than more ชั้นกว่ำ

45. Dr. Chin, ………… book I just showed you, works across the hall from me.
1. who
2. that
3. whom
4. whose
ตอบข้อ 4. เพรำะ : whose แสดงควำมเป็นเจ้ำของว่ำหนังสือเป็นของใคร

46. This new company headquartes is ………… Main Street.


1. at
2. on
3. in
4. to
ตอบข้อ 2. เพรำะ : เห็นถนน ให้ใช้ on

4 7 . I really enjoy the work that i do, ………… I have a hard time getting along with
my colleagues.
1. but
2. and
3. as
4. or
ตอบข้อ 1. เพรำะ : but = แต่ที่ยำกคือกำรเข้ำกับเพื่อนร่วมงำน colleagues หมำยถึง เพื่อน
ร่วมงำน
585

48. The visitor we are expecting in a few days ………… help finding a good hotel.
1. need
2. needs
3. have needed
4. are going to need
ตอบข้อ 2. เพรำะ : needs เป็น v. แท้ของประโยคหลัก ดังนั้นประธำน the cisitor เป็นเอกพจน์
จึงต้องเติม s ที่ needs

4 9 . The ………… of our manufacturing process has saved the company a lot of
money.
1. simplification
2. simplify
3. simply
4. simple
ตอบข้อ 1. เพรำะ : simplificaตำแหน่งที่ขำดในประโยคคือ คำนำม (n)

50. Everyday employed by this office ………… a professional degree.


1. has
2. have
3. to have
4. is having
ตอบข้อ 1. เพรำะ : has v. ของ Every ต้องใช้เอกพจน์ คือ has = กำลังมี ไม่ได้ใช้ is having ไม่
เหมำะจะเขียนเป็นแบบ continuous

51. You can expect ………… your first paycheck before the end of your first month
of employment.
1. receive
2. to receive
3. receiving
4. receipient
ตอบข้อ 2. เพรำะ : to receive (expect + to + v.1)
586

52. It is better for the economy to buy things that are produced ………… rather then
bringing in products from far away.
1. local
2. localize
3. locally
4. location
ตอบข้อ 3. เพรำะ : locally ประโยคนี้ขำดที่จะไปขยำย are produced

53. It you ………… your reservations earlier, you would have gotten on the flight you
wanted.
1. made
2. had made
3. have made
4. would havemmade
ตอบข้อ 2. เพรำะ : had made (if สูตร 3/if + s. + had + v.3, s + would + have + v.3)

5 4 . The number of people who ask questions at the end of the lecture …………
always quite astonishing.
1. be
2. are
3. were
4. is
ตอบข้อ 4. เพรำะ : is (The number of เป็นประธำนแบบเอกพจน์ จึงเป็น is)

55. you’ll find the letter ………… the papers on my desk.


1. along
2. among
3. almost
4. always
ตอบข้อ 2. เพรำะ : among + ด้วยมำกกว่ำสอง paaers มีมำกกว่ำสอง ถ้ำสองใช้ between

56. We will review your application ………… you have submitted all your paperwork.
1. soon
2. as soon
587

3. as soon as
4. soon than
ตอบข้อ 3. เพรำะ : as soon as เป็นประโยค as soon หรือ when ตำมด้วย s. + v. ทั่วไป ที่ไม่
เป็นลักษณะ continuous หรือ will. would + v.1

57. Prices continue to ………… causing a great of financial difficulty.


1. up
2. high
3. raise
4. rise

ตอบข้อ 4. เพรำะ : rise = สูงขึ้นอย่ำงต่อเนื่อง คำว่ำสูงขึ้น ใช้ rise ส่วน raise แปลว่ำ ยกขึ้นหรือ
เลี้ยง

58. Mr. Yamada ………… here for many years and is one of our most knowledgeable
employees.
1. is working
2. used to work
3. has been working
4. will have worked
ตอบข้อ 3. เพรำะ : has been working ข้อนี้เป็นกำรเน้นย้ำให้เห็นว่ำเขำทำงำนมำหลำยปีเป็นที่
รู้ กั น ส ำหรั บ พนั ก งำนทุ ก คน ให้ ใ ช้ present perfect continuous คื อ v. to have + been +
v.ing ใน ที่นี้คือ has
588

แนวข้อสอบข้อสอบภำษำอังกฤษ Vocabulary
1. I can’t ………… the long separation from my father.
1. analyze
2. bear
3. collide
4. beat
ตอบข้อ 2. เพรำะ : bear = อดทน

2. It take patience to ………… painful and trying situations.


1. approach
2. collapse
3. ambiguous
4. endure
ดูเฉลย
ตอบข้อ 4. เพรำะ : endure = ต่อสู้

3. The teacher would not ………… any noise in her classroom.


1. tolerate
2. crash
3. crush
4. device
ตอบข้อ 1. เพรำะ : tolerate = ผ่อนปรน crash = ชน crush = บีบ อัด device = เครื่องมือ
หรือแนะนำ

4. He bore of his ………… without compleining.


1. disappointed
2. disappoint
3. disappointments
4. disappointed
ตอบข้อ 3. เพรำะ : disappointments = ควำมผิดหวัง
5. The class ………… you to speak for us in the meeting.
1. erase 2. entire
3. heed 4. elected
ตอบข้อ 4. เพรำะ : elected = เลือด ห้องนี้เลือกคุณขึ้นมำพูดในกำรประชุมครั้งนี้
589

6. The cast on her foot ………… her movement.


1. restrains
2. diminutive
3. great
4. ignorant
ตอบข้อ 1. เพรำะ : restrains = เหนี่ยว

7. There’s a girl in my class who ………… constantly about her new clothes.
1. elegant
2. brags
3. destroy
4. covert
ตอบข้อ 2. เพรำะ : brags = คุยโอ้อวด

8. The policeman showed great ………… in the face of danger.


1. scenery
2. bravery
3. criticism
4. elimination
ตอบข้อ 2. เพรำะ : bravery = ควำมกล้ำหำญ

9. A desert is a ………… region.


1. genetic
2. flexible
3. die
4. barren
ตอบข้อ 4. เพรำะ : barren = แห้งแล้ง ว่ำงเปล่ำ ทะเลทรำยเป็นดินแดนที่แห้งแล้งว่ำงเปล่ำ

10. A loud noise may cause a ………… person to jump in his chair.
1. nervous 2. dwelling
3. genuine 4. habitat
ตอบข้อ 1. เพรำะ : nevous = ขวัญอ่อน ตื่นตระหนก เสียงดังเป็นเหตุให้คนนั้นกระโดดออกจำก
เก้ำอี้
590

11. Our ………… is much concerned about the growth of the younger generation.
1. effort
2. function
3. party
4. entire
ตอบข้อ 3. เพรำะ : party = พรรค พวกพ้อง

12. You have to pay ………… on the money you borrow form the bank.
1. interest
2. retes
3. charges
4. guarantee
ตอบข้อ 1. เพรำะ : interest = ดอกเบี้ย เขำต้องจ่ำยดอกเบี้ยเมื่อยืมเงินจำกธนำคำร

13. He sprained his ………… when he fell down the stairs.


1. tooth
2. ankle
3. head
4. nose
ตอบข้อ 2. เพรำะ : ankle = ข้อเท้ำ sprained = เขำเคล็ด

14. Whitney Houston ………… all her Holiday doing jobs around the house.
1. spent
2. gave
3. took
4. served
ตอบข้อ 1. เพรำะ : spent ใช้วันหยุดของเขำในกำรทำงำนรอบๆบ้ำน

15. We became tired of ………… to his complaints.


1. talking
2. suggesting
3. listening
4. discussing
591

ตอบข้อ 3. เพรำะ : listening เป็นคำที่ตรงควำมหมำยในประโยค (เบื่อที่จะฟังกำรบ่น) หลังต้อง


ใช้คำนำมหรือไม่ก็ต้อง v. + ing

16. She ………… me to send a birthday card to my friend.


1. checked
2. remembered
3. succeeded
4. remained
ตอบข้อ 1. เพรำะ : checked = ตรวจสอบว่ำวันเกิดเป็นวันไหน

17. Joe was feeling ………… after failing his driving test.
1. pleased
2. miserable
3. mysterious
4. excited
ตอบข้อ 2. เพรำะ : หลัง link verb ที่เป็น feel + adj. คือ miserable ควำมหมำยคือรู้สึกเศร้ำ
หลังจำกทรำบว่ำสอบตกเกี่ยวกับใบขับขี่

18. Kru Somsri had to ………… her hair after putting on her house.
1. rewash
2. remake
3. retie
4. redo
ดูเฉลย
ตอบข้อ 4. เพรำะ : redo = ทำใหม่

19. A city near a river or lake may be ………… in the summer.


1. humiliate
2. humidify
3. humidity
4. humid
ตอบข้อ 4. เพรำะ : humid = ขึ้น เป็นตำแหน่งที่ขำด adj.
592

20. We hunted for the pirate’s buried ………… .


1. treasure
2. gloom
3. brood
4. abhorrence
ตอบข้อ 1. เพรำะ : treasure = ทรัพย์สมบัติ

21. He ………… great treasures.


1. forced
2. amassed
3. inferred
4. initiated
ตอบข้อ 2. เพรำะ : amssed = สะสม

22. An encyclopedia has a ………… of Information.


1. welth
2. newborn
3. intelligent
4. obstacle
ตอบข้อ 1. เพรำะ : wealth = มำกมำย อุดมไปด้วย encyclopedia อุดมไปด้วยข้อมูล

23. He ………… ice cream and never seems to get enough of it.
1. cries
2. provides
3. craves
4. recall
ตอบข้อ 3. เพรำะ : craves = อยำก (กิน) กระหำยอยำก เขำอยำกกินไอศกรีมไม่เคยอิ่มสักที

24. As we climbed up the hill, the beauty of the ………… became apparent.
1. landgrave
2. landfall
3. landlord
4. landscape
ตอบข้อ 4. เพรำะ : landscape = ทิวทัศน์
593

25. He was ………… by his bombing laugher.


1. invalid
2. conspicuous
3. agony
4. ponder
ตอบข้อ 2. เพรำะ : conspicuous = จุดเด่น
594

แนวข้อสอบภำษำอังกฤษ พร้อมเฉลย Conversation


1. Your friend is going to study in Italy. You come to see him off at the airport.
You say, “ …………… ”
1. So long.
2. See you soon.
3. Have fun.
4. Please come again.
ตอบข้อ 1. เพรำะ : So long. โชคดีนะ ส่วนข้อ 4 หมำยถึง กรุณำมำอีกครั้ง

2. Situation : At the shop.


A salesgirl : Here’s your change.
A customer : Thank you.
A salesgirl : ……………
1. Goodbye
2. Good luck.
3. See you again.
4. Please come again.
ตอบข้อ 4. เพรำะ : please come again. กรุณำมำอีกครั้งนะ

3. Tom : Thank you for having me in your party. I’m getting a train at six
o’clock. ……………
Jane : It’s nice to have you today. Good bye!
1. Let me go.
2. I have to leave now.
3. Nice to meet you.
4. Have a good time.
ตอบข้อ 2. เพรำะ : I have to leave now. ต้องไปแล้วนะเนื่องจำกต้องไปรถไฟช่วงหกโมง

4.Your American frican will visit Bangkok at the first time and he asks for help.
You say, “ …………… ”
1. You had better visit the temples.
2. You can vist the palaces.
3. I think you will visit the markets.
4. You may go sightseeing.
595

ตอบข้อ 1. เพรำะ : You had better visit the temples. น่ำจะแนะนำเขำไปเที่ยวที่วัด

5. Your friend has a headache.


You say, “ …………… ”.
1. See the doctor, please.
2. You ought to see the doctor.
3. I want you to take a rest.
4. You can test.
ตอบข้อ 3. เพรำะ : I want you to take a rest. ฉันต้องกำรให้คุณพักผ่อน

6. A : The weather is so cold.


B : ……………
A : Oh, that’s good idea.
1. You can’t stay outside.
2. You may close the windows.
3. You can turn off the air-conditioner.
4. You should wear a sweater
ตอบข้อ 4. เพรำะ : You should wear a sweater. คุณควรจะสวมเสื้อกันหนำวหรือเสื้อแขน
ยำว

7. The first space flight was a great ………… .


1. achievable
2. achievement
3. achieve
4. account
ตอบข้อ 2. เพรำะ : ตำแหน่งที่ว่ำงควรจะเติมคือคำนำม (n.) และสอดคล้องกับควำมหมำยใน
ประโยคคือ achievement = ควำมสำคัญ ควำมหมำย คือ กำรบินช่องยำนลำแรกเป็นกำรบินที่
ประสบผลสำเร็จมำก
8. Old stories tell about the ………… of famous heroes.
1. explorer
2. exaction
3. exploits
4. exalted
596

ตอบข้อ 3. เพรำะ : exploits = ผจญภัย กล้ำหำญ เรื่องเก่ำ ๆ บอกให้รู้ถึงควำมกล้ำหำญของ


วีรบุรุษที่มีชื่อเสียง

9. If wout be ………… to wear your best clothes to a party and your jeans to a picnic.
1. apparent
2. approach
3. access
4. appropiate
ตอบข้อ 4. เพรำะ : appropriate = เหมำะสม มันเป็นสิ่งที่สมควรที่จะสวมเสื้อผ้ำแบบไหนไปงำน
ปำร์ตี้หรือไปปิกนิก

10.The weather is ………… for swimming.


1. cloudy
2. suitable
3. sunny
4. hot
ตอบข้อ 2. เพรำะ : suitable = เหมำะ อำกำศเหมำะที่จะไปว่ำยน้ำ

11. A carpenter can work best when he uses the ………… tool.
1. proper
2. proactive
3. protect
4. probabilism
ตอบข้อ 1. เพรำะ : proper = เหมำะสม ช่ำงไม้สำมำรถที่ทำงำนได้ดีถ้ำได้ใช้เครื่องมือที่เหมำะสม

12. The contestants ………… the judge’s decision.


1. ran
2. disputed
3. discharged
4. disability
ตอบข้อ 2. เพรำะ : disputed = ประท้วงหรือไม่เห็นด้วย ไม่เห็นด้วยในกำรตัดสิน (บำงเรื่อง)
597

13. The pupils ………… to give their teacher a present but disagreed on the best gift
to buy.
1. agreed
2. aggressive
3. exacerbate
4. aggrandize
ตอบข้อ 1. เพรำะ : agreed = เห็นด้วย

14. Pirates used to ………… and rob ships.


1. hoard
2. accumulate
3. attack
4. assure
ตอบข้อ 3. เพรำะ : attack = ต่อสู้ โจรสลัดเคยโจมตีและปล้นเรือ

15. It is hard to ………… a town that is being bombarded.


1. attach
2. protect
3. property
4. purchase
ตอบข้อ 2. เพรำะ : protect = ปกป้อง

16. Ever April she makes a/an ………… payment on her house.
1. annual
2. weekly
3. monthly
4. bimonthly
ตอบข้อ 1. เพรำะ : เนื่องจำกเห็นคำว่ำทุกเดือนเมษำยนจะทำกำรจ่ำยค่ำบ้ำนดังนั้นจ่ำยครั้งหนึ่ง
จึงเป็น annual ที่แปลว่ำ ปี

17. A deep-sea animal with eight arms is known as a / an ………… .


1. urchin
2. octopus
3. oyster
598

4. squid
ตอบข้อ 2. เพรำะ : มีแปดแขน ก็น่ำจะเป็นปลำหมึก (octopus)

18. A small dish for tobacco ash is a ………… .


1. ashtray
2. sink
3. bin
4. bucket
ตอบข้อ 1. เพรำะ : ที่ใส่ขี้บุหรี่ก็คือ ashtray

19. He became ………… when he heard of his father’s death.


1. convince
2. concerned
3. crucial
4. confer
ตอบข้อ 2. เพรำะ : concerned = กังวล เขำกังวลเมื่อเขำได้ยินว่ำพ่อเขำเสีย

20. The soup didn’t have much flavor; if was too ………… .
1. watery
2. water
3. light
4. lightly
ตอบข้อ 1. เพรำะ : wat ery = เกือบจำงหรือรสชำติจืดจำงก็คือ bland, flat, flavorless

21. Before we got inside, we were completely ………… by the storm.


1. disorder
2. disgust
3. drenched
4. devastate
ตอบข้อ 3. เพรำะ : drenched = เปียกโชก (wet)

22. John : Our school is very dirty. ……………


Jim : I think so.
1. Everyone should not litter.
599

2. Do you mind stopping littering ?


3. stop littering.
4. will you stop littering ?
ตอบข้อ 1. เพรำะ : Everyone should not litter. คุณอย่ำทิ้งขยะ (litter = ขยะ)

23. A : I feel tired. I have worked for 3 hours. but I can’t finish it.
B : ……………
A : Thank you for your advice.
1. Stop working.
2. Would you like to take a rest.
3. You should stop for a while.
4. You may stop working for a while.
ตอบข้อ 2. เพรำะ : Would you like to take a rest. คุณควรจะหยุดพักสักครู่

Situa : David meets a new student, Paul.


Paul : Excuse me, where is the library ?
Davin : Are you new to the school ? …….. 24 …….. David.
Paul : …….. 25 …….. Nice to meet you.
David : O.K. Go straight ahead. It’s opposite the White Building.
24. 1. It is
2. My name is
3. My friend call me
4. My friend’s name is
ตอบข้อ 2. เพรำะ : My name is บอกชื่อว่ำผมชื่อ David

25. 1. I’m Paul


2. You are Paul
3. You are my friend
4. Paul is my friend
ตอบข้อ 1. เพรำะ : I’m Paul. ตอบกลับว่ำผมชื่อ Paul

26. A : Hi there.
B : Hi I ‘haven’t seen you around here before. Have you been working long ?
A : ………… .
600

1 . No, I’ve only been here a few months. I work in the Human Resources
Department.
2. No, I’ve a better result.
3. Yes, I have one.
4. Yes I’ve only been in the dorm for few months before leaving.
ต อ บ ข้ อ 1 . เ พ ร ำ ะ : No, I’ve only been here a few months. I work in the Human
Resources Department. ไม่ ฉันจะอยู่ที่นี่อีกไม่กี่เดือน ฉันทำงำนในส่วนทรัพยำกรมนุษย์

27. A : Ah, this bus seems to be running late. How long of a wait is it already ?
B : ………… .
1. It is 3 meter long.
2. I think, I will go for a walk.
3. I’ve been here for at least fifteen minutes now.
4. I am better run.
ตอบข้อ 3. เพรำะ : I’ve been here for at least fifteen minutes now. ฉั นอยู่ที่นี่อ ย่ำงต่ำ
15 นำทีแล้วล่ะ

28. A : …………
B : Actually, I’m going to the City Hall to cast my vote for mayor.
1. Where are you heading today ?
2. Who are you talking to ?
3. How do you get to the City Hall ?
4. I will vote for mayor.
ตอบข้อ 1. เพรำะ : where are you heading to day ? วันนี้คุณจะไปไหน

29. A : I love reading. Right now I’m reading a Stephen King book …………
B : Not really, I don’t like him.
1. Have you thought about what I have said.
2. Where did I go wrong ?
3. Do you like Stephen King ?
4. How about some more drink ?
ตอบข้อ 3. เพรำะ : Do you like Stephen King? คุณชอบ Stephen King ไหม
601

30. A : …………
B : It’s nice, but I would rather get paid for my overtime hours than have
new furniture.
1. No, I was working late.
2. Do you think they’re going to make it to the finals this year ?
3. Did you happen to catch the game last night ?
4. What do you think of the new office furniture ?
ตอบข้ อ 4 เพรำะ : What do you think of the new office furniture ? คุ ณ คิ ด ยั ง ไงกั บ
เฟอร์นิเจอร์ใหม่ของออฟฟิศ
31. A : …………
B : Oh, Rick and I go way back. We studied nursing together.
1. Have you tried Rick’s punch yet.
2. Why aren’t you dancing with Rick ?
3. How are you knowing Rick ?
4. Did you hear Rick is coming to town ?
ตอบข้อ 3. เพรำะ : How are you knowing Rick ? คุณรู้จัก Rick ได้ยังไง

32. A : did you hear that the Pope is coming to town ?


B : ………… .
1. Yes. I can hear about pepe on the radio.
2. Yes. I heard that on the news today.
3. No, I haven’t know so much about him.
4. No, I could see him on facebook.
ตอบข้อ 2. เพรำะ : Yes, I heard that on the news today. ใช่ ฉันได้ยินข่ำวนี้แล้ว

33. A : It’s warm in here. Do you mind if I open the window ?


B : ………… .
1. I’m sorry.
2. Go ahead.
3. Yes, I do.
4. Thank you.
ตอบข้อ 2. เพรำะ : Go ahead.
602

34. You want to borrow your friend’s dictionary. You ask, “ ………… ”
1. Can I lend you a dictionary ?
2. May I borrow your dictionary ?
3. Colud ypu offer me a dictionary ?
4. Would you mind getting me your dictionary ?
ตอบข้อ 2. เพรำะ : May I borrow your dictionary ?

35. Someone is blocking your way, so you say, “Excuse me, ………… ”
1. please get lose.
2. may I pass away ?
3. please give me away.
4. may I get by ?
ตอบข้อ 4. เพรำะ : may I get by ?
603

แนวข้อสอบภำษำอังกฤษ พร้อมเฉลย Reading

Reading Comprehension (Items 1 – 5)


อ่ำนบทควำมต่อไปนี้ และตอบคำถำมข้อ 1 – 5
On the day of big annual sale, a huge queue had formed at the entrance to a
department store. Some people had even camped out overnight for a good spot.
Just Before opening time, a Small man tried to push his way to the front of the
line, only to be pushed back amid loud and colorful curses. On the man’s second
attempt, he was punched in the jaw, knocked around a bit and thrown to the back
of the queue again.
As he readied himself for his third attempt, he told the person ahead of him “If
you his me one more time, I’m not opening the store.”
1. The sale mentioned in the passage is held ………… .
1. for a week
2. once a year
3. every month
4. at weekends
ตอบข้อ 2. เพรำะ : once a year

2. “Some people” (line 2) refers to ………… .


1. shoppers
2. spectators
3. shareholders
4. salesmen
ตอบข้อ 1. เพรำะ : shoppers

3. The word “colorful” (line 5) could best be replaced by ………… .


1. multi-colored
2. bright
3. expressive
4. fast-changing
ตอบข้อ 3. เพรำะ : expressive
604

4. The people waiting are ………… .


1. dependable
2. caring
3. indifferent
4. aggressive
ตอบข้อ 4. เพรำะ : aggressive

5. The small man wanted to ………… .


1. be rude to customers
2. start the sale
3. open the door because he was a guard
4. start a fight
ตอบข้อ 3. เพรำะ : open the door because he was a guard

Reading Comprehension (Items 6 – 10)


อ่ำนบทควำมต่อไปนี้ และตอบคำถำมข้อ 6 – 10
The population of the world has increased more in modern times than in all
other ages of history combined. World population totaled about 5 0 0 million in
1650. It doubled in the period form 1650-1850. Today the population is more
than five billion. Estimates based on research by the United Nations indicated that
it will more then double in the twenty-five years between 1 9 7 5 and the year
2000, reaching seven billion by the turn of the century.
No one knows the limits of population that the earth can support. Thomas
Malthus, an English economist developed a theory that became widely accepted
in the nineteenth century. He suggested that because world population tended to
increase more rapidly than the food supply, a continual strain was exerted upon
available resources. Malthus cited wars, famines, epidemics, and other disasters as
the usual limitations of population growth.
With recent advances in science and technology, including improved agricultural
methods and great strides in medicine, some of the limiting factors in population
growth have been lessened, with obvious results. International Organizations have
recommended programs to encourage general economic development in target
areas along with a decrease in birth rates to effect a lasting solution.
6. The title below that best expresses the ideas in this passage is
605

1. Thomas Malthus’ theory.


2. The United Nations’ Estimate.
3. Limiting Factors in Population Growth.
4. A Brief History of Population and and Overpopulation.
ตอบข้อ 2. เพรำะ : The United Nations’ Estimate.

7. Who was thomas Malthus ?


1. A scientist
2. A doctor of medicine
3. An economist
4. A United Nations representative
ตอบข้อ 3. เพรำะ : An economist

8. According to the passage, why has overpopulation been caused ?


1. Improved technology
2. Disasters
3. Scarcity
4. Precaution
ตอบข้อ 1. เพรำะ : Improved technology

9. What do most experts recommend in order to solve problems of overpopulation


?
1. Famine and epidemic.
2. Medical advance and improved agricultural methods.
3. Economic development and a decline in the birth rate.
4. Conservation of available resources.
ตอบข้อ 3. เพรำะ : Economic development and a decline in the birth rate.

1 0 . According to this passage, by the year 2 0 0 0 the earth’s population should


exceed the present figure by how much?
1. 500 million
2. Five billion
3. Two billion
4. Seven billion
606

ตอบข้อ 3. เพรำะ : Two billion

Reading Comprehension (Items 11 – 12)


อ่ำนบทควำมต่อไปนี้ และตอบคำถำมข้อ 11 – 12
Research Assistant
Sukhumvit Research Limited, an independent research house, is looking for a
bright, hard-working individual to assist with the production of its research reports.
This position is open to a Thai or foreign national.
The ideal candidate will have :
– A Bachelor or higher degree
Strong computer and numeracy skills
Excellent written and spoken English
Familiarity with accounting, economics,Bloomberg/Reuters data services, and the
production of research reports would be beneficial
Interested applicants should send their resume and cover letter,
Including their salary expectation, by e-mail to
Annijoon@chaamadvisors.com
11. What kind of the company is not required ?
1. hard working
2. Thai nationality
3. foreign nationality
4. head of production research reports
ตอบข้อ 4. เพรำะ : head of production research reports

12. According to the ad-qualified requirement. What is not true ?


1. university level.
2. math quality
3. English will be excellent.
4. socience fields.
ตอบข้อ 4. เพรำะ : socience fields.

Reading Comprehension (Items 13 – 15)


อ่ำนบทควำมต่อไปนี้ และตอบคำถำมข้อ 13 – 15
Embassy of India Bangkok
607

Application are invited for the posts of Office


Assistants And Interpreter in the Embassy.
Grade 12 (Mattayom 6 or equivalent) Graduates,
knowledge of English & Thai computer
skills and previous experience preferred.
Apply within 10 days
By E-mail : hoc.bangkok@mea.gov.in
13. What is the position required ?
1. marketer
2. financier
3. secretary
4. translator
ตอบข้อ 4. เพรำะ : translator

14. According to the first topic of education requirement, what is not true ?
1. high school
2. Poly-technique
3. university level
4. before mattayom 6
ตอบข้อ 4. เพรำะ : before mattayom 6

15. What is the channel that the applicants need to apply ?


1. walk in
2. headquartera
3. internet
4. at the embassy
ตอบข้อ 3. เพรำะ : internet

Reading Comprehension (Items 16 – 20)


อ่ำนบทควำมต่อไปนี้ และตอบคำถำมข้อ 16 – 20
Throughout history. the search for salt has played an important role In society.
Where there was no salt near. it was brought from great distances. Thus, salt
became one of the most important articles of early trade. Records show that in
areas of scarcity, sall was traded ounce for ounce for gold. Rome’s major highway
608

was called the Vla Salaria, that is, the Sall Road. Along that road, Roman soldiers
transported sall crystals from the salt flats at Ostia up the Tiber, In return, they
received a salarian or salary, which was literally money paid to soldiers to buy salt.
The old saying “worth their salt.” which means to be valuable, derives from the
custom of payment during the Empire. the caravan trade of the Sahara was also
primarily an exchange of goods for salt. Among ancient peoples there, to eat salt
with another person was an act of friendship.Slaves were often purchased with salt.
Sall was so important in the Middle Ages that governments retained salt trade as a
monopoly, or levied laxes on its purchase, By then, people’s social rank was
demonstrated by where there sat at the table, above or below the the salt.
16. What does the passage mainly discuss ?
1. The old saying “worth their salt”
2. The Roman Empire
3. Salt
4. Ancient trade
ตอบข้อ 3. เพรำะ : Salt

17. What was the rate of exchange for sall and gold in areas where salt was a scarce
commodity ?
1. One to one
2. One to two
3. One to ten
4. One to sixteen
ตอบข้อ 1. เพรำะ : One to one

18. According to the passage, where were salt flats located ?


1. Rome
2. Tiber
3. Ostia
4. Sataria
ตอบข้อ 3. เพรำะ : Ostia

19. What does the Latin word salarium mean ?


1. Salt
609

2. Salary
3. Soldiers
4. The Salt Road
ตอบข้อ 2. เพรำะ : Salary

20. Who enjoyed a monopoly on the salt of salt ?


1. Soldiers of the Roman Empire.
2. Traders in the Sahara.
3. Governments in the Middle Ages.
4. People of high social rank
ตอบข้อ 3. เพรำะ : Governments in the Middle Ages.

Questions 21 – 23 refer to the following passage.


อ่ำนบทควำมต่อไปนี้ และตอบคำถำมข้อ21 – 23
Since differences in brand name televisions are so slight, manufacturers have
added all sorts of bells and whistles to differentiate therr sets from the
competition’s. Deciding what to buy, then, is as much a factor of matching a set’s
features with your needs, as anything else. Some sets, for example, offer a feature
called channel block, which allows parents to program the set so children cannot
tune into unsuitable programs. Childless couples, older adults, and singles will have
little use for this feature, and won;t want to pay extra for it.
21. According to the passage, what is true about television sets ?
1. Most models have channel block.
2. Better models come equipped with whistles.
3. The most expensive sets have flat screens.
4. The differences between sets are due to additional functions.
ตอบข้อ 4. เพรำะ : บรรทัดที่ 2 differentiate their sets from the competition’s

2 2 . According to the passage, what have most manufacturers of television sets


done ?
1. Added extra features to their sets.
2. Built VCR’s into the newest models.
3. Made TV’s lighter and more durable.
4. Integrated stereo sound system and laser disc players.
610

ตอบข้อ 1. เพรำะ : Added extra features to their sets

23. According to the passage, what is true channel block ?


1. It cannot be used with a VCR.
2. Children can learn to turn it off.
3. Childless couples will not want to pay extra for it.
4. it has to be reset each time the television is turned on.
ตอบข้อ 3. เพรำะ : Childless couples will not want to pay extra for it.

Questions 24 – 27 refer to the following passage.


อ่ำนบทควำมต่อไปนี้ และตอบคำถำมข้อ 24 – 27
All passengers who are Nationals of countries other than the United States or
Canada must Compete an immigration form before arrival in the U.S. fill out one
for each family member. do not write on the back. Write in English in on capital
letters. Keep the form until your departure Form the United States. use the white
1 - 9 4 form if you have a valid U.S. visa. Use the green 1 - 9 4 w form if you hold a
passport form one the 22 countries participating in the visa-waiver program and do
not have a valid U.S. visa. Use the blue 1 - 9 4 t from if you are Only making an in-
transit stop enroute to another country. All passenge rs (or one passenger per
family) are required to complete a Customs Declaration form prior to arrival.
Compete it in English and in capital letters. Be sure to sing your name on the back
of the form.
24. how many Immigration forms must be filled out by a family of two adults and
two children who are not U.S. or canadian Nationals?
1. One
2. Two
3. Three
4. Four
ตอบข้ อ 4. เพรำะ : the white 1-94, green 1-94w, blue 1-94t, and a Customs
Declaration form.

25. what should a traveler do with the immigration form ?


1. Give it to an immigration agent.
2. keep it until leaving the U.S.
611

3. Fill it out after arrival.


4. Give if to a U.S. Customs agent.
ตอบข้อ 2. เพรำะ : Keep it until leaving the U.S.

2 6 . If you are changing planes in Miami on a flight from Madrid to Mexico City.
which form should you fill out ?
1. A white one.
2. A green one.
3. A blue one.
4. No form is required
ตอบข้อ 3. เพรำะ : A blue one.

27. What should passengers write on the back of the Customs Declaration Forms ?
1. Nothing
2. Their signatures.
3. their flight number.
4. The date.
ตอบข้อ 2. เพรำะ : Their signatures.

Questions 28 – 30 refer to the following passage.


อ่ำนบทควำมต่อไปนี้ และตอบคำถำมข้อ 28 – 30
Wanna Cry Virus Ransomware
What Happened to My Computer ?
You important files are encrypted.
Many of your documents, photos, videos, databases and other files are no longer
accessible because they have been encrypted. Maybe you are busy looking for a
way recover your files, but do not waste your time. Nobody can can recover your
files without our decryption service.
Can I Recover My Files?
Sure. We guarantee that you can recover all your files safely and easily. But you
have not so enough time.
You can decrypt some of your files for free. Try noe by clicking <Decrypt>.
But if you want to decrypt all your files, you need to pay.
You only have 3 day to submit the payment. After that the price will be doubled.
612

Also. if you’ll don’t pay in 7 days. won’t be able to play recover your flise forever.
we will have free events for users who are so poor that they couldn’t pay in 6
mounths.
How Do I Pay ?
Payment is accepted in Bitcoin only only. for more information. click < about
bitcoin>
Please check the current price of Bitcoin and buy some bitcoins. For more
information, click < How to buy bitcoins>.
And send the correct amount to the address specified in this window.
After your payment, click <check payment>. Best time to check: 9:00 am – 11.00
am
28. Do not waste your time! …………… can solve the ploblems.
1. Everyone
2. The owners of the computers
3. It department of the Company
4. The progremmer decrytion service

ตอบข้อ 4. เพรำะ : The programmer decryption service เป็นโปรแกรมเมอร์ของบริษัทที่


เรียกค่ำไถ่

29. How many day do you submit the payment ?


1. 3
2. 5
3. 7
4. 9
ตอบข้อ 1. เพรำะ : 3 วันที่ยื่นเพื่อจะจ่ำย แต่ไม่ใช่ 7 เพรำะ 7 หมำยถึงคุณไม่สำมำรถที่จะแก้ไข
อะไรได้แล้ว

30. how much you will pay for them.


1. $200
2. $300
3. $400
4. $500
ตอบข้อ 2. เพรำะ : $300 You will pay $300 worth of Bitcoin
613

Questions 31 – 35 refer to the following passage.


อ่ำนบทควำมต่อไปนี้ และตอบคำถำมข้อ 31 – 35
In May, 1966, the World Health Organization was authorized to initiate a global
campaign to eradicate smallpox. The goal was to eliminate the disease in one
decade. Because similar projects for malaria and yellow fever had fad failed, few
believed that smallpox could actually be eradicated, but eleven years after the
initial organization of the campaign, no cases were reported in the field.
The strategy was not only to provide mass vaccinations but also to isolate patients
with active smallpox in order to contain the spread of the disease ant to break the
chain of human transmission. Rewards for reporting smallpox assisted in motivating
the public to aid health workers. One by one,each smallpox victim was sought out,
removed from contact with others, and treated. At the same time, the entire village
the victim had lived was vaccination.
Today smallpox is no longer a threat to humanity. Routine vaccinations have been
stopped worldwide.
31. Which of the following is the the best title for the passage ?
1. The World Health Organization.
2. The Eradication of Smallpox.
3. Smallpox Vaccination.
4. Infectious Diseases
ตอบข้อ 2. เพรำะ : The Eradication of Smallpox.

32. What was the goal of campaign against smallpox ?


1. To decrease the spread of smallpox worldwide.
2. To eliminate smallpox worldwide in ten years.
3. To provide mass vaccinations against smallpox worldwide.
4 . To initiate worldwide projects for smallpox, malaria, and yellow fever at
the same time.
ตอบข้อ 2. เพรำะ : To eliminate smallpox worldwide in ten years.

33. According to the passage, what was the strategy used to eliminate the spread
of smallpox ?
1. Vaccinations of entire villages.
2. Treatment of individual victims.
614

3. Isolation of victims and mass Vaccinations.


4. Extensive reporting of outbreaks.
ตอบข้อ 3. เพรำะ : Isolation of victims and mass Vaccinations.

34. How was the public motivated to help the health workers ?
1. By educating them.
2. By rewarding them for reporting cases.
3. By isolating them from others.
4. By giving them vaccinations.
ตอบข้อ 2. เพรำะ : By rewarding them for reporting cases.

35. Which statement does NOT refer to smallpox ?


1. Previous projects had failed.
2. People are no longer vaccinated for it.
3 . The World Health Organization mounted a worldwide campaign to
eradicate the disease.
4. It was a serious threat.
ตอบข้อ 3. เพรำะ : Previous projects had failed.

Questions 6 – 8 refer to the following article.


อ่ำนบทควำมต่อไปนี้ และตอบคำถำมข้อ 36 – 38
Shelley Hallowell of fairfield has been hired as the general manager for the new
Harlequin Hotel in Fairfield’s West Park district. Ms. Hallowell will assume her new
position a month a month before the hotel’s scheduled opening next September.
Ms. Hallowell returned to fairfield last year after a five-year stint in the Fiji Islands
as a tour guide. She held a temporary position between January and May Off this
year as a consultant to the local tourism board. Before moving to Fiji, she worked
locally as an office assistant while studying for her degree. She is a graduate of the
Hotel and Hospitality School of fairfield.
“Mr. Hallowell has a great deal to offer our business. We feel very fortunate to have
a person of her caliber working with us,” said George Larue, co- owner of the
Harlequin Hotel.
36. Whan will Ms. Hallowell begin her new job ?
1. January
615

2. May
3. August
4. September
ตอบข้อ 3. เพรำะ : August

37. What was Ms. Hallowell’s most recent job ?


1. Hotel manager
2. Tourism consultant
3. School instructor
4. Office assistant
ตอบข้อ 2. เพรำะ : Tourism consultant

38. What did Mr. Hallowell do in the Fiji Islands ?


1. She was a student.
2. She vacationed.
3. She owned a hotel.
4. She led tours.
ตอบข้อ 4. เพรำะ : she led tours.

Questions 39 – 40 refer to the following advertisement.


อ่ำนบทควำมต่อไปนี้ และตอบคำถำมข้อ 39 – 40
Office Space Available 815 Enfield Street
This suite of offices is conveniently located close to downtown and major bus
lines. The 3 , 0 0 0 square-foot floor plan has lots of potential, with space for ten
offices, two conference rooms, and a large reception area. Large windows make it
pleasant and sunny. Ample tenant and customer parking is in the rear of the
building. Contract includes minor renovations to be made at the owner’s expense
prior to move-in; new tenant chooses paint and carpet colors. Call now for an
appointment to see this incredible space. Melissa Soto Rental Agency. 637-2120
39. What is true of the space for rent ?
1. It is dark.
2. It will be painted.
3. It has a new carpet.
4. It doesn’t include parking.
616

ตอบข้อ 2. เพรำะ : It will be painted.

40. Who should potential tenants call to see the space ?


1. The owner
2. The contractor
3. The rental agent
4. The current tenant
ตอบข้อ 3. เพรำะ : The rental agent

You might also like