You are on page 1of 3

บทที่ 4

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่อง ผลกระทบจากการทิ้งขยะไม่เป็นที่ในชุมชนได้ผล ดังนี้
ตอนที่ 1 สถานภาพทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ดังแสดงในตารางที่ 4.1
ตารางที่ 4.1 สถานภาพของนักเรียนที่ผู้ตอบแบบสอบถาม
ข้อมูลทั่วไป จำนวน ร้อยละ
1. เพศ
1.1 ชาย 14 43.75
1.2 หญิง 17 53.13
1.3 อื่นๆ 1 3.13
รวม 32 100
2. อายุ
2.1 10 – 20ปี 28 87.5
2.2 21 – 30ปี 2 6.25
2.3 31 – 40ปีขึ้นไป 2 6.25
รวม 32 100
จากตารางที่ 4.1 พบว่ามีผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมด 32 คน แยกเป็นเพศชาย จำนวน 14
คน คิดเป็นร้อยละ 46.75 เป็นเพศหญิง จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 53.13 และอื่นๆ จำนวน 1
คน คิดเป็นร้อยละ 3.13 อายุของผู้ตอบแบบส่วนมากอยู่ในช่วง 10 -20 ปี มีจำนวน 28 คน คิดเป็น
ร้อยละ 87.5 รองลงมาคือช่วงอายุ 21 – 30 ปี และ 31 – 40 ปี มีจำนวนเท่ากันคือ 2 คน คิดเป็น
ร้อยละ 6.25
ตอนที่ 2 ความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธศึกษาปีที่ 5 ห้อง 12 โรงเรียนรัตนโกสินทร์สมโภช
บางขุนเทียนที่มีต่อผลกระทบจากการทิ้งขยะไม่เป็นที่ในชุมชนดังแสดงในตารางที่ 4.2
ตารางที่ 4.2 ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ระดับความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธศึกษาปีที่ 5 ห้อง 12 โรงเรียน
รัตนโกสินทร์สมโภชบางขุนเทียนที่มีต่อผลกระทบจากการทิ้งขยะไม่เป็นที่ในชุมชน
ข้อที่ รายการประเมิน × ร้อยละ แปลผล
ด้านที่ 1 ด้านสุขภาพ
1 การทิ้งขยะไม่เป็นที่ในชุมชนก่อให้เกิดมลพิษซึ่ง 4.90 98 มากที่สุด
ส่งผลกระทบต่อระบบทางเดินหายใจ
2 การทิ้งขยะไม่เป็นที่ส่งผลให้เกิดเชื้อโรคที่ส่งผลก 4.81 96.2 มากที่สุด
ระทบต่อสุขภาพ เช่น ไข้ไทฟอยด์ โรคเอดส์
3 เป็นแหล่งกำเนิดของภาหะนำโรค เช่น แมลงวัน 4.81 96.2 มากที่สุด
หนู
4 มลพิษของขยะส่งผลกระทบต่อผิวหนัง เช่น 4.63 92.6 มากที่สุด
เกิดอาการคัน มีผื่นขึ้นตามตัว
5 ขยะติดเชื้อ เช่น ผ้าพันแผลทำให้เกิดโรคติดต่อ 4.48 89.6 มาก
ในชุมชน
รวม 4.73 96 มากที่สุด
ด้านที่ 2 ด้านทัศนียภาพ
6 ชุมชนไม่น่าอยู่อาศัยเนื่องจากความสกปรกที่ 4.78 95.6 มากที่สุด
เกิดจากการทิ้งขยะไม่เป็นที่
7 ขาดความสง่างามภายในชุมชน 4.70 94 มากที่สุด
8 เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อมในชุมชน เช่น 5 100 มากที่สุด
น้ำเสียเนื่องจากมีขยะไปปนเปื้อนในน้ำ
9 ก่อให้เกิดความรำคาญเนื่องจากกลิ่นรบกวน 4.88 97.6 มากที่สุด
ของขยะ
10 ไม่มีความเป็นระเบียบในชุมชน 5 100 มากที่สุด
รวม 4.87 97.4 มากที่สุด
สรุปด้านที่ 1, 2 4.75 96.7 มากที่สุด
จากตารางที่ 4.2 พบว่า ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธศึกษาปีที่ 5 ห้อง 12 โรงเรียน
รัตนโกสินทร์สมโภชบางขุนเทียนที่มีต่อผลกระทบจากการทิ้งขยะไม่เป็นที่ในชุมชนโดยภาพรวมมีค่า
เฉลี่ยความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด (× = 4.75) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่าอยู่ในระดับมาก
ที่สุด เป็นส่วนมาก และระดับมาก จำนวน 1 ข้อ ซึ่งด้านที่ 1 มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก
ที่สุด ( = 4.73) และด้านที่ 2 มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.87) โดยข้อที่มีความ
พึงพอใจมากที่สุดได้แก่ ข้อที่ 8 อยู่ในระดับมากที่สุด ( = 5) รองลงมาคือ ข้อที่ 1 ( = 4.90) และน้อย
ที่สุดคือ ข้อที่ 5 ( = 4.48)

You might also like