You are on page 1of 22

สรุปวิชา GEN 321 The History of Civilization Semester

อารยธรรมยุคกลาง

อารยธรรคยุคกลางทีครอบคลุ ้ ศตวรรษที่ 5-15 นั้น
มตังแต่

เป็ นยุคทีศาสนาคริ สต ์มีความสาคัญและมีความเจริญอย่างสูงสุด เนื่ องจาก
้ ยค
ตังแต่ ุ ปลายสมัยจักรวรรดิโรมั ์ น
ผูค้ นในโลกตะวันตกต่างมานับถือคริสต ์ศาสนาด ้วยวิธก ี ารบีบบังคับจากกฏหมาย
Theodosian Code ในขณะเดียวกัน
ชาวอาหร ับในบริเวณตะวันออกกลางบางกลุม ่ สามารถยอมร ับในหลักคริสตศา
่ ทีไม่
่ นไปนับถืออิสลามทีประกาศตั
สนา ได ้เริมหั ่ วในคริสตศตวรรษที่ 7 แทน

แม้วา่ ศาสนาคริสต ์จะเป็ นศูนย ์กลางของทุกสิงในโลกตะวั นตก
แต่กระนั้นก็ตาม
ในโลกของพระคริสต ์ก็มค ี วามแตกต่างทางวัฒนธรรมระหว่างโรมันตะวันตกและโรมั
นตะวันออก ดังนี ้

์ นตะวันตก จักรวรรดิโรมั
จักรวรรดิโรมั ์ นตะวันออก
ศู นย ์อานาจ โรม (อิตาลี) คอนสแตนติโนเปิ ล
(ตุรกี)
ผู น
้ าปกครองทางการเมือง โป๊ป + กษัตริย ์ องค ์จักรพรรดิ ์
ผู น้ าทางศาสนา โป๊ป พระพาร ์ธิอาร ์ช
ภาษา ละติน กรีก

นอกจากนี ้ ในขณะนั้น โลกตะวันตกไม่มค ี วามปลอดภัย


เนื่ องจากถูกการรุกรานมาจากพวกอนารยชนกลุม ่ ต่าง ๆ
ศูนย ์กลางอานาจของโลกตะวันตกย ้ายมาอยูท ่ี
่ ศาสนจั กร (องค ์โป๊ ป)
่ ่ ์ ่
ทีเข ้ามาแทนทีจักรพรรดิโรมันตะวันตกซึงล่มสลายไปเมือ ่ ค.ศ. 476
ฝากฝั่งขององค ์จักรพรรดิโรมั ์ นตะวันออกก็ไม่มค ี วามสนใจสภาพความเป็ น
อยูข ่ องฝากฝั่งตะวันตก ดังนั้น
ผูค้ นในจักรวรรดิโรมั ์ นตะวันตกจึงเสมือนถูกปล่อยให ้อยูอ ่
่ ย่างโดดเดียว
่ นทีมาของค
ซึงเป็ ่ าว่า โลกตะวันตก
่ มใช
ทีเริ ่ ่
้กันในหมู่นักเดินทางทีมาจากด ้านตะวันตก (The rise of Western World)

การขึนมาอานาจของคริสตจักร
การทีโป๊่ ปไม่มก ี องทัพป้ องกันตนเองจากพวกอนารยชน
โป๊ ปจึงได ้ใช ้วิธก ี ารเผยแพร่ศาสนาคริสต ์ให ้กับพวกอนารยชนทีมี ่ ท่าทีทเชื
่ี อฟั
่ งใน
คาสอน ทาให ้พวกอนารยชนกลายเป็ นเครือข่ายของศาสนาคริสต ์
เหตุการณ์สาคัญอีกประการหนึ่ งคือ
การแต่งตังผู ้ น้ าอนารยชนเป็ นจักรพรรดิโรมันอันศักด ์สิทธิ ์ อันมีความหมายว่า
จักรวรรดิโรมั ์ นในโลกพระคริสต ์ โดย โป๊ ป ลีโอที่ 3
ได ้ทาการสถาปนาผูน้ าเผ่าแฟรงค ์เป็ นจักรพรรดิโรมันอันศักดิสิ์ ทธิ ์ ทีมี ่ พระนามว่า
.ชาร ์ล เดอมาญ....
สภาพสังคมยุคกลาง
ในเวลายุคกลาง
ก็ได ้มีการสถาปนาระบบศ ักดินาสวามิภก ์
ั ดิทางการปกครอง (Feudalism)
โดยมาจากวัฒนธรรมของพวกอนารยชนเผ่าเยอรมันและวัฒนธรรมของโรมันเดิม
ทีได่ ้ผสานกันทาใหร้ ะบบศักดินาสวามิภก ์
ั ดิทางการปกครอง (Feudalism)

นี มาใช ้ในโลกตะวันตก
จากเดิมทีเป็ ่ นการให ้มรดกทีดิ ่ นแก่ลก ู ชายคนโต
เมือน ่ ามาประยุกต ์ใช ้กับสถานการณ์โลกตะวันตกในยุคนั้น
โดยกษัตริย ์ทีครองแคว ่ ้นนั้น มีกองกาลังทหารทีไม่ ่ สามารถดูแลอาณาจักรได ้ทั่วถึง
กษัตริย ์ก็จะแบ่งทีดิ ่ นให ้ขุนนางออกไปดูแลปกครอง หากแคว ้นมีขนาดใหญ่มาก
ขุนนางทีได ่ ้ร ับสิทธิจากกษั ์ ตริย ์ดูแลไม่ท่วถึ ั งก็จะแบ่งทีดิ ่ นให ้ขุนนางแม่ทพ ั ลาดับต่อ
ไป
ในขณะเดียวกัน สภาพเศรษฐกิจแบบ. Manorial
Systemโดยจากการทีขุ ่ นนางในพืนที ้ ที่ ได
่ ้ร ับมอบหมายนั้น
ได ้แบ่งทีดิ ่ นให ้ชาวนาทีเข ่ ้ามาพึงใบบุ ่ ญเข ้ามาอยูอ ่ าศัย
โดยชาวนาต ้องปฏิบต ั ติ ามพันธะสัญญาทีให ่ ้ไว ้ โดยมีพระเป็ นผู ้ทาสัญญา
นี่ คือลักษณะสังคมในยุคกลาง
บ้านเมืองในสมัยยุคกลางนัน ้ จะอยูเ่ ป็ นชุมชนเล็ก ๆ
มีทงโบสถ ั้ ์สาหร ับการประกอบพิธก ี รรมทีศาสนาที ่ ่
ครอบคลุ มทังช่้ วงชีวต ิ
ของคนในยุคนัน ้
โบสถ ์จึงมีความสาคัญและเป็ นสถานทีศ ่ ักดิสิ ์ ทธิที์ ห้
่ ามไม่มใิ ห้ผูใ้ ดเข้ามา
ได้ง่าย (วิธก ี ารคิดแบบนี จะถู ้ กนามาใช้ในการสร ้างสถานทู ตในปั จจุบน ั )
นอกจากนี จะมี ้ ทที ี่ เรี ่ ยกว่า common land
ทีผู ่ ค ้ นสามารถเข้าไปใช้ประโยชน์ได้

(นี เป็ นทีมาของการอนุ ่ ร ักษ ์พืนที ้ ป่่ าสงวนในปั จจุบน ั )
การค ้าในยุคนี มี ้ นอ้ ยมาก เพราะมีการรบบ่อย ๆ
แนวคิดเบืองหลั ้ งของยุคกลาง

ในยุคนี เป็ นยุคทีพระมี ่ บทบาทอย่างมากในโลกตะวันตก
เป็ นยุคแห่งความเชือมั ่ ่นในพลังศาสนา ดังนั้น
ในยุคนี จึ ้ งเป็ นยุคทีมหาวิ ่ ทยาลัยได ้ถือกาเนิ ดขึนมา ้
ในระยะแรกเพือสร ่ ้างพระหรือบาทหลวงก่อน
ซึงท ่ าให ้พวกพระได ้เข ้ามาตังระเบี ้ ยบแบบแผนทีเป็ ่ นจารีตไว ้ทีส ่ าคัญแก่ผูค้ นตลอด
จนแนวคิดในการชีวต ิ ประจาวันไว ้ คือ St. Augustin ในงานเขียนทีชื ่ อว่
่ า City of
God ทีได ่ ้อธิบายอาณาจักรทียิ ่ งใหญ่
่ และสาคัญทีสุ ่ ด คือ
อาณาจักรของพระเจ ้าทีมี ่ ความยิงใหญ่ ่ กว่า อาณาจักรของโลกมนุ ษย ์
นอกจากนี ยั ้ งมี St.Thomas Aquinus..
ได ้อธิบายสภาพสังคมทีปรากฏในยุ ่ คกลางเป็ นความชอบธรรมตามระบบทีเรี ่ ยงร ้อย
ด ้วยห่วงโซ่ขนาดใหญ่(The Great Chain of Being) จากบนลงล่าง
เป็ นการจัดระเบียบผูค้ นออกเป็ นกลุม ่ ๆ โดยโป๊ ปเป็ นผู ้อยูส
่ งู สุด
เพราะมีความสมบูรณ์ของสภาวะทางจิตสูงสุด ร ้อยเรียงลงมาก็จะเป็ นในกลุม ่ พระ
รองมาเป็ นกษัตริย ์ ขุนนางจนถึงสามัญชน ซึงแนวคิ ่ ดนี ้
เป็ นคติความคิดทีท ่ าให ้เกิดความเชือในเรื ่ ่
อง
สถานะของคนในสังคมแบบฟ้ าสูงแผ่นดินต่า
พร ้อมกับเป็ นการบอกสภาพตาแหน่ งของตนเองในลักษณะชีวต ่ ดมาเป็ นอย่างไ
ิ ทีเกิ
รก็ต ้องเป็ นอย่างนั้นจนตาย
ยุคกลางตอนปลาย
ในช่วง 1200 เกิดกรณี พพ ิ าทจากการจารึกแสวงบุญ
ระหว่างชาวคริสต ์ทีไปเมื ่ ่
องเยรู ซาเล็ม ซึงในขณะนั ้นอยูภ่ ายใต ้อานาจของมุสลิม
จึงเกิดสงครามทางศาสนา ครู เสด
สงครามครงนี ั้ ได
้ ้ก่อให ้เกิดการเปลียนแปลงทางด
่ ้านการค ้าและการคมนาคม
สินค ้าจากโลกอาหรับเข ้าสูย ่ โุ รป
ยุโรปเองก็เกิดการฟื ้ นฟูเส ้นทางคมนาคมตามเส ้นทางเดิมของในสมัยโรมัน
ช่วงยุคกลางจะสินสุ ้ ดลงอย่างชัดเจน ก็ตามเหตุการณ์ดงั ต่อไปนี ้
1.จักรวรรดิโรมั ์ นตะวันออกถึงพวกออตโตมันเตอร ์กถูกตีแตกใน ค.ศ.
1453 2. การประดิษฐ ์เครืองพิ ่ มพ ์ดีดของกู เธนเบิร ์ก 3.
การค้นพบดินแดนโลกใหม่ของคริสโตเฟอร ์ โคลัมบัส ค.ศ. 1492 ทัง้ 3
เหตุการณ์ถอ ื เป็ นการสินสุ ้ ดของสมัยกลาง
การเกิดร ัฐชาติ
ในขณะที่ สถาบันคริสตจักรขยายอานาจควบคุมทางโลก
โดยโป๊ ปได ้ประกาศว่า อานาจของโป๊ ปไม่ผด ิ ถูกตลอด ในขณะเดียวกัน
สถาบันกษัตริย ์เริมก่ ่ อตัวขึนมาท้าทายอ
้ านาจทางศาสนาคริสต ์ ทีส ่ าคัญดังนี ้
1. กลุม ่ รัฐชาติใหม่
- อ ังกฤษ แรกเริมมาจาก ่ ่ั
ขุนนางฝรงเศส คือ ดยุคแห่งนอรมันดี

ได ้อ ้างสิทธิในการครองเมื องอังกฤษ สถาปนาตัวเองเป็ น William 1
เป็ นกษัตริย ์อังกฤษ ต่อมาได ้เกิดปัญหาเรืองที ่ ดิ ่ นแดนเดิมในฝรงเศส
่ั
ทาให ้เกิดสงครามระหว่างอังกฤษและฝรงเศสใน.สงครามร่ั ้อยปี
ซึงท่ าให้เกิดการรวมประเทศเป็ นอ ังกฤษและฝรงเศสต่ ่ั อมาภายหลังอังกฤษแ
่ ้
พ ้ กษัตริย ์ตกอยูใ่ นสภาวะทีมีหนี สิน มากมาย
จึงพยายามเรียกเก็บภาษีจากประชาชนมากขึน้
นาไปสูค ่ วามขัดแย ้งระหว่างพระมหากษัตริย ์อังกฤษกับขุนนาง ซึงกษั ่ ตริย ์แพ ้
ตกลงในนามในข ้อตกลงทีเรี ่ ยกว่า Magna Carta
กษัตริย ์ไม่มส ี ท ์ บภาษีได ้ตามอาเภอใจ
ิ ธิเก็
่ั
- ฝรงเศส ภายหลังได ้รับชัยชนะในสงคราม 100 ปี
ฝรงเศสได่ั ้สามารถทีจะรวมเป็ ่ นชาติได ้ สถาบันกษัตริย ์มีความเข ้มแข็งมากขึน้
-สเปน
เกิดจากการรวมกลุม ่ ของผูท้ นั ่ี บถือคริสตศาสนาต่อต ้านพวกแขกมัวร ์มุสลิม
ต่อมาแคว ้นผูน้ า 2 แคว ้นได ้มาแต่งงานกัน คือ .. Isabella และ Ferdinand..
เกิดร ัฐชาติสเปนขึน้ ต่อมาโปสตุเกสได้แยกตัวจากสเปนในภายหลัง
2. กลุม ่ ทียั่ งไม่เกิดร ัฐชาติใหม่
- จักรวรรดิโรมันอ ันศ ักดิสิ ์ ทธิ ์ (ปร ัสเซีย-เยอรมัน)
ความพยายามทีจั ่ ดตังจั ้ กรวรรดิโรมันภายใต ้โลกพระคริสต ์
ได ้เริมต ่ ้นอีกครงเมื ้ั อจั่ กรพรรดิ. Otto 1
ได ้พยายามสถาปนาอานาจให ้เข ้มแข็งขึนมาใหม่ ้
แต่สมัยต่อมาก็แตกเป็ นแคว ้นเล็ กแคว ้นน้อยอีก ดังนั้น
จักรพรรดิของจักรวรรดิโรมันอันศักดิสิ์ ทธิจึ์ งค่อนข ้างอ่อนแอ
การแต่งตังผู ้ น้ าจึงอยูใ่ นภายใต ้การเลือกตังของ. ้ Golden Bull.. จาก 7 แคว ้นหลัก
///////////////////////////////////////////////////////////
ยุคฟื ้ นฟู ศิลปวิทยาการ
สงครามครูเสด
ส่งเสริมให ้มีการพัฒนาเส ้นทางโบราณระหว่างตะวันตกและตะวันออก
ภายหลังจากการรุกรานของพวกอนารยชนในยุคกลาง
การเปิ ดเส ้นทางการค ้าทาให ้เกิดชุมชนบริเวณชุมทาง ทีเรี ่ ยกว่า เกิดธุรกิจบริการ
เช่นโรงแรม ภัตตาคาร โดยพวกทีเข ่ ้ามาอยูโ่ ดยมากเป็ น
.พวกคนพเนจร...ซึงท ่ าให ้เกิดเมืองใหม่ โดยชนชาวเมืองในตอนแรก
ชุมชนเมืองมีการจัดตังหน่ ้ วยงานทีเรี ่ ยกว่า
Guild..มาเป็ นหน่ วยดูแลสังคมก่อนทีจะพั ่ ฒนาเป็ นสมาคมการค ้า
แต่เนื่ องจากคนเมืองครงหนึ ้ั ่ งเคยเป็ นไพร่ของระบบฟิ วดัล
จึงเกิดปัญหาข ้อขัดแย ้งระหว่างชาวเมืองกับขุนนาง ดังนั้น
ชาวเมืองหาทางออกโดยขอความคุ ้มครองจากกษัตริย ์ ให ้ประทาน... Charter.
ดูแลคุ ้มครองชาวเมือง โดยชาวเมืองจะถวายเงินกษัตริย ์
่ ตริย ์มักจะนาไปพัฒนากองทัพ
ซึงกษั
ทาให ้สถาบันกษัตริย ์กลับมามีความเข ้มแข็งขึนอี ้ กครง้ั
จนกระทั่งเกิดการแข่งขันระหว่างกษัตริย ์กับศาสนจักร
คาว่า

ฟื นฟูศล ิ ปะวิทยาการเป็ นการให ้ความสาคัญในเรืองงานศิ ่ ลปะและวรรณกรรมเป็ น
สาคัญ และเป็ นแนวความคิดกระแสรอง โดยกระแสความคิดนี ้
ก่อให ้เกิดความสาคัญเกียวกั ่ บแนวคิด Humanism โดยเริมต ่ ้นทีอิ
่ ตาลีกอ ่ น
ประกอบการเกิดโรคระบาด คือ กาฬโรค Black Death. ทีทาให ้ คนกลุม ่ ่ กลุม่ เล็ก ๆ
เริมให่ ้ความสาคัญเกียวกั ่ บ ทัศนคติในเรือง ่ ความสาคัญในชีวต ิ ปัจจุบน

่ อเป็ นแนวคิดพืนฐานส
ซึงถื ้ าคัญของ Humanism ซึงมี ่ นักประพันธ ์ทีส
่ าคัญ คือ ..
Dante.. แต่งเรือง ่ ดีคาเมรอน และ Giovanni Baccacio...แต่งเรือง ่ Divine Comedy
ถือเป็ นการสะท ้อนให ้เห็นความสาคัญของมนุ ษย ์มากกว่าเรืองศาสนาคริ ่ สต ์
ต่อมาแนวคิดได ้แพร่ไปยังยุโรปเหนื อเกิดแนวคิดวิพากษ ์ทางศาสนา บุคคลสาคัญ
คือ อีร ัสมุส

ซึงแนวคิ ้
ดนี จะเป็ ้
นพืนฐานของคนคิ ดในยุคปฏิรป ู ศาสนาในช่วงเวลาต่อมา
ยุคการค้นพบดินแดนใหม่
จากการฟื้ นฟูศลิ ปวิทยาการทีอ่ ต ิ าลี
แสดงให้เห็นความก้าวหน้าทางการค้าทีม ่ อ
ี ต
ิ าลีเป็ นพ่อค้าคนกลางในการกาหนดรา
คาสินค้า ทาให้สน ิ ค้าทีม
่ ค
ี วามต้องการในขณะนัน ้ คือ เครือ
่ งเทศ
ทีใ่ ช้ถนอมอาหารและเป็ นยารักษาโรคมีราคาแพงมาก
ทาให้ดน ิ แดนทีอ่ าณาเขตติดกับทะเลด้านมหาสมุทรแอตแลนติค
โดยเฉพาะสเปนและโปรตุเกสต้องการหาเส้นทางไปค้าขายกับโลกตะวันออก
ทาให้เกิดการการศึกษาเรือ ่ งของดาราศาสตร์เพือ่ ปรับปรุงแผนที่
และการพัฒนาการต่อเรือ ซึง่ เป็ นปัจจัยสาคัญ
ผนวกกับความต้องการไปแสวงโชคของนักเดินเรือ
ทาให้เกิดการหลั่งไหลของนักเดินเรือสูส่ เปนและโปรตุเกส
เพือ ่ ช่วยทัง้ สองชาติหาเส้นทางการค้ากับโลกตะวันออก
ในทีส่ ด ุ วาสโก ดา กามา (Vasco da Gama)
นากองเรือของโปรตุเกสก็สามารถเดินทางอ้อมแหลมกูด ๊ โฮปทีแ
่ อฟริกาใต้เป็ นผล
สาเร็จ และสามารถเดินทางสูอ่ น ิ เดียได้ ซึง่ ถือเป็ นประเด็นสาคัญมาก
เพราะโปรตุเกสต้องการกุมความลับนี้ไว้
และกีดกันสเปนไม่ให้ใช้เส้นทางการเดินเรือเดียวกับตน
ทาให้สถาบันคริสตศาสนาทีเ่ ป็ นองค์กรทีไ่ ด้รบั การยอมรับในขณะนัน ้ ช่วยไกล่เกลี่
ย จนในทีส่ ด ุ เกิดสัญญาทอร์เดซิลลัส(Treaty of Tordesillas)
ทีก
่ าหนดให้สเปนต้องเดินทางไปด้านตะวันตก
ส่วนโปรตุเกสคุมเส้นทางตะวันออก ซึง่ การเดินทางของสเปนไปทางตะวันตกนัน ้
ทาให้กองเรือสเปนโดยคริสโตเฟอร์ โคลัมปัส ((Christopher
Columbus)ได้พบกับทวีปใหม่คอ ื อเมริกา
และสามารถเดินทางรอบโลกได้จากกองเรือของเฟอร์ดน ิ าน แมกเจลแลน
(Ferdinand Magellan)
ถือเป็ นการทาให้เกิดการยอมรับโลกว่ากลมในหมูข ่ องนักเดินเรือ
แต่ยงั ไม่เป็ นทีย่ อมรับโดยคนทัว่ ไป
แม้วา่ สเปนและโปรตุเกสจะเป็ นผูน ้ าทางทะเล แต่ตอ
่ มาฮอลันดา
(หลังจากได้รบั เอกราช) ก็ได้สนใจในการค้าทางทะเลโดยไม่สนใจศาสนจักร
เช่นเดียวกันกับอังกฤษทีภ
่ ายหลังทีต
่ ดั ขาดจากโรมันคาทอลิค
อังกฤษได้ทาการรบกับสเปน ดังในตัวอย่างในภาพยนตร์เรือ ่ ง Elisabeth : the Golen
Age ทีก
่ ล่าวถึงการรบทางทะเลระหว่างสเปนกับอังกฤษ
ภายหลังจากสงครามครัง้ นี้ อังกฤษจะเป็ นมหาอานาจทางทะเล
และได้รบั สมญานาม ว่า
ดินแดนพระอาทิตย์ไม่ตกดินในยุคของการล่าอาณานิคมตะวันตกด้วย
ยุคการปฏิรูปศาสนา
จากความพยายามเรียกกระแสศรัทธาของศาสนจักร (โป๊ ป)
ด้วยการสร้างโบสถ์วห ิ ารให้มคี วามงดงามเพือ ่ ให้คนกลับมานับถืออีกครัง้ หนึ่ง
ซึง่ ได้นาไปสูก ่ ารขายใบบุญไถ่บาป(Indulgance) ทีต ่ อ
่ มา Matin Luther
เป็ นผูน ้ าทีน่ าไปสูค่ วามขัดแย้งทางความคิดทางศาสนา เกิดการแตกเป็ น 2
นิกายคือ นิกายโรมันคาทอลิค และกลุม ่ โปรเตสแตนท์นิกายต่าง ๆ
โดยกลุม ่ โปรเตสแตนท์ เชือ ่ ว่าสามารถเข้าถึงพระคริสต์ได้ดว้ ยการศรัทธา
โดยผูใ้ ดทีม ่ คี วามศรัทธาก็สามารถเข้าถึงพระคริสต์เทียบเท่ากับพระได้
เน้นการตีความพระคัมภีร์ดว้ ยตนเอง และใช้เหตุผลต่าง ๆ
ทีน่ ามาประกอบความคิดของตนอย่างรุนแรง
ดังนัน ้ เราเห็นจากการตีความทัง้ กลุม ่ โปรเตสแตนท์และโรมันคาทอลิค
ทีม ่ าจากพระคัมภีร์ไบเบิลเหมือนกัน แต่มก ี ารวิพากษ์ ทแี่ ตกต่างกัน
ความแตกแยกทางศาสนาคริสต์ ก่อให้เกิดปัญหาทางการเมือง
อันมาจากความพยายามทีจ่ ะรวมอานาจทางการเมืองกับศาสนาไว้ดว้ ยกัน
ดังนัน ้ จึงเกิดสงครามศาสนา 30 ปี ภายในยุโรป และจบลงทีส่ ญ ั ญา Peace of
Angberg ทีท ่ าให้ราษฏรต้องนับถือศาสนาตามเจ้านาย/กษัตริย์ผูค ้ รองแคว้น
ซึง่ ต่อมาก่อให้เกิดปัญหาผูน ้ ามีความศรัทธาไม่เหมือนกับราษฎร
จึงให้ผูท ้ น
ี่ บั ถือศาสนาต่างจากคนหมูม ่ ากเดินทางออกนอกประเทศ
และผลอีกประการหนึ่งก็คอ ื
เกิดประเทศใหม่ทม ี่ าจากความแตกต่างทางความเชือ ่ ทางศาสนา เช่น
ฮอลันดา(เนเธอร์แลนด์)
การปฎิรูปศาสนาในทีอ่ น
ื่ ๆ
การปฏิรูปในอังกฤษ เป็ นผลมาจากการเมือง โดยพระเจ้า Henry
8ต้องการจะหย่าขาดจากพระมเหสี .. Catharineเพือ ่ แต่งงานใหม่
แต่โป๊ ปไม่ทาพิธีให้ พระองค์จงึ สถาปนานิกายนิกายอังกฤษ ขึน ้ มา
จากภาพยนตร์เรือ ่ ง The other Boleyn girl ทีก
่ ล่าวถึง แอนน์ โบลีน
ทีทาให้พระเจ้าเฮนรีท
่ ี่ 8 แยกตัวเองออกจากศาสนจักรโรมันคาทอธิค
แต่ภายหลังทีแ
่ อนน์ ได้ให้กาเนิด พระนางอลิซาเบธที่ 1 แล้วก็ถูกสั่งประหารชีวต

การปฏิรูปในฝรั่งเศส ในสมัย. Louis 14


ได้มก
ี ารยกเลิกหลักขันติธรรมทางศาสนา
ทาให้พวกโปรเตสแตนท์ในฝรั่งเศสทีเ่ ป็ นคนหมูน่ ้อยอพยพออกจากฝรั่งเศส
ทาให้ฝรั่งเศสจะมีปญ
ั หาทางเศรษฐกิจทีจ่ ะมาประทุในเหตุการณ์ การปฏิวตั ฝ
ิ รั่งเศส

ยุคการปฏิวตั วิ ท
ิ ยาศาสตร์
การปฏิวตั วิ ท
ิ ยาศาสตร์เป็ นปรากฏการณ์ เกิดจากการตืน ่ ตัวจากการค้นคว้า
ทางทะเล(ยุคการค้นพบ) ทีม ่ ก
ี ารศึกษาเรือ
่ งแผนที่
การหาค่าเส้นละติจูดและลองติจด ู
โดยในอดีตการเดินทางจะให้วธิ ีการสังเกตของดวงดาว
โดยจากดวงอาทิตย์เป็ นการสังเกตในการเดินทางจากตะวันตกไปตะวันออก
หรือตะวันออกไปตะวันตก ส่วนการเดินทางจากเหนือสูท ่ ศ
ิ ใต้
ใช้การสังเกตดวงดาวและกลุม ่ ดาวต่าง ๆ ในเวลากลางคืน
การส่งเสริมการหาเส้นทางการค้าทางทะเล
ซึง่ มีสเปนและโปรตุเกสเป็ นผูน ้ านัน ้ ก่อให้เกิดบทสรุปทางความคิดเรือ
่ งโลกกลม
แต่องค์ความรูเ้ หล่านัน
้ ต่อมาในระยะหลังได้ถูกต่อต้านด้วยโลกทางคริสต์ศาสนา
ทีไ่ ด้ประกาศไว้ใน ดัชนีหนังสือห้ามอ่าน( Index) ทาให้การศึกษาเรือ ่ งราวต่าง ๆ
ทางธรรมชาติ หรือวิทยาศาสตร์ ต้องเป็ นการศึกษาทดลองในกลุม ่ เล็ก ๆ
เท่านัน ้ โดยเฉพาะดินแดนทีย่ งั อยูใ่ นร่มเงาของคาทอลิค
ช่วงปี 1543 Nicholas
Copernicusได้ตีพม ิ พ์ผลงานเกีย่ วกับการวงโคจรของดวงดาว
ซึง่ เป็ นการศึกษาเรือ ่ งดาราศาสตร์ในช่วงเวลาทีม ่ ก
ี ารสร้างแผนทีท ่ ถ
ี่ กู ต้อง
ผลการศึกษาของ Nicholas Copernicus ในงานเขียนทีม ่ ช
ี ือ
่ ว่า De Revolutionibus
Orbium Coelestium ทีส ่ รุปว่า ควรเปลีย่ นโครงสร้างทางความคิดเดิมทีว่ า่
โลกศูนย์กลางของจักรวาล
ทีเ่ ป็ นการสอดรูร้ บั รูแ ้ ละเข้าใจของคนโดยส่วนใหญ่เพราะในสมัยผูค ้ นส่วนมากยังเ
ชือ
่ ว่าโลกแบนและเป็ นศูนย์กลางทีด ่ าวเคราะห์และดาวฤกษ์ ตอ ้ งมาโคจร มาเป็ น
ดวงอาทิตย์เป็ นศูนย์กลางของจักรวาล ซึง่ ถือเป็ นความรูใ้ หม่
และตัวเขาก็ยงั ไม่ม่น ั ใจว่าถูกต้องนัก ฉะนัน ้ งานของเขาในระยะแรก
ไม่ได้รบั ความนิยมนักในหมูผ ่ ูอ
้ า่ นและนักศึกษา
เพราะอธิบายด้วยคณิตศาสตร์ซงึ่ ยากเกินทีจ่ ะเข้าใจได้ นอกจากนี้ คณิตศาสตร์
ก็ไม่ใช่สาขาทางวิทยาศาสตร์ทเี่ ป็ นกระแสหลัก อย่างสาขา...
Organic.(ชีววิทยา)ส่วนอีก 2 สายเป็ นเรือ ่ งของคณิตศาสตร์ ได้แก่ Mechanical (กลไก
เครือ ่ งกล) และMagic (คณิตศาสตร์) ซึง่ สายที่ 3 เป็ นสายทีเ่ ข้าใจยากทีส่ ด ุ
ตัวอย่างเช่น ในภาพยนตร์เรือ ่ ง
น้าหอมมนุษย์ทแ ี่ สดงให้เห็นการเรียนรูแ ้ ละเข้าใจธรรมชาติดว้ ยแนวคิดวิทยาศาส
ตร์กระแสหลักอย่าง Organic(ชีววิทยา)

จนกระทั่ง กาลิเลโอ (Galileo) ได้ศก


ึ ษางานของนิโคลัส
ได้นาไปสูก ่ ารเปลีย่ นแปลงแก้ไขความคิดทีค ่ รัง้ ใหญ่โดยกาลิเลโอได้ประดิษฐ์กล้อง
โทรทรรศน์ ทส ี่ ามารถดูดวงดาวบนฟากฟ้ านัน ้
จนสามารถใช้ตาแหน่ งของดวงจันทร์ดาวพฤหัสบดีมาเป็ นเส้นลองติจด ู ของแผนทีโ่
ลก ซึง่ การค้นคว้าของกาลิเลโอได้รองรับความเชือ ่ ของนิโคลัสว่าเป็ นสิง่ ทีถ
่ ูกต้อง
ทีม
่ องว่าโลกไม่เป็ นศูนย์กลางของจักรวาล ต่อมาการศึกษาของกาลิเลโอทาให้ถูก
ไตร่สวนโดยศาสนจักร และลงโทษ แต่กระนัน ้ ก็ตาม
ทัศนคติดวงอาทิตย์เป็ นศูนย์กลางจะได้รบั การยอมรับครัง้ ใหญ่ในเวลาต่อมา
เมือ่ Isaac Newton ได้ออกมาประกาศและตอกยา้ ว่า
โลกไม่ได้เป็ นศูนย์กลางและโคจรรอบดวงอาทิตย์ ซึง่ เป็ นทีม ่ าของวิชาแคลคลูลสั
ในผลงานทีม ่ ช
ี ือ
่ ว่า หลักคณิตศาสตร์เกีย่ วกับธรรมชาติ (The Mathematical Principles
of Natural Philosophy) ซึง ่ อธิบายทีม
่ าของแรงโน้มถ่วง (มือทีม
่ องไม่เห็น)
และแนวคิดเรือ ่ งนี้ได้ถกู นาไปใช้ในการอธิบายหลายสาขา ได้แก่ ทางรัฐศาสตร์ -
John Lockeได้ออกงานเขียนชื่อว่า Two Treaties of Government
เป็ นการอธิบายสภาพสังคมมนุษย์ทแ ี่ ท้จริงแล้ว มนุษย์นน ้ ั มีเสรีภาพมาตั่งแต่เกิด
แต่เราได้สละเสรีภาพให้ผูน
้ า/หัวหน้านัน้ หากผูน้ าไม่เป็ นผูท ้ อ
ี่ ยูใ่ นธรรม
เราสามารถเรียกเสรีภาพในการปกครองของเราคืนมาได้
แนวคิดดังกล่าวสามารถอธิบายปัญหาทางการเมืองของอังกฤษในเวลานัน ้
กล่าวคือ ขณะนัน ้
รัฐสภาอังกฤษต้องการการจากัดพระราชอานาจของพระเจ้าแผ่นดินในอังกฤษ
ซึง่ พระเจ้าเจมส์ที่ 2 ทีม
่ พ
ี ยายามจะนาอังกฤษไปเป็ นโรมันคาทอลิค
โดยรัฐสภาอังกฤษเชิญพระนางแมรีแ ่ ละพระเจ้าวิลเลีย่ ม
ราชวงศ์ออเรนจ์ของฮอลแลนด์มาปกครอง ซึง่ ทัง้ สองเป็ นโปรแตสแตนท์
เพือ ่ ป้ องกันกษัตริย์องค์เดิม (พระเจ้าเจมส์ที่ 2 )ให้เสด็จอพยพไปทีฝ
่ รั่งเศส
เหตุการณ์ ดงั กล่าวคือ การปฏิวตั อ ิ ันรุง่ โรจน์ (ค.ศ. 1688)
การปฏิวตั อ
ิ น
ั รุง่ โรจน์ ส่งผลสาคัญ คือ
เป็ นการสะท้อนให้เห็นชัยชนะของรัฐสภาทีเ่ หนือกษัตริย์
รัฐสภาคือตัวแทนของคนชัน ้ กลาง กลุม
่ พ่อค้า และเจ้าของทีด ่ น
ิ กฎหมายต่าง ๆ
จะไม่ได้ออกจากพระราชอานาจของกษัตริย์อก ี ต่อไป การปฏิวตั ค ิ รัง้ นี้
ก่อให้เกิดการพัฒนาระบบรัฐมนตรี(ministers)ทีเ่ ดิมขึน ้ อยูก
่ บั พระมหากษัตริย์
มาเป็ นรัฐสภาแทน และยังส่งผลต่อการปฏิวตั ข ิ องอเมริกา และฝรั่งเศส
ในเวลาต่อมาด้วย
นอกจาก จอห์น ล๊อค
ยังมีมองเตสกิเออได้เสนอแนวทางเรือ ่ งของอานาจทางการเมือง
ทีต่ อ
้ งแบ่งออกเป็ น 3 สาย คือ การบริหาร นิตบิ ัญญัติ และตุลาการ
ซึง่ อานาจทัง้ ต้องคานอานาจซึง่ กันและกันได้
หรือ ทางเศรษฐกิจ อย่างAdam Smith ได้เสนอ แนวคิดมือทีม
่ องไม่เห็น
มาใช้ในการอธิบายงานทางเศรษฐศาสตร์
ทางนิตศ ิ าสตร์ มี Ceaser Becarris “On Crime and Punishment”
มาจากแนวคิดทีว่ า่ ผูร้ า้ ยทีม ่ ค
ี วามผิดนัน ้ เกิดจากการสัง่ สมการกระทาผิดเรือ
่ ยมา
การทีพ ่ วกเขาถูกจับได้นน ้ั
เป็ นเพราะทางรัฐหรือสังคมไม่ได้เข้าไปดูแลตัง้ แต่แรกเริม ่ ดังนัน้
จึงเป็ นเรือ
่ งทีไ่ ม่เหมาะทีเ่ ราจะไปตัดสินโทษประหารชีวต ิ แก่นกั โทษ
้ ในคริสต์ศตวรรษที่
ในยุคนี้ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ ทีเ่ จริญมากขึน
17 ทาให้แนวความคิดทางวิทยาศาสตร์ทใี่ ช้หลักเหตุผลแบบอุปนัย ทีเ่ ชือ ่ ว่า
ความรูข ้ องมนุษย์มาจากประสบการณ์ การได้จากประสบการณ์ มาจากการสังเกต
และรวบรวมข้อมูลเหล่านัน ้ ก่อนจะนามาวิเคราะห์/ตีความหมาย
และสรุปเป็ นทฤษฏี นอกจากนี้ ยังเกิดแนวคิดแบบ Skepticism
เป็ นการสงสัยต่อความถูกต้องของข้อเท็จจริงงานเขียนของโลกตะวันตก
ทีถ
่ ือว่ากระบวนแบบวิทยาศาสตร์ ตัวอย่างเช่น การตรวจสอบความรูต ้ า่ ง ๆ
เพือ่ จัดทาสารานุกรมฉบับยิง่ ใหญ่ของดิเดอโร
การทีอ่ งั กฤษสามารถยอมรับความคิดทีท ่ น
ั สมัยนัน

เพราะอังกฤษไม่ได้อยูใ่ ต้อานาจของคริสตจักร ดังนัน ้
แนวคิดทางวิทยาศาสตร์จะถูกอธิบายในกลุม ่ นักคิดของอังกฤษ
ก่อนจะแพร่ตอ ่ ไปในฝั่งภาคพื้นทวีปยุโรป
การปฏิวตั ท
ิ างการเมือง (รัฐชาติ)
เป็ นการปรากฏการณ์ การรวมตัวของความคิดเรือ่ งเสรีภาพมาประยุกต์ใช้
โดยเหตุการณ์ สว่ นใหญ่เป็ นการปฎิวตั ใิ นโลกตะวันตก ทีน
่ ่ าสนใจก็คอ

การปฏิวตั อ ิ เมริกา
เป็ นการปฏิวตั โิ ดยนาแนวคิดของนักปรัชญามาใช้ในการอธิบายความชอบธรรมข
องการเรียกร้องสิทธิเสรีภาพของชาวอาณานิคมในอเมริกาทัง้ 13 รัฐ นอกจากนี้
นาหลักการของมองเตสิเออ มาใช้ในการวางรากฐานการปกครองของอเมริกา
เป็ นเครือ
่ งตอกยา้ ถึงความรู ้
ความคิดของนักปรัชญาทางการเมืองทีส่ ามารถนามาใช้ปฏิบตั ไิ ด้ในสังคม
การปฏิวตั ฝ ิ รั่งเศส เป็ นการปฏิวตั ท ิ ท ้
ี่ เี่ กิดขึน
หลังการปฏิวตั ข ิ องอเมริกาทีน ่ าแนวคิดต่าง ๆ ของยุโรปไปใช้ในการปกครอง
หลังจากการเรียกร้องเอกราชจากอังกฤษสาเร็จ การปฏิวตั ฝ ิ รั่งเศส
เป็ นการโจมตีระบบการปกครองของฝรั่งเศสในขณะนัน ้
ว่าไม่สามารถทาให้ชนชัน ้ ล่างมีวถ ิ ช
ี ีวต
ิ ทีเ่ ป็ นสุขได้
ทาให้เกิดการเรียกร้องให้มก ี ารเสียภาษี อย่างเท่าเทียมกัน แต่สภาฐานันดรปฏิเสธ
นาไปสูก ่ ารทาลายคุกบาสตีล จึงเกิดการปฏิวตั ใิ นฝรั่งเศส ค.ศ. 1789
ทาให้ฝรั่งเศสมีระบบการปกครองเป็ นสาธารณรัฐ
การประหารชีวต ิ พระมหากษัตริย์และราชินีของฝรั่งเศส
ทาให้เครือญาติทเี่ ป็ นเจ้าในแคว้นต่าง ๆ ในยุโรป ทาการบุกฝรั่งเศส
ทาให้ฝรั่งเศสเกิดวีรบุรษ ุ ชือ ่ ....นโปเลียน. ต่อมา
เขาได้สถาปนาตัวเองเป็ นจักรพรรดิฝรั่งเศส
ต่อมาฝรั่งเศสได้ทาสงครามต่อต้านการรวมชาติของเยอรมันนี
ทาให้รฐั สภามีมติให้ปลดกษัตริ ย์ออกไป
ฝรั่งเศสจึงเป็ นประเทศทีไ่ ม่มรี ะบบกษัตริย์อก ี ต่อไป
นอกจากฝรั่งเศสแล้ว ยังมีชาติตา่ ง ๆ ทีไ่ ด้ทาการรวมชาติทสี่ าคัญ คือ กรีก
หลังจากสงครามเพลอพอลเนเซียน เป็ นการสลายการกลุม ่ ชาติของกรีก
จนกระทั่งอังกฤษ
และฝรั่งเศสต่างชมชืน ่ ในวัฒนธรรมกรีกได้ทาการเสนอให้มก ้ ใหม่
ี ารจัดตัง้ กรีกขึน
ในปี 1832 ส่วนอิตาลี ก่อนหน้านัน ้ แบ่งเป็ นแคว้นเล็กแคว้นน้อย
ไม่รวมเป็ นหนึ่งเดียว เหมือนกับ ปรัสเซีย ทัง้ สองชาติ
จึงต้องทาการรวมชาติดว้ ยการทาสงครามกับชาติอืน ่
เพือ
่ ให้พลังชาตินิอยมจนสามารถรวมชาติได้สาเร็จ
การปฏิวตั อ
ิ ต
ุ สาหกรรม
เป็ นผลมาจากการปฏิวตั วิ ทิ ยาศาสตร์
ทีท
่ าให้เกิดการเปลีย่ นแปลงวิถีชีวติ ของมนุษย์
ระบบการผลิตจากแรงงานธรรมชาติ (คนและสัตว์)มาเป็ นเครือ ่ งจักรกล
โดยระยtแรกเป็ นการส่งเสริมการผลิตให้ได้มากทีส่ ด
ุ เพือ
่ ให้ได้กาไร
ซึงเริม
่ จากอุตสาหกรรมการทอผ้าในอังกฤษก่อนทีอ่ น ื่
นักประดิษฐ์ทส
ี่ าคัญ เช่น
ในระยะแรกเป็ นการเน้นนวัตกรรมเรือ
่ ง เครือ
่ งจักร
เครือ
่ งจักรไอน้า ได้แก่ Thoman Newcoman James Watt

ถ่านหิน เหล็ก เหล็กกล้า Abraham Darby John Smeaton Henry Cort Henry
Bessemer

การขนส่ง
John Mcadam ถนนสมัยใหม่ George Stevenson หัวรถจักรรถไอน้ารถไฟ
Robert Fulton เรือกลไฟ Samual Cunard
เรือกลไฟข้ามทวีป Nicolas Joseph Cugnot
รถสามล้อบรรทุกปื นใหญ่ Karl Benz รถยนต์ Gottlied Daimler เครือ
่ งหัว Carburator
ใช้กบั จักรยานยนต์และรถยนต์ Rudolf Diesel เครือ
่ งดีเซล สาหรับรถยตน์ รถไฟ
เรือและโรงงาน Charles Goodyear ยางรถยนต์ Wibur & Orville Wright เครือ่ งบิน
ต่อมาในระยะที่ 2 เป็ นการพัฒนาเรือ่ งการสือ่ สาร เช่น Alexander Graham
Bell ผูป
้ ระดิษฐ์โทรศัพท์ Semuel Morseผูป
้ ระดิษฐ์โทรเลข หรือ Thomas Alva Edison
ผูป
้ ระดิษฐ์หลอดไฟฟ้ า Hienrich Rudolf Hertz ผูค
้ น
้ พบคลืน่ วิทยุ เป็ นต้น
สาขาวิทยาศาสตร์ก็มค ี วามก้าวหน้า ได้แก่ การแพทย์ Louis Pasteur
ศึกษาเรือ
่ งจุลน
ิ ทรีย์ Edward Jenner การปลูกฝี ป้ องกันโรคฝี ดาษ Joseph Lister
การผ่าตัดแผนใหม่ James Young Simpson คิดค้นยาสลบ(Chloroform) สาขาชีววิทยา
Greger Mendel พันธุกรรมศาสตร์ และ Charles Darwin ทฤษฏีกาเนิดสิง ่ มีชีวต

หรือจิตวิทยา Sigmund Freud ศึกษาเรือ ่ งจิตวิทยาวิเคราะห์
ต่อมาเมือ่ ผูค
้ นในชนบททีเ่ ข้ามาอยูใ่ นเมือง ก็กอ
่ ให้เกิดปัญหาเรือ
่ ง สลัม
ในช่วงการปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรม มีนกั คิดทีม
่ แ
ี นวคิดทีเ่ อือ
้ ต่อระบบนายทุน
ได้แก่ โทมัส มัสทัสได้เสนอให้มก ี ารสอนหลักศีลธรรมให้แก่คนสลัม
เพือ
่ มิให้เกิดปัญหาการเพิม ้ ของประชากร หรือ เดวิด ริคาโด
่ ขึน
ได้เสนอให้มก ี ารจ้างงานในการให้คา่ แรงต่า และให้ทางานวันละมากฯลฯ
้ ของสังคมนิคม มาจากกลามนักคิดทีม
การเกิดขึน ่ องเห็นถึงความเหลีย่ มลา้
และต้องการให้สงั คมมีความเม่าเทียมกัน โดยนักวิชาการจะแบ่งเป็ น 2 กลุม ่ คือ
กลุม
่ สังคมนิยมยูโทเปี ย ได้แก่ Henri de Saint-Simon
เห้นควนสร้างสังคมนิยมแบบคริสเตียนทีท ่ าคนมีความเท่าเทียมกัน Charles Fourier
เสนอเรือ่ งการจัดตัง้ สหกรณ์ ในสังคม Louis Blanc มองว่าควรล้มระบบนายทุน
สร้างโรงงานอุตสหากรรมสาหรับกรรมการ และ ...โรเบริต์ โอเวน
มีการเสนอให้มีการจัดรัฐสวัสดิการให้คนงาน
้ ทาให้แนวคิดนี้
ซึง่ แนวคิดของเขาทาให้แรงงานมีอานาจในการต่อรองมากยิง่ ขึน
ยังไม่ประสบผลสาเร็จ
จนกระทัง่ มาร์ก ได้นาเสนอแนวคิดทีส่ าคัญคือ คอมมิวนิสต์
จากการทีม ่ องเห็นสภาพสังคมอุตสาหกรรมของอังกฤษในตอนนัน ้
มาร์กนัน ้ ได้รบั แนวคิดมาจากนักปราชญ์ชาวเยอรมันชือ ่ .....คาร์ล มาร์ก และ
เฮเกล มองว่า
พัฒนาการของมนุษย์เกิดจากการต่อสูร้ ะหว่างชนชัน ้ ทางเศรษฐกิจมาโดยตลอด
ซึง่ ในชัน
้ สุดท้าย ทุกคนทีม ่ ีอยูใ่ นสังคมจะโค่นล้มนายทุนลง
ทุกคนเป็ นเจ้าของร่วมกัน เป็ นเสรีภาพร่วมกัน
แนวคิดของมาร์กได้ถูกนาไปใช้ในการปฏิวตั ริ สั เซีย ค.ศ. 1917
เป็ นการปฏิวตั ท ิ ม
ี่ ก
ี ารเปลีย่ นแปลงในยุคต่อมา คือ
ความขัดแย้งทางด้านอุดมการณ์ ระหว่างประชาธิปไตยและคอมมิวนิสต์
ซึง่ ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 20 การล่มสลายของรัสเซียเป็ นการสะท้อนให้เห็นว่า
คอมมิวนิสต์ไม่ประสบความสาเร็จในการปกครอง
ซึง่ จีนเองถึงแม้จะเป็ นคอมมิวนิสต์ก็ยงั มีการปฏิรูปทางเศรษฐกิจ ดังนัน ้
กล่าวได้วา่ ในคริสต์ศตวรรษที่ 21 เป็ นโลกแห่งยุคทุนนิยม ทีเ่ รียกว่า โลกาภิวฒ ั น์
สงครามโลกครัง้ ที่ 1 -2 ในคริสต์ศตวรรษที่ 20
สงครามโลกครัง้ ที่ 1
เป็ นสงครามทีช
่ าติตะวันตกได้เข้าร่วมรบและสร้างความเสียหายครัง้ ยิง่ ใหญ่แก่มนุ
ษยชาติ สาเหตุเกิดจาก แนวคิดจักรวรรดินิยม
ทีม
่ าจากการความต้องการในการแสวงหาอาณานิคมเพือ ่ เป็ นแหล่งวัตถุทางอุตสาห
กรรม และเป็ นภาพลักษณ์ ของประเทศนัน ้ ในเวทีการเมืองระหว่างประเทศ
รวมถึงจุดยุทธศาสตร์ทางการค้าและการทหาร ประการที่ 2
พลังชาตินิยมแบบใหม่ทรี่ กั ชาติเกินความพอดี ประการที่ 3
การแข่งขันทางการทหารและอาวุธทีน ่ าไปสูก
่ ารรวมกลุม
่ เป็ นพันธมิตร
โดยแบ่งเป็ น 2 กลุม
่ คือไตรมิตร ได้แก่ เยอรมัน ออสเตรีย-ฮังการี และอิตาลี
กับไตรภาคี ได้แก่ อังกฤษ ฝรั่งเศสและรัสเซีย
ชนวนแห่งสงคราม การลอบปลงพระชนม์ Archduke Fraceis Ferdinand
และพระชายา มกุฎราชกุมารของออสเตรีย-ฮังการีทเี่ มืองซาราเจโว
เมืองหลวงบอสเนีย ซึง่ เป็ นเขตทีอ่ อสเตรีย-ฮังการีมอ
ี ท
ิ ธิพลอยู่
แต่พลเมืองส่วนใหญ่เป็ นสลาฟ ทีต ่ อ
้ งการจะแยกตัวออก
โดยมีรสั เซีย(ฝรั่งเศสเป็ นพันธมิตร เพราะแพ้สงครามทีท ่ ากับเยอรมันใน ค.ศ.
1871) หนุนหลังอยู่
ทาให้เยอรมันและออสเตรียทาการประกาศสงครามกับชาติทง้ ั สอง
โดยการบุกเบลเยีย่ ม เป็ นการขยายวงของสงคราม
สงครามยุตลิ งเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1918
โดยฝ่ ายมหาอานาจกลางเป็ นฝ่ ายแพ้สงคราม
และมีการจัดตัง้ องค์การสันนิบาตรชาติ
สงครามโลกครัง้ ที่ 2
เกิดจากความไม่พอใจของกลุม ่ ประเทศทีแ
่ พ้สงครามทีไ่ ม่ได้รบั ความเป็ นธรรมจา
กสนธิสญ ั ญาต่าง ๆ นอกจากนัน ้
บางประเทศทีอ่ ยูฝ ่ ่ ายชนะสงครามก็ไม่ได้รบั ผลประโยชน์ อย่างเต็มทีอ่ ย่างญีป
่ นแล
ุ่
ะอิตาลี ก็ได้สร้างชาติดว้ ยระบบเผด็จการ
และจากความตกต่าของเศรษฐกิจโลกรวมทัง้ ความล้มเหลวขององค์การสันนิบาตร
ชาติ โดยชนวนสงครามคือการบุกโปแลนด์ เมือ่ ค.ศ. 1939
สงครามโลกครัง้ ที่ 2 มีการแบ่งฝ่ ายการต่อสูร้ บระหว่างอักษะซึง่ มีเยอรมัน
อิตาลีและญีป่ นเป็
ุ่ นผูน
้ า ฝ่ ายสัมพันธมิตรทีม
่ อ
ี งั กฤษ ฝรั่งเศสและรัสเซีย
เป็ นการต่อสูเ้ พือ่ ปกป้ องผลประโยชน์ ของชาติตนเองและในทีส่ ด ุ ฝ่ ายสัมพันธมิตรเ
ป็ นฝ่ ายชนะสงคราม ภาพยนตร์ตวั อย่างเช่น

การทารุณยิวในค่ายกักกัน

การโจมตีของญีป
่ นในสงครามโลกครั
ุ่ ง้ ที่ 2
สงครามโลกครัง้ ที่ 2 ส่งผลต่อชีวต
ิ และทรัพย์สน
ิ ของผูค
้ นจานวนมาก
และเป็ นสงครามทีใ่ ช้อาวุธร้ายแรงเช่นแก๊สพิษ ระเบิดปรมาณู
ผลของสงครามคือมีการจัดตัง้ องค์การสหประชาชาติทาให้มนุษยชาติสามารถหาห
นทางทีจ่ ะอยูร่ ว่ มกันอย่างสันติ
สงครามเย็น ตัง้ แต่ ค.ศ. 1950 -1992
สงครามเย็นถือว่าเป็ นปรากฏการณ์ ทางการเมืองระหว่างประเทศ
เมือ่ สงครามโลกครัง้ ที่ 2 สิน้ สุดในค.ศ. 1945
เกิดสถานการณ์ ความขัดแย้งระหว่าง 2
อุดมการณ์ ทางการเมืองคือระบบประชาธิปไตยและระบบสังคมนิยมโดยมีสหรัฐอเ
มริกาและรัสเซียเป็ นผูน ้ าในแต่ละฝ่ าย
ซึง่ เหตุผลมาจากข้อตกลงทีส่ รุปไม่ได้ของสถานภาพของเยอรมันหลังสงครามโลกค
รัง้ ที่ 2
ก่อให้เกิดความไม่ลงรอยทางการเมืองและการแย่งชิงอานาจเป็ นผูน ้ าทางการเมือง
โลกของทัง้ 2ประเทศ
ทาให้เป็ นปัจจัยทีน่ าไปสูก่ ารทาสงครามจิตวิทยาและสงครามตัวแทน “Proxy War”
ต่อมา ภายหลังจากการรวมชาติเยอรมัน เมือ่ ค.ศ. 1990
สงครามเย็นได้สอ่ เค้าถึงการสิน ้ สุดเมือผูน
้ าสหภาพโซเวียตรัสเซีย คือ มิคาอิล
กอร์บาซอฟ
ได้พยายามปรับปรุงประเทศรัสเซียให้ท ันสมัยมากยิง่ ขึน ้ ด้วยนโยบายเปเรสทอยก้า
(Pesestroika) และกลาสนอสต์ ( Glasnost )
โดยนาแนวทางลัทธิประชาธิปไตยกับลัทธิทน ุ นิยมมาปรับใช้กบั สังคมนิยม
ซึง่ แผนดังกล่าวได้นาไปสูก ่ ารล่มสลายของสหภาพโซเวียตรัสเซีย ค.ศ. 1992
ทีถ่ ือว่าเป็ นการตอกยา้ ว่า สงครามเย็นได้สน ิ้ สุดลงแล้ว
โลกาภิวตั น์
ภายหลังทีส่ หรัฐอเมริกาได้เป็ นผูน้ าทรงอิทธิพลทางการเมือง
ก็กอ ่ ให้เกิดแนวคิดการสร้างโลกทุนนิยมสากล
ซึง่ เป็ นการสร้างโลกให้เป็ นอันหนึ่งอันเดียวกันด้วยระบบทุนนิยม
ซึง่ ในสภาวการณ์ ปจั จุบน ั จากการพัฒนาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศทีท ่ ันสมัย
ทาให้การติดต่อสือ่ สารกันเป็ นไปอย่างรวดเร็ว
ทาให้เกิดการรับรูห ้ รือเรียนรูว้ ฒ
ั นธรรมต่าง ๆ ได้อย่างรวดเร็ว ในขณะเดียวกัน
เมือ่ วัฒนธรรมทีค ่ วามแตกต่างมาพบกัน หากเกิดความขัดแย้งทางวัฒนธรรม
เช่นตะวันตก-อิสลาม กันได้
ส่วนด้านเศรษฐกิจและการเงินเป็ นระบบทุนนิยมและบริโภคนิยมมากยิง่ ขึน ้
การเมืองระหว่างประเทศจะมีลกั ษณะของหลายขัว้ อานาจ
แทนระบบสองขัว้ อานาจอย่างในสมัยสงครามเย็น ซึง่ จากทีก ่ ล่าวมาทัง้ หมด พบว่า
การไหลบ่าของวัฒนธรรมตะวันตกหรือวัฒนธรรมทีเ่ จริญกว่าไปยังวัฒนธรรมอืน ่
ๆ ทั่วโลกอย่างไร้พรมแดน ซึง่ อาจกล่าวว่าได้แตกต่างจากโลกสมัยก่อน
แต่กระนัน้ ก็ตาม ในช่วงนี้
ถือว่าเป็ นกระแสเศรษฐกิจของกลุม ่ ประเทศตะวันออกทีเ่ ติบโตมากเป็ นอย่างยิง่
ทีเ่ รียกว่า บูรพาภิวฒ
ั น์ ทม
ี่ จี ีนเป็ นผูน
้ า
จีนสมัยใหม่
เมือ่ ตะวันตกเข้ามาติดต่อค้าขาย เปิ ดเมืองท่าให้ทก ี่ วางตุง้ พร้อมกับกฎเกณฑ์
จีนมีปญ ั หากับโดยเฉพาะกับอังกฤษ เรือ ่ ง ฝิ่ น
เนื่องจากจีนมีปญั หาในเรือ่ งของการปรับตัว โดยเฉพาะเรือ ่ ง ทัศนคติ จงกว๋อ –
มองตัวเองเป็ นศูนย์กลาง จากภาพยนตร์เรือ ่ ง The Last Emperor ทีก ่ ล่าวถึง
องค์พรรดิร์ าชวงศ์สดุ ท้าย คือ ราชวงศ์ ชิง ทีย่ งั คงรักษาไว้เรือ ่ งความเชือ่ เรือ
่ งนี้

นอกจากนี้ลทั ธิความเชือ่ แบบขงจื้อทีเ่ น้นความสัมพันธ์ระหว่างผูใ้ หญ่ (จีน)


และผูน ้ ้อย (ประเทศต่าง ๆ ทีเ่ ข้ามาติดต่อการค้ากับจีน) แนวคิดเหล่นี้
ทาให้เกิดความผิดใจกันระหว่างตะวันตกกับจีน จนกระทั่งเกิดสงครามฝิ่ น
ระหว่างอังกฤษและจีน ความพ่ายแพ้ของจีน เกิดสนธิสญ ั ญานานกิง
ให้องั กฤษได้เช่าเกาะฮ่องกงเป็ นเวลา 99 ปี
อังกฤษได้เป็ นประเทศทีไ่ ด้รบั ความอนุเคราะห์ยงิ่ (The most favorite nation
หมายความว่า จีนเสนอเงือ ่ นไขพิเศษกับชาติใด ๆ อังกฤษต้องได้รบั สิทธิน ์ น
้ ั ด้วย
ซึง่ ทาให้ชาติตะวันตกชาติอน ื่ ๆ ขอสิทธิน ์ ี้ตามแบบอังกฤษบ้าง )
ทาให้จีนกลายเป็ น Semi –colony
ภายหลังการเข้ามาของตะวันตก จีนได้เกิดปฏิกริ ยิ าตอบสนองกลับเป็ น 4 R โดย
1. Rebellion นั่นคือ Taiping Rebellion (ค.ศ. 1850-1864)
การเรียกร้องของพวกจีน(ฮั่น)ทีจ่ ะสถาปนาจีนใหม่ เหตุผลมาจาก
ปัญหาความเสือ่ มโทรมทางเศรษฐกิจของจีน และการรุกรานของประเทศตะวันตก
ทาให้หงุ ซิว่ ฉวน ผูน ้ ากบฏ คิดจะโค่นอานาจจากรัฐบาลกลาง(แมนจู)
ผลการก่อกบฏในระยะแรก ฝ่ ายกบฏเป็ นฝ่ ายมีชยั มาโดยตลอด ครัน้ ค.ศ. 1864
ฝ่ ายกบฏเริม ่ แพ้และสูญสลายในทีส่ ด ุ
2. Restoration
เป็ นความพยายามของราชสานักจีนทีจ่ ะปรับตัวในการรับอารยธรรมตะวันตก
มีการปรับปรุงทางการทหาร ทีส่ าคัญคือ Kung’s Restoration
โดยการแปลองค์ความรูต ้ า่ ง ๆ ได้แก่ กฏหมาย : การแปล Element of International
Law/Henry Weaton เศรษฐศาสตร์ : การแปล Wealth of Nation/Adam Smith เป็ นต้น

การสนับสนุนการเผยแพร่องค์ความรูต ้ ะวันตก
โดยมีจด
ุ มุง่ หมายให้จีนมีการปฏิรูปการสร้างระบบการศึกษาแบบตะวันตก
และประเทศทีเ่ จริญแล้วแต่หลังจาก เจ้าชาย Kung สิน
้ พระชนม์
โครงการดังกล่าวก็ลม ้ เลิกไป
3.Reform ภายใต้การอุปถัมภ์ของจักรพรรดิกวางซวี่
ได้มกี ารปฏิรูปร้อยวัน (Hundred
Days Reform) โดยมีการปรับปรุงการสอบรับราชการ ปรับปรุงการเมือง
สนับสนุนอุตสาหกรรม ปรับปรุงจีนให้ทนั สมัย
ภายหลังถูกพระนางซูสไี ทเฮายึดอานาจคืน
หากเปรียบเทียบระหว่างจีนกับญีป ่ น ุ่ พบว่า ในช่วงเวลาเดียวกัน
ญีป
่ นได้
ุ่ มก
ี ารเรียนรูว้ ท
ิ ยาการตะวันตก
จากการปฏิรูปเมจิทที่ าให้ญป ี่ ุ่ นมีความทันสมัยและพัฒนามากกว่าจีนทีย่ งั อยูใ่ นทัศ
นคติเดิม
4.Revolution เกิดจากการคุกคามของของประเทศมหาอานาจตะวันตกและญีป
่ น
ุ่
กระแสอิทธิพลของความคิดแบบตะวันตก
ความอ่อนแอของราชวงศ์แมนจูนาไปสูก ่ ารล่มสลายของราชวงศ์แมนจู
โดยดร.ซุนฮัดเซน
ภายหลังจากการปฏิวตั แ ิ ล้ว จีนเป็ น Republic เป็ นระบบประชาธิปไตย
มีประธานาธิบดีหยวน ซี ไข (คนที่ 2) เป็ นผูบ ้ ริหารประเทศ
ต่อมาพยายามสถาปนาตัวเองเป็ นจักรพรรดิอก ์ ี ครัง้ หนึ่ง แต่เกิดตายก่อน
ต่อมาเกิดการชิงอานาจของขุนศึกต่าง ๆ
เป็ นยุคสงครามความขัดแย้งภายในประเทศ เรียกว่า Warriors War หลังจากนัน ้
นายพลเจียง ไคเช็ค ได้ทาการรวมจีนขึน ้ มาอีกครัง้
แต่ปญ ั หาทางสังคมทีโ่ ครงสร้างของชนชัน ้ ล่างยังไม่เปลีย่ นแปลงก่อให้เกิดการเหลี่
ยมลา้ ทางสังคมนาไปสูก ่ ารปฏิวตั จิ ีนอีกครัง้ หนึ่ง
แนวคิดสังคมนิยมนัน ้ โดยมาจากแนวคิดของคาร์ล มาร์กซ
และเฟดเดอร์รค ิ แองเกล ได้เขียนหนังสือ ทุน
เสนอเรือ ่ งการต่อสูร้ ะหว่างชนชัน ้ ทีเ่ กิดจากความแตกต่างทางเศรษฐกิจ
ซึง่ ในขัน
้ สุดท้ายจะเป็ นการต่อสูร้ ะหว่างชนชัน ้ กรรมกรกับนายทุน
ทีน่ าไปสูส่ งั คมนิยมทีท
่ ก
ุ คนเป็ นเจ้าของปัจจัยการผลิตเท่ากันหมด
รัสเซียได้หลักของมาร์กซไปใช้ในการอธิบายความชอบธรรมในการปฏิวตั ริ สั เซียใ
น ค.ศ. 1917
ในขณะนัน ้ ปัญญาชนทีส่ าคัญ คือ หลี่ ต้าเจา
(บิดาแห่งลัทธิคอมมิวนิสต์ของจีน)
เป็ นผูท
้ เี่ ขียนงานวรรณกรรมในทางคอมมิวนิสต์เป็ นจานวนมาก
ได้เขียนบทความเรือ ่ ง “ทัศนะลัทธิมาร์กซของข้าพเจ้า”
เป็ นการนาลัทธิมาร์กซ์มาใช้ในจีน ต่อมา ใน ค.ศ. 1920
มีการจัดตัง้ หน่ วยศึกษาลัทธิมาร์ซส ิ ในจีน นาไปสูก
่ ารจัดตัง้ พรรคคอมมิวนิสต์
ช่วงสงครามโลกครัง้ ที่ 2 ญึป่ นทุ่ าการรุกรานจีน
ทาให้พรรคคอมมิวนิสต์รว่ มมือกับพรรคก๊กมิน ่ ตั๋งขับญีป
่ นออกจากจี
ุ่ น
หลังสงครามโลก ได้เกิดความแตกแยกของพรรคทัง้ สอง
พรรคคอมมิวนิสต์ใช้วธิ ก ี ารเดินทางไกลเผยแพร่อด ุ มการณ์
ส่วนพรรคก๊กมิน่ ตั๋งได้รบั ความช่วยเหลือจากอเมริกา ท้ายทีส่ ด ุ
พรรคคอมมิวนิสต์รบชนะในสงครามครัง้ นี้ พรรคก๊กมิน ๋ ตั๋ง
ได้อพยพไปตัง้ ประเทศใหม่ คือ ประเทศสาธารณรัฐจีน หรือ ไต้หวัน ใน ค.ศ.
1949 และพรรคจีนคอมมิวนิสต์ ได้สถาปนาเป็ นสาธารณรัฐประชาชนจีน ในวันที่
1 ตุลาคม ค.ศ. 1949 และได้พฒ ั นาประเทศตามแบบรัสเซีย
แต่ไม่ประสบความสาเร็จ
จีนสามารถพัฒนาประเทศได้อย่างรุกหน้ามาจาก นโยบาย
การเปิ ดประเทศจีน 4 ทันสมัยของ เติง้ เสีย่ ว ผิง ได้แก่
การพัฒนาทางอุตสาหกรรม เกษตรกรรม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
และการป้ องกันประเทศ และ
ใช้นโยบายทุนนิยมผสมกับสังคมนิยมในทางด้านเศรษฐกิจ
รวมทัง้ เปิ ดเมืองท่าเขตเศรษฐกิจพิเศษทางการค้าด้วย ปัจจุบน

จีนมีความเจริญทางเศรษฐกิจสูงมาก
และยังได้รบั การคาดหมายให้เงินสกุลหยวนสามารถเป็ นเงินอีกหนึ่งสกุลในเงินทุน
สารองระหว่างประเทศปลายเดือนพฤศจิกายน 2558 ด้วย
ญีป
่ นสมั
ุ่ ยใหม่
ในช่วงการปกครองของโชกุนโตกุกาวะ ต่อมาสหรัฐอเมริกา ได้สง่ Mathew
Perryใช้นโยบายเรือปื น (Gun Boat Policy) บังคับให้ญป ี่ นท ุ่ าการเปิ ดประเทศใน ค.ศ.
1853 ก่อนหน้านัน ้ กลุม ่ ซามูไรทีม ่ ก
ี ารศึกษาเรือ
่ งราวของตะวันตก ได้แก่ Sugita
Gempaku ซามูไรทีม ่ ค
ี วามรูท ้ างการแพทย์
เขาได้ศก ึ ษาเปรียบเทียบองค์ความการแพทย์ระหว่างจีนกับตะวันตกเขาได้ตระหนั
กว่า วิทยาการความก้าวหน้าของตะวันตกเหนือกว่าจีน เป็ นต้น จากการศึกษานี้
ชี้ให้เห็นว่า ญีป
่ นไม่
ุ่ สามารถหลบเลีย่ งการเผชิญหน้ากับชาติตะวันตกได้
ทีจ่ ะดังกล่าวทาให้โชกุนต้องเซ็นสัญญาเปิ ดประเทศกับชาติตะวันตก หลังจากนัน ้
อังกฤษ (1854) รัสเซีย (1855) และฮอลันดา (1856) การเซ็นสัญญาต่าง ๆ ดังกล่าว
นาไปสูน ่ าไปสูค
่ วามขัดแย้งระหว่างกลุม ่ หัวอนุรกั ษ์ ทไี่ ม่ตอ ้ งการเปิ ดประเทศ
และกลุม ่ หัวสมัยใหม่ทต ี่ อ้ งการเปิ ดประเทศ และการสิน ้ ระบบโชกุนใน ค.ศ. 1867
กล่าวคือ ไดเมียวทีห ่ วั สมัยใหม่ทเี่ ข้มแข็งถือโอกาส
ในการโค่นอานาจโชกุน โดยอ้างถึง จากงานศึกษาเรือ ่ ง
ประวัตศ
ิ าสตร์ญปี่ นที
ุ่ ย่ งิ่ ใหญ่ (Dai Nihonshi)
สานักศึกษาประวัตศ ิ าสตร์แห่งแคว้นมิโตะ
ทีค่ รอบคลุมเหตุการณ์ ตง้ ั แต่จกั รพรรดิองค์แรกถึงสมัยโตกุกาวะ
ชี้ให้เห็นถึงความสาคัญในด้านพระราชอานาจของจักรพรรดิ
และการขาดสิทธิธรรมของโชกุน ซึง่ เป็ นคืนอานาจแก่จกั รพรรดิในสมัยโตกุกาวะ

สมัยเมจิและปัจจุบ ัน (ค.ศ. 1868 – ปัจจุบน


ั )
เมือ่ โชกุนโตกุกาวะเริม
่ เสือ่ มลง เมืองหลวงย้ายมาอยูท่ โี่ ตเกียว
ระบบศักดินาหมดไป ญีป ่ นก้ ุ่ าวเข้าสูก
่ ารปกครองตามแบบประชาธิปไตย Reform
>>>>> Meiji Reform โดยมีจุดมุง
่ หมายคือ การสร้างญีป ่ นให้
ุ่ มค ี วามแข็งแกร่ง
มั่นคงและทันสมัย ซึง่ มีหลักสัตยาธิษฐาน 5 ประการ
1. สภาบริหารราชการ และใช้หลักประชาธิปไตยในการปกครองประเทศ
2. ทุกคนเป็ นพลเมืองของรัฐทีม ่ ค
ี วามเท่าเทียมกัน มีความสามัคคี
และร่วมกันพัฒนาประเทศ
3. พลเมืองมีสท ิ ธิความเท่าเทียมกันทางการเมือง และแสดงออกความคิดเห็น
4. ยกเลิกขนบธรรมเนียมทีล่ า้ สมัย
5. แสวงหาความรูแ ้ ละวิทยาการต่าง ๆ ทั่วโลก
เพือ
่ สถาปนาจักรวรรดิญป ี่ นให้
ุ่ เข้มแข็งและมีรากฐานมั่นคง
ทางอุตสาหกรรม โดยระยะแรก การรวมกลุม ่ ทางการทหารในด้านอุตสาหกรรม
จนกระทั่งกลุม่ พ่อค้านายทุนได้เข้ามารวมกลุม ่ ธุรกิจขนาดใหญ่ เรียกว่า
กลุม
่ ไซบัทสุ (Zaibatsu)
ตระกูลมิตซุย (Mitsui) ธุรกิจทางการธนาคารและอุตสาหกรรมหนัก
ตระกูลมิตซูบช
ิ ิ (Mitsubishi) ธุรกิจธนาคารและอุตสาหกรรมหนัก
และการต่อเรือ
ตระกูลซูมโิ มโตะ(Sumimoto)มีการทาการค้ากับฮอลันดา
และอุตสาหกรรมหนัก
ในยุคนี้ มีตารา ชือ ่ KoKuTai no Hongi – ตาราศีลธรรมว่า
คนญีป ่ นุ ละเลยค่านิยมจารีตเดิม เน้นตะวันตกมากเกินไป
โดยให้คนญีป ่ นต้ ุ่ องเน้นรักษาจารีตเดิม
เชือ่ มั่นในการปกครองของจักรพรรดิทส ี่ บ
ื เชือ
่ สายจากคะมิเทพีจากดวงอาทิตย์
เน้นความจงรักภักดีตอ ่ จักรพรรดิ
เป็ นปัยจัยการนาให้ญป ี่ นเกิ
ุ่ ดความเป็ นชาตินิยมอย่างมาก
หลังญีป
่ น
ุ แพ้สงครามในสงครามโลกครัง้ ที่ 2
ญีป ่ นอยู
ุ่ ใ่ นความดูแลของสหรัฐอเมริกา และเป็ นรัฐปลอดทหาร
พร้อมกับเป็ นรัฐกันชนสกัดกัน ้ แนวคิดคอมมิวนิสต์
ซึง่ ได้มก
ี ารสลายกลุม ่ ผูน
้ าอุตสาหกรรม Zaibatsu พร้อมกับการปฏิรูปสังคม
ให้อสิ รภาพในการนับถือศาสนา ยกเลิกศาสนาชินโตเป็ นศาสนาประจาชาติ
เน้นความเท่าเทียมกันในสังคมมุง่ พัฒนาคนทางการศึกษาภายใต้กรอบแนวคิดแบ
บ Dootoku ให้เป็ นผูท
้ อ
ี่ ดทน ขยัน ให้ความสาคัญกับการทางานหนัก มีความกตัญญู
และมีความประพฤติดี ยกย่องคนทีม ่ ค
ี วามกล้าหาญ
อุทศ
ิ ตัวเพือ
่ มนุษยชาติและฝึ กหัดให้วพ ิ ากษ์ วจิ ารณ์ เพือ
่ เป็ นพื้นฐานของความเป็ นป
ระชาธิปไตย
สภาพสังคมหลังสงครามโลกครัง้ ที่ 2
1. ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีทางการแพทย์
จานวนประชากรของสังคมเปลีย่ นจาก การเกิดและการตายมาก
>>>การเกิดมากและการตายน้อย>>>การเกิดและการตายน้อย
ความสาเร็จจากการเผยแพร่การวางแผนครอบครัว การคุมกาเนิด
เป็ นปัจจัยทีท
่ าให้อตั ราการเกิดน้อยลง การเพิม ้ ของคนชรา
่ ขึน
ก่อให้เกิดปัญหาโดยเฉพาะการเจ็บป่ วยและการดูแลรักษา เช่น
ออกระบบบานาญ 1962 และ ออกกฏหมายสวัสดิภาพคนชรา 1964
2. ปัญหาเรือ ่ งสิง่ แวดล้อม
ญีป
่ นได้
ุ่ กา้ วพัฒนาจากประเทศเกษตรกรรมมาเป็ นประเทศอุตสาหกรรม
ญีป่ นไดุ้่ กอ ่ มลพิษในแง่ของเสีย และการสะสมสารพิษในสิง่ แวดล้อม
ญีป ่ นพั ุ่ ฒนาการฟื้ นฟูสงิ่ แวดล้อม โดยการอยูร่ ว่ มในวิถแ
ี ห่งธรรมชาติ
3. ญีป
่ นได้
ุ่ รบั อิทธิพลทางสังคมแบบอเมริกน ั
สภาพครอบครัวมีการเปลีย่ นแปลง เป็ นครอบครัวเดีย่ ว อาศัยอยูต
่ ามApartment
สถานะความเป็ นอยูร่ ะหว่างหญิงและชายเสมอภาค
สถานะบทบาทผูช ้ ายในครอบครัวเปลีย่ นไป
เกิดทัศนคติในการสร้างครอบครัวทีส่ มบูรณ์ ตามแบบตะวันตก
เกาหลีสมัยใหม่
ใน ค.ศ. 1876 ญีป ่ นบัุ่ งคับให้เกาหลีทาการเปิ ดการค้ากับญีป ่ น
ุ่
การปกครองของเกาหลีในขณะนัน ้ ยังขาดประสิทธิภาพ
และสภาพสังคมก็เสือ่ มโทรม ญีป ่ นได้
ุ่ ขยายอิทธิพลเข้าสูเ่ กาหลี โดยมองว่า
เกาหลีเป็ นสะพานทีจ่ ะไปสูจ่ ีน แมนจูเรีย และรัสเซีย แม้วา่
เกาหลียด ึ มั่นในนโยบายการแยกตัวอย่างโดดเดีย่ วจนมีชือ ่ เรียกว่า The Hermit State
แต่เกาหลีมค ี วามสาคัญในด้านของจุดยุทธศาสตร์ และเศรษฐกิจ ดังนัน ้
เกาหลีจงึ กลายเป็ นสมรภูมริ บในสงครามจีน-ญีป ่ น ุ่ ใน ค.ศ. 1894-1895
และสงครามญีป ่ น-รั
ุ่ สเซีย ในค.ศ. 1904-1905
ญีปนได้
ุ่ ทาการรุกรานเกาหลีและผนวกเป็ นส่วนหนึ่งของญีป ่ น ุ่ เป็ นเวลาถึง 35 ปี
ตัง้ แต่ ค.ศ. 1910ญีป ่ น
ุ ได้ให้ตง้ ั เขตอุตสาหกรรมในตอนเหนือ
และเขตเกษตรกรรมในภาคใต้ ให้ภาษาญีป ่ นเป็
ุ่ นภาษาราชการ
เกาหลีได้ทาการจัดตัง้ ขบวนการกูช ้ าติ ซึง่ ญีป
่ นได้
ุ่ ทาการกวาดล้างอย่างรุนแรง
เกาหลีหลังสงครามโลกครัง้ ที่ 2
เมือ่ สงครามโลกครัง้ ที่ 2 ยุติ เกาหลีได้รบั เอกราช ในวันที่ 15 สิงหาคม
1945 เกาหลีถูกแบ่งเป็ น 2 ส่วน ทีเ่ ส้นขนานที่ 38 องศาเหนือ โดยแบ่งเป็ น
เกาหลีเหนือ หรือ สาธารณรัฐประชาชนเกาหลี มีการปกครองเป็ นคอมมิวนิสต์
ได้รบั การสนับสนุนจากรัสเซีย และเกาหลีใต้ หรือ สาธารณรัฐเกาหลี
มีการปกครองเป็ นประชาธิปไตย
มีสหรัฐอเมริกาและสหประชาชาติให้ความช่วยเหลือ
สงครามเกาหลี
ต่อมากองทัพเกาหลีเหนือได้รก
ุ ข้ามเขตเส้นขยายที่ 38 องศาเหนือ
โจมตีเกาหลีใต้ USA& UN
ได้ทาการช่วยเหลือและโจมตีกลับและส่งผลกระทบต่อดินแดนของสาธารณรัฐประ
ชาชนจีน
กองกาลังผสมระหว่างจีนแดงกับเกาหลีเหนือรุกกลับ แต่ USA & UN
ได้ทาการรักษาเฉพาะพืน ้ ทีต
่ ามสนธิสญ
ั ญาไว้ได้
ต่อมาได้มก ี ารทาสนธิส ัญญาข้อตกลงเมือ่ วันที่ 21 กันยายน 1953
เป็ นการสิน
้ สุดสงครามเกาหลี
เกาหลีใต้ในยุคปัจจุบน

เป็ นเน้นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
รัฐบาลให้ความสาคัญกับการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เพือ
่ ประกอบธุรกิจอุตสาหกรรม
และมีการปรับเปลีย่ นประเทศเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมเบาเช่น
อาหารและสิง่ ทอ มาเป็ นอุตสาหกรรมหนัก และอุตสาหกรรมเคมีเพือ
่ การส่งออก
ได้แก่รถยนต์ หุน่ ยนต์ เคมีภณ
ั ฑ์ เป็ นต้น
วางแผนปรับนโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจโดยเน้นการทดแทนการนาเข้าและส่งเส
ริมการส่งออก
อินเดียสมัยใหม่
ชาติตะวันตกเริม่ ทาการสารวจเส้นทางทะเลสาเร็จในคริสตศตวรรษที่ 15
ชาติแรกคือโปรตุเกส และอีกหลายชาติ การเข้าของตะวันตกในระยะแรก
เป็ นการเผยแพร่คริสตศาสนากับเรือ ่ งการค้า ต่อมาภายหลัง
พอโลกตะวันตกเข้าสูก ่ ารปฏิวตั อ
ิ ต
ุ สาหกรรม
ทาให้ชาติตะวันตกเริม
่ จับจองโลกตะวันออกเป็ นอาณานิคมการเมือง
อังกฤษได้เข้ามามีบทบาทสมัยราชวงศ์โมกุลเสือ่ มลง
และได้ทาการยึดอินเดียได้สาเร็จใน ค.ศ. 1858
อังกฤษได้ทาการปกครองอินเดียโดยตรง
มีผูแ
้ ทนจากพระเจ้าแผ่นดินมาปกครองในฐานะอุปราช
การเข้ามาของอังกฤษ ได้เน้นประชาธิปไตย
เป็ นการลดความเชือ
่ เรือ
่ งวรรณะลง ส่วนเศรษฐกิจ
เป็ นฐานทางการผลิตของอังกฤษ โดยอินเดียเป็ นทัง้ แหล่งวัตถุดบ
ิ การผลิต
และเป็ นแหล่งระบายสินค้าสังคม อย่างไรก็ตาม
เกิดความแตกต่างระหว่างภาคเมืองและภาคชนบทมากขึน ้
ในเมืองใหญ่เกิดภาวะชุมชนแออัด และปัญหาสังคม ในขณะเดียวกัน
ภูมปิ ญ
ั ญาความคิด ก็เน้นความแบบตะวันตก
เพราะอังกฤษได้เข้ามาวางระบบการศึกษาในอินเดีย
มีการตัง้ มหาวิทยาลัยแบบอังกฤษ 3 แห่ง คือ กัลกัตตา มัตราส และบอมเบย์
อย่างไรก็ดี อังกฤษได้สร้างระบบสาธารณู ปโภคทีส่ าคัญคือ รถไฟ
ทาให้อน ิ เดียเกิดความสานึกเป็ นพวกเดียวกัน
การเรียกร้องเอกราชในอินเดีย จากการทีอ่ งั กฤษ
ได้ให้การศึกษาแบบตะวันตกแก่ชาวอินเดีย ชาวอินเดียทีเ่ ป็ นหัวก้าวหน้า อย่าง
ราม โมหัน
รอยเป็ นคนอินเดียคนแรกทีเ่ คลือ
่ นไหวให้อน
ิ เดียเรียกร้องเอกราชจากอังกฤษตาม
วิถีทางแห่งรัฐธรรมนูญ เขาเป็ นคนอินเดียคนแรกทีไ่ ปกล่าวสุนทรพจน์ทอ ี่ งั กฤษ
ส่วนรพินทรนาถ ฐากูร
เป็ นนักคิดคนสาคัญของอินเดียในการถ่ายทอดความรูส้ ต ู่ ะวันตก
และได้รบั โนเบลทางวรรณกรรม ซึง่ เป็ นคนตะวันออกคนแรกทีไ่ ด้รบั รางวัล
การจัดตัง้ องค์กรเรียกร้องเอกราช ก่อตัวเมือ่ ค.ศ. 1885 โดยตัง้ ชือ
่ ว่า
คองเกรสแห่งอินเดีย เป็ นการรวมตัวของคนทุกกลุม ่ ในอินเดีย ผูน
้ าทีส่ าคัญคือ
มหาตมะ คานธี ใช้หลักการอหิงสา การต่อสูอ้ ย่างสงบ เช่น การอดอาหาร
การหยุดงาน
การรวมตัวกันเป็ นไปโดยไม่แยกเชื้อชาติและศาสนา
แต่จดุ อ่อนทีอ่ ังกฤษใช้ในการตอบโต้คอื การใช้นโยบายแบ่งแยกเพือ ่ ปกครอง
โดยการเอาใจทัง้ ฮินดูและมุสลิม ก่อให้เกิดการแบ่งกลุม
่ ในสังคมอินเดีย
มุสลิมภายใต้การนาโมฮัมหมัด อาลีจน ิ นาห์
ได้ทาการแยกตัวออกมาจากคองเกรสแห่งชาติ ตัง้ เป็ นขบวนการสันนิบาตรมุสลิม

ผลมาจากความแตกต่างทางเชื้อชาติและศาสนาก่อให้เกิดการจราจลขึน ้ หลายครัง้
ได้นานาไปสูก ่ ารเกิดจัดตัง้ พืน
้ ทีข
่ องประเทศใหม่ ทีเ่ รียกว่า “Pakistan” ความหมาย=
ดินแดนแห่งความบริสท ุ ธ์ (The Land of the Pure)
ด้วยการแบ่งดินแดนทีเ่ คยเป็ นอารยธรรมอินเดียออกเป็ น 2 ประเทศ คือ
อินเดียและปากีสถาน โดยปากีสถานเป็ นประเทศทีม ่ คี วามพิเศษคือ มี 2 ส่วน
คือปากีสถานตะวันตกและปากีสถานตะวันออกมีอน ิ เดียอย่างตรงกลาง
แต่ความแตกต่างทางเศรษฐกิจ
ทาให้ปากีสถานตะวันออกแยกตัวออกมาจากปากีสถานสถานตะวันตก
เป็ นบังคลาเทศในปัจจุบ ัน
อินเดียปัจจุบน
ั มีการศึกษาเรือ
่ งราวอินเดียในโลกตะวันตกอย่างกว้างขวาง
ทัง้ ศาสนา วิทยาการ ความรูถ ้ ูกแปลเป็ นภาษาอังกฤษและเยอรมันเป็ นจานวนมาก
ทัง้ นี้ Max Muller ได้ทาการศึกษาและแปลองค์ความรูอ้ อกเป็ นภาษาเยอรมัน
และมีการศึกษาเรือ ่ งอินเดียศึกษาในโลกตะวันตก
ปัญหาแคชเมียร์ทป
ี่ ระชากรส่วนใหญ่นบ
ั ถืออิสลาม แต่อยูเ่ ขตของอินเดีย
ทาให้ปากีสถานไม่พอใจเกิดสงครามความขัดแย้งเสมอมากระหว่างอินเดียและปา
กีสถาน
ปัญหาพวกทมิฬในศรีลงั กาเกิดจากศรีลงั กาเมือ่ ตกเป็ นอาณานิคมของอังกฤ
ษแล้ว อังกฤษได้พฒ ั นาให้ศรีลงั กาเป็ นดินแดนทีเ่ น้นการเกษตรกรรม
ทาให้ตอ ้ งใช้แรงงานจานวนมาก
ซึง่ พวกทมิฬทีม ่ าจากอินเดียตอนใต้ได้อพยพเข้าศรีลงั กา
เมือ่ ศรีลงั กาได้รบั เอกราชจากอังกฤษ
พวกทมิฬจึงเป็ นปัญหาชนกลุม ่ น้อยในศรีลงั กา
และก่อปัญหาในการเรียกร้องความเสมอภาค

You might also like