You are on page 1of 119

อาณาจักรอยุธยา

อาณาจักรอยุธยา
• การสถาปนาอาณาจักรอยุธยา
• ปัจจัยที่มีผลต่อความเจริญรุ่งเรืองของอาณาจักรอยุธยา
• พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ของอาณาจักรอยุธยา
• การเสื่อมอานาจของอาณาจักรอยุธยา
• ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยา
• วีรกรรมของบรรพบุรุษไทย สมัยอยุธยา
ชุมชนไทยก่อนการสถาปนาอาณาจักรอยุธยา
แคว้นสุพรรณภูมิ (สุพรรณบุร)ี
• มีพัฒนาการสืบเนื่องมาเป็นเวลาหลายร้อยปี
และเคยเป็นที่ตั้งชุมชนโบราณหลายแห่ง เช่น
เมืองอู่ทอง
• มีหลักฐานที่แสดงให้เห็นถึงการนับถือ
พระพุทธศาสนานิกายเถรวาทลัทธิลังกาวงศ์
และพระพุทธศาสนานิกายมหายาน เช่น พระ
พระปรางค์วัดมหาธาตุ
ปรางค์ที่วัดมหาธาตุ
จังหวัดสุพรรณบุรี
แคว้นละโว้ (ลพบุรี)

• ได้รับอิทธิพลของทวารวดี มีความเจริญรุ่งเรือง
ทางพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท
• รับวัฒนธรรมขอมในภายหลัง มีการยอมรับนับถือ
ศาสนาพราหมณ์-ฮินดูและพระพุทธศาสนานิกาย
มหายาน
พระปรางค์สามยอด • ได้ตั้งตัวเป็นอิสระหลังจากขอมเสื่อมอิทธิพลลง
จังหวัดลพบุรี และต่อมาลดความสาคัญลง ทาให้อโยธยาขึ้นมามี
อานาจแทน
การสถาปนาอาณาจักรอยุธยา
• อาณาจักรอยุธยาเกิดจากการร่วมมือกันของแคว้นสุพรรณภูมิ (สุพรรณบุรี)
และแคว้นละโว้ (ลพบุรี)
• กรุงศรีอยุธยาตั้งขึ้นในเมืองเก่าเดิมที่มีชื่อว่า อโยธยา ซึ่งตั้งอยู่ระหว่างเมืองสุพรรณบุรีและ
ลพบุรี

แผนที่อยุธยาฉบับเก่าแก่ที่สุด
มีชื่อว่า Iudea (ยูเดีย) แผนที่อยุธยาในจดหมายเหตุลาลูแบร์
ข้อสันนิษฐานเกีย่ วกับความเป็นมาของพระเจ้าอูท่ อง
สมเด็จฯ กรมพระยาดารงราชานุภาพ
• พระเจ้าอู่ทองสืบเชื้อสายมาจากพระเจ้าชัยศิริที่เคยครองเมืองฝาง (ปัจจุบันอยู่ในเขต
จ.เชียงใหม่) จากนั้นมีเชื้อสายสืบราชสมบัติต่อมาหลายรุ่นจึงได้เกิดพระเจ้าอู่ทอง

พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั
• พระเจ้าอู่ทองเป็นราชบุตรเขยของพระเจ้าศิริชัยเชียงแสน ต่อมาได้รับราชสมบัติ ครองราชย์
อยู่ 6 ปี จึงเกิดโรคห่า (อหิวาตกโรค) จึงทรงย้ายราชธานีมาตั้งที่เมืองศรีอยุธยา
ข้อสันนิษฐานเกีย่ วกับความเป็นมาของพระเจ้าอูท่ อง
พงศาวดารกรุงศรีอยุธยาฉบับฟาน ฟลีต หรือวัน วลิต

• พระเจ้าอู่ทองเป็นพระราชโอรสของพระเจ้าแผ่นดินจีน
แล้วถูกเนรเทศมาอยู่ที่ปัตตานี
และเดินทางผ่านมาทางเมืองละคร (นครศรีธรรมราช) กุยบุรี (ใน ประจวบฯ)
และมาสร้างเมืองพริบพรี (เพชรบุรี) ภายหลังมาสร้างเมืองอยุธยา

จากข้อสันนิษฐานต่างๆ ยังไม่อาจสรุปได้วา่ ข้อสันนิษฐานใดน่าจะถูกต้อง


ปัจจัยสาคัญในการสถาปนากรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี

ความสัมพันธ์ ทาเลทีต่ งั้ ของ ความสะดวก การเสื่อม


ฉันเครือญาติกบั กรุงศรีอยุธยา ในการค้าขาย อานาจของ
แคว้นสุพรรณภูมิ ที่เหมาะสม กับต่างชาติ
และแคว้นละโว้ อาณาจักรเขมร
แบบทดสอบหน่วยการเรียนที่ 1
เรื่อง ความเป็นมาของอาณาจักรอยุธยา
1 ข้อใดกล่าว ไม่ถูกต้อง เกี่ยวกับชุมชนลุ่มน้าเจ้าพระยาก่อนการสถาปนาอาณาจักรอยุธยา
ก. เป็นบ้านเมืองที่เจริญรุ่งเรืองเช่นเดียวกับจีน
ข. เป็นเมืองที่มีพัฒนาการ มีสุพรรณภูมิเป็นศูนย์กลาง
ค. มีการตั้งถิ่นฐานเป็นกลุ่ม มีความเจริญเฉพาะอาณาจักรใหญ่
ง. มีเมืองสาคัญตามลาน้าและรวมกลุ่มเป็นอาณาจักร มีสระบุรีเป็นศูนย์กลาง
2. ความเป็นมาของกรุงศรีอยุธยาในระยะเริ่มแรกปรากฏเป็นหลักฐานทาง
ประวัติศาสตร์ลักษณะใด
ก. ตานาน
ข. หลักศิลาจารึก
ค. พระราชพงศาวดาร
ง. จดหมายเหตุกรุงศรี
3. จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ท้าวอู่ทองรวมดินแดนใดเป็นส่วนหนึ่งของ
อาณาจักรอยุธยา
ก. ล้านนา
ข. สุโขทัย
ค. นครราชสีมา
ง. นครศรีธรรมราช
4. เพราะเหตุใดจีนเรียกกรุงศรีอยุธยาว่า หลอหู
ก. มีผู้คนชาวละโว้มาก
ข. มีชาวจีนตั้งตนเป็นกษัตริย์
ค. มีความร่ารวยจากการค้าขาย
ง. มีความหมายเดียวกับสุวรรณภูมิ
5. ชนชาติใดเรียกอยุธยาว่าชาห์รินาว
ก. อินเดีย
ข. อาหรับ
ค. ศรีลังกา
ง. โปรตุเกส
6. จากหลักฐานของชาวอาหรับสะท้อนให้เห็นผู้คนในกรุงศรีอยุธยามีวิถีชีวิต
อย่างไร
ก. ใช้เรือเป็นพาหนะโดยทั่วไป
ข. มีการประมงทั่วทั้งอาณาจักร
ค. มีวิถีชีวิตความผูกพันกับลาน้ามาก
ง. มีการแต่งเรือสาเภาไปค้าขายอาหรับ
7. หลักฐานใดที่แสดงว่าอาณาจักรอยุธยาได้รับอิทธิพลจากลพบุรี
ก. พบเศียรพระพุทธรูปศิลปะลพบุรี
ข. พระเจ้าอู่ทองมีบรรพบุรุษเป็นชาวละโว้
ค. ขอมโบราณได้อาณาจักรอยุธยาเป็นประเทศราช
ง. การค้าขายภายในระหว่างอยุธยาและลพบุรีเท่านั้น
8. เพราะเหตุใดอาณาจักรอยุธยาจึงได้เปรียบสุโขทัยในด้านการค้าขาย
ก. มีเรือสาเภามากกว่า
ข. อยู่ใกล้ทะเลมากกว่า
ค. ผู้คนสนใจการค้าขายมากกว่า
ง. สินค้าส่งออกมีราคาสูงและเป็นที่ต้องการ
9. ราชวงศ์สุดท้ายของอาณาจักรอยุธยา คือข้อใด
ก. อู่ทอง
ข. สุโขทัย
ค. ปราสาททอง
ง. บ้านพลูหลวง
10. กษัตริย์พระองค์ใดครองราชย์ถึง 2 ครั้ง
ก. เจ้าสามพระยา
ข. สมเด็จพระราเมศวร
ค. สมเด็จพระไชยราชาธิราช
ง. สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
ปัจจัยทีม่ ผี ลต่อความเจริญรุง่ เรืองของอาณาจักรอยุธยา

แหล่งอารยธรรมดัง้ เดิม สภาพภูมิประเทศ


อยุธยาได้รับอารยธรรมเดิมก่อนมีการตั้ง กรุงศรีอยุธยาตั้งอยู่บริเวณที่ราบลุ่ม
อาณาจักรมาปรับใช้เข้ากับอารยธรรมใหม่ มีแม่น้าไหลผ่าน จึงเหมาะแก่การเพาะปลูก
ที่อยุธยาสร้างขึ้นมา และค้าขาย

สภาพภูมิอากาศ
อาณาจักรอยุธยาตั้งอยู่ในเขตร้อนชื้น มีลมมรสุมพัด
ผ่าน ทาให้มีฝนตกชุกส่งผลให้มีแหล่งน้าอุดมสมบูรณ์
ทรัพยากรธรรมชาติ
อยุธยามีทรัพยากรธรรมชาติอุดมสมบูรณ์ เช่น ผัก
การตั้งอยู่กงึ่ กลางเส้นทางเดินเรือ ผลไม้ ปลาน้าจืดและปลาทะเล แร่ธาตุ ไม้หายาก
ระหว่างอินเดียกับจีน ซึ่งเป็นที่ต้องการของพ่อค้าต่างชาติ
อาณาจักรอยุธยาจึงได้ประโยชน์จากการ
ค้าขายและรับอารยธรรมจากจีนและอินเดีย
พระปรีชาสามารถของพระมหากษัตริย์
จากพระปรีชาสามารถของพระมหากษัตริย์หลาย
พระองค์ ทาให้อยุธยารอดพ้นจาก ภัยคุกคามจาก
ภายนอกได้
รายพระนามพระมหากษัตริย์อยุธยา
รายพระนาม ราชวงศ์ ปีที่ครองราชย์ ระยะเวลา
1. สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (อู่ทอง) อู่ทอง พ.ศ. 1893-1912 19
2. สมเด็จพระราเมศวร อู่ทอง พ.ศ. 1912-1913 1
3. สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1
สุพรรณภูมิ พ.ศ. 1913-1931 18
(ขุนหลวงพงั่ว)
4. สมเด็จพระเจ้าทองลัน สุพรรณภูมิ พ.ศ. 1931-1931 7 วัน
สมเด็จพระราเมศวร (ครั้งที่ 2) อู่ทอง พ.ศ. 1931-1938 8
5. สมเด็จพระรามราชาธิราช อู่ทอง พ.ศ. 1938-1952 15
6. สมเด็จพระอินทราชา (เจ้านครอินทร์) สุพรรณภูมิ 1952-1967 16
7. สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสามพระยา) สุพรรณภูมิ 1967-1991 24
8. สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ สุพรรณภูมิ 1991-2031 40
9. สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 3 สุพรรณภูมิ 2031-2034 3
10. สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 สุพรรณภูมิ 2034-2072 38
11. สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 4 หน่อพุทธางกูร สุพรรณภูมิ 2072-2076 4
12. พระรัษฎาธิราช สุพรรณภูมิ 2076-2077 5 เดือน
13. สมเด็จพระชัยราชาธิราช สุพรรณภูมิ 2077-2089 12
14. พระยอดฟ้า (พระแก้วฟ้า) สุพรรณภูมิ 2089-2091 2
15. สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ สุพรรณภูมิ 2091-2111 20
16. สมเด็จพระมหินทราธิราช สุพรรณภูมิ 2111-2112 1
17. สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช สุโขทัย 2112-2133 21
18. สมเด็จพระนเรศวรมหาราช สุโขทัย 2133-2148 15
19. สมเด็จพระเอกาทศรถ สุโขทัย 2148-2153 5
20. พระศรีเสาวภาคย์ สุโขทัย 2153-2154 1 ปีเศษ
21. สมเด็จพระเจ้าทรงธรรม สุโขทัย 2154-2171 18
22. สมเด็จพระเชษฐาธิราช สุโขทัย 2171-2172 8 เดือน
23. พระอาทิตยวงศ์ สุโขทัย 2172-2172 38 วัน
24. สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง ปราสาททอง 2172-2199 25
25. สมเด็จเจ้าฟ้าชัย ปราสาททอง 2199-2199 3-5 วัน
26. สมเด็จพระศรีสุธรรมราชา ปราสาททอง 2199-2199 2 เดือน
27. สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ปราสาททอง 2199-2231 32
28. สมเด็จพระเพทราชา บ้านพลูหลวง 2231-2246 14

29. สมเด็จพระสรรเพ็ชญ์ที่ 8 (พระเจ้าเสือ) บ้านพลูหลวง 2246-2251 6

30. สมเด็จพระสรรเพ็ชญ์ที่ 9
บ้านพลูหลวง 2251-2275 23
(พระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ)

31. สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 3
บ้านพลูหลวง 2275-2301 26
(พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ)

32. สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร (ขุนหลวงหาวัด) บ้านพลูหลวง 2301-2301 2 เดือน

33. สมเด็จพระที่นั่งสุริยามรินทร์
บ้านพลูหลวง 2301-2310 9
(พระเจ้าเอกทัศ)
ลักษณะการเมืองการปกครอง
พระมหากษัตริย์ทรงมีพระราชอานาจสูงสุดในการปกครอง ทรงเป็นพระประมุขของ
อาณาจักร เป็นจอมทัพ เป็นเจ้าชีวิต และเป็นเจ้าของศักดินาทั้งปวง เนื่องจากการรับอิทธิพล
ของหลักความเชื่อในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ที่เชื่อว่าพระมหากษัตริย์ทรงเป็น สมมติเทพ
นอกจากนี้ยังได้รับอิทธิพลความเป็นธรรมราชาตามคติความเชื่อในพระพุทธศาสนาด้วย

ภาพวาดกระบวนพยุหยาตราทางชลมารค
ฝีมือชาวยุโรปในสมัย
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
รูปแบบการปกครองสมัยอยุธยาตอนต้น
ทิศเหนือ
การบริหารราชการแผ่นดินส่วนกลาง
ลพบุรี
โดยมีกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานีและ
เป็นศูนย์กลางการปกครองทั้งหมดของ
อาณาจักร มีการกาหนดให้มีเมืองหน้าด่าน สุพรรณบุรี อยุธยา นครนายก
ทั้ง 4 ทิศ เพื่อป้องกันข้าศึกก่อนที่ข้าศึกจะ
จู่โจมเข้ามาถึงราชธานี
ทิศตะวันตก พระประแดง ทิศตะวันออก
ทิศใต้
ในเขตราชธานีที่กรุงศรีอยุธยา มีเสนาบดี 4 ตาแหน่ง เรียกว่า จตุสดมภ์
รับผิดชอบดูแลการบริหารราชการแผ่นดินตามพระบรมราชโองการของพระมหากษัตริย์
จตุสดมภ์แบ่งออกเป็น 4 หน่วยงาน ดังนี้

จตุสดมภ์

กรมเวียง (เมือง) กรมวัง กรมคลัง กรมนา


การบริหารราชการแผ่นดินส่วนหัวเมือง
หัวเมืองชัน้ ใน อยู่ไม่ไกลจากราชธานี
ทางราชธานีจะแต่งตั้ง “ผู้รั้ง” ไปปกครอง
เช่น เมืองราชบุรี สิงห์บุรี ชัยนาท
หัวเมืองชัน้ นอก (เมืองพระยามหานคร)
ราชธานี อยู่ห่างไกลจากราชธานี มีเจ้าเมืองที่สืบ
ทอดทางสายเลือดเป็นผู้ปกครอง
หัวเมืองประเทศราช
มีการปกครองเป็นอิสระ แก่ตนเอง
ต้องส่งเครื่องราชบรรณาการไป
รูปแบบการปกครองสมัยอยุธยาตอนกลาง
การบริหารราชการแผ่นดินส่วนกลาง

ดูแลกิจการฝ่ายทหาร
สมุหพระกลาโหม
ทั่วราชอาณาจักร
พระมหากษัตริย์
ดูแลฝ่ายพลเรือน
สมุหนายก ทั่วราชอาณาจักร
รวมทั้งจตุสดมภ์
การบริหารราชการแผ่นดินส่วนหัวเมือง
หัวเมืองชัน้ ใน ยกเลิกเมืองลูกหลวง
ทั้ง 4 ทิศ และขยายขอบเขตการปกครอง
ของราชธานีให้กว้างออกไป โดยให้รวมเข้ากับเมือง
ในวงราชธานี เป็นเมืองชั้นจัตวา มีผู้รั้ง ปกครอง

ราชธานี หัวเมืองชัน้ นอก (เมืองพระยามหานคร)


มีการจัดเมืองเป็นชั้นเอก ชั้นโท ชั้นตรี
พระมหากษัตริย์จะแต่งตั้งขุนนางชั้นสูงไปปกครอง
หัวเมืองประเทศราช ลักษณะการปกครองยังคง
เป็นแบบเดียวกับสมัยอยุธยาตอนต้น
รูปแบบการปกครองสมัยอยุธยาตอนปลาย
ดูแลหัวเมืองฝ่ายใต้ทั้งกิจการทหารและ
พระมหากษัตริย์
สมุหพระกลาโหม พลเรือน

ดูแลหัวเมืองฝ่ายเหนือทั้งกิจการ ทหาร
สมุหนายก และพลเรือน รวมทั้งจตุสดมภ์ และให้
กรมคลังดูแลหัวเมืองชายทะเล
ตะวันออกทั้งกิจการทหารและพลเรือน
และกรมคลัง
ปัจจัยทีส่ ง่ เสริมความเจริญทางเศรษฐกิจ

ทาเลทีต่ งั้ ของกรุงศรีอยุธยาและหัวเมืองต่างๆ ใกล้เคียง ซึ่งเหมาะแก่การ


เพาะปลูกโดยเฉพาะการปลูกข้าว

การอยู่ใกล้อา่ วไทย ทาให้พ่อค้าต่างชาติติดต่อค้าขายกับอยุธยาได้สะดวก

พระบรมราโชบายของพระมหากษัตริย์ ช่วยดึงดูดให้พ่อค้าต่างชาติเข้ามาค้าขายกับ
อยุธยา
ลักษณะทางเศรษฐกิจ
เกษตรกรรม
จากทาเลที่ตั้งของกรุงศรีอยุธยาเหมาะแก่การประกอบอาชีพเกษตรกรรม
ผลิตผลทางการเกษตรที่สาคัญ คือ ข้าว นอกจากนี้ยังมีผลิตผลจากป่า เช่น
ไม้ฝาง นอแรด งาช้าง ครั่ง หนังสัตว์ ยางสน ไม้กฤษณา เป็นต้น
การค้ากับต่างประเทศ
การค้ากับต่างประเทศเป็นการค้าโดยใช้เรือสาเภา ซึ่งดาเนินการโดยพระมหากษัตริย์
พระราชวงศ์ ขุนนาง และพ่อค้าจีนที่เกี่ยวข้องกับการค้าสาเภา นอกจากนี้ อยุธยายังติดต่อ
ค้าขายกับชาวตะวันตกด้วย ได้แก่ โปรตุเกสฮอลันดา อังกฤษ และฝรั่งเศส

เรือสาเภาจีน
ที่เข้ามาค้าขายกับอยุธยา
รายได้ของแผ่นดินในสมัยอยุธยา
จังกอบ
รายได้ที่เก็บตามด่านขนอนทั้งทางบกและทางน้าโดยเก็บชักส่วนสินค้า

อากร รายได้ที่เกิดจากการเก็บส่วนผลประโยชน์ในการประกอบอาชีพต่างๆ
ของราษฎร เช่น การทานา ทาไร่ ทาสวน
ส่วย รายได้จากสิ่งของ เงินทอง ที่ราษฎรนามาให้กับทางราชการแทนการ
ถูกเกณฑ์แรงงาน เช่น ส่วยดีบุก
ฤชา
รายได้จากค่าธรรมเนียมที่ทางราชการเก็บจากราษฎร
สังคมศักดินาสมัยอยุธยา
ความหมายของศักดินา
ศักดินา หมายถึง เครื่องกาหนดสิทธิและหน้าที่ของบุคคลในสังคม เพื่อจาแนกให้เห็นถึง
ความแตกต่างในเรื่องสิทธิและหน้าที่ของบุคคลตามศักดินา เช่น ผู้มีศักดินา 400 ขึ้นไปมีสิทธิ
เข้าเฝ้าได้ แต่ต่ากว่า 400 ไม่มีสิทธิเข้าเฝ้า

ประโยชน์ของศักดินา
ระบบศักดินามีประโยชน์ในการควบคุมบังคับบัญชาผู้คนตามลาดับชั้น
และมอบหมายให้คนมีหน้าที่รับผิดชอบตามที่กาหนดเอาไว้ และเมื่อบุคคลทาผิดต่อกัน
ก็สามารถใช้เป็นหลักในการปรับไหมได้ เช่น ถ้าผู้มีศักดินาสูงทาความผิดต่อ ผู้มีศักดินาต่ากว่า
ก็จะปรับไหมตามศักดินาของผู้มีศักดินาสูงกว่า
โครงสร้างสังคมไทยสมัยอยุธยา

พระมหากษัตริย์ พระบรมวงศานุวงศ์ ขุนนาง


„ พระประมุขของ „ เครือญาติของ „ บุคคลที่รับราชการ
ราชอาณาจักร ทรง พระมหากษัตริย์มี แผ่นดิน มีทั้งศักดินา
ได้รับการยกย่องให้เป็น ศักดินาแตกต่างกันไป ยศ ราชทินนาม
สมมติเทพ และทรงเป็น ตามฐานะ และตาแหน่ง
ธรรมราชา
ไพร่ ทาส พระภิกษุสงฆ์
„ ราษฎรที่ต้องถูกเกณฑ์ „ บุคคลที่มิได้มี „ บุคคลที่สืบทอด
แรงงานให้กับทาง กรรมสิทธิ์ในแรงงาน พระพุทธศาสนา
ราชการทั้งในยามปกติ และชีวิตของตนเอง ซึ่งได้รับการยกย่อง
และยามสงคราม ต้องตกเป็นของนาย และศรัทธาจากบุคคล
และต้องสังกัดมูลนาย จนกว่าจะได้ไถ่ตัว ทุกชนชั้น
ภาพวาดลายเส้นไพร่และพระสงฆ์ในจดหมายเหตุลาลูแบร์
ความสัมพันธ์กบั สุโขทัย

• ลักษณะความสัมพันธ์มีทั้งการใช้นโยบายการสร้างไมตรี การเผชิญหน้าทางทหาร และ


นโยบายการสร้างความสัมพันธ์ทางเครือญาติ
• อยุธยาใช้การเผชิญหน้าทางทหารกับสุโขทัยมาตั้งแต่สมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1
(อู่ทอง) และสมัยสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 (ขุนหลวงพะงั่ว)
• สมัยสมเด็จพระอินทราชา (เจ้านครอินทร์) ทรงแก้ไขปัญหาจลาจลที่สุโขทัย ทาให้สุโขทัย
กลับมาอยู่ใต้อานาจของอยุธยา และทรงสร้างความสัมพันธ์ทางเครือญาติ
โดยให้พระราชโอรส คือ เจ้าสามพระยาอภิเษกกับเจ้าหญิงเชื้อสายราชวงศ์พระร่วง
• สมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงผนวกรวมสุโขทัยเข้าเป็นส่วนหนึ่งของอยุธยา
ความสัมพันธ์กบั ล้านนา
 ลักษณะความสัมพันธ์ส่วนใหญ่เป็นการเผชิญหน้าทางทหาร
 สมัยสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 (ขุนหลวงพะงั่ว) เป็นต้นมา อยุธยา
ได้รบกับล้านนาเพื่อให้มาอยู่ในอานาจแต่ไม่ประสบความสาเร็จ
 สมัยสมเด็จพระชัยราชาธิราช อยุธยาได้ยึดล้านนาเป็นเมืองประเทศราช
แต่สุดท้ายก็ต้องเป็นเมืองประเทศราชของพม่า
 สมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช อยุธยาได้ล้านนากลับมาเป็นเมือง
ประเทศราช

หลังจากสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราชเป็นต้นไป
ล้านนาก็เริ่มแยกตัวเป็นอิสระบ้าง เป็นประเทศราชของพม่าบ้าง
ของอยุธยาบ้าง
ภาพจิตรกรรมฝาผนังแสดงสมเด็จพระ
นเรศวรมหาราชทรงยกทัพไปตีค่าย
พระเจ้าเชียงใหม่ที่บ้านสระเกศ
(จ.อ่างทองในปัจจุบัน)
เมื่อ พ.ศ. 2128
ความสัมพันธ์กบั พม่า
ลักษณะความสัมพันธ์ส่วนใหญ่เป็นการเผชิญหน้าทางทหาร โดยเริ่มต้นในสมัย
สมเด็จพระชัยราชาธิราช อยุธยาได้ช่วยเมืองเชียงกรานของมอญที่ขึ้นกับอยุธยา
รบกับพม่า
สมัยสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช พระนเรศวรทรงประกาศอิสรภาพ
ที่เมืองแครง
สมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงทาสงครามยุทธหัตถีกับพระมหาอุปราชา
ของพม่า หลังสมัยนี้ไปอยุธยาว่างเว้นสงครามกระทั่งภายหลังพม่ายกทัพมาอีก
จนสามารถยึดครองกรุงศรีอยุธยาได้ใน พ.ศ. 2310
ภาพจิตรกรรมฝาผนังแสดงการทาสงครามยุทธหัตถี
ระหว่างสมเด็จพระนเรศวรมหาราชกับพระมหาอุปราชา
ตัวอย่างสงครามระหว่างอยุธยากับพม่าครัง้ สาคัญ

คราวสมเด็จ สงคราม สงครามยุทธหัตถี


พระสุรโิ ยทัยขาดคอช้าง ประกาศอิสรภาพ พ.ศ. 2135
พ.ศ. 2091 พ.ศ. 2127
ความสัมพันธ์กบั หัวเมืองมอญ
ลักษณะความสัมพันธ์มีทั้งการค้า การผูกสัมพันธไมตรี และการเมือง

ในระยะแรก ผู้นาของอยุธยาได้พยายามจะขยายอิทธิพลเหนือมอญ และเมื่ออยุธยา


มีความเจริญรุ่งเรืองทางการค้า ผู้นาอยุธยาได้ขยายอานาจเข้าครอบครองเมืองท่าของมอญ
แถบชายฝั่งทะเลอันดามันเพื่อผลประโยชน์ทางการค้า

นอกจากนี้ อยุธยายังให้ที่พึ่งพิงแก่ชาวมอญที่อพยพหนีภัยสงครามจากพม่าด้วย ทั้งนี้เพื่อที่


อยุธยาจะได้อาศัยมอญเป็นด่านหน้าปะทะกับพม่าก่อนจะยกทัพมาถึง อยุธยา
ความสัมพันธ์กบั เขมร

ลักษณะความสัมพันธ์มีทั้งการเผชิญหน้าทางทหาร การเมือง และวัฒนธรรม

สมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (อู่ทอง) ใน พ.ศ. 1895 โปรดให้พระราเมศวร


และขุนหลวงพะงั่วยกทัพไปตีเขมร และกวาดต้อนชาวเขมรบางส่วนมาไว้ในเขต
ไทย ทาให้อยุธยาได้รับอิทธิพลวัฒนธรรมเขมรด้วย
สมัยสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 (ขุนหลวงพะงั่ว) ยกทัพไปตีเขมร

สมัยสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสามพระยา) ยึดราชธานีเขมรที่


นครธม และทรงแต่งตั้งพระนครอินทร์ พระราชโอรสไปครองเขมร
ปกครองไม่นานก็ถูกเขมรลอบปลงพระชนม์

สมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ ไทยติดพันสงครามกับพม่า เขมรได้ถือ


โอกาสยกทัพมาตีไทย
สมัยสมเด็จพระนเรศมหาราชทรงยกทัพไปตีเมืองละแวก ราชธานีเขมร
ขณะนั้นได้ และหลังจากสมัยนี้ เขมรเริ่มตั้งตัวเป็นอิสระ และในตอน
ปลายสมัยอยุธยา เขมรได้อ่อนน้อมต่ออยุธยาบ้าง ญวนบ้าง จนกระทั่ง
เสียกรุงใน พ.ศ. 2310 เขมรจึงเป็นอิสระ
ความสัมพันธ์กบั ล้านช้าง
• ลักษณะความสัมพันธ์ส่วนใหญ่เป็นการผูกสัมพันธไมตรี

• สมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 ไทยมีความสัมพันธ์อันดีกับพระเจ้าฟ้างุ้มแห่งล้านช้าง

• สมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ ไทยกับล้านช้าง มีความสนิทแนบแน่นมากขึ้น


เมื่อพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชแห่งล้านช้างแต่งตั้งทูตมากราบทูลขอพระเทพกษัตรีไปเป็น
พระอัครมเหสี แต่ถูกพระเจ้า-บุเรงนองส่งทหารมาชิงตัวไปเสียก่อน อย่างไรก็ดี อยุธยา
ยังคงรักษาสัมพันธไมตรีอันดีเอาไว้ จนกระทั่งสียกรุงศรีอยุธยาแก่พม่าครั้งที่ 1 ทาให้
ความสัมพันธ์ลดน้อยลงไป
พระธาตุศรีสองรัก จ.เลย เป็นหลักฐาน
ที่แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์อันดี
ระหว่างอยุธยากับล้านช้าง
ความสัมพันธ์กบั ญวน
• ความสัมพันธ์ส่วนใหญ่เกิดในสมัยอยุธยาตอนปลายโดยลักษณะความสัมพันธ์
จะเป็นการเผชิญหน้าทางทหาร เพื่อแย่งชิงความเป็นใหญ่เหนือเขมร

• สมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ เกิดเหตุการณ์แตกแยกภายในราชวงศ์เขมรระหว่างพระ
ธรรมราชากับนักแก้วฟ้าจอกจนถึงขั้นทาสงครามกัน อยุธยาและญวนต่างสนับสนุนแต่ละ
ฝ่าย ความขัดแย้งภายในทาให้ไทยกับญวนต้องทาสงครามระหว่างกัน ในที่สุดอยุธยาชนะ
และได้เขมรมาอยู่ใต้อานาจ ไม่นานญวนก็เข้าไปมีอิทธิพลเหนือเขมรอีก อยุธยาจึงต้องยกทัพ
ไปตีเขมรกลับมา ซึ่งสถานการณ์ในเขมรจะเป็นลักษณะเช่นนี้จนกระทั่งสิ้นสุดสมัยอยุธยา
ความสัมพันธ์กบั หัวเมืองมลายู
ลักษณะความสัมพันธ์มีทั้งการค้า การเผชิญหน้าทางทหาร
และการผูกสัมพันธไมตรี

สมัยอยุธยาตอนต้น อยุธยาส่งกองทัพไปรบกับมะละกาซึ่งเป็นศูนย์กลางการค้า
สาคัญบริเวณคาบสมุทรมลายู นอกจากได้มะละกาเป็นเมืองขึ้นแล้ว ยังได้หัว
เมืองรายทางด้วย เช่น ปัตตานี ไทรบุรี ซึ่งอยุธยาควบคุมหัวเมืองมลายูผ่าน
ทางเมืองนครศรีธรรมราช นอกจากจะได้ผลประโยชน์ทางเครื่องราช
บรรณาการแล้วยังได้ผลประโยชน์ทางการค้าขายอีกด้วย
ความสัมพันธ์กบั จีน
• ลักษณะความสัมพันธ์เป็นแบบรัฐบรรณาการ ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับการเมืองและการค้า

• ในสมัยอยุธยา พระมหากษัตริย์ที่ทรงขึ้นครองราชย์มักจะแต่งตั้งคณะทูตนา
เครื่องราชบรรณาการไปยังจีน เพื่อให้จีนรับรองเพื่อผลประโยชน์ทางการค้าและเพื่อ
ความชอบธรรมในการเสด็จขึ้นครองราชย์ ซึ่งการติดต่อระหว่างอยุธยากับจีนดาเนินไป
อย่างราบรื่น ยกเว้นในช่วงที่อยุธยามีปัญหาการเมืองภายในหรือทาสงครามกับภายนอก
ความสัมพันธ์จะหยุดชะงักชั่วคราว เมื่อเหตุการณ์สงบ การติดต่อก็เริ่มต้นขึ้นอีก
ภาพวาดเรือสาเภาจีนที่เข้ามาค้าขายกับอยุธยา
ความสัมพันธ์กบั ญีป่ นุ่
ลักษณะความสัมพันธ์ส่วนใหญ่เป็นการค้าและการเมือง
สมัยสมเด็จพระเอกาทศรถ อยุธยามีการติดต่อกับญี่ปุ่นอย่างเป็นทางการ

สมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง ได้มีการปราบปรามชาวญี่ปุ่นบางคนที่คิดก่อการร้าย
ทาให้ชาวญี่ปุ่นจานวนมากพากันอพยพออกจากอยุธยา และแม้ว่าอยุธยาจะส่งทูตไป
เจรจาสัมพันธไมตรีและค้าขายที่ญี่ปุ่นอีก แต่ญี่ปุ่นไม่ยอมรับ อาจเป็นเพราะเหตุการณ์
ที่ทรงปราบปรามญี่ปุ่น และญี่ปุ่นดาเนินนโยบายปิดประเทศ
กองทหารอาสาญี่ปุ่นในกองทัพอยุธยา (ภาพเล็ก)
เสาหิน ภาษาญี่ปุ่น แปลเป็นไทยว่า อนุสรณ์หมู่บ้านญี่ปุ่นที่อยุธยา
ความสัมพันธ์กบั เปอร์เซีย
• ลักษณะความสัมพันธ์จะเป็นด้านการค้า

• สันนิษฐานว่าอยุธยาเริ่มมีความสัมพันธ์กับเปอร์เซีย (ปัจจุบันคืออิหร่าน)
ในสมัยสมเด็จพระเอกาทศรถ โดยเป็นเรื่องการค้าขาย

• สมัยสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม พ่อค้าเปอร์เซีย
ชื่อ เฉกอะหมัด ได้รับราชการจนมีความดีความชอบได้เป็นเจ้ากรมท่าขวา
• สมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช เปอร์เซียส่งทูตมาเข้าเฝ้า แต่หลัง
รัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราชไปแล้ว ไม่ปรากฏหลักฐานถึงการ
เดินทางเชื่อมสัมพันธไมตรีระหว่างอยุธยาและเปอร์เซียอีก
ภาพทหารชาวเปอร์เซีย จากเรื่องมโหสถ วัดสุวรรณาราม
ความสัมพันธ์กบั โปรตุเกส
• ลักษณะความสัมพันธ์มีทั้งการค้า การเมือง และวัฒนธรรม

• เริ่มต้นในสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 เมื่อโปรตุเกสยึดมะละกา แต่มะละกาเป็น


ประเทศราชของอยุธยา โปรตุเกสจึงส่งทูตมาเจรจาและทาสนธิสัญญาระหว่างกัน

• นอกจากนี้ อยุธยายังซื้อปืนจากโปรตุเกสและจ้างทหารโปรตุเกสมาเป็นทหารอาสา
รวมถึง รับวัฒนธรรมการทาขนมหวานจากโปรตุเกส อันเป็นที่มาของขนมหวานไทย
ในปัจจุบันด้วย เช่น ทองหยิบ ทองหยอด ฝอยทอง
แนวอาคารที่ได้รับการขุดแต่งในหมู่บ้านโปรตุเกส (ภาพเล็ก)
สุสานโบราณในหมู่บ้านโปรตุเกส
ความสัมพันธ์กบั ฮอลันดา
• ลักษณะความสัมพันธ์มีทั้งการค้าและการเมือง
• สมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ฮอลันดาส่งคณะทูตมาเจรจาและขอตั้งสถานีการค้าที่ปัตตานี
• สมัยสมเด็จพระเจ้าทรงธรรม อยุธยากับฮอลันดา ได้ทาสนธิสัญญาการค้าระหว่างกัน
• สมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง ฮอลันดาส่งเรือรบปิดท่าเรือตะนาวศรี อยุธยาจึงตัดสิทธิ
พิเศษทางการค้า
• สมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชได้เกิดความขัดแย้งกับฮอลันดา จนต้องดึงฝรั่งเศสเข้ามา
ถ่วงดุลอานาจ ทาให้ฮอลันดาค่อยๆ ลดปริมาณการค้าและถอนตัวออกจากอยุธยาในที่สุด
แนวอาคารโบราณสถานในหมู่บ้านฮอลันดา
ที่ได้รับการขุดแต่ง (ภาพเล็ก) ป้ายแสดง
ที่ตั้งหมู่บ้านเป็นภาษาดัตซ์
ความสัมพันธ์กบั อังกฤษ
• ลักษณะความสัมพันธ์มีทั้งการค้าและการเมืองในบางช่วง

• สมัยสมเด็จพระเจ้าทรงธรรมทรงอนุญาตให้อังกฤษเข้ามาตั้งสถานีการค้าที่กรุงศรีอยุธยาได้
แต่ถูกฮอลันดาขัดขวางจนต้องปิดกิจการ

• สมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชได้เริ่มฟื้นฟูความสัมพันธ์อีกครั้งเพื่อดึงอังกฤษมาถ่วงดุล
อานาจกับฮอลันดา แต่อังกฤษไม่ประสบความสาเร็จในการแข่งขันกับฮอลันดา จนเมื่อ
เรือค้าขายของอังกฤษถูกปล้นสะดมในน่านน้าเมืองมะริดจนต้องสู้รบกับอยุธยาที่เมืองมะริด
ทาให้ความสัมพันธ์ห่างเหินกันไป
ภาพวาดเรือสาเภาอังกฤษที่เข้ามาค้าขายกับอยุธยา
ความสัมพันธ์กบั ฝรัง่ เศส
• ลักษณะความสัมพันธ์มีทั้งศาสนา การค้า และการเมือง

• สมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงต้องการ ให้ฝรั่งเศสมาถ่วงดุลอานาจกับฮอลันดา
จนกระทั่งฝรั่งเศสเข้ามาตั้งสถานีการค้า และภายหลังส่งคณะทูตเดินทางมาอยุธยาเป็น
ครั้งแรกเพื่อเจริญสัมพันธไมตรี และอยุธยาก็ส่งคณะทูตไปฝรั่งเศส ซึ่งได้รับการต้อนรับอย่างดี

• ภายหลังฝรั่งเศสเข้ามามีอิทธิพลทางการเมือง และการทหาร จนต้องมีการขับไล่ฝรั่งเศสออกไป


หลังจากนั้นความสัมพันธ์ระหว่างอยุธยากับฝรั่งเศสก็ลดลงและห่างเหินกันไป
เชอวาเลียร์ เดอ โชมองต์ หัวหน้าคณะทูตฝรั่งเศสเข้าเฝ้า
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
ความสัมพันธ์กบั สเปน

• ความสัมพันธ์ระหว่างอยุธยากับสเปนค่อนข้าง
มีน้อยส่วนใหญ่จะเป็นเรื่องการค้า

• สมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ข้าหลวงใหญ่ของสเปนที่เมืองมะนิลาได้ส่ง
ทูตมาเชื่อมสัมพันธไมตรีและเจรจาทางการค้ากับอยุธยา
• สมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช มีเรือสินค้าสเปนเดินทางจากเมืองมะนิลาเข้ามา
ค้าขายที่กรุงศรีอยุธยา แต่ปริมาณการค้าไม่มากนัก

• สมัยพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ ผู้สาเร็จราชการสเปนที่เมืองมะนิลาส่งทูตเข้ามาเจริญ
สัมพันธไมตรีและขออนุญาตตั้งสถานีการค้าขึ้นใหม่ แม้การเจรจาจะประสบ
ความสาเร็จ แต่ปริมาณการค้าก็มิได้ขยายตัวและได้ผลตอบแทนไม่คุ้มค่า ในที่สุด
ความสัมพันธ์ระหว่างสองชาติก็ห่างเหินกันไป
การเสียกรุงศรีอยุธยาครัง้ ที่ 1 และการกูเ้ อกราช
สาเหตุ
• เกิดจากความแตกสามัคคีภายใน
• พระยาจักรีเป็นไส้ศึก

การกูเ้ อกราช
• เกิดขึ้นในสมัยสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช เมื่อพระนเรศวรซึ่งเป็น
พระราชโอรสทรงประกาศอิสรภาพ
จากพม่าที่เมืองแครงใน พ.ศ. 2127
พระนเรศวรทรงประกาศอิสรภาพจากพม่า
โดยทรงหลั่งทักษิโณทกให้ตกเหนือแผ่นดิน
(ภาพจิตรกรรมฝาผนังวัดสุวรรณดาราราม
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา)
การเสียกรุงศรีอยุธยาครัง้ ที่ 2 และการกูเ้ อกราช
สาเหตุ
• การขาดประสบการณ์ในการทาสงครามขนาดใหญ่ของฝ่ายอยุธยา
• การปรับเปลี่ยนกลยุทธ์การรบของพม่า
ด้วยการยกมาตีอยุธยาทั้งทางเหนือและทางใต้ และกวาดต้อนผู้คน เสบียงอาหารเข้าล้อม
กรุงศรีอยุธยา

การกู้เอกราช
• พระยาตาก (สิน) ได้นาไพร่พลฝ่าวงล้อมพม่าไปตั้งมั่นที่เมืองจันทบุรี จากนั้นนาไพร่พลตีหัว
เมืองรายทางไล่มาจนถึงเมืองธนบุรีที่พม่าคุมอยู่ และตามตีไปถึงค่ายโพธิ์สามต้นซึ่งเป็นทัพ
พม่าที่รักษาอยุธยาอยู่จนแตก
ภาพวาดพระยาตาก (สิน)
นาทัพเข้าตีค่ายพม่าที่โพธิ์สามต้น
(ภาพจากหนังสือโคลงภาพพระราชพงศาวดารฯ)
วิดีโอ เสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ ๒
1. ข้อใดกล่าวถึงอาณาจักรอยุธยาถูกต้องมากที่สุด
ก. มีความเจริญรุ่งเรืองนานถึง 317 ปี
ข. กษัตริย์องค์สุดท้ายคือพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ
ค. เป็นราชธานีสาคัญของไทยต่อจากอาณาจักรสุโขทัย
ง. พระมหากษัตริย์ปกครอง 34 พระองค์จาก 4 ราชวงศ์
2. ข้อใดไม่ใช่ปจั จัยสาคัญที่ทาให้อาณาจักรอยุธยามีความเจริญรุ่งเรือง
ก. ทาเลที่ตั้งที่มีน้าล้อมรอบ
ข. ประชากรตั้งถิ่นฐานหนาแน่น
ค. ความอุดมสมบูรณ์ของดินและน้า
ง. ของป่ามีความอุดมสมบูรณ์และราคาแพง
3. ธรรมใดที่กษัตริย์ทรงปฏิบัติในการปกครองไพร่ฟ้าประชาชน
ก. พรหมวิหาร 4
ข. สัปปุรุสธรรม 7
ค. กุศลกรรมบถ 10
ง. ทศพิธราชธรรม 10
4. ข้อใดเป็นหน้าที่ของกรมวังในสมัยพระเจ้าอู่ทอง
ก. จัดการเกี่ยวกับพระราชทรัพย์การการภาษีอากร
ข. รักษาความเรียบร้อย ปราบปรามโจรผู้ร้ายและลงโทษผู้ทาผิด
ค. รักษาพระราชมณเฑียรและดูแลราชการเกี่ยวกับพระราชสานัก
ง. ดูแลการทาไร่ทานา และจัดหารักษาเสบียงอาหารสาหรับพระนคร
5. ข้อใดกล่าว ไม่ถูกต้อง เกี่ยวกับการปกครองหัวเมืองในสมัยพระเจ้าอู่ทอง
ก. โคราดบุรีเป็นเมืองเจ้าพระยามหานคร
ข. เมืองหน้าด่านทาหน้าที่ป้องกันราชธานี
ค. เมืองลูกหลวงทิศตะวันออกคือนครนายก
ง. ผู้ปกครองหัวเมืองชั้นในคือพระราชโอรส
6. ข้อใดเป็นข้อเสียของการบริหารราชการส่วนภูมิภาคหัวเมืองชั้นนอก คืออะไร
ก. เมืองหน้าด่านมีมากจึงแย่งชิงความเป็นใหญ่ในแผ่นดิน
ข. เจ้าประเทศราชไม่จงรักภักดีและแยกตนเป็นอิสระเสมอๆ
ค. หัวเมืองชั้นนอกอยู่ไกล จึงไม่สามารถควบคุมได้อย่างใกล้ชิด
ง. เมืองลูกหลวงมีน้อยและไม่เข้มแข็งเพียงพอ ราชธานีจึงไม่ปลอดภัย
7. ลูกขุน ณ ศาลา ทาหน้าที่ใดในการพิจารณาคดีความ
ก. ตรวจสานวนและตัดสินชี้ขาด
ข. รับฟ้อง บังคับคดี และลงโทษ
ค. ส่งสานวนฟ้องกับตัวโจทย์ไปยังศาล
ง. สืบค้นข้อมูลประกอบการพิพากษาคดี
8. เพราะเหตุใดจึงต้องมีการเปลี่ยนรูปแบบการปกครองในสมัยสมัยสมเด็จพระ
บรมไตรโลกนาถ
ก. อาณาเขตกว้างขวาง ต้องจัดให้รัดกุมขึ้น
ข. ขุนนางไทยมีความรู้ในการแก้ปัญหาเพิ่มขึ้น
ค. รูปแบบเดิมก่อให้เกิดการแย่งชิงอานาจระหว่างกัน
ง. กษัตริย์ทรงรอบรู้ด้านการปกครองที่มีประสิทธิภาพ
9. พระโกษาธิบดีมีหน้าที่รับผิดชอบงานด้านใด
ก. พิจารณาคดีความของขุนนาง
ข. ปกป้องเขตพระราชฐานชัน้ ใน
ค. เก็บภาษีอากรเป็นสมบัติของชาติ
ง. การค้าสาเภาและการติดต่อกับต่างประเทศ
10. เมืองในข้อใดที่ต้องมีผู้รั้งเมือง
ก. เพชรบุรี ราชบุรี
ข. สุโขทัย อุตรดิตถ์
ค. ทวาย มะริด ตะนาวศรี
ง. นครศรีธรรมราช พิษณุโลก
11. เพราะเหตุใดจึงต้องมีการทาสารบัญชีในสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2
ก. จัดทาตาราพิชัยสงคราม
ข. จัดระบบสารวจกาลังไพร่พล
ค. ซื้ออาวุธที่ทันสมัยจากต่างชาติ
ง. เตรียมการด้านเสบียงในการทาสงคราม
12. “พระมหากษัตริย์ทรงออกกฎหมายและมีพระราชวินิจฉัยให้เหมาะสมแก่
ขนบธรรมเนียม ประเพณี” กฎหมายดังกล่าว หมายถึงอะไร
ก. พระราชศาสตร์
ข. พระราชกาหนด
ค. พระธรรมศาสตร์
ง. พระราชกฤษฎีกา
13. ข้อใดเป็นสินค้านาเข้าที่มีความสาคัญในสมัยอยุธยา
ก. งาช้าง หนังสัตว์ รังนก ไม้ฝาง
ข. เครื่องสังคโลก ผ้าไหม ไม้หอม
ค. งาช้าง รังนก ไม้กฤษณา ดินปืน
ง. ผ้า เครื่องถ้วยชาม ยา สุรา และอาวุธ
14. ถ้าราษฎรให้เจ้าหน้าที่ออกโฉนดตราสารให้ ต้องเสียค่าธรรมเนียมให้ทาง
ราชการ ค่าธรรมเนียมดังกล่าว หมายถึงอะไร
ก. ส่วย
ข. ฤชา
ค. อากร
ง. จังกอบ
15. ไพร่หลวงซึ่งเป็นกาลังพลสาคัญในอาณาจักรอยุธยานั้น
อยู่ในความควบคุมของใคร
ก. เจ้านาย
ข. ขุนนาง
ค. เชื้อพระวงศ์
ง. พระมหากษัตริย์
16. ทาสที่สามารถซื้ออิสรภาพของตนเองคืนได้ เรียกว่าอะไร
ก. ทาสสินไถ่
ข. ทาสเชลยศึก
ค. ลูกทาสเชลย
ง. ทาสในเรือนเบี้ย
17. ชาติตะวันตกมีวัตถุประสงค์ใดในการเข้ามาติดต่อกับอาณาจักรอยุธยา
ก. ล่าอาณานิคม
ข. สารวจดินแดนใหม่
ค. เผยแพร่วิทยาการสมัยใหม่
ง. ทาการค้าและเผยแพร่คริสต์ศาสนา
18. ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ที่อาณาจักรอยุธยาได้รับจากการติดต่อกับชาติตะวันตก
ก. ความรู้ด้านการผลิตไฟฟ้า
ข. การใช้ปืนในการทาสงคราม
ค. การสร้างป้อมและกาแพงเมือง
ง. วิทยาการและเทคโนโลยีสมัยใหม่
19. เหตุการณ์ใดเกิดก่อนการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 1
ก. สงครามเก้าทัพ
ข. ศึกอะแซหวุ่นกี้
ค. สงครามช้างเผือก
ง. สงครามยุทธหัตถี
20. ข้อใดไม่ใช่สาเหตุสาคัญของการเสียเอกราชครั้งที่ 1
ก. พระยาจักรีเป็นไส้ศึกให้แก่พม่า
ข. ป้อมปราการชารุดทรุดโทรมทุกด้าน
ค. เกิดความแตกสามัคคีกันจากการยุยงของข้าศึก
ง. ไทยขาดกาลังใจต่อสู้เนื่องจากกษัตริย์สวรรคต
ความหมายของภูมิปัญญาและวัฒนธรรม

ภูมปิ ัญญา ความรู้ ความสามารถ


ที่ได้จากประสบการณ์ที่สงั่ สม
ไว้ในการปรับตัวและการดารงชีวติ ใน
สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติและ วัฒนธรรม ระบบความเชื่อ
สิ่ งแวดล้อมทางสังคมและวัฒนธรรมที่ ระบบคุณค่า และวิถีชีวติ ทั้งหมด
ได้มีการพัฒนาสื บสานกันมา ดังนั้น ภูมิปัญญาทั้งหลายจึงได้รับการ
สั่งสมอยูใ่ นวัฒนธรรมนัน่ เอง
ปัจจัยทีม่ ีอทิ ธิพลต่ อการสร้ างสรรค์ ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม
ลักษณะทางภูมศิ าสตร์ ลักษณะทางสังคม การรับอิทธิพล
และสิ่งแวดล้ อม และวัฒนธรรม จากภายนอก
มีสภาพดินฟ้ า เป็ นสังคม การติดต่อ
อากาศที่เหมาะต่อ ศักดินามีการนับถือ ค้าขายกับต่างชาติ
การเพาะปลูกและ พระพุทธศาสนา ทาให้เกิดการเรี ยนรู้
ค้าขาย จึงส่งเสริ ม และใช้กุศโลบายทาง จากชาติต่างๆ
ให้มีการคิดค้น ศาสนาเป็ นเครื่ องมือ แล้วนามาปรับใช้
ภูมิปัญญาสาหรับ ในการอบรมสัง่ สอน ให้เข้ากับคนไทย
การประกอบอาชีพ ผูค้ น
ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมในการสร้ างรู ปแบบการปกครอง
สังคมไทยสมัยอยุธยามีความเชื่อว่าการ
ปกครองบ้านเมืองต้องมีพระมหากษัตริ ยเ์ ป็ น
ผูม้ ีอานาจสูงสุด อันเป็ นผลมาจากการรับเอา
คติความเชื่อว่าพระมหากษัตริ ยท์ รงเป็ น
สมมติเทพ จึงต้องมีการวางกฎเกณฑ์หลาย
ประการ เพื่อแสดงให้เห็นว่าพระองค์ทรงเป็ น
แบบจาลองพระราชวังกรุ งศรี อยุธยา ซึ่ งเป็ น
เทพเจ้า มีพระบรมเดชานุภาพ เช่น มีการสร้าง ที่ประทับของพระมหากษัตริ ยอ์ ยุธยา
พระราชวังสาหรับพระมหากษัตริ ย ์ มีการใช้
คาราชาศัพท์สาหรับพระมหากษัตริ ยม์ ีการตรา
ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมในการวางระบบควบคุมกาลังพล

• ระบบการควบคุมกาลังคนสมัยอยุธยากาหนดให้ไพร่ ตอ้ งสังกัดมูลนาย โดยมูลนาย


จะต้องดูแลและให้ความคุม้ ครองไพร่ ในแต่ละกรมกอง ส่วนไพร่ ก็ตอ้ งให้ความเคารพ
ยาเกรงมูลนายของตน
• การควบคุมแรงงานไพร่ ในแต่ละกรมจะมีการควบคุมเป็ นลาดับชั้น แต่ละกรมจะจัดทา
บัญชีรายชื่อและที่อยูข่ องไพร่ ที่สังกัดกรมของตน นอกจากนี้ยงั มีพระสุรัสวดี ทาหน้าที่
เป็ นผูถ้ ือบัญชีไพร่ ของทุกกรมและขึ้นตรงต่อพระมหากษัตริ ย ์
• ระบบการควบคุมกาลังคนในสมัยอยุธยาทาให้กลุม่ คนไทยสามารถอยูร่ วมกันได้เป็ น
กลุม่ ก้อน ไม่กระจัดกระจายกันออกไป และสะดวกต่อการเกณฑ์ไพร่ พลไปทาสงคราม
ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมในการสร้ างทีอ่ ยู่อาศัย
เรือนของขุนนาง (เรือนเครื่องสับ) เรือนของไพร่ (เรือนเครื่องผูก)

เป็ นเรื อนชั้นเดียว ใต้ถนุ สูง เป็ นเรื อนชั้นเดียว ใต้ถนุ เตี้ย
สร้างด้วยวัสดุที่แข็งแรงทนทาน สร้างด้วยวัสดุไม่คงทนถาวร เช่น
เช่น ไม้สัก ไม้เนื้อแข็ง ตัวเรื อน ไม้ไผ่ มักปลูกเป็ นการชัว่ คราว
สามารถรื้ อถอนแล้วนาไป ถ้าไพร่ มีฐานะสูงก็สามารถใช้เรื อน
ประกอบใหม่ได้เหมือนเดิม แบบขุนนางได้
ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมในการบาบัดรักษาคนไข้
• การแพทย์แผนไทยสมัยอยุธยามีพ้นื ฐานมาจากความเชื่ อ ความรู ้
ความคิด และการยอมรับร่ วมกันของคนในสังคม จนสามารถ
แก้ไขปัญหาสุ ขภาพตั้งแต่สมัยอยุธยาจนถึงปัจจุบนั
• ระบบการแพทย์สมัยอยุธยามีการจัดตั้งหน่วยงานรับผิดชอบ
เป็ นสัดส่ วน และมีเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการบาบัด
รักษาคนไข้แตกต่างกันไป นอกจากนี้ ยงั มีโรงพระโอรส
เป็ นหน่วยงานดูแลเกี่ยวกับการรักษายาสมุนไพร จาแนก
หมวดหมู่ยา ควบคุมมาตรฐานและผลิตยา และตาราแพทย์หลวง คัมภีร์ธาตุพระนารายณ์ ฉบับใบลาน
(ตาราพระโอสถพระนารายณ์)
ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมในการปลูกฝังศีลธรรมให้ สังคม
สังคมไทยสมัยอยุธยามีความศรัทธา

ในพระพุทธศาสนา นอกจากผู ้คนนิ ยมทาบุญ

ฟั งธรรมแล้ว ยังมีการใช้วรรณกรรมของพระพุทธศาสนา

มาสอนคนให้รจู ้ ักบาปบุญคุณโทษด้วย โดยเจ้าฟ้ า-

ธรรมธิเ บศ (เจ้าฟ้ ากุง)้ ทรงนิ พนธ์หนังสือพระมาลัย

คาหลวง ซึ่งเมื่อพระภิกษุนาไปเทศน์ ให้ชาวบ้านฟั ง

หรือมีผู ้อ่านหนังสือพระมาลัยคาหลวงก็ดี เท่ากับ


ภาพวาดพระมาลัยโปรดสัตว์
ได้รบั คาสอนทางพระพุ ทธศาสนาด้วย เป็ นการปลูกฝัง ในแดนนรก
ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมในการปลูกฝังศีลธรรมให้ สังคม
ด้ านสถาปัตยกรรม
ส่วนใหญ่เป็ นสิ่ งก่อสร้างในพระพุทธศาสนา เช่น เจดีย ์ พระปรางค์ โบสถ์ วิหาร มณฑป
รวมถึงสิ่ งก่อสร้างที่เกี่ยวข้องกับพระมหากษัตริ ย ์ เช่น พระราชวัง พระที่นงั่ ต่างๆ
ด้ านประติมากรรม
ส่ วนใหญ่นิยมสร้างพระพุทธรู ป พระพุทธรู ปยุคแรกๆ เป็ น
แบบอู่ทอง เช่น พระพุทธรู ปองค์ใหญ่ที่ วดั พนัญเชิง จนถึงสมัยสมเด็จ
พระบรมไตรโลกนาถ ศิลปะแบบสุ โขทัยได้แพร่ หลายเข้ามา ครั้นถึง
สมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททองเป็ นต้นมา พระพุทธรู ปมักทาเป็ นแบบ
ทรงเครื่ อง มีเครื่ องประดับสวยงาม เช่น พระประธานวัดหน้าพระเมรุ
จังหวัดพระนครศรี อยุธยา

พระประธานวัดหน้าพระเมรุ
ด้ านจิตรกรรม
ส่วนใหญ่จะเกี่ยวเนื่องกับพระพุทธศาสนา เป็ นภาพเขียนสี นิยมเขียนเป็ นพุทธบูชา
ตามผนังโบสถ์ วิหาร ศาลาการเปรี ยญ ในคูหาภายในองค์พระปรางค์ สถูป เจดีย ์ และในสมุดไทย
ด้ านประณีตศิลป์
งานประณีตศิลป์ มีท้ งั ประเภทเครื่ องใช้ เครื่ องประดับตกแต่ง เครื่ องเงิน เครื่ องทอง
เครื่ องไม้จาหลัก ซึ่ งล้วนมีฝีมือสวยงามและประณีต

เครื่ องทองที่พบในกรุ พระปรางค์วดั ราชบูรณะ

You might also like