You are on page 1of 7

สังคมอยุธยา เป็ นสังคมเกษตรกรรมทีพ่ งึ่ ตนเอง

มีพระพุทธศาสนาเป็ นแกนกลางควบคุมจริยธรรม ของสังคม


สังคมสมัยอยุธยาเป็ นสังคมทีป
่ ระกอบด้วยคนกลุม ่ ต่าง ๆ ต่อไปนี้
1. พระมหากษัตริย์ ทรงเป็ นประมุขของอาณาจักร
ทรงมีพระราชอานาจสูงสุดในการปกครอง ให้ความช่วยเหลือ
คุม
้ ครองผูอ
้ ยูใ่ ต้ปกครองทัง้ หลายในสังคมให้อยูร่ ว่ มกันอย่างสงบสุข
2. เจ้านาย คือเชื้อพระวงศ์หรือพระญาติตา่ ง ๆ รวมทัง้ พระราชโอรส
พระราชธิดาของพระมหากษัตริย์
มีสว่ นร่วมในการช่วยพระมหากษัตริย์ปกครองอาณาจักร
3. ขุนนาง หมายถึง กลุม ่ คนทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ จากพระมหากษัตริย์
ให้มีหน้าทีช
่ ว่ ยในการปกครองบ้านเมือง
และควบคุมกาลังไพร่พลตามอานาจหน้าทีท ่ พ
ี่ ระมหากษัตริย์ทรงมอบ
หมาย
4. ไพร่ หมายถึง ประชาชนทั่วไปในสังคมทัง้ ผูห ้ ญิงและผูช
้ าย
เป็ นกลุม
่ คนส่วนใหญ่ในสังคมทีต ่ อ
้ งขึน ้ สังกัดมูลนาย
ตามกรมกองแห่งใดแห่งหนึ่ง หน้าทีข ่ องไพร่ คือ
เข้าเวรรับราชการตามระยะเวลาทีท ่ างราชการกาหนดทุกปี
มิฉะนัน้ ต้องส่งสิง่ ของหรือเงินมาทดแทน ไพร่แบ่งออกเป็ น 5ประเภท
คือ
4.1 ไพร่หลวง คือ ไพร่ของหลวง ขึน้ ตรงต่อพระมหากษัตริย์
ซึง่ พระองค์ทรงแจกจ่ายให้ไปรับราชการตามกรมกองต่างๆ
4.2 ไพร่สม คือไพร่สว่ นตัวของเจ้านายและขุนนาง
้ ทะเบียนสักหมายหมูใ่ นสังกัดมูลนายรับใช้มูลนาย
ขึน
ในยามปกติไพร่ทง้ ั สองประเภทจะทาหน้าทีต
่ า่ งกัน
แต่ในยามสงครามต่างก็ถูกเกณฑ์มาทาการรบ ด้วยกันทัง้ หมด
3. ไพร่ราบ หมายถึง ไพร่ทส
ี่ งั กัดมูลนาย มีอายุระหว่าง 13-17
ปี มีศกั ดินาระหว่าง 15
4. ไพร่สว่ ย คือ
พวกทีย่ กเว้นไม่ตอ้ งถูกเกณฑ์เข้ามารับราชการแต่จะต้องส่งสิง่ ของมา
ให้หลวงแทน เช่น อาจจะเป็ นดีบุก ฝาง หญ้าช้าง
ถ้าไม่นาสิง่ ของเหล่านี้มาจะต้องจ่ายเงินแทน
5. เลกหรือเลข เป็ นคารวมทีใ่ ช้เรียกไพร่หวั เมืองทัง้ หลายตลอด
้ กับกระทรวงใหญ่ 2 กระทรวง คือ
จนข้าทาส พวกเลกหัวเมือง ยังขึน
กระทรวงมหาดไทย และกลาโหม มีมาตัง้ แต่สมัยอยุธยา

5. ทาสหรือข้า เป็ นกลุม


่ คนระดับล่างสุดของสังคม
ถือเป็ นสมบัตสิ ว่ นตัวของนาย มีหน้าทีห่ ลักคือรับใช้นายเงิน
แต่ในยามทีบ ่ า้ นเมืองเกิดสงครามก็มโี อกาสถูกเกณฑ์ไปรบด้วยเช่นกั
น กฎหมาย อยุธยาก็ได้ยอมรับการมีทาส
มีบทบัญญัตเิ กีย่ วกับทาสไว้มากมายและได้แบ่งประเภทของทาสไว้ 7
พวกด้วยกันคือ
1. ทาสสินไถ่
2. ทาสเกิดในเรือนเบี้ย
3. ทาสได้มาแต่บด
ิ ามารดา
4. ทาสท่านให้
5. ทาสอันได้ชว่ ยเหลือในยามโทษทัณฑ์
6. ทาสอันได้เลี้ยงมาเมือ
่ เกิดทุพภิกขภัย
7. ทาสอันได้ดว้ ยเชลย
จะเห็นว่า ทาสในสมัยอยุธยานัน

เป็ นทาสทีถ
่ ูกกฎหมายคุม
้ ครอง
เป็ นทาสทีม
่ ีสภาพเป็ นมนุษย์และเป็ นพลเมืองของชาติอย่างสมบูรณ์
ฉะนัน้ คนไทยในสมัยอยุธยาจึงสมัครใจจะเป็ นทาสมากกว่าจะเป็ นขอ
ทาน เพราะอย่างน้อยก็มีขา้ วกิน มีทอี่ ยูอ
่ าศัยโดยไม่เดือดร้อน
6.พระสงฆ์
คือบุคคลทีบ
่ วชในพุทธศาสนาทุกคนเป็ นกลุม ่ ทีท
่ าหน้าทีเ่ ป็ นตัวกลางเ
ชือ
่ มระหว่าง ชนชัน
้ ปกครองกับพวกไพร่หรือสามัญชน
พระสงฆ์ประกอบด้วย สมาชิก 2 พวก คือ พวกทีบ ่ วชตลอด
ชีวต ่ วชชั่วคราวซึง่ ชนชัน
ิ และพวกทีบ ้ ไหนก็สามารถบวชเป็ นพระสงฆ์
ได้

เราอาจแบ่งกลุม
่ คนในสังคมอยุธยาออกอย่างกว้าง ๆ เป็ น 2 กลุม
่ คือ
้ ปกครอง ได้แก่ เจ้านายและขุนนาง ซึง่ เรียกรวมกันว่า
1. ชนชัน
“มูลนาย”
2. ชนชัน
้ ผูถ
้ ูกปกครอง ได้แก่ ไพร่และทาส
ทัง้ สองกลุม ่ นี้มีความสัมพันธ์ในด้านต่าง ๆ เป็ นลักษณะ
“ความสัมพันธ์แบบอุปถัมภ์”กล่าวคือ
มูลนายในฐานะผูบ ้ งั ค ับบัญชาจะให้ความช่วยเหลือ
ให้ความคุม ้ ครองแก่ผอ ู้ ยูใ่ ต้ปกครอง
ขณะเดียวกันก็มีหน้าทีอ่ อกระเบียบกฎหมายให้ผอ ู้ ยูใ่ ต้ปกครองปฏิบตั ิ
ส่วนผูอ้ ยูใ่ ต้ปกครองมีหน้าทีต ่ อ
้ งเคารพเชือ
่ ฟังมูลนาย
และทัง้ หมดเป็ นผูอ
้ ยูใ่ นอุปถัมภ์ของพระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็ นเจ้าของ
แผ่นดินและมีอานาจสูงสุดในสังคม และมีพระสงฆ์เชือ ่ มสองชนชัน ้

ชีวต
ิ ความเป็ นอยูแ
่ ละประเพณีบางอย่างสมัยอยุธยา
การก่อรูปสังคมนัน ้
โดยทั่วไปย่อมเป็ นหมูบ่ า้ นตามทีอ่ ุดมสมบูรณ์ พอจะเพาะปลูกเพือ
่ ยังชี
พได้ เช่น บริเวณลุม่ แม่น้า
ลักษณะการก่อรูปของสังคมไทยโบราณก็เป็ นไปลักษณะนี้

1. บ้านเรือนสมัยอยุธยา สร้างเป็ นหลังขนาดย่อมๆ


2. ผูห
้ ญิงต้องรับผิดชอบต่อครอบครัวมากกว่าผูช
้ าย

3. ชอบเล่นการพนันกันอย่างกว้างขวาง

4. ชอบสูบยาเส้น และสูบกันอย่างกว้างขวาง

5.
นิยมให้ลูกชายได้ศก
ึ ษาเล่าเรียนโดยใช้วดั เป็ นสถานศึกษา

สภาพสังคมไทยสมัยกรุงศรีอยุธยา
สังคมไทยสมัยกรุงศรีอยุธยา
แม้วา่ จะต่อเนื่องมาจากสังคมสมัยสุโขทัย
แต่ก็ได้มีความเปลีย่ นแปลงแตกต่างไปจากสังคม
สมัยสุโขทัยหลายด้าน
ทัง้ นี้ก็เพราะว่าสถาบันสูงสุดของการปกครองได้เปลีย่ นฐานะไป
นั่นคือ พระมหากษัตริย์ได้เปลีย่ นฐานะจากมนุษยราช
ในสมัยสุโขทัยเป็ นเทวธิราชขึน ้ ในสมัยอยุธยา
เปลีย่ นจากฐานะความเป็ น "พ่อขุน" มาเป็ น "เจ้าชีวต
ิ "
ของประชาชนซึง่ เป็ นผลให้ระบบและ สถาบันทางการปกครองต่างๆ
แตกต่างไปจากสังคมไทยสมัยสุโขทัยด้วย
ชนชัน
้ ของสังคมสมัยอยุธยา
สังคมอยุธยา เป็ นสังคมทีเ่ ต็มไปด้วยชนชัน

นับตัง้ แต่การแบ่งแยกชนชัน ้ อย่างเด็ดขาด ระหว่างกษัตริย์กบั ราษฎร
แล้ว
ทีแ
่ ละความรับผิดชอบ พร้อมกับตาแหน่ งหน้าทีแ ่ ล้ว
ราชการสมัยอยุธยายังมีศกั ดินาซึง่ มากน้อยตามตาแหน่ งหน้าที่
ระบบศักดินานี้เป็ น ระบอบของสังคมอยุธยาโดยแท้ เพราะศักดินานัน ้
ทุกคนต้องมีตง้ ั แต่ขน
ุ นางชัน
้ ผูใ้ หญ่
พระบรมวงศานุวงศ์ลงไปจนถึงข้าราชการชัน ้ ผูน
้ ้อย และประชาชนธร
รมดา จานวนลดหลั่นลงไป
นอกจากจะแบ่งตามหน้าทีต ่ าแหน่ งและความรับผิดชอ
บแล้ว ชนชัน ้ ในสังคมอยุธยา ยังแบ่งออกกว้างๆ
เป็ นสองชนชัน ้ อีก คือ ผูม้ ีศกั ดินาตัง้ แต่ 400 ขึน ้ ไป เรียกว่าชนชัน ้ ผูด
้ ี
ส่วนทีต ่ ่าลงมาเรียกว่า ไพร่ แต่ไพร่ก็อาจเป็ นผูด ้ ไี ด้
เมือ่ ได้ทาความดีความชอบเพิม ่ ศักดินาของตนขึน ้ ไปถึง 400 แล้ว
และผูด ้ ก ี ็อาจตกลงมาเป็ นไพร่ได้หากถูกลดศักดินาลงมาจนต่ากว่า
400 การเพิม ่ การลดศักดินาในสมัยอยุธยาก็อาจทากันง่ายๆ
หากได้ทาความดีความชอบหรือความผิด
การแบ่งคนออกเป็ นชนชัน ้ ไพร่ และชนชัน ้ ผูด
้ เี ช่นนี้
ทาให้สท ิ ธิของคนในสังคมแต่ละชัน ้ ต่างกัน สิทธิพเิ ศษต่างๆ
ตกไปเป็ นของชนชัน ้ ผูด
้ ตี ามลาดับแห่งความมากน้อยของศักดินา
เช่นผูด้ เี องและคนในครอบครัวได้รบั ยกเว้นไม่ถูกเกณฑ์ไปใช้งานรา
ชการ ในฐานะทีเ่ รียกกันว่า แลก เมือ ่ เกิดเรือ
่ งศาล ผูด ้ ก
ี ็ไม่ตอ
้ งไปศาล
เว้นแต่ผด ิ อาญาแผ่นดิน เป็ นขบถ
ธรรมดาผูด ้ จี ะส่งคนไปแทนตนในโรงศาล
มีทนายไว้ใช้เป็ นการส่วนตัว นอกจากนัน ้
ก็ยงั มีสทิ ธิเข้าเฝ้ าทูลละอองธุลีพระบาทได้ใน ขณะทีเ่ สด็จออก ขุนนาง
เมือ
่ มีสทิ ธิก็ตอ ้ งมีหน้าที่ ผูด
้ ท
ี ม
ี่ ีศกั ดินาสูงๆ
จะต้องคุมคนไว้จานวนหนึ่ง เพือ่ รับราชการทัพได้ในทันที
เมือ่ พระมหากษัตริย์เรียก เช่น ผูม ้ ีศกั ดินา 10,000
และมีหน้าทีบ ่ งั คับบัญชากรมกอง ซึง่ มีไพร่หลวงสังกัดอยู่
ก็ตอ ้ งรับผิดชอบกะเกณฑ์ คนแข็งแรงและมีประสิทธิภาพด้วย

สังคมอยุธยา
สังคมอยุธยานัน
้ กฎหมายกาหนดให้ทก ุ คนต้องมีนาย
ตามกฎหมาย ลักษณะรับฟ้ องมาตรา 10 กล่าวว่า "ราษฎรรับฟ้ องร้อง
ด้วยคดีประการใดๆ
แลมิได้สงั กัดมูลนายอย่าพึงรับไว้บงั คับบัญชาเป็ นอันขาดทีเดียว
ให้สง่ ตัวผูน
้ น
้ ั แก่สสั ดี เอาเป็ นคนหลวง"
จะเห็นว่า ไพร่ทก ุ คนของสังคมอยุธยาต้องมีสงั กัดมูลนายของตน
ผูไ้ ม่มีนายสังกัดกฎหมายไม่รบั ผิดชอบในการพิทกั ษ์ รกั ษาชีวต ิ และท
รัพย์สน ิ ไพร่จะต้องรับใช้ชาติในยามสงคราม จึงต้องมีสงั กัดเพือ ่ จะเรี
ยกใช้สะดวก เพราะในสมัยอยุธยานัน ้
ไม่มีทหารเกณฑ์หรือทหารประจาการในกองทัพเหมือนปัจจุบน ั จะมีก็
แต่กองทหารรักษาพระองค์เท่านัน ้ นอกจากนัน้
เป็ นเพราะสมัยแรกตัง้ กรุงศรีอยุธยา
ต้องใช้ชายฉกรรจ์จานวนมากในการปกป้ องข้าศึก ศัตรู
ความจาเป็ นของสังคมจึงบังค ับให้ราษฎรต้องมีนาย
เพราะนายจะเป็ นผูเ้ กณฑ์กาลังไปให้เมืองหลวงป้ องกันภัยจากข้าศึกศั
ตรู และนายซึง่ ต่อมากลายเป็ น "เจ้าขุนมูลนาย"
ต้องมีความรับผิดชอบต่อลูกหมูข ่ องตน
ถ้านายสมรูร้ ว่ มคิดกับลูกหมูท ่ าความผิด
ก็ถูกปรับไหมตามยศสูงต่า และหากลูกหมูข ่ องตนถูกกล่าวหาว่าเป็ นโ
จรปล้นทรัพย์
มูลนายก็ตอ
้ งส่งตัวลูกหมูใ่ ห้แก่ตระลากรสังคมอยุธยาจึงเป็ นสังคมทีต
่ ้
องมีความรับผิดชอบมากอยู่ มีกฎเกณฑ์ตา่ งๆ มากมาย
เพราะลักษณะและองค์ประกอบของสังคมซับซ้อนกว่าสังคมสุโขทัย

ระบบราชการสมัยกรุงศรีอยุธยา
ลักษณะสังคมไทยทีน ่ ่ าสนใจอยูอ ่ ีกประการหนึง่ คือ
ระบบราชการ ซึง่ เป็ นเครือ ่ งผูกมัดราษฎรให้มีภาระต่อแผ่นดิน
ชีวติ คนไทยได้ผก ู พันอยูก่ บั ราชการมาตัง้ แต่สมัยอยุธยาจนถึงปัจจุบน ั
ข้าราชการในสมัยอยุธยา เรียกว่า ขุนนาง มียศหรือบรรดาศักดิ ์
ชัน
้ พระยาหรือออกญาเป็ นชัน ้ สูงสุด และลดลงไปตามลาดับคือ
เจ้าหมืน ่ พระ จมืน ่ หลวง ขุน จ่า หมืน ่ และพัน
ส่วนเจ้าพระยา และสมเด็จพระยานัน ้ เกิดในตอนปลายๆ สมัยอยุธยา
ส่วนยศ เจ้าหมืน ่ จมืน ่ และจ่านัน ้
เป็ นยศทีใ่ ช้กน
ั อยูใ่ นกรมหาดเล็กเท่านัน ้ ส่วนตาแหน่ งข้าราชการสมั
ยอยุธยาก็มี อัครมหาเสนาบดี เสนาบดี จางวาง เจ้ากรม ปลัดกรม
และสมุหบัญชี เป็ นต้น
ตาแหน่ งอัครมหาเสนาบดีและเสนาบดีนน ้ ั ในระยะแรกๆ
มีบรรดาศักดิเ์ ป็ นพระยา ต่อมาในระยะหลังๆ ก็เป็ นเจ้าพระยาไปหมด
ส่วนตาแหน่ งอืน ่ ๆ ตัง้ แต่ จางวาง
เจ้ากรม ปลัดกรมลงมาจนถึงสมุบญ ั ชีนน ้ั
มีบรรดาศักดิเ์ ป็ นพระยาบ้าง พระบ้าง จนถึงหลวง
และขุนตามความสาคัญของตาแหน่ งนัน ้ ๆ ข้าราชการใน สมัยอยุธยา
ไม่ได้รบั ค่าตอบแทนเป็ นเงินเดือนหรือเงินปี
ได้รบั พระราชทานเพียงทีอ่ ยูอ ่ าศัยและเครือ ่ งอุปโภคบริโภคบางอย่าง
เช่น หีบเงินใช้ใส่พลู ศาตราวุธ เรือยาว สัตว์ พาหนะ
เลกสมกาลังและเลกทาสไว้ใช้สอย ทีด ่ น ิ สาหรับทาสวนทาไร่
แต่เมือ่ ออกจากราชการ แล้วก็ตอ ้ งคืนเป็ นของหลวงหมดสิน ้

You might also like