You are on page 1of 18

ปฏิวัติสยาม พ.ศ.

2475
ประวัติศาสตร์ของไทยย้อนกลับไปตั้งแต่สมัยสุโขทัย อยุธยา ธนบุรี และรัตนโกสินทร์
ก่อน24 มิถุนายน 2475 อานาจการปกครองบริหารสูงสุดของรัฐรวมไว้ที่พระมหากษัตริย์
หรือมีการแบ่งอานาจการปกครองไว้ที่เชื้อพระวงศ์ขุนนาง ระบบจตุสดมภ์ สมุหกลาโหม
สมุหนายก หรือการปฏิรูประบบราชการกระทรวง จนกระทั้งเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2475
คณะราษฎรได้ทาการยึดอานาจจากพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยคณะราษฎร
ปฏิวัติ 2475 สาเหตุ ด้านสังคม
ปัญหาด้านความเหลื่อมล้า
การใช้อภิสิทธิ์เหนือกว่าคนทั่วไป ดังจะเห็นได้ชัดในเรื่องของการศึกษา
ต่อให้มีการกาหนดการศึกษาภาคบังคับ พรบ. ประถมศึกษา พ.ศ. 2464
แต่ในความเป็นจริงมีเฉพาะลูกเจ้านายเท่านั้นทีม่ ีโอกาสได้เรียนอย่างเต็มที่
ปฏิวัติ 2475 สาเหตุ ด้านเศรษฐกิจ
• สมัยรัชกาลที่ 6 การเงินเกิดการขาดดุลเป็นอย่างมาก
• เกิดปัญหาภัยแล้วและอุทกภัย
• เศรษฐกิจตกต่า ทศวรรษ 1930 กล่าวคือเศรษฐกิจทั่วโลกตกต่าเป็นอย่างมาก
ผลมาจากสงครามโลกครั้งที่ 1
• รัชกาลที่ 7 แก้ไขปัญหาด้วยการปลดข้าราชการออก
กลุ่มที่โดนปลดเยอะที่สุดคือ ทหารบก
• เพิ่มการเก็บภาษีอากร สร้างความเดือดร้อนให้แก่ข้าราชการและราษฎร
ปฏิวัติ 2475 สาเหตุ ด้านการเมือง

• รัชกาลที่ 7 แต่งตั้งบุคคลในพระราชวงศ์เพื่อดารงตาแหน่ง
ทางการเมืองจานวนมากจึงเกิดการแตกแยกภายใน
ปฏิวัติ 2475 สาเหตุ ด้านจิตวิทยา

• ความคาดหวังทางการเมืองที่สูง แต่ระบอบตอบความคาดหวังของประชาชนต่า
จึงทาให้เกิดกระแสความต้องการ ประชาธิปไตย
ปฏิวัติ 2475 สาเหตุ ด้านปัจจัยภายนอกประเทศ
กระแสความนิยมประชาธิปไตยจากตะวันตกได้แพร่หลายเข้าสู่ประเทศไทย
โดยเฉพาะในกลุ่มนักเรียนจากเมืองนอกที่ไปเรียนฝรั่งเศส
• ญี่ปุ่น ปฏิรูปเมจิ พ.ศ. 2432 จากระบอบศักดินาสู่สมบูรณาญาสิทธิราชย์
• จีน ปฏิวัตซิ ินไฮ่ พ.ศ. 2454 ปฏิวัติล้มล้างระบอบกษัตริย์
• ปฏิวัติรัสเซีย พระเจ้าซาร์หมดอานาจ พ.ศ. 2460

“ไม่มีประเทศใดในโลกจะให้เงินเจ้าได้เยอะขนาดนี้
นอกจากพระเจ้าซาร์และพระเจ้าไกเซอร์เยอรมัน”
5 กุมภาพันธ์ ตั้งคณะราษฎร ปรีดี พนมยงค์

ประชุมครั้งแรกที่บ้านพักเลขที่ 9 ถนนซอมเมอราร์ด กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส


ผู้เข้าร่วมประชุมมี 7 คน การประชุมกินเวลานาน 5 วัน
ลงมติให้ปรีดี พนมยงค์ เป็นประธาน และหัวหน้าคณะราษฎร
24 มิ.ย. 2475 คณะราษฎรเข้ ายึดอานาจ
ใช้วิธีการแบ่งออกแบ่งเป็น 2 ฝ่าย ได้แก่

• ฝ่ายทหาร นาโดย พระยาพหล พลพยุหเสนา

• ฝ่ายพลเรือน นาโดย นายปรีดี พนมยงค์


• เวลา 4.00 น. ในช่วงเช้ามืดของวันที่ 24 มิถุนายน สายโทรศัพท์และโทรเลข
ถูกตัดจากคณะราษฎรฝ่ายพลเรือน
• คณะราษฎร เรียกรวมทหารในกรมอ้างว่ามี กบฏกลางเมือง
ให้เอารถเกราะรถรบ รวมถึงทหารม้ามุ่งหน้าไปพระที่นั่งอนันตสมาคม
• เวลา 06.05 ขบวนถึงลานพระบรมรูปทรงม้า ที่นั่นมีทหารเรือ นักเรียนนายร้อย
• พระยาพหลพลพยุหเสนา อ่านประกาศ คณะราษฏร ฉบับที่ 1
• ปักหมุดคณะราษฏร
• ยึดอานาจสาเร็จในเช้าวันนั้น
• ยึดสถานที่สาคัญ และควบคุมตัวพระบรมวงศานุวงศ์เป็นตัวประกัน
• นายปรีดี พนมยงค์ แจกแถลงการณ์คณะราษฏร
• ช่วงสาย มีแถลงการณ์ ลงพระนาม บริพัทตร

“ข้าพเจ้าขอให้ทหาร ข้าราชการ และราษฏรทั้งหลายจงช่วยกันรักษาความสงบ


อย่าให้เสียเลือดเสียเนือ้ ของคนไทยกันเองโดยไม่จาเป็นเลย”
27 มิถุนายน 2475

• ประกาศใช้ พรบ.ธรรมนูญปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พ.ศ 2475


• ประกาศหลัก 6 ประการ ได้แก่
เอกราช ปลอดภัย เศรษฐกิจ การศึกษา เสมอภาค เสรีภาพ

28 มิถุนายน 2475

• เปิดประชุมสภาวันแรก
มีพระยามโนปกรณ์นิติธาดา เป็นนายกคนแรก
28 สิงหาคม 2475
• สมาคมคณะราษฎร
เป็นพรรคการเมืองแรกของไทย

10 ธันวาคม 2475

ร.7 พระราชทานรัฐธรรมนูญ

You might also like