You are on page 1of 16

รายงานการนำเสนอ

เรื่องประวัติศาสตร์
เสนอ
ครูนพนาถ โททุมพล

จัดทำโดย
1.นายกฤตานนท์ พระไตรราช เลขที่ 2
2.นายณัฐวุฒิ โคษา เลขที่ 11
3.นายศิวกร พรหมสาขา ณ สกลนคร เลขที่ 20
4.นางสาวเมริกา ผายเงิน เลขที่ 29
รายงานนำเสนอเป็ นส่วนหนึ่งของรายวิชาประวัติศาสตร์ (ส31103)
ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2565
โรงเรียนท่านผู้หญิงจันทิมาพึ่งบารมี
ประวัติความเป็ นมา อาณาจักร
ทวารวดี

อาณาจักรทวารวดี มีศูนย์กลางอยู่ที่ใดไม่ปรากฏชัด สันนิษฐานว่า


อาจอยู่ที่นครปฐมราชบุรี
หรือสุพรรณบุรี เพราะทัง้ 3 แห่งนีม้ ีร่องรอย เมืองโบราณ ศิลปวัตถุ และ
โบราณสถาน
แบบทวารวดีเหมือนๆ กัน ศิลปวัฒนธรรมของทวารวดีส่วนใหญ่เป็ นไป
ในทางพระพุทธศาสนา
ซึ่งจดหมายเหตุจีนได้ระบุว่า อาณาจักรทวารวดีนม ี ้ ีวัฒนธรรมทาง
พระพุทธศาสนาอย่างสูงมีความเจริญทางด้านการค้ามาก นอกจากนี ้
ตำนานมูลศาสนา และตำนานจามเทวีวงศ์ซึ่งเป็ น
หลักฐานของไทยก็กล่าวถึงความยิ่งใหญ่ของอาณาจักรทวารวดีไว้เช่นกัน
อาณาจักรทวารวดี เจริญรุ่งเรืองขึน
้ ในบริเวณภาคกลางของประเทศไทย
เมื่อประมาณพุทธศตวรรษที่ 12 และได้แผ่อิทธิพลทางวัฒนธรรมที่รับมา
จากอินเดีย
บันทึกการเดินทางของภิกษุจีน
ซึ่งบันทึกไว้ราวพุทธศตวรรษที่ 13 หรือเมื่อประมาณ 1,300 ปี มาแล้ว
กล่าวว่า เป็ นอาณาจักรที่ตงั ้ อยู่ระหว่างอาณาจักรศรีเกษตร(ปั จจุบันอยู่ใน
ประเทศพม่า)และอาณาจักรอิศาน
ปุระ อยู่ในประเทศกัมพูชา ดังนัน ้ อาณาจักรทวารวดีจึงตัง้ อยู่ในดินแดน
ประเทศไทยปั จจุบัน
จากการศึกษาของนักประวัติศาสตร์เชื่อว่าประชาชนของทวารวดีเป็ นชาว
มอญ
อพยพมาจากแถบตะวันตกของจีนลงมาทางใต้ตามลำน้ำโขงและแม่น้ำ
สาละวิน
เข้าสู่พม่าตอนล่าง และดินแดนลุ่มน้ำเจ้าพระยา

เศียรพระพุทธรูป ศิลปะในสมัยทวาร
อาณาจักรทวารวดี เมืองลพบุรี
หลักฐานแสดงความเป็ นมา
ของ
อาณาจั
การศึกษาค้นคว้าของนั กรทวารวดี
กวิชาการในสมั ยต่อมาต่างก็ยอมรับว่า ใน
ดินแดนประเทศไทยมีอาณาจักรทวารวดีเมื่อได้พบเหรียญเงิน 2
เหรียญที่โบราณสถานเนินหิน ใกล้วัดพระประโทนจังหวัดนครปฐม
เมื่อ พ.ศ.2486เหรียญเงินทัง้ สองนัน ้ ด้านหนึ่งมีข้อความจารึกเป็ น
ภาษาสันสกฤตอ่านได้ว่าศรีทวารวดี ศวรปุณยะ ซึ่งแปลเป็ นภาษาไทย
ว่า บุญของผู้เป็ นเจ้าแห่งทวาร
จึงเป็ นสิ่งย้ำว่าอาณาจักรทวารวดีนน ั ้ มีอยู่จริง
หลังจากนัน ้ ได้พบเหรียญที่มีจารึกแบบเดียวกันนีอ ้ ีก เหรียญที่อำเภอ
อู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรีและที่เมืองโบราณบ้านคูเมือง อำเภอ
อินทร์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี แห่งละเหรียญ

ธรรมจักรในสมัยทวารวดี
อาณาเขตและทีต
่ งั ้ ศูนย์กลางอาณาจักรทวารวดี

สันนิษฐานว่า ศูนย์กลางของมอญคือเมืองสะเทิมหรือสุธรรมวดี ตำนานของ


เผ่าต้องซู่ ซึ่งเป็ นกะเหรี่ยงพวกหนึ่งเขียนไว้ว่า “สะเทิมเป็ นเมืองโบราณของ
ต้องซู่ คำว่า สะเทิม มาจากคำว่า สะทูในภาษาต้องซู่ แปลว่า ศิลาแลง
เพราะมีศิลาชนิดนีม ้ ากที่ภูเขาใกล้เมืองสะทู
แต่ตำนานเขียนเพีย ้ นเป็ นสะเทิมอาณาจักรทวารวดีมีอาณาเขตและที่ตงั ้
ตัง้ แต่บริเวณเมืองสะเทิมในพม่า มาถึงประเทศไทยปั จจุบันคือ ภาคกลาง
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคเหนือที่ลำพูนในปั จจุบันศูนย์กลางของ
อาณาจักร ในระยะแรกสันนิษฐานว่าตัง้ อยู่ที่เมืองอู่ทองจังหวัดสุพรรณบุรี
ต่อมาอาจย้ายไปอยู่ที่เมืองนครปฐม หรือไม่ก็อยู่ที่เมืองคูบัว ในเขตจังหวัด
ราชบุรีในปั จจุบัน เนื่องจากบริเวณทัง้ 3 แห่ง ดังกล่าว มีร่องรอยเมือง
โบราณ ศิลปวัตถุ และโบราณสถานแบบทวารวดีเป็ นจำนวนมากเหมือนๆ
กัน แต่ก็ยังสรุปไม่ได้แน่นอนโดยพิจารณาดังนี ้
1.เมืองนครปฐมโบราณ (เมืองพระประโทน หรือเมือง
นครชัยศรี ได้รับการสันนิษฐานว่าน่าจะเคยเป็ นราชธานีของ
อาณาจักรทวาราวดีเจริญรุ่งเรืองขึน
้ ราวพุทธศตวรรษที่ 12 โดย
พิจารณาจากการค้นพบเหรียญเงินถึง 2 เหรียญ ที่มีจารึกว่า ศรี
ทวารวดีศวรปุณยะ ซึ่งแปลว่า บุญของผู้เป็ นเจ้าแห่งทวารวดี เมือง
นครปฐมโบราณ
จึงน่าจะมีความสำคัญมากกว่าเมืองอื่นๆ คำว่า ทวารวดี ที่ปรากฏ
สืบมา อยู่ในสร้อยนามของเมืองหลวงเก่าของไทยในสมัยหลัง เช่น
กรุงเทพทวารวดีศรีอยุธยา ผังเมืองนครปฐมโบราณที่มีขนาดใหญ่
ที่สุดในประเทศไทย การพบจารึกภาษามอญที่เก่าที่สุดโบราณ
สถาน โบราณวัตถุที่พบอย่างมากมาย และโบราณสถานแต่ละแห่ง
ล้วนมีขนาดใหญ่
2. เมืองอู่ทอง สันนิษฐานว่าเมืองอู่ทอง น่าจะเป็ นเมืองหลวงหรือ
ราชธานีอย่างน้อยช่วงระยะเวลหนึ่งโดยพิจารณาจากการพบเหรียญเงินที่
มีจารึกว่า ศรีทวารวดี ศวรปุณยะ จำนวน 2 เหรียญ
ที่อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี เป็ นแห่งเดียวที่พบจารึกกล่าวถึง
พระนามกษัตริย์ คือ
พระเจ้าหรรษวรมัน จารึกอยู่บนแผ่นทองแดง กำหนดอายุจากตัวอักษร
ประมาณพุทธศตวรรษที่ 13-14 เมืองอู่ทอง จึงน่าจะเป็ นเมืองหลวงของ
กษัตริย์พระองค์นโี ้ บราณสถานโบราณวัตถุภายในเมืองและบริเวณใกล้
เคียงที่พบอย่างหนาแน่น โดยเฉพาะโบราณวัตถุสมัยแรกกับอิทธิพล
อินเดีย เช่น ลูกปั ดรูปแบบต่างๆ เหรียญโบราณ เป็ นเมืองที่มีความเจริญ
มานานไม่ขาดสาย ตัง้ แต่สมัยก่อนประวัติศึาสตร์ และเจริญสืบเนื่องต่อ
กันมาถึงสมัยฟูนัน พุทธศตวรรษที่ 6-9 อาจเป็ นเมืองหลวงของฟูนันด้วย
จนถึงสมัยทวาราวดี
3. เมืองลพบุรี โดยพิจารณาจากเหรียญเงินมีจารึกเป็ น
ภาษาสันสกฤตว่า ลวปุระ (หรือละโว้ ชื่อเดิมของเมือง
ลพบุร)ี ที่เมืองอู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี พบโบราณสถาน
โบราณวัตถุเป็ นจำนวนมาก
แนวคิดและทฤษฎีของการเกิดอาณาจักรทวารวดี
ทฤษฎีทวารวดีเป็ นอาณาจักร และมีเมืองเป็ นศูนย์กลางนักวิชาการที่
เชื่อในทฤษฎีนเี ้ ชื่อว่าทวารวดีมีรูปแบบการปกครองเป็ นอาณาจักรและ
มีเมืองในภาคกลาง หรือบริเวณลุ่มแม่น้ำพระยาตอนล่าง เป็ นศูนย์กลาง
อำนาจ อาจเป็ นเมืองนครปฐมโบราณ หรือเมืองอู่ทอง ที่อำเภออู่ทอง
จังหวัดสุพรรณบุรี หรือเมืองลพบุรี
ทฤษฎีทวารวดีเป็ นกลุ่มเมืองหรือรัฐอิสระไม่ขน ึ ้ ต่อกันจากการสำรวจ
และขุดค้นทางโบราณคดีในระยะหลัง นักโบราณคดีได้พบเมืองสมัยทวา
ราวดีมากขึน ้ เรื่อยๆ และยังพบกระจายอยู่ตามภาคต่างๆ ของ
ประเทศไทย ดังนัน ้ จึงเกิดคำถามต่อมาว่า แสนยานุภาพของอาณาจักร
ทวารวดีจะมีจริงหรือไม่ ที่จะควบคุมเมืองต่างๆ ทั่วประเทศได้
ปั จจุบันนักวิชาการส่วนใหญ่เชื่อว่าทวารวดียังไม่มีองค์ประกอบเพียงพอ
กับการเป็ นอาณาจักรใหญ่เพราะว่า
- จากข้อมูลทางโบราณคดี ไม่เคยพบร่องรอยป้ อมค่าย ประตูหอรบ
หรืออาวุธในการสงครามอย่างที่อาณาจักรควรเป็ น
- จากข้อมูลทางเอกสาร ก็ไม่มีการกล่าวถึงการแผ่อำนาจทางการเมือง
เศรษฐกิจของอาณาจักรทวารวดี

ทางการการส่งเสริมด้านสาธารณูปโภค ประชาชนประกอบ
อาชีพทางการเกษตรเลีย ้ งสัตว์ การประมง อีกทัง้ ยังมีฝีมือด้านงาน
ช่างด้านต่าง ๆ ทำการค้าขายกับต่างชาติ เนื่องจากเป็ นแหล่งที่มี
ความอุดมสมบูรณ์ ในบริเวณลุ่มแม่น้ำสำคัญเช่นบริเวณที่ราบลุ่ม
แม่น้ำกลอง ลุ่มแม่น้ำพรรณบุรี ลุ่มแม่น้ำสัก และการค้าขายกับ
เมืองใกล้เคียง โดยเฉพาะกับชาวต่างชาติโดยทางทะเล เช่น อินเดีย
อาหรับ จีน และคาบสมุทรภาคใต้ ยังมีชาวต่างชาติ
เช่น จีนและอินเดีย นำเรือเข้ามาค้าขายและตัง้ ถิ่นฐานชั่วคราว
ผลิตผลที่สำคัญ คือ ข้าว ของป่ า และแร่ธาตุ เมืองที่ตงั ้ อยู่ใกล้ทาง
น้ำออกทางทะเลได้สะดวกจะเป็ นเมืองท่าศูนย์กลางทางการค้าขาย
ส่วนเมืองที่อยู่ลึกเข้าไปจะเป็ นแหล่งรวบรวมสินค้าเพื่อส่งมายัง
เมืองท่าอีกทีหนึ่ง
ลักษณะสังคมและความเป็ นอยู่ของชาวทวารวดี

จากโบราณสถานตามที่ต่างๆ ทำให้ทราบว่าเมืองสมัยทวารวดีมีกำแพงดิน
และคูเมืองล้อมรอบ ภายในเมืองมีสระน้ำ-2 แห่ง บางเมืองมีสระอยู่หน้า
ประตูเมือง ภายในเมืองมีระบบระบายน้ำรางดีแสดงถึงความเป็ นรัฐ
ชลประทานภายในแผ่นดิน โบราณสถานภายในตัวเมืองมีน้อยแต่มีมากอยู่
รอบตัวเมือง จากเครื่องปั ้ นดินเผาและเครื่องประดับพบว่า คนสมัยทวารวดีมี
ใบหน้ากลมและเหลี่ยมริมฝี ปากหนา
บางคนผมหยิก ทัง้ ชายหญิงมีทรงผมที่แปลก สวมตุ้มหูเป็ นห่วงโตบางคน
สวมสร้อยคอหรือห่วงเงิน บ้างใช้ลูกปั ดสีต่างๆ มาประดับกายนุ่งผ้าโจง
กระเบน มีสายคาดที่เอว สวมแหวนทำด้วยสำริด หัวแหวนมีทงั ้ ธรรมดาและ
มีตรา พบว่าพาหนะเป็ นปูนปั ้ นมีทงั ้ สำเภา ช้างม้า เรือสำเภาใช้ค้าขายกับต่าง
ประเทศเพราะพบลูกปั ดมีตรา เป็ นของที่ทำมาจากเมืองจีนหรือประเทศแถบ
ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน
พบไหมีปากผายรอบปากไหมีแถบแดงและขาว เป็ นไหคล้ายกับที่พบใน
แคว้นอีสานปุระ แสดงว่าสมัยเจนละตอนบนและทวารวดีตอนต้นได้มีการ
แหล่งโบราณคดี มีทงั ้ หมด 4 เมือง

1.เมืองคูบัว เป็ นเมืองโบราณอยู่ห่างจากเมือง


ราชบุรีไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ 12 กิโลเมตร
คาดว่าสร้างมาตัง้ แต่พุทธศตวรรษที่ 12 ในอาณาจักร
ทวารวดี และเป็ นหนึ่งในเมืองสำคัญของอาณาจักรนี ้
ลักษณะทางกายภาพของเมืองนัน ้ มีคูน้ำและคันดิน
ล้อมรอบลักษณะเป็ นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า วางตัวใน
แนวทิศเหนือ-ใต้มีลำห้วยธรรมชาติไหลผ่านหลาย
สาย ลำห้วยเหล่านีเ้ ป็ น
ลำห้วยสาขาของลำน้ำสายใหญ่ คือ แม่น้ำอ้อม
(แม่น้ำแม่กลองสายเดิม) และแม่น้ำแม่กลองการ
สำรวจเมืองคูบัวตัง้ แต่ พ.ศ. 2504 พบโบราณสถานที่
ตัง้ อยู่ภายในและภายนอกคูเมืองจำนวน 67
แห่ง กรมศิลปากรดำเนิน
การขุดแต่งแล้วจำนวน 23 แห่ง ส่วนใหญ่เป็ นซาก
2.เมืองศรีมโหสถแหล่งโบราณเมืองศรีมโหสถ เคยเป็ นที่ตงั ้ ของเมือง
ในสมัยโบราณ เมื่อราวพุทธศักราช 300 โดยที่กรมศิลปากรได้ทำการขุด
ค้นและศึกษาหลักฐานต่างๆ ปรับปรุงโบราณสถานมาตัง้ แต่เมื่อปี  พ.ศ.
2529 แหล่งโบราณคดีเมืองศรีมโหสถอยู่ในเขตตำบลโคกปี บ อำเภอศรี
มโหสถ จังหวัดปราจีนบุรี โดยมีที่ตงั ้ อยู่ในบริเวณ 3 หมู่บ้านด้วยกัน
ได้แก่ บ้านสระมะเขือ บ้านโคกวัด และบ้านหนองสะแก เมืองนีม ้ ีช่ อ

เรียกอื่นๆ อีกว่า เมืองอวัธยะปุระ
เมืองโบราณศรีมโหสถแห่งนี ้ อยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของตัวเมือง
ปราจีนบุรี ห่างออกไปประมาณ 20 กิโลเมตรเท่านัน ้ ใกล้ทางหลวงแผ่น
ดินหมายเลข 319 และอยู่ห่างจากตัวอำเมือศรีมโหสถไปทางทิศตะวัน
ออกเล็กน้อย
3.เมืองโบราณดงละคร เป็ นเมืองโบราณสมัยทวาราวดี ตัง้ อยู่ในเขตตำบลดง
ละคร อำเภอเมือง จังหวัดนครนายก
 ห่างจากตัวจังหวัดนครนายกไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ประมาณ 5 กิโลเมตร จุด
สูงสุดของเมืองอยู่ที่เนินดินทางด้านทิศตะวันออก สูงจากระดับน้ำทะเลปานกลาง
34 เมตร
เมืองโบราณดงละครเป็ นเมืองรูปไข่เกือบกลม มีคูน้ำและคันดินโดยรอบ มีเนื้อที่
ประมาณ 3,000 ไร่ และมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 700-800 เมตร เดิมมีแนว
กัน
้ เป็ นคันดินสองชัน้ แต่ปัจจุบันเหลือเพียงชัน
้ นอกชัน
้ เดียว คันดินชัน
้ นอกมีความ
สูงกว่าคันดินชัน้ ใน แต่คันดินชัน้ ในมีความหนามากกว่า ลักษณะการสร้างเมือง
นัน้ ติดกับแม่น้ำนครนายกสายเดิม ซึ่งติดต่อกับชายฝั่ งทะเลได้ เหมาะแก่การ
ค้าขายทางทะเล และยังสามารถทำการเกษตรได้โดยรอบ เป็ นลักษณะเดียวกับ
เมืองโบราณสมัยทวาราวดีในบริเวณใกล้กันของประเทศไทย คาดว่ามีผู้อยู่อาศัย
ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 12-18
และอยู่ในเครือข่ายการค้าขายทางทะเลในสมัยโบราณ
4.เมืองเสมา เป็ นเมืองโบราณอยู่ห่างจากอำเภอสูงเนิน จังหวัด
นครราชสีมาไปทางทิศเหนือ 5 กิโลเมตร คาดว่ามีการอยู่อาศัยตัง้ แต่
สมัยก่อนประวัติศาสตร์ และต่อมาเป็ นเมืองโบราณร่วมสมัยวัฒนธรรม
ทวารวดีและวัฒนธรรมเขมร
ลักษณะทางกายภาพของเมืองนัน ้ มีคูน้ำคันดินล้อมรอบ แผนผังเมือง
เป็ นรูปกลมรีไม่สม่ำเสมอ มีกำแพงเมืองชัน ้ เดียว ลำน้ำสำคัญที่ไหล
ผ่าน คือ ลำตะคองซึ่งไหลผ่านทางทิศใต้ของเมือง และห้วยไผ่ไหลผ่าน
ทางทิศตะวันตกของเมือง เมืองเสมามีลักษณะการสร้างเมืองซ้อนกัน
สองชัน ้ เรียกว่า เมืองนอก–เมืองใน
ต่อมาในปี พ.ศ. 2533 และ พ.ศ. 2542 กรมศิลปากรได้สำรวจและขุด
ค้นเมืองเสมา พบโบราณสถานที่ตงั ้ อยู่ภายในเขตเมืองชัน ้ ในและใน
เขตเมืองชัน ้ นอกจำนวน 11 แห่ง[1]:9–15 ส่วนใหญ่เป็ นซากวิหารที่สร้าง
โดยได้รับอิทธิพลมาจากศาสนาพุทธ ทัง้ ฝ่ ายเถรวาทและมหายาน และ
ศาสนาพราหมณ์ ฝ่ ายไศวนิกาย ที่ได้รับอิทธิพลวัฒนธรรมทวารวดี
และวัฒนธรรมเขมร
ร่องรอยกลุ่มวัฒนธรรมทวารวดี
ปั จจุบันร่องรอยเมืองโบราณ รวมทัง้ ศิลปะ
โบราณ วัตถุสถานและจารึกต่าง ๆ ในสมัยทวารวดีนี ้
พบเพิ่มขึน ้ อีกมากมาย และที่สำคัญได้พบกระจายอยู่
ในทุกภาคของประเทศไทย โดยไม่มีหลักฐานของการ
แผ่อำนาจทางการเมืองจากจุดศูนย์กลางเฉกเช่นรูป
แบบการปกครองแบบอาณาจักรทั่วไป เช่น
 ภาคเหนือ : ที่อำเภอสวรรคโลก อำเภอ
ทุ่งเสลี่ยม จังหวัดสุโขทัย, อำเภอพิชัย จังหวัด
อุตรดิตถ์, จังหวัดลำพูนและ จังหวัดเชียงใหม่
 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ : พบทุกจังหวัด ในแต่ละ
จังหวัดพบมากกว่า 1 แห่งขึน ้ ไป บางจังหวัดพบว่า
มีมากกว่า 7 แห่ง และมีการค้นพบมากขึน ้ เรื่อย ๆ
 ภาคตะวันออก : ที่ดงละคร จังหวัด
นครนายก, จังหวัดปราจีนบุรี, จังหวัดสระแก้วและ
จังหวัดชลบุรี

You might also like