You are on page 1of 43

1

http://www.thaigov.go.th
(โปรดตรวจสอบมติคณะรัฐมนตรีที่เปEนทางการจากสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีอีกครั้ง)
วั น นี ้ (21 พฤศจิ ก ายน 2566) เวลา 09.00 น. นายเศรษฐา ทวี ส ิ น นายกรั ฐ มนตรี แ ละ
รัฐมนตรีว[าการกระทรวงการคลัง เปEนประธานการประชุมคณะรัฐมนตรี ณ ห_องประชุม 501 ตึกบัญชาการ 1
ทำเนียบรัฐบาล ซึ่งสรุปสาระสำคัญดังนี้

กฎหมาย
1. เรื่อง ขอขยายระยะเวลาดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรองตามความใน
พระราชบัญญัติควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2542 ซึ่งแก_ไขเพิ่มเติมโดย
พระราชบัญญัติควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550
2. เรื่อง ขอขยายระยะเวลาการจัดทำกฎหมายลำดับรองที่ออกตามพระราชบัญญัติโรงงาน
พ.ศ. 2535 และที่แก_ไขเพิ่มเติม พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 และที่
แก_ไขเพิ่มเติมและพระราชบัญญัติจดทะเบียนเครื่องจักร พ.ศ. 2514 และที่แก_ไข
เพิ่มเติม
3. เรื่อง ขอขยายระยะเวลาในการจัดทำกฎหมายลำดับรองที่ต_องออกตามความใน
พระราชบัญญัติราชทัณฑl พ.ศ. 2560 และพระราชบัญญัติการปฏิบัติเพื่อความ
ร[วมมือระหว[างประเทศในการดำเนินการตามคำพิพากษาคดีอาญา พ.ศ. 2527
4. เรื่อง ขอขยายระยะเวลาการดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรองที่ออกตาม
พระราชบัญญัติควบคุมการส[งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก
พ.ศ. 2560
5. เรื่อง ร[างพระราชบัญญัติยกเลิกพระราชบัญญัติว[าด_วยความผิดอันเกิดจากการใช_เช็ค
พ.ศ. 2534 พ.ศ. ....
6. เรื่อง ร[างพระราชกฤษฎีกาเรียกประชุมรัฐสภาสมัยประชุมสามัญประจำปrครั้งที่สอง
พ.ศ. ....
7. เรื่อง ขอขยายระยะเวลาการดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรองตามพระราชบัญญัติ
ธุรกิจสถาบันการเงิน พ.ศ. 2551 และพระราชบัญญัติระบบการชำระเงิน
พ.ศ. 2560
8. เรื่อง ขอขยายระยะเวลาการดำเนินการตามมาตรา 22 วรรคสอง แห[งพระราชบัญญัติ
หลักเกณฑlการจัดทำร[างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย
พ.ศ. 2562 (พระราชบัญญัติประกันชีวิต พ.ศ. 2535 และที่แก_ไขเพิ่มเติม และ
พระราชบัญญัติประกันวินาศภัย พ.ศ. 2535 และที่แก_ไขเพิ่มเติม)
9. เรื่อง ขอขยายระยะเวลาการดำเนินการจัดทำกฎอื่นใดตามมาตรา 22 วรรคสอง แห[ง
พระราชบัญญัติหลักเกณฑlการจัดทำร[างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของ
กฎหมาย พ.ศ. 2562 (พระราชบัญญัติโคนมและผลิตภัณฑlนม พ.ศ. 2551)
10. เรื่อง ขอขยายระยะเวลาการดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรองที่ออกตามพระราช
กำหนดการบริหารจัดการการทำงานของคนต[างด_าว พ.ศ. 2560 และแก_ไข
เพิ่มเติม
11. เรื่อง ขอขยายระยะเวลาการดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรองที่ออกตาม
พระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. 2550 แก_ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554
12. เรื่อง ขอขยายระยะเวลาในการออกกฎหรือดำเนินการอย[างใดอย[างหนึ่งตามมาตรา 22
วรรคสอง แห[งพระราชบัญญัติหลักเกณฑlการจัดทำร[างกฎหมายและการ
ประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พ.ศ. 2562 (พระราชบัญญัติการทวงถามหนี้
พ.ศ. 2558)
2

13. เรื่อง ขยายระยะเวลาในการออกกฎหรือดำเนินการอย[างหนึ่งอย[างใดตามมาตรา 22


วรรคสอง แห[งหลักเกณฑlการจัดทำร[างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของ
กฎหมาย พ.ศ. 2562 (พระราชบัญญัติทางหลวง พ.ศ. 2535 และที่แก_ไขเพิ่มเติม)
14. เรื่อง ขอขยายระยะเวลาดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรองที่ออกตามความใน
กฎหมายที่กระทรวงสาธารณสุขรับผิดชอบ
15. เรื่อง ขอขยายระยะเวลาการจัดทำกฎหมายลำดับรองที่ออกตามความใน
พระราชบัญญัติปuาสงวนแห[งชาติ พ.ศ. 2507 พระราชบัญญัติปuาสงวนแห[งชาติ
(ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2559 และพระราชบัญญัติปuาชุมชน พ.ศ. 2562
16. เรื่อง ขอขยายระยะเวลาการดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรองที่ออกตาม
พระราชบัญญัติส[งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2550 และที่แก_ไข
เพิ่มเติม
17. เรื่อง ขอขยายระยะเวลาการดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรองที่ออกตามความใน
มาตรา 73 แห[งพระราชบัญญัติส[งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล_อมแห[งชาติ
พ.ศ. 2535
18. เรื่อง ขอขยายระยะเวลาการดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรองที่ออกตาม
พระราชบัญญัติความเท[าเทียมระหว[างเพศ พ.ศ. 2558 และพระราชบัญญัติการ
ปwองกันและแก_ไขปxญหาการตั้งครรภlในวัยรุ[น พ.ศ. 2559
19. เรื่อง ขอขยายระยะเวลาดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรอง (กระทรวงการพัฒนา
สังคมและความมั่นคงของมนุษยl)
20. เรื่อง ขอขยายระยะเวลาดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรอง (กระทรวงการพัฒนา
สังคมและความมั่นคงของมนุษยl)
21. เรื่อง ร[างกฎกระทรวง ฉบับที่ .. (พ.ศ. ....) ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว[าด_วย
การยกเว_นรัษฎากร (มาตรการภาษีเพื่อส[งเสริมการลงทุนเพื่อความยั่งยืนของ
ประเทศไทย)
22. เรื่อง ร[างพระราชบัญญัติแก_ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ[งและพาณิชยl (ฉบับที่ ..)
พ.ศ. .... (สมรสเท[าเทียม)
23. เรื่อง ขอขยายระยะเวลาการดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรองที่ออกตาม
พระราชบัญญัติเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. 2561
24. เรื่อง ขอขยายระยะเวลาการดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรองตามความ
พระราชบัญญัติการประกอบกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2544
25. เรื่อง ขอขยายระยะเวลาดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรองตามความใน
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตรl วิจัย
และนวัตกรรม พ.ศ. 2562 และพระราชบัญญัติการอุดมศึกษา พ.ศ. 2562
26. เรื่อง ขอขยายระยะเวลาดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรองที่ออกตามความใน
พระราชบัญญัติแร[ พ.ศ. 2560 ตามมาตรา 22 วรรคสอง แห[งพระราชบัญญัติ
หลักเกณฑlการจัดทำร[างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย
พ.ศ. 2562
27. เรื่อง ขอขยายระยะเวลาในการออกกฎหรือดำเนินการอย[างหนึ่งอย[างใดตามมาตรา 22
วรรคสอง แห[งพระราชบัญญัติหลักเกณฑlการจัดทำร[างกฎหมายและการ
ประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พ.ศ. 2562 (สำนักงาน ก.พ.)
28. เรื่อง ขอขยายระยะเวลาดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรองที่ออกตามพระราชบัญญัติ
ศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. 2553
และที่ออกตามพระราชบัญญัติการบริหารการแก_ไขบำบัดฟz{นฟูเด็กและเยาวชนที่
กระทำผิด พ.ศ. 2561
3

29. เรื่อง ขอขยายระยะเวลาการดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรองตามพระราชบัญญัติ


กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให_แก[องคlกรปกครองส[วนท_องถิ่น
พ.ศ. 2542
30. เรื่อง ขอขยายระยะเวลาดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรองตามความใน
พระราชบัญญัติการส[งเสริมวิทยาศาสตรl การวิจัยและนวัตกรรม พ.ศ. 2562 และ
พระราชบัญญัติสภานโยบายการอุดมศึกษาวิทยาศาสตรl วิจัยและนวัตกรรม
แห[งชาติ พ.ศ. 2562
31. เรื่อง ขอขยายระยเวลาในการออกกฎหรือดำเนินการอย[างหนึ่งอย[างใดตามมาตรา 22
วรรคสอง แห[งพระราชบัญญัติหลักเกณฑlการจัดทำร[างกฎหมายและการ
ประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พ.ศ. 2562 (พระราชบัญญัติการประปาส[วน
ภูมิภาค พ.ศ. 2522 และพระราชบัญญัติรักษาคลองประปา พ.ศ. 2526)

เศรษฐกิจ-สังคม
32. เรื่อง รายงานประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห[งชาติ
ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2562 - 2565)
33. เรื่อง การกำหนดอัตราค[าจ_างตามมาตรฐานฝrมือ
34. เรื่อง รายงานภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรมประจำเดือนสิงหาคม 2566
35. เรื่อง รายงานการรับจ[ายเงินงบประมาณประจำปrงบประมาณ พ.ศ. 2566
36. เรื่อง การปwองกันและคุ_มครองข_อมูลส[วนบุคคล
37. เรื่อง รายงานสถานการณlส[งออกของไทย ประจำเดือนกันยายนและ 9 เดือนแรกของ
ปr 2566

ต5างประเทศ
38. เรื่อง ผลการประชุมรัฐมนตรียุติธรรมอาเซียน - ญี่ปุuน สมัยพิเศษ (ASEAN - Japan
Special Meeting of Justice Ministers: AJSMJ) และการประชุมที่เกี่ยวข_อง
39. เรื่อง ขอความเห็นชอบร[างกรอบความร[วมมือทางวิชาการระหว[างรัฐบาลไทยกับทบวง
การพลังงานปรมาณูระหว[างประเทศ รอบปr ค.ศ. 2023-2029 (Country
Programme Framework: CPF)
40. เรื่อง ขอความเห็นชอบร[างบันทึกความเข_าใจระหว[างสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติกับ
กระทรวงการต[างประเทศ การค_า และการพัฒนาแห[งประเทศแคนาดา
41. เรื่อง ขออนุมัติกรอบการหารือสำหรับการประชุมคณะมนตรี คณะกรรมาธิการแม[น้ำโขง
ครั้งที่ 30 และการประชุมคณะมนตรี คณะกรรมาธิการแม[น้ำโขง กับหุ_นส[วนการ
พัฒนา ครั้งที่ 28
42. เรื่อง การแก_ไขสัญญาประธานในการจ_างธนาคารโลกเปEนที่ปรึกษาแบบมีคา[ ใช_จ[าย
(Amendments to the Framework Agreement for Reimbursable
Advisory Services)
43. เรื่อง ร[างเอกสารผลลัพธlการประชุมรัฐมนตรีต[างประเทศกรอบความร[วมมือแม[โขง-
ล_านช_าง ครั้งที่ 8

แต5งตั้ง
44. เรื่อง การแต[งตั้งข_าราชการการเมือง (สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี)
45. เรื่อง การต[อเวลาการดำรงตำแหน[งประเภทบริหาร (นักบริหาร ระดับสูง และนักบริหาร
การทูต ระดับสูง) กระทรวงการต[างประเทศ
46. เรื่อง การแต[งตั้งกรรมการผู_ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการสถาบันอนุญาโตตุลาการ
4

กฎหมาย
1. เรื่อง ขอขยายระยะเวลาดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรองตามความในพระราชบัญญัติควบคุมน้ำมัน
เชื้อเพลิง พ.ศ. 2542 ซึ่งแกQไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550
คณะรั ฐมนตรี มี มติ เห็ นชอบขยายระยะเวลาดำเนิ นการจั ดทำกฎหมายลำดั บรองตามความใน
พระราชบัญญัติควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2542 ซึ่งแก_ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง (ฉบับที่ 2)
พ.ศ. 2550 ออกไป 1 ปr ตั้งแต[วันที่ 27 พฤศจิกายน 2566 ตามที่กระทรวงพลังงาน (พน.) เสนอ
ทั้งนี้ กระทรวงพลังงานเสนอขอขยายระยะเวลาในการดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรองระดับ
กฎกระทรวงและประกาศซึ่งออกโดยอาศัยอำนาจตามความในพระราชบัญญัติควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง พ.ศ. 2542
และที่แก_ไขเพิ่มเติม จำนวน 55 ฉบับ (โดยอยู[ระหว[างเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาให_ความเห็นชอบ จำนวน
4 ฉบับ อยู[ระหว[างเสนอรัฐมนตรีว[าการกระทรวงพลังงานพิจารณาลงนามเพื่อนำลงประกาศราชกิจจานุเบกษา
จำนวน 13 ฉบับ และอยู[ระหว[างจัดทำร[างของกรมธุรกิจพลังงาน จำนวน 38 ฉบับ) เนื่องจากเปEนกฎหมายเชิงเทคนิค
ด_านความปลอดภัยในการประกอบกิจการควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิง จึงจำเปEนต_องใช_ระยะเวลาในการศึกษามาตรฐาน
ความปลอดภัยสากลเพื่อนำมาประกอบการยกร[าง รวมทั้งต_องจัดให_มีการรับฟxงความคิดเห็นจากผู_มีส[วนได_เสียอย[าง
รอบด_าน เพื่อให_การจัดทำกฎหมายลำดับรองมีความเหมาะสมและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นอันจะทำให_การประกอบ
กิจการควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิงมีความปลอดภัยและเปEนไปตามมาตรฐานสากล ประกอบกับขั้นตอนการจัดทำประกาศ
ดังกล[าวจะต_องผ[านการพิจารณาของคณะกรรมการควบคุมน้ำมันเชื้อเพลิงและคณะอนุกรรมการควบคุมน้ำมัน
เชื้อเพลิงจึงไม[สามารถดำเนินการให_แล_วเสร็จทัน ทั้งนี้ กระทรวงพลังงานโดยกรมธุรกิจพลังงานได_ดำเนินการออก
กฎหมายลำดับรองที่มีผลใช_บังคับแล_ว จำนวน 83 ฉบับ จากจำนวน 138 ฉบับ
สาระสำคัญของเรื่อง
ขอขยายระยะเวลาในการออกกฎหมายลำดับรองจำนวน 55 ฉบับ ซึ่งออกโดยอาศัยอำนาจตาม
ความในพระราชบั ญญั ติ ควบคุ มน้ ำมั นเชื ้ อเพลิ ง พ.ศ. 2542 และที ่ แก_ ไขเพิ ่ มเติ ม ออกไปอี ก 1 ปr ตั ้ งแต[ วั นที่
27 พฤศจิกายน 2566

2. เรื่อง ขอขยายระยะเวลาการจัดทำกฎหมายลำดับรองที่ออกตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 และที่


แกQไขเพิ่มเติม พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 และที่แกQไขเพิ่มเติมและพระราชบัญญัติจดทะเบียน
เครื่องจักร พ.ศ. 2514 และที่แกQไขเพิ่มเติม
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบขยายระยะเวลาการดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรองที่ออกตาม
พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 และที่แก_ไขเพิ่มเติม พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 และที่แก_ไขเพิ่มเติม
และพระราชบัญญัติจดทะเบียนเครื่องจักร พ.ศ. 2514 และที่แก_ไขเพิ่มเติม ออกไปอีก 1 ปr ตั้งแต[วันที่ 27 พฤศจิกายน
2566 ตามที่กระทรวงอุตสาหกรรม (อก.) เสนอ
ทั้งนี้ การขอขยายระยะเวลาการจัดทำกฎหมายลำดับรองตามที่กระทรวงอุตสาหกรรมเสนอ เปEน
การขอขยายระยะเวลาในการออกกฎหมายลำดับรองตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 และที่แก_ไขเพิ่มเติม
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 และที่แก_ไขเพิ่มเติมและพระราชบัญญัติจดทะเบียนเครื่องจักร พ.ศ. 2514
และที่แก_ไขเพิ่มเติม จำนวน 59 ฉบับซึ่งพระราชบัญญัติทั้ง 3 ฉบับดังกล[าว เปEนกฎหมายที่มีผลบังคับใช_อยู[ในวันก[อน
วันที่พระราชบัญญัติหลักเกณฑlการจัดทำร[างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมายฯ
มีผลบังคับใช_ จึงจะครบกำหนดระยะเวลาการออกกฎหรือดำเนินการตามมาตรา 22 วรรคสองแห[งพระราชบัญญัติ
หลักเกณฑlการจัดทำร[างกฎหมายฯ ในวันที่ 27 พฤศจิกายน 2566 ซึ่งกระทรวงอุตสาหกรรมต_องดำเนินการออก
กฎหมายลำดับรองตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 และที่แก_ไขเพิ่มเติม พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย
พ.ศ. 2535 และที่แก_ไขเพิ่มเติมและพระราชบัญญัติจดทะเบียนเครื่องจักร พ.ศ. 2514 และที่แก_ไขเพิ่มเติม จำนวน
59 ฉบับ ให_แล_วเสร็จภายในวันที่ 27 พฤศจิกายน 2566 โดยที่ผ[านมากระทรวงอุตสาหกรรมได_มอบหมายให_
หน[วยงานในสังกัดดำเนินการศึกษาข_อมูลอย[างรอบคอบเพื่อประกอบการยกร[างกฎหมายลำดับรอง จัดให_มีการรับฟxง
ความคิดเห็นจากผู_ประกอบการ ประชาชน และหน[วยงานอื่นที่มีส[วนเกี่ยวข_อง เพือ่ นำมาประกอบการยกร[างกฎหมาย
ลำดับรองเพื่อให_ร[างกฎหมายลำดับรองดังกล[าวก[อให_เกิดประโยชนlต[อผู_ประกอบกิจการโรงงาน หรือประชาชน
รวมทั้งส[วนราชการสามารถควบคุมกำกับดูแลได_อย[างมีประสิทธิภาพ อีกทั้งต_องนำร[างกฎหมายลำดับรองนั้นเสนอ
คณะอนุกรรมการที่เกี่ยวข_องเพื่อพิจารณาตามขั้นตอน จึงทำให_ไม[สามารถดำเนินการร[างกฎหมายลำดับรองในเรื่องนี้
5

จำนวน 59 ฉบับ ให_แล_วเสร็จภายในวันที่ 27 พฤศจิกายน 2566 ได_ ดังนั้น กระทรวงอุตสาหกรรม (กรมโรงงาน


อุตสาหกรรม) จึงมีความจำเปEนต_องเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อขอขยายระยะเวลาในการออกกฎหมายลำดับรอง จำนวน
59 ฉบับออกไปอีก 1 ปr ตั้งแต[วันที่ 27 พฤศจิกายน 2566
สาระสำคัญของเรื่อง
ขอขยายระยะเวลาในการออกกฎหมายลำดับรองตามพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 และที่
แก_ไขเพิ่มเติม พะราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 และที่แก_ไขเพิ่มเติมและพระราชบัญญัติจดทะเบียนเครื่องจักร
พ.ศ. 2514 และที่แก_ไขเพิ่มเติม จำนวน 59 ฉบับ ออกไปอีก 1 ปr ตั้งแต[วันที่ 27 พฤศจิกายน 2566
3. เรื่อง ขอขยายระยะเวลาในการจัดทำกฎหมายลำดับรองที่ตQองออกตามความในพระราชบัญญัติราชทัณฑ] พ.ศ.
2560 และพระราชบัญญัติการปฏิบัติเพื่อความร5วมมือระหว5างประเทศในการดำเนินการตามคำพิพากษา
คดีอาญา พ.ศ. 2527
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบให_ขยายระยะเวลาในการจัดทำกฎหมายลำดับรองที่ต_องออกตามความ
ในมาตรา 31 แห[งพระราชบัญญัติราชทัณฑl พ.ศ. 2560 และมาตรา 7 แห[งพระราชบัญญัติการปฏิบัติเพื่อความ
ร[วมมือระหว[างประเทศในการดำเนินการตามคำพิพากษาคดีอาญา พ.ศ. 2527 รวม 2 ฉบับ ตามความเห็นของสำนัก
เลขาธิการคณะรัฐมนตรี
ทั้งนี้ สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีพิจารณาจากความเห็นของคณะกรรมการพัฒนากฎหมาย
สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา แล_วเห็นว[า กระทรวงยุติธรรมมีความจำเปEนต_องเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อขอขยาย
ระยะเวลาในการจัดทำกฎหมายลำดับรองเพียง 2 ฉบับ (จาก 10 ฉบับ) ได_แก[ 1. ประกาศกระทรวงกำหนดการ
จำแนกประเภทหรื อชั ้ นของเรื อนจำซึ ่ งต_ องออกตามความในมาตรา 31 แห[ งพระราชบั ญญั ติ ราชทั ณฑl ฯ และ
2. กฎกระทรวงกำหนดค[าใช_จ[ายเกี่ยวกับการโอนนักโทษซึ่งต_องออกตามความในมาตรา 7 แห[งพระราชบัญญัติการ
ปฏิบัติเพื่อความร[วมมือระหว[างประเทศฯ ออกไปอีก 1 ปr ตั้งแต[วันที่ 27 พฤศจิกายน 2566
4. เรื่อง ขอขยายระยะเวลาการดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรองที่ออกตามพระราชบัญญัติควบคุมการส5งเสริม
การตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ. 2560
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบให_ขยายระยะเวลาการดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรอง จำนวน
1 ฉบับ ซึ่งออกตามพระราชบัญญัติควบคุมการส[งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ. 2560 ออกไป
อีก 1 ปr ตั้งแต[วันที่ 27 พฤศจิกายน 2566 ตามที่กระทรวงสาธารณสุข (สธ.) เสนอ
ทั้งนี้ สธ. เสนอว[า
1. พระราชบัญญัติควบคุมการส[งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็ก พ.ศ. 2560 มีผลใช_
บังคับตั้งแต[วันที่ 6 กันยายน 2560 ซึ่งบทบัญญัติตามพระราชบัญญัติฉบับนี้กำหนดให_ออกกฎหมายลำดับรอง จำนวน
13 ฉบับ สธ. ได_ยกร[างกฎหมายลำดับรองและประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล_ว จำนวน 12 ฉบับ ขณะนี้ยังมี
กฎหมายลำดับรองที่อยู[ในขั้นตอนการจัดทำร[างกฎหมาย อีก 1 ฉบับ ได_แก[ ร[างประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง
การกำหนดอาหารอื่นที่มีจุดมุ[งหมายในการใช_เลี้ยงเด็กเล็ก พ.ศ. .... เปEนการกำหนดความเฉพาะของอาหารสำหรับ
เด็กเล็ก1 ซึ่งเปEนอำนาจของรัฐมนตรีว[าการกระทรวงสาธารณสุขในการประกาศกำหนด
2. การดำเนินการจัดทำร[างประกาศฯ ตามข_อ 1. คณะอนุกรรมการพัฒนาและให_ความเห็นใน
ประเด็นข_อกฎหมายตามพระราชบัญญัติควบคุมการส[งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็กฯ เห็นว[า ร[าง
ประกาศฉบับนี้ยังมีประเด็นด_านวิชาการเกี่ยวกับชนิดอาหารสำหรับเด็กเล็กที่ยังต_องควบคุม การกำหนดอาหารอื่นที่มี
ส[วนประกอบของสารอาหารที่เหมาะสมและเพียงพอที่จะใช_เลี้ยงเด็กเล็กได_ต_องกำหนดจากช[วงอายุตามคำนิยามคำว[า
“เด็กเล็ก” คือ ในช[วงอายุของเด็กที่เกิน 12 เดือนถึง 3 ปr แต[ในท_องตลาดพบว[ามีผลิตภัณฑlที่เข_าข[ายที่สามารถใช_
เลี้ยงเด็กเล็กได_เปEนจำนวนมาก โดยบนฉลากของผลิตภัณฑlจะระบุข_อความ ว[า “สำหรับเด็กอายุ 1 ปrขึ้นไปและทุก
คนในครอบครัว” ซึ่งมีความใกล_เคียงกับบรรจุภัณฑlหรือฉลากนมผงสำหรับทารกอย[างแพร[หลาย ซึ่งนมผงสำหรับ
ทารกเปEนผลิตภัณฑlที่กฎหมายห_ามโฆษณา ประกอบกับร[างประกาศฉบับนี้อยู[ระหว[างการดำเนินการสำรวจและเก็บ
ข_อมูลเพื่อทำการวิจัย โดยงานวิจัยจะแล_วเสร็จภายในเดือนพฤศจิกายน 2566 เพื่อให_เปEนไปตามเจตนารมณlของ
กฎหมายในการคุ_มครองสุขภาพของกลุ[มวัยเด็กเล็ก และไม[เปEนการออกกฎหมายที่เกินขอบเขตหรือสร_างภาระเกิน
สมควรกับผู_ประกอบกิจการ แต[โดยที่พระราชบัญญัติควบคุมการส[งเสริมการตลาดอาหารสำหรับทารกและเด็กเล็กฯ
6

ซึ่งเปEนกฎหมายที่มีผลใช_บังคับอยู[ในวันก[อนวันที่พระราชบัญญัติหลักเกณฑlการจัดทำร[างกฎหมายฯ มีผลใช_บังคับ
ดั ง นั ้ น การออกกฎหมายลำดั บ รองจึ ง ต_ อ งดำเนิ น การให_ แ ล_ ว เสร็ จ ภายในวั น ที ่ 27 พฤศจิ ก ายน 2566 ตาม
พระราชบัญญัติหลักเกณฑlการจัดทำร[างกฎหมายฯ ประกอบมติคณะรัฐมนตรี วันที่ 19 มกราคม 2564 และ
28 กุมภาพันธl 2566 สธ. จึงมีความจำเปEนต_องเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อขอขยายระยะเวลาในการออกกฎหมายลำดับ
รองดังกล[าวออกไปอีก 1 ปr ตั้งแต[วันที่ 27 พฤศจิกายน 2566 เปEนต_นไป
_________________________
1 “อาหารสำหรับเด็กเล็ก” หมายความว[า นมหรือผลิตภัณฑlอื่นที่ใช_เปEนอาหาร ทั้งนี้ ที่มีข_อความแสดงให_เห็นว[าใช_ใน
การเลี้ยงเด็กเล็กและเฉพาะตามที่รัฐมนตรีประกาศกำหนดโดยคำแนะนำของคณะกรรมการ
5. เรื่อง ร5างพระราชบัญญัติยกเลิกพระราชบัญญัติว5าดQวยความผิดอันเกิดจากการใชQเช็ค พ.ศ. 2534 พ.ศ. ....
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบร[างพระราชบัญญัติยกเลิกพระราชบัญญัติว[าด_วยความผิดอันเกิดจากการ
ใช_เช็ค พ.ศ. 2534 พ.ศ. .... ที่สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา (สคก.) ตรวจพิจารณาแล_ว ตามที่กระทรวงยุติธรรม
(ยธ.) เสนอ และให_ส[งหน[วยงานที่เกี่ยวข_องดำเนินการต[อไปได_
ทั้งนี้ ยธ. เสนอว[าได_พิจารณาร[างพระราชบัญญัติยกเลิกพระราชบัญญัติว[าด_วยความผิดอันเกิดจาก
การใช_เช็ค พ.ศ. 2534 พ.ศ. .... ที่ สคก. ตรวจพิจารณาแล_ว และยืนยันให_ดำเนินการต[อไป ซึ่งมีสาระสำคัญเปEนการ
ยกเลิกพระราชบัญญัติว[าด_วยความผิดอันเกิดจากการใช_เช็ค พ.ศ. 2534 ทั้งฉบับ เพื่อยกเลิกบทบัญญัติที่กำหนด
ความผิดทางอาญาที่เกิดจากการใช_เช็ค ซึ่งสอดคล_องกับรัฐธรรมนูญแห[งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 และข_อ
11 ของกติการะหว[างประเทศว[าด_วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ทั้งนี้ ได_ดำเนินการตามแนวทางการจัดทำ
และการเสนอร[างกฎหมายตามบทบัญญัติมาตรา 77 ของรัฐธรรมนูญแห[งราชอาณาจักรไทยแล_ว โดยมีการรับฟxงความ
คิดเห็นก[อนเสนอคณะรัฐมนตรี และในชั้นการตรวจพิจารณาของ สคก. ได_มีการเป›ดรับฟxงความคิดเห็นเพิ่มเติมทาง
เว็บไซตlระบบกลางทางกฎหมาย (Iaw.go.th) ระหว[างวันที่ 2 - 16 สิงหาคม 2565 (รวม 15 วัน) และได_จัดทำรายงาน
การวิเคราะหlผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากกฎหมายตามแนวทางมติคณะรัฐมนตรี (19 พฤศจิกายน 2562) เรื่อง การ
ดำเนินการเพื่อรองรับและขับเคลื่อนการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติหลักเกณฑlการจัดทำร[างกฎหมายและการ
ประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พ.ศ. 2562 พร_อมทั้งได_เผยแพร[ผลการรับฟxงความคิดเห็นพร_อมการวิเคราะหl
ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากกฎหมายผ[านทางเว็บไซตlเพื่อให_ประชาชนได_รับทราบแล_ว
สาระสำคัญของร5างพระราชบัญญัติ
1. ให_ยกเลิกพระราชบัญญัติว[าด_วยความผิดอันเกิดจากการใช_เช็ค พ.ศ. 2534
2. กำหนดให_พระราชบัญญัตินี้มีผลใช_บังคับตั้งแต[วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปEนต_น
ไป
3. กำหนดมาตรการเพื่อรองรับกรณีที่เจ_าหนี้ได_ฟwองลูกหนี้เปEนคดีอาญาแล_ว และในกระบวน
พิจารณาของศาล เจ_าหนี้และลูกหนี้ได_ตกลงให_มีการผ[อนชำระเงินตามข_อตกลงที่ปรากฏในรายงานกระบวนพิจารณา
โดยให_ถือว[าข_อตกลงดังกล[าวเปEนสัญญาประนีประนอมยอมความตามกฎหมายและหากต[อมาลูกหนี้ผิดนัดชำระหนี้
ตามสัญญาประนีประนอมยอมความดังกล[าว เจ_าหนี้มีสิทธิยื่นคำขอต[อศาลให_ออกคำบังคับได_โดยไม[ต_องฟwองเปEนคดี
ใหม[
4. กำหนดศาลที่มีอำนาจในการพิจารณาและพิพากษาคดีในส[วนแพ[ง โดยในคดีที่โจทกlได_รวมฟwอง
คดีแพ[งเรียกเงินตามเช็คต[อศาลซึ่งมีอำนาจพิจารณาคดีอาญาตามความในมาตรา 8 แห[งพระราชบัญญัติว[าด_วย
ความผิดอันเกิดจากการใช_เช็ค พ.ศ. 2534 กอนวันที่กฎหมายนี้ใช_บังคับและศาลยังมิได_มีคำพิพากษา ให_ศาลที่อยู[
ระหว[างการพิจารณาคดีสั่งจำหน[ายคดีในส[วนที่เปEนคดีอาญา แต[ยังคงมีอำนาจพิจารณาและพิพากษาคดีในส[วนแพ[ง
นั้นต[อไปตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ[ง ซึ่งการกำหนดในลักษณะนี้จะรวมถึงอำนาจของศาลแขวงในการ
พิจารณาและพิพากษาคดีแพ[งเรียกเงินตามเช็คซึ่งมีมูลหนี้ หรือจำนวนเงินที่ฟwองไม[เกิน 300,000 บาท ตามความใน
มาตรา 25 แห[งพระธรรมนูญศาลยุติธรรม
5. กำหนดมาตรการเร[งรัดให_หน[วยงานที่เกี่ยวข_องปล[อยตัวผู_ต_องโทษจำคุกและผู_ที่อยู[ระหว[างการ
คุมประพฤติหรือการพักการลงโทษโดยเร็ว โดยแบ[งเปEน 2 กรณี คือ
7

5.1 ในกรณีของผู_ที่อยู[ระหว[างการต_องโทษจำคุก ให_กรมราชทัณฑlต_องปล[อยตัวทันทีภายใน


วันที่กฎหมายมีผลใช_บังคับ โดยให_กรมราชทัณฑlมีอำนาจปล[อยตัวผู_ต_องโทษทันทีโดยไม[ต_องขอศาลให_ออกหมาย
ปล[อย
5.2 ในกรณีของผู_ที่อยู[ระหว[างการคุมประพฤติหรือการพักการลงโทษ กำหนดเปEนบทเร[งรัด
ให_ผู_ออกคำสั่งการคุมประพฤติหรือคำสั่งการพักการลงโทษจะต_องเพิกถอนคำสั่งการคุมประพฤติหรือคำสั่งการพักการ
ลงโทษโดยเร็ว
6. กำหนดวิธีการคำนวณโทษจําคุกในกรณีที่ผู_ต_องโทษจําคุกได_รับโทษจำคุกสำหรับความผิดอันเกิด
จากการใช_เช็ค และความผิดตามกฎหมายอื่นซึ่งเปEนความผิดหลายกรรมต[างกัน โดยให_ถือว[าโทษที่ผู_ต_องโทษได_รับไป
แล_วเปEนโทษสำหรับการกระทำความผิดตามกฎหมายอื่น และถ_าโทษที่ได_รับไปแล_วเท[ากับหรือเกินโทษที่ได_รับสำหรับ
การกระทำความผิดตามกฎหมายอื่นนั้น ให_ปล[อยตัวผู_ต_องโทษโดยทันที แต[ทั้งนี้ การปล[อยตัวผู_ต_องโทษในกรณีนี้กรม
ราชทัณฑlจะต_องขอศาลให_ออกหมายปล[อย เพื่อให_มีการตรวจสอบว[าระยะเวลาในการจำคุกสำหรับความผิดอื่นนั้น
เปEนไปตามกฎหมาย
7. กำหนดให_รัฐมนตรีว[าการกระทรวงยุติธรรมรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ เพื่อกำกับดูแลให_การ
ดำเนินการต[าง ๆ เปEนไปโดยรวดเร็วตามความมุ[งหมายของพระราชบัญญัตินี้
6. เรื่อง ร5างพระราชกฤษฎีกาเรียกประชุมรัฐสภาสมัยประชุมสามัญประจำปeครั้งที่สอง พ.ศ. ....
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบร[างพระราชกฤษฎีกาเรียกประชุมรัฐสภาสมัยประชุมสามัญประจำปrครั้ง
ที่สอง พ.ศ. .... (ตั้งแต[วันที่ 12 ธันวาคม 2566) ตามที่สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี (สลค.) เสนอ และให_ดำเนินการ
ต[อไปได_
ทั้งนี้ สลค. เสนอว[า
1. รัฐธรรมนูญแห[งราชอาณาจักรไทย มาตรา 121 บัญญัติให_ในปrหนึ่งมีสมัยประชุมสามัญของ
รัฐสภาสองสมัย ๆ หนึ่งให_มีกำหนดเวลาหนึ่งร_อยยี่สิบวัน โดยให_ถือวันที่มีการเรียกประชุมรัฐสภาเพื่อให_สมาชิกได_มา
ประชุมเปEนครั้งแรก เปEนวันเริ่มสมัยประชุมสามัญประจำปrครั้งที่หนึ่ง ส[วนวันเริ่มสมัยประชุมสามัญประจำปrครั้งที่สอง
ให_เปEนไปตามที่สภาผู_แทนราษฎรกำหนด และเนื่องจากได_มีพระราชกฤษฎีกาเรียกประชุมรัฐสภา พ.ศ. 2566
กำหนดให_มีการเรียกประชุมรัฐสภาเพื่อให_สมาชิกได_มาประชุมเปEนครั้งแรก โดยให_ถือเปEนวันเริ่มสมัยประชุมสามัญ
ประจำปrครั้งที่หนึ่ง ตั้งแต[วันที่ 3 กรกฎาคม 2566 และต[อมา สภาผู_แทนราษฎรได_กำหนดให_วันที่ 12 ธันวาคม เปEน
วันเริ่มสมัยประชุมสามัญประจำปrครั้งที่สอง ซึ่งคณะรัฐมนตรีได_มีมติรับทราบแล_ว (18 กรกฎาคม 2566) ดังนั้น ใน
การประชุมสภาผู_แทนราษฎรจึงมีวันเป›ดและวันป›ดสมัยประชุม ดังนี้
ปeที่ สมัยประชุมสามัญประจำปeครั้งที่หนึ่ง สมัยประชุมสามัญประจำปeครั้งที่สอง
1 3 กรกฎาคม 2566 – 30 ตุลาคม 2566 12 ธันวาคม 2566 – 9 เมษายน 2567
2 3 กรกฎาคม 2567 – 30 ตุลาคม 2567 12 ธันวาคม 2567 – 9 เมษายน 2568
3 3 กรกฎาคม 2568 – 30 ตุลาคม 2568 12 ธันวาคม 2568 – 9 เมษายน 2569
4 3 กรกฎาคม 2569 – 30 ตุลาคม 2569 12 ธันวาคม 2569 – 9 เมษายน 2570
2. โดยที่ได_มีการตราพระราชกฤษฎีกาป›ดประชุมรัฐสภาสามัญประชุมสามัญประจำปrครั้งที่หนึ่ง
พ.ศ. 2566 ตั้งแต[วันที่ 31 ตุลาคม 2566 ดังนั้น จึงสมควรให_มีการเรียกประชุมรัฐสภาสมัยประชุมสามัญประจำปrครั้ง
ที่สองสำหรับปr พ.ศ. 2566 ตั้งแต[วันที่ 12 ธันวาคม 2566
7. เรื่อง ขอขยายระยะเวลาการดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรองตามพระราชบัญญัติธุรกิจสถาบันการเงิน
พ.ศ. 2551 และพระราชบัญญัติระบบการชำระเงิน พ.ศ. 2560
คณะรั ฐ มนตรี ม ี ม ติ เ ห็ น ชอบให_ ข ยายระยะเวลาในการจั ด ทำกฎหมายลำดั บ รองซึ ่ ง ออกตาม
พระราชบัญญัติธุรกิจสถาบันการเงิน พ.ศ. 2551 และพระราชบัญญัติระบบการชำระเงิน พ.ศ. 2560 ออกไปอีก 1 ปr
ตั้งแต[วันที่ 27 พฤศจิกายน 2566 ตามที่กระทรวงการคลัง (กค.) เสนอ
สาระสำคัญ
กระทรวงการคลังเสนอขอขยายระยะเวลาในการดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรอง ซึ่งออกโดย
อาศัยอำนาจตามความในพระราชบัญญัติธุรกิจสถาบันการเงิน พ.ศ. 2551 จำนวน 6 ฉบับ และพระราชบัญญัติระบบ
8

การชำระเงิน พ.ศ. 2560 จำนวน 4 ฉบับ (รวมกฎหมายลำดับรองที่เสนอมาในครั้งนี้ 10 ฉบับ) โดยการออกกฎหมาย


ลำดับรองจะต_องดำเนินการให_แล_วเสร็จภายในวันที่ 27 พฤศจิกายน 2566 ตามพระราชบัญญัติหลักเกณฑlการจัดทำ
ร[างกฎหมายฯ ประกอบมติคณะรัฐมนตรีวันที่ 19 มกราคม 2564 และ 28 กุมภาพันธl 2566 แต[เนื่องจากการ
ดำเนินการออกกฎหมายลำดับรองตามพระราชบัญญัติธุรกิจสถาบันการเงินฯ อยู[ระหว[างจัดทำร[างประกาศเพื่อเสนอ
คณะอนุกรรมการภายในธนาคารแห[งประเทศไทย และรับฟxงความคิดเห็นจากผู_ที่เกี่ยวข_อง และวิเคราะหlผลกระทบที่
อาจเกิดขึ้นอย[างรอบด_านและเปEนระบบ เพื่อให_การออกหลักเกณฑlเกี่ยวกับการอนุญาตให_ประกอบธุรกิจเงินทุนหรือ
ธุรกิจเครดิตฟองซิเอรlหรือหลักเกณฑlเกี่ยวกับการตั้งสาขาธนาคารพาณิชยlต[างประเทศในประเทศไทยไม[เปEนภาระแก[
ภาคธรุกิจเกินสมควร โดยมีการคำนึงถึงความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นแก[ประชาชนผู_ใช_บริการตลอดจนภาระค[าใช[จ[าย
ของภาครัฐในการกำกับดูแลสถาบันการเงินอย[างครบถ_วน และในส[วนการออกกฎหมายลำดับรองตามพระราชบัญญัติ
ระบบการชำระเงินฯ อยู[ระหว[างพิจารณาหลักเกณฑlและผลกระทบต[อการกำหนดค[าธรรมเนียมเพื่อให_สอดคล_องกับ
สถานการณlเศรษฐกิจในปxจจุบัน เพื่อไม[ให_การเรียกเก็บค[าธรรมเนียมเปEนการเพิ่มภาระค[าใช_จ[ายแก[ภาคธุรกิจเกิน
สมควร และเปEนอุปสรรคต[อการพัฒนาและส[งเสริมระบบการชำระเงินของประเทศไทย ดังนั้น จึงมีความจำเปEนต_อง
ขยายระยะเวลาการออกกฎหมายลำดับรองซึ่งออกตามพระราชบัญญัติธุรกิจสถาบันการเงินฯ จำนวน 6 ฉบับ และ
ตามพระราชบัญญัติระบบการชำระเงินฯ จำนวน 4 ฉบับ (รวมกฎหมายลำดับรองที่เสนอมาในครั้งนี้ 10 ฉบับ) ออกไป
อีก 1 ปr ตั้งแต[วันที่ 27 พฤศจิกายน 2566 เพื่อให_การจัดทำกฎหมายลำดับรองมีความเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
มากยิ่งขึ้นและเปEนประโยชนlต[อการกำหนดหลักเกณฑlเกี่ยวกับสถาบันการเงินและระบบการชำระเงินต[อไป
ทั ้ งนี ้ ธนาคารแห[ งประเทศไทยได_ ดำเนิ นการออกกฎหมายลำดั บรองที ่ มี ผลใช_ บั งคั บแล_ วตาม
พระราชบัญญัติธุรกิจสถาบันการเงินฯ จำนวน 144 ฉบับ จากกฎหมายลำดับรองที่ต_องออกตามพระราชบัญญัติธุรกิจ
สถาบันการเงินฯ ทั้งหมด จำนวน 150 ฉบับ และกฎหมายลำดับรองที่มีผลใช_บังคับแล_วตามพระราชบัญญัติระบบการ
ชำระเงินฯ จำนวน 30 ฉบับ จากกฎหมายลำดับรองที่ต_องออกตามพระราชบัญญัติระบบการชำระเงินฯ ทั้งหมด
จำนวน 34 ฉบับ
8. เรื่อง ขอขยายระยะเวลาการดำเนินการตามมาตรา 22 วรรคสอง แห5งพระราชบัญญัติหลักเกณฑ]การจัดทำ
ร5างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พ.ศ. 2562 (พระราชบัญญัติประกันชีวิต พ.ศ. 2535 และ
ที่แกQไขเพิ่มเติม และพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย พ.ศ. 2535 และที่แกQไขเพิ่มเติม)
คณะรั ฐ มนตรี ม ี ม ติ เ ห็ น ชอบขยายระยะเวลาในการจั ด ทำกฎหมายลำดั บ รอง ซึ ่ ง ออกตาม
พระราชบัญญัติประกันชีวิต พ.ศ. 2535 และที่แก_ไขเพิ่มเติมและพระราชบัญญัติประกันวินาศภัย พ.ศ. 2535 และที่
แก_ไขเพิ่มเติม ออกไปอีก 1 ปr ตั้งแต[วันที่ 27 พฤศจิกายน 2566 ตามที่กระทรวงการคลัง (กค.) เสนอ
สาระสำคัญ
กระทรวงการคลังเสนอขอขยายระยะเวลาในการออกกฎหมายลำดับรอง ซึ่งออกโดยอาศัยอำนาจ
ตามความในพระราชบัญญัติประกันชีวิต พ.ศ. 2535 และที่แก_ไขเพิ่มเติม จำนวน 7 ฉบับ และพระราชบัญญัติประกัน
วินาศภัย พ.ศ. 2535 และที่แก_ไขเพิ่มเติม จำนวน 6 ฉบับ (รวมกฎหมายลำดับรองที่เสนอมาในครั้งนี้ รวม 13 ฉบับ)
ซึ่งพระราชบัญญัติทั้ง 2 ฉบับดังถล[าวมีผลใช_บังคับอยู[ก[อนวันที่พระราชบัญญัติหลักเกณฑlการจัดทำร[างกฎหมายและ
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พ.ศ. 2562 มีผลใช_บังคับ ดังนั้น การออกกฎหมายลำดับรองจะต_องดำเนินการ
ให_แล_วเสร็จภายในวันที่ 27 พฤศจิกายน 2566 ตามพระราชบัญญัติหลักเกณฑlการจัดทำร[างกฎหมายฯ ประกอบมติ
คณะรัฐมนตรีวันที่ 19 มกราคม 2564 และ 28 กุมภาพันธl 2566 แต[โดยที่การดำเนินการออกกฎหมายลำดับรองตาม
พระราชบัญญัติประกันชีวิตฯ และที่แก_ไขเพิ่มเติมและพระราชบัญญัติประกันวินาศภัยฯ และที่แก_ไขเพิ่มเติม อยู[
ระหว[างการจัดทำหลักการและร[างกฎหมาย ซึ่งต_องดำเนินการรับฟxงความคิดเห็นเพิ่มเติมจากผู_มีส[วนเกี่ยวข_อง
ตลอดจนดำเนินการวิเคราะหlผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากกฎหมาย (Regulatory Impact Assessment: RIA) เพื่อ
นำไปประกอบการจัดทำและปรับปรุงร[างกฎหมายให_มีความเหมาะสมมากยิ่งขึ้น ดังนั้น จึงมีความจำเปEนต_องขอขยาย
ระยะเวลาการออกกฎหมายลำดับรองซึ่งออกตามพระราขบัญญัติประกันชีวิตฯ และที่แก_ไขเพิ่มเติม จำนวน 7 ฉบับ
และพระราชบัญญัติประกันวินาศภัยฯ และที่ แก_ไขเพิ่มเติม จำนวน 6 ฉบับ (รวมกฎหมายลำดับรองที่เสนอมาในครั้ง
นี้ 13 ฉบับ) ออกไปอีก 1 ปr ตั้งแต[วันที่ 27 พฤศจิกายน 2566 เพื่อให_การจัดทำกฎหมายลำดับรองมีความเหมาะสม
และมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นและเปEนประโยชนlต[อการกำกับดูแลธุรกิจประกันภัยไทยต[อไป
9

ทั้งนี้ สำนักงานคณะกรรมการกำกับและส[งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัยได_ดำเนินการออก
กฎหมายลำดับรองที่มีผลใช_บังคับแล_วตามพระราชบัญญัติประกันชีวิตฯ และที่แก_ไขเพิ่มเติม จำนวน 112 ฉบับ จาก
กฎหมายลำดับรองที่ต_องออกตามพระราชบัญญัติประกันชีวิตฯ และที่แก_ไขเพิ่มเติม ทั้งหมด 119 ฉบับ และกฎหมาย
ลำดับรองที่มีผลใช_บังคับแล_วตามพระราชบัญญัติประกันวินาศภัยฯ และที่แก_ไขเพิ่มเติม จำนวน 123 ฉบับ จาก
กฎหมายลำดับรองที่ต_องออกตามพระราชบัญญัติประกันวินาศภัยฯ และที่แก_ไขเพิ่มเติม ทั้งหมด 129 ฉบับ
9. เรื ่ อง ขอขยายระยะเวลาการดำเนิ นการจั ดทำกฎอื ่ นใดตามมาตรา 22 วรรคสอง แห5 งพระราชบั ญญั ติ
หลักเกณฑ]การจัดทำร5างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พ.ศ. 2562 (พระราชบัญญัติโคนม
และผลิตภัณฑ]นม พ.ศ. 2551)
คณะรั ฐ มนตรี ม ี ม ติ เ ห็ น ชอบให_ ข ยายระยะเวลาการดำเนิ น การจั ด ทำกฎอื ่ น ใดตามมาตรา 22
วรรคสอง แห[งพระราชบัญญัติหลักเกณฑlการจัดทำร[างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พ.ศ. 2562
ของมาตรา 10 (5) แห[งพระราชบัญญัติโคนมและผลิตภัณฑlนม พ.ศ. 2551 ออกไปอีก 1 ปr ตั้งแต[วันที่ 27 พฤศจิกายน
2566 ตามที่กระทรวงเกษตรและสหกรณl (กษ.) เสนอ
สาระสำคัญ
กระทรวงเกษตรและสหกรณl เสนอขอขยายระยะเวลาในการออกกฎหมายลำดับรอง ซึ่งอยู[ระหว[าง
ดำเนินการ จำนวน 1 ฉบับ ซึ่งออกโดยอาศัยอำนาจตามความในมาตรา 10 (5) แห[งพระราชบัญญัติโคนมและ
ผลิตภัณฑlนม พ.ศ. 2551 ที่มีผลใช_บังคับอยู[ก[อนวันที่พระราชบัญญัติหลักเกณฑlการจัดทำร[างกฎหมายและการ
ประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พ.ศ. 2562 ใช_บังคับ ดังนั้น จะต_องดำเนินการออกกฎหมายลำดับรองให_แล_วเสร็จ
ภายในวันที่ 27 พฤศจิกายน 2566 ตามพระราชบัญญัติหลักเกณฑlการจัดทำร[างกฎหมายฯ ประกอบมติคณะรัฐมนตรี
วันที่ 28 กุมภาพันธl 2566 แต[โดยที่การดำเนินการออกกฎหมายลำดับรองฉบับดังกล[าวก[อให_เกิดภาระกับประชาชน
และอาจส[งผลกระทบต[อขีดความสามารถในการแข[งขัน จึงต_องพิจารณาจัดทำกฎหมายลำดับรองด_วยความรอบคอบ
และมีความจำเปEนจะต_องรับฟxงความคิดเห็นจากผู_เกี่ยวข_องอย[างรอบด_าน ซึ่งปxจจุบันอยู[ระหว[างดำเนินการเตรียม
ข_อมูลเพื่อจัดทำการรับฟxงความคิดเห็นของผู_ที่เกี่ยวข_อง และวิเคราะหlผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการออกกฎ ดังนั้น
จึงมีความจำเปEนต_องขอขยายระยะเวลาการออกกฎหมายลำดับรอง ออกไปอีก 1 ปr ตั้งแต[วันที่ 27 พฤศจิกายน 2566
10. เรื่อง ขอขยายระยะเวลาการดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรองที่ออกตามพระราชกำหนดการบริหารจัดการ
การทำงานของคนต5างดQาว พ.ศ. 2560 และแกQไขเพิ่มเติม
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบให_ขยายระยะเวลาการดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรองที่ออกตาม
พระราชกำหนดการบริหารจัดการการทำงานของคนต[างด_าว พ.ศ. 2560 และที่แก_ไขเพิ่มเติม ออกไป 1 ปr นับแต[วันที่
27 พฤศจิกายน 2566 ตามที่กระทรวงแรงงาน (รง.) เสนอ
สาระสำคัญ
กระทรวงแรงงานเสนอขอขยายระยะเวลาในการออกกฎหมายลำดับรอง จำนวน 13 ฉบับ ซึ่งออก
โดยอาศัยอำนาจตามความในพระราชกำหนดการบริหารจัดการการทำงานของคนต[างด_าว พ.ศ. 2560 และที่แก_ไข
เพิ่มเติมที่มีผลใช_บังคับอยู[ก[อนวันที่พระราชบัญญัติหลักเกณฑlการจัดทำร[างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของ
กฎหมาย พ.ศ. 2562 มีผลใช_บังคับ ดังนั้น การออกกฎหมายลำดับรองดังกล[าวจะต_องดำเนินการให_แล_วเสร็จภายใน
วันที่ 27 พฤศจิกายน 2566 ตามพระราชบัญญัติหลักเกณฑlการจัดทำร[างกฎหมายฯ ประกอบกับมติคณะรัฐมนตรี
วันที่ 19 มกราคม 2564 และ 28 กุมภาพันธl 2566 แต[โดยที่การออกกฎดังกล[าวเกี่ยวกับหลักเกณฑlการบริหาร
จัดการการทำงานของคนต[างด_าว การประกอบธุรกิจการนำคนต[างด_าวเข_ามาทำงานการนำคนต[างด_าวเข_ามาทำงาน
ของนายจ_าง ซึ่งมีผลต[อนโยบายรัฐบาลที่เร[งฟz{นฟูทางเศรษฐกิจโดยเฉพาะด_านแรงงาน การประกอบธุรกิจของผู_ขอ
อนุญาตฯ ผู_รับอนุญาตฯ และมีความเกี่ยวข_องกับหน[วยงานอื่นที่มีหน_าที่ จึงต_องพิจารณาทั้งนโยบายรัฐบาล ความ
เหมาะสม และศึกษาข_อมูลและข_อกฎหมายที่เกี่ยวข_องอย[างรอบด_าน ซึ่งจะต_องใช_ระยะเวลาในการดำเนินการ ดังนั้น
จึงมีความจำเปEนต_องขอขยายระยะเวลาการออกกฎหมายลำดับรอง ออกไปอีก 1 ปr ตั้งแต[วันที่ 27 พฤศจิกายน 2566
11. เรื่อง ขอขยายระยะเวลาการดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรองที่ออกตามพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน
พ.ศ. 2550 แกQไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554
10

คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบให_ขยายระยะเวลาการดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรองที่ออกตาม
พระราชบั ญ ญั ต ิ โ รงเรี ย นเอกชน พ.ศ. 2550 แก_ ไ ขเพิ ่ ม เติ ม (ฉบั บ ที ่ 2) พ.ศ. 2554 ออกไป 1 ปr ตั ้ ง แต[ ว ั น ที่
27 พฤศจิกายน 2566 ตามที่กระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) เสนอ
สาระสำคัญ
กระทรวงศึกษาธิการเสนอขอขยายระยะเวลาในการออกกฎหมายลำดับรอง จำนวน 5 ฉบับ ซึ่งออก
โดยอาศัยอำนาจตามความในพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. 2550 แก_ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554 ที่มีผล
ใช_บังคับอยู[ก[อนวันที่พระราชบัญญัติหลักเกณฑlการจัดทำร[างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย
พ.ศ. 2562 มี ผ ลใช_ บ ั ง คั บ ดั ง นั ้ น จะต_ อ งดำเนิ น การออกกฎหมายลำดั บรองดั ง กล[ า วให_ แ ล_ ว เสร็ จ ภายในวั น ที่
27 พฤศจิกายน 2566 ตามพระราชบัญญัติหลักเกณฑlการจัดทำร[างกฎหมายฯ ประกอบมติคณะรัฐมนตรีวันที่
19 มกราคม 2564 และ 28 กุมภาพันธl 2566 แต[โดยที่การจัดทำกฎหมายลำดับรองในเรื่องนี้เกี่ยวกับการจัด
การศึกษาเอกชนที่จะต_องมีการศึกษาและสำรวจข_อมูลร[วมกับหน[วยงานที่เกี่ยวข_อง เพื่อไม[ให_เกิดภาระหรือส[งผล
กระทบต[อผู_รับใบอนุญาตและผู_เกี่ยวข_องกับการศึกษาเอกชน รวมถึงการรับฟxงความคิดเห็นจากผู_มีส[วนได_เสียและผู_ที่
ได_รับผลกระทบจากการออกกฎหมายลำดับรอง ซึ่งต_องใช_ระยะเวลาในการดำเนินการพอสมควร ทำให_ไม[สามารถ
ดำเนินการให_แล_วเสร็จภายในวันที่ 27 พฤศจิกายน 2566 จึงมีความจำเปEนต_องขอขยายระยะเวลาการออกกฎหมาย
ลำดับรองตามพระราชบัญญัติโรงเรียนเอกชน พ.ศ. 2550 แก_ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554 ออกไปอีก 1 ปr ตั้งแต[
วันที่ 27 พฤศจิกายน 2566 เปEนต_นไป
12. เรื่อง ขอขยายระยะเวลาในการออกกฎหรือดำเนินการอย5างใดอย5างหนึ่งตามมาตรา 22 วรรคสอง แห5ง
พระราชบั ญ ญั ต ิ ห ลั ก เกณฑ] ก ารจั ด ทำร5 า งกฎหมายและการประเมิ น ผลสั ม ฤทธิ ์ ข องกฎหมาย พ.ศ. 2562
(พระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. 2558)
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบให_ขยายระยะเวลาในการออกกฎหรือดำเนินการอย[างหนึ่งอย[างใดตาม
มาตรา 22 วรรคสอง แห[งพระราชบัญญัติหลักเกณฑlการจัดทำร[างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย
พ.ศ. 2562 ของมาตรา 9 (2) แห[ ง พระราชบั ญ ญั ต ิ ก ารทวงถามหนี ้ พ.ศ. 2558 ออกไปอี ก 1 ปr ตั้ ง แต[ ว ั น ที่
27 พฤศจิกายน 2566 ตามที่กระทรวงมหาดไทย (มท.) เสนอ
สาระสำคัญ
กระทรวงมหาดไทยเสนอขอขยายระยะเวลาในการออกกฎหมายลำดับรอง ซึ่งอยู[ระหว[างดำเนินการ
จำนวน 1 ฉบับ ซึ่งออกโดยอาศัยอำนาจตามความในมาตรา 9 (2) แห[งพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้ พ.ศ. 2558 ที่
มีผลใช_บังคับอยู[ก[อนวันที่พระราชบัญญัติหลักเกณฑlการจัดทำร[างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย
พ.ศ. 2562 ใช_บังคับ ดังนั้น จะต_องดำเนินการออกกฎหมายลำดับรองให_แล_วเสร็จภายในวันที่ 27 พฤศจิกายน 2566
ตามพระราชบัญญัติหลักเกณฑlการจัดทำร[างกฎหมายฯ ประกอบมติคณะรัฐมนตรีวันที่ 28 กุมภาพันธl 2566 แต[โดย
ที่การดำเนินการออกกฎหมายลำดับรองฉบับดังกล[าวต_องใช_เวลาในการรวบรวมความคิดเห็นและข_อมูลจากผู_มีสิทธิ
และหน_าที่ หรือได_รับผลกระทบจากการใช_บังคับกฎหมายดังกล[าวอย[างรอบด_าน รวมทั้งต_องหารือร[วมกับหน[วยงานที่
เกี่ยวข_อง เพื่อกำหนดช[วงเวลาอื่น (นอกจากเวลา 08.00 น. ถึง 20.00 น. ในวันจันทรlถึงศุกรl และเวลา 08.00 น.
ถึง 18.00 น. ในวันหยุดราชการหรือช[วงเวลาดังกล[าวไม[เหมาะสม เช[น ลูกหนี้มีอาชีพทำงานในเวลากลางคืนและนอน
หลับในเวลากลางวัน โดยป›ดโทรศัพทlหรือป›ดเสียงโทรศัพทlทำให_ไม[สามารถติดต[อได_) ที่ผู_ทวงถามหนี้สามารถติดต[อ
ลูกหนี้ได_ให_เปEนไปตามความเหมาะสมของสภาพการณlในปxจจุบันมากยิ่งขึ้น ดังนั้น จึงมีความจำเปEนต_องขอขยาย
ระยะเวลาการออกกฎหมายลำดับรองออกไปอีก 1 ปr ตั้งแต[วันที่ 27 พฤศจิกายน 2566
13. เรื่อง ขยายระยะเวลาในการออกกฎหรือดำเนินการอย5างหนึ่งอย5างใดตามมาตรา 22 วรรคสอง แห5ง
หลักเกณฑ]การจัดทำร5างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พ.ศ. 2562 (พระราชบัญญัติทาง
หลวง พ.ศ. 2535 และที่แกQไขเพิ่มเติม)
คณะรั ฐ มนตรี ม ี ม ติ เ ห็ น ชอบให_ ข ยายระยะเวลาในการออกกฎตามพระราชบั ญ ญั ต ิ ท างหลวง
พ.ศ. 2535 และที่แก_ไขเพิ่มเติม ออกไปอีก 1 ปr ตั้งแต[วันที่ 27 พฤศจิกายน 2566 ตามที่กระทรวงมหาดไทย (มท.)
เสนอ
สาระสำคัญ
11

กระทรวงมหาดไทยเสนอขอขยายระยะเวลาในการออกกฎหมายลำดับรองตามพระราชบัญญัติทาง
หลวง พ.ศ. 2535 และที่แก_ไขเพิ่มเติมโดยที่มาตรา 22 วรรคสอง แห[งพระราชบัญญัติหลักเกณฑlการจัดทำร[าง
กฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พ.ศ. 2562 บัญญัติให_กฎหมายที่กำหนดให_ต_องมีการออกกฎ หรือ
กำหนดให_รัฐต_องดำเนินการอย[างหนึ่งอย[างใด เพื่อที่ประชาชนจะสามารถปฏิบัติตามกฎหมายหรือได_รับสิทธิ
ประโยชนlตามกฎหมายนั้นได_ หากมิได_มีการออกกฎดังกล[าวหรือยังมิได_ดำเนินการนั้นภายในระยะเวลา 2 ปr นับแต[
วันที่กฎหมายนั้นมีผลใช_บังคับและบทบัญญัติในเรื่องนั้นก[อภาระหรือเปEนผลร_ายต[อประชาชนให_บทบัญญัติดังกล[าว
เปEนอันสิ้นผลบังคับ ทั้งนี้ ระยะเวลา 2 ปrดังกล[าวคณะรัฐมนตรีจะมีมติขยายออกไปอีกก็ได_แต[ไม[เกิน 1 ปr และต_องมี
มติก[อนที่จะครบกำหนดเวลา 2 ปr ดังกล[าว ประกอบกับ มาตรา 39 (1) กำหนดให_ระยะเวลา 2 ปr ตามมาตรา 22
วรรคสอง สำหรับกฎหมายที่ใช_บังคับอยู[ก[อนวันที่พระราชบัญญัตินี้มีผลใช_บังคับ ให_นับแต[เมื่อพ_นกำหนด 2 ปrนับแต[
วันที่พระราชบัญญัตินี้มีผลใช_บังคับ (นับแต[วันที่ 27 พฤศจิกายน 2564)
โดยที่ร[างกฎกระทรวงว[าด_วยการกำหนดค[าใช_เขตทางหลวงท_องถิ่น พ.ศ. .... เปEนกฎหมายลำดับรอง
ที่ต_องออกตามพระราชบัญญัติทางหลวง พ.ศ. 2535 และที่แก_ไขเพิ่มเติม ซึ่งเปEนกฎหมายที่มีผลใช_บังคับใช_อยู[ในวัน
ก[อนวันที่พระราชบัญญัติหลักเกณฑlการจัดทำร[างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมายฯ มีผลบังคับใช_จะ
ครบกำหนดระยะเวลาการออกกฎหรือดำเนินการตามมาตรา 22 วรรคสอง แห[งพระราชบัญญัติหลักเกณฑlการจัดทำ
ร[างกฎหมายฯ ในวันที่ 27 พฤศจิกายน 2566 ซึ่งกระทรวงมหาดไทยต_องดำเนินการออกกฎหมายลำดับรองให_แล_ว
เสร็จภายในวันที่ 27 พฤศจิกายน 2566 แต[เนื่องจากร[างกฎกระทรวงดังกล[าวอยู[ระหว[างดำเนินการพิจารณาความ
เหมาะสมในการกำหนดอัตราค[าใช_เขตทางหลวงท_องถิ่น (สำหรับบุคคลที่จะสร_างอาคาร รุกล้ำ หรือปxกเสา พาดสาย
วางท[อ หรือกระทำการใด ๆ ในเขตทางหลวง) อีกทั้งจะต_องรวบรวมความคิดเห็นและข_อมูลจากผู_มีสิทธิหรือหน_าที่
หรือได_รับผลกระทบที่เกิดจากการบังคับใช_กฎหมายดังกล[าวอย[างรอบด_าน เพื่อกำหนดอัตราค[าธรรมเนียมให_
เหมาะสมต[อสภาพการณlปxจจุบัน ดังนั้น กระทรวงมหาดไทย (กรมส[งเสริมการปกครองท_องถิ่น) จึงมีความจำเปEนต_อง
เสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อขอขยายระยะเวลาในการออกกฎหมายลำดับรองฉบับดังกล[าว ออกไปอีก 1 ปr ตั้งแต[วันที่
27 พฤศจิกายน 2566
14. เรื่อง ขอขยายระยะเวลาดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรองที่ออกตามความในกฎหมายที ่ กระทรวง
สาธารณสุขรับผิดชอบ
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบดังนี้
1. เห็นชอบให_ขยายระยะเวลาการดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรอง จำนวน 111 ฉบับ ออกไป
อีก 1 ปr ตั้งแต[วันที่ 27 พฤศจิกายน 2566 หรือตั้งแต[วันที่ 9 ธันวาคม 2566 แล_วแต[กรณี ซึ่งออกตามความใน
กฎหมาย ดังต[อไปนี้
(1) พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 และที่แก_ไขเพิ่มเติม
(2) พระราชบัญญัติวิชาชีพกายภาพบำบัด พ.ศ. 2547
(3) พระราชบัญญัติเครื่องมือแพทยl พ.ศ. 2551 ซึ่งแก_ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติ
เครื่องมือแพทยl (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562
(4) พระราชบัญญัติเครื่องสำอาง พ.ศ. 2558
(5) พระราชบัญญัติโรคติดต[อ พ.ศ. 2558
(6) พระราชบัญญัติควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล_อม พ.ศ. 2562
(7) พระราชบัญญัติระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ. 2562
(8) พระราชบัญญัติสถาบันพระบรมราชชนก พ.ศ. 2562
(9) ประมวลกฎหมายยาเสพติด
ตามที่กระทรวงสาธารณสุขเสนอ
2. ให_กระทรวงสาธารณสุขเร[งรัดออกกฎหมายลำดับรองตามประมวลกฎหมายยาเสพติดให_มีผลใช_
บังคับโดยเร็ว เพื่อให_การปwองกันและปราบปรามยาเสพติดเปEนไปอย[างมีประสิทธิภาพ
สาระสำคัญ
การจั ด ทำร[ า งกฎหมาย จำนวน 111 ฉบั บ ตามที ่ ข อขยายระยะเวลาการจั ด ทำมาในครั ้ ง นี ้ มี
สาระสำคัญในหลายเรื่อง เช[น การกำหนดปริมาณยาเสพติดให_โทษและวัตถุออกฤทธิ์ที่ให_สันนิษฐานว[ามีไว_ใน
12

ครอบครองเพื่อเสพ การกำหนดหลักเกณฑlต[าง ๆ ในการควบคุมเครื่องสำอาง วัตถุอันตราย และยาเสพติด (กฎหมาย


ลำดับรองที่ออกตามพระราชบัญญัติเครื่องสำอางฯ พระราชบัญญัติวัตถุอันตรายฯ และประมวลกฎหมายยาเสพติด)
การกำหนดหลั ก เกณฑl เ กี ่ ย วกั บ ใบอนุ ญ าตผู _ ป ระกอบวิ ช าชี พ กายภาพบำบั ด (กฎหมายลำดั บ รองที ่ อ อกตาม
พระราชบัญญัติวิชาชีพกายภาพบำบัดฯ) การกำหนดมาตรฐานเกี่ยวกับเครื่องมือทางการแพทยl (กฎหมายลำดับรองที่
ออกตามพระราชบัญญัติเครื่องมือแพทยlฯ) การกำหนดหลักเกณฑlเกี่ยวกับการปฏิบัติหน_าที่ของเจ_าหน_าที่ในการ
ควบคุมโรคติดต[อและโรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพ รวมทั้งการให_บริการด_านสาธารณสุข (กฎหมายลำดับรองที่
ออกตามพระราชบัญญัติโรคติดต[อฯ พระราชบัญญัติควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพฯ และพระราชบัญญัติระบบ
สุขภาพปฐมภูมิฯ) การกำหนดหลักเกณฑlเกี่ยวกับการบริหารจัดการราชการในสถาบันอุดมศึกษา (กฎหมายลำดับรอง
ที่ออกตามพระราชบัญญัติสถาบันพระบรมราชชนกฯ) เปEนต_น ซึ่งการพิจารณาจัดทำหลักเกณฑlของกฎหมายลำดับ
รองดังกล[าว นอกจากจะต_องพิจารณาบทบัญญัติแห[งกฎหมายที่เกี่ยวข_องแล_ว ยังต_องพิจารณาแนวนโยบายของ
รัฐบาล โดยเฉพาะด_านยาเสพติดที่ต_องร[วมพิจารณากับหน[วยงานที่เกี่ยวข_องหลายภาคส[วน ประกอบกับการออก
กฎหมายลำดับรอง จำนวน 111 ฉบับดังกล[าวยังมีการดำเนินการในหลายขั้นตอน เช[น การรับฟxงความคิดเห็นจาก
หน[วยงานของรัฐที่เกี่ยวข_องและจากประชาชน การเสนอต[อคณะกรรมการตามกฎหมายเพื่อพิจารณาให_ความเห็น
หรือกลั่นกรองก[อนดำเนินการในส[วนที่เกี่ยวข_องต[อไป การจัดเตรียมเรื่องเพื่อเสนอต[อคณะรัฐมนตรี การตรวจ
พิจารณาของสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา เปEนต_น ซึ่งการดำเนินการในแต[ละขั้นตอนต_องใช_ระยะเวลาพอสมควร
ดังนั้น จึงมีความจำเปEนต_องขอขยายระยะเวลาการออกกฎหมายลำดับรองซึ่งออกตามกฎหมายดังกล[าว จำนวน 111
ฉบับ ออกไปอีก 1 ปr ตั้งแต[วันที่ 27 พฤศจิกายน 2566 หรือตั้งแต[วันที่ 9 ธันวาคม 2566 แล_วแต[กรณีเพื่อให_การ
จัดทำกฎหมายลำดับรองมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นและมีเนื้อหาที่ครอบคลุม รวมทั้งสอดคล_องกับบทบัญญัติที่ให_
อำนาจในการจัดทำกฎหมายลำดับรองนั้นต[อไป ทั้งนี้ กระทรวงสาธารณสุขได_ดำเนินการออกกฎหมายลำดับรองที่มี
ผลใช_บังคับแล_ว รวม 354 ฉบับ
15. เรื่อง ขอขยายระยะเวลาการจัดทำกฎหมายลำดับรองที่ออกตามความในพระราชบัญญัติปkาสงวนแห5งชาติ
พ.ศ. 2507 พระราชบัญญัติปkาสงวนแห5งชาติ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2559 และพระราชบัญญัติปkาชุมชน พ.ศ. 2562
คณะรั ฐ มนตรี ม ี ม ติ เ ห็ น ชอบขยายระยะเวลาการจั ด ทำกฎหมายลำดั บ รองที ่ อ อกตามความใน
พระราชบั ญญั ติ ปu าสงวนแห[ งชาติ พ.ศ. 2507 พระราชบั ญญั ติ ปu าสงวนแห[ งชาติ (ฉบั บที ่ 4) พ.ศ. 2559 และ
พระราชบัญญัติปuาชุมชน พ.ศ. 2562 รวม 8 ฉบับ ออกไป 1 ปr ตั้งแต[วันที่ 27 พฤศจิกายน 2566 ตามที่กระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล_อม (ทส.) เสนอ
สาระสำคัญ
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล_อมเสนอขอขยายระยะเวลาการดำเนินการจัดทำกฎหมาย
ลำดับรอง ซึ่งออกตามพระราชบัญญัติปuาสงวนแห[งชาติ พ.ศ. 2507 จำนวน 1 ฉบับ พระราชบัญญัติปuาสงวนแห[งชาติ
(ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2559 จำนวน 3 ฉบับ และพระราชบัญญัติปuาชุมชน พ.ศ. 2562 จำนวน 6 ฉบับ ซึ่งพระราชบัญญัติ
ดังกล[าวมีผลใช_บังคับอยู[ก[อนวันที่พระราชบัญญัติหลักเกณฑlการจัดทำร[างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของ
กฎหมาย พ.ศ. 2562 มีผลใช_บังคับ ดังนั้น จะต_องดำเนินการออกกฎหมายลำดับรองดังกล[าวให_แล_วเสร็จภายในวันที่
27 พฤศจิกายน 2566 ตามพระราชบัญญัติหลักเกณฑlการจัดทำร[างกฎหมายฯ ประกอบมติคณะรัฐมนตรีวันที่
19 มกราคม 2564 และ 28 กุมภาพันธl 2566 แต[โดยที่การออกกฎหมายลำดับรองรวม 8 ฉบับดังกล[าวยังมีความ
เกี่ยวข_องกับผู_มีส[วนได_ส[วนเสียจำนวนมากทั้งภาคประชาชนและหน[วยงานของรัฐ การใช_ประโยชนlและการควบคุม
ดูแล บำรุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งจะส[งผลกระทบต[อความสมดุลและยั่งยืนของทรัพยากรดังกล[าวในอนาคต จึง
ต_องดำเนินการด_วยความรอบคอบและรับฟxงความคิดเห็นของทุกภาคส[วน จึงมีความจำเปEนต_องขอขยายระยะเวลา
การออกกฎหมายลำดับรองออกไปอีก 1 ปr ตั้งแต[วันที่ 27 พฤศจิกายน 2566
16. เรื่อง ขอขยายระยะเวลาการดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรองที่ออกตามพระราชบัญญัติส5งเสริมและ
พัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2550 และที่แกQไขเพิ่มเติม
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบการขอขยายระยะเวลาการดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรองที่ออก
ตามพระราชบัญญัติส[งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2550 และที่แก_ไขเพิ่มเติม ออกไป 1 ปr นับแต[วันที่
27 พฤศจิกายน 2566 ตามที่กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยl (พม.) เสนอ
13

สาระสำคัญของเรื่อง
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยlเสนอขอขยายระยะเวลาในการออกกฎหมาย
ลำดับรอง จำนวน 1 ฉบับ ซึ่งออกโดยอาศัยอำนาจตามความในพระราชบัญญัติส[งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคน
พิการ พ.ศ. 2550 และที่แก_ไขเพิ่มเติม ที่มีผลใช_บังคับอยู[ก[อนวันที่พระราชบัญญัติหลักเกณฑlการจัดทำร[างกฎหมาย
และการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พ.ศ. 2562 มีผลใช_บังคับ ดังนั้น จะต_องดำเนินการออกกฎหมายลำดับรอง
ดังกล[าวให_แล_วเสร็จภายในวันที่ 27 พฤศจิกายน 2566 ตามพระราชบัญญัติหลักเกณฑlการจัดทำร[างกฎหมายฯ
ประกอบมติคณะรัฐมนตรีวันที่ 19 มกราคม 2564 และ 28 กุมภาพันธl 2566 แต[โดยที่การออกกฎหมายลำดับรอง
ดังกล[าวเปEนการกำหนดสิทธิขององคlกรคนพิการหรือองคlกรอื่นที่ให_บริการแก[คนพิการให_สามารถดำเนินการเกี่ยวกับ
สิทธิของคนพิการ การเข_าถึงความช[วยเหลือของคนพิการ การจัดหางานและส[งเสริมการมีงานทำของคนพิการ การขอ
ใช_ที่ราชพัสดุหรือทรัพยlสินทางราชการ ซึ่งต_องพิจารณาร[วมกับหน[วยงานที่เกี่ยวข_องทั้งภาครัฐและเอกชน ต_องอาศัย
ความรู_ความเชี่ยวชาญจากผู_ทรงคุณวุฒิ และมีความจำเปEนที่จะต_องตรวจสอบเนื้อหาและกลไกของกฎหมายลำดับรอง
ดังกล[าว ซึ่งมีความละเอียดอ[อนเปEนพิเศษ การดำเนินการออกกฎหมายลำดับรองจะต_องมีความละเอียดรอบคอบ
และต_องใช_เวลา จึงมีความจำเปEนต_องขอขยายระยะเวลาการออกกฎหมายลำดับรองออกไปอีก 1 ปr ตั้งแต[วันที่
27 พฤศจิกายน 2566
17. เรื ่ อง ขอขยายระยะเวลาการดำเนิ นการจั ดทำกฎหมายลำดั บรองที ่ ออกตามความในมาตรา 73 แห5 ง
พระราชบัญญัติส5งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลQอมแห5งชาติ พ.ศ. 2535
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบขยายระยะเวลาการดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรองที่ออกตามความ
ในมาตรา 73 แห[งพระราชบัญญัติส[งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล_อมแห[งชาติ พ.ศ. 2535 ออกไปอีกหนึ่งปr ทั้งนี้
ตั้งแต[วันที่ 27 พฤศจิกายน 2566 เปEนต_นไป ตามที่กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล_อม (ทส.) เสนอ
ทั้งนี้ ทส. เสนอว[า
1. พระราชบัญญัติส[งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล_อมแห[งชาติ พ.ศ. 2535 ประกาศในราชกิจจา
นุเบกษา เล[ม 109 ตอนที่ 37 ลงวันที่ 4 เมษายน 2535 มีผลใช_บังคับเมื่อพ_นกำหนดหกสิบวันนับแต[วันประกาศใน
ราชกิจจานุเบกษาเปEนต_นไป โดยมีผลใช_บังคับตั้งแต[วันที่ 3 มิถุนายน 2535 ซึ่งมีผลบังคับใช_อยู[ในวันก[อนที่
พระราชบัญญัติหลักเกณฑlการจัดทำร[างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พ.ศ. 2522 มีผลบังคับใช_
จะครบกำหนดระยะเวลาการดำเนินการออกกฎหมายลำดับรองตามมาตรา 22 วรรคสอง แห[งพระราชบัญญัติ
หลักเกณฑlการจัดทำร[างกฎหมายฯ ในวันที่ 27 พฤศจิกายน 2566
2. พระราชบัญญัติส[งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล_อมแห[งชาติ พ.ศ. 2535 มาตรา 73 วรรคสอง
บัญญัติให_กำหนดหลักเกณฑl วิธีการ และเงื่อนไขการขอและการออกใบอนุญาต คุณสมบัติของผู_ขอรับใบอนุญาต การ
ควบคุมการปฏิบัติงานของผู_ได_รับใบอนุญาต การต[ออายุใบอนุญาต การออกใบแทนใบอนุญาต การสั่งพักและการเพิก
ถอนการอนุญาต และการเสียค[าธรรมเนียมการขอและการออกใบอนุญาตเปEนผู_ควบคุมหรือผู_รับจ_างให_บริการบำบัด
น้ำเสียหรือกำจัดของเสียเปEนไปตามที่กำหนดในกฎกระทรวง ประกอบกับมาตรา 73 วรรคสี่ แห[งพระราชบัญญัติ
ส[งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล_อมแห[งชาติ พ.ศ. 2535 บัญญัติให_อัตราค[าบริการบำบัดน้ำเสียที่ผู_รับจ_างให_บริการ
จะเรียกเก็บต_องไม[เกินอัตราที่กำหนดในกฎกระทรวง
3. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล_อม โดยกรมควบคุมมลพิษได_อยู[ระหว[างการจัดทำร[าง
กฎกระทรวงซึ่งเปEนกฎหมายลำดับรองที่ออกตามความในมาตรา 73 แห[งพระราชบัญญัติส[งเสริมและรักษาคุณภาพ
สิ่งแวดล_อมแห[งชาติ พ.ศ. 2535 จำนวน 1 ฉบับ ได_แก[ ร[างกฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑl วิธีการและเงื่อนไขในการ
ขอรับใบอนุญาตและการปฏิบัติงานเปEนผู_ควบคุมระบบำบัดน้ำเสีย พ.ศ. .... ซึ่งอยู[ในขั้นตอนการรับฟxงความคิดเห็น
จากหน[วยงานที่เกี่ยวข_องในประเด็นที่เกี่ยวข_องกับการจัดทำฐานข_อมูลและระบบการยื่นคำขอและการพิจารณา
ใบอนุญาตโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสl ประกอบกับหลักการและสาระสำคัญของกฎหมายลำดับรองที่ออกตามความ
ในมาตรา 73 แห[งพระราชบัญญัติส[งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล_อมแห[งชาติ พ.ศ. 2535 เปEนการกำหนดให_เจ_า
พนักงานท_องถิ่นเปEนผู_พิจารณาให_ใบอนุญาต รวมถึงต_องมีการจัดทำฐานข_อมูลและระบบการยื่นขอและการพิจารณา
ใบอนุญาตโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสl พร_อมทั้งให_เชื่อมโยงระบบการรายงานสรุปผลการทำงานของระบบบำบัดน้ำ
เสียตามมาตรา 80 แห[งพระราชบัญญัติส[งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล_อมแห[งชาติ พ.ศ. 2535 เพื่อใช_เปEน
ฐานข_อมูลระบบในการติดตามและตรวจสอบการปฏิบัติการของผู_ควบคุมระบบบำบัดน้ำเสีย จึงมีความจำเปEนต_อง
14

พิจารณาร[างกฎกระทรวงดังกล[าวอย[างละเอียด โดยต_องดำเนินการหารือ ทำความเข_าใจกับเจ_าพนักงานท_องถิ่นและ


หน[วยงานที่เกี่ยวข_อง เพื่อเตรียมความพร_อมในการจัดทำระบบการยื่นและการพิจารณาให_ใบอนุญาตโดยวิธีการทาง
อิเล็กทรอนิกสl จึงมีความจำเปEนที่จะต_องใช_ระยะเวลาเกินกว[าที่กฎหมายกำหนด
สาระสำคัญของร5างกฎหมาย
ร[างกฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑl วิธีการและเงื่อนไขในการขอรับใบอนุญาตและการปฏิบัติงาน
เปEนผู_ควบคุมระบบบำบัดน้ำเสีย พ.ศ. .... ซึ่งเปEนกฎหมายลำดับรองออกตามความในมาตรา 73 แห[งพระราชบัญญัติ
ส[งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล_อมแห[งชาติ พ.ศ. 2535 มีหลักการและสาระสำคัญ โดยสรุป ดังนี้
1. กำหนดหลักเกณฑl วิธีการ และเงื่อนไขการขอและการออกใบอนุญาต การขอต[ออายุ
ใบอนุญาตโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสl
2. กำหนดคุณสมบัติของผู_ขอรับใบอนุญาต
3. กำหนดวิธีการและแนวทางในการควบคุมการปฏิบัติงานของผู_ได_รับใบอนุญาต
4. กำหนดเหตุแห[งการสั่งพักและการเพิกถอนการอนุญาต
5. กำหนดอัตราค[าธรรมเนียมการขอและการออกใบอนุญาต
6. กำหนดการเสียค[าธรรมเนียมโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสl
18. เรื่อง ขอขยายระยะเวลาการดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรองที่ออกตามพระราชบัญญัติความเท5าเทียม
ระหว5างเพศ พ.ศ. 2558 และพระราชบัญญัติการปmองกันและแกQไขปnญหาการตั้งครรภ]ในวัยรุ5น พ.ศ. 2559
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบให_ขยายระยะเวลาการดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรองที่ออกตาม
พระราชบัญญัติความเท[าเทียมระหว[างเพศ พ.ศ. 2558 และพระราชบัญญัติการปwองกันและแก_ไขปxญหาการตั้งครรภl
ในวัยรุ[น พ.ศ. 2559 ออกไป 1 ปr นับแต[วันที่ 27 พฤศจิกายน 2566 ตามที่กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง
ของมนุษยl (พม.) เสนอ
สาระสำคัญ
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยlเสนอขอขยายระยะเวลาในการออกกฎหมาย
ลำดั บรอง ซึ ่ งออกโดยอาศั ยอำนาจตามความในพระราชบั ญญั ติ ความเท[ าเที ยมระหว[ างเพศ พ.ศ. 2558 และ
พระราชบั ญ ญั ต ิ ก ารปw อ งกั น และแก_ ไ ขปx ญ หาการตั ้ ง ครรภl ใ นวั ย รุ [ น พ.ศ. 2559 ที ่ ม ี ผ ลใช_ บ ั ง คั บ อยู [ ก [ อ นวั น ที่
พระราชบัญญัติหลักเกณฑlการจัดทำร[างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พ.ศ. 2562 มีผลใช_บังคับ
ซึ ่ ง จะต_ อ งดำเนิ น การออกกฎหมายลำดั บ รองดั ง กล[ า วให_ แ ล_ ว เสร็ จ ภายในวั น ที ่ 27 พฤศจิ ก ายน 2566 ตาม
พระราชบั ญญั ติ หลั กเกณฑl การจั ดทำร[ างกฎหมายฯ ประกอบมติ คณะรั ฐมนตรี วั น ที ่ 19 มกราคม 2564 และ
28 กุมภาพันธl 2566 แต[โดยที่การออกกฎหมายลำดับรองที่ผ[านยังต_องพิจารณาทบทวนในการออกกฎหมายลำดับ
รองในลำดับศักดิ์ที่ต่ำกว[า ซึ่งต_องออกตามกฎกระทรวง ประกาศกระทรวง หรือระเบียบกระทรวงดังกล[าวที่มีผลใช_
บังคับแล_ว เพื่อกำหนดรายละเอียดให_ครบถ_วนสามารถปฏิบัติตามกฎหมายได_ ตามนัยความเห็นคณะกรรมการพัฒนา
กฎหมาย เรื่องเสร็จที่ 981/2566 เพื่อให_เปEนไปตามพระราชบัญญัติหลักเกณฑlการจัดทำร[างกฎหมายและการ
ประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พ.ศ. 2562 จึงมีความจำเปEนต_องขอขยายระยะเวลาการออกกฎหมายลำดับรอง
ออกไปอีก 1 ปr ตั้งแต[วันที่ 27 พฤศจิกายน 2566
19. เรื่อง ขอขยายระยะเวลาดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรอง (กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ
มนุษย])
คณะรั ฐมนตรี มี มติ เ ห็ นชอบการขยายระยะเวลาการดำเนิ นการจั ดทำกฎหมายลำดั บรองตาม
พระราชบัญญัติความร[วมมือระหว[างประเทศในทางแพ[งเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิควบคุมดูแลเด็ก พ.ศ. 2555 ออกไป
อีกหนึ่งปrนับแต[วันที่ครบกำหนดตามพระราชบัญญัติหลักเกณฑlการจัดทำร[างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของ
กฎหมาย พ.ศ. 2562 จนถึงวันที่ 27 พฤศจิกายน 2567 ตามที่กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยl
(พม.) เสนอ
สาระสำคัญ
กระทรวงการพั ฒ นาสั ง คมและความมั ่ น คงของมนุ ษ ยl โดยกรมกิ จ การเด็ ก และเยาวชนมี
พระราชบัญญัติความร[วมมือระหว[างประเทศในทางแพ[งเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิควบคุมดูแลเด็ก พ.ศ. 2555 ที่ต_องมี
15

การออกกฎหมายลำดับรองตามมาตรา 11 วรรคสอง โดยมีสาระสำคัญให_รัฐมนตรีว[าการกระทรวงการพัฒนาสังคม


และความมั่นคงของมนุษยlออกระเบียบว[าด_วยการคุ_มครองดูแลเด็ก กรณีพนักงานอัยการยื่นคำขอต[อศาลเพื่อขอให_มี
คำสั่งอนุญาตให_นำตัวเด็กส[งไว_ในความคุ_มครองดูแลของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยl และ
มาตรา 24 โดยมีสาระสำคัญให_รัฐมนตรีว[าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยlออกกฎกระทรวง
เพื่อกำหนดรายละเอียดค[าใช_จ[ายต[าง ๆ เกี่ยวกับการให_ความช[วยเหลือตามพระราชบัญญัติดังกล[าว เปEนการขอความ
ช[วยเหลือไปยังต[างประเทศในการให_ความช[วยเหลือเด็กให_พ_นจากภยันตรายอันเกิดจากการถูกพาไปหรือกักตัวไว_โดย
มิชอบ ซึ่งบรรดาค[าใช_จ[ายให_ความช[วยเหลือซึ่งต_องร[วมพิจารณากับหน[วยงานที่เกี่ยวข_อง เพื่อกำหนดหรือประเมิน
ค[าใช_จ[ายให_สอดคล_องกับสภาวการณlตามข_อเท็จจริง หรือกำหนดแบบประเมินเกี่ยวกับการให_ความช[วยเหลือตาม
พระราชบัญญัติดังกล[าว ซึ่งปxจจุบันอยู[ในชั้นการพิจารณาของกรมกิจการเด็กและเยาวชน และอาจดำเนินการใน
ขั ้ นตอนการพิ จารณาร[ างกฎหมายและประกาศในราชกิ จจานุ เบกษาได_ ไม[ ทั นภายในระยะเวลาที ่ กำหนดไว_ ใน
พระราชบัญญัติหลักเกณฑlการจัดทำร[างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พ.ศ. 2562
20. เรื่อง ขอขยายระยะเวลาดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรอง (กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ
มนุษย])
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบการขยายระยะเวลาการดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรองตามความใน
พระราชบัญญัติการคุ_มครองคนไร_ที่พึ่ง พ.ศ. 2557 ออกไปอีกหนึ่งปrนับแต[วันที่ครบกำหนดตามพระราชบัญญัติ
หลักเกณฑlการจัดทำร[างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พ.ศ. 2562 จนถึงวันที่ 27 พฤศจิกายน
2567 ตามที่กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยl (พม.) เสนอ
สาระสำคัญ
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยl โดยกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการมีร[าง
กฎหมายลำดับรองภายใต_พระราชบัญญัติการคุ_มครองคนไร_ที่พึ่ง พ.ศ. 2557 ได_แก[ (1) ประกาศคณะกรรมการ
คุ_มครองคนไร_ที่พึ่ง เรื่อง กำหนดหลักเกณฑl วิธีการ และเงื่อนไขการสนับสนุนการดำเนินการแก[หน[วยงานของรัฐ
องคlกรสาธารณประโยชนl องคlกรสวัสดิการชุมชน องคlกรภาคเอกชนอื่น สถาบันศาสนา กลุ[มคนไร_ที่พึ่ง หรือกลุ[ม
บุคคล เพื่อการคุ_มครองคนไร_ที่พึ่ง ตามมาตรา 15 มาตรา 17 ซึ่งจำเปEนต_องออกประกาศกรมพัฒนาสังคมและ
สวัสดิการ เพื่อกำหนดหลักเกณฑl วิธีการ และเงื่อนไขการสนับสนุนการดำเนินการตามประกาศของคณะกรรมการ
คุ_มครองคนไร_ที่พึ่งฉบับนี้ (2) มาตรา 25 แห[งพระราชบัญญัติการคุ_มครองคนไร_ที่พึ่ง พ.ศ. 2557 กำหนดให_
คณะกรรมการคุ_มครองคนไร_ที่พึ่งดำเนินการออกระเบียบเกี่ยวกับเงินช[วยเหลือคนไร_ที่พึ่งสำหรับการเข_าร[วมการฝ¡ก
อาชีพ และเริ่มต_นประกอบอาชีพของคนไร_ที่พึ่ง ซึ่งปxจจุบันได_ผ[านการพิจารณาร[างดังกล[าวเสนอต[อที่ประชุม
คณะกรรมการคุ_มครองคนไร_ที่พึ่ง และคณะอนุกรรมการพัฒนามาตรการและกลไกเพื่อการคุ_มครองคนไร_ที่พึ่ง โดยมี
มติให_มีการหารือในข_อกฎหมายกับสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา กรมบัญชีกลาง แนวทางการดำเนินงานร[วมกับ
องคlกรที่ดำเนินการเกี่ยวกับการคุ_มครองคนไร_ที่พึ่งซึ่งอาจดำเนินการในขั้นตอนการพิจารณาร[างกฎหมายและประกาศ
ในราชกิจจานุเบกษาได_ไม[ทันภายในระยะเวลาที่กำหนดไว_ในพระราชบัญญัติหลักเกณฑlการจัดทำร[างกฎหมายและ
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พ.ศ. 2562
21. เรื่อง ร5างกฎกระทรวง ฉบับที่ .. (พ.ศ. ....) ออกตามความในประมวลรัษฎากร ว5าดQวยการยกเวQนรัษฎากร
(มาตรการภาษีเพื่อส5งเสริมการลงทุนเพื่อความยั่งยืนของประเทศไทย)
คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติหลักการร[างกฎกระทรวง ฉบับที่ .. (พ.ศ. ....) ออกตามความในประมวล
รัษฎากร ว[าด_วยการยกเว_นรัษฎากร (มาตรการภาษีเพื่อส[งเสริมการลงทุนเพื่อความยั่งยืนของประเทศไทย) ตามที่
กระทรวงการคลัง (กค.) เสนอ และให_ส[งสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณาต[อไป
ทั้งนี้ กค. เสนอว[า
1. โดยที่รัฐบาลมีนโยบายจะใช_การพัฒนาที่ยั่งยืนเปEนพลังสำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของ
ประเทศ สภาธุรกิจตลาดทุนไทยจึงได_มีข_อเสนอต[อ กค. ในการใช_ตลาดทุนไทยเปEนกลไกบรรลุเปwาหมายด_าน
ความสามารถในการแข[งขันควบคู[ไปกับความยั่งยืนของประเทศ กค. จึงได_ประชุมร[วมกันกับสภาธุรกิจตลาดทุนไทย
เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน 2566 โดยที่ประชุมได_มีความเห็นร[วมกันในการจัดตั้ง “กองทุนรวมไทยเพื่อความยั่งยืน
16

(Thailand ESG1 Fund หรือ TESG)” และกำหนดสิทธิประโยชนlทางภาษีเพื่อส[งเสริมการลงทุนในกองทุนรวม


ดังกล[าว
2. การลงทุ น ของกองทุ น TESG จะเปE น การนำเงิ น ที ่ ไ ด_ จ ากการขายหน[ ว ยลงทุ น ไปลงทุ น ใน
หลักทรัพยlของบริษัทที่ดำเนินธุรกิจอย[างยั่งยืน โดยคำนึงถึงสิ่งแวดล_อม สังคมและบรรษัทภิบาล (Environmental,
Social, and Governance หรื อ ESG) สำหรั บ การลงทุ น ในตราสารทุ น จะลงทุ น ในบริ ษ ั ท จดทะเบี ย นในตลาด
หลักทรัพยlแห[งประเทศไทยที่อยู[ในรายชื่อหุ_นยั่งยืน (Thailand Sustainability Investment หรือ THSI) ของตลาด
หลักทรัพยlฯ หรือที่เป›ดเผยข_อมูลการปล[อยก¥าซเรือนกระจก ซึ่งปxจจุบันมี 210 บริษัทกระจายอยู[ในหลายกลุ[ม อาทิ
ขนส[ง จัดการของเสีย ทรัพยากร พลังงาน อสังหาริมทรัพยl อุตสาหกรรม และคาดว[าจะมีเพิ่มขึ้นอีกในอนาคต สำหรับ
การลงทุนในตราสารหนี้จะลงทุนในตราสารหนี้กลุ[มความยั่งยืน (Sustainable Bond) ตามหลักเกณฑlของสำนักงาน
คณะกรรมการกำกับหลักทรัพยlและตลาดหลักทรัพยl2 (สำนักงาน ก.ล.ต.) ได_แก[ ตราสารหนี้เพื่ออนุรักษlสิ่งแวดล_อม
(Green Bond) ตราสารหนี้เพื่อพัฒนาสังคม (Social Bond) ตราสารหนี้เพื่อความยั่งยืน (Sustainability Bond)
และตราสารหนี้ส[งเสริมความยั่งยืน (Sustainability-Linked Bond) โดยจะลงทุนในหลักทรัพยlของบริษัทไทยเท[านั้น
3. กค. พิจารณาแล_วเห็นว[า เพื่อสนับสนุนนโยบายรัฐบาลที่จะใช_การพัฒนาที่ยั่งยืนเปEนพลังสำคัญใน
การขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ จึงเห็นควรยกร[างกฎกระทรวงฉบับที่ ..(พ.ศ. .... ออกตามความในประมวล
รัษฎากร ว[าด_วยการยกเว_นรัษฎากร กำหนดให_เงินได_ของบุคคลธรรมดาที่จ[ายเปEนค[าซื้อหน[วยลงทุนใน TESG ในอัตรา
ไม[เกินร_อยละ 30 ของเงินได_เฉพาะส[วนที่ไม[เกิน 100,000 บาทสำหรับปrภาษีนั้น เปEนเงินได_พึงประเมินที่ได_รับยกเว_น
ไม[ต_องรวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได_ สำหรับเงินได_ที่ได_รับตั้งแต[วันที่คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติหลักการร[าง
กฎกระทรวงฉบับนี้ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2575 และกำหนดให_ผู_มีเงินได_ไม[ต_องนำเงินหรือผลประโยชนlใด ๆ ที่ได_รับ
เนื่องจากการขายหน[วยลงทุนคืนให_แก[ TESG มารวมคำนวณภาษีเงินได_บุคคลธรรมดา เฉพาะกรณีที่เงินหรือ
ผลประโยชนlดังกล[าวคำนวณมาจากเงินได_พึงประเมินที่ได_รับยกเว_นไม[ต_องนำมารวมคำนวณภาษีเงินได_บุคคลธรรมดา
ตามที่กล[าวมา ทั้งนี้ ต_องถือหน[วยลงทุนดังกล[าวมาแล_วไม[น_อยกว[า 8 ปrนับตั้งแต[วันที่ซื้อหน[วยลงทุน
4. กค. ได_พิจารณาการสูญเสียรายได_และประโยชนlที่คาดว[าจะได_รับตามมาตรา 27 และมาตรา 32
แห[งพระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. 2561 โดยสภาธุรกิจตลาดทุนไทยได_คาดการณlว[า ในปrแรก
(ปr 2566) จะมีบัญชีนักลงทุนใหม[ 100,000 บัญชี และในปrถัด ๆ ไปจะมีบัญชีนักลงทุนใหม[ 300,000 บัญชี จึงจะมี
จำนวนเงินลงทุนใหม[ 10,000 ล_านบาท และ 30,000 ล_านบาทตามลำดับ คาดว[าจะก[อให_เกิดการสูญเสียรายได_ของ
รัฐโดยสูญเสียรายได_ภาษีเงินได_บุคคลธรรมดาในปrแรกประมาณ 3,000 ล_านบาท และในปrถัด ๆ ไปปrละประมาณ
10,000 ล_านบาท มีประโยชนlที่คาดว[าจะได_รับ ดังนี้ 1) เพิ่มทางเลือกในการออมและการลงทุนระยะยาวให_แก[ผู_มีเงิน
ได_ 2) เพิ่มการลงทุนระยะยาวในตลาดทุนไทย อันจะทำให_เสถียรภาพของตลาดทุนไทยเพิ่มขึ้นด_วย และ 3) ทำให_เกิด
การลงทุนในกิจการที่คำนึงถึงสิ่งแวดล_อม สังคม และบรรษัทภิบาลเพิ่มขึ้น และบริษัทไทยที่ให_ความสำคัญแก[
สิ่งแวดล_อม สังคม และบรรษัทภิบาลเพิ่มขึ้นตามไปด_วย อันจะมีส[วนช[วยให_ประเทศไทยบรรลุเปwาหมายการพัฒนาที่
ยั่งยืน (Sustainable Development Goals หรือ SDGs3) ของสหประชาชาติ รวมทั้งเปwาหมายความเปEนกลางทาง
คารlบอน (Carbon Neutrality4) และเปwาหมายการปล[อยก¥าซเรือนกระจกสุทธิเปEนศูนยl (Net Zero5)
จึงได_เสนอร[างกฎกระทรวงฯ มาเพื่อดำเนินการ
สาระสำคัญของร5างกฎกระทรวง
ประเด็น สาระสำคัญ
1. ผู Q ม ี ส ิ ท ธิ ไ ดQ ร ั บ สิ ท ธิ Ÿ บุคคลธรรมดาที่มีรายได_ (ไม[รวมถึงห_างหุ_นส[วนสามัญหรือคณะบุคคลที่มิใช[นิติบุคคล
ประโยชน] และกองมรดกที่ยังไม[ได_แบ[ง)
จากการซื้อหน5วยลงทุน TESG จากการขายหน5วยลงทุน TESG
2. เงื ่ อ นไขการไดQ รั บ Ÿ นำเงินได_มาซื้อหน[วยลงทุนใน TESG Ÿ ขายหน[วยลงทุนคืนให_แก[ TESG
สิทธิประโยชน] Ÿ เ ปE นเ งิ นได_ ที ่ ได_ มาตั ้ งแต[ วั นที่ Ÿ ถื อ หน[ ว ยงลงทุ น ใน TESG มาแล_ ว ไม[
คณะรั ฐ มนตรี ม ี ม ติ อ นุ ม ั ต ิ ห ลั ก การร[ า ง น_อยกว[า 8 ปrนับตั้งแต[วันที่ซื้อหน[วยลงทุน
กฎกระทรวงฉบับนี้ถึงวันที่ 31 ธ.ค. 75 (แต[ไม[รวมกรณีทุพพลภาพหรือตาย)
17

Ÿ ต_ องถื อหน[ วยลงทุ นใน TESG ไม[ น_ อย


กว[า 8 ปrนับตั้งแต[วันที่ซื้อหน[วยลงทุน (แต[
ไม[รวมกรณีทุพพลภาพหรือตาย)
จากการซื้อหน5วยลงทุน TESG จากการขายหน5วยลงทุน TESG
Ÿ ได_รับยกเว_นไม[ต_องนำเงินค[าซื้อหน[วย Ÿ ได_ ร ั บ ยกเว_ น ไม[ ต _ อ งนำเงิ น หรื อ
ลงทุนใน TESG มารวมคำนวณภาษีเงินได_ ผลประโยชนl ท ี ่ ไ ด_ ร ั บ เนื ่ อ งจากการขาย
3. สิทธิประโยชน] บุคคลธรรมดา ในอัตราไม[เกินร_อยละ 30 หน[ ว ยลงทุ น คื น ให_ แ ก[ TESG มารวม
ของเงินได_พึงประเมิน เฉพาะส[วนที่ไม[เกิน คำนวณภาษีเงินได_ (เฉพาะกรณีที่คำนวณ
100,000 บาท สำหรับปrภาษีนั้น ๆ เงิ น หรื อ ผลประโยชนl จ ากเงิ น ที ่ ไ ด_ หั ก
ลดหย[อนกรณีซื้อหน[วยลงทุนใน TESG)

___________________
1
ESG (Environment, Social, Governance) คือแนวคิดการดำเนินธุรกิจที่มุGงเนIนความยั่งยืน โดยไมGหวังผลกำไรเพียงอยGางเดียว แตG
คำนึงถึง 3 ปWจจัยหลัก คือ 1) ดIานสิ่งแวดลIอม 2) ดIานสังคม และ 3) ดIานบรรษัทภิบาล
2 สำนักงาน ก.ล.ต. กำลังอยูGระหวGางดำเนินการออกประกาศเพื่อรองรับการจัดตั้งกองทุนรวมไทยเพื่อความยั่งยืน (TESG)
3 เปdาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) เปlนชุดเปdาหมายการพัฒนาระดับโลกที่ไดIรับการรับรอง

จากสหประชาชาติ เปlนทิศทางการพัฒนาที่ทุกประเทศที่ตIองดำเนินการรGวมกันมาตั้งแตGปn ค.ศ. 2016 ไปจนถึงปn ค.ศ. 2030 มีทั้งหมด


17 เปdาหมาย (Goals) และจัดกลุGมไดIเปlน 5 มิติแหGงความยั่งยืน ไดIแกG (1) People (มิติดIานสังคม) (2) Prosperity (มิติดIานเศรษฐกิจ)
(3) Planet (มิติดIานสิ่งแวดลIอม) (4) Peace (มิติดIานสันติภาพและสถาบัน) และ (5) Partnership (มิติดIานหุIนสGวนการพัฒนา)
4 Carbon neutrality หรือ ความเปlน กลางทางคารyบ อน คือ การที่ป ริม าณการปลGอ ยคารyบ อน (CO2) เขI า สู G ช ั ้ น บรรยากาศเทG า กั บ

ปริมาณคารyบอนที่ถูกดูดซับกลับคืนมาผGานป~าหรือวิธีการอื่น
5 Net Zero หรือ การปลGอยก•าซเรือนกระจกสุทธิเปlนศูนยy คือ การที่ปริมาณการปลGอยก•าซเรือนกระจกมีความสมดุลเทGากับก•าซเรือน

กระจกที่ถูกดูดซับออกจากชั้นบรรยากาศ

22. เรื่อง ร5างพระราชบัญญัติแกQไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ5งและพาณิชย] (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... (สมรสเท5า


เทียม)
คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติหลักการร[างพระราชบัญญัติแก_ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ[งและ
พาณิชยl (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... (สมรสเท[าเทียม) ตามที่กระทรวงยุติธรรม (ยธ.) เสนอ
ทั้งนี้ ร[างพระราชบัญญัติที่กระทรวงยุติธรรมเสนอเปEนการแก_ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ[งและ
พาณิชยl โดยกำหนดให_บุคคล 2 คน ไม[ว[าเพศใดสามารถทำการหมั้นหรือสมรสกันได_ แก_ไขคำว[า “ชาย” “หญิง”
“สามี” “ภริยา” และ “สามี ภริยา” เปEน “บุคคล” “ผู_หมั้น” “ผู_รับหมั้น” และ “คู[สมรส” เพื่อให_มีความหมาย
ครอบคลุมคู[หมั้นหรือคู[สมรสไม[ว[าจะมีเพศใด (แก_ไขเพิ่มเติมมาตรา 43 มาตรา 193/22 มาตรา 1439 มาตรา 1440 ฯลฯ)
ดังนั้น เพื่อให_สอดรับการแก_ไขถ_อยคำที่กำหนดให_บุคคล 2 คน ไม[ว[าเพศใดสามารถทำการหมั้นหรือสมรสกันได_ จึงได_
มีการปรับแก_ไขถ_อยคำเล็กน_อยตามร[างพระราชบัญญัติดังกล[าว เพื่อรองรับสิทธิของคู[สมรสเพศเดียวกันให_มีสิทธิ
หน_าที่ และสถานะทางครอบครัวเท[าเทียมกับคู[สมรสที่เปEนชายและหญิง แต[ยังคงหลักการตามประมวลกฎหมายแพ[ง
และพาณิชยl โดยเพิ่มเหตุเรียกค[าทดแทนและเหตุฟwองหย[าให_ครอบคลุมกรณีที่คู[สมรสฝuายหนึ่งไปมีความสัมพันธlกับ
บุคคลอื่นไม[ว[าจะเปEนเพศใด โดยกำหนดให_คู[หมั้นฝuายหนึ่งอาจเรียกค[าทดแทนจากผู_ซึ่งกระทำกับคู[หมั้นของตนเพื่อ
สนองความใคร[ของผู_นั้นหรือคู[หมั้นของตน (แก_ไขเพิ่มเติมมาตรา 1445) กำหนดให_หญิงที่ชายผู_เปEนคู[สมรสตายหรือที่
การสมรสสิ้นสุดลงด_วยประการอื่นจะทำการสมรสใหม[กับชายได_ต[อเมื่อการสิ้นสุดแห[งการสมรสได_ผ[านพ_นไปแล_วไม[
น_อยกว[า 310 วัน (แก_ไขเพิ่มเติมมาตรา 1453) ในกรณีการสมรสระหว[างชายหญิง เมื่อหญิงมีครรภlก[อนอายุครบ
17 ปrบริบูรณlให_ถือว[าการสมรสสมบูรณlมาตั้งแต[เวลาสมรส (ประมวลกฎหมายแพ[งและพาณิชยl เดิม กำหนดให_กรณี
ถ_าศาลมิได_สั่งให_เพิกถอนการสมรสจนบุคคลทั้งสองมีอายุครบ 17 ปrบริบูรณl หรือเมื่อหญิงมีครรภlก[อนอายุครบ 17 ปr
บริบูรณlให_ถือว[าการสมรสสมบูรณlมาตั้งแต[เวลาสมรส) (แก_ไขเพิ่มเติม ม. 1504) ในกรณีการสมรสระหว[างชายหญิง
เมื่อหญิงมีครรภl (ประมวลกฎหมายแพ[งและพาณิชยl เดิม กำหนดให_สิทธิขอเพิกถอนการสมรสตามมาตรานี้เปEนอัน
ระงับเมื่อคู[สมรสนั้นมีอายุครบ 20 ปrบริบูรณl หรือเมื่อหญิงมีครรภl) (แก_ไขเพิ่มเติมมาตรา 1510)
18

อย[างไรก็ตาม ร[างพระราชบัญญัติแก_ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ[งและพาณิชยl (ฉบับที่ ..)


พ.ศ. .... ที่กระทรวงยุติธรรมเสนอในครั้งนี้ มิได_ส[งผลกระทบต[อหลักการสำคัญบางประการ เช[น บุคคลทั้งสองฝuาย
สามารถรับบุตรบุญธรรมร[วมกันได_ รับมรดกของคู[สมรสอีกฝuายหนึ่งได_ รวมทั้งการจัดการทรัพยlสินบางกรณีต_องได_รับ
ความยินยอมจากคู[สมรสอีกฝuายหนึ่ง ซึ่งเปEนไปหลักการแห[งประมวลกฎหมายแพ[งและพาณิชยl สำหรับการเข_าถึงสิทธิ
ประโยชนlและสวัสดิการของรัฐที่เกี่ยวข_องกับกฎหมายอื่น ๆ เช[น กรณีการจ[ายเงินบำเหน็จตกทอดตามกฎหมายว[า
ด_วยบำเหน็จบำนาญข_าราชการนั้น ปxจจุบันกำหนดให_จ[ายเงินแก[ “สามีหรือภริยา” แต[เมื่อมีการแก_ไขให_คู[สมรส
หมายถึงบุคคลเพศเดียวกันด_วยแล_ว หน[วยงานจะต_องดำเนินการแก_ไขกฎหมายที่เกี่ยวข_องต[อไปเพื่อให_สอดคล_องกับ
การแก_ไขประมวลกฎหมายแพ[งและพาณิชยlในครั้งนี้
กระทรวงยุติธรรมได_ดำเนินการรับฟxงความคิดเห็นประกอบการจัดทำร[างกฎหมาย และเป›ดเผย
สรุปผลการรับฟxงความคิดเห็นและการวิเคราะหlผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากกฎหมาย รวมทั้งจัดทำรายงานการ
วิเคราะหlผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากกฎหมายตามแนวทางมติคณะรัฐมนตรี (19 พฤศจิกายน 2562) เรื่อง การ
ดำเนินการเพื่อรองรับและขับเคลื่อนการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติหลักเกณฑlการจัดทำร[างกฎหมายและการ
ประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พ.ศ. 2562 แล_ว และได_เผยแพร[ผลการรับฟxงความคิดเห็นพร_อมการวิเคราะหl
ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากกฎหมายผ[านทางเว็บไซตl law.go.th ให_ประชาชนได_รับทราบด_วยแล_ว
สาระสำคัญของร5างพระราชบัญญัติ
เปEนการแก_ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ[งและพาณิชยl เพื่อให_บุคคล 2 คน ไม[ว[าเพศใดสามารถทำ
การหมั้นและสมรสได_ แก_ไขคำว[า “ชาย” “หญิง” “สามี” “ภริยา” และ “สามีภริยา” เปEน “บุคคล” “ผู_หมั้น” “ผู_รับ
หมั้น” และ “คู[สมรส” เพื่อให_มีความหมายครอบคลุมคู[หมั้น หรือคู[สมรส ไม[ว[าจะมีเพศใด รวมทั้งแก_ไขเพิ่มเติม
บทบัญญัติอื่น ๆ ที่เกี่ยวข_อง ซึ่งจะทำให_บุคคลนั้นมีสิทธิ หน_าที่ และสถานะทางครอบครัวเท[าเทียมกับคู[สมรสที่เปEน
ชายและหญิง สรุปสาระสำคัญดังนี้
ประเด็นสำคัญ ประมวลกฎหมาย ร5างฯ ที่ ยธ. เสนอในครั้งนี้
แพ5งและพาณิชย] (ปnจจุบัน)
1. เหตุ ก ารเรี ย กค5 า ทดแทน กำหนดให_ชายหรือหญิงคู[หมั้นอาจ กำหนดให_คู[หมั้นฝuายหนึ่งอาจเรียก
เนื่องจากผิดสัญญาหมั้น กรณีที่ เรี ย กค[ า ทดแทนจากผู _ ซ ึ ่ ง ได_ ร [ ว ม ค[าทดแทนจากผู_ซึ่งได_ร[วมประเวณี
คู5หมั้นไปมีความสัมพันธ]กับบุคคล ประเวณีกับคู[หมั้นของตนโดยรู_หรือ กับคู[หมั้นของตน หรือผู_ซึ่งกระทำ
อื่น ควรจะรู_ถึงการหมั้นนั้น กับคู[หมั้นของตนเพื่อสนองความ
(มาตรา 1445) ใคร[ของผู_นั้นหรือคู[หมั้นของตนโดย
รู_หรือควรจะรู_ถึงการหมั้นนั้น
2. การกำหนดอายุขั้นต่ำในการจด การสมรสจะกระทำได_ ต [ อ เมื ่ อ ชาย การสมรสจะกระทำได_ต[อเมื่อบุคคล
ทะเบียนสมรส และหญิงมีอายุ 17 ปrบริบูรณlแล_ว แต[ ทั้งสองฝuายมีอายุ 17 ปrบริบูรณlแล_ว
ในกรณี ท ี ่ ม ี เ หตุ อ ั น สมควรศาลอาจ แต[ในกรณีมีเหตุอันสมควรศาลอาจ
อนุญาตให_ทำการสมรสก[อนนั้นได_ อนุญาตให_ทำการสมรสก[อนนั้นได_
(มาตรา 1448)
3. เงื่อนไขแห5งการสมรสใหม5 กำหนดให_หญิงที่สามีตายหรือที่การ กำหนดให_หญิงที่ชายผู_เปEนคู[สมรส
สมรสสิ้นสุดลงด_วยประการอื่นจะทำ ตายหรือที่การสมรสสิ้นสุดลงด_วย
การสมรสใหม[ ไ ด_ ต[ อเมื ่ อการสิ ้ นสุ ด ประการอื่นจะทำการสมรสใหม[กับ
แห[ งการสมรสได_ ผ[ านพ_ นไปแล_ วไม[ ชายได_ต[อเมื่อการสิ้นสุดแห[งการ
น_อยกว[า 310 วัน เว_นแต[ สมรสได_ผ[านพ_นไปแล_วไม[น_อยกว[า
1) คลอดบุตรแล_วในระหว[างนั้น 310 วัน เว_นแต[
2) สมรสกับคู[สมรสเดิม 1) คลอดบุตรแล_วในระหว[างนั้น
3) มีใบรับรองแพทยlประกาศนียบัตร 2) สมรสกับคู[สมรสเดิม
หรือปริญญาซึ่งเปEนผู_ประกอบการ 3) มีใบรับรองแพทยlประกาศนียบัตร
รั ก ษาโรคในสาขาเวชกรรมได_ ต าม หรือปริญญาซึ่งเปEนผู_ประกอบการ
กฎหมายว[ามิได_มีครรภl หรือ รักษาโรคในสาขาเวชกรรมได_ตาม
4) มีคำสั่งของศาลให_สมรสได_ กฎหมายว[ามิได_มีครรภl หรือ
19

(มาตรา 1453) 4) มีคำสั่งของศาลให_สมรสได_


4. การเพิ ก กถอนการสมรส (ใน กำหนดให_กรณีถ_าศาลมิได_สั่งให_เพิก กำหนดให_กรณีถ_าศาลมิได_สั่งให_เพิก
กรณี ม ิ ไ ดQ ม ี ก ารขอเพิ ก ถอนการ ถอนการสมรสจนชายหญิ ง มี อ ายุ ถอนการสมรสจนบุ ค คลทั ้ ง สองมี
มรส ใหQถือว5าการสมรสสมบูรณ] ครบ 17 ปrบริบูรณl หรือเมื่อหญิงมี อายุครบ 17 ปrบริบูรณl หรือในกรณี
มาตั้งแต5เวลาสมรส) ครรภlก[อนอายุครบ 17 ปrบริบูรณl ให_ การสมรสระหว[ า งชายหญิ ง เมื่ อ
ถือว[าการสมรสสมบูรณlมาตั้งแต[เวลา หญิ ง มี ค รรภl ก [ อ นอายุ ค รบ 17 ปr
สมรส บริบูรณlให_ถือว[าการสมรสสมบูรณl
(มาตรา 1504 วรรคสอง) มาตั้งแต[เวลาสมรส
5. เงื ่ อ นไขที ่ ท ำใหQ ก ารเพิ ก ถอน กำหนดให_สิทธิขอเพิกถอนการสมรส กำหนดให_สิทธิขอเพิกถอน
การสมรสสิ้นสุด เปE น อั น ระงั บ เมื ่ อ คู [ ส มรสนั ้ น มี อ ายุ การสมรสเปEนอันระงับเมื่อคู[สมรส
ครบ 20 ปr บริ บู รณl หรื อเมื ่ อหญิ ง มี นั้นมีอายุครบ 20 ปrบริบูรณlหรือใน
ครรภl กรณี ก ารสมรสระหว[ า งชายหญิ ง
(มาตรา 1510 วรรคสอง) เมื่อหญิงมีครรภl

23. เรื่อง ขอขยายระยะเวลาการดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรองที่ออกตามพระราชบัญญัติเขตพัฒนาพิเศษ


ภาคตะวันออก พ.ศ. 2561
คณะรั ฐ มนตรี ม ี ม ติ เ ห็ น ชอบขยายระยะเวลาในการจั ด ทำกฎหมายลำดั บ รองซึ ่ ง ออกตาม
พระราชบัญญัติเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. 2561 ออกไปอีก 1 ปr ตั้งแต[วันที่ 27 พฤศจิกายน 2566 ตามที่
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (สกพอ.) เสนอ
สาระสำคัญ
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกเสนอขอขยายระยะเวลาในการออก
กฎหมายลำดับรองจำนวน 8 ฉบับ ซึ่งออกโดยอาศัยอำนาจตามความในพระราชบัญญัติเขตพัฒนาพิเศษภาค
ตะวันออก พ.ศ. 2561 ที่มีผลใช_บังคับอยู[ก[อนวันที่พระราชบัญญัติหลักเกณฑlการจัดทำร[างกฎหมายและการ
ประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พ.ศ. 2562 มีผลใช_บังคับ ดังนั้น การออกกฎหมายลำดับรองจะต_องดำเนินการให_
แล_วเสร็จภายในวันที่ 27 พฤศจิกายน 2566 ตามพระราชบัญญัติหลักเกณฑlการจัดทำร[างกฎหมายฯ ประกอบมติ
คณะรัฐมนตรี วันที่ 19 มกราคม 2564 และ 28 กุมภาพันธl 2566 แต[โดยที่การดำเนินการออกกฎหมายลำดับรอง
จำนวน 8 ฉบับดังกล[าวอยู[ระหว[างการจัดให_มีการรับฟxงความคิดเห็นฯ โดยการประชุมและทำหนังสือสอบถามจาก
หน[ ว ยงานที ่ เ กี ่ ย วข_ อ ง เช[ น กรมที ่ ด ิ น กรมสรรพสามิ ต กรมศุ ล กากร สำนั ก งานตรวจคนเข_ า เมื อ ง สำนั ก งาน
คณะกรรมการส[งเสริมการลงทุน ธนาคารแห[งประเทศไทย และเอกชนคู[สัญญา PPP (Public Private Partnership)
ซึ ่ ง ใช_ ร ะยะเวลาในการดำเนิ น การนานพอสมควร ประกอบกั บ การออกกฎหมายลำดั บ รองจะต_ อ งเสนอต[ อ
คณะอนุกรรมการด_านกฎหมายเพื่อพิจารณากลั่นกรองให_เกิดความรอบคอบ และเสนอคณะกรรมการนโยบายเขต
พั ฒนาพิ เศษภาคตะวั นออกให_ ความเห็ นชอบ ก[ อนที ่ จะเสนอคณะรั ฐมนตรี ตามขั ้ นตอนของกฎหมายต[ อไปซึ่ ง
คณะอนุกรรมการด_านกฎหมายชุดใหม[เพิ่งได_รับการแต[งตั้ง เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2566 ดังนั้นจึงมีความจำเปEนต_อง
ขยายระยะเวลาการออกกฎหมายลำดับรองซึ่งออกตามพระราชบัญญัติเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกฯ
จำนวน 8 ฉบับ ออกไปอีก 1 ปr ตั้งแต[วันที่ 27 พฤศจิกายน 2566 เพื่อให_การจัดทำกฎหมายลำดับรองมีประสิทธิภาพ
มากยิ่งขึ้นและมีเนื้อหาที่ครอบคลุมและสอดคล_องกับบทบัญญัติที่ให_อำนาจในการจัดทำกฎหมายลำดับรองนั้นต[อไป
24. เรื่อง ขอขยายระยะเวลาการดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรองตามความพระราชบัญญัติการประกอบ
กิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2544
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบให_ขยายระยะเวลาการดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรองตามความใน
พระราชบัญญัติการประกอบกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2544 มาตรา 57 วรรคสอง และมาตรา 66 วรรคสาม ออกไป
อีก 1 ปr ตั้งแต[วันที่ 27 พฤศจิกายน 2566 ตามที่สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศนlและ
กิจการโทรคมนาคมแห[งชาติ (สำนักงาน กสทช.) เสนอ
สาระสำคัญ
20

สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศนlและกิจการโทรคมนาคมแห[งชาติเสนอ
ขอขยายระยะเวลาในการออกกฎหมายลำดับรองตามพระราชบัญญัติการประกอบกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2544
โดยที่มาตรา 22 วรรคสอง แห[งพระราชบัญญัติหลักเกณlการจัดทำร[างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของ
กฎหมาย พ.ศ. 2562 บัญญัติให_กฎหมายที่กำหนดให_ต_องมีการออกกฎ หรือกำหนดให_รัฐต_องดำเนินการอย[างหนึ่ง
อย[างใด เพื่อที่ประชาชนจะสามารถปฏิบัติตามกฎหมายหรือได_รับสิทธิประโยชนlตามกฎหมายนั้นได_ หากมิได_มีการ
ออกกฎดังกล[าวหรือยังมิได_ดำเนินการนั้นภายในระยะเวลา 2 ปr นับแต[วันที่กฎหมายนั้นมีผลใช_บังคับและบทบัญญติ
ในเรื่องนั้นก[อภาระหรือเปEนผลร_ายต[อประชาชนให_บทบัญญัติดังกล[าวเปEนอันสิ้นผลบังคับ ทั้งนี้ ระยะเวลา 2 ปr
ดังกล[าวคณะรัฐมนตรีจะมีมติขยายออกไปอีกก็ได_แต[ไม[เกิน 1 ปrและต_องมีมติก[อนที่จะครบกำหนดเวลา 2 ปrดังกล[าว
ประกอบกับมาตรา 39 (1) กำหนดให_ระยะเวลา 2 ปr ตามมาตรา 22 วรรคสอง สำหรับกฎหมายที่ใช_บังคับอยู[ก[อน
วันที่พระราชบัญญัตินี้มีผลใช_บังคับ ให_นับแต[เมื่อพ_นกำหนด 2 ปrนับแต[วันที่พระราชบัญญัตินี้มีผลใช_บังคับ (นับแต[
วันที่ 27 พฤศจิกายน 2564) ซึ่งพระราชบัญญัติการประกอบกิจการโทรคมนาคมฯ เปEนกฎหมายที่มีผลใช_บังคับอยู[
ก[อนวันที่พระราชบัญญัติหลักเกณฑlการจัดทำร[างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมายฯ ใช_บังคับ (ก[อน
วันที่ 27 พฤศจิกายน 2562) สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศนlและกิจการโทรคมนาคม
แห[งชาติจึงต_องดำเนินการออกกฎหมายลำดับรองให_แล_วเสร็จภายในวันที่ 27 พฤศจิกายน 2566
สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศนlและกิจการโทรคมนาคมแห[งชาติได_
จัดทำกฎหมายลำดับรองซึ่งออกตามความในพระราชบัญญัติการประกอบกิจการโทรคมนาคม พ.ศ. 2544 จำนวน
ทั้งสิ้น 82 ฉบับ ซึ่งได_ประกาศใช_บังคับแล_วและอยู[ระหว[างดำเนินการ จำนวน 2 ฉบับ ซึ่งคาดว[าจะดำเนินการตาม
ความในมาตรา 66 วรรคสามแห[งพระราชบัญญัติฯ จำนวน 1 ฉบับ และมาตรา 57 วรรคสอง แห[งพระราชบัญญัติฯ
จำนวนอย[างน_อย 1 ฉบับ แต[โดยที่ประกาศตามมาตรา 57 วรรคสอง แห[งพระราชบัญญัติฯ กำหนดให_ผู_รับใบอนุญาต
ได_รับการลดหรือยกเว_นค[าธรรมเนียมหรือค[าบริการสำหรับการให_บริการข_อมูลข[าวสารและความรู_เปEนเรื่องที่มีหลาย
มิติ การลดหรือยกเว_นค[าบริการให_แก[ทุกหมายเลขที่ให_ข_อมูลข[าวสารย[อมส[งผลกระทบโดยตรงต[อผู_ให_บริการ
โทรคมนาคมจะต_องรับภาระค[าใช_จ[ายจึงจำเปEนต_องรับฟxงความคิดเห็นจากหลายกลุ[มบุคคลทั้งจากผู_ใช_บริการและผู_
ให_บริการผู_มีส[วนได_ส[วนเสีย และประชาชนทั่วไปเพื่อให_การรับฟxงความคิดเปEนไปอย[างรอบด_านเพื่อเปEนประโยชนlต[อ
ประชาชนผู_ใช_บริการ และเปEนธรรมต[อผู_ให_บริการโทรคมนาคมและสำหรับการออกกฎหมายลำดับรองตามความใน
มาตรา 66 วรรคสาม แห[งพระราชบัญญัติฯ สำนักงานฯ เห็นว[า หากไม[มีการออกประกาศพักใช_หรือเพิกถอน
ใบอนุญาตดังกล[าว ผู_ให_บริการโทรคมนาคมอาจอาศัยช[องทางดังกล[าวกระทำความผิดร_ายแรงบางประการที่อาจมีผล
เปEนการเอาเปรียบผู_ใช_บริการ ซึ่งการออกประกาศดังกล[าวทำให_ประชาชนได_รับผลกระทบจากการพักใช_หรือเพิกถอน
ใบอนุญาตดังกล[าวเปEนวงกว_าง การพิจารณาจัดทำประกาศดังกล[าวจึงต_องใช_ระยะเวลาในการดำเนินการด_วยความ
รอบคอบและละเอียดถี่ถ_วน ซึ่งจำเปEนที่จะต_องมีการรับฟxงความคิดเห็นของผู_มีส[วนได_เสียและประชาชนทั่วไปอย[าง
รอบด_าน เพื่อนำมาประกอบการพิจารณาก[อนออกประกาศ สำนักงานฯ ไม[สามารถดำเนินการออกกฎหมายลำดับ
รองตามมาตรา 57 วรรคสอง และมาตรา 66 วรรคสาม แห[งพระราชบัญญัติดังกล[าวให_แล_วเสร็จ ภายในวันที่
27 พฤศจิกายน 2566 จึงมีความจำเปEนต_องขอขยายระยะเวลาการออกกฎหมายลำดับรองออกไปอีก 1 ปr ตั้งแต[วันที่
27 พฤศจิกายน 2566
25. เรื่อง ขอขยายระยะเวลาดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรองตามความในพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร
ราชการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร] วิจัยและนวัตกรรม พ.ศ. 2562 และพระราชบัญญัติการอุดมศึกษา
พ.ศ. 2562
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามที่กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตรl วิจัยและนวัตกรรม (อว.)
เสนอ
1. ให_ ข ยายระยะเวลาการดำเนิ น การจั ด ทำกฎหมายลำดั บ รอง จำนวน 2 ฉบั บ ซึ ่ ง ออกตาม
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตรl วิจัยและนวัตกรรม พ.ศ. 2562
2. ให_ ข ยายระยะเวลาการดำเนิ น การจั ด ทำกฎหมายลำดั บ รอง จำนวน 3 ฉบั บ ซึ ่ ง ออกตาม
พระราชบัญญัติการอุดมศึกษา พ.ศ. 2562
ออกไป 1 ปr ตั้งแต[วันที่ 27 พฤศจิกายน 2566
สาระสำคัญ
21

กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตรl วิจัยและนวัตกรรมเสนอขอขยายระยะเวลาในการออก


กฎหมายลำดับรอง จำนวน 2 ฉบับ ซึ่งออกโดยอาศัยอำนาจตามความในพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตรl วิจัยและนวัตกรรม พ.ศ. 2562 และเปEนการขอขยายระยะเวลาในการออก
กฎหมายลำดับรอง จำนวน 3 ฉบับ ซึ่งออกโดยอาศัยอำนาจตามความในพระราชบัญญัติการอุดมศึกษา พ.ศ. 2562 ที่
มีผลใช_บังคับอยู[ก[อนวันที่พระราชบัญญัติหลักเกณฑlการจัดทำร[างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย
พ.ศ. 2562 มีผลใช_บังคับ ดังนั้น จะต_องดำเนินการออกกฎหมายลำดับรองดังกล[าวให_แล_วเสร็จภายใน 27 พฤศจิกายน
2566 ตามพระราชบัญญัติหลักเกณฑlการจัดทำร[างกฎหมายฯ ประกอบมติคณะรัฐมนตรีวันที่ 19 มกราคม 2564
และ 28 กุมภาพันธl 2566 แต[โดยที่การออกกฎหมายลำดับรองรวม 5 ฉบับดังกล[าว เปEนเรื่องเกี่ยวกับหลักเกณฑlการ
กำหนดตำแหน[งซึ่งประธานกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษาและคณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษา จะดำรง
ตำแหน[งไม[ได_ การกำหนดมาตรฐานการอุดมศึกษา การกำหนดความร[วมมือในการจัดการศึกษา การวิจัย ฯลฯ
ระหว[างสถาบันอุดมศึกษาของรัฐและเอกชน การกำหนดหลักเกณฑl วิธีการ และระยะเวลาหน[วยงานของรัฐและ
หน[ ว ยงานภาคเอกชนส[ ง ข_ อ มู ล เกี ่ ย วกั บ การอุ ด มศึ ก ษาและการอื ่ น ที ่ เ กี ่ ย วข_ อ ง และการกำหนดหลั ก การอื่ น
นอกเหนือจากที่กำหนดในการจัดการอุดมศึกษา ซึ่งยังมีประเด็นที่จะต_องพิจารณา รวบรวมข_อมูลและตรวจสอบ
เพื่อให_การศึกษาในระดับอุดมศึกษาทั้งของรัฐและเอกชนมีการบูรณาการในความร[วมมือการจัดการศึกษา การวิจัย
และการสร_างนวัตกรรม รวมทั้งการรับฟxงความคิดเห็นจากผู_มีส[วนได_ส[วนเสียรอบด_าน จึงมีความจำเปEนต_องขอขยาย
ระยะเวลาการออกกฎหมายลำดับรองออกไปอีก 1 ปr ตั้งแต[วันที่ 27 พฤศจิกายน 2566
26. เรื ่ อ ง ขอขยายระยะเวลาดำเนิ น การจั ด ทำกฎหมายลำดั บ รองที ่ อ อกตามความในพระราชบั ญ ญั ต ิ แ ร5
พ.ศ. 2560 ตามมาตรา 22 วรรคสอง แห5งพระราชบัญญัติหลักเกณฑ]การจัดทำร5างกฎหมายและการประเมินผล
สัมฤทธิ์ของกฎหมาย พ.ศ. 2562
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบขยายระยะเวลาดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรองที่ออกตามความใน
พระราชบัญญัติแร[ พ.ศ. 2560 จำนวน 11 ฉบับ ออกไปอีก 1 ปr ตั้งแต[วันที่ 27 พฤศจิกายน 2566 ตามที่กระทรวง
อุตสาหกรรม (อก.) เสนอ
สาระสำคัญ
กระทรวงอุตสาหกรรมเสนอขอขยายระยะเวลาในการออกกฎหมายลำดับรอง จำนวน 11 ฉบับ ที่
ออกตามความในพระราชบัญญัติแร[ พ.ศ. 2560 ซึ่งพระราชบัญญัติแร[ พ.ศ. 2560 เปEนกฎหมายที่มีผลใช_บังคับอยู[
ก[อนวันที่พระราชบัญญัติหลักเกณฑlการจัดทำร[างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมายฯ ใช_บังคับ (ก[อน
วันที่ 27 พฤศจิกายน 2566) ดังนั้น การออกกฎหมายลำดับรองดังกล[าว กระทรวงอุตสาหกรรมต_องดำเนินการให_แล_ว
เสร็จภายในวันที่ 27 พฤศจิกายน 2566 แต[เนื่องจากการดำเนินการออกกฎหมายลำดับรองดังกล[าวอยู[ระหว[างดำเนิน
การศึกษาและรวบรวมแนวทางความเหมาะสมในการกำหนดหลักเกณฑlที่เกี่ยวข_องกับการกำหนดนโยบายในการ
บริหารจัดการแร[ ซึ่งต_องใช_เวลาในการทบทวนตรวจสอบข_อมูลต[าง ๆ รวมทั้งจัดให_มีการรับฟxงความคิดเห็นจาก
ภาครัฐ ภาคเอกชน และผู_ประกอบการเหมืองแร[อย[างรอบด_าน และกฎหมายลำดับรองบางฉบับจะดำเนินการต[อเมื่อ
มีสถานการณlหรือเหตุการณlบางอย[างเกิดขึ้นในกรณีที่มีความจำเปEน กระทรวงอุตสาหกรรมจึงมีความจำเปEนต_องเสนอ
คณะรัฐมนตรีเพื่อขอขยายระยะเวลาดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรองที่ออกตามความในพระราชบัญญัติแร[
พ.ศ. 2560 จำนวน 11 ฉบับ ออกไปอีก 1 ปr ตั้งแต[วันที่ 27 พฤศจิกายน 2566
27. เรื่อง ขอขยายระยะเวลาในการออกกฎหรือดำเนินการอย5างหนึ่งอย5างใดตามมาตรา 22 วรรคสอง แห5ง
พระราชบั ญ ญั ต ิ ห ลั ก เกณฑ] ก ารจั ด ทำร5 า งกฎหมายและการประเมิ น ผลสั ม ฤทธิ ์ ข องกฎหมาย พ.ศ. 2562
(สำนักงาน ก.พ.)
คณะรัฐมนตรีเห็นชอบให_ขยายระยะเวลาการจัดทำกฎหมายลำดับรอง จำนวน 2 ฉบับ ซึ่งออกตาม
พระราชบัญญัติระเบียบข_าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 ออกไป 1 ปr ตั้งแต[วันที่ 27 พฤศจิกายน 2566 ตามที่
สำนักงาน ก.พ. เสนอ
สาระสำคัญ
สำนักงาน ก.พ. เสนอขอขยายระยะเวลาในการออกกฎหมายลำดับรอง จำนวน 2 ฉบับ ซึ่งออกโดย
อาศัยอำนาจตามความในพระราชบัญญัติระเบียบข_าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 ที่มีผลใช_บังคับอยู[ก[อนวันที่
22

พระราชบัญญัติหลักเกณฑlการจัดทำร[างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พ.ศ. 2562 มีผลใช_บังคับ


ดังนั้น จะต_องดำเนินการออกกฎหมายลำดับรองดังกล[าวให_แล_วเสร็จภายในวันที่ 27 พฤศจิกายน 2566 ตาม
พระราชบั ญญั ติ หลั กเกณฑl การจั ดทำร[ า งกฎหมายฯ ประกอบมติ คณะรั ฐ มนตรี ว ั นที่ 19 มกราคม 2564 และ
28 กุมภาพันธl 2566 แต[โดยที่มีประเด็นปxญหาข_อกฎหมายตามมาตรา 25 และมาตรา 42 ของรัฐธรรมนูญแห[ง
ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ที่จะต_องหารือไปยังสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา ดังนั้น เพื่อให_สำนักงาน
ก.พ. สามารถดำเนินการให_เปEนไปตามหลักเกณฑlและระยะเวลาตามมาตรา 22 แห[งพระราชบัญญัติดังกล[าว จึงมี
ความจำเปEนต_องขอขยายระยะเวลาการออกกฎหมายลำดับรองออกไปอีก 1 ปr ตั้งแต[วันที่ 27 พฤศจิกายน 2566
28. เรื่อง ขอขยายระยะเวลาดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรองที่ออกตามพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและ
ครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. 2553 และที่ออกตามพระราชบัญญัติการบริหารการ
แกQไขบำบัดฟvwนฟูเด็กและเยาวชนที่กระทำผิด พ.ศ. 2561
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบให_ขยายระยะเวลาดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรองที่ออกตาม
พระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. 2553 และพระราชบัญญัติ
การบริหารการแก_ไขบำบัดฟz{นฟูเด็กและเยาวชนที่กระทำผิด พ.ศ. 2561 รวม 12 ฉบับ ออกไปอีก 1 ปr ตั้งแต[วันที่
27 พฤศจิกายน 2566 ตามที่กระทรวงยุติธรรม (ยธ.) เสนอ
สาระสำคัญ
การเสนอเรื ่ อ งของกระทรวงยุ ต ิ ธ รรมเปE น การดำเนิ น การตามมาตรา 22 วรรคสอง แห[ ง
พระราชบัญญัติหลักเกณฑlการจัดทำร[างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พ.ศ. 2562 ซึ่งบทบัญญัติ
ให_กฎหมายที่กำหนดให_ต_องมีการออกกฎหรือกำหนดให_รัฐต_องดำเนินการอย[างหนึ่งอย[างใด เพื่อที่ประชาชนจะ
สามารถปฏิบัติตามกฎหมาย หรือได_รับสิทธิประโยชนlตามกฎหมายนั้นได_ หากมิได_มีการออกกฎดังกล[าวหรือยังมิได_
ดำเนินการนั้นภายในระยะเวลา 2 ปrนับแต[วันที่กฎหมายนั้นมีผลใช_บังคับและบทบัญญัติในเรื่องนั้นก[อภาระหรือเปEน
ผลร_ายต[อประชาชนให_บทบัญญัติดังกล[าวเปEนอันสิ้นผลบังคับ แต[ในกรณีที่บทบัญญัติในเรื่องนั้นให_สิทธิประโยชนlแก[
ประชาชน ให_บทบัญญัติดังกล[าวมีผลใช_บังคับได_โดยไม[ต_องมีกฎหรือดำเนินการดังกล[าว โดยระยะเวลา 2 ปrดังกล[าว
คณะรัฐมนตรีจะมีมติขยายออกไปอีกก็ได_แต[ไม[เกิน 1 ปr และต_องมีมติก[อนที่จะครบกำหนดเวลา 2 ปrดังกล[าว
ประกอบกับมาตรา 39 (1) กำหนดให_ระยะเวลา 2 ปr ตามมาตรา 22 สำหรับกฎหมายที่ใช_บังคับอยู[ก[อนวันที่
พระราชบัญญัตินี้มีผลใช_บังคับ ให_นับแต[เมื่อพ_นกำหนด 2 ปrนับแต[วันที่พระราชบัญญัตินี้มีผลใช_บังคับ (นับแต[วันที่
27 พฤศจิกายน 2564) ซึ่งพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว
พ.ศ. 2553 และพระราชบัญญัติการบริหารการแก_ไขบำบัดฟz{นฟูเด็กและเยาวชนที่กระทำผิด พ.ศ. 2561 เปEนกฎหมาย
ที่มีผลใช_บังคับอยู[ก[อนวันที่พระราชบัญญัติหลักเกณฑlการจัดทำร[างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมายฯ
ใช_บังคับ (ก[อนวันที่ 27 พฤศจิกายน 2562)
โดยมีการออกกฎหมายลำดับรองตามพระราชบัญญัติทั้งสองฉบับดังกล[าวมีประเด็นที่ต_องพิจารณา
โดยละเอียดรอบคอบให_สอดคล_องกับสถานการณlปxจจุบันและอาจส[งผลกระทบต[อความปลอดภัยของประชาชน
เนื่องจากร[างกฎหมายลำดับรองบางฉบับเปEนการดำเนินการให_จัดตั้งสถานศึกษา สถานฝ¡กอบรม หรือสถานแนะนำ
ทางจิตเกี่ยวกับเด็กหรือเยาวชนซึ่งเปEนผู_ต_องหาว[ากระทำความผิด เปEนจำเลย หรือเปEนผู_ต_องคำพิพากษาหรือคำสั่ง
ของศาลให_ลงโทษหรือใช_วิธีการสำหรับเด็กและเยาวชน จึงต_องมีการรับฟxงความคิดจากหน[วยงานที่เกี่ยวข_องและ
ศึกษาวิเคราะหlกฎหมายไทยและกฎหมายต[างประเทศเพื่อนำมาเปEนข_อมูลประกอบการพิจารณาและประสิทธิพล
ต[อไป ดังนั้น กระทรวงยุติธรรมจึงมีความจำเปEนต_องเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อขอขยายระยะเวลาในการออกกฎหมาย
ลำดับรอง จำนวน 12 ฉบับดังกล[าวออกไปอีก 1 ปr ตั้งแต[วันที่ 27 พฤศจิกายน 2566
29. เรื่อง ขอขยายระยะเวลาการดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรองตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอน
การกระจายอำนาจใหQแก5องค]กรปกครองส5วนทQองถิ่น พ.ศ. 2542
คณะรั ฐ มนตรี ม ี ม ติ เ ห็ น ชอบขยายระยะเวลาในการดำเนิ น การจั ด ทำกฎหมายลำดั บ รองตาม
พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให_แก[องคlกรปกครองส[วนท_องถิ่น พ.ศ. 2542 ออกไปอีก
1 ปr ตั้งแต[วันที่ 27 พฤศจิกายน 2566 ตามที่คณะกรรมการการกระจายอำนาจให_แก[องคlกรปกครองส[วนท_องถิ่น
(กกถ.) เสนอ
23

สาระสำคัญ
คณะกรรมการการกระจายอำนาจให_แก[องคlกรปกครองส[วนท_องถิ่นเสนอขอขยายระยะเวลาในการ
ดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรอง จำนวน 3 ฉบับ ซึ่งออกโดยอาศัยอำนาจตามความในพระราชบัญญัติกำหนดแผน
และขั ้ น ตอนการกระจายอำนาจให_ แ ก[ อ งคl ก รปกครองส[ ว นท_ อ งถิ ่ น พ.ศ. 2542 ที ่ ม ี ผ ลใช_ บ ั ง คั บ อยู [ ก[อ นวั น ที่
พระราชบัญญัติหลักเกณฑlการจัดทำร[างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พ.ศ. 2562 มีผลใช_บังคับ
ดังนั้น การออกกฎหมายลำดับรองจะต_องดำเนินการให_แล_วเสร็จภายในวันที่ 27 พฤศจิกายน 2566 แต[เนื่องจากการ
ดำเนินการออกกฎหมายลำดับรอง จำนวน 3 ฉบับ ต_องใช_เวลาในการทบทวน ตรวจสอบข_อมูลต[าง ๆ เนื่องจากมี
ความเกี่ยวข_องกับกฎหมายหลายฉบับและมีหน[วยงานที่เกี่ยวข_องหลายหน[วยงาน รวมทั้งต_องจัดให_มีการรับฟxงความ
คิดเห็นจากหน[วยงานและผู_มีส[วนเกี่ยวข_องที่อาจได_รับผลกระทบที่จากการต_องเสียค[าใช_จ[ายเพิ่มขึ้น วิธีการจัดเก็บ
และการกำหนดอั ตราค[ าใช_ จ[ ายที ่ เพิ ่ มขึ ้ นอย[ างรอบด_ าน จึ งไม[ สามารถดำเนิ นการให_ แล_ วเสร็ จทั นภายในวั นที่
27 พฤศจิกายน 2566 ได_ คณะกรรมการการกระจายอำนาจให_แก[องคlกรปกครองส[วนท_องถิ่น จึงมีความจำเปEนต_อง
เสนอคณะรั ฐ มนตรี เ พื ่ อ ขอขยายระยะเวลาในการดำเนิ น การจั ด ทำกฎหมายลำดั บ รอง จำนวน 3 ฉบั บ ตาม
พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให_แก[องคlปกครองส[วนท_องถิ่นฯ ออกไปอีก 1ปr ตั้งแต[วันที่
27 พฤศจิกายน 2566
สำหรับการดำเนินการออกกฎหมายลำดับรองตามมาตรา 23 (15) และมาตรา 25 (16) แห[ง
พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให_แก[องคlกรปกครองส[วนท_องถิ่นฯ นั้น เนื่องจาก
พระราชบัญญัติการเดินอากาศ (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2551 ได_แก_ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติที่เกี่ยวกับ “ค[าธรรมเนียมการใช_
สนามบิน” เปEน “ค[าบริการการใช_สนามบิน” ทำให_องคlกรปกครองส[วนท_องถิ่นไม[สามารถจัดเก็บรายได_จาก
ค[ า ธรรมเนี ย มสนามบิ น ตามกฎหมายว[ า ด_ ว ยการเดิ น อากาศได_ จ นกว[ า จะมี ก ารแก_ ไ ขบทบั ญ ญั ต ิ ด ั ง กล[ า ว ซึ่ ง
คณะกรรมการการกระจายอำนาจให_แก[องคlกรปกครองส[วนท_องถิ่นจะได_หารือกับหน[วยงานที่เกี่ยวข_องต[อไป
ทั้งนี้ คณะกรรมการการกระจายอำนาจให_แก[องคlกรปกครองส[วนท_องถิ่นได_ดำเนินการออกฎหมาย
ลำดับรองที่มีผลใช_บังคับแล_ว รวม 171 ฉบับ จากกฎหมายลำดับรองที่ต_องออกตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและ
ขั้นตอนการกระจายอำนาจให_แก[องคlกรปกครองส[วนท_องถิ่นฯ ทั้งหมด รวม 175 ฉบับ และปxจจุบันยังมีกฎหมาย
ลำดับรองซึ่งอยู[ในขั้นตอนการจัดทำร[างกฎหมายอีก 4 ฉบับ โดยแบ[งเปEน 1) กฎหมายลำดับรองที่เข_าหลักเกณฑlตาม
มาตรา 22 วรรคสอง แห[งพระราชบัญญัติหลักเกณฑlการจัดทำร[างกฎหมายฯ จำนวน 3 ฉบับ (กฎหมายลำดับรองที่
เสนอขยายระยะเวลาในครั้งนี้)และ 2) กฎหมายลำดับรองที่มีความเกี่ยวข_องกับกฎหมายอื่น จำนวน 1 ฉบับ
30. เรื่อง ขอขยายระยะเวลาดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรองตามความในพระราชบัญญัติการส5งเสริม
วิทยาศาสตร] การวิจัยและนวัตกรรม พ.ศ. 2562 และพระราชบัญญัติสภานโยบายการอุดมศึกษาวิทยาศาสตร]
วิจัยและนวัตกรรมแห5งชาติ พ.ศ. 2562
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบให_ขยายระยะเวลาดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรองตามความใน
พระราชบัญญัติการส[งเสริมวิทยาศาสตรl การวิจัยและนวัตกรรม พ.ศ. 2562 และพระราชบัญญัติสภานโยบายการ
อุดมศึกษาวิทยาศาสตรl วิจัยและนวัตกรรมแห[งชาติ พ.ศ. 2562 รวม 3 ฉบับ ออกไป 1 ปr ตั้งแต[วันที่ 27 พฤศจิกายน
2566 ตามที่กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตรl วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เสนอ
สาระสำคัญ
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตรl วิจัยและนวัตกรรมเสนอขอขยายระยะเวลาการดำเนินการ
จัดทำกฎหมายลำดับรองซึ่งออกตามพระราชบัญญัติการส[งเสริมวิทยาศาสตรl การวิจัยและนวัตกรรม พ.ศ. 2562 และ
พระราชบัญญัติสภานโยบายการอุดมศึกษาวิทยาศาสตรl วิจัยและนวัตกรรมแห[งชาติ พ.ศ. 2562 ซึ่งพระราชบัญญัติ
ดังกล[าวมีผลใช_บังคับอยู[ก[อนวันที่พระราชบัญญัติหลักเกณฑlการจัดทำร[างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของ
กฎหมาย พ.ศ. 2562 มีผลใช_บังคับ ดังนั้นจะต_องดำเนินการออกกฎหมายลำดับรองดังดังกล[าวให_แล_วเสร็จภายในวันที่
27 พฤศจิกายน 2566 ตามพระราชบัญญัติหลักเกณฑlการจัดทำร[างกฎหมายฯ ประกอบมติคณะรัฐมนตรีวันที่
19 มกราคม 2564 และ 28 กุมภาพันธl 2566 แต[โดยที่การออกกฎหมายลำดับรองรวม 3 ฉบับดังกล[าว ยังดำเนินการ
ไม[แล_วเสร็จ โดยในส[วนพระราชกฤษฎีกาฯ อยู[ระหว[างกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตรl วิจัยและนวัตกรรม
จัดทำเรื่องเพื่อเสนอคณะรัฐมนตรี ส[วนร[างระเบียบฯ อีก 2 ฉบับอยู[ระหว[างการพิจารณาของคณะกรรมการส[งเสริม
วิทยาศาสตรl วิจัยและนวัตกรรม ซึ่งยังมีประเด็นเกี่ยวกับกระบวนการกำหนดโจทยlวิจัย การให_ทุนวิจัยและพัฒนา
24

การจัดสรร และการประเมินผลงานทางวิชาการเพื่อเข_าสู[ตำแหน[งทางวิชาการ และการประเมิน จึงมีความจำเปEนต_อง


ขอขยายระยะเวลาการออกกฎหมายลำดับรองออกไปอีก 1 ปr ตั้งแต[วันที่ 27 พฤศจิกายน 2566
31. เรื่อง ขอขยายระยเวลาในการออกกฎหรือดำเนินการอย5างหนึ่งอย5างใดตามมาตรา 22 วรรคสอง แห5ง
พระราชบั ญ ญั ต ิ ห ลั ก เกณฑ] ก ารจั ด ทำร5 า งกฎหมายและการประเมิ น ผลสั ม ฤทธิ ์ ข องกฎหมาย พ.ศ. 2562
(พระราชบัญญัติการประปาส5วนภูมิภาค พ.ศ. 2522 และพระราชบัญญัติรักษาคลองประปา พ.ศ. 2526)
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบให_ขยายระยะเวลาดำเนินการจัดทำกฎหมายลำดับรองที่ออกตามความ
ในกฎหมายที่อยู[ในความรับผิดชอบของ มท. รวม 8 ฉบับ ออกไปอีก 1 ปr ตั้งแต[วันที่ 27 พฤศจิกายน 2566 ตามที่
กระทรวงมหาดไทย (มท.) เสนอ
สาระสำคัญ
การเสนอเรื ่ อ งของกระทรวงมหาดไทย เปE น การดำเนิ น การตามมาตรา 22 วรรคสอง แห[ ง
พระราชบัญญัติหลักเกณฑlการจัดทำร[างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พ.ศ. 2562 ซึ่งบัญญัติให_
กฎหมายที่กำหนดให_ต_องมีการออกกฎหรือกำหนดให_รัฐต_องดำเนินการอย[างหนึ่งอย[างใด เพื่อที่ประชาชนจะสามารถ
ปฏิบัติตามกฎหมาย หรือได_รับสิทธิประโยชนlตามกฎหมายนั้นได_ หากมิได_มีการออกกฎดังกล[าวหรือยังมิได_ดำเนินการ
นั้นภายในระยะเวลา 2 ปrนับแต[วันที่กฎหมายนั้นมีผลใช_บังคับและบทบัญญัติในเรื่องนั้นก[อภาระหรือเปEนผลร_ายต[อ
ประชาชนให_บทบัญญัติดังกล[าวเปEนอันสิ้นผลบังคับ แต[ในกรณีที่บทบัญญัติในเรื่องนั้นให_สิทธิประโยชนlแก[ประชาชน
ให_ บ ทบั ญ ญั ต ิ ด ั ง กล[ า วมี ผ ลใช_ บ ั ง คั บ ได_ โ ดยไม[ ต _ อ งมี ก ฎหรื อ ดำเนิ น การดั ง กล[ า ว โดยระยะเวลา 2 ปr ด ั ง กล[ า ว
คณะรัฐมนตรีจะมีมติขยายออกไปอีกก็ได_ไม[เกิน 1 ปr และต_องมีมติก[อนที่จะครบกำหนดเวลา 2 ปrดังกล[าว ประกอบ
กับมาตรา 39 (1) กำหนดให_ระยะเวลา 2 ปr ตามมาตรา 22 สำหรับกฎหมายที่ใช_บังคับอยู[ก[อนวันที่พระราชบัญญัตินี้
มีผลใช_บังคับ ให_นับแต[เมื่อพ_นกำหนด 2 ปrนับแต[วันที่พระราชบัญญัตินี้มีผลใช_บังคับ (นับแต[วันที่ 27 พฤศจิกายน
2564) ซึ่งพระราชบัญญัติการประปาส[วนภูมิภาค พ.ศ. 2522 และพระราชบัญญัติรักษาคลองประปา พ.ศ. 2526 เปEน
กฎหมายที่มีผลใช_บังคับอยู[ก[อนวันที่พระราชบัญญัติหลักเกณฑlการจัดทำร[างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของ
กฎหมายฯ ใช_บังคับ (ก[อนวันที่ 27 พฤศจิกายน 2562)
โดยที่การออกกฎหมายลำดับรองตามพระราชบัญญัติทั้งสองฉบับดังกล[าวมีประเด็นที่ต_องพิจารณา
โดยละเอียดรอบคอบในการกำหนดรายละเอียดหลักเกณฑlแนวทางปฏิบัติในการเดินท[อน้ำและติดตั้งอุปกรณl และ
ด_านการพิจารณาอนุญาต ตลอดจนบทกำหนดโทษแก[ผู_ฝuานฝzนหรือไม[ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติทั้งสองฉบับ ซึ่งต_อง
ใช_เวลาในการทบทวนตรวจสอบข_อมูลให_รอบคอบและหารือไปยังหน[วยงานอื่นที่อยู[ภายใต_บังคับของกฎหมายฉบับนี้
ดังนั้น กระทรวงมหาดไทยจึงมีความจำเปEนต_องเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อขอขยายระยะเวลาในการออกกฎหมายลำดับ
รอง จำนวน 8 ฉบับดังกล[าว ออกไปอีก 1 ปr ตั้งแต[วันที่ 27 พฤศจิกายน 2566

เศรษฐกิจ-สังคม
32. เรื่อง รายงานประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห5งชาติ ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2562 -
2565)
คณะรัฐมนตรีรับทราบรายงานประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห[งชาติ
ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2562 - 2565) (แผนสิทธิมนุษยชนฯ) ตามที่กระทรวงยุติธรรม (ยธ.) เสนอ
สาระสำคัญ
ยธ. รายงานว[า
1. แผนสิทธิมนุษยชนฯ เปEนเครื่องมือ กลไก และมาตรการให_กับหน[วยงานที่เกี่ยวข_องน[าไปใช_ในการ
ส[งเสริม ปกปwอง คุ_มครองสิทธิมนุษยชนให_กับประชาชน ซึ่ง ยธ. ได_ร[วมกับหน[วยงานที่เกี่ยวข_องได_จัดทำและ
ขับเคลื่อนแผนดังกล[าวมาอย[างต[อเนื่อง โดยแผนสิทธิมนุษยชนฯ ประกอบด_วย โครงการ/กิจกรรม จำนวน 2,409
โครงการ มีโครงการที่ทำเสร็จ จำนวน 1,837 โครงการ คิดเปEนร_อยละ 76.26 และมีผลการดำเนินการในภาพรวม
ดังนี้
ปeงบประมาณ โครงการ โครงการที่ทำ โครงการที่ โครงการ โครงการ ไม5ปรากฏ
ทั้งหมด สำเร็จ กำลัง ที่ยังไม5ไดQ ที่ไม5ไดQรับ ขQอมูล
ดำเนินการ ดำเนินการ รายงานผล
25

พ.ศ. 2563 707 707 - - - -


พ.ศ. 2564 853 470 251 67 42 23
พ.ศ. 2565 849 660 104 85 - -
รวม 2,409 1,837 355 152 42 23
คิดเปyนรQอยละ - 76.26 14.74 6.31 1.74 0.95
2. เมื่อนำผลการประเมินระยะครึ่งแผนและระยะสิ้นสุดแผนการสังเคราะหlมีผลสำเร็จและข_อสังเกต
ของการดำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนฯ สรุปได_ ดังนี้
2.1 ตัวอย[างผลการดำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนฯ มีสาระสำคัญ สรุปได_ ดังนี้
ดQาน ผลการดำเนินการ/ขQอสังเกต
1) กระบวนการยุติธรรม ได_มีสร_างกลไกการให_ความรู_ความเข_าใจเรื่องสิทธิมนุษยชนและความรู_พื้นฐานในการ
เข_าถึงกระบวนการยุติธรรมของประชาชนผ[านกลไกต[าง ๆ เช[น (1) กลไกระดับ
จังหวัดทุกจังหวัด (2) ศูนยlไกล[เกลี่ยข_อพิพาทภาคประชาชนจำนวนกว[า 1,500 แห[ง
ทั่วประเทศ และ (3) การส[งเสริม “บวร” สร_างเครือข[ายบ_าน วัด โรงเรียน รวมถึงการ
ทำงานของสำนักงานอัยการสูงสุดในการมีคณะทำงานเพื่อติดตามและประสานเรื่อง
ร_องเรียนเกี่ยวกับปxญหาด_านสิทธิมนุษยชนของคนไทยในต[างประเทศอีกด_วย
2) การศึกษา อัตราการเข_าถึงโอกาสทางการศึกษาขั้นพื้นฐานในภาพรวมมีการเพิ่มขึ้นน_อยมาก
ดังนั้น การศึกษายังคงต_องมีการทุ[มเทด_านทรัพยากรกำลังคนและงบประมาณอีกเปEน
อย[างมาก
3) ทรั พ ยากรธรรมชาติ ควรถอดบทเรียนและปรับแนวทางในการเตรียมความพร_อมต[อการเปลี่ยนแปลงด_าน
และสิ่งแวดลQอม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล_อม โดยเฉพาะหากเกิดโรคระบาดใหม[หรือภัยพิบัติ
ฝุuน PM2.5 ซึ่งถือเปEนภัยที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศและส[งผลต[อสุขภาพ
ของประชาชน เช[น ลดการเผาปuา ทำไร[เลื่อนลอย การควบคุมควันดำจากรถยนตl
ตลอดจนการส[งเสริมพลังงานสะอาด รถไฟฟwา การใช_พลังงานในครัวเรือนและ
ภาคอุตสาหกรรม
4) เศรษฐกิจและธุรกิจ ไทยมีความเหลื่อมล้ำด_านรายได_สูงเปEนอันดับ 4 ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกและ
แปซิฟ›กและผลกระทบจากการระบาดของโรคโควิด - 19 ส[งผลให_เศรษฐกิจของไทย
หดตัวอย[างรุนแรง ประชาชนไทยในภาพรวมและยังได_รับผลกระทบทางการเมืองและ
ภาวะการเงิ น การลงทุ น ที ่ ผ ั น ผวน แม_ จ ะมี โ ครงการที ่ เ กี ่ ย วข_ อ งกั บ ตั ว ชี ้ ว ั ด และ
ข_อเสนอแนะต[าง ๆ แต[ไม[มีโครงการใด หรือผลในภาพรวมที่ชี้ให_เห็นถึงความสำเร็จ
ของการแก_ไขปxญหาความเหลื่อมล้ำด_านรายได_และความยากจนในไทยได_
5) การขนส5ง มีการพัฒนาสิ่งอำนวยความสะดวกด_านคมนาคมขนส[งในการดำเนินการพัฒนาสู[
“ระบบขนส[งเพื่อความเสมอภาคและเท[าเทียม” เปEนระบบขนส[งสำหรับทุนคน เช[น
การสร_างสะพานข_ามแยก อย[างไรก็ดี อัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุบนท_องถนน
ยังคงเพิ่มขึ้น เนื่องจากโครงการฯ ไม[มีมาตรฐานด_านความปลอดภัย
6) สาธารณสุข มีการขับเคลื่อนงานของหน[วยงานที่เกี่ยวข_องกับงานด_านสาธารณสุขทั้งหมดและการ
สร_ า งหลั ก ประกั น สุ ข ภาพให_ ก ั บ ผู _ ท ี ่ ไ ม[ ม ี ส ั ญ ชาติ ไ ทย รวมถึ ง การให_ บ ริ ก ารทาง
การแพทยlทางไกล (TeleMedicine) เพื่อให_ประชาชนทุกที่ทั่วไทยเข_าถึงบริการได_
อย[างมีประสิทธิภาพสูงสุด
7) ขQ อ มู ล ข5 า วสารและ การผลักดันกฎหมายที่เกี่ยวกับการละเมิดสิทธิมนุษยชนบนโลกออนไลนlหรือกฎหมาย
เทคโนโลยีสารสนเทศ Personal Data Protection Act: PDPA1 และอื่น ๆ การยอมรับและนำไปใช_ปฏิบัติ
ในสังคม รวมถึงการสร_างทักษะการรู_เท[ากันสื่อดิจิทัล เพราะระดับความรุนแรงส[งผล
ถึงชีวิตและทรัพยlสิน และมีแนวโน_มความรุนแรงเพิ่มขึ้นตามความก_าวหน_าของ
เทคโนโลยีที่เพิ่มมากขึ้น
8) ดQ า นการเมื อ ง การ ประชาชนคนไทย โดยเฉพาะกลุ[มคนรุ[นใหม[สนใจมีส[วนร[วมทางการเมืองมากขึ้น
ปกครองและความมั่นคง อย[างไรก็ดี มีประเด็นสังคมอีกมากที่สะท_อนถึงข_อสงสัยว[า หน[วยงานหลักสามารถ
26

ดำเนินการตามที่ให_สร_างวัฒนธรรมการเมืองในระบอบประชาธิปไตย ได_หรือไม[ ซึ่ง


สถาบันการเมืองหลักของประเทศควรจะเปEนหน[วยงานสำคัญที่ขับเคลื่อนงานตาม
ข_อเสนอแนะให_ประสบความสำเร็จอย[างเปEนรูปธรรมให_ได_
9) ที่อยู5อาศัย การพัฒนาที่อยู[อาศัยสำหรับผู_มีรายได_น_อยและกลุ[มเปราะบางยังมีอีกมากที่ยังไม[มีที่
อยู[อาศัยทั้งในเขตเมืองและชนบท ทำให_เกิดปxญหาชุมชนแออัด คนเร[ร[อนและการบุก
รุกพื้นที่ของกรมปuาไม_ หรือที่ดินของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
(ส.ป.ก.) ในต[างจังหวัดที่ยังไม[สามารถแก_ไขปxญญาตามข_อเท็จจริงได_
10) ชุ ม ชน วั ฒ นธรรม ไทยมีความหลากหลายทางศาสนา และมีการส[งเสริมกิจกรรมของศาสนาต[าง ๆ
และศาสนา รวมถึงวิถีวัฒนธรรมต[าง ๆ ได_ดี
2.2 รายงานระบุประเด็นที่แสดงถึงความก_าวหน_าในการขับเคลื่อนแผนสิทธิมนุษยชนฯ มี
สาระสำคัญ เช[น
(1) การประกาศใช_บังคับกฎหมายหลายฉบับที่สอดคล_องตามสิทธิในกระบวนการ
ยุติธรรม เช[น พระราชบัญญัติกำหนดระยะเวลาดำเนินงานในกระบวนการยุติธรรม พ.ศ. 2565 มีผลใช_บังคับวันที่ 24
มกราคม พ.ศ. 2566 พระราชบัญญัติปwองกันและปราบปรามการทรมานและการกระทำให_บุคคลสูญหาย พ.ศ. 2565
มีผลใช_บังคับเมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธl 2566 พระราชบัญญัติการปรับเปEนพินัย พ.ศ. 2565 มีผลใช_บังคับเมื่อวันที่ 22
มิถุนายน 2566
(2) การมี ค ำวิ น ิ จ ฉั ย ของศาลอุ ท ธรณl ก ลาง ที ่ ไ ด_ เ พิ ก ถอนคำวิ น ิ จ ฉั ย ของ
คณะกรรมการพิจารณาค[าตอบแทนผู_เสียหายและค[าทดแทน และค[าใช_จ[ายแก[จำเลยในคดีอาญา และมีคำสั่งให_
คณะกรรมการขับเคลื่อนงานสิทธิมนุษยชนของไทย (คณะกรรมการฯ) พิจารณาวินิจภัยกำหนดค[าตอบแทนผู_เสียหาย
แก[ผู_เสียหาย แม_จะเปEนแรงงานต[างด_าวที่เข_าเมืองโดยไม[ชอบด_วยกฎหมาย เท[ากับเปEนการยืนยันว[ารัฐมีหน_าที่ในการ
ปกปwองคุ_มครองบุคคลทุกคนสอดคล_องตามมาตรา 4 ของรัฐธรรมนูญแห[งราชอาณาจักรไทย และกติการะหว[าง
ประเทศว[าด_วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
(3) การส[งเสริมสิทธิเข_าถึงสิทธิการตั้งครรภlที่ปลอดภัยโดยประกาศกระทรวง
สาธารณสุข เรื่อง การตรวจและรับคำปรึกษาทางเลือกในการยุติการตั้งครรภlตามมาตรา 305 (5) แห[งประมวล
กฎหมายอาญา พ.ศ. 2565 โดยสอดคล_องกับหลักการมีอิสระที่จะตัดสินใจบนฐานข_อมูลที่รอบด_าน ทั้งในเรื่องสุขภาพ
และเพื่อปwองกันการยุติการตั้งครรภlที่ไม[ปลอดภัยซึ่งอาจนำไปสู[อันตรายและเสียชีวิตได_
3. ข_อเสนอแนะต[อกลไกการติดตามและประเมินผลของแผนสิทธิมนุษยชนแห[งชาติ ฉบับที่ 5
(พ.ศ. 2566 - 2570) สาระสำคัญสรุปได_ ดังนี้
ประเด็น ขQอเสนอแนะ
ดQ า นบริ บ ทและปn จ จั ย ควรขับเคลื่อนแผนในลักษณะแผนบูรณาการทั้งการจัดทำแผนและโครงการที่มีความ
นำเขQา จำเปEนเร[งด[วนและดำเนินงานในลักษณะงบบูรณาการ เพื่อยกระดับการขับเคลื่อน
งานด_านสิทธิมนุษยชน รวมทั้งการเตรียมความพร_อมบุคลากรและระบบการจัดเก็บ
ข_อมูล รวมถึงการประชาสัมพันธlโครงการที่โดดเด[นให_มีความตระหนักรู_ไปในทิศทาง
เดี ย วกั น ทำให_ ก ระบวนการติ ด ตามผลการจั ด ทำตั ว ชี ้ ว ั ด การรายงานผลการ
ดำเนินการและผลการใช_งบประมาณมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
ดQานกระบวนการ ควรมี ก ารกำหนดกรอบแนวทางในการขั บ เคลื ่ อ นแผนสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนแห[ ง ชาติ สู[
แผนปฏิ บ ั ต ิ ก ารโดยมี ก ารกำหนดหน[ ว ยงานเจ_ า ภาพ หน[ ว ยงานหลั ก หน[ ว ยงาน
สนับสนุนจะต_องกำหนดกิจกรรมไว_อย[างชัดเจน เพื่อจะสามารถกำหนดผลผลิต
(Output) ผลลัพธl (Outcome) ได_อย[างถูกต_อง
ดQ านการติ ดตามและ ควรมีระบบการติดตามประเมินผล พร_อมทั้งมีคณะทำงานติดตามจัดเก็บข_อมูลที่มี
ประเมินผล ความต[อเนื่องชัดเจนระบบการจัดเก็บข_อมูลส[วนกลาง และกำหนดรูปแบบการ
รายงานให_หน[วยงานสามารถรายงานข_อมูลให_เปEนปxจจุบันได_ตลอดเวลา
ดQ า นการถ5 า ยทอดส5 ง ต5 อ ควรมีกลไกการขับเคลื่อนแผนสิทธิมนุษยชนแห[งชาติในรูปของกฎหมาย และควรมี
และความยั่งยืน การพิจารณาโครงการต_นแบบเพื่อสานต[อโครงการได_อย[างต[อเนื่อง และขยายผลใน
ระดับประเทศ พร_อมทั้งมีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู_ แก_ไขปxญหา หรืออุปสรรคร[วมกัน
27

ดQานความรูQ ความเขQาใจ ควรมีการประชาสัมพันธlเชิงรุกให_เข_าถึงประชาชน และสถาบันการศึกษาทุกระดับ


และการสื่อสารสังคม ภาคประชาสังคม เพื่อช[วยให_งานด_านสิทธิมนุษยชนส[งผลในระดับประเทศได_อย[าง
ชัดเจนมากขึ้น การกำหนดเปwาหมายโดยพิจารณาจากปxญหาและสถานการณlการ
ละเมิดสิทธิมนุษยชนในประเทศไทยที่ยังคงเพิ่มขึ้นในทุก ๆ ด_าน เพื่อให_สามารถ
สะท_อนได_ว[า การดำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห[งชาติตอบสนองต[อการลด
สถานการณlการละเมิดสิทธิมนุษยชนในไทยอย[างแท_จริง
กรณีการเกิดสถานการณ] เช[น การจัดการสถานการณlการแพร[ระบาดของโรคโควิด - 19 สถานการณlฝุuน PM2.5
ขQอทQาทายที่เขQามาแทรก สถานการณlปxญหาความขัดแย_งในต[างประเทศที่ส[งผลกระทบต[อไทย ควรมีการนำมา
ระหว5 า งการขั บ เคลื ่ อ น เปEนกรณีตัวอย[างหรือเปEนต_นแบบ หากเกิดกรณีสถานการณlฉุกเฉินที่ไม[คาดคิดขึ้น
แผนฯ หน[ ว ยงานอื ่ น ๆ จะมี ค วามยื ด หยุ [ น ในการปรั บ แผนดำเนิ น งานอย[ า งไร เพื ่ อ ให_
โครงการ/กิจกรรมที่กำหนดไว_ประสบความสำเร็จและบรรลุเปwาหมายต[อไปได_
4. ยธ. โดยกรมคุ_มครองสิทธิและเสรีภาพได_นำเสนอรายงานประเมินผลสัมฤทธิ์การดำเนินงานตาม
แผนสิทธิมนุษยชนฯ ต[อที่ประชุมคณะอนุกรรมการประสานความร[วมมือด_านสิทธิมนุษยชนและขับเคลื่อนแผนสิทธิ
มนุษยชนแห[งชาติ ครั้งที่ 2/2566 เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2566 และที่ประชุมคณะกรรมการฯ ครั้งที่ 2/2566 เมื่อ
วันที่ 1 กันยายน 2566 เรียบร_อยแล_ว โดยที่ประชุมทั้ง 2 คณะ มีมติเห็นชอบต[อรายงานประเมินผลสัมฤทธิ์การ
ดำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห[งชาติฯ และให_ ยธ. โดยกรมคุ_มครองสิทธิและเสรีภาพเสนอรายงานประเมินผล
สัมฤทธิ์การดำเนินงานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห[งชาติฯ ต[อคณะรัฐมนตรีเพื่อรับทราบต[อไป
_______________
1 พระราชบัญญัติคุ_มครองข_อมูลส[วนบุคคล พ.ศ. 2562 เปEนกฎหมายที่เข_ามากำหนดเกณฑlต[าง ๆ ที่เกี่ยวข_องกับการ
คุ_มครองข_อมูลส[วนบุคคล ได_แก[ (1) ข_อมูลสวนบุคคลพื้นฐาน และ (2) ข_อมูลส[วนบุคคลที่มีความละเอียดอ[อน
33. เรื่อง การกำหนดอัตราค5าจQางตามมาตรฐานฝeมือ
คณะรัฐมนตรีรับทราบตามที่กระทรวงแรงงาน (รง.) เสนอประกาศคณะกรรมการค[าจ_าง เรื่อง อัตรา
ค[าจ_างตามมาตรฐานฝrมือ (ฉบับที่ 13) ลงวันที่ 29 กันยายน 2566 เพื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษาให_มีผลใช_บังคับ
ต[อไป
สาระสำคัญ
รง. รายงานว[า
1. คณะกรรมการค[าจ_างชุดที่ 21 ได_แต[งตั้งคณะอนุกรรมการทบทวนอัตราค[าจ_างตามมาตรฐานฝrมือ
เพื่อพิจารณาทบทวนอัตราค[าจ_างตามมาตรฐานฝrมือ จำนวน 54 สาขาอาชีพ โดยพิจารณาทบทวนอัตราค[าจ_างจาก
ลักษณะการทำงาน การจ[ายค[าจ_างจริงในตลาดแรงงานความสามารถในการจ[ายของนายจ_าง รวมทั้งสถานการณlและ
สภาพข_อเท็จจริงในแต[ละสาขาอาชีพและจัดทำร[างอัตราค[าจ_างตามมาตรฐานฝrมือเสนอคณะกรรมการค[าจ_างชุดที่ 21
แล_ว ซึ่งในการประชุมคณะกรรมการค[าจ_างชุดที่ 22* (ปลัดกระทรวงแรงงานเปEนประธาน) ครั้งที่ 6/2566 เมื่อวันที่
13 กันยายน 2566 ได_มีมติกำหนดอัตราค[าจ_างตามมาตรฐานฝrมือ สรุปได_ ดังนี้
1.1 เห็นชอบให_กำหนดอัตราค[าจ_างตามมาตรฐานฝrมือ 6 สาขาอาชีพ 54 สาขา ดังนี้
หนGวย : บาทตGอวัน
ลำดับ สาขาอาชีพ/สาขา ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3
สาขาอาชีพช5างอุตสาหกรรมศิลป|
1 ช[างเย็บ 370 460 575
2 ช[างเครื่องประดับ (ประดับอัญมณี) 470 645 825
3 ช[างเครื่องเรือนไม_ 395 745 560
4 ช[างบุครุภัณฑl 380 460 560
5 ช[างสีเครื่องเรือน 415 510 -
6 ช[างเครื่องประดับ (รูปพรรณ) 485 575 665
7 ช[างประกอบติดตั้งเฟอรlนิเจอรl 460 570 -
8 ช[างฝrมือเครื่องประดับแนวอนุรักษl (เทคนิคโบราณ) 565 - -
28

9 ช[างเครื่องถม 670 - -
10 พนักงานเตรียมวัตถุดิบสำหรับอุตสาหกรรมเฟอรlนิเจอรlไม_จริง 375 430 -
11 พนั ก งานผลิ ต ชิ ้ น ส[ ว นเฟอรl น ิ เ จอรl ไ ม_ จ ริ ง ด_ ว ยเครื ่ อ งจั ก ร 425 505 -
อัตโนมัติ
12 พนักงานประกอบเฟอรlนิเจอรlไม_จริง 390 460 -
13 ช[างทำสีเฟอรlนิเจอรlไม_จริง 400 455 -
14 พนักงานตัดวาดรองเท_า 425 470 -
15 พนักงานอัดพื้นรองเท_า 435 475 -
16 ช[างเย็บรองเท_า 435 480 -
17 พนักงานประกอบรองเท_า (เย็น) 415 460 -
สาขาอาชีพช5างเครื่องกล
18 ช[างสีรถยนตl 470 545 630
19 ช[างเคาะตัวถังรถยนตl 500 585 680
20 ช[างซ[อมรถยนตl 430 545 640
21 ช[างบำรุงรักษารถยนตl 400 480 -
22 ช[างซ[อมเครื่องยนตlดีเซล 430 535 625
23 ช[างเครื่องปรับอากาศรถยนตlขนาดเล็ก 430 530 625
24 พนักงานควบคุมเครื่องจักรรถยกไฟฟwา 460 - -
25 พนักงานควบคุมเครื่องจักรรถยกใช_เครื่องยนตl 460 - -
26 ช[างตั้งศูนยlและถ[วงล_อรถยนตl 445 - -
27 ช[างซ[อมรถจักรยานยนตl 445 - -
สาขาอาชีพช5างก5อสรQาง
28 ช[างไม_ก[อสร_าง 445 595 685
29 ช[างก[ออิฐ 410 530 645
30 ช[างฉาบปูน 455 565 675
31 ช[างอะลูมิเนียมก[อสร_าง 435 545 650
32 ช[างหินขัด 470 - -
33 ช[างฉาบยิปซัม 470 - -
34 ช[างมุงหลังคากระเบื้องคอนกรีต 470 590 685
35 ช[างติดตั้งยิปซัม 485 595 -
36 ช[างเขียนแบบก[อสร_างด_วยคอมพิวเตอรl 690 - -
37 ช[างปูกระเบื้องผนังและพื้น 485 580 685
38 ช[างสีอาคาร 500 640 -
39 ช[างก[อและติดตั้งคอนกรีตมวลเบา 510 625 -
สาขาอาชีพภาคบริการ
40 นักบริหารการขนส[งสินค_าทางถนน 495 620 -
41 ผู_ควบคุมรถยกสินค_าขนาดไม[เกิน 10 ตัน 430 540 -
42 ผู_ควบคุมสินค_าคงคลัง 415 535 -
43 ผู_ปฏิบัติการคลังสินค_า 400 505 -
44 ผู_ประกอบอาหารไทย 470 605 -
45 การดูแลผู_สูงอายุ 535 - -
สาขาอาชีพช5างไฟฟmา อิเล็กทรอนิกส]และคอมพิวเตอร]
46 ช[างไฟฟwาภายในอาคาร 470 595 695
47 ช[างเครื่องปรับอากาศในบ_านและการพาณิชยlขนาดเล็ก 470 570 675
29

48 ช[างติดตั้งระบบโซลารlเซลลl 485 - -
สาขาอาชีพช5างอุตสาหการ
49 ช[างเชื่อมแม็ก 470 575 675
50 ช[างเชื่อมทิก 540 685 855
51 ช[างเชื่อมอารlกโลหะด_วยมือ 500 610 685
52 ผู_ควบคุมระบบงานเชื่อมมิก-แม็กด_วยหุ[นยนตl 560 - -
53 ช[างเมคคาทรอนิกสlและหุ[นยนตlอุตสาหกรรม 585 660 755
54 ช[างเชื่อมมิก-แม็กสำหรับอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส[วนยานยนตl 470 565 -
หมายเหตุ : มาตรฐานฝnมือแรงงาน คือ ขIอกำหนดทางวิชาการที่ใชIเปlนเกณฑyวัดระดับฝnมือ ความรูI ความสามารถ และทัศนคติในการ
ทำงานของผูIประกอบอาชีพสาขาตGาง ๆ ของกรมพัฒนาฝnมือแรงงาน โดยแบGงเกณฑyวัดระดับฝnมือแรงงานเปlน 3 ระดับ และจะมี
รายละเอียดของเกณฑyมาตรฐานฝnมือแรงงานที่แตกตGางกันในแตGละสาขา ซึ่งผูIที่ผGานการทดสอบจะไดIรับใบรับรองผGานการทดสอบของ
กรมพัฒนาฝnมือแรงงาน
1.2 เห็นชอบวันที่ประกาศอัตราค[าจ_างตามมาตรฐานฝrมือมีผลใช_บังคับคือ เก_าสิบวัน
หลังจากวันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปEนต_นไป
1.3 เห็นชอบให_ยกเลิกประกาศคณะกรรมการค[าจ_าง เรื่อง อัตราค[าจ_างตามมาตรฐานฝrมือ
(ฉบับที่ 9-12) โดยให_รวบรวมอัตราค[าจ_างตามมาตรฐานฝrมือดังกล[าวไว_ในประกาศคณะกรรมการค[าจ_าง เรื่อง อัตรา
ค[าจ_างตามมาตรฐานฝrมือ (ฉบับที่ 13) เพียงฉบับเดียว (รวม 129 สาขา) เพื่อให_มีความเหมาะสมและสะดวกต[อการ
ถือปฏิบัติต[อไป
___________________
*
คณะกรรมการคGาจIางชุดที่ 22 คือ คณะกรรมการชุดปWจจุบัน โดยคณะกรรมการคGาจIางแตGละชุดจะไดIรับการแตGงตั้งใหIดำรงตำแหนGง
วาระละ 2 ปn

34. เรื่อง รายงานภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรมประจำเดือนสิงหาคม 2566


คณะรัฐมนตรีรับทราบรายงานภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรมประจำเดือนสิงหาคม 2566 ตามที่
กระทรวงอุตสาหกรรมเสนอ
สาระสำคัญ
ภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรมเดือนสิงหาคม 2566 เมื่อพิจารณาจากดัชนีผลผลิต อุตสาหกรรม (MPI)
หดตัวร_อยละ 7.5 จากช[วงเดียวกันของปrก[อน ปxจจัยหลักมาจากภาวะเศรษฐกิจโลกที่ยังคงเปราะบาง รวมถึงเศรษฐกิจ
ในประเทศยังฟz{นตัวช_า โดยมีปxจจัยเสี่ยงจากปxญหาหนี้ภาคครัวเรือนที่อยู[ในระดับสูง อัตราดอกเบี้ยเงินกู_ที่เพิ่มสูงขึ้น
ทำให_ต_นทุนทางการเงินและภาระหนี้ของผู_ประกอบการเพิ่มขึ้น อย[างไรก็ตาม ยังมีปxจจัยสนับสนุนจากการขยายตัว
ของภาคการท[องเที่ยวช[วยสนับสนุนการบริโภคในประเทศ รวมถึงอัตราเงินเฟwอที่ปรับตัวลดลง
อุตสาหกรรมสำคัญที่ส5งผลใหQ MPI เดือนสิงหาคม 2566 หดตัวเมื่อเทียบกับช[วงเดียวกันของปr
ก[อน คือ
1. รถยนตl หดตัวร_อยละ 11.39 ตามการหดตัวของตลาดในประเทศเปEนหลัก จากความเข_มงวดใน
การอนุมัติสินเชื่อของสถาบันการเงิน และผู_บริโภคชะลอการซื้อเพื่อรอมาตรการส[งเสริมการขายในงานแสดงรถยนตl
ช[วงปลายปr
2. ชิ้นส[วนอิเล็กทรอนิกสl หดตัวร_อยละ 13.65 ตามภาวะตลาดโลกที่ชะลอตัว ผู_ผลิตส[วนใหญ[มียอด
การผลิตและจำหน[ายลดลง บางรายผลิตสินค_าที่มีมูลค[าสูงแต[ปริมาณการผลิตน_อย
3. Hard Disk Drive (HDD) หดตัวร_อยละ 32.36 ตามการพัฒนาเทคโนโลยีความจุ ทำให_ปริมาณ
การผลิตน_อยลง แต[ราคาต[อหน[วยสูงขึ้นตามปริมาณความจุ รวมถึงความต_องการใช_ปรับตัวลดลง นอกจากนี้ Solid
State Drive (SSD) มีสัดส[วนการใช_ในอุปกรณlต[าง ๆ ทดแทน HDD เพิ่มมากขึ้น ซึ่งประเทศไทยยังไม[มีฐานการผลิต
SSD ในประเทศ
อุตสาหกรรมสำคัญที่ยังขยายตัวในเดือนสิงหาคม 2566 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปrก[อน
1. น้ำตาล ขายตัวร_อยละ 40.5 ตามความต_องการบริโภคเพิ่มขึ้นจากทั้งตลาดในประเทศและตลาด
ส[งออก โดยน้ำตาลทรายขาวบริสุทธิ์ขยายตัวทั้งตลาดในประเทศ ตามคำสังซื้อจากห_างไฮเปอรlมารlเก็ต เพื่อตอบสนอง
30

ลูกค_าในกลุ[มอาหาร เครื่องดื่ม เครื่องปรุงรส เครื่องสำอางและเวชภัณฑl และตลาดส[งออก ไปอาเซียน เกาหลีใต_ และ


ไต_หวัน
2. ปุ¬ยเคมี ขยายตัวร_อยละ 29.52 จากราคาปุ¬ยปรับลดลงจากปrก[อน รวมถึงมีการทำโปรโมชัน
กระตุ_นยอดขาย ทำให_สินค_าถูกระบายออกต[อเนื่อง
35. เรื่อง รายงานการรับจ5ายเงินงบประมาณประจำปeงบประมาณ พ.ศ. 2566
คณะรัฐมนตรีรับทราบตามที่กระทรวงการคลัง (กค.) เสนอรายงานการรับจ[ายเงินงบประมาณ
ประจำปrงบประมาณ พ.ศ. 2566 และให_เสนอต[อรัฐสภาต[อไป
ทั้งนี้ กค. เสนอว[า โดยที่พระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. 2561 มาตรา 74 บัญญัติ
ให_ กค. จั ด ทำรายงานการรั บ จ[ า ยเงิ น งบประมาณประจำปr ง บประมาณที ่ ส ิ ้ น สุ ด เสนอต[ อ รั ฐ มนตรี ว [ า การ
กระทรวงการคลังภายในสี่สิบห_าวันนับแต[วันสิ้นปrงบประมาณ และให_รัฐมนตรีว[าการกระทรวงการคลังเสนอรายงาน
ดังกล[าวต[อคณะรัฐมนตรีภายในหกสิบวันนับแต[วันสิ้นปrงบประมาณ (ภายในวันที่ 28 พฤศจิกายน 2566) และเสนอ
ต[อรัฐสภาภายในเก_าสิบวันนับแต[วันสิ้นปrงบประมาณ (ภายในวันที่ 28 ธันวาคม 2566) ซึ่ง กค. ได_จัดทำรายงานการ
รับจ[ายเงินงบประมาณประจำปrงบประมาณ พ.ศ. 2566 ในระหว[างวันที่ 1 ตุลาคม 2565 – 30 กันยายน 2566 ตาม
บทบัญญัติดังกล[าวแล_ว จึงได_เสนอรายงานฯ มาเพื่อดำเนินการ
สาระสำคัญของรายงานฯ
1. รายงานการรั บ จ5 า ยเงิ น งบประมาณประจำปe ง บประมาณ พ.ศ. 2566 มี ร ายละเอี ย ด
ประกอบด_วย รายงานสรุปรายรับประเภทรายได_แผ[นดิน (รายได_จากภาษีอากร รายได_จากการขายสิ่งของและบริการ
และรายได_จากรัฐพาณิชยl) รายงานสรุปรายรับประเภทเงินกู_เพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณ และรายงานสรุป
รายจ[ายตามงบประมาณ จำแนกประเภทงบรายจ[าย (รายจ[ายกระทรวง รายจ[ายงบกลาง รายจ[ายของหน[วยรับ
งบประมาณ รายจ[ายบูรณาการ รายจ[ายงบบุคลากร รายจ[ายสำหรับทุนหมุนเวียน และรายจ[ายเพื่อการชำระหนี้
ภาครัฐ) และรายงานการรับจ[ายเงินงบประมาณ (บทวิเคราะหl) เพื่อรายงานผลการรับจ[ายเงินงบประมาณประจำปr
ของรัฐบาล โดย กค. ได_ประมวลข_อมูลการรับจ[ายเงินจากรายงานในระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (MIS: Financial
Analytics) ในระบบบริ ห ารการเงิ น การคลั ง ภาครั ฐ แบบอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก สl ใ หม[ (New GFMIS Thai) และข_ อ มู ล ที่
หน[วยงานของรัฐบันทึกเข_ามาในระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกสlใหม[ (New GFMIS Thai)
ณ วันที่ 1 ตุลาคม 2566
2. สาระสำคัญของผลการดำเนินงานรับจ5ายเงินงบประมาณประจำปe สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน
2566 (ข_อมูล ณ วันที่ 11 ตุลาคม 2566) สรุปได_ดังนี้
หน5วย : ลQานบาท
รายการ งบประมาณ รับจริง - จ5าย เงินกันไวQเบิก รวมรับจริง – จ5าย สูง (ต่ำ)
จริง เหลื่อมปe จริง และเงินกันฯ กว5างบประมาณ
(1) (2) (3) (4) = (2) + (3) (5) = (4) – (1)
1. รายรับ
1.1 รายได_แผ[นดิน 2,490,000.00 2,650,796.33 - 2,650,796.33 160,796.33
1.2 เงินกู_เพื่อชดเชย 695,000.00 632,612.39 - 632,612.39 (62,387.61)
การขาดดุล
งบประมาณ
รวม (ก) 3,185,000.00 3,283,408.72 - 3,283,408.72 98,408.72
2. รายจ5าย
2.1 รายจ[ายตาม 3,115,369.63 2,943,878.89 160,130.75 3,104,009.64 (11,359.99)
งบประมาณ
2.2 รายจ[ายชำระ 69,630.37 69,630.37 - 69,630.37 -
คืนต_นเงินกู_
รวม (ข) 3,185,000.00 3,013,509.26 160,130.75 3,173,640.01 (11,359.99)
31

3. รายจ5ายจากเงิน 190,453.26 173,901.33 - 173,901.33 (16,551.93)


กันไวQเบิกเหลื่อมปe
(งบประมาณปr 65)
รวม (ค) 190,453.26 173,901.33 - 173,901.33 (16,551.93)
4. รายจ5ายตาม - 83,814.10 - 83,814.10 83,814.10
กฎหมายว5าดQวย
เงินคงคลัง
รวม (ง) - 83,814.10 - 83,814.10 83,814.10
รวมรายจ5ายทั้งสิ้น
(จ) = [(ข) + (ค) 3,375,453.26 3,271,224.69 160,130.75 3,431,355.44 55,902.18
+ (ง)]
5. ดุลของ
งบประมาณ
ประจำปe
5.1 รายได_แผ[นดิน (695,000.00) (362,712.93) (160,130.75) (522,843.68) 172,156.32
สูง (ต่ำ) กว[า
รายจ[ายตาม
งบประมาณ [1.1 –
(ข)]
5.2 รายรับสูง (ต่ำ) - 269,899.46 (160,130.75) 109,768.70 109,768.71
กว[ารายจ[ายตาม
งบประมาณ [(ก) –
(ข)]
6. ดุลการรับ –
จ5ายเงิน
รายรับสูง (ต่ำ) (190,453.26) 12,184.03 (160,130.75) (147,946.73) 42,506.53
กว5ารายจ5ายทั้งสิ้น
(ก) – (จ)
หมายเหตุ : 1) เรียกขIอมูล ณ วันที่ 11 ตุลาคม 2566
2) รายจGายตามกฎหมายวGาดIวยเงินคงคลัง ไดIแกG งบกลาง จำนวน 57,425.71 ลIานบาท งบบุคลากร จำนวน
17,490.39 ลIานบาท และงบชำระหนี้ จำนวน 8,898.00 ลIานบาท รวมทั้งสิ้นจำนวน 83,814.10 ลIานบาท
2.1 รายงานการรับจ5ายเงินงบประมาณประจำปeงบประมาณ พ.ศ. 2566
(1) รายรับของรัฐบาลแบ[งออกเปEน 2 ประเภท ได_แก[ รายรับจากรายได_แผ[นดิน
และรายรับจากเงินกู_เพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณ โดยรัฐบาลได_ประมาณการรายรับรวมทั้งสิ้น จำนวน
3,185,000.00 ล_านบาท รายรับที่รัฐบาลได_รับรวมทั้งสิ้น จํานวน 3,283,408.72 ล_านบาท สูงกว[าประมาณการ
จำนวน 98,408.72 ล_านบาท ประกอบด_วย
(1.1) รายได_แผ[นดิน มีการประมาณการรายได_ จำนวน 2,490,000.00
ล_านบาท และมีการรับรายได_แผ[นดินรวมทั้งสิ้น จำนวน 2,650,796.33 ล_านบาท สูงกว[าประมาณการ จำนวน
160,796.33 ล_านบาท
(1.2) เงินกู_เพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณ มีการประมาณการวงเงินกู_
เพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณ จํานวน 695,000.00 ล_านบาท และมีการรับเงินกู_รวมทั้งสิ้น จำนวน 632,612.39
ล_านบาท ต่ำกว[าประมาณการ จํานวน 62,387.61 ล_านบาท
(2) รายจ[ายตามงบประมาณของรัฐบาล ประกอบด_วย รายจ[ายตามงบประมาณ
และรายจ[ายชำระคืนต_นเงินกู_ โดยรัฐบาลได_ประมาณการรายจ[ายตามงบประมาณประจำปrงบประมาณ พ.ศ. 2566
32

รวมทั้งสิ้น จำนวน 3,185,000.00 ล_านบาท รายจ[ายตามงบประมาณของรัฐบาลมีการใช_จ[ายรวมทั้งสิ้น จำนวน


3,173,640.01 ล_านบาท ต่ำกว[าประมาณการ จำนวน 11,359.99 ล_านบาท ประกอบด_วย
(2.1) รายจ[ า ยตามงบประมาณ มี ก ารประมาณการรายจ[ า ยตาม
งบประมาณ จำนวน 3,115,369.63 ล_านบาท และมีรายจ[ายจากเงินงบประมาณ จำนวน 2,943,878.89 ล_านบาท
และเงินกันไว_เบิกเหลือมปr จำนวน 160,130.75 ล_านบาท รวมรายจ[ายตามเงินงบประมาณและเงินกันไว_เบิกเหลื่อมปr
รวมทัง้ สิ้น จำนวน 3,104,009.64 ล_านบาท ต่ำกว[าประมาณการ จำนวน 11,359.99 ล_านบาท
(2.2) รายจ[ายชำระคืนต_นเงินกู_ มีการประมาณการรายจ[ายชำระคืนต_น
เงินกู_ จำนวน 69,630.37 ล_านบาท มีรายจ[ายชำระคืนต_นเงินกู_เท[ากับประมาณการ จำนวน 69,630.37 ล_านบาท
2.2 รายจ5ายจากเงินกันไวQเบิกเหลื่อมปe (เงินงบประมาณปeก5อน) รัฐบาลมีเงินกันไว_เบิก
เหลื่อมปr ประจำปrงบประมาณ พ.ศ. 2565 รวมทั้งสิ้น จำนวน 190,453.26 ล_านบาท มีรายจ[ายจากเงินกับไว_เบิก
เหลื่อมปr จำนวน 173,901.33 ล_านบาท ต่ำกว[าเงินที่กันไว_ จำนวน 16,551.93 ล_านบาท
2.3 รายจ5ายตามกฎหมายว5าดQวยเงินคงคลัง ประจำปrงบประมาณ พ.ศ. 2566 จำนวน
83,814.10 ล_านบาท เปEนการจ[ายเงินคงคลังตามพระราชบัญญัติเงินคงคลัง พ.ศ. 2491 และที่แก_ไขเพิ่มเติม มาตรา 7
(1) รายการจ[ายที่มีการอนุญาตให_จ[ายเงินได_แล_ว ตามกฎหมายว[าด_วยงบประมาณรายจ[ายประจำปrงบประมาณ แต[
เงินที่ตั้งไว_มีจำนวนไม[พอจ[าย และพฤติการณlเกิดขึ้นให_มีความจำเปEนต_องจ[ายโดยเร็ว
2.4 ดุลการรับ - จ5ายเงิน เมื่อเปรียบเทียบรายรับที่รัฐบาลได_รับ รวมทั้งสิ้น จำนวน
3,283,408.72 ล_านบาท กับรายจ[ายที่รัฐบาลมีการเบิกจ[ายรวมทั้งสิ้น จำนวน 3,271,224.69 ล_านบาท (ประกอบด_วย
รายจ[ายตามงบประมาณประจำปr พ.ศ. 2566 รายจ[ายจากเงินกันไว_เบิกเหลื่อมปr (เงินงบประมาณปrก[อน) และรายจ[าย
ตามกฎหมายว[าด_วยเงินคงคลัง) จึงทำให_รายรับสูงกว[ารายจ[ายทั้งสิ้น จำนวน 12,184.03 ล_านบาท
2.5 ผลการวิเคราะห]และขQอสังเกต
(1) ผลการวิเคราะห]
(1.1) ด_านรายรับ ประเภทรายได_แผ[นดินประจำปrงบประมาณ พ.ศ. 2566
มีการจัดเก็บและนำส[งได_สูงกว[าประมาณการ จำนวน 160,796.33 ล_านบาท คิดเปEนร_อยละ 6.46 เนื่องจากรัฐบาลได_
ให_ความสำคัญในการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บรายได_ให_เพิ่มสูงขึ้น เพื่อให_มีรายได_ที่สามารถตอบสนองความ
ต_องการใช_จ[ายตามยุทธศาสตรlของประเทศ โดยการนำเทคโนโลยีดิจิทัลและการบริหารงานยุคใหม[มาประยุกตlใช_ใน
การจัดเก็บภาษี ซึ่งจะช[วยสร_างเสถียรภาพการคลังของไทยให_ยั่งยืน โดย กค. ได_วางแผนการบริหารจัดเก็บรายได_ของ
รัฐบาล เพื่อให_การจัดเก็บรายได_เปEนไปตามที่ประมาณการไว_ โดยให_ความสำคัญกับการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บ
รายได_เปEนหลัก ซึ่งที่ผ[านมาหน[วยงานจัดเก็บรายได_ในสังกัด กค. ได_มีการพัฒนาระบบต[าง ๆ ขึ้นมาเพื่อเพิ่มศักยภาพ
การจัดเก็บรายได_อย[างต[อเนื่อง มีการใช_เทคโนโลยีในการติดตามและตรวจสอบการจัดเก็บภาษี ช[วยในการขยายฐาน
ภาษี
(1.2) ด_านรายจ[าย งบประมาณรายจ[ายประจำปrงบประมาณ พ.ศ. 2566
มีการใช_จ[ายงบประมาณรวมทั้งสิ้น จำนวน 3,173,640.01 ล_านบาท คิดเปEนร_อยละ 99.64 ของวงเงินงบประมาณ
เนื่องจากมีการติดตามเร[งรัดการใช_จ[ายเงินงบประมาณรายจ[ายประจำปrงบประมาณ พ.ศ. 2566 โดยกรมบัญชีกลาง
และสำนักงานคลังจังหวัดทั้ง 76 จังหวัด เร[งรัดและสนับสนุนการดำเนินงาน พร_อมทั้งให_คำแนะนำหน[วยรับ
งบประมาณทุกแห[ง ให_สามารถดำเนินการเบิกจ[ายได_ตามแผนการใช_จ[ายเงิน เพื่อให_เม็ดเงินงบประมาณมีส[วนในการ
ผลักดันการกระตุ_นเศรษฐกิจ
(2) ขQอสังเกต
(2.1) ด_ า นรายรั บ ประเภทรายได_ แ ผ[ น ดิ น นอกเหนื อ จากการเพิ่ ม
ประสิทธิภาพการจัดเก็บรายได_ภาครัฐ รัฐบาลควรให_ความสำคัญในการปรับโครงสร_างเศรษฐกิจ ภาคการผลิต ภาค
การเกษตร ภาคการท[องเที่ยว ภาคการแพทยl และภาคอื่น ๆ ที่เกี่ยวข_อง เพื่อเปลี่ยนผ[านสู[การขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
โดยนำนวัตกรรมและมุ[งสู[การพัฒนาอย[างยั่งยืน ที่เน_นการสร_างคุณค[าให_แก[สินค_าและบริการเชิงคุณภาพ การ
ปรับเปลี่ยนภาคการท[องเที่ยวให_เน_นคุณภาพและความยั่งยืน เพื่อสร_างมูลค[าเพิ่มให_กับบริการที่สอดรับกับทิศทางและ
แนวโน_มของตลาดยุคใหม[ และผลักดันให_ไทยเปEนศูนยlกลางทางการแพทยlและสุขภาพมูลค[าสูง เพื่อการยกระดับสู[
การให_บริการบนฐานนวัตกรรมและเทคโนโลยีขั้นสูง จะส[งผลให_รัฐบาลมีรายได_ที่สามารถตอบสนองความต_องการใช_
จ[ายตามยุทธศาสตรlของประเทศและมีการขยายตัวของเศรษฐกิจอย[างต[อเนื่องและมีความยั่งยืน
33

(2.2) ด_านรายจ[าย นอกเหนือจากการกำหนดมาตรการการคลังด_านการ


ใช_จ[ายภาครัฐในการติดตามเร[งรัดเบิกจ[ายเงินงบประมาณและเงินกันไว_เบิกเหลื่อมปr เพื่อให_การใช_จ[ายเงินงบประมาณ
มีประสิทธิภาพและเกิดประโยชนlสูงสุด รัฐบาลควรยกระดับคุณภาพและประสิทธิภาพการบริหารจัดการภาครัฐโดย
นำระบบดิจิทัลและเทคโนโลยีมาใช_ในการให_บริการสาธารณะให_มีความสะดวกรวดเร็วและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เพื่อ
ตอบสนองต[อความต_องการของประชาชนได_อย[างเปEนรูปธรรมและทันต[อสถานการณl รวมถึงการพัฒนากฎหมายและ
กฎระเบียบให_เอื้อต[อการพัฒนาประเทศในอนาคต เพื่อให_ประเทศไทยมีภาครัฐที่มีสมรรถนะ ทันสมัย คล[องตัว และ
เปEนปxจจัยผลักดันการขับเคลื่อนในภาคธุรกิจ
36. เรื่อง การปmองกันและคุQมครองขQอมูลส5วนบุคคล
คณะรัฐมนตรีรับทราบเรื่อง การปwองกันและคุ_มครองข_อมูลส[วนบุคคล ตามที่กระทรวงดิจิทัลเพื่อ
เศรษฐกิจและสังคมเสนอ ดังนี้
สาระสำคัญและขQอเท็จจริง
เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2566 กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ได_ดำเนินการจัดประชุมเพื่อ
กำหนดแนวทางการบูรณาการปwองกันและแก_ไขปxญหาอาชญากรรมทางไซเบอรlจากกรณีข_อมูลส[วนบุคคลรั่วไหลและ
มีการซื้อ-ขายในเว็บไซตlหรือแพลตฟอรlมต[าง ๆ โดยมีนายประเสริฐ จันทรรวงทอง รัฐมนตรีว[าการกระทรวงดิจิทัล
เพื่อเศรษฐกิจและสังคม เปEนประธาน ศาสตราจารยlพิเศษวิศิษฏl วิศิษฏlสรอรรถ ปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ
และสังคม พร_อมด_วย พลตำรวจโท วรวัฒนl วัฒนlนครบัญชา ผู_บัญชาการกองบัญชาการตำรวจสืบสวนสอบสวน
อาชญากรรมทางเทคโนโลยี นายศิ ว รั ก ษl ศิ ว โมกษธรรม เลขาธิ ก ารคณะกรรมการคุ _ ม ครองข_ อ มู ล ส[ ว นบุ ค คล
นายสมศักดิ์ เจริญไพฑูรยl รองอธิบดีกรมการปกครอง ผู_แทนจากกองบังคับการปราบปรามการกระทำความผิด
เกี่ยวกับอาชญากรรมทางเทคโนโลยี และสำนักงานคณะกรรมการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอรlแห[งชาติ เข_าร[วม
หารือกำหนดมาตรการในการแก_ไขปxญหาการซื้อ - ขายข_อมูลส[วนบุคคลทางออนไลนl สรุปสาระสำคัญได_ดังนี้
สาเหตุและช5องทางการเกิดขQอมูลรั่วไหล
1. หน[วยงานภาครัฐขาดระบบเฝwาระวังและตรวจสอบ และความเอาใจใส[และละเลยกระบวนการ
รักษาความมั่นคงปลอดภัยของข_อมูลทำให_เกิดการเผยแพร[ข_อมูลส[วนบุคคลหรือข_อมูลส[วนบุคคลรั่วไหล (Personal
Data Breach) ปรากฏหรือเป›ดเผยต[อสาธารณะโดยไม[จำเปEน และไม[ได_รับอนุญาตจากเจ_าของข_อมูล
2. เจ_าหน_าที่ภาครัฐและหน[วยงานไม[ได_จัดให_มีระบบการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของข_อมูลที่ดีพอ
ทั้งจากการนำข_อมูลไปเก็บอยู[ใน Data Center ของบริษัทเอกชน หรือไม[จัดให_มีการรักษาความปลอดภัยเพียงพอ
ให_แก[ระบบคอมพิวเตอรlต[าง ๆ (Computer Server) ขาดการตรวจสอบเฝwาระวังที่ดีพอ ทำให_มีช[องโหว[ในระบบ เปEน
ความเสี่ยงที่ทำให_เกิดการรั่วไหลของข_อมูลส[วนบุคคล การโจมตีหรือบุกรุกจาก Hacker ทำให_สามารถเข_าถึงข_อมูล
ส[วนบุคคลโดยไม[ได_รับอนุญาตและนำข_อมูลออกไปเผยแพร[ ซึ่งพบได_บ[อยจากหน[วยงานที่ไม[มีหรือขาดระบบรักษา
ความปลอดภัยเพียงพอ ขาดการตรวจจับ เฝwาระวังการบุกรุกเข_าถึงระบบจากภายนอก การตั้งค[าระบบที่ผิดพลาด
เปEนต_น
3. เจ_าหน_าที่ภาครัฐและหน[วยงานขาดการสร_างความตระหนักรู_ด_านการคุ_มครองข_อมูลส[วนบุคคล
การสื่อสารให_บุคลากร พนักงาน หรือลูกจ_างในองคlกรเห็นถึงความสำคัญของการคุ_มครองข_อมูลส[วนบุคคล ความเสี่ยง
ที่อาจเกิดจากการใช_ข_อมูลส[วนบุคคลในการทำงานโดยขาดความระมัดระวัง ส[งผลให_เกิดโทษต[อหน[วยงานและส[วนตัว
อย[างไร การสร_างเสริมความตระหนักรู_ให_แก[บุคลากร พนักงาน หรือลูกจ_าง เปEนการปwองกันความผิดพลาดที่เกิดจาก
บุคคล (human error) ในการนำข_อมูลส[วนบุคคลไปใช_ในการทำงานขององคlกร
ที่ประชุมเห็นชอบแนวทางร[วมกันกำหนดมาตรการปwองกันและคุ_มครองข_อมูลส[วนบุคคล โดยมี
ข_อเสนอแนะและแนวทางการแก_ไข ดังนี้
ระยะเร5งด5วน 30 วัน
1. ให_สำนักงานคณะกรรมการคุ_มครองข_อมูลส[วนบุคคลตรวจสอบข_อมูลที่เป›ดเผยต[อสาธารณะจัดตั้ง
ศูนยlเฝwาระวังการละเมิดข_อมูลส[วนบุคคล (PDPC Eagle Eye) และเร[งตรวจสอบค_นหา เฝwาระวัง การรั่วไหลของข_อมูล
ส[วนบุคคลว[าเกิดขึ้นจากหน[วยงานใด หรือช[องทางใด และเมื่อพบข_อบกพร[องของการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของ
ข_อมูลของหน[วยงานต[าง ๆ เร[งประสานแจ_งเตือนการรั่วไหลของข_อมูลส[วนบุคคลแก[หน[วยงานนั้น เพื่อระงับยับยั้ง
34

ไม[ให_เกิดความเสี่ยงหรือความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นโดยเร็ว จากการเฝwาระวังตรวจสอบที่ผ[านมา (ข_อมูลตั้งแต[วันที่ 9 -


20 พฤศจิกายน 2566) มีผลจากการเร[งตรวจสอบ ดังนี้
- ดำเนินการตรวจสอบแล_ว จำนวน 3,119 หน[วยงาน (ภาครัฐ/ภาคเอกชน)
- ตรวจพบข_อมูลรั่วไหล/แจ_งเตือนหน[วยงาน จำนวน 1,158 เรื่อง
- หน[วยงานแก_ไขแล_ว จำนวน 781 เรื่อง
- พบกรณีซื้อ - ขายข_อมูลส[วนบุคคล 3 เรื่อง ซึ่งอยู[ระหว[างสืบสวนดำเนินคดีร[วมกับ
กองบัญชาการตำรวจสืบสวนสอบสวนอาชญากรรมทางเทคโนโลยี (บช.สอท.)
ทั้งนี้ ภายใน 30 วัน ศูนยl PDPC Eagle Eye มีเปwาหมายตรวจสอบ ให_ครบ 9,000หน[วยงาน
2. ให_สำนักงานคณะกรรมการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอรlแห[งชาติดำเนินการตรวจสอบเฝwา
ระวัง และวิเคราะหlความเสี่ยงของพฤติกรรมหรือช[องโหว[ต[าง ๆ ที่อาจทำให_เกิดข_อมูลรั่วไหลของหน[วยงานต[าง ๆ
โดยเฉพาะอย[างยิ่งหน[วยงานภาครัฐที่เปEนหน[วยงานในลักษณะหน[วยงานโครงสร_างพื้นฐานสำคัญทางสารสนเทศ
(Critical Information Infrastructure: CII) ทั้ง 7 ด_าน ได_แก[ ด_านความมั่นคงภาครัฐ ด_านบริการภาครัฐที่สำคัญ
ด_านการเงินการธนาคาร ด_านเทคโนโลยีสารสนเทศและโทรคมนาคม ด_านการขนส[งและโลจิสติกสl ด_านพลังงานและ
สาธารณูปโภค และด_านสาธารณสุข ซึ่งปxจจุบันมีหน[วยงาน CII จำนวน 54 หน[วยงาน หากพบข_อบกพร[องของการ
รักษาความมั่นคงปลอดภัยของระบบ หรือข_อมูลของหน[วยงานต[าง ๆ เร[งประสานแจ_งเตือนช[องโหว[หรือการรั่วไหล
ของข_อมูลส[วนบุคคลแก[หน[วยงานนั้น เพื่อระงับยับยั้งไม[ให_เกิดความเสี่ยงหรือความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นโดยเร็ว จาก
การเฝwาระวังตรวจสอบที่ผ[านมา สำนักงานคณะกรรมการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอรlแห[งชาติตรวจพบการ
โจมตีไซเบอรlเกี่ยวกับข_อมูลรั่วไหล (ข_อมูลตั้งแต[วันที่ 9 - 20 พฤศจิกายน 2566) ดังนี้
1. การตรวจสอบช[องโหว[ จำนวน 91 หน[วยงาน ซึ่ง สกมช. พบว[าทั้ง 91 หน[วยงานมีความเสี่ยง
โดยมีความเสี่ยงระดับสูง จำนวน 21 หน[วยงาน และ สกมช. ได_แจ_งแก_ไขทั้ง 91 หน[วยงานแล_ว
2. การตรวจพบการโจมตีทางไซเบอรl เกี่ยวกับข_อมูลส[วนบุคคล จํานวน 11 เหตุการณl โดยแบ[งเปEน
- กรณี ข _ อ มู ล รั ่ ว ไหล (Data Leak) ส[ ง สคส. เพื ่ อ ดำเนิ น การตามกฎหมาย จำนวน
8 เหตุการณl
- กรณี ข_ อมู ลถู กละเมิ ดหรื อถู กโจมตี (Data Breach) ส[ ง บช.สอท. สื บสวนดำเนิ นคดี
จำนวน 3 เหตุการณl
3. ให_สำนักงานคณะกรรมการคุ_มครองข_อมูลส[วนบุคคล กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
และสำนักงานคณะกรรมการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอรlแห[งชาติ ร[วมกับหน[วยงานที่เกี่ยวข_อง อาทิ สภา
หอการค_าแห[งประเทศไทย สภาอุตสาหกรรมแห[งประเทศไทย สมาคมธนาคารไทย สมาคมประกันชีวิตไทย สมาคม
โรงแรมไทย รวมถึงเครือข[ายภาคสื่อมวลชนสร_างความตระหนักรู_เกี่ยวกับการคุ_มครองข_อมูลส[วนบุคคล การปwองกัน
ความเสี่ยงต[าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นหากไม[ปฏิบัติตามระเบียบขั้นตอนการรักษาความปลอดภัยของหน[วยงาน ความรู_
เกี่ยวกับการรักษาความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอรl (Cybersecurity Awareness Training) เช[น การปwองกันการบุก
รุกจากบุคคลภายนอก การตั้งค[าระบบอย[างปลอดภัย และการบังคับใช_กฎหมายตามอำนาจหน_าที่อย[างเคร[งครัด ทั้งนี้
ในวันที่ 16 พ.ย. 66 ได_มีการจัดอบรม DPO (Data Protection Officer) สำหรับหน[วยงานรัฐ ที่มีข_อมูลส[วนบุคคล
จำนวนมาก จำนวน 85 หน[วยงาน เพื่อกำชับให_ดูแลข_อมูลส[วนบุคคลอย[างถูกต_องตามกฎหมาย และให_ความรู_
ตลอดจนแนวปฏิบัติที่ถูกต_อง
4. ให_ ก ระทรวงดิ จ ิ ท ั ล เพื ่ อ เศรษฐกิ จ และสั ง คมและกองบั ญ ชาการตำรวจสื บ สวนสอบสวน
อาชญากรรมทางเทคโนโลยีเร[งรัดมาตรการป›ดกั้นกรณีการซื้อ - ขายข_อมูลส[วนบุคคลที่ผิดกฎหมาย และสืบสวน
ดำเนินคดี ตลอดจนจับกุมผู_กระทำความผิดโดยเร็ว
ระยะ 6 เดือน
เพื่อปwองกันและลดปxญหาการรั่วไหลของข_อมูลส[วนบุคคลจากการที่หน[วยงานภาครัฐส[งข_อมูลแก[
หน[วยงานภายนอก หรือขาดบุคลากรในการกำกับดูแลงานด_านความมั่นคงปลอดภัยไซเบอรlของหน[วยงาน เห็นควร
ส[งเสริมการใช_งานระบบคลาวดlกลางภาครัฐที่มีความน[าเชื่อถือ เปEนระบบที่มีความมั่นคงปลอดภัยตามหลักวิชาการ
สากล สามารถรองรับการใช_งานของบุคลากรของหน[วยงานต[าง ๆ ได_อย[างปลอดภัยไม[เกิดการโจรกรรมหรือการ
รั่วไหลของข_อมูล
35

ระยะ 12 เดือน
ประเมินและปรับปรุง พัฒนากฎหมายที่เกี่ยวข_องให_สามารถบังคับใช_กฎหมายให_ทันสมัยต[อบริบท
ของสังคมและพฤติการณlที่เปลี่ยนไป เช[น พระราชบัญญัติคุ_มครองข_อมูลส[วนบุคคล พ.ศ. 2562 พระราชบัญญัติว[า
ด_วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอรl พ.ศ. 2550 และที่แก_ไขเพิ่มเติม และพระราชบัญญัติการรักษาความ
มั่นคงปลอดภัยทางไซเบอรl พ.ศ. 2562 เปEนต_น เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบังคับใช_กฎหมายของเจ_าหน_าที่ในการ
ตรวจสอบและปwองกันอาชญากรรมทางไซเบอรlที่ดียิ่งขึ้น
37. เรื่อง รายงานสถานการณ]ส5งออกของไทย ประจำเดือนกันยายนและ 9 เดือนแรกของปe 2566
คณะรัฐมนตรีมีมติรับทราบรายงานสถานการณlส[งออกของไทย ประจำเดือนกันยายนและ 9 เดือน
แรกของปr 2566 ตามที่กระทรวงพาณิชยl (พณ.) เสนอ
สาระสำคัญ
1. สรุปสถานการณ]การส5งออกของไทย ประจำเดือนกันยายน 2566
การส[งออกของไทยในเดือนกันยายน 2566 มีมูลค[า 25,476.3 ล_านเหรียญสหรัฐ (888,666 ล_าน
บาท) ขยายตัวร_อยละ 2.1 หากหักสินค_าเกี่ยวเนื่องกับน้ำมัน ทองคำ และยุทธปxจจัย ขยายตัวร_อยละ 1.0 การส[งออก
ของไทยขยายตัวต[อเนื่องเปEนเดือนที่สอง โดยได_รับแรงหนุนจากการส[งออกสินค_าเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร
โดยเฉพาะการส[งออกผลไม_ไปจีน อาทิ ทุเรียน และมังคุด รวมทั้งการส[งออกข_าวที่ขยายตัวได_ดีในตลาดแอฟริกาใต_
และอินโดนีเซีย สำหรับสินค_าอุตสาหกรรมดาวรุ[งที่ขยายตัวต[อเนื่องยังคงเปEนสินค_าที่เติบโตตามเมกะเทรนดl เช[น
โซลาเซลลl และโทรศัพทlมือถือ อย[างไรก็ตาม ภาคการผลิตโลกเดือนนี้ยังอยู[ในภาวะหดตัว การฟz{นตัวของตลาดหลัก
ยังเปEนไปอย[างไม[ทั่วถึง จากปxจจัยเสี่ยงด_านภูมิรัฐศาสตรlความขัดแย_งระหว[างประเทศ และการคงอัตราดอกเบี้ยสูง
ยาวนาน ชะลออุปสงคlทั่วโลก ทั้งนี้ การส[งออกไทย 9 เดือนแรกของปr 2566 หดตัวร_อยละ 3.8 และเมื่อหักสินค_า
เกี่ยวเนื่องกับน้ำมัน ทองคำ และยุทธปxจจัย หดตัวร_อยละ 1.2
มูลค5าการคQารวม
มูลค[าการค_าในรูปเงินดอลลารlสหรัฐ เดือนกันยายน 2566 มีมูลค[าการค_ารวม 48,859.8
ล_านเหรียญสหรัฐ หดตัวร_อยละ 3.1 เทียบกับเดือนเดียวกันของปrก[อน โดยการส[งออก มีมูลค[า 25,476.3 ล_านเหรียญ
สหรัฐ ขยายตัวร_อยละ 2.1 เทียบกับเดือนเดียวกันของปrก[อน การนำเข_า มีมูลค[า 23,383.5 ล_านเหรียญสหรัฐ หดตัว
ร_อยละ 8.3 ดุลการค_า เกินดุล 2,092.7 ล_านเหรียญสหรัฐ ภาพรวม 9 เดือนแรกของปr 2566 มีมูลค[าการค_ารวม
431,971.5 ล_านเหรียญสหรัฐ. หดตัวร_อยละ 4.9 เทียบกับช[วงเดียวกันของปrก[อน โดยการส[งออก มีมูลค[า 213,069.4
ล_านเหรียญสหรัฐ หดตัวร_อยละ 3.8 เทียบกับช[วงเดียวกันของปrก[อน การนำเข_า มีมูลค[า 218,902.1 ล_านเหรียญ
สหรัฐ หดตัวร_อยละ 6.0 ดุลการค_า ขาดดุล 5,832.7 ล_านเหรียญสหรัฐ
มูลค[าการค_าในรูปเงินบาท เดือนกันยายน 2566 มีมูลค[าการค_ารวม 1,713,976 ล_านบาท
หดตัวร_อยละ 5.3 เทียบกับเดือนเดียวกันของปrก[อน โดยการส[งออก มีมูลค[า 888,666 ล_านบาท หดตัวร_อยละ 0.1
เทียบกับเดือนเดียวกันของปrก[อน การนำเข_า มีมูลค[า 825,310 ล_านบาท หดตัวร_อยละ 10.2 ดุลการค_า เกินดุล
63,355 ล_านบาท ภาพรวม 9 เดือนแรกของปr 2566 มีมูลค[าการค_ารวม 14,826,543 ล_านบาท หดตัวร_อยละ 4.7
เทียบกับช[วงเดียวกันของปrก[อน โดยการส[งออก มีมูลค[า 7,268,400 ล_านบาท หดตัวร_อยละ 3.4 เทียบกับช[วงเดียวกัน
ของปrก[อน การนำเข_า มีมูลค[า 7,558,144 ล_านบาท หดตัวร_อยละ 5.9ดุลการค_า ขาดดุล 289,744 ล_านบาท
การส5งออกสินคQาเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร
มูลค[าการส[งออกสินค_าเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร ขยายตัวร_อยละ 12.0 โดยสินค_า
เกษตร ขยายตัวร_อยละ 17.7 และสินค_าอุตสาหกรรมเกษตร ขยายตัวร_อยละ 5.4 ทั้งนี้ สินค_าสำคัญที่ขยายตัว ได_แก[
ผลไม_สด แช[เย็น แช[แข็ง และแห_ง ขยายตัวร_อยละ 166.2 (ขยายตัวในตลาดจีน มาเลเซีย สหรัฐฯ เวียดนาม และ
ฮ[องกง) ข_าว ขยายตัวร_อยละ 51.4 (ขยายตัวในตลาดแอฟริกาใต_ อินโดนีเซีย สหรัฐฯ มาเลเซีย และเบนิน) ผลิตภัณฑl
มันสำปะหลัง ขยายตัวร_อยละ 3.7 (ขยายตัวในตลาดจีน ญี่ปุuน ไต_หวัน มาเลเซีย และเกาหลีใต_) น้ำตาลทราย
ขยายตัวร_อยละ 16.3 (ขยายตัวในตลาดอินโดนีเซีย กัมพูชา เวียดนาม ไต_หวัน และสิงคโปรl) ไขมันจากน้ำมันจากพืช
และสัตวl ขยายตัวร_อยละ 12.8 (ขยายตัวในตลาดอินเดีย เกาหลีใต_ เวียดนาม เนเธอรlแลนดl และฟ›ลิปป›นสl) สิ่งปรุงรส
อาหาร ขยายตัวร_อยละ 27.1 (ขยายตัวในตลาดสหรัฐฯ ฟ›ลิปป›นสl ออสเตรเลีย เนเธอรlแลนดl และสหราชอาณาจักร)
ผักกระป¬องและผักแปรรูป ขยายตัวร_อยละ 17.3 (ขยายตัวในตลาดญี่ปุuน สหรัฐฯ จีน เกาหลีใต_ และออสเตรเลีย) นม
36

และผลิตภัณฑlนม ขยายตัวร_อยละ 3.1 (ขยายตัวในตลาดสิงคโปรl ฮ[องกง เวียดนาม เมียนมา และอียิปตl) ผักสด แช[
เย็น แช[แข็ง และแห_ง ขยายตัวร_อยละ 7.9 (ขยายตัวในตลาดญี่ปุuน ไต_หวัน สหรัฐฯ กัมพูชา และเมียนมา) ไข[ไก[สด
ขยายตัวร_อยละ 52.7 (ขยายตัวในตลาดสิงคโปรl ไต_หวัน มัลดีฟสl และสหรัฐอาหรับเอมิเรตสl) ขณะที่สินค_าสำคัญที่หด
ตัว อาทิ อาหารทะเลกระป¬องและแปรรูป หดตัวร_อยละ 12.0 (หดตัวในตลาดสหรัฐฯ ญี่ปุuน ออสเตรเลีย แคนาดา
และสหรัฐอาหรับเอมิเรตสl) ยางพารา หดตัวร_อยละ 30.3 (หดตัวในตลาดจีน มาเลเซีย ญี่ปุuน สหรัฐฯ และเกาหลีใต_)
ไก[แปรรูป หดตัวร_อยละ 11.2 (หดตัวในตลาดญี่ปุuน สหราชอาณาจักร เนเธอรlแลนดl เกาหลีใต_ และไอรlแลนดl) อาหาร
สัตวlเลี้ยง หดตัวร_อยละ 7.9 (หดตัวในตลาดสหรัฐฯ มาเลเซีย ฟ›ลิปป›นสl ออสเตรเลีย และเยอรมนี) ผลไม_กระป¬องและ
แปรรูป หดตัวร_อยละ 3.9 (หดตัวในตลาดสหรัฐฯ ญี่ปุuน ออสเตรเลีย แคนาดา และกัมพูชา) ทั้งนี้ 9 เดือนแรกของปr
2566 การส[งออกสินค_าเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร หดตัวร_อยละ 2.0
การส5งออกสินคQาอุตสาหกรรม
มูลค[าการส[งออกสินค_าอุตสาหกรรม หดตัวร_อยละ 0.3 แต[ยังมีสินค_าสำคัญที่ขยายตัว อาทิ
รถยนตl อุปกรณl และส[วนประกอบ ขยายตัวร_อยละ 3.3 (ขยายตัวในตลาดออสเตรเลีย ฟ›ลิปป›นสl ญี่ปุuน มาเลเซีย
และซาอุดีอาระเบีย) อัญมณีและเครื่องประดับ (ไม[รวมทองคำ) ขยายตัวร_อยละ 27.3 (ขยายตัวในตลาดฮ[องกง อิตาลี
สหราชอาณาจักร เบลเยียม และญี่ปุuน) เครื่องโทรศัพทl อุปกรณlและส[วนประกอบ ขยายตัวร_อยละ 23.9 (ขยายตัวใน
ตลาดสหรัฐฯ ฮ[องกง ญี่ปุuน เนเธอรlแลนดl และเม็กซิโก) หม_อแปลงไฟฟwาและส[วนประกอบ ขยายตัวร_อยละ 46.4
(ขยายตัวในตลาดสหรัฐฯ เนเธอรlแลนดl ไต_หวัน อิตาลี และญี่ปุuน) อุปกรณlกึ่งตัวนำ ทรานซิสเตอรl และไดโอด
ขยายตัวร_อยละ 28.8 (ขยายตัวในตลาดสหรัฐฯ จีน ไต_หวัน เกาหลีใต_ และเม็กซิโก) ขณะที่สินค_าสำคัญที่หดตัว
อาทิ เครื่องคอมพิวเตอรl อุปกรณlและส[วนประกอบ หดตัวร_อยละ 24.3 (หดตัวในตลาดสหรัฐฯ ฮ[องกง สิงคโปรl
เนเธอรlแลนดl และญี่ปุuน) ผลิตภัณฑlยาง หดตัวร_อยละ 5.5 (หดตัวในตลาดจีน มาเลเซีย ออสเตรเลีย เวียดนาม และ
เนเธอรlแลนดl) เครื่องปรับอากาศและส[วนประกอบ หดตัวร_อยละ 27.7 (หดตัวในตลาดออสเตรเลีย สหรัฐฯ เวียดนาม
ญี่ปุuน และสหรัฐอาหรับเอมิเรตสl) รถจักรยานยนตlและส[วนประกอบ หดตัวร_อยละ 34.6 (หดตัวในตลาดจีน สหรัฐฯ
สหราชอาณาจักร ออสเตรเลีย และเบลเยียม) ผลิตภัณฑlอลูมิเนียม หดตัวร_อยละ 15.8 (หดตัวในตลาดญี่ปุuน สหรัฐฯ
อินเดีย เวียดนาม และสหรัฐอาหรับเอมิเรตสl) ทั้งนี้ 9 เดือนแรกของปr 2566 การส[งออกสินค_าอุตสาหกรรม หดตัว
ร_อยละ 3.7
ตลาดส5งออกสำคัญ
การส[งออกไปยังตลาดสำคัญขยายตัวได_ดี โดยเฉพาะตลาดจีนที่ขยายตัวต[อเนื่อง และการ
กลับมาขยายตัวในรอบหลายเดือนของตลาดอาเซียน (5) และเอเชียใต_ อย[างไรก็ตาม การส[งออกไปยังหลายตลาด
ยังคงมีความไม[แน[นอน จากปxจจัยกดดันของเศรษฐกิจโลก ทั้งนี้ ภาพรวมการส[งออกไปยังกลุ[มตลาดต[าง ๆ สรุปได_
ดังนี้ (1) ตลาดหลัก หดตัวร_อยละ 4.2 โดยกลับมาหดตัวในตลาดสหรัฐฯ และญี่ปุuน กลับมาหดตัวร_อยละ 10.0 และ
ร_อยละ 5.0 ตามลำดับ และหดตัวต[อเนื่องในตลาด CLMV และสหภาพยุโรป (27) ร_อยละ 18.1 และร_อยละ 9.3
ตามลำดับ ในขณะที่ขยายตัวในตลาดจีนและอาเซียน (5) ร_อยละ 14.4 และร_อยละ 4.1 (2) ตลาดรอง ขยายตัวร_อย
ละ 10.5 โดยขยายตัวในตลาดเอเชียใต_ ร_อยละ 7.8 แอฟริกา ร_อยละ 23.0 ลาตินอเมริกา ร_อยละ 4.6 และรัสเซียและ
กลุ[ม CIS ร_อยละ 33.9 ขณะที่ทวีปออสเตรเลีย ตะวันออกกลาง และสหราชอาณาจักร หดตัวร_อยละ 11.8 ร_อยละ
5.9 และร_อยละ 15.0 ตามลำดับ (3) ตลาดอื่น ๆ ขยายตัวร_อยละ 423.6 อาทิ สวิตเซอรlแลนดl ขยายตัวร_อยละ 749.8
2. มาตรการส5งเสริมการส5งออกและแนวโนQมการส5งออกระยะต5อไป
การส[งเสริมการส[งออก กระทรวงพาณิชยlดำเนินงานที่สำคัญในรอบเดือนที่ผ[านมา อาทิ (1) การ
จับมือร[วมกันระหว[างภาครัฐกับภาคเอกชน ในการผลักดันและแก_ไขปxญหาอุปสรรคทางการค_า (2) การนำคณะผู_แทน
การค_าไทยไปยังซาอุดีอาระเบีย และอียิปตl พร_อมด_วยผู_ประกอบการไทยกว[า 26 บริษัท เข_าร[วมงาน Saudi-Thai
Business Matching 2023 ณ ซาอุดีอาระเบีย และงาน Thai-Egyptian B2B Matching Event 2023 ณ อียิปตl เพื่อ
เจรจาการค_าและขยายตลาดส[งออกสินค_าในกลุ[มอาหารฮาลาล ผลไม_ สินค_าใช_ในบ_าน และชิ้นส[วนยานยนตl (3)
ยกระดับความร[วมมือกับผู_ประกอบการแพลตฟอรlมอีคอมเมิรlซ โดยกรมส[งเสริมการค_าระหว[างประเทศลงนาม MOU
ร[วมกับบริษัท ลาซาด_า จํากัด ในการร[วมมือส[งเสริมการค_าออนไลนlข_ามพรมแดนเพื่อเป›ดโอกาสให_สินค_าของ
ผู_ประกอบการไทยทุกระดับได_มีโอกาสขยายตลาดสู[ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต_ผ[านร_าน TOPTHAI Store บน
แพลตฟอรlมลาซาด_า (4) นำคณะผู_ส[งออกร[วมงานแสดงสินค_าจีน-อาเซียน ครั้งที่ 20 ณ นครหนานหนิง สาธารณรัฐ
ประชาชนจีน โดยมีผู_ส[งออกเข_าร[วม 76 ราย 4 กลุ[มสินค_า คาดว[าจะสร_างยอดขายไม[ต่ำกว[า 150 ล_านบาท นอกจากนี้
37

ยังมีการสร_างความร[วมมือด_านเศรษฐกิจสมัยใหม[ อาทิ เทคโนโลยีขั้นสูง ความมั่นคงด_านห[วงโซ[อุปทาน การค_าดิจิทัล


การพาณิชยlอิเล็กทรอนิกสlข_ามแดน
แนวโน_มการส[งออกในระยะถัดไป กระทรวงพาณิชยl ประเมินว[า การส[งออกในไตรมาส 4
ของปr 2566 จะมีแนวโน_มขยายตัวอย[างต[อเนื่อง ตามการทยอยฟz{นตัวของประเทศคู[ค_า ที่ต[างออกมาตรการฟz{นฟู
เศรษฐกิจ และอุปสรรคด_านห[วงโซ[อุปทานคลี่คลายลงจากปrก[อนหน_าที่ต_องเผชิญกับโควิด-19 ขณะที่กระแสความ
มั่นคงทางอาหาร และแรงส[งจากภาคบริการและท[องเที่ยวในช[วงเทศกาลปลายปrจะช[วยหนุนการส[งออกสินค_าเกษตร
และอาหารที่ไทยมีศักยภาพ สำหรับสินค_าอุตสาหกรรมยังสามารถเติบโตได_ตามเทรนดlเทคโนโลยีดิจิทัลและพลังงาน
สะอาด โดยกระทรวงพาณิชยlทำงานอย[างใกล_ชิดกับภาคเอกชน ในการจัดกิจกรรมส[งเสริมการค_าและเดินหน_าเจรจา
ความร[วมมือทางการค_าระหว[างประเทศอย[างต[อเนื่อง รวมทั้งติดตามเฝwาระวังความเสี่ยงใหม[ ๆ จากปxญหาความ
ขัดแย_งระหว[างอิสราเอล-กลุ[มฮามาส ซึ่งอาจขยายวงกว_างจนส[งผลกระทบต[อบรรยากาศการค_าของโลกในระยะถัดไป

ต5างประเทศ
38. เรื่อง ผลการประชุมรัฐมนตรียุติธรรมอาเซียน - ญี่ปุkน สมัยพิเศษ (ASEAN - Japan Special Meeting of
Justice Ministers: AJSMJ) และการประชุมที่เกี่ยวขQอง
คณะรัฐมนตรีมีมติรับทราบและเห็นชอบตามที่กระทรวงยุติธรรม (ยธ.) เสนอ ดังนี้
1. รับทราบผลการประชุมรัฐมนตรียุติธรรมอาเซียน - ญี่ปุuน สมัยพิเศษ ASEAN - Japan Special
Meeting of Justice Ministers: AJSMJ (การประชุม AJSMJ) และการประชุมที่เกี่ยวข_อง
2. มอบหมายให_ ยธ. เปEนหน[วยงานในการประสานงานกับหน[วยงานที่เกี่ยวข_องในการดำเนินความ
ร[วมมือตามแผนงานอาเซียน - ญี่ปุuน ด_านกฎหมายและงานยุติธรรม (แผนงานอาเซียนฯ) ซึ่งเปEนเอกสารผลลัพธlการ
ประชุมดังกล[าวต[อไป
สาระสำคัญของเรื่อง
ยธ. รายงานว[า
1. การประชุม AJSMJ จัดขึ้นในวาระครบรอบ 50 ปr แห[งมิตรภาพและความร[วมมืออาเซียน - ญี่ปุuน
โดยกระทรวงยุ ติ ธรรมญี ่ ปุ u น เปE นเจ_ าภาพ และมาเลเซี ยเปE นประธานร[ วม ระหว[ างวั นที ่ 5-7 กรกฎาคม 2566
ณ กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุuน ในส[วนของไทยมีรองนายกรัฐมนตรี (นายวิษณุ เครืองาม) ในขณะนั้น เปEนหัวหน_าคณะ
ผู_แทนไทยเข_าร[วมการประชุมดังกล[าว โดยผลการประชุม AJSMJ และการประชุมที่เกี่ยวข_องสรุปได_ ดังนี้
1.1 การประชุมประสานงานระหว5างประเทศสมาชิกอาเซียน (ASEAN Coordination
Meeting) ที่ประชุมได_ร[วมกันพิจารณาร[างเอกสารผลลัทธlการประชุม AJSMJ เปEนครั้งสุดท_าย จำนวน 2 ฉบับ ได_แก[
1) ร[างแถลงการณlร[วมการประชุม AJSMJ และ 2) แผนงานอาเซียนฯ โดยเห็นพ_องที่จะคงไว_ซึ่งสาระสำคัญของ
เอกสารทั้ง 2 ฉบับ ตามที่ได_เคยหารือกันไว_ในที่ประชุมเตรียมการสำหรับการประชุม AJSMJ เมื่อเดือนกุมภาพันธl
2566 และมีการปรับแก_ไขในส[วนที่ไม[ใช[สาระสำคัญและไม[ขัดกับหลักการที่คณะรัฐมนตรีได_ให_ความเห็นชอบไว_
เพื่อให_เกิดความชัดเจนและตรงกับความเปEนจริง ดังนี้ (1) แถลงการณlร[วมฯ ในย[อหน_าที่ 1 (อารัมภบท) จากเดิมที่ได_
ระบุวันที่การประชุม AJSMJ คือ “6th and 7 th of July 2023” ปรับแกQไขเปyน “6th of July 2023” และจากเดิมที่
ได_ระบุชื่อประเทศประธานร[วมกับญี่ปุuนคือ “ZZZZ” ปรับแกQไขเปyน “Malaysia” และในย[อหน_าสุดท_ายจากเดิมที่ได_
ระบุสถานที่ในการรับรองเอกสาร คือ “[city], [country], [date] and [month)” ปรับแกQไขเปyน “Tokyo, Japan
this 6th of July...” และ (2) แผนงานอาเซียนฯ ย[อหน_าที่ 1 จากเดิมที่ได_ระบุวันที่การประชุม AJSM คือ “July 6-7,
2023” ปรับแกQไขเปyน “July 6, 2023”
1.2 การประชุม AJSMJ โดยมีรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีมาเลเซีย ในฐานะ
ประธาน (ASEAN Law Ministers’ Meeting : ALAWMM) และรัฐมนตรีว[าการกระทรวงยุติธรรมญี่ปุuน (นายเคน ไซ
โต) เปEนประธานร[วม ซึ่งการประชุมในครั้งนี้ หัวหนQาคณะผูQแทนไทยไดQกล5าวถQอยแถลงต5อที่ประชุมสรุปว5า “ไทยใน
ฐานะประเทศผู _ ป ระสานงานความสั ม พั น ธl อ าเซี ย น-ญี ่ ป ุ u น มี ค วามยิ น ดี ท ี ่ เ ปE น ส[ ว นหนึ ่ ง โอกาสการเฉลิ ม ฉลอง
ความสัมพันธlระหว[างกันในครั้งนี้โดยไทยมีการดำเนินงานเพื่อมุ[งสู[สังคมที่มีความมั่นคงและปลอดภัย เช[น การมีผลใช_
บังคับของพระราชบัญญัติมาตรการปwองกันการกระทำความผิดซ้ำในความผิดเกี่ยวกับเพศหรือที่ใช_ความรุนแรง พ.ศ.
2565 และการจัดทำแผนปฏิบัติการระดับชาติว[าด_วยธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน เปEนต_น เพื่อมุ[งสู[การพัฒนาอย[างยั่งยืน
และสังคมที่สงบสุขและตั้งอยู[บนพื้นฐานของกฎหมายโดยไม[ทิ้งใครไว_ข_างหลัง” ทั้งนี้ ที่ประชุมได_มีมติต[อเอกสาร
38

ผลลัพธlของการประชุม AJSMJ 2 ฉบับ ได_แก[ (1) รับรองแถลงการณlร[วมการประชุม AJSMJ และ (2) เห็นชอบ
แผนงานอาเซียนฯ
1.3 การประชุมพบปะระหว5างรัฐมนตรียุติธรรมอาเซียนและกลุ5มประเทศ G7 (ASEAN -
G7 Justice Ministers’ Interface: Interface) โดยมีรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีมาเลเซีย ในฐานะประธาน
ALAWMM และรั ฐ มนตรี ว [ า การกระทรวงยุ ต ิ ธ รรมญี ่ ป ุ u น ในฐานะประธาน G7 ปr 2566 เปE น ประธานร[ ว ม ซึ่ ง
นายกรัฐมนตรีญี่ปุuน (นายฟุมิโอะ คิชิดะ) ได_กล[าวถ_อยแถลงในพิธีเป›ดการประชุมฯ โดยเน_นย้ำว[า การประชุมในครั้งนี้
ซึ่งถือเปEนจุดเริ่มต_นในการเสริมสร_างความร[วมมือระหว[างอาเซียนและ G7 ให_แน[นแฟwนยิ่งขึ้นในด_านกฎหมายและงาน
ยุติธรรม ทั้งในมิติทางวัฒนธรรมและระบบกฎหมายที่มีความแตกต[าง
1.4 การหารือทวิภาคี หัวหน_าคณะผู_แทนไทยได_เข_าร[วมประชุมหารือทวิภาคีกับหัวหน_า
คณะผู_แทนประเทศและองคlการระหว[างประเทศ ในห_วงการประชุม AJSMJ และการประชุม Interface ดังนี้
(1) รัฐมนตรีว[าการกระทรวงยุติธรรมญี่ปุuน ในประเด็นการส[งเสริมการดำเนินงาน
ต[ อยอดให_ เ กิ ดผลเปE นรู ปธรรมภายหลั งจากการประชุ ม AJSMJ และการประชุ ม Interface สิ ้ นสุ ดลง และการ
ดำเนินงานภายใต_บันทึกความร[วมมือฯ ระหว[าง ยธ. -ญี่ปุuน ซึ่งรัฐมนตรีว[าการกระทรวงยุติธรรมของทั้งสองประเทศได_
ลงนามไว_ร[วมกันเมื่อวันที่ 13 ธันวาคม 2562
(2) ผู _ อ ำนวยการของสำนั ก งานว[ า ด_ ว ยยาเสพติ ด และอาชญากรรมแห[ ง
สหประชาชาติ (UNODC) (Ms. Ghada Waly ในประเด็นการบริหารจัดการเรือนจำและการปฏิบัติต[อผู_กระทำผิด
การปwองกันและปราบปรามอาชญากรรมข_ามชาติผ[านกรอบความร[วมมือต[าง ๆ การต[อต_านการทุจริต และการแสดง
ความพร_อมที่สนับสนุนไทยในการดำเนินการประเด็นอื่น ๆ เช[น การสนับสนุนการดำเนินงานตามประมวลกฎหมายยา
เสพติด การส[งเสริมการมีส[วนร[วมของภาคเอกชนในการต[อต_านการลักลอบขนขยะ และอาชญากรรมภาคประมง
และการส[งเสริมให_ไทยเปEนภาคีพิธีสารต[อต_านการผลิตและลักลอบค_าอาวุธปzน ชิ้นส[วนและอุปกรณl และเครื่อง
กระสุนโดยผิดกฎหมาย
2. การเข_าร[วมการประชุมดังกล[าวเปEนโอกาสในการแลกเปลี่ยนข_อมูลและแนวปฏิบัติ เพื่อนำมา
ประกอบการพัฒนาการดำเนินงานด_านกฎหมายและงานยุติธรรมที่เกี่ยวข_องของไทยให_เปEนไปตามมาตรฐานและแนว
ปฏิบัติที่ดีต[าง ๆ ของสากล ดังนั้น จึงจะต_องขอความร[วมมือการบูรณาการการทำงานกับหน[วยงานด_านกฎหมายและ
งานยุติธรรม รวมถึงหน[วยงานอื่น ๆ ที่มีภารกิจเกี่ยวข_องของไทยภายใต_กรอบความร[วมมือนี้ต[อไป
39. เรื่อง ขอความเห็นชอบร5างกรอบความร5วมมือทางวิชาการระหว5างรัฐบาลไทยกับทบวงการพลังงานปรมาณู
ระหว5างประเทศ รอบปe ค.ศ. 2023-2029 (Country Programme Framework: CPF)
คณะรั ฐ มนตรี ม ี ม ติ เ ห็ น ชอบร[ า งกรอบความร[ ว มมื อ ทางวิ ช าการระหว[ า งรั ฐ บาลไทยกั บ ทบวง
การพลังงานปรมาณูระหว[างประเทศ (International Atomic Energy Agency: IAEA) (กรอบความร[วมมือฯ) รอบปr
ค.ศ. 2023-2029 (Country Programme Framework: CPF) (ปr 2566-2572) รวมทั้งมอบหมายให_เลขาธิการ
สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติหรือผู_แทนที่ได_รับมอบหมายเปEนผู_ลงนามในกรอบความร[วมมือฯ ดังกล[าวตามที่กระทรวง
การอุดมศึกษา วิทยาศาสตรl วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เสนอ
สาระสำคัญของเรื่อง
อว. รายงานว[า
ประเทศไทยเข_าร[วมเปEนสมาชิกของ IAEA เมื่อปr 2500 จากนั้นได_ลงนามในความตกลงเสริมฉบับ
แก_ไขเกี่ยวกับการให_ความช[วยเหลือด_านเทคนิคโดย IAEA1 ในปr 2523 และได_เข_าร[วมโครงการความร[วมมือทาง
วิชาการ (Technical Cooperation: TC) กับ IAEA ตั้งแต[บัดนั้นเปEนต_นมา ทั้งนี้ กรอบความร[วมมือฯ เปEนกรอบความ
ร[วมมือฉบับที่ 4 ของประเทศไทย (3 ฉบับแรก จัดทำเมื่อปr 2549-2554 ปr 2555 -2559 และปr 2560-2565
ตามลำดับ2) โดยกรอบความร[วมมือฯ ประกอบด_วยโครงการความร[วมมือทางเทคนิคสำหรับปr 2566-2572 ระหว[าง
ไทยกับ IAEA ซึ่งสะท_อนให_เห็นว[าวิทยาศาสตรlและเทคโนโลยีนิวเคลียรlสามารถมีส[วนร[วมโดยตรงและมีความคุ_มค[า
ต[อลำดับความสำคัญและเปwาหมายการพัฒนาประเทศของไทยในด_านต[าง ๆ ทั้งนี้ สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ (ปส.)
ได_ประสานงานและจัดประชุมเพื่อจัดทำกรอบความร[วมมือฯ ร[วมกับหน[วยงานที่เกี่ยวข_องเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน
2565 รวมทั้งได_ส[งร[างกรอบความร[วมมือฯ ให_ IAEA ทบทวนและให_ความเห็นเพิ่มติมเพื่อนำมาปรับปรุงร[างดังกล[าว
ให_มีความครบถ_วน สมบูรณlและสอดคล_องกับนโยบายและยุทธศาสตรlระดับชาติ นโยบายและแผนยุทธศาสตรlการ
39

พัฒนาด_านพลังงานนิวเคลียรlของประเทศ และพระราชบัญญัติพลังงานนิวเคลียรlเพื่อสันติ พ.ศ. 2559 และที่แก_ไข


เพิ่มเติม พ.ศ. 2562 รวมถึงกรอบเปwาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติ (Sustainable Development
Goals: SDGs) ที่เกี่ยวข_อง โดยคาดว[าจะมีการลงนามกรอบความร[วมมือฯ ในช[วงต_นเดือนพฤศจิกายน 2566
สาระสำคัญของกรอบความร5วมมือฯ มีวัตถุประสงคlเพื่อเปEนแนวทางในการพัฒนาความร[วมมือ
ทางวิชาการในด_านการใช_ประโยชนlจากเทคโนโลยีนิวเคลียรlและรังสีซึ่งครอบคลุมทุกสาขา เช[น ด_านการเกษตร
โภชนาการ การแพทยl อุตสาหกรรม สิ่งแวดล_อม การวิจัยและพัฒนาที่เกี่ยวข_อง โดยจัดทำในรูปแบบโครงการ TC
กรอบระยะเวลา ค.ศ. 2023-2023 (ปr 2566-2572) โดยประเด็นหลักของกรอบความร[วมมือฯ ได_แก[ ความปลอดภัย
และความมั่นคงด_านนิวเคลียรlและรังสี อาหารและการเกษตร สุขภาพและโภชนาการ การจัดการน้ำและสิ่งแวดล_อม
ทางทะเล อุตสาหกรรมและพลังงาน
____________________________
1
ความตกลงเสริมฉบับแกIไขเกี่ยวกับการใหIความชGวยเหลือดIานเทคนิคโดย IAEA คือขIอตกลงระหวGาง IAEA กับรัฐบาลไทยในการใหI
ความชGวยเหลือดIานเทคนิคในการใชIพลังงานปรมาณูอยGางสันติ เชGน การใชIงาน การบำรุงรักษา การจัดเก็บ การกำจัดอุปกรณyที่
เกี่ยวกับการใชIพลังงานปรมาณู
2
จากการประสานขIอมูลเมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน 2566 ปส. แจIงวGา กรอบความรGวมมือฯ 3 ฉบับแรก ไมGไดIนำเสนอคณะรัฐมนตรี
เนื ่ อ งจากอยู G ใ นอำนาจของเลขาธิ ก ารสำนั ก งานปรมาญเพื ่ อ สั น ติ ท ี ่ ส ามารถลงนามในกรอบความรG ว มมื อ ฯ ไดI ภายหลั ง จากที่
คณะอนุกรรมการวGาดIวยการดำเนินการใหIเปlนไปตามพันธกรณีระหวGางประเทศไดIใหIความเห็นชอบแลIว แตGโดยที่รGางกรอบความ
รGวมมือฯ ฉบับที่ 4 กระทรวงการตGางประเทศ (กต.)เห็นวGามีความเกี่ยวขIองกับหลายหนGวยงาน ปส. ในฐานะสGวนราชการเจIาของเรื่อง
จึงควรพิจารณาเสนอรGางกรอบความรGวมมือฯ ดังกลGาวใหIคณะรัฐมนตรีพิจารณาใหIความเห็นชอบดIวย

40. เรื่อง ขอความเห็นชอบร5างบันทึกความเขQาใจระหว5างสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติกับกระทรวงการต5างประเทศ


การคQา และการพัฒนาแห5งประเทศแคนาดา
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบร[างบันทึกความเข_าใจระหว[างสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ (ปส.) กับ
กระทรวงการต[างประเทศ การค_า และการพัฒนาแห[งประเทศแคนาดา (Department of Foreign Affairs, Trade
and Development of Canada: DFATD) (ร[างบันทึกความเข_าใจฯ) ทั้งนี้ หากมีความจำเปEนต_องปรับปรุงแก_ไขร[าง
บันทึกความเข_าใจดังกล[าว ในส[วนที่มิใช[สาระสำคัญหรือไม[ขัดต[อผลประโยชนlของประเทศไทย ขอให_ อว. สามารถ
ดำเนินการได_โดยไม[ต_องเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาอีกครั้ง รวมทั้งเห็นชอบให_เลขาธิการสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ
หรือผู_ที่ได_รับมอบหมายลงนามในบันทึกความเข_าใจฯ ตามที่กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตรl วิจัยและนวัตกรรม
(อว.) เสนอ
1. เรื่องเดิม
คณะรัฐมนตรีมีมติ (12 พฤษภาคม 2563) เห็นชอบร[างบันทึกความเข_าใจระหว[าง DFATD กับ ปส.
โดยมีกำหนดระยะเวลาดำเนินการตั้งแต[วันที่ 30 มิถุนายน 2563 ถึงวันที่ 31 กรกฎาคม 2565 เพื่อสร_างกรอบความ
ร[วมมือเกี่ยวกับการให_บริการและการฝ¡กอบรมที่ไม[เปEนตัวเงินและแบบให_เปล[าเพื่อเสริมสร_างขีดความสามารถของ
ประเทศไทยในการปwองกันตนเองจากภัยคุกคามด_านความมั่นคงปลอดภัยทางนิวเคลียรlและรังสีผ[านการพัฒนา
หลักสูตร การจัดตั้ง และการดำเนินงานของศูนยlสนับสนุนความมั่นคงปลอดภัยทางนิวเคลียรl
2. สาระสำคัญของเรื่อง
อว. รายงานว[า
ภายหลังจากที่ อว. โดย ปส. ได_จัดทำบันทึกความเข_าใจระหว[าง DFATD กับ ปส. เพื่อขอรับการ
สนับสนุนความช[วยเหลือในการจัดตั้งและการดำเนินงานของศูนยlสนับสนุนความมั่นคงปลอดภัยทางนิวเคลียรlของ
ไทยจาก DFATD (ตามข_อ 1) ปส. ได_รับการสนับสนุนในเรื่องต[าง ๆ เช[น การพัฒนาระบบตามมาตรฐาน ISO 299931
การรับรองมาตรฐานสำหรับหลักสูตรการฝ¡กอบรมด_านความมั่นคงปลอดภัยทางนิวเคลียรlปr 2565 การพัฒนา
หลักสูตรการจัดการความมั่นคงปลอดภัยของวัสดุกัมมันตรังสีและการจัดฝ¡กอบรมในหัวข_อดังกล[าว รวมทั้งการพัฒนา
บุคลากรให_เปEนวิทยากรด_านการจัดการความมั่นคงปลอดภัยของวัสดุกัมมันตรังสี จำนวน 9 ราย ทั้งนี้ เนื่องจากบันทึก
ความเข_าใจดังกล[าวได_สิ้นอายุเมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2565 ดังนั้น ปส. และ DFATD จึงเห็นพ_องที่จะจัดทำบันทึก
40

ความเข_าใจฯ ฉบับใหม[ เพื่อให_การดำงานตามบันทึกความเข_าใจฯ เปEนไปด_วยความต[อเนื่อง โดยคาดว[าจะมีการลง


นามบันทึกความเข_าใจฯ ในช[วงเดือนพฤศจิกายน 2566
ร5างบันทึกความเขQาใจฯ ฉบับนี้มีความแตกต[างจากฉบับเดิมในเรื่องระยะเวลามีผลผูกพัน จากเดิมที่
มีกำหนดระยะเวลาไว_ชัดเจน แก_ไขเปEนไม[มีกำหนดระยะเวลา โดยจะสิ้นสุดลงก็ต[อเมื่อฝuายใดฝuายหนึ่งแจ_งความ
ประสงคlขอยกเลิกร[างบันทึกความเข_าใจฯ นี้ รวมทั้งได_เพิ่มเติมให_ ปส. มีบทบาทในการอำนวยความสะดวกในการจัด
กิจกรรม รวมถึงการยกเว_นภาษีนำเข_า ภาษีอากร ค[าธรรมเนียม และภาษีอื่นใดที่อาจเกิดขึ้นจากการขนส[งอุปกรณl
หรือการให_บริการอันเนื่องมาจากการให_ความช[วยเหลือจาก DFATD โดยสาระสำคัญของร[างบันทึกความเข_าใจฯ
มีวัตถุประสงคl เพื่อสร_างความร[วมมือที่ไม[ใช[ทางการเงินและการสนับสนุนอุปกรณl การให_บริการและการฝ¡กอบรม
แบบให_เปล[า เพื่อเสริมสร_างขีดความสามารถของไทยในการปwองกันตนเองจากภัยคุกคามด_านความมั่นคงปลอดภัย
ทางนิวเคลียรlและรังสี และจะทำให_เกิดความต[อเนื่องในการทำงาน ซึ่งจะเปEนประโยซนlต[อการดำเนินงาน รวมถึงเพื่อ
สนับสนุนและเสริมสร_างสมรรถนะด_านความมั่นคงทางนิวเคลียรlของไทยและการฝ¡กอบรมระดับชาติ ซึ่งเปEนหนึ่งใน
ภารกิจของ ปส. เกี่ยวกับการใช_ประโยชนlจากนิวเคลียรlและรังสี
______________________________________
1ISO
29993 คือ ขIอกำหนดดIานคุณภาพสำหรับหนGวยงานที่ใหIบริการดIานการเรียนรูIนอกเหนือจากการศึกษาปกติ เชGน การฝ•กอบรม
เชิงวิชาชีพ การฝ•กอบรมภายในองคyกร และการใหIบริการฝ•กอบรมภายนอกองคyกร โดย ปส. ไดIรับการรับรองคุณภาพตามขIอกำหนด
มาตรฐาน ISO 29993 สำหรับการจัดฝ•กอบรมหลักสูตรดIานความมั่นคงปลอดภัยทางนิวเคลียรy

41. เรื่อง ขออนุมัติกรอบการหารือสำหรับการประชุมคณะมนตรี คณะกรรมาธิการแม5น้ำโขง ครั้งที่ 30 และการ


ประชุมคณะมนตรี คณะกรรมาธิการแม5น้ำโขง กับหุQนส5วนการพัฒนา ครั้งที่ 28
คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติและเห็นชอบตามที่คณะกรรมการแม[น้ำโขงแห[งชาติไทย (คณะกรรมการฯ)
[รองนายกรัฐมนตรี (นายสมศักดิ์ เทพสุหิน) เปEนประธานกรรมการ] เสนอ ดังนี้
1. อนุมัติกรอบการหารือสำหรับการประชุมคณะมนตรี คณะกรรมาธิการแม[น้ำโขง (การประชุม
คณะมนตรีฯ) ครั้งที่ 30 และการประชุมคณะมนตรี คณะกรรมาธิการแม[น้ำโขง กับหุ_นส[วนการพัฒนา (การประชุม
คณะมนตรีฯ กับหุ_นส[วนการพัฒนา) ครั้งที่ 28
2. รับทราบองคlประกอบคณะผู_แทนไทยในการประชุมคณะมนตรีฯ ครั้งที่ 30 และการประชุมคณะ
มนตรีฯ กับหุ_นส[วนการพัฒนา ครั้งที่ 28
3. เห็นชอบให_คณะผู_แทนไทยหารือกับประเทศสมาชิกคณะกรรมาธิการแม[น้ำโขงตามประเด็นใน
กรอบการหารือสำหรับการประชุมคณะมนตรีฯ ครั้งที่ 30 และการประชุมคณะมนตรีฯ กับหุ_นส[วนการพัฒนา ครั้งที่
28 เพื่อสนับสนุนให_การดำเนินงานและความร[วมมือเปEนไปตามพันธกรณีของความตกลงว[าด_วยความร[วมมือเพื่อการ
พัฒนาลุ[มแม[น้ำโขงอย[างยั่งยืน พ.ศ. 2538 (ความตกลงฯ)
4. อนุมัติให_รองนายกรัฐมนตรี (นายสมศักดิ์ เทพสุทิน) หรือผู_ที่ได_รับมอบหมาย ในฐานะสมาชิก
คณะมนตรี คณะกรรมาธิการแม[น้ำโขง และหัวหน_าคณะผู_แทนไทย เปEนผู_ลงนามรับรองรายงานการประชุม โดยที่
เอกสารดังกล[าวมิได_ใช_ถ_อยคำก[อให_เกิดพันธกรณีตามกฎหมายระหว[างประเทศ และไม[เข_าข[ายหนังสือสัญญา
สาระสำคัญของเรื่อง
คณะกรรมการฯ รายงานว[า
1. รัฐบาลไทยได_ลงนามความตกลงฯ ร[วมกับ กัมพูชา สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
(สปป.ลาว) และเวียดนาม เมื่อวันที่ 5 เมษายน 2538 โดยมีวัตถุประสงคlเพื่อดำเนินความร[วมมือในทุกด_านของการ
พัฒนาที่ยั่งยืน การใช_การบริหารจัดการและการอนุรักษlทรัพยากรน้ำและทรัพยากรที่เกี่ยวข_องของลุ[มแม[น้ำโขงเปEน
ผลให_มีการก[อตั้งคณะกรรมาธิการแม[น้ำโขง (คณะกรรมาธิการฯ) (Mekong River Commission: MRC) มีสถานะ
เปEนองคlกรระหว[างประเทศ ในการสนับสนุนการดำเนินงานและความร[วมมือให_เปEนไปตามพันธกรณีของความตกลงฯ
โดยโครงสร_างการบริหารของคณะกรรมาธิการฯ แบ[งออกเปEนองคlกรบริหารถาวร 3 องคlกร คือ (1) คณะมนตรี
(Council) ประกอบด_วย ผู_แทนจากประเทศสมาชิกในระดับรัฐมนตรี ประเทศละ 1 คน [ในส[วนของไทย คือ รอง
นายกรัฐมนตรี (นายสมศักดิ์ เทพสุทิน)] (2) คณะกรรมการร[วม (Joint Committee) ประกอบด_วย ผู_แทนจาก
ประเทศสมาชิกในระดับอธิบดีขึ้นไป ประเทศละ 1 คน (ในส[วนของไทย คือ นายสุรสีหl กิตติมณฑล เลขาธิการ
สำนักงานทรัพยากรน้ำแห[งชาติ) และ (3) สำนักงานเลขาธิการ (Secretariat)1 มีหัวหน_าเจ_าหน_าที่บริหาร (CEO) ซึ่ง
41

คณะมนตรีเปEนผู_แต[งตั้งเพื่อทำหน_าที่บริหารงานและเปEนหน[วยงานปฏิบัติการของคณะกรรมาธิการฯ โดยที่ในแต[ละปr
ผู_แทนในคณะมนตรี จะหมุนเวียนทำหน_าที่ประธานคณะมนตรี ตามลำดับตัวอักษรของประเทศสมาชิก เพื่อสนับสนุน
การกำหนดนโยบายและตัดสินใจการดำเนินงานตามความตกลงฯ ให_บรรลุผลสำเร็จ
2. การประชุมคณะมนตรีฯ ครั้งที่ 30 และการประชุมคณะมนตรีฯ กับหุ_นส[วนการพัฒนา ครั้งที่ 282
มีวัตถุประสงคlเพื่อหารือและกำหนดนโยบายความร[วมมือในการบริหารองคlกรของคณะกรรมาธิการฯ และกำหนด
แนวทางความร[วมมือกับประเทศคู[เจรจา รวมถึงหุ_นส[วนการพัฒนา3และองคlกรระหว[างประเทศที่เกี่ยวข_อง โดยมี
รัฐมนตรีที่เกี่ยวข_องหรือผู_แทนจากประเทศสมาชิกคณะกรรมาธิการฯ ประกอบด_วย กัมพูชา สปป.ลาว เวียดนาม และ
ประเทศไทย รวมทั้งประเทศคู[เจรจา (สาธารณรัฐประชาชนจีนและสหภาพเมียนมา)และหุ_นส[วนการพัฒนา เข_าร[วม
การประชุม โดยมีระเบียบวาระเพื่อพิจารณาที่จำเปEนต_องมีการหารือในระดับนโยบายเพื่อกำหนดท[าทีของประเทศ
จำนวน 1 เรื่อง คือ การสรรหาตำแหน[ง CEO ของสำนักงานเลขาธิการคณะกรรมาธิการฯ (สำนักงานฯ) โดยมีกรอบ
การหารือสำหรับการประชุมคณะมนตรีฯ ครั้งที่ 30 ดังนี้ 1) การปรับปรุงร[างขอบเขตงาน (Term of Reference:
TOR) ของ CEO4 2) กระบวนการคัดเลือก CEO ของสำนักงานฯ
______________________________
1สำนักงานเลขาธิการ
(Mekong River Commission Secretariat: MRCS) ตั้งอยูGที่เวียงจันทนy สปป.ลาว และกรุงพนมเปญ กัมพูชา
2
เปlนการประชุมสมัยสามัญของคณะมนตรีที่จัดขึ้นเปlนประจำทุกปn
3เชGน ออสเตรเลีย สหพันธyสาธารณรัฐเยอรมนี ญี่ปุ~น สหรัฐอเมริกา เปlนตIน โดยจะบริจาคเงินทุนเพื่อสนับสนุนการดำเนินการตามแผน

ยุทธศาสตรyของคณะกรรมาธิการฯ
4
เมื่อการดำรงตำแหนGง CEO หมุนเวียนไปถึงประเทศใด ประเทศนั้นจะสามารถปรับปรุงรGางขอบเขตงานของ CEO ใหIสอดคลIองกับ
วัตถุประสงคyของประเทศนั้น ๆ ไดI

42. เรื่อง การแกQไขสัญญาประธานในการจQางธนาคารโลกเปyนที่ปรึกษาแบบมีค5าใชQจ5าย (Amendments to the


Framework Agreement for Reimbursable Advisory Services)
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบร[างสัญญาประธานในการจ_างธนาคารโลกเปEนที่ปรึกษาแบบมีค[าใช_จ[าย
ฉบับแก_ไข ทั้งนี้ หากมีความจำเปEนต_องปรับปรุงร[างสัญญาประธานในการจ_างธนาคารโลกเปEนที่ปรึกษาแบบมี
ค[าใช_จ[าย ฉบับแก_ไข ในส[วนที่ไม[ใช[สาระสำคัญและไม[ขัดต[อผลประโยชนlของประเทศไทยขอให_กระทรวงการคลัง
สามารถดำเนินการได_ตามความเหมาะสม รวมทั้งรับทราบว[าไม[จำเปEนต_องแสดงหนังสือมอบอำนาจเต็ม เนื่องจาก
ในทางปฏิบัติเปEนที่ยอมรับกันระหว[างกระทรวงการคลังและธนาคารโลก และอนุมัติให_ผู_อำนวยการสำนักงาน
เศรษฐกิจการคลังลงนามในร[างสัญญาประธานในการจ_างธนาคารโลกเปEนที่ปรึกษาแบบมีค[าใช_จ[าย ฉบับแก_ไขตามที่
กระทรวงการคลัง (กค.) เสนอ
สาระสำคัญของเรื่อง
1. ความเปEนมา
1) ธนาคารโลกมีบริการเปEนที่ปรึกษาแบบมีค[าใช_จ[ายให_แก[หน[วยงานรัฐของประเทศสมาชิก
โดยการให_บริการดังกล[าวจะต_องทำสัญญาจ_างตามแบบสัญญามาตรฐานของธนาคารโลก ขณะที่หน[วยงานรัฐของ
ประเทศไทยจะต_องปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ_างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ซึ่งได_
กำหนดให_ใช_รูปแบบสัญญามาตรฐานซึ่งกำหนดโดยคณะกรรมการนโยบายการจัดซื้อจัดจ_างและการบริหารพัสดุ
ภาครัฐ และจะต_องได_รับความเห็นชอบจากสำนักงานอัยการสูงสุดเปEนรายกรณี ดังนั้น เพื่อลดความซับซ_อนของ
กระบวนการจ_างธนาคารโลกเปEนที่ปรึกษา ธนาคารโลกจึงได_ร[วมกับกระทรวงการคลังและสำนักงานอัยการสูงสุด
จัดทำสัญญาประธานฯ เพื่อใช_เปEนสัญญามาตรฐานสำหรับหน[วยงานรัฐในการจ_างธนาคารโลกเปEนที่ปรึกษาแบบมี
ค[าใช_จ[าย
2) คณะรัฐมนตรีได_มีมติเมื่อวันที่ 11 กันยายน 2561 เห็นชอบร[างสัญญาประธานฯ และ
มอบหมายให_รัฐมนตรีว[าการกระทรวงการคลังเปEนผู_ลงนาม ตามที่กระทรวงการคลังสนอ โดยกระทรวงการคลังได_ลง
นามในสัญญาประธานฯ ดังกล[าว เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน 2561
3) เนื่องจากสัญญาประธานฯ จะครบกำหนดอายุสัญญาในวันที่ 22 พฤศจิกายน2566
ธนาคารโลกจึงได_มีหนังสือเลขที่ 343/ 2023 ลงวันที่ 6 เมษายน 2566 ถึงรัฐมนตรีว[าการกระทรวงการคลัง เรื่องการ
42

แก_ไขสัญญาประธานฯ เพื่อพิจารณาขยายกำหนดอายุของสัญญาประธานฯ และแก_ไขเนื้อหาบางส[วนของสัญญา


ประธานฯ
4) ตั้งแต[มีการลงนามในสัญญาประธานฯ ปxจจุบันมีการดำเนินโครงการจ_างธนาคารโลกเปEน
ที่ปรึกษาแบบมีค[าใช_จ[ายทั้งหมด 23 โครงการ คิดเปEนมูลค[ารวมทั้งหมด 9.43 ล_านดอลลารlสหรัฐ โดยในปr 2566 มี
การทำสัญญาจ_างธนาคารโลกเปEนที่ปรึกษาแบบมีค[าใช_จ[ายทั้งหมด 4 โครงการ คิดเปEนมูลค[า 1.8 ล_านดอลลารlสหรัฐ
แบ[งเปEนโครงการในภาคการศึกษา การพัฒนานวัตกรรมและนโยบายทางวิทยาศาสตรlและการพัฒนาท_องถิ่น
2. สัญญาประธานฯ เปEนการกำหนดเงื่อนไข และภาระหน_าที่ต[าง ๆ ระหว[างหน[วยงานรัฐของ
ประเทศไทยในฐานะผู_รับบริการ และธนาคารโลกในฐานะผู_ให_คำปรึกษา ซึ่งครอบคลุมถึงการให_คำปรึกษาแบบมี
ค[าใช_จ[าย การติดต[อผู_รับบริการ ระยะเวลาการบริการให_คำปรึกษา การชำระเงิน การมีผลและการสิ้นสุดของสัญญา
และความร[วมมือของหน[วยงานรัฐ
43. เรื่อง ร5างเอกสารผลลัพธ]การประชุมรัฐมนตรีต5างประเทศกรอบความร5วมมือแม5โขง-ลQานชQาง ครั้งที่ 8
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามที่กระทรวงการต[างประเทศ (กต.) เสนอ ดังนี้
1. เห็ นชอบต[ อร[ างเอกสารผลลั พธl ทั ้ ง 3 ฉบั บ 1) ร[ างแถลงข[ าวร[ วมของการประชุ มรั ฐมนตรี
ต[างประเทศกรอบความร[วมมือแม[โขง-ล_านช_าง ครั้งที่ 8 2) ร[างแผนดำเนินการ 5 ปr กรอบความร[วมมือแม[โขง-ล_าน
ช_าง (ค.ศ. 2023-2027) 3) ร[างข_อริเริ่มร[วมเรื่องการพัฒนาระเบียงนวัตกรรมภายใต_กรอบความร[วมมือแหม[โขง-ล_าน
ช_าง หากมีความจำเปEนต_องปรับปรุงแก_ไขร[างเอกสารผลลัพธlฯ ที่ไม[ใช[สาระสำคัญหรือไม[ขัดต[อผลประโยชนlของไทย
ขอให_กระทรวงการต[างประเทศดำเนินการได_โดยไม[ต_องเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาอีกครั้ง
2. ให_รัฐมนตรีว[าการกระทรวงการต[างประเทศหรือผู_ที่ได_รับมอบหมายร[วมให_การรับรองร[างแถลง
ข[าวร[วมของการประชุมรัฐมนตรีต[างประเทศกรอบความร[วมมือแม[โขง-ล_านข_าง ครั้งที่ 8 ตามที่ประเทศสมาชิกมี
ฉันทามติ
3. ให_รัฐมนตรีว[าการกระทรวงการต[างประเทศหรือผู_ที่ได_รับมอบหมายให_การรับรองร[างแผน
ดำเนินการ 5 ปr กรอบความร[วมมือแม[โขงล_านช_าง (ค.ศ. 2023-2027) และร[างข_อริเริ่มร[วม เรื่องการพัฒนาระเบียง
นวัตกรรมภายใต_กรอบความร[วมมือแม[โขง-ล_านช_าง หากประธานร[วมพิจารณาแล_วเสนอให_มีการรับรองเอกสาร
ข_างต_นในระดับรัฐมนตรี เนื่องจากคาดว[า ไม[น[าจะสามารถจัดการประชุมผู_นำฯ ร[วมกันได_ในอนาคตอันใกล_ อย[างไรก็
ดี หากประธานร[วมสามารถจัดการประชุมผู_นำฯ ได_ในอนาคตอันใกล_ ขอให_นายกรัฐมนตรีหรือผู_ที่ได_รับมอบหมายให_
การรับรองเอกสารข_างต_นในการประชุมผู_นำฯ ตามที่ประเทศสมาชิก
มีฉันทามติ
สาระสำคัญ
กรอบ MLC ประกอบด_วยสมาชิก 6 ประเทศ ได_แก[ ราชอาณาจักรกัมพูชา สาธารณรัฐประชาชนจีน
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว สาธารณรัฐแห[งสหภาพเมียนมา ราชอาณาจักรไทย และสาธารณรัฐสังคม
นิยมเวียดนาม โดยมีวัตถุประสงคlเพื่อส[งเสริมความเชื่อมโยงและการพัฒนาอย[างยั่งยืนในอนุภูมิภาคลุ[มน้ำโขง และลด
ความเหลื่อมล้ำด_านการพัฒนาระหว[างประเทศ โดยจัดการประชุมรัฐมนตรีต[างประเทศฯ ครั้งแรก เมื่อเดือน
พฤศจิกายน 2558 และการประชุมผู_นำฯ ครั้งแรก เมื่อเดือนมีนาคม 2559
ฝuายจีนเสนอให_การประชุมรัฐมนตรีฯ ครั้งที่ 8 รับรองร[างแถลงข[าวร[วมฯ 1 ฉบับ และหากยังไม[
สามารถจัดการประชุมผู_นำฯ ได_ในระยะเวลาอันใกล_นี้ ฝuายจีนจะเสนอให_มีการรับรองร[างแผนดำเนินการ 5 ปrฯ และ
ร[างข_อริเริ่มร[วมการพัฒนาระเบียงนวัตกรรมฯ ในการประชุมรัฐมนตรีฯ ครั้งที่ 8 ด_วย
ทั้งนี้ สาธารณรัฐประชาชนจีนและสาธารณรัฐแห[งสหภาพเมียนมา ประธานร[วมของกรอบความ
ร[วมมือแม[โขง-ล_านช_าง (Mekong-Lancang Cooperation: MLC) เสนอให_จัดการประชุมรัฐมนตรีฯ ครั้งที่ 8 ในวันที่
28 พฤศจิกายน 2566 ณ เมืองฉงจั่ว เขตปกครองตนเองกว[างซีจ_วง สาธารณรัฐประชาชนจีน

แต5งตั้ง
44. เรื่อง การแต5งตั้งขQาราชการการเมือง (สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี)
43

คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามที่สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรีเสนอแต[งตั้งบุคคลให_ดำรงตำแหน[ง
ข_าราชการการเมือง ตำแหน[งประจำสำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี จำนวน 2 ราย ดังนี้ 1. นายธงทอง นิพัทธรุจิ
2. นายกฤตนัน สุทธิธนาเลิศ ทั้งนี้ ตั้งแต[วันที่ 21 พฤศจิกายน 2566 เปEนต_นไป

45. เรื่อง การต5อเวลาการดำรงตำแหน5งประเภทบริหาร (นักบริหาร ระดับสูง และนักบริหารการทูต ระดับสูง)


กระทรวงการต5างประเทศ
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามทีก่ ระทรวงการต[างประเทศเสนอ ดังนี้
1. การต[อเวลาการดำรงตำแหน[งเอกอัครราชทูต สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงมัสกัต รัฐสุลต[าน
โอมาน ของนายสุวัฒน] แกQวสุข ตั้งแต[วันที่ 25 กฎาคม 2566 ถึงวันที่ 24 กรกฎาคม 2567 ซึ่งเปEนการขอต[อเวลาครั้ง
ที่ 2
2. การต[อเวลาการดำรงตำแหน[งอธิบดีกรมเศรษฐกิจระหว[างประเทศ ของนายเชิดชาย ใชQไววิทย]
ตั้งแต[วันที่ 26 กันยายน 2566 จนถึงวันที่ 25 กันยายน 2567 ซึ่งเปEนการขอต[อเวลาครั้งแรก
3. การต[ อ เวลาการดำรงตำแหน[ ง เอกอั ค รราชทู ต สถานเอกอั ค รราชทู ต ณ กรุ ง เทลอาวี ฟ
รัฐอิสราเอล ของนางสาวพรรณนภา จันทรารมย] ตั้งแต[วันที่ 1 ตุลาคม 2566 จนถึงวันที่ 30 กันยายน 2567 ซึ่งเปEน
การขอต[อเวลาครั้งแรก
4. การต[อเวลาการดำรงตำแหน[งเอกอัครราชทูต สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงออสโล ราชอาณาจักร
นอรlเวยl ของนางสาววิมลพัชระ รักษาเกียรติ ตั้งแต[วันที่ 9 พฤศจิกายน 2566 ถึงวันที่ 8 พฤศจิกายน 2567 ซึ่งเปEน
การขอต[อเวลาครั้งแรก
5. การต[อเวลาการดำรงตำแหน[งเอกอัครราชทูต สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงลิสบอน สาธารณรัฐ
โปรตุเกส ของนางครองขนิษฐ รักษ]เจริญ ตั้งแต[วันที่ 16 ธันวาคม 2566 ถึงวันที่ 15 ธันวาคม 2567 ซึ่งเปEนการขอ
ต[อเวลาครั้งแรก
6. การต[อเวลาการดำรงตำแหน[งเอกอัครราชทูต สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงออตตาวา แคนาดา
ของนายกัลยาณะ วิภัติภูมิประเทศ ตั้งแต[วันที่ 18 มกราคม 2567 จนถึงวันที่ 17 มกราคม 2568 ซึ่งเปEนการขอต[อ
เวลาครั้งแรก
46. เรื่อง การแต5งตั้งกรรมการผูQทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการสถาบันอนุญาโตตุลาการ
คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติตามที่รัฐมนตรีว[าการกระทรวงยุติธรรมเสนอแต[งตั้งกรรมการผู_ทรงคุณวุฒิ
ในคณะกรรมการสถาบันอนุญาโตตุลาการ จำนวน 5 คน เนื่องจากกรรมการผู_ทรงคุณวุฒิเดิมได_ดำรงตำแหน[งครบ
วาระสี่ปr ดังนี้
1. นายวัลลภ นาคบัว
2. นายพิศุทธl อรรถกมล (กรรมการจากผู_แทนภาคเอกชน)
3. นายสมพร สืบถวิลกุล (กรรมการจากผู_แทนภาคเอกชน)
4. นางสาวนภารัตนl ศรีวรรณวิทยl (กรรมการจากผู_แทนภาคเอกชน)
5. นายไกรรวี ศิริกุล (กรรมการจากผู_แทนภาคเอกชน)
ทั้งนี้ ตั้งแต[วันที่ 21 พฤศจิกายน 2566 เปEนต_นไป และให_สถาบันอนุญาโตตุลาการรับข_อสังเกตของ
สำนักงาน ก.พ.ร. ในฐานะฝuายเลขานุการคณะกรรมการพัฒนาและส[งเสริมองคlการมหาชนไปพิจารณาดำเนินการ
ต[อไปด_วย

****************************

You might also like