You are on page 1of 62

1

http://www.thaigov.go.th
(โปรดตรวจสอบมติคณะรัฐมนตรีที่เปEนทางการจากสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีอีกครั้ง)
วันนี้ (26 มีนาคม 2567) เวลา 10.00 น. นายเศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีวYาการ
กระทรวงการคลัง เปEนประธานการประชุมคณะรัฐมนตรี ณ ห]องประชุม 501 ตึกบัญชาการ 1 ทำเนียบรัฐบาล
ซึ่งสรุปสาระสำคัญดังนี้

กฎหมาย
1. เรื่อง การนำพระราชบัญญัติระเบียบข]าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 ในสYวนที่เกี่ยวกับ
วินัย และโทษผิดวินัยมาใช]บังคับกับกำนัน ผู]ใหญYบ]าน ฯลฯ โดยอนุโลม
2. เรื่อง รYางพระราชกฤษฎีกาวYาด]วยปริญญาในสาขาวิชา อักษรยYอสำหรับสาขาวิชา ครุย
วิทยฐานะ เข็มวิทยฐานะ และครุยประจำตำแหนYงของสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลปm
(ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
3. เรื่อง รYางกฎกระทรวงกำหนดเด็กที่เสี่ยงตYอการกระทำผิด (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
4. เรื่อง รYางกฎกระทรวงความรYวมมือระหวYางสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. ....
5. เรื่อง รYางระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีวYาด]วยการดำเนินงานด]านการเปลี่ยนแปลงสภาพ
ภูมิอากาศ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
6. เรื่อง รYางพระราชกฤษฎีกาเปrดทำการแผนกคดีเยาวชนและครอบครัวในศาลอาญาและ
ศาลแพYงมีนบุรี พ.ศ. .... (กำหนดวันเปrดทำการแผนกคดีเยาวชนและครอบครัวใน
ศาลอาญาและศาลแพYงมีนบุรี ตั้งแตYวันที่ 1 มิถุนายน 2567 เปEนต]นไป)
7. เรื่อง รYางกฎกระทรวงกำหนดคYาธรรมเนียมและอัตราขั้นสูงสำหรับคYาบริการในสนามบิน
(ฉบับที่ 3) พ.ศ. ....
8. เรื่อง รYางประกาศคณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธu จำนวน 2 ฉบับ

เศรษฐกิจ-สังคม
9. เรื่อง ขอความเห็นชอบแผนความต]องการอัตรากำลังโรงพยาบาลธรรมศาสตรu ศูนยu
พัทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรu ปwงบประมาณ พ.ศ. 2568-2572
10. เรื่อง ผลการพิจารณารายงานการพิจารณาศึกษา เรื่อง การนำการจัดอันดับ
มหาวิทยาลัยมาพัฒนาการศึกษาและมหาวิทยาลัยไทย ของคณะกรรมาธิการการ
อุดมศึกษา วิทยาศาสตรu วิจัยและนวัตกรรม วุฒิสภา
11. เรื่อง ผลการพิจารณารายงานการพิจารณาศึกษา เรื่อง แนวทางการขับเคลื่อนภายใต]
แนวคิดภูมิภาษาและปyญญาแผYนดิน ของคณะกรรมาธิการการศาสนา คุณธรรม
จริยธรรม ศิลปะ และวัฒนธรรม วุฒิสภา
12. เรื่อง ขออนุมัติขยายกรอบระยะเวลาการดำเนินโครงการ 1 อำเภอ 1 ทุน รุYนที่ 4 ตั้งแตY
ปwงบประมาณ พ.ศ. 2567-2569
13. เรื่อง การผYอนผันให]แรงงานตYางด]าวสัญชาติกัมพูชา ลาว และเมียนมา เดินทางกลับ
ประเทศต]นทาง เพื่อรYวมงานประเพณีสงกรานตu ประจำปw พ.ศ. 2567
14. เรื่อง ขออนุมัติงบประมาณอุดหนุนคYาอาหารกลางวันของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา
ปwที่ 1 - 3 ในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา
15. เรื่อง การจัดตั้งพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดบุรีรัมยu
16. เรื่อง ขอรับการจัดสรรงบประมาณสำหรับจ]างเหมาบริการนักการภารโรง
17. เรื่อง รายงานสรุปผลการพิจารณาตYอข]อเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางในการสYงเสริม
และคุ]มครองสิทธิมนุษยชน กรณีการแก]ไขปyญหากลุYมชาติพันธุuกะเหรี่ยงบางกลอย
อำเภอแกYงกระจาน จังหวัดเพชรบุรี
2

18. เรื่อง รายงานสรุปผลการพิจารณาตYอข]อเสนอแนะแนวทางในการสYงเสริมและคุ]มครอง


สิทธิมนุษยชนเพื่อแก]ไขปyญหาที่ดินให]สอดคล]องกับหลักการสิทธิในที่ดินและสิทธิ
ชุมชน
19. เรื่อง ผลการพิจารณารายงานการพิจารณาศึกษา เรื่อง ข]อเสนอการสร]างเสริมสุขภาวะ
ระยะสุดท]ายของชีวิตรองรับสังคมสูงวัย ของคณะกรรมาธิการการพัฒนาสังคม
และกิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผู]สูงอายุ คนพิการ และผู]ด]อยโอกาส วุฒิสภา
20. เรื่อง รายงานผลการดำเนินโครงการจิตอาสาพระราชทาน
21. เรื่อง ภาวะสังคมไทยไตรมาสสาม ปw 256
22. เรื่อง รายงานสถานการณuการสYงออกของไทย ประจำเดือนมกราคม 2567
23. เรื่อง สรุปภาพรวมดัชนีเศรษฐกิจการค]าประจำเดือนกุมภาพันธu 2567

ต5างประเทศ
24. เรื่อง รYางบันทึกการประชุมคณะกรรมการรYวมไทย - ลาว เพื่อดูแลการดำเนินกิจกรรม
ตYาง ๆ ตามแมYน้ำโขงและแมYน้ำเหือง ครั้งที่ 4
25. เรื่อง การจัดทำบันทึกความเข]าใจวYาด]วยการหารือทวิภาคีระหวYางกระทรวงการ
ตYางประเทศแหYงราชอาณาจักรไทยกับกระทรวงการตYางประเทศแหYงบอสเนียและ
เฮอรuเซโกวีนา
26. เรื่อง ภาคผนวกที่ 1 และภาคผนวกที่ 2 ที่ปรับปรุงแก]ไขของข]อตกลงการยอมรับรYวม
รายสาขาวYาด]วยระบบการตรวจสอบและการให]การรับรองด]านสุขลักษณะอาหาร
สำหรับผลิตภัณฑuอาหารสำเร็จรูปของอาเซียน (ASEAN Sectoral Mutual
Recognition Arrangement for Inspection and Certification Systems on
Food Hygiene for Prepared Foodstuff Products; MRA on PF)
27. เรื่อง การเสนอรายการ “ชุดไทย : ความรู] งานชYางฝwมือ และแนวปฏิบัติการแตYงกายชุด
ไทยประจำชาติ” (Chud Thai : The Knowledge, Craftsmanship and
Practices of The Thai National Costume) และ “มวยไทย” (Muay Thai :
Thai Traditional Boxing) เปEนรายการตัวแทนมรดกวัฒนธรรมที่จับต]องไมYได]
ของมนุษยชาติตYอยูเนสโก
28. เรื่อง ขอความเห็นชอบตYอรYางหนังสือแลกเปลี่ยนในการรYวมเปEนเจ]าภาพจัดการประชุม
10th Meeting of the Advisory Committee
29. เรื่อง รYางบันทึกความเข]าใจ (Memorandum of Understanding) ด]านความรYวมมือ
ระหวYางกระทรวงพาณิชยuและบริษัทไชนYา ปrโตรเคมิคอล คอรuปอเรชั่น
30. เรื่อง รายงานผลการเดินทางเยือนนครคุนหมิง มณฑลยูนนาน สาธารณรัฐประชาชนจีน
ของรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีวYาการกระทรวงพาณิชยu

แต5งตั้ง
31. เรื่อง แตYงตั้งกรรมการอื่น (ผู]แทนกองทัพอากาศและผู]ทรงคุณวุฒิ) ในคณะกรรมการ
กำกับสำนักงานการบินพลเรือนแหYงประเทศไทย
32. เรื่อง การแตYงตั้งข]าราชการพลเรือนสามัญให]ดำรงตำแหนYงประเภทบริหารระดับสูง
(กระทรวงสาธารณสุข)
33. เรื่อง การแตYงตั้งรองประธานกรรมการคนที่สองและกรรมการผู]ทรงคุณวุฒิใน
คณะกรรมการกองทุนสนับสนุนการสร]างเสริมสุขภาพ
34. เรื่อง การแตYงตั้งกรรมการผู]ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการสิ่งแวดล]อมแหYงชาติ
35. เรื่อง การแตYงตั้งกรรมการผู]ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการพลังงานนิวเคลียรuเพื่อสันติ
ทดแทนตำแหนYงที่วYาง
3

36. เรื่อง การแตYงตั้งประธานกรรมการและกรรมการผู]ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการสถาบัน


การบินพลเรือน
37. เรื่อง การแตYงตั้งคณะกรรมการจัดหาระบบคอมพิวเตอรuของรัฐ
38. เรื่อง การแตYงตั้งผู]รักษาราชการแทนรัฐมนตรีวYาการกระทรวงการอุดมศึกษา
วิทยาศาสตรu วิจัยและนวัตกรรม
39. เรื่อง การโอนข]าราชการเพื่อแตYงตั้งให]ดำรงตำแหนYงผู]ทรงคุณวุฒิพิเศษประจำสำนัก
นายกรัฐมนตรี (สำนักนายกรัฐมนตรี)
40. เรื่อง การแตYงตั้งกรรมการอื่นในคณะกรรมการธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณu
การเกษตร
************************
4

กฎหมาย
1. เรื่อง การนำพระราชบัญญัติระเบียบขIาราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 ในส5วนที่เกี่ยวกับวินัย และโทษผิดวินัยมา
ใชIบังคับกับกำนัน ผูIใหญ5บIาน ฯลฯ โดยอนุโลม
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามที่กระทรวงมหาดไทย (มท.) เสนอให]กรมการปกครองในฐานะ
องคuกรกลางบริหารงานบุคคลของกำนัน ผู]ใหญYบ]าน แพทยuประจำตำบล และผู]ชYวยผู]ใหญYบ]าน นำพระราชบัญญัติ
ระเบียบข]าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 ในสYวนที่เกี่ยวกับวินัย และโทษผิดวินัยมาใช]บังคับกับกำนัน ผู]ใหญYบ]าน
แพทยuประจำตำบล และผู]ชYวยผู]ใหญYบ]าน โดยอนุโลม นับแตYคณะรัฐมนตรีให]ความเห็นชอบ โดยไมYมีผลกระทบตYอการ
ดำเนิ น การทางวิ น ั ย ที ่ ผ ู ] ว Y า ราชการจั ง หวั ด มี ค ำสั ่ ง แตY ง ตั ้ ง คณะกรรมการสอบสวนวิ น ั ย อยY า งร] า ยแรง ให] น ำ
พระราชบัญญัติระเบียบข]าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535 มาใช]บังคับกYอนคณะรัฐมนตรีให]ความเห็นชอบ
ทั้งนี้ เรื่องที่กระทรวงมหาดไทยเสนอ เปEนการดำเนินการตามมาตรา 139 แหYงพระราชบัญญัติ
ระเบียบข]าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 ซึ่งบัญญัติให]ในกรณีที่กฎหมายวYาด]วยระเบียบข]าราชการประเภทตYาง ๆ
กำหนดให]นำกฎหมายวYาด]วยระเบียบข]าราชการพลเรือนในสYวนที่เกี่ยวข]องกับข]าราชการพลเรือนสามัญมาใช]บังคับ
หรือใช]บังคับโดยอนุโลม ให]ยังคงนำพระราชบัญญัติระเบียบข]าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535 และที่แก]ไขเพิ่มเติมมาใช]
บังคับหรือใช]บังคับโดยอนุโลมตYอไป การให]นำพระราชบัญญัตินี้ไปใช]บังคับกับข]าราชการประเภทดังกลYาวทั้งหมดหรือ
บางสYวน ให]กระทำได]โดยมติขององคuกรกลางบริหารงานบุคคลหรือองคuกรที่ทำหน]าที่องคuกรกลางบริหารงานบุคคล
ของข]าราชการประเภทนั้น ๆ โดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี ซึ่งปyจจุบันในสYวนที่เกี่ยวกับวินัยและโทษผิดวินัย
ของกำนัน ผู]ใหญYบ]าน แพทยuประจำตำบล และผู]ชYวยผู]ใหญYบ]าน ยังคงนำพระราชบัญญัติระเบียบข]าราชการพลเรือน
พ.ศ. 2535 และที่แก]ไขเพิ่มเติมมาใช]บังคับโดยอนุโลม ซึ่งพระราชบัญญัติระเบียบข]าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 ได]มี
การปรับปรุงในสYวนที่เกี่ยวกับการดำเนินการทางวินัยและโทษผิดวินัยไว]แตกตYางจากพระราชบัญญัติระเบียบ
ข]าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535 โดยเฉพาะกรณีการดำเนินการทางวินัยผู]ซึ่งออกจากราชการ โดยมาตรา 106 แหYง
พระราชบัญญัติระเบียบข]าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535 ต]องมีการกลYาวหาไว]กYอนเทYานั้นและไมYได]กำหนดระยะเวลา
ในการดำเนินการทางวินัยภายหลังจากพ]นจากตำแหนYงไปแล]ว แตYมาตรา 100 แหYงพระราชบัญญัติระเบียบข]าราชการ
พลเรือน พ.ศ. 2551 ซึ่งแก]ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบข]าราชการพลเรือน (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2562 สามารถ
กลYาวหาภายหลังออกจากตำแหนYงได] แตYต]องสั่งลงโทษภายใน 3 ปw นับแตYวันที่ผู]นั้นออกจากราชการ ทั้ง 2 กรณี
ดังนั้น เพื่อให]การดำเนินการทางวินัยกรณีกำนัน ผู]ใหญYบ]าน แพทยuประจำตำบล และผู]ชYวยผู]ใหญYบ]าน เปEนมาตรฐาน
เดียวกับข]าราชการและเจ]าหน]าที่ของรัฐประเภทตYาง ๆ กรมการปกครองซึ่งทำหน]าที่องคuกรกลางบริหารงานบุคคล
ของกำนัน ผู]ใหญYบ]าน แพทยuประจำตำบล และผู]ชYวยผู]ใหญYบ]าน จึงเสนอคณะรัฐมนตรีให]ความเห็นชอบให]นำ
พระราชบัญญัติระเบียบข]าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 ในสYวนที่เกี่ยวกับวินัยและโทษผิดวินัย [หมวด 6 วินัยและการ
รักษาวินัย มาตรา 80 ถึงมาตรา 89 หมวด 7 การดำเนินการทางวินัย มาตรา 90 ถึงมาตรา 106 และหมวด 8 การ
ออกจากราชการ เฉพาะมาตรา 107 (5)] มาใช]บังคับกับกำนัน ผู]ใหญYบ]าน แพทยuประจำตำบล และผู]ชYวยผู]ใหญYบ]าน
โดยอนุโลม นับแตYคณะรัฐมนตรีให]ความเห็นชอบ โดยไมYมีผลกระทบตYอการดำเนินการทางวินัยที่ผู]วYาราชการจังหวัดมี
คำสั่งแตYงตั้งคณะกรรมการสอบสวนวินัยอยYางร]ายแรงให]นำพระราชบัญญัติระเบียบข]าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535
มาใช]บังคับกYอนคณะรัฐมนตรีให]ความเห็นขอบ
สาระสำคัญของเรื่อง
กำหนดให]กรมการปกครองในฐานะองคuกรกลางบริหารงานบุคคลของกำนัน ผู]ใหญYบ]าน แพทยu
ประจำตำบล และผู]ชYวยผู]ใหญYบ]าน นำพระราชบัญญัติระเบียบข]าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 ในสYวนที่เกี่ยวกับวินัย
และโทษผิดวินัย [หมวด 6 วินัยและการรักษาวินัย มาตรา 80 ถึงมาตรา 89 หมวด 7 การดำเนินการทางวินัย มาตรา
90 ถึงมาตรา 106 และหมวด 8 การออกจากราชการ เฉพาะมาตรา 107 (5)] มาใช]บังคับกับกำนัน ผู]ใหญYบ]าน แพทยu
ประจำตำบล และผู]ชYวยผู]ใหญYบ]าน โดยอนุโลม นับแตYคณะรัฐมนตรีให]ความเห็นชอบ โดยไมYมีผลกระทบตYอการ
ดำเนินการทางวินัยที่ผู]วYาราชการจังหวัดมีคำสั่งแตYงตั้งคณะกรรมการสอบสวนวินัยอยYางร]ายแรง ให]นำพระราชบัญญัติ
ระเบียบข]าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535 มาใช]บังคับกYอนคณะรัฐมนตรีให]ความเห็นชอบ (กรณีที่พระราชบัญญัติ
ลักษณะปกครองท]องที่ พระพุทธศักราช 2457 กำหนดเกี่ยวกับเรื่องการดำเนินการทางวินัยไว]โดยเฉพาะแล]ว จึงไมY
จำเปEนต]องนำพระราชบัญญัติระเบียบข]าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 มาใช]บังคับโดยอนุโลม เชYน การแตYงตั้ง
คณะกรรมการสอบสวนวินัยอยYางร]ายแรงกับกำนัน ผู]ใหญYบ]าน ฯลฯ ซึ่งเปEนอำนาจของผู]วYาราชการจังหวัดในฐานะผู]ที่
5

มีอำนาจสั่งลงโทษกรณีพบวYามีการกระทำผิดวินัยอยYางร]ายแรง ตามหนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท 0310.2/6212


ลงวันที่ 21 พฤษภาคม 2555)
2. เรื่อง ร5างพระราชกฤษฎีกาว5าดIวยปริญญาในสาขาวิชา อักษรย5อสำหรับสาขาวิชา ครุยวิทยฐานะ เข็มวิทย
ฐานะ และครุยประจำตำแหน5งของสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป[ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบรYางพระราชกฤษฎีกาวYาด]วยปริญญาในสาขาวิชา อักษรยYอสำหรับ
สาขาวิชา ครุยวิทยฐานะ เข็มวิทยฐานะ และครุยประจำตำแหนYงของสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลปm (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
ที่สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณาแล]ว ตามที่กระทรวงวัฒนธรรมเสนอ แล]วดำเนินการตYอไปได]
สาระสำคัญของร5างพระราชกฤษฎีกา
1. แก]ไขเพิ่มเติมลักษณะและสYวนประกอบของครุยวิทยฐานะ โดยเพิ่มเติมสีประจำวิทยาลัยในสังกัด
สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลปm คือ วิทยาลัยนาฏศิลปะ 12 แหYง เปEนสีเขียว และวิทยาลัยชYางศิลปะ 3 แหYง เปEนสีเหลือง
และระบุขนาดเครื่องหมายสถาบันเส]นผYานศูนยuกลาง 5 เซนติเมตร
2. แก]ไขเพิ่มเติมลักษณะของเข็มวิทยฐานะโดยกำหนดขนาดเข็มวิทยฐานะให]มีความชัดเจนขึ้น
คือ มีลักษณะเปEนรูปวงกลมทำด]วยโลหะดุนนูนสีทองเส]นผYานศูนยuกลาง 3 เซนติเมตร กึ่งกลางเปEนรูปเครื่องหมาย
สถาบันเส]นผYานศูนยuกลาง 2 เซนติเมตร เพื่อให]เปEนไปตามข]อบังคับสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลปmวYาด]วยตราและ
เครื่องหมายของสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลปm และเครื่องหมายของสYวนราชการของสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลปm พ.ศ. 2565
3. แก]ไขเพิ่มเติมลักษณะ ชนิด ประเภท และสYวนประกอบของครุยประจำตำแหนYง โดยระบุตำแหนYง
ติดโบให]ชัดเจนขึ้น คือ ติดบนแถบผ]าสักหลาดระดับหน]าอกทั้งสองข]าง เพิ่มเติมตำแหนYงผู]อำนวยการวิทยาลัยและรอง
ผู]อำนวยการวิทยาลัย และระบุขนาดเครื่องหมายสถาบันเส]นผYานศูนยuกลาง 5 เซนติเมตร
3. เรื่อง ร5างกฎกระทรวงกำหนดเด็กที่เสี่ยงต5อการกระทำผิด (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบรYางกฎกระทรวงกำหนดเด็กที่เสี่ยงตYอการกระทำผิด (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
ที่สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณาแล]ว ตามที่กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยu
เสนอ และให]ดำเนินการตYอไปได]
ทั้งนี้ รYางกฎกระทรวงที่กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยuเสนอ คณะรัฐมนตรีได]
เคยมีมติอนุมัติหลักการรYางกฎกระทรวงดังกลYาวเมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม 2566 และสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
ได]ตรวจพิจารณาแล]ว ซึ่งเปEนการแก]ไขเพิ่มเติมกฎกระทรวงกำหนดเด็กที่เสี่ยงตYอการกระทำความผิด พ.ศ. 2559
ซึ่งเดิมได]กำหนดพฤติกรรมเด็กที่ประพฤติตนไมYสมควร อาทิ ประพฤติตนเกเร เลYนการพนัน เสพสุรา สูบบุหรี่ เสพยา
เสพติดให]โทษ หรือของมึนเมาอยYางอื่น การเสนอครั้งนี้เปEนการเพิ่มพฤติกรรมของเด็กที่ใช]พืชกระทYอม กัญชา กัญชง
หรือสารสกัดจากพืชดังกลYาว หรือผลิตภัณฑuที่มีสYวนผสมหรือสารสกัดของพืชกระทYอม กัญชา และกัญชงเพื่อ
นันทนาการ เปEนพฤติกรรมของเด็กที่เสี่ยงตYอการกระทำผิดตามพระราชบัญญัติคุ]มครองเด็ก พ.ศ. 2546 เพื่อให]มีการ
คุ]มครองสวัสดิภาพเด็กที่มีพฤติกรรมเสี่ยงตYอการกระทำผิดตามพระราชบัญญัติดังกลYาว อาทิ สYงตัวเด็กเข]าสถาน
คุ]มครองสวัสดิภาพหรือสถานพัฒนาและฟ¡นฟู หรือมอบตัวเด็กให]แกYผู]ปกครองหรือบุคคล ที่ยินยอมรับเด็กไปปกครอง
ดูแล โดยอาจแตYงตั้งผู]คุ]มครองสวัสดิภาพแกYเด็กหรือไมYก็ได] โดยวางข]อกำหนดเพื่อป¢องกันมิให]เด็กมีความประพฤติ
เสียหายหรือเสี่ยงตYอการกระทำผิด เชYน ระมัดระวังมิให]เด็กเข]าไปในสถานที่อันจะจูงใจให]เด็กประพฤติตนไมYสมควร
และระมัดระวังมิให]เด็กคบหาสมาคมกับบุคคลที่อาจจะชักนำไปในทางเสื่อมเสีย เปEนต]น ซึ่งเปEนการป¢องกันและ
คุ]มครองสวัสดิภาพเด็กเพื่อมิให]ได]รับผลกระทบตYอการพัฒนาทางด]านสติปyญญาและการเจริญเติบโตของรYางกายจาก
การใช]พืชกระทYอม กัญชา กัญชง หรือสารสกัดจากพืชดังกลYาว หรือผลิตภัณฑuที่มีสYวนผสมหรือสารสกัดของพืช
กระทYอม กัญชา หรือกัญชง
สาระสำคัญของร5างกฎกระทรวง
แก]ไขเพิ่มเติมกฎกระทรวงกำหนดเด็กที่เสี่ยงตYอการกระทำความผิด พ.ศ. 2549 โดยเพิ่มพฤติกรรม
เด็กที่ใช]พืชกระทYอม กัญชา กัญชง หรือสารสกัดจากพืชดังกลYาว หรือผลิตภัณฑuที่มีสYวนผสม หรือสารสกัดจากพืชนั้น
เพื่อนันทนาการ ให]ถือเปEนเด็กที่มีพฤติกรรมเสี่ยงตYอการกระทำผิด เพื่อการคุ]มครองสวัสดิภาพของเด็กที่เสี่ยงตYอการ
กระทำผิดมิให]ได]รับผลกระทบจากการใช]พืชดังกลYาว รวมทั้งสารสกัดหรือผลิตภัณฑuที่มีสYวนผสมของพืชหรือสารสกัด
จากพืชนั้น
6

4. เรื่อง ร5างกฎกระทรวงความร5วมมือระหว5างสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. ....


คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติ ดังนี้
1. อนุมัติหลักการรYางกฎกระทรวงความรYวมมือระหวYางสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. .... ตามที่กระทรวง
การอุดมศึกษา วิทยาศาสตรu วิจัยและนวัตกรรมเสนอ และให]สYงสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา แล]ว
ดำเนินการตYอไปได]
2. ให]กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตรu วิจัยและนวัตกรรม รับความเห็นของสำนักงาน ก.พ.ร.
ไปพิจารณาดำเนินการตYอไปด]วย
ทั้งนี้ รYางกฎกระทรวงที่กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตรu วิจัยและนวัตกรรมเสนอ ซึ่งออกโดย
อาศัยอำนาจตามความในพระราชบัญญัติการอุดมศึกษา พ.ศ. 2562 เพื่อให]การจัดการศึกษาและการพัฒนาทรัพยากร
บุ ค ลากรของประเทศเปE น ไปอยY า งมี ค ุ ณ ภาพและมาตรฐานนานาประเทศ เปE น การกำหนดหลั ก เกณฑu วิ ธ ี ก าร
และเงื่อนไขความรYวมมือเพื่อให]เกิดประโยชนuสูงสุดในการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของประเทศในความรYวมมือระหวYาง
สถาบั น อุ ด มศึ ก ษาทั ้ ง ของรั ฐ และเอกชน โดยกำหนดความรY ว มมื อ 3 ด] า น ได] แ กY (1) การจั ด การศึ ก ษา อาทิ
มหาวิทยาลัยคริสเตียนมีการจัดทำความรYวมมือระหวYางห]องสมุด โดยมีการตกลงการใช]ทรัพยากรสารสนเทศรYวมกับ
ห]องสมุดสถาบันอุดมศึกษาเอกชนกับสำนักวิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณuมหาวิทยาลัย เปEนต]น (2) การวิจัยและการ
สร]างนวัตกรรม อาทิ บันทึกข]อตกลงความรYวมมือด]านการวิจัย (MOU) ระหวYาง มหาวิทยาลัยมหิดล กับมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีพระจอมเกล]าพระนครเหนือ เปEนต]น และ (3) ด]านอื่น ๆ ตามที่สภาสถาบันการอุดมศึกษาประกาศกำหนด
อาทิ ด]านบริการวิชาการแกYสังคม ด]านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม เปEนต]น รวมทั้งกำหนดให]ผลงานที่ได]สร]าง
ขึ้นมาหากมิได]ทำเปEนหนังสือตกลงกันไว] ให]ลิขสิทธิ์ในงานนั้นเปEนของผู]สร]างและสามารถนำไปหาประโยชนuทาง
เศรษฐกิจได]โดยอาจมี หรือไมYมีการแบYงผลประโยชนuกับสถาบันอุดมศึกษาต]นสังกัดก็ได] ซึ่งหลักการของรYาง
กฎกระทรวงฉบับนี้ไมYกYอให]เกิดภาระด]านงบประมาณแผYนดิน และคณะกรรมการการอุดมศึกษาได]เห็นชอบแล]ว โดย
ได]จัดให]มีการรับฟyงความคิดเห็นของผู]มีสYวนได]เสียด]วยแล]ว
สาระสำคัญของร5างกฎกระทรวง
1. กำหนดคำนิยามคำวYา “สำนักงานปลัดกระทรวง” “สถาบันอุดมศึกษา” “คูYความรYวมมือ”
“บุคลากร” และ “สสอท.”
2. กำหนดให]สถาบันอุดมศึกษามากกวYาหนึ่งแหYง อาจรYวมมือกัน ดังนี้ (1) การจัดการศึกษา (2) การ
วิจัยและการสร]างนวัตกรรม และ (3) ความรYวมมือด]านอื่น ๆ ตามที่สภาสถาบันอุดมศึกษาประกาศกำหนด
3. กำหนดให] ใ นการจั ด ทำความรY ว มมื อ จั ด การศึ ก ษา การวิ จ ั ย และการสร] า งนวั ต กรรม
สถาบันอุดมศึกษาต]องคำนึงถึง ดังนี้ (1) ความสอดคล]องกับยุทธศาสตรuชาติ แผนแมYบท แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแหYงชาติ แผนการศึกษาแหYงชาติ และแผนด]านการอุดมศึกษา รวมทั้งปรัชญา วัตถุประสงคu และพันธกิจของ
สถาบันอุดมศึกษาตามกฎหมายวYาด]วยการจัดตั้งสถาบันอุดมศึกษา (2) ภาระที่อาจเกิดขึ้นกับสถาบันอุดมศึกษา
ผู]เรียน และบุคลากรในสถาบันอุดมศึกษา ทั้งในปyจจุบันและอนาคต และ (3) ความรYวมมือต]องกYอให]เกิดการพัฒนา
และประโยชนuในด]านการเรียนการสอน การพัฒนากำลังคน การพัฒนาองคuความรู]ใหมY การวิจัย การพัฒนาเทคโนโลยี
และนวัตกรรม หรือในด]านวิชาการอื่น ๆ
4. กำหนดให]มีความรYวมมือในการจัดการศึกษา ดังนี้ (1) การจัดหลักสูตรการศึกษารYวมกัน (2) การ
ให]บุคลากรไปทำการเรียนการสอนในสถาบันอุดมศึกษาอื่น (3) การนำบุคลากรซึ่งมีประสบการณuและมีศักยภาพสูง
จากสถาบันอุดมศึกษาตYางประเทศมารYวมในการจัดการศึกษา (4) การใช]ฐานข]อมูลวิทยานิพนธu หรือฐานข]อมูล
งานวิจัยรYวมกัน และ (5) การใช]ทรัพยากรการเรียนรู]รYวมกัน
5. กำหนดให]มีความรYวมมือในการวิจัยและการสร]างนวัตกรรม ดังนี้ (1) การวิจัยรYวมกัน (2) การรับ
หรือให]ทุนในฐานะผู]รYวมวิจัย (3) การใช]ห]องปฏิบัติการรYวมกัน (4) การให]บุคลากรไปทำการวิจัยและการสร]าง
นวัตกรรมในสถาบันอุดมศึกษาอื่น และ (5) การนำบุคลากรซึ่งมีประสบการณuและมีศักยภาพสูงจากสถาบันอุดมศึกษา
อื่นมารYวมในการวิจัยและการสร]างนวัตกรรม
6. กำหนดให]มีความรYวมมือในด]านอื่น ๆ ดังนี้ (1) ด]านบริการวิชาการแกYสังคม (2) ด]านการ
ทะนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม (3) ด]านการถYายทอดและพัฒนาเทคโนโลยี (4) ด]านการใช]ประโยชนuผลงานวิจัยและ
นวัตกรรมในเชิงพาณิชยuหรือสาธารณประโยชนu เปEนต]น
7

7. กำหนดให]ความรYวมมือในด]านการใช]บุคลากรของสถาบันอุดมศึกษารYวมกันให]ถือวYาเปEนการ
ปฏิบัติหน]าที่เต็มเวลาของสถาบันอุดมศึกษาต]นสังกัด โดยให]นับเปEนอายุราชการ หรืออายุงานของสถาบันอุดมศึกษา
ต]นสังกัด และให]ได]รับคYาตอบแทน ตลอดจนสามารถนำผลงานมาใช]ในการยื่นขอตำแหนYงทางวิชาการหรือตำแหนYง
งานอื่น ๆ ได] และหากบุคลากรของสถาบันอุดมศึกษามีข]อผูกพันตามสัญญาชดใช]ทุนให]นับระยะเวลาการปฏิบัติหน]าที่
เปEนระยะเวลาชดใช]ทุนตามสัญญาด]วย ทั้งนี้ งานที่บุคลากรได]สร]างสรรคuขึ้นในฐานะพนักงานหรือลูกจ]าง ถ]ามิได]ทำ
เปEนหนังสือตกลงกันไว]เปEนอยYางอื่น ให]ลิขสิทธิ์ในงานนั้นเปEนของบุคลากรผู]สร]างสรรคu และสามารถนำไปหาประโยชนu
ทางเศรษฐกิจได] โดยอาจมีหรือไมYมีการแบYงผลประโยชนuกับสถาบันอุดมศึกษาที่ตนสังกัด
8. กำหนดให]คณะกรรมการการอุดมศึกษามอบหมายคณะอนุกรรมการที่ตั้งขึ้น ตามระเบียบบริหาร
ราชการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตรu วิจัยและนวัตกรรม พ.ศ. 2562 ทำหน]าที่ ดังนี้ (1) กำหนดแนวทาง
ความรYวมมือระหวYางสถาบันอุดมศึกษาที่เปEนการสYงเสริมและสนับสนุนบุคลากรของสถาบันอุดมศึกษาไปปฏิบัติงานที่
สถาบันอุดมศึกษาอื่น (2) ให]คำแนะนำ คำปรึกษา หรือข]อเสนอแนะแกYสถาบันอุดมศึกษา เพื่อสร]างความรYวมมือด]าน
ตYาง ๆ (3) ประสานงานและสนับสนุนการพัฒนาความรYวมมือระหวYางสถาบันอุดมศึกษา และ (4) ให]คำปรึกษา
คำแนะนำ และความเห็นตYอ รมว.อว. คณะกรรมการการอุดมศึกษา หรือคณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษา
แล]วแตYกรณี
9. กำหนดให]สถาบันอุดมศึกษา ติดตามประเมินผลความรYวมมือ เปEนระยะ ๆ ทุกสามปw หากปรากฏ
วYาความรYวมมือนั้นไมYได]มีการดำเนินการใด ๆ ภายในระยะเวลาสามปwนับจากวันลงนามหรือระยะเวลาที่มีการ
ดำเนินการครั้งลYาสุด ให]ถือวYาความตกลงรYวมมือดังกลYาวสิ้นสุดลง เว]นแตYสภาสถาบันอุดมศึกษาเห็นชอบให]ดำเนินการ
ตY อ ไปได] และให] ร ายงานข] อ มู ล ผลการปฏิ บ ั ต ิ ง านตามความรY ว มมื อ ระหวY า งสถาบั น อุ ด มศึ ก ษาตY อ สำนั ก งาน
ปลัดกระทรวงภายในหกสิบวันนับแตYวันที่สภาสถาบันอุดมศึกษาให]ความเห็นชอบ
10. กำหนดให] บ รรดาข] อ ตกลง บั น ทึ ก ข] อ ตกลงความรY ว มมื อ และบั น ทึ ก ความเข] า ใจของ
สถาบันอุดมศึกษาที่ใช]บังคับอยูYในวันกYอนวันที่กฎกระทรวงนี้ใช]บังคับ ให]ยังคงใช]บังคับได]ตYอไปจนกวYาจะได]มีการ
ดำเนินการปรับปรุงแก]ไขตามบทบัญญัติของกฎกระทรวงนี้
5. เรื่อง ร5างระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว5าดIวยการดำเนินงานดIานการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (ฉบับที่ ..)
พ.ศ. ....
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบในหลักการรYางระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีวYาด]วยการดำเนินงานด]าน
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... ตามที่กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล]อม (ทส.) เสนอ
และให]สYงคณะกรรมการตรวจสอบรYางกฎหมายและรYางอนุบัญญัติที่เสนอคณะรัฐมนตรีตรวจพิจารณา แล]วดำเนินการ
ตYอไปได]
ทั้งนี้ ทส. เสนอวYา
1. ระเบี ยบสำนั กนายกรั ฐมนตรี วY าด] วยการดำเนิ นงานด] านการเปลี ่ ยนแปลงสภาพภู มิ อากาศ
พ.ศ. 2550 และที่แก]ไขเพิ่มเติม กำหนดให]มีคณะกรรมการนโยบายการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศแหYงชาติ (กนภ.)
โดยมีหน]าที่และอำนาจกำหนดนโยบายและยุทธศาสตรuการป¢องกันและการแก]ไขปyญหาด]านการเปลี่ยนแปลงสภาพ
ภูมิอากาศในประเทศไทย ซึ่งมีนายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรีที่นายกรัฐมนตรีมอบหมายเปEนประธานกรรมการ
และมีปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล]อมเปEนกรรมการและเลขานุการ รวมทั้งให]เลขาธิการสำนักงาน
นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล]อม และผู]อำนวยการองคuการบริหารจัดการก¦าซเรือนกระจก เปEน
กรรมการและผู]ชYวยเลขานุการ
2. โดยที่ได]มีพระราชกฤษฎีกาเปลี่ยนชื่อกรมสYงเสริมคุณภาพสิ่งแวดล]อม เปEนกรมการเปลี่ยนแปลง
สภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล]อม พ.ศ. 2566 กฎกระทรวงแบYงสYวนราชการ กรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและ
สิ่งแวดล]อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล]อม พ.ศ. 2566 และกฎกระทรวงแบYงสYวนราชการสำนักงาน
นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล]อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล]อม (ฉบับที่ 2)
พ.ศ. 2566 ทำให]กรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล]อมมีภารกิจเกี่ยวกับการจัดการการเปลี่ยนแปลง
สภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล]อมของประเทศ ดังนั้น เพื่อให]สอดคล]องกับการปรับเปลี่ยนภารกิจดังกลYาว ทส. จึงยก
รYางระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีวYาด]วยการดำเนินงานด]านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....
เพื่อปรับปรุงองคuประกอบใน กนภ. โดยแก]ไขตำแหนYงกรรมการและผู]ชYวยเลขานุการ จาก “เลขาธิการสำนักงาน
8

นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล]อม” เปEน “อธิบดีกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและ


สิ่งแวดล]อม” และเพิ่มหน]าที่และอำนาจของ กนภ. ในการเสนอแนวทาง มาตรการ และกลไกการบริหารจัดการ
คารuบอนเครดิตของประเทศไทย รวมถึงกำหนดหลักเกณฑuและวิธีการเกี่ยวกับการบริหารจัดการคารuบอนเครดิตเพื่อ
เสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาให]ความเห็นชอบ
3. ในคราวประชุม กนภ. ครั้งที่ 3/2566 เมื่อวันที่ 25 สิงหาคม 2566 ที่ประชุมได]มีมติเห็นชอบรYาง
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีตามข]อ 2. และมอบหมายให]กรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล]อม เสนอ
รYางระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีดังกลYาวตYอคณะรัฐมนตรี เพื่อพิจารณาให]ความเห็นชอบ กYอนนำเสนอนายกรัฐมนตรี
ลงนามในระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีฯ ตามขั้นตอนตYอไป
สาระสำคัญของร5างระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว5าดIวย การดำเนินงาน ร5างระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว5าดIวยการดำเนินงาน
ดIานการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ พ.ศ. 2550 ดIานการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (ฉบับที่ ..)
และที่แกIไขเพิ่มเติม พ.ศ. ....
ข]อ 4 ให]ยกเลิกความในวรรคสองของข]อ 4 แหYงระเบียบ
สำนั ก นายกรั ฐ มนตรี ว Y า ด] ว ยการดำเนิ น งานด] า นการ
เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ พ.ศ. 2550 และให]ใช]
ความตYอไปนี้แทน
“ให]ปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล]อม “ให] ป ลั ด กระทรวงทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละ
เปE น กรรมการและเลขานุ ก าร และให] เ ลขาธิ ก าร สิ่งแวดล]อม เปEนกรรมการและเลขานุการ และให]อธิบดี
สำนักงานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและ กรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดลIอม
สิ่งแวดล]อม และผู]อำนวยการองคuการบริหารจัดการก¦าซ และผู]อำนวยการองคuการบริหารจัดการก¦าซเรือนกระจก
เรือนกระจก เปEนกรรมการและผู]ชYวยเลขานุการ” เปEนกรรมการและผู]ชYวยเลขานุการ
ข]อ 8 ให]เพิ่มความตYอไปนี้เปEน (3/1) ของวรรคหนึ่ง ของ
ข] อ 8 ของระเบี ย บสำนั ก นายกรั ฐ มนตรี ว Y า ด] ว ยการ
ดำเนิ น งานด] า นการเปลี ่ ย นแปลงสภาพภู ม ิ อ ากาศ
พ.ศ. 2550 ซึ ่ ง แก] ไ ขเพิ ่ ม เติ ม โดยระเบี ย บสำนั ก
นายกรั ฐ มนตรี ว Y า ด] ว ยการดำเนิ น งานด] า นการ
เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2561
และให]ใช]ความตYอไปนี้แทน
“ข] อ 8 ให] ค ณะกรรมการมี ห น] า ที ่ แ ละอำนาจ
ดังตYอไปนี้
ฯลฯ
(3/1) เสนอแนวทาง มาตรการ และกลไก การ
บริหารจัดการคารgบอนเครดิตของประเทศไทย รวมถึง
กำหนดหลั ก เกณฑg แ ละวิ ธ ี ก ารเกี ่ ย วกั บ การบริ ห าร
จั ด การคารg บ อนเครดิ ต เพื ่ อ เสนอคณะรั ฐ มนตรี
พิจารณาใหIความเห็นชอบ

6. เรื่อง ร5างพระราชกฤษฎีกาเปiดทำการแผนกคดีเยาวชนและครอบครัวในศาลอาญาและศาลแพ5งมีนบุรี
พ.ศ. .... (กำหนดวันเปiดทำการแผนกคดีเยาวชนและครอบครัวในศาลอาญาและศาลแพ5งมีนบุรี ตั้งแต5วันที่
1 มิถุนายน 2567 เปkนตIนไป)
คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติดังนี้
1. อนุมัติหลักการรYางพระราชกฤษฎีกาเปrดทำการแผนกคดีเยาวชนและครอบครัวในศาลอาญาและ
ศาลแพYงมีนบุรี พ.ศ. .... ตามที่สำนักงานศาลยุติธรรม (ศย.) เสนอ และให]สYงสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจ
พิจารณาเปEนเรื่องดYวน แล]วดำเนินการตYอไปได]
9

2. ให]สำนักงานศาลยุติธรรมรับความเห็นของกระทรวงยุติธรรม สำนักงบประมาณ และสำนักงาน


ก.พ. ไปพิจารณาดำเนินการตYอไปด]วย
ขIอเท็จจริงและสาระสำคัญของร5างพระราชกฤษฎีกา
ศย. เสนอวYา
1. โดยที่มาตรา 8 วรรคสอง แหYงพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัว และวิธีพิจารณาคดี
เยาวชนและครอบครัว พ.ศ. 2543 บัญญัติให]ในกรุงเทพมหานครหรือจังหวัดใด ที่มีศาลจังหวัดมากกวYาหนึ่งศาล หาก
มีความจำเปEนจะเปrดแผนกคดีเยาวชนและครอบครัวในศาลจังหวัด ที่ยังมิได]มีแผนกคดีเยาวชนและครอบครัวนั้นอีกก็
ได] ทั้งนี้ จะเปrดทำการเมื่อใดให]ประกาศโดยพระราชกฤษฎีกา และให]ระบุเขตอำนาจศาลเดิมหรือแผนกเดิมและ
แผนกที่จัดตั้งขึ้นใหมYไว]ในพระราชกฤษฎีกาด]วย ซึ่งปyจจุบัน ศย. มีนโยบายเปrดทำการแผนกคดีเยาวชนและครอบครัว
ในศาลอาญาและศาลแพY ง มี น บุ ร ี ให] ม ี เ ขตอำนาจตลอดท] อ งที ่ ข องเขตมี น บุ ร ี เขตคลองสามวา เขตคั น นายาว
เขตลาดกระบัง เขตลาดพร]าวเฉพาะแขวงจรเข]บัว เขตสะพานสูง เขตสายไหมเฉพาะแขวงสายไหมและแขวงออเงิน
เขตหนองจอก เขตบางเขน เขตประเวศ และเขตบึงกุYม ในกรุงเทพมหานคร เพื่อพิจารณาพิพากษาคดีเยาวชนและ
ครอบครัวอันเปEนการอำนวยความยุติธรรมและความสะดวกแกYประชาชน ในท]องที่ดังกลYาวตั้งแตYวันที่ 1 มิถุนายน
2567 เปEนต]นไป อันเปEนไปตามพันธกิจของศาลยุติธรรม ในการอำนวยความยุติธรรม คุ]มครองสิทธิเสรีภาพ และลด
ความเหลื่อมล้ำของประชาชนให]ได]รับความยุติธรรมอยYางทั่วถึงและเสมอภาค และสอดคล]องกับแผนยุทธศาสตรuศาล
ยุติธรรม พ.ศ. 2565 - 2568 ยุทธศาสตรu T (Truted Justice) เชื่อมั่นศรัทธาการอำนวยความยุติธรรม ซึ่งถือวYาเปEน
วาระเรYงดYวนเพื่อให]มีการประกาศใช]บังคับกฎหมายได]ทันตามกำหนดวันเปrดทำการดังกลYาว ซึ่งรYางพระราชกฤษฎีกา
ดังกลYาว มีสาระสำคัญดังนี้
1.1 กำหนดให]เปrดทำการตั้งแตYวันที่ 1 มิถุนายน 2567 เปEนต]นไป
1.2 กำหนดให]ศาลเยาวชนและครอบครัวกลางมีเขตอำนาจตลอดกรุงเทพมหานครใน
ระหวYางที่ยังมิได]เปrดทำการศาลอาญาและศาลมีนบุรี แผนกคดีเยาวชนและครอบครัว
1.3 กำหนดให]ศาลเยาวชนและครอบครัวกลางพิจารณาพิพากษาคดี ที่อยูYในอำนาจศาล
อาญาและศาลแพYงมีนบุรี แผนกคดีเยาวชนและครอบครัว ที่ค]างพิจารณาในวันเปrดทำการตYอไปจนเสร็จ เว]นแตYอธิบดี
ผู]พิพากษาศาลเยาวชนและครอบครัวกลางเห็นสมควร
2. ศย. ได] จ ั ด ทำรายละเอี ย ดข] อ มู ล ที ่ ห นY ว ยงานของรั ฐ ต] อ งเสนอพร] อ มกั บ การขออนุ ม ั ต ิ ตY อ
คณะรัฐมนตรีตามมาตรา 27 แหYงพระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. 2561 โดยประมาณการคYาใช]จYายที่
จะเกิดขึ้นในอนาคตเมื่อพระราชกฤษฎีกาฉบับนี้มีผลใช]บังคับแล]ว คือ คYาใช]จYายด]านบุคลากร จำนวน 66,265,055 บาท
คYาใช]จYายด]านการบริหารจัดการ จำนวน 17,990,649 บาท และคYาใช]จYายด]านการลงทุน จำนวน 145,478,300 บาท
ทำให]จะต]องใช]งบประมาณ ในระยะ 3 ปwแรก ประมาณ 229,734,004 บาท อัตรากำลังข]าราชการตุลาการที่ต]องใช]
จำนวน 6 อัตรา และอัตรากำลัง ข]าราชการศาลยุติธรรมที่ต]องใช] 25 อัตรา และพนักงานราชการ จำนวน 1 อัตรา
3. ในคราวประชุมคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม ครั้งที่ 2/2567 เมื่อวันที่ 29 มกราคม 2567
ที่ประชุมได]มีมติเห็นชอบรYางพระราชกฤษฎีกาเปrดทำการแผนกคดีเยาวชนและครอบครัวในศาลอาญาและศาลแพYง
มีนบุรี และมอบหมายให] ศย. ดำเนินการตามขั้นตอนของกฎหมายตYอไป
7. เรื่อง ร5างกฎกระทรวงกำหนดค5าธรรมเนียมและอัตราขั้นสูงสำหรับค5าบริการในสนามบิน (ฉบับที่ 3) พ.ศ. ....
คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติหลักการรYางกฎกระทรวงกำหนดคYาธรรมเนียมและอัตราขั้นสูงสำหรับ
คYาบริการในสนามบิน (ฉบับที่ 3) พ.ศ. .... ตามที่กระทรวงคมนาคม (คค.) เสนอ และให]สYงสำนักงานคณะกรรมการ
กฤษฎีกาตรวจพิจารณา แล]วดำเนินการตYอไปได]
ทั้งนี้ คค. เสนอวYา
1. พระราชบัญญัติการเดินอากาศ พ.ศ. 2497 มาตรา 6 (1) และ (4) บัญญัติให]รัฐมนตรีวYาการ
กระทรวงคมนาคมมีอำนาจออกกฎกระทรวงกำหนดคYาธรรมเนียมใบอนุญาต ใบสำคัญ ใบรับรอง หรือหนังสือรับรอง
ไมYเกินอัตราท]ายพระราชบัญญัติการเดินอากาศ พ.ศ. 2497 และมีอำนาจยกเว]นคYาธรรมเนียมดังกลYาว ประกอบกับ
กฎกระทรวงกำหนดคYาธรรมเนียมและอัตราขั้นสูงสำหรับคYาบริการในสนามบิน พ.ศ. 2554 และกฎกระทรวงกำหนด
คYาธรรมเนียมและอัตราขั้นสูงสำหรับคYาบริการในสนามบิน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2559 ได]กำหนดคYาธรรมเนียมของ
ใบอนุญาตใบสำคัญ ใบรับรอง หรือหนังสือรับรองที่ออกตามพระราชบัญญัติดังกลYาว ซึ่งตYอมาได]มีพระราชบัญญัติการ
10

เดินอากาศ (ฉบับที่ 14) พ.ศ. 2562 ได]กำหนดใบอนุญาตและใบรับรองที่ต]องออกตามพระราชบัญญัติการเดินอากาศฯ


เพิ่มเติม และกำหนดอัตราขั้นสูงของคYาธรรมเนียมใบอนุญาตและใบรับรองดังกลYาวไว]ท]ายพระราชบัญญัติฯ ซึ่งผู]ขอ
ใบอนุญาตหรือใบรับรองจะต]องชำระคYาธรรมเนียมใบอนุญาตหรือใบรับรองในกระบนการขอออกใบอนุญาตหรือ
ใบรับรองดังกลYาวและในทางปฏิบัติพบวYา เมื่อพระราชบัญญัติการเดินอากาศ (ฉบับที่ 14) พ.ศ. 2562 มีผลใช]บังคับ
แล]วกระบวนการยื่นคำขอและการตรวจสอบเพื่อออกใบอนุญาตและใบรับรองดังกลYาวของสำนักงานการบินพลเรือน
แหYงประเทศไทย (กพท.) ก็ได]ดำเนินการใกล]แล]วเสร็จ เพียงแตYยังไมYมีกฎกระทรวงเพื่อกำหนดคYาธรรมเนียม
ใบอนุญาตและใบรับรองประเภทใหมYให]ครบถ]วน อันจะสYงผลให]ไมYสามารถดำเนินการเก็บคYาธรรมเนียมใบอนุญาต
หรือใบรับรองที่ออกให]กับผู]ขอได] และทำให]ไมYสามารถออกใบอนุญาตหรือใบรับรองนั้น ๆ ได] อีกทั้งหากยังไมYมีการ
กำหนดอัตราคYาธรรมเนียมจะสYงผลตYอการเตรียมความพร]อมรับการตรวจสอบจากองคuการการบินพลเรือนระหวYาง
ประเทศ (ICAO) ตามโครงการ Universal Safety Oversight Audit Programme Continuous Monitoring
Approach (USOAP-CMA) อันจะสYงผลตYอการประเมินเพื่อยกระดับคYาประสิทธิผลของการดำเนินการ (EI [Effective
Implementation] Score) ของประเทศไทย
2. นอกจากนี้ คYาธรรมเนียมใบอนุญาตหรือใบรับรองบางประเภทที่กำหนดไว]เดิมตามกฎกระทรวง
กำหนดคYาธรรมเนียมและอัตราขั้นสูงสำหรับคYาบริการในสนามบิน พ.ศ. 2554 และที่แก]ไขเพิ่มเติม ได]ใช]บังคับมาเปEน
เวลานานแล]ว สมควรต]องแก]ไขปรับปรุงเพื่อให]สอดคล]องตามหลักเกณฑuที่สะท]อนต]นทุน และความเหมาะสมกับ
สภาพทางเศรษฐกิจในปyจจุบันเนื่องจากคYาธรรมเนียมใบรับรองหรือใบอนุญาตที่กำหนดเดิมเปEนอัตราที่กำหนดขึ้นใน
ขณะที่กรมการบินพลเรือนเปEนผู]กำกับดูแลซึ่งมีสถานะเปEนสYวนราชการและได]รับงบประมาณในการดำเนินการจากรัฐ
ซึ่งปyจจุบันได]มีพระราชกำหนดการบินพลเรือนแหYงประเทศไทย พ.ศ. 2558 จัดตั้ง กพท. ขึ้น เพื่อดำเนินการภารกิจ
กำกั บ ดู แ ลด] า นการบิ น พลเรื อ นแทนกรมการบิ น พลเรื อ นโดยให] ม ี ร ายได] ต ามที ่ ก ฎหมายกำหนด โดยไมY ไ ด] รั บ
งบประมาณแผYนดินจึงไมYสามารถใช]อัตราคYาธรรมเนียมใบรับรองหรือใบอนุญาตเดิมเปEนบรรทัดฐานในการกำหนด
อัตราคYาธรรมเนียมตามหลักเกณฑuที่สะท]อนต]นทุน (Cost Recovery) การดำเนินการตามภารกิจของ กพท. และ
ความเหมาะสมกับสภาพทางเศรษฐกิจได]
3. คค. จึงได]จัดทำรYางกฎกระทรวงกำหนดคYาธรรมเนียมและอัตราขั้นสูงสำหรับคYาบริการใน
สนามบิน (ฉบับที่ 3) พ.ศ. .... เพื่อกำหนดอัตราคYาธรรมเนียมสำหรับใบอนุญาตหรือใบรับรองที่กำหนดขึ้นใหมYตาม
พระราชบัญญัติการเดินอากาศ (ฉบับที1่ 4) พ.ศ. 2562 และแก]ไขปรับปรุงอัตราคYาธรรมเนียมตามกฎกระทรวงกำหนด
คYาธรรมเนียมและอัตราขั้นสูงสำหรับคYาบริการในสนามบิน พ.ศ. 2554 และที่แก]ไขเพิ่มเติม ให]สอดคล]องกับสภาพทาง
เศรษฐกิจ อยYางไรก็ตาม แม]วYารYางกฎกระทรวงในเรื่องนี้จะกYอให]เกิดภาระหน]าที่หรือภาระแกYผู]ขอรับใบรับรองหรือ
ใบอนุญาตที่ออกตามพระราชบัญญัติการเดินอากาศ พ.ศ. 2497 แก]ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการเดินอากาศ
(ฉบับที่ 14) พ.ศ. 2562 จะต]องชำระคYาธรรมเนียมใบรับรองหรือใบอนุญาตที่เพิ่มเติมขึ้นใหมY หรือชำระคYาธรรมเนียม
สูงขึ้นสำหรับใบรับรองหรือใบอนุญาตที่มีการปรับปรุงอัตราคYาธรรมเนียม แตYการเรียกเก็บคYาธรรมเนียมใบรับรองหรือ
ใบอนุญาตดังกลYาวซึ่งเปEนรายได]สYวนหนึ่งของ กพท. ตามมาตรา 10 (3) แหYงพระราชกำหนดการบินพลเรือนแหYง
ประเทศไทย พ.ศ. 2558 เพื่อนำมาใช]เปEนต]นทุนในการดำเนินการของ กพท. ในการปฏิบัติภารกิจด]านการกำกับดูแล
การบินพลเรือนของประเทศไทยให]เปEนไปอยYางมีประสิทธิภาพและสอดคล]องกับมาตรฐานสากล ตลอดจนได]รับการ
ยอมรับจากนานาประเทศ สYงเสริมให]มีการเดินทางทางอากาศและอุตสาหกรรมการบินอื่น ๆ อันจะสYงผลดีตYอ
เศรษฐกิจของประเทศ
4. คค. โดย กพท. จึงได]จัดให]มีการรับฟyงความคิดเห็นเกี่ยวกับรYางกฎกระทรวงดังกลYาวจาก
ประชาชนทั่วไปผYานทางเว็บไซตuของ กพท. (www.caat.or.th) และได]นำผลการรับฟyงความคิดเห็นมาประกอบการ
วิเคราะหuผลกระทบด]วยแล]ว รวมถึงได]จัดให]มีการชี้แจงทำความเข]าใจและเผยแพรYให]ผู]เกี่ยวข]องทราบถึงเหตุผลและ
ความจำเปEนในการกำหนดและแก]ไขปรับปรุงอัตราคYาธรรมเนียมใบรับรองหรือใบอนุญาตให]กับผู]มีสYวนเกี่ยวข]องทราบ
ลYวงหน]าเพื่อให]มีระยะเวลาในการเตรียมความพร]อมสำหรับการชำระคYาธรรมนียมใบรับรองหรือใบอนุญาตที่ได]มีการ
กำหนดขึ้นใหมYและแก]ไขปรับปรุงตามรYางกฎกระทรวงในเรื่องนี้ด]วยแล]ว
สาระสำคัญของร5างกฎกระทรวง
กำหนดอัตราค5าธรรมเนียมสำหรับใบอนุญาตหรือใบรับรองที่กำหนดขึ้นใหม5ตามพระราชบัญญัติ
การเดินอากาศ (ฉบับที่ 14) พ.ศ. 2562 และแกIไขปรับปรุงอัตราค5าธรรมเนียมตามกฎกระทรวงกำหนดคYาธรรมเนียม
11

และอัตราขั้นสูงสำหรับคYาบริการในสนามบิน พ.ศ. 2554 และที่แก]ไขเพิ่มเติม (รYางกฎกระทรวงนี้จะมีผลใช]บังคับใน


วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา1) สรุปได]ดังนี้
1. กำหนดอั ต ราค5 า ธรรมเนี ย มสำหรั บ ใบอนุ ญ าตหรื อ ใบรั บ รองที ่ ก ำหนดขึ ้ น ใหม5 ต าม
พระราชบัญญัติการเดินอากาศ (ฉบับที่ 14) พ.ศ. 2562 เชYน
1.1 ใบรับรองผูIดำเนินการเดินอากาศตามขนาดของอากาศยานแตYละประเภทและพื้นที่
ปฏิบัติการ (Area of Operation) ภายในประเทศและภูมิภาคในตYางประเทศ (มาตรา 28/1) ดังนี้
1.1.1 เครื่องบิน
ภายในประเทศ ภูมิภาคเอเชีย ภูมิภาคอื่น
น้ำหนัก
(กิโลกรัม) ออกครั้งแรก ต5ออายุ ออกครั้งแรก ต5ออายุ ออกครั้งแรก ต5ออายุ
(บาท) (บาท) (บาท) (บาท) (บาท) (บาท)
ไม5เกิน 1,232,500 1,100,000 2,732,500 2,000,000 3,532,500 2,700,000
5,700
5,700 ขึ้นไป 2,465,000 2,200,000 5,565,000 4,000,000 7,065,000 5,450,000
1.1.2 เฮลิคอปเตอรg
ภายในประเทศ ภูมิภาคต5างประเทศ
น้ำหนัก
(กิโลกรัม) ออกครั้งแรก ต5ออายุ ออกครั้งแรก ต5ออายุ
(บาท) (บาท) (บาท) (บาท)
ไม5เกิน 3,192 1,032,500 900,000 1,382,000 1,150,000
3,192 ขึ้นไป 2,065,000 1,800,000 2,765,000 2,300,000
1.1.3 บัลลูน การออกใบรับรองผู]ดำเนินอากาศภายในประเทศ
(1) ออกครั้งแรก ฉบับละ 1,500,000 บาท
(2) ตYออายุ ฉบับละ 1,300,000 บาท
1.2 ใบอนุญาตประกอบกิจการการบินพลเรือน
1.2.1 การขนสYงทางอากาศเพื่อการพาณิชยu แบบประจำ
(1) กรณีใช]อากาศยานปwกแข็ง ฉบับละ 5,000,000 บาท
(2) ใช]อากาศยานปwกแข็ง ขนาดเล็ก น้ำหนักสูงสุด ไมYเกิน 5,700 กิโลกรัม
ขึ้นไป ฉบับละ 2,500,000 บาท
1.2.2 การขนสYงทางอากาศเพื่อการพาณิชยu แบบไม5ประจำ
(1) กรณีใช]อากาศยานปwกแข็ง ฉบับละ 3,000,000 บาท
(2) กรณี ใ ช] อ ากาศยานปw ก แข็ ง ขนาดเล็ ก เครื ่ อ งยนตu เ ดี ย วหรื อ ใช]
เฮลิคอปเตอรu ฉบับละ 1,500,000 บาท
1.2.3 การประกอบกิจการทำงานทางอากาศ
(1) กรณีใช]อากาศยานปwกแข็ง ฉบับละ 3,000,000 บาท
(2) ใช]อากาศยานปwกแข็ง ขนาดเล็ก เครื่องยนตuเดียวหรือใช]เฮลิคอปเตอรu
ฉบับละ 5,000,000 บาท
(3) กรณีใช]บัลลูน ฉบับละ 300,000 บาท
1.3 ใบรับรองการใหIบริการการจัดการจราจรทางอากาศ บริการจราจรทางอากาศ การ
จัดการความคลYองตัวของการจราจรทางอากาศ และการจัดการห]วงอากาศ ฉบับละ 1,000,000 บาท
1.4 ใบรับรองการใหIบริการระบบสื่อสาร ระบบช5วยการเดินอากาศและระบบติดตาม
อากาศยาน ฉบับละ 1,000,000 บาท
1.5 ใบรับรองการใหIบริการอุตุนิยมวิทยาการบิน ฉบับละ 1,000,000 บาท
1.6 ใบรับรองการใหIบริการข5าวสารการบิน ฉบับละ 1,000,000 บาท
1.7 ใบรับรองการใหIบริการการออกแบบวิธีปฏิบัติการบินดIวยเครื่องวัดประกอบการบิน
ฉบับละ 1,000,000 บาท
12

2. แก]ไขปรับปรุงการจำแนกใบอนุญาตหรือใบรับรองและอัตราค5าธรรมเนียมสำหรับคYาบริการใน
สนามบินเพื่อให]สอดคล]องตามหลักเกณฑuที่สะท]อนต]นทุนและความเหมาะสมกับสภาพทางเศรษฐกิจในปyจจุบัน ดังนี้
2.1 กำหนดค5าธรรมเนียมใบอนุญาต ฉบับละ 20,000 บาท สำหรับ
2.1.1 ใบอนุญาตดำเนินงานเกี่ยวกับรับมอบ จัดเก็บ บรรทุก ขนถ5าย หรือขนส5ง
วัตถุอันตราย (ตาม ม. 15/27)
2.1.2 ใบอนุญาตดำเนินงานเกี่ยวกับรับมอบ จัดเก็บ บรรทุก ขนถ5าย หรือขนส5ง
สิ่งของตIองหIามหรือตIองดูแลเปkนพิเศษ (ตาม ม. 15/29)
(เดิม กำหนดใบอนุญาตสYงหรือพาวัตถุอันตรายหรือสัตวuไปกับอากาศยาน รายครั้ง ฉบับละ 100 บาท รายปw ฉบับละ
10,000 บาท)
2.2 กำหนดค5าธรรมเนียมใบอนุญาตจัดตั้งเครื่องอำนวยความสะดวกในการเดินอากาศ
ฉบับละ 40,000 ดังนี้
2.2.1 ประเภททั ศ นวิ ส ั ย เชY น อุ ป กรณu บ อกทิ ศ ทางและอุ ป กรณu ใ ห] ส ั ญ ญาณ
เครื่องหมาย ไฟสนามบิน ฯลฯ
2.2.2 ประเภทระบบการสื่อสาร เชYน ระบบการสื่อสารประจำทีแ่ ละเคลื่อนที่
2.2.3 ประเภทระบบชYวยการเดินอากาศ
2.2.4 ประเภทระบบติดตามอากาศยาน
2.2.5 ประเภทเครื่องมืออุตุนิยมวิทยาการบิน เชYน ระบบตรวจอากาศอัตโนมัติและ
ระบบตรวจวัดวินดuเชียรu
(เดิม กำหนดใบอนุญาตจัดตั้งเครื่องอำนวยความสะดวกในการเดินอากาศ วิทยุเครื่องชYวยเดินอากาศ ฉบับละ 3,000
บาท เรดาหuติดตามอากาศยาน ฉบับละ 3,000 บาท วิทยุสื่อสารฉบับละ 1,000 บาท เครื่องชYวยการเดินอากาศ ด]วย
ทัศนวิสัย ระบบไฟฟ¢าสนามบิน ฉบับละ 3,000 บาท และกระบอกทิศทางลม หรือเครื่องชี้ทิศทางลมอื่น ฉบับละ 500
บาท เครื่องอำนวยความสะดวกในการเดินอากาศอื่น ฉบับละ 1,000 บาท)
2.3 ใบอนุญาตจัดตั้งที่ขึ้นลงชั่วคราวของอากาศยาน ฉบับละ 2,000 บาท (คงเดิม)
2.4 ใบรับรองการดำเนินการสนามบินสาธารณะ
ประเภทใบรับรองการดำเนินการสนามบินสาธารณะ อัตราค5าธรรมเนียม อัตราค5าธรรมเนียมตาม
ปpจจุบัน (บาท) ร5างกฎกระทรวงฯ (บาท)
เปEนอัตราที่กำหนด
ตั้งแตYปw 2554
สนามบินพาณิชยu 200,000 500,000
สนามบินที่รองรับการบินทั่วไป 100,000 200,000
สำหรับที่ขึ้นลงชั่วคราวอนุญาตพาณิชยu 5,000 100,000
สำหรับที่ขึ้นลงชั่วคราวอนุญาตที่รองรับการบินทั่วไป 5,000 50,000
3. กำหนดค5าธรรมเนียมการต5ออายุใบอนุญาต ใบสำคัญ ใบรับรอง ครั้งละเทYากับคYาธรรมเนียม
สำหรับใบอนุญาต ใบสำคัญ ใบรับรอง แตYละฉบับ ยกเว]นใบรับรองผู]ดำเนินการเดินอากาศ (ม. 28/1) เนื่องจากคYา
ธรรมนียมการตYออายุใบรับรองไมYเทYากับคYาธรรมเนียมการออกใบอนุญาตครั้งแรก (เชYน สำหรับบัลลูน ออกครั้งแรก
ฉบับละ 1,500,000 บาท ตYออายุ ฉบับละ 1,300,000)
4. การแกIไขปรับปรุงการยกเวIนค5าธรรมเนียมใบอนุญาตและใบรับรองที่ออกใหIกับส5วนราชการ
4.1 กำหนดไม5ยกเวIนคYาธรรมเนียมสำหรับใบอนุญาตและใบรับรอง ดังนี้
4.1.1 ใบอนุญาตจัดตั้งสนามบิน
4.1.2 ใบอนุญาตจัดตั้งเครื่องอำนวยความสะดวกในการเดินอากาศ
4.1.3 ใบรับรองการดำเนินงานสนามบินสาธารณะ
เนื่องจากสYวนราชการที่ดำเนินการสนามบินราชการถือเปEนผู]ประกอบการรายหนึ่ง
ตามหลั กการขององคu การการบิ นพลเรื อนระหวY างประเทศ (ICAO) จึ งต] องได] รั บการปฏิ บั ติ ที ่ เ ทY าเที ยมกั นกั บ
ผู]ประกอบการประเภทอื่น ๆ อีกทั้งสนามบินสาธารณะที่ดำเนินการโดยสYวนราชการในปyจจุบันมีการเก็บคYาธรรมเนียม
13

การใช]สนามบินจากประชาชนเชYนเดียวกัน จึงไมYเหมาะสมที่จะยกเว]นคYาธรรมเนียมการออกใบอนุญาตและใบรับรอง
ให]สYวนราชการดังกลYาว (เดิม ได]รับการยกเว]นคYาธรรมเนียม)
4.2 กำหนดยกเวIนคYาธรรมเนียมสำหรับใบอนุญาตและใบรับรองเพิ่มเติม ดังนี้
4.2.1 ใบอนุญาตจัดตั ้งเครื่ องอำนวยความสะดวกในการเดินอากาศประเภท
เครื่องมืออุตุนิยมวิทยาการบิน
4.2.2 ใบรับรองการให]บริการอุตุนิยมวิทยาการบิน
เนื่องจากปyจจุบันการให]บริการของกรมอุตุนิยมวิทยาซึ่งเปEนการให]บริการของ
ภาครัฐไมYมีการเรียกเก็บคYาบริการจากผู]ใช]บริการ
5. กำหนดบทเฉพาะกาลสำหรั บบรรดาคำขอที ่ ยื ่ นและยั งไมY ได] ชำระคY าธรรมเนี ยมกY อนวั นที่
กฎกระทรวงนี้มีผลใช]บังคับให]เสียคYาธรรมเนียมตามอัตราที่กำหนดในกฎกระทรวงนี้
________________________
1
พระราชบัญญัติการเดินอากาศ พ.ศ. 2497 มาตรา 6 วรรคสอง บัญญัติให? กฎกระทรวงนั้น เมื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล?ว
ให?ใช?บังคับได?

8. เรื่อง ร5างประกาศคณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธg จำนวน 2 ฉบับ


คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบ ดังนี้
1. เห็นชอบรYางประกาศคณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธu เรื่อง มาตรฐานขั้นต่ำของสภาพ
การจ]างในรัฐวิสาหกิจ (ฉบับที่ ..) และรYางประกาศคณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธu เรื่อง หลักเกณฑuและ
อัตราคYารักษาพยาบาลกรณีเจ็บป©วยฉุกเฉินวิกฤตกรณuโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 จำนวน 2 ฉบับ
ที่คณะกรรมการตรวจสอบรYางกฎหมายและรYางอนุบัญญัติที่เสนอคณะรัฐมนตรีตรวจพิจารณาแล]ว ตามที่กระทรวง
แรงงาน (รง.) เสนอ และให]ดำเนินการตYอไปได]
2. ให]กระทรวงแรงงานรับความเห็นของกระทรวงการคลังและสำนักงบประมาณไปพิจารณา
ดำเนินการตYอไปด]วย
ทั้งนี้ รYางประกาศ จำนวน 2 ฉบับ ที่กระทรวงแรงงานเสนอคณะรัฐมนตรีได]เคยมีมติเห็นชอบใน
หลักการเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธu 2566 และคณะกรรมการตรวจสอบรYางกฎหมายและรYางอนุบัญญัติที่เสนอ
คณะรัฐมนตรีตรวจพิจารณาแล]วเปEนการปรับปรุงมาตรฐานขั้นต่ำของสภาพการจ]างในรัฐวิสาหกิจ เพื่อกำหนดให]
นายจ]างจัดให]ลูกจ]างมีวันหยุดพิเศษตามที่มีมติคณะรัฐมนตรีกำหนดให]เปEนวันหยุดราชการเปEนกรณีพิเศษตามความ
เหมาะสมและความจำเปEนของกิจการ โดยให]นายจ]างจYายคYาจ]างสำหรับวันหยุดดังกลYาวด]วยและกำหนดให]ลูกจ]างมี
สิทธิลาคลอดบุตรโดยได]รับคYาจ]างเพิ่มขึ้นจากเดิมไมYเกิน 90 วัน เปEนไมYเกิน 98 วัน เพื่อให]สอดคล]องกับแรงงาน
ภาคเอกชนตามพระราชบัญญัติคุ]มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 รวมทั้งปรับปรุงหลักเกณฑuและอัตราคYารักษาพยาบาล
กรณีเจ็บป©วยฉุกเฉินวิกฤตด]วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (เฉพาะผู]ป©วยระดับสีเหลืองและสีแดง) เพื่อให]สอดคล]อง
กับมติคณะรัฐนตรีเมื่อวันที่ 8 มีนาคม 2565 ซึ่งคณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธuได]เห็นชอบในหลักการของ
รYางประกาศ จำนวน 2 ฉบับ ดังกลYาวด]วยแล]ว
สาระสำคัญของร5างประกาศ
1. ร5างประกาศคณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธg เรื่อง มาตรฐานขั้นต่ำของสภาพการ
จIางในรัฐวิสาหกิจ (ฉบับที่ ..) มีสาระสำคัญเปEนการแก]ไขเพิ่มเติมประกาศคณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธu
เรื่อง มาตรฐานขั้นต่ำของสภาพการจ]างในรัฐวิสาหกิจ ลงวันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2549 ในเรื่องดังตYอไปนี้
ประกาศเดิม ร5างประกาศในเรื่องนี้
1. วันหยุดพิเศษตามมติคณะรัฐมนตรี
• “วันหยุด” หมายความวYา วันที่กำหนดให]ลูกจ]าง • “วันหยุด” หมายความวYา วันที่กำหนดให]ลูกจ]างหยุด
หยุ ด ประจำสั ป ดาหu หยุ ด ตามประเพณี หรื อ หยุ ด ประจำสั ป ดาหu หยุ ด ตามประเพณี หรื อ หยุ ด พั ก ผY อ น
พักผYอนประจำปw ประจำปw หรื อ หยุ ด พิ เ ศษตามที ่ ม ี ม ติ ค ณะรั ฐ มนตรี
กำหนดใหI เ ปk น วั น หยุ ด ราชการเปk น กรณี พ ิ เ ศษและ
นายจIางกำหนดใหIเปkนวันหยุด
14

• ใหIนายจIางจัดใหIลูกจIางมีวันหยุดพิเศษตามที่มีมติ
คณะรัฐมนตรีกำหนดใหIเปkนวันหยุดราชการเปkนกรณี
• ในกรณีที่วันหยุดตามประเพณีวันใดตรงกับวันหยุด พิเศษ ตามความเหมาะสมและความจำเปEนของกิจการ
ประจำสัปดาหuของลูกจ]าง ให]ลูกจ]างได]หยุดชดเชยใน • ในกรณีที่วันหยุดตามประเพณี หรือวันหยุดพิเศษวัดใด
วันทำงานถัดไป ตรงกับวันหยุดประจำสัปดาหuของลูกจ]าง ให]ลูกจ]างได]หยุด
ชดเชยวั น หยุ ด ตามประเพณี แ ละวั น หยุ ด พิ เ ศษในวั น
ทำงานถัดไป
2. วันลาเพื่อคลอดบุตร
• ลูกจ]างมีสิทธิลาคลอดบุตรโดยได]รับคYาจ]างเทYาเวลา • ลูกจ]างมีสิทธิลาคลอดบุตรโดยได]รับคYาจ]างเทYาเวลาที่ลา
ที่ลาตามอัตราที่ได]รับอยูY แตYไมYเกิน 90 วัน ตามอัตราที่ได]รับอยูY แต5ไม5เกิน 98 วัน
2. ร5 า งประกาศคณะกรรมการแรงงานรั ฐ วิ ส าหกิ จ สั ม พั น ธg เรื ่ อ ง หลั ก เกณฑg แ ละอั ต ราค5 า
รักษาพยาบาลกรณีเจ็บปrวยฉุกเฉินวิกฤต (กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19) มีสาระสำคัญ
เปEนการปรับปรุงประกาศคณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธu เรื่อง หลักเกณฑuและอัตราคYารักษาพยาบาลกรณี
ผู]ป©วยฉุกเฉินโรคติดตYออันตรายตามกฎหมายวYาด]วยโรคติดตYอ กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19
ลงวันที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2564 ในเรื่องดังตYอไปนี้
ประกาศเดิม ร5างประกาศในเรื่องนี้
1. บทนิยาม
• “ผู]ป©วย” หมายความวYา ลูกจ]าง หรือคูYสมรสหรือ • “ผูIปrวยฉุกเฉินวิกฤต” หมายความวYา ลูกจ]าง หรือคูY
บุ ต รของลู ก จ] า ง ผู ] ซ ึ ่ ง ป© ว ยโรคติ ด เชื ้ อ ไวรั ส โคโรนา สมรสหรือบุตรของลูกจ]าง ผูIซึ่งปrวยฉุกเฉินวิกฤตตาม
2019 หรือโรคโควิด 2019 [Coronavirus Disease กฎหมายวYาด]วยการแพทยuฉุกเฉิน เฉพาะโรคติดเชื้อไวรัส
2019 (COVID-19)] โคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 [Coronavirus Disease
2019 (COVID-19)]
2. ค5าใชIจ5ายการตรวจทางหIองปฏิบัติการ
• กรณีที่ลูกจ]าง หรือคูYสมรสหรือบุตรของลูกจ]างมี • ยกเลิก
อาการไข] ไอ เจ็บคอ หอบเหนื่อย หรือมีอาการของ
โรคปอดอักเสบ หากแพทยuเห็นวYามีความจำเปEนต]อง
ตรวจทางห]องปฏิบัติการเพื่อยืนยันวYาติดเชื้อไวรัสโคโร
นา 2019 ให]ลูกจ]างมีสิทธิได]รับคYาใช]จYายจากการตรวจ
ทางห]องปฏิบัติการนั้นสำหรับตนเอง หรือคูYสมรสหรือ
บุตรของตนเอง ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขฯ
3. ค5าใชIจ5ายจากการรักษาพยาบาล
• กรณีที่ลูกจ]าง หรือคูYสมรสหรือบุตรของลูกจ]าง เปEน • กรณีที่ลูกจ]าง หรือคูYสมรสหรือบุตรของลูกจ]าง เปEน
ผู]ป©วยที่ต]องเข]ารับการรักษาพยาบาลในสถานพยาบาล ผู]ป©วยที่ต]องเข]ารับการรักษาพยาบาลในสถานพยาบาล
หากได]รับการวินิจฉัยวYาเปEนผู]ป©วยฉุกเฉินโรคติดตYอ หากได]รับการวินิจฉัยวYาเปEนผูIปrวยฉุกเฉินวิกฤต กรณีโรค
อันตราย กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ให]ลูกจ]าง ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ให]ลูกจ]างมีสิทธิได]รับคYาใช]จYาย
มีสิทธิได]รับคYาใช]จYายจากการรักษาพยาบาลสำหรับ จากการรักษาพยาบาลสำหรับตนเอง หรือคูYสมรสหรือ
ตนเอง หรือคูYสมรสหรือบุตรของตนเอง ตามประกาศ บุตรของตนเอง ตามที่ สธ. กำหนด
กระทรวงสาธารณสุขฯ
4. บทเฉพาะกาลและวันที่มีผลใชIบังคับ
• กำหนดให]รYางประกาศในเรื่องนี้มีผลใช]บังคับตั้งแตYวันที่ 16 มีนาคม 2565 เปEนต]นไป
• กำหนดให]การเข]ารับการรักษาพยาบาลที่เกิดขึ้นกYอนวันที่ 16 มีนาคม 2565 และการรักษาพยาบาลยังไมYสิ้นสุด
ลง ให] ไ ด] ร ั บ สิ ท ธิ ต ามประกาศคณะกรรมการแรงงานรั ฐ วิ ส าหกิ จ สั ม พั น ธu เรื ่ อ ง หลั ก เกณฑu แ ละอั ต ราคY า
รักษาพยาบาลกรณีผู]ป©วยฉุกเฉินโรคติดตYออันตรายตามกฎหมายวYาด]วยโรคติดตYอ กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
2019 หรือโรคโควิด 19 ลงวันที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2564 (ประกาศเดิม) ตYอไปจนสิ้นสุดการรักษาพยาบาล
15

เศรษฐกิจ-สังคม
9. เรื ่ อ ง ขอความเห็ น ชอบแผนความตI อ งการอั ต รากำลั ง โรงพยาบาลธรรมศาสตรg ศู น ยg พ ั ท ยา
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรg ปvงบประมาณ พ.ศ. 2568-2572
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบแผนความต]องการอัตรากำลังโรงพยาบาลธรรมศาสตรu ศูนยuพัทยา
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรu ปwงบประมาณ พ.ศ. 2568-2572 (แผนความต]องการอัตรากำลังฯ) จำนวน 662 อัตรา
งบประมาณรวมทั้งสิ้น 237,986,400 บาท ตามที่กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตรu วิจัยและนวัตกรรม (อว.)
เสนอ
ทั้งนี้ แผนความต]องการอัตรากำลังฯ จะสYงผลตYอการเพิ่มอัตรากำลังด]านบุคลากรและภาระ
คYาใช]จYายในอนาคต จึงเห็นควรให]มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรu (มธ.) พิจารณาดำเนินการเทYาที่จำเปEนตามภารกิจหลัก
อยYางประหยัดคุ]มคYาและคำนึงถึงความครอบคลุมของทุกแหลYงเงินที่จะนำมาใช]จYาย โดยเฉพาะเงินรายได]หรือเงินนอก
งบประมาณอื่นใดที่มหาวิทยาลัยมีอยูYหรือสามารถนำมาใช]จYายได]เปEนลำดับแรก เพื่อให]เกิดประสิทธิภาพและความ
คุ]มคYาในการใช]จYายงบประมาณ และเกิดผลสัมฤทธิ์ในการบริหารจัดการภาครัฐอยYางยั่งยืนตามนัยพระราชบัญญัติวินัย
การเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. 2561 ตามความเห็นของสำนักงบประมาณ
สาระสำคัญของเรื่อง
อว. รายงานวYา
1. โรงพยาบาลธรรมศาสตรu พัทยา ตั้งอยูYในพื้นที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรu (มธ.) ศูนยuพัทยา
อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี มีพื้นที่ 585 ไรY และได]รับการจัดตั้งเปEนพื้นที่เขตสYงเสริมเศรษฐกิจพิเศษ : ศูนยu
นวัตกรรมการแพทยuครบวงจร ธรรมศาสตรu (พัทยา) (เขตสYงเสริมเศรษฐกิจพิเศษฯ) ตั้งแตYวันที่ 10 กรกฎาคม 25621
โดยมีวัตถุประสงคuเพื่อมุYงพัฒนาด]านการแพทยuและสุขภาพแบบครบวงจร ตอบสนองนโยบายภาครัฐในการเพิ่มขีด
ความสามารถของบุคลากรในพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor: EEC)
โดยการบูรณาการความรู]ด]านวิทยาศาสตรuและเทคโนโลยีด]านการแพทยu การจัดการสุขภาพ และเชื่อมตYอข]อมูลกับ
ข]อมูลขนาดใหญY (Big data) เพื่อขยายไปสูYการเชื่อมโยงกับอุตสาหกรรมชั้นสูง รองรับอุตสาหกรรมเป¢าหมายพิเศษ
หรื อ เพื ่ อ ให] เ กิ ด การถY า ยทอดความรู ] ค วามเชี ่ ย วชาญจากผู ] ป ระกอบกิ จ การในเขตสY ง เสริ ม เศรษฐกิ จ พิ เ ศษ
สถาบันการศึกษา หรือสถาบันวิจัยที่มีศักยภาพสูง
2. โครงการกYอสร]างโรงพยาบาลธรรมศาสตรu พัทยา เปEนอาคารสูง 9 ชั้น เนื้อที่ใช]สอย 70,000
ตารางเมตร มีกำหนดแล]วเสร็จในปwงบประมาณ พ.ศ. 2567 เปrดให]บริการขนาด 100 เตียง ในปwงบประมาณ
พ.ศ. 2568 และพัฒนาเปEนโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ2 ขนาด 300 เตียง ในปwงบประมาณ พ.ศ. 2572 โดยการ
ดำเนินการของโรงพยาบาลธรรมศาสตรu พัทยา มีการเชื่อมโยงกับการจัดตั้งศูนยuความเปEนเลิศทางการแพทยu3 ทั้งใน
สYวนของความรYวมมือด]านระบบบริการการสYงตYอ การศึกษา และการวิจัยกับกระทรวงสาธารณสุข (สธ.) รวมทั้ง
สอดคล]องกับสมรรถนะหลักขององคuกร ได]แกY (1) คณะในศูนยuสุขศาสตรu มธ.4 เปEนหนYวยที่มีภารกิจหลักในการจัดการ
เรียนการสอนเพื่อสร]างบุคลากรทางการแพทยuและให]บริการรYวมกับโรงพยาบาลธรรมศาสตรuเฉลิมพระเกียรติและ
โรงพยาบาลธรรมศาสตรu พัทยา และ (2) โครงการความรYวมมือสนับสนุนเปEนโรงพยาบาลหลักและโรงพยาบาลสมทบ
ในการผลิตแพทยuระหวYาง มธ. กับ สธ. นอกจากนี้ ยังมีความรYวมมือกับ สธ. เขตสุขภาพที่ 65 ในการเตรียมความ
พร]อมด]านการแพทยuและสาธารณสุขเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากโครงการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษภาค
ตะวันออก รวมถึงการผลิตแพทยuหลักสูตรนานาชาติรYวมกับโรงพยาบาลในเขตสุขภาพ
3. เพื่อรองรับการดำเนินงานและเตรียมความพร]อมในการเปrดบริการโรงพยาบาลในปwงบประมาณ
พ.ศ. 2568 ข]างต]น โรงพยาบาลธรรมศาสตรu พัทยา จึงมีความจำเปEนต]องได]รับการสนับสนุนอัตรากำลังจากรัฐบาล
ได]แกY บุคลากรฝ©ายแพทยu ฝ©ายพยาบาล ฝ©ายเทคนิค ฝ©ายสหวิชาชีพ และฝ©ายสนับสนุน เพื่อให]สามารถให]บริการทาง
การแพทยuและให]การดูแลรักษาพยาบาลที่มีคุณภาพและทันสมัยแกYประชาชนในจังหวัดชลบุรีและจังหวัดใกล]เคียง อีก
ทั้งโรงพยาบาลธรรมศาสตรu พัทยา จะสามารถเปEนสถานที่ฝ¬กปฏิบัติชั้นคลินิกและฝ¬กประสบการณuวิชาชีพของ
นักศึกษาในสาขาวิทยาศาสตรuสุขภาพได]อยYางมีคุณภาพตามมาตรฐานวิชาชีพและเกิดประโยชนuสูงสุดตYอประชาชน
อยYางยั่งยืนตYอไป ทั้งนี้ ได]จัดทำแผนความต]องการอัตรากำลังฯ สรุปได] ดังนี้
3.1 วัตถุประสงคg
(1) จัดหาบุคลากรทางการแพทยuและวิชาชีพด]านสาธารณสุขที่เกี่ยวข]องเพื่อให]
โรงพยาบาลได] ร ั บ มาตรฐานในการบริ ก ารระดั บ โรงพยาบาลขนาดใหญY ท ี ่ ม ี ข นาด 300 เตี ย ง ตามมาตรฐาน
16

Healthcare Accreditation (HA)6 Advanced HA (AHA)7 และ Joint Commission International (JCI)8 รองรับ
การให]บริการสุขภาพของประชาชนในพื้นที่
(2) จัดหาบุคลากรทางการแพทยuเพื่อรองรับการเปEนสถานที่ฝ¬กปฏิบัติการในชั้น
คลินิกรองรับการจัดการเรียนการสอนทั้งกYอนและหลังปริญญา
(3) จั ด หาบุ ค ลากรทางการแพทยu เ พื ่ อ รองรั บ ภารกิ จ ด] า นการวิ จ ั ย ทางคลิ นิ ก
การวิจัยด]านสาธารณสุขที่เกี่ยวข]องตามบทบาทของโรงพยาบาลระดับตติยภูมิชั้นสูง9และการสร]างนวัตกรรมทาง
การแพทยuและการสาธารณสุขในลักษณะการบูรณาการ/สหวิทยาการ
(4) จัดหาบุคลากรในตำแหนYงอาจารยuและบุคลากรสายสนับสนุนในการเรียนการ
สอนเพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ
3.2 แผนการดำเนินงาน
(1) อัตรากำลังที่เสนอขอตั้งใหมY (อัตราใหมYพนักงานมหาวิทยาลัย) ปwงบประมาณ
พ.ศ. 2568-2572 (5 ปw) จำนวน 662 อัตรา งบประมาณ 237,986,400 บาท สรุปได] ดังนี้
ปvงบประมาณ พ.ศ. อัตรา (คน) งบประมาณ (บาท)
2568 58 24,165,600
2569 115 42,769,200
2570 179 62,382,000
2571 150 53,246,400
2572 160 55,423,200
รวม 662 237,986,400
หมายเหตุ : อัตรากำลังที่เสนอขอ ประกอบด?วย สายวิชาการ ได?แกQ แพทยRเฉพาะทาง พยาบาล และเภสัชกร และสายสนับสนุน
วิชาการ เชQน นักโภชนาการ นักรังสีการแพทยR นักกายภาพบำบัด และนักวิชาการสาธารณสุข โดยใช?วิธีการคำนวณจากอัตรากำลัง
ประเภทตQาง ๆ ที่เหมาะสมตQอจำนวนเตียงที่เปYดให?บริการ (จำนวนอัตรากำลังพึงมี = จำนวนเตียง x อัตรากำลังตQอเตียงรายวิชาชีพ)
(2) แผนการขยายบริการและความตIองการอัตรากำลังฯ สรุปได] ดังนี้
จำนวนเตียง อัตรากำลังที่เสนอขอ งบประมาณ
แผนการขยายบริการ สะสม (คน) (บาท)
(เตียง) วิชาการ สนับสนุน
ปwงบประมาณ พ.ศ. 2568 100 29 29 24,165,600
1) โรงพยาบาลธรรมศาสตรu พัทยา เปrดให]บริการ
ดังนี้
ชั้น 1 : คลินิกตรวจสุขภาพ คลินิกเวช
ศาสตรuฟ ¡นฟู คลินิกกระดูกและข]อ คลินิกทันตก
รรม Robot Station แผนกเภสัชกรรมห]องจัดยา
คลินิกอายุรกรรม คลินิกรังสีวิทยา จุดคัดกรอง
ผู]ป©วยติดเชื้อ ห]องตรวจทั่วไป/สูติ-นรีเวช ห]อง
ตรวจทั่วไป/หู คอ จมูก ศูนยuอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
ชั ้ น 2 : คลิ น ิ ก หู - ตา-คอ-จมู ก คลิ นิ ก
ทั่วไป คลินิกโรคผิวหนัง คลินิกพัฒนาการเด็ก
คลิ น ิ ก สู ติ - นารี เ วช คลิ น ิ ก เจริ ญ พั น ธุ u ค ลิ นิ ก
ศัลยกรรม คลินิกศัลยกรรมและเสริมความงาม
คลินิกแพทยuทางเลือก คลินิกจิตเวช แผนกเภสัช
กรรม คลินิกกุมารเวช คลินิกโรคหัวใจ
ชั้น 3 : แผนก I.C.U.10 แผนก C.C.U.11
แผนกไตเทียม ศูนยuผYาตัด ศูนยuสYองกล]องเพื่อการ
วินิจฉัย ห]องสูติ-นารีเวช
17

ชั ้ น 4 : คลั ง โลหิ ต ห] อ งงานระบบ


LABORATOR สำนักงาน ห]องพนักงาน ห]องตรวจ
ตัวอยYาง ห]องคลังน้ำยา ห]องล]างอุปกรณu CSSD
Cooling tower ห]อง AHU & OAU สำหรับ LAB
& CSSD ห]องภาวนา ห]องอเนกประสงคu
ชั้น 5-6 : เปrดห]องรวม (ผู]ป©วยใน) 100
เตี ย ง จั ด การเรี ย นการสอนสาขาวิ ท ยาศาสตรu
สุขภาพและวิทยาศาสตรuและเทคโนโลยีเพิ่มเติม
(ระดับปริญญาตรี 5 หลักสูตร นักศึกษาประมาณ
510 คน และระดับ
ปvงบประมาณ พ.ศ. 2569 150 38 77 42,769,200
1) โรงพยาบาลธรรมศาสตรu พั ทยาดำเนิ นการ (สะสม (สะสม
เชYนเดียวกับปwงบประมาณ พ.ศ. 2568 โดยขยาย 67) 106)
การให]บริการ ดังนี้
ชั ้ น 5-6 : เปr ด ห] อ งรวม (ผู ] ป © ว ยใน)
เพิ่มขึ้น 50 เตียง
2) จัดการเรียนการสอนสาขาวิทยาศาสตรuสุขภาพ
และวิทยาศาสตรuและเทคโนโลยีเพิ่มเติม (ระดับ
ปริญญาตรี 5 หลักสูตร นักศึกษาประมาณ 680
คน และระดับบัณฑิตศึกษา 4 หลักสูตร นักศึกษา
ประมาณ 100 คน)
ปvงบประมาณ พ.ศ. 2570 200 45 134 62,382,000
1) โรงพยาบาลธรรมศาสตรu พัทยา ดำเนินการ (สะสม (สะสม
เชYนเดียวกับปwงบประมาณ พ.ศ. 2569 โดยขยาย 112) 240)
การให]บริการ ดังนี้
ชั ้ น 5-7 : เปr ด ห] อ งรวม (ผู ] ป © ว ยใน)
เพิ่มขึ้น 50 เตียง
2) จัดการเรียนการสอนสาขาวิทยาศาสตรuสุขภาพ
และวิทยาศาสตรuและเทคโนโลยีเพิ่มเติม (ระดับ
ปริญญาตรี 5 หลักสูตร นักศึกษาประมาณ 710
คน และระดับปริญญาโท 4 หลักสูตร นักศึกษา
ประมาณ 100 คน)
3) จั ด ตั ้ ง ศู น ยu ค วามเปE น เลิ ศ ด] า นนวั ต กรรม
การแพทยuและจีโนมิกสu
ปvงบประมาณ พ.ศ. 2571 250 41 109 (สะสม 53,246,400
1) โรงพยาบาลธรรมศาสตรu พัทยา ดำเนินการ (สะสม 349)
เชYนเดียวกับปwงบประมาณ พ.ศ. 2570 โดยขยาย 153)
การให]บริการ ดังนี้
ชั ้ น 5-7 : เปr ด ห] อ งรวม (ผู ] ป © ว ยใน)
เพิ่มขึ้น 50 เตียง
2) จัดการเรียนการสอนสาขาวิทยาศาสตรuสุขภาพ
และวิทยาศาสตรuและเทคโนโลยีเพิ่มเติม (ระดับ
ปริญญาตรี 5 หลักสูตร นักศึกษาประมาณ 710
คน และระดับปริญญาโท 4 หลักสูตร นักศึกษา
ประมาณ 100 คน)
18

3) พั ฒ นาศู น ยu ค วามเปE น เลิ ศ ด] า นนวั ต กรรม


การแพทยuและจีโนมิกสu
ปvงบประมาณ พ.ศ. 2572 300 38 122 55,423,200
1) โรงพยาบาลธรรมศาสตรu พัทยา ดำเนินการ (สะสม (สะสม
เชYนเดียวกับปwงบประมาณ พ.ศ. 2571 โดยขยาย 191) 471)
การให]บริการ ดังนี้
ชั ้ น 5-8 : เปr ด ห] อ งรวม (ผู ] ป © ว ยใน)
เพิ่มขึ้น 50 เตียง
2) จัดการเรียนการสอนสาขาวิทยาศาสตรuสุขภาพ
และวิทยาศาสตรuและเทคโนโลยีเพิ่มเติม (ระดับ
ปริญญาตรี 5 หลักสูตร นักศึกษาประมาณ 710
คน และระดับปริญญาโท 4 หลักสูตร นักศึกษา
ประมาณ 100 คน)
3) พั ฒ นาศู น ยu ค วามเปE น เลิ ศ ด] า นนวั ต กรรม
การแพทยuและจีโนมิกสu
รวม 300 662 237,986,400
3.3 แผนความตIองการอัตรากำลังฯ จำแนกตามสายงาน สรุปได] ดังนี้
ป* 2568 ป* 2569 ป* 2570 ป* 2571 ป* 2572 รวม 2568-2572
เงินเดือน+ เงินเดือน+ เงินเดือน+ เงินเดือน+
เงินเดือน+
ตำแหน&ง อัตรา อัตรา เงินเพิ่ม อัตรา เงินเพิ่ม อัตรา เงินเพิ่ม อัตรา เงินเพิ่ม อัตรา งบประมา
เงินเพิ่ม
(คน) (คน) พิเศษ (คน) พิเศษ (คน) พิเศษ (คน) พิเศษ (คน) ณ (บาท)
พิเศษ(บาท)
(บาท) (บาท) (บาท) (บาท)
สายวิชาการ 29 15,903,600 38 20,839,2 45 24,678,0 41 22,484,4 38 20,839,2 191 104,744,
00 00 00 00 400
(1) แพทย)เฉพาะ 24 13,161,600 33 18,097,20 38 20,839,20 33 18,097,20 30 16,452,00 158 86,647,20
ทาง 0 0 0 0 0
(2) พยาบาล 5 2,742,000 5 2,742,000 5 2,742,000 6 3,290,400 6 3,290,400 27 14,806,80
0
(3) เภสัชกร - - - - 2 1,096,800 2 1,096,800 2 1,096,800 6 3,290,400
สายสนับสนุน 29 8,262,000 77 21,930,0 134 37,704,0 109 30,762,0 122 34,584,0 471 133,242,
วิชาการ 00 00 00 00 000
(1) พยาบาล 22 6,336,000 60 17,280,00 60 17,280,00 60 17,280,00 80 23,040,00 282 81,216,00
0 0 0 0 0
(2) นักโภชนาการ - - - - 1 270,000 1 270,000 1 270,000 3 810,000
(3) นักรังสี - - - - 10 2,700,000 6 1,620,000 6 1,620,000 22 5,940,000
การแพทย)
(4) นักเทคนิค - - - - 14 3,948,000 2 564,000 1 282,000 17 4,794,000
การแพทย)
(5) เภสัชกร 2 576,000 2 576,000 10 2,880,000 6 1,728,000 6 1,728,000 26 7,488,000
(6) วิศกรชีว - - 2 564,000 2 564,000 5 1,410,000 4 1,128,000 13 3,666,000
การแพทย)
(7) นัก - - - - 6 1,692,000 5 1,410,000 3 846,000 14 3,948,000
กายภาพบำบัด
19

(8) นักวิชาการ - - - - 2 540,000 5 1,350,000 5 1,350,000 12 3,240,000


สาธารณสุข
(9) นักวิชาการเวช - - - - 1 270,000 1 270,000 1 270,000 3 810,000
สถิติ
(10) - - 2 540,000 1 270,000 1 270,000 1 270,000 5 1,350,000
นักวิทยาศาสตร)
การแพทย)
(11) บุคลากรกลุQม 5 1,350,000 11 2,970,000 27 7,290,000 17 4,590,000 14 3,780,000 74 19,980,00
ภารกิจอำนวยการ 0
รวมเงินทั้งสิ้น 58 24,165,600 115 42,769,2 179 62,382,0 150 53,246,4 160 55,423,2 662 237,986,
00 00 00 00 400
4. ประโยชนgที่คาดว5าจะไดIรับ
4.1 แก]ปyญหาการขาดแคลนพื้นที่บริการสุขภาพในระดับภูมิภาค โดยสามารถรองรับความ
ต]องการใช]บริการทางการแพทยuระดับสูงในพื้นที่จังหวัดชลบุรีและจังหวัดใกล]เคียง รวมถึงประชาชนจากประเทศ
เพื่อนบ]านหรือนักทYองเที่ยวในพื้นที่ ทั้งนี้ คาดวYาจะสามารถรองรับผู]รับบริการด]านสุขภาพในแตYละปwได] ดังนี้
รายการ ปvที่ 1 ปvที่ 2 ปvที่ 3 ปvที่ 4 ปvที่ 5
(พ.ศ. 2568) (พ.ศ. 2569) (พ.ศ. 2570) (พ.ศ. 2571) (พ.ศ. 2572)
ผู]รับบริการด]าน 130,313 195,469 260,625 325,782 390,939
สุขภาพ (คน/ปw)
ผู]ป©วยนอก 121,833 182,749 243,665 304,582 365,498
ผู]ป©วยใน 8,480 12,720 16,960 21,200 25,441
4.2 โรงพยาบาลธรรมศาสตรu พัทยา และหลักสูตรตYาง ๆ ที่จัดการเรียนการสอน ณ มธ.
ศูนยuพัทยา สามารถขับเคลื่อนไปสูYเป¢าหมายการพัฒนาไปสูYวิสัยทัศนu ทิศทางการพัฒนา มธ. ศูนยuพัทยา : เมือง
นวัตกรรมแหYงสุขภาพและเวลเนส (Thammasat Pattaya: The Health and Wellness Innopolis) ซึ่งเปEนการ
บูรณาการระหวYางการแพทยu วิศวกรรมศาสตรu และเทคโนโลยี
4.3 โรงพยาบาลธรรมศาสตรu พัทยา มีแผนอัตรากำลังปwงบประมาณ พ.ศ. 2568-2572
เพื่อใช]ในการจัดเตรียมและพัฒนาบุคลากรทางการแพทยuให]มีความพร]อมในการให]บริการโดยสามารถดำเนินงานให]
เกิดประสิทธิภาพได]ตามมาตรฐานสากลและยกระดับการรักษาพยาบาลสูYการเปEนโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยระดับ
ตติยภูมิมุYงสูYศูนยuความเปEนเลิศ (Excellence Center)
4.4 การผลิตแพทยuและบุคลากรทางการแพทยuที่มีคุณภาพและการสYงเสริมให]มีการสร]าง
งานวิจัยเพื่อให]เกิดองคuความรู]ใหมYทางวิทยาศาสตรuการแพทยuและการให]บริการทางการแพทยuและทางวิชาการเพื่อ
สรรคuสร]างสุขภาพที่ดีแกYคนในสังคม รวมทั้งเพื่อรองรับจำนวนนักศึกษาที่จะเพิ่มขึ้นและภาระงานสายวิชาการที่มี
จำนวนมากกวYาอัตรากำลังบุคลากรในปyจจุบัน โดยมีจำนวนนักศึกษาที่สามารถรองรับได] ดังนี้
รายการ ปvที่ 1 ปvที่ 2 ปvที่ 3 ปvที่ 4 ปvที่ 5
(พ.ศ. 2568) (พ.ศ. 2569) (พ.ศ. 2570) (พ.ศ. 2571) (พ.ศ. 2572)
จำนวนนักศึกษา 610 780 810 810 810
รวม (คน/ปw)
ปริญญาตรี 510 680 710 710 710
ปริญญาโท 40 40 40 40 40
ปริญญาเอก 60 60 60 60 60
5. ค5าใชIจ5ายและแหล5งที่มา
แผนความต]องการอัตรากำลังฯ จำนวน 662 อัตรา งบประมาณรวมทั้งสิ้น 237,986,400 บาท โดย
ขอรับการจัดสรรงบประมาณเปEนรายปw
20

______________________
1 มธ. แจ?งวQา เดิมคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (กพอ.) มีมติเห็นชอบการประกาศกำหนดพื้นที่ประมาณ 566
ไรQ บริเวณ มธ. ศูนยRพัทยา เปcนเขตสQงเสริมเศรษฐกิจพิเศษฯ (ตามประกาศ กพอ. เรื่อง กำหนดเขตสQงเสริมเศรษฐกิจพิเศษฯ ลงวันที่
10 กรกฎาคม 2562) ตQอมาบริษัท สยามกลการ จำกัด ได?บริจาคที่ดินให? มธ. จำนวนประมาณ 18 ไรQ จึงทำให?มีพื้นที่เพิ่มขึ้นเปcน 585
ไรQ จากเดิม 566 ไรQ [ตามประกาศ กพอ. เรื่อง การเปลี่ยนแปลงเขตสQงเสริมเศรษฐกิจพิเศษฯ (ฉบับที่ 1) ลงวันที่ 12 ตุลาคม 2564]
2 โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ (Tertiary Care) เปcนหนQวยบริการทางการแพทยRที่มีขีดความสามารถในการให?บริการและมีความพร?อมใน

การรักษาที่ยุQงยากซับซ?อนระดับเชี่ยวชาญหรือเชี่ยวชาญเฉพาะประกอบด?วยแพทยRผู?เชี่ยวชาญสาขาหลักทุกสาขา สาขารองและสาขา
ยQอยตามความจำเปcน
3 มธ. แจ?งวQา จะมีการจัดตั้งศูนยRความเปcนเลิศทางการแพทยRในพื้นที่ มธ. ศูนยRพัทยา รQวมกับหนQวยงานภาครัฐและภาคเอกชนที่

เกี่ยวข?อง ปvจจุบันมีการลงนามบันทึกความเข?าใจกับองคRกรด?านการแพทยRและวิศวกรรมชั้นนำในการพัฒนาความรQวมมือด?านการ
ลงทุนและมีการดำเนินการพัฒนาพื้นที่รQวมกับภาคเอกชน เชQน การพัฒนา Health Resort รQวมกับบริษัท เนอวานา ไดอิ จำกัด
(มหาชน) และการจัดตั้งศูนยRปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อบำบัดผู?ติดยาเสพติดรQวมกับบริษัท ภูฟ•า เอ็นเตอรRไพรสR จำกัด
4 ศู น ยR ส ุ ข ศาสตรR มธ. เปc น คณะในกลุ Q ม วิ ท ยาศาสตรR ส ุ ข ภาพ ประกอบด? ว ยคณะวิ ท ยาลั ย ตQ า ง ๆ รวม 7 คณะ ได? แ กQ (1) คณะ

แพทยศาสตรR (2) วิ ท ยาลั ย แพทยศาสตรR น านาชาติ จ ุ ฬ าภรณR (3) คณะพยาบาลศาสตรR (4) คณะเภสั ช ศาสตรR (5) คณะทั น ต
แพทยศาสตรR (6) คณะสาธารณสุขศาสตรR และ (7) คณะสหเวชศาสตรR
5 เขตสุ ข ภาพที ่ 6 ประกอบด? ว ย 8 จั ง หวั ด ได? แ กQ จั ง หวั ด ฉะเชิ ง เทรา ปราจี น บุ ร ี สระแก? ว สมุ ท รปราการ จั น ทบุ ร ี ชลบุ ร ี ตราด

และระยอง
6
Healthcare Accreditation (HA) หรือมาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ เปcนการรับรองคุณภาพสถานพยาบาลขั้นมาตรฐาน
ซึ่งดำเนินการโดยสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องคRการมหาชน)
7 Advanced HA (AHA) เปcนการรับรองคุณภาพสถานพยาบาลขั้นก?าวหน?าสำหรับสถานพยาบาลที่มีการพัฒนาตQอยอดมาจากการ

รับรองคุณภาพขั้นมาตรฐาน
8 Joint Commission International (JCI) เปcนการรับรองมาตรฐานสำหรับสถานพยาบาลโดยการประเมินเพื่อพิจารณาเกี่ยวกับการ

ปฏิบัติตามมาตรฐานซึ่งกำหนดขึ้นเพื่อยกระดับคุณภาพและความปลอดภัยในการดูแลผู?ป‹วย ซึ่งดำเนินการโดย JCI สหรัฐอเมริกา


9 หนQวยบริการระดับตติยภูมิชั้นสูง (Super Tertiary) เปcนศูนยRบริการทางการแพทยRที่มีขีดความสามารถในการให?บริการและมีความ

พร?อมในการรักษาสูงสุดเนื่องจากเปcนโรงพยาบาลที่ใช?สำหรับการเรียนการสอนเพื่อผลิตบุคลากรทางการแพทยRและเปcนโรงพยาบาล
สำหรับการค?นคว?าวิจัยตQาง ๆ
10 หออภิบาลผู?ป‹วยหนัก (Intensive Care Unit I.C.U.) มีภารกิจหลักในการดูแลผู?ป‹วยที่มีอาการหนักและอยูQในภาวะวิกฤตซึ่งต?องการ

การดูแลอยQางใกล?ชิด มีการติดตาม/เฝ•าระวังการเปลี่ยนแปลงของผู?ป‹วยอยูQตลอดเวลาเพื่อวิเคราะหRและวินิจฉัยอาการและปvญหา
รวมทั้งแก?ไขสถานการณRที่เกิดขึ้นกับผู?ป‹วย
11
หออภิบาลผู?ป‹วยหนักโรคหัวใจ (Coronary Care Unit: C.C.U.) มีภารกิจหลักในการดูแลผู?ป‹วยที่มีอาการวิกฤตทางโรคหัวใจและ
หลอดเลือดรวมถึงผู?ป‹วยที่มีความซับซ?อนในการทำหัตถการจากห?องสวนหลอดเลือดหัวใจ

10. เรื่อง ผลการพิจารณารายงานการพิจารณาศึกษา เรื่อง การนำการจัดอันดับมหาวิทยาลัยมาพัฒนาการศึกษา


และมหาวิทยาลัยไทย ของคณะกรรมาธิการการอุดมศึกษา วิทยาศาสตรg วิจัยและนวัตกรรม วุฒิสภา
คณะรัฐมนตรีมีมติรับทราบผลการพิจารณารายงานการพิจารณาศึกษา เรื่อง การนำการจัดอันดับ
มหาวิทยาลัยมาพัฒนาการศึกษาและมหาวิทยาลัยไทย ของคณะกรรมาธิการการอุดมศึกษา วิทยาศาสตรu วิจัยและ
นวัตกรรม วุฒิสภา ตามที่กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตรu วิจัยและนวัตกรรมเสนอ และแจ]งให]สำนักงาน
เลขาธิการวุฒิสภาทราบตYอไป
เรื่องเดิม
1. สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา ได]เสนอรายงานการพิจารณาศึกษา เรื่อง การนำการจัดอันดับ
มหาวิทยาลัยมาพัฒนาการศึกษาและมหาวิทยาลัยไทย ของคณะกรรมาธิการการอุดมศึกษา วิทยาศาสตรu วิจัยและ
นวัตกรรม วุฒิสภา มาเพื่อดำเนินการ โดยคณะกรรมาธิการฯ เห็นวYาเป¢าหมายของการพัฒนามหาวิทยาลัยคือการ
พัฒนาคนเพื่อให]คนไปพัฒนาชาติ เมื่อมหาวิทยาลัยพัฒนาแตYละตัวชี้วัดให]ดีขึ้น มหาวิทยาลัยก็จะได]คะแนนในการจัด
อั น ดั บ มากขึ ้ น จึ ง ได] ม ี ข ] อ เสนอแนะ ดั ง นี ้ (1) การวั ด ผลการพั ฒ นามหาวิ ท ยาลั ย ควรใช] ว ิ ธ ี ก ารประเมิ น แบบ
U - Multirank1 (2) ควรกำหนดเป¢าหมายและตัวชี้วัดในแตYละด]าน (3) การจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลก (World
21

University Rankings) สะท]อนภาพรวมของมหาวิทยาลัย รวมถึงระบบการศึกษาระดับอุดมศึกษาของประเทศ ควรมี


การจัดอันดับการแขYงขันภายในประเทศด]วย (4) ควรมีการนำผลการจัดอันดับมาวิเคราะหuเพื่อให]ทราบถึงจุดอYอนจุด
แข็งในแตYละหลักเกณฑu (5) การจัดกลุYมสถาบันอุดมศึกษา ควรตอบโจทยuในการแก]ปyญหาของประเทศชาติในด]านตYาง ๆ
(6) ควรผลักดันการจัดตั้งกองทุนเพื่อพัฒนาการอุดมศึกษาเปEนกลไกสำคัญตามมาตรา 45 (3) ประกอบมาตรา 47
แหYงพระราชบัญญัติการอุดมศึกษา พ.ศ. 2562 และ (7) ควรผลักดันระบบคลังหนYวยกิตในระดับอุดมศึกษา (Credit
Bank)
2. คณะรั ฐ มนตรี (31 ตุ ล าคม 2566) ได] ม ี ม ติ ใ ห] อว. รั บ รายงานพร] อ มทั ้ ง ข] อ เสนอแนะของ
คณะกรรมาธิการฯ ไปพิจารณาศึกษาแนวทางและความเหมาะสมของข]อเสนอแนะดังกลYาวในภาพรวม แล]วสYงให]
สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีภายใน 30 วัน นับแตYวันที่ได]รับแจ]งคำสั่งเพื่อนำเสนอคณะรัฐมนตรีตYอไป
ขIอเท็จจริง
อว. ได]พิจารณาตามข]อ 2. แล]ว โดยเห็นด]วยกับข]อเสนอแนะของคณะกรรมาธิการฯ และได]มี
ความเห็นเพิ่มเติมโดยสรุปได]ดังนี้
ขIอเสนอแนะของคณะกรรมาธิการฯ ผลการพิจารณา
1. การวั ด ผลการพั ฒ นามหาวิ ท ยาลั ย ควรใช] ว ิ ธ ี ก าร - อว. ได]ดำเนินโครงการ Reinvention University เพื่อ
ประเมินแบบ U - Multirank คือ มีการแบYงหมวดหมูY พัฒนาความเปEนเลิศของมหาวิทยาลัยและผลิตกำลังคน
การประเมิ น แล] ว มี เ กณฑu ใ ห] ก ั บ แตY ล ะตั ว ชี ้ ว ั ด โดย ระดับสูงเฉพาะทางตอบโจทยuความต]องการของประเทศ
มหาวิทยาลัยสามารถดูหมวดหมูYของหนYวยงานที่จัด ตามศักยภาพและความเชี่ยวชาญของมหาวิทยาลัย โดย
อั น ดั บ เปE น ตั ว อยY า ง แล] ว อาจจะเพิ ่ ม หมวดหมู Y ที่ ได]มีการประยุกตuใช]แนวคิดการประเมินในรูปแบบ U -
มหาวิทยาลัยให]ความสนใจ เชYน หมวดหมูYการพัฒนา Multirank เพื ่ อ กำหนดกลุ Y ม สถาบั น อุ ด มศึ ก ษาเชิ ง
ด]านสังคม ฯลฯ ย ุ ท ธ ศ า ส ต ร u ต า ม ก ฎ ก ร ะ ท ร ว ง ก า ร จ ั ด ก ลุY ม
สถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2564 ซึ่งเปEนการจัดกลุYมตาม
ศักยภาพ ความเชี่ยวชาญเฉพาะด]านหรือจุดเน]นของ
มหาวิทยาลัย
2. เมื่อมหาวิทยาลัยมีหมวดหมูYที่ต]องการพัฒนาแล]ว - การกำหนดเป¢าหมายและตัวชี้วัดเพื่อวัดระดับการ
ตYอไปก็ต]องมีเป¢าหมายและตัวชี้วัดในแตYละด]าน โดย บรรลุเป¢าหมายของการพัฒนามหาวิทยาลัยในแตYละ
มหาวิทยาลัยสามารถดูเกณฑu หรือตัวชี้วัดจากหนYวยงาน หมวดหมูYการประเมิน จะต]องมีความสอดคล]องเชื่อมโยง
จัดอันดับจากหลายหนYวยงานประกอบกันได] รวมทั้งตั้ง กับหลักเกณฑuของหมวดหมูY เชื่อถือได] สามารถวัดผลได]
ตัวชี้วัดหรือเกณฑuที่คิดวYาเปEนประโยชนuตYอการพัฒนา จริงทั้งในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ รวมถึงสอดรับกับ
เพิ่มเติมได]เอง ทิศทาง การพัฒนามหาวิทยาลัยและการพัฒนาประเทศ
โดยสามารถพิจารณากำหนดจากตัวชี้วัดหรือเกณฑuที่
หนYวยงานจัดอันดับที่เปEนที่ยอมรับ และกำหนดขึ้นเอง
ตามยุทธศาสตรuหรือจุดเน]นการพัฒนาของมหาวิทยาลัย
โดยอาจนำแนวคิดหรือเกณฑuของหนYวยงานจัดอันดับมา
ประยุกตuใช]รYวมด]วยและควรกำหนดคYาเป¢าหมายที่มี
ความท]าทายตYอการพัฒนามหาวิทยาลัย
3. การจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลก (World University - มหาวิ ท ยาลั ย จำเปE น ต] อ งปรั บ ตั ว ให] ม ี ค วามเปE น
Rankings) ถื อ เปE น ภาพสะท] อ นตY อ ภาพรวมของ นานาชาติในมิติตYาง ๆ และสร]างการยอมรับในระดับ
มหาวิทยาลัย รวมถึงระบบการศึกษาระดับอุดมศึกษา สากล โดย อว. ได] ก ำหนดตั ว ชี ้ ว ั ด การจั ด อั น ดั บ
ของประเทศ ดังนั้น มหาวิทยาลัยไทยควรปรับตัวให]มี มหาวิทยาลัยโลกไว]ในแผนด]านการอุดมศึกษาเพื่อผลิต
ภาพลักษณuที่มีความเปEนนานาชาติและความเปEนสากล และพัฒนากำลังคนของประเทศ พ.ศ. 2564 - 2570
จะทำให]เกิดการยอมรับมากขึ้นและควรมีการจัดอันดับ และยกรY า งแผนการดำเนิ น งานการสนั บ สนุ น และ
การแขY ง ขั น ภายในประเทศด] ว ย โดยอาจใช] ต ั ว ชี ้ วั ด สY ง เสริ ม ความรY ว มมื อ ของสถาบั น อุ ด มศึ ก ษาไทยกั บ
มหาวิทยาลัยเกี่ยวกับพันธกิจในการสร]างผลกระทบเชิง เครือขYายนานาชาติ เพื่อเปEนแนวทางในการสร]างความ
บวกตYอประเทศชาติ โดย อว. ในฐานะผู]รับผิดชอบควรมี เปEนสากลให]กับมหาวิทยาลัย รวมทั้งได]ดำเนินการจัด
การเพิ่มเติมข]อมูลที่แสดงถึงความชัดเจนและเปEนไปใน ประชุ ม เชิ ง ปฏิ บ ั ต ิ ก ารการจั ด ทำแพลตฟอรu ม ในการ
22

ทิ ศ ทางเดี ย วกั น ทั ้ ง ในด] า นนโยบายแนวทางการ บริหารจัดการและการขับเคลื่อนงานวิจัยเพื่อยกระดับ


ขั บ เคลื ่ อ น และด] า นการสนั บ สนุ น ด] า นงบประมาณ คุณภาพงานวิจัยและการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลก
เพื่อให]เกิดการพัฒนาคุณภาพการศึกษาเพื่อตอบโจทยu และจัดการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อเตรียมพร]อมรับ
การพัฒนาประเทศและการผลิตกำลังคน การจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลก (QS World University
Rankings) โ ด ย เ ช ิ ญ บ ุ ค ล า ก ร ข อ ง QS World
University Rankings ในฐานะผู ] ท ี ่ อ อกระเบี ย บและ
หลักเกณฑuมาเปEนวิทยากร เพื่อจะได]ทราบแนวปฏิบัติใน
การที่สถาบันอุดมศึกษาของไทยได]รับการจัดอันดับ
ที่ดีขึ้นตYอไป
4. ควรมี การนำผลการจั ดอั นดั บมาวิ เ คราะหu เ พื ่ อให] - การวิเคราะหuผลการจัดอันดับและพิจารณากำหนด
ทราบถึงจุดอYอนจุดแข็งในแตYละหลักเกณฑu และกำหนด ยุทธศาสตรuหรือทิศทางเพื่อพัฒนามหาวิทยาลัยจาก
วิธีการหรือระยะเวลาในการแก]ไขปyญหาตามหลักเกณฑu หลักเกณฑuหรือปyจจัยที่มีผลตYอการจัดอันดับดังกลYาว
นอกจากนั้น ควรตั้งเป¢าหมายระยะสั้นในการแขYงขันกับ เปEนการเพิ่มศักยภาพในการดำเนินการตามภารกิจของ
กลุYมมหาวิทยาลัยในภูมิภาคเอเชียหรือเอเชียตะวันออก มหาวิทยาลัยให]มีคุณภาพและมาตรฐานที่สูงขึ้น และได]
เฉียงใต] (อาเซียน) เปEนอันดับแรก และพัฒนาตYอยอด มีการกำหนดตัวชี้วัดจากสถาบันจัดอันดับระดับโลกที่
ไปสูYการแขYงขันในระดับโลกตYอไปในระยะยาว อีกทั้ง เปEนที่ยอมรับ เชYน World University Rankings, IMD,
ควรมีการจัดสรรงบประมาณเพื่อให]มีการผลักดันเชิง GI และ WEF เปEนเครื่องมือวัดความสำเร็จของการบรรลุ
บวกตYอการจัดอันดับมหาวิทยาลัยด]วย เป¢ า หมายการพั ฒ นาการอุ ด มศึ ก ษาในภาพรวมของ
ประเทศ ทั ้ ง นี ้ สำนั ก งานปลั ด อว.ได] เ ปr ด เวที ใ ห]
สถาบันอุดมศึกษารับทราบข]อมูลผลการประเมิน เพื่อให]
สถาบันอุดมศึกษาได]รับทราบศักยภาพและสถานะของ
สถาบัน และได]สนับสนุนให]สถาบันอุดมศึกษาของไทย
ได]รับการจัดอันดับที่ดีขึ้นผYานโครงการและกิจกรรมที่
สำคั ญ อาทิ โครงการ Reinventing University การ
สนับสนุนทุนวิจัยสำหรับอาจารยuนักวิจัยรุYนใหมY เปEนต]น
5. การจัดกลุYมสถาบันอุดมศึกษา ควรตอบโจทยuในการ - การจัดกลุYมสถาบันอุดมศึกษาเปEนการดำเนินการตาม
แก] ป y ญ หาของประเทศชาติ ใ นด] า นตY า ง ๆ และ พระราชบั ญ ญั ต ิ ก ารอุ ด มศึ ก ษา พ.ศ. 2562 เพื่ อ
มหาวิทยาลัยที่เข]าสูYการจัดกลุYมในแตYละกลุYมควรเลือก ประโยชนuในการสYงเสริม สนับสนุน ประเมินคุณภาพ
เฉพาะบางสาขาวิชาในมหาวิทยาลัยมากกวYาการจัดกลุYม กำกับดูแล และจัดสรรงบประมาณให]แกYมหาวิทยาลัย
ให]ทั้งมหาวิทยาลัย ซึ่งจะเปEนประโยชนuทั้งในแงYความ โดยพิ จ ารณาจากจุ ด มุ Y ง หมาย พั น ธกิ จ ยุ ท ธศาสตรu
เชี่ยวชาญและความหลากหลาย ศั กยภาพ และการดำเนิ นการที ่ ผY านมา เปE นการเปr ด
โอกาสให]มหาวิทยาลัยสามารถพิจารณาการจัดกลุYมทั้ง
มหาวิทยาลัยหรือเฉพาะคณะสาขาวิชาที่มีศักยภาพซึ่ง
ส อ ด ค ล ] อ ง ต า ม ก ฎ ก ร ะ ท ร ว ง ก า ร จ ั ด ก ลุY ม
สถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2564
6. ควรผลั ก ดั น การจั ด ตั ้ ง กองทุ น เพื ่ อ พั ฒ นาการ - อว. เรY ง ผลั ก ดั น การจั ด ตั ้ ง กองทุ น เพื ่ อ พั ฒ นาการ
อุดมศึกษาเปEนกลไกสำคัญตามมาตรา 45 (3) ประกอบ อุดมศึกษา ซึ่งขณะนี้อยูYระหวYางเสนอพระราชบัญญัติตYอ
มาตรา 47 แหYงพระราชบัญญัติการอุดมศึกษา พ.ศ. คณะรั ฐ มนตรี เ พื ่ อ พิ จ ารณา ซึ ่ ง กองทุ น จะเปE น กลไก
2562 ที ่ ช Y ว ยให] ส ถาบั น อุ ด มศึ ก ษาลดอุ ป สรรคด] า น สำคั ญ ในการปรั บ บทบาทระบบการอุ ด มศึ ก ษาไปสูY
งบประมาณ รวมถึงชYวยทำให]บรรลุผลในการดำเนินงาน ระบบการเรียนรู]รูปแบบใหมYที่สYงเสริมและสนับสนุนการ
ตามแผนและเป¢าหมายให]สะดวกขึ้นตามภารกิจ พัฒนาความเปEนเลิศของมหาวิทยาลั ย และการผลิ ต
กำลั ง คนระดั บ สู ง เฉพาะทางตามความต] อ งการของ
ประเทศ สนับสนุนการพัฒนาระบบการเรียนรู]ไปสูYการ
ตอบสนองการพัฒนาศักยภาพคนตลอดชYวงชีวิต รวมทั้ง
สY ง เสริ ม การพั ฒ นาระบบอุ ด มศึ ก ษารY ว มระหวY า ง
23

มหาวิทยาลัย หนYวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชา


สังคม สถาบันวิชาการทั้งในและตYางประเทศ เพื่อรองรับ
การเปลี่ยนแปลงอยYางฉับพลัน (Disruptive Change)
และเพิ่มขีดความสามารถในการแขYงขันของประเทศ
7. ควรผลักดันระบบคลังหนYวยกิตในระดับอุดมศึกษา - ได]มีประกาศคณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษา
(Credit Bank) ซึ่งเปEนระบบและกลไกในการเทียบโอน เรื ่ อ ง แนวทางการดำเนิ น งานคลั ง หนY ว ยกิ ต ในระดั บ
ความรู ] ค วามสามารถและหรื อ สมรรถนะที ่ ไ ด] จ าก อุ ด มศึ ก ษา พ.ศ. 2565 และประกาศคณะกรรมการ
การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ การศึกษาตาม มาตรฐานการอุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑuและวิธีการ
อัธยาศัย และจากประสบการณuบุคคล มาเก็บสะสมไว] เทียบโอนหนYวยกิตและผลการศึกษาในระดับอุดมศึกษา
ในคลังหนYวยกิตของสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2565 ซึ่งออกตามความในกฎกระทรวงมาตรฐาน
หลักสูตรการศึกษาระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2565 โดยได]
สนั บ สนุ น ระบบคลั ง หนY ว ยกิ ต แหY ง ชาติ (National
Credit Bank System: NCBS) เพื ่ อ สร] า งโอกาสทาง
การศึกษา สำหรับทุกชYวงวัยให]ผู]เรียนซึ่งไมYจำเปEนต]องมี
สถานภาพเปEนนั กศึกษาสามารถนำผลการเรี ยนและ
ผลลัพธuการเรียนรู]จากวิชาและหลักสูตรตYาง ๆ หรือนำ
ประสบการณuทำงานมาเทียบโอนและสะสมหนYวยกิตไว]
ที ่ ค ลั ง หนY ว ยกิ ต แหY ง ชาติ แล] ว สามารถนำมาขอรั บ
ปริ ญ ญาบั ต รจากสถาบั น อุ ด มศึ ก ษาของไทยโดยได]
ดำเนิ น การนำรY อ งกั บ 4 มหาวิ ท ยาลั ย ได] แ กY
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรu จุฬาลงกรณu มหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยเชียงใหมY และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช
มงคลธัญบุรี
__________________
1
U -Multirank คือ ตัวชี้วัดเพื่อประเมินมหาวิทยาลัย จากผลงาน 5 ด?าน ได?แกQ ด?านการสอนและการเรียนรู? (Teaching and
Learning), ด?านการวิจัย (Research), ด?านการถQายทอดความรู? (Knowledge Transfer), ด?านความเปcนนานาชาติ (International
Orientation) และด?านการมีสQวนรQวมในภูมิภาค (Regional Engagement)

11. เรื่อง ผลการพิจารณารายงานการพิจารณาศึกษา เรื่อง แนวทางการขับเคลื่อนภายใตIแนวคิดภูมิภาษาและ


ปpญญาแผ5นดิน ของคณะกรรมาธิการการศาสนา คุณธรรม จริยธรรม ศิลปะ และวัฒนธรรม วุฒิสภา
คณะรัฐมนตรีมีมติรับทราบผลการพิจารณารายงานการพิจารณาศึกษา เรื่อง แนวทางการขับเคลื่อน
ภายใต]แนวคิดภูมิภาษาและปyญญาแผYนดิน ของคณะกรรมาธิการการศาสนา คุณธรรม จริยธรรม ศิลปะ และ
วัฒนธรรม วุฒิสภา ตามที่กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตรu วิจัยและนวัตกรรมเสนอ และแจ]งให]สำนักงาน
เลขาธิการวุฒิสภาทราบตYอไป
สาระสำคัญ
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตรu วิจัยและนวัตกรรม และหนYวยงานที่เกี่ยวข]องได]พิจารณา
รายงานของคณะกรรมาธิการการศาสนา คุณธรรม จริยธรรม ศิลปะ และวัฒนธรรม วุฒิสภา เรื่อง แนวทางการ
ขับเคลื่อนภายใต]แนวคิดภูมิภาษาและปyญญาแผYนดินพร]อมทั้งข]อเสนอแนะ โดยคณะกรรมาธิการฯ เห็นวYาภูมิภาษา
และปyญญาแผYนดินเปEนพลังการขับเคลื่อนทางวัฒนธรรมที่สำคัญของชาติให]เกิดความเจริญก]าวหน]าอยYางยั่งยืน
แตYปyจจุบันภาครัฐยังไมYมีหนYวยงานหลักทำหน]าที่ขับเคลื่อนแนวคิดภูมิภาษาและปyญญาแผYนดินอยYางเปEนทางการ
เชYนเดียวกับนานาอารยะประเทศ ซึ่งหนYวยงานที่เกี่ยวข]องพิจารณาแล]วสรุปผลการพิจารณาวYา การจัดตั้งสถาบันภูมิ
ภาษาและปyญญาแผYนดิน (องคuการมหาชน) มีวัตถุประสงคuเพื่อเปEนศูนยuกลางรวบรวมข]อมูล ค]นคว]า เผยแพรY สYงเสริม
และสนับสนุนเกี่ยวกับภูมิภาษาและปyญญาแผYนดินรวมทั้งทำหน]าที่บูรณาการขับเคลื่อนงานกับภาคสYวนตYาง ๆ
เพื่อวางกรอบนโยบายเกี่ยวกับภูมิภาษาและปyญญาแผYนดิน ซึ่งปyจจุบันมีหลายหนYวยงานที่มีภารกิจดังกลYาว เชYน
กระทรวงวัฒนธรรม (กรมสYงเสริมวัฒนธรรม และสำนักงานศิลปวัฒนธรรมรYวมสมัย) สถาบันสYงเสริมศิลปหัตถกรรม
24

ไทย (องคu การมหาชน) สถาบั นวิ จั ยภาษาและนวั ตกรรมเอเชี ย มหาวิ ทยาลั ยมหิ ดล สถาบั นภาษาไทยสิ ริ นธร
จุฬาลงกรณuมหาวิทยาลัย ดังนั้น เพื่อไมYให]เกิดความทับซ]อนของภารกิจ จึงเห็นวYายังไมYมีความจำเปEนในการจัดตั้ง
สถาบันภูมิภาษาและปyญญาแผYนดินเปEนองคuการมหาชน อยYางไรก็ตาม ควรจัดตั้งสถาบันฯ ให]เปEนหนึ่งในสถาบัน
ภายใต]วิทยสถานด]านสังคมศาสตรu มนุษยศาสตรu และศิลปกรรมศาสตรuแหYงประเทศไทย (Thailand Academy of
Social Sciences, Humanities and Arts: TASSHA) หรือ “ธัชชา” รYวมกับสถาบันที่มีอยูYแล]ว ได]แกY สถาบันสุวรรณ
ภูมิศึกษา สถาบันโลกคดีศึกษา สถาบันเศษฐกิจพอเพียง สถาบันพิพิธภัณฑuศิลปกรรมแหYงชาติ และสถาบันชYางศิลปm
ท]องถิ่นเนื่องจากบทบาทและพันธกิจของธัชชาเปEนไปในลักษณะเดียวกับบทบาทของสถาบันฯ เพื่อไมYกYอให]เกิดภาระ
งบประมาณในระยะยาวอันเนื่องมาจากการจัดตั้งหนYวยงานใหมYที่มีคYาใช]จYายในการดำเนินงานจากการเพิ่มอัตรากำลัง
เจ]าหน]าที่และผู]ปฏิบัติงาน
12. เรื่อง ขออนุมัติขยายกรอบระยะเวลาการดำเนินโครงการ 1 อำเภอ 1 ทุน รุ5นที่ 4 ตั้งแต5ปvงบประมาณ
พ.ศ. 2567-2569
คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติตามที่กระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) เสนอขยายกรอบระยะเวลาการดำเนิน
โครงการ 1 อำเภอ 1 ทุน (โครงการฯ) รุYนที่ 4 ตั้งแตYปwงบประมาณ พ.ศ. 2567-2569 โดยขอผูกพันงบประมาณข]ามปw
สำหรับการดำเนินโครงการฯ กรอบวงเงินงบประมาณจำนวนทั้งสิ้น 5.51 ล]านบาท โดยสำนักงานปลัดกระทรวง
ศึกษาธิการ (สป.ศธ.) จะเปEนผู]ขอตั้งงบประมาณเปEนรายปwตามกระบวนการขั้นตอนวิธีการงบประมาณในภาพรวม
ตYอไป เพื่อให]ครอบคลุมการดำเนินโครงการฯ และไมYกระทบตYอการศึกษาของผู]รับทุนตามสิทธิที่ได]รับ
สำหรับงบประมาณในการดำเนินโครงการในปwงบประมาณ พ.ศ. 2567 เห็นควรให] สป.ศธ. พิจารณา
ใช]จYายตามหลักเกณฑuและเงื่อนไขการใช]งบประมาณรายจYายประจำปwงบประมาณ พ.ศ. 2566 ไปพลางกYอน ในโอกาส
แรกและจั ด ทำแผนปฏิ บ ั ต ิ ง านและแผนการใช] จ Y า ยงบประมาณ เพื ่ อ เสนอขอตั ้ ง งบประมาณรายจY า ยประจำปw
พ.ศ. 2568-2569 ตามความจำเปEนของภารกิจอยYางเหมาะสมตามขั้นตอนตYอไป ทั้งนี้ เห็นควรให]หนYวยงานที่เกี่ยวข]อง
ติดตามประเมินผลสัมฤทธิ์และรายงานผลการดำเนินโครงการดังกลYาวอยYางเปEนระบบเมื่อสิ้นสุดระยะเวลาดำเนิน
โครงการ ตามความเห็นของสำนักงบประมาณ
สาระสำคัญของเรื่อง
ศธ. รายงานวYา
1. ศธ. ดำเนินโครงการฯ ตั้งแตYปwงบประมาณ พ.ศ. 2547 เพื่อให]นักเรียนที่มีฐานะยากจน เรียนดี
และมีความประพฤติดีที่สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเทYาทั้งสายสามัญและสายอาชีพในทุก
อำเภอ/เขตทั่วประเทศมีโอกาสได]รับทุนการศึกษาตYอระดับอุดมศึกษา ปริญญาตรี หรือปริญญาใบแรกทั้งในประเทศ
ไทยและตYางประเทศ แหYงละ 1 ทุนในหลักสูตรสาขาวิชาที่สอดคล]องกับความต]องการของท]องถิ่นและความต]องการ
ของประเทศ1 ซึ่งเปEนการสร]างโอกาสและลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาในสังคมไทย รวมทั้งคำนึงถึงการสร]างความ
เสมอภาคให]เกิดขึ้นแกYประชากรทุกกลุYม เสริมสร]างองคuความรู] และศักยภาพของทรัพยากรมนุษยuให]มีคุณภาพชีวิตที่ดี
อันเปEนรากฐานที่เข]มแข็งในการพัฒนาประเทศ ซึ่งปpจจุบัน ศธ. ดำเนินโครงการดังกล5าวแลIว จำนวน 4 รุ5น มีผูIรับ
ทุน รวมทั้งสิ้น 3,093 คน โดยมี ศธ. เปEนหนYวยงานหลักในการดำเนินโครงการฯ รYวมกับหนYวยงานตYาง ๆ ที่เกี่ยวข]อง
ได]แกY กระทรวงการตYางประเทศ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตรu วิจัยและนวัตกรรม (อว.) [สำนักงาน
คณะกรรมการการอุดมศึกษา (เดิม) ซึ่งปyจจุบัน คือ สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตรu วิจัยและ
นวัตกรรม (สป.อว.)] และสำนักงาน ก.พ. ทั้งนี้ จากจำนวนผูIรับทุนตามโครงการฯ รวมทั้งสิ้น 3,093 คน มีผูIรับทุน
จำนวน 3,088 คน และมีผูIสละสิทธิก5อนรับทุนจำนวน 5 คน โดยปyจจุบันมีผู]สำเร็จการศึกษา จำนวน 2,921 คน
(ประกอบอาชี พ ในองคu ก รตY า ง ๆ เชY น ภาคเอกชน ภาครั ฐ ธุ ร กิ จ สY ว นตั ว รั ฐ วิ ส าหกิ จ องคu ก รเอกชนเพื่ อ
สาธารณประโยชนu)ไมYสำเร็จการศึกษา จำนวน 161 คน และอยูYระหวYางการศึกษา รุYนที่ 4 จำนวน 6 คน สรุปผลการ
ดำเนินโครงการฯ จำนวน 4 รุYน ดังนี้
หนQวย : คน
ผลการดำเนินโครงการ (ขIอมูล ณ วันที่ 10 พฤศจิกายน 2566)
ผูIรับทุน ผูIสำเร็จการศึกษา ผูIไม5สำเร็จการศึกษา
3,093 2,921 161
25

รุ5นที่ 1 ดำเนินโครงการฯ ปvงบประมาณ พ.ศ. 2547-2554 โดยผู]รับทุนสามารถเลือกเรียนสาขาวิชาที่หลากหลาย


ในระดับปริญญาตรีทั้งในประเทศไทยและต5างประเทศ สำหรับการศึกษาในต5างประเทศได]กำหนดให]ผู]รับทุน
ศึกษาตYอในประเทศที่ไมYใช]ภาษาอังกฤษเปEนภาษาหลักและเปEนประเทศที่มีความก]าวหน]าและความชำนาญใน
สาขาวิชาตYาง ๆ เพื่อให]ผู]รับทุนได]เรียนรู]ความก]าวหน]าทางวิทยาการและภาษาอื่น
921 876 45
- ศึกษาในประเทศ จำนวน 343 คน - ลาออก จำนวน 34 คน
- ศึกษาตYางประเทศ จำนวน 533 คน - พ]นสภาพการเปEนนักเรียนทุน2 จำนวน 11 คน
รุ5นที่ 2 ดำเนินโครงการฯ ปwงบประมาณ พ.ศ. 2549-2556 และมีแนวปฏิบัติเดียวกันกับการดำเนินโครงการฯ รุYนที่
1
915 884 31
- ศึกษาในประเทศ จำนวน 273 คน - ลาออก จำนวน 13 คน
- ศึกษาตYางประเทศ จำนวน 611 คน - พ]นสภาพการเปEนนักเรียนทุน จำนวน 18 คน
รุ5นที่ 3 ดำเนินโครงการฯ ปwงบประมาณ พ.ศ. 2555-2562 โดยเพิ่มเติมการให]ผู]รับทุนสามารถเลือกไปศึกษาตYอใน
ประเทศที่ใช]ภาษาอังกฤษเปEนภาษาหลักในการสื่อสารได]
689 620 69
- ศึกษาในประเทศ จำนวน 181 คน - ลาออก จำนวน 51 คน
- ศึกษาตYางประเทศ จำนวน 439 คน - พ]นสภาพการเปEนนักเรียนทุน จำนวน 15 คน
- เสียชีวิต จำนวน 3 คน
รุ5นที่ 4 ดำเนินโครงการฯ ปwงบประมาณ พ.ศ. 2556-2565 (มีการขยายระยะเวลาดำเนินโครงการฯ
568 สำเร็จการศึกษา 541 คน ไม5สำเร็จการศึกษา 16 คน
- ศึกษาในประเทศ จำนวน 339 คน - ลาออก จำนวน 2 คน
- ศึกษาตYางประเทศ จำนวน 202 คน - พ]นสภาพการเปEนนักเรียนทุน จำนวน 14 คน
ทั้งนี้ อยู5ระหว5างศึกษา 6 คน (ศึกษาด]วยทุนรัฐบาล จำนวน 4 คน และอยูYระหวYางพิจารณา
คุณสมบัติ จำนวน 2 คน) และสละสิทธิ์ก5อนรับทุน 5 คน
2. เนื่องจากสถานการณgการแพร5ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ส5งผลใหIผูIรับทุนในรุ5น
ที่ 4 จำนวน 6 คน ไดIรับผลกระทบจากปpญหาดIานสุขภาพ จึงปรับเปลี่ยนจากการศึกษาในต5างประเทศเปkนศึกษา
ในประเทศ3 และไม5สามารถสำเร็จการศึกษาไดIตามระยะเวลาที่โครงการฯ รุ5นที่ 4 กำหนด ในปv 2565 แตYผู]รับทุน
ยังคงมีสถานะอยูYในเงื่อนไขการรับทุนรัฐบาลและประสงคuที่จะศึกษาตYอจนสำเร็จการศึกษา อยYางไรก็ตาม กรอบการ
ขยายระยะเวลาดำเนินโครงการฯ (ปwงบประมาณ พ.ศ. 2564-2565) ได]สิ้นสุดลงแล]ว เปEนผลให]ตั้งแตYปwงบประมาณ
พ.ศ. 2566 เปEนต]นมา ไมYมีมติคณะรัฐมนตรีรองรับการดำเนินงานโครงการฯ รุYน 4 ดังนั้น สป.ศธ. จึงได]เสนอ
รัฐมนตรีวYาการกระทรวงศึกษาธิการในขณะนั้น (นางสาวตรีนุช เทียนทอง) พิจารณาให]ความเห็นชอบและอนุมัติขยาย
ระยะเวลากY อหนี ้ ผู กพั นโดยไมY เ พิ ่ มวงเงิ นกY อหนี ้ ผู กพั น (ดำเนิ นการตามระเบี ยบวY าด] วยการกY อหนี ้ ผู กพั นข] าม
ปwงบประมาณ พ.ศ. 2562 ข]อ 7) โดยขอใช]งบประมาณเหลือจYายประจำปwงบประมาณ พ.ศ. 2565 ที่กันไว]เบิกเหลื่อม
ปw เ พื ่ อ เปE น คY า ใช] จ Y า ยสำหรั บ การดำเนิ น โครงการฯ ในปw ง บประมาณ พ.ศ. 2566 (สามารถเบิ ก จY า ยได] ภ ายใน
2 ปwงบประมาณ โดยสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2566)4
3. จากการดำเนินการในข]อ 2 แม]จะมีงบประมาณเหลือจYายเพียงพอตYอการบริหารจัดการโครงการฯ
แตYไมYสามารถเบิกจYายงบประมาณได]ตYอเนื่องจนผู]รับทุนสำเร็จการศึกษา (ปw 2569) เนื่องจากงบประมาณถูกพับโดย
ผลของกฎหมาย ดังนั้น ศธ. จึงจะเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาให]ความเห็นชอบการขยายกรอบระยะเวลาการดำเนิน
โครงการฯ แตYเนื่องจากมีพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู]แทนราษฎร พ.ศ. 2566 จึงเปEนผลให]คณะรัฐมนตรีชุดเดิมพ]นจาก
ตำแหนYง ศธ. จึงไมYสามารถนำเรื่องดังกลYาวเสนอขอความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีชุดเดิมได] ดังนั้น เพื่อใหIการ
จัดสรรทุนเกิดความต5อเนื่องและไม5เกิดผลกระทบต5อการศึกษาของผูIรับทุนอีก 6 คน ที่ยังอยู5ระหว5างการศึกษา
(ทยอยจบในปwงบประมาณ พ.ศ. 2567-2569 ปwละ 2 คน) จึงจำเปkนตIองขออนุมัติขยายกรอบระยะเวลาการดำเนิน
โครงการฯ รุ5นที่ 4 เปkนปvงบประมาณ พ.ศ. 2567-2569 โดยขอผูกพันงบประมาณขIามปvสำหรับดำเนินโครงการฯ
รุ5นที่ 4 กรอบวงเงินงบประมาณ จำนวน 5.51 ลIานบาท เพื่อให]ครอบคลุมการดำเนินโครงการฯ รุYน 4 และไมY
26

กระทบตYอการศึกษาของผู]รับทุนตามสิทธิที่ได]รับ รวมทั้งให]มีสถานะรองรับการจัดทำคำของบประมาณรายจYาย
ประจำปwตามขั้นตอนวิธีการงบประมาณตYอไป
__________________________
1 เชQน สาขาวิชาชีพเฉพาะทาง (เชQน แพทยR พยาบาล เภสัช) วิทยาศาสตรR วิศวกรรม
2
ศธ. แจ?งวQา การพ?นสภาพการเปcนนักเรียนทุนเนื่องจากผู?รับทุนมีผลการเรียนไมQเปcนไปตามเกณฑRที่กำหนดและมีพฤติกรรมที่ไมQ
เหมาะสม
3 ศธ. แจ?งวQา เงื่อนไขการรับทุนสามารถปรับเปลี่ยนจากศึกษาในตQางประเทศมาเปcนในประเทศได?ก็ตQอเมื่อผู?รับทุนมีระยะเวลาการรับ

ทุนทั้งตQางประเทศและในประเทศ นับรวมกันไมQเกิน 7 ปž มีพฤติกรรมเหมาะสมและจะต?องได?รับการพิจารณาให?ความเห็นชอบโดย


สำนักงาน ก.พ. ซึ่งผู?รับทุนในโครงการดังกลQาวได?รับความเห็นชอบจากสำนักงาน ก.พ. แล?ว
4 ศธ. แจ?งวQา ได?ขอใช?งบประมาณเหลือจQายปžงบประมาณ พ.ศ. 2565 ที่กันไว?เบิกเหลื่อมปž จำนวน 5.42 ล?านบาท สำหรับดำเนิน

โครงการฯ รุQนที่ 4 ปžงบประมาณ พ.ศ. 2566 แตQไมQสามารถเบิกจQายได?ทัน งบประมาณจึงถูกพับไป (ในสQวนของวงเงินงบประมาณที่


เสนอขอรับการจัดสรรในครั้งนี้ จำนวน 5.51 ล?านบาท ยังอยูQภายในกรอบวงเงินเดิม 14,493 ล?านบาทที่คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติไว?)

13. เรื่อง การผ5อนผันใหIแรงงานต5างดIาวสัญชาติกัมพูชา ลาว และเมียนมา เดินทางกลับประเทศตIนทาง เพื่อ


ร5วมงานประเพณีสงกรานตg ประจำปv พ.ศ. 2567
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามทีก่ ระทรวงแรงงาน (รง.) เสนอ เรื่อง การผYอนผัน ให]แรงงานตYางด]าว
สัญชาติกัมพูชา ลาว และเมียนมา เดินทางกลับประเทศต]นทางเพื่อรYวมงานประเพณีสงกรานตu ประจำปw พ.ศ. 2567
ดังนี้
1. ให]ความเห็นชอบการผYอนผันให]แรงงานตYางด]าวสัญชาติกัมพูชา ลาว และเมียนมา เดินทางกลับ
ประเทศต]นทางเพื่อรYวมงานประเพณีสงกรานตu ประจำปw พ.ศ. 2567 ในชYวงระหวYางวันที่ 1 เมษายน ถึงวันที่
15 พฤษภาคม 2567 โดยให]หนYวยงานที่เกี่ยวข]องดำเนินการ ดังนี้
1.1 ให]กระทรวงมหาดไทย (มท.) ออกกฎกระทรวงเพื่อยกเว]นคYาธรรมเนียมตามกฎหมาย
วYาด]วยคนเข]าเมืองในกระบวนการที่เกิดขึ้นจากการเดินทางออกจากราชอาณาจักรเพื่อไปรYวมงานประเพณีสงกรานตu
ประจำปw พ.ศ. 2567 และเดิ น ทางกลั บ เข] า มาในราชอาณาจั ก รภายในชY ว งระหวY า งวั น ที ่ 1 เมษายน ถึ ง วั น ที่
15 พฤษภาคม 2567 และออกประกาศกระทรวงมหาดไทยเพื่อรองรับการดำเนินการยกเว]นไมYต]องยื่นคำขออนุญาต
เพื่อกลับเข]ามาในราชอาณาจักรอีก (Re-Entry Permit) ทั้งนี้ มท. ได]ยกรYางกฎกระทรวงและรYางประกาศ รวม
2 ฉบับดังกลYาวมาด]วยแล]ว
1.2 ให]สำนักงานตำรวจแหYงชาติ โดยสำนักงานตรวจคนเข]าเมือง มอบหมายให]พนักงาน
เจ]าหน]าที่ตามกฎหมายวYาด]วยคนเข]าเมืองที่ประจำ ณ ดYานตรวจคนเข]าเมือง ที่รับผิดชอบชYองทางในการเข]า - ออก
ราชอาณาจักร ดำเนินการประทับตราอนุญาตให]แรงงานตYางด]าวเดินทางออกนอกราชอาณาจักรและประทับตรา
อนุญาตให]แรงงานตYางด]าวเดินทางเข]ามาในราชอาณาจักรในหนังสือเดินทางหรือเอกสารใช]แทนหนังสือเดินทาง
ระหวYางวันที่ 1 เมษายน ถึงวันที่ 15 พฤษภาคม 2567 รวมทั้งให]รายงานผลการเดินทางให] รง. ทราบ ในระหวYาง
ดำเนินการ และสิ้นสุดการดำเนินการแล]ว
1.3 ให]กระทรวงการตYางประเทศ โดยกรมเอเชียตะวันออก ประสานแจ]งแนวทางการ
ดำเนินการตามมาตรการนี้ให]สถานเอกอัครราชทูตไทย ณ ประเทศต]นทางของแรงงานตYางด]าวได]ทราบ และพิจารณา
เตรียมการดำเนินการในสYวนที่เกี่ยวข]อง
2. ให]ทุกหนYวยงานให]ความรYวมมือในการดำเนินการ และเรYงทำการประชาสัมพันธu สร]างการรับรู]ทุก
พื้นที่ รวมถึงอำนวยความสะดวกตามอำนาจหน]าที่ให]กับแรงงานตYางด]าวสัญชาติ กัมพูชา ลาว และเมียนมา เดินทาง
กลับประเทศต]นทางในการรYวมงานประเพณีสงกรานตuประจำปw พ.ศ. 2567 และกำกับดูแลมิให]พนักงานเจ]าหน]าที่หรือ
เจ]าหน]าที่ของรัฐใช]อำนาจในตำแหนYงโดยมิชอบ เพื่อลดการกลYาวหาการเรียกรับหรือแสวงหาผลประโยชนuโดยผิด
กฎหมาย
ขIอเท็จจริงและสาระสำคัญของร5างกฎหมาย
รง. เสนอวYา
1. เทศกาลสงกรานตuเปEนงานประเพณีของประเทศในคาบสมุทรอินโดจีน ประกอบด]วยประเทศไทย
กัมพูชา ลาว และเมียนมา ซึ่งในชYวงเทศกาลดังกลYาวของทุกปw แรงงานตYางด]าวทั้ง 3 สัญชาติ (กัมพูชา ลาว และเมียนมา)
27

ที่ทำงานในประเทศไทยจะเดินทางกลับประเทศเพื่อรYวมงานประเพณีสงกรานตuและเยี่ยมเยียนครอบครัว เชYนเดียวกัน
กับที่ประชาชนชาวไทยเดินทางกลับภูมิลำเนาของตน โดยในการเดินทางออกและเข]าราชอาณาจักรตามปกติ แรงงาน
ตYางด]าวจะต]องดำเนินการยื่นคำขออนุญาตเพื่อกลับเข]ามาในราชอาณาจักรอีก (Re-Entry Permit) และชำระ
คYาธรรมเนียมคำขออนุญาตดังกลYาว ซึ่งในชYวงที่ผYานมาตั้งแตY ปw พ.ศ. 2559 ถึงปw พ.ศ. 2562 รัฐบาลได]มีนโยบายผYอน
ผันให]แรงงานตYางด]าว 3 สัญชาติ (กัมพูชา ลาว และเมียนมา) เดินทางกลับประเทศเพื่อรYวมงานประเพณีสงกรานตu
โดยไมYต]องยื่นคำขออนุญาตเพื่อกลับเข]ามาในราชอาณาจักรอีก (Re-Entry Permit)1
2. เมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธu 2567 นายกรัฐมนตรีกัมพูชาได]หยิบยกเรื่องการผYอนผันให]แรงงานตYางด]าว
เดินทางกลับประเทศต]นทางเพื่อรYวมงานประเพณีสงกรานตu ประจำปw พ.ศ. 2567 โดยยกเว]นคYาธรรมเนียมคำขอ
อนุญาตเพื่อกลับเข]ามาในราชอาณาจักรอีก หารือกับนายกรัฐมนตรีในระหวYางการเยือนประเทศไทยอยYางเปEนทางการ
ซึ่งนายกรัฐมนตรีได]มอบหมายให]หนYวยงานที่เกี่ยวข]องพิจารณาดำเนินการในสYวนที่เกี่ยวข]องตYอไป นอกจากนี้ รง.
ยังได]รับการร]องขอจากประเทศต]นทางแรงงานตYางด]าว (ลาวและเมียนมา) และภาคเอกชน ขอให]หนYวยงานภาครัฐที่
เกี่ยวข]องผYอนผันให]แรงงานตYางด]าวสัญชาติกัมพูชา ลาว และเมียนมา เดินทางกลับประเทศต]นทางเพื่อรYวมงาน
ประเพณีสงกรานตu ประจำปw พ.ศ. 2567 โดยยกเว]นคYาธรรมเนียมในกระบวนการที่เกิดขึ้นจากการเดินทางออก - เข]า
ราชอาณาจักรภายในระยะเวลาที่กำหนด เพื่อชYวยลดขั้นตอนและภาระทางการเงินให]แกYแรงงานตYางด]าวในลักษณะ
เดียวกับที่คณะรัฐมนตรีได]เคยมีมติเมื่อปw พ.ศ. 2562
3. ดังนั้น เพื่อเปEนการอำนวยความสะดวกให]กับแรงงานตYางด]าวที่จะเดินทางกลับประเทศต]นทาง
ในชYวงเทศกาลสงกรานตu ลดภาระคYาใช]จYายให]กับแรงงานตYางด]าวซึ่งสYวนใหญYเปEนกลุYมคนที่มีรายได]น]อย อันจะเปEน
การเพิ่มขวัญกำลังใจการทำงานในประเทศไทย และเปEนการป¢องกันความเสี่ยงที่แรงงานตYางด]าวจะเดินทางออก - เข]า
ราชอาณาจักรอยYางไมYถูกต]อง รวมทั้งลดภาระการติดตามตรวจสอบของเจ]าหน]าที่ ตลอดจนเปEนการสYงเสริมประเพณี
วัฒนธรรม และความสัมพันธuอันดีด]านแรงงานระหวYางประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ]าน รง. จึงได]กำหนดมาตรการ
ในการผYอนผันให]แรงงานตYางด]าวสัญชาติกัมพูชา ลาว และเมียนมา เดินทางกลับประเทศต]นทางเพื่อรYวมงานประเพณี
สงกรานตu ประจำปw พ.ศ. 2567 ซึ่งมีสาระสำคัญ ดังนี้
3.1 กำหนดให] ก ารผY อ นผั น ดั ง กลY า วใช] ก ั บ แรงงานตY า งด] า ว 3 สั ญ ชาติ (กั ม พู ช า ลาว
และเมียนมา) ที่ได]รับอนุญาตทำงาน ซึ่งถือหนังสือเดินทางหรือเอกสารใช]แทนหนังสือเดินทางที่ได]รับการตรวจลงตรา
และอนุญาตให]อยูYในราชอาณาจักรเปEนการชั่วคราว หรือตรวจอนุญาตให]อยูYในราชอาณาจักรเปEนการชั่วคราวตYอไป
(Non L-A Visa) โดยที่ระยะเวลาการอนุญาตให]อยูYในราชอาณาจักรยังมีอายุเหลือไมYน]อยกวYาวันที่ 15 พฤษภาคม
2567 รวมถึงผู]ติดตามของแรงงานตYางด]าวดังกลYาว
3.2 ในชYวงระหวYางวันที่ 1 เมษายน ถึงวันที่ 15 พฤษภาคม 2567 ให]พนักงานเจ]าหน]าที่
ตามกฎหมายวYาด]วยคนเข]าเมืองประทับตราอนุญาตให]แรงงานตYางด]าว ในการเดินทางออกนอกราชอาณาจักรและ
ประทับตราการเดินทางเข]ามาในราชอาณาจักร ในหนังสือเดินทางหรือเอกสารใช]แทนหนังสือเดินทาง โดยแรงงาน
ตYางด]าวดังกลYาวไมYต]องดำเนินการยื่นคำขออนุญาตเพื่อกลับเข]ามาในราชอาณาจักรอีก (Re-Entry Permit)
3.3 หากแรงงานตYางด]าวได]เดินทางออกนอกราชอาณาจักรตามมาตรการนี้ และเดินทาง
กลับเข]ามาในราชอาณาจักรภายหลังวันที่ 15 พฤษภาคม 2567 ให]การอนุญาตให]อยูYในราชอาณาจักรของแรงงานตYาง
ด]าวผู]นั้นเปEนอันสิ้นสุดลง ทั้งนี้ แรงงานตYางด]าวที่ไมYประสงคuจะดำเนินการตามมาตรการดังกลYาว เชYน ประสงคuจะ
เดินทางกลับเข]ามาในราชอาณาจักรหลังจากวันที่ 15 พฤษภาคม 2567 หรือแรงงานตYางด]าวที่ยังไมYทราบกำหนดการ
เดิ น ทางกลั บ เข] า ประเทศไทยที ่ แ นY ช ั ด แรงงานตY า งด] า วดั ง กลY า วสามารถยื ่ น คำขออนุ ญ าตเพื ่ อ กลั บ เข] า มาใน
ราชอาณาจักรอีก (Re-Entry Permit) ได]ตามปกติ2
4. การดำเนินการตามมาตรการการผYอนผันให]แรงงานตYางด]าวสัญชาติกัมพูชา ลาว และเมียนมา
เดินทางกลับประเทศต]นทางเพื่อรYวมงานประเพณีสงกรานตu ประจำปw พ.ศ. 2567 ตามข]อ 3 ในสYวนที่เกี่ยวกับการ
ยกเว]นไมYต]องยื่นคำอนุญาตเพื่อกลับเข]ามาในราชอาณาจักรอีก (Re-Entry Permit) และการยกเว]นคYาธรรมเนียมใน
กระบวนการที่เกิดขึ้น จากการเดินทางออกจากราชอาณาจักรนั้น จำเปEนต]องดำเนินการโดยออกเปEนกฎกระทรวง
และประกาศกระทรวงมหาดไทยซึ่งอาศัยอำนาจตามพระราชบัญญัติคนเข]าเมือง พ.ศ. 2522 ซึ่งเปEนการดำเนินการที่
อยูYในอำนาจหน]าที่ของ มท. โดย มท. ได]ดำเนินการยกรYางกฎกระทรวง และรYางประกาศดังกลYาวแล]ว ดังนี้
4.1 รYางกฎกระทรวงยกเลิกการกำหนดอัตราคYาธรรมเนียมคำขออนุญาต เพื่อกลับเข]ามาใน
ราชอาณาจักรอีก ตามมาตรา 39 วรรคสอง สำหรับคนตYางด]าวสัญชาติกัมพูชา ลาว และเมียนมา ซึ่งเข]ามาเพื่อทำงาน
28

ในราชอาณาจักรตามบันทึกความเข]าใจวYาด]วยความรYวมมือด]านการจ]างแรงงาน หรือได]รับอนุญาตทำงานใน
เรือประมงและมีหนังสือคนประจำเรือตามกฎหมายวYาด]วยการประมง หรือได]รับอนุญาตให]เข]ามาอยูYในราชอาณาจักร
เปEนกรณีพิเศษ ชนิดใช]ได]ครั้งเดียว เปEนการชั่วคราว พ.ศ. 2567 มีสาระสำคัญเปEนการกำหนดให]แรงงานตYางด]าว
สัญชาติกัมพูชา ลาว และเมียนมา ที่จะเดินทางกลับประเทศต]นทางเพื่อรYวมงานประเพณีสงกรานตuในชYวงระยะเวลา
ตามมาตรการในเรื่องนี้ ได]รับยกเว]นคYาธรรมเนียมคำขออนุญาต เพื่อกลับเข]ามาในราชอาณาจักรอีกตามกฎหมายวYา
ด]วยคนเข]าเมือง (คYาธรรมเนียมคำขออนุญาต คนละ 1,000 บาท)
4.2 รYางประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การอนุญาตให]คนตYางด]าวสัญชาติกัมพูชา ลาว
และเมียนมา ซึ่งเข]ามาเพื่อทำงานในราชอาณาจักรตามบันทึกความเข]าใจวYาด]วยความรYวมมือด]านการจ]างแรงงาน
หรือได]รับอนุญาตทำงานในเรือประมงและมีหนังสือคนประจำเรือตามกฎหมายวYาด]วยการประมง หรือได]รับอนุญาต
ให]เข]ามาอยูYในราชอาณาจักร เปEนกรณีพิเศษ สามารถเดินทางออกนอกราชอาณาจักรกลับประเทศต]นทางเพื่อไป
รYวมงานประเพณีสงกรานตu ประจำปw พ.ศ. 2567 มีสาระสำคัญ ดังนี้
(1) กำหนดให]แรงงานตYางด]าวสัญชาติกัมพูชา ลาว และเมียนมาที่จะเดินทางกลับ
ประเทศต]นทางเพื่อรYวมงานประเพณีสงกรานตuในชYวงระยะเวลาตามมาตรการในเรื่องนี้ ได]รับยกเว]นไมYต]องยื่นคำขอ
อนุญาตเพื่อกลับเข]ามาในราชอาณาจักรอีกตามกฎหมายวYาด]วยคนเข]าเมือง
(2) กำหนดให]แรงงานตYางด]าวที่เดินทางออกนอกราชอาณาจักรตามมาตรการใน
เรื่องนี้ หากเดินทางกลับเข] ามาในราชอาณาจักรภายหลังวันที่ 15 พฤษภาคม 2567 ให]การอนุญาตให] อยู Yใน
ราชอาณาจักรของแรงงานตYางด]าวนั้นสิ้นสุดลง
5. ในคราวประชุมคณะกรรมการนโยบายการบริหารจัดการการทำงานของคนตYางด]าว ครั้งที่
1/2567 เมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2567 ที่ประชุมได]ให]ความเห็นชอบกับการผYอนผันให]แรงงานตYางด]าวสัญชาติกัมพูชา
ลาว และเมียนมา เดินทางกลับประเทศต]นทาง เพื่อรYวมงานประเพณีสงกรานตu ประจำปw พ.ศ. 2567 ตามข]อ 3 แล]ว
6. รง. ได]จัดทำรายละเอียดข]อมูลเกี่ยวกับการดำเนินการที่กYอให]เกิดการสูญเสียรายได]ของรัฐหรือ
หนYวยงานของรัฐ ตามมาตรา 27 แหYงพระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. 2561 แล]ว โดย รง. คาดการณu
วYาจะมีคนตYางด]าวดำเนินการตามมาตรการในเรื่องนี้ประมาณ 200,000 คน ซึ่งจะสYงผลให]ภาครัฐสูญเสียรายได]
ประมาณ 200 ล]านบาท (คYาธรรมเนียมคำขออนุญาตเพื่อกลับเข]ามาในราชอาณาจักรอีก คนละ 1,000 บาท)
_________________________
1คณะรัฐมนตรีได?เคยมีมติลQาสุดเกี่ยวกับการผQอนผันให?แรงงานตQางด?าวสัญชาติกัมพูชา
ลาว และเมียนมา เดินทางกลับประเทศต?นทาง
เพื่อรQวมงานประเพณีสงกรานตR เมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2562 โดยหลังจากนั้นกระทรวงแรงงานไมQได?เสนอเรื่องดังกลQาวตQอคณะรัฐมนตรี
อีก เนื่องจากเกิดสถานการณRการแพรQระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
2 โดยปกติคนตQางด?าวจะต?องยื่นคำขออนุญาตเพื่อกลับเข?ามาในราชอาณาจักรอีก (Re-entry Permit) กQอนที่จะเดินทางออกนอก

ราชอาณาจักร ดังนั้น หากคนตQางด?าวไมQประสงคRจะดำเนินการตามมาตรการในเรื่องนี้ คนตQางด?าวก็จะต?องยื่นคำขอดังกลQาวกQอน


เดินทางออกนอกราชอาณาจักร

14. เรื่อง ขออนุมัติงบประมาณอุดหนุนค5าอาหารกลางวันของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปvที่ 1 - 3 ในโรงเรียน


ขยายโอกาสทางการศึกษา
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบในหลักการการอนุมัติงบประมาณอุดหนุนคYาอาหารกลางวันของนักเรียน
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปwที่ 1 - 3 ของโรงเรียนขยายโอกาส สำหรับโรงเรียนในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน กรมสYงเสริมการปกครองท]องถิ่น กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน และกรุงเทพมหานคร ระยะเวลา
200 วัน/ปwการศึกษา รวมงบประมาณทั้งสิ้น 2,955.57 ล]านบาท โดยให]มีผลในปwงบประมาณ พ.ศ. 2568 ตามที่
กระทรวงศึ กษาธิ การ (ศธ.) เสนอ โดยใช] อั ตราตามขนาดของโรงเรี ยนเชY นเดี ยวกั บมติ คณะรั ฐมนตรี เ มื ่ อวั นที่
8 พฤศจิกายน 2565 เพื่อให]เปEนมาตรฐานเดียวกัน โดยในกรณีที่เปEนโรงเรียนที่มีการจัดการเรียนการสอน ตั้งแตY
ระดับชั้นประถมศึกษาถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาปwที่ 1 - 3 ขอให]คำนวณจำนวนนักเรียนที่มีการจัดการเรียนการสอน
ของทั้งโรงเรียนเพื่อกำหนดเปEนขนาดของโรงเรียน ในการประมาณการคYาอาหารกลางวันดังกลYาว ทั้งนี้ ขอให]
หนYวยงานที่เกี่ยวข]องเสนอขอรับการจัดสรรงบประมาณตามความจำเปEนและเหมาะสม โดยคำนึงถึงการนำเงินนอก
งบประมาณมาสมทบ ตลอดจนมีการกำหนดแนวทางการบริหารจัดการงบประมาณที่มีอยูYอยYางเพียงพอและเกิด
ประโยชนuสูงสุด ให]สอดคล]องกับขนาดของโรงเรียนและจำนวนนักเรียนอยYางเหมาะสม และเปrดโอกาสให]ทุกภาคสYวน
29

เข]ามามีสYวนรYวมในทุกมิติในการสนับสนุนการดำเนินการดังกลYาว รวมถึงการกำหนดมาตรการ กลไกและกระบวนการ


ติดตามประเมินผลให]มีความชัดเจน โปรYงใสและตรวจสอบได] เกิดผลสัมฤทธิ์จากการดำเนินโครงการ ตามนัย
พระราชบัญญัติวินัยการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. 2561 ตามความเห็นของสำนักงบประมาณ
สาระสำคัญ
กระทรวงศึกษาธิการเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาอนุมัติงบประมาณอุดหนุนคYาอาหารกลางวันของ
นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปwที่ 1-3 ในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา ในอัตราตามขนาดของโรงเรียน
[เปEนอัตราเดียวกันกับที่คณะรัฐมนตรีมีมติ (8 พฤศจิกายน 2565) อนุมัติให]นักเรียนระดับชั้นอนุบาลจนถึงชั้น
ประถมศึกษาปwที่ 6 สำหรับโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรกมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กรมสYงเสริมการปกครอง
ท]องถิ่น กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน และกรุงเทพมหานคร ให]กับนักเรียน 575,983 คน ระยะเวลา
200วัน/ปwการศึกษา จำนวน 2,955.57 ล]านบาท โดยให]มีผลในปwงบประมาณ พ.ศ. 2568 สรุปได] ดังนี้
สังกัด จำนวนโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาระดับ งบประมาณ
มัธยมศึกษาปvที่ 1-3 (แห5ง) (ลIานบาท)
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 6,855 2,460.39
กรมสYงเสริมการปกครองท]องถิ่น 376 337.25
กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน 4 1.99
กรุงเทพมหานคร 109 155.94
รวม 7,344 2,955.57

15. เรื่อง การจัดตั้งพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดบุรีรัมยg


คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบการกำหนดให]จังหวัดบุรีรัมยuเปEนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาโดยประกาศ
ในราชกิจจานุเบกษา ตามที่คณะกรรมการนโยบายพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา (คณะกรรมการนโยบายฯ) เสนอ
ทั ้ ง นี ้ การขอรั บ จั ด สรรงบประมาณเพื ่ อ เปE น คY า ใช] จ Y า ยในการดำเนิ น งานตามมาตรา 28 ของ
พระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 เห็นควรให]มีการนำผลการประเมินการดำเนินงานในชYวง 3 ปw
ตามมาตรา 40 ของพระราชบัญญัติดังกลYาวมาประกอบการพิจารณาการจัดทำแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช]จYาย
งบประมาณเพื ่ อเสนอขอรั บจั ดสรรงบประมาณรายจY ายประจำปw ตามความจำเปE นและเหมาะสมสอดคล] องกั บ
ข]อเท็จจริง โดยคำนึงถึงศักยภาพและความพร]อมของสถานศึกษาแตYละพื้นที่ ความคุ]มคYา ความซับซ]อน ความ
ครอบคลุมทุกแหลYงเงิน รวมถึงสร]างการรับรู]และความเข]าใจในทุกมิติถึงประโยชนuที่ทุกภาคสYวนจะได]รับเปEนสำคัญ
ตามความเห็นของสำนักงบประมาณ
สาระสำคัญเรื่อง
คณะกรรมการนโยบายฯ รายงานวYา
1. พระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 มาตรา 5 บัญญัติให]พื้นที่นวัตกรรม
การศึกษาเปEนพื้นที่ปฏิรูปการบริหารและการจัดการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อสนับสนุนการสร]างนวัตกรรม
การศึกษา1 โดยมีวัตถุประสงคu 4 ประการ ดังนี้ (1) คิดค]นและพัฒนานวัตกรรมการศึกษาและการเรียนรู]เพื่อยกระดับ
ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของผู]เรียน รวมทั้งเพื่อให]มีการขยายผลไปปรับใช]ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานอื่น (2) ลดความ
เหลื่อมล้ำในการศึกษา (3) กระจายอำนาจและให]อิสระแกYหนYวยงานทางการศึกษาและสถานศึกษานำรYองในพื้นที่
นวัตกรรมการศึกษาเพื่อเพิ่มความคลYองตัวในการบริหารและการจัดการศึกษาให]มีคุณภาพและประสิทธิภาพมาก
ยิ่งขึ้น และ (4) สร]างและพัฒนากลไกการจัดการศึกษารYวมกันระหวYางภาครัฐ องคuกรปกครองสYวนท]องถิ่น (อปท.)
ภาคเอกชน และภาคประชาสังคมในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา มาตรา 6 บัญญัติให]คณะกรรมการนโยบายฯ พิจารณา
ความเหมาะสมของการเปEนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาโดยคำนึงถึงความพร]อม ตลอดจนการมีสYวนรYวมของผู]เกี่ยวข]อง
และมาตรา 7 บัญญัติให]จังหวัดใดประสงคuจะเปEนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ให]คณะผู]เสนอ2โดยความเห็นชอบของ
คณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัดเสนอตYอคณะกรรมการนโยบายฯ พิจารณา โดยปyจจุบันมีการจัดตั้งพื้นที่นวัตกรรม
การศึกษามาแล]ว จำนวน 19 พื้นที่ สรุปได] ดังนี้
ปv จำนวนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาที่มีการจัดตั้ง จำนวนสถานศึกษานำร5อง
(แห5ง)
2561-2562 8 พื้นที่ 5393
30

ได]แกY จังหวัดสตูล ระยอง ศรีสะเกษ กาญจนบุรี เชียงใหมY


ปyตตานี ยะลา และนราธิวาส
[เปEนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาที่ได]จัดตั้งขึ้นโดยประกาศ
กระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) กYอนวันที่พระราชบัญญัติพื้นที่
นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 ใช]บังคับ ซึ่งเปEนไปตาม
มาตรา 44 ของพระราชบัญญัติดังกลYาว]
2565 11 พื้นที่ 1,498
ได]แกY กรุงเทพมหานคร จังหวัดจันทบุรี ภูเก็ต สงขลา สุ
ราษฎรuธานี อุบลราชธานี สุโขทัย แมYฮYองสอน กระบี่ ตราด
และสระแก]ว
[คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2565]
รวม 19 2,037
ทั้งนี้ การจัดตั้งพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจะสYงผลให]สถานศึกษานำรYองในพื้นที่สามารถจัดการเรียนการสอนที่
สอดคล]องกับบริบทในพื้นที่โดยสามารถบริหารจัดการการศึกษาได]อยYางอิสระ ยืดหยุYน คลYองตัว ไมYต]องอิงกฎระเบียบ
ที่ไมYจำเปEนหรือไมYเอื้อจากสYวนกลาง เชYน การเลือกใช]หลักสูตร/สื่อการเรียนการสอนออกแบบการทดสอบเฉพาะพื้นที่
ได] สถานศึกษาได]งบพัฒนาเปEนวงเงินรวม (Block Grant) มีชYองทางผลักดันการบริหารงานบุคคลให]เหมาะสมกับ
พื้นที่ สามารถปรับลดและยกเลิกโครงการที่เพิ่มภาระงานครูและสYงผลเสียตYอการเรียนรู]ของผู]เรียนด]วยกลไกการจัด
การศึกษาระหวYางภาครัฐ อปท. ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม ซึ่งจะสYงผลดีทั้งตYอผู]เรียน สถานศึกษาและผู]ที่
เกี่ยวข]องในพื้นที่และชYวยลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา
2. คณะผู]เสนอได]ยื่นคำขอจัดตั้งพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดบุรีรัมยuตYอสำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) เพื่อให]นำเสนอคณะกรรมการนโยบายฯ พิจารณาให]ความเห็นชอบ โดยได]ดำเนินการ
ตามขั้นตอนของประกาศคณะกรรมการนโยบายฯ เรื่อง หลักเกณฑu วิธีการ และเงื่อนไขการพิจารณาความพร]อมของ
จังหวัด จำนวนและคุณสมบัติของคณะผู]เสนอ หลักเกณฑuและวิธีการเสนอจัดตั้งพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2564
ด]วยแล]ว สรุปได] ดังนี้
2.1 คณะกรรมการนโยบายฯ ซึ่งมีรองนายกรัฐมนตรีในขณะนั้น (นายวิษณุ เครืองาม)
เปEนประธาน ได]มีมติเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2565 มอบหมายให]คณะอนุกรรมการด]านนโยบาย ยุทธศาสตรu ติดตาม
และประเมินผล4 (คณะอนุกรรมการด]านนโยบายฯ) พิจารณาคำขอจัดตั้งพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดบุรีรัมยu
ซึ่งคณะอนุกรรมการด]านนโยบายฯ มีมติเมื่อวันที่ 10 มกราคม 2566 เห็นชอบให]จังหวัดบุรีรัมยuเปEนพื้นที่ซึ่งมีความ
พร]อมในการจัดตั้งเปEนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาเนื่องจากมีแนวทางการดำเนินงานสอดคล]องกับแนวคิดหลักของพื้นที่
นวัตกรรมการศึกษา มีแนวทางการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาและการลดความเหลื่อมล้ำด]านการศึกษา มีภาคี
เครือขYายจากทุกภาคสYวนให]ความรYวมมือในการจัดการศึกษา มีหนYวยงานที่มีความเข]าใจในเป¢าหมายและหลักการ
สำคัญของการเปEนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาพร]อมให]คำปรึกษาชี้แนะ และเปEนพี่เลี้ยงทางวิชาการ รวมทั้งมีแผนการ
ขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาที่ชัดเจน ซึ่งตYอมาคณะกรรมการนโยบายฯ ได]มีมติเมื่อวันที่ 16 มีนาคม 2566
เห็นชอบให]จังหวัดบุรีรัมยuเปEนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาและได]เสนอเรื่องดังกลYาวตYอคณะรัฐมนตรี แตYเนื่องจาก
ขณะนั้นได]มีการประกาศใช]พระราชกฤษฎีกายุบสภาผู]แทนราษฎร พ.ศ. 2566 ประกอบกับคณะรัฐมนตรีมีมติ
(21 มีนาคม 2566) เรื่อง แนวทางปฏิบัติอันเนื่องมาจากการยุบสภาผู]แทนราษฎร ซึ่งกรณีนี้มีผลเปEนการสร]างความ
ผูกพันตYอคณะรัฐมนตรีชุดตYอไปอันเปEนการต]องห]ามตามมาตรา 169 (1) ของรัฐธรรมนูญแหYงราชอาณาจักรไทย
และไมY ส อดคล] อ งกั บ มติ ค ณะรั ฐ มนตรี ด ั ง กลY า ว นายกรั ฐ มนตรี ใ นขณะนั ้ น จึ ง มี ค ำสั ่ ง ให] ส Y ง เรื ่ อ งดั ง กลY า วคื น
คณะกรรมการนโยบายฯ เพื่อให]นำเสนอคณะรัฐมนตรีชุดใหมYตYอไป
2.2 ตYอมาฝ©ายเลขานุการคณะกรรมการนโยบายฯ (สำนักงานบริหารพื้นที่นวัตกรรม
การศึกษา) ได]นำเรื่องการจัดตั้งพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดบุรีรัมยuเสนอตYอคณะกรรมการนโยบายฯ อีกครั้ง โดย
คณะกรรมการนโยบายฯ ซึ่งมีรองนายกรัฐมนตรี (นายอนุทิน ชาญวีรกูล) เปEนประธานมีมติเมื่อวันที่ 14 ธันวาคม
2566 ยืนยันตามมติเดิมของคณะกรรมการนโยบายฯ เมื่อวันที่ 16 มีนาคม 2566 โดยเห็นชอบการขอจัดตั้งพื้นที่
นวั ต กรรมการศึ ก ษาจั ง หวั ด บุ ร ี ร ั ม ยu แ ละมอบหมายให] ฝ © า ยเลขานุ ก ารคณะกรรมการนโยบายฯ เสนอเรื ่ อ งตY อ
คณะรัฐมนตรีเพื่อกำหนดให]จังหวัดบุรีรัมยuเปEนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
31

3. ประมาณการคYาใช]จYายในการสนับสนุนการจัดตั้งพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดบุรีรัมยu
(สถานศึกษานำรYอง 83 แหYง) ตั้งแตYปwงบประมาณ พ.ศ. 2568-25695 รวมจำนวน 18,600,000 บาท โดย ศธ.
จะขอรับการจัดสรรงบประมาณตามขั้นตอนของกฎหมายที่เกี่ยวข]องตYอไป สรุปได] ดังนี้
3.1 งบประมาณของ ศธ. โดยสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (สำนักงานปลัด ศธ.)
โอนจัดสรรให]กับสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดเพื่อขับเคลื่อนการดำเนินงานในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาปwละ
1,000,000 บาท สรุปได] ดังนี้
ปvงบประมาณ พ.ศ.
รวม (บาท)
2568 2569
1,000,000 1,000,000 2,000,000
3.2 งบเงินอุดหนุนเพื่อการพัฒนานวัตกรรมการศึกษา โดย สพฐ. โอนจัดสรรให]กับ
สถานศึกษานำรYองโดยตรง โรงเรียนปwละ 100,000 บาท สรุปได] ดังนี้
ปvงบประมาณ พ.ศ.
รวม (บาท)
2568 2569
8,300,000 8,300,000 16,600,000
(83 โรงเรียน x 100,000 บาท) (83 โรงเรียน x 100,000 บาท)
4. ประโยชนgที่คาดว5าจะไดIรับ
4.1 ผู ] เ รี ย นได] พ ั ฒ นาการเรี ย นรู ] แ ละนำไปสู Y ก ารเปE น คนไทยที ่ ม ี ค ุ ณ ภาพ มี ค วามใฝ© รู]
มีความคิดสร]างสรรคu มีความสามารถในการสื่อสาร สามารถอยูYและทำงานรYวมกับผู]อื่นซึ่งมีความแตกตYางและความ
หลากหลายได] มีความรู]เทYาทันโลก และมีทักษะในการประกอบอาชีพ
ตามความถนัดของผู]เรียนแตYละคน
4.2 ผู]ปกครองเกิดความเชื่อมั่นตYอคุณภาพของสถานศึกษาใกล]บ]านและไมYจำเปEนต]องมี
คYาใช]จYายเพิ่มขึ้นเพื่อให]ลูกหลานได]รับการศึกษาที่ดี
4.3 ครูและผู]บริหารสถานศึกษามีอิสระในการจัดการเรียนการสอนและการบริหารจัดการ
สถานศึกษามากขึ้นเนื่องจากการลดภาระงานที่ไมYเกี่ยวข]องกับการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนและการบริหาร
จัดการสถานศึกษา สYงผลให]ครูและบุคลากรทางการศึกษามีเวลาสำหรับการสอนและพัฒนาผู]เรียนให]เกิดผลสัมฤทธิ์
ทางการศึกษาอยYางเต็มที่
4.4 ศธ. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษาทั่วไปจะได]ข]อเสนอเชิงนโยบาย
ตัวอยYางนวัตกรรม และแนวปฏิบัติที่ดีในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานรวมถึงการปรับปรุงแก]ไขกฎหมาย กฎ ระเบียบที่
เกี่ยวข]อง เพื่อนำไปปรับใช]ให]เกิดความคลYองตัวในการบริหารและการจัดการศึกษา
4.5 ผู]ที่เกี่ยวข]องในพื้นที่เกิดความตระหนักถึงความรYวมมือในการจัดการศึกษารYวมกันและ
ผลักดันให]เกิดการจัดการศึกษาที่สอดคล]องกับบริบทของพื้นที่ สYงผลให]ความเหลื่อมล้ำในการศึกษาและจำนวน
นักเรียนที่หลุดจากระบบการศึกษาลดลงและจะมีบุคลากรรุYนใหมYที่มีความสามารถและพร]อมที่จะชYวยพัฒนาสั่งคม
และเศรษฐกิจของประเทศมากขึ้นในอนาคต
____________________
1
นวัตกรรมการศึกษา หมายถึง แนวคิด วิธีการ กระบวนการ สื่อการเรียนการสอน หรือการบริหารจัดการในรูปแบบใหมQซึ่งได?มีการ
ทดลองและพัฒนาจนเปcนที่นQาเชื่อถือวQาสามารถสQงเสริมการเรียนรู?ของผู?เรียนและการจัดการศึกษา และหมายความรวมถึงการนำสิ่ง
ดังกลQาวมาประยุกตRใช?ในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา
2
คณะผู?เสนอ หมายถึง กลุQมบุคคลซึ่งยื่นขอจัดตั้งพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ประกอบด?วย (1) องคRประกอบหลัก ได?แกQ ผู?วQาราชการ
จังหวัด ผู?บริหารสถานศึกษาอยQางน?อยหนึ่งในสามของจำนวนสถานศึกษาทั้งหมด ผู?แทนสถาบันอุดมศึกษาหรือหนQวยงานอื่นที่ให?
สนับสนุนทางวิชาการอยQางน?อย 1 คน และผู?แทนภาคเอกชนและภาคประชาสังคมที่ให?ความรQวมมือในการจัดการศึกษาอยQางน?อย
3 คน และ (2) องคRประกอบอื่น โดยเลือก 2 จาก 4 องคRประกอบ ได?แกQ ผู?บริหารหนQวยงานภายในจังหวัดอยQางน?อย 2 คน ผู?นำชุมชน
อยQางน?อย 1 คน ผู?ทรงคุณวุฒิอยQางน?อย 3 คน และศึกษาธิการจังหวัด
3 ศธ. แจ?งวQา ในปž 2561 พื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดสตูล ระยอง ศรีสะเกษ กาญจนบุรี เชียงใหมQ ปvตตานี ยะลา และนราธิวาส มี

สถานศึกษานำรQอง 266 แหQง และในปž 2562 ได?มีการเพิ่มจำนวนสถานศึกษานำรQองในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาดังกลQาวเปcน 539 แหQง


โดยเพิ่มขึ้นจากเดิม 273 แหQง
32

4
คณะอนุกรรมการด?านนโยบาย ยุทธศาสตรR ติดตามและประเมินผล มีหน?าที่ในการพิจารณากลั่นกรองคำขอจัดตั้งพื้นที่นวัตกรรม
การศึกษาพร?อมให?ความเห็นและข?อเสนอแนะเพื่อเสนอตQอคณะกรรมการนโยบายฯ พิจารณา
5 เนื่องจากพระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. 2562 จะมีผลใช?บังคับถึงวันที่ 30 เมษายน 2569 คณะกรรมการนโยบายฯ

จึงได?เสนอขอจัดตั้งพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาตั้งแตQปžงบประมาณ พ.ศ. 2568-2569 เพื่อให?จังหวัดบุรีรัมยRดำเนินการตามวัตถุประสงคR


และเจตนารมณRของการจัดตั้งพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาในระยะเวลาที่เหลืออยูQไมQน?อยกวQา 2 ปžการศึกษา

16. เรื่อง ขอรับการจัดสรรงบประมาณสำหรับจIางเหมาบริการนักการภารโรง


คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบในหลักการจ]างนักการภารโรงให]ครบทุกโรง ในปwงบประมาณ พ.ศ. 2568
กรอบวงเงินงบประมาณ 2,739.96 ล]านบาท ตามที่กระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) เสนอ
ทั้งนี้ ขอให]กระทรวงศึกษาธิการโดยสำนักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐานจัดทำแผนการ
ปฏิบัติงานและแผนการใช]จYายงบประมาณตามภารกิจ ความจำเปEนและเหมาะสม รวมถึงกำหนดมาตรการและแนว
ทางการบริหารจัดการงบประมาณที่มีอยูYอยYางคุ]มคYาและเกิดประโยชนuสูงสุด เพื่อเสนอขอตั้งงบประมาณรายจYาย
ประจำปwตามขั้นตอนตYอไป ตามความเห็นของสำนักงบประมาณ
สาระสำคัญของเรื่อง
ศธ. รายงานวYา
1. เดิมโรงเรียนในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) มีนักการภารโรงครบ
ทุกโรงเรียน แตYหลังจากที่คณะรัฐมนตรีมีมติ (23 กันยายน 2546) สYงผลให]ทุกสYวนราชการยุบเลิกอัตราลูกจ]างประจำ
ทุกตำแหนYง ซึ่งลูกจ]างประจำของ ศธ. สYวนใหญYเปEนตำแหนYงนักการภารโรงที่คณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ
(คพร.) ไมYได]กำหนดเปEนฐานรองรับกรอบพนักงานราชการ จึงไมYได]จัดสรรอัตราและงบประมาณจ]างทดแทนให]แกY
สพฐ. สYงผลให]จำนวนอัตรานักการภารโรงลดลงอยYางตYอเนื่องตั้งแตYปw 2546 เปEนต]นมา ประกอบกับที่ผYานมา สพฐ.
ไมYได]รับจัดสรรงบประมาณในการจ]างเหมาบริการ1 นักการภารโรงทดแทนให]เพียงพอตามตำแหนYงที่ถูกยุบเลิกไป
โรงเรียนจำนวนมากจึงไมYมีนักการภารโรงหรือมีไมYเพียงพอ ขาดการดูแลด]านความปลอดภัย สุขภาวะของนักเรียน
และสภาพแวดล] อ มของโรงเรี ย น ครู จ ึ ง ต] อ งเปE น ผู ] ป ฏิ บ ั ต ิ ห น] า ที ่ แ ทนซึ ่ ง สY ง ผลตY อ การจั ด การเรี ย นการสอนที ่ มี
ประสิทธิภาพ ดังนั้น โรงเรียนทุกแหYงจึงควรมีนักการภารโรงเพื่อให]โรงเรียนเปEนสถานที่ที่สะอาด ปลอดภัยและเอื้อตYอ
การเรียนรู]ของนักเรียน
2. ข]อมูลเกี่ยวกับนักการภารโรงและงบประมาณ
2.1 ข]อมูลนักการภารโรงในปyจจุบัน (ข]อมูล ณ วันที่ 8 กุมภาพันธu 2567) ดังนี้
จำนวนโรงเรียน/
รายการ นักการภารโรง
(โรง/คน)*
(1) โรงเรี ย นในสั ง กั ด สพฐ. [ข] อ มู ล จากระบบจั ด เก็ บ ข] อ มู ล นั ก เรี ย นรายบุ ค คล (Data
2 28,936
Management Center: DMC) ณ วันที่ 10 พฤศจิกายน 2566]
(2) โรงเรียนที่มีนักการภารโรง/ผู]ปฏิบัติหน]าที่นักการภารโรง โดยสามารถจำแนกผู]ที่ปฏิบัติ 14,726
หน]าที่นักการภารโรงได] ดังนี้
(2.1) ลูกจ]างประจำที่ปฏิบัติหน]าที่แทนนักการภารโรง จำนวน 4,384 อัตรา
(2.2) พนักงานราชการ3 ปฏิบัติหน]าที่นักการภารโรง จำนวน 112 อัตรา
(2.3) นักการภารโรง (จ]างเหมาบริการอัตราละ 9,000 บาทตYอเดือน) จำนวน
10,230 อัตรา
(3) โรงเรียนที่ขาดแคลนผู]ปฏิบัติงานในตำแหนYงนักการภารโรง 14,210
หมายเหตุ : *จำนวนโรงเรียนเทYากับจำนวนนักการภารโรง (1 โรงเรียนมีนักการภารโรง 1 คน)
2.2 งบประมาณที่ได]รับจัดสรรประจำปwงบประมาณ พ.ศ. 2564-2566 รายการคYาจ]าง
ผู]ปฏิบัติงานให]ราชการ ตำแหนYงนักการภารโรง ดังนี้
ปvงบประมาณ พ.ศ. จำนวนนักการภารโรง (คน) งบประมาณ (ลIานบาท)*
2564 11,173 1,291.64
2565 10,339 1,174.32
33

2566 10,295 1,150.62


หมายเหตุ : *อัตรา 9,000 บาทตYอเดือน x จำนวนนักการภารโรงแตYละปw (เฉพาะโรงเรียนที่มีนักการภารโรง) x 12
เดือน
2.3 ในปwงบประมาณ พ.ศ. 2567 ศธ. (สพฐ ) ได]เสนอขอรับจัดสรรงบประมาณ (ขณะนี้อยูY
ระหวYางการพิจารณาของคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษารYางพระราชบัญญัติงบประมาณรายจYายประจำปw
งบประมาณ พ.ศ. 2567) ดังนี้
2.3.1 ขอรับจัดสรรงบประมาณ จำนวน 1,085.13 ล]านบาท สำหรับจ]างนักการ
ภารโรง จำนวน 10,230 คน ซึ ่ ง เปE นนั กการภารโรงจ] างเหมาบริ การตามอั ตราจริ ง ที ่ มี อยู Y ใ นปy จจุ บั น ตามรY าง
พระราชบัญญัติงบประมาณรายจYายประจำปwงบประมาณ พ.ศ. 2567
2.3.2 ขอรั บ จั ด สรรงบประมาณรายจY า ยประจำปw ง บประมาณ พ.ศ. 2567
งบประมาณเพิ่มเติม จำนวน 639.45 ล]านบาท เพื่อจ]างนักการภารโรงจ]างเหมาบริการ เฉพาะสYวนที่ขาดแคลนอีก
14,210 คน ให]ครบทุกโรงเรียน (จำนวน 5 เดือน ตั้งแตYเดือนพฤษภาคม-กันยายน4 พ.ศ. 2567)
จำนวนอัตรา (คน) งบประมาณที่ตIอง
นักการภารโรงที่มีปpจจุบัน นักการภาร ใชIเพิ่มเติม (ลIาน
จำนวน (2) โรงที่จะจIาง บาท) (5) = อัตรา
ปvงบประมาณ นักการภาร ลูกจIางประจำ พนักงาน จIางเหมา เพิ่ม จIางเหมาบริการต5อ
พ.ศ. โรงครบทุก ราชการ บริการ (จIางเหมา เดือน* x (4) x 5
โรงเรียน (คน) บริการ) เดือน
(4) = (1)-
(2)
2567 28,936 14,726** 14,210 9,000x14,210x5
4,384 112 10,230 = 639.45
หมายเหตุ : *คณะรัฐมนตรีมีมติ (8 ตุลาคม 2556) อนุมัติให]นักการภารโรงมีรายได]วันละไมYน]อยกวYา 300 บาท
(เดือนละ 9,000 บาท)
**ลูกจ]างประจำและพนักงานราชการเปEนการใช]งบประมาณจากงบบุคลากร และลูกจ]างจ]างเหมา
บริการเปEนการใช]งบประมาณจากงบรายจYายอื่น
3. สำหรับการจ]างเหมาบริการนักการภารโรง ในปwงบประมาณ พ.ศ. 2568 ศธ. (สพฐ.) ได]ประมาณ
การคYาใช]จYายจากความต]องการนักการภารโรงทั้งหมดเพื่อให]มีนักการภารโรงครบทุกโรงเรียน (เสนอในครั้งนี้) สรุปได]
ดังนี้
จำนวนนักการ จำนวนอัตรา (คน) งบประมาณที่ใชI
ภารโรงครบ นักการภารโรงในแต5ละปv นักการภารโรงที่ (ลIานบาท)
ปvงบประมาณ ทุกโรงเรียน ลูกจIางประจำ พ น ั ก ง า น จะจIางเพิ่ม (จIาง (5)
พ.ศ. (คน) ราชการ เหมาบริการ) = อัตราจ]างเหมา
(1) (2) (3) (4) = (1)-(2)-(3) บริการตYอเดือน* x
(4) x 12 เดือน
2568 28,756 3,274 112 25,370 9,000x25,370x12
= 2,739.96
หมายเหตุ : *คณะรัฐมนตรีมีมติ (8 ตุลาคม 2556) อนุมัติให]นักการภารโรงมีรายได]วันละไมYน]อยกวYา 300 บาท
(เดือนละ 9,000 บาท)
4. ประโยชนuที่คาดวYาจะได]รับ
4.1 ครูสามารถทำหน]าที่หลักในการจัดการเรียนการสอนได]อยYางมีประสิทธิภาพและสYงผล
ให]เกิดการยกระดับคุณภาพการศึกษา
4.2 มี นั กการภารโรงดู แลสภาพแวดล] อม ระบบสาธารณู ปโภคและทรั พยu สิ นของทาง
ราชการ รวมถึงสร]างความปลอดภัยแกYครูและนักเรียน
4.3 เกิดการจ]างงาน สร]างรายได] และเกิดเงินหมุนเวียนในระบบบเศรษฐกิจ
34

______________________
1 การจ?างนักการภารโรงในรูปแบบการจ?างเหมาบริการ เปcนการดำเนินการตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ?างและการบริหารพัสดุ
ภาครัฐ พ.ศ. 2560 ที่บัญญัติให?งานบริการหมายความวQา งานจ?างเหมาบริการ และมาตรา 56 (2) (ข) บัญญัติให?การจัดซื้อจัดจ?างพัสดุ
ให?หนQวยงานของรัฐเลือกใช?วิธีประกาศเชิญชวนทั่วไปกQอน เว?นแตQการจัดซื้อจัดจ?างที่ให?บริการทั่วไปและมีวงเงินจัดซื้อจัดจ?างครั้งหนึ่ง
ไมQเกินวงเงินตามที่กำหนดในกฎกระทรวง เชQน กฎกระทรวงกำหนดวงเงินการจัดซื้อจัดจ?างพัสดุโดยวิธีเฉพาะเจาะจง วงเงินการจัดซื้อ
จัดจ?างที่ไมQทำข?อตกลง เปcนหนังสือ และวงเงินการจัดซื้อจัดจ?างในการแตQงตั้งผู?ตรวจรับพัสดุ พ.ศ. 2560
2 สพฐ. แจ?งวQา โรงเรียนที่อยูQระหวQางรอควบรวม/รอยุบเลิก/ถQายโอน จะไมQนำมาคำนวณในครั้งนี้ (ประมาณ 315 โรงเรียน)
3 พนักงานราชการที่ปฏิบัติหน?าที่นักการภารโรง เปcนตำแหนQงที่ได?รับการจัดสรรตามมติคณะรัฐมนตรี (5 ตุลาคม 2547) เรื่อง การ

ชQวยเหลือลูกจ?างประจำและลูกจ?างชั่วคราวในระบบราชการ ซึ่งให?ลูกจ?างชั่วคราวประเภทที่ 1 (ใช?งบประมาณหมวดคQาตอบแทน


บุคลากร) ที่ปฏิบัติงานตQอเนื่องและทำงานในลักษณะประจำเปcนเวลาไมQน?อยกวQา 5 ปž ให?ผู?บังคับบัญชาเจ?าสังกัดบรรจุแตQงตั้งเปcน
พนักงานราชการ
4
ข?อมูลจากการประสาน สพฐ. ซึ่งคาดวQาเปcนชQวงภายหลังจากที่พระราชบัญญัติงบประมาณรายจQายประจำปžงบประมาณ พ.ศ. 2567
ประกาศใช?

17. เรื่อง รายงานสรุปผลการพิจารณาต5อขIอเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางในการส5งเสริมและคุIมครองสิทธิ


มนุษยชน กรณีการแกIไขปpญหากลุ5มชาติพันธุgกะเหรี่ยงบางกลอย อำเภอแก5งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี
คณะรัฐมนตรีมีมติรับทราบรายงานสรุปผลการพิจารณาตYอข]อเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางใน
การสYงเสริมและคุ]มครองสิทธิมนุษยชน กรณีการแก]ไขปyญหากลุYมชาติพันธุuกะเหรี่ยงบางกลอย อำเภอแกYงกระจาน
จังหวัดเพชรบุรี ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหYงชาติ ตามที่กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล]อม (ทส.)
เสนอและแจ]งให]คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหYงชาติทราบตYอไป
สาระสำคัญ
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหYงชาติเห็นวYา การดำเนินการของหนYวยงานของรัฐที่เกี่ยวกับการ
แก]ไขปyญหาของกลุYมชาติพันธุuกะเหรี่ยงบางกลอยในบางประเด็น เชYน ประเด็นเกี่ยวกับสิทธิชุมชนในการจัดการและใช]
ประโยชนuจากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล]อม สิทธิในกระบวนการยุติธรรมอันเกี่ยวเนื่องกับสิทธิและเสรีภาพใน
ชีวิตและรYางกาย สิทธิในมาตรฐานการครองชีพที่เพียงพอและสิทธิในการได]รับบริการสาธารณสุข ยังมีการละเมิดสิทธิ
มนุษยชนและไมYสอดคล]องกับวิถีชีวิตของกลุYมชาติพันธุuกะเหรี่ยงบางกลอย จึงมีข]อเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางใน
การสYงเสริมและคุ]มครองสิทธิมนุษยชนตYอคณะรัฐมนตรี ซึ่งกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล]อมได]เสนอ
รายงานสรุปผลการพิจารณาตYอข]อเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางในการสYงเสริมและคุ]มครองสิทธิมนุษยชน กรณี
การแก]ไขปyญหากลุYมชาติพันธุuกะเหรี่ยงบางกลอย อำเภอแกYงกระจาน จังหวัดเพชรบุรีของคณะกรรมการสิทธิ
มนุษยชนแหYงชาติ โดยได]ประชุมหารือรYวมกับหนYวยงานที่เกี่ยวข]องแล]วเมื่อวันที่ 22 มิถุนายน 2566โดยมีผลสรุปใน
ภาพรวม ดังนี้
ขIอเสนอแนะของ กสม. สรุปผลการพิจารณา
1. ให]เรYงรัดพิจารณารYางพระราชบัญญัติคุ]มครองและ Ÿ กระทรวงวั ฒ นธรรมได] เ สนอรY า งพระราชบั ญ ญั ติ
สYงเสริมวิถีชีวิตกลุYมชาติพันธุu พ.ศ. .... ให]มีผลบังคับใช] คุ ] ม ครองและสY ง เสริ ม วิ ถ ี ช ี ว ิ ต กลุ Y ม ชาติ พ ั น ธุu
โดยเร็ว พ.ศ. .... มาเพื่อเสนอคณะรัฐมนตรีและ
สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีได]สYงรYางพระราชบัญญัติ
ดังกลYาวคืนกระทรวงวัฒนธรรมไปเนื่องจากได]มีการยุบ
สภาผู] แ ทนราษฎร ปy จ จุ บ ั น กระทรวงวั ฒ นธรรมอยูY
ระหวYางดำเนินการเพื่อเสนอรYางพระราชบัญญัติดังกลYาว
มาเพื่อเสนอคณะรัฐมนตรีอีกครั้งหนึ่ง

2. ให]พิจารณาจัดตั้งกลไกที่เปEนรูปธรรมเพื่อผลักดัน Ÿ สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล]อม
พื้นที่คุ]มครองทางวัฒนธรรม หรือเขตวัฒนธรรมพิเศษ
35

ตามแนวนโยบายในการฟ¡นฟูวิถีชีวิตชาวกะเหรี่ยงโดยใช] จังหวัดเพชรบุรี ได]แตYงตั้งคณะทำงานรYวมกับหนYวยงาน


กระบวนการศึกษาวิจัยจากกลุYมชาติพันธุuกะเหรี่ยงบาง ตY า ง ๆ ภายในจั ง หวั ด เพชรบุ ร ี รวมทั ้ ง ได] แ ตY ง ตั้ ง
กลอยนำรYอง ให]มีสYวนรYวมออกแบบการพัฒนาคุณภาพ คณะทำงานเพื่อแก]ไขปyญหาความเดือดร]อนของกลุYม
ชีวิตที่สอดคล]องกับความต]องการของชุมชนวิถีชีวิต และ ชาติ พ ั น ธุ u ก ะเหรี ่ ย งบางกลอยในด] า นตY า ง ๆ เชY น
วั ฒ นธรรม การจั ด สรรที ่ ด ิ น ทำกิ น /ที ่ อ ยู Y อ าศั ย การ คณะทำงานด]านสYงเสริมอาชีพพัฒนาที่ดิน พัฒนาแหลYง
พัฒนาสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐาน และการพัฒนาอาชีพ น้ำ ด]านสYงเสริมสุขภาพ
รวมทั้งการจัดการและใช]ประโยชนuจาก Ÿ มีหนYวยงานหลายภาคสYวน เชYน กรมอุทยานแหYงชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติอยYางยั่งยืน สัตวuป©า และพันธุuพืช กรมทรัพยากรน้ำ ได]เข]าไปพัฒนา
คุณภาพชีวิตชาวกะเหรี่ยงบ]านบางกลอยในด]านตYาง ๆ
เชYน ด]านที่อยูYอาศัย ที่ดินทำกิน การเกษตร ระบบน้ำ -
ไฟฟ¢า สYงเสริมอาชีพ ชีวิตความเปEนอยูY
Ÿ หนYวยงานตYาง ๆ ได]ชYวยเหลือกลุYมชาติพันธุuกะเหรี่ยง
บางกลอยให]สามารถเข]าถึงสิทธิและสวัสดิการตYาง ๆ
ของรัฐได] เชYน กระทรวงสาธารณสุขให]เข]าถึงสิทธิขั้น
พื้นฐานด]านการรักษาพยาบาล สิทธิด]านสาธารณสุข
และกระทรวงศึกษาธิการให]ได]รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
Ÿ กระทรวงมหาดไทยได]สำรวจการถือครองที่ดินจัดทำ
ทะเบี ย นประวั ต ิ ส ถานะบุ ค คลให] แ กY ก ลุ Y ม ชาติ พ ั น ธุu
กะเหรี่ยงบางกลอยและสYงเสริมกระบวนการเรียนรู]ของ
ชุมชน
Ÿ สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีได]แก]ไขปyญหาใน
รูปแบบคณะกรรมการอิสระรYวมกับศูนยuมานุษยวิทยาสิ
รินธร (องคuการมหาชน) ตรวจสอบข]อเท็จจริงการแก]ไข
ปyญหาชุมชนกะเหรี่ยงบางกลอย เพื่อศึกษา รวบรวม
ปyญหาที่เกี่ยวข]องและแนวทางในการแก]ไขปyญหาการ
ฟ¡นฟูคุณภาพชีวิตรวมถึงการแก]ไขปyญหาที่ดิน
Ÿ สำนักงานสภาความมั่นคงแหYงชาติได]ดำเนินงานตาม
แผนปฏิบัติการการสYงเสริมการอยูYรYวมกันภายใต]สังคม
พหุวัฒนธรรมที่มีข]อเสนอแนะเชิงนโยบายเรื่องการใช]
ประโยชนu ท ี ่ ด ิ น และการอยู Y อ าศั ย ที ่ เ กี ่ ย วข] อ งทาง
วัฒนธรรมในพื้นที่จิตวิญญาณ
3. ควรบูรณาการการแก]ไขปyญหา โดยอาจใช]กลไกตาม Ÿ กระทรวงวัฒนธรรมและกระทรวง
ข]อ 2. ในการขับเคลื่อน ซึ่งกลไกดังกลYาวต]องประกอบ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล]อมได]ดำเนินโครงการ
ไปด] ว ยผู ] แ ทนทั ้ ง จากภาครั ฐ ผู ] แ ทนกลุ Y ม ชาติ พ ั น ธุu ตYาง ๆ โดยเฉพาะการแก]ไขปyญหาในเรื่องที่ดินทำกินใน
กะเหรี่ยงในพื้นที่ นักวิจัย/นักวิชาการ ภาคประชาสังคม พื ้ น ที ่ โดยดำเนิ น การใน 5 ขั ้ น ตอน ดั ง นี ้ (1) ให] มี
และองคuกรปกครองสYวนท]องถิ่น เพื่อให]เกิดการแก]ไข คณะทำงานที่มีองคuประกอบทั้ง 3 ฝ©าย ประกอบด]วย
ปyญหารYวมกัน กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล]อม ผู]แทน
กลุYมชาติพันธุuกะเหรี่ยงและผู]แทนคณะกรรมการอิสระ
(2) ให]มีการสำรวจที่อยูYอาศัยที่ทำกินของประชาชนใน
พื้นที่บ]านบางกลอยให]แล]วเสร็จ (3) จัดทำแผนบริหาร
จั ดการพื ้ นที ่ (4) การให] ชาวบ] านได] เ ข] าไปทดลองใช]
ประโยชนuในพื้นที่โดยมีหนYวยงานเข]าไปกำกับดูแล และ
36

(5) ให] ม ี ก ารประเมิ น ผลการทดลอง รวมทั ้ ง ได] มี


คณะทำงานและคณะกรรมการหลายชุดเพื่อพิจารณา
แก]ไขปyญหาในการพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุYมชาติพันธุu
กะเหรี่ยงบางกลอยมาโดยตลอด

18. เรื่อง รายงานสรุปผลการพิจารณาต5อขIอเสนอแนะแนวทางในการส5งเสริมและคุIมครองสิทธิมนุษยชนเพื่อ


แกIไขปpญหาที่ดินใหIสอดคลIองกับหลักการสิทธิในที่ดินและสิทธิชุมชน
คณะรัฐมนตรีมีมติรับทราบรายงานสรุปผลการพิจารณาตYอข]อเสนอแนะแนวทางในการสYงเสริมและ
คุ]มครองสิทธิมนุษยชน เพื่อแก]ไขปyญหาที่ดินให]สอดคล]องกับหลักการสิทธิในที่ดินและสิทธิชุมชนของคณะกรรมการ
สิทธิมนุษยชนแหYงชาติ ตามที่สำนักงานคณะกรรมการนโยบายที่ดินแหYงชาติ (สคทช.) เสนอและแจ]งให]คณะกรรมการ
สิทธิมนุษยชนแหYงชาติทราบตYอไป
สาระสำคัญ
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหYงชาติ (กสม.) เห็นวYา ปyญหาการตีความเกี่ยวกับสิทธิในที่ดินระหวYาง
“การมีสิทธิในที่ดิน” กับ “การมีเอกสารแสดงสิทธิในที่ดิน” อาจทำให]เกิดความเข]าใจที่คลาดเคลื่อนได] โดยเฉพาะ
อยYางยิ่งกลุYมชาติพันธุuซึ่งครอบครองที่ดินมากYอนประมวลกฎหมายที่ดินมีผลใช]บังคับ จึงมีข]อเสนอแนะมาตรการหรือ
แนวทางในการสYงเสริมและคุ]มครองสิทธิมนุษยชนตYอคณะรัฐมนตรี ซึ่งสำนักงานคณะกรรมการนโยบายที่ดินแหYงชาติ
ได]เสนอรายงานสรุปผลการพิจารณาตYอข]อเสนอแนะแนวทางในการสYงเสริมและคุ]มครองสิทธิมนุษยชน เพื่อแก]ไข
ปyญหาที่ดินให]สอดคล]องกับหลักการสิทธิในที่ดินและสิทธิชุมชน ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหYงชาติโดยได]
ประชุมหารือรYวมกับหนYวยงานที่เกี่ยวข]องแล]วเมื่อวันที่ 21 ธันวาคม 2566 ซึ่งมีผลการพิจารณาสรุปในภาพรวมได]
ดังนี้
ขIอเสนอแนะของ กสม. สรุปผลการพิจารณาในภาพรวม
1. ยกระดับการมีส5วนร5วมของประชาชนใหIสอดคลIองกับสิทธิมนุษยชน กรณีจะประกาศกำหนดเขตพื้นที่สงวน
หวงห]ามและการออกหนังสือสำคัญสำหรับที่หลวงต]องดำเนินการ ดังนี้
1.1 แจ]งข]อมูลขYาวสารแกYประชาชนในพื้นที่ให] Ÿ หนY ว ยงานของรั ฐ ได] ด ำเนิ น การที ่ ส อดคล] อ งกั บ
ทราบถึงแผนการดำเนินการ แนวทางของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหYงชาติ โดย
1.2 กำหนดขั ้ น ตอนให] ป ระชาชนมี ส Y ว นรY ว ม ได]มีแนวทางปฏิบัติงานแบบบูรณาการรYวมกับหนYวยงาน
พิจารณาความเหมาะสมของพื้นที่ทั้งในเชิงคุณภาพและ ท] อ งถิ ่ น ในรู ป แบบกลไกของคณะกรรมการหรื อ
เชิงปริมาณวYาสมควรจะกำหนดเปEนพื้นที่สงวนหวงห]าม คณะทำงาน มีการจัดประชุมชี้แจงทำความเข]าใจกับ
หรือไมY ราษฎร และยังให]สิทธิกับประชาชนที่จะขอคัดค]านการ
1.3 ให]ประชาชนมีสYวนรYวมสำรวจเขต รังวัด รังวัดเพื่อออกหนังสือสำคัญสำหรับที่หลวงได]อีกด]วย
และกันเขตพื้นที่ชุมชนออกจากการกำหนดเขตที่ดินควร
กันเขตเปEนวงรอบชุมชนรวมพื้นที่สYวนกลางควรจัดที่ดิน
ให]แกYชุมชนที่ได]รับการกันเขตแล]วโดยไมYตีตราวYาเปEนผู]
บุกรุกที่ดินของรัฐ และควรกำหนดให]พื้นที่ชุมชนของ
กลุYมชาติพันธุuเปEนเขตคุ]มครองทางวัฒนธรรมด]วย
2. จัดที่ดินใหIชุมชนและกระจายอำนาจการจัดการที่ดินตามหลักสิทธิชุมชน ดังนี้
2.1 กำหนดแผนการบริหารจัดการที่ดินและ Ÿ คณะอนุ ก รรมการนโยบายที ่ ด ิ น จั ง หวั ด รY ว มกั บ
ทรัพยากรดินของประเทศ โดยกำหนดรูปแบบการจัด คณะอนุกรรมการจัดหาที่ดินและคณะอนุกรรมการจัด
ที่ดินอยYางอื่น ที่บุคคลและชุมชนสามารถใช]สิทธิในการ ที่ดินได]จัดให]มีกระบวนการรับฟyงความต]องการของ
จัดการที่ดินได] รวมทั้งกระจายอำนาจจัดการแปลงที่ดิน ประชาชนและให]ชุมชนสามารถบริหารจัดการภายใน
ที่จัดสรรให]ชุมชนสูYองคuกรปกครองสYวนท]องถิ่นและ ชุ ม ชนเองได] รวมทั ้ ง คณะกรรมการนโยบายที ่ ดิ น
ชุ ม ชน ตลอดจนให] ค ณะอนุ ก รรมการนโยบายที ่ ดิ น แหY ง ชาติ ม ี แ นวคิ ด ในการกระจายอำนาจการบริ ห าร
37

จังหวัดมีบทบาทในการพิจารณาพื้นที่ โดยงดเว]นการใช] จัดการที่ดินไปยังท]องถิ่นและยกระดับให]สหกรณuที่มี


มติคณะรัฐมนตรีเรื่อง การจัดชั้นคุณภาพลุYมน้ำและให] ความพร]อมเปEนผู]ขออนุญาตทำประโยชนuหรืออยูYอาศัย
ชุมชนที่มีความพร]อมสามารถเสนอพื้นที่ที่จะให]จัดที่ดิน ในพื้นที่ได] ทั้งนี้ การกระจายอำนาจจะต]องทำด]วยความ
ทำกินในรูปแบบสิทธิชุมชนได]ด]วย ระมัดระวังเพื่อไมYให]เกิดปyญหาขึ้นมาภายหลัง และต]อง
คำนึงถึงภาระที่จะเกิดขึ้นกับหนYวยงานท]องถิ่นด]วย
2.2 ขจัดอุปสรรคทางนโยบาย กฎหมายและ Ÿ การดำเนิ น การจั ด ที ่ ด ิ น ให] แ กY ช ุ ม ชนสามารถ
ทางปฏิ บั ติ ตY าง ๆ เชY น ทบทวนและเพิ กถอนที ่ สงวน ดำเนินการตามกฎหมายและรูปแบบการจัดที่ดินของ
หวงห]ามที่ไมYได]ใช]ประโยชนuหรือสิ้นสภาพแก]ไขปรับปรุง หนYวยงานเจ]าของพื้นที่ และการจัดที่ดินให]ราษฎรขึ้นอยูY
กฎหมายเกี่ยวกับการเก็บภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร]าง กับความต]องการของราษฎร หลักกฎหมาย และสภาพ
ข] อ เท็ จ จริ ง ของพื ้ น ที ่ ด ] ว ย ทั ้ ง นี ้ ในกรณี ท ี ่ ร าษฎรมี
หลั ก ฐานในการครอบครองที ่ ด ิ น มากY อ น สามารถ
รวบรวมหลักฐานเพื่อเข]าสูYกระบวนการพิสูจนuสิทธิ์ใน
ที่ดินของรัฐได]
Ÿ สำนักงานคณะกรรมการนโยบายที่ดินแหYงชาติอยูY
ระหวYางการหารือกับสำนักงานเศรษฐกิจการคลังและ
หนY ว ยงานที ่ เ กี ่ ย วข] อ งเพื ่ อ พิ จ ารณาแก] ไ ขปรั บ ปรุ ง
กฎหมายภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร]างให]เปEนไปอยYางเปEน
ธรรมและมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ รวมถึ ง กำหนดอั ต ราการ
คำนวณภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร]างของการจัดที่ดินใน
ลักษณะแปลงรวมด]วย
3. แกIไขความขัดแยIงเกี่ยวกับที่ดิน
3.1 พิสูจนuสิทธิในที่ดินสำหรับผู]มีสิทธิในที่ดิน Ÿ สำนั ก งานคณะกรรมการนโยบายที ่ ด ิ น แหY ง ชาติ
เชYน ปรับปรุงกระบวนการพิสูจนuสิทธิที่ดินรายแปลง รYวมกับหนYวยงานที่เกี่ยวข]องจัดทำแผนที่แนวเขตที่ดิน
ทบทวนและยกเลิกวิธีการพิสูจนuสิทธิในที่ดินตามมติ ของรัฐ (One Map) และการพิสูจนuสิทธิในที่ดิน โดยใช]
คณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2541 (เรื่อง การ หลั ก ฐานเอกสารที ่ อ อกโดยหนY ว ยงานของรั ฐ พยาน
แก]ไขปyญหาที่ดินในพื้นที่ป©า) และแก]ไขปyญหาแนวเขต บุ ค คลและหลั ก ฐานอื ่ น ๆ เพื ่ อ พิ ส ู จ นu ว Y า ราษฎรได]
ที่ดินของรัฐทับซ]อนกันจาก One Map ครอบครองที่ดินมากYอนการประกาศเปEนที่ดินของรัฐ
ครั้งแรก นอกจากนี้ สามารถใช]กระบวนการอYานแปล
ตีความภาพถYายทางอากาศหรือภาพถYายดาวเทียมความ
ละเอียดสูง เพื่อตรวจหารYองรอยการเข]าทำประโยชนuใน
พื้นที่ ซึ่งมีความนYาเชื่อถือตามหลักวิทยาศาสตรu
3.2 เยียวยาผู]ได]รับผลกระทบ โดยชะลอการ Ÿ กYอนการบังคับทางปกครองหนYวยงานของรัฐจะออก
ดำเนินคดีอาญาและการบังคับทางปกครองกYอนที่จะ หนังสือแจ]งให]ผู]ครอบครองพื้นที่โต]แย]งและแสดงสิทธิใน
พิสูจนuสิทธิเสร็จสิ้น และเยียวยาบุคคลที่เข]าเงื่อนไขและ ที่ดินทุกแปลง หากมีผู]แสดงสิทธิจะชะลอการดำเนิน
หลักเณฑuได]รับการจัดสรรที่ดิน ซึ่งได]รับผลกระทบจาก คดีอาญาและการบังคับทางปกครอง ทั้งนี้ ระหวYางการ
การถูกฟ¢องร]องดำเนินคดีอาญาในชั้นพนักงานสอบสวน ดำเนิ น คดี ต ] อ งมี ก ารคุ ] ม ครองเจ] า หน] า ที ่ ต าม
และพนักงานอัยการ โดยชะลอการฟ¢องหรือถอนฟ¢อง พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ]าหน]าที่
และเสนอให] ม ี ก ฎหมายนิ ร โทษกรรมความผิ ด ตาม พ.ศ. 2539 ด]วย
กฎหมายวYาด]วยการป©าไม] Ÿ กรณีที่ประชาชนได]รับอนุญาตให]เข]าทำประโยชนuใน
ที่ดินของรัฐถูกฟ¢องร]อง หนYวยงานของรัฐที่เกี่ยวข]องจะมี
หนังสือแจ]งให]ผู]ครอบครองที่ดินสYงเอกสารหลักฐานที่
เกี่ยวข]องกับที่ดินและสภาพการทำประโยชนuในพื้นที่
38

และหนY ว ยงานของรั ฐ จะดำเนิ น การตรวจสอบจาก


ภาพถYายทางอากาศ และความเปEนชุมชนในท]องถิ่นเพื่อ
ประกอบการพิจารณา ดังนั้น หากศาลพิจารณาแล]วไมYมี
ความผิดยYอมสามารถเข]ารYวมโครงการเพื่อรับสิทธิ์ใน
การทำกินในพื้นที่เดิมได]
Ÿ สำนักงานคณะกรรมการนโยบายที่ดินแหYงชาติมีแนว
ทางการแก] ไ ขปy ญ หาผลกระทบที ่ อ าจเกิ ด ขึ ้ น กั บ
ประชาชนจากการดำเนินงานปรับปรุงแผนที่แนวเขต
ที่ดินของรัฐสาระสำคัญเกี่ยวกับการรักษาสิทธิในที่ดิน
ของประชาชนโดยให]หนYวยงานที่ดำเนินการจัดที่ดิน
บู ร ณาการกั บ หนY ว ยงานเจ] า ของพื ้ น ที ่ ก ำหนดแนว
ทางการเยี ย วยาประชาชนที ่ ไ ด] ร ั บ ผลกระทบตาม
กฎหมาย แนวทางของแตY ล ะหนY ว ยงาน รวมถึ ง การ
ประชาสั มพั นธu ใ ห] ประชาชนทราบถึ ง การดำเนิ นการ
One Map และประโยชนuที่ได]รับ
Ÿ ปy จ จุ บ ั น (รY า ง) พระราชบั ญ ญั ต ิ น ิ ร โทษกรรมแกY
ราษฎรซึ่งได]รับความเสียหายหรือผู]ที่ได]รับผลกระทบ
จากการดำเนิ น การตามนโยบายของรั ฐ พ.ศ.... อยูY
ระหวYางหนYวยงานที่เกี่ยวข]องรYวมกันพิจารณาให]ความ
คิดเห็นตYอ (รYาง) พระราชบัญญัติดังกลYาว และเสนอให]
กรมคุ ] ม ครองสิ ท ธิ แ ละเสรี ภ าพ กระทรวงยุ ต ิ ธ รรม
พิจารณาดำเนินการตามกระบวนการตYอไป
3.3 ทบทวนมติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวกับการจัดการที่ดิน Ÿ ในทางปฏิบัติหนYวยงานของรัฐจะพิจารณาทบทวนมติ
ของรัฐและการแก]ไขปyญหาที่ดินยกเลิกมติคณะรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข]องกับการบริหารจัดการที่ดินของ
ที่ล]าสมัย และประกาศให]ประชาชนทราบโดยทั่วกัน รัฐและการแก]ไขปyญหาที่ดิน ซึ่งเมื่อพิจารณาเห็นควรให]
มีการทบทวน/ยกเลิกมติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับที่ดินที่มี
ปyญหา หรือเปEนอุปสรรคก็จะดำเนินการทบทวนหรือขอ
ยกเว]นมติคณะรัฐมนตรีตามวิธีการปฏิบัติของหนYวยงาน
ที ่ เ ปE น เจ] า ของที ่ ด ิ น ตY อ ไป ซึ ่ ง เปE น การดำเนิ น การที่
สอดคล]องกับมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 13 กันยายน
2566 (เรื่อง การทบทวนมติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข]องกับ
การวางระเบี ย บที ่ เ ปE น เงื ่ อ นไขหรื อ ข] อ จำกั ด ในการ
ปฏิบัติงานหรือการใช]ชีวิตของประชาชน) นอกจากนี้
หากการทบทวนหรื อ ยกเว] น มติ ค ณะรั ฐ มนตรี หรื อ
ปรั บ ปรุ ง แก] ไ ขกฎหมายดำเนิ น การเสร็ จ สิ ้ น แล] ว
หนYวยงานที่เปEนเจ]าของพื้นที่ต]องประกาศให]ประชาชน
ทราบทั่วกัน โดยใช]ชYองทางการสื่อสารที่หลากหลาย
เพื่อให]ขYาวสารเข]าถึงประชาชนมากที่สุด

19. เรื่อง ผลการพิจารณารายงานการพิจารณาศึกษา เรื่อง ขIอเสนอการสรIางเสริมสุขภาวะระยะสุดทIายของ


ชีวิตรองรับสังคมสูงวัย ของคณะกรรมาธิการการพัฒนาสังคม และกิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผูIสูงอายุ คนพิการ
และผูIดIอยโอกาส วุฒิสภา
39

คณะรัฐมนตรีมีมติรับทราบผลการพิจารณารายงานการพิจารณาศึกษา เรื่อง ข]อเสนอการสร]างเสริม


สุขภาวะระยะสุดท]ายของชีวิตรองรับสังคมสูงวัย ของคณะกรรมาธิการการพัฒนาสังคม และกิจการเด็ก เยาวชน สตรี
ผู]สูงอายุ คนพิการ และผู]ด]อยโอกาส วุฒิสภา ตามที่กระทรวงสาธารณสุข (สธ.) เสนอ และแจ]งให]สำนักงานเลขาธิการ
วุฒิสภาทราบตYอไป
เรื่องเดิม
1. สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา ได]เสนอรายงานการพิจารณาศึกษา เรื่อง ข]อเสนอการสร]างเสริมสุข
ภาวะระยะสุดท]ายของชีวิตรองรับสังคมสูงวัย ของคณะกรรมาธิการการพัฒนาสังคม และกิจการเด็ก เยาวชน สตรี
ผู]สูงอายุ คนพิการ และผู]ด]อยโอกาส วุฒิสภา มาเพื่อดำเนินการ โดยคณะกรรมาธิการฯ ได]ตระหนักถึงความจำเปEนใน
การพัฒนาและการจัดระบบการดูแลผู]สูงอายุและผู]ป©วยระยะสุดท]าย โดยใช]พื้นฐานจากการดูแลแบบประคับประคอง
เพื่อเปEนแนวทางในการลดภาระคYาใช]จYายด]านสุขภาพของภาครัฐและครัวเรือน รวมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพการดูแลและ
การสร]างสุขภาวะในระยะสุดท]ายของชีวิตให]กับผู]สูงอายุและผู]ป©วยระยะสุดท]ายให]มีคุณภาพชีวิตที่ดีทั้งในมิติของ
ระบบบริการสุขภาพมิติด]านสังคมและมิติด]านบริหารจัดการ จึงไดIมีขIอเสนอแนะ ดังนี้ (1) ข]อเสนอทิศทางการพัฒนา
และนโยบาย (2) การพัฒนาระบบการดูแลแบบประคับประคองในโรงพยาบาล (Hospitatl – Based Palliative
Care) (3) การปลดล็อกข]อจำกัดการเข]าถึงยาจำเปEนสำหรับผู]ป©วยระยะสุดท]าย (4) การพัฒนารูปแบบการบริหารด]าน
การเงินรองรับการดูแลแบบประคับประคอง (5) การพัฒนาบุคลากรด]านสุขภาพและบุคลากรอื่น การพัฒนามาตรฐาน
งานและการพัฒนาวิชาการที่เกี่ยวข]อง (6) การสYงเสริมองคuกรนอกภาคสุขภาพจัดบริการดูแลแบบประคับประคอง
ระยะสุดท]ายของชีวิตในชุมชน (7) การพัฒนาการสื่อสาร การรับรู] การเรียนรู]และสร]างความรYวมมือทางสังคม
(8) การสานพลังขับเคลื่อนการสร]างเสริมสุขภาวะระยะสุดท]ายของชีวิตที่เปEนองคuรวมและ (9) การสนับสนุนการ
พัฒนาอื่น ๆ
2. คณะรัฐมนตรี (15 ตุลาคม 2566) ได]มีมติมอบหมายให] สธ. เปEนหนYวยงานหลักรับรายงานพร]อม
ทั้งข]อเสนอแนะของคณะกรรมาธิการฯ ไปพิจารณารYวมกับกระทรวงการคลัง กระทรวงการพัฒนาสังคมและความ
มั ่ น คงของมนุ ษ ยu กระทรวงมหาดไทย กระทรวงดิ จ ิ ท ั ล เพื ่ อ เศรษฐกิ จ และสั ง คมกระทรวงแรงงาน สำนั ก งาน
คณะกรรมการข]าราชการพลเรือน สำนักงานพระพุทธศาสนาแหYงชาติ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแหYงชาติ
สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแหYงชาติ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร]างเสริมสุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการ
สYงเสริมวิทยาศาสตรu วิจัยและนวัตกรรม สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหYงชาติ สำนักงานสYงเสริม
วิสาหกิจเพื่อสังคม สำนักงานคณะกรรมการกำกับและสYงเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย แพทยสภา และ
หนYวยงานที่เกี่ยวข]อง เพื่อพิจารณาศึกษาแนวทางและความเหมาะสมของข]อเสนอแนะดังกลYาวในภาพรวม แล]วสYงให]
สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ภายใน 30 วัน นับแตYวันที่ได]รับแจ]งคำสั่ง เพื่อนำเสนอคณะรัฐมนตรีตYอไป
ขIอเท็จจริง
สธ. ได] พ ิ จ ารณารY ว มกั บ หนY ว ยงานที ่ เ กี ่ ย วข] อ งตามข] อ 2 แล] ว โดยมี ค วามเห็ น สอดคล] อ งกั บ
ข]อเสนอแนะของคณะกรรมาธิการการพัฒนาสังคม และกิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผู]สูงอายุ คนพิการ และผู]ด]อยโอกาส
วุฒิสภา และได]มีความเห็นเพิ่มเติมโดยสรุปได] ดังนี้
ขIอเสนอแนะของคณะกรรมาธิการฯ ผลการพิจารณา
1. ขIอเสนอทิศทางการพัฒนาและนโยบาย
ควรกำหนดทิ ศ ทางการพั ฒ นาระบบการดู แ ลแบบ - เห็นด]วยกับการกำหนดทิศทางการพัฒนาระบบ
ประดับประคองและการแสดงเจตนาไมYรับการรักษาพยาบาล การดู แ ลแบบประคั บ ประคองและการแสดง
ในระยะสุดท]ายของชีวิต เพื่อการสร]างเสริมสุขภาวะระยะ เจตนาไมYรับการรักษาพยาบาลในระยะสุดท]าย
สุดท]ายของชีวิตสำหรับประเทศไทยและจัดทำนโยบายแหYงชาติ ของชีวิต โดยใช]การพัฒนาระบบการดูแลแบบ
วYาด]วยการสร]างเสริมสุขภาวะระยะสุดท]ายของชีวิต รวมทั้ง ประคั บ ประคองในโรงพยาบาล (Hospital -
แผนมาตรการและแนวทางการพั ฒ นาครอบคลุ ม ทุ ก มิ ต ิ ใ ห] Based) เปE น ฐานการสY ง เสริ ม สนั บ สนุ น ให] เ กิ ด
ชัดเจนและเปEนระบบ เพื่อให]หนYวยงานและองคuกรภาคีทุกภาค ระบบการดู แ ลแบบประคั บ ประคองในชุ ม ชน
(Community Based) และการจัดทำนโยบาย
40

สYวนใช]เปEนเครื่องมือพัฒนางานสร]างเสริมสุขภาวะระยะสุดท]าย ระดับชาติที่สYงเสริมให]หนYวยงาน องคuกรภาค


ของชีวิตรYวมกัน ประชาสั ง คม องคu ก รทางศาสนา และอื ่ น ๆ
รวมทั้งชุมชนและท]องถิ่นพัฒนาระบบการดูแล
แบบประคั บ ประคองได] เ องโดยสร] า งความ
เชื ่ อ มโยง การสY ง ตY อ การสY ง เสริ ม การพั ฒ นา
มาตรฐาน การพัฒนาบุคลากรและอื่น ๆ ในรูป
ของเครือขYายสหสาขา เพื่อให]ประชาชนได]รับ
บริ ก ารที ่ ม ี ค ุ ณ ภาพ ได] ม าตรฐาน ทั ้ ง มิ ต ิ ด ] า น
การแพทยu ด] านจิ ตใจ จิ ตวิ ญญาณ และสั งคม
อยYางเปEนองคuรวม สธ. ตระหนักถึงความสำคัญ
และมีการดำเนินการในเรื่องดังกลYาวมาอยYาง
ตY อ เนื ่ อ งแตY ย ั ง ไมY ค รอบคลุ ม ทั ่ ว ถึ ง และเปE น
มาตรฐานเดียวกันการมีนโยบายและการกำหนด
ทิศทางที่ชัดเจนจะทำให]หนYวยงาน องคuกรภาค
ประชาสั ง คม องคu ก รทางศาสนา และอื ่ น ๆ
รวมทั้งชุมชนและท]องถิ่นมีแนวทางการปฏิบัติที่
สอดรับและสอดคล]องกับเป¢าหมายได]ครอบคลุม
ทุกมิติ
2. การพัฒนาระบบการดูแลแบบประดับประคองใน - เห็ น ด] ว ยกั บ การพั ฒ นาระบบการดู แ ลแบบ
โรงพยาบาล (Hospital - Based Palliative Care) ประคั บ ประคองในโรงพยาบาล (Hospital-
ควรสนับสนุนการนำนโยบายและแผนไปสูYการปฏิบัติ Based Palliative Care) ซึ ่ ง สธ. มี น โยบาย
ในการจั ด ให] ม ี ร ะบบการดู แ ลแบบประคั บ ประคองใน สถานชีวาภิบาลรองรับผู]ป©วยที่มีภาวะพึ่งพิงติด
โรงพยาบาลทุกสังกัด ให]มีการจัดตั้งหนYวยบริการดูแลแบบ บ] า นติ ด เตี ย ง ผู ] ป © ว ยที ่ ไ ด] ร ั บ การรั ก ษาแบบ
ประคั บ ประคอง (Palliative Care Unit) มี ท ี ม ดู แ ลแบบสห ประคั บ ประคอง เปE น การดู แ ลตY อ เนื ่ อ งตั ้ ง แตY
วิชาชีพ และควรสYงเสริมสนับสนุนการพัฒนาบริการสุขภาพ ระยะแรกจนถึงวาระสุดท]ายของชีวิต รวมถึงการ
ปฐมภูมิเพื่อให]บริการการแพทยuและสาธารณสุขในชุมชนอยYาง ดู แ ลผู ] ป © ว ยแบบ Hospital at Home/Home
เปEนองคuรวม Ward ด]วยการดูแลอยYางเปEนระบบ ดูแลผู]สูงอายุ
ให]เปEนไปตามมาตรฐานที่กำหนด ครอบคลุม 4
มิติ (กาย จิตใจอารมณu สังคม และจิตวิญญาณ)
คุ]มครองผู]ใช]บริการให]มีความปลอดภัย เข]าถึงยา
และเวชภัณฑuที่มีความจำเปEนในการดูแลผู]ป©วย
ระยะสุ ด ท] า ยของชี ว ิ ต อยY า งเพี ย งพอ อี ก ทั ้ ง มี
caregiver care manager ที ม สหวิ ช าชี พ จิ ต
อาสาในการดูแลผู]ป©วยระยะท]าย
3. ปลดล็อกขIอจำกัดการเขIาถึงยาจำเปkนสำหรับ - เห็นด]วยกับการปลดล็อกข]อจำกัดการเข]าถึงยา
ผูIปrวยระยะสุดทIาย จำเปEนสำหรับผู]ป©วยระยะสุดท]าย โดยสำนักงาน
ควรพัฒนากฎหมายลำดับรองที่เกี่ยวข]องกับการใช]ยา คณะกรรมการอาหารและยา อยู Y ใ นระหวY า ง
แก] ป วดกลุ Y ม Opioids เพื ่ อ ให] ผ ู ] ป © ว ยระยะสุ ด ท] า ยเข] า ถึ ง ยา ดำเนินการจัดทำกฎกระทรวง เพื่อให]สอดคล]อง
จำเปEน ยืดหยุYนให]มีการยืมยาเหลYานี้ระหวYางโรงพยาบาลและ กับประมวลกฎหมายยาเสพติด พ.ศ. 2564 โดย
สถานพยาบาลระดั บ ตY า ง ๆ โดยนำระบบและเทคโนโลยี ได]มีกระบวนการรับฟyงความเห็นผู]ปฏิบัติงาน
สารสนเทศที่เหมาะสมมาใช]ในการจัดการยาเหลYานี้อยYางเปEน ด] า นการดู แ ลแบบประคั บ ประคองเพื ่ อ แก] ไ ข
ระบบ รวมทั้ง สร]างทัศนคติที่ถูกต]องตYอการใช]ยากลุYม Opioids ประเด็นปyญหาจากกฎกระทรวงเดิม ซึ่งจะชYวย
41

ของทั้งบุคลากรด]านสุขภาพและประชาชน ให]ระบบบริหารจัดการยามีความคลYองตัวมากขึ้น
รวมทั้งสร]างระบบการบริหารจัดการยาโดยนำ
เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช]ในการควบคุมยากลุYม
Opioids
4. การพัฒนารูปแบบการบริหารดIานการเงิน - เห็ น ด] ว ยกั บ การพั ฒ นารู ป แบบการบริ ห าร
รองรับการดูแลแบบประคับประคอง จัดการด]านการเงิน การพัฒนาระบบหลักประกัน
ควรศึกษาวิเคราะหuและพัฒนารูปแบบการบริหารด]าน ตYาง ๆ เพื่อการเข]าถึงการดูแลแบบ
การเงินและขุดสิทธิประโยชนuให]ผู]ที่อยูYในระบบหลักประกัน ประคับประคองซึ่งในปyจจุบันระบบสวัสดิการ 3
ตYาง ๆ ได]เข]าถึงการดูแลแบบประคับประคองในโรงพยาบาล กองทุน (สิทธิราชการ (สิทธิประกันสังคม สิทธิ
รวมทั้งการเข]ารับบริการในชุมชนเพื่อให]ประชาชนเข]าถึงการ หลักประกันสุขภาพถ]วนหน]า) ยังมีความเหลื่อม
บริการดูแลแบบประคับประคองที่ใกล]บ]านใกล]ใจในราคาที่ ล้ ำ ทางสิ ท ธิ ก ารรั ก ษาพยาบาลเนื ่ อ งจาก
ประหยัดกวYาการรับบริการในโรงพยาบาล สวัสดิการคYารักษาพยาบาลของทางราชการและ
สิทธิประกันสังคมไมYมีสิทธิประโยชนuการดูแล
แบบประคับประคองนอกโรงพยาบาล จึงมีความ
จำเปE น จะต] อ งพั ฒ นาและจั ด ระบบการดู แ ล
ผู ] ส ู ง อายุ แ ละผู ] ป © ว ยระยะสุ ด ท] า ยขึ ้ น โดยใช]
พื้นฐานการดูแลแบบประคับประคอง เพื่อเปEน
แนวทางในการลดภาระคYาใช]จYายด]านสุขภาพ
ของภาครัฐและของครัวเรือน
5.การพั ฒ นาบุ ค ลากรดI า นสุ ข ภาพและบุ ค ลากรอื่ น - เห็นด]วยกับการพัฒนาบุคลากรด]านสุขภาพทุก
การพัฒนามาตรฐานงานและการพัฒนาวิชาการที่เกี่ยวขIอง สาขาที่เกี่ยวข]องกับการดูแลแบบ
ควรพัฒนาศักยภาพบุคลากรด]านสุขภาพทุกสาขาที่ ประคับประคองให]มีความรู]ความเข]าใจให]ถูกต]อง
เกี ่ ย วข] อ งกั บ การดู แ ลแบบประคั บ ประคองในเรื ่ อ งการวาง ในเรื ่ อ งการจั ด ระบบบริ ก ารการดู แ ลแบบ
แผนการดูแลลYวงหน]าและการแสดงเจตนาในวาระสุดท]ายของ ประคับประคอง (Paliative Care) และการทำ
ชีวิต ผลักดันให]สถานศึกษาด]านสุขภาพทุกระดับจัดให]มีการ หนั ง สื อ แสดงเจตนาไมY ป ระสงคu จ ะรั บ บริ ก าร
เรียนการสอนในเรื่องการสร]างเสริมสุขภาวะระยะสุดท]ายของ สาธารณสุข (Living Will) ตามมาตรา 12 แหYง
ชีวิตทั้งกYอนและหลังการศึกษาในระดับอุดมศึกษาและสYงสริ พระราชบั ญ ญั ต ิ ส ุ ข ภาพแหY ง ชาติ พ.ศ. 2550
มการวิจัยเกี่ยวกับการดูแลแบบประคับประคอง การดำเนินการ รวมถึงการพัฒนาเส]นทางความก]าวหน]าในการ
ตามมาตรา 12 แหY ง พระราชบั ญ ญั ต ิ ส ุ ข ภาพแหY ง ชาติ ทำงานและการสร] า งเสริ ม ขวั ญ กำลั ง ใจที่
พ.ศ. 2550 รวมถึ ง การวิ จ ั ย และพั ฒ นาระบบบริ ก าร เหมาะสม สYงเสริมสนับสนุนการพัฒนาบุคลากร
ตYาง ๆ ที่เกี่ยวข]อง ที่ไมYใชYบุคลากรด]านสุขภาพ ที่ทำงานเกี่ยวกับ
การดูแลแบบประคับประคอง ในสถานรับดูแล
ตYาง ๆ อยYางตYอเนื่อง ได]แกY ผู]ดูแลผู]ป©วยระยะ
สุดท]าย ผู]อภิบาลผู]สูงอายุ ผู]ให]คำแนะนำปรึกษา
อาสาสมั ค ร เพื ่ อ ให] ร ะบบการดู แ ลแบบ
ประคับประคอง มีบุคลากรที่มีศักยภาพ มีความรู]
ความสามารถ และขวัญกำลังใจในการปฏิบัติงาน
6. การส5งเสริมองคgกรนอกภาคสุขภาพจัดบริการดูแลแบบ - เห็นด]วยกับการสYงเสริมองคuกรนอกภาคสุขภาพ
ประคับประคองระยะสุดทIายของชีวิตในชุมชน จัดบริการดูแลแบบประคับประคองระยะสุดท]าย
ภาครัฐควรมีนโยบายที่ชัดเจนในการสYงเสริมสนับสนุนให] ของชีวิตในชุมชนโดยหนึ่งในนโยบายด]านการ
องคuกรภาคประชาสังคม องคuกรทางศาสนา และองคuกรอื่น ๆ สร] า งคุ ณภาพชี ว ิ ต ซึ ่ ง คณะรั ฐ มนตรี โดยนาย
เศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรีได]แถลงตYอรัฐสภา
42

เข]ามารYวมจัดบริการดูแลแบบประคับประคองในรูปแบบตYาง ๆ คือ การสร]างและพัฒนาระบบสาธารณสุขให]มี


ที่เหมาะสม ประสิ ท ธิ ภ าพมากยิ ่ ง ขึ ้ น สามารถรองรั บ
สถานการณuฉุกเฉินและโรคอุบัติใหมYที่อาจเกิดขึ้น
ในอนาคต โดยได]กำหนดให]มีสถานชีวาภิบาล
ประจำท]องถิ่นเพื่อดูแลผู]ป©วยระยะสุดท]าย ซึ่งไมY
วY า จะเปE น กระทรวงมหาดไทย กระทรวงการ
พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยu องคuกร
พระพุ ท ธศาสนา ภาคประชาสั ง คม องคu ก ร
เอกชนที ่ ไ มY แ สวงหากำไรสามารถเข] า มารY ว ม
บริ ก ารดู แ ลแบบประคั บ ประคองในรู ป แบบ
ตYาง ๆ ที่เหมาะสม โดยมาตรฐานด]านสถานที่
ความปลอดภัย การบริการ และบุคลากร เปEนไป
ตามหนYวยงานที่มีหน]าที่ในการกำกับ ดูแล
7. การพัฒนาการสื่อสาร การรับรูI การเรียนรูI - เห็นด]วยกับสYงเสริมการวิจัยและพัฒนาการ
และสรIางความร5วมมือทางสังคม สื่อสารเพื่อสร]างการรับรู]และการเรียนรู]รYวมกัน
ควรสYงเสริมการวิจัยและพัฒนาการสื่อสารเพื่อสร]างการ ในสังคมเนื่องจากประชาชนยังขาดความรู] ความ
รับรู] และการเรียนรู]รYวมกันในสังคมและสYงเสริมสนับสนุนการ เข]าใจเรื่อง สิทธิการตายตามธรรมชาติ สิทธิการ
พั ฒ นาเครื ่ อ งมื อ และยุ ท ธศาสตรu ก ารสื ่ อ สารสมั ย ใหมY นำ ตายดี และการทำหนั ง สื อ แสดงเจตนาฯ เพื่ อ
เทคโนโลยีดิจิทัลเข]ามาชYวยสร]างการสื่อสารทางสังคมอยYาง เข] า ถึ ง สิ ท ธิ ก ารตายดี สิ ท ธิ ก ารตายดี ต าม
หลากหลายและให]มีประสิทธิภาพมากขึ้น เจตนารมณu ม าตรา 12 แหY ง พระราชบั ญ ญั ติ
สุขภาพแหYงชาติ พ.ศ. 2550 รวมทั้งขาดความ
มั ่ น ใจในการได] ร ั บ การปฏิ บ ั ต ิ ตามที ่ ไ ด] แ สดง
เจตนาฯ ไว] ประกอบกับวัฒนธรรมและความเชื่อ
รวมทั้งสถานการณuที่เปลี่ยนแปลงอยYางรวดเร็ว
สYงผลกระทบตYอทัศนคติและแนวทางปฏิบัติของ
ประชาชน การพัฒนาเครื่องมือและยุทธศาสตรu
เพื่อการสื่อสารสมัยใหมYจะเข]ามาชYวยสร]างการ
สื ่ อ สาร ทางสั ง คมได] ห ลากหลาย และมี
ประสิทธิภาพ เพื่อให]ประชาชนทุกกลุYมเข]าถึง
การรับรู] เรียนรู] เกิดความรYวมมือ ทางสังคม ได]
ครอบคลุมมากยิ่งขึ้น
8. สานพลังขับเคลื่อนการสรIางเสริมสุขภาวะ - เห็นด]วยกับการสานพลังขับเคลื่อนการสร]าง
ระยะสุดทIายของชีวิตที่เปkนองคgรวม เสริมสุขภาวะระยะสุดท]ายของชีวิตที่เปEนองคu
ควรประสานงานเพื ่ อ สY ง เสริ ม สนั บ สนุ น การวิ จ ั ย และ รวม โดยสYงเสริมสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา
พั ฒนารู ปแบบการจั ดบริ การดู แลแบบประคั บประคองการ รูปแบบการจัดบริการดูแลแบบประกับประคอง
ดำเนินการตามมาตรา 12 แหYงพระราชบัญญัติสุขภาพแหYงชาติ พั ฒ นาสิ ท ธิ ด ] า นสุ ข ภาพ ตามมาตรา 12 แหY ง
พ.ศ. 2550 การสร]างเสริมสุขภาวะระยะสุดท]ายของชีวิตด]วย พระราชบัญญัติ สุขภาพแหYงชาติ พ.ศ. 2550
(Model Development) ควบคูYไปกับการพัฒนาการดูแล แบบ
ประคับประคองในรูปแบบตYาง ๆ อยYางตYอเนื่อง
สนับสนุนกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู]เกี่ยวกับ
การดำเนินงานของทุกภาคสYวนในสังคม พัฒนา
นโยบายสาธารณะแบบมีสYวนรYวมของทุกภาค
43

สYวนตามหลัก สิทธิมนุษยชน หลักความเสมอ


ภาค หลั ก ความยั ่ ง ยื น และหลั ก ภู ม ิ ค ุ ] ม กั น ตY อ
วิ กฤต ด] วยการพั ฒนาที ่ ไ มY ทิ ้ ง ใครไว] ข] างหลั ง
(Leaving no one behind)
9. การสนับสนุนการพัฒนาอื่น ๆ
ควรให]ความสำคัญตYอการพัฒนาระบบการดูแลเพื่อ - สYงเสริมให]ทุกหนYวยงานตระหนักถึงความสำคัญ
สร]างเสริมสุขภาวะระยะสุดท]ายของชีวิตไว]ในงานด]านกิจการ และความจำเปEนที่จะต]องสนับสนุนการพัฒนา
ผู ] ส ู ง อายุ แ ละการดำเนิ น งานตามยุ ท ธศาสตรu แ ผนงานและ ระบบการดู แ ลเพื ่ อ สร] า งเสริ ม สุ ข ภาวะระยะ
โครงการตYาง ๆ ที่เกี่ยวข]อง สุ ด ท] า ยของชี ว ิ ต ทั ้ ง การกำหนดนโยบายของ
หนY ว ยงานการเพิ ่ ม สิ ท ธิ แ ละจั ด สวั ส ดิ ก ารที่
สนั บสนุ นการดู แลบุ คคลในครอบครั วที ่ อยู Y ใน
ภาวะระยะสุดท]ายของชีวิต รวมทั้งสนับสนุนให]
หนYวยงานที่เกี่ยวข]องกับคYาใช]จYายในการดูแล
แบบประคั บประคองทั ้ งจากสิ ทธิ หลั กประกั น
สุขภาพแหYงชาติ สิทธิประกันสังคม และสิทธิ
ข] า ราชการ รวมทั ้ ง สำนั ก งานคณะกรรมการ
กำกับและสYงเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย
เพื่อเปEนทางเลือกและเสริมสิทธิการเข]าถึงการ
ดูแลแบบประคับประคอง

20. เรื่อง รายงานผลการดำเนินโครงการจิตอาสาพระราชทาน


คณะรั ฐมนตรี รั บทราบรายงานผลการดำเนิ นโครงการจิ ตอาสาพระราชทานของสY วนราชการ
ประจำเดือนตุลาคม-ธันวาคม 2566 ตามที่สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรีเสนอ
สาระสำคัญของเรื่อง
1. สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี (สปน.) รายงานวYา ได]รวบรวมและสรุปผลการดำเนินงาน
โครงการจิตอาสาพระราชทานโดยมีสYวนราชการรายงานผลการดำเนินการที่สำคัญประจำเดือนตุลาคม-ธันวาคม
2566 สาระสำคัญสรุปได] ดังนี้
1.1 กระทรวงมหาดไทย (มท.) ไดIรายงานผลการลงทะเบียนเปkนจิตอาสาพระราชทาน
(ข]อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2566) โดยมีประชาชนที่ลงทะเบียนเปkนจิตอาสาพระราชทานแลIว 7,127.535 คน
จำแนกตามพื้นที่ (ภูมิลำเนา) เปEนกรุงเทพมหานคร 465,852 คน และสYวนภูมิภาค 6,661,683 คน โดยแบYงออกเปEน
เพศชาย 3,213,656 คน เพศหญิง 3,913,879 คน
1.2 การจัดกิจกรรมจิตอาสาของส5วนราชการต5าง ๆ (15 หน5วยงาน) มีผู]เข]ารYวมกิจกรรม
รวมทั้งสิ้น 3,037,498 คน ประกอบด]วย จิตอาสาพัฒนา จิตอาสาภัยพิบัติ จิตอาสาเฉพาะกิจ และวิทยากรจิตอาสา
904 สรุปได] ดังนี้
การดำเนินการ/กิจกรรม ส5วนราชการ จำนวน
(ครั้ง)
(1) จิตอาสาพัฒนา เชYน การปรับปรุงภูมิทัศนu กระทรวงกลาโหม (กห.) กระทรวงการคลัง 24,520
และทำความสะอาดศาสนสถาน โรงเรียน ชุมชน กระทรวงการทYองเที่ยวและกีฬา (กก.)
สถานที่สาธารณะ การให]ความรู]เรื่องโรค กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง
ไข]เลือดออก การอำนวยความสะดวกให]แกY ของมนุษยu (พม.) กระทรวง
ประชาชน การบริจาคโลหิต และหนYวยบริการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล]อม (ทส.)
ทางการแพทยuเคลื่อนที่ การมอบทุนการศึกษา กระทรวงพาณิชยu มท. กระทรวงวัฒนธรรม
สิ่งของให]แกYผู]ยากไร] ผู]ป©วยติดเตียง การปลูก (วธ.) กระทรวงยุติธรรม (ยธ.)
ต]นไม]และพัฒนาแหลYงน้ำ (ตรวจคุณภาพน้ำ) การ กระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) กระทรวง
44

ปลYอยพันธุuปลาในแหลYงน้ำธรรมชาติ การตรวจ สาธารณสุข (สธ.) สำนักงานตำรวจแหYงชาติ


เยี่ยมชุมชน (ตช.)
กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายใน
ราชอาณาจักร และกรมประชาสัมพันธu (กปส.)
(2) จิตอาสาภัยพิบัติ เชYน การชYวยเหลือ กห. พม. ทส. มท. วธ. ศธ. และ ตช. 357
ประชาชนที่ประสบอุทกภัย วาตภัยและภัยแล]ง
(มอบถุงยังชีพ บริจาคสิ่งของ น้ำดื่ม โรงครัว
ติดตั้งเครื่องสูบน้ำ และทำความสะอาดพื้นที่)
และการทำแนวป¢องกันไฟป©า การอบรมการ
ป¢องกัน ระงับอัคคีภัยและภัยพิบัติตYาง ๆ
(3) จิตอาสาเฉพาะกิจ เชYน การอำนวยความ กห. กระทรวงการตYางประเทศ กก. พม. ทส. 219
สะดวกให]แกYประชาชนที่เข]ารYวมรับเสด็จพระบรม มท. ยธ. วธ. ศธ. สธ. ตช. และ กปส.
วงศานุวงศu การจัดเตรียมสถานที่และรYวมพิธีเนื่อง
ในวันสำคัญ การทำกิจกรรมถวายเปEนพระ
ราชกุศล
(4) วิทยากรจิตอาสา 904 โดยเปEนการบรรยาย กห. พม. ทส. ยธ. วธ. ศธ. สธ. ตช. และ กปส. 33
ให]ความรู]เกี่ยวกับบทบาท หน]าที่ และกิจกรรมจิต
อาสา สถาบันพระมหากษัตริยuกับประเทศไทย
โครงการจิตอาสาพระราชทานตามแนว
พระราชดำริและพระราชกรณียกิจ
รวม 25,129
1.3 การติดตามความกIาวหนIาการดำเนินโครงการในภารกิจของศูนยgอำนวยการใหญ5จิต
อาสาพระราชทาน (ศอญ. จอส. พระราชทาน) เชYน
(1) โครงการที่ไดIรายงานผลการดำเนินงานใหIนายกรัฐมนตรีรับทราบแลIว ได]แกY
โครงการที่ได]รับเงินพระราชทานบริจาคชYวยเหลือประชาชนที่ประสบภัยพิบัติภาคใต]
(2) เขIาร5วมประชุมติดตามงานประจำสัปดาหgร5วมกับ ศอญ.จอส. พระราชทาน
พรIอมกับหน5วยงานที่เกี่ยวขIอง รวม 13 ครั้ง ประกอบด]วย 1) รับทราบสถานการณgในภาพรวม เชYน สภาพอากาศ
สาธารณภัยที่สำคัญ ระดับน้ำในอYางเก็บน้ำ ระดับน้ำแมYน้ำโขง สถานการณuฝุ©นละออง PM 2.5 การเตรียมความพร]อม
และการชYวยเหลือประชาชนที่เกิดเหตุอุทกภัย การให]ความชYวยเหลือภาวะภัยแล]ง การดำเนินงานโครงการที่สำคัญ
และกิจกรรมจิตอาสาพระราชทาน รวมทั้งการประชาสัมพันธuภารกิจจิตอาสาผYานชYองทางตYาง ๆ และ 2) รายงานผล
การดำเนินการกิจกรรมจิตอาสาของหน5วยงานภาครัฐ เชYน การลงพื้นที่การจัดกิจกรรม การสนับสนุนสYงเสริมการ
รณรงคuเรื่องการแก]ไขปyญหายาเสพติด และการประสานขอความรYวมมือหนYวยงานที่เกี่ยวข]องในการจัดทำสื่อ
ประชาสัมพันธuเผยแพรYกิจกรรมงานจิตอาสาผYานสื่อโซเชียลมีเดียในรูปแบบ Tik Tok
(3) ลงพื้นที่ติดตามความต5อเนื่องของโครงการจิตอาสาพระราชทาน ได]แกY 1)
โครงการอนุรักษgฟ‹Œนฟูแหล5งน้ำบึงสีไฟ จังหวัดพิจิตร โดยมีข]อเสนอแนะการจัดทำมาตรการรักษาความปลอดภัย
และควบคุมพื้นที่สวนสาธารณะ การจัดทำแผนแมYบทการพัฒนาบึงสีไฟอยYางเปEนระบบตามวัตถุประสงคuของบึงสีไฟ
เพื่อการแก]ปyญหาภัยแล]ง และการบูรณาการรYวมกับภาคเอกชนในการดูแลห]องน้ำและแสงสวYาง 2) โครงการพัฒนา
และฟ‹Œนฟูบึงบอระเพ็ด จังหวัดนครสวรรคg โดยมีข]อเสนอแนะการจัดทำแผนแมYบทการพัฒนาบึงบอระเพ็ดอยYางเปEน
ระบบ การใช]ประโยชนuคลองธรรมชาติและคลองขุด ปลูกต]นไม]ยืนต]น การเพิ่มพื้นที่สีเขียวตามแนวคลองและการ
อนุรักษuระบบนิเวศ สัตวuปwกสัตวuน้ำ และพันธุuไม]หายาก และ 3) โครงการพัฒนาและแกIไขปpญหาคลองแม5ข5า จังหวัด
เชียงใหม5 โดยมีข]อเสนอแนะให]หนYวยงานที่เกี่ยวข]องให]ความสำคัญกับการระบายน้ำ และการเตรียมพร]อมรับมือกับ
ปyญหาอุทกภัย รวมทั้งการบูรณาการรYวมมือกับภาคเอกชนในการพัฒนาให]เปEนแหลYงทYองเที่ยวที่สำคัญของประเทศ
(4) จัดกิจกรรมจิตอาสาพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดลIอมเพื่อความสุขของ
ประชาชน เชYน กิจกรรมบรรยายใหIความรูIและฝŽกปฏิบัติการช5วยฟ‹Œนคืนชีพขั้นพื้นฐานและมอบสิ่งของเครื่อง
อุปโภคบริโภคใหIแก5กลุ5มเปราะบาง คนพิการ ผูIสูงอายุเด็กและเยาวชน ณ สถานคุ]มครองคนไร]ที่พึ่งนนทบุรี จังหวัด
45

นนทบุรี เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2566 มีผู]เข]ารYวมกิจกรรม จำนวน 507 คน กิจกรรมบำเพ็ญสาธารณประโยชนg พัฒนา


และปรับปรุงภูมิทัศนg ณ วัดโตนด จังหวัดนนทบุรี เมื่อวันที่ 18 ธันวาคม 2566 มีผู]เข]ารYวมกิจกรรม จำนวน 150 คน
ทั้งนี้ สปน. จะไดIประสานการดำเนินการในการจัดกิจกรรมจิตอาสาของหน5วยงานภาครัฐ เพื่อใหIเกิดความรูIรัก
สามัคคี เปkนประโยชนgต5อประชาชน ชุมชน สังคม และประเทศชาติโดยรวมอย5างต5อเนื่องต5อไป
21. เรื่อง ภาวะสังคมไทยไตรมาสสาม ปv 2566
คณะรัฐมนตรีรับทราบรายงานภาวะสังคมไทยไตรมาสสาม ปw 2566 ตามที่สำนักงานสภาพัฒนาการ
เศรษฐกิจและสังคมแหYงชาติเสนอ
สาระสำคัญ
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหYงชาติ (สศช.) ได]เสนอรายงานภาวะสังคมไทยไตร
มาสสาม ปw 2566 โดยมีสาระสำคัญสรุปได] ดังนี้
1. ความเคลื่อนไหวทางสังคมไตรมาสสาม ปv 2566
1.1 ดIานแรงงาน
สถานการณuแรงงานขยายตัวจากชYวงเดียวกันของปwกYอน จากการเพิ่มขึ้นของการจ]างงานทั้ง
ในภาคเกษตรกรรมและนอกภาคเกษตรกรรม โดยมีรายละเอียดสรุปได] ดังนี้
ประเด็น สรุปสถานการณg
การจIางงาน ภาพรวมการจIางงานขยายตัวต5อเนื่อง โดยมีจำนวนผูIมีงานทำทั้งสิ้น 40.1 ลIานคน
ขยายตัวเพิ่มขึ้นจากชYวงเดียวกันของปwกYอนรIอยละ 1.3 ซึ่งเปEนผลมาจากการขยายตัวของ
การจ]างงานทั้งในภาคเกษตรกรรม (ร]อยละ 2.0) และนอกภาคเกษตรกรรม (ร]อยละ 1.0)
ทั้งนี้ สาขาโรงแรม/ภัตตาคาร ขยายตัวถึงร]อยละ 8.3
ชั่วโมงการทำงาน ในภาพรวมชั่วโมงการทำงานลดลงเล็กนIอย ขณะที่ผู]ทำงานต่ำระดับ1 ยังคงมีชั่วโมงการ
ทำงานลดลงตYอเนื่องที่ร]อยละ 28.8 โดยชั่วโมงการทำงานเฉลี่ยในภาพรวมและภาคเอกชน
อยูYในระดับที่ใกล]เคียงกันกับชYวงเดียวกันของปwกYอนประมาณ 42.4 ชั่วโมงตYอสัปดาหu (ลดลง
ร]อยละ 0.2) และ 46.1 ชั่วโมงตYอสัปดาหu (ลดลงร]อยละ 1.3) ซึ่งสอดคล]องกับจำนวนผู]
ทำงานลYวงเวลา2 ที่ลดลงร]อยละ 2.0 และผู]เสมือนวYางงาน3 เพิ่มขึ้นร]อยละ 24.9 (เพิ่มขึ้น
จากผู]เสมือนวYางงานที่ทำงานนอกภาคเกษตรกรรม)
ค5าจIางแรงงาน ปรับตัวดีขึ้นอย5างต5อเนื่อง โดยคYาจ]างเฉลี่ยในภาพรวมอยูYที่ 15,448 บาท/คน/เดือน ขณะที่
คYาจ]างเฉลี่ยของภาคเอกชนอยูYที่ 14,141 บาท/คน/เดือน (ขยายตัวร]อยละ 1.5 และ 2.8
ตามลำดับ) ทั้งนี้ คYาจ]างที่แท]จริงในภาพรวมและภาคเอกชน ปรับเพิ่มขึ้นร]อยละ 9.0 และ
10.3 ตามลำดับ
อัตราการว5างงาน ปรับตัวดีขึ้น โดยมีผู]วYางงานจำนวน 4.01 แสนคน คิดเปEนอัตราการวYางงาน ร]อยละ 0.99
ซึ่งลดลงจากชYวงเดียวกันของปwกYอนซึ่งอยูYที่ร]อยละ 1.23 (ผู]วYางงานลดลงจากผู]ที่เคยทำงาน
และไมYเคยทำงานมากYอน) และมีผู]วYางงานระยะยาวลดลงอยYางตYอเนื่องกวYาร]อยละ 32.8
ประเด็นที่ควรใหI เชYน การยกระดับผลิตภาพแรงงานภาคเกษตรกรรมและเฝ¢าระวังผลกระทบของการสYงออก
ความสำคัญและ ที่หดตัวตYอเนื่องจากการจ]างงานในสาขาที่เกี่ยวข]อง รวมทั้งระดับราคาสินค]าที่อาจปรับ
ตIองติดตาม เพิ่มขึ้นกYอนที่อัตราคYาจ]างขั้นต่ำจะปรับเพิ่มขึ้นจริง เปEนต]น
1.2 ดIานหนี้สินครัวเรือน
ไตรมาสสองของปw 2566 หนี้สินครัวเรือน มีมูลคYา 16.07 ล]านล]านบาท ขยายตัวรIอยละ
3.6 จากไตรมาสเดียวกันของปwกYอนโดยมีสัดสYวนหนี้สินครัวเรือนตYอผลิตภัณฑuมวลรวมในประเทศ (Gross Domestic
Product : GDP) อยูYที่ร]อยละ 90.7 ซึ่งเปEนอัตราคงที่เมื่อเทียบกับไตรมาสที่ผYานมา (สYวนใหญYเปEนหนี้เพื่อซื้อ
อสังหาริมทรัพยuและหนี้เพื่ออุปโภคบริโภคสYวนบุคคล)
ประเด็นที่ควรใหIความสำคัญ เชYน ความเสี่ยงตYอการติดกับดักหนี้ของเกษตรกรไทยจาก
มาตรการพักหนี้ และการเรYงดำเนินมาตรการปรับโครงสร]างหนี้แกYลูกหนี้ที่ได]รับผลกระทบจากสถานการณuการแพรY
ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
1.3 ดIานสุขภาพและการเจ็บปrวย
46

จำนวนผูIปrวยดIวยโรคเฝ•าระวังโดยรวมเพิ่มขึ้นจากชYวงเดียวกันของปwกYอนถึงร]อยละ 99.9
(เพิ่มขึ้นจาก 200,626 คน เปEน 401,003 คนหรือเพิ่มขึ้น 200,377 คน) ซึ่งสYวนใหญYเปEนการเพิ่มขึ้นจากจำนวนผู]ป©วย
ด]วยโรคไข]หวัดใหญY นอกจากนี้ ในสYวนของสถานการณuด]านสุขภาพจิตของคนไทยพบวYา ผู]มีปyญหาความเครียดเสี่ยง
ซึมเศร]า เสี่ยงฆYาตัวตาย และมีภาวะหมดไฟ มีสัดสYวนร]อยละ 21.48 จากผู]เข]ารับการประเมิน 1.9 แสนคน ลดลงจาก
ชYวงเดียวกันของปwกYอนร]อยละ 27.92 โดยมีจำนวนผู]ที่เสี่ยงซึมเศร]าสูงสุด
ประเด็นที่ตIองใหIความสำคัญ เชYน การแพรYระบาดของโรคติดเชื้อฝwดาษวานรจากโรค
ไข]หวัดใหญY เด็กและเยาวชนไทยมีภาวะอ]วนซึ่งเสี่ยงตYอโรคไมYติดตYอเรื้อรังมากขึ้น
1.4 ดIานการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอลgและบุหรี่
การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอลgและบุหรี่เพิ่มขึ้นรIอยละ 3.2 โดยเปEนการเพิ่มขึ้นจากการ
บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอลuร]อยละ 4.7 และการบริโภคบุหรี่ร]อยละ 0.9 เนื่องจากมีนักทYองเที่ยวชาวตYางชาติเดินทาง
มาเพิ่มขึ้น ทำให]การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอลuและบุหรี่ขยายตัวตามไปด]วย
ประเด็นที่ตIองใหIความสำคัญ เชYน การให]ความสำคัญกับการรณรงคuลดละเลิกสุราให]
เข]าถึงคนทุกชYวงวัยอยYางตYอเนื่อง และยังคงต]องติดตามเฝ¢าระวังบุหรี่ไฟฟ¢ารูปลักษณuใหมYที่ดึงดูดเยาวชนให]เข]าถึงมาก
ยิ่งขึ้น
1.5 ดIานความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยgสิน
คดีอาญาโดยรวมลดลงรIอยละ 13.7 จากการลดลงของคดียาเสพติดที่ร]อยละ 20.5 แตY
ยังคงมีสัดสYวนสูงกวYาคดีอาญาประเภทอื่น โดยมีสัดสYวนร]อยละ 76.9 ของคดีอาญาทั้งหมด (คดีชีวิต รYางกาย และเพศ
เพิ่มขึ้นร]อยละ 17.2และคดีประทุษร]ายตYอทรัพยuเพิ่มขึ้นร]อยละ 21.7)
ประเด็นที่ตIองใหIความสำคัญ เชYน การเฝ¢าระวังกลุYมเด็กและเยาวชนเลYนพนันออนไลนuผYาน
สื่อสังคมออนไลนu และการหามาตรการป¢องกันการกYออาชญากรรมโดยใช]อาวุธปน
1.6 ดIานการคุIมครองผูIบริโภค
สำนักงานคณะกรรมการคุ]มครองผู]บริโภคได]รับเรื่องรIองเรียนเกี่ยวกับสินคIาและบริการ
เพิ่มขึ้นรIอยละ 4.3 โดยไดIรับการรIองเรียนดIานการขายตรงและตลาดแบบตรง4มากที่สุด ขณะที่การรับเรื่อง
ร]องเรียนในกิจการโทรคมนาคมของสำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศนu และกิจการ
โทรคมนาคมแหYงชาติลดลงจากไตรมาสเดียวกันของปwที่ผYานมาร]อยละ 40.8
ประเด็นที่ตIองเฝ•าระวัง เชYน ภัยทางการเงินจากการถูกหลอกลวงเกี่ยวกับผลิตภัณฑuสินเชื่อ
ผYานชYองทางออนไลนu ปyญหาการไมYได]รับความเปEนธรรมจากการคิดคYาไฟและคYาน้ำประปาของหอพัก ห]องเชYา และอะ
พารuตเมนตu
2. สถานการณgทางสังคมที่สำคัญ
สถานการณg รายละเอียด
บริการซื้อก5อน เปkนบริการใหIสินเชื่อหรือการผ5อนชำระสินคIาที่เขIาถึงง5าย และปราศจากดอกเบี้ยหาก
จ5ายทีหลัง ชำระเงินตามเงื่อนไข เปEนความนิยมในการเข]าถึงสินเชื่อยุคใหมYซึ่งมีทั้งในรูปแบบ
(Buy Now ออฟไลนuและออนไลนu โดยในปw 2565 มีผู]ใช]ทั่วโลกกวYา 360 ล]านคน ซึ่งคาดวYาจะ
Pay Later : BNPL) เพิ่มขึ้นเปEน 900 ล]านคน ในปw 2570 อยYางไรก็ตามแม]จะเปEนการเพิ่มโอกาสการเข]าถึง
สินเชื่อในกลุYมผู]มีรายได]น]อยแตYอาจทำให]เกิดความเสี่ยงจากพฤติกรรมการใช]จYายเกินตัว
ของผู]บริโภคและกYอให]เกิดหนี้เสียตามมา
เศรษฐกิจรูปแบบใหม5 การเปลี่ยนแปลงของโครงสร]างครัวเรือนที่มีคนอาศัยอยูYคนเดียวมากขึ้นทำให] Solo
ในยุคอยู5คนเดียว Economy เติบโตอยYางมากทั่วโลก ซึ่งสYงผลให]ธุรกิจในประเทศตYาง ๆ (เชYน ธุรกิจที่
(Solo Economy) เกี่ยวข]องกับการเดินทาง การทYองเที่ยว และการสื่อสาร) เริ่มปรับตัวเนื่องจาก
พฤติกรรมการใช]จYายของคนกลุYมนี้มีมูลคYาสูงกวYาคนกลุYมอื่น ดังนั้น จึงเปEนโอกาสในการ
ปรับตัวของภาคธุรกิจในการผลิตสินค]าและบริการ เพื่อนำมาตอบสนองตYอ
พฤติกรรมและความต]องการของคนกลุYมนี้มากยิ่งขึ้น อยYางไรก็ตาม หากไทยจะ
ยกระดับ Solo Economy ให]สามารถขับเคลื่อนเศรษฐกิจได]อยYางเปEนรูปธรรม
จำเปEนต]องคำนึงถึงปyญหาและความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากการอยูYคนเดียวของครัวเรือนไทย
(เชYน โรคซึมเศร]า รายได]ไมYพอจYาย) ควบคูYไปด]วย
47

ตราสารหนี้สีเขียว เปEนเครื่องมือทางการเงินที่สำคัญในการระดมทุนเพื่อการแก]ไขปyญหาสิ่งแวดล]อม ซึ่ง


(Green bond) การสYงเสริมให]ผู]ประกอบธุรกิจใช]ประโยชนuจากตราสารหนี้สีเขียวจำเปEนต]องกำหนด
นิยามกิจกรรมทางเศรษฐกิจสีเขียวให]มีความชัดเจนเพื่อสร]างโอกาสให]ผู]ประกอบการ
สามารถเข]าถึงเงินทุนเพื่อแก]ปyญหาและสร]างความยั่งยืนด]านสิ่งแวดล]อมให]มากขึ้น โดย
ตัวอยYางโครงการที่เกี่ยวข]องกับตราสารหนี้สีเขียว เชYน (1) พลังงานหมุนเวียน (2) การ
ป¢องกันและควบคุมมลพิษ และ (3) การจัดการน้ำและน้ำเสียอยYางยั่งยืน ทั้งนี้ เมื่อ
พิจารณาการขยายตัวของตราสารหนี้สีเขียวพบวYา ในปw 2565 ทั่วโลกมีการขยายตัว
เพิ่มขึ้นจากการออกตราสารหนี้สีเขียวคิดเปkนมูลค5าสูงถึง 4.87 แสนลIานดอลลารg
สหรัฐ สำหรับประเทศไทยมีมูลค5าการออกตราสารหนี้สีเขียวขยายตัวมากขึ้น จาก
51,000 ลIานบาท ในปv 2562 เปkน 85,643 ลIานบาท ในปv 2565 อยYางไร ก็ดี
ถึงแม]วYาตราสารหนี้สีเขียวจะมีการขยายตัวขึ้นมากแตYยังมีข]อจำกัดที่สำคัญหลาย
ประการ เชYน (1) ตลาดยังมีขนาดเล็กและผู]ออกตราสารหนี้สีเขียวสYวนใหญYเปEนบริษัท
ขนาดใหญY (2) มีเงื่อนไขและขั้นตอนที่มากกวYาการออกตราสารหนี้ทั่วไปและ (3) การ
ขาดความชัดเจนในการกำหนดสาขาของธุรกิจสีเขียว
1.3 งบประมาณดIานสังคม (Social Budgeting) ขององคuการแรงงานระหวYางประเทศ
(ILO) เปEนเครื่องมือในการวิเคราะหuเพื่อชYวยให]เห็นถึงกระแสการเงินของงบประมาณที่ใช]ในการจัดสวัสดิการสังคม
และเปEนเครื่องมือหนึ่งในการสนับสนุนการจัดสรรและใช]งบประมาณของภาครัฐให]มีประสิทธิภาพมากขึ้น โดย สศช.
ได]มีการจัดทำข]อมูลงบประมาณด]านสังคม ซึ่งเปEนข]อมูลที่ชี้ให]เห็นถึงแหลYงที่มาและการใช]ไปของเงินในการดำเนินการ
โครงการเพื่อสร]างระบบความคุ]มครองทางสังคมและดำเนินนโยบาย โดยผลการจัดทำ Social Budgeting จาก
โครงการ/มาตรการทางสังคมที่สำคัญจำนวนทั้งสิ้น 21 โครงการ ครอบคลุมงบประมาณกวYาร]อยละ 93.4 ของรายจYาย
ด]านสังคมทั้งหมด พบวYารายจYายของงบประมาณด]านสังคม ในปw 2564 มีมูลคYากวYา 1.16 ล]านล]านบาท หรือคิดเปEน
ร]อยละ 7.15 ของ GDP โดยสYวนใหญYเปEนการให]เงินชYวยเหลือและเงินทดแทนรายได]ที่สYงตรงไปให]แกYผู]รับประโยชนu
และด]านที่มีการชYวยเหลือมากที่สุด คือ ด]านการเกษียณอายุ/เสียชีวิต ขณะที่รายรับของงบประมาณด]านสังคมสYวน
ใหญYมาจากงบประมาณและเงินสมทบจากภาครัฐ โดยคิดเปEนสัดสYวนร]อยละ 80.2
ทั้งนี้ มีข]อค]นพบซึ่งเปEนประเด็นที่นYาสนใจ เชYน (1) ภาครัฐตIองใชIจ5ายในโครงการดIานสังคม
เพิ่มขึ้น ขณะที่การจัดเก็บรายไดIยังทำไดIไม5เต็มศักยภาพ ซึ่งจะส5งผลใหIช5องว5างทางการคลังมีแนวโนIมแคบลง
และหากไมYมีการเพิ่มรายได]หรืออัตราเงินสมทบจากแหลYงอื่น อาจทำให]รัฐต]องกู]ยืมเพื่อนำมาใช]จYาย และเกิดหนี้
สาธารณะมากขึ้นในอนาคต และ (2) รายจ5ายของโครงการดIานสังคมเปkนตัวเงินนอกเหนือจากดIานการเกษียณอายุ
และเสียชีวิตมีแนวโนIมเพิ่มขึ้น โดยปw 2555 มีมูลคYา 0.6 หมื่นล]านบาท เพิ่มขึ้นเปEน 63.5 หมื่นล]านบาท ในปw 2561
จากการเริ่มต]นของโครงการบัตรสวัสดิการรัฐ และปรับตัวสูงขึ้นเปEน 1.33 แสนล]านบาทในปw 2564 แสดงให]เห็นวYา
การให]ความชYวยเหลือทางสังคมในลักษณะนี้มีบทบาทมากขึ้นโดยเปEนการให]ความชYวยเหลือมากกวYาการพัฒนา
ศักยภาพของกลุYมเป¢าหมาย ซึ่งอาจไมYสามารถชYวยยกระดับคุณภาพชีวิตของครัวเรือนรายได]น]อยอยYางยั่งยืน
ดังนั้น เพื่อรักษาระดับของชYองวYางทางการคลังไมYให]ตึงตัวมากเกินไป ซึ่งจะสYงผลตYอความยั่งยืนของ
สวัสดิการทางสังคม ภาครัฐจึงควรตระหนักถึงประเด็นตYาง ๆ เชYน (1) เนIนการดำเนินนโยบายในรูปแบบร5วมจ5าย
มากขึ้น โดยการออกแบบนโยบายจะต]องคำนึงถึงภาระทางการคลัง และความสามารถในการยกระดับสังคมให]
สามารถพึ่งพาตนเองได]ในระยะยาว ซึ่งจะเปEนผลดีตYอชYองวYางและความยั่งยืนทางการคลัง (2) ปรับปรุงประสิทธิภาพ
การจัดเก็บภาษีใหIไดIมากขึ้น ซึ่งจะต]องดำเนินการควบคูYไปกับการสร]างการตระหนักรู]ถึงความสำคัญของภาษีตYอการ
จัดสวัสดิการและการพัฒนาประเทศ และ (3) จัดทำฐานขIอมูลขนาดใหญ5 (Big Data) ของสวัสดิการต5าง ๆ ที่
รวบรวมข]อมูลทั้งงบประมาณที่ใช]และผู]ได]รับประโยชนu ซึ่งจะชYวยให]ภาครัฐสามารถออกแบบมาตรการได]อยYางตรงจุด
และทันทYวงทีลดการตกหลYนของกลุYมเป¢าหมายและการรั่วไหลไปสูYผู]ที่ไมYใชYกลุYมเป¢าหมาย รวมถึงลดความซับซ]อนของ
สิทธิ ทั้งนี้ การจัดทำ Social Budgeting ของ สศช.เปEนการศึกษางบประมาณในการจัดสวัสดิการทางสังคมใน
เบื้องต]น ซึ่งในระยะถัดไปจะดำเนินการศึกษาโครงการทางสังคมได]ครอบคลุมมากขึ้น ซึ่งจะเปEนเครื่องมือสำคัญในการ
ออกแบบนโยบายทางสังคมในอนาคต อีกทัง้ ยังสามารถตYอยอดไปสูYการจัดทำงบประมาณในนโยบายด]านอื่น ๆ ตYอไป
______________________________________
48

1ผู]ทำงานต่ำระดับ คือ ผู]ที่ทำงานต่ำกวYา 35 ชั่วโมงตYอสัปดาหuและต]องการทำงานเพิ่ม (นับรวมผู]ที่ทำงาน 0 ชั่วโมงตYอ


สัปดาหu)
2ผู]ทำงานลYวงเวลา คือ ผู]มีงานทำที่ทำงานมากกวYา 50 ชั่วโมงตYอสัปดาหu
3ผู ] เ สมื อ นวY า งงาน คื อ ผู ] ท ี ่ ท ำงานในภาคเกษตรกรรม จำนวน 0-20 ชั ่ ว โมงตY อ สั ป ดาหu และผู ] ท ี ่ ท ำงานนอกภาค
เกษตรกรรม 0-24 ชั่วโมงตYอสัปดาหu
4ตลาดแบบตรง หมายถึง การทำตลาดสินค]าหรือบริการในลักษณะของการสื่อสารข]อมูลของผู]ประกอบการธุรกิจใน
การเสนอขายสินค]าหรือบริการ โดยตรงตYอผู]บริโภค ซึ่งมีระยะหYางโดยระยะทาง ตัวอยYางธุรกิจตลาดแบบตรงเชYน
Lazada Shopee เปEนต]น
22. เรื่อง รายงานสถานการณgการส5งออกของไทย ประจำเดือนมกราคม 2567
คณะรัฐมนตรีรับทราบรายงานสถานการณuการสYงออกของไทย ประจำเดือนมกราคม 2567 ตามที่
กระทรวงพาณิชยuเสนอ สรุปสาระสำคัญได]ดังนี้
1. สรุปสถานการณgการส5งออกของไทย ประจำเดือนมกราคม 2567
การส5งออกของไทยในเดือนมกราคม 2567 มีมูลค5า 22,649.9 ลIานเหรียญสหรัฐ (384,580 ลIาน
บาท) ขยายตัวต5อเนื่องเปkนเดือนที่ 6 รIอยละ 10.0 หากหักสินคIาเกี่ยวเนื่องกับน้ำมัน ทองคำและยุทธปpจจัย
ขยายตัวรIอยละ 9.2 การสYงออกของไทยยังคงขยายตัวตYอเนื่อง สอดคล]องกับหลาย ๆ ประเทศในเอเชีย ตามทิศทาง
การค]าโลกที่เริ่มฟ¡นตัวจากภาวะเงินเฟ¢อ รวมทั้งปyจจัยมูลคYาฐานการสYงออกต่ำในชYวงเดียวกันของปwกYอนหน]า และมี
แรงหนุนจากการสYงออกคอมพิวเตอรuและสYวนประกอบตามการฟ¡นตัวของวัฏจักรสินค]าอิเล็กทรอนิกสu และการสYงออก
สินค]าเกษตรและอาหารที่ยังคงขยายตัวสูง อยYางไรก็ตาม ยังคงต]องติดตามปyญหาด]านภูมิรัฐศาสตรuที่อาจจะเปEน
อุปสรรคทางการค]าในระยะตYอไป
มูลค5าการคIารวม
มูลค5าการคIาในรูปเงินดอลลารgสหรัฐ เดือนมกราคม 2567 มีมูลค5าการคIารวม 48,057.7 ล]าน
เหรียญสหรัฐ ขยายตัวร]อยละ 6.0 เทียบกับเดือนเดียวกันของปwกYอน โดยการสYงออก มีมูลคYา 22,649.9 ล]านเหรียญ
สหรัฐ ขยายตัวร]อยละ 10.0 การนำเข]า มีมูลคYา 25,407.8 ล]านเหรียญสหรัฐ ขยายตัวร]อยละ 2.6 ดุลการค]า ขาดดุล
2,757.9 ล]านเหรียญสหรัฐ
มูลค5าการคIาในรูปเงินบาท เดือนมกราคม 2567 มีมูลค5าการคIารวม 1,675,267, ล]านบาท
ขยายตัวร]อยละ 6.1 เทียบกับเดือนเดียวกันของปwกYอน โดยการสYงออก มีมูลคYา 784,580 ล]านบาท ขยายตัวร]อยละ
10.2 การนำเข]า มีมูลคYา 890,687 ล]านบาท ขยายตัวร]อยละ 2.8 ดุลการค]า ขาดดุล 106,107 ล]านบาท
การส5งออกสินคIาเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร
มูลคYาการสYงออกสินค]าเกษตรและอุดสาหกรรมเกษตร ขยายตัวร]อยละ 9.2 โดยสินค]าเกษตร
ขยายตัวร]อยละ 14.0 และสินค]าอุตสาหกรรมเกษตร ขยายตัวร]อยละ 3.8 ทั้งนี้ สินค]าสำคัญที่ขยายตัว ได]แกY ขIาว
ขยายตัวร]อยละ 45.9 (ขยายตัวในตลาดอินโดนีเซีย ฟrลิปปrนสu สหรัฐฯ อิรัก และเยเมน) ไก5สด แช5เย็น แช5แข็ง และ
แปรรูป ขยายตัวร]อยละ 5.0 (ขยายตัวในตลาดญี่ปุ©น สหราชอาณาจักร เกาหลีใต] มาเลเซีย และสิงคโปรu) ยางพารา
ขยายตัวร]อยละ 5.5 (ขยายตัวในตลาดญี่ปุ©น มาเลเซีย สหรัฐฯ ตุรกี และเวียดนาม) ผลไมIสด แช5เย็น แช5แข็ง และ
แหIง ขยายตัวร]อยละ 30.1 (ขยายตัวในตลาดจีน มาเลเซีย สหรัฐฯ เกาหลีใต] และเวียดนาม) อาหารทะเลกระปŸอง
และแปรรูป ขยายตัวร]อยละ 5.2 (ขยายตัวในตลาดญี่ปุ©น ลิเบีย แคนาดา สหรัฐอาหรับเอมิเรตสu และอียิปตu) อาหาร
สัตวgเลี้ยง ขยายตัวร]อยละ 9.1 (ขยายตัวในตลาดสหรัฐฯ ญี่ปุ©น อิตาลี ฟrลิปปrนสu และอินเดีย) เครื่องดื่ม ขยายตัวร]อย
ละ 18.6 (ขยายตัวในตลาดเมียนมา เวียดนาม ลาว มาเลเซียและจีน) ผลไมIกระปŸองและแปรรูป ขยายตัวร]อยละ
23.3 (ขยายตัวในตลาดสหรัฐฯ จีน ญี่ปุ©น ออสเตรเลีย และเนเธอรuแลนดu ) สิ่งปรุงรสอาหาร ขยายตัวร]อยละ 23.3
(ขยายตัวในตลาดสหรัฐฯ ออสเตรเลีย ญี่ปุ©น สหราชอาณาจักร และเนเธอรuแลนดu) ผักกระปŸองและผักแปรรูป
ขยายตัวร]อยละ 33.1 (ขยายตัวในตลาดญี่ปุ©น สหรัฐฯเกาหลีใต] ออสเตรเลีย และอินโดนีเซีย) ผักสด แช5เย็น แช5แข็ง
และแหIง ขยายตัวร]อยละ 15.3 (ขยายตัวในตลาดมาเลเซีย ญี่ปุ©น ไต]หวัน กัมพูชา และเมียนมา) ขณะที่สินคIาสำคัญที่
หดตัว อาทิ ผลิตภัณฑgมันสำปะหลัง หดตัวร]อยละ 27.0 (หดตัวในตลาดจีน สหรัฐฯ เกาหลีใต] สิงคโปรu และ
เนเธอรuแลนดu) น้ำตาลทราย หดตัวร]อยละ 16.2 (หดตัวในตลาดอินโดนีเซีย ไต]หวัน สิงคโปรu มาเลเชีย และปาปyว
49

นิวกินี) ไขมันและน้ำมันจากพืชและสัตวg หดตัวร]อยละ 58.8 (หดตัวในตลาดมาเลเซีย กัมพูชา เวียดนาม อินโดนีเซีย


และญี่ปุ©น)
การส5งออกสินคIาอุตสาหกรรม
มูลค5าการส5งออกสินคIาอุตสาหกรรม ขยายตัวรIอยละ 10.3 มีสินคIาสำคัญที่ขยายตัว อาทิ เครื่อง
คอมพิวเตอรg อุปกรณg และส5วนประกอบ ขยายตัวร]อยละ 32.2 (ขยายตัวในตลาดสหรัฐฯ จีน ฮYองกง เยอรมนี และ
ออสเตรเลีย) เหล็ก เหล็กกลIาและผลิตภัณฑg ขยายตัวร]อยละ 106.3 (ขยายตัวในตลาดสิงคโปรu อินเดีย ออสเตรเลีย
แคนาดา และจีน) ผลิตภัณฑgยาง ขยายตัวร]อยละ 3.7 (ขยายตัวในตลาดสหรัฐฯ ญี่ปุ©น เกาหลีใต] มาเลเชีย และ
ออสเตรเลีย) อัญมณีและเครื่องประดับ (ไม5รวมทองคำ) ขยายตัวร]อยละ 21.5 (ขยายตัวในตลาดสหรัฐฯ อิตาลี
ฮYองกง เยอรมนี และอินเดีย เครื่องจักรกลและส5วนประกอบของเครื่องจักรกล ขยายตัวร]อยละ 7.6 (ขยายตัวใน
ตลาดสหรัฐฯ ญี่ปุ©น อินเดีย จีน และสิงคโปรu) เครื่องโทรศัพทgอุปกรณgและส5วนประกอบ ขยายตัวร]อยละ 56.3
(ขยายตัวในตลาดสหรัฐฯ ฮYองกง เนเธอรuแลนดu จีน และสหรัฐอาหรับเอมิเรตสu) ขณะที่สินคIาสำคัญที่หดตัว อาทิ
รถยนตg อุปกรณgและส5วนประกอบ หดตัวร]อยละ 4.7 (หดตัวในตลาดญี่ปุ©น สหรัฐฯ มาเลเซีย อินโดนีเซีย และเม็กชิ
โก) เคมีภัณฑg หดตัวร]อยละ 1.6 (หดตัวในตลาดจีน อินโดนีเซีย มาเลเซีย ลาว และสิงคโปรu) เครื่องปรับอากาศและ
ส5วนประกอบ หดตัวร]อยละ 10.5 (หดตัวในตลาดสหรัฐฯ อิตาลี อินเดีย ฝรั่งศส และไต]หวัน) อุปกรณgกึ่งตัวนำ
ทรานซิสเตอรg และไดโอด หดตัวร]อยละ 9.5 (หดตัวในตลาดอินเดีย เวียดนาม สิงคโปรu สาธารณรัฐเช็ค และแคนาดา)
ตลาดส5งออกสำคัญ
การส5งออกไปยังตลาดส5งออกสำคัญส5วนใหญ5ขยายตัว ตามอุปสงคgจากประเทศคู5คIาที่ทยอยฟ‹Œน
ตัวสอดคลIองกับแนวโนIมการฟ‹ŒนตัวของการคIาโลก และสัญญาณการปรับตัวดีขึ้นของการผลิตภาคอุตสาหกรรม
ทั้งนี้ ภาพรวมการสYงออกไปยังกลุYมตลาดตYาง ๆ สรุปได]ดังนี้ (1) ตลาดหลัก ขยายตัวรIอยละ 10.5 โดยขยายตัวในทุก
ตลาด ได]แกY สหรัฐฯ ร]อยละ 13.7 จีน ร]อยละ 2.1 ญี่ปุ©น ร]อยละ 1.0 สหภาพยุโรป (27) ร]อยละ 4.5 อาเซียน (5)
ร]อยละ 18.1 และ CLMV ร]อยละ 16.6 (2) ตลาดรอง ขยายตัวรIอยละ 8.8 โดยขยายตัวในตลาดเอเชียใต] ร]อยละ
0.04 ทวีปออสเตรเลีย ร]อยละ 27.2 ตะวันออกกลาง ร]อยละ 2.9 และรัสเซียและกลุYม CIS ร]อยละ 64.6 ขณะที่หดตัว
ในตลาดแอฟริกา ร]อยละ 24.2 ลาตินอเมริกา ร]อยละ 4.0 และสหราชอาณาจักร หดตัวร]อยละ 1.6 (3) ตลาดอื่น ๆ
ขยายตัวรIอยละ 11.2 อาทิ สวิตเซอรuแลนดu ขยายตัวร]อยละ 5.1
2. มาตรการส5งเสริมการส5งออกและแนวโนIมการส5งออกระยะต5อไป
การส5งเสริมการส5งออก กระทรวงพาณิชยgดำเนินงานที่สำคัญในเดือนมกราคม อาทิ (1) การ
หารือกับสหรัฐฯ เพื่อลดอุปสรรคในการส5งออก โดยขอให]พิจารณาเรYงรัดการตYออายุการให]สิทธิพิเศษทางภาษี
ศุลกากร (GSP) ที่ได]หมดอายุไปเมื่อปลายปw 2563 รวมไปถึงการขอการสนับสนุนให]ไทยหลุดจากบัญชีประเทศที่ต]อง
จับตามอง (Watch List: WL) ทุกบัญชี โดยเน]นย้ำถึงความสำคัญชองการพัฒนาหYวงโซYอุปทานและการเปEนพันธมิตร
ด]านเศรษฐกิจกับสหรัฐฯ โดยเฉพาะการเปEนฐานการผลิตในหYวงโซYอุปทานอุตสาหกรรมสมัยใหมY เชYน ดิจิทัล AI
อิเล็กทรอนิกสu เซมิคอนดักเตอรu รถยนตuไฟฟ¢า พลังงานสะอาด การบิน ยาและเวชภัณฑu เปEนต]น (2) การเพิ่มโอกาส
ในการส5งออกสินคIาของไทยในตลาดสหรัฐฯ และอินเดีย คณะผู]บริหารกระทรวงพาณิชยuและผู]ประกอบการสYงออก
เดินทางไปเยือนนครลอสแอนเจลิสของสหรัฐฯ เพื่อเรYงผลักดันการนำเข]าสินค]าไทยในสหรัฐฯ ตลอดจนสร]างเครือขYาย
พันธมิตรและความรYวมมือด]านการค]าการลงทุน แสวงหาผู]นำเข]ารายใหมYในตลาดสหรัฐฯ พร]อมการลงนาม MOU
สินค]าข]าวหอมมะลิ และอาหารกระป¹อง ระหวYางผู]สYงออกไทยกับผู]นำเข]าสหรัฐฯ ด]วย นอกจากนี้ยังได]นำคณะ
ผู]ประกอบการไทยเข]ารYวมงาน Vibrant Gujarat Global Summit ครั้งที่ 10 ที่รัฐคุชราต ประเทศอินเดีย โดยมุYงหวัง
ที่จะใช]รัฐคุชราตเปEนแหลYงวัตถุดิบสำหรับอุตสาหกรรมแปรรูปอาหารและอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ ซึ่ง
รัฐคุชราตมีนโยบายสYงเสริมการลงทุน ทั้งพลังงานหมุนเวียน และการกYอสร]าง เปEนโอกาสดีของนักลงทุนไทยที่จะปyก
หมุดการลงทุนในรัฐคุชราตได]เพิ่มขึ้น
แนวโนIมการส5งออกในปv 2567 การสYงออกไทยยังคงได]รับปyจจัยบวกจากการฟ¡นตัวของเศรษฐกิจคูY
ค]าตามภาวะเงินเฟ¢อโลกที่เริ่มชะลอตัว การได]รับอานิสงสuจากมาตรการรักษาความมั่นคงทางด]านอาหารของหลาย
ประเทศ และจากความรYวมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคที่มีความเข]มแข็ง ขณะที่ความขัดแย]งทางภูมิรัฐศาสตรuใน
ตะวันออกกลางยังไมYสYงผลกระทบทางตรงตYอไทยมากนัก อยYางไรก็ตาม อุปสรรคการขนสYงที่เกิดจากความขัดแย]ง
ดังกลYาวสYงผลทางอ]อมให]อัตราคYาระวางเรือเพิ่มสูงขึ้น และอาจทำให]เศรษฐกิจคูYค]ามีความเสี่ยงจากการเพิ่มขึ้นของ
อัตราเงินเฟ¢อในอนาคต ขณะที่อัตราแลกเปลี่ยนอาจจะยังมีความผันผวนจากทิศทางการปรับเปลี่ยนโยบายการเงิน
50

ของสหรัฐฯ ทั้งนี้ กระทรวงพาณิชยuได]ติดตามประเด็นสำคัญที่อาจสYงผลกระทบตYอการสYงออก เพื่อให]สามารถบรรลุ


เป¢าหมายการทำงานในการผลักดันการเติบโตของมูลคYาการสYงออกของไทยในปw 2567 ที่ร]อยละ 1 - 2 ตYอไป
23. เรื่อง สรุปภาพรวมดัชนีเศรษฐกิจการคIาประจำเดือนกุมภาพันธg 2567
คณะรัฐมนตรีรับทราบสรุปภาพรวมดัชนีเศรษฐกิจการค]าประจำเดือนกุมภาพันธu 2567 ตามที่
กระทรวงพาณิชยuเสนอ สรุปสาระสำคัญได]ดังนี้
1. สรุปภาพรวมดัชนีเศรษฐกิจการคIาเดือนกุมภาพันธg 2567 ดังนี้
ดัชนีราคาผูIบริโภคของไทย เดือนกุมภาพันธg 2567 เท5ากับ 107.22 เมื่อเทียบกับเดือนกุมภาพันธu
2566 ซึ่งเทYากับ 108.05 ทำให]อัตราเงินเฟ¢อทั่วไปลดลงร]อยละ 0.77 (YoY) ลดลงต5อเนื่องเปkนเดือนที่ 5 สาเหตุ
สำคัญยังคงเปEนราคาอาหารสด ทั้งเนื้อสัตวu และผักสด ที่ปริมาณผลผลิตเข]าสูYตลาดจำนวนมาก รวมทั้ง น้ำมันดีเชล
และคYากระแสไฟฟ¢า ราคายังต่ำกวYาเดือนเดียวกันของปw 2566 จากมาตรการชYวยเหลือของภาครัฐ ประกอบกับฐาน
ราคาเดือนกุมภาพันธu 2566 ที่ใช]คำนวณเงินเฟ¢อยังอยูYระดับสูง มีสYวนทำให]อัตราเงินเฟ¢อทั่วไปลดลง สำหรับสินค]า
และบริการอื่น ๆ ราคาเคลื่อนไหวในทิศทางปกติ
อัตราเงินเฟ•อของไทยเมื่อเทียบกับต5างประเทศ ข]อมูลลYาสุดเดือนมกราคม 2567 พบวYา อัตราเงิน
เฟ¢อของไทยลดลงร]อยละ 1.11 ซึ่งยังคงอยูYในกลุYมประเทศที่มีอัตราเงินเฟ¢อต่ำ โดยอยูYระดับต่ำอันดับ 4 จาก 135 เขต
เศรษฐกิจที่ประกาศตัวเลข และยังคงต่ำที่สุดในอาเซียนจาก 7 ประเทศที่ประกาศตัวเลข (สปป.ลาว ฟrลิปปrนสu
สิงคโปรu เวียดนาม อินโดนีเชีย มาเลเซีย) สอดคล]องกับอัตราเงินเฟ¢อทั่วไปเดือนแรกของปw 2567 ที่หลายประเทศ
ชะลอตัวลง
อัตราเงินเฟ•อทั่วไปที่ลดลงรIอยละ 0.77 (YoY) ในเดือนนี้ มีการเคลื่อนไหวของราคาสินค]าและ
บริการ ดังนี้
หมวดอาหารและเครื่องดื่มไม5มีแอลกอฮอลg ลดลงรIอยละ 0.97 ตามการลดลงของราคาเนื้อสุกร
ปลาทู กุ]งขาว ปลากะพง ผักสด (มะนาว แตงกวา ผักกาดขาว มะเขือเทศ กะหล่ำปลี) เนื่องจากปริมาณผลผลิตเข]าสูY
ตลาดจำนวนมาก นอกจากนี้ น้ำมันพืช และน้ำปลา ราคาปรับลดลง สำหรับสินค]าที่ราคาสูงขึ้น อาทิ ข]าวสาร ไขYไกY
นมถั่วเหลือง ครีมเทียม ผลไม]บางประเภท (แตงโม กล]วยหอม มะมYวง) น้ำตาลทราย กะทิสำเร็จรูป กาแฟสำเร็จรูป
พร]อมดื่ม กับข]าวสำเร็จรูป ก¼วยเตี๋ยว และอาหารกลางวัน
หมวดอื่น ๆ ที่ไม5ใช5อาหารและเครื่องดื่ม ลดลงรIอยละ 0.63 เนื่องจากน้ำมันในกลุYมดีเซล และคYา
กระแสไฟฟ¢า ราคายังต่ำกวYาเดือนเดียวกันของปw 2566 จากมาตรการชYวยเหลือของภาครัฐนอกจากนี้ เสื้อผ]าบุรุษและ
สตรี สิ่งที่เกี่ยวกับทำความสะอาด (ผงซักฟอก น้ำยาล]างห]องน้ำ น้ำยาปรับผ]านุYม) เครื่องใช]ไฟฟ¢า (เครื่องรับโทรทัศนu
เครื่องซักผ]า ตู]เย็น) รวมถึง สบูYถูตัว แชมพูสระผม ผลิตภัณฑuป¢องกันและบำรุงผิว ราคาปรับลดลง สินค]าที่ราคาสูงขึ้น
เล็กน]อย อาทิ แป¢งทาผิวกาย น้ำยาระงับกลิ่นกาย ยาสีฟyน ยาแก]ไข]หวัด ยาลดกรดในกระเพาะ คYาตรวจรักษาโรค คYา
ทัศนาจรตYางประเทศ คYาโดยสารเครื่องบิน บุหรี่ สุรา และไวนu
เงินเฟ•อพื้นฐาน เมื่อหักอาหารสดและพลังงานออก สูงขึ้นร]อยละ 0.43 (YoY) ชะลอตัวจากเดือน
กYอนหน]าที่สูงขึ้นร]อยละ 0.52
ดัชนีราคาผูIบริโภคเดือนกุมภาพันธg 2567 เมื่อเทียบกับเดือนมกราคม 2567 สูงขึ้นร]อยละ 0.22
(MoM) ตามการสูงขึ้นของหมวดอื่น ๆ ที่ไมYใชYอาหารและเครื่องดื่ม ร]อยละ 0.60 โดยราคาน้ำมันเชื้อเพลิงปรับสูงขึ้น
เกือบทุกประเภท ยกเว]นน้ำมันดีเซล นอกจากนี้ คYาโดยสารเครื่องบิน น้ำยาระงับกลิ่นกาย โฟมล]างหน]า ยาสีฟyน สุรา
เบียรu และไวนu ราคาปรับสูงขึ้น อยYางไรก็ตาม ยังมีสินค]าสำคัญที่ราคาปรับลดลง อาทิ เสื้อผ]าบุรุษ และสิ่งที่เกี่ยวกับ
ทำความสะอาด (ผลิตภัณฑuซักผ]า น้ำยาล]างห]องน้ำ น้ำยาปรับผ]านุYม) ขณะที่หมวดอาหารและเครื่องดื่มไม5มี
แอลกอฮอลg ลดลงรIอยละ 0.33 ตามการลดลงของเนื้อสุกร ไกYยYาง ปลาชYอน ปลาทู ปลาหมึกกล]วย ไขYไกY นมผง นม
เปรี้ยว ผักสด (พริกสด มะเขือเทศ ผักกาดขาว) สำหรับสินค]าที่ราคาสูงขึ้นเล็กน]อย อาทิ ข]าวสารเจ]า ผลไม]
(ส]มเขียวหวาน องุYน แตงโม) กาแฟผงสำเร็จรูป น้ำหวาน และอาหารกลางวัน (ข]าวราดแกง)
ดัชนีราคาผูIบริโภคทั่วไป 2 เดือนแรก (มกราคม - กุมภาพันธu) ของปw 2567 เทียบกับชYวงเดียวกัน
ของปw 2566 ลดลงร]อยละ o.94 (AOA)
2. แนวโนIมเงินเฟ•อ
51

แนวโน]มอัตราเงินเฟ¢อทั่วไปเดือนมีนาคม 2567 มีแนวโน]มลดลงตYอเนื่อง โดยมีปyจจัยสนับสนุนจาก


(1) มาตรการลดคYาครองชีพด]านพลังงาน โดยการตรึงราคาคYากระแสไฟฟ¢าที่ 3.99 บาทตYอหนYวย สำหรับครัวเรือนที่
ใช]ไฟฟ¢าไมYเกิน 300 หนYวยตYอเดือน และที่ 4.18 บาทตYอหนYวยสำหรับครัวเรือนทั่วไป รวมทั้งมาตรการตรึงราคาน้ำมัน
ดีเซลไมYให]เกิน 30 บาทตYอลิตร จนถึงวันที่ 19 เมษายน 2567 (2) ฐานราคาที่สูงในปwกYอนหน]าของเนื้อสุกรและผักสด
และ (3) เศรษฐกิจของไทยขยายตัวในระดับต่ำอยYางตYอเนื่อง อยYางไรก็ตาม มีปyจจัยที่ทำให]อัตราเงินเฟ¢อเพิ่มขึ้น ได]แกY
(1) สถานการณuความขัดแย]งในตะวันออกกลางที่ยืดเยื้อ ซึ่งอาจสYงผลให]ราคาสินค]าโภคภัณฑuที่สำคัญปรับสูงขึ้น
โดยเฉพาะราคาน้ำมันดิบในตลาดโลก (2) เงินบาทมีแนวโน]มอYอนคYา สYงผลให]การนำเข]าสินค]ามีราคาสูงขึ้น (3) สภาพ
อากาศที่มีความแปรปรวนในชYวงท]ายของปรากฏการณuเอลนีโญ รวมทั้งการเข]าสูYฤดูร]อนซึ่งจะสYงผลกระทบตYอต]นทุน
และปริมาณผลผลิตทางการเกษตร และ (4) การขยายตัวอยYางตYอเนื่องของภาคการทYองเที่ยว สYงผลให]อุปสงคuและ
ราคาของสินค]าและบริการที่เกี่ยวข]องกับภาคการทYองเที่ยวปรับตัวสูงขึ้น โดยเฉพาะราคาคYาโดยสารเครื่องบิน
ทั้งนี้ กระทรวงพาณิชยgยังคงคาดการณgอัตราเงินเฟ•อทั่วไปปv 2567 อยู5ระหว5างรIอยละ (-0.3) -
1.7 (ค5ากลาง รIอยละ 0.7) ซึ่งเปEนอัตราที่สอดคล]องกับสถานการณuเศรษฐกิจในปyจจุบันและหากสถานการณu
เปลี่ยนแปลงอยYางมีนัยสำคัญจะมีการทบทวนอีกครั้ง
ดัชนีความเชื่อมั่นผูIบริโภคโดยรวม เดือนกุมภาพันธg 2567 ปรับลดลงเล็กนIอยมาอยู5ที่ระดับ 54.2
จากระดับ 54.5 ในเดือนก5อนหนIา แต5ยังคงอยู5ในช5วงเชื่อมั่น โดยดัชนีความเชื่อมั่นผู]บริโภคในปyจจุบันปรับเพิ่มขึ้น
เล็กน]อย ขณะที่ดัชนีความเชื่อมั่นผู]บริโภคในอนาคต (3 เดือนข]างหน]า) ปรับลดลง สาเหตุที่ทำให]ดัชนีความเชื่อมั่น
ผู]บริโภคโดยรวมยังอยูYในชYวงเชื่อมั่นคาดวYามาจาก (1) การฟ¡นตัวอยYางตYอเนื่องของภาคการทYองเที่ยวและธุรกิจที่
เกี่ยวข]อง (2) การขยายตัวของภาคการสYงออก ตามการฟ¡นตัวของเศรษฐกิจโลกและนโยบายความมั่นคงทางอาหาร
ของประเทศคูYค]า และ (3) ราคาสินค]าเกษตรสำคัญบางรายการปรับตัวดีขึ้น อาทิ ข]าวหอมมะลิ และยางพารา ขณะที่
ราคาน้ำมันเชื้อเพลิงบางชนิดปรับเพิ่มขึ้นจากเดือนกYอนหน]า สYงผลให]ดัชนีความเชื่อมั่นผู]บริโภคปรับตัวอยYางคYอยเปEน
คYอยไป

ต5างประเทศ
24. เรื่อง ร5างบันทึกการประชุมคณะกรรมการร5วมไทย - ลาว เพื่อดูแลการดำเนินกิจกรรมต5าง ๆ ตามแม5น้ำโขง
และแม5น้ำเหือง ครั้งที่ 4
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบรYางบันทึกการประชุมคณะกรรมการรYวมไทย – ลาว เพื่อดูแลการดำเนิน
กิจกรรมตYาง ๆ ตามแมYน้ำโขงและแมYน้ำเหือง ครั้งที่ 4 (รYางบันทึกการประชุมฯ) ทั้งนี้ หากมีความจำเปEนต]องแก]ไขรYาง
บันทึกการประชุมฯ ในสYวนที่ไมYใชYสาระสำคัญและไมYเปEนการขัดตYอผลประโยชนuของประเทศไทย ขออนุมัติให] มท.
ดำเนินการได]โดยให]รายงานให]คณะรัฐมนตรีทราบในภายหลัง รวมทั้ง อนุมัติให]ปลัดกระทรวงมหาดไทยหรือผู]ที่ได]รับ
มอบหมายเปEนผู]ลงนามในรYางบันทึกการประชุมฯ ตามที่กระทรวงมหาดไทย (มท.) เสนอ
สาระสำคัญของเรื่อง
คณะกรรมการรYวมไทย - ลาว เพื่อดูแลการดำเนินกิจกรรมตYาง ๆ ตามแมYน้ำโขงและแมYน้ำเหือง
(คณะกรรมการรYวมไทย - ลาวฯ) ถูกจัดตั้งขึ้นในปw 2547 เพื่อเปEนกลไกสำหรับการปรึกษาหารือและแลกเปลี่ยนข]อมูล
ขYาวสารเกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมตYาง ๆ ตามแมYน้ำโขงและแมYน้ำเหืองระหวYางประเทศไทยและสาธารณรัฐ
ประชาธิปไตยประชาชนลาว ตลอดจนกำหนดวิธีการทางเทคนิคที่จำเปEนเพื่อป¢องกันตลิ่งและฝy¾งและเพื่อรักษาระบบ
นิเวศวิทยาตามแมYน้ำโขงและแมYน้ำเหือง ซึ่งที่ผYานมาคณะกรรมการรYวมไทย - ลาวฯ ได]มีการจัดประชุมมาแล]ว 3 ครั้ง
โดยการประชุมครั้งลYาสุดคือ การประชุมคณะกรรมการรYวมไทย - ลาวฯ ครั้งที่ 3 ระหวYางวันที่ 23 - 25 มิถุนายน
2551 ณ จังหวัดชลบุรี ประเทศไทย โดยในการประชุมดังกลYาวทั้งสองฝ©ายจะต]องลงนามในบันทึกการประชุมในแตYละ
ครั้งด]วย ซึ่งบันทึกการประชุมของการประชุม 3 ครั้ง ที่ผYานมาไมYเคยถูกนำเสนอตYอคณะรัฐมนตรี ตYอมาประเทศไทย
และสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวได]ตกลงที่จะจัดประชุมคณะกรรมการรYวมไทย - ลาวฯ ครั้งที่ 4 ขึ้น ซึ่งใน
การประชุ ม ดั ง กลY า วทั ้ ง สองฝ© า ยจะต] อ งลงนามในบั น ทึ ก การประชุ ม คณะกรรมการรY ว มไทย - ลาวฯ ครั ้ ง ที ่ 4
เชYนเดียวกับที่ผYานมา แตYโดยที่กระทรวงการตYางประเทศ (กต.) (กรมสนธิสัญญาและกฎหมาย) เห็นวYารYางบันทึกการ
ประชุมดังกลYาวเปEนเรื่องที่เกี่ยวกับความสัมพันธuระหวYางประเทศตามมาตรา 4 (7) ของพระราชกฤษฎีกาวYาด]วยการ
เสนอเรื่องและการประชุมคณะรัฐมนตรี พ.ศ. 2548 กระทรวงมหาดไทย (มท.) จึงขอนำรYางบันทึกการประชุมฯ เสนอ
52

ตYอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาโดยภายหลังจากที่คณะรัฐมนตรีเห็นชอบรYางบันทึกการประชุมฯ แล]ว ทั้งสองฝ©ายจะ


รYวมกันกำหนดวันประชุมคณะกรรมการรYวมไทย - ลาวฯ ครั้งที่ ๔ ตYอไป
ทั้งนี้ รYางบันทึกการประชุมคณะกรรมการรYวมไทย - ลาว เพื่อดูแลการดำเนินกิจกรรมตYาง ๆ ตาม
แมYน้ำโขงและแมYน้ำเหือง ครั้งที่ 4 มีประเด็นที่สำคัญคือ การปรับปรุงแก]ไขข]อกำหนดมาตรฐานด]านเทคนิคการ
กYอสร]างเขื่อนป¢องกันตลิ่งริมแมYน้ำโขงและแมYน้ำเหือง และข]อกำหนดทางด]านเทคนิคเกี่ยวกับการดูดทรายตามแมYน้ำ
โขงและแมYน้ำเหืองที่มีอยูYเดิม (ข]อกำหนดดังกลYาวเปEนไปตามมติที่ประชุมคณะกรรมการรYวมไทย – ลาวฯ ครั้งที่ 3
ระหวYางวันที่ 23 - 25 มิถุนายน 2551) โดยมีการปรับปรุงแก]ไขให]มีความชัดเจนยิ่งขึ้นและสอดคล]องกับบริบทใน
ปyจจุบัน
25. เรื ่ อ ง การจั ด ทำบั น ทึ ก ความเขI า ใจว5 า ดI ว ยการหารื อ ทวิ ภ าคี ร ะหว5 า งกระทรวงการต5 า งประเทศแห5 ง
ราชอาณาจักรไทยกับกระทรวงการต5างประเทศแห5งบอสเนียและเฮอรgเซโกวีนา
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบและอนุมัติตามที่กระทรวงการตYางประเทศ (กต.) เสนอ ดังนี้
1. เห็นชอบตYอบันทึกความเข]าใจวYาด]วยการหารือทวิภาคีระหวYาง กต. แหYงราชอาณาจักรไทยกับ
กระทรวงการตYางประเทศแหYงบอสเนียและเฮอรuเซโกวีนา1 (บันทึกความเข]าใจฯ) ทั้งนี้ หากมีความจำเปEนต]องแก]ไข
ปรับปรุงรYางบันทึกความเข]าใจดังกลYาว ในสYวนที่มิใชYสาระสำคัญหรือไมYขัดตYอผลประโยชนuของประเทศไทย ขอให] กต.
สามารถดำเนินการได]โดยไมYต]องขอความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีอีก
2. อนุมัติให]รัฐมนตรีวYาการกระทรวงการตYางประเทศหรือผู]ที่ได]รับมอบหมายจากรัฐมนตรีวYาการ
กระทรวงการตYางประเทศเปEนผู]ลงนามบันทึกความเข]าใจดังกลYาว
สาระสำคัญของเรื่อง
กต. รายงานวYา
ประเทศไทยและสาธารณรัฐบอสเนียและเฮอรuเซโกวีนาได]สถาปนาความสัมพันธuทางการทูตระหวYาง
กันเมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธu 2543 และในครั้งนี้ฝ©ายบอสเนียและเฮอรuเซโกวีนาแสดงความพร]อมที่จะลงนามบันทึก
ความเข]าใจฯ ในโอกาสแรก ดังนั้น กต. จึงได]เสนอบันทึกความเข]าใจฯ โดยมีสาระสำคัญเปEนการจัดตั้งกลไกความ
รYวมมือและการหารือทวิภาคีที่เปEนรูปธรรมกลไกแรกระหวYาง กต. ของทั้งสองประเทศ ซึ่งจะชYวยกระชับความสัมพันธu
ทวิภาคีระหวYางสองประเทศให]มีความแนYนแพ]นยิ่งขึ้น โดยเฉพาะอยYางยิ่งเมื่อทั้งสองฝ©ายยังไมYได]จัดตั้งสถาน
เอกอัครราชทูตในประเทศของอีกฝ©าย ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้
หัวขIอ สาระสำคัญ
วัตถุประสงคg สร]างกลไกปรึกษาหารือเพื่อทบทวนและแลกเปลี่ยนมุมมองในมิติความสัมพันธuทวิภาคี ประเด็น
ระดับภูมิภาคและระหวYางประเทศ รวมถึงประเด็นที่เปEนผลประโยชนuรYวมกัน และเพื่อสYงเสริม
บทบาทที่สร]างสรรคuขององคuการสหประชาชาติและองคuการระหวYางประเทศอื่น โดยมีจุดมุYงหมาย
เพื่อแก]ไขปyญหาความขัดแย]งและปyญหาที่กระทบตYอประชาคมระหวYางประเทศ
ประเด็ น การ การเพิ่มพูนและขยายความสัมพันธuทวิภาคีและความรYวมมือระหวYางกัน รวมถึงสYงเสริมความเข]าใจ
ปรึกษาหารือ รYวมกันระหวYางภาคีคูYสัญญาทั้งสองฝ©าย ซึ่งจะมีสYวนชYวยสนับสนุนสันติภาพและความมั่นคง
ระหวYางประเทศ รวมถึงประเด็นระหวYางประเทศที่ภาคีคูYสัญญาทั้งสองฝ©ายมีความสนใจรYวมกัน
ทั้งนี้ ทั้งสองฝ©ายจะจัดการหารือทวิภาคีอยYางสม่ำเสมอทุกปwหรือในชYวงเวลาที่ทั้งสองฝ©ายเห็นชอบ
รYวมกัน โดยสลับกันเปEนเจ]าภาพ
ผลบั ง คั บ ใชI บันทึกความเข]าใจฯ ฉบับนี้จะมีผลใช]บังคับนับตั้งแตYวันที่มีการลงนาม โดยจะมีผลใช]บังคับเปEน
และการแกIไข ระยะเวลา 5 ปw และจะได]รับการขยายระยะเวลาออกไปอีก 5 ปw โดยอัตโนมัติ เว]นแตYฝ©ายใดฝ©าย
หนึ่งจะบอกยกเลิกโดยแจ]งเปEนลายลักษณuอักษรลYวงหน]า 6 เดือน ไปยังภาคีอีกฝ©ายหนึ่งผYาน
ชYองทางทางการทูต
ผลผูกพัน บันทึกความเข]าใจฯ ฉบับนี้ไมYได]กYอให]เกิดสิทธิหรือพันธกรณีที่มีผลผูกพันทางกฎหมายตYอภาคี
คูYสัญญาทั้งสองฝ©ายและไมYเปEนสนธิสัญญาตามกฎหมายระหวYางประเทศ
53

ทั้งนี้ กต. แจ]งวYา รYางบันทึกความเข]าใจฯ ไมYมีถ]อยคำหรือบริบทใดที่มุYงกYอให]เกิดพันธกรณีภายใต]


บังคับของกฎหมายระหวYางประเทศ จึงไมYเปEนสนธิสัญญาตามกฎหมายระหวYางประเทศและไมYเปEนหนังสือสัญญาตาม
มาตรา 178 ของรัฐธรรมนูญแหYงราชอาณาจักรไทย

26. เรื่อง ภาคผนวกที่ 1 และภาคผนวกที่ 2 ที่ปรับปรุงแกIไขของขIอตกลงการยอมรับร5วมรายสาขาว5าดIวยระบบ


การตรวจสอบและการใหIการรับรองดIานสุขลักษณะอาหารสำหรับผลิตภัณฑgอาหารสำเร็จรูปของอาเซียน
(ASEAN Sectoral Mutual Recognition Arrangement for Inspection and Certification Systems on
Food Hygiene for Prepared Foodstuff Products; MRA on PF)
คณะรัฐมนตรีเห็นชอบการปรับปรุงแก]ไขภาคผนวกที่ 1 และภาคผนวกที่ 2 ที่ปรับปรุงแก]ไขของ
ข]อตกลงการยอมรับรYวมรายสาขาวYาด]วยระบบการตรวจสอบและการให]การรับรองด]านสุขลักษณะอาหารสำหรับ
ผลิตภัณฑuอาหารสำเร็จรูปของอาเซียน [ASEAN Sectoral Mutual Recognition Arrangement for Inspection
and Certification Systems on Food Hygiene for Prepared Foodstuff Products (MRA on PF)] (ข]อตกลงฯ)
เพื่อให]กระทรวงเกษษตรและสหกรณu (กษ.) สามารถรYวมให]การรับรองการแก]ไขดังกลYาวในการประชุมคณะทำงาน
ด]านผลิตภัณฑuอาหารสำเร็จรูป1 (Prepared Foodstuff Product Working Group (PFPWG)] ครั้งที่ 38 ตามที่
กระทรวงเกษตรและสหกรณu (กษ.) เสนอ
[จะมีการรับรองการปรับปรุงแก]ไขภาคผนวกที่ 1 และภาคผนวกที่ 2 ของข]อตกลงฯ ในการประชุมคณะทำงานด]าน
ผลิตภัณฑuอาหารสำเร็จรูป ครั้งที่ 38 ระหวYางวันที่ 1 - 2 เมษายน 2567 ผYานสื่ออิเล็กทรอนิกสu]
สาระสำคัญของเรื่อง
1. เรื่องนี้กระทรวงเกษตรและสหกรณu (กษ) ได]นำเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาให]ความเห็นชอบการ
ปรับปรุงแก]ไขภาคผนวกที่ 1 และภาคผนวกที่ 2 ของข]อตกลงการยอมรับรYวมรายสาขาวYาด]วยระบบการตรวจสอบ
และการให]การรับรองด]านสุขลักษณะอาหารสำหรับผลิตภัณฑuอาหารสำเร็จรูปของอาเซียน (ข]อตกลงฯ) โดย
ภาคผนวกที่ 1 เปEนการแก]ไขลำดับเลขยYอหน]าให]ถูกต]องโดยไมYได]เปลี่ยนแปลงเนื้อหาของภาคผนวก สYวนภาคผนวกที่
2 เปEนการแก]ไขเนื้อหาให]สอดคล]องกับเอกสารหลักการทั่วไปด]านสุขลักษณะอาหารของโคเด็กซuฉบับปyจจุบันตาม
ข]อเสนอของคณะทำงานเฉพาะกิจ ซึ่งสอดคล]องกับประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 420) พ.ศ. 25632 โดยการ
ปรับแก]ในครั้งนี้จะสYงผลดีตYอการกำกับดูแลความปลอดภัยอาหารและสุขลักษณะอาหารของผลิตภัณฑuอาหารที่ผลิต
ในประเทศและนำเข]าโดยหนYวยงานที่มีอำนาจหน]าที่ ตลอดจนเพิ่มขีดความสามารถทางการแขYงขันในตลาดอาเซียน
ของผู]ประกอบการธุรกิจอาหารในการผลิตอาหารตามมาตรฐานด]านสุขลักษณะอาหารที่เปEนไปตามมาตรฐานระดับ
ภูมิภาคและระหวYางประเทศ
2. กระทรวงการตYางประเทศ (กต.) (กรมสนธิสัญญาและกฎหมาย) และสำนักงานคณะกรรมการ
กฤษฎีกา (สคก.) เห็นวYา การแก]ไขภาคผนวกที่ 1 และภาคผนวกที่ 2 ของข]อตกลงฯ เปEนหนังสือสัญญาตามมาตรา
178 ของรัฐธรรมนูญแหYงราชอาณาจักรไทยที่ต]องได]รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีกYอนการรับรอง และหาก
กษ. ยืนยันได]วYาการดำเนินการให]เปEนไปตามภาคผนวกที่ 1 และภาคผนวกที่ 2 ของข]อตกลงดังกลYาวสามารถ
ดำเนินการได]ภายใต]กฎหมายภายในที่มีโดยไมYจำเปEนต]องออกพระราชบัญญัติของรัฐสภาเพื่อให]การเปEนไปตาม
หนังสือสัญญา ก็จะไมYเข]าขYายเปEนหนังสือสัญญาตามมาตรา 178 วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหYงราชอาณาจักรไทยที่
จะต]องได]รับความเห็นชอบของรัฐสภา ซึ่ง กษ. เห็นวYาการแก]ไขรYางข]อตกลงฯ เข]าขYายเปEนการจัดทำสนธิสัญญาที่ต]อง
ได]รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีกYอนการรับรองภาคผนวกดังกลYาวในการประชุมคณะทำงานด]านผลิตภัณฑu
อาหารสำเร็จรูป ครั้งที่ 38 โดยไมYต]องได]รับความเห็นชอบของรัฐสภา (สลค. ได]ขอให] กษ. ยืนยันในประเด็นตาม
ความเห็นของ กต. และ สคก. แล]ว)
3. ข]อตกลงฯ จัดทำขึ้นโดยคณะทำงานด]านผลิตภัณฑuอาหารสำเร็จรูปภายใต]คณะกรรมการที่
ปรึกษาด]านมาตรฐานและคุณภาพของอาเซียน [ASEAN Consultative Committee on Standard and Quality
(ACCSQ)] ตั้งแตYปw 2548 โดยมีผลใช]บังคับทันทีภายหลังจากการลงนาม (รัฐมนตรีเศรษฐกิจของอาเซียนลงนามเมื่อ
วันที่ 27 เมษายน 2561) ซึ่งประโยชนuในการเข]ารYวมข]อตกลงฯ เปEนการยอมรับผลการตรวจสอบด]านสุขลักษณะ
อาหารของสินค]านำเข]าและสYงออก ลดภาระการตรวจสอบซ้ำสำหรับสินค]านำเข]าและสYงออกด]านสุขลักษณะอาหาร
แสดงให]เห็นถึงศักยภาพด]านการผลิตสินค]าอาหารและประสิทธิภาพของระบบการควบคุมสินค]าอาหารของประเทศ
ไทยที่ได]รับการยอมรับจากอาเซียนและสอดคล]องกับมาตรฐานอาหารระหวYางประเทศ อำนวยความสะดวกทาง
54

การค]า และเพิ่มขีดความสามารถทางการแขYงขันในตลาดอาเซียน รวมทั้งเพิ่มการคุ]มครองสุขภาพและความเชื่อมั่น


ของผู]บริโภคในภูมภิ าคอาเซียนตYอสินค]าที่ได]รับการรับรอง โดยตYอมาได]มีการจัดตั้งคณะกรรมการรYวมรายสาขาภายใต]
ข]อตกลงฯ ประกอบด]วยผู]แทนที่ได]รับการแตYงตั้งจากประเทศสมาชิก ซึ่งมีหน]าที่รับผิดชอบการดำเนินงานตาม
ข]อตกลงฯ เชYน จัดทำขั้นตอนการปฏิบัติงาน ประเมินและรับรองวYาระบบตรวจสอบและรับรองด]านสุขลักษณะอาหาร
ของประเทศสมาชิกมีความสอดคล]องกับบทบัญญัติของข]อตกลงฯ รมทั้งขึ้นทะเบียนและถอดถอนการยอมรับรYวมของ
ประเทศสมาชิก
4. การประชุมคณะทำงานด]านผลิตภัณฑuอาหารสำเร็จรูป ครั้งที่ 34 เมื่อวันที่ 10 - 11 มีนาคม
2565 เห็นควรทบทวนภาคผนวกที่ 2 ของข]อตกลงฯ เพื่อให]สอดคล]องกับเอกสารหลักการทั่วไปด]านสุขลักษณะ
อาหารของโคเด็กซu [Codex General Pinciples of Food Hygiene (CXC 1-1969)] ฉบับปyจจุบัน3 (ทบทวนเมื่อปw
2563 และ 2565) และการประชุมคณะกรรมการรYวมรายสาขาภายใต]ข]อตกลงฯ [Joint Sectoral Committee on
MRA for Inspection and Certification Systems on Food Hygiene for Prepared Foodstuff Products (JSC
MRA on PF)] ครั้งที่ 9 เมื่อวันที่ 16 - 17 กุมภาพันธu 2566 ได]จัดตั้งคณะทำงานเฉพาะกิจเพื่อพิจารณาทบทวน
ภาคผนวกที่ 2 ของข]อตกลงฯ ซึ่งคณะทำงานดังกลYาวมีประเทศไทยกับประเทศมาเลเซียเปEนผู]นำในการทบทวน
ภาคผนวกที่ 2 โดยในสYวนของประเทศไทย กษ. (มกอช.) เปEนหนYวยงานหลักรYวมกับหนYวยงานที่เกี่ยวข]องในการ
ดำเนินงานตามข]อตกลงฯ และเข]ารYวมการประชุมคณะกรรมการรYวมรายสาขาภายใต]ข]อตกลงฯ และการประชุม
คณะทำงานด]านผลิตภัณฑuอาหารสำเร็จรูปมาอยYางตYอเนื่องตั้งแตYปw 2565 เพื่อพิจารณาทบทวนภาคผนวกที่ 2 ของ
ข]อตกลงฯ รวมทั้งให]ความเห็นตYอรYางภาคผนวกที่ 2 ของข]อตกลงฯ ผYานคณะอนุกรรมการพิจารณาด]านผลิตภัณฑu
อาหารของอาเซียนซึ่งประกอบด]วยผู]แทนจากทุกภาคสYวนที่เกี่ยวข]อง
_________________________________
1การประชุมคณะทำงานด?านผลิตภัณฑRอาหารสำเร็จรูป เปcนการประชุมที่เกี่ยวข?องกับการกำหนดหลักเกณฑRและมาตรฐานอาหาร
ปลอดภัยของอาเซียน เชQน การกำหนดปริมาณสูงสุดสำหรับสารปนเป¡อน สารพิษในอาหารและอาหารสัตวR ฉลากอาหาร วัสดุสัมผัส
อาหาร และแนวปฏิบัติในการรับรองสุขลักษณะในการผลิตอาหาร อันเปcนก?าวสำคัญในการสร?างความเข?มแข็งด?านมาตรฐานอาหาร
2กระทรวงสาธารณสุขได?ประกาศใช?ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 420) พ.ศ. 2563 ออกตามความในพระราชบัญญัติอาหาร

พ.ศ. 2522 เรื่อง วิธีการผลิต เครื่องมือเครื่องใช?ในการผลิต และการเก็บรักษาอาหารซึ่งมีสาระสำคัญเกี่ยวกับหลักสุขลักษณะในการ


ผลิตอาหาร เพื่อให?เกิดประสิทธิผลในการคุ?มครองผู?บริโภคให?บริโภคอาหารที่สะอาดและปลอดภัย ตลอดจนยกระดับมาตรฐานการ
ผลิตอาหารแปรรูปเพื่อเตรียมความพร?อมเข?าสูQการเปcนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โดยประกาศกระทรวงสาธารณสุขฉบับนี้มีความ
สอดคล?องกับเอกสารหลักการทั่วไปด?านสุขลักษณะอาหารของโคเด็กซRฉบับลQาสุด ซึ่งมีรายละเอียดเกี่ยวกับความตระหนักของ
ผู?ประกอบการอาหารเกี่ยวกับอันตรายและมาตรการควบคุมเพื่อให?สามารถผลิตอาหารได?อยQางปลอดภัยและเหมาะสมตQอการบริโภค
การกำหนดการปฏิบัติทางสุขลักษณะที่ดีที่ต?องการความเอาใจใสQมากขึ้น และการเพิ่มเติมข?อกำหนดเกี่ยวกับสารกQอภูมิแพ?
3
โคเด็ ก ซR (Codex) หรื อ Codex Alimentarlus มาจากภาษาลาติ น หมายถึ ง Food Code โดยโคเด็ ก ซR ถ ู ก ใช? เ ปc น ชื ่ อ เรี ย ก
คณะกรรมาธิการโครงการมาตรฐานอาหารระหวQางประเทศ ที่ถูกจัดตั้งขึ้นเมื่อปž 2504 – 2505 จากความรQวมมือขององคRการอาหาร
และเกษตร [Food and Agriculture Organization of the United Nations (FAO)] และองคR ก ารอนามั ย โลก [World Health
Organization (WHO)] ด?านความปลอดภัยของอาหาร (food safety) เพื่อคุ?มครองความปลอดภัยของผู?บริโภค ซึ่งปvจจุบันมีสมาชิก
รวมทั้งสิ้น 165 ประเทศ มีหน?าที่ในการกำหนดมาตรฐานอาหารระหวQางประเทศให?เปcนมาตรฐานสากล โดยการทบทวนเมื่อปž 2563
และ 2565 เปcนการทบทวนหลักการทั่วไปด?านสุขลักษณะอาหาร (ความตระหนักด?านอันตรายของผู?ประกอบการอาหาร) มาตรการ
ควบคุมการผลิตอาหารได?อยQางปลอดภัยและเหมาะสมตQอการบริโภค และการเพิ่มเติมข?อกำหนดเกี่ยวกับสารกQอภูมิแพ?

27. เรื่อง การเสนอรายการ “ชุดไทย : ความรูI งานช5างฝvมือ และแนวปฏิบัติการแต5งกายชุดไทยประจำชาติ”


(Chud Thai : The Knowledge, Craftsmanship and Practices of The Thai National Costume) และ
“มวยไทย” (Muay Thai : Thai Traditional Boxing) เปkนรายการตัวแทนมรดกวัฒนธรรมที่จับตIองไม5ไดIของ
มนุษยชาติต5อยูเนสโก
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามทีก่ ระทรวงวัฒนธรรม (วธ.) เสนอ ดังนี้
1. เห็นชอบเอกสารรายการเพื่อขอขึ้นทะเบียนเปEนรายการตัวแทนมรดกวัฒนธรรมที่จับต]องไมYได]
ของมนุ ษ ยชาติ ต Y อ องคu ก ารเพื ่ อ การศึ ก ษา วิ ท ยาศาสตรu และวั ฒ นธรรมแหY ง สหประชาชาติ (United Nations
Educational, Scientific and Cultural Organization: UNESCO) (ยูเนสโก) จำนวน 2 รายการ ดังนี้ (1) เอกสาร
55

รายการ “ชุดไทย : ความรู] งานชYางฝwมือ และแนวปฏิบัติการแตYงกายชุดไทยประจำชาติ” (Chud Thai : The


Knowledge, Craftsmanship and Practices of The Thai National Costume) (ชุ ด ไทย) และ (2) เอกสาร
รายการ “มวยไทย” (Muay Thai : Thai Traditional Boxing) (มวยไทย)
2. เห็นชอบให]อธิบดีกรมสYงเสริมวัฒนธรรม ในฐานะเลขานุการคณะกรรมการสYงเสริมและรักษา
มรดกภูมิปyญญาทางวัฒนธรรม (คณะกรรมการฯ) เปEนผู]ลงนามในเอกสารนำเสนอรายการชุดไทยและเอกสารนำเสนอ
รายการมวยไทย ในฐานะตัวแทนของประเทศไทย เพื่อเสนอขึ้นทะเบียนเปEนรายการตัวแทนมรดกวัฒนธรรมที่จับต]อง
ไมYได]ของมนุษยชาติตYอยูเนสโก
(ตามเอกสารแนวทางการอนุวัติตามอนุสัญญาวYาด]วยการสงวนรักษามรดกวัฒนธรรมที่จับต]องไมYได]กำหนดให]รัฐภาคี
ยื่นรายการมรดกวัฒนธรรมที่จับต]องไมYได]ภายในเดือนมีนาคมของทุกปw)
สาระสำคัญ
กระทรวงวัฒนธรรมได]เสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาให]ความเห็นชอบเอกสารรายการ “ชุดไทย :
ความรู ] งานชY า งฝw ม ื อ และแนวปฏิ บ ั ต ิ ก ารแตY ง กายชุ ด ไทยประจำชาติ ” (Chud Thai : The knowledge,
Craftsmanship and Practices of The Thai National Costume) แ ล ะ “ ม ว ย ไ ท ย ” ( Muay Thai : Thai
Traditional Boxing) เปEนรายการตัวแทนมรดกวัฒนธรรมที่จับต]องไมYได]ของมนุษยชาติตYอองคuการเพื่อการศึกษา
วิทยาศาสตรu และวัฒนธรรมแหYงสหประชาชาติ (ยูเนสโก) เนื่องจากทั้งชุดไทยและมวยไทยมีคุณคYาและความสำคัญใน
ฐานะมรดกทางวัฒนธรรมที่ควรคYาแกYการอนุรักษและสYงเสริมเพื่อตYอยอด รวมทั้งสามารถสะท]อนอัตลักษณuและภูมิ
ปyญญาไทยได]อยYางชัดเจน โดยชุดไทยถือเปEนมรดกวัฒนธรรมการแตYงกายของไทยที่แสดงถึงคุณคYาของงานชYางฝwมือ
ลวดลายบนผืนผ]า เทคนิคการทอ การออกแบบ และการตัดเย็บเครื่องประดับที่งคงาม สYวนมวยไทยถือเปEนมรดกภูมิ
ปyญญาทางวัฒนธรรมที่ได]รับสืบทอดมาไมYต่ำกวYา 300 ปw ที่สามารถฝ¬กฝนและปฏิบัติได]จริงทั้งในแงYของศิลปะการ
ป¢องกันตัวและการออกกำลังกายเพื่อเพิ่มความแข็งแรง ดังนั้น การเสนอชุดไทยและมวยไทยเปEนรายการตัวแทน
มรดกวัฒนธรรมที่จับต]องไมYได]ของมนุษยชาติตYอยูเนสโกจะชYวยสร]างความระหนักรับรู]และภาคภูมิใจของคนไทยให]
เห็นคุณคYาความสำคัญของมรดกวัฒนธรรมที่มีรYวมกันในประเทศ และกระตุ]นให]เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู] รวมทั้ง
สYงเสริมให]ชุมชนและผู]ประกอบอาชีพนำวัตถุดิบทางวัฒนธรรมของไทยที่มีอยูYแล]วไปตYอยอด เพื่อเพิ่มมูลคYาให]เกิดการ
กระจายรายได]สูYทุกภาคสYวนของสังคมควบคูYไปกับอนุรักษuอยYางยั่งยืน โดยเอกสารทั้ง 2 ฉบับ ได]ผYานความเห็นชอบ
จากคณะกรรมการสYงเสริมและรักษามรดกภูมิปyญญาทางวัฒนธรรม (รัฐมนตรีวYาการกระทรวงวัฒนธรรมเปEนประธาน)
แล]ว เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2566 ทั้งนี้ ที่ผYานมาประเทศไทยได]เคยเสนอรายการตัวแทนมรดกทางวัฒนธรรมที่จับต]อง
ไมYได]ของมนุษยชาติแล]ว จำนวน 7 รายการ โดยได]รับการขึ้นทะเบียนแล]ว จำนวน 4 รายการ ได]แกY โขน นวดไทย
โนรา และสงกรานตuในประเทศไทย สYวนอีก 3 รายการ ได]แกY ต]มยำกุ]ง ผ]าขาวม]า และเคบายา (kebaya)* อยูYระหวYาง
กระบวนการพิจารณาของยูเนสโก
_______________________________
*การขอเสนอรายการมรดกรQวม เคบายา ตQอยูเนสโก มาเลเซียเปcนผู?เสนอหลัก และได?เชิญประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต?ที่
มีวัฒนธรรมการสวมใสQเคบายา ได?แกQ บรูไน อินโดนีเซีย สิงคโปรR และประเทศไทยรQวมเสนอ

28. เรื่อง ขอความเห็นชอบต5อร5างหนังสือแลกเปลี่ยนในการร5วมเปkนเจIาภาพจัดการประชุม 10th Meeting of


the Advisory Committee
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามทีก่ ระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล]อม (ทส.) เสนอ ดังนี้
1. เห็นชอบรYางหนังสือแลกเปลี่ยนการรYวมเปEนเจ]าภาพจัดการประชุม 10th Meeting of the
Advisory Committee
2. มอบหมายให]อธิบดีกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝy¾ง ทส. หรือผู]แทนที่ได]รับมอบหมาย เปEนผู]
ลงนามในรYางหนังสือแลกเปลี่ยนฯ
3. มอบหมายให]กระทรวงการตYางประเทศ (กต.) จัดทำหนังสือมอบอำนาจเต็ม (Full Powers)
ให]อธิบดีกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝy¾ง หรือผู]แทนที่ได]รับมอบหมาย เปEนผู]ลงนามในรYางหนังสือแลกเปลี่ยนฯ
ทั ้ งนี ้ หากมี ความจำเปE นต] องแก] ไขถ] อยคำในรY างหนั งสื อแลกเปลี ่ ยนฯ ในสY วนที ่ ไมY กระทบตY อ
สาระสำคัญให] ทส. สามารถดำเนินการได]โดยไมYต]องสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาอีก
56

[สำนักงานเลขาธิการอนุสัญญาวYาด]วยชนิดพันธุuสัตวuป©าที่อพยพย]ายถิ่น (Convention on the Conservation of


Migratory Species of Wild Animals : CMS) ม ี ก ำ ห น ด จ ั ด ก า ร ป ร ะ ช ุ ม 10th Meeting of the Advisory
Committee ระหวYางวันที่ 31 มีนาคม - 3 เมษายน 2567 ณ เมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี ประเทศไทย ซึ่งกรม
ทรัพยากรทางทะเลและชายฝy¾งจะต]องจัดสYงรYางหนังสือแลกเปลี่ยนฯ ที่ลงนามแล]วให]สำนักงานเลขาธิการ CMS เพื่อมี
หนังสือตอบกลับการเปEนเจ]าภาพรYวมกYอนกำหนดการประชุมดังกลYาว]
สาระสำคัญของเรื่อง
1. ทส. ได]ลงนามในบันทึกความเข]าใจวYาด]วยการอนุรักษuและจัดการเตYาทะเล และแหลYงที่อยูYอาศัย
ในมหาสมุทรอินเดียและเอเชียตะวันออกเฉียงใต] * (Memorandum of Understanding on the Conservation
and Management of Marine Turtles and Their Habitats of the Indian Ocean and South- Fast Asia :
IOSEA Marine Turtle MOU) (บันทึกความเข]าใจฯ) เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม 2547 โดยมีวัตถุประสงคuเพื่อคุ]มครอง
อนุรักษu เพิ่มจำนวน และฟ¡นฟูเตYาทะเล และแหลYงที่อยูYอาศัย บนพื้นฐานของหลักฐานทางวิทยาศาสตรuที่ดีที่สุด
โดยคำนึงถึงลักษณะทางสภาพแวดล]อม สังคมเศรษฐกิจ และวัฒนธรรมของรัฐที่ลงนาม รวมถึงการอนุวัตพันธกรณี
ของแผนการอนุรักษuและการจัดการที่รวมถึงการคุ]มครองแหลYงที่อยูYอาศัยของเตYาทะเล การลดภัยคุกคาม การวิจัย
และการแลกเปลี่ยนข]อมูลขYาวสาร โดยมีกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝy¾ง เปEนหนYวยประสานงานหลัก
2. ภายใต]บันทึกความเข]าใจฯ มีการแตYงตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษา (Advisory Committee : AC)
เพื่อทำหน]าที่ให]การสนับสนุนและให]คำแนะนำทางวิทยาศาสตรu เทคนิค และกฎหมาย แกYรัฐผู]ลงนาม ในการ
ดำเนินงานอนุรักษuและการจัดการเตYาทะเล และแหลYงที่อยูYอาศัยของเตYาทะเล ซึ่งที่ผYานมาการประชุม Meeting of
the Advisory Committee ถูกจัดไปแล]วทั้งสิ้น 9 ครั้ง โดยครั้งลYาสุดจัดเมื่อวันที่ 15 - 16 มีนาคม 2564 ผYานระบบ
การประชุมทางไกล
3. การประชุม 10th Meeting of the Advisory Committee จะเปEนการประชุมของกรรมการที่
ปรึกษา และผู]แทนที่เกี่ยวข]องกับบันทึกความเข]าใจฯ เพื่อหารือ ทบทวน และพิจารณา การดำเนินงานที่ผYานมา
รวมถึ ง แผนการดำเนิ น งานของบั น ทึ ก ความเข] า ใจฯ ระหวY า งปw 2567 - 2571 โดยมี ผ ู ] แ ทนเข] า รY ว มการประชุ ม
ประกอบด]วย (1) คณะกรรมการที่ปรึกษา (2) ผู]ประสานงานหลักในระดับอนุภูมิภาค (3) ประธานหรือรองประธาน
กลุYม Marine Turtle Task Force (4) กลุYมผู]เชี่ยวชาญ (5) ผู]สังเกตการณu และ (6) เจ]าหน]าที่สำนักงานเลขาธิการ
CMS รวมทั้งสิ้นประมาณ 20 ราย
4. สำหรับการดำเนินการจัดการประชุม 10th Meeting of the Advisory Committee สำนักงาน
เลขาธิการ CMS ได]มีหนังสือแลกเปลี่ยน (Exchange of Letters) การรYวมเปEนเจ]าภาพจัดการประชุม โดยขอให]
ประเทศไทยรYวมเปEนเจ]าภาพในการประชุม ซึ่งหนังสือแลกเปลี่ยนฯ มีสาระสำคัญเกี่ยวกับความรับผิดชอบของ
ประเทศเจ]าภาพและสำนักงานเลขาธิการ CMS สรุปได] ดังนี้
1) สำนักงานเลขาธิการ CMS จะเปEนผู]รับผิดชอบคYาใช]จYายในการจัดประชุม
2) ประเทศไทยในฐานะเจ]าภาพ จะอำนวยความสะดวกในการดำเนินการขอรับการตรวจ
ลงตรา (visa) สำหรับผู]เข]ารYวมประชุมทั้งหมด
3) ประเทศไทยในฐานะเจ]าภาพ จะให]ความคุ]มครองและรับผิดชอบด]านเอกสิทธิ์และความ
คุ]มกันแกYผู]เข]ารYวมประชุม ตามอนุสัญญาวYาด]วยเอกสิทธิ์และความคุ]มกันของสหประชาชาติ
4) ประเทศไทยในฐานะเจ]าภาพ จะยอมรับและปฏิบัติตามข]อตกลงเมื่อเกิดข]อพิพาทใด ๆ
ที่เกี่ยวกับการตีความหรือการดำเนินการตามหนังสือแลกเปลี่ยนฯ
5. การรYวมเปEนเจ]าภาพจัดการประชุมดังกลYาวจะเปEนโอกาสอันดีของประเทศไทยที่จะมีบทบาทนำ
และแสดงความมุYงมั่นในการอนุรักษuและจัดการเตYาทะเลในระดับภูมิภาคและที่อื่น ๆ เปEนการเสริมสร]างและกระชับ
ความรYวมมือกับนานาประเทศ รวมถึงเปEนประโยชนuตYอการดำเนินงานในภาพรวมของประเทศไทย โดยการเข]าถึงและ
ขยายเครือขYายผู]เชี่ยวชาญ และความรYวมมือในการจัดการกับความท]าทายในการอนุรักษuเตYาทะเล และแหลYงที่อยูY
อาศัย ในระดับภูมิภาคและระดับโลก
6. คณะกรรมการนโยบายและแผนการบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝy¾งแหYงชาติ [รอง
นายกรัฐมนตรี (พลตำรวจเอก พัชรวาท วงษuสุวรรณ) เปEนประธาน] ในการประชุม ครั้งที่ 1/2567 เมื่อวันที่
5 กุมภาพันธu 2567 มีมติรับทราบการเปEนเจ]าภาพรYวมในการจัดการประชุม 10 th Meeting of the Advisory
Committee และมอบกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝy¾งเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อให]ความเห็นชอบตYอไป
57

_________________________________
*ปvจจุบันมีสมาชิก
35 ประเทศ เชQน มาเลเซีย ฟYลิปปYนสR สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ออสเตรเลีย สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา
รวมถึงประเทศไทย

29. เรื่อง ร5างบันทึกความเขIาใจ (Memorandum of Understanding) ดIานความร5วมมือระหว5างกระทรวง


พาณิชยgและบริษัทไชน5า ปiโตรเคมิคอล คอรgปอเรชั่น
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบรYางบันทึกความเข]าใจ (Memorandum of Understanding) ด]านความ
รYวมมือระหวYางกระทรวงพาณิชยuและบริษัทไชนYา ปrโตรเคมิคอล คอรuปอเรชั่น รวมทั้งอนุมัติให]ปลัดกระทรวงพาณิชยu
ลงนามในรYางบันทึกความเข]าใจ (Memorandum of Understanding) ด]านความรYวมมือระหวYางกระทรวงพาณิชยu
และบริษัทไชนYา ปrโตรเคมิคอล คอรuปอเรชั่นตามที่กระทรวงพาณิชยu (พณ.) เสนอ
สาระสำคัญ
1. กระทรวงพาณิชยuมีภารกิจด]านตYางประเทศในการสYงเสริมและเรYงรัดการสYงออก โดยมุYงเน]นการ
ขยายตลาดสินค]าและบริการ การให]บริการข]อมูลการค]าและเพิ่มศักยภาพด]านการแขYงขันของผู]ประกอบการไทยใน
ตลาดโลก รวมถึงการพัฒนาและสร]างมูลคYาเพิ่มของสินค]าและธุรกิจบริการ ทั้งนี้ เพื่อให]
บรรลุเป¢าหมายดังกลYาว กระทรวงพาณิชยuจึงให]ความสำคัญตYอการสร]างพันธมิตรและหุ]นสYวนยุทธศาสตรuทาง
เศรษฐกิจทั้งระดับภาครัฐและภาคเอกชน เพื่อเปEนอีกหนึ่งชYองทางในการขยายโอกาสทางธุรกิจสำหรับผู]ประกอบการ
ไทยโดยเฉพาะกลุYม SMEs ที่มีความพร]อมในการออกสูYตลาดตYางประเทศ
2. จีนเปEนหนึ่งในประเทศเป¢าหมายสำคัญในการรุกตลาดตYางประเทศของไทย เนื่องจากจีนเปEน
ตลาดที่ใหญYที่สุดในโลก (มีประชากร 1,412 ล]านคน) เปEนผู]สYงออกอันดับ 1 และผู]นำเข]าอันดับ 2 ของโลก ทำให]จีนมี
บทบาทสำคัญด]านเศรษฐกิจและการค]าของโลก
3. การค]าระหวYางไทย - จีน ปw 2566 จีนเปEนคูคY ]าอันดับ 1 ของไทย มีมูลคYาการค]า รวม 104,964.90
ล]านเหรียญสหรัฐ หรือ 3.65 ล]านล]านบาท ลดลงจากปwกYอนร]อยละ 0.22 สรุป ดังนี้
1) จีนเปEนตลาดสYงออกอันดับ 2 ของไทย โดยในปw 2566 มีมูลคYาสYงออกไปจีน 34,164
ล]านเหรียญสหรัฐ (1,176,889 ล]านบาท) ขยายตัวลดลงร]อยละ 0.77 เมื่อเทียบกับชYวงเดียวกันของปwกYอน สินค]า
สYงออกหลัก 5 อันดับแรก ได]แกY 1) ผลไม]สด แชYเย็น แชYแข็ง แห]ง 2) ผลิตภัณฑuยาง 3) เม็ดพลาสติก 4) ผลิตภัณฑuมัน
สำปะหลัง 5) เครื่องคอมพิวเตอรu อุปกรณu และสYวนประกอบ ทั้งนี้กระทรวงพาณิชยuตั้งเป¢าหมายการสYงออกไปจีนในปw
2567 ขยายตัวเพิ่มขึ้นร]อยละ 1 คิดเปEนมูลคYาการสYงออก 34.505 ล]านเหรียญสหรัฐฯ (1,188,657 ล]านบาท)
2) จีนเปEนแหลYงนำเข]าอันดับ 1 ของไทย โดยมีมูลคYานำเข]าจากจีน 70,800.40 ล]านเหรียญ
สหรัฐ หรือ 2.47 ล]านล]านบาท ขยายตัวจากปwกYอน ร]อยละ 0.05 ทั้งนี้ สินค]านำเข]าหลัก 5 อันดับแรก ได]แกY
1) เครื่องจักรไฟฟ¢าและสYวนประกอบ 2) เครื่องจักรกลและสYวนประกอบ 3) เคมีภัณฑu 4) เครื่องใช]ไฟฟ¢าในบ]าน
5) เครื่องคอมพิวเตอรu อุปกรณu และสYวนประกอบ
4. กระทรวงพาณิชยuจึงได]หารือกับบริษัทไชนYา ปrโตรเคมิคอล คอรuปอเรชั่น ซึ่งเปEนรัฐวิสาหกิจด]าน
พลังงานรายใหญYภายใต]รัฐบาลจีน เพื่อริเริ่มการจัดทำบันทึกความเข]าใจระหวYางกัน อันเปEนผลสืบเนื่องจากการพบ
หารือระหวYางผู]บริหารระดับสูงของทั้งสองฝ©ายเมื่อครั้งการยือนนครเซี่ยงไฮ] สาธารณรัฐประชาชนจีน ระหวYางวันที่
4 - 6 พฤศจิ ก ายน 2566 โดย รY า งบั น ทึ ก ความเข] า ใจ (Memorandum of Understanding) ด] า นความรY ว มมื อ
ระหวYางกระทรวงพาณิชยuและบริษัทไชนYา ปrโตรเคมิคอล คอรuปอเรชั่น มีสาระสำคัญของขอบเขตความรYวมมือ ดังนี้
1) การแลกเปลี่ยนข]อมูลด]านโอกาสทางการค]าและการลงทุนในประเทศไทยและจีนรวมถึง
ข]อมูลเกี่ยวกับการเข]าสูYตลาดของผลิตภัณฑuหรือการขยายธุรกิจของบริษัทบริษัทไชนYา ปrโตรเคมิคอล คอรuปอเรชั่น
ในประเทศไทย
2) การสYงเสริมการจำหนYายสินค]าไทยในสถานีบริการน้ำมันบริษัทไชนYา ปrโตรเคมิคอล
คอรuปอเรชั่น
3) การสนับสนุนการจัดกิจกรรมสYงเสริมธุรกิจตYาง ๆ เชYน การสัมมนา การประชุม การจับคูY
ธุรกิจ งานแสดงสินค]า การจัดคณะผู]แทนการค]า ฯลฯ รวมทั้งแสวงหา สYงเสริมและพัฒนาโอกาสในการสร]างความ
รYวมมือระหวYางกัน
58

4) แสวงหา สYงเสริม และพัฒนาโอกาสในการสร]างความรYวมมือเกี่ยวกับกลุYมสินค]าปrโตร


เคมี สินค]าเกษตรและประมง สินค]าอุปโภคบริโภค ฯลฯ
ประโยชนgและผลกระทบ
การจัดทำบันทึกความเข]าใจ (Memorandum of Understanding) ด]านความรYวมมือระหวYาง
กระทรวงพาณิชยuและบริษัทไชนYา ปrโตรเคมิคอล คอรuปอเรชั่น มีวัตถุประสงคuเพื่อเพิ่มชYองทางกระจายสินค]าไทยในจีน
ผYานสถานีบริการน้ำมัน 30,000 สาขาภายใต]การบริหารของบริษัท ไชนYา ปrโตรเคมิคอล คอรuปอเรชั่น ทั้งนี้ ประโยชนu
ที่ประเทศไทยและ/หรือภาคอุตสาหกรรมของไทย จะได]รับจากการดำเนินการในเรื่องนี้ คาดวYาการจัดกิจกรรม
สYงเสริมการค]ากับบริษัทไชนYา ปrโตรเคมิคอล คอรuปอเรชั่น จะสามารถจัดให]มีสินค]าไทยในเบื้องต]นจำนวนรายการ
สินค]าไมYต่ำกวYา 50 รายการ (SKUs) ในกลุYมสินค]าเชYน ข]าวหอมมะลิ อาหารแปรรูป ผลไม]แปรรูป ขนมขบเคี้ยว
และผลิตภัณฑuยางพารา (จากปyจจุบันซึ่งมีอยูYในสถานีแล]วเพียงจำนวน 3 รายการ (SKUs) เข]าไปจำหนYายในร]าน
สะดวกซื้อ Easy Joy ของบริษัทฯ ซึ่งมีอยูYในสถานีบริการน้ำมัน 30,000 สาขาทั่วประเทศจีน คิดเปEนมูลคYาไมYต่ำกวYา
1,000 ล]านบาท ภายในระยะเวลา 3 ปw ตามอายุของรYางบันทึกความเข]าใจฯ นอกจากนี้ ยังมีวัตถุประสงคu ในการ
แลกเปลี่ยนข]อมูล องคuความรู]หรือความเชี่ยวชาญของตYางฝ©าย และการสนับสนุนการดำเนินกิจกรรมสYงเสริมการค]า
การลงทุนระหวYางกัน อันจะมีสYวนชYวยยกระดับและพัฒนาขีดความสามารถของผู]ประกอบการไทยได]โดยปริยาย
อีกทั้งสอดคล]องกับนโยบายของกระทรวงพาณิชยuที่ต]องการผลักดันสินค]าของผู]ประกอบการ SMEs โดยเฉพาะกลุYม
ผู]ผลิตอาหาร สินค]าเกษตรและประมง รวมถึงสินค]าอุปโภคบริโภค ให]สามารถขยายสูYตลาดตYางประเทศได]มากขึ้น
ตลอดจนสอดรับกับนโยบายการเรYงสYงเสริมการสร]างพันธมิตรและหุ]นสYวนยุทธศาสตรuทางเศรษฐกิจ และขยาย
ขอบเขตการทำงานระหวYางภาครัฐและเอกชน โดยตYอยอดจากผลการพบหารือระหวYางผู]บริหารระดับสูงของทั้งสอง
ฝ©ายอยYางเปEนรูปธรรม
30. เรื ่ อ ง รายงานผลการเดิ น ทางเยื อ นนครคุ น หมิ ง มณฑลยู น นาน สาธารณรั ฐ ประชาชนจี น ของรอง
นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว5าการกระทรวงพาณิชยg
คณะรั ฐ มนตรี ร ั บ ทราบรายงานผลการเดิ น ทางเยื อ นนครคุ น หมิ ง มณฑลยู น นาน สาธารณรั ฐ
ประชาชนจีน ของรองนายกรัฐมนตรี (นายภูมิธรรม เวชยชัย) และรัฐมนตรีวYาการกระทรวงพาณิชยuและคณะผู]บริหาร
ระดับสูง กระทรวงพาณิชยu ตามที่กระทรวงพาณิชยuเสนอ
สาระสำคัญของเรื่อง
กระทรวงพาณิชยu (พณ.) รายงานวYา
1. นับตั้งแตYปw 2556 จนถึงปw 2565 จีนเปEนคูYค]าอันดับ 1 ของไทย การค]าระหวYางไทย-จีน ปw 2566
(มกราคม- พฤศจิกายน-2566) มีมูลคYารวม 96,824.62 ล]านดอลลารuสหรัฐ ลดลงจากปwกYอนร]อยละ 0.28 แบYงเปEนการ
สYงออกมูลคYา 31,553.45 ล]านดอลลารuสหรัฐ ลดลงจากปwกYอนร]อยละ 0.99 การนำเข]ามูลคYา 65,271.17 ล]านดอลลารu
สหรัฐ เพิ่มขึ้นจากปwกYอน ร]อยละ 0.77 ไทยขาดดุลการค]า -33,717.72 ล]านดอลลารuสหรัฐ สำหรับมณฑลยูนนาน
ตั้งอยูYทางตะวันตกเฉียงใต] ซึ่งใกล]ประเทศไทยมากที่สุด จึงเปEนหุ]นสYวนทางยุทธศาสตรuที่สำคัญและประตูการค]าที่
เชื่อมโยงระหวYางภูมภิ าคอาเซียน จีน และเอเชียใต] โดยในปw 2566 (มกราคม - ตุลาคม 2566) มูลค5าการคIาไทย - ยูน
นาน รวม 1,730.26 ล]านดอลลารuสหรัฐ ลดลงรIอยละ 17.23 แบYงเปEนการสYงออกมูลคYา 1,226.95 ล]านดอลลารu
สหรัฐ เพิ่มขึ้นร]อยละ 21.90 และการนำเข]ามูลคYา 503.31 ล]านดอลลารuสหรัฐ ลดลงร]อยละ 53.57 สินค]าที่นำเข]าจาก
ไทย 5 ลำดับแรก ได]แกY ผลไม] ไกYแชYแข็งและสYวนประกอบ เคมีภัณฑuเบ็ดเตล็ด เครื่องจักรกลและสYวนประกอบและ
สินค]าที่มีการจำแนกเปEนพิเศษ
2. รองนายกรัฐมนตรี (นายภูมิธรรมฯ) และรัฐมนตรีวYาการกระทรวงพาณิชยuพร]อมด]วยผู]บริหาร
ระดับสูงของ พณ. ได]เดินทางเยือนนครคุนหมิง มณฑลยูนนาน จีน ระหวYางวันที่ 17 - 18 ธันวาคม 2566 เพื่อเข]ารYวม
กิจกรรม “Thai - Yunnan Quick Win Business Matching and Networking” โดยได]เปEนสักขีพยานลงนามในพิธี
ลงนาม MOU ระหวYางผู]ประกอบการไทย - จีน ซึ่งได]มีการลงนาม MOU จำนวน 3 ฉบับ เปEนการตกลงสั่งซื้อสินค]า
แป¢งมันสำปะหลังสตารuชที่ผลิตได]จากหัวมันสำปะหลังและผลิตภัณฑuกาแฟจากประเทศไทย คิดเปEนมูลคYารวม
5,077.50 ล]านบาท เพื่อรองรับผลผลิตของเกษตรกร ผลักดันราคาหัวมันสำปะหลังและผลิตภัณฑuกาแฟในประเทศ
ไทย นอกจากนี้ ได]มีการหารือกับภาคเอกชนไทยที่ดำเนินธุรกิจในจีน โดยหารือกับเจ]าของร]านอาหารไทยคุ]มจันทรuเจ]า
(Thai SELECT) ซึ่งเปEนประธานสมาคมนักธุรกิจไทยในจีนตะวันตกเฉียงใต] และผู]บริหารบริษัท Yunnan Dimiao E-
59

Commerce จำกัด ซึ่งร]านอาหารคุ]มจันทรuเจ]าเปEนสYวนหนึ่งในการขับเคลื่อนนโยบายของรัฐบาลที่จะผลักดัน Soft


Power ของไทยให]เปEนที่รู]จักในตYางประเทศผYานอาหารไทย ซึ่งเปEนหนึ่งในเป¢าหมายที่ พณ. กำลังดำเนินการ ทั้งนี้ ได]
ขอความรYวมมือให]ขยายการนำเข]าสินค]าไทย โดยเฉพาะสินค]าจาก SMEs สูYตลาดจีนทั้งรูปแบบออนไลนuและออฟไลนu
3. กรมสYงเสริมการค]าระหวYางประเทศได]ดำเนินการตามยุทธศาสตรuผลักดันการสYงออก “เรYงขยับ
ตัวเลขการสYงออกเปลี่ยนจากลบให]เปEนบวก” โดยสYงเสริมการเจาะตลาดเมืองหลักและเมืองรองรายมณฑลในจีนใน
เชิงรุกผYานการจัดกิจกรรมตYาง ๆ ดังนั้น การเดินทางเข]ารYวมงานฯ ของรองนายกรัฐมนตรี (นายภูมิธรรมฯ) และ
รัฐมนตรีวYาการกระทรวงพาณิชยu ถือเปEนการบูรณาการความรYวมมือกับภาคเอกชนเพื่อเพิ่มโอกาสในการสYงออก
4. พณ. ไดIเสนอแนวทางการดำเนินงานตYอไป ดังนี้
4.1 พณ. จะจั ด งาน Top Thai Brands Kunming 2024 และ 2025 เพื ่ อ สนั บ สนุ
ผู]ประกอบการในกลุYมสินค]าอาหารและเครื่องดื่ม สินค]าสุขภาพและความงาม ตลอดจนสินค]าแฟชั่น เครื่องประดับ
เปEนต]น
4.2 เข] า รY ว มงานแสดงสิ น ค] า ในประเทศจี น รวมถึ ง พิ จ ารณาให] ค วามรY ว มมื อ กั บ
ห]างสรรพสินค]าในการจัดกิจกรรมสYงเสริมการตลาดสินค]าไทย เพื่อแนะนำสินค]าไทยให]เปEนที่รู]จักของชาวจีนเพิ่มขึ้น
และสYงเสริมการเปrดตลาดให]กับผู]ประกอบการของไทยตYอไป

แต5งตั้ง
31. เรื่อง แต5งตั้งกรรมการอื่น (ผูIแทนกองทัพอากาศและผูIทรงคุณวุฒิ) ในคณะกรรมการกำกับสำนักงานการบิน
พลเรือนแห5งประเทศไทย
คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติตามที่กระทรวงคมนาคมเสนอแตYงตั้งกรรมการอื่น (ผู]แทนกองทัพอากาศ
และผู]ทรงคุณวุฒิ) ในคณะกรรมการกำกับสำนักงานการบินพลเรือนแหYงประเทศไทย จำนวน 5 คน เพื่อแทน
กรรมการอื่นเดิมที่พ]นจากตำแหนYงเนื่องจากมีอายุครบหกสิบห]าปwบริบูรณu ขอลาออก และดำรงตำแหนYงครบวาระสี่ปw
ดังนี้
1. พลอากาศตรี นาถวุฒิ หยูทอง ผู]แทนกองทัพอากาศ
2. นางชาริตา ลีลายุทธ ผู]ทรงคุณวุฒิด]านบริหารกิจการการบินพาณิชยu
3. นายชาญเชาวนg ไชยานุกิจ ผู]ทรงคุณวุฒิด]านกฎหมาย
4. นางปานทิพยg ศรีพิมล ผู]ทรงคุณวุฒิด]านการเงิน หรือการคลัง
5. นายโชติชัย เจริญงาม ผู]ทรงคุณวุฒิด]านบริหารจัดการ
ทั้งนี้ ตั้งแตYวันที่ 26 มีนาคม 2567 เปEนต]นไป
32. เรื่อง การแต5งตั้งขIาราชการพลเรือนสามัญใหIดำรงตำแหน5งประเภทบริหารระดับสูง (กระทรวงสาธารณสุข)
คณะรั ฐ มนตรี ม ี ม ติ อ นุ ม ั ติ ต ามที่ ร ั ฐ มนตรี ว Y า การกระทรวงสาธารณสุ ข เสนอแตY ง ตั ้ ง นายกิ ต ติ
กรรภิรมยg สาธารณสุขนิเทศกu (นายแพทยuทรงคุณวุฒิ) สำนักงานปลัดกระทรวง ให]ดำรงตำแหนYง ผู]ตรวจราชการ
กระทรวง สำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เพื่อทดแทนตำแหนYงที่วYาง ตั้งแตYวันที่ทรงพระกรุณาโปรด
เกล]าโปรดกระหมYอมแตYงตั้งเปEนต]นไป
33. เรื่อง การแต5งตั้งรองประธานกรรมการคนที่สองและกรรมการผูIทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการกองทุนสนับสนุน
การสรIางเสริมสุขภาพ
คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติตามที่รองนายกรัฐมนตรี (นายสมศักดิ์ เทพสุทิน) ประธานกรรมการกองทุน
สนั บ สนุ น การสร] า งเสริ ม สุ ข ภาพเสนอแตY ง ตั ้ ง รองประธานกรรมการคนที ่ ส อง และกรรมการผู ] ท รงคุ ณ วุ ฒ ิ ใ น
คณะกรรมการกองทุนสนับสนุนการสร]างเสริมสุขภาพ รวม 9 คน เนื่องจากรองประธานกรรมการคนที่สองและ
กรรมการผู]ทรงคุณวุฒิเดิมได]ดำรงตำแหนYงครบวาระสามปw เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม 2566 ดังนี้
1. นายสุรเชษฐg สถิตนิรามัย รองประธานกรรมการคนที่สอง
2. รองศาสตราจารยgวิทยา กุลสมบูรณg กรรมการผู]ทรงคุณวุฒิ (ด]านการสร]างเสริมสุขภาพ)
3. นายพิศิษฐg ศรีประเสริฐ กรรมการผู]ทรงคุณวุฒิ (ด]านการพัฒนาชุมชน)
4. นายวิเชษฐg พิชัยรัตนg กรรมการผู]ทรงคุณวุฒิจากภาคเอกชน (ด]านการสื่อสารมวลชน)
60

5. รองศาสตราจารยgสรนิต ศิลธรรม กรรมการผู]ทรงคุณวุฒิจากภาคเอกชน (ด]านการศึกษา)


6. นางประภาศรี บุญวิเศษ กรรมการผู]ทรงคุณวุฒิ (ด]านการกีฬา)
7. ผู I ช 5 ว ยศาสตราจารยg ธ นวั น ตg สิ น ธุ น าวา กรรมการผู ] ท รงคุ ณ วุ ฒ ิ จ ากภาคเอกชน (ด] า น
ศิลปวัฒนธรรม)
8. นายเสรี นนทสูติ กรรมการผู]ทรงคุณวุฒิจากภาคเอกชน (ด]านกฎหมาย)
9. นายสัมพันธg ศิลปนาฏ กรรมการผู]ทรงคุณวุฒิจากภาคเอกชน (ด]านการบริหาร)
ทั้งนี้ ตั้งแตYวันที่ 26 มีนาคม 2567 เปEนต]นไป
34. เรื่อง การแต5งตั้งกรรมการผูIทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการสิ่งแวดลIอมแห5งชาติ
คณะรั ฐมนตรี มี มติ เ ห็ นชอบตามที่ ก ระทรวงทรั พยากรธรรมชาติ แ ละสิ ่ ง แวดล] อมเสนอแตY ง ตั้ ง
กรรมการผู]ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการสิ่งแวดล]อมแหYงชาติ จำนวน 8 คน เนื่องจากกรรมการผู]ทรงคุณวุฒิเดิมได]
ดำรงตำแหนYงครบวาระสามปw ดังนี้
1. นายเธียรชัย ณ นคร ด]านกฎหมายสิ่งแวดล]อม
2. นายสุรศักดิ์ ฐานีพานิชสกุล ด]านสาธารณสุขและสุขภาพ
3. นายขวัญชัย ดวงสถาพร ด]านทรัพยากรป©าไม]และนิเวศวิทยา
4. นายสุทิน เวียนวิวัฒนg (ภาคเอกชน) ด]านเศรษฐศาสตรuสิ่งแวดล]อม
5. นายยงธนิศรg พิมลเสถียร (ภาคเอกชน) ด]านอนุรักษuศิลปกรรม/ ภูมิสถาปyตยuและสิ่งแวดล]อม
เมือง
6. นายปานเทพ รัตนากร (ภาคเอกชน) ด]านบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล]อม
7. นายชวลิต รัตนธรรมสกุล (ภาคเอกชน) ด]านมลพิษสิ่งแวดล]อม
8. นายวรพล จันทรgงาม ด]านสังคมและการมีสYวนรYวม
ทั้งนี้ ตั้งแตYวันที่ 26 มีนาคม 2567 เปEนต]นไป
35. เรื่อง การแต5งตั้งกรรมการผูIทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการพลังงานนิวเคลียรgเพื่อสันติ ทดแทนตำแหน5งที่ว5าง
คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติตามที่กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตรu วิจัยและนวัตกรรมเสนอ
แตYงตั้ง ผูIช5วยศาสตราจารยgปฐมพร ศิรประภาศิริ เปEนกรรมการผู]ทรงคุณวุฒิ (สาขาแพทยศาสตรu) ในคณะกรรมการ
พลังงานนิวเคลียรuเพื่อสันติ แทนกรรมการผู]ทรงคุณวุฒิเดิม ที่พ]นจากตำแหนYงกYอนครบวาระเนื่องจากมีอายุครบเจ็ด
สิบปwบริบูรณu ทั้งนี้ ตั้งแตYวันที่ 26 มีนาคม 2567 เปEนต]นไป โดยผู]ได]รับแตYงตั้งแทนนี้อยูYในตำแหนYงเทYากับวาระที่
เหลืออยูYของกรรมการผู]ทรงคุณวุฒิซึ่งได]แตYงตั้งไว]แล]ว
36. เรื่อง การแต5งตั้งประธานกรรมการและกรรมการผูIทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการสถาบันการบินพลเรือน
คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติตามที่กระทรวงคมนาคมเสนอแตYงตั้งประธานกรรมการและกรรมการ
ผู ] ท รงคุ ณ วุ ฒ ิ ใ นคณะกรรมการสถาบั น การบิ น พลเรื อ น รวม 3 คน เพื ่ อ แทนประธานกรรมการและกรรมการ
ผู]ทรงคุณวุฒิเดิมที่พ]นจากตำแหนYงเนื่องจากขอลาออก ดังนี้
1. พลเอก ดิเรก ดีประเสริฐ ประธานกรรมการ
2. ศาสตราจารยgพิสุทธิ์ เพียรมนกุล กรรมการผู]ทรงคุณวุฒิ
3. นายดรุฒ คำวิชิตธนาภา กรรมการผู]ทรงคุณวุฒิ
ทั้งนี้ ตั้งแตYวันที่ 26 มีนาคม 2567 เปEนต]นไป
37. เรื่อง การแต5งตั้งคณะกรรมการจัดหาระบบคอมพิวเตอรgของรัฐ
คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามที่กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมเสนอแตYงตั้งคณะกรรมการ
จัดหาระบบคอมพิวเตอรuของรัฐ ดังนี้
องคgประกอบชุดใหม5
ปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เปEนประธานกรรมการ ผู]บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศ
ระดับสูง ประจำกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เปEนรองประธานกรรมการ กรรมการประกอบด]วย ผู]แทน
61

สำนักงบประมาณ ผู]แทนสำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องคuการมหาชน) ผู]แทนสำนักงานคณะกรรมการการรักษา


ความมั่นคงปลอดภัยไซเบอรuแหYงชาติ รองศาสตราจารยuยืน ภูYวรวรรณ นายไชยเจริญ อติแพทยu นายยรรยง เต็ง
อำนวย รองศาสตราจารยuวรา วราวิทยu นายวิษณุ ตัณฑวิรุฬหu ศาสตราจารยuพิสุทธิ์ เพียรมนกุล นายสุพงษuพิธ รุYงเป¢า
นายคมสัน ศรีวนิชยu นายศักดา นาคเลื่อน นายศุภกร คงสมจิตตu นายอัมภัส ปr¾นวนิชยuกุล นายกฤษณะ สมทรัพยu นาย
อภิชาติ ประเสริฐ โดยมีผู]อำนวยการศูนยuเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อ
เศรษฐกิ จ และสั ง คม เปE น กรรมการ และเลขานุ ก าร ผู ] เ ชี ่ ย วชาญเฉพาะด] า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศ สำนั ก งาน
ปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ผู]อำนวยการกลุYมงานเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหาร สำนักงาน
ปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม และผู]แทนศูนยuเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงาน
ปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เปEนกรรมการและผู]ชYวยเลขานุการ
หนIาที่ และอำนาจ (คงเดิม)
1. พิจารณากลั่นกรองความเหมาะสม เสนอแนะแนวทางการจัดหาระบบคอมพิวเตอรuของสYวน
ราชการ องคuการมหาชน ที่ใช]งบประมาณแผYนดิน รวมถึงแหลYงเงินอื่นที่นอกเหนือจากงบประมาณแผYนดิน ซึ่งเปEน
ภาระที่รัฐจะต]องตั้งงบประมาณชดใช] ในการจัดหาระบบคอมพิวเตอรuที่มีมูลคYาเกินกวYา 100 ล]านบาทขึ้นไป
โดยเฉพาะการบูรณาการงบประมาณ เทคโนโลยี และการใช]ข]อมูลรYวมกัน เพื่อลดความซ้ำซ]อนในการดำเนินการ
รวมทั้งให]มีการใช]เกณฑuมาตรฐานเดียวกันในการพิจารณาการจัดหาระบบคอมพิวเตอรuของรัฐให]เปEนไปอยYางมี
ประสิทธิภาพ
2. พิจารณาติดตามแผนงานและโครงการที่ได]ให]ความเห็นชอบของสYวนราชการและรายงานให]
คณะรัฐมนตรีทราบ
3. พิจารณากำหนดหลักเกณฑu และแนวทางปฏิบัติการจัดหาระบบคอมพิวเตอรuของรัฐ
4. พิ จารณากำหนด และเผยแพรY ข] อมู ลในเรื ่ องราคาและคุ ณลั กษณะของระบบคอมพิ วเตอรu
ที่เหมาะสมกับลักษณะงานตYาง ๆ
5. เสนอแนะข]อวินิจฉัย ปyญหาและแนวทางปฏิบัติในการจัดหาระบบคอมพิวเตอรuของรัฐ ตามที่
กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมมอบหมาย
6. ให] ม ี อ ำนาจเชิ ญ เจ] า หน] า ที ่ ผ ู ] เ กี ่ ย วข] อ งมาชี ้ แ จง เสนอข] อ มู ล และ/หรื อ เอกสารประกอบ
การพิจารณาได]ตามความจำเปEน
7. แตYงตั้งคณะอนุกรรมการ คณะทำงาน และผู]ชYวยเลขานุการเพิ่มเติมได]ตามความจำเปEน
8. ปฏิบัติงานอื่นใดตามที่ได]รับมอบหมายจากกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
ทั้งนี้ ตั้งแตYวันที่ 26 มีนาคม 2567 เปEนต]นไป
38. เรื่อง การแต5งตั้งผูIรักษาราชการแทนรัฐมนตรีว5าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตรg วิจัยและ
นวัตกรรม
คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติมอบหมายเปEนหลักการให]รัฐมนตรีเปEนผู]รักษาราชการแทนรัฐมนตรีวYาการ
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตรu วิจัยและนวัตกรรม ในกรณีที่ไมYมีผู]ดำรงตำแหนYงรัฐมนตรีวYาการกระทรวงการ
อุ ดมศึ กษา วิ ทยาศาสตรu วิ จั ยและนวั ตกรรม หรื อมี แตY ไ มY อาจปฏิ บั ติ ราชการได] ตามความในมาตรา 42 แหY ง
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผYนดิน พ.ศ. 2534 จำนวน 2 ราย ตามลำดับ ตามที่กระทรวงการอุดมศึกษา
วิทยาศาสตรu วิจัยและนวัตกรรม เสนอ ดังนี้
1. รัฐมนตรีวYาการกระทรวงแรงงาน (นายพิพัฒนu รัชกิจประการ)
2. รัฐมนตรีวYาการกระทรวงศึกษาธิการ (พลตำรวจเอก เพิ่มพูน ชิดชอบ)
39. เรื่อง การโอนขIาราชการเพื่อแต5งตั้งใหIดำรงตำแหน5งผูIทรงคุณวุฒิพิเศษประจำสำนักนายกรัฐมนตรี (สำนัก
นายกรัฐมนตรี)
คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติตามที่รองนายกรัฐมนตรี (นายสมศักดิ์ เทพสุทิน) กำกับการบริหารราชการ
สั่ง และปฏิบัติราชการสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี เสนอรับโอน นางนิชา หิรัญบูรณะ ธุวธรรม รองเลขาธิการ
นายกรัฐมนตรีฝ©ายบริหาร (เงินประจำตำแหนYง 14,500 บาท) สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี และแตYงตั้งให]ดำรง
ตำแหนYง ผู]ทรงคุณวุฒิพิเศษประจำสำนักนายกรัฐมนตรี (นักบริหารระดับสูง) (เงินประจำตำแหนYง 21,000 บาท)
62

สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี สำนักนายกรัฐมนตรี ตั้งแตYวันที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล]าโปรดกระหมYอมแตYงตั้ง


เปEนต]นไป และผู]มีอำนาจสั่งบรรจุทั้งสองฝ©ายได]ตกลงยินยอมการโอนแล]ว
40. เรื่อง การแต5งตั้งกรรมการอื่นในคณะกรรมการธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณgการเกษตร
คณะรั ฐ มนตรี ม ี ม ติ อ นุ ม ั ต ิ ต ามที่ ก ระทรวงการคลั ง เสนอแตY ง ตั ้ ง นางวิ เ รขา สั น ตะพั น ธุg
ผูIแทนธนาคารแห5งประเทศไทย เปEนกรรมการอื่นในคณะกรรมการธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณuการเกษตร
แทนกรรมการอื่นเดิมที่พ]นจากตำแหนYงกYอนครบวาระ เนื่องจากลาออก ทั้งนี้ ให]มีผลตั้งแตYวันที่ 26 มีนาคม 2567
เปEนต]นไป โดยผู]ได]รับแตYงตั้งแทนนี้อยูYในตำแหนYงตามวาระของผู]ซึ่งตนแทน
****************************

You might also like