You are on page 1of 7

สถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐอิสลามอิหร่ าน

ประจาประเทศไทย 12 พฤษภาคม 2566

ด้ วยพระนามของเอกองค์ อลั ลอฮ์

จดหมายข่าวอิหร่ าน (ฉบับที่ 23 )

การเมื อ ง

ประธานาธิ บ ดี อิ ห ร่ านเยื อ นซี เ รี ย


ฯพณฯ ระอีซี ประธานาธิ บดี สาธารณรับอิสลามแห่ งอิหร่ าน ได้เดินทางเยือนประเทศนี้ เป็ นเวลา 2 วัน
ตามคาเชิญอย่างเป็ นทางการของประธานาธิ บดีแห่งซีเรี ย
การเยือนของ ฯพณฯ ระอีซี ในฐานะหัวหน้าคณะผูแ้ ทนเศรษฐกิ จและการเมื องคณะใหญ่น้ ี เป็ นการ
เยือนกรุ งดามัสกัสของประธานาธิ บดีอิหร่ านเป็ นครั้งแรกนับตั้งแต่ปี ค.ศ. 2010
การเดิ นทางไปเยือนซี เรี ยครั้ งนี้ ฯพณฯ ระอีซี ได้พบปะและพูดคุ ยกับประธานาธิ บดี นักการศาสนา
นักวิชาการ ปั ญญาชน และนักเคลื่อนไหวทางเศรษฐกิจของประเทศนี้ นอกจากนี้ ในระหว่างการเดินทางครั้งนี้
มี ก ารลงนามในโครงการความร่ วมมื อเชิ งกลยุท ธ์ และคามร่ วมมื อระยะยาวระหว่า งอิ หร่ า นและซี เรี ย อย่า ง
ครอบคลุม และเอกสารความร่ วมมืออื่นๆ อีก 14 ฉบับอีกด้วย
ประธานาธิบดีของอิหร่ านและซี เรี ยในการประชุ มร่ วมของคณะผูแ้ ทนระดับสู งของทั้งสองประเทศ ได้
เน้นย้ าว่า ความสัมพันธ์ ระหว่างเตหะรานและดามัสกัสนั้นมัน่ คงและยัง่ ยืน แม้ในช่ วงเวลาที่ ยากลาบากและ
ในช่ วงที่ มีพายุทางการเมื องและความมัน่ คงที่ รุนแรงในภูมิภาคตะวันออกกลางก็ตาม พวกเขากล่าวว่า: การ
เปลี่ ยนแปลงในระดับภูมิภาคและนอกภูมิภาคไม่สามารถส่ งผลกระทบต่อความสัมพันธ์ฉันพี่น้องของทั้งสอง
ประเทศได้
ฯพณฯ บัชชาร อัลอะซัด ประธานาธิ บดีแห่ งซี เรี ย กล่าวชื่ นชมจุดยืนและการสนับสนุ นของสาธารณรัฐ
อิสลามแห่ งอิ หร่ านที่ มีต่อรัฐบาลและประชาชนซี เรี ย ในช่ วงเวลาที่ยากลาบากและวิกฤตของประเทศนี้ โดย
กล่าวว่า รัฐบาลและประชาชนซี เรี ยจะไม่มีวนั ลืมความรักและความช่วยเหลือจากพี่นอ้ งชาวอิหร่ าน

การส่ งเอกอั ค รราชทู ต อิ ห ร่ านไปประจาการ ณ ซาอุ ดี อ าระเบี ย ในอนาคตอั น ใกล้ นี้

1
สถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐอิสลามอิหร่ าน
ประจาประเทศไทย 12 พฤษภาคม 2566

ฯพณฯ อะมีร อับดุ ลลอฮี ยอน รั ฐมนตรี ว่าการกระทรวงการต่ างประเทศอิ หร่ านกล่ าวว่า การเปิ ด
สถานทู ต ซาอุ ดี อ าระเบี ย ในกรุ ง เตหะรานอี ก ครั้ ง และการแต่ ง ตั้ง เอกอัค รราชทู ต อิ ห ร่ า นที่ จ ะส่ ง ไปยัง
ซาอุดีอาระเบียจะเสร็ จสิ้ นในไม่ชา้ นี้
รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงการต่างประเทศมองว่าการกลับมาของความสัมพันธ์ปกติระหว่างสาธารณรัฐ
อิสลามแห่ งอิ หร่ านและซาอุดีอาระเบียเป็ นศักยภาพที่ ยิ่งใหญ่ ซึ่ งอยู่ในอานาจการจัดการของทั้งสองประเทศ
ภูมิภาคและโลกอิสลาม
ก่อนหน้านี้ Nasser Kanani โฆษกกระทรวงการต่างประเทศยังกล่าวถึ งความสัมพันธ์ระหว่างอิหร่ าน
และซาอุดีอาระเบียว่า: ในกรอบของข้อตกลงที่ทาขึ้นและเจตจานงเชิ งปฏิบตั ิที่จาเป็ น เรามีความคืบหน้าที่ดีใน
กระบวนการเตรี ยมสถานที่ทางการทูต เนื่ องจากสถานที่เหล่านี้ ได้ปิมาเป็ นเวลานาน เราต้องใช้เวลามากในการ
เตรี ยมตัว ทั้งนี้ เราอยูใ่ นขั้นตอนสุ ดท้ายของการบูรณะอาคารหน่ วยงาน และเราหวังว่าจะได้เป็ นประจักษ์พยาน
การเปิ ดอย่างเป็ นทางการอีกครั้งในเวลาอันสั้นนี้อย่างแน่นอน
Nasser Kanani กล่าวเกี่ยวกับความสัมพันธ์อิหร่ าน-ซาอุดีอาระเบียว่า: จากการไกล่เกลี่ยของจีน โชคดีที่
เรามีความคืบหน้าที่ดีในการปฏิบตั ิตามข้อตกลง และความสัมพันธ์ทางการเมืองระหว่างสองประเทศ อิหร่ าน
และซาอุดีอาระเบียได้รับการจัดตั้งขึ้นจริ ง และเรามองในแง่ดีว่าเส้นทางที่ตกลงกันจะดาเนิ นต่อไปด้วยความ
ปรารถนาดีและเจตจานงของทั้งสองฝ่ าย

เศรษฐกิจ

เปิ ดตั ว สายการเดิ น เรื อ ตู้ สิ น ค้ า เส้ นทางปกติ จ ากอิ ห ร่ านสู่ เอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้
ผูอ้ านวยการใหญ่ของท่าเรื อและกิจการทางทะเลของจังหวัดคูเซสสถานของอิหร่ าน กล่าวว่า: ได้มีการ
เปิ ดตัวสายการเดิ นเรื อตูส้ ิ นค้าตามเส้นทางปกติจากต้นทาง คือ ท่าเรื ออิหม่ามโคไมนี ของอิหร่ านไปยังประเทศ
อินเดีย จีน และประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
Mr. Aghaei กล่าวว่า: การลดระยะเวลาและต้นทุนในการขนส่ งสิ นค้าส่ งออก นาเข้า และการขนส่ งผ่าน
แดนเป็ นเป้ าหมายที่สาคัญที่สุดในการจัดตั้งสายการเดินเรื อตูส้ ิ นค้าเส้นทางปกติน้ ี และการดาเนิ นการนี้ นาไปสู่
การเพิ่มขี ดความสามารถในการแข่งขันของผูผ้ ลิ ตสิ นค้าส่ งออกของประเทศ ตลอดจนการได้รับส่ วนแบ่งที่
เหมาะสมในตลาดระดับภูมิภาค

2
สถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐอิสลามอิหร่ าน
ประจาประเทศไทย 12 พฤษภาคม 2566

Mr. Aghaei กล่าวเสริ มว่า: สิ่ งนี้จะลดระยะเวลาการรอคอยสาหรับตูค้ อนเทนเนอร์ ที่บรรจุสินค้าส่ งออก


ที่เทียบอยู่ที่ท่าเรื ออิหม่ามโคไมนี เพื่อโหลดสิ นค้าขึ้นเรื อลง 15 วัน และจะส่ งผลให้ตน้ ทุนการขนส่ งสิ นค้าทาง
ทะเลลดลงร้อยละ 10
Mr. Aghaei เน้นย้ าว่า: การเข้ามาถึ งของเรื อบรรทุกคอนเทนเนอร์ รุ่นที่ 5 ที่มีศกั ยภาพรองรับความจุ
5,000 ตู ้คอนเทนเนอร์ ไปยัง ประเทศจี น ได้ดาเนิ นการโดยมี จุดประสงค์เพื่อเพิ่ มปั จจัยการเข้าถึ งของท่า เรื อ
อิหม่ามโคไมนี ซึ่ งมีศกั ยภาพรองรับได้มากกว่า 600,000 ตูค้ อนเทนเนอร์ ต่อปี ไปยังเครื อข่ายการขนส่ งทางทะเล
ของโลกและตลาดต่างๆ ระหว่างประเทศ
Mr. Aghaei: การตระหนักถึงเศรษฐกิจทางทะเลและการค้าต่างประเทศโดยเฉพาะอย่างยิง่ กับประเทศใน
ภูมิภาคเป็ นหนึ่ งในนโยบายภูมิภาคนิ ยมของรัฐบาล และการเปิ ดตัวสายการเดินเรื อตูส้ ิ นค้าเส้นทางปกติน้ ี ไปยัง
ประเทศต่างๆ ในเอเชี ยตะวันออกและเอเชี ยตะวันออกเฉี ยงใต้คือส่ วนที่ เป็ นนัยสาคัญที่ ทาให้แผนธุ รกิ จของ
รัฐบาลบรรลุผล
บริ ษทั ขนส่ งทางทะเลของสาธารณรั ฐอิ สลามแห่ งอิ หร่ านอยู่ในอันดับ ที่ 15 ในการจัดอันดับบริ ษ ทั
ขนส่ งสิ นค้าทางเรื อชั้นนาของโลก โดยบริ ษทั นี้มีเรื อ 32 ลาที่มีศกั ยภาพรองรับความจุได้มากกว่า 143,000 ตูค้ อน
เทนเนอร์

สมาชิ ก อี ยู นาเข้ า นา้ มั น จากอิ ห ร่ าน แม้ ส หรั ฐ ฯ มี ม าตรการควา่ บาตร


ในสหภาพยุโรป มี 3 ประเทศ ที่นาเข้าน้ ามันจากอิหร่ านในปี 2565 แม้วา่ สหรัฐฯ จะคว่าบาตรก็ตาม
โดยได้กาหนดบทลงโทษต่อรัฐบาลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการค้าพลังงานกับอิหร่ าน
ตัวเลขโดยหน่ วยงานสถิ ติข องสหภาพยุโรป ได้แสดงให้เห็ นว่า กลุ่ ม นาเข้า น้ ามันดิ บจากอิ หร่ า นมี
จานวนถึง 4,181 เมตริ กตันในปี ที่ผา่ นมา
ผูน้ าเข้าน้ ามันของอิหร่ านในสหภาพยุโรป ได้แก่ โรมาเนีย โปแลนด์ และบัลแกเรี ย โดยมีตวั เลข
ยูโรสแตท ระบุ ว่ามี การขนส่ งมากกว่า 4,000 เมตริ กตันไปยังโรมาเนี ย ซึ่ ง ตัวเลขดังกล่ า วแสดงให้เห็ น ว่า
บัลแกเรี ยเป็ นประเทศในสหภาพยุโรปล่าสุ ดที่เริ่ มนาเข้าน้ ามันจากอิหร่ าน ตั้งแต่น้ นั เป็ นต้นมาในปี 2018 เมื่อ
สหรัฐฯ กาหนดมาตรการคว่าบาตรต่อเตหะราน และบัลแกเรี ยได้รับมอบน้ ามัน 168 เมตริ กตันจากอิหร่ านใน
เดือนธันวาคม และนาเข้าอย่างต่อเนื่องถึงเดือนมกราคมในปี นี้ โดยได้รับการจัดส่ ง 83 เมตริ กตัน

3
สถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐอิสลามอิหร่ าน
ประจาประเทศไทย 12 พฤษภาคม 2566

การนาเข้าน้ ามันจากอิหร่ านของสหภาพยุโรปแม้วา่ จะมีปริ มาณน้อยมาก แต่ก็เป็ นสัญญาณว่าประเทศ


ในยุโรปมีแนวโน้มที่จะทาเช่นนั้นโดยเพิกเฉยต่อมาตรการคว่าบาตรอิหร่ านของสหรัฐฯ
ความจริ ง ที่ ว่า หน่ วยงานของสหภาพยุโ รปได้ก ล่ า วถึ ง การน าเข้า น้ า มันของอิ ห ร่ า นในตัว เลขที่ เป็ น
ทางการแสดงให้เห็นว่า ทางกลุ่มต้องการส่ งสัญญาณความไม่พอใจต่อนโยบายของสหรัฐฯ ในการคว่าบาตรต่อ
อิหร่ าน
วอชิ งตันบังคับใช้มาตรการคว่าบาตรอิหร่ านในปี 2561 หลังจากอดีตฝ่ ายบริ หารของสหรัฐฯ ตัดสิ นใจ
ถอนตัวเพียงฝ่ ายเดียวจากข้อตกลงระหว่างประเทศเกี่ยวกับโครงการนิวเคลียร์ ของอิหร่ าน

อิ ห ร่ าน เป็ นผู้ ผ ลิ ต นา้ ผ้้ง รายให่่ เ ป็ นอั น ดั บ สามของโลก ในปี 2565


ข้อมูลล่าสุ ดโดยองค์การอาหารและการเกษตรแห่ งสหประชาชาติ (FAO) แสดงให้เห็นว่า อิหร่ านเป็ น
ผูผ้ ลิตน้ าผึ้งรายใหญ่เป็ นอันดับสามของโลกในปี 2565
ตัวเลขของ FAO แสดงให้เห็นว่าเกษตรกรผูเ้ ลี้ยงผึ้งชาวอิหร่ านผลิตน้ าผึ้งได้ประมาณ 77,000 เมตริ กตัน
ในปี ที่แล้ว ปริ มาณผลผลิตดังกล่าวทาให้อิหร่ านตามหลังเพียงจีนและตุรกี ในการจัดอันดับผูผ้ ลิตน้ าผึ้งรายใหญ่
ที่สุดของโลกในปี 2565
FAO อธิ บายว่าน้ าผึ้งที่ผลิตในอิหร่ านเป็ นน้ าผึ้งที่ดีที่สุดในโลกในแง่ของคุณภาพ ซึ่ งกล่าวว่าเป็ นเพราะ
ทรัพยากรธรรมชาติของประเทศและความหลากหลายของพันธุ์พืช
ตัว เลขโดยหอการค้า อิ หร่ า นแสดงให้ เ ห็ น ว่า อิ หร่ า นจัด หาน้ า ผึ้ ง มู ล ค่ า 5.6 ล้า นดอลลาร์ ใ ห้ ก ับ 22
ประเทศทัว่ โลกในปี ที่แล้ว
การส่ ง ออกน้ า ผึ้ง จากอิ หร่ า นคาดการณ์ ว่า จะเพิ่ ม ขึ้ นอย่า งน้อยสองเท่ า ในปี นี้ ท่ า มกลางแผนจัดหา
ผลิตภัณฑ์ 2,000 ตัน ไปยังจีนภายใต้สัญญาที่ลงนามระหว่างสองประเทศเมื่อปี ที่แล้ว
เจ้าหน้าที่ผเู ้ กี่ยวข้องกล่าวไว้เมื่อเดือนกุมภาพันธ์วา่ การส่ งออกน้ าผึ้งไปยังจีนจะทาให้ผผู ้ ลิตชาวอิหร่ าน
มีโอกาสทาการตลาดผลิตภัณฑ์ของตนในประเทศเอเชียตะวันออกอื่นๆ ได้
ข้อมูลของ FAO เกี่ ยวกับการผลิ ตน้ าผึ้งในอิ หร่ านมาจากตัวเลขของกระทรวงเกษตรของอิ หร่ านที่
เผยแพร่ เมื่อเดือนเมษายนปี ที่แล้ว แสดงให้เห็นว่าผลผลิตน้ าผึ้งต่อปี ในประเทศสู งถึง 111,000 ตัน
ตัวเลขดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าอิหร่ านมีประชากรผึ้งมากเป็ นอันดับ 5 ของโลก โดยมีรังผึ้งประมาณ 11
ล้านรังในฟาร์ มเกือบ 100,000 แห่ง
4
สถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐอิสลามอิหร่ าน
ประจาประเทศไทย 12 พฤษภาคม 2566

ข่ า วสารอื่น ๆ

เอกอั ค รราชทู ต อิ ห ร่ านประจาประเทศไทยแสดงความยิ น ดี ใ นโอกาสที ม ฮอกกี้นา้ แข็ ง ห่ิ ง ได้ ร างวั ล


รองชนะเลิ ศ
ฯพณฯ เอกอัครราชทูตอิหร่ านประจาประเทศไทยแสดงความยินดีกบั นักกีฬา โค้ช ทีมงานและสมาชิ ก
ของทีมที่คว้าอันดับรองชนะเลิศของทีมฮ็อกกี้น้ าแข็งหญิงทีมชาติอิหร่ านในการแข่งขันชิงแชมป์ เอเชียแปซิ ฟิก
ฯพณฯ ซัยยิดเรซา โนวบัคตี กล่าวว่า เป็ นที่น่าภาคภูมิใจเป็ นอย่างยิ่งที่สตรี ชาวอิหร่ านได้รับตาแหน่ ง
รองชนะเลิศอันดับ 1 นี้ ผูซ้ ่ ึ งให้ความเคารพในคุ ณค่าของชาติและการรักษาไว้ซ่ ึ งสัญลักษณ์ ทางศาสนา สิ่ งนี้ มี
คุณค่าเป็ นอย่างมาก
ทีมฮอกกี้น้ าแข็งหญิงทีมชาติอิหร่ านเอาชนะทีมอินเดีย, คูเวต, คีร์กีซสถาน, สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ และ
สิ งคโปร์ ในการแข่งขันชิ งแชมป์ เอเชี ยแปซิ ฟิกที่กรุ งเทพฯ และในเกมสุ ดท้าย เป็ นการแข่งขันที่หนักหน่วงและ
น่าตื่นเต้น โดยเป็ นฝ่ ายแพ้ให้กบั ไทยด้วยผลสกอร์ 3-1
ฯพณฯโนวบัคตี ได้เข้าร่ วมในพิธีปิดการแข่งขัน และยังมอบรางวัลผูเ้ ล่นที่ดีที่สุดของทีมอิหร่ านในทัวร์
นาเมนต์น้ ีเพื่อเป็ นแรงบันดาลใจให้กบั มุดีรเดะฮ์กาน อีกด้วย
นอกจากนี้ คณะนักกี ฬาและผูแ้ ทนยังได้เยี่ยมชมสถานทูตอิหร่ านในกรุ งเทพฯ และพบปะพูดคุ ยกับ
เอกอัครราชทูตอิหร่ านด้วย
ในการพบปะครั้งนี้ ฯพณฯ เอกอัครราชทูตฯ ยังได้มอบของขวัญให้กบั สมาชิ กในทีมเพื่อเป็ นที่ระลึ ก
เช่นเดียวกันนี้ นักเตะทีมชาติกไ็ ด้มอบเสื้ อประจาทีมให้กบั เอกอัครราชทูตอิหร่ านในฐานะมิตรคนที่ 21

ตุ ร เคี ย มอบตราสั ่ ลั ก ษณ์ ก ารเสี ยสละแก่ ส ภาเสี้ ย ววงเดื อ นแดงของอิ ห ร่ าน


ประธานาธิ บดี แห่ งตุ รเคียได้มอบโล่ และตราสัญลักษณ์ แห่ งความเสี ยสละแก่ หัวหน้าสมาคมเสี้ ยววง
เดื อนแดงแห่ ง อิ หร่ าน โดยได้ชื่นชมการปฏิ บตั ิ งานที่ รวดเร็ วและเหมาะสมของสถาบันแห่ ง นี้ ใ นปฏิ บตั ิ การ
ช่วยเหลือและบรรเทาทุกข์สาหรับผูป้ ระสบเหตุแผ่นดินไหวในตุรเคีย
H.E. Recep Tayyip Erdoğan ในพิธีแสดงความขอบคุณสาหรับปั จจัยภายในและภายนอกในการ
ช่วยเหลือผูป้ ระสบภัยแผ่นดินไหวในประเทศครั้งนั้น เพื่อเป็ นการระลึกถึงการบรรเทาทุกข์และการดาเนินการ

5
สถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐอิสลามอิหร่ าน
ประจาประเทศไทย 12 พฤษภาคม 2566

ด้านมนุ ษยธรรมของสมาคมเสี้ ยววงเดือนแดงแห่ งสาธารณรัฐอิสลามแห่ งอิหร่ าน โดยได้มอบเหรี ยญแห่ งการ


เสี ยสละให้แก่ Mr. Pir Hossein Koulivand หัวหน้าสมาคมเสี้ ยววงเดือนแดงแห่งอิหร่ าน
ก่อนหน้านี้ สภาเสี้ ยววงเดือนแดง (Red Crescent Society) ได้รับการชื่นชมจากหัวหน้าสภากาชาดและ
สภาเสี้ ยววงเดือนแดง (Federation of Red Cross and Red Crescent Societies) ซึ่ งตั้งอยูใ่ นกรุ งเจนีวา สาหรับการ
ให้ความช่วยเหลืออย่างรวดเร็ วและมีประสิ ทธิ ภาพของหน่วยกูภ้ ยั ชาวอิหร่ านในการบรรเทาทุกข์และปฏิบตั ิการ
ทางการแพทย์เพื่อตอบสนองต่อเหตุแผ่นดินไหวในตุรเคีย
อิหร่ านเป็ นประเทศแรกที่นาเครื่ องบินบรรเทาทุกข์ลงจอดที่สนามบินในพื้นที่ประสบภัยแผ่นดิ นไหว
ของตุรเคีย เที่ยวบินดังกล่าวไม่เพียงบรรทุกสิ่ งของบรรเทาทุกข์ไปยังตุรเคียเท่านั้น แต่ยงั นาทีมกูภ้ ยั และผูช้ ่ วย
ชีวติ ที่มีประสบการณ์ไปยังพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากแผ่นดินไหวอีกด้วย
หน่วยกูภ้ ยั ชาวอิหร่ านอยูใ่ นตุรกี จนกระทัง่ สิ้ นสุ ดปฏิบตั ิการกูภ้ ยั และหลังจากนั้นพวกเขาก็ร่วมมือกับ
กองกาลังตุรเคียในปฏิบตั ิการบรรเทาทุกข์ เช่น การตั้งค่ายที่พกั ฉุ กเฉิ น ขณะที่หน่วยกูภ้ ยั จากหลายประเทศที่เข้า
ร่ วมได้ออกจากตุรเคียหลังจบปฏิบตั ิการกูภ้ ยั

คลัง ภาพที่ ง ดงามของอิ ห ร่ า น

6
สถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐอิสลามอิหร่ าน
ประจาประเทศไทย 12 พฤษภาคม 2566

สถานทีฝ่ ังศพของ เชคเซาะฟี ยุดดีนอัรเดบีลี (Sheikh Safi Al-Din Ardabili's Shrine)


เป็ นหนึ่งในสถานที่ทางประวัติศาสตร์ของเมืองอัรเดบีล ซึ่ งอยูท่ างตะวันตกเฉี ยงเหนื อของอิหร่ าน ที่ได้รับการ
ขึ้นทะเบียนเป็ นแหล่งมรดกโลกขององค์การยูเนสโก (UNESCO)
***
ผูจ้ ดั ทา: ฝ่ ายวัฒนธรรม สถานเอกอัครราชทูตฯ
คุณสามารถติดตามข่าวสารล่าสุ ดของสาธารณรัฐอิสลามอิหร่ าน
และสถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐอิสลามอิหร่ าน ประจาประเทศไทย ได้ที่เพจเฟซบุก้ @IranInTh

You might also like