You are on page 1of 28

ประวัตศิ าสตร์ ม.

2
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 2 การสถาปนาอาณาจักรอยุธยา
และการเมืองการปกครองสมัยอยุธยา

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 5
การเมืองการปกครองสมัยอยุธยา
เวลา 2 ชัว่ โมง

1
นักเรี ยนคิดว่าการเมืองการปกครอง
สมัยอยุธยามีอะไรที่เป็ นลักษณะเด่น

การปกครองสมมติเทพ พระมหา
กษัตริ ยเ์ ปรี ยบเทพเจ้า
มีอ ำนาจและความยิง่ ใหญ่เหนือมนุษย์

2
2. การเมืองการปกครองสมัยอยุธยาตอนต้ น (พ.ศ. 1893–1991)
อาณาจักรอยุธยาปกครองด้วยระบอบสมบูรณาญาสิ ทธิ ราชย์
มีพระมหากษัตริ ยท์ รงเป็ นประมุข
สมัยอยุธยาตอนต้น เป็ นช่วงที่อยุธยาขยายอำนาจออกไปอย่างกว้างขวาง

สุ โขทัย

หัวเมืองมอญ
อยุธยา ดินแดนเขมร
ด้านตะวันตก

คาบสมุทรมลายูตอนบน
3
2. การเมืองการปกครองสมัยอยุธยาตอนต้ น (พ.ศ. 1893–1991)

จตุสดมภ์

เวียงหรื อเมือง วัง คลัง นา

หัวหน้ า: ขุนเวียง หัวหน้ า: ขุนคลัง หัวหน้ า: ขุนนา


หัวหน้ า: ขุนวัง หน้ าที่: ดูแลพระราชทรัพย์ หน้ าที่: ส่ งเสริ มการทำนา
หน้ าที่: ดูแลความ
หน้ าที่: ดูแลรักษาพระ และผลประโยชน์ ดูแลมอบสิทธิในการ
สงบเรี ยบร้อยในเขต
ราชสำนักและพิจารณา ของอาณาจักร เก็บภาษี ถือทีน่ า และเรื อกสวน
เมืองหลวงและบริ เวณ
พิพากษาคดี ดูแลรายได้และค่าใช้จ่าย ทำกินแก่ราษฎร เก็บภาษี
ใกล้เคียง
ของอาณาจักร ติดต่อค้าขาย จากการทำนา ทำไร่
กับต่างประเทศ ทำสวน จัดหาเสบียง
สำหรับใช้ในราชการ
4
2. การเมืองการปกครองสมัยอยุธยาตอนต้ น (พ.ศ. 1893–1991)
การปกครองหัวเมือง

เมืองลูกหลวง เมืองชั้นใน เมืองชั้นนอกหรื อ ประเทศราช


เมืองพระยามหานคร

อยูถ่ ดั จากเมืองลูกหลวง
ตั้งอยูร่ อบราชธานี 4 ทิศ เมืองที่ปกครองตนเองอย่าง
ออกไป ผูป้ กครองเป็ น เมืองขนาดใหญ่อยูห่ ่างจาก
ห่างจากราชธานีระยะเดินเท้า อิสระ มีหน้าที่ส่ง
เจ้านายหรื อขุนนางที่ได้ ราชธานี ผูป้ กครองอาจสื บ
ประมาณ 2 วัน ผูป้ กครอง เครื่ องราชบรรณาการมาถวาย
รับการแต่งตั้งจากพระ เชื้อสายเดิม หรื อเจ้านายหรื อ
ส่ วนใหญ่เป็ นพระราชโอรส ราชสำนักตามเวลาที่ก ำหนด
มหากษัตริ ย ์ ได้แก่ เมือง ขุนนางที่ราชธานีส่งมา เช่น
ของกษัตริ ยห์ รื อพระราชวงศ์ และส่ งไพร่ พลมาช่วย
ชั้นสูง ได้แก่ เมืองลพบุรี พรหมบุรี อินทร์บุรี เมืองนครราชสี มา จันทบุรี
เมื่อเกิดสงคราม เมืองที่เป็ น
สุ พรรณบุรี นครนายก และ สิงห์บรุ ี ปราจีนบุรี พระรถ ทวาย ตะนาวศรี ไชยา
ประเทศราช เช่น เขมร
พระประแดง (นครเขือ่ นขันธ์) ชลบุรี เพชรบุรี และ นครศรี ธรรมราช สงขลา ถลาง
สุ โขทัย
ราชบุรี
5
2. การเมืองการปกครองสมัยอยุธยาตอนต้ น (พ.ศ. 1893–1991)

พระมหากษัตริ ยท์ รงเป็ นผูอ้ อกกฎหมาย


กฎหมายและการศาล ซึ่งสันนิษฐานว่า อิงกับกฎหมาย
พระมนูธรรมศาสตร์ ที่อยุธยารับมาจาก
อินเดียและเป็ นกฎหมายแม่บทของกฎหมาย
ไทยทุกบท ซึ่งมีวตั ถุประสงค์เพื่อรักษา
ความสงบเรี ยบร้อยของสังคม
รวมทั้งควบคุมกำลังคน

6
เรื่องน่ารู้ กฎหมายของสยาม
ในจดหมายเหตุลา ลูแบร์ ของราชทูตลา ลูแบร์ จากประเทศฝรัง่ เศส
ซึ่งได้เข้ามาในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ระบุไว้ว า่ กฎหมาย
ของสยามบันทึกไว้ในสมุด 3 เล่ม คือ
1. เล่มแรกชื่อ พระตำรา ระบุนาม ตำแหน่ง และหน้าที่ราชการ
2. พระธรรมนูญ รวบรวมกฎหมายและพระราชกฤษฎีกา
ของพระมหากษัตริ ยใ์ นอดีต

7
เรื่องน่ารู้ กฎหมายของสยาม
3. พระราชกำหนด รวบรวมกฎหมายและพระราชกฤษฎีกา
ในสมัยพระมหากษัตริ ยพ์ ระองค์ก่อนและพระมหากษัตริ ยท์ ี่ครอง
ในปัจจุบนั

8
3. การเมืองการปกครองสมัยอยุธยาตอนกลาง (พ.ศ. 1991–2231)

สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงปฏิรูป
การปกครอง โดยจัดการรวมอำนาจเข้า
สู่ ส่ ว นกลาง ทำให้ราชธานี มีอ ำนาจ
และแยกกิจการฝ่ ายพลเรื อนกับฝ่ าย
ทหารออกจากกันอย่างชัดเจน

9
3. การเมืองการปกครองสมัยอยุธยาตอนกลาง (พ.ศ. 1991–2231)

การปกครองส่ วนกลาง

สมุหพระกลาโหม สมุหนายก

ฝ่ ายทหาร ฝ่ ายพลเรื อน กรมจตุสดมภ์

หน้ าที:่ ดูแลทหารใน หน้ าที:่ ดูแล นครบาล/


ราชธานีและหัวเมืองต่าง ๆ ข้าราชการฝ่ าย ธรรมากรณ์/
รวบรวมไพร่ พล อาวุธ สัตว์ พลเรื อนในราชธานี โกษาธิบดี/ เกษตราธิการ
พาหนะและเสบียงอาหาร และหัวเมืองต่าง ๆ
10
3. การเมืองการปกครองสมัยอยุธยาตอนกลาง (พ.ศ. 1991–2231)
กรมจตุสดมภ์

โกษาธิบดี เกษตราธิการ
นครบาล ธรรมากรณ์ เดิม: กรมนา
เดิม: กรมเวียง เดิม: กรมคลัง
เดิม: กรมวัง หน้ าที:่ ดูแลส่ งเสริ ม
หน้ าที:่ รักษาความ หน้ าที:่ รับผิดชอบ หน้ าที:่ รับผิดชอบ
การทำไร่ นาของราษฎร
สงบในราชธานีและ งานทั้งหมดใน รายรับ–รายจ่าย
พิพากษาคดีที่เกี่ยวกับ
เมืองใกล้เคียง ราชสำนักงาน รักษาพระราชทรัพย์
นา สัตว์เลี้ยง
ด้านความยุติธรรม เก็บภาษีอากร การ
ตัดสิ นคดีอุกฉกรรจ์ เก็บเสบียงยาม
ค้าสำเภา การทูต
สงคราม

11
3. การเมืองการปกครองสมัยอยุธยาตอนกลาง (พ.ศ. 1991–2231)

การปกครองหัวเมือง

เมืองชั้นใน เมืองชั้นนอกหรือเมือง ประเทศราช


พระยามหานคร

ส่ งเจ้านายและขุนนางไป เมืองของชาวต่างชาติ
ยกเลิกเมืองลูกหลวง
จัดเมืองที่อยูร่ อบราชธานี ปกครอง หรื อให้ผสู ้ ื บเชื้ อสาย ที่ยอมอยูใ่ ต้อ ำนาจอยุธยา
เป็ นเมืองชั้นจัตวา ของเมืองนั้น ๆ ปกครอง ให้เจ้านายพื้นเมืองเดิม
ส่ งขุนนางปกครอง โดยส่ งหลวงยกกระบัตรไป ปกครอง มีหน้าที่ส่ง
เรี ยกว่า “ผูร้ ้ ัง” สอดส่ องดูแล ผูป้ กครอง เครื่ องราชบรรณาการ
เรี ยกว่า “เจ้าเมือง” และเกณฑ์ไพร่ พล
ช่วยยามสงคราม
12
3. การเมืองการปกครองสมัยอยุธยาตอนกลาง (พ.ศ. 1991–2231)
กฎหมาย สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงยึดหลักกฎหมายเดิม
แต่ทรงเพิ่มเติมกฎหมายอีกหลายฉบับ

กำหนดศักดินาของเจ้านาย ขุนนาง พระสงฆ์ ไพร่ ทาส


พระไอยการตำแหน่ งนาพลเรือน พ.ศ. 1998 ตามตำแหน่ง หน้าที่ และความรับผิดชอบ

พระไอยการตำแหน่ งนาทหารหัวเมือง
กำหนดศักดินาของขุนนางฝ่ ายทหาร เจ้าเมือง
พ.ศ. 1998
ตราขึ้นเพื่อป้ องกันและคุม้ ครองพระมหากษัตริ ย ์ เช่น
กฎหมายลักษณะอาญาขบถศึก พ.ศ. 2000
ถ้าผูใ้ ดทำร้ายพระมหากษัตริ ยจ์ ะถูกลงโทษอย่างรุ นแรง
โปรดเกล้าฯ ให้พราหมณ์แก้ไขปรับปรุ งของเก่าตาม
กฎมณเฑียรบาล พ.ศ. 2011
คัมภีร์มนูธรรมศาสตร์ของอินเดีย เพื่อใช้ในราชสำนัก

กฎหมายลักษณะอาญาหลวง (เพิม่ เติม) สำหรับลงโทษผูล้ ะเมิดพระราชโองการพระราชบัญญัติ


13
3. การเมืองการปกครองสมัยอยุธยาตอนกลาง (พ.ศ. 1991–2231)
• การปฏิรูปการปกครองสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ มีขนุ นางเป็ นกลไกในการ
บริ หาร พระมหากษัตริ ยเ์ ป็ นศูนย์กลางการปกครอง ขุนนางเป็ นผูส้ นองใช้อ ำนาจในการ
ปกครอง
• ในสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง (พ.ศ. 2172–2199) มีการปรับปรุ งการปกครองราช
อาณาจักร

พระมหากษัตริย์
สมุหพระ พระคลังหรือ
สมุหนายก
กลาโหม โกษาธิบดี

ดูแลทหาร–พลเรื อน ดูแลทหาร–พลเรื อน ดูแลทหาร–พลเรื อน


หัวเมืองฝ่ ายใต้ หัวเมืองฝ่ ายเหนือ หัวเมืองชายทะเลตะวันออก
14
4. การเมืองการปกครองสมัยอยุธยาตอนปลาย (พ.ศ. 2231–2310)

พระมหากษัตริย์

สมุหพระกลาโหม สมุหนายก พระคลังหรื อโกษาธิบดี

ดูแลทหาร–พลเรื อน ดูแลทหาร–พลเรื อน
หัวเมืองฝ่ ายเหนือ หัวเมืองฝ่ ายใต้และหัวเมือง
ชายทะเลตะวันออก การค้า
และติดต่อกับต่างประเทศ

15
เรื่องน่ารู้ ตำแหน่ งพระมหาอุปราช
ตำแหน่งพระมหาอุปราชมีข้ ึนครั้งแรกในสมัยสมเด็จ
พระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสามพระยา) ทรงแต่งตั้งพระราเมศวร
ซึ่งต่อมาคือสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ โดยโปรดเกล้าฯ ให้ไปครอง
เมืองพิษณุโลก ตำแหน่งนี้โดยทัว่ ไปเรี ยกว่า “วังหน้า” ซึ่ งถูก
ยกเลิกในสมัยรัชกาลที่ 5 แห่งราชวงศ์จกั รี และเปลี่ยนเป็ น
ตำแหน่ง “สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช”

16
ตอบคำถาม

1. เปรี ยบเทียบลักษณะการเมืองการปกครองสมัยอยุธยาตอนต้น ตอนกลาง


และตอนปลาย ว่ามีความแตกต่างกันอย่างไร
การเมืองการปกครองสมัยอยุธยาตอนต้น แบ่งออกเป็ น 2 ส่ วน คือ การปกครองส่ วน
กลางจัดการปกครองแบบจตุสดมภ์ตามอย่างเขมร และการปกครองหัวเมืองแบ่งเป็ นเมือง
ลูกหลวง เมืองชั้นใน เมืองชั้นนอก และประเทศราช
การเมืองการปกครองสมัยอยุธยาตอนกลาง สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงปฏิรูปการ
ปกครองส่ วนกลางใหม่ ฝ่ ายทหารให้สมุหพระกลาโหมดูแล ฝ่ ายพลเรื อนให้สมุหนายกดูแล
ปรับปรุ งชื่อเรี ยกและหน้าที่ของจตุสดมภ์ และให้ข้ึนกับสมุหนายก การปกครอง หัว
เมืองแบ่งเป็ นเมืองชั้นใน เมืองชั้นนอก ประเทศราช
การเมืองการปกครองสมัยอยุธยาตอนปลาย สมุหพระกลาโหมถูกลดบทบาทลง
ไม่ได้ดแู ลหัวเมือง สมุหนายกดูแลหัวเมืองฝ่ ายเหนือ พระคลังดูแลหัวเมืองชายทะเลตะวันออก
หัวเมืองฝ่ ายใต้ที่โอนมาจากสมุหพระกลาโหม
17
ตอบคำถาม

2. การเมืองการปกครองสมัยอยุธยาตอนต้นมีลกั ษณะอย่างไร
มีการปกครองแบบสมบูรณาญาสิ ทธิราชย์ พระมหากษัตริ ยท์ รงเป็ นประมุข มีอ ำนาจเด็ดขาด
ในการปกครองอาณาจักร รู ปแบบการปกครองเป็ นแบบจตุสดมภ์ ซึ่งสมเด็จพระรามาธิบดีท่ี 1
(พระเจ้าอู่ทอง) ทรงนำแบบอย่างมาจากสุ โขทัยและเขมรแล้วมาปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมกับ
อาณาจักรอยุธยา

3. การปฏิรูปการปกครองในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
มีความสำคัญอย่างไรต่อประวัติศาสตร์การเมืองไทย
เป็ นรากฐานการปกครอง ซึ่งมีการนำมาปรับใช้ในสมัยต่อ ๆ มาจนถึงสมัยรัชกาลที่ 5
แห่งกรุ งรัตนโกสิ นทร์จึงได้มีการเปลี่ยนแปลงไป โดยมีการจัดการปกครองตามแบบอย่าง
ตะวันตก
18
4. การเมืองการปกครองสมัยอยุธยาตอนปลายมีลกั ษณะอย่างไร
ในสมัยนี้ได้มีการเปลี่ยนแปลงอำนาจดูแลทั้งฝ่ ายทหารและพลเรื อนในหัวเมืองฝ่ ายใต้
ของสมุหพระกลาโหมได้ถูกโอนไปให้พระคลังหรื อโกษาธิบดี ทำให้พระคลังหรื อโกษ
าธิบดีมีอ ำนาจมากขึ้น เพราะนอกจากจะได้ดูแลหัวเมืองชายทะเลตะวันออก และรับผิด
ชอบดูแลการค้ารวมถึงการติดต่อกับต่างประเทศแล้วยังได้ดูแลหัวเมืองฝ่ ายใต้
ที่รับโอนอำนาจมาจากสมุหพระกลาโหมอีกด้วย

19
ดูภาพแล้ วนำข้ อความทีก่ ำหนดให้ เติมข้ อความให้ ถูกต้ อง

เวียง วัง คลัง นา

จัดหาเสบียงสำหรับใช้ ในราชการ

กรมนา

20
ส่ งเสริ มการทำนาและเก็บภาษีจากการทำนา

กรมนา

21
ดูแลรักษาพระราชสำนัก

กรมวัง

22
ติดต่อทำการค้ากับต่างประเทศ

กรมคลัง

23
ดูแลความสงบเรี ยบร้อยในเขตเมืองหลวงและใกล้เคียง

กรมวัง

24
พิจารณาพิพากษาคดี

กรมเวียง

25
สรุ ปความรู้
• ปกครองด้วยระบอบสมบูรณาญาสิ ทธิราชย์
• พระมหากษัตริ ยม์ ีอ ำนาจสูงสุ ดในการ
ปกครอง
แบ่งการปกครองออกเป็ น
การเมืองการปกครอง • การปกครองส่ วนกลางปกครองแบบ
สมัยอยุธยาตอนต้ น จตุสดมภ์ตามอย่างเขมร
(พ.ศ. 1893–1991) • การปกครองหัวเมือง แบ่งเป็ น
- เมืองลูกหลวง
- เมืองชั้นใน
- เมืองชั้นนอกหรื อเมืองพระยามหานคร
- ประเทศราช
• กฎหมายและการศาล
26
สรุ ปความรู้ สมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
ทรงปฏิรูปการปกครองส่ วนกลาง แยกเป็ น
• ฝ่ ายทหารให้สมุหพระกลาโหมดูแล
ฝ่ ายพลเรื อนให้สมุหนายกดูแล
• ปรับปรุ งชื่อเรี ยกและหน้าที่ของจตุสดมภ์ และ
ให้ข้ ึนกับสมุหนายก
การเมืองการปกครอง • การปกครองหัวเมือง แบ่งเป็ น
สมัยอยุธยาตอนกลาง - เมืองชั้นใน
- เมืองชั้นนอก
(พ.ศ. 1991–2231) - ประเทศราช
สมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง
• แก้ไขอำนาจของอัครมหาเสนาบดี
• สมุหพระกลาโหมดูแลกิจการทหารและพลเรื อน
หัวเมืองฝ่ ายใต้
• สมุหนายกดูแลหัวเมืองฝ่ ายเหนือ
• พระคลังดูแลหัวเมืองชายทะเลตะวันออก 27
สรุ ปความรู้

• สมุหพระกลาโหมถูกลดบทบาทไม่ได้ดูแล
การเมืองการปกครอง หัวเมืองฝ่ ายใต้
สมัยอยุธยาตอนปลาย • สมุหนายกดูแลหัวเมืองฝ่ ายเหนือ
(พ.ศ. 2231–2310) • พระคลังดูแลหัวเมืองชายทะเลตะวันออก
หัวเมืองฝ่ ายใต้ทโ่ี อนมาจากสมุหพระกลาโหม

28

You might also like