You are on page 1of 16

รหัสวิชา 384 พุทธประวัติ

แนวข้ อสอบ B - net วิชาพุทธประวัติ ( พ.ศ. 2564 )


รหัสวิชา 384 พุทธประวัติ มัธยมศึกษาปี ที่ 3
ตอนที่ 2 พุทธประวัติ จานวน 50 ข้ อ ( ข้ อ 1 - 50 ) รวม 100 คะแนน
1) กสิ กรรมและพาณิชยกรรมเป็ นหน้ าที่ของชนชั้นใดในชมพูทวีป
1. กษัตริย์ 2. พราหมณ์ 3. แพศย์ 4. ศูทร
 วรรณะ ๔ : ชนในชมพูทวีปแบ่งเป็ น ๔ วรรณะ ตามการศึกษาและหน้าที่ ดังนี้
๑. กษัตริย์ : ศึกษาขนบธรรมเนียม การปกครองบ้านเมือง ยุทธวิธี และมีหน้าที่ปกครองบ้านเมือง
รักษาเอกราชความสงบสุขของบ้านเมือง
๒. พราหมณ์ : ศึกษาวิชาการทางศาสนา ปรัชญาต่างๆและมีหน้าที่อบรมสัง่ สอน ประกอบพิธีทาง
ศาสนา
๓. แพศย์ : ศึกษาศิลปศาสตร์ กสิกรรมและพาณิ ชยกรรม และมีหน้าที่เป็ นช่างฝี มือ ทานา ค้าขาย
๔. ศูทร : ศึกษาการงานที่ออกแรงหนัก มีหน้าที่เป็ นกรรมกรแบกหาม รับจ้างงานไร้ฝีมือทัว่ ไป
2) ผู้ที่มีหน้ าทีใ่ ห้ การศึกษา ในวรรณะ 4 ตรงตามข้ อใด
1. กษัตริย์ 2. พราหมณ์ 3. แพศย์ 4. ศูทร
 วรรณะ ๔ : ชนในชมพูทวีปแบ่งเป็ น ๔ วรรณะ ตามการศึกษาและหน้าที่ ดังนี้
๑. กษัตริย์ : ศึกษาขนบธรรมเนียม การปกครองบ้านเมือง ยุทธวิธี และมีหน้าที่ปกครองบ้านเมือง
รักษาเอกราชความสงบสุขของบ้านเมือง
๒. พราหมณ์ : ศึกษาวิชาการทางศาสนา ปรัชญาต่างๆและมีหน้าที่อบรมสัง่ สอน ประกอบพิธีทาง
ศาสนา
๓. แพศย์ : ศึกษาศิลปศาสตร์ กสิกรรมและพาณิ ชยกรรม และมีหน้าที่เป็ นช่างฝี มือ ทานา ค้าขาย
๔. ศูทร : ศึกษาการงานที่ออกแรงหนัก มีหน้าที่เป็ นกรรมกรแบกหาม รับจ้างงานไร้ฝีมือทัว่ ไป
3) ข้ อใดไม่ ใช่ การปกครองระบอบสามัคคีธรรม
1. เป็ นธรรมสภากษัตริย์ 2. กษัตริย์ทกุ วงศ์ มาจากการเลือกตั้ง
3. ในการประชุมกษัตริย์ทุกวงศ์ เท่ าเทียมกัน 4. ไม่ เรียกเจ้ าวงศ์ ใดวงศ์ วงศ์ หนึ่งว่ า “ ราชา ”
 วิธีการปกครอง: การปกครองนครเหล่านี้ได้กล่าวไว้ชดั แต่ตามสันนิษฐานโดยประเพณี แล้วปกครองโดย
สามัคคีธรรมเหมือนธรรมเนียมที่ใช้ในแค้วนวัชชีและแคว้นมัลละ ในแคว้นวัชชีมีเจ้าวงศ์หนึ่ง เรี ยกว่า “ ลิจ
ฉวี ” เป็ นผูป้ กครอง ในแคว้นมัลละก็มีเจ้าวงศ์หนึ่งเรี ยกว่า “ มัลละ” เป็ นผูป้ กครอง แต่วา่ เจ้าทั้งสองวงศ์น้ นั
ไม่ได้เรี ยกเรี ยกเจ้าวงศ์ใดวงศ์ใดวงศ์หนึ่งว่า “ ราชา ” เลย คงเรี ยกว่า ลิจฉวี และเรี ยกว่า มัลละ เสมอกัน แต่
ถ้ามีเหตุผลอย่างใดอย่างหนึ่งเกิดขึ้น เช่น มีการสงคราม เป็ นต้น เจ้าทั้งสองวงศ์น้ นั ก็ประชุมปรึ กษา ช่วยกัน
จัดทาตามสมควรแก่เหตุที่เกิดขึ้น
4) เหตุการณ์ที่โกญฑัญญพราหมณ์ ยืนยันในคาทานายของตนต่ างจากพราหมณ์ท้งั 7 เป็ นแบบอย่ างที่เด่ นชัด
ที่สุด ตามข้ อใด
1. กล้ าแสดงออก 2. คิดสร้ างสรรค์ 3. ยึดมั่นในหลักการ 4. รั บผิดชอบต่ อหน้ าที่
รหัสวิชา 384 พุทธประวัติ

 พราหมณ์ 8 คน ที่ได้รับการยกย่องจากพราหมณ์ท้งั หลายในครั้งนั้น คือ ๑) รามพราหมณ์


๒) ลักษณพราหมณ์ ๓) ยัญญพราหมณ์ ๔) ธุชพราหมณ์ ๕) โภชนพราหมณ์ ๖) สุทตั ตพราหมณ์
๗) สุยามพราหมณ์ ๘) โกญฑัญญพราหมณ์
 พราหมณ์ ๗ คนแรก เห็นลักษณะพระราชกุมารบริ บูรณ์ จึงยกนิ้วมือขึ้นทั้ง ๒ นิ้ว ทานายว่า พระราช
กุมารนี้มีคติเป็ น ๒ คือ
๑) ถ้าอยูค่ รองฆราวาสจักได้เป็ นพระเจ้าจักรพรรดิ
๒) ถ้าออกบรรพชาจักได้ตรัสรู ้เป็ นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
แต่โกญฑัญญพราหมณ์ ซึ่งมีอายุนอ้ ยกว่าพราหมณ์ท้งั ๗ คนนั้น ได้ยกนิ้วมือเพียงนิ้วเดียว ยืนยันพยากรณ์
เป็ นแม่นมัน่ ว่า พระราชกุมารผูบ้ ริ บูรณ์ดว้ ยพระมหาบุรุษลักษณะเช่นนี้มีคติเป็ นหนึ่ง คือจะต้องเสด็จออก
บรรพชาและตรัสรู ้เป็ นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าแน่ นอน จะอยูค่ รองฆราวาสวิสยั หาเป็ นไปไม่ได้
5) พระกุมารสิ ทธัตถะ ได้ ปฐมฌานในวันแรกนาขวัญให้ ข้อคิดแก่ เยาวชนตามข้ อใด
1. มักน้ อยสั นโดษ 2. มุมานะ อดทน
3. ขยันหมั่นเพียร 4. ใช้ เวลาว่ างให้ เกิดประโยชน์
 ครั้นถึงวันจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ พระเจ้าสุทโธทนะเสด็จเข้าสู่สถานที่มณฑลพิธีกระทาการแรกนา
ขวัญ โปรดให้พระราชกุมารเสด็จไป โดยมีพระพีเ่ ลี้ยงนางนมทั้งหลายคอยเฝ้าปรนนิบตั ิ ครั้นพิธีแรกนา
ขวัญเริ่ มขึ้น พวกพีเ่ ลี้ยงนางนมต่างพากันออกไปดูพธิ ีแรกนาขวัญกันหมด พระราชกุมารเสด็จไปประทับอยู่
ใต้ร่มต้นหว้าลาพังพระองค์เดียว ประทับนัง่ สมาธิเจริ ญอานาปานสติกรรมฐานเกิดความสงบสงัดจนได้
บรรลุปฐมฌาน พอเวลาบ่าย เงาต้นไม้ท้งั หลายเบี่ยงเบนไปตามแสงตะวันทั้งหมด แต่เงาของต้นหว้า ต้นนั้น
ยังคงอยูเ่ หมือนเดิม เสมือนหนึ่งเป็ นเวลาเที่ยงวัน มิได้เอนไปตามแสงตะวันดังต้นไม้อื่น ๆ ปรากฏเป็ น
อัศจรรย์ยงิ่ นัก
6) เพราะเหตุใด พระพุทธเจ้ าจึงตัดสิ นพระทัย แสดงธรรมโปรดแก่ปัญจวัคคีย์ ทั้ง 5
1. ระลึกถึงอุปการะในตอนบาเพ็ญทุกรกิริยา
2. อาฬารดาบส อุทกดาบส ผู้เคยเป็ นอาจารย์ สิ้นชีพไปแล้ ว
3. พิจารณาเห็นความเหมาะสมแก่การฟังธรรมเทศนาเป็ นปฐม
4. เป็ นผู้แนะนาให้ บาเพ็ญทุกรกิริยา
 เมื่อพระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้าตั้งพุทธปณิ ธานที่จะแสดงธรรมสัง่ สอนเหล่าเวไนยสัตว์ท้งั ปวงด้วย
พระมหากรุ ณาธิคุณ จึงทรงพิจารณาว่าบุคคลผูใ้ ดสมควรจะได้ฟังพระธรรมเทศนา ลาดับนั้นพระพุทธองค์
ทรงนึกถึง อาฬารดาบส กาลามโคตร และ อุทกดาบส รามบุตร ซึ่งพระองค์เคยเสด็จไปทรงศึกษาหาความรู ้
ก่อนที่สาเร็จสัมมาสัมโพธิญาณ แต่มีเทพยดาองค์หนึ่งได้เข้ามากราบทูลว่าบัดนี้อาฬารดาบสได้ดบั ขันธ์
สิ้นชีพล่วงไปได้ ๗ วันแล้ว สมเด็จพระชินสี ห์จึงส่องทิพยจักษุฌานดูก็ทรงประจักษ์วา่ เป็ นจริ งตามนั้น และ
บัดนี้พระดาบสได้ไปบังเกิดในอากิญจัญญาตนอรู ปภพ อรู ปพรหมชั้นที่ ๓ จึงมีพทุ ธดาริ วา่ หากพระดาบสยัง
มีชีวติ อยูต่ ่ออีก ๑ วันก็จะได้สดับพระสัทธรรมและสามารถบรรลุมรรคผลสาเร็จเป็ นพระอรหันต์ได้อย่าง
แน่นอน ด้วยเป็ นบัณฑิตชาติอุดมด้วยสติปัญญาและกมลสันดานเบาบางจากกิเลสมลทิน
รหัสวิชา 384 พุทธประวัติ

ลาดับต่อมาพระพุทธองค์ได้ทรงราลึกถึงเหล่าปั ญจวัคคียท์ ้งั ๕ อันได้แก่ โกณฑัญญะ วัปปะ ภัททิยะ มหา


นมะ และอัสสชิ ซึ่งเคยอุปัฏฐากปรนนิบตั ิพระองค์มา ทรงพิจารณาด้วยพระญาณจึงทราบว่าบัดนี้เหล่าปั ญจ
วัคคียส์ ถิตอยู่ ณ ป่ าอิสิปตนมฤคทายวัน ใกล้เมืองพาราณสีแห่งแคว้นกาสี อันอยูห่ ่างจากตาบลอุรุเวลาเสนา
นิคมเป็ นระยะเวลาประมาณ ๑๘ โยชน์ ทรงเห็นว่าเหล่าปั ญจวัคคียท์ ้งั ๕ จะสามารถบรรลุธรรมได้ และ
เบื้องแรกสมเด็จพระสัพพัญญูจะเหาะเสด็จไปทางอากาศ แต่พจิ ารณาว่าควรเสด็จพระพุทธดาเนินไปทางปฐม
พีเพือ่ จะได้สงเคราะห์แก่อุปกาชีวก ซึ่งต่อไปภายหน้าจะได้บรรพชาในพระพุทธศาสนาศึกษาธรรมจนสาเร็จ
เป็ นพระอรหันต์ท้งั นี้ก็ดว้ ยพระมหากรุ ณาธิคุณซึ่งมีต่อมวลมนุษย์และเหล่าสรรพสัตว์อนั หาที่สุดมิได้ พระผู ้
มีพระภาคจึงเสด็จพุทธดาเนินโดยพระบาทไปในเวลาเช้าของวันขึ้น ๑๔ ค่าเดือน ๘ เมื่อพบและทรงแสดง
ธรรมแก่อุปกาชีวกพอเป็ นแนวทางแห่งการบรรพชาในเบื้องหน้า และเสด็จพุทธดาเนินต่อจนถึงป่ าอิสิปตน
มฤคทายวันใน เวลาเย็น
7) ข้ อใดที่ม่ งุ พัฒนาผู้ปฏิบัติให้ เกิดปัญญา
1. สั มมาทิฏฐิ สั มมาสั งกัปปะ 2. สั มมาวาจา สั มมากัมมันตะ
3. สั มมาอาชีวะ สั มมาวายามะ 4. สั มมาสติ สั มมาสมาธิ
 ในมรรคมีองค์ ๘ นั้น
๑) ความเห็นชอบ ดาริ ชอบ จัดเข้าในปั ญญาสิกขา
๒) วาจาชอบ การงานชอบ เลี้ยงชีพชอบ จัดเข้าในสีลสิกขา
๓) เพียรชอบ ระลึกชอบ ตั้งใจชอบ จัดเข้าในจิตตสิกขา
8) เป้ าหมายสุ ดท้ ายของการแสดงอนุปพุ พิกถาต่ อยสกุลบุตรคือข้ อใด
1. สารวมระวังมีศีลบริสุทธิ์ 2. รู้ จักเสี ยสละทาบุญทาทาน
3. เห็นโทษของกามที่มีแต่ ความวุ่นวาย 4. มีจิตศรัทธาเลื่อมใสคิดออกบวช
 พระบรมศาสดาทรงแสดง “ อนุปุพพิกถา ” คือวาจาปรารภธรรมที่พงึ พรรณนาโดยลาดับ ๕ ประการ
ได้แก่ ๑) ทาน การให้ ๒) ศีล การรักษากายวาจาให้เรี ยบร้อย ๓) สัคคะ คือ สวรรค์อนั บุคคลพึงได้ดว้ ย
ทานและศีล ๔) กามาทีนพ คือโทษของกาม มีแต่ความวุน่ วายไม่สงบ ๕) เนกขัมมะ อานิสงส์ของการออก
บวช ห่างไกลจากความวุน่ วาย ไม่เร่ าร้อน แล้วจบลงด้วยการทรงแสดงอริ ยสัจ ๔ ยสกุลบุตรสดับแล้วได้
ดวงตาเห็นธรรม ณ ที่น้ นั นัน่ เอง ฯ
9) ติสรณคมนูปสั มปทา คือการบวชตามข้ อใด
1. ด้ วยการถามปัญหา 2. ด้ วยการเปล่งวาจา สรณะ 3
3. สงฆ์ สวดประกาศเรียกเข้ าหมู่ 4. สงฆ์ สวดประกาศท่ามกลางสงฆ์
 ติสรณคมนูปสัมปทา คือ การอุปสมบทด้วยวิธีให้ผขู ้ อบวชกล่าวคารับเอาและเข้าถึง พระรัตนตรัยว่า
เป็ นที่พ่งึ (สรณะ) เป็ นที่ระลึก แต่การบวชแบบติสรณคมนูปสัมปทานี้ เดิมใช้บวชพระมาก่อน กล่าวคือ
ตอนที่พระพุทธเจ้าตัดสินพระทัยออกประกาศศาสนา ได้เสด็จไปโปรดปั ญจวัคคียท์ ี่ป่า อิสิปตนมฤคทายวัน
ประทานการบวชแก่บุคคลผูเ้ ลื่อมใสศรัทธา ขณะที่ประทับอยูใ่ นเขตเมืองพาราณสี นั้น มีจานวนถึง ๖๐ รู ป
แล้วพระองค์ก็ทรงส่งพระสาวกเหล่านั้นออกประกาศศาสนาไปตามบ้าน คามนิคมและราชธานี โดยส่งไป
รหัสวิชา 384 พุทธประวัติ

แห่งละรู ป มิให้เดินทางไปแห่งเดียวกันสองรู ป เมื่อมีผศู ้ รัทธาจะขอบวชในพุทธศาสนา พระสาวกก็ไม่อาจจะ


บวชให้แก่ผเู ้ ลื่อมใสเหล่านั้นได้ ต้องพาผูม้ ีศรัทธาเหล่านั้นเดินทางรอนแรม หนทางก็ทุรกันดาร พระพุทธเจ้า
ทรงเห็นความลาบากเหล่านี้ จึงทรงอนุญาตให้ภิกษุสามารถบวชด้วยวิธีติสรณคมนูปสัมปทานี้โดยไม่ตอ้ งพา
ผูข้ อบวชเดินทางมาหา พระพุทธองค์อีกต่อไป
10) พระพุทธเจ้ าทรงเลือกแคว้ นมคธ เป็ นสถานที่ประกาศพระศาสนาครั้งแรก พระองค์ทรงพิจารณาตามข้ อใด
1. มีประชาชนมาก 2. มีความอุดมสมบูรณ์
3. มีเขตติดต่ อกับหลายแค้วน 4. มีพระราชาที่ทรงอานาจ
 กรุ งราชคฤห์ แคว้น มคธ ตั้งอยู่ท างตอนใต้ทิศ บูรพาของชมพูท วีป เป็ นแว่น แคว้น ใหญ่ เป็ นเมื อ งที่ มี
อานาจและบริ บูรณ์ ดว้ ยสมบัติ คับคัง่ ด้วยประชาชน ทั้งรวมเอาอังคชนบทเข้าด้วย มีอ าณาเขตติด ต่อ กับ
แคว้นโกศล กาสี และวัชชี มีกรุ งราชคฤห์เป็ นนครหลวง พระเจ้ าพิมพิสาร ปกครองโดยสิทธิขาด ทรงยศ
เป็ นมหาราช แต่ในบาลีไ ม่ใช้คาว่า “ มหาราช ” จึงเรี ยกว่า “ ราชามาคโธ ” และเป็ นเมือ งที่มากด้วยครู เจ้า
ลัทธิต่างๆ พระบรมศาสดาจึงทรงเลือกเอาแคว้นนี้เป็ นที่ต้งั แห่งพระศาสนาเป็ นปฐม ฯ
11) การทาบุญถวายเพลพระสงฆ์ เพื่ออุทิศเฉพาะบิดา ที่ล่วงลับไปแล้ วตรงตามข้ อใด
1. ทักษิณานุปทาน 2. มตกทาน 3. ปุพพเปตพลี 4. เทวตาพลี
การบ าเพ็ญ กุศ ลแก่ ท่ านผูล้ ่ วงลับ ไปแล้ว ตามคติ ท างพระศาสนาเรี ยกว่า เป็ นการบ าเพ็ญ “ทัก ษิ ณ านุ
ประทาน” แปลว่า การเพิ่มให้ทกั ษิณา หมายความว่า การที่เราทาทักษิณานุ ประทานนี้ ก็มีการบาเพ็ญกุศล
ต่อ เนื่ อ งกันไป บาเพ็ญ กุศลครั้งหนึ่ งก็ ให้ท ักษิณ าครั้งหนึ่ ง เป็ นการให้เพิ่มไปเรื่ อ ยๆ จึงเรี ยกว่าทักษิณ านุ
ประทาน ทักษิณา แปลตามหลักวิชาว่า ทานที่ถวายแก่พระสงฆ์เพื่ออุทิศให้แก่ผลู ้ ่ วงลับ ด้วยความเชื่อหรื อ
ศรัทธาในกรรมและผลของกรรม...
12) ในวันจาตุรงคสั นนิบาต พระพุทธเจ้ าทรงแสดงตามข้ อใด
1. อริยสั จ 4 2. โอวาทปาติโมกข์ 3. อนุบุพพิกถา 4. ธรรมจักรกัปปวัตตนสู ตร
 วันมาฆบูชา ตรงกับวันเพ็ญเดือน ๓ (เดือน ๔ ในปี ที่มีอธิกมาส) เป็ นวันคล้ายวันที่พระพุทธเจ้าทรงแสดง
โอวาทปาติโมกข์ แก่พระอริ ยสงฆ์อรหันตสาวก จานวน ๑,๒๕๐ องค์ ซึ่งมาประชุมกันโดยมิได้นดั หมาย ณ
เวฬุวนั มหาวิหาร กรุ งราชคฤห์ แคว้นมคธ การประชุมกันในวันนั้น เรี ยกว่า “ จาตุรงคสันนิบาต ” คือ การ
ประชุมประกอบด้วยองค์สี่ วันมาฆบูชานี้เรี ยกอีกอย่างหนึ่งว่า “ วันพระธรรม ”
13) เหตุใดพระพุทธเจ้ าไม่ เสด็จกรุงกบิลพัสดุ์ตามคาทูลอาราธนาของอามาตย์ มาถึง 9 ครั้ง
1. ทรงตั้งพระทัยประกาศพระศาสนาเฉพาะแคว้ นมคธ
2. ทรงดาเนินจากมคธถึงกรุงกบิลพัสดุ์ลาบาก
3. มีความประสงค์จะให้ พระภิกษุมีมากก่ อน
4. ทรงพระประสงค์จะทรมานทิฏฐิ มานะของประยูรญาติ
 พระเจ้าสุ ทโธทนะทรงทราบข่าวว่า พระมหาบุรุษได้บรรลุ พระสัมมาสัมโพธิญาณ ทรงประกาศพระ
ศาสนาประทับอยูท่ ี่วดั เวฬุวนั เมืองราชคฤห์ ส่งอามาตย์ไป ๙ ครั้ง ๆ ละ ๑,๐๐๐ คน ไปทูลอาราธนาเสด็จกลับ
เมืองกบิลพัสดุ์ ทั้งหมดฟังธรรมแล้วบรรลุเป็ นพระอรหันต์ทูลขอบวช ไม่มีใครกลับมากราบทูลข่าวสารให้
รหัสวิชา 384 พุทธประวัติ

ทรงทราบ ส่ งกาฬุทายีอามาตย์ไ ปเป็ นครั้งที่ ๑๐ เมื่อ เข้าเฝ้าฟั งธรรมจากพระพุทธเจ้าแล้วทั้งหมดได้บรรลุ


ธรรมเป็ นพระอรหันต์จึงทูลขอบวช เมื่ อถึ งเวลาอันสมควรกราบทูลเสด็จกรุ งกบิลพัสดุ์ ในวันเพ็ญเดื อ น
๔ พระพุทธองค์เสด็จไปเมืองกบิลพัสดุ์พร้อมหมู่ สงฆ์ ๒๐,๐๐๐ รู ปจากเมื องราชคฤห์ถึงเมืองกบิลพัสดุ์ มี
ระยะทาง ๖๐ โยชน์ ทรงเสด็ จ พระด าเนิ น วัน ละ ๑ โยชน์ สิ้ น เวลา ๒ เดื อ น ถึ งเมื อ งกบิ ล พัส ดุ์ ตามค า
อาราธนาของพระกาฬุทายี ทรงประทับอยูท่ ี่นิโครธาราม
14) พระพุทธเจ้ าเสด็จโปรดพระประยูรญาติ ทรงสอนในเรื่ องอย่ าประมาทในบิณฑบาตพระองค์ม่ งุ สอนเรื่ องใด
1. กิจวัตรที่ควรทา 2. อดีตพุทธวงศ์ 3. ยินดีในบิณฑบาต 4. เวสสั นดรชาดก
ครั้น สิ้ นสมัยราตรี รุ่งเช้า พระสัมมาสัมพุท ธเจ้าก็ เสด็จด้วยพระขีณ าสพ ๒ หมื่ นเป็ นบริ วาร ทรงบาตร
ดาเนินภิกษาจารตามท้องถนนในกบิลพัสดุ์นคร ขณะนั้น มหาชนที่สัญจรในถนน ตลอดไปถึงทุก ๆ คน ทุก
บ้านช่อง ต่างก็จอ้ งดูดว้ ยความเลื่อมใสและประหลาดใจระคนกัน ว่าไฉนพระผูเ้ ป็ นเจ้าสิ ทธัตถะกุมารจึงนา
พระสงฆ์เที่ยวภิกษาจารด้วยอาการเช่นนี้ แล้วก็โจษจันกันอึงทัว่ พระนคร
เมื่อพระเจ้าสุทโธทนะทรงทราบก็ตกพระทัย รี บเสด็จลงจากพระราชนิ เวศน์ เสด็จพระราชดาเนินไป
หยุดยืนเฉพาะพระพักตร์พระบรมศาสดาแล้วทูลว่า "ไฉนพระองค์จึงทรงทาให้หม่อมฉันได้รับความอัปยศ
โดยเที่ยวภิกษาจารเช่นนี้"
สมเด็จพระชินสี ห์จึงตรัสตอบว่า "ดูกรพระราชสมภาร อันการเที่ยวบิณฑบาตนี้ เป็ นจารี ตประเพณี
ของตถาคต"
"ข้าแต่พระผูม้ ีพระภาค อันบรรดากษัตริ ยข์ ตั ติยสมมติวงค์องค์ใดองค์หนึ่ ง ซึ่ งเที่ยวบิณฑบาตเช่นนี้
ยังจะมีอยู่ ณ ที่ใด ประเพณี ของหม่อมฉันไม่เคยมีแต่ครั้งไหนในก่อนกาล"
"ดู กรพระราชสมภาร นับแต่ตถาคตได้บรรลุ พระสัมโพธิญ าณแล้ว ก็สิ้นสุ ดสมมติขตั ติยวงศ์ เริ่ ม
ประดิ ษฐานพุท ธวงศ์ต้ งั แต่น้ ันมาจนถึ งวันนี้ ดังนั้น การเที่ยวบิ ณฑบาตจึงเป็ นประเพณี ของพระพุทธเจ้า
ตลอดพระภิกษุสงฆ์ที่สืบสายพุทธวงศ์ชวั่ นิรันดร"
เมื่ อพระบรมศาสดาตรัสเช่นนี้ แล้ว จึงแสดงธรรมโปรดพระพุทธบิดา ให้ดารงอยูใ่ นโสดาปั ตติผล
แล้วพระเจ้าสุทโธทนะก็ทรงรับบาตรของพระบรมศาสดา ทูลอาราธนาให้เสด็จขึ้นพระราชนิเวศน์ พร้อมด้วย
พระภิกษุสงฆ์ ทรงอังคาสด้วยอาหารบิณฑบาตอันประณี ต
15) อนาถบิณฑิกเศรษฐี มีคุณสมบัติเด่ นชัดในเรื่ องใด
1. การแสดงธรรม 2. ปฏิภาณไหวพริบ
3. มั่งคัง่ ร่ารวย 4. การถวายทาน
 อนาถบิณฑิกเศรษฐี เกิดในตระกูลมหาเศรษฐี ในเมืองสาวัตถี บิดาชื่อว่า “สุมนะ” มีทรัพย์สมบัติมากมาย
มหาศาล เมื่อเกิดมาแล้วบรรดาหมู่ญาติได้ต้งั ชื่อให้วา่ “สุทตั ตะ” เป็ นคนมีจิตเมตตาชอบทาบุญให้ทานแก่คน
ยากจนอนาถา
16) ปัจฉิมโอวาททีพ่ ระพุทธเจ้ าทรงประทานแก่ พระภิกษุก่อนปรินิพพาน คือข้ อใด
1. ความไม่ ประมาท 2. ความสามัคคี
3. ความตาย 4. ความเพียร
รหัสวิชา 384 พุทธประวัติ

 ปั จฉิมโอวาทว่า “ภิกษุท้งั หลาย บัดนี้ ตถาคตขอเตือนเธอทั้งหลาย สังขารทั้งหลาย เสื่อมไปเป็ นธรรมดา


เธอทั้งหลาย จงยังประโยชน์ตน ประโยชน์ท่าน ให้ถึงพร้อมด้วยความไม่ประมาทเถิด”
17) พระพุทธเจ้ าทรงประทานโอวาทแก่พระอานนท์ ในเวลาใกล้ปรินิพพาน เพราะเหตุใด
1. พุทธอุปัฏฐากพระองค์ 2. ไม่ บรรลุพระอรหันต์
3. ญาติของพระองค์ 4. กาลังเสี ยใจ
ในกาลที่พระพุทธเจ้าใกล้จะปริ นิพพานพระอานนท์เถระมีความน้อยเนื้อต่าใจที่ตนยังเป็ นพระโสดาบันอยู่
เกรงจะบรรลุอรหันต์ไม่ทนั พระบรมศาสดาที่กาลังจะเสด็จเข้าสู่ พระปริ นิพพานในอีกไม่ชา้ จึงหลีกออกไป
ยืนร้องไห้แต่เพียงผูเ้ ดียวข้างนอก พระพุทธองค์รับสัง่ ให้ภิกษุไปเรี ยกเธอมาแล้ว ตรัสเตือนให้เธอคลายทุกข์
โทมนัสพร้อมทั้งตรัสพยากรณ์วา่ .. “อานนท์ เธอจะได้ บรรลุเป็ นพระอรหันต์ ในวันทาปฐมสังคายนา”
18) พระพุทธเจ้ าตรัสกับพระอานนท์เรื่ องการที่ภกิ ษุพึงปฏิบัติต่อสตรีในมหาปรินิพพานสู ตร เพราะเหตุใด
1. ป้ องกันผู้ประพฤติพรหมจรรย์ ไม่ ให้ เศร้ าหมองเพราะกาม
2. เพื่อไม่ ให้ เกิดการเข้ าใจผิดเวลาภิกษุอยู่กบั สตรี
3. เตือนสติภิกษุผู้ที่ยังระงับความโกรธไม่ ได้
4. ป้ องกันการละเมิดพระธรรมวินัย
 ท่านพระอานนท์ทลู ถามว่า “พวกข้าพระองค์จะปฏิบตั ิต่อสตรี อย่างไร พระพุทธเจ้าข้า” พระผูม้ ีพระภาค
ตรัสตอบว่า “อย่าดู”
“เมื่อจาต้องดู จะปฏิบตั ิอย่างไร พระพุทธเจ้าข้า”
“อย่าพูดด้วย”
“เมื่อจาต้องพูด จะปฏิบตั ิอย่างไร พระพุทธเจ้าข้า”
“ต้องตั้งสติไว้”
จะเห็นว่า ในพระสูตรนี้ พระพุทธเจ้ามิได้ได้ทรงมีท่าทีในเชิงปฏิเสธว่า อย่าพบปะหรื อพูดคุยกับ
สตรี สิ่งเหล่านี้พระภิกษุสามารถที่จะทาได้ แต่การแสดงออกในลักษณะเหล่านี้ควรที่จะยืนอยูบ่ นฐานของ
สติ หรื อมีความรู ้เท่าทันเมื่อตาเห็นรู ป หูฟังเสี ยง เป็ นต้น เมื่อเป็ นเช่นนี้ศีลหรื อวินยั ของพระภิกษุก็จะไม่เศร้า
หมอง
ในขณะเดียวกัน คาว่า “มีสติ” นั้น พระอรรถกถาจารย์ได้ช้ ีให้เห็นว่า ภิกษุตอ้ งตั้งสติทุกขณะจิต
ตลอดเวลาที่ปฏิสมั พันธ์กบั สตรี ห้ามพลั้งเผลอ ต้องควบคุมจิตให้คิดในทางที่ดีงามต่อสตรี หรื อควบคุมจิต
ให้คิดต่อสตรี ในทางที่ดีงาม เช่น รู ้สึกว่าเป็ นแม่ในสตรี ที่อยูใ่ นวัยแม่ รู ้สึกว่าเป็ นพีส่ าว น้องสาว ในสตรี ที่
อยูใ่ นวันที่เป็ นพีส่ าวเป็ นน้องสาว รู ้สึกว่าเป็ นลูกสาวในสตรี ที่อยูใ่ นวัยสาวๆ
19) บุคคลใดเป็ นการปฏิบัติตามหลักการที่โทณพราหมณ์ได้ แบ่ งพระบรมสารีริกธาตุได้ ถูกต้ อง
1. เก๋ ให้ เพื่อนทุกคนลอกการบ้ าน แล้ วเรียกเก็บเงินจากทุกคน
2. พร ให้ เพื่อนขึน้ รถด้วยโดยไม่ เรียกเก็บเงิน
3. สอน แนะนาเพื่อนให้ ไปสมัครงานที่ออฟฟิ ศ
4. โอ๋ เป็ นผู้จัดการมรดกของพ่ อแม่ ให้ กับพี่น้อง 6 คน โดยเท่ าเทียมกัน
รหัสวิชา 384 พุทธประวัติ

 โทณพราหมณ์กล่าวซ้ าความเดิมอีกเป็ นครั้งที่สอง แล้วประกาศว่า ขอเราทั้งหลายทั้งปวง จงยินยอมพร้อม


ใจ ยินดีแบ่งพระบรมสารี ริกธาตุของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าออกเป็ น ๘ ส่วนแล้วนาส่วนของตน กลับไปบรรจุ
ไว้ในสถูป ยังแว่นแคว้นของท่านเถิดเพือ่ พระบรมสารี ริกธาตุ จะได้กระจายไปในทิศทั้งหลายเหล่าชนผู ้
เลื่อมใสในพระพุทธศาสนา ยังมีอยูม่ าก ทูตเหล่านั้นกล่าวว่า ข้าแต่พราหมณ์ พวกข้าพเจ้าทั้งหลายยินยอม
ตามคาแนะนาของท่านถ้าเช่นนั้น ขอท่านนั้นแหละ จงแบ่งพระบรมสารี ริกธาตุของพระพุทธองค์ออกเป็ น ๘
ส่วนเท่าๆ กัน ให้เรี ยบร้อยเถิด
20) พุทธศาสนิชนไปสักการะสั งเวชนียสถานที่ประเทศอินเดีย เป็ นการบูชาเจดีย์ประเภทใด
1. ธาตุเจดีย์ 2. บริโภคเจดีย์
3. ธรรมเจดีย์ 4. อุทเทสิ กเจดีย์
ประเภทของเจดีย ์ : คาว่า “เจดีย”์ ในยุคดั้งเดิมมีนยั กว้างขวางครอบคลุมสิ่งที่ควรเคารพ นับถือ บูชาหลาย
อย่างดังที่กล่าวแล้ว โดยสรุ ปมี ๔ ประเภท
๑. ธาตุเจดีย ์ สิ่งก่อสร้างที่บรรจุพระบรมธาตุของพระพุทธเจ้า พระเจ้าจักรพรรดิ
๒. บริ โภคเจดีย ์ : สังเวชนี ยสถาน อันเป็ นสถานที่สาคัญทางพระพุทธศาสนา ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับ
พระพุทธเจ้า เช่น สถานที่ประสูติ ตรัสรู ้ แสดงปฐมเทศนา และปริ นิพพาน หรื อที่เรี ยกว่าสังเวชนียสถาน ๔
ตาบล
๓. ธรรมเจดีย ์ : ข้อความที่วา่ ด้วยคาสอนของพระพุทธเจ้า เป็ นคา ประโยคทั้งที่เป็ นร้อยแก้วและร้อย
กรอง คัมภีร์พระไตรปิ ฎก อรรถกถา ฎีกา อนุฎีกา
๔. อุทเทสิกเจดีย ์ : สิ่งของที่สร้างขึ้นอุทิศพระพุทธเจ้า เป็ นสัญลักษณ์แทนองค์พระพุทธเจ้า ไม่กาหนดว่า
จะเป็ นอะไร เช่น พระแทนวัชรอาสน์ที่เจดียศ์ รี มหาโพธิพทุ ธคยา พระพุทธรู ป
21) ศาสนาพิธีมีความหมายสอดคล้ องกับข้ อใด
1. เปรียบเหมือนเปลือกไม้ ห้ ุมแก่นต้ นไม้ คือเนื้อแท้ พระศาสนา
2. เปรียบเหมือนแก่ นแท้ ของต้ นไม้ คือพระสั ทธรรม
3. เป็ นข้ อปฏิบัติสาคัญที่ชาวพุทธต้ องรักษาไว้
4. เป็ นรากฐานสาคัญของพระศาสนา
 คาว่า “ ศาสนาพิธี ” หมายถึง ระเบียบ แบบแผน หรื อแบบอย่างที่พงึ ปฏิบตั ิในศาสนา เมื่อนามาใช้ใน
พระพุทธศาสนา จึงหมายถึง ระเบียบแบบแผน หรื อแบบอย่างที่พงึ ปฏิบตั ิในพระพุทธศาสนา
22) มีพระภิกษุอยู่ร่วมกัน 2 รู ป เมื่อถึงวันอุโบสถ ได้ ร่วมกันทาอุโบสถกรรม เรียกว่ าอะไร
1. สั งฆอุโบสถ 2. ปกติอุโบสถ
3. อธิษฐานอุโบสถ 4. ปาริสุทธิอุโบสถ
ปาริ สุทธิอุโบสถ อุโบสถที่ภิกษุทาปาริ สุทธิ คือแจ้งแต่ความบริ สุทธิ์ของกันและกัน ไม่ตอ้ งสวดปาฏิโมกข์
ปาริ สุทธิอุโบสถนี้ กระทาเมื่อมีภิกษุอยูใ่ นวัดเพียงเป็ นคณะ คือ ๒-๓ รู ป ไม่ครบองค์สงฆ์ ๔ รู ป
23) ข้ อใดเป็ นคาลาข้ าวพระพุทธ
1. อิมํ สู ปพยญฺชนสมฺปนฺนํ 2. อิมานิ มยํ ภนฺเต
รหัสวิชา 384 พุทธประวัติ

3. มยํ ภนฺเต วิสํุ วิสํุ 4. เสสํ มงฺคลา ยาจามิ


คาลาข้ าวพระพุทธ : เสสัง มังคะลัง ยาจามิ (ข้าพเจ้าขอคืนเศษอันเป็ นมงคลนี้ ข้าพเจ้าขอภัตรที่เหลือที่
เป็ นมงคลด้วยเถิด)
24) การแสดงธรรมเทศนา 3 ธรรมาสน์ ใช้ ในพิธีใด
1. สวดแจง 2. สวดมาติกา
3. สวดพระอภิธรรม 4. สวดถวายพรพระ
 เทศน์แจง คือการเทศน์เรื่ องการทาสังคายนาครั้งแรกในพระพุทธศาสนา เนื้อหาของการเทศน์แจงคือ
ขยายความข้อธรรมและข้อวินยั ในพระธรรมปิ ฎกโดยย่อพอให้เป็ นกริ ยาบุญ นิยมเทศน์ในงานศพของผูใ้ หญ่
โดยถือว่าการเทศน์แจงเป็ นบุญใหญ่ เป็ นการรักษาพระธรรมวินยั ไว้ เป็ นการเลียนแบบการทาสังคายนาครั้ง
แรก ซึ่งมีผลทาให้รักษาพระพุทธศาสนาไว้ได้ตราบเท่าทุกวันนี้
เทศน์แจงนิยมเทศน์ 3 ธรรมาสน์ คือใช้พระ 3 รู ปเทศน์ถามตอบกัน และมีพระอันดับแจง หรื อพระแจงอีก
ส่วนหนึ่ง จานวนอาจถึง 500 รู ปก็ได้ ถ้ามีพระนัง่ แจง 500 รู ป เรี ยกกันว่า แจง 500 ในปั จจุบนั แจง 500 มีทา
กันน้อยแล้ว ด้วยว่าผูท้ าได้จะต้องมีศรัทธาและกาลังมากเป็ นพิเศษ
25) สิ่ งของถวายในข้อใดจัดเป็ นกาลทาน
1. เสนาสนะ 2. ผ้ าบังสุ กลุ
3. ยารักษาโรค 4. ผ้ ากฐิ น
 ทาน แบ่งตามกาลเวลาที่ถวาย มี ๒ อย่าง : การถวายทานในพระพุทธศาสนา เมื่อแบ่งตามกาหนด
ระยะเวลาที่ถวาย มี ๒ อย่าง คือ
๑) กาลทาน ได้แก่ ทานที่ถวายตามระยะเวลาที่มีพระพุทธานุญาตให้ถวายได้ เช่น กฐินทาน การถวาย
ผ้ากฐิน ซึ่งมีกาหนดเวลาถวายภายใน ๑ เดือน หลังจากวันปวารณาออกพรรษา คือ ตั้งแต่วนั แรม ๑
ค่า เดือน ๑๑ ถึงวันขึ้น ๑๕ ค่า เดือน ๑๒ ฯ
๒) อกาลทาน ได้แก่ ทานที่สามารถถวายได้ทุกฤดูกาล เช่น สิ่งของใช้สอยสาหรับพระภิกษุสามเณร
ผ้าป่ า เสนาสนะ เป็ นต้น ฯ
26) ข้ อใดไม่ ใช่ ปาฏิบุคลิกทาน
1. โยมบิดานิมนต์ รับภัตตาหารเช้ าที่บ้าน
2. ญาตินิมนต์ ไปเจริญพุทธมนต์ และรับถวายจตุปัจจัย
3. โยมน้ องสาวนาน้าดื่มและยารักษาโรคไปถวายวัดทีป่ ระสบภัยพิบัติ
4. โยมพี่ถวายหนังสื อแบบเรียนแด่ พระอาจารย์ ผู้เป็ นน้ องชาย
 การถวายทาน มี ๒ อย่าง : การถวายทานในพระพุทธศาสนาเมื่อจาแนกตามลักษณะที่เจาะจงและไม่
เจาะจง มี ๒ อย่าง คือ
๑) ปาฏิบุคลิกทาน หมายถึง การถวายทานเจาะจงเฉพาะพระภิกษุสงฆ์รูปใดรู ปหนึ่ง
๒) สังฆทาน หมายถึง การถวายทานแก่สงฆ์ให้เป็ นของกลาง ไม่เจาะจงภิกษุรูปใดรู ปหนึ่ง
 ทาน ๒ อย่างนี้ สังฆทานมีอานิสงส์มากกว่าปาฏิบุคลิกทาน ฯ
รหัสวิชา 384 พุทธประวัติ

27) การถวายตามข้ อใดจัดเป็ นปาฏิบุคลิกทาน


1. เครื่ องเขียนแก่ สามเณร
2. ไตรจีวรแด่ เจ้ าอาวาสใกล้ บ้าน
3. ปัจจัยสร้ างศาลาการเปรียญ
4. ภัตตาหาร แด่ พระสงฆ์ เจริญพระพุทธมนต์
 ปาฏิบุคลิกทาน หมายถึง การถวายทานเจาะจงเฉพาะพระภิกษุสงฆ์รูปใดรู ปหนึ่ง
28) การทาบุญให้ คนตาย สงเคราะห์ เข้ ากับข้ อใด
1. นิตยภัตร 2. ปักขิยภัตร 3. มตกภัตร 4. สลากภัตร
 มตกภัตร แปลว่า ภัตรเพือ่ ผูต้ าย อาหารเพือ่ ผูต้ าย เขียนเต็มรู ปว่า มตกภัตตาหาร ก็ได้ มตกภัตร หมายถึง
ข้าวหรื ออาหารที่ถวายพระสงฆ์เพือ่ อุทิศส่วนบุญให้แก่ผลู ้ ่วงลับไปแล้วโดยเฉพาะ ฯ
29) การกรวดน้าในงานบุญอัฐิข้อใดถูกต้ องทีส่ ุ ด
1. เจ้ ากรรมนายเวร 2. ญาติท้งั หลายของข้ าพเจ้ า
3. ข้ าพเจ้ าถึงซึ่งมรรคผลนิพพาน 4. แผ่ ไปไม่ มีที่สุดไม่ มีประมาณ
อิทงั เม ญาตีนงั โหตุ สุขิตา โหนตุ ญาตะโย : ขอส่วนบุญนี้จงสาเร็จแก่ญาติท้งั หลายของข้าพเจ้า ขอให้
ญาติท้งั หลายของข้าพเจ้า จงมีความสุข
30) เหตุเกิดของบทอาราธนาธรรมให้ ข้อคิดในเรื่ องใด
1. การสอน 2. การติดตามผล
3. การประเมินผล 4. การเตรียมการสอน
การอาราธนาธรรม หมายถึง การกล่าวขอให้พระภิกษุแสดงธรรมให้ฟังหรื อขอนิมนต์พระท่านแสดง
ธรรมคาสอนของพระพุทธเจ้า ฯ
31) ธรรมภาษิตที่พระมหากัจจายนะแสดงแก่ พระเจ้ามธุรราช มีประโยชน์ ต่อสั งคมโลกยุคปัจจุบันในเรื่ องใด
1. สิ ทธิความเท่ าเทียม 2. หลักประชาธิปไตย
3. การเมืองการปกครอง 4. การบริหารจัดการองค์กร
 มธุรสูตร เป็ นสูตรที่ท่านแสดงแก่พระเจ้ามธุรราชอวันตีบุตร ในขณะที่ท่านพักอยูท่ ี่คุณธาวัน มธุรราช
ธานี สูตรนี้มีใจความแสดงถึงความไม่แตกต่างกันของวรรณะ ๔ คือ กษัตริ ย ์ พราหมณ์ แพศย์ และศูทร
วรรณะทั้ง ๔ นี้ แม้จะถือตัวอย่าง เหยียดหยามกันอย่างไร แต่ถา้ ทาดีกไ็ ปสู่ที่ดีเหมือนกันทั้งหมด ถ้าทาชัว่ ก็
ต้องรับโทษไปอบายเหมือนกันทั้งหมดทุกวรรณะเสมอกัน ในพระธรรมวินยั ออกบวชบาเพ็ญสมณธรรม
แล้ว ไม่เรี ยกว่าวรรณะอะไร แต่เป็ นสมณะเหมือนกันทั้งหมด ที่พระเถระกล่าวสูตรนี้ ก็เพราะพระเจ้ามธุร
ราชอวันตีบุตร ถามปั ญหากับท่านเกี่ยวกับเรื่ องพราหมณ์ถือตัวว่าเป็ นผูบ้ ริ สุทธิ์ และเกิดจากพรหม ท่านจึงแก้
ว่าไม่เป็ นความจริ งแล้วยกตัวอย่างเป็ นข้อ ๆ ดังนี้
๑) ในวรรณะ ๔ เหล่านี้ วรรณะใดเป็ นผูร้ ่ ารวย มัง่ มีเงินทอง วรรณะเดียวกัน และวรรณะอื่นย่อม
เข้าไปหา ยอมเป็ นบริ วารของวรรณะนั้น
๒) วรรณะใดประพฤติอกุศลกรรมบถ เมื่อตายไป วรรณะนั้นย่อมเข้าสู่อบายเสมอเหมือนกัน
รหัสวิชา 384 พุทธประวัติ

ทั้งหมด
๓) วรรณะใดประพฤติกุศลกรรมบถ เมื่อตายไป วรรณะนั้นย่อมเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์เหมือนกัน
ทั้งหมด
๔) วรรณะใดทาโจรกรรม ทาปรทาริ กกรรม วรรณะนั้นต้องรับราชอาญาเหมือนกันทั้งหมด ไม่มี
ยกเว้น
๕) วรรณะใดออกบวช ตั้งอยูใ่ นศีลในธรรม วรรณะนั้นย่อมได้รับความนับถือ การบารุ ง และการ
คุม้ ครองรักษา เสมอเหมือนกันทั้งหมด
 เมื่อพระเถระแสดงเทศนามธุรสูตรจบลงแล้ว พระเจ้ามธุรราช ก็เกิดศรัทธาเลื่อมใสประกาศประองค์เป็ น
อุบาสกในพระพุทธศาสนา
32) คุณแห่ งการถือธุดงค์เป็ นวัตรของพระมหากัสสปะ คือข้ อใด
1. เพื่ออนุเคราะห์ คนรุ่นหลังจะได้ ถือปฏิบัติตาม
2. สะดวกในการเดินทางไกล
3. ไม่ กังวลกับลาภสักการะที่จะเกิดขึน้
4. เพื่อขัดเกลากิเลสทีล่ ะเอียดในสั นดาน
 พระมหากัสสปะ เป็ นพระสันโดษมักน้อย ถือธุดงค์เป็ นวัตร ธุดงค์ ๓ ข้อที่ถืออยูต่ ลอดชีวติ คือ
๑) ทรงผ้าบังสุกุลเป็ นวัตร ๒) เที่ยวบิณฑบาตเป็ นวัตร ๓) อยูป่ ่ าเป็ นวัตร ฯ
 ท่านจึงเป็ นแบบอย่างที่ดีของคนรุ่ นหลังมากกว่าการแสดงธรรม ท่านได้แสดงคุณแห่งการถือธุดงค์ของ
ท่านแก่พระศาสดา ๒ ประการ คือ
๑) เป็ นการอยูเ่ ป็ นสุขในปั จจุบนั
๒) เพือ่ อนุเคราะห์ คนรุ่ นหลังจะได้ถือปฏิบตั ิตาม ฯ
33) เด็กหญิงนา้ คอยดูแลแม่ ยามเจ็บป่ วย เป็ นการปฏิบัติตนที่ตรงกับพระเถระรู ปใด
1. พระอานนท์ 2. พระกาฬุ ทายี 3. พระสารีบุตร 4. พระกุมารกัสสปะ
ความกตัญญูรู้คุณของพระสารี บุตร คือ การไปตอบแทนคุณมารดาด้วยการกลับไปนิ พพาน ณ ห้องที่ท่าน
เกิดที่บา้ นของท่าน ตอนแรกที่นางสารี พราหมณี ทราบว่าพระลูกชายกลับมาบ้าน โดยนางไม่รู้วา่ พระสารี บุตร
มีความต้องการจะตอบแทนคุณมารดาด้วยการเทศนาธรรม และนางไม่เชื่อว่าพระลูกชายเป็ นพระอรหันต์
เมื่อพระสารี บุตรพร้อมด้วยพระจุนทะพระน้องชายพร้อมบริ วารเข้าไปในสถานที่ที่โยมมารดาให้คนจัดให้
ตามประสงค์แล้วตกดึกพระสารี บุตรก็ป่วยด้วยโรคปั กขันทิกาพาท(ถ่ายจนเป็ นเลือด)อย่างปั จจุบนั ทันด่วน
ท่านได้รับทุกขเวทนาอย่างมากพระจุนทะและบริ วารช่วยกันดูแลอย่างใกล้ชิดฝ่ ายมารดาเห็นว่าท่านอาพาธ
หนักถึงเข้ามาดูอาการด้วยความห่วงใย
34) เด็กหญิงบี ขยันศึกษาหาความรู้อย่ างสม่าเสมอ เปรียบได้ กับพระเถระรูปใด
1. พระสารีบุตร 2. พระราหุล 3. พระมหากัจจายนะ 4. พระราธะ
 พระราหุล เป็ นผูม้ ีอธั ยาศัยใคร่ ต่อการศึกษาพระธรรมวินยั ทุกวันที่ท่านตื่นขึ้นมาเวลาเช้า ท่านจะกาทราย
ให้เต็มฝ่ าพระหัตถ์แล้วตั้งความปรารถนาว่า “วันนี้ ข้าพเจ้าพึงได้รับคาสัง่ สอนจากสานักพระบรมศาสดา
รหัสวิชา 384 พุทธประวัติ

สานักพระอุปัชฌาย์และสานักพระอาจารย์ท้งั หลายให้ได้ ประมาณเท่าเม็ดทรายในกามือของข้าพเจ้านี้”


ด้วยเหตุน้ ี ท่านจึงได้รับการยกย่องจากพระบรมศาสดา ให้ดารงตาแหน่งเอตทัคคะ เป็ นผูเ้ ลิศกว่าภิกษุ
ทั้งหลาย ในทาง ผูใ้ คร่ ในการศึกษา
35) นายเอ ศึกษาประวัติของพระสาวกแล้ ว มีความมัธยัสถ์ ปฏิบัติตามปฏิปทาของพระเถระรู ปใด
1. พระมหากัสสปะ 2. พระยสะ 3. พระอัสสชิ 4. พระอุรเวลกัสสปะ
 พระมหากัสสปะ เป็ นพระสันโดษมักน้อย ถือธุดงค์เป็ นวัตร ธุดงค์ ๓ ข้อที่ถืออยูต่ ลอดชีวติ คือ
๑) ทรงผ้าบังสุกุลเป็ นวัตร ๒) เที่ยวบิณฑบาตเป็ นวัตร ๓) อยูป่ ่ าเป็ นวัตร ฯ
 ท่านจึงเป็ นแบบอย่างที่ดีของคนรุ่ นหลังมากกว่าการแสดงธรรม ท่านได้แสดงคุณแห่งการถือธุดงค์ของ
ท่านแก่พระศาสดา ๒ ประการ คือ
๑) เป็ นการอยูเ่ ป็ นสุขในปั จจุบนั
๒) เพือ่ อนุเคราะห์ คนรุ่ นหลังจะได้ถือปฏิบตั ิตาม ฯ
36) การทาสามีจิกรรมในโอกาสใดมีจุดมุ่งหมายต่ างจากข้ ออื่น
1. เพื่อนภิกษุร่วมกันเข้ าพรรษา
2. เพื่อนภิกษุจะจากกันไปอยู่จาพรรษา
3. เพื่อนภิกษุได้ รับตาแหน่ งพระสั งฆาธิการ
4. เพื่อนภิกษุเดินทางไปหาพระที่ตนเคารพในระยะเข้ าพรรษา 7 วันแรก
พิธีทาสามีจิกรรม: การทาสามีจิกรรม เป็ นธรรมเนียมของสงฆ์อย่างหนึ่ง ที่ภิกษุสามเณรพึงทาความชอบ
ต่อกันเพือ่ ความสามัคคี อยูร่ ่ วมกันด้วยความสงบสุข หมายถึงการขอขมาโทษกัน ให้อภัยกัน โอกาสที่ควรทา
สามีจิกรรมโดยนิยมมีดงั นี้
๑) ในวันเข้าพรรษา ทากับภิกษุสามเณรในวัดเดียวกัน
๒) ในระยะเข้าพรรษา หลังเข้าพรรษาระยะประมาณเจ็ดวัน ทากับท่านที่เคารพนับถือ ซึ่งอยูต่ ่างวัดกัน
๓) ในโอกาสที่จะจากกันไปอยูว่ ดั อื่น หรื อถิ่นอื่น นิยมทาต่อผูม้ ีอาวุโสกว่า เป็ นการลาจากกัน
37) ข้ อใดไม่ ใช่ กิจกรรมในระเบียบพิธีเข้ าพรรษา
1. ทาวัตรเย็น 2. แสดงพระธรรมเทศนา
3. ทาสามีจิกรรม 4. สวดปาติโมกข์
 ระเบียบพิธี
เมื่อถึงวันเข้าพรรษาพระภิกษุและสามเณรทุกรู ป ไปประชุมพร้อมกันภายในพระอุโบสถ พระภิกษุนงั่
เรี ยงกันตามพรรษาให้เป็ นแถว ส่วนสามเณรนัง่ ในกลุ่มของสามเณรให้เป็ นแถว แยกออกให้พน้ จากหัตถ
บาสของพระภิกษุ และพึงปฏิบตั ิดงั ต่อไปนี้
๑.ทาวัตรเย็น คือ พระภิกษุผเู ้ ป็ นประธานสงฆ์ จุดเทียนธูปบูชาพระรัตนตรัย และทาวัตรเย็นตามธรรม
เนียมของวัดนั้น ๆ
๒.แสดงพระธรรมเทศนา เรื่ องวัสสูปนายิกากถา คือ วันเข้าพรรษา และบอกระเบียบปฏิบตั ิในการอยู่
จาพรรษา คือ
รหัสวิชา 384 พุทธประวัติ

-บอกให้รู้เรื่ องการจาพรรษา
-แสดงเรื่ องความเป็ นมาของการเข้าพรรษา
-บอกเขตของการจาพรรษาภายในวัดรักษาจนอรุ ณขึ้น
-บอกเรื่ องการถือเสนาสนะให้ชดั เจนว่าจะต้องปฏิบตั ิอย่างไร
-บอกกติกาในการจาพรรษา (ถ้ามีกติกาอะไรเป็ นพิเศษ)
๓.ทาสามีจิกรรม คือการขอขมาโทษต่อกัน โดยปฏิบตั ิดงั นี้
-ผูร้ ับขมาโทษนัง่ พับเพียบ หันหน้าไปทางผูข้ อขมา เมื่อผูข้ อขมากราบพึงประนมมือ
-ผูข้ อขมาโทษนัง่ คุกเข่าประนมมือ กราบ ๓ ครั้ง เฉพาะรู ปที่เป็ นพระสังฆเถระและเป็ นเจ้าอาวาส
-กราบเสร็ จแล้ว ยกพานสักการะขึ้นประคองน้อมกายลงเล็กน้อย แล้วกล่าวคาขอขมาพร้อมกัน
-เมื่อผูร้ ับขมากล่าวคาอภัยโทษแล้ว พึงน้อมพานสักการะเข้าไปถวาย และกราบ ๓ ครั้ง
-จากนั้นพระภิกษุทุกรู ปขอขมาโทษซึ่งกันและกัน
๔.อธิษฐานเข้าพรรษา คือ พระภิกษุและสามเณรทุกรู ป นัง่ คุกเข่าหันหน้าไปทางพระประธานกราบ ๓
ครั้ง ประธานสงฆ์กล่าวนาว่า นะโม พร้อมกัน ๓ จบ จึงกล่าวคาอธิษฐานเข้าพรรษาดังนี้ อิมสั มิง อาวาเส
อิมงั เตมาสัง วัสสัง อุเปมิ.
๕.เจริ ญพระพุทธมนต์
๖.สักการะบูชาปูชนียวัตถุภายในวัด
38) วัดแห่ งหนึ่งมีภิกษุจาพรรษา 2 รู ป สามเณร 3 รู ป จะทาอุโบสถกรรมอย่ างไร
1. ให้ แต่ ละรู ปอธิษฐานใจด้ วยตนเอง
2. เป็ นเหตุขัดข้ องแล้ วไม่ ต้องทาอุโบสถ
3. แสดงความบริสุทธิ์ต่อกัน ห้ ามสวดพระปาติโมกข์
4. ประชุมพระภิกษุ สามเณรทั้งหมดในเขตสี มา มีการสวดพระปาติโมกข์ ได้
 อุโบสถ มี ๓ ประเภท : ได้แก่
๑) สังฆอุโบสถ คือ อุโบสถกรรมที่พระภิกษุร่วมกันทาตั้งแต่ ๔ รู ปขึ้นไป
๒) ปาริ สุทธิอุโบสถ คือ อุโบสถที่พระภิกษุต่ากว่า ๔ รู ป คือ มีเพียง ๓ รู ป หรื อ ๒ รู ป ร่ วมกัน
ทาเป็ นคณะ ห้ามสวดพระปาติโมกข์ ให้พระภิกษุแต่ละรู ปบอกความบริ สุทธิ์ของตนๆ เป็ น
การปฏิญาณต่อกันว่าเป็ นผูบ้ ริ สุทธิ์จากอาบัติโทษ เป็ นหลักสาคัญของการทาปาริ สุทธิอุโบสถ
๓) อธิษฐานอุโบสถ คือ อุโบสถที่พระภิกษุทาเป็ นการบุคคล(รู ปเดียว) ทาด้วยอธิษฐานใจตนเอง
เป็ นหลักของการทา ฯ
39) การทาบุญประเภทใดต้ องตั้งบาตรน้ามนต์ และวงด้ ายสายสิญจน์
1. ต่ อนาม 2. ฉลองอัฐิ 3. สั ตตมวาร 4. ทักษิณานุปทาน
 พิธีเจริ ญพระพุทธมนต์ : เป็ นพิธีกรรมที่ทาขึ้นปราภงานมงคลต่างๆ มีการตั้งบาตรน้ ามนต์ และวงด้าย
สายสิญจน์และเรี ยกการสวดสาธยายบทสวดมนต์ในการนี้วา่ เจริ ญพุทธมนต์ มี ๒ ประการ คือ
๑) งานมงคลทัว่ ไป จัดขึ้นเพือ่ ความเป็ นสิริมงคล เช่น งานทาบุญขึ้นบ้านใหม่ งานทาบุญอายุ หรื อ
รหัสวิชา 384 พุทธประวัติ

ทาบุญประจาปี เป็ นต้น บทสวดที่นิยมสวด คือ เจ็ดตานานเป็ นหลัก และบทสวดที่เป็ นเสริ ม


ความเป็ นสิริมงคลอื่นๆ ตามสมควร ฯ
๒) งานมงคลเฉพาะกรณี เป็ นงานที่ปรารภการทาบุญโดยเฉพาะเจาะจง ซึ่งนิ ยมทาอยูใ่ นปั จจุบนั
ดังนี้ ๑) งานฉลองพระบวชใหม่ ๒) งานมงคลสมรส ๓) งานทาบุญอายุ
๔) งานทาบุญเอาฤกษ์ชยั มงคล ๕) งานทาบุญต่อนาม
40) บุญพิธีใดใช้ ในการทาบุญงานมงคล และอวมงคล
1. สวดแจง 2. สวดถวายพรพระ
3. เจริญพระพุทธมนต์ 4. แสดงพระธรรมเทศนา
 พิธีแสดงพระธรรมเทศนา : การแสดงพระธรรมเทศนา ซึ่งเรี ยกว่า การเทศน์ เป็ นการแสดงธรรมใน
โอกาสต่างๆ นับเป็ นกุศลพิธีที่นิยมสาคัญประการหนึ่ง ส่ วนมากนิยมผนวกเข้าในการทาบุญทั้งงานมงคล
และงานอวมงคล โดยเหตุที่ชาวพุทธส่วนใหญ่ แม้ไม่ตอ้ งมีงานทาบุญอะไร ก็นิยมจัดให้มีเทศน์ข้ นึ เพือ่ ฟัง
กันตามกาลหรื อตามโอกาสเหมาะก็มี ๒ อย่าง คือ
๑) การเทศน์แบบธรรมดา เป็ นการแสดงธรรมรู ปเดียว
๒) การเทศน์แบบปุจฉา-วิสชั นา เป็ นการแสดงธรรมตั้งแต่ ๒ รู ปขึ้นไป ฯ
41) โรงแรมติดแม่ น้าเจ้ าพระยาแห่ งหนึ่งต้ องการจัดงานลอยกระทงตามประทีปแบบย้ อนยุค เจ้ าของงานต้ อง
ออกแบบงานให้ เข้ ากับยุคสมัยใด
1. ล้ านนา 2. สุ โขทัย 3. อยุธยา 4. รัตนโกสิ นทร์
 พิธีลอยกระทง : การลอยกระทงตามประทีป เป็ นประเพณี นิยมที่ปฏิบตั ิมาแต่โบราณกาล เพือ่ เป็ นการ
บูชาลอยพระบาทของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ที่ประดิษฐานอยูท่ ี่ฝั่งแม่น้ านัมมทาในชมพูทวีป ในประเทศ
ไทยเราเริ่ มทากันมาตั้งแต่สมัยกรุ งสุโขทัย เป็ นราชธานี พิธีลอยกระทงตามประทีปนั้น นิยมทาในวันขึ้น ๑๕
ค่า เดือน ๑๒ (วันเพ็ญ เดือน ๑๒)
42) เศรษฐี ต้องการถวายทานที่เป็ นสาธารณประโยชน์ ตรงตามข้ อใด
1. สะพาน 2. ผ้ าไตรจีวร
3. ภัตตาหารเพล 4. ยานพาหนะเจ้ าอาวาส
 พิธีถวายสะพาน: สะพานเป็ นสถานที่สาหรับใช้เดินข้ามลาธารและคลองคู พระโบราณจารย์ ท่านจัดเข้า
ไว้ในอนวัชชกรรมคือ การกระทาที่ไม่มีโทษ มีแต่ประโยชน์ส่วนเดียว ซึ่งพระพุทธองค์ทรงยกย่องว่าเป็ น
มงคลประการหนึ่ง เหมือนการขุดบ่อสระและการปลูกสวนดอกไม้ไว้ในวัด เป็ นต้น การสร้างสะพานในวัด
หรื อเป็ นทางเข้าวัดในที่ใกล้วดั นั้นควรหวังผลให้เป็ นสาธารณประโยชน์จริ งๆ คือ ต้องอุทิศให้เป็ นของกลาง
ไม่แสดงความยินดียนิ ร้ายในผูเ้ ดินผูใ้ ช้สะพานของตนนั้นว่าเป็ นมิตรหรื อเป็ นข้าศึกศัตรู กนั จึงเป็ นกุศลมงคล
อันยิง่ การถวายสะพานนั้น จะประกอบพิธี ณ ที่ต้งั ของสะพานก็ได้ หรื อจะทาที่ศาลาการเปรี ยญก็ได้ แต่ตอ้ ง
ใช้สายสินจน์โยงมาถวายพระสงฆ์ การถวายสะพานถือว่ามีผลานิสงส์มากเพราะเป็ นการสร้างทางไปสู่
สวรรค์
รหัสวิชา 384 พุทธประวัติ

43) ผ้ าที่ต้องการถวายแก่ พระสงฆ์ ก่อนเข้ าพรรษา คือผ้ าชนิดใด


1. ผ้ าจีวร 2. ผ้ าสบง 3. ผ้ าอังสะ 4. ผ้ าอาบน้าฝน
 พิธีถวายผ้าวัสสิกสาฎก : หรื อที่เรี ยกกันทัว่ ไปว่า “ผ้าอาบน้ าฝน” คือ ผ้าที่พระสงฆ์ใช้ผลัดเปลี่ยนเวลา
สรงน้ าเป็ นผ้าที่พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตให้ใช้เป็ นผืนที่ ๔ นอกจากไตรจีวร และให้รับได้ก่อนเข้าพรรษา ๑
เดือน คือ ตั้งแต่แรม ๑ ค่า เดือน ๗ ถึง วันขึ้น ๑๕ ค่า เดือน ๘ นางวิสาขาเป็ นคนแรกที่ถวายผ้าอาบน้ าฝน
แด่พระสงฆ์ จนกลายเป็ นธรรมเนียมมาถึงปั จจุบนั ฯ
44) การถวายสลากภัตรแก่ ภกิ ษุในสมัยพุทธกาล มีความประสงค์ตามข้ อใด
1. เพื่อความเป็ นระเบียบในการถวายของทายก ทายิกา
2. เพื่อเกิดความเท่ าเทียมและเป็ นอันหนึ่งอันเดียวของสงฆ์
3. เป็ นการอนุรักษ์ประเพณี
4. ทาตามคาขอของนางกุมาริกา
 พิธีถวายสลากภัต: แปลว่า อาหารที่ถวายตามสลากหรื อโดยวิธีการจับฉลาก นิยมทากันในฤดูกาลที่ผลไม้
ออกผล พิธีการถวายสลากภัต คือ ทายกทายิกาจัดอาหารคาวหวานและผลไม้ประจาฤดูกาลนาไปรวมกันที่
วัด จัดวางไว้เป็ นส่วนๆ เขียนชื่อหรื อหมายเลขประจาตัวของตนใส่กระดาษแล้วม้วนไปให้พระภิกษุกบั
สามเณรจับ ถ้าจับได้ของผูใ้ ดก็รับของผูน้ ้ นั แล้วอนุโมทนากถาเป็ นอันเสร็จพิธี ฯ
45) กลุ่มทีพ่ ัฒนาดินแดนชมพูทวีปให้ เจริญ คือข้ อใด
1. ศากยะ 2. มิลักขะ 3. โกลิยะ 4. อริยกะ
 ในชมพูทวีปก่อนที่พระพุทธเจ้าจะเสด็จอุบตั ิข้ นึ มีชนอยู่ ๒ เผ่า คือ พวกแรกเรี ยกว่า มิลกั ขะ หรื อ
ดราวิท เป็ นชนพืน้ เมืองถิ่นเดิม แต่เป็ นชนชาติที่ไม่มีความสามารถในเรื่ องการปกครองและบริ หารบ้านเมือง
และไม่ชานาญในยุทธศาสตร์ต่างๆ จึงไม่อาจตั้งบ้านเมืองให้มนั่ คงได้ และพวกที่สอง เรี ยกว่า อริ ยกะ หรื อ
อารยัน เป็ นชนชาติที่เฉลียวฉลาดในขนบธรรมเนียมต่างๆ รู ้วธิ ีการปกครองและสามารถพัฒนาบ้านเมืองให้
มีความเจริ ญรุ่ งเรื่ องในหลาย ๆ ด้านได้เป็ นอย่างดี ฯ
 ชนเผ่าอริ ยกะนี้ไม่ใช่ชนชาติที่มีภูมิลาเนาอยูใ่ นชมพูทวีปมาแต่เดิม หากแต่มาจากแผ่นดินทางเหนือข้าม
ภูเขาหิมาลัยลงมา และเข้าทาการรุ กไล่พวกมิลกั ขะให้ถอยร่ นหนีออกไปในที่สุด และดาเนินการบริ หาร
บ้านเมืองในด้านต่างๆ ให้เจริ ญรุ่ งเรื องและสืบเชื้อสายชาติวงศ์มาโดยลาดับ ฯ
46) พญานาคขนดหางแผ่ พังพานปรกพระพุทธองค์เกิดขึน้ ที่ใด
1. ต้ นศรีมหาโพธิ์ 2. ต้ นอชปาลนิโครธ
3. ต้ นมุจลินท์ 4. ต้ นราชายตนะ
 สัปดาห์ที่ ๖ : เสด็จประทับภายใต้ร่มไม่มุจลินท์(ต้นจิก) ตั้งอยูท่ างทิศตะวันออกเฉียงใต้ของต้นศรี มหา
โพธิ์ เสวยวิมุตติสุข ณ ที่น้ นั ปรากฏมีฝนตกพราตลอดเวลา กับมีลมหนาวตลอด ๗ วัน มีพญานาคชื่อว่า
มุจลินท์ได้มาวางขนดหางเวียนขึ้นเป็ นเจ็ดรอบแผ่พงั พานปรกพระพุทธองค์เพือ่ มิให้ฝนและลมถูกต้องพระ
วรกาย เมื่อฝนหยุดแล้วก็คลายขนดออก และจาแลงเพศเป็ นชายหนุ่มมายืนเฝ้าพระองค์อยูเ่ ฉพาะพระพักตร์
พระพุทธองค์ ทรงเปล่งอุทานว่า “ ความสงัดเป็ นสุขของบุคคลผูม้ ีธรรมอันตนสดับแล้ว ยินดีในความวิเวก รู ้
รหัสวิชา 384 พุทธประวัติ

เห็นความเป็ นจริ ง ความไม่เบียดเบียน คือความสารวมในสัตว์โลกทั้งหลาย เป็ นต้น ฯ


47) พระมหากัจจายนะ แสดงธรรมเทศนาว่ าวรรณะทั้ง ๔ มีความเสมอกันตามข้ อใด
1. ฐานะและทรัพย์ สิน 2. ผิวพรรณ
3. ความประพฤติ 4. กรรม
 พระมหากัจจายนะ จึงได้แสดงมธุรสูตร กล่าวถึงความไม่แตกต่างของวรรณะทั้ง ๔ เหล่า คือ กษัตริ ย ์
พราหมณ์ แพศย์ ศูทร ถวายแก่พระเจ้ามธุราชอวันตีบุตรว่า วรรณะทั้ง ๔ เสมอกันตามความจริงที่ปรากฏ
๕ ประการ โดยใจความว่า
๑) วรรณะใดมัง่ มี วรรณะอื่นก็ยอมเป็ นคนรับใช้
๒) วรรณะใดประพฤติชวั่ ทางกาย วาจา ใจ วรรณะนั้นเมื่อละจากโลกนี้ไปย่อมถึงนรกหรื อ
อบายภูมิเสมอกัน
๓) วรรณะใดเว้นจากการประพฤติชวั่ ทางกาย วาจา ใจ วรรณะนั้นเมื่อละจากโลกนี้ไป ย่อมถึง
สุคติโลกสวรรค์เหมือนกัน
๔) วรรณะใดประพฤติผดิ มีลกั ขโมย คดโกง ประพฤติผดิ ในกาม เป็ นต้น วรรณะนั้นย่อมถูก
ลงโทษทัณฑ์เหมือนกัน
๕) วรรณะใดออกบวชประพฤติชอบด้วยพระธรรมวินยั ย่อมมีผคู ้ นอภิวาทต้อนรับและนิมนต์ให้
นัง่ บนอาสนะ ให้รับปั จจัย ๔ ทั้งได้รับความคุม้ ครองอันเป็ นธรรมเสมอกัน ฯ
48) พระพุทธเจ้ ามอบให้ ภิกษุสงฆ์ ทาหน้ าที่ในการอุปสมบท เปรียบได้ กับการปกครองแบบใด
1. กระจายอานาจ 2. ยึดเสี ยงข้ างมาก
3. เสรีประชาธิปไตย 4. หลักธรรมาภิบาล
 ภายหลังจากที่พระศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ส่งพระอรหันตสาวกรุ่ นแรก จานวน ๖๐ รู ป ไปประกาศ
เผยแผ่พระพุท ธศาสนาในถิ่ นฐานบ้านเมื อ งต่างๆในเขตชมพูท วีป เมื่ อ มี ผูเ้ ลื่ อ มใสและขอบวชประพฤติ
พรหมจรรย์ พระสาวกก็ตอ้ งนาพาผูน้ ้ นั กลับไปเฝ้าขอให้พระพุทธองค์ บวชให้เป็ นครั้งๆไป พระพุทธองค์
ทรงพิจารณาเห็นถึงความไม่สะดวก อันเป็ นภาระหนักแก่เหล่าพระสาวก จึงโปรดประทานอนุญาต(กระจาย
อานาจ) ให้พระอรหันตสาวกเหล่ านั้นสามารถบวชให้แก่ กุล บุตรได้ เรี ยกวิธีอุ ปสมบทนี้ ว่า ติสรณคมนู ป
สัมปทา ฯ
49) พระพุทธเจ้ าอนุญาตญัตติจตุตถกรรมอุปสั มปทา มีมูลเหตุตรงตามข้ อใด
1. จากการที่พระพุทธเจ้ าประทานโอวาทแก่ พระอานนท์
2. ความไม่ สะดวกของการเดินทางมาหาพระพุทธเจ้ า
3. มุ่งอานวยประโยชน์ แก่ พุทธบริษัทที่มีความศรัทธาโดยส่ วนรวม
4. มุ่งเน้ นให้ พระเถระได้ แสดงความสามารถและเป็ นผู้นา
 เมื่อพุทธบริ ษทั เพิม่ จานวนมากขึ้นทั้งฝ่ ายบรรพชิตและคฤหัสถ์ พระพุทธองค์ทรงมุ่งจะอานวยประโยชน์
แก่พทุ ธบริ ษทั ที่มีความศรัทธาโดยส่วนรวม จึงทรงมอบสิทธิขาดให้พระภิกษุสงฆ์เป็ นใหญ่ในการบริ หาร
หมู่คณะ และทรงอนุญาตให้บวชกุลบุตรผูม้ ีศรัทธาเลื่อมใสได้ตามความเห็นชอบของที่ประชุมสงฆ์ครบองค์
รหัสวิชา 384 พุทธประวัติ

กาหนดในเขตสีมา โดยให้พระเถระในสงฆ์น้ นั รู ปหนึ่งเป็ นพระอุปัชฌาย์ทาหน้าที่สอนและรับรองการบวช


ของกลุบุตรผูน้ ้ นั และให้มีภิกษุผฉู ้ ลาดสามารถ จานวน ๒ รู ป คู่สวด โดยรู ปหนึ่งเป็ นพระกรรมวาจาจารย์
และอีกรู ปหนึ่งเป็ นพระอนุสาวนาจารย์ ทาหน้าที่สวดประกาศเป็ นคาภาษาบาลี ในท่ามกลางสงฆ์ เรี ยกวิธี
อุปสมบทนี้วา่ ญัตติจตุตถกรรมอุปสัมปทา ฯ
50) พระพุทธเจ้ าทรงแสดง เรื่ อง จันทกินรีชาดก แก่นางพิมพาเพราะเหตุใด
1. การสงเคราะห์ ญาติ 2. ความเสี ยสละ
3. ความดับความโศรกเศร้ า 4. ความผูกพันจงรักภักดี
 พระพุทธเจ้าตรัสเทศนา เรื่ อง จันทกินรี ชาดก โดยพิสดารเพือ่ ละความเศร้าโศรกของพระนางพิมพา ฯ
ไพสิ น ป้ องภา พิมพ์ / เฉลย / เรียบเรียง
อาจารย์ แสวง เสมอใจ ป. ตรวจ /ทาน

You might also like