You are on page 1of 9

ระบบเจาขุนมูลนาย

Page issues

ระบบเจาขุนมูลนาย, ระบบฟิวดัลหรือระบบ
เจาครองนคร (อังกฤษ: feudalism) เป็ น
ระบอบการปกครองในอดีต สยามเรียกวา
ั ดินา
ระบบศก

ั ดินาไทย
ศก
ั ดินา คือ ตัววัดในการปรับไหม และ พินัย
ศก
ในกรณี ขน
ึ ้ ศาล คนทีถ
่ อ ั ดินาสูง เมื่อทําผิด
ื ศก
ั ดินาตํา่ การปรับ
จะถูกลงโทษหนั กกวาผูมีศก
ในศาลหลวง คาปรับนั น ั ดินาเป็ น
้ ก็เอาศก
ั ดินาขึน
บรรทัดฐานการกําหนดระบบศก ้ มาก็
ิ ธิและหนาที่
เพื่อประโยชนในการกําหนดสท
ของประชาชน หนวยทีใ่ ชในการกําหนด
ั ดินา ใชจํานวนไรเป็ นเกณฑ แตมิได
ศก
ั ดินาจะเป็ นขอกําหนด
หมายความวาศก
ตายตัวเกีย ิ ธิ ์ในการถือครอง
่ วกับกรรมสท
ทีด
่ น

ั ดินา ไมเกีย
ศก ิ ธิ ์ทีด
่ วกับกรรมสท ่ น
ิ เป็ นวิธก
ี าร
ั ดิ ์"ของบุคคลตัง้ แต พระมหาอุปราช
ลําดับ"ศก
ขุนนาง ขาราชการ ลงไปจนถึงไพรและทาส
โดยกําหนดจํานวนทีน ั ดิ ์ของ
่ ามากนอยตามศก
คนนั น ั ดินา 100,000 ไร
้ พระมหาอุปราชมีศก
ั ้ เจาพระยามี
และสูงสุดของขุนนางคือ ชน
ั ดินา 10,000 ไร คนธรรมดาสามัญมี
ศก
ั ดินา 25 ไร ทาสมีศก
ศก ั ดินา 5 ไร เป็ นตน
หากเปรียบเทียบกับระบบราชการ อาจเทียบ
ไดกับระบบพีซี ซงึ่ แบงเพื่อใหทราบระดับ
ขาราชการ ในสมัยกรุงศรีอยุธยา อาจกลาว
ไดวาเป็ นสงั คมศก
ั ดินา เพราะในสมัยสมเด็จ
พระบรมไตรโลกนาถ (พ.ศ. 1991 - พ.ศ.
2031) พระองคไดทรงตราพระราชกําหนด
ั ดินาขึน
ศก ้ มาใชอยางเป็ นทางการใน พ.ศ.
1997 โดยกําหนดใหบุคคลทุกประเภทใน
สงั คมไทยมีศก
ั ดินาดวยกันทัง้ สน
ิ ้ นั บตัง้ แต
พระบรมวงศานุ วงศ ขุนนางผูใหญ ลงไปถึง
บรรดาไพร ทาส และพระสงฆ ยกเวนองคพระ
มหากษั ตริย ซงึ่ มิไดระบุศก
ั ดินาเอาไว เพราะ
ั ดินาทัง้ ปวง
ทรงเป็ นเจาของศก

ในสวนของเจาประเทศราช ไดมีการตราพระ
ราชบัญญัตศ ั ดินาเจานาย พระยาทาวแสน
ิ ก
เมืองประเทศราช พ.ศ. 2442 โดยเป็ นการ
ั ดินาของเมืองประเทศราช
กําหนดศก

ั ดินายุโรป
ศก
พืน
้ ฐานและที่มาของระบบ

ั ้ ในระบบเจาขุนมูลนายของตะวันตก
ระดับชน
เป็ นระบบสงั คมและเศรษฐกิจทีเ่ ป็ นระบบทีใ่ ช
ในสงั คมของยุโรปอยางกวางขวางในยุคกลาง
หัวใจของระบบคือการมอบดินแดนใหเป็ นการ
แลกเปลีย
่ นกับการสนั บสนุ นทางการทหาร

ธรรมชาติของระบบเจาขุนมูลนายเป็ นระบบที่
ั ้ ในสงั คม ทีผ
สรางระดับชน ่ มี
ู สวนรวมตางก็
่ องตนในระบบสงั คม
ทราบฐานะและหนาทีข
นั น
้ วามีความเกีย
่ วของและรับผิดชอบตอผูใด
ทีเ่ หนื อกวา และตํา่ กวาตนเองอยางใด การ
ั พันธดังวาเป็ นไปตามการสบ
รักษาความสม ื ดิน
แดนตามกฎบัตรตางๆ หรือประเพณี ทวี่ างไว
ั สาํ คัญ
อยางเครงครัด แตกฎของประเพณี อน
ทีส
่ ด
ุ และปฏิบต
ั ก
ิ น
ั อยางเครงครัดทีส
่ ด
ุ คือกฎ
ิ ธิของบุตรคนแรกซงึ่ หมายความวาสมบัต/ิ
สท
ทีด
่ น ี ชวี ต
ิ ทุกอยางของผูทีเ่ สย ิ ตองตกเป็ นของ
บุตรชายคนโตเทานั น

บุคคลในสงั คมระบบเจาขุนมูลนายเป็ น
"บริวาร" (vassal) หรือ "ขา" ของประมุข
ฉะนั น
้ จึงตองสาบานความภักดีตอประมุข ผูที่
มีความรับผิดชอบและหนาทีใ่ นการพิทก
ั ษและ
รักษาความยุตธ
ิ รรมใหแกผูอยูภายใตการ
ปกครอง สงั คมเจาขุนมูลนายเป็ นสงั คมที่
ิ ในสงั คมมีความภักดีและหนาทีร่ บ
สมาชก ั ผิด
ชอบตอกันและกัน เป็ นสงั คมทีป
่ ระกอบดวยผู
ั ้ แรงงานที่
ครองดินแดนผูเป็ นทหารและชนชน
เป็ นเกษตรกร ขุนนางทีเ่ ป็ นผูครองดินแดนที่
วานี ก
้ ็รวมทัง้ บิชอปเพราะบิชอชก็เป็ นผูครอง
ั ้ ที่
ดินแดนเชนเดียวกับขุนนางฆราวาส ชนชน
ตํา่ ทีส
่ ด
ุ ในระบบนี ค
้ อ
ื เกษตรกร หรือ villeins
ตํา่ กวานั น
้ ก็เป็ นขาทีด
่ น
ิ (serfs)

ระบบเจาขุนมูลนายรุงเรืองมาจนกระทัง่ เมื่อ
ิ ธิราชยเริม
ระบอบสมบูรณาญาสท ่ แข็งแกรง
ขึน
้ เพราะขุนนางทองถิน
่ ถูกลิดรอนอํานาจไป
ใหกษั ตริยทีส
่ วนกลาง โดยกอนหนานั น
้ ผูมี
อํานาจทีแ
่ ทจริงคือขุนนางผูครองดินแดน ผูมี

เกษตรกรอยูภายใตการปกครองผูมีหนาทีเ่ สย
คาธรรมเนี ยมตาง ๆ ระบบการศาลก็เป็ นระบบ
ทีท
่ าํ กันในทองถิน
่ ทีป
่ กครอง ระบบก็จะแตก
ตางกันออกไปบางแตโดยทัว่ ไปแลวเกษตรกร
ก็จะมีทด
ี่ น
ิ ทํามาหากินแปลงเล็กๆ หรือแปลงที่
รวมทํากับผูอืน ่ ลูกอาหารสาํ หรับ
่ ทีใ่ ชเป็ นทีป
ิ ธิทจ
ตนเองและครองครัว และมีสท ี่ ะหาฟื น
จากปาของผูครองดินแดนมาใช ระบบทีใ่ ชกัน
มากคือระบบการแบงทีด
่ น
ิ เป็ นผืนยาว ๆ รอบ
ดินแดนของแมเนอร

ระบบเจาขุนมูลนายตะวันตกทีว่ วิ ฒ
ั นาการขึน

ในขณะทีบ
่ านเมืองอยูในสภาพอัน
ระสาํ่ ระสายในคริสตศตวรรษที่ 8 ในฝรัง่ เศส
เป็ นระบบทีท
่ าํ ใหสรางความมีกฎมีระเบียบขึน

บาง การเป็ นเจาของดินแดนก็อาจจะไดมา
โดยการยินยอมหรือการยึดครอง ผูครองดิน
แดนใหญ ๆ อาจจะไดรับหนาทีท
่ างกฎหมาย
และทางการปกครองจากรัฐบาลกลางพอ
สมควร เมื่อมาถึงระดับดินแดนในปกครองผู
ครองดินแดนก็อาจจะทําขอตกลงกับเจาของ
ดินแดนทีย
่ อยลงไปอืน
่ ๆ ในการกอตัง้ กอง
ทหารทองถิน
่ เพื่อการปองกันตนเอง ระบบ
ั ดินาเป็ นระบบทีม
ศก ่ ีกฎหมายและจารีตทีเ่ ป็ น
่ ามีบทบาทอันสาํ คัญใน
ของตนเองทีม
ประวัตศ
ิ าสตรและวัฒนธรรมของยุโรปในยุค
ั ดินานํ าเขามาใชในอังกฤษโดย
กลาง ระบบศก
พระเจาวิลเลียมที่ 1 แหงอังกฤษในปี พ.ศ.
1609 แตทรงลิดรอนอํานาจจากขุนนางทีเ่ ป็ น
บริวารของพระองคเป็ นอันมากและใชระบบ
ั ดินามีองค
การบริหารจากสวนกลาง ระบบศก
ประกอบสามอยาง: เจาของทีด
่ น
ิ , ทีด
่ น
ิ และ
ิ ในระบบศก
รัฐบาล สมาชก ั ดินารวมทัง้ พระ
มหากษั ตริยผูเป็ นประมุขของระบบ แตละคน
ิ ธิ ์แตกตางกันไปตามทีร่ ะบุตาม
ตางก็มีอภิสท
ั ดินาในการรับผิดชอบตอหนาทีท
กฎระบบศก ่ ี่
กําหนด

ดูเพิ่ม
ระบบถือครองทีด
่ น
ิ สมัยฟิ วดัล

ดึงขอมูลจาก
"https://th.wikipedia.org/w/index.php?title=ระบบ
เจาขุนมูลนาย&oldid=6851597"

Last edited 11 months ago by Horus

เนื อ
้ หาอนุ ญาตใหเผยแพรภายใต CC BY-SA 3.0 เวน
แตระบุไวเป็ นอืน

You might also like