You are on page 1of 64

ข้อสอบความรู้พื้นฐานทั่วไปทางรัฐศาสตร์ 1 อ.

วีระชัย บัวผัน

แนวข้อสอบ ความรู้พื้นฐานทั่วไปทางรัฐศาสตร์
การเมืองการปกครองไทย
1. ระบบการเมืองการปกครอง หมายถึง ข้อใด
ก. การใช้อานาจเด็ดขาดในการควบคุมประชาชน
ข. ข้อตกลงระหว่างประชาชนเกี่ยวกับอานาจที่จะใช้บังคับในสังคม
ค. การปกครองที่คนกลุ่มหนึ่งวางขั้นตอนการจัดระเบียบทางสังคมอย่างอิสระ
ง. การปกครองที่ผู้มีอานาจสืบทอดตาแหน่งต่อกันมาโดยชอบธรรมและอิสระ
2. ข้อใดเป็นเครื่องแสดงว่ามีการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
ก. กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน ข. รัฐธรรมนูญ
ค. การมีฝ่ายค้าน ง. อานาจอธิปไตย
3. การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แสดงให้เห็นถึงหลักการของประชาธิปไตย ข้อใด
ก. หลักความเสมอภาคในทางการเมือง ข. หลักสิทธิเสรีภาพของประชาชน
ค. หลักอานาจอธิปไตยเป็นของประชาชน ง. หลักภราดรภาพในทางการเมือง
4. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง เกี่ยวกับการปกครองระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา
ก. คณะรัฐมนตรีจะเข้าดารงตาแหน่งได้ต่อเมื่อได้รับความไว้วางใจจากวุฒิสภา
ข. รัฐสภามีอานาจควบคุมการบริหารราชการแผ่นดินของคณะรัฐมนตรี
ค. ฝ่ายบริหารสามารถคานอานาจฝ่ายนิติบัญญัติได้ด้วยการยุบสภา
ง. ฝ่ายนิติบัญญัติกับฝ่ายบริหาร มีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด
5. การใช้ระบบแบ่งแยกอานาจและคานอานาจกันระหว่างฝ่ายนิติบัญญัติ บริหาร และตุลาการ นั้นเป็นรูปการ
ปกครองของประเทศใด
ก. ฝรั่งเศส ข. อังกฤษ
ค. สหรัฐอเมริกา ง. ไทย
6. หากใช้เกณฑ์จานวนผู้ปกครองในการพิจารณา ระบบการปกครองในข้อใดต่างจากข้ออื่น
ก. สมบูรณาญาสิทธิราชย์ (Absolutism) ข. อภิธนาธิปไตย (Aristocracy)
ค. คอมมิวนิสต์ (Communism) ง. คณาธิปไตย (Oligarchy)
7. จุดอ่อนหรือข้อเสียในการบริหารประเทศตามระบอบเผด็จการตรงกับข้อใด
ก. มีค่าใช้จ่ายสูง ข. ดาเนินการยาก
ค. ขาดความเป็นเอกภาพ ง. เกิดความผิดพลาดได้ง่าย
8. เผด็จการเบ็ดเสร็จนิยมแตกต่างจากเผด็จการอานาจนิยมในเรื่องใด
ก. การยกย่องและให้ความสาคัญกับอานาจของรัฐ
ข. ผู้ปกครองรัฐที่มีอานาจสูงสุดอาจเป็นคณะบุคคลหรือคนเดียวก็ได้
ค. การถือประโยชน์ของรัฐมากกว่าประโยชน์ของเอกชนหรือของบุคคล
ง. การควบคุมกิจกรรมของบุคคลทั้งส่วนที่เป็นการเมืองและส่วนอื่นๆ ที่ไม่ใช่การเมือง
9. “ประโยชน์ที่กฎหมายรับรองและคุ้มครองให้แก่บุคคล” หมายถึง ข้อใด
ก. สิทธิ ข. หน้าที่
ค. บทบาท ง. สถานภาพ
ข้อสอบความรู้พื้นฐานทั่วไปทางรัฐศาสตร์ 2 อ.วีระชัย บัวผัน

10. ข้อใด ไม่ใช่ ผลของสนธิสัญญาเบาว์ริ่ง


ก. การค้าสาเภา ได้รับการยอมรับอย่างมากและมีความเจริญรุ่งเรืองถึงขีดสุด
ข. มีการบุกเบิกที่ดิน เพื่อขยายการทานา
ค. การแพร่หลายของระบบเศรษฐกิจเงินตรา
ง. ราษฎร มีวิถีชีวิตและความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นตามลาดับ
11. การจัดตั้งมณฑลเทศาภิบาลเป็นหน่วยงานปกครองส่วนภูมิภาค เกิดขึ้นในสมัยใด
ก. รัชกาลที่ 4 ข. รัชกาลที่ 5
ค. รัชกาลที่ 6 ง. รัชกาลที่ 7
12. ระบบกรรมสิทธิ์ที่ดินเกิดขึ้นครั้งแรกในสมัยใดของไทย
ก. รัชกาลที่ 4 ข. รัชกาลที่ 5
ค. รัชกาลที่ 6 ง. รัชกาลที่ 7
13. ระบบจตุสดมภ์ หากเปรียบเทียบกับระบบราชการในปัจจุบัน คล้ายคลึงกับกระทรวงใด มากที่สุด
ก. เวียง - ............................. ข. วัง - .................................
ค. คลัง - ............................. ง. นา - .................................
14. สุขาภิบาลแห่งแรกของประเทศไทย คือ สุขาภิบาลใด
ก. สุขาภิบาลกรุงเทพฯ ข. สุขาภิบาลท่าฉลอม
ค. สุขาภิบาลท่าข้าม ง. สุขาภิบาลมหาชัย
15. ปัจจุบันมีเพียง 4 กระทรวงที่ยั งคงใช้ชื่อเดิมที่ไ ด้ตั้ง ขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 ก่อตั้ง กระทรวง 12 กระทรวง
กระทรวงใดไม่ใช่
ก. กระทรวงยุติธรรม ข. กระทรวงการต่างประเทศ
ค. กระทรวงการคลัง ง. กระทรวงมหาดไทย
จ. กระทรวงกลาโหม
16. ในสมัยรัชกาลที่ 5 สภาที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน (State Council) มีหน้าที่อะไร
ก. จัดการปฏิรูประบบการศาลและกฎหมายไทย
ข. ควบคุมการทหาร
ค. ช่วยพระมหากษัตริย์กาหนดนโยบายในการบริหารประเทศ
ง. ควบคุมกรมกองต่างๆ ให้ส่งภาษีตามกาหนด
17. การเลือกกานัน ผู้ใหญ่บ้านครั้งแรก กระทาที่ใด สมัยใด
ตอบ .................................................................................................................................................
18. การปฏิวัติครั้งแรกในสมัยรัชกาลที่ 6 แต่ไม่สาเร็จ จึงเรียกว่ากบฎ ร.ศ.130 ใครเป็นผู้นา
ก. ร.อ. ขุนทวยหาญพิทักษ์ ข. พระยามโนปกรณ์นิติธาดา
ค. นายปรีดี พนมยงค์ ง. พล.อ.พระองค์เจ้าบวรเดช
19. รัฐธรรมนูญในดุสิตธานีมีชื่อเรียกว่าอะไร
ก. ธรรมนูญราชอาณาจักรสยาม ข. ธรรมนูญลักษณะปกครองคณะนคราภิบาล
ข. รัฐธรรมนูญราชอาณาจักรสยาม(ชั่วคราว) ง. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
20. พรรคการเมืองในดุสิตธานี มี 2 พรรค คือ
ก. พรรคเสื้อน้าเงิน พรรคเสื้อแดง ข. พรรคแพรโบว์เหลือง พรรคแพรโบว์แดง
ค. พรรครามราฆพ พรรครามกรุงเทพฯ ง. พรรคแพรโบว์น้าเงิน พรรคแพรโบว์แดง
ข้อสอบความรู้พื้นฐานทั่วไปทางรัฐศาสตร์ 3 อ.วีระชัย บัวผัน

21. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของพรรคการเมืองในดุสิตธานี เรียกว่าอะไร


ก. ปวงชนชาวไทย ข. เชษฐบุรุษ
ค. ตัวแทนชาติ ง. เอกบุรุษ
22. การปกครองท้องถิ่นในรูปแบบของเทศบาลจัดตั้งขึ้นครั้งแรกในรัชสมัยใด
ก. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ข. พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
ค. พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ง. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล
23. รัชกาลที่ 7 ทรงจัดตั้งสภาใดเพื่อเป็นที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน
ก. องคมนตรีสภา ข. รัฐมนตรีสภา
ค. อภิรัฐมนตรีสภา ง. เสนาบดีสภา
24. สมัยรัชกาลที่ 7 พระองค์ทรงมอบหน้าที่ให้แก่ใครในการร่างรัฐธรรมนูญเพื่อประทานแก่ราษฎรในโอกาสต่อไป
ก. เรย์มอน บี สตีเว่น ข. พระยาศรีวิสารวาจา
ค. กรมหมื่นเทววงศ์วโรทัย ง. ถูกทุกข้อ
25. ข้อใด ไม่ใช่ แนวทางในการดาเนินการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจตกต่าของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
ก. การดุลยภาพข้าราชการโดยการปลดข้าราชการบางส่วนออกไปรับเบี้ยหวัด บานาญ
ข. จ้างผู้เชี่ยวชาญชาวต่างประเทศมาสารวจ แก้ไขภาวะเศรษฐกิจตกต่าในประเทศ
ค. พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดตัดเงินปีของพระองค์
ง. ลดภาษีอากร
26. ผู้นาการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อวันที่ 24 มิ.ย. 2475
ก. พ.อ. พระยาพหลพลพยุหเสนา ข. นายปรีดี พนมยงค์
ค. พระยาศรีวิสารวาจา ค. จอมพล ป. พิบูลสงคราม
27. คณะราษฎร ประกอบด้วยกลุ่มคนที่มีอาชีพหรือสถานภาพใด
ก. กลุ่มทหารบก – ทหารเรือ – พลเรือน ข. กลุ่มทหารบก – ทหารอากาศ – พลเรือน
ค. กลุ่มทหารอากาศ – ทหารเรือ – พลเรือน ง. กลุ่มทหารทุกเหล่าทัพ – พลเรือน
28. หลักการปกครองประเทศของคณะราษฎร ภายหลังการยึดอานาจการปกครอง 24 มิ.ย. 2475 มีกี่ข้อ อะไรบ้าง
ตอบ 6 ข้อ ได้แก่
1. รักษาความเป็นเอกราชของชาติ 2. รักษาความปลอดภัยของประเทศ
3. บารุงความสุขสมบูรณ์ของราษฎรในทางเศรษฐกิจ 4. ให้ราษฎรมีสิทธิเสมอภาคกัน
5. ราษฎรมีเสรีภาพ มีความเป็นอิสระ 6. ให้การศึกษาอย่างเต็มที่แก่ราษฎร
29. ความหมายของสิ่งก่อสร้างที่อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ข้อใดไม่ถูกต้อง
ก. พานรัฐธรรมนูญตั้งบนป้อมกลางสูง 3 เมตร หมายถึง คณะราษฎร์ผู้ทาการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ที่
ประกอบด้วย ทหารบก ทหารเรือ และพลเรือน
ข. ปืนใหญ่ 75 กระบอกโดยรอบ หมายถึง พ.ศ.2475 ( พ.ศ. ที่มีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง )
ค. ปีก 4 ด้านสูงจากแท่นพื้น 24 เมตร หมายถึง วันที่ 24 มิถุนายน (วันที่เปลี่ยนแปลงการปกครอง )
ง. พระขรรค์ 6 อัน ประกอบบานประตูรอบป้อมกลาง หมายถึง หลัก 6 ประการ ของคณะราษฎร์
ได้แก่ หลักเอกราช หลักความสงบภายใน หลักเศรษฐกิจ หลักสิทธิ เสมอภาค หลักเสรีภาพ และหลักการศึกษา
ข้อสอบความรู้พื้นฐานทั่วไปทางรัฐศาสตร์ 4 อ.วีระชัย บัวผัน

30. บุคคลใดได้รับมอบหมายจากคณะราษฎรให้ไปรับเสด็จพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่ หัวจากพระราชวัง


ไกลกังวลกลับสู่พระนคร
ก. หลวงกาจสงคราม ข. หลวงศุภชลาศัย
ค. หลวงสินาดโยธารักษ์ ง. หลวงประดิษฐ์มนูธรรม
31. ประธานสภาผู้แทนราษฎรคนแรกของไทยคือใคร
ก. พระยามโนปกรณ์นิติธาดา ข. พระยาพหลพลพยุหเสนา
ค. หลวงประดิษฐ์มนูญธรรม ง. เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี
32. การประชุมสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรกหลังจากมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองใน พ.ศ.2475 มีขึ้นที่ใด
ก. นาครศาลา ข. พระที่นั่งอนันตสมาคม
ค. ดุสิตธานี ง. วังสราญรมย์
33. บุคคลใดได้ชื่อว่าเป็นมันสมองของคณะราษฎร
ก. นายปรีดี พนมยงค์ ข. พ.อ.พระยาพหลพลพยุหเสนา
ค. ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช ง. พระยามโนปกรณ์นิติธาดา
34. เค้าโครงเศรษฐกิจ ที่นายปรีดี พนมยงค์ เสนอต่อรัฐบาลพระยามโนปกรณ์นิติธาดาและบุคคลสาคัญใน
คณะราษฎร แต่ถูกพระยามโนปกรณ์นิติธาดาคัดค้าน เรียกว่าอะไร
ก. สมุดปกขาว ข. สมุดปกเหลือง
ค. สมุดบันทึกช่วยจา ง. สมุดลายไทย
35. บุคคลที่เคยฟ้องร้องพระมหากษัตริย์ คือ ฟ้อง ร. 7 ในข้อหาดูหมิ่นประชาชนตามข้อความที่ปรากฏในบันทึก
พระบรมราชวินิจฉัยเค้าโครงเศรษฐกิจของนายปรีดี พนมยงค์ คือใคร
ก. นายปรีดี พนมยงค์ ข. พ.อ.พระยาพหลพลพยุหเสนา
ค. นายถวัติ ฤทธิเดช ง. พ.อ.กาจ เก่งระดมยิง
36. ตามข้อ 35. ได้มีการวินิจฉัยว่าฟ้องไม่ไ ด้โดยเฉพาะทางอาญา แต่ถ้าจะฟ้องความแพ่ง จะให้ฟ้องใครแทน
พระมหากษัตริย์
ก. กระทรวงยุติธรรม ข. ธนาคารแห่งประเทศไทย
ค. ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ง. กระทรวงการคลัง
37. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั่วไปครั้งแรกเมื่อไร
ก. 25 กุมภาพันธ์ 2500 ข. 15 พฤศจิกายน 2476
ค. 2 มีนาคม 2548 ง. 23 ธันวาคม 2551
38. การเลือกตั้งทั่วไปครั้งใดที่ถือว่าสกปรกที่สุด ทุจริตที่สุด
ก. 25 กุมภาพันธ์ 2500 ข. 15 พฤศจิกายน 2476
ค. 2 มีนาคม 2548 ง. 23 ธันวาคม 2551
39. จังหวัดใดมีสมาชิกสภาผู้แทนมากเป็นอันดับ 2 รองจากกรุงเทพมหานคร
ก. เชียงใหม่ ข. อุบลราชธานี ค. นครราชสีมา ง. นครศรีธรรมราช
40. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหญิงคนแรกของประเทศไทย คือใคร
ก. นางสุพัตรา มาศดิศ ข. นางอรพิน ไชยกาล
ค. นางลลิตา ฤกษ์สาราญ ง. คุณหญิงกัลยา โสภณพานิช
ข้อสอบความรู้พื้นฐานทั่วไปทางรัฐศาสตร์ 5 อ.วีระชัย บัวผัน

41. ไทยเข้าร่วมสงครามเวียดนามในสมัยใด
ก. จอมพล ป. พิบูลสงคราม ข. จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์
ค. จอมพลถนอม กิตติขจร ง. พลเรือนตรีถวัลย์ ธารงนาวาสวัสดิ์
42. การก่อกบฏครั้งใด มีจุดมุ่งหมายเพื่อเรียกร้องอานาจคืนแก่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
ก. กบฏนายสิบ ข. กบฎบวรเดช
ค. กบฎแมนฮัตตัน ง. กบฏวังหลวง
43. การเกิดกบฎเมษาฮาวาย เป็นความพยายามของคณะผู้ก่อการในการยึดอานาจจากรัฐบาลใด
ก. พล.อ.ชาติชาย ชุณหะวัณ ข. ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช
ค. ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช ง. พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์
44. ความพยายามที่จะยึดอานาจการปกครองเกิดขึ้นหลายครั้งในประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ความพยายามครั้งล่าสุดที่ฝ่ายก่อการไม่ประสบความสาเร็จ คือเหตุการณ์
ก. เหตุการณ์วันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2528 ข. เหตุการณ์วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2524
ค. เหตุการณ์วันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2534 ง. เหตุการณ์วันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ.2520
45. นายกรัฐมนตรีที่ดารงตาแหน่งนานที่สุด
ก. พล.อ.ชาติชาย ชุณหะวัณ ข. จอมพล ป. พิบูลสงคราม
ค. จอมพลถนอม กิตติขจร ง. พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์
46. นายกรัฐมนตรีที่ดารงตาแหน่งน้อยที่สุด
ก. นายทวี บุณยเกตุ ข. ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช
ค. ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช ง. พล.อ.สุจินดา คราประยูร
47. นายกรัฐมนตรีที่ดารงตาแหน่งติดต่อกันยาวนานที่สุด คือ ……
ก. พล.อ.ชาติชาย ชุณหะวัณ ข. จอมพล ป. พิบูลสงคราม
ค. จอมพลถนอม กิตติขจร ง. พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์
48. นายกรัฐมนตรีท่านใด ที่ดารงตาแหน่งเป็นองคมนตรีก่อนที่จะมาดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี
ก. พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ ข. นายสัญญา ธรรมศักดิ์
ค. นายธานินทร์ กรัยวิเชียร ง. พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์
49. รัฐบุรุษของประเทศไทย มี 2 คน คือ ...
1) .....................................................................................................................................................
2) .....................................................................................................................................................

การยุบสภา เกิดขึ้นในสมัยรัฐบาลของใครบ้าง
ครั้งที่ 1 พ.อ.พระยาพหลพลพยุหเสนา ครั้งที่ 2 ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช
ครั้งที่ 3 นายสัญญา ธรรมศักดิ์ ครั้งที่ 4 ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช
ครั้งที่ 5-7 พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ ครั้งที่ 8 นายอานันท์ ปันยารชุน
ครั้งที่ 9 นายชวน หลีกภัย ครั้งที่ 10 นายบรรหาร ศิลปอาชา
ครั้งที่ 11 นายชวน หลีกภัย ครั้งที่ 12 พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร
ครั้งที่ 13 นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ครั้งที่ 14 นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร
50. การยุบสภาครั้งแรกเมื่อไร ตรงกับสมัยใครเป็นนายกรัฐมนตรี
ตอบ ............................................................................................................................................
ข้อสอบความรู้พื้นฐานทั่วไปทางรัฐศาสตร์ 6 อ.วีระชัย บัวผัน

51. นายกรัฐมนตรีคนใดที่ยุบสภามากที่สุด
ก. พล.อ.ชาติชาย ชุณหะวัณ ข. ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช
ค. ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช ง. พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์
52. ถ้ากฎหมายมิได้กาหนดผู้ใดเป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการต้องเป็นหน้าที่ของใคร
ก. ประธานรัฐสภา ข. ประธานสภาผู้แทนราษฎร
ค. นายกรัฐมนตรี ง. ประธานศาลฎีกา
53. การเปลี่ยนชื่อประเทศจากสยามมาเป็นไทย เกิดขึ้นเมื่อ ปี พ.ศ.2482 ในสมัยใครเป็นนายกรัฐมนตรี
ก. พล.อ.ชาติชาย ชุณหะวัณ ข. จอมพล ป. พิบูลสงคราม
ค. จอมพลถนอม กิตติขจร ง. พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์
54. เมื่อปีพุทธศักราช 2485 ขณะที่จอมพล ป. พิบูลสงคราม ดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี ได้มีการนาพระบรมราช
โองการประกาศสงครามมาแจ้งให้แก่สภาผู้แทนราษฎรได้รับทราบ อยากทราบว่า สงครามในครั้งนี้ประเทศไทยได้
ประกาศสงครามกับประเทศใด
ก. อังกฤษและฝรั่งเศส ข. อังกฤษและสหรัฐอเมริกา
ค. เยอรมันและญี่ปุ่น ง. เกาหลีเหนือและเวียดนามเหนือ
55. ผู้ได้รับการโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้เป็นผู้นาฝ่ายค้านในอดีต-ปัจจุบันมีกี่คน ใครบ้าง
ตอบ 1. ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์
(สมัย ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ เป็นนายกฯ)
2. พล.ต.อ.ประมาณ อดิเรกสาร หัวหน้าพรรคชาติไทย
(เป็น 2 ครั้ง สมัย พล.อ. เปรม , นายชวน เป็นนายกฯ)
3. พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ หัวหน้าพรรคความหวังใหม่
(สมัย พล.อ. สุจินดา คราประยูร และนายชวน หลีกภัย เป็นนายกฯ)
4. นายบรรหาร ศิลปอาชา หัวหน้าพรรคชาติไทย
(สมัย นายชวน เป็นนายกฯ)
5. นายชวน หลีกภัย หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์
(สมัย นายบรรหาร และ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร เป็นนายกฯ)
6. .........................................................................................................................................
7. .........................................................................................................................................
8. …………………………………………………………………………………………………………………………
* ผู้นาฝ่ายค้านมีขึ้นครั้งแรกในรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2517 *
56. นายกรัฐมนตรีคนใดที่ถูกปฏิวัติรัฐประหารมากที่สุด
ก. พล.อ.ชาติชาย ชุณหะวัณ ข. จอมพล ป. พิบูลสงคราม
ค. จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ง. พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์
ข้อสอบความรู้พื้นฐานทั่วไปทางรัฐศาสตร์ 7 อ.วีระชัย บัวผัน

การทารัฐประหารในประเทศไทย มี 10 ครั้ง คือ


1) พ.อ. พระยาพหลพลพยุหเสนา ทารัฐประหาร ยึดอานาจการปกครองจากรัฐบาลพระยามโน
ปกรณ์นิติธาดา เมื่อ 20 มิถุนายน 2476
2) พล.ท. ผิน ชุณหะวัณ ทาการรัฐประหารยึดอานาจการปกครองจากรัฐบาล พล.ร.ต. ถวัลย์
ธารงนาวาสวัสดิ์ เมื่อ 8 พฤศจิกายน 2490
3) จอมพล ป. พิบูลสงคราม ทารัฐประหาร ยึดอานาจการปกครองจากรัฐบาล นายควง อภัยวงศ์
เมื่อ 29 พฤศจิกายน 2494
4) จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ทารัฐประหารยึดอานาจการปกครองจากรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม
เมื่อ 16 กันยายน 2500
5) พล.ท. ถนอม กิตติขจร ร่วมกับจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ทารัฐประหาร ยึดอานาจการปกครอง
จากรัฐบาลตัวเอง เมื่อ 20 ตุลาคม 2501
6) จอมพลถนอม กิตติขจร ทารัฐประหาร ยึดอานาจการปกครองจากรัฐบาลของตัวเอง เมื่อ 17
พฤศจิกายน 2514
7) พล.ร.อ. สงัด ชลออยู่ ทารัฐประหาร ยึดอานาจการปกครองจากรัฐบาล ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช
เมื่อ 6 ตุลาคม 2519 และเชิญ นายธานินทร์ กรัยวิเชียร เป็นนายกรัฐมนตรี และติอมา วันที่ 20 ตุลาคม 2520
ทารัฐประหาร ยึดอานาจการปกครองอีกครั้งแล้วให้ พล.อ. เกรียงศักดิ์ ชมะนันท์ เป็นนายกรัฐมนตรี
8) พล.อ. สุนทร คงสมพงษ์ และพล.อ.สุจินดา คราประยูร ในนาม คณะรักษาความสงบเรียบร้อย
แห่งชาติ (รสช.) ทารัฐประหาร ยึดอานาจการปกครองจากรัฐบาล พล.อ.ชาติชาย ชุณหะวัณ และได้เชิญนาย
อานันท์ ปันยารชุน เป็นนายกรัฐมนตรี
9) พล.อ.สนธิ บุญยรัตกลิน ทารัฐประหาร ยึดอานาจการปกครองจากรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร
เมื่อ 19 กันยายน 2549
10) พล.อ.ประยุทธ จันทร์โอชา ทารัฐประหารยึดอานาจการปกครองจากรัฐบาลรักษาการ นางสาว
ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เมื่อ 22 พฤษภาคม 2557
57. ข้อใดไม่ได้เกิดในยุคของจอมพล ป. พิบูลสงคราม
ก. ยุคมาลานาไทย
ข. ใช้เพลงและละครเรื่องเลือดสุพรรณมาใช้ในการเสริมสร้างความรัก ความสามัคคีของคนในชาติ
ค. การกาหนดแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจแบบทุนนิยมโดยรัฐ
ง. เป็นยุคเผด็จการแบบพ่อขุน
58. ในอดีตมีนายกรัฐมนตรีคนใดที่ถึงแก่อสัญกรรมขณะดารงตาแหน่ง
ก. จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ข. พล.อ.ชาติชาย ชุณหะวัณ
ค. พล.อ.เกรียงศักดิ์ ชมะนันท์ ง. จอมพลถนอม กิตติขจร
59. บุคคลแรกที่ถูกยึดทรัพย์ในประวัติศาสตร์การเมืองไทย
ก. จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ข. พล.อ.ชาติชาย ชุณหะวัณ
ค. พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ง. จอมพลถนอม กิตติขจร
60. การกาหนดให้วันที่ 5 ธันวาคม เป็นวันชาติมีขึ้นในสมัยใด
ก. จอมพล ป. พิบูลสงคราม ข. จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัตน์
ค. จอมพลถนอม กิตติขจร ง. พลเรือตรีถวัลย์ ธารงนาวาสวัสดิ์
ข้อสอบความรู้พื้นฐานทั่วไปทางรัฐศาสตร์ 8 อ.วีระชัย บัวผัน

61. ค าสั่ งที่ 66/2523 เป็ น แนวนโยบายที่ รั ฐ บาลต้ อ งการเอาชนะคอมมิ ว นิ สต์ และให้ ผู้ มี แ นวคิ ด หรื อ เป็ น
คอมมิวนิสต์กลับตัวหันกลับมาพัฒนาชาติไทย คาสั่งนี้เกิดขึ้นในสมัยใครเป็นนายกรัฐมนตรี
ก. พล.อ.ชาติชาย ชุณหะวัณ ข. ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช
ค. ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช ง. พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์
62. การเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เหมือนกับการปกครองระบอบประชาธิปไตย แบบใด
ก. รัฐสภา ข. ประธานาธิบดี
ค. กึ่งประธานาธิบดีกึ่งรัฐสภา ง. อภิชนาธิปไตย
ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ในสมัยก่อนๆ เป็นข้าราชการการเมือง
ที่มาจากแต่งตั้งโดยคณะรัฐมนตรีตั้งแต่ปี พ.ศ. 2516 เป็นต้นมา
1. นายชานาญ ยุวบูรณ์ (เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2516 – 22 ตุลาคม 2516 จากการแต่งตั้ง)
2. ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร คนที่ 2 คือ นายอรรถ วิสูตรโยธาภิบาล (เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2516 – 4
มิถุนายน 2517 จากการแต่งตั้ง)
3. ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร คนที่ 3 คือ นายศิริ สันตะบุตร (เมื่อวันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2517-13 มีนาคม
2518 จากการแต่งตั้ง)
4. ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร คนที่ 4 คือ นายสาย หุตะเจริญ (เมื่อวันที่ 1 พฤษาคม 2518 – 9 สิงหาคม
2518 จากการแต่งตั้ง)
หลังจากนั้นก็มีการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครมีขึ้นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2518 สืบเนื่องจากมีการ
ประกาศใช้ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2518 ขึ้นในวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2518
ซึ่งกาหนดให้กรุงเทพมหานครเป็นทบวงการเมือง มีผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ที่มาจากการเลือกตั้ง และอยู่ใน
ตาแหน่งตามวาระ 4 ปี
5. นายธรรมนูญ เทียนเงิน ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร คนที่ 5
ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ที่มาจากการเลือกตั้ง ครั้ง แรก เมื่อวันที่ 10 สิง หาคม พ.ศ. 2518 นาย
ธรรมนูญ เทียนเงิน จาก พรรคประชาธิปัตย์ ได้รับการเลือกตั้งเป็น ผู้ว่าราชการกรุง เทพมหานคร คนที่ 5 จาก
การเลือกตั้งคนแรก
ในการเลือกตั้งครั้งนั้น นายธรรมนูญ ไม่ได้ดารงตาแหน่งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร จนครบวาระ 4 ปี
เนื่องจากเกิดความขัดแย้งอย่างรุนแรงทั้งในฝ่ายบริหารและฝ่ายนิติบัญญัติ จนไม่สามารถปฏิบัติงานได้ ทาให้ถูก
ปลดนายธรรมนูญออกจากตาแหน่ง เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2520 และให้กลับไปใช้รูปแบบการแต่งตั้งเช่นเดิม
นับจากเหตุการณ์ปลดนายธรรมนูญ เทียนเงิน เมื่อ พ.ศ. 2520 กรุงเทพมหานครมีผู้ว่าราชการจากการ
แต่งตั้งอีก 4 คน ได้แก่
6. ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร คนที่ 6 คือ นายชลอ ธรรมศิริ (เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2520 – 14 พฤษภาคม
2522 จากการแต่งตั้ง)
7. ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร คนที่ 7 คือ นายเชาวน์วัศ สุดลาภา (เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2522 – 16
เมษายน 2524 จากการแต่งตั้ง)
8. ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร คนที่ 8 คือ พลเรือเอกเทียม มกรานนท์ (เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2524 – 1
พฤศจิกายน 2527 จากการแต่งตั้ง)
ข้อสอบความรู้พื้นฐานทั่วไปทางรัฐศาสตร์ 9 อ.วีระชัย บัวผัน

9. ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร คนที่ 9 คือ นายอาษา เมฆสวรรค์ (เมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน 2527 – 13


พฤศจิกายน 2528 จากการแต่งตั้ง)
10. พล.ต.จาลอง ศรีเมือง ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร คนที่ 10
การเลือกตั้ง ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 2 พ.ศ. 2528 เมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2528 สภา
ผู้แทนราษฎรได้ลงมติให้ความเห็นชอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528 ซึ่ง
พระราชบัญญัติดังกล่าว กาหนดให้ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร มาจากการเลือกตั้งอีกครั้งหนึ่ง ทาให้เกิดการ
เลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 2 ขึ้นในปี พ.ศ. 2528 นี้เอง
11. ร.อ. กฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร คนที่ 11
การเลือกตั้ง ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ในปี พ.ศ. 2535 การเลือกตั้ง ครั้ง ต่อมามีขึ้นเมื่อวันที่ 19
เมษายน พ.ศ. 2535 เนื่องจาก พล.ต.จาลอง ศรีเมือง ลาออกจากตาแหน่งก่อนครบวาระ ร.อ. กฤษฎา อรุณวงษ์
ณ อยุธยา รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครในสมัย พล.ต.จาลอง ศรีเมือง ได้ขึ้นเป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
คนที่ 11 (ลงสมัครโดยไม่สังกัดกลุ่มใด แต่อยู่ภายใต้การสนับสนุน ของ พล.ต.จาลอง ศรีเมือง)
12. ดร.พิจติ ต รัตตกุล ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร คนที่ 12
การเลือกตั้ง ผู้ว่า ราชการกรุงเทพมหานคร ในปี พ.ศ. 2539 มีก ารเลือกตั้ง ผู้ว่าฯ คนใหม่ เมื่อวันที่ 3
มิ ถุ น ายน พ.ศ. 2539 โดย ดร.พิ จิ ต ต รั ต ตกุ ล ผู้ ส มั ค รในนาม กลุ่ ม มดงาน ได้ รั บ เลื อ กตั้ ง เป็ น ผู้ ว่ า ราชการ
กรุงเทพมหานคร คนที่ 12 (เมื่อวันที่ 2 มิถุนายน 2539 – 1 มิถุนายน 2543 จากการเลือกตั้ง)
ในการเลือกตั้งครั้งนี้มีผู้ลงสมัครรับเลือกตั้งจานวน 29 คน โดยมีอดีตผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร 2 คน
ลงสมัครด้วยคือ พล.ต.จาลอง ศรีเมือง และ ร.อ.กฤษฎา อรุณวงษ์ ณ อยุธยา ได้คะแนนเป็นอันดับ 2 และ 3
ตามลาดับ
13. นายสมัคร สุนทรเวช ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร คนที่ 13
การเลือกตั้ง ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ในปี พ.ศ. 2543 เมื่อ ด.ร.พิจิตต รัตตกุล ดารงตาแหน่งครบ 4
ปี จึงมีการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร คนใหม่ เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2543
นายสมัคร สุนทรเวช อดีตหัวหน้าพรรคประชากรไทย ได้รับเลือกตั้งเป็น ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร คนที่ 13
(เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม 2543 – 22 กรกฎาคม 2547 จากการเลือกตั้ง)
14. นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร คนที่ 14
การเลือกตั้ง ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ในปี พ.ศ. 2547 เมื่อ นายสมัคร สุนทรเวช ดารงตาแหน่งครบ
4 ปี จึงมีการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร คนใหม่ เมื่อวันที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2547
นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน ผู้สมัครจาก พรรคประชาธิปัตย์ ได้รับเลือกตั้งเป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
คนที่ 14 (เมื่อวันที่ 29 สิงหาคม 2547 – 28 สิงหาคม 2551 จากการเลือกตั้ง)
การเลือกตั้ง ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ในปี พ.ศ. 2551 เมื่อนายอภิรักษ์ โกษะโยธิน ดารงตาแหน่ง
ครบวาระ 4 ปี จึงมีการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครคนใหม่ ในวันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2551
นายอภิ รั ก ษ์ โกษะโยธิ น ผู้ ส มั ค รจาก พรรคประชาธิ ปั ต ย์ ยั ง คงได้ รั บ เลื อ กตั้ ง เป็ น ผู้ ว่ า ราชการ
กรุงเทพมหานคร เป็นสมัยที่ 2 (9 ตุลาคม 2551 – 19 พฤศจิกายน 2551 จากการเลือกตั้ง) แต่เนื่องจากอดีตผู้ว่า
ราชการกรุงเทพมหานคร คนเดิม นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน ได้ลาออกจากตาแหน่ง จึ งต้องทาการเลือกตั้งผู้ว่าคน
ใหม่
ข้อสอบความรู้พื้นฐานทั่วไปทางรัฐศาสตร์ 10 อ.วีระชัย บัวผัน

15. ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร คนที่ 15


การเลือกตั้ง ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ในปี พ.ศ. 2552 ในวันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 จึงมีการ
เลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร คนใหม่ ผู้ดารงตาแหน่งผู้ว่า ราชการกรุงเทพมหานคร คนที่ 15 คือ ม.ร.ว.สุ
ขุมพันธุ์ บริพัตร พรรคประชาธิปัตย์ มีวาระการดารงตาแหน่ง ตั้ง แต่วันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2552 ถึง วันที่ 10
มกราคม พ.ศ. 2556
การเลือกตั้ง ผู้ว่าราชการกรุ งเทพมหานคร พ.ศ. 2556 ได้มีก ารเลือกตั้ ง ครั้ง ล่าสุ ดเกิดขึ้น ซึ่ง วัน ที่ 3
มีนาคม พ.ศ. 2556 ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัตร ผู้สมัครจาก พรรคประชาธิปัตย์ ยังคงได้รับเลือกตั้งเป็นผู้ว่าราชการ
กรุง เทพมหานคร เป็น สมัย ที่ 2 ด้วยคะแนนเสียง 1,256,231 คะแนน ตามด้ว ย พล.ต.อ.พงศพัศ พงษ์ เจริ ญ
1,077,889 คะแนน
16. พล.ต.อ.อัศวิน ขวัญเมือง ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร คนที่ 15 มาจากการแต่งตั้งจาก คสช.(ดารงตาแหน่ง
18 ตุลาคม 2559 – ปัจจุบัน)
63. ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร คนแรกที่มาจากการเลือกตั้ง คือ
ก. นายธรรมนูญ เทียนเงิน ข. นายเทียม มกรานนท์
ค. พล.ต.จาลอง ศรีเมือง ง. นายชานาญ ยุวบูรณ์
64. พรรคประชาธิปัตย์เป็นพรรคการเมืองที่เก่าแก่ที่สุด ถามว่าใครเป็นหัวหน้าพรรคและเลขาธิการพรรคครั้งแรก
ตอบ หัวหน้าพรรค .......................................................................................................
เลขาธิการพรรค .......................................................................................................
65. นายกรัฐมนตรีท่านใดที่ต้องพ้นจากตาแหน่ง เพราะไม่ได้รับความไว้วางใจในการแถลงนโยบายบริหารประเทศ
ของรัฐบาลต่อสภาผู้แทนราษฎร
ก. จอมพล ป. พิบูลสงคราม ข. นายทวี บุณยเกตุ
ค. ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช ง. พลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์
66. ผลงานชิ้นสาคัญที่เริ่มขึ้นในสมัยจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี ซึ่งยังคงถือปฏิบัติและ
ปรับปรุงอย่างต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน คือข้อใด
ก. แผนพัฒนาการเศรษฐกิจแห่งชาติ ข. แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ
ค. แผนการปฏิรูปและพัฒนาการเมือง ง. รัฐนิยม 12 ฉบับ
67. องค์ประกอบ 3 อย่างที่เป็นสาระสาคัญของธรรมรัฐ ข้อใดไม่ใช่
ก. ความโปร่งใส ข. ความรับผิดชอบ
ค. การตรวจสอบได้ ง. ความคุ้มค่า
68. พรรคการเมืองพรรคแรกของไทยที่ตั้งตามพระราชบัญญัติพรรคการเมือง พ.ศ. 2489 คือพรรคใด
ก. พรรคก้าวหน้า ข. พรรคเสรีมนังคศิลา
ค. พรรคประชาธิปัตย์ ง. พรรคธรรมสังคม
69. ใครเป็นนายกรัฐมนตรี ในเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516
ก. จอมพลถนอม กิตติขจร ข. ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช
ค. นายสัญญา ธรรมศักดิ์ ง. ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช
70. ใครเป็นผู้บัญชาการทหารบกในช่วงเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516
ก. จอมพลถนอม กิตติขจร ข. จอมพลประภาส จารุเสถียร
ค. พ.อ.ณรงค์ กิติขจร ง. พล.อ.กฤษณ์ สีวะรา
ข้อสอบความรู้พื้นฐานทั่วไปทางรัฐศาสตร์ 11 อ.วีระชัย บัวผัน

71. นายกรัฐมนตรีท่านใดที่เข้าสู่ตาแหน่งโดยพระบรมราชโองการ(นายกรัฐมนตรี พระราชทาน)


ก. จอมพลถนอม กิตติขจร ข. ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช
ค. นายสัญญา ธรรมศักดิ์ ง. ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช
72. ใครเป็นนายกรัฐมนตรี ในเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519
ก. จอมพลถนอม กิตติขจร ข. ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช
ค. นายสัญญา ธรรมศักดิ์ ง. ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช
73. “รัฐบาลหอย” เป็นฉายาของรัฐบาลที่มีใครเป็นนายกรัฐมนตรี
ก. นายสัญญา ธรรมศักดิ์ ข. หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช
ค. นายธานินทร์ กรัยวิเชียร ง. พลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะนันท์
74. นายกรัฐมนตรีคนใดได้รับการตั้งฉายาว่า “ฤาษีเลี้ยงลิง”
ก. ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช ข. พลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์
ค. นายธานินทร์ กรัยวิเชียร ง. ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช
75. Buffet Cabinet เป็นฉายาของรัฐบาลชุดใด
ก. พล.อ.ชาติชาย ชุณหะวัณ ข. ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช
ค. ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช ง. พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์
76. บุคคลใดดารงตาแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรีที่มาจากพรรคการเมืองซึ่งมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั้งหมดจานวน
18 คน เป็นสมาชิกพรรคการเมืองใด
ก. ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช พรรคประชาธิปัตย์ ข. ม.ร.ว. เสนีย์ ปราโมช พรรคกิจสังคม
ค. ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช พรรคประชาธิปัตย์ ง. ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช พรรคกิจสังคม
77. ประเทศไทยเปิดความสัมพันธ์ทางการทูตกับจีนคอมมิวนิสต์อย่างเป็นทางการสมัยใครเป็นนายกรัฐมนตรี
ก. ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช ข. พลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์
ค. นายธานินทร์ กรัยวิเชียร ง. ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช
78. สานักงานตารวจแห่งชาติขึ้นตรงต่อหน่วยงานใด
ก. นายกรัฐมนตรี ข. รมว.มหาดไทย
ค. รมว.ยุติธรรม ง. เป็นองค์กรอิสระ
79. นโยบายการเงิน และการคลังแบบขยายตัวใช้กับสถานการณ์ใด
ก. เงินเฟ้อ ข. เงินฝืด
ค. เงินตึงตัว ง. เงินคงคลังมีมาก
80. นวนิยายเรื่องใดที่แสดงให้เห็นถึงการต่อสู้ระหว่างอุดมการณ์คอมมิวนิสต์และประชาธิปไตย
ก. อานาจ ของ ประภัสสร เสวิกุล ข. ไผ่แดง ของ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช
ค. คาพิพากษา ของ ชาติ กอบจิตติ ง. คู่กรรม ของ ทมยันตี
81. ศาลปกครองของไทยได้รับอิทธิพลและแนวความคิดในทางกฎหมายจากประเทศใดมากที่สุด
ก. เยอรมัน ข. สหรัฐอเมริกา
ค. ฝรั่งเศส ง. อังกฤษ
82. การสืบราชสมบัติของพระมหากษัตริย์ไทยต้องเป็นไปตามกฎหมายใด
ก. รัฐธรรมนูญ ข. กฎมณเฑียรบาล
ค. ประมวลกฎหมาย ง. รัฐธรรมนูญและกฎมณเฑียรบาล
ข้อสอบความรู้พื้นฐานทั่วไปทางรัฐศาสตร์ 12 อ.วีระชัย บัวผัน

83. นโยบายเปลี่ยนสนามรบให้กลายเป็นสนามการค้า เป็นนโยบายของนายกรัฐมนตรีคนใด


ก. พล.อ.ชาติชาย ชุณหะวัณ ข. ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช
ค. ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช ง. พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์
84. กลุ่มงูเห่า หมายถึง กลุ่มสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่แตกมาจากพรรคการเมืองหนึ่งซึ่ง ไปเข้าร่วมรัฐบาลนาย
ชวน หลีกภัย พรรคการเมืองนั้นคือพรรคใด
ก. พรรคกิจสังคม ข. พรรคความหวังใหม่
ค. พรรคชาติไทย ง. พรรคประชากรไทย
85. จากการทารัฐประหารในวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549 หลัง จากนั้นได้มีการควบคุมความสงบสุขภายใน
บ้านเรือน และมีกลุ่มประชาชนให้กาลังใจทหารที่ดูแลความสงบสุขของบ้านเมืองดังกล่าว ด้วยการมอบดอกไม้ ซึ่ง
การกระทาเช่นนี้ ครั้งหนึ่งเคยเกิดขึ้นในประเทศโปรตุเกส อยากทราบว่า การกระทาเช่นนี้ เรียกเป็นปฏิบัติการ ใน
ชื่อภาษาอังกฤษว่าอย่างไร
ก. LOTUS REVOLUTION ข. ROSE REVOLUTION
ค. CARNATION REVOLUTION ง. DAISY REVOLUTION
86. การจัดตั้งองค์การบริหารส่วนตาบลจะจัดตั้งได้ต่อเมื่อท้องถิ่นนั้นมีราษฎรกี่คน และมีรายได้เท่าไร
ตอบ ....................................................................................................................................
87. องค์ประกอบ 6 ประการของหลักธรรมาภิบาลที่กล่าวไว้ในระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการบริหาร
กิจการบ้านเมือง และสังคมที่ดี พ.ศ. 2543 มีอะไรบ้าง
ตอบ 1) ..................................................... 2) ..............................................................
3) ..................................................... 4) ..............................................................
5) ..................................................... 6) ..............................................................
88. ศาลประเภทใดที่เพิ่งกาหนดให้มีขึ้นเป็นครั้งแรกในรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2540
ก. ศาลยุติธรรม ข. ศาลปกครอง
ค. ศาลทหาร ง. ศาลรัฐธรรมนูญ
89. "ระบอบอามาตยาธิปไตย" (Bureaucracy) หมายถึง ข้อใด
ก. ทหารเป็นผู้ใช้อานาจปกครองแทนประชาชน
ข. ชนชั้นข้าราชการเป็นผู้ควบคุมรัฐธรรมนูญ
ค. ชนชั้นศักดินาถูกท้าทายอานาจจากข้าราชการชั้นสูง
ง. การปกครองซึ่งมีขุนนางหรือข้าราชการเป็นใหญ่
90. แนวโน้มที่เรียกว่า "เผด็จการรัฐสภา" อาจเกิดขึ้นได้เนื่องจาก
ก. พรรคการเมืองที่เป็นรัฐบาลมีพรรคใหญ่พรรคเดียว
ข. รัฐบาลควบคุมเสียงข้างมากในสภาอย่างเบ็ดเสร็จ
ค. พรรคการเมืองฝ่ายค้านเข้มแข็ง
ง. รัฐบาลใช้นโยบายประชานิยม
91. หลัก "The king can do no wrong" หมายความว่า พระมหากษัตริย์
ก. อยู่เหนือกฎหมาย ข. เป็นศูนย์รวมจิตใจ
ค. เป็นสมมุติเทพ ง. อยู่เหนือการเมือง
ข้อสอบความรู้พื้นฐานทั่วไปทางรัฐศาสตร์ 13 อ.วีระชัย บัวผัน

92. คณะรัฐมนตรี ในรัฐบาล พล.อ.ประยุทธ จันทร์โอชา


1) รัฐมนตรี ที่เป็นผู้หญิง .......... คน ได้แก่
1 ...........................................................................................................................
2 ...........................................................................................................................
3 ...........................................................................................................................
2) รัฐมนตรีคนใดที่ควบ 2 ตาแหน่ง คือ ...
1 ...........................................................................................................................
2 ...........................................................................................................................
3 ...........................................................................................................................
3) รัฐมนตรีคนใด อายุมากที่สุด ..........................................................................................................
4) รัฐมนตรีคนใด อายุน้อยที่สุด .........................................................................................................
93. หลัง จากเข้ารับตาแหน่งนายกรัฐมนตรีแล้ว พล.อ.ประยุทธ จันทร์โอชา นายกรั ฐมนตรี ได้เดินทางไปเยือน
ประเทศในกลุ่มอาเซียน ประเทศใดเป็นประเทศแรก
ก. กัมพูชา ข. มาเลเซีย ค. ลาว ง. พม่า
94. ประธานคณะกรรมการประสานงานพรรคร่วมรัฐบาล และ พรรคร่วมฝ่ายค้าน คือ
ตอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………
95. งบประมาณรายจ่ายของแผ่นดิน ปี 2563 คือ ....................... ล้านบาท ลักษณะของการจัดงบประมาณ
เป็นอย่างไร ......................................................................................................................................
96. อธิบดีกรมสอบสวนคดีพิเศษ(DSI) กระทรวงยุติธรรม คนปัจจุบัน คือ ...............................................................
97. น่านน้าที่เป็นเขตเศรษฐกิจจาเพาะของไทยมีระยะทางยาวเท่าไรนับจากทะเลอาณาเขต
ก. 3 ไมล์ทะเล ข. 12 ไมล์ทะเล
ค. 120 ไมล์ทะเล ง. 188 ไมล์ทะล
98. ระบบรัฐสภาและระบบประธานาธิบดีมีความแตกต่างกันในเรื่องใด
ก. ที่มาของสมาชิกผู้แทนราษฎร ข. ที่มาของสมาชิกวุฒิสภา
ข. ที่มาของฝ่ายบริหาร ง. ที่มาของฝ่ายตุลาการ
99. ผู้ใดต่อไปนี้บัญญัติศัพท์คาว่า“รัฐธรรมนูญ”ซึ่งหมายถึงกฎหมายสูงสุดที่ใช้ในการปกครองประเทศเป็นคนแรก
ก. นายปรีดี พนมยงค์ ข. ขุนชานาญภาษา
ค. หม่อมเจ้าวรรณไวทยากร วรวรรณ ง. หลวงวิจิตรวาทการ
100. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับใด เป็นรัฐธรรมนูญฉบับแรกที่บัญญัติให้คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
แห่งชาติมีอานาจหน้าที่ในการเสนอเรื่องพร้อมความเห็นต่อศาลรัฐธรรมนูญและศาลปกครอง รวมทั้งการฟ้องคดีต่อ
ศาลยุติธรรมแทนผู้เสียหายได้
ก. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2517 ข. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2534
ค. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 ง. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550
101. “ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์” ถูกบรรจุไว้ในรัฐธรรมนูญไทยฉบับใดเป็นครั้งแรก
ก. ฉบับปี พ.ศ. 2517 ข. ฉบับปี พ.ศ. 2521
ค. ฉบับปี พ.ศ. 2540 ง. ฉบับปี พ.ศ. 2550
ข้อสอบความรู้พื้นฐานทั่วไปทางรัฐศาสตร์ 14 อ.วีระชัย บัวผัน

102. รัฐธรรมนูญฉบับใดที่ถูกเรียกว่า “รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน”


ก. ฉบับปี พ.ศ. 2517 ข. ฉบับปี พ.ศ. 2521
ค. ฉบับปี พ.ศ. 2540 ง. ฉบับปี พ.ศ. 2550
103. รัฐธรรมนูญฉบับใดที่ถูกเรียกว่า “รัฐธรรมนูญฉบับประชามติ”
ก. ฉบับปี พ.ศ. 2517 ข. ฉบับปี พ.ศ. 2521
ค. ฉบับปี พ.ศ. 2540 ง. ฉบับปี พ.ศ. 2550
104. รัฐธรรมนูญฉบับใดต่อไปนี้บัญญัติให้ประชาชนออกเสียงประชามติเป็นฉบับแรก
ก. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2489
ข. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2490
ค. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2492
ง. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2502
105. รัฐธรรมนูญฉบับใดที่บัญญัติให้มีคณะตุลาการรัฐธรรมนูญขึ้นเป็นครั้งแรก
ก. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489
ข. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2492
ค. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2511
ง. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540
106. รัฐธรรมนูญฉบับแรกของประเทศไทยที่ได้มีการบัญญัติเรื่องยุบสภาผู้แทนราษฎร คือ ฉบับใด
ก. พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช 2475
ข. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2475
ค. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489
ง. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2492
107. รัฐธรรมนูญฉบับใดที่มีระยะเวลาการบังคับใช้ยาวนานที่สุด
ก. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2475
ข. ธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พุทธศักราช 2502
ค. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2521
ง. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540
108. ร่างพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ ที่มีเนื้อหาเพื่อเปลี่ยนแปลงปีงบประมาณเดิมเริ่มจาก 1 เมษายน ของ
ทุกปี เป็น 1 ตุลาคม ของทุกปีแทนนั้น ได้มีการเสนอร่างฯ ดังกล่าวในสมัยที่บุคคลใดดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี
ก. พันตรี ควง อภัยวงศ์ ข. จอมพล แปลก พิบูลสงคราม
ค. นายทวี บุณยเกตุ ง. นายพจน์ สารสิน
ข้อสอบความรู้พื้นฐานทั่วไปทางรัฐศาสตร์ 15 อ.วีระชัย บัวผัน

สาระที่ควรรู้เกี่ยวกับ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2560
1. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 1) พุทธศักราช
2558 ได้บัญญัติให้องค์กรใด มีหน้าที่ร่างรัฐธรรมนูญเพื่อใช้เป็นหลักในการปกครองและเป็นแนวทางในการ
จัดทากฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญและกฎหมายอื่น
1. คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ(คสช.) 2. คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ(กรธ.)
3. สภานิติบัญญัติแห่งชาติ(สนช.) 4. สานักงานศาลรัฐธรรมนูญ
2. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 รัฐธรรมนูญปัจจุบัน ได้ประกาศใช้แล้วในวันที่ 6
เมษายน 2560 เราเรียกรัฐธรรมนูญฉบับนี้ว่าอย่างไร
1. ฉบับประชาชน 2. ฉบับประชามติ
3. ฉบับปฏิรูป 4. ฉบับปราบโกง
3. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 เป็นรัฐธรรมนูญฉบับที่เท่าใดของไทย
1. ฉบับที่ 17 2. ฉบับที่ 18
3. ฉบับที่ 19 4. ฉบับที่ 20
4. ผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 คือ
ใคร
1. ประธานคณะกรรมการการเลือกตั้ง 2. ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
3. ประธานสภาผู้แทนราษฎร 4. นายกรัฐมนตรี
5. ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นประธานรัฐสภา ประธานวุฒิสภา เป็นรองประธานรัฐสภา
6. สภาผู้แทนราษฎรประกอบด้วยสมาชิกจานวนห้าร้อยคน ดังนี้
(1) สมาชิกซึ่งมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตั้งจานวนสามร้อยห้าสิบคน
(2) สมาชิกซึ่งมาจากบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองจานวนหนึง่ ร้อยห้าสิบคน
7. ผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง ต้องเป็นผู้ซึ่ง พรรคการเมืองที่ตนเป็น
สมาชิกส่งสมัครรับเลือกตั้ง และจะสมัครรับเลือกตั้งเกินหนึ่งเขตมิได้
8. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2560 ใช้ระบบ
การเลือกตั้งแบบใด
1. แบบแบ่งเขตเบอร์เดียว 2. แบบบัญชีรายชื่อ
3. แบบจัดสรรปันส่วนผสม 4. แบบแบ่งเขตเรียงเบอร์
9. บุคคลผู้มีคุณสมบัติดังต่อไปนี้เป็นผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
(1) มีสัญชาติไทย แต่บุคคลผู้มีสัญชาติไทยโดยการแปลงสัญชาติ ต้องได้สัญชาติไทย มาแล้วไม่น้อย
กว่าห้าปี
(2) มีอายุไม่ต่ากว่าสิบแปดปีในวันเลือกตั้ง
(3) มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในเขตเลือกตั้งมาแล้วเป็นเวลาไม่น้อยกว่าเก้าสิบวันนับถึงวันเลือกตั้ง
10. บุคคลผู้มีลักษณะดังต่อไปนี้ในวันเลือกตั้ง เป็นบุคคลต้องห้าม มิให้ใช้สิทธิเลือกตั้ง
(1) เป็นภิกษุ สามเณร นักพรต หรือนักบวช
(2) อยู่ในระหว่างถูกเพิกถอนสิทธิเลือกตั้งไม่ว่าคดีนั้นจะถึงที่สุดแล้วหรือไม่
(3) ต้องคุมขังอยู่โดยหมายของศาลหรือโดยคาสั่งที่ชอบด้วยกฎหมาย
(4) วิกลจริตหรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ
ข้อสอบความรู้พื้นฐานทั่วไปทางรัฐศาสตร์ 16 อ.วีระชัย บัวผัน

11. บุคคลผู้มีคุณสมบัติดังต่อไปนี้ เป็นผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้ง เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร


(1) มีสัญชาติไทยโดยการเกิด
(2) มีอายุไม่ต่ากว่ายี่สิบห้าปีนับถึงวันเลือกตั้ง
(3) เป็นสมาชิกพรรคการเมืองใดพรรคการเมืองหนึ่งแต่เพียงพรรคการเมืองเดียว เป็นเวลาติดต่อกันไม่
น้อยกว่าเก้าสิบวันนับถึงวันเลือกตั้ง เว้นแต่ในกรณีที่มีการเลือกตั้งทั่วไป เพราะเหตุยุบสภา ระยะเวลาเก้าสิบวัน
ดังกล่าวให้ลดลงเหลือสามสิบวัน
12. บุคคลต่อไปนี้มีลักษณะต้องห้าม ที่จะใช้สิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
1. ติดยาเสพติดให้โทษ
2. เป็นบุคคลล้มละลายหรือเคยเป็นบุคคลล้มละลายทุจริต
3. เป็นเจ้าของหรือผู้ถือหุ้นในกิจการหนังสือพิมพ์หรือสื่อมวลชนใดๆ
4. อยู่ระหว่างถูกเพิกถอนสิทธิเลือกตั้งไม่ว่าคดีนั้นจะถึงที่สุดแล้วหรือไม่
5. เคยเป็นสมาชิกวุฒิสภาและสมาชิกภาพสิ้นสุดลงไม่เกินสองปี
13. ในการเลือกตั้งทั่วไป ให้พรรคการเมืองที่ส่งผู้สมัครรับเลือกตั้ง แจ้งรายชื่อบุคคลซึ่งพรรคการเมืองนั้นมีมติ
ว่าจะเสนอให้สภาผู้แทนราษฎรเพื่อพิจารณา ให้ความเห็นชอบแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรีไม่เกินสามรายชื่อต่อ
คณะกรรมการการเลือกตั้ง ก่อนปิดการรับสมัครรับเลือกตั้ง และให้คณะกรรมการการเลือกตั้งประกาศรายชื่อ
บุคคลดังกล่าว ให้ประชาชนทราบ
14. สมาชิกภาพของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเริ่มตั้งแต่วันเลือกตั้ง
15. เมื่ออายุของสภาผู้แทนราษฎรสิ้นสุดลง พระมหากษัตริย์ จะได้ทรงตราพระราชกฤษฎีกาให้มีการเลือกตั้ง
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรใหม่ เป็นการเลือกตั้งทั่วไป ภายในสี่สิบห้าวันนับแต่วันที่สภาผู้แทนราษฎรสิ้นอายุ
16. พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งพระราชอานาจที่จะยุบสภาผู้แทนราษฎร เพื่อให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภา
ผู้แทนราษฎรใหม่เป็นการเลือกตั้งทั่วไป การยุบสภาผู้แทนราษฎรให้กระทาโดยพระราชกฤษฎีกา และให้
กระทาได้ เพียงครั้งเดียวในเหตุการณ์เดียวกัน
ภายในห้ าวั น นับ แต่ วัน ที่ พระราชกฤษฎีก าตามวรรคหนึ่ ง ใช้บั ง คั บ ให้ค ณะกรรมการการเลื อกตั้ ง
ประกาศกาหนดวันเลือกตั้งทั่วไปในราชกิจจานุเบกษา ซึ่งต้องไม่น้อยกว่าสี่สิบห้าวันแต่ไม่เกินหกสิบวันนับแต่
วันที่พระราชกฤษฎีกาดังกล่าวใช้บังคับ วันเลือกตั้งนั้นต้องกาหนดเป็นวันเดียวกันทั่วราชอาณาจักร
17. สมาชิกวุฒิสภาต้องมีคุณสมบัติ ดังต่อไปนี้
(1) มีสัญชาติไทยโดยการเกิด
(2) มีอายุไม่ต่ากว่าสี่สิบปีในวันสมัครรับเลือก
(3) มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์ หรือทางานในด้านที่สมัคร ไม่น้อยกว่าสิบปี หรือเป็นผู้
มีลักษณะตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติ ประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้ วยการได้มาซึ่ง
สมาชิกวุฒิสภา
(4) เกิด มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน ทางาน หรือมีความเกี่ยวพันกับพื้นที่ที่สมัคร ตามหลักเกณฑ์และ
เงื่อนไขที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการได้มา ซึ่งสมาชิกวุฒิสภา
18. เกี่ยวกับสมาชิกวุฒิสภา
1. วุฒิสมาชิกมีจานวน 200 คน
2. มีสัญชาติไทยโดยการเกิด อายุไม่ต่ากว่า 40 ปี
3. สมาชิกวุฒิสภามีวาระการดารงตาแหน่ง 5 ปี และจะดารงตาแหน่งติดต่อกันเกิน 1 วาระไม่ได้
4. การดาเนินการเพื่อให้ได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภา มาจากการเลือกตั้งทางอ้อม โดยให้มาจากการเลือก
กันเองของประชาชนพลเมืองผู้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์ ตั้ง แต่ระดับอาเภอ/เขต จนถึง
ข้อสอบความรู้พื้นฐานทั่วไปทางรัฐศาสตร์ 17 อ.วีระชัย บัวผัน

ระดับประเทศ
5. สมาชิกวุฒิสภาในวาระเริ่มแรก มาจากการสรรหาของ คณะกรรมการรักษาความสงบแห่งชาติ
(คสช.) ผ่านคณะกรรมการสรรหา จานวน 194 คน ผ่านการเลือกตั้งตามรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน 50 คน และ
เป็นโดยตาแหน่ง 6 คน รวม 250 คน

19. อายุของวุฒิสภามีกาหนดคราวละห้าปีนับแต่วันประกาศผลการเลือก สมาชิกภาพของสมาชิกวุฒิสภาเริ่ม


ตั้งแต่วันที่คณะกรรมการการเลือกตั้งประกาศผลการเลือก
20. พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งรัฐมนตรีอื่นอีกจานวนไม่เกิน 35 คน ตามที่บุคคลใดถวายคาแนะนา ประกอบ
เป็นคณะรัฐมนตรี
1. นายกรัฐมนตรี 2. สภาผู้แทนราษฎร
3. วุฒสภา 4. รัฐสภา
21. การแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีและการให้นายกรัฐมนตรีพ้นจากตาแหน่ง ให้บุคคลใด ลงนามรับสนองพระบรม
ราชโองการ
1. ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ 2. ประธานสภาผู้แทนราษฎร
3. ประธานรัฐสภา 4. ประธานคณะรักษาความเรียบร้อยแห่งชาติ(คสช.)
22. นายกรัฐมนตรีจะดารงตาแหน่งรวมกันแล้วเกินแปดปีมิได้ ทั้งนี้ ไม่ว่าจะเป็นการดารงตาแหน่งติดต่อกัน
หรือไม่ แต่มิให้นับรวมระยะเวลาในระหว่างที่อยู่ปฏิบัติหน้าที่ต่อไป หลังพ้นจากตาแหน่ง
23. รัฐมนตรีต้อง
(1) มีสัญชาติไทยโดยการเกิด
(2) มีอายุไม่ต่ากว่าสามสิบห้าปี
(3) สาเร็จการศึกษาไม่ต่ากว่าปริญญาตรีหรือเทียบเท่า
(4) มีความซื่อสัตย์สุจริตเป็นที่ประจักษ์
(5) ไม่มีพฤติกรรมอันเป็นการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรม อย่างร้ายแรง
(6) ไม่มีลักษณะต้องห้ามตามกฎหมาย
24. บรรดาศาลทั้งหลายจะตั้งขึ้นได้แต่โดยพระราชบัญญัติ
25. ศาลปกครองมี 2 ชั้น คือ ศาลปกครองสูงสุดและศาลปกครองชั้นต้น
26. ศาลรัฐธรรมนูญประกอบด้วยตุลาการศาลรัฐธรรมนูญจานวนเก้าคน
ข้อสอบความรู้พื้นฐานทั่วไปทางรัฐศาสตร์ 18 อ.วีระชัย บัวผัน

27. ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญต้องมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้ด้วย
(1) มีสัญชาติไทยโดยการเกิด
(2) มีอายุไม่ต่ากว่าสี่สิบห้าปี แต่ไม่ถึงหกสิบแปดปีในวันที่ได้รับการคัดเลือกหรือวันสมัครเข้ารับการ
สรรหา
(3) สาเร็จการศึกษาไม่ต่ากว่าปริญญาตรีหรือเทียบเท่า
(4) มีความซื่อสัตย์สุจริตเป็นที่ประจักษ์
(5) มีสุขภาพที่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
28. ผู้ไ ด้รับการคัดเลือกหรือสรรหาเพื่อแต่ง ตั้ง ให้ดารงตาแหน่ง ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ต้องได้รับความ
เห็นชอบจากวุฒิสภาด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง ของจานวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของวุฒิสภา
29. ให้ประธานวุฒิสภานาความกราบบัง คมทูลเพื่อทรงแต่ง ตั้ง ประธาน ศาลรั ฐธรรมนูญ และตุลาการศาล
รัฐธรรมนูญ และเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ
30. ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญมีวาระการดารงตาแหน่งเจ็ดปีนับแต่วันที่พระมหากษัตริย์ทรงแต่ งตั้ง และให้ดารง
ตาแหน่งได้เพียงวาระเดียว
31. องค์คณะของตุลาการศาลรัฐธรรมนูญในการนั่งพิจารณา และในการทาคาวินิจฉัยต้องประกอบด้วยตุลา
การศาลรัฐธรรมนูญไม่น้อยกว่าเจ็ดคน
32. ผู้ดารงตาแหน่งในองค์กรอิสระ ต้องมีอายุไม่ต่ากว่าสี่สิบห้าปี แต่ไม่เกินเจ็ดสิบปี
33. เจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ในการกาหนดให้มีองค์กรอิสระตรงกับข้อใด
1. เพื่อเป็นตัวแทนของประชาชน 2. เพื่อเป็นที่ปรึกษาของรัฐสภา
3. เพื่อตรวจสอบการใช้อานาจของรัฐ 4. เพื่อสนับสนุนการบริหารงานของรัฐบาล
34. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 มิได้กาหนดให้วุฒิสภามีอานาจถอดถอนผู้ดารงตาแหน่งทาง
การเมืองเหมือนรัฐธรรมนูญฉบับก่อนๆ ทั้งนี้เพราะสาเหตุใด
1. ฝ่ายการเมืองที่ไม่สุจริตพยายามเข้าแทรกแซงสมาชิกวุฒิสภาในรูปแบบต่างๆ
2. ฝ่ายการเมืองเป็นผู้ให้การสนับสนุนบุคคลดารงตาแหน่งเป็นสมาชิกวุฒิสภา
3. สมาชิกวุฒิสภามีความผูกพันกับฝ่ายการเมืองในระบบอุปถัมป์
4. ฝ่ายการเมืองมีอานาจและให้ผลประโยชน์สมาชิกวุฒิสภา
35. จากข้อ 34. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 บัญญัติให้องค์กรใด มีอานาจถอดถอนผู้ดารง
ตาแหน่งทางการเมือง เกี่ยวกับการทุจริต การกระทาผิดต่อหน้าที่
1. ศาลปกครอง
2. ศาลรัฐธรรมนูญ
3. คณะกรรมการการเลือกตั้ง
4. ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง
ข้อสอบความรู้พื้นฐานทั่วไปทางรัฐศาสตร์ 19 อ.วีระชัย บัวผัน

วาระการดารง องค์กรให้ความเห็นชอบ
องค์กรอิสระ จานวน ผู้แต่งตั้ง
ตาแหน่ง บุคคลเข้าดารงตาแหน่ง
1. คณะกรรมการการ
7 คน 7 ปี/วาระเดียว วุฒิสภา พระมหากษัตริย์
เลือกตั้ง(กกต.)
2. คณะกรรมการป้องกัน
และปราบปรามการทุจริต 9 คน 7 ปี/วาระเดียว วุฒิสภา พระมหากษัตริย์
แห่งชาติ(ปปช.)
3. ผู้ตรวจการแผ่นดิน 3 คน 7 ปี/วาระเดียว วุฒิสภา พระมหากษัตริย์
4. คณะกรรมการตรวจเงิน
7 คน 7 ปี/วาระเดียว วุฒิสภา พระมหากษัตริย์
แผ่นดิน(คตง.)
5. คณะกรรมการสิทธิ
7 คน 7 ปี/วาระเดียว วุฒิสภา พระมหากษัตริย์
มนุษยชนแห่งชาติ (กสม.)
ที่มาของคณะกรรมการการเลือกตั้ง
คณะกรรมการการเลือกตั้งประกอบด้ วยกรรมการจานวนเจ็ดคน ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตาม
คาแนะนาของวุฒิสภา
1. ผู้ซึ่งได้รับการสรรหาจากคณะกรรมการสรรหา จานวนห้าคน คณะกรรมการสรรหาประกอบด้วย
(1) ประธานศาลฎีกา เป็นประธานกรรมการ
(2) ประธานสภาผู้แทนราษฎร และผู้นาฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร เป็นกรรมการ
(3) ประธานศาลปกครองสูงสุด เป็นกรรมการ
(4) บุ คคลซึ่ง ศาลรัฐ ธรรมนูญและองค์กรอิสระที่มิใช่ค ณะกรรมการการเลื อกตั้ง แต่ง ตั้ง จากผู้ มี
คุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม และไม่เคยปฏิบัติหน้าที่ใดๆ ในศาลรัฐธรรมนูญ หรือองค์กรอิสระ
องค์กรละหนึ่งคน เป็นกรรมการ
2. ผู้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์ด้านกฎหมาย และเคยดารงตาแหน่งไม่ต่า กว่า
อธิบดีผู้พิพากษา หรือตาแหน่งไม่ ต่ากว่าอธิบดีอัยการมาแล้วเป็นเวลาไม่น้อยกว่าห้าปี ซึ่ง ได้รับการ
คัดเลือก จากที่ประชุมใหญ่ศาลฎีกาจานวนสองคน
36. การแก้ ไ ขเพิ่ ม เติ ม รั ฐ ธรรมนู ญ ที่ เ ป็ น การเปลี่ ย นแปลงการปกครอง ระบอบประชาธิ ป ไตยอั น มี
พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือเปลี่ยนแปลงรูปแบบของรัฐ จะกระทามิได้
37. ให้ดาเนินการปฏิรูปประเทศอย่างน้อยในด้านต่างๆ ให้เกิดผล ดังต่อไปนี้
ก. ด้านการเมือง
ข. ด้านการบริหารราชการ
ค. ด้านกฎหมาย
ง. ด้านกระบวนการ
จ. ด้านการศึกษา
ฉ. ด้านเศรษฐกิจ
ช. ด้านอื่น ๆ
ข้อสอบความรู้พื้นฐานทั่วไปทางรัฐศาสตร์ 20 อ.วีระชัย บัวผัน

38. องค์กรใดมีสิทธิในการเสนอร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ
1. คณะรัฐมนตรีโดยข้อเสนอแนะของศาลฎีกา ศาลรัฐธรรมนูญ หรือองค์กรอิสระที่เกี่ยวข้อง
2. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจานวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในสิบของจานวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของ
สภาผู้แทนราษฎร
3. สมาชิกวุฒิสภาจานวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในสิบของจานวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของวุฒิสภา
4. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิ กวุฒิสภาจานวนไม่น้อยกว่าหนึ่ง ในสิบของจานวนสมาชิ ก
ทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา
5. ทั้งข้อ 1. และ 2.
39. องค์กรใดมีสิทธิในการเสนอร่างพระราชบัญญัติทั่วไป
1. คณะรัฐมนตรี
2. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจานวนไม่น้อยกว่ายีส่ ิบคน
3. ผู้มีสิทธิเลือกตั้งจานวนไม่ น้อยกว่าหนึ่งหมื่นคนเข้าชื่อเสนอกฎหมาย ตามหมวด 3 สิทธิและ
เสรีภาพของปวงชนชาวไทย หรือหมวด 5 หน้าที่ของรัฐ
4. ถูกทุกข้อ
สาระสาคัญ ในบทเฉพาะกาล
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2560
1. ในระหว่างที่ยังไม่มีสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา ให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติที่ตั้ งขึ้นตามรัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 ยังคงทาหน้าที่รัฐสภา สภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภา
ต่อไป
ให้สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติซึ่งดารงตาแหน่งอยู่ในวันก่อนวันประกาศใช้รัฐธรรมนูญนี้ ทาหน้าที่
เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภา ตามลาดับ ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้
ให้สภานิติบัญญัติแห่งชาติและสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ สิ้นสุดลงในวันก่อนวันเรียกประชุมรัฐสภา
ครั้งแรกภายหลังการเลือกตั้งทั่วไป
2. เมื่อมีการเลือกตั้งทั่วไปครั้งแรกภายหลังจากวันประกาศใช้รัฐธรรมนู ญนี้ สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่ง ชาติ
จะสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมิไ ด้ เว้นแต่จะได้พ้นจากตาแหน่ง สมาชิกสภานิติบัญ ญัติ
แห่งชาติภายในเก้าสิบวันนับแต่วันประกาศใช้รัฐธรรมนูญนี้
3. ให้คณะรัฐมนตรีที่บริหารราชการแผ่นดินอยู่ในวันก่อนวันประกาศใช้รัฐธรรมนู ญนี้เป็นคณะรัฐมนตรีตาม
บทบั ญ ญั ติ แ ห่ ง รั ฐ ธรรมนู ญ นี้ จนกว่ า คณะรั ฐ มนตรี ที่ ตั้ ง ขึ้ น ใหม่ ภ ายหลั ง การเลื อ กตั้ ง ทั่ ว ไปครั้ ง แรกตาม
รัฐธรรมนูญนี้จะเข้ารับหน้าที่
4. คณะรักษาความสงบแห่งชาติ(คสช.) ที่ดารงตาแหน่ง อยู่ในวันก่อนวันประกาศใช้รัฐธรรมนูญ ยัง คงอยู่ใน
ตาแหน่ง เพื่ อปฏิบั ติห น้า ที่ต่ อไปจนกว่า คณะรั ฐมนตรีที่ ตั้ง ขึ้น ใหม่ภ ายหลั ง การเลื อกตั้ง ทั่ว ไปครั้ ง แรกตาม
รัฐธรรมนูญนี้จะเข้ารับหน้าที่
5. ให้สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ อยู่ปฏิบัติหน้าที่ต่อไปพลางก่อนเพื่อจัดทาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการ
ขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ จนกว่าจะมีกฎหมายว่าด้วยแผนและขั้นตอนการดาเนินการปฏิรูปประเทศที่ตรา
ขึ้นตามมาตรา 259
ข้อสอบความรู้พื้นฐานทั่วไปทางรัฐศาสตร์ 21 อ.วีระชัย บัวผัน

6. ให้คณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ (กรธ.) ที่ ตั้ง ขึ้นตามรัฐธรรมนู ญ แห่ง ราชอาณาจัก รไทย(ฉบับ ชั่วคราว)


พุ ท ธศั ก ราช 2557 ซึ่ ง แก้ ไ ขเพิ่ ม เติ ม โดยรั ฐ ธรรมนู ญ แห่ ง ราชอาณาจั ก รไทย (ฉบั บ ชั่ ว คราว )
พุทธศัก ราช 2557 แก้ไ ขเพิ่ม เติม (ฉบั บที่ 1) พุ ทธศักราช 2558 และรัฐธรรมนู ญ แห่ ง ราชอาณาจั กรไทย
(ฉบั บ ชั่ ว คราว) พุ ท ธศั ก ราช 2557 แก้ ไ ขเพิ่ ม เติ ม (ฉบั บ ที่ 2) พุ ท ธศั ก ราช 2559 อยู่ ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ต่ อ ไป
เพื่อจัดทาร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญดังต่อไปนี้ให้แล้วเสร็จ และเสนอต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบต่อไป
(1) พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
(2) พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการได้มาซึ่งสมาชิกวุฒิสภา
(3) พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการการเลือกตั้ง
(4) พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง
(5) พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ
(6) พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีอาญาของผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง
(7) พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยผู้ตรวจการแผ่นดิน
(8) พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
(9) พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน
(10) พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
คาถาม การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามรัฐธรรมนูญนี้ ให้แล้วเสร็จภายในหนึ่งร้อยห้าสิบวัน
นับแต่วันที่พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ฉบับใดมีผลใช้บังคับแล้ว
1. ทั้ง 10 ฉบับ 2. เฉพาะฉบับที่ 1 – 2
3. เฉพาะฉบับที่ 1 – 2 – 3 4. เฉพาะฉบับที่ 1 – 2 – 3 – 4
7. ในวาระเริ่มแรก ให้วุฒิสภาประกอบด้วยสมาชิกจานวนสองร้อยห้าสิบคนซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้ง
ตามที่คณะรักษาความสงบแห่งชาติถวายคาแนะนา โดยในการสรรหาและแต่งตั้งให้ดาเนินการตามหลักเกณฑ์
และวิธีการ ตามกฎหมาย
8. ให้คณะรักษาความสงบแห่งชาตินารายชื่อบุคคลซึ่งได้รับการคัดเลือกเป็นสมาชิกวุฒิสภาจานวนสองร้อยห้า
สิบคนดังกล่าวขึ้นกราบบังคมทูลเพื่อทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้งต่อไปและให้หัวหน้าคณะ
รักษาความสงบแห่งชาติเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ
9. อายุของวุฒิสภา มีกาหนดห้าปีนับแต่วันที่มีพระบรมราชโองการแต่งตั้งสมาชิกภาพของสมาชิกวุฒิสภาเริ่ม
ตั้งแต่วันที่มีพระบรมราชโองการแต่งตั้ง
10. ในระหว่าง 5 ปีแรก นับแต่วันที่มีรัฐสภาชุดแรกตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2560 การให้ความ
เห็นชอบบุคคลซึ่งสมควรได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี ดังนี้
1) การพิจารณาให้ความเห็นชอบซึ่งสมควรได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี ให้กระทาในที่ประชุม
ร่วมกันของรัฐสภา และมติที่เห็นชอบการแต่งตั้งบุคคลใดให้เป็นนายกรัฐมนตรี ต้องมีคะแนนเสียงมากกว่ากึ่ง
หนึ่งของจานวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา
2) บุคคลซึ่งจะได้รับความเห็นชอบ ต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะ ต้องห้ามตามมาตรา 160 และ
เป็นผู้ซึ่งมีชื่ออยู่ในบัญชีรายชื่อ ที่พรรคการเมืองแจ้งไว้ตามมาตรา 88 และพรรคการเมืองนั้นต้องมีสมาชิกได้รับ
ข้อสอบความรู้พื้นฐานทั่วไปทางรัฐศาสตร์ 22 อ.วีระชัย บัวผัน

เลือกเป็น สมาชิกสภาผู้ แทนราษฎรไม่น้อ ยกว่ าร้อ ยละห้า ของจานวนสมาชิ กทั้ง หมดเท่า ที่มีอ ยู่ของสภา
ผู้แทนราษฎร
3) ในการเสนอชื่อ ต้องมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรรับรองไม่น้อยกว่า หนึ่งในสิบของจานวนสมาชิก
ทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร
4) มติของที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภา ต้องกระทาโดยการลงคะแนนโดยเปิดเผย และมีคะแนนเสียง
มากกว่ากึ่งหนึ่งของจานวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา
109. เจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับปัจจุบัน ในการกาหนดให้มีองค์กรอิสระตรงกับข้อใด
ก. เพื่อเป็นตัวแทนของประชาชน ข. เพื่อเป็นที่ปรึกษาของรัฐสภา
ค. เพื่อตรวจสอบการใช้อานาจของรัฐ ง. เพื่อสนับสนุนการบริหารงานของรัฐบาล
110. ข้อใดไม่ใช่องค์กรอิสระ
ก. คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ข. ผู้ตรวจการแผ่นดิน
ค. คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ง. คณะกรรมการการเลือกตั้ง
จ. คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตภาครัฐ
111. กฎหมายใดที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นตามคาแนะนาของคณะรัฐมนตรี โดยไม่ต้องได้รับคาแนะนาและ
ยินยอมของรัฐสภา
ก. กฎกระทรวง ข. พระราชบัญญัติ
ค. พระราชกฤษฎีกา ง. กฎหมายแพ่งและพาณิชย์
112. ปัจจุบันมีกระทรวงต่างๆ ทั้งหมดกี่กระทรวง กระทรวงที่ตั้งหลังสุด คือ กระทรวงใด
ตอบ ..............................................................................................................................................................
113. ตามระบอบการแบ่งส่วนราชการไทย หน่วยงานใดเป็นราชการบริหารส่วนกลาง
ก. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ข. อาเภอ
ค. กรุงเทพมหานคร ง. จังหวัดนนทบุรี
114. กฎหมายประเภทใดอยู่ในลาดับศักดิ์ต่าที่สุด
ก. ประมวลกฎหมาย ข. พระราชกฤษฎีกา
ค. พระราชบัญญัติ ง. พระราชกาหนด
115. ในการตราเป็นกฎหมาย ข้อใด ไม่สัมพันธ์กัน
ก. การเรียกประชุมรัฐสภา – พระราชกฤษฎีกา
ข. การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายของแผ่นดิน – พระราชบัญญัติ
ค. การเสนอญัตติเปิดอภิปรายทั่วไปของสภาผู้แทนราษฎร – พระราชกฤษฎีกา
ง. การจัดตั้งกระทรวง ทบวง กรมที่มีการกาหนดตาแหน่งบุคลากรใหม่ – พระราชบัญญัติ
116. องค์กรใดทาหน้าที่ควบคุมและดาเนินการออกเสียงประชามติ
ก. คณะกรรมการประชามติแห่งชาติ ข. กระทรวงมหาดไทย
ค. คณะกรรมการการเลือกตั้ง ง. องค์กรกลาง
117. ศาลใดมีอานาจวินิจฉัยว่า กฎหมายลาดับรองขัดกับพระราชบัญญัติ
ก. ศาลรัฐธรรมนูญ ข. ศาลปกครองชั้นต้น
ค. ศาลยุติธรรม ง. ศาลปกครองสูงสุด
ข้อสอบความรู้พื้นฐานทั่วไปทางรัฐศาสตร์ 23 อ.วีระชัย บัวผัน

118. การจัดตั้งอาเภอต้องตราเป็นกฎหมายใด
ก. พระราชบัญญัติ ข. พระราชกาหนด
ค. พระราชกฤษฎีกา ง. กฎกระทรวง
119. การประกาศยุบสภา การประกาศให้มีการเลือกตั้งทั่วไป ต้องออกเป็นกฎหมายประเภทใด
ก. พระราชบัญญัติ ข. พระราชกฤษฎีกา
ค. พระราชกาหนด ง. กฎกระทรวง
120. การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติของสภาผู้แทนราษฎร จะต้องพิจารณาถึง 3 วาระ วาระใดเป็นหน้าที่ของ
คณะกรรมาธิการที่จะต้องพิจารณารายละเอียดทีละมาตรา
ก. วาระที่ 1 ขั้นรับหลักการ
ข. วาระที่ 2 ขั้นพิจารณาแปรญัตติโดยคณะกรรมาธิการ
ค. วาระที่ 3 ขั้นลงมติ
ง. ภายหลังจากสภาฯ พิจารณาครบ 3 วาระ
121. ในเมื่อไม่มีบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้บังคับแก่กรณีใด ให้วินิจฉัยนั้นเป็นไปอย่างไร
ก. วินิจฉัยตามหลักกฎหมายทั่วไป
ข. วินิจฉัยตามประเพณีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
ค. ถูก ทั้ง ก. และ ข.
ง. ไม่มีข้อใดถูก
122. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
ก. บุคคลไมตองรับโทษอาญา เวนแตไดกระทาการอันกฎหมายที่ใชอยูในเวลาที่กระทานั้นบัญญัติ เป็น
ความผิดและกาหนดโทษไว
ข. โทษที่จะลงแกบุคคลนั้นจะหนักกวาโทษที่กาหนดไวในกฎหมายที่ใชอยูในเวลาที่กระทาความผิดมิได
ค. ในคดีอาญา ตองสันนิษฐานไวกอนวาผูตองหาหรือจาเลยไมมีความผิด
ง. กอนมีคาพิพากษาอันถึงที่สุดแสดงวาบุคคลใดไดกระทาความผิด จะปฏิบัติต อบุคคลนั้นเสมือนเปนผู
กระทาความผิดก็ได
123. กฎอัยการศึก คือ กฎหมายที่ว่าด้วยเรื่องอะไร
ก. การให้อานาจเจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารในสถานการณ์พิเศษ
ข. อานาจในการประกาศสงคราม
ค. การบริหารประเทศในระหว่างสงคราม
ง. การบริหารประเทศในภาวะฉุกเฉิน
124. องค์การใดมีอานาจไต่สวนชี้มูลความผิดในคดีถอดถอนเจ้าหน้าที่ที่ทุจริตระดับสูงของรัฐออกจากตาแหน่ง
ก. ศาลรัฐธรรมนูญ ข. ศาลปกครอง
ค. ศาลอาญา ง. ปปช.
125. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 บัญญัติให้องค์กรใด มีอานาจถอดถอนผู้ดารงตาแหน่งทาง
การเมือง
1. ศาลปกครอง 2. ศาลรัฐธรรมนูญ
3. คณะกรรมการการเลือกตั้ง 4. ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง
5. คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ(ปปช.)
ข้อสอบความรู้พื้นฐานทั่วไปทางรัฐศาสตร์ 24 อ.วีระชัย บัวผัน

126. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับกระบวนการได้มาซึ่งนายกรัฐมนตรี (ม.159)


1. การพิจารณาให้ความเห็นชอบบุคคลซึ่งสมควรได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี ให้กระทาโดยสภา
ผู้แทนราษฎร
2. บุคคลซึ่งจะได้รับความเห็นชอบ ต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะ ต้องห้ามตามมาตรา 160 และเป็นผู้
ซึ่งมีชื่ออยู่ในบัญชีรายชื่อ ที่พรรคการเมืองแจ้งไว้ตามมาตรา 88 และพรรคการเมืองนั้นต้องมีสมาชิกได้รับเลือกเป็น
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไม่น้อยกว่าร้อยละห้า ของจานวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร
3. ในการเสนอชื่อ ต้องมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรรับรองไม่น้อยกว่า หนึ่งในสิบของจานวนสมาชิกทั้งหมด
เท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร
4. มติของสภาผู้แทนราษฎรต้องกระทาโดยการลงคะแนนโดยเปิดเผย และมีคะแนนเสียงมากกว่ากึ่งหนึ่ง
ของจานวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร
5. ถูกทุกข้อ
บทเฉพาะกาล ตามมาตรา 272
จากข้อ 64. ในระหว่างห้าปีแรกนับแต่วันที่มีรัฐสภาชุดแรกตามรัฐธรรมนูญนี้ การให้ความเห็นชอบบุคคลซึ่ง
สมควรได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรีให้ดาเนินการตามมาตรา 159 (ตามขั้นตอนข้อ 64.) เว้นแต่ การพิจารณาให้
ความเห็นชอบตามมาตรา 159 วรรคหนึ่ง ให้กระทาในที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภา และมติที่เห็นชอบการแต่งตั้ง
บุคคลใดให้เป็นนายกรัฐมนตรีตามมาตรา 159 วรรคสาม ต้องมีคะแนนเสียงมากกว่ากึ่ง หนึ่ง ของจานวนสมาชิก
ทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา
ในระหว่างห้าปีแรกนับแต่วันที่มีรัฐสภาชุดแรกตามรัฐธรรมนูญนี้ หากมีกรณีที่ไม่อาจแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี
จากผู้มีชื่ออยู่ในบัญชีรายชื่อที่พรรคการเมืองแจ้งไว้ตาม มาตรา 88 ไม่ว่าด้วยเหตุใด และสมาชิกรัฐสภาจานวนไม่
น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจานวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา เข้าชื่อเสนอต่อประธานรัฐสภาขอให้รัฐสภามี
มติยกเว้น เพื่อไม่ต้องเสนอชื่อนายกรัฐมนตรีจากผู้มีชื่ออยู่ในบัญชีรายชื่อที่พรรคการเมืองแจ้งไว้ตามมาตรา 88 ใน
กรณีเช่นนั้น ให้ประธานรัฐสภาจัดให้มี การประชุมร่วมกันของรัฐสภาโดยพลัน และในกรณีที่รัฐสภา มีมติด้วย
คะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสองในสามของจานวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา ให้ยกเว้นได้ ให้ดาเนินการ
ตามวรรคหนึ่งต่อไป โดยจะเสนอชื่อผู้อยู่ในบัญชีรายชื่อที่พรรคการเมืองแจ้งไว้ตามมาตรา 88 หรือไม่ก็ได้
มาตรา 88 ในการเลือกตั้งทั่วไป ให้พรรคการเมืองที่ส่งผู้สมัครรับเลือกตั้ง แจ้งรายชื่อบุคคลซึ่งพรรคการ
เมืองนั้นมีมติว่าจะเสนอให้สภาผู้แทนราษฎรเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี ไม่เกินสาม
รายชื่อต่อคณะกรรมการการเลือกตั้ง ก่อนปิดการรับสมัครรับเลือกตั้ง และให้คณะกรรมการการเลือกตั้งประกาศ
รายชื่อบุคคลดังกล่าวให้ประชาชนทราบและให้นาความในมาตรา 87 วรรคสอง มาใช้บังคับโดยอนุโลม
พรรคการเมืองจะไม่เสนอรายชื่อบุคคลตามวรรคหนึ่งก็ได้
มาตรา 159 ให้สภาผู้แทนราษฎรพิจารณาให้ความเห็นชอบบุคคลซึ่งสมควรได้รับแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรี
จากบุคคลซึ่งมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา 160 และเป็นผู้มีชื่ออยู่ในบัญ ชีรายชื่อที่พรรค
การเมื อ งแจ้ ง ไว้ ต ามมาตรา 88 เฉพาะจากบั ญ ชี ร ายชื่ อ ของพรรคการเมื อ งที่ มี ส มาชิ ก ได้ รั บ เลื อ กเป็ น
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไม่น้อยกว่าร้อยละห้าของจานวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร
การเสนอชื่อตามวรรคหนึ่ง ต้องมีสมาชิกรับรองไม่น้อยกว่าหนึ่งในสิบของจานวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่
ของสภาผู้แทนราษฎร
มติของสภาผู้แทนราษฎรที่เห็นชอบการแต่งตั้งบุคคลใดให้เป็นนายกรั ฐมนตรี ต้องกระทาโดยการลงคะแนน
โดยเปิดเผย และมีคะแนนเสียงมากกว่ากึ่งหนึ่งของจานวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร
ข้อสอบความรู้พื้นฐานทั่วไปทางรัฐศาสตร์ 25 อ.วีระชัย บัวผัน

มาตรา 160 รัฐมนตรีต้อง


(1) มีสัญชาติไทยโดยการเกิด
(2) มีอายุไม่ต่ากว่าสามสิบห้าปี
(3) สาเร็จการศึกษาไม่ต่ากว่าปริญญาตรีหรือเทียบเท่า
(4) มีความซื่อสัตย์สุจริตเป็นที่ประจักษ์
(5) ไม่มีพฤติกรรมอันเป็นการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมอย่างร้ายแรง
(6) ไม่มีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๙๘
(7) ไม่เป็นผู้ต้องคาพิพากษาให้จาคุก แม้คดีนั้นจะยังไม่ถึงที่สุดหรือมีการรอการลงโทษ เว้นแต่ในความผิด
อันได้กระทาโดยประมาท ความผิดลหุโทษ หรือความผิดฐานหมิ่นประมาท
(8) ไม่เป็นผู้เคยพ้นจากตาแหน่งเพราะเหตุกระทาการอันเป็นการต้องห้าม ตามมาตรา 186 หรือมาตรา
187 มาแล้วยังไม่ถึงสองปีนับถึงวันแต่งตั้ง
มาตรา 87 ผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง ต้องเป็นผู้ซึ่งพรรคการเมืองที่
ตนเป็นสมาชิกส่งสมัครรับเลือกตั้ง และจะสมัครรับเลือกตั้งเกินหนึ่งเขตมิได้
เมื่อมีการสมัครรับเลือกตั้งแล้ว ผู้สมัครรับเลือกตั้ง หรือพรรคการเมื องจะถอนการสมัครรับเลือกตั้ง หรือ
เปลี่ยนแปลงผู้สมัครรับเลือกตั้งได้เฉพาะกรณีผู้สมัครรับเลือกตั้งตายหรือขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้าม
และต้องกระทาก่อนปิดการรับสมัครรับเลือกตั้ง
127. พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งรัฐมนตรีอื่นอีกจานวนไม่เกิน 35 คน ตามที่บุคคลใดถวายคาแนะนา ประกอบเป็น
คณะรัฐมนตรี
ตอบ ........................................................................................................................
128. การแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีและการให้นายกรัฐมนตรีพ้นจากตาแหน่ง ให้บุคคลใด ลงนามรับสนองพระบรมราช
โองการ
1. ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ 2. ประธานสภาผู้แทนราษฎร
3. ประธานรัฐสภา 4. ประธานคณะรักษาความเรียบร้อยแห่งชาติ(คสช.)
129. คาวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญใหเปนเด็ดขาด มีผลผูกพันองค์กรใดบ้าง
ก. รัฐสภา ข. คณะรัฐมนตรี
ค. ศาล ง. องคกรอื่นของรัฐ
ง. ถูกทุกข้อ
130. ข้อใดคือหน่วยการปกครองส่วนท้องถิ่นของไทยในปัจจุบัน
ก. เทศบาล สุขาภิบาล องค์การบริหารส่วนจังหวัด องค์การบริหารส่วนตาบล กรุงเทพมหานคร
ข. เทศบาล สุขาภิบาล องค์การบริหารส่วนจังหวัด เมืองพัทยา องค์การบริหารส่วนตาบล
ค. เทศบาล องค์การบริหารส่วนจังหวัด สภาตาบล กรุงเทพมหานคร องค์การบริหารส่วนตาบล
ง. เทศบาล องค์การบริหารส่วนจังหวัด กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา องค์การบริหารส่วนตาบล
131. เทศบาลเมือง มีจานวนสมาชิกสภากี่คน
ก. 12 คน ข. 15 คน ค. 18 คน ง. 20 คน
132. ตามพระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนตาบล เขตตาบลใดที่มีหมู่บ้านเพียงหมู่บ้านหนึ่งหมู่บ้านให้มีสมาชิก
สภาองค์การบริหารส่วนตาบลกี่คน
ก. 3 คน ข. 4 คน ค. 5 คน ง. 6 คน
ข้อสอบความรู้พื้นฐานทั่วไปทางรัฐศาสตร์ 26 อ.วีระชัย บัวผัน

133. องค์กรปกครองท้องถิ่นรูปแบบใดที่เปลี่ยนแปลงฐานะเป็นเทศบาล
ก. องค์การบริหารส่วนจังหวัด ข. องค์การบริหารส่วนตาบล
ค. สุขาภิบาล ง. เมืองพัทยา
134. บุคคลใดมีอานาจในการประกาศใช้พระราชกาหนดระเบียบบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน ….
ตอบ .................................................................................................................................................
135. พระราชก าหนดระเบี ย บบริ ห ารราชการในสถานการณ์ ฉุ ก เฉิ น พ.ศ.2548 ประกาศใช้ ส มั ย ใครเป็ น
นายกรัฐมนตรี
ตอบ .................................................................................................................................................
136. ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดารงตาแหน่ง ทางการเมืองและศาลฎีกาแผนกคดีเลือ กตั้งเป็นส่วนหนึ่งของ
องค์กรใด ………...................................................................................................................................
137. Civil Disobedience เป็นกิจกรรมรวม ๆ ของการเคลื่อนไหวที่จะไม่กระทาตาม หรือ ความต้องการและ
คาสั่งของหรือผู้อยู่ในอานาจ โดยไม่มีการใช้ความรุนแรงทางกายภาพ เรียกว่า
ตอบ ....................................................................................................................................
138. หน่วยงานที่จะรับผิดชอบโดยตรงในการพิจารณาข้อสนธิสัญญาส่งผู้ร้ายข้ามแดน
ตอบ ....................................................................................................................................
139. ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 ได้จาแนกศาลไว้ตามข้อใด
ก. ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลชั้นต้น ศาลปกครอง
ข. ศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ์ ศาลฎีกา
ค. ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลยุติธรรม ศาลปกครอง ศาลทหาร
ง. ศาลฎีกา ศาลอุทธรณ์ ศาลชั้นต้น ศาลปกครอง
140. ในระบบศาลยุติธรรมและระบบศาลปกครอง ศาลจะใช้วิธีการดาเนินพิจารณาคดีแบบใด
ก. กล่าวหา, กล่าวหา ข. กล่าวหา, ไต่สวน
ค. ไต่สวน, ไต่สวน ง. ไต่สวน, กล่าวหา
141. ศาลใดต่อไปนี้มีกระบวนการพิจารณาพิพากษาเพียงชั้นเดียว
ก. ศาลรัฐธรรมนูญ ข. ศาลยุติธรรม
ค. ศาลปกครอง ง. ศาลทหาร
142. คดีเกี่ยวกับการทุจริตของนักการเมืองจะต้องขึ้นศาลใด
ก. ศาลอาญา ข. ศาลปกครอง
ค. ศาลรัฐธรรมนูญ ง. ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง
143. ข้อใดเป็นอานาจหน้าที่ของศาลรัฐธรรมนูญ
.......... ก. ควบคุมร่างกฎหมายมิให้ขัดต่อรัฐธรรมนูญ
.......... ข. วินิจฉัยข้อพิพาทเกี่ยวกับสิทธิเสรีภาพของปวงชนชาวไทย
.......... ค. พิพากษาคดีที่เป็นข้อพิพาทระหว่างหน่วยราชการกับประชาชน
.......... ง. วินิจฉัยกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับองค์กรตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ
.......... จ. พิจารณาคาร้องว่าสมาชิกรัฐสภาผู้ใดขาดสมาชิกภาพ
.......... ฉ. วินิจฉัยกรณีบุคคลหรือพรรคการเมืองล้มล้างระบอบประชาธิปไตยโดยอาจสั่งให้ยุบพรรคได้
.......... ช. พิจารณาถอดถอนคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน
ข้อสอบความรู้พื้นฐานทั่วไปทางรัฐศาสตร์ 27 อ.วีระชัย บัวผัน

144. ระบบ “ศาลคู่” ซึ่งหมายถึงศาลใด


ก. ศาลรัฐธรรมนูญและศาลยุติธรรม ข. ศาลพลเรือนและศาลทหาร
ค. ศาลยุติธรรมและศาลปกครอง ง. ศาลรัฐธรรมนูญ และศาลฎีกา
145. ประธานคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ คือ ใคร
ตอบ ....................................................................................................................................
146. “ วีรบุรุษประชาธิปไตย ” เป็นสมญานามทางการเมืองของใคร.................................................................
147. บุคคลใดเป็นผู้ให้กาเนิดคาว่า “ตุลาการภิวัฒน์”
ตอบ ...................................................................................................................................................
148. ตามประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองไทย ตาแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม มักจะเป็นทหาร แต่มี
บุคคลพลเรือนเพียง 5 ท่าน ที่ดารงตาแหน่งนี้ คือ ใคร
ก. ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช – ชวน หลีกภัย – สมัคร สุนทรเวช – สมชาย วงศ์สวัสดิ์ – ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร
ข. ชวน หลีกภัย – ทักษิณ ชินวัตร – สมัคร สุนทรเวช – สมชาย วงศ์สวัสดิ์ – ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร
ค. ทักษิณ ชินวัตร – บรรหาร ศิลปอาชา – สมัคร สุนทรเวช – สมชาย วงศ์สวัสดิ์ – ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร
ง. บรรหาร ศิลปอาชา – ชวน หลีกภัย – สมัคร สุนทรเวช – สมชาย วงศ์สวัสดิ์ – ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร
149. ประธานสภาผู้แทนราษฎร คือ ..................................................................................................................
รองประธานสภาผู้แทนราษฎร คนที่ 1 คือ ...............................................................................................
รองประธานสภาผู้แทนราษฎร คนที่ 2 คือ ...............................................................................................
150. ประธานวุฒิสภา คือ ..................................................................................................................
รองประธานวุฒิสภา คนที่ 1 คือ ...............................................................................................
รองประธานวุฒิสภา คนที่ 2 คือ ...............................................................................................
151. ด้วยตาแหน่งที่ตั้งอยู่ในบริเวณชายแดนไทย-กัมพูชา ทาให้เกิดกรณีพิพาทโต้แย้งขึ้นว่าใครจะเป็นผู้ครอบครอง
และดูแลปราสาทหินแห่งนี้ กระทั่งวันที่ 15 มิ.ย. 2505 ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ก็ตัดสิ นให้ปราสาทเขาพระ
วิหารเป็นของกัมพูชา ขอถามว่า
ในสมัยนายกรัฐมนตรีไทย คือ .................................................................................................
ในสมัยผู้นากัมพูชา คือ .................................................................................................
152. หัวหน้าคณะทนายความคดีพิพาทปราสาทเขาพระวิหารของไทย คือใคร ....
ตอบ ....................................................................................................................................
153. ระบบไพร่ ทาส ได้ยกเลิกตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5 ส่วนระบบขุนนาง อามาตย์ ได้ยกเลิกบรรดาศักดิ์ในสมัยใด
ตอบ ..................................................................................................................................
154. บุคคลที่ให้สัมภาษณ์ต่อสื่อมวลชนว่าพร้อมจะเป็น “ โซ่ข้อกลาง ” เพื่อประสานความสามัคคีของทุกฝ่าย ที่
ปัจจุบันมีความแตกแยกกัน บุคคลนั้น คือ ......
ตอบ ...................................................................................................................................
155. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 ได้มีการกาหนดมาตรฐานจริยธรรม ซึ่งบุคคลที่จะอยู่ภายใต้
มาตรฐานจริยธรรม ประกอบด้วย
1) ศาลรัฐธรรมนูญ
2) องค์ กรอิ สระ คื อ กกต. – ปปช. – ผู้ ต รวจการแผ่ นดิ น – กรรมการตรวจเงิ น แผ่ นดิ น และ
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.)
3) คณะรัฐมนตรี (ครม.)
ข้อสอบความรู้พื้นฐานทั่วไปทางรัฐศาสตร์ 28 อ.วีระชัย บัวผัน

4) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
5) สมาชิกวุฒิสภา ก็จะตกอยู่ในมาตรฐานขอบเขตจริยธรรมตาม ด้วย
ถ้าฝ่าฝืนมาตรฐานจริยธรรม คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ( ปปช.) จะเป็นผู้ไต่
สวน ส่วนคนที่จะพิพากษาว่าใครฝ่าฝืนจริยธรรมร้ายแรง คือ องค์กรใด
ตอบ ศาลฎีกา หากเป็นบุคคลที่ฝ่าฝืนมาตรฐานจริยธรรมอย่างร้ายแรง ก็จะขาดคุณสมบัติและจะต้องพ้น
จากตาแหน่ง หากศาลฎีกาชี้ขาด เรื่องละเมิดมาตรฐานจริยธรรมแล้วจะอุทธรณ์ไ ด้อีกหรือ ไม่แล้ว ไม่สามารถ
อุทธรณ์ได้
156. จากข้อ 155. หากคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริต แห่ง ชาติ ( ปปช.) ถูกด าเนินการเรื่อ ง
มาตรฐานจริ ยธรรม ก็ จะมีค ณะผู้ไ ต่สวนอิ สระที่ บุค คลใดเป็น ผู้เ เต่ ง ตั้ ง ทาหน้า ที่ไ ต่ส วนหาข้อเท็จ จริ ง เเละท า
ความเห็นนาเรื่องขึ้นสู่ศาลฎีกา
ตอบ ประธานศาลฎีกา
157. ประกาศพระบรมราชโองการให้ใช้บังคับดังเช่นกฎหมายใด
ตอบ พระราชบัญญัติ
รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันไม่ได้มอบอานาจให้พระมหากษัตริย์ทรงออกกฎหมายในรูปพระบรมราช
โองการได้ แต่ในรัฐธรรมนูญฉบับก่อนๆ ได้ให้พระราชอานาจไว้ โดยให้ออกเป็นประกาศพระบรมราชโองการ
ให้ใช้บังคับดังเช่นพระราชบัญญัติ ปกติประกาศพระบรมราชโองการ มีลักษณะคล้ายคลึงกับพระราชกาหนด
กล่าวคือ ในยามที่มีสถานะสงคราม หรือในภาวะคับขันถึงขนาดอันอาจเป็นภัยต่อความมั่นคงของชาติ และการ
ใช้อานาจนิติบัญญัติทางรัฐสภาอาจขัดข้องหรือไม่เหมาะกับสถานการณ์ รัฐธรรมนูญบางฉบับจะมีบทบัญญัติให้
คณะรัฐมนตรีนาความขึ้นกราบทูลต่อพระมหากษัตริย์ เพื่อให้พระองค์ทรงใช้อานาจโดยประกาศพระบรมราช
โองการให้ ใ ช้ บั ง คั บ ดั ง เช่ น พระราชบั ญ ญั ติ จึ ง ท าให้ ป ระกาศพระบรมราชโองการ มี ศั ก ดิ์ เ ที ย บกั บ
พระราชบัญญัติ เช่นเดียวกับพระราชกาหนด แต่ประกาศพระบรมราชโองการ ไม่เป็นกฎหมายที่ใช้ชั่วคราว
ดังเช่นพระราชกาหนด ที่จะต้องรีบให้รัฐสภาอนุมัติโดยด่วน ประกาศพระบรมราชโองการ จึงเป็นกฎหมายที่
ถาวรจนกว่าจะมีการยกเลิกโดยพระราชบัญญัติหรือกฎหมายอื่น
158. พระมหากษัตริย์ พระราชินี และพระบรมวงศานุวงศ์ ตั้งแต่ชั้นใดขึ้นไปโดยกาเนิดหรือจากการแต่งตั้ง ย่อม
ดารงอยู่เหนือการเมืองและความเป็นกลางทางการเมือง
ตอบ หม่อมเจ้า
ศาลรัฐธรรมนูญ เคยมีคาวินิจฉัยที่ 6/2543
กรณีขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยขอบเขตของการบังคับใช้เกี่ยวกับหน้าที่ของบุคคลที่จะต้องไปใช้สิทธิ
เลือกตั้ง โดยในคาวินิจฉัย มีข้อสรุปเพื่อรักษาไว้ซึ่ง สถาบันพระมหากษัตริย์ บทดัง กล่ าวไม่ใช้บัง คับกับ
พระมหากษั ตริย์ พระราชินี และพระบรมวงศานุวงศ์ ตั้ ง แต่ ชั้นหม่ อมเจ้ าขึ้น ไปโดยกาเนิดหรือจากการ
แต่งตั้ง ย่อมดารงอยู่เหนือการเมืองและความเป็นกลางทางการเมือง ไม่ใช่เป็นเรื่องของฐานันดรศักดิ์ แต่เป็น
เรื่องฐานะโดยกาเนิดไม่ว่าจะเป็นพระราชโอรสหรือพระราชธิดา
ข้อสอบความรู้พื้นฐานทั่วไปทางรัฐศาสตร์ 29 อ.วีระชัย บัวผัน

วินิจฉัยฐานะเชื้อพระวงศ์
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2475 วันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ.2475 ที่เป็นรัฐธรรมนูญ
ฉบับถาวรฉบับแรก ในมาตรา 11 ว่า
“พระบรมวงศานุวงศ์ตั้งแต่ชั้นหม่อมเจ้าขึ้นไป โดยกาเนิดหรือโดยแต่ง ตั้งก็ตาม ย่ อมดารงอยู่ในฐานะ
เหนือการเมือง”
แม้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับต่อๆ มา จะไม่ได้มีการบัญญัติเนื้อความดังกล่าวเอาไว้ก็ตาม
แต่ในทางวิชาการกฎหมายสามารถตีความได้ว่าหลักการนี้ก็ยังคงอยู่ เพราะถูกยึดถือปฏิบัติสืบเนื่องต่อๆ กันมา
ด้วยความรู้สึกว่ าเป็ นสิ่ งที่ ถูกต้ องและต้อ งปฏิ บัติตาม เป็นจารีตประเพณีในทางรัฐธรรมนู ญ อย่า งหนึ่ ง ซึ่ ง
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2560 ก็ได้รับรองไว้ในมาตรา 5 วรรคสองว่า “เมื่อไม่มีบทบัญญัติแห่ง
รัฐธรรมนูญนี้บังคับแก่กรณีใด ให้กระทาการนั้นหรือวินิจฉัยกรณีนั้นไปตามประเพณีการปกครองประเทศไทย
ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ”
159. พรรคการเมืองพรรคแรก ตามพระราชบัญญัติพรรคการเมือง พ.ศ.2498 คือ พรรคการเมืองใด ใครเป็น
หัวหน้าพรรค
ตอบ พรรคเสรีมนังคศิลา โดยมีหัวหน้าพรรค คือ จอมพล ป. พิบูลสงคราม เลขาธิการพรรคคือ พลตารวจ
เอกเผ่า ศรียานนท์ อธิบดีกรมตารวจ
พรรคทหารเกิดขึ้นเป็นครั้งแรกในการเมืองไทย ในปี 2498
หลังจากที่ใช้อานาจจากการรัฐประหารอย่างยาวนาน จอมพล ป. พิบูลสงคราม เตรียมเข้าสู่กลไกอานาจ
ต่อเนื่องผ่านการเลือกตั้ง โดยประกาศ พระราชบัญญัติพรรคการเมือง พ.ศ. 2498 ในวันที่ 28 กันยายน พ.ศ.
2498 ซึ่งถือเป็นกฎหมายพรรคการเมืองฉบับแรกของประเทศไทย
ในวั น รุ่ ง ขึ้ น ได้ มี ก ารจั ด ตั้ ง พรรคเสรี ม นั ง คศิ ล า โดยมี หั ว หน้ า พรรค คื อ จอมพล ป. พิ บู ล สงคราม
เลขาธิการพรรคคือ พลตารวจเอก เผ่า ศรียานนท์ อธิบดีกรมตารวจ และรองหัวหน้าพรรค คือ จอมพล สฤษดิ์
ธนะรัชต์ ผู้บัญชาการทหารบก และพลตรีประภาส จารุเสถียร รองแม่ทัพภาคที่ 1 โดยมีที่ทาการพรรคอยู่ที่
บ้านมนังคศิลา ใกล้ทางรถไฟยมราช
มีการเลือกตั้งทั่วไปในวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 พรรคเสรีมนังคศิลา ได้ ส.ส. จานวน 85 คน จาก
160 คน ทาให้ได้เสียงเกินกึ่งหนึ่งในการตั้งรัฐบาล แต่ก็เกิดการกล่าวหาว่าเป็นการเลือกตั้งที่สกปรก มีการใช้
อานาจรัฐในการสนับสนุนการเลือกตั้ง เช่น ใช้เครื่องบินของทางราชการโปรยใบปลิวโจมตีพรรคประชาธิปัตย์
อันเป็นพรรคคู่แข่ง และเกิดการทุจริต เช่น ในวันเลือกตั้งมีการเวียนเที ยนลงคะแนนที่เรียกว่า "พลร่ม" หรือใส่
บัตรลงคะแนนเพิ่มหลังปิดหีบที่เรียกว่า "ไพ่ไฟ" ตลอดจนใช้เวลาในการนับคะแนนนานถึง 7 วัน
ดัง นั้นในวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2500 จึง เกิดการเดินขบวนประท้วงการเลือกตั้ง สกปรก จากนิสิ ต
นัก ศึ กษา ประชาชน จนท าให้ จ อมพล ป. พิ บู ลสงคราม ต้ อ งประกาศสถานการณ์ ฉุ กเฉิ น และก่ อ ให้ เ กิ ด
วิกฤติการณ์ทางการเมืองในเวลาต่อมาจนนาไปสู่การรัฐประหารในวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2500
ข้อสอบความรู้พื้นฐานทั่วไปทางรัฐศาสตร์ 30 อ.วีระชัย บัวผัน

160. พรรคการเมื องที่ถูก มองว่ า ถูก สร้างเพื่อการสืบทอดอานาจของทหารในอดีต เกี่ยวข้องกั บสมัยใครเป็ น


นายกรัฐมนตรี
พรรค นายกรัฐมนตรี
1. พรรคเสรีมนังคศิลา 1.
2. พรรคสหภูมิ 2.
3. พรรคชาติสังคม 3.
4. พรรคสหประชาธิปไตย 4.
5. พรรคสามัคคีธรรม 5.
6. 6. พล.อ.ประยุทธ จันทร์โอชา
161. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2560 ให้อานาจแก่ประชาชนสามารถเข้ามามีส่วนร่วมทางการเมือง
โดยตรง สามารถสรุปสาระสาคัญได้ดังนี้
1) ผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่น้อยกว่า …………. คน มีสิทธิเข้าชื่อเสนอกฎหมายตามหมวด 3 สิทธิเสรีภาพของปวง
ชนชาวไทยหรือหมวด 5 หน้าที่รัฐ ทั้งนี้ตามกฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย
2) ผู้มี สิท ธิเลื อกตั้ง จานวนไม่ น้อยกว่ า ………… คน มี สิท ธิเข้ า ชื่ อร้ องขอต่ อประธานรัฐ สภาพร้ อมด้ว ย
หลักฐานพอสมควรเพื่อกล่าวหาว่ากรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติผู้ใดมีพฤติการณ์ร่ารวย
ผิดปกติ ทุจริตต่อหน้าที่ หรือจงใจปฏิบัติหน้าที่หรือใช้อานาจขัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายหรือฝ่า
ฝืนไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมอย่างร้ายแรง
3) ผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่น้อยกว่า ………… คน มีสิทธิเข้าชื่อขอแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญตามกฎหมายว่าด้วย
การเข้าชื่อเสนอกฎหมาย
162. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ในวันที่ 24 มีนาคม 2562 ถือเป็นสิทธิหรือหน้าที่
ตอบ เป็นทั้งสิทธิและหน้าที่
163. การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ในวันที่ 24 มีนาคม 2562 ใช้ระบบ “จัดสรรปันส่วนผสม” เป็นการ
เลือกตั้งครั้งที่เท่าไหร่
ตอบ ครั้งที่ 28
164. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับคุณสมบัติของผู้มีสิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
1. มีสัญชาติไทย แต่บุคคลผู้มีสัญชาติไทยโดยการแปลงสัญชาติต้องได้สัญชาติไทยมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี
2. อายุไม่ต่ากว่า 18 ปี ในวันเลือกตั้ง
3. มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในเขตเลือกตั้งมาแล้วเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 90 วัน นับถึงวันเลือกตั้ง
4. จบการศึกษาระดับปริญญาตรี
165. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะต้องห้ามของผู้มีสิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
1. เป็นภิกษุ สามเณร นักพรต หรือนักบวช
2. อยู่ในระหว่างถูกเพิกถอนสิทธิการเลือกตั้ง
3. ต้องคุมขังโดยหมายของศาลหรือโดยคาสั่งที่ชอบด้วยกฎหมาย
4. วิกลจริต จิตฟั่นเฟือน หรือไม่สมประกอบ
5. เป็นบุคคลล้มละลาย
ข้อสอบความรู้พื้นฐานทั่วไปทางรัฐศาสตร์ 31 อ.วีระชัย บัวผัน

การเลือกตั้ง 2562 จะเป็นการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) ครั้งแรกในรอบ 8 ปี นับจากปี


2554 สถิติน่ารู้ในการเลือกตั้งวันที่ 24 มีนาคม 2562
1. พรรคการเมืองมากที่สุด ……….. พรรค
2. ผู้สมัคร ส.ส. เยอะที่สุด มีสมัคร ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อที่ผ่านการรับรองของ กกต. ทั้งสิ้น 2,810
คน ซึ่งมาจาก 77 พรรคการเมือง ส่วนผู้สมัคร ส.ส. แบบแบ่งเขตที่ 81 พรรคการเมืองส่งสมัครและได้รับการ
รับรองจาก กกต. มียอดรวมกัน 10,792
3. มีเพียง 6 พรรคการเมืองที่ส่งผู้สมัคร ส.ส. แบบแบ่งเขตครบ 350 คน ประกอบด้วย
ตอบ ......................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
มีเพียง 4 พรรคการเมืองที่ส่งผู้สมัคร ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อเต็มบัญชี 150 คน ประกอบด้วย
ตอบ ......................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
4. ขอนแก่น ครองแชมป์ผู้สมัคร ส.ส. เยอะที่สุด
ในการเลือกตั้งครั้งนี้ มีเพียง 4 จังหวัด ที่จานวนยอด ส.ส. ยังเป็นตัวเลข 2 หลัก ประกอบด้วย กทม.
30 เขต, นครราชสีมา 14 เขต, ขอนแก่นและอุบลราชธานีจังหวัดละ 10 เขต เขตเลือกตั้งที่มีผู้สมัครมากที่สุด
คือ เขตเลือกตั้ง 9 และ 10 จ. ขอนแก่น มีผู้สมัคร 44 คน นอกจากนี้ในเขต 1, 2, 4 ของขอนแก่น ยังมีผู้สมัคร
42 คน ส่วนเขต 8 มี 41 คน เรียกว่ามีถึง 6 จาก 10 เขตที่มียอดผู้สมัคร ส.ส. ทะลุ 40 คน
166. คณะกรรมการการเลือกตั้งขอให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัยเพื่อมีคาสั่งยุบพรรคไทยรักษาชาติ ตาม
พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2560 มาตรา 92 ศาลรัฐธรรมนูญมีมติเป็นเอก
ฉันท์ รับคาร้องไว้พิจารณาวินิจฉัย
มติเอกฉันท์ของคณะกรรมการการเลือกตั้ง ส่งเรื่องให้ศาลรัฐธรรมนูญยุบพรรคไทยรักษาชาติในเรื่องใด
ตอบ การเสนอชื่อแคนดิเนตนายกของพรรค เข้าข่าย ผิดพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยพรรค
การเมือง มาตรา 92(2) กระทาการเป็นปฏิปักษ์ต่อการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรง
เป็นประมุข
167. พรรคไทยรักษาชาติ ถูกศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาเกี่ยวกับการยุบพรรค ในข้อกล่าวหาใด
ตอบ (1) กระทาการล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
(2) กระทาการอันอาจเป็นปรปักษ์ต่อการปกครองระบอบประชาธิปไตย
การยุบพรรคการเมืองนั้น ตาม พ.ร.ป.พรรคการเมืองได้ระบุถึงเหตุแห่งการยุบไว้ถึง 11 ประการ คือ
(1) กระทาการล้มล้างการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
(2) กระทาการอันอาจเป็นปรปักษ์ต่อการปกครองระบอบประชาธิปไตย
(3) ดาเนินกิจการที่มีลักษณะแสวงหากาไรมาแบ่งปันกัน
(4) ยอมให้บุคคลอื่นที่มิใช่สมาชิกพรรคมาควบคุม ครอบงา หรือชี้นากิจกรรมของพรรคจนขาดความเป็น
อิสระ
(5) มีการจัดตั้งสาขาพรรคและตัวแทนพรรคการเมืองประจาจังหวัดนอกราชอาณาจักร
(6) มีการไปรับบริจาคเพื่อกระทาการหรือสนับสนุนการบ่อนทาลายความมั่นคงของรัฐ ราชบัลลังก์
เศรษฐกิจ หรือราชการแผ่นดิน
ข้อสอบความรู้พื้นฐานทั่วไปทางรัฐศาสตร์ 32 อ.วีระชัย บัวผัน

(7) พรรคการเมืองไปสนับสนุนการก่อกวนหรือคุกคามความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของ
ประชาชน หรือไปทาลายทรัพยากรของประเทศ
(8) ไปยอมรับเงินหรือทรัพย์สิน โดยสัญญาว่าจะให้ตาแหน่งทางการเมืองตอบแทน
(9) ไปรับบริจาคเงิน ทั้งๆ ที่รู้ว่าเงินดังกล่าวได้มาอย่างไม่ถูกกฎหมาย
(10) ไปรับบริจาคเงิน ทรัพย์สิน จากคนที่ไม่มีสัญชาติไทย จากบริษัทหรือนิติบุคคลนอกราชอาณาจักร
(11) มีเหตุอื่นที่นาไปสู่การยุบพรรคตามที่มีกฎหมายกาหนด

ขั้นตอนแรก ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญจะประชุมพิจารณาว่าจะรับคาร้องของ กกต.ไว้พิจารณาหรือไม่


และต้องดูคาร้องของ กกต.ด้วยว่าขอให้ศาลสั่งระงับการดาเนินกิจกรรมของพรรคไทยรักษาชาติด้วยหรือไม่ ถ้า
มี ก็ต้องรอดูศาลว่าจะสั่งระงับการดาเนินกิจกรรมของพรรคตามที่ กกต.เสนอหรือไม่
ขั้น ตอนที่ 2 ถ้า ศาลรั ฐ ธรรมนู ญ รั บค าร้ องไว้ พิ จารณา ผู้ เ กี่ ยวข้ อ งในคดี นี้จ ะมี 2 ฝ่ า ย คื อ "ผู้ ร้ อ ง"
หมายถึง กกต. กับ "ผู้ถูกร้อง" หมายถึง พรรคไทยรักษาชาติ โดยศาลจะส่งสาเนาคาร้องไปให้ "ผู้ถูกร้อง" คือ
พรรคไทยรักษาชาติ คล้ายๆ ขั้นตอนการรับทราบข้อกล่าวหาในคดีอาญาทั่วไป จากนั้นฝ่าย "ผู้ถูกร้อง" คือ
พรรคไทยรักษาชาติ ต้องทาคาชี้แจงส่งมายังศาลภายใน 15 วัน
ขั้นตอนนี้สาคัญ ถ้าศาลเห็นว่ามีพยานหลักฐานเพี ยงพอที่จะวินิจฉัยได้แล้ว ก็สามารถประชุมพิจารณา
และวินิจฉัยได้ทันที นี่คือระยะเวลาสั้นที่สุดที่คดีจะจบได้ แต่หากพยานหลักฐานยังไม่เพียงพอ ก็จะข้ามไป
ขั้นตอนต่อไป
ขั้นตอนที่ 3 ศาลรัฐธรรมนูญนัดไต่สวนพยานทั้งสองฝ่าย จนกว่าศาลจะได้ข้อเท็จจริงเพียงพอกับการ
วินิจฉัย
ขั้นตอนที่ 4 นัดฟังคาวินิจฉัย (ยุบหรือไม่ยุบ) ถ้าไม่ยุบ ก็จะมีคาสั่ง "ยกคาร้อง" เรื่องก็จบ แต่ถ้ายุบ ก็จะ
"ตัดสิทธิ์สมัครรับเลือกตั้ง" (โทษนี้ต้องขีดเส้นใต้ เพราะคนละอย่างกับตัดสิทธิ์เลือกตั้ง) โดยกลุ่มคนที่จะถูกตัด
สิทธิ์สมัครรับเลือกตั้ง คือ กรรมการบริหารพรรคทั้งหมด (กรณีพรรคไทยรักษาชาติมี 17 คน)
กฎหมายไม่ได้กาหนดเวลาเพิกถอนสิทธิ์สมัครรับเลือกตั้งเอาไว้ ทาให้นักกฎหมายบางคนตีความว่าตัด
สิทธิ์ตลอดชีวิต คือ "ใบดา" แต่บางคนตีความแบบแคบว่าตัดสิทธิ์ 10 ปี เพราะการจะได้ใบดา รัฐธรรมนูญเขีย น
ไว้ชัดว่าต้องเป็นการทุจริต จึงจะเพิกถอนสิทธิ์สมัครรับเลือกตั้ง หรือตัดสิทธิ์เลือกตั้ง "ตลอดชีวิต" ไม่สามารถ
ดารงตาแหน่งทางการเมืองและกรรมการองค์กรอิสระได้ตลอดไป แต่กรณีนี้ไม่ใช่กรณีทุจริต นักกฎหมายบาง
ข้อสอบความรู้พื้นฐานทั่วไปทางรัฐศาสตร์ 33 อ.วีระชัย บัวผัน

คนจึงตีความว่าน่าจะตัดสิทธิ์ 10 ปี
ความชัดเจนในเรื่องนี้คงต้องรอฟัง คาวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ หากสั่ง ยุบพรรค ก็จะรู้ว่าตัดสิทธิ์
กรรมการบริหารพรรคกี่คน คนละกี่ปี
168. ศาลรัฐธรรมนูญจัดตั้งขึ้นครั้งแรก ตามกฎหมายใด ในปีใด
ตอบ ศาลรัฐธรรมนูญเป็นองค์กรที่จัดตั้งขึ้นครั้งแรกตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุ ทธศักราช
2540
169. ข้อใดเป็นอานาจของศาลรัฐธรรมนูญ
1. พิจารณาพิพากษายึดทรัพย์นักการเมือง
2. พิจารณาพิพากษากรณียุบพรรคการเมือง
3. วินิจฉัยการเป็นสมาชิกภาพและการสิ้นสุดสมาชิกภาพของคณะรัฐมนตรี
4. พิจารณาพิพากษาว่าการออกพระราชกาหนดของฝ่ายบริหารไม่ถูกต้องตามกฎหมาย
5. พิจารณาพิพากษาคดีถอดถอนผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง
ตอบ 2 – 3 – 4
หน้าที่ศาลรัฐธรรมนูญ
ศาลรัฐธรรมนูญเป็นองค์กรที่จัดตั้งขึ้นครั้งแรกตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540
เพื่อทาหน้าที่ในการวินิจฉัยปัญหาที่เกี่ยวกับความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมาย
หน้าที่และอานาจของศาลรัฐธรรมนูญ ตามบทบัญ ญัติรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช
2560 จาแนกออกได้เป็น 6 ด้าน คือ
ด้านที่หนึ่ง การพิจารณาวินิจฉัยความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมายหรือร่างกฎหมาย ทั้งนี้เพื่อไม่ให้
มีบทบัญญัติและกระบวนการตรากฎหมายใดขัดหรือแย้งกับรัฐธรรมนูญซึ่งเป็นกฎหมายสูงสุดในการปกครอง
ประเทศ โดยศาลรั ฐธรรมนู ญมี อานาจตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ ของกฎหมายได้ ทั้ง ก่ อนที่ ร่า ง
กฎหมายนั้น จะประกาศใช้บังคับ และภายหลังจากที่กฎหมายนั้นประกาศใช้บังคับแล้ว
ด้านที่สอง การพิจารณาวินิจฉัยชี้ขาดปัญหาเกี่ยวกับหน้าที่และอานาจของสภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา
รัฐสภา คณะรัฐมนตรี หรือองค์กรอิสระ หน้าที่และอานาจในส่วนนี้แตกต่างจากที่กาหนดไว้ในรัฐธรรมนูญฉบับ
ก่อน โดยศาลรัฐธรรมนูญมีอานาจให้คาปรึกษาข้อสงสัยเกี่ยวกับหน้าที่และอานาจขององค์ กรข้างต้นได้โดยไม่
จ าเป็ น ต้ อ งเกิ ด ข้ อ พิ พ าทระหว่ า งองค์ ก รขึ้ น เสี ย ก่ อ น อี ก ทั้ ง มี อ านาจในการวิ นิ จ ฉั ย สมาชิ ก ภาพของ
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา รัฐสภา คณะรัฐมนตรีด้วย
ด้านที่สาม การกาหนดมาตรฐานทางจริยธรรม ศาลรัฐธรรมนูญและองค์กรอิสระต้องร่วมกันกาหนด
มาตรฐานทางจริยธรรมขึ้นใช้บังคับกับตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ผู้ดารงตาแหน่งองค์กรอิสระ ผู้ว่าการตรวจเงิน
แผ่นดิน เลขาธิการสานักงานศาลรัฐธรรมนูญและองค์กรอิสระ ซึ่งในการกาหนดมาตรฐานทางจริยธรรมนี้ ให้
รับฟัง ความคิดเห็นของสภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา และคณะรัฐมนตรี ประกอบด้วย และเมื่ อมาตรฐานทาง
จริยธรรมประกาศใช้บังคับแล้ว ให้ใช้บังคับแก่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา และคณะรัฐมนตรีด้วย
ด้านที่สี่ การป้องกันและปราบปรามการทุจริต ศาลรัฐธรรมนูญ มีอานาจวินิจฉัยให้สมาชิกสภาผู้แทน
ราษฎร สมาชิกวุฒิสภา กรรมาธิการที่เสนอแปรญัตติ หรือ กระทาการใดๆ ในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ
งบประมาณรายจ่ ายประจาปีง บประมาณที่มี ผลท าให้ผู้ นั้น มีส่ว นไม่ว่ าโดยทางตรงหรื อทางอ้อมในการใช้
งบประมาณรายจ่ายสิ้นสุดสมาชิกภาพ หรือให้คณะรัฐมนตรีที่เป็นผู้อนุมัติให้กระทาการหรือรู้ว่ามีการกระทา
การ ดังกล่าวแต่ไม่ได้สั่งยับยั้งพ้นจากตาแหน่ง
ข้อสอบความรู้พื้นฐานทั่วไปทางรัฐศาสตร์ 34 อ.วีระชัย บัวผัน

ด้านที่ห้า การปกป้องคุ้มครองการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
ศาลรัฐธรรมนูญมีอานาจวินิจฉัยสั่งการให้บุคคลเลิกกระทาการใดๆ อันมีลักษณะเป็นการล้มล้างการปกครอง
ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
ด้านที่หก การปกป้องคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน ศาลรัฐธรรมนูญมีอานาจวินิจฉัยคาร้องของ
บุคคลผู้ถูกละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพที่ยื่นไว้ต่อศาลรัฐธรรมนูญเพื่อให้วินิจฉัยว่าการกระทาดังกล่าวขัดหรือแย้ง
กับรัฐธรรมนูญได้
จากอานาจหน้าที่ของศาลรัฐธรรมนูญ ที่ไ ด้กล่าวมาข้างต้นจะเห็นได้ว่า ศาลรัฐธรรมนูญ เป็นองค์กรที่มี
บทบาทสาคัญจะช่วยสร้างรากฐานการเมืองการปกครองของไทยให้มีความเข้มแข็ง มากยิ่ง ขึ้น เนื่องจากไม่
เพี ย งแต่ ท าหน้ า ที่ รั ก ษาความเป็ น กฎหมายสู ง สุ ด ของรั ฐ ธรรมนู ญ เท่ า นั้ น แต่ ยั ง ท าหน้ า ที่ ใ นการป้ อ งกั น
ปราบปรามการทุจริต และปกป้องคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนอีกด้วย
170. ข้อใดไม่ใช่คุณสมบัติของผู้สมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
1. มีสัญชาติไทยโดยการเกิด
2. มีอายุไม่น้อยกว่า 25 ปี นับถึงวันเลือกตั้ง
3. เป็นสมาชิกพรรคการเมืองเดียวติดต่อกันไม่น้อยกว่า 90 วัน นับถึงวันเลือกตั้ง
4. จบการศึกษาระดับปริญญาตรี
171. สภาผู้แทนราษฎรประกอบด้วยสมาชิกจานวนห้าร้อยคน ดังนี้
(1) สมาชิกซึ่งมาจากการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตั้งจานวนสามร้อยห้าสิบคน
(2) สมาชิกซึ่งมาจากบัญชีรายชื่อของพรรคการเมืองจานวนหนึง่ ร้อยห้าสิบคน
172. ผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง ต้องเป็นผู้ซึ่งพรรคการเมืองที่ตนเป็นสมาชิก
ส่งสมัครรับเลือกตั้ง และจะสมัครรับเลือกตั้งเกินหนึ่งเขตมิได้
173. นายสมภพ ปัจจุบันอายุ 32 ปี เป็นสมาชิกพรรคคนไทย เกิดที่ จ.สกลนคร อายุได้ 5 ขวบ บิดามารดาย้าย
ภูมิลาเนามาอยู่ที่ จ.สมุทรสาคร และนายสมภพได้เข้าศึกษาที่โรงเรียนใน จ.สมุทรสาคร ตั้งแต่ชั้นอนุบาลจนถึงชั้น
มัธยมศึกษาตอนต้น มาเรียนต่อในชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายและระดับอุดมศึกษา ที่กรุง เทพมหานคร หลัง จบ
การศึกษานายสมภพไปรับราชการที่ จ.สุพรรณบุรี เป็นเวลา 4 ปี แล้วลาออกไปประกอบอาชีพส่วนตัวที่ จ.
เชียงใหม่ พร้อมกับย้ายภูมิลาเนาไปอยู่ที่ จ.เชี ยงใหม่ หลัง จากนั้นเป็นเวลา 5 ปี นายสมภพต้องการสมัครรั บ
เลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร นายสมภพจะสมัครในจังหวัดใดได้บ้าง
ตอบ สกลนคร – สมุทรสาคร – เชียงใหม่
ส.ส. แบบแบ่งเขตเลือกตั้ง จะสมัครรับเลือกตั้งในเขตใด ต้องมีลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ด้วย
1) มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในจังหวัดที่สมัครติดต่อกันไม่น้อยกว่า 5 ปี นับถึงวันสมัครรับเลือกตั้ง
2) เกิดในจังหวัดที่สมัคร
3) เคยเรียนในจังหวัดที่สมัครไม่น้อยกว่า 5 ปีการศึกษา
4) เคยรับราชการหรือปฏิบัติหน้าที่ในหน่วยงานรัฐ / เคยมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในจังหวัดที่สมัคร
ติดต่อกันไม่น้อยกว่า 5 ปี
174. ผู้สมัครรับเลือกตั้งเป็น ส.ส. ที่จะได้เป็น ส.ส. ต้องได้รับคะแนนเสียงมากกว่าคะแนน “โหวตโน” (vote no)
ดังนั้นถ้าใครชนะเลือกตั้งเป็นอันดับ 1 แต่ได้คะแนนน้อยกว่าคะแนนโหวตโน ก็หมดสิทธิเป็น ส.ส. และต้องทา
อย่างไร
ตอบ ต้องจัดการเลือกตั้งกันใหม่ในเขตนั้น
ข้อสอบความรู้พื้นฐานทั่วไปทางรัฐศาสตร์ 35 อ.วีระชัย บัวผัน

175. ข้อใดไม่ใช่หน้าที่ของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.)


1. ออกกฎหมายเพื่อประโยชน์ของประเทศชาติและประชาชน
2. เป็นผู้เลือกบุคคลที่จะไปดารงตาแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรี
3. ควบคุมการบริหารราชการแผ่นดิน
4. จัดสรรงบประมาณแผ่นดินเพื่อพัฒนาประเทศ
5. นาปัญหาความเดือดร้อนและความต้องการของประชาชนเสนอรัฐบาล
6. ให้ความเห็นชอบบุคคลไปดารงตาแหน่งในองค์กรอิสระ
176. พล.อ.ประยุทธ จันทร์โอชา ถูกเสนอชื่อให้ชิงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี จากพรรคการเมืองใด
ตอบ พรรคพลังประชารัฐ
ได้มีการรวบรวมรายชื่อ "นายกรัฐมนตรีในบัญชี" ของพรรคการเมืองต่างๆ เพื่อประโยชน์ในการตัดสินใจ
ของผู้มีสิทธิเลือกตั้งในระบบจัดสรรปันส่วนผสม ภายใต้คาขวัญ "เลือก 1 ได้ถึง 3" คือได้ ส.ส. เขต, ส.ส. บัญชี
รายชื่อ และนายกฯ ในบัญชี
กลุ่มที่เสนอ 3 รายชื่อ มี 9 พรรค
 พรรคเพื่อไทย - คุณหญิงสุดารัตน์ เกยุราพันธุ์, นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์, นายชัยเกษม นิติสิริ
 พรรคชาติพัฒนา - นายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ, นายวรรณรัตน์ ชาญนุกูล, นายเทวัญ ลิปตพัลลภ
 พรรคประชาชาติ - นายวันมูหะมัดนอร์ มะทา, พ.ต.อ.ทวี สอดส่อง, น.ส. ณหทัย ทิวไผ่งาม
 พรรคไทยธรรม - นายอโณทัย ดวงดารา, นายภูษิต ภูปภัสศิริ, นายกิติกร วิชัยเรืองธรรม
 พรรคไทยศรีวิไลย์ - นายมงคลกิตติ์ สุขสินธารานนท์, นายณัชพล สุพัฒนะ, น.ส. ภคอร จันทรคณา
 พรรคประชาภิวัฒน์ - นายสมเกียรติ ศรลัมพ์, นางนันทนา สงฆ์ประชา, ศ. สุทธิพร จิตต์มิตรภาพ
 พรรคประชานิยม - พ.ต.อ. รวมนคร ทับทิมธงไชย, พล.ต.อ. ยงยุทธ เทพจานงค์, นายปฐมฤกษ์ มณี
เนตร
 พรรคมหาชน - นายอภิรัต ศิรินาวิน, นายพาลินี งามพริ้ง, นายสุปกิจ คชเสนี
 พรรคชาติพันธุ์ไทย - นายโกวิทย์ จิรชนานนท์ , นายพลศุภรักษ์ ศิริจันทรานนท์ , นายภราดร พรอานวย
กลุ่มที่เสนอ 2 รายชื่อ มี 6 พรรค
 พรรคพลังท้องถิ่นไทย - นายชัชวาลล์ คงอุดม, ศ. โกวิทย์ พวงงาม
 พรรคพลังไทยรักไทย - พล.อ. ธรรมรักษ์ อิศรางกูร ณ อยุธยา, นายคฑาเทพ เตชะเดชเรืองกุล
 พรรคฐานรากไทย - นายบวร ยสินทร, ว่าที่ ร.ต. ญาณวุฒิ พรหมเดชากุล
 พรรคประชากรไทย - นายสุมิตร สุนทรเวช, นายคณิศร สมมะลวน
 พรรคประชาธรรมไทย - นายพิเชษฐ สถิรชวาล, นายชัยวุฑ ตรึกครอง
 พรรคแผ่นดินธรรม - ศ. พิเศษ ร.ท. บรรจบ บรรณรุจิ, นายกรณ์ มีดี
กลุ่มที่เสนอรายชื่อเดียว มี 30 พรรค
 พรรคพลังประชารัฐ - พล.อ. ประยุทธ์ จันทร์โอชา
 พรรคประชาธิปัตย์ - นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
 พรรคภูมิใจไทย - นายอนุทิน ชาญวีรกุล
 พรรคชาติไทยพัฒนา - น.ส. กัญจนา ศิลปอาชา
 พรรคอนาคตใหม่ - นายธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจ
 พรรคเศรษฐกิจใหม่ - นายมิ่งขวัญ แสงสุวรรณ์
 พรรคเสรีรวมไทย - พล.ต.อ. เสรีพิศุทธ์ เตมียเวส
 พรรคเพื่อธรรม - นางนลินี ทวีสิน
ข้อสอบความรู้พื้นฐานทั่วไปทางรัฐศาสตร์ 36 อ.วีระชัย บัวผัน

 พรรคความหวังใหม่ - นายชิงชัย มงคลธรรม


 พรรคทางเลือกใหม่ - นายราเชน ตระกูลเวียง
 พรรคพลังชาติไทย - พล.ต. ทรงกรด ทิพย์รัตน์
 พรรคภราดรภาพ - ม.ร.ว.ดารงดิศ ดิศกุล
 พรรคสังคมประชาธิปไตยไทย - นายสมศักดิ์ โกศัยสุข
 พรรคกรีน - นายพงศา ชูแนม
 พรรคกลาง - นายชุมพล ครุฑแก้ว
 พรรคกสิกรไทย - นายทรรศชล พงษ์ภควัต
 พรรคคนงานไทย - นายธีระ เจียบุญหยก
 พรรคคนธรรมดาแห่งประเทศไทย - นายธนพร ศรียากูล
 พรรคครูไทยเพื่อประชาชน - นายปรีดา บุญเพลิง
 พรรคคลองไทย - นายสายัณห์ อินทรภักดิ์
 พรรคประชาธิปไตยใหม่ - นายสุรทิน พิจารณ์
 พรรคพลเมืองไทย - นายเอกพร รักความสุข
 พรรคพลังไทยดี - นายสาธุ อนุโมทามิ
 พรรคพลังประชาธิปไตย - นายพูลพิพัฒน์ นิลรังสี
 พรรคพลังสังคม - นายวิฑูรย์ ชลายนนาวิน
 พรรคพัฒนาประเทศไทย - นายศิลปิน หาญผดุงธรรมะ
 พรรคเพื่อคนไทย - นายวิทยา อินาลา
 พรรคเพื่อชีวิตใหม่ - นายกฤติวัฒน์ กลางชัย
 พรรคภาคีเครือข่ายไทย - น.ส. กฤษอนงค์ สุวรรณวงศ์
 พรรคสยามพัฒนา - นายอเนก พันธุรัตน์
177. ผู้อานวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร เรียกโดยย่อว่า “ผอ.รมน.” เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ
พนักงาน และลูกจ้างใน กอ.รมน. และรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของ กอ.รมน. ถามว่าใครเป็น ผอ.รมน.
ก. นายกรัฐมนตรี ข. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
ค. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ง. ผู้บัญชาการทหารสูงสุด
178. ห้ามจาหน่ายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ แก่เด็กอายุต่ากว่ากี่ปี
ก. 17 ปี ข. 18 ปี
ค. 19 ปี ง. 20 ปี
179. ประมวลกฎหมายอาญา การที่จะสามารถเปลี่ยนแปลงคาพิพากษาของศาลได้ ใน 3 กรณี ยกเว้นข้อใด
ก. การขอพระราชทานอภัยโทษ หรือ การลดโทษ ข. การนิรโทษกรรม
ค. ล้างมลทิน ง. การรอลงอาญา
180. การนิรโทษกรรมเป็นอานาจของฝ่ายใด
ก. นิติบัญญัติ ข. บริหาร
ค. ตุลาการ ง. องค์กรอิสระ
ข้อสอบความรู้พื้นฐานทั่วไปทางรัฐศาสตร์ 37 อ.วีระชัย บัวผัน

181. อดีตนายกรัฐมนตรีของไทยท่านใด เป็นคนแรกที่ได้รับการยกย่องจาก องค์การการศึก ษา วิทยาศาสตร์และ


วัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ให้เป็นบุคคลสาคัญของโลก
ก. พระยามโนปกรณ์นิติธาดา ข. ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช
ค. นายปรีดี พนมยงค์ ง. ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช
182. โครงการสร้างเขื่อนใด เป็นงานพัฒนาแหล่งน้าเพื่อการเกษตรกรรม โดยการก่อสร้างเขื่อนขนาดใหญ่ปิดกั้น
แม่น้ายมที่อาเภอสอง จังหวัดแพร่ เพื่อกักเก็บน้าในฤดูน้าหลากไว้ใช้สาหรับการเพาะปลูก อุปโภคบริโภค การ
ประปา แก่ราษฎรสองฝั่งแม่น้ายม เขตจังหวัดแพร่ จังหวัดสุโขทัยและบริเวณลุ่มน้าเจ้าพระยาตอนบน
ก. เขื่อนภูมิพล ข. เขื่อนสิริกิติ์
ค. เขื่อนนเรศวร ง. เขื่อนแก่งเสือเต้น
183. ศาลปกครองของไทยได้รับอิทธิพลและแนวความคิดในทางกฎหมายจากประเทศใดมากที่สุด …
ตอบ ........................................................................................................................
184. รางวัลข้าราชการพลเรือนดีเด่น คือ
ก. รางวัลหงส์ทองคา ข. รางวัลครุฑทองคา
ค. รางวัลสุวรรณหงส์ทองคา ง. รางวัลสิงห์ทองคา
185. เหตุการณ์ เขมร 4 ฝ่าย ตรงกับสมัยของนายกรัฐมนตรีท่านใด
ก. พลเอกชาติชาย ชุณหะวัน ข. นาย พจน์ สารสิน
ค. หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช ง. นายบรรหาร ศิลปอาชา
186. สังคมสีเขียว (GREEN SOCIETY) เป็นอีกหนึ่งแนวคิด ที่ได้มาจากปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งได้ระบุ
สาระสาคัญของแนวคิดสังคมสีเขียว นี้ ไว้ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับใด
ก. ฉบับที่ 7 ข. ฉบับที่ 8
ค. ฉบับที่ 9 ง. ฉบับที่ 10

********************************************************
ข้อสอบความรู้พื้นฐานทั่วไปทางรัฐศาสตร์ 38 อ.วีระชัย บัวผัน

แนวข้อสอบ
หลักรัฐศาสตร์ทั่วไปและการเมืองการปกครองระหว่างประเทศ
1. ใครเป็นผู้กล่าวถึง “Homo Politicus” หรือ “Man is a Political Animal” เป็นคนแรก
ก. เพลโต ข. โสเครตีส
ค. อริสโตเติล ง. รุสโซ
2. “เมื่อใดที่อานาจนิติบัญญัติและอานาจบริหารรวมอยู่ที่คนคนเดียวหรือองค์กรหรือเจ้าหน้าที่เดียว อิสรภาพย่อม
ไม่อาจมีได้เพราะจะเกิดความหวาดกลัว เนื่องจากกษัตริย์หรือสภาเดียวนั้นอาจออกกฎหมายมากดขี่ข่มเหงราษฎร
ได้” แนวคิดนี้เป็นของใคร
ก. มองเตสกิเออร์ ข. รุสโซ
ค. จอห์น ลอค ง. วอลแตร์
3. แนวความคิดในทางการเมืองเรื่องสัญญาประชาคมที่สนับสนุนแนวความคิดในเรื่องสิทธิเสรี ภาพของประชาชน
ได้แก่แนวความคิดของนักคิดในทางการเมืองท่านใด
ก. มองเตสกิเออร์ ข. รุสโซ
ค. จอห์น ลอค ง. วอลแตร์
4. “เมื่อประชาชนแต่ละคนมีส่วนสร้างเจตจานงค์ร่วมกัน การเคารพเชื่อฟังเจตจานงค์ร่วมกันจึงเท่ากับการเคารพ
เชื่อฟังตนเอง เมื่อเขาไม่ต้องเคารพเชื่อฟังผู้อื่น เขายังคงมีความเป็นอิสรเสรี” แนวความคิดนี้เป็นแนวความคิดของ
นักคิดในทางการเมืองท่านใด
ก. มองเตสกิเออร์ ข. รุสโซ
ค. จอห์น ลอค ง. วอลแตร์
5. “การบรรลุจุดมุ่งหมายหรือการได้มาซึ่งอานาจด้วยวิธีใดวิธี หนึ่งโดยไม่ต้องคานึงถึง ศีลธรรม” หรือ “The end
always justified the means” เป็นผลงานของ
ก. มาเคียเวลลี ข. เซอร์โทมัส มอร์
ค. อีรัสมัส ง. มิเกล เดอ เซอวังเตส
6. ตามความคิดของจอห์น ลอค ใครมีหน้าที่พิทักษ์สิทธิมนุษยชน
ก. ศาสนจักร ข. รัฐ
ค. รัฐบาล ง. ประชาชน
7. มองเตสกิเออ, วอลแตร์, ชองชาคส์ รุสโซ และจอห์น ล็อค มีความคิดเห็นสอดคล้องกันในเรื่องใด
ก. การแยกใช้อานาจอธิปไตย
ข. การสร้างความยุติธรรมในรัฐ
ค. การยึดมั่นในความเสมอภาคของชนชั้น
ง. การให้ความสาคัญแก่สิทธิเสรีภาพของประชาชน
8. หลักการบริหารประเทศของสหรัฐฯ ได้รับอิทธิพลจากแนวคิดใด และของใครเป็นสาคัญ
ก. มองเตสกิเออร์ ข. รุสโซ
ค. จอห์น ลอค ง. วอลแตร์
9. การร่างรัฐธรรมนูญของอเมริกาเพื่อใช้เป็นหลักในการปกครองประเทศ ที่ประชุมได้รับแนวความคิดมาจาก ใคร
ก. จอห์น ล็อค – มองเตสกิเออ ข. อดัม สมิธ – รุสโซ
ค. รุสโซ – จอห์น ล็อค ง. โทมัส ฮอบส์ – วอลแตร์
ข้อสอบความรู้พื้นฐานทั่วไปทางรัฐศาสตร์ 39 อ.วีระชัย บัวผัน

10. นักปรัชญาการเมืองตะวันตกคนใดที่แนวความคิดมีอิทธิพลต่อการปฏิวัติประเทศฝรั่งเศส ค.ศ 1789


ก. มองเตสกิเออร์ ข. รุสโซ
ค. จอห์น ลอค ง. วอลแตร์
11. ผู้ใดเป็นผู้เสนอแนวคิดที่ว่า “รัฐสภาเป็นผู้มีอานาจอธิปไตย”
ก. Niccolo Machiavelli ข. จอห์น ออสติน
ค. Mattei Dogan ง. โทมัส ฮอปป์
12. ข้อใดเป็นแนวคิดของ Auguste Comte
ก. การเปลี่ยนแปลงทางสังคมขยายจากส่วนเล็กไปส่วนใหญ่
ข. สังคมมีการเปลี่ยนแปลงเป็นขั้นตอนไปในทางที่ดี
ค. สังคมเปลี่ยนแปลงไปตามความเจริญของวัฒนธรรม
ง. กระบวนการเปลี่ยนแปลงของสังคมอยู่ในขอบเขจจากัด
13. นักสังคมวิทยายุคคลาสสิคคนใดที่เป็นผู้บุกเบิกแนวทางการศึกษาสังคมวิทยาแบบโครงสร้าง – หน้าที่นิยม
( Structural – Functionalism )
ก. ออกุสต์ ก๊องค์ ข. แม็กซ์ เวเบอร์
ค. เอมิล เดอร์ไคม์ ง. คาร์ล มาร์กซ
14. ทฤษฎีธรรมชาติมนุษย์ (Theory of man) กล่าวว่า “โดยธรรมชาติแล้ว มนุษย์นั้นโหดร้าย ทารุณ และจ้องจะ
จองล้างจองผลาญซึ่งกันและกัน เพราะมนุษย์นั้นถูกกระตุ้นจากความรู้สึกในการปกปั กรักษาตนเอง (Self –
preservation) และความกลัวการตายโหง (Fear of Violent Death) ทาให้มนุษย์ในสภาวะก่อนที่จะมีรัฐนั้น
เดียวดาย ย่าแย่ น่ารังเกียจ ป่าเถื่อน และอายุสั้น และจากตรรกะดัง กล่าวจึง นาไปสู่การที่ต้องมีองค์อธิปัตย์ที่
แข็งแรง เด็ดขาด และมีอานาจล้นพ้นเพื่อที่จะป้องปรามไม่ให้มนุ ษย์แต่ละคนทาร้ายซึ่งกันและกัน ”เจ้าของทฤษฎี
คือ
ตอบ .............................................................................................................................................................
15. ข้อใดไม่ใช่นักทฤษฎีสัญญาประชาคม (Social contract theorist)
ก. Jean Jacques Rousseau ข. homas Hobbes
ค. John Locke ง. Niccolo Machiavelli
16. ใครคือผู้เสนอนิยามของ “ความยุติธรรม” ว่าคือ “ผลประโยชน์ของผู้ที่แข็งแรงกว่า” และได้กลายเป็นคานิยาม
ที่ใช้ในการถกเถียงเป็นส่วนใหญ่ในบทสนทนาเรื่อง The Republic ของ Plato
ก. Cephalus ข. Polemachus
ค. Thracymachus ง. Socrates
17. ใครคือนักคิดในยุคส่องสว่างทางปัญญา (Enlightenment) ที่ชี้ให้เห็นว่าศิลปะและวิทยาการต่างๆ มีแต่จะทา
ให้มนุษย์ยิ่งสูญเสียความบริสุทธิ์ และเสื่อมทรามลง (Corrupted) ผ่านงานเขียนที่ชื่อว่า Discourse on the Arts
and Sciences
ก. Plato ข. Aristotle
ค. Voltaire ง. Rousseau
18. ข้อใดเรียงลาดับการแบ่งยุคตามความสัมพันธ์ทางการผลิตของมาร์กซ์ (Marx) ได้ถูกต้อง
ก. สังคมนิยม – บุพกาล – ฟิวดัล – ทาส – ทุนนิยม
ข. บุพกาล – ยุคทาส – ฟิวดัล – ทุนนิยม – สังคมนิยม
ข้อสอบความรู้พื้นฐานทั่วไปทางรัฐศาสตร์ 40 อ.วีระชัย บัวผัน

ค. บุพกาล – ฟิวดัล – ทาส – สังคมนิยม – ทุนนิยม


ง. ทาส – บุพกาล – ฟิวดัล – ทุนนิยม – สังคมนิยม
19. ข้อใดคือความหมายที่ใกล้เคียงกับลักษณะของสิ่งที่เรียกว่า Bureaucratic polity ที่ Fred W. Riggs ได้
นาเสนอเพื่อใช้ในการอธิบายลักษณะการเมืองไทยในสมัยจอมพลสฤษดิ์
ก. รัฐราชการ ข. รัฐสมบูรณาญาสิทธิ์
ค. รัฐทหาร ง. รัฐสมัยใหม่
20. แนวคิดเรื่อง โลกพระศรีอาริย์ มีความคล้ายคลึงกับแนวคิดทางการปกครองในข้อใด
ก. สังคมนิยม ข. ฟาสซิสต์
ค. UTOPIA ง. รัฐสวัสดิการ
21. ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับหลักการในฉันทามติวอชิงตัน (Washington Consensus)
ก. Privatization ข. Deregulation
ค. Liberalization ง. Securitization
22. ทฤษฎีและสังคมที่ให้สังคมเป็นศูนย์กลาง คือ
ก. ทฤษฎีให้ความสาคัญ กับสังคมเป็นบ่อเกิดอานาจทางการเมือง
ข. ทฤษฎีให้ความสาคัญกับรัฐเป็นบ่อเกิดอานาจทางการเมือง
ค. ทฤษฎีให้ความสาคัญกับรัฐและสังคมเป็นบ่อเกิดอานาจทางการเมือง
ง. ผิดทุกข้อ
23. ในการศึกษาระบบราชการเปรียบเทียบ Fred Riggs ได้เรียกระบบราชการในประเทศกาลังพัฒ นาที่มีหนึ่ง
โครงสร้างหลายหน้าที่ ทาตามประเพณีมากกว่ากฎระเบียบ กล่าวคือ เป็นการผสมผสานระหว่างรูปแบบเก่าและ
ใหม่ เต็มไปด้วยการคอร์รัปชั่นเล่นพรรคเล่นพวก และมีอานาจมากกว่าการเมืองว่าอะไร
ก. ศาลา (Sala) ข. อมาตยาธิปไตย (Bureaucratic polity)
ค. ความเป็นทางการจอมปลอม (Formalism) ง. ผิดทุกข้อ
24. ทฤษฏีและสังคมแบบใดที่มองสังคมเป็นลาดับชั้น โดยที่กลุ่มธุรกิจอยู่ที่ยอด แต่ยังถือว่ากลุ่มธุรกิจเป็นกลุ่มๆ
หนึ่ง ไม่ใช่ชนชั้นทางเศรษฐกิจ
ก. ทฤษฎีชนชั้น ข. ทฤษฎีชนชั้นนาทางการเมือง
ค. ทฤษฎีพหุนิยม ง. ทฤษฎีรัฐนิยม
25. อุดมการณ์การเมืองแบบใดเป็นความพยายามหาทางสายกลางระหว่างเสรีนิยมใหม่กับเสรีนิยมประชาธิปไตย
ก. Keynesian ข. Third way
ค. Neo-conservative ง. The New Right
26. ประเทศที่เริ่มใช้อุดมการณ์การแบบเสรีนิยมใหม่ในการพัฒนาเศรษฐกิจเป็นประเทศแรกคือประเทศใด
ก. อเมริกา ข. อังกฤษ
ค. ชิลิ ง. สวีเดน
27. แนวคิดใดเป็นส่วนหนึ่งของการจัดการปกครองแบบกลไกตลาด
ก. บรรษัท (Good Corporate Governance)
ข. ความรับผิดชอบต่อสังคมของบรรษัท (Corporate Social Responsibility)
ค. ธรรมาภิบาลในภาครัฐ
ง. ข้อ 1 และ 3 ถูก
ข้อสอบความรู้พื้นฐานทั่วไปทางรัฐศาสตร์ 41 อ.วีระชัย บัวผัน

28. Weber เห็นว่าการที่นักบริหารรับผิดชอบงานให้เกิดประสิทธิภาพจะต้องขึ้นอยู่กับการที่ผู้ใต้บังคับบัญชา


ยินยอมปฏิบัติตามคาสั่ง โดยจะต้องมีระบบบริหารมาดาเนินการ ให้คาสั่งออกมามีผลบังคับได้ ส่วนระบบบริหารที่
จะรองรับ เรียกว่าอะไร
ก. องค์การรูปนัย ข. องค์การอรูปนัย
ค. องค์การที่มีแบบแผน ง. องค์การมหาชน
29. จากแนวความคิด ผู้นาตามสถานการณ์ของ Hersey – Blanchard หากผู้ตามมีความรู้ความสามารถ แต่ไม่มี
ความเต็มใจในการทางาน ลักษณะของผู้นาควรเป็นแบบใด
ก. Telling ข. Selling
ค. Participating ง. Delegating
30. ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับ POSDCORB ตามแนวคิดการบริหารของ Luther Gulick & Lyndall Urwick
ก. Controlling ข. Budgeting
ค. Reporting ง. Staffing
31. ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับการบริหารรัฐกิจ
ก. Public policy ข. Good Governance
ค. Compulsory health Insurance ง. Workforce Diversity
32. ทฤษฎีใดสามารถแก้ไขปัญหาความขัดแย้งระหว่างทฤษฎีสายโครงสร้าง-หน้าที่นิยม กับทฤษฎีสายปฏิสัมพันธ์
สัญลักษณ์ได้ และใครเป็นคนคิด
ก. Structuration – Ulich Beck ข. Structuration – Anthony Giddens
ค. Deconstruction – Jacques Derrida ง. Deconstruction – Michel Foucault
33. ตามทฤษฎีอานาจนิยม ผู้ประกอบกิจการสื่อ คือผู้ใดต่อไปนี้
ก. รัฐหรือพรรคคอมมิวนิสต์ ข. เอกชนที่สามารถหาเงินลงทุนเปิดกิจการได้
ค. ใครก็ได้ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อสังคม ง. ผู้ใดก็ได้ที่ได้รับสิทธิบัตรและการอนุญาตจากรัฐบาล
34. สื่อมวลชนมีหน้าที่ค้นหาความจริง และตรวจสอบการทางานของรัฐถือเป็นการปฏิบัติหน้าที่ตามทฤษฎีใด
ต่อไปนี้
ก. ทฤษฎีเบ็ดเสร็จนิยม ข. ทฤษฎีอานาจนิยม
ค. ทฤษฎีเสรีนิยม ง. ทฤษฎีความรับผิดชอบทางสังคม
35. ทฤษฎีใดต่อไปนี้มักเป็นทฤษฎีการสื่อสารในประเทศโลกที่สาม
ก. ทฤษฎีเบ็ดเสร็จนิยม
ข. ทฤษฎีอานาจนิยม
ค. ทฤษฎีเสรีนิยม
ง. ทฤษฎีความรับผิดชอบทางสังคม
36. คาที่มีความหมายถึงความเป็นอัน หนึ่งอันเดียวกันในทางวัฒนธรรมมีความผูกพันกันทางสายโลหิต เผ่าพันธุ์
ภาษา ศาสนา วัฒนธรรม ตลอดจนการมีประสบการณ์ร่วมกันทางประวัติศาสตร์หรือมีวิวัฒนาการทางการเมือง
ร่วมกัน คือ
ก. ชาติ ข. รัฐ ค. เผ่าชน ง. ประเทศ
37. การดารงอยู่หรือสิ้นไปของรัฐขึ้นอยู่กับสิ่งใด
ก. ดินแดน ข. รัฐบาล ค. ประชาชน ง. อานาจอธิปไตย
ข้อสอบความรู้พื้นฐานทั่วไปทางรัฐศาสตร์ 42 อ.วีระชัย บัวผัน

38. ประชากร ของประเทศที่มีความเป็น รัฐชาติ จะต้องมีลักษณะอย่างไร


ก. มีความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
ข. มีเอกราชและอธิปไตยทางการเมืองการปกครอง
ค. อยู่ภายใต้ระบอบการเมืองการปกครองและรัฐบาลเดียวกัน
ง. มีเชื้อชาติ ศาสนา วัฒนธรรม และอยู่ในอาณาเขตเดียวกัน
39. ความหมายของ นิติรัฐ คืออะไร
ก. รัฐที่ยอมเคารพกฎหมายและถือว่ากฎหมายมีความสาคัญเหนือสิ่งอื่นใด
ข. รัฐที่ยอมเคารพกฎหมายและถือว่าผู้ใช้อานาจในกฎหมายมีอานาจเหนือสิ่งอื่นใด
ค. รัฐมีหน้าที่ออกกฎหมายและถือว่าประชาชนที่ใช้กฎหมายมีความสาคัญเหนือสิ่งอื่นใด
ง. รัฐมีหน้าที่ออกกฎหมายและถือว่าผู้ใช้อานาจในกฎหมายมีอานาจเหนือสิ่งอื่นใด
40. วิชาชีพรัฐศาสตร์เกี่ยวข้องโดยตรงกับการใช้อานาจในการปกครอง-บริหารซึ่งหากปราศจากเสียซึ่งหลักการแล้ว
การปกครอง-บริหารนั้นก็จะเป็นไปตามอาเภอใจ และเนื่องจากการปกครองการบริหารเป็นเรื่องของการใช้อานาจ
รัฐต่อประชาชน การใช้อานาจนั้นจะต้องเป็นไปอย่างมีเงื่อนไข และเงื่อนไขที่สาคัญที่สุดคือหลักการอะไร
ก. หลักนิติธรรม ( Rule of law ) ข. หลักยุติธรรม
ค. หลักเสมอภาค ง. หลักภราดรภาพ
41. รัฐธรรมนูญลายลักษณ์อักษรที่เป็นแม่แบบรัฐธรรมนูญประชาธิปไตยซึ่งประเทศประชาธิปไตยถือเป็นตัวอย่าง
ในการร่างรัฐธรรมนูญได้แก่รัฐธรรมนูญของประเทศอะไร
ก. อังกฤษ ข. ฝรั่งเศส ค. สหรัฐอเมริกา ง. กรีก
42. สภาขุนนาง หรือสภาสูง (House of Lords) ของอัง กฤษประกอบไปด้วยสมาชิก 3 ประเภท ข้อใดไม่ใช่
ประเภทของสมาชิกในสภาสูงดังกล่าว
ก. สมาชิกซึ่งรับจากการสืบสายโลหิต (heredity peers)
ข. ผู้นาทางศาสนา (bichops of the church of England or Lords Spiritual)
ค. สมาชิกซึ่งมาจากการแต่งตั้ง (life peers)
ง. สมาชิกที่มาจากการเลือกตั้ง (Electoral peers)
43. รัฐสภาของอังกฤษเข้าควบคุมอานาจการปกครองแทนกษัตริย์เป็นผลจากเหตุการณ์ในข้อใด
ก. กฎบัตร Magna Carta ข. การปฏิวัติอันรุ่งโรจน์
ค. คาประกาศอิสรภาพ ง. ยุคแห่งความหวาดกลัวโดยพวกจาโคแบง
44. กฎหมายที่กาหนดกฎเกณฑ์ในการปกครองประเทศและการใช้อานาจอธิปไตยเรียกว่า
ก. รัฐธรรมนูญ ข. กฎมณเฑียรบาล
ค. ประมวลกฎหมาย ง. กฎหมายแม่บท
45. การกาหนดโครงสร้างในการผลิตอันเป็นพื้นฐานทางสังคม ให้เครื่องมือในการผลิตเป็นของส่วนรวมเป็นระบอบ
การปกครองใด
ก. เผด็จการ ข. สมบูรณาญาสิทธิราชย์
ค. สังคมนิยม ง. อนาธิปไตย
46. รัฐธรรมนูญของประเทศเผด็จการสังคมนิยมมีลักษณะสาคัญอย่างไร
ก. การรวมอานาจการปกครองไว้ที่ประชาชน
ข. การรวมอานาจการปกครองไว้ที่ศูนย์กลางอานาจ
ข้อสอบความรู้พื้นฐานทั่วไปทางรัฐศาสตร์ 43 อ.วีระชัย บัวผัน

ค. การรวมอานาจการปกครองไว้ที่บทบัญญัติแห่งกฎหมาย
ง. การรวมอานาจการปกครองไว้ที่องค์อิสระที่ใช้อานาจ
47. รัฐสภามีอานาจหน้าที่ในการจัดทากฎหมายในกรณีใด
ก. รัฐธรรมนูญ ข. กฎหมายแม่บท
ค. ประมวลกฎหมาย ง. ถูกทุกข้อ
48. กลุ่มผลประโยชน์ควบคุมการใช้อานาจของเจ้าหน้าที่ของรัฐด้วยวิธีการอย่างไร
ก. การแสดงพลังเพื่อบีบบังคับให้รัฐปฎิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามความต้องการของกลุ่ม
ข. การแสดงพลังเพื่อเรียกร้องให้ประชาชนดาเนินชีวิตให้เป็นไปตามความต้องการของกลุ่ม
ค. การแสดงพลังและก่อความรุนแรงเพื่อให้ทุกคนปฏิบัติให้เป็นไปตามความต้องการของกลุ่ม
ง. การแสดงพลังเพื่อเรียกร้องให้ออกกฎหมายให้เป็นไปตามความต้องการของกลุ่ม
49. กลุ่มผลประโยชน์เป็นการรวมกลุ่มของบุคคลที่มีวัตถุประสงค์แตกต่างจากพรรคการเมืองในประเด็นใด
ก. รักษาผลประโยชน์ ข. มีส่วนร่วมในอานาจ
ค. แสวงหาอานาจทางการเมือง ง. เข้าไปจัดตั้งรัฐบาล
50. บ่อเกิดของแนวความคิดในการจัดตั้งศาลปกครองเนื่องมาจากหลักการใด
ก. หลักการรักษาดุลอานาจของศาล ข. หลักการรักษาดุลอานาจของประชาชน
ค. หลักการรักษาดุลอานาจของฝ่ายบริหาร ง. หลักการรักษาดุลอานาจของฝ่ายนิติบัญญัติ
51. การประชุมร่วมกันเพื่อทาสนธิสัญญาสันติภาพที่เกิดขึ้นครั้งแรกในยุโรปใน ค.ศ. 1648 นั้นเป็นการประชุม ณ
ที่ใด และเพื่อยุติปัญหาความขัดแย้งเรื่องใด
ก. ที่แวร์ซายส์ เพื่อยุติปัญหาการเมือง ข. ที่ปารีส เพื่อยุติปัญหาเศรษฐกิจ
ค. ที่เวสต์ฟาเลีย เพื่อยุติปัญหาศาสนา ง. ที่เวียนนา เพื่อยุติปัญหาฝรั่งเศสเป็นใหญ่ในยุโรป
52. รัฐสมัยใหม่ (Modern State) เกิดขึ้นจากเหตุการณ์ใด
ก. การกาเนิดจักรวรรดิโรมัน ข. การกาเนิดอาณาจักรกรีก
ค. สนธิสัญญา Westphalia ง. การกาเนิดของสหประชาชาติ
53. เพราะเหตุใดจึงกล่าวว่า แมกนา คาร์ตา เป็นรัฐธรรมนูญฉบับแรกของโลก
ก. เพราะระบุถึงสิทธิขั้นพื้นฐานของมนุษย์ ข. เพราะระบุถึงสิทธิและเสรีภาพของประชาชน
ค. เพราะระบุถึงกลไกในการปกครองประเทศ ง. เพราะระบุถึงอานาจอธิปไตยที่มาจากมวลชน
54. เหตุการณ์ใดเป็นต้นเหตุสาคัญที่ทาให้เกิดการปฏิวัติของชนชั้นกลางในยุโรป
ก. การปฏิวัติใน 13 รัฐอาณานิคม ข. สงครามสามสิบปี
ค. การปฏิวัติฝรั่งเศส ง. สงครามครูเสด
55. คาขวัญใดของการปฏิวัติฝรั่งเศสที่สะท้อนถึงสาเหตุของการปฏิวัติฝรั่งเศส
ก. สิทธิมนุษยชนโดยธรรมชาติ ข. อิสรภาพ เสมอภาค ภราดรภาพ
ค. ระบอบเก่าจงเจริญ ง. อิสรเสรีเหนือสิ่งอื่นใด
56. สหรัฐอเมริกามีวิธีการใดในการสกัดกั้นการขยายตัวของรัสเซียหรือฝ่ายคอมมิวนิสต์
ก. ใช้วิธีการทหารและเศรษฐกิจ ข. ใช้นโยบายอยู่โดดเดี่ยวโซเวียตรัสเซีย
ค. วิธีการบัพพาชนียกรรมจากสหประชาชาติ ง. ผ่อนคลายความตึงเครียดกับรัสเซีย
ข้อสอบความรู้พื้นฐานทั่วไปทางรัฐศาสตร์ 44 อ.วีระชัย บัวผัน

57. ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับการล่มสลายของสหภาพโซเวียต และการยุติของสงครามเย็น


ก. การพังทลายกาแพงเบอร์ลิน
ข. การใช้นโยบายเปิด – ปรับ ของ มิฮาอิล กอร์บาชอฟ
ค. การหันสู่ระบอบประชาธิปไตยของประเทศยุโรปตะวันออก
ง. การใช้หลักการอยู่ร่วมกันโดยสันติของนีกีตา ครุชชอฟ
58. สาเหตุสาคัญที่นาไปสู่ความขัดแย้งระหว่างสหรัฐอเมริกากับโซเวียตรัสเซียในช่วงการเกิดวิกฤติการณ์สงคราม
เย็น (ค.ศ. 1945 – 1991) คือ
ก. ความขัดแย้งในเรื่องการแข่งขันกันสร้างอาวุธและการแข่งขันกันทางด้านอวกาศ
ข. ประเทศทั้งสองต่างก็มีอาวุธปรมาณูไว้ในครอบครอง
ค. สหรัฐอเมริกายกเลิกการใช้ความช่วยเหลือตามกฎหมายการเช่ายืมที่เคยให้แก่โซเวียตรัสเซีย
ง. โซเวียตรัสเซียไม่ยอมถอนกองทัพออกจากเขตยึดครองในยุโรปตะวันออกและเปลี่ยนแปลงการปกครอง
ประเทศเหล่านั้นไปสู่ระบอบคอมมิวนิสต์
59. ข้อใดคือปัญหาอุปสรรคขององค์การสหประชาชาติในการรักษาสันติภาพโลกในปัจจุบัน
ก. สหรัฐอเมริกามีบทบาทมากขึ้นในการดาเนินงานเพื่อรักษาสันติภาพของโลก
ข. ความร่วมมือและความช่วยเหลือจากประเทศสมาชิกที่มีฐานะมั่นคงลดน้อยลง
ค. องค์การระหว่างประเทศในภูมิภาคต่าง ๆ มีบทบาทมากขึ้ นในการประสานความร่วมมือระหว่าง
ประเทศเพื่อรักษาสันติภาพ
ง. ขอบข่ายการดาเนินงานรักษาสันติภาพขององค์การสหประชาชาติกว้างขวางและมีปริมาณงานเพิ่มมาก
ขึ้น
60. จงจับคู่ เหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกัน
........ 1. Civil war a. การสังหารชาวยิวจานวนมากของนาซีเยอรมัน
........ 2. Holocaust b. สงครามเวียดนาม
........ 3. Reprisals c. โปรตุเกสให้เอกราชแก่แองโกลและโมซัมเบิก
........ 4. Guerrilla warfare d. คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ ได้ทาการ
คว่าบาตรอิรัก จากกรณีการรุกรานคูเวตของอิรัก
61. จับคู่เหตุการณ์ต่อไปนี้กับประธานาธิบดีของสหรัฐอเมริกา ให้ถูกต้อง
........ 1. คดี WATERGATE a. JOHN F. KENEDY
........ 2. วิกฤตการณ์คิวบา b. RONALD REAGAN
........ 3. โครงการ STAR WARS c. RICHARD M.NIXON
62. พรรค PAP (People s Action Party) หรือพรรคกิจประชา เป็นพรรคการเมืองที่ครองอานาจมาตั้งแต่เริ่ม
ก่อตั้งประเทศ ถามว่า เป็นพรรคการเมืองของประเทศใด
ก. สิงคโปร์ ข. ฟิลิปปินส์ ค. เวียตนาม ง. กัมพูชา
63. “Ask not what your country can do for you. Ask what you can do for your country.” เป็นคา
กล่าวของใคร และกล่าวในวาระใด
ก. ลินคอร์น – วาระตอนเข้ารับตาแหน่ง
ข. จอห์น เอฟ เคเนดี้ – วาระตอนเข้ารับตาแหน่ง
ค. ลินคอร์น – วาระตอนได้รับการเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดี
ง. จอห์น เอฟ เคเนดี้ – วาระตอนได้รับการเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดี
ข้อสอบความรู้พื้นฐานทั่วไปทางรัฐศาสตร์ 45 อ.วีระชัย บัวผัน

64. การปฏิวัติใหญ่ในประเทศฝรั่งเศสเกิดในปีใด ตรงกับรัชกาลใดของไทย


ก. ค.ศ. 1789 – รัชกาลที่ 1 ข. ค.ศ. 1789 – รัชกาลที่ 2
ค. ค.ศ. 1789 – รัชกาลที่ 3 ง. ค.ศ. 1789 – รัชกาลที่ 4
65. การปฏิ วั ติ เ พื่ อ เอกราชของสหรั ฐ อเมริ ก าจากการเป็ น อาณานิ ค มของอั ง กฤษเกิ ด ในปี ใ ด และตรงกั บ
พระมหากษัตริย์ของไทย คือใคร
ก. ค.ศ. 1776 – รัชกาลที่ 1 ข. ค.ศ. 1776 – รัชกาลพระเจ้ากรุงธนบุรี
ค. ค.ศ. 1788 – รัชกาลที่ 1 ง. ค.ศ. 1798 – รัชกาลที่ 2
66. การปฏิวัติในประเทศสหภาพโซเวียตโดยการเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบบสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ในปีใด
และตรงกับพระมหากษัตริย์ของไทย คือใคร
ก. ค.ศ. 1917 – รัชกาลที่ 5 ข. ค.ศ. 1917 – รัชกาลที่ 6
ค. ค.ศ. 1927 – รัชกาลที่ 7 ง. ค.ศ. 1937 – รัชกาลที่ 8
67. การปฏิวัติใ นจีน โดยการเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบบสั ง คมนิยมคอมมิ วนิ สต์ ในปี ใด และตรงกั บ
พระมหากษัตริย์ของไทย คือใคร
ก. ค.ศ. 1917 – รัชกาลที่ 5 ข. ค.ศ. 1917 – รัชกาลที่ 6
ค. ค.ศ. 1949 – รัชกาลที่ 8 ง. ค.ศ. 1949 – รัชกาลที่ 9
68. เลขาธิการสหประชาชาติคนแรก
ก. Dag Hammarskjöld ข. Trygve Lie
ค. Javier Pérez de Cuéllar ง. Kurt Waldheim
69. เลขาธิการสหประชาชาติคนปัจจุบัน ชื่อ
ตอบ ..........................................................................................
70. ตาแหน่งเลขาธิการใหญ่องค์การสหประชาชาติ (United Nations Secretary-General; UNSG) นั้นจะมีวาระ
การดารงตาแหน่งคราวละ ........... ปี
ก. 3 ปี ข. 5 ปี
ค. 6 ปี ง. 7 ปี
71. บิดาผู้ก่อตั้ง (Founder) สหรัฐอเมริกาและเป็นประธานาธิบดีคนแรก คือ
ก. อับราฮัม ลินคอร์น ข. โทมัส เจฟเฟอร์สัน
ค. จอร์จ วอชิงตัน ง. วูดโรว์ วิลสัน
72. “บิดาผู้สถาปนาอินเดียยุคใหม่”(Bapu) คือ
ก. มหาตมา คานธี (Mahatma Gandhi)
ข. เยาวหราล เนรูห์ (Jawaharlal Nehru)
ค. อินทิรา ปรียาทาสินี คานธี (Indira Priyadarsini Gandhi)
ง. ราจิฟ รัตนา คานธี (Rajiv Ratna Gandhi)
73. นายกรัฐมนตรีคนแรกของอินเดีย คือ
ก. มหาตมา คานธี (Mahatma Gandhi)
ข. เยาวหราล เนรูห์ (Jawaharlal Nehru)
ค. อินทิรา ปรียาทาสินี คานธี (Indira Priyadarsini Gandhi)
ง. ราจิฟ รัตนา คานธี (Rajiv Ratna Gandhi)
ข้อสอบความรู้พื้นฐานทั่วไปทางรัฐศาสตร์ 46 อ.วีระชัย บัวผัน

74. รัฐบุรุษผู้สามารถรวบรวมเยอรมันเข้าด้วยกันเป็นประเทศในศตวรรษที่ 19 คือ..


ก. ออทโท ฟอน บิสมาร์ค ข. เลโอ ฟอน คาพรีวี
ค. แบร์นฮาร์ด ฟอน บือโลว์ ง. อดอร์ฟ ฮิตเลอร์
75. นายกรัฐมนตรีหญิงคนแรกของโลก คือ
ก. อินทิรา คานธี ข. นางสิริมาโว บันดาราไนยาเก
ค. จันทริกา กุมาระตุงคะ ง. นางมาร์กาแรต แธตเชอร์
76. นายกรัฐมนตรีคนที่สองของโลกก็เป็นชาวเอเชียเช่นกัน และโลกก็รู้จักกับเธอเป็นอย่างดี คือ
ตอบ ....................................... แห่งประเทศอินเดีย เป็นอดีตนายกรัฐมนตรีถึง 2 สมัย และถูกคนร้ายลอบ
สังหารชีวิตและเป็นข่าวโด่งดังเป็นทั่วโลก
77. ประธานาธิบดีหรือผู้นาหญิงคนแรก (ให้จับคู่ความสัมพันธ์)
...... ทวีปเอเชีย ก. นางเฮเลน คาร์ก
...... ทวีปยุโรป ข. นางเอลเลน จอห์นสัน เซอร์ลีฟ
...... ทวีปอเมริกาใต้ ค. นางสิริมาโว บันดารานัยเก
...... ทวีปแอฟริกา ง. นางไวโอเลตต้า ซามอร์โร
...... ทวีปออสเตรเลีย จ. นางมาร์กาเร็ต แธตเชอร์
78. รางวัลโนเบล มีหลายสาขา ถามว่าสาขาใดไม่มี
ก. ฟิสิกส์ ข. สันติภาพ
ค. วรรณกรรม ง. เคมี
จ. เศรษฐศาสตร์ ฉ. การเมือง
79. ผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ ประจาปี 2019 คือ
ตอบ ..............................................................................................................................................................
80. Air Force 1 เป็นเครื่องบินประจาตาแหน่งของใคร
ก. ประธานาธิบดีฝรั่งเศส ข. นายกรัฐมนตรีอังกฤษ
ค. ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ง. เลขาธิการองค์การสหประชาชาติ
81. คนเชื้อสายมาเลย์หรือเชื้อสายอื่นๆ ที่เป็น มุสลิมที่มีถิ่นฐานดั้งเดิมอยู่ในอาณาเขตของประเทศมาเลเซีย ใน
ปัจจุบัน เรียกว่า
ก. ทมิฬ ข. สิงหล ค. ภูมิบุตร ง. ฮินดู
82. ผู้ที่เปรียบเทียบว่า แมกนาคาร์ต้ากับศิลาจารึก เป็นรัฐธรรมนูญฉบับแรก คือ
ก. ยอร์ช เซเดร์ ข. อับราฮัม ลินคอร์น
ค. ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช ง. กรมพระยาดารงราชานุภาพ
83. รางวัลแม็กไซไซ ถือกาเนิดที่ประเทศ
ก. สวีเดน ข. สหรัฐอเมริกา ค. นอรเวย์ ง. ฟิลิปปินส์
84. อ็อมบุดสแมน(Ombudsman) ถือกาเนิดที่ประเทศใด
ก. สวีเดน ข. สหรัฐอเมริกา ค. นอรเวย์ ง. อังกฤษ
85. “แมวสีอะไรไม่สาคัญ ขอให้จับหนูให้ได้” เป็นแนวคิดทางการเมืองของใคร
ก. เหมา เจ๋อ ตุง ข. โจว เอิน ไหล
ค. เติ้ง เสี่ยว ผิง ง. จ้าว จื่อ หยาง
ข้อสอบความรู้พื้นฐานทั่วไปทางรัฐศาสตร์ 47 อ.วีระชัย บัวผัน

86. ผู้นาจีนคนใดที่ประกาศใช้นโยบาย 4 ทันสมัย


ก. เหมาเจ๋อตุง ข. เติ้งเสี่ยวผิง
ค. ซุนยัตเซ็น ง. เจียงไคเช็ค
87. นายสี เจิ้น ผิง ดารงตาแหน่งเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์คนใหม่และเข้ารับตาแหน่งประธานาธิบดีอย่างเป็น
ทางการ นับเป็นผู้นารุ่นที่ 5 ของจีนต่อจาก
1) ............................................................................................................................................
2) ............................................................................................................................................
3) ............................................................................................................................................
4) ............................................................................................................................................
88. กองกาลังใดที่มีอานาจที่สุดในอัฟกานิสถานที่เป็นปฎิปักษ์ต่อรัฐบาลและชาติมหาอานาจ
ก. PLO ข. ตาลีบัน
ค. ฟาลินติน ง. มุญญาฮีดีน
89. ตาลีบันมีรายได้หลักจุนเจือเพื่อปฏิบัติการก่อการร้าย คือ รายได้จาก ...
ก. การค้ายาเสพติด ข. การค้าสินค้าหนีภาษี
ค. การค้าอาวุธ ง. การเรียกค่าคุ้มครอง
90. กองกาลังใดที่ส่งเครื่องโดรน(เครื่องบินไร้พลขับ) หลายลาเข้าโจมตีโรงกลั่นน้ามันประเทศซาอุดิอาระเบีย
ตอบ …………………………………………………………………
91. “ZOPFAN” ย่อมาจากอะไร
ก. Zone of Peace , Freedom and Neutrality
ข. Zone of Priority , Friendship and Neutrality
ค. Zone of Peace , Freedom and New World
ง. Zone of Petroleum , Fossil and Nitrogen
92. “สามเหลี่ยมเศรษฐกิจ” หมายถึงความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศใดบ้าง
ก. ไทย – อินเดีย – ศรีลังกา ข. ไทย – พม่า – ลาว
ค. ไทย – กัมพูชา – ลาว ง. ไทย – มาเลเซีย – อินโดนีเซีย
93. “สี่เหลี่ยมเศรษฐกิจ” หมายถึงความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศใดบ้าง
ก. ไทย – พม่า – อินเดีย – ศรีลังกา ข. ไทย – พม่า – ลาว – จีน
ค. ไทย – กัมพูชา – ลาว – เวียดนาม ง. ไทย – มาเลเซีย – สิงคโปร์ – อินโดนีเซีย
94. “หกเหลี่ยมเศรษฐกิจ” หมายถึง ความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศใดบ้าง
ก. ไทย – พม่า – อินเดีย – ศรีลังกา – จีน – ลาว
ข. ไทย – พม่า – ลาว – จีน – กัมพูชา – เวียตนาม
ค. ไทย – กัมพูชา – ลาว – เวียดนาม – อินเดีย – จีน
ง. ไทย – อินเดีย – สิงคโปร์ – เนปาล – จีน – ลาว
95. เจ็ดเหลี่ยมเศรษฐกิจ เป็นโครงการร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศใดต่อไปนี้
ก. ไทย อินเดีย มาเลเซีย ศรีลังกา บังคลาเทศ เนปาล ภูฏาน
ข. ไทย พม่า อินเดีย ศรีลังกา บังคลาเทศ เนปาล ภูฏาน
ค. ไทย จีน พม่า ลาว กัมพูชา เนปาล ภูฏาน
ง. ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย พม่า สิงคโปร์ เนปาล ภูฏาน
ข้อสอบความรู้พื้นฐานทั่วไปทางรัฐศาสตร์ 48 อ.วีระชัย บัวผัน

*** ปัจจุบัน เรียกว่า กรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจ 7 ประเทศ (BIMSTEC) ได้ร่วมมือทางเศรษฐกิจ


ที่สาคัญใน 6 ด้าน คือ การค้าการลงทุน การท่องเที่ยว การคมนาคมขนส่ง เทคโนโลยี การพลังงาน การประมง **

96. นโยบาย Look East และนโยบาย Look West เกี่ยวข้องกับประเทศใด และตามข้อตกลงใด


ตอบ .....................................................................................................................................................
97. ผู้นาคนใดของสหรัฐอเมริกาที่เสนอแนวทางการจัดตั้งองค์การสันนิบาตชาติ
ก. แฟรงคลิน ดี รุสเวลท์ ข. วุดโร วิลสัน
ข. โรนัลด์ เรแกน ง. จิมมี่ คาร์เตอร์
98. หลัง สงครามโลกครั้งที่ 2 ในสมัยประธานาธิบดี เฮนรี ทรูแมน สหรัฐอเมริกาเข้าไปมีบทบาทในยุ โรปโดย
นโยบายใด
ก. Marshall Plan ข. Miyazawa Plan
ค. Sunshine Policy ง. Paris Plan
99. สงคราม 30 ปี เป็นสงครามที่ยาวนานที่สุดครั้งหนึ่งของยุโรปในช่วง ปี ค.ศ.1618 – 1648 มีสาเหตุความ
ขัดแย้งทางด้านใด
ก. ศาสนา – ระหว่างโปรแตสแตนท์และโรมันคาทอลิก
ข. การเมือง – การแย่งชิงความเป็นใหญ่ ครอบครองดินแดนระหว่างฝรั่งเศสและสเปน
ค. เศรษฐกิจ – การละเมิดข้อตกลงทางการค้าระหว่างเยอรมนีและรัสเซีย
ง. อุดมการณ์ – ระหว่างฝ่ายอนุรักษ์นิยมและเสรีนิยม
100. หลักนิยมมอนโรว์ (Monroe Doctrine) โดยประธานาธิบดี เจมส์ มอนโรว์ ของสหรัฐฯ มีแนวคิดหลักอย่างไร
ก. ให้เงินช่วยเหลือแก่ประเทศที่เศรษฐกิจกาลังหายนะในรูปเงินกู้เพื่อป้องกันภัยคอมมิวนิสต์
ข. พร้อมทาสงครามชิงตัดหน้าก่อนถูกโจมตีต่อเป้าหมายใดๆ ที่สหรัฐฯ เล็งเห็นว่าเป็นภัยต่อความมั่นคง
ค. ผ่อนคลายความตึงเครียดระหว่างสหรัฐฯและโซเวียต
ง. การเป็นประเทศฝ่ายเดียวและโดดเดี่ยวตัวเองจากการแทรกแซงโดยมหาอานาจยุโรป
101. ข้อใดไม่ใช่สาเหตุของการปฎิวัติรัสเซีย
ก. ความพ่ายแพ้ในสงครามโลกครั้งที่ 1 ข. สภาพเศรษฐกิจและสังคมที่ย่าแย่
ค. ความล้มเหลวในการบริหารประเทศ ง. การเรียกร้องของสาธารณรัฐต่างๆ ภายในประเทศ
102. การให้ความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนาผ่านทางการค้าในรูปแบบของการให้สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากร คือ
ก. Generalized System of Preferences (GSP)
ข. General Agreement on Trade and Tariff (GATT)
ค. Free Trade Agreement (FTA)
ง. Mutual Recognition Arrangement (MRA)
103. ประเทศใดไม่มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขของประเทศ
ก. สวีเดน ข. เนปาล ค. สเปน ง. บรูไน
104. องค์กรใดมิใช่ทบวงชานาญการพิเศษของสหประชาชาติ
ก. International Monetary Fund
ข. World Tourism Organization
ค. International Committee of the Red Cross
ง. World Meteorological Organization
ข้อสอบความรู้พื้นฐานทั่วไปทางรัฐศาสตร์ 49 อ.วีระชัย บัวผัน

105. ดินแดนอาเจะห์ (Aceh) หมายถึง


ก. เขตพัฒาร่วมกันระหว่างติมอร์เลสเต้กับอินโดนีเซีย
ข. เขตความขัดแย้งในเกาะสุมาตราของอินโดนีเซีย
ค. เขตมุสลิมปกครองตนเองทางตอนใต้ของฟิลิปปินส์
ง. เขตความขัดแย้งงระหว่างรัฐบาลศรีลังกากับกลุ่มกบฎทมิฬ
106. การขึ้นทะเบียนสถานที่สาคัญเป็นมรดกโลก จะต้องดาเนินการกับองค์การะหว่างประเทศใด
ก. ESCAP ข. UNESCO
ค. World Cultural Heritage Organization ง. WWF
107. ศาลเจ้าญี่ปุ่นที่เป็นสาเหตุปัญหาความขัดแย้งระหว่าง จีน-เกาหลีใต้และญี่ปุ่น มีชื่อว่า
ก. ศาลเจ้าโคอิซูมิ ข. ศาลเจ้ายาสุกุนิ
ค. ศาลเจ้ายาซึโนฮาระ ง. ศาลเจ้าทาคาโนะ
108. สหรัฐอเมริกาเรียกประเทศใดในเอเชียว่าเป็น Rogue state
ก. พม่า ข. เกาหลีเหนือ
ค. อินโดนีเซีย ง. กัมพูชา
109. มหาวิทยาลัยแห่งแรกของโลกที่เปิดสอนวิชาการเมืองระหว่างประเทศคือ (International Politics)
ก. Oxford University ข. Cambridge University
ค. Aberystwyth University ง. John Hopkins University
110. King Abdullah Economic City (KAEC) อยู่ประเทศใด
ก. จอร์แดน ข. คูเวต ค. โอมาน ง. ซาอุดิอาระเบีย
111. อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ได้นาหลักการใดในทางเศรษฐศาสตร์มาใช้ในการกู้วิกฤตเศรษฐกิจของเยอรมันภายหลัง
สงครามโลกครั้งที่ 1
ก. หลักจุลเศรษฐศาสตร์ ของ อดัม สมิธ (Adam smith)
ข. หลักจุลเศรษฐศาสตร์ ของ เจอเรอมี เบนเทม (Jeremy Bentham)
ค. หลักมหเศรษฐศาสตร์ ของ จอร์น เมย์นาร์ด เคนส์ (John Maynard Keynes)
ง. หลักมหเศรษฐศาสตร์ ของ มิลตัน ฟรายด์แมน (Milton Friedman)
112. ข้อใดต่อไปนี้ ไม่สัมพันธ์กันในแง่ของประวัตศิ าสตร์การเมือง (การเป็นเมืองขึ้นมาก่อน)
ก. มาเลเซีย สิงคโปร์ บรูไน ข. พม่า อินเดีย ปากีสถาน
ค. อินโดนีเซีย สิงคโปร์ มาเลเซีย ง. เวียตนาม กัมพูชา ลาว
113. ประเทศใด ไม่ใช่สมาชิก SAARC
ก. บังกลาเทศ ข. ภูฏาน
ค. เนปาล ง. อัฟกานิสถาน
114. นโยบายต่างประเทศของสหรัฐอเมริกาในข้อใด ที่ส่ง ผลกระทบต่อโลกตะวันออกมากที่สุด หลังจากสมัย
ประธานาธิบดี จิมมี่ คาร์เตอร์
ก. การต่อต้านลัทธิก่อการร้าย ข. สิทธิมนุษยชนและทรัพย์สินทางปัญญา
ค. การค้าเสรี และระบบทุนนิยม ง. นโยบายกีดกันทางการค้าต่อประเทศกาลังพัฒนา
115. ในยุคสมัยจักรวรรดินิยม ประเทศใดที่ไม่มีอิทธิพลเหนือดินแดนบนน่านน้ามหาสมุทรแปซิฟิกเลย
ก. ฝรั่งเศส ข. อิตาลี
ค. สเปน ง. โปรตุเกส
ข้อสอบความรู้พื้นฐานทั่วไปทางรัฐศาสตร์ 50 อ.วีระชัย บัวผัน

116. การทาลายกาแพงเบอร์ลิน เพื่อเป็นการรวมชาติของประเทศเยอรมนี ได้มีสนธิสัญญา 4 + 2 ซึ่งเป็น


สนธิสัญญาที่มีประเทศทั้ง 6 ประเทศทาการตกลง เพื่อหารือถึงแนวโน้มในการรวมชาติ อยากทราบว่า ประเทศทั้ง
6 ประเทศใดแก่ประเทศใดบ้าง
ก. เยอรมันตะวันออก เยอรมันตะวันตก อังกฤษ รัสเซีย อิตาลี สวิตเซอร์แลนด์
ข. เยอรมันตะวันออก เยอรมันตะวันตก อังกฤษ รัสเซีย เนเธอร์แลนด์ ฝรั่งเศส
ค. เยอรมันตะวันออก เยอรมันตะวันตก อังกฤษ รัสเซีย ฝรั่งเศส สหรัฐอเมริกา
ง. เยอรมันตะวันออก เยอรมันตะวันตก อังกฤษ รัสเซีย สวิตเซอร์แลนด์ สหรัฐอเมริกา
117. ธนาคารเพื่อการชาระหนี้ระหว่างประเทศ มีสานักงานใหญ่อยู่ที่เมือง , ประเทศใด
ก. เจนีวา – สวิตเซอร์แลนด์ ข. บาเซิล – สวิตเซอร์แลนด์
ค. นิวยอร์ก – สหรัฐอเมริกา ง. ชิคาโก – สหรัฐอเมริกา
118. ปัจจุบัน เงินสกุลใด ไม่มีใช้ ในทวีปยุโรปแล้ว
ก. ปอนด์ สเตอลิง ข. ดีนาร์
ค. โครนา ง. ดอยช์มาร์ก
119. ประเทศใดไม่ได้เป็นสมาชิกเครือรัฐเอกราช หรือ CIS
ก. คาซัคสถาน / อุซเบกิสถาน / คีร์กิซสถาน ข. อาเซอร์ไบจาน / จอร์เจีย / เติร์กเมนิสถาน
ค. ลิทัวเนีย / เอสโตเนีย / ลัตเวีย ง. ยูเครน / รัสเซีย / มอลโดวา
120. เวนิซ / ปารีส / นิวยอร์ก แห่งโลกตะวันออก ได้แก่ เมืองใด ตามลาดับ
ก. กัวลาลัมเปอร์ / ฮานอย / ปักกิ่ง
ข. กรุงเทพมหานคร / ฮานอย / ปักกิ่ง
ค. กรุงเทพมหานคร / ไซ่ง่อน / เซี่ยงไฮ้
ง. กัวลาลัมเปอร์ / ไซ่ง่อน / เซี่ยงไฮ้
121. จากคาพูดของนาง Margaret Thatcher อดีตนายกรัฐมนตรีของอังกฤษที่ว่า “ไม่มีสิ่งที่เรียกว่าสังคม มี
เพียงแต่ ปัจเจกบุคคล ชายหญิง” สะท้อนให้เห็นถึงอุดมการณ์การเมืองแบบใดของ Thatcher
ก. อนุรักษ์นิยม ข. เสรีนิยมใหม่
ค. ถูกทั้งสองข้อง ง. ผิดทั้งสองข้อ
122. อารยธรรมใดที่เป็นรากฐานสาคัญที่สุดของดินแดนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ก. จีน ข. อินเดีย ค. อิสลาม ง. กรีก – โรมัน
123. หลังจากการประชุม “ความตกลงทั่วไปว่าด้วยการค้าและภาษีศุลกากร (แกตต์) หรือ General Agreement
on Tariffs and Trade (GATT)” ในรอบอุรุกวัย ก่อให้เกิดองค์กรระหว่างประเทศองค์กรใด
ก. กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (International Monetary Fund – IMF)
ข. ธนาคารโลก (World Bank)
ค. องค์การการค้าโลก (World Trade Organization – WTO)
ง. การประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการค้าและการพัฒนา (UNCTAD – United Nations Conference
on Trade and Development)
124. เขตการค้าเสรีอเมริกาเหนือ (NAFTA) มีสมาชิก 3 ประเทศ ข้อใดไม่ใช่
ก. สหรัฐอเมริกา ข. แคนาดา
ค. คิวบา ง. เม็กซิโก
ข้อสอบความรู้พื้นฐานทั่วไปทางรัฐศาสตร์ 51 อ.วีระชัย บัวผัน

125. ประเทศใดจากข้อเลือกต่อไปนี้ที่ไม่อยู่ในบรรดา 5 ประเทศในโลกปัจจุบัน ซึ่งยังคงมีการปกครองในระบอบ


คอมมิวนิสต์หลงเหลืออยู่
ก. Cuba ข. Viet Nam
ค. Laos ง. Mongolia
จ. DPR;Korea
126. พรรคการเมืองใด เป็นแกนนาบริหารประเทศญี่ปุ่นในปัจจุบัน
ก. พรรคเสรีประชาธิปไตย – LDP (Liberal Democratic Party)
ข. พรรคการเมืองใหม่ของประชาชน – PNP (People's New Party)
ค. พรรคโคเมโต – KP (Komeito Party)
ง. พรรคประชาธิปไตยแห่ง – DPJ (Democratic Party of Japan)
127. นายกรัฐมนตรี คนปัจจุบันของญี่ปุ่น คือ
ตอบ ........................................................................................................................................................
128. Abu Sayyaf เกี่ยวข้องกับข้อเลือกใดต่อไปนี้มากที่สุด
ก. อินโดนีเซีย ข. ฟิลิปปินส์
ค. มาเลเซีย ง. บรูไน ดารุสสลาม
จ. อัฟกานิสถาน
129. ปัญหาความขัดแย้งดินแดนแคว้นแคชเมียร์ (Kasmir) มีความเกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ระหว่างประเทศคู่ใด
ก. อิสราเอล ซีเรีย ข. อิรัก อิหร่าน
ค. อินเดีย ปากีสถาน ง. อินเดีย ศรีลังกา
130. ประเทศในเอเชียประเทศใด ที่มีสิทธิใช้อานาจยับยั้งในที่ประชุมคณะมนตรีความมั่นคงสหประชาชาติ
ก. อินโดนีเซีย ข. ญี่ปุ่น
ค. สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน ง. จีน
จ. บราซิล
131. SPDC (the State Peace and Development Council) คือ องค์กรที่ทาหน้าที่เป็นคณะผู้ตัดสินใจ
(Decision- Makers) ในการกาหนดและดาเนินนโยบายต่างประเทศของ …..
ก. อัฟกานิสถาน ข. ติมอร์ตะวันออก
ค. ปาเลสไตน์ ง. พม่า
132. ที่ตั้งสานักงานที่ทาการขององค์การค้าโลก (World Trade Organization : WTO) ในปัจจุบันได้แก่
ก. Geneva ; Switzerland ข. Paris ; France
ค. London ; UK ง. Madrid ; Spain
จ. New York City ; U.S.A.
133. ปัจจุบันองค์การการค้าโลก มีมติเห็นชอบให้รับประเทศใดเข้าเป็นสมาชิกล่าสุด
ตอบ ..................................................................................................................................................
134. ที่ตั้งสานักงานใหญ่ขององค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ (NATO) ในปัจจุบัน ได้แก่
ก. Washington D.C. ; U.S.A. ข. London ; UK
ค. Brussels ; Belgiun ง. Paris ; France
จ. Berlin ; Germany
ข้อสอบความรู้พื้นฐานทั่วไปทางรัฐศาสตร์ 52 อ.วีระชัย บัวผัน

135. ประเทศสมาชิกขององค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ (NATO) มีกี่ประเทศ และเลขาธิการ NATO คน


ปัจจุบัน คือ ...................................................................................................................................
136. สงครามเย็นยุติลงเมื่อใด
ก. สหภาพโซเวียตล่มสลายในเดือนธันวาคม ค.ศ.1991
ข. มีกฎบัตรปารีสเมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน ค.ศ.1990
ค. องค์การสนธิสัญญาวอร์ซอว์ (Warsaw Treaty Organization) ถูกยุบ
ง. พรรคคอมมิวนิสต์โซเวียตสลายตัว
จ. ข้อ ก. และ ข.
137. ใครเป็นประธานาธิบดีรัสเซียคนปัจจุบัน
ก. Boris Yeltsin ข. Sergri Stepachin ค. Vladimir Putin
ง. Dmitry Medvedev จ. Victor Karpov
138. นายกรัฐมนตรีอังกฤษ คนปัจจุบัน ชื่ออะไร สังกัดพรรคการเมืองใด
ตอบ ..............................................................................................................................................................
139. เงินอุดหนุนที่ประเทศสมาชิกแต่ละประเทศให้แก่องค์การสหประชาชาติ ในส่วนที่เป็นงบประมาณสาหรับการ
รักษาสันติภาพจะมีลักษณะความร่ารวยของแต่ละประเทศ ถามว่าประเทศที่ให้เงินอุดหนุนมากที่สุด
อันดับ 1 .................................... อันดับ 2 .....................................
140. ประเทศใดบ้าง ที่ยื่นข้อเสนอร่วมกันเข้าเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ
1) ............................................................. 2) ...........................................................
141. ภาษาราชการที่ใช้ติดต่อในองค์การสหประชาชาติมีกี่ภาษา อะไรบ้าง
1) .............................................. 2) ....................................................
3) .............................................. 4) ....................................................
5) .............................................. 6) ....................................................
142. ทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่ างประเทศ (IAEA : International Atomic Energy Agency) ตั้งอยู่ที่กรุง
เวียนนา ประเทศออสเตรีย เป็นทบวงการชานัญพิเศษของสหประชาชาติ ทาหน้าที่ส่งเสริมความร่วมมือระหว่าง
ประเทศด้านการใช้พลังงานปรมาณูเพื่อสันติ ผู้อานวยการ คนปัจจุบัน คือ
ตอบ ..........................................................................................................
143. การโต้วาทีของผู้สมัครรับเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา (ดีเบท) เกิดขึ้นครั้ง แรกเป็นการโต้วาที
ระหว่างใครกับใคร..
ตอบ ..................................................................................................................................................
144. ประเทศมุสลิมที่ใหญ่ที่สุดในโลก คือ ประเทศ .................................................................................................
145. ประเทศที่ประกาศว่า “เป็นประเทศประชาธิปไตยที่ใหญ่ที่สุดในโลก” คือ
ก. อินเดีย ข. บราซิล ค. อิตาลี ง. ออสเตรเลีย
146. ประเทศใดได้รับเกียรติให้เป็นเจ้าภาพกีฬาโอลิมปิค ปี ค.ศ. 2020
ตอบ ......................................................................................
147. LTTE (Liberation Tiger of Tamil Eelam) คือ กลุ่มกบฎแบ่งแยกดินแดนในประเทศใด ..............................
148. ประเทศใดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ไม่ให้มีการลงโทษโดยการประหารชีวิต
ก. ฟิลิปปินส์ ข. อินเดีย
ค. อินโดนีเซีย ง. ออสเตรเลีย
ข้อสอบความรู้พื้นฐานทั่วไปทางรัฐศาสตร์ 53 อ.วีระชัย บัวผัน

149. ประเทศที่มีความเจริญทางเศรษฐกิจของโลก 6 ประเทศ หรือกลุ่ม G 6 ได้แก่ ประเทศใดบ้าง


ก. สหรัฐอเมริกา เกาหลีใต้ ออสเตรเลีย ญี่ปุ่น บราซิล จีน
ข. สหรัฐอเมริกา อิตาลี ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ญี่ปุ่น จีน
ค. สหรัฐอเมริกา เยอรมนี ออสเตรเลีย ญี่ปุ่น อังกฤษ ฝรั่งเศส
ง. สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป ออสเตรเลีย ญี่ปุ่น อินเดีย จีน
150. ประเทศ Big Four หมายถึง ประเทศที่มีการพัฒนาเศรษฐกิจให้ก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว ขอถามว่า มีประเทศ
ใดบ้าง
ก. บราซิล จีน รัสเซีย อินเดีย ข. เกาหลีใต้ จีน อินเดีย ญี่ปุ่น
ค. รัสเซีย ญี่ปุ่น มาเลเซีย เกาหลีใต้ ง. จีน อินเดีย สิงคโปร์ บราซิล
151. ความตกลงเชนเกนเกี่ยวข้องกับเรื่องใดในกลุ่มสหภาพยุโรป
ก. การขอวีซ่าเข้าประเทศ ข. การไม่จากัดปริมาณสินค้านาเข้า
ค. การให้บริการด้านสถาบันการเงินข้ามชาติ ง. การเคลื่อนย้ายสินค้าโดยไม่ต้องผ่านศุลกากร
152. ประเทศที่แยกตัวออกจากยูโกสลาเวีย (เซอร์เบีย) มีประเทศใดบ้าง ………
1) .................................................................. 2). ...............................................................
3) .................................................................. 4). ...............................................................
5) .................................................................. 6). ...............................................................
153. The Vienna Convention เกี่ยวข้องกับเรื่องใด
ก. การป้องกันชั้นโอโซน ข. ความหลากหลายทางชีวภาพ
ค. การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ง. การค้าสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์
154. การประชุมกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมชั้นนา 8 ประเทศ หรือ G 8 ในปีล่าสุด จัด ณ ที่ใด
ก. ญี่ปุ่น ข. รัสเซีย
ค. อิตาลี ง. เยอรมนี
จ. อังกฤษ ฉ. ฝรั่งเศส
ช. สหรัฐอเมริกา ซ. แคนาดา
จัดประชุมที่เมือง ……………………………………………
155. การประชุมเวทีเศรษฐกิจโลก(World Economics Forum) ที่จัดขึ้นทุกปี ประชุมที่ใด
ก. เมืองดาวอส สวิตเซอร์แลนด์ ข. เมืองลอนดอน อังกฤษ
ค. เมืองมิลาน อิตาลี ง. มาดริด สเปน
156. วิกฤตเศรษฐกิจของสหรัฐ เรียกว่า "แฮมเบอร์เกอร์ ไครซิส" หรือวิก ฤตแฮมเบอร์เกอร์ (ต่อจากวิกฤตต้ม ยากุ้ง
ที่เกิดในไทย) ที่มีต้นตอมาจากอะไร
ก. หนี้เสียของสินเชื่อบ้านที่ปล่อยกู้แก่ผู้มีเครดิตต่ากว่ามาตรฐาน (ซับไพรม์)
ข. การใช้จ่ายสุรุ่ยสุร่ายของคนอเมริกัน
ค. ภาวะเศรษฐกิจตกต่าทั่วโลก
ง. การลดค่าเงินดอลล่าร์
157. ข้อใด คือ สาเหตุหลักที่ทาให้เกิดวิกฤติซับไพรม์ (subprime mortgage crisis) ในสหรัฐอเมริกา
ก. อัตราเงินเฟ้อ ข. อัตราดอกเบี้ย
ค. การล่มสลายของระบบ Bretton Woods (ระบบมาตรฐานทองคา)
ง. สินเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้
ข้อสอบความรู้พื้นฐานทั่วไปทางรัฐศาสตร์ 54 อ.วีระชัย บัวผัน

158. “เบบี้บูมเมอร์” คือ ผู้ที่เกิดหลังสงครามโลกครั้งที่สอง (หลัง พ.ศ.2488) ซึ่งก่อให้เกิดผลกระทบแก่ประชากร


โลก หลายอย่าง ข้อใดไม่ใช่
ก. โลกปัจจุบันเป็นยุคของผู้สูงวัยมากขี้น
ข. ความต้องการ สินค้าเพื่อสุขภาพสูงมากขึ้น
ค. วัยพึ่งพิงจะสูงขึ้น การพัฒนาประเทศจะลดน้อยลง
ง. ประเทศทั่วโลกจะขยายอายุการทางานออกไปในทุกกลุ่มอาชีพ
159. การประชุมที่เมืองแคนคูน ประเทศเม็กซิโก นาไปสู่การจัดตั้งกลุ่ม G 20 คือ กลุ่มเกี่ยวกับเรื่องใด
ก. กลุ่มประเทศอุตสาหกรรมเกิดใหม่ ข. กลุ่มประเทศตลาดเกิดใหม่
ค. กลุ่มประเทศเป็นกลางทางเศรษฐกิจ ง. ข้อ ก. และ ข. ถูก
160. การประชุมสุดยอดผู้นากลุ่มจี 20 ครั้งต่อไป จัดขึ้นที่ใด
ตอบ ....................................................................................................................................
161. ประเทศใดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้หรืออาเซียน(ASEAN) ที่เป็นสมาชิกกลุ่ม G – 20
ก. อินโดนีเซีย ข. เวียตนาม
ค. มาเลเซีย ง. ไทย
162. ประเทศเดียวในทวีปแอฟริกา ที่เป็นสมาชิกกลุ่ม G – 20 คือ
ก. อียิปต์ ข. กานา
ค. แอฟริกาใต้ ง. ไนจีเรีย
163. ข้อใดไม่เป็นสมาชิกกลุ่ม G – 20
ก. G – 8 ข. EU
ค. ASEAN + 3 ง. NAFTA
สมาชิกกลุ่ม G – 20 ประกอบด้วย
1) อาร์เจนตินา 2) ออสเตรเลีย 3) บราซิล 4) แคนาดา
5) จีน 6) ฝรั่งเศส 7) เยอรมนี 8) อินเดีย
9) อินโดนีเซีย 10) อิตาลี 11) ญี่ปุ่น 12) เม็กซิโก
13) รัสเซีย 14) ซาอุดีอาระเบีย 15) แอฟริกาใต้ 16) เกาหลีใต้
17) ตุรกี 18) อังกฤษ 19) สหรัฐอเมริกา 20) สหภาพยุโรป
164. วันเลือกประธานาธิบดีของสหรัฐถูกกาหนดอย่างแน่นอนให้เป็นวันใด ......
ก. วันอังคารแรกของเดือนพฤศจิกายน ข. วันอังคารที่สองของเดือนพฤศจิกายน
ค. วันพุธแรกของเดือนพฤศจิกายน ง. วันพุธที่สองของเดือนพฤศจิกายน
165. ปี พ.ศ. 2562 เป็นปีที่ครบรอบ 31 ปี การเรียกร้องประชาธิปไตยในพม่า เมื่อวันที่ 8 สิง หาคม 1988 หรือ
เหตุการณ์ 8 – 8 – 88 เนื่องจากความกดดันทางด้านเศรษฐกิจและสังคมที่มีต่อเนื่องยาวนานภายใต้การปกครอง
ของรัฐบาลทหาร ทาให้นักศึกษาและประชาชนเริ่มต้นออกมาดาเนินการด้านการเมืองบนท้องถนน ตั้ง แต่เดือน
มีนาคม 1988 และถูกล้อมปราบในวันที่ 8 สิงหาคม ของปีนั้น ถามว่า รั ฐบาลทหารที่ปกครองประเทศแบบเผด็จ
การยุคนั้น คือ ใคร
ก. นายพลเนวิน ข. นายพลเลนนอล
ค. นายพลอองซาน ง. พลเอกตานฉ่วย
ข้อสอบความรู้พื้นฐานทั่วไปทางรัฐศาสตร์ 55 อ.วีระชัย บัวผัน

166. เส้นทาง R3E (North – South Economic Corridor) เป็นเส้นทางเชื่อมโยง 3 ประเทศ คือ
ก. ไทย – ลาว – กัมพูชา ข. ไทย – กัมพูชา – เวียดนาม
ค. ไทย – พม่า – จีน ง. ไทย – ลาว – จีน
167. Doi Moi คือ อะไร...................................................................................................................................
168. แบบอย่างของประชาธิปไตยในโลกมุสลิม ที่ยอมรับอารยธรรมตะวันตก คือ ประเทศใด .....................
169. การประชุมเอเชีย – ยุโรป (ASEM : Asia-Europe Meeting) ถือกาเนิดจากการริเริ่มของประเทศใด
1) ............................................................ 2) ..............................................................
170. ประเทศที่ใช้นโยบาย “ความสุขมวลรวมประชาชาติ ” (Gross National Happiness - GNH) แทนที่จะเน้น
“ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ” (Gross National Product - GNP) คือ ประเทศใด
ก. เนปาล ข. ภูฏาน ค. ศรีลังกา ง. บังคลาเทศ
171. ดินแดนใดจัดให้มีก ารลงประชามติเพื่อแยกตัวเป็นเอกราชจากเดนมาร์ก ซึ่ง มีประชาชนออกมาใช้สิท ธิ์
ประมาณ 39,000 คน จากประชากรทั้งสิ้น 57,000 คน ปรากฏว่า ร้อยละ 75.54 เห็นด้วยที่จะแยกมาปกครอง
ตนเอง
ตอบ ....................................................................................................................................................
172. P 5 Plus 1 หมายถึง อะไร
ตอบ ....................................................................................................................................................
173. สมาชิกกลุ่มเศรษฐกิจดาวรุ่งของโลก หรือกลุ่ม BRIC ประกอบด้วยประเทศใดบ้าง ...
ตอบ ...................................................................................................................................................
174. 4 ประเทศเศรษฐกิจเกิดใหม่ เรียกชื่อย่อว่า กลุ่ม BASIC ประกอบด้วยประเทศใดบ้าง
ตอบ ...................................................................................................................................................
175. ACMECS Single Visa คือ ข้อตกลงให้นักท่องเที่ยวที่ขอวีซ่าจากสถานทูตในประเทศตนเองแล้วเดินทางไป
ประเทศคู่สัญญาได้ โดยไม่ต้องทาวีซ่าอีก ACMECS Single Visa เป็นข้อตกลง 2 ประเทศ คือ
ก. ไทย – ลาว ข. ไทย – กัมพูชา ค. ไทย – สิงคโปร์ ง. ไทย – เวียตนาม
176. จงเติมผู้ดารงตาแหน่งสูงสุดขององค์กรต่อไปนี้
ก. ................................ – WTO (World Trade Organization)
ข. ................................ – UNCTAD (United Nations Conference on Trade and Development)
ค. ................................ – IMF (International Monetary Fund)
ง. ................................. – UN (United Nations)
จ. .................................. – ASEAN (Association of Southeast Asian Nations)
สหภาพยุโรป (European Union : EU)
เป็นสหภาพทางเศรษฐกิจและการเมือง ประกอบด้วยรัฐสมาชิก 27 ประเทศ ซึ่งส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในทวีปยุโรป
สหภาพยุโรปกาเนิดขึ้นจากประชาคมถ่านหินและเห,กกล้าแห่งยุโรป (ECSC) และประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (EEC)
ก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2494 และ 2501 ตามลาดับ สนธิสัญญามาสทริกซ์สถาปนาสหภาพยุโรปภายใต้ชื่อปัจจุบัน ใน
พ.ศ. 2536 การแก้ไขหลักพื้นฐานรัฐธรรมนูญของสหภาพยุโรปล่าสุด คือ สนธิสัญญาลิสบอน มีผลใช้บังคับใน พ.ศ.
2552
สหภาพยุโรปดาเนินการผ่านระบบองค์การอิสระเหนือชาติและการตัดสินใจที่เจรจาระหว่างรัฐบาลโดยรัฐ
สมาชิก สถาบันสาคัญของสหภาพยุโรปมีคณะกรรมาธิการยุโรป คณะมนตรีสหภาพยุ โรป สภายุโรป ศาลยุติธรรม
แห่งสหภาพยุโรป และธนาคารกลางยุโรป พลเมืองสหภาพยุโรปเลือกตั้งสมาชิกรัฐสภายุโรปทุกห้าปี
ข้อสอบความรู้พื้นฐานทั่วไปทางรัฐศาสตร์ 56 อ.วีระชัย บัวผัน

สหภาพยุโรปได้พัฒนาตลาดเดี่ยวผ่านระบบกฎหมายที่เป็นมาตรฐานซึ่งใช้บังคับในรัฐสมาชิกทุกรัฐ ในพื้นที่
เชงเกน (รวม 22 รัฐสหภาพยุโรป และ 4 รัฐนอกสหภาพยุโรป) มีการยกเลิกการควบคุมหนังสือเดินทาง นโยบาย
สหภาพยุโรปมุ่งประกันการเคลื่อนย้ายบุคคล สินค้า บริการและทุนอย่างเสรี ตรากฎหมายในกิจการยุติธรรมและ
มหาดไทย และคงไว้ซึ่งนโยบายการค้า เกษตรกรรม การประมงและการพัฒนาภูมิภาคร่วมกัน ยูโรโซนซึ่งเป็น
สหภาพการเงิน ได้รับการจัดตั้งขึ้นใน พ.ศ. 2542 และประกอบด้วยรัฐสมาชิก 17 ประเทศ สหภาพยุโรปได้พัฒนา
บทบาทในความสัมพันธ์ภายนอกและการป้องกันผ่านนโยบายการต่างประเทศและความมั่นคงร่วม มีการสถาปนา
คณะผู้แทนทางทูตถาวรทั่วโลก มีผู้แทนของสหภาพยุโรปที่สหประชาชาติและองค์การการค้าโลก จี 8 และ จี 20
โดยมีประชากรรวมกันกว่า 500 ล้านคน หรือ 7.3% ของประชากรโลก ใน พ.ศ. 2554 สหภาพยุโรปมีผลิตภัณฑ์
มวลรวมภายในประเทศในรูปตัวเงินใหญ่ที่สุดในโลก กว่า 17.6 ล้านล้านดอลล่าร์สหรัฐ คิดเป็นประมาณ 20% ของ
จีดีพีโลก เมื่อวัดในแง่ความเท่าเทียมกันของอานาจซื้อ
ในปี พ.ศ.2555 สหภาพยุโรป ได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ จากผลงานด้านการผลักดันให้เกิดสันติภาพ
ในยุโรป
177. สหภาพยุโรป (EU) มีพัฒนาการเริ่มแรกมาจากองค์การใด
ก. OSCE : Organization Security and Cooperation in Europe
ข. EC : European Community
ค. WEU : Western European Union
ง. ECSC : European Coal and Steel Community
178. สนธิสัญญาสาคัญที่นาไปสู่การจัดตั้งสหภาพการเงินของสหภาพยุโรป
ก. สนธิสัญญาปารีส ข. สนธิสัญญาบรัสเซลล์
ค. สนธิสัญญามาสทริกซ์ ง. สนธิสัญญากรุงโรม
179. ข้อใด คือ สาระสาคัญของ สนธิสัญญามาสทริกช์ [MAASTRICHT TREATY]
ก. การรวมตัวกัน ในวัตถุประสงค์ทางเศรษฐกิจและการเงิน
ข. การร่วมมือกันทางการเมือง การทหาร และยุทธศาสตร์
ค. การร่วมกัน เพื่อดาเนินนโยบายทางด้านต่างประเทศเดียวกัน
ง. การร่วมมือกัน เพื่อหารือถึงนโยบายในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติร่วมกัน
180. 3 เสาหลักของสหภาพยุโรป ประกอบด้วย
1) ประธานรัฐสภายุโรป 2) ประธานคณะกรรมาธิการยุโรป 3) ประธานคณะมนตรียุโรป
181. ยูโรโซน (Euro Zone) คือ 17 ประเทศที่ใช้เงินยูโร ได้แก่
ประเทศออสเตรีย ประเทศเบลเยียม ประเทศฟินแลนด์ ประเทศฝรั่งเศส
ประเทศเยอรมนี ประเทศไอร์แลนด์ ประเทศอิตาลี ประเทศลักเซมเบิร์ก
ประเทศเนเธอร์แลนด์ ประเทศโปรตุเกส ประเทศสเปน
ประเทศกรีซ (เริ่มวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2544)
ประเทศสโลวีเนีย (เริ่มวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2550)
ประเทศไซปรัส (เริ่มวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2551)
ประเทศมอลตา (เริ่มวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2551)
ประเทศสโลวาเกีย (เริ่มวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2552) สัญลักษณ์ของสกุลเงินยูโร
ประเทศเอสโตเนีย (เริ่มวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2554)
ข้อสอบความรู้พื้นฐานทั่วไปทางรัฐศาสตร์ 57 อ.วีระชัย บัวผัน

182. ประเทศในกลุ่มสหภาพยุโรป หรือ อียู ที่ใช้เงินยูโร และประสบปัญญาวิ กฤติทางการเงิน จนในไปสู่การกู้เงิน


ซึ่งอียู และกองทุนการเงินระหว่างประเทศ หรือ ไอเอ็มเอฟ ได้ให้ความช่วยเหลือ มีประเทศใดบ้าง
ตอบ ....................................................................................................................................
183. ประเทศในกลุ่มสหภาพยุโรป หรือ อียู ที่ยังไม่ได้ใช้เงินยูโรเป็นเงินสกุลประจาชาติอย่างเป็นทางการ คือ
ตอบ .....................................................................................................................................
184. องค์การใดเป็นต้นกาเนิดขององค์การเพื่อความร่วมมือระหว่างประเทศภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้หรือ
อาเซียน (Association of Southeast Asian Nations)
ก. องค์การซีโต้ ข. องค์การเอเปค
ค. องค์การอาสา ง. องค์การเอสแคป
185. ข้อใดไม่อยู่ในขอบข่ายวัตถุประสงค์ของการก่อตั้งสมาคมอาเชียน (ASEAN)
ก. การร่วมมือกันกาจัดหรือยับยั้งโรคระบาด
ข. การร่วมมือกันทางทหารปราบปรามชนกลุ่มน้อย
ค. การร่วมมือกันจัดตั้งเขตการค้าเสรี
ง. การร่วมมือกันด้านวิชาการแลกเปลี่ยนนักเรียนนักศึกษา
186. สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือ “อาเซียน” (Association of Southeast Asian
Nations-ASEAN) ก่อตั้งขึ้นโดยผู้นา 5 ประเทศ ได้แก่ ไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร์ ที่ได้ลง
นามร่วมกัน ณ ที่ใด
ตอบ ...................................................................................................................................................
187. ผู้นาของประเทศไทย ที่ลงนามก่อตั้ง สมาคมประชาชาติแห่ง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือ “อาเซียน”
(Association of Southeast Asian Nations-ASEAN) คือ
ตอบ ...................................................................................................................................................
188. วั ตถุป ระสงค์ของสมาคมประชาชาติ แห่ง เอเชี ยตะวั นออกเฉีย งใต้ หรือ “อาเซียน” (Association of
Southeast Asian Nations-ASEAN)
1) เพื่อส่งเสริมความเข้าใจอันดีต่อกันระหว่างประเทศในภูมิภาค
2) ดารงไว้ซึ่งสันติภาพ เสถียรภาพและความมั่นคงทางการเมือง
3) สร้างสรรค์ความเจริญทางด้านเศรษฐกิจ การพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม การกินดีอยู่ดีบนพื้นฐาน
ของความเสมอภาค และผลประโยชน์ร่วมกันของประเทศสมาชิก
189. ประเทศใดได้เข้าเป็นสมาชิกอาเซียนลาดับที่ 6 เมื่อวันที่ 8 ม.ค. 2527 ..........................................................
ประเทศใดได้เข้าเป็นสมาชิกอาเซียนลาดับที่ 7 เมือ่ วันที่ 28 ก.ค. 2538 .......................................................
ประเทศใดได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกอาเซียนลาดับที่ 8 และ 9 เมื่อวันที่ 23 ก.ค. 2540...................................
ประเทศใดได้เข้าเป็นสมาชิกอาเซียนล่าสุดเมื่อวันที่ 30 เม.ย. 2542 ...............................................................
190. สัญลักษณ์ของอาเซียน คือ รูปรวงข้าว สีเหลืองบนพื้นสีแดงล้อมรอบด้วยวงกลม สีขาวและสีน้าเงิน
1) รวงข้าว 10 ต้น หมายถึง ประเทศสมาชิก 10 ประเทศ
2) สีเหลืองของต้นข้าว หมายถึง ความเจริญรุ่งเรือง
3) สีแดง หมายถึง ความกล้าหาญและการมีพลวัติ
4) สีขาว หมายถึง ความบริสุทธิ์
5) สีน้าเงิน หมายถึง สันติภาพและความมั่นคง
ข้อสอบความรู้พื้นฐานทั่วไปทางรัฐศาสตร์ 58 อ.วีระชัย บัวผัน

191. ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area ; AFTA) ซึ่งเริ่มดาเนินการ


มาตั้งแต่ปี ค.ศ.1993 เป็นต้นมา ตราบกระทั่งปัจจุบันนั้น เกิดจากความคิดริเริ่มของใคร
ตอบ ......................................................................................................................................................
192. ปัจจุบันสานักงานที่ทาการอาเซียน (ASEAN) ตั้งอยู่ที่กรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย ถามว่าใครเป็น
เลขาธิการคนปัจจุบัน ........................................................................................................................................
193. เลขาธิการสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือ “อาเซียน” ที่เป็นคนไทยคนแรก คือ ...
ก. นายสุรินทร์ พิศสุวรรณ ข. พันเอก(พิเศษ)ถนัด คอมันตร์
ค. นายสีหศักดิ์ พวงเกตุแก้ว ง. นายแผน วรรณเมธี
194. ประเทศใดเป็นประธานอาเซียน
ตอบ ......................................................................................................................................................
รายนามเลขาธิการสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
อันดับ ชื่อ สัญชาติ เริ่มวาระ สิ้นสุดวาระ
1 ฮาร์โตโน ธาร์โซโน่ อินโดนีเซีย 7 มิถุนายน พ.ศ. 2519 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2521
Umarjadi
2 อินโดนีเซีย 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2521 30 มิถุนายน พ.ศ. 2521
Notowijono
Datuk Ali Bin
3 มาเลเซีย 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2521 30 มิถุนายน พ.ศ. 2523
Abdullah
4 Narciso G. Reyes ฟิลิปปินส์ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2523 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2525
5 Chan Kai Yau สิงคโปร์ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2525 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2527
6 แผน วรรณเมธี ไทย 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2527 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2529
7 Roderick Yong บรูไน 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2532
8 Rusli Noor อินโดนีเซีย 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2532 1 มกราคม พ.ศ. 2536
9 Dato Ajit Singh มาเลเซีย 1 มกราคม พ.ศ. 2536 31 ธันวาคม พ.ศ. 2540
Rodolfo C.
10 ฟิลิปปินส์ 1 มกราคม พ.ศ. 2541 31 ธันวาคม พ.ศ. 2545
Severino Jr.
11 Ong Keng Yong สิงคโปร์ 1 มกราคม พ.ศ. 2546 31 ธันวาคม พ.ศ. 2550
12 สุรินทร์ พิศสุวรรณ ไทย 1 มกราคม พ.ศ. 2551 31 ธันวาคม พ.ศ. 2555
13 เล เลือง มินห์ เวียดนาม พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2560
14 บรูไนดารุสลาม พ.ศ. 2561 ปัจจุบัน
195. จุดมุ่งหมายที่สาคัญที่สุดของกฎบัตรอาเซียน (Asean Charter) คือ การที่จะรวมตัวกันเพื่อสิ่งใด
ก. การจัดตั้งประชาคมอาเซียน ข. การจัดตั้งอาเซียน+3
ค. การจัดตั้งอาเซียน+ 6 ง. การจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน
ข้อสอบความรู้พื้นฐานทั่วไปทางรัฐศาสตร์ 59 อ.วีระชัย บัวผัน

196. ประชาคมอาเซียน ประกอบด้วย 3 เสาหลัก ข้อใดไม่ใช่


ก. ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ข. การจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน
ค. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ง. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
197. การรวมตัวกันของอาเซียน ทั้งในแง่การเมืองความมั่นคง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม โดยยึดสิ่งใดเป็น
ศูนย์กลางความสาคัญ
ตอบ ...................................................................................................................................................
198. ASEAN + 3 คือการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ ประกอบด้วยประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ และประเทศ
นอกอาเซียน 3 ประเทศ ขอถามว่า + 3 หมายถึงประเทศใดบ้าง
ก. อินเดีย ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ข. เกาหลีใต้ จีน ญี่ปุ่น
ค. ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย เกาหลีใต้ ง. จีน อินเดีย เกาหลีใต้
199. ASEAN + 6 คือการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ ประกอบด้วยประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ และประเทศ
นอกอาเซียน 6 ประเทศ ขอถามว่า + 6 หมายถึงประเทศใดบ้าง
ก. บราซิล จีน รัสเซีย อินเดีย ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์
ข. เกาหลีใต้ จีน อินเดีย ออสเตรเลีย ญี่ปุ่น นิวซีแลนด์
ค. นิวซีแลนด์ รัสเซีย ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย บราซิล เกาหลีใต้
ง. จีน อินเดีย ออสเตรเลีย รัสเซีย บราซิล เกาหลีใต้
200. The motto of ASEAN is “One Vision, One Identity, One Community.” คาขวัญอาเซียน คือ
ตอบ ....................................................................................................................................................
201. ประเทศที่ได้สมญานามว่า “แบตตารี่ ของอาเซียน” คือ ประเทศใด
ตอบ ...................................................................................................................................................
202. ในปี พ.ศ.2558 จะมีการเปิดเสรีอาเซียนใน 8 สาขาอาชีพนาร่องที่ 10 ประเทศอาเซียนรวมทั้งไทย จะมีการ
เปิดเคลื่อนย้ายแรงงานเสรี ได้แก่
ตอบ 1) .............................................................. 2) ............................................................
3) .............................................................. 4) ............................................................
5) .............................................................. 6) ............................................................
7) .............................................................. 8) ............................................................
ความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก (เอเปก) (Asia-Pacific Economic Cooperation : APEC)
เป็นกลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ระหว่างเขตเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก เอเปคก่อตั้งขึ้นเมื่อปี
พ.ศ. 2532 โดยมีจุดประสงค์ มุ่งเน้นความเจริญเติบโตและการพัฒนาที่ยั่งยืนของภูมิภาค และผลักดันให้การ
เจรจาการค้ าหลายฝ่า ย รอบอุรุ กวั ย ประสบผลส าเร็ จ ขณะเดี ยวกัน เอเปคก็ ต้ องการถ่ว ง ดุ ลอ านาจทาง
เศรษฐกิจของกลุ่มเศรษฐกิจต่าง ๆ โดยเฉพาะกลุ่มสหภาพยุโรป อีกด้วย
203. ประเทศสมาชิกกลุ่มความร่วมมื อทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย – แปซิฟิค (Asia – Pacific Economic
Cooperation = APEC) มีทั้ง 21 เขตเศรษฐกิจ ประกอบด้วย
1) ออสเตรเลีย 2) บรูไนดารุสซาลาม 3) แคนาดา 4) ชิลี
5) ญี่ปุ่น 6) ฮ่องกง 7) อินโดนีเซีย 8) จีน
9) สาธารณรัฐเกาหลี 10) มาเลเซีย 11) เม็กซิโก 12) นิวซีแลนด์
13) ปาปัวนิวกินี 14) เปรู 15) ฟิลิปปินส์ 16) รัสเซีย
17) สิงคโปร์ 18) จีนไทเป 19) ไทย 20) สหรัฐอเมริกา
21) เวียดนาม
ข้อสอบความรู้พื้นฐานทั่วไปทางรัฐศาสตร์ 60 อ.วีระชัย บัวผัน

204. ข้อใดกล่าวถึง APEC ผิด


ก. เป็นกลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจที่ประกอบไปด้วย 21 เขตเศรษฐกิจ
ข. การจัดการประชุมในปีล่าสุด จัดที่ กรุงซานติเอโก ประเทศชิลี
ค. ประเทศไทย เคยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุม APEC ถึง 2 ครั้ง
ง. จุดมุ่งหมายของ APEC คือถ่วงดุลอานาจที่กาลังเติบโต ของสหภาพยุโรป
205. ประเทศสมาชิกกลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย – แปซิฟิค (Asia – Pacific Economic
Cooperation = APEC) มีทั้ง 21 เขตเศรษฐกิจ ประเทศใดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้หรืออาเซียน
(ASEAN) ไม่ได้เป็นสมาชิกกลุ่ม APEC
ตอบ .............................................................................................................................................
206. กลุ่ม PIIGS หมายถึง รัฐอธิปไตยในทวีปยุโรปที่ประสบปัญหาหนี้สาธารณะอันประกอบไปด้วย
ตอบ P – ............................................................
I – ............................................................
I – ............................................................
G – ............................................................
S – ............................................................
207. หน่วยงานใดขององค์การสหประชาชาติที่มีสานักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่กรุงเทพมหานคร
ก. องค์การอาหารและการเกษตร (Food and Agriculture Organization of the Uniteds Nations
– FAO)
ข. องค์การอนามัยโลก (World Health Organization – WHO)
ค. คณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสังคมแห่งเอเชียแปซิฟิค (Economic And Social Commission For
Asia And The Pacific – ESCAP)
ง. กองทุนสงเคราะห์เด็กแห่งสหประชาชาติ (United Nations Children's Fund – UNICEF)
208. บุคคลแห่งปี 2562 (ค.ศ.2019) ที่นิตยสารไทม์ได้ยกย่อง คือ ...
ตอบ .................................................................................................................................................
209. ญี่ปุ่นกับรัสเซียเกิดความขัดแย้งเรื่องหมู่เกาะที่เป็นข้อพิพาทล่าสุด ซึ่ง เป็นดินแดนที่อยู่ทางตอนเหนือของ
เกาะฮอกไกโด คือหมู่เกาะใด
ตอบ ...................................................................................................................................................
210. ประเทศใหม่ล่าสุดของทวีปแอฟริกา ที่ประชาชนลงมติแยกตัวเป็นอิสระ คือ ...
ตอบ ...................................................................................................................................................
211. สภาเสี้ยววงเดือนแดง คือ องค์กรเกี่ยวกับเรื่องใด
ตอบ ..............................................................................
212. “ปฏิวัติดอกมะลิ” มีจุดเริ่มต้นมาจากการปฏิวัติในประเทศใด
ก. ตูนิเซีย ข. อิยิปต์
ค. ซีเรีย ง. ลิเบีย
จุด เริ่ ม ต้ นของการปฏิ วั ติ เ ริ่ มจาก นายโมฮั ม หมัด บู อ ะซิ ชี บั ณ ฑิ ต ด้า นวิ ท ยาศาสตร์ ค อมพิ ว เตอร์
ชาวเมืองซิดี บูซิส วัย 26 ปี ตัดสินใจจุดไฟเผาตัวเองเสียชีวิต เพื่อประท้วงเหตุที่ตารวจไล่ไ ม่ให้เขาขายผลไม้ใน
รถเข็น และหลังจากการเสียชีวิตของนายโมฮัมหมัดเพียง 18 วัน บรรดาคนหนุ่มสาวก็ใช้สังคมออนไลน์อย่างเฟซบุ๊ค
และทวิตเตอร์ ระดมพลังประชาชนขับไล่นายเบน อาลี และรัฐบาลที่ไม่สามารถแก้ปัญหาปากท้องประชาชนได้
ข้อสอบความรู้พื้นฐานทั่วไปทางรัฐศาสตร์ 61 อ.วีระชัย บัวผัน

และด้วยพลังแห่งประชาชนคนหนุ่มสาวยุคโลกไร้พรมแดนเหล่านี้ ทาให้สามารถโค่นล้มผู้นาประเทศได้สาเร็จ
“การปฏิวัติดอกมะลิ” แพร่ระบาดรวดเร็วไปทั่วโลกอาหรับ ทั้งในแอฟริกาเหนือและตะวันออกกลาง
จนมีการเรียกปรากฏการณ์ดังกล่าวว่า “โดมิโนดอกมะลิ ” เริ่มจากตูนิเซีย ไปอียิปต์ เยเมน บาห์เรน ซูดาน
จอร์แดน และที่กาลังเกิดการปะทะกันรุนแรงในประเทศลิเบีย
213. ทาไมจึงเรียกการปฏิวัติครั้งนี้ว่า “การปฏิวัติดอกมะลิ”
ตอบ ....................................................................................................................................................
214. เป็นคลื่นปฏิวัติ การเดินขบวน การประท้วงและสงครามซึ่งเกิดขึ้นในโลกอาหรับตั้งแต่วันที่ 18 ธันวาคม 2553
ตราบจนปัจจุบัน ผู้ปกครองถูกโค่นจากอานาจในตูนีเซีย อิยิปต์ ลิเบีย เยเมน การก่อการประท้วงของพลเมืองอุบัติ
ขึ้นในบาร์เรน และสงครามกลางเมืองในซีเรีย เรียกเหตุการณ์เหล่านี้ว่า
ก. Arab Spring ข. Tunis Spring
ค. Africa Spring ง. Muslim Spring
215. ประธานาธิบดี ของประเทศซีเรีย คือใคร
ตอบ .................................................................................................................................................
216. ประเทศที่ยังคงพิพาทกันเกี่ยวกับเกาะเซนกากุ หรือเกาะเตียวหยู โดยทุกประเทศอ้างสิทธิการครอบครอง
ได้แก่ประเทศใด
ตอบ ....................................................................................................................................................
217. หมู่เกาะใด ที่ จี น เวี ยดนาม ไต้หวัน ฟิลิ ปปินส์ มาเลเซี ยและบรูไ น ทั้ง 6 ประเทศ ต่า งอ้า งกรรมสิท ธิ์
ครอบครอง
ตอบ .............................................................................
218. เกาหลีเหนือ ปกครองด้วยระบอบคอมมิวนิสต์ตามแนวทางของอดีต สหภาพโซเวียต ระบบการเมืองของ
เกาหลีเหนือตั้งอยู่บนพื้นฐานของลัทธิจูเช่ (Juche) ของพรรคแรงงานเกาหลี ซึ่งอดีตประธานาธิบดีคิม อิล ซุง ได้
บัญญัติขึ้นเมื่อ 26 ธันวาคม 2498 ประกอบด้วยหลักการสาคัญ 3 ข้อ ข้อใดไม่ใช่หลักการสาคัญ
ก. ทางการเมืองอย่างแท้จริง ข. การพึ่งพาตนเองทาง
ค. การป้องกันประเทศด้วยตนเอง ง. การให้อภัยและการปรองดองของคนในชาติ
219. เขตปลอดทหาร บริเวณชายแดนระหว่างประเทศเกาหลีเหนือและเกาหลีใต้ ในบริเวณเส้นขนานที่ 38 โดย
เส้นแบ่งเขตนี้ผ่านบริเวณที่ใด
ตอบ ....................................................................................................................................
220. ผู้นาของเกาหลีเหนือ หลังจากเกาหลีเหนือได้แยกออกมาเป็นเอกราชแล้วถึงปัจจุบัน มี 3 คน
1) ................................... ดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี และต่อมาได้ตาแหน่งประธานาธิบดี จนถึงแก่
อสัญกรรมใน พ.ศ. 2537
2) ................................... ได้ดารงตาแหน่งสืบมา จนอสัญกรรมใน พ.ศ. 2554
3) ................................... ผู้นาประเทศคนปัจจุบัน
221. คิม จอง อึน ผู้นาประเทศเกาหลีเหนือดารงตาแหน่งทางการเมืองหลายตาแหน่ง ยกเว้นข้อใด
ก. ประธานคณะกรรมาธิการกลาโหมแห่งชาติ ข. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม
ค. เลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์ ง. ประธานาธิบดี
ข้อสอบความรู้พื้นฐานทั่วไปทางรัฐศาสตร์ 62 อ.วีระชัย บัวผัน

222. ประเทศใดเป็นมหาอานาจชาติแรก ที่สมาชิกรัฐสภาลงมติรับรองแผนการเลิกใช้พลังงานนิวเคลียร์ภายในปี


2565
ตอบ ....................................................................................................................................................
223. กลุ่มออคคิวพาย วอลล์สตรีท (Occupy Wall Street) เริ่มการประท้วงสถาบันการเงินในสหรัฐบริเวณย่าน
การเงิน Wall Street ในนครนิวยอร์ค ประท้วงลักษณะเดียวกันได้ลุกลามไปยังเมืองใหญ่ต่างๆ ทั่วโลก ทั้งในยุโรป
ออสเตรเลีย ญี่ปุ่น เกาหลีใต้และฮ่องกง ในขณะที่การประท้วงในสหรัฐเองก็มีผู้เข้าร่วมเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ
กลุ่ม Occupy Wall Street ชี้ว่าปัญ หาที่มวลชนแต่ละประเทศเผชิญ นั้นแตกต่างกั นตามพื้นที่และ
สถานการณ์ แต่ประเด็นหลักๆ ที่เป็นจุดร่วมของการประท้วง คือ
ตอบ .....................................................................................................................................................
224. ประชุมสมัชชาใหญ่ยูเนสโกลงมติรับรองรัฐใด เข้าเป็นรัฐสมาชิกลาดับที่ 195 โดยสมบูรณ์ แต่การเข้าเป็น
สมาชิกยูเนสโกนั้นไม่มีผลต่อความพยายามใดๆในการขอเข้าเป็นสมาชิกยูเอ็น เนื่องจากต้องได้รับเสียงโหวต 9 เสียง
จากสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงทั้งหมด 15 ประเทศ ซึ่งสหรัฐฯ ประกาศชัดเจนแล้วว่ าจะใช้สิทธิวีโต้
ความพยายามนี้
ตอบ ....................................................................................................................................................
225. ประเทศใดบ้าง ที่ไม่เคยตกเป็นอาณานิคมของประเทศตะวันตกอย่างเป็นทางการ
ก. มาเลเซีย อินเดีย ไทย ข. จีน ญี่ปุ่น ไทย
ค. ไทย พม่า ลาว ง. สิงคโปร์ เวียดนาม ฟิลิปปินส์
226. องค์กรใดไม่ใช่รูปแบบของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจขั้นต้น
ก. APEC ข. OPEC
ค. AFTA ง. NAFTA
227. รัฐบาลญี่ปุ่นเตรียมเสนอเกาหลีใต้ให้ยื่นเรื่องต่อศาลยุติธรรมระหว่างประเทศอย่างเป็นทางการ เพื่อช่วยแก้ไข
ปัญหาความขัดแข้งกรณีหมู่เกาะพิพาทระหว่างทั้งสองประเทศ ที่ยืดเยื้อมานาน หมู่เกาะพิพาทระหว่างญี่ปุ่นกับ
เกาหลีใต้ คือ
ตอบ ...................................................................................................................................................
228. แคว้นใดที่ประชาชนนับล้านเดินขบวนใหญ่เรียกร้องเอกราชจากสเปน
ตอบ ......................................................................................................................................
229. คาขวัญวันสิ่งแวดล้อมโลก ปี 2562 คือ .....
ตอบ .............................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
สาหรับจุดเริ่มต้นของวันสิ่งแวดล้อมโลก หรือ World Environment Day นั้นจัดทาขึ้นเพื่อให้เกิดความ
ตื่นตัวในด้านวิกฤตการณ์สิ่งแวดล้อมขึ้นทั่วโลก จึงมีมติให้จัดประชุมใหญ่ที่กรุงสตอกโฮลม์ ระหว่างวันที่ 5 –
16 มิถุ นายน พ.ศ. 2515 ที่ มีรั ฐบาลของสวีเ ดนเป็ นเจ้า ภาพ โดยเรีย กการประชุ มนี้ ว่า "การประชุ ม
สหประชาชาติเรื่องสิ่งแวดล้อมของมนุษย์" หรือ "UN Conference on the Human Environment" ซึ่งมี
ผู้เข้าร่วมประชุมกว่า 1,200 คน จาก 113 ประเทศ รวมถึงมีผู้สังเกตการณ์อีกกว่า 1,500 คน จากหน่วยงาน
ของรัฐ องค์การสหประชาชาติ และสื่อมวลชนแขนงต่างๆ
ข้อสอบความรู้พื้นฐานทั่วไปทางรัฐศาสตร์ 63 อ.วีระชัย บัวผัน

230. ประเทศที่เศรษฐกิจกาลังขยายตัวอย่างรวดเร็ว ซึ่งปัจจุบันทั้ง 3 ประเทศดังกล่าว ล้วนเป็นผู้ปล่อยมลพิษสู่ชั้น


บรรยากาศรายใหญ่อันดับต้นๆ ของโลก คือ
ตอบ .....................................................................................................................................................
231. ความขัดแย้งทางเชื้อชาติระหว่างชาวพุทธกับชาวมุสลิมโรฮิงจะในพม่า เกิดขึ้นที่รัฐใด
ตอบ ........................................................................................................................................
232. สัญชาติของชาวมุสลิมโรฮิงจะ ทางการพม่านิยมเรียกคนเหล่านี้ว่าชาวเบงกาลี ซึ่งแฝงนัยยะว่าพวกเขาเป็นผู้
อพยพผิดกฎหมายจากประเทศใด
ตอบ .....................................................................................................................................................
233. การเจรจา 6 ฝ่าย เกี่ยวกับวิกฤติการณ์นิวเคลียร์เกาหลีเหนือ มีประเทศใดบ้าง ..
ตอบ ......................................................................................................................................................
234. ชาติที่ครอบครองอาวุธนิวเคลียร์และได้รับการรับรองว่าครอบครองอาวุธนิวเคีลยร์ คือ
ตอบ .....................................................................................................................................................

235. ชาติใดเป็นชาติแรกของโลกได้เฉลิมฉลองปีใหม่
ตอบ ..................................................................

ทั้งนี้แต่เดิมนั้น ชาตินี้เป็นชาติสุดท้ายที่ได้เฉลิมฉลองปีใหม่ แต่เมื่อปีที่แล้วชาตินี้ได้ปรับเวลาใหม่โดยข้าม


วันที่ 30 ธันวาคมไปสู่วันที่ 31 ธันวาคม เพื่อให้ตรงกับนิวซีแลนด์ ทาให้เปลี่ยนจากชาติสุดท้ายกลายเป็นชาติ
แรกที่เข้าสู่ปีใหม่

236. หมู่เกาะฟอล์กแลนด์ ในมหาสมุทรแอตแลนติก ตอนใต้ เป็นดินแดนที่ 2 ประเทศอ้างสิทธิในการครอบครอง


คือ ประเทศใด
ตอบ .......................................................

237. สตรีไทยคนแรกที่ได้รับเลือกเข้าไปทาหน้าที่ในรัฐสภาของสหรัฐที่ชนะการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
เป็นตัวแทนเขตเลือกตั้งที่ 8 รัฐอิลลินอยส์ เข้าสู่สภาคองเกรสได้สาเร็จ คือ
ตอบ .....................................................................................................................................................
238. ประเทศใด จะมีการพิจารณาภายในสิ้นเดือนตุลาคม 2562 ว่าจะถอนตัวต่อการเป็นสมาชิกอียูหรือไม่
ตอบ ......................................................................................................................................................
239. โคโซโว แยกตัวออกมาจากประเทศเซอร์เบีย สถาปนาเป็นรัฐเอกราช คนในประเทศโซโว มีเชื้อสายใด
ตอบ .............................................................................................................................................................
ข้อสอบความรู้พื้นฐานทั่วไปทางรัฐศาสตร์ 64 อ.วีระชัย บัวผัน

240. นิคมอุตสาหกรรมแห่งใด เป็นสัญลักษณ์ความร่วมมือระหว่างเกาหลีเหนือและใต้ ซึ่งตั้งอยู่ในฝั่งเกาหลีเหนือ


ห่างจากชายแดนเกาหลีใต้ประมาณ 10 กิโลเมตร นิคมอุตสาหกรรมแห่งนี้เป็นหนึ่งในผลสัมฤทธิ์จากนโยบาย “ซัน
ไชน์” ซึ่งริเริ่มในสมัยของอดีตประธานาธิบดี คิม แด-จุง แห่งเกาหลีใต้ในทศวรรษที่ 1990 เพื่อฟื้นฟูความสัมพันธ์
อันดีระหว่างสองเกาหลี
ตอบ .............................................................................................................................................................
241. ประเทศใดเข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรปอย่างเป็นทางการ นับเป็นประเทศที่ 28 ...............................................

*************************************************

You might also like