You are on page 1of 8

การป้ องกันและรักษาเอกราชของชาติ

พระมหากษัตริย์ทรงอยูใ่ นฐานะจอมทัพ
เป็ นผูน
้ าในการทาสงครามเพือ ่ ป้ องกันบ้านเมืองและขยายอานาจ เช่น
-
สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงประกาศอิสระภาพจากพม่าและทาสงคร
ามเพือ่ สร้างความมัน ่ คงและขยายอานาจของกรุงศรีอยุธยา
-
หรือสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงประกาศอิสรภาพจากพม่าและ
ทาสงครามเพือ ่ สร้างความมั่นคงและขยายอานาจของกรุงศรีอยุธยา
หรือสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
ทรงเป็ นผูน้ าขับไล่พม่าหลังเสียกรุงศรีอยุธยาครัง้ ที่ 2
และสถาปนากรุงธนบุรีเป็ นราชธานีแห่งใหม่

การสร้างสรรค์วฒ
ั นธรรมไทย
-ด้านประเพณีและพิธีสาคัญต่าง
ๆ พระมหากษัตริย์ทรงมีบทบาทสาคัญในการสร้างสรรค์พระราชพิธีและข
นบธรรมเนียมประเพณีของชาติไทยมาตัง้ แต่อดีต
ทัง้ พระราชพิธีทเี่ กีย่ วกับพระมหากษัตริย์โดยตรง เช่น
พระราชพิธรี าชาภิเษก พระราชพิธข ี องรัฐ เช่น
พระราชพิธจี รดพระนังคัลแรกนาขวัญ
และพระราชพิธีทางศาสนา ล้วนมีพระมหากษัตริย์ดป็ นผูน ้ าในการปฏิบตั ิ
-
ด้านศาสนา พระมหากษัตริย์ไทยทุกยุคทุกสมัยเป็ นองค์อป ุ ถัมภ์และส่งเสริ
มการเผยแผ่พระพุทธศาสนา ทัง้ การสร้างและบูรณปฏิสงั ขรณ์ ศาสนสถาน
การสังคายนาพระไตรปิ ฏก การแต่งวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา
นอกจากนี้ พระมหากษัตริย์ไทยทรงมีขน ั ติธรรมทางศาสนา
ทรงให้เสรีภาพในการนับถือศาสนาแก่ราษฎร
และทรงสนับสนุนศาสนาอืน ่ ๆ

ด้านวัฒนธรรมการดาเนินชีวต ิ
ในอดีตราชสานักเป็ นศูนย์กลางประเพณี และวัฒนธรรม
พระมหากษัตริย์ทรงเป็ นผูน
้ าในการเปลีย่ นแปลงวัฒนธรรมการ
ดาเนินชีวต
ิ โดยเฉพาะการรับวัฒนธรรมแบบตะวันตก
ครัน
้ ถึงสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรงปลูกฝังเรื่
องชาตินิยม ให้คนไทยมีความรักและจงรักภักดีตอ ่ "ชาติ ศาสน์
กษัตริย์" ซึ่งกลายเป็ นคาขวัญมาจนถึงปัจจุบน ั
ทรงนาประเทศเข้าสูส ่ งั คมนานาชาติในทางวัฒนธรรม
โดยให้คนไทยมีนามสกุลเพือ ่ แสดงถึงความเป็ นชาติทมี่ ีอารยธรร
ม มีการใช้คานาหน้าเด็ก สตรี บุรุษ
ทรงเปลีย่ นการนับเวลาตามแบบสากล 24 นาฬก ิ า
และทรงประดิษฐ์ธงชาติแบบใหม่ เรียกว่า "ธงไตรรงค์"
ให้เหมือนกับธงทีป ่ ระเทศส่วนใหญ่ใช้กน ั

ด้านศิลปกรรม

-
ด้านวรรณกรรม พระมหากษัตริย์ไทยหลายพระองค์ทรงมีพระปรี
ชาสามารถทางการประพันธ์ เช่น
รัชกาลที่ 1ทรงพระราชนิพนธ์บทละครเรือ ่ งรามเกียรติ ์
รัชกาลที่ 2 ทรงพระราชนิพนธ์เรือ ่ งอิเหนา
รัชกาลที่ 5 ทรงพระราชนิพนธ์บทละครเรือ ่ ง เงาะป่ า ไกลบ้าน
รัชกาลที่ 6 ทรงพระราชนิพนธ์วรรณกรรมมากมาย เช่น
นิทานทองอิน มัทนะพาธา รวมทัง้ ทรงแปลบทละครของวิเลียม
เชกสเปี ยร์ เช่น เวนิสวานิช โรมิโอและจูเลียต
รัชกาลที่ 9 ทรงพระราชนิพนธ์เรือ ่ งพระมหาชนก
ทรงแปลเรือ ่ งนายอินทร์ ผูป
้ ิ ดทองหลังพระ ติโต (Tito)
จากต้นฉบับภาษาอังกฤษ เป็ นต้น

-ด้านสถาปัตยกรรม ประติมากรรม
และจิตรกรรม ผลงานด้านสถาปัตยกรรมทีพ ่ ระมหากษัตริย์ไทยห
ลายพระองค์โปรดเกล้า ฯ ให้สร้างขึน ้ มีอยูม
่ ากมาย เช่น
รัชสมัยที่ 1 โปรดเกล้า ฯ
ให้สร้างพระบรมมหาราชวังและวัดพระศรีรตั นศาสดาราม
ซึง่ เป็ นผลงานชิน
้ เอกด้านสถาปัตยกรรมและศิลปกรรมอันเป็ นสม
บัตข ิ องชาติมาถึงปัจจุบน

รัชกาลที่ 2 โปรดเกล้า ฯ ให้สร้างพระเจดีย์ใหญ่ 3
องค์ในวัดพระศรีสรรเพชญ์ ซึง่ ได้รบ ั อิทธิพลจากศิลปะสุโขทัย
รัชกาลที่ 3 โปรดเกล้า ฯ
ให้สร้างโลหะปราสาททีว่ ดั ราชนัดดาราม และโปรดเกล้า ฯ
ให้สร้างและซ่อมแซมพระราชวัง
รัชกาลที่ 5 ได้รบ ั อิทธิพลจากวัฒนธรรมตะวันตก จึงโปรดเกล้า ฯ
ให้สร้างตึกและพระทีน ่ ่ งั ทัง้ แบบตะวันตก
และประยุกต์ระหว่างศิลปะไทยกับตะวันตก เช่น
พระทีน่ ่ งั อนันตสมาคม พระทีน ่ ่ งั จักรีมหาปราสาท
พระทีน ่ ่ งั วิมานเมฆ เป็ นต้น

-ด้านประติมากรรมส่วนใหญ่จะโปรดเกล้า ฯ ให้สร้างพระพุทธรูป
เช่น
สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 โปรดเกล้า ฯ
ให้สร้างพระศรีสรรเพชญ์ประดิษฐานไว้ในวิหารหลวง
วัดพระศรีสรรเพชญ์
รัชกาลที่ 2 โปรดเกล้า ฯ ให้สร้างพระพุทธธรรมิศราชโลกธาตุดลิ ก
พระประธานในพระอุโบสถวัดอรุณราชวราราม
โดยทรงปั้นพระพักตร์ดว้ ยพระองค์เอง
รัชกาลที่ 9 โปรดเกล้า ฯ ให้สร้างพระพุทธรูปบางประทานพร
ภ.ป.ร. รวมทัง้ ทรงสร้างพระพิมพ์สว่ นพระองค์ คือ
พระพิมพ์จต ิ รลดา

-ด้านจิตรกรรม เช่น สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชโปรดเกล้า ฯ


ให้ชา่ งเขียนเขียนสมุดภาพไตรภูมิ
เพือ ่ ให้คนทัง้ หลายประกอบความดีละเว้นความชั่ว
รัชกาลที่ 3 ทรงให้การส่งเสริมช่างฝี มือทุกชาติ
งานจิตรกรรมในรัชสมัยนี้จงึ มีอยูห ่ ลายแห่งทีม่ ีการนาศิลปะจีนเข้า
มาผสม ประตูพระทีน ่ ่ งั อิศราวินิจฉัยในพระราชวังบวรสถานมงคล
มีการประดับลวดลายทีแ ่ ตกต่างไปจากเดิม คือ มีลายต้นไม้
ดอกไม้ นก แมลง และกิเลน
ซึง่ เป็ นสัตว์ในตานานของจีนปรากฏอยูด ่ ว้ ย
รัชกาลที่ 9 ทรงวาดภาพฝี พระหัตถ์ ซึง่ มีทง้ ั แบบเหมือนจริง
(Realism) แบบเอกซ์เพรสชันนิซม ึ (Expressionism)
และแบบนามธรรม (Abstractionism)
-
ด้านนาฏกรรมและการดนตรี นาฏกรรมของไทยเริม ่ มีแบบแผนขึ้
นในสมัยสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสามพระยา)
โดยได้รบ ั อิทธิพลมาจากละครหลวงของเขมรและโปรดให้มีการเล่
นดึกดาบรรพ์ (ซึง่ ต่อมาพัฒนาเป็ นการแสดงโขน)
จนกระทั่งถึงในสมัยสมเด็จพระเจ้าอยูห ่ วั บรมโกศโปรดการเล่นละ
ครอย่างมาก จึงทรงส่งเสริมการละครจนมีความเจริญรุง่ เรือง
นาฏกรรมได้รบ ั การฟื้ นฟูในสมัยรัชกาลที่ 1
และได้รบ ั การส่งเสริมให้เจริญก้าวหน้า ในสมัยรัชกาลที่ 2
ทรงฟื้ นฟูทา่ ราอย่างโบราณทัง้ โขนและละคร
และปรับปรุงท่าราต่าง ๆ ด้วยพระองค์เอง ทรงส่งเสริมการละคร
ซึง่ กลายเป็ นต้นแบบทางการละาครทีส ่ ืบเนื่องมาถึงปัจจุบน

-ด้านการดนตรี รัชกาลที่ 2 ทรงชานาญการเล่นซอสามสาย


ทรงใช้ซอทีพ
่ ระราชทานนามว่า "ซอสายฟ้ าฟาด" ประพันธ์เพลง
"บุหลันลอยเลือ
่ น" หรือ บุหลันลอยฟ้ า" ในสมัยรัชกาลที่ 7
ทรงประพันธ์เพลงราตรีประดับดาว และในสมัยรัชกาลที่ 9
ทรงประพันธ์เพลงพระราชนิพนธ์ไว้จานวนมาก เช่น พรปี ใหม่
ลมหนาว ใกล้รงุ่ สายฝน เป็ นต้น

You might also like