You are on page 1of 38

ประวัติศาสตร์สากล

ชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่


กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา๔-๖
และ
หน่วยการเรียน หน่วยการเรียน หน่วยการเรียน หน่วยการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ วัฒนธรรม
รู้ที่ ๑ รู้ที่ ๒ รู้ที่ ๓ ที่ ๔ ที่ ๕

๑_หลักสูตรวิชา
ประวั ติศาสตร์ดสการเรี
๒_แผนการจั ากล ยน
รู้
๓_PowerPoint_ประก
อบการสอน
๔_ใบงาน_เฉลย
๕_ข้อสอบประจำ
หน่วย_เฉลย
๖_การวัดและประเมิน
ผล
๗_เสริมสาระ
๘_สื่อเสริมการเรียนรู้

บริษัท อักษรเจริญทัศน์ อจท. จำกัด : 142 ถนนตะนาว เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200


Aksorn CharoenTat ACT.Co.,Ltd : 142 Tanao Rd. Pranakorn Bangkok 10200 Thailand
โทรศัพท์ : 02 622 2999 โทรสาร : 02 622 1311-8 webmaster@aksorn.com / www.aksorn.com
หน่วยการ ๔
เรียนรู้ที่
เหตุการณ์สำคัญทาง
ประวั
ที่มต
ีผิศ าสตร์
ลต่ อโลกปั จจุบ

จุดประสงค์การเรียนรู้

ก. วิเคราะห์เหตุการณ์สำาคัญต่างๆ ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง


เข้าสู่โลกสมัยปั จจุบันได้
ข. วิเคราะห์ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรป ไปยังทวีปอเมริกา แอฟริกา และ
เอเชียได้
เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลาง (ค.ศ. ๔๗๖-๑
ระบอบการปกครอง
แบบฟิ วดัล
คำว่า “feudalism” มีรากศัพท์มาจากภาษา
ละตินว่า feudum ตรงกับภาษาอังกฤษว่า
feeหรือ fief อันหมายถึง ที่ดิน ซึ่งบุคคล ที่
ได้รับที่ทำกินจากเจ้านาย (lord) จะต้องให้
ความเคารพเชื่อฟั งและรับใช้เจ้านายเพื่อ
ตอบแทนสิทธิที่ได้ใช้ที่ดินผืนนัน
้ ๆ

ภาพวาดอัศวินในสมัยกลาง
ต่อสู้กับข้าศึกศัตรูที่เข้ามา
รุกราน เพื่อเป็ นการแสดง
ความจงรักภักดีต่อเจ้านายของ
ตน
งครามครูเสด

• เป็ นสงครามศาสนาระหว่างชาวคริสต์กับ
ชาวมุสลิม เกิดขึน้ ใน ค.ศ. ๑๐๙๖ และ
สิน้ สุดลงใน ค.ศ. ๑๒๙๑
• เป็ นเหตุการณ์สำคัญที่มีอิทธิพลต่อยุโรป
อย่างมาก เพราะทำให้มีการเปลี่ยนแปลง
ในการดำเนินชีวิต ระบอบการปกครอง
การสร้างสมวัฒนธรรม การศึกษาและ
อื่นๆ มากกว่าเหตุการณ์ใดๆ ใน
ประวัติศาสตร์สมัยกลาง

ภาพวาดการสู้รบระหว่างจักร
พรรดิชาร์ล มาร์เตลกับพวก
มุสลิมที่เมืองตูร์ ซึ่งชาวคริสต์
เป็ นฝ่ ายชนะทำาให้ดินแดน
ยุโรปตะวันตกรอดพ้นจากการ
ถูกยึดครองของพวกมุสลิม
ฟื นฟูศิลปวิทยาการ

๑) สาเหตุของการฟื้ นฟูศิลปวิทยาการ
• การติดต่อกับตะวันออกในสงครามครูเสดทำให้ชาวตะวันตกสนใจวิทยาการต่างๆ
ในอดีต
• ความมั่งคั่งจากการค้าทำให้เกิดความสนใจในด้านศิลปวิทยาการ มีการแข่งขันกันใน
การสะสมงานศิลปะและสร้างงานศิลปะ ที่เลียนแบบกรีก-โรมัน จนเกิดเป็ นการ
ฟื้ นฟูศิลปวิทยาการของกรีก-โรมัน
• ชาวอิตาลีมีมโนทัศน์ใหม่ที่มุ่งหวังให้บุคคลในอุดมคติมีความรู้รอบและรอบรู้ทาง
ด้านศิลปวัฒนธรรม โดยเฉพาะในนครรัฐ ฟลอเรนซ์และมิลาน

ภาพวาดทิวทัศน์ของนครรัฐฟลอเรนซ์ที่มีการเจริญเติบโต จึงเหมาะแก่การเป็ นศูนย์กลางของก


ฟื้ นฟูศิลปวิทยาการในทวีปยุโรป
๒) ลักษณะของการฟื้ นฟูศิลปวิทยาการ

นักมนุษยนิยมมุ่งสู่การเรียนรู้ทางโลก โดยศึกษางานเขียนและวรรณกรรมของ
กรีกและโรมันโบราณที่สอดแทรกปรัชญา และแนวทางในการดำเนินชีวิตให้มีความสุข
ในโลกปั จจุบัน

ภาพวาดฟรันเซสโก เปตรากา ชาวอิตาลี


ผู้ได้รับการ
ยกย่องให้เป็ นบิดาแห่งมนุษยนิยม
๓) มรดกทางวัฒนธรรม

• งานประพันธ์เน้นเรื่องทางโลก ได้แก่ บทเพลงรัก หรือ Sonnet หรือบทเพลงรัก


ของเปตราก Decameron ของโจวานนี บ็อกกัซซิโอ (Giovanni Boccacio, ค.ศ.
๑๓๑๓ - ๑๓๗๕)

ภาพวาดเซอร์ทอมัส มอร์ นักมนุษยนิยมชาว


อังกฤษ ผู้แต่งเรื่องยูโทเปี ย เขาถูกพระเจ้าเฮนรี่ที่
๘ สั่งประหารเพราะไม่ยอมรับนิกายแองกลิคัน
หรือ
นิกายอังกฤษ
• วิลเลียม เชกสเปี ยร์ (William Shakespeare, ค.ศ. ๑๕๖๔ - ๑๖๑๖) เป็ นนักแต่ง
บทละครที่มีช่ อ
ื เสียง ผลงานประพันธ์ของเขาได้รับอิทธิพลของบทละครกรีกและ
มาปรับให้เข้ากับสถานการณ์ในขณะนัน ้
• ในสมัยกลาง งานศิลปะส่วนใหญ่มักมีลักษณะแข็งกระด้างและขาดชีวิตชีวา ศิลปิ น
จึงเริ่มหาแนวทางในการสร้างงานศิลปะ โดยใช้ผลงานของกรีก-โรมันที่เป็ น
ธรรมชาติมาเป็ นแม่แบบ ในขณะเดียวกันก็ปฏิเสธงานสร้างสรรค์ของสมัยกลาง
• มัสซักซีโอ (Massacio, ค.ศ. ๑๔๐๑ - ๑๔๒๘) เป็ นจิตรกรอิตาลีคนแรกที่นำ
เทคนิคการวาดภาพ ๓ มิติมาใช้ จนเกิดแนวคิดใหม่ที่ว่าลักษณะที่สมจริงนัน้ เป็ น

Masaccio, Portrait of a Young Man (1425) - wood, National Galler


Art, Washington, D.C.
ในคริสต์ศตวรรษที่ ๑๕ - ๑๖ ศิลปกรรมของอิตาลีได้พัฒนาจนถึงขีดสูงสุดและ
เป็ นแม่แบบให้แก่ศิลปิ นของชาติอ่ นื ๆ ในยุโรป ศิลปิ นที่มีช่ อ
ื เสียงที่สุด ได้แก่
เลโอนาร์โด ดา วินชีภาพ “โมนา ลิซา” ผลงานของเลโอนาร์โด ดาวินชี จิตรกรชาว
อิตาลี (Leonardo da Vinci, ค.ศ. ๑๔๕๒ - ๑๕๑๙) ซึ่งถือเป็ น “มหาศิลปิ นแห่ง
ศิลปิ นทัง้ ปวง” เขาได้รับการ
ยกย่องว่าเป็ นทัง้ จิตรกร กวี นักดนตรี วิศวกรนักวิทยาศาสตร์ และอื่นๆ

ภาพ “โมนา ลิซา”


ผลงานของเลโอนาร์โด ดาวินชี
จิตรกรชาวอิตาลี
หตุการณ์สำคัญในสมัยใหม่จนถึงสมัยปั จจุบัน (ค.ศ. ๑๔๙๒

บและการสำรวจทางทะเล
• บรรยากาศของการแสวงหาและการค้นหาคำตอบให้กับตนเองเกี่ยวกับธรรมชาติ
รอบตัวได้ผลักดันให้ชาวยุโรปในยุคฟื้ นฟูศิลปวิทยาการหันมาสนใจกับความลีล
้ ับ
ของท้องทะเลที่กนั ้ ขวางพวกเขากับโลกของชาวตะวันออก
• พวกเติร์กสามารถยึดครองกรุงคอนสแตนติโนเปิ ลและจักรวรรดิไบแซนไทน์ได้
ทัง้ หมดใน ค.ศ. ๑๔๕๓ ซึ่งมีผลทำให้โลกของศาสนจักรทางตะวันออกใกล้ต้องตก
อยู่ในอำนาจของมุสลิม
• ผลกระทบที่สำคัญ ได้แก่ การค้าทางบกระหว่างตะวันตกกับตะวันออกต้องชะงัก
งันลงและทำให้สินค้ามีราคาสูงมากขึน ้

ภาพวาดเรือเดินสมุทรที่ชาวยุโรปใช้ในการเดิน
ทาง
มายังโลกตะวันออก โดยมีการติดผ้าใบผืนใหญ่
ทำาให้เรือรับลมได้ดีและแล่นได้เร็วขึน

รปฏิรูปศาสนา

๑) การเผยแผ่นิกายโปรเตสแตนต์

ลูเทอร์เริ่มงานในการปฏิรูปศาสนาจุด
ประสงค์ในระยะแรก

ต้องการให้มีการจัดระบบการบริหารภายในองค์กรศาสนจักรใหม่โดยใช้ระบบผู้
แทนแทนระบบการแต่งตัง้ อีกทัง้ ต้องการให้มีการปฏิรูปศาสนาในระดับต่างๆ และ
ลดความสำคัญของสันตะปาปาในการแต่งตัง้ และมีอำนาจเหนือพระราชาคณะ
หลักปฏิบัติของลูเทอร์ที่แตกต่างจากองค์กร
ศาสนจักรมี ๓ ประการ
๑ ศรัทธาโดยความเชื่อ ไม่ใช่โดยการกระทำ

๒ อำนาจสูงสุดของพระคัมภีร์คือสิ่งเดียวที่
ตัดสินความถูกต้อง
ชาวคริสต์ทุกคนทำหน้าที่เป็ นนักบวชได้ในการเผยแผ่พระวัจนะของพระ
๓ เป็ นเจ้าโดยไม่ต้องบวชนิกายลูเทอร์เป็ นที่ยอมรับกันในดินแดนเยอรมัน
และเผยแผ่ไปยังที่ต่างๆ อย่างรวดเร็วโดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มประเทศ
• เมื่อนิกายลูเทอร์ได้เพิ่มความรุนแรงในการต่อต้านนิกายโรมันคาทอลิก พวกมนุษย
นิยมที่ต้องการเพียง “การปฏิรูป” นิกายคาทอลิก จึงพากันกลับไปนับถือนิกาย
คาทอลิก
• นิกายโปรเตสแตนต์อีกนิกายหนึ่งที่มีบทบาทสำคัญต่อการปฏิรูปศาสนาในช่วง
ระยะเวลานัน ้ ได้แก่ นิกายกัลแวง (Calvinism) ซึ่งจัดตัง้ โดย จอห์น กัลแวง (John
Calvin) โดยมีศูนย์กลางในการดำเนินงานที่เจนีวา สวิตเซอร์แลนด์ กัลแวง เป็ น
ชาวฝรั่งเศสที่ได้รับอิทธิพลอย่างมากจากแนวความคิดของลูเทอร์เป็ นส่วนใหญ่

ภาพวาดมาร์ติน ลูเทอร์ ผู้นำาในการปฏิรูป ภาพวาดจอห์น กัลแวง ชาวฝรั่งเศส ผู้ก่อ


ศาสนาได้ติดคำาประกาศ ข้อโต้แย้ง ๙๕ กัลแวงที่เน้นการปฏิบัติตามคำาสอนในคัม
ประการ (๙๕ Theses) เกี่ยวกับความเสื่อมโทรม ไบเบิล
ของคริสต์ศาสนานิกายโรมันคาทอลิก อย่างเคร่งครัด
๒) ผลของการปฏิรูปศาสนา

การปฏิรูปศาสนามีผลโดยตรงต่อประเทศตะวันตก กล่าวคือได้แบ่งแยก
คริสต์ศาสนิกชนออกเป็ น ๒ กลุ่ม
๑ กลุ่มคาทอลิกที่ยังคงสนับสนุนสันตะปาปา
แห่งกรุงโรม
๒ กลุ่มโปรเตสแตนต์ที่ประท้วงข้อปฏิบัติของ
ฝ่ ายคาทอลิก

• พระเจ้าเฮนรีที่ ๘(Henry VIII, ค.ศ. ๑๕๐๙ - ๑๕๔๗) ซึ่งเป็ นกษัตริย์ภาพวาดพระเจ้า


เฮนรีที่ ๘ แห่งราชวงศ์ทิวดอร์ของ
อังกฤษ พระองค์ทรงจัดตัง้ นิกายแองกลิคันแยกตัวออกจากนิกายโรมันคาทอลิก
• ในขณะนัน ้ พระเจ้าเฮนรีที่ ๘ มีพระประสงค์ที่จะหย่าขาดจากพระมเหสีองค์แรกเพื่อ
อภิเษกสมรสใหม่กับแอน โบลีน (Anne Boleyn) แต่สันตะปาปาไม่สามารถประทาน
อนุญาตได้จึงสร้างความแตกร้าวในความสัมพันธ์ระหว่างพระองค์กับกรุงโรม ซึ่งนำไป
สู่การแยกคริสตจักรในอังกฤษและการจัดตัง้ นิกายแองกลิคัน (Anglican) ขึน ้ ใน ค.ศ.
๑๕๓๒ ทำให้อังกฤษสามารถขจัดอิทธิพลของสันตะปาปาและจัดตัง้ องค์กรศาสนจักร
• การปฏิรูปศาสนายังได้ก่อให้เกิด “การปฏิรูปซ้อน” (The Counter Reformation)
ของฝ่ ายคาทอลิก
• ความเข้มแข็งและมีระเบียบวินัยของคณะเยซูอิตจึงช่วยให้ฝ่ายคาทอลิกเป็ นที่ยอมรับ
มากขึน้ ดินแดนหลายแห่งที่เปลี่ยนไปนับถือนิกายโปรเตสแตนต์ก็ได้หันกลับมานับถือ
นิกายคาทอลิกดังเดิม

• ฝ่ ายคาทอลิกยังจัดให้มีการประชุมสภา
แห่งเมืองเทรนต์ (Council of Trent)
ระหว่าง ค.ศ. ๑๕๔๕ - ๑๕๖๓ เพื่อ
กำหนดหลักปฏิบัติในนิกายคาทอลิกและ
ปรับปรุงการบริหารงานให้มี
ประสิทธิภาพ มีการกำหนดกฎที่ผู้นับถือ
คาทอลิกจะต้องปฏิบัติ

ภาพวาดการประชุมสภาแห่งเมืองเทรนต์ ระห
ค.ศ. ๑๕๔๕ - ๑๕๖๓ เพื่อปรับปรุงหลักปฏิบ

ในนิกายโรมันคาทอลิกให้มีประสิทธิภาพมากข
๓) ผลของการปฏิรูปศาสนาที่มีต่อโลก

• การปฏิรูปศาสนาทำให้สังคมตะวันตกซึ่งเคยมีคริสต์ศาสนาเป็ นศูนย์รวมความศรัทธา
ของผู้คนหลากหลายชาติเกิดความแตกแยกเป็ นนิกายต่างๆ

• ในเวลาต่อมาทำให้ชาวตะวันตก มีสิทธิจะเลือกนับถือลัทธิศาสนาใดก็ได้ตามความ
พอใจ ส่งผลให้ชาวตะวันตกอพยพไปอยู่ในประเทศที่นับถือนิกายศาสนาที่ตน นับถือ
บรรดานักวิทยาศาสตร์ นักปรัชญา หรือชาวบ้านที่ไม่พอใจการควบคุมของนิกาย
คาทอลิกหรือนิกายโปรเตสแตนต์ในประเทศตนก็อพยพไปยังประเทศที่มีความเป็ น
อิสระมากกว่าความคิดที่จะต้องทำสงครามศาสนาก็ค่อยๆ หมดไปจากสังคมตะวันตก
• ยังก่อให้เกิดความเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกันทางการเมืองในดินแดนต่างๆ เพราะศรัทธา
ในลัทธิศาสนากับ ความรักชาติบ้านเมืองต่างมีอิทธิพลซึ่งกันและกัน

• การปฏิรูปศาสนายังทำให้รัฐต่างๆ หันมาปรับปรุงตนเองจากระบบเดิมเกิดแนวทาง
ใหม่ในสังคมตะวันตก โดยผู้ปกครองสามารถจัดระบอบการปกครองของตนเองได้
อย่างอิสระโดยปราศจากการแทรกแซงของศาสนจักร
การปฏิวัติทาง
วิทยาศาสตร์
เป็ นกระบวนการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึน
้ อย่างต่อเนื่องครอบคลุมระยะเวลาหลาย
ศตวรรษการติดต่อกับจักรวรรดิไบแซนไทน์ (Byzantine) และตะวันออกกลางของชาว
ตะวันตกในสมัยกลาง ทำให้วิทยาการของกรีกและอาหรับเป็ นที่ยอมรับกันโดยทั่วไป

ภาพวาดกลุ่มชาวยุโรปกำลังค้นคว้าทดลองอันนำ
มา
ซึ่งการก่อเกิดทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์ที่สามารถ
นำาไปประยุกต์ใช้ในการประดิษฐ์คิดค้นด้านต่างๆ
ปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรมเป็ นเหตุการณ์สำคัญในประวัติศาสตร์โลกสมัยใหม่เพราะ
ทำให้โครงสร้างระบบเศรษฐกิจเกษตรกรรมเปลี่ยนเป็ นระบบเศรษฐกิจอุตสาหกรรมที่
เรียกกันทั่วไปว่าระบบทุนนิยม (Capitalism)

พัฒนาการของการปฏิวัติอุตสาหกรรม

๑ การปฏิวัติอุตสาหกรรมระยะแรก
• ระหว่าง ค.ศ. ๑๗๕๐ - ๑๘๗๐ เป็ นการคิดค้นวิธีการผลิตใหม่ๆ
ด้วยการนำพลังไอน้ำและเครื่องจักรไอน้ำมาใช้ในอุตสาหกรรม
การทอผ้า
• มีการตัง้ โรงงานขึน
้ เป็ นครัง้ แรก
• มีการประดิษฐ์เครื่องปั่ นด้ายซึ่งปั่ นด้ายได้รวดเร็วและเส้นด้ายมี
ความละเอียดทนทานและสวยงาม อุตสาหกรรมทอผ้าจึงมีการ
เจริญเติบโตและขยายตัวอย่างรวดเร็ว
๒ การปฏิวัติอุตสาหกรรมระยะที่ ๒ หรือช่วง
สมั
• ยระหว่
ใหม่าง ค.ศ. ๑๘๗๐เป็ นต้นมาจนถึงปั จจุบัน มีการประดิษฐ์คิดค้น
ใหม่ๆ และนำพลังงานใหม่ คือ ไฟฟ้ า น้ำมัน และพลังงานนิวเคลียร์มา
ใช้ ก่อให้เกิดอุตสาหกรรมใหม่ๆ มากขึน

• เป็ นระบบการผลิตขนาดยักษ์ มีการนำความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้
ในอุตสาหกรรมและการประดิษฐ์ ใยสังเคราะห์และวัสดุที่เป็ นโลหะ
มีน้ำหนักเบา
• มีการพัฒนาเครื่องจักรกล เครื่องมือและเครื่องคอมพิวเตอร์ให้ควบคุม
การผลิตและประสานการทำงานร่วมกัน

ภาพวาดการนำาเครื่องจักรไอน้ำามา
ใช้ยกถ่านหินที่มีน้ำหนักมากจาก
เหมืองแร่ ทำาให้ชีวิตของมนุษย์มี
ความสะดวกสบายมากขึน ้
ผลกระทบของการปฏิวัติอุตสาหกรรมที่มี
ต่อโลก
• ประชากรโลกเพิ่มจำนวนขึน ้ อย่างรวดเร็ว ใน ค.ศ. ๑๘๕๐ จำนวนประชากรที่เพิ่ม
ขึน
้ เป็ นผลเนื่องจากอัตราการตายที่ลดลง เพราะความก้าวหน้าทางการแพทย์และ
สาธารณสุข
• การผลิตอาหารในระบบอุตสาหกรรมสมัยใหม่ที่มีจำนวนมากได้ทำให้ปัญหาความ
อดอยากลดลง การเพิ่มจำนวนของประชากรทำให้เกิดการอพยพครัง้ ใหญ่

ภาพวาดชุมชนเมืองที่ยอร์กเชียร์
(Yorkshire) ใน
ประเทศอังกฤษใน ค.ศ. ๑๘๘๕ แสดง
ให้เห็นถึง
การเจริญเติบโตของโรงงาน
อุตสาหกรรมที่กระจาย
อยู่ทั่วไปในตัวเมือง
แนวคิด
เสรีนิยม
๑ เสรีนิยมทางการเมือง

• ในต้นคริสต์ศตวรรษที่ ๑๙ แนวคิดเสรีนิยมก่อให้เกิดการเรียกร้องการ
ปฏิรูปการเมืองเป็ นประชาธิปไตย แบบมีรัฐสภาที่ประชาชนมีส่วน
ร่วมในการบริหารปกครองประเทศโดยเลือกผู้แทนเข้าไปในรัฐสภา
• การมีรัฐธรรมนูญเป็ นหลักกฎหมายของการปกครองและมีกลไกตรวจสอ
และถ่วงดุลอำนาจทางการเมือง การมีความเสมอภาคกันทางการเมือ
การยอมรั
แนวคิดเสรีนิยมเป็ บความเป็
นขบวนการที นปั
่ไม่หยุดจเจกบุ คคลนิ
นิ่ง และมั ยม่ย(individualism)
กเปลี และอื่นๆ
นแปลงไปตามสถานการณ์
ทางสังคมตามความเหมาะสมและจำเป็ น

ภาพวาดแอดัม สมิท
ภาพวาดจอห์น ลอก นักคิดเสรีนิยมคน
นักคิดเสรีนิยมที่เสนอ สำาคัญของยุโรปที่มี
แนวคิดเรื่องการมีสิทธิ แนวคิดให้เอกชน
เสรีภาพของ สามารถประกอบ
ปั จเจกบุคคล กิจกรรมทางเศรษฐกิจ
ได้อย่างเสรีโดย
๒ เสรีนิยมคลาสสิกกับเสรีนิยมสมัยใหม่
• ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ ๑๙ แนวคิดเสรีนิยมในสมัยเริ่มแรกที่เรียก
ว่า เสรีนิยมแบบคลาสสิก (Classical Liberalism)
• เน้นความสำคัญของปั จเจกบุคคล และการมีเสรีภาพอย่างเต็มที่โดย
ไม่มีใครยุ่งเกี่ยวหรือบงการได้
• การให้รัฐมีบทบาทน้อยและปล่อยระบบเศรษฐกิจให้เป็ นไปอย่างเสรี
หมดความสำคัญลงเพราะสังคมตะวันตกได้พัฒนาเจริญมากขึน ้ และ
เป็ นระบบทุนนิยมเต็มที่

อุตสาหกรรมรถยนต์ที่เจริญ
เติบโตในประเทศ
สหรัฐอเมริกาในทศวรรษ
๑๙๒๐ เป็ นลักษณะ
ของเศรษฐกิจเสรีนิยมที่รัฐไม่เข้า
แทรกแซงและ
แนวคิด
จักรวรรดินิยม
• เป็ นลัทธิการปกครองและการดำเนินนโยบายต่างประเทศของชาติยุโรปในกลาง
คริสต์ศตวรรษที่ ๑๙ ในการขยายอำนาจและการแสวงหาผลประโยชน์ในดินแดน
หรือประเทศที่อ่อนแอกว่า
• นำไปสู่การแข่งขันทางด้านเศรษฐกิจ การเมือง และการทหารก่อให้เกิดความขัด
แย้งระหว่างประเทศจนนำไปสู่การเผชิญหน้าของชาติมหาอำนาจยุโรป

ภาพวาดพ่อค้าชาวดัตช์ที่เมืองท่าปั ตตาเวียในเกาะชวาเมื่อ
ประมาณ ค.ศ. ๑๖๐๐ ซึ่งในระยะแรกจะเป็ นการเดินทาง
เข้ามา เพื่อค้าขายสินค้า ก่อนจะขยายตัวเป็ นการเข้ายึด
ครองดินแดนต่างๆ ในภายหลังต่อมา
วคิดชาตินิยม
• เกิดขึน
้ ในยุโรปในคริสต์ศตวรรษที่ ๑๙ เป็ นผลสืบเนื่องจากการปฏิวัติฝรั่งเศส ค.ศ.
๑๗๘๙
• การก่อตัวของแนวคิดเสรีนิยมที่เรียกร้องเสรีภาพในด้านต่างๆซึ่งรวมถึงเสรีภาพที่
จะมีอิสระจากอำนาจการคุกคามจากศัตรูภายนอกด้วย

ภาพวาดการบุกทลายคุกบาสตีย์ (Bastille) ซึ่งใช้เป็ นที่ขังนักโทษการเมืองเมื่อวันที่ ๑๔


กรกฎาคม ค.ศ. ๑๗๘๙ ถือเป็ นจุดเริ่มต้นของ
การปฏิวัติฝรั่งเศสเพื่อล้มล้างการปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์
วคิดสังคมนิยม
• เป็ นอุดมการณ์ทางการเมืองที่เน้นความสำคัญของความเสมอภาคทัง้ ทางสังคมและ
เศรษฐกิจ
• การยกเลิกกรรมสิทธิใ์ นทรัพย์สินส่วนบุคคลและเปลี่ยนทรัพย์สินทัง้ หมดให้เป็ นของ
สังคมส่วนรวมซึ่งจะนำไปสู่การสร้างสังคมแห่งความเสมอภาค
• เป็ นสังคมที่บุคคลแต่ละคนจะทำงานให้แก่สังคมส่วนรวมอย่างเต็มกำลังความ
สามารถ และสังคมก็จะตอบแทนให้
แต่ละคนตามที่แต่ละบุคคลต้องการ

คาร์ล มากซ์ นักคิดสังคมนิยมคนสำาคัญของ


ยุโรปที่เสนอแนวคิดให้ ชนชัน
้ แรงงานต่อสู้
เพื่อความเสมอภาคทางสังคมโดยปราศจาก
ชนชัน้
การปฏิวัติฝรั่งเศสเพื่อล้มล้างการปกครอง
ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์
ความขัดแย้งและความร่วมมือของมนุษยชาติในคริสต์ศตวรรษท
จนถึงปั จจุบัน

๑ ความขัดแย้งในคริสต์ศตวรรษที่ ๒๐ จนถึง
ปั จจุบัน

๑) วิกฤตการณ์ทางการเมือง
๑.๑) วิกฤตการณ์โมร็อกโก
เป็ นวิกฤตการณ์ระหว่างประเทศที่เกิดขึน ้ ๒ ครัง้ โดยวิกฤตการณ์โมร็อกโก
ครัง้ ที่ ๑ เกิดขึน
้ ระหว่าง ค.ศ. ๑๙๐๕ - ๑๙๐๖ และครัง้ ที่ ๒ ใน ค.ศ. ๑๙๑๑
ในวิกฤตการณ์โมร็อกโกครัง้ ที่ ๑ มีสาเหตุจากความขัดแย้งทางการเมือง
ระหว่างฝรั่งเศสกับเยอรมนีในโมร็อกโก

ภาพวาดการ์ตูนในหน้าหนังสือพิมพ์อังกฤษใน
หัวข้อ “กำปั ้ นเหล็กของจักรพรรดิแห่งเยอรมนีทุบ
เมืองท่าอากาดีร์” แสดงถึงเยอรมนีต่อต้านฝรั่งเศส
ในวิกฤตการณ์โมร็อกโกครัง้ ที่ ๒ หรือวิกฤตการณ์
๑.๒) วิกฤตการณ์บอสเนีย
• ก่อนหน้าการเกิดวิกฤตการณ์โมร็อกโกครัง้ ที่ ๒ ใน ค.ศ. ๑๙๑๑ ได้เกิด
วิกฤตการณ์บอสเนียขึน ้ ซึ่งเป็ นผลสืบเนื่องจากออสเตรีย-ฮังการีได้เข้ายึด
ครองบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา (Bosnia and Herzegovina) ใน
คาบสมุทรบอลข่าน
• ใน ค.ศ. ๑๙๐๘ กลุ่มนายทหารหนุ่มที่เรียกตัวเองว่า “เติร์กหนุ่ม”
(Young Turks) ได้ก่อการปฏิวัติขน ึ ้ ในจักรวรรดิออตโตมันหรือตุรกีเพื่อล้ม
ล้างอำนาจอธิปไตยของสุลต่าน
• การจลาจลวุ่นวายภายในจักรวรรดิออตโตมันจึงเปิ ดโอกาสให้บัลแกเรียซึ่ง
อยู่ใต้การปกครองของสุลต่านประกาศตนเป็ นเอกราช ส่วนออสเตรีย-
ฮังการีซึ่งได้สิทธิอารักขาบอสเนีย-เฮอร์เซโกวีนาจากตุรกีเกรงว่าความ
วุ่นวายที่เกิดขึน
้ ในคาบสมุทรบอลข่านจะขยายตัวเข้ามาในบอสเนีย จึง
เข้ายึดครองบอสเนีย-เฮอร์เซโกวีนาเมื่อวันที่ ๗ ตุลาคม ค.ศ. ๑๙๐๘ และ
นำไปสู่วิกฤตการณ์บอสเนีย
ภาพวาดนักศึกษาชาวเซิร์บ ชาตินิยมซึ่งรู้สึกโกรธ
แค้น
ที่ออสเตรีย-ฮังการียึดครองบอสเนียใน ค.ศ.๑๙๐๘
จึงหาทางแก้แค้นด้วยการยิงมกุฎราชกุมารแห่ง
จักรวรรดิ
ออสเตรีย-ฮังการีและพระชายาขณะเสด็จประพาส
๑.๓) วิกฤตการณ์สงครามบอลข่าน
• ในระหว่าง ค.ศ. ๑๙๑๒ - ๑๙๑๓ ได้เกิดสงครามบอลข่านขึน ้ ๒ ครัง้ โดย
สงครามบอลข่านครัง้ ที่ ๑ เกิดจากเซอร์เบีย บัลแกเรีย กรีซ และมอนเตเน
โกร ได้รวมตัวกันเป็ นกลุ่มพันธมิตรทางทหารขึน้ โดยเรียกชื่อว่า สันนิบาต
บอลข่าน (League of Balkan) เพื่อมุ่งยึดครองแคว้นมาซิโดเนีย
(Macedonia) แคว้นคอซอวอ (Kosovo)และเกาะครีตจากตุรกีโดยมี
รัสเซียสนับสนุนอยู่เบื้องหลัง สงครามบอลข่านครัง้ ที่ ๑
• ตุรกีเป็ นฝ่ ายพ่ายแพ้และต้องลงนามในสนธิสัญญาลอนดอน ค.ศ. ๑๙๑๓
โดยสูญเสียดินแดนในคาบสมุทรบอลข่านเกือบทัง้ หมดให้แก่กลุ่มประเทศ
สันนิบาตบอลข่านและมีการจัดตัง้ ประเทศแอลเบเนีย (Albania) ขึน ้

แผนที่แสดงที่ตงั ้ ประเทศในคาบสมุทรบอลข่านเมื่อ
ค.ศ. ๑๙๑๔
สงครามโลกครัง้ ที่ ๑ (ค.ศ. ๑๙๑๔ -
๑๙๑๘)
• จัดเป็ นสงครามของศตวรรษใหม่ที่ประเทศต่างๆ รวมศูนย์ศักยภาพของ
ตนทัง้ ทางเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อการรบ
• พลเมืองของประเทศในแนวหลังก็มีส่วนร่วมในการรบด้วย ชัยชนะของ
สงครามจึงไม่ได้ตัดสินจากการสู้รบ ในสมรภูมิเท่านัน้ แต่ยังรวมถึงขีด
ความสามารถทางอุตสาหกรรมของรัฐในการผลิตอาวุธยุทโธปกรณ์ต่างๆ
• ผลสำคั ญนชี
ที่มีส่ว ประการหนึ
ข ่งของสงครามโลกครั
้ าดต่อการแพ้ ชนะอีกด้วย ง้ ที่ ๑ คือ ทำให้นานาประเทศ
ตระหนักถึงปั ญหาความขัดแย้งที่นำไปสู่สงครามและพยายามหาทางป้ องกัน
เพื่อไม่ให้เกิดสงครามขึน ้ อีก

ในสงครามโลกครัง้ ที่ ๑ ประเทศมหาอำานาจต่าง


นำอาวุธยุทโธปกรณ์ อันทันสมัย เช่น รถถัง
ปื นกล ระเบิดมือ และอื่นๆ มาใช้ในการสู้รบ ส่ง
ผลให้มีผู้บาดเจ็บล้มตายเป็ นจำานวนมาก
สงครามโลกครัง้ ที่ ๒ (ค.ศ. ๑๙๓๙ -
๑๙๔๕)

เส้นเวลาแสดงเหตุการณ์สำคัญใน
ประวัติศาสตร์
ค.ศ. ๑๙๓๙ ค.ศ. ๑๙๔๑ ค.ศ. ๑๙๔๔
เยอรมนีบุกโปแลนด์ ญี่ปุ่นโจมตีอ่าวเพิร์ล ฝ่ ายพันธมิตรยกพลขึน ้ บก
ในหมู่เกาะฮาวาย รวมทัง้ โจมตี ในวันดี-เดย์ (D-Day)
ฮ่องกง พม่า ฟิ ลิปปิ นส์ มาเลเซีย

ค.ศ. ๑๙๓๙ ๑๙๔๐ ๑๙๔๑ ๑๙๔๒ ๑๙๔๓ ๑๙๔๔ ๑๙๔๕

ค.ศ. ๑๙๔๕
ค.ศ. ๑๙๔๒ เยอรมนียอมแพ้และสหรัฐอเมริกาทิง้ ระเบิด
ญี่ปุ่นโจมตีสิงคโปร์และยึดครองหมู่เกาะอินเดียตะวันออก ปรมาณูลูกแรก
ของฮอลันดา นิวกินี และหมู่เกาะโซโลมอน ถล่มเมืองฮิโระชิมะ และลูกที่ ๒ ถล่มเมืองนะ
งะซะกิ
ทำให้ญี่ปุ่นยอมแพ้ สงครามจึงยุติลง
สงครามเย็น (ค.ศ. ๑๙๔๕ - ๑๙๙๑)

• สงครามเย็นหรือที่เรียกกันว่า สงครามอุดมการณ์ เป็ นความขัดแย้งทาง


อุดมการณ์ทางการเมืองเพื่อแย่งชิงความเป็ นผู้นำโลกระหว่างกลุ่มโลกเสรีซึ่งมี
สหรัฐอเมริกาเป็ นผู้นำกับกลุ่มโลกคอมมิวนิสต์ซึ่งมีสหภาพโซเวียตเป็ นผู้นำ
• แต่ละฝ่ ายจะไม่ใช้อาวุธทำสงครามกันโดยตรง แต่จะแข่งขันกันสะสมอาวุธและ
กำลังรบพร้อมกับการแข่งขันกันชิงอำนาจและอิทธิพลด้านต่างๆ เช่น ด้าน
อุดมการณ์ทางการเมือง การทูต การทหาร การโฆษณาชวนเชื่อ ตลอดจน การ
แสวงหาพันธมิตร หรือใช้ตัวแทนทำสงคราม

กำแพงเบอร์ลิน ซึ่งเป็ นสัญลักษณ์ของความ


ขัดแย้งในสงครามเย็นได้ถูกสร้างขึน
้ ใน ค.ศ.
๑๙๖๑ และถูกพังทลายลงใน ค.ศ. ๑๙๘๙
สงครามอิรัก

• ในต้นคริสต์ศตวรรษที่ ๒๑ ความขัดแย้งระหว่างประเทศที่สำคัญและถือว่ามีผลก
ระทบต่อประเทศต่างๆ ทั่วโลก คือ ปั ญหาการก่อการร้ายข้ามชาติ
• เป็ นผลมาจากความรุนแรงของเหตุการณ์ ๑๑ กันยายน ค.ศ.๒๐๐๑ ทำให้
สหรัฐอเมริกาสูญเสียชีวิตพลเมืองและทรัพย์สินอย่างใหญ่หลวง
• ชาวอเมริกันตระหนักว่าชีวิตของตนอาจต้องตกอยู่ในภาวะเสี่ยงภัยได้ทุกเมื่อทัง้ นี ้
ไม่วา่ จะอยู่ในประเทศหรือนอกประเทศ ก็ตามสหรัฐอเมริกาจึงประกาศ
แข็งกร้าวที่จะทำสงครามเพื่อต่อต้านการก่อการร้าย และเรียกร้องให้ประเทศ
ต่างๆ ให้ความร่วมมือกับสหรัฐอเมริกาในการปราบปรามการก่อการร้ายโดย
เฉพาะขบวนการอัล เคดา ที่มีนายอุซามะ บิน ลาเดนเป็ นผู้นำ

การตรวจสอบอาวุธชีวภาพในประเทศอิรักของ
ตัวแทนองค์การสหประชาชาติ เนื่องจาก
สหรัฐอเมริกากล่าวอ้างว่าอิรักซุกซ่อนอาวุธร้ายแรงไว้
๒ ความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ ๒๐ จนถึง
ปั จจุบัน
๑) ประเภทของความร่วมมือ
๑.๑) ความร่วมมือทางการเมือง
ได้แก่ ความร่วมมือของประเทศต่างๆ ที่ปกครองในระบอบประชาธิปไตยหรือ
ที่อยู่ร่วมภูมิภาค ซึ่งอาจจะทำข้อตกลงหรือสนธิสัญญาระหว่างกัน

๑.๒) ความร่วมมือทางการทหาร
เพื่อให้ความช่วยเหลือด้านการทหารต่อกัน เช่น องค์การสนธิสัญญา
แอตแลนติกเหนือหรือนาโต (North Atlantic Treaty
Organization :NATO) เป็ นต้น
๑.๓) ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ
เพื่อให้เกิดความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจร่วมกัน เช่น องค์การการค้าโลกหรือดับ
บลิวทีโอ (World Trade Organization : WTO) สหภาพยุโรปหรืออียู
(European Union : EU) เขตการค้าเสรีอาเซียนหรืออาฟตา (ASEAN
Free Trade Area : AFTA) ความร่วมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย-
แปซิฟิกหรือเอเปก (Asia-Pacific Economic Cooperation : APEC) และ
เขตการค้าเสรี (Free Trade Area : FTA) ต่างๆ เป็ นต้น
๑.๔) ความร่วมมือทางการศึกษา วัฒนธรรม และอื่นๆ
เพื่อให้ความช่วยเหลือแลกเปลี่ยนความรู้ และอื่นๆ ให้เกิดความก้าวหน้า
ความเข้าใจอันดีต่อกัน ความร่วมมือในด้าน
ดังกล่าวนี ้ เช่น องค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่ง
สหประชาชาติหรือยูเนสโก (United Nations Educational, Scientific
and Cultural Organization : UNESCO) ประชาคมอาเซียน (ASEAN
๑.๕) ความร่Community) เป็ นต้คนวามช่วยเหลือแก่ผู้อ่ น
วมมือที่เป็ นการให้ ื ที่ได้รับความเดือดร้อน
เช่น ผู้อพยพ ผู้ได้รับภัยพิบัติ ผู้ที่ไม่สามารถพึ่งพาตนเองได้ เช่น เด็ก คน
พิการ เช่น กองทุนเด็กแห่งสหประชาชาติหรือยูนิเซฟ (United Nations
Children’s Fund : UNICEF) องค์การกาชาดสากล เป็ นต้น
๒) ลักษณะของความร่วมมือ
๒.๑) ความร่วมมือระดับโลก
• ความร่วมมือระดับโลกที่สำคัญที่สุดในปั จจุบัน คือ องค์การสหประชาชาติ
(United Nations : UN) ตัง้ ขึน ้ เมื่อวันที่ ๒๔ ตุลาคม ค.ศ. ๑๙๔๕ ก่อน
การสิน ้ สุดของสงครามโลกครัง้ ที่ ๒ มีวัตถุประสงค์อย่างกว้างขวางในเรื่อง
ความร่วมมือเพื่อให้โลกเกิดสันติภาพและให้ความช่วยเหลือประเทศและ
ผู้คนที่พึ่งตนเองไม่ได้ ส่งเสริมสิทธิมนุษยชน เป็ นต้น ความร่วมมือระดับ
๒.๒) ความร่ วมมื
โลกในปั จจุอบ
ระดั บทวี
ันในลั ป
กษณะอื ่ นๆ ที่สำคัญ
• เป็ นความร่วมมือของประเทศต่างๆ ที่อยู่ในทวีปเดียวกันความร่วมมือมี
หลายประเภท ทัง้ ทางการทหาร การเมือง เศรษฐกิจ วัฒนธรรม กีฬา
เป็ นต้น
• เพื่อให้เกิดการพัฒนา สร้างสันติสุข ลดความขัดแย้ง ให้เกิด ความ
๒.๓) ความร่
แข็งว มมืงอระดั
แกร่ เกิดบ ภูมิภาคอรองกับภูมิภาคอื่น
อำนาจต่
• เป็ นความร่วมมือของประเทศในภูมิภาคเดียวกัน เช่น เขตการค้าเสรี
อาเซียนหรืออาฟตา เป็ นความร่วมมือของประเทศต่างๆ ที่อยู่ในภูมิภาค
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งมีความร่วมมือหลายด้าน
๒.๔) ความร่วมมือระหว่างทวีปและ
ระหว่
• เป็านความร่
งภูมิภาควมมือของประเทศต่างๆ ที่อยู่กันคนละทวีป และคนละภูมิภาค
• ประเภทของความร่วมมือมีหลายด้าน ที่สำคัญเช่น ความร่วมมือทาง
ทหาร เศรษฐกิจ วัฒนธรรม กีฬา เป็ นต้น ได้แก่ ความร่วมมือทาง
เศรษฐกิจของประเทศในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิกหรือเอเปก ในบริเวณทวีป
เอเชียและมหาสมุทรแปซิฟิก ความร่วมมือของกลุ่ม บิมสเทคกลุ่มบิมส
เทค เป็ นความร่วมมือระหว่างประเทศสมาชิกที่อยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวัน
ออกเฉียงใต้กับภูมิภาคเอเชียใต้(BIMSTEC) ย่อมาจาก Bay of Bengal
Initiative for Multi-Sectoral Technical and Economic
Cooperation ซึ่งเดิมใช้ Bangladesh - India - Myanmar - Sri Lanka
- Thailand Economic Cooperation ก่อนที่เนปาลและภูฏานเข้าร่วม
เป็ นสมาชิก เป็ นความร่วมมือของประเทศที่อยู่ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก
เฉียงใต้กับภูมิภาคเอเชียใต้
• ประเทศสมาชิกประกอบด้วย บังกลาเทศอินเดีย เมียนมา ศรีลังกา เนปาล
ภูฏาน และไทย
๓) ตัวอย่างความร่วมมือ

๓.๑) ความร่วมมือในการสร้างสันติภาพ
• เป็ นความสำคัญก้าวแรกของนานาชาติในการสร้างความร่วมมือระหว่าง
ประเทศเพื่อรักษาความมั่นคงปลอดภัยและสันติภาพของโลก
• หลักการและแนวทางขององค์การสันนิบาตชาติได้เป็ นแบบอย่างของการ
จัดตัง้ องค์การสหประชาชาติ (United Nations)
• ในเวลาต่อมาเมื่อสงครามโลกครัง้ ที่ ๒ สิน ้ สุดลง โดยองค์การ
สหประชาชาติถือกำเนิดขึน ้ เมื่อวันที่ ๒๔ ตุลาคม ค.ศ. ๑๙๔๕ เมื่อกฎบัตร
สหประชาชาติได้รับสัตยาบันจากจีนฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต อังกฤษ
สหรัฐอเมริกา และชาติอ่ น ื ๆ ที่ลงนามในกฎบัตรเป็ นส่วนใหญ่ส่วนองค์การ
สันนิบาตชาติซึ่งก่อตัง้ ใน ค.ศ. ๑๙๑๙ ได้แสดงให้เห็นแล้วว่าไม่ประสบ
• ความสำเร็
จุดประสงค์ จหในการยั บยัง้ การคุ
ลักของการก่ อตัง้ กองค์
คามสั นติภาพจนเกิดสงครามโลกครั
การสหประชาชาติ ง้ ทีก
ก็เพื่อให้เป็ นองค์ ่ ๒ร
ขึกลางที

้ จึงถู่ทกำหน้
ยุบอย่
าทีา่รงเป็ นทางการใน
ักษาสั ค.ศ. ๑๙๔๖ ่นคงร่วมกัน อีกทัง้
นติภาพโลกและความมั
สนับสนุนความสัมพันธ์ฉันมิตรระหว่างประเทศต่างๆ ประเทศสมาชิกล้วน
ยอมรับในกฎบัตร ซึ่งเปรียบเสมือนสนธิสัญญาระหว่างประเทศที่วางหลัก
การแห่งความสัมพันธ์ระหว่างรัฐต่างๆ
ตามกฎบัตรนี ้
๓.๒) ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ
• ความร่วมมือทางเศรษฐกิจที่มีขนาดใหญ่และสำคัญ ซึ่งไทยมีบทบาทสำคัญ
ร่วมอยู่ด้วยกลุ่มหนึ่ง คือ กลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจของประเทศใน
ภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิกหรือเอเปก (Asia-Pacific Economic
Cooperation : APEC)
• มีสมาชิก ๒๑ เขตเศรษฐกิจใน ๔ ทวีป ได้แก่ เอเชีย ออสเตรเลีย
อเมริกาเหนือ อเมริกาใต้ โดยมีประชากรรวมกันประมาณ ๒,๗๐๐ ล้านคน
คิดเป็ นสัดส่วนประมาณร้อยละ ๔๐ ของประชากรโลก และมีมูลค่า
ทางการค้าคิดเป็ นสัดส่วนประมาณร้อยละ ๔๔ ของการค้าโลก และร้อยละ
จุดมุ่งหมายที่
๕๗ ของ GDP โลก
สำคัญ ดังนี ้
๑. ส่งเสริมความร่วมมือเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจที่ยั่งยืนของภูมิภาคและของ
โลก
๒. ส่งเสริมการค้าพหุภาคี
๓. เป็ นการรวมกลุ่มแบบเปิ ด คือ ให้ผลประโยชน์แก่สมาชิกเอเปกและ
เป็ นการถ่วงดุล การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจกลุ่มอื่น
๔. การดำเนินงานถือความเท่าเทียมกันและผลประโยชน์ร่วมกัน
๓.๓) ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ สังคม วิชาการ และวัฒนธรรม
• เป็ นการรวมกลุ่มที่มีจุดมุ่งหมายหลายด้าน ที่สำคัญ เช่น กลุ่มสมาคม
ประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรืออาเซียน
• อาเซียนตัง้ ขึน
้ เมื่อ ค.ศ. ๑๙๖๗ ประเทศสมาชิกที่ร่วมก่อตัง้ มี ๕ ประเทศ
ได้แก่ ไทย สิงคโปร์ มาเลเซีย ฟิ ลิปปิ นส์ และอินโดนีเซีย
• การแถลง “ปฏิญญาอาเซียน” เมื่อวันที่ ๘ สิงหาคม ค.ศ. ๑๙๖๗ ว่าจะส่ง
เสริมความร่วมมือทางเศรษฐกิจ สังคม วิชาการ และวัฒนธรรม เพื่อ
เสริมสร้างเสถียรภาพ ความมั่นคง และความเป็ นปึ กแผ่นของประชาชาติ
และภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
๓.๔) การแข่งขันกีฬา

• โดยเฉพาะการแข่งขันกีฬาโอลิมปิ ก (Olympic Games) ถือเป็ นตัวอย่าง


ที่ดีมากในความร่วมมือของมนุษยชาติในโลก
• ทุกชาติไม่วา่ จะเป็ นชาติที่พัฒนาแล้วหรือกำลังพัฒนา ชาติมหาอำนาจ
หรือชาติที่อ่อนแอ ชาติทุกผิวสี
ชาติที่เป็ นมิตรหรือเป็ นศัตรูต่อกัน จะมาร่วมแข่งขันและผลัดเปลี่ยนกัน
เป็ นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน

You might also like