You are on page 1of 7

ปี พ.ศ.

เหตุการณ์
2220 ยุคกรุงศรีอยุธยา ในรัชสมัยของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ได้เปิ ดประเทศติดต่อกับชาติยโุ รปหลายชาติ โดยประเทศฝรั่งเศส
ได้รบั พระบรมราชานุญาตให้เปิ ดสถานีการค้าได้ท่เี มืองสงขลา ต่อมาวิศวกรชาวฝรั่งเศสมีความเห็นว่าเมืองสงขลามีภมู ิประเทศ
ที่อาจจะปรับเส้นทางนา้ ที่มีอยูแ่ ล้วไปทะลุตะนาวศรีและมะริดได้
2336 สมเด็จพระราชวังบวรมหาสุรสีหนาถ พระอนุชาในสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช มีพระดาริเรื่องการขุดคลองเชื่อม
ทะเลสาบสงขลากับทะเลฝั่งอันดามันเพื่อใช้เป็ นเส้นทางส่งกาลังบารุงและเดินทัพเรือ เพื่อป้องกันเมืองทางภาคใต้ฝ่ ังตะวันตก
จากการรุกราน
2401 ในสมัยรัชกาลที่ 4 อังกฤษได้เสนอขอพระบรมราชานุญาต ทาการขุดคอคกระ (แนวระนอง-หลังสวน) ซึ่งเป็ นส่วนที่แคบที่สดุ แม้
จะได้รบั พระบรมราชานุญาต แต่ไม่สามารถดาเนินการได้เนื่องจากขาดเงินทุน
2406 ทีมอังกฤษสารวจของอังกฤษได้ทาการสารวจบริเวณคอคอดกระส่วนที่แคบที่สดุ และได้ขอ้ สรุปว่าการขุดคลองดังกล่าวไม่
เหมาะสมเนื่องจากภูมิประเทศเป็ นภูเขาสูงและเสียค่าใช้จ่ายมาก
2411 มีข่าวลือว่าฝรั่งเศสขอเจรจาเพื่อดาเนินการขุดคลองผ่านคอคอดกระ (เป็ นช่วงเดียวกับการขุดคลองสุเอซในปี 2409-2411) แต่
เพื่อหลักเลี่ยงปั ญหาเรื่องพรมแดนกับอังกฤษ รัฐบาลไทยจึงให้พระนิเทศพาณิชย์ไปเปิ ดเหมืองดีบกุ ที่กระบุรี เพื่อเป็ นการปิ ดข่าว
ลือดังกล่าว
2415 ในสมัยสมัยรัชกาลที่ 5 นาวาเอก เอ. จีลอปตัน ร.น. ตัวแทนรัฐบาลอังกฤษเข้ามาสารวจเส้นทางการขุดคลองกระอีกครัง้ หนึง่ ใน
แนวระนอง-ชุมพร จากการสารวจครัง้ นีไ้ ด้ขอ้ สรุปว่าสามารถขุดได้
2425 เฟอร์ดินาน เดอร์ เลสเซ็ปส์ ผูส้ ร้างคลองสุเอซ และริเริ่มสร้างคลองปานามา ได้เข้ามาทาการสารวจเส้นทางการขุดคลองกระ
ต่อมารัฐบาลฝรั่งเศสได้ขอเข้ามาทาการสารวจการขุดคลองกระ แต่ไม่ได้รบั พระบรมราชานุญาต
2460 สมัยรัชกาลที่ 6 พระองค์ทรงสนพระทัยในเรื่องคลองกระ เพราะทรงเห็นว่าอานวยประโยชน์และความเจริญมาสู่ประเทศอย่าง
มหาศาล แต่เนื่องจากปั ญหาทางการเมืองเช่นเดียวกัน ทาให้ตดั สินพระทัยไม่ทรงอนุญาตให้มกี ารขุดคลองกระ
2477 มีข่าวลือว่าประเทศญี่ปนุ่ ซึง่ เป็ นมหาอานาจในขณะนัน้ สนใจที่จะขุดคลองผ่านคอคอดกระ
2478 นายปรีดี พนมยงค์ ขณะดารงตาแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ได้รอื ้ ฟื ้ นโครงการคลองกระมาพิจารณากรณีเมื่อขุด
คลองแล้วประเทศไทยจะมีอานาจอธิปไตยเหนือคลอง แต่ประเทศไทยมีเงินทุนไม่เพียงพอโครงการคลองกระจึงต้องระงับอีกครัง้
2489 ภายหลังสงครามโลกครัง้ ที่ 2 ไทยต้องลงนามในความตกลงสมบูรณ์แบบเพื่อเลิกสถานะสงครามกับอังกฤษโดยในข้อ7 ระบุหา้ ม
ไทยขุดคลองเชื่อมมหาสมุทรอินเดียกับอ่าวไทย หากมิได้รบั ความยินยอมจากรัฐบาลอังกฤษ ซึ่งเป็ นเครื่องยืนยันความสาคัญ
ของคลองกระต่อสภาวะทางการค้าของแหลมมลายู
2497 ได้มีการยกเลิกความตกลงกับอังกฤษที่ลงนามไว้เมื่อปี 2489
2501 นายปรีดี พนมยงค์ เสนอให้มีการขุดคอคอดกระอีกครัง้
2503 นายเชาว์ เชาว์ขวัญยืน กับคณะในนามของบริษัท แหลมทองพัฒนา เสนอรัฐบาลไทยขอรือ้ ฟื ้ นโครงการคลองกระขึน้ ใหม่ โดย
ขออนุญาตทาการศึกษากิจการคลองกระและท่าเรือ คณะ รัฐมนตรีได้แสดงความเห็นชอบในหลักการตามข้อเสนอถึง 2 ครัง้
2507 สภาความมั่นคงแห่งชาติได้ส่งั ระงับการดาเนินการตามข้อตกลงกับบริษัท แหลมทองพัฒนา เนื่องจากเหตุผลทางด้านความ
มั่นคง และเพื่อหลีกเลี่ยงปั ญหาการแยกดินแดนทางภาคใต้
2513 ด้วยความเห็นชอบจากระทรวงมหาดไทย นายเชาว์ เชาว์ขวัญยืน ได้จา้ งบริษัท แทมส์ (Tippetts-Abbett-McCarthy-Stratton:
TAMS) ศึกษาความเป็ นไปได้ทางเศรษฐกิจของการขุดคลองกระ ผลการศึกษาปรากฏว่าแนวคลองที่เหมาะสมอยู่ทางใต้ คือ
เส้นทางระหว่างสตูล-สงขลา (แนว A5)
2516 ได้มีการนาผลการศึกษา TAMS นาเสนอโครงการขุดคอคอดกระต่อรัฐบาล แต่มกี ารเปลี่ยนแปลงรัฐบาลใหม่เสียก่อน โครงการ
นีจ้ ึงไม่ถกู สานต่อ
2519 - ประเทศอินโดนีเซีย มาเลเซีย และสิงคโปร์ ได้อา้ งสิทธิในช่องแคบมะละกาว่าเป็ นส่วนหนึ่งของน่านนา้ ทาให้กระแสการ
สนับสนุนการขุดคอคอดกระเกิดขึน้ มาอีกครัง้
- มีการสารวจโดยสานักงานพลังงานแห่งชาติ ระบุวา่ แนวที่เหมาะสมและได้ผลว่าแนว "พังงา-บ้านดอน" ระยะทาง 200 กม. มี
ความเหมาะสมมากที่สดุ
2525 - กลุ่ม ส.ส. พรรคชาติไทย โดยนางยุพา อุดมศักด์ ส.ส. พิจิตร เสนอให้มีการขุดคลองกระที่จงั หวัดระนอง โดยเสนอรัฐบาล มี
นายชุมพล ศิลปอาชา เป็ นประธานคณะ กรรมการทบ ทวนศึกษาโครงการขุดคลองกระ แต่ดว้ ยเหตุผลด้านความมั่นคง การ
พิจารณาจึงต้องชะงักไป
- พล.ท. หาญ ลีลานนท์ แม่ทพั ภาคที่ 4 เสนอให้มีการทบทวนโครงการขุดคลองกระ เพื่อสร้างความเจริญแก่พนื ้ ที่ภาคใต้ และ
สภาผูแ้ ทนราษฎรได้ตงั้ คณะกรรมาธิการวิสามัญขึน้ ศึกษาโครงการขุดคลองกระแต่ได้มีการยุบสภาเสียก่อน
2526 สานักงาน Executive Intelligence Review (EIR) และ สถาบัน Fusion Energy Foundation (FEF) จัดสัมมนาเรื่องคอคอดกระ
และความเป็ นไปได้ในประเทศไทย
2527 - สถาบัน Fusion Energy Foundation (FEF) ประเทศสหรัฐอเมริกา ประจาประเทศไทย โดยการสนับสนุนของสถานฑูต
สหรัฐอเมริกาประจาประเทศไทย ได้ติดต่อกับกระทรวงคมนาคม เพื่อจัดสัมมนา นักธุรกิจ นักวิชาการ องค์กรภาครัฐที่เกี่ยวข้อง
เพื่อระดมความคิดเกี่ยวกับการขุดคอคอดกระ และทารายงานเสนอต่อนักลงทุนชาวอเมริกนั นายสมัคร สุนทรเวช
รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงคมนาคม ให้การสนับสนุนอย่างเต็มที่
- ในปี นนั้ การรือ้ ฟื ้ นการศึกษาโครงการขุดคอคอดกระดาเนินไปด้วยดีแต่ได้เกิดปั ญหาในพรรคร่วมรัฐบาล พล.อ. เปรม ติณสูลา
นนท์ นายกรัฐมนตรี ประกาศยุบสภาเสียก่อน
2528 - สถาบัน Fusion Energy Foundation (FEF) ร่วมกับ Global Infrastructure Fund Research Foundation Japan (GIF) ได้
เสนอกระทรวงคมนาคมที่จะทาการศึกษาด้านเศรษฐกิจ โดยเสนอการขุดคอคอดกระสาหรับเรือขนาด 300,000 ตัน 2 ช่องทาง
เดือนเรือ ค่าขุดแบบเครื่องจักรกล 17.99 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ แต่หากขุดโดยใช้นิวเคลียร์ตน้ ทุนจะอยู่ท่ี 9.7 พันล้านดอลลาร์
สหรัฐฯ (ตามค่าเงินก่อนปี 2528)
- สภาผูแ้ ทนราษฎรได้มีการแต่งตัง้ คณะกรรมาธิการวิสามัญขึน้ คณะหนึ่งซึ่งเป็ นตัวแทนจากทุกพรรคการเมืองรวม 25 คน เพื่อ
ทาการศึกษาการขุดคอคอดกระ (แต่คณะกรรมาธิการชุดนีต้ อ้ งยุตกิ ารดาเนินการไปเนื่องจากการยุบสภาในปี 2529)
2529 - มีข่าวว่าประเทศญี่ปนุ่ และสหรัฐอเมริกาขอเป็ นผูล้ งทุนขุดคอคอดกระ แต่ ดร. บุญรอด บิณฑสันต์ หัวหน้ากลุ่มนักวิชาการ
ออกมาแสดงความเห็นไม่เห็นด้วยและไม่ยอมให้ต่างชาติประเทศใดเป็ นผูล้ งทุนในโครงการนี ้ โดย ดร. บุญรอด บิณฑสันต์ และ
นักวิชาการกลุ่มนี ้ ได้ทารายงานแนวความคิดในทฤษฎีใหม่ เกี่ยวกับคอคอดกระเสนอต่อรัฐบาล โดยให้ขดุ คอคอดกระเป็ น
โครงการที่เกิดจากความร่วมมือในระดับคาบสมุทร โดยเฉพาะในด้านเงินทุนและเทคโนโลยี แต่ตอ้ งดาเนินการโดยคนไทย และ
ประเทศเป็ นหลักสาคัญ และได้เปลี่ยนชื่อจากโครงการคอคอดกระเป็ น “โครงการพัฒนาคาบสมุทรแหลมทอง” แต่รฐั บาลพล.อ.
เปรม ติณสูลานนท์ ไม่มีการตอบกลับ
- สภาผูแ้ ทนราษฎร ได้ตงั้ คณะกรรมาธิการวิสามัญชุดใหม่ขนึ ้ มาทาหน้าที่สานต่อการทางานของคณะกรรมาธิการชุดที่แล้ว (ชุด
ปี 2528) โดยมีนายวัฒนา อัศวเหม ส.ส. สมุทรปราการ เป็ นประธาน
2530 - นายทหารระดับสูง 3 เหล่าทัพ ศึกษาดูงานคลองสุเอซ และคลองปานามา รวมทัง้ ศึกษาเทคโนโลยีการสร้างเขื่อน และระบบ
การควบคุมนา้ ในเขื่อนเนเธอร์แลนด์ เพื่อนามาประยุกต์ใช้ดว้ ย
- แม้การศึกษาโครงการขุดคอคอดกระในยุค พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ ก้าวหน้าด้วยดี แต่เกิดวิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจ ลด
ค่าเงินบาท ทาให้เกิดปั ญหาเงินลงทุนเป็ นอุปสรรคสาคัญ เงินลงทุนจากต่างประเทศ ภาวะเศรษฐกิจทั่วโลกตกต่า โยงใยเป็ น
ขบวนการลูกโซ่ ทาให้การศึกษาโครงการขุดคอคอดกระหยุดชะงักไปอีก
2531 - พล.อ.ชาติชาย ชุณหวัณ นายกรัฐมนตรี ได้สนับสนุนโครงการขุดคอคอดกระอย่างชัดเจน โดยเน้นนโยบายให้ต่างชาติเข้ามา
ลงทุนในลักษณะของสัมปทานเก็บเกี่ยวผลประ โยชน์ตอบแทนจากรัฐบาล
- มีข่าวว่าบริษัทจากประเทศญี่ปนุ่ ไต้หวัน และเยอรมันนี ขอเข้ามาลงทุน โดยเฉพาะประเทศญี่ปนุ่ ได้ย่ืนข้อเสนอต่อรัฐบาลเป็ น
ประเทศแรก โดยบริษัทเอกชนญี่ปนุ่ ชื่อ DIALCHISOGYO ได้ทาหนังสือลงนามโดยนายทากา คิโยชิ ประธานกรรมการเสนอต่อ
พล.อ.ชาติชาย ชุณหวัณ
2532 สมาคมวิทยาศาสตร์ไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ โดยชมรมอาสาสมัครเพื่อให้ความช่วยเหลือทางวิทยาศาสตร์และเทคโลโลยีแก่
ประชาชน (อชวท.) ได้ประมาณการค่าลงทุนในการขุดครองตามแนว 5A โดยนามูลค่าการลงทุนที่บริษัท TAMS คานวณไว้มา
ประเมินการลงทุน คาดว่าจะใช้เงินไม่ต่ากว่า 300,000 บาท
2533 มีข่าวว่ากลุ่มผูม้ ีอานาจทางเศรษฐกิจของญี่ปนุ่ พร้อมสนับสนุนโครงการขุดคอคอดกระ แต่ พล.อ.ชาติชาย ชุณหวัณ กลับเน้นไป
ที่การเปิ ดประตูอินโดจีนมากกว่า จึงได้ความสาคัญกับโครงการ “อิสเทิรน์ ซีบอร์ด” หรือ โครงการพัฒนาชายฝั่งทะเลภาค
ตะวันออกเป็ นอันดับหนึ่ง และทุม่ เทเวลาเกือบทัง้ หมดในการสนับสนุนโครงการนี ้ ส่วนโครงการขุดคอคอดกระได้รบั ความสาคัญ
เป็ นอันดับรอง จึงไม่รีบเร่งในการพิจารณา
2535 พล.อ.สุจินดา คราประยูร เป็ นนายกรัฐมนตรี ไม่ได้ให้ความสนใจโครงการขุดคอคอดกระจนกระทั่งเกิดเหตุการณ์ “พฤษภา
ทมิฬ” ซึ่ง พล.อ.สุจินดา คราประยูร ได้ลาออกจากการเป็ นนายกรัฐมนตรีในเวลาต่อมา
จากนัน้ มีการเลือกตัง้ สมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎร และนายชวน หลีกภัย หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ เป็ นนายกรัฐมนตรี ต่อมาเมื่อ
วันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2535 มูลนิธิเพื่อการศึกษาคอคอดกระจัดตัง้ โดยความร่วมมือขององค์กรเอกชนหลายแห่งประกาศ
ตัง้ ขอรับการสนับสนุนจากรัฐบาลเป็ นผูศ้ กึ ษารวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับโครงการคอคอดกระทัง้ ระบบ แต่เนื่องจากท่าที่ของรัฐบาล
ที่มีพรรคประชาธิปัตย์เป็ นแกนนานัน้ ยังมีสมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎรภาคใต้ของพรรคประชาธิปัตย์บางคนแสดงความเห็นทานอง
คัดค้าน ด้วยเหตุผลอาจทาให้เกิดความสับสนสาหรับนักลงทุนชาวต่างประเทศระหว่างโครงการเซาท์เทิรน์ ซีบอร์ดกับโครงการ
ขุดคอคอดกระมูลนิธิฯ จึงระงับการยื่นขอเสนอดังกล่าว
2537 รัฐบาลซึ่งมี นายชวน หลีกภัย เป็ นนายกรัฐมนตรีไม่ได้ให้ความสนใจกับโครงการขุดคอคอดกระเนื่องจากให้ความสนับสนุน
สนใจกับโครงการสร้างท่าอากาศยานสากลแห่งที่ 2 (สนามบินหนองงูเห่า) ที่จงั หวัดสมุทรปราการ จนกระทั่งรัฐบาลมีปัญหา
เรื่องต่างๆ จึงประกาศยุบสภาผูแ้ ทนราษฎร
2540 - พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ นายกรัฐมนตรี มอบหมายให้นายพินิจ จารุสมบัติ รัฐมนตรีชว่ ยว่าการกระทรวงคมนาคมศึกษาเรื่อง
โครงการขุดคอคอดกระ โดยพล.อ.ชวลิตมีดาริและให้นโยบายไว้วา่ ในยามที่ภาวะเศรษฐกิจอยู่ในช่วงวิกฤตควรจะรีบดาเนินการ
โครงการเพื่อให้มเี งินทุนจากต่างประเทศเข้าเข้ามาในประเทศและจะก่อให้เกิดการสร้างงานกับประชาชนมากขึน้
- นายเด่น โต๊ะมีนา ประธานที่ปรึกษานายกรัฐมนตรีดา้ นกิจการภาคใต้ในขณะนัน้ ระบุกบั สื่อมวลชนว่าได้รวบรวมข้อมูลและ
ผลักดันให้มีการสานต่อในโครงการก่อสร้างคอคอดกระ หวังฟื ้ นเศรษฐกิจไทยด้วยการหานักลงทุนต่างประเทศนาเงินเข้ามา
ลงทุน โดยรัฐบาลถือหุน้ 51% เผยจุดที่เหมาะสมที่สดุ คือจากระนองไปหลังสวน คาดใช้งบลงทุนไม่ต่ากว่า 5 แสนล้านบาท
2541 - สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจแห่งชาติ ได้วิเคราะห์ความเป็ นไปได้เปรียบเทียบการขุดคอคอดกระและโครงการ
พัฒนาพืน้ ที่ชายฝั่งทะเลภาคใต้ โดยประมวลการศึกษาโครงการขุดคอคอดกระของ TAMS มาแล้วสรุปได้ว่าโครงการขุดคอคอด
กระต้องใช้เงินลงทุนสูงถึง 500,000-810,000 ล้านบาท
- คณะกรรมาธิการฯ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีฯ ได้เสนอแนวขุดคลองใหม่คือ แนวบริเวณหลังสวน-กระเปอร์ ซึ่งมีคลอง 2
คลอง และมีพนื ้ ที่เชื่อมระหว่างคลองยาวประมาณ 12 กม. แนวการขุดบนพืน้ ดินทัง้ หมด 90-120 กม. แนวนา้ ลึก 25 เมตร เรือ
ขนาด 247,000 ตันผ่านได้ แต่ยงั ไม่มีหลักฐานชีช้ ดั ถึงความเหมาะสมการลงทุนของโครงการนีไ้ ด้
- คณะทางานศึกษาสารวจขุดคลองเชื่อมทะเลอ่าวไทย-อันดามัน ชมรมอาสาสมัครให้ความช่วยเหลือทางวิทยาศาสตร์ และ
เทคโนโลยีแก่ประชาชน สมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ นาคณะมาศึกษาหาข้อมูลและ
ข้อเสนอแนะความคิดเห็นประชาชนในพืน้ ที่ อ.หลังสวน จ.ชุมพร มีประชาชน ส่วนราชการ นักธุรกิจและผูท้ ่เี กี่ยวข้องเข้าร่วม
แสดงความคิดเห็นกว่า 200 คนเกี่ยวกับการขุดคลองคอคอดกระเชื่อม 2 ฝั่งทะเลบริเวณ อ.หลังสวน จ.ชุมพร จากอ่าวไทยสู่
ทะเลอันดามันฝั่ง จ.ระนอง เพื่อนาข้อมูลที่ได้ไปประชุมสัมมนาระดมความคิดเห็นจากหลายฝ่ ายเพื่อเสนอต่อรัฐบาลในการ
ตัดสินใจให้การสนับสนุนโครงการขุดคอคอดกระ
- กระทรวงคมนาคมได้ตงั้ คณะกรรมการพิจารณาความเป็ นไปได้ในการขุดคลองกระ เห็นว่าโครงการขุดคอคอดกระไม่มี
ข้อสนับสนุนทางเศรษฐกิจ ควรหาข้อยุตวิ ่าจะขุดหรือไม่ขดุ โดยเร็ว และให้กระทรวงคมนาคมจัดทาโครงการขอความช่วยเหลือ
จากต่างประเทศ
- นายเชียรช่วง กัลยาณมิตร ประธานบริหารบริษัทที่ปรึกษาและบริหารโครงการหรือพีซีแอนด์เอ็ม ระบุกบั สื่อมวลชนว่าอยู่
ระหว่างการจัดทารายละเอียดโครงการขุดคลองคอดกระ บริเวณด้านใต้จ.ชุมพร เป็ นการสานโครงการต่อจากนายเชาว์ เชาว์
ขวัญยืน ในฐานะสมาชิกสมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ เพื่อก่อให้เกิดการลงทุนในประเทศและ
เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบนั โดยจะจัดทารายละเอียดเสนอต่อนักลงทุนชาวต่างชาติหรือฟันเดอร์จานวน 3,000 ราย
เนื่องจากในสภาพปั จจุบนั การลงทุนโครงการใหญ่จะต้องอาศัยการเข้ามาลงทุนของนักลงทุนชาวต่างชาติมากกว่าที่รฐั บาลไทย
จะเป็ นผูด้ าเนินการซึ่งนอกจากจะเป็ นการประหยัดงบประมาณรัฐ
- พล.ร.อ.สุวฒ ั นชัย เกษมสุข ผบ.ทร. ระบุกบั สื่อมวลชนว่าหากมีการขุดคอคอดกระแล้วก็จะเกิดประโยชน์อย่างมหาศาล
โดยเฉพาะกับกองทัพเรือ ที่จะทาการเคลื่อนย้ายกาลังได้อย่างสะดวก และรวดเร็ว แต่ทกุ อย่างต้องดูทงั้ เรื่องผลกระทบด้าน
ความมั่นคง ผลประโยชน์ดา้ นเศรษฐกิจและการลงทุน ว่าจะคุม้ ทุนหรือไม่ ซึ่งในเรื่องของความมั่นคงนัน้ พล.ร.อ.สุวฒ ั นชัย ระบุ
ว่าไม่นา่ เป็ นห่วง
- นายภูษณ ปรียม์ าโนช รองประธานสถาบันนโยบายสังคมและเศรษฐกิจ เสนอแนะทางฟื ้ นฟูเศรษฐกิจ10 ประการ โดย
ประเด็นหนึ่งเห็นว่ารัฐบาลควรจะฟื ้ นโครงการขุดคอคอดกระหรืออาจจะทาถนน 4-6 ช่องจราจร เชื่อมระหว่างฝั่งอ่าวไทย กับ
ทะเลอันดามัน ที่อาจจะใช้พนื ้ ที่กระบี่ ตรัง นครศรีธรรมราช เพื่อใช้ประโยชน์ในการขนถ่ายนา้ มันและสินค้าอื่นๆ แต่หาก
ประเทศไทยไม่มีเงินลงทุน ก็อาจจะแก้ปัญหาด้วยการให้ตา่ งชาติมาร่วมทุนก็ได้
- นายศุภชัย พานิชภักดิ์ รองนายกรัฐมนตรี ระบุกบั สื่อมวลชนว่า การขุดคอคอดกระต้องใช้งบประมาณมหาศาล ก่อให้เกิด
หนีส้ ินมากมายและต้องหาเงินไปชาระคืนเงินกู้ IMF หากรัฐบาลมีรายได้ไม่พอหรือเกิดปั ญหาจะเกิดความเสี่ยงสูง เพราะฉะนัน้
โครงการที่จะก่อให้เกิดหนีส้ ินมากๆ หรือไม่จาเป็ นอย่างโครงการขุดคอคอดกระควรชะลอไว้ก่อน
- พรรคความหวังใหม่ ซึง่ เป็ นพรรคฝ่ ายค้านในขณะนัน้ ระบุวา่ จะนานโยบายเรื่องการขุดคอคอดกระนาเสนอต่อประชาชนใน
พืน้ ที่ภาคใต้ในการเลือกตัง้ ครัง้ ต่อไป
2542 - นายสุวโรช พะลัง สมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎร จ.ชุมพร ยื่นญัตติในสภา โดยระบุว่าประเด็นการขุดคอคอดกระเป็ นที่สนใจของพี่
น้องชาวภาคใต้เป็ นอย่างยิง่ และก่อให้เกิดความสับสนมาก เนื่องจากรัฐบาลยังไม่มีท่าทีท่ชี ดั เจน กลุ่มสมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎร
จากภาคใต้ส่วนหนึ่ง ซึง่ ประกอบด้วย นางอัญชลี วานิชเทพบุตร นายสาทิตย์ วงศ์หนองเตย นายไพร พัฒโน นายวิทยา แก้วภ
ราดัย นายสนั่น สุธากูล และตน ได้รว่ มกันยื่นญัตติดว่ นต่อสภาผูแ้ ทนราษฎรเพื่อให้สภาฯ ร่วมกันพิจารณาถึงความเป็ นไปได้
ของโครงการดังกล่าว และผลดี ผลเสียของประเทศ และรัฐบาลรับไปพิจารณาต่อไป ในญัตติได้ระบุถึงการศึกษาโดยสังเขป ของ
สานักงานกรรมการการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ว่าโครงการดังกล่าวต้องใช้เงินลงทุนถึง 8 แสนล้านบาท และใช้เวลาขุดถึง
10-15 ปี จึงจาเป็ นอย่างยิ่งที่ควรจะให้มกี ารศึกษาลงในรายละเอียดของผลกระทบที่เกิดขึน้ ในหลายด้าน และจะได้ให้
สมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎรทัง้ สภาฯจะได้แสดงความคิดเห็นด้วย นอกจากนัน้ ยังมีสมาชิกสภาฯ ให้ความสนใจญัตติดงั กล่าวอีก
จานวนมาก
- พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ ผูน้ าฝ่ ายค้าน หัวหน้าพรรคความหวังใหม่ ในฐานะนายกสมาคมวัฒนธรรมและเศรษฐกิจไทย-จีน เป็ น
เจ้าภาพเลีย้ งอาหารค่าแก่นายหลี่ เผิง ประธานสภาสาธารณรัฐประชาชนจีน มีการระบุวา่ ในการพูดคุยกันนัน้ มีการระบุว่าหาก
พรรคความหวังใหม่ได้กลับมาเป็ นแกนนาจัดตัง้ รัฐบาลความร่วมต่างๆ ที่เคยตกลงกันไว้ก็จะมีการดาเนินการทันที อาทิ การ
พัฒนาภูมิภาคนีใ้ ห้เป็ นตลาดการเกษตร การพัฒนาสนามบินอูต่ ะเภาให้เป็ นศูนย์ซ่อมเครื่องบินในเอเชีย การวางรางรถไฟใน
ภาคอีสานจากอุบลราชธานีไปลาว และการขุดคอคอดกระ
- คณะกรรมาธิการพิจารณาการขุดคอคอดกระ ในกรรมาธิการการทหาร สภาผูแ้ ทนราษฎร ระบุว่าผลประโยชน์จากการขุด
คลองกระ จะเป็ นการสร้างองค์ประกอบสาคัญของสมุทรทานุภาพ ให้เกิดขึน้ กับประเทศไทย คือจะทาให้ประเทศไทยมีท่ตี งั้ อยู่
บนเส้นทางเดินเรือของโลก เกิดผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจอย่างมหาศาลจากการพัฒนาแรงงานและอุตสาหกรรมต่อเนื่องอื่ น ๆ
นับได้ว่าความสมบูรณ์ทางเศรษฐกิจครบวงจร โดยมีการประมาณการว่าหากขุดคอคอดกระจะมีการจ้างงานถึง 3 ล้านคน
- มีข่าวว่า Global Infrastructure Fund Research Foundation Japan (GIF) ซึง่ เป็ นองค์กรภาคเอกชนจากประเทศญี่ปนุ่ ที่ทา
วิจยั โครงสร้างพืน้ ฐานสาธารณูปโภคขนาดใหญ่ของโลก ให้การสนับสนุนการศึกษาความเป็ นไปได้ขนั้ ต้นของโครงการขุดคลอง
กระ
2543 - สภาผูแ้ ทนราษฎร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ หาดใหญ่และราชบัณฑิตสถาน ร่วมกันจัดสัมมนาเรื่อง "คลองกระ-ชาติและ
ท้องถิ่นน่าจะได้อะไร" ในเวทีมีการระบุว่าการเกิดคลองกระ จะทาให้เป็ นศูนย์กลางการเดินเรือของโลก การขนส่งทางบกที่มา
จากทางตอนใต้ของประเทศจีน และจะกลายเป็ นศูนย์กลางการลงทุนด้านอุตสาหกรรมจะเพิม่ มากขึน้ โดยการเกิดของคลอง
กระในระยะ 30 ปี จะ เกิดการลงทุนด้านอุตสาหกรรมกว่า 800,000 ล้านบาท ขณะที่ปัจจุบนั มีเพียง 78,000 ล้านบาท การจ้าง
แรงงานกว่า 3 ล้านคน ปั จจุบนั มีเพียง 1.72 ล้านคน โดยเฉพาะมูลค่าที่ดินจะเพิ่มขึน้ เป็ น 30,000 บาทต่อไร่ จากเดิมมีคา่ เพียง
4,000 บาทต่อไร่
2544 - ร.ต.ตระกูล พุ่มเสนาะ ผจก. บริษัท สานักงานที่ปรึกษาเกี่ยวกับกิจการพาณิชย์นาวี จากัด ระบุกบั สื่อมวลชนว่า "ผมกล้าพูด
ได้ว่าโครงการขุดคอคอดกระ เป็ นโครงการที่โง่ท่สี ดุ " โดยชีใ้ ห้เห็นว่าเป็ นโครงการที่ไม่เหมาะสม เพราะไม่คมุ้ ค่าการลงทุน 1
ล้านล้านบาทในเวลานีเ้ พราะย่นระยะทางที่ตอ้ งไปผ่านช่องแคบมะละกาเพียง 80 ไมล์ จากจุดเปลี่ยนเส้นทางเดินเรือไป
ตะวันออกไกล ซึ่งอยู่ท่หี ลายแหลมญวน หรือประมาณ 1 วันเท่านัน้ จึงเชื่อว่าสายเดินเรือจะไม่ใช่บริการเพราะไม่คมุ้ ค่า และ
การผ่านช่องแคบมะละกาสะดวกเสียและค่าใช้จา่ ยไม่มาก
- วุฒิสภาชุดปี 2543 ได้ตงั้ คณะกรรมาธิการวิสามัญเพื่อศึกษาความเป็ นไปได้ของโครงการขุดคอคอดกระ
- พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ รองนายกรัฐมนตรี ยังคงสนับสนุนการขุดคอคอดกระ ด้านสานักงบประมาณระบุวา่ ต้องใช้เงินถึง
700-800 ล้านบาท ในการทาการศึกษาความเป็ นไปได้ของโครงการครัง้ ใหม่
- สมัยรัฐบาล พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร คณะรัฐมนตรีได้มมี ติเมื่อวันที่ 11 กันยายน 2544 เห็นชอบให้ดาเนินการศึกษาความ
เป็ นไปได้ของการขุดคอคอดกระเพื่อแก้ปัญหาวิกฤตเศรษฐกิจและสังคม
2545 - นายวิโรจน์ อมตกุลชัย ประธานคณะกรรมาธิการเศรษฐกิจพาณิชย์และอุตสาหกรรมวุฒิสภา ในฐานะประธานด้านเศรษฐกิจ
ศึกษาความเป็ นไปได้เกี่ยวกับโครงการขุดคอคอดกระ ระบุวา่ แนวที่ศกึ ษาในโครงการขุดคอคอดกระ แนวด้านจังหวัดระนอง-
ชุมพร เป็ นหนึ่งใน 5 แนวของภาคใต้
- ประธานคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาโครงการคอคอดกระ วุฒิสภา ระบุวา่ โครงการคอคอดกระนัน้ มีหลายประเทศ
ที่สนใจจะร่วมลงทุนโดยเฉพาะประเทศจีนญี่ปนุ่ อิหร่าน และประเทศสิงคโปร์
- นายคานวณ ชโลปถัมภ์ ในฐานะผูแ้ ทนรัฐสภาไทย ได้ไปเสนอแนวความคิดในการขุดคอคอดกระ ใช้ช่ือว่า "คลองไทย" โดย
กล่าวสุนทรพจน์ในการประชุมสมาคมรัฐสภาเอเชียเพื่อสันติภาพ ณ มหาศาลาประชาคมกรุงปั กกิ่งเมืองชงชิง สาธารณรัฐ
ประชาชนจีน ซึ่งมีผแู้ ทนจากประเทศต่างๆ ในภูมิภาคเอเชียเข้าร่วมประชุม 42 ประเทศ
- คณะกรรมการแห่งชาติเพื่อการขุดคอคอดกระในการแก้ไขปั ญหาวิกฤติเศรษฐกิจและสังคม ที่มี พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ รอง
นายกรัฐมนตรีและ รมว.กลาโหม เป็ นประธานว่า ยังไม่สามารถหาข้อยุตวิ ่าจะเลือกบริษัทเอกชนรายใดทาการศึกษาความ
เป็ นไปได้ในการขุดคอคอดกระเชื่อมระหว่างมหาสมุทรอินเดียกับมหาสมุทรแปซิฟิก เพราะมี 3-4 บริษัทแสดงความจานงและส่ง
รายละเอียดมาให้คณะกรรมการฯ พิจารณาเป็ นจานวนมาก ทาให้ตอ้ งมีการชะลอการตัดสินใจออกไปก่อนเพื่อเปรียบเทียบ
ข้อเสนอของแต่ละแห่ง
- สานักวิจยั เอแบคโพลล์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ได้สารวจความคิดเห็นประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑลที่มถี ่ิน
กาเนิดในภูมิภาคต่างๆ ต่อการขุดคลองกระ (คอคอดกระ) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่รอ้ ยละ 72.5 เห็นว่าในโครงการดังกล่าวจะมี
ผลดีและผลเสียพอๆ กัน ขณะที่รอ้ ยละ 28.1 เห็นว่าเป็ นผลดีและร้อยละ 23.8 เห็นว่าเป็ นผลเสีย โดยประชาชนในภาคใต้เห็นว่า
มีผลเสียมากที่สดุ ถึงร้อยละ 30.8
- ในสมัยที่ พล.อ. ชวลิต ยงใจยุทธ ดารงตาแหน่งรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม
2545 ได้ลงนามทาสัญญาเพื่อศึกษาความเป็ นไปได้ในการขุดคอคอดกระ ระหว่างบริษัท Phuket Pass Project, Ltd. (จด
ทะเบียนในประเทศฮ่องกง)
2546 - เดือนมกราคม 2546 พล.อ. ชวลิต ยงใจยุทธ ลงนามในบันทึกความเข้าใจร่วมกับ นายอดิศกั ดิ์ เตชะอดิศกั ดิ์ ประธานบริษัท
Phuket Pass Project, Ltd. โดยมีออสเตรเลียและญี่ปนุ่ เป็ นผูศ้ กึ ษาความเป็ นไปได้
- บริษัท Phuket Pass Project, Ltd. สนับสนุนเงินในการศึกษาความเป็ นไปได้ในการขุดคอคอดกระจานวน 50 ล้านดอลลาร์
สหรัฐฯ ให้กบั คณะกรรมการแห่งชาติเพื่อการขุดคอคอดกระในการแก้ไขปั ญหาวิกฤติเศรษฐกิจและสังคม ป่ านไปยัง "มูลนิธิ
คลองไทย" ที่มี พล.อ. เทียนชัย ศิรสิ มั พันธ์ เป็ นประธาน โดยแบ่งจ่าย 4 งวด จ่ายงวดแรกเดือนในมีนาคม 2546 เป็ นเงิน 42
ล้านบาท (1 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ) ซึ่งเงินที่เหลือจะต้องมีการระดมทุนจากทั่วโลกอีก 49 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ตามที่บริษัท
Phuket Pass Project, Ltd. ทาสัญญาไว้กบั มูลนิธิคลองไทย (แต่หลังจากนัน้ ไม่มีการจ่ายเงินงวดต่อไปเนื่องจากคณะกรรมการ
แห่งชาติเพื่อการขุดคอคอดกระในการแก้ไขปั ญหาวิกฤติเศรษฐกิจและสังคมสั่งชะลอโครงการ)
- กรรมการมูลนิธิคลองไทยยอมรับว่ามีการยืมเงินมูลนิธิฯ ไปใช้จริง โดยพล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ รองนายกรัฐมนตรี ในฐานะ
ประธานคณะกรรมการสั่งให้ตรวจสอบเรื่องนี ้
- นายนิยม วรปั ญญา และนายระวัง เนตรโพธิ์แก้ว สมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎร เสนอญัตติ เรื่อง ขอให้สภาฯ ตัง้
คณะกรรมาธิการวิสามัญ เพื่อสารวจและศึกษาความเป็ นไปได้ในการขุดคอคอดกระ
- พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี เปิ ดเผยระหว่างการเป็ นประธานประชุมเชิงปฏิบตั ิการยุทธศาสตร์พลังงาน เรื่ อง
"พลังงานเพื่อการแข่งขันของประเทศไทย" ว่ารัฐบาลชุดนีพ้ ร้อมจะทุ่มงบประมาณ 900,000 ล้านบาท ลงทุนปรับปรุงโครงสร้าง
คมนาคมของประเทศไทยด้วยการพลิก โฉมหน้าระบบขนส่งของประเทศทัง้ ระบบ โดยจะเดินหน้าสานต่อโครงการสะพาน
เศรษฐกิจ (แลนด์บริดจ์) แทนโครงการขุดคอคอดกระ
2548 - คณะกรรมาธิการวิสามัญเพื่อศึกษาความเป็ นไปได้ของโครงการขุดคอคอดกระ วุฒิสภา ชุดปี 2543 (ที่ตงั้ คณะกรรมาธิการฯ
เมื่อปี 2544) ได้รายงานผลการศึกษาของต่อที่ประชุมวุฒิสภามีสาระสาคัญให้เรียกชื่อคลองว่า "คลองไทย" และบริเวณที่ขดุ มิใช่
คอคอดกระ เนื่องด้วยเหตุผลทางวิศวกรรมศาสตร์ อันได้แก่สภาพพืน้ ที่ท่ตี อ้ งขุดที่คอคอดกระนัน้ เป็ นหินและภูเขา และความ
มั่นคงเนื่องจากบริเวณคอคอดกระอยู่ท่ชี ายแดนพม่าปากแม่นา้ กระบุรี บริเวณที่วฒ ุ ิสภาเห็นว่ามีความเป็ นไปได้และเกิด
ประโยชน์สงู สุดในการขุดคลองไทย คือ เส้นทาง 9A ผ่านจังหวัดกระบี่ ตรัง พัทลุง นครศรีธรรมราช และสงขลา ระยะทาง 120
กิโลเมตร และวุฒิสภาเห็นชอบเป็ นเอกฉันท์ให้ขดุ คลองไทยเมื่อ วันศุกร์ ที่ 24 มิถนุ ายน 2548 แต่รฐั บาลในขณะนัน้ และรัฐบาล
ต่อๆ มาก็ไม่มีการตอบสนองใดๆ
2550 - พรรคประชาราช ที่มีนายเสนาะ เทียนทอง เป็ นหัวหน้าพรรค ประกาศนโยบายหาเสียรือ้ ฟื ้ นการขุดคอคอดกระ ยา้ หากได้เป็ น
รัฐบาลจะผลักดันเป็ นเรื่องด่วนเพื่อให้มีการศึกษาผลกระทบให้เสร็จภายใน 2-3 ปี
- พรรคมัฌชิมาธิปไตย ที่มีนายประชัย เลี่ยวไพรัตน์ เป็ นหัวหน้าพรรค เสนอนโยบายการขุดคอคอดกระเป็ นนโยยายหาเสียง
เลือกตัง้ โดยระบุว่า จะขุดแถวจังหวัดตรังไปทะลุจงั หวัดสงขลา รูปทรงคลองขุดจะคล้ายตัวเอส ตรงนีต้ อ้ งสารวจเส้นทางที่ใช้เงิน
เวนคืนน้อย และขุดก็นา่ จะคุม้ เพราะค่าจ้างขุดตันละ 5 บาท แต่สามารถขายดินหินที่ขดุ ได้ตนั ละ 10 บาท
2552 นายนิยม วรปั ญญา และนายเจริญ จรรย์โกมล สมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎร เสนอญัตติ เรื่อง ขอให้สภาฯ ตัง้ คณะกรรมาธิการ
วิสามัญเพื่อพิจารณาศึกษาการขุดคลองคอคอดกระจากฝั่งอ่าวไทยไปฝั่งทะเลอันดามัน
2554 นายนิยม วรปั ญญา และนายพิชยั เกียรติวินยั สกุล สมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎร เสนอญัตติ เรื่อง ขอให้สภาฯ ตัง้
คณะกรรมาธิการวิสามัญเพื่อพิจารณาศึกษาการขุดคลองคอคอดกระจากฝั่งอ่าวไทยเชื่อมทะเลอันดามันเป็ นคลองไทยเพื่อ
แก้ไขปั ญหาเศรษฐกิจไทย
2557 - มีกระแสข่าวว่ามีการจัดตัง้ คณะศึกษาโครงการไทย-จีน โครงการการขุดคอคอดกระเชื่อมต่อมหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทร
แปซิฟิกบริเวณคลองกระ พืน้ ที่รอยต่อ จ.ระนอง และ จ.ชุมพร โดยมีการพบกันของทัง้ 2 ฝ่ าย ฝ่ ายไทยประกอบด้วย พลอากาศ
ตรีณฐั ฐอรรจน์ ถวิลหวัง และพันตรีสรชาติ สุวรรณพรหม คณะกรรมการแห่งชาติศกึ ษาความเป็ นไปได้ในการขุดคลองกระ
พร้อมด้วย ธนภณ กิจคูณทรัพย์ ประธานกรรมการ บริษัท เค.เค. เอส.กรุ๊ป จากัด ขณะที่ฝ่ายจีนมี หวี่ ปิ น ประธานกรรมการ
บริษัท จงจี ้ ริชเวย์ โฮลดิง้ จากัด โดยระบุว่าต้องใช้เม็ดเงินในการศึกษาอย่างน้อย 3-4 พันล้านบาท และเงินในการก่อสร้าง
โครงการที่จะเชื่อมต่อ 2 มหาสมุทรบริเวณคอคอดกระอีกไม่ต่ากว่า 7-8 แสนล้านบาท
- มีกระแสข่าวว่าบริษัท 3 แห่งในจีนรวมตัวกันผลักดันการขุดคอคอดกระ ได้แก่ บริษัท Guangxi LiuGong Machinery บริษัท
XCMG และบริษัท Sany Heavy Industry
2558 - มีกระแสข่าวว่าสมาชิกสถาปฏิรูปแห่งชาติ (สปช.) กลุ่มหนึง่ ก็ได้พยายามรือ้ ฟื ้ นการทาการศึกษาความเป็ นไปได้ของโครงการ
ขุดคอคอดกระขึน้ มาอีกครัง้
- นายโภคิน พลกุล อดีตรองนายกรัฐมนตรี ในฐานะนายกสมาคมเศรษฐกิจวัฒนธรรมไทย-จีน ระบุว่าสมาคมฯ ได้ทาความตก
ลงมหาวิทยาลัยเศรษฐกิจและการค้าระหว่างประเทศ กรุงปักกิ่ง เพื่อยกระดับการศึกษาวิจยั ในหัวข้อเรื่องคอคอดกระหรือคลอง
กระ โดยฝ่ ายจีนจะมาเยือนไทย เพื่อศึกษาร่วมกันในประเด็นสิ่งแวดล้อม ประชาพิจารณ์ การอพยพโยกย้ายประชาชน การ
คัดเลือกแนวคลอง คลองกระกับการพัฒนา และครองกระกับความมั่นคง เมื่อได้ผลการศึกษาแล้วก็จะเสนอให้ทงั้ ภาครัฐและ
ภาคประชาชนของทุกประเทศที่เกี่ยวข้องต่อไป
- มีรายงานข่าวจากสื่อออนไลน์อา้ งว่าจีนและไทยได้มีการลงนาม MOU ให้มกี ารศึกษาโครงการขุดคอคอดกระ ที่กว่างโจว
ประเทศจีน เมื่อวันที่ 15 พ.ค. 2558 โดยมีรูป พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ อดีตนายกรัฐมนตรี ร่วมลงนามเผยแพร่ไปตามสังคม
ออนไลน์ ต่อมาโฆษกกระทรวงการต่างประเทศจีนแถลงข่าวอย่างเป็ นทางการปฏิเสธรายงานข่าวนีโ้ ดยระบุว่ารัฐบาลจีนไม่มี
ส่วนเกี่ยวข้องใดๆ กับการลงนามใน MOU ดังกล่าว รวมทัง้ เอกอัครราชทูตไทยประจากรุงปั กกิ่งและอัครราชทูตที่ปรึกษา
พาณิชย์ได้ก็ได้ปฏิเสธว่ารัฐบาลไทยไม่มีความเกี่ยวข้องกับการลงนามใน MOU ดังกล่าวเช่นกัน และภายหลังจากนัน้ พล.อ.
ชวลิต ยงใจยุทธ เองก็ได้ออกมาแถลงข่าวปฏิเสธเรื่องการร่วมลงนาม MOU นีด้ ว้ ยเช่นกัน

ที่มารวบรวมจาก: รายงานผลการวิจยั การศึกษาความเป็ นไปได้ดา้ นการพาณิชย์ และด้านกายภาพของการขุดคอคอดกระ ส่วนที่ 1 : ส่วน


การศึกษาด้านกายภาพ, สุจริต คูณธนกุลวงศ์, 2542 , รายงานของคณะกรรมาธิการวิสามัญเพื่อศึกษาความเป็ นไปได้ของโครงการขุดคอคอด
กระ (คลองไทย) วุฒิสภา 2548 , รายงาน “ผลกระทบของการขุดคลองกระด้านสิ่งแวดล้อม” โดยนักศึกษาหลักสูตรการปฏิบตั ิการจิตวิทยา
ฝ่ ายอานวยการรุน่ ที่ 92 คณะที่ 4 เสนอต่อสถาบันจิตวิทยาความมั่นคง สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ กองบัญชาการทหารสูงสุด เมื่อปี
2546 และสื่ออื่นๆ

You might also like