You are on page 1of 31

ข้อมูลการบรรยาย

วิชา ความหลากหลายทางวัฒนธรรม
ศาสนาและประเพณี และอาเซียนสูค ่ วามมั่นคงของมนุษย์
-----------------
ความเป็ นมาของอาเซียน

อาเซียน คือ สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ (Association


of South East Asian Nations หรือ ASEAN) ได้กอ ้ โดย
่ ตัง้ ขึน
ปฏิญญากรุงเทพ (Bangkok Declaration) เมือ ่ วันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ.2510
โดยมีผรู้ ว่ มก่อตัง้ 5 ประเทศคือ
1.ไทย โดย พันเอก (พิเศษ) ถนัด คอมันตร์ (รัฐมนตรีตา่ งประเทศ)
2.สิงคโปร์ โดย นายเอส ราชารัตนัม (รัฐมนตรีตา่ งประเทศ)
3.มาเลเซีย โดย ตุน อับดุล ราชัก บิน ฮุสเซน (รองนายกรัฐมนตรี
รัฐมนตรีกลาโหมและรัฐมนตรีกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ)
4.ฟิ ลิปปิ นส์ โดย นายนาซิโซ รามอส (รัฐมนตรีตา่ งประเทศ)
5.อินโดนีเซีย โดย นายอาดัม มาลิก (รัฐมนตรีตา่ งประเทศ)
ต่อมาได้มีประเทศต่างๆ เข้าร่วมเป็ นสมาชิกเพิม ่ เติม คือ 8 ม.ค.2527
บรูไนดารุสซาลาม, 28 ก.ค. 2538 เวียดนาม, 23 ก.ค. 2540 สปป.ลาว และ
พม่า, 30 เม.ย. 2542 กัมพูชา ทาให้ปจั จุบน ั มีสมาชิกอาเซียนทัง้ หมด 10
ประเทศ
วัตถุประสงค์ของการจัดตัง้
เพือ
่ ส่งเสริมและร่วมมือในเรือ
่ ง สันติภาพ, ความมั่นคง,
เศรษฐกิจ, องค์ความรู,้ สังคมวัฒนธรรม
บนพื้นฐานความเท่าเทียมกันและผลประโยชน์รว่ มกันของประเทศสมาชิก
คาขวัญอาเซียน คือ หนึ่งวิสยั ทัศน์ , หนึ่งอัตลักษณ์ , หนึ่งประชาคม (One
Vision, One Identity, One Community)
สัญลักษณ์ อาเซียน ได้รบ ั การออกแบบให้เป็ นรูปรวงข้าวสีเหลืองทองบนพื้นสีแ
ดงล้อมรอบด้วยวงกลมสีขาวและสีน้าเงินรวงข้าว 10 ต้นทีม ่ ดั รวมกันไว้
หมายถึง ประเทศสมาชิกอาเซียนทัง้ 10 ประเทศ
รวมกันอยูเ่ พือ่ มิตรภาพและความเป็ นน้าหนึ่งในเดียวกัน โดยพื้นทีว่ งกลม
สีแดง สีขาวและน้าเงิน แสดงถึงความเป็ นเอกภาพ
ความเป็ นน้าหนึ่งใจเดียวกัน มีตวั อักษรคาว่า “asean” สีน้าเงิน
วางอยูใ่ ต้รวงข้าวอันแสดงถึงความมุง่ มั่นทีจ่ ะทางานร่วมกันเพือ ่ ความมั่นคง
สันติภาพ เอกภาพ และความก้าวหน้าของประเทศสมาชิกอาเซียนทัง้ มวล
ส่วนสีน้าเงินในสัญลักษณ์ อาเซียน หมายถึง สันติภาพและความมั่นคง
เลขาธิการอาเซียนคือใคร
เลขาธิการอาเซียน (Secretary General of The ASEAN)
ชือ
่ เต็มของตาแหน่ งคือ
เลขาธิการใหญ่แห่งสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้
เป็ นหัวหน้าสานักเลขาธิการอาเซียน (ASEAN Secretariat) ซึง่ ตัง้ อยู่ ณ
กรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย

หน้าทีข่ องเลขาธิการอาเซียน
มีหน้าทีก ่ ากับดูแลงานของอาเซียนในภาพรวม
อานวยความสะดวก
ดูแลความคืบหน้าในการดาเนินงานตามความตกลงและข้อตัดสินใจของอาเซีย
น จัดทาและเสนอรายงานประจาปี เกีย่ วกับงานและข้อคิดเห็นของอาเซียน
เข้าร่วมการประชุมกับประเทศคูเ่ จรจาตามแนวนโยบายทีไ่ ด้รบ ั ความเห็นชอบ
และตามอานาจหน้าทีท ่ ไี่ ด้รบ
ั มอบหมายและเป็ นผูแ ้ ทน (representative)
ของอาเซียนในเวทีระหว่างประเทศ
รวมถึงหน้าทีอ ่ ืน
่ ทีไ่ ด้กาหนดไว้ในกฎบัตรอาเซียน
หลักการคัดเลือกเลขาธิการอาเซียน
เลขาธิการอาเซียนได้รบ ั การแต่งตัง้ จากทีป ่ ระชุมสุดยอดผูน ้ าอาเซียน
(ASEAN Summit)
จากการเสนอชือ ่ ของประเทศทีม ่ ีสทิ ธิในการเสนอชือ ่ ผูส ้ มัครใช้หลักการเวียนต
ามตัวอักษร ภาษาอังกฤษของประเทศสมาชิก เช่น
ในวาระปัจจุบน ั ประเทศเวียดนามมีสท ิ ธิเสนอชือ
่ ผูท้ จี่ ะดารงตาแหน่ ง
ส่วนรอบต่อไปคือปี
พ.ศ.2561 ประเทศบรูไนจะได้รบ ั สิทธิในการเสนอชือ ่ ผูท
้ จี่ ะมาดารงตาแหน่ งเ
ลขาธิการอาเซียน เป็ นต้น
วาระการดารงตาแหน่ ง
เลขาธิการอาเซียนมีระยะเวลาการดารงตาแหน่ ง 5 ปี
โดยจะสามารถดารงตาแหน่ งได้เพียง 1 สมัยเท่านัน ้ ไม่สามารถต่ออายุได้
(Non-renewable Term) ในรอบปัจจุบน ั
เลขาธิการอาเซียนมีวาระการดารงตาแหน่ งระหว่างวันที่ 1 มกราคม
พ.ศ.2556 ถึง วันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ.2560
เลขาธิการอาเซียนคนปัจจุบน ั
เลขาธิการอาเซียนคนปัจจุบน ั คือ นายเล เลือง มินห์ (Le Luong
Minh) จากประเทศเวียดนาม ซึง่ เข้าดารงตาแหน่ งเมือ ่ วันที่ 1 มกราคม
พ.ศ.2556 และจะสิน ้ สุดวาระใรวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ.2560 โดยนายนายเล
เลือง มินห์ เข้าดารงตาแหน่ งเขาธิการอาเซียนต่อจาก ดร.สุรน ิ ทร์ พิศสุวรรณ
เลขาธิการอาเซียนคนก่อนจากประเทศไทย ซึง่ ดารงตาแหน่ งระว่างวันที่ 1
มกราคม พ.ศ.2551 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ.2555
รองเลขาธิการอาเซียนวาระการดารงตาแหน่ ง ๓ ปี (กรกฎาคม ๒๕๕๖
- มิถุนายน ๒๕๕๙) โดยมีรายละเอียดดังนี้
๑. ปัจจุบน
ั สานักเลขาธิการอาเซียนมีรองเลขาธิการอาเซียน จานวน
๔ คน ซึง่ มีตาแหน่ งเทียบเท่าระดับรัฐมนตรีชว่ ยว่าการ
โดยรองเลขาธิการอาเซียน ๒ คน
ได้รบ ั การคัดเลือกจากคนชาติประเทศสมาชิกอาเซียน
ซึง่ เข้ารับหน้าทีโ่ ดยสลับหมุนเวียนตามลาดับตัวอักษรแรกของชือ ่ ประเทศและ
อีก ๒ คน
ได้รบ ั การคัดเลือกแบบเปิ ดกว้างโดยพิจารณาจากพื้นฐานความรูค ้ วามสามารถ
เป็ นหลัก ทัง้ นี้
สาหรับรองเลขาธิการอาเซียนด้านงานบริหารเป็ นตาแหน่ งทีไ่ ด้รบ ั การคัดเลือก
แบบเปิ ดกว้างโดยพิจารณาจากพื้นฐานความรู ้
โดยจะต้องผ่านการสอบข้อเขียนและการสอบสัมภาษณ์
๒. ความรับผิดชอบ คุณสมบัติ และค่าตอบแทน
ของรองเลขาธิการอาเซียนด้านงานบริหาร
๒.๑
ความรับผิดชอบ ครอบคลุมงานบริหารภายในสานักเลขาธิการอาเซียน
อาทิ การบริหารทรัพยากรบุคคล งบประมาณและการคลัง กฎหมาย
เทคโนโลยีสารสนเทศ การสนับสนุนการจัดประชุมและพิธีการ
การเข้าถึงประชาชน การปฏิสม ั พันธ์กบั ภาคประชาสังคมและภาคนิตบ ิ ญั ญัติ
รวมทัง้ การดาเนินงานขององค์กรทีเ่ กีย่ วข้องกับอาเซียน
๒.๒ คุณสมบัติ อายุไม่เกิน ๕๗ ปี
สาเร็จการศึกษาด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศรัฐประศาสนศาสตร์
นโยบายสาธารณะ หรือการบริหาร มีประสบการณ์ การทางานไม่ต่ากว่า ๑๕ ปี
ในหน่ วยงานภาครัฐ องค์การระหว่างรัฐบาล และองค์การระหว่างประเทศ
รวมทัง้ มีความเชีย่ วชาญในการพูดและเขียนภาษาอังกฤษในระดับดีมาก
๒.๓ ค่าตอบแทน เงินเดือน ๘,๕๐๐ ดอลลาร์สหรัฐ ค่าทีพ ่ กั
ค่ารักษาพยาบาล เงินสนับสนุนการศึกษาบุตร และเงินตอบแทนพิเศษ
กลไกการบริหารของอาเซียน
1. ทีป่ ระชุมสุดยอดอาเซียน (ASEAN Summit)
เป็ นองค์กรสูงสุดในการกาหนดนโยบาย และมีการประชุมปี ละ 2 ครัง้ มีหน้าที่
1) ให้แนวนโยบายและตัดสินใจเรือ ่ งสาคัญๆ
2)
สั่งการให้
ั มีการประชุมระดับรัฐมนตรีเป็ นการเฉพาะกิจเพือ ่ พิจารณาเรือ ่ งทีเ่ กีย่
วข้องกับเสาหลักต่างๆ มากกว่า 1 เสา
3) ดาเนินการแก้ไขสถานการณ์ ฉุกเฉิ นที ่่กระทบต่ออาเซียน
4) ตัดสินข้อพิพาทระหว่างรัฐสมาชิก กรณี ทไี่ ม่
อาจหาข้อยุตใิ นข้อขัดแย้งได้
หรือมีการไม่ปฏิบตั ต ิ ามคาตัดสินของกลไกระงับข้อพิพาท
5) ตัง้ หรือยุบองค์กรอาเซียน
6) แต่งตัง้ เลขาธิการอาเซียน
2. คณะมนตรีประสานงานอาเซียน (ASEAN Coordinating Council)
ประกอบด้วยรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงการต่างประเทศของประเทศสมาชิกอาเ
ซียน ทาหน้าทีเ่ ตรียมการประชุมสุดยอดอาเซียน ประสานงานระหว่าง 3
เสาหลัก เพือ ่ ความเป็ นบูรณาการในการดาเนินงานของอาเซียน
และแต่งตัง้ องเลขาธิการอาเซียน
3. คณะมนตรีประชาคมอาเซียน (ASEAN Community Council)
สาหรับ 3 เสาหลักของประชาคมอาเซียน
ประกอบด้วยผูแ ้ ทนทีแ ่ ต่ละประเทศสมาชิกแต่งตัง้ เพือ ่ ทาหน้าทีป ่ ระสานงานแล
ะติดตามการดาเนินงานตามแนวนโยบายของผูน ้ าทัง้ ในเรือ
่ งทีอ่ ยูภ
่ ายใต้เสาหลั
กของตน และเรือ ่ งทีเ่ ป็ นประเด็นทีเ่ กีย่ วข้องกับหลายเสาหลัก
และเสนอรายงานและข้อเสนอแนะในเรือ ่ งทีอ
่ ยูภ
่ ายใต้การดูแลของตนต่อผูน ้ า
4. องค์กรระดับรัฐมนตรีอาเซียนเฉพาะสาขา (ASEAN Sectoral
Ministerial Bodies) จัดตัง้ โดยทีป ่ ระชุมสุดยอดอาเซียนมีหน้าทีห ่ ลัก คือ
1) ดาเนินการตามอาณัตท ิ มี่ ีอยูแ่ ล้ว
2) นาความตกลงและมติของผูน ้ าไปปฎิบตั ิ
3) เสริมสร้างความร่วมมือเพือ ่ สนับสนุนการสร้างประชาคมอาเซียน
4)
เสนอรายงานและข้อเสนอแนะประเทศไทยกับอาเซียน 21ต่อคณะมนตรีประ
ชาคมอาเซียนทีเ่ หมาะสม และ
5) สามารถมีเจ้าหน้าทีอ
่ าวุโส
หรือองค์กรย่อยเพือ
่ สนับสนุนการทางานได5. สานักเลขาธิการอาเซียน
(ASEAN Secretariat) อยูภ ่ ายใต้บงั คับบัญชาของเลขาธิการอาเซียน
(Secretary General of
ASEAN)ซึง่ มีบทบาทมากขึน
้ โดยนอกจากจะเป็ นหัวหน้าเจ้าหน้าทีฝ
่ ่ ายบริหาร
ของอาเซียนแล้ว

เลขาธิการอาเซียนจะมีบทบาทในการติดตามการปฏิบตั ต ิ ามคาตัดสินของกลไ
กระงับข้อพิพาทและรายงาน
ตรงต่อผูน ้ า
และสนับสนุนการมีปฏิสม ั พันธ์ระหว่างองค์กรของอาเซียนกับภาคประชาสังค
ม ทัง้ นี้ ให้มีรองเลขาธิการอาเซียน (DeputySecretary General) 4 คน
โดย 2 คนจะมาจากการหมุนเวียนตามลาดับตัวอักษรประเทศ
มีวาระการดารงตาแหน่ ง 3 ปี และอีก
2คนมาจากการคัดเลือกตามความสามารถ มีวาระการดารงตาแหน่ ง 3
ปี และอาจได้รบ ั การต่ออายุได้อีก 1 วาระ
6. คณะผูแ ้ ทนถาวรประจาอาเซียน (Committee of
Permanent Representatives (CPR) to ASEAN) ทีก ่ รุงจาการ์ตา
ประเทศไทยกับประเทศสมาชิกอาเซียนจะแต่งตัง้ ผูแ ้ ทนระดับเอกอัครราชทูตเ
พือ ่ ทาหน้าทีเ่ ป็ นคณะผูแ ้ ทนถาวรประจาอาเซียน ทีก ่ รุงจาการ์ตา
ซึง่ เป็ นคนละคนกับเอกอัครราชทูตประจากรุงจาการ์ตา
ทาหน้าทีแ ่ ทนคณะกรรมาธิการอาเซียน
โดยคณะผูแ ้ ทนถาวรประจาอาเซียนจะมีบทบาทสาคัญสองด้าน ได้แก่
การเป็ นผูแ ้ ทนของประเทศสมาชิกและการเป็ นผูแ ้ ทนของอาเซียน
ซึง่ จะเป็ นเรือ ่ งการสนับสนุ นคณะมนตรีประชาคมอาเซียนและองค์กรความร่ว
มมือเฉพาะด้านต่างๆ การประสานงานกับสานัก
เลขาธิการอาเซียน เลขาธิการอาเซียน
และสานักเลขาธิการอาเซียนแห่งชาติของแต่ละประเทศสมาชิก
และการส่งเสริมความร่วมมือกับประเทศคูเ่ จรจา
7. สานักเลขาธิการอาเซียนแห่งชาติ (ASEAN National Secretariat)
จัดตัง้ โดยประเทศสมาชิกแต่ละประเทศ
เพือ ่ เป็ นจุดประสานงานในการประสานงานและสนับสนุนภารกิจต่างๆ
ทีเ่ กีย่ วข้องกับอาเซียนภายในประเทศ รวมทัง้ การเตรียมการประชุมต่างๆ
ของอาเซียนตลอดจนเป็ นศูนย์กลางเก็บรักษาข้อมูลเกีย่ วกับอาเซียนด้วย
8. องค์กรสิทธิมนุษยชนของอาเซียน (ASEAN Human Rights Body-
AHRB)
มีหน้าทีส ่ ง่ เสริมและคุม ้ ครองสิทธิมนุษยชนในภูมภ ิ าคโดยจะมีการตัง้ คณะผูเ้ ชี่
ยวชาญขึน ้ มายกร่างเอกสารกาหนดขอบเขตอานาจหน้าที ่่ (Term
Reference) ขององค์กรดังกล่าวต่อไป ทัง้ นี้ที
่่ประชุมรัฐมนตรีตา่ งประเทศได้ให้แนวทางว่า
อานาจหน้าทีข ่ ององค์กรสิทธิมนุษยชนอาเซียนไม่ควรจากัดแค่การให้คาปรึก
ษา
แต่ควรรวมถึงการติดตามและประเมินสถานการณ์ สท ิ ธิมนุษยชนในภูมภ ิ าคกา
รส่งเสริมการศึกษาและการตืน ่ ตัวของหน่ วยงานภาครัฐและ
ประชาชนด้วย
9. มูลนิธอิ าเซียน (ASEAN Foundation)
มีหน้าทีส
่ นับสนุนเลขาธิการอาเซียนและประสานงานกับองค์กรอืน ่ ๆ
ของอาเซียนในการเผยแพร ่่ความรูเ้ กีย่ วกับอาเซียน
ส่งเสริมการมีปฏิสม ั พันธ์ระหว่างประชาชนและความร่วมมือกับผูม ้ ีสว่ นได้เสีย
ต่างๆ ของอาเซียน
Advertisements

อัตลักษณ์ อาเซียน
คาขวัญ
"หนึ่งวิสยั ทัศน์ หนึ่งเอกลักษณ์ หนึ่งประชาคม (One Vision, One Identity, On
สัญลักษณ์

สัญลักษณ์ อาเซียน คือ ดวงตราอาเซียนเป็ น รูปมัดรวงข้าวสีเหลืองบนพื้นวงกลม สีแดงล้อ


และสีน้าเงิน
รวงข้าวสีเหลือง 10 ต้น หมายถึง ความใฝ่ ฝันของบรรดาสมาชิกในเอเซียตะวันออกเฉ
อาเซียนทีผ่ ก ิ รภาพและเป็ นหนึ่งเดียว วงกลม เป็ นสัญลักษณ์ แสดงถึงเอกภ
ู พันกันอย่างมีมต
ตัวอักษรคาว่า asean สีน้าเงิน อยูใ่ ต้ภาพรวงข้าว แสดงถึงความมุง่ มั่นทีจ่ ะท
สันติภพ เอกภาพ และความก้าวหน้าของประเทศสมาชิกอาเซียน สีเหลืองหมายถึงเจริญ
ความกล้าหาญและการมีพลวัติ สีขาวหมายถึง
ความบริสุทธิ ์ สีน้าเงิน หมายถึง สันติภาพและความมั่นคง

ธงอาเซียน
ธงอาเซียนเป็ นธงพื้นสีน้าเงิน มีดวงตราอาเซียนอยูต
่ รงกลาง แสดงถึงเสถียรภาพ สันติภ
พลวัตของอาเซียน
สีของธงประกอบด้วย สีน้าเงิน สีแดง สีขาว และสีเหลือง ซึ่งเป็ นสีหลักในธงชาติของบร
อาเซียนทัง้ หมด

วันอาเซียน
วันที่ 8 สิงหาคม ของทุกปี เป็ นวันอาเซียน

เพลงประจาอาเซียน(ASEAN ) คือ เพลง ASEAN WAY


หนึ่งในคุณลักษณะของประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนคือการสร้างอัตล
แผนงานการจัดตัง้ ประชาคมอาเซียน (ค.ศ.2009-2015) ว่า "อัตลักษณ์ อาเซียน เป็ นพื้นฐ
ภูมภ ิ าคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ โดยเป็ นตัวตนร่วมกัน จารีต ค่านิยม และความเชือ ่ รวมท
ประชาคมอาเซียน อาเซียนจะส่งเสริม ตระหนัก และมีคา่ นิยมร่วมกันในความเป็ นอันหนึ่งอ
แตกต่างในทุกชัน ้ ของสังคม”จากข้อความข้างต้น ผูเ้ ขียน (ซึง่ ไม่คอ
่ ยแน่ ใจในความหมายข
คนทั่วไปจะมีความรู ้ ความ
เข้าใจ คาต่าง ๆ ทีป ่ รากฏอยูม
่ ากน้อยแค่ไหน (เช่น อัตลักษณ์ จารีต ค่านิยม ความเชือ ่ ) ว่า
ทีไ่ ด้ยน
ิ กันบ่อย ๆ บ้างหรือไม่ เช่น อัตลักษณ์ กบ
ั เอกลักษณ์ เหมือนกันหรือต่างกันอย่างไร
จารีตกับประเพณีเป็ นสิง่ เดียวกัน
หรือไม่ ค่านิยมกับทัศนคติแตกต่างกันอย่างไร หลังจากไปหาความรูม ้ าพบว่าแต่ละคามีคว

1. อัตลักษณ์ หมายถึง คุณลักษณะเฉพาะตัว ซึง่ เป็ นตัวบ่งชี้ของลักษณะเฉพาะของบุคล สัง


เชื้อชาติ ภาษา วัฒนธรรมท้องถิน ่ และศาสนา เป็ นต้น
2. จารีต หมายถึง แบบแผนการประพฤติปฏิบตั ท ิ ส
ี่ ืบต่อกันมานาน มักถือเป็ นกฎหรือระเบ
กับศีลธรรม ถ้าไม่ปฏิบตั ต ิ ามจะถูกสังคมตัง้ ข้อรังเกียจหรือมีบทลงโทษ เช่น เรือ ่ งของความ
3. ค่านิยม หมายถึง แนวคิดทีบ ่ ุคคลในสังคมยึดถือเป็ นเครือ ่ งตัดสินใจและกาหนดการกระ
ระเบียบวินยั เป็ นต้น
4. ความเชือ ่ หมายถึง ความรูส้ ก ึ นึกคิดของคนในสังคมทีย่ ด ึ มั่นและยอมรับในสิง่ ใดสิง่ หน
ไม่ก็ได้ เช่น ความเชือ่ เรือ่ งนรก-สวรรค์ เป็ นต้น
จากความหมายและตัวอย่างทีก ่ ล่าวมาทาให้พอจะเข้าใจต่อไปได้วา่ การสร้างอัตลักษณ์ อาเ
แตกต่างของอาเซียนกับประชาคมอืน ่ ในส่วนทีเ่ กีย่ วกับเชื้อชาติ ภาษา วัฒนธรรมท้องถิ่น ศ
สังคม ค่านิยมทีเ่ ป็ นลักษณะเฉพาะ รวมถึงการแสงความรูส้ ก ึ นึกคิดทีส ่ ะท้อนถึงความเป็ นป
อย่างไรก็ตาม เนื่องจากกาลังสนใจเฉพาะเสาของประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ใ
สร้างอัตลักษณ์ ในส่วนของประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนเป็ นสาคัญ เพือ ่ ให้การสร
สังคมและวัฒนธรรมอาเซียนมีความเป็ นได้ยงิ่ ขึน ้ อาจเริม ่ จากการสารวจจารีต ค่านิยม คว
ประเทศสมาชิกอาเซียนทัง้ หมด มีจารีต ค่านิยม และความเชือ ่ ใดทีส
่ อดคล้องต้องกันในหลา
ค่านิยม และความเชือ ่ ใดทีข
่ ดั แย้งกันในแต่ละประเทศบ้าง รวมถึงมีจารีต ค่านิยม และควา
้ เชิงในแต่ละประเทศบ้าง ซึง่ ผลการสารวจนี้ จะช่วยให้เห็นภาพทีช
สิน ่ ดั เจนว่าอัตลักษณ์ รว่ ม
วัฒนธรรมอาเซียนมีอะไรบ้าง ขัดแย้งกัน และแตกต่างกันในเรือ ่ งใดบ้าง โดยในส่วนทีเ่ ป็ น
เป็ นอัตลักษณ์ ของประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนด้วยเช่นกัน

ในส่วนทีส ่ ารวจแล้วพบว่ามีความแตกต่างกัน ประชาคมอาจจะเลือกความแตกต่างทางจารีต


ประการของบางประเทศในด้านทีด ่ แ
ี ละมีประโยชน์มาเผยแพร่ให้ท่วั ถึงกันในประชาคมเพือ
ต่อไป เช่น เผยแพร่และส่งเสริมค่านิยมเรือ ่ งการตรงต่อเวลาซึง่ เป็ นอัตลักษณ์ ของบางประเ
ให้ความสาคัญกับเรือ ่ งนี้ให้ทุกประเทศในประชาคมเห็นประโยชน์และความจาเป็ นของการ
ร่วมกันทัง้ ประชาคม เป็ นต้น และในทีส ่ ุดการตรงต่อเวลาก็จะเป็ นอีกหนึ่งอัตลักษณ์ ของปร
ก็ตอ้ งช่วยกันหาหนทางจากัดจารีต ค่านิยม และความเชือ ่ ทีข่ ดั แย้งกันในส่วนทีไ่ ม่เกิดประโ
ประเทศสมาชิกเพือ ่ ป้ องกันไม่ให้กลายเป็ นอัตลักษณ์ ทไี่ ม่พงึ ประสงค์ของประชาคมอาเซียน
นอกจากนี้
ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนอาจร่วมมือกันสร้างพื้นทีใ่ ห้ประชาชนอาเซียนมีสว่
อัตลักษณ์ ไปด้วยกัน เช่น ร่วมกันจัดตัง้ สถาบันเสริมสร้างอัตลักษณ์ ประชาคมสังคมและวัฒ
ให้ประชาชนจากทุกประเทศได้ใช้ชีวต ิ ร่วมกันในสถาบันภายในระยะเวลาทีเ่ หมาะสม เพือ ่ ส
เปลีย่ นเรียนรูท ้ างสังคมและวัฒนธรรมระหว่างกัน และไม่เฉพาะในเรือ ่ งของจารีต ค่านิยม
ถึงทุกด้านทีเ่ กีย่ วกับมิตท ิ างสังคมและวัฒนธรรม ซึง่ การสร้างพื้นทีใ่ นลักษณะนี้ จะช่วยให้ป
มีความเข้าใจซึง่ กันและกัน ยอมรับในอัตลักษณ์ ทแ ี่ ตกต่างระหว่างกันมากขึน ้ และอาจจะเ
อย่างจากการรวมตัวกันของประชาชนจากหลาย ๆ ประเทศทีจ่ ะพัฒนาต่อยอดไปเป็ นอัตลัก
ได้อีกด้วย
ทีก่ ล่าวมาเป็ นอีกทางเลือกหนึ่งในการสร้างอัตลักษณ์ ของประชาคมสังคมและวัฒน
สนับสนุ นให้ประชาคมอาเซียนบรรลุการมีหนึ่งอัตลักษณ์ ตามคาขวัญอาเซียน (ASEAN’s
(One Vision) หนึ่งอัตลักษณ์ (One Identity) หนึ่งประชาคม (One Community) ได
ส่วนอาเซียน สานักการประชาสัมพันธ์ตา่ งประเทศ โดย สันติพจน์ กลับดี

ความหลากหลายทางวัฒนธรรมของอาเซียน
นายสมชาย เสียงหลาย ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม ได้บรรยายในหัวข้อ
"มรดกวัฒนธรรมอาเซียน" เมือ่ วันศุกร์ที่ ๒๑ มกราคม ๒๕๕๔ เวลา ๐๙.๐๐ –
๑๒.๐๐ น. ณ ห้องประชุมสุขม
ุ นัยประดิษฐ์ สานักงาน ก.พ. จังหวัดนนทบุรี ว่า

ในทางประวัตศ ิ าสตร์ ประเทศในภูมภ ิ าคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้


ส่วนใหญ่ได้รบ ั อิทธิพลทางวัฒนธรรมจากอินเดียและจีน
ซึง่ แต่ละประเทศต่างก็รบ ั เอาวัฒนธรรมจากทัง้ สองชาตินี้เข้ามาในระดับทีแ ่ ตก
ต่างกัน เช่น ไทยและลาวได้รบ ั อิทธิพลทางวัฒนธรรมจากอินเดียเป็ นส่วนใหญ่
ส่วนเวียดนามได้รบ ั อิทธิพลทางวัฒนธรรมมาจากจีนเป็ นส่วนใหญ่
โดยรวมกลุม ่ ประเทศสมาชิกอาเซียนสามารถจาแนกออกเป็ น ๓
กลุม ่ วัฒนธรรมหลัก ตามลักษณะทีต่ ง้ ั
ซึง่ สะท้อนวิถีชีวต
ิ วัฒนธรรมทีส ่ ม
ั พันธ์กบ
ั สภาพแวดล้อม ดังนี้

๑) กลุม
่ วัฒนธรรมลุม
่ น้าโขง (ไทย-ลาว-เขมร-พม่า-เวียดนาม)

ลุม
่ แม่น้าโขงเป็ นเป็ นทีอ ่ ยูอ
่ าศัยของหลายชุมชนทีม ่ ีอาณาเขตติดต่อกันหลายป
ระเทศนับเป็ นแหล่งอารยธรรมทีส ่ าคัญซึง่ มีประเพณี ดนตรี วัฒนธรรม
ความเชือ ่ ค่านิยม ทัง้ ทีม
่ ีความคล้ายคลึงและแตกต่าง
ด้วยลักษณะทางภูมศ ิ าสตร์ทใี่ กล้เคียงกัน รวมทัง้ มีการไปมาหาสู่ มีการค้าขาย
และกิจกรรมอืน ่ ๆ ร่วมกันอย่างสม่าเสมอและต่อเนื่อง
ส่งผลให้วฒ ั นธรรมของแต่ละประเทศ
มีทง้ ั ทีแ
่ สดงออกถึงลักษณะเฉพาะของตนเอง
ขณะทีม ่ ีความคล้ายคลึงในบางส่วนของการดาเนินวิถีชีวต ิ กล่าวได้วา่ ไทย-
ลาว-กัมพูชามีรากวัฒนธรรมเดียวกัน
จึงมีความพ้องของวัฒนธรรมมากกว่าพม่าและเวียดนามซึ่งได้รบ ั อิทธิพลจากจี
น ในทีน
่ ี้
ขอหยิบยกตัวอย่างมรดกร่วมทางวัฒนธรรมในภูมภ ิ าคทีเ่ ห็นได้ชดั เจน ได้แก่
- ด้านภาษา (ไทย-ลาว-เขมร) ทีม ่ ีตวั อักษร คาทีม ่ ีความหมายคล้ายคลึงกัน
โดยได้รบ ั อิทธิพลมาจากภาษาสันสกฤต โดยคนไทย ลาว เขมร
สามารถสือ ่ สารเข้าใจกันได้ อย่างไรก็ดี
ภาษาเขมรมีความแตกต่างจากภาษาเพือ ่ นบ้าน เนื่องจากไม่มีเสียงวรรณยุกต์
- ด้านการแสดงรามเกียรติ ์
เป็ นมรดกร่วมทางวัฒนธรรมทีโ่ ดดเด่นของอาเซียน
ต้นเค้าของเรือ ่ งรามเกียรติน ์ ่ าจะมาจากเรือ ่ ง รามายณะ ของอินเดีย
ซึง่ เป็ นนิทานทีแ ่ พร่หลายอยูท ่ ่วั ไปในภูมภ ิ าคเอเชียใต้
ต่อมาอารยธรรมอินเดียได้แพร่หลายเข้ามาในภูมภ ิ าคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้
ทาให้เรือ ่ งรามายณะแพร่หลายไปทั่วภูมภ ิ าค
ได้ปรับเปลีย่ นเนื้อหาให้สอดคล้องกับวัฒนธรรมของประเทศนัน ้ จนกลายเป็ นว
รรณคดีประจาชาติไป ดังปรากฏในหลาย ๆ ชาติ เช่น ลาว พม่า กัมพูชา
มาเลเซีย อินโดนีเซีย
ล้วนมีวรรณคดีเรือ ่ งรามเกียรติเ์ ป็ นวรรณคดีประจาชาติทง้ ั สิน ้
- ด้านนาฏศิลป์-ดนตรี การแสดงราของไทย ลาว เขมรมีความคล้ายคลึงกัน
รวมทัง้ เครือ ่ งดนตรีทไี่ ด้รบ ั อิทธิพลซึง่ กันและกัน
แต่มีการปรับเปลีย่ นให้เข้ากับวัฒนธรรมประเพณีของประเทศนัน ้ ๆ ทัง้ นี้
ด้วยสภาพภูมศ ิ าสตร์ และลักษณะการประกอบอาชีพทีเ่ ป็ นเกษตรกรรม
ส่งผลต่อวัฒนธรรม และวิถีชีวต ิ ของประชาชนทีอ ่ าศัยอยูใ่ นแถบใกล้เคียงกัน
- ด้านประเพณีสงกรานต์ เป็ นประเพณี ปีใหม่ของประเทศไทย ลาว กัมพูชา
พม่า ชนกลุม ่ น้อยชาวไตแถบเวียดนามและมณฑลยูนนานของจีน
ศรีลงั กาและทางตะวันออกของประเทศอินเดีย
และเป็ นประเพณี เก่าแก่ซงึ่ สืบทอดมาแต่โบราณคูม ่ ากับประเพณี ตรุษ
จึงมีการเรียกรวมกันว่า ประเพณีตรุษสงกรานต์ หมายถึงประเพณีสง่ ท้ายปี เก่า
และต้อนรับปี ใหม่ คาว่า "ตรุษ” เป็ นภาษาทมิฬ แปลว่า "การสิน ้ ปี ”
พิธีสงกรานต์ เป็ นพิธีกรรมทีเ่ กิดขึน ้ ในสมาชิกในครอบครัว
หรือชุมชนบ้านใกล้เรือนเคียง แต่ปจั จุบน ั ได้เปลีย่ นไปสูส ่ งั คมในวงกว้าง
และมีแนวโน้มทีจ่ ะเปลีย่ นทัศนคติ และความเชือ ่ ไป
ในความเชือ ่ ดัง้ เดิมใช้สญ ั ลักษณ์ เป็ นองค์ประกอบหลักในพิธี ได้แก่
การใช้น้าเย็น ใช้น้ารดให้แก่กน ั เพือ
่ ความชุม ่ ชืน่ มีการขอพรจากผูใ้ หญ่
การราลึกและกตัญญูตอ ่ บรรพบุรุษทีล่ ว่ งลับ
ในชีวต ิ สมัยใหม่ของสังคมไทยเกิดประเพณีกลับบ้านในเทศกาลสงกรานต์
นับวันสงกรานต์เป็ นวันครอบครัว ในพิธีเดิมมีการสรงน้าพระทีน ่ าสิรม
ิ งคล
เพือ่ ให้เป็ นการเริม ่ ต้นปี ใหม่ทม ี่ ีความสุข
๒) กลุม ่ วัฒนธรรม มาเลเซีย-อินโดนีเซีย-บรูไน ดารุสซาลาม-สิงคโปร์
เป็ นกลุม่ ประเทศทีป ่ ระชาชนส่วนใหญ่นบ ั ถือศาสนาอิสลาม
แต่ก็มีประชาชนส่วนหนึ่งนับถือศาสนาพุทธ คริสต์
และฮินดูดว้ ยสัดส่วนทีแ ่ ตกต่างกันไป ดังนัน ้ วัฒนธรรมประเพณี ศิลปะ
การแสดง จะมีความคล้ายคลึงกัน
ในขณะทีส ่ งิ คโปร์เป็ นสังคมผสมผสานระหว่างจีน-มาเลย์-อินเดีย ดังนัน ้
จึงมีความหลากหลายของวัฒนธรรม
ตัวอย่างของมรดกวัฒนธรรมร่วมในกลุม ่ นี้ ได้แก่
- การใช้ภาษามาเลย์ (หรือมลายู) ในชุมชนภาคใต้ของไทย และภาษามาเลย์
ยังสามารถสือ ่ สารเข้าใจได้กบ ั ภาษาอินโดนีเซีย
มาตรฐานอย่างเป็ นทางการของภาษามลายูนน ้ั
มีการตกลงร่วมกันระหว่างอินโดนีเซีย มาเลเซีย และบรูไน ว่าใช้บาฮาซารีเยา
(Bahasa Riau) เป็ นมาตรฐาน อันเป็ นภาษาของหมูเ่ กาะรีเยา
ซึ่งถือว่าเป็ นต้นกาเนิดของภาษามลายูมาช้านาน
- การแต่งกาย ชุมชนทีน ่ บ
ั ถือศาสนาอิสลามจะแต่งกายคล้ายคลึงกัน เช่น
กลุม
่ คนภาคใต้ตอนล่าง ประชาชนชาวมาเลเซีย อินโดนีเซีย

- การแสดง หนังตะลุงหรือ Wayang ซึง่ หมายถึง


ศิลปะการเชิดหนังหรือหุน ่ เป็ นสิง่ ทีแ ่ สดงถึงวัฒนธรรมร่วมของประเทศในภูมิ
ภาคอาเซียน เช่น ไทย อินโดนีเซีย หนังตะลุงมีตน ้ กาเนิดมาจากเกาะชวา
อินโดนีเซีย แล้วแพร่หลายไปทีอ ่ ืน
่ ๆ
ในภูมภ ิ าคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้รวมทัง้ ประเทศไทย ตลอดหลายร้อยปี
ทีผ ่ า่ นมา หนังตะลุงได้รบ ั ความนิยมในราชสานักชวา บาหลี
และรวมถึงชาวบ้านทั่วไป
หนังตะลุงจากทุกทีจ่ ะต่างกันด้วยขนาดรูปร่างและรูปแบบ
แต่จะมีความเหมือนกันคือจะทาจากหนังวัวและมีคน ั ชัก
และเล่นประกอบดนตรีเครือ ่ งทองเหลืองเช่น ฆ้อง
- ขณะทีส ่ งิ คโปร์มีความหลากหลายทางเชื้อชาติ
อีกทัง้ ส่วนใหญ่ยงั ยึดถือธรรมเนียมปฏิบตั ด ิ ง้ ั เดิม
ทาให้สงิ คโปร์มีวฒ ั นธรรมหลากหลาย ทัง้ ทางด้านอาหาร การแต่งกาย
ตลอดจนการเซ่นไหว้วญ ิ ญาณบรรพบุรุษ
และความเชือ ่ ในเรือ
่ งเทพเจ้าทีแ ่ ตกต่างกันไป
ชาวจีนส่วนมากบูชาเจ้าแม่กวนอิม กวนอูเทพเจ้าแห่งความยุตธิ รรม
รวมถึงเทพเจ้าจีนองค์อน ื่ ๆ ขณะทีช ่ าวฮินดูบูชาเทพเจ้าแห่งดวงอาทิตย์
เป็ นต้น
๓) กลุม ่ วัฒนธรรม ฟิ ลิปปิ นส์
ถึงแม้วา่ ภูมป ิ ระเทศของอินโดนีเซียและฟิ ลิปปิ นส์
จะมีความคล้ายคลึงกันแต่วฒ ั นธรรมของฟิ ลิปปิ นส์เป็ นการผสมผสานกันระหว่
างตะวันตกและตะวันออก
ทีเ่ ป็ นเอกลักษณ์ เฉพาะวัฒนธรรมฟิ ลิปปิ นส์ทไี่ ด้รบ ั อิทธิพลจากสเปน
ซึง่ เป็ นเจ้าอาณานิคมมาเป็ นระยะเวลานาน
ในขณะเดียวกันก็ได้ผสานวัฒนธรรมพื้นเมือง
ตัวอย่างของมรดกวัฒนธรรมกลุม ่ นี้
- ด้านภาษา มีการใช้ภาษามากกว่า ๑๗๐ ภาษา
โดยส่วนมากเกือบทัง้ หมดนัน ้ เป็ นตระกูลภาษาย่อยมาลาโย-
โปลินีเซียนตะวันตก ส่วนภาษาต่างประเทศอืน ่ ๆ
ทีใ่ ช้กน ั มากในประเทศฟิ ลิปปิ นส์มีทง้ ั หมด ๘ ภาษา ได้แก่ ภาษาสเปน
ภาษาจีนฮกเกี้ยน ภาษาจีนแต้จวิ๋ ภาษาอินโดนีเซีย ภาษาซินด์ ภาษาปัญจาบ
ภาษาเกาหลี และภาษาอาหรับ
- ด้านการแสดง นาฏศิลป์ดนตรี
สเปนเป็ นชาติตะวันตกชาติหนึ่งทีม ่ ายึดครองดินแดนในเอเชียเป็ นระยะเวลายา
วนาน โดยเฉพาะประเทศฟิ ลิปปิ นส์ และสเปนพยายามสร้างฟิ ลิปปิ นส์
ซึง่ มีชาวพืน ้ เมืองเดิมเป็ นชาวเกาะทีน ่ บั ถือศาสนาอิสลามให้เป็ นตัวแทนของสเ
ปนในภูมภ ิ าคตะวันออก ด้วยเหตุนี้สเปนจึงนาเอาประเพณี วัฒนธรรม
ตลอดจนศาสนาเข้ามาครอบคลุมชาวพื้นเมือง
ศิลปะการแสดงตามแบบฉบับของสเปนจึงปรากฏขึน ้ ในดินแดนของประเทศฟิ
ลิปปิ นส์และเมือ ่ ชาวพื้นเมืองฟิ ลิปปิ นส์ได้มีการติดต่อกับชาวพื้นเมืองมลายูซงึ่
นับถือศาสนาอิสลามด้วยกัน
จึงทาให้นาฏศิลป์ได้แพร่ขยายเข้ามาในดินแดนมลายูดว้ ย
- ด้านการแต่งกาย ชุดแต่งกายประจาชาติของฟิ ลิปปิ นส์ ชายสวมเสื้อทีเ่ รียกว่า
บารอง หญิงแต่งชุดกระโปรงยาว สวมเสื้อแขนสัน
้ จับจีบ
แล้วยกตัง้ ขึน ้ เหนือไหล่ คล้ายปี กผีเสื้อ เรียกว่าชุด บาลินตาวัก
ซึง่ ได้รบั อิทธิพลจากตะวันตก
- ด้านประเพณี ฟิ ลิปปิ นส์ได้รบ ั อิทธิพลวัฒนธรรมจากสเปนและเม็กซิโก
จะเห็นได้จากความเชือ ่ ในศาสนาคาธอลิกงานประเพณีทางศาสนาในทุกปี
ฟิ ลิปปิ นส์จะมีงานรืน ่ เริง เรียกว่า Barrio Fiesta
เป็ นการฉลองนักบุญของเมือง หมูบ
่ า้ นและเขตการปกครองต่างๆ
มีการประกอบพิธีทางศาสนา การเดินขบวนในเมืองฉลองนักบุญ การจุดพลุไฟ
การประกวดความงาม และการเต้นรา รวมทัง้ มีการตีไก่
วัฒนธรรม 10 ประเทศอาเซียน

ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของไทย
Posted on เมษายน 20, 2015by blkp2015

ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของไทย ได้รบ ั อิทธิพลจากมอญ ขอม อินเดีย จีนและชาติตะว


ในด้านความงดงาม ประณีต และผูกพัน อยูก
่ บ
ั พระพุทธศาสนา

* การไหว้ เป็ นประเพณีการทักทายทีถ่ อ


ื เป็ นเอกลักษณ์ โดดเด่นของไทย โดยเป็ นการแ
และให้เกียรติกน
ั และกัน นอกจากการทักทาย การไหว้ยงั มีความหมายเพือ ่ การขอบคุณ ขอ
* โขน เป็ นนาฏศิลป์เก่าแก่ของไทย มีลกั ษณะสาคัญทีผ
่ แ
ู้ สดงต้องสวมหัวโขนทัง้ หมด
ซึง่ แสดงโดยใช้ทา่ ราและท่าทางประกอบทานองเพลง ดาเนินเรือ ่ งด้วยบทพากย์และบทเจรจ
คือ รามเกียรติ ์

* สงกรานต์ ประเพณี เก่าแก่ ซึง่ ถือเป็ นการเฉลิมฉลองวันขึน


้ ปี ใหม่ของไทยทีย่ ด
ึ ถือปฏ
ขอพรผูใ้ หญ่ สรงน้าพระ ทาบุญตักบาตร ปล่อยนกปล่อยปลา ขนทรายเข้าวัดและก่อเจด
สาดน้าเพือ่ ความสนุกสนานด้วย
ศิลปวัฒนธรรมและประเพณี ของลาว

วัฒนธรรมของลาวจะมีความคล้ายคลึงกับวัฒนธรรมทางภาคอีสาน ของไทยมาก

* ด้านดนตรีแคน ถือเป็ นเครือ ่ งดนตรีประจาชาติ โดยมี วงดนตรีคอื วงหมอลา และมีร


ซึง่ เป็ นการเต้นทีม
่ ีทา่ ตามจังหวะเพลง โดยจะเต้นพร้อมกันไปอย่างเป็ นระเบียบถือเป็ นการ
งานมงคลต่างๆ
* การตักบาตรข้าวเหนียว ถือเป็ นจุดเด่นของเมืองหลวงพระบาง ซึง่ โดยปกติแล้วนิยมใ
เพียงอย่างเดียว เพราะเมือ ่ ถึงเวลาฉัน ชาวบ้านจะยกสารับกับข้าวไปถวายทีว่ ดั เรียกว่า “ถ
จะนั่งคุกเข่าและผูห
้ ญิง ต้องนุ่งซิ่น ส่วนผูช
้ ายนุ่งกางเกงขายาว และมีผา้ พาดไหล่ไว้สาหร

ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของมาเลเซีย

ด้วยเหตุทม
ี่ ีหลายชนชาติอยูร่ วมกันทาให้ดน
ิ แดนแห่งนี้เต็มไปด้วยวัฒนธรรมทีแ
่ ตกต่างหล
การผสานวัฒนธรรมจากชนชาติอืน ่ และการรักษาวัฒนธรรมประเพณีของชนแต่ละกลุม ่ ใ
* การราซาบิน (Zabin) เป็ นการแสดงการฟ้ อนราหมู่ ซึง่ เป็ นศิลปะพื้นเมืองของชา
ฟ้ อนราทีไ่ ด้รบ
ั อิทธิพลมาจากดินแดนอาระเบีย โดยมีผแ ู้ สดงเป็ นหญิงชายจานวน 6 คู่ เ
แบบอาระเบียน และกลองเล็กสองหน้าทีบ ่ รรเลงจากช้าไปเร็ว

* เทศกาลทาเดา คาอามาตัน (Tadau Kaamatan) เป็ นเทศกาลประจาปี ในรัฐซา


พฤษภาคม ซึง่ เป็ นช่วงสิน
้ สุดของฤดูการเก็บเกีย่ วข้าวและเริม
่ ต้นฤดูกาลใหม่ โดยจะมีพธิ
ทาเกษตร และมีการแสดงระบาพื้นเมือง และขับร้องบทเพลงท้องถิน ่ เพือ
่ เฉลิมฉลองด้วย
ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของสิงคโปร์
Posted on เมษายน 20, 2015by blkp2015

สิงคโปร์เป็ นประเทศทีม
่ ีประชากรหลากหลายเชื้อชาติหลากหลายศาสนา ทาให้ป
ทีห
่ ลากหลาย สาหรับเทศกาลทีส ่ าคัญของสิงคโปร์ก็จะเป็ นเทศกาลเกีย่ วข้องกับความเชือ
่ ท
* เทศกาลตรุษจีน เทศกาลปี ใหม่ของชาวจีนทีจ่ ดั ขึน้ ในเดือนกุมภาพันธ์
* เทศกาล Good Friday จัดขึน ้ เพือ
่ ระลึกถึงการสละชีวต ิ ของพระเยซู บนไม้กางเขนข
* เทศกาลวิสาขบูชา จัดขึน้ เพือ
่ ระลึกถึงการประสูติ ตรัสรู ้ และปรินิพพานของพ
เดือนพฤษภาคม
* เทศกาล Hari Raya Puasa เทศกาลการเฉลิมฉลองของชาวมุสลิมทีจ่ ดั ขึน ้ เมือ
่ สิน้
ในเดือนตุลาคม
* เทศกาล Deepavali เทศกาลแห่งแสงสว่างและเป็ นงานขึน ้ ปี ใหม่ของชาวฮินดู ทีจ่

ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของอินโดนีเซีย

มีชนพื้นเมืองหลายชาติพน
ั ธุ์กระจายกันอยูต
่ ามเกาะ ทาให้วฒ
ั นธรรมประเพณีในแต่ละท้อง
* วายัง กูลต
ิ (Wayang Kilit) เป็ นการแสดงเชิดหุน
่ เงาทีเ่ ป็ นเอกลักษณ์ ของอินโดนีเซีย แ
งดงามและวิจต ิ รกว่าการแสดงชนิดอืน
่ เพราะรวมศิลปะหลายด้านไว้ดว้ ยกัน โดยฉบับดัง้ เด
นิยมใช้วงดนตรีพื้นบ้านบรรเลงขณะแสดง

* ระบาบารอง (Barong Dance) ละครพื้นเมืองดัง้ เดิมของเกาะบาหล มีการใช้หน


โดยมีการเล่นดนตรีสดประกอบการแสดง เรือ ่ งราวเป็ นการต่อสูก
้ นั ของ บารอง คนครึง่ สิง
กับรังดา พ่อมดหมอผีตวั แทนฝ่ ายอธรรม โดยฝ่ ายธรรมะจะได้รบ ั ชัยชนะในทีส
่ ุด

* ผ้าบาติก (Batik) หรือ ผ้าปาเต๊ะ เป็ นผ้าพื้นเมืองของอินโดนีเซียทีม ่ ีวธิ ีการทาโด


การ ให้ตด ิ สี และใช้วธิ ีการแต้มระบาย หรือ ย้อมในส่วนทีต ่ อ
้ งการให้ตด
ิ สี ผ้าบาติกนิยมใช
โดยใช้เป็ นผ้าโพกศีรษะชาย ผ้าคลุม ศีรษะหญิง ผ้าทับกางเกงชาย และโสร่ง หรือผ้าทีใ่ ช้น
ทีเ่ รียกว่า “ปาเต๊ะ” คือส่วนทีต่ อ
้ งนุ่ง ให้ตรงกับสะโพก โดยมีลวดลายสีสน ั ต่างไปจากส่วนอืน ่

ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของเวียดนาม
Posted on เมษายน 20, 2015by blkp2015
ศิลปวัฒนธรรมส่วนใหญ่ของเวียดนามจะได้รบ
ั อิทธิพลจากจีนและฝรั่งเศส เวียดนามมีเท

* เทศกาลเต็ด (Tet) หรือ “เต็ดเหวียนดาน (Tet Nguyen Dan)” หมายถึง เทศกา


ถือเป็ น เทศกาลทางศาสนาทีส ่ าคัญทีส ้ ในช่วงปลายเดือนมกราคมถึงต้นเดือนกุมภาพ
่ ุดดขึน
ในเทพเจ้า ลัทธิเต๋า ขงจื๊อ และศาสนาพุทธ รวมทัง้ เป็ นการแสดงความเคารพต่อบร

* เทศกาลกลางฤดูใบไม้รว่ ง จัดขึน ้ ในวันขึน


้ 15 ค่า เดือน 8 ของทุกปี ชาวบ้านจะป
หรือบันตรังทู ทีมีรูปร่างกลม มีไส้ถ่วั และไส้ผลไม้ และมีการจัดขบวนเชิดมังกร เพือ ่ แสดง
การเฉลิมฉลองกับขนมเค้กสาหรับเด็กและครอบครัวของพวกเขาทีด ่ ด
ู วงจันทร์ ขบวนข
จะถูกใช้เป็ นสัญลักษณ์ สาหรับความเจริญรุง่ เรืองในช่วงเทศกาลจะมีกล่องเค้กในรูปร่างของ
เพือ
่ เพือ
่ นและครอบครัว ในเวลากลางคืนเด็กจะเดินขบวนในถนนร้องเพลงในขณะทีส ่ ง่ มอ
เหล่านี้จีนมีเทียนทีส
่ อ
่ งสว่างสวยงามตามท้องถนน
ศิลปวัฒนธรรมและประเพณี ของประเทศฟิ ลิปปิ นส์
Posted on เมษายน 20, 2015by blkp2015

วัฒนธรรมของฟิ ลิปปิ นส์เป็ นวัฒนธรรมผสมผสานกันระหว่างตะวันตกและตะวันออก ซึง่ ส


จีน และอเมริกน
ั ฟิ ลิปปิ นส์มีเทศกาลทีส
่ าคัญ ได้แก่

*อาติหาน (Ati – Atihan)

จัดขึน้ เพือ
่ ราลึกและแสดงความเคารพต่อ “เอตาส (Aetas)” ชนเผ่าแรกทีม ่ าตัง้ รกรากอ
ฟิ ลิปปิ นส์ และราลึกถึงพระเยซูคริสต์ในวัยเด็ก โดยจะแต่งตัวเลียนแบบ *เทศกาลอาติชนเ
บนท้องถนนในเมืองคาลิบู (Kalibu)
* เทศกาลซินูล็อก (Sinulog)
้ ในวันอาทิตย์ที่ 3 ของเดือน มกราคมทุกปีี เป็ นงานทีจ่ ดั ขึน
งานนี้จะจัดขึน ้ เพือ
่ ราลึกถึงนัก
(Santo Nino)โดยจะจัดแสดงดนตรีและ มีขบวนพาเหรดแฟนซี ทั่วเมือง เซบู (Cebu)

* เทศกาลดินาญัง (Dinayang)

้ เพือ
งานนี้ จดั ขึน ่ ราลึกถึงนักบุญซานโต นินอย (Santo Nino) เช่นเดียวกับเทศกาลซิน
ของเดือนมกราคม ทีเ่ มือง อิโลอิโย (Iloilo)

ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของประเทศบรูไน
Posted on เมษายน 20, 2015by blkp2015

บรูไนมีความสัมพันธ์ใกล้ชด ิ กับมาเลเซียและอินโดนีเซียมาก มีวฒ


ั นธรรม ประเพณี ภาษา
รวมทัง้ ยังมีวฒ
ั นธรรมทีไ่ ด้รบ ั อิทธิพลจากศาสนาอิสลามด้วย เช่นสตรีชาวบรูไนจะแต่งกาย
เสื้อแขนยาว และมีผา้ โพกศีรษะ คนต่างชาติ จึงไม่ควรนุ่ง กระโปรงสัน ้ และใส่เสื้อไม่มีแข
เพราะถือเป็ นสีของพระมหากษัตริย์ การทักทาย จะจับมือกันเบาๆ และสตรีจะไม่ ยืน ่ มือให
หรือสิง่ ของถือว่าไม่สุภาพ แต่ จะใช้หวั แม่มือชี้แทน และจะไม่ใช้มือซ้ายในการส่งของให้ผ
ไปทางผูช ้ าย และไม่ ส่งเสียงหรือหัวเราะดัง
การรับประทานอาหารร่วมกับชาวบรูไน โดยเฉพาะคูเ่ จรจาทีเ่ ป็ นชาวมุสลิมควรระมัดร
และเครือ ่ งดืม่ ทีม
่ ีแอลกอฮอล์ เนื่องจากผิดหลักปฏิบตั ข
ิ องศาสนาอิสลาม ไม่รบ ั ประทานเ
ปฏิบตั ก
ิ นั อย่างเคร่งครัดในการห้ามดืม ่ สุรา อาจขอให้ คูเ่ จรจาชาวบรูไนช่วยเลือกร้านอ
การให้ทป ิ ในร้านอาหาร ในกรณีทเี่ ป็ นร้านอาหารขนาดใหญ่จะมีการเก็บค่าบริการ เพิม ่

ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีของ ประเทศกัมพูชา
 Posted on เมษายน 19, 2015by blkp2015

ประเทศกัมพูชาเป็ นประเทศทีม ่ ีประวัตศ


ิ าสตร์อน
ั ยาวนาน วัฒนธรรมประ
กับประวัตศ
ิ าสตร์ ความเชือ
่ และวิถีชีวต
ิ ของคนในประเทศ ศิลปวัฒนธรรมทีเ่ ป็ นเอกลัก

* ระบาอัปสรา (Apsara Dance) เป็ นการแสดงนาฏศิลป์ทีโ่ ดดเด่นของกัมพูชา


และท่าร่ายรามาจากภาพจาหลักรูปนางอัปสรทีป ่ ราสาทนครวัด นางอัปสราตัวเอกองค์แ
พระราชธิดาในเจ้าสีหนุ เป็ นระบาทีก ้ เพือ
่ าเนิดขึน ่ เข้าฉากภาพยนตร์เกีย่ วกับนครวัดท
ชือ ่ เป็ นภาษาฝรั่งเศสว่า L”Oiseau du Paradis ก็คอ ื The Bird of Paradise ห
ระบาขวัญใจชาวกัมพูชา ใครได้ เป็ นตัวเอกในระบาอัปสรานัน ้ เชือ
่ ได้วา่ เป็ นตัวนางชัน

อุดมคติแห่งชาติกม ั พูชา นางอัปสราในนครวัดก็เป็ นอุดมคติแห่งสตรีเขมร ดังนัน ้ การช
ระบาระดับชาตินน ้ ั มีความหมายในเชิงชาติพน ั ธุ์นิยม เพือ ่ ให้เข้าถึงสัญลักษณ์ สูงสุดแห
ชือ
่ เสียง ขึน ้ มาด้วยการอิงบนความยิง่ ใหญ่ของนครวัด และระบาอัปสราก็จาลองภาพสล
ในนครวัดให้หลุดออกมามีชีวต ิ ดอกไม้เหนือเศียรนางอัปสราส่วน ใหญ่ในปราสาทนคร
เนื่องจากรูปทรงของดอกชนิดนี้พอ ้ งกันกับภาพสลัก เขมรเรียกดอกไม้ชนิดนี้ ว่า “ด
ทีเ่ อามาเสียดและสกคือผมชือ ่ ของดอกไม้บง่ บอกว่าเป็ นดอกสาหรับเสียดผม เข้าใจว่าสม
คงประดับ ศีรษะด้วยดอกไม้หลายชนิด หนึ่งในนัน ้ คือดอกฉัตรพระอินทร์ ดังหลักฐาน
ในปราสาทหินขอม ซึง่ เป็ นแรงบันดาลใจของช่างสลักจากทีไ่ ด้เห็นของจริง

* เทศกาลน้า (Water festival) หรือ “บอน อม ตุก” เทศกาลประจาปี ทีย่ งิ่ ใหญ่ของกัม
พฤศจิกายน เพือ
่ เป็ นการแสดงความสานึกในพระคุณของ แม่น้าทีน ่ าความอุดมส
แข่งเรือยาว แสดงพลุดอกไม้ไฟ การแสดงขบวนเรือประดับไฟ และขบวนพาเหรด
บริเวณทะเลสาบ “โตนเลสาบ” ทีจ่ ดั ขึน ้ ้ 14 ค่า 15 ค่า จนถ
ทุกปี ตัง้ แต่ วันขึน
ซึง่ ทางการกัมพูชา ประกาศให้เป็ น วันหยุด 3 วัน เพราะน้าในแม่น้าโขงเมือ ้ สูง
่ ขึน
จะไหลไปทีท ่ ะเลสาบ เนื่องจากในช่วงปลาย ฤดูฝนในเดือนพฤศจิกายน น้าในทะลสาบล
สูล่ าน้าโขงอีกครัง้ ชาวกัมพูชาจะร่วมกันลอยทุน ่ ทีป่ ระดับด้วยดวงไฟ ไปตาม แม่น้าโขง
ราลึก ถึงเหตุการณ์ ในประวัตศ ิ าสตร์สมัยพระเจ้า ชัยวรมันที่ 7 ช่วงศตวรรษที่ 12 ในย
เขมรทีก ่ าลังรุง่ เรืองมีชยั เหนืออาณาจักรจาม ในการสูร้ บ ทางเรือ
ประเพณี วฒ
ั นธรรมประเทศเมียนม่าร์(พม่า)
วัฒนธรรม
วัฒนธรรมของพม่าได้รบ ั อิทธิพลทัง้ จากจีน อินเดีย และไทยมาช้านาน ดังสะท้อน
และอาหาร สาหรับศิลปะของพม่านัน ้ ได้รบ
ั อิทธิพลจากวรรณคดีและพระพุทธศาสนานิกาย
ในปัจจุบน
ั นี้วฒ
ั นธรรมพม่ายังได้รบั อิทธิพลจากตะวันตกมากขึน ้ ซึง่ เห็นได้ชดั จากเขตชนบ
ชาวพม่าทัง้ หญิงและชายนิยมนุ่งโสร่ง เรียกว่า ลองยี ส่วนการแต่งกายแบบโบราณเรียก
ประเพณี ปอยส่างลอง

ประเพณี ปอยส่างลอง หรือทีเ่ รียกว่า“งานบวชลูกแก้ว”เป็ นงานประเพณี ประจาของชาวไต


ทอดกันมายาวนาน คาว่า ปอย แปลว่า งาน ซึง่ หมายถึง งานเทศกาล งานรืน ่ เริง งานมงคลต
และ ลอง มาจาก คาว่า อะลอง แปลว่า กษัตริย์ ราชา เกีย่ วกับเจ้าแผ่นดิน เมือ ่ รวมกันก็หมา
พระเณรของเด็กทีแ ่ ต่งดาเป็ นกษัตริย์หรือราชานั่นเอง
โดย งาน “ปอยส่างลอง” นี้ จะนิยมจัดในช่วงระหว่างเดือนมีนาคม ถึง เดือนพฤษภาคมของ
บ้านมีเวลาว่างเว้น หลังจากเก็บเกีย่ วผืชผลเกษตรในไร่นาแล้วเสร็จ ประกอบกับเป็ นช่วงปิ ด
สาเหตุทช ี่ าวไทยใหญ่ได้จดั งานนี้ก็เพราะต้องการให้บุตรหลานได้มีโอกาสบรรพชา เป็ นพร
พระพุทธศาสนา ดังจะเห็นได้วา่ ชายชาวไทยใหญ่ทน ี่ บ
ั ถือพระพุทธศาสนา ล้วนจะได้ผา่ นก
จากงานประเพณีปอยส่างลองนี้กน ั มาแทบ ทัง้ สิน

นับแต่อดีตมา พม่ามีงานประเพณีของแต่ละเดือนในรอบปี เรียกว่า แซะนะล่ะหย่าตีบ ่ ะแว
ในยุคราชวงศ์ของพม่ามีการกาหนดให้งานนี้เป็ นพระราชพิธี แม้วา่ ในปัจจุบน ั พม่าจะยังคง
เดือนไว้ แต่ก็มีการเปลีย่ นแปลงไปจากเดิมบ้าง
สิง่ ทีค
่ วรระมัดระวังในการท่องเทีย่ วพม่า มีดงั นี้คอ

1.เครือ ่ งแต่งกาย ศาสนสถานในพม่าทุกแห่ง ห้ามสวมกางเกงขาสัน ้ หรือกระโปรงสัน ้ เข้าไป
ได้ บางแห่งจะมีบริการเช่าผ้าถุงหรือโสร่ง สวมทับกางเกงขาสัน ้ หรือกระโปรงสัน ้ รวมทัง้ ย
ทีจ่ ะเข้าไปด้วย
2.รองเท้า ทุกคนต้องถอดรองเท้าทุกชนิดก่อนเข้าเขตศาสนสถาน ตัง้ แต่รว้ ั ด้านนอก ถุงเท้า
เดินเท้าเปล่า และเป็ นธรรมเนียมทีเ่ คร่งครัดมากแต่สมัยโบราณ หากฝ่ าฝื นชาวพม่าจะเข้าม
3.การถ่ายรูป วีดโี อ บางแห่งจะต้องเสียค่าธรรมเนียม บางแห่งห้ามถ่าย เช่น พิพธิ ภัณฑ์ยา่
กับเจ้าหน้าทีก ่ อ่ นจะเข้าไป
4.ศาสนสถานบางแห่งอาจห้ามสุภาพสตรีเข้าไปในเขตหวงห้าม เช่น ห้ามขึน ้ ไปปิ ดทองทีอ่
หรือทีอ ่ งค์พระธาตุอน ิ ทร์แขวน(ไจก์ทโิ ย) หรือทีเ่ ขตห้ามเข้าองค์พระมหาเจดีย์ชเวดากองแ
5.เงินสด โดยทั่วไปจะไม่รบ ั เงินบาทไทย ให้แลกกับไกด์ทอ ้ งถิน ่ หรือบริษท
ั ทัวร์ได้ และถ้าแ
ทางการ แพงกว่าทีแ ่ ลกกับบริษท ั ทัวร์ หรือร้านค้าใหญ่มากหลายเท่าตัว ข้อควรระวัง อย่าแ
ขอแลก เพราะอาจจะได้รบ ั เงินปลอม เงินทีย่ กเลิกไปแล้ว และถูกตารวจจับอีก
6.เครือ ่ งประดับ ของมีคา่ ต่างๆควรติดตัวไปให้น้อยทีส ่ ุดเท่าทีจ่ าเป็ น เพราะจะเกิดความยุง่
ต่อเจ้าหน้าทีศ ่ ลุ กากรเวลา เข้าเมือง และต้องแสดงว่าอยูค ่ รบเวลาจะเดินทางกลับจากพม่า ห
ทันที เพราะศุลกากรพม่าจะถือว่านาไปขายต่อให้กบ ั คนพม่า นอกจากนี้ยงั เป็ นภาระในการ
ด้วย
7.ยารักษาโรค ควรนาไปให้พร้อมและเพียงพอตามระยะเวลาเดินทาง เพราะในพม่า การแ
ยังขาดแคลนและไม่ทน ั สมัย
8.วัตถุโบราณ (Antique) บาง ประเภทเป็ นสิง่ ต้องห้ามจาหน่ ายและนาออกนอกประเทศ ค
และถ้าซื้อต้องมีใบเสร็จและใบอนุญาตนาออกอย่างถูกต้องจากทางร้านค้า รวมทัง้ สินค้าอัญ
ไม่มีความรู ้ และความเชีย่ วชาญ ควรงดเว้นการซื้อ
9.ระบบการจราจรในพม่ากาหนดให้ขบ ั รถชิดเลนขวาตรงข้ามกับไทย เพราะฉะนัน ้ เวลาข
10.หญิงบริการ พม่าเป็ นประเทศสังคมนิยมปกครองโดยรัฐบาลทหาร ทัง้ ยังมั่งคั่งไปด้วยศ
วิถีชีวต
ิ ของชาวบ้านผูร้ กั สงบและสันโดษ จึงเป็ นการไม่เหมาะทีจ่ ะถามหาหญิงบริการ เพรา
ผูห
้ ญิงและผูช ้ าย

การเข้ามาของศาสนาอิสลามในภูมภ
ิ าคเอเชีย
ตะวันออกเฉี ยงใต้
เขียนบน กันยายน 11, 2013 โดย nooornchurue

การเข้ามาของศาสนาอิสลามในภูมภ
ิ าคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้
ศาสตราจารย์มศั อูด อัลฮัซซัน
ได้กล่าวถึงการเข้ามาของศาสนาอิสลามในภูมภ ิ าคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้
ในหนังสือHistory of Islam ไว้ดงั นี้
หมูเ่ กาะต่าง ๆ ทางทะเลใต้ ซึ่งรวมกันอยูในอาณาบริเวณที่ เรียกกันว่ า
“มาลัยทวีป” มาตัง้ แต่ตน ้ พุทธศตวรรษที่ 12 อันได้แก่ เกาะสุมาตรา เกาะชวา
เกาะบาหลี เกาะบอร์เนียว เกาะสุลาเลวี หรือเกาะะเซเลเบส เกาะมะละกา
และเกาะนิวกินี ในบริเวณนัน ้ ทัง้ หมด
เดิมเคยได้รบ ั อารยธรรมแห่งศาสนาพราหมณ์ และศาสนาพุทธ นิกายมหายาน
จากอินเดียมาตัง้ แต่ตน ้ พุทธศตวรรษที่ 12 จนกระทั่งถึงพุทธศตวรรษที่ 19
ความเปลีย่ นแปลงทีเ่ กีย่ วกับวัฒนธรรมทางศาสนา
ได้เกิดขึน ้ ในพุทธศตวรรษที่ 14
เมือ ่ พ่อค้าอาหรับได้นาเรือสินค้าลาแรกของชนชาติอาหรับมาติดต่อทาการค้า
ขาย และเผยแพร่ศาสนาอิสลามเป็ นครัง้ แรก ทางเกาะสุมาตราเหนือ
เมือ ่ พ.ศ.1389 โดยแวะจอดเรือขึน ้ ทีเ่ มืองท่า “อาเจ๊ะ” (บันดาอาเจ๊ะ)
แล้วตัง้ ศูนย์การค้าและศูนย์กลางการแพร่ศาสนาอิสลามขึน ้ ณ
เกาะสุมาตราเหนือโดยมีครูสอนศาสนาอิสลามชือ ่ “มาลิก อัลซอและห์”
ทาการสอนศาสนาอิสลามให้แก่เจ้าเมือง และครอบครัวของเจ้าเมืองปาลัส
จนกระทั่งปรากฏว่าธิดาคนหนึ่งเจ้าของเมืองเปอร์ลกั
บังเกิดความศรัทธาอย่างแรงกล้า ถึงกับสมรสกับ โต๊ะครูมาลิก อัลซอและห์
ในปี พ.ศ.1840 ปรากฏว่าสุลต่านมุสลิมคนแรกของเมืองปาไซได้วายชนม์ลง
และได้มีการฝังศพตามพิธีศาสนาอิสลาม
และมีหลักศิลาจารึกด้วยอักษรอาหรับปักไว้บนหลุมศพของท่านสุลต่าน
ซึง่ แสดงว่า
ศาสนาอิสลามได้แผ่ขยายเข้ามาสูม ่ ลายูในตอนกลางพุทธศตวรรษที่ 19
ซึง่ นับว่าเป็ นการแพร่ขยายทีร่ วดเร็วมาก
ซึง่ นักเผยแพร่ศาสนาอิสลามคนสาคัญ คือ อิบนีบาตูเตาะห์ ชาวมอรอคโค
เชื้อสายอาหรับ ท่านได้ตง้ ั ศูนย์การเผยแพร่ศาสนาอิสลาม นิกายซุนนี
โดยมีเป้ าหมายทีจ่ ะทาให้ ราชาซอและห์ ผูม ้ ีอานาจอิทธิพล
นับถือศาสนาอิสลาม ด้วยเหตุนี้เมือ ่ ราชาซอและห์
เกิดความเสือ ่ มใสศรัทธาในศาสนาอิสลามแล้ว
พระองค์ก็ได้ทรงช่วยเผยแพร่ศาสนาอิสลามไปในหมูพ ่ สกนิกรของพระองค์
ได้จดั ระบบเศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง
ตามพระบัญญัตแ ิ ห่งพระคัมภีร์อลั กรุอาน อย่างครบถ้วนสมบูรณ์
ทาให้อาณาจักรของพระองค์กลายเป็ น รัฐสุลต่านทีเ่ ข้มแข็ง
พระองค์ได้จดั คณะผูเ้ ผยแพร่ออกไปยังหมูเ่ กาะต่างๆทางภาคทะเลตะวันออก
ของเกาะสุมาตราอีกด้วย ทาให้ศาสนาอิสลาม นิกายซุนนี
ซึง่ เป็ นศาสนาใหม่ได้เข้าไปสูม ่ าลายู และภาคใต้ของสุวรรณภูมิ
ตลอดจนใช้อท ิ ธิพลทางการเมืองทาให้รฐั ใกล้เคียงกลายเป็ นรัฐอิสลามไปด้วย
การขยายตัวของศาสนาอิสลามในระยะนี้ ได้แผ่ขยาย
เข้ามาสูต ่ อนใต้ของประเทศไทยและปรากฏหลักฐานว่าเจ้าผูค ้ รองนครทางภาค
ใต้ของประเทศไทยในระยะนัน ้ จนถึงเมืองนครศรีธรรมราช
ปรากฏว่าเป็ นผูน ้ บั ถือศาสนาอิสลาม ระยะเวลาเกือบ 700 ปี มาแล้ว
ประกอบกับทางกรุงสุโขทัยก็ปรากฏหลักฐานการค้ากับ ประเทศกล่มอาหรับ
มีหลัก ฐานภาษาอิหร่านอยูใ่ นศิลาจารึกของพ่อขุนรามคาแหง
ส่วนประเทศอิหร่าน
ก็ปรากฏมีถว้ ยชามสังคโลก สมัยกรุงสุโขทัยปรากฏอยูม ่ ากมาย
จากหลักฐานทางประวัตศ ิ าสตร์ และวัตถุพยานมากมาย
เป็ นเครือ ่ งชี้ชดั ว่าคากล่าวของท่านอาจารย์ มรว.คึกฤทธิ ์ ปราโมช
ทีก ่ ล่าวไว้ในตอนต้นว่า “สาหรับศาสนาอิสลาม
หรือคนทีน ่ บ
ั ถือศาสนาอิสลามนัน ้ มีอยูใ่ นดินแดนไทยตัง้ แต่เริม ่ ประวัตศ
ิ าสตร์
ของชาติไทย
เพราะว่าศาสนาอิสลามได้เผยแพร่เข้ามาถึงอินโดนีเซียและในแหลมมลายูนน ้ั
ก่อนทีค ่ นอีกเผ่าหนึ่งจะได้เคลือ ่ นมาจากยูนานใด้…..”
นับว่าในดินแดนสุวรรณภูมน ิ ี้ มีคน
พื้นเมืองเดิม ซึ่งนับถือศาสนาอิสลามได้อยูม ่ าก่อนแล้วนั่นเอง
หากดูจากหลักสาคัญ 5 ประการแต่ดง้ ั เดิมของศาสนาอิสลามแล้ว
จะเห็นได้วา่ มีหลักบางอย่างทีข ่ ดั แย้งกับลักษณะของชาวเอเชียตะวันออกเฉี ยง
ใต้ ทีย่ งั นิยมนับถือวิญญาณต่างๆ อยู่
ศาสนาอิสลามจึงไม่น่าทีจ่ ะมีอท ิ ธิพลและแพร่หลายในดินแดนนี้ได้
หลักสาคัญของศาสนาอิสลาม 5 ประการอันเป็ นการกาหนดหน้าทีข ่ องมุสลิม
มีดงั นี้คอ ื
1. ต้องมีความเชือ ่ ว่า ไม่มีพระเจ้าองค์อน ื่ นอกจากพระอัลเลาะห์
และพระมะหะหมัดคือศาสดาผูน ้ าคาสั่งสอนของพระอัลเลาะห์มาเผยแพร่แก่ม
นุษย์
2. มุสลิมต้องสวดอ้อนวอนวันละ 5 ครัง้ คือ ก่อนอาทิตย์ขน ึ้ ตอนเทีย่ ง
ตอนบ่าย ก่อนอาทิตย์ตกตอนเย็นและตอนกลางคืน
ก่อนสวดต้องทาตัวให้บริสุทธิ ์ และเวลาสวดต้องหันหน้าไปยังเมืองเมกกะ
และสวดเป็ นภาษาอาหรับ ในวันศุกร์ควรไปสวดร่วมกับมุสลิมอืน ่ ๆ ทีส่ ุเหร่า
ซึง่ ตามหลักของศาสนาอิสลามแล้วต่างเท่าเทียมกันหมด
และมีความสัมพันธ์ตอ ่ กันประดุจพีน ่ ้อง
3. มุสลิมควรให้ทานแก่คนยากจน
4. มุสลิมควรอดอาหารในเดือนเก้าตามหลักอิสลาม ซึง่ เรียกว่า
เดือนรอมดอน มุสลิมจะดืม ่ น้าหรือรับประทานอาหารใดๆ ไม่ได้เลย
นับแต่พระอาทิตย์ขน ึ้ จนพระอาทิตย์ตก
รวมทัง้ ละเว้นจากการหาความเพลิดเพลินนานาประการด้วย
5. มุสลิมควรเดินทางไปแสวงบุญทีเ่ มืองเมกกะ
ถ้าหากมีโอกาสทีจ่ ะทาได้อย่างน้อยก็ครัง้ หนึ่งในชีวต ิ จะเห็นได้วา่ หลักสาคัญๆ
ของศาสนา เช่น ไม่มีพระเจ้าองค์อืน ่ ใดนอกจากพระอัลเลาะห์นน ้ั
ขัดต่อความเชือ ่ ของชาวเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ท่วั ๆ ไป
ทีน ่ ิยมบูชาพระเจ้าหลายองค์ดว้ ยกัน ทัง้ ในศาสนาพราหมณ์
และศาสนาพุทธแต่ชาวเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้สว่ นใหญ่ในคาบสมุทรมลายูแ
ละหมูเ่ กาะอินโดนีเชีย สามารถรับนับถือศาสนาอิสลามได้นน ้ั
ก็เพราะว่าภายหลังทีพ ่ ระมะหะหมัดเสด็จดับขันธ์ไปแล้ว
ศาสนาอิสลามก็มีการเปลีย่ นแปลงไปบ้างตามกาลเวลาเพือ ่ ให้เข้ากับความรูส้ ก ึ
นึกคิดของคนในชาติตา่ งๆ ในดินแดนทีศ ่ าสนาอิสลามแพร่หลายเข้าไป
เกิดมีนิกายต่างๆ แตกแยกออกไปหลายนิกาย
เพือ ่ ทีช
่ าวพื้นเมืองนัน ้ จะได้นาไปผสมผสานให้เข้ากับวัฒนธรรมประเพณีดง้ ั เดิ
มของตนได้ ประเพณีความเชือ ่ ถือดัง้ เดิมของชนชาติตา่ งๆ เหล่านี้
จึงถูกนามาผสมผสานเข้ากับหลักของศาสนาอิสลาม
จนในทีส ่ ุดก็ยากทีจ่ ะแยกแยะออกได้วา่ หลักใด พิธีใด เป็ นของศาสนาอิสลาม
และหลักใด พิธีใด
เป็ นประเพณีดง้ ั เดิมของชาวพื้นเมืองอิสลามทีผ ่ า่ นการวิวฒั นาการเช่นนี้แล้วนั่
นเองทีเ่ ป็ นอิสลามทีเ่ ผยแพร่เข้ามายังเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ในเมืองชุมทางท
างการค้าต่างๆ อย่างแพร่หลาย และไม่มีอุปสรรคใดๆ
ในทางศาสนาในการทีช ่ าวเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้จะหันมานับถือศาสนาอิสลา
มมีหลักฐานแสดงว่า อิสลามทีแ ่ พร่เข้ามายังภูมภ ิ าคส่วนนี้เป็ นนิกาย ‘ซูฟี’
ซึง่ เป็ นนิกายทีน ่ ิยมพิธีตา่ งๆ ทีล่ ก ึ ลับและนิยมอภินิหาร
ซึง่ เข้ากับความนิยมดัง้ เดิมของชาวเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ได้เป็ นอย่างดี
อิสลามได้แพร่เข้ามายังอินโดนีเซียก่อน
ชาวอินโดนีเซียได้รบ ั เอาหลักการของศาสนาอิสลาม
เข้ามาผสมผสานกับประเพณีดง้ ั เดิมของตน
เช่นเดียวกันกับทีเ่ คยกระทาเมือ ่ รับเอาศาสนาพราหมณ์
หรือศาสนาพุทธมาก่อนแล้วนั่นเอง ดังนัน ้
อินโดนีเซียจึงรับเอาหลักการและการปฏิบตั ท ิ างศาสนาอิสลามเข้าไปผสมผสา
นกับประเพณีความเชือ ่ แต่เดิมของตน
ความเชือ ่ ดัง้ เดิมยังมีบทบาทอยูป ่ ระชาชนในแถบหมูเ่ กาะอินโดนีเซีย
และแหลมมลายู รับเอาศาสนาอิสลามโดยมีปจั จัยสาคัญสนับสนุนดังนี้คอ ื
1. ถึงแม้หลักศาสนาอิสลามประการหนึ่งจะบ่งไว้วา่
มุสลิมทุกคนมีความเสมอภาคเท่าเทียมกันหมดในสายตาของพระเจ้า
แต่ในระยะหลังหลักของศาสนาอิสลามมีการเปลีย่ นไปบ้างดังกล่าว
จึงเกิดมีความเชือ ่ เรือ ่ งอานาจความศักดิส์ ท ิ ธิน์ อกเหนือจากธรรมชาติ
ซึง่ เป็ นอานาจจากพระเจ้าถ่ายทอดมายังบุคคลสาคัญในสังคมเช่นกษัตริย์
เรียกอานาจเช่นนี้ตามภาษาอาหรับว่า Keramat ความเชือ ่ เช่นนี้
สอดคล้องกับชนชัน ้ สูงของชาวอินโดนีเซีย
เกีย่ วกับอานาจอันศักดิส์ ท ์ องเทพเจ้าทางศาสนาฮินดู-พุทธ ทีเ่ รียกว่า ‘ศักติ’
ิ ธิข
ทีถ ่ า่ ยทอดมาสูค ่ นสาคัญคือกษัตริย์ในระบอบเทวราชาและสอดคล้องกับความเ
ชือ
่ เรือ ่ งความศักดิส์ ท ิ ธิข ์ องวิญญาณ ตามลัทธิ Animism
ทีแ ่ พร่หลายอยูใ่ นหมูข ่ องสามัญชนด้วย ชาวอินโดนีเชียจึงรับเอาความเชือ ่ เรือ่ ง
Keramat จากศานาอิสลามโดยไม่มีอุปสรรคใด
2. ศาสนาอิสลามในระยะหลัง ได้เกิดมีนิกายต่างๆ แตกแขนงออกไป
และบางนิกายก็รวมเอาความเชือ ่ เกีย่ วกับคาถาอาคม อภินิหารต่างๆ ไว้ดว้ ย
ดังเช่นนิกายซูฟี และนิกายซูฟีนี่เองทีแ ่ พร่หลายเข้ามายังหมูเ่ กาะอินโดนีเซีย
ซึง่ ประชาชนส่วนใหญ่ก็นบ ั ถืออภินิหาร คาถาอาคมอยูแ ่ ล้ว
ชนชัน ้ ผูป ้ กครองก็นบ ั ถือลัทธิตน ั ตระ ซึ่งเน้นอภินิหาร
นิกายซูฟีจึงแพร่หลายอย่างรวดเร็ว
3. ศาสนาอิสลามเน้นความเสมอภาคและภราดรภาพในหมูม ่ ุสลิม
จึงเข้ากันได้กบ ั ประชาชนในเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้
ซึง่ แม้จะรับเอาศาสนาพราหมณ์ ไว้
แต่ก็มไิ ด้รบ ั เอาระบบวรรณะจากพราหมณ์ ดว้ ย
ประชาชนในสังคมเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้แบ่งออกเป็ นชนชัน ้ ก็จริง
แต่ชนชัน ้ เหล่านี้ก็เป็ นการแบ่งตามอานาจหน้าทีเ่ ป็ นส่วนใหญ่
แต่ละชนชัน ้ มีความสัมพันธ์และมีการเคลือ ่ นไหวเข้าหากันอย่างสงบ
มิใช่อยูก ่ น ั คนละส่วนดังเช่นระบบวรรณะในอินเดีย
อิสลามจึงแพร่เข้ามาในดินแดนนี้อย่างสงบ
ผิดกับในอินเดียทีม ่ ีการต่อต้านจนกระทั่งกลายเป็ นสงครามกลางเมืองอยูบ ่ อ่ ยๆ
ประชาชนในเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้จงึ ไม่รงั เกียจทีจ่ ะนับถือศาสนาอิสลาม
4. ในการนับถือศาสนาอิสลามนี้
บรรดาเจ้าผูค ้ รองแคว้นและข้าราชการในราชสานักเป็ นผูน ้ บั ถือก่อน
แล้วจึงเผยแพร่ตอ ่ ไปยังประชาชน
เหตุผลทีเ่ จ้าผูค ้ รองเมืองในหมูเ่ กาะอินโดนีเซียหันไปนับถือศาสนาอิสลามนัน ้
นอกจาก
เพราะศาสนาอิสลามทีแ ่ พร่เข้ามาไม่มีขอ
้ บังคับอันใดทีข ่ ดั ต่อความเชือ่ ถือหรือ
สถาบันทางสังคมแต่เดิมแล้ว
ก็เพราะศาสนาอิสลามยังให้ประโยชน์ในทางเศรษฐกิจและการเมืองอีกด้วย
กล่าวคือ
เจ้าเมืองและชนชัน ้ สูงในราชสานักเป็ นผูด ้ าเนินการค้าขายอยูก ่ บ
ั พ่อค้าต่างชาติ
โดยเฉพาะอย่างยิง่ กับพ่อค้ามุสลิมจากอินเดีย
จึงเห็นว่าการติดต่อค้าขายสะดวกขึน ้ ถ้าหากหันไปนับถือศาสนาอิสลาม
เพราะชาวมุสลิมถือว่ามุสลิมด้วยกันนัน ้ คือพีน่ ้องกัน
ส่วนผลประโยชน์ทางการเมืองก็คอ ื ในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 14
นี้บริเวณเมืองท่าต่างๆ ในสุมาตราและชายฝั่งชวาภาคเหนือ
ต้องการปลีกตัวออกจากอานาจของอาณาจักรมัชปาหิต
ซึง่ ขณะนัน ้ ยังมีวฒ
ั นธรรมแบบตันตระอยู่ ถ้าเจ้าเมืองต่างๆ
ต่างหันไปนับถือศาสนาอิสลาม
จะได้อาศัยศรัทธาในศาสนาสร้างความกลมเกลียวขึน ้ ในแว่นแคว้นของตน
ประชาชนทีเ่ ป็ นมุสลิมจะต่อต้านอานาจของมัชปาหิต
ซึง่ เป็ นพวกนอกศาสนาได้อย่างเข้มแข็งยิง่ ขึน ้ ศาสนาอิสลามจะแพร่หลายไปอ
ย่างกว้างขวางตัง้ แต่สมัยคริสต์ศตวรรษที่ 15 เป็ นต้นไป
ทัง้ นี้โดยอาศัยการเผยแพร่ของบรรดาพ่อค้าในอาณาจักรมะละกา
ซึง่ รุง่ เรืองขึน
้ ในศตวรรษที่ 15 และได้ทาการค้าขายติดต่อกับเมืองต่างๆ
ในเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้อย่างกว้างขวาง
พ่อค้าเหล่านี้จะนาศาสนาอิสลามไปเผยแพร่ตามเส้นทางการค้าของตนด้วย

ชาวมุสลิมกับภาษามาเลย์ (หรือมลายู)
มีการตกลงร่วมกันระหว่างอินโดนีเซีย มาเลเซีย และบรูไน
ใช้ภาษามาเลย์ (หรือมลายู) บาฮาซารีเยา Bahasa Riau)
เป็ นภาษามาตรฐานในการติดต่อสือ ่ สาร ภาษานี้เป็ นภาษาของหมูเ่ กาะรีเยา
ซึง่ ถือว่าเป็ นต้นกาเนิดของภาษามลายูมาช้านาน
..........................................

You might also like