You are on page 1of 26

ผลการสำรวจสภาพการทำงานและสถานะทางเศรษฐกิจและสังคม

กลุ่มผู้ขับขี่จักรยานยนต์รับจ้าง
ในกรุงเทพมหานคร

พฤศจิกายน 2566
ลักษณะทางประชากรศาสตร์
เพศชาย 93% (375 คน) 35.8% สำเร็จการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
เพศหญิง 7% (25 คน)

ระดับการศึกษาสูงสุด ร้อยละ
อายุ 46-59 ปี คิดเป็น 43% จาก
ทั้งหมด
ประถมศึกษา 32.8

มากกว่า 60 ปี 26 - 35 ปี มัธยมศึกษาตอนต้น 35.8


10.8% 11.3%

มัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. 21.8

อนุปริญญา/ปวส. 7.5

36 - 45 ปี ปริญญาตรี 2.5
46 - 59 ปี 32.5%
43%
สูงกว่าปริญญาตรี 0.3
ลักษณะการประกอบอาชีพ
สิทธิการประกอบอาชีพ การจดทะเบียน ระยะเวลาการประกอบอาชีพ

าสิทธิ 35
เช่ การจดทะเบียนรถ 30 32 %

14.2 จักรยานยนต์สาธารณะ 25

20
20 %
101 18.5 %
15 16.3 %
13.3 %
73.7% (293 คน) จดทะเบียน 10

26.8% (107 คน) ไม่ได้จดทะเบียน 5

85.8 0
0 - 3 ปี 4 - 6 ปี 7 - 10 ปี 11 - 15 ปี 16 - 20 ปี

สิทธิของตนเอง
32% ประกอบอาชีพมาแล้ว 16 - 20 ปี
การเช่าสิทธิเสื้อวิน

71 % จ่ายค่าเช่าเสื้อวินในช่วงราคา 500 - 1500 บาท ต่อเดือน

42% เช่าเสื้อวิน 500 - 1000 บาท


101 18% เช่าเสื้อวิน 1501 - 2000 บาท
11% เช่าเสื้อวิน 1001 - 1500 บาท

n = 57
รูปแบบการประกอบอาชีพ

การประกอบอาชีพ ลักษณะการประกอบอาชีพ
มอเตอร์ไซค์รับจ้าง

เป็นอาชีพเสริม 12.5% รับส่งผู้โดยสาร และสิ่งของ


59%

รับส่งเฉพาะผู้โดยสาร
41%
เป็นอาชีพหลัก 87.5%
ความสอดคล้องของรายได้และรายจ่าย

20.3%
รายได้
33.3% รายได้
มากกว่า
รายจ่าย
น้อยกว่า มีเพียง 20.3% ที่มี
รายจ่าย
รายได้มากกว่ารายจ่าย
รายได้
เท่ากับ
รายจ่าย

46.5%
ต้นทุนค่าน้ำมันและค่าวัสดุสึกหรอ
46% มีต้นทุน “ค่าน้ำมัน” 67.5% มีต้นทุน “ค่าสึกหรอ”
เฉลี่ย 51 - 100 บาท เฉลี่ยต่ำกว่า 500 บาท /เดือน

ต้นทุนค่าน้ำมันในการทำงาน ร้อยละ ค่าวัสดุสึกหรอต่อเดือน ร้อยละ

ต่ำกว่า 50 บาท 0.5 ต่ำกว่า 500 บาท 67.5

51-100 บาท 46.0 501 - 1000 บาท 25.3

101-150 บาท 40.3 1001 - 1500 บาท 3.5

151-200 บาท 12.5 1501 - 2000 บาท 1.3

201-250 บาท 0.8 มากกว่า 2000 บาท 2.5


ค่าใช้จ่ายเพื่ ออำนวยความสะดวกในการประกอบอาชีพ

72% มีค่าใช้จ่ายสำหรับจุดจอดรถจักรยานยนต์

60.5% มีค่าใช้จ่ายส่วนกลางที่จัดการร่วมกัน อาทิ ค่าไฟ ค่าน้ำ

91.5% ให้ข้อมูลว่าไม่มีการจ่ายให้แก่เจ้าหน้าที่
ข้อมูลด้านที่อยู่อาศัยและครัวเรือน

ลักษณะที่พั กอาศัย
จำนวนสมาชิกในบ้านที่ต้องดูแล
72% เช่าบ้านอยู่ 30

63.7% มีชื่อในทะเบียนบ้านนอกเขตกรุงเทพมหานคร
73% ปัจจุบัน อาศัยอยู่ใกล้เคียงกับพื้นที่ทำงานในรัศมี
25
25.8%

5 กิโลเมตร 20 21.3%
22%

ภาระทางบ้าน 15
16%

10
ส่วนใหญ่มีบุคคลในครอบครัวที่ต้องดูแลตั้งแต่ 1-5 คน
7.5%
95.5% มีบุคคลในครอบครัวที่ต้องดูแล 5
4.5%

4.5% เท่านั้นที่ไม่ต้องดูแลครอบครัว
3%
0
ไม่มี 1 คน 2 คน 3 คน 4 คน 5 คน 5 คนขึ้นไป
อุปสรรคที่คิดว่าส่งผลต่อการประกอบอาชีพ

ค่าน้ำมัน สภาพอากาศ ขั้นตอนในการต่อใบอนุญาตขับขี่ยุ่งยาก


ส่งผลต่อการประกอบอาชีพใน ส่งผลต่อการประกอบอาชีพใน ส่งผลต่อการประกอบอาชีพใน
ระดับมาก (4.10) ระดับปานกลาง (3.43) ระดับปานกลาง (3.31)

การแข่งขันจากแอพพลิเคชั่น ค่าโดยสารเริ่มต้นถูกเกินไป ค่าธรรมเนียมต่างๆ เช่น ค่าทำประกัน


ส่งผลต่อการประกอบอาชีพใน ส่งผลต่อการประกอบอาชีพใน ค่าต่อใบขับขี่
ระดับปานกลาง (3.22) ระดับปานกลาง (2.96) ส่งผลต่อการประกอบอาชีพใน
ระดับน้อย (2.11)
การดื่มแอลกอฮล์และการสูบบุหรี่

แอลกอฮอล์ บุหรี่

ไม่ดื่ม 55.3 % ไม่สูบ 59.8 %

ดื่ม 1 - 2 ครั้งต่อสัปดาห์ 24 % สูบ 1-3 มวนต่อวัน 2.8 %

ดื่ม 3 - 4 ครั้งต่อสัปดาห์ 5.8 % สูบ 4-6 มวนต่อวัน 3.3 %

ดื่ม 5 - 6 ครั้งต่อสัปดาห์ 5% สูบ 7-9 มวนต่อวัน 3.3 %

ดื่ม 7 ครั้งขึ้นไปต่อสัปดาห์ 10 % สูบ 10 มวนขึ้นไปต่อวัน 31 %

0 2 4 6 0 2 4 6
0 0 0 0 0 0
ชั่วโมงการทำงานและช่วงเวลาการทำงาน
72.3% ทำงาน 7 วัน/สัปดาห์
จำนวนชั่วโมงทำงาน/วัน ช่วงเวลาทำงาน

19.3% ทำงานในช่วงเวลาเร่งด่วนเย็น
22.3% ทำงาน 14 ชั่วโมง/วัน เช้ามืด 4.4%
18.5% ทำงาน 12 ชั่วโมง/วัน ช่วงเวลาเร่งด่วนเช้า 18.2%
14.2% ทำงาน 10 ชั่วโมง/วัน สาย-เที่ยง 16.9%

บ่าย 17.6%

ช่วงเวลาเร่งด่วนเย็น 19.3%

กลางคืน 8.2%

ตลอดทั้งวัน 15.4%
สภาพการทำงานและการเกิดอุบัติเหตุ
47.3% ขับรถจักรยานยนต์เฉลี่ย 100-150 กม./วัน การใช้สิทธิการรักษา
37.5% ขับรถจักรยานยนต์เฉลี่ย ต่ำกว่า 100 กม./วัน
10.3% ขับรถจักรยานยนต์เฉลี่ย 151 - 200 กม./วัน
5.0% ขับรถจักรยานยนต์เฉลีย มากกว่า 200 กม./วัน

การประสบอุบัติเหตุ
ร้อยละ โดยปกติเบิกจาก พ.ร.บ. คุ้มครองผู้ประสบ
และระดับความบาดเจ็บที่ได้รับ
ภัยฯ ส่วนที่เกิน เบิกจากสิทธิหลักประกัน
56.6% เคยประสบอุบัติเหตุ สุขภาพถ้วนหน้า
ขณะทำงาน ไม่เคยประสบอุบัติเหตุ 43.4

27%
ประสบอุบัติเหตุแต่ไม่ได้รับบาดเจ็บ 3.5 ไม่ได้เบิกค่ารักษาส่วนที่เกินจาก
ที่สามารถเบิกจาก พ.ร.บ. ผู้ประสบภัยฯ ได้
ได้รับบาดเจ็บเล็กน้อย
38.3
16.8%
(สามารถช่วยเหลือตัวเองได้) เบิกค่ารักษาส่วนที่เกินจาก พ.ร.บ. ผู้ประสบ
ภัยฯ จากหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
ได้รับบาดเจ็บสาหัส เช่น หมดสติ
14.8
แขนหัก ขาหัก เป็นต้น
การเจ็บป่วยจากการทำงานและการรักษา

การเจ็บป่วย การใช้สิทธิการรักษา

66.5% มีอาการเจ็บป่วยที่มาจากการตากแดด โดนฝน ประกันกลุ่ม ไม่ได้ใช้สิทธิ์


45.8% ป่วยเป็นไข้หวัด 1.8% 14%
33.2% ปวดเมื่อยตามร่างกาย
ประกันเอกชน
3.3%
หลักประกันสุขภาพ
การรักษา ถ้วนหน้า (บัตรทอง)
หลักประกันสุขภาพถ้
56.5%
68% พักรักษาตัวและซื้อยารับประทานเองอยู่ที่บ้าน ประกันสังคม 56.5
24.5% รักษาตัวที่โรงพยาบาล 24.4%
7.5% รักษาตัวที่คลินิก
การตรวจสภาพรถจักรยานยนต์ประจำปี

7.2%

เข้ารับการตรวจ
สภาพตามกำหนด

92.8%
การให้บริการผ่านแอปพลิเคชัน

89.3% ไม่ให้บริการผ่าน เหตุผลที่ไม่ให้บริการ

แอปพลิเคชัน เหตุผลที่ไม่ให้บริการ ร้อยละ

ระเบียบที่ยุ่งยาก 27.6

ไม่สะดวกใช้แอปพลิเคชัน 41.3

ทำให้มีค่าใช้จ่ายเพิ่มมากขึ้น 13.7

โทรศัพท์มือถือไม่รองรับ 2.3

อื่น ๆ 15.0
ลักษณะการออมเงิน

การออมเงิน
การออมในปัจจุบัน

ลักษณะการออม ร้อยละ

รายได้ไม่เพียงพอต่อการออม 42.8
มี
46.5% ไม่ได้ หรือเคยมี
ออมเงิน การออมเงิน ออมบ้างเป็นบางครั้ง 30.3
53.5%
ออมเป็นประจำ 21.8

ไม่ออมเลย 5.3
สภาพหนี้สินและการกู้ยืม

สภาพหนี้สิน การกู้เงินกับสถาบันการเงิน

25%
30.2
ไม่สามารถ
% กู้ได้
ไม่มีหนี้สิน

มีหนี้สินในระบบ
มีหนี้สินทั้งใน
และนอกระบบ 54%
สามารถ
11% มีหนี้สิน
กู้ได้
นอกระบบ
69.8
%
10%
รายได้เฉลี่ย (จำแนกเขต)
*เฉพาะคนที่ขับขี่จักรยานยนต์รับจ้างเป็นอาชีพหลัก

รายได้เฉลี่ย

n = 348
เขตที่รายได้เฉลี่ยสูง/น้อยที่สุด
6 เขตในกทม.ที่วินมอเตอร์ไซค์ 5 เขตในกทม.ที่วินมอเตอร์ไซค์
รายได้เฉลี่ยสูงสุด รายได้เฉลี่ยต่ำสุด

อันดับ เขต รายได้เฉลี่ย อันดับ เขต รายได้เฉลี่ย

1 คลองเตย 838 1 สะพานสูง 326

2 ดินแดง 779 2 วังทองหลาง 331

3 หนองแขม 777 3 คลองสามวา 400

4 พญาไท 772 4 บึงกุ่ม 417

5 บางแค และ คันนายาว 750 5 ทวีวัฒนา 425

n = 348
รายได้เฉลี่ยต่อวัน

จำนวน (คน)
n = 348 *เฉพาะคนที่ขับขี่จักรยานยนต์รับจ้างเป็นอาชีพหลัก

Median : 550฿

Min : 250฿ Mode : 500฿ Mean : 604฿ Max : 1,350฿


จำนวนรถจักรยานยนต์ในครอบครอง

จำนวนรถที่มี ร้อยละ

1 คัน 58

2 คัน 31.6

3 คัน 7.9

4 คัน 2

5 คันขึ้นไป 0.5
รูปแบบการซื้อ/เช่าซื้อรถจักรยานยนต์

รูปแบบวิธีการซื้อ รูปแบบการเช่าซื้อ

รถเก่า 0.3%
13%

อื่นๆ
32.3%
เงินสด

ฟรีดาวน์
จ่ายดาวน์
เช่าซื้อ 30.5% 56.5%

67.5%
การผ่อนรถจักรยานยนต์

ภาระการผ่อนในปัจจุบัน ระยะเวลาที่ต้องการผ่อน

50.7%

ระยะสั้น (ต่ำกว่า 24 เดือน)

เห็น
ความ
มี
11% ไม่ ระยะยาว
69% (มากกว่า 24 เดือน)

ไม่มีภาระในการผ่อนแล้ว
38.3%
ในปัจจุบัน
การเช่าซื้อรถจักรยานยนต์

การดาวน์รถจักรยานยนต์ ค่างวดรถจักรยานยนต์ ค่างวดที่ประสงค์จ่าย

ค่าดาวน์รถ ร้อยละ ค่างวดรถ ร้อยละ ค่างวดที่ประสงค์จ่าย ร้อยละ

1000-2000 23 น้อยกว่า 1000 1


ต่ำกว่า 5000 24

2001-3000 58 1000-1500 12
5000-10000 62

3001-4000 16 1501-2000 34
10001-15000 5

4001-5000 2 2001-2500 19
15001-20000 5

5001-6000 0 2501-3000 23
มากกว่า 20000 4

6001-7000 1
n = 153 มากกว่า3000 11

n = 270 n = 400
ทัศนคติต่อจักรยานยนต์ไฟฟ้า
ราวครึ่งหนึ่ง (49.8%)
สาเหตุที่ไม่ต้องการเปลี่ยน
ยังไม่ต้องการเปลี่ยนไปใช้รถจักรยานยนต์ไฟฟ้า
สาเหตุที่ไม่ต้องการเปลี่ยน ร้อยละ

ไม่มั่นใจสมรรถนะ 40.8

กังวลเรื่องแบตเตอรี่ 25.8

23.3%
ความคุ้มค่าของการใช้งาน 20.1
ต้องการเปลี่ยนไปใช้รถจักรยานยนต์ไฟฟ้า

ไม่ต้องการเปลี่ยนไปใช้รถจักรยานยนต์ไฟฟ้า 49.8% ราคา 11

ไม่มีความเห็น 6.5% ไฟแนนซ์ 2.3

ยังไม่ได้ตัดสินใจ 20.5%

0 10 20 30 40 50

You might also like