You are on page 1of 20

การเปลี่ยนแปลง

การปกครอง
พ.ศ.2475
ฐ า ป ก ร ณ์ รั ต น์ ศิ ริ วั ฒ น กุ ล ม . 4 / 4 เ ล ข ที่ 5
2475
การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475

เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ซึ่งมีผลทำให้ราช


อาณาจักรสยามเปลี่ยนรูปแบบประเทศจากระบอบ
สมบูรณาญาสิทธิราชย์ ไปเป็น
ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ เกิดขึ้นจากคณะนายทหารและ
พลเรือนที่ประกอบกัน เรียกตนเองว่า " คณะราษฎร "
2475
การยึดอำนาจการปกครองของคณะ
ราษฎร สามารถทำได้สำเร็จในเช้าวันที่ 24
มิถุนายน พ.ศ.2475 โดยคณะราษฎรได้เชิญ
พระบรมวงศานุวงศ์ชั้นผู้ใหญ่ และข้าราชการ
ซึ่งเป็นที่นับถือของประชาชนมาไว้เป็นตัว
ประกัน พอเหตุการณ์สงบลงคณะราษฎรจึง
ปล่อยข้าราชการและพระบรมวงศานุวงศ์เป็น
อิสระ
2475
" คณะราษฎร " เกิดจากการรวมตัวของทหารบก ทหาร
เรือ และพลเรือนจำนวน 99 คน โดยมีบุคคลสำคัญดังนี้

พ.อ.พระยาพหลพลพยุหเสนา หัวหน้าคณะราษฎร
หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (นายปรีดี พนมยงค์) หัวหน้า
ฝ่ายพลเรือน
พ.อ.พระยาทรงสุรเดช
พ.อ.พระยาฤทธิอัคเนย์
พ.ท.พระประศาสน์พิทยายุทธ
พ.ต.หลวงพิบูลสงคราม
นายควง อภัยวงศ์
พ.อ.พระยาพหลพลพยุหเสนา หัวหน้าคณะราษฎร
หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (ปรีดี พนมยงค์)
2475
คณะราษฎรได้ เสนอ 6 หลั กคื อ
1.จะต้องรักษาความเป็นเอกราชทั้งหลาย เช่น เอกราชในบ้าน
เมือง ในทางศาล ในทางเศรษฐกิจ ฯลฯ ของประเทศไว้ให้มั่นคง

2.จะรักษาความปลอดภัยในประเทศ ให้การประทุษร้ายต่อกันลด
น้อยลงให้มาก

3.จะต้องบำรุงความสมบูรณ์ของราษฎรในทางเศรษฐกิจ โดย
รัฐบาลใหม่จะจัดหางานให้ราษฎรทำ จะวางโครงการเศรษฐกิจ
แห่งชาติ ไม่ปล่อยให้ราษฎรอดอยาก
2475
คณะราษฎรได้ เสนอ 6 หลั กคื อ

4.จะต้องให้ราษฎรมีสิทธิเสมอภาคกัน ไม่ใช่ให้พวกเจ้ามีสิทธิยิ่ง
กว่าราษฎรเช่นที่เป็นอยู่

5.จะต้องให้ราษฎรได้มีเสรีภาพ มีความเป็นอิสระ เมื่อเสรีภาพนี้


ไม่ขัดต่อหลัก 4 ประการดังกล่าวข้างต้น

6.จะต้องให้การศึกษาอย่างเต็มที่แก่ราษฎร
ศาลากลางจังหวัดพระนครศรีอยุธยา สถาปัตยกรรม
คณะราษฎร มีเสาใหญ่หกเสาด้านหน้า ซึ่งอ้างอิงถึงหลัก
หกประการของคณะราษฎร
2475
สาเหตุของการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
พ.ศ.2475

1.ปัจจัยภายนอก

1.1ความเสื่อมของระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์

1.2การแผ่ขยายวัฒนธรรมตะวันตกในประเทศไทย
2475
สาเหตุของการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
พ.ศ.2475

2.ปัจจัยภายใน

2.1การได้รับการศึกษาตามแนวความคิดตะวันตก
ของบรรดาชนชั้นนำในสังคมไทย

2.2ความเคลื่อนไหวของบรรดาสื่อมวลชน

2.3สถานะการคลังของประเทศและการแก้ปัญหา
(จากซ้ายไปขวา) พระยาทรงสุรเดช พระประศาสน์
พิทยายุทธ พระยาพหลพลพยุหเสนา และ พระยาฤทธิ
อัคเนย์ 4 หัวหน้านักปฏิวัติ
2475
คณะราษฎรได้เสนอพระราชบัญญัติธรรมนูญการ
ปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว ซึ่ง นายปรีดี พนมยงค์ ร่าง
เตรียมไว้ ขึ้นทูลเกล้าฯ ในวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ.2475

และได้เปิดสภาผู้แทนราษฎรเป็นครั้งแรกในประเทศไทย
เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ.2475
2475 สาระสำคัญของพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครอง
แผ่นดินสยามชั่วคราว

1. อำนาจของกษัตริย์ คือ เป็นประมุขสูงสุดของประเทศ ซึ่งการตรา


พระราชบัญญัติ และการวินิจฉัยคดีของศาล จะกระทำในนามของกษัตริย์
แต่ถ้ากษัตริย์ไม่สามารถจะทำหน้าที่ได้ หรือ ไม่อยู่ในพระนคร ให้เป็น
อำนาจของ คณะกรรมการราษฎร ที่จะทำหน้าที่แทน การกระทำใดๆของ
กษัตริย์ ต้องได้รับความยินยอมของคณะกรรมการราษฎร และมีกรรมการ
ราษฎร ผู้หนึ่งผู้ใด ลงนามด้วย
2475 สาระสำคัญของพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครอง
แผ่นดินสยามชั่วคราว

2. อำนาจของสภาผู้แทนราษฎร คือ มีอำนาจออกพระราชบัญญัติ


ซึ่งหากกษัตริย์ได้ประกาศให้ใช้แล้ว เป็นอันบังคับใช้ได้ แต่หากกษัตริย์
มิได้ประกาศใช้พระราชบัญญัตินั้นใน 7 วัน และสภาผู้แทนราษฎร ลงมติ
ยืนตามมติเดิม ให้ถือว่าพระราชบัญญัตินั้น ใช้บังคับเป็นกฎหมายได้ อนึ่ง
สภาผู้แทนราษฎร มีอำนาจถอดถอน กรรมการราษฎร หรือ พนักงาน
รัฐบาลผู้หนึ่งผู้ใด ก็ได้
2475 สาระสำคัญของพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครอง
แผ่นดินสยามชั่วคราว

3. นับแต่วันใช้รัฐธรรมนูญนี้ ไปจนกว่า จำนวนราษฎรทั่วพระราช


อาณาเขต ได้สอบไล่ระดับประถมศึกษา เกินกว่าครึ่ง และไม่เกิน10 ปี จึง
จะมีสมาชิกสภาผู้แทน ที่ราษฎร ได้เลือกตั้งขึ้นเอง แต่ในระยะเวลา 6
เดือน หรือ จนกว่าการจัดประเทศ เป็นปกติเรียบร้อย ให้ "คณะราษฎร"
จัดตั้ง "ผู้แทนราษฎรชั่วคราว" จำนวน 70 นาย เป็นสมาชิกในสภา
2475 สาระสำคัญของพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครอง
แผ่นดินสยามชั่วคราว

4. คณะกรรมการราษฎร มีอำนาจหน้าที่ดำเนินการตามวัตถุประสงค์
ของสภา. ทั้งนี้ ให้เสนาบดีกระทรวงต่างๆ รับผิดชอบต่อ คณะกรรมการ
ราษฎร. คณะกรรมการราษฎร จะมีประธาน 1 คน และมีกรรมการอีก 14
คน. ทั้งนี้ ให้สภา เลือกสมาชิกในสภา เพื่อมาทำหน้าที่ประธารกรรมการ
ราษฎร และให้ประธานกรรมการ เลือกกรรมการราษฎร อีก 14 คน
2475
ผลของการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
พ.ศ.2475

สามารถสรุปได้ดังนี้

1.ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีกษัตริย์เป็น
ประมุข

2.ราษฎรมีสิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคมางการเมืองการปกครอง


เท่าเทียมกันภายใต้รัฐธรรมนูญ

3.อำนาจอธิปไตยหรืออำนาจสูงสุดในการปกครองเป็นของปวงชนชาว
ไทย

You might also like