You are on page 1of 23

บทที่ 4

ผลการวิจัย
งานวิจัยในครั้งนี้กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ คือ นักศึกษาเภสัชศาสตร์มหาวิทยาลัย
หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติจำนวน 100 คน มีรายละเอียด 4 ส่วน ดังนี้

ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของนักศึกษาเภสัชศาสตร์มหาวิทยาลัยหัวเฉียว
เฉลิมพระเกียรติ
4.1 ลักษณะทางประชากรศาสตร์
4.1.1 เพศ
กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็ นเพศหญิง จำนวน 85 คน คิดเป็ นร้อย
ละ 85.0 และเพศชาย จำนวน 15 คิดเป็ นร้อยละ 15.0 ดังแสดงใน
ตารางที่ 4.1

ตารางที่ 4.1 ลักษณะทางประชากรศาสตร์ของนักศึกษามหาวิทยาลัย


หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
ลักษณะทาง จำนวน (คน) ร้อยละ
ประชากรศาสตร์
เพศ
หญิง 85 85.0
ชาย 15 15.0
รวม 100 100.0
อายุ (ปี )
18 4 4.0
19 20 20.0
20 29 29.0
21 17 17.0
22 14 14.0
23 5 5.0
24 3 3.0
25 1 1.0
26 2 2.0
27 4 4.0
29 1 1.0
ตารางที่ 4.1 ลักษณะทางประชากรศาสตร์ของนักศึกษามหาวิทยาลัย
หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ(ต่อ)
อายุเฉลี่ย (ปี ) 23.1 ± 3.5
± S.D.
พิสัย (ปี ) 29-18

4.1.2 อายุ
กลุ่มตัวอย่างมีอายุเฉลี่ยเท่ากับ 23.1 ± 1.76 ปี ส่วนใหญ่มีอายุ
20 ปี โดยอายุน้อยที่สุด คือ 18 ปี และอายุมากที่สุดคือ 29 ปี ดังที่แสดง
ไว้ในตารางที่ 4.1 พบว่า
อันดับที่ 1 กลุ่มตัวอย่างที่มีอายุ 20 ปี มีจำนวน 29 คน คิดเป็ นร้อย
ละ 29.0 อันดับที่ 2 กลุ่ม ตัวอย่างที่มีอายุ 19 ปี มีจำนวน 20 คน คิดเป็ น
ร้อยละ 20.0 อันดับที่ 3 กลุ่มตัวอย่างที่มีอายุ 21 ปี มี จำนวน 17 คน
คิดเป็ นร้อยละ 17.0 อันดับที่ 4 กลุ่มตัวอย่างที่มีอายุ 22 มีจำนวน 14 คน
คิด เป็ นร้อยละ 14.0
อันดับที่ 5 กลุ่มตัวอย่างที่มีอายุ 23 ปี มีจำนวน 5 คน คิดเป็ นร้อยละ 5.0
และ อันดับที่ 6 กลุ่มตัวอย่างที่มีอายุ 18 และ 27 ปี มีจำนวน 4 คน คิด
เป็ นร้อยละ 4.0 อันดับที่ 7 กลุ่มตัวอย่างที่มีอายุ 24 ปี มีจำนวน 3 คน
คิดเป็ นร้อยละ 3.0 อันดับที่ 8 กลุ่มตัวอย่างที่มีอายุ 26 ปี มีจำนวน 2 คน
คิดเป็ นร้อยละ 2.0 อันดับที่ 9 กลุ่มตัวอย่างที่มีอายุ 25 และ 29 ปี มี
จำนวน 1 คน คิดเป็ นร้อยละ 1.0

4.1.3 ระดับกาศึกษา
กลุ่มตัวอย่างที่มากที่สุดคือนักศึกษาขั้นปี ที่ 2 คิดเป็ นร้อยละ
53.0 รองลงมา คือ ชั้นปี ที่ 1 คิดเป็ น ร้อยละ 18.0 ชั้นปี ที่ 3 คิดเป็ นร้อย
ละ 12.0 ชั้นปี ที่ 4 คิดเป็ นร้อยละ 7.0 ชั้นปี ที่ 6 คิดเป็ นร้อยละ 6.0 และ
ชั้นปี ที่ 5 คิดเป็ นร้อยละ 4.0 ดังแสดงในตารางที่ 4.2

ตารางที่ 4.2 จำนวนและร้อยละระดับการศึกษาชั้นปี ของกลุ่มตัวอย่าง


ระดับการศึกษา จำนวน (คน) ร้อยละ
ชั้นปี ที่ 1 18 18.0
ชั้นปี ที่ 2 53 53.0
ชั้นปี ที่ 3 12 12.0
ชั้นปี ที่ 4 7 7.0
ชั้นปี ที่ 5 4 4.0
ชั้นปี ที่ 6 6 6.0
รวม 100 100.0

4.1.4 รายรับเฉลี่ยต่อเดือน
กลุ่มตัวอย่างมีรายรับเฉลี่ยต่อเดือนมากที่สุด คือ มากกว่า
เท่ากับ 5,000 - 10,000 บาท คิดเป็ นร้อยละ 47.0 รองลงมา คือ
มากกว่า 10,000 บาท คิดเป็ นร้อยละ 30.0 และน้อยกว่าเท่ากับ 5,000
บาท คิดเป็ นร้อยละ 23.0 ดังที่แสดงไว้ในตารางที่ 4.3

ตารางที่ 4.3 จำนวนและร้อยละระดับการศึกษาชั้นปี ของกลุ่มตัวอย่าง


รายรับเฉลี่ยต่อเดือน จำนวน (คน) ร้อยละ
น้อยกว่าเท่ากับ 23 23.0
5,000 บาท
5,000 - 10,000 บาท 47 47.0
มากกว่า 10,000 บาท 30 30.0
รวม 100 100.0

4.1.5 โรคประจำตัว
กลุ่มตัวอย่างที่ไม่มีโรคประจำตัว คิดเป็ นร้อยละ 79.0 และมี
โรคประจำตัว คิดเป็ นร้อยละ 21.0 ดังที่แสดงไว้ ตารางที่ 4.4

ตารางที่ 4.4 จำนวนและร้อยละของนักศึกษาที่มีและไม่มีโรคประจำตัว


โรคประจำตัว จำนวน (คน) ร้อยละ
ไม่มี 79 79.0
มี 21 21.0
รวม 100 100.0
ส่วนที่ 2 พฤติกรรมการใช้ยาพาราเซตามอลของนักศึกษา
4.2 ลักษณะทางพฤติกรรมของประชากรศาสตร์
4.2.1 ประสบการณ์การการรับประทานยาพาราเซตามอล
กลุ่มตัวอย่างทุกคนเคยรับประทานยาพาราเซตามอล คิดเป็ น
ร้อยละ 100.0 ดังที่แสดงไว้ในตารางที่ 4.5

ตารางที่ 4.5 จำนวนและร้อยละของนักศึกษาในการการรับประทานยา


พาราเซตามอล
ประสบการณ์การการรับประทาน จำนวน
ร้อยละ
ยาพาราเซตามอล (คน)
เคย 100 100.0
ไม่เคย 0 0.0
รวม 100 100.0

4.2.2 การรับประทานยาพาราเซตามอลเมื่อมีอาการป่ วย
กลุ่มตัวอย่างที่ส่วนมากรับประทานยาพาราเซตามอลไม่ทุกครั้ง
เมื่อมีอาการป่ วย คิดเป็ นร้อยละ 63.0 และรับประทานยาพาราเซตามอล
ทุกครั้งเมื่อมีอาการป่ วย คิดเป็ นร้อยละ 37.0 ดังที่แสดงไว้ในตารางที่ 4.6

ตารางที่ 4.6 จำนวนและร้อยละของนักศึกษาการรับประทานยา


พาราเซตามอลเมื่อมีอาการป่ วย
การรับประทานยา
พาราเซตามอลเมื่อมีอาการ จำนวน (คน) ร้อยละ
ป่ วย
ไม่ทุกครั้ง 63 63.0
ทุกครั้ง 37 37.0
รวม 100 100.0

4.2.3 การเลือกใช้ยี่ห้อยาพาราเซตามอลในการรับประทาน
กลุ่มตัวอย่างที่ส่วนใหญ่รับประทานยาพาราเซตามอลยี่ห้อไทลิ
นอล คิดเป็ นร้อยละ 82.0 รองลงมา คือ ยี่ห้อพาราแคพ คิดเป็ นร้อยละ
5.0 ยี่ห้อซีมอล คิดเป็ นร้อยละ 4.0 ยี่ห้อพานาดอล คิดเป็ นร้อยละ 4.0 ยี่
ห้อเทมปร้า คิดเป็ นร้อยละ 2.0 ยี่ห้อซาร่า คิดเป็ นร้อยละ 2.0 และ ยี่ห้อซี
บาคามอล คิดเป็ นร้อยละ 1.0 ดังที่แสดงไว้ในตารางที่ 4.7

ตารางที่ 4.7 จำนวนคนเป็ นร้อยละของนักศึกษาตามพฤติกรรมการใช้


ยาพาราเซตามอล

ยี่ห้อยาพาราเซตามอล จำนวน (คน) ร้อยละ


ที่รับประทาน
ไทลินอล 82 82.0
พาราแคพ 5 5.0
ซีมอล 4 4.0
พานาดอล 4 4.0
เทมปร้า 2 2.0
ซาร่า 2 2.0
บาคามอล 1 1.0
รวม 100 100.0

4.2.4 การรับประทานยาพาราเซตามอลเมื่อมีอาการป่ วย
กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่รับประทานยาพาราเซตามอลเมื่อมีอาการไข้
ตัวร้อน คิดเป็ นร้อยละ 88.0 รองลงมา คือ มีอาการปวดศีรษะ คิดเป็ น
ร้อยละ 83.0 มีอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ คิดเป็ นร้อยละ 23.0 มีอาการ
ปวดฟั น คิดเป็ นร้อยละ 27.0 มีอาการปวดข้อ คิดเป็ นร้อยละ 4.0 ดังที่
แสดงไว้ในตารางที่ 4.8
ตารางที่ 4.8 จำนวนและร้อยละการรับประทานยาพาราเซตามอลเมื่อ
มีอาการต่อไปนี้
อาการ จำนวน (คน) ร้อยละ
อาการไข้ ตัวร้อน 88 88.0
ปวดศีรษะ 83 83.0
ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ 23 23.0
ปวดฟั น 27 27.0
ปวดข้อ 4 4.0
รวม 100 100.0
4.2.5 ระยะเวลาการรับประทานยาพาราเซตามอลติดต่อกัน
กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่รับประทานยาพาราเซตามอลติดต่อกัน
1-3 วัน คิดเป็ นร้อยละ 90.0 รองลงมา คือ ติดต่อกัน 4-6 วัน คิดเป็ นร้อย
ละ 9.0 ติดต่อกันมากกว่า 1 เดือน คิดเป็ นร้อยละ 1.0 และติดต่อกัน
มากกว่า 1 สัปดาห์ คิดเป็ นร้อยละ 0.0 ดังที่แสดงไว้ในตารางที่ 4.9

ตารางที่ 4.9 จำนวนและร้อยละของระยะเวลาการรับประทานยา


พาราเซตามอลติดต่อกันของนักศึกษา
ระยะเวลาการรับประทานยา จำนวน (คน) ร้อยละ
พาราเซตามอลติดต่อกัน
1-3 วัน 90 90.0
4-6 วัน 9 9.0
มากกว่า 1 สัปดาห์ 0 0.0
มากกว่า 1 เดือน 1 1.0
รวม 100 100.0
ส่วนที่ 3 ปั จจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการเลือกใช้ยาพาราเซตามอลของ
นักศึกษา
4.3 ปั จจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการเลือกใช้ยาพาราเซตามอล
4.3.1 ปั จจัยด้านการเลือกใช้ยา
ปั จจัยด้านการเลือกใช้ยาที่มีผลต่อการเลือกใช้ยา
พาราเซตามอลของนักศึกษาอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเป็ น 3.55 พบว่า
อันดับที่ 1 ตามคำแนะนำของแพทย์ หรือเภสัชกร มีผลมากที่สุด มีค่า
เฉลี่ยเป็ น 4.15 อันดับที่ 2 จากการอ่านฉลากยา มีผลมาก (ค่าเฉลี่ย
3.88) อันดับที่ 3 ตามคำแนะนำของคนในครอบครัว มีผลปานกลาง (ค่า
เฉลี่ย 3.47) อันดับที่ 4 ตามคำแนะนำของเพื่อนหรือคนใกล้ชิด มีผลปาน
กลาง (ค่าเฉลี่ย 3.15) อันดับที่ 5 รับรู้จากสื่อโฆษณามีผลปานกลาง (ค่า
เฉลี่ย 3.12) ดังที่แสดงไว้ในตารางที่ 4.10

ตารางที่ 4.10 ปั จจัยด้านการเลือกใช้ยาที่มีผลต่อการเลือกใช้ยา


พาราเซตามอลของนักศึกษา
ระดับที่มีผลต่อการตัดสินใจ
ค่าเฉลี่ย
ปั จจัยด้านการ มาก ปาน น้อย
มาก น้อย (แปร
เลือกใช้ยา ที่สุด กลาง ที่สุด
(4) (2) ผล)
(5) (3) (1)
จากการอ่าน 3.88
43.0 21.0 21.0 11.0 4.0
ฉลากยา (มาก)
รับรู้จากสื่อ 3.12
โฆษณา 9.0 35.0 27.0 17.0 12.0 (ปาน
กลาง)
ตามคำแนะนำ 4.15
ของแพทย์ หรือ 51.0 25.0 16.0 4.0 4.0 (มาก)
เภสัชกร
ตามคำแนะนำ 3.47
ของคนใน 14.0 36.0 37.0 9.0 4.0 (ปาน
ครอบครัว กลาง)
ตามคำแนะนำ 9.0 25.0 46.0 12.0 8.0 3.15
ของเพื่อนหรือ (ปาน
คนใกล้ชิด กลาง)
3.55
ค่าเฉลี่ยรวมของ 5 ปั จจัยด้านการเลือกใช้ยา
(มาก)

4.3.2 ปั จจัยด้านราคา
ปั จจัยด้านราคายาที่มีผลต่อการเลือกใช้ยาพาราเซตามอลของ
นักศึกษาอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเป็ น 3.76 พบว่า อันดับที่ 1 ราคาเมื่อ
เทียบกับประสิทธิภาพยา มีผลมาก มีค่าเฉลี่ยเป็ น 4.10 อันดับที่ 2 ราคา
เมื่อเทียบกับปริมาณยา มีผลมาก (ค่าเฉลี่ย 3.75) อันดับที่ 3 มีราคาระบุ
ชัดเจน มีผลมาก (ค่าเฉลี่ย 3.71) อันดับที่ 4 ราคาเมื่อเทียบกับยี่ห้ออื่น มี
ผลมาก (ค่าเฉลี่ย 3.54) ดังที่แสดงไว้ในตารางที่ 4.11

ตารางที่ 4.11 ปั จจัยด้านราคายาที่มีผลต่อการเลือกใช้ยา


พาราเซตามอลของนักศึกษา
ปั จจัยด้านการ ระดับที่มีผลต่อการตัดสินใจ ค่าเฉลี่ย
ราคา มาก มาก ปาน น้อย น้อย (แปร
ที่สุด (4) กลาง (2) ที่สุด ผล)
(5) (3) (1)
3.71
มีราคาระบุชัดเจน 36.0 27.0 16.0 14.0 7.0
(มาก)
ราคาเมื่อเทียบกับ 4.10
43.0 37.0 12.0 3.0 5.0
ประสิทธิภาพยา (มาก)
ราคาเมื่อเทียบกับ 3.75
26.0 42.0 18.0 9.0 5.0
ปริมาณยา (มาก)
3.54
ราคาเมื่อเทียบกับ 18.0 38.0 28.0 12.0 4.0 (มาก)
ยี่ห้ออื่น
3.76
ค่าเฉลี่ยรวมของ 4 ปั จจัยด้านราคา
(มาก)

4.3.3 ปั จจัยด้านราคา
ปั จจัยด้านช่องทางการเข้าถึงยาที่มีผลต่อการเลือกใช้ยา
พาราเซตามอลของนักศึกษาอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเป็ น 3.92 พบว่า
อันดับที่ 1 ร้านขายยา มีผลมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเป็ น 4.40 อันดับที่ 2 ร้าน
สะดวกซื้อมีผลมาก (ค่าเฉลี่ย 3.90) อันดับที่ 3 โรงพยาบาล มีผลปาน
กลาง (ค่าเฉลี่ย 3.45) ดังที่แสดงไว้ในตารางที่ 4.12

ตารางที่ 4.12 ปั จจัยด้านช่องทางการเข้าถึงยาที่มีผลต่อการเลือกใช้ยา


พาราเซตามอลของนักศึกษา
ระดับที่มีผลต่อการตัดสินใจ
ปั จจัยด้านช่อง ค่าเฉลี่ย
มาก ปาน น้อย
ทาง มาก น้อย (แปร
ที่สุด กลาง ที่สุด
การเข้าถึงยา (4) (2) ผล)
(5) (3) (1)
โรงพยาบาล 3.45
25.0 24.0 31.0 11.0 9.0 (ปาน
กลาง)
ร้านขายยา 4.40
65.0 21.0 7.0 3.0 4.0
(มาก)
ร้านสะดวกซื้อ 3.90
44.0 24.0 15.0 12.0 5.0
(มาก)
3.92
ค่าเฉลี่ยรวมของ 3 ปั จจัยด้านช่องทางการเข้าถึงยา
(มาก)

ส่วนที่4 สถิติเชิงอ้างอิง
เป็ นการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงอ้างอิงเพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่าง
ตัวแปร เพศ โรคประจำตัว รายรับเฉลี่ยต่อเดือน การอ่านส่วนประกอบ
ของยา ก่อนและหลังการใช้ยา การกินยาตามน้ำหนักตัว การกินยาตาม
ฉลากยาพื้นฐาน กับพฤติกรรมการใช้ยาพาราเซตามอล ซึ่งแบ่งเป็ น การ
เลือกใช้ยี่ห้อยาพาราเซตามอลยี่ห้อไหนบ่อยที่สุด การเลือกรับประทานยา
พาราเซตามอลจำนวนกี่เม็ดต่อครั้ง การใช้ยาพาราเซตามอลติดต่อกันเป็ น
เวลานาน การเลือกใช้ยาในการรักษาบรรเทาอาการปวดไปทั่วทั้งร่างกาย
เป็ นข้อมูลชนิดนามบัญญัติ ส่วนตัวแปรการเลือกรับประทานยา
พาราเซตามอลจำนวนกี่เม็ดต่อครั้ง และตัวแปรการใช้ยาพาราเซตามอล
ติดต่อกันสูงสุดเป็ นเวลานานเท่าใด เป็ นข้อมูลชนิดเรียงลำดับมีความแตก
ต่างกันและสมารถเรียงลำดับได้ ตัวแปรเพศและตัวแปรโรคประจำตัวเป็ น
ข้อมูลชนิดนามบัญญัติ ตัวแปรรายรับเฉลี่ยต่อเดือนเป็ นข้อมูลเรียงลำดับ
และตัวแปรการอ่านส่วนประกอบของยา ก่อนและหลังใช้ยา การกินยา
ตามฉลากยา เป็ นข้อมูลชนิดเรียงลำดับ ที่สามารถเรียงลำดับได้ 5 ระดับ
ได้แก่ น้อยที่สุด น้อย ปานกลาง มากและมากที่สุด มีค่า p-value <
0.05

4.4 ผลลัพธ์จากการวิเคราะห์สถิติเชิงอ้างอิง
4.4.1 ความสัมพันธ์ระหว่างเพศและระยะเวลาการรับ
ประทานยาพาราเซตามอล
ระยะเวลาการรับประทานยาพาราเซตามอลติดต่อกันเป็ นเวลา
1-3 วัน มีค่า p-value เท่ากับ 0.046 คือค่า p-value จากการวิเคราะห์
สถิติค่าอยู่ในช่วงระหว่าง 0 ถึง 0.05 แสดงว่า เพศและระยะเวลาการรับ
ประทานยาพาราเซตามอลติดต่อกันเป็ นเวลา 1-3 วันมีความสัมพันธ์กัน
อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ ระยะเวลาการรับประทานยาพาราเซตามอล
ติดต่อกันเป็ นเวลา 4-6 วัน มีค่า p-value เท่ากับ 0.124 คือค่า p-
value จากการวิเคราะห์สถิติค่าไม่อยู่ในช่วงระหว่าง 0 ถึง 0.05 แสดงว่า
เพศและระยะเวลาการรับประทานยาพาราเซตามอลติดต่อกันเป็ นเวลา
4-6 วันไม่มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ ระยะเวลาการรับ
ประทานยาพาราเซตามอลติดต่อกันเป็ นเวลามากกว่า 1 สัปดาห์ มีค่า p-
value เท่ากับ 0.031 คือค่า p-value จากการวิเคราะห์สถิติค่าอยู่ในช่วง
ระหว่าง 0 ถึง 0.05 แสดงว่า เพศและระยะเวลาการรับประทานยา
พาราเซตามอลติดต่อกันเป็ นเวลามากกว่า 1 สัปดาห์มีความสัมพันธ์กัน
อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ ระยะเวลาการรับประทานยาพาราเซตามอล
ติดต่อกันเป็ นเวลามากกว่า 1 เดือน มีค่า p-value เท่ากับ 0.053 คือค่า
p-value จากการวิเคราะห์สถิติค่าไม่อยู่ในช่วงระหว่าง 0 ถึง 0.05 แสดง
ว่า เพศและระยะเวลาการรับประทานยาพาราเซตามอลติดต่อกันเป็ น
เวลามากกว่า 1 เดือนไม่มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ ดังที่
แสดงไว้ในตารางที่ 4.13

ตารางที่ 4.13 ความสัมพันธ์ระหว่างเพศและระยะเวลาการรับ


ประทานยาพาราเซตามอล
ระยะเวลาการ ร้อยละของเพศ
รับประทานยา
พาราเซตามอล หญิง p-value
ติดต่อกันเป็ น ชาย
เวลานานเท่า
ไหร่
1-3 วัน 89.0 11.0 0.046
4-6 วัน 95.0 5.0 0.124
มากกว่า 1 92.0 8.0 0.031
สัปดาห์
มากกว่า 1 97.0 2.0 0.053
เดือน

4.4.2 ความสัมพันธ์ระหว่างการเคยรับประทานยา
พาราเซตามอลกับอาการป่ วยเมื่อต้องรับประทานยาพาราเซตามอล
มีค่า p-value เท่ากับ 0.011 คือค่า p-value จากการ
วิเคราะห์สถิติค่าอยู่ในช่วงระหว่าง 0 ถึง 0.05 แสดงว่าการเคยรับ
ประทานยาพาราเซตามอลกับอาการป่ วยเมื่อต้องรับประทานยา
พาราเซตามอลมีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ ดังที่แสดงไว้
ในตารางที่ 4.14

ตารางที่ 4.14 ความสัมพันธ์ระหว่างการเคยรับประทานยา


พาราเซตามอลกับอาการป่ วยเมื่อต้องรับประทานยาพาราเซตามอล
การเคย ร้อยละการเคยรับประทานยา
รับ พาราเซตามอลกับอาการป่ วยเมื่อ
ประทาน ต้องรับประทานยาพาราเซตามอล p-value
ยา อาการ ปวด ปวด ปวด
พาราเซต ไข้ ตัว ศีรษะ เมื่อย ฟั น
ามอล ร้อน กล้าม
เนื้อ
เคย 44.0 33.0 10.0 13.0
ไม่เคย 0.0 0.0 0.0 0.0 0.011

4.4.3 ความสัมพันธ์ระหว่างการเลือกใช้ยากับปั จจัยด้าน


ราคา
การเลือกใช้ยาจากการอ่านฉลากยา มีค่า p-value เท่ากับ
0.748 คือค่า p-value จากการวิเคราะห์สถิติค่าไม่อยู่ในช่วงระหว่าง 0
ถึง 0.05 แสดงว่า ปั จจัยด้านราคากับการเลือกใช้ยาจากการอ่านฉลากยา
ไม่มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ การเลือกใช้ยาจากการรับรู้
จากสื่อโฆษณา มีค่า p-value เท่ากับ 0.283 คือค่า p-value จากการ
วิเคราะห์สถิติค่าไม่อยู่ในช่วงระหว่าง 0 ถึง 0.05 แสดงว่า ปั จจัยด้าน
ราคากับการเลือกใช้ยาจากการรับรู้จากสื่อโฆษณาไม่มีความสัมพันธ์กัน
อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ การเลือกใช้ยาจากการรับรู้จากคำแนะนำของ
แพทย์,เภสัชกร มีค่า p-value เท่ากับ 0.092 คือค่า p-value จากการ
วิเคราะห์สถิติค่าไม่อยู่ในช่วงระหว่าง 0 ถึง 0.05 แสดงว่า ปั จจัยด้าน
ราคากับการเลือกใช้ยาจากการรับรู้จากคำแนะนำของแพทย์,เภสัชกรไม่มี
ความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ การเลือกใช้ยาจากการรับรู้จาก
คำแนะนำของคนในครอบครัว มีค่า p-value เท่ากับ 0.485 คือค่า p-
value จากการวิเคราะห์สถิติค่าไม่อยู่ในช่วงระหว่าง 0 ถึง 0.05 แสดงว่า
ปั จจัยด้านราคากับการเลือกใช้ยาจากการรับรู้จากคำแนะนำของคนใน
ครอบครัวไม่มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ การเลือกใช้ยา
จากการรับรู้จากคำแนะนำของเพื่อน มีค่า p-value เท่ากับ 0.164 คือค่า
p-value จากการวิเคราะห์สถิติค่าไม่อยู่ในช่วงระหว่าง 0 ถึง 0.05 แสดง
ว่า ปั จจัยด้านราคากับการเลือกใช้ยาจากการรับรู้จากคำแนะนำของเพื่อน
ไม่มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ ดังที่แสดงไว้ในตารางที่
4.15

ตารางที่ 4.15 ความสัมพันธ์ระหว่างการเลือกใช้ยากับปั จจัยด้าน


ราคา
ปั จจัยด้านราคา
การ มีราคาระบุ ราคาเมื่อเทียบ ราคาเมื่อเทียบ ราคาเมื่อเทียบ
เลือ ชัดเจน กับ กับปริมาณยา กับยี่ห้ออื่น p-
ก ประสิทธิภาพ v
ใช้ ของยา al
ยา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 u
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . e
0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0
จาก
การ 1 3 6 8 9 4 2 4 1 3 2 7 3 5 8 0 1 1 6 4 0.
อ่าน . . . . . . . . 1 . . . . . . . . 0 . . 7
ฉลา 0 0 0 0 0 0 0 0 . 0 0 0 0 0 0 0 0 . 0 0 4
กยา 0 0 8
รับรู้ 3 5 1 6 4 1 5 8 6 5 3 5 1 6 8 1 3 5 3 2 0.
จาก . . 0 . . . . . . . . . 1 . . . . . . . 2
สื่อ 0 0 . 0 0 0 0 0 0 0 0 0 . 0 0 0 0 0 0 0 8
โฆษ 0 0 3
ณา
ตาม
คำ
แนะ 4 2 7 9 6 1 1 9 8 8 3 0 1 4 8 2 4 9 9 3 0.
นำ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 0
ของ 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 9
แพท 2
ย์,เภ
สัชก

ตาม
คำ
แนะ 2 3 7 9 6 2 4 7 1 7 3 1 4 8 7 2 0 8 5 3 0.
นำ . . . . . . . . 2 . . . . . . . . . . . 4
ของ 0 0 0 0 0 0 0 0 . 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 8
คนใ 0 5

ครอ

ครัว
ตาม
คำ 1 4 5 2 8 3 3 1 9 7 0 2 9 1 6 3 4 7 2 4 0.
แนะ . . . . . . . 0 . . . . . 1 . . . . . . 1
นำ 0 0 0 0 0 0 0 . 0 0 0 0 0 . 0 0 0 0 0 0 6
ของ 0 0 4
เพื่อ

4.4.4 ความสัมพันธ์ระหว่างรายรับเฉลี่ยต่อเดือนกับยี่ห้อยา
พาราเซตามอลที่รับประทาน
รายรับเฉลี่ยต่อเดือนต่ำกว่า 5,000 มีค่า p-value เท่ากับ 0.044
คือค่า p-value จากการวิเคราะห์สถิติค่าอยู่ในช่วงระหว่าง 0 ถึง 0.05
แสดงว่ายี่ห้อยาพาราเซตามอลที่รับประทานกับรายรับเฉลี่ยต่อเดือนต่ำ
กว่า 5,000 มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ รายรับเฉลี่ยต่อ
เดือน 5,000-10,000 มีค่า p-value เท่ากับ 0.135 คือค่า p-value จาก
การวิเคราะห์สถิติค่าไม่อยู่ในช่วงระหว่าง 0 ถึง 0.05 แสดงว่ายี่ห้อยา
พาราเซตามอลที่รับประทานกับรายรับเฉลี่ยต่อเดือน 5,000-10,000 ไม่มี
ความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ รายรับเฉลี่ยต่อเดือนมากกว่า
10,000 มีค่า p-value เท่ากับ 0.083 คือค่า p-value จากการวิเคราะห์
สถิติค่าไม่อยู่ในช่วงระหว่าง 0 ถึง 0.05 แสดงว่ายี่ห้อยาพาราเซตามอลที่
รับประทานกับรายรับเฉลี่ยต่อเดือนมากกว่า 10,000 ไม่มีความสัมพันธ์
กันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ ดังที่แสดงไว้ในตารางที่ 4.16

ตารางที่ 4.16 ความสัมพันธ์ระหว่างรายรับเฉลี่ยต่อเดือนกับยี่ห้อยา


พาราเซตามอลที่รับประทาน
ยี่ห้อยาพาราเซตามอลที่รับประทาน
p-
รายรับ ไทลิ พารา ซี เทม พาราด ซา บาคา
valu
เฉลี่ย นอล แคพ มอล ปร้า อล ร่า มอล
e
ต่อ
เดือน
ต่ำกว่า 81.0 5.0 4.0 2.0 6.0 1.0 1.0 0.044
5,000
5,000- 73.0 8.0 5.0 1.0 10.0 2.0 1.0 0.135
10,000
มากกว่ 79.0 7.0 4.0 1.0 6.0 1.0 2.0 0.083

10,000

You might also like