You are on page 1of 47

การวนิ ิจฉัยชุม

ชน

โดย......อาจารย์ อทิ ธิพล แก้ วฟอ


วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุตรดิต
การวินิจฉัยชุมชน
การวินิจฉัยชุมชน

 เป็ นการประเมินเพื่อที่จะทราบว่า อะไรคือปั ญหาอนามัย


ที่สำคัญของชุมชน ที่จะต้องทำการแก้ไข และอะไรคือ
สาเหตุของปัญหานั้นนอกจากนี้ยงั ประเมินเพื่อที่จะทราบ
ถึงลักษณะทัว่ ไปของชุมชน และลักษณะทรัพยากรท้อง
ถิ่น
 Community diagnosis จะมีลกั ษณะคล้ายกับแพทย์
วินิจฉัยผูป้ ่ วย
ขั้นตอนการวินิจฉัยปัญหาอนามัยชุมชน

 การระบุปัญหาอนามัยชุมชน
 การจัดลำดับความสำคัญของปัญหาอนามัยชุ มชน
 การศึกษาสาเหตุของปัญหาอนามัยชุ มชน
การระบุปัญหา
 การระบุปัญหาอนามัยชุมชน (Identify problem) เป็ นการนำเสนอ
ข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์มาเปรี ยบเทียบกับสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ง หรื อค่า
มาตรฐานที่สงั คมยอมรับ
 ปัญหา หมายถึง (สิ่ งทีค่ วรเป็ น – สิ่ งทีเ่ ป็ นอยู่) X ความ
กังวลห่ วงใย
การระบุปัญหา

ปัญหาอนามัยชุมชนแบ่งได้เป็ น 2 พวก คือ


 1. เป็ นปั ญหาในตัวเอง คือ สิ่ งที่ท ำให้กระทบกระเทือนต่อสุ ขภาพ
อนามัยของคน และชุมชนโดยตรง เช่น ป่ วย ความพิการ หรื อ การ
ตาย เป็ นต้น
 2. ปั ญหาอนามัยชุมชนที่ตวั มันเองไม่ใช่ปัญหา แต่จะเป็ นสาเหตุหรื อ
พาหะที่จะนำไปสู่ ปัญหาอนามัยชุมชนได้ เช่น ปัญหาลูกน้ำยุงลาย
ปัญหาแหล่งเสื่ อมโทรมในชุมชน
วิธีการระบุปัญหา
 วิธีการระบุปัญหาอนามัยชุมชน การระบุปัญหาอนามัยชุมชนมี
หลายวิธี การที่จะใช้วธิ ีใดขึ้นอยูก่ บั หลักการ และวิธีการระบุปัญหา
สถานการณ์ และประสบการณ์ของผูด้ ำเนินการ วิธีการระบุปัญหา
อนามัยชุมชนมีดงั นี้
วิธีการระบุปัญหาอนามัยชุมชน
ใช้ หลัก 5 D
 เปรียบเทียบกับเกณฑ์ และมาตรฐานสากล
 ใช้ กระบวนการกลุ่ม
ภาวะสุ ขภาพ
ของชุมชนที่ ยังไม่
เป็ นไปตามคาดหวัง
หรือเป้ าหมายที่
กำหนดไว้

ปัญหาสุขภาพชุมชน
เป็ นขั้นตอนในการหาปัญหา
อนามัยของชุมชน โดยการนำข้ อมูล
ทีไ่ ด้ จากการวิเคราะห์ มาเปรียบ
เทียบกับสิ่ งใดสิ่ งหนึ่งหรือ ค่ า
มาตรฐานทีส่ ั งคมยอมรับ

การระบุปัญหาสุภาพชุมชน
แนวคิด

ปัญหาคือภาวะสุขภาพ

ปัญหาคือสาเหตุของภาวะสุ ขภาพ

การวินิจฉัยชุมชน
การระบ ุปัญหา ( Problem Identification)

ช ุมชน
ปัญหา ปัญหา ปัญหา
ปัญหา
ปัญหา
ปัญหา
ปัญหา
การระบุปัญหาอนามัยชุมชน
ใช้ หลัก 5 D
1. Death (ตาย)
2. Disability (พิการ)
3. Disease (โรค)
4. Discomfort (ความไม่ สุขสบาย)
5. Dissatisfaction (ความไม่ พงึ พอใจ)
ความหมายของแต่ ละ D

 ตาย คือ จำนวนคนทีต่ ายจากปัญหาหรืออันตราย


 พิการ คือ จำนวนคนทีพ ่ กิ ารจากปัญหาหรือปัญหานั้นมีแนวโน้ มทีจ่ ะ
ทำให้ เกิดความพิการในชุมชน
 โรค ได้ แก่ จำนวนคนทีป ่ ่ วยหรืออัตราป่ วย
 ความไม่ สุขสบาย ได้ แก่ ความไม่ สุขสบายของคนในชุ มชนและความ
ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหา
 ความรู้ สึกไม่ พงึ พอใจ ได้ แก่ ความรู้ สึกไม่ พงึ พอใจต่ อปัญหาทีเ่ กิดขึน

ในชุมชน
การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา

 เมื่อสามารถระบุปัญหาได้แล้วว่าในแต่ละชุมชนมีปัญหาใดบ้าง ต้อง
นำปัญหาเหล่านั้นมาจัดลำดับความสำคัญ เนื่องจากปั ญหาทั้งหมดไม่
สามารถแก้ไขได้ในทันทีทุกปัญหา อาจเนื่องจากความจำกัดของ
ทรัพยากรในการแก้ปัญหา หรื อชุมชนเห็นว่าไม่เป็ นปั ญหาต่อชุมชน
มากนัก ดังนั้นจึงต้องนำปัญหาทั้งหมดมาจัดลำดับเพื่อวางแผนแก้ไข
ปัญหาต่อไป
วิธีการจัดลำดับความสำคัญของปัญหา

วิธีการของแฮนลอน
วิธีกระบวนการกลุ่ม
วิธีการของคณะสาธารณสุ ขศาสตร์ มหาวิทยาลัย
มหิดล
วิธก
ี ารของแฮน
ลอน
วิธก
ี ารของแฮนลอน

 วิธีนเี ้ หมาะกับการแก้ไขปั ญหาเชิง


นโยบายและนำมาประยุกต์ใช้ในการ
จัดลำดับความสำคัญของปั ญหาในชุม
ชนใหญ่ๆได้โดยมีหลักการในการ
พิจารณาความสำคัญอยู่ ๔ องค์
ประกอบดังนี ้
๔ องค์ประกอบ
 องค์ประกอบ A ขนาดของปัญหา ( Size
of the Problem)
 องค์ประกอบ B ความรุนแรงของปัญหา
( Seriousness of the Problem)
 องค์ประกอบ C ประสท ิ ธิผลของการ
ปฏิบ ัติงาน ( Effectiveness of the
intervention)
 องค์ประกอบ D ข้อจำก ัด ( limitation)
วิธก
ี ระบวนการ
กลุม

วิธีกระบวนการกลุ่ม

 กระบวนการกลุ่ม (Nominal Group


Process)เป็ นการนำกระบวนการกลุ่มมาใช้ในการ
จัดลำดับความสำคัญของปัญหา เพื่อให้คนในชุมชน
ตัดสิ นใจเลือกแก้ปัญหาด้วยตนเองตามลำดับความ
สำคัญปัญหาก่อนหลัง กระบวนการนี้ ใช้ได้ดีมากใน
การให้ชุมชนตัดสิ นใจเอง
วิธีการของคณะสาธารณสุข
ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
เป็ นวิธีทน
ี่ ิยมใช้ ในปัจจุบัน
คือ การใช้ องค์
ประกอบ 4 ประการเป็ นเครื่องมือพิจารณา โดย
แต่ ละองค์ ประกอบให้ คะแนน 0-4 แล้ วรวม
คะแนนทีไ่ ด้ ท้งั หมด แล้ วนำมาเรียงลำดับจาก
คะแนนทีไ่ ด้ สูงสุ ดมา องค์ ประกอบทีน่ ำมา
พิจารณาได้ แก่
7.2 ความรุนแรงของปัญหา (severiry of
problem)    
ขนาดของปัญหา ร้อยละหรื ออัตราประชากรที่ได้รับผลกระ คะแนน
ไม่มีความรุ นแรงเลย ทบจากปัญหา 0 1
มีบา้ งเล็กน้อยไม่รบกวนต่อสุ ขภาพ (มากกว่าร้อยละ 0 ถึง 1 2
25)
มีอนั ตรายหรื อเหลือร่ องรอยความพิการ (ร้อยละ 26 ถึง 50) 2 3

มีอตั ราตายสูง (ร้อยละ 51 ถึง 75) 3 4


ตายทุกราย (ร้อยละ 76 ถึง 100) 4 5

     
ในการประยุกต์ใช้สามารถใช้แนวคิดธรรมชาติของการเกิดโรคในมนุษย์ ช่วงเกิด
โรค(Pathogenesis period) ในระยะปรากฏอาการของโรค หรื อ 5 D’s มาให้คะแนน
ได้ดงั นี้
ระยะปรากฏอาการของโรค คะแนน

ไม่มีเลย 0
รู สึกไม่สบาย(Discomfort) 1
มีการเจ็บป่ วย (Disease) 2
สูญเสี ยสมรรถภาพ/ 3
พิการ(Disability/Defect) ตาย 4
(Death)
7.3 ความยากง่ ายในการแก้ ปัญหา
(feasibility or easy of management)
การพิจารณาว่าในการดำเนินการแก้ไขปัญหานั้น จะสามารถทำได้หรื อไม่ โดยพิจารณาถึงปัจจัยในการแก้ไขปัญหาคือ
-เทคโนโลยีในการแก้ปัญหามีหรื อไม่ เช่น เครื่ องมือที่จะนำมาใช้ในการแก้ไขปัญหา
-วิชาการ ความรู้ทางด้านวิชาการที่น ำมาใช้ในการแก้ไขปัญหามีเพียงพอหรื อไม่ ด้านวิชาการนี้สามารถที่จะ
ขอความร่ วมมือจากหน่วยงานอื่นๆ ก็ได้ ถ้าในชุมชนมีไม่เพียงพอ
-ทรัพยากร ได้แก่ วัสดุ สิ่ งของ ที่มีอยูใ่ นชุมชนและสามารถที่จะนำมาใช้ในการแก้ไขปัญหามี
เพียงพอหรื อไม่
-ระยะเวลา มีเพียงพอที่จะแก้ไขปัญหานั้นๆหรื อไม่
-นโยบาย รัฐมีนโยบายที่จะแก้ไขปัญหานั้นหรื อไม่ รวมทั้งการสนับสนุนของภาครัฐในการดำเนินงาน
-ศีลธรรม วิธีการดำเนินการแก้ไขปัญหาขัดแย้งกับขนบธรรมเนียมประเพณี และ วัฒนธรรมของชุมชน
หรื อไม่
 ความยากง่ายในการแก้ปัญหา  คะแนน
ไม่มีทางแก้ไขได้เลย 0 1
ยากมาก 1 2
ยาก 2 3
ง่าย 3 4
ง่ายมาก 4 5
     
7.4 ปฏิกริ ิยาของชุมชนต่ อปัญหาหรือความสนใจของ
ชุมชน (community concern)
   
ความร่ วมมือความสนใจหรื อความวิตกกังวลต่อปัญหาของชุมชน หรื อร้อยละ คะแนน
หรื ออัตราประชากรที่วติ กกังวลต่อปัญหา
ไม่สนใจให้ความร่ วมมือหรื อวิตกกังวลเลย 0 1

มีมากกว่าร้อยละ 0 ถึง 25 1 2

ร้อยละ 26 ถึง 50 2 3

ร้อยละ 51 ถึง 75 3 4

ร้อยละ 76 ถึง 100 4 5

     
ตัวอย่างการคิดคะแนนเพื่อการจัดลำดับความสำคัญ
ของปัญหา

ปัญหา คะแนน คะแนนรวม

ขนาด ความ ความ ความ วิธี วิธีคูณ


รุนแรง ยากง่ าย ร่ วมมือ บวก

1.     เด็กอายุต ่ำกว่า 5 ปี มี 4 4 3 3 14 144


ภาวะทุพโภชนาการ            
2.    เด็กอายุต ่ำกว่า 5 ปี ได้ 3 4 3 3 13 108
รับภูมิคุม้ กันไม่ครบชุด            
3.    มารดาในระยะตั้งครรภ์ 3 3 4 2 12 72
ปฏิบตั ิตวั ไม่ถูกต้อง
การวิเคราะห์ สาเหตุของปัญหา
1. การวิเคราะห์ทางระบาดวิทยาตามแนวคิดของดีเวอร์ (Dever’s
Epidemiologic model)
(1)   มนุษย์ชีวภาพ (Human biology) ประกอบด้วย องค์ประกอบ
ทางกายภาพและ สรีรภาพ องค์ประกอบทางเคมีของร่างกาย
องค์ประกอบทางภูมิคุ้มกัน เป็ นต้น
(2)    สิ่งแวดล้อม (Environment) หมายถึง ปั จจัยที่มีผลต่อการเกิด
โรคประกอบด้วย สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ทางจิตใจ และ
ทางสังคม ได้แก่ สุขาภิบาล มลภาวะ พาหะนำโรค การ
เผชิญหน้าความเครียด การศึกษา อาชีพ และรายได้
เป็ นต้น
(3)     การดำเนินชีวติ (Life style) หมายถึง แบบแผนการดำเนินชีวติ ทีส่ ่ งผลต่ อภาวะ
สุ ขภาพ
2. การวิเคราะห์ตามแนวคิดของลอว์เร็ นซ์ (Lawrence)
โดยการประยุกต์ แนวคิดทางระบาดวิทยาควบคู่กนั ไปกับแนวคิดทาง
พฤติกรรมศาสตร์ พิจารณาจากกลุ่มปัจจัย 3 กลุ่ม

1. ปัจจัยนำ (Predisposing factors)

2. ปัจจัยเอื้อ (Enabling factors)

3. ปัจจัยเสริ ม (Reinforcing factors)


3. การวิเคราะห์โดยรู ปแบบของ “ข่ายแห่งเหตุ”
(Web of Causation)
แผนภูมิ ตัวอย่ าง ข่ ายแห่ งเหตุทที่ ำให้ เกิดปัญหาภาวะขาดสารอาหาร
โรคพยาธิและโรคติดเชื้ อ

พฤติกรรมการบริ โภคและความเชื่อผิดๆ
กินอาหารไม่เพียงพอ ภาวะขาดสารอาหาร

รายได้ไม่เพียงพอกับการครองชีพ
ขาดความรู ้ดา้ นโภชนาการ

รายได้นอ้ ยและความสามารถในการผลิตต่ำ
การศึกษาต่ำ
ขั้นตอนการศึกษาสาเหตุของปัญหา
1. สร้างเครื่ องมือเพื่อค้นหาสาเหตุของปัญหาตามกรอบแนวคิด หรื อ
หลักการวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา

2. เก็บรวบรวมข้อมูลตามกรอบเครื่ องมือที่สร้างขึ้น

3. วิเคราะห์ขอ้ มูล และสรุ ปสาเหตุของปัญหาและปั จจัยที่


เกี่ยวข้อง เพื่อนำไปสนับสนุนปัญหาต่อไป
สรุ ปการวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา
ในการเกิดโรคภัยไข้เจ็บในชุมชนนั้นเป็ นผลเนื่องมาจาก เหตุหลาย
ปัจจัย (Multifactorial Causation) โดยเหตุยอ่ ยๆ นั้น จะนำไปสู่ การ
เกิดภาวะหรื อเหตุอื่นๆ และจะมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กนั เป็ นโยงใย
เครื อข่ายลูกโซ่ มีความซับซ้อน และยากที่จะค้นหาได้วา่ อะไรคือเหตุ
ที่เกิดขึ้นก่อน ซึ่ งการมองในลักษณะข่ายแห่งเหตุน้ ีจะเป็ นการมอง
ปัญหาโรคภัยไข้เจ็บควบคู่สมั พันธ์ไปกับระบบสังคม เศรษฐกิจ
และปัจจัยแวดล้อมอื่นๆ ที่มีผลกระทบต่อภาวะสุ ขภาพอนามัยด้วย
เพื่อให้เกิดการผสมผสาน ครอบคลุม ในการที่จะแก้ไขปั ญหาและ
พัฒนาคุณภาพชีวติ ของประชาชนให้ดีข้ึน
การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา ( Piority Setting )
80
1. การตัดสินใจโดยกลมุ่
70

60
2. การพิจารณาจากองค์ประกอบ
หาปัญหาที่สำคัญที่ส ุด
50
- ขนาดของปัญหา
40
&
- ความร ุนแรงของปัญหา เหมาะสมที่ส ุดกับช ุมชน
30

20 - ความยากง่ายในการแก้ไขปัญหา
10
ทราบ
- ความวิตกกังวลของช ุมชนต่อปัญหา
0
ไม่ทราบ
1 2 3 4 5
การศึกษาสาเหตุของปัญหา
 เมือ่ ได้ ปัญหาอนามัยชุ มชนแล้ ว และเรียงลำดับความสำคัญ
ของปัญหาแล้ ว สิ่ งทีจ่ ะต้ องดำเนินการต่ อไป คือ การรวบรวม
ข้ อมูลเพือ่ สนับสนุนถึงสาเหตุทที่ ำให้ เกิดปัญหาซึ่งจำเป็ นต้ อง
ใช้ ความรู้ทางวิชาการเข้ ามาช่ วย การรวบรวมข้ อมูลเพือ่ หา
สาเหตุของปัญหา บางครั้งอาจต้ องใช้ หลายวิธีในการวิเคราะห์
หาสาเหตุของปัญหา
การศึกษาสาเหตุปัญหาอนามัยชุมชน
1. วิเคราะห์ ทางระบาดวิทยา
2. วิเคราะห์ ปัจจัยในตัวบุคคล
3. วิเคราะห์ ด้านพฤติกรรมศาสตร์
4. วิเคราะห์ หาความสั มพันธ์ ของสาเหตุของปัญหา (Web of
causation)
5. วิเคราะห์ แผนภูมกิ ้ างปลา เป็ นการค้ นหาสาเหตุทมี่ ปี ระโยชน์
สามารถหาสาเหตุย่อยๆ
การวิเคราะห์ หาสาเหตุตามหลักวิทยาการระบาด

เป็ นการวิเคราะห์ ปัจจัยทีม


่ ผี ลกระทบต่ อสุ ขภาพ 3
ประการได้ แก่ Agent (สิ่ งทีท่ ำให้ เกิดโรค)
Human Host (ปัจจัยของตัวมนุษย์ ) และ
Environment (ปัจจัยของสิ่ งแวดล้ อม)
วิเคราะห์ ปัจจัยในตัวบุคคล (Intra Individual Causal Assumption)
โดย KAP survey
 เพือ่ ดูว่าประชาชนมีความรู้ ทัศนคติ หรือพฤติกรรมในการ
ปฏิบัตอิ ย่ างไรจึงทำให้ เกิดปัญหาขึน้ มาได้ ซึ่งเราเรียกว่ าการ
เก็บข้ อมูลนีว้ ่ า KAP survey (K = Knowledge , A =
Attitude , P = Practice)
วิเคราะห์ พฤติกรรมสุ ขภาพตามกรอบแนวคิดของ
PRECEDE Framework
 เป็ นการวิเคราะห์พฤติกรรมของกลุ่มเป้ าหมาย เพื่อให้ทราบ
ว่า ทำไมบุคคลจึงมีการกระทำหรื อปฏิบตั ิพฤติกรรมอย่าง
นั้น จนทำให้เกิดปัญหาสุ ขภาพในชุมชน และมีปัจจัย
อะไรบ้างที่เป็ นตัวกำหนดหรื อทำให้เกิดการกระทำพฤติกรรม
นั้น ๆ โดยวิเคราะห์จากปัจจัยทางด้านพฤติกรรม 3 ปั จจัย
คือ ปั จจัยนำเข้า ปัจจัยเอื้อ ปัจจัยสนับสนุน
หาความสั มพันธ์ ของสาเหตุของปัญหา (Web of causation)

โดยอาศัยหลักการของทฤษฏีแห่งความสัมพันธ์ระหว่างเหตุและผลได้แก่
 1. เหตุน้ นั จะเกิดก่อนผล
 2. การเป็ นเหตุและผลนั้นจะต้องมีความเป็ นไปได้ตามหลักวิทยาศาสตร์
 3. ความจำเพาะของเหตุที่ท ำให้เกิดผลคือปัจจัยหนึ่งที่ท ำให้เกิดผลเพียง
โรคเดียว
 4. ปัจจัยที่มีค่าอัตราเสี่ ยงสัมพัทธ์สูง ยิง่ มีโอกาสจะเป็ นสาเหตุได้มากขึ้น
 5. ถ้าปัจจัยเสี่ ยงมากก็ยงิ่ พบว่ามีการเกิดโรคมาก และปัจจัยใดเสี่ ยงน้อยก็
พบว่ามีการเกิดโรคน้อย
 6. ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยนั้นกับการเกิดโรคเหมือนกัน ปัจจัยนั้นยิง่ มี
โอกาสเป็ นเหตุของโรคได้มากขึ้น
การวิเคราะห์ หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis )

ความรู/้ ความตระหนักเรื่องอาหาร วิถีชวี ิต/กระแสสังคม


อาหารมัน
อาหารไม่ได้สว่ น/ไม่ถกู อาหารหวาน
อ้วน รู/้ ตระหนัก
เครียด
ครอบครัวไม่อบอุ่น ออกกำลังกายน้อย
เบาหวาน
พันธุกรรม ไม่มกี ิจกรรมในชุมชน
สุรา การใช้ยาชุด
ค่านิยมที่ผดิ ปวดเมือ่ ย
ความรู/้ ตระหนัก อาชีพเกษตรกร
ความรูเ้ รื่องโทษสุรา ลักษณะทางกายภาพ
แผนภูมกิ ้างปลา

เป็ นการค้ นหาสาเหตุทมี่ ปี ระโยชน์ สามารถหาสาเหตุย่อยๆได้ อกี ทำ


โดย
 1. ผล คือหัวปลา เป็ นหัวข้อที่จะระดมพลังสมอง
 2. แสดงลูกศรทุกอันให้ชดั เจน จากซ้ายไปขวา
 3. สาเหตุและผลต้องสัมพันธ์กนั
 4. เขียนสาเหตุใหญ่ซ่ ึ งเป็ นก้างปลาเข้าหาแกนกลาง ซึ่ ง
สาเหตุใหญ่เป็ นอิสระไม่ข้ ึนแก่กนั
 5. เขียนสาเหตุยอ่ ยเป็ นก้างปลา เข้าหาก้างปลาใหญ่
ตัวอย่ าง
ความสำเร็จและความสุขอย่ างยัง่ ยืน

คิดเอง
ทำเอง

ท ุนทางสังคม
ครอบครัว
  การวินจ ิ ฉั ยปั ญหาสุขภาพอนามัยชุมชน เป็ นขัน ้ ตอน
สน ิ้ สุดของการประเมินชุมชนทีจ ่ ะบอกให ้ทราบว่า
ชุมชนมีปัญหาอะไร สาเหตุมาจากไหน และมีความ
ต ้องการเกีย ่ วกับสุขภาพอย่างไร การทีจ ่ ะระบุวา่ อะไร
เป็ นปั ญหาสุขภาพอนามัยของชุมชนจำเป็ นต ้องอาศย ั
ดรรชนีทางสุขภาพอนามัยเป็ นเครือ ่ งชบ ี้ ง่ ช ี้
          การจัดลำดับความสำคัญของปั ญหา ปั ญหา
สุขภาพอนามัยชุมชนทีไ่ ด ้รับการวินจ ิ ฉั ยแล ้วจะมี
ปั ญหาต่าง ๆ มากมาย ซงึ่ ไม่สามารถจะให ้ได ้รับการ
แก ้ไขในเวลาเดียวกันหรือพร ้อมกันได ้ ทัง้ นีเ้ นือ ่ งจาก
ทรัพยากรในการแก ้ไขปั ญหามีจำกัด และระยะเวลาใน
การดำเนินการแก ้ไขปั ญหาก็ไม่เอือ ้ อำนวยจึงมีความ
    การจัดลำดับความสำคัญของปั ญหามีอยู่
หลายวิธี แต่ละวิธีต้องนำไปดัดแปลงเพื่อใช้ให้
เหมาะสมกับสถานการณ์ขององค์กร บุคลากร
และชุมชน ซึ่งการตัดสินใจเลือกวิธี และการ
กำหนดเกณฑ์พิจารณาจะต้องเป็ นการพิจารณา
ร่วมกันในบุคลากร ทีมสุขภาพและองค์กรที่เป็ น
แกนนำของชุมชนทัง้ นีบ ้ ุคคลากรในทีมสุขภาพ
จะต้องทราบนโยบาย และวัตถุประสงค์ของ
หน่วยงานเป็ นอย่างดี พอที่จะชีแ
้ จงและให้
เหตุผลในการพิจารณาจัดลำดับว่าสามารถ
ปฏิบัติได้หรือไม่

You might also like